ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ ์ ศูนย์สารสนเทศชุมชน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี
30/07/55
ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ ์ ศูนย์สารสนเทศชุมชน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุ ทธิ์ รองคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี • ประธานหลักสู ตรสารสนเทศทางการเกษตรและพัฒนาชนบท • หัวหน้ าศู นย์ สารสนเทศชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี • หัวหน้ าศู นย์ สารสนเทศหน่ วยแพทย์ พระราชทานเคลือ่ นทีฯ่ • คณะกรรมการบริหารสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่ งประเทศไทย • คณะกรรมการประจาสานักคอมพิวเตอร์ และเครือข่ าย
1
30/07/55
2
30/07/55
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 การ์ดสีเขียว
คาถาม 1. เหตุทท่ี า่ นมาอบรมครัง้ นี้ เพราะอะไร การ์ดสีเหลือง
คาถาม 2. ผลทีท่ ่านคาดว่าจะได้รบั คืออะไร
3
30/07/55
ข้อไหนตอบง่ายกว่ากัน? เหตุ หรือ ผล ?
อดีต
ปจั จุบนั
อนาคต
สนใจ
มาอบรม
น่าจะสนุ ก
4
30/07/55
เหตุ
ผล กระหายน้า
ดื่มน้า
ออกกาลังกาย ร่างกายขาดน้า กระหายน้า
กินเค็ม ชอบ/อร่อย
5
30/07/55
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัด • คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2534 อนุ มตั ิให้กระทรวง เกษตรและสหกรณ์จดั ตัง้ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดโดยให้มกี าร ทดลองจัดตัง้ ใน 4 จังหวัด ทีม่ สี านักงานเกษตรภาคตัง้ อยู่ก่อน คือ จังหวัด เชียงใหม่ ขอนแก่น ชัยนาท และสงขลา •กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไ ด้จ ัด ตัง้ ส านั ก งานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดขึน้ เป็ นราชการบริหารส่วนภูมภิ าค สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่ ง ส่ว นราชการสานักงาน ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2538 ประกาศในราชกิจ จา นุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เล่ม 112 ตอนที่ 6 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2538
วิสยั ทัศน์ “เป็ นองค์กรหลักในการแปลงยุทธศาสตร์การเกษตร เป็ นแผนงาน/โครงการระดับจังหวัด และกากับดูแลให้ เกิ ดผลการปฏิ บตั ิ หน้ าที่เป็ นรูปธรรม”
แผนงาน
กากับดูแล
6
30/07/55
พันธกิจ 1. จัด ท าแผนปฏิบ ัติก ารพัฒ นาการเกษตรและสหกรณ์ ภ ายใน จังหวัด 2. ประสานแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ภายในจังหวัด 3. ติด ตามผลการปฏิบ ัติง านตามแผนงานโครงการพัฒ นาการ เกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด 4. เป็นศูนย์ขอ้ มูลการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด
การประชุมเชิงปฎิบัตกิ ารคณะอนุกรรมการ สถิตสิ าขารายได้ และรายจ่ ายครั วเรื อน ครั ง้ ที่ 1 ประเทศไทยเริ่มมีการดาเนินงานเรื่องสถิติของประเทศมาประมาณ 100 ปี โดยมี สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ทาหน้าที่เป็ นหน่ วยสถิติกลาง ผลิตสถิติในแทบทุก สาขา โดยส่วนใหญ่จะเป็ นสถิ ติจากการสารวจ ขณะเดียวกันก็มหี น่ วยงานภาครัฐ จ านวนมากที่ผ ลิต สถิ ติ จ ากระบบรายงาน งานทะเบี ย น ตามภารกิจ และการ ดาเนินงานของหน่ วยงาน แม้ว่าการผลิตสถิติภายใต้ระบบดังกล่าวจะมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง แต่กข็ าดทิ ศทางการทางานร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้าด้าน มาตรฐานและคุณภาพงานสถิติ และในบางกรณีกม็ คี วามซ้าซ้อนและสิน้ เปลืองในการ ดาเนินงาน 8 พฤษภาคม 2555 เวลา 09.30 - 14.30 น. ณ ห้องประชุม 401 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
7
30/07/55
เป้าของการพัฒนาสถิติรายสาขา (1) ประเทศมีสถิตสิ าคัญและจาเป็ นต่อการวางแผนและการประเมินผลการ พัฒนาระดับประเทศ (2) หน่ วยสถิตติ ่าง ๆ มีสมรรถนะเพิม่ ขึน้ ด้านการจัดทาข้อมูลและการจัดทา สถิติ สามารถรองรับการวางแผนและประเมินการพัฒนา (3) รัฐบาลให้ความสาคัญและจาเป็ นต่ อการลงทุนเพื่อการพัฒนาการผลิต สถิตแิ ละบุคลากรสถิตขิ องหน่วยงาน (4) ประชาชนเข้าใจและเข้าถึงสถิตสิ าขาต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
8
30/07/55
ข้อมูล (Data)
คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่ เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้น จากการดาเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่ส ามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทั นที จะ นาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
