ความมัน่ คงทางอาหาร
วันวลิต ธารไทรทอง นักวิจยั สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้า และการพัฒนา ITD
27/06/55
ความมัน่ คงทางอาหาร
วันวลิต ธารไทรทอง นักวิจยั สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา ITD
ประเด็นสาคัญ 1.สถานการณ์ เศรษฐกิจโลก 2.ความมันคงทางอาหารของโลก ่ 3.ความมันคงทางอาหารของไทย ่ 4.สรุป
1
27/06/55
2
27/06/55
World GDP (percentage)
Year
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008 2009 2010 2011 2012f
World GDP Growth
2.0
2.7
4.1
3.5
4.0
4.0
1.4
-2.4
4.0
2.8
2.6
Thailand
5.3
7.1
6.3
4.6
5.1
5.0
2.5
-2.3
7.8
0.1
5
3
27/06/55
2012-2016 GDP Growth in Optimistic Scenario
GDP Growth in Base Scenario
GDP Growth in Pessimistic Scenario
US
3.6
2.3
1.5
EU-15
2.8
1.5
0.4
Japan
2.3
1.1
-0.1
Other Advanced
3.0
2.6
2.3
Advanced Economies
3.0
1.9
1.1
4
27/06/55
GDP Growth in Optimistic Scenario
GDP Growth in Base Scenario
GDP Growth in Pessimistic Scenario
China
9.6
6.9
3.9
India
7.7
6.2
4.6
Other Developing Asia
5.5
4.6
3.9
Latin America
4.1
3.6
3.2
Middle East
4.8
3.9
3.0
Africa
5.4
4.6
3.9
Central & Eastern Europe
3.2
2.7
1.9
Russia and other CIS
3.6
3.4
3.2
Emerging Market & Developing Economies
6.5
5.1
3.6
World
4.8
3.6
2.3
Public Debts
5
27/06/55
6
27/06/55
7
27/06/55
Jobs crisis
อัตราการว่ างงานของสหรัฐ
8
27/06/55
อัตราการว่างงานของยุโรป มีนาคม - สิงหาคม 2011
Volume of Export
9
27/06/55
10
27/06/55
Merchandise trade
Developed (North) and Developing (South) economies, bilateral shares in world exports, 1995 and 2010
11
27/06/55
Rescue and Stimulus Package’s side effect
12
27/06/55
Easing Monetary Policy
Easing Fiscal Policy
13
27/06/55
Easing Fiscal Policy
14
27/06/55
Uncertainties and risks of the global economy in the outlook for 2012-2013
Global Economy Instability Financial Sector Instability Food Price Instability
มูลค่าตลาดของตลาดหุน้ โลก (World Stock Market Capitalization) (ล้านดอลลาร์) ปี
มูลค่าตลาดของตลาดหุ้นโลก
เปลี่ยนแปลง %
2001
26,904,918.0
---
2002
22,834,052.6
-15.2%
2003
31,202,299.9
36.6%
2004
37,168,428.0
18.7%
2005
40,974,050.0
11.2%
2006
50,791,661.1
22.3%
2007
60,874,399.3
19.9%
2008
32,551,432.8
-46.5%
2009
47,782,552.3
45.5%
2010
54,884,583.2
14.9%
2011
47,401,413.3
-13.6%
15
27/06/55
Exchange rates of major reserve currencies vis-Ă -vis the United States dollar, 2 January 2008-10 November 2011
16
27/06/55
17
27/06/55
18
27/06/55
19
27/06/55
• Between 2000-2007 investment in agriculture commodity from‌
5 Billion to 175 Billion US$
20
27/06/55
The Wretched of the Earth
•3 billion live on less than $2 per day • 1 billion live on less than $1 per day • 1 billion live in slums • 25 million per year migrate to cities • 1 billion have no access to clean water • 2 billion have no electricity • 2.5 billion have no sanitation systems
1 Billion Go To Bed HUNGRY
1 in 7 of us Because Food is too expensive
21
27/06/55
What is this mean The availability of food to people reflects very unequal economic and political power relationships within and between countries If you are poor you likely are malnourished Sick Too weak to work or go to school
There is enough food produced world wide—and usually within most countries—to feed everyone.
