(ก)
"งานราชการนั้น เป็นงานส่วนรวมมีผลเกี่ยวเนื่อง ถึงประโยชน์ของบ้านเมือง และประชาชนทุกคนผู้ปฏิบัติ บริหารงานราชการจึงต้องคํานึง ถึงความสําเร็จของงานเป็นสําคัญ อย่านึกถึงบําเหน็จรางวัลหรือ ประโยชน์เฉพาะตนให้มากนัก มิฉะนั้นงานในหน้าที่จะบกพร่อง เกิดเป็นผลเสียหายแก่ตน แก่งานส่วนรวมของชาติได้ ขอให้ถือว่า การทํางานในหน้าที่ได้สําเร็จสมบูรณ์ เป็นทั้งรางวัลและประโยชน์อัน ประเสริฐสุด เพราะจะทําให้ประเทศชาติและประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข และมั่นคง" จากพระราชดํารัส ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม 2554
รายงานประจําปี พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(ข)
คํานํา สถาบันเกษตราธิการเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการพัฒนาข้าราชการระดับสูงและ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทํารายงานประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลการดําเนินงานของสถาบันเกษตราธิการให้กับผู้สนใจ ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. ข้อมูลภาพรวม ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ อํานาจหน้าที่ โครงสร้างและอัตรากําลัง 2. ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจําปี 3. สรุปผลการดําเนินงานที่สําคัญ 3.1 การพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม/สัมมนา ประกอบด้วยการเพิ่ม ประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ การเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเป็นในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร และการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.2 การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วยการจัดการความรู้ของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การให้บริการห้องสมุด 3.3 ทุนศึกษาต่อ ฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลและรายละเอียดในรายงานประจําปีฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์กับผู้ที่สนใจต่อไป สถาบันเกษตราธิการ สิงหาคม 2554
รายงานประจําปี พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(ค)
หน้า ๑. ข้อมูลภาพรวม
1
๒. ผลการใช้จา่ ยงบประมาณประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
4
๓. สรุปผลการดําเนินงานทีส่ ําคัญ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.1 การพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม/สัมมนา 3.1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ 3.1.2 การเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และสมรรถนะทีจ่ ําเป็นในการปฏิบัติงาน ของบุคลากร 3.1.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.2 การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3.2.1 การจัดการความรู้ของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3.2.2 การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • การพัฒนาบุคลากรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (HRD : e-Learning) • การเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน์ - ผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Training Online) - VCD/DVD ชุดความรู้ (จากการฝึกอบรม) 3.2.3 การให้บริการห้องสมุดของสถาบันเกษตราธิการ • การดําเนินงานพัฒนาปรับปรุงระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ • จํานวนผู้เข้าใช้บริการ การบริการ ให้ยืมหนังสือ/สื่อความรู้ • การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าใช้ห้องสมุด 3.3 ทุนศึกษาต่อ ฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3.3.1 โครงการทุนศึกษาต่อในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย 3.3.2 โครงการให้ ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น 3.3.3 ทุนฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ทัง้ ในและต่างประเทศ ผ่านกระทรวงการต่างประเทศ
7 8 10
๔. ภาคผนวก
25 40 42 43 51
55
58 59 65 67 68
รายงานประจําปี พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๑
1. ขอมูลภาพรวม
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒
1.ขอมูลภาพรวม
วิสัยทัศน “เปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณแบบบูรณาการ อยางมืออาชีพ เพื่อใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและทั่วถึง”
อํานาจหนาที่ 1. ศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบ และยุทธศาสตรในการพัฒนาขาราชการ ของกระทรวง 2. เปนองคกรในการบริการทางดานวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของเพื่อพัฒนาขาราชการ ระดับสูงและทรัพยากรบุคคลของกระทรวง 3. ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย
ภารกิจ 1. กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ 3. สงเสริมและประสานความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตร และสหกรณ 4. ติดตามและประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามแผนกลยุทธการพัฒนาทรัพยากร บุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ยุทธศาสตร 1. 2. 3. 4.
สรางและบริหารการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแบบบูรณาการ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สงเสริมและประสานความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันเกษตราธิการ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓
อัตรากําลังทั้งหมดของสถาบันเกษตราธิการ รวมทั้งสิ้น จํานวน 37 คน ประกอบดวย
ขาราชการ ลูกจางประจํา พนักงานราชการ ลูกจางชั่วคราว
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
22 คน 5 คน 7 คน 3 คน
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔
2.ผลการใชจายงบประมาณประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2553
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕
2.ผลการใชจา ยงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ผลการใชจายงบประมาณประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการไดรับงบประมาณทั้งสิ้น จํานวน 36,056,800 บาท และไดรับโอนจากงบสํารองสวนกลางเพิ่มรวมเปน 39,118,800 บาท ใชจาย ไปทั้งสิ้น 37,686,871.52 บาท คิดเป นร อ ยละ 96.34 ในการใชจ ายงบประมาณ ไดแยกประเภทของ รายจ ายงบประมาณ ไดแก งบบุ คลากร งบดําเนินการ งบลงทุ น และงบอุ ดหนุน รายละเอี ยดดัง นี้
งบรายจาย งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน รวม
ไดรบั (บาท) ผลเบิกจาย (บาท) 8,236,625.40 9,158,300 23,547,610.12 23,618,864
รอยละ 89.94 99.70
346,340
123,340
35.61
5,995,296 39,118,800
5,779,296 37,686,871.52
96.40 96.34
งบประมาณรายจายประจําป พ.ศ. 2553 และผลการเบิกจาย
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖
เพื่ อ ให ก ารบริ ห ารและการติด ตามการใชจ ายงบประมาณมี ป ระสิ ท ธิภาพ สอดคล อ งกั บ ระบบ งบประมาณแบบมุ ง เน น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ ผลสํ า เร็ จ ตามยุ ท ธศาสตร (Strategic Performance) และเพื่ อใชประโยชนจากการรายงานที่ เปนรูปธรรมชัดเจน จึง กําหนดตัวชี้วัด การดําเนินงาน ดังนี้ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จํานวนบุคลากรที่ไดรับการพัฒนา เปาหมาย 2,204 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 2,185 ราย และทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย จํานวน 19 ราย ผลการดําเนินงาน 2,948 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 2,929 ราย และทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย จํานวน 19 ราย
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ รอยละของระดับการนําความรูทไี่ ดรับจากการฝกอบรมไปใชประโยชน ในการปฏิบัตงิ าน เปาหมาย รอยละ 70 ผลการดําเนินงาน รอยละ 74.35 สถาบันเกษตราธิการ ไดดําเนินการติดตามประเมินผลการฝกอบรมหลักสูตรประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2553 ในหลักสูตรทีส่ ถาบันเกษตราธิการกําหนดไว จํานวน 16 หลักสูตร โดยพิจารณาจาก 1. หลักสูตรที่ดําเนินการแลวเสร็จ สามารถนําความรูไปใชไดทันทีเมื่อกลับไปปฏิบัติงาน 2. หลักสูตรที่ใชงบประมาณจํานวนมาก กําหนดระยะเวลาในการติดตามประเมินผลอยางนอย 3 เดือนหลังการจัดฝกอบรมเสร็จสิ้น โดยสอบถามจากผูเขารับการฝกอบรมทั้งหมดของหลักสูตรที่กําหนด เกี่ยวกับระดับประโยชนในการนําความรู ไปปรับใชในการปฏิบัตงิ าน ดวยแบบสอบถามแบบ 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และไมมี ใหคะแนน 4,3,2,1 และ 0 ตามลําดับ ผลการประเมิน จากทั้ง 16 หลักสูตร อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 2.974 รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๗
สรุปผลการดําเนินงานที่สําคัญ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๘
3.1 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ ไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตร และสหกรณ ด ว ยการฝ ก อบรม/สั ม มนา จํา นวนรวมทั้ ง สิ้ น 31 หลั ก สู ต ร 40 รุ น ผู ไ ด รั บ การ ฝ ก อบรมรวม 2,952 คน จากเปาหมาย 2,185 คน ประกอบดวย 3.1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการ 3.1.2 การเสริมสรางความรู ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนในการปฏิบัตงิ านของบุคลากร 3.1.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ตารางสรุปผลการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา หลักสูตร 1. การเพิ่มประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการ 1.1 นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง รุนที่ 53 - 54 1.2 นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง รุนที่ 44 - 47 1.3 การพัฒนาผูบังคับบัญชาระดับตน รุนที่ 11 1.4 เทคนิคการพัฒนาผูใตบังคับบัญชา 1.5 7 อุปนิสัยของผูมีประสิทธิภาพสูง 1.6 การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงานการ ตรวจสอบการดําเนินงาน 1.7 การประเมินผลการปฏิบัติราชการตาม พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 1.8 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การถายทอดตัวชี้วัดระดับองคกรสูระดับ รายบุคคล 1.9 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล 1.10 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของคณะทํางานจัดการความรู สป.กษ. 2. การเสริมสรางความรู ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2.1 การพัฒนาสมรรถนะดานการเงินบัญชีและพัสดุ 2.2 การกําหนดเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม 2.3 การเตรียมความพรอมเพื่อสอบแขงขันรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงานของ กระทรวงการตางประเทศ 2.4 ทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2.5 โครงการพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดานคอมพิวเตอร (8 หลักสูตร) 2.6 การสื่อสารประสานงานและรวมมือเพื่อความสําเร็จในองคกรอยางมี ประสิทธิภาพ 2.7 การเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรในเวทีทวิภาคีและพหุภาคี 2.8 การเสริมสรางจริยธรรมและจรรยาขาราชการพลเรือน 2.9 การพัฒนาขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ 2.10 การจัดทําเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ 2.11 การพัฒนาสมรรถนะดานงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ 2.12 เทคนิคการเปนพิธีกร 2.13 การพัฒนาสถาบันเกษตราธิการใหเปนมืออาชีพ 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวม 31 หลักสูตร
จํานวน รุน
จํานวน วัน
จํานวนผูเขา ฝกอบรม
17 2 4 1 2 3 1
217 80 104 12 4 3 5
1,780 202 434 82 140 93 70
1 1
1 4
204 357
1 1 22 1 1 3
2 2 102 3 3 14
139 59 1,092 130 50 59
1 8
10 40
31 330
1
2
114
1 1 1 1 1 1 1 1 1 40
4 3 12 3 3 2 3 3 3 322
35 83 55 50 96 21 38 80 80 2,952
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๙
รอยละ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๐
3.1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพ ดานการบริหารจัดการ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๑
โครงการฝกอบรมหลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง รุนที่ ๕๓ – ๕๔ วัตถุประสงค ๑. เพื่ อ ให นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ร ะดั บ สู ง มี วิ สั ย ทั ศ น มี ส มรรถนะและ ขีดความสามารถสูง สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง เปนกลไกของรัฐที่ขับเคลื่อนและรองรับภารกิจหนาที่ ความรับผิดชอบที่เพิ่มมากขึ้นในการบริหารราชการแผนดิน ๒. เพื่อเสริมสรางสภาวะผูนําใหเกิดขึ้นสําหรับนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง ยุคใหม สามารถสรางหรือนําการเปลี่ยนแปลง และมีความพรอมดานบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนา องคการใหประสบความสําเร็จและเปนรูปธรรม ๓. เพื่อปรับกระบวนทัศนทางความคิด เปดมุมมองของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสู ง ใหก วางขวางมากยิ่งขึ้น พัฒนาและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขง ขันรองรับ การปฏิบัติร าชการ ในเชิงรุกและรับ ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ๔. เพื่ อ เป นผู มี คุ ณธรรมและจริ ยธรรม เป นตั วอย างที่ ดี ของข าราชการโดยถือ เป นแบบอย างที่ ดี แกสาธารณชน ๕. เข าใจและสามารถพั ฒ นากระบวนการเครื อ ข าย (Network) และระบบพั น ธมิ ตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นใหแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ กลุมเปาหมาย เปนขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่มีคุณสมบัติดังนี้ ๑. ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับสูง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ และประเภททั่วไประดับทักษะ พิเศษ ๒. ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตน ประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ และประเภท ทั่วไประดับอาวุโส หรือเทียบเทามาแลวไมนอยกวา ๒ ป (นับถึงวันเปดการฝกอบรม) ๓. ยัง ไม เ คยผ านการฝ ก อบรม หลั ก สู ตร นัก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดับ สู ง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือหลักสูตร การพัฒนานักบริหารระดับกลาง ของสํานักงาน ก.พ. มากอน วิธีการ 1. กิจกรรมกลุม สัมพันธ และการปจฉิมนิเทศ 2. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณกบั นักบริหารทีป่ ระสบความสําเร็จและเปนที่ยอมรับ 3. การบรรยายวิชาการ และการบรรยายพิเศษโดยผูทรงคุณวุฒิ (Executive Forum) 4. การอภิปรายกลุม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณระหวางผูเขารับการฝกอบรม 5. การเสริมสรางประสบการณนักบริหารเชิงประจักษ (การศึกษาดูงานในประเทศ) 6. การเรียนรูโดยการปฏิบัติ (Action Learning) จากการศึกษาวิจัยกลุม (Group Project) ระยะเวลา
