พระราชบัญญัติ 4 ฉบับ

Page 1


การขัดกันระหว่ างประโยชน์ ส่วนบุคคล และประโยชน์ ส่วนรวม โดย.. นายภูมวิ ฒ โดย ั น์ รัตนผล ผู้อาํ นวยการสํ านักไต่ สวนการทุจริตภาคการเมือง 1

การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม

มาตรา ๑๐๐

ห้ามมิให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูใ้ ดดําเนิ นกิจการ ดังต่อไปนี

(๑) เป็ นคู่สญ ั ญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาทีทํากับหน่ วยงานของรัฐทีเจ้าหน้าที ของรัฐผูน้ นปฏิ ั บตั ิหน้าทีในฐานะทีเป็ นเจ้าหน้าทีของรัฐซึงมีอํานาจกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบ ดําเนิ นคดี (๒) เป็ นหุน้ ส่วนหรือผูถ้ ือหุน้ ในห้างหุน้ ส่วน หรือบริษทั ทีเข้าไปเป็ นคู่สญ ั ญากับ ่ ั ี ้ ้ ี ั น้ นปฏบตหนาทในฐานะ…ฯลฯ ั ป ิ ั ิ ้ ีใ หนวยงานของรฐทเจาหนาทของรฐผู (๓) รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซึงสัมปทานจากรัฐ...ฯลฯ หรือเข้าเป็ นคู่สญ ั ญากับ รัฐ...ฯลฯ อันมีลกั ษณะผูกขาดตัดตอน ทังนี ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรือเป็ นหุน้ ส่วนหรือผูถ้ ือหุน้ ในห้างหุน้ ส่วนหรือบริษทั ทีรับสัมปทานหรือเข้า เป็ นคู่สญ ั ญาในลักษณะดังกล่าว

2

1


มาตรา ๑๐๐

ห้ามมิให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูใ้ ดดําเนิ นกิจการ ดังต่อไปนี

(๔) เข้าไปมีส่วนได้เสี ยในฐานะเป็ นกรรมการทีปรึกษา ตัวแทน พนักงาน หรือ ลู​ูกจ้าง ของเอกชน ซึงอยู่ภู ายใต้การกํากับ ดูแู ล ควบคุมุ หรือตรวจสอบ ของหน่ วยงานของรัฐทีเจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นสั ั งกัดอยู่หรือปฏิบตั ิหน้าทีใน ฐานะเป็ นเจ้าหน้าที ของรัฐ ซึงโดยสภาพของผลประโยชน์ของธุรกิจของ เอกชนนันอาจขัดหรือแย้งต่อประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ทางราชการ หรือกระทบต่อความมีอิสระในการปฏิบตั ิหน้าทีของเจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นั เจ้าหน้าทีของรัฐตําแหน่ งใดทีต้องห้ามมิให้ดาํ เนิ นกิจการตามวรรคหนึ ง เจาหนาทของรฐตาแหนงใดทตองหามมใหดาเนนกจการตามวรรคหนง ให้เป็ นไปตามทีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา *ให้นําบทบัญญัติในวรรคหนึ ง มาใช้บงั คับกับคู่สมรสของเจ้าหน้าทีของรัฐตาม วรรคสอง โดยให้ถือว่าการดําเนิ นกิจการของคู่สมรสดังกล่าว เป็ นการดําเนิ น กิจการของเจ้าหน้าทีของรัฐ 3

มาตรา ๑๐๑ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๐๐ มาใช้ บังคับกับการดําเนิ นกิจการของผูซ้ ึงพ้นจากการเป็ น เจ้าหน้าทีของรัฐมาแล้วยังไม่ถึงสองปี โดยอนุโลม เว้นแต่การเป็ นผูถ้ ือหุน้ ไม่เกินร้อยละห้าของจํานวนหุน้ ทังหมดทีจําหน่ ายได้ในบริษทั มหาชนจํากัด ซึงมิใช่ บริษทั ทีเป็ นค่สู ญญ ั ญากับหน่ วยงานของรัฐตามมาตรา ญ ๑๐๐ (๒) ทีได้รบั อนุ ญาตตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 4

2


มาตรา ๑๐๒ บทบัญญัติมาตรา ๑๐๐ มิให้ นํ ามาใช้บงั คับกับการดําเนิ นกิจการของเจ้าหน้าทีของ นามาใชบงคบกบการดาเนนกจการของเจาหนาทของ รัฐ ซึงหน่ วยงานของรัฐทีมีอํานาจกํากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบการดําเนิ นงานของบริษทั จํากัดหรือ บริษทั มหาชนจํากัดมอบหมายให้ปฏิ บตั ิหน้าทีในบริษทั จํ​ํากัดั หรื​ือบริษทั มหาชนจํ​ํากัดั ที​ีหน่​่ วยงานของรัฐั ถื​ือหุน้ หรือเข้าร่วมทุน 5

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๒ ๕๒

ผูใ้ ดเป็ป็ นเจ้า้ พนักั งาน มี​ีหน้า้ ที​ี

จัดการหรือ ดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสีย เพือประโยชน์สําหรับตนเองหรือผูอ้ ืนเนื องด้วย กิจการนัน ต้องระวางโทษจําคุก ตังแต่หนึ งปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่สองพันบาทถึงสองหมืนบาท 6

3


มาตรา ๑๐๓

ห้ามมิให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูใ้ ดรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อืนใดจากบุคคล นอกเหนื อจากทรัพย์สิน หรือ ประโยชน์อนั ควรได้ตามกฎหมายหรือกฎ ข้อบังคับทีออก โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใดโดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจํานวนทีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด บทบัญญัติในวรรคหนึ ง ให้ใช้บงั คับกับการรับทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อืนใดของผูซ้ ึงพ้นจากการเป็ นเจ้าหน้าทีของรัฐมาแล้ว ยังไม่ถึงสองปี ด้วยโดยอนุ โลม 7

มาตรา ๑๑๐๓ ๑๐๓//๑ บรรดาความผิดทีบัญญ ญญัติ ไว้ในหมวดนี ให้ถือเป็ นความผิ ดฐานทุจริตต่อ หน้าทีหรือความผิดต่อตําแหน่ งหน้าทีราชการหรือ ความผิดต่อตําแหน่ งหน้าทีในการยุติธรรมตาม ประมวลกฎหมายอาญาด้วย 8

4


ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรือง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อืนใดโดยธรรมจรรยาของ เจ้าหน้าทีของรัฐ พ. พ.ศ. ๒๕๔๓ ประกาศโดยอาศยอานาจตาม ประกาศโดยอาศัยอํานาจตาม มาตรา ๑๐๓ ของ พพ..ร.บ. ป.ป.ช. เมือวันที ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ มีผลบังคับใช้ เมือวันที ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๓ 9

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้ อ ๓ เป็ นบทนิยามความหมายของคําหรือข้ อความ ดังนี “การรั​ับทรั​ัพย์​์ สิ นหรื​ือปประโยชน์ โ ์ อนื ใดโดยธรรมจรรยา” ใ โ ใดโดยธรรมจรรยา ” หมายความว่ า การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อนใดจากญาติ ื หรือ จากบุคคล ทีให้ กนั ในโอกาสต่ าง ๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือ วัฒนธรรม หรือให้ กนั ตามมารยาททีปฏิฏบตั ิกนั ในสั งคม

“ญาติ” หมายความว่า ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน พีน้ องร่ วมบิดามารดา หรือ ร่ วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน ลุง ป้า น้ า อา คู่สมรส ผู้บุพการีหรือผู้สืบสั นดาน ของคู่สมรส บุตรบุญธรรมหรือผู้รับบุตรบุญธรรม

1 0

5


ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. “ประโยชน์ อนใด นใด” ื ” หมายความว่า สิ งทีมีมูลค่า ได้แก่ (๑) การลดราคา (๒) การรับความบันเทิง (๓) การรับบริการ (๔) การรับการฝึ กอบรม (๕) สิ งอืนใดในลักษณะเดียวกัน 1 1

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๔ ห้ามมิให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูใ้ ด รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใด จากบุคคล นอกเหนอจากทรพยสนหรอประโยชนใดอนควรได ื ั ์ ิ ื ป โ ใ์ ั ไ ้ - ตามกฎหมาย - กฎ - ข้อบังคับ ทีออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใด โดยธรรมจรรยา ตามที กําหนดไว้ในประกาศนี 1 2

6


ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๕ เจ้าหน้าทีของรัฐจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใด โดยธรรมจรรยาได้ ดังต่อไปนี (๑) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใดจาก ญาติ ซึงให้โดยเสน่ หา ตามจํานวนทีเหมาะสมตามฐานานุรปู (๒) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใดจากบุคคลอืนซึงมิใช่ญาติ มีราคาหรือมลค่ มราคาหรอมู ลคาในการรบจากแตละบุ าในการรับจากแต่ละบคคล คคล แต่ แตละโอกาส ละโอกาส ไม่เกินสามพันบาท (๓) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใดทีการให้นนเป็ ั นการให้ ในลักษณะให้กบั บุคคลทัวไป 1 3

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๖ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใดจากต่างประเทศ - ผูใ้ ห้มิได้ระบุให้เป็ นของส่วนตัว - มีราคาหรือมูลค่าเกินกว่าสามพันบาทไม่ว่าจะระบุเป็ นของส่วนตัว หรือไม่ แต่มีเหตุผลความจําเป็ นทีจะต้องรับไว้เพือรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล ให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นรายงาน ั รายละเอียดข้อเท็จจริงเกียวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ดงั กล่าว ให้ผบู ้ งั คับบัญชาทราบโดยเร็ว หากผูบ้ งั คับบัญชาเห็นว่าไม่มีเหตุทีจะอนุ ญาตให้เจ้าหน้าทีผูน้ นั ยึดถือทรัพย์สินหรือประโยชน์ดงั กล่าวนันไว้เป็ นประโยชน์ส่วนบุคคล ให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นส่ ั งมอบทรัพย์สินให้หน่ วยงานของรัฐ ทีเจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นสั ั งกัดโดยทันที

1 4

7


ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๗ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อืนใดทีไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ หรอมราคาหรอมู ื ี ื ลคามากกวาทกาหนดไวในขอ ่ ่ ี ํ ไ ใ้ ้ ๕ - เจ้าหน้าทีของรัฐได้รบั มาแล้วโดยมีความจําเป็ นอย่างยิง ทีต้องรับไว้เพือ.... รักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างบุคคล เจ้าหน้าที ของรัฐผูน้ นั ต้อง....แจ้งข้อเท็จจริงเกียวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์นนั ต่อผูบ้ งั คับบัญชา ซึงเป็​็ นหัวหน้า้ ส่วนราชการ ผูบ้ ริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ฯลฯ ทีเจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นสั ั งกัด โดยทันทีทีสามารถกระทําได้ เพือให้วินิจฉัยว่า.... มีเหตุผล,ความจําเป็ น,ความเหมาะสม และสมควรทีจะให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นั รับทรัพย์สินหรือประโยชน์นนไว้ ั เป็ นสิทธิของตนหรือไม่ 1 5

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. วรรค ๒ ในกรณีทีผูบ้ งั คับบัญชา ฯลฯ มีคําสังว่า ไมสมควรรบทรพยสนหรอประโยชนดงกลาวกให.... ไม่ สมควรรับทรัพย์สินหรือปร โยชน์ดงั กล่าวก็ให้ * คืนทรัพย์สินหรือประโยชน์นนแก่ ั ผูใ้ ห้โดยทันที

กรณี ทีไม่สามารถคืนให้ได้

*ต้องส่งมอบทรัพย์สินหรือประโยชน์ดงั กล่าวให้เป็ นสิทธิ ของหน่ วยงานทีเจ้าหน้าทีของรัฐผ้นนสั ของหนวยงานทเจาหนาทของรฐผู นสงกดโดยเรว ั งกัดโดยเร็ว เมือได้ดําเนิ นการตามความในวรรค ๒ แล้ว ให้ถือว่า เจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นไม่ ั เคยได้รบั ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ดงั กล่าวเลย

1 6

8


ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผูบ้ งั คับบัญชาซึงเป็ นหัวหน้าส่วนราชการดังต่อไปนี (๑) ระดั ระดบกระทรวงหรอเทยบเทา บกระทรวงหรือเทียบเท่า (๒) กรรมการหรือผูบ้ ริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือ ของหน่ วยงานของรัฐ * ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเกียวกับ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์นนั ต่อผูม้ ีอาํ นาจแต่งตังถอดถอน (๓) ประธานกรรมการและกรรมการในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ( ) ผูด้ ํารงตําํ แหน่​่ งที​ีไม่​่มีผูบ้ งั คับั บัญ (๔) ั ชาที​ีมีอาํ นาจถอดถอน * ให้แจ้งต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (๕) ผูด้ าํ รงตําแหน่ ง สส. สว. สมาชิกสภาท้องถิน (สก.สจ.สท.อบต.) ให้แจ้งต่อประธานสภา ทีเจ้าหน้าทีของรัฐผูน้ นเป็ ั นสมาชิก เพือดําเนิ นการวินิจฉัยและมีคําสัง 1 7

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๘ หลักเกณฑ์ ตามประกาศฉบับนี ให้ใช้บงั คับแก่ ผูซ้ ึงพ้นจากการเป็ นเจ้าหน้าทีของรัฐมาแล้วไม่ถึง ๒ ปี ด้วย * ข้อสังเกต ผูท้ ีพ้นจากการเป็ นเจ้าหน้าทีของรัฐ ก่อน ประกาศฉบับนี มีผลบังคับ (๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๓) ไม่น่าจะอยู่ในบังคับตามประกาศนี

1 8

9


พ.ร.บ. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒๒ เจ้าหน้าทีของรัฐผู​ูใ้ ดฝ่ าฝื น บทบัญญัติ มาตรา ๑๐๐ มาตรา ๑๐๑ หรือมาตรา ๑๐๓ ต้องระวางโทษ จําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกหมืนบาท หรือทังจําทังปรับ กรณี ความผิ ดตาม มาตรา ๑๐๐ วรรคสาม หากเจาหนาทของรฐผู หากเจ้าหน้าทีของรัฐผ้ใด พิสจู น์ได้ว่าตนมิได้รเู ้ ห็น ยิ นยอมด้วยในการที คู่สมรสของตนดําเนิ นกิจการตาม มาตรา ๑๐๐ วรรคหนึ ง ให้ถือว่าผูน้ นไม่ ั มีความผิ ด 1 9

ขอขอบพระคุณ 20

1 0


“ฮัว” ว” คืออะไร ภาษากฎหมาย เรียกว่า “การสมยอมการเสนอราคา การสมยอมการเสนอราคา””

“การสมยอมการเสนอราคา” (ฮัว) หมายความว่ า การทีผู้เสนอราคาตังแต่ สองคนขึนไป ตกลงกระทําการ ร่ วมกันในการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ

1


โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ ª กําํ หนดราคาอันั เป็ป็ นการเอาเปรี ป ียบแก่​่ หน่​่ วยงาน ของรัฐ หรือ ª หลีกเลียงการแข่ งขันกันอย่ างแท้ จริงและเป็ นธรรม อันเป็ นการเอือประโยชน์ แก่ ผู้เสนอราคารายหนึง หรือหลายรายให้ เป็ นผู้มสี ิ ทธิทาํ สั ญญา หรือ ª เพือผลประโยชน์ อย่ างใด ระหว่ างผู้เสนอราคาด้ วยกัน

“ฮัว” ว” เกิดความเสียหายอย่างไร ถือเป็ นการทุจริตอย่ างร้ ายแรง ทําให้ รัฐสู ญเสี ย ประโยชน์ ก่อให้ เกิดการผูกขาด สร้ างอิทธิพลในการ ก่​่ อสร้​้ าง รวมถึงึ การจั​ัดซื​ือจัดั จ้​้ าง ส่​่ งผลเสี​ี ยหาย ต่ อประชาชนผู้เป็ นเจ้ าของเงินและเจ้ าของประเทศ

2


กฎหมายว่าด้วยการฮัว มี “พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกียวกับการ เสนอราคาต่อหน่ วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542” หรือ คนทัวไปเรียกสัน ๆ ว่า “กฎหมายว่าด้วยความผิด เกียวกับการฮัว” ออกมาบังคับใช้

นิยามทีสํ าคัญ

“การเสนอ การเสนอราคา ราคา”” หมายความว่า การยืนข้อเสนอเพือเป็ นผูม้ ีสิทธิ ทําสัญญากับหน่ วยงานของรัฐอันเกียวกับ การซือ การจ้าง การแลกเปลียน การเช่า การจําหน่ าย ทรัพย์สิน การได้รบั สัมปทาน การได้รบั สิทธิใด ๆ

3


นิยามทีสํ าคัญ

“หน่ วยงานของรัฐ”

หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ราชการ ส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิน รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานอืนของรัฐ หรือหน่ วยงานอืนใด ทีดําเนินกิจการของรัฐตามกฎหมาย และได้รบั เงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ

“ผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง” ง” หมายความว่ า (1) (2) (3) (4) ((5))

นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี รฐมนตร สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมืองอืนนอกจาก (1) และ (2) ตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบข้าราชการการเมือง

4


(6) ข้าราชการรัฐสภาฝ่ ายการเมืองตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ กฎหมายวาดวยระเบยบขาราชการ ฝ่ ายรัฐสภา

(7) ผูบู้ ริหารท้องถินและสมาชิกสภาท้องถิน

“คณะกรรมการ ป.ป.ช.” หมายความว่า คณะกรรมการป้ องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ

5


การบังคับใช้ บงคบใชกบเจาหนาทของรฐและ บังคับใช้กบั เจ้าหน้ าทีของรัฐและ ผูด้ าํ รงตําแหน่ งทางการเมือง บังคับใช้กบั ภาคธุรกิจ ทีเป็ นคู่สู ญญ ญ ั ญากับรัฐ บังคับใช้กบั ประชาชนทัวไป ทีมีส่วนร่วมกระทําผิด

ถ้ าทําผิด “กฎหมายว่ าด้ วยการฮัว” ว” มีบทลงโทษอย่ างไร D ความผิดบุคคลทัวไป (มาตรา 4 – มาตรา 9) D ความผดเจาหนาทของรฐ ความผิดเจ้าหน้ าทีของรัฐ (มาตรา 10 – มาตรา 13 13)) มีทงโทษ ั จําคุก และ ปรับ

6


ความผิดของบุคคลทัวไป (มาตรา 4 – มาตรา 9) มาตรา 4

(สมยอมราคา)

ผู้ใดตกลงร่ วมกันในการเสนอราคา เพือวัตถุประสงค์ ทจะ ี ให้ ประโยชน์ แก่ ผู้ใดผู้หนึง เป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญากับหน่ วยงานของรัฐ โดยหลีกเลียงการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม หรือโดยการกีดกันมิให้ มีการเสนอสิ ส สนค้ าหรือบริการอืนต่ อหน่ วยงานของรัฐ หรือโดยการ เอาเปรียบแก่ หน่ วยงานของรัฐ อันมิใช่ เป็ นไปในทางการประกอบ

ธุรกิจปกติ ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ หนึงปี ถึงสามปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีมีการเสนอราคาสู งสุ ด ในระหว่ างผู้ร่วมกระทําความผิดนัน หรือของจํานวนเงินทีมีการทํา สั ญญากับหน่ วยงานของรัฐแล้ วแต่ จาํ นวนใดจะสู งกว่ า ผ้ ูใดเป็ นธระในการชั กชวนให้ ผู้อนร่ ื วมตกลงกันในการกระทํา ุ ความผิดตามทีบัญญัตไิ ว้ ในวรรคหนึง ผู้นันต้ องระวางโทษตาม วรรคหนึง

7


ความผิดของบุคคลทัวไป (มาตรา 4 – มาตรา 9) (สมยอมราคา) มาตรา 4 ลักษณะความผิด )

)

- ผู้ใดตกลงร่​่ วมกันั ใในการเสนอราคา - เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูใดเป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา - โดยหลีกเลียงการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ) - ผูผ้ ใดตกลงร่ ดตกลงรวมกนในการเสนอราคา วมกันในการเสนอราคา - เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผู้ใด เป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา - โดยกีดกันไม่ ให้ เสนอสิ นค้ าหรือบริการ (อัตราโทษ)

) - ผู้ใดตกลงร่ วมกันในการเสนอราคา - เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูใดเป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา - โดยเอาเปรียบหน่ วยงานของรัฐ ซึงมิใช่ การประกอบธุรกิจปกติ (อัตราโทษ) ) - ผู้เป็ นธุระในการชักชวนให้ ผู้อนร่ ื วมตกลง - เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูใดเป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา - โดยหลีกเลียงการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ) ) - ผู้ใดเป็ นธุระในการชักชวนให้ ผ้ อู นร่ ื วมตกลง - เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูใดเป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา - โดยกีดกันไม่ ให้ เสนอสิ นค้ าหรือบริการ (อัตราโทษ)

8


) - ผู้ใดเป็ นธุระในการชักชวนให้ ผ้อู นร่ ื วมตกลง - เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูใดเป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา - โดยเอาเปรยบหนวยงานของรฐซงมใชการประกอบธุ โดยเอาเปรียบหน่ วยงานของรัฐซึงมิใช่ การประกอบธรกิ รกจปกต จปกติ (อัตราโทษ)

อัตราโทษ จาคุ ํ ก 1 – 3 ปปี และปรบร้ ป ั ้ อยละห้​้ าสบของจานวนเงนทเสนอราคา ิ ํ ิ ี สู งสุ ด หรือทีมีการทําสั ญญา แล้ วแต่ จํานวนใดจะสู งกว่ า

ผู้ใดตกลงร่ วมกัน ในการเสนอราคา

เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผู้ใด เป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา

โดย

หลีกเลียงการแข่ งขันราคา อย่ างเป็ นธรรม กีดกันไม่ ให้ เสนอสิ นค้ า หรือบริการ เอาเปรียบหน่ วยงานของรัฐ ซึงมิใช่ การประกอบธุรกิจปกติ

ผู้ใดเป็ นธุระ ในการชักชวน ใ ้ ผู้อนื รวมตกลง ให้ ่

เพือให้ ประโยชน์ แก่ ผู้ใด เป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา

โดย

หลีกเลียงการแข่ งขันราคา อย่ างเป็ นธรรม กีดกันไม่ ให้ เสนอสิ นค้ า หรือบริการ เอาเปรียบหน่ วยงานของรัฐ ซึงมิใช่ การประกอบธุรกิจปกติ

9


ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 4 1. ก.ข.ค. และ ง. เป็ นผู้เสนอราคาในงานก่ อสร้ างของหน่ วยงานของ รัฐแห่ งหนึงทังหมดได้ ตกลงกันว่ าจะเสนอราคาโดยมุ่งหมายให้ รายใด รายหนึ​ึงเป็ นผู้ได้​้ งาน เช่​่ น ก.ข.ค. แกล้​้ งเสนอราคาให้ ใ ้ สูงทัง 3 ราย เพือให้ ง. ได้งาน ซึงราคาที ง. เสนอตําสุ ดนันก็ยงั สู งกว่ าราคากลาง ทําให้ ทางราชการเสี ยเปรียบ Ã ทัง ก.ข.ค. และ ง. มีความผิดตามมาตรานี 2. ก.ข.ค. และ ง. ต่ างคนต่ างเสนอราคาของตนเอง ต่ อมาคนใดคนหนึง หรือคนอืนเข้ ามาชักชวนหรือจัดการให้ มกี ารสมยอมในการเสนอราคา Ã คนทีชั กชวนหรื อจัดการดังกล่ าวมีความผิดตามมาตรานี เช่ นเดียวกัน

มาตรา 5

(การจัดฮัวกัน)

ผ้ผูใดให ดให้ ขอให ขอให้ หรื หรอรบวาจะใหเงนหรอทรพยสนหรอประโยชนอนใด อรับว่ าจะให้ เงินหรือทรัพย์ สินหรือประโยชน์ อนใด ื แก่ ผ้ ูอนเพื ื อประโยชน์ ในการเสนอราคา โดยมีวตั ถุประสงค์ ทีจะจูงใจ ให้ ผู้นันร่ วมดําเนินการใด ๆ อันเป็ นการให้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูใดผู้หนึง เป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญากับหน่ วยงานของรัฐ หรือเพือจูงใจให้ ผ้นู ัน ทําการเสนอราคาสู​ู งหรือตําจนเห็นได้ ชัดว่ า ไม่ เป็ นไปตามลักษณะ สิ นค้ า บริการ หรือสิ ทธิทจะได้ ี รับ หรือเพือจูงใจให้ ผ้ ูนันไม่ เข้ าร่ วม

10


ในการเสนอราคาหรือถอนการเสนอราคา ต้ องระวางโทษจําคุก ตังแต่ หนึงปี ถึงห้ าปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีมี การเสนอราคาสู งสุ ดในระหว่ ใ ่ างผู้ ร่ วมกระทําํ ความผิดิ นั​ัน หรื​ือของ จํานวนเงินทีมีการทําสั ญญากับหน่ วยงานของรัฐแล้ วแต่ จาํ นวนใด จะสู งกว่ า ผู้ใดเรียก รับ หรือยอมจะรับเงินหรือทรัพย์ สินหรือ ประโยชน์ อนใด ื เพือกระทําการตามวรรคหนึง ให้ ถอื ว่ าเป็ น ผู้ร่วมกระทําความผิดด้ วย

มาตรา 5 ลักษณะความผิด

(การจัดฮัวกัน)

)- ผูู้ใดให้ เงิน หรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ อนใด ื - เพือจูงใจให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผู้ใด เป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญา (อัตราโทษ) ื )- ผูู้ใดให้ เงิน หรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ อนใด - เพือจูงใจให้ เสนอราคาสู งกว่ าหรือตํากว่ าลักษณะสิ นค้ า บริการ หรือสิ ทธิทจะได้ ี รับ (อัตราโทษ)

11


) - ผู้ใดให้ เงิน หรือทรัพย์ สินหรือประโยชน์ อนใด ื - เพือจูงใจให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือถอนการเสนอราคา (อัตราโทษ) (อตราโทษ) ) - ผู้ใดเรียกเงิน หรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ อนใด ื - เพือจูงใจให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผู้ใด เป็ นผู้มสี ิ ทธิทาํ สั ญญา - ถือเป็ นผู้ร่วมกระทําความผิด (อัตราโทษ)

) - ผู้ใดรับเงิน หรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ อนใด ื - เพือจูงใจให้ เสนอราคาสู งกว่ า หรือตํากว่ าลักษณะสิ นค้ า บริการ หรือสิ ทธิทจะได้ ี รับ - ถือเป็ นผู้ร่วมกระทําความผิด (อัตราโทษ) ) - ผู้ใดยอมจะรับเงิน หรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ อนใด ื - เพือจู​ูงใจให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือถอนการเสนอราคา - ถือเป็ นผู้ร่วมกระทําความผิด (อัตราโทษ)

12


อัตราโทษ จําคุก 1 – 5 ปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีเสนอราคา สูสงสด งสุ ด หรื หรอทมการทาสญญา อทีมีการทําสั ญญา แล้ แลวแตจานวนใดจะสู วแต่ จํานวนใดจะสงกว่ งกวาา ผู้ใดให้

- เงิน - ทรัพย์สิน - ประโยชน์

เพือจูงใจ

ให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ใู ดเป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา ให้ เสนอราคาสู งกว่ าหรือตํากว่ า ลักั ษณะสิ​ิ นค้​้ า บริ​ิการหรื​ือสิ​ิ ทธิ​ิ ทีจะได้ รับ ให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือ ถอนการเสนอราคา

ผู้ใดขอให้

ผู้ใดรับว่ าจะให้

เพือจูงใจ - เงิน - ทรัพย์สิน - ประโยชน์

ให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ใู ดเป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา ให้ เสนอราคาสู งกว่ าหรือตํากว่ า ลักษณะสิ นค้ า บริการหรือสิ ทธิ ทีจะได้ รับ ทจะไดรบ

ให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือ ถอนการเสนอราคา เพือจูงใจ ให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ - เงิน แก่ ผ้ใู ดเป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา - ทรัพย์สิน - ประโยชน์ ป โ ์ ให้ เสนอราคาสู งกว่ าหรือตํากว่ า ลักษณะสิ นค้ า บริการหรือสิ ทธิ ทีจะได้ รับ ให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือ ถอนการเสนอราคา

13


ผู้ใดเรียก

ผู้ใดรับ

เพือจูงใจ - เงิน - ทรัพย์สิน - ประโยชน์

เพือจูงใจ - เงิน - ทรัพย์สิน - ประโยชน ประโยชน์

ให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ใู ดเป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา ให้ เสนอราคาสู งกว่ าหรือตํากว่ า ลักษณะสิ นค้ า บริการหรือสิ ทธิ ทีจะได้ รับ ทจะไดรบ ให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือ ถอนการเสนอราคา ให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ใู ดเป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา ใให้​้ เสนอราคาสู งกว่​่ าหรื​ือตํากว่​่ า ลักษณะสิ นค้ า บริการหรือสิ ทธิ ทีจะได้ รับ ให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือ ถอนการเสนอราคา

ผู้ใดยอมจะรับ

เพือจูงใจ - เงิน - ทรัพย์สิน ป โ ์ - ประโยชน์

ให้ ร่วมดําเนินการให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ใู ดเป็ นผู้มสี ิ ทธิทําสั ญญา ให้ เสนอราคาสู งกว่ าหรือตํากว่ า ลักษณะสิ นค้ า บริการหรือสิ ทธิ ทีจะได้ รับ

อัตราโทษ

ให้ ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือ ถอนการเสนอราคา

14


ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 5 (การจัดฮัวกัน) 1. ก. ได้ ให้ ขอให้ หรือรับว่ าจะให้ เงินหรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ แก่ ข.ค.ง.และ จ. เพือให้ ข.ค.ง. และ จ. ร่ วมกันดําเนินการให้ มกี ารสมยอม ในการเสนอราคาในการประมลงานก่ ในการเสนอราคาในการประมู ลงานกอสรางของหนวยงานของรฐแหง อสร้ างของหน่ วยงานของรัฐแห่ ง หนึง หรือ เพือให้ ข.ค.ง. และ จ. ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคาหรือถอนการ เสนอราคา Ã ก. มีความผิดตามมาตรานี 2. กรณีตาม 1. ถ้ า ข.ค.ง. และ จ. หรือบุคคลอืนนอกจากนี มาเรียกรับ หรือยอมจะรับเงิน หรือทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ อนใด ื เพือกระทําการ ดังกล่ าว กฎหมายถือว่ า ก.ข.ค. และ จ. หรือบุคคลอืนนัน เป็ นผู้ร่วม กระทําผิดด้ วย Ã ก.ข.ค.ง. และ จ. หรื อบุคคลอืนนัน เป็ นผู้ร่วมกระทําผิดด้ วย

มาตรา 6

(ข่ มขืนใจผู้อนให้ ื จาํ ยอม)

ผู้ใดข่ มขืนใจผู้อนให้ ื จาํ ยอมร่ วมดําเนินการใด ๆ ในการ เสนอราคาหรือไม่ เข้ าร่ วมในการเสนอราคา หรือถอนการเสนอราคา หรือต้ องทําการเสนอราคาตามทีกําหนด โดยใช้ กาํ ลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญด้ วยประการใด ๆ ให้ กลัวว่ าจะเกิดอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกาย เสรีภาพ ชือเสี ยง หรือทรัพย์ สินของผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลทีสาม จนผู้ถูกข่ มขืนใจยอมเช่ นว่ านัน ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ ห้าปี ถึงสิ บปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีมีการเสนอราคา สู งสุ ดในระหว่ างผู้ร่วมกระทําความผิดนัน หรือของจํานวนเงิน ทีมีการทําสั ญญากับหน่ วยงานของรัฐแล้ วแต่ จาํ นวนใดจะสู งกว่ า

15


มาตรา 6

(ข่ มขืนใจผู้อนให้ ื จาํ ยอม)

ลักษณะความผิด )-

ผ้ผูใดขมขนใจใหผู ดข่ มขืนใจให้ ผ้อนจํ นจายอมรวมดาเนนการใดๆ ื ายอมร่ วมดําเนินการใดๆ ในการเสนอราคา โดยใช้ กาํ ลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญด้ วยประการใดๆ ให้ กลัวว่ าจะเกิดอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกาย เสรีภาพ ชือเสี ยง หรือทรัพย์ สินของผ้ถูกข่ หรอทรพยสนของผู กขูเข็ขญ ญ หรอบุ หรือบคคลที คคลทสาม สาม - จนผู้ถูกข่ มขืนใจยอมเช่ นว่ านัน (อัตราโทษ)

)-

ผู้ใดข่ มขืนใจให้ ผู้อนจํ ื ายอมร่ วมดําเนินการใดๆ ไม่ เข้ าร่ วมในการเสนอราคา โดยใช้ กาํ ลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญด้ วยประการใดๆ ให้ กลัวว่ าจะเกิดอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกาย เสรีภาพ ชือเสี ยง หรือทรัพย์ สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือบุคคลทีสาม - จนผู้ถูกข่ มขืนใจยอมเช่ นว่ านัน (อัตราโทษ)

16


)-

ผู้ใดข่ มขืนใจให้ ผู้อนจํ ื ายอมร่ วมดําเนินการใดๆ ถอนการเสนอราคา โดยใช้ กาํ ลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญด้ วยประการใด ๆ ให้ กลัวว่ าจะเกิดอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกาย เสรีภาพ ชือเสี ยง หรือทรัพย์ สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือบุคคลทีสาม - จนผู้ถูกข่ มขืนใจยอมเช่ นว่ านัน (อัตราโทษ)

)-

ผู้ใดข่ มขืนใจให้ ผู้อนจํ ื ายอมร่ วมดําเนินการใดๆ ต้ องทําการเสนอราคาตามทีกําหนด โดยใช้ กาํ ลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญด้ วยประการใดๆ ให้ กลัวว่ าจะเกิดอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกาย เสรีภาพ ชือเสี ยง หรือทรัพย์ สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือบุคคลทีสาม - จนผู้ถูกข่ มขืนใจยอมเช่ นว่ านัน

อัตราโทษ อตราโทษ จําคุก 5-10 ปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีเสนอราคา สู งสุ ดหรือทีมีการทําสั ญญา

17


เสนอราคา ผู้ใดข่ มขืนใจให้ ผ้อู นื จํายอมร่ วมดําเนินการใดๆ

ใช้ กาํ ลังประทุษร้ าย

ไม่ เข้ าร่ วมเสนอราคา ถอนการเสนอราคา เสนอราคาตามทีกําหนด

ขู่เข็ญด้ วยประการใดๆ

ชีวิต ร่ างกาย ให้ กลัวว่ าจะเกิด อันตรายต่ อ

ผู้ถูกขู่เข็ญ จนผู้ถูกข่ มขืนใจยอมเช่ นว่ านัน

เสรีภาพ ชือเสี ยง

บุคคลทีสาม

ทรัพย์สิน

ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 6 (ข่ มขืนใจผู้อนให้ ื จํายอม) ในการประมูลงานก่ อสร้ างของหน่ วยงานของรัฐแห่ งหนึง ก. ซงเปนผู ซึงเป็ นผ้ เสนอราคารายหนงกบพวกไดขมขู สนอราคารายหนึงกับพวกได้ ข่มข่ ผ้ ูเสนอราคารายอน สนอราคารายอืน ๆ ให้ เข้ าร่ วมดําเนินการสมยอมราคา หรือไม่ ให้ เข้ าร่ วมเสนอราคา หรือถอนการเสนอราคา หรือต้ องเสนอราคาตามทีกําหนด โดยขู่ ว่ าจะฆ่ าหรือทําร้ ายร่ างกาย หรือทําให้ เสี ยเสรีภาพ เสี ยชือเสี ยง จนผูู้เสนอราคารายอืน ๆ ต้ องยอมทําตาม Ã ก. กับพวกมีความผิดตามมาตรานี หาก ก. กับพวกไปขู่เข็ญว่ าจะกระทําการดังกล่ าวต่ อบุตร หรือภริยาของผู้เสนอรายอืน ๆ ก. กับพวกก็มีความผิดตามมาตรานี เช่ นเดียวกัน

18


มาตรา 7

(ใช้ อบุ ายหลอกหลวง, กระทําโดยวิธีอนใด) ื

ผ้ผูใดใช้ ดใชอุอบายหลอกลวง บายหลอกลวง หรื หรอกระทาการโดยวธอนใด อกระทําการโดยวิธีอนใด ื เป็ นเหตุให้ ผ้อู นไม่ ื มีโอกาสเข้ าทําการเสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม หรือให้ มกี ารเสนอราคาโดยหลงผิด ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ หนึงปี ถึงห้ าปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีมีการ เสนอราคาสู​ู งสุ​ุ ดระหว่ างผูู้ร่วมกระทําความผิดนัน หรือของ จํานวนเงินทีมีการทําสั ญญากับหน่ วยงานของรัฐแล้ วแต่ จํานวนใดจะสู งกว่ า

มาตรา 7

(ใช้ อบุ ายหลอกหลวง, กระทําโดยวิธีอนใด) ื

ลักษณะความผิด ) - ผู้ใดใช้ อุบายหลอกลวง - เป็ นเหตุให้ ผู้อนไม่ ื มีโอกาสเสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ) ) - ผูู้ใดใช้ อุบายหลอกลวง - เป็ นเหตุให้ มกี ารเสนอราคาโดยหลงผิด (อัตราโทษ)

19


) - ผู้ใดกระทําโดยวิธีอนใด ื - เป็ นเหตุให้ ผ้ ูอนไม่ ื มีโอกาสเสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ) ) - ผู้ใดกระทําโดยวิธีอนใด ื - เป็ นเหตุให้ มกี ารเสนอราคาโดยหลงผิด (อัตราโทษ)

อัตราโทษ

จําคุก 1-5 ปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีเสนอราคาสู งสุ ด หรือทีมีการทําสั ญญา แล้ วแต่ จาํ นวนใดจะสู งกว่ า

ใ ้ อุบายหลอกลวง ใช้ ผู้ใด

เป็ นเหตุให้ กระทําโดยวิธีอนใด ื

ผู้อนื ไม่ ไ ่ มโี อกาสเสนอราคา อย่ างเป็ นธรรม มีการเสนอราคาโดยหลงผิด

20


ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 7 (ใช้ อุบายหลอกหลวง, กระทําโดยวิธีอนใด) ื 1. ก. ซึงเป็ นผู้จะเข้ าเสนอราคาในการประกวดราคางานก่ อสร้ าง หน่ วยงานของรัฐแห่ งหนึงได้ แกล้ งบอกข่ าวให้ ผ้จะเสนอราคา หนวยงานของรฐแหงหนงไดแกลงบอกขาวใหผู รายอืน ๆ หลงเชือว่ า หน่ วยงานของรัฐนัน ไม่ มกี ารประกาศ ประกวดราคา หรือหลอกผู้เข้ าเสนอราคาให้ ไปยืนซองทีอืน จนเป็ นเหตุให้ ผู้อนไม่ ื มีโอกาสเข้ าเสนอราคา Ã ก. มีความผิดตามมาตรานี 2. ข. ซึงเป็ นพรรคพวกของ ก. ซึงจะเข้ าเสนอราคา ได้ แอบ ดึงประกาศประกวดราคาของหน่ วยงานของรัฐออก เป็ นเหตุให้ ผู้เสนอราคารายอืนไม่ ทราบเรือง Ã ข. มีความผิดตามมาตรานี

