การนาเสนอ ข้ อมูล ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ศูนย์สารสนเทศชุมชน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูล ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ศูนย์สารสนเทศชุมชน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การนาเสนอข้ อมูล ‚การนาเสนอข้ อมู ลในงานเขียนต้ องมีความ ละเอี ย ดและชั ด เจนของข้ อ มู ล มากกว่ า การ นาเสนอข้ อมูลโดยการพูด ซึ่งในการพูดนั้นมัก มุ่งเน้ นที่จะสื่ อสารให้ ผู้ฟังเกิดความเข้ าใจได้ ง่ ายและรวดเร็ว‛ การนาเสนอข้ อมูล
1
30/07/55
รู ปแบบการนาเสนอข้ อมูล „ การบรรยาย „ การใช้ ตาราง „ การใช้ รูปภาพ
การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยการบรรยาย „ พิจารณาจานวนตัวอักษร ขนาดตัวอักษร „ ควรใช้ สัญลักษณะแสดงหัวข้ อย่อย หรือ ลาดับเลข
การนาเสนอข้ อมูล
2
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง 1. หากต้ องการนาเสนอผล ข้ อมูล หรื อ ตัวเลข สั้ นๆ ควรใช้ การบรรยายเพื่ อ น าเสนอข้ อ มู ล มากกว่ าการใช้ ตาราง ‚การเลือ กใช้ ตารางต้ อ งพิ จ ารณาข้ อ มู ล ให้ ดี ไม่ ค วรใช้ ตารางเกินความจาเป็ น‛ การนาเสนอข้ อมูล
Table 5.1: Effect of temperature on germination of wheat Temp(0C) -20 -10 0 10 20 30 40 50
% normal seedlings 0 0 94 95 87 0 0 0
“ เมล็ดข้าวสาลีสามารถงอกระหว่างอุณหภูมิ 10 - 300C และไม่ สามารถงอกที่อุณหภูมิต่ากว่า 100C หรื อ สู งกว่า 300C”
3
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง 2. กรณีที่ข้อมู ลไม่ มีความแตกต่ างกันทางสถิติ ควรนาเสนอในรู ปการบรรยาย ‚ น้าหนักแห้ งของผลผลิตข้ าวโพดที่ใส่ ปุ๋ยไนโตรเจน( 25 kg.N/ha ) ไม่ มีความแตกต่ างทางสถิติ (P<0.05) เมื่อเทียบ กับปัจจัยควบคุม(ไม่ ใส่ ปุ๋ยไนโตรเจน) ‛ การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง 3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ เครื่ องหมายบวกลบใน ตาราง เนื่องจากไม่ สามารถสื่ อเนือ้ หาได้ ชัดเจน
การนาเสนอข้ อมูล
4
30/07/55
Table 5.2: Barley cultivar response to netblotch infection, Southern North Island Cultivar Fleet Magnum Triumph Opiki
Susceptible + + + -
Resistant +
“ข้าวบาเล่ยพ์ นั ธุ์ Fleet Magnum และ Triumph ไม่ตา้ นทานต่อเชื้อ netblotch ขณะที่พนั ธุ์ Opiki สามารถต้านทานโรคได้”
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง 4. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ คาในตาราง โดยเฉพาะ ส่ วนที่ให้ ข้อมูล ควรสื่ อโดยการเขียนบรรยาย
การนาเสนอข้ อมูล
5
30/07/55
Table 5.3: Adverse effects of drench ‘X’ in 20 two-year-old steers No of steers Side effect 7 Diarrhoea 3 Urine discoloration 10 Nil
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง 5. การลาดับข้ อมู ล ควรเรี ยงลงไม่ ควรเลียงไป ทางขวาง ทั้ ง นี้ ใ นการเรี ย งข้ อ มู ล ในแนวตั้ ง สามารถทาความเข้ าใจในเนือ้ หาได้ ง่ายกว่ า
การนาเสนอข้ อมูล
6
30/07/55
Table 5.4: Effect of autumn herbicide on an established cocksfoot seed crop, cv.Wana Determination
Control
inter-row volunteers (no/m2) crop height1(cm) seed yield(kg/ha) 1Assessed 23 September
42 21 950
Diuron Simazine Atrizine LSD (4.0 kg ai/ha) (2.0 kg ai/ha) (2.8 kg ai/ha) P<0.05 35 24 1080
29 22 1210
9 19 1290
15 NS 250
Table 5.4: Effect of autumn herbicide on an established cocksfoot seed crop, cv.Wana Herbicide
Application rate
Nil Diuron Simazine Atrizine LSD P<0.05 1Assessed 23 September
4.0 2.0 2.8