จํานวน 40 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๕๓ ระหวางวันที่ ๒ กุมภาพันธ – ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๓ รุนที่ ๕๔ ระหวางวันที่ ๒๕ พฤษภาคม – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๒
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๒๐๒ คน นักบริหารระดับ สูงสามารถปรับ เปลี่ ยนกระบวนทัศน ทั ศนคติที่ สรางสรรค มี คุณธรรม จริยธรรม มีความเปนผูนํามืออาชีพและเปนแบบอยางที่ดี สามารถยกระดับคุณภาพงานและขับเคลื่อนการปฏิบัติงานของ องคกรใหเปนไปตามวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถพัฒนากระบวนการเครือขาย (Network) และระบบพั นธมิตร (Partner) เพื่อ เพิ่ม พลั งการทํ างานใหมีป ระสิทธิภาพยิ่ง ขึ้นใหแกก ระทรวง เกษตรและสหกรณ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๓
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๔
โครงการฝกอบรม หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง รุนที่ ๔๔ – ๔๗ วัตถุประสงค เพื่อใหนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับกลาง ๑. สามารถในการถายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสูการปฏิบัติในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบ ๒. มีความสามารถในการพัฒนาหนวยงานใหมีแผนงาน และวิธีการดําเนินงานที่ชัดเจน ๓. เปนผูนําทีมงานและบริหารงานไดอยางมืออาชีพ ๔. มีพฤติกรรมที่สะทอนคุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนแบบอยางที่ดีสําหรับทีมงาน กลุมเปาหมาย เปนขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ผูดํารงตําแหนงประเภททั่วไป ระดับอาวุโส หรือ ๒. ผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการ (ซึ่ งเคยดํารงตําแหนงระดับ ๗ หรือเคยดํารง ตําแหนงระดับ ๖ มาแลวไมนอยกวา ๓ ป ทั้งนี้นับถึงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑) หรือ ๓. พนักงานรัฐวิสาหกิจที่ดํารงตําแหนงระดับ ๗ หรือเทียบเทา ทั้งนี้ ผูมีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกําหนดตองไมเคยผานหลักสูตรนักบริหารระดับกลางของสํานักงาน ก.พ. หรือกระทรวงเกษตรและสหกรณมากอน และสามารถเขารับการฝกอบรมไดตลอดทั้งหลักสูตร วิธีการ ประกอบดวย กิจกรรมกลุมสัมพันธ การบรรยาย การอภิปราย การบรรยายพิเศษ โดยผูท รงคุณวุฒิ (Executive Forum) การแบงกลุม ฝกปฏิบัติ กรณีศึกษา กิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ การศึกษาดูงานในสวนภูมิภาค การพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรม และการปจฉิมนิเทศ ระยะเวลา
จํานวน 26 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๔๔ ระหวางวันที่ ๖ มกราคม – ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ รุนที่ ๔๕ ระหวางวันที่ ๒ มีนาคม – ๗ เมษายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๔๖ ระหวางวันที่ ๒๘ เมษายน – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๔๗ ระหวางวันที่ ๑๙ พฤษภาคม – ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๕
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ทั้งสิ้น ๔๓๔ คน ผูผานการฝกอบรมไดรับความรู ความเขาใจในวิธีการมอง การคิดและพัฒนาวิสัยทัศน สามารถนําไป ปฏิบัติและบริหารงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของทีมงานและองคการไดสามารถถายทอดนโยบายจากระดับสูง ไปสูการปฏิบัติในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบ และสามารถพัฒนากระบวนการเครือขาย (Network) และระบบ พันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นใหแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๖
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๗
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาผูบงั คับบัญชาระดับตน รุนที่ ๑๑ วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม 1. มี ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ บทบาทหน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของผู บั ง คั บ บั ญ ชาระดั บ ต น ที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได 2. มีทัศนคติที่ดีในการทํางานรวมกับผูอื่นสามารถทํางานในลักษณะทีมงานไดอยางเหมาะสม 3. สามารถวิเคราะหพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านของตนเองและเพื่อนรวมงาน และนําไปปรับใชในการ สรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. ไดแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหวางกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต กลุมเปาหมาย ขาราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ปฏิบัติงานในประเภทตําแหนงวิชาการระดับชํานาญการ และประเภทตําแหนงทั่วไป ระดับชํานาญงาน ที่ดํารงตําแหนงในระดับ ๖ ไมนอยกวา ๑ ป (กอนวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑) จํานวน ๗๕ คน วิธีการ การฝกอบรมประกอบดวยกิจกรรม “กาวสูฝนรวมพลังแหงความเปนเลิศ (To be the Best Team Member)” การบรรยายวิชาการและฝกปฏิบัติ กรณีศึกษา การจัดทํารายงานกลุม ศึกษาดูงานในสวนภูมิภาค และการปจฉิมนิเทศ ระยะเวลา จํานวน 12 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๗ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรมจํานวน ๘๒ คน ผูผานการฝก อบรมมี ความรูเ กี่ยวกับบทบาทหนาที่ ของผูบัง คับ บัญชาระดับตนไปใชในการปฏิบัติงาน ได สามารถทํ างานในลักษณะทีมงานไดอ ยางเหมาะสม และสามารถสรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี สั ม พั น ธภาพที่ ดี ร ะหว า งกั น เพื่ อ การติ ด ต อ ประสานงานระหว า งหน ว ยงานได อ ย า ง มีประสิทธิภาพ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๘
โครงการฝกอบรม หลักสูตร เทคนิคการพัฒนาผูใตบังคับบัญชา วัตถุประสงค เพื่อใหผูผานการฝกอบรม 1. มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานที่จําเปนในการสอนงาน การเปนพี่เลี้ยง การมอบหมายงาน การใหคําปรึกษาแนะนําที่ดี และมีประสิทธิภาพ 2. ได ฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารสอนงานต า งลํ า ดั บ ขั้ นตอนและเทคนิ ค ที่ สํ า คั ญ ของกระบวนการสอนงาน การมอบหมายงาน และการใหคําปรึกษา ในระดับที่สามารถนําไปปฏิบัติไดทันทีหลังสําเร็จการฝกอบรม กลุมเปาหมาย ขา ราชการตั้ ง แต ร ะดั บ หั ว หน าส ว น/ฝ า ย/งาน ขึ้ น ไป ในสั ง กั ด สํ านั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตร และสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน ๒ รุน วิธีการ บรรยาย กรณีศึกษา ฝกปฏิบัติโดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ระยะเวลา จํานวน 2 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๐ เมษายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๒ ระหวางวันที่ ๓ – ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๙๒ คน ผูผานการฝกอบรม สามารถนําความรูที่ไดรับไปพัฒนาศักยภาพผูใตบังคับบัญชา และสามารถถายทอด ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาผูใตบังคับบัญชาใหแกบุคลากรในกอง/สํานักได
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๑๙
โครงการฝกอบรม หลักสูตร ๗ อุปนิสัยของผูมีประสิทธิภาพสูง วัตถุประสงค ๑. เพื่อชวยสรางแรงบันดาลใจในการเปนแบบอยางในสิ่งที่ถูกตองและสรางการยอมรับในความเปนผูนํา ๒. เพื่อแกไขปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมในเชิงบวก พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ๓. เพื่ อ สามารถลดวิก ฤติก ารณ ในการทํ างานด วยการมี ทิ ศทางที่ ชัดเจนและการบริ ห ารเวลาที่ มี ประสิทธิผล ๔. เพื่อชวยเสริมสรางความไววางใจในระดับสูง สามารถบรรลุถึงผลลัพธที่ตองการจากการสื่อสารที่มี ประสิทธิผล เปนการลดความขัดแยงที่ไมจําเปนและสงเสริมความเขาใจในทีมงานมากขึ้น ๕. เพื่อสามารถทํ างานร วมกั นเปนที ม โดยตั้งอยูบนพื้นฐานของการเคารพและเห็ นคุณคาของความ แตกตาง ในแตละบุคคล ๖. เพื่อสรางความมีประสิทธิผลมากขึ้น ทั้งชีวิตสวนตัวและชีวิตการงาน ๗. เพื่อใหผู เขาอบรมไดนําหลักการของ ๗ อุปนิสัยของผู มีประสิทธิผลสูง มาพัฒนาภาวะผูนําของ ตนเองสามารถเปนแบบอยางแกผูอื่น เปนการเสริมสรางภาวะผูนําระดับบุคคล (Personal Leadership) และ ภาวะผูนําระหวางบุคคล (Interpersonal Leadership) กลุมเปาหมาย ผูอํ านวยการกอง/สํ านัก ในสังกั ดสํ านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูชวยผู อํ านวยการศูนย อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาพใต กระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๑๘ คน เกษตรและสหกรณจังหวัด จํานวน ๖๐ คน และหัวหนากลุม/ฝาย/งาน ในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๑๗ คน รวม ๙๕ คน วิธีการ ดําเนินการอบรมดวยการฝกปฏิบัติการ (workshop) แบบตอเนื่อง เพื่อมุงผลลัพธการนําไปใชจริง โดย วิทยากร (Facilitator) เปนผูบรรยายเนื้อหาและหลักการสลับกับวีดีทัศน รวมถึงใหผูเขารับการอบรมวิเคราะห ขอมูลจากกรณีศึกษา ระดมสมอง และแลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน เพื่อสามารถนําหลักการไปปรับใชกั บ ภารกิจหลัก ตลอดจนนําเสนอผลงานตอผูบริหารอยางเปนรูปธรรม ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๖ – ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๓ รุนที่ ๒ ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๑ กันยายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๓ ระหวางวันที่ ๒๙ กันยายน – ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวนทั้งสิ้น ๙๓ คน ผูผานการฝกอบรมสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง และเพิ่มขีดความสามารถดานภาวะการณเปน ผูนํา และการนําพาทีมงานตางๆ ในองคกรใหเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดตามวัตถุประสงคขององคกรที่ไดกําหนดไว
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๐
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงาน การตรวจสอบการดําเนินงาน วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม ๑. มี ความสามารถในการประเมิ นความเสี่ ยงของการบริ ห ารงานตรวจสอบ และความเสี่ ยงของ แผนงาน/โครงการที่ตรวจสอบ รวมทั้งความเสี่ยงของผูตรวจสอบ ๒. ไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ และทักษะในการวิเคราะหขอมูลหลักฐานที่ไดจากการตรวจสอบ ๓. ไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ และทักษะในการนําขอตรวจพบที่ได จากการตรวจสอบมาสรุปเพื่อ นําเสนอปญหาที่พบ สาเหตุของปญหา ผลกระทบและแนวทางแกไขในรายงานการ ตรวจสอบ ๔. ไดรวมอภิปราย เสนอแนะขอคิดเห็ น และแลกเปลี่ยนประสบการณจริ ง ในกาวิเ คราะห ขอมู ล การประเมินความเสี่ยง และเขียนรายงานการตรวจสอบการดําเนินงาน ๕. สามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานการตรวจสอบการดําเนินงานไดอยางถูกตอง และเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน กลุมเปาหมาย ผูตรวจสอบภายในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๗๐ คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย และจัดทํากรณีศึกษา ระยะเวลา
จํานวน 5 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑ – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๗๐ คน ผูเขารับการฝกอบรม เกิดความรู ความเขาใจ และสามารถประเมินความเสี่ยง วิเคราะหขอมูลหลักฐาน จากการตรวจสอบไดอ ยางถูก ตอ ง เหมาะสม รวมทั้ง สามารถนําขอ ตรวจพบที่ ไดจ ากการวิเ คราะห ขอ มู ล หลักฐานนั้นมาสรุป เรียบเรียง และนําเสนอในรายงานการตรวจสอบเกี่ยวกับสภาพปญหา สาเหตุของปญหา ผลกระทบ และข อ เสนอแนะที่ มี อ งค ป ระกอบเนื้อ หาถู ก ต อ ง ครบถ วน น าเชื่อ ถื อ และเป นที่ ยอมรั บ ใน เชิงวิชาการ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๑
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตาม พ.ร.บ.ระเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูผานการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจในหลักการสํ าคัญของการประเมินผลการปฏิบั ติ ราชการตาม พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ 2. เพื่อ ให ผู ผานการฝ กอบรมมี ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกั บการกํ าหนดตัวชี้วัด และการถายทอด ตัวชี้วัดระดับองคกรสูระดับบุคคล กลุมเปาหมาย บุคลากรสวนกลางในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดแก ผูอํานวยการกอง/สํานัก ผูปฏิบัติระดับหัวหนาในทุกกลุม/ฝาย และผูใตบังคับบัญชาในกลุม/ฝาย จํานวน 200 คน วิธีการ บรรยาย ระดมความคิดเห็น ระยะเวลา
จํานวน 1 วันทําการ วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๒๐๔ คน ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในการถายทอดความรูใหแกบุคลากรในกอง/สํานัก และชวยใหบุคลากรที่ไดรับการถายทอดสามารถจัดทําแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการได
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๒
โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การถายทอดตัวชี้วัดระดับองคกรสูร ะดับรายบุคคล วัตถุประสงค เพื่อทบทวนและปรับปรุงตัวชี้วัดรายบุคคลรายของผูเขารับการอบรมเปนรายกอง/สํานัก ซึ่งจะทําใหผู เขาอบรมสามารถกําหนดตัวชี้วัดไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับตําแหนงและหนาที่ที่รับผิดชอบ รวมถึงสะทอน ผลการปฏิบัติราชการได กุลมเปาหมาย ครั้งที่ ๑ บุคลากรสวนกลางในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑๘ กอง/สํานัก ครั้งที่ ๒ ผูเขารับการอบรมในครั้งที่ ๑ และบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่สนใจ วิธีการ ฝกปฏิบัติจากขอมูลจริง บรรยาย นําเสนอผลการฝกปฏิบัติ ระยะเวลา