มาตรา 8

(เสนอราคาตํา หรือให้ ผลประโยชน์ สูงกว่ าปกติ เป็ นเหตุให้ ปฏิบัตติ ามสั ญญาไม่ ได้ ) ผู้ใดโดยทุจริตทําการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐโดยรู้ ว่า ราคาทีเี สนอนั​ัน ตําํ มากเกินิ กว่​่ าปกติ ป จิ นเห็​็นไได้​้ ชัดว่​่ า ไไม่​่ เป็ นไปตาม ไป ลักษณะสิ นค้าหรือบริการ หรือเสนอผลประโยชน์ ตอบแทนให้ แก่ หน่ วยงาน ของรัฐสู งกว่ าความเป็ นจริงตามสิ ทธิทจะได้ ี รับ โดยมี วัตถุประสงค์ เป็ นการกีดกันการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม และการ กระทําเช่ นว่ านัน เป็เปนเหตุ กระทาเชนวานน นเหตให้ ใหไมสามารถปฏบตใหถู ไม่ สามารถปฏิบัตใิ ห้ ถกต้ กตองตามสญญาได องตามสั ญญาได้ ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ หนึงปี ถึงสามปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของ จํานวนเงินทีมีการเสนอราคา หรือของจํานวนเงินทีมีการทําสั ญญากับ หน่ วยงานของรัฐแล้ วแต่ จาํ นวนใดจะสู งกว่ า

21


ในกรณีทไม่ ี สามารถปฏิบัตใิ ห้ ถูกต้ อง ตามสั ญญาได้ ตาม วรรคหนึง เป็ นเหตุให้ หน่ วยงานของรัฐต้ องรับภาระค่ าใช้ จ่ายเพิมขึน ใ ในการดํ าเนินการให้ ใ ้ แล้​้ วเสร็จตามวัตถุประสงค์​์ ของสั ญญาดังกล่​่ าว ผู้กระทําผิดต้ องชดใช้ ค่าใช้ จ่ายให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐนันด้ วย ในการพิจารณาคดีความผิดเกียวกับการเสนอราคาต่ อ หนวยงานของรั ่ ัฐ ถ้​้ ามีกี ารร้​้ องขอ ให้ ใ ้ ศาลพิจิ ารณากําํ หนดคาใช้ ่ ใ ้ จ่ ายที​ี รัฐต้ องรับภาระเพิมขึนให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐตามวรรคสองด้ วย

มาตรา 8

(เสนอราคาตํา หรือให้ ผลประโยชน์ สูงกว่ าปกติ เป็ นเหตุให้ ปฏิบัตติ ามสั ญญาไม่ ได้ )

ลักษณะความผิด )- ผู้ใดโดยทุจริตทําการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ - โดยรู้ ว่าราคาทีเสนอนันตํามากเกินกว่ าปกติ จนเห็นได้ ชัดว่ า ไม่ เป็ นไปตามลักษณะสิ นค้ าหรือบริการ - โดยมีวตั ถุประสงค์ เป็ นการกีดกันการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม - และการกระทําเช่ นว่ านันเป็ นเหตุให้ ไม่ สามารถปฏิบัตใิ ห้ ถูกต้ อง ตามสั ญญาได้

22


- เป็ นเหตุให้ หน่ วยงานของรัฐต้ องรับภาระค่ าใช้ จ่ายเพิมขึน ในการดําเนินการให้ แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์ ของสั ญญา - ตองชดใชคาใชจายใหแกหนวยงานของรฐนนดวย ต้ องชดใช้ ค่าใช้ จ่ายให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐนันด้ วย (อัตราโทษ) - ผู้ใดโดยทุจริตทําการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ - เสนอผลประโยชน์ ตอบแทนให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐสู งกว่ าความ เป็ นจริงตามสิ ทธิทจี ะได้ ไ ้ รับ - โดยมีวตั ถุประสงค์ เป็ นการกีดกันการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม

- และการกระทําเช่ นว่ านันเป็ นเหตุให้ ไม่ สามารถปฏิบัติ ให้ ถูกต้ องตามสั ญญาได้ - เปนเหตุ เป็ นเหตให้ ใหหนวยงานของรฐตองรบภาระคาใชจายเพมขน หน่ วยงานของรัฐต้ องรับภาระค่ าใช้ จ่ายเพิมขึน ในการดําเนินการให้ แล้ วเสร็จตามวัตถุประสงค์ ของสั ญญา - ต้ องชดใช้ ค่าใช้ จ่ายให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐนันด้ วย (อัตราโทษ) อัตั ราโทษ โ จําคุก 1 ถึง 3 ปี และปรับร้ อยละห้ าสิ บของจํานวนเงินทีเสนอราคา สู งสุ ด หรือทีมีการทําสั ญญาแล้ วแต่ จาํ นวนใดจะสู งกว่ า

23


ผู้ใดโดยทุจริต ทําการเสนอราคา ต่ อหน่ วยงานของรัฐ

รู้ ว่ าราคาทีเสนอนัน ตํามากเกินกว่ าปกติ จนเห็นได้ชัดว่ า ไม่ เป็ นไปตามลักษณะ สิ นค้ าหรือบริการ เสนอผลประโยชน์ ตอบแทนให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐ สู ง กว่ าความเป็ นจริง ตามสิ ทธิทจะได้ ี รับ

มีวตั ถุประสงค์ กดี กันการแข่ งขันราคา เป็ นเหตุให้ ไม่ สามารถ ปฏิบัติงานให้ ถูกต้ องตามสั ญญาได้ * (และหากเป็ นเหตุให้ หน่ วยงาน ของรัฐต้ องรับภาระค่ าใช้ จ่ายเพิมขึน ผู้กู ระทําผิดต้ องชดใช้ ค่ าใช้ จ่ายให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐนันด้ วย) ย)

ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 8 (เสนอราคาตํา หรือให้ ผลประโยชน์ สูงกว่ าปกติเป็ นเหตุให้ ปฏิบัตติ ามสั ญญาไม่ ได้ ) ในการประกวดราคางานก่ อสร้ างอาคารหน่ วยงานของรัฐแห่ งหนึง กําํ หนดราคากลางไว้ ไ ้ 3 ล้​้ านบาท ก. ผู้เสนอราคารายหนึ​ึงได้ ไ ้ เสนอราคา ก่ อสร้ างเพียง 1.5 ล้ านบาท โดยรู้ อยู่แล้ วว่ าในวงเงินดังกล่ าวไม่ สามารถ ก่ อสร้ างอาคารให้ ถูกต้ องตามแบบได้ โดยหวังเพียงจะเป็ นผู้มีสิทธิ เข้ าทําสั ญญาเท่ านัน ซึงการก่ อสร้ างจะไม่ ถูกต้ องตามแบบ แต่ ก. จะใช้ วธิ ีตดิ สิ นบนกรรมการตรวจการจ้ างให้ ยอมรับงานก่ อสร้ างนี จะใชวธตดสนบนกรรมการตรวจการจางใหยอมรบงานกอสรางน Ã ก. มีความผิดตามมาตรานี ข้ อสั งเกต การกระทําทีจะเป็ นความผิดตามมาตรานี ต้ องเป็ นกรณี ทีไม่ สามารถปฏิบัตติ ามสั ญญาได้

24


มาตรา 9 (นิตบิ ุคคลกระทําผิด ผู้จัดการ, ผู้บริหารเป็ นตัวการร่ วม) ในกรณทการกระทาความผดตามพระราชบญญตนเปนไป ในกรณี ทการกระทํ ี าความผิดตามพระราชบัญญัตินีเป็ นไป เพือประโยชน์ ของนิตบิ ุคคลใด ให้ ถอื ว่ าหุ้นส่ วนผู้จดั การ กรรมการผู้จดั การ ผู้บริหารหรือผู้มีอาํ นาจในการดําเนินงาน ในกิจการของนิตบิ ุคคลนัน หรือผู้ซึงรับผิดชอบในการ ดําเนินงานของนิตบิ ุคคลในเรืองนัน เป็ นตัวการร่ วมใน การกระทําความผิดด้ วย เว้ นแต่ จะพิสูจน์ ได้ ว่าตนมิได้ มี ส่ วนรู้ เห็นในการกระทําความผิดนัน

มาตรา 9 (นิตบิ ุคคลกระทําผิด ผู้จัดการ, ผู้บริหารเป็ นตัวการร่ วม) ลักษณะความผิด ) - การกระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี - เป็ นไปเพือประโยชน์ นิตบิ ุคคลใด - ถือว่ า หุ้นส่ วน ผู้จดั การ เป็ นตัวการร่ วม ในการกระทําผิด - เว้​้ นแต่​่ พสิ ู จน์​์ ได้​้ ว่าตนมิไิ ด้​้ มีส่วนรู้ เห็​็นในการกระทํ ใ าผิดิ (อัตราโทษตามมาตราทีกระทําความผิด)

25


) - การกระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี - เปนไปเพอประโยชนนตบุ เป็ นไปเพือประโยชน์ นิตบิ คคลใด คคลใด - ถือว่ า กรรมการผู้จดั การ เป็ นตัวการร่ วม ในการกระทําผิด - เว้ นแต่ พสิ ู จน์ ได้ ว่าตนมิได้ มีส่วนรู้ เห็นในการกระทําผิด (อัตราโทษตามมาตราทีกระทําความผิด)

) - การกระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี - เปนไปเพอประโยชนนตบุ เป็ นไปเพือประโยชน์ นิตบิ คคลใด คคลใด - ถือว่ าผู้บริหาร หรือผู้มีอาํ นาจในการดําเนินงานในกิจการของ นิตบิ ุคคล เป็ นตัวการร่ วมในการกระทําผิด - เว้ นแต่ พสิ ู จน์ ได้ ว่าตนมิได้มีส่วนรู้ เห็นในการกระทําผิด (อัตั ราโทษตามมาตราที โ กี ระทําํ ความผิดิ )

26


การกระทํา ความผิดตาม พ.ร.บ.นี

เป็ นไปเพือ ประโยชน์ นิติ บุคคลใด

หุ้นส่ วนผู้จัดการ ถือว่ า

เป็ น ั ตวการ ผู้บริหารหรือผู้มีอาํ นาจในการ ร่ วม ดําเนินงานในกิจการของนิติ บุคคล

กรรมการผู้จัดการ

เว้ นแต่ พสิ ู จน์ ได้ ว่าตนมิได้ มสี ่ วนรู้ เห็น ในการกระทําความผิด ไม่ มีความผิด

ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 9 ก. เป็ นพนักงานบริษทั แห่ งหนึง มี ข. เป็ นกรรมการ ผูผ้ จดการ ดั การ ข. ข ไดมอบหมายให ได้ มอบหมายให้ กก. ไปรวมสมยอมในการเสนอ ไปร่ วมสมยอมในการเสนอ ราคากับผู้เสนอราคารายอืน ๆ จนทําให้ บริษทั ได้ เป็ นผู้เข้ าทํา สั ญญากับหน่ วยงานของรัฐจากการสมยอมกันดังกล่ าว Ã ข. ในฐานะกรรมการผู้จด ั การและเป็ นผู้แทนบริษทั มีความผิดตามมาตรานี มความผดตามมาตราน แต่ หากกรณีดงั กล่าวเป็ นการดําเนินการของ ก. พนักงาน ตามลําพัง ข. ต้ องพิสูจน์ ว่าตนมิได้ มีส่วนรู้ เห็นในการกระทํา ตามนัน

27


ความผิดเจ้ าหน้ าทีของรัฐ หรือผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง (มาตรา 10 – มาตรา 13)

มาตรา 10

(รู้ หรือควรรู้ ว่ามีการกระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี ละเว้​้ นไไม่​่ ยกเลิกิ การเสนอราคา) เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐผู้ใด ซึงมีอาํ นาจหรือหน้ าที ในการอนุมัติ การพิจารณาหรือการดําเนินการใด ๆ ทีเกียวข้ อง กับการเสนอราคาครังใด รู้ หรือมีพฤติการณ์ ปรากฎแจ้ งชัดว่ า ควรรู้ ว่ า การเสนอราคาในครงนนมการกระทาความผดตาม ใ ั ั ี ํ ิ พระราชบัญญัตนิ ี ละเว้ นไม่ ดาํ เนินการเพือให้ มกี ารยกเลิก การดําเนินการเกียวกับการเสนอราคาในครังนัน มีความผิด ฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที

ลักษณะความผิด ) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐผู้ใด - ซึงมีอาํ นาจ หรือหน้ าที ในการอนุ​ุมตั ิ การพิจารณา หรือ การดําเนินการใดๆ ทีเกียวข้ องกับการเสนอราคาครังใด - รู้ ว่า การเสนอราคาในครังนันมีการกระทําความผิด ตาม พ.ร.บ. นี - ละเว้ นไม่ ดาํ เนินการ เพือให้ มกี ารยกเลิกการดําเนินการ เกียวกับการเสนอราคาในครังนัน - มีความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

28


) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐผู้ใด - ซึงมีอาํ นาจ หรือหน้ าทีในการอนุมัติ การพิจารณา หรือ การดําเนินการใด ๆ ทเกยวของกบการเสนอราคาครงใด การดาเนนการใด ทีเกียวข้ องกับการเสนอราคาครังใด - มีพฤติการณ์ ปรากฏแจ้ งชัดว่ าควรรู้ ว่า การเสนอราคา ในครังนันมีการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. นี - ละเว้ นไม่ ดาํ เนินการ เพือให้ มีการยกเลิกการดําเนินการ เกียวกับการเสนอราคาในครังนัน - มีความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

อัตราโทษ จําคุก 1 ถึง 10 ปี และปรับตังแต่ 20 20,,000 ถึง 200 200,,000 บาท เจาหนาทใน ้ ้ ใี หน่ วยงานของ รัฐผู้ใด

มีอี าํ นาจ

อนุมัติ

รู้

มีหน้ าที

พิจารณา

มีพฤติการณ์ ปรากฏแจ้ งชัดว่ า ควรรู้

ดําเนินการใดๆ ทีเกียวข้ อง กับการเสนอราคา การเสนอราคาในครังนัน มีการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. นี

ละเว้ นไม่ ดาํ เนินการ เพือให้ มกี ารยกเลิก การเสนอราคา

มีความผิดฐานกระทํา ความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที

29


ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 10 (รู้ หรือควรรู้ ว่ามีการ กระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี ละเว้ นไม่ ยกเลิกการเสนอราคา) 1. วันยืนซองเสนอราคาของหน่ วยงานแห่ งหนึง มีผู้เสนอราคา หลายรายเจรจาต่ อรอง เพือร่ วมสมยอมกันทีบริเวณใกล้ เคียงกับ สถานทียืนซอง ซึงคนทีมาติดต่ อราชการ ต่ างได้ ยนิ กันทัว ดังนี ก็อาจถือได้ ว่า ผู้มีอาํ นาจหรือหน้ าที คุณสมบัติ พิจารณา หรือ ดําเนินการใด ๆ เกียวกับการสอบราคาครังนัน ควรรู้ และ ดําเนินการเพือให้ มีการยกเลิกการเสนอราคาได้ แต่ หากรู้ แล้ ว ไม่ ยกเลิกก็ผดิ มาตรานี

2. ในการประมูลงานก่ อสร้ างอาคารเรียนของจังหวัดหนึงทีมี 6 อําเภอ มีผ้ยู นซองเพี ื ยง 3 ราย เท่ านัน คือ ก,ข , และ ค แล้ วผลัดกันได้ งาน รายละ 2 อําเภอ ในราคาทีใกล้ เคียงกัน และมีหลักฐานข้ อมูลความเกียวพันระหว่ างกัน ก็อาจถือได้ ว่า เป็ นพฤติการณ์ ทควรรู ี ้ ว่ามีการกระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี อยางไรกตามขอเทจจรงวารู อย่ างไรก็ตามข้ อเท็จจริงว่ าร้ หรอควรรู รือควรร้ ตองพจารณาตาม ต้ องพิจารณาตาม พยานหลักฐานเป็ นกรณีๆ ไป

30


มาตรา 11 (ทุจริตในการออกแบบ กําหนดราคา กําหนดเงือนไข) เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐผู้ใด หรือผู้ได้ รับมอบหมายจาก หน่ วยงานของรัฐผูู้ใด โดยทุ​ุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา กําหนดเงือนไข หรือกําหนดผลประโยชน์ ตอบแทน อันเป็ น มาตรฐานในการเสนอราคาโดยมุ่งหมายมิให้ มกี ารแข่ งขัน ในการ เสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม หรือเพือช่ วยเหลือให้ ผ้เู สนอราคารายใด ได้ มีสิทธิเข้ าทําสั ญญากับหน่ วยงานของรัฐโดยไม่ เป็ นธรรม หรือ เพือกีดกันผู้เสนอราคาใดมิให้ มีโอกาสเข้ าแข่ งขันในการเสนอราคา อย่ างเป็ นธรรม ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ ห้าปี ถึงยีสิ บปี หรือจําคุก ตลอดชีวติ และปรับตังแต่ หนึงแสนบาทถึงสี แสนบาท

ลักษณะความผิด ) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ - โดยทุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา เงือนไข หรือ ผลประโยชน์ ตอบแทน อัอนเปนมาตรฐานในการเสนอราคา ผลประโยชนตอบแทน นเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคา - โดยมุ่งหมายไม่ ให้ มีการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ) ) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ - โดยทุ โดยทจริ จรตทาการออกแบบ ตทําการออกแบบ กํกาหนดราคา าหนดราคา เงืเงอนไข อนไข หรื หรออ ผลประโยชน์ ตอบแทน อันเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคา - เพือช่ วยเหลือผู้เสนอราคาให้ มีสิทธิทาํ สั ญญาโดยไม่ เป็ นธรรม (อัตราโทษ)

31


) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ - โดยทุจริตทําการออกแบบกําหนดราคา เงือนไข หรือผลประโยชน์ ตอบแทนอันเป็ นมาตรฐาน ในการเสนอราคา - เพือกีดกันผู้เสนอราคาไม่ ให้ มีโอกาสเข้ าแข่ งขันในการ เสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ)

) - ผู้ได้ รับมอบหมายจากหน่ วยงานของรัฐ - โดยทุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา เงือนไข หรือ ผลประโยชน์ ตอบแทน อันเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคา - โดยมุ โ ่ งหมายไม่ ไ ่ ให้​้ มีการแข่​่ งขันั ราคาอย่​่ างเป็ป็ นธรรม (อัตราโทษ) ) - ผู้ได้ รับมอบหมายจากหน่ วยงานของรัฐ - โดยทจริ ุ ตทําการออกแบบ กําหนดราคา เงือนไข หรือผลประโยชน์ ตอบแทน อันเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคา - เพือช่ วยเหลือผู้เสนอราคาให้ มีสิทธิทาํ สั ญญาโดยไม่ เป็ นธรรม (อัตราโทษ)

32


) - ผู้ได้ รับมอบหมายจากหน่ วยงานของรัฐ - โดยทุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา เงือนไข หรือ ผลประโยชน์ ตอบแทน อัอนเปนมาตรฐานในการเสนอราคา ผลประโยชนตอบแทน นเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคา - เพือกีดกันผู้เสนอราคาไม่ ให้ มีโอกาสเข้ าแข่ งขันในการ เสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม (อัตราโทษ)

อัตั ราโทษ โ จําคุกตังแต่ 5 ถึง 20 ปี หรือ ตลอดชีวติ และปรับ 100 100,,000 ถึง 400 400,,000 บาท

ออกแบบ

- เจ้ าหน้ าทีใน หน่ วยงานของรัฐ ี รับมอบหมาย - ผู้ทได้ จากหนวยงานของรฐ ่ ั

โดยทุจริตทําการ

กําหนดราคา เงือนไข

อันเป็ นมาตรฐาน ในการเสนอราคา

ผลประโยชน์ ตอบแทน

โดยมุ่งหมายไม่ ให้ มกี ารแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม เพือช่ วยเหลือผู้เสนอราคาให้ มสี ิ ทธิทําสั ญญาโดยไม่ เป็ นธรรม เพือกีดกันผู้เสนอราคาไม่ ให้ มโี อกาสเข้ าแข่ งขันในการเสนอราคา อย่ างเป็ นธรรม

33


ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 11 (ทุจริตในการออกแบบ กําหนดราคา กําหนดเงือนไข) D การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุทีต้ องการจัดหาให้ แคบ อยู่เฉพาะพัสดุทีเป็ นของเอกชนกลุ่มหนึงกลุ่มใดหรือระบุ ยีห้ อของพัสดุทีจะซือ D กําหนดรายละเอียดของพัสดุให้ มคี วามยุ่งยากในการจัดหาหรือ ไม่ สามารถทําได้ ในเวลาจํากัด D กําหนดคุณสมบัตผิ ู้จะเข้ าเสนอราคาอย่ างจํากัด เช่ น เรืองระยะ เวลาของผลงานนานหลายปีปี จํ​ํานวนมูลค่​่ าของผลงานทีสี ู งมากห ต้ องมีทุนจดทะเบียนสู งมาก D กําหนดเงือนไขสู งเกินความจําเป็ น เช่ น จํานวนเครืองจักร ขนาดใหญ่ กรรมสิ ทธิในเครืองจักรกล เป็ นต้ น

มาตรา 12 (เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐกระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที)

เจ้​้ าหน้​้ าทีใี นหน่​่ วยงานของรั​ัฐผู้ใดกระทําํ ความผิดิ ตาม พระราชบัญญัตนิ ี หรือกระทําการใด ๆ โดยมุ่งหมายมิให้ มีการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม เพือเอืออํานวยแก่ ผู้เข้ าทําการเสนอราคารายใดให้ เป็ นผู้มีสิทธิทาํ สั ญญากับ หน่ วยงานของรัฐ มความผดฐานกระทาผดตอตาแหนงหนาท หนวยงานของรฐ มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ ห้าปี ถึงยีสิ บปี หรือจําคุกตลอดชีวติ และปรับตังแต่ หนึงแสนบาทถึงสี แสนบาท

34


ลักษณะความผิด ) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ - กระทําผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี - มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ) ) - เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ - กระทําํ การใดๆ ใ โดยมุ โ ่ งหมายมิใิ ห้​้ มกี ารแข่​่ งขันั ราคา อย่ างเป็ นธรรม

- เพือเอืออํานวยแก่ ผู้เข้ าทําการเสนอราคารายใดให้ เป็ น ผูู้มีสิทธิทาํ สั ญ ญญ ญากับหน่ วยงานของรัฐ - มีความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

อัตราโทษ จําํ คุกตังั แต่​่ 5 ถึงึ 20 ปี หรื​ือ ตลอดชี​ีวติ และปรั ป ับ 100,000 ถึง 400,000 บาท

35


เจาหนาทใน เจ้ าหน้ าทีใน หน่ วยงานของรัฐ

กระทําความผิด ตาม พ.ร.บ. นี กระทําการใด ๆ มุ่งหมาย มิให้ มี การแข่ งขันราคา อย่ างเป็ นธรรม

เอืออํานวยแก่ ผ้เู ข้ าทํา การเสนอราคารายใด ให้ เป็ นผู้มสี ิ ทธิทํา สั ญญากับหน่ วยงาน ของรัฐ

ความผิดฐาน กร ทําความผิด กระทาความผด ต่ อตําแหน่ งหน้ าที

ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 12 (เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ กระทําผิดตาม พ.ร.บ. นี มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที) 1. ก. เป็ นเจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ ไม่ มหี น้ าทีเกียวข้ องกับการ จัดั ซื​ือจัดั จ้​้ าง แตได้ ่ ไ ้ แอบดึงึ ประกาศสอบราคาออก ป เพือื ชวยเหลื ่ อื ผู้เสนอราคารายหนึง และเพือไม่ ให้ ผ้ ูเสนอราคารายอืนทราบว่ ามีการ ประกาศสอบราคา Ã ก. มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที ตามมาตรานี 2.2 ข. เปนเจาหนาทในหนวยงานของรฐไดชวยเหลอ ป็ ้ ้ ใี ่ ั ไ้่ ื ค. โดยปลอม โ ป หนังสื อรับรองผลงานให้ ค. นําไปยืนประกอบการเสนอราคา โดยมี เจตนาช่ วยเหลือ ค. ให้ ได้ งานกับหน่ วยงาน นัน Ã ข. มีความผิดฐานการทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที ตามมาตรานี เช่ นกัน

36


มาตรา 13 (ผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง กระทําความผิดต่ อ เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ) ผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง หรือกรรมการหรืออนุกรรมการใน หน่ วยงานของรัฐ ซงมใชเปนเจาหนาทในหนวยงานของรฐผู หนวยงานของรฐ ซึงมิใช่ เป็ นเจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐผ้ ใด กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี หรือกระทําการใด ๆ ต่ อ เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐซึงมีอาํ นาจหรือหน้ าทีในการอนุมัติ การพิจารณา หรือการดําเนินการใดๆ ทีเกียวข้ องกับการเสนอราคา เพือจงใจหรื เพอจู งใจหรอทาใหจายอมตองยอมรบการเสนอราคาทมการกระทา อทําให้ จาํ ยอมต้ องยอมรับการเสนอราคาทีมีการกระทํา ความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี ให้ ถือว่ าผู้นันกระทําความผิดฐาน กระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที ต้ องระวางโทษจําคุก ตังแต่ เจ็ดปี ถึงยีสิ บปี หรือจําคุกตลอดชีวติ และปรับตังแต่ หนึงแสนสี หมืนบาทถึงสี แสนบาท

มาตรา 13 (ผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง กระทําความผิดต่ อ เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ) ลักษณะความผิด ) - ผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง ซึงไม่ ใช่ เป็ นเจ้ าหน้ าที ในหน่ วยงานของรัฐ - กระทาความผดตาม กระทําความผิดตาม พพ.ร.บ. ร บ นนี - ถือว่ ากระทําความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

37


) - ผู้ดาํ รงตําแหน่ งทางการเมือง ซึงไม่ ใช่ เป็ นเจ้ าหน้ าทีใน หน่ วยงานของรัฐ - กระทําการใดๆๆ ต่ อเจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ ซึงมีอาํ นาจ หรือหน้ าที ในการอนุมัติ การพิจารณา หรือการดําเนินการใดๆ ทีเกียวข้ องกับการเสนอราคา - เพือจูงใจ ยอมรับการเสนอราคาทีมีการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. นี - ถือว่ ากระทําความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

) - กรรมการในหน่ วยงานของรัฐ ซึงไม่ ใช่ เจ้ าหน้ าที ในหน่ วยงาน ของรัฐ - กระทําความผิดตาม พ.ร.บ. นี - ถือว่ ากระทําความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ) ) - กรรมการในหน่ วยงานของรัฐ ซึงไม่ ใช่ เจ้ าหน้ าที ในหน่ วยงาน ของรัฐ - กระทําการใดๆ ใ ต่​่ อเจ้​้ าหน้​้ าทีใี นหน่​่ วยงานของรั​ัฐ ซึ​ึงมีอี าํ นาจ หรือหน้ าที ในการอนุมตั ิ การพิจารณา หรือ การดําเนินการใดๆ ทีเกียวข้ องกับการเสนอราคา

38


- เพือจูงใจให้ ยอมรับการเสนอราคาทีมีการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. นี - ถือื วากระทํ ่ าํ ความผิดิ ฐานกระทําํ ความผิดิ ตอตํ ่ าํ แหนงหน้ ่ ้ าที​ี (อัตราโทษ) ) - อนุกรรมการในหน่ วยงานของรัฐ ซึงไม่ ใช่ เจ้ าหน้ าที ในหน่ วยงานของรัฐ - กระทาความผดตาม กระทําความผิดตาม พ.ร.บ. พ ร บ นนี - ถือว่ ากระทําความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

) - อนุกรรมการในหน่ วยงานของรัฐ ซึงไม่ ใช่ เจ้ าหน้ าที ในหน่ วยงานของรัฐ - กระทาการใดๆ กระทําการใดๆ ตอเจาหนาทในหนวยงานของรฐ ต่ อเจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ ซงม ซึงมี อํานาจหรือหน้ าที ในการอนุมัติ การพิจารณา หรือ การดําเนินการใดๆ ทีเกียวข้ องกับการเสนอราคา - เพือจูงใจ ยอมรับการเสนอราคาทีมีการกระทําความผิด ตาม พ.ร.บ. นี - ถือว่ ากระทําความผิดฐานกระทําความผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที (อัตราโทษ)

39


- ผู้ดาํ รงตําแหน่ ง ทางการเมือง - กรรมการ

- อนุกรรมการ

มิใช่ เจ้ าหน้ าที ในหน่ วยงาน ในหนวยงาน ของรัฐ

กระทําความผิด ตาม พ.ร.บ. นี กระทําการใด ๆ ต่ อเจ้ าหน้ าทีของรัฐ

จูงใจ ใ ยอมรั​ับการเสนอราคาทีมี ี การกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. นี

มีอาํ นาจ

อนุมัติ

มีหน้ าที

พิจารณา การใดๆ ทีเกียวข้ อง ผิดิ ฐานกระทําํ ความผิดิ ต่ อตําแหน่ งหน้ าที

ตัวอย่ างการกระทําตามมาตรา 13 (ผู้ดาํ รงตําแหน่ ง ทางการเมืองกระทําผิดต่ อเจ้ าหน้ าทีในหน่ วยงานของรัฐ) 1. ก. เป็ นผูู้บริหารท้ องถิน ได้ ไปจู​ูงใจหรือข่ มขูู่ ข. ปลัดหน่ วยงาน ส่ วนท้ องถินให้ จาํ ยอมรับการเสนอราคาการจัดซือรายหนึง ซึงมี การสมยอมราคากันไว้ แล้ ว Ã ก. มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที ตามมาตรานี 2. ข. เป็ป็ นสมาชิ​ิกสภาท้​้ องถินิ แห่​่ งหนึ​ึงไปดํ ไป าเนิ​ินการ เพือื จัดให้ มีการฮัวกันในหน่ วยงานส่ วนท้ องถินอีกจังหวัดหนึง Ã ข. มีความผิดฐานกระทําผิดต่ อตําแหน่ งหน้ าที ตามมาตรานี

40


มาตรา 14 (คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาํ นาจสอบสวนข้ อเท็จจริง เกียวกับการกระทําทีเป็ นความผิดเกียวกับการเสนอราคา ต่ อหน่ วยงานของรัฐ) ใให้​้ คณะกรรมการ ปป.ป.ช. ป มีอี าํ นาจสอบสวนข้​้ อเท็จ็ จริ​ิงเกียี วกับั การ กระทําทีเป็ นความผิดเกียวกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐตาม พระราชบัญญัตินี ในกรณีทมี​ี พฤติการณ์ปรากฏแก่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือมีการ กล่ าวหาร้ องเรียนว่ าการดําเนินการซือ การจ้ าง การแลกเปลียน การเช่ า การจําหน่ ายทรัพย์ สิน การได้ รับสั มปทานหรือการได้ รับสิ ทธิใด ๆ ของ หน่ วยงานของรัฐครังใดมีการกระทําอันเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัตินี ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทําการสอบสวนข้ อเท็จจริงโดยเร็ว และถ้ าเห็นว่ า มีมูลให้ ดําเนินการดังต่ อไปนี

(1) ในกรณีทีผู้กระทําความผิดเป็ นเจ้ าหน้ าทีของรัฐหรือ ผู้ดํารงตําแหน่ งทางการเมืองตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่ าด้ วยการป้ องกันและปราบปรามการทจริ ณะกรรมการ ป.ป.ช. . . . ุ ต ให้ คณ ดําเนินการกับผู้นันตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต (2) ในกรณีทีเป็ นบุคคลอืนนอกจากบุคคลตาม (1) ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการกล่ าวโทษบุคคลนันต่ อพนักงาน สอบสวนเพือดําเนินคดีต่อไป ในการดําเนินการของพนักงาน สอบสวนให้ ถอื รายงานการสอบสวนข้ อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นหลัก

41


(3) ในกรณีทีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินีเป็ น การกระทําของเจ้ าหน้ าทีของรัฐหรือผู้ดํารงตําแหน่ งทางการเมือง ตาม (1) และบุ​ุคคลอืนทีลักษณะคดีมคี วามเกียวเนืองเป็ นความผิด เดียวกัน ไม่ ว่าจะเป็ นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน ถ้ าคณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรดําเนินการสอบสวนเพือดําเนินคดีกบั บุคคลที เกียวข้ องทังหมดในคราวเดียวกัน ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาํ นาจ ดําเนินการสอบสวนบุคคลทีเกียวข้ องกับการกระทําความผิด และเมือ ดําํ เนิ​ินการเสร็​็จให้ ใ ้ ส่งรายงานเอกสารและความเห็​็นไป ไปยังั สํ​ํ านั​ักงาน อัยการสู งสุ ด เพือดําเนินการให้ มกี ารฟ้ องคดีในศาลซึงมีเขตอํานาจ พิจารณาพิพากษาคดีสําหรับผู้ทีกระทําความผิดนัน

โดยให้ ถือว่ ารายงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นสํ านวนการ สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา แต่ ถ้า คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นว่ าการกระทําความผิดดังกล่ าวสมควรให้ ดําเนินการสอบสวนโดยพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ส่ งผลการสอบสวน ข้ อเท็จจริงไปยังพนักงานสอบสวนเพือเป็ นผู้ดาํ เนินคดีต่อไป การดําเนินการของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่ เป็ นการตัดสิ ทธิ ผู้เสี ยหายหรื​ือหน่ วยงานของรัฐทีเสี ยหายจากการกระทําความผิดใน การเสนอราคา ในการร้ องทุกข์ หรือกล่ าวโทษตามประมวลกฎหมาย วิธีพจิ ารณาความอาญา

42


มาตรา 15 (ในการสอบสวนเพือดําเนินคดีอาญาแก่ ผู้กระทําความผิด ตามพระราชบัญญัตนิ ี ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาํ นาจ ดังต่ อไปนี) (1) แสวงหาข้ อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานเพือทีจะ ทราบข้ อเท็จจริงหรือพิสูจน์ ความผิดและเพือจะเอาตัวผู้กระทําผิดมา ฟ้ องลงโทษ (2) มีคาํ สั งให้ ข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้ างของหน่ วยงาน ของรั​ัฐ ปปฏิ​ิบัตกิ ารทั​ังหลายอันั จํ​ําเป็ป็ นแก่​่ การรวบรวมพยานหลักั ฐาน ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือเรียกเอกสารหรือหลักฐานทีเกียวข้ อง จากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ ถ้อยคําเพือประโยชน์ ในการ สอบสวน

(3) ดําเนินการขอให้ ศาลทีมีเขตอํานาจออกหมายเพือเข้ าไปใน เคหสถาน สถานทีทําการ หรือสถานทีอืนใด รวมทังยานพาหนะของ บุคคลใด ๆ ในเวลาระหว่ างพระอาทิตย์ ขนและพระอาทิ ึ ตย์ ตก หรือใน ระหว่ างเวลาทีมีการประกอบกิจการเพือตรวจสอบ คน ระหวางเวลาทมการประกอบกจการเพอตรวจสอบ ค้ น ยึยดด หรื หรออายด ออายัด เอกสาร ทรัพย์ สิน หรือพยานหลักฐานอืนใดซึงเกียวข้ องกับเรืองที ไต่ สวนข้ อเท็จจริง และหากยังดําเนินการไม่ แล้วเสร็จในเวลาดังกล่าว ให้ สามารถดําเนินการต่ อไปได้ จนกว่ าจะแล้วเสร็จ (4) ดําเนินการขอให้ ศาลทีมีเขตอํานาจออกหมายเพือให้ มีการจับ และควบคุมตัวั ผู้ถูกกล่​่าวหา ซึ​ึงระหว่​่ างการไต่ ไ ่ สวนข้​้ อเท็จ็ จริ​ิงปรากฏว่ ป ่า เป็ นผู้กระทําความผิดหรือเป็ นผู้ซึงคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ มีมติว่า ข้ อกล่าวหามีมูล เพือส่ งตัวไปยังสํ านักงานอัยการสู งสุ ด เพือดําเนินการ ต่ อไป

43


(5) ขอให้ เจ้ าพนักงานตํารวจหรือพนักงานสอบสวนดําเนินการตาม หมายของศาลทีออกตาม (3) หรือ (4) (6) กําหนดระเบียบโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเกียวกับการสื บสวน และสอบสวนการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี และการประสานงานใน การดําเนินคดีระหว่ างคณะกรรมการ ป.ป.ช. การดาเนนคดระหวางคณะกรรมการ ป ป ช พนกงานสอบสวน พนักงานสอบสวน และพนกงาน และพนักงาน อัยการ ในการปฏิบัตหิ น้ าทีตามพระราชบัญญัตนิ ี ให้ ประธานกรรมการและ กรรมการ ป.ป.ช. เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตํารวจชันผู้ใหญ่ และมีอาํ นาจ หน้ าทีเช่ นเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความ อาญา และเพอประโยชนในการสอบสวนใหคณะกรรมการ และเพือประโยชน์ ในการสอบสวนให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ป ป ช มอานาจ มีอาํ นาจ แต่ งตังอนุกรรมการ หรือพนักงานเจ้ าหน้ าทีดําเนินการตามอํานาจหน้ าทีของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ ในกรณีเช่ นว่ านีให้ อนุกรรมการหรือพนักงานเจ้ าหน้ าที ทีได้ รับแต่ งตังเป็ นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความ อาญา

ในกรณีทคณะกรรมการ ี ป.ป.ช. ส่ งรายงานการสอบสวน ให้ สํานักงานอัยการสู​ู งสุ​ุ ดดําเนินคดีต่อไป การดําเนินการเกียวกับ การสั งฟ้ องหรือสั งไม่ ฟ้องของพนักงานอัยการตามประมวล กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา ให้ ถอื ว่ าบทบัญญัตทิ กํี าหนดเป็ น อํานาจหน้ าทีของพนักงานสอบสวน ผู้บัญชาการตํารวจแห่ งชาติ หรือผู้ว่าราชการจังหวัด เป็ นอํานาจหน้ าทีของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

44


กระบวนการกล่ าวหาร้ องเรียนเพือให้ ดาํ เนินการตามกฎหมายนี มีการกล่าวหาร้ องเรียน กลาวหาบุ กล่ าวหาบคคลทั คคลทวไป วไป เชน เช่ น ผู้รับเหมา ผู้เสนอราคา ฯลฯ

จนท.ในหนวยงานของรฐท จนท ในหน่ วยงานของรัฐที เกียวข้ องกับการเสนอราคา

ผูผ้ ดารงตาแหนงทางการเมองทเขา าํ รงตําแหน่ งทางการเมืองทีเข้ า มายุ่งเกียวกับการเสนอราคา