Inter-row Crop height1 volunteers (no/m2) (cm) 42 21 35 24 29 22 9 19 15 NS
Seed yield (kg/ha) 950 1080 1210 1290 250
7
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง 6. บริเวณด้ านล่ างของตาราง (footnote) เป็ นบริเวณ ที่ใช้ เขียนหมายเหตุ การอธิบายความหมายของคา คาย่ อ หรื อ หน่ วยในการวัดที่ปรากฏในตาราง หรื อ วันที่ได้ ทดลอง หรือวันที่รวบรวมข้ อมูล กรณีคาย่ อที่เป็ นที่เข้ าใจทั่วไปไม่ จาเป็ นต้ องอธิบาย เช่ น temp, kg/ha , cm, 0c ส่ วนคาย่ อที่ไม่ ได้ เป็ นสากลและมีการใช้ อย่ างกว้ างขวางต้ องอธิบายบริเวณด้ านล่างของตาราง การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยตาราง นอกจากนี้บริ เวณดังกล่ าวยังใช้ ในการอธิบาย สั ญลักษณ์ ที่ปรากฏในตาราง ความคลาดเคลื่อนของ ข้ อมูลหรื ออธิบายสั ญลักษณ์ ของความแตกต่ างทาง สถิติ
การนาเสนอข้ อมูล
8
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยภาพ 1. การนาเสนอด้ วยภาพ เป็ นสิ่ งที่ สามารถสื่ อแทน คาพูดในการอธิบายได้ นับพัน เพราะสามารถช่ วยทา ให้ ผู้ ฟั ง ไม่ ต้ อ งจิ น ตนาการ ท าให้ เข้ า ใจและเห็ น ภาพพจน์ ได้ อย่ างรวดเร็ว
การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยภาพ 2. รู ปภาพนั้นมีประสิ ทธิภาพในการสื่ อใกล้ เคียง กับการให้ ผู้ฟังได้ เห็นของจริง แต่ การใช้ รูปภาพ สามารถเก็ บ บั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ช่ วงเวลาที่ต้องการสื่ อ บางครั้งยากลาบากในการ นามาเสนอให้ เห็นจริง ซึ่ งการนาเสนอด้ วยรู ปภาพที่ดีต้องสามารถสื่ อในสิ่ งที่ผู้ นาเสนอต้ องการอย่ างชัดเจน การนาเสนอข้ อมูล
9
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยแผนผัง 1. ใช้ แสดงโครงสร้ าง หรือ ส่ วนประกอบ คณะเกษตรศาสตร์
ภาควิชา
สานักงานไร่ฝึกฯ
สานักงานเลขานุการ
ภาควิชาสัตวศาสตร์
ภาควิชาพืชสวน
งานกิจการนักศึกษา
งานนโยบายและแผน
ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร
ภาควิชาพืชไร่
งานบริหาร
งานการเงินและพัสดุ
ภาพที่ 5.1 แสดงโครงสร้างการแบ่งหน่วยงานของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 2540 การนาเสนอข้ อมูล
‚นิยมใช้ ลาดับจากความสาคัญของหน่ วยใหญ่ ลงมายังหน่ วยเล็ก‛
การนาเสนอข้ อมูลโดยแผนผัง 2. ใช้ แสดงความสั มพันธ์ และความเชื่อมโยง ผลกาไรและความเชื่อมั่น
บริษษัททั บริ
ลูกค้ า ความพึงพอใจ
คุณภาพการผลิต
สินค้ า
ภาพที่ 5.2 ลักษณะภาพแสดงความสัมพันธ์ของระบบธุ รกิจ การนาเสนอข้ อมูล
‚นิยมใช้ ลาดับจากความสาคัญของหน่ วยใหญ่ ลงมายังหน่ วยเล็ก‛
10
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยแผนผัง 1. ลักษณะภาพแสดงขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน เริ่ มต้น อายุไม่ครบ 5 ปี
แบบฟอร์ ม A ใช่
ไม่ใช่ อายุมากกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 8 ปี
ใช่
แบบฟอร์ ม B
ไม่ใช่ อายุไม่ครบ15 ปี
ใช่
แบบฟอร์ ม C
ไม่ใช่ แบบฟอร์ ม D จบ
การนาเสนอข้ อมูล
‚นิยมลาดับจากขั้นตอนเริ่มแรกไปยังขั้นตอนสุ ดท้าย ‛
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ การแสดงแนวโน้ ม หรื อ การเปลี่ยนแปลงของ ข้ อมูล ควรนาเสนอด้ วยกราฟ เพราะสามารถสื่ อ ให้ เข้ าใจอย่ างรวดเร็ ว และทาให้ การนาเสนอดู น่ าสนใจ ส่ วนข้ อมู ลที่ไม่ มีการเปลี่ยนแปลงใน แต่ ล ะช่ ว ง การแสดงด้ ว ยการบรรยายหรื อ ใช้ ตารางสามารถสื่ อและกระทาได้ ง่ายกว่ า การนาเสนอข้ อมูล
11
30/07/55
ส่ วนประกอบของกราฟ ภาพที่ 5.4 ปริ มาณการส่งออกเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ พริ ก และแตงโม ของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2542-2545
ปริมาณการส่ งออก(100 ตัน)
Y axis
gridlines 100
legend
chart title 82