จํานวน 4 วันทําการ ครั้งที่ ๑ จํานวน ๓ วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๕ - ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ครั้งที่ ๒ จํานวน ๑ วันทําการ วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๒
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น ๓๕๗ คน 1. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการไปใชในการพิจารณา แตงตั้ง และเลื่อนเงินเดือนไดจริง 2. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในการถายทอดความรูให แกบุคลากรในกอง/สํานัก และชวยใหบุคลากรที่ไดรับการถายทอดสามารถจัดทําแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการได
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๓
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจวิธีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแนวใหม ที่สอดคลองกับสมรรถนะและการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล 2. เพื่อ ใหผู เขารับการฝกอบรมเขาใจความสัม พันธของเสนทางการพัฒ นาสมรรถนะกับการจั ดทํ า แผนพัฒนารายบุคคล 3. เพื่ อ ให ผู เ ขา รั บ การฝ ก อบรมสามารถนํ า ความรู ก ลั บ ไปจั ดทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คลร ว มกั บ ผูใตบังคับบัญชาไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อใหไดแผนพัฒนารายบุคคลของแตละหนวยงานสําหรับใชเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากร ของ สป.กษ. ที่สอดคลองกับความจําเปนของแตละบุคคล กลุมเปาหมาย ผูอํานวยการสํานัก/กอง เกษตรและสหกรณจังหวัด หัวหนากลุม/ฝาย และผูที่เกี่ยวของ รวมจํานวน 150 คน
วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และกรณีศึกษา ระยะเวลา
จํานวน 2 วันทําการ ระหวางวันที่ 8 – 9 กันยายน 2553
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น 139 คน ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูไปจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลรวมกับผูใตบังคับบัญชาไดอยาง เหมาะสม และหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล เพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากร
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๔
โครงการฝกอบรม หลักสูตร โครงการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบตั ิงานของคณะทํางานจัดการความรู สป.กษ. วัตถุประสงค 1. เพื่ อให ผูเ ขารวมประชุม เพิ่ มพู นความรู ความเขาใจในแนวทางการจัดการความรู (Knowledge Management) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. ฝ ก ป ฏิ บั ติ ใน ก าร จั ดก าร ควา ม รู ข อ งห น วย งา น ส า มา ร ถดํ า เนิ นกิ จ กร ร มต า มแ ผ น การจัดการความรู สป.กษ. และแผนการจั ดการความรูของหนวยงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2553 ไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถจัดทําหลักฐาน / เอกสารตางๆ ที่แสดงถึงการดําเนินการของตัวชี้วัดได อยางถูกตอง ครบถวนตามที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด กลุมเปาหมาย คณะทํางานจัดการความรูและผูเกี่ยวของของหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ จํานวน 60 คน วิธีการ อภิปราย ฝกปฏิบัติ นําเสนอผลการฝกปฏิบัติและศึกษาดูงาน ระยะเวลา
จํานวน 2 วันทําการ ระหวางวันที่ 9 - 10 มีนาคม 2553
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน 59 คน ผูเขาร วมประชุมส วนใหญ เพิ่ มพูนความรู ความเขาใจในแนวทางการจั ดการความรู ไดแลกเปลี่ยน เรียนรูตามแผนการจัดการความรู สป.กษ. ป 2553 และสามารถจัดเตรียมหลักฐาน/เอกสารตางๆ ที่แสดงถึง การดําเนินการของตัวชี้วัดประจําป 2553 ไดอยางถูกตอง ครบถวนตามที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๕
3.1.2 การเสริมสรางความรู ทักษะ และสมรรถนะ ที่จําเปนในการปฏิบัติงานของบุคลากร
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๖
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาสมรรถนะดานการเงินบัญชีและพัสดุ วัตถุประสงค ๑. เพื่อให เจาหนาที่ ผูปฏิบัติงานดานการเงิน และพัสดุภาครั ฐ ไดเขาใจถึง ความสําคัญ เกี่ยวกั บการ บริหารงบประมาณ ระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุ ๒. เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน มีโอกาสไดเสนอแนะปญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานและไดแนวทาง ที่สามารถนําไปปฏิบัติงานดานระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุ ไดอยางถูกตอง กลุมเปาหมาย บุ คลากรที่ ป ฏิบั ติง านด านการเงิ นบั ญ ชีและพั ส ดุ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้ ง ส วนกลาง และสวนภูมิภาค จํานวน 120 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๔ – ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๒
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๑๒๖ คน ๑. ผูเขารับการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะดานระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุไปประยุกต ใชในการปฏิบัติงานจริงได ไดอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตองตามระเบียบ หลักการ ๒. ผูผานการฝกอบรมสามารถบอก ชี้แนะระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุ ใหกับเพื่อนรวมงาน ไดอยางถูกตอง
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๗
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การกําหนดเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม วัตถุประสงค 1. เพื่อเพิม่ พูนความรู ความเขาใจในเรื่องระบบการประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากบุคคล 2. เพื่อรวมกันกําหนดรางเกณฑประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ และคูมือการประเมิน 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณและความคิดเห็นดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล กลุมเปาหมาย ผูรับผิดชอบดานการจัดทําเกณฑประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคลหรือผูที่รับผิดชอบในการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณและผูที่เกี่ยวของ จํานวน 49 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย แบงกลุมระดมความคิดเห็น ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2553
ผลการดําเนินงาน มี ผู ผ า นการฝ ก อบรม รวมทั้ ง สิ้ น 50 คน โดยผู ผ า นการฝ ก อบรมมี ความรู และเข าใจระบบ การประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และรวมกันระดมความคิดเห็นเพื่อรางเกณฑประกันคุณภาพ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๘
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การเตรียมความพรอมเพือ่ สอบแขงขันรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงาน ของกระทรวงการตางประเทศ วัตถุประสงค ๑. เพื่อ พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดานทัก ษะภาษาอัง กฤษ ทั้ง ๔ ทักษะ ไดแก การฟง พูด อาน และเขียน ใหพรอมที่จะสอบแขงขันเพื่อรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงาน ทั้ง ในประเทศและตางประเทศ ของสํานัก งานความร วมมื อ เพื่อ การพั ฒ นาระหวางประเทศ กระทรวงการ ตางประเทศ ๒. เพื่ อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่เ กี่ยวขอ งกับการใชทัก ษะภาษาอังกฤษ และเปดโอกาสให มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณระหวางวิทยากรกับผูเขารับการฝกอบรม รวมทั้งระหวางผูเขารับ การฝกอบรมดวยกัน กลุมเปาหมาย ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๓ รุน ๆ ละ ๒๐ คน รวมทั้งสิ้น ๖๐ คน วิธีการ บรรยาย ฝกทักษะ Reading, Listening, Speaking และ Writing ระหวางการฝกอบรมจะมี การประเมินผูเ ขาฝกอบรมในทุกทักษะ ระยะเวลา
จํานวน 10 วันทําการ ตอรุน ระยะที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๑ - ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓ ระยะที่ ๒ ระหวางวันที่ ๑ – ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ระยะที่ ๓ ระหวางวันที่ ๒๔ พฤษภาคม – ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผผู านการฝกอบรม รวมทัง้ สิ้น ๖๐ คน กระทรวงเกษตรและสหกรณไดกําลังคนที่มีขีดความสามารถดานภาษาอังกฤษและมีความพรอม ที่จะสมัคร เพื่อคัดเลือกขอรับทุนรัฐบาลศึกษา ฝกอบรม และดูงานทั้งในประเทศและตางประเทศ ขาราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณมีศักยภาพในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อเรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ ในการปฏิบัตงิ าน และประสานความรวมมือกับตางประเทศ สามารถรองรับนโยบายกระทรวงและรัฐบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๒๙
โครงการฝกอบรม หลักสูตร ทักษะการใชภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดพัฒนาความรู ทักษะ ดานการพูด การอาน การเขียน และการติดตอ สื่อสารภาษาอังกฤษไดอยางถูกตอง 2. เพื่อเตรียมบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ให มีความพรอ มสําหรับการประสานงาน กับตางประเทศ กลุมเปาหมาย บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่จําเปนตองใชภาษาอังกฤษในการปฏิบัตงิ าน วิธีการ ฝกทักษะการฟง พูด อาน เขียน โดยใชสื่อประกอบบทเรียน ระยะเวลา
จํานวน 10 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๕ – ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๓๑ คน ผู ผ า นการฝ ก อบรมมี ทั ก ษะ ความสามารถด า นภาษาอั ง กฤษในการทํ า งานและติ ด ต อ สื่ อ สาร กับชาวตางประเทศไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๐
โครงการพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดานคอมพิวเตอร วัตถุประสงค ๑. เพื่ อ ให ผู รั บ การฝ ก อบรมมี ความรู ความเข าใจ หลั ก การเหตุผ ล เนื้ อ หาวิชา การใช ง าน คอมพิวเตอรเครื่องมือและโปรแกรมที่จําเปน เพื่อประยุกตใชตามบทบาท ภารกิจ และการปฏิบัติงานของสวน ราชการ ๒. เพื่อสงเสริม สนับสนุนใหขาราชการไดพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม และสามารถนําความรูปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อใหผูรับการฝกอบรม ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณระหวางกัน ๔. เพื่อสรางบุคลากรพี่เลี้ยงในการขยายขอบเขตการฝกอบรมและพัฒนาใหแตละหนวยงาน ๕. เพื่อลดปญหาการใชงาน การบํารุงรักษา คาซอมบํารุง และประหยัดงบประมาณ หลักสูตร/กลุมเปาหมาย/ระยะเวลา หลักสูตร รุน/คน/วัน กลุมเปาหมาย ผูปฏิบัตงิ านดานวิเคราะหนโยบายฯ ๑. การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านเกี่ยวของในสังกัด กษ. ขอมูลทางสถิติ ระหวางวันที่ ๒๒- ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านดานการเงินและบัญชี, ผูปฏิบัตงิ าน ๒. การจัดการขอมูลโดยใชโปรแกรม เกี่ยวของในสังกัด กษ. Advanced Excel ระหวางวันที่ ๘ – ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ๓. การแปลคาขอมูลทางสถิติ ระหวาง ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านดานวิเคราะหนโยบายฯ, วันที่ ๑๕ – ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓ ผูปฏิบัตงิ านเกี่ยวของและผานการอบรม หลักสูตรเบือ้ งตนแลว ๔. การสรางสื่อเผยแพร ระหวางวันที่ ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัติดานเผยแพร ประชาสัมพันธ ธุรการ ๒๒ – ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ผูรบั ผิดชอบการจัดการความรูองคกร, ผูปฏิบัตงิ านเกี่ยวของ ในสังกัด กษ. ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านดานการบริหารจัดการระบบขอมูล ๕. การใชโปรแกรมสารสนเทศทาง สารสนเทศในสังกัด กษ. ภูมิศาสตร (GIS) ระหวางวันที่ ๒๙ มีนาคม – ๒ เมษายน ๒๕๕๓ ๑/๔๐/๕ ผูดูแลระบบฐานขอมูล และผูปฏิบัตงิ าน ๖. การบริหารจัดการฐานขอมูลและ เกี่ยวของในสังกัด กษ. วิเคราะหขอมูลการเกษตรและสหกรณ ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๓ เมษายน ๒๕๕๓ ผูรบั ผิดชอบดานการบริหารจัดการขอมูลใน ๗. การติดตั้งและจัดการระบบ windows ๑/๔๐/๕ สังกัดกระทรวงฯ Server ๒๐๐๓ ระหวางวันที่ ๒๖ – ๓๐ เมษายน ๒๕๕๓ ผูปฏิบัตงิ านดานคอมพิวเตอร, ผูไดรบั ๘. การดูแลและบํารุงรักษาคอมพิวเตอร ๑/๔๐/๕ มอบหมาย ผูป ฏิบัติงานเกี่ยวของ ในสังกัด กษ. สํานักงาน (PC Management) ระหวาง วันที่ ๑๗ – ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๑
วิธีการ บรรยาย สาธิต การใช ซ อฟท แ วร และการฝ ก ปฏิบั ติ จ ริ ง กั บ เครื่ อ งคอมพิ วเตอร เ ป นรายบุ ค คล โดยใชคอมพิวเตอร ๑ เครื่อง ตอ ๑ คน สถานที่ฝกอบรม ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชั้น ๓ สถาบันเกษตราธิการ ผลการดําเนินการ มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น จํานวน ๑๑๔ คน ๑. ผูผ านการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจ หลัก การเหตุผล เนื้อหาวิชา การใชง านคอมพิวเตอร เครื่องมือและโปรแกรมที่จําเปน เพื่อประยุกตใชตามบทบาท ภารกิจ และการปฏิบัติงานของสวนราชการ ๒. ผูผานการฝกอบรมสามารถพัฒนาทักษะ การใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม และสามารถ นําความรูปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓. ผูผานการฝกอบรมสามารถถายทอดความรู ทักษะการใชงานคอมพิวเตอรแกหนวยงานตนเองได
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๒
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การสื่อสารประสานงานและรวมมือเพื่อความสําเร็จ ในองคกรอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค 1. เพื่ อ ให ผู เ ขารั บ การฝ ก อบรมไดพั ฒ นาความรูความเขาใจ ทั ศนคติและพฤติก รรม ในหลั ก การ ประสานงานและการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดพัฒนาทักษะในการประสานงานและการสื่อสารระหวางบุคคล และ ในองคกร 3. เพื่ อ พั ฒนาทั ก ษะในทํ างานรวมกั นเป นที ม งานที่ ป ระสบความสํ าเร็ จ และเพิ่ ม พู นสั ม พั นธภาพ เพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต 4. เพื่อมุงสงเสริมใหผเู ขารับการอบรมนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ป ฏิบัติง านดานการติดตอ ประสานงาน ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 45 คน ตอรุน รวมทั้งสิ้น 90 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา กรณีศึกษาและฝกปฏิบัติ ระยะเวลา