ว่ ามีการกระทําความผิดตามกฎหมายนี ตามมาตรา 4 - 13 ต่ อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพือให้ ดาํ เนินการให้ ผ้ถู ูกกล่ าวหา ถูกลงโทษทางอาญา

รับผิดชดใช้ ค่าเสี ยหาย

ถูกถอดถอน

ถูกลงโทษทางวินัย

ในการร้ องเรียนไปยัง ป. ป.ป.ช. ลักษณะของคําร้ องเป็ นอย่ างไร ชือ ทีอยู่ของผู้เสี ยหายหรือผู้กล่ าวหาแล้วแต่ กรณี ชือตําแหน่ งและสั งกัดของผูู้ถูกกล่ าวหา ข้ อกล่ าวหาและพฤติการณ์ แห่ งการกระทําความผิด ตามข้ อกล่ าวหาพร้ อมพยานหลักฐาน

45


พบเห็ นเจ้ าหน้ าทีของรั ฐทจริ ารวยผิดปกติ พบเหนเจาหนาทของรฐทุ จรตต หรื หรออ รํรารวยผดปกต โปรดส่ งข้ อมูลมายัง

ตู้ ปณ. 100 เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300

หรือแจ้ ง สํ านักงาน ป.ป.ช. เลขที 361 ถ.นนทบุรี - สนามบนนา ิ ํ ต.ท่ าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 0 2528 4800 - 4849

รักเมืองไทย ร่ วมต้ านภัย ทุจริต ร่ วมกันคิด ร่ วมกันทํา นําวิถี ให้ เมืองไทย โปร่ งใส ในทันที เราคงมี วันนัน ทีฝั นรอ “ร่ วมมือ

ร่ วมใจ เพือเมืองไทย 46


คําแนะนําการใช้ พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยความผิด เกียวกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 สั งคมไทย ประสบกับปัญหาการทุจริตมาอย่ างต่ อเนือง ยาวนาน จนทําให้ รู้ สึกว่ าปัญหาการทุจริตเป็ นเรืองปกติธรรมดา และยอมรับได้ ส่ งผลให้ สังคมไทยขาดความมุ่งมันทีจะแก้ไขปัญหา ทุ​ุจริตอย่ างจริงจัง เพือทีจะให้ สังคมไทย บรรลุ​ุสู่ สังคมทีโปร่ งใส เป็ นธรรมและเสมอภาค

ปัญหาการทุจริต เป็ นปัญหาหลักทีทุกส่ วนของ สั งคมไทย ไม่ ว่าจะเป็ นภาคราชการ ภาคเอกชนและประชาชน จ ต้ องให้ ความสนใจแล ปร สานความร่ วมมือกัน กอใหเกดพลง จะตองใหความสนใจและประสานความรวมมอกน ก่ อให้ เกิดพลัง เพียงพอทีจะสามารถชะลอและหยุดยังปัญหาการทุจริตลงได้ การอบรมให้ ความรู้ แก่ผู้มีส่วนเกียวข้ องและประชาชน ทัวไป เปนแนวทางสาคญประการหนงทจะปองปรามใหการ ทวไป เป็ นแนวทางสํ าคัญประการหนึงทีจะป้องปรามให้ การ กระทําความผิดลดลงได้ ในระดับหนึง

47


คําแนะนําเกียวกับการใช้ เอกสารประกอบการบรรยาย 1. ชีแจงให้ ผู้เข้ ารับการอบรมทราบถึงความเสี ยหายทีเกิดจาก ปัญหาการทุจริต โดยนํากรณีปัญหาในปัจจุบันทีสื อนําเสนอหรือ ท้ องถินรับรู้ แล้ วมานําเสนอให้ ทีประชุ มได้ วเิ คราะห์ ซึงจะมี ประเด็นการวิเคราะห์ ดังนี 1.1 การใช้ งบประมาณไม่ คุ้มค่า 1.2 ผลงานทีได้ รับด้ อยคุ​ุณภาพ 1.3 ความไม่ เสมอภาคในการแข่ งขันทางธุรกิจ 1.4 เอกชนไม่ ให้ ความสํ าคัญทีจะพัฒนาคุณภาพในการทํางาน ฯลฯ

2. วิเคราะห์ สาเหตุการเกิดปัญหาการทุจริต 2.1 เศรษฐกิจิ ความจําเป็ นในการดํารงชีพในปัจจุบันมีดชั นี ค่ าครองชีพสู งขึนเรือยๆ ในขณะทีเงินเดือนค่ าตอบแทน ในการทํางานยังไม่ ได้ สัดส่ วนกัน อาจกระตุ ในการทางานยงไมไดสดสวนกน อาจกร ต้ นใหเกดการ ให้ เกิดการ แสวงหาผลประโยชน์ ทมิี ชอบ เพือให้ การดํารงชีพดีขึน

48


2.2 สั งคม สั งคมให้ ความสํ าคัญในการแข่ งขันด้ านวัตถุ โดยไม่ ให้ ความสนใจวิธีการทีจ ได้ มาซึงวัตถ วาจะชอบ โดยไมใหความสนใจวธการทจะไดมาซงวตถุ ว่าจ ชอบ ด้ วยกฎหมาย ตามทํานองคลองธรรมหรือไม่ อีกทังมี การยอมรับบุคคลทีสั งคมทราบว่ ามีประวัตแิ ละพฤติกรรม ทีเกียวข้ องกับการทุจริต ซึงจะกลายเป็ นแบบอย่ างให้ กบั เยาวชนยึดึ ถือื ปปฏิ​ิบัตติ าม นอกจากนี​ี ได้ ไ ้ ละเลยการเสริ​ิมสร้​้ าง คุณธรรม การทําคุณงามความดี ให้ เป็ นไปอย่ างต่ อเนืองและ ยังยืน

2.3 การเมือง ประชาชนยังไม่ ให้ ความสํ าคัญมากนัก เกียวกับ ความซือสั ตย์ สุจริตของนักการเมือง ในการลงคะแนนเสี ยง เลือกตัง ทําให้ มีนักการเมืองบางส่ วนทีมีประวัตแิ ละพฤติกรรม ไม่ ชัดเจนและเกียวข้ องกับการทุจริต ได้ มีโอกาสเข้ ามาแสวงหา ผลประโยชน์ จากรัฐ และสร้ างอิทธิพลครอบงําสั งคมได้

49


2.4 สภาพแวดล้ อมและเทคโนโลยี ประชากรมปรมาณเพมขน ประชากรมี ปริมาณเพิมขึน ในขณะท ในขณะที ทรัพยากรธรรมชาติ มีจํากัดและลดลงตามลําดับ ทําให้ ต่างมุ่งครอบครอง ทังวิถที างทีถูกต้ องและ ไม่ ถูกต้ องเพือแสวงหาผลประโยชน์ และเมือเทคโนโลยี มีการพัฒนา ก็กไดมการนามาใชประโยชนในทางทจะ มการพฒนา ได้ มีการนํามาใช้ ประโยชน์ ในทางทีจะ เอือประโยชน์ แก่ ตนและพวกพ้ องได้ ง่ายยิงขึน

2.5 ผู้เกียวข้ องขาดความรู้ ความเข้ าใจเกียวกับ กฎหมาย ระเบียบทีเกียวข้ อง ทําให้ มกี ารปฏิบัติ และนํากฎหมายมาใช้ อย่ างไม่ ถูกต้ อง ก่ อให้ เกิด ปัญหาต่ างๆ ตามมา 3. ผลจากการสมยอมในการเสนอราคา 3.1 ราชการเสี ยประโยชน์ ได้ รับพัสดุหรือผลงาน ไม่ คุ้มค่ ากับงบประมาณทีเสี ยไป 3.2 ก่ อให้ เกิดความไม่ เสมอภาคในการประกอบธุรกิจ 3.3 ทําให้ อทิ ธิพลแผ่ ขยายครอบคลุมทังระบบราชการ และธุรกิจเอกชน

50


4. เนือหาสาระของพระราชบัญญัติ 4.1 ครอบคลุมผู้กระทําความผิด และผู้เกียวข้ องทังหมด ั ทงเอกชน เจ้​้ าหน้​้ าทีขี องรฐั และนกการเมอง ั ื 4.2 บทลงโทษรุนแรงยิงขึน และจําแนกตาม ความเหมาะสมต่ อผู้กระทําความผิด

5. การประเมินผล การประเมินผลตามแบบ ตามความเหมาะสมเพือเป็ น ฐานข้ อมูลในการปรับปรุงการบรรยายครังต่ อไป

51


21/12/55

พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

นายวิรยิ ะ รามสมภพ 09/23/98

สํานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

MENU STOP

ความรู้ ทวไป ั - ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ 10 กันยายน 2540 - มีผลใช้ บังคับ เมือ 9 ธันวาคม 2540 - ประเทศสวีเดน เป็ นประเทศแรกทีมีกฎหมายลักษณะนี - ประเทศไทย ป ไ เปนประเทศแรกในเอเชยทมกฎหมายน ป็ ป ใ ี ี ี ี รวม กฎหมาย 2 ฉบับ เข้ ามาในกฎหมายฉบับนี (กม.เกียวกับข้อมูลข่าวสาร และ ข้อมูลส่วนบุคคล)

2

1


21/12/55

เจตนารมณ์ แห่ ง พ.ร.บ.ข้ อมูลข่ าวสารฯ ให้ ประชาชนมีโอกาสอย่ างกว้ างขวางในการ รั​ับรู้ ข้อมูลข่​่ าวสารเกียี วกับั การดําํ เนิ​ินการ ต่ างๆของรัฐ เพือให้ สามารถแสดงความคิดเห็น และใช้ สิทธิทางการเมืองได้ อย่ างถูกต้ อง ให้ เกิดความโปร่ งใสในระบบราชการ เพือส่ งเสริมให้ การบริหารงานภาครัฐเป็ นไป อย่ างมีประสิ ทธิภาพ และโปร่ งใส 3

1. กฎหมายทีเกียวข้ อง รัฐั ธรรมนู ญแห่​่งราชอาณาจักั รไทย ไ พ.ร.บ.จัดตังศาลปกครองฯ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. 2539 4

2


21/12/55

“สิ ทธิได้รู้” ตามรัฐธรรมนูญ

5

รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ส่ วนที 10 ว่ าด้ วย สิ ทธิในข้ อมูลข่ าวสารและการร้ องเรียน • มาตรา 56 “บุคคลย่​่ อมมีสี ิ ทธิได้​้ รับทราบข้​้ อมูล หรือข่ าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่ วย ราชการ หน่ วยงานของรัฐฯ...... เว้ นแต่ การเปิ ดเผย ข้ อมูลหรือข่ าวสารนัน จะกระทบต่ อความมันคง ของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือ ส่ วนได้ เสี ยอันพึงได้ รับความคุ้มครองของบุคคลอืน หรือ เป็ นข้ อมูลส่ วนบุคคล ..”

6

3


21/12/55

สิ ทธิตามกฎหมายของประชาชน สิ ทธิตามกฎหมาย 1. สิ ทธิได้ รู้ (Right to Know) 1.1 สิ​ิ ทธิ​ิได้​้ ร้ ู ตามมาตรา 7 (เรืองทีต้ องให้ ร้ ู ) 1.2 สิ ทธิได้ ร้ ู ตามมาตรา 9 (เรืองทีสนใจ)

บทบัญญัตแิ ละผู้เกียวข้ อง มาตรา 7 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชน : มีสิทธิตรวจดู​ู หน่ วยงานของรัฐ : มีหน้ าที 1. นําพิมพ์ลงในราชกิจจานุเบกษา 2. จัดพิมพ์และเผยแพร่ มาตรา 9 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชน : มีสิทธิตรวจดู หน่​่ วยงานของรั​ัฐ : มีหี น้​้ าที​ี 1. จัดสถานที ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2. นําข้ อมูลข่ าวสารมาตังแสดงในสถานทีตาม 1 3. จัดทําดัชนีสําหรับค้ นหา 4. กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเข้ าตรวจดู

สิ ทธิตามกฎหมายของประชาชน (ต่ อ) สิ ทธิตามกฎหมาย 1.3 สิ ทธิได้ ร้ ูตามมาตรา 11 ( ืองทีอี ยากรู้) (เรื

บทบัญญัตแิ ละผู้เกียวข้ อง มาตรา 11 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชน : ใช้ สิทธิได้ ด้วยการยืนคําขอ หน่ วยงานของรัฐ : มีหน้ าที 1. บริการและอํานวยความสะดวก 2. พัฒนาระบบจัดเก็บเอกสาร 3. จําแนกประเภทข้ อมูลข่ าวสารฯ 4. จัดหาข้ อมูลให้ ตามคําขอ 5. คัดสํ าเนาและรับรองสํ าเนา

1.4 สิ ทธิได้ รับสํ าเนาและขอ มาตรา 9 และ 11 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ให้ รับรองสํ าเนาถูกต้ อง ประชาชน : ใช้ สิทธิได้ด้วยการยืนคําขอ หน่ วยงานของรัฐ : มีหน้ าที 1. คัดสํ าเนาและรับรองสํ าเนา 2. กําหนดอัตราค่ าธรรมเนียม

4


21/12/55

สิ ทธิตามกฎหมายของประชาชน (ต่ อ) สิ ทธิตามกฎหมาย

บทบัญญัติและผู้เกียวข้ อง

2. สิ ทธิคดั ค้ านด้ านการเปิ ดเผย มาตรา 17 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ

3. สิ ทธิร้องเรียน

ประชาชนทวไป ประชาชนทั วไป : ยนคาขอดู ยืนคําขอดข้ขอมู อมลล ประชาชนผู้มสี ่ วนได้ เสี ย 1. คัดค้ าน 2. ใช้ สิทธิคดั ค้ านพร้ อมแสดงเหตุผล 3. ใช้ สิทธิอุทธรณ์ คาํ สั งไม่ รับฟังคําคัดค้ าน หน่ วยงานของรัฐ : มีหน้ าที 1. แจ้ งผู้มสี ่ วนได้ เสี ยคัดค้ าน 2.2 พจารณาคาคดคาน พิจารณาคําคัดค้ าน มาตรา 13 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชนทัวไป : ใช้ สิทธิร้องเรียน หน่ วยงานของรัฐ : มีพฤติกรรมฝ่ าฝื นไม่ ปฏิบัติตาม กฎหมาย กขร. : มีหน้ าทีพิจารณาคําร้ องเรียน(ภายใน 30 วัน)

สิ ทธิตามกฎหมายของประชาชน (ต่ อ) สิ ทธิตามกฎหมาย 4. สิ ทธิอุทธรณ์

5. สิ ทธิได้ รู้ข้อมูลข่ าวสาร ส่ วนบคคลของตน สวนบุ คคลของตน

บทบัญญัติและผู้เกียวข้ อง มาตรา 18 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชนทัวไป : ใช้ สิทธิอุทธรณ์ หน่ วยงานของรัฐ : มีหน้ าที 1. มีคาํ สั งปฏิเสธไม่ เปิ ดเผย 2. ไม่ รับฟังคําคัดค้ าน 3. ไม่ แก้ ไขข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล มาตรา 25 แห่ ง พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชนเจ้ าหน้ าทีข้ อมูล : ใช้ สิทธิขอดู/ขอให้ แก้ ไข ประชาชนอืน : จะขอดูได้ ต้องได้ รับหนังสื อยินยอมจาก เจ้ าของข้ อมูล หน่ วยงานของรัฐ : มีหน้ าที 1. เปิ ดเผยแก่ เจ้ าของข้ อมูล 2. แก้ ไข/หมายเหตุ ตามคําร้ องของเจ้ าของข้ อมูล 3. จัดระบบคุ้มครองข้ อมูลส่ วนบุคคล

5


21/12/55

บทบัญญัตขิ องกฎหมาย -

หลักทัวไป หมวด 1 : หมวด 2 : หมวด 3 : หมวด 4 : หมวด 5 :

ข้ อมูลข่ าวสารทัวไป & การเปิ ดเผย ข้ อมูลข่ าวสารทีไม่ ต้องเปิ ดเผย ข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล เอกสารประวัตศิ าสตร์ คณะกรรมการข้ อมลข่ คณะกรรมการขอมู ลขาวสารของราชการ าวสารของราชการ

- หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร

- หมวด 7 : บทกําหนดโทษ - บทเฉพาะกาล

11

6. นิยามความหมาย ข้ขอมู อมลข่ ลขาวสาร าวสาร ข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการ MENU STOP

6


21/12/55

นิยาม “ข้อมูลข่าวสาร” ตามกฎหมาย สิ งทีสื อความหมายให้รู้เรื องราว ข้อเท็จจริ ง ข้อมูล หรื อสิ งใด ๆ การสื อความหมายทําได้โดยสภาพของสิ งนันเอง หรื อโดยผ่านวิธีการใดๆ จัดทําไว้ในรู ปของเอกสาร แฟ้ ม รายงาน หนังสื อ แผนผัง แผนที ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิ ล์ม การบันทึกภาพหรื อเสี ยง การบันทึกโดยคอมพิวเตอร์ หรื อวิธีทีทําให้สิงทีบันทึกไว้ ปรากฏได้

“ข้ อมลู ข่ าวสาร วสารของราชการ ของราชการ”” ข้ อมูลข่ าวสารทีอยู่ในนความครอบครอง ความครอบครอง หรือควบคุมดูแลลของหน่ ของหน่ วยงานของรัฐ ไม่ ไมวาจะเปนขอมู ว่าจะเป็ นข้ อมลข่ ลขาวสารเกยวกบ าวสารเกียวกับ การดําเนินงานของรัฐหรือข้ อมูลข่ าวสาร เกียวกับเอกชน 14

7


21/12/55

ความหมาย

“ข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล” (ม. 4 วรรคทีห้ า) สิ งเฉพาะตัวของบุ​ุคคล เช่ น ข้ อมู​ูลข่ าวสารเกียวกับ __________ การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติ อาชญากรรม หรือประวัตกิ ารทํางาน บรรดาทีมีชือของผู้นัน สิ งบอกลักษณะอืทีน หรือมีเลขหมาย รหัส หรือ ______________ ทําให้ ร้ตววผู ทาใหรู ั ผ้ นันได นได้ เชน เช่ น ลายพมพนวมอ ลายพิมพ์ นิวมือ แผนบนทกลกษณะ แผ่ นบันทึกลักษณะ เสี ยงของคน หรือรู ปถ่ าย และให้ หมายความรวมถึงข้ อมูล ข่ าวสารเกียวกับสิ งเฉพาะตัวของผู้ทถึี งแก่ กรรมแล้ วด้ วย

ข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล

สิงเฉพาะตัวบุคคล เช่ น เชน ฐานะการเงิน การศึกษา ประวัตสิ ขขภาพ ประวตสุ ภาพ ประวัตอิ าชญากรรม ประวัตกิ ารทํางาน

สิงทีทําให้ ร้ ู ตัวผู้นัน เชน ช่ ชือ-นามสกุล ลายพิมพ์นิวมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง แผนบนทกลกษณะเสยง รูปภาพ ฯลฯ MENU Sub Menu

STOP

8


21/12/55

“ หน่ วยงานของรั ฐ ” ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมภิ าค ราชการส่ วน ท้ องถิน รฐวสาหกจ ทองถน รัฐวิสาหกิจ ส่สวนราชการสงกดรฐสภา วนราชการสั งกัดรัฐสภา ศาล เฉพาะในส่ วนทีไม่ เกียวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์ กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่ วยงานอิสระ ของรัฐ และหน่ วยงานอืนตามทีกําหนดใน กฎกระทรวง

“ เจ้ าหน้ าที ” ผู้ซึงปฏิบัตงิ านให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐ

หน่ วยงานของรั ฐในประเทศไทย ส่​่ วนกลาง กระทรวง / ทบวง กรม หน่ วยราชการอิสระ รัฐวิสาหกิจ

15 173 11 58

9


21/12/55

ภูมภิ าค จังั หวั​ัด 75 อําเภอ 794

ท้ องถิน

เทศบาล 1,129 อบจ. 75 กทม. 1 เมืองพัทยา 1 เมองพทยา อบต. 6,397

10


21/12/55

องค์ กรทีใช้ อาํ นาจตามกฎหมาย - องค์ กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ - สภาทนายความ - แพทยสภา - คณะกรรมการควบคุมการประกอบ อาชีพวิศวกรรมและสถาปั ตยกรรม - เนติบัณฑิตยสภา - สภาผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร ของราชการ

22

11


21/12/55

หน้าทีและวิธด ี า ํ เนินการของหน่วยงานของร ัฐ ในการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ

ลงพิมพ์ ในราชกิจจาฯ (มาตรา 7 )

จ ัดให้ประชาชน เข้าตรวจดู ( มาตรา 9 )

จ ัดให้ เฉพาะราย ( มาตรา 11 )

เรืองทีต้องให้รู ้

เรืองทีสนใจ

เรืองทีอยากรู ้

23

• พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

มาตรา 7 (ลงพิมพ์ราชกิจจาฯ) มาตรา 9 (ตรวจดูได้เอง) มาตรา 11 (ยืนคําขอเฉพาะราย)

ราชกิจจาฯ

มาตรา 15

สขร. กลุม่ วิชาการ.

XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXX

กลุม่ นโยบายฯ

XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXX

มาตรา 26

กลุม่ ปชส. XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXX

MENU STOP

มาตรา 24 24

12


21/12/55

13. วิธีการเข้ าถึงข้ อมูลข่ าวสารของประชาชน

ค้ นดู จากราชกิจจานุเบกษา ม. 7 หรือ โดยวิธีอนตาม ื ม. 10

ตรวจดู ได้ด้วยตนเองในสถานทีทีกําหนด ม. 9 ยืนคําขอดู เฉพาะเรือง เฉพาะราย ม.11 MENU STOP

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 7

ต้ องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา 1. โครงสร้ างและการจัดองค์ กรในการดําเนินงาน 2. สรุปอํานาจหน้ าทีทีสํ าคัญและวิธีการดําเนินงาน * เพือให้ ประชาชนได้ รู้ถงึ บทบาททีแท้ จริงของ แต่ ละหน่ วยงาน * รู้ถงึ วิธีการหรือกระบวนการทํางาน

26

13


21/12/55

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารฯตามมาตรา 7 (ต่ อ) 3. สถานทีติดต่ อเพือขอรับข้ อมูลข่ าวสารหรือคําแนะนําในการ ติดต่ อกับหน่ วยงานของรัฐ * เป็ นการเพิมความสะดวกแก่ ประชาชน เพือทราบว่ าจะไปติดต่ อได้ ทใด ี จุดใด

4. หลักเกณฑ์ ทมี​ี สภาพอย่ างกฎมีผลเป็ นการทัวไปต่ อเอกชน (กฎ หมายถึง พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้ อบัญญัติ ท้ องถิน ระเบียบ ข้ อบังคับ หรือบทบัญญัตอิ นที ื มีผลบังคับเป็ นการทัวไป โดยไม่ ม่ ุง หมายให้ ใช้ บงั คับแก่ กรณีใด หรือบุคคลใดเป็ นการเฉพาะ) กฎ ทีมีผลเฉพาะต่ อ เจ้ าหน้ าทีในองค์ กร เช่ น กฎระเบียบ ขันตอน วิธีปฏิบัตงิ านของเจ้ าหน้ าทีทีไม่ มผี ลต่ อ เอกชนเป็ นการทัวไปไม่ ต้องลงพิมพ์ ในราชกิจจานุเบกษา)

27

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 9 ข้ อมูลข่ าวสารของราชการทีหน่ วยงานจะต้ องรวบรวมไว้ ให้ ประชาชนเข้ าตรวจดู 1. ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยทีมีผลโดยตรงต่ อเอกชน ได้ แก่ การอนุญาต อนุมตั ิ การวินิจฉัย การอุทธรณ์ ทีกระทําโดย เจ้ าหน้ าทีฝ่ ายปกครอง เช่ น * คําวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร กรณีเจ้ าพนักงานท้ องถินมีคาํ สั งไม่ อนุญาตคําขอ * ผลการพิจารณาอุทธรณ์ คาํ สั งไม่ อนุญาตตาม พรบ. สุ ราฯ * คําสั งไม่ อนุญาตให้ ตงท่ ั าเรือ คําสั งพักใบอนุญาต หรือ ถอน ใบอนุญาตของกรมการขนส่ งทางนํา 28

14


21/12/55

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารฯตามมาตรา 9 (ต่ อ) 2. นโยบายหรือการตีความ * นโยบายพลังงานแห่ งชาติ

* นโยบายตํารวจแห่ งชาติ

* นโยบายทุนรัฐวิสาหกิจ

* นโยบายการผังเมืองแห่ งชาติ

* การหารือข้ อกฎหมายกรณีสมาชิกสภาเทศบาล มีหุ้นส่ วนใน หจก. ทีเป็ นคู่สัญญากับเทศบาล * การหารอขอกฎหมายเกยวกบการดาเนนการตาม การหารือข้ อกฎหมายเกียวกับการดําเนินการตาม มติ มต ครม ครม. และการ จัดเก็บภาษีโรงเรือน และทีดิน * การหารือปัญหาการบังคับใช้ พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของ เจ้ าหน้ าที พ.ศ. 2539

29

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 9 3. แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ ายประจําปี ของปี ทีกําลัง ดําเนินงาน * แผนยุ แผนยทธศาสตร์ ทธศาสตรของจงหวดตามคารบรองการ ของจังหวัดตามคํารับรองการ ปฏบตราชการ ปฏิบัตริ าชการ ประจําปี งบประมาณ * แผนแม่ บทของหน่ วยงาน หรือ แผนพัฒนาด้ าน ต่ างๆ ของปี ที ดําเนินการทีกําหนดไว้ ในแผน 4. คู่มือหรือคําสั งเกียวกับวิธีปฏิบัตงิ านของ จนท.ของรัฐ ซึงมีผลกระทบถึง สิ ทธิหน้ าทีของเอกชน * คู่มือการขออนุญาตก่อสร้ าง ดัดแปลง เคลือนย้ าย หรือ รือถอน อาคาร ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 * คู่มือการขอประกันตัวผู้ต้องหาในชันต่ างๆ (ชันตํารวจ ชันศาล) 30

15


21/12/55

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 9 5. สิ งพิมพ์ ทได้ ี มีการอ้ างถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง ถ้ ามีการจัดพิมพ์เผยแพร่ ไว้ จาํ นวนพอสมควรแล้ ว ก็ไม่ จําเป็ นต้ องนําลงพิมพ์ ในราชกิจจาฯ ทังหมด ลงพิมพ์ แต่ เพียงว่ า ได้ มี การเผยแพร่ ข้อมูลดังกล่ าวแล้ ว โดยอ้ างถึงสิ งพิมพ์ทมี​ี การเผยแพร่ แล้ วไว้ ในราชกิจจาฯด้ วย กฎหมายจึง กําหนดให้ ต้องนําสิ งพิมพ์ ทได้ ี มีการอ้ างอิงถึงในราชกิจจาฯ ต้ องนํามารวมไว้ เพือให้ ประชาชนเข้ า ตรวจดูได้ ด้วย เช่ น * ประกาศ คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบ บัญชี ฉบับที 42 เรือง มาตรฐานการบัญชี 31

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 9 6. สั ญญาสั มปทาน สั ญญาทีมีลกั ษณะในการผูกขาด ตัดตอน หรอลกษณะรวมทุ หรื อลักษณะร่ วมทนกั นกบเอกชนในการจดทาบรการสาธารณะ บเอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ * สั ญญาสั มปทานการเดินรถประจําทาง * สั ญญาสั มปทานการทําเหมืองแร่ การทําไม้ * สั ญญาสั มปทานให้ เอกชนเก็บขยะมูลฝอยของ กทม. และ เมืองพัทยา * สั ญญาโครงการทางด่ วน * สั ญญาให้ ผลิตสุ รา * สั ญญา ITV * สั ญญาโครงการรถไฟ เป็ นต้ น 32

16


21/12/55

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 9 7. มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการทีแต่ งตังโดยกฎหมาย และแต่ งตังโดยมติ ค.ร.ม. 7.1 มติ คณะกรรมการทีแี ต่​่ งตังโดยคณะรั โ ฐมนตรี​ี เช่​่ น * มติคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ * มติคณะกรรมการมาตรฐานสิ นค้ า * มติคณะกรรมการสิ งแวดล้ อมแห่ งชาติ * มติคณะกรรมการกํากับนโยบายราคากลางงานก่ อสร้ าง 7.2 มติคณะกรรมการทีแต่ งตังโดยกฎหมาย เช่ น * มติ กขร.

* มติคณะกรรมการธนาคารแห่ งประเทศไทย * คณะกรรมการธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร เป็ นต้ น 33

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 9 8. ข้ อมูลอืนตามทีคณะกรรมการข้ อมูลข่ าวสารของราชการ กําหนด เนืองจากข้ อมูลมีจาํ นวนมาก และมีการพัฒนาปรับปรุ ง เปลียนแปลงตลอดเวลา ข้ อมูลฯทีประชาขนควรได้ ร้ ู ในช่ วงเวลา ปัจจบับนนอาจจะแตกตางไปจากชวงเวลาในอนาคต ปจจุ อาจจะแตกต่ างไปจากช่ วงเวลาในอนาคต การทีกฎหมายให้ อาํ นาจ กขร. เพือทีจะสามารถกําหนดเพิมเติม ได้ ว่าข้ อมูลข่ าวสารใดทีหน่ วยงานของรัฐจะต้ องจัดมารวมไว้ ให้ ประชาชนเข้ าตรวจดูได้ 34

17


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารอืนซึงหน่วยงานของรัฐ ต้อง จัดให้ประชาชนตรวจดู ตามมาตรา 9(8) ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา สรปผลการพิ สรุ ปผลการพจารณาจดซอจดจางประจาเดอน จารณาจัดซือจัดจ้างประจํ าเดือน ( ตามแบบ สขร.1) 35

36

18


21/12/55

มติคณะรัฐมนตรี 28 ธันวาคม 2547 ใใหนาประกาศประกวดราคา ้ ํป ป ประกาศสอบราคา ผลการจัดซือจัดจ้ างประจําเดือน เผยแพร่ ผ่าน website ของหน่ วยงาน 37

วิธีการในการจัดการข้ อมูลข่ าวสารให้ ประชาชน เข้ าตรวจดู 11. ตอง ต้ อง มสถานทเฉพาะ มีสถานทีเฉพาะ สาหรบประชาชนใชในการ สํ าหรับประชาชนใช้ ในการ ตรวจดูและศึกษาโดยสะดวก ตามสมควร 2. หน่ วยงานของรัฐจะต้ อง จัดทําดัชนี ของข้ อมูลข่ าวสารที มีรายละเอียดเพียงพอให้ ประชาชนเข้ าใจวิธีการค้ นหา โดยสะดวก - หมวดหมู่

- ชือเรือง

- ผู้รับผิดชอบ 38

19


21/12/55

วิธีการในการจัดการข้ อมูลข่ าวสารให้ ประชาชน เข้ าตรวจดู (ต่ อ) 3. กําหนดระเบียบปฏิบัติ เพือรักษาความเป็ น ระเบียบเรียบร้ อยหรือความปลอดภัยของ หน่ วยงานก็ได้ หนวยงานกได 4. มีเจ้ าหน้ าทีให้ บริการ / อํานวยความสะดวก 39

วิธีการในการจัดการข้ อมูลข่ าวสารให้ ประชาชน เข้ าตรวจดู (ต่ อ) 5. วางหลักเกณฑ์ การเรียกค่ าธรรมเนียมในการขอสํ าเนา หรือ สํ าเนาทีมีคาํ รับรองถูกต้ องก็ได้ โดยต้ องขอความเห็นชอบ จาก กขร. ก่ อน ทังนีควรคํานึงถึงผู้มรี ายได้ น้อย ประกอบด้ วย * ประกาศฯ 7 พ.ค. 2542 : ค่ าธรรมเนียมการทําสํ าเนา โดย เครืองถ่ ายเอกสารขนาดกระดาษ A4 หน้ าละไม่ เกิน 1 บาท ฯลฯ 40

20


21/12/55

ประกาศฯ เรืองการเรียกค่าธรรมเนียมขอ สําเนา ขนาดกระดาษ เอ ๔ ไม่เกิน ขนาดกระดาษ เอฟฟ ๑๔ ไ ่เกิ​ิน ไม่ ขนาดกระดาษ บี ๔ ไม่เกิน ขนาดกระดาษ เอ ๓ ไม่เกิน ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๒ ไมเกน ขนาดกระดาษพมพเขยว ไม่เกิน ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๑ ไม่เกิน ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๐ ไม่เกิน

บาท ๑.๕๐ บาท ๒ บาท ๓ บาท ๘ บาท ๑๕ บาท ๓๐ บาท 41

21


21/12/55

สถานทีสะดวก

กําหนดระเบียบได้ โดยคํานึงถึงความสะดวก

22


21/12/55

ดัชนีเพือค้ นคว้ าสะดวก แฟ้ ม ที

รายการ

1

ผลการพจารณาหรอคาวนจฉยทมผลโดยตรงตอเอกชน ผลการพิ จารณาหรือคําวินิจฉัยทีมีผลโดยตรงต่ อเอกชน รวมทงความเหนแยงและ รวมทังความเห็นแย้ งแล คําสังทีเกียวข้ องในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว (คําสังอนุมัต/ิ อนุญาต รายงานการ ประชุม)

2

นโยบายหรือการตีความทีไม่ เข้ าข่ ายต้ องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา 2.1 นโยบายของรัฐบาล 2.2 นโยบายผู้บริหารหน่ วยงาน ฯลฯ

3

แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ ายประจําปี ของปี ทีกาํ ลังดําเนินการ 3.1 แผนงาน 3.2 โครงการ 3.3 งบประมาณ

4

คู่มือหรือคําสังเกียวกับวิธีปฏิบัตงิ านของเจ้ าหน้ าทีของรัฐ ซึงมีผลกระทบถึงสิทธิ หน้ าทีของเอกชน

5

สิงพิมพ์ทีได้ มีการอ้างอิงถึงมาตรา 7 วรรคสอง

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารตามมาตรา 9 ถ้ ามีส่วนต้ องห้ ามมิให้ เปิ ดเผยตามมาตรา 14 หรือ 15 อยู่ด้วย ให้ ลบ หรือตัดทอน หรือทําโดยประการ อืนใดทีไม่ เป็ นการเปิ ดเผยข้ อมูลนัน บุคคลไมวามสวนไดเสยเกยวของหรอไม บคคลไม่ ว่ามีส่วนได้ เสี ยเกียวข้ องหรือไม่ ย่ยอมมสทธ อมมีสิทธิ เข้ าตรวจดู ขอสํ าเนาหรือสํ าเนาทีมีคาํ รับรองถูกต้ อง ได้ โดยหน่ วยงานอาจเรียกเก็บค่ าธรรมเนียมในการนัน ได้ 46

23


21/12/55

การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการตามมาตรา 11 เป็ นการจัดข้ อมูลข่ าวสารให้ ตามทีมีผู้มาขอยืนคําขอกับ หน่ วยงานของรัฐ ผู้ขอต้ องระบุคาํ ขอข้ อมูลให้ เข้ าใจได้ ตามควร 1. หน่ วยงานจัดให้ ภายในเวลาอันสมควร เว้ นแต่ ขอจํานวน มาก หรือ บ่ อยครัง 2. ถ้​้ าไม่ ไ ่ มี ให้ ใ ้ แนะนําไปยื ไป นื ทีอี นื 3. ข้ อมูลทีหน่ วยงานอืนจัดทําและห้ ามเปิ ดเผย ให้ ส่งคํา ขอให้ หน่ วยงานอืนพิจารณา 47

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓๘ กําหนดให้ เจ้าหน้าทีต้องแจ้งผลการดําเนินการ ให้ประชาชนผูส้ อบถามทราบ ภายใน ๑๕ วัน” 48

24


21/12/55

มติ ครม. ครม. เมือวันที ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗ กรณประชาชนขอขอมู กรณี ประชาชนขอข้อมลข่ ลขาวสาร าวสาร และ หน่วยงานรัฐมีพร้อมอยู่แล้วให้ดาํ เนินการโดยเร็ว หรือภายในวันทีขอ ถ้าขอมากไม่สามารถดําเนินการให้แล้ว เสร็จภายใน ๑๕ วัน ให้แจ้งผูข้ อทราบภายใน ๑๕ วัน และแจ้งกําหนดวันแล้วเสร็จด้วย 49

ลักษณะข้ อมูลทีจัดให้ (1) เป็ นข้ อมูลข่ าวสารทีมีอยู่แล้ ว (2) ไม่ ต้องจัดทําขึนใหม่ เว้ นแต่ การแปรสภาพเป็ น เอกสาร แต่ หากเห็นว่ ามิใช่ เป็ นการแสวงหาประโยชน์ ทาง การค้ า และเพือปกป้ องสิ ทธิเสรีภาพ หรือเพือประโยชน์ แก่​่ สาธารณะอาจจัดหาให้ ใ ้ กไ็ ด้​้ (3) ไม่ เป็ นการห้ ามหน่ วยงานทีจะจัดให้ หากเป็ นการ สอดคล้ องด้ วยอํานาจหน้ าทีตามปกติของหน่ วยงาน 50

25


21/12/55

ข้ขอมู อมลข่ ลขาวสารทไมตองเปดเผย าวสารทีไม่ ต้องเปิ ดเผย ข้ อมูลข่ าวสารทีอาจก่ อให้ เกิดความ เสี ยหายต่ อสถาบันพระมหากษัตริย์ (มาตรา 14 14)) 51

ข้ อมูลข่ าวสารทีอาจไม่ ต้องเปิ ดเผย ใช้ ดุลพินิจโดยคํานึงถึงเรืองต่ อไปนี ประกอบกัน

1) การปฏิบัตหิ น้ าทีของหน่ วยงานของรัฐ 2) ประโยชน์ สาธารณะ 3) ประโยชน์ ของเอกชนทีเกียวข้ อง 52

26


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารทีอาจมีคําสังมิให้เปิ ดเผย ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ทีมีลกั ษณะดังนี กระทบความมันคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ หรือ ความมันคงทางเศรษฐกิจฯ ทําให้การบังคับใช้กฎหมาย เสือมประสิทธิภาพ เป็ นความเห็นหรือคําแนะนําภายในหน่วยงาน เป็ นอันตรายต่อชีวิต หรือความปลอดภัยบุ​ุคคล รายงานทางการแพทย์ หรือข้อมูลส่วนบุคคลทีการ เปิ ดเผยอาจเป็ นการรุกลําสิทธิส่วนบุคคลเกินสมควร กฎหมายหรือผูใ้ ห้ขอ้ มูลกําหนดมิให้เปิ ดเผย 53

ทังนี ผู้มอี าํ นาจให้ เปิ ดเผย ต้ องเป็ นเจ้ าหน้ าทีทีมีหน้ าที ครอบครอง / ควบคุมดูแลข้ อมูลข่ าวสาร นัน

กฎกระทรวงฉบับที ๔ ลว.30 มิ.ย. 42 1) ข้ าราชการพลเรือนระดับ 6 ขึนไป 5) ผู้บริ​ิหารท้​้ องถินิ ปลั ป ดั อบจ. ปลัดเทศบาล ปลัด อบต.