22
27/06/55
10 Major Factors 1. Increase in areas dedicated for growing crops for biofuels 2. The growth of world population 3. Economic development and income distribution in populated countries 4. Stronger governmental programs for aid and food consumption 5. Migration and Urbanization of society bringing megacities, increasing food consumption and changing consumption habits 6. Oil prices went up from $ 35 USD to $ 140 USD in five years, impacting production and transport costs 7. The dollar devaluation 8. Production shortages (Food Supply) 9. Investments funds operating in futures markets and others in agribusiness 10. Climate Change
4F • 1 Foods • 2 Feeds • 3 Fuels • 4 Factories
23
27/06/55
Biofuels and Food Prices: What Some Experts are Saying
o World Bank: 65% of the increase in world food prices is due to biofuels (UN high level conference paper’s (April 2008) attribution to D. Mitchell, World Bank) o IMF: “a significant part of the latest jump in food prices can be traced directly to biofuels policy”S. Johnson, IMF, December 2007 o IMF: “… estimates suggest that increased demand for biofuels accounts for 70% of the increase in corn prices and 40% of the increase in soybean prices. Lipsky, IMF, May 8, 2008 o IFPRI: Actual biofuel demand growth compared with continuation of the 1990-2000 trend increased 2007 real grain prices by 30% and corn by 39%Rosegrant, IFPRI, May 7, 2008 o U.S. Administration: U.S. biofuels are responsible for 30% higher corn prices and 10% of the increase in the IMF commodity food price index from 4/07 to 4/08Bingaman letter, June 11, 2008
Urbanization
24
27/06/55
10 ประเทศทีม่ จี านวนประชากรมากทีส่ ุด
Sources: UN, Population Division and Population Reference Bureau
25
27/06/55
World Population
78.5 millions new people a year
26
27/06/55
ประชากรกับอาหาร ในด้านจานวนประชากรโลกในปี 2554 มีอยู่ประมาณ 6,896 พันล้านคน FAO ได้คาดการณ์ ว่าในปี ค.ศ. 2050 (พ.ศ. 2593) ประชากรของโลกจะเพิ่ มขึน้ เป็ น 9.1 พันล้านคน ดังนัน้ โลกจะต้องผลิ ตอาหาร เพิ่ มขึน้ อีกร้อยละ 50-70 จึงจะเพียงพอสาหรับการเลี้ยงประชากรของ
Food insecurity could trigger conflict and political unrest. For instance, social and political unrest has occurred in 61 countries since the beginning of 2007, with some countries experiencing a high degree of violence.
องค์ ประกอบของความมัน่ คงทางอาหาร (FAO) ความมัน่ คงทางอาหาร Food Security การมีอาหารเพียงพอ (availability)
การเข้ าถึงอาหาร (accessibility)
การใช้ ประโยชน์ จาก อาหาร (utilization)
การมีเสถียรภาพด้ านอาหาร (stability)
27
27/06/55
• การมีอาหารเพียงพอ (availability) หมายถึง การมีอาหารเพียงพอทีจ่ ะบริโภคในทุกระดับ ซึง่ อาจมาหาโดยการผลิตขึน้ เองในครัวเรือนหรือซื้อในชุมชน หรือในประเทศ (ครัวเรือนเพียงพอ/ ชุมชนเพียงพอ) หรือผลิตในประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ รวมทัง้ ได้รบั การบริจาคด้วย (ประเทศเพียงพอ) • การเข้าถึงอาหาร (accessibility) หมายถึง การเข้าถึงอาหารในทางกายภาพ โดยการผลิต เองหรือมี ผูบ้ ริจาค และการเข้าถึงในทางเศรษฐกิจโดยการซื้อ ทัง้ นี้ตอ้ งมีอาหารให้ซ้อื และมีรายได้ เพียงพอด้วย • การใช้ประโยชน์ จากอาหาร (utilization) หมายถึง การใช้ประโยชน์จากอาหารทีม่ อี ยู่อย่าง ถูกหลักโภชนาการ คือมีความปลอดภัย มีความหลากหลาย (ครบหมู)่ ให้พลังงาน (calories) เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและมีสุขภาพทีแ่ ข็งแรง • การมีเสถียรภาพด้านอาหาร (stability) หมายถึง ทุกมิตขิ า้ งต้นจะต้องมีเสถียรภาพด้วย เช่นไม่ขาดแคลนในบางฤดูหรือบางปี รวมทัง้ ประชาชนต้องเข้าถึงอาหารได้ตลอดเวลา และการ บริโภคก็ตอ้ งถูกหลักโภชนาการเสมอ
World Bank Global Food Price Index
Source: World Bank DECPG. Note: The Food Price Index weighs export prices of a variety of food commodities around the world in nominal U.S. dollar prices, 2005 = 100.