จํานวน 2 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๔-๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๒ ระหวางวันที่ ๒๓-๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น จํานวน ๑๑๔ คน ๑. ผู ผ า นการฝ ก อบรมสามารถพั ฒ นาความรู ความเขา ใจ ทั ศ นคติ และพฤติก รรม ในหลั ก การ ประสานงานและการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ๒. ผู ผ า นการฝ ก อบรมสามารถพั ฒ นาทั ก ษะในการประสานงานและการสื่ อ สารระหวา งบุ คคล และในองคกร ๓. ผูผานการฝกอบรมสามารถพัฒนาทักษะในทํางานรวมกันเปนทีมงานที่ประสบความสําเร็จ และ เพิ่มพูนสัมพันธภาพเพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคตได ๔. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๓
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรในเวทีทวิภาคีและพหุภาคี วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของบุคลากรผูปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการเจรจาตอรองและการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศใหมีความรู ความเขาใจ และทักษะในดานการเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตร และประสานความรวมมือทางวิชาการเกษตรระหวางประเทศใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กลุมเปาหมาย ขาราชการและเจาหนาที่ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณผูป ฏิบั ติห นาที่เ กี่ยวของกับ การประชุม และการคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ จํานวน 30 คน วิธีการ บรรยาย แบงกลุมฝกปฏิบัติและนําเสนอ ระยะเวลา
จํานวน 4 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๕ - ๒๘ มกราคม ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๓๕ คน ผู ผ า นการฝ ก อบรมมี ค วามรู ค วามเข า ใจ ทั ก ษะในการเจรจาต อ รองมากขึ้ น และนํ า ความรู ไปปรับใชในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๔
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การเสริมสรางจริยธรรมและจรรยาขาราชการพลเรือน วัตถุประสงค ๑. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความตระหนักและมีทัศนคติที่ดี ปฏิบัติตนเปนขาราชการยุคใหมที่มี คุณธรรม จริยธรรม มุงมั่นปฏิบัติหนาที่ดวยความสุจริต ยุติธรรม มีจิตสํานึกราชการใสสะอาด ๒. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ และทักษะ เกี่ยวกับจริยธรรม จรรยา ขาราชการพลเรื อนรวมถึงเรื่อ งวินัยขาราชการและการพิทั กษระบบคุณธรรมตามพระราชบั ญญั ติร ะเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กลุมเปาหมาย ขาราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 75 คน วิธีการ บรรยาย ฝกปฏิบัติ และบําเพ็ญสาธารณประโยชน ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๖ - ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๒
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๘๓ คน ๑. ผู ผ านการฝ ก อบรมสามารถนํา ความรู ความเขาใจในแนวคิ ด ทั ก ษะ ที่ ไ ดรั บ ไปประยุก ตใชใ น การปฏิบั ติง านรวมถึงการส งเสริ มจริยธรรมจรรยาขาราชการพลเรื อนของสํ านัก งานปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณได ๒. ผู ผานการฝก อบรมไดตระหนัก ถึง จริ ยธรรมคุณธรรมและมีทั ศนคติที่ดีตอ การปฏิบั ติห นาที่ดวย ความสุจริต ยุติธรรม
\ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๕
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม ๑. มีความรู ความสามารถ มีจิตสํานึกในการปฏิบัติงานราชการ มีสมรรถนะและจรรยาที่เหมาะสม ในการปฏิบัติหนาที่ราชการ ๒. เพิ่ม พู นความรู ความเขาใจในเรื่ องของกฎ ระเบี ยบ หลัก เกณฑและวิธีป ฏิบั ติตาง ๆ ของระบบ ราชการ และนําไปใชในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง ๓. ปลูกฝงคานิยมและปรัชญาการเปนขาราชการที่ดีใหแกขาราชการรุนใหม ๔. สรางเครือขายขาราชการรุนใหมในการทํางานอยางบูรณาการ กลุมเปาหมาย ขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลาง และสวนภูมิภาค จํานวน 52 คน วิธีการ บรรยาย ฝกปฏิบัติ ระดมความคิดเห็น ศึกษาดูงาน การใชการสรุปประเด็นเนื้อหาวิชา ระยะเวลา
จํานวน 12 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒ – ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๕๕ คน ๑. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูเกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติตาง ๆ ของ ระบบราชการและนําไปใชในการปฏิบัติงานไดถูกตอง ๒. ผู ผ า นการฝ ก อบรมได แ ลกเปลี่ ย นความรู ป ระสบการณ เ กี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านระหว า งกั น และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต ๓. ผูผ านการฝ ก อบรมมี คานิยมและปรั ชญาการเปนขาราชการที่ดี มี จิ ตสํ านึก ในการปฏิบั ติง าน เพื่อราชการ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๖
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การจัดทําเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ วัตถุประสงค 1. เพื่อสรางความรู ความเขาใจในเรื่องการจัดทําเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ 2. เพื่ อ จั ด ทํ า เส น ทางการพั ฒ นาสมรรถนะประจํ า สายงานของข า ราชการในสั ง กั ด สํ า นั ก งาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. เพื่อกําหนดหลักสูตรสําหรับใชพัฒนาขาราชการที่สอดคลองกับเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ กลุมเปาหมาย คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เกษตรและสหกรณจั งหวัด ผูแทนสายงานตาง ๆ และ ผูที่เกี่ยวของของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 50 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย แบงกลุมระดมความคิดเห็น ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ 25 – 27 มีนาคม 2553
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น 50 คน ผูผ านการฝก อบรมไดรับ ความรู ความเขาใจในเรื่ อ งการจัดทํ าเส นทางการพั ฒ นาสมรรถนะ และ ไดวางเส นทางการพัฒนาสมรรถนะสําหรับใชเป นแนวทางในการพัฒ นาขาราชการใหมี สมรรถนะตามความ คาดหวัง
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๗
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาสมรรถนะดานงานสารบรรณและการเขียน หนังสือราชการ วัตถุประสงค ๑. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีโอกาสเพิม่ พูนความรู ทักษะในการเขียนหนังสือราชการ และได ประสบการณดานงานสารบรรณและงานธุรการ ไดถูกตองตามระเบียบ หลักการ ๒. เพื่อมุงสงเสริมใหผเู ขารับการอบรมนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ปฏิบัติงานจริงไดอยาง มีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย ข า ราชการและผู ป ฏิ บั ติ ง านด า นงานสารบรรณและการเขี ย นหนั ง สื อ ราชการ ของสํ า นั ก งาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 100 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๓ - ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๙๖ คน ๑. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะในการเขียนหนังสือราชการ ไปประยุกตใชในการทํางาน ไดถูกตองตามระเบียบ หลักการ ๒. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓. ผูผานการฝกอบรมสามารถบอกชี้แนะการเขียนหนังสือราชการใหกบั เพือ่ นรวมงานไดอยางถูกตอง
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๘
โครงการฝกอบรม หลักสูตร เทคนิคการเปนพิธกี ร วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม มีความรู ทักษะดานพิธีกร สามารถพูด และทําหนาที่พิธีกรในงาน พิธีการตาง ๆ ไดอยางถูกตอง และมีหลักการ 2. เพื่อพัฒนาผูทเี่ ขาฝกอบรมใหเกิดความมั่นใจในการทําหนาที่พิธีกรมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งเปน การสงเสริมใหเกิดการประสานงาน การสรางเครือขาย และการแลกเปลี่ยนประสบการณ การทํางาน ระหวาง ผูเขารวมอบรมดวยกัน 3. เพื่อมุงสงเสริมใหผเู ขารับการอบรมนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ปฏิบัติงานจริงไดอยาง มีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย ขา ราชการ เจ า หนา ที่ และบุ ค ลากร ของสถาบั นเกษตราธิ ก าร สํ านั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตร และสหกรณ จํานวน 20 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา
จํานวน 2 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๘ - ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๒๑ คน ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะเทคนิคในการเปนพิธีกรไปประยุกตใชในการทํางาน ไดถูกตองเหมาะสมกับสถานะการณ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๓๙
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาสถาบันเกษตราธิการใหเปนมืออาชีพ วัตถุประสงค ๑. มีความเขาใจในหลักคิดของการพัฒนาองคกร ๒. เรียนรูหลักการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่นําองคกรไปสูเปาหมายดวยความสําเร็จ ๓. เสริมสรางคุณภาพชีวิตและความสัมพันธที่ดีใหแกบุคลากรของสถาบันเกษตราธิการ ๔. เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูเขาอบรมกับวิทยากรเกี่ยวกับการพัฒนาองคกร และการเสริมสรางคุณภาพชีวิต กลุมเปาหมาย บุคลากรของสถาบันเกษตราธิการ จํานวน ๔๐ คน วิธีการ บรรยาย สัมมนา ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา
จํานวน 3 วัน ทําการ ระหวางวันที่ ๑๘ - ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน ๑. ผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาองคกร กระบวนการและขั้นตอน ในการพัฒนาองคกรไปสูเ ปาหมายแหงความสําเร็จ ๒. ผูเขารับการฝกอบรมมีกิจกรรมรวมกันเปนการสรางความสัมพันธที่ดีของบุคลากรใน สถาบันเกษตราธิการ ๓. ผูเขารับการฝกอบรมมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการทํางาน สงผลตอการปฏิบัตงิ านไดอยาง มีประสิทธิภาพและบรรลุตามภารกิจขององคกร
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๐
3.1.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๑
โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต บุ คลากรของสํ า นั ก งานปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ให มี ค วามรู ความเขาใจ และปรับเปลี่ยนทัศนคติ ในการดูแลรักษาสุขภาพกาย สุขภาพใจ ใหเกิดความสมดุลระหวางชีวิต และการทํ างาน ตลอดจนมี สั ม พั นธภาพที่ ดีต อ เพื่ อ นร วมงานและผู เ กี่ ย วขอ ง อั นส ง ผลให เ กิ ดการทํ างาน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลุมเปาหมาย ขาราชการ/บุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ วิธีการ บรรยาย อภิปราย สาธิต ฝกปฏิบัติ ตอบขอซักถาม ระยะเวลา
จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๘ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓
ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๘๐ คน เพื่อใหผูผานการฝกอบรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดความตระหนัก มีแนวทางปรับปรุง พัฒนาคุณภาพ ชีวิตของตนเอง มีจิ ตสํานึก มี สวนร วมในการแกไขสิ่ง แวดลอ มการทํ างานใหดีขึ้น และสามารถปฏิบั ติตนได อยางเหมาะสมในการสงเสริมความรวมมือภายในองคกรและระหวางองคกร
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๒
3.2 การสงเสริมการเรียนรูด วยตนเอง 3.2.1 การจัดการความรู ของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๓
3.2 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง สถาบั นเกษตราธิก ารมี แนวทางในการส ง เสริ มการเรียนรูดวยตนเองใน 3 ชอ งทาง ไดแก การจั ดการความรู ของสํานัก งานปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ การเรียนรูผ านสื่อ อิ เล็ กทรอนิกส และ การใหบริการหองสมุด ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 3.2.1 การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามเจตนารมณของพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 กําหนดวา “สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูในสวนราชการ เพื่อใหมีลักษณะ เป น องค ก รแห ง การเรี ย นรู อ ย า งสม่ํ า เสมอ โดยต อ งรั บ รู ข อ มู ล ข า วสารและสามารถประมวลผล ความรู ในดานตางๆ เพื่ อ นํามาประยุ ก ตใช ในการปฏิบั ติร าชการได อ ยางถูก ตอ ง รวดเร็ ว และเหมาะสม ต อ สถานการณ รวมทั้ ง ตอ งสง เสริ ม และพั ฒ นาความรู ความสามารถ สรา งวิสั ย ทั ศ น และปรั บ เปลี่ ย น ทัศนคติของขาราชการใหเปนบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีก ารเรียนรูรวมกัน” และเพื่อใหสวนราชการ สามารถสนองตอบตอเจตนารมณของพระราชกฤษฎีกาฯ ดังกลาว และสามารถนําองคความรูที่จําเปนมาใช ในการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตรของสวนราชการเองและของประเทศไดผลสัมฤทธิ์ของงานตาม ที่คาดหวังอยางตอเนื่องและจริงจัง สํานักงาน ก.พ.ร. จึงไดกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการความรู ใหสวนราชการดําเนินการ โครงสรางคณะกรรมการและคณะทํางานดานการจัดการความรู สป.กษ. สถาบั น เกษตราธิ ก ารในฐานะเป น หน ว ยงานหลั ก ในการจั ด การความรู ข องสํ า นั ก งาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจั ดทําแผนการจัดการความรูของสํ านักงานปลั ดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ซึ่งดําเนินงานใน 2 ระดับ กลาวคือ 1. คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู โดยมีรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ ไดรับมอบหมายใหกํากับดูแลสถาบันเกษตราธิการเปนประธาน ซึ่งทําหนาที่เปนผูบริหารสูงสุดดานการจัดการ ความรู (Chief Knowledge Officer : CKO) และมีผูอํานวยการสํานัก/กอง เปนกรรมการ มีผูอํานวยการ สถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุก าร คณะกรรมการมีหนาที่ วางแผนการพัฒ นาระบบบริหารความรู จั ดทํ า แผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู และบริหารระบบดังกลาวใหเกิดเปนรูปธรรม 2. คณะทํ า งานจั ด การความรู ซึ่ ง มี ผู อํ า นวยการสถาบั น เกษตราธิ ก ารเป น ประธาน คณะทํางาน และมีผูแทนจากสํานัก/กอง เปนคณะทํางาน มีผูแทนจากสถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุการ คณะทํ างานมีห นาที่ จัดทํ ารางแผนจัดการความรูในองคกร เสนอคณะกรรมการพัฒ นาระบบบริห ารความรู เพื่อทราบและสนับสนุนการดําเนินงานดานการจัดการความรู ดําเนินการตามแผนจัดการความรู และรายงาน ความคืบหนา ปญหา อุปสรรคของการดําเนินงานตอคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๔ การจัดการความรู สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู สป.กษ.