27


21/12/55

7 ข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล

55

ความหมาย

“ข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล” (ม. 4 วรรคทีห้ า) สิ งเฉพาะตัของบุ ว คคล เช่ น ข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับ __________ การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติ อาชญากรรม หรือประวัตกิ ารทํางาน บรรดาทีมีชือของผู้นัน สิ งบอกลักษณะอืทีน หรือมีเลขหมาย รหัส หรือ ______________ ทําให้ ร้ ู ตวั ผูู้นันได้ เช่ น ลายพิมพ์ นิวมือ แผ่ นบันทึกลักษณะ เสี ยงของคน หรือรู ปถ่ าย และให้ หมายความรวมถึงข้ อมูล ข่ าวสารเกียวกับสิ งเฉพาะตัวของผู้ทถึี งแก่ กรรมแล้ วด้ วย

28


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล : องค์ ประกอบ

ข้ อมูลข่ าวสาร ส่ วนบุ​ุคคล

ข้ อมูลเกียวกับสิง เฉพาะตัวของบุคคล มีสิงบอกลักษณะ ทีทําให้ ร้ ูตวั ผู้นันได้ 57

ข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคล สิงเฉพาะตัวบุคคล สิงทีทําให้ ร้ ู ตัวผู้นัน เช่ น เชน เชน ช่ ฐานะการเงิน ชือ-นามสกุล การศึกษา ลายพิมพ์ นิวมือ ประวัวตสุ ปร ตสิ ขขภาพ ภาพ แผ่ นบันทึกลักษณ เสียง แผนบนทกลกษณะเสยง ประวัตอิ าชญากรรม รู ปภาพ ประวัตกิ ารทํางาน ฯลฯ 58

29


21/12/55

การปฏิบตั ิเกียวกับข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา ๒๓) จัดให้มีเท่าทีเกียวข้อง / จํ าเป็ น และยกเลิก เมือหมดความจํ าเป็ น เก็บข้อมู​ู ลจากเจ้าของข้อมู​ู ล จัดพิมพ์ในราชกิจจานุ เบกษา 59

ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมลเกี ขอมู ลเกยวกบตนเอง ยวกับตนเอง : เจ้ เจาของมสทธ าของมีสิทธิ ๑๐๐ %

ข้อมูลของผูอ้ ืน : ห้ามเปิ ดเผย มีขอ้ ยกเว้นให้เปิ ดเผยได้ตาม ม. ม.๒๔ เจ้าของข้อมูลยินยอมเป็ นหนังสือ 60

30


21/12/55

ข้ อยกเว้ น ให้ เปิ ดเผยข้ อมูลส่ วนบุคคล (มาตรา 24) ต่ อ จนท.ในหน่ วยงานนําไปใช้ ตามอํานาจหน้ าที ต่ อขหน่ ทํางานด้ าน การใช้ ้ อมูวลยงานที ตามปกติ แผน/การสถิติ การใช้ เพือประโยชน์ ในการ ศึกษาวิจยั ต่ อ จนท. เพือป้ องกันการฝ่ฯ าฝื นไม่ ปฏิบัติตคาม ต่ อ หอจดหมายเหตุ เพือการตรวจดู ณ า ม. 26 ุ ค่กม. วรรคหนึง กรณจาเปนเพอปองกน/ระงบอนตรายตอชวต/ วรรคหนง กรณีจําเป็ นเพือป้ องกัน/ระงับอันตรายต่ อชีวิต/ สุ ขภาพ ต่ อ ศาล และ จนท. หน่ วยงาน /บุคคลทีมีอํานาจตาม กม. กรณีอืนตามทีกําหนดไว้ ในพระราชกฤษฎีกา 61

สิ ทธิได้ รับการคุ้มครองข้ อมูลส่ วนบุคคล ม.๒๕ สิ ทธิในการขอตรวจดู หรือได้ รับสํ าเนา สิ ทธิในการขอแก้ไขเปลียนแปลง หรือ ลบข้ ลบขอมู อมลข่ ลขาวสารของตน าวสารของตน สิ ทธิในการอุทธรณ์ กรณีหน่ วยงานไม่ ลบหรือ เปลียนแปลงตามคําขอ (ภายใน ๓๐ วัน)

62

31


21/12/55

เอกสารประวัตศิ าสตร์

63

เอกสารประวัติศาสตร์ (1) หน่ วยงานของรัฐไม่ ประสงค์ จะเก็บรักษา (2) มีอายุครบกําหนด ตาม ม. 14 เมือครบ 75 ปี ตาม ม. 15 เมือื ครบ 20 ปี ให้ ส่งมอบให้ หอจดหมายเหตุแห่ งชาติ เพือ คัดเลือกให้ ประชาชนศึกษา

64

32


21/12/55

กรณีขอขยายเวลา (1) หากหนวยงานจะขอเกบรกษาไวเอง หากหน่ วยงานจะขอเก็บรักษาไว้ เอง เพือใช้ สอย ต้ องจัดให้ ประชาชนศึกษาได้ (2) หากเหนวายงไมควรเปดเผยสามารถ หากเห็นว่ ายังไม่ ควรเปิ ดเผยสามารถ ขอขยายเวลาเก็บได้ คราวละ ไม่ เกิน 5 ปี 65

11. ข้ อมูลทีมีผลกระทบต่ อผู้อืน

หากเปิ ดเผยข้ อมูลทีอาจกระทบถึงประโยชน์ ได้ เสียของผู้ใดให้ แจ้ งผู้นันคัดค้ านการเปิ ดเผยภายใน กําหนด การไม่ รับฟั งคําคัดค้ าน ทําให้ มีสิทธิอุทธรณ์ ได้ (มาตรา 17) MENU Sub Menu

STOP

33


21/12/55

12. สิ ทธิของประชาชนตามกฎหมาย สิ ทธิ “ได้ รู้ ” ม. 7,, 9,, 11,, 25 และ 26 สิ ทธิ “ได้ รับคําแนะนําทีถูกต้ อง” ม. 12 สิ ทธิ “คัดค้ านการเปิ ดเผย” ม. 17 สิ ทธิ “ร้​้ องเรี​ียน” ม. 13 สิ ทธิ “อุทธรณ์ คาํ สั งไม่ เปิ ดเผย” ม. 18 MENU STOP

สิ ทธิได้ รู้ :

จําแนกได้ ดังนี

สิ ทธิรับร้ ข้ อมู สทธรบรู อมลข่ ลขาวสารตาม าวสารตาม มม. 7 สิ ทธิเข้ าตรวจดูข้อมูลข่ าวสารตาม ม.9 สิ ทธิขอดูข้อมูลข่ าวสารตาม ม.11 สิ ทธิได้ ร้ ู ข้อมูลส่ วนบุคคลของตน ม. 25 สิ ทธิในการศึกษา ค้ นคว้ า ข้ อมูลประวัตศิ าสตร์ ม. MENU STOP Sub Menu 26

34


21/12/55

สิ ทธิคดั ค้ านการเปิ ดเผย มาตรา 17 ในกรณีทีเจ้ าหน้ าทีของรัฐเห็นว่ า การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวส อาจกระทบถึงประโยชน์ ได้ เสี ยของผู้ใด ให้ เจ้ าหน้ าทีของรัฐแจ้ งให้ ผ้ ูนัน เสนอคําคัดค้ านภายในเวลาทีกําหนด ซึงต้ องไม่ น้อยกว่ า 15 วัน หรือผู้ททราบว่ ี าการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารของราชการใดอาจกระทบ ประโยชน์ ได้ เสี ยของตน มีสิทธิคดั ค้ านการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารนันได้ โดยทําเป็ นหนังสื อถึงเจ้ าหน้ าทีของรัฐผู้รับผิดชอบ Sub Menu

MENU STOP

สิ ทธิคดั ค้ านการเปิ ดเผย (ต่ อ)

ในกรณีทีมีการคัดค้ าน เจ้ าหน้ าทีของรัฐผู้รับผิดชอบต้ องพิจารณา คําคัดค้ านและแจ้ งผลการพิจารณาให้ ผ้ คู ดั ค้ านทราบโดยไม่ ชักช้ า ในกรณีทีคําสั งไม่ รับฟ้ งคําคัดค้ าน เจ้ าหน้ าทีของรัฐจะเปิ ดเผยข้ อมูล ข่ าวสารนันมิได้ จนกว่ าจะล่ วงพ้ นกําหนดเวลาอุทธรณ์ ตามมาตรา 18 หรือจนกว่ าคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารได้ มีคาํ วินิจฉัย ให้ เปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารนันได้ แล้ วแต่ กรณี Sub Menu

MENU

END

35


21/12/55

กระบวนการใช้ สิทธิตาม พรบ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ ประชาชนใช้ สิทธิ โดยยืนคําขอ หน่ วยงานทีครอบครองข้ อมูลฯ พิจารณา /จัดหา เปิ ดเผยข้ อมูลฯ / จัดทําทําคําสั งไม่ เปิ ดเผยข้ อมูล ประชาชนใช้ สิทธิ ร้ องเรียน / อุทธรณ์ คาํ สั ง คณะกรรมการฯ พิจารณาวินิจฉัย

MENU STOP

วินิจฉัยให้ แก้ไข / ยืนยันคําสั ง

กระบวนการ และขันตอนการใช้สิทธิของ ประชาชน

•การใช้สิทธิขอดูขอ้ มูลข่าวสาร •การใช้สิทธิร้องเรี ยน และกระบวนการ พิจารณา •การใช้สิทธิอุทธรณ์ และกระบวนการ พิจารณา

36


21/12/55

หลักเกณฑ์ การใช้ สิทธิขอดูข้อมูลข่ าวสารตามมาตรา 1 1. 2. 3. 4. 5.

มีคี าํ ขอ โโดยวาจา / ทําเป็ปนหนังสื​ื อ ฯลฯ ต้ องระบุข้อมูลข่ าวสารพอเข้ าใจได้ เป็ นข้ อมูลข่ าวสารทัวไปนอกเหนือจาก ม.7 และ ม.9 เป็ป็ นข้​้ อมูลขาวสารที ่ มี อี ยู่ แล้​้ ว อาจจัดทําให้ ใหม่ กไ็ ด้ หากมิใช่ เพือประโยชน์ การค้ า หรือเพือปกป้ องคุ้มครองสิ ทธิของบุคคล Sub Menu

MENU

END

การใช้สิทธิรอ้ งเรียน ขันตอนการร้องเรียน 1. พิจารณาว่าพฤติการณ์หรือการปฏิบตั ิของหน่วยงาน ของรัฐั มี​ีลกั ษณะดังั ต่​่อไปนี ไป หี รื​ือไไม่​่ (1) ไม่จดั พิมพ์ขอ้ มูลข่าวสารลงในราชกิจจานุ เบกษา (2) ไม่จดั ข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดู (3) ฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายนี (4) ปฏิบตั ิหน้าทีล่าช้า (5) ปฏิเสธว่าไม่มีขอ้ มูลตามทีขอ (6) ไม่อํานวยความสะดวก

2. ยืนหนังสือร้องเรียน 3. รอฟังผลการพิจารณา

37


21/12/55

ข้อความทีควรระบุในหนังสือร้องเรียน 1. ข้อมูลเกียวกับผูร้ อ้ งเรียน 2. รายละเอียดของหน่วยงาน 3. เอกสารประกอบ ป

การใช้สิทธิอุทธรณ์ อุ​ุทธรณ์ได้ 3 กรณี 1. ยืนคําขอแล้วหน่วยงานไม่เปิ ดเผย (ม. 18) 2. เจ้าหน้าทีไม่รบั ฟังคําคัดค้านนี ((ม. 17 วรรคสาม,, ม.18)) 3. หน่วยงานรัฐไม่แก้ไขตามคําขอ (ม 25 วรรคสี)

38


21/12/55

ขันตอนการอุทธรณ์ 1. พิจารณาว่าหน่วยงานของรัฐมีคําสัง ดังนีหรือไม่ มีคําสังไม่เปิ ดเผยข้อมู ลตามทีขอ มีคําสังไม่รบั ฟังคําคัดค้าน มีคําสังไม่แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลตามทีขอ 2. ยืนหนังสืออุทธรณ์ต่อ สขร. 3. รอหนังสือแจ้งผลการพิจารณา/คําวินจิ ฉัยภายใน 60 วัน

9. บทกําหนดโทษ การฝ่ าฝื น มาตรา ๓๒ เรียกบุคคล/ คล/ให้ส่ง เอกสารมี​ีโทษตาม ม. ม.๔๐ (จํ​ํ าคุก ๓ เดื​ือน/ น/ ปรับ ๕,๐๐๐ บาท บาท)) การไม่ การไมปฏบตตามเงอนไข/ การไมปฏบตตามเงอนไข ปฏิบตั ิตามเงือนไข/ อนไข/ขอจากด ข้อจํ ากัด ตาม มม.. ๒๐ มีโทษตาม ม. ม.๔๑ (จํ าคุก ๑ ปี /ปรับ ๒๐,,๐๐๐ บาท ๒๐ บาท)) 78

39


21/12/55

อํานาจหน้าทีของ กวฉ. ในการพิจารณา เรือง อุทธรณ์ พิจารณาวินจิ ฉัยอุทธรณ์คําสัง ไม่เปิ ดเผย ข้อมู ล ตาม ม. ม.๑๕ คําสัง ไม่รบั ฟังคําคัดค้าน ตาม ม. ม.๑๗ และคําสัง ไม่แก้ไข เปลียนแปลง หรือ ลบ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตาม ม. ม.๒๕ 79

กรอบการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับ กรมหรือเทียบเท่า ประจํ าปี 2551 มิติที 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผลการเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตัวชีวัดที 5 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร จะพิจิ ารณาจากการดําํ เนินิ การเกี​ียวกับั การเปิปิ ดเผย ข้อมูลการประกาศประกวดราคา สอบราคา และ สรุปผล การจัดซือจัดจ้าง และ การกําหนดมาตรการให้ทุกหน่วยงาน บริการข้อมูลด้วยความรวดเร็ว 80

40


21/12/55

กรอบการประเมินผล (ต่ อ) กําหนดเป็ นระดับขันของความสําเร็จ 5 ระดับ โดยพิจารณาจาก ความก้าวหน้าของขันตอนการดําเนินงานตามเป้าหมายแต่ละ ระดับ • ขันตอนที 1 : มีการปฏิบตั ิหน้าทีตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ * จดสถานที ั ใี ห้​้ ประชาชนเข้​้ าดูได้​้ โดยสะดวก * มีเจ้ าหน้ าทีรับผิดชอบ * มีป้ายบอกทีตังศูนย์ข้อมูล หรือสถานทีบริการชัดเจน 81

กรอบการประเมินผล (ต่ อ) ขันตอนที 2 : มีการจัดระบบข้ อมูลฯตามมาตรา 9 * มีขอ้ มูลตามมาตรา 9 ครบถ้วนเป็ นปัจจุบนั * มีการจัดทําดัชนีฯไว้อย่างชัดเจน สามารถสื บค้น ได้เร็ ว 82

41


21/12/55

กรอบการประเมินผล (ต่ อ) •

ขันตอนที 3 : หน่วยงานมีการบริหารจัดการเกียวกับ การเปิ ดเผยข้อมูลไว้อย่างเป็ นระบบ ดังนี

* มีการมอบหมายผู้บริหารระดับรองหัวหน้ าส่วนราชการ รับผิดขอบเป็ นการเฉพาะ * ผู้บริหารของหน่วยงานให้ ความสําคัญ และ ควบคุมดูแล ให้ มีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย เช่น มีการประชุมซักซ้ อมความ เข้ าใจ ฯลฯ เขาใจ * มีการจัดเก็บสถิติผ้ ูมาใช้ บริการอย่างสมําเสมอ * * มีการปฏิบตั ิมติ ครม. เมือ 28 ธ.ค.47 ในการให้ บริการ ด้ วยความรวดเร็วภายในกําหนด ร้ อยละ 100 83

กรอบการประเมินผล (ต่ อ) • ขันตอนที 4 : มีการเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจเกียวกับสิทธิรบั รูฯ้ ใน ส่วนราชการและประชาชนทราบ * * บุคคลกรของหน่วยงานได้ รับการพัฒนาความรู้ทางกฎหมายข้ อมูล ฯ อย่างสมําเสมอ ไม่น้อยกว่า 3 ชัวโมง * มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่เกียวกับกฎหมายฯให้ ประชาชนทราบ ถึงสิทธิในการตรวจสอบการดําเนินงานของหน่วยงานอย่างน้ อย 5 ช่องทาง * มมีการรั รรบฟังคว ความคิ มคดเเห็นของประชาชนเกี ร นเ ยวกั ว บการเปิ รเ ดเผยข้ เผ อมูมลล ข่าวสารผ่านช่องทางต่างๆ และนําความคิดเห็นมาพิจารณาประกอบการ บริหารจัดการด้ านการเปิ ดเผย หรือ ให้ บริการข้ อมูลข่าวสาร 84

42


21/12/55

กรอบการประเมินผล (ต่ อ) • ขันตอนที 5 : หน่วยงานมีการปฏิบตั ิตามมติ คณะรัฐมนตรี เมือวันที 28 ธันวาคม 2547 ดังนี * นําข้อมูลเกียวกับประกาศประกวดราคา ประกาศ สอบราคาทีหัวหน้าส่วนราชการลงนามแล้ว เผยแพร่ บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน บนเวบไซตของหนวยงาน * นําสรุปผลการจัดซือจัดจ้างในรอบเดือนเผยแพร่ บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน 85

43


21/12/55

หลักสู ตร พระราชบัญญัติ ๔ ฉบับทีเกียวข้องกับการปฏิบตั ิราชการและแผนสิทธิมนุษยชนแห่ งชาติ

พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที พ.ศ. ๒๕๓๙ วันพฤหัสบดีที ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕ เวลา ๐๙.๐๐– ๑๖.๐๐ น. ณ สถาบันเกษตราธิการ เกษณี ตรี รัตนถวัลย์ สํานักความรั บผิดทางแพ่ ง กรมบัญชีกลาง 1

หลักการและเหตุผล • กรมบัญชีกลาง มีหน้ าทีควบคุมดูแลการใช้ จ่ายเงินของแผ่นดินให้ เป็ นไปโดยถูกต้ อง มีวินยั คุ้มค่า โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ • กรมบญชกลางวางกรอบกฎเกณฑเพอใหหนวยงานภาครฐถอปฏบต กรมบัญชีกลางวางกรอบกฎเกณฑ์เพือให้ หน่วยงานภาครัฐถือปฏิบตั ิ ให้ ใหคาแนะนา คําแนะนํา ปรึกษาด้ านการเงิน การคลัง การบัญชี การตรวจสอบภายใน และการพัสดุภาครัฐ • กรมบัญชีกลางได้ กระจายอํานาจการบริหารงานด้ านการเงินการคลังภาครัฐ จึงต้ อง มีระบบการบริหารจัดการทีมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีระบบควบคุม ภายในทีเข้ มแข็ง เพือเป็ นกลไกในการบริหารงานของกรมชลประทานให้ บรรลุผล สําเร็จตามเป้าหมาย • ดังนัน ผู้ปฏิบัตหิ น้ าทีย่ อมจะต้ องพัฒนาให้ เป็ นผู้รอบรู้ รู้ ลกึ สามารถจัดการ ใช้ จ่ายเงินให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดได้ เป็ นอย่ างดี 2

1


21/12/55

วัตถุประสงค์ • เพือทีจะให้ เข้ าใจในหลักการ เนือหา ตลอดจนวิธีปฏิบตั ิอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน • สามารถนําความรู้ไปใช้ ในการปฏิฏบตั ิราชการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

3

รายละเอียดเนือหาของวิชา •ความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที •ขันตอนในการดําเนินการตามระเบียบ •กรณีศกึ ษา

4

2


21/12/55

ละเมิด

420

448 5

มาตรา 4

เจ้ าหน้ าที

หน่วยงานของรัฐ 6

3


21/12/55

มาตรา 5 ผลแห่ งละเมิด ผลแหงละเมด หน่วยงานของรัฐรับผิด แทน เจ้ าหน้ าที

หน่วยงานของรัฐ กระทรวงการคลัง 7

มาตรา 6

การปฏิบัตหิ น้ าที การปฏบตหนาท Yes

No ฟ้องเจ้ าหน้ าที 8

4


21/12/55

มาตรา 7 ว. 1

ว. 2

การเข้ ามาเป็ นคู่ความ ในคดี หน่วยงานของรัฐ

ศาลยกฟ้อง เจ้ าหน้ าที

ขยายอายุความ 6 เดือน

9

มาตรา 8 ว.1

ว.2

ว. 3

ว.4

สิทธิเรี ยกให้ เจ้ าหน้ าที ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน

คํานึง

หักส่วน

ไม่มีลกู หนีร่ วม

ความบกพร่ อง

ระบบการดําเนินการ

จงใจ/ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ ายแรง

การกระทํา

ความเป็ นธรรม

ความผิด

10

5


21/12/55

มาตรา 8 ว.1 สิทธิเรี ยกให้ เจ้ าหน้ าทีชดใช้ คา่ สินไหมทดแทน

จงใจ/ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง 11

มาตรา 8 ว.2 คํานึง

การกระทํา

ความ เป็ นธรรม 12

6


21/12/55

มาตรา 8 ว.3 หักส่วน ความผิด

ความบกพร่อง

ระบบ การดําเนินการ 13

มาตรา 8 ว.4

ไม่มีลกู หนีร่วม 14

7


21/12/55

มาตรา 9

อายุความ 1 ปี เรี ยกให้ ชดใช้ คา่ สินไหมทดแทน 15

มาตรา 10 ว.1

ว.2

การ พิจารณา

2 ปี

การปฏิบตั ิหน้ าที

ไมใช ไม่ ใช่ การปฏิบตั ิหน้ าที

มาตรา ๘

ปพพ

1 ปี

16

8


21/12/55

อายุความ 1 ปี

2 ปี

10 ปี

ม.9

ม.10 ว.1

ปพพ

ม.10 ว.2 มรดก

17

มาตรา 11 ว.1 ผู้เสียหาย

ว.2 180 วัน

180 วัน

ยืนคําขอให้ ใช้ ค่าสินไหม ทดแทน 18

9


21/12/55

มาตรา 12 การออกคําสังเรี ยกให้ ชําระเงิน

คําสังทางปกครอง

อุทธรณ์ ฟ้องศาลปกครอง

19

มาตรา 13 ผ่อน ชําระ ว.115 1 ปี

500,000

> 500,000

20

10


21/12/55

การผ่อนชําระเงิน

เจ้าหน้าที สามารถผ่อน ชําระได้ตาม หลักเกณฑ์ ของกระทรวง การคลังั ว115 115

หากไม่ ไ ่เป็ นไป ไป ตามหลักเกณฑ์ ดังกล่าว ให้ทาํ ความตกลงกับ กระทรวง การคลังเป็ น การคลงเปน กรณีไป

ห้ามฟ้อง ล้มละลาย ในกรณีทีไม่มี เงินผ่อนชําระ เว้นแต่เข้า เงือนไขข้อ 27 แห่งระเบียบฯ

21

ดอกเบียผ่อนชําระ

ยกเว้น อัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี

ผ่อนครบภายใน 1 ปี ไมคดดอกเบย ไม่คิดดอกเบีย

22

11


21/12/55

เมือเกิดความเสี ยหาย เจ้​้ าหน้​้ าที​ี ปฏิบตั หิ น้ าที จงใจ / ร้ ายแรง 23

ขันตอนการดําเนินการ 1

2

3 คําวินิจฉัยผู้แต่งตัง

ความเสียหาย

คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิด ปฏิบตั ิหน้ าที

ตังคณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริ ง ตงคณะกรรมการสอบขอเทจจรง

ไม่เกิดจากการกระทําของ เจ้ าหน้ าที

ไม่ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที

จงใจ/ประมาท เลินเล่ออย่างร้ ายแรง

ประมาทเลินเล่อ

รับผิด

ไม่ต้องรับผิด

ตังคณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริ ง ความรับผิดทางละเมิด

ผู้รับผิด

ปพพ

ค่าเสียหาย

ส่งสํานวนให้ กระทรวงการคลัง

4

5

6

กระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง กระทรวงการคลง

คณะกรรมการพิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง

คณะกรรมการพิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง

ส่วนราชการ

ท้ องถิน/รัฐวิสารัฐกิจ

6 เดือน

1 ปี

ส่วนราชการ

ส่วนท้ องถิน/รัฐวิสาหกิจ

สังตามความเห็นกระทรวงการคลัง

สังตามทีเห็นว่าถูกต้ อง

หน่วยงาน ของรัฐ

คําสังทาง ปกครอง

อุทธรณ์ คําสัง

ฟ้องศาล ปกครอง

24

12


21/12/55

ขันตอนการดําเนินการ 1 ความเสียหาย

ตังคณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริง กรณีไม่ได้ เกิดจาก การกระทําของเจ้ าหน้ าที

ตังคณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริง ความรั บผิดทางละเมิด 25

ขันตอนการดําเนินการ 2 คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ปฏิบตั ิหน้ าที

ไม่ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที

จงใจ/ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ ายแรง

ประมาทเลินเล่อ

รั บผิด

ไม่ต้องรับผิด

ปพพ

26

13


21/12/55

กรณีทมี​ี ผ้รู ับผิด •ระบชื ระบุชอ •หน้ าที

ใ ใคร จํานวน

•ทรพยสน •ทรั พย์สนิ •ตีราคามูลค่าเป็ นเงินตรา 27

ขันตอนการดําเนินการ 3

คําวินิจฉัยผู้แต่ งตัง ผู้รับผิด

ค่าเสียหาย ส่งสํานวนให้ กระทรวงการคลัง 28

14


21/12/55

ขันตอนการดําเนินการ 4

กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง ส่วนราชการ

ท้ องถิน/รัฐวิสารัฐกิจ

6 เดือน

1 ปี 29

ขันตอนการดําเนินการ 5 กระทรวงการคลัง แจ้ งผล ส่ วนราชการ

ส่วนท้ องถิน/รัฐวิสาหกิจ

สังตามความเห็นกระทรวงการคลัง

สังตามทีเห็นว่าถูกต้ อง 30

15


21/12/55

ขันตอนการดําเนินการ 6

หน่วยงาน ของรัฐ

คําสสังทาง ปกครอง

อุทธรณ์ คําสัง

ฟ้องศาล ปกครอง

31

การติดตามหนี

ว 107 แนวทาง ปฏิบัติ

ตังั คณะกรรมการ / เจ้ าหน้ าที

บังั คับั คดี​ี + สืบื หา หลักทรัพย์

รายงานทุก 3 เดือน

32

16


21/12/55

การติดตามหนี (ต่ อ) ว 69 การรายงานผลการ ติดตามลูกหนี

รายงานผลการบังคับคดี

รายงานการผ่อนชําระ 33

เงินสด / เทียบเท่าเงินสด ทรัพย์สนิ ของทางราชการ สญหาย ยหาย สูญหาย เสี เสยหาย ตังคณะกรรมการสอบสวน หาตัวผู้รับผิดชอบ

ผลการสอบสวน และมูลค่าการเสียหาย

กระทรวงการคลัง

ความเสียหายเกิดจาก การทํางานด้ านการเงิน และทีไม่ใช่การเงินของ ส่วนราชการ

ส่วนราชการ

ความรับผิดทางแพ่ง การชดใช้ ออกคําสังและเรี ยกให้ ผู้กระทําความผิด ชําระเงิน / ทรัพย์สิน

สํานวนความรับผิดทางแพ่ง

วินิจฉัยเบืองต้ น คณะกรรมการรับผิดทางแพ่ง

ผลการพิจารณา 34

17


21/12/55

35

ความเสี ยหาย เงิ น

เงิน

36

18


21/12/55

การดําเนิ นการเมือหน่ วยงานของรัฐเกิดความเสียหาย รายงานผูบ้ งั คับบัญชาตามลําดับ สอบข้อเท็จจริงเบืองต้น แตงตงคณะกรรมการสอบ แต่งตังคณะกรรมการสอบ ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด 37

การแต่งตังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด

มีเหตุอนั ควรเชือว่า ความเสียหายเกิดจากการกระทําของเจ้าหน้าที ความเสยหายเกดจากการกระทาของเจาหนาท

กรรมการ ไม่เกิน 5 คน

กําหนดวัน แล้วเสร็จ

ประกาศกระทรวงการคลัง - กําหนดจํานวน ความเสียหาย - ผูแ้ ทนหน่วยงาน ร่ว่ มเป็ป็ นกรรมการ

38

19


21/12/55

การแต่งตังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)

ข้อยกเว้น ไม่มีเหตอัอนควรเชอวาเกดจาก นควรเชือว่าเกิดจาก ไมมเหตุ การกระทําของเจ้าหน้าที ชดใช้คา่ เสียหายครบถ้วน

รายงานผูบ้ งั คับบัญชา เห็นด้วย : ยุตเิ รือง ไม่ ไ เห็​็นด้วย : แต่งตัง คณะกรรมการสอบ ข้อเท็จจริงความ รับผิดทางละเมิด 39

การแต่งตังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)

กรณีรว่ มกันแต่งตังคณะกรรมการ ข้อ้ 10

เจ้าหน้าทีหน่วยงานของรัฐทําความเสียหาย เจาหนาทหนวยงานของรฐทาความเสยหาย แก่หน่วยงานของรัฐอีกแห่งหนึง

ข้อ 11

หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึงแห่ง ได้รบั ความเสียหาย

ข้อ 11

เกิดการทําละเมิดของเจ้าหน้าที หลายหน่วยงาน 40

20


21/12/55

การแต่งตังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)

ผูม้ ีอาํ นาจแต่งตัง 2ไม่ดาํ เนินการภายในเวลาสมควร 2แต่งตังไม่เหมาะสม

ให้ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง รัฐมนตรี 3 แตงตง/เปลยนแปลง ่ ั / ป ี ป (แทนผู ( ม้ ีอานาจ) ํ )

ตามทีเห็นสมควร 41

หน้าทีคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด 1

กรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึงหนึงของกรรมการทังหมด (ข้อ 13)

2

ประธานไม่อยูใ่ ห้เลือกกรรมการคนใดคนหนึงทําหน้าทีแทน

3

4

5

มติทีประชุมถือเสียงข้างมาก/ไม่เห็นด้วยให้ทาํ ความเห็นแย้งไว้ (ข้อ 14) ตรวจสอบข้ อเท็จจริง รวมรวมพยานหลั กฐานพยานบคคล/ผ้ ยวชาญ ตรวจสอบขอเทจจรง รวมรวมพยานหลกฐานพยานบุ คคล/ผูเชีชยวชาญ ตรวจสอบเอกสาร / วัตถุ / สถานที 42

21


21/12/55

หน้าทีคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด 6

7

8

ต้องให้โอกาสแก่ผเู ้ สียหายได้ชีแจง (ข้อ 15) เสนอความเห็นให้ผแู ้ ต่งตังพิจารณา โดยมีขอ้ เท็จจริง/กฎหมาย /พยานหลักฐาน (ข้อ 16) สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลา

43

การดําเนิ นการของผูม้ ีอาํ นาจแต่งตัง ไม่ผกู พันความเห็น ของคณะกรรมการฯ (ข้อ 16)

ให้ส่งผลให้ กค. ตรวจสอบภายใน 7 วัน

*** มิให้ขาด อายุความ 2 ปี

ระหว่างรอผล กค. ให้เตรียมออก คําสัง/ฟ้องคดี

ขอให้กรรมการ สอบเพิมเติมหรือ ทบทวนได้

ให้วินิจฉัยว่า มีผใู ้ ดต้องรับผิด + เป็ นจํานวนเท่าใด *** ยังั ไม่ ไ ่ตอ้ งแจ้ง้ ใให้​้ ผูร้ บั ผิดทราบ (ข้อ 17) 44

22


21/12/55

การดําเนิ นการของผูม้ ีอาํ นาจแต่งตัง (ต่อ) หาก กค.มิได้แจ้งผล ใ 1 ปี หรือื ภายใน 1 ปี 6 เดือน

เมือกระทรวง การคลังั แจ้ง้ ผลแล้ว้ ให้ดาํ เนินการ

ตามความเห็น กค. ตามทีเห็​็นว่าถูกต้อง ( ข้อ 18 )

***ให้ดาํ เนินการ

ตามทีเห็นสมควร เจ้าหน้าทีผูร้ บั ผิด

ตาย ***

ให้รีบดําเนินการ ภายในอายุความมรดก

กรณีแต่งตัง คณะกรรมการ ร่วมกัน ***

ผูแ้ ต่งตังร่วมเห็น ต่างกันให้เสนอ ครม. 45

การดําเนิ นการของผูม้ ีอาํ นาจแต่งตัง (ต่อ)

ข้อยกเว้น การวินิจฉัยสังการที แตกต่าง จากความเห็น ของ กค. กค จากความเหน

สํานวนทีไม่ตอ้ งส่ง ให้ กค. ตรวจสอบ (ประกาศ กค.)

เฉพาะส่วนท้องถิน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอืน สามารถปฏิบตั ติ ามที เห็นว่าถูกต้องได้ 46

23


21/12/55

ประกาศกระทรวงการคลัง เรือง ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที ทีไม่ตอ้ งรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ลงวันที 20 พฤษภาคม 2552 (กค 0410.2/ว 49 ลว.15 มิ.ย.2552)

วงเงิน วงเงน สาเหตุ ทัวไป ทุจุ ริต ไม่ปฏิบตั ิ ตามระเบียบ

การวินิจฉัย ส่วนราชการ <=500,000 >500,000 <=200,000 >200,000 -

หน่วยงานอืน <=1,000,000 >1,000,000 <=400,000 >400,000 -

ชดใช้ 75% คนทุจริต 100% ผูเ้ กียวข้อง 100% ผูเ้ กียวข้อง 100%

47

การดําเนิ นการของหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ

การแต่งตัง กก.ละเมิด ถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย

มีอาํ นาจแต่งตัง

อ้างกฎหมาย หรือระเบียบ ทีเกียวข้อง 48

24


21/12/55

การดําเนิ นการของหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ (ต่อ)

การแต่งตัง กก.ละเมิด ถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย

ตัง กก.ไม่เกิน จําํ นวนที​ีกฎหมาย หรือระเบียบกําหนด ( 5 คน)

ไม่แต่งตัง แต่งตัง กก.ร่วม ผูเ้ กียวข้อง/มีสว่ น ได้เสียเป็ น กก. 49

การดําเนิ นการของหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ (ต่อ)

การวินิจฉัยสังการ ถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย วินิจฉัยและมีความเห็นว่า มีเจ้าหน้าทีต้องรับผิดชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ จํานวนเท่าใด

ลงลายมือชือ และวัน เดือนปี ทีวินิจฉัยสังการ ท้ายรายงานผลการสอบสวน ของ กก.ละเมด กก.ละเมิด

50

25


21/12/55

การดําเนิ นการของหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ (ต่อ) ส่งสํานวนให้กระทรวงการคลัง ตรวจสอบ ภายใน 7 วัน ใ ผ้ ตู ้ อ้ งรับั ผิดชดใช้ ใ ้ ภายใน ใ 2 ปี​ี ออกคําํ สังั เรียี กให้ ***(ออกหลังส่งสํานวนให้ กค./ออกเมือ กค.แจ้งผลแล้ว)

ไล่เบีย ภายใน 1 ปี ดําํ เนิ​ินการยึดึ อายัดั ทรัพั ย์​์ ภายใน ใ 10 ปี ฟ้องทายาทผูต้ อ้ งรับผิด ภายในอายุความมรดก (1 ปี ) 51

การดําเนิ นการของ กก.ละเมิด

1. ตรวจสอบอํานาจหน้าทีตามคําสัง แต่งตัง 2. ประชุมกําหนดแนวทางการ สอบสวน และปฏทนระยะเวลา และปฏิทินระยะเวลา การพิจารณา 52

26


21/12/55

การดําเนิ นการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 3. ทําหนังสือเชิญผูเ้ กียวข้องมาให้การ และให้ส่งเอกสารทีเกียวข้อง 4. แจ้งสิทธิก่อนดําเนินการสอบสวน 5. ใหโอกาสเจาหนาททถู ให้โอกาสเจ้าหน้าทีทีถกสอบสวน กสอบสวน -ชีแจงข้อเท็จจริง -โต้แย้งแสดงพยานหลักฐานอย่างเพียงพอ และเป็ นธรรม 53

การดําเนิ นการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 6. รวบรวมเอกสาร/พยานหลักฐาน ทีเี กี​ียวข้อ้ งทังั หมด 7. ไม่รบั ฟั ง -พยานทียังไม่ได้ขอ้ ยุติ -พยานบอกเล่า่ -พยานนอกสํานวน 54

27


21/12/55

การดําเนิ นการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 8. เสนอความเห็นว่า ี ้ ้ ี ้ รั ิ ช ใช้ -มเจาหนาทตองรบผดชดใช ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ -จํานวนเท่าใด

9. 9 ใชขอกฎหมายในการวนจฉย ใช้ขอ้ กฎหมายในการวินิจฉัย ความรับผิด 55

การดําเนิ นการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 10. ลงลายมือชือ ตําแหน่ง และวันเดือนปี -ท้า้ ยบันั ทึกึ รายงานผลการสอบสวน 11. ขอขยายเวลา หากการสอบสวน ไม่แล้วเสร็จภายในเวลาทีกําหนด 12. สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกําหนด อายุความ 56

28


21/12/55

การพิจารณาของกระทรวงการคลัง

ตรวจสอบพยาน หลักฐานทีเกียวข้อง ให้บุคคล มาชีแจงเพิมเติม ใ ร้ บั ฟั งพยาน ให้ หลักฐานเพิมเติม

ใ ม้ ี ให้ คณะกรรมการพิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง” เป็ นผูพ้ ิจารณา ให้ความเห็นต่อ กระทรวงการคลัง (ข้อ 21) 21) 57

การชดใช้คา่ เสียหาย

ถ้าเป็ นเงิน ถ้าเป็ นสิงของ

ชดใช้เป็ นเงิน ต้อ้ งชดใช้ ใ เ้ ป็​็ นสิ​ิงของที​ีมี สภาพ คุณภาพ ปริมาณ และ ลักษณะอย่างเดียวกัน

ถ้าซ่อม

ต้องทําสัญญาตกลง และ ซ่อมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว (6 เดือน)

ถ้าชดใช้ตา่ งจาก ทรัพย์สินทีเสียหาย หรือสูญหาย

ต้องทําความตกลงกับ กระทรวงการคลัง 58

29


21/12/55

หมวด 2

กรณีเจ้าหน้าทีกระทําละเมิด กรณเจาหนาทกระทาละเมด ต่อบุคคลภายนอก

กระทรวง ทบวง กรม (ส่วนกลาง+ภูมิภาค)

59

องค์ประกอบของความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที ความเสียหาย ความ รับผิด

เจ้​้ าหน้​้ าที​ี

60

30


21/12/55

ขอบคุณคะ เกษณี ตรรตนถวลย เกษณ ตรี รัตนถวัลย์

โทร / โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๙๙ 61

31


(ปรับปร ุงมิถ ุนายน 2555)

