ความมั่นคงอาเซียน

Page 1

ความมั่นคงอาเซียน ผูเขียน

ดร.พรเทพ จันทรนิภ

บรรณาธิการ

นวพร เอี่ยมธีระกุล

เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ ISBN ราคา

บาท

ผูรับผิดชอบจัดการพิมพ

นวพร เอี่ยมธีระกุล

พิมพครั้งที่ 1

จํานวน 3,000 เลม สิงหาคม 2557

ผลิตและจัดพิมพโดย

บริษัท แอ็ปปา พริ้นติ้ง กรุป จํากัด 42/79 หมู 5 อาคารอดิศร ตําบลออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดนครปฐม โทรศัพท 0-8507-01082

ในกรณีที่ตองการซื้อเปนจํานวนมาก เพื่อใชในการสอน การฝกอบรม หรือเปนของขวัญ พิเศษ กรุณาติดตอ 0-8163-60101 , 0-8632-8138


สารบั ญ หนา บทนํา

1

ประชาคมอาเซียน

4

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

42

อาชญากรรมขามชาติ

66

อาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด

107

อาชญากรรมขามชาติรูปแบบการคามนุษย

137

อาชญากรรมขามชาติรูปแบบการกอการราย

200

ความมั่นคงทางทะเล

220

ความมั่นคงของมนุษย

248

สรุป

273

ภาคผนวก

300

ประวัติผูเขียน

302


บทนํา เปนที่ทราบกันทั่วไปแลววา ในป ค.ศ. 2015 หรือป พ.ศ. 2558 นั้น อาเซียนจะทําการเปลี่ยนแปลงจาก รูปแบบการรวมตัวแบบสมาคม (Association) ไปเปนแบบประชาคม (Community) โดยแบงเปนสามเสาหลัก คือ เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community : APSC) เสาดานประชาคม เศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community : AEC) และเสาดานประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN SocioCultural Community : ASCC) อยางไรก็ตาม หนึ่งในสามเสาหลักที่ดูจะมีปญหาในการปฏิบัติมากที่สุดนั่นก็คือ เสา ดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง ซึ่งไดมีการคาดการณไวแตแรกแลวเชนกันวา เสาดานนี้ จะมีปญหาในการ ผลักดันมากที่สุด เห็นไดจากประโยคสุดทายในหัวขอ Introduction ของหนังสือพิมพเขียวนั้นที่ระบุวา ‘[t]he APSC Blueprint would also have the flexibility to continue programmes/activities beyond 2015 in order 1 to retain its significance and have an enduring quality.’ อยางไรก็ตาม ถึงแมวา จะเขาใจดีวา เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความยากในการ ปฏิบัติ แตก็ปวยการที่จะคิดในแงนั้น เพราะไมวาจะอยางไร ประเทศสมาชิกก็จําเปนตองทําใหเสาประชาคมดานนี้เกิด ขึ้นมาใหได ทั้งนี้ นักวิชาการดานอาเซียนและผูที่ทํางานเกี่ยวของกับเสาดานประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ไดนําเสนอหาทางจุดประกายการทํางานเพื่อใหเสาประชาคมดานนี้เริ่มตน และขยายตัวตอไปในอนาคต โดยหลาย ทานไดชี้ไปที่การหาบางสิ่ง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นมีความเห็นรวมกัน เชนเห็นวา เปนผลประโยชนหรือเปนภัย รวมกัน ซึ่งทําใหประเด็นเรื่องภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) นั้นเขามาอยูในความ สนใจ เชน การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ และภัยธรรมชาติ เนื่องจาก เปนภัยที่แตละประเทศไมสามารถแกไข ปญหาดวยตนเองไดเพียงลําพัง ซึ่งจะเปนการบังคับกลาย ๆ ใหแตละประเทศนั้นจําเปนตองรวมมือกันแบบพหุภาคี และเปนจุดเริ่มใหแตละประเทศเรียนรูที่จะสละอํานาจอธิปไตยของตนบางสวนเพื่อผลประโยชนรวมกันในภูมิภาค ดวยสภาพปจจุบันของอาเซียนนั้น เปนองคกรความรวมมือระหวางประเทศ โดยผูนํารัฐบาลของแตล ะ ประเทศเปนผูมีอํานาจตัดสินใจบนพื้นฐานของปฏิญญาและความสมัครใจ ซึ่งไมไดมีกฎบัตรหรือกฎหมายใด ๆ ภายใต อาเซีย นที่สามารถบั งคับใช ประเทศสมาชิกได อยางมี ประสิ ทธิผล กลายเปนวา อาเซียนนั้น เปน เพียงพื้น ที่พูดคุ ย แลกเปลี่ยน และเจรจาตอรองของผูนํารัฐบาล และชนชั้นนําของประเทศสมาชิกบนพื้นฐานของผลประโยชนของชาติ หรื อ ผลประโยชน ข องผู นํ า ซึ่ ง ถึ ง แม อาเซี ย นจะประกอบด ว ย องค ก รที่ ไ ม ใ ช รั ฐ บาล (Non-governmental Organization) จํานวนมาก ที่สามารถเปนกลุมกดดัน (Pressure group) ซึ่งมีสวนกับการออกนโยบายของอาเซียน 2 แตสุดทายแลวการตัดสินใจทุกอยางอยูที่อํานาจของรัฐบาลของแตละประเทศสมาชิก อยางไรก็ตาม อาชญากรรม ขามชาติซึ่งเปนสวนหนึ่งของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบนั้น อาจจะเปนความหวังใหเสาดานประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนนั้นเดินหนาไปได เพราะการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองอาศัยความรวมมือโดย ธรรมชาติอยูแลว จึงไมมีประเทศใดที่จะปฏิเสธที่จะใหความรวมมือ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการรวมตัวในอนาคต อาชญากรรมขามชาติ เปนภัยที่รายแรงตอนานาอารยะประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งทุกประเทศ ตางตระหนักถึงภัยที่เกิดขึ้น ในประเทศไทยมีกลุมอาชญากรรมขามชาติเขามาเคลื่อนไหว และมีการเชื่อมโยงเปน เครือขายอาชญากรรมขามชาติ ทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด โดยเครือขายอาชญากรรมขามชาติจะดํา เนิน ธุรกิจผิดกฎหมายที่มีผลตอบแทนสูง เชน การคามนุษย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การลักลอบเขาเมือง การฟอก เงิน การฉอโกงขามชาติ ฯลฯ สรางความเสียหาย และสงผลกระทบดานเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ อยางหลีกเลี่ยงไมได ในการดําเนินนโยบายเปดประเทศดานการทองเที่ยว และการเปนศู นยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทย จะทํ า ใหอาชญากรรมขา มชาติแอบแฝงเขามาในประเทศไทยในรูปแบบของ 1 2

ASEAN. (2009). ASEAN Political-Security Community Blueprint. Cini M. (2010). Intergovernmentalism. In M. Cini & Borragan N.P.S (Eds). Oxford University Press.


บ ท นํา : ห น า | 2

นักทองเที่ยว มีความสะดวกในการเดินทาง และการขนสง และสามารถเดินทางไปยังประเทศที่สามไดอยางสะดวก จึง เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหอาชญากรรมขามชาติสามารถเขามาในประเทศไทยและสามารถเขามากอเหตุไดงาย ดังที่กลาวมาแลว เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น เปนเสาที่ดูจะมีปญหาในทางปฏิบัติ มากที่ สุ ด เนื่ องจาก มีหลายประเด็ น ที่ ต องเขา ไปเกี่ ย วของกั บ อํ า นาจอธิ ป ไตยของแต ล ะประเทศ ซึ่ งเป น เรื่ องที่ ละเอียดออน และกระทบตอวิถีอาเซียนที่เคยปฏิบัติกันมา แตก็ไมใชวาจะเปนไปไมไดเลย ประเทศสมาชิกอาเซียนก็มี ความจําเปนในการรวมมือดานความมั่นรวมโดยเฉพาะในเรื่องของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) ซึ่งพบวา กิจกรรมภายใต APSC Blueprint มีความเปนไปไดวา กิจกรรมดังกลาวดําเนินไปอยางจริงจัง อยางไรก็ตาม ก็ยังมีขอขัดของที่อาจจะเปนอุปสรรคของการรวมตัวเปนประชาคมในดานประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน นั่นคือ วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ที่จะไมกาวกายกิจการภายในของกันและกัน อีกทั้งแตละประเทศ อาเซียนเองก็ขาดแรงจูงใจในการสรางความรวมมือ ฉะนั้น มีความเปนไปไดที่อาเซียนจะนําปจจัยอื่น ๆ เขามาสงเสริม ใหเกิดความรวมมือที่ดียิ่งขึ้น อยางเชน ความชวยเหลือสนับสนุน หรือแรงกดดันจากประเทศมหาอํานาจภายนอกกลุม อาเซี ย นอย า งประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ญี่ ปุ น และจี น รวมถึ ง อาศั ย แรงผลั กดั น จากเสาประชาคมอื่ น โดยเฉพาะ ความสําเร็จของเสาประชาคมดานเศรษฐกิจมาเอื้อตอการสรางความรวมมือในดานความมั่นคงรวม เพื่อปกปองความ เฟองฟูทางเศรษฐกิจ จากนี้ไป ชาติสมาชิกอาเซียนจะถูกขับเคลื่อนอยางหนักหนวงและรุนแรงมากขึ้นในทุก ๆ มิติ และจะสงผล ตอภาพอนาคตภาพของประเทศตาง ๆ ที่เปนสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ โดยภาพเปาหมายอาเซียนที่ตั้งไวคือ การเปน ประชาคมที่เปนหนึ่งเดียวในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เชนเดียวกับรูปแบบของการรวมตัวในภูมิ ภาคอื่น ๆ นั้น นับเปนเปาหมายในภาพรวม ๆ แตในรายละเอียดภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนจะเปนอยางไรนั้น นับเปนสิ่งที่ยัง คาดการณไดยาก เพราะแตละมุมมองของแตละประเทศก็ตองการใหอาเซียนเปนไปตาง ๆ กัน ตั้งแตภาพอนาคต อาเซียนที่เปนการรวมตัวกันแบบเหนียวแนน จนเกิดเปนรัฐอาเซียนใหมเชนเดียวกับสหภาพยุโรป ไปจนถึงภาพการ รวมตัวเพียงแคสัญลักษณเพื่อการเก็บเกี่ยวผลประโยชนที่สมาชิกแตละชาติพึงหาได ถึงแมตนแบบที่เปนความคาดหวัง ไวใหเปนประชาคมแหงการพึ่งพาที่สมบูรณ แตอุปสรรคปญหาก็คือ อาเซียนมีลักษณะเฉพาะทั้งความเชื่ อ โครงสราง การปฏิบัติ ความรับผิดชอบและคานิยมที่ไมเหมือนภูมิภาคใดในโลกจนไดรับคําจํากัดความวา เปนลักษณะวิถีแหง อาเซียน (The ASEAN Way) นอกจากนี้ อาเซียนยังไดรวมกันจัดทํากฎหมายของประชาคม คือ กฎบัตรอาเซียนไว เพื่อประกันการเปนประชาคมอาเซียนจะไดไมผิดเพี้ ยนไป ซึ่งนับวา จะเปนกรอบ และแรงบังคับใหประเทศสมาชิก ตองยึด และปฏิบัติตาม ก็ยังถูกวิจารณวา จะบังคับใชตอประเทศสมาชิกไมได และจะเปนไดเพียงรัฐธรรมนูญแหง ความตั้งใจของอาเซียนเทานั้น จากปญหาความมั่นคงที่เกิดขึ้น แนวโนมของสถานการณสามารถเปลี่ยนแปลง โดยมีความผันผวนจากทั้ง ดานการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดลอม ผลกระทบ จากปจจัยภายในและภายนอกประเทศ ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับความเสี่ยงทางดานความมั่นคงภายในประเทศ ที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปญหาความขัดแยงของคนในชาติ การขาดความสามัคคี และการกระทําที่กระทบตอความ มั่นคงของสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการกอความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ในขณะที่ปญหาการกอการ รายสากล และอาชญากรรมขามชาติ ตลอดจนปญ หาที่เปนเรื่ องสืบเนื่องจากอดีต อาทิ ปญหายาเสพติด และผู หลบหนีเขาเมือง ยังเปนภัยคุกคามที่มีแนวโนมสงผลกระทบในวงกวาง รวมถึงยังจะตองเผชิญกับผลกระทบจาก สภาวะโลกรอน ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น จึงควรสรางคุณคาความตองการอยากอยูรวมกันของพลเมือง ภายในชาติโดยยึดมั่นในชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย รวมทั้งการรูรักสามัคคี สรางความแข็งแกรงของโครงสราง ของสั ง คมไทยให มีภู มิ คุ ม กั นที่ มั่ น คง ด ว ยการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและขี ด ความสามารถการมี ส ว นร วมของภาค ประชาชนใหมีความรูเทาทันกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และรวมกันคุมครองปกปองฐานทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง เปนทุนสําคัญของประเทศไวไดอยางยั่งยืน มีจิตสํานึกความรับผิดชอบตอสวนรวม รวมทั้งมีการบังคับใชกฎหมายอยาง จริงจังและเปนรูปธรรม ในการดําเนินการรักษาผลประโยชนและดํารงไวซึ่งความมั่นคงของชาติสืบไป


บ ท นํา : ห น า | 3

สุดทายนี้ แตละประเทศอาเซียนนั้น มีความแตกตางกันอยางมาก ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ วัฒนธรรม ฉะนั้น การสรางประชาคมอาเซียนใหมีความมั่นคงถาวรในทุกเสานั้น อาจจะเปนไปไดยาก หากประชาชน ในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนนั้น ไมมีความรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่งของประชาคมอาเซียนในทุกวันนี้ แมแต ประชาชนในประเทศไทยเอง ก็มีความรูในเรื่องอาเซียนนอยมาก และ/หรือแทบไมมีความรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่ง ของประชาคมอาเซียนเลย อาเซียนจึงกลายเปนเรื่องของรัฐบาล และชนชั้นนําทางการเมืองและเศรษฐกิจเทานั้น ซึ่ง ตางจากสหภาพยุโรปที่ทุกคนรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่งของสหภาพยุโรป ฉะนั้น การศึกษา และงานวิจัยที่เรงดวน สําหรับอาเซียนนั้น ควรจะเปนในเรื่องการสรางความรูสึกใหประชาชนในกลุมประเทศอาเซียนรูสึกเปนสวนหนึ่งของ ประชาคมอาเซียนที่กําลังจะเกิดในป ค.ศ. 2015 รวมถึงลดอัตตาความรูสึกเรื่องชาตินิยมลง มิเชนนั้น อาเซียนก็จะ เปนเพียงเวทีของนักการเมื อง นักธุรกิจ ผูมีอิทธิพล ผูนําประเทศสมาชิก มาพบปะกันเหมือนอยางเชนที่เปนอยูใน ปจจุบัน ดร.พรเทพ จันทรนิภ สิงหาคม 2557


ประชาคมอาเซี ย น ความเป น มาประชาคมอาเซี ย น ประชาคมอาเซียนมีจุดเริ่มตนจากสมาคมอาสา ซึ่งกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) โดย ประเทศไทย มาเลเซีย และฟลิปปนส ไดรวมกันจัดตั้งสมาคมอาสา (Association of South East Asia) ขึ้น เพื่อรวมกัน ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตดําเนินการไดเพียง 2 ป ก็ตองหยุดชะงักลง เนื่องจาก ความผกผันทางการเมือง ระหวางประเทศอินโดนีเซีย และประเทศมาเลเซีย ตอมา ไดมีการฟนฟูสัมพันธภาพระหวางประเทศขึ้น และไดมีการจัดตั้ง องคกรสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) เปน องคกรทางภูมิรัฐศาสตร และองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยปฏิญญาสมาคม ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Declaration of ASEAN Concord) หรือปฏิญญากรุงเทพฯ (The Bangkok Declaration) โดยมีการลงนามรวมกันระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศของประเทศสมาชิก ณ พระราชวัง สราญรมย เมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) ประกอบด วย ประเทศสมาชิ กผูก อตั้ง 5 ประเทศ ไดแ ก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย ในเวลาตอมา มีประเทศตาง ๆ เขาเปนสมาชิกเพิ่มเติม ไดแก บรูไน ดารุสซาลาม เปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) เวียดนาม เปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ลาว และเมียนมารเปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) และกัมพูชา เปนสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ซึ่งสัญลักษณของอาเซียน คือ รูปรวงขาวสีเหลืองบนพื้นสีแดงลอมรอบดวยวงกลมสีขาว และสีน้ําเงิน รวงขาว 10 ตน หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุงเรือง สีแดง หมายถึง ความกลาหาญ และการมีพลวัต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพ และความมั่นคง จากวันที่เริ่มกอตั้ง อาเซียนไดเผชิญสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปในเวทีการเมืองระหวางประเทศจากสภาวะแหง ความตึงเครียด และการเผชิญหนาในยุคสงครามเย็น รวมทั้งความขัดแยงภายในระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน แตดวย ลักษณะของการรวมตัวกันแบบหลวม ๆ ไดเปนสวนดีใหอาเซียนคอย ๆ เรียนรูในการอยูรวมกันในลักษณะเฉพาะของ ตนเอง คือ การไมแทรกแซงกิจการภายใน และการใหความเคารพซึ่งกันและกัน จนนํามาสูความมีเสถียรภาพ ความมั่นคง และความรวมมืออยางใกลชิดกันมากขึ้นโดยลําดับ หลังสงครามเย็นยุติลง สภาพแวดลอมทางความมั่นคงและการเมือง ระหวางประเทศพัฒนาขึ้นมาก ทําใหสมาชิกอาเซียนไดคลายกังวลจากการเผชิญหนากันเองลงได ประเทศตาง ๆ จึง สามารถทุมเทในการพัฒนาเศรษฐกิจ จนนับไดวา เปนภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว แตปจจัยที่ ภูมิภาคตาง ๆ ของโลกตางตระหนักถึงความจําเปนในการรวมตัวกันใหเขมแข็งมากขึ้น เพื่อที่จะรับมือกับภัยคุกคาม รู ป แบบต า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น มี ลั ก ษณะเป น ป ญ หาระดั บ ภู มิ ภ าคมากขึ้ น ทุ ก ที เช น ภั ย ก อ การร า ย ภั ย ธรรมชาติ และ อาชญากรรมขามชาติ รวมทั้งการแขงขันทางเศรษฐกิจ การเงินระหวางภูมิภาค มีการรวมตัวกันมากขึ้น การอยูตามลําพัง ประเทศเดียวยอมเสียเปรียบกวาภูมิภาคที่รวมตัวกันได ดวยเหตุนี้ การรวมตัวกันอยางหลวม ๆ หรือเปนอยางเชนที่ผานมา ของอาเซียน จึงไมเพียงพออีกตอไป ดังนั้น จึงไมเปนที่นาแปลกใจที่สมาชิกอาเซียนทั้งปวงไดเล็งเห็นประโยชนจากการ รวมกันดังกลาว และหากอาเซียนแยกกันก็จะตองเผชิญกับความยากลําบากในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของโลก ซึ่งจะมีผลกระทบตอภูมิภาคอาเซียนอยางหลีกเลี่ยงไมได


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 5

อาเซียนกอตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมความรวมมือทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร สงเสริม สันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค สงเสริมความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนสงเสริม ความรวมมือระหวางอาเซียนกับตางประเทศ และองคกรระหวางประเทศในปฏิญญากรุงเทพฯ กําหนดจุดประสงคของ 1 อาเซียน ไวดังนี้ 1. เพื่อเรงรัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคม และการพัฒนาทางวัฒนธรรมใน ภูมิภาค โดยความเพียรพยายามรวมกัน ดวยเจตนารมณแหงความเสมอภาค และความรวมมือรวมใจ ทั้ งนี้ เพื่อสงเสริม รากฐานสําหรับประชาคมที่มีความรุงเรือง และสันติสุขแหงประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2. สงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพอยางแนวแนในความยุติธรรม และหลักแหง เนติธรรม ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค และยึดมั่นในหลักการแหงกฎบัตรสหประชาชาติ 3. สงเสริมใหมีความรวมมืออยางจริงจัง และความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องที่มีผลประโยชนรวมกัน ทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร และการบริหาร 4. จัดใหมีความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการอํานวยความสะดวก การฝกอบรม และวิจัยทางดาน การศึกษา วิชาชีพ วิชาการ และการบริหาร 5. รวมมืออยางมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น เพื่อการใชประโยชนมากขึ้นในการเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม การ ขยายการคา รวมทั้งการศึกษาปญหาในเรื่องการคาระหวางประเทศเกี่ยวกับโภคภัณฑ การปรับปรุงบริการความสะดวก เกี่ยวกับการขนสง และคมนาคม และการยกระดับการครองชีพของประชาชนของตน 6. สงเสริมการศึกษาเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต 7. ธํารงความรวมมืออยางใกลชิดกับองคการระหวางประเทศ และระดับภูมิภาคที่มีความมุงหมาย และ ความมุงประสงคคลายคลึงกัน และที่จะแสวงหาลูทางทั้งหลาย เพื่อใหมีความรวมมืออยางใกลชิดขึ้นระหวางกัน นโยบายการดําเนินงานของอาเซียน จะเปนผลจากการประชุมหารือในระดับหัวหนารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และ เจาหนาที่อาวุโสอาเซียน การประชุมสุดยอด (ASEAN Summit) หรือการประชุมของผูนําประเทศสมาชิกอาเซียน เปน การประชุมสุดยอด เพื่อกําหนดแนวนโยบายในภาพรวม และเปนโอกาสที่ประเทศสมาชิกจะไดรวมกันประกาศเปาหมาย และแผนงานของอาเซียนในระยะยาว โดยจัดทําเอกสารรูปแบบตาง ๆ อาทิ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แถลงการณ รวม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความตกลง (Agreement) หรืออนุสัญญา (Convention) สวนการ ประชุมในระดับรัฐมนตรี และเจาหนาที่อาวุโส เปนการประชุมเพื่อพิจารณาทั้งนโยบายในภาพรวม และนโยบายเฉพาะ ดาน หนวยงานที่ทําหนาที่ประสานงาน และติดตามผลการดําเนินงานของอาเซียน ประกอบดวย สํานักงานเลขาธิการ อาเซียน (ASEAN Secretariat) มีสํานักงานตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เปนศูนยกลางในการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียน (Secretary : General of ASEAN) เปนหัวหนาสํานักงาน และสํานักงาน เลขาธิการอาเซียนแหงชาติ (ASEAN National Secretariat) เปนหนวยงานระดับกรมในกระทรวงการตางประเทศของ ประเทศสมาชิกอาเซียน มีหนาที่ประสานกิจการอาเซียน และติดตามผลการดําเนินงานในประเทศนั้น ๆ สําหรับประเทศ ไทย หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ และคณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives : CPR)

1

กระทรวงการตางประเทศ, 2522.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 6

ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ความรวมมือในการดําเนินงานดานตาง ๆ ของอาเซียนมีความคืบหนาตามลําดับ โดย ในการประชุมสุดยอดอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2540 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ซึ่งเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของการกอตั้งอาเซียน ผูนําของประเทศสมาชิกไดใหการรับรอง “วิสัยทัศนอาเซียน 2020” (ASEAN Vision 2020) ซึ่งมีสาระสําคัญวา ภายใน ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) อาเซียนจะมีรูปแบบความรวมมือที่พัฒนาใกลชิดกันมากยิ่งขึ้น กลาวคือ อาเซียนจะมีลักษณะ 2 ดังนี้ 1) วงสมานฉันทแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (A Concert of Southeast Asian Nations) 2) หุนสวนเพื่อการพัฒนาอยางมีพลวัต (A Partnership in Dynamic Development) 3) มุงปฏิสัมพันธกับประเทศภายนอก (An Outward-looking ASEAN) 4) ชุมชนแหงสังคมที่เอื้ออาทร (A Community of Caring Societies) ในชวงเวลาที่ผานมา อาเซียนมีความรวมมือกันในดานตาง ๆ ดังนี้

1. ดานการเมืองและความมั่นคง

อาเซี ยนเน น ความร ว มมื อ เพื่ อ ธํ า รงรั ก ษาสั น ติ ภาพ และความมั่ น คงของภู มิ ภาค โดยได จั ด ทํ า ปฏิ ญ ญา กําหนดใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPFAN) ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) การจัดทําสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asian Nuclear Weapon – Free Zone : SEANWFZ) ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และการริเริ่มการประชุมอาเซียนวาดวยความ รวมมือดานการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) ซึ่งไทยเปนเจาภาพ จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรก ในป พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994)

2. ดานเศรษฐกิจ

อาเซียนไดลงนามจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ในป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อลดภาษีศุลกากรระหวางกัน ชวยสงเสริมการคาภายในอาเซียนใหมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ลดตนทุนการผลิต ใน สินคาอุตสาหกรรม และดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ และไดขยายความรวมมือไปสูการคาบริการ และการเชื่อมโยง ทางดานอุตสาหกรรม เชน การจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA) มีจุดประสงคเพื่อใหอาเซียนมี ความไดเปรียบ และดึงดูดการลงทุนจากภายนอก และภายในภูมิภาค โดยการเปดตลาด (Market Access) และใหมีการ ปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (National Treatment) และยังไดขยายขอบเขตความตกลง AIA ใหครอบคลุมความรวมมือดาน การคาบริการ โดยมีการเปดเสรีการคาบริการใน 7 สาขา คือ การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ การเงิน การคลัง วิชาชีพธุรกิจ การกอสราง การคมนาคม และการทองเที่ยว โดยมีเปาหมายใหการเกิดเสรีครอบคลุมทุกสาขาบริการภายใน ป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)

3. ดานสังคม

อาเซียนมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ภายใตสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมใน หลายดาน เพื่อพัฒนา และเสริมสรางสภาพชีวิต และความเปนอยูของประชากรในภูมิภาคใหมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดี สงเสริม และรักษาเอกลักษณประเพณี และวัฒนธรรม ตลอดจนสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประชาชนในภูมิภาค เพื่อใหประชาชนในอาเซียนมีสภาพความเปนอยู และคุณภาพชีวิตที่ดีทัดเทียมกับประชาชนในประเทศที่พัฒนาแลว

2

กองอาเซียน กรมอาเซียน, 2548.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 7

การรวมกลุมของประเทศสมาชิกอาเซียน ไดมีความรวมมือพัฒนาในหลายดาน ทั้งดานความมั่นคง เศรษฐกิจ การคาการลงทุน ดานสังคม และวัฒนธรรม ทั้งประเทศสมาชิกดวยกันเอง และรวมถึงประเทศอื่น ๆ ทั้งในเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกามาอยางตอเนื่อง ในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของการกอตั้งอาเซียน บรรดา ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมประกาศวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 (ASEAN Vision 2020) เปนการกําหนดทิศทาง และเปาหมายของการดําเนินการในดานตาง ๆ ของอาเซียนใหครอบคลุมทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้ง การดําเนินความสัมพันธกับประเทศภายนอกกลุม ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) ไดจัดทําแผนปฏิบัติการสําหรับวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 (Hanoi Plan of Action to Implement the ASEAN Vision 2020) การจัดทําแผนปฏิบัติการฮานอย (HPA) เปนการนําวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 สูการปฏิบัติที่ เปนรูปธรรมโดยกําหนดกรอบเวลาที่ชัดเจน และใหมีการประเมินทุก ๆ 3 ป มีการกําหนดกิจกรรม และโครงการที่จะ นําไปสูเปาหมายในดานการเมือง เศรษฐกิจ และความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ซึ่งรวมถึงเรื่องการ พัฒนาสังคม วัฒนธรรม และสารสนเทศ ยาเสพติด สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีใหมีผลเปนรูปธรรม สราง ชุมชนอาเซียนที่มีความเอื้ออาทร และมี ความเปนประชาธิปไตยที่แทจริง เปนการเริ่มตนที่เปนรูปธรรมไปสูประชาคม อาเซียน

การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหวางวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผูนําอาเซียนไดลงนามปฏิญญาวาดวยความรวมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II) หรือปฏิญญาบาหลี (Bali Concord) เพื่อประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป พ.ศ. 2563 โดยสนับสนุนการรวมตัว และความรวมมืออยางรอบดาน ประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ดานการเมืองใหจัดตั้ง “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political Security Community : APSC) ดานเศรษฐกิจให จัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) และดานสังคม และวัฒนธรรมใหจัดตั้ง “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) และตอมา ในการประชุมสุด ยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ระหวางวันที่ 9-15 มกราคม พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนํา อาเซียนไดเห็นชอบใหเรงรัดการเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้นกวาเดิมอีก 5 ป คือ เปนประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ ในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ที่ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสรางองคกร เพื่ อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดําเนินการตามวัตถุประสงค และเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 วัตถุประสงคของกฎบัตรอาเซียน คือ ทําใหอาเซียนเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเคารพกฎกติกาในการทํางานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบั ต รอาเซี ย นจะให ส ถานะนิ ติ บุ ค คลแก อ าเซี ย นเป น องค ก รระหว า งรั ฐ บาล (Intergovernmental organization) กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ภายหลังจากที่ประเทศ สมาชิกไดใหสัตยาบันกฎบัตรครบทั้ง 10 ประเทศ กฎบัตรอาเซียนกําหนดใหอาเซียน และรัฐสมาชิกปฏิบัติตามหลักการ พื้นฐาน ดังนี้ 1. การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณาการแหงดินแดน และอัตลักษณแหงชาติของรัฐสมาชิก อาเซียนทั้งปวง 2. ความผูกพัน และความรับผิดชอบรวมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมัง่ คั่งของภูมิภาค


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 8

3. การไมใชการรุกราน และการขมขูวาจะใช หรือการใชกําลัง หรือการกระทําอื่นใดในลักษณะที่ขัดตอกฎหมาย ระหวางประเทศ 4. การอาศัยการระงับขอพิพาทโดยสันติ 5. การไมแทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน 6. การเคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธํารงประชาชาติของตน โดยปราศจากการแทรกแซง การบอน ทําลาย และการบังคับจากภายนอก 7. การปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้น ในเรื่องที่มีผลกระทบอยางรายแรงตอประโยชนรวมกันของอาเซียน 8. การยึดมั่นตอหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตย และรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ 9. การเคารพเสรีภาพพื้นฐาน การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และการสงเสริมความยุติธรรมทางสังคม 10. การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติ และกฎหมายระหวางประเทศ รวมถึงกฎหมายดานมนุษยธรรมระหวาง ประเทศที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ 11. การละเวนจากการมีสวนรวมในนโยบาย หรือกิจกรรมใด ๆ รวมถึงการใชดินแดนของตน ซึ่งดําเนินการโดย รัฐสมาชิกอาเซียน หรือรัฐที่ไมใชสมาชิกอาเซียน หรือผูกระทําที่ไมใชรัฐใด ๆ ซึ่งคุกคามอธิปไตย บรูณภาพแหงดินแดน หรือเสถียรภาพทางการเมือง และเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน 12. การเคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกตางของประชาชนอาเซียน โดยเนนคุณค ารวมกันของ ประชาชนอาเซียน ดวยจิตวิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย 13. ความเปนศูนยรวมของอาเซียนในความสัมพันธภายนอกทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดย คงไวซึ่งความมีสวนรวมอยางแข็งขัน การมองไปภายนอก การไมปดกั้น และการไมเลือกปฏิบัติ 14. การยึดมั่นในกฎการคาพหุภาคี และระบอบของอาเซียน ซึ่งมีกฎเปนพื้นฐานสําหรับการปฏิบัติตามขอผูกพัน ทางเศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพ และการลดอยางคอยเปนคอยไป เพื่อนําไปสูการขจัดอุปสรรคทั้งปวงตอการรวมตัวทาง เศรษฐกิจระดับภูมิภาค ในระบบเศรษฐกิจซึ่งขับเคลื่อนโดยตลอด กฎบัตรอาเซียน ประกอบดวย ขอบทตาง ๆ 13 บท 55 ขอ มีประเด็นใหมที่แสดงความกาวหนาของอาเซียน ไดแก 1. การจัดตั้งองคกรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน 2. การใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนสอดสอง และรายงานการทําตามความตกลงของรัฐสมาชิก 3. การจัดตั้งกลไกสําหรับการระงับขอพิพาทตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. การใหผูนําเปนผูตัดสินวา จะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีตามกฎบัตรอาเซียนอยางรายแรง 5. การเปดชองใหใชวิธีการอื่นในการตัดสินใจไดหากไมมีฉันทามติ 6. การสงเสริมการปรึกษาหารือกัน ระหวางประเทศสมาชิกเพื่อแกไขปญหาที่กระทบตอผลประโยชนรวม ซึ่งทํา ใหการตีความหลักการหามแทรกแซงกิจการภายในมีความยืดหยุนมากขึ้น 7. การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซี ยน เพื่อใหอาเซียนสามารถตอบสนองตอสถานการณฉุกเฉินไดอยา ง ทันทวงที 8. การเปดชองทางใหอาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธกับองคกรภาคประชาสังคมมากขึ้น 9. การปรับปรุงโครงสรางองคกรใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เชน ใหมีการประชุมสุดยอดอาเซียน 2 ครั้งตอป จัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความรวมมือในแตละ 3 เสาหลัก และการมีคณะผูแทนถาวรประจําอาเซียน ที่กรุงจาการตา เพื่อลดเวลา และคาใชจายในการประชุมของอาเซียน เปนตน 10. การกําหนดใหใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการของอาเซียน


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 9

กฎบัตร จะเปน Legal and Institutional Framework เพื่อใหอาเซียนสามารถดําเนินการตามวัตถุประสงค และเปาหมายขององคการ โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ตามที่ผูนําอาเซียนไดประกาศเจตนารมณไว โดย 1. ใหสถานะ “นิติบุคคล” แกอาเซียน เพื่อใหอาเซียนเปนองคการระหวางประเทศที่มีสถานะทางกฎหมาย ซึ่ง สามารถลงนามในสนธิสัญญาและทํานิติกรรมตาง ๆ ในนามของประเทศสมาชิกตามที่ไดรับมอบหมาย 2. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีกฎเกณฑในการทํางาน (Rule-based Organization) โดย 2.1. ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตามพันธกรณีภายใตกฎบัตรและความตกลงของอาเซียน รวมถึงการออก กฎหมายภายในรองรับพันธกรณี (Obligation to Comply) 2.2. มีกลไกการระงับขอพิพาทสําหรับความตกลงสําหรับความตกลงในทั้ง 3 เสาหลัก (Enforcement) 2.3. มีกลไกตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศสมาชิก โดยเลขาธิการอาเซียนเปนผูตรวจสอบ การปฏิบัติตามคําตัดสินจากกลไกการระงับขอพิพาทของประเทศสมาชิก และรายงานตอผูนํา (Monitoring) 2.4. มีมาตรการลงโทษกรณีไมปฏิบัติตามพันธกรณี (Sanctions) โดยใหผูนําสามารถตัดสินกรณีการละเมิด พันธกรณีตามกฎบัตรอยางรายแรง 3. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง (People-oriented Organization) โดย 3.1. มุงใหกิจกรรมของอาเซียนกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนอยางแทจริง ใหความสําคัญกับการสงเสริม กิจกรรมเพื่อความอยูดีกินดีของประชาชน ความมั่นคงของมนุษยเสริมสรางประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และสิทธิ มนุษยชน รวมถึงการมีองคกรระดับภูมิภาคเพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน เปนตน 3.2. ส ง เสริ มการมี ส ว นร ว มของประชาชน เช น การกํ า หนดให อ งค ก ารต า ง ๆ ของอาเซี ย น มี ห น า ที่ ปรึก ษาหารือกั บภาคประชาชนในการดํา เนิน งานภายใตค วามรับ ผิด ชอบ การให สถานะที่ป รึกษากั บองคก ารภาค ประชาชนตาง ๆ เปนตน 4. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยกําหนดโครงสรางองคกรใหม เพื่อปรับปรุงการ ประสานงาน ปรับกระบวนการตัดสินใจใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และปรับหลักการ Non-interference ใหมีความ ยืดหยุน เพื่อใหอาเซียนสามารถแกไขปญหาที่กระทบตอผลประโยชนสวนรวมไดทันทวงที โดย 4.1. ตั้ง ASEAN Summit ระดับผูนํา ซึ่งจะประชุมรวมกันบอยขึ้น เพื่อใหแนวทาง และเสริมสราง เจตนารมณในการสรางประชาคมอาเซียน 4.2. ตั้งคณะมนตรี (Councils) ของแตละเสาหลัก เพื่อความเปนเอกภาพ และการประสานงานที่ดีระหวาง กิจกรรมภายใตแตละเสาหลัก และประเด็นที่เปน Cross-cutting Issues 4.3. ตั้งองคกร ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน มีหนาที่กลั่นกรองเรื่อง ตาง ๆ กอนที่จะเสนอเขาสูการพิจารณาของผูนํา 4.4. เพิ่มบทบาท และหนาที่ของประธานอาเซียน เพื่อใหการดําเนินงานของอาเซียนเกิดความตอเนื่อง และ มีการประสานงานที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีปญหาที่ตองไดรับการแกไขเรงดวน 4.5. เพิ่มอํานาจ และความรับผิดชอบของเลขาธิการอาเซียน โดยนอกจากจะเปน Chief Administrative Official แลว ยังมีหนาที่ติดตามการปฏิบัติตามคําตัดสินจากกลไกระงับขอพิพาทของประเทศสมาชิก และรายงานตอผูนํา และสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธขององคการของอาเซียนกับภาคประชาสังคม 4.6. ตั้งสํานักผูแทนถาวรของประเทศสมาชิกประจําอาเซียนที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อลด คาใชจายในการเดินทางเขารวมประชุม และการประสานงานที่ดีขึ้น


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 10

4.7. การตัดสินใจดวยหลักการ “ฉันทามติ” ยังคงเปนหลักการสําคัญของอาเซียน แตในกรณีที่ไมสามารถ หาฉั น ทามติ ใ นระหว า งประเทศสมาชิ ก ได ให ผู นํ า สามารถตกลงกั น ให ใ ช วิ ธี ก ารตั ด สิ น ใจรู ป แบบอื่ น ได ซึ่ ง จะทํ า ให กระบวนการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น 4.8. ยกระดับ Political Dialogue เพื่อปรึกษาหารือถึงปญหาที่กระทบตอประโยชนรวมของประเทศ สมาชิกอาเซียน กฎบัตรอาเซียนสรางกลไกตรวจสอบและติดตามการดํา เนินการตามความตกลงตาง ๆ ของประเทศสมาชิกใน หลากหลายรูปแบบ เชน 1. ใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนดูแลการปฏิบตั ิตามพันธกรณี และคําตัดสินขององคกรระงับขอพิพาท 2. หากการปฏิบัติ หรือไมปฏิบัติตามขอตกลงตาง ๆ ทําใหเกิดขอพิพาทระหวางรัฐสมาชิกสามารถใชกลไก และขั้นตอนระงับขอพิพาท ทั้งที่มีอยูแลว และที่จะตั้งขึ้นใหมเพื่อแกไขขอพิพาทที่เกิดขึ้นโดยสันติวิธี 3. หากมีการละเมิดพันธกรณีในกฎบัตรฯ อยางรายแรง ผูนํา อาเซียนสามารถกํา หนดมาตรการใด ๆ ที่ เหมาะสมวาจะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีกฎบัตรอาเซียน ชวยใหอาเซียนเปนประชาคมเพื่อประชาชนได อยางไร ขอบทตาง ๆ ในกฎบัตรอาเซียน แสดงใหเห็นวา อาเซียนกําลังผลักดันองคกรใหเปนประชาคม เพื่อประชาชน อยางแทจริง จึงกําหนดใหการลดความยากจน และลดชองวาง การพัฒนาเปนเปาหมายหนึ่งของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน เปดโอกาสใหภาคประชาชน และภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวม ในอาเซียนผานการมีปฏิสัมพันธกับองคกรตาง ๆ ของ อาเซียนมากขึ้น ทั้งยังกําหนดใหมีความรวมมือระหวางอาเซียนกับสมัชชารัฐสภาอาเซียน ซึ่งเปนองคกรความรวมมือ ระหวางรัฐสภาของประเทศสมาชิกกําหนดใหมีการจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียน เพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิ มนุษยชน และสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน กฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนกฎหมายสูงสุดของอาเซียน ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เปน เอกสารหลักที่กําหนดโครงสรางองคกรของอาเซียน ไวในหมวดที่ 4 ดังนี้ 1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบดวย ประมุขหรือหัวหนารัฐบาล มีอํานาจหนาที่การ กําหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางความรวมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสํา คัญ โดยใหประเทศสมาชิกซึ่งเปน ประธานอาเซียนเปนเจาภาพจัดการประชุม 2 ครั้งตอป หรือเรียกประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจําเปน 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ทําหนาที่ เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลง และขอตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงาน ระหวาง 3 เสาหลัก ดูแลการดําเนินงานและกิจการตาง ๆ ของอาเซียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมี การประชุมกันอยางนอย 2 ครั้งตอป 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบดวย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก อันไดแก คณะมนตรีการเมือง และความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเปนผูแทนที่ประเทศสมาชิกแตงตั้งใหเปนผูรับผิดชอบแตละเสาหลัก มี อํานาจหนาที่ในการประสานงาน และติดตาม การทํางานตามนโยบาย โดยเสนอรายงาน และขอเสนอแนะตอที่ประชุมผูนํา มีการประชุมอยางนอยปละ 2 ครั้ง ประธาน การประชุมเปนรัฐมนตรีที่เหมาะสมจากประเทศสมาชิก ซึ่งเปนประธานอาเซียน


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 11

4. องคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectorial Ministerial Bodies) องค ก รระดั บ รั ฐมนตรี อ าเซี ยนเฉพาะสาขา (เช น ด า นสาธารณสุ ข ด า นกลาโหม ด า นการศึ ก ษา ฯลฯ) ประกอบดวย รัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหนาที่ปฏิบัติตามขอตกลง และขอตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู ใน ขอบขายการดําเนินงานของตน และเสริมสรางความรวมมือในสาขาของแตละองคกรใหเขมแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการ รวมตัวของประชาคมอาเซียน 5. เลขาธิการอาเซียนและสํานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) สํานักเลขาธิการอาเซียนไดจัดตั้งขึ้นตามขอตกลงที่ลงนามโดยรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนในระหวางการ ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในป 2519 เพื่อทําหนาที่ประสานงาน และดําเนินงานตามโครงการ และกิจกรรมตาง ๆ ของสมาคมอาเซียน และเปนศูนยกลางในการติดตอระหวางสมาคมอาเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันตาง ๆ และ รัฐบาลของประเทศสมาชิกสํานักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีหัวหนาสํา นักงาน เรียกวา “เลขาธิการอาเซียน” (ASEAN Secretary-General) ซึ่งไดรับการแตงตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระ การดํารงตําแหนง 5 ป และตองไดรับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลํา ดับตัวอักษร ผูดํารงตําแหนง เลขาธิการอาเซียนทีเ่ ปนคนไทย คือ นายแผน วรรณเมธี ซึ่งมีวาระดํารงตําแหนงระหวางป 2527-2529 และดร. สุรินทร พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดํารงตําแหนงระหวางป 2551-2555 6. คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives to ASEAN) คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน เปนผูแทนระดับเอกอัครราชทูตที่แตงตั้งจากประเทศสมาชิกให ประจําที่สํานักงานใหญอาเซียน กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย มีหนาที่สนับสนุนการทํางานของคณะมนตรีประชาคม อาเซียน และองคกรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการอาเซียนใน เรื่องที่เกี่ยวของ และประสานงานกับสํานักงานเลขาธิการอาเซียนแหงชาติ และองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา 7. สํานักงานอาเซียนแหงชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) เปนหนวยงานระดับกรมในกระทรวงการตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแตละประเทศไดจัดตั้ง ขึ้นเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความรวมมือตาง ๆ เกี่ ยวกับอาเซียนในประเทศนั้น ๆ สําหรับประเทศไทยหนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ 8. องคกรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการสงเสริม และคุมครอง สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทํางาน และอํานาจหนาที่จะไดกําหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีตางประเทศ อาเซียนตอไป 9. มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) มูลนิธิอาเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียน และดําเนินการรวมกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของในการ สนั บ สนุ น การสร า งประชาคมอาเซี ยน โดยการส ง เสริ มความสํ า นึ ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เกี่ ย วกั บ อั ต ลั ก ษณ ข องอาเซี ยน การมี ปฏิสัมพันธระหวางประชาชน การดําเนินงานรวมกันที่ใกลชิดระหวางภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผูมีสวน ไดเสียอื่น ๆ ในอาเซียน โดยสรุปสาระสําคัญของกฎบัตรอาเซียน คือ การเรงรัดการรวมตัวเปนประชาคมทั้งสามหลัก ไดแก 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุงใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติ มีระบบแกไข ความขัดแยงระหวางกันไดดวยดี มีเสถียรภาพอยางรอบดาน มีกรอบความรวมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้ง รูปแบบเดิม และรูปแบบใหม ๆ เพื่อใหประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 12

2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุงใหเกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอํานวยความสะดวกในการ ติดตอคาขายระหวางกัน อันจะทําใหภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได เพื่อความอยูดีกิน ดีของประชาชนในประเทศอาเซียน และ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อใหประชาชนแตละประเทศอาเซียนอยูรวมกันภายใตแนวคิด สังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม

เสาหลั ก ประชาคมอาเซี ย น ผลจากแรงขับเคลื่อนอาเซียนเหลานี้ ในป พ.ศ. 2540 อาเซียนไดกําหนดวิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) โดยมีเปาหมายใหอาเซียนเปนกลุมหุนสวนที่มีความสมานฉันท รวมกันพัฒนาอยางเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ใหได ในป พ.ศ. 2563 จากจุดเริ่มของการกําหนดวิสัยทัศนดังกลาว เปนแรงขับใหอาเซียนมีพัฒนาการอยางรวดเร็วในการ เตรียมตัวเขา สูรูปแบบของประชาคมที่มีค วามเป นหนึ่งเดียวกั น มีสัน ติสุข และเอื้อ อาทรกัน ตอ มาในป พ.ศ. 2549 อาเซียนไดประกาศรางพิมพเขียวกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) และเรงใหเกิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ใน พ.ศ. 2558 หรือ ค.ศ. 2015 โดยประชาคมอาเซียน จะประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ที่มีเปาหมายดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) อาเซียนมุงสงเสริมความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคง เพื่อเสริมสราง และธํารงไว ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติสุข และสามารถแกไขปญหา และความขัดแยง โดยสันติวิธี โดยมีเปาหมายรวมกันในการสราง “สังคมประชาธิปไตย” เพื่อความมั่นคงรวมกันในภูมิภาค องคประกอบ อื่น ๆ ทางการเมืองที่อาเซียนถือเปนแนวทางรวมกัน รวมถึงหลักการปกครองที่ดี การเคารพในสิทธิมนุษยชน อิสรภาพ เสรีภาพ และความเสมอภาคกันในหมูพลเมืองอาเซียน เพื่อรองรับการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน อาเซียนไดจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political – Security Community Blueprint) โดยเนนใน 3 ประการ คือ การมีกฎเกณฑและคานิยมรวมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรม ตาง ๆ ที่รวมกันทํา เพื่อสรางความเขาใจในระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตรที่แตกตางของประเทศสมาชิก สงเสริมพัฒนาการทางการเมืองไปในทิศทางเดียวกัน เชน หลักการประชาธิปไตย การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีสวนรวมของภาคประชาสังคม การตอตานการทุจริต การสงเสริมหลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล เปน ตน ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุมดังนี้ 1) สงเสริมความสงบสุข และรับผิดชอบรวมกันในการรักษาความมั่นคง สําหรับประชาชนครอบคลุมในทุก ดาน ครอบคลุมความรวมมือ เพื่อเสริมสรางความมั่นคงในรูปแบบเดิม ซึ่งหมายถึง มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และ การระงับขอพิพาทโดยสันติ เพื่อปองกันสงคราม และใหประเทศสมาชิกอาเซียนอยูดวยกัน โดยสงบสุข และไมมีความ หวาดระแวง นอกจากนี้ ยั งขยายความร วมมือ เพื่อ ตอ ตานภัยคุก คามรู ปแบบใหม เช น การต อต านการก อการรา ย อาชญากรรมขามชาติตาง ๆ เชน ยาเสพติด การคามนุษย ตลอดจนการเตรียมความพรอมเพื่อปองกัน และจัดการภัยพิบัติ และภัยธรรมชาติ 2) การมีพลวัต และปฏิสัมพันธกับโลกภายนอก กําหนดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางบทบาทของอาเซียนในความ รวมมือระดับภูมิภาค เชน กรอบ ASEAN+3 (จีน ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี) และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธที่เขมแข็งกับมิตรประเทศ และองคการระหวางประเทศ เชน สหประชาชาติ


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 13

2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)

อาเซียนมีเปาหมายที่จะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมี เปาหมายใหอาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียว และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมี ฝมืออยางเสรี เพื่อมุงหวังที่จะพัฒนาอาเซียนใหเปนภูมิภาคที่เจริญมั่งคั่ง มั่นคง ขจัดความยากจน และลดความไมเทา เทียมกันทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะสงผลใหอาเซียนพัฒนาอยูในระดับที่เทียบเคียงกัน โดยอาเซียนไดจัดทําแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเปนแผนงานบูรณาการการดําเนินงานในดาน เศรษฐกิจ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค 4 ดาน คือ 1) การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยจะมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงาน ฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น รวมทั้งการสงเสริมการรวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียนใหเปน รูปธรรม โดยไดกําหนดเวลาที่จะคอย ๆ ลด หรือยกเลิกอุปสรรคระหวางกันเปนระยะ ทั้งนี้ กําหนดใหลดภาษีสินคาเปน ศูนย และลด หรือเลิกมาตรการที่มิใชภาษี ภายใน ป พ.ศ. 2553 เปดตลาดภาคบริการทั้งหมดภายใน ป พ.ศ. 2558 และ เปดเสรีการลงทุนภายในป พ.ศ. 2553 2) การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน โดยใหความสําคัญกับประเด็น ดานนโยบายที่จะชวยสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เชน นโยบายการแขงขัน การคุมครองผูบริโภค สิทธิในทรัพยสิน ทางป ญญา พาณิช ยอิเ ล็กทรอนิกส นโยบายภาษี และการพั ฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค ใหมีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และ การเสริมสรางขีดความสามารถผานโครงการตาง ๆ เชน ขอริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) เปนตน เพื่อลดชองวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิก 4) การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก เนนการปรับประสาน นโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาค เพื่อใหอาเซียนมีทาทีรวมกันอยางชัดเจน เชน การจัดทําเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจา ตาง ๆ เปนตน รวมทั้งสงเสริมการสรางเครือขายในดานการผลิต/จําหนายในภูมิภาคใหเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ ความรวมมือดานเศรษฐกิจของอาเซียน ยังใหความสําคัญตอการเสริมสรางศักยภาพ และพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การยอมรับคุณสมบัติดานวิชาชีพรวมกัน การสงเสริมใหมีการหารือรวมกันอยางใกลชิดในการดําเนิน นโยบายด า นเศรษฐกิ จ และการเงิ น การส ง เสริ ม การเชื่ อ มโยงด า นโครงสร า ง และการคมนาคม การพั ฒ นาการ ติดตอสื่อสารทางสื่ออิเล็กทรอนิกส การบูรณาการดานอุตสาหกรรมขามภูมิภาค เพื่อสงเสริมทรัพยากรของภูมิภาค และ การเพิ่มบทบาทการมีสวนรวมของภาคเอกชน เพื่อสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) อาเซียนมุงหวังประโยชนจากการรวมตัวกันเพื่อทําใหประชาชนมีการอยูดีกินดี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ มี สิ่งแวดลอมที่ดี และมีความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ภายใตสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมในหลายดาน ไดแก เยาวชน การศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สิทธิ มนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สิ่งแวดลอม สตรี และแรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคม และการพัฒนา วัฒนธรรม และสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเขาเมือง และศุลกากร ยาเสพติด และการจัดการ ภั ยพิ บั ติ สิ ท ธิ มนุ ษ ยชน โดยมี ค ณะทํ า งานอาเซี ย นรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น ความร ว มมื อ ในแต ล ะด า น ซึ่ ง อาเซี ย นได ตั้งเปาหมายการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในป พ.ศ. 2558 ไดจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint : ASCC) โดยมุงหวังที่จะทําใหเกิดประชาคม อาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเปนสังคมที่รับผิดชอบ เพื่อกอใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และความเปน เอกภาพในหมูประชาชาติและประชาชนอาเซียน โดยเสริมสรางอัตลักษณรวมกัน สรางสังคมที่เอื้ออาทร และแบงปน และ


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 14

ประชาชนมีสวนรวม โดยมีคุณภาพชีวิต และความเปนอยู และสวัสดิการของประชาชนดีขึ้น ตอบสนองตอความตองการ ของภูมิภาคในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยดําเนินกิจกรรมที่เนนการใหความสําคัญกับประชาชน และเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อมุงไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จะชวยสนับสนุนการสราง พื้นฐานที่แข็งแกรงสําหรับความเขาใจอันดีการเปนเพื่อนบานที่ดี และการแบงปนความรับผิดชอบ ประชาคมสั งคมและวั ฒนธรรมอาเซี ยน เคารพในความแตกต างทางวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาของ ประชาชนอาเซียน เนนคุณคารวมกันทามกลางความเปนเอกภาพในความหลากหลาย โดยปรับใหเขากับสถานการณ โอกาส และสิ่งทาทายในปจจุบัน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนใหความสําคัญกับมิติทางวัฒนธรรมในเรื่องการลด ชองวางการพัฒนา โดยขจัดความแตกตางทางการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ครอบคลุมลักษณะ 6 ดาน คือ 1) การพัฒนามนุษย (Human Development) 2) การคุมครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3) ความยุติธรรมทางสังคมและสิทธิ (Social Justice and Rights) 4) ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม (Ensuring Environmental Sustainability) 5) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN Identity) และ 6) การลดชองวางทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) การรวมตัวกันของอาเซียน โดยมุงหวังวา ประชาคมอาเซียนจะนําประโยชนกลับมาสูประเทศสมาชิก ทั้งในมิติ ดานเศรษฐกิจที่จะทําใหประชากรของแตละประเทศอยูดีกินดี การรวมตัวกันจะเปนการสรางความเขมแข็งใหภาคการผลิต ที่จะสามารถสรางอํานาจตอรองในระดับโลกไดมากขึ้น และยังเปนการสรางตลาดที่ใหญขึ้นจากจํานวนประชากรอาเซียนที่ มีมากกวา 600 ลานคน กลุมสินคาและบริการนํารองที่สําคัญที่จะเกิดการรวมกลุมกัน คือ สินคาเกษตร สินคาประมง ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ ยานยนต อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการดานสุขภาพ การทองเที่ยว และการขนสงทางอากาศ (การบิน) โดยกําหนดให ป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เปนปที่เริ่มรวมตัวกันอยางเปนทางการ แต จะผอนปรนใหกับประเทศลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม สําหรับประเทศไทยไดรับมอบหมายใหจัดทํา Roadmap ทางดานทองเที่ยวและการขนสงทางอากาศ (การบิน) จากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซียไดจัดทํา ขอตกลงรวมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เกี่ยวกับคุณสมบัติของวิชาชีพหลัก แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผูมีความสามารถพิเศษ เพื่ออํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายไดอยางเสรีที่จะเริ่มต นในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ทั้งนี้ ในเบื้องตนประเทศสมาชิกตกลงรวมกันแลววา แรงงาน 7 สาขาที่เปดเสรีกอน คือ วิศวกร (Engineering Services) พยาบาล (Nursing Services) สถาปนิก (Architectural Services) นักสํารวจ (Surveying Qualifications) แพทย (Medical Practitioners) ทันตแพทย (Dental Practitioners) และนักบัญชี (Accountancy Services) ซึ่งจาก ผลการวิจัยของ Osaka School of International Public Policy รวมกับ OECD และ Johns Hopkins University ศึกษาวัด ผลกระทบจากการรวมตั วเป นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช แบบจํา ลอง Dynamic Computable General Equilibrium Model (CGE) ซึ่งเปนการวิเคราะหเชิงปริมาณตอผลกระทบตอความรุงเรืองทางเศรษฐกิจ (Economic welfare) การเคลื่อนยายของสินคา (Trade flows) และผลลัพธตามภาคสวน (Sectoral output) พบวา เมื่อมีการลดกําแพงอุปสรรคทางการคาตาง ๆ ลงของประชาคมในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) แลว ประเทศตาง ๆ ใน อาเซียนจะไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจทุกประเทศ โดยแตละประเทศจะไดรับประโยชนแตกตางกันไป ในสวนของ 3 ประเทศไทยจะเปนประเทศที่ไดรับผลประโยชนสูงที่สุดถึงรอยละ 9.38 นอกจากนี้ ยังพบวา ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาด 3

Hiro Lee , Michael G. Plummer, Assessing the Impact of the ASEAN Economic Community, OSIPP Discussion Paper, 23 March 2011.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 15

ใหญนอกภูมิภาคอาเซียน จะไดรับผลกระทบเชิงลบทั้ง จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด กลุมประเทศ อเมริกาเหนือและสหภาพยุโรป นอกจาก ประโยชนด านเศรษฐกิจแลว สิ่ งที่จะเปน ประโยชน คือ การเสริ มสรางความมั่ นคงใหแก ภูมิ ภาค ประชาคมจะรวมกันสรางเครื่องมือตาง ๆ ในการปกปองการถูกคุกคามจากภัยรูปแบตาง ๆ ที่เปนภัยคุกคามรวม (ASEAN Common Threats) ไดแก ภัยจากโรคติดตอ (Health threats and infectious diseases) ภัยจากธรรมชาติ และการ ทําลายสิ่งแวดลอม และภัยจากอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบตาง ๆ เชน การกอการราย โจรสลัด การคายาเสพติด การคาอาวุธ การฟอกเงิน และอาชญากรรมทางระบบไซเบอร ซึ่งการรวมตัวกันของอาเซียน จะชวยแกไขปญหาความ ขัดแยงภายใน ดวยการสรางความไววางใจ ลดความหวาดระแวงซึ่งกันและกันใหมากขึ้น การรวมตัวกัน จะทําใหเกิดเปน กําลังอํานาจ สําหรับชวยประเทศสมาชิกตอตานการถูกคุกคามจากมหาอํานาจภายนอกอาเซียน เชน ปญหาจากจีนที่ คุกคามประเทศตาง ๆ ในกรณีของขอพิพาทเขตแดนทางทะเลจีนใต หรือการขัดกันของมหาอํานาจที่เขามามีอิทธิพลใน ภูมิภาค ซึ่งหากอาเซียนสามารถประสานความรวมมือกันเปนนโยบายตางประเทศของภูมิภาคยอมเกิดเปนอํานาจตอรอง หรือสรางความยําเกรงแกประเทศเหลานี้ได และความมั่นคงที่เกิดขึ้นจากการสรางและพัฒนาเศรษฐกิจของสมาชิกให พัฒนาขึ้นมาใหมีระดับที่ใกลเคียงกัน จะทําใหประชาชนของประเทศตาง ๆ อยูดีกินดีขึ้น และประเทศที่มีเศรษฐกิจดีอยู แลวก็จะมีความมั่นคงมากขึ้น เพราะจะไมตองเผชิญกับการเคลื่อนยายแรงงานผิดกฎหมายที่จะนํามาซึ่งความไมมั่นคง ทางดานสาธารณสุข เชน โรคติดตอ หรือการคายาเสพติด อาวุธ หรือการปลนสะดม หรือแมแตโจรสลัด ดังที่เกิดขึ้นใน ชองแคบมะละกา เพราะความยากจนของชาวอินโดนีเซียในพื้นที่นั้น ดั งนั้น สภาพแวดลอมความมั่นคงระหวางประเทศ ของประเทศสมาชิกภายหลังการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน จะมีโอกาสที่จะมีความมั่นคงมากขึ้น หากอาเซียนจัดตั้ง เปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดสําเร็จ จะทําใหการสื่อสารแบบพหุภาคีเพื่อแกปญหาของคูขัดแยง โดย จะมีอํานาจตอรอง และมีเวทีใหเกิดการเจรจามากกวาการใชกําลังทหาร อีกทั้งการที่ประเทศสมาชิกมีการเชื่อมโยง ทางดานสังคม และเศรษฐกิจซึ่งกันและกันมากขึ้น ยอมทําใหคูขัดแยงแตละฝายตางตองคิดใหมากในการใชวิธีที่รุนแรงเขา แกปญหา ซึ่งจะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ และประชาชนของตนที่ทํางานในประเทศคูขัดแยง นอกจากนี้ สภาพแวดลอม แบบเดิมที่ประเทศสมาชิกชักนํามหาอํานาจเขามาสนับสนุนอยางชัดเจน เพื่อคานอํานาจกับประเทศสมาชิกอื่น หรือเลือก มหาอํานาจหนึ่งมาคานอํานาจกับอีกมหาอํานาจ เชน เวียดนามใชรัสเซีย และสหรัฐอเมริกามาคานอํานาจจีน การมี ความสําคัญแบบทวิภาคีของสมาชิกกับประเทศมหาอํานาจตองผานประชาคมอาเซียนมากขึ้น และการมีความสัมพันธ แบบทวิ ภาคี ข องสมาชิ ก กั บ ประเทศมหาอํ า นาจจะถู ก จั บ ตามองจากประชาคม โดยเฉพาะเมื่ อ พิ จ ารณานโยบาย ตางประเทศของประชาคมอาเซียน คาดวา นาจะเลือกเปนความเปนกลางกับทุกประเทศมหาอํานาจได เพราไมสามารถ อางเหตุผลเดิมที่กองทัพมีความออนแอ ทําใหประเทศตาง ๆ ในอาเซียนจําเปนตองอาศัยประเทศมหาอํานาจหนุนหลังอยู เพื่อสรางอํานาจใหแกประเทศของตน ดังนั้น เพื่อไมใหเวทีประชาคมอาเซียนเปนเวทีตัวแทนของมหาอํานาจ การกําหนด นโยบายตางประเทศของประชาคมก็จะไมเลือกเขากับฝายหนึ่งฝายใด


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 16

สภาวะแวดล อ มด า นความมั่ น คงในป จ จุ บั น สถานการณโลก หลังสิ้นสุดสงครามเย็น โลกไดพัฒนาเขาสูยุคแหงการเปลี่ยนแปลงที่เปนไปอยางรวดเร็วและไมแนนอน กระแส โลกาภิวัตน และความกาวหนาทางเทคโนโลยี ไดนํามาซึ่งการเคลื่อนยายอยางเสรีของผูคน สินคา และการบริการ ไดเพิ่ม จํานวนขึ้นในอัตราที่ไมเคยปรากฏมากอน เกิดความเชื่อมโยงอยางกวางขวางที่ทําใหบุคคล หรือผูแสดงบทบาทที่ไมใชรัฐ (Non-state actor) มีอิทธิพลมากขึ้นในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทั้งในระดับโลก ภูมิภาค หรือภายในรัฐชาติหนึ่งรัฐชาติ ใด อันสงผลใหเกิดความทาทายตอความเปนรัฐชาติรวมถึงองคการระหวางประเทศ ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแลว ไดใหความสนใจกับธรรมาภิบาลในงานดานความมั่นคง (Security Sector Governance: SSG) ของประเทศตาง ๆ โดยเปนเรื่องเกี่ยวกับความโปรงใสของกระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ คานิยม ธรรมเนียม และความรับผิ ดชอบดานความมั่นคงตอสาธารณะ ซึ่ งตองเปน การปฏิบัติที่ ชอบด วยกฎหมายทั้งในและ ตางประเทศ สําหรับ ธรรมาภิบาลในงานด านความมั่นคงเปนเรื่ องที่มีค วามสลั บซับซอ น และที่สํา คัญ จะตองมีความ สอดคลองกับสภาพแวดลอมของประเทศหรือสั งคม ดังนั้น ประเทศตาง ๆ จึงจําเปนตองปฏิรูปงานดานความมั่นคง (Security Sector Reform : SSR) ของประเทศใหเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศ และในสังคมโลก สภาวะความมั่ น คงในป จ จุ บั น มี ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ เ กิ ด ขึ้ น ในหลากหลายมิ ติ (Multidimensional Characteristics) และมีสภาพความเชื่อมโยงในรูปแบบของความมั่นคง เชิงองครวม (Comprehensive Security) ที่ สามารถแปรเปลี่ยน และสงผานผลกระทบไดอยางรวดเร็วระหวางมิติ ไมวาจะเปนมิติทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม หรือการทหาร ซึ่งไมใชกระบวนการแกไขปญ หาดานความมั่นคงโดยใชกรอบวิธีคิด เฉพาะทางดานกําลัง และอาวุธในลักษณะเดิมอีกตอไป หรือไมสามารถใชวิธีคิดแบบรัฐชาติ เพราะกรอบและวิธีคิด ดังกลาวไมสามารถสนองตอบกับสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในลักษณะไรพรมแดนในปจจุบัน อยางไรก็ดี ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดชวยบรรเทาความยากจนของประชากร แตดวยเทคโนโลยีทันสมัย ที่ นํ า มาใช ใ นการแสวงหา และใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ได ช ว ยเร ง การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง มี ผ ลในการทํ า ลาย สิ่งแวดลอม และนําไปสูปญหาการขาดแคลนทรัพยากรและแหลงพลังงาน รวมทั้งยังเปนการเรงใหเกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติทรี่ ุนแรงตามมา ซึ่งการขาดแคลนทรัพยากร และแหลงพลังงานไดนําไปสูปญหาความขัดแยงเหนือพื้นที่อางสิทธิ์ ทับซอน โดยเฉพาะพื้นที่ทางทะเลที่มีแนวโนมเปนแหลงพลังงานใหม และแหลงการประมงที่อุดมสมบูรณ หรือเปน เสนทางการขนสงที่สําคัญ และดวยโลกที่เชื่อมตอกันอยางไม เคยมีมากอน เหตุการณในมุมหนึ่งของโลกยอมเห็นและ รับทราบไดในอีกมุมหนึ่ง อนึ่ง หลังเหตุการณ 9/11 เมื่อ พ.ศ. 2544 กลุมกอการรายไดแผกระจายไปทั่วโลก และขยายวง ไปสูอุดมการณความรุนแรง แมวา จะไมมีผูนํา และองคกรที่ชัดเจน จึงมีโอกาสที่การกอการรายจะดํารงอยู และขยายตัว ตอไปตราบใดที่เงื่อนไขบมเพาะการกอการรายยังไมหมดไป กระแสโลกาภิวัตนทําใหการเชื่อมโยงในมิติตาง ๆ รวดเร็วขึ้น โลกไซเบอรมีผลตอวัฒนธรรม วิถีชีวิต ทัศนคติ ความเชื่อ ความสัมพันธระหวางบุคคล กระบวนการเรียนรู และพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน รวมทั้งทําใหแนวโนม ของความเสี่ยงตอความมั่นคง ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือขายที่เกิดจากการคุกคามทางไซเบอรมีสูงขึ้น โดย ป จจุ บั น หลายประเทศที่ มี ค วามขั ด แย ง ระหว า งกั น ได มี ก ารพั ฒนาความสามารถในการคุ ก คามทางไซเบอร เ พื่ อ ลด ความสามารถของฝายตรงขาม ทั้งความสามารถโดยทั่วไปของประเทศ และความสามารถของกองทัพ ซึ่งทําใหหลาย ประเทศใหความสําคัญตอการคุกคามดังกลาว และพัฒนาวิธีการปองกันการคุกคามนี้มากขึ้น


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 17

สถานการณ ค วามเปลี่ ย นแปลงของบริ บ ทความมั่ น คง การเมืองโลกมีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปสูระบบหลายขั้วอํานาจ ทําใหโครงสรางระบบความร วมมือดานความ มั่นคงระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงไป โดยกลุมประเทศมหาอํานาจหลักในปจจุบันนําโดยสหรัฐอเมริกา รวมดวยสหภาพ ยุโรปและญี่ ปุนกํ าลั งประสบปญ หาทางเศรษฐกิจ ในขณะที่ได มีก ารรวมกลุมประเทศที่มี ระดับการพัฒนาทั้ งในดา น เศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร ซึ่งเติบโตและเขมแข็งขึ้นมาอยางรวดเร็ว คือ กลุม BRICS ประกอบดวย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต ซึ่งนําไปสูการแขงขันกันขยายบทบาทเขาไปในภูมิภาคตาง ๆ โดยเฉพาะภูมิภาคอาเซียนและ เอเชียตะวันออกที่ประเทศมหาอํานาจใหความสนใจ และปรับเปลี่ยนนโยบายที่มีแนวโนมของการแข งขันและการขยาย อิทธิพลของชาติมหาอํานาจเพิ่มขึ้น ทั้งในรูปแบบการใชพลังอํานาจทางทหารและพลังอํานาจทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการเขา มาแทรกแซงกิจการภายในของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคมากขึ้น สงผลกระทบตอการดําเนินนโยบายตางประเทศของไทย และกอใหเกิดความยากลําบากในการรักษาดุลยภาพทางความสัมพันธระหวางไทยกับประเทศมหาอํานาจ

ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภูมิภาคและประเทศเพื่อนบาน

1. การเข าสู ประชาคมอาเซีย นในป พ.ศ. 2558 การพั ฒนาความสั มพั นธ ใ นกลุมประเทศอาเซี ยนเป น ประชาคมอาเซียนในป 2558 (ASEAN Community) จะทําใหประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ มีการติดตอ เชื่ อ มโยงกั น มากขึ้ น ทั้ง ในด านเศรษฐกิ จ สัง คม การเมื อ ง และความมั่ นคง ซึ่ งจะเป นโอกาสนํ า ไปสูก ารเสริ มสร า ง พัฒนาการในดานเหลานี้อยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ประเทศสมาชิกยังมีระดับของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองที่แตกตางกัน หากมีการเปดกวางใหมีการติดตอกันอยางเสรี อาจทําใหมีความเสี่ยงที่กอใหเกิดผลกระทบตอความ มั่นคงของชาติไ ด โดยเฉพาะการเติ บโตและเขมแข็งของประชาชน และการขยายตัว ของอาชญากรรมขามชาติและ เศรษฐกิจนอกระบบ 2. ความขัดแยงเรื่องเขตแดนและการใชกําลังทหาร ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานยังมีปญหาความไม เขาใจที่นําไปสูความหวาดระแวงที่อาจทําใหเกิดการเผชิญหนา และอาจนําไปสูการใชกําลังทหารได แตทั้งนี้ ยังคงสามารถ จํากัดขอบเขตและระดับความรุนแรงใหอยูในเฉพาะพื้นที่ อันเนื่องมาจากการเสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือที่ ใกลชิดระหวางประเทศในภูมิภาค รวมทั้งเสริมสรางความสัมพันธทางการทูตเชิงปองกัน ตลอดจนทิศทางความรวมมือของ ประเทศในภูมิภาคที่มุงสูการเปนประชาคมระหวางประเทศ อยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงสถานการณขอพิพาทใน ภูมิภาค สถานการณภายในประเทศเพื่อนบาน และบทบาทของประเทศมหาอํานาจในภูมิภาคที่ประเทศไทยตั้งอยูแลว ได ปรากฏสิ่งบงชี้ถึงการเพิ่มงบประมาณทางทหารในภูมิภาคนี้ ที่อาจสงผลตอดุลยภาพทางความมั่นคงของไทย จึงทําใหยังคง มีความเสี่ยงของการเผชิญหนาทางดานทหารได 3. ความมั่ น คงและผลประโยชน ข องชาติ ท ะเล ประเทศไทยมี อ าณาเขตทางทะเล ซึ่ ง เชื่ อ มโยงกั บ ผลประโยชนของชาติทางทะเลที่มีมูลคามหาศาล จากแหลงทรัพยากรทางทะเลทั้งที่มีชีวิต เชน การประมง เปนตน และที่ ไมมีชีวิต เชน แหลงพลังงาน เปนตน รวมทั้งเปนเสนทางการเดินเรือที่สําคัญในการติดตอระหวางประเทศ ซึ่งประเทศ มหาอํานาจตาง ๆ ไดแขงขันกันขยายอิทธิพลอยางตอเนื่อง และมีบทบาทกําหนดความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟก สงผลกระทบตอดุลยภาพ และพลวัตรดานความมั่นคงของไทย ในขณะเดียวกัน ลักษณะภูมิศาสตรของไทยดังกลาว อยูในตําแหนงที่มีความเสี่ยงตอความมั่นคงทางทะเลที่สําคั ญ โดยเฉพาะปญหาภัย คุ ก คามและอาชญากรรมข า มชาติ รวมทั้ ง ป ญ หาความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรทางทะเล ส ง ผลให เ กิ ด ป ญ หา ภายในประเทศ เชน กรณีการแยงชิงทรัพยากรในทะเล เปนตน และทําใหประเทศไทยมีความเสี่ยงในการสรางดุลยภาพ ของการรักษาความมั่นคงและผลประโยชนของชาติทางทะเล


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 18

ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภายในประเทศ

1. ความมั่นคงของสถาบันหลักของประเทศ โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งไดมีกลุมบุคคลและ ขบวนการเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ เพื่อบอนทําลาย และมุงเปลี่ยนแปลงสถานะของสถาบันในระดับและขอบเขตที่ กว า งขวาง ทั้ ง ภายในและจากภายนอกประเทศ ในลั ก ษณะที่ ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความมั่ น คงของสถาบั น พระมหากษัตริย โดยนํามาแสวงหาประโยชนทางการเมือง รวมทั้งมีการดําเนินการในลักษณะตาง ๆ เชน กลาวอางความ เท็ จ เพื่ อ ดู ห มิ่ น ใส ร า ย ตลอดจนนํ า ประเด็ น การบั ง คั บ ใช ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ การหมิ่ น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ม า วิพากษวิจารณ โดยกลาวอางถึงการขัดตอหลักสิทธิ เสรีภาพ และหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งสถานการณดังกลาว เปนประเด็น ที่มีความออนไหวที่อาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางการเมืองระหวางกลุมตาง ๆ ในสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ ปญหาดังกลาวได สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจ และจุดยึดเหนี่ยวของสังคมไทยที่เปนความ มั่นคงโดยรวมของประเทศ 2. ความขัดแยงของคนในชาติ นับจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จนถึ ง ปจจุ บั น พั ฒนาการของประชาธิป ไตยได ข ยายตั วอย า งตอ เนื่ อง อยา งไรก็ ต าม ความตื่ น ตั วทางการเมือ งของ ประชาชนไดปรากฏผลในทางลบ เมื่อถูกขับเคลื่อนดวยเปาหมายสุดขั้วสุดโตงทางการเมือง โดยอาศัยเงื่อนไขปญหาเชิง โครงสรางของสังคมที่มีความเหลื่อมล้ําในมิติตาง ๆ โดยเฉพาะในมิติทางเศรษฐกิจ และสังคม สงผลใหเกิดการแตกแยก ทางความคิดระหวางกลุมคนตาง ๆ ในสังคม และนําไปสูการใชความรุนแรงที่ทําลายความสงบเรียบรอยและวัฒนธรรมอัน ดีของสังคม ประกอบกับสภาพสังคมปจจุบันที่แนวโนมความอดทนอดกลั้นมีลักษณะลดต่ําลง ในขณะที่ความตองการให เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วขึ้น จึงทําใหสถานการณความขัดแยงของคนในชาติ กลายเปนจุดเปราะบางตอการรักษา เอกภาพของคนในชาติ และการสรางภูมิคุมกันของสังคมไทย ซึ่งเชื่อมโยงกับการเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันชาติใน อนาคตดวย 3. ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต นับตั้งแตเกิดเหตุการณรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต เมื่อ ป พ.ศ. 2547 เปนตนมา รัฐบาลไดพยายามดําเนินการทั้งในดานความมั่นคงและดานการพัฒนาแกไขปญหาอยางตอเนื่อง โดยระดมทรัพยากร (คน งบประมาณ) เปนจํานวนมาก แตเนื่องจากเปนปญหาที่เรื้อรังมายาวนาน จึงยังไมอาจสงบลงได โดยงาย ขณะที่ในปจจุบันปญหามีความซับซอนมากยิ่งขึ้น โดยพบวา เหตุของความรุนแรงมาจากหลายสวน ทั้งสาเหตุเดิม ที่มาจากการกระทําของผูที่มีอุดมการณตางจากรัฐ ซึ่งยังคงดําเนินอยูตอไป และสาเหตุอื่นเพิ่มขึ้นในปจจุบัน โดยเฉพาะ ความขัดแยงเรื่องผลประโยชนของกลุมอิทธิพล การขยายตัวของอํานาจมืด และเศรษฐกิจสีเทา ความแคนในเรื่องสวนตัว ความบาดหมางระหวางคนตางศาสนา และการแทรกแซงจากภายนอกประเทศ ประกอบกับบรรยากาศความหวาดระแวง ระหวางประชาชนในพื้นที่กับเจาหนาที่รัฐ ซึ่งเปนอุปสรรคในการแกไขปญหายังคงดํารงอยูหลายพื้นที่ นอกจากนี้ ยังมีขอ เรียกรองใหภาครัฐแสวงหาแนวทางแกไขปญ หาเชิงโครงสรางใหสอดคลองกับสังคมพหุวัฒนธรรม เชน เรื่องอัตลักษณ มลายูมุสลิม เรื่องความยุติธรรมในพื้นที่ และเรื่องความยากจนของประชาชนในพื้นที่ เปนตน ซึ่งเปนประเด็นละเอียดออน ที่เปนรากเหงาของปญหาความขัดแยงและความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต 4. ความเชื่อมั่นของประเทศในการบริหารตามหลักนิติธรรม ประเทศไทยยังคงมีปญหาเชิงโครงสรางที่ไม เอื้อตอการบริหารตามหลักนิติธรรม กฎหมายจํานวนมากยังไมไดรับการปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักนิติรัฐ และไม สอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ กลไกการตรวจสอบการทุจริตคอร รัปชั่นยังขาดความเขมแข็ง สงผลให เกิดชองทางการทุจริตคอรรัปชั่นในกลไกภาครัฐระดับตาง ๆ ซึ่งนําไปสูปญหาการเลือกปฏิบัติและปญหาความไมเทาเทียม กันที่กอตั้งเปนความขัดแยงในสังคม ในขณะที่ภาคเอกชนและประชาชนบางสวนยอมรับกระบวนการทุจริตคอรรัปชั่นเพื่อ แสวงหาประโยชนสวนตน โดยผลของปญหาดังกลาว ไดกัดกรอนพื้นฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงามของสังคม รวมทั้งเปนการรุกล้ําสิทธิและโอกาสของผูไรอํานาจที่เปนสาเหตุของความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนเปน การทําลายกฎกติกาที่ควรยึดถือรวมกัน ซึ่งจะนําไปสูผลกระทบตอเสถียรภาพและความมั่นคงของชาติตอไป


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 19

5. วิกฤตการณความมั่นคงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ จากสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก และการเพิ่ม จํานวนประชากรโลกอยางตอเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกที่ เนนการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ สงผลใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางขาดสมดุล และนําไปสูปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เสื่อมโทรม จนทําใหเกิดภาวะโลกรอนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมที่ทําใหเกิดภัยพิบัติตาง ๆ บอยครั้งมากขึ้น รวมทั้งเพิ่มความรุนแรงและสรางความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของมนุษยเพิ่มมากขึ้ นดวย แตยังขาดการพัฒนา ความรู ความสามารถ ทักษะ และประสบการณใหมีความพรอมดําเนินงานในลักษณะบูรณาการเพื่อเผชิญภัยพิบัติไดอยาง มีประสิทธิภาพ และบริหารวิกฤตการณอยางเปนระบบสอดคลองกับสถานการณ จึงทําใหไมสามารถคลี่คลายหรือแกไข ปญหาไดทันสถานการณ

ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงขามพรมแดน

1. การเคลื่อนตัวของภัยคุกคามขามชาติ ในปจจุบันปญหาภัยคุกคามขามชาติทั้งเกิดจากการกระทําของรัฐ และตัวแสดงที่ไมใชรัฐ ไดเคลื่อนตัวแผขยายออกไปอยางรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งเปนภัยคุกคามที่กอผลกระทบ ตอเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคงของชาติโดยรวม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบจากการกอการรายสากลที่ ไดรับการประเมินวา แรงขับเคลื่อนการตอสูในเชิงอุดมการณยังคงมีอยูอยางเขมขนในกลุมมุสลิม โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบ จากเดิมที่มีกลุมอัลกออิดะหเปนศูนยรวมสั่งการ ไปเปนการขยายความคิดความเชื่อไปยังกลุมตัวแทนในประเทศตาง ๆ ที่ มีเงื่อนไขพรอมพัฒนาตนเองเปนผูกอการรายในรูปแบบ Home-Grown Terrorist เชน เงื่อนไขความคับแคนจากการ ไมไดรับความเปนธรรม การถูกทําลายอัตลักษณของชาติพันธุ และเงื่อนไขความเชื่อและศรัทธาหลักศาสนาที่ถูกบิดเบือน หรือเชื่อ และศรัทธาแบบสุดขั้ว/สุดโตง เปนตน นอกจากนี้ กลุมหรือขบวนการอาชญากรรมขามชาติยังไดแสวงประโยชน จากสภาวะโลกไรพรมแดน โดยการเคลื่อนไหวเชื่อมโยงเปนเครือขายในภูมิภาคตาง ๆ ทั้งปญหาที่มีอยูเดิม เชน การคา ยาเสพติ ด การค า อาวุ ธ สงคราม การค า มนุ ษ ย การฟอกเงิ น และการกระทํ า อั น เป น โจรสลั ด เป น ต น และป ญ หา อาชญากรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ซึ่งเปนปญหาภัยคุกคามที่พัฒนารูปแบบและวิธีการไดสลับซั บซอนเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนื่อง จากความกาวหนาทางเทคโนโลยี รวมทั้งมีแนวโนมขยายตัวและควบคุมไดยาก ทั้งนี้ ไดมีการคาดวา การ แสวงหาอํานาจและผลประโยชนขององคกรการกอการรายสากล และองคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมขยายตัว เพิ่มขึ้น และมีความซับซอนเชื่อมโยงเปนเครือขายที่เขมแข็งมากขึ้น รวมทั้งมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นเปนลําดับ ทําใหยาก ตอการปองกันและแกไขปญหา สําหรับในกรณีของไทย แมวา จะยังมิใชเปาหมายโดยตรงของการกอการราย แตยังคงตอง เฝาระวังความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการบมเพาะเครือขายกับกลุมกอความไมสงบภายในของไทย ซึ่งจะสงผลกระทบตอความ มั่นคงของประเทศ 2. การยายถิ่นประชากร การยายถิ่นของประชากรจากประเทศตาง ๆ เขาสูประเทศไทยไดสงผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศโดยตอเนื่อง สาเหตุการยายถิ่นมีทั้งเหตุผลความแตกตางดานเศรษฐกิจและการเมืองระหวางไทย กับประเทศเพื่อนบาน โดยสวนหนึ่งใชไทยเปนเสนทางผานสูประเทศที่สาม เชน หนีภัยสงคราม และการลักลอบหลบหนี เขาเมืองจากประเทศเพื่อนบานเพื่อมาขายแรงงานในประเทศไทย ซึ่งมีปญหาการสงกลับประเทศตนทางสงผลใหมีผูยาย ถิ่นจํานวนมากยังคงคางในไทย นํามาซึ่งปญหาที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยางกวางขวาง อาทิ ปญหาดานสาธารณสุข ปญหาการคามนุษย และปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งปญหา การเมืองระหวางประเทศ ตลอดจนเปนภาระดานงบประมาณภาครัฐ และในระยะยาวอาจเกิดปญหาดานสังคม เนื่องจาก ปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลตามกฎหมายของบุตรหลานที่เกิดขึ้น ปญหาชุมชนคนตางดาวที่อาจนําไปสูปญหาความ ขัดแยงกับคนไทยถือเปนปญหาละเอียดออนและสงผลกระทบในหลายมิติ


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 20

3. การเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากบริบทความมั่นคงในมิติใหม สถานการณปจจุบันโลกไดเผชิญกับภัยคุกคาม รูปแบบใหมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลกในบริบทตาง ๆ ซึ่งสงผลกระทบตอความมั่นคงของมนุษยและความมั่นคง ของชาติ สําหรับประเทศไทยตองเผชิญกับปญหาความมั่นคงมิติใหมที่เปนผลจากการพัฒนาประเทศในชวงทศวรรษที่ผาน มาที่มุงสูการเปนประเทศอุตสาหกรรม โดยมีการใชทรัพยากรธรรมชาติโดยขาดความสมดุล ในขณะที่ขาดกลไกการบริหาร ทรัพยากรฯ ที่เขมแข็ง ทําใหเกิดปญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม และสงผลกระทบตอความมั่นคงในมิติอื่น ๆ เชน ความมั่นคงดานอาหาร และดานพลังงาน เปนตน เปนผลใหประเทศไทยมีความเสี่ยงที่มาจากแนวโนมการขาดแคลน อาหารและพลังงาน หากประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติขนาดใหญ นอกจากนี้ ผลของกระแสโลกาภิวัตนที่นําไปสูการ เชื่อมโยงในมิติตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับการแพรระบาดของโรคอุบัติใหม อันเนื่องมาจากการ สูญเสียสมดุลธรรมชาติ และระบบนิเวศนอยางตอเนื่อง ประกอบกับความกาวล้ําทางนวัตกรรมเทคโนโลยีการสื่อสาร เปน ผลใหเกิดการไหลบาของวัฒนธรรมตาง ๆ ผานโลกไซเบอรเขาสูประเทศไทย สงผลตอวิถีชีวิตวัฒนธรรม และความสัมพันธ ของบุ ค คล ตลอดจนพฤติก รรมการบริ โ ภคของประชาชนอาจส ง ให เ กิ ด วิ กฤตเอกลั ก ษณ ท างวั ฒนธรรม โดยเฉพาะ วัฒนธรรมปจเจกชนนิยม ซึ่งมีแนวโนมทําใหสังคมไทยออนแอ ประชาชนขาดจิตสํานึกรวมดานความมั่นคง รวมทั้งมีความ เสี่ยงดานความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ปญหามีแนวโนมทําใหสังคมไทยออนแอ ประชาชนขาดจิตสํานึกรวมดาน ความมั่นคง รวมทั้งมีความเสี่ยงดานความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีปญหามีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยเฉพาะการโจมตีทางไซเบอร และการเจาะเขาสูระบบขอมูลขาวสาร และความลับทางราชการและขอมูลทาง ธุรกิ จของภาคเอกชน รวมทั้ง ความเสี่ยงตอ ระบบควบคุ มสาธารณู ปโภค การคมนาคม และระบบการติ ดต อสื่อ สาร ประกอบกับอิทธิพลของสื่อประเภทเครือขายสังคมที่มีแนวโนมกลายเปนเครื่องมือสําคัญในการรวมตัวของประชาชนเพื่อ ดําเนินกิจกรรมสาธารณะตาง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมทางการเมือง ที่มีการใชสื่อในการโจมตี บอนทําลาย หรือบิดเบือน ขอเท็จจริงฝายตรงขาม ซึ่งอาจนําไปสูการสรางความเกลียดชังและสรางความแตกแยกภายในประเทศที่รุนแรงเพิ่มขึ้น รวมถึงอาจสงผลกระทบตอความสัมพัน ธระหว างประเทศด วย หากมี การใช สื่อโจมตี หรือบ อนทําลายประเทศอื่น ที่ สนับสนุนฝายตรงขาม ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก มีหลายพื้นที่ และหลายประเด็นปญหา ซึ่งมีความเสี่ยงตอเสถียรภาพดานความ มั่นคงของโลก อาทิ ขอสงสัยเกี่ยวกับการพัฒนาขีดความสามารถดานนิวเคลียรของบางประเทศ ปฏิ บัติการของกลุม กอการราย และกลุมหัวรุนแรงทั้งในระดับระหวางประเทศ และภายในประเทศ รวมทั้งสถานการณในทะเลจีนใตที่นับเปน พื้นที่ศูนยกลางที่สําคัญของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ซึ่งความมั่นคงทางทะเลในบริเวณนี้ ยังเปนปญหาที่มีความเปราะบาง ตอการกระทบกระทั่งทั้งระหวางประเทศที่มีขอพิพาทดานเสนเขตแดนดวยกันเอง และกับประเทศนอกภูมิภาค อยางไรก็ ตาม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กําลังกลายเปนพื้นที่ที่หลายประเทศใหความสนใจ ทั้งดานความมั่นคงระดับภูมิภาค และผลประโยชนแหงชาติดานการคาและการลงทุน ซึ่งสถานการณดังกลาว จะทําใหแตละประเทศในภูมิภาคมีแนวโนม ของการพัฒนาขีดความสามารถดานการทหาร เพื่อคุมครองผลประโยชนทางเศรษฐกิจของชาติ ทั้งดวยตนเอง และที่ไดรับ การสนับสนุนจากประเทศอื่นในรูปแบบของความชวยเหลือทางทหาร หรือการจัดหายุทโธปกรณภายใตเงื่อนไข และราคา ทีเ่ ปนพิเศษ จากการที่ประเทศไทยมีที่ตั้งทางยุทธศาสตรที่สําคัญยิ่ง โดยเปนพื้นที่ศูนยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใตที่สามารถเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน และอยูใกลประเทศที่มีประชากรโลกมากที่สุด 2 ลําดับแรก คือ จีน และ อินเดีย อีกทั้งเปนจุดเชื่อมโยงเสนทางการคาและการขนสงพลังงานที่สําคัญระหวางมหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งพัฒนาการของสังคมโลก และภูมิภาคที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว จึงไดนํามาซึ่งปญหาความมั่นคงของไทยที่มีความ ยุงยากสลั บซับซอนเพิ่มขึ้นในอีกหลายมิติ ไม วาจะเป นปญหาอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะการคาอาวุ ธ การค า ยาเสพติด การคามนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร และการกอการรายสากล


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 21

ประเทศไทยยังตองเผชิญปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย และปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด ภายในประเทศ ซึ่งสงผลกระทบตอสภาพสั งคม และความมั่นคงในระยะยาว นอกจากนี้ ปญหาสิ่งแวดลอม และภัย ธรรมชาติเป นอี กปญ หาหนึ่ง ที่สํา คัญของไทย เป นป ญหาที่เกิ ดจากความเสื่อ มโทรมของธรรมชาติ และภัยพิบัติ ทาง ธรรมชาติ ซึ่งมีทั้งภัยแลง อุทกภัย และภัยหนาว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อปลาย พ.ศ. 2554 ประเทศไทยไดประสบปญหา อุทกภัยรายแรงที่สรางความสูญเสียใหแกประเทศ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ และดานสังคมจิตวิทยา สําหรับการพัฒนาดานการทหาร ประเทศไทยไดใหความสํา คัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีปองกันประเทศ โดย จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) เพื่อสนับสนุนการพึ่งพาตนเองดานยุทโธปกรณของกองทัพ ดําเนินการวิจัยโครงการขนาดใหญดานยุทโธปกรณที่ตองใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งในระยะถัดจากนี้ไป การ รวมกลุมเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบตอประเทศไทยในทุกเรื่อง ไดแก การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนี้ เปน ที่คาดหมายวา แนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สําคัญก็คือ อาเซียนจะเผชิญกับการดําเนินการเชิงรุกจากประเทศ คูเจรจามากขึ้น ในดานเศรษฐกิจ อาเซียนจะตอนรับการลงทุนจากตางประเทศเพิ่มมากขึ้น การเคลื่อนยายแรงงานอยาง เสรีในอาเซียน ทําใหประเทศไทยตองพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน เพื่อสรางศักยภาพในการแขงขัน ในขณะเดียวกัน ก็พรอม รองรับกับแรงงานขามชาติที่จะเขามาทํางานในประเทศไทย อยางไรก็ดี การขยายตัวของภาคการเมืองจากการพัฒนา เศรษฐกิจ ทําใหมีแนวโนมวา ที่อยูอาศัยจะไมเพียงพอโดยเฉพาะผูมีรายไดนอย สวนในดานสังคม การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีการสื่อสาร จะมีผลตอการดําเนินชีวิต โดยมีแนวโนมที่คนจะพึ่งพาเทคโนโลยีมากขึ้น ชุมชนจะมีการพัฒนามาก ขึ้นไปในแนวทางทุนนิยม ซึ่งจะสงผลใหสูญเสียอัตลักษณชุมชน ในขณะที่สภาพแวดลอมทางธรรมชาติจะเสื่อมโทรมลง และเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเพิ่มขึ้น ถึงแมวา การเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียน จะสงผลกระทบอยางสําคัญตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ ดานสังคม โดยคาดการณวา ประเด็นหลักที่จะเปนปญหา ไดแก การแยงชิงทรัพยากรมากขึ้น เกิดความเหลื่อมล้ําทางการ พัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ปญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น เชน ยาเสพติด พฤติกรรมอําพราง การผสมผสานระหวางเชื้อชาติ การคามนุษย โรคอุบัติใหม และความมั่นคงทางอาหาร และประเด็นทางสังคมที่มีความนาหวงใย และจะตองไดรับความใส ใจเนื่องจาก จะสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศไทย ไดแก การสรางภูมิคุมกันใหกลุมเปาหมาย มาตรฐานในการจัด สวัสดิการสังคมใหกลุมเปาหมายเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การปฏิบัติตามขอตกลงรวมกัน และยึดมั่นในพันธกรณีภายใต ประชาคมอาเซี ย น ความร ว มมื อ ของอาเซี ย นเพื่ อ แข ง ขั น กั บ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ และการคุ ม ครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของ กลุมเปาหมาย ดังนั้น เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ประเทศไทยจะตองมีการเตรียม ความพรอมดานบุคลากร งบประมาณ และบูรณาการการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ตองสงเสริมใหประชาชนมีสวน รวม สรางชุมชนเขมแข็ง พัฒนาเยาวชน และสรางเครือขายการพัฒนาสังคม รวมทั้งตองสรางทักษะที่จําเปนตอการ เปลี่ยนแปลง สรางความตระหนักและปลูกจิตสํานึกการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน

ความทาทายความมั่นคงสําหรับประเทศไทย ความทาทายดานความมั่นคง ทั้งที่กําลังเผชิญอยูและอาจตองเผชิญในอนาคต ในสวนที่เปนความทาทายทาง ทหาร ซึ่งประเทศไทยไมตองการใหเกิดขึ้นนั้น ยังไมปรากฏชัดเจน อยางไรก็ตาม ประเทศไทยจําเปนตองมีความพรอมใน ขั้นตนเพื่อเผชิญความทาทายทางทหารที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดในอนาคต และใชกํา ลังทหารที่จัดเตรียมไวสนับสนุนการ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบสหประชาชาติ และกรอบประชาคมอาเซียนในยามปกติ รวมทั้งสนับสนุนการเผชิญ ความทาทายอื่น ดังนี้ 1. ปญหาความไมสงบเรียบรอยในสังคมไทย 2. ปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต 3. ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ไดแก การคาอาวุธ การคายาเสพติด การคามนุษย การกระทําอันเปนโจร สลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร และการกอการรายสากล


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 22

4. ปญหาภัยคุกคามทางไซเบอร 5. ปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย 6. ปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดภายในประเทศ 7. ปญหาสิ่งแวดลอมและภัยธรรมชาติ 8. ปญหาโรคระบาดและโรคติดตอ นอกจาก ความทาทายดานความมั่นคงตามที่กลาวแลว จากการประเมินสภาวะแวดลอมดานความมั่นคง ทําให พบวา ประเทศไทยจําเปนตองมีการดําเนินการในเรื่องที่สําคัญ ไดแก การสนับสนุนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และการรักษาความสมดุลในการพัฒนาความสัมพันธและความ รวมมือดานความมั่นคงกับประเทศที่มีบทบาทสําคัญในภูมิภาค

แนวคิ ด ความเชื่ อ มโยงกั น ในอาเซี ย น (ASEAN Connectivity) นอกจากนี้ เพื่อเปนการกาวสูความเปนประชาคมอาเซียนอยางเปนรูปธรรมยิ่งขึ้นในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อวันที่ 29-30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ที่ประชุมไดเห็นชอบรางแผนวาดวย ความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) เพื่อใชเปนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 โดยไดกําหนดการเชื่อมโยงครอบคลุม 3 มิติ คือ การเชื่อมโยงทางกายภาพ การเชื่อมโยงองคกร และการเชื่อมโยงประชาชน ซึ่งมีเจตนารมณที่จะเรงรัดการเชื่อมโยง ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศใหเปนหนึ่งเดียวทั้งในดานโครงสรางพื้นฐาน ดานกฎระเบียบ และดานประชาชน โดยมี เปาหมายสูงสุดเพื่อการสนับสนุน การสรางประชาคมอาเซียนอยางแทจริง ภายในป 2558 และใหอาเซียนเปนศูนยกลาง ของสถาปตยกรรมภูมิภาค โดยกําหนดใหมีการดําเนินงาน ดังนี้ 1. การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) โดยเนนความเชื่อมโยงในดานโครงสรางพื้นฐานดานตาง ๆ ทั้งการปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพโครงสรางพื้นฐาน เดิมที่มีอยูแลวใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น และการขยายเครือขายโครงสรางพื้นฐานใหครอบคลุมทั่วถึงมียุทธศาสตรการ เชื่อมโยงที่สําคัญ อาทิ 1.1. การเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ แผนแมบท MPAC จะ ผลักดันโครงการสาธารณูปโภคพื้นฐาน ดานคมนาคมทางบกที่สําคัญใหแลวเสร็จ อาทิ โครงการ ASEAN Highway Network (AHN) ซึ่งเปนเครือขายเสนทางถนนเชื่อมโยงประเทศสมาชิกอาเซียนเปนระยะทางทั้งสิ้น 38,400 กิโลเมตร โดยปจจุบันยังมีหลายจุดที่ขาดความเชื่อมโยง (Missing Link) โดยเฉพาะในเมียนมาร และอีกหลายเสนทางที่ยังไมได มาตรฐาน โครงการ Singapore Kunming Rail Link (SKRL) ซึ่งเปนเสนทางรถไฟเชื่อมโยง 8 ประเทศ คือ เสนทางหลัก ที่ผาน 6 ประเทศ คือ สิงคโปร มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และจีน (คุนหมิง) และมีเสนทางแยกอีก 2 สาย คือ ไทยสปป.ลาว และไทย-เมียนมาร ซึ่งยังมีจุดที่ขาดความเชื่อมโยงหลายจุด ในกัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร สปป.ลาว และไทย สําหรับทางน้ํา แผนแมบท MPAC ไดกําหนดยุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพทาเรือหลักสําหรับเครือขายการขนสงทางทะเลใน ภูมิภาคอาเซียนไว 47 แหง ซึ่งทาเรือกรุงเทพและทาเรือแหลมฉบังของไทยไดถูกนับรวมไวในยุทธศาสตรดังกลาวดวย รวมทั้งยุทธศาสตรที่จะพัฒนาประสิทธิภาพของเสนทางเดินเรือระหวางประเทศโดยเฉพาะเสนทางในอนุภูมิภาค ขณะที่ ทางอากาศ จะเนนในเรื่องการปรับปรุงระบบการบิน/พัฒนาคุณภาพสาธารณูปโภคพื้นฐานรองรับการขนสงทางอากาศให มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงการพัฒนาเสนทางบินใหมที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพรองรับการขยายตัวของการขนสง ทางอากาศในระดับภูมิภาค


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 23

1.2. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อตอบสนองการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และบริการที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพรองรับการขยายตัวทางการคา รวมทั้งลดชองวางความเหลื่อมล้ําที่เกิดจาก ความสามารถในการเขาถึงขอมูลขาวสารและเทคโนโลยีระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเปนประเด็นสําคัญที่ตองเรง แกไขเพื่อลดผลกระทบที่จะบั่นทอนการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ หนึ่งในยุทธศาสตรสําคัญ คือ การจัดตั้ง ASEAN Broadband Corridor ภายในป พ.ศ. 2557 เพื่อชวยใหประเทศ สมาชิกอาเซียนเขาถึงขอมูลไดเชนเดียวกันกอนเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 1.3. การเชื่อมโยงเครือขายดานพลังงาน เนื่องจากประเทศอาเซียนมีบทบาทสําคัญในการเปนฐานการผลิต ภาคอุตสาหกรรมของโลก ทําใหความตองการพลังงานมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่ อง ขณะที่หลายประเทศโดยเฉพาะ ประเทศ CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam) ยังไมสามารถเขาถึงพลังงานไดอยางทั่วถึงแผนแมบท MPAC จึงเนนใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงพลังงาน โดยอาศัยกรอบ ASEAN Power Grid (APG) และ Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) เปนความเชื่อมโยงหลักเพื่อกอใหเกิดความมั่นคงดานพลังงาน การเขาถึงพลังงาน และความยั่งยืน ดานพลังงาน ภายในภูมิภาคอาเซียน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น 2. การเชื่อมโยงองคกร (Institutional Connectivity) การเชื่อมโยงองคกรเปนการเนนการเชื่อมโยงในดานระบบ/กระบวนการทํางานของหนวยงานตาง ๆ อยางมี ประสิทธิผล โดยอาศัยความตกลง หรือความรวมมือระหวางกันที่จะนํามาซึ่งการดําเนินการในเชิงรูปธรรม ทั้งนี้ ปจจุบันมี ความตกลงหลายกรอบที่เอื้อตอความเชื่อมโยงของระบบ แตยังไมมีผลบังคับใชและตองปรับปรุงรายละเอียดใหเกิด ประโยชนสูงสุดในทางปฏิบัติ อาทิ กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาผานแดน กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาขามแดน และกรอบความตกลงวาดวยการ ขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ 3. การเชื่อมโยงประชาชน (People-to-people Connectivity) การเชื่อมโยงประชาชนจะใหการสงเสริมการเรียนรูวัฒนธรรมและสังคมของประเทศอาเซียน อาทิ การ สงเสริมการเรียนรูภาษาของประเทศในอาเซียนเปนภาษาที่สาม การถายทอดหรือแลกเปลี่ยนระบบการศึกษาระหวางกัน รวมถึงการสงเสริมการเคลื่อนยายบุคคลโดยเสรี อาทิ การยกเวนระบบวีซาระหวางกัน และการสงเสริมการทองเที่ยว ภายในอาเซียนในป พ.ศ. 2558 การเชื่อมโยงดังกลาวจะชวยใหประชาชนในภูมิภาคเรียนรูและเขาใจประเทศรวมกลุม อาเซียนในดานสังคมและวัฒนธรรมไดลึกซึ้งยิ่งขึ้น ซึ่งเอื้อตอการปรับใช ในทางธุรกิจเพื่อผลิตสิ นคาตอบสนองความ ตองการผูบริโภคในตลาดอาเซียน และสรางความไวเนื้อเชื่อใจในการทําการคาและการลงทุนระหวางกัน

ประเทศไทยกั บ การเป น ประชาคมอาเซี ย น ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งกฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนธรรมนูญที่กําหนดกรอบดาน กฎหมาย และโครงสรางองคกรอาเซียน ทําใหอาเซียนมีกฎกติกาในการทํางานในสถานะเปนนิติบุคคล มีประชาชนเปน ศูนยกลาง และวางรากฐานการรวมตัวเปนประชาคม ในป 2558 โดยการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) มีเจตจํานงใหอาเซียนเปนภูมิภาคที่มีสันติสุข รักษาสันติภาพ และดํารงความเปนกลาง มีการรวมแกไขขอพิพาท ลดความ ขัดแยงโดยสันติวิธี และมีเสรีภาพทางการคา โดยทุกประเทศในประชาคมจะใหความรวมมือกันและดําเนินกิจกรรมของ อาเซียนในทุกรูปแบบ ทั้งระดับทวิภาคี อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝก ศึกษา หรือการเจรจาหารือ ในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี อาทิ การประชุมหรือสัมมนา รวมทั้งครอบคลุมในทุกมิติ อันประกอบไปดวย การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อลดความแตกตางระหวางกันในดานตาง ๆ โดยแบงการดําเนินงาน ออกเปน 3 เสาหลัก (three-pillars) ไดแก 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 24

Community : APSC) 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และ 3) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) การดําเนินการดังกลาวขางตน ทําใหประเทศไทยจําเปนตองเตรียมการรองรับผลกระทบดานความมั่นคงที่จะ เกิ ด ขึ้ น ทั้ งในรู ป แบบที่จะกระทบตอ ประเทศไทยโดยตรง และรู ป แบบที่ จะกระทบต อ อาเซียนในภาพรวม รวมทั้ ง ผลกระทบตอภูมิภาคอื่น ๆ ของโลกอีกดวย ซึ่งผลกระทบที่จะเกิดขึ้นไมจํากัดอยูเฉพาะแตภัยคุกคามรูปแบบใหม เชน ภัย พิบัติทางธรรมชาติ การกอการราย ยาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ เปนตน แตยังรวมถึงภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เชน การ ขัดแยงของเสนเขตแดนทั้งทางบก และทางทะเล ซึ่งรวมถึงประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน และยังรวมถึงความขัดแยง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ที่มีกับประเทศเพื่อนบานดวย เชน ปญหาทะเลจีนใต ซึ่งมาเลเซีย บรูไน ฟลิปปนส และ เวียดนาม มีปญหาอยูกับจีนในปจจุบัน โดยในระยะเริ่มตนของการเปนประชาคมอาเซียนนั้น ปญหาตาง ๆ จะเพิ่มทวีคูณ ในแนวตั้งชัน (Sheer) แบบยกกําลัง (Exponential) โดยเฉพาะประเทศไทยที่จะตองดูแลเฉพาะปญหาภายในประเทศ เชน ความแตกแยกของคนในชาติ (Division) ปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต และปญหาความไมชัดเจนของเสนเขตแดน กับประเทศเพื่อนบานแลว ประเทศไทยยังจะตองมีความเกี่ยวของกั บปญหาอื่น ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งตองมี ความรับผิดชอบรวมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังตองเขาไปเกี่ยวของกับปญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งตองมีความรับผิดชอบรวมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังตองเขาไปเกี่ยวของ กับปญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ในฐานะที่อาเซียนเปนนิติบุคคล ซึ่งตองมีปฏิสัมพันธกับโลกภายนอกอีกดวย อยางไรก็ตาม ผลตอการรวมตัวไมไดสงผลเสียแตเพียงอยางเดียวเทานั้น การรวมตัวเปนเพียงแตการกระตุนให ปญหาตาง ๆ ที่จําเปนจะตองไดรับการแกไขใหมีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูความรวมมือในลักษณะพหุภาคีที่จะ ชวยกันในการแกไขปญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งหากไดมีการเตรียมการแตเริ่มตน และมีการประสานงาน รวมทัง้ รวมมือกันในทุก ภาคสวนของไทยและของประเทศสมาชิกอาเซียนแลว ผลประโยชนที่ไดรับก็จะอยูกับประชาชนของประเทศสมาชิ ก อาเซียน ซึ่งการดําเนินการเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้น จะเห็นไดวา รัฐบาลไดใหความสําคัญกับการเปนประชาคม อาเซียน ในป 2558 โดยมีนโยบาย และยุทธศาสตรดานตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินการดังกลาว ซึ่งนําไปสูการจัดทํา แผนงานโครงการ และงบประมาณของหนวยราชการตาง ๆ ซึ่งในสวนที่เกี่ยวของกับหนวยงานดานความมั่นคงนั้น มีความ จําเปนที่รัฐบาลจะตองจัดตั้งหนวยงานใหม ๆ ขึ้นมารองรับงานดานภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เพิ่มมากขึ้น เชน หนวยงาน ดานการปองกั นและปราบปรามสิ่งเสพติด หนวยปองกัน ชายฝง การจั ดหนวยบริ หารจัดการพื้นที่ชายแดนแบบรวม หนวยงานดานการปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย และภัยพิบัติ ซึ่งหนวยงานดังกลาวตองมีความเปนสากล และมีกําลัง พลรวมถึงยุทโธปกรณที่เพียงพอที่จะปฏิบัติงานทั้งในประเทศ และนอกประเทศ เชนเดียวกับ กองทัพจําเปนตองปรับปรุง โครงสรางใหมของกองทัพนั้น รัฐบาลตองลดภาระของกองทัพในการดําเนินการดานภัยคุกคามรูปแบบใหมที่ไมจําเปนลง รวมทั้งยังตองใหเวลา และสนับสนุนงบประมาณ และการดําเนินการทุกดานในการพัฒนาใหกองทัพเปนกองทัพที่ทันสมัย มีความเปนสากล ทีพ่ รอมปฏิบัติภารกิจในฐานะอาเซียนไดอยางเต็มภาคภูมิใจ ซึ่งหากสามารถดําเนินการไดแลว ก็จะเปน พื้ น ฐานให ป ระเทศไทย สามารถที่ จะบริ ห ารจั ด การได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น และประหยั ด งบประมาณการ ดําเนินการในระยะยาว


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 25

ประโยชน ที่ ป ระเทศไทยจะได รั บ จากประชาคมอาเซี ย น 1. สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ปองกันความขัดแยงและสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางประเทศสมาชิก ธํารงสันติภาพในภูมิภาค และมีกลไกในการควบคุมการทํางานของภาครัฐใหมีความโปรงใสยิ่งขึ้น โดยประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและรวมแกไขปญหาตาง ๆ มากขึ้น 2. อุปสรรคทางการคาจะลดลงหรือหมดไป ทําใหไทยสามารถขยายการสงออกสินคาไปยังสมาชิกกลุมอาเซียน และการรวมเปนตลาดเดียวกัน จะชวยดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ อีกทั้งการคมนาคมและการขนสงระหวางประเทศ จะมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น 3. ประชาชนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปญหาความยากจนจะลดลง โดยสามารถเขาถึง โอกาส ทางการศึกษาไดอยางทั่วถึง มีสวัสดิการทางสังคมที่มั่นคง และมีสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบตอประเทศไทยในวงกวาง โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ เชน เกิดการจัดระบบ การเพิ่มขึ้นของการคา การลงทุน และการบริการระหวางประเทศ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการขยายตัวของเมือง การบริหารงานชายแดน การคาชายแดน การปฏิสัมพันธทางสังคมอยางใกลชิด การเคลื่อนยายบุคลากรและแรงงานฝมือ และการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร และนอกจากนี้ เพื่อรองรับ และเตรียมการในทิศทางตาง ๆ ที่จะ เกิดขึ้นตอไป กระทรวงกลาโหมเปนหนวยงานรัฐบาลที่อยูภายใตเสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคง รวมทั้งมี ภาระรับผิดชอบในการสนับสนุนเสาหลักเศรษฐกิจ และเสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอีกดวย ซึ่งการ ดําเนินการในการรองรับการเปนประชาคมอาเซียนนั้น กระทรวงกลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียนไดจัดตั้งเวทีในการ ประชุมของฝายทหารขึ้น เพื่อเปดโอกาสใหเจาหนาที่ในระดับผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม ปลัดกระทรวง กลาโหม รั ฐมนตรี ว า การกระทรวงกลาโหม ได มี โ อกาสในการแลกเปลี่ ยนแนวคิด หารื อ และกํ า หนดแนวทางการ ดําเนิน การของกองทัพประเทศสมาชิกอาเซียน โดยไดเริ่ ม ดําเนิ นการมาตั้ง แตป 2549 โดยมีการประชุ มครั้ง ที่ 1 ที่ มาเลเซีย ครั้งที่ 2 ที่สิงคโปร ครั้งที่ 3 ที่ไทย ครั้งที่ 4 ที่เวียดนาม ครั้งที่ 5 ที่อินโดนีเซีย ครั้งที่ 6 ที่กัมพูชา ครั้งที่ 7 ที่ บรูไน และครั้งที่ 8 ทีเ่ มียนมาร ซึ่งดําเนินการในปจจุบันไดพัฒนาไปสูการประชุมของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรี กลาโหมประเทศคูเจรจาอีก 8 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เกาหลีใต รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด ออสเตรเลีย และจีน โดยมีกรอบความรวมที่สําคัญ 2 กรอบความรวมมือ คือ 1. ความรวมมือในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน 1.1. ความรวมมือระหวา งกลาโหมอาเซียนกับองคก รภาคประชาสั งคมในดา นความมั่น คงรู ปแบบใหม (Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil Society Organizations (CSOs) Cooperation on Non – Traditional Security) ริเริ่มโดยประเทศไทย 1.2. เอกสารแนวความคิดเรื่องการใชทรัพยากร และศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือ ดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in humanitarian Assistance and Disaster Relief) ริเริ่มโดยประเทศอินโดนีเซีย 1.3. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยความร ว มมื อ ด า นอุ ต สาหกรรมป อ งกั น ประเทศ ในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) ริเริ่มโดยประเทศมาเลเซีย 1.4. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภาพในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers network) ริเริ่มโดยประเทศไทย/ อินโดนีเซีย


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 26

2. ความรวมมือในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา 2.1. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงทางทะเล (ADMM – Plus : Maritime Security Working Group Concept Paper) มีประเทศมาเลเซีย และออสเตรเลีย เปนประธานรวม 2.2. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง คณะทํ า งานผู เ ชี่ ย วชาญด า นการให ค วามช ว ยเหลื อ ด า น มนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (ADMM – Plus: Concept Paper for the Establishment of an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR)) มีประเทศเวียดนามและจีน เปน ประธานรวม 2.3. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการปฏิบัติการรักษาสันติ (ADMM – Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) มีประเทศฟลิปปนส และ นิวซีแลนด เปนประธานรวม 2.4. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการแพทยทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) มีประเทศสิงคโปร และญี่ปุนเปนประธาน 2.5. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (ADMM – Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group) มีประเทศอินโดนีเซีย และ สหรัฐอเมริกาเปนประธานรวม เละยังมีการประชุมในระดับผูบัญชาการทหารสูงสุด และผูบัญชาการเหลาทัพ และหนวยตาง ๆ ที่ขึ้นตรงของ กองทัพ เชน การประชุมผูบัญชาการทหารสูงสุดแบบไมเปนทางการ (ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting: ADCFIM) การประชุมผูบัญชาการทหารบกอาเซียน การประชุมผูบัญชาการทหารเรืออาเซียน การประชุมผู บัญชาการทหารอากาศอาเซียน และการยิงปนอาเซียน เปนตน จากความรวมมือดังกลาวขางตน จะทําใหแตละประเทศไดรับประโยชนในการดําเนินการ คือ ในระยะแรกของ การเปนประชาคมอาเซียน คือ การขจัดความไมไววางใจระหวางกัน ดังนั้น มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจตาง ๆ เชน การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝก จึงมีความสําคัญอยูในระยะเริ่มตน โดยในระยะตอไป คือ ลดชองวาง และเสริมจุดออนของขีดความสามารถของกองทัพประเทศตาง ๆ เชน การสรางเครือขายศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เพื่อใหมีการแลกเปลี่ยนขีดความสามารถของแตละประเทศดานปฏิบัติการรักษาสันติภาพของทั้ง 5 ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส รวมทั้งขยายขีดความสามารถใหกับประเทศที่ไมมีศูนยฝกดังกลาว ไดใช ประโยชนดวย งานดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน เพื่อใหอาเซียนมียุทโธปกรณที่ผลิตไดในภูมิภาค ซึ่งทํา ใหมีความเชื่อถือไดในดานยุทโธปกรณ และประหยัดงบประมาณดานการปองกันประเทศ เปนตน แผนงานในระยะยาว ของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน คือ แนวความคิดในการใชกองกําลังจากประเทศสมาชิกอาเซียนในดานการ ชวยเหลือดานมนุษยธรรมของอาเซียน และการปฏิบัติการรักษาสันติภาพในอนาคตตอไป อยางไรก็ตาม การดําเนินการ ดังกลาว อาเซียนไมสามารถดําเนินการไดสําเร็จโดยลําพัง ดังนั้น การที่อาเซียนมีกรอบความรวมมือในกรอบการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting – Plus: ADMM-Plus) จะชวยเสริมสรางใหกองทัพอาเซียนสามารถที่จะใชประโยชนจากทรัพยากรบุคคล ขีดความสามารถดาน ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีจากประเทศตาง ๆ ได รวมทั้งยังเปนการสรางความไวเนื้อเชื่อใจของอาเซียนกับประเทศคู เจรจาอีกทางหนึ่งดวย การดําเนินการขางตน พบวา ยังมีอุปสรรคอีกมากมาย ดังนั้น รัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียน ควรใหความสําคัญ กับการแกไขปญหาตาง ๆ กับประเทศเพื่อนบานเปนลําดับแรก โดยเฉพาะความไมชัดเจนของเรื่องเขตแดน ปญหาดาน อื่น ๆ กับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งเปนปจจัยเริ่มตนของการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และจะเปนปจจัยสําคัญในการนําพาเขา สูค วามสําเร็จในระดับอาเซียน และในระดับภูมิภาคตอไป โดยประเทศไทยนั้น ปญหาตาง ๆ กับประเทศเพื่อนบานที่ตอง


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 27

ไดรับการแกไขโดยเรงดวนนั้น หากแกไขในระดับเจาหนาที่ผูปฏิบัติ (Track I) แลวไมสําเร็จ นักวิชาการตาง ๆ (Track II) ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ก็นาที่จะไดรวมมือกันในการแสดงแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ แลวเสนอขอมูลให Track I ดําเนินการตอไป และมีความคาดหวังวา ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และจะเกิดเพิ่มมากขึ้นในอนาคตของ ประเทศไทย จากการรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ยน จะสร า งนั ก วิ ช าการ นั ก วิ จั ย นั ก พั ฒ นา นั ก วิ ท ยาศาสตร นั ก คณิตศาสตร ผูบริหารที่มีความสามารถในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียน และในระดับโลกเกิดขึ้น และหวังวา กลุม บุคคลดังกลาว จะสรางความสําเร็จ ความเจริญรุงเรือง ความสงบสุขใหกับประเทศไทย และภูมิภาคอื่น ๆ ตอไป อยางไรก็ดี อาเซียนเปนภูมิภาคที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติอยางมหาศาล และเปนแหลงผลิต อาหารที่สําคัญของโลก อยางไรก็ตาม ในป 2558 ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในภูมิภาค คือ การเปดประชาคม อาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งจะเปนทั้งปจจัยเสี่ยงและความทาทายของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมของภูมิภาค และการเปดเสรีทางเศรษฐกิจเพื่อใหภูมิภาคอาเซียนกลายเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน จะ กระตุนใหมีการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิกและการเติบโตของภาคการผลิตในอัตราที่เพิ่มขึ้น อันจะเรงใหเกิดการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของภูมิภาค นอกจากนี้ ดวยความแตกตางของ ระดับการพัฒนาและระบอบการปกครองของประเทศในอาเซียน ทําใหบางพื้นที่อาจมีการประกอบการที่ขาดจริยธรรม และการรับผิดชอบตอผลกระทบตอชุมชน และสิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถสรุปผลกระทบคราว ๆ ไดดังนี้

ผลกระทบของการเข า สู ป ระชาคมอาเซี ย นต อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ในอาเซี ย น การเขาสูประชาคมอาเซียนในมิติโครงสรางพื้นฐานและผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 1. โครงสรางพื้นฐานดานพลังงานโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน 1.1. การเขาสูประชาคมอาเซียนของภาคพลังงาน ความรวมมือของอาเซียนดานพลังงานมีขอบเขตภายใต แผนปฏิบัติการความรวมมือดานพลังงานของอาเซียน 3 ฉบับ ปจจุบันอยูในชวงที่สาม 2553-2558 เพื่อเสริมสรางความ มั่นคงดานพลังงาน การเขาถึงและใชพลังงานอยางยั่งยืนสําหรับภูมิภาค และไดจัดทําโครงการที่มีความสําคัญลําดับตน 2 โครงการ คือ โครงขายระบบสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Power Grid) ที่เชื่อมทอเคเบิลใตทะเลหรือบนบกกับโครงขาย ระบบสง ไฟฟ าของกั มพู ช า สปป.ลาว เมี ยนมา ร และเวี ยดนาม และโครงการเชื่อ มโยงท อก า ซธรรมชาติอ าเซี ยนที่ มี เปาหมายพัฒนาโครงขายระบบสงกาซของภูมิภาคใหแลวเสร็จในป 2563 นอกจากนี้ อาเซียนกําลังพิจารณาการวาง 4 โครงสรางพื้นฐานสําหรับขนสงกาซธรรมชาติเหลว (Liquid Natural Gas: LNG) นอกเหนือจากกาซธรรมชาติแลว แมน้ําโขงยังเปนแหลงพลังงานหมุนเวียนที่สําคัญของสมาชิกอาเซียน บางประเทศ ปจจุบันแมน้ําโขงมีเขื่อนกั้นลําน้ําสายหลัก 5 แหง ที่อยูในประเทศจีน และยังมีแผนการกอสรางเขื่อนใน แมน้ําโขงอีก 15 แหง ซึ่งตั้งอยูในจีน 3 แหง กัมพูชา 2 แหง และสปป.ลาว 10 แหง ซึ่งมีเขื่อนปากชมและเขื่อนบานกุมอยู 5 ในพื้นที่ติดตอไทย-ลาว ซึ่งผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานพลังงานเมื่อ เขาสูประชาคมอาเซียน

4

กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. ICEM. (2553). บทสรุปผูบริหาร รายงานฉบับสมบูรณการประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรเกี่ยวกับเขื่อนไฟฟาพลังน้ํา ใน แมน้ําโขงสายหลัก. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง. เขาถึงขอมูลไดจาก http://ns1.mrcmekong.org/ish/SEA/SEA-Summary-final-report-Thai29-3-11-fixname.pdf เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2557. 5


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 28

1) ผลกระทบตอความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศแมน้ําและปริมาณสัตวน้ํา สําหรับการประมง เขื่อนกั้นแมน้ําโขงสายหลักทําใหปริมาณน้ํา ตะกอน สารอาหารที่ไหลไปยังทายน้ํามีปริมาณลดลง สงผลโดยตรงตอความ อุดมสมบูร ณของสิ่ง มีชีวิต ที่อาศัยอยูในน้ํา โดยที่ ผานมาปริมาณตะกอนในลํา น้ําโขงที่ไ หลผ านมายังจั งหวั ดกระแจะ (Kratie) ในกัมพูชา ลดลงถึงรอยละ 55 อีกทั้งเขื่อนยังขัดขวางเสนทางการอพยพของปลา ซึ่งประมาณรอยละ 35 เปน ปลาที่มีการยายถิ่นเปนประจํา สงผลกระทบตอเนื่องไปยังชาวประมงในลําน้ําโขงและประเทศทายน้ํา ทั้งนี้คาดวา หากมี การสรางเขื่อนกั้นลําน้ําโขงตอนลางทั้งหมดตามแผนที่กําหนดไวจํานวนปลาในลําน้ําโขงจะลดลงเหลือเพียง 5.5-8.8 แสน 6 ตัน หรือรอยละ 26-42 ของจํานวนปลาในป 2543 2) ผลกระทบจากการกอสรางระบบสงไฟฟา และการวางทอกาซในทะเลการวางระบบสงไฟฟาบน บกที่เชื่อมโยงระหวางประเทศตางๆ ในอาเซียน อาจมีการวางแนวสายสงที่พาดผานพื้นที่ปา จึงจํา เปนตองแผวถางพื้นที่ เพื่อลําเลียงเครื่องจักรอุปกรณรวมทั้งพื้นที่สําหรับติดตั้งเสา และฐานของสายสง ซึ่งการเปดพื้นที่เหลานี้จะเพิ่มโอกาสใหมี การลักลอบตัดไมทําลายปา และจับสัตวปาเพิ่มมากขึ้น สวนการวางทอกาซธรรมชาติในทะเลนั้น นอกจาก จะกอใหเกิด ผลกระทบตอระบบนิเวศนใตทะเล โดยเฉพาะบริเวณผิวดินทองทะเลระหวางการกอสรางแลว ยังเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุกาซธรรมชาติรั่วไหลในชวงปฏิบัติการดวย 3) การปลดปลอยกาซเรือนกระจก แมวา เขื่อนในลําน้ําโขงตอนลางที่อยูในแผนการกอสรางจํานวน 12 แหง มีความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํารวมกัน 14,697 เมกกะวัตต หรือรอยละ 5-8 ของศักยภาพการ 7 ผลิตไฟฟาในภูมิภาค ซึ่งจะชวยใหภูมิภาคอาเซียนลดการปลอยกาซเรือนกระจก แตโครงการเชื่อมโยงระบบทอกาซ ธรรมชาติจะมีผลในทางตรงขาม เพราะกาซธรรมชาติจัดเปนเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทหนึ่งการปลดปลอยกาซเรือนกระจก แมวาเขื่อนในลําน้ําโขงตอนลางที่อยูในแผนการกอสรางจํานวน 12 แหง มีความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํา 8 รวมกัน 14,697 เมกกะวัตต หรือรอยละ 5-8 ของศักยภาพการผลิตไฟฟาในภูมิภาค ซึ่งจะชวยใหภูมิภาคอาเซียนลดการ ปลอยกาซเรือนกระจก แตโครงการเชื่อมโยงระบบทอกาซธรรมชาติจะมีผลในทางตรงขาม เพราะกาซธรรมชาติจัดเปน เชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทหนึ่ง 2. โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง 2.1. การเขาสูประชาคมอาเซียนของภาคคมนาคมขนสง ความรวมมือของอาเซียนในการสรางถนน และทางรถไฟมีเปาหมายเพื่อเชื่อมโยงประเทศสมาชิกและ ประเทศนอกภูมิภาคเขาดวยกัน เพื่อใหสามารถเดินทาง ขนสงไดอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย โดยมี 2 โครงการสําคัญ คือ โครงการทางหลวงอาเซียน เปนสวนตอขยายของโครงขายทางหลวงสายเอเชียสวนที่อยูในอาเซียนที่ไมสมบูรณ ซึ่ง สว นใหญ อยู ในเมี ยนม าร ยาว 227 กิ โลเมตรรวมทั้ง ยัง มี ถนนที่ ต่ํา กว ามาตรฐานชั้ น 3 อี กกวา 5,300 กิ โลเมตร และ โครงการทางรถไฟสายสิงคโปร- คุนหมิง ซึ่งมีเสนทางที่ขาดหายอยูหลายชวง โดยเฉพาะเสนทางรถไฟฝงตะวันออก (ไทย กัมพูชา และเวียดนาม) รวมถึงความรวมมือดานการขนสงทางทะเล โดยกํา หนดใหทาเรือ 47 แหงเปนทาเรือหลักใน โครงขายการขนสงอาเซียน (Trans-ASEAN Transport Network) เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงสินคา รวมทั้ง 9 ระบบโลจิสติกสทางบก

6

Ibid. Ibid. 8 Ibid. 9 กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. 7


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 29

2.2. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมเมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน 1) การขยายตัวของเมืองอยางไรระบบ การกอสรางถนน และระบบคมนาคมขนสงของโครงการทาง หลวงอาเซียน มีสวนสงเสริมใหเกิดการขยายตัวของเมืองตามแนวริมถนน หากไมมีการเตรียมพรอมเรื่องการวางผังเมืองที่ คํานึงถึงศักยภาพดานเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมของพื้นที่อยางเหมาะสม 2) การปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศมีแนวโนมเพิ่มขึ้น การเปดดานการคา และจุด ผอนปรนการคาตามแนวชายแดนไทย จะทําใหมีการจราจรไปมาระหวางประเทศมากขึ้น แตปจจุบันประเทศเพื่อนบานยัง มีกฎระเบียบในการควบคุมสภาพยานพาหนะไมเขมงวดทัดเทียมกับไทย อันจะกลายเปนแหลงกํา เนิดมลพิษทางอากาศ เพิม่ ขึ้น นอกจากนี้ปริมาณการเดินทางโดยรถยนตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนใหญยังคงใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนหลัก จะทําใหปริมาณ การปลดปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นตามไปดวย 3) การลักลอบขนยายและทิ้งขยะและสารอันตรายขามแดน แมวา ประเทศเพื่อนบานของไทย สวนมากจะเปนภาคีอนุสัญญาบาเซลวาดวยการควบคุมการเคลื่อนยายของเสียอันตรายขามแดนและการกํา จัดแลวก็ ตามแตปจจุบันขอกําหนดเรื่องการหามการสงออกของเสียอันตรายยังไมมีผลบังคับใชจึงอาจมีการลักลอบทิ้งขยะอันตราย ในไทยมากขึ้น 4) การทําลายทรัพยากรชายฝงและปาชายเลน การเชื่อมโยงอาเซียนดานการขนสงทางทะเล อาจ เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดอุบัติภัยทางเรือ น้ํามันรั่วไหล รวมทั้ง การทําลายปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น

ความพร อ มขององค ก รในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่ อ เข า สู ป ระชาคมอาเซี ย น 1. ความทาทายดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน จาก ผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจากการเปดประชาคมอาเซียน สามารถสรุปประเด็นทายทายดานการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของอาเซียนไดดังนี้ 1.1. การใชทรัพยากรเกินขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ จะถูกนําไปใชจนเกินขีดความสามารถในการรองรับ โดยเฉพาะกลุมประเทศที่มีรายไดต่ําจะใชความไดเปรียบจาก ความมั่ งคั่ งเหล านี้ ซึ่ งจะทํ าใหเ กิด การปรับ เปลี่ยนการใช ที่ดิ นเพื่อ ขยายกํา ลัง การผลิต การเพิ่ มขึ้ นของอัต ราการใช ทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน ทั้งในดานพลังงาน การคมนาคมขนสง การทองเที่ยว อันจะ สงผลใหเกิดการบุกรุกพื้นที่ปาไมและการรุกล้ําระบบนิเวศเพิ่มขึ้น และนําไปสูการสูญเสียความหลากหลายของพันธุพืช และพันธุสัตวที่อาศัยอยูในระบบนิเวศเหลานั้น ซึ่งหากอาเซียนยังไมมีมาตรการควบคุมดูแลอยางมีประสิทธิภาพแลว จะ ทําใหการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติไมมีความยั่งยืน 1.2. กาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศ การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง และ โลจิสติกส จะกระตุนใหเกิดการเดินทางไปมาระหวางประเทศและเกิดการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น จะสงผลให ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศอื่น ๆ เพิ่มขึ้นตามไปดวย 1.3. ปญหาขยะและน้ําเสีย ปริมาณขยะและน้ําเสียจะเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ทั้งจากการทองเที่ยวและการผลิต รวมถึงการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วขึ้น


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 30

1.4. ปญหามลพิษขามแดน เนื่องจาก การควบคุมและบังคับใชกฎเกณฑดานสิ่งแวดลอมของประเทศใน อาเซียนมีมาตรฐาน และความเขมงวดตางกัน การเปดประชาคมอาเซียน จึงอาจทําใหปญหาการลักลอบทิ้งสารอันตราย 10 ขามแดน หรือการยายฐานการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษมากขึ้น 2. ความพรอมขององคกรตาง ๆ ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.1. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใตความรวมมืออาเซียน 1) หลักการและการดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของอาเซียน การประชุมสุด ยอดเรื่องสิ่งแวดลอมและมนุษย ณ กรุงสตอกโฮลม (Stockholm Conference on Human and Environment) เมื่อป 2510 ทําใหอาเซียนมีความตระหนักและไดบูรณาการประเด็นสิ่งแวดลอมเขาเปนสวนหนึ่งของวาระการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม โดยอยูบนพื้นฐานการบริหารจัดการในระดับประเทศเปนหลัก ภายใตหลักความรับผิดชอบรวมกันในระดับที่ แตกตางกัน (Common but Differentiated Responsibilities) กลาวคือ ประเทศสมาชิกตองเห็นชอบในมาตรการ ตาง ๆ รวมกัน ตัดสินใจเรื่องแนวทางดําเนินการ และมีสวนรวมดําเนินการตามศักยภาพและระดับการพัฒนาของแตละ ประเทศ ซึ่งอาเซียนไดกําหนดกลไกการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมไวชัดเจนใน ASEAN Charter รวมทั้งกําหนด เปาหมายและแผนงานใน Roadmap ที่มุงพัฒนาอาเซียนไปสูการเปนเศรษฐกิจสีเขียว (Green ASEAN) โดยมุงเนนเรื่อง การนําเครื่องมือดานกลไกตลาดมาใชมากขึ้น การลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบจากภัยพิบัติการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเผาและไฟปา แหลงน้ํา จืด ทองทะเล และระบบนิเวศชายฝง การลดอัตราการตัดไม ทําลายปา และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เมืองที่มีสิ่งแวดลอมยั่งยืน ประเด็นดานสิ่งแวดลอมของโลก ความ เขมแข็งของสถาบันและกรอบนโยบายระดับภูมิภาค นอกจากนี้ อาเซียนยังไดรวมกันจัดทํา กรอบแผนงานรายสาขาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Multi-sectoral Framework on Climate Change and Food Safety: AFCC) เพื่อการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการจัดการปาไม อยางยั่งยืน (Sustainable Forest Management: SFM) เพื่อสงเสริมการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนในอาเซียน และสนับสนุนความริเริ่มในการบังคับใชกฎหมายปาไมและหลักธรรมาภิบาล (Forest Law Enforcement, Governance and Trade: FLEGT) 2) ความพร อ มของอาเซี ย นในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่ อ เข า สู ประชาคมอาเซียน อาเซียนถือกําเนิดมาจากการแสวงหาสันติภาพและสรางความมั่นคงของภูมิภาค รวมทั้งการสงเสริม ความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมบนพื้นฐานของหลักการวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ซึ่งประกอบดวย (1) การไมแทรกแซงกิจการภายใน (Non-Interference) (2) การสรางฉันทามติ (Consensus Building) และ (3) การดําเนินการเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดของประเทศเปนสําคัญ (Preference for National Implementation of Programs)

10

นิรมล สุธรรมกิจ และคณะ. (2556). รายงานความกาวหนา โครงการการเปรียบเทียบมาตรการดานสิ่งแวดลอมของสมาชิกประเทศอาเซียน. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ; Jarayab hand, S. et al. (2010). Final Report Establishment of knowledge and network of researchers on environment and climate change in Thailand and neighboring countries (CLMV-T). Thailand Research Fund.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 31 11

แมวา หลักการดังกลาวจะชวยใหอาเซียนสามารถตกลงรวมมือกันเขาสูประชาคมอาเซียนได แต 12 หลักการดังกลาวกลับกลายเปนขอจํากัดของอาเซียนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลาวคือ (1) การไมแทรกแซงกิจการภายในอยางเครงครัดกลายเปนอุปสรรคตอการยอมรับมาตรการที่ 13 14 เปนไปไดในทางปฏิบัติรวมกัน เชน กรณีการแกปญหาหมอกควันขามแดน ที่อินโดนีเซียรวมลงนามความตกลงอาเซียน วาดวยมลพิษจากหมอกควันขามแดนลาชา ทั้งที่เปนตนกําเนิดของไฟปาและมลพิษ (2) การสนับสนุนทรัพยากรที่ไ มเพียงพอ กลาวคือ อาเซียนยั งขาดบุคลากรผูเชี่ยวชาญ แหล ง 15 เงินทุน และการสนับสนุนเชิงองคกร (3) ขอมูลที่ไมเพียงพอ สงผลใหเกิดขอจํากัดในกลไกการติดตามตรวจสอบ ที่ไมสามารถดําเนินการ ไดอยางมีประสิทธิผล (4) การขาดกลไกแกไขขอพิพาท เนื่องจาก วิถีอาเซียนมุงเนนการตัดสินใจดวยกระบวนการสราง 16 ฉันทามติ สง ผลใหอ าเซี ยนมั กจะหลี กเลี่ ยงข อขั ดแย งแทนที่จะใชกลไกแกไขขอ พิพาทที่มี การเจรจาตอรองบนพื้ น ฐานขอมูลทางวิทยาศาสตรอยางโปรงใสและเปนธรรม และ (5) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของอาเซียนไมมีประสิทธิผล ขาดการประสานงานภารกิจ 17 หลายสวนซ้ําซอนและขัดแยงกันเอง 2.2. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใตความรวมมือระดับอนุภูมิภาค : อนุ ภูมิภาคลุมน้ําโขง (GMS) 1. ทิศทางในการดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ GMS อยูภายใตการกํากับ ดูแลของคณะทํางานดานสิ่งแวดลอม (WGE) ซึ่งมีองคประกอบเปนรัฐมนตรีดานสิ่งแวดลอมของประเทศสมาชิก ตาม กรอบ CEP-BCI ซึ่งมุงสงเสริมการลงทุนพัฒนาในแนวพื้นที่เศรษฐกิจ GMS และพื้นที่ตอเนื่องพรอมกับบริหารจัดการดาน ความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมของ GMS ในป 2556 มีแนวทางและแผนงานสําคัญ คือ (1) การปรับปรุงระบบงานการวางแผนดานสิ่งแวดลอม ทั้งดานแผนกลยุทธมาตรการปองกันและ การติดตามประเมินผล เชน การประเมินตนทุนทางธรรมชาติในแหลงคุมครอง การพิจารณากรอบการลงทุนระดับภูมิภาค (Regional Investment Framework) ที่เหมาะสม

11

Taguchi, H. (2011). Regional issues in environmental management. In Broniewicz, E. (Ed.), Environmental Management in Practice (pp.67-84). DOI: 10.5772/17267; Goh, G. (2003). The ‘ASEAN Way’ non-intervention and ASEAN’s role in conflict management. Stanford Journal of East Asian Affairs, 3(1), pp. 113-118. 12 Middleton, C. (2012). ASEAN, Economic integration and regional environmental governance: Emerging norms and Transboundary environmental justice. Unpublished paper presented at The 2nd International Conference on Inter-national Relations and Development, Chieng Mai, Thailand. 13 Koga, K. (2010). The normative power of the “ASEAN Way.”: Potentials, limitations and implications for East Asian regionalism. Stanford Journal of East Asian Affairs, Winter, 80-94. Retrieved from http://www.academia.edu/4027546/The_ Nortmative_Power_of_the_ASEAN_Way_ 14 Nesadurai, H. E. S. (2008). The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN). Global Monitor, 13(2), pp. 225-239. 15 Kheng-Lian, K. & Robinson, N. A. (2002B). Strengthening sustainable development in regional intergovernmental governance: Lessons from the “ASEAN Way.” Singapore Journal of International and Comparative Law, 6, pp. 640-682 16 Ibitz, A. (2012). Environmental policy coordination in ASEAN: The case of waste from electrical and electronic equipment. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 5(1), pp. 30-51. 17 Elliott, L. (2003). ASEAN and environmental cooperation norms, interests and identity. The Pacific Review, 16(1), pp. 29-52.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 32

(2) การบริหารจัดการและติดตามผลดานความหลากหลายทางชีวภาพขามแดน เชน การเสริมสราง ความเขมแข็งตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจ การศึกษาเพื่อจัดทําหวงโซเพิ่มมูลคาทีย่ ั่งยืน (3) การพัฒนายุทธศาสตรดานการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการลดการปลอยคารบอน และ (4) การจัดการดานเงินทุนและการเสริมสรางองคกรดานสิ่งแวดลอม ประกอบกับคํานึงถึงประเด็น ความเทาเทียมทางเพศของบุคลากร และการจัดเตรียมงานสัมมนานานาชาติ GMS ในป 2563 ซึ่งจะมีจุดเนนเรื่อง สิ่งแวดลอม 2. ความพร อ มของ GMS ในการบริห ารจั ดการทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดลอ ม เมื่อ เข า สู ประชาคมอาเซียน แมวา วัตถุประสงคหลักดั้งเดิมของ GMS คือ การสงเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและยกระดับความ เปนอยูของประชาชนในภูมิภาค แตภายหลังป 2548 เปนตนมา GMS โดยการสนับสนุนของ ADB ไดใหความสําคัญกับ การปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้นตามลําดับ อยางไรก็ดี ประเทศสมาชิกยังไมมีค วามมุงมั่นจริงจังในการแกปญหาทรัพ ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมที่เพียงพอ ดังจะเห็นไดจากการที่ง บประมาณสวนใหญในการดําเนินโครงการของ GMS ในการเสริมสราง สมรรถนะของประเทศดานสิ่งแวดลอมและการคามาจากความชวยเหลืออยางเปนทางการ (Official Development Assistance: ODA) ของประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และหนวยงานระหวางประเทศ เชน 18 UNDP และ OECD เปนตน 2.3. กรอบความรวมมือการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย (IMT-GT) 1. แนวทางการดําเนินงานของคณะทํางานดานเกษตร อุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม ภายใต IMT-GT ในชวงกรอบแผนงาน IMT-GT ระยะที่ 2 (IMT-GT Implementation Blueprint 2012-2016) ยังคงใชกรอบการ พิจารณาขอเสนอโครงการแบบลางสูบน (Bottom-Up) ภายใตกลไกการกลั่นกรองขอเสนอโครงการจากระดับพื้นที่ หรือ มุขมนตรี และผูวาราชการจังหวัด (Chief Ministers and Governors’ Forum: CMGF) กลาวคือ มุงเนนการพัฒนาที่ สรางความเติบโตอยางเทาเทียมกันของคนทุกกลุมในสังคม และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ประเทศสมาชิก IMT-GT ได รวมกันจัดทํากรอบความรวมมือที่ตองการการประกอบการที่มีจริยธรรม เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยไดรวมกันราง ขอบเขตการดําเนินงาน เมื่อกรกฎาคม 2556 ณ ประเทศมาเลเซีย เพื่อจัดเตรียมกลไก และมาตรการรองรับดานการ พัฒนาฐานวัตถุดิบ และการแปรรูปการเกษตรที่คํานึงถึงผลกระทบสิ่งแวดลอม 2. ความพรอมของ IMT-GT ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน IMT-GT ก็มีลักษณะเชนเดียวกับ GMS คือ มีจุดมุงเนนที่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก โดย ใหความสําคัญกับพื้นที่เชื่อมตอระหวางประเทศ จึงไมมีกลไกและประเด็นการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมโดยตรง อยางไร ก็ดี การที่ WG-AAE ไดเริ่มบูรณาการประเด็นสิ่งแวดลอมไว ในกรอบความรวมมือและมาตรฐานวัตถุดิบ และการแปรรูป เกษตรที่คํานึงถึงผลกระทบสิ่งแวดลอม แสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่ IMT-GT อาจมีการขยายขอบเขตการดําเนินงานดาน สิ่งแวดลอมมากขึ้นในอนาคต

18

Dosch, J. (2010). Balancing trade growth and environmental protection in ASEAN: Environmental issues in trade and investment policy deliberations in the Mekong subregion. TKN Series on Trade and Environment in ASEAN – Policy Report, 2.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 33

2.4. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) 1. บทบาทของ MRC เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน การกาวเขาสูประชาคมอาเซียนจะกระตุนให ประเทศสมาชิก MRC ที่อยูบริเวณตนน้ําโขง เรงใชประโยชนจากแมน้ําโขงมากขึ้นเพื่อเสริมสรางโอกาสทางเศรษฐกิจ ใหกับประเทศตนเอง เชน การกอสรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาของสปป.ลาว และการผันน้ําจากแมน้ําโขงมาใชในไทย ซึ่งจะสงผลกระทบตอความสมดุลของระบบนิเวศและการใชประโยชนจากลําน้ําโขงของประเทศที่อยูทายน้ํา คือ กัมพูชา และเวียดนาม ดังนั้น โครงการพัฒนาเพื่อใชประโยชนจากลําน้ําโขงในสปป.ลาวก็จะสงผลกระทบในรูปแบบเดียวกันตอ ไทย อยางไรก็ดีตลอดเวลา 18 ปที่ผานมา บทบาทสวนใหญของ MRC จํากัดอยูเพียงการพัฒนาองคความรู และการ เสริมสรางศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืนใหกับประเทศสมาชิก โดยยังไมสามารถพัฒนาขอตกลง 19 หรือกลไกที่ชัดเจนในการควบคุมการใชประโยชนจากแมน้ํา โขงได ทั้งนี้ ขอตกลงในป 2538 กําหนดไวเพียงวาการใช ประโยชนจากแมน้ําโขงตองอยูภายใตการใชสิทธิอยางเปนธรรมและสมเหตุสมผล ซึ่งไมมีผลผูกมัดที่ เปนรูปธรรม ทําให ปจจุบันประเทศสมาชิกยังคงสามารถใชประโยชนจากแมน้ํา โขงในเขตอธิปไตยของตนเองไดเชน การกอสรางเขื่อน และ การผันน้ํา โดยเพียงแตตองแจงใหกรรมาธิการรวม (Joint Committee) ของ MRC รับทราบกอนเทานั้น 2. ความพรอมของ MRC ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเมื่อเขาสูประชาคม อาเซียน จากที่ในปจจุบันมีบางประเทศที่แมน้ําโขงไหลผาน แตไมไดเขารวมเปนสมาชิกของ MRC คือ จีน และเมียนมาร ซึ่งมีฐานะเปนเพียงประเทศผูสังเกตการณเทานั้น ประกอบกับการที่ประเทศสมาชิก โดยเฉพาะ ไทย และสปป.ลาว ยังคง ตองการใหประเทศของตนเองสามารถดําเนินโครงการพัฒนาแหลงน้ํา เพื่อใชประโยชนจากแมน้ําโขงไดอยางเสรี และ ตองการให MRC เปนเพียงองคกรที่มีบทบาทในดานการดําเนินโครงการพัฒนาภูมิภาค โดยอาศัยเงินทุนจากภายนอกเปน หลัก จึงเปนขอจํากัดสําคัญที่ MRC ไมอาจเพิ่มบทบาทใหครอบคลุมทุกมิติของการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืนได อยางไรก็ดี แมวา MRC จะไมมีอํานาจในการควบคุมการใชประโยชนดังกลาวจากแมน้ําโขงได แต MRC จะยังคงมีบทบาท สําคัญในการพัฒนาความสามารถในการปรับตัว และถายทอดองคความรูใหกับประเทศ หรือชุมชนที่ไดรับผลกระทบ 2.5. ความพรอมของไทยในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. ความทาทายของไทยเมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ปจจุบันกลไกหลักที่ใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายในไทยมีลักษณะเปน การบังคับและควบคุมโดยการใชกฎหมายและกฎระเบียบที่มีการกําหนดบทลงโทษ ตัวอยางเชน พระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวของ ซึ่งกําหนดใหมีมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม ในดานตาง ๆ โดยการควบคุมปริมาณการปลอยมลพิษที่แหลงกําเนิด เชน คุณภาพแหลงน้ํา อากาศ เสียง รวมถึงกฎหมาย ดานการคุมครองพื้นที่ปาไม ไดแก พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2485 พระราชบัญญัติอุทยาน แหงชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในปจจุบันมี มากกวา 60 ฉบับ กระจายความรับผิดชอบไปตามหนวยงานตาง ๆ กวา 11 กระทรวง ทั้งที่เปนหนวยงานในสวนกลาง และเจา พนักงานทองถิ่นเปนผูรักษา และบังคับใชกฎหมาย ซึ่งนอกจาก พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม แหงชาติ พ.ศ. 2535 และกฎหมายดานการคุมครองพืน้ ที่ปาไมที่กลาวไปแลวขางตน ยังมีกฎหมายฉบับอื่นอีกจํานวนมาก อาทิ พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย พ.ศ. 2522 พระราชบั ญ ญั ติ ป โ ตรเลี ยม พ.ศ. 2521 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2535 19

Backer, E. B. (2007) The Mekong River Commission: Does It Work, and How Does the Mekong Basin’s Geography Influence Its Effectiveness? Journal of Current Southeast Asian Affairs, 25(4), pp. 32-56.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 34

อยางไรก็ตาม เนื่องจาก กฎหมายแตละฉบับขางตนมีวัตถุประสงคเฉพาะดานประกอบกับกฎหมาย หลายฉบั บ ที่ใ ช อ ยู ยั ง มี ค วามล า สมั ย ทํ า ให ข อ กํา หนดในกฎหมายจึ ง ยัง คงมี ช อ งวา งและข อ จํา กั ด ในด า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภาพรวม นอกจากนี้ การขาดงบประมาณ และกําลังคนที่เพียงพอยังทําใหภาครัฐไม สามารถบังคับใชกฎหมายเหลานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหเกิดความสูญเสียของทรั พยากร และการรั่วไหลของ มลพิษ อีกทั้งกลไกที่เนนการสั่งการและควบคุม ซึ่งไมเอื้อตอการมีสวนรวมของชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ยัง สงผลใหเกิดความขัดแยงในการบังคับใชกฎหมายระหวางภาครัฐ และประชาชนอีกดวย ทั้งนี้ หากพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปดประชาคมอาเซียนตอประเทศไทย พบวา กลไกที่มีอยูยังไมครอบคลุมประเด็นความเสี่ยงตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่จะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ประเด็นสําคัญที่ ประเทศไทยยังไมพรอมในการรับมือกับผลกระทบจากการเปดประชาคมอาเซียน ประกอบดวย (1) การลดปริมาณขยะจากการอุปโภคและบริโภค การเขาสูประชาคมอาเซียนจะทําใหการนําเขาสินคาประเภทตาง ๆ เปนไปอยางเสรี มากยิ่งขึ้น ประกอบกับไทยมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวาประเทศเพื่อนบาน ดังนั้นจึงมีแนวโนมที่จะนํา เขาสินคาเหลานี้ได มาก ซึ่งจะสงผลใหปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกัน การเปดเสรีภาคบริการอาจสงผลใหแรงงานตางดาวมีแนวโนม เขามาทํางานในไทยมากขึ้น เนื่องจาก คาตอบแทนที่สูงกวา แรงงานตางดาวเหลานี้ จึงเปนประชากรกลุมสําคัญที่จะเพิ่ม ปริมาณขยะใหมากขึ้น นอกจากนี้ คาดวา ภาคการทองเที่ยวของไทยอาจไดรับผลบวกจากการเขาสูประชาคมอาเซียน ซึ่ง จะเปนผลใหนักทองเที่ยวมีจํานวนมากขึ้น และทําใหมีปริมาณขยะจากการทองเที่ยวเพิ่มขึ้นตามมา (2) การลดปริมาณการใชน้ํา และการจัดการคุณภาพน้ํา การเขาสูประชาคมอาเซียนนั้น นอกเหนือไปจากจะทําใหจํานวนประชากรแรงงานและ นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น และสงผลใหปริมาณความตองการใชน้ําในการอุปโภคและบริโภคเพิ่มขึ้นแลว ยังทําใหมีการขยายตัว ของภาคการผลิตโดยเฉพาะในบริเวณเขตเศรษฐกิจพิเศษตาง ๆ ที่ภาครัฐไดจัดเตรียมไว ซึ่งจะยิ่งเพิ่มปริมาณความตองการ ใชน้ําของภาคอุตสาหกรรม อันจะนําไปสูความขัดแยงดานการใชทรัพยากรน้ําระหวางภาคอุตสาหกรรมกับภาคการเกษตร ที่มีอยูแลวใหทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ยิ่งไปกวานั้น กลไก และสถานภาพการลงทุนของรัฐดานการบําบัดน้ําเสียยังไมเขมแข็ง และเพียงพอ จึงไมสามารถเพิ่มปริมาณน้ําใชหมุนเวียน (Recycled Water) ที่เหมาะสมกับการใชประโยชนบางประเภท ได (3) การลดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงาน และการขนสง เดินทาง ผลเด นชั ดที่ จะเกิ ดขึ้ นเมื่อ มี การเขา สูป ระชาคมอาเซี ยนประการหนึ่ง คือ การขนส ง เดินทางที่เพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากความเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐานในการคมนาคม โดยเฉพาะโครงการทางหลวง อาเซียน ที่จะรองรับปริมาณการขนสงทางรถยนตที่เพิ่มมาก นอกจากนี้ ความเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐานทางพลังงาน จะกระตุนใหความตองการใชไฟฟาเพิ่มมากขึ้น สงผลใหมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มตามไปดวย (4) การควบคุมผลกระทบตอสิ่งแวดลอม อันเนื่องมาจาก การกอสรางและกิจกรรมเกี่ยวเนื่องของโครงการลงทุนดานโครงสราง พื้นฐาน ในชวงระยะเวลาของการกอสรางของโครงการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงอาเซียนนั้น จะกอใหเกิด ความเสี่ยงตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น ทั้งในเรื่องของโอกาสที่จะเกิดอุบัติภัยและความเดือดรอนรําคาญ ตอประชาชนที่อยูในบริเวณใกลเคียง ดังนั้น การศึกษาเรื่องขีดความสามารถของทรัพยากรในการรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ และขีดความสามารถในการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity) ของทางทรัพยากรที่ดิน ทรัพยากรน้ํา คุณภาพ อากาศ และทรัพยากรปาไม จึงมีความสําคัญมาก ในการวางแผนและประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 35

2. นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศไทย 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ปจจุบัน ประเทศไทยไดป ระกาศใชแผนพัฒนาฯ ฉบั บที่ 11 ซึ่ง มีเปาหมายเพื่อใหสังคมอยู รวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง โดยยึดแนวพระราชดํา รัส เศรษฐกิจพอเพียง มี คนเปน ศูนยก ลาง ซึ่ งการพั ฒนาในแผนพั ฒนาฯ ฉบับที่ 11 ได กําหนดยุทธศาสตรที่สํ าคัญ 6 ยุทธศาสตรครอบคลุมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอย างยั่งยืน เปนยุทธศาสตรหนึ่งที่ เกิดขึ้นจากการวิเคราะหสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นทั้งทรัพยากรปาไมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรแรและพลังงาน มลพิษปริมาณของเสียและวัตถุอันตราย รวมทั้ง สถานภาพการบริหารจัดการและพันธกรณีตาง ๆ แลวทําการประเมินความเสี่ยงตางๆ ที่จะเกิดขึ้น เพื่อเตรียมการรับมือ และสร า งภู มิ คุ มกั น จากนั้ น ทํ า การกํ าหนดวั ต ถุ ป ระสงค เ ป า หมาย ตั ว ชี้ วั ด และแนวทางการพั ฒนา โดยได กํ า หนด วัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษและฟนฟูควบคูไปกับการผลิตการบริโภคที่เปนมิตรและมีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ พรอมตั้งเปาหมายเพิ่มพื้นที่ปาไมใหไดรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพิ่มพื้นที่ปาชายเลนไมนอยกวาปละ 5,000 ไร เพิ่ม พื้นที่ชลประทานเฉลี่ยปละ 200,000 ไร เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนความมั่นคง ดานอาหาร พัฒนาคุณภาพแหลงน้ํา และแมน้ําสายสําคัญใหอยูในเกณฑตั้งแตพอใชขึ้นไปไมนอยกวารอยละ 80 คุณภาพ อากาศอยูในเกณฑมาตรฐาน การจัดการขยะใหถูกหลักสุขาภิบาลเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 50 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการนําขยะกลับมาใชใหมไมนอยกวารอยละ 30 โดยที่ชุมชนสามารถอยูรวมกับปาไดอยางยั่งยืน และมีตัวชี้วัดตาม เปาหมายที่กําหนดไว 2. นโยบายรัฐบาล ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานของอาเซียนมาโดยตลอด ในฐานะที่อาเซียนเปนกลุม ภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยรัฐบาลไดใชนโยบาย ASEAN First Policy คือ อาเซียนตองมากอน และรัฐบาลไดใหความสํา คัญตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยกํา หนดเปนนโยบาย เรงดวน สงเสริมใหมีการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ และเรงรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน โดยเรงใหบริหารจัดการ น้ําอยางมีประสิทธิภาพ สามารถปองกันปญหาอุทกภัย และภัยแลงไดรวมทั้งสนับสนุน ภาคการเกษตร และกําหนด นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย การ อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง การดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมการ สงเสริมและสรางความตระหนัก และจิตสํานึกดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการพัฒนาองคความรูในการ บริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งไดกําหนดนโยบายการตางประเทศ และเศรษฐกิจระหวาง ประเทศเพื่อเรงสงเสริม และพัฒนาความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน และสรางความสามัคคีและสงเสริมความรวมมือ ระหวางประเทศอาเซียน เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และเตรียมความพรอมของทุกภาคสวนใน การเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 ทั้งในดานเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมและความมั่นคง 3. ยุทธศาสตรประเทศไทย รัฐบาลไดตระหนักถึงความสําคัญในการเขาสูประชาคมอาเซียน จึงไดเตรียมการหลายดานมา อยางตอเนื่อง เพื่อจัดทํายุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน 8 ดาน ซึ่งประเด็นดานสิ่งแวดลอมไดผนวกรวมอยูกับ เรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการคุมครองทางสังคม รัฐบาลไดมอบหมายใหสวนราชการตาง ๆ รวมกันบูรณาการ ยุทธศาสตรประเทศ และยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียนเขาไวดวยกัน เปนยุทธศาสตรประเทศไทย


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 36

ยุทธศาสตรประเทศไทย “เปนแนวทางขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มศักยภาพของประเทศไทยใหมีขีด ความสามารถในการแขงขันที่สูงขึ้น ลดความเหลื่อมล้ํา สงเสริมการเติบโตอยางเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และประสานให ทุกหนวยงานทั้งภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคสังคมตาง ๆ เขาใจและเขารวมในการพัฒนาประเทศ พัฒนาบุคลากร โดยมีเปาหมายไปสูอนาคตที่มั่นคง ยั่งยืนและสมดุลของประเทศ” ทั้งนี้ ยุทธศาสตรหลักประกอบดวย (1) ยุทธศาสตรการสรางความสามารถในการแขงขัน (Growth & Competitiveness) (2) ยุทธศาสตรการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตรการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Growth) (4) ยุทธศาสตรการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) โดยมียุทธศาสตรหลัก คือ ยุทธศาสตรการสรางการเติบโตที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Growth) ซึ่งกําหนดมาตรการสําคัญ ไดแก ความมั่นคงทางพลังงานและพลังงานที่เปนมิตรสิ่งแวดลอม เมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ/เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การรับมือและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนโยบายการคลัง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยมี เ ป า หมายให เ กิ ด การอนุ รั ก ษ แ ละใช พ ลั ง งาน ลดการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มพื้นที่ปา สงเสริมใหเกิดการผลิตการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและพัฒนาเศรษฐกิจ ควบคูไปกับการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน พรอมกําหนดแนวทางดังนี้ 1) การอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มพื้นที่ปา เพื่อสรางความสมดุลใหกับระบบ นิเวศ และเปนฐานในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน สงเสริมการปลูกปาแบบมีสวนรวมสงเสริมการปลูกไมเศรษฐกิจโดย พัฒนารูปแบบ และกลไกทางการเงินเพื่อสงเสริมการปลูกไมสัก และไมมีคาทางเศรษฐกิจ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มในระยะยาว เชน ธนาคารตนไม พันธบัตรปาไม รวมทั้งพัฒนาเศรษฐกิจจากการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืนใหไดรอยละ 40 (128 ลานไร) โดยมีโครงการสําคัญ ไดแก โครงการปลูกปาและฟนฟูปาตนน้ํา และโครงการประชาอาสาปลูกปา 800 ลานกลา 80 พรรษามหาราชินีพื้นที่ 224,059 ไร (ภายใตงบเงินกู 3.5 แสนลานบาท) 2) การลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยลดการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ขนสงและ ครัวเรือน รวมทั้งสนับสนุนการใชพลังงานทดแทน โครงการที่สํา คัญ เชน โครงการพัฒนาเครื่องมือกลไกในการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจกของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม งบประมาณดาเนินงานป 2556-2561 จํานวน 9,899.84 ลานบาท (ป 2557 จํานวน 1,419.83 ลานบาท) ประกอบดวยกิจกรรม อาทิ การเพิ่มประสิทธิภาพการปองกัน ไฟปาและควบคุมหมอกควัน การพัฒนาตลาดฉลากคารบอน และการปลูกเสริมและฟนฟูพื้นที่ปาอนุรักษในเขตพื้นที่สวน 20 ปาเศรษฐกิจ เพื่อเปนแหลงดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด เปนตน 3) การบริหารจัดการภัยพิบัติและการบริหารจัดการน้ํา โดยเนนยุทธศาสตรเชิงรุก เชน การ จัดตั้งศูนยปฏิบัติการเพื่อสั่งการโดยตรงสูพื้นที่ประสบภัยไดอยา งทันทวงที รวมทั้งบูรณาการการลงทุนในโครงสราง พื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานใหสอดคลองกับแผนงานปองกันภัยพิบัติ โดยปจจุบัน รัฐบาลอยูระหวางการ ดําเนินโครงการระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา อยางยั่งยืน และระบบแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศไทย วงเงิน 291,000 ลานบาท ประกอบดวย 6 แผนงานหลัก คือ (1) การกอสรางอางเก็บน้ํา (2) การจัดทําผังการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่ปดลอมชุมชน (3) การปรับปรุงพื้นที่เกษตรเพื่อกักเก็บน้ําหลากชั่วคราว (4) การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลัก 20

สํานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). ยุทธศาสตรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2556-2561 ฉบับ ทบทวนสอดคลอ งกับ ยุทธศาสตรป ระเทศ (Country Strategy) และขอ มูลโครงการสํา คัญ (Flagship Project). เขา ถึง ได จ าก http://lib.mnre.go.th/book/yudtasat56-61.pdf. เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2557.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 37

(5) การจัดทําทางผันน้ํา และ (6) ระบบคลังขอมูลน้ํา 4) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานควบคูกับการรักษาสิ่งแวดลอม เปนปจจัยที่ชวยเชื่อมประสาน ยุทธศาสตรการเติบโตแบบสมดุล ไดแก การพัฒนาการวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิต และเชื่อมการสรางรายไดกับการรักษา สิ่งแวดลอม รวมทั้งการสรางจิตสํานึกความตระหนัก และสงเสริมการมีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม และธรรมชาติ ของประเทศ 5) นโยบายการเงินการคลังเพื่ อสิ่งแวดล อม โดยจั ดเก็บภาษีสิ่งแวดล อมเพื่อลดการปลอ ย มลพิษ ทั้งนี้เพื่อใหภาคเอกชนตระหนักถึงเรื่องการรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น รวมไปถึงการกําหนดนโยบายภาษีเพื่อลดการ ใชพลังงาน และสงเสริมใหมีการใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้น โดยปจจุบันกระทรวงการคลังอยู ระหว า งการร า งกฎหมายพระราชบั ญ ญั ติ มาตรการการคลั ง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ ง ประกอบด ว ย มาตรการ เช น ภาษี 21 สิ่งแวดลอม คาธรรมเนียมในการจัดเก็บสิ่งแวดลอม และสิทธิในการซื้อขายคารบอน 6) การพั ฒนาเมืองอุ ตสาหกรรมเชิงนิ เวศ ซึ่งเป นอุตสาหกรรมเพื่ อการเติบโตรูปแบบใหม (New Growth) ของไทยในอนาคต โดยรัฐบาลจะรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกํา หนดทิศทางการใชพลังงานใน ภาคอุตสาหกรรม และการใชพืชพลังงาน เพื่อสงเสริมการปลูกพืชพลังงานอยางเปนระบบในระยะยาว

ประชาคมอาเซี ย นกั บ ผลกระทบต อ ระบบราชการสํา หรั บ ประเทศไทย ระบบราชการในฐานะที่เปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการ ปรับตัวเพื่อรองรับตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะมีทั้งสวนราชการที่เกี่ยวของหลัก และสวนราชการที่เกี่ยวของในลําดับ รองลงไป แตอยางไรก็ตาม ในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจําเปนที่จะตองมีการศึกษา วิเคราะห และ ขับเคลื่อนไปพรอมกันอยางเปนระบบ มิเชนนั้น จะไดรับผลกระทบในหลายมิติทั้งประเด็นเรื่องความมั่นคงภายใน การ บริหารจัดการพื้นที่ การสื่อสารสราง และสรางความรูความเขาใจใหกับประชาชนในพื้นที่ จึงตองมีการปรับตัวดังตอไปนี้ 1) ปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (Non-traditional Security Issues) การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบทางออมใหเกิดปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional security) เชน ปญหายาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ การลักลอบนําเขาหรือการเคลื่อนยายสินคาผิดกฎหมาย เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนปญหาที่สามารถแอบแฝงมากับการลงทุน หรือการทําการคากับตางประเทศ 2) การบริหารงานทะเบียนราษฎร แมประชาคมอาเซียนจะมีการทําขอตกลงใหมีการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพอยางเสรีใน 8 สาขาวิชาชีพ คือ แพทย ทันตแพทย พยาบาล วิศวกรรม สถาปตยกรรม บัญชี การสํารวจ และนักการทองเที่ยว อยางไรก็ดี ในระยะเฉพาะ หน า การเตรียมความพร อมเขา สู ประชาคมอาเซียนของประเทศตา ง ๆ รวมทั้ ง ไทย จะส ง ผลใหเ กิ ดการลงทุน ด า น โครงสรางพื้นฐานขนาดใหญจากภาครัฐและเอกชน เชน ถนน ทาเรือ โรงงาน สถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น จึงเปน โอกาสใหเกิดการเคลื่อนยายของแรงงานตางดาวทั้งที่ถูก และผิดกฎหมายจากประเทศอื่นเขามาทํางานรับจางเปนแรงงาน ใหกับผูประกอบการภายในประเทศมากขึ้น ขณะเดียวกัน การเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรีในป 2558 ยังจะกอใหเกิด การยายถิ่นฐานของผูประกอบอาชีพตามขอตกลง เชน แพทย วิศวกรที่สามารถเขามาทํางานและพํานักในประเทศไทย มากขึ้น ดังนั้น งานทะเบียนที่เกี่ยวกับบุคคลภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย จึงได รับผลกระทบในแงการ บังคับใชใหเปนไปตามกฎหมาย และปองกันมิใหมีการแสวงหาประโยชนจากระบบทะเบียนและบัตรประจําตัวประชาชน 21

ณัฐญา เนตรหนิ. (6 กันยายน 2555). คลังเดินหนาจัดเก็บภาษีสิ่งแวดลอม-ปรับโครงสรางภาษีรถประหยัดพลังงาน. หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ Than Online เข า ถึงได จ ากhttp://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=140624&catid= 176&Itemid=524 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2557.