สารสนเทศ (Information) คื อ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ผ่ า นกระบวนการประมวลผล เพื่ อ เปลี่ ย นแปลงสภาพข้ อ มู ล ทั่ ว ไปให้ อ ยู่ ใ นรู ป แบบที่ มี ความสั ม พั น ธ์ หรื อ มี ค วามเกี่ ย ว ข้ อ งกั น เพื่ อ น าไปใช้ ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหาต่าง ๆ ได้
9
30/07/55
Information Technology
หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ใน ระบบสารสนเทศ ตั้ ง แต่ ก ระบวนการจั ด เก็ บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วย ให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทัน ต่อเหตุการณ์
ระบบ (system) หมายถึง องค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ กั น และขึ้ น ต่ อ กั น โดยส่ ว นประกอบต่ า ง ๆ ร่วมกันทางานอย่างผสมผสานกัน เพื่อให้บรรลุ ถึงเป้าหมายที่กาหนดไว้
10
30/07/55
กิจกรรมที่ 2
=1
=2
=3
=4
=6
=7
=8
=9
=5
11
30/07/55
+
>
+
-
>
-
=1
=2
=3
=4
=5
=6
=7
=8
=9
12
30/07/55
=1
=2
=3
=4
=5
=6
=7
=8
=9
+
>
+
-
>
-
13
30/07/55
กิจกรรมที่ 3
สารสนเทศที่ดี ควรเป็ นอย่างไร
14
30/07/55
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี 1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) 2. ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy) 3. ทันต่อเวลา (Timeliness)
EIS
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Execuitive Information System)
DSS
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
MIS
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
DP
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems)
15
30/07/55
1) ทาให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านมี ค วามรวดเร็ ว มากขึ้ น กระบวนการ ประมวลผลข้อมูลทาให้สามารถเก็บรวบรวม ประมวลผลและ ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้อย่างรวดเร็ว 2) ช่วยจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ หรือมีปริมาณมากและช่วยให้ การเข้าถึงข้อมูล (access) รวดเร็ว 3) ช่วยให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ติดต่อได้ทั่วโลก ภายในเวลาที่รวดเร็ว 4) ช่วยลดต้นทุน ทาให้เกิดการประหยัดต้นทุนการดาเนินการ อย่างมาก
5) ช่วยทาให้การประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ เป็นไปได้ ด้ ว ยดี ท าให้ ผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทั้ ง หมดสามารถใช้ ข้อมูลร่วมกันได้ และทาให้การประสานงาน หรือการ ทาความเข้าใจเป็นไปได้ด้วยดียิ่งขึ้น 6) ช่วยในการตัดสินใจ ช่วยในการพยากรณ์ 7) ช่วยในการเฝ้าระวัง
16
30/07/55
กิจกรรมที่ 2
การพัฒนาสารสนเทศที่ดี ควรมีกี่ขนั ้ ตอน
ขัน้ ตอนการพัฒนาระบบ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) วิเคราะห์ (Analysis) ออกแบบ (Design) สร้าง หรือพัฒนาระบบ (Construction) การปรับเปลี่ยน (Conversion) บารุงรักษา (Maintenance)
17
30/07/55
ความสาคัญ
1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) สาคัญ เร่งด่วน
ความเร่งด่วน
2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) จุ ด ประสงค์ ข องขั้ น ตอนนี้ คื อ การก าหนดว่ า ปัญหาคืออะไรและตัดสินใจว่าการพัฒนาสร้างระบบ สารสนเทศ หรือการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความ เป็นไปได้หรือไม่ โดยที่เสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจ
18
30/07/55
3. วิเคราะห์ (Analysis) การวิเคราะห์ระบบเริ่มตั้งแต่ศึกษาระบบการ ทางาน กรณีที่ระบบที่ศึกษานั้นเป็นระบบสารสนเทศ อยู่แล้ว ต้องศึกษาว่าทางานอย่างไร เพราะว่าเป็นการ ยากที่จะออกแบบระบบใหม่โดยที่ไม่ทราบว่าระบบเดิม ทางานอย่างไร หรือดาเนินการอย่างไร
3. วิเคราะห์ (Analysis) จากนั้นกาหนดความต้ องการของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องใช้เทคนิคการเก็บข้อมูล (Fact Gathering Techniques) ได้แก่ ศึกษา เอกสารที่ มี อ ยู่ ตรวจสอบวิ ธี ก ารท างานในปั จ จุ บั น สัมภาษณ์ผู้ใช้และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบ
19
30/07/55
4. การออกแบบ (Design) ในระยะแรกของการออกแบบ จะนาแผนภาพ ต่าง ๆ ทีเ่ ขียนขึน้ ในขัน้ ตอนการวิเคราะห์นามาแปลง เป็ นแผนภาพต ามล าดั บ ขั ้น เพื่ อ ให้ ม องเห็ น ภาพลักษณ์ทแ่ี น่นอนของโปรแกรมว่ามีความสัมพันธ์ กันอย่างไร และโปรแกรมอะไรบ้างที่จะต้องเขียนใน ระบบ