แตงโม มะเขือเทศ พริ ก
80 60 40
data label 45.9 30.6 20.4
46.9 38.6
45 34.6 27.4
43.9 31.6 20.4
20
value Y axis
0 2542
การนาเสนอข้ อมูล
2543 2544 ปี พุทธศักราช
2545
X axis
category x axis
กราฟเส้ น (line graph) ภาพที่ 5.5 ปริ มาณการส่ งออกเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ พริ ก และแตงโม ของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2542-2545
ปริมาณการส่ งออก(100 ตัน)
100 แตงโม มะเขือเทศ พริ ก
80 60 40 20 0 2542
การนาเสนอข้ อมูล
2543 2544 ปี พุทธศักราช
2545
‚นิยมใช้ ในการแสดงแนวโน้ มในช่ วงเวลาใดเวลาหนึ่ง‛
12
30/07/55
กราฟวงกลม (pie graphs) ‚ใช้ เปรียบเทียบปริมาณสัดส่ วนประกอบต่างๆของข้อมูล
ซึ่งข้ อมูลทีน่ าเสนอมีค่าเท่ ากับ วงกลมทีม่ มี มุ 360 องศา โดยมีปริมาณส่ วนประกอบต่ างๆของข้ อมูลแบ่ งเป็ นส่ วนๆของ วงกลม‛ ภาพที่5.6 จานวนนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบราชธานี ปี การศึกษา 2544 อุตสาหกรรม เกษตร 12%
การนาเสนอข้ อมูล
ประมง 9%
พืชไร่ 14%
พืชสวน 37%
สัตวศาสตร์ 28%
กราฟรู ปภาพ (pictographs) ภาพที่5.7 จานวนนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบราชธานี ปี การศึกษา 2542-5 50 40 = 100 คน
30 20 10 2542 การนาเสนอข้ อมูล
2543
2544
2545
‚แสดงข้ อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วกับตัวเลขโดยใช้ รูปภาพหรือสัญลักษณ์ สื่อแทนในการนาเสนอเพือ่ ให้ เกิดความน่ าสนใจและดึงดูดใจ‛
13
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ 1. บางครั้ งการบรรยายโดยการเขียนสามารถสื่ อข้ อได้ โดยไม่ ฟุ่ มเฟื อย เช่ น กรณี ที่ มี ก ราฟเพี ย งเส้ นเดี ย ว สามารถใช้ การบรรยายแทนได้ ‚น้ า หนั ก แห้ ง ต้ น ข้ า ว จะเพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ ได้ รั บ ปุ๋ ยไนโตรเจน มากกว่ า 80 kg N/ha แต่ น้าหนักแห้ งจะไม่ เปลี่ยนแปลงเมื่อ ได้ รับปุ๋ ยมากกว่ า 250 kg N/ha‚ การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ 2. ประโยคง่ ายๆเช่ นนี้สามารถสื่ อข้ อมูลได้ ชัดเจนดีกว่ า การแสดงด้ วยกราฟ เช่ นเดียวกันการใช้ กราฟแท่ ง ซึ่ ง อาจทาให้ ข้อมูลดูดี แต่ บางครั้งไม่ มีความจาเป็ น ‚วิธีการที่ไ ม่ เหมาะสมและไม่ ก่อให้ เกิดประโยชน์ ในส่ วนของหัวข้ อ ภาพ (chart title) ไม่ ได้ ให้ ความกระจ่ างแก่ ผ้ ูอ่าน ข้ อมูลที่ปรากฏไม่ ได้ มีการวิเคราะห์ ทางสถิติ ข้ อมูลทั้งหมดควรเขียนในรู ปการบรรยาย‛ การนาเสนอข้ อมูล
14
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ ‚การไม่ ฆ่าเชื้อที่ผวิ เมล็ด การฆ่ าเชื้อที่ผวิ เมล็ด และ การ ใช้ สาร thairam ในเมล็ดชุ ดต่ างๆ พบว่ า เชื้อ Phoma สามารถปนเปื้ อนเข้ าสร้ างความเสี ย หาย 45 % 15% และ 9% ตามลาดับในปี 2001(จากข้ อมูลจานวนเมล็ด 18ชุ ด ) และสร้ างความเสี ยหาย 38% 26% และ 10% ตามลาดับในปี 2002(จากข้ อมูลจานวนเมล็ด 11 ชุด) การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ 50
Contamination(%)
40 30 20 10 0 2001 not surface sterilised
2002
surface sterilised in sodium hypochlorite
thiram treated
Figure 5.8 Percentage contamination with Phoma (2001=mean of 18 lots,2002=mean of 11 lots) การนาเสนอข้ อมูล
15
30/07/55
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ 3. ขนาดและความเหมาะสมของระดั บ ปริ ม าณของ ข้ อมูล(scale) มีความสาคัญอย่ างยิง่ สามารถทาให้ ข้อมูล มีผดิ แตกต่ างกันได้
การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลโดยกราฟ 100 98 96 94 92 90 88 86
A
100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0
B
การนาเสนอข้ อมูล
16