28
27/06/55
Global Food Prices and the Crisis Threshold (1960-2012)
10 Proposed Solutions 1 Sustainable horizontal expansion towards new areas 2 Vertical expansion with more technology (high tech) 3 Reduction in food taxes and other protections 4 Investments in international logistics platform 5 Use the best sources for biofuels production 6 Reduction in transaction costs in food chains 7 New generation fertilizers 8 Sustainable supply contracts to farmers
9 Innovations (genetics and others) 10 Consumption behavior for less energy consumption
29
27/06/55
Global Initiatives and Actions
• 2008 FAO High-level Conference on World Food Security : the Challenges of Climate Change and Bioenergy …estimated the total amount needed for achieving
agricultural development and food security to be around USD 30 billion annually. …donor countries and financial organizations announced significant additional financial support totaling more than $12 billion.
• Loans - IFAD provides loans to its developing Member States • Grants - IFAD provides grants to institutions and organizations in support of activities to strengthen the technical and institutional capacities linked to agricultural and rural development.
30
27/06/55
Responsible Agricultural Investment: RAI
หลักการสาคัญของ RAI 1. การเคารพสิทธิในทีด่ นิ และทรัพยากรธรรมชาติทเ่ี กีย่ วข้อง 2 การลงทุนทีส่ ่งเสริมให้เกิดความมันคงทางอาหาร ่ 3. ความโปร่งใสในกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องกับการลงทุนภาคเกษตร 4. กระบวนการหารือและมีส่วนร่วมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 5. การเคารพกฎหมายและการดาเนินการตามหลักปฏิบตั ทิ ด่ี ี 6. ความยังยื ่ นทางสังคม 7. ความยังยื ่ นทางด้านสิง่ แวดล้อม
Land Grabbing
31
27/06/55
The New Partnership for Africa's Development (NEPAD)
South Asian Association for Regional Cooperation(SAARC) : Bangladesh, Bhutan, India, Maldives, Nepal, Pakistan and Sri Lanka Mercosur or Mercosul: (Common Southern Market) The African Union
32
27/06/55
• แผนนโยบายบู ร ณาการความมั น่ คงด้ า นอาหารอาเซี ย น (ASEAN Integrated Food Security (AIFS Framework) และแผนกลยุทธ์ความมันคงด้ ่ านอาหารของอาเซียน (Strategic Plan of Action-Food Security (SPA-FS)) • จัด ท าแผนนโยบายบูร ณาการความมัน่ คงด้า นอาหารของอาเซีย น (AIFS Framework) และแผนกลยุทธ์ความมันคงด้ ่ านอาหารของอาเซียน (SPA-FS) ขึ้น ซึ่ง มีร ะยะเวลาด าเนิ น การ 5 ปี (2009-2013) มี 4 องค์ประกอบ • 1. ความมันคงทางอาหารและการบรรเทากรณี ่ ฉุกเฉิน/ขาดแคลน • 2. การพัฒนาการค้าอาหารอย่างยังยื ่ น • 3. ระบบบูรณาการข้อมูลด้านความมันคงทางอาหาร ่ • 4. นวัตกรรมการเกษตร
องค์ประกอบและกลยุทธ์สาหรับกรอบนโยบายบูรณาการความมัน่ คงด้านอาหารของอาเซียน(AIFS)
33
27/06/55
สถานการณ์ความมันคงทางอาหารของไทย ่