คณะทํางานจัดการความรู สป.กษ.
โครงสรางคณะกรรมการและคณะทํางานดานการจัดการความรู สป.กษ. ผลการดําเนินการ ในการดํ าเนิ นการตามแนวทางการจั ดการความรู อยางเปนระบบ ได ใชรู ปแบบการจั ดการความรู (Knowledge Management Model) คือ กระบวนการจั ดการความรู (Knowledge Management Process) โดยเชื่อมโยงดวยกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) เพื่อ จะชวยผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและเสริมสรางสภาพแวดลอม ที่จะทําใหกระบวนการจัดการความรู สามารถเกิดขึ้นไดอยางตอเนื่อง
กระบวนการ จัดการความรู กระบวนการบริหาร การเปลี่ยนแปลง
แนวทาง การจัดการความรู
แนวทางการจัดการความรูของ สป.กษ. การกํ า หนดองคความรู เ พื่ อ จั ด ทํ าแผนการจั ดการความรู จะเลื อ กองคค วามรู ที่ จํ าเปน ตอ การบรรลุ เป าหมายตามประเด็นยุท ธศาสตรใหครบทุ ก ประเด็นยุทธศาสตร อยางนอ ย 3 องคความรู ตอ 1 ประเด็นยุทธศาสตร แลวจึงเลือกองคความรูที่จําเปนทําแผนการจัดการความรู อยางนอย 1 องคความรู ตอ 1 ประเด็นยุทธศาสตร แลวจึงเสนอแผนการจัดการความรูใหผูบริหารสูงสุดของสวนราชการ (Chief Executive Officer : CEO) และผูบริหารสูงสุดดานการจัดการความรู (Chief Knowledge Officer : CKO) เห็ นชอบ และแจ ง ให ทุ ก หนวยงานทราบและปฏิบั ติตามแผนฯ แผนการจัดการความรู สป.กษ. ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ประกอบดวย 3 แผน ดังนี้ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๕
แผนที่ 1 ความรูดานการพัฒนาความรวมมือดานการเกษตรกับตางประเทศ (สํานักการเกษตร ตางประเทศ รับผิดชอบหลัก) แผนที่ 2 ความรูดานการกําหนดชําระคืนเงินของกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกูยืมแกเกษตรกร และผูยากจน (สํานักบริหารกองทุนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องรองเรียน รับผิดชอบหลัก) แผนที่ 3 ความรู ด านการปฏิ บั ติ ก ารดา นฝนหลวง (สํ า นัก ฝนหลวงและการบิ นเกษตร รับผิดชอบหลัก) ซึ่งทั้ ง 3 แผน ประกอบดวยกิ จกรรมตามแนวทางการจัดการความรูของสํานักงาน ก.พ.ร. กําหนดไว 7 กิจกรรม ดังนี้ 1. การบงชี้ความรู - เปนการกําหนดความรูที่จําเปนเพื่อจัดทําแผน 2. การสรางและแสวงหาความรู - รวบรวมจากแหลงความรูที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ ภายนอก เพื่อจัดทําเนื้อหาใหตรงกับความตองการ 3. การจัดการความรูใหเปนระบบ - จัดแบงชนิดและประเภทของความรู เพื่อใหงายและ สะดวกตอการคนหาและใชงาน 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู - เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหา รูปแบบ ใหเปนมาตรฐาน เขาใจไดงายขึ้น 5. การเขาถึงความรู - ใหสามารถเขาไปสืบคืนขอมูลไดอยางสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ตองการ 6. การแลกเปลี่ยนความรู - เปนกิจกรรมที่สงเสริมการแลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน 7. การเรียนรู - เปนการวัดผลการนําความรูที่ไดรับวา ประยุกตใชในการปฏิบัติงานอยางไร โดยทั้ง 7 กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ฯ จะมีการติดตามผลการดําเนินงานในรอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน และ รอบ 12 เดือน โดยมีตัวชี้วัดกํากับการดําเนินงาน คือ รอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักความสําเร็จ ของการดําเนิน กิ จ กรรมตามแผนการจั ดการความรู ของสํ านั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ ประจํ า ป 2553 ซึ่งได 5 คะแนนเต็ม กลาวคือ สามารถดําเนินกิจกรรมไดครบถวนในทุกกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู ของ สป.กษ. ทั้ง 3 แผน การเขาถึงองคความรู จากแผนการจัดการความรู องคความรูทงั้ 3 องคความรู จะถูกจัดเก็บไวในเว็บไซต การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (km.opsmoac.go.th) โดยภายใน เว็บไซตประกอบดวยเนื้อหา ดังนี้ 1. องคความรู โดยแบงประเภทองคความรู เปนรายปงบประมาณ ซึ่งแบงตามประเภทของ ความรูของสํานัก/กอง ทําใหมีความสะดวก รวดเร็วในการสืบคนขอมูล 2. ขาวประชาสัมพันธ เปนขาวประชาสัมพันธทั้งในสวนของการจัดการความรูและขาวของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. รายงานการประชุมและคําสั่ง 4. ภาพขาวกิจกรรมการจัดการความรู 5. กระดานแสดงความคิดเห็น (Webboard)
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๖
รูปภาพ : เว็บไซตการจัดการความรู สป.กษ. เว็บไซตการจัดการความรู สป.กษ. (km.opsmoac.go.th) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู นอกเหนือจากกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู สป.กษ. ขางตนแลว มีกิจกรรมที่สงเสริมให เกิดการเรียนรูของ สป.กษ. ดังนี้ 1) กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices : CoP) กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ หรือ CoP เปนกิจกรรมรูปแบบหนึ่งของกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ความรูของแผนการจัดการความรู กลาวคือ กลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู และสรางองคความรูใหมๆ เพื่อชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น แม CoP จะเกิดขึ้นโดย การรวมตัวของสมาชิกที่สนใจรวมกันและจัดการกันเองแตก็ตองมีการกําหนดบทบาทที่ชัดเจนเพื่อใหการทํา ยั่งยืนในระดับหนึ่ง เชน ควรมีการยกยองชมเชยและใหการยอมรับกลุม CoP จากผูบริหารขององคกร ควรชวย สนับสนุนใหการสื่อสารระหวางสมาชิก CoP เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว พยายามชักจูงหรือทําใหสมาชิกเห็น ประโยชนในการพบปะแลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน ใหแรงจูงใจหรือรางวัลสําหรับสมาชิกที่ใหความรวมมือ และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อเปนตัวอยางแกผูสนใจตอไป กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ดําเนินการใน 2 ระดับ ดังนี้ 1.1) CoP ระดับ สป.กษ. CoP สป.กษ. เป น กิ จ กรรมที่ เ น น การมี ส ว นร ว มของผู บ ริ ห าร เริ่ ม ดํ า เนิ น การใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2552 เรื่อง ภัยดานเทคโนโลยีและการดูแลความปลอดภัยดาน ICT ของผูใช โดยศูนย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 โดยเลือกหัวขอ CoP จากประเด็นปญหาที่ เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานหรือตองการแกไขอยางเรงดวน ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 สํานัก/กอง ผลัด กันเปนเจาภาพ จัดกิกจรรม CoP จํานวน 2 เรื่อง ไดแก
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๗
1. การปฏิบัติงานตามระเบียบงานสารบรรณ ดําเนินการเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ณ หองประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑๓๔-๑๓๕ มีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน ๕๘ คน 2. การบริ หารผลการปฏิบั ติร าชการและการเลื่ อนเงินเดือน ดําเนินการเมื่ อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ หองประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑๒๓ มีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน ๓๐ คน
บรรยากาศกิจกรรม CoP ใน CoP สป.กษ. ทั้ง 2 ครั้ง รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (นายศักดิ์ชัย ศรีบุญ ซื่อ) ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู สป.กษ. ไดใหเกียรติเปนประธานในพิธีเปดและถายทอด ประสบการณการทํางานใหแกผูเขารวมกิจกรรม และไดรวมแลกเปลี่ยนประสบการณ รวมกับบุคลากรของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณและสํานักงานรัฐมนตรีดวย หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม CoP ไดประเมินผลความพึงพอใจดวยแบบสอบถาม ซึ่งผล การประเมินพบวา CoP ครั้งที่ 1 ผูเขารวมกิจกรรมสวนใหญมีความพึงพอใจตอกิจกรรมในระดับปานกลาง ดวยคาเฉลี่ย ๓.๓๐ เทียบเปนคารอยละ ไดรอยละ ๖๖ และ CoP ครั้งที่ 2 ผูเขารวมกิจกรรมสวนใหญมีความ พึงพอใจตอกิจกรรมในระดับมาก ดวยคาเฉลี่ย ๓.๓๔ เทียบเปนคารอยละ ไดรอยละ ๖๖.๘ 1.2) CoP ระดับสํานัก/กอง สําหรับ CoP ระดับสํานัก/กอง หนวยงานใน สป.กษ. ไดดําเนินกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยน เรียนรูระดับสํานัก/กอง อยางนอย ๑ ครั้งตอไตรมาส ซึ่งเปนการสงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูระหวาง กัน และเปนการพัฒนาองคกรอยางตอเนื่อง โดยคณะทํางานจัดการความรูของสํานัก/กอง ไดดําเนินการ CoP เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและแกไขปญหาเปนการภายในของแตละหนวยงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 มี หัวขอเรื่อง ดังนี้ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๘
1. การจัดทําคูมือการปฏิบัตงิ าน (สํานักพัฒนาระบบบริหาร) 2. รูปแบบมาตรฐานเรื่องที่จะนําเสนอคณะรัฐมนตรี (สํานักงานรัฐมนตรี) 3. คูมือการใหบริการ กระบวนการการตรวจสอบเอกสาร/ขออนุมัติ (กองคลัง) 4. การเกิดเมฆประจําถิ่นในพื้นที่ภาคตะวันออก (สํานักฝนหลวงและการบินเกษตร) 5. การจัดการความเสี่ยง (กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน) 6. หนังสือเดินทางราชการ (สํานักการเกษตรตางประเทศ) 7. การประชาสัมพันธเชิงรุก (กองเกษตรสารนิเทศ) 8. การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ (สถาบันเกษตราธิการ) 9. แนวทางการพิจารณาใหความเห็นทางกฎหมาย (สํานักกฎหมาย) 10. การปฏิบัติงานและการเฝาระวังระบบความปลอดภัยดานคอมพิวเตอรและเครือขาย และการใช social network อยางไรเพื่ อ มุ ม มองใหม กั บ การทํ างานและประชาสั ม พั นธสื่ อ สารองคก ร (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 11. คาใชจายฝกอบรม (สํานักตรวจสอบภายใน) 12. เศรษฐกิ จ พอเพี ย งตามแนวทฤษฎี ใ หม ในการพั ฒ นาการเกษตร (กองนโยบาย เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน) 2) บทความการจัดการความรูในจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ หนวยงานใน สป.กษ. ไดรวมกันเขียนบทความในมุม KM เปนรายเดือนในจดหมายขาวเกษตร และสหกรณ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรูร ะหวางสํานัก/กอง และผูทสี่ นใจ ซึ่งมีหัวขอ ดังนี้ 1. การจัดทําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (สํานักงานรัฐมนตรี) 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณกั บการเป นเจ าภาพจั ดงานวันอาหารโลก ประจํ าป 2552 และการเปนเลขานุการคณะในการเดินทางไปตางประเทศ (สํานักการเกษตรตางประเทศ) 3. การผลิตชาใบหมอนในครัวเรือน (สถาบันหมอนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนาง เจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) 4. การดําเนินงาน งานพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ (กองกลาง) 5. ระบบสมรรถนะคืออะไร (กองการเจาหนาที่) 6. วันนี้คุณประหยัดพลังงาน เพื่อตัวเอง เพื่อประเทศ เพื่อโลกของเราหรือยัง (กองคลัง) 7. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (สํานักพัฒนาระบบบริหาร) 8. อยากจัดรายการวิทยุทําอยางไร (กองเกษตรสารนิเทศ) 9. การตรวจราชการแบบบู ร ณาการ เพื่ อ มุ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ต ามนโยบายของรั ฐ บาล (สํานักตรวจราชการ) 10. องคความรูและภูมิ ปญญาจากปราชญชาวบ าน : น้ํามันไบโอดีเซล (กองนโยบาย เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน) 11. ความสําคัญของกฎหมายตอการบริหารราชการแผนดิน (สํานักกฎหมาย) รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๔๙
12. ความผิดทางอาญาตาม พ.ร.บ. คอมพิ วเตอรที่ ทุ ก คนควรทราบ (ศูนยเ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร)
ตัวอยางบทความในจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ 3) บอรดการจัดการความรูของสํานัก/กอง ไดเพิ่มชอ งทางในการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู และเผยแพร ความรู โดยกําหนดใหทุกสํ านัก/กอง จัดทําบอรดการจัดการความรูซึ่งเปนกิจกรรมหนึ่งที่ไดรับความรวมมือและความสนใจจากสํานัก/กอง เปนอยางยิ่ง
ตัวอยางบอรดการจัดการความรูของสํานัก/กอง รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๐
การพัฒนาคณะทํางานจัดการความรู ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2553 ได จั ด โครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง การเพิ่ ม ประสิทธิภาพการการปฏิบัติงานของคณะทํางานจัดการความรู สป.กษ. เปนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหกับ คณะทํ างานจั ดการความรู และผู เ กี่ ย วข อ ง จํ า นวน 60 คน โดยให ค วามรู ในหั ว ข อ การจั ด การความรู (Knowledge Management) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตามแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. และ การฝ ก ปฏิบั ติก ารจั ดทํ าแผนการจั ดการความรู โดยไดพ าคณะทํ างานศึก ษาดูง านดานการจั ดการความรู ณ สถาบั นวิจั ยวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยีแห ง ประเทศไทย จั ง หวัดปทุ ม ธานี เนนที่ ก ารบริ ห ารจั ดการ องคความรู กระบวนการจัดการความรู รวมถึงไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันในดานการดําเนินการ จัดการความรู
บรรยากาศในการศึกษาดูงานและการฝกปฏิบัติ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๑
3.2.2 การเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๒
3.2.2 การเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส การพัฒนาบุคลากรผานระบบอิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) การพัฒ นาบุคลากรผ านระบบอิเ ล็กทรอนิก ส (HRD : e-Learning) เป นการส งเสริ มให บุคลากรสามารถพั ฒนาตนเองไดอยางตอเนื่องโดยการนํ าวิธีการพัฒนาดวยการเรี ยนรูผานสื่ ออิเล็กทรอนิกส (e - learning) เขามาเปนเครื่อ งมือ ในการพั ฒนาบุคลากรใหเ ปนผูป ฏิบัติงานที่ ทรงความรู (Knowledge Worker) มีสมรรถนะ (Competency) มีขีดความสามารถสูง (High Capability) เพื่อการปฏิบัติงานอยางมือ อาชีพ ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมและการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ ๑. เพื่อใหบุคลากรไดเขาถึงและเรียนรูองคความรูที่จําเปนและสําคัญนํามาประยุกตใชในการ ปฏิบัติงานได ๒. เพื่อใหบุคลากรพัฒนาความรู ทักษะโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเปนการประหยัด งบประมาณ ลดเงื่อนไขดานสถานที่และเวลา ๓. เพื่อใหบุ คลากรมีทางเลื อกในการพัฒนาตนเองอยางทั่วถึง โดยเพิ่มชอ งทางการติดตอ ประสานงาน และสามารถมีกิจกรรมรวมกันบนเครือขายการเรียนรูได กลุมเปาหมาย บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณทุกระดับ วิธีการ ฝกอบรม/เรียนรูดวยระบบอินเตอรเ น็ต www.kst.go.th/e- Learning online ผูที่ สนใจ สามารถเรียนรูโดยไมจํากัดพื้นที่ เนื่องจากเปนระบบการเรียนรูผานระบบอินเตอรเน็ต หลักสูตรที่ดําเนินการ ๑. ชุดวิชาการบริหารแบบบูรณาการ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง มีผูผานเกณฑการอบรม จํานวน 6 คน ๒. การพั ฒนาคุณภาพการบริห ารการจัดการภาครั ฐ (PMQA) จํ านวน ๑๕ ชั่วโมงมี ผูผาน เกณฑการอบรม จํานวน 8 คน ๓. ภาษาอังกฤษเพื่อการใชงานของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๗ ชั่วโมง มีผูผานเกณฑการอบรม จํานวน 20 คน ผูสําเร็ จการอบรมทุก ชุดวิชาตามเงื่ อนไข จะไดรับประกาศนียบัตร หรือ หนัง สือ รับรองจาก สถาบันเกษตราธิการ ปญหาอุปสรรค 1. เนื่องจากในชุดวิชาการบริหารแบบบูรณาการ และ PMQA มีจํานวนชั่วโมงการเรียน คอนขางมาก จึงทําใหผูเขาเรียนขาดการติดตาม 2. การเรียนรูของผูท ี่อยูในสวนภูมิภาค ระบบอินเตอรเน็ต คอนขางชา และมีปญหาการบันทึก เวลาเขาหัวขอเรื่อง 3. ชุดวิชามีนอยเนื่องจากงบประมาณมีจํากัด
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๓
ตัวอยางหัวขอชุดวิชา e - learning
เว็บไซดสถาบันเกษตราธิการ www.kst.go.th
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๔
การเผยแพรความรูในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน การเผยแพรความรูรูปแบบของสื่อวีดีทัศน ประกอบดวย 2 ชองทาง ไดแก ทางอินเตอรเน็ต และความรูในรูปแบบของซีดีรอม - ผานทางอินเตอรเน็ต (Training Online) ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบั นเกษตราธิก ารทดลองนําเอาระบบเผยแพร สื่อวีดีทัศนผานเครือขายอินเตอรเน็ต ทางเว็บไซด www.kst-trainingonline.com เปดใหบริการแกบุคลากร ของ สป.กษ. ไดศึกษาเรียนรูและพัฒนาตนเอง ปจจุบันมีเนื้อหาความรูจากการบันทึกการบรรยายของวิทยากร ในหลักสูตรที่สถาบันเกษตราธิการดําเนินการ จํานวน ๑๔ เรื่อง มีผูเขาชม จํานวน ๓,๘๑๐ คน นอกจากนี้ยังได ทําการถายทอดสดการบรรยายของวิทยากร กรณีที่จัดฝกอบรมที่หองประชุมของสถาบันเกษตราธิการ เพื่อเปด โอกาสใหผูสนใจไดศึกษาเรียนรูไปพรอม ๆ กับผูเขาอบรมในชั้นเรียน - การเผยแพรสื่อความรูในรูปแบบของซีดีรอม (VCD/DVD) การเผยแพรสื่อความรูในรูปแบบของซีดีรอม เปนการบันทึกวีดีโอการฝกอบรมหลักสูตร ต า ง ๆ ที่ ส ถาบั น เกษตราธิ ก ารดํ า เนิ น การเพื่ อ เผยแพร ไ ว ใ นห อ งสมุ ด ของสถาบั น เกษตราธิ ก ารและ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหบุคลากรพัฒนาตนเอง จํานวน ๑๔ เรื่อง ดังนี้ 1. บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณกับการแกไขปญหาในภาคเกษตร โดย นายยุคล ลิ้มแหลมทอง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2. การดูแลรักษาคอมพิวเตอรสํานักงาน PC MANAGEMENT 3. การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงานการตรวจสอบการดําเนินงาน 4. การจัดทํา Career path and Development 5. การแปลงแผนกลยุทธการพัฒนาทรั พยากรบุคคลกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ.2552-2556 6. หลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 7. การพัฒนาสมรรถนะดานการเงินบัญชีพัสดุ 8. โครงการ Clinic HR 9. เทคนิคการนําเสนออยางมืออาชีพ 10. ภัยดานเทคโนโลยีและการดูแลความปลอดภัยดาน ICT ของผูใช 11. การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเลื่อนขั้นเงินเดือน 12. โครงการฝกอบรม หลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง รุนที่ 52 13. การสอบทานขอมูลในบัญชี GFMIS 14. การพัฒนาสมรรถนะดานงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๕
3.2.3 การใหบริการหองสมุด
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๖
3.2.3 การใหบริการหองสมุดของสถาบันเกษตราธิการ สถาบันเกษตราธิการไดจัดทํ าห องสมุดเพื่ อการศึกษาคนควาแหลง ขอ มูลเพื่อ การเรี ยนรู ทั้งเอกสารสื่ อสารสนเทศดานการบริ หารทรั พยากรบุ คคล และสาขาวิชาอื่นที่ เกี่ยวของ มีการพัฒ นาระบบ ห อ งสมุ ดอิ เ ล็ ก ทรอนิก ส โดยการนําเทคโนโลยีที่ ทั นสมั ยเขามาดําเนินงานในการจั ดเก็ บ ขอ มู ล ทรั พ ยากร สารสนเทศของหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ เพื่อเพิ่มความสะดวกแกผูมาใชบริการในการเขาถึงความรูดวย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และเปนการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู เพื่อพัฒนาหนวยงานใหเปนองคกรแหงการ เรียนรูไดในที่สุด ผลการดําเนินงาน การดําเนินงานพัฒนาปรับปรุง และการใหบริการหองสมุดของสถาบันเกษตราธิการ ๑) การพัฒ นาปรับ ปรุงห องสมุด ดานสิ่งแวดลอม ปรับปรุ งพื้นที่ ดําเนินการในการ จัดวางหนังสือ ตามหมวดหมูความรู จัดมุมหนังสือใหม มุมแนะนําหนังสือ จัดวางอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยหองสมุดมีการพัฒนาปรับปรุงใหมีลักษณะการใชงานที่สะดวก มีบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู มีหนังสือที่ จัดซื้อเพิ่มเติมและมีเนื้อหาที่ทันสมัย เพื่อใหตรงตอความตองการของผูใชบริการมากยิ่งขึ้น ๒) การใหบริการหองสมุด ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ - ใหบริการหองสมุดดวย ระบบหองสมุดอิเล็กทรอนิกส (e – library) ซึ่งระบบ หนังสือประกอบดวย หนังสือทีเ่ กี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ จํานวน 6 หมวดหมูความรู ไดแก การพัฒนาองคกร การใชภาษาการเกษตร การพัฒนาตนเอง คอมพิวเตอร รายงาน วิจัยการพัฒนาการเกษตร จํานวน 648 เลม และระบบหนังสือแบบ e - book - บริการยืมและคืนหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพตางๆ ของหองสมุด - บริการสื่อความรูดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในรูปแบบ vcd dvd - บริการสิ่งพิมพอื่น ๆ เชน หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร เปนตน - บริการอินเตอรเน็ต แกผูมาใชบริการหองสมุด - บริการเครื่องดื่ม กาแฟ ภายในหองสมุด จํานวนผูเขาใชบริการ การบริการ ใหยืมหนังสือ/สื่อความรู - จํานวนผูเขาใชบริการหองสมุดจากบุคคลภายนอก ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553 จํานวน 1,021 คน - จํานวนการยืมหนังสือ ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553 มีหนังสือจํานวน 1,036 เลม CD จํานวน 25 แผน วารสาร จํานวน 120 เลม
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๗
การประเมินความพึงพอใจของผูเขาใชหองสมุด ไดมีก ารประเมิ นผลความพึง พอใจของผู รับ บริ ก ารที่มี ตอ ห องสมุ ดสถาบั นเกษตราธิก าร พบวาระดับความพึงพอใจภาพรวมการใหบริการหองสมุด ความเหมาะสมของสถานที่ ความเหมาะสมของที่นั่ง อานหนังสือ และการจัดเรียงหนังสื อบนชั้นสะดวกตอ การคนหา อยูในระดับมากที่สุด สํ าหรับบริการสืบคน ขอมูลทางอินเตอรเน็ต หนังสือพิมพ วารสาร ผูใชบริการมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๘
3.3 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๕๙
3.3 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ 3.3.1 โครงการทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 3.3.2 โครงการให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น 3.3.3 ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทัง้ ในและตางประเทศ ผานกระทรวงการตางประเทศ 3.3.1 โครงการทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย สถาบันเกษตราธิการ ไดรับมอบหมายใหดําเนินโครงการทุนกระทรวงเกษตรและสหกรณศึกษาตอระดับ ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ณ สถาบั นเทคโนโลยี แห งเอเชีย ระยะที่ ๑ (ป ๒๕๔๖-๒๕๕๐) และระยะที่ ๒ (ป ๒๕๕๑-๒๕๕๕) วัตถุประสงค ๑. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุ คลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ ใหสามารถปฏิบัติงานได สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 และนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงเกษตร และสหกรณในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและสามารถผลิตนวัตกรรมใหม ทางการเกษตรที่มีคุณภาพและ แกปญหาความยากจนของเกษตรกรและตอบสนองตอการปรับโครงสรางภาคเกษตร ในแนวทางของการพัฒนา อยางยั่งยืน ๒. เพื่ อ วางแผนอั ตรากํ าลัง ทดแทนบุ คลากรที่ มี คุณวุฒิร ะดับ ปริ ญ ญาโทและปริ ญ ญาเอก ที่ กํ าลั ง จะเกษียณอายุร าชการ เพื่ อ เป นกํ าลั ง สํ าคัญ ในการผลั ก ดันภารกิ จ และยุท ธศาสตร ของกระทรวงเกษตร และสหกรณตอไป ๓. เพื่อสงเสริมใหบุคลากรมีวิสัยทัศนกวางไกล มีองคความรูใหมที่เปนประโยชนตอสวนราชการและ เพิ่มขีดความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อการประสานความรวมมือและเจรจาตอรองในเวทีโลกและ สามารถรองรับภารกิจของสวนราชการ และการปฏิบัติงานและแนวโนมในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ เปาหมาย ระยะที่ ๑ ป ๒๕๔๖-๒๕๕๐ จํานวน ๕๐ ทุน แบงเปน ระดับปริญญาเอก ๒๕ ทุน ระดับปริญญาโท ๒๕ ทุน ระยะที่ ๒ ป ๒๕๕๑-๒๕๕๕ จํานวน ๕๐ ทุน แบงเปน ระดับปริญญาเอก ๒๕ ทุน ระดับปริญญาโท ๒๕ ทุน ผลการดําเนินงาน ระยะที่ ๑ ป ๒๕๔๖-๒๕๕๐ ผูรับทุนระยะที่ ๑ มีจํานวน ๔๔ ราย แบงเปนระดับปริญญาโท จํานวน ๒๒ ราย และปริญญาเอกจํานวน ๒๒ ราย ผูรับทุนระดับปริญญาโททุกรายสําเร็จการศึกษาแลว สวนผูรับทุน ระดับปริญญาเอกสําเร็จการศึกษาแลว จํานวน ๘ ราย และอยูระหวางการศึกษา จํานวน ๑๕ ราย ระยะที่ ๒ (ป ๒๕๕๑-๒๕๕๕) ผู รั บทุ นระดั บปริ ญญาโท มี จํ านวน ๖ ราย เป นผู รั บทุ นประจํ าป งบประมาณ ๒๕๕๑ จํ านวน ๑ ราย และผูรับทุนประจําปงบประมาณ ๒๕๕๒ จํานวน ๕ ราย มีผูสําเร็จการศึกษาแลว จํานวน ๕ ราย ผูรบั ทุนระดับปริญญาเอก มีจาํ นวน ๑๖ ราย เปนผูร บั ทุนประจําปงบประมาณ ๒๕๕๑ จํานวน ๑ ราย ผูรบั ทุน ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๒ จํานวน ๕ ราย โดยทั้งหมดอยูร ะหวางการศึกษา