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 38

3) การจัดการความขัดแยงและการอํานวยความเปนธรรม บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต การพัฒนาทางเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอสังคมในดานตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตชุมชน ทําใหโครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น อาจไดรับแรงตอตานจากประชาชนที่อาจไดรับผลกระทบ ในพื้นที่กอนการกอสราง หรือประชาชนที่ไดรับผลกระทบภายหลังจากโครงการที่มีการดําเนินการแลวเสร็จ เชน จาก โรงงานหรือสถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น กลไกการจัดการความขัดแยงระหวางภาครัฐ /ภาคเอกชนกับประชาชน หรือระหวางประชาชนดวยกันเอง จึงตองมีการเตรียมการเพื่อรับมือกับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น การกําหนด แนวทางการไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นอยางมีสวนรวมจึงเปนสิ่ งที่ตอง คํานึงถึงและเตรียมการ ซึ่งเปนภารกิจของฝายปกครองดวย ขณะเดียวกัน ยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนากลไกการ จัดการความขัดแยง และการอํานวยความเปนธรรมใหแกชาวตางชาติที่อาศัยอยูในประเทศไทย เชน ระบบรองเรียนหรือ รองทุกข ระบบการไกลเกลี่ยและประนีประนอมความขัดแยงระหวางบริษัทตางชาติกับประชาชนในพื้นที่เพื่อนําไปสู กระบวนการจัดการที่มีมาตรฐานในระดับสากล 4) การคาและการติดตอตามแนวชายแดน ประชาคมอาเซียนจะกอใหเกิดการขยายตัวของระบบการคาชายแดนขนาดใหญ เนื่องจาก การขจัดภาษี นําเขาระหวางประเทศสมาชิก ทําใหเกิดการขนถาย นําเขาวัตถุดิบ/สินคาจากประเทศอื่นที่มีตนทุนถูกกวา ดังนั้น พื้นที่ ชายแดนของจังหวัดที่มีการคาอยูแลวในปจจุบัน จึงมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมการคาขายกับประเทศเพื่อนบานใน ระดับที่สูงยิ่งขึ้น ในขณะที่พื้นที่จังหวัด หรืออําเภอที่มีพื้นที่ติดชายแดนที่ยังไมไดมีการเปดเปนดานการคา หรือจุดผาน แดนก็มีแนวโนมที่จะไดรับการสนับสนุนใหมีการยกระดับมากขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้น กรมการปกครองตองมีการเขาไปจัด ระเบียบสังคมและความสงบเรียบรอย พรอมทั้งเรงพัฒนาระบบการใหบริการใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น 5) การประกอบอาชีพของประชาชน ภายใตสภาพแวดลอมทางการคา การลงทุน การบริการ และการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรียอมเปนทั้ง โอกาสและผลกระทบสําหรับประชากรวัยแรงงานของไทยในพื้นที่ กลาวคือ หากประเทศมีประชากรวัยแรงงานที่มี คุณภาพ และมีความพรอมในการปรับตัวก็จะทําใหประชาชนไดรับประโยชนจากโอกาสในการประกอบอาชีพที่เปดกวาง จากการสามารถทํางานในตางประเทศ หรือการจางงานอันเกิดจากการขยายตัวของการลงทุนภายในประเทศ ซึ่งยอมเปน การยกระดับชีวิตความเปนอยูของตนได ในทางตรงข า ม การสู ญ เสี ย ความสามารถในการแข ง ขั น ในภาคการผลิ ต เช น ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมบางสาขา จะกอใหเกิดการเคลื่อนยายฐานการผลิต สินคาภายในประเทศจะถูกตีตลาดรวมทั้งการไม สามารถผลิตประชากรวัยแรงงานใหตรงตามความตองการของตลาดยอมทําใหสงผลตอการวางงานของประชาชนได โดย สินคาของประเทศอื่นในกลุมสมาชิกอาเซียนอาจเขามาในตลาดภายในของประเทศไทยมากขึ้นในราคาที่ต่ํากวา และ/หรือ คุณภาพดีกวานั้น อาทิ สินคาอุตสาหกรรม เชน ปโตรเลียม (จากมาเลเซียและเมียนมาร) เคมีภัณฑ ยางและพลาสติก (จากมาเลเซีย ) สวนสินคาเกษตร เชน ขาว (จากเวียดนาม) น้ํามันปาลม (จากมาเลเซี ย) กาแฟ (จากเวียดนามและ อินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพราว (จากฟลิปปนส) เปนตน ผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ยอมกอใหเกิดความตึงเครียด และปญหาสังคมอื่นตามมาได เชน การ ประทวงของเกษตรกร การสูญเสียรายได การถูกเลิกจางหรือเปลี่ยนอาชีพใหม ซึ่งฝายปกครองของเราก็จะตองเขาไป จัดการปญหาในพื้นที่ดวย ดังนั้น เพื่อเปนการเสริมสรางความอยูดีมีสุขใหแกประชาชนในพื้นที่ตามยุทธศาสตร หนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของโดยเฉพาะกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงตองไปเขาไปดําเนินการสงเสริมและสนับสนุน ศักยภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ําและปองกันปญหาการวางงานที่ อาจเกิดขึ้นอีกดวย


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 39

6) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาชนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําให อาเซียนปรับตัวใหเขากับมาตรฐาน อื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑ ระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แตละ ประเทศตองเคารพและยึดถือ ไดแก หลักประชาธิปไตยและหลักสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การปฏิบัติหนาที่ของรัฐบาล หนวยงานราชการ จะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวย โดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ํานี้อยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได 7) การสื่อสารสรางความเขาใจ และการตระหนักรูใหกัประชาชนในพื้นที่ เนื่องดวย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเปนหนวยงานที่มีการทํางานในเชิงพื้นที่และเขาถึงประชาชน จัดเปนจุดเดนของฝายปกครองอยางหนึ่ง ประเด็นนี้จึงมีความสําคัญมากที่จะตองจัดใหมีการสรางความรูความเขาใจใหกับ ประชาชนในพื้นที่อยางตอเนื่องดวยการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ เพื่อกระตุนใหประชาชนเห็นความสําคัญและ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งเปาหมายที่สําคัญที่สุด ก็คือ การสรางความตระหนักรูให ประชาชนถึงผลกระทบโดยตรงและโดยออมจากการเขาเปนประชาคมอาเซียน 8) การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประชาคมอาเซียนจะกระตุนใหเกิดการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม เชน เขตเศรษฐกิจแมสอด เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารและแสวงหาประโยชนทางเศรษฐกิจ ในอนาคตเขตเศรษฐกิจพิเศษอาจมีการขยายตัว มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ ซึ่งทําใหการบริหารความสัมพันธระหวางสวนกลางและสวน ภูมิภาคตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมสอดคลองกันไป ขณะเดียวกัน โอกาสในการพัฒนาไปสูเขตบริหารจัดการพิเศษ ของจังหวัดใหญ ๆ หรือการมีผูบริหารจังหวัดมาจากการเลือกตั้งก็จะไดรับแรงผลักดันดวยเหตุผลในเชิงเศรษฐกิจ และ ความสามารถในการแขงขันจากพื้นที่มากยิ่งขึ้น 9) เศรษฐกิจฐานราก ประชาคมอาเซียนยอมกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจโดยรวมตอเศรษฐกิจฐานรากทั้งทางตรงจากการคา การลงทุน และทางออมจากการทองเที่ยว และการยายถิ่นของนักลงทุนจากตางประเทศ นอกจากนี้ กลุมการผลิตระดับ ชุมชนในพื้นที่ เชน กลุม OTOP ยังสามารถไดรับประโยชน เชน การเขา ถึงตลาดและแหลงวัตถุดิบใหม ๆ การเปนหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับผูประกอบการ รวมทั้งการขยายความรวมมือแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันมากขึ้น 10) ความเหลื่อมล้ําทางสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในพื้นที่ชายแดน พื้นที่ที่เปนโรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ชุมชนจากการขยายตัวดานโลจิสติกส สามารถสงผลตอคุณภาพการพัฒนาโดยรวมนั่นคือ กอใหเกิดความเหลื่อม ล้ําทางสังคม โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบทางลบ เชน เกษตรกรที่สินคาถูกตีตลาดผูวางงาน หรือผูไมสามารถเขาถึง โอกาสการพัฒนาได เชน บุคคลดอยโอกาส บุคคลชายขอบ เปนตน 11) ภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาราชการอาเซียน จะทวีความสําคัญในการติดตอ การจัดการ และประสานงาน ระหวางรัฐกับรัฐกับประชาชน และระหวางประชาชนดวยกันภายในอาเซียน หากบุคลากรของกระทรวงมหาดไทยยังขาด ความรูและทักษะดานภาษาอังกฤษอยางเพียงพอก็ยอมสงผลตอการทํางานกับประเทศอื่น ๆ ได อันจะนํามาซึ่งการพลาด โอกาสในการสรางความรวมมือ/เก็บเกี่ยวประโยชน หรือสูญเสียผลประโยชนแหงชาติจากประชาคมอาเซียน นอกจากนี้


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 40

ความรูความเขาใจภาษาของประเทศเพื่อนบาน รวมทั้งดานขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศอื่น ๆ ยอมทําให เปนโอกาสของการสรางความรวมมือกันมากขึ้น 12) การสรางความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ประชาคมอาเซียนจะทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูบริหารระดับสูงในแตละพื้นที่มีความใกลชิดตอ กันมากขึ้น ดังนั้น ในสวนกระทรวงมหาดไทยโดยเฉพาะผูวาราชการจังหวัดจะมีบทบาทหรือสวนเกี่ยวของในการสราง ความสัมพันธระหวางประเทศมากขึ้น เชน ความรวมมือระหวางเมืองพี่ เมืองนอง/เมืองคูแฝดระหวางจังหวัดของประเทศ ตาง ๆ ในอาเซียน ทําใหกระทรวงมหาดไทยตองมีการปรับทักษะความสามารถดานการตางประเทศของบุคลากรให เหมาะสมและทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน 13) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาคมอาเซียนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเข ากับ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แต ละประเทศต อ งเคารพและยึ ดถื อ ได แ ก หลัก ประชาธิป ไตยและสิ ท ธิมนุ ษยชน ดั ง นั้น การปฏิบั ติ หน า ที่ ของรัฐ บาล หนวยงานราชการจะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวยโดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ําอยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได

ป ญ หาและอุ ป สรรคที่ สํา คั ญ ของประชาคมอาเซี ย น 1. ประเทศสมาชิกอาเซียน มีสภาพภูมิศาสตรคลายคลึงกัน จึงมีสินคาเกษตร หรือแรธาตุที่คลายคลึงกัน บางครั้ง จึงมีการแยงตลาดกันเอง และสินคาสวนใหญเปนผลผลิตทางการเกษตรที่ยังไมไดแปรรูป ทําใหราคาสินคาตกต่ํา นโยบาย เขตการคาเสรีในภูมิภาคนี้ จึงดําเนินไปอยางชามาก จะแกไขปญหานี้ได จะตองมีการแบงการผลิตตามความถนัดของแต ละประเทศแลวนํามาแลกเปลี่ยนกัน จึงจะเกิดการรวมกลุมกันได แตถาตางคนตางผลิตโดยไมมีการกําหนดมาตรฐาน รวมกันในการวางแผนการผลิตก็ถือวา เปนปญหาใหญในการรวมกลุม 2. สินคาอุตสาหกรรมในกลุมอาเซียนนั้นก็เปนอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน แตละประเทศตางก็มุงจะพัฒนา ประเทศใหเปนประเทศที่พัฒนาแลวตามแบบอยางตะวันตก จึงตองมีการจัดซื้อเทคโนโลยีชั้นสูง ประเทศในกลุมอาเซียนที่ พอจะผลิตสินคาเทคโนโลยีไดก็คือ สิงคโปร แตประเทศสมาชิกก็เกี่ยงวา ยังไมมีคุณภาพ จึงจําเปนที่จะตองพึ่งพาสินคา จากประเทศอุตสาหกรรมนอกกลุมอาเซียน ทําใหการคาขายระหวางกันในกลุมอาเซียนทํา ไดยาก วิธีการแกไขจะตองมี การแบงงานกันทํา และยอมรับสินคาประเทศในภูมิภาคเดียวกัน รวมทั้งจะตองมีการพัฒนาคุณภาพสินคาภายในกลุม ประเทศอาเซียนใหดีขึ้น 3. ประเทศในอาเซียนตางพยายามพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศเพื่อทดแทนการนํา เขา แตละประเทศ พยายามสงเสริม พัฒนา และคุมครองอุตสาหกรรมในประเทศตน โดยการใชกํา แพงภาษี หรือกําหนดโควตา ซึ่งสวนทาง กับหลักการในการรวมกลุมและตลาดการคาเสรี ซึ่งเปนประเทศสมาชิกมารวมกลุมกันตองยกเลิกขอเลือกปฏิบัติทางการ คาระหวางประเทศเพื่อกอใหเกิดการคาเสรี (Free Trade) ดังนั้น ขอตกลงใน AFTA ของอาเซียนหลายขอจึงยังไมไดรับ การปฏิบัติ


ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 41

4. ประเทศสมาชิกยังคงปกปองผลประโยชนแหงชาติของตนเปนหลัก และการหารายไดเขาของรัฐประเทศใน อาเซียนมีลักษณะเหมือนกัน คือ รายไดหลักของประเทศมาจากการเก็บภาษีศุลกากรสินคาขาเขา และขาออก ซึ่งการ รวมกลุมเปนประชาคมอาเซียนใหยกเลิกการเก็บภาษีระหวางกันหรือเก็บภาษีใหนอยลง แตประเทศสมาชิกไมสามารถ สละรายไดในสวนนี้ได เนื่องจาก เปนเงินที่ตองนํามาพัฒนาประเทศ การรวมกลุมเพื่อใหเกิดการคาเสรีระหวางประเทศใน ภาคีจึงยังทําไดยาก 5. ความแตกตางกันทางการเมืองและการปกครอง กฎบัตรอาเซียนไดกําหนดไวชัดเจนถึงหลักการประชาธิปไตย และใหประเทศสมาชิกยึดมั่นตอรัฐบาลที่มาจากวิถีทางรัฐธรรมนูญ การสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะชวยยกระดับความรวมมือในการสงเสริม ประชาธิปไตยของแตละประเทศ อันมีผลตอความสงบเรียบรอยทางการเมือง ในภูมิภาคดวย แตการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนมีหลากหลายรูปแบบ ประกอบดวย 5.1 แบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา มี 4 ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา สิงคโปร และมาเลเซีย 5.2 ประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดี 2 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย และฟลิปปนส 5.3 เผด็จการสังคมนิยมคอมมิวนิสต 2 ประเทศ คือ สปป.ลาว และเวียดนาม 5.4 เผด็จการทหาร 1 ประเทศ คือ เมียนมาร หรือพมา 5.5 สมบูรณาญาสิทธิราชย 1 ประเทศ คือ บรูไน จะเห็นไดวา สมาชิกในกลุมอาเซียนมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด สมาชิกบางประเทศยังมีปญหาดานความ เปนประชาธิปไตย และยังปกครองในรูปแบบเผด็จการ และตองการรักษาอํานาจของตนไว ทําใหอาเซียนพัฒนาไดอยาง ยากลําบาก 6. ความขัดแยงระหวางประเทศอาเซียน ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนยังมีปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ อยู เชน ปญหาพรมแดนระหวางประเทศไทย – กัมพูชา ปญหาพรมแดนระหวาง มาเลเซีย – ฟลิปปนส – อินโดนีเซีย 7. ความแตกตางดานสังคมและวัฒนธรรม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนดินแดน ซึ่งมีความหลากหลาย ทางเชื้อชาติศาสนา โดยสามารถแบงกลุมประเทศตามศาสนาที่ประชากรสวนใหญของประเทศนับถือได ดังนี้ - ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม คือ บูรไน อินโดนีเซีย และมาเลเซีย - ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ คือ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร เวียดนาม สิงคโปร และ ไทย - สวนในฟลิปปนส ประชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาคริสต นอกเหนือจากความแตกตางทางศาสนาแลว ปญหาชนกลุมนอยที่มีจํา นวนมาก ซึ่งแนนอนวา ยอมจะมีความ แตกตางทางความเชื่อ วิถีชีวิต ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ก็เปนอุปสรรคตอการหลอมรวมสรางความ เปนหนึ่งเดียว กระนั้น อุปสรรคจากการขาดศูนยกลางและผูนําก็เปนอีกปจจัยที่จะทําใหการเกิดประชาคมอาเซียนสําเร็จไดยาก 22 ในชวงตน ๆ ของการกอตั้งอาเซียนนั้น มีประเทศที่เปนแกนกลางหลักของอาเซียน หรือ “strategic centrality” ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย แตในระยะตอมาทั้งสามประเทศเผชิญปญหาภายในทั้งปญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจ จนไมมีศักยภาพที่จะเปนผูนําที่เขมแข็งได ทําใหอาเซียนตกอยูในสภาพที่ไรแกนนําในการขับเคลื่อนประชาคมในดาน ตาง ๆ ใหเปนรูปธรรม และคาดวา สภาพหลังจาก พ.ศ. 2558 ก็คงจะไมมีประเทศแกนนําที่มีความพรอมเปนผูนําใหแก อาเซียนได ซึ่งการขับเคลื่อนอาเซียนใหเปนประชาคมที่สมบูรณไดนั้น นอกจาก จะตองการความรวมมืออยางมากจาก สมาชิกแลว การมีประเทศแกนนําในการชักพาประเทศอื่น ๆ เขามารวมมือกันก็เปนปจจัยแหงความสําเร็จที่สําคัญ 22

Rizal SUKMA, Jakarta Paper presented at A Seminar on " ASEAN Cooperation: Challenges and Prospects in the Current International Situation" New York, 3 June 2003.


ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น ตลอดชวงระยะเวลากวา 40 ปที่ผานมา สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียนไดมีการ พัฒนาการมาเปนลําดับ เริ่มกอตั้งเมื่อป 2510 ทามกลางสถานการณความตึงเครียดของภาวะสงครามเย็น ซึ่งมีความ ขัดแยงดานอุดมการณทางการเมืองระหวางประเทศที่ตางกัน คือ ประเทศที่ยึดถือในอุดมการณเสรีนิยมประชาธิปไตยกับ ประเทศที่ยึดมั่นในอุดมการณสังคมนิยมคอมมิวนิสต ขณะเดียวกันในหวงเวลานั้น ยังมีความขัดแยงดานดินแดนระหวาง ประเทศในภูมิภาค เชน ความขัดแยงระหวางมลายู และฟลิปปนส ในการอางกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาห และซาราวัก รวมทั้งการที่สิงคโปรแยกตัวออกจากมลายา ทําใหหลายประเทศเริ่มตระหนักถึงความจําเปนในการรวมมือกันระหวาง ประเทศในภูมิภาค ประเทศไทยในขณะนั้น ไดมีบทบาทสําคัญในการเจรจาไกลเกลี่ยความขัดแยงระหวางประเทศเพื่อนบานเหลานี้ โดยเปนเจาภาพใหรัฐมนตรีตางประเทศของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตอีก 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร มาหารือรวมกันที่แหลมแทน จ.ชลบุรี อันนํามาสูการลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ เพื่อกอตั้ง อาเซียนที่วังสราญรมย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ไทยจึงถือเปนทั้งประเทศผูรวมกอตั้งและเปน “บานเกิด” ของอาเซียน อาเซียนไดขยายสมาชิกภาพขึ้นมาเปนลําดับ โดยบรูไนไดเขาเปนสมาชิกเปนประเทศที่ 6 ในป 2527 และภายหลังเมื่อ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่เหลืออีก 4 ประเทศ คือ เวียดนาม ลาว พมา และกัมพูชา ไดเขาเปนสมาชิกจนครบ 10 ประเทศ เมื่อป 2542 นับเปนกาวสําคัญที่ไทยไดมีบทบาทเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยูบนภาคพื้นทวีป และประเทศที่เปนหมูเกาะทั้งหมด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งปฏิญญากรุงเทพฯ มิไดระบุถึงความรวมมือดานการเมือง และความมั่นคง โดยกลาวถึงเพียงความรวมมือกันดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การเกษตร อุตสาหกรรม การสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค แตอาเซียนไดมีบทบาทสําคัญในการเสริมสรางความไววางใจระหวาง ประเทศในภูมิภาค ลดความหวาดระแวง และชวยเสริมสรางสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และ ที่สําคัญ ไทยไดเปนแกนนํารวมกับอินโดนีเซียและประเทศสมาชิกดั้งเดิมในการแกไขปญหากัมพูชา รวมทั้งความรวมมือใน การแกไขปญหาผูลี้ภัยอินโดจีนจนประสบความสําเร็จลุลวงไปดวยดี และชวยเสริมสรางสันติภาพ เสถียรภาพ และความ มั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนประโยชนตอไทยในฐานะเปนประเทศดานหนา ในป 2547 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่นครเวียงจันทน สปป.ลาว ไดรับรองเอกสาร “แผนปฏิบัติการ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political- Security Community Plan of Action) ซึ่งมีการ กําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน อนึ่ง ผูนําอาเซียนตระหนักวา การสงเสริมการรวมตัวของอาเซียนใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น โดยการเรงจัดตั้งประชาคมอาเซียน จะชวยสงเสริมความเปน ศูนยกลางของอาเซียน และบทบาทขับเคลื่อนการสรางโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาค ดังนั้น ที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 12 เดือนมกราคมที่ประเทศฟลิปปนส จึงไดตัดสินใจที่จะดําเนินการเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) และในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศ สิง คโปร ผูนํ าอาเซี ยนได ลงนามในกฎบั ตรอาเซี ยน ซึ่ง แสดงเจตนารมณ ในการเร งสรา งประชาคมอาเซี ยน โดยการ เสริมสรางความรวมมือ และการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผูนําอาเซียนไดมอบหมายใหรัฐมนตรี และเจาหนาที่จัดทําราง แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint :


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 43

APSC Blueprint) ซึ่งไดมีการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัว หิน ประเทศไทย APSC Blueprint โดยหลักของพิมพเขียวของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนี้ เปนการผสมผสาน ระหวาง ASEAN Security Community Plan of Action และ the Vientiane Action Programme (VAP) รวมถึงงาน ในสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งเปนการพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติการสําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (APSC Plan of Action) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Program : VAP) และขอ ตัดสินใจตาง ๆ จากองคกรเฉพาะดานของอาเซียน APSC Plan of Action เปนเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการ บรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่แผนปฏิบัติการเวียงจันทน เปน เอกสารที่วางมาตรการที่จําเปนระหวางป พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2553 เอกสารทั้ง 2 ฉบับ เปนเอกสารอางอิงที่สําคัญในการ สานตอความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ดังนั้น APSC Blueprint จึงเปนแผนงาน และกรอบเวลา สําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ APSC Blueprint ยังมี ความยืดหยุนที่จะสานตอกิจกรรมตาง ๆ ที่จะดําเนินการหลังป พ.ศ. 2558 ดวย เพื่อใหคงไวซึ่งความสําคัญและความ 1 ยั่งยืน APSC Blueprint ไดแบงเรื่องหลัก ๆ ในการสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คือ เรื่องการ พัฒนาทางการเมือง การพัฒนาบรรทัดฐาน กลไกปองกันความขัดแยง กลไกแกไขความขัดแยง 2 การพัฒนาทางการเมือง ประเด็น APSC Blueprint ใหความสําคัญเรื่องการสงเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และการติดตอใน ระดับประชาชนตอประชาชน อยางไรก็ตาม อาเซียนยังมีปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการประชาธิปไตย หลายประเทศยังมี ระบอบการปกครองที่ยังไมเปนประชาธิปไตย นอกจากนี้ ถึงแมกฎบัตรอาเซียนจะระบุวา จะมีการจัดตั้งกลไกดานสิทธิ มนุษยชนขึ้นมา ซึ่งตอมาไดมีการจัดตั้งกลไกดังกลาวขึ้ น ซึ่งมีชื่อเปนภาษาอังกฤษวา ASEAN Intergovernmental Commission on Human Right : AICHR อยางไรก็ตาม อํานาจหนาที่ของ AICHR ก็มีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาบรรทัดฐาน การพัฒนาบรรทัดฐาน เปนเรื่องหนึ่งที่ APSC Blueprint ใหความสําคัญ คือ กฎเกณฑ ขอตกลงตาง ๆ ของ อาเซียน ขณะนี้ ขอตกลงหลัก ๆ ของอาเซียนมีสนธิสัญญาสมานฉันทและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia Nuclear 6 Weapon Free Zone Treaty) และความตกลงการ ตอตานการกอการรายของอาเซียน (ASEAN Convention on Counter - Terrorism) ในอนาคตอาเซียนจะมีการพัฒนา ทําสนธิสัญญาและขอตกลงครอบคลุมความรวมมือในดานตาง ๆ มากขึ้น การปองกันความขัดแยง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะสรางกลไกปองกันความขัดแยง ซึ่งกลไกที่สําคัญ คือ CBM (Confidence Building Measures) หรือมาตรการสรางความไววางใจระหวางกัน การจัดประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียน การจดทะเบียนการซื้อขายอาวุธในอาเซียน (ASEAN Arms Register) และการพัฒนาระบบเตือนภัยลวงหนา อยางไรก็ตาม การพัฒนามาตรการเหลานี้ ไมใชเรื่องงาย การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนก็ยังมีความรวมมือที่ยังนอย อยู โดยเพิ่งจะมีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2549 ดังนั้น หากอาเซียนยังไมมีความรวมมือทางทหาร อยางจริงจัง การพัฒนาไปสูการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนอยางแทจริงคงจะไมเกิดขึ้น 1 2

กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 3-4. ประภัสสร เทพชาตรี, (2554). “ประชาคมอาเซียน”, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพเสมาธรรม, เมษายน 2554. หนา 19-32.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 44

การแกไขความขัดแยง ใน APSC Blueprint กลาวถึง การพัฒนากลไกแกไขความขัดแยง ซึ่งมีการระบุถึงกลไกตาง ๆ ที่จะแกไขความ ขัดแยงอยางสันติวิธี อยางไรก็ตาม มีกลไกหนึ่งที่สหประชาชาติใชไดผลคือ กองกําลังรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Force) ในชวงหลายปที่ผานมา จึงไดมีการถกเถียงกันในประเด็นที่วา อาเซียนควรมีการจัดตั้งกองกําลังรักษาสันติภาพของ อาเซียนหรือไม โดยที่อินโดนีเซียผลักดันเรื่องนี้เปนพิเศษ อุปสรรค การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น ไมใชเรื่องงาย ทั้งนี้ เพราะยังมีอุปสรรคหลายเรื่อง อาทิ ปญหาความขัดแยงทางการเมือง กรณีพิพ าทเรื่องพรมแดนระหวางประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกยังมีความ ไววางใจซึ่งกันและกัน และยังคงกําหนดยุทธศาสตรทางทหาร โดยตั้งอยูบนพื้นฐานวา ประเทศเพื่อนบานอาจจะเปนศัตรู หากอาเซียนแกปญหาเหลานี้ไมได การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนอยางแทจริง ก็คงจะเกิดขึ้นไมได

พั ฒ นาการความร ว มมื อ ด า นการเมื อ งและความมั่ น คง ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศไดเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นอกเหนือ จากการที่มีรัฐเอกราชใหมเกิดขึ้นเปนจํานวนมากแลว การที่ศูนยอํานาจในระบบการเมืองโลกไดแปรเปลี่ยนจากระบบ 2 ขั้วอํานาจ (bipolarity) ที่มีสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตเปนผูกุมอํานาจ และเผชิญหนากันอยูในลักษณะสงคราม เย็น (Cold War) ไดกลายมาเปนระบบหลายขั้วอํานาจ (multi polarity) สภาวะดังกลาวไดสงผลกระทบตอเสถียรภาพ ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใตอยางหลีกเลี่ยงไมได ประเทศตาง ๆ ภายในภูมิภาคไดเริ่มปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่แตกตางกัน บางประเทศไดเขาผูกพันกับประเทศมหาอํา นาจภายนอก เชน การเขารวมใน คณะกรรมการเศรษฐกิจสําหรับภาคพื้นเอเชียและตะวันออกไกล (Economic Committee for Asia and Far East : ECAFE) การเขาเปนสมาชิกของแผนการโคลัมโบ (Columbo Plan) รวมทั้งการเขาเปนภาคีองคการสนธิสัญญาปองกัน รวมกันแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asia Treaty Organization : SEATO) ซึ่งกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2493 เปนตน สําหรับบางประเทศซึ่งมีความภาคภูมิใจตอเอกราชและอิสรภาพ ที่ตนเพิ่งจะไดรับ ไมวาจะดวยวิธีการรุนแรง หรือสันติ หรือดวยเหตุที่ระบบจักรวรรดิเสื่อมลง ก็ไดหาวิธีการเสริมสรางพลังตอรองทางเศรษฐกิจและการเมืองกับ ประเทศมหาอํานาจภายนอก โดยไดริเริ่มจัดตั้งกลุมประเทศในโลกที่สามขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2490 โดยใชชื่อวา “ขบวนการ กลุมประเทศเอเชีย-แอฟริกา” (AFRO-ASIAN Movement) ซึ่งตอมา ไดกลายเปนขบวนการกลุมประเทศไมฝกใฝฝายใด (Non-Aligned Movement : NAM) อันเปนขบวนการที่มีบทบาท และความสําคัญอยางยิ่งในวงการการเมืองระหวาง ประเทศในปจจุบัน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ประเทศตางในภูมิภาค ๆ ก็ไดตื่นตัวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมนอยไปกวาประเทศ ในเขตภูมิภาคอื่น ๆ ทั้งนี้ เนื่องจาก ผูนําในภูมิภาคนี้ตางมีทัศนคติที่สอดคลองกันในเรื่อง การตอตานลัทธิจักรวรรดิในทุก รูปแบบ และมุงเนนการดําเนินนโยบายตางประเทศอยางเปนอิสระ เพื่อใชเปนเกราะกําบังภัยที่คุกคามจากภายนอก อยางไรก็ตาม บรรดาผูนําทั้งหลายตางตระหนักดีวา การดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาวนั้น ไมอาจกระทําไดโดย ลําพัง ในขณะที่การกลับไปพึ่งพิงมหาอํ า นาจก็ยังเป นสิ่งที่นาหวาดระแวง ดว ยสาเหตุดัง กลาว ทําใหป ระเทศตาง ๆ พยายามแสวงหาลูทางที่จะกระชับความรวมมือกันเฉพาะภายในภูมิภาค เพื่อใหบังเกิดผลในการพัฒนาตนเองในแตละ 3 ประเทศ ประกอบกับแนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิภาคนิยม” ในยุคนั้นก็กําลังมีอิทธิพล และเติบโตขึ้นโดยลําดับ ภายหลัง 3

พิษณุ สุวรรณะชฎ. (2540). สามทศวรรษอาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 29.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 45

จากที่ 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย สามารถฟนฝา อุปสรรคตาง ๆ จนบรรลุผลในการกอตั้งสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียน (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ขึ้นไดในที่สุด เมื่อป พ.ศ. 2510 แลวนั้น ความเคลื่อนไหวและบทบาทของอาเซียน ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมก็เพิ่มพูนขึ้นโดยลําดับ ซึ่งพัฒนาการของอาเซียนแตละขั้นตอนเปนเครื่องบงชี้ให เห็นวา อาเซียนเปนองคการระหวางประเทศอีกองคการหนึ่ง ซึ่งมีกิจกรรมดานการเมืองอยางตอเนื่อง และไดรั บการ ยอมรับจากนานาประเทศมากขึ้น พรอมกันนั้นความสัมพันธของประเทศตาง ๆ ภายในอาเซียนก็ไดรับการกระชับขึ้นจน แนนแฟน ทั้งนี้ เพื่อใหความพยายามรวมกันที่จะใหความรวมมือสวนภูมิภาคบรรลุผลตามเจตนารมณที่กํา หนดไวอยาง จริงจัง อยางไรก็ตาม ถึงแมวา ในเอกสารทางราชการของอาเซียนจะระบุวา อาเซียนเปนองคการความรวมมือระดับ ภูมิภาค ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อความรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตสิ่งที่ไดรับ การเนนหนักเปนพิเศษไมวาจะเปนเนื้อหาในปฏิญญากรุงเทพฯ หรือทาทีที่แสดงออก โดยผูนําอาเซียนในยุคนั้นกลับ กลายเปนถอยความที่เกี่ยวกับสันติภาพ (peace) เสรีภาพ (freedom) เสถียรภาพ (stability) และความมั่นคง (security) ของภูมิภาค โดยเนนเฉพาะภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอความมั่นคง ซึ่งเกิดจากการแทรกแซงจากภายนอกทุกรูปแบบ รวมทั้งระบุถึงปญหาที่เกี่ยวกับฐานทัพตางประเทศ ซึ่งยังตั้งอยูในประเทศสมาชิกบางประเทศ อันเปนการชี้ใหเห็นวา มูลเหตุจูงใจทางดานการเมืองตลอดจนปญหาที่เกี่ยวกับเสถียรภาพ และความมั่นคงเปนตัวแปรหลักที่มีอิทธิพลผลักดันให ประเทศภาคีทั้ง 5 ประเทศตกลงใจรวมกันที่จะกอตั้งอาเซียนขึ้น การกําเนิดของอาเซียน มีนัยในบทบาทดานความมั่นคงแฝงอยูในตัวเอง แมจะมีความพยายามทําใหองคกรนี้ มี ภารกิจหลักทางดานความมั่นคงคูขนานกันไป ดังจะพบวา ความสําเร็จประการสําคัญของอาเซียนในยุคแรกเกิดขึ้นที่ 4 กัวลาลัมเปอร ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) คือ “การประกาศ เขตสันติภาพ เสรีภาพ และเปนกลาง ” หรือที่เรียกกัน โดยทั่วไปวา “ZOPFEN” (Zone of Peace, Free-dome and Neutrality Declaration) ซึ่งถือเปนหลักการสําคัญใน การกําหนดนโยบายตางประเทศรวมกันของสมาชิกอาเซียน การประกาศหลักการนี้ เปนการแสดงเจตนารมณอยา งแนว แนของประเทศสมาชิกในการเตรียมตัวรับมือกับการเปลี่ ยนแปลงทางการเมืองภายใน และภายนอกภูมิภาค กลาวคือ ภายในภูมิภาค ประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐอเมริกากําหนดจะถอนตัวออกไปจากภูมิภาคนี้ และปลอยใหในภูมิภาคนี้ จัดการกับปญหาความมั่นคงของตนเอง ในขณะที่สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพโซเวียตใหการสนับสนุนกัมพูชา และเวียดนามมากขึ้น ญี่ปุนไดเพิ่มบทบาททางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคมากขึ้นเชนกัน สวนภายนอกภูมิภาคนั้น สภาพ การเมืองระหวางประเทศกําลังเปลี่ยนจากระบบสองขั้วอํานาจไปสูระบบหลายขั้วอํานาจ ความสําเร็จตอมาของอาเซียนเกิดขึ้นที่บาหลี ในป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) ไดแก “สนธิสัญญามิตรภาพและ ความรวมมือ” (The Treaty of Amity and Cooperation : TAC) แตก็ตองยอมรับในความเปนจริงวา การประชุม อาเซียนในอดีตแตละครั้ง มีความพยายามอยูพอสมควรที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นความมั่นคงระหวางประเทศ เพราะไม ตองการใหองคกรเขาไปมีบทบาทโดยตรงในเรื่องเชนนี้มากนัก เนื่องจาก ระบบความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดแก ซีโต (SEATO) หรือองคกรสนธิสัญญาปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asian Treaty Organization) ยังคงมี บทบาทอยูมาก คูขนานไปกับระบบความมั่นคงของเครือจัก รภพอังกฤษ ไดแก ความตกลงดานการปองกันประเทศ ระหวางสมาชิก 5 ประเทศ (Five-Power Defense Arrangement) สถานการณเชนนี้ อาจจะเปนขอดี เพราะปญหา ความมั่นคงในภูมิภาคถูกค้ําประกันโดยตรงจากรัฐมหาอํานาจใหญในขณะนั้น คือ ทั้งสหรัฐอเมริกา และอังกฤษ และใน 4

สุรชาติ บํารุงสุข. “จับมือ ไมจับปน : ทหารกับประชาคมอาเซียน”. มติชนสุดสัปดาห. 32. (1647). วันที่ 9-15 มีนาคม 2555. หนา 36.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 46

ขณะเดียวกัน ก็ลดคาใชจายทางทหารภายในของประเทศและภูมิภาคพรอม ๆ กับเปดโอกาสใหประเทศเหลานี้ จัดการกับ ปญหาความมั่นคงภายในของตนไดมากขึ้น โดยปญหาในระดับภูมิภาคนั้น ถือเปนภาระของรัฐมหาอํานาจที่จะจัดการแทน แตเมื่อสถานการณสงครามเวียดนามสอใหเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการถอนตัวของสหรัฐอเมริกาออกจาก เวียดนามใต ซึ่งไดดําเนินการภายใตการเจรจาสันติภาพที่กรุงปารีส ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) อันเปนผลโดยตรงจาก การประกาศหลักการนิกสัน (The Nixon Doctrine) ในป พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) และสัญญาณสําคัญของการ เปลี่ยนแปลงก็คือ การยุติสงครามกลางเมืองในเวียดนาม ในป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ที่นําสูการถอนตัวทางทหารอยาง สมบูรณของสหรัฐอเมริกาออกจากเวียดนามใต กัมพูชา และสปป.ลาว ซึ่งก็คือ การลดพันธกรณีดานความมั่นคงของ สหรัฐอเมริกาตอพันธมิตรของตนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตลงอยางเปนรู ปธรรม รวมถึงการประกาศปดฐานทัพ ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยชวงระยะเวลาดังกลาว สถานการณความมั่นคงยุคหลังสงครามเวียดนาม หรือสถานการณหลังป 2518 [ค.ศ. 1975] สะทอนใหเห็นถึง ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางยุทธศาสตรของภูมิภาคนี้โดยตรง ผลจากสภาพเชนนี้ ทําให สหรัฐอเมริกา ตัดสินใจยุติบทบาทขององคกรความมั่นคงของตนในภูมิภาคดวย ซึ่งก็คือ การสิ้นสุดบทบาทอยางเปนทางการของซีโต ใน ป 2518 (ค.ศ. 1975) อยางไรก็ตาม สถานการณในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดคลี่คลายลง กลาวคือ สหรัฐอเมริกาไดถอนทหาร ออกจากฐานทัพซูบิค และคลารคในฟลิปปนส ขณะที่สหภาพโซเวียตก็ยุติการใชฐานทัพที่อาวคัมรานหในเวียดนาม และ ยุตินโยบายอิทธิพลทางทหารในเอเชียแปซิฟก และยุติการสนับสนุน เวียดนาม สปป.ลาว และกัมพูชา สถานการณเชนนี้ ถูกมองวา กอใหเกิดชองวางแหงอํานาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุน และอินเดียพยายาม เขามาแทนที่ ดังนั้น ประเทศตาง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งเปนสมาชิกอาเซียน จึงไดเพิ่มขีดความสามารถในการ ปองกันประเทศตนเองมากขึ้น โดยตางสะสมอาวุธ และปรับปรุงกองทัพของตนเอง โดยเนนการจัดหาเรือที่ทันสมัย เครื่องบินลาดตระเวนและเครื่องบินขับไล และโจมตีที่มีสมรรถภาพในการปฏิบัติการปองกันชายฝงทะเล และทะเลอาณา เขตของตน การเพิ่มขีดอํานาจทางการทหารของประเทศ ซึ่งอาจพิจารณาไดวา เปนมาตรการที่จะนําไปสูการพึ่งพาตนเอง ในการรักษาความมั่นคงในภูมิภาคนี้ และลดการพึ่งพิง หรือการคุมครองจากประเทศมหาอํานาจภายนอกภูมิภาค อัน ไดแก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอังกฤษ แมวา กลุมประเทศ ASEAN ยังมีประเทศสมาชิกหลายประเทศที่คัดคานแนวความคิดการจัดตั้งกองกําลังปองกัน รวมกันในลักษณะพันธมิตรทางการทหาร แตในอนาคตอาจมีความจําเปนในการพิจารณาหามาตรการทางทหารรวมกันใน การดูแลความสงบในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะความปลอดภัยจากโจรสลัดตามเสนทางเดินเรือในชองแคบมะละกา การให ความชวยเหลือแกเรือเดินทะเลที่ประสบอุบัติเหตุ และการรวมมือกันพิทักษรักษาสภาพแวดลอมในทะเล เปนตน อยางไรก็ตาม บทบาทอาเซียนในดานการเมือง อาจจะกลาวไดวา ในชวงกอนป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ไมมี อะไรเดนชัดนัก เนื่องจาก กอนหนานี้ ประเทศสมาชิกยังมีความขัดแยงระหวางกันอยู ทําใหอาเซียนไมสามารถแสดง บทบาททางการเมืองไดมากนัก แตหลังจากป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) แลว สถานการณทางการเมืองในอินโดจีนได เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก คอมมิวนิสตเขามามีอํานาจในอินโดจีน ขณะที่สหรัฐอเมริกาก็ถอนตัวออกจากอินโดจีน ประเทศ สมาชิกอาเซียนจึงจัดใหมีการประชุมสุดยอดที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และไดลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือ และปฏิญญาวาดวยความสมานฉันทของอาเซียน จึงทําใหประเทศ สมาชิกรวมมือกันมากขึ้น และระงับความขัดแยงระหวางประเทศได อาเซียนตองเผชิญกับความทาทายใหมในความขัดแยงระหวางเวียดนาม-กัมพูชา นําไปสูการตัดสินใจของรัฐบาล เวียดนามที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองในเดือนมกราคม พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และสงครามสิ้นสุดดวยการยึดครอง


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 47

กัมพูชา อันสงผลใหการตอสูทางการเมือง และความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดดําเนินไปอยางรุนแรง เปนสภาพที่ ภูมิภาคถูกแบงออกเปน 2 สวน ไดแก กลุมรัฐที่ปกครองในระบอบเสรีนิยม และกลุมรั ฐที่ปกครองในระบบสังคมนิยม สภาพดังกลาวสิ้นสุดดวยการถอนตัวของทหารเวียดนามออกจากกัมพูชา ซึ่งสอดรับกับสถานการณในเวทีโลก ในชวงป พ.ศ. 2532-2533 (ค.ศ. 1989-1990) ที่บงบอกถึงการถดถอยของโลกสังคมนิยม หรือในบริบทความมั่นคง กลาวคือ การ สิ้นสุดของภัยคุกคามจากลัทธิสังคมนิยม และสัญญาณที่สําคัญก็คือ การสมัครเขาเปนสมาชิกอาเซียนของเวียดนาม ในการจัดตั้งกลไกเฉพาะเกี่ยวกับการพิจารณาปญหาความมั่นคงในภูมิภาคนี้ อาเซียนไดเริ่มหารือกันอยางจริงจัง ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประเทศสิงคโปร เมื่อป พ.ศ. 2535 โดยที่ประชุมไดเสนอใหพัฒนากลไกของ อาเซียนที่มีอยูแลว โดยเฉพาะการประชุมระหวางอาเซียนกับคูเจรจา ภายหลังการประชุมระดับรัฐมนตรี (ASEAN PostMinisterial Conference : PMC) ซึ่งเปนพื้นฐานสําหรับจัดตั้งเวทีการหารือในประเด็นดานการเมือง และความมั่นคง ตาง ๆ เพื่อเสริมสรางสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาคตามเจตนารมณของสหประชาชาติ (United Nations : UN) โดยมีวัตถุประสงคเบื้องตนในการเสริมสรางลักษณะนิสัย และแบบแผนทางพฤติกรรมแกประเทศที่เกี่ยวของใหเรียนรู เกี่ยวกับการหารือรวมกันอยางเปดเผย และตรงไปตรงมา เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากผลของ ความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน อีกทั้งเพื่อสรางสรรคสภาวะแวดลอมที่เกื้อกูลตอเสถียรภาพทางการเมือง และความมั่นคง ของภูมิภาค การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมใหมเชนนี้ ทําใหเกิดการยอมรับวา มีความจําเปนที่จะตองใหความสนใจกับ ประเด็นดานความมั่นคง แตก็ดูเหมือนอาเซียนยังไมตองการใหตนเองเขามาเกี่ยวของโดยตรง ทําใหเกิดการจัดตั้ง “เวที ความมั่นคงภูมิภาค” หรือที่รูจักกันในชื่อของ “การประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก” (ARF : ASEAN Regional Forum) ในป พ.ศ. 2537 ระหวางการประชุมประจําปของรัฐมนตรี ตางประเทศอาเซียน ขึ้นเปนครั้งแรกที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 โดยไดรับความรวมมือจาก 17 ประเทศในเอเชีย-แปซิฟก ไดแก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม สปป.ลาว ปาปวนิวกินี จีน รัสเซีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุน เกาหลีใต และอีก 1 กลุมประเทศ คือ สหภาพยุโรป ซึ่ง ในการประชุมครั้งแรกนี้ อาเซียนประสบความสํา เร็จในการผลักดันใหที่ประชุมรับรองหลักการตาง ๆ ตามที่ระบุใน สนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ใหเปนแบบแผนการปฏิบัติและกลไกทางการทูตเพื่อสนับสนุนการทูตเชิงปองกัน และความรวมมือดาน การเมื อง และความมั่น คง รวมทั้ ง เสริ มสรา งความมั่ นใจระหว างสมาชิก ARF ดั ง จะเห็ น ได วา องคก รนี้เ กิด ขึ้ นนอก โครงสรางอยางเปนทางการของอาเซียน ในสภาพเชนนี้ อาเซียนเขาไปมีบทบาทอยางมากกับกระบวนการสันติภาพใน กัมพูชา การผลักดันใหเกิดเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันเนื่องมาจากผลการเจรจาอยางยาวนาน ภายหลังการประชุมครั้งแรก ARF ไดพัฒนาไปอยางตอเนื่อง โดยไดเกิดการประชุมระดับตางๆ ภายใตกรอบของ ARF อยางสม่ําเสมอ นอกจากนั้น ประเทศตาง ๆ ทั้งในและนอกเขตเอเชีย-แปซิฟก (อินเดีย มองโกเลีย เกาหลีเหนือ เมียนมาร สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส) ไดแสดงความสนใจ และยื่นความจํานงที่จะขอเขาเปนสมาชิก ARF ดวย สวนใน ดานเนื้อหาไดมีการขยายขอบเขตความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงออกไปอยางกวางขวาง เชน มีการหารือกัน ในหัวขอเกี่ยวกับปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ความรวมมือในการคนหาและกูภัย เปนตน นอกจากนี้ อาเซียนยังมีความ พยายามเสมอมาที่จะสรางเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร แตความพยายามดังกลาวของอาเซียน ประสบอุปสรรคมากมายในชวงสงครามเย็น เนื่องจาก ตองเผชิญกับอิทธิพล และการคัดคานของประเทศมหาอํานาจที่ ครอบครองอาวุธนิวเคลียร ซึ่งยังแขงขันชวงชิงความเปนใหญอยูในภูมิภาคในขณะนั้น ภายหลังการสิ้นสุดลงของสงคราม เย็น สภาวการณระหวางประเทศเปนไปในลักษณะเอื้ออํานวยตอเจตนารมณของอาเซียนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกระแสการเมือง


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 48

ระหวางประเทศที่คัดคานการทดลอง ผลิต พัฒนา และการครอบครองอาวุธนิวเคลียร สําหรับประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใตทุกประเทศตางตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองสรางภูมิภาคใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรอยางจริงจัง ดังนั้น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป พ.ศ. 2538 ผูนําอาเซียนทั้ง 7 ประเทศ รวมทั้งนายกรัฐมนตรี ของลาว กัมพูชา และเมียนมารไดรวมลงนามในสนธิสัญญาวาดวยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ) ซึ่งมีสาระสําคัญ คือ การจัดตั้งเขตปลอด อาวุธ นิวเคลียรใ นเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต ซึ่ง ประกอบด วย ดิ นแดนเขตเศรษฐกิจจํ าเพาะ และไหลทวีป ของทั้ ง 10 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยภาคีสมาชิกมีพันธกรณีที่จะไมพัฒนา ผลิต หรือครอบครองอาวุธนิวเคลียร และจะ ไมอนุญาตใหรัฐอื่นเขามาพัฒนา ผลิต หรือเก็บอาวุธนิวเคลียรไวในดินแดนของตน ยกเวนแตเปนการดําเนินการเกี่ยวกับ การใชพลังงานปรมาณูเพื่อสันติที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศสมาชิก นอกจากนั้น ยังตก ลงจัดตั้งคณะกรรมาธิการขึ้น ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของสมาชิก เพื่อดูแลการปฏิบัติ ตาง ๆ ใหเปนไปตามสนธิสัญญา SEANWFZ รวมทั้งกํากับดูแลการแกไขกรณีพิพาทตาง ๆ ระหวางสมาชิกดวย การลงนามในสนธิสัญญา SEANWFZ ถือไดวา เปนการประกาศเจตนารมณทางการเมืองครั้งประวัติศาสตรของ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้ง 10 ประเทศ ซึ่งสอดคลองกับความตองการของประชาคมระหวางประเทศที่ตอตาน การแพรขยายอาวุธนิวเคลียร อยางไรก็ดี วัตถุประสงคของอาเซียนจะบรรลุผลอยางสมบูรณไดก็ตอเมื่อไดรับความรวมมือ จากประเทศผูครอบครองอาวุธนิวเคลียร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และจีน) ซึ่งอาเซียนไดรณรงค ในเรื่องนี้ ตอไปอยางแข็งขัน และในที่สุด อาเซียนประสบผลสําเร็จในการกอใหเกิด “ขอกําหนดในการปฏิบัติตอจีนในทะเลจีนใต” (Code of Conduct in the South China Sea with China) ในป พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) และประโยชนสําคัญยิ่งที่ อาเซียนไดรับจากความรวมมือดานการเมืองในระยะเวลาที่ผานมา คือ การที่อาเซียนสามารถสรางธรรมเนียมปฏิบัติของ ตนเองเกี่ยวกับการแกไขขอพิพาทระหวางกันบนพื้นฐานของการอยูรวมกันโดยสันติ กลาวคือ สมาชิกตางรูจักยับยั้งชั่งใจที่ จะหลีกเลี่ยงการกระทําใด ๆ ที่เปนการแทรกแซงกิจการภายในของเพื่อนสมาชิก แตเมื่อเกิดขอพิพาทระหวางกันขึ้น สมาชิกก็หลีกเลี่ยงการเผชิญหนาแตหันมาแกไขปญหาระหวางกันดวยการปรึกษาหารือโดยสันติวิธี การเคารพในเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดนซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกอยางเครงครัด นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนยังไดประโยชนจากความรวมมือดานการเมืองในลักษณะอื่น ๆ ดวย อาทิ การที่สมาชิกแตละประเทศพนจากการอยูโดดเดี่ยวตามลําพัง และอาเซียนยังไดกลายเปนเวทีสําหรับประเทศสมาชิกใน การแลกเปลี่ยนทัศนะ และประสบการณระหวางกันอยางตรงไปตรงมา ซึ่งยังผลใหเกิดการกลั่นกรองนโยบายของแตละ ประเทศอยางรัดกุม ในขณะที่ลดความแตกตางกันในเรื่องผลประโยชนลง และความใกลชิดกันระหวางสมาชิกในอาเซียน ทําใหสมาชิกแตละประเทศสามารถแสดงทาทีตอประเด็นทางการเมืองตาง ๆ ไดอยางเปดเผย กอนที่จะสรุปเปนทาที รวมกันของอาเซียน ซึ่งมีผลเพิ่มน้ําหนัก และอํานาจการตอรองใหแกทาทีทรี่ วมกันดังกลาวดวย ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา ความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน กอนการกอตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) นั้น เมื่อพิจารณาไปถึงภูมิหลังของ อาเซียนในชวงกอนการกอตั้งองคการ ทั้งเรื่องนโยบายตางประเทศ และผลประโยชนของประเทศผูกอตั้งทั้ง 5 ประเทศ ตลอดจนองคการระดับ ภูมิภาคที่ไดรับ การจัด ตั้งขึ้นในยุคกอนหนานั้น ไดแก องคก าร SEATO และสมาคมเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asia : ASA) การจัดตั้งองคการเหลานี้ ชี้ใหเห็นวา การจัดตั้งอาเซียนเปน ผลมาจากความหวังรวมกันของสมาชิกผูกอตั้งที่จะอาศัยองคการที่จัดตั้งขึ้นเปนเครื่องค้ํา ประกันความมั่นคงของแตละ ประเทศ ภายใตสภาวการณทภี่ ูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในขณะนั้น ที่กําลังเปนเวทีของความขัดแยงดานอุดมการณ อยางรุนแรงระหวางมหาอํานาจ ซึ่งประเทศผูกอตั้งอาเซียนเห็นวา หนทางที่จะรักษาไว ซึ่งความมั่นคงของแตละประเทศ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 49

คือ การสรางภูมิภาคใหมีเสถียรภาพ และพึ่งพาตนเองแทนการพึ่งพามหาอํานาจ ดังเชนที่เคยเปนมา ดังนั้น อาเซียนจึงได อาศัยความลมเหลวขององคการที่จัดตั้งขึ้นกอนหนา เปนอุทาหรณในการกําหนดแนวทางความรวมมือเพื่อปองกัน ความ ลมเหลว ตัวอยางเชน การจํากัดสมาชิกไวเฉพาะประเทศภายในภูมิภาคเทานั้น หรือการจัดโครงสรางองคการใหเปนไป อยางหลวม ๆ และยืดหยุน เปนตน ซึ่งแนวทางดังกลาวไดชวยเกื้อกูล และเปดโอกาสใหอาเซียนถือกําเนิดขึ้น และสามารถ พัฒนาไปอยางตอเนื่อง สวนเรื่องความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงนั้น โดยเหตุที่อาเซียนกอตั้งขึ้นดวยมูลเหตุทางการเมือง เปนสําคัญ แมวา ถอยคําที่ระบุในปฏิญญากรุงเทพฯ พ.ศ. 2510 อันเปนเอกสารพื้นฐานในการกอตั้งจะระบุถึงเรื่อง ผลประโยชน และความรวมมือทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ในชวงทศวรรษแรกอาเซียนจึงทุมเทเวลา และกําลังงานใหแกการ ระงับขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิก ทั้งนี้ เพื่อใหบรรลุถึงความไวเนื้อเชื่อใจกัน ความพยายามในการระงับขอพิพาทที่มี อยูในขณะนั้นไดพัฒนามาจนกลายมาเปนธรรมเนียมปฏิบัติของอาเซียนในการแกไขขอพิพาทโดยสันติวิธี แปรสภาพจาก การเผชิญหนาเพื่อเอาชนะซึ่งกันและกัน มาเปนการปรึกษาหารือ เพื่อคลี่คลายปญหาเพื่อผลประโยชนรวมกัน นอกจากนี้ บทบาทของอาเซียนตอปญหาระหวางประเทศอื่น ๆ สะทอนใหเห็นถึง บทบาทสําคัญของอาเซียนตอการค้ํา ประกัน I สันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาค อาทิ ปญหากั มพูชาในชวงป พ.ศ. 2522 – พ.ศ. 2534 การใหภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง ในการจัดการประชุม ARF และการประกาศใหเอเชีย 5 ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร เปนตน

แนวคิ ด เรื่ อ งประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น 6 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีพัฒนาการจากความรวมมืออันใกลชิด และความเปนอันหนึ่งอัน เดียวกันมานานกวา 40 ป โดยผูนําอาเซียนในที่ประชุมสุดยอดอยางไมเปนทางการที่กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย เมื่อป พ.ศ. 2540 ไดรวมประกาศ “วิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ.2020/พ.ศ.2563” (ASEAN Vision 2020) ซึ่งเห็นพองใหกลุม ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มองไปสูโลกภายนอกอยูรวมกันอยางสันติ มีเสถียรภาพ และมีความมั่งคง ผูกพัน กันด วยความเปนหุ นสวนในการพัฒนาอั นเป นพลวั ต และเป นประชาคมแห งสัง คมที่เ อื้ออาทร ดังนั้ น เพื่อให วิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 มีผลอยางเปนรูปธรรม ผูนําอาเซียนไดรับรองปฏิญญาวาดวยความรวมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (The Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II) เมื่อป พ.ศ. 2546 เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน ป พ.ศ. 2563 โดยประชาคมอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ผูนําอาเซียนตระหนักวา การสงเสริมการรวมตัวของอาเซียนใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น โดยการเรงจัดตั้งประชาคม อาเซียนจะชวยสงเสริมความเปนศูนยกลางของอาเซียน และบทบาทขับเคลื่อนการสรางโครงสรางสถาปตยกรรมใน ภูมิภาค ดังนั้น ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนํา อาเซียนจึงตัดสินใจที่จะเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใหเปนผลสํา เร็จ ในป พ.ศ. 2558 ตอมา ในที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดรวมลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่ง แสดงเจตนารมณในการเรงสรางประชาคมอาเซียน โดยการเสริมสรางความรวมมือ และการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผูนําไดมอบหมายใหรัฐมนตรี และเจาหนาที่จัดทํา รางแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 5

พิษณุ สุวรรณะชฎ, 2540 : 114-115 ยงยุทธ มัยลาภ, รอยเอก. การเตรียมความพรอมดานความมั่นคงของไทยตอการเปนประชาคมอาเซียน. เอกสารการวิจัยสวนบุคคล, วิทยาลัย ปองกันราชอาณาจักร, 2553. หนา 8. 6


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 50

(ASEAN Political-Security Community Blueprint : APSC Blueprint) ซึ่งไดมีการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย APSC Blueprint ยึดหลักการในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติการสํา หรับการจัดตั้ง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC Plan of Action) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Program : VAP) และขอตัดสินใจตาง ๆ จากองคกรเฉพาะดานของอาเซียน APSC Plan of Action เปนเอกสารหลักที่ ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการบรรลุวัตถุประสงคของการจั ดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่ แผนปฏิบัติการเวียงจันทน เปนเอกสารที่วางมาตรการที่จําเปนระหวางป พ.ศ. 32547 – พ.ศ. 2553 เอกสารทั้ง 2 ฉบับ เปนเอกสารอางอิงที่สําคัญในการสานตอความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ดังนั้น APSC Blueprint จึง เปนแผนงาน และกรอบเวลาสําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ APSC Blueprint ยังมีความยืดหยุนที่จะสานตอกิจกรรมตาง ๆ ที่จะดําเนินการหลังป พ.ศ. 2558 ดวย เพื่อใหคงไวซึ่ง 7 ความสําคัญ และความยั่งยืน คุณลักษณะและองคประกอบของแผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เปนความมุงหวังวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะทําใหความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียนที่มีการพัฒนา มากยิ่งขึ้น โดยเปนหลักประกันตอประชาชน และประเทศสมาชิกอาเซียนใหอยูอยางสันติระหวางกันและกับโลกภายนอก ในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ความยุติธรรม และการมีความปรองดองตอกัน จากหลักการขางตน ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ไดแก 1. ประชาคมที่มีกติกา และมีการพัฒนาคานิยม และบรรทัดฐานรวมกัน (A rules-based community of shared values and norms) 2. ประชาคมที่ทําใหภูมิภาคมีความเปนเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกรง พรอมทั้งมีความรับผิดชอบ รวมกัน เพื่อแกไขปญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful, and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) 3. ประชาคมที่ทําใหเปนภูมิภาคที่มีพลวัตร และมองไปยังโลกภายนอกที่มีการรวมตัว และลักษณะพึ่งพาซึ่งกัน และกันมากยิ่งขึ้น (A dynamic and outward-looking region in an increasingly integrated and interdependent world) คุณลักษณะเหลานี้ มีความเกี่ยวโยงกันและสงเสริมซึ่งกันและกัน และดําเนินการอยางสมดุล และสม่ําเสมอ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint จึงเปนเอกสารที่มุงการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผล 8 และตระหนักถึงศักยภาพ และความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียน

1. ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาคานิยมและบรรทัดฐานรวมกัน (A rules-based community of shared values and norms) ความรวมมือดานการพัฒนาทางการเมืองของอาเซียน มีเปาหมายที่จะสรางความแข็งแกรงแกประชาธิปไตย สงเสริมธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม สงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยระลึกถึงสิทธิ

7 8

กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 3-4 กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 4-6.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 51

และความรับ ผิดชอบของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อนําไปสูการสรางประชาคมที่มีกฎเกณฑ และบรรทัดฐาน และ คานิยมรวมกัน อาเซียนมีเปาหมายที่จะบรรลุมาตรฐานของการยึดมั่นรวมกันตอบรรทัด ฐานแหงการปฏิบัติที่ดีระหวาง ประเทศสมาชิกอาเซียน สรางความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ความใกลชิด และการอยูรวมกันอยางเปนสุข และเอื้อตอ การสร า งประชาคมที่ มี ค วามสงบสุ ข มี ป ระชาธิ ป ไตย มี ขั น ติ ธ รรม ทุ ก ฝา ยมี ส ว นร ว ม และโปร ง ใสในภู มิ ภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ ความรวมมือดานการพัฒนาทางการเมือง นําองคประกอบ และสถาบันทางการเมืองใน อาเซียนไปสูการเติบโตอยางมั่นคง ซึ่งการไปสูเปาหมายดังกลาว ความรูสึกของความเปนหนึ่งเดียวระหวางรัฐในเรื่องระบบ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร ควรไดรับการสงเสริมความเปนหนึ่งเดียวระหวางรัฐดังกลาว สามารถบรรลุได โดยการสรางบรรทัดฐาน และมีบรรทัดฐานรวมกัน 1.1. ความรวมมือดานการพัฒนาการเมือง ตั้งแตที่ไดรับรองแผนปฏิบัติการของประชาคมการเมื องและความมั่นคงอาเซียน ในป พ.ศ. 2546 อาเซียนมีความกาวหนาในการดําเนินมาตรการดานการพัฒนาทางการเมืองเปนลําดับ โดยมีสวนรวมขององคการตาง ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย และองคกรภาคประชาสังคม ในการประชุม และกิจกรรมของอาเซียน การ ปรึกษาหารือ และการปฏิสัมพันธที่เพิ่มขึ้นดังกลาว สงเสริมความสัมพันธอันดี และสงผลใหเกิดผลลัพธที่ดีสําหรับภูมิภาค โดยมีความพยายามที่จะปูทางสําหรับกรอบองคกร เพื่ออํานวยความสะดวกตอการไหลเวียนขอมูลอยางเสรี ซึ่งเปนไปตาม กฎหมาย และกฎระเบียบของแตละประเทศ ปองกัน และตอต านการทุจริต ความรวมมือดานนิติธรรม ระบบยุติธรรม และโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมาย และธรรมาภิบาล นอกจากนี้ เพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพ พื้นฐาน ซึ่งกฎบัตรอาเซียนระบุใหมีการจัดตั้งองคกรดานสิทธิมนุษยชนของอาเซียน มีการสงเสริม ดังนี้ 1) สงเสริมความเขาใจ และการยอมรับในระบอบการเมืองตาง ๆ วัฒนธรรม และประวัติศาสตรของ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดสัมมนา/การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับสถาบันประชาธิปไตย การให ความเทาเทียมทางเพศเปนกระแสหลักในนโยบาย และการมีสวนรวมของประชาชน 2) ปูทางสําหรับกรอบองคกรเพื่ออํานวยความสะดวกตอการไหลเวียนของขอมูลโดยเสรี เพื่อการ สนับสนุน และความชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ใหมีการฝกงาน ทุน ฝกงาน มอบทุนการศึกษา การประชุม เชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน และการแลกเปลี่ยนผูสื่อขาว เพื่อเพิ่มศักยภาพ และความเปนมืออาชีพดานสื่อในภูมิภาค โดยเนนกระบวนการของการดําเนินการตามแผนงานนี้ 3) จัดทําแผนงานเพื่อสนับสนุน และใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ในการพัฒนายุทธศาสตรเพื่อเสริมสรางหลักนิติธรรม ระบบยุติธรรม และโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมาย โดยมีกิจกรรม เชน จัดทําการศึกษาเปรียบเทียบสําหรับผูรางกฎหมายในการประกาศใชกฎหมาย และกฎระเบียบตาง ๆ 4) สงเสริมธรรมาภิบาล โดยมีกิจกรรม เชน ศึกษา และวิเคราะห เพื่อจัดทําฐานขอมูล และรวบรวม แนวทางปฏิบัติที่ดีเลิศในเรื่องธรรมาภิบาลของภูมิภาค 5) ส ง เสริ ม และคุ มครองสิ ท ธิ มนุ ษ ยชน โดยมี กิ จ กรรม เช น รวบรวมข อ มู ล เรื่ อ งกลไกด า นสิ ท ธิ มนุษยชน และองคกรที่เกี่ยวของ รวมทั้งองคกรเฉพาะดาน เพื่อสงเสริมสิทธิสตรีและเด็กภายในป พ.ศ. 2552 6) เพิ่มการมีสวนรวมขององคกรที่มีความสัมพันธกับอาเซียนที่เกี่ยวของตอการขับเคลื่อนความคิด ริเริ่มเพื่อพัฒนาการทางการเมืองของอาเซียนใหดํ า เนินไปขางหนา โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริมการศึกษาวิจัย และ สนับสนุนทุนจัดพิมพของการริเริ่มพัฒนาทางการเมืองอาเซียน


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 52

7) ปองกันและปราบปรามการทุจริต โดยมีกิจกรรม เชน กํา หนดกลไกที่เกี่ยวของในการปฏิบัติกับ กิจกรรมเพื่อการปองกันและปราบปรามการทุจริต และสรางเสริมความเชื่อมโยงและความรวมมือระหวางองคกรที่ เกี่ยวของ 8) สงเสริมหลักการประชาธิปไตย โดยมีกิจกรรม เชน การจัดทําการศึกษาวิจัยเปนรายปเพื่อรวบรวม ประสบการณดานประชาธิปไตย และเพื่อสงเสริมการยึดมั่นในหลักการของประชาธิปไตย 9) สงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยมีกิจกรรม เชน พัฒนาใหมีกิจกรรมเพื่อสนับสนุน วัฒนธรรมเพื่อสันติภาพ และการหารือระหวางศาสนา และภายในศาสนาในภูมิภาค 1.2. การสรางและแบงปนกฎเกณฑรวม อาเซียนสงเสริ มใหมีบ รรทัดฐานระดั บภูมิภาคเรื่ องแนวปฏิบั ติที่ดีเลิ ศ และความเปนปกแผน โดย สอดคลองกับหลักการสําคัญตามที่บัญญัติไวในกฎบัตรอาเซียน ในบริบทนี้ อาเซียนยังคงยึดมั่นในสนธิสัญญามิตรภาพ และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และขอตกลงสําคัญอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงปฏิญญาวาดวยการปฏิบัติของรัฐภาคีในทะเลจีนใต ซึ่งมีการสงเสริม ดังนี้ 1) ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนใหเปนไปตามกฎบัตรอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดเตรียม และ ดําเนินการตามแผนงานในชวงเปลี่ยนผานวาดวยการปฏิรูปสถาบันที่จําเปนเพื่อดําเนินการตามกฎบัตรอาเซียน 2) เสริ มสรา งความร วมมื อภายใต สนธิสั ญญา TAC โดยมีกิ จกรรม เช น จัดใหมี การประชุมเชิ ง ปฏิบัติการ และการสัมมนา เพื่อประเมินความกาวหนาของการดําเนินงานของสนธิสัญญา TAC และหาทางในการพัฒนา กลไกการดําเนินการตอไป 3) สงเสริมใหมีการดําเนินการอยางสมบูรณตามปฏิญญาวาดวยทะเลจีนใต (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DOC) เพื่อสันติภาพ และเสถียรภาพในทะเลจีนใต โดยมีกิจกรรม เชน ดําเนิน การตามวิธี ปฏิ บัติ ที่มีอ ยูข องอาเซียนโดยประเทศสมาชิก เพื่ อใหมี การปรึ กษาหารืออยา งใกลชิ ด และให การ ดําเนินการของปฏิญญาวาดวยทะเลจีนใตบรรลุผลอยางเต็มที่ 4) ส ง เสริ มให มั่ น ใจในการดํ า เนิ น การตามสนธิ สั ญ ญา SEANWFZ และแผนปฏิ บั ติ ก ารภายใต สนธิสัญญานี้ โดยมีกิจกรรม เชน สนับสนุนใหมีการภาคยานุวัตรพิธีสารของสนธิสัญญา SEANWFZ สําหรับกลุมประเทศที่ ครอบครองอาวุธนิวเคลียร 5) สงเสริมความรวมมือทางทะเลอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดการประชุมเวทีหารืออาเซียนเรื่อง ความรวมมือทางทะเล 2. ภูมิภาคที่มีความเปนเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกรง พรอมทั้งมีความรับผิดชอบรวมกันเพื่อแกไข ปญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) ในการสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนที่มีความเปนเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกรงยึดมั่น กับหลักการความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ ซึ่งครอบคลุมมากกวาแงมุมความมั่น คงในรูปแบบเดิม แตคํานึงถึงความ มั่นคงในรูปแบบใหม ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญตอความแข็งแกรงในระดับชาติ และภูมิภาค เชน มิติเศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมของการพัฒนาอาเซียน ยังคงยึดมั่นตอการปองกันความขัดแยง/มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ การทูต เชิงปองกัน และการสรางสันติภาพหลังความขัดแยง

2.1. ปองกันความขัดแยง และมาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 53

มาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และการทูตเชิงปองกันเปนเครื่องมือสําคัญในการปองกันความ ขัดแยง ชวยลดความตึงเครียด และปองกันไมใหเกิดขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน และระหวางประเทศ สมาชิกอาเซียนกับประเทศที่ไมใชสมาชิกอาเซียน ตลอดจนชวยปองกันการขยายความรุนแรงของความขัดแยงที่มีอยูแลว ในสวนของการหารือดานการปองกัน หรือการเมืองในภูมิภาค เจาหนาที่กลาโหมอาเซียน ไดมีสวนรวมในการเจรจาดาน ความมั่นคงของอาเซียน ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ภายใตกรอบเวทีการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดาน ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ARF) อาเซียนไดทําการรายงานโดยสมัครใจในเรื่องพัฒนาการความมั่นคงในภูมิภาค และจัดประชุมเจาหนาที่กลาโหมระดับสูงโดยสม่ําเสมอภายใตการหารือของเจาหนาที่กลาโหม ARFDOD และการประชุม นโยบายความมั่นคง ARF (APSC) อาเซียนยังไดจัดตั้งการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานกลาโหม ซึ่งมีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางมาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริมการแลกเปลี่ยนผู สังเกตการณในการฝกทหาร โดยเปนไปตามความสามารถ และเงื่อนไขของแตละประเทศสมาชิกอาเซียน 2) สงเสริมความโปรง ใส และความเขา ใจในนโยบายกลาโหม และมุมมองดา นความมั่น คง โดยมี กิจกรรม เชน มุงไปสูการพัฒนา และตีพิมพมุมมองสถานการณความมั่นคงประจําปของอาเซียน 3) สรางกรอบการดําเนินการทางสถาบันที่จําเปนเพื่อเสริมสรางกระบวนการภายใตกรอบการประชุม ARF เพื่อสนับสนุนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ติดตามขอเสนอแนะเกี่ยวกับการ ทบทวนความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก 4) เสริมสรางความพยายามในการธํารงความเคารพในบูรณภาพแหงดินแดนอธิปไตย และเอกภาพ ของประเทศสมาชิกตามที่กําหนดไวในปฏิญญาวาดวยหลักการแหงกฎหมายระหวางประเทศเกี่ยวกับความสัมพันธฉันท มิตร และความรวมมือโดยเปนไปตามกฎบัตรสหประชาชาติ โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริม และเพิ่มความตระหนักตอ ประเด็นเหลานี้ เพื่อเรงรัดการสรางประชาคม และยกระดับการเปนที่ยอมรับเปนที่รูจักของอาเซียนในเวทีโลก 5) สงเสริมการพัฒนาบรรทัดฐานเพื่อสรางความรวมมือดานการปองกันทางทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ริเริ่มงานเตรียมการสําหรับการพัฒนาโครงการความรวมมือที่เปนรูปธรรมระหวางหนวยงาน ทหารของประเทศสมาชิกอาเซียน

2.2. การแกไขความขัดแยงและการระงับขอพิพาทโดยสันติ

อาเซียนเชื่อมั่นวา การระงับความแตกตาง หรือขอพิพาทควรกํากับโดยกระบวนการที่มีเหตุผล มี ประสิทธิภาพ และยืดหยุนเพียงพอ เพื่อหลีกเลี่ยงแนวคิดในทางลบ ซึ่งอาจเปนอันตราย หรือเปนอุปสรรคตอความรวมมือ อาเซียน จึงสนับสนุน TAC ซึ่งใหบทบัญญัติสําหรับการระงับขอพิพาทโดยสันติตลอดเวลา โดยผานการเจรจาฉันทมิตร และหลีกเลี่ยงการขมขูวา จะใช หรือการใชกําลัง เพื่อแกไขขอพิพาทยุทธศาสตร สําหรับการแกไขความขัดแยง เปนสวน หนึ่งของแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ วัตถุประสงคสําหรับยุทธศาสตรเหลานี้เปนไปเพื่อปองกันขอพิพาท และความ ขัดแยงไมใหเกิดขึ้นระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีศักยภาพที่จะสรางภัยคุกคามตอสันติภาพ และเสถียรภาพใน ภูมิภาค อาเซียน สหประชาชาติ และองคการอื่น ๆ ไดจัดกิจกรรมความรวมมือจํานวนมากรวมกันภายใตความ พยายามในการสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพ มีความพยายามที่มากขึน้ ในการเสริมสรางวิธีการระงับขอพิพาทโดยสันติ ที่มีอยู เพื่อหลีกเลี่ยง หรือระงับขอพิพาทในอนาคต และการดําเนินการในการจัดการความขัดแยง และการศึกษาวิจยั เรื่อง การแกไขความขัดแยง ในการนี้ อาเซียนอาจตั้งกลไกการระงับขอพิพาทที่เหมาะสมไดเชนกันภายใตกฎบัตรอาเซียน มีการ สงเสริม ดังนี้


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 54

1) พัฒนารูปแบบการระงับขอพิพาทโดยสันติ เพิ่มเติมจากรูปแบบที่มีอยู และพิจารณาเสริมสราง รูปแบบดังกลาวใหเขมแข็งขึ้นดวยกลไกเพิ่มเติม โดยมีกิจกรรม เชน ศึกษา และวิเคราะหรูปแบบการระงับขอพิพาทโดย สันติที่มีอยู และ/หรือกลไกเพิ่มเติม เพื่อเสริมสรางกลไกในภูมิภาคในการระงับขอพิพาทโดยสันติ 2) เสริมสรางกิจกรรมการคนควาวิจัยเรื่องสันติภาพ การจัดการความขัดแยง และการแกไขความ ขัดแยง โดยมีกิจกรรม เชน พิจารณาจัดตั้งสถาบันอาเซียนสําหรับสันติภาพ และสมานฉันท 3) สงเสริมความรวมมือในภูมิภาคเพื่อธํารงไว ซึ่งสันติภาพ และเสถียรภาพ โดยมีกิจกรรม เชน ระบุ หนวยงานหลักของประเทศเพื่อสงเสริมความรวมมือ ดานสันติภาพ และเสถียรภาพในระดับภูมิภาค

2.3. การสรางสันติภาพหลังความขัดแยง

ความพยายามของอาเซียนในเรื่อ งการสร างสัน ติภาพหลั งความขั ดแยง ตอ งเกื้อ กูล ความพยายาม อื่น ๆ ที่ใชแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อ 1) ใหมั่นใจวา จะไมเกิดความขัดแยง และความรุนแรง และ/หรือภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษยในพื้นที่ที่ ไดรับผลกระทบ 2) สงเสริมการกลับคืนมาของสันติภาพ และ/หรือการกลับสูภาวะปกติของชีวิตโดยเร็วที่สุด และ 3) วางพื้นฐานเพื่อการสมานฉันท และมาตรการที่จําเปนตาง ๆ เพื่อรักษาสันติภาพ และเสถียรภาพ ทั้งนี้ เพื่อปองกันพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากการกลับไปสูความขัดแยงในอนาคต สามารถใชมาตรการตาง ๆ ในการสงเสริมกิจกรรมบรรเทาเพื่อมนุษยธรรม ซึ่งรวมถึงการเพิ่มความรวมมือกับสหประชาชาติ และองคการอื่น ๆ ตลอดจน การเสริมสรางขีดความสามารถใหกับประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ มีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางความชวยเหลือดานมนุษยธรรมอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ใหการบริการ และความ ชวยเหลือขั้นพื้นฐาน เพื่อบรรเทาทุกขแกผูไดรับผลกระทบจากความขัดแยง โดยตองปรึกษากับประเทศที่ไดรับผลกระทบ 2) ดําเนินการตามโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย และสรางขีดความสามารถในพื้นที่ภายหลังความ ขัดแยง โดยมีกิจกรรม เชน รางแนวทางการประเมินความตองการการฝกอบรม และการเสริมสรางขีดความสามารถ 3) เพิ่มความรวมมือในดานการไกลเกลี่ยประนีประนอม และคานิยมที่มีสันติภาพเปนศูนยกลาง โดยมี กิจกรรม เชน ดําเนินการศึกษาเพื่อเพิ่มความรวมมือดานการสมานฉันท และสงเสริมคานิยมที่มีสันติภาพเปนศูนยกลาง

2.4. ประเด็นความมั่นคงรูปแบบใหม

จุดประสงคหลักของอาเซียน คือ การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และทันทวงที โดยสอดคลองกับ หลักการดานความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติ จากภัยคุกคามในทุกรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ และความทาทายขามแดน มีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางความรวมมือในการรับมือประเด็นปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม โดยเฉพาะเรื่องการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ และความทาทายขามแดนอื่น ๆ โดยมีกิจกรรม เชน ดําเนินการในประเด็นสําคัญในแผนการ ดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2) เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการใหสัตยาบันโดยเร็ว และดําเนินการอยาง เต็มทีต่ ามอนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย 3) โดยมีกิจกรรม เชน ดํา เนิน การเพื่อ ให อนุสั ญญาฯ มี ผลบั งคั บใช ภายในป พ.ศ. 2552 การให สัตยาบันโดยประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ และสงเสริมการดําเนินการตามอนุสัญญาฯ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 55

2.5. เสริมสรางความรวมมือของอาเซียนดานการจัดการภัย พิบัติ และการตอบสนองตอสถานการณ ฉุกเฉิน โดยมีกิจกรรม เชน พัฒนาแนวทางยุทธศาสตรของความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก สําหรับความชวยเหลือทางมนุษยธรรม และความรวมมือดานการบรรเทาภัยพิบัติ 2.6. การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และทันกาลตอประเด็นเรงดวน หรือสถานการณวิกฤตที่สงผล กระทบตออาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดการประชุมสมัยพิเศษในระดับผูนํา หรือรัฐมนตรี ในเหตุการณวิกฤติ หรือ สถานการณฉุกเฉินที่มีผลกระทบตออาเซียน และพัฒนากรอบการดําเนินการ เพื่อจัดการกับสถานการณดังกลาวอยาง ทันทวงที 3. ภูมิ ภาคที่มี พ ลวั ตร และมองไปยั งโลกภายนอก ในโลกที่ มี ก ารรวมตัว และพึ่ งพาอาศั ย กั นยิ่ งขึ้ น (A dynamic and outward looking region in an increasingly integrated and interdependent world) อาเซียนสงเสริม และรักษาความสัมพันธที่เปนมิตร และเปนประโยชนรวมกันกับประเทศภายนอก เพื่อให มั่นใจวา ประชาชน และรัฐประเทศสมาชิกของอาเซียนสามารถอยูอยางสันติในโลก ในสภาวะที่มีความยุติธรรมเปน ประชาธิปไตย และปรองดอง อาเซียนจะยังคงมองไปยังภายนอก และดําเนินบทบาทที่สําคัญในเวทีระดับภูมิภาค และใน ระดับระหวางประเทศ เพื่อสงเสริมผลประโยชนรวมกันของอาเซียน อาเซียนจะธํารง และรักษาความเปนศูนยรวม และ บทบาทเชิงรุกในฐานะพลังขับเคลื่อน หลักในโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาคที่เปดกวาง โปรงใส และทุกฝายมีสวนรวม เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยเสริมสรางความสัมพันธกับภายนอก ภูมิภาค 1) การส งเสริ มอาเซี ยนให เป น ศูน ยก ลางในความรว มมื อระดับ ภูมิ ภาค และการสรา งประชาคม โดยมี กิจกรรม เชน เพิ่มพูนการประสานงานในการดํา เนินความสัมพันธภายนอกของอาเซียนตลอดจนการประชุมในระดับ ภูมิภาค และพหุภาคี 2) สงเสริมความสัมพันธที่เพิ่มพูนกับประเทศภายนอก โดยมีกิจกรรม เชน แสวงหาโครงการความรวมมือ กับองคการระดับภูมิภาค 3) เสริมสรางการปรึกษาหารือ และความรวมมือในประเด็นพหุภาคีที่เปนความกังวลรวมกัน โดยมีกิจกรรม เชน เพิ่มพูนการปรึกษาหารือภายในอาเซียน ซึ่งรวมถึงการแตงตั้งผูแทนถาวรของประเทศอาเซี ยนประจําสหประชาชาติ 9 และองคการระหวางประเทศอื่น ๆ เพื่อสงเสริมผลประโยชนของอาเซียน ในป 2552 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ไดใหการรับรอง “แผนงานการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political-Security Community Blueprint: APSC Blueprint) เปนเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการบรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน มีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เปนความมุงหวังวา จะทําใหความรวมมือดานการเมือ ง และ ความมั่นคงของอาเซียนมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น โดยเปนหลักประกันตอประชาชน และประเทศสมาชิกอาเซียนใหอยูอยาง สันติระหวางกัน และกับโลกภายนอกในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ความยุติธรรม และการมีความปรองดอง ตอกัน 2. ประชาคมการเมื อ งและความมั่น คงอาเซี ยน จะส ง เสริ มพั ฒนาการด า นการเมือ ง โดยยึ ด หลั กการของ ประชาธิปไตย นิติธรรม ธรรมาภิบาล ความเคารพ การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน 9

กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 6-28


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 56

ภายใตกฎบัตรอาเซียน โดยจะเปนตัวเชื่อมตอใหประเทศสมาชิกอาเซียน มีการติดตอ และมีความรวมมือระหวางกัน เพื่อ สรางบรรทัดฐานกฎเกณฑ และกลไกรวมกันในการบรรลุเปาหมายอาเซียนในดานการเมือง และความมั่นคง ซึ่งจะทําให อาเซียนเปนองคกรที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง โดยทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวม และไดผลประโยชนจากกระบวนการ รวมตัว และการสรางประชาคมโดยไมคํานึงถึงเพศ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา หรือพื้นเพทางสังคม และวัฒนธรรม ในการ ปฏิบัติตามแผนงาน อาเซียนจะตองสงเสริม และสนับสนุนการใหความเทาเทียมทางเพศ แนวทางหลักในนโยบายความอด กลั้น การเคารพความหลากหลายความเทาเทียมกัน และมีความเขาใจที่ดีตอกัน 3. เพื่อประโยชนในการปกปอง และสงเสริมสันติภาพในภู มิภาค ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประสงคจะสงเสริมความรวมมือที่แนนแฟน และมีผลประโยชนรวมกันระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา และมิตร ประเทศ เพื่อคงไวซึ่งความเปนศูนยกลาง และบทบาทแขงขันของอาเซียน ในโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาคที่เปด กวาง โปรงใส และที่ทุกฝายมีสวนรวมอีกทั้งมีสวนรวมอยางแข็งขันในการกาวไปขางหนา และไมเลือกปฏิบัติ 4. ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย นสนั บ สนุ น แนวทางด า นความมั่ น คงที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ (Comprehensive Approach) ซึ่งมีความเกี่ยวโยงตอพัฒนาการดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอยางใกลชิด ยึดหลัก ในการละเวนการรุกราน หรือการขูใชกําลัง และการกระทําใด ๆ ที่ไมสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศ และการ พึ่งพา การแกไขปญหาความขัดแยงโดยสันติวิธี ในการนี้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนยึดมั่นความตกลง ทางการเมืองของอาเซียน อาทิ ปฏิญญาวาดวยเขตสันติภาพ อิสรภาพ และการวางตัวเปนกลาง หรือสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) เปนตน ซึ่งมีบทบาทสําคัญในดานมาตรการสงเสริมความไว เนื้อเชื่อใจ การทูตในเชิงปองกัน และแนวทางแกไขปญหาโดยสันติวิธี อีกทั้งแกไขประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ จะมีการประกาศจัดตั้ง “คณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวา ดวยสิทธิมนุษยชน” อยางเปนทางการ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ที่จัดตั้งขึ้นนี้ จะทําหนาที่เปนหนวยงานหลักในการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนกับองคการระหวางประเทศ และภาคประชาสังคมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะมี สวนสําคัญในการสงเสริม และคุมครองสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนชีวิตความเปนอยูของคนไทย และประชาชนอาเซียน โดยรวม นอกจากนี้ การมีกลไกทางดานสิทธิมนุษยชนอยางเปนรูปธรรม จะทําใหอาเซียนเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ มากขึ้น อันจะสงผลทางออมตอความรวมมือกับประเทศ และองคการระหวางประเทศนอกอาเซียนในทุก ๆ ดาน อยางไรก็ตาม APSC Blueprint ยังมีเนื้อหา และกระบวนการดําเนินการที่คอนขางจะกระทบตอประเด็น ออนไหวของหมูประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะหลักการ หรือกฎเหล็กของอาเซียน ไดแก การไมกาวกายกิจการ ภายในประเทศ และการเคารพตออํานาจอธิปไตยของกันและกัน รวมถึงวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ยกตัวอยางเชน ใน จุดประสงคดานแรก คือ การสรางประชาคมที่มีคานิยม และบรรทัดฐานรวมกันบนพื้นฐานของการใชกฎรวม (A Rulesbased Community of Shared values and norms) นั้น ประกอบไปดวย 2 กรอบการทํางานหลัก คือ การรวมมือกัน ในการพัฒนาการเมือง (Cooperation in Political Development) และการสราง และใชบรรทัดฐานรวมกัน (Shaping and Sharing of Norms) ซึ่งกรอบการทํางานแรกนั้นประกอบไปดวยกิจกรรมตาง ๆ เชน การสงเสริมสภาพธรรมาภิบาล การส ง เสริ ม และปกป อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน การป อ งกั น และต อ สู กั บ การคอร รั ป ชั่ น และการส ง เสริ ม หลั ก การของ ประชาธิปไตย ซึ่งหากเพียงแคมองกิจกรรมดังกลาวเพียงคราว ๆ แลว ก็พอจะสามารถคาดเดาไดวา เปนไปไดยากที่แตละ ประเทศสมาชิกจะเขามารวมมือกันได เชน การปองกัน และการตอสูกับการคอรรัปชั่น

กรอบความร ว มมื อ ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น อาเซียนมีเปาหมายดานความมั่นคงที่สําคัญ คือ การสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต เพื่อสราง conditions ที่จะอํานวยตอการสรางประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ในการนี้ พื้นฐาน


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 57

ของประชาคมอาเซียน ประกอบดวย 3 เสา คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคม สังคมและวัฒนธรรม มาจาก Bali Concord II ลงนามในป พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ตอมา มีการพัฒนาแผนเพื่อนํามาซึ่ง ประชาคมทั้ง 3 เสา ภายใต Roadmap for and ASEAN Community 2009-2015 มี ASEAN Political-Security Community Blueprint เปนองคประกอบสําคัญ นอกจากนี้ ในบริบทของกฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชตั้งแตเดือน ธันวาคม 2551 อาเซียนมีเปาหมายสําคัญที่จะธํารงรักษา และเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคงเสถียรภาพ รวมทั้งเสริมสราง คุณคาทางสันติภาพในภูมิภาคใหมากขึ้น อาเซียนไดแสดงบทบาทและความพยายามในการสรางสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงในภูมิภาค เพื่อให เกิดความผาสุกแกประชาชน ภายใตกรอบความรวมมือดานการเมืองที่สําคัญ ไดแก 1. การประกาศใหอาเซียนเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPEAN) ลงนามครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2514 (ค.ศ. 1971) 2. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ลงนามเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2519 (ค.ศ. 1976) 3. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ) ลงนามเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2537 (ค.ศ. 1994) 4. การกอตั้งการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) มีการประชุมครั้งแรก เมื่อป 2537 (ค.ศ. 1994) ประเทศที่เขารวมมี 27 ประเทศ ไดแก อาเซียน 10 ประเทศ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด จีน ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย อินเดีย สหภาพยุโรป ปาปวนิวกินี มองโกเลีย เกาหลีเหนือ ปากีสถาน ติมอรเลสเต บังกลาเทศ และศรีลังกา โดย ARF เปนเวที สําหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดานความมั่นคงในภูมิภาค อาทิ การตอตานการกอการราย อาชญากรรมขามชาติ การไมแพรขยายอาวุธนิวเคลียร คาบสมุทรเกาหลี และทะเลจีนใต ในการดําเนินการของ ARF (Asian Regional Forum) เปนนิมิตหมายที่ดีของความรวมมือดานความมั่นคงของประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนเวทีการประชุมที่ใหขอมูลทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร กระชับความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิก มีสวนใหการประชุมในเวทีการประชุมในเวที ตาง ๆ เชน การฝกรวม มีความราบรื่น และเกิดการพัฒนาตอยอดในการปฏิบัติการรวมตอไป 5. ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord : Bali Concord) ลงนามเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2519 (ค.ศ. 1976) ที่บาหลี ซึ่งกําหนดใหประเทศสมาชิกอาเซียนสงเสริมความรวมมือดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สารสนเทศ และความมั่นคง อีกทั้งจัดตั้งสํานักงานเลขาธิการอาเซียน

6. ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II) ลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2546 (ค.ศ. 2003) ในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 9 ที่บาหลี ซึ่งผูนําอาเซียนได เห็นชอบใหมีการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) อันประกอบไปดวย ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจประชาคม (ASEAN Economic Community : AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ภายในป 2563 ตอมาในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) ที่เมืองเซบู ประเทศ ฟลิปปนส ผูนําอาเซียนไดตกลงใหเรงรัดการจัดตั้งประชาคมใหแลวเสร็จภายใน 2558 (ค.ศ. 2015)


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 58

7. อนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย (ASEAN Convention on Counter-Terrorism : ACCT) ลงนามเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) ระหวางการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 12 ที่เมืองเซบู ฟลิปปนส เพื่อกําหนดกรอบความรวมมือดานการตอตานการกอการรายในเรื่องตาง ๆ อาทิ เขตอํานาจศาลของรัฐ การสง ผูรายขามแดน การแลกเปลี่ยนขอมูล ฯลฯ 8. ความรวมมือดานการบริหารจัดการภัยพิบัติ (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response : AADMER) มีผลบังคับใชแลวเมื่อเดือนธันวาคม 2552 (ค.ศ. 2009) มีการจัดตั้งศูนยใหความ ชวยเหลือเพื่อบรรเทาภัยพิบัติของอาเซียน (ASEAN Humanitarian Assistance Center) ที่อินโดนีเซีย โดยเลขาธิการ อาเซียนไดรับมอบหมายใหเปน ASEAN Humanitarian Assistance Coordinator ซึ่งไทยเสนอใหอาเซียนมีแถลงการณ วาดวยความรวมมือในดานการปองกันอุทกภัย การลดผลกระทบ การบรรเทา การฟนฟู และการบูรณะ 9. อาเซียนไดดําเนินความพยายามในการแกไขขอพิพาทในทะเลจีนใต ซึ่งเปนพื้นที่ทับซอนที่ประเทศสมาชิ ก อาเซียนหลายประเทศ และจีนที่อางสิทธิ์ โดยการดําเนินความรวมมือระหวางประเทศที่เกี่ยวของตามปฏิญญาวาดวยการ ปฏิบัติของประเทศภาคีในทะเลจีนใต (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DoC) ตาม Guidelines for the Implementation of the Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea (Guidelines on DoC) การจัดทํา Code of Conduct of Parties in the South China Sea (CoC) การ สงเสริม และธํารงไวซึ่งเสรีภาพ และความปลอดภัยในการเดินเรือ เพื่อเพิ่มพูนการคา และพาณิชย สนับสนุนใหขอพิพาท ในทะเลจีนใต ใหไดรับการแกไขโดยการหารือ และอยางสันติ 10. การจัดตั้งสถาบันเพื่อสันติภาพและการปรองดอง (ASEAN Institute for Peace and Reconciliation) เปน “Entity Associated with ASEAN” ตามขอ 16 ของกฎบัตรอาเซียน ใหรัฐมนตรีตางประเทศพิจารณา ToR เพื่อให สถาบันเริ่มดําเนินการ (launch) อยางเปนทางการในป 2555 (ค.ศ. 2012) ระหวางการเปนประธานอาเซียนของกัมพูชา โดยไมมีความเกี่ยวของกับกลไกระงับขอพิพาทของอาเซียน 11. กลไกเพื่อยุติขอพิพาท อาเซียนมี ดังนี้ 11.1. คณะอัครมนตรีของสนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (High Council of the Treaty of Amity and Amity and Cooperation in Cooperation in Southeast Asia) ซึ่งเปนกลไกระงับขอ พิพาท โดยสันติวิธีระหวางประเทศที่เปนภาคีสนธิสัญญา TAC ในระดับรัฐมนตรี โดย High Council อาจเสนอ ขอเสนอแนะ และทําหนาที่เปนผูไกลเกลี่ยในกรณีที่เกิดขอพิพาท 11.2. กลุมผูประสานงานอาเซียน (ASEAN Troika) ซึ่งเปนขอเสนอของไทย โดย ASEAN Troika จะ ประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ดํารงตําแหนงประธานอาเซียน ประเทศที่เปนประธาน กอนหนานี้ และประเทศที่เปนประธานตอไป เพื่อเปนกลไกในการพิจารณา และหารือเกี่ยวกับเหตุการณฉุกเฉินที่อาจ สงผลกระทบตอภูมิภาค โดยจะทําหนาที่ติดตาม และเสนอแนะแนวทาง หรือมาตรการที่เหมาะสม เพื่อสนองตอบตอ เหตุการณตาง ๆ ไดอยางทันทวงที 11.3. ASEAN High Level Legal Experts จัดทํา Dispute Settlement Mechanism (DSM) โดย ไดรับอาณัติจากรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสิ้นป พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) เพื่อเสนอ DSM ใหรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนพิจารณาในป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) นับตั้งแตกอตั้งอาเซียน เมื่อป 2510 (ค.ศ. 1967) จนถึงปจจุบัน อาจกลาวไดวา อาเซียนประสบความสําเร็จใน การบรรลุถึงเปาหมายสําคัญ ๆ และเจตนารมณที่กําหนดไวในปฏิญญากรุงเทพฯ อยางนาพอใจ โดยในดานการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียนนั้น อาเซียนไดสรางความมีเสถียรภาพ ความไวเนื้อเชื่อใจ และแนวทางปองกันมิใหเกิดปญหาความ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 59

ขัดแยงในภูมิภาคขึ้น ทั้งนี้ ยังไดดําเนินการเพื่อสงเสริมใหสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) เปนหลักในการดําเนินความสัมพันธในภูมิภาค อีกทั้งไดพยายามเรงการปฏิบัติตามสนธิสัญญา เขตปลอดอาวุธ นิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (SEANWFZ) และโนมนาวใหประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียรเขารวมในสนธิสัญญา ดังกลาว อยางไรก็ตาม สถานการณความมั่นคงในภูมิภาคยังคงมีความแปรปรวนอยู สืบเนื่องมาจากปญหาในทะเลจีนใต ความขัดแยง และปญหาภายในของบางประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมียนมาร และอินโดนีเซีย ซึ่งสงผลกระทบ โดยตรงกับภูมิภาค ในขณะเดียวกัน อาเซียนเองยังคงตองเผชิญกับสิ่งทาทายใหม ๆ อาทิ ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และตองอาศัยความรวมมืออยางเปนรูปธรรมในระดับภูมิภาค เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ เหลานี้ ตอไป

ความก า วหน า ในการจั ด ตั้ ง ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น กระบวนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีรากฐานมาจากการนําความรวมมือ และความ ตกลงของอาเซียนดานการเมืองและความมั่นคงที่ไดดําเนินการมาระยะหนึ่งแลว มาตอยอดใหมีผลเปนรูปธรรมและมีแบบ แผนมากยิ่งขึ้น อาทิ ขอบทตาง ๆ ภายใตสนธิสัญญา TAC สนธิสัญญา SEANWFZ และปฏิญญากําหนดใหภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : 10 ZOPFAN) และรวมถึงผลลัพธตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประชุม ARF ปจจุบัน การสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความคืบหนาในการสงเสริมการแลกเปลี่ยน ขอมูล และประสานทาทีมากยิ่งขึ้นในเรื่องที่มีนัยทางนโยบาย และการเมืองของภูมิภาค โดยมีคณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Council) เปนผูดําเนินการขับเคลื่อน สําหรับประเด็นดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนที่ไดรับความสนใจในชวง 1 - 2 ป ที่ผานมา คือ การสงเสริมกลไก อาเซียนตาง ๆ (Sectoral Bodies) และเนนการประสานงานเพื่อแกไขปญหา ซึ่งเปนประเด็นที่คาบเกี่ยวกับกลไกตาง ๆ (cross-cutting issues) ตัวอยางสําคัญที่อาเซียนกําลังพิจารณาอยางตอเนื่อง คือ ความเสี่ยงของการสงเสริมความ เชื่อมโยงในภูมิภาค ซึ่งรวมถึงอาชญากรรมขามชาติ และผลกระทบทางดานลบตาง ๆ เชน ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และ ปญหาสาธารณสุข ซึ่งเปนปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional threats) อย า งไรก็ ต าม การดํ า เนิ น การเพื่ อ รองรั บ การเป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น ยั ง ไม มี ความกาวหนามากนัก เมื่อเทียบกับการเตรียมความพรอมในมิติของเศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม ปญหาอุปสรรค สํา คั ญ ที่ สุ ด ในการสร า งประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ยน คื อ การสร า งค า นิ ยมร ว มกั น เนื่ อ งจาก ความ หลากหลายของวั ฒ นธรรมการเมื อ งของประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น และการที่ แ ต ล ะประเทศยั ง ไม มุ ง ไปสู ก ารสร า ง ผลประโยชนรวมกันของประชาคมอาเซียนอยางชัดเจน สวนหนึ่งของปญหาเกิดจากการที่ระบบสถาบันของอาเซียนที่จะ ชวยสงเสริมคานิยมอาเซียนยังคงออนแอ ความทาทายสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การที่ยังมีประเด็นที่มีความออนไหวสูงในแตละประเทศสมาชิก หรือ ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งสรางขอจํา กัดใหอาเซียนในการใชกลไกของตนได เชน กรณีที่เกือบทุกประเทศไม ประสงคที่จะใหอาเซียนมายุงเกี่ยวกับปญหาภายในประเทศ แมวา ปญหาดังกลาวจะมีนัย หรือผลกระทบในระดับภูมิภาค ก็ตาม เชน เรื่องพัฒนาการทางการเมือง และสิทธิมนุษยชนในเมียนมาร หรือปญหาหมอกควัน เปนตน อีกทั้งไมประสงค 10

ศูนยขาวการศึกษาไทย. (2555). ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 60

ใหอาเซียนมายุงเกี่ยวกับปญหาทวิภาคีโดยเฉพาะปญหาเขตแดน อยางเชน กรณีความขัดแยงระหวางสิงคโปรกับมาเลเซีย ในป พ.ศ. 2552 ทั้งสองประเทศไดใชกลไกของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice : ICJ) มากกวาการใชกลไกของอาเซียนในการแกขอพิพาททางเขตแดน แมวา ประเทศสมาชิกจะพยายามใหอาเซียนเปนศูนยกลางของการขับเคลื่อน (ASEAN Centrality) ในภูมิภาค แตปฏิสัมพันธระหวางมหาอํานาจไดสรางขอจํากัดใหกับอาเซียนในการที่จะผลักดันใหกลไกตาง ๆ ในภูมิภาคเปนเรื่องของ ความมั่นคงในภูมิภาค นอกจากนี้ เนื่องจาก ความมั่นคงในภูมิภาคยังตองพึ่งพาอาศัยบทบาทของประเทศนอกภูมิภาค อาเซียนจึงจําเปนตองสรางหุนสวนสําคัญกับประเทศนอกภูมิภาค และในบางกรณียังตองใชวิธีการคานอํา นาจ เพื่อไมให ประเทศมหาอํานาจใด มาครอบงําภูมิภาค ปญหาอุปสรรคอีกประการหนึ่ง คือ การที่ยังไมมีความไวเนื้อเชื่อใจระหวาง กันเองในประเทศสมาชิกอาเซียน เนื่องจาก ประเทศตาง ๆ ยังอยูในสภาพที่ตองแขงขันแยงชิงผลประโยชนระหวางกัน ตัวอยางเชน เรื่องการแสวงหาผลประโยชนจากทรัพยากรทางทะเล ซึ่งมีสวนใหเกิดความตึงเครียดมากขึ้นในทะเลจีนใต 11 เปนตน ในดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีเปาหมายสําคัญ คือ การสงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อสรางสถานะที่จะอํานวยตอการสรางประชาคมอาเซียน ใหสําเร็จภายในป 2558 ซึ่งจะทําให ประชาคมอาเซียนในดานการเมืองความมั่นคงมีความแข็งแกรงและนาเชื่อถือ ความรวมมือดานการเมืองความมั่นคงของ อาเซียนที่สําคัญ ไดแก 1. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใตจัดทําขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร และไทย เมื่อป พ.ศ. 2519 เพื่อกําหนดหลักการพื้นฐานของความรวมมือ และการดําเนินความสัมพันธระหวางกันของประเทศสมาชิกหลักการสํา คัญของสนธิสัญญา ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียน ยึดถือ และยอมรับในการปฏิบัติตาม ไดแก 1.1. เคารพในเอกราช การมีอํานาจอธิปไตย ความเทาเทียมกัน ความมั่นคงทางดินแดน และเอกลักษณ แหงชาติของทุกประเทศ 1.2. ปราศจากการแทรกแซงจากภายนอก การโคนลมอธิปไตย หรือการบีบบังคับจากภายนอก 1.3. การไมแทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน 1.4. การแกไขปญหาความขัดแยง หรือขอพิพาทโดยสันติวิธี 1.5. การยกเลิกการใชการคุกคามและกองกําลัง 1.6. การมีความรวมมือที่มีประสิทธิภาพระหวางกัน เมื่อเดือนธันวาคม 2530 ไดมีการแกไขสนธิสัญญา เพื่อเปดทางใหประเทศที่อยูนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใตสามารถเขารวมเปนภาคีไดนั้น เปนการชวยเสริมสรางโครงสรางความมั่นคงและสันติภาพภายในภูมิภาคใหมีความ เขมแข็งยิ่งขึ้น ปจจุบันประเทศที่เขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญา TAC ไดแก สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ประเทศคู เจรจาของอาเซียน และประเทศที่เขารวมการประชุมอาเซียนวาดวยการเมืองและความมั่นคงในเอเชีย-แปซิฟก เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต และนิวซีแลนด ออสเตรเลีย แคนาดา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป

11

กรมอาเซียน กองอาเซียน 1. (2554). “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.” ASEAN Highlights 2011, กรุงเทพฯ : กระทรวงการ ตางประเทศ. หนา 30.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 61

2. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asia Nuclear-Free Zone : SEAN-FZ) ประเทศสมาชิ กอาเซี ยน ลงนามในการประชุ มสนธิสั ญญาในกรุ งเทพฯ เมื่ อวั นที่ 15 ธันวาคม 2538 วัตถุประสงคหลักของสนธิสัญญา คือ ใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร โดยประเทศที่เปน ภาคีจะไมพัฒนา ไมผลิต ไมจัดซื้อ ไมครอบครอง รวมทั้งไมเปนฐานการผลิต ไมทดสอบ ไมใชอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาค และไมใหรัฐใดปลอย หรือทิ้งวัสดุอุปกรณที่เปนกัมมันตภาพรังสีลงบนพื้นดิน ทะเล และอากาศ นอกจากนี้ ทั้ง 5 ประเทศ อาวุธนิวเคลียร ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และสหราชอาณาจักร (หาสมาชิกผูแทนถาวรของคณะมนตรี ความมั่นคงแหงสหประชาชาติ ) ไดยอมรับ และใหความเคารพสนธิสัญญา โดยจะไมละเมิด และไมแพรกระจายอาวุธ นิวเคลียรในภูมิภาคนี้ 3. ปฏิญญากําหนดใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพเสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPFAN) เปนการแสดงเจตนารมณของอาเซียน ใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมิภาคที่ปลอดการแทรกแซง จากภายนอก เพื่อเปนหลักประกันตอสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และยังไดเสนอใหอาเซียน ขยายความรวมมือ ใหครอบคลุมทุก ๆ ดาน อันจะนํามาซึ่งความแข็งแกรง ความเปนปกแผนและความสัมพัน ธที่ใกลชิดระหวางประเทศ สมาชิก และประเทศสมาชิก ได ประกาศลงนามโดยรั ฐมนตรีตา งประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่ งในขณะนั้ น ประกอบดวย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 1971 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย 4. การประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีสําหรับปรึกษาหารือ (Consultative forum) โดยมีวัตถุประสงคที่มุงสงเสริมสันติภาพโดย การเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ความรวมมือ และความสัมพันธอันดีระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศอาเซียนกับ คูเจรจา และประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองและความมั่นคง โดยมีทั้งผูแทนฝายการ ทูต และการทหารเขารวมการประชุมการหารือดานการเมือง และความมั่นคงในกรอบ ARF ไดกําหนดพัฒนาการของ กระบวนการ ARF เปน 3 ขั้นตอน ไดแก

ขั้นตอนที่ 1 สงเสริมการสรางความไวเนื้อเชื่อใจกัน (Confidence Building) ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาการทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) ขั้นตอนที่ 3 การแกไขความขัดแยง (Conflict Resolution) การประชุมระดับรัฐมนตรี ARF ไดจัดขึ้นครั้งแรก ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 ปจจุบัน ประเทศที่เปนสมาชิกการประชุมวาดวยการเมืองและความมั่ นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟกมี 27 ประเทศ ประกอบดวย ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ คือ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร และเวียดนาม ประเทศคูเจรจาของอาเซียน ประเทศผูสังเกตการณของอาเซียน และประเทศอื่นในภูมิภาค อัน ไดแก ออสเตรเลีย บังคลาเทศ แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนเกาหลี (เกาหลี เ หนื อ ) มองโกเลี ย นิ ว ซี แ ลนด ปากี ส ถาน ปาป ว นิ ว กิ นี รั ส เซี ย ติ ม อร -เลสเต ศรี ลั ง กา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 62

5. กลุมผูประสานงานเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี (ASEAN Troika) ผูประสานงานเฉพาะกิจในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 ณ กรุงมะนิลา ผูนํา ของประเทศสมาชิกอาเซียนไดเห็นชอบ ในการจัดตั้งกลุมผูประสานงานเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี (ASEAN Troika) ซึ่งประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศที่ดํารงตําแหนงประธานคณะกรรมการประจําของอาเซียนในอดีต ป จจุ บั น และอนาคต และจะหมุ น เวี ยนกั น ไปตามการเป น ประธานการประชุ ม วั ต ถุ ป ระสงค ข องการจั ด ตั้ ง กลุ ม ผู ประสานงานเฉพาะกิจ ASEAN Troika คือ 5.1 เปนกลไกใหอาเซียนสามารถรวมมือกันอยางใกลชิดในการหารือแกไขปญหาที่สงผลกระทบตอสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยไมกาวกายกิจการภายในของประเทศสมาชิกเปนการยกระดับความรวมมือของอาเซียนให สูงขึ้น และเสริมสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของอาเซียน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของการดําเนินงานโดยรวม 5.2 เพื่อรองรับสถานการณ และจะดําเนินการโดยสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติในสนธิสัญญา และขอตกลง ตาง ๆ ของอาเซียน เชน สนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) 6. กรอบความรวมมือทางทหาร (ASEAN Defense Ministerial Meeting - ADMM) เพื่อสรางเครือขาย และความสัมพันธที่ใกลชิดระหวางฝายทหารของประเทศ สมาชิก ความรวมมือ ดานการ ปองกันยาเสพติด การตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย โดยเฉพาะประเด็นหลังนี้ อาเซียนไดลงนามใน อนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย ในป 2550 7. ความสัมพันธกับประเทศนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อสรางความรวมมื อดา นการเมืองความมั่นคงที่ส มดุล และสรางสรรค ระหวางกั น โดยผา นเวที หารื อ ระหวางอาเซียนกับประเทศ คูเจรจา ไดมีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS) และ กระบวนการอาเซียน+3

หน ว ยงานด า นความมั่ น คงของไทยกั บ การดํา เนิ น ความร ว มมื อ ในกรอบประชาคม อาเซี ย น การดําเนินการเพื่อรองรับประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนในระดับนโยบายของไทย ซึ่งมีสํา นักงาน สภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) เปนหนวยงานรับผิดชอบ ไดจัดทํารางยุทธศาสตรในการดําเนินการดานการเมือง และ ความมั่นคง เพื่อเตรียมความพรอมในการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร คือ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาการเมือง 2. ยุทธศาสตรการเสริมสรางบรรทัดฐานความรวมมือดานความมั่นคงในภูมิภาค 3. ยุทธศาสตรการแกปญหาภัยคุกคามรูปแบบใหมที่มีลักษณะขามชาติ 4. ยุทธศาสตรการจัดการกับภัยพิบัติที่สงผลกระทบรุนแรง 5. ยุทธศาสตรการปองกันและแกปญหาความขัดแยงในภูมิภาค 6. ยุทธศาสตรความสัมพันธกับมหาอํานาจ ทั้งนี้ ในรางยุทธศาสตรดังกลาว จะกําหนดมาตรการในการดําเนินการในแตละยุทธศาสตร ซึ่งปรากฏอยูในราง ยุทธศาสตรแหงชาติของสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ในสวนของกระทรวงกลาโหมไดใชกลไกการประชุมรัฐมนตรี


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 63

กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defense Ministers’ Meeting : ADMM) เปนสวนเสริมสรางเพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งจากผลของการประชุม ADMM ที่ผานมา ไดเห็นชอบรวมกันใหมีกิจกรรมความ รวมมือที่สําคัญ คือ - ความรวมมือระหวางกลาโหมอาเซียนกับองคกรภาคประชาสังคมในดานความมั่นคงรูปแบบใหม - การใชทรัพยากร และศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการ บรรเทาภัยพิบัติ - ความรวมมือดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน นอกจาก ความรวมมือในกรอบของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนดังกลาวแลว ยังมีกรอบความรวมมือของการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) อีก 8 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุน นิวซีแลนด เกาหลีใต รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2553 รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และ ประเทศคูเจรจาไดเห็นชอบในการดําเนินการ ดานความรวมมือเพื่อความมั่นคง 5 ดาน คือ 1. การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HA/DR) 2. ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) 3. การแพทยทหาร (Military Medical) 4. การตอตานการกอการราย (Counter Terrorism) 5. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Operations) สําหรับการดําเนินการตามกรอบความรวมมือของแตละดานนั้น ประเทศในอาเซียนจะไดดํารงตําแหนงประธาน คณะทํางานอยางนอย 1 ดาน และ 1 วาระ (มีวาระ 2 – 3 ป) ซึ่งแตละดานจะมีประธานรวมระหวางประเทศสมาชิก อาเซียนกับประเทศคูเจรจา ไดแก การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย มีเวียดนามและจีน เปน ประธาน ความมั่นคงทางทะเล มีมาเลเซีย และออสเตรเลียเปนประธาน การแพทยทหาร มีสิงคโปร และญี่ปุนเป น ประธาน การตอตานการกอการราย มีอินโดนี เซีย และสหรัฐอเมริก าเปนประธาน การปฏิ บัติการรักษาสันติภาพ มี ฟลิปปนส และนิวซีแลนดเปนประธาน โดยไทยมี แ นวทางในการเข า ร ว มเป น คณะทํ า งานทุ ก ด า น และเพื่ อ สนั บ สนุ น กรอบความร ว มมื อ ดั ง กล า ว กระทรวงกลาโหมของไทยไดมีการแตงตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญในแตละดาน เพื่อทําหนาที่กําหนดแนวทาง วางแผนการ 12 ปฏิบัติและเปนศูนยกลางการติดตอประสานงานกับกลาโหมอาเซียน และกลาโหมประเทศคูเจรจา

การเป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น การเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น จะเริ่มมาจากการที่กลุมของประเทศตาง ๆ พึ่งพาทาง การเมืองและเศรษฐกิจในระดับสูงจนกอเกิดเปนนิสัยแหงความไวเนื้อเชื่อใจ (Habit of trust) ดังนั้น การพิจารณาวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะเกิดขึ้นจริงหรือไมนั้น จะตองศึกษาหลักการของประชาคมการเมืองและ 13 ความมั่นคงวามีลักษณะอยางไร แลวนํามาเปรียบเทียบกับการรวมตัวของอาเซียน โดย คารล ดัทช (Karl Deutsch) ให คําจํากัดความประชาคมความมั่นคงวา “กลุมประเทศที่มีการเชื่อมรวมตัวกันดวยความรูสึกของความเปนประชาคม 12

ภุชงค ประดิษฐธีระ, น.อ. (2554). “ประชาคมอาเซียนกับบทบาทกองทัพเรือ.” วารสารนาวิกศาสตร, 4(8), หนา 66 – 67. Kael W. Deutsch, Security Communities,1961, in James Rosenau, ed., International Politics and Foreign policy, อางใน Donald K. Emmerson, Will the Real ASEAN Please Stand Up? Security, Community, and Democracy in Southeast Asia, Stanford University. 13


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 64

(Sense of community) ดวยการจัดตั้งเปนสถาบันทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ มีการผลักดันใหเกิดขึ้นในทาง ปฏิบัติ มีความเขมแข็ง และครอบคลุมกวางขวางที่เพียงพอ จะประกันการเกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อยางสันติ และ สมเหตุสมผล ระหวางสมาชิกของประชาคมที่มีระยะเวลาอันยาวนาน” ทั้งนี้ ในการเปนประชาคมความมั่นคงได จะตอง ประกอบดวยลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. สมาชิกไมมีการแขงขันกันสรางกําลังทางทหาร 2. ไมมีการขัดแยงที่ตองใชกําลังทหารระหวางรัฐโดยเด็ดขาด 3. มีองคกร หรือสถาบันที่เปนทางการ และไมเปนทางการในการจัดการเพื่อปองกัน ลด จัดการ และแกปญหา ความขัดแยง และภาวะไรระเบียบระหวางสมาชิก 4. มีการเชื่อมรวมทางดานเศรษฐกิจในระดับสูง 5. ไมมีปญหาขัดแยงดานการแบงเขตแดนระหวางรัฐสมาชิก จะเห็นไดวา การเกิดประชาคมความมั่นคงจะตองมีรากฐานจากผลประโยชนพื้นฐานที่ชัดเจนของสมาชิก และมี ระยะเวลานานในการรวมกลุมกัน เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงการเกิดสงครามความขัดแยงตาง ๆ ซึ่งจะแตกตางจากการรวมกลุม ของประเทศตาง ๆ เพื่อสรางอํานาจ หรือคานอํานาจ หรือเพื่อสรางสถานการณเชิงขมขู ตอภัยคุกคาม การโจมตีจาก ภายนอก ซึ่งจะเรียกการรวมตัวแบบนี้วา “ระบอบความมั่นคง” (Security Regime) เมื่อพิจารณาการรวมตัวกันของอาเซียนในดานความมั่นคงแลว อาเซียนยังขาดปจจัยการเปนประชาคมในหลาย องคประกอบ เชน อาเซียนคงมีการเสริมสรางกองทัพดวยการจัดหายุทโธปกรณเชิงแขงขันกันที่คอนขางสูง ถึงแมจะมีการ ปฏิเสธวา การจัดหาอาวุธเพื่อการรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม หรือเพื่อชดเชยกับการขาดการพัฒนากองทัพในชวงที่ ประเทศตาง ๆ เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ ดังนั้น เมื่อชวงหลายปที่ผานมาประเทศตาง ๆ มีการจัดหาทั้งเรือรบ เรือดําน้ํา และ เครื่องบินรบสมรรถนะ และราคาสูงจํานวนมาก ดังนั้น สถานการณการเสริมสรางกองทัพของประเทศในอาเซียนยอม หลีกเลี่ยงไมไดวาประเทศเหลานี้ มีนัยแหงการถวงดุลระหวางกันดวย นอกจากนี้ ประเทศในอาเซียนยังจะมีการใชกําลังรบ เขาแกปญหาทั้งไทยกับกัมพูชา ไทยกับเมียนมาร มาเลเซียกับอินโดนีเซีย โดยปญหาหลัก คือ ขัดแยงทางเขตแดน การ รวมตัวกันจึงจะเปนเพียงระบอบความมั่นคงของอาเซียนเทานั้น


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 65

อ า งอิ ง ท า ยบท I

สงครามกัมพูชาเกิดขึ้นหลังจากกัมพูชาไดเอกราชในป พ.ศ. 2518 และไดนําเอาการปกครองแบบคอมมิวนิสตมาใชภายใต การปกครองของกลุมบุคคลที่เรียกวา เขมรแดง ตอมาเวียดนามไดสงทหารจํานวนมากเขายึดครองกัมพูชา ทําใหเกิดสงคราม


องคกรอาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมข า มชาติ ถื อ ว า เป น ส ว นหนึ่ ง ของภั ย คุ ก คามต อ ความมั่ น คงนอกรู ป แบบ (Non-Traditional Security) ซึ่งการจัดการภัยคุกคามนอกรูปแบบนั้น เปนสวนหนึ่งของกุญแจสําคัญของเสาประชาคมการเมืองและความ มั่น คงอาเซี ยน การส ง เสริ มให เกิ ด ภู มิภาคที่ มีเ สถี ยรภาพ ความสงบสุข และความเป น อั นหนึ่ ง อัน เดี ยว โดยมี ค วาม รับผิดชอบทางดานความมั่นคงในวงกวางรวมกัน (A Cohesive, Peaceful, Stable and Resilient Region with shared responsibility for comprehensive security) ซึ่งมีกิจกรรมหลักคือ - เพิ่ ม ความร ว มมื อ ในการรั บ มื อ กั บ ภั ย ความมั่ น คงนอกรู ป แบบต า ง ๆ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การต อ สู กั บ อาชญากรรมขามชาติ และปญหาขามพรมแดนอื่น ๆ (Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges) - เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการลงนามรับรอง ASEAN Convention on CounterTerrorism และนําไปปฏิบัติอยางรวดเร็ว (Intensify counter - terrorism efforts by early ratification and full implementation of the ASEAN Convention on Counter - Terrorism) ทั้งนี้ องคการสหประชาชาติ ไดแบงอาชญากรรมขามชาติไวใน 10 ประเภท คือ 1. การลักลอบคายาเสพติด (Drugs Trafficking) 2. การลักลอบนําคนเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย (Smuggling of Illegal Migrants) 3. การคาอาวุธขามชาติ (Arms Trafficking) 4. การลักลอบคาอุปกรณนิวเคลียร (Trafficking in Nuclear Material) 5. กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย (Transnational Criminal Organization and Terrorism) 6. การคาหญิง และเด็ก (Trafficking in Women and Children) 7. การลักลอบคาชิ้นสวนมนุษย (Trafficking in Body Parts) 8. การโจรกรรม และลักลอบคายานพาหนะ (Theft and Sumuggling of Vehicles) 9. การฟอกเงิน (Money Laundering) และ 10.อื่น ๆ เชน การโจรกรรมวัตถุโบราณ, การติดสินบน, อาชญากรรมคอมพิวเตอร, อาชญากรรม สิ่งแวดลอม, อาชญากรรมทรัพยสินทางปญญา, การฉอโกงทางทะเล เปนตน สหประชาชาติไดใหคําจํากัดความของอาชญากรรมขามชาติไวใน Convention Against Transnational Organized Crime ใน Article 3 วา เปนอาชญากรรมที่ (1) มีการประกอบอาชญากรรมในรัฐตั้งแต 1 รัฐขึ้นไป (It is committed in more than one state); (2) มีการประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รัฐ แตมีการเตรียมการ วางแผน สั่งการ หรือควบคุมมาจากรัฐ อื่น (It is committed in one state but a substantial part of its preparation, planning, direction or control takes place in another state); (3) มีการประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รัฐ แตกลุมอาชญากรรมนั้น เปนกลุมที่ประกอบอาชญากรรมใน รัฐมากกวา 1 รัฐ (It is committed in one state but involves on organized criminal group that engages in criminal activities in more than on state); หรือ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 67

(4) มี ก ารประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รั ฐ แต ผ ลของอาชญากรรมนั้ น ส ง ผลไปถึ ง รั ฐ อื่ น (It is committed in one state but has substantial effects in another state.)1 ในปจจุบันนี้ อาชญากรรมขามชาติมีความซับซอนมากขึ้นกวาเมื่อกอนมาก เนื่องจาก มีการพัฒนาดานเทคโนโลยี ดานการสื่อสารคมนาคม ทําให อาชญากรรมขามชาติในปจจุบัน นั้นยกระดับ เปนปญ หาระดับโลก ยิ่งพฤติกรรมทาง เศรษฐกิจในปจจุบันนั้น ยกระดับจากเศรษฐกิจภายในประเทศเปนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค และระดับโลก สงผลใหเกิดการ แกกฎหมาย หรือขอบังคับตาง ๆ ใหออนตัวขึ้น เพื่อเอื้อกับการคา การบริการ และแรงงานระหวางประเทศ แตผลที่ ตามมา คือ กลุมอาชญากรรมขามชาตินั้น ก็ไดใชชองวางเหลานี้แสวงหาผลประโยชน และประกอบอาชญากรรม ทั้งนี้ องคกรอาชญากรรมขามชาติ (Transnational Organized Crime, TOC) ที่รูจักกันดีในเวทีโลก เชน Cosa Nostra ใน American ที่รูจักกันในนามมาเฟย หรือกอดฟารเธอร, Neopolitan Camorra, the Calabrian Ndrangheta และ the Apulian Sacra Corona Unita ที่มีลักษณะคลายกับองคกรอาชญากรรมขามชาติของอิตาลี นอกจากนี้ ยังมี Russian Mafia, the Serbian mafia, the Israeli Mafia, the Albanian Mafia, Mexican และ Colombian Drug Cartels, the Indian Mafia, the Chinese Triads, Chinese Tongs, Irish Mob, the Corsican Mafia, the Japanese Yakuza, the Jamaican-British Yardies, the Turkish Mafia, the Macedonian และยังมีกลุมยอย ๆ ขององคกร เหลานี้ ที่ปฏิบัติการตามพื้นที่ทั่วไป เชน กลุม Sureños, Nortenos, Latin Kings, Gangster Disciples, Vice Lords, Bloods, Crips, Mexican Mafia, Folk Nation, Brazilian PCC, และ Hells Angels อาชญากรรมขามชาติในปจจุบันนั้น สงผลรายแรงกับความมั่นคงของชาติมากกวาเมื่อกอนมาก และกระทบสู หลายภาคสวนของประเทศนั้น ๆ อยางเชน ปญหาดานยาเสพติดที่นอกจากจะกระทบทางดานสาธารณสุขแลว ยังกระทบ ตอภาคเศรษฐกิจ ภาคการเมือง (การคอรรัปชั่น ) นอกจากนี้ กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติในปจจุบันนั้น ในบาง ประเทศมีอํานาจเหนือกฎหมายของประเทศ หรือเปนผูมีอิทธิพลในทางการเมืองของประเทศนั้น ๆ ดวย เชน ในโคลัมเบีย เปรู หรือเมียนมาร สงผลใหรัฐบาลประเทศนั้น ๆ ไมสามารถพัฒนาภาคการเมือง และภาคเศรษฐกิจไดอยางเต็มที่ Laki2 ไดวิเคราะหวา โลกาภิวัตนไดสงผลใหภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกตองเผชิญกับปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ เรียกวา อาชญากรรมขามชาติมากขึ้น ในขณะที่รัฐยังไมมีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคที่จะรับมือกับ ปญหาดังกลาวอยางเพียงพอ ซึ่งตอมา Roth3 ไดชี้ใหเห็นวา การกอการรายและอาชญากรรมขามชาติกําลังกลายเปน ปญหาที่ทาทายหนวยงานบังคับใชกฎหมายในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการสรางความรวมมือของหนวยงานตํารวจ และ เจาหนาทีบ่ ังคับใชกฎหมายระหวางประเทศ อันมีสาเหตุจากความกาวหนาทางเทคโนโลยี ภาษา วัฒนธรรม กระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา และประสบการณในจัดการกับปญหาที่แตกตางกัน โดยในการประชุมเชิงปฏิบัติการดานอาชญากรรม ขามชาติ สําหรับความรวมมือดานความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก เมื่อป 1997 Singh4 ไดเสนอแนะวา ความรวมมือ ระหว า งประเทศ จะเป น กลไกสํ า คั ญ ที่ จะทํ า ให ห น ว ยงานบั ง คั บ ใช ก ฎหมายจั ด การกั บ ป ญ หาดั ง กล า วได โดยต อ ง ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติใหเหมาะสม เชน การพัฒนากฎหมายของ ประเทศในภูมิภาคใหมีมาตรฐานใกลเคียงกัน การฝกอบรม และแลกเปลี่ยนบุคลากร การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร การ จัดตั้งทีมปฏิบัติก ารรวม การคุมครองพยาน การใหความรวมมือ และชวยเหลือทางเทคนิค ความชั ดเจนของหนว ย 1

United Nations Convention against Transnational Organized Crime. Laki, J. (2006). Non-traditional security issues: Securitization of transnational crime in Asia. Singapore: Institute of Defense and Strategy Studies. 3 Roth, M.P. (2010). Global organized crime: A reference handbook. California: ABC_CLIO. 4 Singh, J. (1997). Strategic impact of transnational crime. Paper presented at the 2nd meeting of the CSCAP Study Group on Transnational Crime in Bangkok, Thailand. October 10-11, 1997 2


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 68

ประสานงานในแตละประเทศ และมาตรการที่จะใชในการพัฒนาการนําแนวทางความรวมมือที่มีอยูไปปฏิบัติใหเกิดผล อยางจริงจัง ด ว ยเหตุ นี้ ทํา ให เ กิ ด คํา ถามว า การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ย นในป พ.ศ. 2558 จะส ง ผล กร ะทบ ต อ กา ร จั ด กา ร กั บ ป ญ หา อ า ชญา กร ร มข า มชา ติ ข อ ง กร ะบ ว นกา ร ยุ ต ิ ธ ร ร มทา ง อ า ญา ขอ ง ภู มิ ภ าคอาเซี ย นหรื อ ไม อ ย า งไร และรั ฐ อาเซี ย นควรจะมี แ นวทางในการจั ด การกั บ ป ญ หาดั ง กล า ว อย า งไร

ปจจัยเอื้ออํานวยตอองคกรอาชญากรรมขามชาติเขามาในประเทศไทย ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ เชนเดียวกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งผลจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในทวีปเอเชีย ทําใหมีบทบาททางสังคม และเศรษฐกิจของโลก ไม นอยกวาประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ สืบเนื่องจาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ชวยใหการคมนาคม และการติดตอสื่อสาร เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําใหชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบ หลบหนี เ ข า เมื อ งโดยผิ ด กฎหมายมี จํ า นวนมากขึ้ น โดยจะมี ก ารรวมตั ว ของผู ก ระทํ า ผิ ด ในลั ก ษณะของ “องค ก ร อาชญากรรมขามชาติ” ซึ่งมีปจจัยที่เอื้ออํานวยใหชาวตางชาติ ซึ่งเดินทางเขามาในประเทศไทย กระทําผิดกฎหมาย โดย ใชประเทศไทยเปนฐานในการกระทําความผิดในรูปแบบตาง ๆ ดวยเหตุผลดังนี้ 1. ประเทศไทยเป น ศู น ย ก ลางการคมนาคมไปประเทศต า ง ๆ ในทวี ป เอเชี ย และสถานที่ ตั้ ง เป น จุ ด ที่ เหมาะสมใชเปนเสนทางลําเลียง หรือลักลอบขนสงสิ่งของผิดกฎหมาย เชน ขบวนการคายาเสพติดประเภทฝน กัญชา เฮโรอีน ไปประเทศตาง ๆ ทั้งประเทศ จีน เมียนมาร สปป.ลาว กัมพูชา และประเทศที่สาม ฯลฯ 2. สภาพภูมิประเทศของประเทศไทย มีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อนบานทั้งทางบก และทางน้ํา เปน ระยะทางยาวประมาณ 8,167 กิ โ ลเมตร ทํ า ให ส ะดวกต อ การลั ก ลอบหลบหนี เ ข า เมื อ ง และหลบหนี อ อกนอก ราชอาณาจักร 3. ประเทศไทยไมมีขอจํากัด เรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม และมีบทลงโทษผูกระทําความผิด อาญาไมเด็ดขาดเหมือนประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร 4. นโยบายสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก การขอ วีซาเขาออกประเทศไทยทําไดโดยงาย สามารถจะทําวีซาเมื่อเดินทางมาถึงแลวก็มี และการเก็บคาธรรมเนียมของวีซามี ราคาถูกดวย กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ซึ่งเกี่ยวของกับการลักลอบคายาเสพติด ลักลอบนําคนเขาเมือง และคาหญิงและเด็ก เปนตน กลุมที่ไดพบเห็นการกออาชญากรรมมีกลุมของขุนสา วาแดง แก็งลูกหมู และยากุซา เปนตน จะเห็นไดวา องคกรอาชญากรรมขามชาติเหลานี้ สวนใหญแลวประกอบอาชญากรรมเกี่ยวกับยาเสพติดเปนหลัก โดย ประเทศไทยตองเผชิญกับปญหายาเสพติด ทั้งในดานการเปนแหลงผลิต แหลงคายาเสพติด และแหลงลักลอบสงผาน ยาเสพติดรวมถึงเปนแหลงใชยาเสพติดในหมูประชาชน ยาเสพติดดังกลาวรวมถึง ยาบา เฮโรอิน ฝน ยาอี และโคเคน โดยเฉพาะยาบาที่ยากตอการจับกุมแหลงผลิตที่ใชเครื่องมือขนาดเล็ก และสามารถยายที่ไปไดงาย ในขณะที่การแสวงหา วัตถุดิบทั้งสารเคมี และสารตั้งตน ทั้งหลายก็เปนไปดวยความสะดวก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 69

จากการทีป่ ระเทศไทยมีอาณาเขตติดกับเมียนมาร และสปป.ลาวที่ยังคงมีแหลงปลูกฝน และยาเสพติดอื่น ๆ อยู มาก อีกทั้งสารเคมี เชน “Ephedrine” ก็สามารถจัดหามาไดจากจีนตอนใต ประมาณการณกันวา มียาบาผลิตอยูตาม ชายแดนไทย – เมียนมารเกือบพันลานเม็ดที่รอเขาไทยในแตละป การจับกุมยาเสพติดที่ลักลอบเขามาในแตละครั้ง อาจมี มากถึงหลายลานเม็ด ในขณะที่การจับกุมเฮโรอีนบางครั้งอาจถึงรอยกิโลกรัม ขบวนการคายาเสพติดเหลานี้ มักสราง เครือขายของตน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความสะดวก โดยจัดตั้งเปนองคกรที่คอรรัปชั่นเจาหนาที่รัฐที่อยูตามราย ทางของการคายาเสติด ไมวาจะเปนเจาหนาที่ศุลกากร เจาหนาที่ตํารวจ ทหาร และถาในเครือขายถูกจับได ก็มักจะมี ทนายความ หรือการสรางคนของตนเองในกระบวนการการเมือง และกระบวนการยุติธรรม เพื่อใหตนเองพนผิดจากการ กระทํา ในขณะเดียวกัน องคกรเหลานี้ ก็จะมีความสัมพันธกับกองกําลังติดอาวุธ ไวคอยขนยาเสพติดตามแนวชายแดน ทํา ใหการจัดหาอาวุธ เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมที่เกี่ยวของ และเงินที่ไดมาจากการคายาเสพติด ก็จะมีการฟอกเงินโดยใช ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา จากการที่สภาพภูมปิ ระเทศไทย มีอาณาเขตติดตอกับกัมพูชาที่เพิ่งพนสภาพของความขัดแยงภายในประเทศเมื่อ ไมนาน และติดกับเมียนมารที่ยังคงมีปญหาความขัดแยงกับชนกลุมนอยตามแนวชายแดน รวมทั้งปญหาภายในของไทย เอง ไดทําใหการลักลอบคาอาวุธขามชาติ ยังคงเกิดขึ้นในประเทศไทย นอกจากนี้แลว ดวยการเปนศูนยกลางการคมนาคม ที่สําคัญ ทําใหไทยกลายเปนแหลงผานของขบวนการคาอาวุธขามชาติที่ใชเรือบรรทุก หรือแมแต เครื่องบินในการขนสง เชน ที่จับกุมไดเมื่อปลายปที่แลว ดวยน้ําหนักอาวุธถึงสามสิบหาตัน ประมาณกับวา อาวุธขนาดเล็กผิดกฎหมายที่ผานเขา มาในไทย ตั้งแตป 1995 มีไมต่ํากวาสี่แสนกระบอก องคกรอาชญากรรมขามชาติ ยังมีเครือขายในดานการลักลอบขนคนหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ทั้งเปน การขนคนเพื่อเขามาหางานชั่วคราว หรือการขนคนหนีออกจากประเทศตนทาง เชน เครือขายการนําคนเมียนมาร, กัมพูชา และสปป.ลาวเขามาทํางานในไทย ซึ่งมักเปนงานระดับที่คนไทยไมตองการทําแลว เชน การเปนคนงานกอสราง คนใช หรืองานในเรือประมง นอกจากนี้แลว ยังมีการลักลอบขนคนหลบหนีออกจากประเทศ เชน การหนีออกนอก ประเทศของชาวจีน หรือ ชาวเกาหลีเหนือ ผานจีนแผนดินใหญ เขามาในสปป.ลาว ไทย และไปประเทศที่สามตอไป ขบวนการดังกลาว ยังเกี่ยวของ และนํามาซึ่งการลักลอบคามนุษย ไมวาจะเปนการคาผูหญิง หรือเด็ก เพื่อใหไปเปน โสเภณี หรือบุคคลขายตัว หรือคาเด็กใหกับพอแมอุปถัมภ การลักลอบขนคนหลบหนีเขาเมือง และคามนุ ษยดังกลาว เขา ไปเกี่ยวพันกับการทําพาสปอรต และวีซาปลอม จากการขโมยของจริง และสวมรูป ทั้งนี้ จากสถิติการทําพาสปอรตปลอม ประเทศไทยติดอันดับตน ๆ ของโลก การโจรกรรม และลักลอบคายานพาหนะ เปนอีกปญหาหนึ่งในอาชญากรรมขามชาติของไทย จากการพัฒนา ประเทศของเพื่อนบานทั้ง กัมพูชา เมียนมาร และลาว รวมทั้งสภาพการขนสงที่คอนขางสะดวกจากฝงไทยไปในประเทศ เหลานี้ดวยเวลาไมกี่ชั่วโมง ไดทําใหเกิดการโจรกรรมรถจากฝงไทย ไปขายในฝงกัมพูชา เมียนมาร และสปป.ลาว โดยจาก ที่เ ครื อ ขา ยอาชญากรต าง ๆ ที่มี อ ยูแ ลว ทั้ง การขนคนผิ ด กฎหมาย การคา ยาเสพติ ด และการเป ด ชอ งทางด ว ยการ คอรรัปชั่นไปตามรายทาง และความสัมพันธของไทยกับประเทศเพื่อนบานบางประเทศที่ไมดีนัก จนไมสามารถแสวงหา ความรวมมือ ในเรื่องดังกลาวได ทําใหปญหาดังกลาวรุนแรงขึ้นในหวงเวลาที่ผานมา และปญหาการฟอกเงิน กลายเปน ปญหาสําคัญประการหนึ่ง จากการที่กลุมอาชญากรรมขามชาติ ทั้งคนไทยเอง และคนตางชาติ ไดอาศัยความออนแอของ กฎหมาย และอํานาจรัฐมาใชประเทศไทย เปนแหลงฟอกเงิน โดยจัดตั้งบริษัท หรือธุรกิจถูกกฎหมายบังหน า แลวผันเงิน จากธุ ร กิ จผิ ด กฎหมายให มาสู ร ะบบที่ ถู ก กฎหมาย รวมทั้ ง การอาศั ยธนาคาร เป น แหล ง ฟอกเงิ น อี ก แหล ง หนึ่ ง ด ว ย นอกเหนือจากปญหาที่ไดกลาวไปแลว ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร, อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ, อาชญากรรมทางทรัพยสินทางปญญา และแมแตปญหาโจรสลัด สําหรับเรือไทยที่ออกไปในนานน้ําตาง ๆ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 70

องคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ปญหาจากอาชญากรรมข ามชาติ ในประเทศไทยที่ เพิ่มความรุน แรง และมี ความสลับซับ ซอนมากขึ้น ขยาย 5 อิทธิพลออกไปอยางกวางขวาง สวนใหญอยูในพื้นที่จังหวัดทองเที่ยว ชุมชนตางชาติ และบริเวณชายแดน อาทิเชน 1. กลุมมาเฟยตาง ๆ ในพัทยา จังหวัดชลบุรี 1.1. กลุมมาเฟยรัสเซีย มีพฤติกรรมคาผูหญิง และยาเสพติด 1.2. กลุมมาเฟยเยอรมัน (โรซา) โดยปลอมแปลงวีซาพาสปอรต คุมกิจการบารเบียร 1.3. กลุมมาเฟยอังกฤษ มีกิจการบารอโกโก คาโคเคน และเฮโรอีน คาผูหญิง 1.4. กลุมมาเฟยออสเตรเลีย มีพฤติการณสงหญิงไทยไปคาประเวณีตางชาติ 1.5. กลุมมาเฟยเดนมารค มีรานขายอาหาร และคาประเวณีขามชาติ คาเด็กชาย 2. แกงสิบสี่เค เปนแกงมาเฟยจีน เรียกคาคุมครอง คายาเสพติด และลักลอบขนชาวจีนจากแผนดินใหญ ผาน ประเทศไทยไปประเทศที่สาม หรือที่รูจักกันทั่วไปวา แกงลูกหมู 3. กลุมอเมริกัน-เมลบอก โดยรวมกับคนไทยปลอมวีซาและพาสปอรต กิจการดําเนินการทางไปรษณีย 4. แกงอเมริกาใต สวนใหญเปนชาวเวเนซุเอลา และเปรู ลักทรัพยตามโรงแรม มีความถนัดในการฉกเพชรตาม รานคาเพชรพลอย สวนเปรูชํานาญดานฉกเงินลูกคาธนาคาร 5. แกงปากีสถาน ทําธุรกิจสงลูกแพะจากเอเชียใต ตะวันออกกลาง และแอฟริกา โดยลักลอบนําชาวตางชาติมา จากอินเดีย บังคลาเทศ ไนจีเรีย อิรัก อิหราน ลิเบีย ฯลฯ เขามาอาศัยอยูในกรุงเทพฯ โดยปลอมพาสปอรต ปลอมดอลลาร สหรัฐอเมริกา เรียกเก็บคาคุมครองจากชาวตางชาติ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ และขนยาเสพติด 6. กลุมเมียนมารรวมกับคนไทยปลอมพาสปอรตวีซาของไทยและตางประเทศ เพื่อสงผูหญิงไปญี่ปุน กิจกรรมขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ที่เปนปญหาสําคัญของทุกประเทศ คือ การลักลอบคายาเสพติด แต การปราบปรามทําไดยาก เพราะองคกรอาชญากรรมขามชาติสามารถหลบเลี่ยงการจับกุม และยักยายเงินมหาศาลไปทั่ว โลก โดยอาศัยธรรมเนียมของกลุม คือ “ความจงรักภักดี” ทําใหการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติทําไดยาก อยางไรก็ตาม อาชญากรรมขามชาติ มักจะเกิดจากการที่ประเทศใดประเทศหนึ่งมีความเหลื่อมล้ําดานคุณภาพ ของกฎหมาย และการบังคับใชกฎหมายเมื่อเทียบกับอีกประเทศหนึ่ง รวมถึงเกิดจากการที่อํานาจรัฐบาลสวนกลางเขาไป ไมถึง ในกลุมประเทศอาเซียนก็เชนกัน ความเหลื่อมล้ําดานกฎหมาย และบางประเทศที่อํานาจสวนกลางเขาไปไมถึงบาง บริเวณของประเทศนั้น สงผลใหเกิดอาชญากรรมขามชาติ เชน การที่ชนกลุมนอยตามชายแดนเมียนมารผลิตยาเสพติด แลวนํามาขายในประเทศไทย หรือการที่บริเวณชายฝงบางพื้นที่ของอินโดนีเซียที่ขาดการสอดสองดูแลจากเจาหนาที่จาก สวนกลาง สงผลใหเกิดกลุมโจรสลัดที่เขาไปประกอบอาชญากรรมในนานน้ําสิงคโปร ซึ่งใน APSC Blueprint นั้น ได กลาวถึง อาชญากรรมขามชาติอยู 6 ประเภททีน่ อกเหนือจากการกอการราย นั่นก็คือ การลักพาตัวและคามนุษย การคา ยาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย การคาอาวุธเถื่อนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร และโจรสลัด อยางไรก็ตาม อาชญากรรมที่เปนภัยตอความมั่นคงของประเทศสมาชิกที่ตองจัดการอยางเรงดวนนั้น มี 3 ประเภท คือ การลักพาตัวและ คามนุษย การคายาเสพติด และโจรสลัด

การลักพาตัวและคามนุษย 5

สยามรัฐ. สัปดาหวิจารณ. (2545). หนา 40-41.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 71

กลาวกันวา ในปหนึ่ง ๆ มีการคามนุษยราว 80,000 คน ซึ่งราวหนึ่งในสามมาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต โดยสวนใหญจะถูกนํามาขายบริการ รวมถึงเปนแรงงานคาจางต่ํา หรือไมมีคาจางเลย นอกจากนี้ ยังมีรายงานอีกวา มี เด็กที่ถูกลักพาตัวจํานวนมากถูกนํามาเปนทหารเด็ก โดยสาเหตุหลัก ๆ ที่กอใหเกิดการคามนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นั้น มีอยูสองเหตุผลหลัก ๆ คือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการตองการแขงขันกับตลาดโลก ทําใหเกิดความ ตองการแรงงานราคาถูกจํานวนมาก หลายโรงงาน หรือสถานที่ที่เกี่ยวของกับการผลิต และการขนสง จึงตัดสินใจหา แรงงานผิดกฎหมายมาใชงาน เหตุผลที่สอง คือ ดวยความเจริญทางเศรษฐกิจที่ไมเทาเทียม สงผลใหคนในพื้นที่ยากจนนั้น ตัดสินใจขายลูกใหกับองคกรอาชญากรรมคามนุษย สิ่งเหลานี้ สงผลใหทุกประเทศในกลุมสมาชิกอาเซียนนั้น มักจะ เกี่ยวของกับการคามนุษยไมวาทางใดก็ทางหนึ่ง ไมวาจะเปนแหลงกําเนิด ทางผาน หรือปลายทาง หรือในกรณีที่แยที่สุด คือ เปนทั้งสามทางเลย 6

การคายาเสพติด

การคายาเสพติดในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น มีชื่อเสียงอันดับตน ๆ ของโลกทั้งในเรื่องปริมาณ และคุณภาพ ของยาเสพติด โดยเฉพาะการปลูกฝน ผลิตภัณฑจากฝน และแอมแฟตามีน หรือที่คนไทยรูจักวา “ยาบา” ซึง่ อาชญากรรม ขามชาติที่เกี่ยวกับยาเสพติดนั้น บั่นทอนการพัฒนาของสังคม และการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมาหลายสิบป แหลงที่โดงดังที่สุดในชวงที่ผานมาก็หนีไมพนบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา ซึ่งเคยเปนแหลงปลูกฝนที่ใหญที่สุดในโลก พื้นที่ที่ 7 เปนรอยตอระหวางประเทศเมียนมาร ไทย และสปป.ลาวนั้น เคยเปนแหลงผลิตเฮโรอีน และมอรฟนแหลงใหญของโลก แตก็เปนที่นายินดีวา ตั้งแตศตวรรษที่ 21 เปนตนมา ยาเสพติดในภูมิภาคนี้ ไดลดลงเปนอยางมาก เหลือเพียงแตประเทศ เมียนมารเทานั้น ที่ยังคงเปนผูสงออกยาเสพติดรายใหญอยูโดยเฉพาะแอมแฟตามีนหรือยาบา เนื่องจาก ในบางพื้นที่ของ เมียนมารนั้น ปกครองโดยชนกลุมนอยที่ซึ่งอํานาจรัฐบาลจากสวนกลางเขาไปไมถึง อีกทั้งชนกลุมนอยเหลานั้น จําเปนตอง หารายไดเพื่อซื้ออาวุธ เพื่อตอตานรัฐบาลสวนกลางดวย ซึ่งยาเสพติดดังกลาวจํานวนมากนั้ นไดไหลผานชายแดนเขา ประเทศไทย อินเดีย และจีน นอกจากนี้ กลุมอาชญากรคายาเสพติดนั้น มักจะเกี่ยวของกับอาชญากรรมอื่น ๆ กลุม อันธพาล และการคอรรัปชั่นในประเทศดวย

โจรสลัด

ตั้งแตประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเริ่มมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับโลกในชวงยุค ทศวรรษที่ 1990 ภัยโจรสลัดก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแตป 1998 1999 และ 2000 มีรายงานการกออาชญากรรมโดยโจร สลัดในนานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใต 99 คดี 167 คดี และ 257 คดีตามลําดับ ยิ่งไปกวานั้น ในปจจุบัน กลุมโจรสลัด อาจจะมีความเกี่ยวของกับกลุมกอการรายอีกดวย ภัยโจรสลัดที่ยังคงเกิดขึ้นในบริเวณนานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น เกิดจากเหตุผลหลัก ๆ คือ การที่นานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใตยังมีเกาะแกงที่อยูหางไกล ที่ซึ่งอํานาจของรัฐเขาไปไมถึง และเป น ที่ห ลบซ อ นของกลุ มโจรสลั ด อย างเชน เกาะแก งต า ง ๆ ของประเทศอิน โดนี เ ซีย มาเลเซี ย และฟ ลิป ป น ส นอกจากนี้ การขาดกฎหมายทางทะเลรวมกันของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ก็เปนอีกเหตุผลหลักที่ทําใหการ จัดการทางกฎหมายกับกลุมโจรสลัดเหลานี้เปนไปไดอยางยากลําบาก ซึ่งแตละประเทศก็ไมกลาที่จะเขาไปกาวกา ย เนื่องจาก เปนการละเมิดอํานาจอธิปไตยของกันและกัน อยางไรก็ตาม เมื่อมีสัญญาณกดดันมาจากประเทศนอกกลุม อาเซียนอยางญี่ปุน เกาหลีใต และจีน ทําใหหลายประเทศเริ่มเขามารวมมือกันโดยอาศัยแรงสนับสนุน และการชวยเหลือ การฝกซอมจากประเทศนอกกลุมอาเซียน 6

Weatherbee, D.E. (2009). International relations in Southeast Asia: the struggle for autonomy. Maryland: Rowman & Littlefield Publishers, Inc. 7 Weatherbee, D.E. op. cit.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 72

ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบัน ประเทศอาเซียนมีความรวมมือตอตานการกอการรายอยางเปนรูปธรรมภายใตแผนปฏิบัติการอาเซียน เพื่อ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Plan of Action to Combat Transnational Crime) ซึ่งครอบคลุมอาชญากรรม 8 ประเภท คือ การลับลอบคายาเสพติด การคาสตรีและเด็ก การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน การกอการราย อาชญากรรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร โดยประเทศไทยมีสวนสําคัญใน การริเริ่มใหประเทศสมาชิกอาเซียนมีความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติมาตั้งแตเริ่มตน ดวยการผลักดันใน ระดับนโยบายในการประชุมสุดยอดอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือ ซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน (Mutual legal Assistance in Criminal Matters Treaty of ASEAN-MLAT ASEAN) เนื่องจาก ไทยเปนประเทศที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากปญหาอาชญากรรมขาม ชาติ จากการที่มีที่ตั้งเปนศูนยกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเปนประเทศที่เปดเสรีในการเดินทางเขา-ออก แตอยางไรก็ดี ปญหาอาชญากรรมขามชาติในปจจุบันมีรูปแบบวิธีการซับซอนและเปนระบบองคกรที่มีเครือขาย การทํางานที่กวางขวางโยงใยไปทั่วโลก ประกอบกับรูปแบบและลักษณะของอาชญากรรมเปนลักษณะการกระทําผิดโดย อาศัยโอกาสและพัฒนาเทคโนโลยี และมีสภาพเปนความผิดที่กระทําขามพรมแดนระหวางรัฐ 2 รัฐหรือมากกวานั้น ดังนั้น การที่อาชญากรรมขามชาติมีลักษณะเชนนี้ ทําใหเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศตางก็ประสบปญหา เดียวกัน นั่นคือ อํานาจการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมในแตละประเทศหมดลงเมื่อพน พรมแดนของประเทศตนเอง ขณะที่อาชญากรรมขามชาตินั้นไรพรมแดน จึงทําใหเกิดปญหาในเรื่องแนวทางการปฏิบัติใน การดําเนินคดีอาญา ความลาชาในการปฏิบัติงาน ปญหาเรื่องคาใชจายในการดําเนินคดี และความรวมมือทางอาญา ระหวางประเทศที่ยังไมมีความสอดคลองกับบริบทความเปลี่ยนแปลงในการเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนยังไมมี เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาวิธีการทํางานดานกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองทบทวน กฎหมายและแนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญาชาวตางประเทศ และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาใน ดานตาง ๆ เพื่อใหเกิดประโยชนในการพัฒนากฎหมายและการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับกรอบขอตกลงและกลไกความ รวมมือระหวางประเทศ นอกจากนี้ ปญหาอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณ ความรุนแรง และ รูปแบบการกระทําความผิด องคกรอาชญากรรมกลุมหลัก ๆ เชน การกอการรายขามชาติ การคามนุษย การลักลอบขน คนขามชาติ แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคายาเสพติดขามชาติ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร ไดใชประเทศอาเซียน 8 เปนทั้งประเทศตนทาง ทางผาน และปลายทางในการกระทําผิด และองคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมจะทํางาน รวมกันลักษณะเครือขาย และแลกเปลีย่ นผลประโยชนระหวางกลุมมากกวาในอดีต แมวา นโยบายการปองกันปราบปราม อาชญากรรมในประเทศอาเซียนบางประเภท เชน การคามนุษย และการคายาเสพติด ไดถูกจัดเปนวาระแหงชาติและมี ความรวมมือระหวางรัฐมากขึ้น แตอาชญากรรมขามชาติยังคงมีแนวโนมขยายตัวอันเนื่องมาจากความแตกตางของ กฎหมายภายในเจตนารมณของรัฐ และความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย จึงจําเปนตองชวยเหลือและรวมมือกันให มากขึน้ เพือ่ รองรับตอการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนใน ปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ ดังนี้ 8

กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ . (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. หนา 1-44. กองเกียรติ อภัยวงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรม ขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 73

ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการจะปรากฏในลักษณะสนธิสัญญา อนุสัญญา กฎบัตร พิธีสาร ความตกลง กติกา ฯลฯ ซึ่ งเปนความตกลงระหวางประเทศ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ โดยทั่วไป มักจะกระทําขึ้นเปนลายลักษณอั กษร และมีผลผูกพันคูสัญญา รัฐภาคี จึงมีหนาที่ตองปฏิบัติตาม พันธกรณีที่มีในสนธิสัญญาและตามมาตรา 27 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา อีกทั้งไมสามารถอางบทบัญญัติของกฎหมาย 9I ภายในเพือ่ เปนเหตุในการไมปฏิบัติตามสนธิสัญญา ดวยเหตุนี้ รัฐจึงจําเปนตองวางขอกําหนดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการปรับ ใชสนธิสัญญากับระบบกฎหมายภายในของประเทศ เชน ประเทศไทยไดตราพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมี สวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 เพือ่ รองรับพันธกรณีที่มีตามอนุสัญญาตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ จัดตั้งในลักษณะองคกร เปนตน ความร วมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ กลาวคือ

ระดับระหวางประเทศ อนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ เ พื่อ ต อ ต า นอาชญากรรมข ามชาติ ที่ จั ด ตั้ ง ในลั ก ษณะองค ก ร ค.ศ. 2000 เป น กฎหมายระหวางประเทศฉบับสําคัญที่เปดโอกาสใหประเทศที่เปนภาคีมารวมมือกันในการตอสูกับองคกรอาชญากรรม ขามชาติโดยไมคํา นึงถึงความแตกตา งทั้ งทางดานการเมือง การปกครอง วัฒนธรรม และเชื้ อชาติ ของประเทศ โดย อนุสัญญาฯ ไดวางหลักเกณฑพื้นฐานอยางกวางใหประเทศสมาชิกตองนํา เขาไปบัญญัติไวเปนกฎหมายภายใน โดยมีขอ นาสนใจ ไดแก ความผิดทางอาญาของการเขารวมในองคกรอาชญากรรม การฟอกเงิน และการทุจริตคอรรัปชั่น และ มาตรการตอบโต ความรับผิดชอบของนิติบุคคล การฟองรอง และการพิพากษา การยึดทรัพย ความรวมมือระหว าง ประเทศ เพื่อวัตถุประสงคในการยึดทรัพย เขตอํานาจศาล การสงผูรายขามแดน การสงมอบตัวผูตองคําพิพากษา ความ ชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา การสืบสวนรวมกัน เทคนิคการสืบสวนพิเศษ การจัดทําฐานขอมูลความผิดทางอาญา การคุมครองพยาน มาตรการความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และการรวบรวม การแลกเปลี่ยน และการ วิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของกับลักษณะทัว่ ไปขององคกรอาชญากรรม เปนตน

ระดับภูมภิ าค

II

สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 ซึ่งเปนเครื่องมือ ทางกฎหมายสําคัญระดับภูมิภาคที่ไดกําหนดมาตรการทางกฎหมาย สําหรับหนวยงานบังคับใชกฎหมายในการใหความ ชวยเหลือ และการขอความชวยเหลือระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคอาเซียนในเรือ่ งทางอาญาไวหลายรูปแบบ แตมีลักษณะที่ นาสนใจกวาสนธิสัญญาทวิภาคี หรือพหุภาคีทั่วไป กลาวคือ ไดวางหลักเกณฑความชวยเหลือระหวางประเทศอาเซียนไว มากกวาสนธิสัญญาสองฝายทัว่ ๆ ไป เชน การจัดหาใหซงึ่ เอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได คาใชจาย ซึง่ แนนอนวา ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดลงนามรับรองสนธิสัญญาดังกลาวมีพันธกรณีที่จะตองนําเอาเงื่อนไข และขอบท III ตาง ๆ ไปกําหนดเปนกฎหมายภายในเพื่อบังคับใชใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม สนธิสัญญาอาเซียนฉบับนี้ มีขอจํากัดที่คลายคลึงกับสนธิสัญญาระหวางประเทศในเรื่องทาง อาญาทั่วไป โดยรัฐผูรับคํารองขอ สามารถปฏิเสธการใหความชวยเหลือได หากคํา รองขอเขาขายคดีที่เกี่ยวเนื่องกับ ประเด็น ทางการเมือง เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ชาติกําเนิด สัญชาติ และความผิดทางทหาร รวมถึงคดีความมั่นคงในลักษณะ อื่น ๆ สนธิสัญญาฯ ไดเปดโอกาสใหผูประสานงานกลางของแตละรัฐ สามารถสงคํารองขอความชวยเหลือ และการติดตอ 9

Makanczek, P. (2000). Modern Introduction to International Law. United States of America: Routledge.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 74

ประสานงานผานทางชองทางตํารวจสากล (INTERPOL) หรือองคการตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ในสถานการณ เรงดวนได จึงทําใหขอมูล และพยานหลักฐานที่ไดจากการประสานงานทางคดีผานชองทางดังกลาว ไดรับการยอมรับใน กระบวนพิจารณาชั้นศาลมากขึ้น ดังนั้น การที่สนธิสัญญาฯ ไดระบุถึง กลไกการประสานงานดังกลาว จึงเทากับเปนการ ยอมรับถึงความถูกตองในการประสานความรวมมือระหวางประเทศโดยปริยาย

ระดับทวิภาคี

IV

V

สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา สนธิสัญญาโอนตัว VI นักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ รวมถึงขอตกลงระหวางรัฐบาลในรูปแบบอื่น ๆ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาล ไทยกับรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา เรือ่ ง ความรวมมือทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและหญิง และการชวยเหลือ เหยื่อของการคามนุษย ค.ศ. 2003 และบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ค.ศ. 2003 เปนตน เปน กฎหมายทีม่ ีผลผูกพันระหวางสองประเทศ ซึ่งคํานึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศที่มารวมลงนามเปนสําคัญ กฎหมาย ระหวางประเทศในระดับทวิภาคี ไดชวยทําใหการทํางานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเปนไปดวยความ สะดวกและรวดเร็วมากขึน้ เนื่องจาก มีพันธกรณีระหวางรัฐในการทีจ่ ะตองปฏิบัติตามหากมีกรณีเขาตามเงือ่ นไขที่วางไว อยางไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบวา กฎหมายระหว างประเทศระดับทวิภาคีของภูมิภาคอาเซียนยังมีไม มากนัก โดยสวนใหญจะเปนประเด็นที่ ไดรับการผลักดัน หรือสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศ เชน บันทึกความ เขาใจระหวางรัฐบาลที่เกี่ยวกับการตอตานการคามนุษย และการตอตานการกอการราย ดังนั้น ในโอกาสที่ประเทศไทย กําลังจะเขาสูประชาคมอาเซียน และยังไมไดมีกฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางครอบคลุม รัฐอาเซียน จึงควรผลักดันใหมีกรอบความรวมมือในลักษณะทวิภาคี หรือพหุภาคีใหมากขึ้น

ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการมีหลายลักษณะ โดยเนนความรวมมือในเชิง นโยบายและปฏิบัติเปนสําคัญ แมวา ประเทศคูเจรจาหรือประเทศที่เขามารวมเปนพันธมิตร จะไมไดมีพันธกรณีที่เครงครัด ที่จะตองปฏิบัติตามความตกลงที่เกิดขึ้น หรือตามมารยาทระหวางประเทศในเชิงการทูตเทากับความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่ องทางอาญาแบบเป นทางการที่ ยึด ถือ ตัว บทกฎหมาย หรือ หลั กกฎหมายระหวา งประเทศ แต รูป แบบ ความสัมพันธแบบไมเปนทางการได ทําใหเกิดเครือขายความรวมมือระหวางกลุมหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และพัฒนา ไปเปนความสัมพันธในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบไมเปนทางการ ซึ่งทําใหการประสานความรวมมือในการ สืบสวนติดตามจับกุมตัวผูกระทําความผิดเปนไปอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปสามารถพิจารณาไดเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ ความรวมมือระหวางประเทศในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ

ในระดับนโยบาย - การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) เปนการประชุมเพื่อรองรับการประชุมในระดับรัฐมนตรีของประเทศอาเซียนที่ดูแลกํากับนโยบายดาน ความมัน่ คงที่เกี่ยวของกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ เกิดขึ้นตามมติที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยางเปนทางการครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป 2538 เพื่อใหเปนกลไกระดับภูมิภาคในการกํา กับ และดําเนินการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่มี แนวโนมจะทวีความรุนแรง และขยายตัวมากขึ้น โดยจัดขึ้นเปนประจําทุก 2 ป การประชุมดังกลาวเปนการหาแนวทาง รวมกันในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่สําคัญ ไดแก การตอตานการกอการราย การคามนุษย และการ ประชุมรวมกับประเทศคูเจรจา เปนตน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 75

- การประชุ มเจ า หน า ที่อ าวุโ สอาเซียนดา นอาชญากรรมขา มชาติ (Senior Official Meeting on Transnational Crime- SOMTC) เปนกลไกที่เนนความรวมมือดานการบังคับใชกฎหมาย และการเสริมสรางศักยภาพใน การตอตานอาชญากรรมขามชาติทั้งดานการปองกันและปราบปรามในระดับปฏิบัติของหนวยงานบังคับใชกฎหมายของ VII ประเทศอาเซียน ในรูปแบบของการประชุมสัมมนา เพือ่ เสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของ ประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้งแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยเปนเวทีในการผลักดันขอเสนอใหม ๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการรวมมือระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายใหมากขึ้น เชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การฝกอบรม และ การสรางเครือขายการทํางานรวมกันระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย เปนตน นอกจากนี้ กรอบการประชุมดังกล าวไดประสบความสํา เร็จในการพัฒนาความรวมมือระหว างอาเซี ยนกั บ VIII ประเทศคูเจรจา ใหเปนรูปธรรมตามเอกสารแถลงการณทางการเมืองที่ ไดมีการลงนามกัน ในรูปแบบแผนงานที่ระบุ กิจกรรมความรวมมืออยางเปนรูปธรรม ซึ่งประเทศผูนําในแตละสาขาของอาชญากรรมขามชาติทําหนาที่ประสาน หารือ และแสวงหาความรวมมือกับประเทศคูเจรจา อันจะสงผลใหกลุมประเทศอาเซียนสามารถแสวงประโยชนสูงสุดจากความ เชี่ยวชาญของประเทศคูเจรจาบนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกันของทั้งสองฝาย เพื่อใหหนวยงานบังคับใชกฎหมายนํา นโยบายดานอาชญากรรมขามชาติดังกลาวไปใชเปนแนวทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ

ในระดับปฏิบัติ

IX

- การประชุมกระบวนการบาหลี (Bali process) เปนกลไกความรวมมือของภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟกที่มุงเนน การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะในเรื่ องการคา มนุษย และการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย เนื่องจาก ประเด็นเรื่องการคามนุษย และการขนคนขามชาติโดยเฉพาะทาง เรือเปนปญหาสําคัญของประเทศในภูมิภาคนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเวทีระดับภูมิภาคในการหารือ และกําหนด แนวทางรวมกันในการจัดการกับปญหาการคามนุษยการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย และปญหาอาชญากรรมขามชาติ อื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ เชน การแลกเปลีย่ นขอมูลขาวสาร และการขาวกรองผานหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกันในรูปของ เครือขายการบังคับใชกฎหมาย การวางระบบการตรวจคนเขาเมืองที่ มีประสิทธิภาพ การตรวจรวมกันตามแนวชายแดน เปนตน ผลลัพธที่ไดจากกรอบการประชุมกระบวนการบาหลี มีตั้ งแตการดําเนินการในเชิงนโยบายของภูมิภาคในการ จัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติไปจนถึงการพัฒนากลไกดานกฎหมายโดยสงเสริมใหประเทศสมาชิกสรางความ รวมมือระหวางกันในหลากหลายมิติ เพื่อใหสามารถจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้ น เชน การออกกฎหมายภายในประเทศ และมาตรการการปองกัน และความชวยเหลือตอเหยื่อของการคามนุษยโดยเฉพาะ ผูหญิงและเด็ก มาตรการจัดการกับการเขาเมืองผิดกฎหมาย และการเสริมสรางขีดความสามารถประเทศในรูปแบบของ โครงการฝกอบรม - การประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of Police Conference : ASEANAPOL) เปนกลไก X ความรวมมือระหวางองคกรตํารวจอาเซียนในระดับปฏิบัติ โดยเปนผลมาจากความตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรม ขามชาติตอการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาค และตอสังคมอาเซียนโดยรวม มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนระเบียบและ กฎหมายที่ใชกลุมประเทศอาเซียน สงเสริมการพัฒนาและการดําเนินงานที่เปนระบบในการบังคับใชกฎหมายและการ รักษาความสงบเรียบรอย เสริมสรางความรวมมือรวมใจ และความสามัคคีของตํา รวจอาเซียนในการตอตานการกอการ ราย และอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถทั้ งในระดับองคกรและบุคลากร และเพื่ อเสริมสราง ความสัมพันธระหวางองคกรตํารวจในภูมิภาคอาเซียนใหแน นแฟนมากยิ่งขึ้น ผลลัพธที่ไดจากการประชุมจะอยูในรูป แถลงการณรวมที่ เปนขอเสนอแนะหัวหนาตํารวจของประเทศสมาชิก นําไปเปนแนวทางในการทํางานรวมกัน แมวา ขอ เสนอแนะที่ เ กิ ด ขึ้น จะเป น เพียงกรอบนโยบายกว า ง ๆ และไม มี พัน ธะผู กพั น ทางกฎหมาย แต ใ นทางปฏิบั ติ แ ล ว