อัตราการพึง่ พาตนเองสาหรับพืช 5 ชนิดเฉลีย่ 5 ปี (2549 -2553) ปี 2553 และปี 2565 รายการ ข้ าว ผลผลิต ใช้ในประเทศ อัตราการพึ่งพาตนเอง ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ผลผลิต ใช้ในประเทศ อัตราการพึ่งพาตนเอง มันสาปะหลัง ผลผลิต ใช้ในประเทศ อัตราการพึ่งพาตนเอง
เฉลีย่ 5 ปี
2553
2565
20,565,578 11,143,901 184.55
21,196,602 12,120,000 174.89
25,575,913 15,305,992 167.10
4,215,634 4,038,223 104.39
4,451,284 4,280,000 104.00
4,409,630 4,247,131 103.80
25,349,901 6,920,600 366.30
22,005,740 6,560,000 335.45
40,902,380 19,976,149 68 204.80
34
27/06/55
อัตราการพึง่ พาตนเองสาหรับพืช 5 ชนิดเฉลีย่ 5 ปี (2549 -2553) ปี 2553 และปี 2565 (ต่ อ) รายการ
เฉลีย่ 5 ปี
2553
2565
นา้ ตาล ผลผลิต
6,591,436
6,928,713
9,954,719
ใช้ในประเทศ
2,287,672
2,270,000
2,391,887
288.13
305.23
416.20
1,319,949
1,450,165
4,210,395
924,333
924,000
1,575,485
142.80
156.94
267.20
อัตราการพึ่งพาตนเอง ปาล์มนา้ มัน ผลผลิต ใช้ในประเทศ อัตราการพึ่งพาตนเอง
ผูส้ ่งออกอาหารของโลก ปี 2552 แยกตามรายประเทศ ลาดับที่
ประเทศ
1 2 3 4 5 8 12
สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ เยอรมัน ฝรั ่งเศส บราซิล จีน ไทย อื่นๆ รวม
มูลค่า (ล้านเหรียญ)
2551 111,054 77,429 68,999 68,485 53,606 37,136 23,864 385,521 1,004,000
% มูลค่าส่งออก
2552 96,300 68,300 61,600 57,600 49,700 35,000 22,300 355,500 910,000
10.58 7.51 6.77 6.33 5.46 3.85 2.45 39.07 100.00
ที่มา : สถาบันอาหาร (ลาดับ 6 = เบลเยีย่ ม, 7 = สเปน, 9 = อิตาลี, 10 = แคนาดา 11 = อาร์เจนติน่า)
35
27/06/55
• กุ้ง ไทยเป็ นผู้ส่งออกกุ้งอันดับ 1 ของโลก มูลค่าส่งออก 84,196 ล้านบาท มีส่วนแบ่ง ตลาดโลกประมาณ 20% • ทูน่ากระป๋องและทูน่าแปรรูป ไทยเป็ นผู้ส่งออกทูน่ากระป๋องและทูน่าแปรรูปอันดับ 1 ของโลก มูลค่าส่งออก 64,555 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดโลกประมาณ 47% • ไก่แปรรูป ไทยเป็ นผู้ส่งออกไก่แปรรูปอันดับ 1 ของโลก มูลค่าส่งออก 50,275 ล้านบาท มี ส่วนแบ่งตลาดโลกประมาณ 25% • ข้าว ไทยเป็ นผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก ปริมาณส่งออก 10.2 ล้านตัน มูลค่าส่งออก 203,255 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดโลกประมาณ 33% (ปริ มาณ) • สับปะรดกระป๋องและสับปะรดแปรรูป ไทยเป็ นผู้ส่งออกสับปะรดกระป๋องและสับปะรด แปรรูปอันดับ 1 ของโลก มูลค่าส่งออก 24,237 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดโลกประมาณ 45% • สิ นค้าประมง ไทยเป็ นผู้ส่งออกสิ นค้าประมงอันดับ 3 ของโลก มูลค่าส่งออก 214,177 ล้าน บาท มีส่วนแบ่งตลาดโลกประมาณ 8% • ข้าวโพดหวานแปรรูป ไทยเป็ นผู้ส่งออกข้าวโพดหวานแปรรูปอันดับ 3 ของโลก มูลค่า ส่งออก 4,843 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดโลกประมาณ 19% •
(ข้อมูลปี 2552)
ส่วนสถานการณ์ ธรุ กิ จเกษตรและอาหารแนวโน้ มการ ส่งออกในปี 2555 คาดว่าจะมี ปริ มาณ 31 ล้านตัน ลดลงจากปี ก่อน 2.5% มูลค่าประมาณ 9.71 แสนล้านบาท สิ นค้าที่ มีแนวโน้ ม ขยายตัวดี ได้แก่ ไก่และสัตว์ปีก เพราะเป็ นเนื้ อสัตว์ที่มีราคาถูกเมื่อ เทียบกับเนื้ อสัตว์ชนิ ดอื่น ๆ จึงเหมาะกับภาวะทางเศรษฐกิ จของ ตลาดหลัก ญี่ปนและยุ ุ่ โรป (กระทรวงพาณิ ชย์)
