บทนํา เปนที่ทราบกันทั่วไปแลววา ในป ค.ศ. 2015 หรือป พ.ศ. 2558 นั้น อาเซียนจะทําการเปลี่ยนแปลงจาก รูปแบบการรวมตัวแบบสมาคม (Association) ไปเปนแบบประชาคม (Community) โดยแบงเปนสามเสาหลัก คือ เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community : APSC) เสาดานประชาคม เศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community : AEC) และเสาดานประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN SocioCultural Community : ASCC) อยางไรก็ตาม หนึ่งในสามเสาหลักที่ดูจะมีปญหาในการปฏิบัติมากที่สุดนั่นก็คือ เสา ดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง ซึ่งไดมีการคาดการณไวแตแรกแลวเชนกันวา เสาดานนี้ จะมีปญหาในการ ผลักดันมากที่สุด เห็นไดจากประโยคสุดทายในหัวขอ Introduction ของหนังสือพิมพเขียวนั้นที่ระบุวา ‘[t]he APSC Blueprint would also have the flexibility to continue programmes/activities beyond 2015 in order 1 to retain its significance and have an enduring quality.’ อยางไรก็ตาม ถึงแมวา จะเขาใจดีวา เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความยากในการ ปฏิบัติ แตก็ปวยการที่จะคิดในแงนั้น เพราะไมวาจะอยางไร ประเทศสมาชิกก็จําเปนตองทําใหเสาประชาคมดานนี้เกิด ขึ้นมาใหได ทั้งนี้ นักวิชาการดานอาเซียนและผูที่ทํางานเกี่ยวของกับเสาดานประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ไดนําเสนอหาทางจุดประกายการทํางานเพื่อใหเสาประชาคมดานนี้เริ่มตน และขยายตัวตอไปในอนาคต โดยหลาย ทานไดชี้ไปที่การหาบางสิ่ง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นมีความเห็นรวมกัน เชนเห็นวา เปนผลประโยชนหรือเปนภัย รวมกัน ซึ่งทําใหประเด็นเรื่องภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) นั้นเขามาอยูในความ สนใจ เชน การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ และภัยธรรมชาติ เนื่องจาก เปนภัยที่แตละประเทศไมสามารถแกไข ปญหาดวยตนเองไดเพียงลําพัง ซึ่งจะเปนการบังคับกลาย ๆ ใหแตละประเทศนั้นจําเปนตองรวมมือกันแบบพหุภาคี และเปนจุดเริ่มใหแตละประเทศเรียนรูที่จะสละอํานาจอธิปไตยของตนบางสวนเพื่อผลประโยชนรวมกันในภูมิภาค ดวยสภาพปจจุบันของอาเซียนนั้น เปนองคกรความรวมมือระหวางประเทศ โดยผูนํารัฐบาลของแตล ะ ประเทศเปนผูมีอํานาจตัดสินใจบนพื้นฐานของปฏิญญาและความสมัครใจ ซึ่งไมไดมีกฎบัตรหรือกฎหมายใด ๆ ภายใต อาเซีย นที่สามารถบั งคับใช ประเทศสมาชิกได อยางมี ประสิ ทธิผล กลายเปนวา อาเซียนนั้น เปน เพียงพื้น ที่พูดคุ ย แลกเปลี่ยน และเจรจาตอรองของผูนํารัฐบาล และชนชั้นนําของประเทศสมาชิกบนพื้นฐานของผลประโยชนของชาติ หรื อ ผลประโยชน ข องผู นํ า ซึ่ ง ถึ ง แม อาเซี ย นจะประกอบด ว ย องค ก รที่ ไ ม ใ ช รั ฐ บาล (Non-governmental Organization) จํานวนมาก ที่สามารถเปนกลุมกดดัน (Pressure group) ซึ่งมีสวนกับการออกนโยบายของอาเซียน 2 แตสุดทายแลวการตัดสินใจทุกอยางอยูที่อํานาจของรัฐบาลของแตละประเทศสมาชิก อยางไรก็ตาม อาชญากรรม ขามชาติซึ่งเปนสวนหนึ่งของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบนั้น อาจจะเปนความหวังใหเสาดานประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนนั้นเดินหนาไปได เพราะการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองอาศัยความรวมมือโดย ธรรมชาติอยูแลว จึงไมมีประเทศใดที่จะปฏิเสธที่จะใหความรวมมือ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการรวมตัวในอนาคต อาชญากรรมขามชาติ เปนภัยที่รายแรงตอนานาอารยะประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งทุกประเทศ ตางตระหนักถึงภัยที่เกิดขึ้น ในประเทศไทยมีกลุมอาชญากรรมขามชาติเขามาเคลื่อนไหว และมีการเชื่อมโยงเปน เครือขายอาชญากรรมขามชาติ ทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด โดยเครือขายอาชญากรรมขามชาติจะดํา เนิน ธุรกิจผิดกฎหมายที่มีผลตอบแทนสูง เชน การคามนุษย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การลักลอบเขาเมือง การฟอก เงิน การฉอโกงขามชาติ ฯลฯ สรางความเสียหาย และสงผลกระทบดานเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ อยางหลีกเลี่ยงไมได ในการดําเนินนโยบายเปดประเทศดานการทองเที่ยว และการเปนศู นยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทย จะทํ า ใหอาชญากรรมขา มชาติแอบแฝงเขามาในประเทศไทยในรูปแบบของ 1 2
ASEAN. (2009). ASEAN Political-Security Community Blueprint. Cini M. (2010). Intergovernmentalism. In M. Cini & Borragan N.P.S (Eds). Oxford University Press.