1

ภาค 1 ความรเ้ ู บืองต้นเกียวกับกฎหมายปกครอง

ข้อศึกษา 1. ข้อความรพ ้ ู ืนฐานทัวไป 2 ขอบเขตของวชากฎหมายปกครอง 2. ขอบเขตของวิชากฎหมายปกครอง 3. หลักนิติรฐั เบืองต้น 2

1


กฎหมายทีใช้บงั คับ ประกอบด้วย 2 ส่วน

1. กฎหมายทีไม่ได้บญ ั ญัติเป็น ลายลักษณ์อกั ษร 2. กฎหมายที ฎ บัญญ ญญัติเป็น ลายลักษณ์อกั ษร 3

ท่านรจ้ ู กั กฎหมาย เหล่านีหรือไม่ ? 1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 2. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 3 พระราชบัญ 3. ั ญัตั ิจดั ตังั ศาลปกครองฯ ป พ.ศ. 2542 4. พระราชกฤษฎีกากําหนดหน่วยงานของรัฐ ฯลฯ 5. กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติฯ 4

2


ส่วนประกอบของกฎหมาย ทีเป็นลายลักษณ์อกั ษร 1. ร ูปแบบของกฎหมาย เช่น พรบ. พรฎ. ฯ

2. เนือหาของกฎหมายฉบับนันๆ 5

กฎหมายเอกชน

เป็นกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ ระหว่างเอกชน + เอกชน อย่างเท่าเทียมกัน

กฎหมายมหาชน ฎ

เป็นกฎหมายว่ ฎ าด้วยความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐ + เอกชน โดยรัฐมีฐานะเหนือกว่าเอกชน (ผูป้ กครองกับผูอ้ ยูใ่ ต้การปกครอง) 6

3


ลําดับชันของกฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญ ั ญัตั ิฯ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ระเบียบ ฯลฯ

กฎหมายแม่บท กฎหมายล ูกบท กฎหมายลําดับรอง กฎหมายลาดบรอง อน ุบัญญัติ “กฎ” 7

เนือหาของ กฎหมายปกครอง

I. การจัดองค์การของฝ่ายปกครอง II. วิธีการในการจัดทําบริการสาธารณะของฝ่ายปกครอง III การควบค ุมการใช้อํานาจรัฐของฝ่ายปกครอง

8

4


อํานาจอธิปไตย องค์กรผูใ้ ช้อํานาจ นิติบญ นตบญญต ั ญัติ

ว ุฒิสภา

สภาผูแ้ ทนราษฎร

การกระทํา ทางนิติบญ ั ญัติ

องค์ก์ รผูใ้ ช้อํานาจ บริหาร (คณะรัฐมนตรี) งาน นโยบาย การกระทํา ของรัฐบาล

องค์กรผูใ้ ช้ อํานาจ อานาจ ต ุลาการ (ศาล) การกระทํา ทางต ุลาการ

ฝ่ายปกครอง การกระทําของ ฝ่ายปกครอง 9

ฝ่ายปกครองมีอะไรบ้าง (1) 1. หน่วยงานของรัฐฝ่ายบริหาร 1.1 หน่​่วยงานในราชการส่ ใ ว่ นกลาง เช่​่น กระทรวง 1.2 หน่วยงานในราชการส่วนภ ูมิภาค เช่น จังหวัด อําเภอ 1.3 หน่วยงานในราชการส่วนท้องถิน เช่น อบจ.ฯ 1.4 รัฐวิสาหกิจทีตังตามพระราชบัญญัติ เช่น กฟผ. ธกส. หรือพระราชกฤษฎีกา เช่น ขสมก. อจส. 1.5 หน่วยงานอืนๆ นอกจากข้อ 1.1-1.4 เช่น องค์การมหาชน 10

5


ฝ่ ายปกครองมีอะไรบ้ าง (2)

2. เจ้ าหน้ าทีของรัฐฝ่ ายบริหาร (ฝ่ ายปกครอง) - นายกรัฐมนตรี - คณะรัฐมนตรี - รัฐมนตรีคนหนึงคนใดหรือหลายคน - บรรดาเจาหนาททปฏบตงานในขอ บรรดาเจ้ าหน้ าทีทีปฏิบัตงิ านในข้ อ 1 เชน เช่ น ปลัดกระทรวง นายกท้ องถินฯ ฝ่ ายปกครอง ประเภทนีแบ่ งเป็ น องค์ กรเดียว และองค์ กรกลุ่ม 11

ฝ่ ายปกครองมีอะไรบ้ าง (3)

3. องค์ กรอิสระของรัฐ(องค์ กรอิสระตามรัฐธรรมนูญและ องค์​์ กรอืนื ตามรัฐธรรมนูญ) : องค์ กรทีรัฐธรรมนูญหรือ พรบ.ประกอบฯ หรือ พรบ. จัดตังขึนให้ มฐี านะเป็ น องค์ กรอิสระของรัฐ เช่ องคกรอสระของรฐ เชนน ก.ก.ต. ป.ป.ช. คกก.สิ ทธิมนุษยชนฯ เป็ นต้ น 12

6


ฝ่ ายปกครองมีอะไรบ้ าง (4)

44. หนวยงานของรฐทเปนอสระ หน่ วยงานของรัฐทีเป็ นอิสระ : หน่ วยงานทีรัฐธรรมนูญหรือ พรบ. ประกอบฯ หรือ พรบ.จัดตังขึนเพือทําหน้ าทีด้ านธุรการ ด้ านวิชาการ ให้ องค์ กรอิสระของรัฐ ศาล หรืออืนๆ เช่ น สนง.ศาล ป ปกครอง สนง. ก.ก.ต. สนง.เลขาธิ​ิการสภาผู้ แทนฯ เป็ป็ นต้​้ น

13

ฝ่ ายปกครองมีอะไรบ้ าง (5)

55. บรรดาเจาหนาททปฏบตงาน บรรดาเจ้ าหน้ าทีทีปฏิบัตงิ าน ในหน่ วยงานของรัฐทีเป็ นอิสระ ไม่ ว่าจะมีฐานะเป็ นข้ าราชการ พนักงานของรัฐ หรืออืนๆ เช่ น เลขาธิ​ิการ สนง.ศาลปกครอง ป ผู้ว่า สตง. เป็ นต้ น 14

7


II. วิธีการในการดําเนินการหรือจัดทําบริการสาธารณะ การกระทําของฝ่ายปกครอง

การกระทําทีอาศัย อํานาจตามกฎหมาย เอกชน

การกระทําทีอาศัย อํานาจกฎหมายมหาชน (ดูแผ่นต่อไป)

15

การกระทําทีอาศัยอํานาจ ตามกฎหมายมหาชน

การกร ทาทม การกระทํ าทีม่งุ ใหเกดผล ให้เกิดผล ทางกฎหมาย

การกระทํทาทม การกร าทีม่งุ ขอเทจจรง ข้อเท็จจริง (การกร (การกระทํทาา ทางกายภาพ/ปฏิบตั ิการทางปกครอง)

(ดูแผ่นต่อไป) 16

8


การกระทําทีมุ่งให้เกิดผล ในทางกฎหมาย

มุ่งให้เกิดผลภายในฝ่าย ปกครอง

มุ่งให้เกิดผลไปสู่ ภายนอกฝ่ายปกครอง

สัญญาทางปกครอง ระเบียบภายในฝ่ายปกครอง ระเบยบภายในฝายปกครอง นิติกรรมทางปกครอง คําสังภายในฝ่ายปกครอง (กฎและคําสังทางปกครอง) คําสัง 17

มาตรา 5 แห่ง พรบ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองฯ “กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติ ท้องถิน ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอืนทีมีผลบังคับเป็น การทัวไป โดยไม่มง่ ุ หมายให้ใช้บงั คับแก่กรณีใดหรือบ ุคคลใดเป็น การเฉพาะ

“คําสังทางปกครอง” หมายความว่า (1) การใช้อํานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าทีทีมีผลเป็นการสร้างนิติ สัมพันธ์ขึนระหว่างบ ุคคลในอันทีจะก่อ เปลียนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าทีของบคคล หรอมผลกระทบตอสถานภาพของสทธหรอหนาทของบ ุคคล ไมวาจะ ไม่ว่าจะ เป็นการถาวรหรือชัวคราว เช่น การสังการ การอน ุญาต การอน ุมัติ การวินิจฉัยอ ุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่ หมายความรวมถึงการออกกฎ (2) การอืนทีกําหนดในกฎกระทรวง 18

9


องค์ ประกอบของกฎและคําสั งทางปกครอง กฎ

คําสังทางปกครอง

1. เป็นผลจากการใช้อํานาจตาม พรบ. ของฝ ฝ่ ายปกครอง ป 2. เป็นการใช้อํานาจฝ่ายเดียว (ไม่ตอ้ งได้รบั ความยินยอม) 3. การใช้อํานาจดังกล่าวก่อให้เกิด นิติสมั พันธ์ระหว่างฝ่ายปกครอง กับเอกชน 4. มีผลไปสูภ่ ายนอกฝ่ายปกครอง 5. มีผลบังคับเป็นการทัวไป

3 3 3

3 *มีผลต่อกรณีเฉพาะหรือบ ุคคล ใดเป็นการเฉพาะ 19

ลักษณะสําคัญของกฎ (มีผลบังคับเป็นการทัวไป) มีลกั ษณะสําคัญ 2 ประการ

1. บ ุคคลทีถ ูกบังคับตามกฎ มีการกําหนดหรือถ ูกนิยามไว้เป็นประเภท

2. สิงทีบ ุ​ุคคลทีถ ู​ูกนิยามไว้ ต้องปฏิฏบตั ิตามกฎนั ฎ น ได้มีการกําหนดไว้เป็นนามธรรม : เมือมีขอ้ เท็จจริงเกิดขึนตามทีกําหนดไว้บ ุคคลประเภทนัน ต้องปฏิบตั ิตามกฎซําแล้วซําอีก 20

10


หลักนิติรฐั เบืองต้น

ป ประกอบด้ ว้ ยหลักั การพื​ืนฐาน 2 หลักั การ 1. หลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทําทางปกครอง 2. หลักความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ของกฎหมาย 21

หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง (Principle of legality of Administration Action)

1. ความหมาย ? 2. สาระสําคัญ ?

22

11


1. ความหมายของหลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทําทางปกครอง : ไม่มีกฎหมายไม่มีอํานาจ ต้องมีกฎหมายให้อํานาจและต้องกระทําการ ใ ในขอบเขตทกฎหมายกาหนดไวเทานน ี ํ ไ ้ ่ ั

23

2. สาระสําคัญของ Principle of Legality Of Administration Action

: กฎหมายเป ฎ ็ นทังแหล่งทีมา ((Source)) และข้อจํากัด (Limitation) ของอํานาจกระทําการต่างๆ ของฝ่ายปกครอง 24

12


Source : กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ และกฎหมายลําดับรอง Limitation : *กฎหมายระดับพระราชบัญญัติทีให้อํานาจ *กฎหมายระดับพระราชบัญญัติอืนทีใช้บงั คับ ในขณะทีฝ่ายปกครองกระทําการ *รัฐธรรมนูญ *กฎหมายประเพณี *หลักกฎหมายทัวไป 25

ภาค 2 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 วัตั ถปุประสงค์ใ์ นการเรียี นร ้ ู : มีค ี วามรค้ ู วามเข้า้ ใจ ใ 1. เกียวกับความมุง่ หมายของ พรบ.ฉบับนี 2. สามารถมองภาพรวมของ พรบ.นี ได้ตามสมควร 3. พืนฐานหลักการสําคัญของ พรบ.ฉบับนี 4. ขอควรระลกในการใช ้ ึ ใ ใ ้ พรบ.นี 5. พอทีจะวินิจฉัยปัญหาทีเกิดจากการใช้ พรบ.นี ในเบืองต้น

26

13


เหต ุผล : พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • • •

กําหนดหลักเกณฑ์และขันตอนต่างๆ สําหรับการดําเนินการทางปกครอง ให้การดําเนินงานเป็นไปโดยถ ูกต้อง มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎฎหมาย สามารถรักษาประโยชน์สาธารณะได้ มีประสิทธิภาพยิงขึน และยังอํานวยความเป็นธรรม แก่เอกชนได้มากขึน 27

เงือนไขความสมบูรณ์ของคําสังทางปกครอง

เงือนไขในแง่ขอบอํานาจในการ ออกคําสังทางปกครอง เงื​ือนไขในแง่ ไ ใ ่กระบวนการในการ ใ ออกคําสังทางปกครอง 28

14


เงือนไขในแง่ขอบอํานาจในการออกคําสัง 1.

ข้อเท็จจริงอันเป็นเหต ุให้ฝ่ายปกครอง มี​ีอํานาจในการออกคํ ใ าสังั

2.

วัตถ ุประสงค์ของคําสัง : เนือความของคําสัง ทีแท้จริง

3 3.

ความมุงหมายของการออกคํ ความม่ หมายของการออกคาสง าสัง : ผลทีฝ่ายปกครองหวังจะให้เกิดขึนจาก การออกคําสัง 29

เงือนไขในแง่กระบวนการในการออกคําสัง 1. เจ้า้ หน้า้ ที​ีผอ้ ู อกคํ​ําสังั 2. ขันตอนของการออกคําสัง 3. แบบของคําสัง

30

15


เงือนไขเกียวกับกระบวนการ ในการออกคําสัง

กํกาหนดใน าหนดใน พรบ พรบ.ว. วิ ปกครองฯ (กฎหมายเสริม)

กํกาหนดในกฎหมาย าหนดในกฎหมาย ทีให้อํานาจออกคําสังฯ 31

ความเป็นกฎหมายเสริม • วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองตามกฎหมายต่างๆ ใหเปนไปตาม ให้ เป็นไปตาม พ.ร.บ. พ ร บ นนี เว้ เวนแต นแต่ - มีฎหมายกําหนดวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ไว้โดยเฉพาะ และ - มีหลักเกณฑ์ทีประกันความเป็นธรรม หรือมีมาตรฐานในการปฏิบตั ิราชการไม่ตํากว่า หลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. นี ข้อยกเว้น ขันตอนและระยะเวลาอ ุทธรณ์ฯ ให้เป็นไป ตามกฎหมายนัน 32

16


ขอบเขตของ พรบ. ฉบับนี ข้อสังเกต “วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง” : การเตรียมการและการดําเนินการเพือให้มีกฎ และคําสังทางปกครอง “การพิจารณาทางปกครอง” : การเตรียมการและการดําเนินการให้มีคําสัง ทางปกครอง 33

ข้อจํากัดไม่นํา พรบ. นีไปใช้ 1.

ข้อจํากัดตาม พรบ. นี (ม.4) เช่น (1) รฐสภา รัฐสภา และคณะรฐมนตร แล คณ รัฐมนตรี 2) องค์กรทีใช้อํานาจตามรัฐธรรมนูญฯ โดยเฉพาะ (3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยเฉพาะ ฯลฯ

2.

ข้อจํากัดตาม พรบ. เฉพาะ เช่น ม.5/2 แห่ง พรบ. การเดินอากาศ (ฉบับที 11) พ.ศ. 2551 ทีไม่ให้นํา หลักความเชือโดยส ุจริตมาใช้กรณีทีถ ูกเพิกถอน ใบรับรองใบอน ุญาตฯ ตาม พรบ. การเดินอากาศฯ 34

17


(1) ขันตอนการพิจารณาทางปกครองตามวิธีปฏิบตั ิราชการ ทางปกครอง (๑) ข้อต้องคํานึงในชันนีมี 2 หัวข้อทีต้องทําความเข้าใจ

1. คกู่ รณี 2. เจ้าหน้าที 35

คกู่ รณี (มาตรา 5, มาตรา 21 – มาตรา 25) - คือใคร ((มาตรา 5)) - ความสามารถ (มาตรา 22) - สทธของค สิทธิของค่กูกรณ รณี (มาตรา 23 - มาตรา 25)

36

18


คกู่ รณี : บ ุคคลทีอยูต่ รงข้ามกับเจ้าหน้าที คือ ผ้ยู นคํ ื าขอ ผ้คู ดั ค้านคําขอ ผ้อู ย่ใู นบังคับ หรือจะอย่ ู ในบังคับของคําสังทางปกครองและผูซ้ ึงได้เข้ามา ในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เนืองจาก สิทธิถ ูกกระทบจากผลของคําสังทางปกครอง (มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการ ทางปกครอง พ.ศ. 2539 (วิ. ปกครอง)

37

ความสามารถของคกู่ รณี (มาตรา ๒๒ วิ. ปกครอง) (1) ผูบ้ รรล ุนิติภาวะ (ตามประมวลกฎหมายแพ่​่ง และพาณิชย์) (2) มีกฎหมายเฉพาะกําหนดให้มีความสามารถ (3) นิติบ ุคคล คณะบ ุคคล (4) ผูท้ ีมีประกาศของนายกรัฐมนตรีใน รก. ให้มีความสามารถกระทําการในเรืองนัน 38

19


สิทธิของคกู่ รณี (1) นํนาทนายความหรอทปรกษา าทนายความหรือทีปรึกษา เขามาในการ เข้ามาในการ พิจารณาทางปกครอง (2) แต่งตังบ ุคคลซึงบรรล ุนิติภาวะ กระทําการ แทนตน (3) ตัวแทนของบ ุคคลในคํ ใ าขอทีมีคนละชือ ร่วมกัน 50 คน 39

เจ้าหน้าที (มาตรา 5, มาตรา 12 – มาตรา 20)

- อํานาจของเจ้าหน้าที (มาตรา 12) - หลักความเป็ นกลาง (มาตรา 13 – มาตรา 20) 40

20


อํานาจของเจ้าหน้าที (มาตรา 12) : องค์กรเดียว - อํานาจในแง่เนือหา (ผูท้ รงอํานาจ/ ผูร้ บั มอบอํานาจ) - อํานาจในแง่เวลา - อํานาจในแง่สถานที 41

อํานาจในแง่เนือหา (1) : เจ้าหน้าที ผูท้ รงอํานาจ : พิจารณาจากกฎหมายที ให้อํานาจออกคําสัง ผูร้ บั มอบอํานาจ

42

21


เจ้าหน้าทีผูร้ บั มอบอํานาจ หลักเกณฑ์การมอบอํานาจ : ต้องมีกฎหมายมอบอํานาจ - กฎหมายกลาง - กฎหมายเฉพาะ : ต้องพิจารณาถึงตําแหน่งหรือเจ้าหน้าที ทีมีอํานาจรับมอบอํานาจ : การมอบต้องทําตามแบบ 43

หลักความเป็ นกลาง - ความไม่เป็นกลางทางภาวะวิสยั (มาตรา 13) (เนืองจากสภาพภายนอกของเจ้าหน้าที) (เนองจากสภาพภายนอกของเจาหนาท) - ความไม่เป็นกลางทางอัตตะวิสยั (มาตรา 16) (เนืองจากสภาพภายในของเจ้าหน้าที) - วิธีปฏิบตั ิเมือมีปัญหานี (มาตรา 14-15) บทยกเว้น (มาตรา 18) - บทยกเวน - ผลของการพิจารณาทางปกครองทีขัดต่อ หลักความเป็นกลาง (มาตรา 17) 44

22


องค์กรกลมุ่ (1) 1 มองคประกอบครบ 1. มีองค์ประกอบครบ (ด (ดมาตรา ูมาตรา 19 มาตรา 77 มาตรา 79 วรรคสอง ประกอบ) 2. การดําเนินการเพือออกคําสังต้องทําในทีประช ุม ((มาตรา 80)) 3. ต้องครบองค์ประช ุม (มาตรา 79) 45

องค์กรกลมุ่ (2) 4 จํจานวนเสยงในการลงมตตองเปนไปตามทกฎหมาย 4. านวนเสียงในการลงมติตอ้ งเป็นไปตามทีกฎหมาย กําหนด (มาตรา 82 วรรคหนึง) 5. กรรมการคนหนึงคนใดต้องไม่มีลกั ษณะขัดต่อ หลักความเป็ นกลาง 6. เฉพาะกรรมการตามกฎหมายจึงมีสิทธิอยูใ่ นทีประช ุม 46

23


ขันตอนการพิจารณาทางปกครอง ตาม วิ. ปกครอง (2) ข้อต้องคํานึงในชันการพิจารณา (มาตรา 26 – มาตรา 33) - ต้องใช้หลักไต่สวนในการ แสวงหาข้อเท็จจริง - ต้องใช้หลักการพิจารณาโดยเปิ ดเผย

47

หลักไต่สวนในการแสวงหาข้อเท็จจริง - เจ้ เจาหนาทตรวจสอบขอเทจจรง าหน้าทีตรวจสอบข้อเท็จจริง ได้อย่างกว้างขวาง (มาตรา 28 และ มาตรา 29) - คก่ ู่ รณี​ีมีหน้า้ ที​ีให้ค้ วามร่ว่ มมื​ือกับั เจ้าหน้าที (มาตรา 29) 48

24


หลักการพิจารณาโดยเปิ ดเผย

- คกู่ รณีมีสิทธินําทนายความหรือ ทีปรึกษาเข้ามาในการพิจารณา (มาตรา 23) - คกู่ รณีได้รบั แจ้งสิทธิและหน้าทีของตน(มาตรา 27) - ให้โอกาสคกู่ รณีโต้แย้งในบางกรณี(มาตรา 30) 49

หลักการพิจารณาโดยเปิ ดเผยฯ (2) การรบฟงบ การรั บฟังบคคลฯ ุคคลฯ (1) - ในกฎหมายเฉพาะ

- ใน วิ.ปกครองฯ 50

25


หลักการพิจารณาโดยเปิ ดเผยฯ (3) การรับฟังบ ุคคลฯ (2) (มาตรา 30) 1. บ ุคคลทีต้องรับฟัง : คกู่ รณี 2. กรณีทีต้องรับฟัง 3. สิ​ิทธิ​ิในการต้อ้ งรับั ฟัง 4. ข้อยกเว้นทีไม่ตอ้ งรับฟัง (มาตรา 30 วรรคสอง วรรคสาม) 51

หลักการพิจารณาโดยเปิ ดเผย (4) การรับฟังบ ุคคลฯ (3) (มาตรา 30) 2 กรณ 2. กรณี ทีทตองรบฟง ต้องรับฟัง : คาสงอาจกระทบตวสทธของ คําสังอาจกระทบตัวสิทธิของ คกู่ รณี 4. ข้อยกเว้นทีไม่ตอ้ งรับฟัง มาตรา 30 วรรคสอง : ข้อยกเว้นไม่เด็ดขาดเป็น ด ุลพินิจของเจ้าหน้าที มาตรา 30 วรรคสาม : ข้อยกเว้นเด็ดขาด 52

26


(3) ขันตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (3) ข้อต้องคํานึงในชันเสร็จการพิจารณา (มาตรา 34 - มาตรา 42) - ร ูปแบบของคําสังทางปกครอง - การให้เหต ุผลประกอบการ ออกคําสังทางปกครอง ออกคาสงทางปกครอง - การแจ้งคําสังทางปกครอง - การแจ้งสิทธิอ ุทธรณ์ 53

ร ูปแบบของคําสังทางปกครอง(มาตรา 34- มาตรา 36)

- อาจเป็นหนังสือ วาจา หรือโดยการ สือความหมายในรปู แบบอืน - ถ้าเป็นคําสังด้วยวาจา ผูร้ บั คําสัง อาจขอให้ออกเป็ นหนังสือได้ อาจขอใหออกเปนหนงสอได - รายการในคําสังทีเป็นหนังสือ 54

27


การให้เหต ุผลประกอบคําสัง (มาตรา 37) - ประเภทของคําสังทีต้องให้เหต ุผล - รายการขันตําของเหต ุผล - เหต ุผลต้องระบ ุไว้ทีใด - กรณีทีไม่ตอ้ งระบ ุเหต ุผล 55

การแจ้งสิทธิอ ุทธรณ์ (มาตรา 40)

- กรณีตอ้ งแจ้งสิทธิอ ุทธรณ์ - รายการทีต้องแจ้ง - ผลของการไม่แจ้ง

56

28


ผลของการไม่แจ้งสิทธิอ ุทธรณ์ - ระยะเวลาอ ุทธรณ์ขยายโดยเริมนับใหม่ตงแต่ ั วนั ทีได้รบั แจ้งสิทธิ - ถ้าไม่ได้แจ้งและระยะเวลาอ ุทธรณ์นอ้ ยกว่า 1 ปี ให้ ขยายเป็น 1 ปี นบแตวนทไดรบคาสง ขยายเปน นับแต่วนั ทีได้รบั คําสัง

57

การแจ้งคําสัง (มาตรา 42)

- คําสังเริมมีผลเมือใด - วิธีการแจ้งคําสัง (มาตรา 68 – มาตรา 74)

58

29


ขันตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (4) (4) ขันตอนการทบทวนคําสังทางปกครอง

(1) ทบทวนโดยค โ ่กู่ รณี​ียนื อ ุทธรณ์​์ (2) ทบทวนโดยเจ้าหน้าที (3) ทบทวนโดยคกู่ รณีขอให้พิจารณาใหม่ 59

((1)) ทบทวนโดยคกู​ู่ รณียนอ ื ุทธรณ์ ุ ((มาตรา 44 - มาตรา 46)) • • • • •

ประเภทของคําสังทีอาจอ ุทธรณ์ ระยะเวลาทีต้องอ ุทธรณ์ ผูม้ ีหน้าทีพิจารณาอ ุทธรณ์ ระยะเวลาในการพิจารณาอ ุทธรณ์ พิจารณาอ ุทธรณ์อะไรได้บา้ ง 60

30


(2) ทบทวนโดยเจ้าหน้าที (มาตรา 49 – มาตรา 53)

- เจ้าหน้าทีจะยกเลิกเพิกถอนได้เมือใด - การเพิกถอนคําสังทีไม่ชอบ ด้ว้ ยกฎหมายต้อ้ งคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงอะไรบ้ ไ า้ ง - การยกเลิกคําสังทีชอบด้วยกฎหมาย ต้องคํานึงถึงอะไร 61

การเพิกถอนคําสังทีไม่ชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 50 – มาตรา 52) - คําสังทีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ที​ีไม่ใ่ ห้ประโยชน์ โ แ์ ก่ผ ่ ร้ ู บั คําสังฯ

- คําสังทีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทีให้ประโยชน์แก่ผร้ ู บั คําสัง 62

31


การยกเลิกคําสังทีชอบด้วยกฎหมาย

- คําสังทีชอบด้วยกฎหมายทีไม่ให้ ประโยชน์แก่ผร้ บคาสง ประโยชนแกผู บั คําสัง - คําสังทีชอบด้วยกฎหมายทีให้ ประโยชน์แก่ผร้ ู บั คําสัง 63

(3) คกู่ รณีขอให้พิจารณาใหม่ (มาตรา 54)

- เหต ุทมคาขอ ี ี ํ

- ระยะเวลาทีต้องยืนคําขอ 64

32


ขันตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (5) (5) ขันตอนการบังคับตามคําสัง (มาตรา 55 – มาตรา 63)

- กรณีทีต้องมีการบังคับ - การบังคับตามคําสังเป็นอํานาจของ เจ้าหน้าทีโดยเฉพาะ เจาหนาทโดยเฉพาะ

65

หลักสําคัญในการบังคับทางปกครอง

-

ใช้เท่าทีจําเป็น ก่อนใช้ตอ้ งมีการเตือนก่อนเสมอ(มาตรา 59) มาตรการทีใช้ตอ้ งมีความแน่นอนชัดเจน ผูถ้ ูกบังคับอาจโต้แย้งได้ (มาตรา 62) 66

33


ประเภทของมาตรการบังคับ ทางปกครอง 1 คําสังั ให้ 1. ใ ชําระเงิน : ยึด ึ หรือื อายัดั ทรัพ ั ย์ส์ ิน แล้วขายทอดตลาด (มาตรา 51) 2. คําสังให้กระทําหรือละเว้นกระทํา : เจ้าหน้าทีหรือมอบหมายให้ผอ้ ู ืนดําเนินการแทน โดยผ้ฝ่ าฝ โดยผู าฝนตองชาระคาใชจายและเงนเพมหรอ ื นต้องชําระค่าใช้จ่ายและเงินเพิมหรือ ให้ชําระค่าปรับทางปกครองไม่เกิน 20,000 บาท/วัน (กฎกระทรวง ฉ.10 พ.ศ. 2539) 67

เรืองอืนๆ - ระยะเวลาและอายความ ระยะเวลาและอาย ุความ (มาตรา 64 – มาตรา 67) - การแจ้ง (มาตรา 68 - มาตรา 74) - คณะกรรมการทีมีอํานาจพิจารณาทางปกครอง (มาตรา 75 - มาตรา 84)

68

34


การแจ้ง (1) 1. การแจ้งเป็นหนังสือโดยบ ุ​ุคคลนําไปส่ง ถ้าผูร้ ู บั ไม่ยอมรับหรือไม่พบผูร้ บั ขณะไปส่ง → หากส่งให้ บ ุคคลบรรล ุนิติภาวะทีอยู่ หรือ ทํางานในสถานทีนัน → หรือบ ุคคลบรรล ุนิติภาวะนันยังไม่ยอมรับ ได้วางหรือปิดหนังสือนันในทีซึงเห็นได้ง่าย ณ สถานทีนันต่อหน้าเจ้าพนักงานตามทีกําหนด ในกฎกระทรวง = ได้รบั แจ้งแล้ว (มาตรา 70) 69

การแจ้ง (2) 2. แจ้งโดยส่งทางไปรษณียต์ อบรับ → ได้รบั แจ้งภายใน เจ็ดวันนับแต่วนั ส่ง สําหรับในประเทศ / 15 วัน ส่งไปยัง ต่างประเทศ เว้นแต่จะมีการพิสจู น์ได้ว่า ไม่มีการได้รบั หรือ ได้รบั ก่อนหรือหลังจากวันนัน (มาตรา 71)

3. ผูร้ บั > 50 คน เจ้าหน้าทีได้แจ้งตังแต่เริมดําเนินการ ว่าจะแจ้งต่อบ ุคคลเหล่านัน ใช้วิธีประกาศไว้ ณ ที​ีทําการของเจ้าหน้าที​ีและที​ีว่าการอําเภอที​ีผร้ ู บั มีภ ูมิลาํ เนา → ได้รบั แจ้งเมือล่วงพ้น 15 วัน นับแต่วนั ทีได้รบั แจ้งตามทีวิธีดงั กล่าว 70

35


การแจ้ง (3) 4. ไม่รต้ ู วั ผูร้ บั /รต้ ู วั แต่ไม่รภ้ ู ูมิลาํ เนา หรือรต้ ู วั และภ ูมิลาํ เนา แต่ผร้ ู บั เกิน 100 คน การแจ้งเป็นหนังสือโดยประกาศของ ทางหนังสือพิมพ์ ซงแพรหลายในทองถนนน ทางหนงสอพมพ ซึงแพร่หลายในท้องถินนัน → ไดรบแจง ได้รบั แจ้ง เมือพ้น 15 วัน นับแต่วนั ทีแจ้งโดยวิธีดงั กล่าว (มาตรา 73) 5. กรณีจําเป็นเร่งด่วน → ทางเครืองโทรสาร แต่ตอ้ งมีหลักฐาน การได้สง่ ทางโทรสารของผูใ้ ห้บริการ แล้วต้องจัดส่งคําสังตัวจริง โดยวิธีใดวิธีหนึงในหมวดนี ให้ผร้ ู บั ในทีทีทําได้ กรณีนีถือว่า ไ ร้ บั แจ้ง้ คํ​ําสังั เปป็ นหนังั สือื ตามวันั เวลาทันั ที​ีทีปรากฏ ได้ ในหลักฐานของหน่วยงานผูจ้ ดั บริการโทรคมนาคม เว้นแต่ จะมีการพิสจู น์ได้ว่า ไม่มีการได้รบั หรือได้รบั ก่อน หรือหลังจากนัน (มาตรา 74) 71

หลักการทีสําคัญเกียวกับคณะกรรมการ ทีมีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครอง - องค์ประช ุม (มาตรา 79) - การนัดประช ุม (มาตรา 80) - การลงมต กา ล ติ (มาตรา ( าต า 82)

72

36


1

พระราชบัญญัติ ความผิดทางละเมิด พ.ศ. 2539 ------------------------ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539 เป็นปีที่ 51 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนํา และยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539" มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป [รก.2539/60ก/25/14 พฤศจิกายน 2539] มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับใด ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัด หรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้ พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ "เจ้ า หน้ า ที่ " หมายความว่ า ข้ า ราชการ พนั ก งาน ลู ก จ้ า ง หรื อ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านประเภทอื่ น ไม่ ว่ า จะเป็ น การแต่งตั้งใน ฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใด "หน่วยงานของรัฐ" หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ เป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และ ให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย มาตรา 5 หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทําในการ ปฏิบัติหน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานของรัฐที่ ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง มาตรา 6 ถ้าการกระทําละเมิดของเจ้าหน้าที่มิใช่การกระทํา ในการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดในการนั้น เป็นการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ มาตรา 7 ในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ต้อง รับผิดหรือต้องร่ วมรับผิด หรือในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ ถ้าเจ้ าหน้าที่เห็นว่าเป็นเรื่องที่หน่วยงานของรัฐต้อง รับผิดหรือต้องร่วมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังกล่าว มีสิทธิขอให้ศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยู่เรียกเจ้าหน้าที่หรือ หน่วยงานของรัฐ แล้วแต่กรณีเข้ามาเป็นคู่ความในคดี ถ้าศาลพิพากษายกฟ้องเพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้องรับผิด ให้ขยาย อายุความ ฟ้องร้องผู้ที่ต้องรับผิดซึ่งมิได้ถูกเรียกเข้ามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแต่วันที่คําพิพากษานั้นถึงที่สุด มาตรา 8 ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหม ทดแทนแก่ผู้เสียหายเพื่อการละเมิดของ เจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้ทําละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทําการนั้นไปด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง สิ ท ธิเรี ย กให้ ช ดใช้ค่ าสิ นไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได้ เพี ย งใดให้คํา นึงถึงระดับ ความร้ ายแรงแห่ ง การกระทําและ ความเป็นธรรมในแต่ละกรณีเป็นเกณฑ์โดยมิต้องให้ใช้เต็มจํานวนของความเสียหายก็ได้


2

ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรือระบบการดําเนินงานส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นําหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับและเจ้าหน้าที่แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตนเท่านั้น มาตรา 9 ถ้าหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย สิทธิที่จะเรียกให้ อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนให้มีกําหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ได้ใช้ ค่าสินไหมทดแทนนั้นแก่ผู้เสียหาย มาตรา 10 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทําละเมิดต่อ หน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐที่ ผู้นั้นอยู่ในสั งกั ดหรือไม่ ถ้ าเป็นการกระทําในการปฏิบัติหน้าที่การเรียกร้อง ค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ใ ห้นํา บทบัญญัติมาตรา 8 มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ถ้ามิใช่การกระทําในการปฏิบัติหน้าที่ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ทั้งสองประการตามวรรคหนึ่ง ให้มีกําหนดอายุความสองปีนับ แต่วันที่ หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน และกรณีที่หน่วยงานของรัฐ เห็ น ว่ า เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ นั้ น ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด แต่ ก ระทรวงการคลั ง ตรวจสอบแล้ ว เห็ น ว่ า ต้ อ งรั บ ผิ ด ให้ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ ง ค่าสินไหมทดแทนนั้นมีกําหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง มาตรา 11 ในกรณีที่ผู้เสียหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดตามมาตรา 5 ผู้เสียหายจะยื่นคําขอ ต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนสําหรับความเสียหาย ที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของรัฐ ต้องออกใบรับคําขอให้ ไว้เป็ นหลั กฐานและพิจารณาคํ าขอนั้ นโดยไม่ชักช้า เมื่อหน่วยงานของรัฐ มีคําสั่งเช่น ใดแล้ว หากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐก็ให้มีสิทธิร้องทุกข์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตาม กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้ง ผลการวินิจฉัย วรรค 2 ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาคําขอที่ได้รับตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน หากเรื่องใด ไม่อาจ พิจารณาได้ทันในกําหนดนั้นจะต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือกํากับหรือควบคุมดูแลหน่วยงาน ของรัฐแห่งนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได้ แต่รัฐมนตรีดังกล่าวจะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาให้ อีกได้ไม่ เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน มาตรา 12 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ให้แก่ผู้เสียหายตาม มาตรา 8 หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ ผู้นั้นได้กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ ตามมาตรา 10 ประกอบกับมาตรา 8 ให้หน่วยงานของรัฐที่เสียหายมีอํานาจ ออกคําสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นชําระเงิน ดังกล่าวภายในเวลาที่กําหนด มาตรา 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบเพื่อให้ เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตามมาตรา 8 และมาตรา 10 สามารถผ่อนชําระเงินที่จะต้องรับผิดนั้นได้โดยคํานึงถึงรายได้ ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่ง กรณีประกอบด้วย มาตรา 14 เมื่อได้มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแล้ว สิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตาม มาตรา 11 ให้ถือว่าเป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง มาตรา 15 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้


3

ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี


1

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

โดยที่ได้มีการตราพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ขึ้น และกฎหมาย ดังกล่าวมีหลักการเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปจากแนวทางปฏิบัติในเรื่อง ความรับผิดทางแพ่งที่ทางราชการถือปฏิบัติในปัจจุบัน โดยได้แยกความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ออกเป็น เหตุที่เนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่และที่ไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ โดยเมื่อมีความเสียหายเนื่องมาจากการปฏิบัติ หน้าที่น้นั หน่วยงานของรัฐจะต้องรับภาระชดใช้ค่าเสียหายไปก่อน ส่วนเจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย ต่อหน่วยงานของรัฐเพียงใดนั้น ให้ไปไล่เบี้ยต่อไปในภายหลัง โดยจะยึดหลักว่าจะเรียกเอาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ เฉพาะกรณีความเสียหายนั้นเกิดขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น นอกจากนี้ ในกรณีที่ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้ อ งรั บ ผิ ดชดใช้ ค่า เสี ย หายให้ เ จ้ า หน้ า ที่ของรัฐ สามารถผ่ อ นชํ าระค่ า สิ น ไหมทดแทนได้ โ ดย คํา นึ ง ถึ ง รายได้ ฐานะ ครอบครั วและความรับผิดชอบ และพฤติ ก ารณ์แ ห่ ง กรณี ป ระกอบด้ ว ยสํา หรับความ เสียหายที่เกิดจากการที่ไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องถูกฟ้องและชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นการ ส่วนตัวโดยไม่เกี่ยวกับทางราชการสมควรวางระเบียบกําหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้วางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ข้อ 2(1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (วันที่ 16 พฤศจิกายน 2539) ข้อ 3 ให้ยกเลิก (1) ระเบียบความรับผิดชอบของข้าราชการในทางแพ่ง ซึ่งออกตามมติคณะรัฐมนตรี โดยหนังสือสํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วน ที่ นว 155/2503 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2503 (2) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ 13582,13583 (บคร)./2504 ลงวันที่ 24 เมษายน 2504 (3) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0508/6466 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2509 (4) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0508/10283 ลงวันที่ 5 เมษายน 2516