4. การออกแบบ (Design) หลังจากนั้นตัดสินใจพิจารณาการจัดโครงสร้า ง ของโปรแกรม และ การเชื่อมโยงระหว่างโปรแกรม ใน ขั้ น ตอนการวิ เ คราะห์ นั ก วิ เ คราะห์ ร ะบบต้ อ งหาว่ า “จะต้องทาอะไร” (What) แต่ในขั้นตอนการออกแบบ ต้องรู้ว่า “จะต้องทาอย่างไร” (How)
20
30/07/55
4. การออกแบบ (Design) ในการออกแบบโปรแกรมต้ อ งค านึ ง ถึ ง ความ ปลอดภัย (Security) ของระบบด้ วย เพื่ อ ป้อ งกั นการ ผิ ด พลาดที่ อ าจะจะเกิ ด ขึ้ น ได้ เช่ น การใช้ “รหั ส ” สาหรับผู้ใช้ที่มีสิทธิ์สารองไฟล์ข้อมูล ทั้งหมด เป็นต้น
4. การออกแบบ (Design) นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสาหรั บ ข้อมูลขาเข้า (Input Format) ออกแบบรายงาน (Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ (Screen Format) หลั กการในการออกแบบฟอร์ ม ข้อ มู ล ขาเข้า ก็คื อ ง่ายต่อการใช้ และป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นให้ ได้มากที่สุด การออกแบบรายงานและแสดงผลบนจอภาพ ควรจะดูและเข้าใจง่าย
21
30/07/55
5. การพัฒนาระบบ (Construction) วางแผนและดูแ ลการเขียนโปรแกรม ทดสอบ โปรแกรม ตรวจสอบให้แน่ใจว่า โปรแกรมทางานตามที่ ต้ อ งการ พัฒ นาการเขีย นคู่ ม ือ การใช้ง านและการ ฝึกอบรม
6. การปรับเปลี่ยน (Conversion) ขัน้ ตอนนี้เป็ นการนาระบบใหม่มาใช้แทนของเก่า ภายใต้การดูแล การนาระบบเข้ามาควรจะทาอย่างค่อย เป็ นค่อยไปทีละน้อย ทีด่ ที ส่ี ุดคือ ใช้ระบบใหม่ควบคู่ไป กับระบบเก่าไปสักระยะหนึ่ง โดยใช้ขอ้ มูลชุดเดียวกัน และเปรี ย บเที ย บผลลั พ ธ์ ว่ า ตรงกั น หรื อ ไม่ หาก เรียบร้อยดีสามารถเอาระบบเก่าออกได้ และใช้ระบบ ใหม่ต่อไป
22
30/07/55
7. การบารุงรักษา (Maintenance) การแก้ไขโปรแกรมหลังจากใช้งานแล้ว สาเหตุที่ ต้องแก้ไขระบบส่วนใหญ่มี 2 ข้อคือ 1. มีปัญหาในโปรแกรม (Bug) 2. นโยบาย/งานเปลีย่ นไป
7. การบารุงรักษา (Maintenance) จากสถิติ 40% ของค่าใช้จ่ายในการแก้ไขโปรแกรม เป็นผลเนื่องจากมี Bug ดังนั้นนักวิเคราะห์ระบบควรให้ ความสาคัญกับการบารุงรักษา เมื่องานขยายตัวมากขึ้น ความต้องการของระบบ อาจจะเพิ่ ม มากขึ้ น ระบบที่ ดี ค วรจะแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม สิ่ ง ที่ ต้องการได้
23
30/07/55
หน้ าที่
1. เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาความเป็นไปได้
3. วิเคราะห์
4. ออกแบบ
หน้าที่ 5. พัฒนา
6. นามาใช้งานจริง 7. บารุงรักษา
หน้ าที่
1. ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ 1. รวบรวมข้อมูล 2. คาดคะเนค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์และอื่น ๆ 3. ตัดสินใจว่าจะเปลีย่ นแปลงระบบหรือไม่ 1. ศึกษาระบบเดิม 2. กาหนดความต้องการของระบบ 3. แผนภาพระบบเก่าและระบบใหม่ 4. สร้างระบบทดลองของระบบใหม่ 1. เลือกซื้อคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ 2. เปลี่ยนแผนภาพจากการวิเคราะห์เป็นแผนภาพลาดับขั้น 3. คานึงถึงความปลอดภัยของระบบ 4. ออกแบบInput และ Output 5. ออกแบบไฟล์ฐานข้อมูล
หน้าที่ 1. เตรียมสถานที่ 2. เขียนโปรแกรม 3. ทดสอบโปรแกรม 4. เตรียมคู่มือการใช้และฝึกอบรม 1. ป้อนข้อมูล 2. เริ่มใช้งานระบบใหม่ 1. เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาสิ่งที่จะต้องแก้ไข 3. ตัดสินใจว่าจะแก้ไขหรือไม่ 4. แก้ไขเอกสาร คู่มอื 5. แก้ไขโปรแกรม 6. ทดสอบโปรแกรม 7. ใช้ระบบที่แก้ไขแล้ว
24
30/07/55
การวางแผนการเก็บบันทึกข้อมูล 1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย เพื่อที่จะได้กาหนดวิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูลได้ตรงกับจุดมุ่งหมาย 2. กาหนดลักษณะข้อมูลว่ามีข้อมูลประเภทใดบ้าง ลักษณะเช่น ไร เพื่อจะได้กาหนดระดับการวัดและกาหนดเครื่องมือวัดให้ตรง จุดมุ่งหมาย 3. พิจารณาว่าจะใช้เครื่องมือ หรือเทคนิคใดในการเก็บรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อจะได้เก็บข้อมูลได้ตรงกับจุดมุ่งหมาย 4. วางแผนในการสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย กาหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนไว้ให้ชัดเจน
การวางแผนการเก็บบันทึกข้อมูล 5. สร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลตามทฤษฎี หลักการของการ สร้างเครื่องมือประเภทนั้น ๆ 6. ทดลองใช้เครื่องมือ และหาคุณภาพด้านความตรง ความเที่ยง และคุ ณภาพด้ า นอื่ น ๆ ที่ จ าเป็ น ส าหรั บ เครื่ อ งมื อ รวบรวมข้ อ มู ล ประเภทนั้น ๆ ทาการปรับปรุงจนกว่าจะมีคุณภาพเข้าขั้นมาตรฐาน จึงทาเป็นเครื่องมือที่จะใช้จริง 7. เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่ได้กาหนด