บ ท นํา : ห น า | 2
นักทองเที่ยว มีความสะดวกในการเดินทาง และการขนสง และสามารถเดินทางไปยังประเทศที่สามไดอยางสะดวก จึง เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหอาชญากรรมขามชาติสามารถเขามาในประเทศไทยและสามารถเขามากอเหตุไดงาย ดังที่กลาวมาแลว เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น เปนเสาที่ดูจะมีปญหาในทางปฏิบัติ มากที่ สุ ด เนื่ องจาก มีหลายประเด็ น ที่ ต องเขา ไปเกี่ ย วของกั บ อํ า นาจอธิ ป ไตยของแต ล ะประเทศ ซึ่ งเป น เรื่ องที่ ละเอียดออน และกระทบตอวิถีอาเซียนที่เคยปฏิบัติกันมา แตก็ไมใชวาจะเปนไปไมไดเลย ประเทศสมาชิกอาเซียนก็มี ความจําเปนในการรวมมือดานความมั่นรวมโดยเฉพาะในเรื่องของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) ซึ่งพบวา กิจกรรมภายใต APSC Blueprint มีความเปนไปไดวา กิจกรรมดังกลาวดําเนินไปอยางจริงจัง อยางไรก็ตาม ก็ยังมีขอขัดของที่อาจจะเปนอุปสรรคของการรวมตัวเปนประชาคมในดานประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน นั่นคือ วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ที่จะไมกาวกายกิจการภายในของกันและกัน อีกทั้งแตละประเทศ อาเซียนเองก็ขาดแรงจูงใจในการสรางความรวมมือ ฉะนั้น มีความเปนไปไดที่อาเซียนจะนําปจจัยอื่น ๆ เขามาสงเสริม ใหเกิดความรวมมือที่ดียิ่งขึ้น อยางเชน ความชวยเหลือสนับสนุน หรือแรงกดดันจากประเทศมหาอํานาจภายนอกกลุม อาเซี ย นอย า งประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ญี่ ปุ น และจี น รวมถึ ง อาศั ย แรงผลั กดั น จากเสาประชาคมอื่ น โดยเฉพาะ ความสําเร็จของเสาประชาคมดานเศรษฐกิจมาเอื้อตอการสรางความรวมมือในดานความมั่นคงรวม เพื่อปกปองความ เฟองฟูทางเศรษฐกิจ จากนี้ไป ชาติสมาชิกอาเซียนจะถูกขับเคลื่อนอยางหนักหนวงและรุนแรงมากขึ้นในทุก ๆ มิติ และจะสงผล ตอภาพอนาคตภาพของประเทศตาง ๆ ที่เปนสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ โดยภาพเปาหมายอาเซียนที่ตั้งไวคือ การเปน ประชาคมที่เปนหนึ่งเดียวในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เชนเดียวกับรูปแบบของการรวมตัวในภูมิ ภาคอื่น ๆ นั้น นับเปนเปาหมายในภาพรวม ๆ แตในรายละเอียดภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนจะเปนอยางไรนั้น นับเปนสิ่งที่ยัง คาดการณไดยาก เพราะแตละมุมมองของแตละประเทศก็ตองการใหอาเซียนเปนไปตาง ๆ กัน ตั้งแตภาพอนาคต อาเซียนที่เปนการรวมตัวกันแบบเหนียวแนน จนเกิดเปนรัฐอาเซียนใหมเชนเดียวกับสหภาพยุโรป ไปจนถึงภาพการ รวมตัวเพียงแคสัญลักษณเพื่อการเก็บเกี่ยวผลประโยชนที่สมาชิกแตละชาติพึงหาได ถึงแมตนแบบที่เปนความคาดหวัง ไวใหเปนประชาคมแหงการพึ่งพาที่สมบูรณ แตอุปสรรคปญหาก็คือ อาเซียนมีลักษณะเฉพาะทั้งความเชื่ อ โครงสราง การปฏิบัติ ความรับผิดชอบและคานิยมที่ไมเหมือนภูมิภาคใดในโลกจนไดรับคําจํากัดความวา เปนลักษณะวิถีแหง อาเซียน (The ASEAN Way) นอกจากนี้ อาเซียนยังไดรวมกันจัดทํากฎหมายของประชาคม คือ กฎบัตรอาเซียนไว เพื่อประกันการเปนประชาคมอาเซียนจะไดไมผิดเพี้ ยนไป ซึ่งนับวา จะเปนกรอบ และแรงบังคับใหประเทศสมาชิก ตองยึด และปฏิบัติตาม ก็ยังถูกวิจารณวา