2

(5) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0508/ว.27274 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2525 (6) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0514/21738 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2528 (7) หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0514/2302 ลงวันที่ 16 เมษายน 2529 (8) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0514/12461 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2530 (9) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0514/52333 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2530 (10) หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0514/5975 ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2530 (11) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0514/23228 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2531 (12) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0514/63119 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2531 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีอื่นใดในส่วนที่กําหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือ แย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ในระเบียบนี้ เจ้าหน้าที่ หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการ แต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใดบรรดาซึ่งได้รับแต่งตั้งหรือถูกสั่งให้ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการ หมายความว่า คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ผู้แต่งตั้ง หมายความว่า ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อปฏิบัติตามระเบียบนี้ ความเสียหาย หมายความว่า ความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดอย่างใด ๆ แต่ไม่รวมถึงการออกคําสั่ง หรือกฎ ข้อ 5 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด 1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ข้อ 6 ในหมวดนี้


3

หน่วยงานของรัฐ หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาหรือ หน่วยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ข้อ 7 เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อผู้บังคับบัญชาโดยไม่ ชักช้า และให้มีการรายงานตามลําดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ข้อ 8 เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐแห่งใด และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอันควร เชื่อว่าเกิดจากการกระทําของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดังกล่าวแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่งโดยไม่ชักช้า เพื่อพิจารณาเสนอความเห็น เกี่ยวกับผู้ต้องรับผิดและจํานวนค่าสินไหมทดแทนที่ผ้นู ้นั ต้องชดใช้ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้มีจํานวนไม่เกินห้าคน โดยแต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่ง นั้นหรือหน่วยงานของรัฐอื่นตามที่เห็นสมควร กระทรวงการคลังอาจประกาศกําหนดว่าในกรณีความเสียหายที่เกิดขึ้นมีมูลค่าความเสียหายตั้งแต่ จํานวนเท่าใด จะให้มีผ้แู ทนของหน่วยงานของรัฐหน่วยงานใดเข้าร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้กําหนดเวลาแล้วเสร็จของการพิจารณาของคณะกรรมการไว้ด้วย ข้อ 9 ถ้าเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งทําให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐอีกแห่งหนึ่ง ให้เจ้ าหน้าที่ผู้ทํ าให้เกิดความเสียหายแจ้งต่อผู้บังคับ บัญชาและให้มีการรายงานตามลําดับ ชั้นจนถึงหัวหน้ า หน่วยงานของรัฐที่ตนสังกัด เว้นแต่ (1) ถ้าเจ้าหน้าที่ผ้ทู ําให้เกิดความเสียหายเป็นรัฐมนตรี ให้แจ้งต่อนายกรัฐมนตรี (2) ถ้าเจ้าหน้าที่ผู้ทําให้เกิดความเสียหายเป็นกรรมการที่ต้ังขึ้นเพื่อปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐแห่งใด ให้แจ้งต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น (3) ถ้ า เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ ทํ า ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายเป็ น ผู้ ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ สั ง กั ด หน่ ว ยงานของรั ฐ แห่ ง ใด ให้ แ จ้ ง ต่ อ กระทรวงการคลัง (4) ถ้าเจ้าหน้าที่ผู้ทําให้เกิดความเสียหายเป็นผู้ซึ่งไม่มีผู้บังคับบัญชาและมิใช่ผู้ปฏิบัติงานในราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามกฎหมาย ว่าด้วยความรั บผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้แจ้ ง ต่อผู้มีอํานาจกํ ากับ ดู แล ผู้แ ต่ง ตั้ง ตน หรื อผู้ซึ่งสั่ง ให้ ต น ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ


4

ข้อ 10 ในกรณีความเสียหายเกิดขึ้นตามข้อ 9 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่ได้รับความเสียหายและ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ผู้น้ันสังกัดหรือผู้ซึ่งระเบียบนี้กําหนดให้เป็นผู้รับแจ้งตามข้อ 9 (1) (2) (3) หรือ (4) แล้วแต่กรณี มีอํานาจร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ ข้อ 11 ในกรณีที่เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึ่งแห่ง และหรือความเสียหายเกิดจาก ผลการกระทําของเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงาน ให้ผู้มีอํานาจแต่งตั้งคณะกรรมการตามข้อ 8 หรือข้อ 10 บรรดาที่ เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ ข้ อ 12 ถ้ า ผู้ มี อํ า นาจแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตามข้ อ 8 ข้ อ 10 หรื อ ข้ อ 11 ไม่ ดํ า เนิ น การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการภายในเวลาอันควรหรือแต่งตั้งกรรมการโดยไม่เหมาะสม ให้ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรือ รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาหรือกํากับดูแลหรือควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่าวมีอํานาจแต่งตั้ ง คณะกรรมการหรือเปลี่ยนแปลงกรรมการแทนผู้มีอํานาจแต่งตั้งนั้นได้ตามที่เห็นสมควร ข้อ 13 ในการประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มา ประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งขึ้นทําหน้าที่แทน มติที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการที่ไม่เห็นด้วยกับมติที่ประชุมอาจทําความเห็นแย้งมติที่ประชุม รวมไว้ในความเห็นของคณะกรรมการได้ ข้อ 14 ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริงอันเกี่ยวกับการกระทํา ละเมิด โดยตรวจสอบข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงที่เกี่ยวข้อง รับฟังพยานบุคคล หรือพยาน ผู้เชี่ยวชาญ และตรวจสอบเอกสาร วัตถุ หรือสถานที่ กระทรวงการคลังอาจกําหนดแนวทางการสอบข้อเท็จจริง การทําบันทึก และการรายงานผล เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป็นการทั่วไปได้ ข้อ 15 คณะกรรมการต้องให้โอกาสแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องหรือผู้เสียหายได้ชี้แจงข้อเท็จจริงและโต้แย้ง แสดงพยานหลักฐานของตนอย่างเพียงพอและเป็นธรรม ข้อ 16 เมื่อคณะกรรมการพิจารณาเสร็จแล้ว ให้เสนอความเห็นไปยังผู้แต่งตั้ง ถ้าผู้แต่งตั้งขอให้ทบทวน หรือสอบสวนเพิ่มเติม ให้คณะกรรมการรีบดําเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเวลาที่ผ้แู ต่งตั้งกําหนด ความเห็นของคณะกรรมการต้องมีข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่แจ้งชัดและต้องมีพยานหลักฐานที่สนับสนุน ประกอบด้วย ความเห็นของคณะกรรมการไม่ผูกมัดผู้แต่งตั้งหรือรัฐที่จะมีความเห็นเป็นอย่างอื่น


5

ข้อ 17 เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับผลการพิจารณาของคณะกรรมการแล้วให้วินิจฉัยสั่งการว่ามีผู้รับผิดชดใช้ค่า สินไหมทดแทนหรือไม่ และเป็นจํานวนเท่าใดแต่ยังมิต้องแจ้งการสั่งการให้ผ้ทู ี่เกี่ยวข้องทราบ ให้ผ้แู ต่งตั้งส่งสํานวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันวินิจฉัยสั่งการให้กระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ เว้นแต่เป็น เรื่องที่กระทรวงการคลังประกาศกําหนดว่าไม่ต้องรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ให้กระทรวงการคลังพิจารณาโดยไม่ชักช้า และให้มีอํานาจตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่ เห็นสมควรจะให้บุคคลใดส่งพยานหลักฐานหรือมาให้ถ้อยคําเพื่อประกอบการพิจารณาเพิ่มเติมอีกก็ได้ ในระหว่างการพิจารณาของกระทรวงการคลัง ให้ผู้แต่งตั้งสั่งการให้ตระเตรียมเรื่องให้พร้อมสําหรับการ ออกคําสั่งให้เจ้าหน้าที่ชําระค่าสินไหมทดแทนหรือดําเนินการฟ้องคดีเพื่อมิให้ขาดอายุความสองปีนับจากวันที่ผู้ แต่งตั้งวินิจฉัยสั่งการ ให้ ก ระทรวงการคลั ง พิ จ ารณาให้ แ ล้ ว เสร็ จ ก่ อ นอายุ ค วามสองปี สิ้ น สุ ด ไม่ น้ อ ยกว่ า หกเดื อ น ถ้ า กระทรวงการคลั ง ไม่ แ จ้ ง ผลการตรวจสอบให้ ท ราบภายในกํ า หนดเวลาดั ง กล่ า ว ให้ ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง มี คํ า สั่ ง ตามที่ เห็นสมควรและแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ เว้นแต่ในกรณีหน่วยงานของรัฐนั้นเป็นราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้กระทรวงการคลังพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความสองปีสิ้นสุดไม่น้อยกว่าหนึ่งปี ถ้ากระทรวงการคลังไม่แจ้งผลการตรวจสอบให้ทราบภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ผู้แต่งตั้งมีคําสั่งตามที่ เห็นสมควรและแจ้งให้ผ้ทู ี่เกี่ยวข้องทราบ ข้ อ 18 เมื่ อ กระทรวงการคลั ง พิ จ ารณาเสร็ จ แล้ ว ให้ ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง มี คํ า สั่ ง ตามความเห็ น ของ กระทรวงการคลัง และแจ้งคําสั่งนั้นให้ผ้ทู ี่เกี่ยวข้องทราบ แต่ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐที่เสียหายเป็นราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามกฎหมาย ว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้กํากับดูแลหรือควบคุมหน่วยงานของรัฐแห่ง นั้นวินิจฉัยสั่งการให้หน่วยงานของรัฐดังกล่าวปฏิบัติตามที่เห็นว่าถูกต้อง ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐที่เสียหายตามวรรคหนึ่งสั่งการตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ให้ผู้ แต่งตั้งดําเนินการเพื่อออกคําสั่งให้ชําระค่าสินไหมทดแทน หรือฟ้องคดีต่อศาลอย่าให้ขาดอายุความหนึ่งปีนับแต่ วันที่ผ้แู ต่งตั้งแจ้งคําสั่งให้ผ้รู ับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนทราบ ข้อ 19 การแจ้งคําสั่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบตามข้อ 17 และข้อ 18 ให้แจ้งด้วยว่าผู้น้ันมีสิทธิร้องทุกข์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์และฟ้องคดีต่อศาลได้พร้อมกับแจ้งกําหนดอายุความร้องทุกข์และอายุความฟ้องคดี ต่อศาลให้ทราบด้วย ข้อ 20 ในกรณีร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการตามข้อ 10 หรือข้อ 11 ให้ผู้แต่งตั้งร่วมร่วมกันวินิจฉัยสั่ง การ และเสนอความเห็นทั้งหมด ไม่ว่าจะเห็นตรงกันหรือไม่ ไปยังกระทรวงการคลัง และเมื่อได้ดําเนินการตามข้อ


6

17 และข้อ 18 แล้วถ้าผลในชั้นที่สุดผู้แต่งตั้งร่วมยังมีความเห็นตามข้อ 18 แตกต่างกันจนหาข้อยุติไม่ได้ก็ให้ เสนอเรื่องให้คณะรัฐมนตรีวินิจฉัยชี้ขาด ข้อ 21 ในการพิจารณาของกระทรวงการคลัง ให้มี คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง เป็นผู้ พิจารณาให้ความเห็นต่อกระทรวงการคลัง ให้ ค ณะกรรมการตามวรรคหนึ่ ง ประกอบด้ ว ยอธิ บ ดี ก รมบั ญ ชี ก ลางเป็ น ประธานกรรมการ ผู้ แ ทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสํานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนสํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และผู้แทน กระทรวงการคลังตามจํานวนที่จาํ เป็นซึ่งปลัดกระทรวงการคลังแต่งตั้ง เป็นกรรมการ คณะกรรมการพิ จ ารณาความรั บ ผิ ด ทางแพ่ ง อาจแต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการเพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ มอบหมายได้ ในการประชุมของคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่งให้นําความในข้อ 13 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 22 ในกรณีที่ความเสียหายเกิดแก่เงิน ให้ใช้เป็นเงินแต่เพียงอย่างเดียว ข้อ 23 ในกรณีที่ความเสียหายมิได้เกิดแก่เงิน จะดําเนินการดังต่อไปนี้แทนการชําระเงินก็ได้ (1) ชดใช้เป็นทรัพย์สินอย่างเดียวกัน โดยมีสภาพ คุณภาพ ปริมาณ และลักษณะเดียวกันกับทรัพย์สินที่ สูญหายหรือเสียหายและใช้งานแทนได้เช่นเดียวกับทรัพย์สินที่สูญหายหรือเสียหาย โดยทําสัญญายินยอมชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนเป็นทรัพย์สินดังกล่าว (2) ซ่อมแซมหรือบูรณะทรัพย์สินที่ชํารุดเสียหายให้คงสภาพเดิม โดยทําสัญญาว่าจะจัดการให้ทรัพย์สิน คงสภาพเหมือนเดิมภายในเวลาไม่เกินหกเดือน (3) การชดใช้เป็นทรัพย์สินหรือการซ่อมแซมหรือบูรณะทรัพย์สินที่แตกต่างไปจาก (1) หรือ (2) ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังก่อน การชดใช้ค่าเสียหายเป็นทรัพย์สินหรือการซ่อมแซมหรือบูรณะทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้มีการตรวจรับ ตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุของทางราชการหรือของหน่วยงานของรัฐนั้น ๆ การทําสัญญาตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้มีผู้ค้ําประกัน และในกรณีที่เห็นสมควรจะให้วางหลักประกันด้วยก็ได้ ข้อ 24 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดตาย ให้รีบดําเนินการตามระเบียบนี้โดยอนุโลม เพื่อให้ได้ข้อยุติ โดยเร็วและระมัดระวังอย่าให้ขาดอายุความมรดก ในกรณีที่ผู้แต่งตั้งเห็นว่าเจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนแก่หน่วยงานของรัฐ ให้ส่งเรื่องให้พนักงานอัยการเพื่อฟ้องผู้จัดการมรดกหรือทายาทต่อไป ในกรณีของผู้ แต่งตั้งร่วมถ้ามีความเห็นแตกต่างกันให้ดําเนินการไปพลางก่อนตามความเห็นของผู้แต่งตั้ง สําหรับหน่วยงานของ รัฐที่เสียหาย และถ้าต่อมามีข้อยุติเป็นประการใดให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงการดําเนินการไปตามนั้น


7

ข้อ 25 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดและขอผ่อนชําระค่าสินไหมทดแทนไม่ว่าจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใด ให้ หน่วยงานของรัฐที่เสียหายกําหนดจํานวนเงินที่ขอผ่อนชําระนั้นตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงรายได้ ค่าใช้จ่าย ในการดํารงชีพตามฐานานุรูปของเจ้าหน้าที่ ความรับผิดชอบที่บุคคลนั้นมีอยู่ตามกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี และ พฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย ในการให้ผ่อนชําระ ต้องจัดให้มีผ้คู ้ําประกัน และในกรณีที่เห็นสมควรจะให้วางหลักประกันด้วยก็ได้ ข้อ 26 กระทรวงการคลังอาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการค้ําประกัน การวางหลักประกัน หนังสือผ่อนชําระ และสัญญาค้ําประกันก็ได้ ข้อ 27 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แม้ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ไม่สามารถชําระหนี้ได้ ให้ หน่วยงานของรัฐที่เสียหายพิจารณาผ่อนผันตามความเหมาะสมตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกําหนดและ ต้องไม่ดําเนินคดีล้มละลายแก่ผู้น้ัน แต่ถ้าการที่ไม่สามารถชําระหนี้ได้น้ันเกิดจากการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ของเจ้าหน้าที่หรือเจ้าหน้าที่กระทําการใด ๆ อันเป็นการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงเพื่อให้หน่วยงานของรัฐไม่ได้รับ ชําระหนี้ครบถ้วน ให้หน่วยงานของรัฐที่เสียหายส่งเรื่องให้พนักงานอัยการดําเนินคดีล้มละลาย ข้ อ 28 การประนี ป ระนอมยอมความไม่ ว่ า จะเกิ ด ขึ้ น ในขั้ น ตอนใดต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก กระทรวงการคลังก่อน เว้นแต่กระทรวงการคลังจะประกาศกําหนดเป็นอย่างอื่น ข้อ 29 ในกรณีตามข้อ 26 ข้อ 27 หรือข้อ 28 ถ้าเกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐที่เป็นราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่การดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสําหรับหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น

หมวด 2 กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทําละเมิดต่อบุคคลภายนอก

ข้อ 30 ในหมวดนี้ หน่วยงานของรัฐ หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ เป็นกรม และราชการส่วนภูมิภาคแต่ไม่รวมถึงราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ข้ อ 31 ในกรณี ที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ทํ า ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ บุ ค คลภายนอกถ้ า เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ น้ั น เห็ น ว่ า ความเสี ย หายเกิ ด ขึ้ น เนื่อ งในการที่ต นได้ ก ระทํา ในการปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ให้เจ้ าหน้ าที่ผู้น้ัน แจ้ ง ต่ อผู้บั ง คั บ บั ญชา โดยไม่ชักช้า และให้มีการรายงานตามลําดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น แต่ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็น


8

รัฐมนตรีหรือกรรมการที่ต้ังขึ้นเพื่อปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐหรือผู้ซึ่งไม่สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดหรือ ผู้ซึ่งไม่มีผู้บังคับบัญชา ให้ดําเนินการตามข้อ 9 (1) (2) (3) หรือ (4) และให้นําข้อ 8 ถึงข้อ 20 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 32 ในกรณีที่ผู้เสียหายยื่นคําขอให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ให้หน่วยงานของรัฐที่ เจ้าหน้าที่ผ้นู ้นั สังกัด หรือกระทรวงการคลัง ในกรณีที่เจ้าหน้าที่มิได้สังกัดหน่วยงานใด หรือหน่วยงานของรัฐแห่ง ใดแห่ ง หนึ่ ง ในกรณี ที่ ความเสี ย หายเกิ ด จากผลการกระทํ า ของเจ้ า หน้ า ที่ห ลายหน่ ว ยงาน รับ คํ า ขอนั้ น และ ดําเนินการตามระเบียบนี้โดยไม่ชักช้า ในกรณีที่ผู้เสียหายยื่นคําขอผิดหน่วยงาน ให้หน่วยงานผู้รับคําขอรีบส่งเรื่องไปยังหน่วยงานของรัฐที่เห็น ว่าเป็นหน่วยงานของรัฐที่จะต้องรับผิดชอบพิจารณาต่อไปและให้แจ้งให้ผู้ยื่นคําขอทราบ กรณีดังกล่าวนี้ให้ถือว่า หน่วยงานของรัฐได้รับคําขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนนับแต่วันที่ได้รับคําขอที่ส่งมานั้น ข้อ 33 เมื่อได้รับคําขอตามข้อ 32 และหน่วยงานของรัฐที่ได้รับคําขอไว้เห็นว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับตน ให้ แต่งตั้งคณะกรรมการเพือ่ ดําเนินการต่อไปโดยไม่ชักช้า ข้อ 34 ในกรณีที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ยื่นคําขอให้หน่วยงานของรัฐที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ให้คิดดอกเบี้ยตามอัตราดอกเบี้ยผิดนัดนับแต่วันกระทําละเมิดในจํานวนเงินที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ให้แก่ผ้ยู ื่นคําขอจนถึงวันชําระค่าสินไหมทดแทน ข้อ 35 ในกรณีที่ผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาล ให้ผู้มีอํานาจแต่งตั้งตั้งคณะกรรมการโดยไม่ชักช้า เว้นแต่จะ ได้มีการตั้งคณะกรรมการดังกล่าวไว้แล้ว และให้ประสานงานกับสํานักงานอัยการสูงสุดเพื่อเตรียมการต่อสู้คดี ต่อไป พร้อมทั้งรายงานให้กระทรวงการคลังทราบและปฏิบัติตามที่ได้รับคําแนะนําจากกระทรวงการคลัง ข้อ 36 ถ้าผู้แต่งตั้งเห็นว่าความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทําในการปฏิบัติหน้าที่ หรือเมื่อได้ฟัง ความเห็นของคณะกรรมการ หรือได้รับทราบผลการพิจารณาของกระทรวงการคลังแล้ว เห็นว่าความเสียหาย เกิดจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทําในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เรียกเจ้าหน้าที่ผ้นู ้นั เข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วย ข้อ 37 ถ้าผลการพิจารณาของผู้แต่งตั้งยุติเป็นที่สุดว่า ความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่ได้กระทําในการ ปฏิบัติหน้าที่ จะต้องไม่มีการเรียกเจ้าหน้าที่เข้ามาเป็นคู่ความในคดี แต่ถ้าผู้เสียหายได้ฟ้องเจ้าหน้าที่ต่อศาลก่อน แล้วหรือมีการเรียกเจ้าหน้าที่เข้ามาเป็นคู่ความในคดีก่อนแล้ว ให้ผ้แู ต่งตั้งแจ้งผลการพิจารณาให้พนักงานอัยการ เพื่อแถลงต่อศาล เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีโอกาสพ้นจากการเป็นคู่ความในคดี และขอให้พนักงานอัยการช่วยเหลือทาง คดีแก่เจ้าหน้าที่ในระหว่างนั้นด้วย ข้อ 38 ในกรณีหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ หน้ า ที่ ของเจ้ าหน้ าที่น้ั น ความรั บ ผิ ด ของเจ้ า หน้ า ที่จ ะมี ห รื อไม่ และเพี ย งใด เป็ น กรณี ที่ห น่ ว ยงานของรัฐ จะ พิจารณาไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่ในภายหลัง ซึ่งคณะกรรมการ ผู้แต่งตั้ง และกระทรวงการคลัง แล้วแต่กรณี


9

ต้องพิจารณาด้วยว่าจะมีการไล่เบี้ยหรือไม่ หรือจะไล่เบี้ยให้ชดใช้เพียงใด และให้นําข้อ 22 ถึงข้อ 29 มาใช้บังคับ กับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ให้แก่ผ้เู สียหาย โดยอนุโลม

ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539

บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจ้าหน้าที่ดําเนินกิจการต่าง ๆ ของ หน่วยงานของรัฐนั้น หาได้เป็นไปเพื่อประโยชน์อันเป็นการเฉพาะตัวไม่ การปล่อยให้ความรับผิดทางละเมิดของ เจ้าหน้าที่ ในกรณีที่ปฏิบัติงานในหน้าที่และเกิดความเสียหายแก่เอกชนเป็นไปตามหลักกฎหมายเอกชนตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จึงเป็นการไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความเข้าใจผิดว่า เจ้าหน้าที่จะต้องรับผิดในการ กระทําต่าง ๆ เป็นการเฉพาะตัวเสมอไป เมื่อการที่ทําไปทําให้หน่ วยงานของรัฐต้องรีบผิดต่อบุคคลภายนอก เพียงใดก็จะมีการฟ้องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่เต็มจํานวนนั้น ทั้งที่บางกรณีเกิดขึ้นโดยความไม่ต้ังใจหรือความ ผิดพลาดเล็กน้อยในการปฏิบัติหน้าที่ นอกจากนั้น ยังมีการนําหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมในระบบกฎหมายแพ่งมาใช้ บังคับ ให้เจ้าหน้าที่ต้องร่วมรับผิดในการกระทําของเจ้าหน้าที่ผู้อื่นด้วย ซึ่งระบบนั้นมุ่งหมายแต่จะได้เงินครบโดย ไม่คํานึงถึงความเป็นธรรมที่จะมีต่อแต่ละคน กรณีเป็นการก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่และยังเป็น การบั่นทอนกําลังขวัญในการทํางานของเจ้าหน้าที่ด้วย จนบางครั้งกลายเป็นปัญหาในการบริหารเพราะเจ้าหน้าที่ ไม่กล้ าตัด สิ น ใจดํา เนิ น งานเท่ า ที่ ควร เพราะเกรงความรับผิดชอบที่ จ ะเกิ ด แก่ ต น อนึ่ง การให้ คุณ ให้ โ ทษแก่ เจ้าหน้าที่เพื่อควบคุมการทํางานของเจ้าหน้าที่ยังมีวิธีการในการบริหารงานบุคคลและการดําเนินการทางวินัย กํากับดูแลอีกส่วนหนึ่งอันเป็นหลักประกันมิให้เจ้าหน้าที่ทําการใด ๆ โดยไม่รอบคอบอยู่แล้ว ดังนั้น จึงสมควร กําหนดให้เจ้าหน้าที่ต้องรับ ผิดทางละเมิดในการปฏิบัติ งานในหน้าที่เฉพาะเมื่อเป็นการจงใจกระทําเพื่อการ เฉพาะตั ว หรื อ จงใจให้ เ กิ ด ความเสี ย หายหรื อ ประมาทเลิ น เล่ อ อย่ า งร้ า ยแรงเท่ า นั้ น และให้ แ บ่ ง แยกความ รับผิดชอบของแต่ละคนมิให้นําหลักลูกหนี้ร่วมให้เกิดความเป็นธรรมและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของรัฐ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้


10


21/12/55

“สิ ทธิมนุ​ุษยชน” จากสิ งทีเป็ นนามธรรม ให้ เป็ นรู ปธรรม โดยผ่ านเครืองมือ “แผนสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ฉบับที 2” กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

ทีมาของสิทธิมนุ ษยชน

•ปี พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) สงครามโลกครังที 2 ยุติ โดยชัยชนะของฝ่ าย สัมพันธมิตร มี USA ฝรังเศส อังกฤษ รัสเซียเป็ นผูน้ าํ •พรรคนาซี เยอรมัน“ฆ่าล้างเผ่าพันธ์”(Crime of Genocide )

1


21/12/55

ก่ อ ให้เ กิ ด การตังองค์ก ารสหประชาชาติ ขึ น เมื อ

15 เมษายน 2488 การประกาศปฏญญาสากลวาดวยสทธมนุ การประกาศปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนษยชน ษยชน เมือ 10 ธันวาคม 2491

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน มี 30 ข้อ แบ่งเป็ น 4 ส่วน •หลักการสําคัญ สิทธิมนษยชน สทธมนุ ษยชน (ข้อ 1 และ 2)

ส่วนที 1 ส่วนที 2

•สิทธิพลเมือง และสิทธิ ทางการเมือง (ข้อ 3-21)

ส่วนที 4 ส่วนที 3 •หน้าทีของบุคคล สังคม และรัฐ (ข้อ 28-30)

• สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม (ข้อ 22-27)

2


21/12/55

สนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศหลักด้านสิทธิมนุ ษยชน กฎบัตรสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน กติการะหว่ างประเทศ ว่ าด้ วยสิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง อนุสัญญาว่ าด้ วย การขจัดการเลือกปฏิบตั ิ ทางเชือชาติในทุกรู ปแบบ อนุสัญญาว่ าด้ วย การคุ้มครองบุคคลจากการ หายสาบสู ญโดยถูกบังคับ

กติการะหว่ างประเทศ ว่ าด้ วยสิ ทธิทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม อนุสัญญาว่ าด้ วย การขจัดการเลือก ปฏิบัติต่อสตรี

อนุสัญญาว่ าด้ วย อนุสัญญาว่ าด้ วย สิ ทธิเด็ก การต่ อต้ านการทรมานฯ

อนุสัญญาว่ าด้ วย สิ ทธิของคนพิการ

อนุสัญญาว่ าด้ วยการคุ้มครอง สิ ทธิของคนงานอพยพ

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชน และสนธิสญ ั ญา ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุ ษยชน ถูกกําหนดไว้ใน รัฐธรรมนู ญของประเทศไทย

ศักดิศรีความเป็ นมนุษย์ (มาตรา 4) หมวด 4 หน้าทีของชนชาวไทย

หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย หมวด 5 แนวนโยบายพืนฐานแห่งรัฐ

3


21/12/55

กรอบแนวคิด การเรียนรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน เป็นกระบวนการทีด่ ี ที่เริ่มจากการรดน้ํา พรวนดิน ใส่ปยุ๋ ความอ่อนโยนในความเป็นมนษย์ ความออนโยนในความเปนมนุ ษย และความรักต่อเพื่อนมนุษย์ที่งดงาม

ความหมายของสิทธิมนุ ษยชน

4


21/12/55

สิงจํ าเป็ นสําหรับคนทุกคนทีต้องได้รบั ในฐานะเป็ นคน ซึงทําให้คนๆนันมีชีวิตอยู่รอดได้อย่างมีความเหมาะสม แก่ความเป็ นคนและสามารถพัฒนาตนเองได้

สิทธิมนุษยชน มี 2 ระดับ ระดับแรก

สิทธิทีติดตัวคนทุกคน มาแต่เกิด มาแตเกด

ระดับสอง

สิทธิทีได้รบั รองในรูป ของกฎหมาย

หลกการสาคญ ั สํ ั ิ ธิมนุษยชน ของสท

5


21/12/55

1

ศักดิศ ์ รี ความเปนมนุษย 2

5

แบงแยก

หลักการ

ไมได

สําคัญของ สิทธิมนุษยชน

4

ความ เสมอภาค 3

ไมเลือก

เปนสากล และไมสามารถ

ปฏิบต ั ิ

ถายโอนกันได

ขอบเขตของสิทธิมนุษยชน สิทธิจึงเป็นเรื่องใกล้ตัวเราครอบคลุมทุกเรื่องในสังคม สิทธิทาง วัฒนธรรม

สิทธิ ทางสังคม

สิทธิ พลเมือง

สิทธิทาง การเมือง

สิทธิทาง เศรษฐกิจ

6


21/12/55

ภาพรวมขอบเขตของสิทธิมนุ ษยชน

สิทธิพลเมือง

- สิทธิในชีวิตและร่ างกาย - หามทรมาน ห้ ามทรมาน ลงโทษโหดราย ลงโทษโหดร้ าย - ห้ ามการเป็ นทาส

-

การแสดงความคิดเห็น การแสดงออก เสรีภาพของสือ เสรีภาพในการชุ มนุ ม รวมกลุ่ม กําหนดวิถีชีวิตทางการเมือง การเลือกตัง การตังพรรคการเมือง การมีส่วนร่ วมทางการเมืองและเข้ าถึงบริการสาธารณะ การแสวงหา รับ เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร

สิทธิทางสังคม

สิทธิทางการเมือง

- สิทธิในทรัพย์สน ิ - ได้ รับปั จจัยสีทีเหมาะสม - การได้ รับสัญชาติ/พลเมือง - ความเป็ นส่วนตัว - การสือสารถึงกัน รัฐ - การเดินทาง/การเลือกถินทีอยู่ - ความเสมอภาคทางกฎหมาย และไม่ถูกเลือกปฏิบต ั ิ - เข้ าถึงศาล/การพิจารณาในศาลอิสระ - ปลอดการจบกุ ปลอดการจับกม ม กั กกขงหรอเนรเทศโดยพลการ กขังหรือเนรเทศโดยพลการ - แจ้ งข้ อหา สันนิษฐานว่ าบริสท ุ ธิ - การถือศาสนา/ความเชือ/ความคิด - สิทธิชาติพันธุ์ - หญิง ชาย เท่าเทียมกัน

- กําหนดวิถช ี ีวิตทางสังคม - ได้ รับการศึกษา - การมีครอบครัวคู่ครอง - ครอบครัวได้ รับการคุ้มครองจาก

คนทุกคน - คุ้มครองมารดาและบุตร - ประกันสังคม สุขภาพ - สวัสดิการสังคม

สิทธิทางวัฒนธรรม สิทธิทางเศรษฐกิจ -

กําหนดวิถช ี ีวิตทางเศรษฐกิจ การมีงานทํา การเลือกงานอย่ างเสรี ค่าจ้ าง สภาพการจ้ างทีเป็ นธรรม การตังสหภาพ/นัดหยุดงาน การเข้ าถึงทรัพยากรธรรมชาติ

ศักดิศรีความเป็ นมนุษย์ การไม่เลือกปฏิบตั ิ การไมเลอกปฏบต

-

การพักผ่อน/วันหยุด/นันทนาการ กําหนดวิถช ี ีวิตทางวัฒนธรรม การคุ้มครองทรัพย์สน ิ ทางปั ญญา การปกป้องและปฏิบต ั ต ิ ามวัฒนธรรม

ความเสมอภาค

แบ่งแยกไม่ได้ ความเปนสากล แบงแยกไมได ความเป็ นสากล หล่อหลอมเป็นหนึงเดียว

เพือทําให้สงั คมเกิดความเป็ นธรรมและทําให้คาํ ว่า “สิทธิมนุษยชน” เป็ นจริง

โดยเครืองมือทีเรียกว่า “แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ”

7


21/12/55

ทํทาไมประเทศไทยจงตองม าไมประเทศไทยจึงต้องมี แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ VIDEO_TS.IFO

ความสํ าคัญและความเป็ นมา

เมือประเทศไทยได้เป็นภาคี ิ ขององค์การ สมาชก สหประชาชาติ ทําให้เกิด พ ันธะผูกพ ันต้องปฏิบ ัติตาม ในเรืองต่าง ๆ

ิ ธิ การประชุมระด ับโลกว่าด้วยสท มนุษยชน ณ กรุงเวียนนา ค.ศ. 1993 ทีป ี ระชุมไ ได้จ ้ ัดทํา ปฏิญญาเวียนนาและแผนปฏิบ ัติ การข้อ 71 ได้เสนอแนะ ให้แต่ละร ัฐพิจารณาความ จําเป็นในการร่างแผนปฏิบ ัติการ แห่งชาติ

8


21/12/55

โดย ิ ธิมนุษยชน แผนสิทธิ สท (Human มนุษยชน Rights) แห่งชาติ

ทีเป็นนามธรรม ให้เป็นรปธรรม ใหเปนรู ปธรรม

แ ผ น สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น แห่ งชาติ เป็ นเครื องมื อ ส่ งเสริ ม ปกป้ องคุ ม้ ครอง สิ ท ธิ ม นุ​ุ ษยชน โดยเป็ น แ ผ น ใ น ร ะ ดั บ ช า ติ เช่ น เดี ย วกั บ แผนพั ฒ นา เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แห่ ง ชาติ เพื อให้ ก ารแก้ไ ข ปั ญ ห า ก า ร ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ มนุ ษ ยชนในภาพรวมของ ประเทศมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิทธิผล

แผนสิท ิ ธิม ิ นุษยชนแหง ชาติ​ิ ของประเทศไทย มีพฒ มพฒนาการอยางไร ั นาการอยางไร

9


21/12/55

ประเทศไทยมีการประกาศใช้ แผนสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ มาแล้ วจํานวน 2 ฉบับ

แผนสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ฉบับแรก เกิดขึนในโอกาส ฉบับแรก ครบรอบ 50 ปี (พ.ศ. 2541) ปฏิญญาสากลว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน ขององค์​์ การสหประชาชาติ ป ิ โโดยสํ านั​ักเลขาธิ​ิการคณะรั​ัฐมนตรี​ี เป็ นศูนย์ กลางประสานและติดตามการดําเนินงาน เมือกรม คุ้มครองสิ ทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม จัดตังขึน จึงโอนภารกิจให้ ดําเนินการนับตังแต่ วนั ที 10 ตุลาคม 2545

แผนสทธมนุ แผนสิ ทธิมนษยชนแห่ ษยชนแหงชาต งชาติ ฉบบท ฉบับที 2 “เน้ เนนกระบวน นกระบวน การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน” ด้ วยการให้ ประชาชน

ฉบับทีสอง ร่ วมเรียนรู้เรืองสิทธิมนุษยชน ร่ วมสะท้อนปัญหา ร่ วมคิด ร่ วมตัดสิ นใจ ร่ วมจัดทําแผนจากระดับพืนที (จังหวัด) พัฒนาเป็ นแผนในระดับประเทศ

การจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที 2 ของประเทศไทย กทม.

ภาคเหนือ

ภาคกลาง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคใต้

ผูเ้ ข้าร่วมจ ัดทําแผนฯ 3,485 คน

10


21/12/55

ความเชื่อมโยงแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสู่แผนขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน

ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและพันธกรณีระหว่างประเทศ

มติคณะร ัฐมนตรี 20 ตุลาคม 2552 ้ ผ น ส ิ ท ธิ เ ห็ น ช อ บ แ ล ะ ป ร ะ ก า ศ ใ ช แ มน นุ ษ ย ช น แ ห่ หงชาต ติ ฉ บ บั บ ท ที 2 (พ.ศ.2552 –2556) โดยให ้หน่ วยงาน ่ ารปฏิบต ทีเกียวข ้องนํ าแผนไปสูก ั ิ

11


21/12/55

การมอบนโยบายของ ฯพณฯ นายกร ัฐมนตรี ว ันที 19 กรกฎาคม 2553

นายกรัฐมนตรี ได ้มอบนโยบายการ ิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ ขับเคลือนแผนสท “ให ้ทุกกระทรวง ทบวง กรม ให ้ความร่วมมือกับ บรรดากลไกต่าง ๆ ทีรัฐบาลได ้สร ้างขึนมา เพือให ้

ั ัดของ 20 กระทรวง ทุกหน่วยงานในสงก จะได้รว ่ มมือก ัน และร่วมกับกรรมการสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ตลอดจนองค์กรปกครองส่วน ท ้องถิน ภาคเอกชนและภาคประชาชน ผล ักด ัน

การดําเนินงานทีเกียวข้องก ับเรืองของ ิ ธิมนุษยชน ทงั 4 ยุทธศาสตร์ให้ สท บรรลุเป้าหมาย เพือทีจะลด ป้องก ัน ิ ธิในด้านต่าง ๆ ไม่ให้เกิดการละเมิดสท เพือเป็ นรากฐานสําคัญทีจะทําให ้สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทย มีความเข ้มแข็ง”

ปลัดกระทรวงทัง 20 กระทรวง

แผนสทธมนุ แผนสิ ทธิมนษยชนแห่ ษยชนแหงชาต งชาติ ฉบบท ฉบับที 2 มีทิศทางอย่างไร

12


21/12/55

ภาพรวมแผนฯ ฉบับที 2

วาระแผน

ช่ วงปี พ.ศ. 2552 - 2556 สั งคมไทยเป็ นสั งคมแห่ ง การเคารพ

เป้ าหมายหลัก

องค์​์ กร เครือข่ ายสิ ทธิ มนุษยชน

ศัศกดศรของความเปนมนุ ก ดิศรี ข องความเป็ นมนษย์ ษ ยตามหลก ต ามหลัก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน เครื อ ข่ า ยสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน เข้ มแข็งในทุกภูมิภาคทีมีความตืนตัวในเรือง สิ ทธิมนุษยชนและพัฒนาสู่ มาตรฐานสากล ได้ แ ก่ องคกรภาครฐ ไดแก องค์ ก รภาครั ฐ องค์ องคกรปกครองสวน ก รปกครองส่ วน ท้ องถิน องค์ กรเอกชน องค์ กรพัฒนาเอกชน มู ลนิ ธิ สมาคม และองค์ กรสาธารณะ ประโยชน์ จากทุกภาคส่ วน

ยุทธศาสตร์ของแผนฯ ฉบับที 2

1. ป้ องกัน การละเมิ ด สิทธิมนษยชน สทธมนุ ษยชน

2. คุม้ ครองสิทธิมนุษยชน

3. พัฒ นากฎหมายและ กลไกทางกฎหมาย รวมทัง การบังคับใช้กฎหมาย

4. พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร เครือข่ายทกภาคส่ เครอขายทุ กภาคสวน วน

หน่วยงานควรดําเนินงานในยุทธศาสตร์ใด

13


21/12/55

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ)

มี 4 ยุทธศาสตร์ 14 กลยุทธ์ 43 กลวิธี และตัวชีวัด 27 ตัวชีวัด ยุทธศาสตร์ อธิบาย 1. ป้องกันการละเมิดสิทธิ มนุษยชน เพือให้เกิดความ เสมอภาคตามความเป็ น จริง นอกเหนือจากความ เสมอภาคทางกฎหมาย

ส่งเสริม ป้องกัน หรือเฝ้ าระวังประชาชน ทัวไปหรือผูม้ ีโอกาสถูกละเมิดไม่ให้ถกู กระทําการละเมิด

2. คุม้ ครองสิทธิ มนุษยชนในทุก กลุ่มเป้าหมายให้เป็ นไป ตามหลักสิทธิมนุษยชน

คุม้ ครอง ฟื นฟู ช่วยเหลือ เยียวยา ประชาชนทีตกเป็ นผูถ้ กู ละเมิดสิทธิ อย่างเป็ นธรรมตามหลักสิทธิมนุษยชน

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ) ยุทธศาสตร์

อธิบาย

3. พัฒนากฎหมายและ กลไกทางกฎหมาย ไ รวมทงั การบังคับใช้กฎหมายเพือ ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชน

พัฒนากฎหมาย กลไกทางกฎหมายใด ที​ียงั คงมี​ีบทบัญั ญัตั ิทีมีการละเมิ​ิดสิทิ ธิ​ิ หรือไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน สมควรทีจะปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย รวมถึงการบังคับใช้กฎหมาย

44. พฒนาองคกรเครอขาย พัฒนาองค์กรเครือข่าย ทุกภาคส่วนให้มีศกั ยภาพ เข้มแข็ง ในการส่งเสริม คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนและ พัฒนาสู่มาตรฐานสากล

พัฒ ั นาศักั ยภาพองค์ก์ รเครือื ข่​่ายทุกภาคส่ว่ น ทังภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนให้มี ความเข้มแข็งในทุกภูมิภาคและตืนตัวสิทธิ มนุษยชน เพือพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล

14


21/12/55

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ที 1 ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน... 1.1 ส่งเสริมให้เกิดความ ตระหนักและจิตสํานึกในการ ปกป้องสิทธิมนุษยชน

สิทธิ

หน้าที

1.2 เฝ้ าระวังการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

เคารพสิทธิ ซึงกันและกัน

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ที 2 คุม้ ครองสิทธิมนุษยชน... 2.1 เสริมสร้าง โอกาสการเข้าถึง การร้องเรียนและ ไ รบั บริการอย่าง ได้ มีประสิทธิภาพ

2.2 คุม้ ครอง ผู ้ ถูกละเมิดสิทธิและ ผูผ้ไดรบผลกระทบ ด้รบั ผลกระทบ อย่างเป็ นธรรม

2.3 สนับสนุน ให้ผูถ้ ูกละเมิดสิทธิ ได้รบั สิทธิ ประโยชน์ จากการ ประโยชน ฟื นฟู และเยียวยา ทีเหมาะสม

15


21/12/55

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที 3 พัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย...