25
30/07/55
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. การใช้แบบทดสอบ 2. การใช้แบบสอบถามหรือแบบวัดเจตคติ 3. การสัมภาษณ์ 4. การสังเกต 5. การทดลอง
1. การใช้แบบทดสอบ สามารถใช้แบบทดสอบที่พฒ ั นาสร้างขึน้ เอง หรือ ใช้แบบทดสอบมาตรฐาน ขึ้นอยู่กบั วัตถุประสงค์ กรณีใช้แบบทดสอบมาตรฐาน ต้องศึกษาคู่มอื การ ใช้แ บบทดสอบอย่ า งละเอีย ดถี่ถ้ว น และปฏิบ ัติ ตามค าแนะน าของการใช้แบบทดสอบนั น้ อย่า ง เคร่งครัด
26
30/07/55
2. การใช้แบบสอบถามหรือแบบวัดเจตคติ สามารถใช้แบบทดสอบที่พฒ ั นาสร้างขึน้ เอง หรือ ใช้แบบทดสอบมาตรฐาน ขึ้นอยู่กบั วัตถุประสงค์ กรณีใช้แบบทดสอบมาตรฐาน ต้องศึกษาคู่มอื การ ใช้แ บบทดสอบอย่ า งละเอีย ดถี่ถ้ว น และปฏิบ ัติ ตามค าแนะน าของการใช้แบบทดสอบนั น้ อย่า ง เคร่งครัด
ข้อ ดีข องการรวบรวมข้ อ มูล โดยการส่ งแบบสอบถาม 1. ประหยัดและรวดเร็วในการรวบรวมข้อมูล 2. สะดวกในการรวบรวมข้อมูลในกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง เป้าหมายอยู่กระจัดกระจาย 3. ไม่เกิดความลาเอียงจากผู้สังเกต 4. ในกรณีที่มีคาถามบางข้อที่ผู้ตอบต้องการที่ต้องค้นหา คาตอบจากเอกสาร หรือ หลักฐานบางอย่าง การรวบรวมข้อมูล วิธีนี้ ให้เวลากับผู้ตอบมากพอ
27
30/07/55
ข้อ ดีข องการรวบรวมข้ อ มูล โดยการส่ งแบบสอบถาม 5. ไม่เปิดเผยว่าใครเป็นผู้ตอบแบบสอบถามฉบับใด เพราะคาถามบางข้อที่ผู้ตอบไม่อยากตอบถ้าใช้วิธีรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์ 6. ไม่จาเป็นต้องอาศัยผู้ที่ได้รับการฝึกฝนมาจนชานาญ เหมือนกับการวิธีสังเกตหรือสัมภาษณ์ที่ต้องฝึกฝนมาเป็นอย่างดี 7. การวิเคราะห์ข้อมูล ทาได้ง่ายกว่าการสังเกตหรือ สั ม ภาษณ์ เนื่ อ งจากผู้ ต อบแบบสอบถามจะตอบค าถามที่ มี รูปแบบเหมือนกัน คาถามอย่างเดียวกัน
ข้อจากัดการรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถาม 1. จาเป็นต้องถามเฉพาะคาถามทีส่ าคัญและต้องการทราบ เพื่อไม่ให้แบบสอบถามยาวเกินไปจนทาให้ไม่สามารถที่จะถาม คาถามทุกชนิดได้ 2. หากถามไม่ชัดเจนพอ ทาให้ผู้ตอบเกิดความเข้าใจผิดได้ ผู้วิจัยไม่มโี อกาสอธิบาย 3. ศัพท์เฉพาะบางตัวที่ใช้ในแบบทดสอบ บางครั้งผู้ตอบ บางคนไม่ทราบ ทาให้ได้ข้อมูลทีค่ ลาดเคลือ่ น
28
30/07/55
ข้อจากัดการรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถาม 4. กลุ่มประชากรเป้าหมายการส่งแบบสอบถามนั้น จะ จากัดเฉพาะผู้ที่อา่ นออกเขียนได้เท่านัน้ 5. ลาบากในการตรวจสอบคาตอบของผู้ตอบ ถึงแม้ว่าจะใช้ คาถามที่ต่างกันในเรือ่ ง ๆ เดียวกันเพราะผู้ตอบสามารถที่จะ บิดเบือนข้อมูลได้ง่าย 6. ได้แบบสอบถามกลับคืนน้อย
3.การสัมภาษณ์ การรวบรวมข้อ มูล ลัก ษณะที่ผู้ร วบรวมข้อ มูล มี โอกาสพบปะ พู ด คุ ย สนทนากั บ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล โดยตรง
29
30/07/55
คุณสมบัติของผู้สมั ภาษณ์ที่ดี 1. ซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้ให้สัมภาษณ์ โดยไม่นาความลับของ ผู้ให้สัมภาษณ์ไปเปิดเผย 2. มีความสนใจในงานอย่าแท้จริง 3. มีความแม่นยาในการจดบันทึก 4. มีความสามารถในการปรับตัวอย่างสูง 5. มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ได้อย่างดี 6. มีสติปัญญาเฉียบไว ในการตั้งคาถามและสรุปข้อความของ เนื้อหาสาระได้ควบถ้วน
ข้อดีของการรวบรวมข้อมูลโดยการให้สัมภาษณ์ 1. ผู้รวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลมีโอกาสพบปะสนทนากัน ดังนั้นถ้าให้ ข้อ มู ล หรือ ผู้ ให้สั ม ภาษณ์ไ ม่ เข้า ใจค าถาม ผู้สั ม ภาษณ์มี โ อกาสที่ จ ะ ชี้แจงให้เข้าใจได้ 2. อาจจะได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการสังเกตสีหน้า ท่าทางการพูดและ สภาพแวดล้อม 3. ข้อมูลที่ได้รับจะมีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าข้อมูลที่ได้จากการส่ง แบบสอบถามเพราะเป็นการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิโดยตรง
30
30/07/55
ข้อจากัดของการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ 1. ใช้เวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก 2. ความแม่ นย าถู ก ต้อ งของข้ อ มู ล ขึ้น อยู่ กั บตั วผู้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ เ ป็ น อย่ า งมาก ถ้ า บิ ด เบื อ นข้ อ มู ล หรื อ จ า คลาดเคลื่อน ก็มีผลทาให้ข้อมูลนั้นคลาดเคลื่อนไปด้วย 3. ใช้ผู้สัมภาษณ์หลายคน โอกาสให้วิธีการรวบรวมข้อมูล อยู่ บนพื้ น ฐานเดี ย วกั นมี น้ อ ย โอกาสที่ จะเกิด ความ หลากหลายในการที่จะได้มาซึ่งข้อมูล นี้มีมากขึ้นทาให้ การสรุปผล ยากขึ้น