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๐
ปญหาอุปสรรค ๑. ความชัดเจนของกฎระเบียบของทางราชการที่ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ๒. งบประมาณในการดําเนินการ สถิติทุนกระทรวงเกษตรและสหกรณศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียระยะที่ 1 (ป 2546-2550) และ ระยะที่ 2 (ป 2551-2555) แยกตามสวนราชการและสาขาวิชา ลําดับ
สวน ราชการ
1
สํานักงา ปลัดกระทรวง เกษตรและ สหกรณ
2
กรม ชลประทาน
สาขาวิชา
ระยะ 1 โท
Regional and Rural Development Planning
เอก 3
4
กรมประมง
กรมปศุสัตว
6 7 8
1
1
1
Water Engineering and Management
6
6
Construction Engineering and Infrastructure Management Geotechnical and Environment Engineering
1
1 2
2
2
2 2
Food Engineering and Bioprocess Technology
1
1
Aquaculture and Aquatic Resources Management
1
3
Natural Resources Management
1
Agri- businees Management
1
1
6
1
2
1
1
1
1
กรมพัฒนา ที่ดิน
Remote Sensing and Geographic Information System
1
1
Water Engineering and Management
1
1
กรมวิชาการ เกษตร
Food Engineering and Bioprocess Technology
1
1
2
1
1
1
3
4
1
1
2
Natural Resource Management
กรมสงเสริม Agricultural Systems and Engineering การเกษตร สํานักงานการ Regional and Rural Development Planning ปฏิรูปที่ดิน Remote Sensing and Geographic Information System เพื่อ เกษตรกรรม Information Management Natural Resource Management
1 1
สํานักงาน เศรษฐกิจ การเกษตร
Agri- businees Management
สํานักงาน มาตรฐานสินคา เกษตรและอาหาร แหงชาติ
Food Engineering and Bioprocess Technology
1
1
2 1
2
Agricultural Systems and Engineering
1
3
1
1
1
รวมทั้งสิ้น
1
1 1
Agricultural Systems and Engineering
10
3
Natural Resources Management
Businesss Administration 9
รวม
เอก
1
Regional and Rural Development Planning 5
โท
Natural Resources Management
Agricultural Systems and Engineering 3
ระยะ 2
1
4
1
1
1
7
22
22
6
6
56
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๑
รายชื่อผูสาํ เร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระยะที่๑ ระดับปริญญาโท ลําดับ
ชื่อ-นามสกุล
1.
น.ส.วิไลวรรณ สอนพลู วิศวกรการเกษตรชํานาญการ กรมสงเสริมการเกษตร นางรัชดา(ภิรมยรักษ) อิทธิพงษ นักวิชาการผลิตภัณฑอาหาร ชํานาญการ กรมประมง น.ส.คณิษฐา พึ่งสวัสดิ์ นักวิชาการมาตรฐานชํานาญการ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ น.ส.สงกรานต ตะนนท นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม น.ส.เกสร จําปา นักสํารวจดินชํานาญการ กรมพัฒนาที่ดิน
Agricultural Systems and Engineering Food Engineering and Bioprocess Technology Engineering and Bioprocess Technology
น.ส.จิตสุดา อินทุมาร นักวิชาการแผนที่ภาพถาย ชํานาญการ กรมชลประทาน
Natural Resources GIS Approach to Investigate the Management Potential Areas for Irrigation Development in Mae Mok Sub-Basin, Northern Thailand
2. 3.
4.
5.
6.
7.
8.
สาขาวิชา
ผลงานวิชาการ The Effect of Different Tillage Methods on Corn Production Effect of Handling Methods on Quality Changes in Pacific White Shrimp (Penaeus vannamei) Shelf Life Evaluation of Frozen and Irradiated Chilled Stored Fried Noodle with Shrimp
Regional and Rural Performance Assessment of The Development Agricultural Land Reform Planning Cooperative Activities in Thailand A Case Study in Nakhon Pathom Province Remote Sensing Monitoring Agricultural Drought Using and Geographic Modis Temperature Vegetation Information System Dryness Index in Mae Man Chi Basin, Thailand นางศศิวิมล ทับแยมนักวิชาการ Food Engineering The Effect of Impingement and Spiral Freezing Method on the quality of มาตรฐานชํานาญการ and Bioprocess Ready Meal (cooked rice and panang สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ Technology อาหารแหงชาติ curry with shrimp) น.ส.ลักษมี เดชานุรักษนุกูล Food Engineering Effect of Modified Tamosphere Packaging on the Shelf Live of นักวิทยาศาสตรชํานาญการ and Bioprocess Asparagus (Asparagus afficinalia, L.) Technology กรมวิชาการเกษตร
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๒
ลําดับ
ชื่อ-นามสกุล
สาขาวิชา
ผลงานวิชาการ
9.
นายจักรกฤษณ มิใย วิศวกรโยธา ชํานาญการ กรมพัฒนาที่ดิน
Integrated Water Resources Management
Hydrologic Prediction in Selected Un-Gauged Basins in Thailand
10.
นายณัฐพล สิทธิการ วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน
Integrated Water Resources Management
Daily Forecasting of Flood Conditions in Pasak River Basin,Thailand
11.
น.ส. รุจี รอดชะ Natural Resources เจาหนาทีแ่ ผนที่ภาพถายชํานาญการ Management สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม
Land Evaluation in An Agricultural Land Reform Area Using Geographical Information System : A Case Study in Pluak Daeng District, Rayong Province, Thailand
12.
น.ส. ผองใส จันทรศรี นักวิชาการประมงปฏิบัติการ กรมประมง
Natural Resources Management
13.
นายศรายุธ พันธบุญ วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน
Integrated Water Resources Management
14.
นายณัฐพล อภินันทโน นายชางชลประทานชํานาญงาน กรมชลประทาน
Integrated Water Resources Management
Fish production and Management Performance of Trap Ponds in the Tung Kula Ronghai Area, Surin Province, Thailand Application of AnnAGNPS in Selected Sub Basin of Ping Watershed for Soil and Water Quality Assessment Radar-Based Rainfall Forecasting in The North of Thailand
15.
น.ส.ชุติวรรณ(โตฉาย) จัตตุพรพงษ Food Engineering นักวิชาการมาตรฐานปฏิบตั ิการ and Bioprocess สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ Technology อาหารแหงชาติ
Effect of Drying Methods on Extracted Triterpene Compounds for Ling-Zhi (Ganoderma Incidum)
16.
นายสมศักดิ์ ทรงแสงจันทร วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน น.ส.วิมลักษณ หลอวัฒนตระกูล นักวิชาการมาตรฐานชํานาญการ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ
Study of Surface Water and Groundwater Drainage of Suvarnabhumi Airport,Thailand Effect of Packaging Drying and Storage on Quality of Fresh Chilli and Chilli Powder
17.
Water Engineering and Management Food Engineering and Bioprocess Technology
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๓
ลําดับ
ชื่อ-นามสกุล
18.
นายรัฐสยาม ติยรัฐกาล วิศวกรโยธาปฏิบตั ิการ กรมชลประทาน
19.
นายสิริภพ แทนมณี นายชางชลประทานชํานาญงาน กรมชลประทาน นายกมล เรืองเดช นักวิชาการปฏิรูปทีด่ ินปฏิบตั ิการ สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม นายธีรวัฒน สัมภวมานะ นักวิชาการประมงชํานาญการ กรมประมง
20.
21.
22.
นายอดิสร จําปาทอง วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน
สาขาวิชา Constructuction Engineering and Infrastructure Management Water Engineering and Management Business Administration
ผลงานวิชาการ Factors Affecting Project Delivery Time Delays and Cost Overruns of Project Development at the Royal Irrigation Department of Thailand Assessment of Hydrological and Geotechnical Safety of Mae Suai Dam,Thailand Effective Management Approaches for Small and Micro Community Enterprises (SMCES) in Thailand
Aquaculture and Aquatic Resources Management
Effects of Different Feeding Regime, Weaning Period and Stocking Density on the Survival and Growth of Stinging Catfish (Heteropneustes fossilis, Bloch) FRY
Water Engineering and Management
Improvement on Detention Storage (Monkey cheek) Operation of Mahachai Canal System in Samut Sakhon, Thailand
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๔
รายชื่อผูสาํ เร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระยะที่ ๑ ระดับปริญญาเอก ลําดับ 1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ชื่อ-นามสกุล นางสาวทัศนีย เมืองแกว นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการพิเศษ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร นางศุภวรรณ เคีย่ นเมธี นักวิชาการเกษตรชํานาญการ กรมสงเสริมการเกษตร
สาขาวิชา
ผลงานวิชาการ
Agricultural System Sustainable Livelihood : An Analysis and Engineering of Rice-Based Farming System in Southern Thailand
Agricultural System Integrated Pest Management in and Engineering Chinese Kale (Brassica oleracea L. var. Alboglabra Bailey) Using Selected Pest Repellent Plants and Biopesticides นายเกียรติยศ ทรงสงา Agricultural System Comparative studies of Growth and นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติ and Engineering Yield Simulations for Maize in การ Drought-Prone Ecosystem in Nakhorn สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ Ratchasima Province, Thailand เกษตรกรรม นางสาวมาลาศรี คําศรี Aquaculture and Co-Management Institution for นักวิชาการประมงปฏิบัติการ Aquatic Resources Sustainable Inland Fisheries กรมประมง Management Management : A Case Study of the Lower Songkram River Basin, Thailand นางอาทิตยา พองพรหม Regional and Rural Farmer's Network Approach to Small นักวิชาการปฏิรูปทีด่ ินชํานาญการ Development Farmer Development in The สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ Planning Northeast of Thailand เกษตรกรรม นางสาวสุกัลยา กาเซ็ม Regional and Rural Sustainable Agricultural นักวิเคราะหนโยบายและแผน Development Development Policies and Farmer s' ชํานาญการ Planning Practices in Nakhorn Pathom สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร Province, Thailand นางสาวสาวิตรี ศิลาเกษ Aquaculture and Cryopreservation of Zebrafish ๙ นักวิชาการประมงชํานาญการ Aquatic Resources Danio Rerio๐ Embryos กรมประมง Management นางนรีรัตน วรรณสาย Natural Resources นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ Management กรมวิชาการเกษตร
Determinants of Land use Change in Prasae Watershed of Thailand : Role of land tenure security
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๕
รายชื่อผูสาํ เร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระยะที่ ๒ ระดับปริญญาโท ลําดับ 1.