3.1

ป รั บ ป รุ ง

กฎหมายการบัง คับ ใช้ ก ฎ ห ม า ย เ พื อ ใ ห ้ สอดคล้อ งกับ หลัก สิ ท ธิ มนุษยชน

3.2

เสริ ม สร้ า ง ก า ร บั ง คั บ ใ ช้ กฎหมายในทาง ปฏิบ ตั ิ ใ ห้ท วถึ ั ง และ เป็ นธรรม

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ที 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วน...

4 2 สงเสรม ส่งเสริม การมสวนรวม การมีส่วนร่วม 4 1 พฒนา 4.1 พัฒนา ระบบ 4.2 บริหารจัดการองค์กร เครือข่ายทุกภาคส่วน

ระหว่างองค์กรเครือข่ายในการ ทํางานส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชนให้ครอบคลุมทุกพืนที

4.3 พัฒนาองค์ความรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชน

16


21/12/55

ทิศทางของแผนฯ ฉบับที 2 (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ที 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วน... 4.4 พัฒนาบุคลากร 4.5 ส่งเสริมการใช้ อํานาจทีถูกต้องเหมาะสม ทุกระดับขององค์กร เครือข่ายสิทธิมนุษยชน ของเจ้าหน้าทีรัฐ 4.6 สร้างวัฒนธรรม 4.7 ส่งเสริมให้ภาคส่วน องค์ก์ รในภาครั ใ ฐเรืองการ ต่าง ๆ มีส่วนร่วมเกียวกับสิทธิ เคารพและคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชนทังในระดับชาติและ ระหว่างประเทศ มนุษยชน

แผนสิทธิมนุ​ุษยชนแห่งชาติ ฉบับที 2 จะนําไปสู่การปฏิบตั ิได้อย่างไร

17


21/12/55

การขับเคลือนแผนฯ ฉบับที2 ไปสู่การปฏิบตั ิ ให้ ความสํ าคัญ แปลง แผนสู่ การปฏิบัติ กับแผน

ภาครัฐ ภาคเอกชน/ องคกร องคกร สาธารณะ

ถ่ ายทอดสู่ แผนบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น แผนยุทธศาสตร์ กระทรวง กรม เพือจัดทํา โครงการ/กิจกรรม เพือขอรั บงบประมาณ จากรัฐบาล

ถ่ ายทอดสู่ แผนองค์ กรภาคเอกชน/ องค์ กรสาธารณะ ถ่ า ยทอดสู่ แผนของชุ ม ชน/แผนพั ฒ นาจั ง หวั ด

ภูมภิ าค/ชุมชน อําเภอ/องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน

องค์กรอิสระ

ประสานการดําเนินงาน ให้ คาํ แนะนํา ข้ อคิดเห็น ต่ าง ๆ กํากับติดตามให้ มกี ารนําแผนไปสู่ การปฏิบตั ิ

กลุ่มเป้ าหมาย ทีคาดว่ าจะนํา แผนไปปฏิบตั ิ

ภาครัฐ องค์ กรอิสระ/องค์ กรอืน

สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน ภาคประชาชน ป

ภายในประเทศ

พร้ อมรับการ เปลียนแปลง/ทบทวน ปรับปรุ ง

บูรณาการ ร่ วมกัน

การติดตาม ประเมินผลโดย

1. หนวยงานของรัฐ กรมคุม  ครองสิทธิ และเสรีภาพ 2 องคก 2.  รอิส ิ ระ คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน แหงชาติ 3. เครือขาย ภาคประชาชน

ตัวแทนจากหนวยงานเปาหมาย (นํารอง) 1 หนวยงานภาครัฐ ( 8,249 แหง) 1.1 สวนราชการ (8,101 แหง)

D สวนกลาง (กระทรวง/กรม) 20/153 แหง D สวนภูมภ ิ าค 75 แหง (จังหวัด)อบจ. 75 แหง เทศบาล 1,631 แหง D สวนทองถิน ่ 7,853 แหง อบต. 6 145 แหง 6,145 1.2 รัฐวิสาหกิจ (65 แหง) กรุงเทพฯ 1 แหง 1.3 องคกรมหาชน (29 แหง) พัทยา 1 แหง 1.4 องคกรรัฐรูปแบบใหม (54 แหง) 2 องคกรอืน ่ องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ( 9 แหง) 3 สถาบันการศึกษา 3.1 สถาบันการศึกษารัฐ/เอกชน (91/67 แหง ) 3.2 สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา ( 405 แหง) 4 องคกรภาคเอกชน องคกรภาคเอกชน ( 300 แหง แหง ) 5 องคกรพัฒนาเอกชน / องคกรสาธารณะ / องคกร ภาคประชาชน ( 504 แหง)

ิ 9,625 แห่ง รวมทงส ั น

18


21/12/55

รูปแบบ (Model) และแนวทางทีกระทรวงต่าง ๆ ขับเคลือนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบตั ใิ นระดับกระทรวง

1

กระทรวงสาธารณสุข

2

แต่งตังคณะกรรมการนโยบาย และยุทธศาสตร์สทิ ธิมนุษยชน ด้านสาธารณสุข

แต่งตังคณะทํางานจัดทํานโยบาย และยุทธศาสคร์สทิ ธิมนุษยชน ด้านสาธารณสุข

6

5

ยุทธศาสตร์สทิ ธิ มนุษยชนด้าน สาธารณสุข พ.ศ. 2555-2560

7 ส่งเสริมให้หน่วยงานใน สังกัดนําแผนสิทธิ มนุษยชนสู่การปฏิบตั ิ

8

จัดประชุมระดม ความคิดเห็นจาก ผูแ้ ทนสาธารณสุข จังหวัด จงหวด

9

ติดตามและประเมิน ในแต่ละปี หน่วยงานภายใน

3 จัดประชุม คณะทํางาน 4 ร่างยุทธศาสตร์ สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข

รวบรวมและรายงาน ผลกรมคุม้ ครอง สิทธิและเสรีภาพ

19


21/12/55

กระทรวงยุติธรรม

2

1

6

5

จัดทําแผนปฏิบตั ิการด้าน สิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2554-2556

7

8 ส่งเสริมให้หน่วยงานใน สังกัดนําแผนสิทธิ มนุษยชนสู่การปฏิบตั ิ

ติดตามและ ประเมินผลในแต่ละปี หน่วยงานภลายใน

3 ประสานหน่วยงานเพือ รายงานผล ปี 52-53

4

5

สอดแทรกในหลักสูตร เพืออบรมให้ความรูเ้ รือง สิทธิมนุษยชนและแผน สิทธิมนุษยชน

ส่งเสริมให้หน่วยงานใน สังกัดนําแผนสิทธิ มนุษยชนสู่การปฏิบตั ิ

9

จัดประชุมเพือสร้างความรูค้ วาม เข้าใจสิทธิมนุษยชนและแผนสิทธิ มนุษยชนให้กบั หน่วยงานในสังกัด

6 หน่วยงานในสังกัด

7

จัดทําแผนทียุทธศาสตร์ (Strategy map)

กระทรวงคมนาคม

2

ศึกษาแผนสิทธิและเชือมโยงกับ ภารกิจของหน่วยงาน

จัดประชุม คณะกรรมการ

4 จัดทํารายงานการ ปฏิบตั ิตามแผนฯ ปี พ.ศ. 2552-54

ปลัดกระทรวงยุติธรรม มอบนโยบายและเน้นยํา การให้ความสําคัญ

1

3

คณะกรรมการขับเคลือนแผน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสู่การ ปฏิบตั ิระดับกระทรวง

ศึกษาแผนสิทธิและเชือมโยงกับ ภารกิจของหน่วยงาน

ส่งเสริมให้มีการนํา แผนปฏิบตั ิการสู่การ ปฏิบตั ิ 8

จัดทําแผนปฏิบตั ิการ ด้านสิทธิมนุษยชน ปี 54-56

9 ติดตามและ ประเมินผลในแต่ละ ปี หน่วยงานภายใน

ทบทวน/ปรับปรุง แผนปฏิบตั กิ าร

20


21/12/55

สรุปุ จากModel ทีกล่าวมาขอ ยกตัวอย่างรูปแบบการนําแผนสิทธิ มนุษยชนมาแก้ไขปั ญหา

1

ตัวอย่างรูปแบบการนําแผนสิทธิมนุษยชนมาแก้ไขปั ญหา

แต่งตังคณะกรรมการ ขับเคลือนแผนสิทธิไปสู่การ ปฏิบตั ิระดับจังหวัด ปฏบตระดบจงหวด

6

2

3

5

ติดตามและ ประเมินผล รายงานผลการ ดําเนินงาน

ให้ความรูเ้ รืองสิทธิ มนุษยชนและแผนสิทธิ ่ ิ มนุษยชนแหงชาติ

ศึกษาสถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษุ ยชน 4 ส่งเสริมการนําแผน ไปสู่การปฏิบตั ิ/ ประชาสัมพันธ์

เป้าหมาย

จัดทําแผนปฏิบตั ิ การเพือแก้ปัญหา ปั ญหาได้รบั การแก้ไข ลดข้อขัดแย้ง ลดการร้องเรียน ลดปั ญหาการชุมนุมเรียกร้อง เสริมประสิทธิภาพการทํางาน

21


21/12/55

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เกียวข้องอย่างไรกับแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที 2

เป็ นส่วนราชการหนึงในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที จะต้องนําแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที 2 สูก่ ารปฏิบตั ิ

แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที 2 กระทรวง

แผนปฏิบตั ิราชการ 4 ปี และประจําปี หรือ จัดทําเป็ นแผนปฏิบตั กิ ารด้าน สิทธิมนุษยชน ประจําปี พ.ศ. 2556 กระทรวงเกษตรฯ

กรมต่​่าง ๆ ในสังกัด ถ่ายทอดลงสูแ่ ผนปฏิบตั ิราชการ 4 ปี และประจําปี หรือ จัดทําเป็ น

แผนปฏิบตั กิ ารด้านสิทธิมนุษยชน ประจําปี พ.ศ.2554-2556

22


21/12/55

การแก้ไขปั ญหาด้านสิทธิมนุษยชน โดยนําแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที 2 มาเป็ นเครืองมือ มาเปนเครองมอ

การแกไขปญหาการละเมิดสิทธิหรือดําเนินการในเรือ ่ งสิทธิ โดยนําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน 1

พิจารณาประเด็นปญหาทีเ่ กิดขึน ้ หรือสถานการณการละเมิดหรือดําเนินการ สิทธิมนุษยชนในพืน ้ ที่ โดยแบงเปนประเด็นสิทธิมนุษยชน ไดแก

1. ดานการศกษา ดานการศึกษา วั วฒนธรรม ฒนธรรม ศาสนา และ 6. 6 ดานการรบรู ดานการรับรขอมู อ  มลข ลขาวสารการคุ าวสารการคมครอง

ผูบ  ริโภค การเรียนรู 7. ดานเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน 2. ดานอาชีพและแรงงาน 8. ดานการเมืองการปกครอง 3. ดานสาธารณสุข ิ รรม 4. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม 9. ดานกระบวนการยุตธ 10. ดานสิทธิชุมชน 5. ดานทีอ ่ ยูอ  าศัย

2

ยุทธศาสตร/กลยุทธ ขององคกรครือขาย

แนวทางการแกไข แนวทางการแกไข

กลับมาดูทศ ิ ทางขององคกร

โครงการ/กิจกรรม ของหนวยงานมี อะไรบาง

23


21/12/55

การแกไขปญหาการละเมิดสิทธิหรือดําเนินการในเรือ ่ งสิทธิ โดยนําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน (ตอ) 3

ทิศทางแผนสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ฉบับที 2 พิจารณานําแผนสิทธิมนุษยชนหงชาติ มาเปนกรอบแนวทางการแกไขปญหา มาเปนกรอบแนวทางการแกไขปญหา หรือดําเนินการ

ยุทธศาสตรที่ 1 ปองกันการละเมิด สิทธิมนุษยชน เพื่อใหเกิดความ เสมอภาค....

ยุทธศาสตรที่ 2 คุม  ครองสิทธิ มนุษยชนในทุก กลุม  เปาหมาย....

กลยุ​ุทธ์

กลยุทธ์

กลยุทธ์

กลยุทธ์

กลวิธี

กลวิธี

กลวิธี

กลวิธี

ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนากฎหมายและ กลไกทางกฎหมาย รวมทัง้ การบังคับใช กฎหมาย.... ฎ

ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาองคกรเครือขายทุก ภาคสวนใหมศ ี ก ั ยภาพใน การสงเสริมและคุม  ครองสิทธิ มนุษ ุ ยชน....

ตัวอย่างการนําแผนไปใช้แก้ไขปั ญหาทีเกิดขึน

ยุทธศาสตร์ที 1 ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน กลยุทธ์ท ี 1.1 ิ ใให ้ป้ประชาชนกลุม ่ เป้ ป้ าหมายเกิด ิ ความตระหนั​ักและจิต ิ สํ​ํานึก ึ ใในการ ส่ง่ เสริม ปกป้ องสิทธิมนุษยชน กลวิธภ ี ายใต้กลยุทธ์ท ี 1.1 (ยกต ัวอย่าง) (1 .1 .1 ) ให ้ความรู ้เกียวกับสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชนทัวไปทราบอย่างทัวถึง และให ้ ความเข ้าใจขอบเขตการใช ้สิทธิและเสรีภาพ รวมทังหน ้าทีของการเป็ นประชาชนทีมี ต่อประเทศชาติ โดยผ่านช่องทางสือต่าง ๆ อย่างเหมาะสมในแต่ละกลุม ่ เป้ าหมาย (1 .1 1 .2 2) ให ใ ้​้ความรู ้​้แก่ผ ่ ู ้​้ทีม ี โี อกาสละเมิ ส ด ิ สทธิ สิ ิ เกีย ี วกับ ั การมีท ี ัศนคติใิ นเชงสร ชิ ส ้​้างสรรค์ ส ์ ต่อกลุม ่ ผู ้ด ้อยโอกาสอย่างต่อเนือง (1 .1 .3 ) จัดการเรียนการสอนเรืองสิทธิมนุษยชนในทุกระดับในสถานศึกษาทุก ประเภท (1 .1 .4) อบรมด ้านจิตใจให ้ประชาชนกลุม ่ เป้ าหมายมีมนุษยธรรม จริยธรรมและ เมตตาธรรมผ่านทางสถาบันครอบครัว การศึกษา ศาสนา สือประชาสัมพันธ์ตา่ ง ๆ โดยสมําเสมอ

24


21/12/55

ตัวอย่างการนําแผนสิทธิมนุษยชนเพือช่วยแก้ไขปั ญหาทีเกิดขึนจากการทํางาน ภารกิจ

การส่งเสริมให้ มีการบริหาร จัดการนํา

ผลกระทบทีเกิดขึน จากการทํางาน

ละเมิดสิ ทธิด้านใด

ความเสี ยหายทีเกิดขึน จากอุทกภัย

ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ​ิ งแวดล้​้ อม

นําแผนสิทธิมนุษยชนมาใช้แก้ไขปั ญหา การละเมิดสิทธิอย่างไร ป้องกัน

คุม้ ครอง

เฝ้ าระวังติดตามสถานการณ์/ บริหารจัดการนําในพืนที อย่ างใกล้ชิด/ประชาสัมพันธ์

เมือเกิดความเสียหาย ช่ วยเหลือ บรรเทาความ เดือดร้ อน/ไกล่เกลียข้อพิพาท

ยุทธศาสตร์ ที 1 กลยุทธ์ ที 1.1

ยุทธศาสตร์ ที 2 กลยุทธ์ ที 2.2

พัฒนากฎหมาย กฎหมายทีตราหรือปรับปรุง แก้ไขเพือเอือประโยชน์ ต่อการ บริหารจัดการนํา

สอดคล้ องกับ แผนสิ ทธิมนุษยชน

เครือข่าย

ให้ ความรู้ เจ้ าหน้ าทีในการ ปฏิบัตงิ านโดยคํานึงมิติ สิทธิมนุษยชน ประสานความร่ วมมือ

ยุทธศาสตร์ ที 3 กลยุทธ์ ที 3.1

ยุทธศาสตร์ ที 4 กลยุทธ์ ที 4.2,4.4

การนําแผนสิทธิมนุษยชนเพือช่วยแก้ไขปั ญหาทีเกิดขึนจากการทํางาน ภารกิจ

การดําเนินงาน ฎ ตามกฎหมาย เกียวกับการเงิน

ผลกระทบทีเกิดขึน จากการทํางาน

ละเมิดสิ ทธิด้านใด

การถู​ูกร้ องเรียน

ด้ านการรับรู้ข้อมูลข่ าวสาร

นําแผนสิทธิมนุษยชนมาใช้แก้ไขปั ญหา การละเมิดสิทธิอย่างไร ป้องกัน ส่ งเสริมความรู้ แก่บุคลากร ในเรืองการเบิกจ่ าย (สวัสดิการ เบิกจ่ าย)

ยุทธศาสตร์ ที 1 กลยุทธ์ ที 1.1

คุม้ ครอง เมือเกิดการละเมิดนําไปสู่ การ ชดเชย เยียวยา ชีแจง ลดข้ อ ร้ องทุกข์ ร้องเรียน

ยุทธศาสตร์ ที 2 กลยุทธ์ ที 2.2

พัฒนากฎหมาย กฎหมายทีเกียวข้ องกับเบิกจ่ าย สวัสดิการ ไม่ เอือต่ อการทํางาน เสนอให้ ปรับปรุงแก้ไข

สอดคล้ องกับ แผนสิ ทธิมนุษยชน

เครือข่าย

ให้ ความรู้ เจ้ าหน้ าทีในการ ปฏิบัตงิ านเบิกจ่ ายในมิติ สิทธิมนุษยชน ประสานความร่ วมมือ

ยุทธศาสตร์ ที 3 กลยุทธ์ ที 3.1

ยุทธศาสตร์ ที 4 กลยุทธ์ ที 4.2,4.4

25


21/12/55

การติดตามรายงานผลการปฏิบัติตามแผน

ร่วมมือกัน

เส้ นทางการรายงานผลการปฏิบัตติ ามแผนสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ขององค์ กรเครือข่ ายสิ ทธิมนุษยชน

คณะรัฐมนตรี / คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ กระทรวงยุติธรรม กรมคุ้มครองสิ ทธิและเสรีภาพ อปท. กรุงเทพฯ /พัทยา

กระทรวง / หนวยงาน ทีเ่ ทียบเทากระทรวง

ภาคเอกชน/ ภาคประชาชน

องค์กรมหาชน รัฐวิสาหกิจ

กรม/หน่ วยงาน เทียบเท่ ากรม

องค์ กรเครือข่ ายสิ ทธิมนุษยชนสั งกัดส่ วนกลาง

กระทรวงมหาดไทย ภาคเอกชน / ภาคประชาชน อปท. อบจ. /อบต./เทศบาล

จังหวัด องค์ กรภาครัฐต่ าง ๆ ในจังหวัด อาทิ สนง. พัฒนาสั งคมและความมันคงมนุษย์ จังหวัด./สนง.วัฒนธรรมจังหวัด/สนง. สาธารณสุ ขจังหวัด เป็ นต้ น

องค์ กรเครือข่ ายสิ ทธิมนุษยชนสั งกัด ส่ วนภูมภิ าค / ส่ วนท้ องถิน

26


21/12/55

ติดตามและประเมินผล 1

ติดตาม Monitoring

กรมคุ้มครองสิ ทธิและเสรี ภาพ ติดตามให้ หน่ วยงานต่ าง ๆ รายงานผลการปฏิบัติตามแผนฯ เมือสิ นปี งบประมาณปี ละ 1 ครัง ภายในเดือนพฤศจิ ฤ กายนของทกปี ุ ตามทีครม.กําหนด (ขณะนี กรมฯจะเตรี ยมการติ ดตามผลปี พ.ศ.2555 โดยอยู่ระหว่ า งปรั บปรุ งแบบรายงานและแจ้ งเวียนทุ กหน่ ว ยให้ รายงาน)

2

ประเมินผล Evaluation

3

รายงานการ ประเมินผล ทีผ่านมา

กรมฯ จั ด จ้ า งที ปรึ ก ษาทีเชี ยวชาญและมี ค วามเป็ นกลาง ทําการประเมินผล กรมฯ นาเสนอรายงานการประเมนผลกบคณะรฐมนตร นํ าเสนอรายงานการปร เมินผลกับคณ รั ฐมนตรี และคณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ 1. กรมฯ ติดตามให้ หน่ วยงานต่ าง ๆ รายงานผล จํานวน 9,625 หน่ วยงานนําร่ อง ตังแต่ ปี 2552-2554 2. จัดจ้ างทีปรึกษา ม.มหิดล ทําการประเมินผล ช่ วงครึงแผน ปี 2552-2554

ต่อไปเมือทําอะไรก็ หันมาให้ความสําคัญใน เรือง “สิทธิมนุ​ุษยชน”

คิคดอะไรไมออก…… ดอะไรไม่ออก หยิบแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติมาเป็ นแนวทาง

27


21/12/55

จบการนําเสนอ

ข้อมูลทังหมดเกียวกับ ปรากฏอยู่ใน www.rlpd.moj.go.th หัวข้อ สิทธิมนุษยชน “แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ” หากมีขอ้ สงสัยหรือต้องการคําปรึกษา ติดต่อได้ที กลุ่มงานแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม โทร 0 2141 2744,46,58

28


1

เฉลยแบบทดสอบ คําตอบ

คําถาม

ใช่

ไม่ใช่

คําอธิบายเพิ่มเติม

1) สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษย์ทุกคนมา ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย

2) ความเสมอภาค คือ สิ่งทีท่ ุกคนต้องได้รับ เท่าๆกันกับคนอื่น

3) สิทธิมนุษยชน คือ สิ่งที่กฎหมายรับรองไว้ เท่านั้น

4) สิทธิทางเศรษฐกิจมีความสําคัญ มากกว่าสิทธิ ด้านอื่นๆ เนื่องจากต้องแก้ไขปัญหาเรื่องปากท้อง ก่อนปัญหาด้านอื่นๆ

ความเสมอภาคนั้น มิใช่แปลว่าสิ่งที่ ทุกคนต้องได้รับเท่ากัน แต่เป็นการ ที่ทุกคนควรได้รับจากส่วนที่ควรได้ ในฐานะที่เป็นคน สิทธิมนุษยชน คือ สิ่งจําเป็น สําหรับคนทุกคนที่ต้องได้รับใน ฐานะที่เป็น เพื่อให้คนๆ นั้น มีชีวิต รอดและพัฒนาต่อไปได้ ซึ่งจะกว้าง กว่าที่กฎหมายรับรองไว้ สิทธิด้านต่างๆ มีความสําคัญเท่า เทียมกันหมด

5) ประเทศไทยได้มีการบัญญัติหลักความเสมอภาค และการไม่เลือกปฏิบัติในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

มาตรา 30 ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

6) สื่อสามารถนําภาพข่าวตํารวจแถลงข่าวจับกุมผู้ ถูกกล่าวหาว่ามียาเสพติดไว้ในครอบครองเพื่อ จําหน่าย มาเผยแพร่ได้

7) สิทธิมนุษยชนแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับแรก คือ สิทธิที่ติดตัวตั้งแต่กําเนิด และระดับ ที่สอง คือ สิทธิที่ได้รับการรับรองในรูปของ กฎหมาย

8) สิทธิมนุษยชนแบ่งออกเป็น 5 หลักการสําคัญ ได้แก่ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเสมอภาค ไม่

สื่อไม่สามารถกระทําเช่นนั้นได้ เพราะขัดต่อหลักการของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 39 วรรคสอง ที่ว่า ในคดีอาญาต้อง สันนิษฐานไว้กอ่ นว่าผู้ต้องหาหรือ จําเลยไม่มีความผิด ก่อนมีคํา พิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคล ใดได้กระทําความผิดจะปฏิบัติต่อ บุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทํา ความผิดมิได้


2

คําถาม

คําตอบ ใช่

ไม่ใช่

คําอธิบายเพิ่มเติม

เลือกปฏิบัติ เป็นสากลและไม่สามารถถ่ายโอนกัน ได้ และ แบ่งแยกไม่ได้ 9) หน่วยงานของรัฐสามารถประกาศรับสมัคร บุคคลเข้าทํางาน โดยกําหนดคุณสมบัติของผู้ที่มี สิทธิสมัครว่าต้องจบปริญญาตรีตรีเกียรตินิยม เท่านั้น เพื่อมาปฏิบัติงาน ตําแหน่งนิติกร 10) โรงเรียนสามารถออกระเบียบห้ามนักเรียน หญิงไว้ผมยาวได้ ไม่ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ มนุษยชน

ไม่สามารถกระทําได้เนื่องจากขัด ต่อหลักความเสมอภาค

เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน เนื่องจากการขายหรือซื้อบริการ ทางเพศเป็นการละเมิดศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ เพราะมนุษย์ไม่ ควรลดคุณค่าของความเป็นคน ไม่ มีข้อยกเว้นในทุกเรื่องแม้จะทําไป เพราะมีความกตัญญูก็ตาม

11) เด็กหญิงอายุ 13 ปี ทดแทนคุณพ่อแม่ที่ ยากจน ด้วยการขายบริการทางเพศ โดยพ่อแม่ก็รู้ เห็นและยินยอม ซึ่งถือว่าไม่เป็นการละเมิดสิทธิ มนุษยชน

12) ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาระหว่าง ประเทศด้านสิทธิมนุษยชนแล้ว 7 ฉบับ จากทั้งสิ้น 9 ฉบับ

13) ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ไม่มีผลผูก ผันทางกฎหมาย เป็นแต่เพียงการแสดงเจตนารมณ์ ของรัฐเท่านั้น

14) เมื่อประเทศไทยเข้าเป็นภาคีสมาชิกของ องค์การสหประชาชาติแล้วทําให้เกิดพันธะผูกพันที่ จะต้องปฏิบัติตามอยู่ 4 ประการ ได้แก่ 1. การประกันให้เกิดสิทธิต่างๆ ตามที่ระบุไว้ใน สนธิสัญญา 2. การปฏิบัติให้เกิดสิทธิตามที่ได้รับรองไว้ใน สนธิสัญญา 3. การเผยแพร่หลักการของสิทธิตามสนธิสญ ั ญา นั้นให้กว้างขวาง 4. การนําเสนอรายงานประเทศเกี่ยวกับผลการ ปฏิบัติให้เกิดสิทธิและความก้าวหน้าต่อองค์กรตาม สนธิสัญญา


3

คําถาม

คําตอบ ใช่

15) ประเทศไทยมีแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาแล้วจํานวนทั้งหมด 2 ฉบับ

16) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นเครื่องมือให้ หน่วยงานจากทุกภาคส่วนนําไปใช้ส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้แก่ประชาชนในชาติ เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน สังคมไทย

17) เป้าหมายหลักของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน การทําให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการ เคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ตามหลักสิทธิ มนุษยชน เครือข่ายสิทธิมนุษยชนมีความเข้มแข็ง ในทุกภูมิภาคที่มีความตื่นตัวและพัฒนาสู่ มาตรฐานสากล

18) แผนสิทธิมนุษยชนฯ มี 4 ยุทธศาสตร์ 14 กลยุทธ์ และ 43 กลวิธี 19) องค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนที่จะดําเนินการ ขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คือ องค์กร ภาครัฐเท่านั้น 20) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 มี 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อให้เกิดความเสมอภาคตามความเป็นจริง นอกเหนือจากความเสมอภาคทางกฎหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในทุก กลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามหลักการสิทธิมนุษยชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากฎหมายและกลไกทาง กฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อ ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาค ส่วนให้มีศักยภาพในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชนให้มคี วามเข้มแข็งในการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชนและพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล

√ √

ไม่ใช่

คําอธิบายเพิ่มเติม

องค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน คือ องค์กรภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน และองค์กรภาคประชาชน


เฉลย แบบทดสอบหลังการอบรมสัมมนา กฎหมายว่าด้ วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ ...........................................

๑. เมื่อเกิดกรณีเจ้ าหน้ าที่ทจุ ริตยักยอกเงินของทางราชการเจ้ าหน้ าที่ที่ต้องรับผิดประกอบด้ วยบุคคลใดบ้ าง ก. ผู้ทจุ ริตรับผิดเพียงคนเดียว ข. ผู้ทุจริตรั บผิดเต็มจํานวนและผู้เกี่ยวข้ องรับผิดตามสัดส่ วนของแต่ ละคน ค. ผู้ทจุ ริ ตรับผิดคนละครึ่งกับผู้บงั คับบัญชา ง. ผู้ทจุ ริ ตรับผิดคนละครึ่งกับผู้ร่วมงาน ๒. การกําหนดสัดส่วนความรับผิดของเจ้ าหน้ าที่ ต้ องคํานึงถึงสิง่ ใดบ้ าง ก. ความร้ ายแรงแห่งการกระทํา ข. ความเป็ นธรรมแห่งกรณี ค. ความผิดหรื อบกพร่องของหน่วยงาน ง. ถูกทุกข้ อ ๓. ข้ อใดคือองค์ประกอบของการแต่งตังคณะกรรมการสอบข้ ้ อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิด ก. เกิดความเสียหาย ข. มีเหตุอนั ควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทําของเจ้ าหน้ าที่ ค. ถูกทัง้ ข้ อ ก.และ ข. ง. ผิดทังสองข้ ้ อ ๔. ถ้ าเจ้ าหน้ าที่ผ้ ทู ําให้ เกิดความเสียหายเป็ นผู้ซงึ่ ไม่ได้ สงั กัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด ให้ แจ้ งเหตุแห่ง ความเสียหายต่อหน่วยงานใด ก. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. กระทรวงการคลัง ค. ผู้ตรวจการแผ่นดิน ง. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ้ อเท็จจริ ง ๕. หากอธิบดีมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับเหตุละเมิด ผู้มีอํานาจออกคําสัง่ แต่งตังคณะกรรมการสอบข้ ความรับผิดทางละเมิดคือบุคคลใด ก. ผู้วา่ ราชการจังหวัด ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง ง. ถูกทุกข้ อ

กลุ่มงานพัฒนาและบริ หารงานละเมิดและแพ่ง สํานักความรับผิดทางแพ่ง กรมบัญชีกลาง


เฉลย -๒-

๖. ผู้ได้ รับความเสียหายจากการกระทําละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ สามารถใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องด้ วยวิธีใดบ้ าง ก. ฟ้องคดีตอ่ ศาล ข. ยื่นคําขอต่อหน่วยงานของรัฐ ค. ร้ องทุกข์ตอ่ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ง. ถูกเฉพาะข้ อ ก.และข้ อ ข. ๗. กรณีเจ้ าหน้ าที่ไม่สามารถชําระหนี ้ให้ ทางราชการได้ หน่วยงานต้ องไม่ดําเนินคดีล้มละลาย ยกเว้ น ก. เจ้ าหน้ าที่เสียชีวิต ข. เจ้ าหน้ าที่ลาออกจากราชการ ค. เจ้ าหน้ าที่เดินทางย้ ายภูมิลาํ เนาไปต่างประเทศ ง. การไม่ สามารถชําระหนีไ้ ด้ เกิดจากการประพฤติช่ วั อย่ างร้ ายแรงของเจ้ าหน้ าที่นัน้ ๘. หากนายดิเรก สุดหล่อ ทําโทรศัพท์มือถือของทางราชการหาย จะชดใช้ ให้ ทางราชการด้ วยวิธีใด ก. ชําระเงินสดเป็ นค่ าโทรศัพท์ มือถือหลังหักค่ าเสื่อมราคาแล้ ว ข. ซื ้อโทรศัพท์มือถือยี่ห้ออื่นราคาถูกกว่ามาชดใช้ แทน ค. ทํางานชดใช้ ภายใน ๓ ปี ง. แล้ วแต่หวั หน้ าส่วนราชการจะสัง่ การ ๙. บุคคลใดไม่ใช่เจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่ได้ รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้ วยความรับผิดทางละเมิด ก. ข้ าราชการ ข. ลูกจ้ างประจํา ค. พนักงานราชการ ง. พนักงานขับรถยนต์ ของบริษัทที่หน่ วยงานจ้ างเหมารายปี ๑๐. หน่วยงานใดไม่ใช่หน่วยงานของรัฐตามกฎหมายว่าด้ วยความรับผิดทางละเมิด ก. ส่วนราชการส่วนกลาง ข. ราชการส่วนท้ องถิ่น ค. รั ฐวิสาหกิจที่จัดตัง้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ ้ ญญัตหิ รือพระราชกฤษฎีกา ง. รัฐวิสาหกิจที่จดั ตังตามพระราชบั

กลุ่มงานพัฒนาและบริ หารงานละเมิดและแพ่ง สํานักความรับผิดทางแพ่ง กรมบัญชีกลาง


เฉลย -๓๑๑. หากท่านถูกบุคคลภายนอกฟ้ องคดีตอ่ ศาลเนื่องจากการกระทําละเมิดในการปฏิบตั หิ น้ าที่ราชการ ต้ องดําเนินการอย่างไร ก. จ้ างทนายความสู้คดีเอง ข. รายงานต้ นสังกัดเพื่อให้ พนักงานอัยการแถลงต่ อศาลกันตนเองออกจากคดี ค. รายงานต้ นสังกัดเพื่อขอเบิกเงินค่าทนายความต่อสู้คดี ง. ถูกทุกข้ อ ๑๒. กรณีเจ้ าหน้ าที่ยินยอมชดใช้ คา่ สินไหมทดแทน แต่ไม่สามารถชําระได้ หมดทังจํ ้ านวนในคราวเดียว จะมีวิธีการชําระหนี ้อย่างไร ก. ให้ ผ่อนชําระ ข. ถูกอายัดทรัพย์ ค. ถูกยึดทรัพย์ ง. ไล่ออก ๑๓. ถ้ าเจ้ าหน้ าที่ผ้ ตู ้ องรับผิดไม่เห็นด้ วยกับคําสัง่ ต้ องดําเนินการขันตอนใดเป็ ้ นลําดับแรก ก. ทําหนังสือร้ องเรี ยน ข. อุทธรณ์ คาํ สั่ง ค. ฟ้องคดีตอ่ ศาลปกครอง ง. ฟ้องคดีตอ่ ศาลยุตธิ รรม ๑๔. กรณีเกิดอุบตั เิ หตุรถยนต์ของกรมบัญชีกลางชนกับรถยนต์ของการไฟฟ้ านครหลวง หัวหน้ าหน่วยงาน แห่งใดเป็ นผู้ลงชื่อในคําสัง่ แต่งตังคณะกรรมการสอบข้ ้ อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ก. กรมบัญชีกลาง ข. การไฟฟ้านครหลวง ค. อธิบดีกรมบัญชีกลางและผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวงร่ วมกันลงนามในคําสั่ง ง. หน่วยงานที่รถยนต์ได้ รับความเสียหายมากกว่า ๑๕. คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่งซึง่ เป็ นผู้แทนจากหน่วยงานภายนอกกรมบัญชีกลาง ได้ แก่ผ้ ใู ด ก. ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. ผู้แทนสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ค. ผู้แทนสํานักงานอัยการสูงสุด ง. ถูกทุกข้ อ

กลุ่มงานพัฒนาและบริ หารงานละเมิดและแพ่ง สํานักความรับผิดทางแพ่ง กรมบัญชีกลาง


เฉลย -๔๑๖. คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิดมีจํานวนไม่เกินกี่คน ก. ๓ คน ข. ๕ คน ค. ๗ คน ง. ไม่จํากัดจํานวน ๑๗. อายุความการเรี ยกให้ เจ้ าหน้ าที่ชดใช้ คา่ เสียหายตามกฎหมายละเมิดจํานวนเท่าใด ก. ๑ ปี นับแต่หน่วยงานของรัฐมีคําสัง่ ตามความเห็นกระทรวงการคลัง ข. ๒ ปี นับแต่ร้ ูเหตุละเมิดและรู้ตวั ผู้กระทําละเมิด ค. ๑๐ ปี นับแต่เกิดเหตุละเมิด ง. ถูกทุกข้ อ ๑๘. เจ้ าหน้ าที่ผ้ กู ระทําละเมิดจะได้ รับความคุ้มครองตามกฎหมายละเมิดในกรณีใด ก. กระทําละเมิดระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ น.-๑๖.๓๐ น. ข. เงินเดือนไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท ค. ดํารงตําแหน่งไม่เกินระดับ ๘ ง. กระทําละเมิดในการปฏิบัตหิ น้ าที่ ๑๙. กรณีเจ้ าหน้ าที่หลายคนกระทําความผิดทางละเมิดในคราวเดียวกัน จะเรี ยกให้ รับผิดอย่างไร ก. รับผิดอย่างลูกหนี ้ร่วม ข. รับผิดตามสัดส่ วน โดยไม่ นําหลักเรื่องลูกหนีร้ ่ วมมาใช้ บังคับ ค. แล้ วแต่ผ้ รู ับผิดจะตกลงกัน ง. ผิดทุกข้ อ ๒๐. หน่วยงานของรัฐมีสทิ ธิไล่เบี ้ยจากเจ้ าหน้ าที่ได้ ในกรณีใด ก. กระทําโดยจงใจหรื อประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง ข. กระทําโดยประมาทเลินเล่อ ค. กระทําโดยไม่ระมัดระวัง ง. ถูกทุกข้ อ ……………………………….