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 76

แถลงการณดังกลาว ถือเปนเจตจํานงรวมของผูนําองคกรบังคับใชกฎหมายหลักของแตละประเทศที่ จะตองใชความ พยายามอยางสุดความสามารถในอันทีจ่ ะปฏิบัติตามใหได - การประสานความร วมมือ ทางอาญาผ านองค การตํ า รวจอาชญากรรมระหว างประเทศ (International Criminal Police Organization : INTERPOL) หรือเรียกทั่วไปวา องคการตํารวจสากล ซึง่ เปนองคการระหวางประเทศที่ เปนหนวยประสานงานกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมระหวางประเทศ และชวยเหลือ กัน ในการติดตามจับกุมผูกระทําผิดมาลงโทษXI ผานชองทางตํารวจสากล คือ ระบบขอมูลขาวสารตลอด 24 ชั่วโมง (I24/7) ซึง่ เปนการสงและรับขอมูลผานแหลงขอมูลกลาง (server) ของตํารวจสากลทีม่ ีสํานักงานใหญอยูที่ประเทศฝรั่งเศส สําหรับแลกเปลี่ยนขอมูลทางอาชญากรรมระหวางกัน เพือ่ ประโยชนในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติ หรือ คดีที่อาชญากรหลบหนีไปตางประเทศในลักษณะตาง ๆ ในรูปแบบของหมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) 8 ประเภทXII ตามลักษณะของประเภทคดี และคํารองขอความรวมมือที่กําหนดไว ตามระเบียบการใชหมายตํารวจสากล เชน หมายสีแดงใชสําหรับการติดตามบุคคลทีเ่ ปนที่ตองการตัวเพื่อสงกลับไปดําเนินคดี หรือรับโทษทางอาญาในประเทศผู รองขอ หรือหมายสีดําใชสําหรับติดตามบุคคลสูญหาย เปนตน เพื่อใหประเทศสมาชิกตํารวจสากลชวยเหลือในการสืบสวน สอบสวน และติดตามอาชญากรขามชาติที่หลบหนีจากประเทศหนึ่งเขาไปในอีกประเทศหนึ่งXIII คดีอาชญากรรมสําคัญที่ นาสนใจ ไดแก การกอการราย การคามนุษย การคายาเสพติด การลักลอบขนคนผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย การลักขโมยวัตถุโบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร ตลอดจนการติดตามบุคคลหลบหนีการดําเนินคดีอาญา และคําพิพากษา และอาชญากรสงคราม เปน ตน - การประสานงานผานสํานักงานนายตํารวจประสานงานประจําสถานทูต (Police Liaison Office) โดยมี นายตํารวจที่เปนผูแทนของสํานักงานตํารวจของประเทศนั้น ๆ ประจําอยูที่สถานทูตที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ มีหนาที่ใน การติดตอประสานงานในคดีอาญาตาง ๆ ที่ผูตองหาไดหลบหนีมาอยูในประเทศอาเซียน หรือจากประเทศอาเซียนไปอยู ตางประเทศใหเกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ทั้งในดานการแลกเปลี่ยนขอมูล การแสวงหาพยานหลักฐาน และการสง และรั บคําร องขอทางการทูต ที่ เกี่ยวของกับคดี สํานั กงานนายตํ ารวจประสานงานดังกลาวไดมีบทบาทสํ าคัญในการ คลี่คลายคดีอาชญากรรม และอาชญากรรมขามชาติสําคัญที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และอาเซียนในหลายคดีโดยเฉพาะ อยางยิง่ ทําใหขอจํากัดดานกฎหมายภายในนอยลง และเกิดความรวมมือระหวางกันมากขึน้ XIV กลาวโดยสรุป ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนมีทั้งในระดับที่เปนทางการ และไมเปน ทางการ ซึ่ ง นั บ เป น กลไกความร ว มมื อ ระหว า งประเทศที่ สํ า คั ญ แม ว า ประเทศอาเซี ยนจะได ต ระหนั ก ถึ ง ภั ยของ อาชญากรรมขามชาติทเี่ พิม่ ขึน้ แตเนื่องจาก กรอบความรวมมือของภูมิภาคสวนใหญ จะมีลักษณะของแนวทางการทํางาน รวมกันไมไดมีผลผูกพันในทางกฎหมายอยางเครงครัด ทําใหการบังคับใชกฎหมายของแตละประเทศ ยังคงตั้งอยูบน พืน้ ฐานของหลักกฎหมายภายในของรัฐ นโยบายของรัฐบาล และผลประโยชนของแตละประเทศเปนสํา คัญ ประกอบกับ กฎหมายของภูมิภาคยังไมไดมีการพัฒนาเหมือนเชน ในสหภาพยุโรป จึงทําใหความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาค อาเซียนไมเกิดประสิทธิภาพเทาทีค่ วร

การตอตานอาชญากรรมขามชาติ กลุ มประเทศอาเซี ยนนั้ น มีค วามตื่ น ตั ว ในการต อ ต า นอาชญากรรมข า มชาติ มาเป น เวลากว าทศวรรษแล ว เนื่องจาก อาชญากรรมขามชาตินั้นเปน เรื่องที่ไมไดเกิดภายในขอบเขตของประเทศใดประเทศหนึ่ง ความรวมมือหลาย ๆ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 77

อยางนั้น ประสบความสําเร็จเปนอยางดี เชน การลดจํานวนการคายาเสพติดในภูมิภาค แตก็ยังมีอีกหลายประเด็นที่ยังคง ตองรวมมือกันแกไข อยางเชน ปญหาโจรสลัด รวมถึงการพัฒนากลไกความรวมมือตาง ๆ เพื่อรับมือกับอาชญากรรมขาม ชาติทพี่ ัฒนาตัวเองตามการเปลี่ยนแปลงของโลก ในความเปนจริงแลว อาเซียนเริ่มมีความรวมมือในเรื่องการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแตป 1976 หลังจาก 10 Bali Concord I แตสวนใหญนั้น จะเนนในเรื่องของการคายาเสพติด จนอาเซียนไดมีการจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรี อาเซียน (ASEAN Ministerial Meetings : AMM) และเริ่มพูดถึงอาชญากรรมขามชาติในวงที่กวางขึ้น และไดมีการ เรียกรองใหประเทศสมาชิกมีการรวมมือกันใกลชิดยิ่งขึ้นในการแกปญหาตาง ๆ เชน ความไรประสิทธิภาพของตํารวจ ระบบกฎหมายที่ลาสมัย และการคอรรัปชั่น จนกระทั่ง ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในป 1997 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดประกาศ “คําประกาศที่วาดวยเรื่อง อาชญากรรมขามชาติ” (Declaration on Transnational Crime) ซึ่งถือเปนความรวมมือที่เปนรูปธรรมครั้งแรกของกลุม ประเทศอาเซียน ซึ่งคําประกาศดังกลาวมีความนาสนใจตรงที่มีการสรางกลไกความรวมมือตาง ๆ เพื่อตอตานปญหา อาชญากรรมขามชาติ เชน การกําหนดการประชุมรัฐมนตรีในเรื่องอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) ทุก ๆ สองป และเรียกรองใหมีความรวมมือในสวนกลไกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ อาชญากรรมขามชาติ เชน ASEAN Senior Officials on Drug Matters (ASOD) และ ASEAN Chiefs of National 11 Police (ASEANAPOL) นอกจากนี้ ยังเรียกรองใหผลักดันกลไกความรวมมือเฉพาะกิจอยางเชน ASEAN Plan of Action on Transnational Crime, Institutional Framework for ASEAN Cooperation on Transnational Crime รวมถึงการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้ง ASEAN Centre on Transnational Crime (ACOT) เพื่อสนับสนุนงานของ สํานักงานเลขาธิการอาเซียน รวมไปถึงการเรียกรองใหมีความรวมมือในกลไกด านอื่น ๆ ที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและ ทางออม เชน ASEAN Law Ministers and Attorneys-General, ASEAN Chiefs of National Police, ASEAN Finance Ministers, Directors-General of Immigration และ Directors-General of Customs ใหมีบทบาทในการ ตอตานภัยจากอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น จนเกิดการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในป ค.ศ. 2015 ขึ้นมา โดยมีการเรียกรองใหประเทศสมาชิกรวมกันตอตานอาชญากรรมขามชาติโดยใชความเปนประชาคมอาเซียนเปน กลไกในการแกปญหา ซึ่งก็เปนที่นาติดตามวาการเปนประชาคมอาเซียนนั้น จะสามารถตอตานและการแกไขปญหาเรื่อง อาชญากรรมขามชาติไดดีเพียงใด จากความรวมมือดานอาชญากรรมขามชาติของอาเซียน ซึ่งถือไดวา ความรวมมือในการแกไขปญหานั้น เปน เพียงตัวแทนโดยรัฐเปนหลัก อยางเชน ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) ก็เปนเวทีที่ รัฐมนตรี ซึ่งเปนตัวแทนของรัฐเขามาหารือและรวมมือกัน และเปนผูตัดสินใจหลักในกิจกรรมตาง ๆ หรือกลไกอื่น ๆ เชน ASEANAPOL (ASOD) ก็เปนตัวแทนจากรัฐที่ไมมีอํานาจตัดสินใจในตัวเอง โดยตองไดรับทิศทาง และการสั่งการจาก รัฐบาลเทานั้น นอกจากนี้ กลไกเฉพาะกิจอื่น ๆ เชน Institutional Framework for ASEAN Cooperation on Transnational Crime หรือการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้ง ASEAN Centre on Transnational Crime ก็อยู ภายใตอาณัติของ AMMTC ทําใหถึงแมจะมีความรวมมือแตก็เปนในรูปแบบที่รัฐเปนศูนยกลาง (State-Centrism) ของ อํานาจการตัดสินใจ โดยไมมีการจัดองคกร หรือสถาบันที่มีลักษณะเหนือชาติ (Supranational) แตอยางใดก็ตาม ทั้งนี้ มี การใหเหตุผลถึงการที่สมาชิกกลุมประเทศอาเซียนในความสัมพันธแบบรัฐพันธนิยมวา เนื่องมาจาก การแกไขปญหา อาชญากรรมขามชาตินั้น มีหลายประเด็นที่ออนไหวตอความมั่นคงและอธิปไตยของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งขัดตอ 10 11

Ibid. ASEAN. (1997). ASEAN Declaration on transnational crime Manila, 20 December 1997.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 78

หลักการดั้งเดิมของอาเซียน อยางไรก็ดี ในสภาพของอาเซียนนั้น หากขาดความรวมมือระหวางรัฐเชนนี้ ก็ยากที่กอใหเกิด การรวมตัวได เนื่องจาก องคกรภาคประชาชนนั้นไมมีอํานาจในการกดดันรัฐบาลไดมากพอ นอกจากนี้ ยังมีความเปนไปได ที่นักการเมืองของประเทศในกลุมอาเซียนเองก็มีความสัมพันธกับกลุมอาชญากรรมขามชาติ หรือเปนผูกระทําการเอง เชน การคายาเสพติด และการฟอกเงิน โดยเฉพาะประเทศที่มีระดับการคอรรัปชั่นสูง เชน เมียนมาร ไทย และฟลิปปนส อยางไรก็ตาม ความรวมมือของรัฐมนตรีประเทศสมาชิกอาเซียนในรูปของ AMMTC ก็ไดแสดงถึงความจําเปนใน การกระจายความรวมมือไปยังดานอื่น ๆ เชน ระบบกฎหมายและการใชกฎหมาย ระบบ และระเบียบที่ปองกันการฟอก เงิน และการสงเงินขามพรมแดนอยางผิดกฎหมาย จนกอใหเกิดกลไกอยาง ASEAN Law Ministers and AttorneysGeneral, ASEAN Chiefs of National Police, ASEAN Finance Ministers, the Directors-General of Immigration และ Directors-General of Customs และจากการประชุม AMMTC ครั้งที่ 6 ป ค.ศ. 2007 ที่กรุงบันดา เสรี เบกาวัน ประเทศบรูไน ไดมีการริเริ่มโครงการ “Drug-Free ASEAN by 2015” ซึ่งมีความเห็นรวมกันวา มีความ จําเปนตองอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวน ตามที่ APSC Blueprint ไดระบุเปน ASEAN Work Plan for 12 Combating Illicit Drug-Trafficking ซึ่งตองอาศัยตั้งแตความรวมมือดานกฎหมาย การสงผูรายขามแดน ซึ่งยังคงเปน ปญหาของประเทศกลุมอาเซียน รวมถึงระบบสาธารณสุขในการแกไขปญหาผูติดยาเสพติด

ความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ไดประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2556 และจะมีผลใชบังคับ เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราช กิจจานุเบกษา เปนตนไป และโดยที่พระราชบัญญัติดังกลาวมีความสําคัญในดานความรวมมือระดับสากล เพื่อปองกันและ ปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยมีการกําหนดความผิดฐานมีสวนรว มในองคกรอาชญากรรมขามชาติ และ กําหนดมาตรการที่เปนเครื่องมือพิเศษในการสืบสวน สอบสวน และดําเนินคดีแกผูกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกร อาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ เชนเดียวกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ และ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติดฯ เหตุ ผ ลในการยกร างพระราชบั ญญั ติ ฉ บับ นี้ เนื่อ งจาก ป จจุ บั น ประเทศไทยมี ปญ หาเกี่ ยวกั บการประกอบ อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสงผลกระทบตอความสงบเรียบรอย และความมั่นคงของประเทศเปนอยางมาก แตปรากฏวา กฎหมายที่มีอยูในปจจุบัน ซึ่งมีบทบัญญัติใกลเคียงกับการที่จะนํามาใชเปนมาตรการในการปองกันปราบปรามองคกร อาชญากรรม เชน บทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญาวาดวยเรื่องอั้งยี่ และซองโจร กฎหมายปองกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน และกฎหมายปองกันและปราบปรามยาเสพติด แตมาตรการเหลานั้นยังไมเพียงพอ และยังไมสามารถใชบังคับ เพื่อดําเนินคดีกับการกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบกับ ประเทศไทยไดลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร จึงสมควร กําหนดลักษณะความผิดใหครอบคลุมการกระทําดังกลาว รวมทั้งกํา หนดวิธีการสืบสวน สอบสวนการกระทําความผิด 13 ดังกลาวนั้นดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัตินี้ ไดใหคํานิยามของ “องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลตั้งแตสามคนขึ้นไปที่ รวมตัวกันกระทําการใด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระทําความผิดอาญาที่กฎหมายกําหนดโทษจําคุกขั้นสูง ตั้งแตสี่ปขึ้นไป หรือโทษสถานที่หนักกวานั้น และเพื่อไดมาซึ่งผลประโยชนทางการเงิน ทรัพยสิน หรือผลประโยชนทางวัตถุอยางอื่นไมวา 12 13

ASEAN Political-Security Community Blueprint. วันชัย รุจนวงศ. (2548). ผาองคกรอาชญากรรม : มะเร็งรายของสังคม สํานักพิมพมติชน. สิงหาคม. 2548.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 79

โดยทางตรงหรือทางออม และ “องคกรอาชญากรรมขามชาติ ” หมายความวา องคกรอาชญากรรมที่มีการกระทํา ความผิดที่มีความเชือ่ มโยง หรือเกี่ยวพันกันมากกวาหนึ่งรัฐ และบัญญัติใหผูใดที่กระทําการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ 1) เปนสมาชิกหรือเปนเครือขายดําเนินงานขององคกรอาชญากรรมขามชาติ 2) สมคบกันตั้งแตสองคนขึ้นไป เพื่อกระทําความผิดรายแรง อันเกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ 3) มี ส ว นร ว มกระทํ า การใด ๆ ไม ว า โดยตรง หรื อ ทางอ อ มในกิ จ กรรม หรื อ การดํ า เนิ น การขององค ก ร อาชญากรรมขามชาติ โดยรูถึงวัตถุประสงค และการดําเนินกิจกรรม หรือโดยรูถึงเจตนาที่จะกระทําความผิดรายแรงของ องคกรอาชญากรรมขามชาติดังกลาว 4) จัดการ สั่งการ ชวยเหลือ ยุยง อํานวยความสะดวก หรือใหคําปรึกษาในการกระทําความผิดรายแรงของ องคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยรูถึงวัตถุประสงค และการดําเนินกิจกรรม หรือโดยรูถึงเจตนาที่จะกระทําความผิด รายแรงขององคกรอาชญากรรมขามชาติดังกลาว ผูนั้นกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ และ หากเปนการกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร ผูนั้นจะตองรับโทษในราชอาณาจักร รวมทั้งยังไดบัญญัติใหการกระทํา ความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติตามพระราชบัญญัตินี้ เปนความผิดมูลฐานตามกฎหมายวาดวยการ ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน อีกดวย หากผูก ระทํา ความผิ ดฐานมี สวนร วมในองคกรอาชญากรรมขามชาติคนหนึ่งคนใดไดล งมือกระทําความผิ ด รายแรงตามวัตถุประสงคขององคกรอาชญากรรมขามชาตินั้น ผูกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขาม ชาติที่อยูดวยในขณะกระทําความผิดรายแรง หรือรวมประชุมแตไมไดคัดคานในการตกลงใหกระทําความผิดรายแรงนั้น รวมทั้งบรรดาหัวหนา ผูจัดการ และผูมีตําแหนงหนาที่ในองคกรอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองระวางโทษตามที่ไดบัญญัติ ไว สําหรับความผิดรายแรงนั้นทุกคน ในส ว นของบทกํ า หนดโทษ ได กํ าหนดให ผู ก ระทํ า ความผิ ดต อ งรั บโทษหนั ก ขึ้ น หากผูก ระทํ าความผิ ด เป น สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น ขาราชการ พนักงานองคกรปกครองสวน ทองถิ่น พนักงานองคการ หรือหนวยงานของรัฐ กรรมการ หรือผูบริหาร หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ เจาพนักงาน กรรมการ ผู จั ด การ หรื อ บุ ค คลใด ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น งานของสถาบั น การเงิ น หรื อ กรรมการขององค ก รต า ง ๆ ตาม รัฐธรรมนูญ จะตองไดรับโทษหนักเปนสองเทาของโทษที่กําหนด และโทษหนักสามเทา สําหรับพนักงานเจาหนาที่ หรือ พนักงานสอบสวนตามพระราชบัญญัตินี้ ผูใดกระทําความผิดตอตําแหนงหนา ที่ราชการอันเกี่ยวเนื่องกับการกระทํ า ความผิดตามหมวดนี้ มาตรการพิ เ ศษในการสื บ สวนสอบสวน และดํ า เนิ น คดี แ ก ผู ก ระทํ า ความผิ ด ฐานมี ส ว นร ว มในองค ก ร อาชญากรรมขามชาติ พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดวางระบบการใชอํานาจการดําเนินคดีในความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรม ขามชาติ เพื่อมิใหเกิดการทับซอนอํานาจระหวางหนวยงาน และเกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ โดยกําหนดใหพนักงาน สอบสวนที่มีอํานาจ คือ พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กรณีที่ผูกระทําความผิดเปน เจาหนาที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต และอยูในอํานาจหนาที่ ของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบก็ยังคงมีอํานาจดําเนินคดี ตอไปตามพระราชบัญญัตินี้ได แตตองแจงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบ ทั้งนี้ ไมตัด อํานาจของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติที่จะดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงเอง หรือมอบหมาย ใหพนักงานไตสวนตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตเขารวมสอบสวนกับ พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบก็ได


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 80

ในกรณีที่คณะกรรมการคดีพิเศษไดมีมติใหคดีดังกลาวตองดําเนินการโดยกรมสอบสวนคดีพิเศษใหพนักงาน สอบสวนสงเรื่องใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการ ซึ่งบทบัญญัติมาตรานี้ แมจะไมบัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้ หากคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) มีมติใหคดีความผิดดังกลาว ซึ่งไมใชคดีความผิดที่อยูในบัญชีทายพระราชบัญญัติการ สอบสวนคดี พิ เ ศษ พ.ศ. 2547 หรื อ ที่ กํ า หนดเพิ่ ม เติ ม โดยกฎกระทรวง เป น คดี พิ เ ศษตามมาตรา 21 (2) แห ง พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ พนักงานสอบสวนก็จะตองสงสํานวนใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการอยูแลว ตามขอบังคับ กคพ. แตอยางไรก็ดี การบัญญัติใหมีความชัดเจนไวในพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว ก็เปนการเชื่อมตอ อํานาจการสอบสวนมิใหขาดตอน พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยังมีบทบัญญัติเรื่องการใชมาตรการทางกฎหมายที่เปนเครื่องมือพิเศษในการสืบสวนไว หลายประการ เชนเดียวกับบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ ซึ่งไดนํามาพิจารณาประกอบการยกราง พระราชบัญญัตินี้ อาทิ การทําขอตกลงระหวางหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ การขอใหหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ที่อื่น ของรัฐใหความชวยเหลือ สนับสนุน หรือเขารวมปฏิบัติหนาที่ไดตามความจําเปน การคนโดยไมตองมีหมายจากศาล การมี หนังสือสอบถาม หรือเรียกบุคคล หรือเอกสาร หรือการยึด อายัด การดําเนินการกับของกลาง การมี และใชอาวุธปน เครื่ อ งกระสุ น ป น ยุ ท ธภั ณ ฑ การได ม าซึ่ ง เอกสารข อ มู ล ข า วสาร ซึ่ ง ส ง ทางไปรษณี ย โทรเลข โทรศั พ ท โทรสาร คอมพิวเตอร เครื่องมือ หรืออุปกรณในการสื่อสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อทางเทคโนโลยีใด การมอบหมายใหบุคคลใด จัดทําเอกสาร หรือหลักฐานใดขึ้น หรือปฏิบัติการอําพราง เพื่อประโยชนในการสืบสวน แตในสวนที่บัญญัติเพิ่มเติม นอกเหนือจากมาตรการตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ ก็คือ การเคลื่อนยายภายใตการควบคุม ตลอดจนใช เครื่องมือสื่อสารโทรคมนาคม เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส หรือดวยวิธีก ารอื่นใด เฉพาะในการสะกดรอย ผูตองสงสัยวา 14 กระทําความผิด หรือจะกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ นอกจากนี้ ยังมีบทบัญญัติที่เปน มาตรการการสงเสริมใหผูตองหารวมมือในการใหขอมูลที่สําคัญ และเปนประโยชนอยางยิ่ง ในการสืบสวนสอบสวน เกี่ยวกับ กิจกรรม และการกระทําความผิดขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสามารถใชเปนพยานหลักฐานในการ ดําเนินคดีตอหัวหนา หรือผูมีบทบาทสําคัญในองคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยใหอัยการสูงสุดมีอํานาจใชดุลพินิจออก คําสั่งไมฟองผูตองหานั้น ทุกขอหา หรือบางขอหาก็ได หรือออกคําสั่งถอนฟอง ถอนอุทธรณ ถอนฎีกา หรือไมอุทธรณ ไม ฎีกา ในความผิดนั้นทั้งหมด หรือบางสวน แลวแตกรณี หรือศาลจะลงโทษผูนั้นนอยกวาอัตราโทษขั้นต่ําที่กําหนดไวสําหรับ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ก็ได ดังนั้น การปองกันและปราบปรามปญหาองคกรอาชญากรรมขามชาติใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนตอง อาศัยความรวมมือระหวางประเทศ พระราชบัญญัติปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 นี้ จึงเปนสวนหนึ่งของการประสานความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมรวมกัน โดย มีการบัญญัติใหคํานิยามความหมายที่เปนสากล และกําหนดฐานความผิด ตลอดจนการมีมาตรการพิเศษในการสืบสวน สอบสวนใหสอดคลอง และเปนไปตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ซึ่งมาตรการพิเศษตาง ๆ เหลานี้ จะเปนประโยชนตอการสืบสวนสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน เพื่ อดําเนินคดีกับ ผูกระทําความผิด และองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ และสัมฤทธิ์ผล อยางไรก็ตาม ประเทศไทยก็ไม สามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได เนื่องจาก สาเหตุดังตอไปนี้ 1. กฎหมายของประเทศไทย ปจจุบัน มีกฎหมายไทยบังคับใชเพื่อปอ งกันและแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ เชน กฎหมายตอตาน ยาเสพติด กฎหมายฟอกเงิน กฎหมายปองกันและปราบปรามการคาประเวณี และกฎหมายตอตานการคาหญิงและเด็ก 14

วารสาร “DSI ไตรสาร” ปที่ 5 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2556.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 81

เปนตน แตกฎหมายเหลานี้ บัญญัติโดยพื้นฐานทัศนคติที่มุงใชเพื่อปราบปรามการกระทําผิดของปจเจกบุคคล รวมทั้ง กฎหมายที่บัง คับใชเปนเวลานานก็ไมอ าจปราบปรามการกระทํ าผิดโดยองค กรอาชญากรรมขามชาติที่ มีระบบ และ โครงสรางซับซอน มีอิทธิพล และปกปดการดําเนินงานได เชน 1.1. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 ในความผิดฐานเปนอั้งยี่ บัญญัติไววา “ผูใดเปนสมาชิกของคณะบุคคล ซึ่งปกปดวิธีดําเนินการ และมีความมุงหมาย เพื่อการอันมิชอบดวย กฎหมาย ผูนั้นกระทําความผิดฐานเปนอั้งยี่ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดป และปรับไมเกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท ถาผูกระทําความผิดเปนหัวหนา ผูจัดการ หรือผูมีตําแหนงหนาที่ในคณะบุคคลนั้น ผูนั้ นระวางโทษ จําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองหมื่นบาท” แตต ามขอ เท็ จจริ งมาตราดังกลา วไมมี สภาพการบัง คับ ใชเ ทา ที่ค วร เพราะความเขาใจผิ ดของเจ า พนักงานวา ผูกระทําความผิดตองเปนชาวจีนเทานั้น เมื่อแกงชาวตางชาติกระทําความผิดอันมีองคประกอบของความผิด ฐานเปนอั้งยี่ ก็ไมมีการดําเนินคดีอาญาในฐานความผิดดังกลาว ประกอบกับอัตราโทษปรับเปนเงินจํานวนนอย ทําใหกลา เสี่ยงจะประกอบอาชญากรรมรายแรง เนื่องจาก ไดรับผลตอบแทนเปนจํานวนเงินมากกวา 1.2. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กําหนดวิธีปฏิบัติในการจับกุมการดําเนินคดีอาญา และการ พิจารณาลงโทษแกผูกระทําผิด ซึ่งเปนสมาชิกองคกรอาชญากรรมขามชาติเชนเดียวกับคดีอาญาทั่วไป โดยพนักงาน สอบสวนรับคํารองทุกข สอบสวน และเสนอสํานวนการสอบสวนใหพนักงานอัยการพิจารณามีคําสั่งฟองหรือไมฟอง ผูตองหา แตผูตองหาซึ่งเปนสมาชิกองคกรอาชญากรรมขามชาติ จะมีหัวหนาคอยใหความชวยเหลือ มีการวางแผน และ หลบหนี ร อดโดยอาศั ยเงิ น ได จ ากการกระทํ า ความผิ ด ในการซื้ อ อิ ส รภาพ รวมทั้ ง กรณี ก ารปล อ ยตั ว ชั่ ว คราว โดยมี หลักประกัน และเมื่อชาวตางชาติผูกระทําความผิดหลบหนีไปได และยอมใหยึดเงินประกัน เปนตน 1.3. กฎหมายเฉพาะเพื่อปองกันและปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน พระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปรามผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 เปนตน มีลักษณะเปนกฎหมายเดี่ยว และไมมีหนวยงานอื่นสนับสนุนเทาที่ควร ปจจุบัน ประเทศไทยมีกรมสอบสวนพิเศษ สังกัดกระทรวงยุติธรรม ซึ่งมีหนาที่ปราบปรามอาชญากรรม ในทุกรูปแบบ รวมทั้งองคกรอาชญากรรมขามชาติที่มีผลกระทบตอความสงบสุขของประเทศ โดยกรมสอบสวนคดีพิเศษ จะมีผูเชี่ยวชาญจากทุกสาขาที่มีความรูทําการสืบสวน รวบรวมหลักฐาน ประวัติ และพฤติการณของผูตองสงสัย วาเปนผู อยูเบื้องหลังการกระทําความผิดในคดีตาง ๆ เพื่อสังเกต และติดตามพฤติการณของกลุมบุคคลหรือองคกร และใชเปน พยานหลักฐานในการดําเนินคดีอาญา ตอไป 1.4. ประเทศไทยไมมีกฎหมายสําหรับการสืบสวนปราบปรามองคกรอาชญากรรมโดยเฉพาะ เชน กฎหมาย เพื่อการปราบปรามองคกรอาชญากรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา อิตาลี ที่มีอัตราโทษสูงกวากฎหมายอาญาทั่วไป และไม มีกฎหมายวาดวยการดักฟงโทรศัพท หรือระบบคอมพิวเตอรในการสื่อสาร กฎหมายคุมครองพยาน หรือกฎหมายวาดวย การต อ รองคํา รั บสารภาพ ทํา ใหจํ าเลยหลุ ดพ น จากการถู ก ลงโทษ เนื่ องจาก พยานหลัก ฐานไมเ พียงพอ และไปก อ อาชญากรรมที่มีความรุนแรงมากขึ้นอีก 2. ป ญ หาขอความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ ในการปราบปรามและต อ ต า นองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ เนื่องจาก ประเทศมีร ะบบกฎหมายที่แ ตกตางกัน ทํา ใหกระบวนการพิจารณา และวิธีปฏิบัติ แตกตา งกัน โดยระบบ กฎหมาย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ระบบกลาวหา (Accusatorial System) และระบบไตสวน (Inquisitorial System)


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 82

ระบบกฎหมายของไทย เปนแนวทางเดียวกับ ระบบของประเทศอังกฤษ และสหรัฐ อเมริก า คือ ระบบ กลาวหาที่มีผูเสียหาย หรือโจทกนําคดีมาฟองรองโดยกลาวหาผูกระทําผิด หรือจําเลย และคูความตองนําพยานหลักฐาน มาแสดง แถลงตอศาล ศาลเปนตุลาการผูชี้ขาด ซึ่งตองวางตัวเปนกลาง ซึ่งแตกตางจากบางประเทศ เชน ประเทศฝรั่งเศส ที่มีระบบไตสวนคนหาขอเท็จจริงในศาล โดยเจาหนาที่ของรัฐ ดังนั้น พยานหลักฐานจึงเปนสาระสําคัญในการพิจารณา ลงโทษจําเลยตามขอหา แตภาระการพิสูจน และความยุงยากในการพิสูจนความผิดโดยปราศจากขอสงสัย ซึ่งกําหนดไวใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิพื้นฐานของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ การรวมมือกันระหวางประเทศที่มีอยาง จํากัด ทําใหจําเลยซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม อาจหลุดพนจากการถูกลงโทษไดโดยงาย

ภาพรวมของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน 1. โครงสรางกระบวนการยุติธรรม ภาพรวมในกระบวนการยุ ติ ธ รรมทางอาญาของแต ละประเทศในภู มิภาคอาเซี ยนนั้ น มี โ ครงสร า งของ กระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน กลาวคือ หนวยงานบังคับใชกฎหมายหลักประกอบด วย ตํารวจ อัยการ ศาล และราชทัณฑ ตามที่กฎหมายของแตละประเทศบัญญัติไว แมวา หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลัก เหลานี้จะมีขอบเขต และอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบที่ตางกัน เชน ในกรณีของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เจาหนาที่ตํารวจนอกจากจะทําหนาที่ในการสืบสวนแลว ยังทําหนาที่เปนพนักงานราชทัณฑดวย และในบางประเทศมีการ แยกสํานักงานตรวจคนเขาเมืองออกจากโครงสรางของตํารวจ รวมถึงการมีกระทรวงที่กํากับดูแลการปฏิบัติในเชิงนโยบาย ที่ตางกัน แตถือวา โครงสรางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของทุกประเทศมีความทันสมัยตามสมควร ซึ่งสามารถสรุป บทบาทหนาที่ของแตละองคกรไดดังตอไปนี้

1) ตํารวจ

ทําหน าที่ในการสื บสวนคดีอ าญา ดูแลรั กษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิ นของ ประชาชนและรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศทั่วไป 2) อัยการ ทําหนาที่หลักในการฟองคดีตอศาล การยื่นอุทธรณหรือฎีกาคดีตอศาล การคุมครองสิทธิ ประโยชนตามกฎหมายแกประชาชน รวมถึงการสอบสวนรวมกับเจาพนักงานตํารวจใน บางคดี 3) ศาล ทําหนาที่ในการพิจารณาอรรถคดีทั้งปวงที่เกิดขึ้นในเขตอํานาจของแตละประเทศตามที่ พนักงานอัยการไดยื่นฟองมา โดยทั่วไปจะแบงประเภทคดีออกเป นคดีเพงและพาณิชย และคดีอ าญา โดยในบางประเทศที่ป ระชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาอิสลามจะมีศาล อิสลาม ที่เรียกวา “ศาลซารีอะห” ซึ่งจะพิจารณาพิพากษาเฉพาะในคดีเกี่ยวกับศาสนา และคดีครอบครัว 4) ราชทัณฑ มีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลผูตองขังที่อยูระหวางการพิจารณาในชั้นศาลและที่ ไดถูกตัดสินใหลงโทษจําคุก การตรวจสอบของฝายอัยการ 2. ระบบงานยุติธรรม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 83

ขั้นตอนของการดําเนินคดีอาญาโดยทั่วไปของประเทศอาเซียน จะมีลักษณะคลายคลึงกัน โดยสามารถแบง ออกไดเปน 4 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนการสืบสวนสอบสวน และจับกุม ขั้นตอนการฟองรองดําเนินคดี ขั้นตอนการตัดสิน พิจารณาคดี และขัน้ ตอนการลงโทษ และรับโทษ โดยในแตละขั้นตอนอาจมีความแตกตางในรายละเอียดบางประการ ดังนี้ 1) ขั้นตอนการสืบสวนสอบสวนและจับกุมดําเนินคดี สวนใหญจะเปนหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย ตํารวจ โดยอาจมาจากการที่ผูเสียหายมารองทุกขตอเจาหนาที่ดวยตนเอง หรือเจาหนาที่ตํารวจสืบสวนพบเหตุ เมื่อพบวา คดีมีพยานหลักฐานเพียงพอเจาหนาที่ตํารวจจะเขาไปดําเนินการสืบสวนตรวจคน จับกุม นําตัวมาสอบสวน และควบคุม ตัวระหวางสอบสวนตามอํานาจที่กฎหมายบัญญัติไว ซึ่งโดยทั่วไปจะมีอํานาจควบคุมไดไมเกิน 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น จะตองไปขออํานาจพนักงานอัยการหรือศาลในการควบคุมตัวตอ เชน ในกรณีของสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ตํารวจจะควบคุมตัวภายในอํานาจไดไมเกิน 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น จะตองยื่นคํารองตอพนักงานอัยการเพื่อขอใหมี การกักขังชั่วคราวไดครั้งละไมเกิน 3 เดือน และขอขยายไดไมเกิน 3 ครั้ง หรือในกรณีของไทยตองยื่นคํารองตอศาลเพื่อ ขอใหฝากขังผูตองหาไดไมเกินครั้งละ 12 วัน รวมทั้งหมดไดไมเกิน 84 วัน เปนตน ทั้งนี้ จํานวนระยะเวลาในการควบคุม ตัวและอํานาจในการดําเนินการขึ้นอยูกับกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของแตละประเทศเปนสําคัญ โดยในระหวางการ สอบสวน ผูตอ งหาสามารถจัดหาทนายความมารวมฟงการสอบสวนดวยก็ได หรือในคดีสําคัญหรือที่มีโทษสูง รัฐตองจัดหา ทนายให แตในกรณีของสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร ซึ่งปกครองดวยระบอบทหาร อํานาจสวนใหญจะอยูที่เจา พนักงานตํารวจ การสอบสวนโดยทั่วไปไมตองมีทนายความมารวมฟงการสอบสวน แตผูตองหาอาจมีทนายความให คําปรึกษาดานคดีไดแตตองวาจางเอง และในกรณีการสอบสวนเด็กหรือเยาวชนที่กระทําผิด กฎหมายไมไดบัญญัติใหตอง มีส หวิ ช าชี พ เข ามาร ว มสอบสวนแต อ ย างใด ซึ่ง แตกตา งจากประเทศสมาชิ กอาเซี ยอื่ น ๆ ที่มี นั ก จิ ตวิ ท ยา นั ก สั ง คม สงเคราะห และพนักงานอัยการเขามารวมสอบสวนดวย สําหรับการจับกุมผูตองหาพบวา ในกลุมประเทศอาเซียนตํารวจจะจับกุมผูตองหาได 2 กรณี คือ จับ ตามหมายจับที่ออกโดยศาล หรืออัยการสูยงสุด และจับโดยอาศัยเหตุซึ่งหนา โดยเหตุที่ออกหมายจับ และหมายคนเปนไป ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวของของแตละประเทศกําหนดไว เชน มีอัตราโทษจําคุกตั้งแตกี่ปขึ้นไป หรือมีเหตุอันควรเชื่อวา จะ หลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน 2) ขั้นตอนการฟองรองดําเนินคดี เมื่อฝายตํารวจไดรวบรวมพยานหลัก ฐานครบถวนสมบูรณ และมี หลักฐานพอฟองผูตองหาไดวา กระทําผิดจริง และทราบวา ผูใดเปนผูกระทําผิดโดยไมวาจะมีตัวผูตองหาอยูในความ ควบคุมหรือไมมีผูตองหาก็ตาม ฝายตํารวจจะสรุปสํานวนการสอบสวนสงสํานวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อดําเนินการฟอง คดีตอศาลที่รับผิดชอบ โดยมีกําหนดระยะเวลาในการที่จะตองยื่นฟองคดีใหทันเวลา ทั้งนี้ ขึ้นอยู กับอัตราโทษ เช น พนักงานอัยการใน สปป.ลาว ตองพิจารณาคดีใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 15 วัน หากเกินกวานั้น ถือวา เปนการกระทํา ที่ไมชอบดวยกฎหมาย ในขณะที่ พนักงานอัยการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามตองฟองคดีตอศาลใหเสร็จสิ้น ภายในระยะเวลา 20 วัน สําหรับความผิดที่กฎหมายบัญญัติไวใหมีโทษจําคุกเกินกวา 7 ป และภายในระยะเวลา 30 วัน สําหรับความผิดที่กฎหมายบัญญัติไวใหมีโทษจําคุกเกินกวา 7 ป จําคุกตลอดชีวิตและประหารชีวิต นับแตวันที่ไดรับ สํานวนการสอบสวน แตสามารถขอขยายเวลาในการฟองไดโดยขึ้นอยูกับอัตราโทษ ซึ่งพนัก งานอัยการจะมีหนาที่สําคัญ ไดแก การฟองคดีตอศาล การสั่งสอบสวนเพิ่มเติม และระงับคดี หรือระงับคดีชั่วคราว อยางไรก็ตาม ขั้นตอนการฟองคดีในบางประเทศ เชน ในสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมารฝายตํารวจมี หนาที่ในการฟองคดีโดยศาลสงสํานวนการสอบสวนพรอมตัวผูกระทําผิ ด (จําเลย) ตอศาล แตหากผูเสียหายฟองคดีเอง ศาลจะไตสวนมูลฟอง และในคดีที่ผูตองหาเปนเยาวชนจะมีผูพิพากษาสมทบเขารวมพิจารณาคดีดวย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 84

3) ขั้นตอนการตัดสินพิจารณาคดี การพิจารณาคดีในชั้นศาลจะเริ่มจากศาลชั้นตนในการพิจารณาอรรคดี ทั้งปวงที่พนักงานอัยการ หรือผูเสียหายไดยื่นฟองตอศาล โดยหากมีการพิพากษาลงโทษประการใดแลว หากฝายจําเลยไม พอใจคําตัดสินสามารถยื่นคํารองอุทธรณคดีตอศาลอุทธรณได ซึ่งมีกําหนดระยะเวลาในการยื่นคํารองไว เชน ภายใน 15 วัน ในกรณีของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือภายใน 30 วัน ในกรณีของประเทศไทยหรือมาเลเซีย นับแตวันที่ศาล มีคําพิพากษา โดยศาลมีอํานาจกลับคําพิพากษาหรือยืนตามคําพิพากษาศาลชั้นตนก็ได นอกจากนี้ หากศาลพบวา มีการ กระทํามิชอบดวยกฎหมาย หรือพบการกระทําที่ยังไมถูกลงโทษ คณะผูพิพากษาของประเทศมีอํานาจยกคดีขึ้นเพื่อ พิจารณาใหมได และหากผลของคําพิพากษาศาลอุทธรณเปนเชนไร คูความสามารถยกคดีขึ้นสูศาลสูงสุด หรือศาลฎีกาได คําพิพากษาศาลฎีกาถือเปนที่สุด และคําพิพากษาของศาลจะมีผลบังคับตามกฎหมาย เมื่อพนระยะเวลาอุทธรณ หรือฎีกา แลว 4) ขั้นตอนการรับโทษ และอภัยโทษ หลังจากที่ศาลไดตัดสินลงโทษและไมมีการอุทธรณหรือฎีกาในคดีแต ละลักษณะ จําเลยจะถูกบังคับคดีตามคําพิพากษา โดยในกรณีที่ถูกตัดสินลงโทษจําคุก หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือประหาร ชีวิต จําเลยจะถูกสงตัวไปจําคุกที่ฝายราชทัณฑบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา ซึ่งในหลายประเทศจะมีวธิ ีการ ปฏิบัติตอผูตองขังแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ ขั้นอยูกับสถานะทางเศรษฐกิจของประเทศ และการใหความสําคัญตอเรื่องสิทธิ มนุษยชน อยางไรก็ตาม ทุกประเทศจะมีการแยกประเภทผูตองขังเปนชายและหญิง ซึ่งรวมถึงสถานพินิจที่ควบคุมตัวเด็ก ดวย โดยในหลายประเทศเปดโอกาสใหผูตองขังขออภัยโทษไดขึ้นอยูกับความร ายแรงของคดี โทษที่ไดรับและความ ประพฤติของผูตองขัง นอกจากนี้ ในกรณีที่ประเทศมีความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญากับประเทศผูรองขอ และมีการขอรับตัวนักโทษกลับไปดําเนินการเอง ก็สามารถกระทําได นอกจากนี้ ประเทศในกลุมอาเซียนจะมีกระบวนการ ใหอภัยโทษได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับระบบการบริหารงาน ความรายแรงของความผิดและอัตราโทษที่ไดรับดวย

3. โทษทางอาญา การลงโทษในทางอาญาของประเทศอาเซียนมีหลายระดับขึ้นอยูกับความรายแรงของความผิด โดยเริ่มตั้งแต เบาไปหนัก ไดแก บริการสาธารณะ คุมประพฤติ ใชแรงงาน ปรับ ริบทรัพย กักขัง จําคุกตลอดชีวิต และประหารชีวิต โดย ในบางประเทศอาจมีโทษแบบอื่น ๆ เชน การเฆี่ยน ในประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร สําหรับความผิดบางประเภทที่ ตองการใหเกิดความหลาบจํา แตในหลายประเทศ แมวา ผูกระทําผิดจะถูกตัดสินประหารชีวิตก็ตาม แตในทางปฏิบัติยังคง ใหรอโทษดังกลาวโดยใหจําคุกตลอดชีวิตไวกอน โดยอาจมีสาเหตุมาจากการอยูระหวางแกไขกฎหมาย หรือประเด็นเรื่อง สิทธิมนุษยชนและศาสนา เชน ในกรณีของ สปป.ลาว ไมไดมีการลงโทษประหารชีวิตมาเปนเวลานานพอสมควรแลว แต สํ า หรั บ กรณี ข องประเทศไทยศาลมี อํ า นาจในการสั่ ง โทษได แต ใ นเรื่ อ งการให อ ภั ย โทษเป น พระราชอํ า นาจของ พระมหากษัตริย นอกจากนี้ ในบางประเทศจะพบวา จํานวนคดีที่ขึ้นสูศาลอาจไมมากนัก เนื่องจาก มีกระบวนการไกลเกลี่ย เขามาชวยในการประนีประนอมระหวางคูพิพาทโดยใชกลไกของการบริหารราชการสวนทองถิ่น หรือทางฝายปกครอง เชน ตําบลหรือหมูบาน เขามาชวยในการยุติคดี ซึ่งพบมากในประเทศที่ความขัดแยงไมสูงมากนัก เชน กรณีของ สปป.ลาว เปนตน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 85

4. หลักเกณฑความรับผิดทางอาญา หลั ก เกณฑ ก ารได รั บ ความคุ ม ครองสิ ท ธิ ใ นฐานเด็ ก หรื อ ผู เ ยาว ซึ่ ง พบว า หลายประเทศในอาเซี ยนมี หลักเกณฑเรื่องอายุเขามาเกี่ยวของในการรับผิดและรับโทษทางอาญาโดยมีชวงอายุหนึ่งที่แมวา กระทําผิดแตไมตองรับ โทษ เชน อายุต่ํากวา 7 ป หรือ 15 ป หรือมีอายุต่ํากวา 18 ป ซึ่งอยูในขายเปนเยาวชนและกระทําผิดแตไมตองเขาสู กระบวนการพิจารณาคดีแบบผูใหญ หรือผูที่บรรลุนิติภาวะแลว โดยจะมีกระบวนการพิจารณาคดี และการลงโทษเปนการ เฉพาะเพื่อใหเหมาะสมตอสภาพทางรางกายและจิตใจ เชน การคุมตัวไวในสถานพินิจ และคุมครองเด็กและเยาวชน และมี การบําบัด ฟนฟู เยียวยา และฝกอบรม เพื่อใหสามารถกลับคืนสูสังคมไดอยางเปนปกติสุขและปลอดภัย ซึ่งในเรื่อง ดังกลาวพบวา มีกฎหมายและหนวยงานรับผิดชอบเปนการเฉพาะในเกือบทุกประเทศ ยกเวนในสาธารณรัฐแหงสหภาพ เมียนมาร

สภาพปญหาของกระบวนการยุติธรรมไทยในการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองเสรีภาพ ของบุคคลในประเทศไทย การเตรียมความพรอมดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในฐานกลไกที่ทํา หนาที่สนับสนุนความ รวมมื อรัฐ ระดับองคกร หรื อระดั บบุค คล จึงเป นเรื่ องที่ มีความสํา คัญในลําดั บตน ๆ ที่จะช วยใหการเปน ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียนสัมฤทธิ์ผลตามที่วางไว สําหรับประเทศไทยที่ผานมา กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย มักไดรับคําวิจารณวา ขาดประสิทธิภาพ ทั้งในดานการบัง คับใช กฎหมาย และการคุม ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของบุค คลที่ ไ มเปน ไปตามหลัก สากล อีกทั้ งเป น กระบวนการยุติธรรมที่มีความลาชา ซึ่งผลที่ตามมา คือ ไมสามารถอํานวยความยุติธรรมทําใหผูตองหา หรือจําเลยตองถูก คุมขังเปนเวลานาน ผูเสียหายก็ไมไดรับการชดใชเยียวยาทันทวงที นอกจากนี้ ในการพิจารณาคดีของศาลชั้นตน คดีสวน ใหญจะพิจารณาเสร็จภายใน 1 ป แตก็มีคดีอีกจํานวนมากที่มีระยะเวลาการพิจารณาเกิน 1 ป และมีบางคดีที่ใชระยะเวลา พิจารณาถึง 5 ป ซึ่งการใหความยุติธรรมที่ลาชา ก็คือ การปฏิเสธความยุติธรรม (Justice delayed, Justice denied) ในปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่ใชในการปราบปรามอาชญากรรมอยูหลายฉบับ นับตั้งแตประมวลกฎหมาย อาญา พระราชบัญญั ติยาเสพติ ดใหโทษ พระราชบั ญญัติอาวุธ ปน ฯลฯ พระราชบั ญญัติปองกั นและปราบปรามการ คาประเวณี พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พระราชบัญญัติการพนัน เปนตน แตกฎหมายเหลานี้ไดตราขึ้นเพื่อบังคับใชแก การประกอบอาชญากรรมของปจเจกบุคคล หรือการประกอบอาชญากรรมที่มีการสมคบกันในกรณีธรรมดาทั่ว ๆ ไป แต ไมใชการประกอบอาชญากรรมที่มีลักษณะเปนองคกรอาชญากรรมขามชาติ เมื่อนํากฎหมายที่มีอยู ดังกลาวมาบังคับใช ดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติ จึงมักจะไมคอยสัมฤทธิ์ผลเทาที่ควร สําหรับตัวอยางผลกระทบของประชาคมอาเซียน ที่อาจมีตอระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของประเทศไทยนั้น ไดแก ปญหาแรงงานตางดาว ทั้งที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมาย และที่ลักลอบมาเปนแรงงานเถื่อน การ เคลื่อนยายแรงงานระหวางประเทศนี้ มีความสัมพันธกับกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ตองการจะขยายการลงทุน และการคาระหวางประเทศสมาชิก ในสวนแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายนั้น ประเทศไทยอาจจะตองพิจารณา เนื้อหากฎหมายแรงงานที่บังคับใชในปจจุบันวา สอดคลองกับประเทศอื่น ๆ หรือไม พรอมทั้งเจรจากับประเทศที่มี มาตรฐานการคุมครองแรงงานต่ํากวาประเทศไทย ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการปรับปรุงมาตรฐานการคุมครองแรงงานไทยใน ตางประเทศดวย สําหรับแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมายนั้น เป นเรื่องที่ตองใหความสําคัญเปนพิเศษประการ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 86

หนึ่ ง และเป น ประเด็ น ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมาธิ ก ารสหประชาชาติ ว า ด ว ยการป อ งกั น อาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา สมัยที่ 21 นอกจาก ปญหาการเขาประเทศโดยผิดกฎหมายแลว การรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนดังกลาวเกิดขึ้นใน ชวงเวลาของความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในภูมิภาค ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง รวมทั้งสังคมและวัฒนธรรม ทําให ปญหาตาง ๆ ที่เคยเปนปญหาระดับชาติ อาทิ ปญหาการคามนุษย อาชญากรรมขามชาติ ไดขยายวงกวางขึ้นเปนปญหา ระหวางประเทศ ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ประเทศสมาชิก จะตองมีการปรับตัวใหเขากับสถานการณ ตลอดจนพัฒนา ศักยภาพในการรับมือกับปญหา และความทาทายในประเด็นตาง ๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อสรางความแข็งแกรง และอํานาจ ตอรองรวมกัน ทั้งนี้ อาจแยกพิจาณาปญหาในการดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทยใหเห็นอยาง ชัดเจนได ดังนี้

1. การสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน

ในกรณีที่องคกรอาชญากรรมขามชาติเปนผูประกอบอาชญากรรม เชน การลักลอบคายาเสพติด การสืบสวน สอบสวน รวบรวมขอมูลตาง ๆ ที่ใชเปนพยานหลักฐานในการดําเนินคดี สวนมากจะไดจากสายลับ หรือผูหวังดีที่แจงขาว ในทางลับ บางครั้งตองมีการใชวิธีการลอซื้อ แตผูกระทําความผิดที่อยูในองคกรอาชญากรรมเหลานั้น มักมีการติดตามขาว ของเจาหนาที่อยูตลอดเวลา ทั้งมีความชํานาญและไหวตัวทัน ทําใหยากแกการจับกุม หรืออาจจับกุมไดแตตัวผูคารายยอย ที่อยูปลายแถวเทานั้น ไมสามารถสาวไปถึงตัวการใหญได เพราะหากจะจับตัวการใหญ หรือทั้งเครือขาย เจาหนาที่ตองใช เทคนิคการสืบสวนสอบสวนพิเศษ เชน การจัดสงภายใตการควบคุม (controlled delivery) ซึ่งหมายถึง การที่เจา พนักงานยอมใหมีการสงมอบสิ่งผิดกฎหมาย เชน ยาเสพติด จากผูกระทําความผิดรายหนึ่งไปสูผูกระทําความผิดรายอื่น ๆ โดยยังไมเขาจับกุม เพื่อสืบหาใหถึงตนตอ หรือบุคคลผูอยูเบื้องหลัง การเจรจาตอรองใหผูตองหาใหการรับสารภาพ และ ซัดทอดถึงผูรวมกระทําความผิดรายใหญที่อยูเบื้องหลัง (plea bargaining) การใชเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสติดตาม สะกด รอย และการดักฟงทางโทรศัพท (wiretapping) ซึ่งรวมถึงการเจาะขอมูลทางคอมพิวเตอร แตการใชเทคนิคการสืบสวน สอบสวนพิเศษนั้น เจาหนาที่ทําไมได ทั้งนี้ เพราะกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบัน ยังไมมีบทบัญญัติใหอํานาจแกเจาพนักงานไว จึงทํา ใหการสืบ สวนสอบสวนรวบรวมพยานหลั กฐาน เพื่ อดําเนินคดี แกอ งคกรอาชญากรรมข ามชาติไม คอยประสบ ผลสําเร็จเทาที่ควร อยางไรก็ตาม ภายหลังจากที่ไดมีการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ซึ่งมีบทบัญญัติใหอํานาจแกเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) ในการ 15 ดักฟงโทรศัพท หรือเขาถึงขอมูลทางการสื่อสาร และคอมพิวเตอรไดโดยไดรับอนุญาตจากศาลเพงกอน ผลปรากฏวา เจ า หน า ที่ ตํ า รวจสามารถจั บ กุ มผู ค า ยาเสพติ ด ได เ พิ่ มมากขึ้ น ซึ่ ง เป น ผลมาจาการใช วิ ธี ก ารดั ก ฟ ง ทางโทรศั พ ท ต าม บทบัญญัติของกฎหมายฉบับดังกลาว แตการที่จะนําบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวมาใชยังมีขอจํากัดอยูมาก กลาวคือ จะตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการฟอกเงินเทานั้น ดังนั้น หากเปนการกระทําความผิดที่ไมเกี่ยวกับการฟอกเงิน เจา พนักงานไมอาจนําวิธีการตามกฎหมายดังกลาวมาใชบังคับแกองคกรอาชญากรรมขามชาติได

2. การดําเนินคดีในชั้นศาล

การดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทยในปจจุบัน ยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใด ๆ เพื่อใชเปนกรณีพิเศษ วิธีพิจารณาคดีก็ใชเหมือนกับคดีทั่ว ๆ ไป เริ่มตั้งแตการฟองคดีจําเลยมีสิทธิที่จะไดรับการประกันตัว ออกไปสูคดี การพิสูจนความผิดเปนภาระหนาที่ของโจทก (อัยการ) ที่จะตองนําพยานหลักฐานมานําสืบพิสูจนการกระทํา ความผิดของจําเลยตอศาล เพื่อใหศาลเชื่อวา จําเลยไดกระทําความผิดจริง หรือจําเลยมีสวนเกี่ยวของในขั้นตอนที่สําคัญ 15

พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 46.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 87

ในการกระทําความผิดนั้น ซึ่งกระทําไดยากมาก เพราะองคกรอาชญากรรมขามชาติมีเงินทุนมาก มีเครือขายกวางขวาง สามารถใชเงิน และอํานาจอิทธิพลขององคกรเขาขัดขวางการดําเนินคดีไดทุกขั้นตอน เชน ขมขูพยานมิใหมาใหการเบิก ความตอศาล หรือจางพยานใหใหการเท็จ จนถึงกําจัดพยานเพื่อตัดตอน มิใหพาดพิงถึงตัวการใหญ ติดสินบนเจาหนาที่ ผูเกี่ยวของเพื่อจัดทํา หรือรับรองพยานหลักฐานเท็จ หรือทําลายพยานหลักฐานที่สําคัญในคดี จนกระทั่ง ผูเสียหาย และ พยานบุคคลเสียขวัญไมกลามาใหการเปนพยานในศาล กฎหมายที่มีอยูในขณะนี้ ยังไมสามารถที่จะใหความชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย และพยานในคดีไดอยาง เต็มที่และเปนทางการ เพราะประเทศไทยยังไมมีกฎหมายคุมครองพยานออกมาบังคับใช สวนการขมขูพยาน จางพยานให การเท็จ และการกําจัดพยานบุคคลหรือพยานอื่น ตลอดจนการติดสินบนเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมเปนเพียง ความผิดทางอาญาในเรื่องนั้น ๆ (เชน ฐานขมขืนใจผูอื่นใหกระทําการใด ๆ กระทําการใหผูอื่นเกิดความตกใจกลัว ทําราย รางกาย ฆาผูอื่น เอาไปเสียซึ่งเอกสาร ใหสินบนเจาพนักงาน ฯลฯ) แตยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายที่กําหนดความผิด ฐานขัดขวางความยุติธรรมเปนการเฉพาะแตอยางใด จึงเปนสาเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหการดําเนินคดีแกองคกร อาชญากรรมขามชาติไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร

3. การดํ า เนิ น คดี แ ก ผู อ ยู เ บื้ อ งหลั ง องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ และนิ ติ บุ ค คลขององค ก ร อาชญากรรมขามชาติ

องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ มั ก มี ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมผิ ด กฎหมายภายใต อ งค ก รที่ มี ก ารจั ด โครงการ สลับซับซอน และมีการเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย โดยมีบุคคลที่มีอํานาจอิทธิพลกวางขวางเปนหัวหนา มักจะมีการ ประกอบธุรกิจที่ถูกกฎหมายไวบังหนา โดยจะมีสมาชิกขององคกรในระดับรองลงมาเปนผูดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย และ ประกอบอาชญากรรมภายใต ก ารสั่ ง หรื อ ความเห็ น ชอบจากหั ว หน า องค ก รอย า งลั บ ๆ ตั ว อย า งของกลุ ม องค ก ร อาชญากรรมขามชาติที่เขามาปฏิบั ติการในประเทศไทย ไดแก กลุ มมาเฟยเยอรมั น ซึ่งมีหลายแกง ๆ ใหญที่สุด คื อ “โรธา” มีการดําเนินการเปดสํานักงานทนายความบังหนา แทจริงมีธุรกิจผิดกฎหมายปลอมพาสปอรตและวีซา นํ า 16 ยาเสพติดมาจําหนายใหบารเบียร และคาหญิงโสเภณีในยานพัฒนพงษ และพัทยา จะเห็นไดวา ถึงแมจะมีการประกอบธุรกิจที่ผิดกฎหมาย หรือมีการประกอบอาชญากรรมโดยสมาชิกของกลุ ม องคกรอาชญากรรมดังกลาว แตการกระทําของหัวหนาองคกรที่อยูเบื้องหลังการประกอบอาชญากรรมนั้น กลับไมเปน ความผิด หรือไมถูกนําตัวมาดําเนินคดี เนื่องจาก ในปจจุบันนี้กฎหมายไทยบัญญัติความผิดแกการมีสวนรวมเฉพาะใน ความผิดบางฐานเทานั้น เชน ความผิดฐานสมคบกันเปนกบฏ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 114 ความผิดฐานเปน อั้งยี่ และฐานซองโจร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 และ 210 ซึ่งความผิดฐานเปนอั้งยี่และซองโจรนั้น มี ขอจํากัดอยูมาก กลาวคือ ความผิดฐานเปนอั้งยี่นั้นไดกําหนดไววา สมาชิกหรือหัวหนาหรือผูที่มีตําแหนงในคณะบุคคล ซึ่ง ปกปดวิธีดําเนินการนั้น จะตองมีความมุงหมายเพื่อการอันมิชอบดวยกฎหมาย แตมิไดระบุวาเรื่องใด ทําใหขอบเขตของ ความผิดฐานนี้กวางมากเกินไป และหาพยานหลักฐานมาพิสูจนความผิดไดยาก ในทางปฏิบัติ จึงมีการฟองคดีนอยมาก สวนความผิดฐานซองโจรนั้น กําหนดองค ประกอบความผิดแคบเกินไป กลาวคือ ตองมีการสมคบกันตั้งแตหาคนขึ้นไป และเพื่อกระทําความผิดเฉพาะที่บัญญัติไวในภาค 2 แหงประมวลกฎหมายอาญาที่มีกําหนดโทษจําคุกอยางสูงไวตั้งแตหนึ่ง ปขึ้นไปดวย จึงไมอาจนํามาใชบังคับแกการดําเนินคดีกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งมีการประกอบอาชญากรรมอยาง กวางขวางในหลายความผิดทั้งในประมวลกฎหมายอาญา และตามกฎหมายอื่นดวย นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาเพื่อดําเนินธุรกิจถูกกฎหมายบังหนาแตมีการประกอบธุรกิจนอก กฎหมายอยูเบื้องหลังนั้น ถึงแมแนวความคิดของนักกฎหมายไทย แนวคําพิ พากษาของศาลฎีกาจะเห็นพองกันวา นิติ 16

ขอมูลจากหนังสือพิมพมติชนรายวัน, ฉบับวันที่ 10 มิถุนายน 2545.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 88

บุคคลมีความรับผิดทางอาญาได ทั้งนี้ เพราะนิติบุคคลสามารถแสดงเจตนา และกระทําการภายในวัตถุประสงคของนิติ บุคคลนั้น โดยผานทางผูแทนของนิติบุคคล เมื่อนิติบุคคลมีการแสดงเจตนากระทําการอันเปนความผิดตอกฎหมายการ กระทํานั้น ยอมเปนความผิด และนิติบุคคลนั้นยอมตองรับผิดทางอาญาก็ตาม แตโทษที่จะลงแกนิติบุคคลนั้นจะลงไดเพียง เทาที่ลักษณะแหงความผิดจะเปดชองใหลงแกนิติบุคคลได ซึ่งตองพิจารณาตามลักษณะความผิดพฤติการณแหงการ กระทํา และอํานาจหนาที่ของผูแทนนิติบุคคลประกอบกับวัตถุประสงคข องนิติบุคคลเปนราย ๆ ไป ทั้งนี้ ตามนัยคํา พิพากษาฎีกาที่ 787-788/2506 ประชุมใหญ ซึ่งมีเพียงโทษปรับและริบทรัพยสินเทานั้น ทั้งที่ตามสภาพแลว จะนํามา ลงโทษแกนิติบุคคลได และที่สําคัญ คือ มีกฎหมายบางฉบับไดบัญญัติการลงโทษแกนิติบุคคลโดยเฉพาะ โดยผูจัดการ หรือ ผู แ ทนอื่ น ที่ ก ระทํ า การภายในของวั ต ถุ ป ระสงค ข องนิ ติ บุ ค คลนั้ น ไม ต อ งรั บ ผิ ด เป น การส ว นตั ว แต อ ย า งใด เช น พระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. 2497 มาตรา 14 บัญญัติหามมิใหผูไดรับใบอนุญาตการขนสงสาธารณะเขาทําการ ขนสงในเสนทางใดในลักษณะที่เปนการแขงขันกับผูไดรับใบอนุญาตการขนสงประจําทางในเสนทางนั้น (ซึ่งผูที่จะขอ ใบอนุญาตการขนสงสาธารณะประจําทางไดตามกฎหมายนี้ ตองเปนนิติบุคคลเทานั้น) ดังนั้น ผูที่มีความผิดตามมาตรานี้ได คือ นิติบุคคลผูรับใบอนุญาตฯ มิใชผูขับรถยนตหรือกรรมการ หรือผูจัดการ ของบริษัทเดินรถ ทั้งนี้ ตามนัยคําพิพากษาฎีกาที่ 674/2540 จึงเปนชองทางใหองคกรอาชญากรรมขามชาติ ถือโอกาส จัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาประกอบธุรกิจบังหนา แตเบื้องหลังนั้น กลับใชนิติบุคคลทํากิจการนอกกฎหมาย เมื่อถูกจับไดจะถูก ลงโทษปรับหรือริบทรัพยสิน สวนตัวผูประกอบอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนผูแทนนิติบุคคลนั้นหลุดพนความรับผิด กลับไปสรางความเสียใหแกประเทศไทยอยูทุกวันนี้ ตัวอยาง แกงมาเฟยเดนมารกที่เปนอดีตนายธนาคารหลบหนีคดี ฉอโกง และยักยอกเงินเขามาตั้งบริษัทขายสินคาทางไปรษณีย เมื่อมีผูสั่งซื้อสินคาจายเงินแลวไมสงสินคาให และแกงชาว 17 จีนที่เขามาเปดบริษัททองเที่ยวบังหนาแตเบื้องหลัง คือ “แกงคาลูกหมู” เปนตน

4. การบังคับใชโทษริบทรัพยสิน

เมื่อสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติถูกจับกุมดําเนินคดี โทษที่จําเลยจะถูกบังคับ ไดแก โทษจําคุก หรือโทษปรับ และอาจมีโทษริบทรัพยสินดวย โดยโทษริบทรัพยสินตามกฎหมายในปจจุบันนั้น มีขอจํากัดคอนขางมาก ศาลจะลงโทษริบทรัพยสินไดเฉพาะตามที่ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 33 และ 34 หรือตามที่มีกฎหมายอื่น ๆ บัญญัติไวเทานั้น ซึ่งแยกพิจารณา รายละเอียดไดดังนี้ 1. ทรัพยสินที่ผูใดทํา หรือมีไวเปนความผิด โดยมากมักเปนทรัพยสินที่มีลักษณะผิดกฎหมายในตัวเอง เชน อาวุธปนเถื่อน ยาเสพติด วัตถุสิ่งพิมพลามกอนาจาร 2. ทรัพยสินที่บุคคลไดใช หรือมีไวเพื่อใชในการกระทําความผิด หรือทรัพยสิน ซึ่งบุคคลไดมาโดยการ กระทําความผิด ซึ่งมักจะเปนทรัพยที่มีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิด เชน อาวุธที่ใชฆาผูอื่น สินคาที่ไดมาจากการ ละเมิดลิขสิทธิ์ เปนตน 3. ทรัพยสินซึ่งไดในมาตรา 143, 144, 149, 150, 167, 201 และ 202 คือ สินบนที่ใหเกี่ยวกับความผิดตอ เจาพนักงาน หรือทรัพยสินที่ไดใหเพื่อจูงใจบุคคลใหกระทําความผิด หรือเปนรางวัลในการที่บุคคลไดกระทําความผิด

4. การริบทรัพยในกฎหมายอื่น ๆ

จะเห็นไดวา ทรัพยสินที่ศาลจะสั่งใหริบไดนั้น จะตองเปนทรัพยที่เปนความผิดอยูในตัวเอง หรือเปน ทรัพยที่มีไว หรือใช หรือไดมา หรือมีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิดโดยตรงอยางใกลชิ ด เทานั้น แตถาเปนทรัพย 17

ขอมูลจากหนังสือพิมพมติชนรายวัน, ฉบับวันที่ 2 กันยายน 2545.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 89

ขององคกรอาชญากรรมขามชาติ หากไมใชทรัพยที่เปนความผิดอยูในตัวเอง หรือเปนทรัพยที่จําเลยมีไว หรือใชหรือไดมา หรือมีความเกี่ยวของกั บการกระทําความผิดโดยตรงอยางใกลชิดแล ว ถึงแม จะเปน ทรัพยสิ นที่ไดมาจากการกระทํ า ความผิดแตไดถูกแปรสภาพไป หรือถูกเปลี่ยนรูปไปเปนทรัพยสินอื่น หรือเปนทรัพยสินขององคกรอาชญากรรมที่พรอมจะ นํามาใชกระทําความผิดอยางใดอยางหนึ่งในอนาคต หากแตยังมิไดมีการกําหนดไวอยางชัดเจนวา จะนําไปใชกระทํา ความผิดใด เมื่อใดนั้น ยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใดใหศาลพิพากษาริบแตอยางใด จึงเปนเหตุใหองคกรอาชญากรรม ขามชาติ ยังคงมีทรัพยสินในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมายประกอบอาชญากรรม และขยายเครือขายตอไปได ถึงแมจะมี สมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติบางสวนถูกจับดําเนินคดีก็ตาม อนึ่ง เมื่อสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติถูก จับกุมดําเนินคดี พนักงานอัยการไมอาจมีคําขอให ศาลริบทรัพยสินอื่น ๆ ขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่ไดมาจากการกระทําความผิดแตไดถูกแปรสภาพหรือถูกเปลี่ยน รูปไป หรือทรัพยสินที่เปนเงินทุนในการดําเนินการขององคกรอาชญากรรมใหตกเปนของแผนดินได เนื่องจาก ไมใช ทรัพยสินที่ประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น ๆ บัญญัติใหอํา นาจศาลพิจารณาริบได ทั้งนี้ การขอใหศาลสั่งริบ ทรัพยสินตามประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายตาง ๆ นั้น สวนมากเปนโทษที่มีลักษณะเปนมาตรการทางอาญา ซึ่ง โดยปกติแลวจะตองมีการพิสูจนความผิดของผูกระทํากอน จึงจะบัง คับโทษได และลักษณะของทรัพยสินที่จะถูกริบ จะตองเปนทรัพยสินที่เกี่ยวของโดยตรงกับการกระทําความผิด แตถาทรัพยสินนั้นถูกแปรสภาพไปแลว กลายสภาพเปน 18 ทรัพยสินอื่นที่ศาลจะไมริบ

ปญหาและอุปสรรคของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาทั่วไปของไทย ประการแรก

ปญหาการขาดความรูความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพ กลาวคือ ในสวนของประชาชนเอง ซึ่งไมไดตระหนักถึงสิทธิบุคคลขั้นพื้นฐาน ของตนเอง และในสวนของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งไมเขาใจเจตนารมณที่แทจริงของระบบงาน ยุ ติ ธ รรมทางอาญา จึ ง ทํ า ให ก ระบวนการประชาธิ ป ไตย และหลั ก สิ ท ธิ มนุ ษ ยชนยั ง ไม เขมแข็งเทาที่ควร ประการที่สอง ปญหาเกี่ยวกับผูบังคับใชกฎหมายไมปฏิบัติหนาที่อยางจริงจัง โดยมีการเลือกปฏิบัติ ซึ่ง บางครั้งอาจเกี่ยวขอ งกับผลประโยชนสวนตัว หรือของบุค คลบางกลุ มทําใหระบบงาน กระบวนการยุติธรรมไมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางแทจริง ประการที่สาม ปญหาขอกฎหมายบางเรื่องไมมีความชัดเจน และมีความขัดแยงกัน อันเนื่องมาจากการมี กฎหมายบังคับใชในเรื่องเดียวกันหลายฉบับ ซึ่งมีการตราขึ้นในชวงและในสถานการณที่ แตกตางกัน จึงทําใหการบังคับใชกฎหมายเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพตามไปดวย ประการที่สี่ ปญหาการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่ไมตอเนื่องโดยเฉพาะอาชญากรรมที่มี ลักษณะเปนเครือขายขามชาติ ทําใหเกิดการกระทําความผิดในรูปแบบดังกลาวในอัตราที่ สูงขึน้ อยางตอเนื่อง

ปญหาและอุปสรรคในดานความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา ประการแรก

18

กฎหมายที่เกี่ยวของกับคดียาเสพติด คดีการคามนุษยขามชาติ คดีหลบหนีเขาเมือง และคดี ฉอ โกงนั้ น มีค วามแตกต างกั น ในสาระสํ าคั ญของกฎหมายและวิธี ปฏิ บั ติค อนขา งมาก

วีระพงษ บุญโญภาส, อาชญากรรมคาหญิง คาเด็ก กับกฎหมายปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน , บทบัณฑิตย เลมที่ 56 ตอน 2 มิถุนายน 2543, หนา 241-215.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 90

โดยเฉพาะการกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานในการดําเนินการ ซึ่งในบางประเทศมี กฎหมายเฉพาะในการนํ ามาใชพิ จารณาคดี ดัง กล าว แตบ างประเทศใชบ ทบั ญญั ติต าม กฎหมายอาญาทั่วไปของประเทศเปนหลักในการพิจารณาคดี ประกอบกับบางประเทศยัง ไมมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือระหวางประเทศและสนธิสัญญาระหวาง ประเทศวาดวยเรื่องนั้น ๆ เชน สนธิสัญญาการสงผูรายขามแดน หรือสนธิสัญญาการโอนตัว นักโทษ ทําใหการบังคับใชกฎหมายในเรื่องการตรวจคนจับกุม สืบสวนและสอบสวน และ ขั้นตอนในกระบวนการพิจารณาคดีแตกตางกันออกไป ประการที่สอง การใชชองทางทางการทูตซึ่งเปนชองทางปกติในกรณีที่ประเทศผูรองขอ และผูรับคํารองขอ ไมมีสนธิสัญญาระหวางกัน ไมมีความแนนอนขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐบาลและผลประโยชน ตางตอบแทนของแตละประเทศ โดยเฉพาะในกรณีที่ผูกระทําความผิดเปนประชาชนใน ประเทศของตน ที่ จะต อ งถู ก ส ง ตั ว ไปรั บ การพิ จารณาตั ด สิ น คดี แ ละต อ งรั บ โทษในอี ก ประเทศหนึ่ง ก็จะตองไดรับการพิจารณาจากรัฐบาลหรือมีกฎหมายที่บัญญัติไววาหามมิให สงตัวผูกระทําผิด ซึ่งเปนประชาชนในประเทศของตนไปรับโทษในตางประเทศ ทําใหกรณี ดังกลาวนั้น เปนปญหาตอการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติเปนอยางมาก ประการที่สาม ขอจํากัดดานอธิปไตยทางกฎหมายของแตละประเทศ ความแตกตางในดานฐานความคิด วิธีพิจารณาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญายังคงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกระบวนการ สรางความรวมมือระหวางประเทศเปนไปดวยความลาชาและไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร จึงมีความจําเปนที่จะตองใชชองทางอื่น ๆ ทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติเพื่อสรางความ รวมมือแบบไมเปนทางการ เพื่อใหเกิดประสิทธิผลมากขึ้น เชน หัวหนาตํารวจอาเซียน และ การประชุมทวิภาคีกับเพื่อนบาน เพื่อชวยใหการปองกันปราบปรามเกิดประสิทธิภาพมาก ขึ้น ประการที่สี่ มาตรการทางกฎหมายในการจัดการกับคนตางดาวหลบหนีเขาเมือง เชน พระราชบัญญัติ คนเขาเมือง พ.ศ. 2522 ใหอํานาจแกเจาพนักงานในการใชดุลพินิจในการผลักดันออก ประเทศโดยไมผานชองทางของการสงผูรายขามแดน เชน การเพิกถอนวีซา โดยใหเหตุผล ว า จะเป น ภั ย ต อ ความมั่ น คง ผู ต อ งหาก็ จ ะไม ถู ก พิ ม พ ล ายนิ้ ว มื อ ซึ่ ง เท า กั บ ทํ า ให กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไมสามารถจัดการกับปญหานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพและมี โอกาสที่จะเปนชองทางใหเกิดการทุจริตได

ปญหาและอุปสรรคของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีกรอบความรวมมือในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ชัดเจนมากขึ้นใน หวง 10 ปที่ผาน แตดวยลักษณะของความเปนรัฐที่กําลังพัฒนา และมีรูปแบบการเมืองการปกครอง และแนวนโยบายของ รัฐที่แตกตางกัน19 ทําใหการพัฒนาแนวทางความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคคอนขางลาชาไมสามารถกาว ทันกับรูปแบบการกระทําผิดสมัยใหมขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่เติบโตอยางรวดเร็วได โดยสามารถวิเคราะห ปญหาและอุปสรรคของความรวมมือในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ไดดังนี้

19

Keling, M.F. (2011). The development of ASEAN from historical approach.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 91

ประการแรก

การไมมีหลักกฎหมาย หรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคทีจ่ ะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะ พิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติที่ไดกระทําลงในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณี ความผิดที่มีถูกเริ่มตนกระทําในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําในอีกประเทศหนึ่ง และมี ค วามเสี ย หาย หรื อ ผลกระทบเกิ ด ขึ้ น ในอี ก หลายประเทศ แม ว า อาเซี ย นจะมี สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา แตในทางปฏิบัติยัง เปนไปดวยความลาชา อันเนื่องมาจากอุปสรรคดานภาษา ความแตกตางของกฎหมายในแง ของวิธีปฏิบัติ และดานขอมูล20 นอกจากนี้ มีเพียงบางประเทศในอาเซียนที่มีสนธิสัญญาวา ดวยการสงผูรายขามแดน และความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาระหวางกัน ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการนํา ตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ ขึ้นอยูกับนโยบายของแตละรัฐเปนสําคัญ21 เชน กรณีที่การวางแผน การสมคบคิด และการ ลงมือกระทําผิดอยูคนละประเทศ ศาลของประเทศใดควรจะมีอํา นาจในการรับฟอง และ พิจารณาคดีดวยเหตุผลใด เปนตน

ประการทีส่ อง

การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหวางประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนดวยกั นยังไม มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีที่ ประเทศไทยขอความ ชวยเหลือทางอาญาไปยังประเทศเพื่อนบานในอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากสนธิสัญญาระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือทาง อาญาและการส ง ผู ร า ยข า มแดน ซึ่ ง ในป จ จุ บั น ยั ง ไม ค รอบคลุ มทุ ก ประเทศ ทํ า ให ไ ม มี พันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ 22 หรือหากเปน การรองขอความชวยเหลือระหว างประเทศผานชองทางทางการทูต ก็ไมมีความแนนอน ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชน ตางตอบแทนเปนสําคัญ พบวา การกระทําผิด ของประชากรที่มาจากกลุมประเทศอาเซียนจะเปนเรื่องการหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมายเปนสวนใหญ ซึ่ งหนวยงานบังคับใชกฎหมายสามารถใช กฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิดเหมือนองคกรอาชญากรรมจากเอเชีย หรือแถบ ยุโ รป หรื อเปน ลัก ษณะที่ ผู กระทํา ความผิ ดมาจากประเทศในแถบอื่ น ๆ ของโลกมาใช ประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน การ ฉอโกงทางคอมพิวเตอร กลุมผูกอการรายขามชาติ กลุมยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธ ขามชาติ เปนตน ความไมเพียงพอของกฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยู เนื่องจาก การดําเนินคดีกับ อาชญากรรมข า มชาติ โดยเฉพาะที่ จั ด ตั้ ง ในลั ก ษณะองค ก รมี ค วามสลั บ ซั บ ซ อ น และ

ประการทีส่ าม

20

ประพันธ นัยโกวิท และประธาน จุฬาโรจนมนตรี. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการพัฒนา กฎหมายความรวมมือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญา. วารสารนิติศาสตร 33(3), 542-552 21 Emmers, R. (2003). The threat of transnational crime in Southeast Asia: Drug trafficking, human smuggling and trafficking, and sea piracy. Discussion Papers. Institute of Defence and Strategic Studies (IDSS), Singapore 22 สุนิสา สถาพรเสริมสุข. สัมภาษณเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ สํานักงานการตางประเทศ สํานักงานอัยการสูงสุด.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 92

ประการทีส่ ี่

ประการทีห่ า

23

เชื่อมโยงในลักษณะเครือขายเกี่ยวเนื่องกันในหลายประเทศ ทําใหตองใชเทคนิควิธีการ สืบสวนสอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานเปนกรณีพิเศษ หากแตกฎหมายภายในทีใ่ ชใน แตละประเทศ โดยมากมีวัตถุประสงคเพือ่ บังคับใชแกการประกอบอาชญากรรมของปจเจก บุคคล หรื อการประกอบอาชญากรรมที่ มี การสมคบกันในกรณี ธรรมดาทั่ วไป ทํ าใหไ ม สามารถเอาผิดกับตัวผูกระทําผิดที่อยูเบื้องหลัง ซึ่งมักมีการประกอบธุรกิจถูกกฎหมายบัง หนาได นอกจากนี้ หลายประเทศยังไมมีกฎหมายปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ที่ใหอํานาจพิเศษแกเจาพนักงานในการสืบสวนสอบสวน เชน การดักฟงโทรศัพท (wire tapping) การใชสายลับในการสืบสวน (undercover operation) การใชอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสสะกดรอย (intelligence by electronic devices) การจัดสงภายใตการ ควบคุม (controlled delivery) รวมถึงการบัญญัติโทษริบทรัพยสินที่ยังมิไดใชในการ กระทําผิด หรือมีไวเพื่อกระทําผิด หรือพรอมที่จะใชกระทําความผิดอยางหนึ่งอยางใดใน อนาคต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ใชในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย ประกอบอาชญากรรม และขยายเครือขายขององคกรอาชญากรรมขามชาติ23 การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาที่มักพบได ในหลายประเทศในอาเซียน แอฟริกา และตะวันออกกลาง อันมีสาเหตุมาจากความไม พรอมดานโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่ มักยึดติดกับแนวคิดการปองกั น อาชญากรรมแบบเดิม ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปราบอาชญากรรมขามชาติ ซึง่ เปนปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิม ในการจั ด การได และการทํ า งานแบบแยกส ว น ภารกิ จ ของหน ว ยงานทํ า ให ข าดการ ประสานงาน และแลกเปลีย่ นขอมูลระหวางกัน24 เชน ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงาน ที่เขามาเกี่ยวของกับภารกิจการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติเปนจํา นวนมาก เชน สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการปราบปราม กองบังคับปราบปรามการคามนุษย กองการตางประเทศ ศูนยปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ กระทรวงกลาโหม กรม ศุลกากร และหนวยปฏิบัติการตาง ๆ หากแตในทางปฏิบัตินั้น ขาดเอกภาพในการบริหาร จัดการ ในขณะทีอ่ ีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตัง้ หนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้ โดยตรงทํา ใหเกิดความไมชัดเจนในการประสานการปฏิบัติ การขาดทักษะและความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของประเทศอาเซียนที่จะจัดการกับ ปญหาอาชญากรรมขามชาติ25 ตองยอมรับวา ภาษา และวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน ทีย่ ัง

คมกริช ดุ ลยพิทัก ษ. (ม.ป.ป.) ปญหาการดํา เนินคดีองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. สืบคน เมื่อ 1 ตุลาคม 2556. เว็บ ไซต ww.chaibadancrime.com/images/sub_1353041547/11080811829.doc 24 Broome, J. (2000). Transnational crime in the twenty-first century. Paper presented at the Transnational Crime Conference, Canberra, 9-10 March 2000. 25 Intararam, Kanchon. (2001). Problems and obstacles (of investigators) in transnational organized crime investigation in the Metropolitan Police Bureau. Thesis for Master of Arts (Criminology and Criminal Justice). Mahidol University; สายันต สุโขพืช. (ม.ป.ป.). ผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียนดานกฎหมายและกระบวนการ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 93

ประการสุดทาย

มีความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศตาง ๆ มีภาษาเขียนและภาษาพูด เปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ การ จัด ทํ า คํ าร อ งขอความช วยเหลื อทางอาญา จํ า เป น ต อ งใช ภาษากลางในการสื่ อสาร ซึ่ ง โดยทั่ วไปจะใชภาษาอั งกฤษ ดั งนั้ น การสรรหาบุ คลากรที่ มีทัก ษะทั้ งในดานของภาษา กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศ จึงเปนเรื่องที่เป นจําเปน ตอการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการประสานความรวมมื อระหว า ง ประเทศ การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับ ใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน แมวา ในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงาน ในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งในระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่ อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจอาเซียน แตกรอบความรวมมือ มีลักษณะเชิงนโยบายที่เนนการกระชับความสัมพันธ และการทํางานรวมกันแบบไมเปน ทางการ เชน การแลกเปลีย่ นมูลขาวสาร และการฝกอบรม ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑและขั้นตอน ทีแ่ นนอนเหมือนเชนความรวมมือระหวางประเทศที่ใชกระบวนการทางกฎหมาย ประกอบ กับโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่แตกตางกันออกไปในแตละประเทศ ทําให ความรวมมือขึ้นอยูกับประโยชนตางตอบแทน และนโยบายของรัฐเปนสําคัญ

โอกาสและความเสี่ยงของกระบวนการยุติธรรมเมื่อประเทศไทยเขาเปนสมาชิกประชาคม อาเซียน โดยเฉพาะมิติดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตลอดระยะเวลา 47 ปที่ผานมาของอาเซียน ไดมีการประสานความรวมมือในดานตาง ๆ ระหวางชาติสมาชิก อยางคอยเปนคอยไป แตในป พ.ศ. 2558 กําลังจะเปนยางกาวสําคัญของอาเซียน คือ การเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งจะทําใหชาติสมาชิกทั้ง 10 ประเทศเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และถือเปนโอกาสสําคัญของ ประเทศไทยในการขยายฐานจํานวนผูบริโภคสินคาและบริการจาก 65 ลานคนเปน 600 ลานคน รวมถึงโอกาสในการ เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและการลงทุนรวมกับประเทศสมาชิกอาเซียนโดยเสรีมากขึ้น อยางไรก็ดี โอกาสดังกลาวอาจจะ กลายเปนวิกฤติได หากไมมีการเตรียมความพรอมอยางรัดกุมและรอบดาน โดยเฉพาะมิติดานกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ใหสอดคลองกั บการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ซึ่งนับเปนสิ่งที่ประเทศไทยตองใหความสําคัญ ดังนั้น ขอนําเสนอโอกาสและความเสี่ยงของกระบวนการยุติธรรม เมื่อประเทศไทยเขาเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน ไว ดังนี้ 1) โอกาส 1. ประเทศไทยจะมีโอกาสรวมมือกับสมาชิกประชาคมอาเซียน ทั้งทางดานกฎหมายการทําขอตกลง การ นํากฎระเบียบแนวทางปฏิบัติของแตละประเทศมารองรับ ซึ่งจะเปนการสานความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิกใน ประชาคมอาเซียนใหมีความแนนแฟนมากยิ่งขึ้น 2. เมื่ อ มีก ารเข า สู ประชาคมอาเซี ยนแล ว จะทํ า ใหก ระบวนการยุ ติธ รรมทางอาญาและการบั งคั บ ใช กฎหมายของไทย มีการพัฒนาและกาวทันตอสถานการณอาชญากรรมตาง ๆ มากยิ่งขึ้น ตัวอยางเชน ยาเสพติด หรือ อาชญากรรมรายแรงอื่น ๆ ใหสามารถควบคุมและลงโทษผูกระทําความผิดหรือองคกรอาชญากรรมขามชาติใหไดอยาง เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพมากขึ้น


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 94

3. เมื่อมีการเขารวมกลุมประชาคมอาเซียน จะเปนโอกาสใหหนวยงานตาง ๆ ในกระบวนการยุติธรรมเกิด กระแสความตื่นตัวในการพัฒนาหนวยงาน อาทิ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กระทรวงยุติธรรม ศาล อัยการ ราชทัณฑ หรือ หนวยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม โดยมีการพัฒนาการทํางานทั้งในระดับองคกรและบุคลากร ทั้ง บุคลากรในระดับปฏิบัติการและระดับบริหารงาน โดยการเปดโอกาสใหเจา หนาที่ไดมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน และ สงเสริมการทํางานเปนทีมเพื่อใหบุคลากรไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรางภาวะผูนํา โดยการพัฒนาทางดาน ความรูความสามารถที่เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ภาษา รวมถึงความตระหนักรูของบุคลากรเกี่ยวกับกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหบุคลากรสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเต็มความสามารถ การพัฒนาบุคลากรจึงเปนเรื่องที่มี ความสําคัญอยางยิ่ง และเปนโอกาสที่ดีในการนําไปสูการพัฒนากระบวนการยุติธรรมของไทยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4. การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ย น ทํ า ให ภู มิ ภ าคนี้ เ ป น ที่ ส นใจของประเทศมหาอํ า นาจ เช น สหรั ฐอเมริ ก า และจี นมากขึ้ น รวมถึ ง ประเทศที่พั ฒนาแลว อื่ น ๆ ที่ มี พลั ง อํา นาจทางเศรษฐกิ จมากกว า เช น ญี่ ปุ น ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และสหภาพยุโรป เปนตนที่จะเขามาลงทุนในดานต าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ประเทศไทยเปนศูนยกลางของการคมนาคมของภูมิภาคและปกครองดวยระบอบเสรีนิยมประชาธิปไตย ซึ่งเปด กวางกวาประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงเปนโอกาสอันดีที่ประเทศไทยจะไดรับความชวยเหลือทั้ง ทางดานเศรษฐกิจ เทคโนโลยี บุคลากร และวัสดุอุปกรณตาง ๆ โดยเฉพาะที่จําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงาน บังคับใชกฎหมาย 5. ปญหาที่เกิดขึ้นเมื่อมีการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ ปญหาเรื่องความแตกตางของ ระบบกฎหมายที่ใชบังคับในแตละประเทศ ในบางประเทศใชกฎหมายลายลักษณอักษรเชนเดียวกับประเทศไทย (Civil law tradition) แตบางประเทศใชกฎหมายจารีตประเพณี (Common law system) ดังนั้น เมื่อเกิดขอพิพาทคดีอาญา อาจจะทําใหเกิดปญหาในการบังคับใชกฎหมายที่เหมาะสม และเปนธรรมได ดังนั้น จึงเปนโอกาสที่ดีสําหรับประเทศไทยที่ จะตองปรับปรุงแกไขกฎหมายภายในประเทศ ทั้งกฎหมายสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติเพื่อใหมีความสอดคลองกับการเขาสู ประชาคมอาเซียน โดยใหหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ในการปรับปรุงแกไขกฎหมายไดเรงศึกษาขอบกพรองของกฎหมาย ภายในประเทศที่มีอยู และจะตองศึกษาทบทวนกฎหมายของแตละประเทศ เพื่อปรับกฎหมายของแตละประเทศเขาหา กัน (Harmonization of legal system) อันจะนํามาซึ่งหลักกฎหมายรวมกันของอาเซียน (Common law of ASEAN) หลายฉบับ รวมทั้งจะตองสรางความตระหนักรูในดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหแกประชาชนตอไป 2) ความเสี่ยง 1. เนื่องจาก ประเทศไทยยังไมมีการศึกษาระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศ อื่น ๆ ในเชิง ลึกมากเท าที่ค วร จึง สง ผลทําใหยั งขาดความรูค วามเข าใจในเรื่ องเกี่ยวกั บรากฐานระบบกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรมของประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียนอยูมาก ดังนั้น เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว อาจมีแนวโนมที่ จะเกิดปญหาการบังคับใชกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาระหวางกันได 2. จากการศึก ษา พบวา คนไทยมีทั กษะการใชภาษาอังกฤษอยูในระดับที่ดอยกวาประเทศอื่น ๆ ใน ภูมิภาคอาเซียน ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศไทยไมไดใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลักประกอบกั บระบบการเรียนการสอนของ ประเทศไทยไมไ ด มุ ง เน น ให นัก เรี ยนสามารถนํ า ไปใช ป ฏิ บัติ ไ ด จริง มากเท า ที่ ค วร ส ง ผลทํ า ใหค นไทยมี ทั ก ษะการใช ภาษาอังกฤษอยูในระดับที่ดอยกวาประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งผลจากการที่คนไทยมีทักษะความรูภาษาอังกฤษนอย ทําใหเปนอุปสรรคในการศึกษา หรือทําความเขาใจตัวบทกฎหมายของประเทศในกลุมภูมิภาคอาเซียนอยางลึกซึ้ง ซึ่งถือวา เปนจุดเสียเปรียบประเทศอื่น ๆ ในกลุมภูมิภาคอาเซียนเปนอยางมาก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 95

3. การที่ป ระเทศไทยมี ส ภาพเศรษฐกิจที่ ดี กว า ประเทศสมาชิก บางประเทศ เช น กัมพู ช า สปป.ลาว เมียนมาร เปนเหตุใหประชาชนจากประเทศดังกลาวเดินทางเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวนมาก ทั้งที่ชอบดวย กฎหมายและไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งอาจสรางปญหาตอความมั่นคงตอประเทศในอนาคต กลาวคือ เมื่อผูใชแรงงาน เหลานี้อยูในประเทศไทยเปนเวลานาน ก็สามารถพูดฟงและเขาใจภาษาไทยไดดีขึ้น แตในทางกลับกันคนไทยไมไดใหความ สนใจที่จะเรียนรูภาษาของบุคคลเหลานี้ ทําใหประเทศไทยเสียเปรียบเปนอยางมาก 4. แมวา ประเทศไทยจะมี กระบวนการตรวจสอบและถวงดุ ลในกระบวนการยุติธรรมทั้งภายในและ ระหวางองคกรที่ครบถวน แตหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับงานยุติธรรม ยังมิไดนําระบบการบริหารจัดการที่ดีมาใชอยาง เต็มที่ เนื่องจาก ยังคงยึดติดกับคานิยมและวัฒนธรรมแบบไทย ๆ ไดแก ความเปนพรรคพวกเพื่อนฝูง ระบบลูกพี่ลูกนอง และระบบผลประโยชนตางตอบแทนที่เปนการเอื้อการประโยชนคอนขางสูง ดังนั้น การเขาสูประชาคมอาเซียนอาจเปน ชองโอกาสใหกลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติใชชองทางดังกลาวกระทําผิด โดยการใหผลประโยชนแกเจาหนาที่ของรัฐ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการบังคับใชกฎหมายแบบเขมงวดกวดขัน หรืออาจชักชวนใหเจาหนาที่ของรัฐรวมกระทําผิดดวย

ความเสี่ยงดานอาชญากรรมเมื่อประเทศไทยเขาสูการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 1) อาชญากรรมประเภทหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการคามนุษย เนื่องจาก เมื่อเปดประชาคมอาเซียน จะมีนักลงทุนเขาไปลงทุนในกลุมประเทศภูมิภาคอาเซียนมากยิ่งขึ้น ทั้งคนไทยก็จะมีโอกาสไปลงทุนในตางประเทศ และ คนตางประเทศที่เปนประเทศขางเคียงก็มีโอกาสมาลงทุนในประเทศไทยเชนกัน ดังนั้น เมื่อมีกลุมคนเขาไปลงทุนทําธุรกิจ ในตางประเทศมากยิ่งขึ้น สิ่งที่ตามมา ก็คือ อัตราความตองการกลุมคนผูใชแรงงานที่จะมีเพิ่มสูงมากขึ้นตามลําดับ อันจะ สงกระทบทําใหเกิดการอพยพเคลื่อนยายคนในลักษณะเขาเมืองอยางผิดกฎหมายมากขึ้น รวมไปถึงจะมีอาชญากรรมใน รูปแบบของการคามนุษยเพิ่มสูงมากยิ่งขึ้นตามไปดวย 2) เนื่ อ งจาก ประเทศไทยมี พ รมแดนที่ ติ ด ต อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นหลายประเทศ ได แ ก สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร และมาเลเซีย ซึ่งทําใหเกิด การ ลักลอบขนยาเสพติดในบริเวณชายแดนเปนจํานวนมาก ดังนั้น ในมุมมองของผูเชี่ยวชาญระดับผูบริหารของหนวยงานใน กระบวนการยุติธรรมโดยสวนใหญ จึงมีความเห็นวา เมื่อเปดประชาคมอาเซียนแลว ก็จะมีการเดินทางเขาออกระหวาง ประเทศที่สะดวกยิ่งขึ้น สงผลทําใหการลักลอบขนยาเสพติดเขามาตามแนวชายแดนของประเทศ มีแนวโนมสูงเพิ่มมากขึ้น ตามไปดวย 3) อาชญากรรมขามชาติในแงอาชญากรรมเศรษฐกิจ เนื่องจาก เมื่อเปดประชาคมอาเซียนจะมีนักลงทุนมา ลงทุนทําธุรกิจมากยิ่งขึ้น ดังนั้น อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ตัวอยางเชน การฟอกเงิน การปลอมแปลงธนบัตร การฉอโกง และแกงคอลเซ็นเตอรก็ทําใหมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย

ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ประเทศไทย มีการพัฒนาทางดานสัง คม และเศรษฐกิ จ เชนเดี ยวกับประเทศตา ง ๆ ในภู มิภาคเอเชีย โดย ประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชียกําลังมีบทบาททางสังคม และเศรษฐกิจของโลกไมนอยกวาประเทศในภูมิภาคแถบอื่น ๆ สืบเนื่องจาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยีชวยใหการเดินทาง และติดตอสื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําให ชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองกฎหมาย และลักลอบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมายมีจํานวนมากขึ้น ซึ่ง จะมีการรวมตัวของผูกระทําผิดในลักษณะองคกรอาชญากรรมขามชาติ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 96

ผลกระทบจากปญหาที่เกิดขึ้นจากอาชญากรรมขามชาติ แผขยายเพิ่มความรุนแรงไปทุกภูมิภาคทั่วโลก และได นํามาซึ่งผลกระทบตอสังคมในทุกดาน จนองคการสหประชาชาติ องคกรภูมิภาค เชน อาเซียนและทุกประเทศตาง ก็ได ออกมารณรงคในการแกไขปญหาดังกลาว ทั้งนี้ ในภาพรวมแลว อาชญากรรมขามชาติสงผลตอความมั่นคงของสังคม จาก การบอนทําลายของสิ่งเลวราย ไมวาจะเปนยาเสพติดที่ทําลายทรัพยากรบุคคล การคามนุษย และปญหาโสเภณี อันนํามา ซึ่งการละเมิดสิทธิมนุษยชน และทําลายศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยชาติ การลักลอบคาอาวุธ อันนํามาซึ่งการใชอาวุธไป ในทางที่รุนแรง เพื่อการกออาชญากรรม การตอสูกันในสังคมโลก นอกจากนี้แลว ปญหาการกอการราย ซึ่งอาจกลาวไดวา เปนปญหาอาชญากรรมขามชาติ ประการหนึ่ง ที่ถูกยกระดับความสําคัญขึ้ นมา ทําใหเราไดเห็นถึงความรุนแรง และ ผลกระทบที่เกิดขึ้นในทุกมุมโลกจากปญหานี้ ในภาพที่เฉพาะเจาะจงลงมา อาชญากรรมขามชาติสามารถบอนทําลาย ระบบการเมืองของประเทศ จากการคอรรัปชั่นของเจาหนาที่ รวมถึงตํารวจ จะนํามาซึ่งความไมไววางใจในระบบการ ปกครองของรัฐ และการไมใหการสนับสนุนตอตํารวจ ในการปฏิบัติหนาที่ตอไป และผลที่ตามมา ก็คือ การทําลายระบบ เศรษฐกิจของชาติ ดวยการสรางปญหาใหกับระบบการเงินของประเทศ การเขาไปขัดขวางการกระบวนการตรวจสอบดาน การเงินของรัฐ อีกทั้งยังทําลายทรัพยากรคนของชาติ ที่จะนํามาซึ่งการพัฒนาประเทศตอไป และในดานสังคม ปญหา อาชญากรรมขามชาติ นํามาซึ่งแกงอาชญากรตามถนน การติดยาเสพติด และความรูสึกตอตานสังคมของประชาชน ภาพรวมจากผลกระทบดังกลาว ก็คือ การทําลายซึ่งการพัฒนาความเจริญของประเทศนั้น ๆ ในขณะเดียวกัน ปญหา อาชญากรรมขามชาติ เชน การลักลอบขนยาเสพติด ขนแรงงาน หรือลักลอบคายานพาหนะ ก็อาจนํามาซึ่ง ปญหาความ ขัดแยงกันระหวางประเทศได ผลที่ตามมาก็คือ ความออนแอลงของสังคมมนุษยทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก สาเหตุของปญหาทําใหประเทศไทยไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติไดหมดสิ้นไปได เกิดจากสาเหตุ หลายประการ เชน บทกฎหมายที่ไมมีสภาพการบังคับใชเทาที่ควร การกําหนดวิธีปฏิบัติในการจับกุม การดําเนินคดีอาญา และการพิจารณาลงโทษแกผูกระทํา ซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติ มีการดําเนินคดีอาญาเชนเดียวกับ คดีอาญาทั่ว ๆ ไป เปนตน ซึ่งแนวทางการแกไขปญหาการปราบปราม ปองกัน และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน การจัดตั้งหนวยมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง การจัดการศึกษาอบรมใหกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติทุกหนวย การแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เปนสมาชิกองคการตํารวจสากล ซึ่งปจจุบันมี ดวยกัน ทั้งหมด 181 ประเทศ ตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัยตลอดเวลา

ปญหาและอุปสรรคในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ การตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติของกลุมประเทศอาเซียน จะเปนจุดเริ่มตน และกอใหเกิดการพัฒนา ไปสูการเปนประชาคมอาเซียนในดานการเมืองและความมั่นคง แตในปจจุบันตองยอมรับวา ยังคงมีขอขัดของที่อาจจะเปน อุปสรรคในการดําเนินงานที่ประเทศสมาชิกจําเปนตองรู และหาวิธีจัดการ อันที่จริงตองยอมรับวา มีความคืบหนานอย มากในความรวมมือกันในกลุมประเทศอาเซียน ในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบ ซึ่งในที่นี้ คือ อาชญากรรม ขามชาติ ความรวมมือในการตอสูภัยดานความมั่นคงนั้น มักจะมีประเด็นที่ตองกระทบตออํานาจอธิปไตยของประเทศ สมาชิก ทําใหไมคอยมีประเทศใดกลาออกมาเปนผูนําอยางจริงจัง นอกจากนี้ ประเด็นบางประเด็นยังถูกมองวา เปนเพียง ประเด็นระดับทวิภาคี อยางเชน ปญหายาเสพติดจากเมียนมารที่ไหลเขามาสูประเทศไทย หรือปญหาโจรสลัดในชองแคบ มะละกาที่เปนประเด็นระหวางมาเลเซียกับอินโดนีเซีย ซึ่งไมตองการใหประเทศที่สามเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา ยิ่งไปกวานั้น บางประเด็นยังถูกมองวา เปนเรื่องของประเทศใดประเทศหนึ่งดวย เชน ปญหากลุมอาชญากรรมจาก ประเทศรัสเซียที่เขามาประกอบธุรกิจอยูในประเทศไทย ซึ่งประเด็นตาง ๆ ดังกลาว แมวา จะเปนปญหาอาชญากรรมขาม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 97

ชาติ แตก็ไมไดสรางแรงจูงใจใหประเทศสมาชิกอื่น ๆ เขามามีสวนรวม ฉะนั้น เมื่อประเด็นเรื่องอาชญากรรมขามชาตินั้น ถูกมองเปนเรื่องระหวางสองประเทศ หรือเรื่องภายในประเทศใดประเทศหนึ่ง วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ก็มักจะถูก นํามาใชทันที โดยการไมเขาไปยุงเรื่องภายในประเทศของอีกฝาย หรือไมเขาไปยุงกับความขัดแยงของทั้งสองฝายดวย พื้นฐานวิถีอาเซียนที่วา ความขัดแยงระดับทวิภาคีใด ๆ จะตองไมทําลายเสถียรภาพ และความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ซึ่งหมายความวา ประเทศสมาชิกที่ไมเกี่ยวของจําเปนตองหลีกเลี่ยงการเขาไปมีสวนรวมใด ๆ ในการแกไขปญหา นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนขาดแรงจูงใจในการแกไขปญหารวมกัน กลับเปนประเทศภายนอกอาเซียนที่ เขามามีอิทธิพลและสรางแรงจูงใจใหกับประเทศสมาชิกอาเซียนเขามารวมมือกัน ซึ่งจะเห็นไดชัดเจนในประเด็นปญหา เรื่องโจรสลัด โดยญี่ปุนเปนประเทศแรกที่เสนอการแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป ค.ศ. 1999 หลังจากการประชุม ASEAN+3 ซึ่งในขณะนั้น เรือสินคาญี่ปุนตองประสบกับภัยโจรสลัดในนานน้ําบริเวณ เอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูบอยครั้ง ซึ่งญี่ปุนเปนผูผลักดันในการจัดการประชุมเรื่องภัยโจรสลัด ในป ค.ศ. 2000 กับ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน และรวมกับบังคลาเทศ จีน ฮองกง อินเดีย เกาหลีใต และศรีลังกา รวมถึงผลักดันโครงการที่มีชื่อ วา “Asia Anti-Piracy Challenges 2000” และรัฐบาลญี่ปุนยังเขามารวมมือกับอาเซียนอยางจริงจังในการลงนาม ขอตกลง Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป ค.ศ. 2004 และนํามาบังคับใชในป ค.ศ. 2006 ซึ่งภายใตขอตกลงนี้ ญี่ปุนเปนผูสนับสนุนดาน การเงินและการฝกซอมเพื่อตอตานภัยจากโจรสลัด และอีกตัวอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดเจน คือ การที่จีนเขามาผลักดัน โครงการตอตานการคายาเสพติดกับไทย สปป.ลาว และเมียนมาร เพือ่ ตอตานยาเสพติดที่ขนผานมณฑลยูนานทางตอนใต ของประเทศจีน โดยมีความพยายามจัดตั้ง ASEAN and China Cooperative Operations in Response to Dangerous Drugs (ACCORD) ในป ค.ศ. 2000 และมีการปรับปรุงใหม ในป ค.ศ. 2005 อยางไรก็ตาม โครงการ ACCORD ก็ลมเหลวอยางสิ้นเชิงทั้งการนําไปใชและการปฏิบัติงานรวมกัน โดยสรุป การปราบปรามอาชญากรรมในรู ปองคก รประเทศต าง ๆ ในทวีป เอเชีย ตอ งเผชิญกั บป ญหาการ 26 ปราบปรามอาชญากรรมในรูปขององคกรคลายกัน กลาวคือ ในการปราบปรามอาชญากรรมในรูปแบบดังกลาวตอง ประสบกับอุปสรรคนานาประการ เชน 1. ความผูกพันในเรื่องชาติพันธของสมาชิกแกงตาง ๆ การเกรงกลัวตอโทษที่ปาเถื่อนโหดราย ซึ่งจะไดรับเมื่อมี การเปดเผยความลับ ความมีเลหเหลี่ยมมากขึ้น ฯลฯ สิ่งเหลานี้ นับเปนอุปสรรคที่ทําใหการตามจับอาชญากรรมทั้งหลาย ลําบากมากขึ้น 2. ในการดําเนินธุรกิจดานการเงินที่ผิดกฎหมายของแกงตาง ๆ ไดสรางความสับสนใหกับศาลเปนอยางมาก เมื่อ มีคดีในเรื่องดังกลาวมาสูศาล เพราะวาแกงเหลานั้นใชระบบธนาคารแบบใตดิน ซึ่งไดรับการหนุนหลังจากรานคาทอง บริษัท และผูประกอบธุรกิจแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในเมืองใหญ ๆ หลายประเทศ 3. การสื่อสารโดยใชโทรศัพท โทรสาร และการลักลอบสงวิทยุสื่อสารขามทวีป เพื่อโอนเงินนับลานดอลลารรอบ โลกภายในเวลาไมกี่ชั่วโมง และเนื่องจาก ผูที่รวมกระบวนการในแกงตาง ๆ ยังเปนคนในระบบครอบครัวที่มีความผูกพัน ใกลชิด ทั้งภายในแกง ในวงการธุรกิจ จึงทําใหแกงเหลานั้นสามารถหลีกเลี่ยงการเก็บภาษี การปราบปราม และยังคงความ ยิ่งใหญอยูได ในขณะเดียวกัน แกงตาง ๆ ก็ไดเรียนรูที่จะโตตอบ และขัดขวางการปราบปรามดวยวิธีรุนแรงของรัฐบาล เชน หากรัฐบาลเริ่มใชเรดาร และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัยในการติดตามผูลักลอบคายาเสพติด พวกเขาก็จะใช อุปกรณดังกลาวเชนกัน รัฐบาลของประเทศตาง ๆ พยายามใชวิธีการขัดขวางโตตอบการคุกคามขององคกรอาชญากรรม ดังกลาว 26

รัชนีกร โชติชัยสถิต และกุลพล พลวัน. (2533). ประเทศไทยกับปญหาองคกรอาชญากรรมในอนาคต. รัฐสภาสาร : (กรกฎาคม 2533). หนา 18.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 98

การควบคุมปราบปรามและตอตา นองค กรอาชญากรรมนั้นทํ าไดยาก เนื่ องจาก ลักษณะของอาชญากรรม ประเภทนี้ มีวิธีและการดําเนินงานขององคการที่มีการวางแผน มีการบริหาร และที่สําคัญมีขาราชการ และนักการเมือง ร ว มมื อ ด ว ย นอกจากนั้ น สมาชิ ก ขององค ก ารมี ค วามภั ก ดี ส ามั ค คี ใ นระดั บ สู ง มาก ซึ่ ง ป ญ หา และอุ ป สรรคในการ ปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ มีดังนี้ 1. มาตรการที่ใชปราบปรามองคกรอาชญากรรมในปจจุบัน แสดงใหเห็นวา เปนกรณีตางคนตางทําโดยไมมีการ ประสานงานกันอยางเปนระบบระหวางหนวยงาน ขาดความรวมมือ และความไววางใจซึ่งกันและกัน 2. มาตรการทางกฎหมายในการตอตาน และปราบปรามองคกรอาชญากรรม และกรณีองคกรอาชญากรรมขาม ชาติ ความรวมมือระหวางประเทศยังไมมากเทาที่ควร 3. ไมมีหนวยงานอันเปนศูนยรวมเฉพาะในการตอตาน และปราบปรามองคกรอาชญากรรมโดยตรง ความผิดที่ เกิด จากการกระทําขององค กรอาชญากรรม จะเปนหนา ที่ของหน วยงานที่ เกี่ยวขอ งเฉพาะแต ละฐานความผิด เช น ยาเสพติด คาแรงงานตางชาติ 4. ข า ราชการขาดความรู ความชํ า นาญเฉพาะด า น ไม ใ ห ค วามร ว มมื อ หรื อ ตกอยู ภายใต อิ ท ธิ พ ลองค ก ร อาชญากรรม และหากขาราชการไมปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย มีความรับผิดชอบตองานหนาที่ของตน อาชญากร องคการก็จะทํากิจการตาง ๆ ไดงายขึ้น อยางไรก็ดี อาชญากรรมมีอยูในทุกประเทศ ทุกสังคม ทั้ งในเอเชีย สหรัฐอเมริกา และยุโรปดังไดกลาวมาแลว เชน แกงมาเฟย และยากูซา แมใน ประเทศญี่ปุนจะไดชื่อวา มีอาชญากรรมนอย และเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรมก็ สามารถควบคุมปราบปรามอาชญากรรมไดผล แตแกงอาชญากรรมองคการก็เกิดขึ้น และขยายจํานวนแกงมากขึ้น ๆ เปน ลําดับ

ขอเสนอแนะดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการเขาสูประชาคมอาเซียน เพื่อเปนการการเตรียมความพรอมดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการเขาสูประชาคมอาเซียนในป 2558 รัฐบาลของประเทศอาเซียนจึงมีความจําเปนจะตองเสริมสรางความรวมมือระหวางกันในภูมิภาค และควรมียุทธศาสตร ความรวมมือของภูมิภคอาเซียนในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยสมควรพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของใน 3 ดาน ไดแก การพัฒนากลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหเหมาะสม การพัฒนาความรวมมือระหวาง ประเทศดานกฎหมายและการบริหารจัดการ และการพัฒนาเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปนี้ 1. การพัฒนากลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหเหมาะสม 1.1. รัฐอาเซี ยนควรใหผลัก ดันใหอ งคกรอาเซียนที่มีอยูในปจจุบัน เชน สํานักงานเลขาธิการอาเซียน สํานักงานเลขานุการตํารวจอาเซียน และศูนยฝกอบรมระหวางประเทศที่ตั้งอยูในภูมิภาคอาเซียนที่มีอยูแลว เชน สถาบัน ระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย (ILEA Bangkok) และศูนยความรวมมือการบังคับใช กฎหมายจาการตา (JCLEC) เปนหนวยงานภูมิภาคหลักในการกําหนด ผลักดัน ขับเคลื่อน และศึกษาวิจัยกระบวนการเชิง นโยบายทางอาญาของประเทศอาเซียนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจทําหนาที่เปนทั้งหนวยนโยบาย และหนวย ประสานงานดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรืออาจจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระดับรองในองคกรดังกลาว เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน เชน การจัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตรอาเซียน เพื่อ เปนศูนยกลางในการตรวจพิสูจนทางนิติวิทยาศาสตรและการฝกอบรมสําหรับนักนิติวิทยาศาสตรของอาเซียน เปนตน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 99

1.2. รัฐอาเซียนควรจัดตั้งทีมปฏิบัติการสืบสอบสวนรวมของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Investigative Team) ประกอบดวย หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลักที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจ อัยการ ศาล หนวยสืบสวนพิเศษ ศุลกากร และหนวยตรวจคนเขาเมือง ในลักษณะของทีมบูรณาการ ประกอบดวย หนวยสืบสวนสอบสวน หนวยนิติ 27 วิทยาศาสตร หนวยเทคโนโลยี หนวยปฏิบัติการพิเศษ เปนตน โดยใหมีอํานาจหนาที่ในการสืบสวนคดีอาชญากรรมขาม ชาติที่ สงผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศอาเซียนในวงกวา ง เชน การกอ การรายข ามชาติ การคา มนุษย และ อาชญากรรมคอมพิวเตอร เปนตน 1.3. รั ฐ อาเซี ยนควรจั ด ตั้ ง คณะกรรมาธิ ก าร เพื่ อ ศึ ก ษาทบทวนความเป น ไปได ใ นการจั ด ตั้ ง องค ก ร กระบวนการยุติธรรมในระดับภูมิภาคของอาเซียน เชน ศาลยุติธรรมอาเซียน สํานักงานอัยการอาเซียนควบคูไปกับองคกร ตํารวจอาเซียน ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นแลว เพื่อแกปญหาเรื่องเขตอํานาจศาลที่ถูกจํากัดโดยอํานาจอธิปไตยของแตละประเทศ โดย กําหนดโครงสรางองคกรและขอบเขตอํานาจหนาที่ภารกิจใหเ หมาะสมสอดคลองกับประเภทคดีที่สมควรจะนําขึ้นสู กระบวนการพิจารณาคดีในชั้นศาลใหชัดเจน เชน เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากลรายแรง และคดีสงผูรายขามแดน เปนตน เพื่อเปนการยกระดับหนวยงานบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับกฎหมายภูมิภาคที่มี ในป จ จุ บั น เช น สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยความช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ในเรื่ อ งทางอาญาของอาเซี ยน ค.ศ. 2004 และ กระบวนการยุติธรรม และศาลยุติธรรมของสหภาพยุโรปมาใชเปนแนวทางในการจัดโครงสรางองคกร และแนวทางการ ปฏิบัติงาน 2. การพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศดานกฎหมายและการบริหารจัดการ 2.1. รัฐอาเซียนควรกําหนดใหมีมาตรการทางกฎหมายรวมกันในหลากหลายมิติอยางเหมาะสม ทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการเพื่อรองรับการขยายตัวของภูมิภาคอาเซียน เชน มาตรการทางกฎหมายการฟอก เงิน มาตรการตอตานการกอการราย มาตรการสงเสริมสิทธิมนุษยชนอาเซี ยน มาตรการทางกฎหมายตอผูตองหาและ เหยื่อจากการคามนุษย เปนตน ซึ่งเปนที่คาดหมายไดวา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว ประชากรจากทุกประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนจะมีการเคลื่อนยายในกลุมประเทศอาเซียนดวยกันมากขึ้น อันเนื่องมาจากนโยบายเปดรับและอํานวย ความสะดวกแกเพื่อนบาน ดังนั้น การกําหนดใหมีอนุสัญญาภูมิภาคอาเซียนวาดวยเรื่องกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน ในลักษณะที่คลายกับกฎหมายของภูมิภาค อื่น เช น อนุสั ญญาสหภาพยุ โรปว า ดว ยการส ง ผูร า ยข า มแดน ค.ศ. 1957 และอนุสั ญญาสหภาพยุ โรปว า ดว ยความ ช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ทางอาญา ค.ศ. 1959 ที่ ว างหลั ก เกณฑ ใ ห แ ต ล ะประเทศถื อ ปฏิ บั ติ ร ว มกั น แบบกว า ง ๆ มี สาระสําคัญประกอบดวย บททั่วไป ความผิดอาญาที่จะใชกฎหมายดังกลาว หนวยงานบังคับใชกฎหมาย วิธีพิจารณาความ ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศ บทยกเวน และอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ สามารถเปนแนวทางหนึ่งที่จะทําใหการบังคับใช กฎหมายและการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคมีมาตรฐานใกลเคียงกันและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.2. รัฐอาเซียนควรสงเสริมผลักดันใหประเทศสมาชิกใชเครื่องมือ และกระบวนการบริหารจัดการทางคดี ระหวางประเทศที่มีอยู เชน ระบบฐานขอมูลและการตรวจพิสูจนขององคการตํารวจสากล ระบบฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ระบบการบริหารจัดการและสืบสวนคดี ซึ่งที่เกี่ยวของกับฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติหลายประเภท เชน การกอการ ราย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงขามชาติ การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรมคอมพิวเตอร อาชญากรรมเศรษฐกิจและการเงิน และอาชญากรรมสิ่งแวดลอม มาใชในการปฏิบัติงาน และใหสามารถยอมรับเปน พยานหลักฐานชั้นศาลได 27

Singh, J. (1999). Strategic ipact of Transnational Crime. in Hernandez, C.G. and Pattugalan, G.R. (eds) (1999). Transnational crime and regional security in the Asia Pacific. Manila, Philippines: Institute for Strategic and Development Studies.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 100

2.3. รัฐอาเซียนควรสงเสริมการพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ทั้งในรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใหความสําคัญตอความรวมมือและการใหความชวยเหลือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญาเพิ่มมากขึ้น และแสดงใหเห็นถึงความจริงใจที่จะใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันบนหลักปฏิบัติ ตางตอบแทน ซึ่งสามารถกระทําไดทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ เชน การกําหนดใหเรื่องความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญาอยูในแผนแมบทของรัฐบาลที่จะตองดําเนินการ การแกไขกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาใหครอบคลุมถึงกิจกรรมผิดกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขา มชาติไมวาจะ กระทําภายในหรือภายนอกประเทศ การเพิ่มอํานาจใหเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของในการสืบสวนสอบสวนคดีที่ มีลักษณะขามชาติ การจัดตั้งหนวยงานเฉพาะขึ้นมาเพื่อรับผิดชอบในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ เปนตน นอกจากนี้ การใช ชอ งทางประสานงานเพื่ อ เพิ่มประสิท ธิ ภาพความร ว มมื อระหวา งภู มิ ภาคในเรื่ อ งทางอาญาอื่ น ๆ นอกเหนือจากกลไกทางกฎหมาย เชน การประสานงานผานชองทางตํารวจสากลฐานขอมูลตํารวจอาเซียน และการ ประสานงานผานเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูต ควรไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา อยางเปนทางการของประเทศอาเซียนดวย 2.4. รัฐอาเซียนควรจัดตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาแกไขทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวของกับกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา โดยประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายระหวาง ประเทศ หรือภูมิภาคที่มีอยูในปจจุบั น หรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตในการเขาสูประชาคมอาเซียน เชน การแกไข กฎหมายให สอดคลองกั บสนธิสัญญาวาด วยความช วยเหลือซึ่ง กันและกัน ในเรื่ องทางอาญาของอาเซียน การยกรา ง กฎหมายปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมใหรองรับการเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวา ดวยอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร 2.5. รัฐอาเซียนควรจัดทํานโยบายและแผนการพัฒนาประชาคมอาเซียนดานการบริหารงานยุติธรรม รวมกัน เชน การเคลื่อนยายแรงงาน การสงกลับคนเขาเมืองผิดกฎหมาย การปฏิบัติตอเด็กและสตรี เปนตน โดยอาจ จัดทําเปนลักษณะของขอ ตกลง หรือแนวทางการปฏิบัติที่ดี ที่สุด เชน การปฏิบัติตอคนต างชาติเมื่อเข าสูการดําเนิ น คดีอาญาของกระบวนการยุติธรรมอาเซียน ทั้งนี้ ในชวงเริ่มตนอาจจะประสานงานเพื่อขอรับการสนับสนุนบุคลากร และ เครื่องมือจากประเทศในกลุมภูมิภาคอื่น ๆ หรือองคการระหวางประเทศที่ มีประสบการณมากอน เชน สหภาพยุโรป สหประชาชาติ องคการตํารวจสากล เปนตน 2.6. รัฐอาเซียนควรเรงสรางความตระหนักรูในเรื่องอาชญากรรมขามชาติใหเกิดขึ้นกับประชาชน เพื่อให เห็นถึงความสําคัญและการปรับตัวที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาผานสื่อตาง ๆ เชน สิทธิ มนุษยชนของ พลเมืองอาเซียน สิทธิของผูตองหาและผูเสียหายเมื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมของประเทศตาง ๆ รูปแบบและวิธีการ ประสานงานกับหนวยงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย เมื่อตองเขาไปเกี่ยวของกับคดีอาญาในประเทศ อาเซียน รวมตลอดถึงการใหความรูความเขาใจตอวัฒนธรรมประเพณีที่แตกตางของคนชาติอาเซียนที่จะชวยลดความ ขัดแยงที่อาจนําไปสูการฟองรองดําเนินคดีอาญา 3. การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม 3.1. รัฐอาเซียนควรจัดเตรียมบุคลากรหนวยงานบังคับใชกฎหมายโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการสืบสวน สอบสวนและประสานงานทางคดีใหมีความรูในลักษณะสหวิทยาการ ประกอบดวย กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย สารบัญญัติ และวิธีสบัญญัติทางอาญา การสืบสวนสอบสวนคดี และการใชภาษาตางประเทศอีกอยางนอยสองภาษา โดยมี ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาพื้ น ฐาน เพื่ อ เข า ร ว มในที ม ปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภ าคอาเซี ย น (ASEAN Investigative Team) และทีมผูประสานงานชายแดน (Border Liaison Officers) โดยอาจทําเปนรูปของโครงการพัฒนา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 101

ทรัพยากรมนุษยเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะ ความชํานาญเฉพาะดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติรวม การทดลอง จนนําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง ๆ ในอาเซียน เพื่อปฏิบัติงานในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติได 3.2. รัฐอาเซียนควรจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ เพื่อเตรียมบุคลากรใน หนวยงานราชการตาง ๆ ใหพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนทั้งในเชิงระบบบริหารงานบุคคล และศักยภาพของบุคคล อาทิ การเตรียมความพรอมในดานภาษาตางประเทศใหแกขาราชการการฝกอบรมใหขาราชการในทุกกระทรวง ทบวง กรม เขาใจตอกฎหมายและระเบียบของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับหนวยงานของตน และหนวยงานขางเคียงเมื่อตอง ปฏิบัติงานระดับภูมิภาค ซึ่งไมเพียงแตเปนหนาที่ของหนวยงานกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของเทานั้น หากแตจําเปนตอง อาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งสถาบันการศึกษา สังคม และครอบครัวในการชวยกลอมเกลา และสรางทรัพยากร มนุษยใหมีความพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนดวย ดังนั้น การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน นับเปนการพัฒนาความรวมมืออีกกาวหนึ่งของประเทศอาเซียนที่ พยายามที่จะสรางความเปนภูมิภาคนิยมและสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจ โดยลดกฎระเบียบภายในรัฐลงเพื่อเปด โอกาสใหประชากรอาเซียนสามารถผานเขา-ออกประเทศไดมากขึ้น แตในอีกดานหนึ่งกลับทําใหองคกรอาชญากรรมขาม ชาติสามารถใชชองโอกาสดังกลาวในการเขามากระทําความผิดในภูมิภาคอาเซียนหลากหลายรูปแบบ อยางไรก็ดี ความร วมมือระหวา งประเทศในทางอาญาของภูมิภาคอาเซี ยนในปจจุบัน ยังมีจุ ดออนอยูหลาย ประการ กลาวคือ การไมมีกฎหมายหรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาคดี อาชญากรรมขา มชาติ การประสานความรว มมื อระหว างหน วยงานบัง คับ ใช กฎหมายยั งมี ขอ จํา กัด อัน เนื่ องมาจาก กฎหมายภายในของรัฐ การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ การขาดทักษะและความรูความ เขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของ ประเทศอาเซียน การขาดความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ และการขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของกลุ ม ประเทศอาเซียน ดังนั้น กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของแตละประเทศอาเซียน จึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหเหมาะสม ตอการเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ โดยควรมียุทธศาสตรวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน รวมกัน โดยอาจพิจารณาใน 3 สวนหลัก ประกอบดวย ดานกลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดาน ความรวมมือระหวางประเทศ ดานกฎหมาย และการบริหารจัดการ และดานการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรใน กระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ เพื่อลดขอจํากัดดานกฎหมายภายในของแตละประเทศ อันเปนอุปสรรคสําคัญตอการปองกัน ปราบปรามอาชญากรรมข า มชาติ และขยายความร ว มมื อ ระหว า งหน ว ยงานบั ง คั บ ใช ก ฎหมายของอาเซี ย นให มี 28 ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก ประเทศไทยมีการพัฒนาทางดานสังคมและเศรษฐกิจ เชนเดียวกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชีย กําลังมีบทบาททางสังคมและเศรษฐกิจของโลกไมนอยกวาประเทศในภูมิภาคแถบอื่น ๆ สืบเนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีชวยใหการเดินทาง และติดตอสื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําให ชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย มีจํานวน มาก ซึ่งมีการรวมตัวของผูกระทําผิดในลักษณะองคกรองคกาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

28

ชิตพล กาญจนกิจ. (2556). ความรวมมือระหวางประเทศวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอาเซียน : ขอเสนอเชิงยุทธศาสตรเพื่อการ เตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน. (กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร).


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 102

1. องคกรอาชญากรรม หมายถึง กลุมอาชญากรที่จัดตั้งในลักษณะองคกรประกอบดวยบุคคลสามคนหรือ มากกวา ที่รวมตัวกันเปนระยะเวลาหนึ่ง และที่มีการประสานการดําเนินงานระหวางกัน โดยมีเปาหมายใน การกระทําอาชญากรรมรายแรงหนึ่งอยางหรือมากกวา เพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนทางการเงิน หรือ ผลประโยชนทางวัตถุอยางอื่น 2. องคกรอาชญากรรมขามชาติ จะปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งมีความซับซอนมาก ได แก พวก มาเฟย ยากูซา เปนตน บอนทําลายประเทศตาง ๆ ทั่วโลก การควบคุมจะตองอาศัยความรวมมือจาก หนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มากกวาหนึ่งประเทศรวมมือกันปราบปรามปองกัน และกําหนดบทลงโทษสถานหนัก 3. ผลกระทบจากปญหาที่เกิดขึ้นจากองคกรอาชญากรรมขามชาติ แผขยายเพิ่มความรุนแรงไปทุกภูมิภาคทั่ว โลก ทุกประเทศตางตระหนักถึงความเสียหายอันเกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติ และมีมาตรการ ปองกันแตกตางกัน แตยังไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได 4. ประเทศที่พัฒนาแลว เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดมีการดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม องคก รอาชญากรรมขามชาติ โดยไดมี กฎหมายพิ เศษ เช น กฎหมายเฉพาะในการปราบปรามองคก ร อาชญากรรม กฎหมายการคุมครองพยานหลักฐาน กฎหมายพิเศษเพื่อควบคุมเรื่องการดักฟงการติดตอ ทางโทรศัพทอยางถูกตองตามกฎหมาย เปนตน 5. สาเหตุของปญหาทําใหประเทศไทย ไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได เกิดจาก สาเหตุหลายประการ เชน บทกฎหมายที่ไมมีสภาพการบังคับใชเทาที่ควร การกําหนดวิธีปฏิบัติในการ จับกุม การดําเนินคดีอาญา และการพิจารณาลงโทษแกผูกระทําผิดซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม ขามชาติ มีการดําเนินคดีอาญาเชนเดียวกับคดีอาญาทั่ว ๆ ไป เปนตน 6. แนวทางการแกไขปญหาการปราบปรามปองกันและตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน การจัดตั้ง หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง การจัดการศึกษาอบรมใหกั บเจาหนาที่ผูปฏิบัติทุกหนวย การ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เปนสมาชิกองคการตํารวจ สากล ซึ่งปจจุบันมีดวยกันทั้งหมด 181 ประเทศ ตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัยตลอดเวลา ปญหาองคกรอาชญากรรมเปนปญหาระดับชาติ การแกไขจะตองมีการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม และระบบที่ ถูกตอง การปราบปรามเปนเพียงวิธีหนึ่งเพื่อชะลอการแผขยายอิทธิพลขององคกรอาชญากรรมขามชาติเทานั้น แตไม สามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได จึงเปนหนาที่ของทุกประเทศตองรวมมือกันแกไขปญหา ดังกลาวอยางตอเนื่อง โดยตั้งเปาหมายในแตละป เพื่อทําใหปญหาอาชญากรรมขามชาติไดลดนอยลงตามเปาหมายที่ กําหนด หากทําไดตามเปาหมายนี้ก็ถือวา ประสบความสําเร็จ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 103

อางอิงทายบท I

อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยเรื่องกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ไดใหคํานิยามไว ในมาตรา 2 ยอหนา 1a วา สนธิสัญญา หมายถึง ความตกลงระหวางประเทศ ซึ่งกระทําเปนลายลักษณอักษรระหวางรัฐ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ ไมวาจะกระทําขึ้นเปนเอกสารฉบับเดียว หรือหลายฉบับ และไม วาจะเรียกวา อยางไรก็ตาม อางถึงใน จตุรนต ถิระวัฒน. (2547). กฎหมายระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 78-79. II สนธิสัญญาฯ ไดรวมลงนามโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ประกอบดวย บรูไน ดารุส ซาลาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟ ลิป ปน ส สาธารณรัฐ สิ งคโปร ราชอาณาจั กรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสหภาพเมียนมาร และประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญา ดังกลาวเมื่อป 2556 III ปจจุบัน ประเทศไทยไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนกฎหมายอนุวัติการเพื่อใหเปนไปตามอนุสัญญาฯ โดยไดเริ่มมีผลบังคับใชแลวตั้งแตเดือนกันยายน 2556 อยางไร ก็ตาม ขณะนี้ อยูระหวางการพิจารณาออกขอบังคับประกอบพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวของสํานักงานอัยการสูงสุด และ หนวยงานที่เกี่ยวของ IV สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน (Extradition Treaty) เปนเครื่องมือทางการศาล หรือความรวมมือระหวางประเทศทางอาญา เพือ่ เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งสามารถใชอํานาจทางการศาลของตนเหนือคดีที่เกิดขึ้นในดินแดนของตนเอง แตผูกระทําความผิดใน ขณะนั้นกลับอยูในดินแดน หรืออาณาเขตของอีกรัฐหนึ่ง โดยการสงมอบตัวผูตองหา หรือผูที่ศาลไดมีคําพิพากษาใหลงโทษผู นั้นในการกระทําความผิดทางอาญาในดินแดนของรัฐที่ขอใหสงตัวบุคคลผูนั้น เพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือลงโทษในดินแดน ของรัฐที่รองขอ แตก็มิไดหมายความวา หากไมมีสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนกันไว จะไมสามารถสรางความรวมมือทางอาญา ระหวางประทศไดเลย เพราะรัฐยังคงสามารถมีความรวมมือทางอาญากับรัฐอื่น ๆ ได โดยอาศัยหลักกฎหมายระหวางประเทศ บนพื้นฐานของพันธไมตรีระหวางประเทศ หลักถอยทีถอยปฏิบัติ และหลักความยุติธรรม หรือที่รูจักกันในชื่อวา ความรวมมือ ทางการทูต V สนธิสัญญาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา (Mutual Assistance in Criminal Matters Treaty) เปน กฎหมายระหวางประเทศที่เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่ง หรืออีกหลายหลายรัฐ สามารถใหความชวยเหลือระหวางกันได ตามพันธกรณีที่ตกลงกันไวบนพื้นฐานของประโยชนตางตอบแทน โดยมองตามความเปนจริงวา อาชญากรรมสามารถเกิดขึ้น ในทุกแหงบนโลก และอาชญากรไมวาจะเปนคนเดียว หรือหลายคนก็ไมไดถูกจํากัดดวยพื้นที่ และเวลาในการกระทําผิด และ หลบหนี ดังนั้น จึงจําเปนที่รัฐจะตองรวมมือกันในการแลกเปลี่ยนขอมูล และชวยเหลือในการสืบสวนสอบสวนคดี เพื่อนํา พยานหลักฐานที่ไดไปใชในการดําเนินการทางศาลไดอยางถูกตองตามกระบวนวิธีพิจารณาของศาลยุติธรรม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 104

V

สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่ง เรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่ แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VI

สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่ง เรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VII การประชุมจะมุงเนนความรวมมือของภูมิ ภาคอาเซียนและประเทศคูเจรจาในหัวขอการประชุมที่เกี่ยวของ 8 หัวขอ ประกอบดวย การกอการราย การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน โจรสลัด อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร VIII ประเทศคูเจรจาในกรอบการประชุม SOMTC ประกอบดวย จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอินเดีย IX ปจจุบันประกอบดวยสมาชิกจํานวน 44 ประเทศ และ 2 องคการระหวางประเทศ และมีประเทศผูสังเกตการณอีก 29 ประเทศ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน http://www.baliprocess.net X ประกอบดวย สํานักงานตํารวจจากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และคูเจรจาอีก 5 ประเทศ และ 2 องคระหวาง ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน เกาหลี นิวซีแลนด สํานักงานเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจ สากล เนื้อหาสาระของการประชุมจะประกอบดวย อาชญากรรมขามชาติ 9 ฐานความผิด และ 3 ประเด็นความรวมมือ ประกอบดวย การลักลอบคายาเสพติด การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรม ทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมคอมพิวเตอร การใชเอกสารเดินทางปลอม การฉอโกงขามชาติ ฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ความ รวมมือทางอาญา และการฝกอบรมระหว างตํารวจอาเซียน โดยจะเปนการเสนอถึงสถานการณทั่วไป สภาพปญหาของ อาชญากรรม รวมถึ ง เสนอกฎหมาย และมาตรการที่ เ หมาะสมในการแกไข ป ญ หาต อ ไป ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ใ น http://www.aseanapol.org/information/dialogue-partners XI องคการตํารวจสากล กอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ ประเทศโมนาโค ในป 1914 ปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวม 190 ประเทศ สํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจสากล ตั้งอยูที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส มีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ประสานงาน และ ติด ต อ แลกเปลี่ ยนข อ สนเทศ หรื อ ข อ มูล เกี่ ย วกั บ อาชญากรรมต อ องค ก ารตํา รวจสากลหรือ ต อ สํ านั ก งานกลางแห ง ชาติ (National Central Bureau : NCB) ซึ่งเปนกลไกของประเทศสมาชิกที่สําคัญในการดําเนินงานประสานการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิกดวยกัน โดยองคการตํารวจสากลจะมีบทบาทในการเปนชองทางการติดตอประสานความรวมมือกับระหวาง ประเทศสมาชิกผานระบบเทคโนโลยีสมัยใหม ในการตอสูกับอาชญากรรมและอาชญากรรมขามชาติในศตวรรษที่ 21 โดยคดี สําคัญหลัก ๆ ที่เปนเปาหมายของตํารวจสากล ไดแก การกอการราย การคามนุษย ยาเสพติดใหโทษ การลักลอบขนคนผิด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 105

กฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย โจรสลัด การลักขโมยวัตถุ โบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร นักโทษหลบหนี และอาชญากรสงคราม เปนตน ดูรายละเอียด เพิ่มเติมไดใน http://www.interpol.int/About-INTERPOL/Overview

XII

หมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) เปนคํารองขอความรวมมือ หรือการแจงเตือนระหวางประเทศ ซึ่งอนุญาตให ตํารวจของประเทศสมาชิกแบงปนขอมูลขาวสารสําคัญระหวางกัน ไดถูกจัดทําและเผยแพร โดยสํานักงานเลขาธิการตํารวจ สากลตามคํารองขอของสํานักงานกลางแหงชาติ หรือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายของประเทศสมาชิก และซึ่งจะเผยแพรดวย ภาษาทางการ 4 ภาษาไดแก อาราบิค, อังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน โดยแบงหมายออกเปน 8 ลักษณะ ประกอบดวย หมายสี แดง หมายสีดํา หมายสีสม หมายสีฟา หมายสีเหลือง หมายสีเขียว หมายสีมวง และหมายสีขาว ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดใน http://www.interpol.int/INTERPOL-expertise/Notices XIII ตัวอยางความรวมมือนาสนใจ เชน การดําเนินงานของตํารวจสากลในการนําหมายเอฟบีไอ จับกุม นายไบรอัน สมิธ ผูตองหาตามหมายจับของสํานักงานสืบสวนกลางสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ) ในขอหาลวงละเมิดทางเพศเด็กและขมขืนผูหญิง ใน ป พ.ศ. 2532 ในลาสเวกัส และไดหลบหนีมาซอนตัวอยูในพื้นที่ จ.นาน เปนครูสอนพิเศษวิชาภาษาอังกฤษใหกับเด็กนักเรียน ในโรงเรียนบานปรางค ต. บานปรางค อ.ปว จ.นาน โดยหลังจากแจงขอหาตํารวจสากลไดควบคุม ตัวไปดําเนินการเพื่อสงไป ดํา เนิ นคดีที่ ประเทศสหรัฐ อเมริ กาตามข อ ตกลงเรื่ องสง ผูร ายขา มแดนตอ ไป เป นต น (ข อมู ลจากฝา ยตํ ารวจสากล และ ประสานงานภูมิภาค 3 กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ) XIV ในปจจุบันมีเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูตในประเทศไทยรวม 19 ประเทศและ 2 องคการระหวางประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย, เบลเยี่ยม, แคนาดา, จีน, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อินโดนีเซีย, อิสราเอล, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลีใต, มาเลเซีย, เนเธอรแลนด, นิวซีแลนด, กลุมประเทศนอดิก, นอรเวย, สเปน, สวิสเซอรแลนด, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, องคการตํารวจสากล และสํานักงานตอตานยาเสพติดและอาชญากรรมขององคการสหประชาชาติ


อาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด ป ญ หายาเสพติ ด เป น ป ญ หาที่ มี ค วามรุ น แรงต อ เนื่ อ งมาเป น เวลานาน ซึ่ ง มี ค วามพยายามในการปรั บ ปรุ ง กระบวนการดานการปองกัน และการแกไขจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนมาโดยตลอด และโดยที่การ กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมีรูปแบบการกระทําผิดในลักษณะขององคกรอาชญากรรมที่มีความซับซอน และทวี ความรุ นแรงมากยิ่ งขึ้ น ส งผลให การปราบปรามการกระทําความผิด เป นไปอย างยากลําบาก ดัง นั้น ภัยคุก คามจาก ยาเสพติดเปนภัยคุกคามภูมิภาคอาเซียนอยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่งเปนเพราะในภูมิภาคนี้ มีพื้นที่การผลิตยาเสพติดใหญ เปนลําดับตน ๆ ของโลก แหลงผลิต และชองทางการลําเลียงกระจายอยูในหลายประเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ ยาเสพติด ยังมีสวนเชื่อมโยงกับปญหาหลายดานดวยกัน เชน ปญหาการคามนุษย องคกรอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงปญหาความ เชื่อมโยงระหวางขบวนการคายาเสพติดกับกลุมผลประโยชนในพื้นที่ ทําใหระดับปญหายังคงอยูอยางตอเนื่อง อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด มีลักษณะพิเศษตางจากอาชญากรรมทั่วไป กลาวคือ เปนการกระทํา โดยอาชญากรรมที่ รวมตัว กัน เป นองคก ร มีก ระบวนการทํา งานลั บ และมีก ารแบง หน าที่ และสายงานบัง คับ บั ญ ชา ตามลําดับ ซึ่งมีการปดบังการกระทําความผิดอยางซับซอน การสืบสวนสอบสวนของเจาหนาที่เพื่อดําเนินคดีกับผูกระทํา ผิด จึงไมสามารถพิสูจนความผิดของตัวการสําคัญได โดยสวนใหญจะเปนการจับกุมผูคารายยอยในความผิดฐานนําเขา สงออก จําหนาย หรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนาย ดังนั้น ในการรวบรวมพยานหลักฐานของเจาหนาที่ที่ทําการสืบสวน จึงมีการนําเทคนิคการสืบสวนพิเศษมาใชในการดําเนินการดวย สําหรับประเทศไทยไดมีความรวมมือดานยาเสพติดกับประเทศเพื่อนบานทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคีในดาน การปองกันและปราบปรามยาเสพติด และในกรอบอาเซียน รัฐบาลไทยกําหนดประเด็นปญหายาเสพติดวา เปนปญหา ความมั่นคงในภูมิภาค เพราะหากเยาวชนผูจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และภูมิภาคกลายเปนบุคคลไร สมรรถภาพทางสติปญญา อันเปนผลเนื่องจากการติดยาเสพติด การพัฒนาประเทศใหเติบโตเทาเทียมกับประเทศตะวันตก นั้นคงจะเปนเรื่องายาก ที่ประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนจึงไดประกาศเจตนารมณใหภูมิภาคอาเซียนปลอดยาเสพติดในป 2558 (Drug Free 2015) โดยกําหนดแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบผลิต การคา และการเสพยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกใชเปนแนวทางในการทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ซึ่งที่ผานมา พบวา พื้นที่ปลูกพืชยาเสพติดลดลง การจับกุมผูลําเลียงยาเสพติดบางประเทศลดลง และในขณะเดียวกัน บางประเทศก็เพิ่มขึ้น พบการทําลายโรงงานผลิตยา เสพติด บางประเทศผูใชยาเสพติดประเภทฝน กัญชา มีจํานวนเทาเดิม สวนใหญผูใชสารเสพติดในกลุมแอมเฟตามีน (ATS) (Amphetamine–type stimulants) ไดแก เมแอมเฟตามีน/ไอซ แอมเฟตามีน non-specified amphetamines และกลุมเอ็กซตาซี มีจํานวนเพิ่มขึ้น จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 21 ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 3-4 เมษายน 2555 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ทีผ่ านมา ไดรับรองปฏิญญารวมของผูนําประเทศอาเซียน ในการเปนอาเซียนที่ปลอดยาเสพติดในปพ.ศ. 2558 ทั้งนี้ อาเซียนไดประกาศวิสัยทัศนการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2563 และตอมา ผูนํา ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นพองที่จะเลื่อนปเปาหมายของการใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติดใหเร็วขึ้นอีก 5 ป เปนป พ.ศ. 2558 และไดนิยามการเปน “ประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด” วาคือ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถ ควบคุมปญหายาเสพติดไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ โดยไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตที่เปนปกติสุข ของสังคม และจะทําอยางไรเพื่อใหบรรลุตามเปาประสงคในการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนไดนั้น เปนประเด็นที่ ทาทาย รอเราอยูขางหนา ตางทํางานในการแกไขปญหายาเสพติดเชนเดียวกัน การตอสูกับปญหายาเสพติดในฐานะ อาเซียนที่เปนเสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน โดยเราจะรวมกันเปนประชาคมอาเซียน ภายใน ป พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนป


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 108

เปาหมายเดียวกับการเปนประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ผานการสรางความเชื่อมโยงกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) นั่นหมายถึง การเปดพรมแดน เพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายคนในภูมิภาคอยางเสรี ซึ่งเราควรจะไดตระหนัก ถึงผลกระทบเชิงลบจากการเชื่อมโยงดังกลาวดวย การสกัดกั้นยาเสพติดบริเวณพรมแดนถือเปนองคประกอบหนึ่งในการ สกัดการลักลอบขนยาเสพติดเขามาในประเทศ หรือ ออกไปสูประเทศที่สาม ไมเพียงแคนั้นยังควรรวมมือกันในการลด อุปสงคยาเสพติดอีกดวย เพื่ออนาคตของลูกหลานไมใหตกเปนเหยื่อของยาเสพติดในฐานะรัฐบาลไทย มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหมีการเตรียมความพรอมของประเทศไทย เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 และมอบหมายสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดมีการประชุมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน ป 2558 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2555 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานการประชุม ที่ประชุมมอบหมายใหมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานในแต ละยุทธศาสตรใหกําหนดเปาหมาย ระยะเวลา และงบประมาณที่จะทําใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด พรอมกับระบุโครงการ ที่มีความสําคัญระดับตน (Flagship Projects) ตามกรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ป 2558 เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป

สภาพปญหายาเสพติด ในชวงของการรวมตัวเปนสมาคมอาเซียนในระยะแรกระหวางป 2510-2520 ปญหาสําคัญที่ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตประสบอยูปญหาหนึ่ง คือ ปญหาการลับลอบผลิต ยาเสพติด การลักลอบคายาเสพติด และการแพร ระบาดของยาเสพติด ซึ่งยังคงมีอยูอยางตอเนื่องมากกวา 30 ปกอนที่จะมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน โดยรูปแบบของปญหา ยาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามสภาพการณแวดลอม และปจจัยที่เอื้ออํานวย ชวงระยะแรก เมื่อมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน สภาพปญหายาเสพติดที่ เปนปญหา ถือวา มีความรุนแรงใน ภูมิภาคอาเซียน คือ ปญหาการลักลอบปลูกพืชเสพติด คือ ฝน และการลักลอบผลิตเฮโรอีนในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา (Golden Triangle) ซึ่งเปนพื้นที่ติดตอกันของ 3 ประเทศ คือ เมียนมาร ลาว และไทย พื้นที่ปลูกฝนในบริเวณสามเหลี่ยม ทองคํามี กวา 150,000 เฮคตาร และใหผลผลิตฝนประมาณ ปละ 2,000-2,500 ตัน การปลูกฝนจะดําเนิน การโดย ชนกลุมนอย และชาวเขาที่อาศัยอยูบนพื้นที่สูง เพราะนอกเหนือจากการปลูกฝน เพื่อยังชีพแลว ฝนยังเกี่ยวของกับสังคม และวัฒนธรรมของชนเผาอีกดวย นอกจากนี้ ยังพบการลักลอบปลูกกัญชาในหลายพื้นที่ โดยเมื่อ 30 ปกอน กัญชาปลูก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว อินโดนีเซีย และฟลิปปนส เนื่องจาก เปนพืชที่สามารถเติบโตไดในทุกสภาพ อากาศ ทําให มีการกระจายตัวของการลัก ลอบปลูกกัญชาในหลายประเทศสมาชิกอาเซียน อีกทั้งประเทศไทย และ ประเทศอาเซียนอื่น ๆ คือ มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ตางถูกใชเปนจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยมทองคํา กอน จะถูกลักลอบตอไปยังประเทศที่สามในทวีปยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ป 2519 ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นวา ปญหายาเสพติดเปนภัยคุกคามตออาเซียน และภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยรวมที่จําเปนที่จะตองรวมมือกันขจัดยาเสพติดใหหมดไปจากภูมิภาค จึงไดประกาศปฏิญญาอาเซียนวาดวย หลักการในการตอตานการใชยาเสพติดในทางที่ผิด (ASEAN Declaration of Principles to Combat the Abuse of Narcotic Drugs) ซึ่งมีหลักการวา ประเทศสมาชิกอาเซียนแตละประเทศจะเพิ่มความระมัดระวัง และมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลับลอบคายาเสพติด จัดใหมีความรวมมือในดานการวิจัย และศึกษาเกี่ยวกับยาเสพติด ตอมา สภาพปญหาไดเปลี่ยนแปลงจากปญหายาเสพติดที่สกัดจากพืช มาเปนยาเสพติดประเภทสารสังเคราะห โดยปญหาการ ปลูกฝนในภูมิภาคลดลงทั้งในประเทศไทย เมียนมาร และลาว เนื่องจาก พยายามในการแกไขปญหายาเสพติด แตพบวา สารกระตุนประสาทประเภทเมทแอมเฟตามีน (Methamp hetamine Type Stimulants : ATS) ซึ่งเปนสารกระตุน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 109

ประสาทที่เรียกวา วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (psychotropic substance) เริ่มเขามาแพรระบาดในภูมิภาค อาเซียนใน ป 2532 และประมาณป 2540 เริ่มมียาเสพติดจากนอกภูมิภาค เชน โคเคน จากทวีปอเมริกาใต เอ็กซตาซี หรือยาอี จากประเทศในยุโรป ในปจจุบันตั้งแตป 2550 เปนตนมา พบวา มีไอซ หรือคริสตัลเมทแอมเฟตามีนจากประเทศ ในยุโรปเขามาแพรระบาด และมีการลักลอบคาในภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น และในระยะ 2-3 ปที่ผานมา พบวา มีความพยายาม ที่จะผลิตไอซในภูมิภาคอาเซียนดวย

สถานการณยาเสพติดในประเทศอาเซียน การใชยาเสพติดในกลุม AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS) /สารกระตุนจิตและประสาทในประเภท แอมเฟตามีน ซึ่งรวมไปถึงเมทแอมเฟตามีน หรือยาบา และ ICE ดวย โดยเฉพาะเมทแอมเฟตามีน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นใน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยยาบาเปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศไทย และ สปป.ลาว และเปนยาเสพติดอันดับสองในประเทศกัมพูชา และเวียดนาม สวน ICE เปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย และฟลิปปนส การผลิตยาเสพติดในกลุม ATS ยังคงอยูในระดับสูง โดยกลุมวาและโกกั้ง ซึ่งเปนชนกลุมนอยในประเทศ เมียนมารเปนกลุมผูผลิตหลัก (ยาบา) ในภูมิภาค และใน 2555 สามารถจับกุมโรงงานผลิต ICE เปนครั้งแรก การจับกุมยาเสพติดในกลุม ATS ในป พ.ศ. 2554-2555 ยังอยูในระดับสูงและมีการจับกุม ICE ไดเพิ่มขึ้น โดย ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย รายงานวา มีการจับกุม ICE ไดมากกวา 1 ตัน และประเทศกัมพูชา และสิงคโปร ก็ มีการจับกุม ICE เพิ่มมากขึ้นเชนกัน สําหรับยาอี มีจํานวนลดลงในชวงไมกี่ปที่ผานมา และในระดับโลกมีสัญญาณวา ยาอี จะกลับมาอีกครั้ง สําหรับกลุมนักคาแอฟริกันตะวันตก ลักลอบนําโคเคนมาขายในเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต มากขึ้น มีการจับกุมโคเคนจํานวนมากไดในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศกัมพูชา ฟลิปปนส เวียดนาม ฮองกง และจีน กลายเปนประเทศทางผานของโคเคนที่สําคัญ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็มีการจับกุมโคเคนไดเพิ่มขึ้น เชนกัน โดยกลุม แอฟริกาตะวันตก เดิมจะลักลอบลําเลียงโคเคน และเฮโรอีนเปนหลัก แตปจจุบันเริ่มลักลอบลําเลียงเมทแอมเฟตามีนมาก ขึ้น ซึ่งมีรายงานจากประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ญี่ปุน ลาว มาเลเซีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส ไทย และเวียดนาม สําหรับกลุมนักคาชาวอิหรานลักลอบลําเลียง ICE ยาเสพติดอื่น ๆ เขามาในภูมิภาค และจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษา การติดยาเสพติดในกลุม ATS มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ในกลุมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ อาจกลาวไดวา ไมมีประเทศไหนที่ไมมีปญหายาเสพติด แมกระทั่ง ประเทศสิงคโปร ซึ่งมีบทลงโทษที่รุนแรง เนื่องจาก กลุมประเทศอาเซียนมีแหลงผลิตยาเสพติดขนาดใหญ คือ พื้นที่ สามเหลี่ ยมทองคํ า ซึ่ ง เป น แหล ง ผลิ ตฝ น อั น ดั บ สองของโลก นอกจากนั้ น ยัง เป น แหล ง ผลิ ต เฮโรอี น ICE และยาบ า (AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS)) ซึ่งยาเสพติดที่ผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไดกระจายไปยังประเทศ อาเซียนทุกประเทศ นอกจากนี้ การผลิตยาเสพติด ในภูมิภาคเองแลว อาเซี ยนยัง เผชิญกั บปญหาการลั กลอบนําเข า ยาเสพติดจากภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะ ICE จากแอฟริกา และโคเคนจากอเมริกาใต สําหรับปญหายาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน แบงออกไดเปน 3 กลุมหลัก ๆ คือ 1. ประเทศที่มีสถานะเปนผูผลิตยาเสพติด ไดแก เมียนมาร ซึ่งเปนผูผลิตฝน เฮโรอีน ยาบา และ ICE 2. ประเทศที่มีสถานะเปนทางผานยาเสพติด หรือเปนเสนทางลําเลียงยาเสพติดจากแหลงผลิตในเมียนมาร ไปยังประเทศอื่น ๆ ไดแก ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ 3. ประเทศที่มีสถานะเปนผูบริโภค หรือเปนแหลงแพรระบาดยาเสพติด เชน ไทย ฟลิ ปปนส อินโดนีเซีย มาเลเซีย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 110

ซึ่งในแตละประเทศอาจมีหนึ่ง หรือสองสถานะรวมกัน นอกจากนั้น ยังมีอีก 2 ประเทศที่มีปญหายาเสพติดนอย คือ ประเทศสิงคโปร และบรูไน

1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม

ประเทศบรูไน แบงการปกครองเปน 4 เขต มีกรุงบันดาร เสรี เบกาวัน เปนเมืองหลวง การปกครองเปนแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และภาษาจีน บรูไน เปนประเทศเล็ก ๆ ที่มีปญหาคอนขางนอย สถานะเปนผูบริโภคยาเสพติดเปนประเทศที่ไมมีปญหาการ ผลิตยาเสพติดภายในประเทศ และไมมีปญหาเครือขายการคาที่สํา คัญ หรือเครือขายการคาขามชาติ ที่เคลื่อนไหวใน ประเทศ ยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศ คือ ICE และมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้น รองลงมาเปนกัญชา คีตามีน วัตถุ ออกฤทธิ์ฯ และสารระเหย โดยรายงานของ UNODC ระบุวา ใน พ.ศ. 2554 มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 183 คน เปนผูใช ICE รอยละ 96 และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด ทั้งสิ้น 588 คน เปนคดี ICE รอยละ 87 ของกลางที่ยึดได ไอซ 0.78 กิโลกรัม ยาอี 349 เม็ด กัญชา 0.58 กิโลกรัม คีตามีน 0.39 กิโลกรัม และไนเมตาซีแฟม 1,495 เม็ด สวนในป พ.ศ. 2555 (มกราคม-กันยายน) มีการจับกุมผูตองหาคดียาเสพติดได 296 คน ICE 4.7 กิโลกรัม กัญชา 615 กรัม อีริมินไฟว 545 เม็ด และคีตามีน 396 ขวด

2. ราชอาณาจักรกัมพูชา

ประเทศกัมพูชา แบ งการปกครองออกเป น 20 จังหวัด 4 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุ งพนมเปญ การ ปกครองเปนแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญใชภาษาเขมรเปนภาษา ราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ กัมพูชา มีสถานะเปนทางผานยาเสพติดหลายชนิด ทั้ง เฮโรอีน ICE และยาบา จากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไปยังประเทศที่สาม และยังเปนทางผาน ICE จากแอฟริกา โคเคนจากอเมริกาใต นอกจากนั้น ยังมีการผลิต ICE และสาร ตั้งตนซาฟโรล (สําหรับผลิต ICE หรือยาอี) ซึ่งปจจุบัน กัมพูชาถูกใชเปนฐานการคาของเครือขายนักคายาเสพติดชาว แอฟริกา ซึ่งกระจายยาเสพติดไปยังประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูถูกจับคดียาเสพติดทั้งสิ้น 2,381 คน เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่จับกุมได 864 คน ของกลาง ยาบา 238,994 เม็ด ICE 19.1 กิโลกรัม ยาอี 7,855 เม็ด กัญชา 210.2 กิโลกรัม โคเคน 1.1 กิโลกรัม และ เฮโรอีน 2.1 กิโลกรัม สวนในป 2555 (มกราคม-มิถุนายน) มีรายงานการจับกุมคดียาเสพติดทั่วประเทศ จํานวน 524 คดี ของกลาง ยาบา 47,041 เม็ด ICE 17.2 กิโลกรัม และโคเคน 29.4 กิโลกรัม ดานการแพรกระจายของยาเสพติด อาจกลาวไดวา กัมพูชาเปนอีกประเทศหนึ่งในกลุมอาเซียนที่มีปญหาการ แพรระบาดของยาเสพติดอยูในระดับปานกลาง แมทางการกัมพูชาจะระบุวา มีผูเสพเพียง 6,000 คน แตจากการประเมิน ขององคกรเอกชน และ UNODC ประมาณการวา อาจมีผูเสพยาเสพติดมากถึง 500,000 คน หรือประมาณ รอยละ 4 ของประชากรทั้งหมด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE รองลงมาเปน ยาบา และมีแนวโนมแพรระบาดเพิ่มขึ้น

3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ประเทศอินโดนีเซีย แบงการปกครองออกเปน 30 จังหวัด 2 เขตปกครองพิเศษและ 1 เขตนครหลวง เมือง หลวง คือ กรุงจาการตา มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข และหัวหนา ฝาย อินโดนีเซีย มีสถานะเปนประเทศผูบริโภค แตมีปญหายาเสพติดหลายประการ ทั้งเปนแหลงยาเสพติด เปน แหลงคา และแหลงแพรระบาด โดยเฉพาะดานปญหาการแพรระบาดที่มีปญหาคอนขางมาก จากสถิติ ป พ.ศ. 2554 ระบุ วา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 9,870 คน สวนใหญเขารับการบําบัดรักษา ICE และยาอี และมีผูจับกุมคดียาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 111

15,766 คนของกลางที่ยึดได ICE 1,163.3 กิโลกรัม ยาอี 1,096,249 เม็ด วัตถุออกฤทธิ์ฯ 684,819 เม็ด กัญชา 20,260 กิโลกรัม เฮโรอีน 28.8 กิโลกรัม และคีตามีน 49.3 กิโลกรัม และมีรายงานขอมูลการประมาณการจํานวนผูเสพยาเสพติด ในประเทศวา มีอยูประมาณ 4.1 ลานคน หรือประมาณ รอยละ 2 ของประชากร และมีการเพิ่มสูงขึ้นในรอบ 2-3 ปที่ผาน มา โดยเฉพาะในครึ่งปแรกของป 2554 ที่มีอัตราการเพิ่มของอาชญากรรมยาเสพติดประมาณรอยละ 67 เมื่อเปรียบเทียบ กับหกเดือนกอนหนา การแพรระบาดมีทั้งในเมือง และตามหมูบานในชนบท ผูเสพมีอายุตั้งแต 15-39 ป และกลุมผูใชที่ เปนเยาวชนเพิ่มมากขึ้น ยาเสพติดที่แพรระบาดมากที่สุด คือ ICE เฮโรอีน และคีตามีน ปญหายาเสพติด ของประเทศอิ นโดนี เซี ย จัด อยู ในระดับ รุน แรง ซึ่ง ปจจัยที่ส งผลต อสถานการณป ญหา ยาเสพติด ในประเทศอินโดนีเซีย คือ กลุมการคายาเสพติด และเครือขายการคา ซึ่งประกอบดวยหลายชนชาติ เชน กลุม อิหราน แอฟริกัน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน จีน ไทย ไตหวัน และอินเดีย

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

สปป.ลาว แบงการปกครองเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ เมืองหลวง คือ นครหลวงเวียงจันทน มี ระบอบการปกครองเปนแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต ใชภาษาลาวเปนภาษาราชการ สปป.ลาว มีสถานะเปนประเทศทางผานยาเสพติดสําคัญของประเทศพมามายังประเทศไทย เวียดนาม และ กัมพูชา กอนที่จะสงตอไปยังประเทศอื่น ๆ นอกจากนั้น ยังเปนทางผานสารตั้งตนเขาสูแหลงผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยม ทองคํา และเปนประเทศที่ผลิตกัญชามากที่สุดในอาเซียน รวมทั้งยังเปนประเทศที่มีการปลูกฝนในพื้นที่ทางตอนเหนือของ ประเทศ จากรายงานยาเสพติดประจําปของกระทรวงยุติธรรมประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา ลาวเปนทางผานยาเสพติด ที่สําคัญของยาเสพติดในภูมิภาคอาเซียน โดยในป พ.ศ. 2555 สปป. ลาว มีการจับกุมยาเสพติด จํานวน 1,223 คดี ยึด ของกลางได ยาบา 10 ลานเม็ด เฮโรอีน 45 กิโลกรัม และกัญชา 2.8 ตัน ปญหายาเสพติดของ สปป.ลาว อยูในระดับปานกลาง แตในสวนของการแพรระบาด สปป.ลาว เริ่มประสบ กับปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในประเทศมากขึ้น ในป พ.ศ. 2553 รัฐบาล สปป.ลาว ประเมินวา มีผูเสพยาบา ประมาณ 42,000 คน และมีผูเสพฝนประมาณ 14,000 คน และจากรายงานของ UNODC ระบุวา ในป พ.ศ. 2554 สปป. ลาว มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,554 คน โดยรอยละ 98 เปนผูใชยาบา มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 1,749 คน ของ กลางประเภทยาบา 4,609,729 เม็ด กัญชา 1,617.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 43.4 กิโลกรัม และฝน 63.4 กิโลกรัม ยาเสพติดที่ แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา รองลงมาเปนกัญชา และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น

5. มาเลเซีย (Malaysia)

มาเลเซี ย แบง การปกครองออกเป น 13 รั ฐ เมื อ งหลวง คื อ กรุ ง กั ว ลาลั มเปอร มีก ารปกครองระบอบ ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ใชภาษามาเลยเปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และจีน มาเลเซียเปนประเทศทางผานยาเสพติดที่สําคัญ ดังนั้น จึงจัดอยูในสถานะของประเทศผูบริโภค สถานการณ ยาเสพติดอยูในภาวะที่เกือบจะควบคุมได แตอยางไรก็ตาม มาเลเซียยังมีปญหาการเปนทางผานของเฮโรอีน ICE จากพื้นที่ สามเหลี่ยมทองคํา นอกจากนั้น กลุมนักคายาบางกลุมเขาไปใชมาเลเซียเปนฐานในการผลิต ICE และเอ็กซตาซี รวมทั้ง กลุมนักคายาชาวแอฟริกา และอิหรานใชเปนฐานในการลักลอบนํา ICE และโคเคนเขามาจําหนายในภูมิภาคอาเซียน ปญหายาเสพติดภายในประเทศมาเลเซีย อยูในระดับปานกลาง ยาเสพติดที่มีการแพรระบาดมาก คือ กัญชา ICE เอ็กซตาซี และวัตถุออกฤทธิ์ฯ แตมีแนวโนมลดลงในป พ.ศ. 2554 มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 160,879 คน สวนใหญ เปนคดีเฮโรอีน และ ICE ของกลาง 1,235.6 กิโลกรัม ยาบา 364,909 เม็ด เฮโรอีน 755.5 กิโลกรัม กัญชา 1,055 กิโลกรัม กระทอม 1,440.4 กิโลกรัม ยาแกไอ 1,537.7 ลิตร วัตถุออกฤทธิ์ฯ 1,773,875 เม็ด เอ็กซตาซี 98,751 เม็ด คีตา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 112

มีน 202.5 กิโลกรัม ฯลฯ และมีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 4,403 คน โดยรอยละ 83 เขาบําบัดการติดเฮโรอีน รัฐบาล มาเลเซียประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1,050,000 คน

6. สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร

เมียนมาร แบงการปกครองออกเปน 7 เขต 7 รัฐ เมืองหลวง คือ เมืองเนปดอ (Naypyidaw) ใชภาษาพมา เปนภาษาราชการ เมียนมารมีสถานะเปนประเทศผูผลิตยาเสพติดหลักในภูมิภาค ซึ่งมีการผลิตทั้งฝน เฮโรอีน ยาบา ICE และ เปนแหลงผลิตขนาดใหญที่สงผลกระทบทั้งภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งอี กหลายประเทศในโลก ในอดีตเมียนมารเปนแหลง ผลิตฝน และเฮโรอีนอันดับหนึ่งของโลก ปจจุบัน เปนอันดับสองของโลก รองจากอัฟกานิสถาน มีผลผลิตฝนประมาณรอย ละ 20 ของผลผลิตฝนทั้งโลก ปจจุบันเมียนมารเปนแหลงผลิตยาบา และ ICE ขนาดใหญ สําหรับยาบาเปนการผลิตเพื่อสง ตลาดในประเทศไทยเปนหลัก สวน ICE สงเขาไทย และประเทศในกลุมอาเซียน รวมทั้งสงไปยังประเทศปลายทางอื่น ๆ สถานการณปญหายาเสพติดในประเทศอยูในระดับรุนแรง แตในดานการแพรระบาด เมียนมารเปนประเทศ ที่ประสบกับปญหาแพรระบาดนอยกวาประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ เนื่องจาก ประชาชนยังยากจนไมมีเงินเพียงพอที่จะซื้อ ยาเสพติดมาเสพ ยกเวนการเสพฝนในพื้นที่เพาะปลูก องคกรเอกชนในเมียนมารประเมินวา มีผูเสพในเมียนมารประมาณ 300,000 คน ส วนใหญ จะเปน เยาวชนในพื้น ที่เ มื อง และผู ใช แ รงงานตามเหมื อ งแร ในเขตอิท ธิพ ลของชนกลุ มน อ ย ยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน และฝน แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน ยาบา ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดย ในป พ.ศ. 2554 มีการรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 1,550 สวนใหญเขารับการบําบัดเฮโรอีน และฝน ดานการจับกุมคดียาเสพติด ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานผูถูกจับคดียาเสพติด 3,691 คน สวนใหญเปนคดี ยาบา และเฮโรอีน ของกลาง ยาบา 5,894,188 เม็ด ICE 33.4 กิโลกรัม เฮโรอีน 42.4 กิโลกรัม ฝน 1,169.9 กิโลกรัม ฯลฯ สวนในป 2555 มีรายงานผลการจับกุมคดี ยาเสพติด 2,457 คดี ของกลาง ฝน 1.3 ตัน เฮโรอีน 147 กิโลกรัม และ ยาบา 15.9 ลานเม็ด อาจกลาวไดวา การผลิตยาเสพติดของเมียนมาร สงผลกระทบตอสถานการณปญหายาเสพติดเกือบ ทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทยที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด เนื่องจาก เปนตลาดขนาดใหญของเมท แอมเฟตามีนจากเมียนมาร (ยาบา และ ICE)