36
27/06/55
สัดส่ วนของผู้อดอยากของไทยและของโลก Hunger %
World
35 33 30
Developing countries 25
Thailand
26
25 20
26 20 15
10
18
18
21
17
16
17
14
16 16
14
16 16
17
13
5 0
จานวนผูอ้ ดอยากของไทย (Hunger) FAO พบว่าไทยมีจานวนผูอ้ ดอยากถึง 10.8 ล้านคน 16% ของประชากรทัง้ หมด
37
27/06/55
Actions Taken at the National Level สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552) กาหนดให้ความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงานเป็ น 1 ใน 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 โดยให้ความสาคัญกับ ประเด็นด้านความปลอดภัยและความมันคงทางอาหารเป็ ่ นสาคัญ เพื่อให้ไทยมี อาหารทีเ่ พียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศและสามารถรองรับการบริโภคจาก ต่างประเทศ
นโยบายการบริหารการพัฒนาภาคการเกษตรใน ปี 2555 และข้อเสนอเชิงนโยบาย 1. ช่วยเหลือเกษตรกรทีป่ ระสบภัยธรรมชาติ 2. เพิม่ พืน้ ทีช่ ลประทาน 3.35 ล้านไร่ 3. วิจยั และพัฒนาพันธ์ ใช้เทคโนโลยี เพื่อเพิม่ ผลผลิตต่อไร่ 4. . พัฒนาระบบเตือนภัยธรรมชาติ เช่น ภัยจากน้าท่วม ฝนแล้ง ภัยทีเ่ กิดจากโรคแมลงศัตรูพชื ระบาด 5. กระจายสิทธิทด่ี นิ อย่างเป็ นธรรมและยังยื ่ น 6. คุม้ ครองทีด่ นิ เพื่อการเกษตร เนื่องจากวิกฤติการณ์อาหารโลกและวิกฤติการณ์พลังงานโลกทาให้ ราคาอาหารและราคาน้ามันเชือ้ เพลิงเพิม่ ขึน้ สูงมาก และเป็ นไปอย่างรวดเร็ว ประเทศทีม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจดีจงึ มี นโยบายทีจ่ ะเข้าไปยึดครองทีด่ นิ เพื่อเกษตรในต่างประเทศ
38
27/06/55
7. กาหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro – economic Zone) เพื่อส่งเสริมการผลิตสินค้า อาหารและสินค้าเศรษฐกิจอื่นๆ โดยเป็ นมาตรการสมัครใจไม่บงั คับ แต่จะดาเนินการโดยมีมาตรการจูงใจ (incentives) ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกษตรกรปฏิบตั ติ าม เช่น การให้สนิ เชือ่ ดอกเบี้ยผ่อนปรน 8. พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อให้มขี อ้ มูลครบถ้วนเพียงพอทีจ่ ะต้องติดตาม และเฝ้าระวังความไม่ มันคงทางอาหารที ่ จ่ ะเกิดขึน้ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วเป็ นระยะๆ โดยการสร้างตัวชีว้ ดั สถานการณ์ความมันคง ่ ทางอาหาร (Food Security Indicators) 9. เพิม่ โอกาสในการเข้าถึงอาหาร แม้วา่ ประเทศไทยจะมีอาหารโดยรวมเพียงพอ แต่กย็ งั มีประชาชน จานวนมากทีไ่ ม่มอี าหารทีจ่ ะบริโภค 10. ให้มรี ะบบประกันความเสีย่ งจากภัยธรรมชาติ 11. ร่วมมือกับต่างประเทศในการสารองข้าวกรณีฉุกเฉิน 12. ไปลงทุนในต่างประเทศ ภาครัฐควรส่งเสริมให้ไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
ขอบคุณ
39
27/06/55
Sources • UN/DESA, based on data from UNCTAD and IMF, International Financial Statistics database. • Data from IMF, Fiscal Monitor: Addressing Fiscal Challenges to Reduce economic Risks (Washington, D.C., September 2011). • Bank of Thailand • Trading Economic.Com • FAO, UN , World Bank, กระทรวงเกษตร • รายงานวิจยั ความมันคงทางอาหารและพลั ่ งงานของไทย (itd)
40