ข้อจากัดของการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ 4. การไปสั ม ภาษณ์กลุ่ม ตัวอย่ างหรือ กลุ่ ม ประชากร เป้ า หมายที่ ใ ช้ ภ าษาต่ า งกั น อาจจะท าให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ที่ คลาดเคลื่อนเนื่องจากไม่เข้าใจภาษาซึ่งกันและกัน
31
30/07/55
32
30/07/55
4. การสังเกต 1. แบบมีส่วนร่วม (Participant observation) คือการสังเกตที่ผู้ สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่าง ๆ ที่ไปสังเกต เช่น เข้าไป ใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนนั้น เมื่อต้องการจะศึกษาถึงชีวิตความเป็นอยู่ ของคนในชุมชน 2. แบบไม่มีส่วนร่วม (Non- participant observation) คือ การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่ไป สังเกตเพียงแต่เป็นผู้สังเกตการณ์เท่านั้น
33
30/07/55
ข้อเสนอแนะในการรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 1. กาหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกตเป็นอย่างดี ควรจะ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2. ผู้สังเกตควรจะมีความรู้ในเรือ่ งที่จะไปสังเกตเป็น อย่างดี 3. จัดเตรียมแบบสังเกตหรือแบบบันทึกข้อมูลไปให้ พร้อมจะช่วยให้ประหยัดเวลาในการรวบรวมข้อมูล
ข้อเสนอแนะในการรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 4. แบ่งข้อมูลที่ไปสังเกตเป็นหมวดหมู่ ตามลักษณะของ ปัญหา และควรสังเกตทีละอย่างไม่ควรสังเกตหลายอย่าง พร้อม ๆ กันเพราะจะทาให้สับสนขาดความตรงได้ 5. ผู้ที่จะไปทาหน้าที่เป็นผู้สังเกตควรจะได้รับการฝึกฝน เป็นอย่างดี
34
30/07/55
ข้อเสนอแนะในการรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 6. พยายามสังเกตให้เป็นปรนัยมากที่สุด ไม่ใช้ความ คิดเห็นส่วนตัวเข้าไปตัดสิน 7. จดบันทึ กตามสภาพความเป็นจริ ง สามารถใช้ อุปกรณ์บางอย่างช่วยในการสังเกตได้ เช่น เครื่องบันทึกภาพ เครื่องบันทึกภาพและเสียง เป็นต้น
35
30/07/55
ข้อดีของการรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 1. สามารถใช้ในการรวบรวมข้อมูลบางอย่างได้ ในกรณีที่ไม่สามารถใช้ วิธีการชนิดอื่น เช่น การศึกษาพฤติกรรมในห้องเรียน 2. ข้อมูลจากการสังเกตนั้นไม่ขึ้นกับความจาของผู้ถูกสังเกต เพราะเป็น การสังเกตโดยตรง ผู้สังเกตได้เห็นพฤติกรรมของผู้ถูกสังเกตโดยตรง 3. หากผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัวว่าถูกสังเกต จะไม่มีปัญหาการบิดเบือนข้อมูล 4. สามารถรวบรวมข้อมูลบางชนิดที่ผู้ถูกสังเกตไม่เต็มใจบอก หรือเป็น ข้อมูลที่เป็น ความลับบางอย่าง 5. ได้ข้อมูลบางอย่างที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในระหว่างที่สังเกต
ข้อจากัดของการรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 1. หากผู้สังเกตไม่ได้รบั การฝึกมาอย่างดี ความคลาดเคลื่อนของ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอาจเกิดขึ้นได้ โดยผู้สังเกตใช้ความรู้สึก หรือ ความคิดของผู้สังเกตเข้าไปแปลพฤติกรรมที่เห็น โดยอาศัยประสบการณ์ เดิมของตนเอง 2. ใช้เวลามากไม่เหมาะในการรวบรวมข้อมูลในกรณีที่กลุ่ม ประชากรเป้าหมายหรือกลุ่มตัวอย่างอยู่กระจัดกระจายและมีปริมาณ มาก 3. ถ้าผู้ถูกสังเกตรู้ตัวว่าถูกสังเกตอาจจะมีการบิดเบือนพฤติกรรมทา ให้ข้อมูลคลาดเคลื่อน
36
30/07/55
ข้อจากัดของการรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 4. อาจมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ทาให้ไม่มีโอกาสสังเกต 5. เหตุการณ์บางอย่างยากที่จะสังเกตได้ เช่น กิจกรรมส่วนตัวของ แต่ละบุคคล 6. ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ทาให้สังเกตไม่ได้
5. การทดลอง กระบวนการค้ น คว้ า หาความจริ ง โดยใช้ วิ ธี ก ารทาง วิทยาศาสตร์เป็ นการจัดสถานการณ์ ท่ใี ห้มีการสังเกต หรือ รวบรวมข้อมูลได้อย่างยุติธรรมมีระบบแผนการ ขจัดความ ลาเอียงส่วนตัวที่พงึ มีให้หมดไปหรือให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทา ได้ และมี ก ารควบคุ ม ตัว แปรบางตัว ที่ อ าจมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผลสัมฤทธินั์ น้ ๆ
37
30/07/55