7. สาธารณรัฐฟลิปปนส

ฟลิปปนส แบงการปกครองออกเปน 17 เขต เมืองหลวง คือ กรุงมะนิลา มีการปกครองแบบสาธารณรัฐเดี่ยว ระบบประธานาธิ บดีเปนประมุข ภาษาที่ใชมีมากถึ ง 170 ภาษา แตภาษาทางราชการ คือ ภาษา ฟลิปปน สโน และ ภาษาอังกฤษ ฟลิปปนสมีสถานะเปนประเทศผูบริโภคยาเสพติด สถานการณการแพรระบาดอยูในระดับรุนแรง ฟลิปปนส ประสบปญหาการแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีน (ICE) และกัญชา ซึ่ง UNODC ประเมินวา ฟลิปปนสเปนประเทศที่มี การแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีสูงที่สุดในประเทศกลุมอาเซียนดวยกัน โดยในป 2544 ประมาณการวา มีผูเสพเมท แอเฟตามีนประมาณ รอยละ 2.1 ของประชากรที่มีอายุตั้งแต 16-64 ป นอกจากนั้น เครือขายการคาในฟลิปปนสมี ลักษณะเปนเครือขายอาชญากรรมขามชาติระหวางเครือขายนักคาชาวจีน และนักคาชาวฟลิปปนส ซึ่งทางการฟลิปปนส รายงานวา ประมาณรอยละ 30 ของคดีที่อยูในการพิจารณาของศาลเปนคดียาเสพติด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น รองลงมาเปนกัญชา แตมีแนวโนมลดลง ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 3,040 คน เปนผูเขารับการบําบัดรักษาการติด ICE 2,192 คน รองลงมาเปนกัญชา 903 คน และสารระเหย 166 คน และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 10,636 คน ของ กลาง ICE 254.3 กิโลกรัม ICE น้ํา 173.4 ลิตร กัญชา 596.5 กิโลกรัม และโคเคน 17.8 กิโลกรัม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 113

8. สาธารณรัฐสิงคโปร

สิงคโปร เปนประเทศเล็ก ๆ อยูทางตอนใตของประเทศมาเลเซีย เมืองหลวง คือ สิงคโปร การปกครองเปน ระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา คือ ภาษาจีนกลาง สิงคโปร เปนประเทศที่อยูในสถานะผูบริโภค ประสบกับปญหายาเสพติดนอยที่สุดในภูมิภาค เนื่องจาก มี ปญหาของการคา และการแพรระบาดนอยมาก จนรัฐบาลกลาววา เปนประเทศที่ไม มีปญหายาเสพติด และไมเป น ประเทศแหลงผลิต และไมมีเครือขายที่สําคัญเคลื่อนไหวในประเทศยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน รองลงมา เปน ICE โดยทั้ง 2 ตัวยามีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,245 คน เปนผูใชเฮโรอีน 558 คน และ ICE 549 คน สําหรับการจับกุมคดียาเสพติดในสิงคโปร มีสถิติจับกุมคอนขางนอยเชนกัน โดยในป พ.ศ. 2554 มีผูถูก จับกุมคดียาเสพติดเพียง 3,326 คน ของกลาง ICE 14.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 72.7 กิโลกรัม และยาบา 772 เม็ด สวนในครึ่ง ปแรกของป พ.ศ. 2555 มี การจับกุ ม คีตามีน 1.8 กิ โลกรัม กั ญชา 9 กิโลกรัม ICE 9.4 กิ โลกรัม และเฮโรอีน 44.8 กิโลกรัม

9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

เวียดนาม แบงการปกครองออกเปน 59 จังหวัด 5 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุงฮานอย มีการปกครอง ระบบสังคมนิยมโดยพรรคคอมมิวนิสต เปนพรรคการเมืองเดียว ใชภาษาเวียดนามเปนภาษาราชการ เวียดนามเปนประเทศทางผานยาเสพติด ทั้งเฮโรอีน ICE กัญชา และโคเคน ปญหายาเสพติดของเวียดนาม อยูในระดับปานกลาง ปจจุบันเครือขายการคายาเสพติดเริ่มมีการใชเวียดนามเปนฐานในการคามากขึ้น ยาเสพติดที่แพร ระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน แตมีแนวโนมลดนอยลง รองลงมาเปน ICE ยาบา และยาอี ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เวียดนามประสบกับปญหาการแพรระบาดของเฮโรอีน โดยในครึ่งปแรกของป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผู เสพประมาณ 150,000 คน สวนใหญเปนผูเสพเฮโรอีน แตมีผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 16,000 คน โดย 9,400 คน เขา รับการบําบัดรักษาในระบบบังคับ และ 6,600 คน บําบัดรักษาในชุมชน มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 26,680 คน ของกลาง ยาบา 366,000 เม็ด กัญชาสด 7.1 ตัน กัญชาแหง 500 กิโลกรัม เฮโรอีน 309 กิโลกรัม กับ 36 แทง สวนในป 2555 มี การจับกุมยาบาได 13,022 เม็ด และเฮโรอีน 45 กิโลกรัม ในครึ่งปแรก รัฐบาลเวียดนามประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติด ประมาณ 171,400 คน

10. ราชอาณาจักรไทย

ประเทศไทยแบงการปกครองออกเปน 77 จังหวัด เมืองหลวง คือ กรุงเทพมหานคร มีการปกครอง ระบบ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ใชภาษาไทยเปนภาษาราชการ ประเทศไทยเปนประเทศที่อยูใ นสถานะของประเทศผูบ ริโภค มีปญหาการแพรระบาดของยาเสพติ ด คอนขางสูง ในป 2553 มีการประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1.2 ลานคน นอกจากนั้น ยังเปนทางผานของ ยาเสพติดทั้งเฮโรอีน และ ICE จากเมียนมารไปยังประเทศที่ 3 โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา และมี แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน กัญชา แตมีแนวโนมลดลง สวน ICE มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น โดยนักวิชาการได ประมาณการณวา จากสถานการณปญหายาเสพติดในปจจุบัน คาดวา จํานวนผูเสพ ICE จะเพิ่มขึ้นเปน 500,000 คนในป พ.ศ. 2559 โดยในป พ.ศ. 2556 (ตุ ล าคม 2555 – 25 มี น าคม 2556) มี ร ายงานจํ า นวนผู เ ข า รั บ การบํ า บั ด รั ก ษา 129,355 คน มีการจับกุมคดียาเสพติด 204,282 คดี ผูตองหา 194,600 คน ของกลางยาบา 53.8 ลานเม็ด ICE 863.3 กิโลกรัม เฮโรอีน 181.8 กิโลกรัม กัญชา 11.2 ตัน และโคเคน 45.5 กิโลกรัม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 114

มาตรการและแนวทางแกไขปญหายาเสพติดของประเทศเพื่อนบาน ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดในประเทศไทย มิใชปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศเทานั้น แตเปนปญหาที่มี สวนเกี่ยวของกับตางประเทศดวย โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบาน ดังนั้น มาตรการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศ เพื่อนบาน จึงเปนปญหาสําคัญที่สะทอนถึงประสิทธิผลของนโยบาย การแกไขปญหายาเสพติดของไทย

1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม

ประเทศบรูไน ใหความสําคัญกับการบําบัดรักษา และฟนฟูผูที่ติดยาเสพติด โดยกอตั้งสถาบันเพื่อการบําบัด และฟนฟูผูติดยาเสพติด “Rumah-Al-Islan” ซึ่งอยูภายใตการดูแลของกรมราชทัณฑ สําหรับมาตรการดานกฎหมายใน การแกไขปญหายาเสพติด บรูไนไดออกพระราชบัญญัติวาดวยการใชยาในทางที่ผิด (Misuse of Drugs Act: MDA) ในป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ซึ่งมีบทลงโทษแกผูลักลอบคายาเสพติดถึงขั้นประหารชีวิต นอกจากนี้ ยังไดออกคําสั่งวาดวยการ ฟอกเงินอีกดวย สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น บูรไนไดเขารวมเปนสมาชิกในการประชุมดานยาเสพติดของ อาเซียน และความรวมมือระดับทวิภาคี กับมาเลเซีย โดยการแลกเปลี่ยนขอมูลการสืบสวนและการปฏิบัติการรวมกัน

2. ราชอาณาจักรกัมพูชา

การแกไขปญหายาเสพติดของกัมพูชา ไดมุงเนนการทํากิจกรรมดานตาง ๆ ทั้งดานการบังคับใชกฎหมายและ การปราบปรามยาเสพติด มาตรการควบคุมสารตั้งตนในการผลิตยาเสพติด การทําลายแหลงเพาะปลูกพืชเสพติด และการ ใหความรูเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดแกเด็ก และเยาวชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น กัมพูชาไดเขารวม การประชุมในเวทีตาง ๆ มากมาย ตลอดจนการกอตั้งความรวมมือขามพรมแดนระหวางไทย-กัมพูชา และความรวมมือใน ระดับทวิภาคีและไตรภาคี (กัมพูชา-สปป.ลาว-เวียดนาม)

3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

อินโดนีเซียมียุทธศาสตร และมาตรการควบคุม และตอตานยาเสพติด โดยสรางความสมดุลของยุทธศาสตร ในการดําเนินงานแกไขปญหายาเสพติดทั้งการลดอุปสงค และอุปทาน การควบคุมสารตั้งตน การควบคุมการนําสง ซึ่ง ดําเนินการรวมกับประเทศไทย การประกาศใชกฎหมายปราบปรามการฟอกเงินในป ค.ศ. 2002 และเปนสมาชิกของกลุม ประเทศเอเชียแปซิฟก ในเรื่องการตอตานการฟอกเงิน นอกจากนี้ อินโดนีเซียไดจัดตั้งระบบฐานขอมูลเพื่อรวบรวม รายงานการใชยาเสพติดในทางทีผ่ ิดจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น อินโดนีเซีย ไดเ ขาร วมเปน ภาคีในอนุสั ญญาของสหประชาชาติ จํ านวน 3 ฉบับ ดานยาเสพติด ทั้ง นี้ อินโดนีเ ซียยังไดร วมมื อกั บ UNDCP ในการทําโครงการตาง ๆ

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

การแกไขปญหายาเสพติดในสปป.ลาวนั้น รัฐบาลลาวใหความสําคัญตอการจัดการปลูกฝนภายในประเทศ เปนอยางมาก โดยมุงเนนการใชแนวทางสมดุล เพื่อแกไขปญหาความยากจนควบคูไปกับการขจัดฝนโดยผาน 3 สวนหลัก คือ การพัฒนาทางเลือก การลดอุปสงคยาเสพติดโดยเนนชุมชน และการบังคับใชกฎหมาย รัฐบาลลาวไดดําเนินการลด อุปสงคยาเสพติดดวย การรองรับแผนปลูกจิตสํานึกในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น สปป.ลาวเนนความรวมมือทางวิชาการ และการรับความชวยเหลือ จากตางประเทศเปนหลัก และรัฐบาลลาวไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อการควบคุมยาเสพติด 2 ฉบับ และ กําหนดใหมีกฎหมายฟอกเงิน และกฎหมายควบคุมสารตั้งตน บังคับใชภายในประเทศ นอกจากนี้ ในป 2540 ลาวไดรับ เลือกเปนสมาชิกของคณะกรรมาธิการยาเสพติดแหงสหประชาชาติ ซึ่งมีวาระการเปนสมาชิก 4 ป ปจจุบัน สปป.ลาวมี ความรวมมือระดับภูมิภาคภายใตก รอบอาเซียน โดยมีเปาหมายรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด ภายในป 2558 และยังมีความรวมมือในระดับอนุภูมิภาคดวย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 115

5. สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร เมียนมารไดจัดทํารางแผนควบคุมยาเสพติดและลดพื้นที่ปลูกฝนภายใน 15 ป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดพื้นที่ ปลูกฝน ลดการผลิตและการบริโภคฝนใหหมดไป การดําเนินงานแบงเปน 3 ระยะ ๆ ละ 5 ป โดยมีหลักยุทธศาสตร คือ ดําเนินงานเพื่อการพัฒนาพื้นที่ชายแดน เปนการยกระดับความเปนอยูของชาวเมียนมาร ซึ่งการดําเนินงานตามแผนนี้ ครอบคลุมถึงการลดอุปสงค อุปทาน และการปราบปรามยาเสพติด นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมารไดปฏิรูปให CCDAC (Central Committee for Drug Abuse Control) ซึ่งเปนหนวยงานหลักดานยาเสพติดที่เรงดําเนินมาตรการควบคุมยา เสพติดมากขึ้น และไดลงนามในปฏิญญารวมที่จะทําใหภูมิภาคอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด และรัฐบาลเมียนมารไดให ความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ทุกระดับ โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก UNODC และลงนามในความตกลงเปน บันทึกความเขาใจ (MOU) กับหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่อยูในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

6. มาเลเซีย

หนวยงานหลักของประเทศมาเลเซียที่เปนผูกําหนดวัตถุประสงคในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด คือ National Drugs Council และมาเลเซียยังไดจัดกิจกรรมเพื่อการปองกันปญหายาเสพติดขึ้นมากมาย อาทิ กิจกรรม ปองกันยาเสพติดในโรงเรียน กิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของชุมชน การประชาสัมพันธ และสารสนเทศ และการบําบัด ฟนฟู โดยมีวิธีการบําบัดและฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดหลายรูปแบบ ไดแก 1) One-Stop Center Concept การจัดตั้งศูนยฟนฟูในชุมชนตาง ๆ 2) Multi-Disciplinary Approach การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงหวังการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ 3) Military-Style Training การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงปลุกจิตสํานึกดานระเบียบวินัยเปนสําคัญ สําหรับมาตรการดานกฎหมาย มาเลเซียไดออกมาตรการทางกฎหมายที่สําคัญจํานวน 5 ฉบับ และไดเขา รวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติด จํานวน 3 ฉบับ สวนในระดับภูมิภาค มาเลเซียไดเปนภาคีใน Asean Declaration of Principles on Drug Abuse Control ในป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และในระดับทวิภาคีได รวมมือในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดกับประเทศอังกฤษ อองกง สหรัฐอเมริกา เวเนซูเอลา และรัสเซีย

7. สาธารณรัฐฟลิปปนส

ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ประธานาธิบดีของประเทศฟลิปปนส ไดประกาศสงครามกับ ยาเสพติดโดยใชมาตรการเด็ดขาด ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อการปราบปรามผูคา และผูมีสว นเกี่ยวของกับยาเสพติด รวมทั้งผูที่ ทุจริตคอรรัปชั่นดวย โดยรัฐบาลไดดําเนินยุทธศาสตร Holistic Anti-Drug Strategy : HADS เพื่อตอตานยาเสพติด ซึ่ง เปนสวนหนึ่งของแผนดําเนินการตอตานยาเสพติดแหงชาติ Holistic Anti-Drug Program of Action : NADPA โดย แบงเปน 3 ดาน คือ การปองกันและควบคุม การปฏิรูปสวนราชการ และการมีสวนรวมของประชาสังคม ดานกฎหมายได ออกกฎหมายฉบับใหมทดแทนฉบับเดิม คือ Republic Act 1965 หรือ The Comprehensive Dangerous Dugs Act of 2002 และเพิ่มบทลงโทษตอผูละเมิดกฎหมายดานยาเสพติดที่รุนแรงมากขึ้น โดยมีโทษสูงสุดถึงขั้นจําคุกตลอดชีวิต และประหารชี วิ ต ปรับ ตั้ งแต 10,000 ถึ ง 200,000 ดอลลารส หรัฐ ฯ นอกจากนี้ กฎหมายฉบั บ นี้ไ ด กํา หนดใหผู ติ ด ยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษาโดยระบบสมัครใจ หรือบังคับบําบัดและเนนใหครอบครัว โรงเรียน เอกชน สหภาพ แรงงาน และสวนราชการเกิดความรวมมือกันในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด พรอมทั้งสงเสริมการสรางเขต ปลอดยาเสพติด สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น ฟลิปปนสไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาสหประชาชาติดานยาเสพ ติด 3 ฉบับ โดยใหความรวมมือในภูมิภาคอื่น และมีบทบาทในกลไกตาง ๆ ภายใตกรอบอาเซียน นอกจากนี้ ฟลิปปนสได ทําความตกลงกับจีน โดยลงนามในเอกสารที่เกี่ยวของกับยาเสพติด 3 ฉบับ คือ สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน บันทึกความ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 116

เขาใจวาดว ยการตอสูกั บอาชญากรรมขามชาติ และบันทึก ความเขาใจวาดวยการปองกันการปลูก ผลิต และการใช ยาเสพติดผิดกฎหมาย และฟลิปปนสยังไดรับความชวยเหลือดานเทคนิคจากหลายประเทศ

8. สาธารณรัฐสิงคโปร

หนวยงานหลักของสิงคโปรที่รับผิดชอบเรื่องยาเสพติด คือ Central Narcotics Bureau : CNB โดยกําหนด ยุทธศาสตรการแกไขปญหายาเสพติดทั้งดานการลดอุปสงค และอุปทานยาเสพติด และสิงคโปรใชมาตรการทางกฎหมาย The Misuse of Drugs Act 1973 เปนกฎหมายหลักในการบังคับใชเพื่อปราบปรามยาเสพติด โดยมีการปรับปรุงให ทันสมัยตลอดเวลา โดยเฉพาะการเพิ่มบัญชีรายชื่อยาเสพติดชนิดใหม และยังไดออกกฎหมายใหมเพิ่มเติม คือ The Drug Trafficking Act 1993 ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเปน The Corruption, Drug Trafficking and other Serious Crimes Act 1999 โดยใหอํานาจการติดตาม ยึดทรัพยสินที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การบําบัดฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดเปนหนาที่ของ หนวยงาน Drug Rehabilitation Centre : DRCs ซึ่งมีหนาที่ในการปลูกฝงระเบียบวินัย ความรับผิดชอบตลอดจน จริยธรรมตาง ๆ หากผานการบําบัดแลว จะตองอยูภายใตการควบคุมของ DRC อีก 2 ป โดยมีการตรวจสอบปสสาวะเปน ประจํา หากพบวา มีการใชยาเสพติดจะถูกสงตัวเขารับการบําบัดอีกครั้งหนึ่ง สําหรับการศึกษาเชิงปองกัน CNB ไดจัดตั้ง The Preventive Education Unit : PEU ตั้งแตป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เพื่อสรางจิตสํานึกใหแกเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ สิงคโปรไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดจํานวน 3 ฉบับอีกดวย

9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

เวียดนามไดประการใชแผนปฏิบัติการแหงชาติในการควบคุมยาเสพติดระหวางป ค.ศ. 2001-2005 โดย มุงเนน 8 โครงการสําคัญ คือ 1) การใหความรูและเผยแพรขอมูลขาวสารดานยาเสพติด โดยเวียดนามใหวันตอตานยาเสพติดสากล คือ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกป เปนวันตอตานยาเสพติดแหงชาติดวย 2) การทําลายฝน และโครงการพัฒนาทางเลือกที่ทํารวมกับ UNDCP 3) การตอตานยาเสพติดและการควบคุมสารตั้งตน 4) การปรับปรุงประสิทธิภาพในการบําบัดและฟนฟู 5) การปองกันการใชยาเสพติดในทางที่ผิดในโรงเรียน 6) การศึกษาและประยุกตวิธีการทางการแพทยแผนโบราณ และอื่น ๆ ในการบําบัดและฟนฟู 7) การกอตั้งประชาคมสํานักงาน หรือหนวยงานที่ปลอดยาเสพติด 8) การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการควบคุมยาเสพติด ทั้งนี้ เวียดนามไดมีสวนรวมในกิจกรรมระหวางประเทศ และยังรวมมือกับสํานักงานผูประสานงานชายแดน ของ ประเทศจีน ลาวและกัมพูชา ในการตรวจสอบ และควบคุมยาเสพติดระหวางพรมแดนอีกดวย

ภูมภิ าคแหลงลุม แมน้ําโขง ภูมิภาคแหลงลุมแมน้ําโขง เปนแหลงผลิต และเสนทางลําเลียงยาเสพติดที่สําคัญ โดยพบวา - เมียนมาร เปนแหลงวัตถุดิบ และยาเสพติดรายใหญที่สุดในโลก และยังถูกจัดอยูในบัญชีรายชื่อประเทศที่ ไมใหความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดอีกแหงหนึ่งดวย - จีน คือ แหลงผลิตสารเคมีที่ใชผลิตสารเสพติด และเปนทางผานของยาเสพติดไปยังฮองกง เพื่อสงตอไป ยังประเทศแถบตะวันตก - สปป.ลาว เปนแหลงผลิตฝนที่สําคัญแหงหนึ่ง และเปนจุดกระจายของยาเสพติด - เวียดนาม และกัมพูชา เปนเสนทางผานของยาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 117

- ไทย เปนทั้งแหลงเงินทุน และตลาดรองรับสินคาที่สําคัญของยาเสพติด ทั้งนี้ จากปญหาที่พบนั้นสืบเนื่องมาจากสาเหตุของการเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมสมัยใหมในเวลา อันรวดเร็วแตมีความเสี่ยงสูง ยาเสพติดจึงกลายเปนทางออกหนึ่งของผู ดอยโอกาสทางสังคม และพวกแสวงหาอํานาจ ในทางทุจริต ประเทศไทยไดขยายความรวมมือกับประเทศที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด หรือประเทศที่ประสบปญหายาเสพติด ทั้งในภูมิภาคเดียวกัน และภูมิภาคอื่น ๆ โดยไดลงนามในบันทึกความตกลงเกี่ยวกับความรวมมือดานการปองกัน และ ปราบปรามยาเสพติดระหวางประเทศ และยังเปนเจาภาพจัดการประชุมระหวางประเทศวาดวยยาเสพติด ซึ่งถือเปนการ ประกาศเจตนารมณทางการเมืองในการยอมรับวา ปญหายาเสพติดเปนปญหารวมกันของประชาคมระหวางประเทศที่ตอ ง รวมกันรับผิดชอบ และแกไขรวมกันทั้งในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระหวางประเทศ ดังนั้น ความสัมพันธอันดีระหวาง 1 ประเทศ จึงเปนเรื่องสําคัญยิ่งตอการแกไขปญหาการแพรระบาดยาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียนรวมมือกันในการตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแต ป ค.ศ. 1976 เพราะเห็นวา ผลรายอันเกิดจากอาชญากรรมดังกลาว กระทบกับการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะกรณีการ ลักลอบคายาเสพติด แลวขยายตัวและเพิ่มความหลากหลายของรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ จากนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวประเทศไทย ทําใหในแตละป มีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติหลั่งไหลเขา มาทองเที่ยวประเทศไทยจํานวนมาก โดยในชวง 5 ปที่ผานมา มีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทย เพิ่มขึ้นจาก 20.6 ลานคน ในป 2551 เพิ่มขึ้นเปน 31.4 ลานคนในป 2555 โดยขอมูลของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองระบุ วา ชาวตางชาติที่เดินทางเขาประเทศไทยสูงสุด 10 อันดับ ไดแก จีน มาเลเซีย ลาว ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย อังกฤษ และสิงคโปร ในป 2555 โดยเฉพาะคนในประเทศอาเซียน ก็พบวา มีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน คือ มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยชาวมาเลเซียเปนกลุมที่เดินทางเขาประเทศไทยมากที่สุด รองลงมา คือ ชาวลาว สิงคโปร และเวียดนาม จากสถิติการจับกุมผูตองหาชาวตางชาติในคดียาเสพติดในป 2551-2555 พบวา มีกลุมคนในประเทศอาเซียนเขา มาถูกจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง สัญชาติที่ถูกจับกุมมากที่สุด คือ สปป.ลาว รองลงมา เปน เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย สวนสัญชาติที่ไมมีการจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเลย คือ บรูไน ชนิดยาเสพ ติดที่กลุมผูตองหาในประเทศอาเซียนเขามาเกี่ยวของมากที่สุด ไดแก ยาบา ไอซ เฮโรอีน และกัญชา ตามลําดับ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ที่ มี ก ารจั บ กุ มผู ต อ งหาชาวต า งชาติ ใ นกลุ มประเทศอาเซี ยนจากมากไปน อ ย ได แ ก กรุ ง เทพฯ อุบลราชธานี ระนอง มุกดาหาร สงขลา ตาก หนองคาย เชียงใหม นราธิวาส สระแกว สุราษฎรธานี กาญจนบุรี เลย นครพนม เชียงราย ชลบุรี สมุทรปราการ และปทุมธานี ตามลําดับ สวนใหญเปนจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศ เพื่อนบาน พื้นที่เมืองใหญ และพื้นที่ที่เปนตลาดแรงงาน หรือพื้นที่ที่เปนแหลงทองเที่ยว โดยสวนใหญจะเปนการถูกจับกุม ในขอหาเสพ รอยละ 30.1 ครอบครอง รอยละ 27.1 และครอบครองเพื่อจําหนาย รอยละ 27.0 แตหากพิจารณาในขอหา สําคัญ พบวา ขอหาผลิต จะเปนผูตองหาชาวสิง คโปร และเมียนมาร ขอหานําเขาเปนผูตองหาชาวฟลิปปนส สปป.ลาว และเวียดนาม ขอหาสงออกจะเปนผูตองชาวสิงคโปร และฟลิปปนส โดยคาดวา ในป 2558 ซึ่งเปนปที่เขาสูประชาคมอาเซียน ประมาณการวา จะมีคนอาเซียนเดินทางเขาประเทศ ไทยมากถึง 13 ลานคน และอาจจะมีคนในกลุมประเทศอาเซียนเขามากระทําความผิด และถูกจับกุมในคดี ยาเสพติดใน ประเทศเพิ่มขึ้นเปน กวา 7,000 คน 1

สํานักวิชาการดานยาเสพติด สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.. การศึกษาและวิจัยนโยบายการแกไขปญหายา เสพติด เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูลสารเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ . มหาวิทยาลัยขอนแกน. มิถุนายน 2553.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 118

กลไกความรวมมือดานยาเสพติดของอาเซียน ในที่ประชุมผูนําอาเซียนอยางเปนทางการ ไดย้ําถึงความจําเปนที่จะตองมีการรวมมือกันระหวางชาติสมาชิก และกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวข องในการตอสูกับอาชญากรรมนี้ จึงไดมีมติในแถลงการณสมานฉันทอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ ค.ศ. 1976 ใหประเทศสมาชิกรวมมือกันอยางแข็งขันกับ องคการระหวางประเทศในการปองกันและการขจัดยาเสพติด และการลักลอบคายาเสพติด และในการประชุมผูนํา อาเซี ย นทุ ก ครั้ ง ที่ ผ า นมา ที่ ป ระชุ มได แ สดงความห ว งใยต อ ป ญ หายาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคมาโดยตลอด และในเดื อ น พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 1 ที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ ประชุมเรียกรองใหองคกรของอาเซียนที่ เกี่ยวของศึกษาความเปนไปไดในการมีความรวมมือในระดับภูมิภาคในเรื่อง อาชญากรรมรวมทั้งการสงผูรายขามแดน และในวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมไดมีมติใหมีมาตรการที่แน นอน และเขมงวดในการตอสูกับ อาชญากรรมขามชาติ อาทิเชน การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาผูหญิงและเด็กรวมถึงอาชญากรรมขามชาติอื่น ๆ ในขณะที่ การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรมขาม ชาติที่มีผลกระทบตออาเซียน จึงไดเรียกรองใหมีการรวมมืออยางใกลชิด และมีการประสานการปฏิบัติระหวางประเทศ สมาชิก โดยในการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 29 ที่กรุงจาการตา อินโดนีเซีย เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2539 ที่ประชุมฯ ไดเห็นพองกันถึงความจําเปนที่จะสนใจรวมกันในปญหาอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับ ยาเสพติด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการฟอกเงิน ปญหาสิ่งแวดลอม และการหลบหนีเขาเมือง ซึ่งเปนปญหาขาม พรมแดนของแตละประเทศสมาชิก มีผลกระทบตอชีวิตของประชากรในภูมิภาคและตกลงใหมีการจัดการเกี่ยวกับปญหา ขามชาตินโี้ ดยเรงดวน เพื่อมิใหมีผลกระทบตอการดํารงอยูในระยะยาวของอาเซียน และของแตละประเทศสมาชิก จากนั้น ที่ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 30 ไดย้ําอีกครั้งถึงความจําเปนในการรวมมือกันเกี่ยวกับ ปญหาขามชาติรวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบสงคนหลบหนีเขาเมือง ยาเสพติด อาวุธ โจรสลัด และโรค ระบาด อยางไรก็ตาม ในระยะแรกดานยาเสพติดของอาเซียนอยูในความรับผิดชอบของคณะกรรมการอาเซียนวาดวย การพัฒนาสังคม โดยมีการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติด (ASEAN Drugs Experts Meeting) เปนประจําทุกป จากหนวยงานกลางดานยาเสพติดของอาเซียน ตอมา เมื่อมีการปรับโครงสรางของสํานักเลขาธิการอาเซียน และมีการยก สถานะของคณะผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติดอาเซียนขึ้นเปนระดับเจาหนาที่อาวุโสอาเซียน (ASEAN Senior Officials on Drugs : ASOD) ในป 2540 ซึ่งจะรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ซึ่งเปนองคกรสูงสุดในการบริหารงาน ความรวมมือในกรอบอาเซียนในดานตาง ๆ ของอาเซียน โดยมีปลัดกระทรวงการตางประเทศของประเทศอาเซียนเปน กรรมการ อาเซี ยนได กํา หนดการดํ าเนิ น งานแกไ ขป ญหายาเสพติ ดใน 5 สาขาของความรว มมื อโดยผา นกรอบการ ดําเนินงานของเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ดังนี้ 1. ความรวมมือดานการปราบปรามยาเสพติด 2. ความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด 3. ความรวมมือดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด 4. ความรวมมือดานการวิจัย 5. ความรวมมือดานการพัฒนาทางเลือก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 119

ตอมา ในป 2545 อาเซียนไดเพิ่มคณะกรรมการอีก 1 คณะ คือ เจาหนาที่อาวุโสดานอาชญากรรมขามชาติ (Senior Officials on Transnational Crime) เนื่องจาก สถานการณปญหาใน 8 สาขาของความรวมมือ เชน การคา มนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน และการปราบปรามการลักลอบคายาเสพติด ซึ่งเปน 1 ใน 8 สาขาของความรวมมืออาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และไดเพิ่มการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดาน อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งจะมีการประชุมปเวนป โดยไดปรับเปลี่ยนใหงานยาเสพติดภายใตคณะกรรมการเจาหนาที่อาวุโส อาเซียนดานยาเสพติดเสนอรายงานตอที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (Ministerial Meeting of ASEAN on Transnational Crimes : AMMTC) แทนการเสนอรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug-Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สําคัญในการ ผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุมสุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมือง รวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไดรับการยอมรับจากนานา ประเทศในดา นความสํ าเร็จของการพัฒนาทางเลือ กเพื่อ แก ไขปญ หาพืช เสพติ ด และความตกลงระหวา งประเทศที่ เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ พิธีสาร เพื่อปองกัน ปรามปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยาย ถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ อย า งไรก็ ต าม การปกป อ งคุ มครองผลประโยชน แ ห ง ชาติ ข องแต ล ะประเทศนํ า ไปสู ค วามขั ด แย ง ระหว า ง ผลประโยชนแหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด ตอ งอาศั ยป จจั ยด า นการเมื องระหว า งประเทศ และความสั มพั น ธ ร ะหว า งประเทศที่ เอื้ อ อํ า นวยต อ การดํ า เนิ น งาน ปราบปรามยาเสพติด ซึ่งงานดานตางประเทศเปนเรื่องที่ละเอียดออนที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อ เสริมสรางความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน นอกจากนี้ ความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานขึ้นอยูกับเรื่อง ความสั มพัน ธ ศัก ยภาพในการดํ าเนินงาน และเงื่อ นไขภายในประเทศของแต ละประเทศดว ย อยา งเชน สํา นัก งาน ประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศเพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ และตองมีการ ประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทําใหเกิดปญหาการขาดความคลองตัวในการทํางาน ประเด็นที่สําคัญ คือ ประเทศเพื่อน บานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมในหลาย ๆ ดาน ทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลเปนอยาง มากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค แสดงใหเห็นวา การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณา การรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ และการมองปญหาที่ไมเหมือนกัน นําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนิน นโยบายการแกไขปญหาที่แตกตางกัน

องคกรอาเซียนที่เกี่ยวของในความรวมมือเกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด เนื่องจาก ปญหาอาชญากรรมขามชาติไมไดจํากัดอยูเพียงสวนใดสวนหนึ่ง แตเกี่ยวของกับหลายองคกรของ อาเซียน ในการกําหนดนโยบายและการปฏิบัติการเพื่อตอตานการประกอบอาชญากรรมขามชาติ องคกรของอาเซียนที่มี สวนเกี่ยวของ ไดแก 1. การประชุมอธิบดีกรมตํารวจของอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) ดูแล เกี่ยวกับการปองกันปราบปรามและการปฏิบัติการในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matter : ASOD) มีหนาที่ เชนเดียวกัน แตเนนการปราบปรามและควบคุมยาเสพติด และกิจกรรมที่เกี่ยวของ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 120

3. การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers Meeting : AFMM) มี หนาที่ในการติดตามและตรวจสอบปญหาขามชาติในดานการเงินและศุลกากร เชน การลักลอบคายาเสพติดและสารกลอม ประสาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดนโยบาย กระบวนการ และกฎระเบียบในการตอตานการประกอบอาชญากรรม ดังกลาว 4. การประชุมรั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทยอาเซี ยน (Meeting of ASEAN Ministers of Interior/Home Affairs)

ปฏิญญาอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ไดมีมติใหการรับรองปฏิญญาอาเซียนวาดวย อาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) ตามที่คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนฯ เสนอ ซึ่ง ไดมีการลงนามในการประชุมฯ มีสาระสําคัญวาประเทศผูลงนามจะรวมมือกัน ดังนี้ 1. สงเสริมความมุงมั่นของประเทศสมาชิกในการรวมมือในระดับภูมิภาคเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. จัดใหมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ เพื่อประสานกิจกรรมขององคกร อาเซียนที่เกี่ยวของ เชน คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drugs Matters : ASOD) และการประชุมอธิบดีกรมตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) 3. จัดใหมีการหารือเพื่อใหมีการลงนามในความตกลงชวยเหลือดานกฎหมายรวมกัน สนธิสัญญาทวิภาคี บันทึก ความเขาใจหรือการดําเนินการอื่น ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. พิจารณาจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Centre on Transnational Crime : ACOT) ซึ่งจะประสานความพยายามในระดับภูมิภาคในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ดวยการแลกเปลี่ยนขาวสาร การปรับปรุงนโยบายใหสอดคลองกัน และการประสานความรวมมือระหวางกัน 5. จัดใหมีการประชุมคณะผูเชี่ยวชาญระดับสูงเฉพาะกิจทุกป โดยไดรับการสนับสนุนจากสํานักเลขาธิการ อาเซียน เพื่อดําเนินการดังนี้ 5.1. จัดทําแผนปฏิบัติการอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ 5.2. พิจารณาจัดกรอบการดําเนินงานขององคกรการดําเนินความรวมมือของอาเซียนดานอาชญากรรมขาม ชาติ และ 5.3. ทําการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ACOT) 6. สนั บ สนุ น ประเทศสมาชิ ก ในการพิ จ ารณาแต ง ตั้ ง เจ า หน า ที่ ตํ า รวจประจํ า ประเทศสมาชิ ก (Police Attache/Police Liaison Officer) เพื่ออํานวยความสะดวกในการรวมมือกันในดานการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 7. สนับสนุนการมีเครือขายระหวางหนวยงาน หรือองคการระดับชาติที่เกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติเพื่อ เพิ่มพูนการแลกเปลี่ยนขาวสาร และการกระจายขาวสาร 8. ขยายขอบขายความพยายามของประเทศสมาชิก ในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงินโดยผิดกฎหมาย การลักลอบสงคนเขาเมืองและการกระทําเชน โจรสลัด และรองขอใหเลขาธิการอาเซียนใหรวมขอบขายในเรื่องนี้อยูในกรอบการดําเนินการของสํานักเลขาธิการอาเซียน 9. สํารวจหาลูทางที่ประเทศสมาชิกสามารถทํางานรวมกันอยางใกลชิด กับหนวยงานและองคการที่เกี่ยวของใน ประเทศคูเจรจา ประเทศอื่น ๆ และองคการระหวางประเทศ รวมทั้งองคการสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของ สหประชาชาติ สํานักงานแผนโคลัมโบ องคการตํารวจสากล และหนวยงานอื่น ๆ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 121

10. รวมมือและประสานกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของอยางใกลชิดมากยิ่งขึ้น เชน การประชุมรัฐมนตรี อาเซี ย นด า นกฎหมาย และการประชุ ม อั ย การสู ง สุ ด อาเซี ย น การประชุ ม อธิ บ ดี ก รมตํ า รวจอาเซี ย น การประชุ ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน การประชุมผูบัญชาการสํา นักงานตรวจคนเขาเมืองอาเซียน และการประชุม อธิบดีกรมศุลกากรอาเซียน ในการสอบสวน การดําเนินคดี และการฟนฟูผูประกอบอาชญากรรมดังกลาว 11. สงเสริมการพัฒนาสมรรถภาพของสํานักเลขาธิการอาเซียน ในการชวยเหลือประเทศสมาชิกในการริเริ่ม การ ดําเนินการ การวางแผน และการประสานงานในการจัดกิจกรรม การกําหนดกลยุทธ การวางแผน และโครงการในการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ นับตั้งแตมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ป ค.ศ. 1997 จนถึงปจจุบันเปนเวลา ประมาณ 17 ป ความสัมพันธระหวางชาติสมาชิกไดใกลชิดกันมากยิ่งขึน้ มีความรวมมือกันในหลาย ๆ ดาน เปนประโยชน ในการพั ฒนาภู มิ ภาคให มั่ น คงและเจริ ญ ก า วหน า ทั้ ง นี้ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ยนส ว นใหญ เ ป น ประเทศกํ า ลั ง พั ฒนา ประชากรมีรายไดนอย บางประเทศในอาเซียนมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทําใหระบบการเมืองออนแอ แตทุก ประเทศสมาชิกมีความเขาใจอันดีตอกัน จะเห็นไดจาก 1. ความรว มมื อในการตอ ตา นอาชญากรรมขา มชาติ เ ปน ความรว มมื อเฉพาะดา นระหวา งประเทศสมาชิ ก นอกจากความรวมมือทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ 2. มีโครงการที่สําคัญ คือ แผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการประกาศใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด ในป ค.ศ. 2015 3. การรวมกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน จะพัฒนาความรวมมือ และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ตองอาศัยระยะเวลาในการดําเนินการ เพื่อกําหนด และวางมาตรการการปองกันปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ

แผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบยาเสพติด เพื่อใหบรรลุการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนภายใน ค.ศ. 2015 (2558) คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดาน ยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matters: ASOD) ซึ่งอยูภายใตองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา คือ ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC ไดรวมกันยกรางแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อ ตอตานการลักลอบคายาเสพติด เมื่อป 2548 ซึ่งตอมา ที่ประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 30 ณ ประเทศกัมพูชา ป 2552 ไดใหการรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบคายาเสพติด ป พ.ศ. 2552-2558 (ASEAN Work Plan on Combating Illicit Drug Manufacturing, Trafficking and Abuse 2009-2015) หรือที่ เรียกวา “แผนปฏิบัติการ ASOD” แผนปฏิบัติการ ASOD มีการดําเนินงานเกี่ยวของกับ 2 เสาหลัก ไดแก เสาหลักดานสังคมและวัฒนธรรม ตาม มาตรการภายใต ASCC Blueprint หัวขอ B6 Enduring a drug-free ASEAN โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตอง ดําเนินการเกี่ยวของกับงานดานการปองกัน และบําบัดรักษายาเสพติด และงานดานการพัฒนาทางเลือก และเสาหลักดาน การเมืองและความมั่นคง ภายใน APSC Blueprint หัวขอ B4 Non-Traditional Security Issues หัวขอยอย B4.1 Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges ขอ vi-xi โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตองดําเนินการ เกี่ยวกับงานดานการปราบปรามยาเสพติด และเคมีภัณฑที่นําไปใชในการผลิตยาเสพติด รวมถึงงานดานการตรวจพิสูจน ยาเสพติด และการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 122

นอกจากนี้ ยังไดรวมกําหนดนิยามของการปลอดยาเสพติด ดังนี้ “การดําเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิด กฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ พรอมทั้งลดผลตอเนื่องตาง ๆ ในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม ในที่นี้ รวมถึงการลดลงอยางยั่งยืน และมีนัยสําคัญในเรื่องดังตอไปนี้ 1) พื้นที่ปลูกพืชเสพติด 2) การผลิต และการลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกีย่ วเนื่องยาเสพติด 3) การแพรระบาดของการใชยาเสพติด พรอมทั้งไดรวมกันกําหนดเกณฑวัดผลสําเร็จสําหรับการดําเนินกิจกรรม เพื่อแกไขปญหายาเสพติดทั้ง 3 ดาน ดังกลาวขางตน ไดแก เกณฑวัดผลดานพื้นที่ปลูกพืชเสพติด เกณฑวัดผลดานการแพรระบาดของการใชยาเสพติด และ เกณฑวัดผลดานการผลิต และลําเลียงยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนนําไปประกอบการจัดทําแผนชาติอันจะ นําไปสูเปาหมายการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนตอไป ในการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 31 ประเทศอินโดนีเซีย ในป 2553 ไดจัดลําดับ ความสําคัญของการดําเนินการตามวิสัยทัศนการปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายใน ค.ศ. 2015 คือ การปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การลดการแพรระบาดของการใช ยาเสพติด และการลดฟนที่ปลูกเสพติด ซึ่งจากการที่อาเซียนไดใหความสําคัญกับการปราบปรามยาเสพติด จึงไดกําหนด เกณฑวัดผลสําหรับการดําเนินงานการปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติดไว ดังนี้ 1. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด 2. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวกับการลักลอบลําเลียงยาเสพติด 3. การขจัดการลักลอบและการนําสารตั้งตนไปใชในการผลิตยาเสพติด 4. สงเสริมความรวมมือขามพรมแดน และการปฏิบัติการดานการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ

ยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนเปนความรวมมือที่มีมานานในรูปแบบต าง ๆ ซึ่งเปนผลมา จากการที่ทุกประเทศตางก็ตระหนักวา ปญหายาเสพติดเปนภัยของมนุษยชาติรวมกันที่ทุกประเทศตองรวมมือกันที่จะขจัด ภัยดังกลาว ดังนั้น กรอบความคิดความรวมมือดานยาเสพติด จึงเปนการพัฒนาตอยอดใหสําเร็จผลโดยเร็วขึ้น โดยอาศัย เงื่อนไขของการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนเปนแรงผลักที่สําคัญ ทั้งนี้ กําหนดกรอบความคิดทางยุทธศาสตร ดังนี้ 1. ใชกรอบความคิดที่ทุกประเทศในอาเซียนไดกําหนดเปนยุทธศาสตรรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด อาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) เปนกรอบความคิดหลัก ทั้งนี้ เพราะกรอบความคิดนี้ ถือเปนฉันทามติรวมกัน (commitment) อยูแลว และไดแปลงมาเปนแผนการปฏิบัติในมาตรการตาง ๆ ใหแตละประเทศปฏิบัติไดงายขึ้น 2. ใชกรอบความคิดที่จะทําใหการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาค ซึ่งเปนกรอบขอเสนอเชิงรุกของ รัฐบาล และไดรับการขานรับจากทุกประเทศในอาเซียนในทางหลักการแลว ซึ่งเปนกรอบความคิดที่มองปญหายาเสพติด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่สงผลกระทบกับประเทศไทย วาจะตองทําใหทุกประเทศในอาเซียน ตองชวยกัน รวมมือกัน และ ตระหนักถึงภัยรวมกัน โดยเล็งเห็น และเขาใจที่ประเทศใดประเทศหนึ่งไดรับผลจากปญหายาเสพติดอยางมาก และการที่ จะแกไขปญหาดังกลาวไดนั่น จะตองไดรับความรวมมือที่ดียิ่งจากกลุมประเทศตนทาง 3. ใชกรอบความคิด ขยายจุดรวม มุงผลโดยตรง เสริมสรางความพรอม เปนเข็มมุงหลักที่จะพัฒนาความรวมมือ เชิงรุก เพื่อแสวงหามาตรการการปฏิบัติตาง ๆ ที่จะสงผลตอการลดระดับปญหายาเสพติดโดยเร็ว โดยมุงขยายความ รวมมือใหมากที่สุด ใหสงผลตอการลดปญหายาเสพติดทั้งในประเทศและภูมิภาค รวมทั้งเตรียมการสรางความพรอมของ หนวยงานตาง ๆ ใหมากที่สุด ในการเตรียมการเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 123

เพื่อใหมีผลในการเรงยกระดับการมีสวนรวมของประเทศตาง ๆ ในประเทศอาเซียน ซึ่งจะมีผลตอการลดระดับ ปญหายาเสพติดภายในประเทศในระยะ 3 ป เพื่อรองรับความเปนประชาคมอาเซียน จึงกําหนดกลยุทธในการบรรลุ ยุทธศาสตรตามลําดับ ดังตอไปนี้ กลยุทธที่ 1 ขยายความรวมมือเชิงรุกตอมาตรการที่สงผลตอการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม โดย ในระยะ 3 ปนี้ แมจะยังไมเขาสูประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ สวนใหญจะมุงไปสูการเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ แต เฉพาะกรณีปญหายาเสพติด อาศัยขอตกลงการสรางเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนในป 2558 และขอตกลงรวมใหปญหา ยาเสพติดเปนความรวมมือระดับภูมิภาค ดังนั้น การกําหนดกลยุทธขยายความรวมมือในงานดานยาเสพติดในกลุมอาเซียน ใหเปนผลในการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม จึงเปนกลยุทธหลักใน 3 ปนี้ โดยขยายความรวมมือที่สําคัญในดาน supply reduction เปนหลัก ไดแก การขยายความรวมมือในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัด กั้นยาเสพติดทั้งตามแนวชายแดน และทาอากาศยานนานาชาติ การปราบปรามการผลิตยาเสพติด การลดพื้นที่ปลูกพืช เสพติด ฯลฯ กับประเทศตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน กลยุทธที่ 2 เตรียมการ สรางความพรอมตอมาตรการที่จะมุงขยายความรวมมื อที่มากขึ้น โดยพิจารณา มาตรการที่สําคัญ และจําเปนที่จะกอใหเกิดความรวมมือในกลุมประเทศอาเซียนเพิ่มมากขึ้น ดวยการสรางความพรอม หรือแสวงหาขอตกลงใจเพื่อนําไปสูความรวมมือในการแกไขปญหารวมกัน อันจะนําไปสูการแกไขปญหายาเสพติดที่จะมี การยกระดับมากขึ้น กลยุทธที่ 3 พัฒนาความรวมมือในหลายรูปแบบตามความเหมาะสมสอดคลองกับภารกิจ และการแสวงหา ประเด็นรวม โดยพัฒนาความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดในรูปแบบตาง ๆ ทั้งใน รูปแบบของกลุมประเทศ อาเซียน ความรวมมือแบบพหุภาคี ไตรภาคี และทวิภาคี ตามความเหมาะสมของสภาพปญหาภารกิจ และขอตกลงใจ รวมกัน เพื่อใหความรวมมือที่เกิดขึ้นปรากฏผลเปนรูปธรรม ปฏิบัติไดจริง กลยุทธที่ 4 เสริมบทบาทภาคีนอกกลุมประเทศอาเซียน หรืออาเซียนบวก โดยชักชวนแสวงหาความรวมมือ กับประเทศนอกอาเซียนที่มีผลตอการแกไขปญหายาเสพติดในประเทศในอาเซียน ทั้งในภาพรวมทุกประเทศ หรือใน ประเทศเฉพาะ เพื่อใหเกิด ผลสะทอนกลับ ตอการลดปญหายาเสพติดในอาเซียนตามมาตรการที่เหมาะสม และเป น ขอตกลงใจรวมกัน

กรอบยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติด เพื่อใหเกิดเอกภาพในกรอบความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน จึงไดกําหนดกรอบยุทธศาสตรไว 6 กรอบความรวมมือ ดังนี้ 1. กรอบความรวมมือในดานปราบปรามยาเสพติด (supply reduction) คือ การดําเนินการปราบปราม ยาเสพติด ทั้งในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัดกั้นตามทาอากาศยาน การยึดทรัพยสิน ฯลฯ 2. กรอบความรวมมือในดานการเสริมสรางความมั่นคงชายแดน คือ การดําเนินงานในดานการสกัดกั้น ยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสรางชุมชนตามแนวชายแดนใหเขมแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ 3. กรอบความรวมมือ การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดดวยการพัฒนาทางเลือก (Alternative Development) คือ การใชแนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาลดปญหาการปลูกฝน 4. กรอบความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด (potential demand) คือ การดําเนินการดานการปองกัน ยาเสพติดในกลุมที่กําหนดเปนเปาหมายรวมสกัดวงจรของผูเสพยาเสพติดรายใหมในกลุม ประเทศอาเซียน 5. กรอบความรวมมือดานการแกไขผูเสพยาเสพติด คือ การดําเนินการดานบําบัดรักษาผูเสพยาเสพติด การ พัฒนาความพรอมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนยายประชากรในกลุมประเทศอาเซียน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 124

6. กรอบความรวมมือดานการพัฒนาวิชาการ และการพัฒนาในดานตาง ๆ ไดแก การพัฒนาความรวมมือ ในดานการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือดานนิติวิทยาศาสตร การพัฒนากฎหมาย ฯลฯ เพื่อใหความรวมมือกับ ประเทศอาเซียนใหมีความกาวหนามากยิ่งขึ้น กรอบความรวมมือนี้ ถือเปนเข็มทิศหลักที่เปนขอตกลงของกลุมประเทศอาเซียนที่จะตองยึดถือ และใหแปลง ไปสูการปฏิบัติ

หนวยงานกลางประสานงานดานยาเสพติดระหวางประเทศ การขับเคลื่อนงานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนใหบรรลุผลตามยุทธศาสตรที่กําหนด จะตองผานหนวยงาน กลางดานยาเสพติดของแตละประเทศเปนกลไกกลางในการขับเคลื่อนหลัก โดยมีหนวยงานกลางของแตละประเทศ ดังนี้ กัมพูชา ไดแก National Authority for Combating Drugs (NACD) บรูไน ไดแก Narcotics Control Bureau (NCB) ฟลิปปนส ไดแก Dangerous Drugs Board (DDB) มาเลเซีย ไดแก National Anti-Drugs Agency (NADA) เมียนมาร ไดแก Central Committee for Drug Abuse Control (CCDAC) อินโดนีเซีย ไดแก National Narcotics Board (NNB) สปป.ลาว ไดแก Lao National Commission for Drug Control (LCDC) เวียดนาม ไดแก Standing Office on Drugs and Crime of Vietnam (SODC) สิงคโปร ไดแก Central Narcotics Bureau (CNB) ไทย ไดแก Office of Narcotics Control Board (ONCB)

กรอบความรวมมือประเทศไทยกับองคกรระหวางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ฐานะตัวแทนของรัฐบาลในการดําเนินงาน นโยบายดานยาเสพติด โดยการจัดทํากรอบความรวมมือระหวางประเทศขึ้น ซึ่งองคกรระหวางประเทศที่มีความรวมมือกับ ประเทศไทย คือ 1. องคการสหประชาชาติ (United Nations : UN) องคกรหลักขององคการสหประชาชาติที่ดําเนินงานดาน ยาเสพติด คือ โครงการควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศแหงสหประชาชาติ (United nations International Drug Control Program : UNDCP) ซึ่งเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้น และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) โดยประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดแลวทั้ง 3 ฉบับ คือ 1) อนุสัญญาเดี่ยววา ดว ยยาเสพติ ด ให โทษ ค.ศ. 1961 และพิ ธี สารแก ไขเพิ่ มเติ มอนุ สัญ ญาเดี่ยววา ด วยยาเสพติด ใหโ ทษ ค.ศ. 1972 2) อนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 และ 3) อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับ ลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวทั้งหมดมุงเนนไปที่การจํากัด การเติบโตของตลาดยาเสพติดดวยมาตรการเนนหนักในการลดอุปทานเปนหลัก บทบาทในเวทีสหประชาชาติของประเทศ ไทย คือ การไดรับเลือกใหเปนคณะกรรมาธิการยาเสพติด ตั้งแตป 2516 และประเทศไทยไดบริจาคเงินอุดหนุน UNDCP เปนประจํา ตั้งแตป 2521 เปนตนมา 2. สหภาพยุโรป (Europeans: EU) สํานักงาน ป.ป.ส. ไดรับความชวยเหลือจากสหภาพยุโรปในโครงการตาง ๆ ดานยาเสพติดตั้งแตป 2532 คือ การใหความชวยเหลือดานการควบคุมพืชเสพติด และการปองกันยาเสพติด ซึ่งตอมา สหภาพยุโรปไดทําความตกลงกับประเทศไทย เพื่อการควบคุมเคมีภัณฑ และสารตั้งตนที่นําไปใชผลิตยาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 125

3. อาเซียน (ASEAN) ในป 2519 มีการประกาศปฏิญญาอาเซียนวา ดวยหลัก การในการตอตา นการใช ยาเสพติดในทางที่ผิด ซึ่งมีหลักการวา ประเทศอาเซียนแตละประเทศตองเพิ่มความระมัดระวัง สรางมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลักลอบคายาเสพติดจัดใหมีความรวมมือทางดานงานวิจัยและศึกษา และปรับปรุงกฎหมายแตละ ประเทศ โดยพบวา มีความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด สรุปไดดังนี้ 1) การประชุมเจาหนาที่อาวุโส ความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด 2) โครงการอาเซียนดานยาเสพติด และ 3) โครงการอาเซียนดานยาเสพติดที่ประเทศไทยรับผิดชอบเปนผูประสานโครงการ 4. สํานักงานแผนโคลัมโบ (Colombo Plan Bureau) กอตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือประเทศสมาชิกในดานตาง ๆ ทั้งนี้ ในสวนของยาเสพติดมีโครงการที่ปรึกษาดานยาเสพติด (Drug Advisory Program : DAP) กอตั้งขึ้นเมื่อเดือน สิงหาคม 2516 มีหนาที่ใหคําปรึกษาแกรัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดการสัมมนาทางวิชาการ การประชุม ปฏิบัติการ และกิจกรรมตาง ๆ เพื่อชวยแกไขปญหายาเสพติด และใหทุนการศึกษา ดูงานแกเจาหนาที่ปฏิบัติงานดาน ยาเสพติด โดยให DAP เปนผูดําเนินงานรวมกับรัฐบาล องคการะหวางประเทศ และองคการเอกชนที่เกี่ยวของ ซึ่งตอมา บทบาทของ DAP ในระยะหลังไดเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการฝกอบรม กิจกรรมของ DAP ไดมุงเนน Demand Reduction ความรวมมือในระดับภูมิภาค และความรวมมือบริเวณพรมแดนการดําเนินงานตามอนุสัญญาป ค.ศ. 1988 และสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ 5. องคการตํารวจสากล (International Criminal Police Organization: Interpol or International Police) ความรวมมือกับตํารวจสากลเปนลักษณะการแลกเปลี่ยนขาวสารดานการปราบปรามยาเสพติด ซึ่งองคการตํารวจ สากลไดสงผูแทนมาประจําในประเทศไทย เพื่อปฏิบัติงานรวมกับเจาหนาที่ฝายไทย โดยตั้งสํานักงานที่กรมตํารวจ 6. องคกรเอกชนตางประเทศ (International Non-government : NGOs) สํานักงาน ป.ป.ส. มีความรวมมือ กับองคการเอกชนตางประเทศหลายองคการ ซึ่งองคการเอกชนระหวางประเทศมีการดําเนินงานดานยาเสพติด ใหความ ชวยเหลือแกประเทศไทย และประสานความรวมมือระหวางกันดานยาเสพติด

จุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด จุดแข็ง 1) ทําเลที่ตั้งของประเทศไทยเหมาะสมในการเปนศูนยกลางของภูมิภาค สามารถวางแผนพัฒนาศักยภาพการ เปนศูนยกลางอาเซียนใน เรื่องการขนสงการทองเที่ยว และการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถขยายตัวเพื่อสรางความเขมแข็งในอนาคตไดมาก ทั้งในลักษณะอาเซียน บวก 3 โดยการเพิ่มประเทศจีน เกาหลีใต และญี่ปุน และอาเซียนบวก 6 โดยการเพิ่มประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย 3) แนวโนมของอํานาจทางเศรษฐกิจโลกจะเคลื่อนยายมาสูภูมิภาคเอเชียมากขึ้น การรวมกลุมของภูมิภาคเอเชีย จะสงผลใหเอเชียเปนตลาดที่มีศักยภาพ มีความเชื่อมโยงกันและมีเสถียรภาพมากขึ้น 4) การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อสงเสริมการคา การลงทุน การจางงาน การใชวัตถุดิบ และการตลาดจากประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะในจังหวัดที่อยูตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ และเมือง ชายแดน 5) มีหลายประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และหลากหลาย เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ถานหิน แร ธาตุ ปาไม น้ํา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 126

6) ความสอดคลองกันของผลประโยชนแหงชาติของทุกประเทศ (Common of national interest) โดยมอง การเขาสูประชาคมอาเซียนเปนเปาหมายรวมกัน 7) ทุกประเทศอาเซียนสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug – Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน 8) ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สํา คัญในการผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุม สุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมืองรวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด 9) ประเทศไทยไดรับการยอมรับจากนานาประเทศในดานความสําเร็จของการพัฒนาทางเลือกเพื่อแกไขปญหา พืชเสพติด 10) ประเทศไทยเปนภาคีของความตกลงระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยายถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ

จุดออน 1) การปกปองคุมครองผลประโยชนแ หงชาติของแตละประเทศ นํา ไปสูความขัดแยงระหวางผลประโยชน แหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) 2) ประเทศมหาอํานาจทั้งภายใน และภายนอกภูมิภาคเปนตัวแปรที่สําคัญของการเมืองระหวางประเทศ และ ความสัมพันธระหวางประเทศ 3) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติดตองอาศัยปจจัยดานการเมืองระหวางประเทศ และความสัมพันธ ระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานดวย 4) งานดานตางประเทศเปนเรื่องละเอียดออน ตองดํา เนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อเสริมสราง ความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน 5) ความรวมมื อกับประเทศเพื่ อนบานขึ้นอยูกั บเรื่องความสัมพันธศักยภาพในการดําเนินงาน และเงื่อนไข ภายในประเทศของแตละประเทศดวย อยางเชน สํานักงานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศ เพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ ตองมีการประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทํา ใหขาดความคลองตัวในการ ทํางาน 6) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมหลายดานทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลอยางมากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค 7) นโยบายตางประเทศสัมพันธกับการเมืองภายในประเทศ 8) การมองปญหาที่ไมเหมือนกันนําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนินนโยบายการแกไขปญหาที่แตกตาง กัน 9) การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ 10) การปรับปรุงแกไขกฎหมายเพื่อรองรับพันธกรณีตาง ๆ หนวยงานที่เกี่ยวของตองขอความเห็นชอบจาก รัฐสภา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 127

โอกาส 1) การรวมกลุมของเหลาประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความหลากหลายทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม 2) การสรางประชาคมอาเซียนดวยโครงสรางแบบเสาหลัก 3) ระดับการพัฒนาประเทศที่สูงขึ้น และขนาดเศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น จะเปนโอกาสสําหรับการคา และการ ลงทุนของไทยในประเทศเหลานี้เพิ่มมากขึ้น 4) การเชื่อมโยงภูมิภาคเพื่อกาวสูความเปนหนึ่งเดียว โดยเฉพาะโครงสรางพื้นฐานภายใตกรอบความรวมมือใน อนุภูมิภาคลุมน้ําโขงที่เชื่อมทั้งภูมิภาคเขาดวยกัน เชน การพัฒนาคมนาคมระบบราง การสรางทาเรือน้ําลึกทวาย 5) ประเทศสมาชิกอาเซียนเปนฐานการผลิตใหผูประกอบการไทย เพื่อผลิต และสงออกสินคา เพื่อรับสิทธิ ประโยชนทางภาษีในรูปแบบตาง ๆ 6) อาเซียนในฐานะองคการระหวางประเทศ และสถาบันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตองปรับตัวภายใต เงื่อนไขของภูมิภาคนิยมแบบใหม (New regionalism) กับกระแสโลกาภิวัตน (Globalization) 7) การลงทุนในประเทศเพื่อนบานที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ และพรอมเปดรับการลงทุนจากตางชาติ 8) ความอยูร อดภายใตบ ริบ ทใหม โดยเฉพาะอยา งยิ่ง เศรษฐกิ จการเงิ นภายใต ระบบทุน นิยมโลกาภิ วัต น ที่ ผันผวน การพัฒนาตนเองตอสภาพแวดลอมของการแขงขันแบบใหม 9) โลกแหงการพึ่งพา เนื่องจาก เศรษฐกิจไทยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ปญหายาเสพติดเปนปญหา สากล และมีความเชื่อมโยงกันทั่วโลก การแกไขปญหายาเสพติดจะตองไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน 10) หากประเทศในภูมิภาคมีระดับการพัฒนาที่ดีขึ้น ปญหาขามชาติตาง ๆ ที่คุกคามความมั่นคงของประเทศ ไทยในปจจุบันก็จะลดลง

ภัยคุกคาม 1) ภัยคุกคามรูปแบบใหมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงรูปแบบใหม (Non traditional security) อยางเชน การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบเขาเมือง โดยผิดกฎหมาย การคามนุษยอาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การฟอกเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอรการเกิด ภัยพิบัติโรคระบาด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ช องวา งของการพั ฒนาระหวา งประเทศในกลุมอาเซียน ระดับ การพั ฒนาเศรษฐกิจที่แ ตกตา งกัน มีบาง ประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูง มีหลายประเทศที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมพัฒนา ยังมีชองวางของระดับความ ทันสมัยอีกดวย 3) การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแขงขัน จําเปนตองยายฐานการผลิตไปตางประเทศมากขึ้น นัก ลงทุนอาจขยายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน 4) เกิดการเคลื่อนยายแรงงานฝมือของไทยไปประเทศที่ไดคาตอบแทนสูงกวา และแรงงานตางดาวราคาถูกกวา เขามามากขึ้น 5) มีแนวโนมผอนปรนขอจํากัดในการทํางานของคนตางชาติมากขึ้น 6) หากไมมีมาตรการควบคุมที่เหมาะสม สินคาที่ไมไดมาตรฐานจะเขามาในประเทศไทยมากขึ้น 7) อุตสาหกรรมหลักของประเทศยังคงพึ่งพาเงินทุน และเทคโนโลยีจากตางประเทศ 8) ชองวางในการพัฒนาอาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางสังคม 9) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีการปลูกพืชเสพติด และมีแหลงผลิตยาเสพติดจํานวนมาก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 128

10) นโยบายดานความสัมพันธอันดีกับประเทศเพื่อนบาน และนโยบายดานการคาชายแดนกลายเปนชองทาง และโอกาสใหเกิดการนําเขายาเสพติด แรงงานเถื่อน สินคาหนีภาษี 11) ปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตรเทคโนโลยี และตางประเทศ สงผลโดยตรงตอการเกิด การ ดํารงอยู และการขยายตัวของปญหายาเสพติดในประเทศไทย

ขอผูกพันระหวางประเทศในการกําหนดนโยบายดานยาเสพติด ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดจําเปนตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศเพื่อนบานรวมกันแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น ซึ่งการกําหนดนโยบายในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทย ไมสามารถดําเนินการไดอยางอิสระโดย ปราศจากความตระหนักถึงพันธะ และขอผูกพันสัญญาระหวางประเทศ และความรวมมือตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ประเทศเพื่อนบาน ในป 1909 มีขอตกลงระหวางประเทศในการจัดตั้งกลไกการแกไขปญหาฝน โดยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการฝน ขึ้ น ซึ่ ง นั บ แต นั้ น มาพบว า มี ก ฎหมายระหว า งประเทศที่ เ กี่ ยวกั บ การควบคุ ม ยาเสพติ ด ที่ สํ า คั ญ รวม 7 ฉบั บ ได แ ก คณะกรรมาธิการฝนนามเซี่ยงไฮ ป 1909 อนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1912 อนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1925 อนุสัญญา ค.ศ. 1931 อนุสัญญา ค.ศ. 1936 พิธีสารกรุงปารีส ค.ศ. 1948 และพิธีสารวาดวยฝน ค.ศ. 1953 ในอดีตที่ผานมาปญหายาเสพ ติดมีมากขึ้นอยางตอเนื่อง ประเทศตาง ๆ พยายามหาทางแกไขปญหาโดยมีกฎหมายระหวางประเทศขึ้นมาหลายฉบับ เพื่อนํามาใชเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น

กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวกับยาเสพติดในปจจุบัน อนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1961 (The Single Convention on Narcotic Drugs, 1961) และพิธีสารแกไขเพิ่มเติมอนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1972 (The 1972 Protocol Amending The Single Convention on narcotic Drugs, 1961) ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวไดรวบรวมอนุสัญญา หรือขอตกลงระหวาง ประเทศที่มีอยูมาไวเปนฉบับเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีอนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 (The Convention on Psychotropic Substances, 1971) ซึ่งอนุสัญญาทั้งหมดนี้ มีเนื้อหาที่มุงเนนการควบคุม และจํากัด การใชยาเสพติดใหโทษเพื่อประโยชนทางการแพทย และทางวิทยาศาสตรเทานั้น และไดกําหนดใหมีคณะกรรมการ ควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศขึ้น (International Narcotics Control Board: INCB) โดยที่ประเทศภาคีตองรายงาน ปริมาณการใชยาเสพติดตอ INCB อยางไรก็ตาม แมวา มีอนุสัญญาในการควบคุมยาเสพติดดังกลาวแลว แตยังคงพบการแพรระบาดยาเสพติดไปยัง ประเทศต า ง ๆ อยู แ ละทวี ค วามรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น จึ ง ได มี ก ารจั ด ทํ า อนุ สั ญ ญาขึ้ น มาใหม อี ก ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 (The United nation Convention against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) โดยมีหลักการที่สําคัญ ถือเปนมาตรการใหมที่กําหนดไวในประเทศภาคีนําไปปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน ไดแก 1) ความผิดและกําหนดโทษ 2) เขตอํานาจรัฐ 3) การบริหารทรัพยสิน 4) การสงผูรายขามแดน 5) การชวยเหลือกันทางกฎหมาย และ 6) การโอนการดําเนินคดี


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 129

นับตั้งแตมีอนุสัญญาฉบับนี้ ประเทศตาง ๆ ใหความสนใจและสมัครเขาเปนภาคีจํานวนมาก จนถึงปจจุบันมี ประเทศตาง ๆเขารวมเปนภาคีแลวไมนอยกวา 138 ประเทศ สําหรับในประเทศไทยนั้นเขาเปนภาคี ในป พ.ศ. 2545

มาตรการสงผูรายขามแดน : กลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามยาเสพติด การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางรัฐที่มีมานานแลว แตในสมัยกอนความรวมมือในลักษณะดังกลาว ยังไมแพรหลายมากนัก ทั้งนี้ เปนเพราะสมัยนั้น การคมนาคมระหวางประเทศยังไมสะดวกและรวดเร็วเหมือนเชนปจจุบัน การประกอบอาชีพอาชญากรรมและการหลบหนีการจับกุมสวนใหญ จึงจํากัดอยูเฉพาะภายในเขตหรือภายในประเทศที่ กออาชญากรรมเทานั้น แตตอมา เมื่อเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคมขนสงระหวางประเทศมีความเจริญกาวหนา มากขึ้น รูปแบบการประกอบอาชญากรรมบางประเภทก็เปลี่ยนไปเปน “องคกรอาชญากรรมขามชาติ” (Transnational Crime) ที่มีเครือขายเชื่อมโยงการกระทําผิดในพื้นที่หลายประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “องคกรอาชญากรรมคายาเสพติด ขามชาติ” ที่ตัวนายทุน หรือตัวการสําคัญที่ไมตองเดินทางไปติดตอ หรือการดําเนินการสงมอบยาเสพติดใหกับลูกคาใน ตางประเทศดวยตนเอง แมเจาหนาที่ในประเทศที่มีการสงมอบยาเสพติด จะสามารถจับกุมตัวผูรวมกระทําผิดในขณะที่นํา ยาเสพติดไปสงมอบใหลูกคา และมีพยานหลักฐานเชื่อมโยงไปถึงตัวบุคคลที่เปนนายทุน หรือตัวการสําคัญที่อยูอีกประเทศ หนึ่งก็ตาม แตดวยขอจํากัดเรื่องอํานาจอธิปไตย และความแตกตางของกฎหมายภายในแตละรัฐ ทําใหไมสามารถติดตาม จับกุมตัวบุคคลเหลานั้นมาดําเนินคดีในประเทศผูเสียหายได ดังนั้น ปจจุบันประเทศตาง ๆ จึงไดยอมรับแนวคิดเกี่ยวกับ ความรวมมือระหวางรัฐในการสงผูรายขามแดน และนํามาบังคับใชแพรหลายมากขึ้น

ความหมายของการสงผูรายขามแดน “การสงผูรายขามแดน” (Extradition) หมายถึง การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งตกลงยินยอมสงตัวบุคคลที่ตอง หาวากระทําความผิดทางอาญาในอีกประเทศหนึ่ง ตามคําขอเพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือบังคับโทษตามคําพิพากษาของ ประเทศผูรองขอ และจากความหมายดังกลาวจะเห็นไดวา การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางประเทศทาง อาญา ซึ่งตามปกติแลว จะดําเนินภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงตางตอบแทนระหวางรัฐที่สอดคลองกับกฎหมายภายใน ของแตละประเทศ

เจตนารมณของการสงผูรายขามแดน

การสงผูรายขามแดนเปนมาตรการทางกฎหมายที่มีเจตนารมณในการเสริมสรางความรวมมือระหวางรัฐในการ ปราบปรามอาชญากรรมอยางมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของความเคารพตออํานาจอธิปไตยซึ่งกันและกัน โดยมุงเนนให บรรลุผลตามหลักการสําคัญ ๆ 3 ประการ คือ 1) หลักความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามอาชญากรรม (International Co-operation) 2) หลักการบังคับใชกฎหมาย “ผูก ระทําความผิดทางอาญาจะตอ งไดรับโทษทางอาญา” (Certainly of Punishment) 3) หลักการปองกันการกออาชญากรรมซ้ํา หรือการตัดชองโอกาสใหอาชญากรรมที่หลบหนีการจับกุมไปกอ อาชญากรรมในประเทศอื่นไดอีก (Prevention Crime)

หลักการทั่วไปของการสงผูรายขามแดน หลั ก การเกี่ ยวกั บการส ง ผู ร า ยข า มแดนได ถู ก กํ า หนดไว ใ นอนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ 2 ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลักลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ขอ 6 (United Nations Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) และอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ค.ศ. 2000 ขอ 16 (United Nations


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 130

Convention Against Transnation Organized Crime, 2000) ที่ระบุใหประเทศภาคีตองรวมมือในการสงผูรายขาม แดน เพื่อผลในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ และอาชญากรรมคายาเสพติด โดยกําหนดหลักการสําคัญ ๆ ในการสงผูรายขามแดนใหประเทศภาคีสมาชิกใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือนําไปบัญญัติเปนกฎหมายภายในบังคับใช ดังนี้ 1) ความผิดที่จะสงผูรายขามแดนได จะตองเปนความผิดทางอาญาตามกฎหมายภายในทั้งของประเทศผูรองขอ และประเทศผูรับคําขอ (Double Criminality) 2) โทษที่ผูถูกสงตัวเปนผูรายขามแดน จะไดรับตองเปนโทษตามความผิดที่ระบุไวในคํารองขอ (Rule of Specialty) 3) คํ า ร อ งขอให ส ง ผู ร า ยข า มแดนอาจถู ก ปฏิ เ สธได ถ า บุ ค คลนั้ น มี สั ญ ชาติ ข องประเทศผู รั บ คํ า ร อ งขอ (Nationality) หรือความคิดตามคํารองขอเปนความผิดทางการเมือง (Political Crime) หรือเปนความผิดที่ตามกฎหมาย ในประเทศผูรองขอถึงขั้นประหารชีวิต (Death Penalty)

ประเทศไทยกับความรวมมือในการสงผูรายขามแดน ประเทศไทยไดใหความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ในการสงตัวผูรายขามแดนมานานแลว โดยในระยะแรก ๆ การ สงผูรายขามแดนดําเนินไปอยางไมเปนทางการบนพื้นฐานของความมีสัมพันธไมตรีที่ดีตอกัน ซึ่งสวนใหญเปนประเทศ เพื่อนบานที่มีอาณาเขตติดกับประเทศไทย จนกระทั่ง ในปลายรัชสมั ยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนของไทย จึงไดมีความชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยมีการทําความ รวมมือในรูปสัญญาระหวางรัฐเปนครั้งแรกกับประเทศอังกฤษ เมื่อป พ.ศ. 2453 (ร.ศ.129) และหลังจากนั้น ก็มีการทํา สัญญาในลักษณะดังกลาวกับประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศในเวลาตอมา ปจจุบัน ประเทศไทยไดทําสัญญาสงผูรายขาม แดนกับประเทศตาง ๆ รวม 10 ฉบับ ประกอบดวย 1) ประกาศสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนในระหวางกรุงสยามกับอังกฤษ มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2453 2) อนุสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนระหวางกรุงสยามกับเบลเยี่ยม มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2479 3) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐอินโดนีเซียวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2523 4) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐฟลิปปนสวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2527 5) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสหรัฐอเมริกาวาดวยการสงผูรายขามแดน มี ผลบังคับใช เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2534 6) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีนวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2542 7) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐเกาหลีวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2544 8) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววา ดวยการสงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2544 9) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศวาดวยการ สงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2544


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 131

10)สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห งราชอาณาจักรกัมพูชาวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2544 นอกจาก ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนที่ดําเนินการภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงระหวางรัฐตอรัฐแลว ประเทศไทยยังใหความรวมมือในการสงผูรายขามแดนกับประเทศอื่น ๆ ที่ไมไดมีสนธิสัญญา หรือขอตกลงกับไทยดวย โดยออกเปนกฎหมายภายในเฉพาะเรื่อง ไดแก พ.ร.บ.สงผูรายขามแดน พ.ศ. 2472 ซึ่งบัญญัติใหการสงผูรายขามแดนของ ไทย สามารถกระทําไดทั้งกับประเทศที่มีสนธิสัญญา และประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย โดยมีหลักเกณฑ หรือขั้นตอน วิธีการดําเนินงานแตกตางกันบางประการ กลาวคือ ถาเปนการสงผูรายขามแดนใหกับประเทศที่มีสนธิสัญญากับไทย ก็ให ปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ระบุไวในสนธิสัญญาเปนหลัก แตถาเปนการสงผูรายขามแดนกับประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย ก็ใหพิจารณาตามหลักเกณฑทั่วไปตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้

ปญหาการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด ในกรณีที่รัฐบาลตางประเทศเปนผูรองขอใหรัฐบาลไทยสงผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเปนผูรายขามแดน ปญหาในทางปฏิบัติมักจะเกิดจากความลาชาในขั้นตอนการดําเนินการกอนนําคดีขึ้นสูศาล ทั้งนี้ เพราะปจจุบันยังไมมี หน ว ยงานของไทยที่ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะ ทํ า ให ก ารร อ งขอต อ งใช วิ ธี ผ า นช อ งทางการทู ต (Diplomatic Channel) ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุงยากและเสียเวลามาก สวนในกรณีที่รัฐบาลไทยเปนผูรองขอ ปญหาที่เกิดขึ้นไดแก เรื่องบทกําหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ของแตละประเทศที่มีความแตกตางกัน โดยที่กฎหมายไทยกําหนดโทษความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดบางขอหามีโทษขั้น ประหารชีวิต ทําใหคํารองขอใหสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด อาจถูกปฏิเสธจากประเทศผูรับคํารองขอได นอกจากนั้น การที่ประเทศไทยไมมีสนธิสัญญากับรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลไทย จึง ไม อ าจร อ งขอโดยผ า นช อ งทางการทู ต ตามปกติ ไ ด ทํ า ให ต อ งใช วิ ธี ก ารร อ งขอในรู ป ของข อ ตกลงต า งตอบแทน (Reciprocity) ปจจุบัน กฎหมายสงผูรายขามแดนของไทยกําลังอยูระหวางการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติใหเอื้อตอการ ดําเนินการมากขึ้น

บทบาทประเทศไทยตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรฯ สําหรับการปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาลไทย ไดกําหนดเปนวาระแหงชาติ โดยมุงเนนการปราบปรามตาม แนวชายแดนตาง ๆ ตลอดจนสกัดกั้นเสนทางลําเลียงยาเสพติดทุกเสนทางจากสภาพปญหาที่ผานมา จากที่ประเทศไทย เปนตนทาง ซึ่งจะมีแหลงผลิตยาเสพติดอยูตามแนวชายแดนของประเทศไทย เมียนมาร และสปป.ลาวตอเนื่องกัน ที่ เรียกวา “สามเหลี่ยมทองคํา” (Golden Triangle) และยังอาศัยประเทศไทยเปนทางผาน และเปนจุดพักยาเสพติด เพื่อ สง ไปยัง ประเทศที่ส าม ดั งนั้ น นโยบายดา นการปราบปรามยาเสพติด ของประเทศไทย จึ งท าทายตอ การผนึก กํา ลั ง ปราบปราม และเพื่ อ ให การขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อด า นยาเสพติ ด กั บ ประเทศต า ง ๆ ในกลุ มอาเซี ยนบรรลุ ผ ลตาม ยุทธศาสตรฯ นี้ จึงกําหนดใหประเทศไทยควรมีบทบาท ดังนี้ 1. บทบาทในฐานะประเทศที่ไ ดรับผลโดยตรงกับปญ หายาเสพติ ด อาจจะเรียกไดวา “มากที่สุ ด” ในกลุ ม ประเทศอาเซียนดวยกัน บทบาทนี้ จึงทําใหประเทศไทยจะตองแสดงความกระตือรือรนมากกวาประเทศอื่น ๆ ที่ ไดรับผล นอยกวา เพราะหากประสบผลสําเร็จในความรวมมือไดมากเทาใด ก็จะสงผลตอการลดสถานการณปญหายาเสพติด ภายในประเทศมากขึ้นเทานั้น


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 132

2. บทบาทในฐานะประเทศที่มีสภาพทางภูมิรัฐศาสตรที่อยูกึ่งกลางของประเทศในกลุมอาเซียน บทบาทนี้ สามารถทําใหประเทศไทยสามารถเปนกึ่งกลาง หรือศูนยกลางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรในจุดที่เหมาะสมไดมากกวา ประเทศอื่น ๆ ซึ่งหากประเทศไทยไดขับเคลื่อนอยางจริงจังก็มีโอกาสทําใหการขับเคลื่อนงานดานยาเสพติดในภูมิภาคจะ เปนไปอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น ทั้ง นี้ สภาพกึ่ ง กลางของประเทศไทย รวมหมายความถึ งกึ่ ง กลางของประเทศในอาเซียนที่มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจ ความมั่งคั่งที่แตกตางกันระหวางประเทศที่อยูทางตอนเหนือ และตะวันออกของประเทศไทย ที่มีฐานะยากจน กวากับประเทศทางตอนใตของประเทศไทยที่มีฐานะมั่งคั่งกวา โดยประเทศที่มีผลกระทบดานยาเสพติดกับประเทศไทย โดยตรง ไดแก ประเทศที่อยูทางตอนเหนือทั้งสิ้น 3. บทบาทในฐานะผู ใ หก ารสนั บ สนุ น มากกวา ผู รั บ ซึ่ ง เป น บทบาทที่ กํ า หนดให ป ระเทศไทยที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจอยูในระดับตน ๆ ของกลุมประเทศอาเซียน และตองเผชิญกับปญหายาเสพติดมากที่สุดในกลุมประเทศอาเซียน จะตองพัฒนาบทบาทในฐานะผูใหการสนับสนุนกลุมประเทศทางตอนเหนือ และตะวันออกใหสามารถมีความคลองตัวใน การปฏิบัติงานดานยาเสพติดในประเทศของตน เพื่อลดปริมาณยาเสพติดที่จะถูกลักลอบนําเขาประเทศไทย อันจะสงผล ตอประเทศอาเซียนโดยรวมทั้งหมด และจะมีโอกาสใหเจตนารมณที่ทําใหอาเซียนปลอดยาเสพติดในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ใกลเคียงกับความจริงมากที่สุด 4. บทบาทในฐานะประเทศแกนหลั ก ที่ เ สนอให ป ญ หายาเสพติ ด เป น วาระภู มิ ภาค โดยที่ ก ารแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติดในประเทศจะเปนไปอยางยากยิ่ง หากไมไดรับความรวมมืออยางจริงจังกับประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งกลุมประเทศทางตอนเหนือ และทางตะวันออกประเทศไทย จึงตองมีบทบาทสําคัญในการยกระดับปญหา ยา เสพติดใหเปนวาระภูมิภาคใหเปนผลสําเร็จ ไมเพียงแตจะเปนการสรางการยอมรับในเวทีสากลแลว ยังเปนการแกไขปญหา ภายในประเทศอีกดวย

ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด จากกิจกรรมหลากหลายรูปแบบขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ในปจจุบัน ไดกลายปญหาสําคัญของทุก ประเทศปญหาหนึ่ง คือ ยาเสพติด โดยแพรระบาดไปทั่วโลกมีผูรวมกระทําผิดจํานวนมาก ลักษณะการดําเนินการเปน ความลับ ยึดเปนอาชีพและส วนหนึ่งอยูเบื้องหลังอาชีพถูก กฎหมาย ทํารายไดจํานวนมาก ทั้งนี้ จะมีผูมีอิทธิพลทาง การเมืองในระดับทองถิ่นและระดับชาติ รวมมือใหความชวยเหลือเพื่อแลกเปลี่ยน หรือหวังผลประโยชนตางตอบแทน ปญหายาเสพติด ทําใหรัฐตองสูญเสียทรัพยากร ทั้งดานกําลังคน งบประมาณ ในการพัฒนาประเทศชาติ ซึ่ง ผลกระทบจากปญหายาเสพติด ซึ่งเปนปญหาสําคัญของประเทศไทย แบงออกเปน 1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ 2. ผลกระทบทางดานสังคม

1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ

จากกรณีองคกรอาชญากรรมขามชาติมุงหวังกําไรเปนหลัก กิจกรรมตาง ๆ ทั้ง ธุรกิจผิดกฎหมาย และอาศัย ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา ทําใหเกิดผลเสียหายทางดานเศรษฐกิจกับประเทศ ดังนี้ 1) ทําใหเกิดระบบผูกขาดในทางเศรษฐกิจ เกิดการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ทําใหระบบเศรษฐกิจ ออนแอ ตนทุนการผลิตสินคาแพงขึ้น จากการเก็บคาคุมครองและอื่น ๆ และประชาชนตองบริโภคสินคาในราคาแพง 2) การฟอกเงินทําใหระบบเศรษฐกิจปนปวน การเงินไมเปนไปตามหลักเหตุผลทางเศรษฐศาสตร คาดการณ ยาก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 133

3) รัฐตองจัดสรรงบประมาณ สําหรับการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมและตองสูญเสียรายไดในรูป ของภาษีอากร เชน การคาน้ํามันเชื้อเพลิง การลักลอบขนสินคาหนีภาษี 4) เงินรายไดของรัฐสิ้นเปลืองไป ทําใหทรัพยากรไมเพียงพอ ในการพัฒนาดานสังคม และสวัสดิการของ ประชาชน 5) จากกรณีความไมสงบเรียบรอยในบานเมือง ทําใหนักลงทุนตางชาติเกิดความลังเลในการเขามาลงทุน หรือรวมลงทุนกิจการในประเทศ

2. ผลกระทบทางดานสังคม

1) กอใหเกิดปญหาอาชญากรรม เพราะยาเสพติดบางอยางทําใหคนมีนิสัยกา วราว รุนแรง และประกอบ อาชญากรรมในหลายรายปรากฏว า การเสพยาเสพติ ด ทํ า ให เ กิ ด พลั ง จอมปลอมขึ้ น ทํ า ให ค นมี นิ สั ย ใจคอก า วร า ว อาชญากรบางคน ยอมรับวา ใชยาเสพติดเพื่อใหมีความกลาเพียงพอที่จะประกอบอาชญากรรม ผูติดยาเสพติดยังตอง พยายามหาเงินมาเพื่อบําบัดความตองการเสพยาเสพติด โดยอาจใชวิธีการที่ไมชอบดวยกฎหมาย เชน ฉกชิง วิ่งราว ทํา การโจรกรรม ปลนทรัพย หรือเปนโสเภณี ทําใหเกิดปญหาในดานความสงบสุขของประชาชนทั่วไป 2) ปญหาตอเยาวชนและวัยรุน โดยเฉพาะเด็กที่อยูในครอบครัวแตกแยก พอแมวิวาทเกลียดชังกัน ไมไดรับ ความอบอุน จึงหันไปหาสิ่งอื่น เชน หันไปหายาเสพติด เมื่อติดแลวก็กออาชญากรรมเพื่อหาเงินซื้อยาเสพติด สรางปญหา สังคมอื่น ๆ ขึ้นมา 3) กอใหเกิดปญหาโสเภณี หญิงโสเภณีจํานวนไมนอยที่เปนโสเภณี เพราะมูลเหตุจูงใจเบื้องตนจากการติด ยาเสพติด 4) กอใหเกิดปญหาการวางงาน นายจางไมวาจากรั ฐบาล หรือเอกชน ไมปรารถนาที่จะจางบุคคลที่ติด ยาเสพติดไวทํางาน และผูติดยาเสพติดจะหมกมุนอยูแตเรื่องที่จะหายาเสพติดมาเสพ เพื่อบําบัดความตองการเทานั้น มิได คิดถึงการประกอบอาชีพใด ๆ ขาดความกระตือรือรนที่จะขวนขวายหาอาชีพอื่น ทําใหกลายเปนคนวางงานในที่สุด 5) ปญหาสังคมอื่น ๆ เชน ปญหาความยากจน ปญหาการหยาราง ปญหาเด็กถูกทอดทิ้ง ปญหาคนไรที่พึ่ง และปญหาการสงเคราะหผูติดยาเสพติด เปนตน 6) ด า นกํ า ลั ง คน กล า วคื อ ประเทศที่ มี ป ระชากรติ ด ยาเสพติ ด จะเป น ประชากรที่ ข าดคุ ณ ภาพ ขาด ประสิทธิภาพในการทํางาน ขาดแรงจูงใจในการทํางาน การพัฒนาประเทศยอมหยุดชะงักหรือไมกาวหนาเทาที่ควร 7) ดานการเงินงบประมาณ โดยหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคการระหวางประเทศไดทุม งบประมาณในการแกไขปญหายาเสพติดอยางมหาศาล รัฐบาลทุกรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดเปนนโยบายสําคัญ พรอมจัดสรรงบประมาณประจําป เพื่อปองกันปราบปรามยาเสพติดใหแกหนวยงานตาง ๆ ที่ มีหนาที่เกี่ยวของในดานการปองกัน และปราบปรามยาเสพติด ตลอดจนการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด โดยมีจุดมุงหมาย เพียงเพื่อยับยั้งและทําลายยาเสพติดใหหมดสิ้นไป ยาเสพติด มีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางมาก ประเทศไทยตระหนักถึงปญหายาเสพติด และ ดําเนินการปองกันปราบปราม ควบคุมการแพรระบาดของยาเสพติด ใหลดนอยลง เพื่อประชาชนในประเทศจะไดมีความ เปนอยูดีขึ้น ปญหาอาชญากรรม และการสูญเสียกําลังงบประมาณก็จะลดนอยลง


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 134

ผลกระทบจากการแกไขปญหายาเสพติดเมื่อรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ป 2558 เมื่ อ ประเทศในภู มิ ภาคกํ า ลั ง จะรวมตั ว กั น เป น ประชาคมอาเซี ยนในป 2558 จะส ง ผลกระทบต อ แนวโน ม สถานการณยาเสพติด และการบริหารจัดการเพื่อแกไขปญหายาเสพติด ทั้งทางบวก และทางลบหลายประการดวยกัน กลาวคือ

1. ประชาคมเศรษฐกิจ

ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค การพัฒนาเศรษฐกิจระหวางประเทศ การ สงเสริมการลงทุนในตางประเทศ บรรยากาศการคา และการลงทุนเสรีมากขึ้น เงินทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศเขาออก ไดอยางเสรี เกิดความเชื่อมโยงระบบชําระเงินระหวางกันในอาเซียน การแขงขันเพื่อเปนศูนยกลางการขนสงของภูมิภาค ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกันเอง นําไปสูการพัฒนาดานศุลกากร ดานตรวจคนเขาเมือง และการปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวของ เกิดโครงขายทางดวนสารสนเทศรวมทั้งเพิ่มโอกาสในการพัฒ นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม ๆ จากการวิจัย และพัฒนารวมกันในภูมิภาคอาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อเสริมสรางเครือขายความเชื่อมโยงระหวาง ไทยกกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค จะเอื้ออํานวยตอการลําเลียงยาเสพติดทั้งตอประเทศตนทางที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด ประเทศทางผ า นที่ เ ปน จุ ดแวะพั ก และประเทศปลายทางที่เ ปน ตลาดผูบ ริ โภค เส นทางลํ าเลี ยงยาเสพติ ด จะมีก าร เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และเกิดความหลากหลายมากขึ้น กอใหเกิดความยุงยากในการสกัดกั้นและปราบปราม เกิด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจขามชาติ อาชญากรรมที่เกี่ยวกับยาเสพติด และอาชญากรรมคอมพิวเตอร แผนประทุษกรรม เกี่ยวกับยาเสพติดจะพลิกแพลง และซับซอนมากขึ้น การใชประโยชนเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหมใหเอื้ออํานวยตอการ ประกอบอาชญากรรมระหวางประเทศ ธุรกรรมทางการเงินระหวางประเทศ และการฟอกเงิน นักลงทุน ตางชาติจะอาศัย สิทธินักลงทุนสัญชาติอาเซียนเขามาลงทุนในไทยมากขึ้น เกิดปญหาการประกอบธุรกิจของคนตางดาว

2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การกระตุนใหทุกภาคสวนเตรียมความพรอม และพัฒนาตามกรอบอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเขาใจ และความรวมมือกันมากขึ้นในการแกไขปญหา เกิดความรวมมือระดับภูมิภาค อาเซียนในเรื่องการสงเสริม และคุมครองสิทธิ ดวยปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก ภารกิจในการขับเคลื่อนความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซีย นมี ปริมาณงานเพิ่มขึ้น ความพรอมของบุคลากรดานภาษา และความเชี่ยวชาญเฉพาะดานขอจํากัดดานงบประมาณ และ กําลังคน เครื่องมือ และกลไกพื้นฐานของระบบราชการขาดความยืดหยุน และคลองตัว คานิยม และวัฒนธรรมบางอยาง อาจจะยั งไมสอดคลอง หรื อสรางการไม ยอมรับ มีทั ศนคติเ ชิง ลบต อการเปลี่ยนแปลงเกิ ดความเหลื่ อมล้ํ าทางสั งคม ประชาชนบางกลุมยังเขาไปไมถึงบริการของภาครัฐ และขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซี ย น ความแตกต า ง และความหลากหลายทางประชากรอย า งเช น เชื้ อ ชาติ ศาสนา วั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีการดําเนินชีวิต ปญหาสังคมเปนมูลเหตุที่สําคัญของปญหายาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 135

3. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง

ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงบวกที่สําคัญ ไดแก การสรางความรวมมือดานการปองกันทางการทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยเฉพาะการกําหนดแนวทางการจัดการพื้นที่ชายแดน การดําเนินงานภายใตความรวมมือตาง ๆ จะกอใหเกิด สันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคอาเซียน เกิดการเสริมสรางความเขาใจในระบบกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย การพัฒนาประสิทธิภาพของหนวยงานบังคับใชกฎหมาย การพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับพันธกรณี อาเซียน การสรางแนวปฏิบัติรวมกันของประชาคมอาเซียน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ และความรูกับประเทศในกลุม อาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก การกําหนดนโยบาย และการขับเคลื่อนดานการเมือง และความมั่นคง มีความซับซอนเพิ่มขึ้น การควบคุมตรวจสอบการดําเนินงานของราชการที่เขมขนยิ่งขึ้น ปจจุบันกฎหมายหลายฉบับไม สอดคลองกับพันธกรณี การปฏิบัติตอคนตางดาว แรงงานตางดาว และผูอพยพลี้ภัยใหเปนไปตามพันธกรณี การคุมครอง สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนพื้ น ฐาน การเคลื่ อ นย า ยแรงงาน โดยเสรี อ าจก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความสงบสุ ข และความมั่ น คง ภายในประเทศ กลุมกอการราย และอาชญากรรมขามชาติแสวงประโยชนจากการเปดเสรี และเคลื่อนยายเสรี แผน ประทุษกรรมเกี่ยวกับอาชญากรรม และยาเสพติดจะพัฒนารูปแบบที่พลิกแพลงมากขึ้น ทําใหการปองกัน และปราบปราม มีความยุงยาก และซับซอนยิ่งขึ้น

ปญหาและอุปสรรคในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ประการแรก

ประการที่สอง

ประการที่สาม

รู ป แบบของการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นในป จ จุ บั น มี ค วาม หลากหลายมากขึ้น โดยมีการผลิต จําหนาย และเสพยาเสพติดแตกตางกันไปในแตละ ประเทศ โดยมีการขนสงลําเลียงในรูปแบบใหมที่แตกตางไปจากเดิมโดยเฉพาะการขนสง เขาประเทศ โดยใชชองทางไปรษณีย และระบบการขนสงขนาดใหญ เชน การขนสงทาง ทะเล ซึ่งการตรวจสอบทําไดคอนขางลําบาก รวมถึงการปลอมแปลงเอกสารเพื่อใหผานพิธี การทางศุลกากร การกระทํ า ผิ ด มั ก เกิ ด ขึ้ น บนพื้ น ที่ ค าบเกี่ ย วระหว า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น การค า ยาเสพติดขา มชาติ การลั กลอบขนยาเสพติ ดขามชาติ โดยการใชผูก ระทํา ความผิดเป น ประชาชนของอีก ประเทศหนึ่ง ซึ่ งเปน ตัวกลางในการไปดํา เนิน การเคลื่อนยายขนถา ย ยาเสพติด โดยที่ผูนั้นไมทราบถึงสินคาที่ถูกวาจางใหไปดําเนินการขนยายวา เปนสินคาปกติ ทั่วไป หรือเปนยาเสพติดผิดกฎหมาย และเมื่อถูกเจาหนาที่จับกุมตัวก็จะถูกดําเนินคดีทําให ไมทราบถึงตัวการในการกระทําความผิดอยางแทจริง การรวบรวมพยานหลักฐานซึ่งมีความยุงยากซับซอน หากมีการกระทําผิดเกิดขึ้นระหวาง ประเทศ กลาวคือ การกระทําความผิดไดถูกแยกสวนที่กระทํา ผิดลงไปในดินแดนมากกวา หนึ่งประเทศขึ้นไป ซึ่งขอจํากัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐาน และความสมัครใจ ของพยานบุคคลที่จะสมัครใจเขาเปนพยานในคดี รวมถึงนโยบายของแตละประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนที่ใหความสําคัญในการรวมมือเกี่ยวกับการคนหาพยานหลักฐานระหวาง ประเทศ ซึ่งขอจํากัดในการรับฟงพยานหลักฐานในตางประเทศของศาลมีคอนขางมาก ดังนั้น กวาจะไดมา ซึ่งพยานหลักฐานเพื่อนําไปใชใหเกิดประโยชนประกอบการพิจารณาคดี


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 136

อยางถูกตอง จึงจําเปนตองผานขั้นตอน และกระบวนการระหวางประเทศที่ลาชา อันสวน ทางกับอาชญากรรมขามชาติที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว ประการที่สี่ การใช ภาษาที่ แตกต างกันในแตละประเทศ กล าวคือ เจาหนาที่หน วยงานภาครั ฐ และ เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศมีทักษะในการใชภาษาอังกฤษอยูใน ระดับที่ไมสามารถใชงานในการสื่อสารไดดีพอ ทําใหตองอาศัยลามแปล ซึ่งอาจไมสามารถ จัดหาลามแปลไดครบทุกภาษาที่ตองการ และมีคาใชจายสูง ในขณะที่ บางประเทศยังมิได จัดเตรียมงบประมาณสําหรับการจัดหาลาม เพื่อเขามาเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือในการ พิจารณาคดี หากมีผูกระทําความผิดเปนชาวตางชาติ ประการที่หา การสืบพยานประเด็นนั้น อาจมีปญหาในกรณีที่ระบบศาลของแตละประเทศในภูมิภาค อาเซียนนั้นมีความแตกตางกัน ซึ่งแตกตางจากกลุมประเทศในสหภาพยุโรปที่มีกฎหมาย ของภูมิภาคและสามารถนํามาบังคับใชรวมกันได ทําใหกระบวนการยุติธรรมและขั้นตอน การพิจารณาคดีเปนไปไดอยางสอดคลองกัน เมื่อเกิดกรณีที่ประชาชนตา งชาติที่มาจาก ประเทศในกลุ ม สหภาพยุ โ รปเข า มากระทํ า ความผิ ด ระหว า งประเทศก็ จ ะต อ งเข า สู กระบวนการพิจารณาคดีที่ทัดเทียมกัน ทั้งทางดานกฎหมายและสิทธิมนุษยชน ประการที่หก เกณฑอายุของตัวผูกระทําความผิดยังมีความแตกตางกัน โดยเฉพาะการจํากัดความรับผิด ของเด็กและเยาวชน เชน อายุต่ํากวา 7 ป ไมตองรับโทษ หรือเกินกวา 7 ป แตไมเกิน 18 ป กระทําผิดแตรับโทษในฐานะเด็กและเปนเยาวชนเทานั้น ประการสุดทาย ปญหาเรื่องเขตอํานาจในเชิงพื้นที่ เชน เมื่อเจาพนักงานพบการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในฝ งประเทศเพื่ อนบ านที่ มีแ นวชายแดนติ ด ตอ กั น แตไ ม สามารถดํา เนิน การจั บกุ มตั ว ผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมาสูกระบวนการได เนื่องจาก ติดปญหาเรื่องขอบเขต อํานาจรวมถึงหลักดินแดน ซึ่งสิ่งที่สามารถกระทําได เพื่อใหสามารถนําตัวผูกระทําความผิด มาดําเนินคดี คือ ตองทําการลอซื้อใหเคลื่อนยายการกระทําผิดมาที่ประเทศไทย ซึ่งเปนการ ยากและมีขั้นตอนที่มีความเสี่ยงและลาชา การปราบปรามยาเสพติดจึงไมบรรลุเปาหมาย ตามนโยบายเทา ที่ควร หากสามารถลดป ญหาเรื่ องการจัด กุมตัว ผูกระทํ าความผิด ขา ม พรมแดนได ก็จะชวยใหการจัดการกับแหลงผลิตยาเสพติดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นั่นคือ การแกปญหาที่ตนเหตุ ดังนั้น ในยุคโลกาภิวัตน อาชญากรรมคายาเสพติดในหลายประเทศไดพัฒนารูปแบบเปนองคกรอาชญากรรม คายาเสพติดขามชาติที่มีเครือขายดําเนินการเชื่อมโยงกันในพื้นที่หลายประเทศ และมีการแบงหนาที่กันทําเปนสวน ๆ ไม วาจะเปนขั้นตอนการวางแผน การตระเตรียมการ การติดตอซื้อขาย การจัดหา และการสงมอบยาเสพติด จึงเปนการยาก ที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะดําเนินการปราบปรามอยางไดผลเพียงลําพัง หากแตจะตองอาศัยความรวมมือจากนานา ประเทศในการแสวงหามาตรการพิเศษมาชวยเสริมประสิทธิภาพการปราบปรามและดําเนินคดี โดยไมยึดติดกับหลัก อํานาจอธิปไตย และหลักดินแดนแหงรัฐ ในการนี้ มาตรการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติดก็เปนมาตรการอยางหนึ่งที่ นานาประเทศไดนํามาใชเปนกลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดอยางไดผล โดย แนวทางความร ว มมื อ ในการแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ให บ รรลุ ผ ลนั้ น ทุ ก ประเทศในกลุ มต อ งมองป ญ หาร ว มกั น โดย แลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ และมีการอบรมดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกัน ไมวาจะเปน จีน ไทย เมียนมาร สปป.ลาว เวียดนาม กัมพูชา แมวา จีนจะไมไดอยูในประชาคมอาเซียนก็ตาม


อาชญากรรมขามชาติรูปแบบการคามนุษย การคามนุษยไมใชปญหาใหมที่พึ่งจะเกิดขึ้น แตเปนปญหาที่มีมาตั้งแตการคาทาสในสังคมสมัยกอน เพื่อใชเปน แรงงานในกระบวนการผลิตแบบเกษตรกรรม และการสงคราม และมีพัฒนาการเรื่อยมาจนถึงยุคลาอาณานิคม เชน การ ลาอาณานิคม และการกวาดตอนผูคนมาเปนทาส อันไดแก การคาทาสชาวผิวดํา หรือชนเผาพื้นเมืองมาเปนสินคาเชิง พาณิชยโดยตรง ทั้งนี้ มีความเปลี่ยนแปลงสําคัญที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งโฉมหนาของสังคมโลก คือ นับตั้งแตการปฏิวัติ 1 อุต สาหกรรมที่เ ริ่มขึ้ นในยุ โ รปตะวัน ตก ตั้ง แตศ ตวรรษที่ 18 เป นต นมา นอกจากนี้ การคา มนุ ษ ยใ นภู มิภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต ในยุคปจจุบัน เริ่มตนขึ้นในชวงป พ.ศ. 2503-2513 พรอม ๆ กับ การเขามาของกองทัพสหรัฐอเมริกา ในอินโดจีน โดยสตรีเหลานี้ จะถูกคาประเวณีใหกับทหารชาวอเมริกัน โดยวิธีการถูกบังคับขูเข็ญ หรือบางครั้ งมีการให คาตอบแทน โดยมีเพื่อนบานหรือบุคคลในทองถิ่นนั้นเปนผูลอลวง ทําใหสตรีบางคนที่ครอบครัวเดือดรอนทางดานการเงิน หันมายึดอาชีพนี้ เพราะไดเงินอยางรวดเร็ว ซึ่งไดกลายเปนคานิยมแบบผิด ๆ ที่เริ่มเกิดขึ้นตั้งแตนั้นเปนตนมา หลังจากที่ สหรัฐอเมริกาถอนทหารออกไปจากอินโดจีน ในป พ.ศ. 2518 สตรีบางคนยังคงคาประเวณีอยูตอไป ในขณะที่ บางคนก็เริ่มออกไปคาประเวณีในตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศเยอรมัน ประเทศแถบ สแกนดิเนเวีย ฮองกง และญี่ปุน โดยตัวแทนตาง ๆ ไดอํานวยความสะดวกในการยายถิ่น และการจางงานสตรีโดยผานทาง “เครือขายการคามนุษยขามชาติ” ปญหาสําคัญประการหนึ่ง คือ การที่ สตรีเหลานี้ ไมอาจทราบลวงหนาถึงสภาพการ ทํางาน และไมสามารถควบคุมสภาพนีไ้ ดเลย หลังจาก การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป พ.ศ. 2518 ประเทศในภูมิภาคนี้ ไดแบง ออกเปนสองฝาย ตามความแตกตางของอุดมการณทางการเมือง โดยประกอบดวย กลุมประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต ไดแก เวียดนาม สปป.ลาว และกัมพูชา ซึ่งกลุมประเทศเหลานี้ไดยึดแนวทางการเมืองการปกครอง และแนวทางเศรษฐกิจ ในระบอบสังคมนิยม สวนอีกกลุมประเทศหนึ่ง ไดแก ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส และอินโดนีเซีย ที่แมวา กลุม ประเทศเหลานี้ จะมีรูปแบบการปกครองที่แตกตางกันออกไปหลายรูปแบบ แตก็มีลักษณะรวม คือ เปนกลุมประเทศเสรี นิ ยม และมี ร ะบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม ซึ่ ง ระบบเศรษฐกิ จแบบทุ น นิ ยมนี้ เ อง ที่ ไ ด ก อ ให เ กิ ด การพั ฒนาทางด า น อุตสาหกรรมภายในประเทศอยางมาก นอกจากนี้ ในชวงระยะเวลาประมาณ 20 ปที่ผานมา เศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก รวมทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมที่ เนนการใชแรงงานเขมขน (labour intensive) ในประเทศที่มีทิศทางการพัฒนาไปสูความเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม ไดแก ไทย มาเลเซีย หรือสิงคโปร ซึ่งสงผลใหเกิดความตองการจางแรงงานเพิ่มมากยิ่งขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่ง แรงงานระดับลาง หรือแรงงานไรฝมือ ทั้งนี้ ความตองการในการจางแรงงานไมวาจะเปนในภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ อสังหาริมทรัพย รวมไปถึงภาคเกษตรกรรม มีอัตราความตองการจางงานในระดับสูง โดยที่การเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ของระบบเศรษฐกิจโดยรวมนั้น ไดสงผลใหเกิดการขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่งสายงานบางประเภท ที่เรียกกันวา งานแบบ 3 ส. ไดแก งานที่เสี่ยง สกปรก และแสนยากลําบาก ในขณะเดียวกัน แรงงานในประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมนั้น ๆ มีการศึกษาที่สูงขึ้น มีการฝกทักษะอาชีพ มากขึ้น ดังนั้น จึงสามารถเลือกงานที่จะทําไดมากขึ้น และแนนอนวา ยอมไมเลือกทํางานประเภท 3 ส. ดังกลาว แตงาน ประเภท 3 ส. ก็ยังตองการแรงงานเขามาทํางานประเภทนี้อยูเชนเดิม ดังนั้น จึงไดเกิดการทดแทนแรงงานภายในประเทศ 1

ศูนยวิจัยและพัฒนาอาญาวิทยาและกระบวนการยุติธรรม. (2550). โครงการวิจัยเรื่อง กระบวนการเขาสูการคามนุษย . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 1.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 138 โดยการใชแรงงานจากตางประเทศ โดยเฉพาะอย างยิ่ง แรงงานจากประเทศดอยพัฒนาที่ไมมีโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดี เทากับประเทศกําลังพัฒนา หรือประเทศที่พัฒนาแลว จึงมีความตองการที่จะยายออกจากประเทศของตนเอง เพื่อ แสวงหาชีวิตที่ดีกวา ตรงจุดนี้เองที่เปนจุดดุลยภาพระหวางความตองการจางงาน และความตองการหางานทํา ดังนั้น จึง เกิดการยายถิ่นขามประเทศเพื่อไปหางานทํา โดยในสวนของภูมิภาคเอเชีย ธุรกิจการคาแรงงานเริ่มตนขึ้น เมื่ อเกิดกระแสการยายถิ่นขามประเทศ เพื่อไป ทํางานในชวงตนของทศวรรษของป พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เปนตลาดแรงงานที่ใหญที่สุดในขณะนั้น คือ กลุมประเทศ ตะวันออกกลางที่ร่ํารวยจากอุตสาหกรรมปโตรเลียม และตอมา ประมาณกลางทศวรรษของป พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) ตลาดแรงงานไดขยายตัวมายังหลาย ๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก ไตหวัน สิงคโปร ฮองกง และมาเลเซีย ธุรกิจการคาแรงงานไปยังตางประเทศเริ่มมีการแขงขันที่สูงขึ้น และเกิดการเอารัดเอาเปรียบแรงงานมากขึ้น จนถึงขั้นสราง ขอมูลหลอกลวงแรงงาน และในขณะเดียวกัน ก็เกิดธุรกิจใตดินนอกระบบที่นําสงแรงงานหรือขนคนจากประเทศหนึ่งไปสู 2 อีกประเทศหนึ่งอยางซับซอนมากขึ้น และละเมิดกฎเกณฑของการเดินทางขามประเทศมากขึ้น ทั้งนี้ การคามนุษยขาม ชาติ นับเปนธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จัดอยูในธุรกิจนอกระบบที่ผิดกฎหมาย และมีเครือขายเชื่อมโยงกับอาชญากรรมขาม ชาติในรูปแบบอื่น ๆ อีกดวย และยังมีความคิดเห็นในเชิงสังคมศาสตรที่เห็นวา อาชญากรรมการคามนุษยไดเกิดขึ้น และ เจริญเติบโตภายใตระบบทุนนิยมเสรีที่ปลุกเรากระแสบริโภคนิยมอยางไมมีที่สิ้นสุด และขยายชองวางความแตกตางทาง เศรษฐกิจระหวางประเทศ หรือระหวางภูมิภาคของโลกใหเพิ่มสูงมากขึ้นดวยสถานภาพของคนระดับลางในประเทศตาง ๆ อันรวมไปถึงสถานภาพของผูหญิงและเด็กที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ประกอบกับสภาวะที่ไรทางเลือก หรือการมีทางเลือกอัน จํากัดยิ่งในประเทศตนทางไดผลักดันใหคนเหลานี้ มุงแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกวาในอีกประเทศหนึ่ง และกลุมบุคคล 3 จํานวนหนึ่งก็ไดกลายเปนเหยื่อของวงจรการคามนุษย ในปจจุบัน ปญหาการคามนุษยโดยเฉพาะการคาหญิงและเด็กเปนปญหาที่ประชาคมโลกหวงใย และเรงหา มาตรการเพื่อแกไขและปองกัน ถือวา เปนปญหาการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนตอหญิงและเด็กอยางรุนแรง กอใหเกิด อาชญากรรมทั้งในระดับนานาชาติ ระดับประเทศ และระดับทองถิ่น และเปนปญหาสังคมตาง ๆ เชน การแพรระบาดของ โรคเอดส ยาเสพติด โรคติดตออื่น ๆ เปนตน ซึ่งมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีของมนุษย และความมั่นคง ของประเทศทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม วัฒนธรรมของประเทศ และประชาคมโลก และจากการเปลี่ยนแปลงเขาสูยุค โลกาภิวัตน ทําใหการคามนุษยไดรับการพิจารณาวา เปนสวนหนึ่งของอาชญากรรมขามชาติ เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน 4 ที่รายแรง อีกทั้งการที่ประเทศในอาเซียนกําลังจะกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในป พ.ศ. 2558 นี้ โดยมีเปาหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอํานาจตอรอง และขีดความสามารถใน การแขงขันในเวทีระหวางประเทศในทุกดาน ประเทศในอาเซียนมีการเปดอยางเสรีทางดานการคา การลงทุนมากยิ่งขึ้น 5 รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปญหาใหม ๆ ระดับโลกที่สงผลกระทบตอภูมิภาค สงผลใหประเด็นการคามนุษยใน อาเซียนเปนความทาทายอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของปญหาขามชาติ อันสงผลกระทบตอความมั่นคงระหวางประเทศที่ ประชาคมอาเซียนจะตองตอบโจทยใหไดวา การเปนประชาคมอาเซีย นนั้น เปรียบเสมือนการปองกัน หรือเปดชองวาง ใหแกขบวนการคามนุษยอยางแทจริง 2

กฤตยา อาชวนิจกุล, (2545). สถานะความรูเรื่องแรงงานขามชาติในประเทศไทยและทิศทางการวิจัยที่พึงพิจารณา. (นครปฐม :สถาบันวิจัย ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล), หนา 49 3 เรื่องเดียวกัน. 4 ศูนยปฏิบัติการตอตานการคามนุษย มูลนิธิกระจกเงา. (2554). รายงานการคามนุษย ประจําป พ.ศ. 2554. 5 สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (2555). การกาวสูประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. หนา 11.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 139 ในปจจุบั น มหัตภั ยในรูป แบบอาชญากรรมขามชาติ ยังเปนปญหาที่หลายประเทศทั่วโลก ยังตองเผชิญอยู แมกระทั่ง ประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนของเรายังตองหาวิธีตาง ๆ มาชวยกันแกปญหานี้ ปญหาการคามนุษยเปน อาชญากรรมขามชาติที่ไมสามารถเกิดไดในบริเวณอาณาเขตประเทศใดประเทศหนึ่งไดเทานั้น ยังสงผลกระทบไปยัง ภูมิภาคอื่น และลุกลามไปอีกมากมาย ซึ่งโยงใยเปนลูกโซไปสูอาชญากรรมขามชาติประเภทอื่น เช น ปญหายาเสพติด ปญหาการฟอกเงินและสงผลกระทบตอดานความมั่นคง และเสถียรภาพของรัฐเปนอยางยิ่ง ทั้งดานการศึกษาและดาน สังคม

ความหมายของการคามนุษย

6

คํานิยามของ “การคามนุษย” มีคํานิยามทีม่ ีความหมายที่แตกตางกัน ซึง่ พิศวาส สุคนธพันธุ ไดกลาววา พิธีสาร เพื่อป องกั นปราบ และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะอย างยิ่ง สตรี และเด็ก และไดใ หความหมายของการคา มนุษ ย หมายถึง การจัดหา การขน การสงตอ การจัดใหที่อยูอาศัย หรือการรับไวซึ่งบุคคลดวยวิธีการขมขู หรือดวยการใชกําลัง หรือดวยการบังคับในรูปแบบอื่นใด ดวยการลักพาตัว ดวยการฉอโกง ดวยการหลอกหลวง ดวยการใช อํานาจที่เหนือกวา หรือดวยการใชสถานะความออนแอตอภัยของบุคคล มีการให รับเงิน หรือผลประโยชนอยางอื่น เพื่อใหไดความยินยอม ของบุคคลหนึ่ง ผูมีอํานาจควบคุมอีกบุคคลหนึ่ง เพื่อความมุงประสงคในการแสวงหาผลประโยชน อยางนอยที่สุดใหรวมถึง การแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณี หรือการแสวงหาผลประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น การบังคับใชแรงงาน หรือ บริการ การเอาคนลงเปนทาส หรือการกระทําอื่นเหมือนการเอาคนมาเปนทาส การทําใหตกอยูภายใตบังคับ หรือการตัด อวัยวะออกจากรางกาย นอกจากนี้ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 (มาตรา 4) ไดให นิยามความหมายการคามนุษยที่กวางมากขึ้น โดยครอบคลุมทั้งการคาประเวณี การแสวงหาผลประโยชนทางเพศใน รูปแบบอื่น การเอาคนมาเปนทาส การนําคนมาขอทาน การบังคับใชแรงงาน หรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการคา หรือการอื่นใดคลายคลึงกัน อันเปนการขูดรีดบุคคลไมวาบุคคลนั้น จะยินยอมหรือไมก็ตาม 7 ดังนั้น การคามนุษย จึงประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ 1) การกระทํา (Action) ไดแก เปนธุระ จัดหา ลอไป ชักพาไป ซื้อ ขาย จําหนาย นําเขา พามาจาก สงออก ไป รับไว หนวงเหนี่ยว กักขัง ซอนเรน 2) วิธีการ (Means) ไดแก การใชอุบาย หลอกลวง บังคับ ชักจูง ยุยง สงเสริมใชกําลังประทุษราย ขูเข็ญวา จะใชกําลังประทุษราย ใชอํานาจครอบงําผิดคลองธรรม ขมขืนใจ 3) วัตถุประสงค (Purposes) คือ เพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากเหยื่อ เชน การนําตัวไปเพื่อสนอง ความใคร เพื่อการอนาจาร หรือทําการคาประเวณี เอาตัวลงเปนทาสหรือมีฐานะคลายทาส กดขี่แรงงานและตัดอวัยวะ นอกจากนั้น ยังมีคํานิยามของคําวา “การคามนุษยดานแรงงาน” ตามที่ระบุในแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปองกัน ปราบปราม และชวยเหลือผูคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยดานแรงงานของประเทศไทย หมายถึง การเปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจาก หรือสงไปยังที่ใด หนวงเหนี่ยวกักขัง จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซึ่งบุคคลใดโดยขมขู ใชกําลัง บังคับ ลักพาตัว ฉอฉล หลอกลวง ใชอํานาจโดยมิชอบ หรือโดยใหเงิน หรือผลประโยชนอยางอื่ นแกผูปกครองหรือผูดูแล บุคคลนั้น เพื่อใหผูปกครองหรือผูดูแลใหความยินยอมแกผูกระทําความผิดในการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดานแรงงาน จากบุคคลที่ตนดูแล และใหหมายความรวมถึงการเปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจาก หรือสงไปยังที่ใด หนวง 6

พิศวาส สุคนธพันธุ, (2548), รายงานการวิจัยมาตรการในการแกไขปญหาการลักลอบขนผูยายถิ่น (พิธีสารเพื่อตอตานการลักลอบขนยายถิ่นฐาน ทางบก ทางทะเล ทางอากาศ). กรุงเทพฯ : สถาบันกฎหมาย สํานักอัยการสูงสุด. หนา 6. 7 อํานาจ เนตยสุภา. (2552). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคามนุษย. วารสารวิชาการนิติศาสตร, หนา 15.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 140 8

เหนี่ยว กักขัง จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซึ่งเด็ก เพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดานแรงงาน และนอกจากคํานิยมขางตน 9 แลว ยังไดมีการขยายความของคําตาง ๆ ที่ปรากฏในคํานิยามดังกลาว ไดแก 1. การแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดานแรงงาน หมายถึง การแสวงหาประโยชนจากการบังคับใชแรงงาน หรือบริการ 2. การบังคับใชแรงงาน หรือบริการ หมายความวา การขมขืนใจใหทํางาน หรือใหบริการโดยทําใหกลัววา จะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพยสินของบุคคลนั้นเอง หรือของผูอื่น โดยขูเข็ญดวยประการ ใด ๆ โดยใชกําลังประทุษราย หรือโดยทําใหบุคคลนั้นอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได 3. ผูเสียหายจากการคามนุษยดานแรงงาน หมายความวา บุคคลที่ตกเปนผูถูกกระทําในการคามนุษยดาน แรงงานโดยตรง 4. แรงงานเด็ก หมายความวา ลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุไมต่ํากวา 15 ปแตไมถึง 18 ป ตามความในหมวด 4 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 5. เด็กที่ถูกใชแรงงานโดยมิชอบดวยกฎหมาย หมายความวา บุคคลอายุต่ํากวา 15 ป ยกเวนเด็กอายุตั้งแต I 13 ปบริบูรณ ในงานเกษตรกรรมที่ไมทําตลอดทั้งป ซึ่งถูกใชแรงงาน และพึงไดรับการชวยเหลือตามแนวปฏิบัติฉบับนี้ ทั้งนี้ โดยไมตองคํานึงถึงวา บุคคลดังกลาวจะตกเปนผูเสี ยหายจากการคามนุษยดานแรงานหรือไม หรือบุคคลผูเปน นายจางจะกระทําการอันเปนการฝาฝนตอบทบัญญัติของกฎหมายอื่นใดหรือไมก็ตาม นอกจากนี้ ผูที่ลักลอบเดินทางเขา ประเทศไทยโดยผิดกฎหมายนั้น ไมวาจะดําเนินการในเรื่องใด ๆ ก็ตาม เชน การเดินทาง การหางานทํา รวมไปถึงการจาง งานนั้น จะตองลักลอบดําเนินการดวยกันทั้งสิ้น เพื่อใหพนจากสายตาของเจาหนาที่ทางการของไทย และเมื่อดําเนินการ ทุกอยางเปนไปโดยลักลอบ และรอดพนจากสายตาเจาหนาที่รัฐแลว นั่นหมายความวา แรงงานตางดาวยอมตกอยูในความ เสี่ยงที่จะถูกใชแรงงานอยางไมเปนธรรม หรืออาจจะตกเปนเหยื่อของการแสวงประโยชนดานแรงงานไปในที่สุด นอกจากนี้ ยังมีคํานิยามของคําวา “การคามนุษย” ตามที่ระบุโดยพันธมิตรโลกเพื่อตอตานการคาหญิง (Global Alliance Against Trafficked in Women : GAATW) ที่ระบุวา การคามนุษย หมายถึง การกระทํา และความพยายาม ใด ๆ ที่เปนการจัดหา ขนสง ลําเลียงภายใน หรือขามพรมแดน การซื้อขาย การสงตอ หรือการรับหรือกักขังหนวงเหนี่ยว บุคคลดวยการลอลวง การบังคับ รวมทั้งการขูที่ใชกําลัง หรือใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ หรือการผูกมัดดวยภาระหนี้สิน เพื่อกักขังหนวงเหนี่ยวบุคคลนั้นใหตกอยูในภาวะจํายอม (เชน ในรูปแบบของงานรับใชในบาน งานบริการทางเพศแก ผูชาย) ไมวาจะมี หรือไมมีคาจางก็ตาม เพื่อบังคับใชแรงงาน หรือเปนแรงงานติดหนี้ หรือทําใหตกอยูในสภาพการทํางาน 10 เยี่ยงทาสในชุมชนอื่นที่มิใชภูมิลําเนาที่บุคคลนั้นอาศัยอยู ในขณะทีเ่ กิดการลอลวง บังคับหรือมีหนี้สินผูกมัดขึ้น ในป พ.ศ. 2537 ยั ง ได ป รากฏคํ า จํ า กั ด ความเรื่ อ งการค า มนุ ษ ย ข องสหประชาชาติ โดยสมั ช ชาใหญ แ ห ง สหประชาชาติ ไดมีมติ รับรอง และประณามเรื่องการคาหญิงและเด็กหญิ งไววา การค าหญิงและเด็ก หญิงเป น “การ เคลื่อนยายบุคคลภายในประเทศ และขามพรมแดนระหวางประเทศในลักษณะที่ตองหาม และลักลอบ โดยสวนใหญจะ เปนการเคลื่อนยายจากประเทศที่กําลังพัฒนาและประเทศที่เศรษฐกิจอยูระหวางการเปลี่ยนแปลง โดยมีเปาหมายเพื่อ บังคับใหหญิง และเด็กตกอยูในสถานการณที่ถูกแสวงหาประโยชน และถูกกดขี่ทางเศรษฐกิจ และทางเพศ เพื่อกําไรของผู จัดหาคัดเลือก ผูคา และเครือขายอาชญากรรมรวมถึงกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งเกี่ ยวของกับการคาหญิงและเด็กอื่น ๆ 8

“แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปองกัน ปราบปราม และชวยเหลือคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยดานแรงงาน” (เอกสารไมตีพิมพเผยแพร) เรื่องเดียวกัน. 10 พันธมิตรโลกตอตานการคาผูหญิง , การคาหญิง : จากแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนสูการปฏิบัติ , แปลโดย พัชราวดี แกวคูณ และคนอื่นๆ (กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง, 2543), หนา 14. 9


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 141 เชน การบังคับใชแรงงานในบาน การแตงงานจอมปลอม การจางแรงงาน แบบลักลอบ และการหลอกปลอมแปลงรับบุตร 11 บุญ ธรรม” และในป พ.ศ. 2538 ได มีร ายงานโดยเลขาธิก ารสหประชาชาติใ นการชี้ แจงถึง การที่ สมั ช ชาใหญแ ห ง สหประชาชาติมุงความสนใจไปที่มิติระหวางประเทศของการคามนุษย และยังไดขยายความสนใจไปไกลกวาการมองเรื่อง การคามนุษยเพื่อการคาประเวณีแตอยางเดียว โดยยังไดคํานึงถึงรูปแบบอื่น ๆ ของการบังคับใชแรงงานและการลอลวงอีก 12 ดวย และทางดานองคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน (International Organization for Migration : IOM) ยังไดกําหนดคํานิยามของคําวา “การคามนุษย” เมื่อ พ.ศ. 2542 โดยพิจารณาวาการคามนุษยนั้นจะเกิดขึ้น “เมื่อผู ยายถิ่นไดรับการจางงานอยางผิดกฎหมาย เชน การถูกจัดหา ถูกลักพา หรือถูกขาย เปนตน และ/หรือถูกเคลื่อนยาย ไมวา จะภายในประเทศ หรือขามพรมแดนระหวางประเทศ (และ) ในระหวางสวนใดของกระบวนการนี้ ตัวกลาง (นักคามนุษย) ไดรับผลประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือผลประโยชนอื่นโดยการใชอุบายหลอกลวง บีบบังคับ และ/หรือแสวงหาประโยชนใน 13 รูปแบบอื่นภายใตเงื่อนไข ซึ่งละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของผูยายถิ่น” โดยสรุปแลว ในเรื่องของคํานิยามของคําวา “การคามนุษย” นั้น แมวา ในปจจุบันคํานิยามของพิธีสารวาดวย การปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก เพิ่มเติมอนุสัญญาแหงองคการสหประชาชาติ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร จะเปนคํานิยามที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายทั่วไป จากความหมายที่กลาวมาในเบื้องตน จะเห็นไดวา ความหมายและลักษณะของ “การคามนุษย” จะคลายคลึง กับ “การคาแรงงานขามชาติ” เพราะการคาแรงงานขามชาติ หมายถึง การคาที่บุคคลใดมีพันธะเกี่ยวพันในกิจกรรมที่ กอใหเกิดรายไดในประเทศที่เขา หรือเธอไมไดมีสัญชาตินั้น ซึ่งเปนบุคคลที่ถูกวาจางใหทํางาน กําลังถูกวาจาง หรือถูก วาจางใหทํางาน โดยไดรับคาตอบแทนในประเทศที่ตนไมไดเปนคนของชาตินั้น โดยวิธีการเคลื่อนยายแรงงานจากประเทศ หนึ่งสูอีกประเทศหนึ่ง โดยมีลักษณะที่มีปฏิสัมพันธกับอีกสังคม และหรือวัฒนธรรมหนึ่งผานการวาจางแรงงาน ซึ่งการคา แรงงานขามชาติ มี 2 ประเภท คือ การคาแรงงานขามชาติแบบถูกกฎหมาย และการคาแรงงานขามชาติแบบผิดกฎหมาย ซึ่งการคาแรงงานขามชาติแบบถูกกฎหมายนั้น ตองมีการจดทะเบียน และรับรองโดยกฎหมายของประเทศที่แรงงาน 14 อพยพเขาไปอาศัยอยู สวนการคาแรงงานขามชาติแบบผิดกฎหมายนั้น จะเปนไปในรูปแบบของการคามนุษย ดังนั้น จะ เห็นไดวา การคามนุษยเปนรูปแบบหนึ่งของการคาแรงงานขามชาติในรูปแบบที่ผิดกฎหมาย โดยการคามนุษยจะกระทํา เปนกระบวนการ และจะแทรกแซงอยูในรูปแบบการคาแรงงานขามชาติไรฝมือ เพราะแรงงานขามชาติไรฝมือสวนใหญ เปนแรงงานที่ไดรับการศึกษานอย ฐานะทางครอบครัวยากจน จึงมีความจําเปนที่จะตองเขาไปหางานทํายังประเทศหนึ่ง ๆ ที่มีระบบทางเศรษฐกิจที่ดีกวา มีแหลงงานที่หลากหลาย แตดวยความที่ตองการแสวงหาความมีชีวิตที่ดีกวา จึงทําใหตก เปนเหยื่อของขบวนการคามนุษยไดงาย และเนื่องจาก ในปจจุบันโลกไดเปลี่ยนแปลงไปสูยุคโลกาภิวัตน สงผลใหเศรษฐกิจ โลกไปตามกระแสโลกาภิวัตน และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแรงงานไปทั่วโลก ในปจจุบัน โอกาสที่จะเคลื่อนยายสินคา และผลผลิตตาง ๆ มีมากขึ้น ผูใชแรงงานก็มีโอกาสที่จะเคลื่อนยายถิ่น เขาไปทํางานในเขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมากขึ้น อยางไรก็ตาม ยังมีแนวโนมที่นายจางสามารถสรางผลกําไรไดมาก ดวย การจางแรงงานยายถิ่นจากประเทศที่ยากจนกวาตน เมื่อความตองการที่จะหารายไดมีมากขึ้น ในขณะที่นโยบายคนเขา เมืองของประเทศอุตสาหกรรมกําลังเพิ่มความเขมงวดมากขึ้น เพื่อควบคุมการหลั่งไหลของคนยายถิ่น แรงงานยายถิ่น 11

เรื่องเดียวกัน, หนา 16. เรื่องเดียวกัน. 13 เรื่องเดียวกัน. 14 เมขลา วุฒิวงศ . (2553). รวมบทความวิชาการและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553.) (เลม 1). มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ. หนา 420. 12


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 142 จําตองใชชองทางที่ผิดกฎหมาย และพึ่งพาผูลักลอบนําคนเขาเมือง เพื่อที่จะยายถิ่นไปหางานทํา ยิ่งไปกวานั้น ผูหญิงจึง ไดรับความเสี่ยงที่จะถูกนักคามนุษยลอลวงดวยการใหขอมูลเท็จ

สภาพปญหาและลักษณะของการคามนุษยในปจจุบัน การคามนุษยเปนวิธีการแสวงหาผลประโยชนจากการคาแรงงานขา มชาติ กลาวคือ การคามนุษย สืบเนื่องจาก การที่แรงงานตางชาติสวนใหญมีฐานะยากจน และตองการเขามาทํางานยังประเทศปลายทางที่มีเศรษฐกิจที่ดีกวา โดย สวนใหญเคลื่อนยายเขามาในลักษณะที่ผิดกฎหมาย เพราะฉะนั้น จึงทําใหแรงงานเหลานี้ตกเปนเหยื่อของขบวนการคา มนุษยไดงาย ในปจจุบันการคามนุษยไดกลายเปนอาชญากรรมขามชาติ อันเปนปญหาที่ยังไมสามารถแกไขใหหมดสิ้นไป 15 ได โดยมีรูปแบบการคามนุษยอยู 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) การคามนุษยแบบสองขั้นตอน คือ ผูห ญิงและเด็กไดยายถิ่นจากชนบทเขาสูเมืองใหญ เพื่อหางานทํากอน แลว ตอมาถูกลอลวงใหยายถิ่นไปหางานทําในตางแดนตอไป 2) การคามนุษยแบบขั้นตอนเดียว คือ ผูหญิงและเด็กที่ถูกคา โดยตรงจากหมูบานในชนบทแลว ผานขาม พรมแดนไปยังประเทศอื่น

สาเหตุของการจางแรงงานที่นําไปสูปญหาการคามนุษย 1. ปญหาดานความตองการจางแรงงาน (Demand Side) 1) การกดคาจางแรงงานสามารถทําไดโดยงาย

16

เนื่องจาก นายจางที่ตองการจางแรงงานเด็ก หรือแรงงานตางดาว สวนมากมักจะเปนนายจางที่ขึ้นอยูกับ ตลาดของผูมีอํานาจการซื้อต่ํา ดังนั้น สินคาที่ผลิตขึ้น จึงเปนสินคาที่มีตนทุนต่ํา และคุณภาพต่ํา ราคาถูก เพื่อตอบสนอง ความตองการของผูมีอํานาจซื้อต่ํา และในขณะเดียวกัน นายจางกลุมนี้มีขนาดการลงทุนที่จํากัด และไมสามารถลดตนทุน การผลิตจากปจจัยการผลิตอื่น ๆ เชน เครื่องจักร อาคารสถานที่ หรือวัตถุดิบที่มาปอนโรงงาน เวนแตเพียงคาจางที่ สามารถกดไดเพื่อลดตนทุน ดังนั้น จึงทําใหนายจางระดับลางตองการจางแรงงานเด็ก หรือแรงงานตางดาว โดยที่แรงงาน ประเภทนี้ ไมสามารถติดตอทําสัญญาจางงานกับนายจางไดโดยตรง แตตองผานตัวกลาง ผูคาแรงงาน หรือนายหนาเขามา ติดตอ การที่แรงงานตางดาวไมสามารถตกลงกับนายจางไดโดยตรงเชนนี้นี่เอง ที่กอใหเ กิดการคาแรงงานขามชาติ โดยมี ตัวกลาง เชน นายหนาหรือผูคามนุษย เพื่ออํานวยความสะดวกใหเกิดการพบปะ และตกลงจางแรงงานระหวางนายจาง 17 และลูกจางประเภทนี้ นอกจากนี้ การที่แรงงานเด็ก หรือแรงงานตางดาวไมมีความรู จึงไมสามารถตอรอง หรือเรียกรอง สิทธิตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน จึงเปนเหตุใหนายจางสามารถกดคาจางแรงงานไดต่ํากวาผูใชแรงงานกลุมอื่น ๆ จึงเปนปจจัยที่กอใหเกิดการคาแรงงานขามชาติ โดยเฉพาะแรงงานหญิงและเด็ก

2) การควบคุมดูแลสามารถทําไดโดยงาย

นายจางที่จางแรงงานตางดาว รวมไปถึงแรงงานตางดาวหญิงและเด็ก มักจะเปนนายจางที่กระทําผิด กฎหมายที่เกี่ยวของหลายฉบับ โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายที่เกี่ยวกับแรงงานและการคามนุษย เชน กฎหมายคุมครอง แรงงาน กฎหมายคนเขา เมือ ง เปนต น ดังนั้ น นายจ างเหลา นี้ จึ งจา งแรงงานต างด าวและแรงงานเด็ก เนื่อ งจากว า ควบคุมดูแลงาย และมั่นใจวา แรงงานเหลานี้จะไมสามารถเปดเผยขอมูลกิจการผิดกฎหมายของตนใหผูอื่นทราบ ดวย 15

อํานาจ เนตยสุภา. (2552), แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคามนุษย. วารสารวิชาการนิติศาสตร, หนา 35-36. สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล , รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิงและเด็ก (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2548), หนา 5. 17 เรื่องเดียวกัน. หนา 7. 16


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 143 สาเหตุนี้ จึงทําใหนายจางนิยมจางแรงงานประเภทดังกลาว นอกจากนี้ กลุมแรงงานตางดาวที่ลักลอบเขาเมือง และทํางาน โดยไมไดรับอนุญาต ยอมไมกลาเรียกรองสิทธิตาง ๆ ตามกฎหมายแรงงาน เนื่องจาก เกรงวา จะตองถูกดําเนินคดี และถูก สงกลับประเทศไปในที่สุด สงผลใหตนเองตองหมดโอกาสในการหารายได ความเกรงกลัวดังกลาวของแรงงานตางดาว จึง กลายเปนปจจัยที่สําคัญอันกอใหเกิดการคามนุษยและการคาแรงงานขามชาติ

3) ประเภทของงาน

ลักษณะของงานบางประเภทที่ตองใชแรงงานเด็กทํา เนื่องจาก เด็กมีนิ้วมือที่เล็กเหมาะสมกับงาน เชน การบรรจุผลิตภัณฑดวยมือ หรืองานประเภทจําเจซ้ําซาก ที่นายจางไมอาจบังคับใหแรงงานผูใหญทําไดอยางตอเนื่อง เพราะความเบื่อหนายจําเจ ทั้งนี้ แรงงานเด็กมีแนวโนมที่จะถูกบังคับใหทํางานซ้ําซากนาเบื่อหนายไดงายกวา

2. ปจจัยทางดานความตองการทํางานของแรงงานตางดาว (Supply Side) 1) ปจจัยเรื่องความยากจน

18

ปญหาความยากจน สามารถแบงออกได 2 ประเภท คือ II - ครอบครัวยากจนที่แทจริง หมายความวา มีระดับรายไดที่ต่ํากวาเสนความยากจน เมื่อเด็กที่อยูใน ครอบครัวประเภทนี้เติบโตพอที่จะพึ่งพาตนเองแลว ครอบครัวก็จะกระตุนใหเด็กรายนั้น ๆ ออกไปหางานทําเพื่อแบงเบา ภาระคาใชจายของครอบครัว แตเมื่อเด็กคนดังกลาวสามารถหารายไดสงครอบครัวไดก็ถือวา เปนผลพลอยได - ครอบครัวยากจนไมแทจริง คือ เมื่อครอบครัวที่มีการใชจายเกินรายไดที่หามาได จึงตองหาทางเพิ่ม รายไดใหเพียงพอกับความตองการใชจายในครอบครัว ครอบครัวประเภทนี้ จึงเปนครอบครัวที่คาดหวังรายไดจากลูก จึงมี ความเสี่ยงสูงที่จะสงลูกไปคาบริการทางเพศ หรือไปทํางานที่ผิดกฎหมาย หรือ ออกไปทํางานเพื่อหารายได ทั้งนี้ หาก ประเทศตนทางไมสามารถจัดหางานที่เหมาะสมรองรับ แรงงานตางดาวเหลานี้ ก็จะดิ้นรนขามพรมแดนมาแสวงหางานทํา ในประเทศไทยเพื่อความอยูรอด

2) การขาดโอกาสทางการศึกษา การขาดโอกาสทางการศึ กษา ส งผลให เ ด็ก หรื อ หญิ ง ตอ งออกหางานทํ า เมื่ อมาทํ า งานแล ว จึ งต อ ง กลายเปนแรงงานไรฝมือ เนื่องมาจากไรการศึกษา ไมมีความรูความสามารถ รวมทั้งทักษะที่จําเปนตอการทํางาน ทั้งนี้ มี สาเหตุมาจากการที่พอแมมีการศึกษาที่อยูในระดับต่ําเชนเดียวกัน ดังนั้น พอและแมหรือผูปกครอง จึงไมเห็นความสําคัญ ของการศึกษาและมองไมเห็นวา “การศึกษา” คือ ชองทางของการพัฒนารายได ไมเห็นวา การศึกษาทําใหเกิดความรู ความชํานาญในอาชีพที่กอใหเกิดการพัฒนาทางรายไดตอไป กลับมีแตเพียงทัศนคติที่วา ถาใหบุตรหลานศึกษาตอจะสงผล ใหสูญเสียรายไดจาการทํางานในปที่เรียนตอ จึงสงผลใหเกิดแรงงานไรฝมือในที่สุด

3) ความสัมพันธภายในครอบครัว

การที่ครอบครัวละเลยทอดทิ้ง ไมเอาใจใสดแู ล รวมไปถึงไมไดวางแผนชีวิตไวใหแกบุตรหลานของตนเอง ในอนาคต จะสงผลใหเด็กตองออกไปหางานทํากอนถึงวัยอันสมควร รวมไปถึงการที่บิดามารดาไมสามารถใหคําแนะนําที่ เหมาะสมแกบุตรหลานได ซึ่งการที่เด็กตองออกจากครอบครัวไปหางานทํานั้น แสดงใหเห็นวา ครอบครัวมีความสัมพันธที่ เหินหาง ไมอบอุน ซึ่งจะสงผลใหครอบครัวละเลยเด็ก ไมติดตามวาลูกไปทํางานที่ไหน ใครเปนนายจาง สภาพการทํางาน เปนอยางไร และในที่สุด เด็กคนนั้นก็จะตกเปนเหยื่อของการคามนุษย และในบางกรณีก็เกิดจากการที่ครอบครัวมีปญหา เด็กถูกทารุณกรรม ถูกลวงเกินทางเพศ หรือถูกละเลยไมเอาใจใส เด็กรายนั้น ๆ ก็ไมสามารถอาศัยอยูกับครอบครัวได จึง 18

เรื่องเดียวกัน.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 144 ตองหลบหนีออกมาจากครอบครัวของตนเอง และตองกลายเปนเหยื่อ หรือเสี่ยงที่จะตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยได เชนเดียวกัน

4) การแบงแยกทางเพศ

ผลจากการแบงแยกทางเพศ ทําใหภาระในการแบกรับปญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวไปตกอยูกับ สมาชิ กฝา ยหญิ งของครอบครั ว ทํา ใหห ญิงรวมทั้ งเด็ก หญิง ตองออกจากครอบครัว ไปทํา งาน ทั้ง นี้ เรื่ องของอุ ปทาน (supply) ของแรงงานหญิงชาวไทยนั้น ตองการทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมมากกวาทํางานเปนแรงงานรับใชในบาน เนื่องจาก งานในโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมีความอิสระมากกวา แตเมื่อพิจารณาจากอุปสงค (demand) ในการจางแรงงาน ของนายจางแลว นายจางกลับตองการจางแรงงานหญิง และแรงงานเด็กมาทํางานรับใชในบานมากกวาแรงงานที่เปน ผูชาย แตเงื่อนไขของแรงงานรับใชในบานนั้นขาดความอิ สระ ไมมีวันหยุดพัก และเวลาพักที่แนนอน ทําใหแรงงาน หญิงไทยเลือกทํางานตามโรงงานมากกวา สาเหตุเหลานี้ จึงสงผลใหเกิดความตองการจางแรงงานหญิงและเด็กตางดาวเขา มาทํางานรับใชในบานมากขึ้น ซึ่งเปนแรงกระตุนใหเกิดการคามนุษยโดยเฉพาะหญิงและเด็กเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย

5) สงครามและความไมสงบภายในประเทศ

ในบางพื้นที่ของบางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศเพื่อนบานที่เกิดความขัดแยง มีการสูรบกันดวย กําลังอาวุธ หรือมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ยกตัวอยางเชน รัฐบาลทหารเมียนมารที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน กดขี่ขูดรีด บังคับเกณฑแรงงานโดยไมมีคาตอบแทน บังคับโยกยายประชากรออกจากถิ่นที่อยูเดิม ทารุณกรรม รวมไปถึงลวงละเมิด ทางเพศ เปนตน หรือการที่รัฐบาลขาดประสิทธิภาพ และไมมีความสามารถในการปกครองประเทศ ทําใหไมสามารถ ทํางานหารายไดในทองถิน่ หรือภูมิลําเนาของตน จึงเกิดการยายถิ่นเพื่อแสวงหารายได ทั้งที่อยูในรูปแบบของแรงงานผิด กฎหมาย ผูลี้ภัย และผูอพยพยายถิ่น ประกอบกับการที่ประเทศไทยมีความเจริญทางเศรษฐกิจมากกวาประเทศเพื่อนบาน ก็ไดกลายเปนสิ่งดึงดูดใจใหประชาชนจากประเทศเพื่อนบานเดินทางขามพรมแดนเขามาในไทย เพื่อแสวงหาคุณภาพชีวิต ที่ดีกวา จนตกเปนหรือเสี่ยงที่จะตกเปนเหยื่อของการคามนุษย

6) วัฒนธรรมและคานิยม

19

วัฒนธรรมและคานิยม เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่กอใหเกิดปญหาการคามนุษย ยกตัวอยางเชน สังคมของ ชนชาติบางชนชาติที่ผลักดันผูห ญิงเขาสูขบวนการคามนุษย เนื่องมาจาก ความเชื่อที่วา เปนหนาที่ของลูกสาวที่ตอง 20 รับภาระหาเลี้ยงครอบครัวไมวาจะดวยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ภาระหนาที่ดังกลาวอาจจะสิ้นสุดเมื่อลูกสาวสมรสออกไป แตถา เปนกรณีที่ลูกสาวของครอบครัวตางก็สมรสออกไปทั้งหมด พอแมที่อาจเขาสูวัยชรา แลวก็ไมมีคนดูแล ภาระของการเลี้ยง ดูพอแมจึงตกไปอยูกับลูกสาวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งอาจกอใหเกิดความขัดแยงกับสามีของตนและถึงขั้นเลิกรากันไป ดังนั้น ผูหญิง ที่อยูในสังคมที่มีวัฒนธรรมแบบนี้ ก็จะตองออกไปหางานทําเพื่อสงเงินใหพอแม ลูก และสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว นอกจากนี้ แนวคิดบริโภคนิยมและกระแสโลกาภิวัตนก็เปนอีกปจจัยที่สําคัญมาก โดยที่คานิยมที่มีเงินตราเปนตัวกําหนด ถึงสถานะทางสังคมนั้น ไดแพรกระจายออกไปอยางกวางขวาง และเขาถึงสังคมเมืองและสังคมชนบท โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสังคมชนบทนั้น หากครอบครัวใดที่มีฐานะทางการเงินดี ก็จะไดรับความเคารพนับถือโดยไมไดคํานึงถึงเลยวา ครอบครัว นั้น ๆ ร่ํารวยมาไดอยางไร คานิยมแบบนี้ที่ผลักดันใหผูหญิงและเด็กเขาสูกระบวนการคามนุษย 19

ทรงพล พันธุวิชาติกุล, ความผิดฐานคามนุษยตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. 2000 และผลกระทบหากประเทศไทยเขาเปนภาคี (กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2547), หนา 36. 20 Roujanavong, Wanchai, “Thailand: The Situation of Trafficking in Women,” in The 1997 Regional Conference on Trafficking in Women and Children, p. 342. (Unpublished Manuscript)


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 145 ในปจจุบัน เหยื่อการคามนุษยมีทั้งชายและหญิง แตเหยื่อสวนใหญเปนหญิงและเด็ก โดยเหยื่อของการคามนุษย ที่เปนหญิงมักจะถูกนําไปสูตลาดธุรกิจบริการทางเพศ และการทํางานบาน ซึ่งเปนงานที่ยังมิไดรับการคุมครองสภาพ การ ทํางาน และคาตอบแทน ทําใหไมมีหลักประกันในการทํางาน และตกเปนเหยื่อของความรุนแรงทั้งทางรางกาย จิตใจ และ ทางเพศ มีชีวิตทีอ่ ยูภายใตการครอบงํา และการกระทําตามอําเภอใจของนักคามนุษย และนายจางที่ซื้อตนมา สวนผูชาย มักจะนําไปแสวงหาประโยชนโดยเปนแรงงานที่ถูกบังคับในการทํางานประมง และแรงงาน โดยลักษณะของการคามนุษย มี 2 หมวดใหญ ๆ ดังนี้

1. การแสวงหาประโยชนทางเพศ (Sexual exploitation)

1.1. การค า หญิ งเพื่ อ งานบริ ก ารทางเพศ มี ผู ห ญิ ง จํ า นวนมากที่ ย า ยถิ่ น โดยที่ รู ว า จะต อ งทํ า งานใน อุตสาหกรรมบริการทางเพศ แมจะไมไดตระหนักถึงสภาพการจางงาน และการสูญเสีย การควบคุมสภาพการทํางาน และ รายไดของตนเอง สําหรับผูหญิงที่ถูกหลอก หรือบังคับใหทํางานบริการทางเพศโดยไมสมัครใจ มีสิ่งที่ตองเผชิญกับการ ผูกมัดดวยภาระหนี้สิน การถูกยึดหนังสือเดินทาง และรายได การถูกทุบตี การถูกแสวงหาประโยชน การถูกกักขัง และ การถูกทารุณทางจิตใจ 1.2. การคามนุษยเพื่อการแตงงาน ผูคามนุษยอาจจะนําเสนอตนในรูปแบบของนายหนาจัดคู และให สัญญาแกผูหญิงวา จะแนะนําใหรูจักกับสามีในอนาคตที่ประสบความสําเร็จ โดยชาวตางชาติบางคนเดินทางเขามาใน ประเทศเพื่อ พบกับผูหญิงและแตงงาน หรือโดยการจัดหาคูทางเมล ไปรษณีย ซึ่งเรียกอีก อยางหนึ่งวา “เมียสั่งทาง ไปรษณีย” เมื่อผูหญิงเหลานี้ ถูกชักจูงไปตางประเทศ ก็ตองใชชีวิตในสิ่งแวดลอมใหม โดยไมมีความเขาใจในภาษาและ วัฒนธรรม และกลายเปนบุคคลที่ตกอยูในสภาพเยี่ยงทาส เมื่อไมประสบความสําเร็จในการแตงงาน เหยื่อเหลานี้ก็จะถูก บังคับใหขายบริการทางเพศ ทํางานโดยไมไดรับคาจาง หรือตกอยูในสภาพการแตงงานเยี่ยงทาส

2. การแสวงหาประโยชน ท างเศรษฐกิ จและแรงงาน (Economic exploitation)

related

and

labor

2.1. การคามนุษยเพื่อการรับใชงานในบาน ผูหญิงที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ตองตกอยูในภาวะถูก ผูกมัดดวยภาระหนี้สินจากการกูยืม ที่ตองจายดอกเบี้ยจํานวนสูงจากผูจัดหาและเอเยนต และถูกบังคับใหทํางานแก นายจาง แมจะมีสภาพการทํางานที่เลวรายก็ตาม ในปจจุบันแรงงานรับใชในบานไดเปลี่ยนรูปแบบ ซึ่งเดิมจะเปนแรงงานที่ เปนผูหญิง และเด็กภายในประเทศ เปนการใชแรงงานเด็กตางชาติที่เพิ่มขึ้น โดยมีรูปแบบการทํางาน คือ งานบาน งาน ดูแลเด็ก และคนชราในบาน และการชวยงานที่เกี่ยวกับกิจการในบาน 2.2. การคามนุษยเพื่อการบังคับใชแรงงาน ผูหญิง ผูชาย และเด็กอาจถูกนําไปคา เพื่อการทํางานในงาน เกษตร งานกอสราง งานในโรงงาน หรือการผลิตอื่น ๆ ที่คาดหวังจะไดรับคาจางสูง แตมีหลายกรณีที่ตองถูกกดคาแรงงาน หรือไมไดรับคาจางเลย และยังตองเผชิญกับการถูกแสวงหาประโยชนดวยการบังคับทางรางกาย ทางเพศ และทางจิตใจ ในสถานประกอบการ ประกอบกับสถานภาพที่ผิดกฎหมาย จึงเกรงกลัวที่จะขอความรวมมือจากเจาหนาที่ เนื่องจาก จะ ถูกตั้งขอหาเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย นอกจากนี้แลว ยังมีกรณีที่เด็ก อาจถูกนําไปคา เพื่อการบังคับใชเด็กใหเขามามีสวน รวม ในการลําเลียงขนยาเสพติด อันเปนการประกอบอาชญากรรมที่ผิดกฎหมาย 2.3. การคามนุษยเพื่อใหเปนขอทาน การคามนุษยเพื่อใหเปนขอทานกลายเปนปรากฏการณที่เพิ่มมากขึ้น เรื่อย ๆ ในภูมิภาคแมน้ําโขง หญิงชรา คนพิการ และทารกไดถูกจัดหาจากหมูบานหางไกลมาสูเมืองใหญนอกประเทศของ ตน ซึ่งจะมีพวกนายหนามารวบรวมเงิน การถูกบังคับใหขอทานจึงลบหลูความเปนมนุษย โดยพวกเขามีชีวิตอยูดวยความ หวาดกลัวจากการถูกจับและการลงโทษจากผูควบคุม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 146 ประเด็นการคามนุษย เปนปญหาขามชาติที่สงผลกระทบตอความสั่นคลอนทางความมั่นคงระหวาง ประเทศ โดยมีปจจัยทางการเมือง และปจจัยทางดานเศรษฐกิจของประเทศนั้น ๆ เปนตัวผลักดัน ใหเกิดปญหาการคา มนุษย สวนหนึ่ง ดังนั้น การวิเคราะหประเด็นการคามนุษย จึงมุงเนนไปที่ผลกระทบในดานความมั่นคงของประเทศเปน สวนใหญ อยางไรก็ตาม ประชาคมอาเซียนเปนเปาหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอํานาจ ตอรอง และขีดความสามารถในการรับมือกับปญหาใหม ๆ ระดับโลกที่สงผลกระทบตอภูมิภาค เชน ภาวะโลกรอน การ กอการรายหรืออาจกลาวไดวา “การเปนประชาคมอาเซียน” คือ การทําใหประเทศสมาชิกรวมเปนครอบครัวเดียวกัน มี ความแข็งแกรง และมีภูมิตานทานที่ดี สมาชิกในครอบครัวมีสภาพความเปนอยูที่ดี ปลอดภัย และสามารถทํามาคาขายได อยางสะดวกยิ่งขึ้น แรงผลักดันสําคัญที่ทําใหผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงจัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งถือเปนการ ปรับปรุง และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียนครั้งใหญ ก็คือ สภาพแวดลอมระหวางประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้ง ดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทําใหอาเซียนตองเผชิญกับความทาทายใหม ๆ เชน โรคระบาด อาชญากรรมขามชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ปญหาสิ่งแวดลอม ภาวะโรครอน และความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการไมสามารถแขงขันทางเศรษฐกิจ กับประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะประเทศจีน และอินเดียได เพราะประเทศเหลานี้ มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางกาว 21 กระโดด

การคัดแยกการคามนุษยออกจากอาชญากรรมอื่น ๆ (Distinguishing Trafficking form other crimes) และการคามนุษยที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดทางอาญาประเภทอื่น 1. การประกอบอาชญากรรมการคามนุษย และการลักลอบของผูยายถิ่นฐาน คดีคามนุษยมักจะสับสนกับอาชญากรรมอื่น ๆ และปรากฏการณที่เกี่ยวของกับการอพยพโยกยาย เชน การ เขาเมืองโดยผิดกฎหมาย พิธีสารตอตานการลับลอบเขาเมืองทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ภาคผนวก อนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ The Protocal against the Suggling of Migrants by Land, Sea and Air Supplementing the UN Convention against Transnational Organized Crime (พิธีสารวา ดวยการลักลอบขนคนเขาเมืองวาการดําเนินการใหบุคคลสัญชาติอื่น หรือบุคคลที่ไมมีถิ่นอยูถาวรในประเทศใดเขา ประเทศนั้นโดยผิดกฎหมาย เพื่อใหมาซึ่งเงินหรือผลประโยชนอื่นใด ไมวาทางตรงหรือทางออม (มาตรา 3 พิธีสารวาดวย การลับลอบขนคนเขาเมือง การคามนุษย และอาชญากรรมขามชาติ (Article 3 Migrant Smuggling) ภายใตคําจํากัด ความนี้ การลักลอบขนคนเขาเมือง จําเปนตองพิสูจนองคประกอบ ดังตอไปนี้ 1. ใหการชวยเหลือผูอื่น 2. โดยผิดกฎหมาย 3. เพื่อใหไดเงินหรือผลประโยชน หรือรายได การลักลอบขนคนเขาเมือง สามารถแยกออกจากการคา มนุษยได โดยคํานึงถึงประเด็นดังตอไปนี้ 3.1. การลักลอบขนคนเขาเมืองตองมีการเคลื่อนยายคนขามพรมแดน แตการคามนุษยไมจําตองมี การกระทําดังกลาว

21

สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (2555). การกาวสูประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. หนา 12.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 147 3.2. การลักลอบขนคนเขาเมืองไมจําเปนตองพิสูจนวิธีการ แตการคามนุษยในกรณีเหยื่อเปน ผูใหญตองใชวิธีการตาง ๆ หรือบังคับหลอกลวง ฉอฉล ซึ่งสิ่งเหลานี้ ไมจําเปนตองพิสูจนในคดีลักลอบขนคนเขาเมือง โดย สวนมากแลวจะทํางานเปนทีม ในขณะที่คดีคามนุษยผูที่เปนเหยื่อจะถูกบังคับหรือหลอกใหทําตาม แตอยางไรก็ดี ควร ระลึกวา ในทางปฏิบัติการแยกแยะระหวางการลักลอบขนคนเขาเมืองกับการคามนุษยนั้น อาจจะมีความคลายคลึงกันมาก ในระยะของการเคลื่อนยาย เนื่องจาก ผูคามนุษยโดยมากจะหลอกใหเหยื่อ คามนุษยใหความรวมมือในระหวางการ เคลื่อนยาย เหยื่อการคามนุษยอาจเชื่อหรือเขาใจวา กําลังจะพาไปทํางานดี ๆ ที่รออยูขางหนา โดยไมทราบวา ตองพบกับ เหตุการณอะไรในอนาคต สิ่งนี้ ทําใหพนักงานสอบสวนซึ่งเปนผูบังคับใชกฎหมายประสบกับปญหาในการแยกแยะคดีทั้ง สองประเภท เพราะเหยื่อการคามนุษยจะดูเหมือนกับผูลักลอบเขาเมือง ซึ่งเหยื่อการคามนุษยก็มีความคิดเชนเดียวกัน จนกระทั่ง ถูกพาไปทํางานที่สถานคาประเวณี หรือโรงงานที่ใชแรงงานเยี่ยงทาส ก็ไมสามารถขอความชวยเหลือจากเจา พนักงานทองที่ได และไมสามารถหลีกหนีจากสถานที่คุมขังได มักปรากฏขอเท็จจริงวา เหยื่อการคามนุษย เริ่มตนการ เดินทางของตนในฐานะผูที่ถูกพาลักลอบเขาเมือง โดยมีสัญญาวาจางใหบุคคล หรือกลุมบุคคลใหความชวยเหลือในการ ลักลอบเขาเมือง เพื่อใหไดรับผลประโยชนทางการเงินเปนการตอบแทน ในสถานการณของทั่วไป ผูลักลอบพาคนเขาเมือง และบุคคลที่ถูกพาเขาเมืองนั้นเปนไปโดยความสมัครใจ และเมื่อผูถูกพาเขาเมืองเดินทางเขามาในประเทศปลายทาง มักจะ ถูกการใชแรงงานขัดหนี้ ถูกขูกรรโชก หรือใชกําลังบังคับใชแรงงานเยี่ยงทาส ความสัมพันธระหวางนักคามนุษยกับผู ลักลอบเขาเมือง เนนใหเห็นอุปสรรคที่สําคัญอยางหนึ่งในการคัดแยกเหยื่อจากการคามนุษย จะตองมีเจตนาแสวงหา ประโยชน ซึ่งเจตนาดังกลาวมักจะไมปรากฏจนกวา ระยะของการนําพาไปที่ใดนั้นจบสิ้นลง ดังนั้น จึงเปนเรื่องยากที่จะคัด แยกเหยื่อจากการคามนุษย กอนการคามนุษยและการลักลอบขนคนเขาเมืองในระยะของการลักลอบขนคนเขาเมืองเสร็จ สิ้นลง และเหยื่อคามนุษยถูกกักขังในสภาวการณที่มีการแสวงหาประโยชนที่ชัดเจน ซึ่งจะเปนการพิ สูจนวา ผูลักลอบเขา เมืองมิใชเปนเพียงผูที่ถูกพาลักลอบเขาเมืองเทานั้น ความผิดทั้งสองประเภทดังกลาวขางตนมีความคลายคลึงกันหลายประการ จนบางครั้งกอใหเกิดความสับสน ระหว า งเจ า หน า ที่ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน การแยกความแตกต า งระหว า งการกระทํ า ทั้ ง สองประเภท จึ ง มี ค วามจํ า เป น และ ความสําคัญอยางยิ่ง ขบวนการคัดแยกที่ถูกตองและรวดเร็วจะชวยใหพนักงานเจาหนาที่ตํารวจสามารถปองกันความ ผิดพลาดในการสืบสวน และสามารถนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษไดอยางถูกตอง ในขณะเดียวกัน ก็สามารถใหความ ชวยเหลือเหยื่อไดทันที แมวา การคามนุษย และการลักลอบขนผูยายถิ่นฐานอาจจะเปนอาชญากรรมรายแรงทั้งสอง ประเภท แตเหยื่อที่ถูกพาเคลื่อนยาย เคลื่อนที่หรือถูกพาขามแดนอาจจะเปนอาชญากรรมรายแรงทั้งสองประเภท แต เหยื่อที่ถูกพาเคลื่อนยาย เคลื่อนที่หรือถูกพาขามแดนมีสถานภาพที่แตกตางกัน บุคคลที่ถูกนําพาโดยกลุมหรือขบวน การคามนุษย คือ ผูที่ถูกหลอก ถูกบังคับใหมาโดยบุคคลเหลานั้นไมเต็มใจ ขณะที่บุคคลที่กลุมหรือขบวนการพาคนขาม แดนมานั้น คือ คนที่ยินยอมหรือสมัครใจ หรือขอใหคนอื่นชวยพามา บุคคลเหลานี้รูอยูแลววาการเดินทางเขาประเทศตอง มีขั้นตอนและวิธีการอยางไร แตยังจงใจฝาฝนหรือแสวงหาชองทางโดยไมถูกตอง

2. ความแตกตางของการคามนุษยและการลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน

2.1. การคามนุษยเปนความผิดตอบุคคล (Crime against person) ในขณะที่การลอบขนยายถิ่นฐานเปน ความผิดตอรัฐ - การคามนุษย เปนการนําพา ชักพา บังคับหลอกลวง นําตัวเหยื่อมาแสวงหาประโยชนในรูปแบบ ตาง ๆ โดยเหยื่อเหลานั้นไมไดเต็มใจหรือยินยอม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 148 - การลักลอบขนยายถิ่นฐาน ทั้งผูรับจางนําพา หรือบุคคลที่ถูกนําพาตางสมประโยชนดวยกันทั้งสอง ฝาย โดยฝายหนึ่งไดเดินทางเขาประเทศตามที่ตองการ ในขณะที่อีกฝายหนึ่งก็ไดประโยชนเปนเงิน หรือวัตถุอยางอื่นเปน คาตอบแทน

2.2. ความยินยอมของบุคคลที่ถูกนําพา (consent)

- การค า มนุ ษย เป นกรณีที่ เ หยื่ อไม ยิน ยอมที่จะถูก พามาแสวงหาประโยชนที่ มิช อบ หรื อ แม จะ ยินยอมในครั้งแรก แตความยินยอมดังกลาว มักมีสาเหตุ หรือเหตุผลอยูเบื้องหลัง เชน ถูกหลอกลวงกับสภาพที่แทจริงของ งานที่ตองถูกบังคับ อยูภาวะจําเปนตองยอมตามไมสามารถขัดขืนได - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน เกิดจากความยินยอม หรือสมัครใจของผูที่ถูกนําพาขามแดนมา ผูรับ จางพาข ามแดนเปนผู ทํา หนา ที่อํา นวยความสะดวก หรือผู ชวยผูที่ป ระสงค ขามแดน สามารถเดินทางไปยัง ประเทศ ปลายทางตามความตองการ

2.3. วัตถุประสงคในการนําพา (Purpose of movement)

- การคามนุษย มีวัตถุประสงคที่แทจริงตั้งแตเริ่มตน คือ พาเหยื่อไปแสวงหาประโยชนยังสถานที่ที่ ตั้งเปาหมายไว โดยเจตนาเพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ผูก ระทํามีวัตถุประสงคเพื่อนําผูที่มีความประสงคขามแดน ขามแดน ตามที่ตกลงกันไวเทานั้น โดยมิไดมีเจตนาที่จะแสวงหาประโยชนอื่นใด นอกเหนือไปจากคาจางตอบแทนที่ตกลงกันไว ลวงหนา

2.4. จุดหมายปลายทาง (Destination)

- การคามนุษย เกิดขึ้นไดทั้งภายในประเทศ หรือเกิดขึ้นระหวางประเทศ โดยเหยื่อไมสามารถจะ เลือกหรือเรียกรองวา จะไปอยูหรือทํางานในสถานที่ - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน เกิดไดเฉพาะระหวางประเทศเทานั้น วัตถุประสงคหลักเพียงอยาง เดียว คือ การพาคนจากประเทศหนึ่งเขาไปยังอีกประเทศหนึ่ง โดยไมถูกตองตามกฎหมาย และเมื่อสามารถพาขามแดนไป ไดแลว ผูที่ถูกพาขามแดนจะเดินทางไปที่ใดขึ้นอยูกับการตัดสินใจของตนเอง

2.5. การเสาะแสวงหา และการแนะนําชักชวน (Recruitmentor and Procurement)

- การคามนุษย นักคามนุษย (trafficker) จะเปนผูออกไปทําการแสวงหาเอง และเมื่อพบเหยื่อ จะใช วิธีการตาง ๆ เชน การใชอุบายหลอกลวง ชักจูง โนมนาว หรือใชกําลังบังคับเพื่อใหไดตัวเหยื่อมา - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ผูรับจางขนคนขามแดน (smuggler) ไมใชฝายที่ริเริ่มออกไปหาผูที่ ประสงคขามแดน โดยผูที่จะประสงคขามแดนจะเขามาติดตอขอใชบริการเอง 2.6. ความสัมพันธเชิงธุรกิจ (customer relationship) - การคามนุษย เกิดขึ้นระหวางนักคามนุษยดวยกัน หรือระหวางนักคามนุษย กับผูที่ตองการแสวงหา ประโยชนจากเหยื่อ (exploiter) เหยื่อจะไมมีโอกาสรับรู หรือตอรองราคา หรือคาตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน มีวัตถุประสงคเพียงอยางเดียว คือ การนําพาขามแดนไดสําเร็ จ ดังนั้น ผูประสงคขามแดนจะเปนใครไมสําคัญ เมื่อมีการตกลงกันแลวหนาที่เพียงประการเดียวของผูรับจาง คือ การพา ขามแดนไดสําเร็จเพื่อที่จะไดคาจาง