ชื่อ-นามสกุล นายภูริธัช วัชรสินธุ นักวิชาการประมงปฏิบัติการ กรมประมง
สาขาวิชา Aquaculture and Aquatic Resources Management
ผลงานวิชาการ Participation of Local Fishers in Crab Bank Projects in the Gulf of Thailand
2.
นายภัทรพล สําเร็จดี นายสัตวแพทยปฏิบัติการ กรมปศุสัตว นางสาวนิรมล แกวกัลยา นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม
Agri-Business Management
The sustainability assessment of broiler farming: Case study of Phichit province, Thailand Effect of an Agricultural Land Reform Project on People's Livelihood; A Case Study of Bor Lek Long Sub-District, Phrae Province, Thailand
4.
นางสาวสัมพันธ ปานจรัตน นักวิชาการประมงชํานาญการ กรมประมง
Natural Resources Management
5.
นางสาวจีรจิต ดิศสนะ Agri-Business นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ Management สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ
3.
Natural Resources Management
Attitudes and Perceptions of Fishers towards the ๒๕-year old Seasonal Closed Measure in Phang-Nga and Krabi Bays, Thailand Feasibility of Implementing Mandatory Quality Standards on GMPs in Dairy: A Study of the Raw Cow Milk Collection Centers in Thailand
3.3.2 โครงการให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ความเปนมา มหาวิทยาลัยหัวเฉียว มณฑลฮกเกี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน ใหทุนการศึกษาภาษาจีนแกขาราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสถาบันเกษตราธิการเริ่มดําเนินการจัดสรรทุนตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตนมา และสําหรับป ๒๕๕๓ การใหทุนการศึกษาเปนเวลา ๑ ป (ระหวางเดือนสิงหาคม ๒๕๕๓ – สิงหาคม ๒๕๕๔) มูลคาทุนละประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ บาท เปนทุนการศึกษาแบบใหเปลาและไมมีเงื่อนไขผูกพัน แตมีคาใชจายที่ผู ไดรับทุนการศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดจะตองรับผิดชอบเอง เชน คาโดยสารเครื่องบิน คาอาหาร เปนตน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณไดตั้งงบประมาณสนับสนุนใหแกผูไดรับทุนการศึกษาในสวนที่แหลงทุนไมออก ให ทุนละประมาณ ๗๔,๐๐๐ บาท รวม ๔ ทุน เปนเงิน ๒๙๖,๐๐๐ บาท ผลการดําเนินงานป ๒๕๕๑-๒๕๕๓ กระทรวงเกษตรและสหกรณดําเนินการคัดเลือกผูม ีสทิ ธิไดรบั ทุนการศึกษาภาษาจีน จากสวน ราชการในสังกัดเขารับทุนการศึกษาอบรมประจําป ๒๕๕๑-๒๕๕๓ ตามรายละเอียดดังนี้ คือ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๖ ลําดับที่ พ.ศ.2551 1 2 พ.ศ.2552 1 2
ชื่อ-นามสกุล
ตําแหนง
หนวยงาน
นางปวีณา ทะรักษา นางสาวปยะรัตน รุจิณรงค
นักวิทยาศาสตร 5 นักวิทยาศาสตร 5
กรมวิชาการเกษตร กรมวิชาการเกษตร
นางสาวอรอนงค โคกสูงเนิน นางสาวปยะมาศ ไชยพรพัฒนา
นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
กรมการขาว สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ กรมวิชาการเกษตร กรมการขาว
พ.ศ. 2553 1 นางสาวสุนันทา มณี 2
นางสาวพิมลพรรณ เกษตรเวทิน
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
3 4
นางสาวอุมาภรณ สุจริตทวีสุข นางสาวนงนุช จิระเสาวภาคย
นักวิทยาศาสตรปฏิบัติการ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
ผลที่ไดรับ ผูผานการฝกอบรมสามารถใชภาษาจีนในการติดตอสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพในระดับ สากลเปนที่ยอมรับของผู ที่มีปฏิสัมพันธในดานภาษาจีน นอกจากนี้ ผูผานการศึกษาอบรมยังสามารถเขาใจ พฤติ ก รรม สั ง คม สั ง คมจิ ตวิ ท ยา ขนบธรรมเนี ยม ประเพณีนิย มของชาวจี นก อ ให เ กิ ดประโยชน ในการ ปฏิสัมพันธดวย ปญหาและอุปสรรค งบประมาณอุดหนุนผูไดรับทุน/ คน/ป คอนขางนอย และโควตาผู เขารับการศึกษามีนอยกวาความ ตองการศึกษาอบรม 3.3.3 ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวงการตางประเทศ ทุ น ฝ ก อบรม สั ม มนา ดู ง าน ทั้ ง ในและต า งประเทศ ที่ ไ ด รั บ จั ด สรรจากกระทรวงการ ตางประเทศ เปนทุนที่รัฐบาลตางประเทศ องคการตางประเทศ หรือนิติบุคคลตางประเทศ จัดสรรใหแกรัฐบาล ไทยเพื่อสงขาราชการไปศึกษา ฝกอบรม ปฏิบัติการวิจัยหรือดูงาน ณ ตางประเทศ ซึ่งกระทรวงการตางประเทศ จะจัดสรรใหสวนราชการตางๆตามภารกิจของสวนราชการนั้น โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ กระทรวง เกษตรและสหกรณไดรั บ การจัดสรรทุ นจากกระทรวงการตางประเทศ ทั้ ง ในดานการบริ หารจั ดการ ดาน พัฒนาการผลิตดานบริห ารจัดการทรัพ ยากรดานการผลิต และดานส งเสริม และพัฒ นาเกษตรกรและระบบ สหกรณ รวมทั้งหมด ๗๐ หลักสูตร ซึ่งสรุปไดดังในตาราง
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๗
ผลการดําเนินงาน สรุปสถิติทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวงการตางประเทศ ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๓ ทุนฝกอบรม รัฐบาล
จํานวน หลักสูตร
เสนอชื่อ ผูขอรับทุน
ไทย มาเลเซีย ญี่ปุน จีน สิงคโปร อิสราเอล อินโดนีเซีย อียิปต อินเดีย สวีเดน ลุมน้ําโขง รวมทั้งสิ้น
6 3 27 6 6 2 1 11 4 3 1 70
18 5 61 13 13 2 1 25 8 7 3 156
ผาน แหลงทุน การทดสอบอังกฤษ ตอบรับ 4 12 2 5 1 7 31
5 12 2 7 1 5 32
ผลที่ไดรับ การไดรับทุ นฝ กอบรม สั มมนา ปฏิบัติง านวิจัยหรื อดูงานการตางประเทศ ทํ าให ผูรั บทุ นไดเพิ่ มพู น ความรู ประสบการณ และวิสัยทัศน ในสาขาวิชาความรูที่เกี่ยวของกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ อาทิเชน สาขาวิชาที่เกี่ยวกับพืช ประมง ปศุสัตว วิศวกรรมที่เกี่ยวกับน้ําและการชลประทาน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ของโลก การวิเคราะหโครงการ ความยั่งยืนทางดานอาชีพเกษตรกรรม อาหารที่ปลอดภัยไดมาตรฐาน เปนตน ความรูตางๆ ที่ไดรับจะไดนํากลับมาปรับพัฒนาและใชในองคกร เพื่อผลประโยชนของเกษตรกรและผูเกี่ยวของ ภายในประเทศตลอดจนการประสานความรวมมือระหวางประเทศ ปญหาและอุปสรรค จากจํานวนหลักสูตรที่ไดรับทั้งหมด ๗๐ ทุน สถาบันเกษตราธิการไดเสนอชื่อผูรับทุนฝกอบรมจํานวน ๑๕๖ ราย โดยมีจํานวนผูรับทุนที่แหลงทุนไดพิจารณาตอบรับจํานวนทั้งหมดเพียง ๓๒ ราย เนื่องจากผูขอรับ ทุนมีคะแนนการทดสอบภาษาอังกฤษไมผานเกณฑที่แหลงทุนกําหนด และขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลาที่ แหล ง ทุ นกํ าหนดส ง ผลให ห นว ยงานที่ ไ ดรั บ การจั ดสรรพิ จ ารณาสละสิ ท ธิก ารรั บ ทุ นเนื่ อ งจากไม ส ามารถ ดําเนินการไดทันตามกําหนดระยะเวลา รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๖๘
ภาคผนวก
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
บุคลากรสถาบันเกษตราธิการ
นางประคองศรี หาญตระการพงษ์ ผู้อานวยการสถาบันเกษตราธิการ
ฝ่ายบริหารทั่วไป
กลุ่มยุทธศาสตร์ การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล
กลุ่มวิชาการ และหลักสูตร
นายจเด็ด กลิ่นชื่น
นางวลีพร นนทิการ
นักจัดการงานทั่วไปชานาญการ
รักษาการในตาแหน่งนักทรัพยากรบุ คคลชานาญการพิเศษ
นายรังสรรค์ นฤมิตญาณ
นางวัชรียา ใจเพียร
นักวิชาการเผยแพร่ ชนก.
เจ้ าพนักงานธุรการ ชนง.
นางพัช นี หรรษาจารุพันธ์ นักทรัพยากรบุคคล ชนก.
นายวันปิย ะ วาทิน นักทรัพยากรบุคคล ชนก.
กลุ่มส่งเสริมการศึกษา และเทคโนโลยีพัฒนา ทรัพยากรบุคคล
นางโสภา คงคารัตน์
นายโสภณ ไพศาลโรจนรัตน์
นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ
นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ
นางสาวศิริวรรณ เครือเล็ก
นางสาวนิชชิ มา โพธิโ ชติ
พ.อ.อ.คานึง ใจเพียร
นางสาวพะเยีย บารุงสุข
นักทรัพยากรบุคคล ชนก.
นักทรัพยากรบุคคล ชนก.
นักทรัพยากรบุคคล ชนก.
นักทรัพยากรบุคคล ชนก.
นางสาวชุติวรรณ สูงศักดิ์ นางเบญจมาศ การเกษ เจ้าพนักงานการเงินและบัญ ชี ชนง.
เจ้าพนักงานธุรการ ชนง.
นางสาวณัฐนันท์ เจริญศรี นายอิทธิกร พัดทอง นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นางสาวปิยะดา มาศจด
นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นางสาวสุกัญญา ชูเชิด นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นายยุ ทธภูมิ ประสมทรัพย์ นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ
นางวรรณ์ ภัสสร ศรีจันทร์ นายชัยรัตน์ ไชยยศ นักทรัพยากรบุคคลชนก.
นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ
นายพานิช สุดกลาง
เจ้ าพนัก งานการเงิน และบัญชี ชนง.
พนักงานพิมพ์ดีดชั้น 3
นางสาวสุพัตรา กิ้มเส้ง
นางสาวเพ็ญนภา ปาลวัฒน์
นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นักวิชาการเผยแพร่
นางอัญญมณี ฟูเต็มวงศ์
นางสาวนงเยาว์ สุข นุ่ม
นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ
บรรณารักษ์ปฏิบัติการ
นายศักดิ์ดา กรธนิกกุล
นางสาวภัทรียา สังข์ดี
เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา ชนง.
นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นางสาวสุรีย์ พร ถิระวรรณธร นางสุทิศา เหรียญไกร พนักงานพิมพ์ดี ดชั้น 3
นายดิเรก สีทา พนัก งานขับรถยนต์
นายเอกรินทร์ ราษฏร์ยิ นดี นายช่ างอิเล็ คทรอนิกส์
พนักงานพิมพ์ดี ดชั้น 2
นายกฤษฏา อินทุประภา นางสาวนันทภรณ์ อินทุประภา พนักงานขับรถยนต์
นายสิทธิชัย ทรัพย์แสนดี เจ้าหน้าที่ผลิต สื่อและเอกสารฝึกอบรม
นักพัฒนาทรัพ ยากรบุค คล
นายสุริยา วังใน พนักงานขับรถยนต์
ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่ว คราว
22 คน 5 คน 7 คน 3 คน
ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2554
๗๐
เว็บไซดสถาบันเกษตราธิการ www.kst.go.th
เว็บไซดเผยแพรสื่อวีดที ศั น www.kststation.com รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๗๑
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๗๒
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
๗๓
คณะผูจัดทํา 1. นางประคองศรี หาญตระการพงษ
ผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการ
ประธานคณะทํางาน
2. นางโสภา คงคารัตน 3. นายโสภณ ไพศาลโรจนรัตน
หัวหนากลุมวิชาการและหลักสูตร หัวหนากลุมสงเสริมการศึกษาและ เทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล รักษาการหัวหนากลุมยุทธศาสตร การพัฒนาทรัพยากรบุคคล หัวหนาฝายบริหารทั่วไป นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ
คณะทํางาน คณะทํางาน
4. นางวลีพร นนทิการ 5. นายจเด็ด กลิ่นชื่น 6. นายวันปยะ วาทิน 7. นางวรรณภัสสร ศรีจันทร 8. นายยุทธภูมิ ประสมทรัพย 9. นายรังสรรค นฤมิตญาณ
คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ
รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