สิ่งที่จะต้องพิจารณาในการทดลอง 1. การเลือกผู้ทดลอง หากการทดลองแบ่งเป็นหลายกลุ่มแต่ละกลุ่มควรจะมี ความใกล้เคียงกันในเรื่อง เพศ อายุ อาชีพ สติปัญญา ฐานะทางสังคมและอื่น ๆ ที่อาจจะมีผลกระทบกับตัวแปรตาม 2. จานวนผู้ถูกทดลองควรมีจานวนใกล้เคียงกันในแต่ละกลุ่ม 3. แบบแผนของการทดลอง ควรจะได้มีการพิจารณากันอย่างดี 4. เครื่องมือเครื่องใช้ ในการทดลองควรจะวิเคราะห์คุณภาพ และทดลองใช้ดู เสียก่อน
ข้อดีของการรวบรวมข้อมูลโดยการทดลอง ผู้ วิ จั ย มี โ อกาสที่ จ ะควบคุ ม ตั ว แปรเกิ น ต่ า ง ๆได้ มากกว่า การรวบรวมข้อมู ลโดยวิธีอื่น ๆ และข้อมูล ที่ไ ด้ จากการทดลองนั้นสามารถที่จะใช้ตอบปัญหาเกี่ยวกับการ เป็นเหตุเป็นผลได้อย่างชัดเจน
38
30/07/55
ข้อจากัดของการรวบรวมข้อมูลโดยการทดลอง การวิจัยทางการศึกษานั้นโอกาสที่จะรวบรวมข้อมูล โดยการทดลองอย่างแท้จริง (True experiment) ค่อนข้าง ล าบาก ส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ ใ นลั ก ษณะกึ่ ง ทดลอง (Quasi experiment) มากกว่า ซึ่งการรวบรวมข้อมูลในลักษณะกึ่ง ทดลองนั้นโอกาสที่จะมีตัวแปรเกินแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ง่าย
การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล องค์กรที่มีการบริหารงานเป็นเลิศ ต้องมีระบบการวัดและการ วิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ที่สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และทั่วถึงทั้งองค์กร เพื่อใช้ติดตามการปฏิบัติงานประจาวัน และ ผลการดาเนินงาน ตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร รวมถึง นาข้อมูล และ สารสนเทศมาเรียนรู้ เพื่อ ให้เกิดนวัตกรรม เพื่อผลักดัน ให้เกิด การปรับปรุง และพัฒนาองค์กร
39
30/07/55
การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล องค์กรต้องสร้างความพร้อมในการใช้งานของข้อมูลสารสนเทศ และ คุณภาพทั้ง HardwareและSoftware โดยต้องออกแบบระบบข้อมูล และสารสนเทศให้ ต รงกั บ ความต้ อ งการใช้ และท าให้ ข้ อ มู ล และ สารสนเทศถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันเวลา สามารถนาไปใช้งานได้ และมี ระบบรักษาความปลอดภัย ของข้อมูล รวมถึง การจัดการความรู้ ซึ่ง เป็นการสร้างสินทรัพย์ทางความรู้ให้กับองค์กรโดยพัฒนาระบบให้ องค์ความรู้ถูกถ่ายทอดและเก็บรักษาไว้ที่องค์กรและมีการแบ่งปัน ความรู้ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างรวดเร็วทั่วทั้งองคก์ร
การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล (1) (2) (3) (4) (5)
การทาความเข้าใจรูปแบบของข้อมูลทีเ่ ก็บได้ การเตรียมข้อมูลเพือ่ ให้พร้อมในการวิเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนเริม่ การวิเคราะห์ กระบวนการวิเคราะห์ขอ้ มูล การแปลความข้อมูลเป็ นรายงานผลการประเมินโครงการ
40
30/07/55
1. การทาความเข้าใจในรูปแบบของข้อมูลที่เก็บได้ (1) ข้อมูลเชิงปริมาณ มัก เป็ น ข้อ มูล ที่อ ธิบ ายสถานการณ์ โ ดยใช้ตัว เลขเชิง ปริมาณ ซึ่งอาจจะเป็ นตัวเลขตรง ๆ หรือเป็ นตัวเลขที่ สะท้อนความสัมพันธ์ในเชิงลาดับ ระดับของความรูส้ กึ หรือเป็ นสัดส่วนร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลีย่ อัตราส่วน
1. การทาความเข้าใจในรูปแบบของข้อมูลที่เก็บได้ (2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ อาจอยูใ่ นรูปของข้อความ แนวคิด เรือ่ งราวทีใ่ ช้อธิบาย สถานการณ์ คาพูด การตอบคาถาม หรืออาจจะมาจาก เอกสารหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับการดาเนินงาน เช่น รายงานการประชุม สัญญาจ้าง บันทึกช่วยจา เป็ นต้น
41
30/07/55
1. การทาความเข้าใจในรูปแบบของข้อมูลที่เก็บได้ การวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มักจะ ดาเนินการโดยแยกจากกัน และใช้ทกั ษะ เทคนิค หรือ เครื่องมือทีแ่ ตกต่างกัน แต่รายงานผลการวิเคราะห์ควร จะรวมกัน เมื่อถึงขัน้ การตีความเพื่อออกรายงานผลการ ประเมินโครงการ และข้อสรุปการประเมินผลโครงการ
2. การเตรียมข้อมูลเพื่อให้พร้อมในการวิเคราะห์ ก่อนวิเคราะห์ขอ้ มูล ต้องมีการจัดรูปแบบของข้อมูลให้ เป็ นชุด ๆ เป็ นกลุ่ม ๆ และจัดข้อมูลในรูปแบบที่เป็ น ระเบียบ เพื่อสามารถตรวจสอบ อ้างอิง และประมวล ภาพได้อย่างชัดเจน
42
30/07/55
2. การเตรียมข้อมูลเพื่อให้พร้อมในการวิเคราะห์ 1. การถอดเทปบทสัมภาษณ์ ถอด/บันทึกข้อมูลจาก แบบสอบถาม 2. ตรวจสอบข้อมูลที่ขาดหายไป 3. พิจารณาใช้ซอฟท์แวร์การวิเคราะห์ข้อมูล เช่น เอ๊กเซล SPSS 4. คานวณหรือประมวลผลผ่านโปรแกรมซอฟท์แวร์ 5. สารองข้อมูลไว้ในสถานที่อื่นเพื่อความปลอดภัย