2.7. ความรูความสามารถในการควบคุมสถานการณ (knowledge and control)


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 149 - การคามนุษย เหยื่อจะไมมีอํานาจในการตัดสินใจเลือกหรือตอรองเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ ทั้งสิ้น อนาคต และชะตาชีวิตจะขึ้นอยูกับนักคามนุษย หรือขบวนการคามนุษยที่จะเปนผูกําหนด - การลั ก ลอบขนผู ย า ยถิ่ นฐาน ผู ป ระสงค จะเดิ น ทางยั ง คงสามารถคิ ด ตั ด สิ น ใจ หรื อ สามารถ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขอยางใด ๆ ก็ได ตราบเทาที่การกระทําที่ผานมาจะไมอยูในระหวางขั้นตอนพาขามแดน

2.8. ผลประโยชนตอบแทนหรือกําไร (profit)

- การคามนุษย จะแสวงหาประโยชน โดยการนําเหยื่อไปขายเปนทอด ๆ แตละทอดจะมีการบวก คาใชจายและกําไรเพิ่มเขาไป - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ผูรับจางไดคาตอบแทนเพียงจํานวนเดียว จากผูประสงคขามแดน จํานวนเงินจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับการเจรจาแตแรก โดยอาจรวมคาใชจาย ในการปลอมเอกสารเงินติดสินบน พนักงานเจาหนาที่ดวยก็ได

2.9. การใชความรุนแรง (violence)

- การคามนุษย เมื่อพบวา ตัวเองตองตกเปนเหยื่อมักตอสูขัดขืน หรือหาทางหลบหนี วิธีการหนึ่งที่ จะควบคุม หรือบังคับใหเหยื่อเหลานี้ ยอมทําตามก็คือ การใชความรุนแรงตอเหยื่อ - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ไมมีความจําเปนใด ๆ ที่จะตองใชความรุนแรง เนื่องจาก ผูรับจาง มิไดมีความประสงคจะนําผูประสงคขามแดนมาอยูภายใตการควบคุมดูแลของตน

2.10. ความเปนไปเมื่อเดินทางถึงที่หมาย (upon the arrival)

- การคามนุษย เมื่อเหยื่อถึงที่หมายปลายทางเหยื่อเหลานั้น จะถูกขาย หรือถูกบังคับใหทํางานใน สถานที่ที่กําหนดไว เหยื่อจะไมมีอิสระ หรือถูกควบคุมจากนักคา หรือผูแสวงหาประโยชนจากเหยื่อเอกสารการเดินทาง หรือเอกสารสําคัญอื่น ๆ มักจะถูกริบหรือยึดไป - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน เมื่อผูรับจางพาผูประสงคเดินทางมาถึงที่หมายปลายทางแลว ทั้งสอง ฝายไมมีพันธะผูกพันใด ๆ ตอกันอีกตอไป ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา เหยื่อคามนุษย ผูล ักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมายและผูยายถิ่น มีความแตกตาง กัน ดังนี้

เหยื่อคามนุษย

ในกรณีที่มีความยินยอม หรือสมัครใจในการถูกนําพาหรือถูกกระทํานั้น เปนความยินยอมโดยถูกหลอกลวง หรือถูกอําพรางขอเท็จจริงจากผูคามนุษย เพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากเหยื่อ โดยพิจารณาจากขอเท็จจริงที่วา ไม มีบุคคลใดที่จะยินยอมใหมีการแสวงหาผลประโยชน และถูกเอารัดเอาเปรียบ เพราะผูสมัครใจมาและตกอยูในสภาพเปน เหยื่อ มักพบวา ตนมาถูกแสวงหาประโยชนภายหลัง นอกจากนี้ การคามนุษยยังเกิดขึ้นไดทั้งการนําพาขามเขตพื้นที่ภายในประเทศ และระหวางประเทศ ในขณะ ที่ผูลักลอบจะเปนการนําพา2ขามพรมแดนเทานั้น และสิ่งสําคัญ เหยื่อจากการคามนุษยจะถูกแสวงหาประโยชนโดย วิธีการตาง ๆ ที่มิชอบดังที่กลาวมา เพื่อใหไดเหยื่อมาควบคุมอยูภายใตอํานาจการบงการของนักคา ขาดอิสระ ไมสามารถ ติดตอสื่อสาร หรือขอความชวยเหลือ หรือยกเลิกขอตกลงกับผูนําพาได

ผูลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 150 เปนความยินยอมใหถูกพาขามพรมแดน ซึ่งเกิดขึ้นเฉพาะมีการเดินทางขามพรมแดนระหวางประเทศ โดย บุคคลดังกลาวทราบจุดหมายปลายทางแนชัด รวมถึงสามารถติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่นได นอกจากนี้ การนําพาขามแดน มักพบวา ผูประสงคขามแดนรูถึงสถานการณที่จะเกิดขึ้น และทราบเงื่อนไขในการขามแดน สามารถยกเลิกขอตกลงเมื่อใด ก็ได และมีการใหนําพาขามแดนที่มีการตกลงกันกอน โดยจายสินจางเทาที่มีการตกลงกันในเริ่มแรก

ผูยายถิ่น

การยายถิ่น ไมวาจะโดยถูกตองตามกฎหมายหรือผิดกฎหมายนั้น เปนกระบวนการที่ผูยายถิ่นเลือกดวยความ สมัครใจของตนเอง ในการที่จะเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง การยายถิ่นเปนปญหาหนึ่ง ซึ่งเปนผลพวงมาจากการ พัฒนา และกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งถือเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหหญิงและเด็กตองตกเปนเหยื่อของการคามนุษย เนื่องจาก สภาพปญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เปนเหตุใหหญิงและเด็กตองอพยพโยกยาย เพียงเพื่อหางานทํา และ เพื่อแสวงหาชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็มีกลุมคนบางคน บางกลุม ใชชองทางของความไดเปรียบ หรือมี อํานาจเหนือกวา แสวงหาประโยชนจากหญิงและเด็กเหลานี้ โดยการลอลวงขูเข็ญ หรือบังคับใชแรงงาน บังคับคาประเวณี หรือบังคับใหเปนขอทาน โดยมีการกระทํากันอยางเปนขบวนการ

องคการสหประชาชาติกับการคามนุษย การค า มนุ ษ ย นั บ ว า เป น ป ญ หาใหญ ที่ ห ลายภู มิ ภาคทั่ ว โลกต อ งร ว มมื อ การอย า งจริ ง ในการแก ป ญ หากั บ สถานการณที่ยังตองเผชิญอยู จะเห็นไดจากการที่องคการสหประชาชาติไดตระหนัก และใหความสําคัญแกอาชญากรรม ขามชาติโดยในป ค.ศ. 2000 องคการสหประชาชาติไดมีการออกอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยอนุสัญญาอาชญากรรม ขามชาติไว และไดมีพิธีสารวาดวยการตอตานการคามนุษยในหญิงและเด็ก เปนสวนเสริมของอนุสัญญาดังกลาวไวแนบ ทาย และมีคํานิยามที่ครอบคลุมที่มากขึ้นตามนิยามในมาตรา 3 ไวอยางรัดกุมเพื่อปกปองเหยื่อ คุมครองเหยื่อจากการ ขบวนการคามนุษย รวมถึงการคุมครองมาตรการดานอื่นที่สําคัญแกเหยื่อ อนึ่ง แมแ ตกฎหมายสิทธิ มนุษ ยชน ที่เป นรากฐานของกฎหมายระหว างประเทศ ยั งให ความสําคั ญในเรื่อ ง ดังกลาวไวโดยไดมีการบัญญัติเรื่องการคาทาสไวในบทบัญญัติมาตรา 4 มีใจความวาการคามนุษยและการคาทาสในทุก รูปแบบเปนสิ่งที่ตองหามโดยเด็ดขาด เพราะถือไดวา การคาทาสในทุกรูปแบบเปนการกระทํา ที่สงผลกระทบตอสิทธิ มนุษยชนอยางรายแรงอยางยิ่ง จะใหมีการกดขี่ขมเหงดวยเหตุที่ไมเปนธรรม ยอมกระทําการมิได ในดานกฎกติการะหวาง ประเทศวาดวยสิทธิทางดานการเมือง และพลเมืองก็มีการกลาวไวในลักษณะเดียวกับกฎหมายสิทธิมนุษยชนวาการคาทาส มนุษยในทุกรูปแบบเปนสิ่งที่มนุษย จะกระทําตอมนุษยในลักษณะที่กดขี่ขมเหงโดยไมเปนธรรมมิไดโดยเด็ดขาด เพราะทุก คนลวนมีศักดิ์และศรีของความเปนมนุษยอยู ประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่อยูในระดับที่ ดียอมไมสนับสนุนใหมีการคา ทาสแรงงานแตอยางใด ซึ่งมีความแตกตางจากประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่อยูในระดับต่ําที่ประชากรในรัฐ หรือ ดินแดนนั้น ตองการมีชีวิตที่ดีมากยิ่งขึ้น จึงพยายามดิ้นรนในทุกรูปแบบที่จะอพยพมาสูประเทศที่ร่ํารวย ในประการนี้เอง จึงเริ่มตนเขาสูม หันตภัยของการคามนุษย โดยที่ผูตกเปนเหยื่อ หรือผูถูกคาอาจจะไมทันรูตัว แรงผลักดันจากครอบครัวใน ชนบทสูสังคมเมืองที่มีความเจริญกวาก็ยอมจะเปนแรงจูงใจของเด็ก และผูหญิงหลายคนในชนบท และถูกชักชวนจากคน ในหมูบานมาประกอบอาชีพในลักษณะแมเลาตอไป และจะวงเวียนเปนวัฏจักรเปนอยางนี้เรื่อยไป ตราบใดที่ความเทา เทียมกันของบุคคลในทางสังคมในชนบทกับสังคมในเมืองที่มีความเหลื่อมล้ํา ที่แตกตางเปนอยางมาก จึงนําสูซึ่งปญหา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 151 สําคัญของการคามนุษยในระดับภูมิภาคอาเซียนที่จะตองอาศัยความรวมมือในทุกภาคสวนของสังคมรวมมือกันอยาง จริงจังในการแกปญหาที่ยิ่งใหญของภูมิภาค ในระหวางประเทศเองก็ไมไดมีทาทางนิ่งเฉยในเรื่องนี้พยายามออกอนุสัญญาแมบทขององคการสหประชาชาติ บัญญัติคํานิยามของการคามนุษย ออกบทบัญญัติมาตรการในการคุมครองเหยื่อในการคามนุษย ที่ครอบคลุมมากขึ้นไม เฉพาะแตหญิงและเด็กเทานั้น ยังครอบคลุมและกวางขวางสามารถบังคับกับผูชายและไมมีเหตุในการเลือกปฏิบัติตาง ๆ ไมวาจะเปนในเรื่องเพศ ภาษา ศาสนา สัญชาติ เชื้อชาติ องคการสหประชาชาติไดใหความหมายของการคามนุษยไว แลวพันธมิตรทั่วโลกตอตานการคาหญิง ก็ไดใหคํา 22 นิยามการคามนุษยไว ดังนี้ “การคามนุษย” หมายถึง การกระทํา และความพยายามใด ๆ ที่เปนการจัดหาขนสง ลําเลียงภายใน หรือขามพรมแดน การซื้อขาย การสงตอ หรือการรับ หรือกักขัง หนวงเหนี่ยวบุคคลดวยการลอลวงการบังคับ รวมทั้งการใชการขูที่จะใชกําลัง หรือการใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ หรือการผูกมัดดวยภาระหนี้สินเพื่อกั กขัง หนวงเหนี่ยวบุคคลนั้นใหตกอยูในสภาวะจํายอม เชน ในรูปแบบของงานรับใชภายในบาน งานบริการทางเพศ หรืองานบริการเจริญพันธุ ไมวาจะมี หรือไมมีคาจางก็ตาม เพื่อบังคับใชแรงงาน หรือเปนแรงงานติดหนี้สิน หรือ ทําใหตกอยูในสภาพการทํางานเยี่ยงทาสในชุมชนอื่นที่มิใชภูมิลําเนาที่บุคคลนั้นอาศัยอยูในขณะที่ถูกลอลวง บังคับ หรือ มีหนี้สิ้นผูกมัดขึ้น รูปแบบการคามนุษยมีหลายรูปแบบที่สําคัญมีอยู 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการคามนุษยเพื่อการคาประเวณีทาง เพศรูปแบบหนึ่ง สวนใหญบุคคลที่ตกเปนเหยื่อในการคาประเวณี จะอยูในกลุมผูหญิง และเด็ก มากกวาผูชาย อีกรูปแบบ หนึ่ง คือ การคามนุษยเพื่อการเอาคนลงเปนทาส หรือการบังคับคาแรงงานโดยไมเปนธรรม และการตัดอวัยวะออกจาก รางกาย ตามมาตรา 3 ของพิธีสารเพื่อตอตานการคามนุษยในเด็กและสตรีตอทายอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตาน การคามนุษยในหญิงและเด็ก เชน การใชแรงงานเด็กโดยไมเปนธรรม การใชแรงงานในภาคประมง และกลุมบุคคลที่ตก เปนเหยื่อจากขบวนการคามนุษยมากที่สุดอยูในกลุมแรงงานตางดาว ชนกลุมนอย และบุคคลไรซึ่งสัญชาติ สืบเนื่องมาจาก สาเหตุที่ บุคคลนั้นไมไดมีหลักแหลงที่อยูในประเทศนั้น ๆ จึงอาจถูกลอลวงมาเปนเหยื่อการคามนุษยไดงาย โดยกรณี แรงงานตางดาวอาจถูกนายจางยึดหนังสือเดินทางได และบัตรทํางานของคนตางดาว และในกรณีแรงงานตางดาวที่เขา เมืองมาโดยผิดกฎหมายลักลอบเขาเมืองมาก็ยอมเปนกลุมเสี่ยงที่จะถูกลอลวงมาคาประเวณี นําพามาสูข บวนการคามนุษย ในที่สุด ดวยเหตุผลทางดานภาษาการสื่อสาร ระดับการสื่อสาร ระดับการศึกษา ปญหาของเด็กและหญิงที่เปนชนกลุม นอยที่อาจเปนกลุมเสี่ยงมาจากปจจัยการไรซึ่งสัญชาติ ซึ่งเด็กเหลานั้นถูกบังคับใชแรงงานอยางทาส ทารุณกรรม โหดราย เชน การใชแรงงานเด็กในภาคอุตสาหกรรม โดยใชแรงงานเด็กหนักเกินขีดความสามารถของเด็ก บังคับเด็กขายดอกไม ตามสี่แยกไฟแดง ตัดอวัยวะเด็กออกจากรางกายเพื่อบังคับใหเด็กเหลานั้นไปนั่งขอทานตามสะพานลอย จะเห็นไดวา เหยื่อของการคามนุษยสวนใหญ จะเปนผูหญิงและเด็กเปนสวนใหญ เพราะวา เปนเพศที่ถูกลอลวง มาคามนุษยไดงายกวาเพศชาย โดยสวนใหญการคามนุษยจะนิยมในรูปแบบการคาประเวณีทางเพศ และตามมาดวย การคามนุษยในรูปแบบการคาทาสแรงงาน เชน การคามนุษยในรูปแบบจายคาแรงงานโดยไดรับคาแรงที่ต่ํากวาความเปน จริงที่สมควรจะไดโดยกดขี่ ขมเหงอยางทารุณกรรมในทุกรูปแบบการคามนุษยในรูปแบบขอทานโดยตัดอวัยวะเด็กออก จากรางกาย เพื่อใหเด็กดูนาสงสารแลวใหคนที่พบเห็นไปมาสงสาร และก็จะไดใหเงินแกเด็กดังกลาว ในขณะเดียวกัน ใน กลุมผูชายก็ยังเปนกลุมเสี่ยงที่จะถูกคามนุษยเชนเดียวกัน ซึ่งจะถูกเสี่ยงในการบังคับใชแรงงานโดยไมเปนธรรม เชน การ บั ง คั บ ใช แ รงงานในเรื อ ประมง และในกลุ มการค า ประเวณี ท างเพศโดยพวกที่ นิ ยมเพศเดี ยวกั น ในกลุ มชายรั ก ชาย 22

พันธมิตรทั่วโลกดานการคาหญิง, การคาหญิง จากแนวคิดสิทธิมนุษยชนสูการปฏิบัติ, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิผูหญิง, 2545), หนา 14.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 152 สถานการณในปจจุบันขบวนการคามนุษยไดมีอิทธิพลอยางมากทั้งในระดับภูมิภาค และระดับสังคมระหวางประเทศที่ จะตองขจัดใหหมดสิ้นไปโดยเร็ว

การคามนุษยโดยองคกรอาชญากรรมขามชาติ ในความผิดฐานการคามนุษยมีสวนโยงใยถึงความผิดในลักษณะอื่น ๆ อีกมากมายที่เปนความผิดในลักษณะการ กระทําความผิดขามชาติ หรืออาชญากรรมขามชาติ ไมวาจะเปนความผิดฐานการฟอกเงิน ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ความผิดเกี่ยวกับการเปนธุระจัดหาการคาประเวณีชายและหญิง ซึ่งความผิดดังกลาวตองการความรวมมือในระดับสากล เปนอยางยิ่ง เพื่อขจัดปญหาที่ทุกภูมิภาคทั่วโลกตองการใหหมดสิ้นไปโดยดวน และทั้งนี้ ตองการความรวมมือในระดับ ระหวางประเทศทั้งหลาย โดยผานทางอนุสัญญา พิ ธีสารตาง ๆ ความรวมมือตาง ๆ ในเรื่องการคามนุษยทั้งในระดับ ภูมิภาค และอนุภูมิภาค เพราะการคามนุษย นํามาซึ่งปญหาอาชญากรรมขามชาติประเภทตาง ๆ มากมาย ไมวาจะเปน เรื่องการฟอกเงิน ยาเสพติด ซึ่งอาชญากรรมประเภทตาง ๆ นั้น ลวนแตทําลายความมั่นคง และเสถียรภาพของประเทศ ตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน ก็ไดมีความรวมมือกันอยางหนักแนนในเรื่องนี้ โดยประเทศสมาชิกอาเซียน ไดมีการประชุมเรื่องการคามนุษย ในเวทีการประชุมสุดยอดผูนําเอเชีย-ยุโรป หรือ อาเซม ครั้งที่ 9 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติ นครเวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว ซึ่งการประชุมจะ เน น ไปในเรื่อ งมาตรการป อ งกั นการคา มนุ ษ ย โดยเน น ถึ งการกิน ดี อ ยูดี ข องประชาชนในประเทศ การศึ ก ษา สั ง คม ครอบครัว การสาธารณสุข เพื่อสรางมาตรการใหประชาชนในประเทศไทยเองไดอยูดีกินดี เพื่อเปนภูมิคุมกันในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติ และในป พ.ศ. 2558 ประเทศทั้งหลายในอาเซียนจะรวมตัวกันเปนประชาคม จึงตองแกปญหานี้ อยางเรงดวน ปญหาการคามนุษยยังตองไดรับการแกปญหาจากตนเหตุ อาทิ ปญหาความยากจน และความไมเทาเทียม กันของคนในสังคม รวมทั้งการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจอยางยั่งยืน โดยมีภาคประชาชนเปนศูนยกลาง ไดแก การลด ความเสี่ยง และการเตรียมรับความพรอมรับภัยพิบัติ ความสําคัญตอหวงโซอาหารที่ชัดเจน

ประเทศไทยกับปญหาการคามนุษย นับตั้งแตประเทศไทยไดมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ นับตั้งแตป พ.ศ. 2530 เปนตนมา ประกอบกับสถานการณ ทางการเมืองทีเ่ กิดขึ้นในประเทศเพื่อนบานทั้งสามประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย อันไดแก เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชาที่มีปญหาการสูรบ และความไมสงบภายในประเทศมาตั้งแตยุคสงครามเย็น ซึ่งสงผลใหสภาพเศรษฐกิจ ภายในประเทศเหลานั้นย่ําแยตามไปดวย และจากสภาพที่เกิดขึ้นในประเทศเพื่อนบานทั้งสามของไทยดังกลาว ประกอบ กับในชวงเวลาเดียวกันที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจของไทยไดมีความเจริญกาวหนากวาประเทศเพื่อนบานทั้งสามประเทศ ไดสงผลใหประชาชนจากทั้งสามประเทศพากันอพยพหลั่งไหลเขามาหางานทําในประเทศไทยเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ แรงงานไทยในช ว งระยะหลั ง ๆ มี ค วามรู และมี ร ะดั บ การศึ ก ษาที่ สู ง มากขึ้ น กว า ในอดี ต ดั ง นั้ น แรงงานไทยจึ ง มี ความสามารถที่จะเลือกงานที่ตอนเองถนัดไดมากขึ้น และไมเลือกงานที่มีรายไดนอย และเกิดความลําบาก เชน งาน ประเภท 3 ส. ที่ไดกลาวถึงไปแลวในตอนตน ทั้งนี้ แมวา แรงงานชาวไทยจะไมเลือกทํางานประเภท 3 ส. ดังกลาว แตมิได หมายความวา อุปสงคของนายจางที่มีตอแรงงานที่เขามาทํางานดังกลาวจะลดนอยถอยลงไป แตในทางตรงกันขามอุปสงค ดังกลาวกลับมีมากขึ้น เนื่องจาก แรงงานชาวไทยเลือกที่จะไมทํางานประเภทดังกลาวนั่นเอง ดังนั้น แรงงานตางดาวจึง กลายเปนตัวเลือกที่สําคัญสําหรับนายจางที่จะจางใหเขามาทํางานประเภทดังกลาว สําหรับประเภทของแรงงานขามชาติ หรือแรงงานตางดาวที่เดินทางเขามาทํางานในประเทศนั้น มีทั้งบุคคลหรือ กลุมบุคคลที่ลี้ภัยทางการเมืองภายในประเทศของตน บุคคลที่สมัครใจเขามาเสี่ยงโชคหางานทําในไทย อันเนื่องมาจาก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 153 สภาพทางเศรษฐกิจอันย่ําแยที่เปนผลมาจากสภาพปญหาทางการเมืองที่มีความขัดแยง และการสูรบในประเทศรวมไปถึง สภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นดีกวาในประเทศ หรือในภูมิลําเนาของตน หรืออาจจะมีแรงงานขามชาติบางกลุมที่ มิไดสมัครใจเขามาทํางานในประเทศไทย แตอยางใด แตกลับถูกหลอกลวงใหเขามาทํางาน โดยพยายามใชขออางตาง ๆ หวานลอมใหเห็นวา การเขามาทํางานทําในประเทศไทยนั้นเปนสิ่งที่ดี กอใหเกิดรายไดมากกวาทํางานในภูมิลําเนาของตน แตเมื่อเขามาถึงประเทศไทยแลวกลับพบวา งานที่ตองทํานั้นมีสภาพที่ ย่ําแย หรือเลวราย และถูกกดขี่หรือเอารัดเอา เปรียบจากนายจาง นอกจากนี้ ยังมีแรงงานขามชาติบางกลุมที่มิไดมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ยากจน แตกลับตองการเขามา ทํางานในประเทศไทย ดวยเหตุผลอื่น ๆ เชน เมื่อครอบครัวมีการใชจายเกินรายไดที่หามาได จึงตองหาทางเพิ่มรายไดให 23 เพียงพอกับความตองการใชจาย ซึ่งครอบครัวประเภทนี้ มักจะมีการใชจายเกินตัวหรือเกินจากรายไดที่มีโดยปกติ นอกจากนี้ สาเหตุที่นําไปสูปญหาการคาแรงงานขามชาติยังรวมไปถึงคานิยมที่ผิด ๆ เชน วัตถุนิยมและบริโภคนิยมที่ได หลั่งไหลมาพรอมกับกระแสโลกาภิวัตนในปจจุบัน ไดเปนแรงผลักดันใหทั้งบุคคล และกลุมบุคคลจากทั้งเมียนมาร สปป. ลาว และกัมพูชาเดินทางเขามาคาแรงงานในประเทศไทย สําหรับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการตกเปนเหยื่อในขบวนการคามนุษย รวมทั้งการคาแรงงานขามชาตินั้น มิได จํากัดเพียงผูหญิงและเด็กเทานั้น แตในปจจุบัน จะพบวา ผูชายก็ไดกลายเปนเหยื่อของการคาแรงงานขามชาติไปแลว เชนกัน ซึ่งประเภทของงานที่ใชแรงงานจากเหยื่อเพศชายเหลานี้ มักจะเปนงานใชแรงงาน ไดแก งานในภาคอุตสาหกรรม งานภาคเกษตรกรรม และงานอุตสาหกรรมการประมง เปนตน สําหรับประเทศไทยนั้น เปนประเทศเปาหมายที่ขบวนการคามนุษย จะนําเหยื่อเขามาแสวงหาผลประโยชนจาก การคามนุษย ซึ่งประเทศไทยเปนทั้งประเทศตนทาง ทางผาน และประเทศปลายทางของขบวนการคามนุษย ประเทศตนทาง คือ ประเทศที่มีการสงเด็กและผูห ญิงไปคามนุษยยังตางประเทศ ประเทศทางผาน คือ ประเทศที่ใชเปนเสนทางคมนาคมผานของการนํา เด็กและผูหญิงไป เพื่อการคาใน ประเทศตาง ๆ ประเทศปลายทาง คือ ประเทศที่มีการนําเด็กและผูห ญิงเขามาคาประเวณี หรือแสวงหาผลประโยชน หรือมี การลวงละเมิดสิทธิในดานตาง ๆ ของเหยื่อการคามนุษย เพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคของขบวนการคามนุษยมาก ที่สุด เมื่อพิจารณาประเทศสมาชิกอาเซียนที่ถือวา เปนประเทศที่มีสถานการณการคามนุษยขามชาติ หรือการคา แรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมายมากที่สุดก็คือ ประเทศในบริเวณอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงอยางประเทศเวียดนาม ซึ่ง เปนทั้งแหลงนําเขา และสงออกแรงงานผิดกฎหมาย ชาย หญิง และเด็กที่ใหญที่สุดในภูมิภาคอาเซียน แตถามองใน แงของลักษณะภูมิประเทศที่เอื้อตอการคามนุษยมากที่สุดก็คือ ประเทศไทย จากแผนที่ประเทศไทย แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยอาจถือไดวา เปนประเทศศูนยกลางของภูมิภาคอาเซียน ที่มี ชายแดนติดกับหลายประเทศในอาเซียนดวยกันมากกวาประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน หากพิจารณาจากภาพจะเห็นไดวา ประเทศไทยเปนประเทศตนทาง ประเทศทางผาน และประเทศปลายทาง ซึ่งประเทศไทยมีชายแดนติดตอกับ สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร และมาเลเซีย ดังนั้น การขนสงสินคา การเคลื่อนยายแรงงานถูกกฎหมายจึงมีมาก ในขณะเดียวกัน ก็ เปนชองวางเปดทางใหแกขบวนการคามนุษยลักลอบขนยายแรงงานที่ผิดกฎหมายดวยเชนกัน ซึ่งเหยื่ อการคามนุษยสวน ใหญจะเปนเด็กและผูหญิง โดยถูกลอลวงจากเพื่อนบานดวยกัน หรือนายหนาขามพรมแดนมาคาประเวณี หรือเปนขอทาน นอกจากนี้ ยัง มี ส ถานการณ ห ลอกลวงแรงงานไทยที่ เป น ผู ห ญิง ที่ มี นายหนา จั ด หาแรงงานในการเดิ น ทางไปทํ า งาน 23

สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล , (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิง และเด็ก. (กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย). หนา 8.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 154 ตางประเทศ ซึ่งเรียกเก็บคาธรรมเนียม คาใชจายเปนจํานวนมากเกินความเปนจริง หรือหลอกไปทํางานไดรับคาจางไม เพียงพอ หรือคุมคากับคาใชจายที่เสียไป หรือตองทํางานขัดหนี้ (Debt Bondage) ซึ่งพนักงานสอบสวน ผูบังคับใช กฎหมายเบื้องตนในประเทศ ยังมีมุมมองวา การกระทําความผิดในลักษณะเชนนี้ เปนการกระทําความผิดทางเพง หรือ เปนการฉอโกงประชาชน มิใชเปนความผิดฐานคามนุษย ซึ่งมุมมองของโลกสากลกําลังใหความสนใจในกรณีการคามนุ ษย ในลักษณะของแรงงานขัดหนี้ วาผูเสียหายตกอยูในสภาพถูกบังคับใหทํางานเพื่อชดใชหนี้ที่เกิดขึ้น อันมีสภาพไมตางจาก การคามนุษยนั่นเอง ปญหาการคามนุษย ซึ่งเกิดจากการคาประเวณีเด็กเพศชายที่เกี่ยวเนื่องกับการถายภาพโป เปลือย อนาจารเด็ก มีการจับกุมดําเนินคดีกับผูตองหาที่เปนชาวตางชาติ ซึ่งมีเจตนากระทําทางเพศกับเด็ก (pectophiles) และมีการถายภาพ ในรูปของการถายบันทึกวิดีโอ ซีดี เพื่อจําหนายใหกับผูมีรสนิยมเดียวกัน การซื้อประเวณีเด็กผูชาย สวนใหญจะมีการ ติดตอเด็กผานนายหนา แตการจํากุมดําเนินคดีผูกระทําความผิดมักจะเกิดขึ้นในโรงแรม จึงทําใหการจับกุมดําเนินคดี เปนไปในลักษณะการกระทําผิดฐานอนาจารเด็ก มิใชความผิดฐานการคามนุษย เพราะไมมีการสืบสวนขยายผลถึงผูทําธุระ จัดหา กลุม pectophiles ในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือในประเทศยุโรป มีเปาหมายที่เขามาซื้อบริการทางเพศเด็กในแถบ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะในอนุภูมิภาคแถบลุมแมน้ําโขง เนื่องจาก เปนพื้นที่ที่หาซื้อบริการทางเพศกับ เด็กไดงาย และการใชบังคับกฎหมายในเรื่องหยอนยาน มีพฤติการณ และรูปแบบกระทําความผิดดวยการหลอกลวง หญิงไทยไปคาประเวณีในตางประเทศ สวนใหญมีพื้นฐานมาจากหญิงไทย มีความตองการไปทํางานในตางประเทศดวย ความสมัครใจ แตเงื่อนไข หรือสภาพการทํางานเมื่อเดินทางไปถึง อาจกลายเปนสภาพการคามนุษยในที่สุด อันมีสาเหตุมา จากผูเสียหายมีภาระหนี้สินอันสืบเนื่องมาจาก คาเดินทาง และไมสามารถใชชีวิตโดยมีอิสรภาพภายนอกได ทําใหกลาย สภาพเปนการกักขัง หรือบังคับใหคาประเวณีในเวลาตอมา การใชก ฎหมายการใช ดุลพินิจของผูบั งคับใช กฎหมาย มักมีทั ศนคติเ ชิงลบต อผูเสียหายในลักษณะนี้ มักไม ประสงคจะดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด ทั้งยังมีปญหากรณีบังคับใชแรงงานหรือบริการอื่น ๆ เชน แรงงานรับใชในบาน หรือบังคับใหเด็กวัยรุนโกนศีรษะ หรือปลอมเปนสามเณรออกเรี่ยไรขอบริจาคเงินจากชาวบาน ลวนเปนคดีคามนุษย ถึงแมวา ประเทศตาง ๆ จะมีมาตรการเปนตัวบทกฎหมาย หรือดานตรวจคนเขาเมืองคอยตรวจสอบความ เรียบรอย หรือสิ่งผิดปกติที่สุมเสี่ยงที่จะผิดกฎหมายก็ตาม แตปญหาการคามนุษยยังไมสามารถคลี่คลายได อาจเปนเพราะ หัวหนาขบวนการคามนุษยเปนผูมีอิทธิพล สรางเครือขายไวหลายแหง และมีสวนไดสวนเสียตอบางหนวยงาน หรือ แมกระทั่ง เจาหนาที่ของรัฐเปนผูสนับสนุน เชน ในจังหวัดหนองคาย ซึ่งมีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว พบวา มีชาวลาวเปนจํานวนมากที่เขามาหางานทําในประเทศไทย สวนใหญจะเปนในรูปแบบคนรับใช เด็ก เสิรฟตามรานอาหาร รานคาราโอเกะ และรวมไปถึงขายบริการทางเพศ ซึ่งมีทั้งที่เต็มใจ และไมเต็มใจ โดยผูที่ซื้อบริการมี ทั้งบุคคลธรรมดาไปจนถึงเจาหนาที่รัฐ บางคนเดินทางไปเชา-เย็นกลับ บางคนมีพาสปอรตก็พักอาศัยอยูในประเทศไทย หากมองในแงของกฎหมาย การเขาออกประเทศเปนไปตามกระบวนการทุกอยาง แมวา จะมีกระบวนการพิสูจนสัญชาติ แตเราจะทราบไดอยางไรวา ในขณะที่พวกเขาพักอาศัยภายในประเทศไทยในระยะเวลาสั้น ๆ นั้น พวกเขาประกอบอาชีพ อะไร หนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐเขาไปตรวจสอบสม่ําเสมอ และตรวจตราอยางถี่ถวนหรือไม เราจะมีวิธีอยางไรในการ ที่จะตรวจสอบไดอยางแนชัดวา พวกเขาเขามาโดยที่ไมไดเขามาสูวงจรการคามนุษย นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเปนประเทศทางผานสําหรับการสงเหยื่อการคามนุษยจากประเทศ เกาหลีเหนือ จีน เวียดนาม ปากีสถาน และเมียนมาร เพื่อนําเหยื่อของการคามนุษยไปขายยังประเทศ เชน มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร รัสเซีย ยุโรปตะวันตก เกาหลีใต และสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศตาง ๆ ที่ยากจนก็ตางพากันอพยพเขามาดินแดนของ ประเทศไทยเพื่อที่จะหางานทํา โดยสวนใหญอพยพเขามาโดยวิธีการที่ผิดกฎหมายไมถูกตองตามกฎหมายวาดวยคนเขา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 155 เมือง และบางกลุมก็อพยพเขามาในดินแดนประเทศไทย เพราะเปนกลุมบุคคลซึ่งไรสัญชาติ และอพยพเขามาสูดินแดนที่ อุดมสมบูรณเต็มไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ และแรธาตุตาง ๆ ที่เต็มเปยมไปดวยความอุดมสมบูรณ จึงเปนประเทศ เปาหมายของขบวนการคามนุษยที่จะเขามาแสวงหาผลประโยชนจากดินแดนของประเทศไทย เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ประเทศไทยไดมีการออกพระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการมีสวนรวม ในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ มุงปราบปรามกลุมผูมีอิทธิพลขามชาติ หรือแกงมาเฟยขาม ชาติที่ทําธุรกิจผิดกฎหมาย และเปนกฎหมายที่ออกตามหลักการของอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกร อาชญากรรมขามชาติ ค.ศ. 2000 (United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000) ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ มุงเนนในลักษณะการกระทําความผิดขามชาติ อาทิ การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบ ขนคนเขาเมือง การขายอาวุธที่ผิดกฎหมาย การคาทรัพยากรธรรมชาติที่ผิดกฎหมาย การคาสัตวปาที่ผิดกฎหมาย การ ขายยา และเวชภัณฑปลอม รวมทั้งอาชญากรรมคอมพิวเตอร เชน แกงฉอโกง เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2556 พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา เอกอัครราชทูตผูแทนถาวรแหงประเทศ ไทยประจําสหประชาชาติ ณ กรุงเวียนนา ไดทรงเปนผูแทนรัฐบาลไทยในการยื่นสัตยาบันอนุสัญญาสหประชาชาติเ พื่อ ตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร (United Nations Convention against Transnational Organized Crime : UNTOC) และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษ การคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก เสริมอนุสัญญาฯ (Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, supplementing the United Nations Convention against Transnational Organization Crime) ตอ ผูแทนเลขาธิการสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรก ซึ่งการยื่นสัตยาบันสารทั้งสองฉบับจะสงผลใหอนุสัญญาฯ และพิธีสาร เรื่องการคามนุษย เริ่มมีผลใชบังคับกับประเทศไทยในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2556 เปนตนไปตามขอ 38 ของอนุสัญญาฯ และขอ 17 ของพิธีสารฯ ซึ่งประเทศไทยไดมลี งนามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้ง ในลักษณะองคกร เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2543 และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะ 24 สตรีและเด็ก เสริมอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2544 อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้งในลักษณะองคกรเปนกรอบความรวมมือ ทางกฎหมายที่กําหนดมาตรฐานระดับสากลเกี่ยวกับการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่กระทําโดยองคกรอาชญากรรม โดยมี ขอบเขตการบั ง คั บใช ใ นด า นการป อ งกั น การสื บสวน และการดํ าเนิ น คดีเ กี่ ยวกั บ ฐานความผิ ด ที่กํ า หนดไว ใ น อนุสัญญาฯ 4 ฐาน ไดแก การมีสวนรวมในกลุมองคกรอาชญากรรม การฟอกทรัพยสินที่ไดมาจากการกระทําผิด การ ทุจริตคอรรัปชั่น และการขัดขวางกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งฐานความผิดรายแรงที่อนุสัญญาฯ ไดกําหนดนิยามวาเปน ความผิดที่มีโทษจําคุกอยางสูงตั้งแต 4 ปขึ้นไป เมื่อความผิดดังกลาวมีลักษณะขามชาติ และเกี่ยวของกับกลุมองคกร อาชญากรรม ทั้งนี้ อนุสัญญาฯ ไดระบุถึงการใหความรวมมือระหวางรัฐภาคี อาทิ การสงผูรายขามแดน เรื่องโอนตัว นักโทษ การชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา อนึ่ง อนุสัญญาฯ นี้มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2556 อนุสัญญาฯ ปจจุบันมีภาคีสมาชิกทั้งหมด 178 ประเทศ โดยประเทศไทยเขาเปนภาคีอนุสัญญาฯ ลําดับที่ 179 สําหรับพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปรามและลงโทษ การคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็กเสริมอนุสัญญาฯ นั้น มี วัตถุประสงคหลักเพื่อปองกันและตอตานการคามนุษย โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับสตรีและเด็ก โดยพิธีสารฯ นี้ ได 24

การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้งในลักษณะองคกร และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปรามและ ลงโทษ การคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็กเสริมอนุสัญญาฯ. กระทรวงการตางประเทศ. วันที่ 20 ตุลาคม 2556. ออนไลน. คนหาขอมูลวันที่ 1 มิถุนายน 2557. ไดจาก http://www.mfa.go.th/main/th/media-center/14/40175 -การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตาน อาชญ.html.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 156 กําหนดใหการคามนุษยเปนความผิดทางอาญา และกําหนดมาตรการเพื่อคุมครอง และชวยเหลือผูเสียหายจากการคา มนุษย เชน การพิจารณาคดีลับ หรือการจัดใหมีการฟนฟูทางกายภาพทางจิตใจและทางสังคม และการกําหนดความ รวมมือในการสงกลับเหยื่อจากการคามนุษยไปยังประเทศตนทาง อนึ่ง พิธีสารฯ มีผลใชบังคับแลวเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2546 ปจจุบันพิธีสารฯ มีภาคีสมาชิก 157 ประเทศ โดยประเทศไทยเขาเปนภาคีพิธีสารฯ ลําดับที่ 158

แผนภาพที่ 1 แสดงเสนทางแรงงานตางชาติจากถิ่นตนทางสูประเทศไทย25

ปจจุบันประเทศไทยมีพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 และพระราชบัญ ญั ติ ป องกั น และปราบปรามการค า มนุ ษ ย พ.ศ. 2551 ซึ่ ง จะเป น กฎหมายอนุวั ติ ก ารสํ า หรั บ อนุสัญญาฯ และพิธีสารฯ ดังกลาวแลว อนึ่ง การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการตอตานอาชญากรรมขาม ชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก 25

นวลนอย ตรีรัตน. (2548). รายงานการวิจัย สภาพความรุนแรงของปญหาองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบัน กฎหมาย สํานักอัยการสูงสุด. หนา 55.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 157 นับเปน กา วสํา คัญ ในการแสดงความมุ งมั่ นของรั ฐบาลไทยในการต อตา นอาชญากรรมข ามชาติ ทุก รูป แบบ และเป น ประโยชน อยา งยิ่ งสํ าหรั บหนว ยงานผู บัง คับใชก ฎหมายของประเทศไทย ในการขอความร วมมื อจากภาคี อื่น ๆ ตาม อนุสัญญาฯ และพิธีสารฯ ในการสืบสวน สอบสวน ติดตามนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ อันจะมีสวนชวยในการ เสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยในอนาคต ซึ่งมีประเทศไทยมีกลไกการดําเนินงาน ดังนี้

กลไกการดําเนินงานของไทย 1. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย (ปคม.) เปนกลไกระดับชาติดานการคามนุษย ซึ่งอาศัย พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน รัฐมนตรีวาการกระทรวงที่ เกี่ยวของเปนกรรมการ และปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเปนเลขานุการ 2. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก ซึ่งมีมาตรการปองกัน คุมครอง และชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย โดยไมเลือกปฏิบัติ ตั้งแตการฟนฟูรางกาย และจิตใจ ฝกอาชีพ ชวย ดําเนินคดีกับนายจาง โดยไดเปดโทรศัพทสายดวน จัดบานพักเด็กและครอบครัว เปนตน

สถานการณปจจุบันอันเกี่ยวของปญหาการคามนุษยกับประเทศเพื่อนบาน จากความพยายามของรัฐบาลไทย รวมทั้งองคกรภาคเอกชนที่เกี่ยวของในการรณรงคและแกไขปญหาการคา มนุษย และการใชแรงงานเด็ก ทําใหปญหาการคามนุษยที่มีเหยื่อเปนคนไทยลดจํานวนลง แตในทางกลับกัน การที่เหยื่อ คนไทยลดจํานวนลง จึงสงผลใหขบวนการคามนุษยหันไปแสวงหาเหยื่อที่นําเขาจากตางประเทศมาทดแทน ทั้งนี้ ประเทศ ไทยในฐานะที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค สงผลใหไทยกลายเปนพื้นที่ศูนยกลางสําหรับนักคามนุษยในการนํา เหยื่อจากประเทศเพื่อนบานเขามาคาในประเทศไทย โดยรูปแบบของการคามนุษยนั้น จะปรากฏอยูในหลายรูปแบบ ทั้ง การคาบริการทางเพศ ขอทาน แรงงานรับใชในบาน งานในภาคเกษตรกรรม งานปศุสัตว งานกอสราง งานโรงงานทอผา 26 รวมทั้งกิจการประมง ทั้งนี้ ผูอพยพยายถิ่นฐานจํานวนมากไดตัดสินใจเลือกการยายถิ่นผานชองทางที่ไมถูกกฎหมายเขา มายังประเทศไทย ซึ่งจะยิ่งทําใหบุคคลเหลานั้น ตองตกอยูในความเสี่ยงตอการเปนเหยื่อการคามนุษยมากขึ้น ทั้งนี้ จาก รายงานของโครงการความรวมมือสหประชาชาติเพื่อตอตานการคามนุษยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (United Nations Inter – Agency Project on Human Trafficking : UNIAP) ชี้ใหเห็นวา เหยื่อจากการคามนุษยนั้นจะมาจากครอบครัว ยากจน และมีระดับการศึกษาต่ํา นอกจากนี้ ยังพบวา ผูที่อพยพยายถิ่นนั้นมีอายุเยาววัยลงเรื่อย ๆ ทั้งนี้ บุคคลที่สามารถ ยายถิ่นออกมาไดนั้น จะมิใชบคุ คลที่มีฐานะยากจนมากที่สุด แตอยางใด แตอาจเกิดมาจากการที่ไดรับอิทธิพลของคานิยม บริโภคนิยมก็เปนไปไดเชนเดียวกัน ผูอพยพยายถิ่นจํานวนมากถูกหลอกลวงใหเขาสูกระบวนการคามนุษย โดยการติดตอภายในทองถิ่น โดยขบวน การคามนุษยจะพยายามเสาะหาบุคคลที่ตองการยายถิ่นฐาน หรือคนที่ตองการยายถิ่นนั้น อาจติดตอมายังบุคคลที่พวกเขา คิดวา มีหนทางที่จะสามารถพาพวกเขาเดินทางเขาไปยังประเทศไทย และชวยใหมีงานทํา ทั้งนี้ ขั้นตอนของการคามนุษย ประกอบไปดวยขั้นตอนที่หลากหลาย รวมทั้งการสงตัวบุคคลจากขบวนการหนึ่งไปยังอีกขบวนการหนึ่ง และบุคคลนั้นก็ 27 อาจจะถูกขายออกไปในบางขั้นตอนของกระบวนการคามนุษยดวย ทั้งนี้ ในปจจุบันขบวนการคามนุษยมีเครือขายในการ จัดหาเหยื่อ เชน เครือขายนายหนา โดยที่เครือขายโยงใยของขบวนการคาแรงงานขามชาติทั่วไป จะเริ่มตนจาก “นายหนา 26

International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 151. 27 กฤตยา อาชวนิจกุล, สถานะความรูเรื่องแรงงานขามชาติในประเทศไทยและทิศทางการวิจัยที่พึงพิจารณา (นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2545), หนา 51.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 158 รายยอย” ในประเทศตนทาง โดยในกลุมที่ทําเปนอาชีพจะโยงใยถึงนายหนารายใหญอีกทอดหนึ่ง เพื่อจัดการนําสง แรงงานจนถึงสถานที่ทํางานที่ตั้งอยูในประเทศไทย โดยอาจจะเขาไปติดตอทาบทามกับกลุมเปาหมายเอง หรือมิเชนนั้น ผู ที่ตองการเดินทางก็จะเปนคนติดตอมาเอง สวนในกลุมนายหนาที่มิไดทําเปนอาชีพก็มักจะเปนญาติ เพื่อนหรือคนในชุมชน เดียวกัน ที่จะเปนคนพาไปติดตอนายหนา เมื่อกระบวนการเริ่มแรกสําเร็จแลว ก็จะมาถึงขั้นตอนตอไปที่ “นายหนาหลัก” ที่มักมีเครือขายเปนนายหนารายยอยที่นําพาแรงงานมายังชายแดน โดยนายหนาหลักจะทําหนาที่จัดการเดินทางผานขาม แดนกิจการนี้ อาจตัดชวงเมื่อนําแรงงานไปขายตอนายหนาในประเทศปลายทางที่จุดชายแดน หรืออาจมีการดําเนินการ เชื่อมโยงทันทีอยางเปนระบบ โดยการประสานงานของเครือขายขนาดใหญ ที่ดําเนินการสงแรงงานจากบริเวณชายแดนไป ยังสถานประกอบการตาง ๆ โดยที่ผูจัดการการขนลองในประเทศไทยเกือบทุกรายมักไดรับความรวมมือกับเจาหนาที่ของ รัฐ หรืออาจเปนเจาหนาที่รัฐที่ดําเนินการเองก็มีความเปนไปไดเชนกัน จากการที่มีเครือขายนายหนาที่กวางขวางตั้งแตระดับหมูบานจนถึงระดับภูมิภาค ทําใหนายจาง หรือเจาของ กิจการไมตองแสวงหาแรงงานตางดาวดวยตนเอง ดังเชนที่เปนมาเนื่องมาจากมีนายหนาที่คอยเสนอ หรือติดตอเขามาหา นายจางเอง ทั้งนี้ ปญหาการคามนุษยจากตางประเทศไดขยายตัวจนกลายเปนปญหาใหญของประเทศไทย ซึ่งเราสามารถ 28 แบงประเภทของเหยื่อการคามนุษยตามแหลงที่มาได 3 ประเภท ไดแก 1. กลุมที่มาจากประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย เชน เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา 2. กลุมที่มาจากประเทศใกลเคียง เชน ประเทศจีน และเวียดนาม 3. กลุมที่มาจากประเทศอื่น ๆ โดยในสวนของกลุมที่มาจากประเทศที่มีพรมแดนติดกันกับประเทศไทย โดยประเทศไทยนั้น มีพรมแดนที่ติดตอ กับประเทศตาง ๆ ถึง 4 ประเทศ ไดแก เมียนมาร สปป.ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ดังนั้น เมื่อพิจารณาจากสภาพทาง เศรษฐกิจและสังคมของทั้ง 4 ประเทศนี้ จะเห็นไดวา นอกจากประเทศมาเลเซียแลว ประเทศอื่น ๆ ทั้งหมดตางก็มีปญหา ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ยกตัวอยางเชน เมียนมารที่นอกเหนือจากการมีปญหาทางเศรษฐกิจแลว ยังมี ปญหาความขัดแยง และการสูรบภายในประเทศอีกดวย อยางที่เปนที่ทราบกันโดยทั่วไป ยกตัวอยางเชน การสูรบระหวาง รัฐบาลทหารเมียนมารกับชนกลุมนอยกลุมตาง ๆ ซึ่งสิ่งเหลานี้ ไดสงผลใหประชากรในประเทศเหลานั้น ตองหาหนทางที่ จะปรับปรุงคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว โดยวิธีการหนึ่งที่เปนที่นิยมกันคือ การยายถิ่นเขาสูประเทศเพื่อนบานที่ มีสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่ดีกวา นั่นคือ ประเทศไทย และสิ่งนี้กลายเปนสาเหตุที่ทําใหผูยายถิ่นหลายคนไดกลายเปน เหยื่อของขบวนการคามนุษย โดยเหยื่อเหลานี้ ถูกนําเขามายังประเทศไทยดวยวัตถุประสงคตาง ๆ กัน ทั้งการคาประเวณี การใชแรงงาน และการขอทาน การข ามพรมแดนกระทํา โดยการลักลอบเขา มาทางชายแดน รวมทั้งการเขามาโดย หลักเกณฑผอนผันตามกฎหมาย แตมิไดเดินทางกลับคืนสูประเทศของตนตามกําหนด หรืออาจจะอาศัยการทุจริตของ 29 เจาหนาที่รัฐของไทย หรือการใชเอกสารปลอม ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร

ชาวเมียนมารจํานวนมากเดินทางออกจากประเทศของตน เพื่อหนีจากสภาวะยากลําบากทางเศรษฐกิจ การ ถูก เกณฑ แรงงานและการละเมิ ด สิ ท ธิ มนุ ษ ยชน และยั ง มี ชาวเมี ยนม า ร จํ า นวนมากที่ ตอ งเดิ น ทางออกจากประเทศ เนื่องจาก การถูกบังคับใหตองยายออกมาจากภูมิลําเนาของตน รวมทั้งยังมีชาวเมียนมารอีกจํานวนมากที่ตองยายหนี ออกมาจากการสูรบ และการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ในจํานวนชาวเมียนมารกวาสามลานคนที่เดินทางออกมาจาก ประเทศของตนนั้น จํานวนกวาครึ่งหนึ่งจะเดินทางเขามายังประเทศไทย โดยประเทศไทยนั้น จะเปนจุดหมายปลายทาง 28 29

อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547), หนา 19. เรื่องเดียวกัน, หนา 20.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 159 หลักสําหรับผูยายถิ่นชาวเมียนมาร อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดกับประเทศเมียนมาร การเดินทางขามพรมแดนที่ไมยุงยาก รวมทั้งโอกาสในการหางานทําอันเนื่องมาจากเศรษฐกิจที่กําลังเจริญเติบโตของไทย โดยชาวเมียนมารที่อาศัยในประเทศ ไทยนั้น จะอยูในฐานะแรงงานตางดาว หรืออาจติดตามสมาชิกในครอบครัวที่เดินทางเขามาเปนแรงงาน โดยทั่วไปแลว แรงงานตางดาวชาวเมียนมารเพศชายจะทํางานในกิจการประมง เกษตรกรรม และงานกอสราง ในขณะที่แรงงานหญิงจะ 30 ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมอาหารทะเล และเปนแรงงานรับใชในบาน ในป พ.ศ. 2546 ประเทศไทยและเมียนมาร ไดรวมลงนามในบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการจาง แรงงาน โดยในบันทึกความเขาใจดังกลาวไดอนุญาตใหมีการจางงานอยา งถูกตองตามกฎหมายกับแรงงานตางดาวเปน ระยะเวลา 2 ป หรืออาจขยายเวลาการจางงานออกไปไดอีก 2 ป แตไมเกิน 4 ป และเมื่อครบ 4 ปแลวแรงงานตางดาว รายนั้น ๆ จะไมสามารถสมัครงานใหมไดจนกวาเวลาจะผานพนไปแลวถึง 3 ป และแรงงานแตละรายยังตองนํารายได จํานวนรอยละ 15 ของเงินเดือนของตนไปเขากองทุนสําหรับการสงกลับ ซึ่งจะไดรับเมื่อเดินทางกลับภูมิลําเนาของตนแลว นอกจากนี้ ยังมีการกอตั้งศูนยหนังสือผานแดนชั่วคราว (Temporary Visa Centres) เมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550 ใกลอําเภอแมสอดและเมืองเมียวดีของเมียนมาร โดยศูนยดังกลาวนี้ มีหนาที่ในการออกหนังสือผานแดนภายใน 24 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับขั้นตอนการตรวจสอบรายละเอียดของผูรองขอ แตถึงกระนั้น ชาวเมียนมารยายถิ่นสวนใหญก็ไมกลาที่จะเขาไป ใชบริการในศูนยดังกลาว เนื่องจาก เกรงวาจะสงผลกระทบถึงครอบครัวของตน นอกจากนี้ ความกลัวดังกลาวยังถูกสําทับ ดวยขาวแพรสะพัดทั่วไปวา หนวยงานภาครัฐสังกัดรัฐบาลเมียนมารไดใชอํานาจในการบีบบังคับใหทุกครอบครัวนํารูปภาพ สมาชิกทุกคนของแตละครอบครัวมาแขวนไวที่หนาบาน เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบไดวา มีสมาชิกคนใดบางที่ยายถิ่น ออกไป และเพื่อตรวจสอบรายละเอียดของบุคคลที่ไมอยูในถิ่นฐานนั้น จากนั้นหนวยงานภาครัฐก็จะเริ่มเก็บภาษีจาก 31 ครอบครัวที่มีสมาชิกยายถิ่นฐานออกไปทํางานยังประเทศไทย หรือประเทศอื่นๆ ทั้งนี้ แมวา จะมีความพยายามในการ อพยพโยกยายถิ่นฐานของแรงงานตางดาวชาวเมียนมาร แตถึงกระนั้น การโยกยายถิ่นฐานก็ไมไดเปนหลักประกันวา จะได พบกับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นแตอยางใด โดยผูอพยพก็ยังถูกหลอกลวงและถูกแสวงประโยชนในระหวางการอพยพยายถิ่น และยังมีชาวเมียนมารยายถิ่นฐานบางรายที่ยายถิ่นเพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น แตกลับตองถูกบั งคับใหใช 32 แรงงาน รวมทั้งถูกบังคับใหคาประเวณีอีกดวย ในสวนของแรงงานตางดาวชาวเมียนมารนั้น จากการศึกษาโดย International Labour Organization/ International Programme on the Elimination of Child Labour (ILO/IPEC) พบวา จํานวนแรงงานที่ทํางานใน กิจการประมงในจังหวัดสมุทรสาครมากกวารอยละ 90 นั้นเปนชาวเมียนมาร โดยไดประมาณการถึงจํานวนแรงงานชาว เมียนมารที่ทํางานบนเรือประมงของไทยวา มีจํานวนมากกวา 200,000 คน และยังมีแรงงานตางดาวอีกจํานวนหลายพัน คนที่ทํางานในอุตสาหกรรมอาหารทะเล ทั้งนี้ แรงงานตางดาวที่ทํางานในกิ จการประมงสวนมากจะมาจากประเทศ เมียนมารและกัมพูชา สวนที่มาจากประเทศลาวนั้น ก็มีเชนกันแตจํานวนไมนอย อยางไรก็ตาม แรงงานตางดาวเหลานั้น ก็จะตองเผชิญกับการถูกแสวงประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุม แรงงานตางดาวที่ยังไมไดจดทะเบียนกับทางการไทย แตในสวนของแรงงานตางดาวที่แมวา จะจดทะเบียนแลวก็ยังจะตอง เผชิญกับการถูกแสวงหาประโยชนดานแรงงานเชนกัน เชน การที่แรงงานตางดาวจะตองถูกหักเงินจากเงินคาจางของตน คืนใหกับนายจางที่ไดชวยสํารองจายคาธรรมเนียม สําหรับการขึ้นทะเบียนใหแกลูกจาง โดยจํานวนเงินที่จะถูกหักออกไป 30

International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 97. 31 Ibid., p. 98. 32 Ibid., p. 99.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 160 นั้นกลับมีจํานวนมากกวาคาธรรมเนียมในการขึ้นทะเบียนแรงงานตางดาว นอกจากนี้ แรงงานตางดาวยังถูกควบคุม 33 เสรีภาพในการเดินทางเคลื่อนยาย ตองทํางานในชั่วโมงที่ยาวนาน และไดรับคาจางในอัตราที่ต่ําอีกดวย สําหรับเสนทางของแรงงานตางดาวชาวเมียนมารนั้น เสนทางที่นิยมใชในการเดินทางมากที่สุด คือ ดานอําเภอ แมสาย จังหวัดเชียงราย และดานอําเภอแมสอด จังหวัดตาก นอกจากนี้ ยังมีบางสวนที่เดินทางเขาประเทศไทยทางดาน เจดียสามองค จังหวัดกาญจนบุรี และทางจังหวัดระนอง โดยลักษณะการเดินทางเขามานั้น จะมีนายหนาไปชักชวนคน ตามหมูบานตาง ๆ จากนั้น จะพาเดินทางรวมกันเปนกลุม กลุมละประมาณ 5-10 คน โดยจะมารวมกันตามเมืองตาง ๆ เชน เสนทางจากเมืองพะออน เมียนมารมายังกรุงเทพฯ จะเริ่มตนจากการพาคนตามหมูบานมารวมกันไวยังจุดนัดหมายที่ เมืองเมียวดี จากนั้น จึงพาเดินทางขามพรมแดนเขามาประเทศไทยทางดานอําเภอแมสอด จังหวัดตาก จากนั้น นายหนา จะพานั่งรถตอมายังประเทศไทย ซึ่งอาจจะใหชาวเมียนมารเหลานี้ใชวิธีหลบซอนหลังรถกระบะ รถบรรทุก หรือรถตู หรือ อาจจะพานั่งรถโดยสารประจําทางในกรณีที่ชาวเมียนมารบางรายที่สามารถพูดภาษาไทยได หรือพูดไดใกลเคียงคนไทย มากที่สุด นอกจากนี้ ยังพบกรณีที่ใชยานอนหลับกับชาวเมียนมารยายถิ่นบางราย เพื่อที่จะไดไมรูสึกตัว และไมอาจจํา เสนทางได ทั้งนี้ นายหนาจะหักคาใชจายจากแรงงานชาวเมียนมาร และจะมาหักจากนายหนาอีกครั้งหนึ่ง และนายจางก็ จะหักคาใชจายจากแรงงานชาวเมียนมาร และจะมาหักจากนายหนาอีกครั้งหนึ่ง และนายจางก็จะหักคาใชจายในสวนที่ นายหนาหักไปแลว จะมาหักจากนายจางอีกครั้งหนึ่ง และนายจางก็จะหักคาใชจายในสวนที่นายหนาหักไปแลว และจาก คาจางแรงงานในภายหลัง โดยรูปแบบของการถูกแสวงประโยชนนั้น นอกจากการถูกแสวงประโยชนทางเพศแลว ยังมีการ 34 ถูกแสวงประโยชนในการบังคับใชแรงงาน นอกจากนี้ ปญหาที่สําคัญของเมียนมารอีกปญหาหนึ่งในเรื่องของการคามนุษย คือ การคาหญิงและเด็ก โดยที่ ทางรัฐบาลเมียนมารก็มิไดนิ่งนอนใจในปญหาดังกลาว และไดมีความพยายามในการใชมาตรการตาง ๆ เพื่อปองกัน และ แกไขปญหาการคามนุษย ตัวอยางของมาตรการ ไดแก การที่รัฐบาลเมียนมารไดออกมาตรการกําหนดหลักเกณฑที่ 35 เครงครัดสําหรับผูหญิงโสดในเรื่องของการขอหนังสือเดินทาง หรือในการแตงงานกับชาวตางชาติ นอกจากนี้ ยังมี กฎหมายที่หามผูหญิงที่มีอายุต่ํากวา 25 ปเดินทางขามพรมแดนออกนอกประเทศ เวนเสียแตวาจะไปกับผูปกครอง ซึ่ง มาตรการที่กลาวมาทั้งหมดนี้ ใชไมไดผลแตอยางใด ทั้งนี้ ประเทศไทยเปนประเทศหลักในการรองรับการคามนุษยจาก เมียนมาร โดยที่เหยื่อคามนุษยจากเมียนมาร สวนมากจะเปนกลุมเชื้อชาติอื่น ดังที่เปนที่ทราบกันดีวา เมียนมารในปจจุบัน นี้ประกอบไปดวยชนหลายเชื้อชาติ แตเพื่อความสะดวก จึงเรียกรวมกันวา ชาวเมียนมาร

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 33

Ibid., p. 103. สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส, เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการผูปฏิบัติงานองคกรเครือขายภายในประเทศที่ดําเนินงานดาน การปองกันปญหาการคาหญิง ภายใตโครงการสงเสริมความรวมมือในการปองกันการคาหญิงระหวางประเทศ (ลุมน้ําโขง) วันที่ 21 – 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ณ โรงแรมเฟสทโฮเต็ล ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพมหานคร (กรุงเทพฯ: สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส สํานักงาน สงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย , 2549), หนา 6. 35 อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547). หนา 20. 34


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 161 สปป.ลาวมีสถานะเปนประเทศตนทางในการคามนุษยโดยเฉพาะผูหญิงและเด็ก และยังรวมถึงเหยื่อการคา มนุษยที่เปนผูชายดวย โดยเหยื่อเหลานี้จะถูกนํามาคาเพื่อวัตถุประสงคทั้งการคาประเวณีและการบังคับแรงงาน ทั้งนี้ สปป.ลาวเปนอีกประเทศหนึ่งที่ออ นไหวตอการคามนุษย อันเนื่องมาจากการที่สปป.ลาวมีที่ตั้งอยูในภูมิภาคเดียวกันกับ ประเทศอื่นที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวา แตสปป.ลาวกลับมีการเจริญเติบโตทั้งทางสังคมและเศรษฐกิจที่ดอย 36 กวาประเทศเหลานี้ เหยื่อการคามนุษยของลาวเกือบทั้งหมดถูกคาเขามายังประเทศไทย โดยในเบื้องตนไดขามพรมแดน มาดวยความสมัครใจ เพื่อหางานทําจากการลอลวงของขบวนการคามนุษย แตเมื่อขามพรมแดนมาแลวกลับถูกสัญญาจาง งานผูกมัด และยังถูกบังคับใหทํางานที่ไมไดตกลงกันไวในตอนแรก เหยื่อชาวลาวเหลานี้ มักจะถูกบังคับแสวงประโยชน 37 ทางเพศ หรือบังคับใชแรงงาน ทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมขนาดเล็ก รานอาหาร และกิจการประมง นอกจากนี้ ยั ง มี ผู ห ญิ ง และเด็ ก ชาวลาวจํ า นวนมากถู ก นํ า ไปบั ง คั บ ใช แ รงงานในโรงงานโดยไม ไ ด รั บ คาตอบแทนแตอยางใด หรืออาจจะไปทํางานเปนแรงงานรับใชในบานรวมทั้งไปทํางานเปนบริกร หรือพนักงานเสิรฟตาม รานอาหาร เพื่อใชหนี้ที่ถูกผูกมัดมาตั้งแตตนของกระบวนการคามนุษย นอกจากนี้ ยังมีชาวลาวอีกจํานวนหนึ่งที่ถูกนํามา คา เพื่อนําไปทํางานเปนคนรับใชตามบาน โดยมีแนวโนมของเด็กชาวลาวที่ถูกนํามาทดแทนแรงงานเด็กไทยในการนําไปคา 38 แรงงานประเภทดังกลาวเพิ่มมากขึ้น โดยชาวลาวที่เปนแรงงานรับใชตามบานเหลานี้ มีความเสี่ยงที่จะถูกทํารายรางกาย และถูกลวงละเมิดทางเพศ โดยที่กฎหมายแรงงานของไทยก็มิไดคุมครองสิทธิของแรงงานเหลานี้แตประการใด โดยที่ แรงงานเหยื่อการคามนุษยเหลานี้ มักจะถูกกักขังหนวงเหนี่ยว ไดรับคาจางจํานวนนอยมาก หรืออาจไมไดรับคาจางเลย รวมทั้งยังไมไดรับการดูแลทางดานสาธารณสุขและการศึกษา และนอกจาก การเปนคนรับใชตามบานเรือนแลว ผูชายและ เด็กชายชาวลาวอีกสวนหนึ่งก็มักจะถูกลอลวงไปทํางานในกิจการประมง โดยแรงงานเหลานี้จะตองทํางานบนเรือประมง 39 เกือบตลอดเวลา และมีโอกาสหลบหนีไปนอยมาก ในการเดินทางเขามายังประเทศไทยนั้น เหยื่อจากการคามนุษยชาวลาวนั้น จะเดินทางเขามาจากแขวง สะหวันนะเขต แขวงจําปาสัก แขวงไซยะบุรี แขวงสาละวัน กําแพงเวียงจันทน และแขวงคํามวน โดยเสนทางที่เหยื่อจาก การคามนุษยชาวลาวเดินทางผานเขามายังประเทศไทยนั้น มีหลายเสนทาง ไดแก เสนทางอําเภอเขมราฐ อําเภอโขงเจียม ดานชองเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ดานมิตรภาพไทย-ลาว จังหวัดหนองคาย จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดเลย ดานบอแกวของ ประเทศลาว ซึ่งอยูใกลพื้นที่ทางภาคเหนือของประเทศไทย รวมทั้งดานอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ลักษณะการเดิน ทางเขามานั้น จะมีนายหนาเขาไปโฆษณาชวนเชื่อถึงในหมูบานเพื่อใหเขามาทํางานในประเทศไทย โดยอาจมีการสัญญาวา จะไดเงินเดือนเปนจํานวนมาก จากนั้น จะมีการรวบรวมเปนกลุมและจําแนกแจกจายไปตามจุดตาง ๆ โดยเสนทางที่นิยม ใชกันมาก คือ ดานเขมราฐ ดานชองเม็ก อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี และยังมีบางสวนที่เดิ นทางเขามาทาง จังหวัดมุกดาหารและจังหวัดเลย ซึ่งการเดินทางเขามาของชาวลาวนั้นไมยุงยากมากนัก เนื่องจาก คนไทยและคนลาวจะมี การขามไปมาหาสูกันเปนปกติอยูแลว นอกจากนี้ การเดินทางเขามาของชาวลาวนั้น จะตองชําระคาทําบัตรผานแดนเพียง 40 100 บาทเทานั้น ราชอาณาจักรกัมพูชา 36

International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 69. 37 อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547). หนา 23. 38 International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 70. 39 Ibid., p. 71. 40 อางแลว. สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 162 กัมพูชามีสถานะเปนทั้งประเทศตนทาง ปลายทาง รวมทั้งยังเปนประเทศทางผานของเสนทางในการคา มนุษย โดยที่เหยื่อการคามนุษยชาวกัมพูชาสวนใหญมักจะถูกนํามาคายังประเทศไทย โดยเหยื่อชาวกัมพูชาที่ถูกนํามา แสวงประโยชนในประเทศไทยนั้น มีพื้นที่ตนทางจากเขตอําเภอปอยเปต จังหวัดบันเตียเมียนเจย และจังหวัดพระตะบอง โดยจะเดินทางผานชองทางที่นิยมใชกันมากที่สุด คือ ดานตรวจคนเขาเมืองอรัญประเทศ จังหวัดสระแกว และอําเภอ คลองใหญ จังหวัดตราด สวนลักษณะของการเดินทางเขามานั้น จะมีนายหนาทั้งที่เปนชาวกัมพูชา ไทย รวมทั้งชาว เวียดนาม เดินทางเขาไปเจรจากับบิดามารดาของเด็ก จากนั้นแลวหัวหนา หรือกลุมขอทานก็จะพาเด็กมาขอทานตามจุด ตาง ๆ โดยบังคับใหเด็กขอทานใหไดจํานวนเงินไมต่ํากวาที่กําหนด หากไมไดตามจํานวนที่กําหนดไวเด็กก็จะถูกทําราย รางกาย นอกจากนี้ ยังมีเด็กบางสวนที่บิดามารดา หรือญาติของเด็กไดใหเด็กเขามาขอทานเอง โดยบิดามารดา หรือญาติ 41 จะเดินทางรวมมากับเด็กแลวคอยตามที่ตาง ๆ เพื่อคอยรับเงินจากเด็กเมื่อเด็กขอทานไดเงินมาแลว สําหรับวัตถุประสงคในการคามนุษยจากกัมพูชามายังไทยนั้น จะคามาเพื่อวัตถุประสงคอื่น ๆ มากกวาเพื่อ การคาประเวณี เชน เด็กชาวกัมพูชาจะถูกนํามาเพื่อไปเปนขอทาน สวนหญิงกัมพูชาจะถูกคามาเปนแรงงานรับใชตามบาน 42 43 และแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีการเขามาเรขายดอกไม กระดาษทิชชู ลูกอม หรือหมากฝรั่ง แต ถึงกระนั้น การคามนุษยจากกัมพูชาเขาสูประเทศไทยยังแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ การคามนุษยเพื่อนําไปใชแรงงาน 44 เยี่ยงทาสกับการคามนุษยเพื่อการคาบริการทางเพศ ทั้งนี้ เราสามารถแบงประเภทเหยื่อการคามนุษยชาวกัมพูชาโดยไม รวมเหยื่อการคาบริการทางเพศ อยางไรก็ตาม การที่ประเทศไทยมีแรงงานตางดาวเขามาในประเทศมากขึ้น ซึ่งอาจสงผลกระทบตอประเทศไทย 45 ในดานตาง ๆ ดังตอไปนี้

1) ดานสาธารณสุข

แรงงานตางดาวที่เดินทางเขามาในประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งแรงงานตางดาวจากประเทศดอย พัฒนา เชน เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา แรงงานเหลานี้ จะไมไดรับการรองรับจากระบบสาธารณสุขของประเทศไทย และเมื่อเกิดการเจ็บปวยขึ้น จะไมมีโอกาสไดรับการรักษาพยาบาลเฉกเชนประชาชนคนไทย หรือคนที่มีสัญชาติไทย ซึ่งจะ รวมไปถึ ง การไม ไ ด รั บ ภู มิ คุ มกั น โรคติ ด ต อ ของเด็ ก ต า งด า ว ทั้ ง นี้ แม ว า รั ฐ บาลไทยจะได ใ ห ค วามช ว ยเหลื อ ในการ รักษาพยาบาลแรงงานตางดาว แตก็ยังไมสามารถดําเนินการไดอยางทั่วถึง เนื่องจาก มีขอจํากัดทางดานงบประมาณ จึง สงผลใหมาตรฐานทางสุขภาพของแรงงานตางดาวยังต่ํากวามาตรฐานโดยปรกติ ซึ่งก็จะสงผลมาถึงสุขภาพของประชาชน ไทยดวย ถาแรงงานตางดาวเหลานั้นเปนโรคติดตอ หรือเปนพาหะของโรคติดตอ โดยเฉพาะอยางยิ่งโรคติดตอที่ไมสามารถ รักษาใหหายขาดได เชน โรคเอดส

2) ดานการประกอบอาชีพ

แรงงานตางดาวมักเดินทางเขามาในประเทศไทย เพื่อประกอบอาชีพในงานประเภทที่แรงงานไทยไม ตองการทํา เชน งานประมง สวนยางพารา งานกอสราง งานรับใชตามบาน หรืองานในโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ซึ่ง สภาพแวดลอมในการทํางาน มักจะถูกกดดันและมีความเครียดในการทํางานเปนเวลานาน หรือทํางานเต็มเวลา ไมมีเวลา 41

เรื่องเดียวกัน, หนา 5. International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 38 43 อางแลว. สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส, หนา 5. 44 อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547). หนา 24. 45 สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล. (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิง และเด็ก (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย), หนา 32. 42


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 163 ใหพักผอน หรือถามีเวลาใหพักก็จะเปนเพียงชวงเวลาสั้น ๆ รวมทั้งยังไมมีสวัสดิการตาง ๆ เฉกเชนแรงงานทั่วไป เชน วันหยุด วันลาพัก หรือวันลาคลอดบุตร และยังถูกนายจางกดคาแรงอีกดวย นอกจากนี้ แรงงานตางดาวยังตองเผชิญกับ สถานการณอื่น ๆ ที่ไมพึงประสงค เชน การถูกเลือกปฏิบัติ หรือถูกแบงแยกกีดกัน เพราะความแตกตางทั้งในเรื่องเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา และเพศอีกดวย

3) ดานการศึกษา

ในกรณีของแรงงานเด็กตางดาวที่อาจยายติดตามบิดามารดาของตน หรือเดินทางผานนายหนาเขามา ทํางานในประเทศไทย รวมทั้งเด็กที่เกิดในประเทศไทยโดยมีบิดามารดาเปนคนตางดาว เด็กตางดาวเหลานี้จะไมไดรับ โอกาสทางการศึกษาในประเทศไทยตามเกณฑการศึกษามาตรฐานเชนเดียวกับ เด็กไทย ทําใหเด็กตางดาวยังคงตองเปน แรงงานไรทักษะในตลาดแรงงานอยูเชนนั้นตอไป ดังนั้น โดยสรุ ปแลว ปญหาการคา มนุษยที่ เกิดขึ้น ในประเทศไทยนั้น มีสาเหตุมาจากสภาพปญหาที่ เกิดขึ้ น ภายในประเทศเพื่อนบานทั้งสาม ไดแก เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา ที่มีพรมแดนติดกันกับประเทศไทย โดยปญหาที่ เกิดขึ้นภายในประเทศทั้งสามดังกลาว ซึ่งเปนสาเหตุหรือปจจัยผลักดันใหประชาชนของทั้งสามประเทศตองอพยพโยกยาย ถิ่นฐานออกมาหางานทําในประเทศไทย ประกอบไปดวย ปญหาเศรษฐกิจ ยกตัวอยางเชน การไมมีงานทําในภูมิลําเนาของ ตน หรือไมมีการสรางงานขึ้นในทองถิ่ น หรืออาจจะเกิดจากปญหาความไมส งบที่เกิดขึ้นภายในประเทศหรื อภายใน ภูมิลําเนาของตน เชน สถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้นภายในประเทศเมียนมาร อันมีสาเหตุมาจากความขัดแยงระหวาง ชนกลุมนอยกลุมตาง ๆ กับรัฐบาลทหารเมียนมาร จนกอใหเกิดการสูรบขึ้นระหวางสองฝายในพื้นที่ตาง ๆ โดยที่การสูรบ ดังกลาวไดสงผลใหเกิดสภาวะที่ไมปรกติในพื้นที่ที่เปนสนามรบ และยอมเปนที่แนนอนวาพื้นที่ภูมิลําเนาของประชาชนใน ประเทศที่เกิดการสูรบขึ้นยอมไมเหมาะสมที่จะประกอบอาชีพ และก็ไดกลายเปนปจจัยผลักดันใหประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ ตองอพยพออกมาหางานทํายังประเทศไทย นอกจากนี้ วัฒนธรรมและคานิยมของสังคมก็ยังเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่กอใหเกิด ปญหาการคามนุษย รวมไปถึงแนวคิดบริโภคนิยมและกระแสโลกาภิวัตนก็เปนอีกปจจัยผลักดันหนึ่งที่สําคัญ โดยคานิยมที่ มีเงินตราเปนตัวกําหนดถึงสถานะทางสังคมนั้น ไดแพรกระจายออกไปอยางกวางขวางและเขาถึงทั้งสังคมเมืองและสังคม ชนบท หากครอบครัวใดที่มีฐานะทางการเงินดีก็จะไดรับความเคารพนับถือ ซึ่งคานิยมเชนนี้ก็ไดผลักดันใหเกิดเหยื่อเขาสู กระบวนการคามนุษยเชนเดียวกัน

ปญหาการใหความรวมมือของเหยื่อการคามนุษย เนื่องจาก “เหยื่อการคามนุษย” คือ ผูไดรับความเสียหายจากการกระทําความผิดของผูลักลอบคามนุษย ทั้งเปน บุคคลซึ่งเปนแหลงขอมูลสําคัญยิ่งสําหรับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เปนพยานที่สําคัญในคดีลักลอบคามนุษย จึง จําเปนอยางยิ่งที่พนักงานสอบสวนตองมีความสามารถทําใหผูที่เปนเหยื่อจากการคามนุษยเขามามีสวนรวมในฐานะพยาน ซึ่งเปนบทบาทหนึ่งของพนักงานสอบสวน จะตองสรางความมั่นใจแกเหยื่อการคามนุษยสามารถเขาถึงกระบวนการ ยุติธรรมได ดวยการมีโอกาสที่จะเปนพยานเบิกความในชั้นศาล อุปสรรคตอความรวมมือของบุคคลที่ตกเปนเหยื่อในคดี การคามนุษย เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่พนักงานสอบสวนจะตองใชทักษะเวลาและทรัพยากรที่เหมาะสม อันเปนการ แสดงความสามารถของพนักงานสอบสวนวา จะมีความสามารถใหบุคคลที่เปนเหยื่อจากการคามนุษยตัดสินใจใหความ รวมมือในการใหขอมูล และเปนพยานเบิกความในชั้นศาล สรางความมั่นใจในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา จึงจําเปน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 164 อยางยิ่งที่พนักงานสอบสวนจะตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ซึ่งสงผลถึงพฤติกรรม และการตัดสินใจของเหยื่อจากการคา มนุษยที่จะใหความรวมมือกับเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังตอไปนี้ 1. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากประสบการณที่เกิดจากการถูกทารุณกรรม เนื่องจาก กอนที่เหยื่อจากการคามนุษย จะไดติดตอกับพนักงานสอบสวน โดยทั่วไปเหยื่อเหลานี้ ไดผานการถูกทํารายรางกาย และหรือจิตใจมาชวงระยะเวลาหนึ่ง มาแลว ในขณะที่อยูในการควบคุมกักขังของผูลักลอบคามนุษย ซึ่งใชวิธีการทุบตี ทําราย ขมขืน ปลอยใหอดอาหาร ทําให ติดยาเสพติด และกักขัง การกระทําดังกลาวในเวลานานอาจสงผลกระทบอยางรายแรงตอความสามารถของเหยื่อในการ ลําดับเหตุการณขึ้นอยางเปนระบบ นอกจากนี้ เหยื่ออาจมีความเกี่ยวของกับผูกระทําความผิด และปฏิเสธ หรือปดบัง ความผิดของตน 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความกลัว โดยเฉพาะเหยื่อจากการคามนุษย มักจะกลัว การลางแคนของผูกระทํา ความผิด ซึ่งจะมาทํารายเหยื่อ หรือคนที่เหยื่อรักเปนการลางแคนที่ใหความรวมมือในการดําเนินคดี 3. ผลกระทบที่เกิดจากความกลัว การถูกดําเนินคดีหรือการถูกสงกลับประเทศ หรือแมแตการตั้งขอหากับเหยื่อ สําหรับความผิดเกี่ยวกับสถานะของเหยื่อ เชน จากการลักลอบเขาเมืองแลว ทํางานโดยผิดกฎหมาย 4. ผลกระทบจากความละอายถูกตําหนิติเตียน หรือถูกตัดออกจากชุมชน หรือครอบครัว โดยเฉพาะเหยื่อจาก การคามนุษยที่แสวงหาประโยชนในทางเพศ 5. ผลกระทบจากความกลัวการเผชิญหนากับนักคามนุษย เนื่องจาก ผูกระทําความผิดบางคดีมีความสัมพันธ เปนญาติหรือผูใกลชิด หรือเปนสมาชิกที่มีอิทธิพลในภูมิลําเนาเดิมของเหยื่อ ทําใหเหยื่อไมกลาใหการ เพราะขาดความ เชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม วาจะสามารถนําตัวผูกระทําความผิดลงโทษ โดยเหยื่อไมไดรับอันตรายใด ๆ จากการให การเปนพยานในชั้นสอบสวนและชั้นศาล 6. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และรายไดข องเหยื่อ ขั้น ตอนการดําเนินคดีในชั้นสอบสวน และชั้นศาลมักใช เวลานานในการนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย เหยื่อมักกังวลกับรายไดของตนเองที่ตองสงเสียเลี้ยงดู ครอบครัวของเหยื่อ จึงไมประสงคจะใหการเปนพยาน และเดินทางกลับภูมิลําเนาของตนโดยเร็ว

ความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบการคามนุษยของภูมิภาคอาเซียน ประวัติและแนวคิดในการตอตานการคามนุษย ภูมิภาคอาเซียนไดรวมตัวกอตั้งเปนภูมิภาค เมื่อป พ.ศ. 2547 กอกําเนิดที่ปฏิญญากรุงเทพฯ ซึ่งมีวัตถุประสงค ในการกอตั้ง เพื่อมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางภูมิภาค และในป ค.ศ. 2015 ประเทศสมาชิกอาเซียนประกาศที่ จะผนึกกําลังกอตั้งเปนประชาคมอาเซียนใหได เพื่อการแลกเปลี่ยนขอมู ลขาวสารระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนใน ภูมิภาค ซึ่งประกอบไปดวยสามเสาหลัก คือ เสาสังคม เศรษฐกิจ เสาการเมืองและความมั่นคง ซึ่งอาชญากรรมขามชาติ การคามนุษยอยูในเสาการเมืองและความมั่นคงประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคไมไดนิ่งเฉยในเรื่องดังกลาว จะเห็นไดจากการที่ ประชาคมอาเซียนไดมีการจัดทําความรวมมือในระดับทวีภาคี และพหุภาคีตางมากมาย เชน ความรวมมือการตอตาน การคามนุษยในอนุภูมิภาคในลุมแมน้ําโขง ซึ่งอนุภูมิภาคดังกลาวยังมีปญหาการคามนุษยตามแนวชายแดนที่ยังไมสามารถ แกปญหาได การแกปญหากับอาชญากรรมขามชาติตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคมไมวาจะเปนองคกร ภาครัฐ อัยการ พนักงานสอบสวน เจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง ตํารวจชายแดน และภาคเอกชนที่นับวา มีสวนผลักดันใน ดานแหลงเงินทุน เพื่อชวยเหลือในดานการสืบสวน และสอบสวนที่ไมลาชา แลวมีสวนผลักดันรางกฎหมายที่เกี่ยวของกับ การคามนุษยในเรื่องมาตรการคุมครองเหยื่อ เพราะภาคเอกชนนับไดวา มีแหลงเงินทุนในการชวยเหลือเหยื่อการคามนุษย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 165 รวมถึงในดานที่พักของเหยื่อ และมาตรการในการฝกฝนทางดานอาชีพใหแกเหยื่อการคามนุษย ซึ่งเปนมาตรการที่สําคัญ ตอตัวเหยื่อเอง เมื่อเหยื่อไดกลับมาดํารงชีวิตในสังคม เหยื่อจะไดมีอาชีพในการเลี้ยงตนเอง และจะไมไดตกมาเปนเหยื่อ ของขบวนการคามนุษยอีกครั้งหนึ่ง การคามนุษยนับไดวา ขัดตอกฎบัตรของอาเซียนในขอที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน เพราะการคามนุษยทําให บุคคลตกอยูภายใตอํานาจของบุคคลอีกคนหนึ่งโดยถูกกดขี่ขมเหงอยางไรคุณธรรม ดวยเหตุผลที่ไมเปนธรรมตอมนุษย ดวยกัน ซึ่งการกระทําดังกลาวนั้นเขาความหมายของการคามนุษยตามบทนิยามของพิธีสารเพื่อปองกันและปราบปราม การคามนุษยในสตรีและเด็กขององคการสหประชาชาติ และในมาตรา 4 ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนเองก็ไดตระหนัก และมีการบัญญัติการคามนุษยวา เปนสิ่งที่ตองหาม และขัดตอการอยูรวมกันโดยสงบสุขในสังคมของมนุษย จะมีการคา ทาสเอาคนลงเปนทาสเปนสิ่งที่ขัดตอบทกฎหมายดังกลาวเปนอยางมาก

ความรวมมือการตอตานการคามนุษยของภูมิภาคอาเซียนในรูปแบบทวิภาคีและพหุภาคี ความรวมมือในการตอตานปญหาในการคามนุษยในมติของอาเซียน ก็ไดมีความรวมมืออยางจริงจังในเรื่องนี้ไว อยางมากมาย อาทิ ความรวมมือในระดับภูมิภาค (MOU) ของประเทศในกลุมลุมแมน้ําโขง ความรวมมือระหวางไทยกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการตอตานการคามนุ ษย ความรวมมือระหวางราชอาณาจักรไทยกับประเทศ กั ม พู ช าในเรื่ อ งการค า มนุ ษ ย หรื อ แม ก ระทั่ ง ในราชอาณาจั ก รของไทยก็ ไ ด ต ระหนั ก ในเรื่ อ งการค า มนุ ษ ย โ ดยมี พระราชบัญญัติเพื่อตอตานการคามนุษยไว พ.ศ. 2551 จึงกลาวไดวา การคามนุษยยังคงเปนปญหาที่สําคัญในประเทศของ ประชาคมอาเซียนรัฐบาล ประมุขของรัฐประเทศตาง ๆ ก็ไมไดมีทาทีนิ่งเฉยในเรื่องนี้ โดยจะเห็นไดจากการที่ประเทศ อาเซียนไดจัดใหมีการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน เพื่อกระชับความสัมพันธอันดีระหวางประเทศในภูมิภาค และเพื่อ แกปญหาตาง ๆ รวมกัน มีการประกาศวา ภายในป ค.ศ. 2015 ประเทศอาเซียนจะผนึกกํา ลังในการตอตานปญหา อาชญากรรมในทุกรูปแบบ และหนึ่งในปญหาอาชญากรรมที่เปนปญหาอันหนักหนวงที่ยังไมสามารถขจัดใหหมดไปจาก สังคมอาเซียนได คือ การคามนุษย เพราะถือไดวา ปญหาการคามนุษยเปนปญหาพื้นฐานนํามาสูปญหาอาชญากรรมตาง ๆ อีกมากมาย ไมวาจะเปนปญหายาเสพยติด ปญหาการฟอกเงิน ปญหาการคาประเวณีในสตรีและเด็กและรวมถึงผูชายดวย ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนอุปสรรคในการนําพาอาเซียนมารวมตัวเปนประชาคมอยางมาก เพราะปญหาเหลานี้ นําพามาซึ่ง ปญหาความยากจน การศึกษาของเด็ก และทําใหขบวนการคามนุษยยังมีอยูในสังคมอาเซียน ซึ่งยังไมสามารถแกปญหา ความยากจนในชนบทใหเทาเทียมกับสังคมในเมืองได และเรื่องการศึกษาของเด็กเองก็เปนอุปสรรคสํา คัญเปนอยางยิ่ง เพราะถาเด็กไมมีการศึกษาเลาเรียนแลว ก็จะตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษยไดงายกวาเด็กที่ไดรับการศึกษาเลาเรียน บวกกับฐานะทางสังคมของครอบครัวก็มีสวนสําคัญอยางยิ่ง ถาสภาพสังคมที่ยากจน ผูปกครองก็มีสวนผลักดันใหเด็กเขา มาสูวงโคจรของขบวนการคามนุษยในที่สุด สภาพบังคับทางกฎหมายของประเทศสมาชิกอาเซียน ยังไมมีกฎหมายที่จะเปนแมบทถึงขั้นระดับอนุสัญญาของ ประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะ ที่จะใหทุกประเทศทั้งสิบประเทศในอาเซียนไดลงนามในอนุสัญญา และรวมถึงการให สัตยาบัน หรือภาคยานุวัติ เพื่อใหอนุสัญญานั้น มีผลบังคับใชไดจริงโดยผานความเห็นชอบจากรัฐสภา

1) ปฏิญญาอาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษย

สภาพบังคับกฎหมายในปจจุบันมีเพียงปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษย ซึ่งตอทายปฏิญญา ฮานอยเพื่อตอตานการคามนุษย และความรวมมือในระดับภูมิภาคตาง ๆ (MOU) แตก็ยังไมมีความครอบคลุมมากเพียงพอ ที่จะทําใหขบวนการคามนุษยหมดไปจากสังคมของประชาคมอาเซียนอยางจริงจัง มีเพียงไมกี่ประเทศที่ไดรวมมือกันและ ยังไมครบสิบประเทศ จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีอนุสัญญาที่เปรียบเสมือนกฎหมายแมบทของชาวอาเซียน เพื่อให สอดคลองประสานความรวมมือไปทิศทางเดียวกันกับกฎบัตรของอาเซียน ซึ่งเกิดขึ้นที่ปฏิญญากรุงเทพ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 166 ประเทศในภูมิ ภาคอาเซี ยนได รว มมื อกั นอยา งจริง เพื่ อจะต อต านการค ามนุ ษย จะเห็น ได จากปฏิญ ญา อาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษยในสตรีและเด็กประเทศตาง ๆ ในอาเซียนจะพยายามสุดความสามารถเพื่อจัดการปญหา อันหนักหนวงของภูมิภาคภายใตขอบเขตและนโยบายภายในของแตละประเทศผานมาตรการตาง ๆ ดังตอไปนี้ จะมีการ จัดตั้งศูนยกลางเครือขายระดับภูมิภาค เพื่อปองกันและปราบปราบการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็กในภูมิภาค อาเซียน จะนํามาตรการตาง ๆ มาใช เพื่อไมใหมีการปลอมแปลงหนังสือการเดินทาง และเอกสารการเดินทางของทาง ราชการไดออกไวใหรวมถึงบัตรประจําตัวประชาชน จะจัดใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกันอยางตอเนื่อง เกี่ยวกับ ความเคลื่อนไหวของการยายถิ่นฐาน มาตรการควบคุมตามแนวชายแดนตลอดจนการบังคับใชมาตรการทางกฎหมายที่ เกี่ยวของและจําเปน จะมีการประสานความรวมมือระหวางตํารวจตรวจคนเขาเมือง และหนวยงานตาง ๆ ซึ่งเปนผูบังคับ ใชกฎหมายของประเทศสมาชิกทั้งสิบประเทศ จะมีการแยกผูเสียหายจากการคามนุษยออกจากผูที่กระทํา ความผิด และ ตรวจหาประเทศตนทาง และสัญชาติของผูเสียหาย ตลอดจนการปฏิบัติตอผูเสียหายอยางมีมนุษยธรรม โดยไดมีการจัดให ผูเสียหายไดรับความชวยเหลือทางการแพทยที่จําเปน และไดรับความชวยเหลือดานอื่นจากประเทศปลายทาง ซึ่งรวมไป ถึงการสงกลับผูเสียหายไปยังประเทศตนทางโดยไมชักชา และจะตองปฏิบัติตอผูเสียหายในการคามนุษยโดยคํา นึงถึง ศักดิ์ศรี และสิทธิมนุษยชน ซึ่งตามปฏิญญาสากลมาตรา 4 ก็ไดเนนเรื่องนี้เชนกัน จะใชมาตรการที่แข็งกราวเพื่อจะปราบ อาชญากรที่เกี่ยวของกับการคามนุษย และจะใหการสนับสนุนอยางมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดแกประเทศสมาชิกในการ เอาผิดการกระทําตาง ๆ ที่เกี่ยวของ จะนํามาตรการตางที่เกี่ยวของเพื่อเสริมสรางความรวมมือในการปองกันปราบปราม การคามนุษยทั้งภายในระดับภูมิภาค และระดับระหวางประเทศ ประเทศตาง ๆ ย้ําถึงพันธกิจรวมกันในขอปฏิญญานี้วา จะรวมมืออยางจริงจังโดยใชกลไกดานกฎหมายและนโยบายแหงประเทศตน กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคามนุษย ในภูมิภาคอาเซียนยังไมมีความรวมมือถึงขั้นระดับอนุสัญญาที่ เกี่ยวของ เกี่ยวกับเรื่องการคามนุษยที่ประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะได ใชระดับมาตรฐานทางกฎหมายในระดับเดียวกัน ในป ค.ศ. 2015 เป า หมายของประเทศอาเซี ย น เมื่ อ รวมตั ว กั น เป น ประชาคมชาวอาเซี ย น คื อ ต อ งการที่ จ ะมี อ นุ สั ญ ญาซึ่ ง เปรียบเสมือนเปนธรรมนูญกฎหมายแมบทที่ใชระดับมาตรฐานทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการคามนุษยในระดับเดียวกันทั้ง ภูมิภาค อาทิ เรื่องมาตรการทางกฎหมายในการคุมครองผูตกเปนเหยื่อ มาตรการในการสอบสวนเหยื่อในการคามนุษยที่ เปนผูหญิง ในสถานการณปจจุบัน มหันตภัยการคามนุษยยังทวีความรุนแรงมากขึ้นในภูมิภาคอาเซียนยังไมมีมาตรฐานทาง กฎหมายที่เพียงพอที่จะยับยั้งได ปจจุบัน อาเซียนมีเพียงปฏิญญาอาเซียนตอตานการคามนุษยยังไมถึงเปนอนุสัญญา จึงทําใหสภาพการทาง กฎหมายยังไมครอบคลุมและเพียงพอ ซึ่งตางจากภูมิภาคยุโรปที่มีการจัดตั้งเปนสหภาพยุโรป และมีกฎหมายเกี่ยวของใน เรื่องการคามนุษย ซึ่งไดระบุไวในมาตราที่ 5 ของสหภาพยุโรปวา การคามนุษย และการคาทาสในรูปแบบตาง ๆ เปนสิ่งที่ ผิด กฎหมาย และขัด ตอ ศี ลธรรมอั นดี ของประชาชนชาวยุโ รป และประชาคมชาวยุ โรปก็ มี อนุ สัญ ญาการค ามนุษ ย ที่ เปรี ยบเสมื อ นธรรมนู ญ การค า มนุ ษ ย ที่ ส มบู ร ณ แบบภู มิ ภาคอาเซี ยนควรที่ จะมี อ นุ สั ญ ญาต อ ต า นการค า มนุ ษ ย ซึ่ ง เปรียบเสมือนกฎหมายแมบทเกี่ยวของกับเรื่องนี้ โดยเฉพาะซึ่งสามารถจะแกปญหาดานการคามนุษยไดตรงจุดประสงค เมื่อภูมิภาคอาเซียนไดรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ในป ค.ศ. 2015 ประเทศตางในภูมิภาคยอมที่จะเปดประเทศในดาน ความรว มมื อตา ง ๆ รวมถึ งดา นการค ามนุ ษย และความมั่ นคง เนื่ องจาก การค ามนุ ษยเ ปน ตัว ทํ าลายศั กยภาพ และ เสถียรภาพที่มั่นคง และยั่งยืนของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียนอยางมาก

2) MOU ในภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับเรื่องการตอตานการคามนุษย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 167 (1) บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลราชอาณาจักรไทย กับรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชาเรื่อง 46 ความรวมมือทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและหญิง และการชวยเหลือเหยื่อของการคามนุษย รัฐบาลไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา มุงกระชับความสัมพันธและปฏิญาณรวมกันในการขจัดการคา เด็กและหญิง และคุมครองเหยื่อการคามนุษย ซึ่งในบันทึกความเขาใจฉบับนี้ มุงเนนการคุมครองหญิงกับเด็กเปนสําคัญ ซึ่งไดระบุไวในข อ 2 และเด็ก หมายถึง บุคคลที่ มีอายุต่ํากวา 18 ปบริบูรณ มาตรการในการปองกันภาคีคูสัญญาจะ ดําเนินการปฏิรูปกฎหมายที่จําเปน และใชมาตรการที่เหมาะสมอื่น เพื่อใหแนใจวา กรอบมาตรการทางกฎหมายของ ประเทศตนไดส อดคลองประสานไปแนวทางเดี ยวกับปฏิ ญญาสากลวาดว ยสิทธิมนุษยชน อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ ก อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติในสิทธิสตรีในทุกรูปแบบ และตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ซึ่ง ภาคีคูสัญญาจะไดใหสัตยาบัน หรือภาคยานุวัติ และมีประสิทธิภาพในการขจัดการคาเด็กและหญิง และคุมครองสิทธิทุก ประการของเด็กและหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย ซึ่งเปนมาตรการที่ถูกระบุไวในขอที่ 4 และภาคีคูสัญญาจะมีการ ใหการศึกษา และการฝกฝนอาชีพ เพื่อเปนแนวทางใหเด็กและหญิงลดความเสี่ยงที่เด็ก และหญิงจะไดไมถูกนําเขามาสู ขบวนการคามนุษย ในเรื่องทางดานมาตรการทางกฎหมายคูภาคีสัญญาวา จะมีการปฏิรูปทางกฎหมายและการชวยเหลือ ทางกฎหมายที่จําเปน เพื่อใหแนใจวา เหยื่อของการคามนุษย จะไดรับการเยียวยาทางกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพใน เรื่องการปราบปรามการคาหญิงและเด็กนั้น หนวยงานบังคับใชกฎหมายทั้งภายในประเทศและนอกประเทศบริเวณ ชายแดน จะทํางานรวมกันอยางใกลชิดเพื่อเปดเผยการคาหญิง และเด็กทั้งภายในระดับประเทศ และขามพรมแดน สภาพปญหาของ MOU ฉบับนี้ ยังมีจุดบกพรองอยูในการมุงเนนความคุมครองเฉพาะเด็ก และหญิง เทานั้น ซึ่งไมมีความครอบคลุมเพียงพอรวมถึงเพศชายดวย และนิยามเด็กตามขอสองหมายความถึง บุคคลที่มีอายุต่ํากวา 18 บริบูรณเทานั้น ซึ่งนาจะมีความครอบคลุมและบังคับไดกับเพศชายดวย ดวยเหตุผลในปจจุบัน มหันตภัยการคามนุษย สามารถแผขยายไปถึงเพศชายดวย ซึ่งอาจอยูในรูปแบบของการคาประเวณีทางเพศ การคาทาสแรงงานโดยไดรับคาจาง แรงงานในอัตราที่ต่ํากวาความเปนจริงมากถูกเอารัดเอาเปรียบดวยเหตุที่ไมเปนธรรมอยางมาก อาชญากรรมการคามนุษย ไดมีอิทธิผลแพรกระจายไปสูอาชญากรรมประเภทอื่น อาทิ การฟอกเงิน ยาเสพติด 47 (2) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือในการตอตานการคามนุษยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง สาระสําคัญของบันทึกความเขาในฉบับนี้ มีคูสัญญาหกประเทศไดรวมมือกันในการตอตานการคา มนุษยในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ไดแก รัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา รัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลแหง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รัฐบาลแหงสหภาพเมียนมาร รัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย และรัฐบาลแหง สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม ได มี ค วามกั ง วลว า มหั น ตภั ย ในรู ป แบบการค า มนุ ษ ย จ ะแพร ข ยายวงกว า งไปใน อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และนอกภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก ประเทศทั้งหกประเทศยืนยันวา การที่มนุษยไดถูกนํามาคา ซื้อขาย ลอลวง กักขัง และตกอยูในสถานการณของการแสวงหาผลประโยชนเปนสิ่งที่ไมสามารถยอมรับไดอยางสิ้นเชิง ซึ่งนํามาสู การปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน ซึ่งสืบเนื่องมาจาก สาเหตุของความยากจน การขาดโอกาสทางดานการศึกษา และความไมเสมอภาคกันทางสังคม รวมถึงการขาดโอกาสที่เทาเทียมกันในทางสังคมเปนสาเหตุที่ทํา ใหบุคคลตกอยูใน สภาวะเสี่ยงตอการถูกคามนุษย ซึ่งมีความเชื่อมโยงระหวางการคามนุษย และความตองการที่เพิ่มขึ้นในการแสวงหา ผลประโยชนจากการใชแรงงาน และการแสวงหาผลประโยชนจากการใหบริการทางเพศ และมีการยอมรับวา การคา มนุษยมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก มาจากทัศนคติที่มีการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของเพศ อายุ เชื้อชาติ เผา พันธุ 46

พิศวาส สุคนธพันธุ และณรงค ใจหาญ. (2549). รายงานการศึกษาเรื่อง ระบบงานยุติธรรมทางอาญาไทยกับการคามนุษย , (ปทุมธานี: ศูนย กฎหมายภูมิภาคแมน้ําโขง), หนา 141 ภาคผนวก 1. 47 เรื่องเดียวกัน, หนา 155.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 168 และกลุมในทางสังคม ซึ่งมุงเนนไปที่กลุมหญิงและเด็กเปนสําคัญ เพราะเปนเพศที่ตองการความคุมครองมากกวาเพศชาย และเปนเพศที่สามารถหลอกลวงไดงายกวาเพศชาย และการคามนุษยมีสวนเชื่อมโยงกับองคกรอาชญากรรมในรูปแบบ อื่น ๆ มากมาย มีการไดยอมรับถึงความจําเปนของกระบวนการทางยุติธรรมทางอาญามีสวนสําคัญ และจําเปนอยางมาก เพื่อปกปองคุมครองเหยื่อของการคามนุษย ยอมรับถึงความสําคัญของบทลงโทษที่มีประสิทธิภาพ และไดสัดสวนสําหรับ ผูคามนุษยรวมถึงบทบัญญัติในการยึดและการริบทรัพยสินของบุคคลเหลานั้น และใชทรัพยสินเหลานี้อยางมีประสิทธิภาพ และผูที่รอดจากขบวนการคามนุษยมีสวนที่จะชวยดําเนินการ และพัฒนาการการดําเนินมาตรการตาง ๆ ของการตอตาน การคามนุษย ไดมีการดําเนินการฟองรองผูคามนุษย มีการยอมรับถึงบทบาทที่สําคัญของหนวยงานที่ใหความชวยเหลือ บทบาทของบุคคลที่ไดตกเปนเหยื่อของการค ามนุษยในเรื่องการปองกัน การคุมครอง การฟองคดีทางกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา การใหการชวยเหลือ การสงกลับ การบําบัดฟนฟู และการกลับคืนสูสังคม รวมไปถึงการขานรับ มาตรการทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่เขมแข็ง ซึ่งรัฐบาลแตละประเทศจะรับผิดชอบในการดําเนินการใหไดมาก ที่สุด เทาที่ทรัพยากรจะเอื้ออํานวยโดยดําเนินการผานการชวยเหลือ และความรวมมืออันดีทางระหวางประเทศ เพื่อได บรรลุความคืบหนาในการปฏิบัติตามขอผูกพันที่รับรองที่บันทึกความเขาใจฉบับนี้ และมีการตระหนักถึงปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในขอที่ 4 ซึ่งระบุวา “บุคคลใด ๆ จะถูกกักตัวเปนทาส หรือตกอยูในภาวะจํายอมไมได เด็ดขาด ความเปนทาส และการคาทาสในทุกรูปแบบจะกระทําการไมไดเด็ดขาด” ในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ไดตระหนักถึงปญหาอาชญากรรมการคามนุษยเปนอยางมาก จะเห็นได จากการที่ ประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงไดใหสัตยาบัน และภาคยานุวัติทางตราสารในกฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของในเรื่อง การคามนุษย และการแสวงหาผลประโยชนที่เกี่ยวของ ซึ่งไดรวมถึงตราสารดังตอไปนี้ ก. อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งขึ้นในลักษณะองคกร และพิธีสารของ อนุสัญญานี้วาดวยการปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก ข. อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ค. อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยสิทธิเด็ก และพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญา ฉบับนี้วาดวยการคาเด็ ก การคาประเวณีของเด็ก และสื่อลามกที่เกี่ยวของกับเด็ก และความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแยงกันวาดวยอาวุธ ง. อนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ วาดวยการบังคับใชแรงงาน ฉบับที่ 29 และ105 จ. อนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ ฉบับ 182 เกี่ยวกับการหาม และการปฏิบัติการโดยทันทีเพื่อ ขจัดการใชแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวรายที่สุด และอาเซียนยังไดมีการสนับสนุนใหรัฐตาง ๆ ในภูมิภาคไดลงนาม และภาคยานุวัติใหสนธิสัญญามีผลสมบูรณ แบบมีผลบังคับใช ในบันทึกความเขาใจฉบับนี้ ตองการที่จะใหประเทศในภูมิภาคลุมน้ําโขงไดตระหนักถึงความรายแรง ของการคามนุษยที่สามารถแผขยายวงกวางไปสูนอกภูมิภาคลุมน้ํา โขง และภูมิภาคอื่นที่สําคัญขอผูกพันในบันทึกความ เขาใจฉบับนี้ ตองกระทําเพื่อบรรลุเปาหมาย มีดังตอไปนี้

1) ในดานที่เกี่ยวของกับนโยบาย และความรวมมือในระดับชาติและในทางระหวางประเทศ

ไดมีการสนับสนุนใหมีการใหคําจํากัดความของคําวา “การคามนุษย” ซึ่งไดมีการระบุไวในพิธีสารวาดวย การปองกันและปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ซึ่งไดเพิ่มเติมอนุสัญญาสหประชาชาติวา ดวยการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ไดมีการจัดตั้งขึ้นในลักษณะขององคกร และไดมีการพัฒนาแผนการระดับชาติวา ดว ยการตอ ตา นการคา มนุ ษย ในทุก รูป แบบ ซึ่ง ได มีก ารรว มการทํา งานด วยกัน เพื่อ จุด มุง หมายในการเสริ มสรา งให คณะกรรมการระดั บชาติ วา ด วยการค า มนุ ษ ย ประกอบไปด วย ภาคส วนต าง ๆ โดยมี อ าณั ติ ใ นการดํ า เนิน การตาม แผนปฏิบัติการระดับชาติ และดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการตอตานการคามนุษย ไปปรับปรุงความรวมมือในระดับ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 169 ภูมิภาคในการตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งไดทําการตกลงทวิภาคี และพหุภาคี และไดมีการเสริมสรางความ รวมมือระหวางรัฐบาล องคการระหวางประเทศตาง ๆ และภาคเอกชนตาง ๆ ที่มีความประสงคในการตอตานกับขบวน การคามนุษย

2) ในดานที่เกี่ยวกับกรอบทางกฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม

ไดมีการรับเอากฎหมายและการบังคับใชกฎหมายโดยเร็วเทาที่จะเปนไปได ซึ่งกฎหมายที่เกี่ยวของกับ การตอตานการคามนุษยที่เหมาะสม และจัดใหมีการฝกอบรมเจาหนาที่เกี่ยวของ เพื่อคัดแยกผูเสียหายที่ตกเปนเหยื่อของ การคามนุษยอยางรวดเร็ว และถูกตอง เพื่อปรับปรุงการสืบสวน และสอบสวน การฟองคดีทางอาญา และกระบวนการ ทางศาล สืบสวน จับกุม ฟองคดีอาญา และมีการลงโทษผูกระทําความผิดฐานการคามนุษยตามกฎหมายแหงชาติ ซึ่งไดจัด ใหมีความชวยเหลือทางกฎหมายแกผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย รวมถึงการใหขอมูลทางภาษาที่เหยื่อของการคา มนุษยสามารถเขาถึงได ไดมีการพัฒนาความรวมมือที่เปนรูปธรรม และมีประสิทธิภาพในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหผูคามนุษยไดรับการลงโทษ และเพื่อบังเกิดความยุติธรรมสําหรับตัวเหยื่อเอง มีการเสริมสรางความรวมมือขาม พรมแดนในการบังคับใชกฎหมายใน 6 ประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง เพื่อจะไดตอสูกับขบวนการคามนุษยผานทาง กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ไดมีการสนับสนุนทางบุคลากร และงบประมาณที่จําเปน เพื่อสามารถเพิ่มสมรรถภาพใน การตอตานการคามนุษยของเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมายในระดับชาติ และไดมีความชวยเหลือรวมมือของเหลาประเทศ ในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงเพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกันในกระบวนการในทางศาล

3) ในดานที่เกี่ยวของกับการคุมครอง การฟนฟู และการกลับคืนสูสังคม

สงเสริมในเรื่องบทบาทความเปนหญิงหรือชายและเด็กใหมากขึ้นในการทํางานในทุกดานทีเ่ กีย่ วของกับ ผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย ไดมีหลักการประกันวา บุคคลที่ตองตกเปนเหยื่อของการคามนุษยจะไมถูกกักขังโดย เจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย ไดมีการจัดใหเหยื่อของการคามนุษยทุกคนมีที่พัก และไดรับการชวยเหลือที่เหมาะสมใน ทางดานรางกายและจิตใจ สังคม กฎหมาย การศึกษา รวมถึงดานสุขภาพ ไดมีการรับเอานโยบายและกลไกตาง ๆ เพื่อ คุมครอง และสนับสนุนบุคคลที่เปนเหยื่อของการคามนุษย ไดมีการเสริมสรางศักยภาพของสถานเอกอัครราชทูต และ สถานกงสุลตาง ๆ เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นแกเหยื่อของการคามนุษยวา จะไดรับการชวยเหลืออยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีหลักประกันดานความรวมมือขามแดนในการสงตัวเหยื่อการคามนุษยกลับอยางปลอดภัย รวมไปถึงการสนับสนุน เพื่อใหมั่นใจวา บุคคลเหลานั้น มีความเปนอยูที่ดี ไดมีการอํานวยความสะดวก และบําบัดฟนฟู ในการกลับคืนสูสังคมของ บุคคลผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย รวมถึงปองกันบุคคลไมใหตกเปนเหยื่อของการคามนุษยอีกครั้ง

4) ในดานที่เกี่ยวกับมาตรการปองกัน

ไดมีการรับเอามาตรการตาง ๆ เพื่อลดความไมมั่นคงของบุคคล ซึ่งรวมถึงการสนับสนุนการลดปญหา ความยากจน การเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจ การทําใหมั่นใจวา จะเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และไดจัดใหมีเอกสารสวน บุคคลในทางกฎหมายที่จําเปนซึ่งไดรวมถึงทะเบียนเกิดดวย ไดมีการสนับสนุนการใหชุมชน และเครือขายในการเฝาระวัง ถึงการพิสูจนตัวบุคคลลวงหนา และการเขาแทรกแซงตัวบุคคลที่เสี่ยงตอการถูกคามนุษย ไดมีการเพิ่มความตระหนักแก สาธารณชนในทุกระดับ รวมถึงการรณรงคการใหขอมูลโดยการใหขอมูลขาวสาร และการสนับสนุนที่ชี้ใหเห็นอันตราย และผลกระทบทางดานลบของการคามนุษย และการใหความชวยเหลือเทาที่มีอยูแกเหยื่อ ไดมีการบังคับใชกฎหมาย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 170 แรงงานแหงชาติ เพื่อคุมครองสิทธิแรงงานทุกคนโดยอยูบนพื้นฐานของการไมเลือกปฏิบัติดวยเหตุทางเพศและความเสมอ ภาคกัน ไดมีการสนับสนุนใหมีการบังคับใชกฎหมายแหงชาติที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพเพื่อลดการแสวงหาประโยชน จากบุคคลอันเปนการสงเสริมใหเกิดความตองการในการใชแรงงานของบุคคลที่ถูกคา และการปราบปรามการคาหญิง และเด็ กด ว ยการให ความร วมมื อซึ่ ง กัน และกั น และได มี ความร ว มมื อกั บ ภาคเอกชนโดยเฉพาะในอุ ต สาหกรรมการ ทองเที่ยวและการบันเทิงในการตอสูกับการคามนุษยอยางแข็งขัน

เขาใจนี้

5) ในดานที่เกี่ยวกับกลไกสําหรับการอนุวัติการ การตรวจสอบ การประเมินผลของบันทึกความ

ไดมีการพัฒนาการแผนปฏิบัติการระดับอนุภูมิภาควาดวยการตอตานการคามนุษย พ.ศ. 2548-2550 และใชความพยายามทั้งปวงเพื่อใหมีการอนุวัติการแผนปฏิบัติการนี้อยางเต็มที่ ไดมีการจัดเก็บ และการวิเคราะหขอมูล และขอสนเทศเกี่ยวกับเรื่องการคามนุษย และไดมีการประกันวายุทธศาสตรในการตอตานการคามนุษยอยูบนพื้นฐานใน การวิ จัยประสบการณ และในการวิเ คราะหที่ ได ขอ มูล ที่ถู กต อง และเป นป จจุ บัน ไดมี การตรวจสอบการอนุวั ติต าม แผนปฏิบัติการเพื่อประเมินสถานการณที่เปนอยู และความคืบหนาการอนุวัติขอผูกพันภายใตบันทึกความเขาใจนี้ รวมถึง มีการจัดการประชุมเจาหนาที่อาวุโสปละหนึ่งครั้ง ไดมีการทบทวนแผนปฏิบัติการและรับเอา แผนปฏิบัติการในระดับ ภูมิภาคโดยมีการพิจารณาของที่ประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงในปลายป พ.ศ. 2550 ไดมีการ จัดตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจระดับชาติเพื่อรวมมือกับสํานักงานเลขานุการของ Commit (โครงการหนวยงานเพื่อการ ตอตานการคามนุษยของสหประชาชาติในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง) และหุนสวนอื่น ไดมีการเชิญชวนหนวยงานที่ใหการ สนับสนุนดานทุนของรัฐบาลรวมทั้งของสหประชาชาติที่เกี่ยวของ องคการระหวางประเทศอื่น และภาคเอกชนในการมี สวนรวมในการใหความชวยเหลือในดานการเงิน วัสดุอุปกรณ และดานวิชาการของประเทศสมาชิกในอนุภูมิภาคลุมแมน้ํา โขงรวมไปถึงการใหมีการอนุวัติการในแผนการบันทึกความเขาใจ จากที่ไดกลาวมาแลวขางตน สภาพปญหาตามบันทึกความรวมมือในการตอตานการคามนุษยในภูมิภาคลุมแมน้ํา โขง ยังมุงเนนการคุมครองไปที่ผูหญิงและเด็กเปนสํา คัญ ยังไมมีความครอบคลุมถึงเพศชายทั้งในเรื่องการคาบริการ ประเวณีทางเพศ และการคาทาสแรงงานโดยไมยุติธรรมกดขี่ขมเหงโดยปราศจากเสรีภาพ ตามที่กฎหมายสิทธิมนุษยชน มาตรา 4 ไดใหการคุมครองรับรองสิทธิไวใหโดยชอบดวยกฎหมาย ซึ่งปจจุบันการคามนุษยไดทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้ น ซึ่งผูชายเองก็เปนเปาหมายของขบวนการคามนุษยภูมิภาคอาเซียนควรที่จะมีมาตรการทางกฎหมายที่เปนมาตรฐาน เดียวกัน เพื่อที่จะมาตอตานกับขบวนการคามนุษย ซึ่งในบันทึกความเขาใจฉบับดังกลาวนี้ ไมมีความครอบคลุมทั้งใน ภูมิภาคอาเซียนในดานมาตรการทางกฎหมายที่เพียงพอ และครอบคลุมรวมถึงดานบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในการ ชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยที่เพียงพอ เพราะในสถานการณปจจุบันปญหาการคามนุษยยัง ไมหมดสิ้นไปจากภูมิภาค อาเซียน สืบเนื่องมาจากสาเหตุที่ยังไมมีบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในการชวยเหลือเหยื่อที่เกิดจากการคามนุษยอยาง เพียงพอมีแตเพียงนโยบายออกมาเทานั้น แตบุคลากรในดานนั้นยังไมมีความรูที่จะนําไปปฏิบัติก็ยอมไมบังเกิดผลที่จะทํา ใหการคามนุษยหมดไปจากภูมิภาค 6) บั น ทึ ก ความเข า ใจระหว า งรั ฐ บาลแห ง ราชอาณาจั ก รไทย กั บ รั ฐ บาลแห ง สาธารณรั ฐ

ประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือในการตอตานการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก48

วัต ถุ ป ระสงคใ นการทํ า ความตกลงบัน ทึ ก ความรว มมื อ ระหวา งราชอาณาจั ก รไทยกับ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวนั้นเพื่อตอตานขบวนการคามนุษย ซึ่งไดมีการยอมรับถึงปฏิญญากรุงเทพวาดวยการโยกยาย ถิ่นฐานทีไ่ มปกติในป 1999 โดยเชื่อมั่นวา การปราบปรามอาชญากรรมในดานเกี่ยวกับการคามนุษยในสตรีและเด็ก โดย 48

เรื่องเดียวกัน, หนา 168.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 171 ความรวมมือซึ่งกันและกันในทางกฎหมายและกระบวนการดําเนินคดีทางอาญาเปนมาตรการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ ในการ นี้ ภาคีจะมีการดําเนินการปรับปรุงแกไขกฎหมายที่จําเปน และใชมาตรการที่เหมาะสม เพื่อไดมีการประกันวา การปฏิบัติ ตามกฎหมาย และเขตอํ านาจศาลของประเทศตนสอดคลอ งประสานไปในแนวทางเดียวกันกั บปฏิ ญ ญาสากล หรื อ สนธิสัญญาระหวางประเทศที่รัฐบาลประเทศตนไดเขารวมเปนภาคี ภาคีจะมีโครงการใหการศึกษา และฝกอาชีพใหแกสตรี และเด็ก เพือ่ เสริมสรางโอกาสในการมีงานทํา และลดความเสี่ยงจากการตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษย ภาคีมีความ พยายามอยางสุดความสามารถในการดําเนินมาตรการสกัดกั้นการคามนุษยในสตรีและเด็ก โดยไดมีการจัดใหมีโครงการให การศึกษา การฝกอบรมในดานวิชาชีพ และเพิ่มการบริการทางสังคมในรูปแบบการจัดหางาน สรางรายได รักษาสุขภาพ ใหแกสตรีและเด็กที่มีความเสี่ยงตอการคามนุษย และไดมีการเผยแพรขอมูลขาวสารใหกับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับปจจัย เสี่ยงตอการคามนุษยในสตรีและเด็ก และมีมาตรการในทางสังคมในการเยียวยาเหยื่อใหกลับมาดํารงชีวิตอยู ไดภายหลัง ตกเป น เหยื่อ ของขบวนการค ามนุษ ย ทั้ งมาตรการดา นอาชีพ มาตรการในการเยี ยวยาทางจิ ตใจโดยจิ ตแพทย และ มาตรการทางดานอื่นแกเหยื่อของขบวนการคามนุษย จากที่กลาวมาแลวในบันทึกความรวมมือระหวางราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว นั้น ในเรื่ อ งการต อ ตา นการค า มนุ ษ ย ยั งมี จุ ด บกพร อ งอยู ใ นการมุ ง เน น ความคุมครองไปที่ ส ตรี แ ละเด็ ก เท า นั้ น ไม ไ ด หมายความรวมถึงผูชายดวย จึงทําใหสภาพการทางกฎหมายไมสามารถบังคับเยียวยากับเหยื่อผูชายที่เพียงพอ และ ครอบคลุมทั้งมาตรการในทางกฎหมายมาตรการในการคุมครองเหยื่อจากการคามนุษย มาตรการทางสังคมเยียวยาให เหยื่อการคามนุษยที่เปนผูชาย จึงจําเปนอยางยิ่งที่ประชาคมชาวอาเซียนตองมีอนุสัญญาที่เปนแมบทที่เกี่ยวกับการตอตาน การคามนุษย

7) สนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน

ในสนธิสญ ั ญาดังกลาวมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ (1) ไดมีการกําหนดขอบเขตของความชวยเหลือของสนธิสัญญาฯ การไมบังคับใชของสนธิสัญญา ขอจํากัด ความชวยเหลือของภาคีสมาชิก และการแตงตั้งผูประสานงานกลางของแตละภาคีเพื่อจัดทํา และรับคํารองขอ ความชวยเหลือ (2) ไดมีการกําหนดแบบและเนื้อหาของคํารองขอความชวยเหลือในทางอาญา การดําเนินการตามคํา รองขอ และการเก็บรักษาความลับของประเทศสมาชิก (3) ไดมีการกําหนดขอจํากัดการใชพยานหลักฐานที่ไดมาจากการชวยเหลือการไดมาซึ่งการใหถอยคํา โดยสมัครใจของผูใหถอยคํา การไดมาซึ่งพยานหลักฐาน และสิทธิที่จะปฏิเสธการใหพยานหลักฐาน (4) ไดมีการกําหนดการจัดหาใหซึ่งเอกสารและบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได การปรากฏตัว ของบุคคลในภาคีผูรองขอ และการปรากฏตัวของบุคคลที่ถูกคุมขังในภาคีผูรองขอ (5) ไดมีการกําหนดหลักประกัน การเดินทางผานของบุคคลซึ่งถู กคุมขัง การคน และยึด การสง พยานหลั กฐานคืน การคน หาที่อยู หรื อการระบุตัว บุคคล การสงเอกสาร และความช วยเหลือ ในการดํ า เนิ นการริ บ ทรัพยสิน (6) ไดมีการกําหนดความสอดคลองกับขอตกลงอื่น การรับรอง และการยืนยันความถูกตองแทจริง คาใชจาย การปรึกษาหารือ การแกไข การระงับขอพิพาท และการตั้งขอสงวน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 172 (7) ไดมีการกําหนดเงื่อนไขในการลงนาม การใหสัตยาบัน การภาคยานุวัติ การเก็บรักษา และการ 49 ลงทะเบียน การมีผลใชบังคับจริงของสนธิสัญญา การใชบังคับ และการบอกเลิกสนธิสัญญา และผูเก็บรักษาสนธิสัญญา การที่ประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของ ภูมิภาคอาเซียนนั้ นถือเรื่องที่ดีที่จะมีการใหค วามชวยเหลือซึ่ งกันและกั นในทางอาญาของภูมิ ภาคอาเซียน นํา มาซึ่ ง ผลประโยชนแกผูที่ตกเปนเหยื่อ หรือผูที่ถูกคาที่ไดรับผลกระทบในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพราะจะมีความ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางอาญาทั้งสิบประเทศภายในภูมิภาคอาเซียนอยางเปนระบบ ซึ่งผลประโยชนตาง ๆ จะตกแก ผูที่ตกเปนเหยื่อมากที่สุด และในเรื่องการคุมครองพยานหลักฐานก็มีมาตรการที่เครงครัดมากรวมถึงเรื่องการใหการเปน พยานหลักฐานในศาล โดยที่พยานที่ใหการในศาลจะไมถูกขมเหงดวยประการทั้งปวง สืบเนื่องมาจากพยานจะใหการโดย ไมมีการขมขู ขมเหงจากบุคคลใด

ความรวมมือระหวางประเทศในการตอตานอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบการคามนุษย รูปแบบการคามนุษยยังคงเปนสิ่งที่ทาทายตอประเทศทั้งหลายในประชาคมอาเซียนที่จะตองขจัดอาชญากรรมนี้ ใหหมดสิ้นไปจากภูมิภาคโดยดวน สืบเนื่องมาจากอาชญากรรมรูปแบบการคามนุษยในภูมิภาคสามารถโยงใยไปสูรูปแบบ ดานอื่น ๆ ในภูมิภาค เชน รูปแบบอาชญากรรมทางเพศดานอื่น ๆ ยาเสพติด รูปแบบการฟอกเงิน การศึกษา เสถียรภาพ และความมั่นคงของประเทศรวมทั้งดานเศรษฐกิจ ภูมิภาคอาเซียนตระหนักที่จะรวมมือกันผนึกกําลังที่จะตอตานของขบวนการคามนุษยออกไปใหหมดสิ้นจาก ภูมิภาคโดยเรงดวน เพราะถือวา ภูมิภาคอาเซียนเปนอีกหนึ่งภูมิภาคที่ยังตองเผชิญกับอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบของ การคามนุษยอยู ซึ่งในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ ค.ศ. 2007 ที่ประเทศสิงคโปรผูนําอาเซียนไดลงนาม ในกฎบัตรอาเซียนซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน และขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนภายในป ค.ศ. 2015 ก็ไดมีกฎบัตรของอาเซียนที่บัญญัติในเรื่องอาชญากรรมขามชาติไว ซึ่งอยูในเสาการเมืองและความมั่นคง หนึ่งในนั้น รวมถึงรูปแบบอาชญากรรมขามชาติในเรื่องการคามนุษยไว ในภูมิภาคอาเซียน จึงไดมีปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษยในสตรีและเด็กตอทายในปฏิญญา ฮานอยวาดวยการคามนุษย และความรวมมือของการตอตานการคามนุษยในระดับภูมิภาครัฐตอรัฐ (MOU) ในปจจุบันมี เพียงไมกี่ประเทศในอาเซียนที่ตกลงความรวมมือระหวางรัฐตอรัฐ ความรวมมือยังไมครอบคลุมทั้งภูมิภาคอาเซียน ซึ่งในป ค.ศ. 2015 เมื่อประเทศทั้งหลายในภูมิภาคอาเซียนไดรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนแลวเปาหมายของอาเซียน ในการ ตอตานรูปแบบอาชญากรรมขามชาติในเรื่องการคามนุษยก็คงที่จะมีการรวมมือกันอยางจริงจังในเรื่องนี้มากยิ่งขึ้น เพราะ ในปจจุบันภูมิภาคอาเซียนมีเพียงปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษยยังไมถึงขั้นเปนอนุสัญญาแมบทของชาว อาเซียนที่จะครอบคลุมในเรื่องการคามนุษยทั้งสิบประเทศในภูมิภาคนี้ ประเด็นปญหาที่ประเทศไทย และอาเซียนยังไมสามารถแกปญหาอาชญากรรมขามชาติรูปแบบการคามนุษยนั้น ในภูมิภาคของเรายังไมมีความรวมมือในรูปแบบของอนุสัญญาพหุภาคีที่มีความรวมมือทั้งสิบประเทศภายในภูมิภาค รวมกันอยางจริงจัง แตอยางใด เพื่อจะไดลดความเหลื่อมล้ําทางกฎหมายใหทั้งสิบประเทศใชมาตรฐานทางกฎหมายใน 49

อารไวททีไนน, การใหสัตยาบันสนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภ าคอาเซียน, คนขอมูลวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 จาก http://www.ryt9.com /s/cabt1528770.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 173 ระดับเดียวกัน โดยจะตองอาศัยความรวมมือในทุกภาคสวนของสังคมในการออกอนุสัญญาดังกลาวรวมถึงพิธีสารตอทาย อนุสัญญา ปญหาดังกลาว จึงจะสามารถทุเลาเบาลงกวาที่เปนอยูไ ดอยางแนแท ซึ่งสามารถแยกเปนประเด็นไดดังนี้

ความไมเปนธรรมและเอกภาพของกฎหมาย กฎหมายในประเทศไทย หรือแมแตภูมิภาคอาเซียนเองสภาพการบังคับของกฎหมายยังไมเปนเอกภาพเทาที่ควร มาตรฐานของกฎหมายแตละประเทศในภูมิภาคอาเซียนในการตอตานกับการคามนุษยยังไมมีป ระสิทธิภาพเทาที่ควร จึง จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีมาตรฐานในการตอตานกับอาชญากรรมการคามนุษยที่มีเอกภาพ ในป ค.ศ. 2015 ประเทศตาง ในภูมิภาคไดมีการประกาศวา จะมีการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน เพื่อที่จะเปนการตอตานการคามนุษยอยางจริงจัง ดวยมาตรฐานกฎหมายที่เทาเทียมกัน และความรวมมือที่จะชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยที่เพียงพอ และครอบคลุมโดย คํานึงถึงหลักการมนุษยธรรมเปนหลักในรูปแบบอนุสัญญาของภูมิภาค

สภาพบังคับทางกฎหมายในภูมิภาคอาเซียน สภาพปญหาในภูมิภาคอาเซียน คือ การที่ยังไมมีกฎหมายกลางที่เปรียบเสมือนธรรมนูญของชาวอาเซียน ดังเชน กฎหมายของสหภาพยุโรปที่รวมตัวเปนประชาคมชาวยุโรป ซึ่งมีกฎหมายกลางที่เกี่ยวของกับการคามนุษยที่ถูกระบุไวใน มาตรา 5 ซึ่งใจความของมาตราดังกลาวมีวา การคามนุษยรวมถึงการคาทาสในทุกรูปแบบเปนสิ่งที่ตองหาม และขัดตอ บทบั ญ ญั ติ ข องชาวยุ โ รปเป น อย า งมาก ซึ่ ง ถู ก บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นอนุ สั ญ ญายุ โ รปเพื่ อ ต อ ต า นการค า มนุ ษ ย (European Trafficking Convention) ในอนุสัญญาตองประกอบไปดวยมาตรการในการคุมครองเหยื่อในการคามนุษย บทนิยามของ การคามนุษย มาตรการทางกฎหมายในการชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยในระหวางดําเนินคดีทางกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา มาตรการในการกักตัวเหยื่อโดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ ในหลักการหามเลือกปฏิบัติดวยเหตุตาง ๆ รวมถึงมาตรการหลังจากเหยื่อการคามนุษยกลับไปดําเนินชีวิตในสังคม และการเยียวยาเหยื่อการคามนุษย รวมถึงการ ออกกฎหมายระดับรองที่ออกมาเกี่ยวของประสานไปในแนวทางเดียวกัน เชน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎาตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับการคามนุษยอยางจริงจัง รวมถึงอนุสัญญาที่เปรียบเสมือนธรรมนูญอยางสหภาพยุโรปก็มีอนุสัญญาดาน การคามนุษยที่เปนเหมือนกฎหมายหลักของภูมิภาค ซึ่งทําใหสภาพการทางกฎหมายของสหภาพยุโรปสามารถบังคับเอา ขบวนการคามนุษยมาลงโทษไดโดยราบรื่น จากสภาพปญหาที่เกิดขึ้น ยังไมมีความรวมมือถึงขั้นอนุสัญญาในการตอตานการคามนุษยในภูมิภาคอาเซียน อยางเปนรูปธรรม ในปจจุบันมีเพียงปฏิญญาอาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษย ความรวมมือในการตอตานการคามนุษยใน ระดับทวิภาคีระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคเทานั้น และพระราชบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคามนุษยแตยังไมสามารถ บังคับใชเปนมาตรฐานกลางทั้งภูมิภาคอาเซียนได จึงเปนประเด็นซี่งสามารถพิจารณาไดดังนี้

1) ในบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลไทยกั บรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา เรื่องความรวมมือ ทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและสตรี และการชวยเหลือเหยื่อของการคามนุษย

ซึ่งมีการใชบทนิยามของการคามนุษยใหสอดคลองกับพิธีสารเรื่องการคาบุคคล โดยเฉพาะการคาหญิง และ เด็กขององคการสหประชาชาติ และขอดีมีการนิยามวัตถุประสงคที่ครอบคลุมมากกวาพิธีสารการคามนุษยขององคการ สหประชาชาติ รวมถึงมีการนิยามการคามนุษยในรูปแบบการใชเด็ก และผูห ญิงในสื่อลามก อนาจาร การรับบุตรบุญธรรม อันเปนเท็จ และการกระทําใหผูหญิงและเด็กตกเปนทาสของยาเสพติดในบันทึกความเขาใจฉบับนี้ มีประเด็นปญหาที่ยัง ไมใหการคุมครองเหยื่อการคามนุษยที่เปนเพศชายที่เพียงพอ โดยสวนมากจะถูกบังคับใชแรงงานเยี่ยงทาสในอุตสาหกรรม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 174 ภาคประมงและไดรับคาจางโดยกดขี่ขมเหง ดวยเหตุที่ไมเปนธรรมอยางมาก ในปจจุบัน ผูชายก็เปนกลุมเสี่ยงที่จะถูก ลอลวงเขาสูว งโคจรของการคามนุษยไดเชนกันไมเพียงแตเด็กและผูหญิงเทานั้น

2) พระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ. 254050

พระราชบั ญ ญั ติ มาตรการป อ งกั น และปราบปรามการค า หญิ ง และเด็ ก พ.ศ. 2540 ในมาตรา 8 ของ พระราชบัญญัติฉบับนี้ การใหความชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยในระหวางการถูกดําเนินคดี และการเบิกความในศาลที่จะ ใหความชวยเหลือผูหญิงและเด็กเทานั้น ยังไมมีความครอบคลุมรวมถึงผูชายที่ไดตกเปนเหยื่อการคามนุษยดวยแตอยางใด ซึ่งถือเปนขอเสียของพระราชบัญญัตินี้ ในดานการชวยเหลือนั้น ตามพระราชบัญญัติดังกลาวนี้ ยังใหการชวยเหลือเฉพาะ เรื่องอาหาร ที่พัก และการสงกลับประเทศ หรือภูมิลําเนาเดิมเทานั้น ไมไดมีความคุมครองที่ครอบคลุมถึงการเยียวยาใน ด า นความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในด า นร า งกาย จิ ต ใจของผู ที่ ต กเป น เหยื่ อ แต อ ย า งใดถื อ เป น ข อ บกพร อ งของ พระราชบัญญัตินี้ - ขอดีของพระราชบัญญัติดังกลาวนั้น มีการใหสืบพยานไวทันทีที่ศาลไดรับคํา รองขอจากอัยการ ถึงแมวา จะยังไมไดตัวผูตองหามาก็ตาม - ขอ เสี ยของพระราชบั ญญั ติ ฉบั บดั งกลา วนี้ ได อา งถึ ง พระราชบัญ ญั ติอื่ น ๆ ที่เ กี่ ยวขอ งกั บการ คาประเวณี และการทําอนาจาร จึงทําใหพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไมมีความครอบคลุมในทุกรูปแบบ และวัตถุประสงคอื่น ๆ อันรวมถึงการบังคับใชแรงงานสงผลกระทบถึงการที่จะเอาผิดกับผูกระทํา ผิดฐานการคามนุษยในรูปแบบอื่นนั้น ในการ บังคับเอาผิดกับขบวนการคามนุษยตามพระราชบัญญัติเปนไปไดยากมาก จึงนับวา เปนจุดดอยของพระราชบัญญัตินี้ ในป พ.ศ. 2551 ไดมีการออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย เพื่อใชคํานิยาม และ มาตรการตาง ๆ ที่สอดคลองกับพิธีสาร เพื่อการปองกันและปราบปราม และลงโทษการคาบุคคลโดยเฉพาะการคาหญิง และเด็กขององคการสหประชาชาติ

3) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 254051

ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ตองการใชบังคับในเรื่องการกระทําความผิดเกี่ยวกับเพศ โดยไดมีการเพิ่มโทษแก บุคคลที่ไดกระทําการตอหญิงและชาย เพื่อสนองความใครของบุคคลอื่น ในการแกไขบทบัญญัติฉบับนี้ เพื่อจะจัดการกับ การคาบุคคลเพื่อวัตถุประสงคในการคาประเวณี และเพื่อวัตถุประสงคอื่นที่มิชอบดวยกฎหมายรวมถึงการขายเด็กใหมา เปนขอทาน หรือทํางานในสภาพที่ทารุณโหดราย ซึ่งตัวบทแตละมาตราไมมีความครอบคลุมถึงเจตจํานงดังกลาวแตอยาง ใดเลย จึงถือวา เปนขอดอยที่จะตองมีการปรับปรุงกฎหมายฉบับนี้ขึ้นมา และเปนอุปสรรคในการบังคับใชกฎหมายใหมี ความครอบคลุมเหยื่อการคามนุษยที่ถูกบังคับใหกระทําการอยางอื่นที่ไมใชแคความหมายของการคาประเวณีเพียงอยาง เดียวเทานั้น และการที่บุคคลที่สามนําบุคคลใดมาเพื่อสําเร็จความใครของผูอื่น หรือเพื่อการอนาจาร ไมวาบุคคลดังกลาว จะยินยอมหรือไมก็ตาม ก็ถือวา เปนการกระทําความผิดแลว เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติดังกลาวนี้ สืบเนื่องมาจากไดมีการกระทําความผิดเกี่ยวกับเด็กและ หญิง โดยไดมีการซื้อขาย จําหนาย พา หรือจัดหาหญิงและเด็กไปดวยวิธีการตาง ๆ แกตนเอง รวมถึงผูอื่นเพื่อการอนาจาร เพื่อประโยชนอยางอื่นอันมิชอบดวยกฎหมาย ไมวาจะเปนวิธีการขายเด็กใหไปเปนขอทาน หรือการทํางานในสภาพที่โดน กดขีข่ มเหงดวยเหตุอันไมเปนธรรม จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการกําหนดฐานความผิดใหมที่เกี่ยวของกับการคามนุษยที่ มีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กลุมเปาหมายของขบวนการคามนุษยไมไดมีเฉพาะหญิงและเด็กเทานั้น ยังรวมไป ถึงเพศชายที่มีความเสี่ยงที่จะตองตกเปนเหยื่อของการคามนุษยดวย และมีแนวโนมเปนการกระทําตอบุคคลที่ไมจํากัดเพศ 50 51

ศิริพร สโครบาเนค. (2548). การคามนุษย แนวคิด กลไก และประเด็นทาทาย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิผูหญิง. เรื่องเดียวกัน, หนา 82-83.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 175 ดวย จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองแกไขฐานความผิดในบทที่เกี่ยวของให กวางขวางมากยิ่งขึ้น และควรแกไขบทบัญญัติ มาตรา 282 และมาตรา 283 แหงประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งไดกําหนดใหศาลไทยมีอํานาจในการลงโทษการกระทํา ความผิดดังกลาว แมจะไดกระทําการดังกลาวในตางประเทศก็ตาม โดยตองแยกไวใหเห็นเด นชัดในมาตรา 7 ซึ่งเปน บทบัญญัติที่เกี่ยวของกับอํานาจของศาลไทยในการนําตัวบุคคลที่กระทําความผิดในลักษณะเปนความผิดอาญาระหวาง ประเทศ จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้นมา

2542

52

4) พระราชบั ญ ญั ติ แ ก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา (ฉบั บ ที่ 20) พ.ศ.

ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไมไดมีสวนเกี่ยวของกับเรื่องการคามนุษยแตอยางใด แตสามารถที่จะนํามาปรับใช กับการคุมครองพยาน และผูเสียหาย โดยเฉพาะพยานที่เปนเด็กที่ตองไดรับการคุมครองที่รัดกุมมากกวาบุคคลในวัยผูใหญ โดยมีการคํานึงถึงสภาพความตองการของเด็กเปนสําคัญ ทั้งสภาพแวดลอม ทางรางกาย และจิตใจของเด็ก โดยจัดใหมี นักวิชาการที่มีความหลากหลายสาขาเพื่อชวยในการสอบปากคําพยานที่เปนเด็ก โดยมีหลักเกณฑวา ตองเปนคดีที่มีอัตรา โทษจําคุกสูง ตั้งแตสามปขึ้นไป หรือในกรณีที่เด็กรองขอ หรือในคดีการทํารายรางกายโดยใหจัดหองสอบสวนที่เหมาะสม และใหมีนักจิตวิทยาเพื่อชวยในการซักถามเด็ก หรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอ และพนักงานอัยการเขา รวมกับพนักงานสอบสวนในการสอบถามปากคํา จากเด็ก ในเรื่องการชี้ตัวผูกระทํา ความผิดจะตองมีมาตรการในการ ปองกันไมใหผูตองหาเห็นตัวเด็กผูเสียหาย หรือพยาน ซึ่งนับไดวา เปนขอดีของพระราชบัญญัติฉบับนี้ และในกรณีที่เด็กได กระทําความผิดรัฐเองตองจัดหาทนายความใหแกเด็กดวย - ขอดีของพระราชบัญญัติฉบับนี้ มีการกําหนดใหมีการสืบพยานเด็ก โดยมีการใชสื่อการบันทึกภาพ และเสียงไปยังหองพิจารณาคดี ในการชักถามพยาน ถามคาน หรือถามติงก็ตาม จะตองจัดใหมีนักจิตวิทยา หรือนักสังคม สงเคราะหเปนบุคคลที่จะตองถามคําถามเหลานี้ไปสูเด็ก ในกรณีที่พยานไมสามารถมาเบิกความไดสื่อภาพ และเสียงที่ ไดรับการบันทึกไวนี้สามารถนํามาใชได ซึ่งเปนเสมือนคําเบิกความของพยาน และจะเปนประโยชนมากตอเด็กที่เปน ชาวตางชาติที่มีเหตุที่จะตองกลับบานกอนที่จะมีการดําเนินคดี หรือเด็กที่ยากแกการที่จะติดตามมาใหการเปนพยานใน ศาล มาตรการเหลานี้จะชวยปองกันมิใหมีการกระทํา ซ้ําเติมแกผูที่ตกเปนเหยื่อ หรือพยานในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา - ขอเสียมาตรการเหลานี้ ยังไมมีความคุมครองที่เพียงพอถึงเหยื่อ หรือพยานในคดีการคามนุษยที่ เปนผูใหญนับวา เปนจุดดอยของพระราชบัญญัตินี้ เพราะวาผูที่ตกเปนเหยื่อไมวาจะเปนเพศใดอายุเทาใดก็ยอมที่จะตอง ความคุมครองที่เพียงพอในการเปนพยานในศาลรวมถึงการคุมครองในการถูกแกแคนขมขูจากขบวนการคามนุษย

5) พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 254253

ในมาตรา 3 ของพระราชบัญญัตินี้ ไดกําหนดไววาความผิดมูลฐาน 7 ประเภท ไดแก ความผิดเกี่ยวกับ ยาเสพติด เพศ การฉอโกงประชาชน การยักยอก หรือฉอโกง หรือการประทุษรายตอ ทรัพย การทุจริตตอหนาที่ทาง ราชการ การกรรโชกรีดเอาทรัพย การลักลอบหนีศุลกากร ซึ่งทรัพยสินที่ไดยึดมาดังกลาวใหศาลมีคํา สั่งใหตกเปนของ แผนดิน

52 53

เรื่องเดียวกัน, หนา 84. เรื่องเดียวกัน, หนา 85-86.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 176 ซึ่งในตัวพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอเสีย คือ ไมมีการบัญญัติใหผูเสียหายจากการกระทําความผิดมูลฐานมี สิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตน ดังนั้น เหยื่อจากการคามนุษย จึงไมสามารถ ไดรับสิทธิประโยชนโดยตรงจากพระราชบัญญัติฉบับนี้ จึงตองไปเรียกรองความเสียหายตามพระราชบัญญัติคาตอบแทน ผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2545 ถือไดวา เปนจุดบกพรองของพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ เพราะตองไปเรียกรองคาเสียหายจากพระราชบัญญัติฉบับอื่น แมแตในมาตรา 49 วรรคทาย ระบุไววา ในกรณีตามวรรคหนึ่งถามีเหตุสมควรที่จะดํา เนินการเพื่อคุมครอง สิทธิของผูเสียหายในความผิดมูลฐาน ใหเลขาธิการสงเรื่องใหพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายที่กํา หนดความผิดฐานนั้น ดําเนินการตามกฎหมายดังกลาวเพื่อคุมครองสิทธิของผูเสียหายกอน หนวยงานที่เกี่ยวของควรจะดําเนินการใหผูเสียหาย ไดรับคาชดเชยตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ และถาหากมีการกําหนดคํานิยามเรื่องการคามนุษยที่ครอบคลุมถึงการบังคับใช แรงงาน และเรื่องอื่น ๆ ทั้งของเด็ก ผูหญิง และผูชายก็ควรจะขยายความผิดมูลฐานของพระราชบัญญัติปองกันและ ปราบปรามการฟอกเงินดวย

2545

54

6) พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจํา เลยในคดีอาญา พ.ศ.