กลุ่มงานพัฒนาและบริ หารงานละเมิดและแพ่ง สํานักความรับผิดทางแพ่ง กรมบัญชีกลาง


21/12/55

ดําเนินการฝึกอบรมฯ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายเฉลิมพล เลียบทวี ผู้บรรยาย สํานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 1

` ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมือ ่

10 กันยายน 2540 ` มีผ ี ลใช้ ใ ้บังคับั เมือื่ 9 ธันั วาคม 2540

2

1


21/12/55

พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ มีขึ้นเพื่อรองรับสิทธิได้รู้ของประชาชน ซึ่งเป็น แกนสําคัญของสังคมประชาธิปไตย โดยอาจพจารณาไดจากบทบาท แกนสาคญของสงคมประชาธปไตย โดยอาจพิจารณาได้จากบทบาท 2 ด้าน ดังนี้ 1. ในทางการเมือง - เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทาง การเมืองได้และเพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชน 2 ในการพทกษสทธประโยชน ในการพิทักษ์สิทธิปร โยชน์ 2. - เพื่อที่ประชาชนจะปกปักรักษาประโยชน์ของตนได้ - เพื่อคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสาร ของราชการ 3

ประชาชนมีสิทธิอย่างจํากัด การบริหารราชการและการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปเป็นไป อย่างขาดข้อมูล

4

2


21/12/55

สิทธิของประชาชนตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสาร - สิทธิ “ได้รู้” ม.7 ม.9 ม.11 ม.25 และ ม.26 - สิทธิ “ได้รับคําแนะนําที่ถูกต้อง” ม.12 - สิทธิ “คัดค้านการเปิดเผย” ม.17 - สิทธิ “ร้องเรียน” ม.13 - สทธ สิทธิ “อทธรณ์ อุทธรณคาสงไมเปดเผยหรอไมรบฟงคาคดคาน คําสั่งไม่เปิดเผยหรือไม่รับฟังคําคัดค้าน” ตามม.18 ตามม 18 “อุทธรณ์กรณีหน่วยงานไม่แก้ไขหรือลบข้อมูลส่วนบุคคล” ตามม.25 5

ผู้ที่มีสิทธิตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสาร สิทธิในการตรวจดู ขอสําเนา ร้องเรียน อุทธรณ์ ฯลฯ -บุคคลธรรมดา หรื​ือนิติ ิบุคคลที​ีม่ ีสัญชาติไิ ทย -บุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทย แต่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ใน ประเทศไทย *เฉพาะเอกชนเท่านั้นที่มีสิทธิตาม พรบ.นี้*

6

3


21/12/55

1.

2. 3. 4.

การปกครองที่โปร่งใส การปกครองทีปี่ ระชาชนมีสี ่วนร่ว่ ม การปกครองที่ประชาชนตรวจสอบได้ การปกครองที่ประชาชนได้รับความเป็นธรรมในการพิทักษ์สิทธิ เสรีภาพ

7

1.

2. 3.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (ม.56) พ.ร.บ.วิธิ ีปฏิบิ ัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539

8

4


21/12/55

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 56 “บุคคลย่อ่ มมีสี ิทธิไิ ด้ร้ ับทราบข้​้อมูล หรื​ือข่​่าวสารสาธารณะใน ใ ครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐฯ........ เว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารนั้นจะกระทบต่อความมัน่ คง ของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับ ความคุ้มครองของบุคคลอื่ืนหรือื เป็ป็นข้อ้ มูลส่ว่ นบุคคล......””

9

¾ ¾ ¾

เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ใ ้ ใหความคุ ม้ ครองขอมู ้ ลสวนบุ ่ คคล “สิทธิได้รู้” ไม่ต้องมีส่วนได้เสีย

10

5


21/12/55

ขอบเขตของข้อมูลข่าวสาร และหน่วยงานของรัฐ ที่อยู่ในบังคับของ พรบ.ข้อมูลข่าวสาร - ขอมู ข้อมลข่ ลขาวสารทุ าวสารทกประเภท กประเภท - เฉพาะข้อมูลข่าวสารของราชการ - คุม้ ครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หน่วยงานของรัฐทุกองค์กร

11

ความหมายของ “ข้อมูลข่าวสาร” (ม.4 ว.1) สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรือ่ งราว ข้อเท็จจริง หรือข้อมูลใด ๆ ซึ่ง ทําได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการใดๆ Î อาจจัดทําไว้ในรูปของเอกสาร ภาพวาด ภาพถ่าย การ บันทึกภาพหรือเสียง ตัวเลข ประจุแม่เหล็กไฟฟ้า ฯลฯ สิ่งใดถ้า มนุษย์สามารถใช้เป็นสื่อความหมายได้ก็เป็นข้อมูลข่าวสาร ทั้งหมด Î

12

6


21/12/55

ความหมายของ “ข้อมูลข่าวสารของราชการ” (ม.4 ว.1) ได้แก่ ข้อมลข่ ขอมู ลขาวสารทอยู าวสารที่อย่ในความ ครอบครอง หรอ หรือ ควบคุ ควบคมดแล มดูแล ของ หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือ ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับเอกชน

13

ความหมาย “ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” (ม.4 ว.5) ได้แก่ ข้อมลข่ ู าวสารเกีย่ วกับ สิ่งเฉพาะตัว ของบคคล ุ หรือ ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับสิ่งบอกลักษณะอื่น ที่ทําให้รตู้ ัวผู้นั้นได้

14

7


21/12/55

ตัวอย่างข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวบุคคล - ฐานะการเงิน - การศกษา ศึ - ประวัติสุขภาพ - ประวัติอาชญากรรม - ประวัติการทํางาน - ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล ฯลฯ

ตัวอย่างข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เกี่ยวกับสิ่งที่ทําให้รู้ตัวผู้นั้น - ชื่อ-นามสกุล - รหสัส - หมายเลข - รูปถ่าย - สิ่งบ่งชี้อย่างอื่น เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง ฯลฯ

15

ความหมาย “หน่วยงานของรัฐ” (ม.4 ว.3) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่ เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการ ประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่น ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

16

8


21/12/55

¾ ¾ ¾

¾

ราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง กรม ราชการส่วนภูมภิ าค ได้ ไ แ้ ก่ จังั หวัดั อําํ เภอ ราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา รัฐวิสาหกิจ เช่น กฟผ. กฟภ. กปน.

17

องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ เช่น - สภาทนายความ - แพทยสภา - คณะกรรมการควบคุมการประกอบอาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม - เนตบณฑตยสภา ิ ั ิ - สภาผู้สอบบัญชีรบั อนุญาต 18

9


21/12/55

องค์กรอิสระ - สํานักงาน ป.ป.ช. - สานกงานการตรวจเงนแผนดน สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน - สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน - สํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน - สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง - ฯลฯ

19

หน่วยงานอืน่ ๆของรัฐตามความหมายของ พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ - ธ.ออมสน สิ ธ.กรุงไทย ไ ธ.อาคารสงเคราะห ส ์ ธพว. - บริษัทการบินไทย บริษัท ป.ต.ท. - บริษัทบริหารสินทรัพย์ - ตลาดหลักทรัพย์ - ฯลฯ

20

10


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารแต่ละประเภทมีลักษณะและความสําคัญ แตกต่างกัน กฎหมายจึงกําหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารไว้ 3 วิธี เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลข่าวสาร คือ 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู​ู (มาตรา 9) 3) การจัดหาให้เอกชนเป็นการเฉพาะราย (มาตรา 11)

21

วิธีที่ 1 การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (ม.7) ข้อมูลข่าวสารทีต่ ้องนําไปลงพิมพ์ ได้แก่ 1. โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดําเนินงาน [ม.7(1)] 2. สรุปอํานาจหน้าที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน [ม.7(2)] 3. สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร [ม.7(3)]

22

11


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารที่ต้องนําไปลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (ต่อ) 4. กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คําสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบายหรอการตความ นโยบายหรือการตีความ ทัทงน ้งนี้ เฉพาะทจดใหมขน เฉพาะที่จัดให้มีขึ้น โดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่ เกี่ยวข้อง [ม.7(4)] หมายเหตุ กฎที่มีผลเฉพาะต่อเจ้าหน้าที่ในองค์กรไม่อยู่ในบังคับที่ จะต้องพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา* 5. ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด

23

วิธที ี่ 2 การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) 1.ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู 2.วิธีการจัดให้ตรวจดู

24

12


21/12/55

ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) (1) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน รวมทั้ง ความเห็นแย้งและคําสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว (2) นโยบายและการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจา นุเบกษาตามมาตรา 7 (4) (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณรายจ่ายประจําปีของปีที่กําลัง ดํดาเนนการ าเนินการ (4) คู่มือหรือคําสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมี ผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน เช่น ขั้นตอนการขออนุญาต อนุมัติเพื่อดําเนินกิจกรรมต่าง 25

ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ต่อ (5) สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงมาตรา 7 วรรค 2 (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี (8) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด

26

13


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารอืน่ ตามที่คณะกรรมการฯ กําหนด ตามมาตรา 9 (8) ขณะนี้คณะกรรมการได้ประกาศกําหนดไว้ 3 ประเภท (1) ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา (2) สรุปผลการพิจารณาการจัดซื้อจัดจ้างประจําเดือน (แบบ สขร.1) (3) เอกสารเกี เอกสารเกยวกบสงแวดลอม ย่ วกับสิ่งแวดล้อม และสขภาพ และสุขภาพ *มติครม. 28 ธันวาคม 2547 ให้นําข้อมูลข้อ 1) – 2) เผยแพร่ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน* 27

ลําดับที่

งานจัดซื้อ-จัดจ้าง

วงเงิน งบประมาณ

วิธีซื้อ/จ้าง

ผู้เสนอราคาและ ผู้ได้รับการ ราคาที่เสนอ คัดเลือกและราคา

เหตุผลที่คัดเลือก โดยสังเขป

28

14


21/12/55

ตามประกาศคณะกรรมการฯ วันที่ 24 ก.พ. 2541 สรุป 1) จดใหมสถานท นยขอมู ลขาวสาร) จัดให้มีสถานที่ (ศู (ศนย์ ข้อมลข่ าวสาร) 2) จัดทําดัชนี 3) ให้ประชาชนสามารถค้นหาได้โดยสะดวก (ค้นหาได้เอง) 4) การกําหนดระเบียบปฏิบัติต้องคํานึงถึงความสะดวกของประชาชน 5) สถานที ่อาจเป็นห้องสมดของหน่ วยงานอื่นหรือของเอกชนที่ตั้งอย่ สถานทอาจเปนหองสมุ ดของหนวยงานอนหรอของเอกชนทตงอยู บริเวณใกล้เคียง

29

วิธีที่ 3 การจัดหาข้อมูลข่าวสารให้เอกชนเป็นการ เฉพาะราย (มาตรา 11) - เป็นการจัดข้อมูลข่าวสารให้ตามที่มีผู้มายื่นคําขอ - - หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้ภายในเวลาอันสมควร เว้นแต่ขอจํานวน มากหรือบ่อยครั้ง (ม.11 วรรค 1) -

30

15


21/12/55

(1) กรณีประชาชนขอข้อมูลข่าวสาร และหน่วยงานรัฐมีพร้อมอยู่แล้ว ให้ ใ ด้ ําเนินิ การโดยเร็ โ ว็ หรือื ภายในวั ใ นั ทีขี่ อ (2) ถ้าขอมากไม่สามารถดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน ให้ แจ้งผู้ขอทราบภายใน 15 วัน และแจ้งกําหนดวันแล้วเสร็จด้วย *พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ใ 15 ๒๕๔๖ มาตรา ๓๘ บั​ัญญั​ัติให้​้ส่วนราชการแจ้​้งการดํ​ําเนิ​ินการภายใน วัน*

31

การแจ้งสิทธิ และคําแนะนําทีถ่ ูกต้อง (มาตรา 12) 11. ถาขอมู ถ้าข้อมลข่ ลขาวสารตามคาขอไมอยู าวสารตามคําขอไม่อย่ในความครอบครองแตอยู นความครอบครองแต่อย่ในความ ครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานอื่น ให้แจ้งผู้ขอทราบและแนะนํา ให้ไปยื่นคําขอที่หน่วยงานดังกล่าว (ม.12 วรรค 1) 2. ถ้าเป็นข้อมูลที่หน่วยงานอื่นจัดทําและกําหนดชั้นความลับไว้ ให้ส่งคํา ขอให้หน่วยงานนั้นพิจารณา (ม.12 วรรค 2)

32

16


21/12/55

ลักษณะข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดให้ (ม.11) 1. เป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว และ 2. ไม่ต้องจัดทําขึ้นใหม่ เว้นแต่การแปรสภาพของข้อมูลสาร แต่หาก เห็นว่ามิใช่เป็นการแสวงหาประโยชน์ทางการค้า และเพื่อปกป้อง สิทธิเสรีภาพหรือเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะ อาจจัดหาให้ก็ได้ (วรรค 3) *ไม่เป็นการห้ามหน่วยงานที่จัดให้ หากเป็นการสอดคล้องด้วย อํานาจหน้าที่ตามปกติของหน่วยงาน (วรรค 4) 33

ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบัน พระมหากษัตั ริยิ ์ (มาตรา 14)) (

34

17


21/12/55

ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวมีลักษณะ ดังนี้ (1) ความมัน่ คงของประเทศ ความสัมพันธ์ร์ ะหว่า่ งประเทศ ความ มั่นคงทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ (2) ทําให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสําเร็จ ตามวัตถุประสงค์ได้ ใ วยงานของรัฐใในการ (3) ความเห็น็ หรื​ือคําแนะนําภายในหน่ ดําเนินการเรือ่ งหนึ่งเรื่องใด 35

(4) อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคล (5) รายงานทางการแพทย์​์ หรือื ข้อ้ มูลส่ว่ นบุคคลซึงึ่ การเปิดเผยอาจ เป็นการรุกล้ําสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร (6) มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือผู้ให้ข้อมูลไม่ประสงค์ให้ เปิดเผย ใ (7) กรณี​ีอ่ืนตามที​ี่กําหนดในพรฏ. * คําสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารต้องระบุเหตุผลด้วย 36

18


21/12/55

ต้องคํานึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ประกอบกัน (1) การปฏิบตั ิหน้า้ ทีข่ี องหน่ว่ ยงานของรัฐ (2) ประโยชน์สาธารณะ (3) ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง

37

ตัวอย่างของการใช้ดุลพินิจ ประโยชน์สาธารณะ เช่น ขอสําเนา ส.ค.1 เพื่อร้องเรียนผู้ออก เอกสารสิทธิ หรือ โฉนดที่ดินโดยมิชอบ/ขอข้อมูลเกี่ยวกับการ ก่อ่ สร้า้ งตลาดสด/รายชือื่ สาขาวิชิ าชีพี ที​ีเ่ ชียี่ วชาญของกรรมการ ผู้ตรวจผลงานทางวิชาการ ประโยชน์เฉพาะเอกชน เช่น ขอสําเนา ส.ค.1 หรือโฉนดที่ดินเพื่อ การค้า/ขอเอกสารเกีย่ วกับการดําเนินการทางวินยั หรือเรื่อง ร้​้องเรี​ียน

38

19


21/12/55

ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลใดอาจกระทบถึง ประโยชน์ ป โ ไ์ ด้เ้ สียี ของผู้ใด ให้ ใ แ้ จ้​้งผู้นัน้ คัดั ค้า้ นการเปิปิดเผยภายในเวลา ใ ที่กําหนด (ไม่น้อยกว่า 15 วัน) ถ้ามีการคัดค้าน แล้วเจ้าหน้าที่มีคําสั่งไม่รับฟังคําคัดค้าน ผู้คัดค้านอุทธรณ์คําสั่งได้ตาม ม.18 (ภายใน 15 วัน) เจ้​้าหน้​้าที​ี่จะเปิดเผยข้​้อมูลไไม่ได้​้จนกว่าจะล่วงพ้​้นกําหนดเวลา อุทธรณ์ตาม ม.18 39

ตัวอย่างข้อมูลที่อาจมีผลกระทบต่อผู้อื่น -ประเภทลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร -แบบแปลนการก่อสร้างอาคาร หมู​ู่บา้ น -ข้อมูลการเสียภาษีที่ดิน โรงเรือน หอพัก โรงแรม (กวฉ.เคย วินิจฉัยว่าเป็นข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับการดําเนินงานตามปกติของ หน่วยงาน ในการจัดเก็บภาษี) -หมายเลขโทรศัพท์

40

20


21/12/55

- หน่วยงานของรัฐวางหลักเกณฑ์การเรียกค่าธรรมเนียมในการขอสําเนาหรือสําเนา ที่มีค่ารับรองถูกต้องได้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารฯ - ค่าธรรมเนียมที่หน่วยงานของรัฐสามารถกําหนดได้โดยถือว่า คณะกรรมการฯ ให้ ความเห็นชอบแล้วคืออัตรา ดังต่อไปนี้ (1) เอ 4 หน้าละไม่เกิน 1 บาท (2) เอฟ 14 หน้าละไม่เกิน 1.50 บาท (3) บี 4 หน้าละไม่เกิน 2 บาท (4) เอ 3 หน้าละไม่เกิน 3 บาท (5) พิมพ์เขียวเอ 2 หน้าละไม่เกิน 8 บาท (6) พิมพ์เขียวเอ 1 หน้าละไม่เกิน 15 บาท (7) พิมพ์เขียวเอ 0 หน้าละไม่เกิน 30 บาท 41

- ถ้าจะเรียกเกินกําหนดดังกล่าว ต้องขอความเห็นชอบจากคณะ กรรมการฯ ก่อ่ น เว้น้ แต่เ่ ป็นการเรียี กไม่ ไ เ่ กินิ ต้น้ ทุนทีแี่ ท้จ้ ริ​ิง - ค่าธรรมเนียมการให้คํารับรองสําเนาถูกต้องที่ถือว่าคณะ กรรมการฯ ให้ความเห็นชอบ คํารับรองละไม่เกิน 5 บาท - * ประกาศคณะกรรมการฯ วันที่ ๗ พ.ค.๒๕๔๒

42

21


21/12/55

เจ้าหน้าที่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตาม ม.15 ไม่ต้องรับผิดแม้ เข้า้ ข่า่ ยต้อ้ งมีคี วามผิดิ ถ้า้ กระทําํ โดย โ 1. โดยสุจริต 2. ดําเนินการตามระเบียบที่กําหนดใน ม.16 3. เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นดํารงตําแหน่งตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง

43

ให้หน่วยงานของรัฐกําหนดวิธกี ารคุม้ ครองข้อมูลข่าวสาร เพอความชดเจนวาจะเปดเผยตอบุ เพื่อความชัดเจนว่าจะเปิดเผยต่อบคคลใดได้ คคลใดไดหรอไม หรือไม่ ภายใตเงอนไข ภายใต้เงื่อนไข ใด และเพื่อรักษามิให้รวั่ ไหล *ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16 และมาตรา 26 ว.5 แห่ แหงง พรบ พรบ.ขอมู ข้อมลข่ ลขาวสารฯ าวสารฯ *

44

22


21/12/55

การมีคําสั่งให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ เป็นการทั่วไปหรือ เฉพาะแก่บ่ ุคคลใด ใ ให้ ใ เ้ ป็นอําํ นาจของเจ้า้ หน้า้ ของรัฐั ดังั นี้ี 1. ข้าราชการพลเรือนระดับ 6 ขึ้นไป 2. ทหาร ตํารวจ ยศพันตรี นาวาอากาศตรี นาวาตรี พัน ตํารวจตรี ขึ้นไป 3. ผู้บริหารท้อ้ งถิ่น ปลัดอบจ. ปลัดเทศบาล ปลัดอบต.

45

พรบ.ความรับผิดทางละเมิดฯ พ.ศ.2539 หลักตามมาตรา 5 - หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดชอบต่อผู้เู สียหายในผลแห่ง ละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทําในการปฏิบัตหิ น้าที่ - ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐได้โดยตรง แต่จะฟ้อง เจ้าหน้าที่ไม่ได้ หลักตามมาตรา 8 - หน่วยงานของรัฐเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ได้ถ้าเจ้าหน้าที่กระทําโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 46

23


21/12/55

(1) เก็บข้อมูลเท่าที่จําเป็นเพื่อให้การดําเนินงานของรัฐสําเร็จ ตามวัตถุ​ุประสงค์ และยกเลิกเมื่อหมดความจําเป็น (2) พยายามเก็บจากเจ้าของข้อมูลโดยตรง (3) จัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (4) ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องอยู่เสมอ (5) จัจดระบบรกษาความปลอดภยมใหนาไปใชโดยไม ดระบบรักษาความปลอดภัยมิให้นําไปใช้โดยไม่ เหมาะสม

47

ตัวอย่างการจัดเก็บข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล -ทะเบยนประวตอาชญากร ี ป ัิ -ทะเบียนประวัติข้าราชการ (ก.พ.7) -รายงานการสืบเสาะและพินิจของกรมคุมประพฤติ หรือสถาน พินิจ -ฐานข้​้อมูลทะเบี​ียนบ้​้าน และบั​ัตรประจํ​ําตั​ัวประชาชน

48

24


21/12/55

โดยหลักการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล จะนําไปเปิดเผยโดยเจ้าของข้อมูลไม่ยินยอม เป็นหนังสือไม่ได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผย - ตอเจาหนาทในหนวยงาน ต่อเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เพอนาไปใชตามอานาจหนาท เพื่อนําไปใช้ตามอํานาจหน้าที่ - เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้มีข้อมูล - ต่อหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านการวางแผน สถิติ หรือสํามะโนต่าง ๆ - เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย - ต่อหอจดหมายเหตุ กรมศิลปากร ตาม ม.26 - ต่อเจ้าหน้าทีข่ องรัฐเพือ่ ป้องกันการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบสวน การฟ้องคดี - เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล - ต่อศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงาน/บุคคล ที่มีอํานาจตามกฎหมาย - กรณีอื่นตามที่กําหนดในราชกิจจานุเบกษา

49

1. ตรวจดู หรือขอสําเนา 2. 2 ขอแกไขเปลี ้ไ ป ย่ี นแปลง ป หรือื ลบขอมู ้ ลของตน 3. สิทธิในการอุทธรณ์ กรณีหน่วยงานไม่ลบหรือเปลี่ยนแปลง ตามคําขอ (อุทธรณ์ภายใน 30 วัน)

50

25


21/12/55

ตัวอย่างการขอแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคล -ขอแก้ไขวันเดือนปีเกิดในทะเบียนบ้าน หรือใน ก.พ.7 -ขอให้ลบข้อมูลในทะเบียนประวัติอาชญากร (ข้ออ้างที่ขอ เช่น กระทําผิดขณะเป็นเด็ก หรือเยาวชน/ได้รับการล้างมลทิน ตามพรบ. ว่าด้วยการล้างมลทินฯ พ.ศ.2550 -ขอให้แก้ไข หรือลบข้อมูลการถูกดําเนินการทางวินัย ใน ก.พ.7 -ขอให้แก้ไขประวัติคนป่วย

51

1. หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรักษา 2. 2 มีอี ายุครบกําํ หนด - ตาม ม.14 ครบ 75 ปี - ตาม ม.15 ครบ 20 ปี ให้ส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เพื่อคัดเลือกให้ ประชาชนศึ​ึกษา

52

26


21/12/55

1. หากหน่วยงานจะขอเก็บรักษาไว้เอง เพื่อใช้สอย ต้องจัดให้ ประชาชนศกษาได ประชาชนศึกษาได้ 2. หากเห็นว่ายังไม่ควรเปิดเผย สามารถขอขยายเวลาเก็บได้ คราวละไม่เกิน 5 ปี

53

1. ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตาม ม.7 2. 2 ไมจั ไ ่ ดั ขอมู ้ ลขาวสารไวใหตรวจดู ่ ไ ้ใ ้ ตาม ม.99 3. ไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารให้แก่ตนตาม ม.11 (เงียบเฉย) 4. ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ 5. ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า 6. ไม่ได้รับความสะดวก 7. หน่วยงานปฏิเสธว่าไม่มีข้อมูลตามที่ขอ แต่ประชาชนไม่เชือ่ ม.33 54

27


21/12/55

- ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - คณะกรรมการฯ ตองพิ ้ ิจารณาใหแลวเสร็ ใ ้ ้ จ็ ภายใน ใ 30 วันั /ขยาย / เวลาได้อีกไม่เกิน 30 วัน - คณะกรรมการฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาเรื่อง ร้องเรียนแทนคณะกรรมการฯ ได้ตาม ม.34 - เมือื่ คณะกรรมการฯ ให้ ใ ค้ ําแนะนําํ หรือื ให้ ใ ค้ วามเห็น็ ต่อ่ เรือ่ื งร้อ้ งเรียี น ให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และโดยด่วนที่สุด (มติครม. 9 มี.ค. 42) 55

1. คําสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตาม ม.14 หรือ ม.15 ต้อง อุอทธรณ์ ทธรณภายใน ภายใน 15 วน วัน (ม.18) (ม 18) 2. คําสั่งไม่รับฟังคําคัดค้านตาม ม.17 (ว.3) ต้องอุทธรณ์ภายใน 15 วัน (ม.18) 3. หน่วยงานไม่แก้ไขหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ต้องอุทธรณ์ ภายใน 30 วน วัน ตาม ม.25 ม 25 (ว.4) (ว 4)

56

28


21/12/55

- คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วน/ขยายไดอกไมเกน วัน/ขยายได้อีกไม่เกิน 30 วน วัน (ม.37 (ม 37 ว.3 ว 3 ประกอบ ม.13 ม 13 ว.2) ว 2) - คณะกรรมการวินิจฉัยฯ มีอํานาจเรียกให้บุคคลใดให้ถ้อยคําหรือ ให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาได้ (ม.39 ประกอบ ม.32) - ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามคําสั่งของคณะกรรมการวินิจฉัยฯ มีความผิด ทางอาญา (ม.40)

57

คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยฯ -เป็นที่สุด (ม.37 ว.2) แต่.... - ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่พอใจคําวินิจฉัยของคณะกรรมการก็มีสิทธิฟ้องคดีต่อ ศาลปกครอง ป ตามพรบ.จัดั ตังั้ ศาลปกครองฯ ป พ.ศ.2542 - ในส่วนของหน่วยงานของรัฐนั้นต้องปฏิบัติตามคําวินิจฉัยโดยเคร่งครัด ภายใน 7 วัน ถ้าไม่ปฏิบตั ติ ามโดยไม่มีเหตุผลที่สมควร ให้ผู้บังคับบัญชา ดําเนินการพิจารณาลงโทษทางวินัยทุกกรณี (มติครม. 9 มี.ค. 42) -ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐฟ้องคดีปกครองเพื่อเพิกถอนคําวินิจฉัย (มติ ครม. 11 เม.ย. 49) -มติ ครม.วันที่ 23 มิ.ย.52 มีหลักการเดียวกับมติเมื่อวันที่ 9 มี.ค.42 และวันที่ 11 เม.ย.49 58

29


21/12/55

1. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 2 คณะกรรมการวินิ ิจฉั​ัยการเปิปิดเผยขอมู 2. ้ ลขาวสาร ่

59

องค์ประกอบ (ม.27) - รัฐั มนตรีซี ึง่ นายกรัฐั มนตรีมี อบหมายเป็ป็นประธาน ป ขาราชการ ้ ระดับหัวหน้าส่วนราชการ เช่น ปลัดกระทรวง เลขาธิการ 13 คน เป็น กรรมการ - ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและเอกชน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอีก 9 คน เป็ เปนกรรมการ นกรรมการ

60

30


21/12/55

1) สอดส่อง ดูแล แนะนําการปฏิบัติตามพรบ. 2) ใหคาปรกษาแกเจาหนาทหรอหนวยงานของรฐ ให้คําปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐ 3) เสนอแนะในการตรา พรฎ. กฎกระทรวง หรือระเบียบ 4) พิจารณาและให้ความเห็นเรือ่ งร้องเรียนตาม ม.13 5) จัดทํารายงานการปฏิบตั ิตาม พรบ. เสนอครม. อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 6) ปฏิ ป บิ ัติหน้า้ ทีอ่ี ืน่ ตามทีกี่ ําหนดในพรบ. ใ นี​ี้ 7) ดําเนินการตามที่ครม. หรือนายกรัฐมนตรี มอบหมาย 61

องค์ประกอบ - ใหมี ใ ้ ี กวฉ. สาขาตาง ่ ๆ ตามความเหมาะสมซึง่ึ ครม. แตงตั ่ งั้ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารฯ (ม.35) - คณะหนึ่งประกอบด้วยบุคคลตามความจําเป็น แต่ไม่น้อยกว่า 3 คน (ม.36)

62

31


21/12/55

1. วินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตาม ม.14 และ ม.15 ม 15 2. วินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่งไม่รับฟังคําคัดค้านตาม ม.17 3. วินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่ง ไม่แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือลบข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคลตาม ม.25

63

ปัจจุบันมี กวฉ. เพื่อพิจารณาเรือ่ งอุทธรณ์ จํานวน 5 สาขา 1. 1 สาขาการแพทยและสาธารณสุ ์ ข 2. สาขาต่างประเทศและความมั่นคงของประเทศ 3. สาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการเกษตร 4. สาขาเศรษฐกิจและการคลังของประเทศ 5. สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับใช้ กฎหมาย 64

32


21/12/55

พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 หลักตามมาตรา 44 - ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ งบประมาณรายจ่ายแต่ละปี รายการเกีย่ วกับการจัดซื้อจัดจ้างใน ปีงบประมาณนั้น และสัญญาใดๆ ที่ได้มีการอนุมตั ิให้จัดซื้อจัดจ้าง แล้วให้ประชาชนสามารถขอดูหู รือตรวจสอบได้ ณ ที่ทําการ และ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ

65

ช่องทางติดต่อ สํานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สานกงานปลดสานกนายกรฐมนตร ั ี ํ ั ปั ํ ั ทําเนียบรัฐบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 02 281 8559 โทรสาร 02 282 8994 www.oic.go.th

66

33


แบบทดสอบความรับรู้ ความเข้ าใจในการปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัติข้อมูลข่ าวสาร ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ของเจ้ าหน้ าทีหน่ วยงานรัฐ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------คําชีแจง โปรดเขียนเครืองหมาย x ทับข้ อทีท่ านเห็นว่าถูกต้ องทีสุ ด (ข้อสอบมีจาํ นวน ๑๐ ข้อ) ๑.

ข้อมูลข่าวสารของราชการใดต่อไปนีทีสามารถเปิ ดเผยได้เป็ นการทัวไป ก. ข้อมูลข่าวสารของทุกสถาบันในสังคม ข. ข้อมูลข่าวสารทีกระทบกระเทือนถึงความมันคงของหน่วยงานราชการ ค. ข้อมูลข่าวสารทุกอย่างทีอยูใ่ นความครอบครองของหน่วยราชการ ง. ข้ อมูลข่ าวสารทีเกียวกับโครงสร้ าง การจัดองค์ กรของหน่ วยงานรัฐ

๒. เมื อประชาชนมาขอข้อ มู ล ข่ า วสาร ข้า ราชการควรดํา เนิ น การอย่า งไรเป็ นลํ า ดั บ แรก จึ ง จะถื อ ได้ว่ า ปฏิบตั ิตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ ก. จัดหาข้อมูลข่าวสารให้ตามทีร้องขอในเวลาอันสมควร ข. พิจาณาว่ าขอข้ อมูลเกียวกับเรืองใด ค. พิจารณาข้อมูลข่าวสารนันอยูใ่ นความครอบครองของหน่วยงานรัฐหรื อไม่ ง. พิจารณาว่าข้อมูลข่าวสารทีขอมีผลกระทบถึงใครบ้าง ๓.

ประชาชนจะอุทธรณ์หน่วยงานของรัฐได้ในกรณี ใด ก. เมือหน่วยงานของรัฐไม่เปิ ดเผยข้อมูลตามทีขอ ข. เมือหน่วยงานไม่รับฟังคําคัดค้าน ค. เมือหน่วยงานของรัฐจัดเก็บข้อมูลเกียวกับตนไว้ไม่ถูกต้องตามจริ ง ง. ข้ อ ก. ข้ อ ข. และ ข้ อ ค.

๔.

ประชาชนจะใช้สิทธิ ร้องเรี ยนได้ในกรณี ใด ก. เมือเจ้าหน้าทีหน่วยงานของรัฐปฏิบตั ิหน้าทีล่าช้า ข. เมือเจ้าหน้าทีหน่วยงานของรัฐไม่อาํ นวยความสะดวกโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ค. เมือหน่วยงานของรัฐไม่จดั หาข้อมูลข่าวสารให้ตามทีขอ ง. ข้ อ ก. ข้ อ ข. และ ข้ อ ค.

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สํานักงานคณะกรรมการข้ อมูลข่าวสารของราชการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี


แบบทดสอบความรับรู้ ความเข้ าใจในการปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัติข้อมูลข่ าวสาร ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ของเจ้ าหน้ าทีหน่ วยงานรัฐ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------๕.

๖.

คําว่า “ข้อมูลข่าวสารของราชการ” หมายความถึงข้อใด ก. หมายถึงข้อมูลข่าวสารตามคําจํากัดความทีบัญญัติไว้ใน พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ ข. หมายถึงข้อมูลข่าวสารทีจะต้องอยูใ่ นความครอบครองหรื อในความควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ค. หมายถึ ง ข้อมู ล ข่ า วสารเกี ยวกับ การดําเนิ น งานของรั ฐ หรื อ เอกชนที อยู่ในความครอบครองหรื อ ควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐก็ได้ ง. ข้ อ ก. ข้ อ ข. และ ข้ อ ค. คําว่า “ข้อมูลข่าวสารส่ วนบุคคล” ตรงกับความในข้อใด ก. เป็ นข้อมูลข่าวสารทีเกียวกับสิ งเฉพาะตัวของบุคคลทังผูท้ ียังมีชีวิตอยู่ และผูท้ ีถึงแก่กรรมแล้ว ข. เป็ นข้อมูลข่าวสารทีเกียวกับสิ งเฉพาะตัวของบุคคล และรวมถึงนิติบุคคลด้วย ค. ข้ อมูลทีเกียวกับสิ งเฉพาะตัวของบุคคล และสิ งทีทําให้ รู้ ว่าบุคคลนันเป็ นใคร ง. ข้อ ก และ ข้อ ค.

๗.

บุคคลใดมีสิทธิ เข้าตรวจดู ขอสําเนาหรื อขอสําเนาทีมีคาํ รับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสาร ก. ประชาชนทัวไป ทีมีส่วนได้เสี ยเกียวข้อง ข. ประชาชนทัวไปไม่ ว่าจะมีส่วนได้ เสี ยเกียวข้ องหรือไม่ กต็ าม ค. คนต่างด้าว ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก

๘.

ข้อมูลข่าวสารใดทีต้องห้ามมิให้ราชการเปิ ดเผยโดยเด็ดขาด ก. ข้อมูลข่าวสารของราชการทีการเปิ ดเผยจะก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อความมันคงของประเทศ ข. ข้อมูลข่าวสารส่ วนบุคคล ค. ข้อมูลข่าวสารของราชการทีทําให้การบังคับใช้กฎหมายเสื อมประสิ ทธิภาพ ง. ข้ อมูลข่ าวสารของราชการทีอาจก่ อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อสถาบันพระมหากษัตริย์

๙.

ถ้าประชาชนมาขอรับบริ การข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานของท่าน ท่านอาจจะไม่ให้บริ การก็ได้ในกรณี ใด ก. เป็ นข้อมูลข่าวสารทีต้องจัดทําขึนใหม่ ไม่อยูใ่ นสภาพพร้อมทีจะให้ ข. เป็ นการแสวงหาผลประโยชน์ทางการค้า ค. เป็ นการขอจํานวนมากหรื อบ่อยครังโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ง. ข้ อ ก. ข้ อ ข. และ ข้ อ ค.

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สํานักงานคณะกรรมการข้ อมูลข่าวสารของราชการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี


แบบทดสอบความรับรู้ ความเข้ าใจในการปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัติข้อมูลข่ าวสาร ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ของเจ้ าหน้ าทีหน่ วยงานรัฐ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑๐. การเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารส่ วนบุคคลที อยู่ในความดูแลของหน่ วยงานของรั ฐตามข้อใด ที หน่ วยงานไม่ สามารถเปิ ดเผยโดยปราศจากความยินยอมเป็ นหนังสื อจากเจ้าของข้อมูลได้ ก. การเปิ ดเผยข้ อมูลให้ แก่ เอกชนเพือใช้ ในการศึ กษาวิจัย โดยระบุชือ หรื อส่ วนทีทําให้ ร้ ู ว่าเป็ นข้ อมูล ข่ าวสารเกียวกับบุคคลใด ข. เป็ นการใช้ขอ้ มูลตามปกติตามวัตถุประสงค์ของการจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่ วนบุคคลนัน ค. การเปิ ดเผยต่ อ เจ้า หน้า ที ของรั ฐ เพื อป้ องกัน การฝ่ าฝื นหรื อ ไม่ ป ฏิ บ ัติ ต ามกฎหมาย การสื บ สวน สอบสวน หรื อการฟ้ องคดี ไม่วา่ จะเป็ นคดีประเภทใดก็ตาม ง. ต่อเจ้าหน้าทีของรัฐในหน่วยงานตน เพือนําไปใช้ตามอํานาจหน้าที

-----------------------------------------------------------------

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สํานักงานคณะกรรมการข้ อมูลข่าวสารของราชการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.