3.การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนการวิเคราะห์ 1. ตรวจดูตัวเลขที่ผิดปกติ เช่น ตัวเลข 142 ไม่น่าเป็นอายุของคน 2. ตรวจสอบตัวเลขผลรวม/ผลต่าง 3. ตรวจสอบความสอดคล้องกับหลักการที่กาหนด เช่น การเลือก ข้ามข้อมีความถูกต้อง 4. ตรวจสอบการเลือกคาตอบ กรณีเลือกได้เพียงคาตอบเดียวหรือ มากกว่า 1 คาตอบ ดูว่าเลือก ได้ถูกต้อง 5. สุ่มเลือกคาตอบบางส่วน เช่น 10% เพื่อดูความผิดพลาด/ผิดปกติ 6. ตรวจสอบว่าผู้ให้สัมภาษณ์ได้ตอบคาตอบตรงกับประเด็นคาถาม
43
30/07/55
4. กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ 1. ทบทวนแผนที่ของโครงการที่อยู่ในแผนการประเมินผล โดยเฉพาะประเด็นคาตอบที่เกี่ยวข้องกับคาถามหลักของการ ประเมินผลโครงการ 2. ทบทวนจุดสาคัญของดัชนีชี้วัดโดยเฉพาะเชิงปริมาณ 3. หาผลการประมวลผลทางสถิติขนั้ พื้นฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ความถี่
4. กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ 4. ประเมินว่า ต้องการการวิเคราะห์เชิงลึกอื่นด้วยหรือไม่ เช่น Correcation Coefficient, Regression 5. ประเมินว่าข้อมูลที่ขาดหายไปนั้นอยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ หรือไม่ เช่น หายไปไม่เกิน 15% น่าจะยอมรับได้ 6. วิเคราะห์ในเชิงความสัมพันธ์ และความสาคัญ นัยสาคัญใน การตอบประเด็นคาถามของการประเมินผลโครงการ หรือ เครื่องวัดความสาเร็จของตัวชี้วัด 44
30/07/55
4. กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ 7. ทบทวนผลผลิต/ข้อมูลแสดงถึงการสนับสนุนหรือคัดค้าน 8. เขียนผลสรุปจากการวิเคราะห์และจัดลาดับเหตุผล
4. กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ 1. อ่านทบทวนข้อมูลทีร่ วบรวมได้ทั้งหมด ความสัมพันธ์กับ คาถามและดัชนีชี้วัด 2. หากลุ่มของคาตอบจากข้อมูล หาความคล้ายคลึงกันของ คาตอบแต่ละคาตอบ 3. ระบุระดับของผลที่เกิดขึ้นและคล้ายคลึงกันว่าอยู่ในเกณฑ์ สูง ปานกลาง หรือต่า
45
30/07/55
4. กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ 4. หาความแตกต่างของคาตอบ 5. ทบทวนผลผลิต/ข้อมูลแสดงถึงการสนับสนุนหรือคัดค้าน 6. เขียนผลสรุปจากการวิเคราะห์และจัดลาดับเหตุผล
5. การตีความผลการประเมิน เป็ นการนาเอาข้อมูลทีว่ เิ คราะห์ได้ มาเป็ นหลักฐานในการ แสดงความก้าวหน้า ความสาเร็จ และสัมฤทธิผลของการ ด าเนิ น งาน รวมถึ ง ผลลั พ ธ์ ท่ี น าไปสู่ ก ารเรี ย นรู้ ก าร ดาเนินงาน การปรับปรุง และข้อแนะนาในการตัดสินใจ ต่อไป ตลอดจนการวางแผนงานใหม่ในอนาคต
46
30/07/55
5. การตีความผลการประเมิน 1. ทบทวนแต่ละส่วนของการวิเคราะห์และหาคาสรุปผลใน ภาพรวมและสิ่งที่ได้พบทั้งหมด 2. ระบุให้ชัดว่า การดาเนินงานนั้นให้ผลที่เป็นบวกและเกิด สัมฤทธิผลหรือไม่ และอย่างไร 3. ระบุให้ชัดว่า การดาเนินงานให้ผลที่เป็นลบและล้มเหลว อย่างไร ต่างจากความคาดหมายอย่างไร 4. สรุปรวมของผลกระทบจากการดาเนินงานต่อภายในและ ภายนอก
5. การตีความผลการประเมิน 5. ให้คาแนะนาเพื่อ - อนาคตของการดาเนินงาน - ปรับเปลี่ยนการดาเนินงานตามที่จาเป็น - วิธีเพิม่ ความสาเร็จของการดาเนินงาน - ลดจุดอ่อนของการดาเนินงานและความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ - วิธีการใช้ประโยชน์ ผลการประเมินเพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ แก่ การดาเนินงาน
47
30/07/55
5. การตีความผลการประเมิน 6. ทิ้ ง เวลาไว้ 2-3 วั น แล้ ว กลั บ มาทบทวนบทสรุ ป การ ดาเนินงานอีกครั้ง เพื่อยืนยันว่าบทสรุปนั้นๆ ยังคงเหมาะสม หรือไม่ 7. ทบทวนว่าข้อมูลที่ใช้ในการสรุปผลการประเมินเพียงพอมี น้าหนัก น่าเชื่อถือ
1.การวางแผน (Plan) หมายถึง การกาหนดเป้าหมาย และกล ยุทธ์ในการบริหารองค์กร 2. การจัดการ (Organize) หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรที่ ต้องการนามาใช้ในองค์กร 3. การนาองค์กร (Lead) หมายถึง การกระตุน้ คนในองค์กร เพื่อให้ปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมาย 4. การควบคุม (Control) หมายถึง การควบคุมดูแล เพื่อให้ เกิดความก้าวหน้าไปยังเป้าหมายที่วางไว้
48
30/07/55
Executive Information System
EIS
Decision Support System
ระดับวาง แผนยุทธศาสตร์
DSS
ระดับวางแผน การบริ หาร Management Information System
MIS
Data Processing System
ระดับวางแผนปฏิ บตั ิ การ
DP
ระดับปฏิ บตั ิ การ
EIS ระบบสารสนเทศเพื่อผูบ้ ริหารระดับสูง เป็นระบบที่สร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจ ส าหรั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง โดยเฉพาะ โดยใช้ ห ลั ก การและ วิธีการเดียวกับระบบสนับสนุน การตัดสินใจ แต่พัฒนาขึ้นมา เพื่อรองรับงานในองค์กรขนาดใหญ่ที่มีระบบ การตัดสินใจที่ ซับซ้อนต้องการความแม่นยาและรวดเร็วในการตัดสินใจ จากสภาวะหรือผลกระทบภายนอกองค์กร