พระราชบัญญัติฉบับนี้ เปนผลสืบเนื่องมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 245 และมาตรา 246 ซึ่งไดบัญญัติในเรื่องการไดรับความชวยเหลือจากรัฐของบุคคลที่ไดรับความเสียหายจากการ กระทําความผิดของบุคคลอื่น โดยที่บุคคลนั้นมิไดมีสวนรวมในการกระทําความผิดแตอยางใดเลย ผูเสียหายจากการคา มนุษย นับไดวา เปนผูที่ไดรับความเสียหายอยางรายแรง เนื่องจาก การกระทําความผิดทางอาญาตอบุคคลอื่น ไมวาจะ ไดรับความเสียหายจากขบวนการคามนุษย นายจาง หรือผูแสวงหาผลประโยชนจากการเปนโสเภณีจากบุคคลอื่น โดยมี การกระทําที่ถูกละเมิดตอสิทธิขั้นพื้นฐานทั้งทางดานรางกาย จิตใจ หรือการกระทํา ทางเพศ โดยวิธีการบังคับใชแรงงาน การเอาคนลงเปนทาส หรือการถูกแสวงหาผลประโยชนในทางดานเพศ จนผูเสียหายบางรายไดถึงแกชีวิตนั้น ดังนั้น จึงถือ วา เปนพระราชบัญญัติฉบับเดียวที่สามารถใหผูเสียหายจากการคามนุษยสามารถเรียกรองคาเสียหายไดโดยตรงไดถูกระบุ ไวในมาตรา 17 ผูเสียหายจะไดรับคาตอบแทน ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 18 ดังกรณีตอไปนี้ (1) คาใชจายที่จําเปนในการรักษาพยาบาล รวมทั้งคาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจ (2) คาตอบแทนในกรณีที่ผูเสียหายถึงแกความตายจํานวนไมเกินที่กําหนดในกฎกระทรวง (3) คาขาดประโยชนในการทํามาหาไดในระหวางที่ไมสามารถประกอบการงานไดตามปกติ (4) คาตอบแทนความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร คณะกรรมการจะเปน ผูที่กํา หนดใหผู เสียหายไดรับ คาตอบแทนเพี ยงใดขึ้ นอยูกับ พฤติการณ และความ รายแรงของการกระทําความผิด และความเสียหายที่ผูเสียหายไดรับ รวมทั้งโอกาสที่ผูเสียหายจะไดรับจากการบรรเทา ความเสียหายโดยทางอื่น ในมาตรา 22 ไดกําหนดใหผูเสียหาย จําเลย หรือทายาทซึ่งไดรับความเสียหายมีสิทธิในการไดรับคาตอบแทน คาทดแทน คาใช จายตามพระราชบัญญัติ นี้ โดยตองยื่นคํ าขอต อคณะกรรมการ ณ สํา นักงาน ภายในกํ าหนดหนึ่ง ป นับตั้งแตวันที่ผูเสียหายไดรูถึงการกระทําความผิด และในมาตรา 23 ในกรณีที่ผูเสียหาย จําเลย หรือทายาทผูไดรับความ เสียหายเปนผูไร ความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคํา ขอด วยตนเองได ผูแทนโดยชอบธรรม หรื อผูอนุบาล ผูบุพการี 54

เรื่องเดียวกัน, หนา 87-88.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 177 ผูสืบสันดาน สามี หรือภรรยา หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากผูเสียหาย หรือจําเลย แลวแตกรณีสามารถ ยื่นคําขอรับคาตอบแทน คาทดแทน หรือคาใชจายแทนได

7) บันทึกแนวทางปฏิบัติรวมกันในการดําเนินการกรณีการคาเด็กและหญิง55 นอกจาก พระราชบัญญัติที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการคามนุษยแลว ประเทศไทยยังไดมีการจัดทําแบบบันทึก ขอตกลงเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในภาครัฐเอง และภาคเอกชน ซึ่งขอตกลง ฉบับดังกลาวนี้ ไมมีผลผูกพันบังคับทางกฎหมายแตอยางใดเลย ในปจจุบันมีขอตกลงรวมกันภายในประเทศ 4 ฉบับ มีสาระสําคัญ คือ มีการกําหนดคํานิยามของเด็ก และ หญิงผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ระบุสถานภาพของหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย กํา หนดแนวทาง เพื่อชวยเหลือทั้งเด็กและหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย จากการที่ไดศึกษาบันทึกขอตกลงแนวทางรวมกันในการ ดําเนินการกรณีการคาหญิงและเด็กนั้นมีขอดี ดังตอไปนี้ (1) มีการกําหนดคํานิยามของเด็กและหญิงผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยที่มีความชัดเจน ดังนี้ เด็กหรือ ผูหญิงที่ถูกบุคคล กลุมบุคคล หรือองคกร ในการเปนธุระจัดหา ซื้อขาย จําหนาย พามาจาก หรือสงไปยังที่ใด รับ หนวง เหนี่ยว หรือการกักขัง ซอนเรนเด็กหรือผูหญิง โดยมีการใชอุบายหลอกลวงขูเข็ญ ประทุษราย มีการใชอํานาจครอบงํา ผิด คลองธรรม หรื อ การใช วิ ธี ก ารข มขื น ใจด ว ยประการทั้ ง ปวง ไม ว า จะเป น การกระทํ า ภายในประเทศหรื อ ภายนอก ราชอาณาจักรก็ตาม และการกระทําดังกลาวนั้น ทําใหเด็กและผูหญิงตกอยูในสภาวะซึ่งตองจํานง หรือยอมกระทําการ ใด ๆ อันมิชอบดวยกฎหมาย ซึ่งถือไดวา เปนขอดีของบันทึกแนวทางดังกลาว (2) มีการจําแนกเหยื่อที่เกิดจากการคามนุษยที่มีครอบคลุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคุมครองเหยื่อ ใน บันทึกขอตกลงฉบับดังกลา วนี้ มีการจํา แนกเหยื่อทั้ง ผูหญิง และเด็กที่เกิดจากการคามนุษ ย ที่จะไดรับ การคุมครอง ชวยเหลือไว 4 กลุมคือ กลุมแรก เด็กและหญิงไทยที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย กลุม ที่สอง เด็กและหญิงชาวตางดาวที่เขามาในประเทศไทยหรืออยูในราชอาณาจักรไทยโดยไม ถูกตองตามกฎหมายและไดตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษย กลุมที่สาม เด็กและหญิงตางดาวที่เขามาประเทศไทยถูกตองตามกฎหมาย แตภายหลังตกเปนเหยื่อ ของการคามนุษย กลุมที่สี่ เด็กและหญิงที่มีไดมีสัญชาติไทย แตอาศัยอยูในประเทศไทยและไดตกเปนเหยื่อของ การคามนุษย (3) ไดมีการกําหนดแนวทางปฏิบัติตอเด็กและผูหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้ ประการแรก มีการสอบสวนผูที่ตกเปนเหยื่อและการดําเนินคดีแกผูที่กระทําความผิดตามกฎหมายที่ เกี่ยวของรวมถึงไดมีการคุมครองผูเสียหายและพยาน ประการที่สอง มีการระบุอายุของผูที่ตกเปนเหยื่อและมีการจัดทํา เอกสารสวนบุคคลของผูที่ตกเปน เหยื่อ 55

เรื่องเดียวกัน, หนา 89-92.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 178 ประการที่สาม มีการชวยเหลือดูแลผูที่ตกเปนเหยื่อ การใหที่พักพิง และมาตรการในการอบรมดาน อาชีพ ประการที่สี่ มีการประสานงานสงกลับภูมิลําเนา และประเทศตนทาง (4) มีหนวยงานที่เกี่ยวของใหความรวมมืออยางจริงจังเพื่อชวยแกปญหา ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของที่ได ลงนามมีทั้งของภาครัฐเอง และภาคเอกชนที่ไดมีความรวมมือ ไดแก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน สํานักงานอัยการสูงสุด สํานักงานตํารวจแหงชาติ ผูวา ราชการจังหวัดทางภาคเหนือ 9 จังหวัด และหนวยงานเอกชนตาง ๆ ที่รวมทํางานปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย รวมถึงองคการระหวางประเทศที่ไดมีความรวมมือจากทุกฝายในการแกปญหาที่เกิดขึ้น และบันทึกแนวทางความรวมมือดานการคามนุษยในผูหญิงและเด็กฉบับดังกลาว ยังมีจุดบกพรองอยูดังนี้ ก. แนวทางฉบับนี้ยังมิไดมีสภาพการทางกฎหมายแตอยางใดเลยที่จะมีผลผูกพันใหปฏิ บัติตามแตอยางใด จึงมีปญหาที่ตามมาในการบังคับใชเพื่อประโยชนของผูที่ตกเปนเหยื่อ ในการปฏิบัติเจาหนาที่ผูที่เกี่ยวของยังมีความเขาใจ วา การคาหญิงและเด็กมีเพียงเพื่อประโยชนในการคาประเวณีเพียงอยางเดียวเทานั้น ซึ่งถาหากหญิงและเด็กมีสวนรวม และสมัครใจที่จะกระทําการคาประเวณีก็จะไมไดรับการใหความชวยเหลือในดานตาง ๆ ดวยเหตุนี้เอง จึงทําใหมีการ ดําเนินคดีในเรื่องการคามนุษยมีจํานวนนอยมาก เพราะเหตุผลที่เหยื่อเกรงวา ตนจะไมไดรับความคุมครอง ข. นอกจากนั้น กระบวนการดํ าเนิ นคดี และสง กลั บภู มิ ลํา เนาในประเทศต น ทางที่ ตอ งใช เ วลาในการ ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ เปนเวลานาน จึงทําใหการดําเนินการสงกลับประเทศเกิดความลาชา ทําใหผูที่ตกเปน เหยื่อตามที่ไดระบุไวตามนิยามขอตกลงไมสมัครใจที่จะรับการชวยเหลือตามแนวทางฉบับดังกลาวนี้จากภาครัฐ ค. ในการเขารวมเปนพยานในการดําเนินคดีทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตอนักคามนุษย แตไมมี การไดรับคาเสียหายชดเชยที่เกิดขึ้นรวมถึงการไมไดรับคาแรง ทําใหผูหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อไมไดรับประโยชนและ การชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเอาผิดกับขบวนการคามนุษย

8) สนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน

สนธิ สั ญ ญาดั ง กล า ว ทํ า ให ส ภาพการบั ง คั บ ทางกฎหมายของภู มิ ภ าคอาเซี ย นในการต อ ต า นป ญ หา อาชญากรรมขามชาติ ในรูปแบบการคามนุษยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากที่ประเทศไทยไดใหสัตยาบันแก สนธิสัญญาดังกลาว ซึ่งสงผลดีเปนอยางมากแกเหยื่อ หรือผูเสียหายในคดีอาญาเปนอยางมาก เพราะจะไดมีการรวมมือ และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางอาญาของประเทศในภูมิภาคอาเซียน และสนธิสัญญาฯ มีสาระสําคัญดังนี้ (1) ไดมีการกําหนดขอบเขตของความชวยเหลือของสนธิสัญญา การไมบังคับใชของสนธิสัญญา ขอจํากัด ความชวยเหลือของภาคีสมาชิก และการแตงตั้งผูประสานงานกลางของแตละภาคี เพื่อจัดทํา และรับคํารองขอความ ชวยเหลือ ในขอนี้นับวา เปนขอดีที่มีผูประสานงานในการชวยเหลือแกเหยื่อการรับเรื่องรองเรียนจากผูเสียหายหรือเหยื่อ (2) ไดมีการกําหนดแบบและเนื้อหาของคํารองขอความชวยเหลือในทางอาญา การดําเนินการตามคํารองขอ และการเก็บรักษาความลับของประเทศสมาชิกในขอนี้ก็นับวา เปนขอดีอีกขอหนึ่ง เพราะมีการเก็บรักษาในการใหความ ชวยเหลือเปนความลับเฉพาะประเทศสมาชิกเทานั้น (3) ไดมีการกําหนดขอจํากัดการใชพยานหลักฐานที่ไดมาจากการชวยเหลือการไดมา ซึ่งการใหถอยคําโดย สมั ครใจของผู ให ถอ ยคํา การไดมาซึ่ง พยานหลั กฐาน และสิ ท ธิที่ จะปฏิเ สธการใหพ ยานหลั กฐานในข อ นี้นั บว า เป น ประโยชนอยางมากแกผูที่ตองการเปนพยานในศาล เพราะไมมีการขมขูในการใหการเปนพยานในศาลแตอยางใด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 179 (4) ไดมีการกําหนดการจัดหาใหซึ่งเอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได การปรากฏตัวของ บุคคลในภาคีผูรองขอ และการปรากฏตัวของบุคคลที่ถูกคุมขังในภาคีผูรองขอ (5) ไดมีการกําหนดหลักประกัน การเดินทางผานของบุคคลซึ่งถูกคุมขัง การจับกุมบุคคล การคนและยึด การ สงพยานหลักฐานคืน การคนหาที่อยูหรือการระบุตัวบุคคล การสงเอกสาร และความชวยเหลือในการดํา เนินการริบ ทรัพยสิน (6) ไดมีการกําหนดความสอดคลองกับขอตกลงอื่น การรับรอง และการยืนยันความถูกตองแทจริง คาใชจาย การปรึกษาหารือ การแกไข การระงับขอพิพาท และการตั้งขอสงวน (7) ได มี ก ารกํ า หนดเงื่ อ นไขในการลงนาม การให สั ต ยาบั น การภาคยานุ วั ติ การเก็ บ รั ก ษา และการ ลงทะเบียน การมีผลใชบังคับจริงของสนธิสัญญา การใชบังคับ และการบอกเลิกสนธิสัญญา และผูเก็บรักษาสนธิสัญญา ในสาระสําคัญของสนธิสัญญาฉบับดังกลาวนั้น มีขอดีแกผูเสียหาย หรือเหยื่อเปนอยางมาก ทั้งมาตรการในการ ใหความชวยเหลือตาง ๆ มาตรการรักษาเก็บรักษาคดีเปนความลับ มาตรการในการเดินทางผานในประเทศหรือในดินแดน รัฐนั้น ๆ ของผูที่ถูกคุมขัง ซึ่งเปนมาตรการที่ดีมากสําหรับผูที่ตองขัง ในเรื่องหมายจับ หมายคนของบุคคลตามสนธิสัญญานั้น ยังมีขอดอยอยูในเรื่องการออกหมายจับหมายคนของ ประชาคมอาเซียน เพื่อตอตานการคามนุษย ในกฎหมายของประเทศไทยและภูมิภาคของอาเซียนนั้น ในการสืบสวน และ สอบสวนหาพยานหลักฐานในคดีอาญานั้น เพื่อที่จะเอาผูกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมายมีความจําเปนอยางยิ่ง ตองมีการออกหมายจับบุคคลใดก็ตาม เพื่อนําบุคคลนั้นมาลงโทษในการจับบุคคลใดมาลงโทษก็ตองมีการออกหมายจับทุก ครั้ง ซึ่งทําใหเสียเวลาเปนอยางมาก นอกจาก การออกหมายจับแลว ยังใหอํานาจโดยชอบตอเจาพนักงานสอบสวนในการ ออกหมายเรียกบุคคลนั้นมาใหการเปนพยานหลักฐานในศาล หรือถามีเหตุฉุกเฉินที่ จะจับบุคคลใดไดตามที่กฎหมาย 56 กําหนด และมีอํานาจคนตัวบุคคลในที่สาธารณะได เพื่อที่จะแสวงหาพยานหลักฐาน ในกรณีการคนในที่รโหฐานนั้น เจาพนักงานจะทํา ไดก็ตอเมื่อมีหมายคนจากศาล เวนแตในกรณีฉุกเฉินและ 57 เรงดวนตามที่กฎหมายไดกําหนดไว ในการออกหมายจับนั้น ตองมีเหตุออกหมายจับ หมายขังตามที่ไดระบุไวในมาตรา 66(1) และ (2) ซึ่งกฎหมาย ไดระบุไววา จะจับบุคคลใดก็ได บุคคลนั้นตองกระทําความผิดทางอาญา โดยระบุไววา มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินสามป หรือมีหลักฐานอันสมควรวาบุคคลนั้นนาจะมีการกระทําความผิดทางอาญาเกิดขึ้น และมีเหตุที่พยานจะมีการหลบหนีการ จับกุม หรือจะไปยุงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายในประการอื่น ๆ ในกรณีที่บุคคลนั้นไมมีที่อยูเปนหลักแหลง หรือไมมาตามหมายเรียก หรือตามนัดโดยที่ไมมีเหตุอันควรแลว ใหตั้งขอสันนิฐานไวกอนวาบุคคลนั้น จะหลบหนีจากการ 58 ถูกจับกุม ในกรณีถาผูตองหา หรือจําเลยมีอายุไมถึงสิบแปดปบริบูรณ หรือเปนผูหญิงที่ตั้งครรภ หรือเพิ่งคลอดบุตรมาไม ถึงสามเดือน หรือเจ็บปวย ซึ่งถาตองขังจะถึงอันตรายแกชีวิต ศาลจะไมมีการออกหมายขั ง หรือหมายปลอยตัวผูตองหา หรือจําเลยซึ่งถูกขังอยูนั้นก็ได จากที่ไดวิเคราะหในการสงหมายนั้นมีขอดีตามมาตรา 77(3) วิธีในการดําเนินการในการสงหมายจับ หมายคนที่ เจาพนักงานไมสามารถที่จะมาศาลไดดวยเหตุจําเปน และฉุกเฉินกฎหมายไดกําหนดไวใหสามารถสงหมายทางโทรสาร สื่อ

56

อางแลว. พิศวาส สุคนธพันธุ และณรงค ใจหาญ. (2549). หนา 94. เรื่องเดียวกัน. 58 เรือ่ งเดียวกัน. 57


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 180 อิเล็กทรอนิกส หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ได และมีการสอดคลองกับวิธีในการขอหมายตามมาตรา 59 นับไดวา เปนการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อมาชวยในการสงหมายอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเปนวิธีการที่ทําใหเปนการประหยัดเวลา

ปกติแลวการที่จะจับกุมบุคคลใดก็ตาม จะตองมีการออกหมายจับกอนทุกครั้ง จึงจะสามารถจับกุมบุคคลนั้นได เพื่อจะเอาบุคคลนั้นมาลงโทษตามกฎหมาย เวนแตตามที่กฎหมายไดกําหนดไวในกรณีตามมาตรา 78 ดังนี้ (1) เมื่อบุคคลนั้นไดมีการกระทําความผิด ในลักษณะซึ่งหนา ดังไดบัญญัติไวในมาตรา 78 (2) เมื่อพบบุคคลโดยมีพฤติการณอันควรสงสัยวา บุคคลนั้น จะกอเหตุรายอันเกิดอันตรายแกบุคคลหรือ ทรัพยสินของบุคคลอื่นโดยไดมีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอยางอื่นที่สามารถใชในการกระทําความผิดนั้นได (3) เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับไดตามมาตรา 66 (2) แตมีความจําเปนที่ไมอาจขอใหศาลออกหมายจับ บุคคลนั้นได (4) เปนการจับผูตองหา หรือจําเลยที่หลบหนี หรือจะหลบหนีในระหวางถูกปลอยตัวชั่วคราวตามมาตรา 59 117 ในมาตรา 117 เมื่อผูตองหา หรือจําเลยมีการจะหลบหนี ใหอํานาจแกพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจที่พบ เห็นการกระทํา มีอํานาจในการจับผูตองหา หรือจําเลยนั้นได ซึ่งถือเปนขอยกเวนในการที่จะออกหมายจับบุคคลในแตละ ครั้งมาลงโทษตามกฎหมาย เวนแต ในกรณีที่บุคคลนั้น ไดทําสัญ ญาประกันหรื อหลักประกันอาจขอใหพนักงานฝา ย ปกครอง หรือตํารวจที่ใกลที่สุดจับตัวผูตองหา หรือจําเลยได ถาไมสามารถขอความชวยเหลือไดทันทีก็ใหสามารถจับตัว ผูตองหาหรือจําเลยไวไดเอง แลวสงไปยังพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่ใกลเคียงที่สุด และเจาพนักงานนั้นรีบสงตัว 60 ผูตองหา หรือจําเลยไปยังเจาพนักงาน หรือศาลโดยคิดคาพาหนะจากบุคคลที่ทําสัญญาประกันไว ในการคามนุษยนั้น ในภูมิภาคอาเซียน ยังไมมีการออกหมายจับของอาเซียนเพียงหมายจับหมายเดียว ที่สามารถ ใชไดทั่วประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้งสิบประเทศ ที่ทําใหตํารวจสามารถจับผูกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมายได สืบเนื่องมาจากการที่พนักงานตํารวจของรัฐเอง จะจับขบวนการคามนุษยไดก็ตองมีหมายจับกอน จึงจะสามารถจับขบวน การคามนุษยมาลงโทษได ถาภูมิภาคอาเซียนมีหมายจับอาเซียนแลว จะทําใหการจับกุมขบวนการคามนุษยงายมากยิ่งขึ้น เพราะจะตองไมมีการออกหมายจับทุกครั้งที่จะออกจับกุมผูกระทําความผิด ถาออกหมายจับทุกครั้งทําใหการจับกุมบุคคล ใดมาลงโทษจะยิ่งลาชา และในบางครั้ง ก็จะทําใหขบวนการคามนุษยหลุดพนจากการนําตัวมาดําเนินคดี ซึ่งสาเหตุสวน ใหญมาจากการที่จะจับบุคคลใดตองมีการออกหมายจับทุกครั้ง ทําใหเปนการเสียเวลาเปนอยางมาก จึงมีความจําเปน อยางยิ่งที่จะตองมีการออกหมายจับหมายคนเพียงหมายเดียวเทานั้น ที่สามารถใชไดทั่วทั้งภูมิภาคอาเซียนของเรา ซึ่งใน สถานการในปจจุบันนั้นไมสามารถที่จะกระทํา ได เพราะไมมีหนวยงานที่ใหการรับรองของการออกหมายจับ หมายคน เพียงหมายเดียวที่สามารถใชไดทั่วภูมิภาคอาเซียน สําหรับในสวนนี้ยังเปนจุดบกพรองเปนอยางมาก ดวยเหตุผลที่วา การจับบุคคล การคนตัวบุคคลมีความสําคัญ เปนอยางยิ่งตอกระบวนการยุติธรรมนํามาซึ่งพยานหลักฐาน

59 60

เรื่องเดียวกัน, หนา 95. เรื่องเดียวกัน.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 181 มาตรการคุมครองเหยื่อในระดับภูมิภาคอาเซียน ในระดับภูมิภาคอาเซียน ยังไมมีกฎหมายกลางที่ใหคํานิยามที่เฉพาะเจาะจงของคําวา ผูที่ตกเปนเหยื่อของการคา มนุษย หรือผูถูกคาแตอยางใด จึงเกิดปญหาขึ้นมาของคํานิยามของผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย หรือผูถูกคานั้น นิยามที่แทจริงมีความครอบคลุมเพียงใด เพราะถาไมมีคํานิยามที่เพียงพอบุคคลที่ลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมายวาดวย คนเขาเมืองยอมไมมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครอง ดังเชน บุคคลที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษยบุคคลเหลานั้น จะไดรับ มาตรการในการคุมครองของรัฐภาคีที่เหมาะสม รวมถึงในดานที่พักมาตรการในการเยี ยวยาในทางสังคม มาตรการ ฝกอบรมดานอาชีพใหแกผูที่ถูกคา มาตรการในการปองกันในระดับภูมิภาคของอาเซียนตามปฏิญญาอาเซียน มีการ กลาวถึง การคุมครองเหยื่อใหรัฐภาคีใชวิธีการตามที่ประเทศของตนเห็นสมควรในการคุมครองเหยื่อหรือผูเสียหายจาก การคามนุษยโดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน ในปฏิญญาอาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษยมีการใหความชวยเหลือเหยื่อ หรือผูถูกคา โดยมีการคัดแยกเหยื่อ ออกจากผูที่กระทําความผิด เพราะจะไดใหความชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยที่ตรงจุดประสงคที่สุด นับวา เปนขอดีของ ปฏิญญาเปนอยางมาก ถาไมมีการแยกเหยื่อออกจากผูกระทําความผิดแลว จะไมสามารถใหความคุมครองเหยื่อไดตรง วัตถุประสงค เนื่องจาก ผูกระทําผิดจะถูกดําเนินคดีทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งมีความแตกตางโดยสิ้นเชิงจาก ผูถูกคาที่ไดรับความคุมครองในการกักตัวไวเปนพยานหลักฐาน เพื่อดําเนินคดีแกนักคามนุษยทั้งในเรื่องมาตรการคุมครอง พยานในระหวางที่ใหการเปนพยานในศาล เพื่อเอาผิดแกนักคามนุษยในกรณีของผูกระทําความผิดจะมีการดําเนินคดีทาง ศาล และไมมีมาตรการในการใหความคุมครองแตอยางใด ในเรื่องความแตกตางระหวางผูกระทําความผิดกับผูที่ถูกคาผูกระทําความผิดจะไมไดรับการคุมครองในดาน ตาง ๆ ที่ผูถูกคาพึงจะไดรับทั้งมาตรการเรื่องความคุมครองก็จะแตกตางตามมาดวย ผูกระทําความผิดจะถูกดําเนินคดีตาม กฎหมายของประเทศนั้น ๆ ไมไดรับความคุมครอง ดังเชน ผูถูกคา หรือเหยื่อที่ไดรับการคุมครองในการเปนพยานในศาล ตลอดถึงการคุมครองในชีวิตความเปนสวนตัวตลอดระยะเวลาที่อยูในประเทศ หรือรัฐนั้น ไมมีการกดขี่ขมเหงจากขบวน นักคามนุษยแตอยางใด รวมถึงการสอบปากคําพยานในศาลแตมาตรการดังกลาว ยังไมรวมถึงการคุมครองการประกอบ อาชีพอยางถูกตองตามกฎหมายภายในประเทศนั้น ๆ แตอยางใด รวมถึงการไดสัญชาติที่ถูกตองในรัฐหรือดินแดนนั้นแต อยางใด ประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่ยังไมมีการแยกผูกระทําความผิดออกจากเหยื่อการคามนุษย มีสองประเทศไดแก ประเทศสิงคโปร และประเทศมาเลเซีย ซึ่งจะถูกดําเนินคดีตามกฎหมายไมไดรับสิทธิในดานการคุมครองแตอยางใด ดังนั้น ขอยกตัวอยางประเทศสิงคโปร สิงคโปรถูกมองวา เปนประเทศปลายทางของการคามนุษย เหยื่อการคามนุษยสวนใหญมาจากหลากหลาย ประเทศ อาทิ ประเทศไทย เมียนมาร มาเลเซีย เวียดนาม ประเทศสิงคโปรไดลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย การตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ และไมไดเขาเปนภาคีพิธีสารวาดวยการตอตานการคามนุษยในสตรีและเด็กแต อยางใด ประเทศสิง คโปรไมมี กฎหมายที่เ กี่ยวของกั บการคามนุษยบัญญัติ ไวโดยชัดแจงแตอยา งใด และไมมีแผนใน ระดับชาติที่เกี่ยวของกับการคามนุษย แตในประมวลกฎหมายอาญาของประเทศไดมีการกลาวถึง ความผิดฐานลักพาตัว 61 บุคคล ซื้อขายบุคคล เพื่อวัตถุประสงคในการบังคับใชแรงงานบังคับการคาประเวณีในทางเพศ บังคับใหแตงงาน ซึ่งเขา องคประกอบความผิดฐานการคามนุษยไดเชนกัน หรือคํานิยามของบุคคลที่ตกเปนเหยื่อก็ปรากฏในกฎบัตรวาดวยสตรีที่ 61

โชติรส โชคสวัสดิ์, (2549). มาตรการคุมครองผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยตามพิธีสารเพิ่มเติมวาดวยการปองกันปราบปรามและลงโทษ การคามนุษย โดยเฉพาะผูหญิง และเด็ก: ผลกระทบตอการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเขาเปนภาคี, (วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย), หนา 84.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 182 ไดมีการกลาวถึงการคาหญิงกับเด็ก เพื่อวัตถุประสงคในการคาประเวณี วาเปนความผิด และในพระราชบัญญัติวาดวยเด็ก และเยาวชนที่บัญญัติถึงการกระทําตอเด็กในหลายลักษณะตามกฎหมายฉบับดังกลาวเด็ก หมายถึง บุคคลที่มีอายุต่ํากวา 14 ปบริบูรณ ในกฎหมายทั้งสองฉบับดังกลาวมีสวนที่เกี่ยวของกับมาตรการในการใหความคุมครองแกผูที่ตกเปนเหยื่อ ดัง ประเด็นตอไปนี้ 1) การกําหนดใหมีหนวยงานเฉพาะในการดูแลสุขภาพของเด็กและผูหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการ

กระทําความผิด62

ในบทบัญญัติวาดวยกฎบัตรของผูหญิง ไดมีหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นเปนการเฉพาะในการดูแล และดําเนินการให เปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย โดยมีการกําหนดผูอํานวยการสวัสดิการสังคมเปนผูทําหนาที่ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ การใหความชวยเหลือผูหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อของการคาประเวณี และมีหนาที่ในการบริหารงานใหเปนไปตาม ขอกําหนดในบทบัญญัติฉบับนี้ 63 2) การพิจารณาคดีโดยการถายทอดสัญญาณผานกลองโทรทัศนวงจรปด รัฐบาลสิงคโปรตระหนักถึงการเบิกความในคดีการคาประเวณีเปนอยางมาก ดังนั้น ถาศาลเห็นควรจะให ผูเสียหายเบิกความคดีผานทางการถายทอดสดแทนการที่จะตองเผชิญกับผูถูกกลาวหา เพราะปองกันการถูกขมขูของ พยานในศาล 64 3) การดําเนินกระบวนการพิจารณาคดีเปนการลับ การพิจารณาคดีการคาประเวณีที่เกี่ยวของกับเด็กและหญิงใหดําเนินกระบวนในการพิจารณาเปนการลับ หามบุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับคดีอยูในหองพิจารณาคดี เวนแตมีสวนเกี่ยวของกับคดี 65 4) การหามเปดเผยขอมูลสวนตัว รัฐบาลสิงคโปรไดมีการหามโดยเด็ดขาดหามหนังสือพิมพในการเสนอขอมูลใด ๆ ก็ตามเกี่ยวของกับผูหญิง และเด็กในเรื่องการคาประเวณีในทางเพศเด็ดขาด ไมวาจะเปนที่อยูรูปถายของผูเสียหาย หรือพยานในคดีผูเสียหายมีสิทธิ 66 ในการไดรับคาชดใชคาเสียหายในทางอาญา ใหศาลใชดุลยพินิจในการพิจารณาคาชดเชยจากการเสียหายในทางอาญาแกเหยื่อ และไมตัดสิทธิในการ เรียกรองในทางแพงแตอยางใด 67 5) การจัดที่พักที่ปลอดภัยใหกับผูหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อที่เกิดจากการคาประเวณี ในระหวางการพิจารณาคดีในศาล ผูอํานวยการสวัสดิการทางสังคมอาจพิจารณาใหผูหญิง และเด็กผูหญิงที่ ตกเปน เหยื่ อ ของการค า ประเวณี ไ ปอยู ในสถานที่ ปลอดภั ยโดยไดรั บ สวัส ดิ การดา นต างที่ จํา เป น จนกว า จะเสร็ จสิ้ น กระบวนการพิจารณา 68

6) มาตรการในการปกปองเด็กและเยาวชน

62

เรื่องเดียวกัน, หนา 85. เรื่องเดียวกัน. 64 เรื่องเดียวกัน. 65 เรื่องเดียวกัน. 66 เรื่องเดียวกัน, หนา 86. 67 เรื่องเดียวกัน. 68 เรื่องเดียวกัน. 63


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 183 สิงคโปรมีมาตรการในการปกปองเด็ก และเยาวชนที่เปนการเฉพาะ มีการเอาใจใสในการหาที่พักที่เหมาะสม แกเด็ก และเยาวชนรวมถึงการจัดการรักษาพยาบาลใหแกเด็ก

กรณีศึกษา69

Wongsa เปนหญิงสาวเผาอาขา ที่อยูในประเทศไทย เธอถูกหลอกลวงจากนายหนาคามนุษยใหเขาไปทํา งานที่ หาดใหญและถูกบังคับใหคาประเวณีในทางเพศ หลังจากนั้น นายหนาที่หาดใหญสงตัวเธอไปยังสิงคโปร ที่สิงคโปรเธอได ถูกจับตัว และถูกตั้งขอหาวา เขาเมืองโดยไมรับอนุญาต จากขอเท็จจริงดังกลาว ทําใหเราทราบ แมชนกลุมนอยก็ตาม ยังไมรอดพนในการจับกุมตัว และยังเปนเปาหมาย ของขบวนการคามนุษยในการเขาไปแสวงหาผลประโยชนจากกลุมบุคคลดังกลาว ตามตัวอยาง หญิงสาวผูที่ตกเปนเหยื่อ ถูกสงตัวไปภายในประเทศ และเวลาตอมา เธอถูกสงตัวออกไปยังประเทศหนึ่ง โดยที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมาย สุดทายเมื่อ เธอถูกจับกุมเธอถูกตั้งขอหาในการเขาเมืองโดยผิดกฎหมายจากรัฐผูรับ ซึ่งมองวา เธอไมใชผูที่ตกเปนเหยื่อ แตมองวา เธอ คือ ผูกระทําความผิด จึงมีความผิดตามกฎหมาย

ขอเสนอแนะเรื่องความไมเปนธรรมและเอกภาพของกฎหมาย สภาพการบังคับตามกฎหมายของภูมิภาคอาเซียนนั้น ยังไมมีความรวมมือที่เพียงพอในภูมิภาคที่จะสามารถมา แกไขปญหาความรายแรงของอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบการคามนุษยไดมีเพียงปฏิญญาอาเซียนวาดวยการคามนุษย และความรวมมือในระดับรัฐตอรัฐในรูปแบบ (MOU) ของภูมิภาคที่ยังไมมีความครอบคลุม และเพียงพอมาเยียวยาแก เหยื่อการคามนุษย ทั้งมาตรการในทางกฎหมายและมาตรการดานอื่นที่สําคัญ ดังนั้น ขอเสนอมาตรการดังกลาวเพื่อใหเกิด ความเขาใจ ซึ่งแยกเปนประเด็นดังนี้ 1) ภูมิภาคอาเซียน ควรจะตองมีอนุสัญญาในระดับภูมิภาคที่เกี่ยวของกับการคามนุษย และมีกฎหมายระดับ รองลงมารองรับ เชน พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงตาง ๆ เพื่อที่จะมาบัญญัติรองรับอนุสัญญาเพื่อที่จะ มาแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ ดังนั้น ควรกระทําตามแบบของสหภาพยุโรปที่มีอนุสัญญาของสหภาพยุโรปเพื่ อ ตอตานการคามนุษยที่มีความรวมมือของประเทศทั้งหลายในภูมิภาค และไดมีการบัญญัติมาตราที่เกี่ยวของในเรื่องการคา มนุษยไวในบทบัญญัติมาตรา 5 อนุสัญญาเพื่อตอตานการคามนุษยของประชาคมยุโรป และประเทศทั้งหลายในสหภาพก็ มีการลงนาม การใหสัตยาบันแกอนุสัญญารับรูถึงการเกิดมีขึ้นของอนุสัญญา และทําใหสภาพการบังคับเอาบุคคลที่กระทํา ความผิดในฐานการคามนุษยมาลงโทษตามกฎหมายไดโดยราบรื่น และมีความรวดเร็วเปนอยางยิ่ง เมื่ออาเซียนไดรวมเปนประชาคมอาเซียนอนุสัญญาอาเซียน จะตองมีมาตรฐานที่เปนเอกภาพ และเปนกลาง อยางแนแท เพราะประเทศตาง ๆ ภายในภูมิภาค จะตองใชระดับมาตรฐานทางกฎหมายในระดับเดียวกัน กฎหมายตัว เดียวกันมีการแลกเปลี่ยนซึ่งขอมูลระหวางกัน และการเปดประชาคมรวมกันนับวา เปนนิมิตรหมายที่ดีที่จะมีความรวมมือ ที่เปนรูปธรรมภายในภูมิภาค

2) ภูมิภาคอาเซียน ควรมีคําจํากัดความของคําวา “เหยื่อ” ที่เพียงพอ และมีความครอบคลุมเหยื่อที่เปนเพศชาย ดวย เพราะในปจจุบันเหยื่อที่เปนเพศชาย ยังตองการคุมครองในเรื่องนี้เชนกัน ซึ่งประเทศสวนใหญในภูมิภาคไมมีการ กําหนดความคุมครองใหแกเหยื่อการคามนุษยที่เปนเพศชายที่ เพียงพอ และมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองถูกบัญญัติไว

69

เรื่องเดียวกัน, หนา 87.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 184 โดยเฉพาะในอนุสัญญา และกฎหมายระดับรองที่ออกมารองรับกฎหมายแมบทของภูมิภาค ถามีการกํา หนดบทนิยามที่ ชัดเจน จะไดทราบถึงสิทธิของเหยื่อที่พึ่งจะไดรับสิทธิในดานที่เพียงพอ คํานิยามของเหยื่อในอนุสัญญา “เหยื่อ” ควรมีความครอบคลุมถึงบุคคลทุกคนที่ไดรับความเสียหายทั้งทาง รางกาย สภาพจิตใจในการกระทําผิดทางอาญาขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่มีความครอบคลุมถึงในทุกรูปแบบของ อาชญากรรมขามชาติ ภูมิภาคอาเซียน ควรมีการจําแนกเหยื่อการคามนุษยออกจากกันทั้งเพศหญิง เพศชาย และเด็กรวมถึงการ แยกผูที่กระทําความผิดออกจากเหยื่อ ดังเชน ประเทศสหรัฐอเมริกา เพราะจะไดใหความชวยเหลือเหยื่อ และคุมครอง เหยื่อไดตรงวัตถุประสงคมากที่สุด รวมถึงการคัดแยกเหยื่อในระหวางการอยูในสถานที่พักพิงของเหยื่อ เพื่อจะไดลดปญหา ในระหว า งที่ อ ยู ใ นสถานที่ พั ก พิ ง รวมถึ ง ให ค วามสํ า คั ญ แก เ หยื่ อ ที่ เ ป น เพศชายด ว ย เพราะประเทศต า ง ๆ ยั ง ไม ใ ห ความสําคัญแกเหยื่อที่เปนเพศชายที่เพียงพอ แตอยางใด อาเซียนควรจะมีกรอบประสานแยกเหยื่อที่เปนเพศชายใหอยูใน สถานที่พักพิงของเหยื่อ กอนที่เหยื่อจะถูกสงตัวกับประเทศที่เหยื่อมีภูมิลําเนาอยู 3) ในอนุสัญญาควรมีมาตรการกําหนดใหแกเหยื่อการคามนุษยไดรับถึงสิทธิในดานตาง ๆ ที่พึงจะไดรับ เชน มาตรการฝกอบรมดานอาชีพ มาตรการเยียวยาแกเหยื่อการคามนุษยหลังกลับไปดํารงชีวิตตามปกติในสังคม มาตรการ ทางดานกฎหมาย และดานอื่นที่สําคัญตอเหยื่อ หรือผูถูกคารวมถึงมาตรการที่ใหเหยื่อมีสิทธิไดพบนักจิตวิทยา นักสังคม สงเคราะหดวยในการไดรับคําปรึกษาในดานตาง ๆ เพราะเหยื่อสวนใหญที่ถูกคาไมไดยินยอมดวยประการทั้งปวง และยัง หวาดกลัวตอสิ่งรอบขางอยู เพื่อใหเหยื่อสามารถกลับไปดํา เนินชีวิตตามปกติสุข และไมใหมาอยูในวงโคจรของการคา มนุษยอีก รวมถึงการเปนแมเลาอีกครั้ง 4) มาตรการคุมครองเหยื่อประเทศไทย และอาเซียน ควรมีมาตรการในการออกวีซาใหแกเหยื่อของการคามนุษย อยางเชน ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการออกวีซาประเทศ T ใหแกผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ซึ่งบุคคลที่ถือวีซา ประเภทดังกลาวนั้น จะไดรับความคุมครองในดานสังคมในการใหที่พักพิงอาศัยตลอดจนการรักษาในการเปนพยานในศาล การฝกอบรมดานอาชีพ การดูแลดานสุขภาพและการฟนฟูสภาพทางจิตใจ เหยื่อที่ไดถือวีซาดังกลาวจะไดรับการคุมครอง จากรัฐที่ใหความชวยเหลือ บุคคลที่ถือวีซา T จะไดการใหความชวยเหลือตลอดจนการปองกันจากการถูกแกแคนในการ เปนพยานหลักฐานในศาล ภูมิภาคของเราสมควรมีกรอบประสานในการออกวีซาประเภทดังกลาวเปนอยางยิ่ง เพื่อที่จะได ใหการชวยเหลือเหยื่อจากการคามนุษยภายในภูมิภาครวมมือกันอยางเปนระบบทั้งสิบประเทศ 5) ภู มิ ภ าคอาเซี ย นควรมี ห ลั ก ประสานการคุ ม ครองพยานในศาลแก ผู ที่ ต กเป น เหยื่ อ ดั ง เช น ประเทศ สหรัฐอเมริกาที่มีหลักการคุมครองพยานในศาล เพื่อปองกันการถูกแกแคน มาตรการดังกลาวรวมถึงการเปลี่ยนตัวตน รูปพรรณ ที่อยูอาศัย คาใชจาย การเดินทาง ความชวยเหลือทางการเงิน ความชวยเหลือในดานการฝกฝนอาชีพ รวมถึง ดานอื่นเพื่อใหเหยื่อสามารถชวยเหลือตัวเองไดตลอดเวลาที่อาศัยอยูในประเทศนั้น 6) การคุมครองพยานของประเทศสหรัฐอเมริกานั้น มีความครอบคลุมถึงบุคคลที่มีความใกลชิดกับพยานดวยถือ วา เปนมาตรการที่ดีอยางยิ่งอาเซียนสมควรที่จะมีมาตรการดังกลาวเปนอยางยิ่งเพื่อปองกันการขมขู การแกแคนตอพยาน รวมถึงญาติในการใหการเปนพยานในศาล รวมถึงการเคลื่อนยายไปอยูในที่พักอาศัยที่มีความปลอดภัยตอพยานและ ครอบครัว รวมถึงในดานความคุมครองสิทธิดานพื้นฐาน เชน ในดานสถานสงเคราะห ดานที่พักอาศัยของเหยื่อที่มีความ ปลอดภัย สถานสงเคราะหที่มีความปลอดภัย สัญญาณเตือนภัย โทรศัพทเคลื่อนที่ การเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพทการที่ สามารถติดตอเจาหนาที่ทางกฎหมายทุกวัน หากมีความตองการสามารถจัดใหไดในคดีการคามนุษย 7) มาตรการในการคุมครองพยานหลักฐานในศาลภูมิภาคอาเซียน ควรมีมาตรการในการหามเปดเผยชื่อของ พยานในศาลตอสาธารณชนรวมถึงการเก็บรักษาคดีเปนความลับ ซึ่งถือวา เปนมาตรการที่ดีเปนอยางยิ่ง


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 185 8) ภูมิภาคอาเซียนควรใหสิทธิแกผูที่ตกเปนเหยื่อไดรับทราบถึงขอมูลขาวสารในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในคดีที่ตนไดตกเปนเหยื่อรวมถึงสิทธิที่ในการไดรับรูขอมูลเกี่ยวกับการพิจารณาลงโทษ การจําคุก และการปลดปลอยผูที่ กระทําความผิด ซึ่งผูตกเปนเหยื่อสามารถรับรูโดยผานทางทนายความ อัยการในนามของผูที่ตกเปนเหยื่อ 9) ภูมิภาคอาเซียนควรจะสนับสนุน และใหความชวยเหลือแกผูที่ตกเปนเหยื่อในการที่จะมีทนายความ หรือผูวา ตางตามกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหผูที่ตกเปนเหยื่อไดเกิดความเชื่อมั่นในดานที่เกี่ยวของกับการให การเปนพยานรวมถึงการสัมภาษณกับเจาหนาที่สืบสวนและสอบสวนและพนักงานอัยการ 10) ภูมิภาคอาเซียนควรใหเหยื่อไดสิทธิที่จะพบนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะหแกเหยื่อทั้งเพศหญิง เพศชาย และเด็ก เพื่อใหเหยื่อไดมีที่ปรึกษาในดานสภาพทางจิตใจ

องคกรในการปฏิบัติตามกฎหมายและองคกรดานอื่นที่สําคัญเกี่ยวของกับการคามนุษย องคกรที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการคามนุษยนั้น องคกรตาง ๆ ลวนแตมีความสําคัญเปนอยางมากที่จะชวยเหลือแก เหยื่อ เนื่องมาจาก องคกรตาง ๆ เหลานั้นลวนมีอํานาจที่จะชวยเหลือเหยื่อไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะแนวทางที่ภูมิภาค อาเซียน ควรที่จะตองกระทํา ซึ่งสามารถแยกเปนประเด็นไดดังตอไปนี้

1) ดานแหลงเงินทุนของภาคธุรกิจ

ในดานแหลงเงินทุนของภาคธุรกิจนั้น ภูมิภาคอาเซียนควรที่จะตองมีการจัดตั้งกองทุนเงิน เพื่อชวยเหลือ เหยื่อการคามนุษย ดังเชน สหภาพยุโรปที่มีการจัดตั้งแหลงเงินทุน เพื่อมาชวยเหลือเหยื่อการคามนุษย ซึ่งนําเงินมาจาก การผูที่กระทําความผิดฐานการฟอกเงิน และนําเงินดังกลาวมาเขาเปนกองทุน เพื่อชวยเหลือเหยื่อ และรวมถึงเปน คาใชจายในการแสวงหาพยานหลักฐาน เพื่อนําบุคคลที่ไดกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมายตอไป

2) ดานขอมูลขาวสาร

ในดานขอมูลขาวสารเมื่อภูมิภาคอาเซียนไดรวมเปนประชาคมแลว การรับรูขอมูลขาวสารของภูมิภาคยอมที่ จะมีการเปดรับขอมูลขาวสารที่มีความเปนกลางบุคคลทุกคนสามารถรับรูถึงขอมูลได ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่อาเซียน ของเราตองมีการจัดทําเว็บไซตเพื่อเผยแพรดานขอมูลขาวสารของภูมิภาค ดังเชน ภูมิภาคยุโรปที่มีการจัดทําเว็บไซต เกี่ยวกับการคามนุษย รวมถึงการมีบัตรประจําตัวของบุคคลผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ซึ่งในเรื่องนี้นับวา เปนสิ่งที่ ภูมิภาคของเราควรตองกระทําเปนอยางยิ่ง เพราะจะไดทราบวา ใครเปนเหยื่อการคามนุษยบางเพื่อที่จะใหความชวยเหลือ ไดตรงวัตถุประสงค และมุงคุมครองประโยชนโดยตรงแกเหยื่อ

3) ดานกลไกการประเมินและตรวจสอบ

เมื่อภูมิภาคอาเซียนไดรวมเปนประชาคมแลว กลไกในดานการประเมิน และตรวจสอบเหยื่อการคามนุษย นับวา เปนอี กเรื่องหนึ่งที่ มีความสํา คัญ เปนอยางมาก กอ นที่ผูถู กคาจะกลับไปดํารงชีวิตตามปกติในสัง คมได มีความ จําเปนตองไดรับการประเมินถึงความพรอมในดานครอบครัวสังคมที่เหยื่อจะตองกลับไปดําเนินชีวิตอยู ดังเชน สหภาพ ยุโรป มีการจัดใหประเมินเหยื่อการคามนุษยในทุกหกเดือน เพื่อใหเหยื่อไมกลับมาอยูในวงโคจรของการคามนุษยอีกนับวา เปนเรื่องที่ภมู ิภาคอาเซียนนาจะกระทําตามเปนอยางยิ่ง

4) การชดใชทางกฎหมายและคาสินไหมทดแทน

ในเรื่องการชดใชคาสินไหมทดแทน นับไดวา เปนเรื่องที่ผูถูกคามีความตองการเปนอยางมาก ในเรื่องดังกลาว ตามกฎหมายของประเทศไทยเอง หรือแมแตภูมิภาคอาเซียนยังมีมาตรการเรียกคาสินไหมทดแทนแกผูที่ถูกคานอยมาก เชน ในทางคดีอาญาผูถูกคา หรือผูเสียหายสามารถเรียกคาสินไหมทดแทนเพียงพระราชบัญญัติเดียวตามพระราชบัญญัติ คาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 นับวา เปนกฎหมายตัวเดียวที่มีอยู


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 186 ในปจจุบันที่สามารถใหผูเสียหายเรียกคาทดแทนได นับวา เปนขอดอยของกฎหมายเปนอยางมาก ภูมิภาคอาเซียนควรที่ จะรวมมือกันอยางจริงจังในแกปญหาดังกลาว ดวยการออกกฎหมายมาคุมครอง และสามารถใหผูเสียหายสามารถเรียกคา ทดแทนไดตามกฎหมายที่ผูเสียหายไดถูกกระทําเรื่องดังกลาว นาจะทุเลาเบาบางลงกวาที่เปนอยูตามที่ปรากฏ เชน ใน พระราชบัญญัติการฟอกเงิน ผูไดรับความเสียหายไมสามารถเรียกรองความเสียหายดังกลาวไดตามพระราชบัญญัติการ ฟอกเงินแตอยางใด สวนในการเรียกรองคาสินไหมในสวนแพงนั้น ผูเสียหายจํานวนนอยมากที่จะสามารถจะเรียกคาสินไหม ทดแทนไดคุมกับการที่ตนตองตกเปนเหยื่อ เพราะผูเสียหายสวนมากมีความยากจน จะตองจางทนายความมาวาความใน ศาลแกตนเอง ซึ่งฝายรัฐไมไดจัดหาทนายความใหแกอยางใดเลย นับวา เปนขอดอยของการเรียกรองคาสินไหมในทางแพง เปนอยางยิ่ง และจะตองใหคดีอาญาเสร็จสิ้นกอนผูเสียหาย จึงจะสามารถเรียกรองในทางแพงได พนักงานอัยการก็ไม สามารถที่จะฟองรองคดีดังกลาวไปในฟองคดีอาญาได สํา หรั บในเรื่ องนี้ ขอเสนอวา ฝา ยรั ฐ ควรจะตอ งจั ด หาทนายความให แก ผู เสี ยหายในการใชสิ ท ธิใ นการ เรียกรองคาสินไหมทดแทน เพื่อที่ผูเสียหายจะไมตองไปจางทนายความเอง เพื่อเปนการชวยผูที่เสียหายไปในตัวอีกทาง รวมถึงการจัดหานักสังคมสงเคราะห และนักจิตวิทยาใหแกผูถูกคาที่เปนเด็กและผูหญิง ดวยเรื่องดังกลาว จึงจะมีความ ทุเลาเบาลงกวาที่เปนอยูอยางแนแท

ระบบและกลไกการดําเนินงาน (คืน) สูสังคมที่มีอยูในกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) ประสบการณการถูกคามนุษยนั้น สรางความเสียหายรายแรง และยากยิ่งที่จะกาวพนไปได ทั้งยังทิ้งบาดแผล ยาวนานทั้งบาดแผลทางรางกายและจิตใจ ซึ่งไมอาจรักษาได แมเมื่อผูเสียหายจากการคามนุษยไดเขามาในสถานที่ ปลอดภัยแลวก็ตาม แตบอยครั้งที่ผูเสียหายจากการคามนุษยไดรับการแยก และถูกสงตัวกลับไปยังสภาพแวดลอมเดิม ๆ ซึ่งทําใหเขาตองตกอยูในสภาพการณเดิม ที่เปนสาเหตุหลักใหพวกเขาตกเปน เหยื่อการคามนุษยตั้งแตแรก และเปนที่ ทราบดีวา ผูเสียหายจากการคามนุษยจํานวนมาก ตองการความชวยเหลือ เพื่อใหเขาสามารถยืนดวยตัวเองได ฟนฟูจาก ประสบการณการคามนุษย และสรางชีวิตใหม ทั้งนี้ องคกรภาครัฐและเอกชน มีบทบาทสําคัญในการดําเนินการชวยเหลือ ผูเสียหายจากการคามนุษยใหสามารถกลับคืนสูสภาพปกติ และคืนสูสังคมอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการดําเนินงานจะตอง ตอบสนองความตองการของผูเสียหายรายบุคคล รวมทั้งจะตองรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของชวงเวลาและความทาทาย ของชีวิตผูเสียที่ดําเนินตอไป โครงการ COMMIT Region-wide (Re) Integration Initiative เปนสวนหนึ่งของกระบวนการคอมมิท (COMMIT Process) เปดตัวในป พ.ศ. 2553 โดยมีจุดมุงหมายที่จะสรางความเชื่อมั่น ความตองการของผูเสียหายจาก การคามนุษย จะถูกบงชี้ และไดรับการตอบสนองอยางเหมาะสม ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวครอบคลุมทั่วอนุภูมิภาคลุม แมน้ําโขง (GMS) โครงการ COMMIT Region-wide (Re) Integration Initiative เปดตัวในระหวางปสุดทายของการ ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการระดับอนุภูมิภาคของคอมมิทฉบับที่สอง และโครงการนี้ ไดดําเนินการตอเนื่องภายใต แผนปฏิบัติการระดับอนุภูมิภาคของคอมมิท ฉบับที่สาม ซึ่งวัตถุประสงคหลักของโครงการ COMMIT Region-wide (Re) Integration Initiative ก็เพื่อทําการประเมินประสิทธิผลการดําเนินงานดานการ (คืน) สูสังคมในประเทศกลุมอนุภูมิภาค ลุมแมน้ําโขง (GMS) และเพื่อพัฒนาความเขาใจอันลึกซึ้งเกี่ยวกับความตองการ และความกังวลที่แทจริงของผูเสียหายจาก การคามนุษย ทั้งผูเสียหายทีไ่ ดรับและไมไดรับความชวยเหลือ ราชอาณาจักรกัมพูชา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 187 การสงผูเสียหายจากการคามนุษยชาวกัมพูชา กลับประเทศขามพรมแดนจากประเทศไทยและเวียดนามจะ ดําเนินการผานกระบวนการที่เปนระบบตามหลักการบันทึกความเขาใจทวิภาคี โดยประเทศกัมพูชามีวิธีดํา เนินงาน มาตรฐาน (SOPs) นโยบายและระเบียบการตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการฟนฟู การสงคืนสูสังคม และการคุมครองผูเสียหาย ในสวนของการประสานความรวมมือกับประเทศไทยนั้น สํานักงานตอตานการคามนุษย และสงคืนสูสังคม กระทรวงกิจการสังคมและฟน ฟูทหารผานศึกและเยาวชน (MoSVY) จะไดรับขอมูลผูเสียหายจากการคามนุษยชาวกัมพูชา ที่ไดรับการคัดแยกแลว ซึ่งจะสงขอมูลใหกับสํานักงานกระทรวงกิจการสังคมและฟนฟูทหารผานศึก และเยาวชนระดับ จังหวัด (DoSVY) เพื่อตามหาครอบครัว จากนั้น จะทําการสงตัวผูเสียหายผานศูนยผานแดนปอยเปต (PTC) ซึ่งเปน บานพักชั่วคราวบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ดําเนินการโดย MoSVY โดยผูเสียหายทุกเพศ และทุกวัยจะเขาพักใน บานพักไมเกิน 24 ชั่วโมง กอนจะไดรับการสงกลับชุมชนของตนดวยความชวยเหลือดานการเดินทาง และจะไดรับชุด ความชวยเหลือชั่วคราว และการชวยเหลือดานการประกอบอาชีพจากองคการพัฒนาเอกชน กระบวนการสงตัวผูเสียหายชาวกัมพูชาจากประเทศอื่น ๆ นั้น จะดําเนินการผานชองทางทางการทูตผาน สถานทูต กระทรวงการตางประเทศ และความรวมมือระหวางประเทศ (MoFA) พรอมดวยการสนับสนุนจากผูเกี่ยวของ เชน UNIAP หรือ IOM และองคกรพัฒนาเอกชนภายในกัมพูชาและประเทศปลายทาง ในการนี้กระทรวงการตางประเทศ จะรองขอให MoSVY เปนหนวยงานหลักในการดํา เนินการสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคมเพิ่มเติมไปจากแนวทางการ ดําเนินงานที่วางไว แมวา ผู เสียหายจํานวนมาก ซึ่ งไดรับ การสง ตัวกลับ ตามการดํา เนิน งานดัง กลาว ยังไมไ ดรับการ ชวยเหลืออยางรอบดานก็ตาม และการคามนุษยภายในประเทศนั้น ผูหญิงและเด็กเปนสวนใหญ โดยเฉพาะกรณีที่เปน ผูเสียหายจากคามนุษยทางเพศ สามารถเขารับการบริการจาก MoSVY และองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของตามที่ไดระบุ ไว อยางไรก็ตาม ผูเสียหายผูชายไมไดอยูในบริบทของการชวยเหลือนี้ นอกจากนี้ ผูเสียหายที่เดินทางกลับประเทศดวย ตัวเองจํานวนมาก ตางเผชิญอุปสรรคในการเขารับความชวยเหลือเพื่อกลับ (คืน) สูสังคมในประเทศกัมพูชา สําหรับเวียดนามนั้น การสงตัวผูเสียหายจะดําเนินรวมกับสถานกงสุลกัมพูชาในกรุงโฮจิมินห ซึ่งจะทําการคัด แยกผูเสียหาย และสงตอขอมูลไปยังสํานักงานกระทรวงกิจการสังคมและฟนฟูทหารผานศึก และเยาวชนระดับจังหวัด (DoSVY) เพื่อการตามหาครอบครัว จากนั้น หนวยงานทั้งสองจะประสานงานในการสงตัวผูเสียหายกลับประเทศ ทั้งนี้ ผูเสียหายที่เปนผูหญิงและเด็ก ซึ่งถูกสงกลับจากประเทศไทยและเวียดนามสามารถเลือกเขาพํานักในบานพักขององคกร พัฒนาเอกชนได ซึ่งใหบริการดานการฟนฟูทางจิตใจและสังคม โครงการดานการศึกษาและฝกทักษะอาชีพ การพํานักใน บานพักจะมีระยะเวลาตั้ งแตสามเดือนถึงหาป ภายหลังพํา นักในบานพักดังกลาว องคกรพัฒนาเอกชน จะดําเนินการ ชวยเหลือผูเสียหายอยางตอเนื่องในการสงผูเสียหายกลับ (คืน) สูสังคม โดยการเยี่ยมบาน การมอบเงินทุนประกอบอาชีพ เพิ่มเติม และการฝกอบรมทักษะขัน้ สูงเปนเวลาประมาณหนึ่งหรือสองป

สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีการดําเนินงานเพื่อคัดแยก และสงผูเสียหายจากการคามนุษยกลับคืนสูสังคม เนน ที่ระดับภายในประเทศเปนการเฉพาะ แมวา รัฐบาลจะดําเนินการสงตัว และใหความชวยเหลือผูเสียหายชาวจีนใน ตางประเทศ โดยเฉพาะผูเสียหายในประเทศมาเลเซีย และประเทศไทยก็ตาม โดยทั่วไปแลว เฉพาะผูหญิง และเด็กที่ตก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 188 อยูในสถานการณการแสวงหาประโยชน เชน การบังคับแตงงาน การรับบุตรบุญธรรมผิดกฎหมาย การแสวงหาประโยชน ทางเพศ และการบังคับใชแรงงานเด็กและเยาวชน จะไดรับการจําแนก และไดรับความชวยเหลือในฐานะผูเสียหายจาก การคามนุษยในประเทศจีน อยางไรก็ต าม ผูชายก็สามารถไดรับ การจําแนกวา เปน ผูเสียหายจากการค ามนุษ ยจากการถูกบัง คับใช แรงงานตามประมวลกฎหมายอาญา และสามารถไดรับความชวยเหลือจากบานพักของรัฐบาลไดเชนกัน เมื่อตํารวจทําการ คัดแยกผูเสียหาย กระทรวงตํารวจ (MPS) กระทรวงมหาดไทย (MCA) และสมาพันธสตรีจีน (ACWF) โดยไดรับความ สนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ จะดําเนินการสงเคราะหใหความชวยเหลือชั่วคราวดานการ สงกลับและสงคืนผูเสียหายสูสังคม ดวยอาณาเขตประเทศที่ใหญโตกวางขวางและมีประชากรจํานวนมาก รัฐบาลจีนจึงดําเนินงานศูนยพักพิง และศูนยคุมครอง 1,593 แหงทั่วประเทศ ซึ่งใหบริการผูเสียหายจากการคามนุษยรูปแบบตาง ๆ หลากหลาย อันไดแก การใหที่พักอาศัย การรักษาพยาบาล การฟ นฟูดานจิตใจ การใหความรู และความชวยเหลือดานกฎหมาย รวมทั้งการ ฝกอบรมทักษะชีวิต และวิชาชีพ การใหความชวยเหลือเชนนี้ มีเปาหมายเพื่อสรางความตระหนักแกผูเสียหายถึงการคา มนุษยและเพื่อพัฒนาศักยภาพผูเสียหายในการปองกันตนเอง รวมทั้งมีทักษะชีวิตและวิชาชีพ ทั้งนี้ บานพักของรัฐบาล ทั้งหมดดําเนินงานภายใตแนวทาง ซึ่งพัฒนาโดยกระทรวงมหาดไทย ซึ่งระบุกลไกในการรับและใหบริการผูเสียหายจาก การคามนุษยตลอดชวงการพํานัก โดยศูนยสมาพันธสตรีจีนในทองถิ่น จะรวมกับองคกรพัฒนาเอกชนระหวางประเทศ และองคกรชุมชนระดับทองถิ่นอาจดําเนินการในการจัดที่พักอาศัย และอาหารใหการฝกอบรมทักษะชีวิตและวิชาชีพ การ ใหความชวยเหลือดานการรักษาพยาบาล และฟนฟูจิตใจ หรือการเขาถึงโอกาสเงินทุนขนาดเล็กสําหรับผูเสียหายจาก การคามนุษย และบางครั้งก็มีการดําเนินการติดตามใหความชวยเหลือตอเนื่องเปนเวลาหกเดือน ภายหลังผูเสียหายจบ โครงการจากบานพักแลว สาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว มีกลไกการสงกลับและการดําเนินงาน (คืน) สูสังคม มุงความสําคัญไป ที่คดีขามชาติกับประเทศไทย ดวยจํานวนผูเสียหายที่ไดรับการสงกลับจากที่อื่น ๆ มีไมมากนัก กระบวนการสงกลับ จึง ดําเนินการผานชองทางทางการทูตเฉพาะกิจ ทั้งนี้ ผูเสียหายจะไดรับการสงตัวกลับไปยังชุมชนทันทีเมื่อเดินทางมาถึ ง ชายแดน อยางไรก็ตาม บนพืน้ ฐานบันทึกความเขาใจทวิภาคีนั้น จะมีการรับผูเสียหายที่ถูกสงตัวกลับจากประเทศไทย ที่ศูนยผานแดนเวียงจันทน (VTC) ซึ่งเปนสถาบันที่ดําเนินการรวมกันระหวางกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (MLSW) และองคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน (IOM) เปนเวลาหนึ่งสัปดาห จากนั้น เจาหนาที่ตํารวจจะ ดําเนินการสัมภาษณถึงประสบการณการคามนุษย ซึ่งองคกรที่เกี่ยวของ ไดแก องคกรชวยเหลือเด็กและผูหญิง Village Focus International และ World Vision จะชี้แจงถึงแผนงานใหความชวยเหลือ (คืน) สูสังคมที่เปนไปได รวมทั้งการ ตรวจสุขภาพและการรักษากรณีจําเปน จากนั้น MLSW, IOM และ/หรือ WV จะอํานวยความสะดวกในการชวยเหลือ ผูเสียหายคืนสูครอบครัว จากนั้น องคกรที่เกี่ยวของจะทําการประเมินครอบครัวและประเมินความตองการเพื่อที่จะทํางาน รวมกันในการวางแผนการใหความชวยเหลือในการ (คืน) สูสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยผูเสียหายอาจพํานักใน บานพักแหงใดแหงหนึ่งจากบานพักสี่แหงภายในประเทศ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับวา หนวยงานใดเปนผูทําการประเมินครอบครัว หนวยงานดังกลาว จะดําเนินการจัดสภาพแวดลอมที่ปลอดภัยพรอมทั้งใหการฝกอบรมดานอาชีพ และเยียวยาดานจิตใจ และสังคม สําหรับกรณีอื่น ๆ ไดมีการใหความชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยในรูปแบบที่ คลายคลึงกันนี้ ภายใน ชุมชนของผูเสียหายโดยไมตองเขาพํานักในบานพัก เมื่อแผนงาน (คืน) สูสังคมดําเนินการเสร็จสิ้น จะมีการติดตามสภาพ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 189 ความเปนอยูของผูที่ถูกสงตัวกลับบาน และชุมชนเปนเวลาหนึ่งถึงสามป ซึ่งการดําเนินการดังกลาวนี้ นําไปใชกับกรณี ผูเสียหายจากการคามนุษยภายในประเทศเชนกัน โดยเปนการดําเนินงานรวมกันระหวางสหภาพแมหญิงลาว (LWU) และ องคกรชวยเหลือเด็กและผูหญิงแหงประเทศลาว องคกรทั้งสองดําเนินงานบานพักสําหรับผูเสียหายจากการคามนุษย ภายในประเทศ และใหความชวยเหลือผูเสียหายเหลานี้ ในรูปแบบเดียวกันกับผูเสียหายจากการคามนุษยระหวางประเทศ ตามที่กลาวมาแลว ทั้งนี้ ถึงแมวา ผูเสียหายผูชายจะสามารถไดรับการคัดแยกในฐานะผูเสียหายจากการคามนุษยภายใต ประมวลกฎหมายอาญาได กระนั้น การใหความชวยเหลือสวนใหญที่มีอยูจะมุงไปที่ผูหญิงและเด็กเทานั้น สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร มีการสงผูเสียหายกลับประเทศผานชองทางระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ชองทางตาง ๆ นั้น ชวยอํานวยความสะดวกในการเดินทางกลับของผูเสียหายจากประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ประเทศจีนและไทย ผูเสียหายทุกคนไมจํากัดอายุ และเพศ มีสิทธิไดรับการคุมครองและความชวยเหลือภายใตกฎหมาย ตอตานการคามนุษย อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัตินนั้ บริการและความชวยเหลือแกผูหญิงและเด็ก มีความครอบคลุมรอบดานกวา บริการและความชวยเหลือที่มีใหผูเสียหายผูชาย เมื่อผูเสียหายเดินทางมาถึง จะมีการรับผูเสียหายที่ศูนยผานแดน/พักพิง หนึ่งในหาศูนยที่ตั้งอยูทั่วประเทศ ซึ่งดําเนินการโดยกรมสวัสดิการสังคม (DSW) โดยจะรับผูเสียหายเขาพักเปนระยะสั้น ๆ กอนสงตัวกลับยังภูมิลําเนา โดยทําการฝกอบรมทักษะวิชาชีพ การรักษาพยาบาลฉุกเฉิน และการใหคําปรึกษาเบื้องตน ระหวางพํานักในบานพักในกรณีพิเศษ เชน ผูเสียหายที่เปนเด็ก ซึ่งมีผลการประเมินครอบครัวเปนลบจะไดรับอนุญาตให พํานักระยะยาวเพื่อรับความชวยเหลือ ทั้งนี้ เมื่อผูเสียหายเดินทางมาถึงจะมีประชุมการสงกลับและการกลับคืนสูสังคม เพื่อประสานความรวมมือในการเตรียมการดําเนินงานชวยเหลือสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคมอยางมีประสิทธิภาพ โดย DSW เปนประธานการประชุม และมีภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนที่ดําเนินการตอตานการคามนุษยเขารวมประชุมดวย ทั้งนี้ จะมีการแบงความรับผิดชอบระหวางผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวย การสืบคน/ประเมินครอบครัว การออก เอกสารประจําตัวบุคคล การสัมภาษณเพื่อดําเนินคดี การเขารวมในกระบวนการกฎหมาย การเดินทางกลับ และการแบง สรรหนาที่รับผิดชอบในการดําเนินความชวยเหลือสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคม กรมสวัสดิการสังคม World Vision (WV) และองคกรชวยเหลือเด็ก คือ องคกรหลักที่ดําเนินงานดานการสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคมระยะยาวในประเทศเมียนมาร ใน กรณีที่ผูเสียหายถูกสงตัวกลับยังพื้นที่ทํางานปจจุบันของ WV และองคกรชวยเหลือเด็ก ผูเสียหายจะไดรับบริการการสง (คืน) สูสังคมอยางครอบคลุมรอบดาน ซึ่งประกอบดวย การประเมินความตองการ การฝกอบรมทักษะวิชาชีพ การ สนับสนุนอุปกรณ และเงินทุนประกอบอาชีพ การฟ นฟูดานจิตใจและสังคม รวมทั้ งการติดตามประเมินผล และการ สนับสนุนอยางตอเนื่องตลอดหนึ่ง หรือสองป ในพื้นที่หางไกลหรือพื้นที่ที่ยากแกการเขาถึงในประเทศเมียนมารนั้น กรม สวั ส ดิ ก ารสั ง คม โดยการสนั บ สนุ น จากองค ก ร UNICEF จะดํ า เนิน การสนั บ สนุ น ชุ ด ความช ว ยเหลื อ ส ว นหนึ่ ง ซึ่ ง ประกอบดวย เงินทุน อุปกรณและการติดตามผลในระยะสัน้ นอกเหนือจากนี้ องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่น ฐาน จะมอบเงินสดเพื่อเติมเต็มสวนที่ขาดในการดําเนินงานชวยเหลือผูเสียหายทั้งผูหญิงและผูชายที่ถูกสงตัวกลับมาจาก ตางประเทศ (คืน) สูสังคม สําหรับผูเสียหายจากการคามนุษยภายในประเทศนั้น หนวยงานบังคับใชกฎหมายจะทําการคัด แยกผูเสียหายสวนใหญ อยางไรก็ตาม การใหบริการสง (คืน) สูสังคมของผูเสียหายกลุมนี้ มีไมมากนัก เชนเดียวกัน ผูเสียหายซึ่งเดินทางกลับดวยตนเองตางไดรับความชวยเหลือเพียงเล็กนอย หากพวกเขารายงานประสบการณที่เขาถูก คา มนุษยใหบานพัก หรือหนวยงานบังคับใชกฎหมายไดรับทราบ พวกเขาอาจไดรับเงิ นทุนหรือเงินสดจํานวนหนึ่ง หรือชุด ชวยเหลือผูเสี ยหายจากกรมสวัสดิการสัง คม ซึ่งไดรับ การสนับสนุน จาก UNICEF แตในป จจุบัน ไมมีก ารชวยเหลือ ที่ ครอบคลุมรอบดานสําหรับผูเสียหายในสภาพการณเชนนี้


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 190 ราชอาณาจักรไทย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (DSDW) ประสานงานกับตํารวจองคการระหวางประเทศ เพื่อการโยกยาย ถิ่นฐาน และองคกรพัฒนาเอกชนภายในประเทศ ในการรับตัวผูเสียหายชาวไทย ณ สนามบินในกรุงเทพ เมื่อผูเสียหาย เดินทางมาถึง จากนัน้ จะมีการสัมภาษณผูเสียหายแตละคนถึงประสบการณการคามนุษย รวมถึงกําหนดความชวยเหลือ เบื้องต นที่เหมาะสมที่สุด ในขั้น นี้ และมีการจัดที่พั กใหชั่ วคราวในสถานคุ มครองของรั ฐบาลรวมทั้ งใหค วามคุ มครอง ผูเสียหาย จนกระทั่ง การประสานงานในระดับประเทศเสร็จสิ้น และมีการสงผูเสียหายกลับบาน จากนั้น สํานักปองกัน และแกไขปญหาการคาหญิงและเด็ก (BATWC) จะทํางานรวมกับหนวยงานภาครัฐระดับจังหวัด องคกรเอกชนและองคกร พัฒนาเอกชนในการให ความชว ยเหลือดา นสัง คมและเศรษฐกิจในการส งผูเ สียหาย (คืน) สูสั งคม ซึ่ง กระบวนการนี้ ประกอบด วย การประเมินความต องการแบบมี ส วนร วมจากผูเ สียหาย และครอบครัว รวมทั้ งพิ จารณาเงื่ อนไขทาง เศรษฐกิจของชุมชนโดยรวม ซึ่งผูเสียหายจะเขาพํานักในสถานคุมครองหนึ่งในเกาแหงทั่วประเทศ (บานพักสําหรับผูหญิงสี่ แห ง สํา หรั บ ผูช ายสี่แ หง และสํ าหรับ เด็ก ผูช ายหนึ่ ง แห ง ) เปน เวลาสองหรื อ สามเดือ น โดยสถานคุมครองเหล านี้ มี วัตถุประสงคเพื่อฟน ฟูสภาพจิตใจ และฝกทักษะวิชาชีพใหแกผเู สียหาย การฝกทักษะวิชาชีพนี้ ประกอบดวย การฝกอาชีพ ทําอาหาร และการเรียนเสริมสวยสําหรับผูหญิง และชั้นเรียนดานเครื่องยนต และเทคนิคสําหรับผูชาย อีกทางเลือกหนึ่ง คือ ผูเสียหายสามารถเลือกกลไกสนับสนุนฟน ฟูภายนอก ซึ่งมีการฝกอบรมที่คลายคลึงกัน เพียงแตไมไดดําเนินการภายใน สถานคุมครอง เมื่อดําเนินการฝกอบรมเสร็จสิ้นแลว สํานักปองกันและแกไขปญหาการคาหญิงและเด็ก และหนวยงาน ภาครัฐระดับจังหวัด จะประสานงานกับหนวยงานระดับอําเภอและหมูบาน เพื่อติดตามประสิทธิผลของการดําเนินงานคืน (สู) สังคม และเพื่อใหแนวทางและความชวยเหลือเพิ่มเติม ระยะเวลาการติดตาม และประเมินผลดังกลาวนี้ มีระยะเวลา ตัง้ แตสามเดือนถึงหนึ่งป สําหรับผูเสียหายชาวไทยที่เดินทางกลับประเทศเองนั้ น หนวยงานภาคีองคกรพัฒนาเอกชนในประเทศ ปลายทางจะแจงขอมูลมายังกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ถึงการเดินทางกลับของผูเสียหาย จากนั้น กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการรวมกับเจาหนาที่ตํารวจ จะดําเนินการคัดแยกผูเสียหาย ณ สํานักงานตรวจคนเขาเมือง หากผูเสียหายที่ เดินทางกลับเองนั้นไดรับการจําแนกวา เปนผูเสียหายจากการคามนุษย พวกเขามีสิทธิไดรับบริการ และการคุมครอง ใน สวนของการสงผูเสียหายตางชาติกลับประเทศและกลับคืนสูสงั คมนั้น ประเทศไทยมุงใหความสําคัญกับการประสานความ รวมมือระหวางประเทศ เพื่อการสงกลับที่ปลอดภัยผานกลไกระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ดว ยวิธีดําเนินงานมาตรฐาน (SOPs) พรอมดว ยแนวทางที่มีผูเสียหายเป นศูนยกลาง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดและสิทธิของ ผูเสียหาย

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนามนั้ น กระทรวงแรงงาน ทุ พ พลภาพ และสวั ส ดิ ก ารสั ง คม (MOLISA) ดําเนินการรับผิดชอบทั้งหมด ดานการคุมครอง และการสงผูเสียหายจากการคามนุษยคืน (สู) สังคม กฎหมายตอตาน การคามนุษยฉบับใหมของประเทศเวียดนาม ตระหนักถึงผูเสียหายจากการคามนุษยทั้งผูหญิงและผูชาย แมวา สวนใหญ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 191 แลว ผูเสียหายผูชายมักจะไมไดรับความชวยเหลือ เนื่องจาก ไมมีแผนงานที่เหมาะสมทางเพศสภาพ รวมทั้งสถานคุมครอง สําหรับผูเสียหายผูชาย ผูเสียหายชาวเวียดนามที่ไดรับการคัดแยกจากประเทศกัมพูชา สปป.ลาว และจีน จะถูกสงตัวกลับ ณ พืน้ ที่ชายแดนผานชองทางรัฐบาล สําหรับผูเสียหายที่ถูกสงตัวกลับจากประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะจากประเทศไทย และ มาเลเซีย หนวยงานทางการทูตของประเทศจะอํา นวยความสะดวกกระบวนการสงกลับโดยการสนับสนุนจากองคการ ระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน และองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของ ในพื้นที่เฉพาะบางแหง ผูเสียหายสามารถ ขอรับการสงเคราะหจากศูนยปองกันภัยชายแดนหรือศูนยแรกรับระยะสั้น ซึ่งดําเนินการโดย Border Guard Command และ MOLISA ตามลําดับ ทัง้ นี้ เวียดนามมีศูนยแรกรับระยะสั้นสามแหง โดยศูนยสองแหงที่ตั้งอยูในภาคเหนือนั้น ใหบริการผูเสียหายที่ ถูกสงกลับจากประเทศจีน และศูนยอีกหนึ่งแหงที่ตั้งอยูในภาคใตจะรองรับผูเสียหายที่ถูกสงกลับจากกัมพูชา ทั้งนี้ ศูนยจะ จัดหาที่พัก ความจําเปนพื้นฐาน การดูแลสุขภาพและการใหคําปรึกษาเบื้องตนเปนเวลา 15 วัน จากนั้น ผูเสียหายสามารถ แสวงหาความชวยเหลือเพิ่มเติมผานศูนยระยะยาวหาแหง ซึ่งดําเนินงานโดยหนวยงานรัฐบาลทองถิ่นของเวียดนาม และ ไดรับการสนับสนุนดานเทคนิคและงบประมาณจากองคกรพัฒนาเอกชนระหวางประเทศ โดยสถาบันเหลานี้ มีขอบเขต การดําเนินงานที่กวางกวาศูนยแรกรับที่ไดกลาวมาขางตน แตมักทํางานกับผูเสียหาย ซึ่งมีญาติอาศัยอยูใกลชิด การบริการ ครอบคลุมถึงการศึกษาในระบบ การฝกวิชาชีพ การใหความชวยเหลือดานกฎหมาย การรักษาพยาบาลและใหคําปรึกษา โดยขึ้นอยูกับผลการประเมินความตองการ และการเลือกของผูเสียหาย และครอบครัว จะไมมีการกําหนดระยะการพํานัก ของผูเสียหายลวงหนา ซึ่งผูเสียหายสามารถพํานักยาวนานไดถึงสองป และจะมีการติดตาม และใหการสนับสนุนตอเนื่อง เปนรายบุคคลตามสภาพการณ โดยไมมีแนวทางเปนมาตรฐาน ผูเสียหายสามารถเลือกที่จะรับความชวยเหลือในรูปแบบ การบริการภายนอกศูนย เชน การฝกอบรมวิชาชีพ การหางาน หรือการกูยืมเงิน โดยผานสํานักงาน MOLISA ในทองถิ่น ไดนานสุดเปนเวลาหกเดือน นอกเหนือจากนัน้ กฎหมายตอตานการคามนุษยฉบับใหมยังอนุญาตใหผูเสียหาย ซึ่งเดินทาง กลับเองสามารถรายงานคดีของตนแกหน วยงานรัฐบาล เพื่อขอสถานภาพการเปนผูเสียหายจากการคามนุษยอยางเปน ทางการ และสามารถเขารับบริการ อยางไรก็ตาม กระบวนการเหลานี้ มักจะมีหลักฐานไมเพียงพอ เพื่อพิสูจนสถานภาพการเปนผูเสียหาย ซึ่ง สงผลใหผูที่ไมไดรับการคัดแยกวา เปนผูเสียหายมีทางเลือกเดียวในการแสวงหาการชวยเหลือนั่นคือ จากบานพักระยะยาว ซึ่งมีขอบเขตหนาที่ที่ครอบคลุมกวา โดยสรุปแลว ปญหาการคามนุษย เปนปญหาขามชาติที่กอใหเกิดผลกระทบตอความมั่นคงของประเทศ และ ความสั มพั น ธ ร ะหว า งประเทศมาเป น เวลาช า นาน ป จจั ยที่ เ ป น สาเหตุ ที่ ก อ ให เ กิ ด ป ญ หาก็ เ นื่ อ งมาจากสภาวการณ เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจภายในประเทศ ความยากจนของประชากร ภาวการณวางงาน ความตองการมีชีวิตที่ดีกวา การ ถูกลอลวงจากนายหนา เสนทางและลักษณะภูมิประเทศบริเวณแนวพรมแดนที่เอื้อตอการเคลื่อนยายของกลุมขบวน การคามนุษยขามชาติ ปจจัยเหลานี้ ลวนแลวแตเปนปจจัยหลักที่ทําใหเกิดปญหาการคามนุษย และปจจัยที่สงเสริมให การคามนุษยไมหมดสิ้นไปก็คือ การที่มีมาตรการ และนโยบายในการปราบปรามปองกัน แตสุดทายแลว การดําเนินการ ไมไดทั้งหมดตามที่ไดกําหนดไว ดวยเหตุเพราะเจาหนาที่ของรัฐละเลย หรือมีสวนไดสวนเสียดวย ปญหาการคามนุษยไมไดเปนปญหาใหมที่พึ่งจะเกิดในภูมิภาคอาเซียนนี้ ดังนั้น มาตรการในการปองกันและ แกไขปญหาการคามนุษยในวิธีตาง ๆ จึงมีมานานแลว ไมวาจะเปนในรูปแบบของตัวบทกฎหมาย อนุสัญญา พิธีสาร ฯลฯ แตถึงกระนั้น ปญหาการคามนุษยก็ยังมิไดหมดสิ้นไปจากสังคมโลก อันเนื่องดวยจากสภาวการณโลกที่เปลี่ยนแปลงไมเคย หยุดนิ่ง เศรษฐกิจโลกมีขาขึ้น ขาลง บางชวงเศรษฐกิจโลกดี สงผลใหวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนดีขึ้น แตบางชวงที่ อยูในชวงเศรษฐกิจตกต่ํา ขาวยากหมากแพง ทําใหประชาชนตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอดของตนเอง จนนําไปสูการเกิด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 192 ปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางการคามนุษย การถูกลอลวง หรือบางคนก็ถือวา การคาประเวณี หรือการทํางานเปนคน รับใช เปนเรื่องธรรมดา อีกทั้งปญหาการคามนุษย เราไมสามารถปฏิเสธไดวา ในบางครั้งบางประเทศก็มีการละเลย ในการ สอดสองดูแล หรืออาจจะมีผูมีอิทธิพลบางกลุมที่สมรูรวมคิด และใหการสนับสนุนอยูเบื้องหลังดวย และที่สําคัญในเรื่อง ของลักษณะภูมิประเทศก็มีสวนสําคัญที่ทําใหเกิดชองวางในการขนสง เคลื่อนยายเหยื่อการคามนุษยไดสะดวก ในการที่ประเทศตาง ๆ ในอาเซียนรวมมือกันเพื่อเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ เพื่อเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงนั้น แมวา วัตถุประสงคของการกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน จะมุงเนนไปที่การเพิ่มอํานาจตอรองและ ขีดความสามารถดานการแขงขันของอาเซียนในเวทีระหวางประเทศ รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปญหาใหม ๆ ใน ระดับโลกที่สงผลกระทบตอภูมิภาคอาเซียน แตสิ่งที่อาเซียนถูกจับตามองจากเวทีโลกก็คือ ประชาคมอาเซียนจะสามารถ ปฏิบัติไดตามที่ไดกําหนดนโยบายไวหรือไม และการเปนดําเนินงานของประชาคมอาเซียนจะมีศักยภาพดังเชนสหภาพ ยุโรปหรือไม สําหรับปญหาการคามนุษยประเภทการคาประเวณีในผูหญิงและเด็ก รวมทั้งประเภทขอทาน ถือวา มีจํานวน มากที่สุด และถือเปนการละเมิดสิทธิความเปนมนุษย และบั่นทอนความรูสึกของผูถูกกระทําเปนที่สุด ในการที่ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใตกําลังจะกาวสูการเปนประชาคมอาเซียน ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 นับเปนกาวที่ประเทศ ในภูมิภาคกําลังตื่นตัว และเตรียมความพรอมในการรับมือ มีการจัดเตรียมนโยบายและแผนยุทธศาสตรตาง ๆ เพื่อเตรียม ความพรอมใหกับประเทศของตน สําหรับปญหาการคามนุษย ซึ่งถือเปนปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น แมวา จะอยูใน นโยบายของประชาคมอาเซียนที่ทุกประเทศ จะตองรวมมือกันในการแกไขปญหาใหคลี่คลายลงก็ตาม เมื่อพิจารณานโยบายและมองในสถานการณโลกในขณะนี้ ก็ยังพบวา ป ญหาการคามนุษยยังคงมิอาจที่จะ คลี่คลายปญหาลงไปได การกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียนที่ตองการใหอาเซียน เปนดังสโลแกนที่วา “หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งเอกลักษณ หนึ่งประชาคม” (One Vision, One Identity, One Community) แตสําหรับผลกระทบของการกาวเขา สูการเปนประชาคมอาเซียนที่มีตอปญหาการคามนุษย จะเปรียบเสมือนการสรางกําแพงกั้น หรือยิ่งเปนการสรางสะพาน เชื่อมใหเกิดปญหาการคามนุษยเพิ่มมากขึ้น ณ ปจจุบันนี้ หากมองจากนโยบายของการเปนประชาคมอาเซียนแลว อาจกลาวไดวา เปรียบเสมือนการสราง กําแพงลองหน แตการสรางสะพานเชื่อมใหเกิดการคามนุษยมีมาชานานแลว เพียงแตเปนการสรางสะพานใหทอดยาวมาก ไปกวาเดิม และสิ่งที่ประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียนตองรวมกันปองกัน และอุดชองโหวของปจจัยที่จะกอใหเกิดการคา มนุษยก็คือ เรื่องมาตรการการตรวจตราบริเวณพรมแดนอยางเขมงวด เพราะการเปดประเทศอยางเสรีมากกวาเดิม หลังจากเปนประชาคมอาเซียนแลว แตละประเทศในภูมิภาคจะเชื่อมโยงไดงายยิ่งขึ้น ดังนั้น ประเทศในภูมิภาคอาเซียน จะตองรวมมือกันอยางจริงจัง และหากตองการใหปญหาการคามนุษยคลี่คลายใหไดมากที่สุด สิ่งที่สําคัญที่ไมควรละเลย ก็ คือ “ประชากรรากหญา” เพราะพวกเขาคือ ผูที่ตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษยไดงายที่สุด ดังนั้น ถาหากประชาคม อาเซียนดูแล และพัฒนาประชาชนภายในประเทศไดตามนโยบายที่กําหนดไวในเสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน และแกไขปญหาไดตามนโยบายในเสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดอยางจริงจังแลว ก็ นับเปนนิมิตหมายที่ดีในการที่จะสนับสนุนเสาหลักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของภูมิภาคใหรุดหนาทัดเทียมกับนานา ประเทศที่ มีก ารพัฒนา หรื อประเทศมหาอํ านาจทางเศรษฐกิ จประเทศอื่ น ๆ ไดอ ยา งมี ประสิ ทธิภาพ ซึ่ งเราจะตอ ง ทําการศึกษาและติดตามเสนทางของความสําเร็จของการเปนประชาคมอาเซียนตอไป สําหรับประเทศไทย การตอตานการคามนุษยยังไมสามารถที่จะขจัดปญหาการคามนุษยใหหมดไปจากประเทศ ได สืบเนื่องมาจากสาเหตุการที่ประเทศไทยยังขาดบุคลากร ในสายงานที่มีความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานในการ ตอตานการคามนุษยอยางเปนระบบ รวมถึงการรวมมือของทุกภาคสวนในสังคมยังไมเปนระบบเทาที่ควร จะเปนทั้งตํารวจ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 193 ตรวจคนเขาเมือง ตํารวจตามแนวชายแดน พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ รวมถึงดานแหลงเงินทุนของภาคธุรกิจเอง ที่คอยสนับสนุนในการหาพยานหลักฐานมาชวยในการพิจารณาคดีทางกระบวนยุติธรรมทางอาญา เพราะถาไมมีแหลง เงินทุนในการนํามาสืบแสวงหาพยานหลักฐานแลว การดําเนินงานในดานการตอขบวนการคามนุษยก็ยังไมเกิดประสิทธิผล เทาที่ควรจะเปน เพราะการไมมีเงินในการนําไปแสวงหาพยานหลักฐานทําใหขบวนการคามนุษยไดลอยนวล และจะขยาย อิทธิพลออกไปทั่วในภูมิภาคอาเซียน และนําไปสูปญหาอาชญากรรมในรูปแบบอื่นมากมาย เชน ปญหายาเสพติด ปญหา การฟอกเงิน และปญหาอาชญากรรมขามชาติตาง ๆ นับวันปญหาเหลานี้ยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้น การที่จะแกไขปญหาการคามนุษยใหประสบความสําเร็จ หรืออยางน อยที่สุดใหอยูในระดับบรรเทาเบา บางลงไปไดนั้น จะตองแกไขปญหาทั้งในพื้นที่ประเทศตนทาง และประเทศปลายทางของการคามนุษย โดยประเทศตน ทาง ซึ่งหมายถึง ประเทศที่เหยื่อการคามนุษยเดินทางจากมานั้น จะตองไดรับการแกไขปญหาในเรื่องของการพัฒนาใน พื้นที่ตนทาง เชน การพัฒนาเศรษฐกิจ การสรางงานสรางอาชีพในทองถิ่น การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแกประชาชน การ ใหความรูความเขาใจที่ถูกตองแกประชาชนในเรื่องของการเดินทางไปทํางานยังตางประเทศ รวมไปถึงมาตรการในการ ระงับปญหาการสูรบระหวางฝายที่มีความขัดแยงระหวางกัน อันจะสงผลเสียตอการพัฒนาเศรษฐกิจและการสรางโอกาส ในการจางงานในทองถิ่น ซึ่งเปนแนวทางแกไขปญหาขั้นพื้นฐานในการแกไขปญหาการคามนุษย นอกจาก การแกไขปญหาในพื้นที่ประเทศตนทางแลว การแกไขปญหาในพื้นที่ประเทศปลายทาง หรืออีกนัยหนึ่ง คือ ประเทศที่แรงงานตางดาว หรือเหยื่อการคามนุษยเดินทางเขาไปทํางานนั้น ก็นับวา เปนสิ่งที่สําคัญไมยิ่งหยอนไปกวา กัน โดยสิ่งที่จะตองไดรับการแกไขในพื้นที่ประเทศปลายทาง คือ การบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของใหมีความเขมงวดรัดกุม มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งกับนายจางที่ลักลอบจางแรงงานตางดาว รวมทั้งเจาหนาที่รัฐที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการแกไข ปญหา แตกลับรูเห็นเปนใจกับนายจางในการกระทําผิดกฎหมาย ซึ่งการกระทําดังกลาวของเจาหนาที่ จะกลายเปน อุปสรรคที่สงผลใหการแกไขปญหาการคามนุษย หรือการเอารัดเอาเปรียบดานแรงงานนั้น ไดรับการแกไขใหบรรเทาลงไป ไดยากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชน จะตองใหความรูความเขาใจแกนายจาง ในเรื่องของขั้นตอนการจางแรงงานตางดาวที่ถูกตองตามกฎหมาย และหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของของไทย จะตอง ดําเนินการรวมกับหนวยงานภาครัฐของประเทศตนทางในการแกไขปญหาการคามนุษย และปญหาแรงงานตางดาวเขา เมื อ งผิ ด กฎหมายที่ นั บ ได ว า เป น กลุ มเสี่ ย งที่ จะตกเป น เหยื่ อ การค า มนุ ษ ย เช น การแสวงหาแนวทางในการสร า ง กระบวนการจางแรงงานตางดาวที่ถูกตองตามกฎหมาย การเรงรัดดําเนินการจางแรงงานตางดาว ตามแนวทางที่ปรากฏใน บันทึกความเขาใจวา ดวยการจางแรงงานที่รัฐบาลไทยไดลงนามรวมกับประเทศเพื่อนบานทั้งสามประเทศใหเกิดผลในทาง ปฏิบัติมากยิ่งขึ้นกวาที่เปนอยูในปจจุบัน ทั้งนี้ ก็เพื่อใหปญหาการคามนุษย ซึ่งนับวา เปนปญหารวมกันทั้งของประเทศตน ทางและประเทศปลายทางไดรับการแกไขจนลุลวงไปไดโดยถาวร หรืออยางนอยที่สุดก็ใหไดรับการแกไขจนระดับความ รุนแรงของปญหาบรรเทาเบาบางลงไป ทั้งนี้ ก็เพื่อความเจริญรุงเรืองทั้งของประเทศตนทางและประเทศปลายทางเคียงคู กันไป ซึ่งสามารถสรุปปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเรื่องการคามนุษยขามชาติไดดังนี้

ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเรื่องการคามนุษยขามชาติ ประการแรก

รู ป แบบการกระทํ า ผิ ด ของคดี ค า มนุ ษ ย ใ นป จ จุ บั น มี ลั ก ษณะเป น เครื อ ข า ยองค ก ร อาชญากรรม และมีการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาใชในการกออาชญากรรมมากขึ้น โดย มีก ารเตรี ยมเครื่อ งมือ เครื่อ งใช หรื อ เทคโนโลยี มาใชง านในเรื่ องของการปลอมแปลง เอกสาร เพื่อใหมีลักษณะคลายกับเอกสารฉบับจริงที่ออกใหโดยหนวยงานราชการของแต ละประเทศมากที่สุด เชน การปลอมแปลงหนังสือเดินทาง การใชชื่อของบุคคลอื่นแทนชื่อ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 194

ประการที่สอง

ประการที่สาม

ประการที่สี่

ประการที่หา

ตนโดยมี การทํา ศัลยกรรมพลาสติกตนเองใหคล ายกับคนในบัต ร หรือมี การใช เลขบัต ร ประจําตัวเลขเดียวกันซ้ํากันหลาย ๆ คน การบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับคดีคามนุษยขามชาติเกี่ยวของกับกฎหมายหลายฉบับทั้งใน สวนของหลักการตามกฎหมายระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคีและกฎหมายภายใน เชน พระราชบัญญัติ คนเขาเมือง พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. 2535 อยางไรก็ตาม กลไกการประสานความรวมมือของ ประเทศไทยยังคงขาดประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจากขอจํากัดของระเบียบและกฎหมาย ภายในอื่น ๆ ซึ่งมีขั้นตอนความรวมมือระหวางประเทศที่ซับซอนและมีความแตกตางกัน จึง ทําใหปญหาความลาชาในการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับคดีการคามนุษยขามชาติ การรวบรวมพยานหลักฐานในกรณีที่เกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการ กระทําผิด อาจมีความลาชา เนื่องจาก ความไมพรอมของอุปกรณที่ทันสมัย และขาดแคลน บุคลากรที่มีความรูความสามารถ หรือการขอความรวมมือระหวางประเทศในการรวบรวม พยานหลักฐานเปนไปดวยความยากลําบาก โดยเฉพาะหากตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่ทํา หน า ที่ เ ป น ระบบแม ข า ยคอมพิ ว เตอร (Server) อยู ต า งประเทศซึ่ ง มี ขั้ น ตอนและใช ระยะเวลาพอสมควรในการขอเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ เชน ขอมูลดิจิตอล (digital) เปนตน เมื่อไดพยานหลักฐานมาแลว พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการจะตองอธิบาย ถึงวิธีการไดมาจนสิ้นขอสงสัยในระบบการพิจารณาของศาล เพื่อใหศาลรับฟง ซึ่งตองการ เจ า หน า ที่ ที่ มี ค วามรู เ ฉพาะทางชั้ น สู ง พอสมควร และต อ งเป น นั ก กฎหมาย หรื อ เป น เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรม แตในปจจุบันนี้มีจํานวนนอยมาก การดู แ ลพยานบุ ค คล ซึ่ ง เป น ผู เสี ยหายชาวต า งประเทศ หรื อ ที่มี ถิ่ น ที่ อ ยู นอกประเทศ จะตองเผชิญกับปญหาเรื่องภัยคุกคามความปลอดภัย ทั้งตอตนเอง ครอบครัวรวมถึ งผู ใกลชิด ทั้งนี้ รัฐจะตองสนับสนุนงบประมาณในการดูแลพยาน เชน คาที่พัก คาครองชีพ คา เดิ น ทาง เป น ต น อั น เนื่ อ งมาจากการไม ไ ด รั บ ค า จ า งจากการทํ า งานในระหว า งที่ เ ป น ผูเสียหาย ตลอดจนผลกระทบในดานอื่น ๆ เชน การไมสามารถดําเนินชีวิตประจําวันตาม วิถีทางปกติได จึงจําเปนอยางยิ่งที่รัฐจะตองมีกฎหมายเฉพาะเพื่อรองรับกลไกทางกฎหมาย พิเศษบางประการในการชวยเหลือผูเสียหายที่ตกเปนเหยื่อ เชน กระบวนการชั้นศาลในการ สืบพยานไวกอน และการสนับสนุนงบประมาณใหพนักงานสอบสวนในการดูแลและติดตอ กับพยานในตางประเทศ เปนตน การขาดประสบการณความชํานาญในการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคามนุษยของ หนวยงานที่เกี่ยวของ อันเนื่องมาจากขอจํากัดในการรับการสนับสนุนจากภาคเอกชนหรือ รัฐอื่น ๆ ทําใหการดําเนินการเปนไปโดยลาชา และเกิดอุปสรรคในการประสานงานระหวาง หนวยงานที่บังคับใชกฎหมายและหนวยงานที่สนับสนุนการบังคับใชกฎหมาย เชน ปญหา การขอรั บความชวยเหลื อตา ง ๆ ป ญหาในโครงการคุมครองพยาน ปญ หาการรับเรื่อ ง รองเรียนกรณีที่เกิดการคาแรงงานหรือการคามนุษย ซึ่งตองอาศัยทักษะดานภาษา เปนตน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 195 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเรื่องคนตางดาวหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย ประการแรก

ประการที่สอง

ประการที่สาม

ประการที่สี่

การดําเนินคดีตอคนตางดาวที่กระทําความผิดในคดีอาญาจะเปนไปตามกฎหมายภายใน ของแต ล ะประเทศโดยมิ ไ ด มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ว า เป น คนชาติ นั้ น หรื อ เป น คนต า งด า ว เนื่ อ งจากถื อ ว า การกระทํ า ความผิ ด ภายในประเทศ สํ า หรั บ ในทางปฏิ บั ติ เ มื่ อ มี ก าร ดําเนินคดีกับคนตางดาว สถานทูตจะเปนกลไกสําคัญที่เปนตัวแทนรัฐของคนชาตินั้น ๆ ที่ เจาเขาไปชวยเหลือ โดยฝายตํารวจหรืออัยการของประเทศที่มีการดําเนินคดี จะแจงใหทาง สถานทูตทราบ เพื่อใหเขามาชวยเหลือระหวางการดําเนินคดี และแจงใหญาติของผูตองหา หรื อ ผู ถู ก จั บ กุ มทราบถึ ง สถานภาพของผู ต อ งขั ง อย า งไรก็ ต าม ความสั มพั น ธ ร ะหว า ง สถานทูตไทยในตางประเทศอาจเปนไปในลักษณะที่เปนทางการ และเจาหนาที่ประจํา สถานทูตไมไดมีความรู หรือประสบการณเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเทาที่ควร เนื่องจาก มุงเนนไปในเรื่องการประสานงานในระดับรัฐเสียเปนสวนใหญ จึงทําใหมีอํานาจ ตอรองกับฝายบังคับใชกฎหมายของประเทศตาง ๆ ไมมากนัก คนตางดาวที่หลบหนีเขาเมืองสวนใหญ จะเขามาเปนลูกจางใชแรงงานมากกวาจะเปน พนักงานตามบริษัท ซึ่งสามารถสื่อสารโดยใชภาษาอังกฤษได บางครั้งที่ถูก จับกุมไดจะพูด แตภาษาทองถิ่นของตนเอง และไมสามารถสื่อสารภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ทําใหเปน อุปสรรคตอการสอบสวนดําเนินคดีและการใหความชวยเหลือ ประกอบกับทักษะในการ สื่อสารภาษาตางประเทศของเจาหนาที่ตํารวจไทยเองก็มีไมมากนัก ตองอาศัยลามเปนสวน ใหญ คนตางดาวหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมายที่ถูกจับกุมและดําเนินคดีเสร็จสิ้น และตองถูก ผลักดันกลับสูประเทศตนเองสวนใหญมีปญหาในเรื่องของคาใชจายในการเดินทาง ซึ่ ง หนวยงานรับผิดชอบหลักของไทย ไดแก สํานักงานตรวจคนเขาเมือง จะใชวิธีรอใหมีจํานวน ที่พอเหมาะ และจัดหารถเพื่อสงกลับไปยังประเทศ ซึ่งสวนใหญจะปลอยตัวบริเวณตามแนว ชายแดน แตเนื่องจาก ไมมีรั้วหรือแนวกั้นที่มิดชิดชัดเจน จึงทําใหคนตางดาวเหลานี้ มักจะ หลบหนีเขามาอยูบอยครั้ง ทําใหตองสูญเสียงบประมาณ นอกจากนี้ เครือขายขบวนการ ลักลอบขนคนขามชาติ ซึ่งมักจะมีความสัมพันธที่ดีกับเจาหนาที่ก็เปนปญหาอีกประการหนึ่ง ที่ ทํ า ให ก ารหลบหนี เ ข า เมื อ งผิ ด กฎหมายขยายตั ว มากขึ้ น และเป น อุ ป สรรคต อ การ ปราบปราม

องคกรอาชญากรรมที่ตั้งบริษัทเพื่อบังหนาในการกระทําผิดซื้อขายแรงงานผิดกฎหมายและ การคา มนุษย มักใชก ารติด ต อสื่อสารทางคอมพิวเตอรผา นระบบอินเตอรเน็ต โดยเป ด เว็บไซตที่มี Sever อยูตางประเทศ ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นสวนใหญที่พบก็คือ Sever ของกลุม อาชญากรตั้งอยูในตางประเทศ ทําใหเกิดความยากในการติดตามตัวผูกระทําความผิดมา ดําเนินคดีตามกฎหมาย โดยสรุปกระบวนทัศนในการทํางานตอตานการคามนุษย (Anti-Human Trafficking Paradigm) 1. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Humanitarian Approach)


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 196 2. ประโยชนสูงสุดของผูเสียหาย + ไมเลือกปฏิบัติ (The best interest of victims without discrimination) 3. การลงโทษผูกระทําผิดและการคุมครองผูเสียหาย (Prosecution & Protection) 4. แนวคิด 5 P (Policy, Prevention, Protection, Prosecution, Partnership) 5. แนวทางคุมครอง มี 4 R เพื่อตอตาน Re-trafficking ไดแก (Rescue, Recovery, Repatriation, Reintegration) 6. MDT Approach คือ Multi-Disciplinary Team Approach การทํางานโดยทีมสหวิชาชีพ อนึ่ง กรอบ ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS) ไดกําหนดใหแรงงานมีทักษะ 8 กลุม อาชีพสามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรีนั้น ประกอบดวย แพทย พยาบาล สถาปนิก ชางสํารวจ วิศวกร ทันตแพทย นักบัญชี และนักการทองเที่ยว แตไดมีการคาดการณวา จะไมมีแรงงานที่มีทักษะเหลานี้ที่เขามาทํางานในไทยมากนัก ดวยเพราะ แรงจูงใจในเรื่องคาจางแรงงานทักษะของไทยยังคงต่ํากวาสิงคโปร และมาเลเซียน โดยแพทยในสิงคโปรมีรายไดสูงถึง 3,523 เหรียญสหรัฐฯ ตอเดือน ซึ่งสูงกวาไทยถึง 3.8 เทา ขณะที่มาเลเซียมีคาจางของแพทยสูงกวาไทย 3.5 เทา ดังนั้น กลุมแรงงานไรฝมือจะเปนกลุมหลักที่เคลื่อนยายเขามาในไทยเปนจํานวนมาก แมจะไมมีเงื่อนไขในการเปดเสรีที่เอื้อตอ การเคลื่อนยายแรงงานกลุมนี้ ทั้งนี้ เนื่องจากคาจางแรงงานไรทักษะของไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบานที่มีอาณาเขต ติดตอกัน ประกอบกับไทยยังขาดแคลนแรงงานทักษะต่ําที่จําเปนในงานบางประเภท

ผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากแรงงานตางดาวเมื่อ ไทยเขาสูประชาคมอาเซียน 1) ความตองการใชพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น พรอมกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ จากชุมชน การขยายตัวของการลงทุนดานอุตสาหกรรม และกิจกรรมทางเศรษฐกิจกอใหเกิดการเคลื่อนยายแรงงานตาง ดาวทักษะต่ํามาสูมากขึ้น เชนที่ปรากฏในจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งการตั้งถิ่นฐานของแรงงานเหลานี้ในแตละชุมชนเปนไป อยางไรระเบียบ อีกทั้งทําใหปริมาณการใชทรัพยากรน้ํา ไฟฟา ตลอดจนปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นอยางมีนัยสําคัญ 2) ผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย แมวา แรงงานตางดาวที่ขึ้นทะเบียนโดยถูกตองตาม กฎหมายจะตองไดรับการตรวจสุขภาพ และคนหาโรคจากหนวยงานสาธารณสุขตลอดจนไดรับบัตรประกันสุขภาพก็ตาม แตแรงงานที่ขึ้นทะเบียนโดยถูกตองเหลานี้มีจํานวนนอยมาก เมื่อเทียบกับกลุมที่ลักลอบเขามาโดยผิดกฎหมาย ซึ่งเปน แหลงแพรกระจายของโรคติดตอที่สําคัญ เชน วัณโรค อหิวาตกโรค รวมทั้งโรคอุบัติใหม เชน โรคกาฬหลังแอน เปนตัน

อางอิงทายบท I

กฎกระทรวงวาดวยการคุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. 2547 ขอ 8 นายจางอาจใหเด็กอายุตั้งแตสิบสามป บริบูรณทํางานในชวงระยะเวลาโรงเรียนปดภาคเรียนหรือนอกเวลาเรียนไดเฉพาะงานที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย หรือเปนงานที่ไมขัดตอการพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตของเด็ก ทั้งนี้โดยไดรับอนุญาตจากบิดา มารดา หรือผูปกครอง ของเด็กนั้น II เสนความยากจน หมายถึง เกณฑชี้วัดความยากจน โดยพิจารณาจากระดับรายไดที่เพียงพอตอการดํารงชีวิตเทานั้น ซึ่งมี 2 ประเภท ไดแก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 197 (1) เสนความยากจนเดิม ธนาคารโลกไดเริ่มตนศึกษา เมื่อป พ.ศ. 2505 - 2506 โดยพิจารณาจากความจําเปน ขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิต โดยแยกเปนความจําเปนดานอาหาร และสินคาอุปโภคของคนไทยตามหลักสากลที่ธนาคารได ริเริ่มขึ้น จุดออนของเสนความยากจนเดิม คือ การใชคาเฉลี่ยความตองการสารอาหารตอวันตอคน โดยไมไดคํานึงถึงความ แตกตางในเรื่องอายุและเพศ ดังนั้น เสนความยากจนที่พัฒนาขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2513 จึงไมสามารถสะทอนแบบแผนการ บริโภคในปจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร นอกจากนี้ ยั งไมสะทอนความแตกตางในระดับ ราคาสินคาในพื้นที่ (เมืองและชนบท) (2) เสนความยากจนใหม ซึ่งไดจัดทําขึ้นภายในกองประเมินผลการพัฒนา สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) นับเปนเสนความยากจนของทางการ เสนความยากจนใหมนี้ สามารถวัดความยากจน ไดในระดับบุคคล ครัวเรือน พื้นที่ จังหวัด ภูมิภาคจนถึงระดับประเทศ โดยพิจารณาจากความตองการพื้นฐานขั้นต่ําของ ปจเจกบุคคล ทั้งดานอาหาร และสินคาอุปโภค หากครัวเรือนมีรายไดต่ํากวาคาใชจายที่คํานวณไดถือวา เปนครัวเรือน ยากจน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซตของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย


อาชญากรรมข า มชาติ รู ป แบบการก อ การร า ย สถานการณความมั่นคงของโลกปจจุบัน ปฏิเสธไมไดวา การกอการรายไดกลายเปนปญหาที่สงผลกระทบตอ เสถียรภาพ และความมั่นคงในทุกระดับ ไมวาจะเปนในเวทีระหวางประเทศ เวทีในภูมิภาค และเวทีในประเทศ นับตั้งแต สงครามเย็นสิ้นสุดลง ภัยคุกคามทางทหารที่ทําใหหลายประเทศตามภูมิภาคตาง ๆ ของโลกตกอยูในภาวะตึงเครียด และ ประสบความทุกขยากลําบาก ไดลดนอยลงไป ทั้งนี้ ปญหาที่ปรากฏกลับเปนปญหาที่เกิดจากความขัดแยงพื้นฐาน เชน ปญหาเชื้อชาติ ปญหาศาสนา ปญหาเขตแดน ปญหาวัฒนธรรม ปญหาอุดมการณทางการเมือง/ความเชื่อถือ และปญหา ความยากจน ปญหาเหลานี้ ไดกลายเปนชนวนความขัดแยงที่นําไปสูการตอสูหลากหลายรูปแบบ รวมทั้งการดําเนินการกอ การราย โดยเฉพาะภายหลังเหตุการณกอวินาศกรรมในสหรัฐอเมริกา เมื่อ 11 กันยายน 2544 สหรัฐอเมริกาไดประกาศ ทําสงครามตอตานการกอการราย โดยมีพันธมิตรที่สําคัญ คือ อังกฤษ อิสราเอล และประเทศยุโรปตะวันตก ทําใหการกอ การรายไดกระจายเกิดขึ้นในหลายภูมิภาค ซึ่งแตละครั้งมีความรุนแรงกอใหเกิดการสูญเสียอยางมหาศาล ทั้งตอทรัพยสิน และชีวิตของประชาชนผูบริสุทธิ์ ไมวาจะเปนเหตุการณลอบวางระเบิดบนเกาะบาหลี อินโดนีเซีย เมื่อ 12 ตุลาคม 2545 เหตุการณจับตัวประกันในโรงละคร กลางกรุงมอสโก รัสเซีย เมื่อ 23 ตุลาคม 2545 ฯลฯ ทั้งนี้ นอกจากกลุมประเทศ ดังกลาวจะตกเปนเปาหมายในการกอการรายแลว ผลประโยชนตาง ๆ ของประเทศเหลานั้นในทุกประเทศที่เอื้อตอการเขา ไปเคลื่อนไหวปฏิบัติการ ซึ่งรวมถึงประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยที่มีเครือขายกลุมกอการรายปรากฏ อยู ก็อาจตกเปนเปาหมายของกลุมกอการรายดวยเชนกัน โลกหลังวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) เปนโลกของความรุนแรง ซึ่งปรากฏใหเห็นใน 2 ลักษณะ คือ สงครามกอการราย และสงครามตอตานการกอการราย และความรุนแรงจากสงครามใน 2 ลักษณะนี้ เกิดขึ้นในพื้นที่ สวนตาง ๆ ของโลก ไมใชในแบบของสงครามเย็นที่สงครามเกิดขึ้นในพื้นที่ของประเทศกําลังพัฒนาเปนสวนใหญ หากแต ตัวแบบของความรุนแรงใหมที่เห็นจากการกอการรายโดยเอากรณีตึกเวิลดเทรด ในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) เปนเสนแบงเวลานั้น จะเห็นไดถึงความรุนแรงจากกรณีสําคัญ ไมวาจะเปน บาหลี จาการตา มอสโคว มาดริด ลอนดอน และสถานที่พักตากอากาศในอียิปต เหตุการณความรุนแรงเหลานี้ ถือไดวา เปนสัญญาณสําคัญที่บงบอกถึง ระยะเปลี่ยนผานของปญหายุทธศาสตร และความมั่นคงที่สําคัญวา โลกไดกาวเขาสูยุคของสงครามกอการรายเต็มรูปแลว ดังนั้น เมื่อพิจารณาประวัติศาสตรอันยาวนานของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตแลว จะพบวา การกอการรายนั้นไมใช ประเด็นปญหาใหมสําหรับภูมิภาคนี้ ในอดีตบรรดาประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มักประสบปญหา การกอการรายที่ใชกองกําลัง และความรุนแรง เพื่อแยงชิงอํานาจ และแกไขประเด็นความขัดแยง และรวมถึงการตอตาน รัฐบาลกลาง ทั้งนี้ โดยมีตนตอมาจากปญหาทางอุดมการณ ความแตกตางทางศาสนา และชาติพันธุ การกอการรายใน ลักษณะนี้ เกิดขึ้นมาตั้งแตกอนสมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะเริ่มขึ้น และบางปญหาก็ยังคงดํารงอยูจวบจนถึงปจจุบัน สําหรับการกอการรายที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีตสวนใหญเปนการตอตานรัฐบาล และ เรียกรองความชอบธรรมในทางการเมืองและสังคมโดยอาศัยอุดมการณ ศาสนา และชาติพันธุ เปนตัวนํา และในสวนของ ปญหาทางอุดมการณนั้น คือ อุดมการณคอมมิวนิสตเปนความตองการของกลุมที่เรียกรองความยุติธรรมและความเสมอ ภาคในสังคม ซึ่งเกิดขึ้นในชวงสงครามเย็นเปนที่นิยมของฝายตอตานรัฐบาลเผด็จการทหารและรัฐบาลประชาธิปไตยใน หลายประเทศ ทั้งอินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร มาเลเซีย และไทย ซึ่งคอมมิวนิสตบางกลุมมีการใชวิธีการกอการรายใน การตอสูกับรัฐบาล แตในที่สุดความขัดแยงนั้นก็สามารถคลี่คลาย และสงบลงพรอมกับการสิ้นสุดของสงครามเย็น ซึ่งโดย ภาพรวมแลว การตอสูกันนี้เปนปญหาภายในของแตละประเทศ นอกจาก ปญหาทางอุดมการณแลว ภูมิภาคนี้ ยังมีปญหา ความมั่นคงเกี่ยวกับชนกลุมนอย และการตอสูเพื่อแบงแยกดินแดนมาแตเดิม ซึ่งเปนผลมาจากเงื่อนไขหลายประการ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 201

ตัวอยางเชน การปกปนเสนเขตแดนโดยประเทศเจาอาณานิคมที่กระทําโดยมิไดคํานึงถึงความแตกตางทางชาติพันธุที่มีอยู ในอดีต สงผลใหหลาย ๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีคนตางเชื้อชาติอาศัยอยูรวมกัน หรือกรณีที่ชาติพันธุ เดียวกัน แตถูกจัดแยกใหไปอยูในดินแดนของประเทศเพื่อนบาน ซึ่งในบางครั้ง ความแตกตาง และความไมชอบธรรมใน สังคมบางอยางก็กระตุนใหกลุมเหลานั้น เชน กลุมคนเชื้อชาติตาง ๆ ในพมา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และไทย เปนตน อยางไรก็ตาม ปญหาที่เกิดจากกลุมชาติพันธุ และศาสนาเหลานี้ ยังคงเปนปญหาภายในประเทศมากกวาที่จะ เปนประเด็นที่เกี่ยวของกับการกอการรายสากล เพราะแมบางครั้ง กลุมกอความไมสงบในประเทศจะไดรับความชวยเหลือ จากกลุมกอการรายขามชาติ แตก็ยังเปนประเด็นปญหาที่รัฐบาลของประเทศนั้น ๆ สามารถจัดการได เชน กรณีของกลุม แนวรวมเพื่อการปลดปลอยแหงชาติโมโร (Moro National Liberation Front : MNLF) ในประเทศฟลิปปนส เปนตน เอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนภูมิภาคที่สามารถเกิดการแทรกซึมของเครือขายกอการรายขามชาติที่ดําเนินการ ปฏิบัติการตาง ๆ โดยอาศัยชนกลุมนอย กลุมแบงแยกดินแดน และกลุมตาง ๆ ที่ตอตานรัฐบาล เปนฐานในการทํางาน ซึ่ง สหรัฐอเมริกา ไดกลาววา กลุมกอการรายอัลกออิดะห (AI Qaida) ไดเริ่มเขามาในภูมิภาคนี้ ตั้งแตชวงทศวรรษ 1990 (พ.ศ. 2533) นอกเหนือ จากการกอการรายที่เคยจํากัดขอบเขตอยูเพียงแคภายในประเทศดังกลาวแลว ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตในปจจุบัน กําลังเผชิญหนากับการกอการรายในรูปแบบใหม นั่นคือ การกอการรายสากล สําหรับมูลเหตุของการกอการรายนั้น พบวา เกิดจากสภาพแวดลอมภายใน และภายนอกประเทศแบบไมปกติ ประกอบกับการมีปฏิกิริยาโตตอบจากบุคคล หรือกลุมบุคคล ซึ่งถูกกีดกัน ถูกบีบคั้น รวมทั้งคับของใจ อัน เนื่องมาจาก สภาพแวดลอมที่ไมปกติดดังกลาว และที่สําคัญเกิดจากแรงจูงใจจากภายใน (motivation) ที่ผลักดันใหเกิดพฤติกรรมกอ การราย ซึ่งมี 4 ประการ คือ 1) ความมั่นใจทางศีลธรรม (moral convictions) 2) การนิยามอยางงาย ๆ ระหวางความดี และความชั่วราย (Simplified definition of good and evil) 3) การแสวงหาสังคมในอุดมคติ (Seeking utopia) และ 4) การอุทิศตน (Codes of self-sacrifice) โดยมีเปาหมาย เพื่อ 1) ใหไดรับสิ่งที่ถูกปฏิเสธโดยไมชอบธรรม เชน ที่ดิน เสรีภาพ สิทธิขั้นพื้นฐาน รวมทั้งโอกาส 2) ทําใหเกิดเอกลักษณ สถานภาพสิทธิความเปนเจาของถูกทาทาย หรือสูญเสียไปกลับมาใหม 3) ปกปองตัวตนที่ถูกขมขู หรือไดรับการปฏิบัติที่ไมดี และ 4) เพื่อรื้อฟนสิทธิ ผลประโยชน สิทธิพิเศษที่ถูกเพิกถอน หรือถูกยึดเอาไป สิ่งตาง ๆ เหลานี้ไดสงผลทําให พฤติกรรมการกอการรายที่เกิดขึ้นกลายเปนสิ่งที่ชอบธรรม และมีความสมเหตุสมผล (Rationality) ในความคิด ทั้ง นี้ วั ตถุ ป ระสงค ทั่ ว ไปของการก อ การร า ยที่ ป รากฏเปน ไป เพื่อ เปลี่ ยนแปลงในระเบียบกฎเกณฑ ที่ มี อ ยู (Changing the existing order) ทําลายทางจิตวิทยา (Psychological disruption) ทําลายสังคม (Social disruption) ใหเกิดผลตอสาธารณะ (Publicizing the Cause) และสรางสภาพแวดลอมแหงการเปลี่ยนแปลง (Creating a revolutionary environment) นอกจากนี้ ยังมีการระบุวา การกอการรายในปจจุบันมีวัตถุประสงคเพื่อดึงดูดความสนใจ (Attracting Attention) มุงหวังผลทางศาสนา เปนไปตามพระประสงคของพระเจา (Pleasing God) สรางความเสียหาย ตอระบบเศรษฐกิจ (Damaging Economies) และตองการใหเกิดอิทธิพลตอฝายตรงขาม หรือศัตรู (Influencing Enemies)


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 202

ในความจริงแลวกลุมประเทศอาเซียนนั้น มีความตื่นตัวในการตอตานอาชญากรรมขามชาติมาเปนเวลานานแลว ตัง้ แตป ค.ศ. 1976 แตสวนใหญเนนเรื่องการปราบปรามยาเสพติดทั่วไป จนกระทั่ง อาเซียนเริ่มจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรี อาเซียน หรือ ASEAN Ministerial Meetings (AMM) และเริ่มมีการกลาวถึง อาชญากรรมขามชาติมากขึ้น รวมทั้งกระตุน ใหประเทศสมาชิกตระหนักถึงผลกระทบและการแกปญหาอาชญากรรม ขามชาติ ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในป 1977 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ไดมีการประกาศรวมกันของประเทศสมาชิกใน คําประกาศวาดวยเรื่องอาชญากรรมขามชาติ หรือ Declaration on Transnational Crime ซึ่งถือเปนความรวมมือที่เปนรูปธรรมครั้งแรกระหวางประเทศสมาชิกในภูมิภาค ในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติ ในคําประกาศดังกลาวยังไดมีการประกาศใชกลไกตาง ๆ เชน กําหนดการประชุมระหวางรัฐมนตรี ในการตอตานอาชญากรรมขามชาติทุก ๆ 2 ป (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime-AMMTC) นอกจากนี้ ยังจัดใหมีการประชุมอื่น ๆ ดวย เชน ASEAN Senior Officials on Drug Matters (ASOD) และ ASEAN Chiefs of National Police (ASEANAPOL) เปนตน และที่สําคัญที่สุด คือ การผลักดันใหประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียนหรือ APSC เกิดขึ้น และมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางแทจริง สําหรับการกําหนดความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติภายใตกรอบของประชาคมการเมืองและ ความมั่นคง (APSC) คือ • เพิ่มความรวมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการตอสูกับอาชญากรรม ขามชาติและปญหาขามพรมแดนอื่น ๆ (Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges) • เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการลงนามรับรองในอนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตาน การกอการราย และนําขอตกลงจากอนุสัญญาไปปฏิบัติจริง (Intensify counter terrorism effort by early ratification and full implementation of the ASEAN Convention on Counter-Terrorism) นอกจาก เครื่อ งมื อและกลไกตา ง ๆ ภายในอาเซียนเองแล ว การสรา งความร วมมือ จากประเทศนอกกลุ ม โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียเองนั้น ก็ยังเปนปจจัยสําคัญในการแกปญหาอาชญากรรมความมั่นคงนอกรูปแบบ รวมทั้งอาชญากรรมขามชาติดวยเชนกัน ความชวยเหลือจากประเทศนอกกลุมสมาชิก เชน ญี่ ปุน จีน และเกาหลีนั้น จะ ชวยผลักดันนโยบายตาง ๆ ใหสําเร็จมากขึ้น ยกตัวอยางเชน ปญหาโจรสลัด ประเทศญี่ปุนซึ่งตองสงสินคาผานนานน้ํา ทะเลจีนใตไดรับความเดือดรอน จากการแผขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงไดเสนอใหแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณ เอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางจริงจัง ประเทศญี่ปุนไดผลักดันใหเกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในป ค.ศ. 2000 กับ ประเทศสมาชิกอาเซียน และยังไดเชิญตัวแทนจากประเทศอื่น ๆ เชน จีน ฮองกง อินเดีย และศรีลังกา เขารวมดวย นอกจากนี้ ญี่ปุนยังไดผลักดันโครงการ “Asia Anti-Piracy Challenges 2000” และรวมลงนามในขอตกลงRegional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป ค.ศ. 2004 ซึ่งนํามาสูการบังคับใชในป ค.ศ. 2006 โดยมีขอตกลงโดยรัฐบาลญี่ปุนไดชวยสนับสนุนเงินทุนและการฝกซอม ตอหนวย งานในประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมทางทะเลจากโจรสลัด การเขามารวมมือของประเทศ ญี่ปุนในการตอตานอาชญากรรมจากโจรสลัดดังกลาว ชวยใหรัฐบาลของอาเซียนสามารถรวมมือกันอยางเปนรูปธรรมมาก ขึ้นเพื่อตอ ตานและการปราบปรามโจรสลัดในนานน้ําของอาเซียนเอง


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 203

สถานการณที่กลาวมาขางตน สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้งทางดาน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยในดานการเมือง การกอการรายทําใหสหรัฐอเมริกาตองใหความสําคัญ และแสดง บทบาทของตนในภูมิภาคนี้อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ถอนตัวออกไปตั้งแตสิ้นสุดสงครามเย็น ทําใหนโยบายตางประเทศของ ภูมิภาคนี้ ถูกกดดันโดยอิทธิพลของรัฐบาลสหรัฐอเมริกามากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยของรัฐบาลของนายจอรจ ดับเบิลยู บุช (George W. Bush) ทั้งนี้ แมรัฐบาลอินโดนีเซียจะจับสมาชิกของ JI ไดหลายคน และทําการสอบสวนหาขอเท็จจริงมาโดย ตลอด ในขณะเดียวกัน แหลงขอมูลจากตะวันตกโดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกาก็ระบุเพียงวา JI เปนองคการกอการรายที่มี ฐานปฏิบัติการในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

เครือขา ยกอการรา ยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อินโดนีเซียเปนประเทศที่มีจํานวนประชากรที่นับถือศาสนาอิส ลามหรือ “มุสลิม” มากที่สุดในโลก ศาสนา อิสลามในอินโดนีเซียเปนอิสลามสายกลาง และมีความแตกตางกันหลากหลายมิติเมื่อเทียบกับอิสลามทั่วโลก เมื่อพิจารณา จากภูมิรัฐศาสตรแลว อินโดนีเซียอยูหางจากตะวันออกกลางซึ่งเปนแหลงกําเนิดของอิสลามมาก แตก็ไมไดเปนอุปสรรคตอ การทําความเขาใจในศาสนาอิสลามแตอยางใด อินโดนีเซียตองเผชิญกับความทาทายอยางตอเนื่องจากกลุมมุสลิมหัวรุ นแรงที่ชื่อ กลุมเจมาห อิสลามียะห (Jamaah Islamiyah: JI) รวมทั้งองคกรและกลุมยอยอื่น ๆ นับตั้งแตเหตุระเบิดที่บาหลีครั้งแรกเมื่อตุลาคม 2545 ซึ่งครา ชีวิตผูคนไปเปนจํานวนมาก ตอมาในมีนาคม และเมษายน 2554 อินโดนีเซียตองเผชิญกับการโจมตรีอีกหลายครั้ง เชน มี การสงหนังสือที่มีวัตถุระเบิดซุกซอนอยูถึงชาวมุสลิมที่มีแนวทางเสรีนิยมคนสําคัญหลายคน การวางระเบิดแบบพลีชีพใน มัสยิดแหงหนึ่ง ซึ่งมุงสังหารเจาหนาทีต่ ํารวจ การตีพิมพเอกสารของกลุมหัวรุนแรง นอกจากนี้ ยังพบการปลูกฝงหลักการ ใหแก นักเรียนอยางตอเนื่องในโรงเรียนประจําของกลุมมุสลิมหัวรุนแรงหรือโรงเรียนสอนศาสนา ซึ่งอาจทําใหลัทธิหัว รุนแรงฝงรากลึกลงไปอีก

ความเชื่อมโยงของกลุมกอการรา ยอินโดนีเ ซียกับชาติส มาชิ ก อาเซียน กลุมเจมาห อิสลามียะห (Jamaah Islamiyah: JI) เปนกลุมกอการรายที่ทรงอิทธิพลที่สุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต มีศูนยบัญชาการอยูในอินโดนีเซีย และมีเครือขายเชื่อมโยงกับกลุม “อัลไคดา” กลุม “แนวรวมปลอดปลอย อิสลามโมโร” ในฟลิปปนส และกลุม “กัมปูสัน มูญาฮีตีน” ในมาเลเซีย โดยกลุม “JI” มีจุดมุงหมายสูงสุด คือ สถาปนารัฐ อิสลามบริสุทธิ์ “ดอเลาะ อิสลามิยะห นุสันตารา” ภายใตการปกครองโดยกฎหมาย “ซาริอะห” สําหรับปจจัยที่เปน เงื่อนไขหรือเปนชองทางใหกับกลุมกอการราย ไดแก การกระทําของเจาหนาที่รัฐ หรือคานิยมของประชาชนมุสลิม นอกจากนี้ กลุม JI ยังมีความเชื่อมโยงกับกลุม “อาบูไซยาฟ” (Abu Sayyaf) ซึ่งเปนกลุมกอการรายที่มีฐานที่มั่นตั้งอยูทาง ตอนเหนือของเมืองอีซาเบลา เมืองหลวงของจังหวัดบาซิลัน ในเขตบังซาโมโร ทางภาคใตของฟลิปปนส อาบูไซยาฟเปน กลุม กอการรายที่มีแนวคิดนิยมอิสลาม และไดรับการสนับสนุนเงินทุนในการฝกแนวรวม การจัดหาอาวุธ และอุปกรณที่ใช ในการกอเหตุความไมสงบจากกลุม “อัลไคดา” โดยกลุมอาบูไซยาฟ ถือวา เปนกลุมติดอาวุธที่มีความแข็งแกรงกลุมหนึ่ง ในบรรดากลุมขบวนการแบงแยกดินแดนในฟลิปปนส สมาชิกบางสวนของกลุมอาบูยาฟเคยเดินทางเขาไปศึกษา และฝก อาวุธในซาอุดิอาระเบีย ลิเบีย และซีเรีย และมีบางสวนเคยเขารวมรบกับกลุม “มูจาฮิดีน” เพื่อตอตานการรุกรานของโซ เวียตในสมรภูมิอัฟกานิสถาน สําหรับประเทศไทย ไมพบหลักฐานชัดเจนวา กลุม “เจมาห อิสลามียะห” และกลุม “อาบู ไซยาฟ” มีความเชื่อมโยงกับกลุมมุสลิมในประเทศไทย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 204

อย า งไรก็ ต าม ความมั่ นคงภายในประเทศยั ง เป น ประเด็ นหลั ก ในนโยบายดา นความมั่ นคงของอิ น โดนี เ ซี ย โดยเฉพาะการตอตานการกอการราย ซึ่งรัฐบาลอินโดนีเซียใหความสําคัญตอการดําเนินนโยบายลดแนวคิดนิ ยมความ รุนแรง (De-Radicalization) และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแนวคิดของกลุมหัวรุนแรง โดยการตอตานการโฆษณาชวน เชื่อ และสงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชนและประชาชน โดยมี Indonesia national Counter Terrorism Agency) เปนหนวยงานกลางในการประสานงาน และในป 2555 อินโดนีเซียไดเปดศูนยรักษาสันติภาพและความมั่นคงที่ เมืองโบเกอร เพื่อเปนศูนยศึกษาและฝกรวมในการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ การจัดการภัยพิบัติและการตอตานการกอ การรายรวมทั้งความพยายามในการแกไขรางพระราชบัญญัติขาวกรอง เพื่อใหการดําเนินการปองกันการกอการรา ยมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ในขณะที่ สหรัฐอเมริกามีความกังวลกับกลุมมุสลิมหัวรุนแรงอยูไมนอย จึงไดกําหนดยุทธศาสตรที่จะนํามาใชใน 1 เอเชียตะวันออกเฉียงใตในอนาคตดังนี้ นโยบายแรก สหรัฐอเมริกาจะเขามาเพื่อสนับสนุนกลุมแนวคิดสายกลางในการถวงดุลกับกลุมหัวรุนแรง นโยบายที่สอง การพยายามผลักดันใหเกิดการปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปมัสยิด ปฏิรูประเบียบการเรียนการสอน ในโรงเรียนตาง ๆ เชน โรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนตาง ๆ นโยบายที่สาม คือ การขยายโอกาสทางเศรษฐกิจ ทําใหประชาชนที่อยูในพื้นที่ยากจนที่รูสึกถึงความไมเปน ธรรม ใหสามารถพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถทางเศรษฐกิจได นโยบายที่สี่ พยายามสกัดกั้นและลดบทบาทของกลุมหัวรุนแรง ตามกลุมชุมชนตาง ๆ ที่เขาไปยึดสถาบัน ทางศาสนา หรือยึดกิจกรรมทางการเมืองของทองถิ่นในหลายพื้นที่ นโยบายที่หา แนวความคิดที่จะพยายามสนับสนุนใหเกิด Civil Islam หรือ Muslim Civil Society Group ที่ทํางานชวยเหลือประชาชนในพื้นที่ นโยบายที่หก การสกัดกั้นทรัพยากร และการระดมเงินของกลุมเหลานี้ นโยบายที่เจ็ด ขยายขีดความสามารถทางการทหารในรูปแบบที่สมดุล ถวงดุลกันระหวางการตอตานกลุมหัว รุนแรง กับการยกระดับของกลุมสายกลางตาง ๆ ดวยการใชการทหารที่ยืดหยุนกวาเดิม อนึ่ง มุสลิมในอินโดนีเซียนั้น ประชาชนสวนใหญยังคงเปนมุสลิมสายกลางที่รักความยุติธรรม ความเสมอภาค และสันติ ในขณะที่กลุมกอการรายเปนเพียงมุสลิมหัวรุนแรงกลุมนอยเทานั้น ซึ่งปญหาจากกลุมมุสลิมหัวรุน แรงดังกลาว กําลังเปนปญหาทาทายทั้งรัฐบาลอินโดนีเซียและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และสามารถเชื่อมโยงไปยังประเทศ มุส ลิ มที่ มี ค วามขัด แย ง เช น กรณี ข องสงครามในซี เ รีย ดั งนั้ น อาเซียนจึง ตระหนั ก ถึง ภั ยจากการก อการร า ยและให ความสําคัญกับนโยบายขามชาติ โดยอาเซียนมีความรวมมือกันภายใตกลไกที่มีอยู เชน อนุสัญญาตอตานการกอการราย เพื่อสรางมาตรการความรวมมือระหวางกันในการตอตานการกอการรายในอาเซียนและในระดับภูมิภาค และใหความ ชวยเหลือทางกฎหมายซึ่งกันและกัน เพื่อรองรับความรวมมือในการตอตานการกอการรายและอาชญากรรมขามชาติ และ อีกทั้งอาเซียนยังไดขยายความรวมมือดานการตอตานการกอการรายไปยังประเทศอื่น ๆ นอกภูมิภาค เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย รัสเซีย จีน ญี่ปุน ฯลฯ โดยการสรางเครือขายความรวมมือทางดานขาวกรองและการปฏิบัติการ เพื่อปองกันการตกเปนเปาโจมตีของกลุมกอการรายไดอีกทั้งควรพัฒนาระบบการเฝาระวังใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

1

ปณิธาน วัฒนายากร. www.southwatch.com.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 205

ความร ว มมื อ ด า นการต อ ต า นการก อ การร า ยสากลในกลุ ม อาเซี ย น กลุมกอการรายมีแนวโนมขยายเครือขายเขามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้น เพื่อใชเปนแหลงพัก พิง ซองสุม และ/หรือ แหลงจัดหา/เสนทางขนสงอาวุธ แมวา ไทยจะไมใชเปาหมายโดยตรงของการกอการราย และไมได มีอยูในฐานะคูกรณีกับกลุมกอการราย แตเนื่องจาก ไทยเปนประเทศเสรีประชาธิปไตยที่เปนศูนยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะศูนยกลางดานการบิน และมีนโยบายสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหสามารถเดินทางผานเขา– ออก ไดอยางสะดวก ประกอบกับไทยมีที่ตั้งของเปาหมายหลักในการปฏิบัติการของกลุมกอการรายที่เปนผลประโยชนของ สหรัฐอเมริกา อิสราเอล และประเทศยุโรปตะวันตก เชน สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล สายการบิน บริ ษัท หางราน ตลอดจนนักทองเที่ยวของประเทศดังกลาว ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงและหนวยที่เกี่ยวของที่รับผิดชอบงานตอตาน การกอการรายสากลตองมีความพรอมตั้งแตยามปกติ รวมทั้งจัดทําแผนและมีการซักซอมอยูเสมอ นอกจากกิจกรรมที่ เตรียมพรอมของในหนวยงานภายในประเทศแลว กระทรวงกลาโหมยังมีความรวมมือดานการตอตานการกอการรายสากล ภายใตกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) รายละเอียดดังนี้ 1. การประชุมคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG on CT) ภายใตกรอบ ADMMPlus ซึ่งที่ผานมามีการดําเนินการแลว จํานวน 3 ครั้ง ดังนี้ 1.1 การประชุม ครั้งที่ 1 เมื่อ 18 – 21 กันยายน 2554 จัดกําลังพล จํานวน 3 นาย เขารวมประชุม คณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG on CT) ในกรอบ ADMM-Plus ณ เมืองมาคัสซาร ประเทศ อินโดนีเซีย ไดหารือกรอบความรวมมือกันดานการตอตานการกอการรายในภูมิภาค และใหความสําคัญเทียบเทากับกรอบ ความรวมมือในระดับสหประชาชาติ ตลอดจนไดวางแนวทาง และวิธีการ ในการกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานตามความ รวมมือในการตอตานการกอการราย โดยมุงเนนในการสรางความรวมมือระหวางกระทรวงกลาโหมในการรับมือกับการกอ การราย และตั้งเปาหมายในการจัดการฝกรวมกันในป 2556 1.2 การประชุม ครั้งที่ 2 เมื่อ 3 – 5 เมษายน 2555 จัดกําลังพล 3 นาย เขารวมประชุมคณะทํางาน ผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG-on-CT) ภายใตกรอบ ADMM-Plus ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศ สหรัฐอเมริกา ผลการประชุม ไดมีการแลกเปลี่ยนนโยบายของแตละประเทศ และความทาทายของการตอตานการกอการ รายในภูมิภาค รวมทั้ง การสลายแนวคิดกลุมหัวรุนแรง และการฟนฟูเยียวยา รวมทั้งมีการกําหนดรางแผนการใชเวลา และรายละเอียดการฝกขั้นตนของการฝกการตอตานการกอการราย (CTX) ในป 2556 1.3 การประชุม ครั้งที่ 3 เมื่อ 10 – 14 มีนาคม 2556 จัดกําลังพล 3 นาย เขารวมการประชุมคณะทํางาน ผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG on CT) ภายใตกรอบ ADMM-Plus ณ กรุงจาการตา และตรวจ ภูมิประเทศขั้นตนที่ IPSC (Indonesia Peace and Security Center) ที่ Sentul Borgor ประเทศอินโดนีเซีย ผลการ ประชุม ไดมีการปฏิบัติและกรอบเวลาในการฝกการตอตานการกอการราย (CTX) ในป 2556 ประกอบดวยการฝกปญหา ที่บังคับการ-(TTX/Table-Top-Exercise)-การฝกภาคสนาม ในเชิงลักษณะเชิงสาธิต (PE/Practical Exercise) โดยในการฝกนั้นจะมีแผนการปฏิบัติตอไป ดังนี้ 1.3.1. ในหวง 13 – 15 สิงหาคม 2556 ตรวจภูมิประเทศขั้นสุดทาย FSS (Final Site Survey) ที่ IPSC (Indonesia Peace and Security Center) ที่ Sentul Borgor ประเทศอินโดนีเซีย 1.3.2. ในห วง 6 – 13 กั น ยายน 2556 การฝ ก CTX ซึ่ ง ประกอบด ว ยการฝ ก ปญ หาที่ บัง คั บ การ (TTX/Table-Top-Exercise) การฝ ก ภาคสนามลั ก ษณะเชิ ง สาธิ ต (PE/Practical-Exercise) ซึ่ ง มี กิ จกรรมที่ สํ า คั ญ ประกอบไปดวย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 206

1. การยิง (Shooting) 2. การฝกในอาคารฝกรบประชิด (CQB) 3. การฝกเขาสูที่หมาย (MOE) 4. การฝกระเบิดแสวงเครื่อง (IEDD) 5. การฝกตามสถานการณการฝก จํานวน 2 สถานการณ ดังนี้ 1. สถานการณเรือบรรทุกกาซธรรมชาติ (LPG Tanker Scenario) 2. สถานการณภัยคุกคามในการจัดการแขงขันกีฬาที่สําคัญในภูมิภาค (Threat Against a Major Regional Sporting Event) 2. ความรวมมือกับ JUSMAGTHAI ในหวงที่ผานมาทีการดําเนินการแลว จํานวน 1 ครั้ง เมื่อ 2 – 8 มิถุนายน 2556 ไดจัดกําลังพล จํานวน 1 นาย เขารวมประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Pacific Area Security Sector Working Group (PASSWG) ณ หลวงพระบาง สปป.ลาว ผลการประชุม สามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหวางกัน และผูเขารวมประชุมสามารถสรางเครือขาย และประสานความรวมมือดานการตอตานการกอ การรายในระดับภูมิภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ความรวมมือกับ ATA (Anti-Terrorism-Assistance-Program) ในหวงที่ผานมามีการดําเนินการแลว จํานวน 3 ครั้ง 3.1 เมื่อ 27 – 30 สิงหาคม 2555 จัดกําลังพล จํานวน 2 นาย เขารวมประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Suicide Bomber Prevention Workshop) ณ ILEA, Bangkok (International Law Enforcement Academy) กทม. ผลการประชุมสัมมนา ทําใหทราบระบบการปฏิบัติงานระเบิดพลีชีพของกลุมผูกอการราย อีกทั้ง ยังสามารถสราง เครือขายระหวางประเทศไดเปนอยางดี 3.2 เมื่อ 17 – 21 ธันวาคม 2555 จัดกําลังพล จํานวน 3 นาย เขารับการฝกอบรมหลักสูตร First Response to A Terrorist Incident ณ ศูนยพัฒนาดานขาวกรอง กองบัญชาการตํารวจสันติบาล กทม. ผลการปฏิบัติ ผูที่เขารับการ ฝ ก อบรม และผู มี ส ว นเกี่ ย วข อ งได รั บ ความรู เ ทคนิ ค การปฏิ บั ติ และสามารถปฏิ บั ติ ก ารเผชิ ญ เหตุ ขั้ น ต น ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถนําไปขยายผลภายในหนวย 3.3 เมื่อ 28 – 29 มีนาคม 2556 จัดกําลังพล จํานวน 2 นาย เขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการระบบบังคับ บัญชาเหตุการณระดับชาติ (National Incident Command System Consultation) ณ โรงแรม รอยัล ปริ๊นเซส หลาน หลวง กทม. ผลการปฏิบัติ ทําใหทราบระบบการบริหารเหตุการณระดับชาติ รวมทั้งบทบาทหนาที่ของหนวยงานตางๆ ที่ เกี่ยวของกับสหรัฐฯ และสามารถนํามาประยุกตใชกับประเทศไทยไดในบางเรื่อง ศตก. ในฐานะหนวยรับผิดชอบหลัก คณะทํางานผูเชี่ยวชาญฝายไทย ดานการตอตานการกอการราย ภายใตกรอบการประชุม ADMM-Plus เขารวมประชุม คณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย EWG on CT เมื่อ 3 – 5 เมษายน 2556 ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการประชุมสรุปไดดังนี้ การประชุมในครั้งนี้ มุงเนนการหารือเพื่อนําไปสูความรวมมือ ในการฝก ผสมของกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียน และประเทศคูเจรจา โดยกําหนดใหมีการเห็นชอบแผน ความรวมมือในหวง 2 ป และการแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ 1. ประธานรวม 1.1 ฝายสหรัฐอเมริกา : CAPT (USN) Stephen Grzeszczak (Retire) อดีตเสนาธิการ หนวยบัญชาการปฏิบัติการพิเศษสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟค 1.2 ฝายอินโดนีเซีย : Major General Puguh Santoso ผอ.สนผ.กห.อินโดนีเซีย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 207

2. ประเทศที่เขารวมประชุมประกอบดวยประเทศในกลุมอาเซียน 9 ประเทศ บรูไน กัมพูชา สปป.ลาว มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และประเทศคูเจรจา 7 ประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน นิวซีแลนด เกาหลีใต รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา 3. หัวขอในการแลกเปลี่ยน สําหรับหัวขอในการแลกเปลี่ยนจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งในแตละการ ประชุมขึ้นอยูกับประเทศเจาภาพวา ใหความสนใจในสิ่งใด สําหรับการประชุมในครั้งนี้ มีหัวขอดังนี้ 3.1 นโยบายของรัฐในการตอตานการกอการราย ประเด็น : การประสานงานของหนวยงาน ภายในประเทศอยางมีประสิทธิภาพ ประเทศสมาชิกที่เขารวมการประชุม ตางก็มีแนวทางการแกปญหาที่คลายกัน คือ การจัดการกับปญหาการกอการรายไมใชจะมีเพียงหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งที่จะดําเนินการดําเนินการไดตามลําพัง ตอง อาศัยความรวมมือระหวางกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ และเพื่อใหมีการประสานงานอยางมีประสิทธิภาพ ไดมีการจัดตั้ง คณะกรรมการเพื่อดูแลในระดับนโยบาย และจัดตั้งหนวยงาน หรือหนวยเฉพาะกิจเพื่อดูแลในระดับปฏิบัติทั้งในเรื่องของ การปฏิบัติ การประสานงาน และการสนับสนุน พรอมทั้งมีนโยบายในการเสริมศักยภาพของหนวยปฏิบัติ และการฟนฟู เยียวยาควบคูกันไปดวย 3.2 ความทาทายของการตอตานการกอการรายในภูมิภาค ประเทศสมาชิกมีความเห็นวา ความทาทายที่จะกลาวถึงนั้นมิใชเปนแคภัยคุกคามในภูมิภาคเทานั้น แตเปนความทาทายที่หมายรวมถึงในทุก ๆ ที่ที่มีการ กอการราย โดยมีความทาทายในเรื่องของการกอการรายทางไซเบอร Cyber Terrorism ไมวาจะเปนในเรื่องของ Social Media เครือขายสังคม (Social Network) อินเตอรเน็ท ซึ่งสามารถกอใหเกิดผูกอการรายซึ่งมีพฤติกรรมรุนแรงดวยตัวเอง (Self-Radicalized Terrorist) ความทาทายในเรื่องของรูปแบบการกอการรายที่ทันสมัยใชเทคโนโลยีมากขึ้น ตลอดจน ความทาทายในการกอการรายดวยสารเคมี สารชีวะ สารรังสี และนิวเคลียร 3.3 การทําใหกลุมหัวรุนแรงกลับใจและเขารับการฟนฟูเยียวยาเพื่อกลับเขาสูสังคมเปน ประเด็น : ความทาทายและการดําเนินการที่สัมฤทธิ์ผล ประเทศสมาชิกมีความเห็นวา การใชกําลังไมอาจแกปญหาได หรือแมแตการบังคับใชกฎหมายอยางเดียวก็ไมอาจทําใหสําเร็จได ความทาทายของเรื่องนี้อยูที่การเขาถึงจิตใจและสํานึก ของบุคคลหรือกลุมแนวคิดหัวรุนแรง อีกทั้งการปองกันไมใหกลับไปมีแนวคิดแบบเดิมอีก โดยรัฐจะตองมีการจูงใจและการ เยียวยาใหสามารถกลับคืนสูสังคมได เชน การสวัสดิการการศึกษา การใหความรูในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมาตรการ ในการติดตามผลหลังจากการกลับคืนสูสังคม 4. แผนความรวมมือในหวง 2 ป (2555 – 2556) 4.1 เปาหมายหลักของแผน คือ การจัดการฝก TABLE TOP EXCERCISE : TTX และ การ ฝก PRACTICAL EXERCISE : PE ในป 2556 ณ อินโดนีเซีย เพื่อเสริมสรางศักยภาพ พัฒนาขีดความสามารถ แลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสาร และประสานความรวมมือใหใกลชิดมากขึ้น ทั้งในระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติ 4.2 แผนการใชเวลา 4.2.1 การประชุมวางแผนขั้นตน หวง 3 – 4 เมษายน 2555 4.2.2 การตรวจภูมิประเทศขั้นตน หวงกันยายน 2555 ณ อินโดนีเซีย 4.2.3 การประชุมวางแผนขั้นสุดทาย หวงมีนาคม 2556 ณ อินโดนีเซีย 4.2.4 การตรวจภูมิประเทศขั้นสุดทาย หวงพฤษภาคม 2556 ณ อินโดนีเซีย 4.2.5 การฝก TTX และ PE ในหวงกันยายน 2556 ณ อินโดนีเซีย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 208

4.3 รูปแบบการฝก 4.3.1 การฝก TTX ไดมีการกําหนดสถานการณสมมุติไว 3 เรื่อง คือ เรื่องการโจมตี เรือบรรทุกกาซ ในเสนทางเดินเรือหรือบริเวณทาเรือ เรื่องการลักลอบขนอาวุธยิงอากาศยานแบบประทับ บา เรื่องการ โจมตีการแขงขันกีฬาสําคัญๆ เชน ซีเกมส และไดกําหนดหวงการฝก 5 วัน โดยจัดผูเขารวมการฝกทั้งระดับนโยบายและ ระดับปฏิบัติ ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนความรูและการแกปญหาตามสถานการณสมมุติ 4.3.2 การฝ ก PE ห วงการฝ ก 5 วัน เปน การฝ กในลั กษณะการสาธิ ตโดยใช สถานการณสมมุติตอจากการฝก TTX กับเนนการปฏิบัติทางยุทธวิธีโดยใชกําลังเขาปฏิบัติจริง รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยน ความรูและการฝกสาธิต จากการประชุมแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในการประสานความรวมมือของคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการ ตอตานการกอการรายในกรอบของ ADMM-Plus โดยเปาหมายหลักของการประสานความรวมมือในหวง 2 ป คือ การฝก รวมกัน ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกไดแสดงออกถึงการประสานความรวมมือที่ดี จึงควรจัดกําลังพลและยุทโธปกรณเขารวมตาม แผนงานในขอ 4 โดยมอบให ศตก. ในฐานะหนวยรับผิดชอบหลักในคณะทํางานผูเชี่ยวชาญฝายไทย ดานการตอตานการ กอการรายเปนผูพิจารณาความเหมาะสม และดําเนินการในการสงกําลังพลของกองทัพไทย และหนวยงานที่เกี่ยวของเขา รวมการดําเนินงานตามแผนงานตอไป ในการแกไขปญหาจากอาชญากรรมขามชาตินั้น มีความจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศในภูมิภาคตองรวมมือกัน ไมใช ปลอยใหเปนความรับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่งเทานั้น สําหรับการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียนนั้นไมแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ กลาวคือ เกิดจากความเหลื่อมล้ําดานคุณภาพของ กฎหมายและการบังคับ ใชกฎหมายของ ประเทศสมาชิก รวมทั้งความออนแอของรัฐบาลกลางที่จะเขาไปแกปญหา อาชญากรรมองคกรขามชาติ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ เมื่อเกิดการคุกคามจากปญหาอาชญากรรมขามชาติดังกลาว ประเทศสมาชิก อาเซียนไมไดแกปญหารวมกันอยางบูรณาการ แตกลับมองวา ปญหาการคุกคามดังกลาวเกิดขึ้ นใน ประเทศใดก็เปนความรับผิดชอบของประเทศนั้นในการจัดการ ดังนั้น การแกปญหาอาชญากรรมขามชาติจึงไมอาจเกิดขึ้น อยางเปนรูปธรรมได ระหวางประเทศสมาชิก

ความร ว มมื อ ทางอาญาระหว า งประเทศของภู มิ ภ าคอาเซี ย นในป จ จุ บั น ปญหาอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ ทัง้ ในเชิงปริมาณ ความรุนแรง และรูปแบบการ กระทําความผิด องคกรอาชญากรรมกลุมหลักๆ เชน การกอการรายขามชาติ การคามนุษย การลักลอบขนคนขามชาติ แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคายาเสพติดขามชาติ และอาชญากรรมคอมพิวเตอรได ใชประเทศอาเซียนเป นทั้ ง 2 ประเทศตนทาง ทางผาน และปลายทางในการกระทําผิด แมวา นโยบายการปองกันปราบปรามอาชญากรรมในประเทศ อาเซียนบางประเภท เชน การคามนุษย และการคายาเสพติด ไดถูกจัดเปนวาระแหงชาติและมีความรวมมือระหวางรัฐ มากขึน้ แตอาชญากรรมขามชาติยังคงมีแนวโนมขยายตัว อันเนื่องมาจากความแตกตางของกฎหมายภายใน เจตนารมณ ของรัฐ และความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย นอกจากนี้ องคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมจะทํางานรวมกัน ลักษณะเครือขาย และแลกเปลี่ยนผลประโยชนระหวางกลุมมากกวาในอดีต หนวยงานบังคับใชกฎหมายของแตละ 2

กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ . (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. หนา 1-44. กองเกียรติ อภัยวงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรม ขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 209

ประเทศ จึงจําเปนตองชวยเหลือและรวมมือกันใหมากขึ้น เพื่อรองรับตอการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติ สําหรับ ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ ดังนี้

ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศในเรื่ อ งทางอาญาแบบเป น ทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการจะปรากฏในลักษณะสนธิสัญญา อนุสัญญา กฎ บัตร พิธีสาร ความตกลง กติกา ฯลฯ ซึง่ เปนความตกลงระหวางประเทศและอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวางประเทศ โดยทัว่ ไป มักจะกระทําขึ้นเปนลายลักษณอักษร และมีผลผูกพันคูสัญญา รัฐภาคี จึงมีหนาทีต่ องปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีใน สนธิสัญญาและตามมาตรา 27 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา อีกทั้งไมสามารถอางบทบัญญัติของกฎหมายภายในเพือ่ เปนเหตุ I ในการไมปฏิบัติตามสนธิสัญญา ดวยเหตุนี้ รัฐจึงจําเปนตองวางขอกําหนดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการปรับใชสนธิสัญญากั บ ระบบกฎหมายภายในของประเทศ เช น ประเทศไทยไดตราพระราชบัญญัติปองกั นและปราบปรามการมีสวนรวมใน องคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 เพื่อรองรับพันธกรณีที่มีตามอนุสัญญาตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ จัดตั้งใน ลักษณะองคกร เปนตน ความรวมมือระหว างประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ กลาวคือ

ระดับระหวา งประเทศ อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. 2000 เปนกฎหมาย ระหวางประเทศฉบับสําคัญที่เปดโอกาสใหประเทศที่เปนภาคีมารวมมือกันในการตอสูกบั องคกรอาชญากรรมขามชาติโดย ไมคํานึงถึงความแตกตางทั้งทางดานการเมือง การปกครอง วัฒนธรรม และเชื้อชาติของประเทศ โดยอนุสัญญาฯ ไดวาง หลักเกณฑพื้นฐานอยางกวางใหประเทศสมาชิกตองนํา เขาไปบัญญัติไวเปนกฎหมายภายใน โดยมีขอนาสนใจ ไดแก ความผิดทางอาญาของการเขารวมในองคกรอาชญากรรม การฟอกเงิน และการทุจริตคอรัปชั่ น และมาตรการตอบโต ความรั บ ผิ ด ชอบของนิ ติ บุ ค คล การฟ อ งร อ ง และการพิ พ ากษา การยึ ด ทรั พ ย ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศเพื่ อ วัตถุประสงค ในการยึดทรัพย เขตอํานาจศาล การสงผูรายขามแดน การสงมอบตัวผูตองคําพิพากษา ความชวยเหลือซึ่ง กันและกันทางอาญา การสืบสวนรวมกัน เทคนิคการสืบสวนพิเศษ การจัดทําฐานขอมูลความผิดทางอาญา การคุมครอง พยาน มาตรการความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และการรวบรวม การแลกเปลี่ ยน และการวิเคราะห ขอมูลทีเ่ กี่ยวของกบลักษณะทั่วไปขององคกรอาชญากรรม เปนตน

ระดับภูมิภาค II

สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 ซึ่งเปนเครื่องมือทาง กฎหมายสํ าคัญ ระดั บภูมิ ภาคที่ได กําหนดมาตรการทางกฎหมายสํ า หรั บหน วยงานบั งคับ ใชก ฎหมายในการให ความ ชวยเหลือ และการขอความชวยเหลือระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคอาเซียนในเรือ่ งทางอาญาไวหลายรูปแบบ แตมีลักษณะที่ นาสนใจกวาสนธิสัญญาทวิภาคี หรือพหุภาคีทั่วไปกลาวคือ ไดวางหลักเกณฑความชวยเหลือระหวางประเทศอาเซียนไว มากกวาสนธิสัญญาสองฝายทัว่ ๆ ไป เชน การจัดหาให ซึง่ เอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ทีป่ ระชาชนใชประโยชนได คาใชจาย ซึง่ แนนอนวา ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดลงนามรับรองสนธิสัญญาดังกลาวมีพันธกรณีที่จะตองนําเอาเงื่อนไขและขอบท III ตาง ๆ ไปกําหนดเปนกฎหมายภายในเพื่อบังคับใชใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม สนธิสัญญาอาเซียนฉบับนี้ มีขอจํากัดทีค่ ลายคลึงกับสนธิสัญญาระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา ทัว่ ไปโดยรัฐผูรับคํารองขอสามารถปฏิเสธการใหความชวยเหลือได หากคํารองขอเขาขายคดีที่เกี่ยวเนื่องกับประเด็น ทาง การเมือง เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ชาติกําเนิด สัญชาติ และความผิดทางทหาร รวมถึงคดีความมั่นคงในลักษณะอื่น ๆ สนธิ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 210

สั ญ ญาฯ ได เ ป ด โอกาสให ผู ป ระสานงานกลางของแต ล ะรั ฐ สามารถส ง คํ า ร อ งขอความช ว ยเหลื อ และการติ ด ต อ ประสานงานผานทางชองทางตํารวจสากล (INTERPOL) หรือองคการตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ในสถานการณ เรงดวนได จึงทําใหขอมูล และพยานหลักฐานที่ไดจากการประสานงานทางคดีผานชองทางดังกลาวไดรับการยอมรับใน กระบวนพิจารณาชั้นศาลมากขึ้น ดังนั้น การที่สนธิสัญญาฯ ไดระบุถึงกลไกการประสานงานดังกลาวจึงเทากั บเปนการ ยอมรับถึงความถูกตองในการประสานความรวมมือระหวางประเทศโดยปริยาย

ระดับทวิภาคี IV

V

สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา สนธิสัญญาโอนตัว VI นักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ รวมถึงขอตกลงระหวางรัฐบาลในรูปแบบอื่นๆ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาล ไทยกั บรั ฐบาลแห งราชอาณาจั กรกัมพูช า เรื่อ ง ความรว มมือ ทวิ ภาคีว าด วยการขจั ดการคา เด็ ก และหญิ ง และการ ชวยเหลือเหยื่อของการคามนุษย ค.ศ. 2003 และบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกั บรัฐบาลแหง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ค.ศ. 2003 เปน ตน เปนกฎหมายที่มีผลผูกพันระหวางสองประเทศ ซึ่งคํานึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศที่มารวมลงนามเปนสําคัญ กฎหมายระหวางประเทศในระดับทวิภาคีไดชวยทําใหการทํางานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเปนไป ดวยความสะดวกและรวดเร็วมากขึน้ เนื่องจาก มีพันธกรณีระหวางรัฐในการทีจ่ ะตองปฏิบัติตามหากมีกรณีเขาตามเงือ่ นไข ทีว่ างไว อยางไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบวา กฎหมายระหวางประเทศระดับทวิภาคีของภูมิภาคอาเซียนยังมีไมมากนัก โดยสวนใหญจะเปนประเด็นที่ไดรับ การผลักดัน หรือสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลที่ เกี่ยวกับการตอตาน การคามนุษย และการตอตานการกอการราย ดังนัน้ ในโอกาสทีป่ ระเทศไทยกําลังจะเขาสูประชาคมอาเซียน และยังไมได มีกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางครอบคลุมรัฐอาเซียน จึงควรผลักดันใหมีกรอบความ รวมมือในลักษณะทวิภาคี หรือพหุภาคีใหมากขึ้น

ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศในเรื่ อ งทางอาญาแบบไม เ ป น ทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการมีหลายลักษณะ โดยเนนความรวมมือในเชิง นโยบายและปฏิบัติเปนสําคัญ แมวา ประเทศคูเจรจาหรือประเทศที่เขามารวมเปนพันธมิตร จะไมไดมีพันธกรณีที่เครงครัด ที่จะตองปฏิบัติตามความตกลงที่เกิดขึ้น หรือตามมารยาทระหวางประเทศในเชิงการทูตเทากับความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่ องทางอาญาแบบเป น ทางการที่ ยึ ด ถื อตั ว บทกฎหมายหรื อ หลั กกฎหมายระหวา งประเทศ แต รู ป แบบ ความสัมพันธแบบไมเปนทางการไดทําใหเกิดเครือขายความรวมมือระหวางกลุมหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และพัฒนา ไปเปนความสัมพันธในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบไมเปนทางการ ซึ่งทําใหการประสานความรวมมือในการ สืบสวนติดตามจับกุมตัวผูกระทําความผิดเปนไปอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปสามารถพิจารณาไดเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ ความรวมมือระหวางประเทศในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ

ในระดับนโยบาย -การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) เปนการประชุมเพื่อรองรับการประชุมในระดับรัฐมนตรีของประเทศอาเซียนที่ดูแลกํากับนโยบายดาน ความมัน่ คงที่เกี่ยวของกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ เกิดขึ้นตามมติที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยางเปนทางการครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป 2538 เพื่อใหเปนกลไกระดับภูมิภาคในการกํา กับและดําเนินการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ มี


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 211

แนวโนมจะทวีความรุนแรง และขยายตัวมากขึ้น โดยจัดขึ้นเปนประจําทุก 2 ป การประชุมดังกลาวเปนการหาแนวทาง รวมกันในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่สําคัญ ไดแก การตอตานการกอการราย การคามนุษย และการ ประชุมรวมกับประเทศคูเจรจา เปนตน -การประชุมเจาหนาทีอ่ าวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (Senior Official Meeting on Transnational Crime- SOMTC) เปนกลไกที่เนนความรวมมือดานการบังคับใชกฎหมายและการเสริมสรางศักยภาพในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติทั้งดานการปองกันและปราบปรามในระดับปฏิบัติของหนวยงานบังคับใชกฎหมายของประเทศ VII อาเซียน ในรูปแบบของการประชุมสัมมนา เพือ่ เสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของประเทศ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นทั ง แบบที่ เ ป น ทางการและไม เ ป น ทางการ โดยเป น เวที ใ นการผลั ก ดั น ข อ เสนอใหม ๆ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการรวมมือระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายใหมากขึ้น เชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การฝกอบรม และ การสรางเครือขายการทํางานรวมกันระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย เปนตน นอกจากนี้ กรอบการประชุมดังกลาวได VIII ประสบความสํ า เร็ จในการพั ฒนาความร ว มมื อ ระหว า งอาเซี ยนกั บ ประเทศคู เ จรจา ให เ ป น รู ป ธรรมตามเอกสาร แถลงการณทางการเมืองที่ไดมีการลงนามกัน ในรูปแบบแผนงานที่ระบุกิจกรรมความรวมมืออยางเปนรูปธรรม ซึ่งประเทศ ผูนําในแตละสาขาของอาชญากรรมขามชาติทําหนาทีป่ ระสาน หารือ และแสวงหาความรวมมือกับประเทศคูเจรจา อันจะ สงผลใหกลุมประเทศอาเซียนสามารถแสวงประโยชนสูง สุดจากความเชี่ ยวชาญของประเทศคูเจรจาบนพื้ นฐานของ ผลประโยชนรวมกันของทั้งสองฝาย เพือ่ ใหหนวยงานบังคับใชกฎหมายนํานโยบายดานอาชญากรรมขามชาติดังกลาวไปใช เปนแนวทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ

ในระดับปฏิบัติ IX

-การประชุมกระบวนการบาหลี (Bali process) เปนกลไกความรวมมือของภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟคที่มุงเนน การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะในเรื่ องการคา มนุษย และการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย เนื่องจาก ประเด็นเรื่องการคามนุษย และการขนคนขามชาติโดยเฉพาะทาง เรือเปนปญหาสําคัญของประเทศในภูมิภาคนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเวทีระดับภูมิภาคในการหารือและกํา หนด แนวทางรวมกันในการจัดการกับปญหาการคามนุษยการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย และปญหาอาชญากรรมขามชาติ อื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ เชน การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการขาวกรองผานหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกันในรูปของ เครือขายการบังคับใชกฎหมาย การวางระบบการตรวจคนเขาเมืองที่ มีประสิทธิภาพ การตรวจรวมกันตามแนวชายแดน เปนตน ผลลัพธที่ไดจากกรอบการประชุมกระบวนการบาหลี มีตั้ งแตการดําเนินการในเชิงนโยบายของภูมิภาคในการ จัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติไปจนถึงการพัฒนากลไกดานกฎหมายโดยสงเสริมใหประเทศสมาชิกสรางความ รวมมือระหวางกันในหลากหลายมิติ เพื่อใหสามารถจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้ น เชน การออกกฎหมายภายในประเทศ และมาตรการการปองกัน และความชวยเหลือตอเหยื่อของการคามนุษยโดยเฉพาะ ผูหญิงและเด็ก มาตรการจัดการกับการเขาเมืองผิดกฎหมาย และการเสริมสรางขีดความสามารถประเทศในรูปแบบของ โครงการฝกอบรม -การประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of Police Conference –ASEANAPOL) เปนกลไกความ X รวมมือระหวางองคกรตํารวจอาเซียนในระดับปฏิบัติ โดยเปนผลมาจากความตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรมขาม ชาติตอการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาค และตอสังคมอาเซียนโดยรวมมีวัตถุประสงคเพื่ อสนับสนุนระเบียบ และ กฎหมายที่ใชกลุมประเทศอาเซียน สงเสริมการพัฒนาและการดําเนินงานที่เปนระบบในการบังคับใชกฎหมายและการ รักษาความสงบเรียบรอย เสริมสรางความรวมมือรวมใจ และความสามัคคีของตํา รวจอาเซียนในการตอตานการกอการ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 212

ราย และอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถทั้ งในระดับองคกรและบุคลากร และเพื่ อเสริมสราง ความสัมพันธระหว างองคกรตํารวจในภูมิภาคอาเซียนใหแน นแฟนมากยิ่งขึ้น ผลลัพธที่ไดจากการประชุมจะอยูในรูป แถลงการณรวมที่ เปนขอเสนอแนะหัวหนาตํารวจของประเทศสมาชิกนํา ไปเปนแนวทางในการทํา งานรวมกัน แมวา ขอ เสนอแนะที่ เ กิ ด ขึ้น จะเป น เพียงกรอบนโยบายกว า ง ๆ และไม มี พัน ธะผู กพั น ทางกฎหมาย แต ใ นทางปฏิบั ติ แ ล ว แถลงการณดังกลาว ถือเปนเจตจํานงรวมของผูนําองคกรบังคับใชกฎหมายหลักของแตละประเทศที่ จะตองใชความ พยายามอยางสุดความสามารถในอันทีจ่ ะปฏิบัติตามใหได - การประสานความร ว มมื อ ทางอาญาผ า นองค ก ารตํ า รวจอาชญากรรมระหว า งประเทศ (International Criminal Police Organization : INTERPOL) หรือเรียกทั่วไปวา องคการตํารวจสากล ซึง่ เปนองคการระหวางประเทศที่ เปนหนวยประสานงานกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมระหวางประเทศ และชวยเหลือ XI กนในการติดตามจับกุมผูกระทําผิดมาลงโทษผานชองทางตํารวจสากล คือ ระบบขอมูลขาวสารตลอด 24 ชั่วโมง (I24/7) ซึง่ เปนการสงและรับขอมูลผานแหลงขอมูลกลาง (server) ของตํารวจสากลทีม่ ีสํานักงานใหญอยูที่ประเทศฝรั่งเศส สําหรับแลกเปลี่ยนขอมูลทางอาชญากรรมระหวางกันเพื่อประโยชนในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติ หรือ คดีที่อาชญากรหลบหนีไปตางประเทศในลักษณะตาง ๆ ในรูปแบบของหมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) 8 XII ประเภท ตามลักษณะของประเภทคดีและคํารองขอความรวมมือที่กําหนดไว ตามระเบียบการใชหมายตํารวจสากล เชน หมายสีแดงใชสําหรับการติดตามบุคคลที่เปนที่ตองการตัวเพื่อสงกลับไปดําเนินคดีหรือรับโทษทางอาญาในประเทศผูรอง ขอ หรือหมายสีดําใชสําหรับติดตามบุคคลสูญหาย เปนตน เพื่อใหประเทศสมาชิกตํารวจสากลชวยเหลือในการสืบสวน XIII สอบสวน และติดตามอาชญากรขามชาติที่หลบหนีจากประเทศหนึ่งเขาไปในอีกประเทศหนึ่ง คดีอาชญากรรมสําคัญที่ นาสนใจ ไดแก การกอการราย การคามนุษย การคายาเสพติด การลักลอบขนคนผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย การลักขโมยวัตถุโบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร ตลอดจนการติดตามบุคคลหลบหนีการดําเนินคดีอาญาและคําพิพากษา และอาชญากรสงคราม เปน ตน -การประสานงานผานสํานักงานนายตํารวจประสานงานประจําสถานทูต (Police Liaison Office) โดยมี นายตํารวจที่เปนผูแทนของสํานักงานตํารวจของประเทศนั้นๆ ประจําอยูที่สถานทูตที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ มีหนาที่ใน การติดตอประสานงานในคดีอาญาตางๆ ที่ผูตองหาไดหลบหนีมาอยูในประเทศอาเซียน หรือจากประเทศอาเซียนไปอยู ตางประเทศใหเกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ทั้งในดานการแลกเปลี่ยนขอมูล การแสวงหาพยานหลักฐาน และการสง และรั บคําร องขอทางการทูต ที่ เกี่ยวของกับคดี สํานั กงานนายตํ ารวจประสานงานดังกลาวไดมีบทบาทสํ า คัญในการ คลี่คลายคดีอาชญากรรม และอาชญากรรมขามชาติสําคัญที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และอาเซียนในหลายคดีโดยเฉพาะ 3XIV อยางยิง่ ทําใหขอจํากัดดานกฎหมายภายในนอยลง และเกิดความรวมมือระหวางกันมากขึน้ กลาวโดยสรุป ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนมีทั้งในระดับที่เปนทางการ และไมเปนทางการ ซึ่งนับเปนกลไกความรวมมือระหวางประเทศที่สําคัญ แมวา ประเทศอาเซียนจะไดตระหนักถึงภัยของอาชญากรรมขาม ชาติที่เพิ่มขึ้น แตเนื่องจาก กรอบความรวมมือของภูมิภาคสวนใหญจะลักษณะของแนวทางการทํางานรวมกันไมไดมีผล ผูกพันในทางกฎหมายอยางเครงครัด ทํา ใหการบังคับใชกฎหมายของแตละประเทศยังคงตั้งอยูบนพื้นฐานของหลั ก กฎหมายภายในของรัฐ นโยบายของรัฐบาล และผลประโยชนของแตละประเทศเปนสํา คัญ ประกอบกับกฎหมายของ

3

เกชา สุขรมย. พ.ต.ท. สัมภาษณเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2556 ณฺ กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 213

ภูมิภาคยังไมไดมีการพัฒนาเหมือนเชนในสหภาพยุโรป จึงทําใหความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนไมเกิด ประสิทธิภาพเทาทีค่ วร ซึ่งสามารถวิเคราะหปญหาและอุปสรรคไดดังนี้

ปญหาและอุ ปสรรคของกระบวนการยุ ติธรรมทางอาญาของอาเซียน แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีกรอบความรวมมือในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ชัดเจนมากขึ้นใน หวง 10 ปที่ผาน แตดวยลักษณะของความเปนรัฐที่กําลังพัฒนา และมีรูปแบบการเมืองการปกครอง และแนวนโยบายของ 4 รัฐที่แตกตางกัน ทําใหการพัฒนาแนวทางความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคคอนขางลาชาไมสามารถกาว ทันกับรูปแบบการกระทําผิดสมัยใหมขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่ เติบโตอยางรวดเร็วได โดยสามารถวิเคราะห ปญหาและอุปสรรคของความรวมมือในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ไดดังนี้ ประการแรก การไมมีหลักกฎหมาย หรือขอตกลงรวมกนของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะ พิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติที่ไดกระทําลงในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณี ความผิดที่มีถูกเริ่มตนกระทําในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําในอีกประเทศหนึ่ง และมี ค วามเสี ย หายหรื อ ผลกระทบเกิ ด ขึ้ น ในอี ก หลายประเทศ แม ว า อาเซี ย นจะมี สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา แตในทางปฏิบัติยัง เปนไปดวยความลาชา อันเนื่องมาจากอุปสรรคดานภาษา ความแตกตางของกฎหมายในแง 5 ของวิธีปฏิบัติ และดานขอมูล นอกจากนี้ มีเพียงบางประเทศในอาเซียนที่มีสนธิสัญญาวา ดวยการสงผูรายขามแดน และความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาระหวางกัน ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการนํา ตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ 6 ขึ้นอยูกับนโยบายของแตละรัฐเปนสําคัญ เชน กรณีที่การวางแผน การสมคบคิด และการ ลงมือกระทําผิดอยูคนละประเทศ ศาลของประเทศใดควรจะมีอํา นาจในการรับฟอง และ พิจารณาคดีดวยเหตุผลใด เปนตน ประการทีส่ อง การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหว างประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนดวยกั นยังไม มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีที่ ประเทศไทยขอความ ชวยเหลือทางอาญาไปยังประเทศเพื่อนบานในอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากการสนธิสัญญาระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือ ทางอาญาและการส ง ผู ร า ยข า มแดนในป จ จุ บั น ยั ง ไม ค รอบคลุ มทุ ก ประเทศทํ า ให ไ ม มี 7 พันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ หรือหากเปน การรองขอความชวยเหลือระหวางประเทศผานชองทางทางการทูตก็ไมมีความแนนอน ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชน ตางตอบแทนเปนสําคัญ ซึ่งพบวา การกระทําผิด ของประชากรที่มาจากกลุมประเทศอาเซียนจะเปนเรื่องการหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมายเปนสวนใหญ ซึ่ งหนวยงานบังคับใชกฎหมายสามารถใช 4

Keling, M.F. (2011). The development of ASEAN from historical approach. ประพันธ นัยโกวิท และประธาน จุฬาโรจนมนตรี. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการพัฒนา กฎหมายความรวมมือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญา. วารสารนิติศาสตร 33(3), 542-552 6 Emmers, R. (2003). The threat of transnational crime in Southeast Asia: Drug trafficking, human smuggling and trafficking, and sea piracy. Discussion Papers. Institute of Defence and Strategic Studies (IDSS), Singapore 7 สุนิสา สถาพรเสริมสุข. สัมภาษณเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ สํานักงานการตางประเทศ สํานักงานอัยการสูงสุด. 5


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 214

ประการทีส่ าม

ประการทีส่ ี่

8

กฎหมายภายในของแตละประเทศที่ มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิดเหมือนองคกรอาชญากรรมจากเอเชีย หรือแถบ ยุโ รป หรื อเปน ลัก ษณะที่ ผู กระทํา ความผิ ดมาจากประเทศในแถบอื่ น ๆ ของโลกมาใช ประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน การ ฉอโกงทางคอมพิวเตอร กลุมผูกอการรายขามชาติ กลุมยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธ 8 ขามชาติ เปนตน ความไมเพียงพอของกฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยู เนื่องจากการดําเนินคดีกับ อาชญากรรมขามชาติโดยเฉพาะทีจ่ ัดตัง้ ในลักษณะองคกรมีความสลับซับซอน และเชือ่ มโยง ในลักษณะเครือข ายเกี่ ยวเนื่องกัน ในหลายประเทศ ทําใหต องใชเทคนิควิธีก ารสืบสวน สอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานเปนกรณีพิเศษ หากแตกฎหมายภายในที่ใชในแตละ ประเทศโดยมากมีวัตถุประสงคเพื่อบังคับใชแกการประกอบอาชญากรรมของปจเจกบุคคล หรือการประกอบอาชญากรรมที่มีการสมคบกันในกรณีธรรมดาทั่วไป ทําใหไมสามารถเอา ผิ ด กั บ ตั ว ผู ก ระทํ า ผิ ด ที่ อ ยู เ บื้ อ งหลั ง ซึ่ ง มั ก มี ก ารประกอบธุ ร กิ จถู ก กฎหมายบั ง หน า ได นอกจากนี้ หลายประเทศยังไมมีกฎหมายปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ ให อํ า นาจพิ เ ศษแก เ จ า พนั ก งานในการสื บ สวนสอบสวน เช น การดั ก ฟ ง โทรศั พ ท (wire tapping) การใชสายลับในการสืบสวน (undercover operation) การใชอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสสะกดรอย (intelligence by electronic devices) การจัดสงภายใตการ ควบคุม (controlled delivery) รวมถึงการบัญญัติโทษริบทรัพยสินที่ยังมิไดใชในการ กระทําผิด หรือมีไวเพื่อกระทําผิด หรือพรอมที่จะใชกระทําความผิดอยางหนึ่งอยางใดใน อนาคต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ใชในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย ประกอบอาชญากรรม 9 และขยายเครือขายขององคกรอาชญากรรมขามชาติ การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาที่มักพบได ในหลายประเทศในอาเซียน แอฟริกา และตะวันออกกลาง อันมีสาเหตุมาจากความไม พรอมดานโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่ มักยึดติดกับแนวคิดการปองกั น อาชญากรรมแบบเดิม ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปราบอาชญากรรมขามชาติซงึ่ เปนปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิมใน การจั ด การได และการทํ า งานแบบแยก ส ว นภารกิ จ ของหน ว ยงานทํ า ให ข าดการ 10 ประสานงานและแลกเปลีย่ นขอมูลระหวางกัน เชน ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงานที่ เข า มาเกี่ ยวข อ งกบภารกิ จการปราบปรามอาชญากรรมข า มชาติเ ป น จํ า นวนมาก เช น สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการปราบปราม กองบังคับปราบปรามการคามนุษย กองการตางประเทศ ศูนยปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ กระทรวงกลาโหม กรม ศุลกากร และหนวยปฏิบั ติก ารต าง ๆ หากแตใ นทางปฏิบัติ ขาดเอกภาพในการบริ หาร

จอม สิงหนอย, พ.ต.ท. สัมภาษณเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ณ กองบังคับการปราบปราม กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง. คมกริช ดุลยพิทักษ, ม.ป.ป. ปญหาการดําเนินคดีองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. 10 Broome, J. (2000). Transnational crime in the twenty-first century. Paper presented at the Transnational Crime Conference, Canberra, 9-10 March 2000. 9


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 215

จัดการ ในขณะทีอ่ ีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตัง้ หนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้ โดยตรงทํา ใหเกิดความไมชัดเจนในการประสานการปฏิบัติ ประการทีห่ า การขาดทักษะและความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของประเทศอาเซียนที่จะจัดการกับ 11 ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ตองยอมรับวา ภาษา และวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนยังมี ความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศตาง ๆ มีภาษาเขียนและภาษาพูด เปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ การ จั ด ทํ า คํ า ร อ งขอความช ว ยเหลื อ ทางอาญาจํ า เป น ต อ งใช ภาษากลางในการสื่ อ สาร ซึ่ ง โดยทั่ วไปจะใชภาษาอั งกฤษ ดั งนั้ น การสรรหาบุ คลากรที่ มีทัก ษะทั้ งในดานของภาษา กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศ จึงเปนเรื่องที่เป นจําเปน ตอการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการประสานความรวมมื อระหว า ง ประเทศ ประการสุดทาย การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับ ใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน แมวา ในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงาน ในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งในระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่ อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจอาเซียน แตกรอบความรวมมือ มีลักษณะเชิงนโยบายที่เนนการกระชับความสัมพันธ และการทํางานรวมกันแบบไมเปน ทางการ เชน การแลกเปลีย่ นมูลขาวสาร และการฝกอบรม ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑและขั้นตอน ทีแ่ นนอนเหมือนเชนความรวมมือระหวางประเทศที่ใชกระบวนการทางกฎหมาย ประกอบ กับโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่แตกตางกันออกไปในแตละประเทศ ทําให ความรวมมือขึ้นอยูกับประโยชนตางตอบแทน และนโยบายของรัฐเปนสําคัญ

บทสรุ ป การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนนับเปนพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจอีกกาวหนึ่ งของประเทศอาเซียนที่ พยายามที่สรางความเปนภูมิภาคนิยม และสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจโดยลดกฎระเบียบภายในรัฐลง เพื่อเปด โอกาสใหประชากรอาเซียนสามารถผานเขา-ออกประเทศไดมากขึ้น แตในอีกดานหนึ่งกลับทําใหองคกรอาชญากรรมขาม ชาติสามารถใชชองโอกาสดังกลาว ในการเขามากระทําความผิดในภูมิภาคอาเซียนหลากหลายรูปแบบ ผลการศึกษาพบวา ความรวมมือระหวางประเทศในทางอาญาของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบันยังมีจุดออนอยูหลายประการ กลาวคือ การไมมี กฎหมาย หรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาคดี อาชญากรรมขามชาติ การ ประสานความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายยังมีขอจํา กัด อันเนื่องมาจากกฎหมายภายในของรัฐ การขาด หนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ การขาดทักษะ และความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และ กฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒ นธรรม และสังคมของประเทศอาเซียน การขาดความรู

11

Intararam, Kanchon. (2001). Problems and obstacles (of investigators) in transnational organized crime investigation in the Metropolitan Police Bureau. Thesis for Master of Arts (Criminology and Criminal Justice). Mahidol University; สายันต สุโขพืช. (ม.ป.ป.). ผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียนดานกฎหมายและกระบวนการ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 216

ความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศของเจาหนาที่ทเี่ กี่ยวของ และการขาดกลไกในทางปฏิบัติใน การขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน ดังนั้น กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของแตละประเทศอาเซียน จึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมตอการ เสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ โดยควรมียุทธศาสตรวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียนรวมกัน โดยอาจ พิจารณาใน 3 สวนหลัก ประกอบดวย ดานกลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ด านความ รวมมือระหวางประเทศดานกฎหมาย และการบริหารจัดการ และดานการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการ ยุติธรรม ทั้งนี้ เพื่อลดขอจํากัดดานกฎหมายภายในของแตละประเทศอันเปนอุปสรรคสําคัญตอการปองกันปราบปราม อาชญากรรมขามชาติ และขยายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของอาเซียนใหมีประสิทธิภาพมากขึน้

อ า งอิ ง ท า ยบท I

อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยเรื่องกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ไดใหคํานิยามไว ในมาตรา 2 ยอหนา 1a วา สนธิสัญญา หมายถึงความตกลงระหวางประเทศ ซึ่งกระทําเปนลายลักษณอักษรระหวางรัฐ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ ไมวาจะกระทําขึ้นเปนเอกสารฉบับเดียว หรือหลายฉบับ และไมวาจะเรียกวา อยางไรก็ตาม อางถึงใน จตุรนต ถิ ระวัฒน. (2547). กฎหมายระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 78-79. II สนธิสัญญาฯ ไดรวมลงนามโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ประกอบดวย บรูไนดารุสซาลาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟ ลิป ปน ส สาธารณรัฐ สิ งคโปร ราชอาณาจั กรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสหภาพพมา และประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญาดังกลาว เมือป 2556 III ปจจุบัน ประเทศไทยไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนกฎหมายอนุวัติการเพื่อใหเปนไปตามอนุสัญญาฯ โดยไดเริ่มมีผลบังคับใชแลวตั้งแตเดือนกันยายน 2556 อยางไร ก็ตาม ขณะนี้ อยูระหวางการพิจารณาออกขอบังคับประกอบพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวของสํานักงานอัยการสูงสุด และ หนวยงานที่เกี่ยวของ IV สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน (Extradition Treaty) เปนเครื่องมือทางการศาล หรือความรวมมือระหวางประเทศทางอาญา เพือ่ เปด โอกาสใหรัฐหนึง่ สามารถใชอํานาจทางการศาลของตนเหนือคดีทเี่ กิดขึน้ ในดินแดนของตนเอง แตผูกระทําความผิดใน ขณะนั้นกลับอยูในดินแดน หรืออาณาเขตของอีกรัฐหนึ่ง โดยการสงมอบตัวผูตองหา หรือผูที่ศาลไดมีคําพิพากษาใหลงโทษผู นั้นในการกระทําความผิดทางอาญาในดินแดนของรัฐที่ขอใหสงตัวบุคคลผูนั้นเพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือลงโทษในดินแดนของ รัฐที่รองขอ แตก็มิไดหมายความวา หากไมมีสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนกันไว จะไมสามารถสรางความรวมมือทางอาญา ระหวางประทศไดเลย เพราะรัฐยังคงสามารถมีความรวมมือทางอาญากับรัฐอื่น ๆ ได โดยอาศัยหลักกฎหมายระหวางประเทศ บนพื้นฐานของพันธไมตรีระหวางประเทศ หลักถอยทีถอยปฏิบัติ และหลักความยุติธรรม หรือที่รูจักกันในชื่อวา ความรวมมือ ทางการทูต V สนธิสัญญาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา (Mutual Assistance in Criminal Matters Treaty) เปน กฎหมายระหวางประเทศที่เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่ง หรืออีกหลายหลายรัฐ สามารถใหความชวยเหลือระหวางกันได


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 217

ตามพันธกรณีที่ตกลงกันไวบนพื้นฐานของประโยชนตางตอบแทน โดยมองตามความเปนจริงวา อาชญากรรมสามารถเกิดขึ้น ในทุกแหงบนโลก และอาชญากรไมวาจะเปนคนเดียว หรือหลายคนก็ไมไดถูกจํากัดดวยพื้นที่ และเวลาในการกระทําผิด และ หลบหนี ดังนั้น จึงจําเปนที่รัฐจะตองรวมมือกันในการแลกเปลี่ยนขอมูล และชวยเหลือในการสืบสวนสอบสวนคดีเพื่อนํา พยานหลักฐานที่ไดไปใชในการดําเนินการทางศาลไดอยางถูกตองตามกระบวนวิธีพิจารณาของศาลยุติธรรม VI สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่งเรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VII การประชุมจะมุงเนนความรวมมือของภูมิภาคอาเซียนและประเทศคูเจรจาในหัวขอการประชุมที่เกี่ยวของ 8 หัวขอ ประกอบดวย การกอการราย การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน โจรสลัด อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร VIII ประเทศคูเจรจาในกรอบการประชุม SOMTC ประกอบดวย จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอินเดีย IX ปจจุบันประกอบดวยสมาชิกจํานวน 44 ประเทศ และ 2 องคการระหวางประเทศ และมีประเทศผูสังเกตการณอีก 29 ประเทศ ดู รายละเอียดใน http://www.baliprocess.net X ประกอบดวย สํานักงานตํารวจจากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และคูเจรจาอีก 5 ประเทศ และ 2 องคระหวาง ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน เกาหลี นิวซีแลนด สํานักงานเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจ สากล เนื้อหาสาระของการประชุมจะประกอบดวยอาชญากรรมขามชาติ 9 ฐานความผิด และ 3 ประเด็นความรวมมือ ประกอบดวย การลักลอบคายาเสพติด การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรม ทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมคอมพิวเตอร การใชเอกสารเดินทางปลอม การฉอโกงขามชาติ ฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ความ รวมมือทางอาญา และการฝกอบรมระหวางตํารวจอาเซียน โดยจะเปนการเสนอถึงสถานการณทั่วไป สภาพปญหาของ อาชญากรรม รวมถึ ง เสนอกฎหมาย และมาตรการที่ เ หมาะสมในการแกไข ป ญ หาต อ ไป ดู ร ายละเอี ย ดได ใ น http://www.aseanapol.org/information/dialogue-partners XI องคการตํารวจสากล กอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ประเทศโมนาโค ในป 1914 ปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวม 190 ประเทศ สํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจสากล ตั้งอยูที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส มีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ประสานงาน และ ติดต อแลกเปลี่ยนขอ สนเทศ หรือ ขอ มูล เกี่ย วกั บอาชญากรรมต อองคก ารตํา รวจสากล หรือ ตอสํ านั กงานกลางแหง ชาติ (National Central Bureau : NCB) ซึ่งเปนกลไกของประเทศสมาชิกที่สําคัญในการดําเนินงานประสานการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิกดวยกัน โดยองคการ ตํารวจสากลจะมีบทบาทในการเปนชองทางการติดตอประสานความรวมมือกับระหวาง ประเทศสมาชิกผานระบบเทคโนโลยีสมัยใหม ในการตอสูกับอาชญากรรมและอาชญากรรมขามชาติในศตวรรษที่ 21 โดยคดี สําคัญหลักๆ ที่เปนเปาหมายของตํารวจสากล ไดแก การกอการราย การคามนุษย ยาเสพติดใหโทษ การลักลอบขนคนผิด กฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย โจรสลัด การลักขโมยวัตถุ โบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร นักโทษหลบหนี และอาชญากรสงคราม เปนตน ดูรายละเอียดได ใน http://www.interpol.int/About-INTERPOL/Overview


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 218

XII

หมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) เปนคํารองขอความรวมมือ หรือการแจงเตือนระหวางประเทศซึ่งอนุญาตให ตํารวจของประเทศสมาชิกแบงปนขอมูลขาวสารสําคัญระหวางกัน ไดถูกจัดทําและเผยแพร โดยสํานักงานเลขาธิการตํารวจ สากลตามคํารองขอของสํานักงานกลางแหงชาติหรือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายของประเทศสมาชิก และซึ่งจะเผยแพรดวย ภาษาทางการ 4 ภาษาไดแก อาราบิค, อังกฤษฝรั่งเศส และสเปน โดยแบงหมายออกเปน 8 ลักษณะ ประกอบดวย หมายสี แดง หมายสี ดํ า หมายสี ส ม หมายสี ฟ า หมายสี เ หลื อ ง หมายสี เ ขี ย ว หมายสี ม วง และหมายสี ข าว ดู ร ายละเอี ย ดได ใ น http://www.interpol.int/INTERPOL-expertise/Notices XIII ตัวอยางความรวมมือนาสนใจ เชน การดําเนินงานของตํารวจสากลในการนําหมายเอฟบีไอ จับกุม นายไบรอั น สมิธ ผูตองหาตามหมายจับของสํานักงานสืบสวนกลางสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ) ในขอหาลวงละเมิดทางเพศเด็กและขมขืนผูหญิงใน ป พ.ศ. 2532 ในลาสเวกัส และไดหลบหนีมาซอนตัวอยูในพื้นที่ จ.นาน เปนครูสอนพิเศษวิชาภาษาอังกฤษใหกับเด็กนักเรียน ในโรงเรียนบานปรางค ต. บานปรางค อ.ปว จ.นาน โดยหลังจากแจงขอหาตํารวจสากลไดควบคุม ตัวไปดําเนินการเพื่อสงไป ดํา เนิ นคดีที่ ประเทศสหรัฐ อเมริ กาตามข อ ตกลงเรื่ องสง ผูร ายขา มแดนตอ ไป เป นต น (ข อมู ลจากฝา ยตํ ารวจสากล และ ประสานงานภูมิภาค 3 กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ) XIV ในปจจุบนั มีเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูตในประเทศไทยรวม 19 ประเทศและ 2 องคการระหวางประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย, เบลเยี่ยม, แคนาดา, จีน, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อินโดนีเซีย, อิสราเอล, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลีใต, มาเลเซีย, เนเธอรแลนด, นิวซีแลนด, กลุมประเทศนอดิก, นอรเวย, สเปน, สวิสเซอรแลนด, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, องคการตํารวจสากล และสํานักงานตอตานยาเสพติดและอาชญากรรมขององคการสหประชาชาติ


ความมั่นคงทางทะเล ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งอยูระหวางเอเชียใต เอเชียตะวันออก และตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย มี เนื้อที่ประมาณรอยละ 14 ของทวีปเอเชีย หรือรอยละ 3 ของโลก เปนที่ตั้งของ 11 ประเทศ ไดแก ไทย เมียนมาร สปป. ลาว เวียดนาม กัมพูชา อินโดนี เซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร บรูไน และติมอรเลสเต หรือตะวันออก มีประชากร 1 รวมกันประมาณ 600 ลานคน คิดเปนรอยละ 14 ของทวีปเอเชีย หรือรอยละ 9 ของโลก มีพื้นที่ทางบกประมาณ 4,494,495 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเปนภูมิภาคที่มีความหลากหลายทั้งดานประวัติศาสตร วัฒนธรรม ศาสนา มรดกจากความ เปนอาณานิคม และเผาพันธุที่เปนแบบผสมผสานระหวางวัฒนธรรมตะวันออก ซึ่งไดรับอิทธิพลจากอินเดีย และจีนกับ วัฒนธรรมตะวันตก จากลักษณะดังกลาว ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงมีความสําคัญทั้งทางดานการเมือง และความ มั่นคงระหว างประเทศ เนื่ องจาก เปนจุ ดเชื่อมตอระหวางมหาสมุ ทรอิ นเดียกั บมหาสมุท รแปซิฟก เปนเสน ทางการ คมนาคมทางยุทธศาสตรหลัก หรือเปนเสนเลือดหลัก (Blood Line) ในการขนสงสินคาเขา-ออกที่เชื่อมโลกตะวันตกและ ตะวันออกเขาดวยกัน และยังมีความสําคัญทางเศรษฐกิจของโลก เนื่องจาก เปนแหลง ทรัพยากร และแหลงผลิตผลทาง การเกษตรที่สําคัญของโลก ในภูมิภาคนี้มีทะเลที่สําคัญ คือ ทะเลอันดามัน (Andaman Sea) มีพื้นที่ประมาณ 116,280 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ทองทะเลสวนใหญเปนโคลนปนทราย และโคลนเหลว ความลึกน้ําเฉลี่ยประมาณ 1,000 เมตร สภาพของทะเลมีเกาะ แกงมากมาย มีทิวทัศนสวยงาม และเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศไทย นอกจากนั้น ยังเปนแหลงปะการัง จํานวนมาก ซึ่งทําใหมีสัตวน้ําชุกชุม โดยทะเลอันดามันเปนสวนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดียดานตะวันออกเชื่อมตอภูมิภาค เอเชียใต และเอเชียตะวันออกเฉียงใตเขาดวยกัน ครอบคลุมอาณาเขตทางทะเลของประเทศเมียนมาร อินโดนีเซีย ไทย และมาเลเซีย และทะเลจีนใต (South China Sea) ซึ่งเปนจุดเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟก เปนเสนทางการคมนาคมที่สําคัญของภูมิภาคและของโลก ในภูมิภาคนี้ มีชองแคบสําคัญที่เปนเสนทางคมนาคม ไดแก ชองแคบมะละกา (Strait of Malacca) ซึ่งถือเปนเสนทางยุทธศาสตรที่สําคัญในการคมนาคมทางทะเลในภูมิภาค เปน เสนทางหลักระหวางทะเลอันดามันกับทะเลจีนใต เปนชองแคบที่มีเรือแลนผานหนาแนนที่สุดแหงหนึ่งของโลก นอกจาก ชองแคบมะละกาแลว ยังมีชองแคบลอมบ็อก (Lombok Strait) ซึ่งอยูทางปลายเกาะชวาดานตะวันออกในอาณาเขตทาง ทะเลของประเทศอินโดนีเซีย ชองแคบนี้มีความกวางและลึกมาก จึงเปนเสนทางเดินเรือสํารองที่สําคัญ เพราะมีความ ปลอดภัยสูง แตเรือสินคาสวนใหญจะใชชองแคบนี้นอยกวาชองแคบมะละกา และชองแคบซุนดา (Sunda Strait) อยู ระหวางเกาะสุมาตรากับเกาะชวา มีกระแสน้ํา แรงแตมีความลึกไมมากนัก มีเกาะแกงจํานวนมาก และคอนขางอันตราย เรือสินคาใชชองแคบนี้นอยมาก โดยเฉพาะเรือที่มีขนาดใหญ 100,000 ตัน จะไมใชชองแคบนี้ ชองแคบซุนดาอยูในอาณา เขตทางทะเลของประเทศอินโดนีเซียเชนเดี ยวกับชองแคบลอมบ็อก นอกจากเปนเสนทางคมนาคมหลักแลว ทะเลใน ภูมิภาคนี้ ยังเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ ทั้งที่มีชีวิต และไมมีชีวิต เชน น้ํามันดิบและกาซธรรมชาติ โดยเฉพาะ ในพื้นที่อาวไทยและทะเลจีนใต ซึ่งจากการสํา รวจทางธรณีวิทยา พบวา บริเวณตะวันออกของอาวไทยเปนแหลงน้ํามัน และกาซธรรมชาติที่สําคัญ เปนที่ตั้งของแองน้ํามัน Pattani Basin, Panjang Basin , Khmer Trough และ Unname Basin ที่ไทย และกัมพูชาตางอางสิทธิ แตยังไมสามารถตกลงกันได สวนบริเวณดานใตของอาวไทย นอกชายฝงเขตแดน ไทย- มาเลเซีย มีแหลงน้ํามัน และกาซธรรมชาติที่ทั้งสองประเทศไดมีการเจรจาตกลงแสวงประโยชนรวมกันเรียบรอยแลว 1

ชลทิศ นาวานุเคราะห, นาวาเอก, (2552). “กองทัพเรือกับความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล” เอกสารประจําภาค, วิทยาลัยการทัพเรือ. หนา 6.