จะบังคับใชตอประเทศสมาชิกไมได และจะเปนไดเพียงรัฐธรรมนูญแหง ความตั้งใจของอาเซียนเทานั้น จากปญหาความมั่นคงที่เกิดขึ้น แนวโนมของสถานการณสามารถเปลี่ยนแปลง โดยมีความผันผวนจากทั้ง ดานการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดลอม ผลกระทบ จากปจจัยภายในและภายนอกประเทศ ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับความเสี่ยงทางดานความมั่นคงภายในประเทศ ที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปญหาความขัดแยงของคนในชาติ การขาดความสามัคคี และการกระทําที่กระทบตอความ มั่นคงของสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการกอความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ในขณะที่ปญหาการกอการ รายสากล และอาชญากรรมขามชาติ ตลอดจนปญ หาที่เปนเรื่ องสืบเนื่องจากอดีต อาทิ ปญหายาเสพติด และผู หลบหนีเขาเมือง ยังเปนภัยคุกคามที่มีแนวโนมสงผลกระทบในวงกวาง รวมถึงยังจะตองเผชิญกับผลกระทบจาก สภาวะโลกรอน ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น จึงควรสรางคุณคาความตองการอยากอยูรวมกันของพลเมือง ภายในชาติโดยยึดมั่นในชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย รวมทั้งการรูรักสามัคคี สรางความแข็งแกรงของโครงสราง ของสั ง คมไทยให มีภู มิ คุ ม กั นที่ มั่ น คง ด ว ยการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและขี ด ความสามารถการมี ส ว นร วมของภาค ประชาชนใหมีความรูเทาทันกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และรวมกันคุมครองปกปองฐานทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง เปนทุนสําคัญของประเทศไวไดอยางยั่งยืน มีจิตสํานึกความรับผิดชอบตอสวนรวม รวมทั้งมีการบังคับใชกฎหมายอยาง จริงจังและเปนรูปธรรม ในการดําเนินการรักษาผลประโยชนและดํารงไวซึ่งความมั่นคงของชาติสืบไป
บ ท นํา : ห น า | 3
สุดทายนี้ แตละประเทศอาเซียนนั้น มีความแตกตางกันอยางมาก ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ วัฒนธรรม ฉะนั้น การสรางประชาคมอาเซียนใหมีความมั่นคงถาวรในทุกเสานั้น อาจจะเปนไปไดยาก หากประชาชน ในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนนั้น ไมมีความรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่งของประชาคมอาเซียนในทุกวันนี้ แมแต ประชาชนในประเทศไทยเอง ก็มีความรูในเรื่องอาเซียนนอยมาก และ/หรือแทบไมมีความรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่ง ของประชาคมอาเซียนเลย อาเซียนจึงกลายเปนเรื่องของรัฐบาล และชนชั้นนําทางการเมืองและเศรษฐกิจเทานั้น ซึ่ง ตางจากสหภาพยุโรปที่ทุกคนรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่งของสหภาพยุโรป ฉะนั้น การศึกษา และงานวิจัยที่เรงดวน สําหรับอาเซียนนั้น ควรจะเปนในเรื่องการสรางความรูสึกใหประชาชนในกลุมประเทศอาเซียนรูสึกเปนสวนหนึ่งของ ประชาคมอาเซียนที่กําลังจะเกิดในป ค.ศ. 2015 รวมถึงลดอัตตาความรูสึกเรื่องชาตินิยมลง มิเชนนั้น อาเซียนก็จะ เปนเพียงเวทีของนักการเมื อง นักธุรกิจ ผูมีอิทธิพล ผูนําประเทศสมาชิก มาพบปะกันเหมือนอยางเชนที่เปนอยูใน ปจจุบัน ดร.พรเทพ จันทรนิภ สิงหาคม 2557