49
30/07/55
EIS การพัฒนาจะใช้ข้อมูลจาก 3 แหล่งคือ 1. ข้อมูลภายในองค์กร ได้แก่ งบประมาณ แผนรายจ่าย หรือ แผนการเงิน 2. ข้อมูลภายนอกองค์กร ได้แก่ ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา 3. ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลรายการประจาวัน จากนั้นนามาเปรียบเทียบ คานวณ วิเคราะห์ คาดการณ์ และยัง สามารถแสดง แนวโน้มหรือคาดคะเนเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น ในอนาคต
EIS สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ ผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่ มักจะให้ความสาคัญต่อ การวางแผนกลยุ ท ธ์ ข ององค์ ก ร ดั ง นั้ น ผู้ พั ฒ นาระบบ สารสนเทศเพื่อ ผู้บริหารระดั บสู งควรมี ความรู้เรื่อง กล ยุทธ์ และปัจจัยในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อ ให้ส ามารถ ประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการช่ ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพการกาหนดกลยุทธ์ที่สมบูรณ์
50
30/07/55
EIS การเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูงจะถูก ออกแบบให้ ส ามารถเชื่ อ มโยงกั บ แหล่ ง ข้ อ มู ล ที่มาจากภายนอกองค์กรเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มี ความจาเป็นและสาคัญในการตัดสินใจ
EIS การมีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง การตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ส่ ว น ใหญ่ จะมองภาพรวมของระบบ กว้าง ๆ ไม่ลงลึกใน รายละเอียด ดังนั้นการคานวณที่ผู้บริหารระดับสูง ต้องการจึงเป็นลักษณะที่ ง่าย ชัดเจน เป็นรูปธรรม ไม่ซับซ้อนมาก
51
30/07/55
EIS ง่ายต่อการเรียนรู้และการใช้งาน ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง อาจเป็ น บุ ค คลที่ ไ ม่ มี ความช านาญด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ดั ง นั้ น ระบบ สารสนเทศเพื่ อ ผู้ บริ ห ารระดั บ สู ง จึ ง ควรที่ จ ะ เลือกรูปแบบการแสดงผล หรือการโต้ตอบกับ ผู้ใช้งานที่ง่ายและรวดเร็ว
EIS ต้องเป็นระบบเฉพาะสาหรับผู้บริหาร ระบบสารสนเทศ เพื่อผู้บริหารระดับสูงที่ ดีนั้ น ควรเป็น ระบบเฉพาะผู้ บริ ห ารที่ จะเข้ าถึ ง ข้อมูลได้ง่าย
52
30/07/55
EIS 1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง 2. ผูใ้ ช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่อง คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ค้นหาสารสนเทศที่ตอ้ งการได้ในเวลาสั้น 4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นาเสนออย่างชัดเจน 5. ประหยัดเวลาในการดาเนินงานและการตัดสินใจ 6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ
ระบบติดตามโครงการ การติดตาม ความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานและประเมินผล ความส าเร็ จ ของงาน อั น จะน าไปสู่ ก ารด าเนิ น การ แก้ ไ ข ปรับปรุงร่วมกันให้บรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจึงจาเป็นต้องมีการ ติ ด ตามและ ประเมิ น ผล เพื่ อ ให้ ท ราบประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลของระบบงานต่าง ๆ ของหน่วยงาน ว่าอยู่ในระดับ ที่ เ หมาะสมสอดคล้ อ งกับ สถานการณ์ ปัจจุ บันเพี ย งใด การ ติดตามและ ประเมินผลมักใช้ควบคู่กัน
53
30/07/55
การติดตาม (Monitoring) 1. การเก็ บ รวบรวมข้ อ มูล การปฏิ บั ติ ง านตาม แผนงานที่ ก าหนดไว้ เพื่ อ ตั ด สิ น ใจแก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง วิธีการปฏิบัติให้ผลงานเป็นไปตาม แผนงานอย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุด 2. มุ่งหาคาตอบว่าในการดาเนินงานได้รับทรัพยากร ครบถ้วนหรือไม่ ได้ปฏิบัติงานตามแผนงานที่กาหนด หรือไม่ ได้ผลตรงตามที่กาหนดหรือไม่
(หทัยรัตน์,2555)
การติดตาม (Monitoring) 3. การติดตามต้องดาเนินการอย่างสม่าเสมอเพื่อเป็น ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ ให้ ต นเอง ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาขั้ น ต้ น / ระดับสูง ตลอดจนผู้รับผิดชอบ แผนงาน/โครงการ ทุกระดับเพื่อให้คาแนะนา ช่วยเหลือ แก้ไข อานวย ความสะดวก ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานตาม แผนงาน/โครงการ บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
(หทัยรัตน์,2555)
54
30/07/55
55
30/07/55
56