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 220

นอกจากนี้ พื้นที่บริเวณหมูเกาะสแปรตลีย (Spratly Islands) ที่ 6 ชาติ ไดแก จีน มาเลเซีย ฟลิปปนส ไตหวัน บรูไน และ เวียดนามอางกรรมสิทธิ์ โดยเชื่อวา เปนบริเวณที่อุดมไปดวยน้ํามัน และกาซธรรมชาติจํานวนมาก จึงเปนสาเหตุของความ ขัดแยงระหวางประเทศ และมีความตึงเครียดระหวางเวียดนาม จีน และฟลิปปนสอยูในขณะนี้ สําหรับทรัพยากรธรรมชาติที่เปนแหลงพลังงานนั้น ประเทศในภูมิภาคตางก็ไดดํา เนินการแสวงประโยชนใน อาณาเขตทางทะเลของตนอยางตอเนื่อง จะเห็นไดจากแทนขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติที่ปจจุบันตั้งเรียงรายอยูใน อาณาเขตทางทะเลของแตละประเทศนั้นมีอยูเปนจํานวนมาก เชน อินโดนีเซียมี 500 แทน ไทยมี 265 แทน มาเลเซียมี 2 240 แทนมี บรูไน 160 แทน และเวียดนามมี 45 แทน

ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน เอเชี ยตะวั นออกเฉียงใต มีพื้นที่ ทางทะเลที่แตล ะประเทศประกาศทะเลอาณาเขต เขตต อเนื่ อง รวมถึ งเขต เศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลทะเล โดยทางดานทิศเหนือมีอาณาเขตทัง้ ทางบก และทางทะเลติดประเทศจีน อินเดีย และไตหวัน ดานตะวันออกติด กับประเทศปาปวนิวกินี และมหาสมุทรแปซิฟก ดานใตติดประเทศออสเตรเลีย ดานตะวันตกติดบังคลาเทศ อินเดีย และ มหาสมุทรอินเดีย เปนภูมิภาคทีไ่ มใหญมากนัก ประกอบดวย ภูมิภาคยอย 3 ภูมิภาค คือ 1. ประเทศในคาบสมุทรอินโดจีน สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ 2. ประเทศแหลมและหมูเกาะ คือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม 3. ประเทศฟลปิ ปนส และติมอรเลสเต เปนประเทศหมูเกาะ สวนใหญนับถือศาสนาคริสต สปป.ลาว และกัมพูชาเปนประเทศปด (Landlocked) เวียดนาม ไทย เมียนมาร เปนประเทศรัฐชายฝง และ สิงคโปรเปนประเทศเกาะเมือง มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลปิ ปนส และติมอรเลสเต เปนประเทศหมูเกาะ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประกอบดวย ภูมิศาสตรที่เปนพื้นที่ภูเขา ที่ราบสูง ปาเขตรอน และที่ราบปาก แมน้ํา ฝนตกชุก บางพื้นทีย่ งั ไมมีการบุกเบิก ภัยคุกคามถาวรในภูมิภาคนี้ คือ ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว และสึนามิ พายุ ใตฝุน พายุไซโคลน ซึ่งลาสุดสึนามิใกลเกาะสุมาตราไดคราชีวิตคนไปประมาณ 250,000 คน พื้นที่ทางทะเลที่สําคัญที่อยูโดยรอบ ซึ่งมีผลตอเศรษฐกิจและความมั่นคงทางทะเล ไดแก ทะเลจีนใต ชองแคบ มะละกา มหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย และนอกจากเปนเสนทางคมนาคมหลักแลว ทะเลในภูมิภาคนี้ยังเปน แหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต เชน น้ํามันดิบ และกาซธรรมชาติ โดยเฉพาะในพื้นที่อาวไทย และทะเลจีนใต ซึ่งจากการสํารวจทางธรณีวิทยาพบวา บริเวณตะวันออกของอาวไทยเปนแหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติที่ 3 สําคัญ เปนที่ตั้งของแองน้ํามัน Pattani Basin, Panjang Basin , Khmer Trough และ Unname Basin ที่ไทยและ กัมพูชาตางอางสิทธิ แตยังไมสามารถตกลงกันได สวนบริเวณดานใตของอาวไทย นอกชายฝงเขตแดนไทย- มาเลเซีย มี แหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติที่ทั้งสองประเทศไดมีการเจรจาตกลงแสวงประโยชนรวมกันเรียบรอยแลว นอกจากนี้ พื้นที่ บริเวณหมูเกาะสแปรตลีย (Spratly Islands) ที่ 6 ชาติ ไดแก จีน มาเลเซีย ฟลิปปนส ไตหวัน บรูไน และเวียดนามอาง กรรมสิทธิ์ โดยเชื่อวา เปนบริเวณที่อุดมไปดวยน้ํามันและกาซธรรมชาติจํานวนมาก จึงเปนสาเหตุของความขัดแยงระหวาง ประเทศและมีความตึงเครียดระหวางเวียดนาม จีน และฟลิปปนสอยูในขณะนี้ 2

Robert C Beckman, CSCAP Singapore Director, Centre for International Law (CIL),National University of Singapore บรรยายใน การประชุม 1st Meeting of CSCAP Study Group on Safety and Security of Offshore Oil and Gas Installations ณ เมืองดานัง เวียดนาม เมื่อ 7 ตุลาคม 2553. 3 อางแลว. ชลทิศ นาวานุเคราะห


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 221

ลักษณะภูมิศาสตรทางทะเลเอเชียตะวันออกเฉียงใต4 1. ทะเลจีนใต

ทะเลจีนใตเปนพื้นที่สวนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟกตะวันตก มีความยาวจากเหนือจรดใต (ตัง้ แตเกาะไตหวัน จนถึงเกาะสุมาตรา ประมาณ 1,800 ไมลทะเล ความลึกน้ํามากที่สุด 5,518 เมตร มีประเทศชายฝงโดยรอบ 10 ประเทศ ไดแก จีน ไตหวัน ฟลิปปนส มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย สิงคโปร ไทย กัมพูชา และเวียดนาม มีเกาะ แนวปะการัง หิน โสโครก สันทรายใตน้ํา และโขดหิน ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 4 กลุมที่สําคัญ คือ หมูเกาะพาราเซล หมูเกาะสแปรตลีย หมูเกาะปราตัส และแมกเคิลฟลดแบงค ทะเลจีนใตเปนเสนทางคมนาคมทางทะเลที่สําคัญของโลก โดยเชื่อมระหวางมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทร แปซิฟก ซึ่งเปนการเชื่อมตอระหวางภูมิภาคตะวันออกกลางเอเชียใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชียตะวันออก ทั้งนี้ เสนทางคมนาคมในทะเลจีนใตที่สําคัญ คือ เสนทางที่ผานทั้งทางดานตะวันตก และตะวันออกของหมูเกาะสแปรตลีย โดย การเดินทางผานเขาออกทะเลจีนใตจากทางดานเหนือจะใชเสนทางที่ผานระหวางไตหวั นกับฟลิปปนส สวนทางใตจะใช ชองแคบที่สําคัญ ไดแก ชองแคบมะละกา

2. ชองแคบมะละกา

ชองแคบมะละกาเปนชองทางหลักระหวางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต มีความยาวประมาณ 600 ไมล ทะเล และกวางประมาณ 300 ไมลทะเล โดยจะกวางทางดานตะวันตก แลวคอย ๆ แคบลงทางดานตะวันออก ซึ่งเมื่อเขา ไปในชองแคบสิงคโปร จะเหลือความกวางนอยที่สุดเพียง 3 ไมลทะเล ซึ่งเปนชองทางเดินเรือเพียง 1.5 ไมลทะเล โดยชอง แคบสิงคโปรมีความยาว 75 ไมลทะเล ความลึกน้ําเฉลี่ยคอนขางตื้น บางแหงลึกเพียง 72 ฟุต จึงทําใหสํานักงานกิจการ ทางทะเลสากล (International Maritime Office) ขององคการสหประชาชาติกําหนดไมใหเรือที่กินน้ําลึกเกิน 65 ฟุต ผานชองแคบมะละกา ทั้งนี้ ชองแคบนี้ มีเรือพาณิชยผานเปนจํานวนมากทําใหการจราจรทางน้ําหนาแนนมาก จึงปรากฏมี อุบัติเหตุเรือชนกันบอยครั้ง

3. มหาสมุทรแปซิฟก

มหาสมุทรแปซิฟกอยูระหวางทวีปอเมริกาเหนือ-ใต กับทวีปเอเชีย และทวีปออสเตรเลีย แบงออกไดเปน 2 สวน คือ มหาสมุทรแปซิฟกเหนือ ไดแก พื้นที่จากวงกลมอารกติกถึงเสนศูนยสูตร และมหาสมุทรแปซิฟกใต ไดแก พื้นที่ จากเสนศูนยสูตรถึงแถบแอนตารกติกา รวมทั้งฝงตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ-ใต ไปยังทวีปออสเตรเลียตลอดจนกลุม หมูเกาะมลายู ถึงฝงตะวันออกของทวีปเอเชีย มหาสมุทรนี้เปนมหาสมุทรที่กวางใหญไพศาลที่สุด มีพื้นที่ประมาณ 68 ลาน ตารางไมลทะเล หรือประมาณ 2 ใน 5 ของผิวโลก โดยมีทะเลจีนใตเชื่อมระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับมหาสมุทรอิ นเดีย ประเทศที่มีศักยภาพสูงทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร ที่ตั้งอยูตามแนวชายฝงของมหาสมุทรแปซิฟก ไดแก สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุน รัสเซีย และออสเตรเลีย และในปจจุบัน ไดมีการรวมกลุมประเทศทางเศรษฐกิจขึ้นโดยใชชื่อวา 5 กลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (Asia Pacific Economic Cooperation : APEC) ซึ่งมีสมาชิก ประกอบดวย 21 เขตเศรษฐกิจ ไดแก ไทย มาเลเซีย สิงคโปร อิ นโดนีเซีย ฟลิปป นส บรูไน เวียดนาม ออสเตรเลี ย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา แคนาดา รัสเซีย จีน ไตหวัน ฮองกง เม็กซิโก ชิลี เปรู และปาปวนิวกินี

4

สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง, (2543). หนา 7-8. ชัยโชค จุลศิริวงศ, (2546). การทหารของประเทศกลุมอาเซียน. เอกสารประกอบการบรรยาย ณ วิทยาลัยการทัพเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือ ชั้นสูง. กรุงเทพฯ : สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง. 5


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 222

4. มหาสมุทรอินเดีย

มหาสมุทรอินเดียอยูระหวางทวีปแอฟริกากับทวีปออสเตรเลีย มีพื้นที่ประมาณ 23 ลานตารางไมลทะเล มี ความลึกเฉลี่ย 3,872 เมตร ชวงที่ลึกมากที่สุดอยูที่เหวลึกชวา (Java Trench) ซึ่งลึกถึง 7,725 เมตร มหาสมุทรนี้ ถานับ รวมทะเลแดงกับอาวเปอรเซียเขาดวยกัน จะมีขนาดใหญเปนอันดับที่สามของโลก รองจากมหาสมุทรแปซิฟก และ มหาสมุทรแอตแลนติก ตามลําดับ มหาสมุทรอินเดียมีอาณาเขตติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟกทางตะวันออกเฉียงใต และ มหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตกเฉียงใต มีทะเลใหญที่สําคัญ เชน ทะเลแดง ทะเลอาหรับ อาวเปอรเซีย ทะเลอันดามัน และอ า วเบงกอล เป น ต น มหาสมุ ท รอิ น เดี ย เป น พื้ น ที่ ที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ อุ ด มสมบู ร ณ เนื่ อ งจาก มี แ หล ง ทรัพยากรธรรมชาติจําพวกปโตรเลียม แรธาตุ และสัตวน้ํา โดยในบริเวณอาวเปอรเซียตามแนวชายฝงและเขตไหลทวีป เปนแหลงปโตรเลียมที่สําคัญของโลก สวนแรทองแดงมีมากในทะเลแดง รวมทั้งบริเวณกนมหาสมุทร โดยทั่วไปอุดม สมบูร ณ ไปด วยแร แ มงกานิ ส นอกจากนี้ ยั งเป นเส นทางเดิน เรือ ที่ มีค วามสํา คั ญเส นหนึ่ง ของโลกที่ เชื่ อมต อระหว า ง มหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งประเทศในทวีปเอเชียใชเปนเสนทางติดตอคาขายกับประเทศในทวีป แอฟริกาและทวีปยุโรปอีกดวย

ความสําคัญของทะเล “ผูใดสามารถครองทะเล ผูนั้นสามารถครองโลก” เปนคํากลาวที่อมตะ และยิ่งใหญของอัลเฟรด ไทเยอร มาฮาน (Alfred Theyer Mahan) นักยุทธศาสตรที่มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนคํากลาวที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของ ทะเลไดอยางกระชับ และสื่อความหมายไดดีที่สุด ลั ก ษณะภู มิ ศ าสตร ท างทะเลที่ เ อื้ อ อํ า นวยต อ การคมนาคมทางทะเล อี ก ทั้ ง ยั ง อุ ด มสมบู ร ณ ไ ปด ว ย ทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวิต (living resources) และไมมีชีวิต (non-living resources) ดังนั้น ทะเลจึงมีความสําคัญ ตอความมั่นคงทั้งในระดับโลก และภูมิภาคกับเปนแหลงกําเนิดของสมุททานุภาพ (sea power) ในการกําหนดยุทธศาสตร ที่สําคัญของประเทศ และเปนแหลงผลประโยชนของชาติทางทะเล (maritime interests) ที่สําคัญยิ่ง ซึ่งสามารถจําแนก ความสําคัญของทะเลออกเปนดานตาง ๆ ไดดังนี้ 1. เปนเสนทางคมนาคมระหวางประเทศ 2. เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต 3. เปนแหลงทองเที่ยว 4. เปนแหลงศึกษาศิลปวัฒนธรรมที่จมอยูใตทะเล 5. เปนเสนทางในการขยายกําลังทางทหาร 6. เปนที่แสวงประโยชนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางทะเล จากความสําคัญอยางยิ่งของทะเล ที่เปนประโยชนมหาศาลแกมวลมนุษย แตในทางกลับกันทะเลก็เปนตนเหตุ ของความขัดแยงระหวางประเทศที่มีอาณาเขตทางทะเลติดตอกัน ซึ่งอาจจะนําไปสูการใชกําลังทางเรือเขาทําสงครามตอ กัน ดังนั้น จึงเปนความจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศที่มีอาณาเขตติดทะเล ตองมีการแขงขัน เสริมสรางกําลังทางเรือตามฐานะ ทางเศรษฐกิจของแตละประเทศ จะเอื้ออํานวยโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 223

การขนสงทางทะเล เสนเลือดใหญของระบบเศรษฐกิจ พื้นผิวน้ําซึ่งสวนใหญ คือ ทะเล ครอบคลุมเนื้อที่เกือบสามในสี่ของพื้นผิวโลกทั้งสิ้น อีกทั้ งยังเปนเปรียบเสมือน 6 บานของเรือขนาดใหญเกือบหาหมื่นลํา ที่ทําการขนสงสินคาประมาณแปดสิบเปอรเซ็นตของการคาขายของโลก ผาน เสนทางการขนสงทางทะเลระหวางทาเรือสําคัญมากกวา 2,800 แหง เกี่ยวพันกับผูประกอบอาชีพทางทะเลมากกวาหนึ่ง ลานสองแสนคนกับคนงานที่ทาเรือ อีกหลายแสนคน ทํางานอยูกับตูสินคาจํานวน 15 ลานตู ที่ถูกขนสงไปมาระหวาง 7 ทาเรือเปนจํานวนมากกวา 230 ลานเที่ยวตูในหนึ่งป สิ่งที่ทําใหเสนทางการขนสงทางทะเลไดรับความสําคัญจนอาจกลาว ไดวา เปนเสนเลือดใหญของการคาของโลกก็วาได และที่สําคัญมากยิ่งขึ้นก็ คือ รอยละ 75 ของการขนสงสินคาทางทะเล ดังกลาว มีความจําเปนที่จะตองผานชองแคบที่กระจายกันอยูทั่วไป เชน ชองแคบฮอรมุชที่เปนประตูทางผานของทะเล อาราเบียน และมหาสมุทรอินเดีย ชองแคบมะละกา และสิงคโปรที่เชื่อมตอมหาสมุทรอินเดีย กับมหาสมุทรแปซิฟ กผาน ทางทะเลอันดามัน และทะเลจีนใต ชองแคบปานามาที่เชื่อมตอมหาสมุทรแปซิฟก กับมหาสมุทรแอตแลนติก ชองแคบ สุเอชที่เชื่อมตอทะเลแดงกับทะเลเมดิเตอเรเนียน เปนตน โดยในแตละวันนั้น จะมีน้ํามันเชื้อเพลิงเกือบ 35 ลานบาเรล หรือครึ่งหนึ่งของการใชพลังงานเชื้อเพลิงในแตละวัน (เกือบ 78 ลานบาเรลตอวันในป พ.ศ. 2545) ตองขนสงผานชองแคบ 8 เหลานี้ ทั้งนี้ ยังไมนับสินคาสําคัญอีกหลายประการ เชน แกสธรรมชาติในรูปของเหลว (LNG) ที่ตองขนสงผานชองแคบ ตาง ๆ เชนกัน ในบรรดาชองแคบเหลานี้ ชองแคบมะละกา และสิงคโปรดู จะเปนคมนาคมทางทะเลที่สําคัญ และวิกฤตที่สุด ดวยสาเหตุหลายประการดวยกัน ไมวาจะเปนสภาพของชองแคบที่ยาวมากกวา 600 ไมล โดยมีชวงที่แคบที่สุดกวางเพียง 1.5 ไมลอยูบริเวณชองฟลิปปนสที่อยูใกลกับเรือที่ผานไปมาปละประมาณ 50,000 เที่ยวตอป ซึ่งถือวา มากกวาปริมาณที่ ผานชองแคบสุเอชถึงสองเทาตัว และมากกวาที่ผานชองแคบปานามาถึงสามเทาตัว นอกจากนี้แลว ดวยการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจีน ญี่ปุน และเกาหลี กับการเพิ่มขึ้นของสนธิสัญญาการคาเสรีที่ทํา กันระหวางประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคนี้ รวมทั้งที่ทํากับคูคานอกภูมิภาคไดสงผลใหชองแคบมะละกาและสิงคโปรยิ่งเนือง แนนไปดวยสินคาที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น จนอยูในระดับหนึ่งในสี่ของปริมาณการคาขายทั้งหมดของโลก โดยครึ่งหนึ่งของ สินคาเหลานี้ คือ น้ํามันเชื้อเพลิง และ LNG และที่ทําใหชองแคบนี้สําคัญมากขึ้นโดยเฉพาะกับประเทศในเอเชียตะวันออก 9 ก็คือ รอยละ 80 ของน้ํามันนําเขาญี่ปุน จีน และเกาหลีใต จะตองผานชองแคบนี้เชนกัน ผลการประมาณการณของกระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกา พบวา ถาชองแคบมะละกา และสิงคโปรถูกปด ซึ่งจะดวยเหตุใดก็ตาม ผลที่จะตามมาก็คือ เรือเดินทะเลเกือบครึ่งหนึ่งจะตองออมผานไป อันจะนํามาซึ่งคาใชจายที่เพิ่ม มากขึ้ น และเวลาที่ ต องเสี ยไป นอกจากนี้ แล ว ด วยความต อ งการสิ น ค า และพลั ง งานเชื้ อ เพลิ ง ของประเทศเอเชี ย ตะวันออกก็จะสงผลให อาจตองมีการเพิ่มจํานวนเรือเดินทะเล หรือเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงสินคาทางเรือใหมากขึ้น เพื่อรักษาระดับการเจริญเติบโตของประเทศในกลุมดังกลาว อยางไรก็ตาม ในระยะสั้น จะเกิดสงผลกระทบตอประเทศ ตาง ๆ ในภูมิภาคเปนอยางมาก และถาปญหายังคงไมสามารถแกไขไดในระยะยาว ก็จะสงผลกระทบตอประเทศสิงคโปร อยางรุนแรง ทั้งนี้ก็เนื่องจากวา ประเทศสิงคโปร ตองพึ่งพาการคากับนานาชาติเปนหลัก โดยรอยละ 80 ของ GDP ของ

6

Gal Luft and Anne Korin, “Terrorism Goes to Sea’, FORIGN AFFAIRS, Vol. 83, No. 6, Nov-Dec 2004, p.62. Michael Richardson, Terrorism: The Maritime Dimension, Dec 2003, (2004 Regional Outlook Forum, Institute of Southeast Asian Studies, (ISEAS), Singapore, 7 Jan 2004), p.2. 8 Ibid. p.6. 9 Ibid. pp.1-7. 7


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 224

สิงคโปรขึ้นกับการคาขาย เมื่อไมมีเสนทางขนสงทางทะเลผานแลว ประเทศสิงคโปรก็จะประสบกับความยุงยากมากกวา ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค

สถานการณและปญหาความมั่นคงทางทะเลในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก ในหวง 5 ปขางหนา จะมีอยูหลายพื้นที่เกิดขอพิพาท ความขัดแยง และปญหาการแยงชิงพื้นที่ผลประโยชน สําคัญทางทะเล อยางไรก็ตาม พื้นที่ทางทะเลในภูมิภาคนี้ยังเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญทางยุทธศาสตรสูง เนื่องจาก เปน เสนทางเดินเรือที่สําคัญของโลก จึงเปนที่ดึงดูดใหประเทศมหาอํานาจเขามาแผอิทธิพลในบริเวณนี้ รวมทั้งพื้นที่ทางทะเล บริเวณนี้ยังเปนพื้นที่ที่มีการลักลอบคาอาวุธสงคราม การกระทําอันเปนโจรสลัดเพิ่มมากขึ้นในหลายพื้นที่ และมีแนวโนมที่ เพิ่มขึ้นของการกอการราย

สถานการณความมั่นคงทางทะเลในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก 1. พื้นที่แปซิฟกเหนือ มีปญหากรณีพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะดูริลระหวางรัสเซียกับญี่ปุน ปญหากรณี พิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์เตียวหยูระหวางญี่ปุนและจีน นอกจากนี้ ปญหาความขัดแยงในคาบสมุทรเกาหลี กรณีปญหา นิวเคลียร และการทดลองขีปนาวุธในเกาหลีเหนือ รวมทั้งปญหาไตหวัน ซึ่งอาจปะทุ หรือนําไปสูปญหาความขัดแยง รุนแรงไดตลอดเวลา ในขณะเดียวกัน พื้นที่บริเวณนี้มีการคมนาคมดานตาง ๆ รวมทั้งทางทะเลเพิ่มมากขึ้น ตามการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนที่สูงสุดแหงหนึ่งของโลก 2. พื้นที่แปซิฟกใต มีปญหาความขัดแยงที่สําคัญในบริเวณนี้ คือ การอางกรรมสิทธิ์ในทะเลจีนใตบริเวณหมู เกาะสแปรตลีย และพาราเซลของประเทศตาง ๆ ถึง 6 ประเทศ ทั้งนี้ แมวา จะไดมีการทํา regional code of conduct ระหวางประเทศที่อางกรรมสิทธิ์ แตก็ยังไมสามารถเปนหลักประกันที่มั่นคงในการนํามาซึ่งสันติภาพในบริเวณดังกลาว นอกจากนั้น ปญหาทางการเมืองและความมั่นคงภายในของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดสงผลกระทบตอ ความมั่นคงทางทะเลในบริเวณนี้ดวย เชน ปญหาการกอการรายของกลุมอาบูซายาฟ (Aba Sayyaf) ปญหาขบวนการ แบงแยกดินแดนของกลุมแนวรวมปลดปลอยอิสลามโมโร (Moro Islamic Liberation Front) ทางตอนใตของฟลิปปนส เปนรัฐหมูเกาะ และปญหาการกอความไมสงบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต 3. พื้นที่มหาสมุทรอินเดีย เปนพื้นที่เชื่อมโยงระหวางประเทศในตะวันออกกลาง ซึ่งเปนแหลงน้ํามันที่สําคัญ ของโลกกับประเทศผูใชน้ํามัน เชื่อมตอไปจนถึงชองแคบมะละกาและชองแคบฮอมุส จึงมีแนวโนมในการแยงชิงอิทธิพล บริเวณนี้ พื้นที่ดังกลาวของประเทศมหาอํานาจที่จะมีมากขึ้น ขณะเดียวกัน จะเปนการชักจูงกลุมผูกอการรายตาง ๆ ให หันมาสนใจพื้นที่ดังกลาว ซึ่งเปนผลประโยชนของประเทศมหาอํานาจมากขึ้นตามไปดวย นอกจากนี้ ยังมีปญหาความ ขัดแยงกรณีแควนแคชเมียร การแยงอิทธิพลระหวางอินเดีย และปากีสถาน ปญหาการแบงแยกดินแดน ในเขตอาเจหของ อินโดนีเซีย สถานการณความไมสงบเรียบรอยทางการเมือง กรณีความขัดแยงระหวางชาวทมิฬ และชาวสิงหลในศรีลังกา และสถานการณตะวันออกกลาง ประกอบดวย ปญหาระหวางอิสราเอลกับปาเลสไตนและประเทศกลุมอาหรับ ปญหาอิรัก และปญหาการพัฒนานิวเคลียรของอิหราน เปนตน ซึ่งเปนปญหาที่ยากตอการแกไข 4. ชองแคบมะละกา เปนชองแคบทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกและมหาสมุทรอินเดียหลักและสําคัญ ที่สุด และเปนจุดออนดานความมั่นคงที่สําคัญอีกจุดหนึ่ง เนื่องจาก เปนเสนทางการขนสงสินคาทางทะเลที่สําคัญของโลก โดยมีปริมาณการขนสงผานชองแคบดังกลาวถึง 1 ใน 3 ของมูลคาการคาโลก แตมีจุดออนดานการรักษาความปลอดภัยที่ ทําไดยาก เนื่องจาก มีเรือแลนผานจํานวนมาก ความหนาแนนของการสัญจรสูง และเหตุการณโจรสลัดปลนเรือสินคามาก ที่สุดในโลก รวมทั้งเชื่อมโยงขบวนการที่เกี่ยวของกับการคาอาวุธสงคราม ยาเสพติด และการเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ปจจุบันมีความเปนไปไดที่จะมีการดําเนินการของกระบวนการกอการรายตอเปาหมายในบริเวณนี้


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 225

ปญหาความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาค 1. ความขัดแยงเรื่องเขตแดนทางทะเลของประเทศในภูมิภาค เชน ปญหาความขัดแยงระหวางประเทศที่อาง กรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย คือ สาธารณรัฐประชาชาจีน ไตหวัน ฟลิปปนส เวียดนาม มาเลเซีย และบรูไน ซึ่งที่ ผานมาไดเกิดการกระทบกระทั่งทางทหารขึ้นเปนประจํา และลาสุดประชาชนชาวเวียดนามไดเดินขบวนประทวงจีน และ เวียดนามยังไดทําการฝกยิงกระสุนจริงในทะเลจีนใตอีกดวย นับวา เปนการทาทายของเวียดนามตอมหาอํานาจอยางจีน ซึ่งไมเห็นกันบอยนักในรอบหลาย ๆ ป และจนถึงขณะนี้ ประชาชนเวียดนามจํานวนหนึ่งก็ไดทําการประทวงจีนอยาง ตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีปญหาเขตแดนทางทะเลระหวางประเทศมาเลเซีย-อินโดนีเซีย มาเลเซีย-สิงคโปร และในสวน ของไทยกับเพื่อนบานที่ยังเปนปญหาดังที่ทราบกันอยู คือ ปญหาพื้นที่อางสิทธิทับซอนทางทะเลระหวางไทย-กัมพูชา และ ไทย-เมียนมาร ซึ่งปญหาเหลานี้ไดสงผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศ และความมั่นคงทางทะเลของภูมิภาคใน ภาพรวม 2. การขาดความไว เ นื้อ เชื่อ ใจซึ่ งกั นและกั น ซึ่ ง สว นหนึ่ งมี ผ ลมาจากเสริมสร า งกํ า ลัง ทางทหาร (Armed Racing) ของประเทศในภูมิภาค โดยจะเห็นวา ที่ผานมาและปจจุบันประเทศตาง ๆ เชน มาเลเซีย สิงคโปร และเวียดนาม ตางเสริมเขี้ยวเล็บทางทะเลดวยการจัดหาเรือดําน้ํา และอากาศยานเขาประจําการอยางตอเนื่อง ถึงแมวา การเสริมสราง กําลังทางเรือของประเทศดังกลาวมีเหตุผลเพื่อปกปองผลประโยชนและอธิปไตยของตนเองก็ตาม นอกจากนี้ การจัดทํา ยุทธศาสตรทหารของประเทศในภูมิภาคก็มักจะกําหนดยุทธศาสตรบนพื้นฐานที่วา ประเทศเพื่อนบานอาจเปนศัตรู หรือที่ เรียกวา Threats Base 3. การกอการรายทางทะเล (Maritime Terrorism) เปนภัยคุกคามที่ประเทศตาง ๆ และองคกรระหวาง ประเทศทั่วโลกใหความสําคัญ ซึ่งปจจุบันกลุมกอการรายที่มีบทบาทสูง คือ อัลกออิดะห (Al Qaeda) ที่ไดโจมตีเรือรบ สหรัฐอเมริกา USS Cole เมื่อเดือนตุลาคม 2543 บริเวณอาวเอเดน และโจมตีเรือสินคาของฝรั่งเศสชื่อ Limburg บริเวณ นอกฝงเยเมนในป 2545 สําหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตการกอการรายทางทะเลก็ไมอาจมองขามไดโดยเฉพาะ ในนานน้ําของอินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งมีกลุมกอการรายที่สําคัญ 3 กลุม ประกอบดวย Abu Sayyaff Group (ASG), 10 Jemaah Islamiyah (JI) และ Gerakan Aceh Merdeka (GAM) โดยกลุมที่มีบทบาทสูงในภูมิภาคนี้ ไดแก Abu 11 Sayyaff ที่ไดโจมตีเรือเฟอรรี่ของฟลิปปนสใกลกรุงมะนิลาในเดือนกุมภาพันธ 2547 มีผูเสียชีวิตถึง 116 คน ทั้งนี้ มี นักวิเคราะหหลายคนเชื่อวา รากฐาน และการสนับสนุนดานการเงินของกลุมกอการรายตาง ๆ เหลานี้ อาจมาจากแหลง เดียวกัน ในหวงเวลาที่ผานมาเหตุการณการกอการรายทางทะเลในภูมิภาคนี้ยังไมปรากฏเดนชัดนัก แตจากที่ไดกลาว มาแลววา ภูมิภาคนี้มีเสนทางคมนาคมหลัก คือ ชองแคบมะละกาที่เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดีย ทะเลจีนใต และ มหาสมุทรแปซิฟก ดังนั้น หากมีเหตุการณการกอการรายทางทะเล เชน การระเบิดเรือสินคาจมในชองทางเดินเรือสําคัญ หรือการนําเรือสินคาขนาดใหญพุงชนทาเรือในรูปแบบเดียวกันกับการใชเครื่องบินพุงชนตึกในเหตุการณ 9/11 ก็จะเกิด ความเสียหายอยา งมหาศาล นอกจากนี้ แท นขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติ ในทะเลที่มีอยูเป นจํานวนมากก็เป น เปาหมายลอแหลมตอการถูกโจมตีจากกลุมกอการรายตาง ๆ อีกดวย

10

Rommel C. Banlaoi, “Maritime Terrorism in Southeast Asia”, Naval War College Review, Vol. 58, No.4, Autumn 2005, p.63. John F. Bradford, “The growing prospects for Maritime Security Cooperation in Southeast Asia”, Naval War College Review, Summer 2005, Vol. 58, No.3, p.71 11


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 226

ทั้งนี้ เปนที่นาสนใจอยางยิ่งเมื่อประเทศไทยถูกจัดอันดับเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอการรายเปน อันดับที่ 12 ของโลก และถือวา เปนอันดับ 1 ของอาเซียน สวนฟลิปปนสถูกจัดใหเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอ การรายเปนอันดับ 13 ของโลก และเปนอันดับ 2 ของอาเซียนรองจากไทย ซึ่งการจัดอันดับดังกลาวเปนการรายงานผล ดัชนีความเสี่ยงจากการกอการรายประจําป พ.ศ. 2554 (Terrorism Risk Index 2011) โดยบริษัท เมเปลครอฟต (Maple croft’s) ที่ปรึกษาดานความเสี่ยงซึ่งมีสํานักงานอยูในอังกฤษ ไดรายงานเมื่อตนสิงหาคม 2554 4. การคาอาวุธสงคราม สวนใหญการคาอาวุธสงครามในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก มีการลักลอบนํามาจากประเทศ ที่เคยเปนสมรภูมิรบมากอน และประเทศที่มีการจัดเก็บอาวุธที่ไมรัดกุมไปสูประเทศที่ยังคงมีปญหาความขัดแยงระหวาง ชนกลุมนอย โดยนิยมใชเสนทางขนสงทางนั้น ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนทั้งตนทาง และเสนทางผาน การลักลอบขนสงอาวุธไปประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน และไปยังเอเชียใต และบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตยัง ไมลดลง รวมทั้งกลุมการกอการรายเขามาเคลื่อนไหวในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกเพิ่มมากขึ้น 5. โจรสลัด การปลนในทะเล (Piracy and Armed Robbery at Sea) เปนภัยคุกคามตอการเดินเรือในภูมิภาค โดยพื้นที่ที่เกิดเหตุการณโจรสลัดบอยครั้ง ไดแก ชองแคบมะละกาซึ่งมีเรือสินคาแลนผานเปนจํานวนมากและนานน้ําของ อินโดนีเซีย ขณะเดียวกัน ยังเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ โดยเฉพาะทรัพยากรประมง ดังนั้น จึงมีเรือประมงเขา ไปทําประมงในชองแคบและบริเวณใกลเคียงเปนจํานวนมาก ทําใหมีเหตุการณของโจรสลัดปลนเรือบรรทุกสินคาและ เรือประมงอยูเสมอ และดวยลักษณะของชายฝงของชองแคบทั้งสองดานเป นชายฝงเวาแหวง และมีเกาะตาง ๆ จํานวน มาก จึงเอื้อตอการหลบซอนตัวทําใหยากตอการเขาไปควบคุมดูแล อยางไรก็ตาม สถิติการเกิดโจรสลัดในชองแคบมะละกา มีแนวโนมลดลงหลังจากมีการรวมลาดตระเวน (Coordinated Patrol) ของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และ ไทย แตการเกิดโจรสลัดและการปลนเรือไปเกิดขึ้นมากในนานน้ําของอินโดนีเซีย นอกจากนี้ โจรสลัดโซมาเลียที่เปนปญหาอยูในปจจุบันก็ถือวา สงผลกระทบตอผลประโยชนของชาติใน อาเซียนดวย เนื่องจาก เรือสินคาของหลายประเทศในอาเซียนที่แลนผานบริเวณอาวเอเดนและชายฝงโซมาเลี ยก็ถูก คุกคามจากโจรสลัดโซมาเลียเชนเดียวกัน โจรสลัดยังคงเปนปญหาใหญปญหาหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะปญหาที่เกิดขึ้นใน บริเวณนานน้ําของอินโดนีเซีย กับบริเวณตลอดชองแคบมะละกาและสิงคโปร อันเปรียบเสมือนเสนเลือดใหญในการคา ขายทางทะเลของภูมิภาค และยิ่งสรางความกังวลใจใหมากยิ่งขึ้นก็คือ ความรุนแรง และรูปแบบของการปฏิบัติในหวง ทศวรรษที่ผาน หลายเหตุการณ สนับสนุนแนวความคิดที่วา กลุมกอการรายในเอเชียตะวันออกเฉียงใตกําลังใชเทคนิคของ I โจรสลัด เพื่อการกอการรายทะเละ (Maritime Terrorism) อันจะนํามาซึ่งความไมปลอดภัยในระบบการขนสงทางทะเล และความเสียหายทางเศรษฐกิจอยางมหาศาลที่จะตามมา 6. ยาเสพติด การลักลอบขนยาเสพติดทางทะเล เปนการขนยาเสพติดจากแหลงผลิตทางบกผานทางทะเล โดยเฉพาะผ านทางทะเลอั นดามั น เข ามาในไทย และไปยั งแหล ง จํา หน ายอื่ นแตยั ง มีไ มมากนั ก เป น ผลจากนโยบาย ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจังของรัฐบาลไทย ประกอบการการขนสงยังนิยมใชเสนทางบกมากกวาทางทะเล อยางไรก็ ตาม การขนยาเสพติดทางทะเลอันดามัน ยังมีโอกาสเกิดขึ้นไดตลอดเวลา เนื่องจาก การปราบปรามทางบกกระทําอยาง จริงจัง ทําใหขบวนการคายาเสพติดอาจหันมาใชเสนทางลําเลียงทางทะเลแทน


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 227

7. การกระทําผิดกฎหมายทางทะเล (Illegal Activities at Sea) เชน การคาของเถื่อน ยาเสพติด การคาอาวุธ การทําประมงผิดกฎหมาย และการคามนุษย ลวนเปนปญหาและภัยคุกคามตอประเทศในภูมิภาคที่หลายประเทศให ความสําคัญ ซึ่งปญหาหลายอยางเหลานี้ ปจจุบันไดกลายเปนปญหาที่เปนลักษณะอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น และ ลักษณะของการกระทําผิดดังกลาวมีการเชื่อมโยงกัน ทําใหการแกปญหาของประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงลําพังกระทําได ยาก ซึ่งเปนปจจัยบอนทําลายความมั่นคง ตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาค 8. ภัยธรรมชาติ และอุบัติภยั ทางทะเล (Natural Disaster and Accident at Sea) ที่แนวโนมของการเกิดภัย พิบัติจากพายุ และคลื่นลมจะยังคงปรากฏตอไป รวมถึงภัยพิบัติขนาดใหญจากกรณีภัยพิบัติที่เกิดจากคลื่นยักษสึนามิ เมื่อ ปลายป 2547 และพายุไตฝุนนากีซ และยังมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดอีก เนื่องจาก ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศโลก หรือสภาวะโลกรอน ซึ่งจะสงผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจนความเปนอยูของประชาชนบริเวณชายฝงทะเล และพื้นที่ใกลเคียง ปญหาอุบัติภัยทางทะเลที่สวนใหญมีสาเหตุจากกรณีเรือลม เรือจม และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นภายในเรือ ทํ า ให เ กิ ด คราบน้ํ า มั น รั่ ว ไหล เกิ ด คราบน้ํ า มั น ในทะเล ซึ่ ง จะส ง ผลกระทบต อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ ม และ ระบบนิเวศในบริเวณนั้น ทั้งนี้ ปญหาภัยอันเกิดจากธรรมชาติมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นทั้งจํานวนและความรุนแรง และจะ สงผลกระทบเปนวงกวางในภูมิภาค นับวา เปนปญหาที่ไทยควรใหความสําคัญในฐานะประเทศเกษตรกรรม ซึ่งตองอาศัย ธรรมชาติเปนหลัก เนื่องจาก ปญหาดังกลาวจะสงผลกระทบใหเกิดความแหงแลง และขาดแคลนน้ํา ซึ่งจะสงผลกระทบตอ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองได

การขยายตัวของการกอการรายสูทะเล ผลของการสิ้นสุดสงครามเย็น ไดนําซึง่ การขาดการสนับสนุนทางดานการเงินอาวุธยุทโธปกรณ และการฝกศึกษา ของขบวนการกอการราย ซึ่งกอนหนานี้เคยไดรับการสนับสนุนจากประเทศอภิมหาอํานาจทั้งสองฝาย ที่ตางก็พยายามใช ทุกวิถีทาง แมแตการสนับสนุนกลุมตอตาน หรือกลุมกอการรายในการตอสูกับฝายตรงขาม โดยพยายามหลีกเลี่ยงการ เผชิญหนาโดยตรงที่อาจเกิดขึ้น จนเปนที่มาของสภาพแวดลอมโลกที่เราเรียกกันวา ยุคสงครามเย็น ตอมา สภาพแวดลอม โลกเปลี่ยนไป ขบวนการกอการรายหลายขบวนการไดสลายตัวลงไป ในขณะที่อีกหลายขบวนการไดผันตัวเองเขาไปสูการ ตอ สูใ นทุก รู ปแบบ เพื่อ ให ไ ด มาซึ่ งเงิ นสนั บสนุ นอาวุธ ยุ ทโธปกรณ การจั ด การฝ ก ทั้ งนี้ ก็ เพื่ อ การดํา รงอยู และการ ปฏิ บัติ ง านขององค กรตามอุด มการณ ต น ดัง เห็น ไดว า ในห ว งทศวรรษที่ ผา นมาได เกิ ด คํา หลายคํ า ที่ มี ที่มาจากการ ผสมผสานการดําเนินงานในการกอการราย หรือการแบงแยกดินแดน เขากับอาชญากรรมทั่วไป โดยเฉพาะอาชญากรรม ขามชาติ เชน “Nacro-terrorism” ที่พยายามอธิบายถึงการรวมมือกันของขบวนการกอการรายกับกลุมคายาเสพติด เปน ตน และในหวงหลายปที่ผาน เราก็ไดรูจักกับคําวา “การกอการรายทางทะเล” (Maritime Terrorism) อันเปนคําที่ พยายามอธิบายถึงการกอการรายที่กําลังขยายขอบขายการดําเนินงานไปสูทะเล ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 สมาชิกกลุมอัลเคดาห ไดพยายามใชเรือบรรทุกระเบิด พุงเขาชนเรือ USS The Sullivans ของสหรัฐอเมริกาที่อยูในอาณาเขตของเยเมน แตปฏิบัติการของกลุมดังกลาวลมเหลว ทั้งนี้ก็เนื่องจากว า เรือ บรรทุกระเบิดลํานั้นหนักมากจนจมไปเสียกอน อยางไรก็ตาม ในเดือนตุลาคม ตอมาเรือ USS Cole ก็ไดถูกพุงเขาชน โดย เรือเร็วบรรทุกระเบิด อันสงผลใหทหารเรือสูญเสียชีวิตไปถึง 17 นาย และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 เรือขนสงน้ํามันของ ฝรั่งเศสชื่อ Limburg ก็ไดถูกผูกอการรายโจมตีที่นอกชายฝงเยเมน ตามดวยการระเบิดเรือเฟอรี่ขามฟากขนาดใหญใน ฟลิปปนส อันสงผลใหมีผูเสียชีวิตไมนอยกวารอยคน ซึ่งกลุมกอการรายในฟลิปปนสอาบูซายับ ก็ไดออกมายอมรับวา เปน ฝมื อ ของตน จากหลายเหตุก ารณ ดั งกล า วทํ าให เ ชื่ อ ได ว า กลุมก อ การร า ยหลายกลุ ม เช น Hezbollah, Jamaah Islamiyah, Gerakan Aceh Merdeka (GAM), the Popular Front for the Liveration of Palestine-General Command, Abu Sayyaf และ Sri Lanka’s Tamll Tigers ตางก็กําลังพยายามพัฒนาขีดความสามารถในการกอการ


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 228 12

รายทางทะเลของตน โดยขอเท็จจริงแลว กลุมกอการรายหลายกลุมไดใชพื้นที่ปฏิบัติการรวมกับกลุมโจรสลัดมาเปน เวลานาน จนสงผลใหเกิดสภาพแวดลอมที่เกื้อกูลตอความพยายามในการแสวงหาวิธีการใชเทคนิคของโจรสลัดใหเกิด ประโยชนกับการกอการรายของกลุมตาง ๆ และยิ่งเมื่อไดมีความพยายามในการสกัดกั้นแหลงสนับสนุนทางดานการเงิน แหลงอาวุธยุทโธปกรณ และแหลงหลบซอนของกลุมกอการรายมีความจําเปนในการแสวงหาแหลงสนับสนุน เพื่อการดํารง อยูขององคกร และดํารงรักษาไวซึ่งการปฏิบัติการ อันจะนํามาซึ่งวัตถุประสงคทางดานการเมือง อันเปนเปาหมายสุดทาย ของขบวนการ ดังนั้น การกอการรายทางทะเลดวยวิธีการแบบโจรสลัด เพื่อใหไดมาซึ่งแหลงเงิน อาวุธยุทโธปกรณ แหลง หลบซอน และสิ่งจําเปนทั้งหลายเพื่อการปฏิบัติการในอนาคตดูจะมีคา และมีความหมายเปนอยางมากสําหรับกลุมกอการ รายตาง ๆ ที่มีพื้นที่ปฏิบัติการติดตออยูกับทะเล บริเวณชองแคบมะละกาและสิงคโปร กับบริเวณใกลเคียงจัดไดวา เปนจุดที่เกิดเหตุของการปลนฆา ลักพาตัว เรียกคาไถ และปฏิบัติการในทะเลมากกวาบริเวณอื่นของโลก โดยสถิติในป 2546 เหตุที่เกิดในบริเวณนี้ คิดเปนรอยละ 42 ของเหตุการณที่เกิดขึ้นในโลก และถึงแมวา ในป 2547 สถิติของเหตุการณโจรสลัดทั่วโลกจะไดลดลงจาก 445 เหลือ 325 ครั้ง แตรอยละของเหตุการณที่เกิดขึ้นในบริเวณชองแคบมะละกา และสิงคโปร ก็ไมลดลงไปดวย อีกทั้งความรุนแรง และ จํานวนผูเสียชีวิตจะเพิ่มมากขึ้นเสียดวยซ้ํา นอกจากนี้แลว ที่สรางความกังวลใจใหมากยิ่งขึ้นก็คือ ในบรรดาเหตุการณที่ เกิดขึ้นเหลานี้ มีหลักฐานที่ทําใหเชื่อวา หลายเหตุการณเปนการกระทําของกลุมกอการรายในภูมิภาค ผลการสืบสวนของเจาหนาที่ขาวกรองอินโดนีเซียที่ไดจากสมาชิกระดับนําของกลุมเจไอ (Jemaah Islamiyah) อันเปนกลุมที่เชื่อไดวา มีความสัมพันธอยูกับกลุมอัลเคดาห ไดมีการเปดออกมาวา กลุมเจไอกําลังพิจารณาวางแผนในการ โจมตีหรือสินคาในชองแคบมะละกา ในขณะเดียวกันก็ไดปรากฏ การปฏิบัติของกลุมแบงแยกดินแดนในอาเจห Gerakan Aceh Merdeka (GAM) ของกลุมกอการรายในฟลิปปนส Abu Sayyaf ที่ออกมาปฏิบัติในรูปแบบของการยึดเรือ การจัด ตัวประกัน และการเรียกคาไถในปริมาณที่เพิ่มขึ้น อันแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการขยายตัว และการพัฒนาขีด ความสามารถในการปฏิบัติการกอการรายทางทะเลของกลุมกอการรายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เมื่อ 26 สิงหาคม 2544 กลุม GAM กลุมหนึ่งไดใชอาวุธอัตโนมัติ และจรวดตอสูรถถัง RPG 7 โจมตีและยึดเรือ ของฮอนดูรัสชื่อ M/V Ocean Silver โดยบังคับใหนําเรือเขาสูนานน้ําจามบูในอาเจห จับลูกเรือเปนตัวประกันหกคน และ เรียกคาไถจํานวนสามหมื่นเหรียญสหรัฐ ในวันที่ 8 เมษายน 2546 กลุม GAM จํานวนหาสิบคนแบงออกเปนสามกลุม นํา เรือเร็วสามลําเขาโจมตีเรือสินคาของอินโดนีเซีย ชื่อ M/V Trimanggada ในบริเวณชองแคบมะละกา กลุมดังกลาว เขายึด เรือไว ถอดอุปกรณการติดตอสื่อสาร อุปกรณเดินเรือที่สําคัญออกไป ยึดเอกสารสําคัญที่มีในเรือ นําตัวกัปตัน เรือ ชาง เครื่อง และบุคคลสําคัญในเรือไปดวย และกักตัวไว ซึ่งจนถึงปจจุบันยังไมทราบชะตากรรม ตอมาในวันที่ 10 สิงหาคมของ ปเดียวกัน กลุม GAM แปดคนพรอม AK 47s, M-16s และ RPG7 โจมตีเรือบรรทุกน้ํามันของมาเลเซีย ชื่อ M/V Penrider ขึ้นไปยึดเอกสารสําคัญ เงินสด อุปกรณสื่อสาร และเสื้อผาเครื่องแบบของลูกเรือ บังคับใหเดินเรือเขาไปใน นานน้ําอินโดนีเซียพรอมกับการที่กลุมดังกลาวศึกษาการเดินเรือไปดวย ตอจากนั้น ไดนําตัวกัปตัน และชางเครื่องซึ่งเปน 13 คนอินโดนีเซียไปดวยเพื่อเรียกคาไถ และในเวลาตอมา ไดปลอยตัวไปเมื่อไดคาไถแลว สถานการณที่เกิดขึ้นจากฝมือของ กลุม GAM ที่ไดชื่อวา เปนผูกอการรายที่มีความมุงหมายในการแบงแยกดินแดนนี้ ทําใหเราสามารถที่จะวิเคราะห และ ประเมินทิศทางของการกอการรายทางทะเลไดไมมากก็นอย ทั้งนี้ แมวา เหตุการณในป 2544 จะมีความมุงหมายไปที่เงิน คาไถ ซึ่งคลายการกระทําของโจรสลัดที่มุงหวังทรัพยสิน แตอยางไรก็ตาม วิธีในการใชอาวุธ และการบังคับใหนําเรือเขาสู 12

Gal Luft and Anne Korin, op.clt, p.64. Rupert Herbert-Burns and Lauren Zucker, “Drawing the line between piracy and maritime terrorism”, JANE’S INTELLIGENCE REVIEW, Vol. 16. No. 9, September 2004, pp.32-33. 13


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 229

นานน้ําอินโดนีเซีย ทําใหตองประเมินความมุงหมายในระยะยาวของกลุมนี้ดวย เงินเรียกคาไถอาจเปนเพียงความมุงหมาย ในระยะสั้น เพื่อการดํารงอยูขององคกร และเพื่อการจัดหาสิ่งจําเปนในการปฏิบัติการตอไป การบังคับใหแลนเรือไปใน ทิศทางที่ตนตองการ ก็อาจนํามาซึ่งการศึกษาการเดินเรือของสมาชิก ทั้งนี้ ตอมาเหตุการณที่เกิดขึ้นในป 2546 ไดยืนยัน ความคิดดังกลาว เมื่อกลุม GAM เขายึดอุปกรณ และเอกสารสําคัญของเรือไป อีกทั้งยังไดนําตัวกัปตัน และชางเครื่องที่ใช ภาษาเดียวกันได (ภาษามลายู หรือภาษาที่ใชในอินโดนีเซีย มาเลเซีย) ไปดวย อันสามารถเปนที่จะคาดเดาไดวา กลุมกอ การรายดังกลาว กําลังพัฒนาขีดความสามารถของตนในการกอการรายทางทะเลดวยการฝกการเดิ นเรือ และการปฏิบัติ II บนเรือ และการดําเนินการที่ชวยยืนยันความเปนไปไดในการกอการรายทางทะเลมากขึ้น ก็คือ การที่กลุม GAM มีการ เตรียมการกอการรายดวยการยึดชุดกลาสี เอกสารสําคัญตาง ๆ ไวใชในการแทรกซึม และปลอมแปลงเขาปฏิบัติการ รวมทั้งไดมีการฝกเขาปลนเรือที่ตางกันไป เชน เรือสินคาทั่วไป และเรือน้ํามัน เพื่อการสรางความคุนเคยกับเรือตาง ๆ มากขึ้น กลุมที่ไดชื่อวา เปนกลุมกอการรายที่สําคัญในภูมิภาคอีกกลุมก็คือ กลุม Abu Sayyaf ทั้งนี้ เมื่อ 26 กุมภาพันธ 2543 กลุม Abu Sayyaf ไดวางระเบิดเรือขามฟากชื่อ Our Lady Mediatrix สงผลใหมีผูเสียชีวิตประมาณ 45 คน ตอมา เมื่อ 27 กุมภาพันธ 2547 ก็ไดวางระเบิดเรือขามฟากในลักษณะเดียวกันอีกครั้งหนึ่ง สงผลใหมีผูเสียชีวิตถึงรอยคน จาก เหตุการณทั้งสองครั้ง สงผลใหมีผูเสียชีวิตถึงรอยคน จากเหตุการณทั้งสองครั้งโดยเฉพาะเหตุการณในครั้งแรก ยังคงมีการ ถกเถียงกันวา เปนการกระทําในลักษณะการกอการรายทางทะเล หรือโจรสลัด เพราะการวางระเบิดคอนขางจะเปนไปใน ลักษณะของการขูบริษัทขนสงโดยตรง อยางไรก็ตาม เหตุการณดังกลาวก็ไดชี้ใหเห็นวา กลุมกอการรายไดมีการพัฒนา วิธีการกอการรายมากขึ้น โดยสามารถที่จะกําหนดเวลาที่ทําใหเกิดผลกระทบรุนแรงมากที่สุดได และอีกสองเหตุการณที่ เกี่ยวของกับกลุม Abu Sayyaf ที่นาจะนํามาศึกษาก็คือ การจับตัวประกันเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2543 จากสิปาตัน อัน เปนแหลงทองเที่ยวของมาเลเซีย นําไปกักขังไวในตอนใตของฟลิปปนสไป 80 กิโลเมตร โดยไดเรียกรองเงินคาไถถึง 25 ลานเหรียญสหรัฐ พรอมกับการเรียกรองขอตั้งรัฐอิสลามขึ้นในตอนใตของฟลิปปนส ขอใหตรวจสอบการละเมิดสิทธิ มนุษยชนตอผูอพยพชาวฟลิปปนสที่เขาไปอาศัยในมาเลเซีย และเรียกรองใหมีการรักษาสิ่งแวดล อมบริเวณนานน้ําโจโล ดวยการยุติการทําประมง อีกเหตุการณหนึ่งก็คือ การที่โจรสลัดจํานวน 11 คนใชเรือเร็วสองลําโจมตีเรือสิงคโปรชื่อ M/V Sintel Marine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2545 จับตัวกัปตัน หัวหนาชางเครื่อง หัวหนาลูกเรือ และรองหัวหนาลูกเรือไป 14 จากนั้นก็สงมอบใหกับกลุม Abu Sayyaf ที่โจโล ในเหตุการณแรก ชี้ใหเห็นถึงการทํางานของกลุมกอการราย Abu Sayyaf ที่มีลักษณะของการขามพรมแดน มี การวางแผน และมีการปฏิบัติอยางเปนขั้นตน มีการพาตัวประกันสงตอ และหลบหนีเปนชวง ๆ อีกทั้งยังมีการเรียกรองใน ลักษณะของการแสวงหาสิทธิมนุษยชน และการรักษาสิ่งแวดลอม อันเสมือนกับกลุมดังกลาวนี้ เปนนักสูเพื่อเสรีภาพ อีก ทั้งกลุม Abu Sayyaf ยังสามารถสรางความสนใจ และการรับรูถึงการเรียกรองของกลุมอยางไดผล ผสมผสานกับความ หวาดกลัวกระจายไปไดทั่วโลก ในขณะที่เหตุการณที่สองคอนขางจะชี้ใหเห็นไดอยางชัดเจนวา โจรสลัด และกลุมกอการ รายทางทะเลไดมีความสัมพันธกัน ในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และอาจถึงขั้นรวมกันปฏิบัติการ

14

Ibid. pp.34-35.


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 230

การเชื่อมตอกันระหวางการกอการรายทางทะเลกับโจรสลัด ปรากฏการณที่เกิดขึ้นในหวงทศวรรษที่ผานมา ชี้ใหเห็นวา กลุมกอการรายกําลังอาศัยทองทะเลเปนสนามรบอีก แหงหนึ่งดวยการกอการรายทางทะเล พรอมกับผลประโยชนระยะสั้นที่กลุมกอการรายจะไดรับ เชน เงินที่ไดจากการปลน และการเรียกคาไถ อุปกรณที่สามารถจะนํามาใชประโยชนไดตอไป การเรียนรูในการเดินเรือ และการปฏิบัติการอื่น ๆ ใน ทองทะเล อันจะนํามาซึ่งความสามารถในการกอการรายทางทะเลในอนาคต ทั้งนี้ก็ดวยการศึกษากับผูชํานาญการที่จับไป III เปนตัวประกัน นอกจากนี้แลว กลุมกอการรายยังไดมีการเตรียมการ เพื่อการปฏิบัติตอไปในอนาคตอีกดวย เชน ไดมีการ ยึดเอาเครื่องแตงกายของลูกเรือไป มีการนําเอกสารแสดงตนของบุคคล และเรือไป มีการนําเรือที่ปลนไปเก็บไวเพื่อการ ปฏิบัติการในอนาคต นอกจากนี้แลว กลุมกอการรายและโจรสลัดที่มีศัตรูรวมกัน คือ การปราบปรามของฝายรัฐบาล อีก ทั้งยังมีผลประโยชนที่เอื้อตอกัน เชน กลุมกอการรายจัดหา และฝกอาวุธ ยุทธวิธีใหกับโจรสลัด ใหความคุมครองโจรสลัด เมื่อถูกไลลา ในขณะที่โจรสลัดสามารถที่จะชวยเหลือกลุมกอการรายในการปฏิบัติการได โดยการแบงปนผลประโยชนที่ ไดรับรวมกัน อยางไรก็ตาม ในมุมมองของสังคมโดยทั่วไปแลว โจรสลัดก็คือ โจรสลัดที่มีความมุ งหมายเพื่อทรัพยสมบัติ เงินทองของตน และกลุมตนเทานั้น โดยไมมีอุดมการณใด ๆ ในขณะที่กลุมกอการรายตองการผลทางดานการเมือง มุมมองดังกลาวทําใหดูเหมือนกับวา โจรสลัดและกลุมกอการรายตองเปนคนละพวกกัน และรวมกันไมได ดังนั้น เมื่อมี เหตุการณในปจจุบันที่บงชี้วา โจรสลัดทํางานใหกลุมกอการราย พรอมกับกลุมกอการรายก็ไดทําตัวเชนโจรสลัด จึงไดเกิด ความสับสน และมีการถกเถียงกันอยางมากมาย จนถึงกับทําใหเสนแบงระหวางโจรสลัด กับกลุมการกอการรายทางทะเล ไมชัดเจนขึ้นมาทันที มุมมองในยุคสงครามเย็น กลุมแบงแยกดินแดนและกลุมกอการรายที่มุงหวังการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมือง จะตองเปนกลุมที่ไมมุงหวังประโยชนสวนตัว และไมมีพฤติกรรมเยี่ยงโจร ทั้งนี้ก็เนื่องจากวา ถากลุมนี้ทํางานสําเร็จ ก็จะ สามารถเปลี่ยนแปลงทางดานการเมืองได ไมวาจะเปนการเปลี่ยนจากระบอบกษัตริยเปนประชาธิปไตย หรือประชาธิปไตย เปนคอมมิวนิสต หรือคอมมิวนิสตเปนประชาธิปไตย หรือแมกระทั่ง การแยกประเทศออกไปจากกัน กลุมเหลานี้ จะ IV กลายเปนผูปกครองประเทศขึ้นมาทันทีเมื่อสําเร็จ ที่เปนเชนนี้ไดนั้น ก็เนื่องจากวา กลุมเหลานี้จะมีการสนับสนุนทางดาน V งบประมาณ และอาวุธยุทโธปกรณ ซึ่งสวนมากมาจากประเทศอภิมหาอํานาจที่อยูในฝายตรงขามกันในยุคสงครามเย็น ในสภาพแวดลอมของสังคมโลกปจจุบัน กลุมกอการรายตาง ๆ ไมสามารถที่จะไดรับการสนับสนุน เชน ในยุค สงครามเย็น ประเทศที่ใหการสนับสนุนกลุมกอการรายอยางเปดเผย เช น ลิเบีย ซูดาน ซีเรีย อิรัก อิหราน เกาหลีเหนือ และซาอุดิอาระเบีย ก็จะถูกนานาชาติ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกากดดันในทุก ๆ ดานอยางหนัก ระบบการเงินก็จะถู ก ตรวจสอบอยางเขมงวด สงผลใหกลุมกอการรายจําเปนตองดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อการดํารงอยูของตนเอง และเพื่อการ ปฏิบัติการอันจะนําไปสูอุดมการณการเมืองของตนได จึงไมนาแปลกใจที่การกอการรายไดเชื่อมตอกับการกระทําอันเปน โจรสลัดไปแลว อันสงผลใหการลากเสนแบงความเปนโจรสลัดกับการกอการรายทางทะเลนั้น มีความยุงยากเปนอยางมาก และเมื่อผสมผสานกับการใหนิยามความหมาย และคําจํา กัดความของทั้งการกอการรายทางทะเล กับโจรสลัดที่มิไดมี นิยามความหมายที่เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลว ก็ยิ่งทําใหความไมชัดเจนของการแบงเสนนี้ยุงยากมากยิ่งขึ้น ในปจจุบันทั้งการกอการรายทางทะเลและโจรสลัดตางก็ใชเทคนิค และวิธีพื้นฐานในการปฏิบัติการแบบโจรสลัด ทั้งคู อยางไรก็ตาม การปฏิบัติการของกลุมกอการรายจะมีการวางแผนการปฏิบัติการที่ซับซอนและรอบคอบมากกวาพวก โจรสลัด รวมทั้งการปฏิบัติก็มักจะใชความรุนแรง เพื่อสรางความหวาดกลัวใหเกิดขึ้นกับสังคมโดยรวม ดวยการพยายาม ทําใหเหตุการณที่กอขึ้นนั้น ไดมีการกระจายออกไปในวงกวาง ทั้งนี้ก็ดวยเหตุผลระยะยาวทางดานการเมือง แตถึงอยางไร ก็ตาม ในสภาพแวดลอมปจจุบันทีก่ ารกอการรายไมสามารถขอรับการสนับสนุนทางดานการเงิน อาวุธยุทโธปกรณ แหลงที่ พักอาศัย และหลบซอนจากประเทศ หรือกลุมตาง ๆ ไดเชนในอดีต ก็ไดทําใหกลุ มกอการราย ตองแสวงหาเกาะแกงใน


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 231

ทองทะเลที่สามารถนํามาใชเปนที่พักหลบซอน และสถานที่ฝกได อีกทั้งยังตองการงบประมาณที่จะนํามาใชในการดํารง ชีพขององคกร และใชในการปฏิบัติการกอการรายเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมืองตอไปในอนาคต ความจําเปน ดังกลาวไดทําใหผูกอการรายตองออกปลนเรือสินคา รวมทั้งมีการจับตัวเรียกคาไถ จนทําใหการกอการรายทางทะเล เปรียบไดเชนกับโจรสลัดกลุมหนึ่งนั่นเอง ในขณะที่ ยุทธวิธีของกลุมโจรสลัดไมมีรูปแบบที่แนนอน สามารถปรับเปลี่ยนได ตามความตอง การทําใหยากตอ การจับกุม หรือปองกัน เพราะโจรสลัดไดเปรียบฝายปองกันทั้งดานเวลา และระยะทาง รวมทั้งสามารถขามนานน้ําระหวางประเทศไดโดยเสรี ในขณะที่ฝายปองกันยังคง ประสบปญหาเรื่องการไลตามติดพันเขา ไปในนานน้ําหรือนานฟาของประเทศอื่น แมกฎหมาย ระหวางประเทศจะอนุญาตใหดําเนินการไดก็ตาม ขณะที่ ตั้ ง แต ต น ป 2013 จนถึ ง เดื อ นกรกฎาคมที่ ผ า นมา สํ า นั ก งานทางทะเลระหว า งประเทศ (International Maritime Bureau : IMB) ยังมีรายงานวา พบเหตุการณกระทําอันเปนโจรสลัดในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตกวา 57 ครั้ง มากที่สุดในบรรดานานน้ําทั่วโลกโดยสวนใหญ 48 ครั้ง เกิดขึ้นในนานน้ําอินโดนีเซีย อัน เปนแหลงกบดานสําคัญของโจรสลัดที่เติบโตขึ้นอยางมากหลังการสิ้นสุดยุคซูฮารโต ขณะเดียวกัน ยังมีรายงานวา พบการ กระทําอันเปนโจรสลัดในพื้นที่ชองแคบมะละกา นานน้ําของสิงคโปร และฟลิปปนสอยางตอเนื่องทุกป ตัวเลขเหลานี้บงชี้ วา ปญหาโจรสลัดไมใชเรื่องเล็ก ๆ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และยิ่งกวานั้น นาจะกลายเปนปญหารวมกันของ ประเทศตาง ๆ ที่ตองขนสงสินคาทางเรือผานเสนทางทะเลจีนใตและนานน้ําอื่นในภูมิภาคนี้ ในประเด็นดังกลาวนี้ ทําใหการแกปญหาในระยะสั้น ดวยการพิจารณาปญหาการกอการรายทางทะเล และโจร สลัดเปนปญหารวมกันในลักษณะของปญหาขามชาติ (Transnational Issues) ดังนั้น การสรางความรวมมือของประเทศ ในภู มิภาค โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน อั นเป นผลมาจากการประชุ มเพื่อสรา งความรวมมือ ดานความมั่ นคง (ASEAN Regional Forum : ARF) ที่ผานมา พรอมกับการสนับสนุนจากประเทศตาง ๆ ที่อาจมีผลกระทบจากปญหาการ กอการรายทางทะเล และโจรสลัด เชน ประเทศญี่ปุน เกาหลีใต และจีน นาจะเปนหนทางในการแกปญหาระยะสั้นที่ไดผล ดังจะเห็นไดวา ดวยความรวมมือในการลาดตระเวนนานน้ํารวมกันของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร ไดสงผลใหการ ดําเนินงานของโจรสลัด และการกอการรายทางทะเลในหวงที่ผานมาลําบากขึ้น เชน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2548 ผู บัญชาการตํารวจน้ํามาเลเซีย กลาวภายหลังพิธปี ดการฝกผสมหมูเรือลาดตระเวนรวมระหวางกองทัพเรือไทย กองทัพเรือ และกองตํารวจน้ํามาเลเซีย ภายใตรหัสการฝก SEAEX THAMAL 2005 ที่สถานีตํารวจน้ําเกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย วา สถานการณโจรสลัดในชองแคบมะละกา ตั้งแตเดือนมกราคม ถึงกันยายน 2548 มีสถิติการเกิดเหตุ 6 ครั้ง ซึ่งถือวา ลดลงเมือ่ เทียบกับการเกิดเหตุ ในหวงระยะเวลาเดียวกันเมื่อป 2546 ซึ่งเกิดเหตุ 15 ครั้ง ทั้งนี้ เนื่องจาก ความรวมมือใน การลาดตระเวนระหวางมาเลเซียกับประเทศเพื่อนบาน และยืนยันวา จะเพิ่มความรวมมือในการฝกและการแลกเปลี่ยน 15 ขอมูลกับประเทศเพื่อนบานเพื่อรักษาความปลอดภัยในชองแคบมะละกาตอไป

15

ที่มา : สรุปขาวสําคัญประจําวัน ขว.ทร. 4 ตุลาคม 2548.


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 232

สรุปความสัมพันธการกอการรายทางทะเลกับโจรสลัด เสนทางการขนสงทางทะเล มีความสําคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก เปนอยางมาก จากความสําคัญดังกลาว ก็ไดสงผลใหเปนที่สนใจการกอการรายของกลุมการกอการรายทั้งหลายที่อยูใน ภูมิภาค เชน กลุมเจไอ กลุม GAM และกลุม Abu Sayyaf ดวย ทั้งนี้ การสรางความหวาดกลัวดวยการกอการรายในชอง แคบมะละกา และสิงคโปรสามารถที่จะสงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจของหลายประเทศในภูมิภาคนี้ได รวมทั้งอาจสงผล กระทบตอเศรษฐกิจโลกไดดวย จะอยางไรก็ตาม กอนที่กลุมตาง ๆ ดังกล าวนั้น จะสามารถการกอการรายทางทะเลได การเรียนรูเทคนิคโจรสลัด และการรวมมือกับโจรสลัด ดูจะเปนสิ่งจําเปนในการพัฒนาขีดความสามารถในการกอการราย ทางทะเล สําหรับเหตุการณที่เริ่มบงชี้ใหเห็นแลววา กลุมกอการรายหลายกลุมกําลังดําเนินงานในการเตรียมการเพื่อการ กอการรายทางทะเลในอนาคต นอกจากนี้ แลวความสําเร็จในการกอการรายทางทะเลโดยใชเรือบรรทุกระเบิดพุงเขาชน เรือ USS Cole ดูจะเปนเครื่องเตือนใจใหประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคไดมีความสนใจที่จะเขามารวมแกไขปญหาการกอการ รายทางทะเลนี้มากขึ้น ดังนั้น ในการแกไขปญหาระยะสั้นนั้น การกําหนดใหผูกอการรายทางทะเล และโจรสลัดเปนกลุม เดียวกัน และแกปญหาโดยใหมีการลาดตระเวน คนหา ปองกันการกอการใด ๆ ในทะเลรวมกันของประเทศตาง ๆ ใน ภูมิภาค นาจะเปนหนทางที่เหมาะสมที่สุด ในขณะที่ การแกไขปญหาในระยะยาว จะตองมีการแยกแยะกลุม ตาง ๆ ออกมาใหชัดเจน เพื่อกําหนดแนวทางที่เหมาะสม และแกไขปญหาไดอยางมีบูรณาการตอไป

บทบาทของประเทศมหาอํานาจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก 1. สหรัฐอเมริกา ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ยังเปนพื้นที่ยุทธศาสตร ซึ่งสหรัฐอเมริกาใหความสําคัญอยางยิ่ง ทั้งใน ดานความมั่นคงและดานเศรษฐกิจที่จะตองรักษาไว โดยเฉพาะผลประโยชนดานความมั่นคงจากปญหาการกอการราย ทํา ใหสหรัฐอเมริกายังคงนโยบายความสัมพันธอยางใกลชิดกับประเทศและคงอิทธิพลอยูในภูมิภาคนี้ รวมทั้งเปนเสนทาง เดินเรือสําคัญระหวางมหาสมุทรอินเดียกับแปซิฟก ทําใหสหรัฐอเมริกาพยายามเขามามีบทบาทในภูมิภาคนี้เพิ่มมากขึ้น โดยกดดันใหประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคใหความรวมมือกับสหรัฐอเมริกาตอตานการกอการราย นอกจากนั้น สหรัฐอเมริกา ยังตองการสกัดการเจริญเติบโตของจีนที่เริ่มกาวขึ้นมามีบทบาทและทาทายความเปนขั้วอํานาจเดียว (uni-polar) ของ สหรัฐอเมริกา 2. สหพันธรัฐรัสเซีย ยังคงใหความสําคัญและมีบทบาทในภูมิภาคนี้ รัสเซียมีแนวทางสรางความสัมพันธกับจีน และอินเดีย ในฐานะหุนสวนทางยุทธศาสตร รวมทั้งสรางความสัมพันธกับญี่ปุนและประเทศกลุมอาเซียน รัสเซียยังคง บทบาทตนเองในการแกปญหาคาบสมุทรเกาหลี โดยมีจุดมุงหมายสําคัญในการสรางระบบหลายขั้วอํานาจ (multi-polar) ขึ้นคานดุลการเปนขั้วอํานาจเดียว (uni-polar) ของสหรัฐอเมริการวมทั้งเพื่อเสริมสรางโอกาส และชองทางการฟนฟู เศรษฐกิจของตนเอง เพื่อการพลิกพื้นฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ 3. สาธารณรัฐประชาชนจีน มุงขยายบทบาททางการเมือง อิทธิพลในภูมิภาคนี้เพิ่มมากขึ้น โดยการกระชับ ความสัมพันธ และรวมมือกับทุกประเทศตอตานการขยายอํานาจของสหรัฐอเมริกา และประเทศมหาอํานาจอื่นที่จะมี อิทธิพลเหนือภูมิภาคนี้ สนับสนุนบทบาทขององคการสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพ เนื่องจาก ภูมิภาคนี้เปนเขต ผลประโยชนที่สําคัญยิ่งของจีนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคง นอกจากนี้ จีนยังพยายามแสดงบทบาทผูนํา และเปนมหาอํานาจที่มีความรับผิดชอบ เพื่อใหประเทศในภูมิภาคนี้ตระหนักถึงความสําคัญของจีน เพื่อใหมีอิทธิพลตอ การกําหนดนโยบายของประเทศเหลานั้น ในแนวทางที่เปนประโยชนตอจีน ซึ่งพลังอํานาจของจีนจะเติบโตรุงเรืองเพิ่มขึ้น ในทุกดาน และมีแนวโนมแผอิทธิพลเขามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้น


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 233

4. ญี่ปุน จะแขงขันอิทธิพลทางเศรษฐกิจกับจีนในภูมิภาคนี้มากขึ้น เนื่องจาก เกรงวา จะสูญเสียอิทธิพลทาง เศรษฐกิจในภูมิภาคนี้แก จีนที่กําลังมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว โดยญี่ปุนจะเพิ่มบทบาทของตนเองในเวที การเมืองระหวางประเทศทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ดานการเมืองระหวางประเทศ ญี่ปุนยังคงดําเนินนโยบาย ตางประเทศที่สอดคลองกับสหรัฐอเมริกา โดยคงความผูกพันและรักษาผลประโยชนเกี่ยวพันกันอยางแนนแฟนตอไป ดาน ความสัมพันธกับอาเซียน ญี่ปุนจะขยายบทบาทใหมากขึ้น และผลักดันแนวคิดเรื่องประชาคมเอเชียตะวันออกที่มีญี่ปุน เปนแกนนํารวมกับประเทศกลุมอาเซียนใหเกิดผลเปนรูปธรรม เพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของจีนที่กําลังแผกวางในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก 5. สาธารณรัฐอินเดีย ยังคงใหความสําคัญกับนโยบายเสริมสรางความสัมพันธ กับประเทศเพื่อนบานและ ประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อินเดียใชนโยบายมุงตะวันออก (look east) เพื่อ โดดเดี่ยวปากีสถาน และถวงดุลอํานาจกับจีน โดยมองวา การขยายอิทธิพลของจีนในภูมิภาคนี้ เปนการคุกคามอินเดียใน ทุกดานทั้งทางตรงและทางออม นอกจากนั้น อินเดียยังมีนโยบายเรงเสริมสรางความสัมพันธกับมหาอํานาจอื่น ๆ โดยไม เลือกฝายเพื่อเสริมสรางระบบหลายขั้วอํานาจขึ้นในโลก และเปนการแสดงอิทธิพลในภูมิภาคเอเชียใตและมหาสมุ ทร อินเดีย รวมทั้งใหความสําคัญตอการมีความสัมพันธระหวางประเทศกับสหรัฐอเมริกามากขึ้น เนื่องจาก ปจจุบันรัสเซียได กันไปมีความสัมพันธกับประเทศตะวันตกมากขึ้น

สถานการณความมั่นคงทางทะเลของไทย 1. สภาพทางภูมิศาสตรทางทะเลของไทย ประเทศไทยเปนรัฐชายฝง (coastal state) มีอาณาเขตทางทะเล ติดกับประเทศเพื่อนบานถึง 6 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา เมียนมาร และอินเดีย ประเทศไทยมี ฝงทะเลทั้งดานอาวไทยและดานทะเลอันดามันที่ยาวมาก ดานอาวไทย 1,660 กิโลเมตร ดานอันดามัน 952 กิโลเมตร จาก สภาพภูมิประเทศดังกลาว ทําใหประเทศไทยมีพื้นที่ผลประโยชนของชาติทางทะเล และเสนทางคมนาคมทางทะเลที่เปด กวางสามารถเดินทางเขา-ออก ติดตอกับประเทศตาง ๆ ไดโดยงายทั้งสองฝงทะเล ดานทรัพยากรนานน้ําไทยเปนแหลง ประมงที่สําคัญ สามารถทํารายไดใหประเทศเปนมูลคามหาศาลจนกลายเปนสิน คาออกที่สําคัญอยางหนึ่งของประเทศ และยังเปนแหลงน้ํามันดิบ-กาซธรรมชาติ ลดการนําเขาปละหมายหมื่นลานบาท นอกจากนั้น ทะเลไทยและบริเวณชายฝง มีภูมิประเทศที่สวยงาม จึงเปนแหลงทองเที่ยวและพักผอนของทั้งของชาวไทยและชาวตางประเทศ

2. ปญหาภายในที่สงผลกระทบตอประเทศ

2.1. ปญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต มีการใชความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต เปนปญหาดานความมั่นคงที่สําคัญ พื้นที่ดังกลาวนอกจากติดกับมาเลเซียแลว ยังสามารถติดตอกับภายนอกประเทศที่ทาง ฝงทะเลดานอาวไทยโดยตรง และทางฝงทะเลอันดามัน โดยผานจังหวัดสตูลไดอีกดวย 2.2. ปญหาความขัดแยงจากการใชทรัพยากรทางทะเล โดยเฉพาะสัตวน้ํา ปจจุบันปริมาณทรัพยากรสัตว น้ําในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยไดลดลงอยางรวดเร็ว เนื่องมาจาก ความตองการบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง การ ทําประมงที่ไมถกู วิธี และประกอบกับจํานวนเรือประมงที่มากขึ้นและไมสัมพันธกับปริมาณทรัพยากรสัตวน้ําที่มีอยู ซึ่งจาก สาเหตุดังกลาวกอใหเกิดการขัดแยง และแยงชิงทรัพยากรในทะเลระหวางกลุมเรือประมงกันเอง เพื่อแสวงหาสัตวน้ําที่ ตนเองตองการ จากการที่ทรัพยากรสัตวน้ําในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยลดลง เปนการบีบบังคับใหเรือประมงไทยตอง ออกไปทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศเพื่อนบาน ซึ่งมีทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย และมีเรือประมงไทย ไมนอยที่ถูกจับ


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 234

2.3. ปญหายาเสพติด จากการปราบปรามยาเสพติดของไทย ภายหลังการใชมาตรการเชิงรุกเปนตนมา ซึ่ง ปรากฏวา ไดรับความรวมมือจากประชาชนมากขึ้นสรางความหวาดหวั่นใหกับขบวนการคายาเสพติดกลุมตาง ๆ อยางไรก็ ตาม การลักลอบนํายาเสพติดเขาไทย ก็ยังคงไดรับรายงานอยางตอเนื่อง แตเปนที่นาสังเกตวา มีการลดปริมาณ และ ความถี่ลงพรอมกับเพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น สําหรับความเคลื่อนไหวของการลําเลียงยาเสพติดในพื้นที่ทางทะเลนั้น ดานอาวไทยมีการลําเลียงยาเสพติดทางทะเลเขามาตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา โดยนําขึ้นฝงไดในหลายพื้นที่ ทั้งพื้นที่ ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคใต ตามแพปลาตาง ๆ ซึ่งยากตอการตรวจสอบ ดานทะเลอันดามัน จากการที่ทางการ ไทยไดมีการกดดัน และเขมงวดในการสกัดกั้นการลําเลียงยาเสพติดเขาสูไทยทางบกดานภาคเหนือ และภาคกลางตอนบน จึงพบวา มียาเสพติดอีกเปนจํานวนมากที่เปลี่ยนมาใชการลําเลียงออกทางทะเล โดยเฉพาะดานทะเลอันดามัน เพื่อนําเขา สูประเทศไทยตามจังหวัดชายฝงทะเล เชน ระนอง ภูเก็ต ตรัง กระบี่ และสตูล รวมทั้งตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย เพื่อเตรียมการลําเลียงออกนอกประเทศ และบางสวนไดลําเลียงกลับเขามาจําหนายในพื้นที่ภาคกลาง 2.4. ปญหาการลักลอบจําหนายน้ํามันเลี่ยงภาษีศุลกากร จากสภาวะทางการตลาดของราคาน้ํามันที่สูงขึ้น ทําใหการลักลอบจําหนายน้ํามันเลี่ยงภาษีศุลกากรในปจจุบันยังคงมีอยู โดยกลุมผูคารายใหญยังคงทําการจําหนายอยูใน จุดเดิมที่ทําการจําหนาย และมีการนําเรือไปบริการใหกับเรือประมงที่ออกไปทําการประมงไกลฝง สวนกลุมผูคาอิสระ หรือกลุมผูคารายยอย สวนใหญจะทําการจําหนายในภูมิภาคของตัวเอง ที่บริเวณหางจากฝงเกินระยะที่กฎหมายควบคุม ภายในพื้นที่จังหวัดชายทะเล โดยจําหนายใหเฉพาะสมาชิกของตน หรือเรือในแพปลาที่รวมกัน นอกจากนี้ ยังมีการ ลักลอบนําเขาตามแนวชายแดน ซึ่งสวนใหญจะนําเขามาทางบก แตมีบางสวนที่มีการนําเขาทางทะเล 2.5. ปญหาแรงงานตางดาว สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทย มีพื้นที่ของจังหวัดที่ติดกับชายทะเลถึง 22 จังหวัด และมีแนวชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งเอื้ออํานวยตอการลักลอบผานเขา -ออกตลอดเวลา โดยเฉพาะ ชายแดนไทย-เมียนมาร ที่ยาวถึง 2,401 กิโลเมตร ทําใหมีแรงงานตางดาว ซึ่งสวนใหญเปนชาวเมียนมารลักลอบเขามา ประกอบอาชีพในประเทศไทยเปนจํานวนมากที่สําคัญ ไดแก อาชีพทําประมง โดยเฉพาะในจังหวัดระนอง และเกือบทุก จังหวัดในภาคใต อาชีพทําสวนยางในจังหวัดพังงา จังหวัดตราด อาชีพแปรรูปอาหารทะเล ในจังหวัดชุมพร และอีกหลาย จังหวัด ในจํานวนนี้ พบวา ปญหาที่ประสบมาก คือ กลุมที่ลักลอบไปกับเรือประมงในพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งตรวจสอบไดยาก และสงผลใหเกิดปญหาตามมาหลายประการ เชน การอาชญากรรมทั้งในกลุมแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง และกลุม คนไทย รวมถึงปญหาการแยงอาชีพทํากินของชาวไทย นอกจากนี้ ยังพบวา แรงงานเหลานี้ไดมีการแอบแฝงนํายาเสพติด เขาในประเทศ

ปญหาความมั่นคงทางทะเลของไทยกับประเทศเพื่อนบาน 1. สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร ปญหาเขตแดนทางทะเล

ปญหาที่ยังไมสามารถตกลงกันได คือ บริเวณเขตแดนจากจุดที่อยูเหนือหมู เกาะสุรินทรเขามาจนถึงปากแมน้ํากระบุรี จังหวัดระนอง การอางกรรมสิทธิ์ เหนือเกาะหลาม เกาะคัน และเกาะขี้นก ซึ่งทั้งสองฝาย (ไทย-เมียนมาร) อางอธิปไตยเหนือดินแดนเกาะทั้งสาม ซึ่งสถานะปจจุบันยังไมมีขอยุติถา ปลอยไว โดยไมรีบแกไข อาจนํามาสูการเผชิญหนาระหวางกําลังทางเรือของ ทั้งสองฝายได


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 235

ปญหายาเสพติด

ปญหาหลบหนีเขาเมือง

ปญหาประมง

2. มาเลเซีย

ปญหาเขตแดนทางทะเล

ปญหาโจรกอการราย

จากการที่ไทยไดมีนโยบายเชิงรุกในการปราบปรามอยางตอเนื่องในชวงป พ.ศ. 2546 ที่ผานมา ทําใหปริมาณยาเสพติดในประเทศลดนอยลง แตยังคง ปรากฏการผลิ ต และการค า จากชนกลุ ม น อ ยในเมี ย นม า ร เพื่ อ ระบาย ยาเสพติ ด ที่ ต กค า ง และทดแทนรายได ที่ ห ายไปจากการจั บ กุ ม และ ปราบปรามอยางหนักของไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ทางภาคเหนือ กลุมผูผลิต และผูคาในฝงเมียนมารไดปรับเปลี่ยนวิธีการลักลอบนําเขามาพักรอในฝง ไทย เพื่อปองกันการตรวจจับ และอาจจะมีการเปลี่ยนเสนทางโดยใชทาง ทะเลแทนได จากป ญ หาทางการเมื อ งภายในประเทศเมี ยนม า ร และผลกระทบจาก นโยบายคว่ําบาตรทางเศรษฐกิจของประเทศมหาอํานาจตอเมียนมาร ทําให เกิดการวางงาน และปญหาทางสังคมในเมียนมาร สงผลใหชาวเมียนมาร หลบหนีเขาเมืองมาในเขตไทย ดวยเหตุผลทางดานเศรษฐกิจประกอบกับ ประเทศไทยขาดแคลนแรงงานบางประเภท และผูประกอบการไดประโยชน จากแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองดังกลาว เพื่อลดตนทุนการผลิตและ เพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันดานราคา กับประเทศคูแขงทางการคา แต ส ง ผลกระทบต อ แรงงานไทยทั้ ง โอกาส และค า จ า งที่ ถู ก กดให ต่ํ า ลง รวมทั้ ง ในอนาคตจะสร า งป ญ หาเรื้ อ รั ง ด า นสั ง คมโดยเฉพาะป ญ หา อาชญากรรม และปญหาชนกลุมนอย รัฐบาลเมียนมารใหความสําคัญกับการรักษาผลประโยชนทางทะเล และ ทรัพยากรสัตวน้ําเปนอยางมาก สงผลใหมีการเขมงวดในการตรวจ และ พิจารณาในการใหสัมปทานการทําประมงในเขตนานน้ําเมียนม าร และสั่ง การใหทหารเรือเมียนมารเขมงวดกวดขันในการจับกุมเรือประมงตางชาติที่ ลั ก ลอบเข า มาทํ า ประมงในเขตน า นน้ํ า และเขตเศรษฐกิ จจํ า เพาะของ เมียนมาร ซึ่งในปจจุบันทางการเมียนมารไดเปดสัมปทานในรูปของการรวม ลงทุน แตผูประกอบการประมงไทยเห็นวา มีตนทุนคอนขางสูง จึงมีเรือเขา ไปทําประมงนอย ปญหาเขตแดนทางทะเลนั้น ทั้งไทยและมาเลเซียไดลงนามใน MOU เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2522 กําหนดใหพื้นที่ทับซอนทางทะเล 7,250 ตารางกิโลเมตรเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Development Area: JDA) โดยร ว มกั น ในการแสวงประโยชน จากทรั พ ยากรในพื้ น ดิ น ใต ท ะเลและ แบงปนผลประโยชนบนพื้นฐานของความเทาเทียมกัน มาเลเซียใหความรวมมือกับไทยในการแกไข ปญหากลุมโจรที่เคลื่อนไหวอยู บริเวณชายแดนไทย-มาเลเซียเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการลาดตระเวนรวม บริเวณชายแดน (joint border patrol) ถึงแมวา จะยังไมรวมมือเต็มที่ก็ทํา ใหกลุมกอการรายเคลื่อนไหวในมาเลเซียทําไดยากขึ้น


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 236

ปญหาประมง

3. ราชอาณาจักรกัมพูชา

ปญหาเขตแดนทางทะเล

มาเลเซี ย ได อ อกกฎหมายเกี่ ยวกั บ การประมงครอบคลุ ม เขตเศรษฐกิ จ จําเพาะของมาเลเซียเปน maritime fishery zone กําหนดใหเรือประมงที่ เดินทางผานนานน้ํามาเลเซีย จะตองแจงใหมาเลเซียทราบลวงหนา และเก็บ อุปกรณทําการประมงใหเรียบรอย ซึ่งปจจุบันเรือประมงไทยมีความเขาใจ และปฏิ บัติ ตามที่ท างการมาเลเซียกํ าหนด จึง ทํา ใหป ญหาการถู ก จับ กุ ม นอยลง รวมทั้งไดอนุญาตใหเรือประมงไทยประเภทเรืออวนลอยและเรือ อวนลอม ทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของมาเลเซียไดวิธีเ ดียว ใน ลักษณะการรวมทุนกับบริษัทประมงของมาเลเซียเทานั้น โดยการใหเอกชน มาเลเซียเชาเรือไทย และชักธงมาเลเซีย

ในพื้นที่ทับซอนไหลทวีไทย-กัมพูชา ปจจุบันการเจรจาทั้งในสวนของการ แบงแยกทะเล (maritime delimitation) และการกําหนดเขตทางทะเล รวมทั้งระบบการพัฒนารวมทรัพยากรปโตรเลียมในพื้นที่ทับซอนมีความ คืบหนาไปมาก อยางไรก็ตาม ทะเลดานจังหวัดตราดยังไมไดรับการแกไข อยางเปนรูปธรรม จึงเกิดการรุกล้ํ านานน้ําของผูประกอบการประมงอยู บอยครั้ง ปญหายาเสพติด จากนโยบายปราบปรามยาเสพติ ด ของไทย ทํ า ให ผู ค า ยาเสพติ ด ด า น เมียนมารและลาว เปลี่ยนฐานการผลิต และเสนทางการลําเลียงผานมาทาง แมน้ําโขงเขาสูส ปป.ลาว และกัมพูชา เพื่อสงผานไทยและนําไปประเทศที่ 3 โดยใชไทยเปนทางผาน รวมทั้งมีการลําเลียงยาเสพติดผานทางทะเลดวย ปญหาประมง ป จจุ บั น กั ม พู ช าได อ นุ ญ าตให ไ ทยทํ า ประมงในเขตเศรษฐกิ จจํ า เพาะได (ยกเวนเรือไดปนไฟจับปลากระตัก) ในรูปแบบของตั๋วทองถิ่น โดยเฉพาะที่ เกาะกง ซึ่งไมไดอยูในความดูแลของรัฐบาลกลางกัมพูชา ในขณะนี้ รัฐบาล ทองถิ่ นดูแ ลไม ทั่วถึง ทํา ใหเ กิดการทุจริต จึงมี ปญหาการลักลอบทํ าการ ประมง ปญหาเรือประมงมีพฤติกรรมเปนโจรสลัด และปญหาการทําประมง ล้ําแดน ซึ่งสวนหนึ่งมาจากเขตแดนทางทะเลที่ยังตกลงกันไมได 4. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปญหาเขตแดนทางทะเล ปญหาเขตแดนทางทะเลและปญหาไหลทวีปทับซอน ไทยและเวียดนามตก ลงกันได เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2540 โดยใหแบงพื้นที่ทับซอนดวยเสน K-C ซึ่งการที่ประเทศไทยและเวียดนาม สามารถมีขอตกลงดานปญหาเขตแดน ทางทะเลไดอยางสมานฉันท จึงถือเปนแบบอยางที่ดีในการเจรจาขอยุติของ ปญหาเขตแดนทางทะเลระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ ดวย


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 237

ปญหาประมง

5. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ปญหาประมง

มีการตั้งคณะกรรมการระดับสูงวาดวยการแกไขปญหาและการจัดระเบียบ ทะเล ไดติดตั้งโทรศัพทสายตรง (hot line) เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ในทะเล และกําหนดใหมีการทําประมงในลักษณะการเชาเรือเขาไปทําการ ประมง แตยังไมมีเรือประมงเขาไปทําประมงในนานน้ําเวียดนามโดยถูกตอง จึ ง มี ก ารลั ก ลอบเข า ไปทํ า การประมงอยู เ สมอ อย า งไรก็ ต าม พบว า มี เรือประมงของเวียดนามรุกล้ําเขามาในเขตเศรษฐกิจของไทยเชนกัน อินโดนีเซียประกาศหามเรือประมงตางชาติเขาไปทําการประมงในนานน้ํา อิ น โดนี เ ซี ย โดยเด็ ด ขาด ยกเว น เรื อ ประมงที่ จ ดทะเบี ย นกั บ บริ ษั ท ของ อินโดนีเซีย หรือรวมทุนกับอินโดนีเซียเทานั้น ทั้งนี้ ไทยและอินโดนีเซียได กําหนดกรอบความรวมมือดานการประมงเพื่อแกไขปญหาอุปสรรคดาน ประมง โดยมี ค ณะอนุ ก รรมการความร ว มมื อ ด า นการประมง ภายใต คณะกรรมการรวมไทย-อินโดนีเซียของกระทรวงตางประเทศเปนกลไกใน การแก ไขปญ หามีการประชุมหารือ กันมาอยา งต อเนื่องเพื่ อแกไ ขป ญหา ดังกลาว

ปจจัยคุกคามที่เกิดขึ้นตอผลประโยชนทางทะเลของอาเซียน ทะเลในภูมิภาคนี้ นับวา มีความสําคัญและเปนผลประโยชนรวม (Common Interests) ของทุกชาติในภูมิภาค จากความสําคัญของทะเลในภูมิภาคที่เปนเสนทางคมนาคมหลัก (ชองแคบมะละกา และทะเลจีนใต) และอุดมสมบูรณไป ดวยทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งสิ่งมีชีวิต เชน สัตวน้ํา และสิ่งไมมีชีวิต เชน กาซธรรมชาติ และน้ํามัน เปนตน ในขณะเดียวกัน ภูมิภาคนี้กป็ ระสบปญหาภัยคุกคามที่สงผลกระทบตอการดําเนินกิจกรรมทางทะเลตาง ๆ ทั้งการขนสง และการแสวงหา ประโยชนจากทะเล ซึ่งถือวา เปนภัยคุกคามตอความมั่นคงและผลประโยชนทางทะเลของแตละประเทศ โดยภัยคุกคาม เหลานี้ไมเพียงแตมีผลกระทบตอประเทศใดประเทศหนึ่งเทานั้น ยังสงผลกระทบตอหลายประเทศในภูมิภาคอีกดวย จึงถือ วา เปนปญหาภัยคุกคามรวม (Common Concerns or Common Threats) ของภูมิภาค โดยมีเหตุปจจัยหลากหลาย เกื้อหนุน ซึ่งพอจะกําหนดไดโดยพิจารณาจากสถิติและแนวโนม ดังนี้ 1. ปญ หาความขัด แย งเรื่อ งเขตแดนทางทะเลของประเทศในภู มิภาค เชน ป ญหาความขั ดแยง ระหว า ง ประเทศที่อางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย คือ จีน ไตหวัน ฟลิปปนส เวียดนาม มาเลเซีย และบรูไน ซึ่งที่ผานมาได เกิดการกระทบกระทั่งทางทหารขึ้นเปนประจํา ความเปนไปไดของการปะทะกันครั้งใหมยังคงดํารงอยูตอไป เนื่องจาก สถานการณในปจจุบัน ยังคงเปราะบาง ดวยเหตุที่แนวทางในการแกไขขอพิพาทเกี่ยวกับเขตแดนทางทะเลยังไมสามารถ ตกลงกัน ได แม วา รัฐ สมาชิ ก ของสมาคมประชาชาติ แห งเอเชี ยตะวั น ออกเฉียงใต (อาเซียน) และจี นไดแ สดงความ ปรารถนาที่จะลดความขัดแยงดวยการเห็นชอบตอ China Sea เมื่อ พ.ศ. 2545 ก็ตาม เพราะปฏิญญาดังกลาวไมใช แนวทางปฏิบัตทิ ี่เปนขอผูกพัน ตามกฎหมายระหวางประเทศ หรือเปนมติเอกฉันทสําหรับแนวทางที่จะเดินตอไป (“2002 Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea,” 2002) นอกจากนี้ ยังมีปญหาเขตแดนทางทะเลระหวางประเทศมาเลเซีย-อินโดนีเซีย มาเลเซีย-สิงคโปร และในสวน ของไทยกับเพื่อนบานที่ยังเปนปญหาดังที่ทราบกันอยู คือ ปญหาพื้นที่อางสิทธิทับซอนทางทะเลระหวางไทย-กัมพูชา และ ไทย-เมียนมาร ซึ่งปญหาเหลานี้ ไดสงผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศ และความมั่นคงทางทะเลของภูมิภาคใน ภาพรวม


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 238

อยางไรก็ตาม ปญหาการแยงชิงผลประโยชนทางทะเล เชน การทําประมงในพื้นที่เขตเหลื่อมทับทางทะเล หรือการลักลอบทําประมงในนานน้ําของประเทศเพื่อนบาน เปนตน ทําใหเกิดความหวาดระแวง และไมไววางใจ จนทําให ประเทศเพื่อนบานตองจัดกําลังทางเรือ ลาดตระเวนตรวจการณในพื้นที่รอยตอของอาณาเขตทางทะเล หรือพื้นที่เหลื่อม ทับ และจับกุมเรือประมงไทยดวยความรุนแรง ซึ่งอาจนําไปสูการเผชิญหนาทางทหารได 2. การเสริมสรางกําลังทางทหาร (Armed Racing) ของประเทศในภูมิภาค ก็ถือวา เปนสวนหนึ่งที่ทําใหเปน ปญหาภัยคุกคามตอความมั่นคงอยางหนึ่ง โดยจะเห็นวา ที่ผานมาและปจจุบันประเทศตาง ๆ เชน มาเลเซีย สิงคโปร และ เวียดนามตางเสริมเขี้ยวเล็บทางทะเลดวยการจัดหาเรือดําน้ํา และอากาศยานเขาประจําการอยางตอเนื่อง ถึงแมวา การ เสริมสรางกําลังทางเรือของประเทศดังกลาว มีเหตุผลเพื่อปกปองผลประโยชน และอธิปไตยของตนเองก็ตาม นอกจากนี้ การจัดทํายุทธศาสตรทหารของประเทศในภูมิภาคก็มักจะกําหนดยุทธศาสตรบนพื้นฐานที่วา ประเทศเพื่อนบานอาจเปน ศัตรู หรือเรียกวา Threats Base ซึ่งการกระทําดังกลาวทําใหแตละประเทศขาดความไวเนื้อเชื่อใจซึ่งกัน และกัน ทําให สงผลกระทบตอความมั่นคงของภูมิภาคได 3. การกอการรายทางทะเล (Maritime Terrorism) เปนภัยคุกคามที่ประเทศตาง ๆ และองคกรระหวาง ประเทศทั่วโลกใหความสําคัญ ซึ่งปจจุบันกลุมกอการรายที่มีบทบาทสูง คือ อัลกออิดะห (Al Qaeda) ที่ไดโจมตีเรือรบ สหรัฐ USS Cole เมื่อเดือนตุลาคม 2543 บริเวณอาวเอเดน และโจมตีเรือสินคาของฝรั่งเศส ชื่อ Limburg บริเวณนอกฝง เยเมนในป 2545 สําหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตการกอการรายทางทะเลก็ไมอาจมองขามได โดยเฉพาะใน นานน้ําของอินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งมีกลุมกอการรายที่สําคัญ 3 กลุม ประกอบดวย Abu Sayyaff Group (ASG), 16 Jemaah Islamiyah (JI) และ Gerakan Aceh Merdeka (GAM) โดยกลุมที่มีบทบาทสูงในภูมิภาคนี้ ไดแก Abu 17 Sayyaff ที่ไดโจมตีเรือเฟอรรี่ของฟลิปปนสใกลกรุงมะนิลา ในเดือนกุมภาพันธ 2547 มีผูเสียชีวิตถึง 116 คน ทั้งนี้ มี นักวิเคราะหหลายคนเชื่อวา รากฐานและการสนับสนุนดานการเงินของกลุมกอการรายตาง ๆ เหลานี้ อาจมาจากแหลง เดียวกัน ในหวงเวลาที่ผานมาเหตุการณการกอการรายทางทะเลในภูมิภาคนี้ ยังไมปรากฏเดนชัดนัก แตจากที่ไดกลาว มาแลววา ภูมิภาคนี้มีเสนทางคมนาคมหลัก คือ ชองแคบมะละกาที่เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดีย ทะเลจีนใต และ มหาสมุทรแปซิฟก ดังนั้น หากมีเหตุการณการกอการรายทางทะเล เชน การระเบิดเรือสินคาจมในชองทางเดินเรือสํา คัญ หรือการนําเรือสินคาขนาดใหญพุงชนทาเรือในรูปแบบเดียวกันกับการใชเครื่องบินพุ งชนตึกในเหตุการณ 9/11 ก็จะเกิด ความเสียหายอยา งมหาศาล นอกจากนี้ แท นขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติ ในทะเลที่มีอยูเป นจํา นวนมากก็เป น เปาหมายลอแหลมตอการถูกโจมตีจากกลุมกอการรายตาง ๆ อีกดวย ทั้งนี้ เปนที่นาสนใจอยางยิ่ง เมื่อประเทศไทยถูกจัดอันดับเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอการรายเปน อันดับที่ 12 ของโลก และถือวา เปนอันดับ 1 ของอาเซียน สวนฟลิปปนสถูกจัดใหเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอ การรายเปนอันดับ 13 ของโลก และเปนอันดับ 2 ของอาเซียนรองจากไทย ซึ่งการจัดอันดับดังกลาวเปนการรายงานผล ดัชนีความเสี่ยงจากการกอการรายประจํา ป พ.ศ. 2554 (Terrorism Risk Index 2011) โดยบริษัท เมเปลครอฟต (Maple croft’s) ที่ปรึกษาดานความเสี่ยง ซึ่งมีสํานักงานอยูในอังกฤษ ไดรายงาน เมื่อตนสิงหาคม 2554

16

Rommel C. Banlaoi, “Maritime Terrorism in Southeast Asia”, Naval War College Review, Vol. 58, No.4, Autumn 2005, p.63 John F. Bradford, “The growing prospects for Maritime Security Cooperation in Southeast Asia”, Naval War College Review, Summer 2005, Vol. 58, No.3, p.71 17


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 239

4. โจรสลัด และการปลนในทะเล (Piracy and Armed Robbery at Sea) เปนภัยคุกคามตอการเดินเรือใน ภูมิภาคโดยพื้นที่ที่เกิดเหตุการณโจรสลัดบอยครั้ง ไดแก ชองแคบมะละกาซึ่งมีเรือสินคาแลนผานเปนจํา นวนมาก และ นา นน้ํ า ของอิน โดนี เซี ย อยา งไรก็ ตาม สถิติ ก ารเกิ ด โจรสลั ดในชอ งแคบมะละกามี แนวโน มลดลงหลัง จากมีก ารร ว ม ลาดตระเวน (Coordinated Patrol) ของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และไทย แตการเกิดโจรสลัด และการ ปลนเรือไปเกิดขึ้นมากในนานน้ําของอินโดนีเซีย นอกจากนี้ โจรสลัดโซมาเลียที่เปนปญหาอยูในปจจุบัน ก็ถือวา สงผล กระทบตอผลประโยชนของชาติในอาเซียนดวย เนื่องจาก เรือสินคาของหลายประเทศในอาเซียนที่แลนผานบริเวณอาว เอเดน และชายฝงโซมาเลียก็ถูกคุกคามจากโจรสลัดโซมาเลียเชนเดียวกัน 5. การกระทําผิดกฎหมายทางทะเล (Illegal Activities at Sea) เชน การคาของเถื่อน ยาเสพติด การคาอาวุธ การทําประมงผิดกฎหมาย และการคามนุษย ลวนเปนปญหา และภัยคุกคามตอประเทศในภูมิภาคที่หลายประเทศให ความสําคัญ ซึ่งปญหาหลายอยางเหลานี้ ปจจุบันไดกลายเปนปญหาที่เปนลักษณะอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น และ ลักษณะของการกระทําผิดดังกลาวมีการเชื่อมโยงกัน ทําใหการแกปญหาของประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงลําพังกระทําได ยาก 6. ปญหาภัยธรรมชาติ และอุบัติภัยทางทะเล (Natural Disaster and Accident at Sea) ที่แนวโนมของการ เกิดภัยพิบัติจากพายุ และคลื่นลมจะยังคงปรากฏตอไป รวมถึง ภัยพิบัติขนาดใหญจากกรณีภัยพิบัติที่เกิดจากคลื่นยักษ สึน ามิ เมื่ อ ปลายป 2547 และพายุ ไ ต ฝุ น นากี ซ ยั ง มี โ อกาสที่จะเกิ ด ขึ้ น ได อี ก เนื่ อ งจาก ความแปรปรวนของสภาพ ภูมิอากาศโลก หรือสภาวะโลกรอน ซึ่งจะสงผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจนความเปนอยูของประชาชนบริเวณ ชายฝงทะเล และพื้นที่ใกลเคียง ปญหาอุบัติภัยทางทะเลที่สวนใหญมีสาเหตุจากกรณีเรือลม เรือจม และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ภายในเรือ ทําใหเกิดคราบน้ํามันรั่วไหล เกิดคราบน้ํามันในทะเล ซึ่งจะสงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และระบบนิเวศในบริเวณนั้น ทั้งนี้ ปญหาภัยอันเกิดจากธรรมชาติ มีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นทั้งจํานวน และความรุนแรง และจะสงผลกระทบเปนวงกวางในภูมิภาค 7. การใชแรงงาน/การเขาเมืองผิดกฎหมาย (Illegal Labour/Illegal Immigration) การใชแรงงานตางดาว ผิดกฎหมายยังคงเปนปญหาของอาเซียน เนื่องมาจาก การขาดแรงงานระดับลาง หรือกิจการบางประเภทประกอบกับ ปญหาทางการเมืองภายในประเทศ และปญหาเศรษฐกิจความยากจนของบางประเทศ รวมทั้งผูประกอบการยังนิยมใชวิธี ลักลอบใชแรงงานตางดาวอยางผิดกฎหมาย เพราะตนทุนราคาถูก ซึ่งมักอาศัยลักลอบเขามาทางทะเล เพราะยากตอการ ตรวจจับ ทะเลจึงเปนทั้งแหลงทํางาน และทางผานเขามา และออกไปสูประเทศที่สาม ซึ่งนําไปสูการบังคับใชแรงงาน และ การคามนุษย ซึ่งอาจนําโรคมาเผยแพร กออาชญากรรมตาง ๆ เชน ปลน/ฆา โดยไมรูกฎหมายภายในประเทศนั้น ๆ ยาก ตอการตรวจพบและจับกุม และอาจมีอาชญากรรมขามชาติแอบแฝงเขามา และเปนทางผานของยาเสพติด หรืออาวุธ สงครามได 8. การคาของผิดกฎหมาย (Illegal Trafficking) ซึ่งหมายรวมถึง การคายาเสพติด (Illicit Drug) อาวุธสงคราม (Armed Trafficking) และสินคาอื่น ๆ ดวย ซึ่งการลักลอบโดยใชทะเลเปนชองทางผานหรือคาขาย เปนปญหาที่เกิดขึ้นมา นาน แตยังแกไขไมได เพราะพื้นที่ทางทะเลไมสามารถเฝาตรวจ หรือระวังไดครอบคลุมทั่วพื้นที่ไดตลอดเวลา การตรวจ พบ หรือจับกุมเปนไปไดยาก ปญหาชองวางของขอกฎหมายที่ไมครอบคลุมพื้นที่ทางทะเลทั้งหมด ทําใหไมสามารถเอา ผูกระทําผิดมาลงโทษได โดยเฉพาะการคาน้ํามันเชื้อเพลิงนอกเขตบังคับใชกฎหมาย ทั้งที่จําหนายใหเรือประมงและ ลักลอบขึ้นฝง


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 240

9. การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทางทะเล (Environment Destruction) การกระทําที่ สงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และระบบนิเวศน ไดแก การลักลอบตัดไมตามเกาะ หรือบริเวณชายฝง การทําประมงผิดประเภท การลักลอบงมปะการัง และการเกิดน้ํามันรั่วไหลในทะเล ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุจากเรือลม เรือ โดนกัน และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นภายในเรือ การสูบถายน้ํามันในทาเรือหรือในทะเล การปลอยน้ํามันและของเสียลงทะเล รวมทั้งกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในทะเล เชน การทองเที่ยว การดําน้ํา การตกปลา เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ มีผลกระทบ ตอความสมบูรณของทรัพยากรสัตวน้ํา และความสวยงามของทะเล มีผลโดยตรงตออุตสาหกรรมประมงและการทองเที่ยว

กลไกความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเลของภูมภิ าคในปจจุบัน ที่ผานมาประเทศในภูมิภาคอาเซียนและประเทศใกลเคียง ไดแสวงความรวมมือโดยใชกลไกความรวมมือระหวาง ประเทศที่มีอยู และกอตั้งกิจกรรมความรวมมือทั้งแบบพหุภาคีและทวิภาคี ขึ้นใหมเพื่อสงเสริมความรวมมือในมิติตาง ๆ ทั้งดานความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเลนั้น ประกอบดวย - CSCAP-Council for Security Cooperation in Asia Pacific กอตั้งเมื่อป 2535 มีสมาชิก 20 ประเทศ (รวมไทยดวย) CSCAPไดตระหนักถึงปญหาภัยคุกคามทางทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชีย แปซิฟกมาตั้งแตป 2535 โดยไดตั้งคณะทํางานจัดทําเอกสาร ขอแนะนํา ระเบียบปฏิบัติ และขอบังคับเกี่ยวกับความ รวมมือในการตอตานภัยคุกคามทางทะเล นอกจากนี้ CSCAP ยังมีการจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับความมั่นคง ทางทะเลอยูเปนประจํา โดยมุงเนนในเรื่องการพัฒนาความรวมมือเกี่ยวกับการใชกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ที่อยูนอกเหนือ กฎหมายภายในประเทศในประเด็นที่ไมขัดกับหลักกฎหมายสากล - WPNS-Western Pacific Naval Symposium กอตั้งเมื่อป 2531 เพื่อสงเสริมกิจกรรมความรวมมือ ของกองทัพเรือในภูมิภาคแปซิฟกตะวันตกในระดับพหุภาคี ซึ่งกองทัพเรือของประเทศในอาเซียนสวนใหญไดรับเชิญใหเขา รวมดวย แรกเริ่มของการกอตั้ง WPNS จะมุงเนนการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางประเทศสมาชิกที่เรียกวา Military Information Exchange Directory (MIED) และ Code for Unaltered Encounters at Sea (CUES) ปจจุบันเวที WPNS ไดขยายความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล เชน การลาดตระเวนรวมในการตอตานโจรสลัด และการกระทําผิด กฎหมายทะเลอื่น ๆ นอกจากนี้ ยังเปนเวทีหนึ่งสําหรับการประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับความมั่นคงทางทะเล ซึ่งจัด ประชุมทุกป โดยมีผูแทน กองทัพเรือไปเขารวมประชุมดวย ในป 2554 ไดมีการจัดการฝก Top Table Exercise เกี่ยวกับ การชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) ทางทะเล ที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อเดือนเมษายน 2554 โดย กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา (จัสแมก) และกองทัพเรือไทยรวมเปนเจาภาพ และในป 2556 กองทัพเรือจะเปนเจาภาพจัดการ ประชุม WPNS Workshop 2013 - IONS-Indian Ocean Naval Symposium เปนความริเริ่มของกองทัพเรืออินเดียเมื่อป ค.ศ. 2008 โดยมีแนวความคิด (Concept) คลายกับ WPNS มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางความรูดานการคมนาคมขนสงทางทะเลใน มหาสมุทรอินเดีย และเสริมสรางความรวมมือในการปฏิบัติงานระหวางประเทศตาง ๆ ที่มีที่ตั้งบนชายฝงทะเล และเขต เศรษฐกิจจําเพาะในมหาสมุทรอินเดีย โดยกองทัพเรืออินเดียไดเชิญผูบัญชาการทหารเรือของประเทศในแถบภูมิภาค มหาสมุทรอินเดีย รวม 30 ประเทศ ตลอดจนบุคลากรจากภาครัฐบาล ภาคเอกชน และองคกรตาง ๆ ของอินเดียเขา รวมงานดวย สาระสําคัญประกอบดวย 3 สวนหลัก ไดแก การสัมมนาเพื่อเสริมสรางความรูและความเขาใจเกี่ยวกั บการ เดินเรือและพาณิชยนาวีในมหาสมุทรอินเดีย และการสัมมนาเพื่อเสริมสรางความรวมมือดานการปฏิบัติของกองทัพเรือ ชาติตาง ๆ ในการรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับการเดินเรือและพาณิชยนาวีในมหาสมุทรอินเดีย


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 241

- ReCAAP-Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia กอตั้งขึ้นโดยขอเสนอของนายกรัฐมนตรีของญี่ปุนในระหวางการประชุม ASEAN+3 ที่บรูไน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 มีจุดมุงหมายเพื่อเสริมสรางความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเลโดยมุงเนนการ ตอตานโจรสลัด และการกระทําผิดกฎหมายในทะเล เปนความรวมมือระหวางชาติสมาชิกอาเซียน (ยกเวนมาเลเซียและ อินโดนีเซีย) และประเทศในเอเชีย ปจจุบันมีสมาชิก 17 ประเทศ โดยสมาชิก ReCAAP ไดเห็นชอบรวมกันในการกอตั้ง Information Sharing Centre (ReCAAP-ISC) เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ที่สิงคโปร เพื่อเปนศูนยในการแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารดานโจรสลัด และการปลนเรือ ซึ่งปจจุบัน กองทัพเรือไทยไดสงนายทหารไปประจําที่ศูนยขอมูลขาวสาร ReCAAP-ISC ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2554 - ASEAN -Association of Southeast Asian Nations กอตั้งเมื่อป 2510 ที่ประเทศไทย แรกเริ่ม กอตั้งมีสมาชิก 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย มีจุดประสงคหลักเพื่อส งเสริมความ รวมมือทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ปจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้ง 10 ประเทศลวนเปนสมาชิก โดยไดเพิ่มบทบาทที่สําคัญในการประสานความรวมมือในการตอตานภัยคุกคาม และการกระทําผิดกฎหมายในทางทะเล ในภูมิภาค เชน สมาชิก ASEAN ไดมีความเห็นรวมกันที่จะตอตานการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็กโดยไดประกาศ ASEAN Declaration เมื่อป 2547 และไดจัดตั้งอนุสัญญาวาดวยการตอตานการกอการรายเมื่อป 2549 นอกจากนี้ สมาชิกอาเซียนยังกําหนดเปาหมายรวมกันที่จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดจากยาเสพติดภายในป 2558 อีกดวย ในสวนของกิจกรรมเพื่อสงเสริมความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล ไดมีเวทีการประชุมผูบัญชาการ ทหารเรืออาเซียนซึ่งโดยปกติจะจัดทุก 2 ปและหมุนเวียนกันเปนเจาภาพ - ARF-ASEAN Regional Forum เปนอีกเวทีหนึ่งที่สงเสริมความรวมมือในการตอตาน ภัยคุกคามทาง ทะเล โดยประเทศสมาชิกมีขอตกลงรวมกันที่จะใช และสนับสนุนกําลังทรัพยากรของตัวเอง เพื่อรวมมือในการตอตานภัย คุกคาม และการกระทําผิดกฎหมายทางทะเลทุกรูปแบบ เชน การกอการราย อาชญากรรมทางทะเล การคายาเสพติด และการคามนุษย เปนตน - ADMM-ASEAN Defense Ministers’ Meeting เปนเวทีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนเพื่อ เสริมสรางความรวมมือดานความมั่นคงเพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน นอกจาก ยังมี กรอบความรวมมือของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) อีก 8 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย ญี่ปุน นิวซีแลนด สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อ 12 ตุลาคม 2553 รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และประเทศคูเจรจาไดเห็นชอบในการดําเนินการดานความรวมมือเพื่อความ มั่นคง 5 ดาน คือ การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and Disaster Relief-HA/DR) ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) การแพทยทหาร (Military Medical) การตอตาน การกอการราย (Counter Terrorism) และการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Operations) - AMF-ASEAN Maritime Forum เปนกิจกรรมความรวมมือที่จะมีการจัดตั้งขึ้นมาใหมตามแผนงานการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC Blueprint) ที่กําหนดใหมีการสงเสริมความรวมมือทางทะเล โดยการประชุมเมื่อสิงหาคม 2554 โดยประเทศไทยเปนเจาภาพ นอกจาก กิจกรรมความรวมมือในระดับพหุภาคีที่มีหลาย ประเทศเขารวมดังที่ไดกลาวมาขางตนแลว ประเทศในภูมิภาคที่มีพื้นที่ทางทะเลติดกันไดมีกิจกรรมความรวมมือเพื่อ ตอตาน ภัยคุกคาม และการกระทําผิดกฎหมายทางทะเล เชน - การรวมลาดตระเวน (Coordinated Patrol) ในชองแคบมะละกาของกองทัพเรือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และไทย


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 242

- ความรวมมือ ดานความมั่นคงในระดับทวิภาคี เชน การลาดตระเวนรวมของไทยกับมาเลเซีย มาเลเซีย กับอินโดนีเซีย และไทยกับเวียดนาม รวมทั้งการจัดประชุม Navy to Navy Talks ระหวางกองทัพเรือของแตละประเทศ เปนตน จะเห็นวา ปจจุบัน มีกลไกลความรวมมือทางทะเลในภูมิภาค ทั้งระดับพหุภาคีและทวิภาคีอยูแลวหลายกรอบ ความรวมมือ และที่กําลังจะจัดตั้งใหมอีก ทั้งนี้ จะเห็นวา กลไกความรวมมือตาง ๆ ที่เปนพหุภาคีนั้น จะมีประเทศที่ไมใช สมาชิกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศมหาอํา นาจรวมอยูดวย เนื่องจาก ทะเลในภูมิภาคมีความสํา คัญ เพราะเปนพื้นที่ เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟกตามที่กลาวไปแลว โดยสรุปความรวมมือระหวางประเทศเปนสิ่งสําคัญ เนื่องจาก ปญหาดานความมั่นคงทางทะเลเปนปญหาที่มี ลักษณะขามชาติ และเกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางประเทศ เชน ความขัดแยงในเรื่องผลประโยชนทางทะเล หรือการ กระทําผิดกฎหมายทางทะเลในประเทศหนึ่ง โดยบุคคล หรือกลุมบุคคลของอีกประเทศหนึ่ง ดวยเรือหรือยานพาหนะที่จด ทะเบียนในอีกประเทศหนึ่งและเปาหมายที่ถูกกระทําอาจเปนเรือหรือบุคคลของอีกประเทศหนึ่งก็เปนได ซึ่งความยุงยาก ซับซอนเหลานี้ เปนคุณลักษณะเฉพาะของปญหาความมั่นคงทางทะเลที่ตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศในการ กําหนดบรรทัดฐาน และความเขาใจที่ตรงกันในการจัดการกับปญหาดังกลาว ที่ผานมา ความรวมมือระหวางประเทศในดานความมั่นคงทางทะเล จะเนนในการยอมรับสิทธิ และอํานาจ อธิปไตยตามกรอบของอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS, 1982) และมาตรการความ ปลอดภัยในการใชทะเลขององคการทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) รวมถึงอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการ ปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายตอความปลอดภัยในการเดินเรือ ค.ศ. 1988 (SUA, 1988) และตอมา เมื่อมีความกังวล เกี่ ยวกั บการก อการร า ยสากลทางทะเลมากขึ้ น จึ งมี มาตรการความรว มมือ ระหวา งประเทศเพิ่ มเติ มเชน มาตรการ Container Security Initiative (CSI) มาตรการ Proliferation Security Initiative (PSI) และการใช International Ship and Port Facility Security (ISPS) code ขององคการทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) เปนตน อยางไรก็ตาม ในระดับภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟกก็ไดมีความพยายามในการร วมมือดานความมั่นคงในลักษณะ cooperative security เพื่อสงเสริมความไววางใจและโปรงใส (confidence and transparency) ในแนวทางตาง ๆ โดยเฉพาะในกรอบการประชุม ASEAN Regional Forum (ARF) และในการประชุม Western Pacific Naval Symposium (WPSN) ซึ่งมีหัวขอสําคัญในการสงเสริมความมั่นคงทางทะเลดวย การฝกผสมทางเรือรวมกันก็เปนมาตรการหนึ่งของการแสดงออกถึงความรวมมือและความไววางใจซึ่งกันและกัน ที่พัฒนามาจากการสรางความโปรงใสและความไววางใจซึ่งกันและกัน จากระดับการแลกเปลี่ยนการเยี่ยมเยือนของ ผูบังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพเรือ และกําลังทางเรือตามวาระตาง ๆ จนถึงขั้นการแลกเปลี่ยนยุทธวิธี และมีแนว ปฏิบัติการฝกรวมกัน ซึ่งปจจุบัน กองทัพเรือ มีการฝกผสมในลักษณะทวิภาคีอยูแลวกับกองทัพเรือมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และอินเดียเปนประจํา ซึ่งสามารถสรางความรวมมือทางทะเลและความไววางใจซึ่งกันและกันไดเปนอยางดี ดังนั้น การฝกผสมรวมทางเรือ ควรขยายผลไปยังประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ ไดแก เวียดนาม กัมพูชา และเมียนมารตอไป จากปญหาภัยคุกคามของภูมิภาคและขอเสนอแนวทางในการแกปญหาในแตละภัยคุกคามที่กลาวมาแลวนั้น เนื่องจาก แตละประเทศมีแนวทางการใชกําลังทหาร หรือระเบียบปฏิบัติในการดําเนินการตาง ๆ แตกตางกัน ดังนั้น ประเทศในอาเซียนรวมกันจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Standard Operating Procedure-SOP) ของความรวมมือในการ ตอตานภัยคุกคามตาง ๆ เพื่อใหทุกชาติเขาใจตรงกันเชนเดียวกับที่ประเทศในกลุมนาโตดําเนินการอยู และจัดใหมีการฝก ปฏิบัติการตาม SOP เพื่อเปนการสรางขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการปฏิบัติการตาง ๆ ใหมีความ ใกลเคียงกันดวย นอกจากนี้ ในเรื่องการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางทะเลระหวางกันที่ปจจุบันมีกลไก ReCAAP-ISC ที่


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 243

สิงคโปรอยูแลว แตไมนาจะเพียงพอในดานขอมูลขาวสาร เนื่องจาก ศูนยดังกลาวมุงเนนเฉพาะขาวสารดานโจรสลัด และ การปลนเรือเทานั้น ยังไมรวมปญหาภัยคุกคามอื่น เชน การกอการราย ทางทะเลและการทําผิดกฎหมายอื่น ๆ ทางทะเล ประกอบกับ 2 ประเทศในอาเซียน คือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ไมไดเขารวมกลไก ReCAAP ดังนั้น จึงควรเพิ่มการ แลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารทางทะเลใหมากขึ้น โดยเพิ่มประเด็นขอมูลขาวสารใหครอบคลุมภัยคุกคามทางทะเลทุกดานที่ กลาวมาแลว โดยอาจใชกลไกที่จัดตั้งขึ้นตามกรอบประชาคมอาเซียน คือ AMF เปนกลไกเริ่มตนในการแสวงความรวมมือ และใชชองทางศูนยปฏิบัติการของกองทัพเรือแตละประเทศในการติดตอสื่อสารระหวางกัน ซึ่งในอนาคตอาจพัฒนาไป เปนศูนยขอมูลขาวสารทางทะเลของประเทศอาเซียน (ASEAN Maritime Information Sharing Center) ตอไป เดือนกันยายน 2556 ฟลิปปนสไดรวมกับสหรัฐอเมริกาจัดประชุมเชิงปฏิบัติการคนประจําเรือ เพื่อการตอตาน โจรสลัด (Seafarer’s Training – Counter Piracy Workshop : EAST-CP) เพื่อใหคนประจําเรือที่เขารวมการฝกพรอม รับมื อกั บเหตุก ารณที่ ไม คาดฝน หากถู กบุ กโจมตีหรื อจั บกุ มโดยโจรสลั ด ขณะที่ใ นป 2547 สิ งคโปร มาเลเซี ย และ อินโดนีเซีย ไดริเริ่มโครงการลาดตระเวนทางอากาศบริเวณชองแคบมะละกาที่เรียกวา Eyes in the Sky เพื่อรวมมือกัน ปองกันภัยคุกคามทางทะเลในชองแคบมะละกา และพื้นที่ใกลเคียง ขณะเดียวกัน ความรวมมือที่เปนรูปธรรมที่สุดของชาติ อาเซียน คือ การเขาไปมีสวนสําคัญในการจัดตั้งขอตกลงความรวมมือระหวางภูมิภาคดานการตอตานโจรสลัดและการ ปลนสะดมกองเรือดวยอาวุธในเอเชีย (Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against ships in Asia : ReCAAP) อันเปนองคการระหวางรัฐบาลที่ไดรับการผลักดันในการประชุมสุดยอด อาเซียนบวกสาม ในป 2544 ขอตกลง ReCAPP มีผลบังคับใชจริงในเดือนกันยายน 2549 และคอนขางสรางผลลัพธในแง บวก เมื่อดูจากจํานวนการกระทําอันเปนโจรสลัดในบริเวณชองแคบมะละกาที่ลดลงพอสมควร กระนั้น การทํางานของ ReCAPP ยังมีขอจํากัดอยูมาก อันเนื่องมาจากชาติอาเซียนอยางมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งเปนผูมีสวนไดสวนเสียหลัก ไมไดลงนามและใหสัตยาบันในขอตกลงดังกลาว ทั้งนี้ มาเลเซียปฏิเสธการลงนาม เพราะมองวา รูปแบบการทํางานของ ReCAPP ซึ่งมีสํานักงานกลางอยูที่สิงคโปร จะทับซอนกับอํานาจหนาที่ของศูนยรายงานโจรสลัดของ IMB ที่ตั้งอยู ณ กรุง กัวลาลัมเปอร ความขัดแยงดังกลาวสงผลสําคัญหลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การขาดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการวิเคราะหวิจัยในพื้นที่เฝาระวัง จนทําใหบางสวนจากรายงานของหนวยงานทั้งสองสถาบันขัดแยงกันอยางนา ประหลาดใจ ขณะที่อินโดนีเซียไมยินยอมใหสัตยาบันในขอตกลง ReCAPP เพราะเห็นวา ขอตกลงดังกลาวอาจละเมิด อธิปไตยของอินโดนีเซีย โดยมองวา ปญหาโจรสลัดเปนปญหาความมั่นคงภายในของอินโดนีเซีย ที่สามารถแกไขไดดวย การบังคับใชกฎหมายอยางเขมงวด และเสริมความเขมแข็งใหกับกองทัพเรือในการลาดตระเวนและจัดการกับกลุมโจรสลัด 18 ที่แฝงตัวอยูตามหมูเกาะตาง ๆ ความขัดแยงขางตนเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นขอจํากัดของความรวมมือดานความมั่นคงของอาเซียนในการแกไข ปญหาที่นากังวลนี้ ปญหาโจรสลัด การกอการราย จะไมสามารถแกไขไดเลย หากแตละประเทศยังคงไมแกไขกฎหมายทาง ทะเลที่ มีค วามหละหลวม ทั้ ง ยั ง มีป ญ หาขาดแคลนผู เ ชี่ ยวชาญ และเทคโนโลยี ที่ ทัน สมั ย รวมไปถึง ป ญ หาเรื่ อ งการ ประสานงานระหวางประเทศอยางไมจริงจังนักในการตอตานโจรสลัด เนื่องจาก หลายประเทศมักมีขอพิพาทดานอธิปไตย เหนือดินแดนทางทะเลระหวางกัน จนเปนเหตุใหแตละประเทศเกรงวา การยอมลงนามในขอตกลงทางทะเลระหวาง ประเทศใด ๆ อาจกลายเปนการยอมรับสิทธิอันชอบธรรมทางกฎหมายเหนือดินแดนทางทะเลของชาติอื่นอยางไมตั้งใจ สิ่ง เหลานี้ แสดงใหเห็นถึงการหวงแหนอธิปไตยของชาติอาเซียน ซึ่งเปนอุปสรรคตอการรวมมือระหวางประเทศ โดยเฉพาะ การเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน นอกจากนี้ สภาพแวดลอมทางการเมืองและเศรษฐกิจระหวาง 18

ภาคิน นิมมานนรงศ. ปญหาโจรสลัด : ความทาทายในประชาคมอาเซียน, กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 17 ตุลาคม 2556.


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 244

ประเทศที่เปลี่ยนไปยังมีสวนสําคัญทําใหกลุมโจรสลัดเติบโตขึ้นมากดวย ตัวอยางสําคัญ เชน กลุมอาชญากรรมขามชาติที่ พัฒนาขึ้นอยางเปนระบบ และสรางเครือขายกิจกรรมผิดกฎหมายอยูทั่วภูมิภาคกลุมคนเหลานี้ มักมีบทบาทอยูเบื้องหลัง การปลนสะดมของโจรสลัดหลายครั้ง สาเหตุหนึ่ง เพราะมีอาวุธ และทุนรอนมากพอที่จะบุกปลนเรือขนสงขนาดใหญได ขณะเดียวกัน การประมงรูปแบบใหม หลังมีการกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ยังทําใหชาวประมงทองถิ่นที่สงใหญพึ่งพิง รายไดกับการประมงเพียงอยางเดียว มักตองลักลอบเขาไปจับปลาในนานน้ําของประเทศอื่น ทําใหตกเปนเหยื่อของโจร สลัดไดงาย หรืออีกดานหนึ่งคือ ความยากจน และรายไดที่ไมเพียงพอตอการเลี้ยงชีพอาจทําใหพวกเขากลายเปนโจรสลัด เสียเอง ในภาพรวม ตัวเลขจํานวนการกระทําอันเปนโจรสลัดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลอดปที่แลวลดลงจากสองป กอนหนานั้น และกวารอยละ 60 ของเหตุการณทั้งหมด มักเกิดขึ้นบริเวณทาเรือหรือจุดทอดสมอใกลชายฝง ซึ่งตางจาก โจรสลัดในแอฟริกาที่มักกระทําการในนานน้ําสากลเปนหลัก สิ่ งนี้แสดงใหเห็นวา การปลนสะดมของโจรสลัดในนานน้ํา ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต มักไมใชการปลนขนาดใหญและสรางความสูญเสียทางทรัพยสินมากนัก แตนั่นไมอาจทําให เราละเลยความเปนจริงที่วา การขาดความรวมมืออยางจริงจังระหวางกลุมประเทศผูมีสวนไดสวนเสีย จะทําใหการแกไข ปญหาความมั่นคงที่คอนขางซับซอนอยางปญหาโจรสลัด ดําเนินไปอยางยากลําบากมากขึ้น ปจจุ บัน มีก ลไกความรว มมื อในภู มิภาคอยูเ พียงพอหรือไมนั้ น จากตั วอยางกลไกความรวมมือ ขา งต นน าจะ สามารถตอบไดวามีกลไกเพียงพอหรือบางทานอาจจะกลาวไดวา มีมากเกินพอ แตผลสําเร็จของความรวมมือตาง ๆ นั้นยัง มีขอสงสัย ซึ่งมีนักวิเคราะหหลายรายตั้งสังเกตวา ความรวมมือในระดับพหุภาคี (Multilateral) จะประสบผลสําเร็จนอย กวาความรวมมือในระดับทวิภาคี (Bilateral) เนื่องจาก เหตุผลตาง ๆ ประกอบดวย - เหตุผลความออนไหวตอเรื่องอธิปไตย (Sovereignty Sensitivities) เชน ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย จะระมัดระวังในการเขารวมกิจกรรมความรวมมือที่จะเกี่ยวของกับพื้นที่ชองแคบมะละกา โดยไมเขารวมเวที ReCAAP เปนตน - ขอจํากัดเรื่องงบประมาณ (Financial Constraint) ของประเทศในภูมิภาคเปนอุปสรรคที่สําคัญของกิจกรรม ความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล เนื่องจาก ประเทศตาง ๆ มีขอจํากัดในการสนับสนุนทั้งทรัพยากรบุคคล และกําลัง ทางเรือในการเขารวมกิจกรรมความรวมมือตาง ๆ ที่หลายชาติเขารวม เชน การประชุมทางวิชาการ การฝกผสม และการ รวมลาดตระเวน เปนตน - ขีดความสามารถ (Capacity) ของหลายประเทศในภูมิภาคนี้มีขอจํากัดทั้งในเรื่องของกําลังพล และกําลังทาง เรือ จึงทําใหมีความลังเลที่จะเขารวมกิจกรรมความรวมมือที่จัดขึ้น เชน ขอจํากัดเรื่อง เรือ อากาศยาน และอุปกรณการ สื่อสาร รวมทั้งขีดความสามารถในการใชภาษาที่จะสามารถสื่อสารกับประเทศตาง ๆ ซึ่งเรื่องนี้ในสวนของไทยก็คอนขาง จะเปนปญหาพอสมควรหากเทียบกับชาติอื่นในอาเซียนดวยกัน เชน มาเลเซีย สิงคโปร หรือฟลิปปนส - เหตุผลเรื่องความมั่นคงของชาติ (National Security) ก็เปนขอจํากัดหนึ่งของกิจกรรมความรวมมือเพื่อความ มั่นคงทางทะเล เนื่องจาก บางประเทศ เชน เมียนมารมีลักษณะทางวัฒนธรรมทางทหารที่คอนขางปกปด (Closed Military Culture) ดังนั้น จึงเขารวมกิจกรรมความรวมมือทางทหารกับประเทศอื่น ๆ คอนขางนอย นอกจากนี้ ในหลาย ๆ เวทีความรวมมือโดยเฉพาะกิจกรรมที่เปนลักษณะการประชุมสัมมนาในระดับพหุภาคีจะ เกิดผลสําเร็จนอย เนื่องจาก แตละประเทศขาดความจริงจังในการนําผล หรือขอตกลงของการประชุมฯ ไปปฏิบัติใหเปน รูปธรรม หรือที่เรียกวา NATO (No Action Talk Only)


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 245

ขอเสนอแนวทางหรือทาทีตอความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเล จากปญหาภัยคุกคามที่สงผลกระทบตอความมั่นคงและผลประโยชนทางทะเลของประเทศในภูมิภาค และกลไก ความรวมมือทางทะเลทั้งระดับพหุภาคีและทวิภาคีที่มีอยูตามที่กลาวขางตนที่ยังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ดังนั้น ประเทศในอาเซียนซึ่งตั้งเปาจะเปนประชาคมหนึ่งเดียวในป 2558 ควรจะตองรวมมือกันแกปญหาอยางจริงจัง ซึ่งเห็นวา สามารถใชกลไกความรวมมือทั้งระดับพหุภาคีและทวิภาคีที่มีอยูตามที่กลาวโดยเพิ่มความจริงจังในการนํากรอบความ รวมมือไปปฏิบัติใหมากขึ้นเพื่อแกปญหาในแตละเรื่อง ดังนี้

ปญหาเขตแดนทางทะเล

แตละประเทศที่ยังมีปญหาเรื่องเขตแดนทางทะเลควรมุงแสวงหาแนวทางแกไขโดยใชการเจรจาตกลงใน กรอบทวิภาคี ลักษณะเดียวกับการเจรจาแบงเขตทางทะเล ระหวางไทย-เวียดนาม หรือการทําเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Developing Areas : JDA) ระหวางไทย-มาเลเซีย เปนตน สําหรับปญหาการอางสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลียนั้น เนื่องจาก ประเทศคูกรณีไมมีเฉพาะประเทศในอาเซียนเทานั้น ยังมีสาธารณรัฐประชาชนจีน และไตหวันที่อางสิทธิในพื้นที่ ประกอบกับมีบางประเทศในอาเซียนที่ไมใชคูขัดแยง เชน ไทย สิงคโปร เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา ดังนั้น การ แกปญหาของประเทศคูขัดแยงควรที่จะทําในลักษณะทวิภาคีเชนเดียวกัน ไมควรใชเวทีความรวมมือของอาเซียนในการ เจรจาแกปญหานี้ สําหรับทาทีของไทยตอปญหาความขัดแยงในทะเลจีนใตนั้น ควรที่จะตองกําหนดทาที และจุดยืนที่ เหมาะสมเนื่องจาก ไมใชคูขัดแยงของตอปญหาดังกลาว

ปญหาความไมไววางใจซึ่งกันและกัน

การเสริ มสรา งกํ า ลัง ทางทหารของแตล ะประเทศในภูมิ ภาคที่ อาจทํ า ให ขาดความไวเ นื้ อเชื่อ ใจกัน การ แกปญหานี้สามารถกระทําโดยสงเสริมการสรางมาตรการสรางความไววางใจระหวางประเทศ (Confidence Building Measures : CBM) และการสรางความโปรงใสทางทหาร (Transparency) โดยการแสดงความเปดเผยโปรงใสในนโยบาย ทางการทหาร แสดงเจตจํานงใหชัดเจนในการพัฒนากําลังรบเพื่อปองกันอธิปไตย และรักษาผลประโยชนแหงชาติ และ เปดเผยขอมูลในการจัดหายุทโธปกรณ รวมทั้งแลกเปลี่ยนการเยือนระหวางผูบังคับบัญชาและหนวยเรือ (Staff Visit & Ship Visit) อยางตอเนื่องเพื่อกระชับความสัมพันธทางทหารใหแนนแฟนมากขึ้น

ปญหาการกอการรายทางทะเล

ถึงแมวา ในภูมิภาคนี้จะมีสถิติการเกิดเหตุการณกอการรายทางทะเลไมบ อยนัก แตหากเกิดขึ้นแลวจะกอ ความเสียหายอยางมหาศาล การปองกัน และการตอตานการกอการรายเปนเรื่องที่กระทําไดคอนขางยาก ดังนั้น ใน เบื้องตนประเทศในภูมิภาครวมทั้งประเทศใกลเคียงควรสงเสริมการรับรูขาวสารทางทะเล (Enhance Maritime Domain Awareness) ดวยการเพิ่มความรวมมือในกลไกที่มีอยู เชน ใชศูนย ReCAAP-ISC ที่สิงคโปรในการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารเรื่องการกอการราย ดวยนอกเหนือจากเรื่องของโจรสลัดและการปลนเรือ และประเทศในภูมิภาคควรที่จะให ความรวมมือกับมาตรการเพื่อความมั่นคงทางทะเลระหวางประเทศ เชน ขอบังคับวาดวยการรักษาความปลอดภัยของเรือ และทาเรือพรอมสิ่งอํานวยความสะดวก (International Ship and Port Facility Security Code-ISPS Code) ระบบ ติดตามที่เรืออัตโนมัติ (Automatic Identification System : AIS) และระบบติดตาม และพิสูจนทราบระยะไกล (Long Range Identification Tracking System : LRIT) เปนตน นอกจากนี้ ประเทศในอาเซียนควรมีการฝกรวมการตอตาน การกอการรายตอทาเรือ หรือแทน/ฐานขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติในทะเลระหวางกัน ซึ่งจะเปนการปองกันและ ปองปรามการกอการรายตอสิ่งลอแหลมเหลานี้ดวย


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 246

ปญหาโจรสลัดและการปลนเรือในทะเล

การแกปญหาโจรสลัดและการปลนเรือในทะเลนั้น ในเบื้องตนควรสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร โดยใชศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่มีอยูแลว เชน ศูนย ReCAAP - ISC และศูนยปฏิบัติการกองทัพเรือของแตละ ประเทศ ใหเกิดประโยชนรวมกันใหมากที่สุด และจัดใหมีการลาดตระเวนรวมกันในพื้นที่ที่เกิดโจรสลัด เชนเดียวกับการ รวมลาดตระเวนในชองแคบมะละกาที่ทําใหสถิติการเกิดโจรสลัดลดลง สําหรับปญหาโจรสลัดโซมาเลียนั้น ประเทศสมาชิก อาเซียนซึ่งมีเรือสินคาที่แลนผานอาวเอเดนยอมไดรับผลกระทบจากปญหานี้ดวย จึงควรที่จะมีแนวคิดรวมมือกันในการ ประกอบกําลังทางเรือของชาติในอาเซียน (เฉพาะประเทศที่พรอม) ไปปฏิบัติงานรวมกันในพื้นที่อาวเอเดนเพื่อเปนการ แสดงความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวของประเทศในอาเซียน โดยอาจใชรูปแบบเดียวกับประเทศในกลุม EU

ปญหาการกระทําผิดกฎหมายทางทะเลอื่น ๆ

เนื่องจาก พื้นที่อาณาเขตทางทะเลของหลายประเทศในภูมิภาคเปนพื้นที่ติดตอกัน และมีพื้นที่กวางใหญ ไพศาล ซึ่งเปนการยากที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะดําเนินการแกปญหาเพียงลําพังได จึงควรเพิ่มการลาดตระเวนรวมกัน และมี การติ ดตอ สื่อสารระหวางหนวยควบคุ มการใชกํ าลัง ของแตละประเทศได ทันที ซึ่งสามารถดําเนินการได โดยมี Hotline ระหวางศูนยปฏิบัติการกองทัพเรือของแตละประเทศ นอกจากนี้แลว เพื่อใหการแกปญหามีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้นประเทศในอาเซียนควรริเริ่มในการจัดตั้งหนวยงานรวมกัน เชน ศูนยความรวมมือเพื่อการปราบปรามอาชญากรรม ขามชาติ ยาเสพติด การคาอาวุธสงคราม การคามนุษย การทําลายทรัพยากรทางทะเลและการกระทําความผิดอื่นในทะเล

ปญหาภัยธรรมชาติและอุบัติภัยในทะเล

ปญหาภัยธรรมชาตินับวันจะมีความรุนแรงและเกิดขึ้นบอยครั้ง โดยเฉพาะภัยทางทะเล ซึ่งทําใหเกิดความ สูญเสียทั้งชีวิต และทรัพยสินของประชาชนในหลายประเทศ ดังนั้น จึงควรจัดตั้งศูนยประสานงานปฏิบัติการชวยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัยทางทะเลของภูมิภาค เพื่อเปนการชวยเหลือซึ่งกันและกันในการคนหา และชวยเหลือผูประสบภัย ทางทะเล ปฏิบัติการบรรเทาภัยพิบัติจากธรรมชาติ อุบัติภัย และภัยที่กอใหเกิดความเสียหายขนาดใหญ นอกจากนี้ ประเทศในกลุมอาเซียนควรที่จะสนับสนุนทรัพยากร อาทิเชน เรือ อากาศยาน ในการชวยเหลือซึ่งกันและกัน เมื่อเกิดภัย พิบัติดังกลาวดวย

ขอเสนอในภาพรวม จากปญหาภัยคุกคามของภูมิภาคและขอเสนอแนวทางในการแกปญหาในแตละภัยคุกคามที่กลาวมาแลวนั้น เนื่องจาก แตละประเทศมีแนวทางการใชกําลังทหาร หรือระเบียบปฏิบัติในการดําเนินการตาง ๆ แตกตางกัน ดังนั้น ประเทศในอาเซียนควรรวมกันจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Standard Operating Procedure : SOP) ของความรวมมือในการ ตอตานภัยคุกคามตาง ๆ เพื่อใหทุกชาติเขาใจตรงกันเชนเดียวกับที่ประเทศในกลุมนาโตดําเนินการอยู และจัดใหมีการฝก ปฏิบัติการตาม SOP เพื่อเปนการสรางขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการปฏิบัติการตาง ๆ ใหมีความ ใกลเคียงกันดวย นอกจากนี้ ในเรื่องการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางทะเลระหวางกันที่ปจจุบันมีกลไก ReCAAP-ISC ที่ สิงคโปรอยูแลว แตไมนาจะเพียงพอในดานขอมูลขาวสาร เนื่องจาก ศูนยดังกลาวมุงเนนเฉพาะขาวสารดานโจรสลัด และ การปลนเรือเทานั้น ยังไมรวมปญหาภัยคุกคามอื่น เชน การกอการรายทางทะเล และการทําผิดกฎหมายอื่น ๆ ทางทะเล ประกอบกับ 2 ประเทศในอาเซียน คือ มาเลเซียและอินโดนีเซีย ซึ่งไมไดเขารวมกลไก ReCAAP ดังนั้น จึงควรเพิ่มการ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางทะเลใหมากขึ้น โดยเพิ่มประเด็นขอมูลขาวสารใหครอบคลุมภัยคุกคามทางทะเลทุกดานที่ กลาวมาแลว โดยอาจใชกลไกที่จัดตั้งขึ้นตามกรอบประชาคมอาเซียน คือ AMF เปนกลไกเริ่มตนในการแสวงความรวมมือ และใชชองทางศูนยปฏิบัติการของกองทัพเรือแตละประเทศในการติดตอสื่อสารระหวางกัน ซึ่งในอนาคตอาจพัฒนาไป เปนศูนยขอมูลขาวสารทางทะเลของประเทศอาเซียน (ASEAN Maritime Information Sharing Center) ตอไป


ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 247

ในสวนของหนวยงานที่เกี่ยวของกับความมั่นคงทางทะเลของไทย ซึ่งปจจุบันมีอยูหลายหนวย เชน กระทรวงการ ตางประเทศ สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) กองทัพเรือ กรมเจาทา ตํารวจน้ํา กรมประมง กรมศุลกากร และ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงนั้น สมควรที่จะตองเตรียมการในดานองคความรูของบุคลากรเกี่ยวกับความรวมมือ ทางทะเลที่จะมีขึ้น และแผนยุทธศาสตรของหนวยเพื่อใหมีความพรอมที่จะรวมมือกับหนวยงานทางทะเลของชาติใน อาเซียนในกิจกรรมตาง ๆ ทั้งการประชุมสัมมนาในระดับพหุภาคี และการปฏิบัติการดานความรวมมือในทะเลที่จะ ดําเนินการรวมกันในอนาคตอันใกลนี้ ทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความสําคัญตอประเทศในภูมิภาคและตอโลก ขณะเดียวกันก็ประสบ ปญหาภัยคุกคามทางทะเลที่กระทบตอความมั่นคงในภูมิภาค เชน ปญหาเขตแดนทางทะเล การกอการรายทางทะเล โจร สลัด ภัยธรรมชาติ และการทําผิดกฎหมายทางทะเลอื่น ๆ ซึ่งที่ผานมา ประเทศในภูมิภาคก็มีกลไกความรวมมือตาง ๆ ทั้ง ระดับพหุภาคีและทวิภาคีในการแกปญหา แตก็ยังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ดังนั้น ในโอกาสที่ประเทศในอาเซียนตั้ง เปาวา จะเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 (ASEAN 2015) ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงควรจะเพิ่มความจริงจังในความ รวมมือตาง ๆ ใหมากขึ้นกวาเดิมโดยใชกลไกที่มีอยูเดิม และกลไกที่จัดตั้งขึ้นใหมตามกรอบประชาคมอาเซียนใหเกิด ประโยชน และเห็นเปนรูปธรรมใหไดมากที่สุด สําหรับหนวยงานที่รับผิดชอบดานความมั่นคงทางทะเลของไทยซึ่งมีอยูหลายหนวยงาน สมควรที่จะตองเตรียม ความพรอมเพื่อรองรับความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเลกับชาติในอาเซียนในกิจกรรมตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคที่ตั้งไว

อางอิงทายบท I

นิยมความหมายของคํานี้ ก็เชนเดียวกันกับนิยามของคําวา “การกอการราย” ที่ยังไมมีนิยามใดเปนที่ยอมรับกันทุกฝาย อยางไรก็ตาม นิยามของคําวา “การกอการราย” คําหนึ่ง ซึ่งไดรับการยอมรับกันอยางแพรหลาย ก็คือ “การดําเนินการอยาง ตั้งใจ เพื่อใหประสบผลในการสรางความหวาดกลัวใหเกิดขึ้น ทั้งนี้ ก็ดวยการกระทําที่รุนแรง หรือขมขูวาจะกระทําการที่ รุนแรง เพื่อใหไดม าซึ่ง การเปลี่ ยนแปลงทางการเมือง” ความหมายดั งกล าวนี้ เมื่ อนํามาใช กับการก อการรายทางทะเล (Maritime terrorism) ก็คือ การกอการรายในขอบเขตทางทะเล อันหมายรวมถึงพื้นที่, สิ่งที่เกี่ยวของ หรือสิ่งที่ติดตออยูกับ ทะเล และมหาสมุทร เชน ทาเทียบเรือ เรือสินคา ระบบนํารอง เปนตน II เชน ที่สหรัฐอเมริกาไดคนเรือสินคาในอาวเปอรเซียแลวพบวา 7 ใน 45 คนของลูกเรือลําดังกลาว เปนเครือขายของกลุม อัลเคดาห อันหมายถึง การกอการรายทางทะเลที่อาจเกิดขึ้นไดในอนาคต III กอนเหตุการณ 9/11 กลุมกอการรายก็ไดมีการแอบทําการฝกบินทั้งในมาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา เพื่อที่จะไดนํามาใชใน การกอการ ดังนั้น การฝกเดินเรือและการใชเรือเพื่อการกอการรายก็อาจเกิดขึ้นได ถาไมไดมีการปองกันอยางเหมาะสม IV เชน พรรคคอมมิวนิสตของเหมาเจอตุงในจีน รัฐบาลประเทศลาวในปจจุบัน รัฐตาลีบันในอาฟกานิสถานในชวงขับไลรัสเซีย ออกไป และรัฐบาลประเทศติมอรลิส (ติมอรตะวันออก) ที่แยกออกจากอินโดนีเซีย ตางก็ใชการกอการรายในชวงตนของการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง V เชน การสนับสนุนของจีนและรัสเซียในการเปลี่ยนแปลงในอินโดจีนใหเปนคอมมิวนิสต และการสนับสนุนของสหรัฐอเมริกา ปละประมาณหารอยลานเหรียญตอปเพื่อสนับสนุนนักรบมูจาฮีดีนในการขับไลรัสเซียออกจากอาฟกานิสถาน


ความมั่นคงของมนุษย ความทา ทายและโอกาสของประเทศไทยในประชาคมอาเซียนในการกา วเขา สูก ารเป นประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community) ในป 2558 สิ่งที่เรากังวลกันคือ การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบอยางไรกับประเทศ ไทยและประเทศไทยจะยืนอยูตรงไหนในประชาคมอาเซียน “เสาหลักทางสังคมและวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน” (ASEASN Socio-Cultural Community-ASCC) เพื่อใหประชาชนแตละประเทศอาเซียน อยูรวมกันภายใตแนวคิด สังคม ที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม นโยบายของประเทศไทยสูอาเซียน ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 เปนการสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ดวยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสรางสถาบันการศึกษาใหมีมาตรฐาน สรางความสามัคคี และสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศอาเซียน เพื่อใหบรรลุเปาหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและสงเสริมความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใตกรอบความ รวมมือดานตาง ๆ และเตรียมความพรอมของทุกภาคในการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การทําใหอาเซียน เปนประชาคมที่มีประชาชนเปนจุดศูนยกลาง (Revitalising ASEAN as a people-centred Community) ซึ่งหมายถึง การเสริมสรางความตระหนักรูเกี่ยวกับอาเซียนในหมูประชาชน การสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและภาคประชา สังคมในการสรางประชาคมอาเซียน การเสริมสรางการพัฒนาและความมั่นคงของมนุษยสําหรับประชาชนทุกคนใน ภูมิภาค (Reinforcing human development and security for all the peoples of the region) โดยสงเสริมให ความรวมมือของอาเซียนตอบสนองตอผลประโยชนของประชาชนใหมากที่สุด การรวมตัวของอาเซียน ทิศทางของ อาเซียนในอนาคต แมจะมีความแตกตางดานเชื้อชาติ ศาสนา ระดับการพัฒนา ระบบการปกครอง แตสิ่งสําคัญของ อาเซียนนั้น ควรมีความปรองดองและมีเอกภาพ เพื่อผลประโยชนของประชาชนในสวนรวม ทั้งนี้ เอกภาพของอาเซียน จะตองตั้งอยูบนหลักของความถูกตอง และเคารพซึ่งกันและกัน ความยืดหยุน ความเอื้ออาทร และการมีสวนรวมของ ประชาชน ฯลฯ ตามเจตนารมณที่ไทยไดระบุไวในวิสัยทัศนอาเซียน ป ค.ศ. 2020 ภายใตหัวขอ “Open and Caring Societies” รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาสังคมโดยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (HRD) ซึ่งจะเปนกลไกที่จะนําไปสูการ ลดชองวางระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนและการรวมตัวของอาเซียนในระยะยาว แนวคิดเรื่องความมั่นคงของมนุษย (Human Security) เปนแนวคิดใหมที่เสนอเปนระเบียบวาระโลก ในรายงาน “การพัฒนามนุษย 1994” ของแผนงานพัฒนาองคกรสหประชาชาติ (United Nations Development Programme : UNDP) เปนแนวคิดที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง (People Centered) และไดมกี ารจัดทํารายงานขึ้นมาอีกอยางตอเนื่อง ซึ่งสงอิทธิพลตอนโยบายการพัฒนาในประเทศตาง ๆ รวมทั้งประเทศกําลังพัฒนาในระดับหนึ่ง เชน ในประเทศไทยไดมี การบรรจุแผนพัฒนาที่ถือวา “ประชาชนเปนศูนยกลาง” ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ซึ่งเปนแผน ที่มีการปรับกระบวนทัศนใหมของการพัฒนา โดยเชื่อวา เปนการพัฒนาที่ตอบรับตอความเปลี่ยนแปลงของโลก อยางมี 1 ประสิทธิภาพ การพัฒนาสังคมมี รากฐานทางแนวคิดและทฤษฎีมายาวนานและเปนสากล เป นการพัฒนาที่มีความหมาย ครอบคลุมกวาง และเกี่ยวของกับศักยภาพของมนุษยในการสรางสรรคสังคม (Cleveland and Jacobs, 1999) เปนเรื่อง ของความใฝฝน ความคิดและการตื่นตัวของมนุษยในการตระหนักถึงสภาพปญหาของสังคม และตองการแกปญหาที่ มนุษยประสบอยางสรางสรรค โดยนัยนี้ การพัฒนาสังคมจึงเกี่ยวพันกับมิติตาง ๆ ของความเปนอยูและการดําเนินชีวิต ของมนุษย ทั้งความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม อุดมการณ จารีตขนบธรรมเนียมประเพณีวั ฒนธรรม กฎระเบียบ บรรทัดฐาน 1

ธรรมรักษ การพิดิษฐ. (2543). วิสัยทัศนการวางแผนพัฒนาประเทศในสหัสวรรษหนา.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพชรรุงการพิมพ.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 249

ทางวัฒนธรรม ความรูการศึกษา ความสัมพันธระหว างคน สถาบัน เศรษฐกิจการเมือง ตลอดไปจนถึงศาสนาและจิต วิญญาณ รายงานการพัฒนามนุษยของ UNDP ถือเปนความพยายามครั้งใหญที่จะใหคําจํากัดความของความมั่นคงจาก เดิมที่มักหมายถึง ความมั่นคงของชาติอันประกอบดวย รัฐและดินแดนมาเปนความมั่นคงของประชาชนซึ่งเปนพื้นของชาติ และจากความมั่นคงทางแสนยานุภาพสูความมั่นคงทางการพัฒนา นอกจากนี้ ยังมีการกลาวถึงความมั่นคงของมนุษย (Human Security) ในเรื่องของเสรีภาพและความหวาดกลัว (Freedom from fear) และเสรีภาพจากความตองการ (Freedom from Want) ในทางวิชาการ โดยในป 1999 หลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเอเชียที่สงผละกระทบไปทั่วโลก ที่ นาสนใจคือ รายงานการพัฒนามนุษยของ UNDP นี้มีการปรับเปลี่ยน โดยการยกประเด็นใหม ๆ ขึ้นมาอยางตอเนื่อง เชน รายงาน “การพัฒนามนุษย 1999” ไดกลาวถึง ความมั่นคงของมนุษยอีกครั้ง และรายงานชิ้นนี้ไดกลาวถึงความมั่นคงของ มนุษยในเชิงลบไวดวย โดยชี้วา มนุษยทั้งในประเทศพัฒนาแลวและกําลังพัฒนา ไดเผชิญกับความไมมั่นคงอะไรบางใน กระบวนโลกาภิวัตน ซึ่งไดจําแนกออกเปน 7 ประเด็นดวยกัน ไดแก 1. ความผันผวนทางการเงินและความไมมั่นคงทางเศรษฐกิจ 2. ความไมมั่นคงทางอาชีพและรายได 3. ความไมมั่นคงทางสุขภาพ 4. ความไมมั่นคงทางวัฒนธรรม 5. ความไมมั่นคงสวนบุคคล เชน การเผชิญกับอาชญากรรม การคายาเสพติดและการคามนุษย 6. ความไมมั่นคงทางสิ่งแวดลอม และ 7. ความไมมั่นคงทางการเมืองและชุมชน ไดแก การเกิดความตึงเครียดทางสังคม เชน ในรูปของสงครามทั้ง ระหวางประเทศและสงครามกลางเมือง 2 อันกอผลกระทบตอเสถียรภาพทางการเมืองและความเปนปกแผนของชุมชน และที่นาสังเกตเปนอยางมากก็คือ รายงานนี้เปนรายงานที่เปนทางการระดับโลกที่เชื่อมโยงความมั่นคงและความไมมั่นคงของมนุษยเขากับกระบวนการ โลกาภิวัตนกลายเปนเครื่องมือหรือกลไกแหงการพัฒนาหรือการสรางความเจริญที่ถูกมองวา จะสงผลวกกลับในการสราง ความไมมั่นคงแกมนุษยขึ้น และมีแนวโนมจะกลายเปนปญหาที่เดนชัดขึ้นทุกที ในรายงานการพัฒนามนุษย 2000 ไดใชชื่อวา “สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนามนุษย เพื่อเสรีภาพและความเปน ปกแผน (Solidarity)” อันเปนการเชื่อมความสัมพันธระหวางสิทธิมนุษยชน การพัฒนามนุษย และความมั่นคงมนุษยเขา ดวยกัน โดยเห็นวา สิทธิมนุษยชนและการพัฒนามนุษยมีวิสัยทัศนและจุดประสงครวมกัน ไดแก การสรางความมั่นคงแก เสรีภาพ การอยูดีกินดีมีสุข และศักดิ์ศรีของมนุษยทุกคนทั่วโลก โดยไดจําแนกความมั่นคงทางเสรีภาพออกเปน 7 ประการ ไดแก 1. เสรีภาพจากการกีดกัน 2. เสรีภาพจากความตองการ 3. เสรีภาพในการพัฒนาและการประจักษในศักยภาพแหงตน 4. เสรีภาพจาความหวาดกลัว เชน ภัยคุกคามตอความมั่นคงของบุคคล 5. เสรีภาพจากความอยุติธรรมและการละเมิดการปกครองโดยกฎหมาย 6. เสรีภาพทางความคิด การพูดและการรวมกลุม 2

United Nations Development Programme (UDDP). (1999). Human Development Report 1999. New York: Oxford University Press.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 250 3

7. เสรีภาพในการทํางานที่เหมาะสมไมถูกขูดรีด สําหรับ ความหมายของความมั่ นคงของมนุษ ย ได มีค วามพยายามของนัก วิช าการถึ งความหมายและความ เชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาอื่น ๆ ที่มีมากอน เชน แนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน ในที่สุดมีความเห็นวา สิทธิมนุษยชนตาม ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนและคําประกาศอื่นทํานองเดียวกัน เชน สิทธิสตรี และสิทธิเด็กนั้น ถือเปนสิ่งพื้นฐาน กวา นั่นคือ สิทธิมนุษยชนถือเปนหนาที่ของรัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของที่จะตองประกันสิ่งจําเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต ซึ่งไดแก อาหาร สุขภาพ การศึกษา ที่อยูอาศัย ครอบครัว ประชาธิปไตย การมีสวนรวม การปกครอง กฎหมาย การ ปองกันการคาทาส การทรมาน การปฏิบัติและการลงโทษที่ผิดความเปนมนุษย สวนความมั่นคงมนุษยไมไดบังคับใหตอง ปฏิบัติมากเทาการนําความมั่นคงของมนุษยมาอยูในบริบทของสิทธิมนุษยชน จึงเปนการเรียกรองใหมีการปฏิบัติมากขึ้น โดยทําใหเห็นวา ความมั่นคงของบุคคล ประเทศ และระหวางประเทศ ตองการการคุมครองสิทธิมนุษยชน การพัฒนาตอง ตั้งอยูบนพื้นฐานของการยอมรับในสิทธิมนุษยชน ก็ชวยเสริมความเขมแข็งแกสิทธิมนุษยชนในหลายดาน เชน ชวยลดแรง กดดันที่มากเกินไปของรัฐตอสิทธิตาง ๆ โดยอางความมั่นคงแหงชาติ รวมทั้งการละเมิดสิทธิทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอม ธรรมชาติและทางวัฒนธรรมของประชาชน โดยใชการสรางความเจริญ เปนขออาง นอกจากนี้ ความมั่นคงมนุษยยังชวย แกปญหาความขัดแยงระหวางสิทธิมนุษยชนที่แตกตางกัน สวนการพัฒนามนุษยซึ่งมีแกนแกนอยูที่ความยั่งยืน และการ พึ่งตนเองได เปนสิ่งที่จะตองยึดถือเปนใจกลาง ในการสรางความมั่นคงของมนุษย เชน การชวยเหลือผูอดอยากควรเกิดขึ้น 4 เพื่อสรางใหชุมชนนั้นสามารถพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืนไมใชเพื่อใหรอดตายไปเฉพาะหนา แนวคิดเรื่องการคุมครองทางสังคม (Social Protection) ถือไดวา เปนแนวคิดใหมที่สุด ที่ไดมีการผลักดันเปน วาระสําคัญของการพัฒนาระดับโลก และนายบัน คี มูน (Ban Ki-moon) เลขาธิการสหประชาชาติ คนปจจุบัน ได กลาวถึงความสําคัญของความเปนธรรมทางสังคมในสารของทาน เนื่องในวันแหงความเปนธรรมของโลก (World Day of Social Justice) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 ที่ผานมา มีใจความสําคัญวา “ความเปนธรรมเปนมากกวาเรื่อง เรงดวนทางจริยธรรม มันเปนรากฐานของความมั่นคงของชาติและความมัง่ คั่งระดับโลก ... โอกาสที่เทาเทียมกันความเปน หนึ่งเดียวกันและการเคารพตอสิทธิมนุษยชน ทั้งหมดนี้ลวนจํา เปนเพื่อปลดปลอยพันธนาการของการผลิตอยางเต็ม ศักยภาพของชาติและประชาชน” จุดเนนดานนโยบายของป 2554 ที่เลขาธิการสหประชาชาติเลือก คือ การเรียกรองให รัฐบาลประเทศตาง ๆ ดําเนินการอยางเปนรูปธรรมเพื่อทําใหหลักการสากลเรื่องสิทธิมนุษยชนและโอกาสที่เทาเทียมกันมี ความหมายที่แทจริงขึ้นมา โดยผลักดันใหเกิด “ความคุมครองทางสังคม” (Social Protection) แกทุกคน ทั้งนี้ เพื่อใหมี 5 สังคมที่เปนธรรมอยางครอบคลุมและเทาเทียมกันยิ่งขึ้น การคุมครองทางสังคม มีความหมายเกี่ยวของกับการปองกัน การจัดการและการตอสูใหหลุดพนจากสภาพการณ 6 ที่สงผลทางลบตอความอยูดีมีสุขของประชาชน ในการดําเนินการคุมครองทางสังคม ประกอบดวย นโยบาย และ โครงการที่ออกแบบเพื่อลดปญหาความยากจน (Poverty) และความเปราะบาง (Vulnerability) ของประชากร สงเสริม ศักยภาพของประชาชนในการจัดการกับความเสี่ยงทางเศรษฐกิจและสังคม เชน การตกงาน การกีดกันทางสังคม การ

3

United Nations Development Programme (UDDP). (2000). Human Development Report 2000: Human Right and Human Development. New York: United Nations Publications. 4 นิรนาม-ข. (2547). ความมั่นคงของมนุษย : (2) ยุทธศาสตรใหมการพัฒนา, บทความพิเศษ โครงการขาวสารทิศทางประเทศไทย มติชนสุด สัปดาหวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ป ที่ 25 ฉบับที่ 1263. 5 เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. (2554). จะสรางสังคมที่เปนธรรม ตองกาวขามแนวคิดการ “สงเคราะห”. กรุงเทพธุรกิจ 24 กุมภาพันธ 2554. 6 United Nations Research Institute for Social Development (UNRISD). (2010). UNRISD Flagship Report 2011, Combating Poverty and Inequality: Structural Change, Social Policy and Politics. Geneva: UNRISD.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 251

เจ็บปวย ความพิการ และความชรา ฯลฯ โดยมีเปาหมายเบื้องต นเพื่อการคุมครองทางสังคมขั้นต่ํากอน แลวคอยปรับ ระดับการคุมครองทางสังคมไปสูขั้นสูงตอไป หลักการเรื่องการคุมครองทางสังคมขั้นต่ําประกอบดวย องคประกอบสําคัญ 2 สวน คือ การเขาถึงบริการที่ จําเปนและเขาถึงสวัสดิการสังคมรูปแบบตาง ๆ โดยในสวนแรก หมายถึง การที่ รัฐบาลจะตองจัดหาบริการสาธารณะที่ จําเปน อันไดแก น้ําสะอาด และสุขอนามัย บริการสาธารณสุข บริการดานการศึกษา และการชวยเหลือสิ่งจําเปนตอการ ดํารงชีพระดับครอบครัว รวมทั้งดําเนินการใหเกิดความตอเนื่องของบริการ และจัดการใหประชาชนทั่วไปสามารถเขาถึง ได ในสวนหลัง คือ การเขาถึงสวัสดิการที่รัฐจัดโอนใหถึงแกประชาชนโดยตรง ซึ่งรัฐบาลจะตองจัดการใหมีระบบสวัสดิการ ทั้งในรูปตัวเงินและสินคาหรือบริการแกผูยากจนและกลุมดอยโอกาส เพื่อสรางหลักประกันดานความมั่นคงในการดํารงชีพ แกคนเหลานี้ สวั สดิการที่ วานี้ อาจจะเป นความมั่ นคงดานอาหารและความมั่นคงด านรายได อยางไรก็ตาม การจั ด สวัสดิการสังคมในรูปของตัวเงินนับวันจะมีความสําคัญมากขึ้น และถือเปนการกระจายรายไดที่สําคัญรูปแบบหนึ่งตาม กระบวนทัศนการพัฒนาใหม อีกทั้งยังเปนรูปแบบการพัฒนาที่ถือเปนสวนหนึ่งของนโยบายที่สําคัญของการพัฒนาของรัฐ ควบคูกับการลงทุนดานโครงสรางและบริการพื้นฐานที่ไมอาจจะแยกสวนหรือจัดเปนการพัฒนาทางเลือกอีกตอไปใน หลาย ๆ ประเทศในโลก โดยเฉพาะประเทศที่ประสบผลสําเร็จในการสรางความเติบโตทางเศรษฐกิจพอสมควร ซึ่งมักจะ 7 ประสบปญหาความเหลื่อมล้ําทางสังคมสูงไปดวย สําหรับประเทศไทย แนวคิดเกี่ยวกับการคุมครองทางสังคมนับวันจะไดรับความสนใจและทวีความสําคัญมากขึ้น เนื่องจาก ตลอดเวลา 2-3 ทศวรรษที่ผานมา สังคมไทยไดเดินหนาเขาสูความเปนสังคมอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง ในขณะ ที่ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคมไดกลายเปนประเด็นที่มีการกลาวถึงควบคูกัน ฝายรัฐและการเมืองก็ไดพยายาม ผลักดันและนําเสนอนโยบายดานสวัสดิการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งไดรับความสนใจเปนอยางมากจากประชาชน ที่ผานมา สวัสดิการบางประเภทไดมีความพยายามผลักดันใหเปนสวัสดิการถวนหนาใหครอบคลุมประชากรทุกคน อยางไรก็ตาม มักจะมีขอโตแยงจากฝายที่เคลือบแคลงหรือคัดคานการสรางระบบสวัสดิการถวนหนาวา เปนระบบที่มีตนทุนสูงมาก และ ประเทศไทยยังไมพรอมที่จะใชระบบนี้ ประกอบกับสวัสดิการถวนหนาบางประเภทที่รัฐไดดําเนินการไปแลว เกิดมีปญหา เรื่องความจํากัดและคุณภาพของบริการที่จัดให รวมทั้งความเสมอภาคในการเขาถึงบริการระหวางผูรับบริการตางประเทศ พรอมกับยังมีขอเสนอเปนทางเลือกในการจัดสวัสดิการดวยการใหประชาชนเขามามีสวนรวม ผานการระดมทรัพยากรมา รวมกันตั้งเปนกองทุนสวัสดิการ ในรูปของสวัสดิการชุมชน ซึ่งไดมีการดําเนินการประสบผลสําเร็จบางแลวในหลายชุมชน

ทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการพัฒนา สังคม และความมั่นคงมนุษย บริบทที่เปนปจจัยสําคัญตอการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษยของประเทศ ประกอบดวย 1. การเปลี่ยนแปลงจากกระแสโลกาภิวัตน การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานกฎระเบียบทางสังคม เริ่มมีบทบาทสําคัญมาก ขึ้น โดยเฉพาะดานสิทธิมนุษยชนที่ใหความสําคัญกับการสงเสริมใหเกิดความเคารพและรักษาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของ ทุกคนอยางเทาเทียมกัน ประเด็นดานสิทธิมนุษยชนไดเขาไปมีบ ทบาทในเชิงการคาและความรวมมือระหวางประเทศ สงผลใหประเทศที่เขมแข็งทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยและเคารพตอสิทธิมนุษยชน สามารถสรางภาพลักษณ ความเชื่อมั่นตอการคาการลงทุนในประเทศและระหวางประเทศได เชน กรณีประเทศผูซื้อตั้งเงื่อนไขวา สินคานั้นจะตอง ไมใชแรงงานเด็ก ในการผลิต หรือที่มาของวัตถุดิบที่นํามาผลิตสินคาจะตองไมเปนการละเมิดสิทธิในการเขาถึงทรัพยากร 7

อางแลว. เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 252

ของบุคคลหรือชุมชน และการเขาไปลงทุนบรรษัทขามชาติในประเทศกําลังพัฒนาที่ตองคํานึงถึงประเด็นสิทธิมนุษยชน นอกเหนือไปจากความไดเปรียบในดานตนทุนขอผูกพันอันเกิดจากสนธิสัญญาวาดวยสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยไดเขา ร ว มและมี พั น ธกรณี ก อ ให เ กิ ด ข อ ผู ก พั น ที่ ต อ งปฏิ บั ติ ต อ งรายงานสถานการณ ด า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแต ล ะด า นต อ สหประชาชาติการแกไขกฎหมาย กฎระเบียบตาง ๆ และการปฏิบัติงานของหนวยงานรัฐใหสอดคลองกับพันธกรณีตาง ๆ ไดแก - ดานสิทธิเด็ก ตามหลักการพื้นฐานที่เด็กทุกคนจะตองไดรับความสําคัญไดรับการดูแลและคุมครองอยางเทา เทียมกัน โดยไมแบงแยกทั้งในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา การมีชีวิต การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจิตใจ อารมณ สังคม รวมถึงการแสดงความคิดเห็น - ดานการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี การประกันวาสตรีและบุรุษมีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติ และดูแลจากรัฐอยางเสมอภาคกัน ทั้งใน ดานการประกอบอาชีพและความกาวหนาในการประกอบอาชีพ สิทธิและโอกาสที่จะไดรับการจางงาน และสิทธิดาน แรงงาน การป อ งกั น ความรุ น แรงต อ สตรี ใ นสถานที่ ทํ า งาน การปรั บ รู ป แบบทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม รวมถึ ง การ ปราบปรามการลักลอบคาและแสวงหาประโยชนทางเพศ - ดานสิทธิของคนพิการ การเคารพในศักดิ์ศรีที่มีมาแตกําเนิด การมีเสรีภาพในการตัดสินใจ และความเปนอิสระของ บุคคล การไมเลือกปฏิบัติ การเขาไปมีสวนรวมทางสังคมอยางเสมอภาค การเขาถึงและใชประโยชนของการบริการตาง ๆ ทางสังคม - ดานการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ คนทุกคนจะมีสิทธิในความเปนพลเมืองสิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม อยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน - ดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การใหความสําคัญกับการจัดบริการพื้นฐานทั้งดานสุขภาพ การศึกษา การเปดพื้นที่เรียนรูให กวางขวางผานสื่อสรางสรรคตาง ๆ การใชประโยชนจากความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการจัด สวัสดิการและการคุมครองทางสังคมจากครอบครัว ชุมชน และรัฐบาล อันจะนําไปสูการมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดีขึ้น - ดานการตอตานการทรมาน ผูด อยโอกาสทางสังคม ผูตองขัง หรือผูกระทําผิดที่ตองถูกลงโทษ จะตองไดรับความเปนธรรม และไดรับการดูแลตามมาตรฐานและไมถูกกดขี่หรือถูกลงโทษจากเจาหนาที่ของรัฐหรือบุคคลอื่น ๆ ใหเจ็บปวดหรือทุกข ทรมานอยางสาหัส - ดานสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองที่เนนใหทุกคนรูจักสิทธิหนาที่ของตนเอง และผูอื่นเคารพ สิทธิมนุษยชน สิทธิการมีชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงแหงบุคคล มีความเสมอภาคทางสังคม และการแสดงความคิดเห็น และการเขาถึงขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะนโยบายที่มีผลตอความเปนอยูของประชาชนโดยตรง การคุมครองทางกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมตาง ๆ รวมถึงการใหความสําคัญตอสิทธิชุมชน และการมีสวนรวมของประชาชนในการดูแล กิจการสาธารณะ ตลอดจนการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐโดยภาคประชาชน


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 253

2. การเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ในเดือนตุลาคม 2546 ที่เกาะบาหลี ผูนําอาเซียนไดลงนามใน ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เห็นชอบใหมีการ จัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป 2563 และตอมาในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 12 ในเดือนมกราคม 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนําอาเซียนไดตกลงใหมีการจัดตั้งประชาคมใหแลวเสร็จเร็วขึ้นเปน ภายในป 2558 ประชาคมอาเซียน ประกอบดวย ความรวมมือ 3 เสาหลัก ซึ่งเสาหลักแตละดานจะมีวัตถุประสงคที่ แตกตางกันออกไป โดยในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษยนั้น โดยตรงจะเปนเรื่องของประชาคม สังคมและวัฒนธรรมที่มีวัตถุประสงคสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน และเสริมสรางอัตลักษณทางวัฒนธรรมของอาเซียน 2.1. การแกไขผลกระทบตอสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ การมุงสรางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงดานเดียว โดยมิไดคํานึงถึงผลกระทบที่ตามมาอาจ ทําใหเกิดปญหาความไมเสมอภาคทางสังคม ซึ่งสามารถสั่นคลอนเสถียรภาพทางการเมืองตอไป แผนการปฏิบัติการดาน สังคมและวัฒนธรรม จึงเนนการสรางฐานทรัพยากรที่มีความสามารถในการแขงขัน และสรางระบบการปองกันทางสังคม เพื่อเปน หลักประกันความมั่นคงมนุษย โดยให ความสํ าคัญกับ การศึก ษาและฝกอบรม การพั ฒนาฝมื อแรงงาน และ เสริมสรางความรวมมือดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สาธารณสุข โดยเนน ปญหาที่มากับโลกาภิวัตน เชน โรคระบาด ไขหวัดนก SARS มาลาเรีย และวัณโรค เปนตน 2.2. สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม และการจัดการการดูแลสิ่งแวดลอมที่ถูกตอง โดยมีกลไกเพื่อจัดการการดูแลสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม ตลอดจนการปองกันและขจัดภัยพิบัติดาน สิ่งแวดลอม การปองกันมลพิษจากหมอกควันที่ขามแดน การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ชายฝงและทะเล การอนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดการและสงเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม แรธาตุ 2.3. การเสริมสรางอัตลักษณของอาเซียน (ASEAN Identity) การเสริมสรางอัตลักษณของอาเซียน ซึ่งเปนรากฐานสําคัญของการสรางประชาคมอาเซียน โดย การใหการศึกษาแกประชาชน สงเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและปฏิสัมพันธในหมูประชาชนเพื่อใหประชาชน ตระหนักวา ในทามกลางความหลากหลายทางประสบการณและมรดกทางวัฒนธรรมนั้น ประชาชนอาเซียนยังมีความ เชื่อมโยงกันดานประวัติศาสตร แหลงที่อยูอาศัยในเขตที่ตั้งทางภูมิศาสตร และความมุงหวังที่จะเห็นสันติภาพและความ รุงเรืองของภูมิภาคที่จะเปนพื้นฐานของการสรางอัตลักษณรวมกันของอาเซียนได 3. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรและการกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ จากรายงานการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550 ของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา ประชากรสูงอายุของประเทศไทยมีถึงประมาณ 7 ลานคน คิดเปนรอยละ 11 ของประชากรทั้งประเทศที่มีอยูประมาณ 65.6 ลานคน ขอมูลดังกลาว แสดงใหเห็นชัดวา สังคมไทยไดเริ่มเขาสูสังคมสูงวัยแลว แมวา สัดสวนประชากรสูงอายุของ ประเทศไทยยังไมมากเทาประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งในปจจุบันมีถึงประมาณ 1 ใน 4 หรือ 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด แต การเปลี่ยนเปนประชากรสูงวัยของประเทศไทยนั้นเกิดขึ้นในระยะเวลาที่สั้นกวามาก กลาวคือ การเพิ่มของประชากรอายุ 65 ปขึ้นไปจากรอยละ 7 เปนรอยละ 14 ใชเวลาเพียงประมาณ 22 ป ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา หรือประเทศในสหภาพยุโรป ใชเวลากวาครึ่งศตวรรษหรือเปนศตวรรษ การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วนี้ ยอมหมายความ วา ประเทศไทยจะมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการทั้งในดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการเตรียมการในดาน


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 254

สวัสดิการ การบริการ และการสรางหลักประกันตาง ๆ เพื่อรองรับประชากรสูงอายุ ซึ่งไดมีการคาดกันวา ภายใน 15-20 ปขางหนา จํา นวนประชากรผูสู งอายุไทยจะเพิ่มกวา เทาตัวของจํานวนประชากรสูง อายุในปจจุบัน และสัดสวนของ ประชากรสูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มเปนเกือบ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งหมด และในชวงเดียวกันนั้น คาดวา จํานวน ประชากรสูงอายุจะเริ่มมีมากกวาจํานวนประชากรวัยเด็ก นอกจากนี้ ทั้งแนวโนมการลดลงของประชากรวัยแรงงานที่จะเปนกําลังในฐานะผูผลิตผูสรางรายได หรือผูจายภาษี รวมทั้งผูใหการดูแลเกื้อหนุนผูสูงอายุก็ลดลงเปนลําดับเชนกัน ดังจะเห็นไดจากอัตราสวนศักยภาพเกื้อหนุน กลาวคือ ลดจากจํานวนประชากรวัยแรงงานประมาณ 10 คนตอผูสูงอายุ 1 คนในป พ.ศ. 2543 ซึ่งใกลเคียงกับชวงแรก ของแผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 เหลือเพียงประมาณ 6 คนในป 2563 หรือในชวงปลายของแผนผูสูงอายุ ยิ่งไปกวานั้น กลุมประชากรที่เคยเกิดมามากกวา 1 ลานคนตอป ซึ่งอยูในชวงอายุประมาณ 26-46 ป ในป พ.ศ. 2522 ก็จะเริ่มทยอย เขาสูวัยสูงอายุในชวง 14-15 ปขางหนา หรือในชวงสิ้นสุดแผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 จึงกลายเปนเสมือนคลื่นสึนามิ 8 ลูกใหญที่กําลังถาโถมเขามาสูสังคมไทย การกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุของประเทศไทย จะสงผลโดยตรงตอวัฒนธรรม คานิยม วิถีการดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ รวมถึงปฏิสัมพันธของผูคนในสังคม ตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศ ดังนั้น ถาประเทศ ไทยสามารถนําทุนทางสังคมที่มีอยูมาอนุรักษ ฟนฟู พัฒนาตอยอด และนําไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสมแลว ก็จะชวย พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชาติใหมีความสุข ประเทศชาติมีความสมดุลและยั่งยืนตอไป อยางไรก็ตาม การอุบัติใหมของสังคมไทย อันสืบเนื่องจากการเขาสูสังคมผูสูงอายุในประเทศไทยนี้ จะมี ลักษณะเฉพาะที่แตกตางจากสังคมผูสูงอายุในประเทศอุตสาหกรรมอื่น ๆ ประกอบกับทุนทางสังคมและวัฒนธรรมไทยที่ ยังมีความเขมแข็งและอาจตองฟน ฟูขึ้นมาใหม หากภาครัฐบาลยังคงใชนโยบายแบบเดิม ๆ ดวยการใชประชานิยม ที่ไมมี การจําแนกประเภทผูสูงอายุ จะสงผลตอภาระการคลังของประเทศอยางใหญหลวง ดังประเด็นที่สําคัญ คือ การทํางานใน มิติของกระบวนการทางสังคมและมาตรการทางสังคมที่จะเสริมสรางผูสูงอายุใหเปนพลังทางเศรษฐกิจและสังคม อันเปน การเตรียมการเพื่อรองรับกับภาวะสังคมผูสูงอายุอยางเปนองครวม ดวยการนําศักยภาพของผูสูงอายุมาเปนสวนสําคัญใน การดําเนินชีวิตและเปนสวนหนึ่งของสังคม ในฐานะผูกระทําการอยางมีศักดิ์ศรี อนาคตของประเทศไทยเราในวันขางหนา ซึ่งแมจะเปนสังคมผูสูงอายุ แตก็เปนคุณปู คุณยา คุณตา คุณยายที่เต็มไปดวยพละกําลัง และคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะชวย ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมไดไมแพคนในวัยทํางาน การเปนสังคมผูสูงอายุไทยไมใชปญหา แตเปนปรากฏการณธรรมชาติของสังคมที่มนุษยชาติเราตอง เผชิญ ดังนั้น เมื่ออาเซียนรวมตัวเปนชุมชนหรือประชาคมเดียวกัน และจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 การ กําหนดนโยบายทางสังคมเกี่ยวกับผูสูงอายุ ภาครัฐตองใหความสําคัญกับ “คุณภาพสังคม” (Social Quality) ทั้งในระดับ ปจเจก และในระดับสังคม การเพิ่มขึ้นของจํานวนผูสูงอายุนี้ ปจจุบันทั้งนักวิชาการไทย และตางชาติ ยังเห็นวา ผูสูงอายุ เปน liability เปนคาใชจายที่ตองคอยดูแล เปนภาระการพึ่งพิง เปนผูทเี่ กษียณ เปนประชากรที่ไมมีกําลังการผลิตแลว จึง ตองเฝาวิตกกังวลกันไปวา จะแกปญหากันอยางไร รัฐบาลจะมีรูปแบบการใหบริการสงเคราะหกับผูสูงอายุไดอยางไร เปนเรื่องที่นาเสียดายเปนอยางมาก ที่สวนใหญของหนวยงานภาครัฐ ยังมองขามโอกาสทองของการนํา พลังของผูสูงอายุไทยมาใชประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคม เตรียมความพรอมในการกาวเขาสูการเปนสังคมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนอยางมีศักดิ์ศรี ที่จะทําใหประเทศไทยไดรับผลประโยชนทางเศรษฐกิจ

8

ปราโมทย ประสาทกุล. (2550). คนหาแผนดิน : ประวัติศาสตรที่ยังมีชีวิต.นครปฐม:สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 255

ในบริบทของสังคมแบบไทย ๆ ที่มีเงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในแตละ ภูมิภาคและภูมินิเวศวัฒนธรรม ในฐานะที่เปนทุนทางสังคมวัฒนธรรมของแตละสังคมจะเปนตัวกําหนดอยางสําคัญ ซึ่ง อาจนํามาซึ่งกระบวนการในการเสริมสรางพลังทางเศรษฐกิจและสังคม และรองรับมาตรการทางสังคมเพื่อรองรับภาวะ สังคมผูสูงอายุในสังคมไทย โดยมีการบูรณาการของทุกภาคสวน ทั้งรัฐ ทองถิ่น ชุมชน ประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน ครอบครัว และสมาคมตาง ๆ ตลอดจนผูสูงอายุเองเปนผูนิยามความหมายของผูสูงอายุไทย นําเสนอมาตรการทางสังคม เปนกลไกหลักในการเสริมสรางกระบวนการทางสังคมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุเพื่อใหเปนทุนทางสังคม/พลังงานทาง เศรษฐกิจและสังคม คือ 1. ทุนทางสังคม-วัฒนธรรม กับกระบวนการทางสังคม ถือเปนหัวใจสําคัญของการกําหนดมาตรการ ทางสังคมในการเสริมสรางผูส ูงอายุใหเปนพลังทางเศรษฐกิจและสังคมได ในความเปนจริง หากพื้นที่ใดมีทุนเหลานี้สูงและ มีกระบวนการทางสังคมที่กาวหนาและตอเนื่อง สังคมนั้นจะเปนสังคมผูสูงอายุที่มีพลังในการตอรองสังคม ผูสูงอายุมี บทบาทในสังคมสูง ในขณะที่สังคมใดมีทุนนอยและมีกระบวนการทางสังคมก็นอยดวย การขับเคลื่อนทางสังคมก็จะมี ขอ จํ า กั ด อย า งมากมาย ดั ง นั้ น นอกเหนื อ ไปจากมาตรการทางเศรษฐกิ จนโยบายเชิ ง สวั ส ดิ ก ารทางสั ง คม และการ เตรียมการระบบสาธารณสุขแลว ภาครั ฐพึงต องส งเสริ มและใชป ระโยชนจากทุ นทางสังคม วัฒนธรรม เพื่อกํ าหนด มาตรการทางสังคมรูปแบบอื่น ในการสงเสริมสนับสนุนพลังทางเศรษฐกิจและสังคมของผูสูงอายุ ทั้งในปจจุบันและที่จะ เพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความแตกตางหลากหลายในแตละภูมิภาคของพื้นที่ตาง ๆ เงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิ จ สังคม และวัฒนธรรมในแตละภูมิภาค และภูมิ นิเวศวัฒนธรรม สังคมผู สู งอายุข องไทย มีการใช ทุนหลาย ประเภท ในการขับเคลื่อนงานหรือกิจกรรม “ทุน” มีฐานะเปนทั้งวัตถุ (Input) และผลลัพธ (Outcome) ในกระบวนการ ทางสังคมของผูสูงอายุ ทุน ที่สําคัญในฐานะที่เปนพลังขับเคลื่อนสังคมผูสูงอายุดังกลาว ไดแก ทุนทางสังคม (Social Capital) ทุนทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ทุนเศรษฐกิจ (Economic Capital) ทุนธรรมชาติ ซึ่งทุนเหลานี้เชื่อมโยง สัมพันธกันเปนวงลอ ทุนประเภทหนึ่งทําใหเกิดทุนอีกประเภทหนึ่ง เปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกันเปนวงโซ 2. ทุนทางสังคม เปนระบบคุณคาเดิมที่มีอยูในโครงสรางสังคมไทย และเกี่ยวโยงเกื้อหนุนอยูกับ กระบวนการทางสังคมของผูสูงอายุที่สํา คัญ ไดแก เครือขายทางสังคมของสังคมผูสูงอายุ (Social Networks) การ ปฎิสังสรรคท างสังคม (Social Interaction) การเข ารวมและการเขา ไปเกี่ยวของในกิจกรรมทางสัง คม (Social Involvement) การไววางใจ (Trust) จารีต (Norm) องคกรผูสูงอายุ (Structural and Function Base) ความสัมพันธ เชิ ง อุ ป ถั มภ กิ จกรรมที่ เ กี่ ยวข อ งกั บ ผลประโยชน ต า งตอบแทน (Reciprocity) ทรั พ ยากรที่ ใ ช ป ระโยชน ร ว มกั น (Communality) กิจกรรมรวม (Activity) และผูกระทําที่เกี่ยวของกับกระบวนการทางสังคมของสังคมผูสูงอายุ (Agent) โดยทุนเหลานี้ไดแสดงออกมาในรูปของ กฎเกณฑ กติกา ที่ทําหนาที่จัดระเบียบและกําหนดความสัมพันธตาง ๆ ทางสังคม ใหผูสูงอายุอยูรวมกันได และเปนพลังสําคัญในการขับเคลื่อนชุมชนตาง ๆ ไปสูการการพึ่งตนเองไดในระยะยาว 3. ความเปนชุมชนของสังคมผูสูงอายุ ทําใหเกิดการกําหนดและการสรางพื้นที่ทางสังคมบนพื้นฐาน ระบบความสํานึก ความมีตัวตนของผูสูงอายุภายในชุมชนของผูสูงอายุเอง ความเปนชุมชนปรากฏ และเห็นชัดไดจาก กระบวนการทางสังคม ดังเชน การประชุมประจําเดือน การแสดงออกทางศิลปวัฒนธรรม การถายทอดภูมิปญญา การเขา รวมกิจกรรมตาง ๆ การทํากิจกรรมสาธารณประโยชน ฯลฯ หรืออาจกลาวไดวา ความเปนชุมชนของสังคมผูสูงอายุนําไปสู การกําหนดอัตลักษณ (Identity) ของผูสูงอายุ หลังจากเกิดเครือขายของสังคม เพื่อแสดงออกถึงความรู ความคิด และ อุดมการณของผูสูงอายุ สรางวัฒนธรรมของผูสูงอายุใหมีตัวตนและมีพลังมากขึ้นในสังคมที่ผูสูงอายุดํารงอยู และกลายเปน ปจจัยที่เสริมยกระดับความเปนอยูของสังคมผูสูงอายุเตรียมความพรอมเสริมสรางผูสูงอายุใหเปนพลังทางเศรษฐกิจและ สังคมไทยไดตอไป


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 256

ทั้ ง นี้ ทุ น ทางสั ง คม-วั ฒนธรรมแต ล ะสั ง คมจะเป น ตั ว กํ า หนดอย า งสํ า คั ญ ในการนํ า มาเสริ ม สร า ง กระบวนการทางสังคม และรองรับมาตรการทางสังคมเพื่อรองรับภาวะสังคมผูสูงอายุของสังคมไทย โดยบูรณาความคิด รวมกันของทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ทองถิ่น ชุมชน ประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน ครอบครัว และสมาคมตางๆ ตลอดจนตัวผูสูงอายุเอง กระบวนการทางสังคมในการขับเคลื่อนงานดานผูสูงอายุ โดยของกลุม/ชมรม เปนกระบวนการที่ มีพลวัตและตอเนื่องนั้น ตองอาศัยทุนประเภทตาง ๆ อันไดแก ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ทุนวัฒนธรรม ทุนสัญลักษณ ทุน เศรษฐกิจ ทุนทรัพยากรธรรมชาติ เขามาเปนปจจัยนําเขาในกระบวนการ โดยกระบวนการทางสังคมก็ยังประกอบดวย หลายกระบวนการที่ทํางานเชื่อมโยงประสานกัน ซึ่งจะนําไปสูผลลัพธที่แตกตางกัน คุณประโยชนที่ผูสูงอายุจะไดรับจาก การรวมทํากิจกรรมก็คือ การไดรับความพึงพอใจและมีศักยภาพในการดําเนินชีวิตตอไปไดดีกวาผูสูงอายุที่ไมไดทํากิจกรรม กิจกรรมจึงสามารถสรางใหผูสูงอายุมีศักยภาพตามความหมายของคําวา Active Aging ซึ่งเปนสัญลักษณของผูสูงอายุที่พึง ประสงคในสังคมปจจุบัน โดยหลักการสําคัญคือ สรางใหผูที่กําลังเขาสูความเปนผูสูงอายุหรือผูที่สูงอายุแลว มีศักยภาพ ทางรางกายและจิตใจที่แข็งแรง ดังนั้น นโยบายผูสูงอายุของไทย ตองมีการเปลี่ยนมุมมองตอการกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุในฐานะโอกาส ของสังคมที่จะมีผูสูงอายุที่มีพลังความรู มีความสามรถในการรวมพัฒนาชุมชนสังคม ปจจุบันผูมีบทบาทหลักตอนโยบาย ผูสูงอายุเปนระบบผูกขาดโดยรัฐ ทัง้ นี้ ควรเปนการใหภาคสวนที่ไมใชรัฐเขามารวมมีบทบาท ซึ่งอาจจะเปนองคการพัฒนา เอกชน (NGO) ภาคประชาชน ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชน เปนตน มาตรการที่จะไปเสริมสรางแนว ทางการรองรับสังคมผูสูงอายุใหสมบูรณ โดยมองความสําคัญของการใชทุนทางสังคม และสนับสนุนใหชุมชนทองถิ่นดูแล ผูสูงอายุ องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรตองเปนหนวยงานหลักในการดูแลผูสูงอายุโดยใหชุมชนมีสวนรวมมิใชเพียง เพราะหนาที่ตามกฎหมาย ผลประโยชนทางสังคมที่ผูสูงอายุไดรับจากนโยบายรัฐ ควรเปนนโยบายแบบสนับสนุนเฉพาะผู ที่มีปญหาอยางแทจริง ซึ่งในปจจุบันเปนแบบทุกคนไดรับเปนเรื่องของสิทธิตามกฎหมายที่พึงได สวนการจายเบี้ยยังชีพ องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจายในพื้นที่ ซึ่งจะทําใหเห็นบริบทอื่นๆ เกิดการสัมผัส สวนระบบการประกันตนเอง เชน ระบบบํานาญแหงชาติ การออมยามชราภาพ เปนประเด็นสําคัญที่คนอายุ 20 กวาปขึ้นไปตองตระหนักถึงการออมสําหรับ อนาคต แทนที่จะสนใจการจายเบี้ยยังชีพในระยะยาว ควรตองกลับมาพิจารณาถึงเรื่องการออมยามชราภาพ สงเสริมให เกิดการออมเพื่ออนาคต หากไมเรงดําเนินการเรื่องนี้อนาคตรัฐจะสูญเสียงบประมาณอันใหญหลวงเพื่อสังคมผูสูงอาย 4. ปญหาเกี่ยวกับครอบครัวและปจเจกชน 4.1. สถาบันครอบครัวออนแอ ไมสามารถทําบทบาทหนาที่ไดอยางเหมาะสม ครอบครัวไทยไดผาน กระบวนการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีความเปนพลวัตร ความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การสื่อสาร รวมทั้งกระแสโลกาภิวัตนทเี่ ขามาอยางรวดเร็ว รุนแรง และสังคมไทยไดถูกขับเคลื่อนไปดวยระบบเศรษฐกิจที่ สลับซับซอน ซึ่งแมวา จะชวยใหเกิดความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตมีเศรษฐกิจ/มีรายไดเพิ่มขึ้น แตก็ทําใหสังคมไทย ประสบภาวะวิกฤตในรูปแบบของการขยายตัวของคานิยมทางวัตถุมากกวาคานิยมทางจิตใจ วิถีการดําเนินชีวิตครอบครัว ไทยไดเปลี่ยนจากแตกอน ทุกคนทั้งหญิงชายตองออกจากบาน เพื่อทํามาหากิน มีการเคลื่อนยายถิ่นหางานทํา ทําให สมาชิกในครอบครัวมีเวลาอยูดวยกันนอยลง จึงขาดปฏิสัมพันธที่ดีระหวางสมาชิกในครอบครัว นอกจากนี้ โครงสรางครอบครัวไดมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ซึ่งเคยมีอยูเพียง 2 ลักษณะที่ ชัดเจน คือ ครอบครัวขยายที่นอกจากมีพอแมลูกแลว อาจมีปูยาตายายหรือเครือญาติอาศัยรวมอยูดวย และครอบครัว เดี่ยวที่ประกอบดวยพอแมลูก แตในปจจุบันครอบครัวเดี่ยวมีหลายลักษณะ เชน ครอบครัวที่พอหรือแมเลี้ยงลูกตามลําพัง ครอบครัวที่อยูคนเดียว ครอบครัวที่เกิดจากการแตงงานของเพศเดียวกัน รวมทั้งคูสมรสที่อยูดวยกัน โดยมิไดจดทะเบียน สมรสก็มีมากขึ้นเชนกัน สงผลใหรูปแบบและความสัมพันธของระบบครอบครัวไทยมีความหลากหลายซับซอนมากขึ้น ผล


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 257

พวงจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของครอบครัวและผลจากการที่สังคมไมตระหนักถึงความสําคัญของสถาบันครอบครัว ในการทําหนาที่หลักเรื่องการอบรมเลี้ยงดูขัดเกลาและปลูกฝงเด็กใหเปนคนดีมีคุณภาพและเปนสมาชิกที่ดีของสังคม อีก ทั้งยังผลักภาระไปใหสถาบันอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะการใชบริการรับเลี้ยงเด็กหรือดูแลผู สูงอายุ บริการอาหารสําเร็จรูป บริการทําความสะอาดบาน และการอบรมบุตรหลานกลายเปนบทบาทของสถาบันการศึกษา ทําใหสมาชิกในครอบครัว ขาดการเรียนรูและใชเวลารวมกันอยางมีคุณภาพ สถานการณดังกลาวไดมีสวนทําใหสัมพันธภาพระหวางคูสมรสโดยรวม ถดถอย ขาดจิตวิญญาณของความเป นครอบครัว และไดนําไปสูการแตกแยกของครอบครัวมากขึ้น โดยอัตราการจด ทะเบียนหยาและอัตราการแยกกันอยูของคูสมรสไดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันยังมีสวนกอใหเกิดปญหา เด็กเรรอน/เด็กถูกทอดทิ้งในสถานสงเคราะห ปญหาเด็กและเยาวชนที่กระทําผิดถูกดําเนิ นคดีในสถานพินิจฯ รวมถึง ปญหาผูสูงอายุถูกทอดทิ้งใหอยูคนเดียวเพิ่มขึ้น 4.2. ระดับการศึกษาของคนไทยสูงขึ้น ขณะที่คุณธรรมจริยธรรมลดลง ความกาวหนาของการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร ทําใหสภาพการดําเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไปสูการแขงขันมากขึ้น ประกอบกับ การไดรับรูวัฒนธรรมตางชาติอยางกวางขวางผานชองทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอมูลขาวสารที่ทันสมัย รวดเร็ว เขาถึง งาย สงผลใหทุกฝายเห็นความสําคัญของการศึกษา โดยเฉพาะการดําเนินงานของภาครัฐที่กําหนดใหมีการศึกษาภาค บังคับเริ่มจาก 6 ป และขยายเปน 9 ป ไดเปดโอกาสใหเด็กและเยาวชนไดเขาเรียนในระบบโรงเรียนมากขึ้น เด็กไทยแทบ ทุกคนไดรับการศึกษาถึงระดับประถมศึกษา และมีการกระจายโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายและทุก พื้นที่ โดยมีอัตราสวนนักเรียนตอประชากรที่เขาเรียนในระบบโรงเรียน ในทุกระดับชั้นรอยละ 84.61 ในป 2550 สําหรับ เด็กดอยโอกาส เด็กพิการและเด็กพิเศษดานตาง ๆ ไดรับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นจาก 3.03 ลานคน ในป 2548 เปน 3.3 ลานคน ในป 2549 จนทําใหคนไทยมีจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 6.1 ในป 2553 เปน 8.7 ปในป 2550 สัดสวนแรงงานที่จบการศึกษาระดับปริญญามีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะที่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของผูเรียนยังอยูในระดับต่ํา คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาในทุกระดับต่ํากวามาตรา อันเปนผลมาจาก ปญหาในการจัดการศึกษาหลายประการ การขาดแคลนครูในเชิงปริมาณและคุณภาพ การขาดสื่อการเรียนการสอนที่ทัน ทันสมัยที่ครอบคลุมผูเรียนอยางทั่วถึง ซึ่งตองอาศัยการบริหารจัดการไมที่เนนความสําคัญในการพัฒนาผูเรียนในทุกกลุม ตามสภาพปญหา นอกจากนี้ ระบบการศึกษายังไมทําหนาที่ในการสรางจิตสํานึก ทัศนคติตอประโยชนและความ รับผิดชอบตอสวนรวม และขาดการหลอหลอมคนไทยใหรูจักคิด วิเคราะหอยางเปนระบบ ใชหลักเหตุผลในการตัดสินใจ ทําใหไมสามารถคัดกรอง เลือกรับขอมูล ขาวสาร รวมถึงวัฒนธรรม กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางคานิยม ทัศนคติที่มุง ความฟุงเฟอ การเลียนแบบการบริโภคนิยม ปญหาความรุนแรง และความขัดแยงในสังคม 4.3. คนไทยมีอายุยืนขึ้น แตมีการเจ็บปวยดวยโรคเรื้อรังที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมการดํารงชีวิตที่ไม เหมาะสมเพิ่มขึ้น ความกาวหนาของวิทยาศาสตรเทคโนโลยีทางการแพทยถูกนํามาใชในการรักษาโรคภัยไขเจ็บอยาง ตอเนื่อง สามารถลดอัตราการตายจากการเจ็บปวยไดมากขึ้น สงผลใหคนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น จากที่เคยมีอายุคาดหมาย เฉลี่ย 60 ป ในป 2510 เพิ่มขึ้นเปน 73.2 ป ในป 2549 แตเนื่องจาก การรับวัฒนธรรมตางชาติ โดยขาดการคัดกรองและ นํามาประยุกตใชอยางเหมาะสมทั้งในเรื่องของพฤติกรรมการบริโภคและการดํารงชีวิตที่นิยมบริโภคอาหารประเภทไขมัน เนื้อสัตว แปง น้ําตาล น้ําอัดลม ขนมขบเคี้ยว และอาหารฟาสตฟูดมากขึ้น ขณะที่มีการออกกําลังกายนอยลง ทําใหคน ไทยปวยและตายดวยโรคที่ปองกันไดเพิ่มขึ้น ทั้งโรคหัวใจ โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน มะเร็งและอุบัติเหตุ โดยเฉพาะ ในกลุมเด็กและเยาวชนนั้น พบวา มีภาวะโภชนาการเกินและโรคอวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยป 2549 พบเด็กอายุต่ํากวา 5 ปมีภาวะโภชนาเกินถึงรอยละ 10.6 และคาดวา อีก 10 ป ขางหนาจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 20 ขณะที่การเคลื่อนยายคน


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 258

อยางเสรีตลอดเวลา จะเพิ่มความเสี่ยงใหคนไทยมีการเจ็บปวยดวยโรคติด ตอและโรคระบาดใหม โรคระบาดซ้ําตาง ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ ไขหวัดนก ซารส ไขหวัดใหญ 2009 เปนตน 4.4. เด็กและเยาวชนถูกดําเนินคดียาเสพติดมากขึ้น ในชวงที่ผานมาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 – 11 เด็กและเยาวชนถูกดําเนินคดีโดยสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน มีสัดสวน 5.02-5.39 คดีตอเด็กพันคน สูง กวาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-9 ที่มีสัดสวน 3.34-5.05 โดยคดียาเสพติดเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องจาก 8,803 คดี ในป 2549 เพิ่มขึ้นเปน 12,352 คดี ในป 2552 สํานักงานสถิติแหงชาติ รายงานการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ สถานการณการแพรระบาด ยาเสพติดในเดือนกุมภาพันธ 2553 พบวา ประชาชนรอยละ 37.5 เห็นวา ยังมีปญหาการ แพรระบาดยาเสพติดในชุมชน/หมูบานเพิ่มขึ้น ปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในโรงเรียน สถานศึกษา เพิ่มขึ้นอยาง นาเปนหวง โดยเฉพาะโรงเรียนสถานบันการศึกษาในเขตกรุงเทพฯ มีปญหายาเสพติดมากที่สุด รองลงมาคือ ภาคใต ภาค กลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ยาเสพติดมีสวนทําลายพัฒนาการทั้งดานรางกาย จิตใจ และสมองของเด็ก และเยาวชน จึงเปนปจจัยเสี่ยงตอสังคมไทย เมื่อเยาวชนที่จะเปนกําลังแรงงานใหมทดแทนผูสูงอายุมีคุณภาพดอยลง สงผลกระทบตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในระยะยาว 4.5. คนไทยกลุมวัยตาง ๆ ไดรับสวัสดิการทางสังคมเพิ่มขึ้น แตปญหาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสินยังคงคุกคามคุณภาพชีวิตประชาชน ปจจุบันคนไทยรอยละ 99.2 ไดรับสวัสดิการและมีหลักประกันดานสุขภาพ จําแนกตามกลุมวัย พบวา กลุมเด็กวัยเรียนรอยละ 98.4 สามารถเขาถึงสวัสดิการดานการศึกษาตามนโยบายเรียนฟรี 15 ป ขณะที่กลุมวัยทํางานรอยละ 25.3 ของผูมีงานทําทั้งหมด ไดรับการคุมครองอยูในระบบประกันสังคม อยางไรก็ตาม ยัง มีแรงงานนอกระบบจํานวนมากถึงรอยละ 62.7 ยังไมไดรับการคุมครองทางสังคม ซึ่งเปนกลุมที่รัฐตองเรงสรางระบบการ คุมครองทางสังคมรองรับในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สําหรับกลุมวัยสูงอายุ รอยละ 70.2 ไดรับการชวยเหลือเบี้ย ยังชีพผูสูงอายุคนละ 500 บาทตอเดือน เพื่อเปนหลักประกันความมั่นคงดานรายได สวนที่เหลืออยูในระบบประกันสังคม และสวัสดิการตาง ๆ ของภาครัฐ นอกจากนี้ ยังมีกลุมผูพิการที่รัฐไดใหความชวยเหลือ โดยการจายเบี้ยยังชีพความพิการคนละ 500 บาทตอเดือน โดยเริ่มจายในป 2553 สําหรับผูพิการที่ขึ้นทะเบียน ขณะเดียวกัน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ยังคงเปนปญหาสําคัญที่สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตประชาชน โดยปญหายาเสพติดยังคงเปนปญหาหลักและมีแนวโนม เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในป 2551 มีจํานวนคดีสูงถึง 224.9 คดีตอประชากรแสนคน สวนปญหาอาชญากรรมมีแนวโนม ลดลง การกอ คดีชีวิต รางกาย และเพศ ไดลดลงจาก 76.4 คดี ตอประชากรแสนคน ในป 2546 เหลือ 62.6 คดีต อ ประชากรแสนคน ในป 2551 แตคดีประทุษรายตอทรัพยเพิ่มขึ้นจาก 106.6 คดีตอประชากรแสนคนเปน 115.8 คดี ในชวงเวลาเดียวกัน 4.6. วิถีชีวิตไทยมีการเปลี่ยนแปลง เชื่อมโยงวิถีชีวิตไทยเขากับวัฒนธรรมจากนานาอารยประเทศที่มี ความหลากหลายมากขึ้น เศรษฐกิจและสังคมโลกที่ไดปรับเปลี่ยนจาก “สังคมเกษตรกรรม” สู “สังคมอุตสาหกรรม” และ “สังคมฐานความรู” ทําใหวัฒนธรรมของโลกแพรเขาสูประเทศไทยผานกระแสโลกาภิวัตนและโลกไซเบอร เกิดเปน วัฒนธรรมยอยรวมสมัยมากมายในรูปแบบของการรวมกลุมของบุคคลที่สนใจเรื่องเดียวกัน ขณะที่วัฒนธรรมที่บงบอก ความเปนไทยไมสามารถแสดงบทบาทที่ชัดเจน ดังนั้ น การพั ฒนาสมัยใหมที่กํ าหนดให “คน” เป นศู นยก ลางของการพั ฒนา เชื่อ วา เปา หมายสํา คัญ ที่ทุ ก ประเทศตองคํานึงถึง ในการกําหนดยุทธศาสตรแผนการพัฒนา และแนวทางนโยบายพัฒนาตาง ๆ ควรเปนในเรื่องของ การสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาศักยภาพมนุษยและทรัพยากรบุคคลภายในประเทศ รวมถึงการสรางความ มั่นคงของมนุษยใหทุกคนไดสามารถดํารงชีพอยูไดโดยเปนอิสระจากความตองการที่ไมไดรับการสนองตอบ (freedom


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 259

from want) เปนอิสระจากความกลัวตอปจจัยเสี่ยง หรือภัยคุกคามที่มีตอการอยูรอด (freedom from fear) รวมถึงเปน 9 อิสระที่จะสามารถมีชีวิตอยูและเติบโตขึ้นอยางมีเกียรติและสิทธิความเปนมนุษยที่เทาเทียมกับผูอื่น นอกเหนือไปจากมุมมองที่เปลี่ยนไปตอเปาหมายของการพัฒนาที่หันมาใหความสําคัญกับ “คน” มากขึ้นแลว แนวคิดเกี่ยวกับ “ความมั่นคงของมนุษย” ยังมีที่มาจากมุมมองที่เปลี่ยนไปของนานาประเทศตอประเด็นความมั่นคงของ ชาติอีกดวย จากแตเดิมที่ความมั่นคงของชาติถูกตีความถึงในเรื่องความมั่นคงของรัฐเปนหลัก นับตั้งแตตนทศวรรษ 1990 หรือในชวงหลังสงครามเย็นเปนตนมา ความสนใจในประเด็นดังกลาวไดถูกปรับเปลี่ยนใหมุงไปสูการสรางความมั่นคงของ มนุษย หรือความมั่นคงในระดับปจเจกบุคคลมากขึ้น รายงานการพัฒนาคนของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงประชาชาติ หรือ UNDP’s Human Development Report ในป ค.ศ. 1994 (United Nation Development Programme, 1994) นับเปนเอกสารฉบับแรกที่กลาวถึงอยางใหความสําคัญตอแนวคิดและกรอบแนวทางในการสรางความมั่นคงของ มนุษยใหเกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศและระดับนานาประเทศ ซึ่งในรายงานฉบับดังกลาว ความมั่นคงของมนุษยไดถูก ตีความไววา “...ประกอบดวย 2 มิติ มิติแรก คือ ความปลอดภัยจากภาวะคุกคามที่เกิดขึ้นตอเนื่องนาวนาน เชน ความหิวโหย โรคภัยไขเจ็บ และ การกดขี่ปราบปราม มิติที่สอง คือ การไดรับการปกปองคุมครองจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นตอการดํารงชีวิต ไมวาจะเปนที่ บาน ที่ 10 ทํางาน หรือในสังคม” รายงานการพัฒนาคนของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติในป ค.ศ. 1994 ไดเสนอมิติความมั่นคง ของมนุษยในองคประกอบเบื้องตน 7 ดานดวยกัน (United Nations Development Programme, 1994) ซึ่งในแตละ 11 ดานมีนัยยะของความมั่นคง สรุปไดดังนี้ 1) เศรษฐกิจ การมีรายไดขั้นต่ําที่เพียงพอ ทั้งจากการทํางานหรือเครือขายความคุมครองทางสังคม (Safety net) ที่มี 2) สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย หรือการไดรับการคุมครองจากภัยพิบัติทางสิ่งแวดลอมที่เกิดจากธรรมชาติ และ ด ว ยมื อ มนุ ษ ย ทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว รวมถึ ง ความเสี่ ย งจากการหมดไปของ ทรัพยากรธรรมชาติ 3) อาหาร การเขาถึงอาหารอยางเทาเทียมกัน และเพียงพอสําหรับคนทุกคน ทั้งในดานปริมาณ และ คุณภาพ 4) สุขภาพ การไดรับหลักประกันขั้นต่ํา ที่คุมครองสุขภาพของคนจากการเจ็บปวยและการตายดวยโรคภัย หรือการใชชีวิตและพฤติกรรมทางสุขภาพที่ไมเหมาะสม 5) สวนบุคคล ความปลอดภัย จากความรุนแรง การถูกแสวงหาผลประโยชน หรือละเมิดสิทธิ 6) ชุมชน ความปลอดภั ย จากการขั ด แย ง รุ น แรงภายใน หรื อ ระหว า งชุ ม ชนที่ นํ า ไปสู ก ารสู ญ เสี ย ความสัมพันธที่ดี หรือคานิยมรวมดั้งเดิมในชุมชน 9

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. (2549). รายงานผลจัดการสัมมนาระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับความมั่นคงของมนุษย : จุดยืนและกาวตอไป ระหวางวันที่ 8 -9 พฤษภาคม 2549 10 สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (ประเทศไทย), (2552). รายงานการพัฒนาคนของประเทศไทย ป 2552: ความมั่นคงของมนุษยใน ปจจุบันและอนาคต. กรุงเทพฯ: สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (ประเทศไทย) หนา 2. 11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. (2555). มาตรฐานความมั่นคงของมนุษย (Human Security Standards). กรุงเทพฯ: โรง พิมพเทพเพ็ญวานิสย.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 260

7) การเมือง

บริบททางการเมืองในสังคมที่เคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของคนทุกคน มีเสถียรภาพและ มั่นคง จากการจัดอันดับในป พ.ศ. 2554 ใน 232 ประเทศทั่วโลกดวยคาดัชนีความมั่นคงของมนุษย ประเทศสมาชิก อาเซียนที่มีความมั่นคงของมนุษยสูงที่สุด คือ สิงคโปร (รอยละ 80) หากใชอันดับรอยละที่ 50 เปนเกณฑ มีเพียง 3 ประเทศเทานั้น ที่มีระดับความมั่นคงของมนุษยสูงอยูในกลุมประเทศครึ่งแรกของโลก ซึ่งไดแก บรูไน มาเลเซีย และไทย ตามลํ า ดับ สํา หรับ ประเทศสมาชิ กอี ก 6 ประเทศนั้น ความมั่ นคงของมนุ ษ ยยั ง อยู ใ นระดับ ที่ คอ นขา งต่ํา เวี ยดนาม อินโดนีเซีย และลาว มีคาดัชนีอยูในชวงอันดับรอยละที่ประมาณ 30 ถึง 35 ฟลิปปนส และเมียนมาร อยูในอันดับที่ 2223 ขณะที่กัมพูชาซึ่งมีดัชนีความมั่นคงของมนุษยต่ําที่สุดในกลุมประเทศสมาชิกมีอันดับรอยละอยูที่ 16 จากขอมูลการจัด อันดับ จะเห็นไดวา ความมั่นคงของมนุษยในภาพรวมในหลายประเทศสมาชิกอาเซียนยังอยูในระดับที่ต่ําและตองเรง พัฒนา โดยเฉพาะใน กัมพูชา เมียนมาร ฟลิปปนส เชนเดียวกับการพัฒนาคน ซึ่งเปนอีกเรื่องที่มีความสําคัญในการสราง ความมั่นคงของมนุษย รวมถึงความมั่นคงของประเทศในระยะยาว สําหรับประเทศไทย แมความมั่นคงของมนุษยภาพรวม จะอยูในระดับปานกลางคอนขางไปทางดีแลว (อันดับรอยละ 56) แตจากระดับรอยละของคาดัชนีการพัฒนาคนที่ต่ํากวา พอสมควร (อันดับรอยละ 45) การเรงพัฒนาคุณภาพคนในประเทศควบคูไปกับการเสริมสรางความมั่นคงของมนุษย จึงยัง เปนประเด็นการพัฒนาประเทศที่ตองใหความสําคัญ

ความมั่นคงของมนุษยในดานเศรษฐกิจ หัวใจหลักของความมั่นคงทางเศรษฐกิจของมนุษย คือ การที่มนุษยทุกคนมีรายไดที่พอเพียงตอความตองการใน การดํารงชีพขั้นต่ํา ซึ่งรายไดนั้น อาจมีที่มาทั้งจากการทํางาน หรือการไดรับจางงานที่มั่นคงกอใหเกิดรายไดอยางสม่ําเสมอ หรือจากการไดรับการชวยเหลือจากหลักประกันการคุมครองทางสังคมที่มี เมื่อเกิดเหตุการณไมคาดคิดซึ่งทําใหเกิดการ ขาดรายไดประจํา 12 จากการจัดอันดับมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติตอหัว (GNP_C) ซึ่งเปนตัวชี้วัดระดับรายได หรือคุณภาพ 13 ชีวิตทางเศรษฐกิจของคนในแตละประเทศ ใน 187 ประเทศ โดย UNDP (หนวยเปน PPP $ ณ ราคาคงที่ป ค.ศ. 2548) พบวา สิงคโปรและบรูไน เปน 2 ประเทศที่มีอันดับรอยละสูงมาก (ที่ 99 และ 97 ตามลําดับ) ทิ้งหางทุกประเทศในกลุม อาเซียน รวมทั้งมาเลเซีย และไทย ซึ่งมีรายไดตอหัวอยูในเกณฑปานกลางที่อันดับรอยละ 63 และ 51 ตามลําดับ ระดับ รายไดตอหัวของอินโดนีเซีย และฟลิปปนส อยูในอันดับที่เทากันแตถือวา คอนขางต่ํา (ที่ 34) ตามดวยเวียดนาม ลาวและ กัมพูชา และเมียนมาร ซึ่งเปนประเทศที่มีรายไดตอหัวต่ําที่สุดในกลุมอาเซียน โดยอยูที่อันดับรอยละ เพียงที่ 18 จากผล การจัดอันดับขางตน เห็นไดอยางชัดเจนวา ความแตกตางของระดับรายไดในกลุมประเทศอาเซียนนั้นมีสูงมากระหวาง ประเทศที่ร่ํารวยและประเทศที่ยากจน ซึ่งก็เปนภาพสะทอนที่ดีใหเห็นความแตกตางของระดับ ความมั่นคงของมนุษยทาง 14 เศรษฐกิจดวยเชนกัน

12

GNP per capita United Nations Development Programme. (2013). Human Development Report 2013: The Rise of the South Human Progress in a Diverse World. New York: Lowe - Martin Group. 14 รวบรวมจากฐานขอมูลธนาคารโลก ป พ.ศ. 2551 – 2554 (The World Bank, 2013). Indicators. Retrieved 1 March 2014, from The World Bank Open Data: http://data.worldbank.org/indicator 13


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 261

แผนภาพที่ 2 แสดงดัชนีความมั่นคงของมนุษย พ.ศ. 2554 และดัชนีการพัฒนาคน พ.ศ. 2555

ในกลุมประเทศสมาชิกที่รายไดตอหัวต่ํา ปญหาความยากจนของคนในประเทศที่ยังคงมีสัดสวนคนจนอยูใน ระดับที่สูงเปนเรื่องเรงดวนที่ตองใหความสําคัญ จากขอมูลที่มีใน 7 ประเทศสมาชิก ไมรวม สิงคโปร บรูไนและเมียนมาร ณ เสนความยากจนสากล 1.25 PPP$ ตอวัน ประเทศที่มีสัดสวนคนจนสูงที่สุด ไดแก สปป.ลาว (รอยละ 66 หรือ 2 ใน 3 ของประชากรในประเทศ) ตามดวยกัมพูชา (รอยละ 53.3) อินโดนีเซีย เวียดนามและฟลิปปนส แมจะมีสัดสวนคนจนต่ํา กวาแตก็นับวา อยูในระดับที่สูง หรือประมาณ กวา 2 ใน 5 ของประชากรในประเทศ ในกรณีของมาเลเซียและไทย ซึ่งเปน ประเทศสมาชิกที่มีรายไดตอหัวระดับปานกลาง (คอนไปทางสูง - สําหรับมาเลเซีย) ความยากจนอาจไมใชปญหาที่มีระดับ ความรุ น แรงเท า กั บ ป ญ หาการกระจายรายได รวมถึ ง การกระจายทรั พ ยากรทางเศรษฐกิ จ อื่ น ๆ ที่ ไ ม เ ท า เที ย ม ภายในประเทศ พิจารณาจากสัมประสิทธิ์การกระจายรายได ใน 7 ประเทศสมาชิกขางตน มาเลเซียมีระดับการกระจาย รายไดที่ไมเทาเทียมกันมากที่สุด (สัมประสิทธิ์ Gini 46.2) ตามมาดวยฟลิปปนส (ซึ่งยังมีปญหาความยากจนคอนขาง รุนแรง) และไทย ตามลําดับ การขาดหลักประกันและการคุมครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะชวยบรรเทาผลกระทบใหแกประชาชนจากการ ขาดรายไดที่เพียงพอในการดํารงชีพ หรือจากเหตุการณความเสี่ยงตาง ๆ ที่ไมคาดคิด เปนอีกหนึ่งประเด็นที่ประเทศ สมาชิกอาเซียนตองพิจารณาเพื่อพัฒนาใหมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น จากข อมูลของธนาคารโลก ชี้ใหเห็นวา หลาย ประเทศในกลุมอาเซียนยังคงมีสัดสวนประชากรที่ไมมีหลักประกันการคุมครองทางสังคม (จากภาครัฐ ) ใดๆ เลย ใน


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 262

สัดสวนที่สูง โดยเฉพาะในสปป.ลาว กัมพูชา และฟลิปปนส ซึ่งสูงกวารอยละ 90 มาเลเซีย และเวียดนาม ถึงรอยละ 85 และ 71.3 ตามลําดับ

ความมั่นคงของมนุษยดานสิ่งแวดลอม ดัชนีสมรรถนะดานสิ่งแวดลอม หรือ EPI ประเมินสถานการณสิ่งแวดลอมของแตละประเทศ ใน 2 เรื่อง คือ หนึ่ง อนามัยสิ่งแวดลอม (environment health) เกี่ยวกับภาระโรคที่เกิดจากสิ่งแวดลอม ผลกระทบจากมลพิษ ทางอากาศ และผลกระทบเรื่องน้ําที่มีตอมนุษย และสอง การอยูรอดของระบบนิเวศ (ecosystem vitality) เกี่ยวกับ เรื่องมลพิษทาง 15 อากาศ และน้ําความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึง การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ จากผลการประเมินและจัดอันดับดัชนี EPI ลาสุด ป 2555 ใน 132 ประเทศ รวม 9 ประเทศสมาชิกอาเซียน ไม รวมลาว กลาวไดวา ประเทศสมาชิกสวนใหญ มีสถานการณทางสิ่งแวดลอมซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งที่สํา คัญของความ มั่นคงของมนุษย อยูในระดับที่ดีกวาหลายประเทศในโลก ไลเรียงจากมาเลเซีย บรูไน ไทย ฟลิปปนส สิงคโปร และกัมพูชา ที่มีอันดับรอยละสูงกวาที่รอยละ 50 จะเห็นไดวา ที่นาสนใจคือ ในภาพรวมทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ สิงคโปร จะเปนประเทศที่อยูในอันดับหนึ่งมาตลอดใน 10 ประเทศสมาชิก แตในดานสิ่งแวดลอม สถานการณ (ชี้วัดจาก EPI) พบวา แยกวาหลายประเทศในภูมิภาค สวน เมียนม าร อินโดนีเซีย และเวียดนาม เปน 3 ประเทศที่มีสมรรถนะดาน สิ่งแวดลอมต่ําทีส่ ุดตามลําดับ โดยอยูในอันดับรอยละที่รอยละ 41 – 48 ความเสี่ยงตอการหมดไปของทรัพยากรธรรมชาติ ขอมูลรอยละพื้นที่ปาตอพื้นที่ทั้งหมด เปนหนึ่งตัวชี้วัดที่ชวย ใหเห็นภาพสถานการณความมั่นคงของมนุษยทางสิ่งแวดลอม บรูไนเปนประเทศที่มีพื้นที่ปามากที่สุด หรือเกือบ 3 ใน 4 ของพื้นที่รวม รองลงมาไดแก สปป.ลาว มาเลเซีย กัมพูชา ซึ่งยังคงมีพื้นที่ปามากกวาครึ่งของพื้นที่รวม ในขณะที่สิงคโปรมี เพียงรอยละ 3.3 ฟลิปปนส รอยละ 25.7 และไทย (นอยเปนอันดับ 3 ในกลุม) รอยละ 37.1 หรือกวา 1 ใน 3 ของพื้นที่ ประเทศรวม ในดานพลังงาน ขอมูลจากธนาคารโลก แสดงใหเห็นวา สิงคโปร ฟลิปปนส ไทย และกัมพูชา เปน 4 ประเทศ ในกลุมอาเซียนที่มีการพึ่งพิงพลังงานจากภายนอก (การนําเขา) โดยเฉพาะสิงคโปร ที่เกือบรอยละรอยของการบริโภค พลังงานทั้งหมดมาจากการนําเขา ในขณะที่บรูไน อินโดนีเซีย และเมียนมารเปนประเทศที่มีปริมาณการสงออกพลังงาน เทียบกับปริมาณการบริโภคพลังงานในประเทศในสัดสวนที่สูง ระดับการพึ่งพิงพลังงานจากภายนอก เปนตัวชี้วัดที่ดีตัว หนึ่งใหเห็นสถานการณความมั่นคงทางพลังงานของแตละประเทศ

ความมั่นคงของมนุษยดานสังคม ดานอาหาร ความมั่นคงดานอาหาร ซึ่งเปนองคประกอบยอยหนึ่งของความมั่นคงของมนุษยดานสังคม 2 ดัชนีชี้วัด ที่นํามา 16 17 พิจารณา ไดแก ดัชนีความมั่นคงทางอาหารโลก (GFSI) และดัชนีความอดอยากโลก (GHI) ซึ่งทั้งสองเปนดัชนีที่มี จุดประสงคเพื่อประเมินและจัดอันดับสถานการณความมั่นคงทางอาหารของแตละประเทศในโลก เพียงแตมีมิติในการ 18 ประเมินที่ตางกันเล็กนอย GFSI ใหความสําคัญในดานการเขาถึงอาหารของมนุษยทุกคน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง 15

NASA Socioeconomic Data and Applications Center. (2012, February 28). Environmental Performance Index (EPI). Retrieved 1 March 2014, from http://sedac.ciesin.columbia.edu/data/collection/epi 16 Global Food Security Index 2012 (105 ประทศ): GFSI 17 Global Hunger Index 2012 (79 ประเทศ): GHI 18 Economist Intelligence Unit. (2012). The Global Food Security Index 2012: An assessment of food affordability, availability and quality. Economist Intelligence Unit.


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 263 19

คุณภาพ ขณะที่ GHI คํานึงถึงความยั่งยืนของความสามารถในการผลิตอาหารภายใตเงื่อนไขของทรัพยากรตาง ๆ ที่มีใน ปจจุบัน โดยเฉพาะทรัพยากรน้ํา ที่ดิน และพลังงาน มากกวาในเรื่องการเขาถึง อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาอันดับ รอยละ ของกลุมประเทศอาเซียนจากการจัดอันดับดัชนีทั้งสอง ลาสุดในป พ.ศ. 2555 (ใน 105 ประเทศสําหรับ GFSI และ ใน 79 ประเทศ สําหรับ GHI) พบวา ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยสวนใหญ (ไมรวม สิงคโปร และบรูไน ที่ไมถูกรวม ในการจัด อันดับทั้งสองดัชนี) มีสถานการณดานความมั่นคงทางอาหารที่คอนขางดีกวาความมั่นคงของมนุษยในภาพรวม (เมื่อ พิจารณาเทียบกับอันดับรอยละ ของ HSI) โดยเฉพาะในดานความยั่งยืนของความสามารถในการผลิตอาหาร (พิจารณา จาก อันดับรอยละ GHI ซึ่งสูงกวา GFSI ในทุกประเทศ) มาเลเซีย ไทย และเวียดนาม เปน 3 ประเทศแรกที่มีความมั่นคงทางอาหารสูงที่สุด ทั้งในดานความยั่งยืนและ การเขาถึงอาหารของคนในประเทศ ขณะที่ กัมพูชา เมียนมาร และสปป.ลาว มีแนวโนมความเสี่ยงทางดานอาหารที่สูงกวา ประเทศอื่น ๆ เนื่องจาก จํานวนประเทศที่ถูกนํามารวมในการจัดอันดับ GFSI และ GHI อาจเปนคนละกลุมประเทศ สถานการณดานอาหารที่พบจากการจัดอันดับดัชนีทั้งสองนี้ อาจไมสามารถเปรียบเทียบกันไดทั้งหมด อยางไรก็ตาม การที่ อันดับรอยละ GFSI ของประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศอยูในชวงที่ต่ํากวาอันดับรอยละ GHI ก็เปนสัญญาณที่ชี้ใหเห็น วา ความเสี่ยงหรือความไมมั่นคงของมนุษยดานอาหารที่กลุมประเทศอาเซียนควรใหความสําคัญ นาจะเปนปญหาในดาน การไม ส ามารถเข า ถึ ง อาหารของคนทุ ก คนอย า งเท า เที ยม มากกว า ที่ จ ะเป น ความเสี่ ย งในเรื่ อ งความไม ยั่ ง ยื น ของ ความสามารถในการผลิตอาหารจากขอจํากัดในดานทรัพยากร

ดานสุขภาพ ความมั่นคงของมนุษยในดานสุขภาพ จะครอบคลุมถึงหลักประกันและการคุมครองทางสังคมตาง ๆ รวมถึง หลั กประกัน ทางสุข ภาพด ว ยเชน กัน ซึ่ ง พบวา ประชากรจํ านวนมากในหลายประเทศสมาชิ ก อาเซียนยั ง คงไม ได รั บ หลักประกันการคุมครองใดเลย ทั้งในเมียนม าร ลาว ฟลิปปนส และมาเลเซีย ซึ่งคิดเปนสัดสวนมากถึงกวา 4 ใน 5 ของ ประชากรทั้งหมด ในดานสถานะสุขภาพ ซึ่งสามารถชี้วัดไดจากอายุคาดเฉลี่ย รวมถึงอัตราการตาย และสาเหตุของการ ตายของประชากรในแตละประเทศนั้น จากการจัดอันดับจํานวนปของอายุคาดเฉลี่ย (เมื่อแรกเกิด) ของประชากรใน 194 ประเทศโดยใชฐานขอมูลของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ ป พ.ศ. 2555 สิงคโปรเปนประเทศในกลุมที่มี อายุคาดเฉลี่ยของประชากรยืนยาวกวาประเทศอื่น โดยจัดอยูในอันดับรอยละที่ 93 และ 80 ตามลําดับ รองมา ไดแก เวียดนาม ในอันดับที่ 70 นาสนใจ ที่แมองคประกอบความมั่นคงของมนุษยในดานอื่นของเวียดนามจะเปนรองกวาอีก หลายประเทศ แตอายุคาดเฉลี่ย ซึ่งเปนตัวชี้วัดที่สําคัญของสุขภาพประชากรในประเทศกับสูงกวาหลายประเทศมาก ถัด มาไดแก มาเลเซีย และไทย (อันดับที่ 61 - 63) อินโดนีเซียและฟลิปปนส (อันดับที่ 35 - 40) และเมียนมาร และกัมพูชา (อันดับที่ 24 - 27) จากขอมูลการจัดอันดับขางตน สอดคลองกับขอมูลอัตราการตายของแตละประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งพบวา สิง คโปร และบรู ไน มี อัต ราการตายตอ แสนประชากรตอ ป ที่ต่ํ า ตามด วยมาเลเซี ย เวี ยดนาม ไทย อิน โดนีเ ซีย และ ฟลิปปนส ซึ่งยังมีอัตราตายต่ํากวาพันคนตอแสนประชากร ขณะที่ สปป.ลาว กัมพูชา และเมียนมารมีอัตราตายในระดับที่ สูงกวาพันคน โดยเฉพาะเมียนมารที่มีอัตราตายสูงเกือบถึงพันหารอยคนตอแสนประชากร ความแตกตางนี้ สวนหนึ่งเปน ผลจากโครงสรางประชากรในปจจุบันที่ตางกัน และอีกสวนหนึ่งสะทอนใหเห็นความแตกตางในความพรอม และระดับการ พัฒนาทางสาธารณสุขของแตละประเทศ หากพิจารณาสาเหตุการตายรวมดวย จะเห็นวา ความเสี่ยงในดานสุขภาพของ 19

International Food Policy Research Institute (International Food Policy Research Institute, Concern Worldwide, and Welthungerhilfe, 2012)


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 264

ประชากรอาเซียนแตละกลุมประเทศมีลักษณะที่ตางกัน ในกลุมประเทศที่มีรายไดนอย เชน สปป.ลาว กัมพูชา และ เมียนมาร อัตราการตายในสัดสวนที่สูงยังคงเปนการตายที่มีสาเหตุจากโรคระบาด หรือโรคติดตอและการบาดเจ็บ ในขณะ ที่ ประเทศที่มีรายไดปานกลางถึงรายไดสูง สัดสวนของการตายมีสาเหตุมาจากโรคไมติดตอ ซึ่งเปนผลจากปจจัยเกี่ยวกับ วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางสุขภาพที่ไมเหมาะสมมากกวา

ดานชุมชน (ความสงบสุข) สําหรับความมั่นคงของมนุษยในองคประกอบความมั่นคงทางชุมชน สามารถพิจารณาไดจากสถานการณ ความ สงบสุขของแตละประเทศ ทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ ซึ่งไดมีการวัดระดับโดยใชดัชนีความสงบสุขโลก (GPI) และจัดอันดับ 158 ประเทศตามระดับความสงบสุขในป พ.ศ. 2555 เมื่อแปลงผลการจัดอันดับใหเปนอันดับรอยละใน 9 ประเทศอาเซียน (ไมรวม บรูไน) พบวา มาเลเซีย และสิงคโปรเปนประเทศที่มีความสงบสุขสูงที่สุด 2 อันดับแรก (ทีร่ อยละ 88 และ 86 ตามลําดับ) ถัดมาไดแก เวียดนาม และสปป.ลาว อยูอันดับรอยละที่ 79 และ 77 ตามลําดับ ซึ่งเห็นไดวา ไม ห า งจากสิ ง คโปร มากนั ก โดยแสดงให เ ห็ น ว า ระดั บ ความสงบสุ ข ในชุ มชน (หรื อ ประเทศ) อาจไม ไ ด ขึ้ น อยู หรื อ มี ความสัมพันธเชิงบวกกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจหรือรายไดของประเทศเสมอไป สําหรับประเทศไทย ผลจากการจัด อันดับ GPI ซึ่งอยูในรอยละที่ต่ํามาก โดยเปนอันดับที่ 3 ในกลุมประเทศอาเซียน รองจากเมียนมาร และกัมพูชา สะทอน ภาพที่ชัดเจนวา “ความไมสงบสุข” ยังคงเปนประเด็นความเสี่ยง หรือความเปราะบาง ทางสังคมที่สําคัญที่กระทบตอ ความมั่นคงของมนุษยภายในประเทศ ซึ่งควรตองไดรับการแกไขและเยียวยาใหดีขึ้น

ดานสวนบุคคล (ความปลอดภัยในชีวิต) ความสงบสุขในชุมชนสูความมั่นคงของมนุษยใ นดานความปลอดภั ยในสวนบุคคล ปญ หาหนึ่งที่ สําคัญและ มองขามไมได คือ ปญหาเรื่องความปลอดภัยบนทองถนน จากรายงานสถานการณความปลอดภัยบนทองถนนทั่วโลก โดย องคการอนามัยโลก ป พ.ศ. 2556 พบวา อัตราการตายจากจราจรบนทองถนนในประเทศสมาชิกอาเซียน หลายประเทศมี อัตราที่สูง โดยเฉพาะไทย ซึ่งมีอัตราตายจากสาเหตุนี้สูงที่สุดถึง 38.1 คนตอแสนประชากร ถัดมาไดแก มาเลเซียและ เวียดนามที่ประมาณ 25 คนตอแสนประชากร สําหรับความปลอดภัยสวนบุคคลในดานทั่วไป ซึ่งชี้วัด จากอัตราการตาย จากการถูก ฆาตกรรม พบวา ประเทศที่ มีอั ต ราการฆาตกรรมสูง ที่ สุด ในกลุ ม 2 ประเทศแรก ได แก เมี ยนม า ร และ อินโดนีเซีย ถัดมาคือ ฟลิปปนส ไทย และลาว ตามลําดับ

ดานสิทธิและการเมือง สําหรับความมั่นคงของมนุษยทางสังคม ในเรื่องสิทธิและการเมือง ดัชนีและตัวชี้วัดสามารถสะทอนสถานการณ 20 ในกลุมประเทศอาเซียน โดยในดานสิทธินั้น ดัชนีความไมเทาเทียมทางเพศ (GII) และดัชนีอิสรภาพ (FI) ซึ่งมีการจัด 21 อันดับใน 148 ประเทศ และ 123 ประเทศตามลําดับ ซึ่งในป พ.ศ. 2555 จากการจัดอันดับ GII ใน 9 ประเทศ (ไมรวม บรูไน) ซึ่งพิจารณาความไมเทาเทียมระหวางเพศในดานสุขภาพ การมีสวนรวมในกําลังแรงงาน การศึกษาและการเมือง (จากจํานวนที่นั่งในรัฐสภา) พบวา สิงคโปร มาเลเซีย และเวียดนาม เปนประเทศที่มีความเทาเทียมระหวางเพศหญิงและ เพศชายคอนขางสูง (รอยละ 68-92) ไทย ฟลิปปนส และเมียนมาร (รอยละ 47-56) ในระดับปานกลางขณะที่ กัมพูชา

20

Gender Inequality Index 2012 (148 ประเทศ): GII United Nations Development Programme. (2013). Human Development Report 2013: The Rise of the South Human Progress in a Diverse World. New York: Lowe - Martin Group. 21


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 265 22

ลาว และอินโดนีเซีย อยูในระดับคอนขางต่ํา (ความไมเทาเทียมยังมีสูงที่รอยละ 29-36) สําหรับ FI นั้น ประเมินจาก ระดับความมีอิสระของคนภายในประเทศในการเดินทางเคลื่อนยายไปมา ในการแสดงออก ในการมีความสัมพันธและใน ดานความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ถูกรวมในการจัดอันดับมีเพียง 6 ประเทศ (ไมรวม บรูไน 23 เวียดนาม กัมพูชา และสปป.ลาว) จากอันดับรอยละที่ได จะเห็นวา ประเทศที่มีระดับอิสรภาพคอนขางต่ํามากคือ เมียนมาร และรองลงมาไดแก มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ตามลําดับ ซึ่งอยูในอันดับรอยละต่ํากวารอยละ 50 นอกเหนือจากความเทาเทียมทางเพศ และความมีอิสระในการใชชีวิตดานตาง ๆ แลว ความมั่นคงของมนุษยที่ สําคัญอีกเรื่องก็คือ การไดรับการเคารพในสิทธิขั้นพื้นฐานของความเปนมนุษย ในการที่จะใชชีวิตอยางเทาเทียม และมี เกียรติโดยไมถูกละเมิดสิทธิ หรือถูกแสวงหาผลประโยชนจากสิทธิที่ควรจะได การคามนุษย (human trafficking) เปน การละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรงที่เกือบทุกประเทศเห็นตรงกันวา ควรไดรับการใหความสําคัญ และตองขจัดใหหมด ไป อยางไรก็ตาม จากการจัดชั้น (tier placement) ตามสภาพการณปญหาการคามนุษยในแตละประเทศ โดย I Department of States ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนถึง 3 ประเทศที่ยังคงถูกจัดใหอยู ใน ระดับ tier 2 watch list หรือในกลุมที่จัดวา มีความพยายามในการแกไขปญหาการคามนุษยในระดับหนึ่ง แตอุบัติการณ หรือความรุนแรงของการคามนุษยยังอยูในระดับที่ตองจับตา ซึ่งประเทศเหลานี้ ไดแก เมียนมาร มาเลเซีย และในป 2557 นี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาไดประกาศใหประเทศไทย อยูในระดับ tier 3 ในดานการเมือง การทํางานอยางโปรงใสมีธรรมาภิบาลของภาครัฐ และความมีเสถียรภาพของภาคการเมือง เปนปจจัยกําหนดหนึ่งที่มีอิทธิพลอยางยิ่งตอความมั่นคงของมนุษยในดานตางๆ ของคนในประเทศ จากการจัดอันดับดัชนี 24 ภาพลักษณคอรัปชั่น (CPI) ใน 176 ประเทศ (พ.ศ. 2555) ซึ่งประเมินภาพลักษณการคอรัปชั่น และการใชอํานาจที่มีใน การแสวงหาประโยชนมิชอบของเจาหนาที่ภาครัฐในแตละประเทศ โดยผูเชี่ยวชาญ และการเก็บขอมูลการสอบถาม 25 (Survey data) หลายแหลง พบวา สิงคโปรเปนประเทศที่มีภาพลักษณดีที่สุดในกลุมประเทศอาเซียน และเกือบดีที่สุด ในประเทศทั้งหมดที่ถูกจัดอันดับ บรูไน และมาเลเซียก็มีภาพลักษณอยูในระดับที่ดี โดยอยูในอันดับรอยละที่ประมาณ 70 - 75 ภาพลักษณคอรรัปชั่นของไทยอยูในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศอื่นโดยอยูในรอยละตรงกลางที่ 51 ขณะที่ ฟลิปปนส อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีภาพลักษณคอรรัปชั่นที่ไมดีมาก แตก็นับวาดีกวาสปป.ลาว กัมพูชา และเมียนมาร ซึ่งมีภาพลักษณของการคอรรัปชั่นของภาครัฐที่คอนขางสูง โดยเฉพาะสําหรับเมียนมาร ซึ่งมีอันดับรอยละอยูที่ 3 26 ดัชนีความไมมีเสถียรภาพทางการเมือง (PII) เปนดัชนีที่ใชชี้วัดระดับความเสี่ยงของการเกิดการประทวงตอตาน จากภาคสังคม (social protest) ตอภาคการเมือง โดยประเมินจากปจจัยเสี่ยงในดานตาง ๆ และจากระดับความตึงเครียด 27 ทางเศรษฐกิจ (economic distress) ที่มีในประเทศ ลาสุดมีการจัดอันดับ ใน 165 ประเทศ (พ.ศ. 2552 - 53) ซึ่งพบวา ประเทศในกลุมอาเซียนที่มีเสถียรภาพทางการเมืองมากที่สุดคือ เวียดนาม ตามดวยสิงคโปร และสปป.ลาว ในอันดับ 2 และ 3 สวนประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมืองนอยที่สุด และเกือบจะนอยที่สุดในการจัดอันดับทั้งหมดคือ กัมพูชา 22

Freedom Index 2012 (123 ประเทศ): FI McMahon, F. (2012). Towards a Worldwide Index of Human Freedom. Canada: Fraser Institute 24 Corruption Perception Index 2012 (176 ประเทศ): CPI 25 Transparency International. (2012). Corruption Perceptions Index 2012. Retrieved 1 March 2014, from http:// cpi.transparency.org/ cpi2012/results/ 26 Political Instability Index 2009 - 10 (165 ประเทศ): PII 27 Economist Intelligence Unit . (n.a.). ViewsWire. Retrieved 1 March 2014, from Social Unrest: http://viewswire.eiu.com/site_info.asp? info_name=social_unrest_table&page=noads 23


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 266

สําหรับไทย ซึ่งนาจะเปนผลจากความไมสงบทางการเมืองที่มีนับตั้งแตการปฏิวัติในป พ.ศ. 2549 ทําใหมี GII มากที่สุด (ซึ่งหมายความวา มีเสถียรภาพทางการเมืองนอยที่สุด) เปนอันดับ 3 รองมาจาก กัมพูชา และเมียนมาร ดัช นีแ ละตั วชี้ วัด ที่ เกี่ ยวข อง ข อ ค น พบที่ ได เป นเพียงภาพสะทอ นผ า นข อมู ล ที่เ ปน ตั วเลขเทา นั้น แต ก็เ ป น หลักฐานเชิงประจักษเบื้องตนที่แสดงใหเห็นถึงสถานการณที่เปนอยูของแตละประเทศ ความแตกตางของบริบทดานตาง ๆ ที่ยังคงมีอยูในกลุมประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ และชี้ใหเห็นจุดแข็ง จุดออนที่แตละประเทศตองใหความสําคัญในการ ปรับปรุงใหดีขึ้น ในที่นี้ไดแบงเปนองคประกอบที่ตองพัฒนา ดังตารางแสดงองคประกอบที่ตองการพัฒนาความมั่นคงของ มนุษยในแตละประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้น ทรัพยากรมนุษย จึงถือเปนปจจัยในการขับเคลื่อนองคกรใหคงอยูทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงใน ปจจุบันที่มีการแขงขันสูง และเปนปจจัยนําพาไปสูเปาหมาย และกาวสูความสําเร็จ ดังนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษยให สามารถและใหทันตอการเขาสูประชาคมอาเซียน จะตองพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีศักยภาพสูง มีความเปนเลิศ มีการสั่ง สมความรู มีทักษะ มีความเชี่ยวชาญ และการขยายขอบเขตความรูความสามารถอยางตอเนื่อง จึงเปนภาระหนาที่ของนัก ทรัพยากรมนุษยในการพัฒนา “คน” ใหสามารถรองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน นักพัฒนาทรัพยากรมนุษยจะตอง มีบทบาทสําคัญในการพัฒนา “คน” ของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยดําเนินการพัฒนา ทักษะความเชี่ยวชาญ พัฒนาความรูความสามารถที่เปนสากล การพัฒนาความรวมมือในการเปนประชาคมอาเซียน จึงนับวา เปนสิ่งทาทาย ซึ่งประเทศในกลุมประชาคม อาเซียนจะตองรวมกันผลักดันใหเปาหมายมีการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม โดยในทางการเมืองและความมั่นคงจะตองสราง คานิยมรวมกัน บรรทัดฐาน และกฎเกณฑ เพื่อสรางอาเซียนใหมีความสงบสุข แข็งแกรง และรวมรับผิดชอบในการ แกปญหาความมั่นคง โดยใหเปนชุมชนแหงสังคมที่เอื้ออาทร มุงสรางอาเซียนเปนสังคมที่มีเอกภาพ เอื้ออาทรตอกัน มี ความเปนอยูที่ดี พัฒนาทุกดาน และมีความมั่นคงทางสังคม ดวยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ดวยการเนนการบูรณาการ ดานการศึกษา สรางสังคมแหงการเรียนรู สงเสริมการจางงานที่เหมาะสม สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการ ปญหาสิ่งแวดลอม การคุมครองและสวัสดิการสังคม สรางเครือขายความปลอดภัยทางสังคม ความยุติธรรมและสิทธิตาง ๆ คุมครองสิทธิผูดอยโอกาส แรงงานยายถิ่นฐาน สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม การสรางอัตลักษณอาเซียน เพื่อสราง ความรูสึกเปนเจาของรวมกัน อนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน สงเสริมการสรางสรรคดานวัฒนธรรม ลดชองวาง การพัฒนา


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 267

ตารางแสดงองคประกอบที่ตองการพัฒนาความมั่นคงของมนุษยในแตละประเทศสมาชิกอาเซียนII ประเทศสมาชิกอาเซียน สิงคโปร บรูไน มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย

ฟลิปปนส

เวียดนาม ลาว กัมพูชา เมียนมาร

ตองพัฒนา

ตองพัฒนา “เรงดวน”

ตองปรับปรุง ดานสิ่งแวดลอม, ดานสังคม (อิสรภาพ)

ดานสังคม (อิสรภาพ, เสถียรภาพทางการเมือง) ด า นสั ง คม (ความสงบสุ ข , เสถี ย รภาพทาง ด า นเศรษฐกิ จ , ด า นสั ง คม (อิ ส รภาพ, การเมือง) ภาพลักษณคอรัปชั่น) ดา นเศรษฐกิ จ , ดา นสิ่ง แวดลอ ม, ดา นสัง คม ดานสังคม (ความเทาเทียมทางเพศ) (อาหาร, สุ ข ภาพ, อิ ส รภาพ, ภาพลั ก ษณ คอรัปชั่น, เสถียรภาพทางการเมือง) ดานสังคม (อาหาร, สุขภาพ, ความเทาเทียม ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (ความสงบสุข) ทางเพศ, อิ ส รภาพ, ภาพลั ก ษณ ค อรั ป ชั่ น , เสถียรภาพทางการเมือง) ดานสิ่งแวดลอม, ดานสังคม (อาหาร) ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (ภาพลักษณคอรัปชั่น) ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (อาหาร, สุขภาพ, ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (ภาพลักษณคอรัปชั่น) ความเทาเทียมทางเพศ) ดา นสั งคม (อาหาร, สุข ภาพ, ความสงบสุ ข , ดา นสั ง คม (ภาพลั ก ษณ คอรั ปชั่ น , เสถี ยรภาพ ความเทาเทียมทางเพศ) ทางการเมือง) ดา นเศรษฐกิ จ , ดา นสิ่ง แวดลอ ม, ดา นสัง คม ด า นเศรษฐกิ จ , ด า นสั ง คม (ความสงบสุ ข , (อาหาร, สุขภาพ, ความเทาเทียมทางเพศ) อิสรภาพ, ภาพลักษณคอรัปชั่น, เสถียรภาพทาง การเมือง)


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 268

สําหรับความรวมมือของประชาคมอาเซียนดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางเปนรูปธรรม จะเห็นไดจากการ กําหนดนโยบายดานการศึกษาของประชาคมอาเซียนที่ริเริ่มนํามาปฏิบัติอยางคอยเปนคอยไป โดยเริ่มดําเนินการครั้งแรก ในป พ.ศ. 2508 จากการกอตั้ง The Southeast Asian Ministers of Education Organization : SEAMEO) โดยมี กลไกของการประชุมใหญประจําป คือ การประชุมรัฐมนตรีศึกษา (สภาซีแมค) จากนั้น ในป พ.ศ. 2518 มีการจัดการ ประชุมดานการศึกษา Asean Permanent Committee on Socio-Cultural Activities โดยยกระดับความรวมมือสู รัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษา ในป พ.ศ. 2520 โดยตัวของ Committee ก็ไดยกระดับเปน Asean Committee on Education (ASCOE) ตั้งแตป พ.ศ. 2532 และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 15 ปฏิญญาชะอําหัวหินวาดวยการ เสริมสรางความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน (Cha am – Hua hin Declaration on strengthening cooperation on education to achieve and Asean caring and sharing community) เปนการประชุมระดับผูนําอาเซียน เพื่อย้ําถึงบทบาทสําคัญของการศึกษาในการสรางประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 โดยสาระสําคัญของปฏิญญาที่เกี่ยวกับบทบาทของการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ คือ 1. พัฒนาจัดทําแผนบูรณาการเพื่อจัดทํากรอบการพัฒนาทักษะในอาเซียนดวยการจัดทํา Asean benchmaking และระบบการเทียบโอนหนวยกิต โดยใหความสําคัญกับสถาบันการฝกอบรมดานอาชีวศึกษา 2. สงเสริมใหมีการถายโอนนักเรียนดวยการจัดทําระบบแสดงขอมูลดานการศึกษาที่กําลังเปดสอนในกลุม ประเทศอาเซียน 3. สนับสนุนการเคลื่อนยายแรงงานฝมือ โดยเริ่มในบางสาขาอาชีพกอน เชน ดานบัญชี การแพทย วิศวกร พยาบาล สถาปนิก โดยสงเสริมใหมีการรวมอบรมและปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม 4. สนับสนุนการจัดตั้งเครือขายสารสนเทศอาเซียนดานทรัพยากรมนุษย ทั้งนี้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของอาเซียน ไดมีความรวมมือดานแรงงาน โดยใหความสําคัญตอสิทธิมนุษยชน ของแรงงาน ดวยการไมสนับสนุนการคาแรงงานเด็ก ตอตานการกดขี่แรงงาน การรวมมือกันปราบปรามการคามนุษย เชน การบังคับเด็กมาเปนแรงงาน การคาผูหญิง สงเสริมการพัฒนาชนบท การใหการศึกษา การขจัดความยากจน การพัฒนา สตรีดวยการสงเสริมใหมีอาชีพเลี้ยงตัวได และใหมีการศึกษา การสงเสริมสวัสดิการสังคม เชน การใหการรักษาพยาบาล การใหการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้ อาเซียนยังเนนการขจัดความยากจน การเพิ่มการจางงานที่มีผลผลิตที่สูงขึ้น และ การคุมครองกลุมผูดอยโอกาสในสังคม โดยประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมมือกัน และไดรับการสนับสนุนจากองคการ ระหวางประเทศ และองคกรเอกชนตาง ๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีบทบาทอยางแข็งขันในการสงเสริมความรวมมือและประสานความสัมพันธอันดีที่มี อยูระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเนนความร วมมือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตใหไดรับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ และมีฐานะที่มั่นคง เพื่อใหประชาชนชาวอาเซียนมี ความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดีทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งปจจุบันไดมีการกําหนดความรวมมือดานสังคมของ อาเซียนตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนนั้น มี 6 ดาน ประกอบดวย การพัฒนาทรัพยากร มนุษย การคุมครองและสวัสดิการสังคม สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม การสรางอัตลักษณ อาเซียนและลดชองวางทางการพัฒนา ซึ่งประเทศไทยมีบทบาทในดานสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่สําคัญ อาทิ


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 269

1. การสงเสริมความรวมมือดานการพัฒนาสังคมของอาเซียน ในการประชุมผูนํารัฐบาลอาเซียน ครั้งที่ 5 เมื่อป พ.ศ. 2538 ที่กรุงเทพฯ เปนจุดเริ่มตนของมิติใหมในการ พัฒนาสังคม เนื่องจาก เปนครั้งแรกที่ผูนําอาเซียนแสดงเจตจํานงใหมีการยกระดับความรวมมือดานการพัฒนาสังคมให ทัดเทียมกับความรวมมือดานการเมืองและเศรษฐกิจของอาเซียนโดยไดระบุไวใน “ปฏิญญากรุงเทพ ป ค.ศ. 1995” และมี แนวทางการดําเนินการ คือ ความไพบูลยรวมกันในการพัฒนามนุษย ความสามารถในการแขงขันดานเทคโนโลยีและความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และสืบเนื่องจากแนวคิดนี้ ตอมาที่ประชุมอยางไมเปนทางการของผูนํารัฐบาลอาเซียน ครั้งที่ 1 ณ กรุงจาการตา เมื่อป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ไทยก็ไดมีสวนผลักดันมติสําคัญ คือ การจัดทําวิสัยทัศนอาเซียน (ASEAN Vision) ใหครอบคลุมความรวมมือดานการเมืองและสังคมของอาเซียน และไดเห็นชอบใหจัดตั้งมูลนิธิอาเซียนขึ้น เพื่อ สนับสนุนกิจกรรมการศึกษาและการสรางความสัมพันธทางสังคมของอาเซียน ซึ่งจะเสริมสรางจิตสํานึกในความเปน อาเซียนและขยายการติดตอ การไปมาหาสูกัน แนวคิดการจัดตั้งมูลนิธิอาเซี ยนดังกลาว สวนหนึ่งพัฒนามาจากขอเสนอ จัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาสังคมของนายอํานวย วีรวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศในขณะนั้น และไดเขารวมการประชุมดังกลาว 2. การสงเสริมความรวมมือดานการศึกษา ประเทศไทยตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาตอการพัฒนาสังคม จึงไดนําเสนอ และสงเสริมแนวคิด ในการนําการศึกษามาเปนเครื่องมือในการพัฒนาสังคมและสรางความเขาใจอันดีระหวางกันของประชาชนในอาเซียน อยางตอเนื่อง บทบาทสําคัญในดานนี้ ไดแก การริเริ่มจัดตั้งเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน(ASEAN University Network หรือ AUN) ในป พ.ศ.2538 ตามมติของที่ประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 4 ที่มุงใหมีการสรางอัตลักษณอาเซียนและ พัฒนามนุษยผานการสรางความเขมแข็งของเครือขายมหาวิทยาลัย และสถาบันอุดมศึกษาที่มีอยูแลว เพื่อประโยชนใน ดานการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารดานการศึกษาและการดําเนินกิจกรรมดานการศึกษาระดับสูง โดยมีสํานักงานอยูที่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ การจัดตั้ง AUN ทําใหมีกิจกรรมความรวมมือตางๆ หลายดาน เชน การสรางโปรแกรมอาเซียนศึกษา การ พัฒนาหลักสูตรอาเซียนศึกษารวมกัน ความรวมมือดานการวิจัย ซึ่งริเริ่มเมื่อป พ.ศ. 2543 การจัดประชุมดานวัฒนธรรม เยาวชนอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2546 การแลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษาและคณาจารยใน AUN และความรวมมือดานการ ประกันคุณภาพการศึกษาของอาเซียน เปนตน 3. การสงเสริมการจัดตั้งคณะกรรมาธิการวาดวยการปกปองและสงเสริมสิทธิของสตรีและเด็ก (ACWC) การจัดตั้งคณะกรรมาธิการวาดวยการปกปองและสงเสริมสิทธิของสตรีและเด็ก (ASEAN Commission for the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children หรือ ACWC) มีวัตถุประสงคเพื่อให เปนกลไกในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของสตรีและเด็กในอาเซียน ประเทศไทยมีสวนสําคัญและมีบทบาทนําในการผลักดันใหเกิด TOR (Term of Reference) ของ ACWC จนเปนผลสําเร็จภายในเวลา 6 เดือน ในป พ.ศ. 2552 ซึ่งไทยรับหนาที่เปนประธานในการยกราง และถือไดวา เปน TOR ที่ภาคประชาสังคมของไทยและของประเทศสมาชิกไดมีสวนรวมในการรางดวย และในการประชุม ACWC ครั้งที่ 1 เมื่อ เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2554 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทยไดรับเลือกอยางเปนเอกฉันทใหเปนประธาน ACWC มี วาระดํารงตําแหนง 3 ป และไดมีการราง Rules of Procedures (ROP) ของ ACWC ฉบับที่ 1 รวมทั้งรางแผนการ ดําเนินงาน 5 ป โดยไทยใหความสําคัญตอสิทธิในการศึกษา การพัฒนาของเด็กปฐมวัย และประเด็นเรื่องความรุนแรงใน ครอบครัว โดยไทยไดเสนอตอที่ประชุมวาจะเปนเจาภาพจัดการประชุมเรื่อง Violence against Women and Children ในป พ.ศ. 2555 ดวย


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 270

4. การจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน บทบาทอีกอยางหนึ่งของประเทศไทยดานสังคม คือ ไดผลักดันใหกลไกใหม ๆ ของอาเซียนที่กําหนดไวใน กฎบัตรฯ สามารถดําเนินงานไดอยางครบถวน รวมทั้งเปดโอกาสใหประชาชน และภาคประชาสังคมตาง ๆ ไดเขามามีสวน รวม เพื่อชวยกันสรางประชาคมอาเซียน ดังจะเห็นไดจากริเริ่มใหมีการพบปะอยางไมเปนทางการระหวางผูนําอาเซียนกับ ผูแทนสมัชชารัฐสภาอาเซียน เยาวชนอาเซียน และภาคประชาสังคมอาเซียน ในระหวางการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 และครั้งที่ 15 ที่ชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย เปาหมายสําคัญประการหนึ่งของไทยในการสรางประชาคมอาเซียนใหเปน ‘ประชาคมเพื่อประชาชน’ ก็คือ การจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียนเพื่อใหเปนหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือระหวางประเทศสมาชิก อาเซียนกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และองคกรภาคประชาสังคมตาง ๆ ในการสงเสริมและคุมครองสิทธิของ ประชาชนในภูมิภาค ซึ่งเปนที่นายินดีวา เปาหมายดังกลาวไดบรรลุผลอยางเปนรูปธรรมในระหวางการประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 15 ที่ชะอํา-หัวหิน เมื่อเดือนตุลาคม 2552 ซึ่งมีการประกาศจัดตั้ง คณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาล อาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน-ไอชาร (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rightsหรือ AICHR) ขึ้น อยางเปนทางการ ในการประชุมสุดยอดผูนําสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (อาเซียนซัมมิท) ครั้งที่ 15 เมื่อ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ณ ชะอํา-หัวหิน ระหวางซึ่งเปนการจัดตั้งตามมาตรา 14 ของกฎบัตรอาเซียน AICHR ถือเปน กลไกสิ ท ธิ มนุ ษ ยชนกลไกใหม ใ นภู มิ ภาคโดยมี อํ า นาจหน า ที่ ใ นการส ง เสริ ม และคุ มครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ซึ่ ง นั บ เป น ความสําเร็จประการหนึ่งที่ไทยในฐานะประธานอาเซียนไดมีบทบาทสําคัญในการผลักดัน ปญหาสิทธิมนุษยชนในกลุมประเทศอาเซียนเปนปญหาที่ มีมาอยางยาวนาน และซับซอน และลุกลามถึง ปญหาระดับระหวางประเทศ ประเทศใดประเทศหนึ่งจึงไมอาจแกไขปญหานี้ไดโดยลําพังเมื่อยอนกลับไปดูเรื่องราวของ อาเซียน ที่จริงแลวอาเซียนมีการพูดถึงเรื่องสิทธิมนุษยชนมานานแลว โดยเริ่มตั้งแตการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ 36 ซึ่งจัดขึ้นที่สิงคโปร ระหวางวันที่ 23-24 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ในแถลงการณรวม (ในขณะนั้นมีสมาชิกทั้งหมด 6 ประเทศไดแก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส และบรูไน) 5. การจัดตั้งกลุมสามฝายอาเซียน-เมียนมาร-สหประชาชาติ (Tripartite Core Group หรือ TCG) ประเทศไทยไดมีบทบาทนําในการจัดตั้ง Tripartite Core Group หรือ TCG ซึ่งประกอบดวยพมา อาเซียน และสหประชาชาติ เพื่อเปนกลไกประสานงานเรื่องการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมแกพมาในชวง ไซโคลนนารกิส โดยมีการจัดทําแผนฟนฟูและเตรียมความพรอมหลังภั ยพิบัติไซโคลนนารกีส (Post-Nargis Recovery and Preparedness Plan - PONREPP) ซึ่งมีนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน และผูแทนของกลุมสามฝาย อาเซียน-พมา-สหประชาชาติ (Tripartite Core Group - TCG) เปนผูดูแลรับผิดชอบ PONREPP เปนแผน 3 ป (พ.ศ. 2552-2554) เนนการบูรณะฟนฟูใน 8 ดานคือ การประกอบอาชีพ ที่หลบภัย การศึกษา สาธารณสุข น้ําและสุขอนามัย การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ สิ่งแวดลอม และการคุมครองกลุมที่ไดรับผลกระทบ ความสําเร็จของ PONREPP เปนกาว สําคัญของการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งไมเพียงแคสําหรับเมียนมาร แตจะมีผลตอการจัดการภัยพิบัติของอาเซียนในภูมิภาคดวย โดยผลงานสําคัญ คือ ประเทศไทยไดใหความชวยเหลือชาวพมาที่ประสบภัยจากไซโคลนนารกิสคิดเปนมูลคาประมาณ 17 ลานดอลลารสหรัฐ (ประมาณ 595 ลานบาท) และกําลังจะชวยเหลือเมียนมารในการสรางที่หลบภัย 2 แหง สถานีอนามัย 2 แหง และสนับสนุนการปรับปรุงธนาคารเลือดที่โรงพยาบาลกลางในกรุงยางกุง โดยดําเนินงานโครงการขางตนในพระ นามของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 271

นอกจากบทบาทดังกลาวมา ประเทศไทยยังมีบทบาทนําและมีสวนรวมสงเสริมแนวคิดและแนวปฏิบัติ ตาง ๆ ดานสังคมและวัฒนธรรมอีกมากมาย เชน - การเปนศูนยอบรมเจาหนาที่ปราบปรามยาเสพติดของอาเซียน - การผลักดันใหอาเซียนมีมติรับรองการจัดใหมีปแหงการปลูกจิตสํานึกในการตอตานยาเสพติด อาเซียน ระหวางป 2545-2546 และสนับสนุนใหมีการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 7 รับรอง ปฏิญญาวาดวยเชื่อ HIV - การสงเสริมกิจกรรมดานสาธารณสุขอาเซียน เชน การจัดกิจกรรมวันไขเลือดออกอาเซียน - การรวมเสนอใหมีกลไกระดับรัฐมนตรีดานการกีฬาอาเซียน (ASEAN Ministerial Body on Sports) เพื่อสงเสริมความรวมมือดานการกีฬา - การผลักดันใหอาเซียนยกระดั บแรงงานของตนโดยการดําเนินโครงการดานการพัฒนาทักษะ แรงงานของอาเซียนใหสามารถรองรับความเจริญกาวหนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของ ประเทศสมาชิกสวนใหญ ตลอดจนผลักดันใหอาเซียนเห็นพองรวมกันวาไมควรเชื่อมโยงเรื่อง มาตรฐานแรงงานเขากับการคาระหวางประเทศตามความประสงคของประเทศพัฒนาแลว ดังนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนจุดมุงหมายหลักประการหนึ่งของประชาคมอาเซียน ในการยกระดับความ รวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม เพื่อแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนโดยตรง เชน ปญหา ความยากจน แรงงาน สิ่งเสพติด สิ่งแวดลอม ผูดอยโอกาส โรคติดตอ เปนตน ซึ่งจะชวยใหประชากรอาเซียนอยูในสังคมที่ มีความแข็งแกรงมีจริยธรรมและธรรมาภิบาล และดํารงชีวิตอยางมีความสุข ซึ่งประชาคมอาเซียนไดจัดทําแผนการรวม เปนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่เนนประชาชนเปนศูนยกลาง จึงไดกําหนดแผนงานความรวมมือเพื่อพัฒนา ทรัพยากรมนุษยในระดับภูมิภาค เพื่อใหอาเซียนมีสังคมที่มั่นคง ประชาชนยึดมั่นคุณธรรม ยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางรูคุณคา และมุงเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหสามารถปรับตัว เขากับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ในอนาคต ตลอดจนสามารถรับมือกับวิทยาการสมัยใหม และการแขงขันทางเศรษฐกิจที่จะ เพิ่มมากขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ


ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 272

อางอิงทายบท I

หมายเหตุ ในรายงานการคามนุษย พ.ศ. 2556 การจัดชั้น tier placement สําหรับแตละประเทศนั้น พิจารณาจากผลการ ดําเนินงานและความพยายามของรัฐบาลในการแกปญหาหรือขจัดปญหาการคามนุษยให หมดไป มากกวาที่จะเปนการ พิจารณาจากระดับความรุนแรงของปญหาคามนุษย โดย tier 1 หมายถึงประเทศที่ไดดําเนินมาตรการขั้นต่ําตามขอกําหนดใน ทุกๆ ดาน เพื่อขจัดปญหาการคามนุษย เปนที่เรียบรอยแลว tier 2 หมายถึง ประเทศที่ยังไมไดดําเนินมาตรการขั้นต่ําตาม ขอกําหนดในบางดาน แตรัฐบาลแสดงใหเห็นถึงความพยายามและเจตนาที่จะดําเนินการใหดีขึ้น tier 2 watch list (ในที่นี้ แทนดวย 2.5) หมายถึง ประเทศที่ยังไมไดดําเนินมาตรการขั้นต่ํา บางดาน รัฐบาลแสดงใหเห็นถึงความพยายามและเจตนา แต ยังพบปญหาการคามนุษยอยูในระดับที่สูงและจําเปนตองเฝาระวัง tier 3 หมายถึง ประเทศที่ยังไมไดดําเนินมาตรการขั้นต่ํา บางดาน และรัฐบาลก็ไมไดแสดงใหเห็นถึงความพยายามและเจตนาที่จะดําเนินการ ใหดีขึ้น II หมายเหตุ: 1) เปนการสรุปขอเสนอแนะ เฉพาะจากขอมูลดัชนีที่มีการจัดอันดับในระดับนานาชาติ (ไมรวมขอมูล ตัวชี้วัด) ซึ่งอาจไมครอบคลุมในทุกประเด็นของแตละองคประกอบความมั่นคงของมนุษย, 2) “ตองพัฒนา” หมายถึง องคประกอบความมั่นคงของมนุษยที่มีอันดับรอยละจากการจัดอันดับดวยคา ดัชนีที่เกี่ยวของ ต่ํากวารอยละที่ 50; “ตองพัฒนาเรงดวน” หมายถึง องคประกอบความมั่นคงของมนุษยที่ มีอันดับรอยละจากการจัดอันดับดวยคาดัชนีที่เกี่ยวของต่ํากวารอยละที่ 50 และต่ํากวาอันดับรอยละของ ดัชนีความมั่นคงของมนุษย (HSI) ของประเทศ; “ตองปรับปรุง” หมายถึง องคประกอบความมั่นคงของ มนุษยที่มีอันดับรอยละจากการจัดอันดับดวยคาดัชนีที่เกี่ยวของสูงกวารอยละที่ 50 แตต่ํากวาอันดับรอย ละของดัชนีความมั่นคงของมนุษย (HSI) ของประเทศ


ห น้ า | 273

สรุป สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of the South East Asian Nations : ASEAN) เปนองคการทางภูมิรัฐศาสตรและองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่ไดรับการจัดตั้ง ขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 แตตลอดระยะเวลาที่ผานมา ความรวมมือสวนใหญมักจะเปนความตกลงไมเปนทางการ และใชความสัมพันธเชิงบุคคลในการขับเคลื่อนความรวมมือทั้ง ในดานการเมือง เศรษฐกิจ และความรวมมืออื่น ๆ อยางไรก็ดี ปจจุบันสภาพแวดลอมทางการเมืองระหวางประเทศที่ ปรับเปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว ไดนํามาซึ่งโอกาสและความทาทายที่ประเทศตาง ๆ ตองประสบไมวาจะเปนโอกาสในการ เสริมสรางความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของประเทศตาง ๆ ใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น หรือการเผชิญหนากับภัย คุกคามที่มาในรูปแบบใหม ๆ เชน การก อการรายขามชาติ องคกรอาชญากรรม ภัยพิบัติทางธรรมชาติและโรคระบาด ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียน จึงไดเห็นชอบใหเรงรัดการจัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” ภายในป 2558 เพื่อสรางความเปน ปกแผนของประเทศสมาชิก ซึ่งประเทศไทยในฐานสมาชิกอาเซียนไดรวมลงนามในขอตกลงกฎบัตรสมาคมแหงประชาชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต (Charter of the Association of the Southeast Asia Nations) อันเปนกรอบการดําเนินงาน ที่รัฐสมาชิกของสมาคมตกลงจัดทําขึ้น โดยมีเปาหมายรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียน (Asian Community) เพื่อ สงเสริมอัตลักษณรวมกันและความรูสึกเปนสวนหนึ่งในประชาชนของตน ภายใตคําขวัญ “One Vision, One Identity, One Community” โดยมีความรวมมือหลัก 3 ดาน ไดแก ความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคง ความรวมมือดาน เศรษฐกิจ และความรวมมือดานประชาสังคมและวัฒนธรรม เมื่อพิจารณากรอบความรวมมือหลักทั้งสามดานดังกลาวแลว จะพบวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community) เปนความรวมมือที่มี ความเกี่ยวโยงกับกระบวนการยุติธรรมมากที่สุด เนื่องจาก เปนกรอบความรวมมื อที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางคานิยม และ แนวปฏิบัติรวมกันของประเทศในกลุมอาเซียนดานตาง ๆ เสริมสรางขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับประเทศ ในกลุมอาเซียนดานตาง ๆ เสริมสรางขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม บนพื้นฐานหลักการวาดวยความมั่นคงของมนุษย และใหประชาคมอาเซียนมีปฏิสัมพันธที่แนนแฟนและ สรางสรรคกับประชาคมโลก โดยใหอาเซียนมีบทบาทนําในภูมิภาค และเมื่อเกิดการรวมตัวกันเปนประชาคมแลว ยอมเกิด การยา ยถิ่ นฐานของประชาชนในกลุ มอาเซียนทั้ งแบบชั่ วคราวและถาวรมากขึ้น รวมถึ งการติด ตอสื่ อสารและการมี ปฏิสัมพันธระหวางกันในมิติตาง ๆ ซึ่งจําเปนตองมีการกําหนดกฎกติกากลางของกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ถึงแมวา การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนในกรอบดังกลาวยอมจะสงผลกระทบในเชิงลบมากกวาในเชิงบวก จึงจําเปนที่ แตละประเทศ จะตองดําเนินการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเชนนี้ อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจําเปน อย า งยิ่ ง ที่ ตอ งมี การศึ กษาทบทวนกฎหมาย และกระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญาเกี่ ยวกั บ กระบวนการพิ จารณาคดี มาตรการการดําเนินคดี เพื่อใหการใชบริการของประชาชนจากกระบวนการยุติธรรมเปนไปดวยความรวดเร็วและถูกตอง เปน ธรรม ทั้ง ดานการบั งคับ ใช กฎหมาย และการคุมครองสิ ทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพื่อ เตรียมความพรอ มเขา สู ประชาคมอาเซียน สําหรับตัวอยางผลกระทบของประชาคมอาเซียนที่อาจมีตอระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของประเทศไทยนั้น ไดแก ปญหาแรงงานตางดาว ทั้งที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายและที่ลักลอบมาเป นแรงงานเถื่อน การ เคลื่อนยายแรงงานระหวางประเทศนี้มีความสัมพันธกับกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ตองการจะขยายการลงทุนและ การคาระหวางประเทศสมาชิก ในสวนของแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายนั้น ประเทศไทยอาจจะตองพิจารณา เนื้อหากฎหมายแรงงานที่บังคับใชใ นปจจุบันวา สอดคลองกับประเทศอื่น ๆ หรือไม พรอมทั้งเจรจากับประเทศที่มี


ส รุ ป : ห น า | 274

มาตรฐานการคุมครองแรงงานต่ํากวาประเทศไทย ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการปรับปรุงมาตรฐานการคุมครองแรงงานไทยใน ตางประเทศดวย สําหรับแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมายนั้น เปนเรื่องที่ตอ งใหความสําคัญเปนพิเศษประการ หนึ่ ง และเป น ประเด็ น ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมาธิ ก ารสหประชาชาติ ว า ด ว ยการป อ งกั น อาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา สมัยที่ 21 นอกจากปญหาการเขาประเทศโดยผิดกฎหมายแลว การรวมตัวเปน ประชาคมอาเซียนดังกลาว เกิดขึ้นในชวงเวลาของความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในภูมิภาค ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง รวมทั้งสังคม และวัฒนธรรม ทําใหปญหาตาง ๆ ที่เคยเปนปญหาระดับชาติ อาทิ ปญหาการคามนุษย อาชญากรรมขาม ชาติ ไดขยายวงกวางขึ้นเปนปญหาระหวางประเทศ ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ประเทศสมาชิกอาเซียน จะตองมีการปรับตัว ใหเขากับสถานการณ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพในการรับมือกับปญหาความทาทายในประเด็นตาง ๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อ สรางความแข็งแกรง และอํานาจตอรองรวมกัน สําหรับปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น ประเทศอาเซียนตางมีความรวมมือดานการตอตานการก อการรายเปน รูปธรรมภายใตแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Plan of Action to Combat Transnational Crime) ซึ่งครอบคลุมอาชญากรรม 8 ประเภท คือ การลับลอบคายาเสพติด การคาสตรีและเด็ก การ กระทําอันเปนโจรสลัด การลับลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน การกอการราย อาชญากรรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ และ อาชญากรรมคอมพิวเตอร โดยประเทศไทยมีสวนสําคัญในการริเริ่มใหประเทศสมาชิกอาเซียนมีความรวมมือในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติมาตั้งแตเริ่มตน ดวยการผลักดันในระดับนโยบายในการประชุมสุดอาเซียน การประชุมรัฐมนตรี ตางประเทศอาเซียน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน (Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Treaty of ASEAN-MLAT ASEAN) เนื่องจาก ไทยเปนประเทศที่ไดรับ ผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากปญหาอาชญากรรมขามชาติ จากการที่มี ที่ตั้งเปนศูนยกลางในภูมิภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต และเปนประเทศที่เปดเสรีในการเดินทางเขา-ออก แตอย างไรก็ดี ปญ หาอาชญากรรมข ามชาติใ นปจจุบัน มีรูป แบบวิธีก ารที่ ซับซ อนและเปนระบบองค กรที่ มี เครือขายการทํางานที่กวางขวางโยงในไปทั่วโลก ประกอบกับรูปแบบและลั กษณะของอาชญากรรมเปนอาชญากรรมที่มี ลักษณะการกระทําผิดโดยอาศัยโอกาสและพัฒนาเทคโนโลยี และมีสภาพเปนความผิดที่กระทําขามพรมแดนระหวางรัฐ 2 รัฐหรือมากกวานั้น การที่อาชญากรรมขามชาติมีลักษณะเชนนี้ ทําใหเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศ ตางก็ประสบปญหาเดียวกัน นั่นคือ อํานาจการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมในแตละประเทศ หมดลงเมื่อพนพรมแดนของประเทศตนเอง ขณะที่อาชญากรรมขามชาตินั้นไรพรมแดน จึงทําใหเกิดปญหาในเรื่องแนว ทางการปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญา ความลาชาในการปฏิบัติงาน ปญหาเรื่องค าใชจายในการดําเนินคดี และความ รวมมือทางอาญาระหวางประเทศที่ยังไมมีความสอดคลองกับบริบทความเปลี่ยนแปลงในการเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนยังไมมีเครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาวิธีการทํางานดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังนั้น จึงมีความ จําเปนที่จะตองทบทวนกฎหมายและแนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญาชาวตางประเทศและความรวมมือระหวาง ประเทศใหสอดคลองกับกรอบขอตกลงและกลไกความรวมมือระหวางประเทศของกลุมประเทศอาเซียน สําหรับประเทศไทย หนวยงานราชการหรือองคกรที่เกี่ยวของ นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญดานอาเซียนตางพยายาม สงเสริม สรางความเขาใจและใหความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนแกสังคม และประชาชนทั่วไปผานทางสื่อรูปแบบตาง ๆ รวมถึงมีการแสดงความคิดเห็น ใหทัศนะและมุมมองทั้งในดานบวกและลบของประเทศไทยกับประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสา หลัก ในสวนของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดมีการแสดงความคิดเห็นในแงมุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของเชนกัน โดยมีความคิดเห็นและมุมมองในบางประเด็นที่สําคัญ ดังนี้


ส รุ ป : ห น า | 275

ความเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในกรอบของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีหลายประเด็นที่นักวิชาการไดแสดงความคิดเห็นตั้งแต ปญหาของคํานิยามของประเทศสมาชิกอาเซียนมีความแตกตางกัน นักวิชาการอยางเชน รศ.ดร.ประภัสสร เทพชาตรี อาจารยประจําคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดแสดงความคิดเห็นวา คํานิยามของรัฐบาลอาเซียนมีความ แตกตางไปอยางมากจากคํานิยามของนักวิชาการ โดยประเด็นหลักที่นัก วิชาการใหความสําคัญ แตไมปรากฏใน APSC Blueprint คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะตองมีการกําหนดนโยบายรวมกัน การรับรูถึงภัยคุกคาม รวมกัน มีอัตลักษณรวมกัน มีความรวมมือทางทหาร ไวเนื้อเชื่อใจกัน มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และมี สถาบันที่เปนทางการ สําหรับกลไกการปองกันและแกไขความขัดแยงของประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน มีลักษณะ มุงเนนแกความขัดแยงระหวางรัฐ แตในปจจุบัน และอนาคต ความขัดแยงสวนใหญจะเปนความขัดแยงที่เกิดขึ้นภายในรัฐ แตมีลักษณะขามชาติ ดังนั้น กลไกอาเซียนจึงอาจจะไมมีประสิทธิภาพรองรับความขัดแยงในรูปแบบใหม นอกจากนี้ ความ รวมมือทางทหารของอาเซียนยังเบาบางมาก อาเซียนซึ่งกอตั้งมากวา 40 ป แลว แตเพิ่งจัดใหมีการประชุมรัฐมนตรี 1 กลาโหมเปนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2549 นอกจากนี้ ในเรื่องการปองกันและการตอสูกับคอรรัปชั่นที่เปนกิจกรรมหนึ่งของ APSC Blueprint นายพรพล นอยธรรมราช นักวิเคราะหเทคโนโลยีปองกันประเทศ ไดกลาวถึงในประเด็นนี้ โดย ยกตัวอยางในประเด็นของการสรางประชาคมที่มีคานิยมและบรรทัดฐานรวมกันบนพื้นฐานของการใชกฎรวมวา การสราง ประชาคมที่มีคานิยมและบรรทัดฐานรวมกันนั้น ประกอบไปดวย 2 กรอบการทํางานหลัก คือ 1) การรวมมือกันในการ พัฒนาการเมือง และ 2) การสรางและใชบรรทัดฐานรวมกัน ซึ่งกรอบการทํางานแรกนั้น ประกอบไปดวย กิจกรรมตาง ๆ เชน การสงเสริมสภาพธรรมาภิบาล การสงเสริมและปกปองสิทธิมนุษยชน การปองกันและการตอสูกั บคอรรัปชั่น และ การสงเสริมหลักการของประชาธิปไตย ซึ่งหากเพียงแคมองกิจกรรมดังกลาวเพียงคราว ๆ แลว ก็พอจะสามารถคาดเดาได วา เปนไปไดยากที่แตละประเทศสมาชิกจะเขามารวมมือกันได ยกตัวอยางเชน การปองกันและการตอสูกับคอรรัปชั่น ประเทศสมาชิกในอาเซียนนั้นเปนกลุมประเทศที่ประสบปญหากับการคอรรัปชั่นมากที่สุดแหงหนึ่งของโลก ตามสถิติของ Corruption Perception Index (CPI) ป พ.ศ. 2556 นั้น ประเทศในอาเซียนนอกจากสิงคโปรและบรูไนแลว ทุกประเทศ ที่เหลืออยูต่ํากวาอันดับที่ 50 ทั้งหมดและมีถึง 6 ประเทศที่มีอันดับต่ํากวา 100 เรียกไดวา ยังไมรูวาประเทศใดในอาเซียน 2 จะเปนผูริเริ่มในการแกไขปญหาคอรรัปชั่นนี้ และอยางไรดี

ความรวมมือทางทะเล ความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเลระหวางประเทศในอาเซียนเปนอีกประเด็นหนึ่งที่กําหนดอยูใน APSC Blueprint นาวาเอกภุชงค ประดิษฐธีระ จากศูนยศึกษายุทธศาสตรทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ไดแสดงความ คิดเห็นวา ความรวมกันทางทะเลเปนเรื่องที่มีขอบเขตคอนขางกวาง เนื่องจาก ทะเลในภูมิภาคนี้มีพื้นที่กวางใหญและมี ปญหาภัยคุกคามหลายอยาง ไดแก ปญหาความขัดแยงเรื่องเขตแดนทางทะเลของประเทศในภูมิภาค การกอการรายทาง ทะเล โจรสลัด และการปลนในทะเล การกระทําผิดกฎหมายทางทะเล และปญหาภัยธรรมชาติและอุบัติภัยทางทะเล รวมทั้งตรวจสอบกลไกความรวมมือที่มีอยูเดิม และเสนอแนวทางความรวมมือกันทางทะเลทั้งในสวนของทวิภาคี และ พหุภาคี 1

ประภัสสร เทพชาตรี. 2552. ขอเสนอการทําใหอาเซียนเปนองคกรของประชาชนอยางแทจริง . วันที่คนขอมูล 25 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://thepchatree.blogspot.com/2009/03/blog-post.html. 2 พรพล นอยธรรมราช, ม.ป.ป. อาชญากรรมขามชาติ ในอาเซียน. วันที่คนขอมูล 23 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://dtad.dti.or.th/ images/stories/pdf/asean2015.pdf


ส รุ ป : ห น า | 276

จากปญหาภัยคุกคามตาง ๆ ขางตน กลไกลความรวมมือที่มีอยูในปจจุบันยังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ในการ แกปญหาเขตแดนทางทะเลควรแกไขโดยใชการเจรจาตกลงในกรอบทวิภาคี การเสริมสรางกําลังทางทหารโดยการสงเสริม การสรางมาตรการ สรางความไววางใจระหวางประเทศ และการสรางความโปรงใสทางการ การกอการรายทางทะเลควรมี การสงเสริมการรับรูขาวสารทางทะเลดวยกลไกที่มีอยูกับมาตรการเพื่อความมั่นคงทางทะเลระหวางประเทศ ปญหาโจร สลัด และปลนเรือในทะเลควรสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารโดยใชศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่มีอยูแลว เชน ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร (Information Sharing Center : ReCAAP ISC) เปนตน และปญหาภัยธรรมชาติ และอุบัติภัยในทะเล ควรจัดตั้งศูนยประสานงานปฏิบัติการชวยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัยทางทะเลของภูมิภาค เพื่อ 3 เปนการชวยเหลือซึ่งกันและกัน

ความรวมมือดานการทหาร ในเรื่องของกองทัพและความมั่นคงนั้น ความรวมมือทางการทหารในอาเซียนเกิดจากการหารือกันในการประชุม ARF จากนั้น จึงมีผลตอการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและอีก 8 ประเทศ (ADMM-Plus) ซึ่งมีการหารือ และ วางแผนจัดทําความรวมมือดานความมั่นคงใน 5 ประเด็นหลัก และประเทศสมาชิกแบงหนาที่ความรับผิดชอบในประเด็น ตาง ๆ ดังนี้ 1. การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และบรรเทาสาธารณภัย โดยมีเวียดนาม และจีนเปนประธาน 2. ความมั่นคงทางทะเล โดยมีมาเลเซีย และออสเตรเลียเปนประธาน 3. ประเด็นความรวมมือระหวางกองทัพ โดยมีสิงคโปร และญี่ปุนเปนประธาน 4. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ โดยมีฟลิปปนส และนิวซีแลนดเปนประธาน 5. การตอตานการกอการราย โดยมีอินโดนีเซีย และสหรัฐอเมริกาเปนประธาน ทั้งนี้ จะเห็นไดวา ประเทศไทยไมมีบทบาทของการเปนผูนําในสวนใดเลย แมวา ประเทศไทยจะมีความพยายาม จัดใหมีการหารือ และการวางแผนงานในประเด็นการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และบรรเทาสาธารณภัยก็ตาม ซึ่ง ในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมครั้งถัดไป ทางกองทัพไทยนําประเด็นการสรางความรวมมือดานการบินเขาประชุม โดย เสนอใหมีการฝกบินรวมกัน ซึ่งประเทศไทยเปนผูนําในประเด็นดังกลาว อยางไรก็ตาม ที่ผานมาการซอมรบระหวาง ประเทศสมาชิกเปนความรวมมือในลักษณะทวิภาคี อาทิเชน การซอมรบระหวางประเทศไทยกับสิงคโปร รวมถึงมีการ ลาดตระเวนของแตละประเทศทั้งประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร โดยแตละประเทศจะลาดตระเวนใน นานน้ําของตนเปนการเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน ปจจุบัน ประเทศสมาชิกอาเซียนมองวา ประเทศไทยมีบทบาทการเปน ผูนําลดนอยลงมาก ถึงอยางไร ประเทศอาเซียนบางประเทศยังคงเชื่อในศักยภาพของประเทศไทยที่จะกาวขึ้นมามีบทบาท เพิ่มขึ้น ในประเด็นการเสริมสรางกองทัพดวยการจัดหายุทโธปกรณ ประเทศในอาเซียนมีการดําเนินในการแขงขันกัน คอนขางสูง ถึงแมจะมีการปฏิเสธวา การจัดหาอาวุธเปนไปเพื่อการรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม หรือเพื่อชดเชยกับการ ขาดการพัฒนากองทัพในชวงที่ประเทศตาง ๆ เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อชวงหลายปที่ผานมา ประเทศตาง ๆ มีการจัดหา เรือรบ เรือดําน้ํา และเครื่องบินรบสมรรถนะ และราคาสูงจํานวนมาก เชน มาเลเซียจัดหาเรือดําน้ําดีเซลชั้น SCORPENE สองลําและเรือดําน้ําใชแลว AGOSTA 70 B อีก 1 ลํา มูลคารวมไมต่ํากวา 990 ลานดอลลารสหรัฐ ในขณะที่ สิงคโปรมี การจั ดหาเรือดํา น้ําชั้น Vastergotland-class (A 17) จํานวน 2 ลํา และเรื อดําน้ํ ามือสองอีก 4 ลํ า สว นเวียดนาม อินโดนีเซียและไทยตางก็มีแผนที่จะจัดหาเรือดําน้ําเชนกัน และเมียนมารจัดซื้อเครื่องบินขับไล แบบ MiG-29 จํานวน 20 3

ภุชงค ประดิษฐธีระ, น.อ. (ม.ป.ป.). 2554. ประชาคมอาเซียนกับบทบาทกองทัพเรือ. วารสารนาวิกศาสตร, 4(8), หนา 66-67.


ส รุ ป : ห น า | 277

ลําจากรัสเซียเปนเงิน 600 ลานดอลลารสหรัฐ เพราะประเทศไทยมีการจัดหาฝูงบินขับไลเขาประจําการจากสวีเดน ดังนั้น 4 จึงกลาวไดวา สถานการณการเสริมสรางกองทัพของประเทศในอาเซียนมีนัยแหงการถวงดุลระหวางกันดวย

ปญหาเขตแดน ปญหาเขตแดน ยังเปนปญหาที่ตองแกไขและหาวิธีการระงับขอพิพาทดวยสันติวิธี ปจจุบันประเทศในอาเซียนยัง มีแนวโนมการใชกําลังรบเขาแกปญหา แมวา จะไมรุนแรงก็ตาม อยางเชน กรณีประเทศมาเลเซียกับประเทศอินโดนีเซีย และประเทศไทยซึ่งมีพรมแดนติดกับหลายประเทศ ยังคงมีปญหาเขตแดนกับประเทศเพื่อนบานทั้งประเทศเมียนม าร กัมพูชา และสปป.ลาว เปนตน ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต างประเทศ แสดง ความคิดเห็นเรื่องของปญหาเขตแดนวา ควรเรงแกปญหาเขตแดนและฟนฟูความสัมพันธกอนเขาสูประชาคมอาเซียน ซึ่ง ปญหาความขัดแยงเรื่องเขตแดนเปนเรื่องที่ชาติตะวันตกเปนผูกําหนดขึ้น ดังนั้น ประเทศไทยควรปรับมุมมองใหมและกาว ขามปญหาดังกลาวในบางจุด ไมเชนนั้น จะไมสามารถสรางเขตเศรษฐกิจชายแดนได เพราะหากเขมงวดเรื่องปญหาเขต แดนก็จะทําใหประเทศไทยตองทะเลาะกับประเทศเพื่อนบานในทุกจุด ฉะนั้น ทางออกเรื่องเขตแดนจึงมีอยู 3 แนวทาง คื อ 1) หากตกลงได ก็ ค วรจั ด การให เ สร็ จ สิ้ น 2) หากตกลงไม ไ ด อ าจปล อ ยให เ รื่ อ งดั ง กล า วดํ า รงต อ ไป เพื่ อ รั ก ษา ความสัมพันธระหวางประเทศ 3) หากตกลงไมไดเนื่องจาก เหตุผลทางเศรษฐกิจก็ควรขอความเห็นจากคนในประเทศ และ ใชแนวทางกฎหมายระหวางประเทศแกปญหาควบคูกัน เพราะการสรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศเพื่อนบานควร 5 เปนเปาหมายของไทย เพื่อสงเสริมใหกาวไปสูประชาคมอาเซียนอยางมั่นคง

ภัยคุกคามรูปแบบใหม/ภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ ภัยคุกคามรูปแบบใหม อยางเชน การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ ภัยธรรมชาติ เปนประเด็นหลักที่ไดรับ การมองวา เปนปจจัยสําคัญที่สามารถดึงเอาประเทศสมาชิกตาง ๆ ของอาเซียนยอมเขามารวมมือกัน เพื่อกอใหเกิด ประชาคมในดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนได เพราะภัยดังกลาวถือวา เปนภัยที่แตละประเทศไมสามารถแกปญหา ไดดวยตนเองไดเพียงลําพัง ซึ่งจะเปนการบังคับกลาย ๆ ใหแตละประเทศจําเปนตองรวมมือกันแบบพหุภาคี และเปน 6 จุดเริ่มตนใหแตละประเทศเรียนรูที่จะสละอํานาจอธิปไตยของตนบางสวนเพื่อผลประโยชนรวมกันในภูมิภาค ทั้งนี้ นักวิชาการและองคกรที่เกี่ยวของไดแสดงความคิดเห็นในเรื่องภัยคุกคามรูปแบบใหมไวนาสนใจ ดังนี้ อาชญากรรมขามชาติ ถือวา เปนสวนหนึ่งของภัยคุกคามรูปแบบใหม ปจจุบัน อาชญากรรมขามชาติมีความ ซับซอนมากขึ้นกวาเมื่อกอนมาก เนื่องจาก มีการพัฒนาดานเทคโนโลยีดานการสื่อสารและคมนาคม ทําใหอาชญากรรม ขามชาติยกระดับเปนปญหาระดับโลก ยิ่งพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในปจจุบันนั้น ยกระดับจากเศรษฐกิจภายในประเทศ เปนเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก สงผลใหเกิดการแกกฎหมายหรือขอบังคับตาง ๆ ใหออนตัว เพื่อเอื้อกับการคา และแรงงานระหวางประเทศ ผลที่ตามมา คือ กลุมอาชญากรรมขามชาติก็ใชชองวางเหลานี้ แสวงหาผลประโยชนและ 7 ประกอบอาชญากรรม

4

กิ ต ติ พ งษ จั น ทร ส มบู ร ณ , ร.น. (ม.ป.ป.). อนาคตภาพของประชาคมอาเซี ย น. วั น ที่ ค น ข อ มู ล 25 มิ ถุ น ายน 2557. เข า ถึ ง ได จ าก http://dtad.dti.or.th/images/stories/pdf/prepareasean.pdf. 5 ศูนยขาวอารเอสยูนิวส, 2555. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย หนุนสรางยุทธศาสตรจังหวัดจับคูคาประเทศเพื่อนบาน-จีน. วันที่คนขอมูล 23 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://www.rsunews.net/index.php/news/detail/945. 6 อางแลว. พรพล นอยธรรมราช, ม.ป.ป. 7 เรื่องเดียวกัน.


ส รุ ป : ห น า | 278

ใน APSC Blueprint ไดกลาวถึง อาชญากรรมขามชาติอยู 6 ประเภทนอกเหนือจากการกอการราย คือ การ ลักพาตัว และคามนุษย การคายาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย การคาอาวุธเถื่อนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร และโจรสลัด อยางไรก็ตาม อาชญากรรมที่เปนภัยตอความมั่นคงของประเทศสมาชิกที่ตองจัดการอยางเรงดวนนั้นมี 3 ประเภท คือ การลักพาตัวและคามนุษย การคายาเสพติด และโจรสลัด นายพรพล นอยธรรมราช นักวิเคราะหเทคโนโลยีปองกันประเทศ ใหทัศนะในเรื่องอาชญากรรมขามชาติวา การ รวมมือกันในกลุมประเทศอาเซียนมีความคืบหนาในการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหมนอยมาก เนื่องจาก มีผลกระทบ ตออํานาจอธิปไตยของประเทศสมาชิก ทําใหไมคอยมีประเทศใดกลาออกมาเปนผูนําอยางจริงจัง อีกทั้งบางประเด็นยังถูก มองวา เปนประเด็นระดับทวิภาคี เชน ปญหายาเสพติดของเมียนมารที่ไหลเขาสูประเทศไทย ปญหาโจรสลัดในชองแคบ มะละกา ซึ่งไมตองการใหประเทศที่สามเขามามีสวนรวม หรือบางประเด็นเปนเรื่องเฉพาะของประเทศใดประเทศหนึ่ง ทํา ใหวิถีอาเซียน (ASEAN Way) มักจะถูกนํามาใชทันที คือ การไมเขาไปยุงเรื่องภายในประเทศของอีกฝาย หรือไมเขาไปยุง กับความขัดแยงของทั้งสองฝาย และความขัดแยงระดับทวิภาคีใด ๆ จะตองไมทําลายเสถียรภาพ และความเปนหนึ่งเดียว ของอาเซียน ในขณะเดียวกัน ประเทศสมาชิกอาเซียนก็ขาดแรงจูงใจในการแกไขปญหารวมกัน กลับเปนประเทศภายนอก อาเซียนที่เขามามีอิทธิพลและสรางแรงจูงใจใหกับประเทศสมาชิกอาเซียนเขามารวมมือกัน ซึ่งเห็นไดชัดเจนในประเด็น ปญหาเรื่องโจรสลัด โดยประเทศญี่ปุนเปนประเทศแรกที่เสนอการแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณเอเชียตะวันออก เฉียงใต ในป พ.ศ. 2542 หลังการประชุม ASEAN+3 จนกระทั่ง มีการลงนามขอตกลง Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป พ.ศ. 2543 และ ปรับปรุงใหมในป พ.ศ. 2548 อยางไรก็ตาม โครงการ ACCORD ก็ไมประสบความสําเร็จในการนําไปใชและการปฏิบัติงาน รวมกัน ดังนั้น การสรางประชาคมดานการเมืองและความมั่นคงในกลุมประเทศอาเซียนจะประสบความสําเร็จได อาจจะ 8 ตองอาศัยแรงกดดันจากภายนอก เชน ประเทศมหาอํานาจตาง ๆ

การจัดการภัยพิบตั ิ ประเทศในอาเซียนมีการฝกรวมกันในภาคพลเรือนที่เรียกวา ASEAN Disaster Relief Exercise โดยประเทศ ไทยสงกรมปองกันและบรรเทาสาธารณะภัย เปนผูเขาฝกรวม โดยโครงการดังกลาวริเริ่มโดย ASEAN Coordinating Center for Humanitarian Assistance on Disaster Management (AHA Center) แต AHA Center ยังเปนแนวคิด ยังไมมีความเปนรูปธรรม เนื่องมาจากความไมลงตัวของขอตกลงในหลักการปฏิบัติ (Standing Arrangement Standard of Procedures : SASOP) ประเทศสมาชิกยังคงไมเห็นพองกันในบทที่วาด วยเรื่องสัดสวนการบริจาคเงินของแตละ ประเทศวา ประเทศตาง ๆ ควรบริจาคเทาใด นอกจากนี้ การไมสามารถหาขอมูลที่ถูกตองชัดเจนถึงศักยภาพและขีด ความสามารถทางทหารของแตละประเทศยังเปนอุปสรรคตอความรวมมือ ทั้งนี้ สวนหนึ่งเปนเพราะแตละประเทศยังคงมี ขอจํากัดในการนํากําลังออกนอกประเทศ รวมทั้งความพรอมของแตละประเทศที่แตกตางกัน สงผลใหความรวมมือ ดังกลาวยังคงอยูกับที่ นอกจากนี้ ความรวมมือดานภัยพิบัติในระดับภูมิภาคเอเชียที่เรียกวา ADPC ยังเปนเพียงการให 9 ความรู และการอบรมแกสมาชิก แตไมไดเปนศูนยที่มีเจาหนาที่ปฏิบัติการจริงเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ

8

เรื่องเดียวกัน. พรพล นอยธรรมราช. ASEANWatch, 2555. สรุปการสัมภาษณเรื่องความรวมมือดานความมั่นคงของอาเซียน พัฒนาการและแนวโนมในอนาคต. ณ ศูนยศึกษา ยุ ท ธศาสตร สถาบั น วิ ช าการป อ งกั น ประเทศ วั น ที่ 20 กุ ม ภาพั น ธ 2555. วั น ที่ ค น ข อ มู ล 23 มิ ถุ น ายน 2557. เข า ถึ ง ได จ าก http://aseanwatch.org/wp-content/uploads/2012/03/สัมภาษณทวี่ ปอ..pdf. 9


ส รุ ป : ห น า | 279

กลไกสิทธิมนุษยชน ปญหาประการแรกที่ทําใหอาเซียนยังไมใชองคกรของประชาชนอยางแทจริง คือ ปญหาดานการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในอาเซียน มาตรา 14 ของกฎบัตรอาเซียนกําหนดใหมีการจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียนขึ้น ทั้งนี้ ใน ระหวางการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อป พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย ไดมีการประกาศ จัดตั้งคณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชนอยางเปนทางการ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ที่จัดตั้งขึ้นจะ ทําหนาที่เปนหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนกับองคการระหวางประเทศและ ภาคประชาสังคมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะมีสวนสําคัญในการสงเสริมและคุมครองสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนชีวิตความ เปนอยูของประชาชนอาเซียนโดยรวม เมื่อพิจารณารายละเอียดของขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิ มนุษยชน (Terms of Reference of ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights : ToR of AICHR) แลว กลไกดังกลาว มีลักษณะของการเนนการสงเสริม แตไมมีบทบาทในการปกปอง ไมมีบทบาทในการรับเรื่อง รองทุกขหรือรองเรียน ไมมีบทบาทในการไตสวนเรื่องรองเรียน และไมมีบทบาทในการเสนอบทลงโทษตอการละเมิดสิทธิ มนุษยชน นอกจากนี้ ToR of AICHR ยังกําหนดใหยึดหลักการไมแทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก ฉะนั้น เมื่อ เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนเรื่องระหวางรัฐบาลกับประชาชน หากยึดหลักไมแทรกแซงกิจการภายใน กลไกนี้ จึงไม สามารถทําอะไรได ในการนี้ รศ.ดร. ประภัสสร เทพชาตรี ไดใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงกลไกสิทธิมนุษยชนของ อาเซียนไว ดังนี้ - เพิ่มบทบาทของกลไกในดานการปกปอง - แกไขขอความใน ToR of AICHR ในเรื่องหลักการไมแทรกแซงกิจการภายใน โดยใหมีขอความในลักษณะให หลักการนี้มีความยืดหยุน - ควรเพิ่มหลักการสากลขององคการสหประชาชาติเขาไปดวย โดยเฉพาะหลักการความรับผิดชอบในการ ปกปอง (responsibility to protect) และหลักการแทรกแซงดวยหลักการมนุษยธรรม (humanitarian intervention) - การเพิ่มบทบาทของกลไกในการรับเรื่องรองเรียน หรือรองทุกข บทบาทในการไตสวนเรื่องรองเรียน และ บทบาทในการเสนอมาตรการ เพื่อยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน - เพิ่มบทบาทใหกับเลขาธิการอาเซียน ใหมีลักษณะเหมือนกับบทบาทของเลขาธิการสหประชาชาติในการชวย ดูแลในเรื่องของการปกปองและการสงเสริมสิทธิมนุษยชน - ควรเพิ่มบทบาทใหกับภาคประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน (Non-governmental Organization : NGO) และประชาชน โดยเฉพาะบทบาทในการนําเสนอเรื่องรองทุกขรองเรียนตอกลไกดังกลาวได ตามหลักปฏิบัติ สากลที่องคการสหประชาชาติก็เปดโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชนเสนอเรื่องรองเรียน และเรื่องการละเมิด สิทธิมนุษยชนได - ในระยะยาว ควรผลักดันใหมีการพัฒนากลไกดานตุลาการ โดยเฉพาะการจัดตั้งศาลสิทธิมนุษยชนขึ้น (Court 10 of Human Rights) จากสภาพปจจุบันและความเปนไปไดในการรวมตัวเปนประชาคมโดยการนําทฤษฎีการรวมตัวเชิงภูมิภ าคมา ประยุกต จึงตองยอมรับวา การสรางประชาคมอาเซียนในดานการเมืองและความมั่นคงนั้นเปนเรื่องที่ยาก แตก็ไมใชวาจะ 10

อางแลว. ประภัสสร เทพชาตรี. 2552.


ส รุ ป : ห น า | 280

เปนไปไมได เพราะความรวมมือเพื่อตอตานภัยความมั่นคงนอกรูปแบบนั้น ยังอยูในชวงเริ่มตนและยังคงมีลูทางที่จะหา ความรวมมือจากประเทศสมาชิกอาเซียนอยูมาก แตอาจจะตองอาศัยปจจัยอื่น ๆ ที่อาเซียนมีนอกเหนือไปจากความ พยายามที่มีอยูในปจจุบัน อยางไรก็ดี ความรวมมือดานความมั่นคงในกลุมประเทศอาเซียนนั้น จะพบวา มีนอยมากที่เกิดจากการริเริ่มของ ประเทศในกลุมประเทศอาเซียนเองแลวประสบความสําเร็จ ฉะนั้น หากคิดโดยตรรกะนี้แลว การที่การสรางประชาคมดาน การเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะประสบความสําเร็จไดนั้น อาเซียนอาจจะตองอาศัยแรงกดดันจากภายนอก เชน ประเทศมหาอํานาจตาง ๆ เชน การที่ญี่ปุนเขามากดดันในเรื่องปญหาโจรสลัด จีนเขามากดดันในเรื่องการคายาเสพติด และสหรัฐอเมริกาเขามากดดันเรือ่ งการกอการราย ซึ่งอาเซียนก็เปนเหมือนการมีสถาบันที่เปนองคกรเหนือชาติที่สามารถ บังคับประเทศสมาชิกอาเซียนได ซึ่งอาจจะเปนเรื่องแปลกแตจริงที่กลไกที่เปนแรงกดดันจากประเทศนอกกลุมอาเซียนนั้น กลับมีประสิทธิภาพมากกวากลไกที่เกิดจากประเทศในกลุมอาเซียนเอง ซึ่งเห็นไดจากการที่อาเซียนจําเปนตองมีการ ประชุมรวมกับประเทศนอกกลุมบอยครั้ง เชน ASEAN+3 ASEAN+2 หรือ ASEAN+1 ในทางตรงขามทุกครั้งที่มีการ แถลงการณรวมหลังการประชุม AMMTC ซึ่งเปนการประชุมภายในของอาเซียนเองนั้น จะพบวา แทบไมมีอะไรใหมเลย อยางไรก็ตาม การที่ตองพึ่งพาประเทศมหาอํานาจนอกกลุมอาเซียนมาเปนแรงกดดันก็มีขอเสียดวยเชนกัน กลาวคือ ความสั มพันธร ะหวางประเทศมหาอํ านาจนอกกลุมอาเซี ยนกับประเทศอาเซียนนั้น มั กมีความไมแน นอน ขึ้ นอยูกั บ ผลประโยชนที่ประเทศมหาอํานาจมีกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเวลานั้น ๆ ดวย แมวาที่ผานมา กิจกรรมที่จะกอใหเกิดความสําเร็จในการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น สวนใหญเปนกิจกรรมระหวางรัฐ และตัดสินใจโดยผูนํารัฐบาลของกลุมประเทศสมาชิก แตในอนาคตหากวาประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียนยังมีอุปสรรคและไมสามารถเกิดขึ้นดวยตัวเอง อาจจะตองผลักดันใหประชาคมการเมือง และความมั่นคง เปนผลิตผลของ Spillover จากเสาประชาคมในดานอื่น ๆ เนื่องจาก เมื่อเทียบกันแลว เสาประชาคมตน อื่น โดยเฉพาะเสาทางดานประชาคมเศรษฐกิจนั้น มีความกาวหนากวาอยางมาก ซึ่งเสาประชาคมการเมืองและความ มั่นคง อาจจะตองอาศัยความเฟองฟูของเสาประชาคมเศรษฐกิจเปนตัวผลักดันใหเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคง เชน หากเสาดานประชาคมเศรษฐกิจสามารถผลักดันใหเกิดการเคลื่อนยายสินคาและแรงงานไดอยางอิสระภายในกลุม ประเทศอาเซียนไดสําเร็จ ประเทศสมาชิกอาจจะจําเปนตองสรางกลไก หรือสถาบันรวมกันในการออกกฎบังคับที่มี มาตรฐานรวมในดานกฎหมายการผานแดน หรือการยายถิ่นเพื่อปองกันแรงงานผิดกฎหมาย การคายาเสพติด หรือกลุม อาชญากรรมขามชาติอื่น ๆ หรือความรวมมือกันตอตานการกอการรายและโจรสลัด เพื่อปกปองความเจริญรุงเรืองของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปนตน

สภาพการบังคับตามกฎหมาย ในเรื่องสภาพการบังคับตามกฎหมายของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีสองประเด็นที่จะขอเสนอแนะ ประเด็นแรกเรื่อง องคกรตรวจสอบของรัฐ ประเด็นตอมาเรื่องการสงผูรายขามแดนเพื่อนํา ตัวบุคคลมาลงโทษตามกฎหมายรวมถึงการเปน พยานในศาลในคดีกระบวนการยุติธรรมทางอาญาดวย ขอเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาแยกเปนประเด็นที่จะตอง พิจารณาไดดังตอไปนี้ 1) องคกรตรวจสอบของรัฐในภูมิภาคอาเซียนยังไมมีองคกรตรวจสอบที่เปนองคกรตรวจสอบของภูมิภาคที่เปน กลางที่จะใชรวมกันทั้งสิบประเทศภายในภูมิภาคแตอยางใดเลย จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีองคกรตรวจสอบของ รัฐที่เปนองคกรกลาง ควรมีองคกรตรวจสอบของรัฐ อยางเชน สหภาพยุโรปที่มีองคกรตรวจสอบของรัฐที่เปนองคกรกลาง เชน FBI ประเทศตางในสหภาพยุโรปก็มีการตรวจสอบโดยองคกรดังกลาวนี้ ทั้งในเรื่องมาตรการสืบสวนแสวงหา


ส รุ ป : ห น า | 281

พยานหลักฐานที่เปนกลางโดยองคกรที่มีความนาเชื่อถือ เพื่อประโยชนในการนําตัวขบวนการคามนุษยมาลงโทษตาม กฎหมายดังเจตนารมณที่ไดตั้งไว ภูมิภาคอาเซียนควรมีองคกรตรวจสอบของรัฐในการสืบเสาะหาพยานหลักฐานชิ้นสําคัญ เพื่อที่จะนําตัวบุคคลมา ลงโทษตามกฎหมายไดโดยเร็วไวโดยมีการตั้งชื่อองคกรนั้น เชน องคกรอัยการอาเซียน และใหประเทศในอาเซียนไดใช องคกรดัง กลาวในการสืบเสาะหาพยานหลัก ฐานรวมทั้งเปนองคกรหลั กในการนํา ขบวนการคามนุษยมาลงโทษตาม กฎหมาย 2) การสงผูรายขามแดนของประเทศไทยนั้นไดยึดตามแบบอยางของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศตาง ๆใน ภูมิภาคควรที่จะยึดหลักการของประเทศสหรัฐอเมริกามาบังคับใชทั้งสิบประเทศ โดยพรอมเพียงกัน เพราะกฎหมายไทยก็ มีการอนุวัติการยอมรับกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกามาบัญญัติเปนกฎหมายภายในของประเทศไทย โดยมีชื่อวา การสงผูรายขามแดนแบบวิธียอ และไมมีพิธีตรีตรองอะไรที่ยุงยากเหมือนกับที่ประเทศในอาเซียนสวนใหญไดใชกันปกติ การสงผูรายขามแบบวิธีปกติจะใชเวลาสงรวมประมาณหนึ่งเดือนถึงจะไดตัวบุคคลมาลงโทษตามกฎหมาย ซึ่งนับวา เปน การเสียเวลาเปนอยางยิ่ง ซึ่งมีความแตกตางจากการสงผูรายขามแดน โดยวิธียอที่จะใชเวลาไมนาน วิธีการดังกลาวถูก บัญญัติไวในมาตรา 27 ของพระราชบัญญัติสงผูรายขามแดน ในมาตรา 25 วรรคแรกนั้น ใหเจาหนาที่ผูมีอํานาจจับกุม บุคคลดังกลาวสอบถามบุคคลนั้นวา มีความประสงคยินยอมจะสงตนขามแดนหรือไม และถาบุคคลไดยินยอมแลวจะตอง กระทําเปนลายลักษณอักษรตอหนาศาลเพื่อใหศาลไดตรวจความยินยอม ถายินยอมตอหนาศาลแลวจะถอนคํา ยินยอม ไมไดเปนอันขาด นับวา เปนความกาวหนาของการสงผูรายขามแดนเปนอยางยิ่งที่ภูมิภาคอาเซียนควรจะตองกระทํา ตาม ทุกประเทศภายในภูมิภาค เนื่องมาจาก ไมมีพิธีอะไรที่ยุงยากรวมถึงการสงบุคคลมาลงโทษตามกฎหมายภายในภูมิภาคจะ บังเกิดผลดีเปนอยางยิ่ง ในภูมิภาคอาเซียนทั้งสิบประเทศยังไมมีอนุสัญญาพหุภาคีวาดวยการสงผูรายขามแดนที่ใชรวมกันทั้งสิบประเทศ จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองมีอนุสญ ั ญาวาดวยการสงผูรายขามแดนรวมกันภายในภูมิภาค และใหประเทศสมาชิกได ใหสัตยาบัน และมีการลงนามในอนุสัญญาดังกลาว เพื่อจะไดใหความรวมมือในทางอาญาภายในภูมิภาคอยางจริงจัง และ ควรมีการบัญญัติถึงวิธีการหลักการสงผูรายขามแดนแบบยอในอนุสัญญาดวย ซึ่งจะทําใหการสงผูรายขามแดนมีความ รวดเร็วบังเกิดผลดีตอการนําตัวบุคคลมาลงโทษตามกฎหมายภายในอาเซียนจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกวาที่เปนอยู อยางแนแท ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 นี้ ก็จะเปนวันที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จะกาวเขาสูการเปน ประชาคม อาเซียนอยางเต็มรูปแบบ แมวา ประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะหารือรวมกันในการกําหนดนโยบาย หรือมาตรการในการ พัฒนาในดานตาง ๆ และแกปญหาอาชญากรรมขามชาติรวมกัน และถึงแมวา ในประเด็นเสาหลักของประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนจะสงเสริมความรวมมือกับภาคประชาสังคม โดยใชหัวขอการหารือเปนตัวตั้งในการเชิญองคกรที่ มิใชของรัฐบาลในการแกไขปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม เชน เรื่องการบริหารจัดการภัยพิบัติ อาชญากรรมขามชาติ เชน การคายาเสพติด และการคามนุษย เปนตน และมุงดําเนินภารกิจทางมนุษยธรรมมากกวาดานการเมืองก็ตาม ถึงแมวา ภูมิภาคอาเซียน จะกาวเขาสูประชาคมอาเซียนแลวก็ตาม แตสิ่งที่จะเกิดการพัฒนาคงจะเปนเรื่อง เศรษฐกิจ การคาระหวางประเทศ เปนสวนใหญ แตในดานการเมือง ความมั่นคง และวัฒนธรรมตาง ๆ นั้น หากจะหลอม รวมใหเปนหนึ่งเดียวกัน คงจะเปนไปไดยากเนื่องจาก สภาพการเมืองการปกครอง วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาตั้งแต บรรพบุรุษมีความแตกตางกัน


ส รุ ป : ห น า | 282

สวนในเรื่อ งการคามนุษยนั้ น ถา หากเปดเปนประชาคมอาเซียนแลว ทางดานการเป นประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน ซึ่งมีการเปดประเทศ ในเรื่องเศรษฐกิจการคา การลงทุน รวมไปถึงการไหลบาของแรงงานระหวางประเทศยอม สะดวกมากขึ้น และผลที่ตามมา คือ ในเรื่องของปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งหนึ่งในนั้นรวมถึงปญหาการคามนุษยดวย ดวยปจจัยที่สนับสนุนใหการคามนุษยยังคงอยู แมวา ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตจะกาวเขาสูประชาคมอาเซียนก็ตาม ไดแก กระแสโลกาภิวัตน ผลของการที่โลกอยูในวงจรของกระแสโลกาภิวัตน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็ ไดรับผลกระทบดวยเชนกัน โดยเฉพาะในเรื่องความเปนโลกไรพรมแดน ความเปนเสรี การติดตอสื่อสารไปมาหาสูที่สะดวกรวดเร็วมากขึ้น เมื่อเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยาง รวดเร็ว ทําให มีการติดต อสื่อ สารกันได อยา งรวดเร็ว และทั่วถึ ง ประกอบกับ ติดต อ เดินทางกันไดสะดวกขึ้น จึงเปนปจจัยที่ทําใหการคามนุษยยังคงอยู เศรษฐกิจโลกผันผวน เศรษฐกิจถือวา เปนหัวใจสําคัญที่ทําใหประชากรในประเทศนั้น ๆ สามารถดํารงชีวิตอยู ได อย า งไรก็ ต าม เศรษฐกิ จ โลกนั้ น ไม ไ ด ค งที่ ยั ง มี ค วามผั น ผวนและเปลี่ ย นแปลง ตลอดเวลาไปตามเศรษฐกิ จ ของประเทศมหาอํ า นาจ ดั ง นั้ น ประเทศที่ จ ะได รั บ ผลกระทบมากที่สุดยอมเปนประเทศดอยพัฒนา และประเทศกําลังพัฒนา เนื่องจาก กลุมประเทศเหลานี้ ประชากรสวนใหญอยูในฐานะยากจน ซึ่งประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวัน ออกเฉี ยงใต ก็จั ดอยู ในกลุ มประเทศดัง กล า วด วย ดั ง นั้น ประชากรยากจนใน ประเทศตาง ๆ จึงตองการแสวงหาชีวิตที่ดีกวาจากประเทศปลายทางที่ศิวิไลซ และมี สภาพทางเศรษฐกิจที่ดีกวา สงผลใหตกเปนเหยื่อของกลุมขบวนการคามนุษยไดงาย การเอารัดเอาเปรียบ ตราบใดที่สังคมโลกยังมีกลุมบุคคลที่เอารัดเอาเปรียบ หวังผลประโยชนอยูเสมอ เชื่อแน วา แมจะกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน การคามนุษยก็ไมสามารถเลือนหายไป จากสังคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางแนนอน เชน ในอุตสาหกรรมที่ตองใช แรงงานคนในประเทศไทย เจาของบางธุรกิจตองการแรงงานราคาถูกเพื่อลดคาใชจาย ตนทุนในการผลิต เพื่อตองการใหตนเองไดผลประโยชนทางธุรกิจสูงสุด จึงรวมมือกับ ขบวนการคามนุษยเพื่อหวังเหยื่อคามนุษยมาเปนแรงงานผลิตงานใหกับตนเอง เปนตน ลักษณะทางภูมิศาสตร เชน ลักษณะภูมิประเทศของประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง โดยเฉพาะประเทศไทย ซึ่ง เปนประเทศที่มีพรมแดนติดกับหลายประเทศ ไดแก สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และ มาเลเซี ย ดั ง นั้ น การเดิ น ทางข ามประเทศทางดา นชายแดน จึ ง มีช อ งทางของการ ลักลอบคามนุษยขามพรมแดนไดงาย ชองโหวทางกฎหมาย และการละเลยการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ แมวา ประเทศตาง ๆ ทั่วโลก องคการ ระหวางประเทศตาง ๆ รวมถึงอาเซียนจะมีกฎหมาย หรือมาตรการในการปองกันและ ปราบปรามการคามนุษย แตปญหาการคามนุษยก็ยังไมสามารถที่จะคลี่คลายใหเบาบาง ลง ดวยสาเหตุที่กฎหมายมีชองวาง รวมไปถึงเจาหนาที่ยังไมมีความรูความเขาใจใน กฎหมายอยางถองแท และที่สําคัญ คือ มีเจาหนาที่บางคนที่มีสวนไดสวนเสียกับกลุม ขบวนการคามนุษย ดังนั้น จึงเกิดการละเลยการปฏิบัติหนาที่ และการควบคุมยังคงไม


ส รุ ป : ห น า | 283

เขมงวดเพียงพอ ซึ่งถาหากตัวบทกฎหมาย และการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ยังคงไมมี การเปลี่ยนแปลง กฎหมายก็จะเปนเพียง “เสือกระดาษ” เทานั้น ดังนั้น แมวา จะเปดประชาคมอาเซียนแลว กระบวนการคามนุษยก็ยังไมหมดสิ้นไป หากแตปญหาจะยิ่งทวีความ รุนแรงและสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น เหตุเพราะเมื่อมีการเปดประเทศทางด านเศรษฐกิจ การคา วัฒนธรรมมากเทาไร สิ่ง เหลานี้ก็จะสามารถเชื่อมโยงกันไดงาย สงผลใหแกงอาชญากรรมขามชาติ อยางขบวนการคามนุษย ก็จะสรางเครือขาย ที่ เชื่อมโยงกันไดงายดวยเชนกัน จากการพิจารณานโยบายของประชาคมอาเซียนแลว จะเห็นไดวา อาเซียนจะมุงเนนไปที่ การเปดเสรีทางดานเศรษฐกิจการคา มุงเนนพัฒนาแรงงานที่มีฝมือ แรงงานที่เชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถ แต ในขณะที่แรงงานไรฝมือ ประชาคมอาเซียนใหความสําคัญเพียงนอยนิด แมวา ปญหาการคามนุษยจัดเปนปญหาขามชาติที่ อยูในนโยบายของการแกไขปญหาของประชาคมอาเซียน แตอยางไรก็ตาม การที่จะแกปญหาตาง ๆ ใหมีความคลี่คลาย แมอาจจะไมหมดสิ้นไปเสียทีเดียว แตก็ลดปริมาณ ปญหาไปไดพอสมควรนั้น จะตองมีการแกปญหา ปองกัน และพัฒนาไปพรอม ๆ กัน ที่สําคัญ คือ ตองมีมาตรการที่ เขมงวดและจริงจัง โดยอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนของทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน เพราะปญหาการคามนุษย เปนปญหาที่เกี่ยวของกับเรื่องปากทองของประชากร และการละเมิดสิทธิมนุษยชน การกาวสูประชาคมอาเซียน ควรใหความสําคัญกับประชากรระดับรากหญาดวย แตถาหากนโยบายของเสาหลัก ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่มีจุดมุงหมายที่จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูรวมกันในสังคมที่เอื้อ อาทร ประชากร มีสภาพความเปนอยูที่ดีไดรับการพัฒนาในทุกดาน และมีความมั่นคงทางสังคม (social security) โดย เนนการสงเสริมความรวมมือในดานตาง ๆ อาทิ 1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเปนอยูของผูดอยโอกาสและผูที่ อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และสงเสริม การมีสวนรวมอยางแข็งขันของกลุมตาง ๆ ในสังคม 2) การพัฒนาฝกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสูงกวาการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสราง งาน และการคุมครองทางสังคม 3) การสงเสริมความรวมมือในดานสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกันและควบคุม โรคติดตอ เชน โรค เอดส และโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 4) การจัดการปญหาดานสิ่งแวดลอม 5) การสงเสริมการปฏิสัมพันธระหวางนักเขียน นักคิด และศิลปนในภูมิภาค ซึ่งถาหากประชาคมอาเซียน สามารถดําเนินการไดตามที่ไดกําหนดไว ประชากรระดับรากหญาก็จะมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แตก็ไมไดหมายความวา ประชากรบางกลุ ม จะไมถู กล อลวง หรื อถู กลั กพาตัว จากขบวนการค ามนุษ ย ดัง นั้ น สิ่ง ที่ป ระชาคมอาเซียนจะต อ ง ดําเนินการปราบปรามอยางเด็ดขาดก็คือ ขบวนการและเครือขายอาชญากรรมขามชาติ ดังนั้น ประเด็นสําคัญที่ตองตระหนักตลอดเวลาก็คือ การเอาชนะอาชญากรรมขามชาติ การกอความไมสงบ ไม สามารถใชปฏิบัติการทางทหารไดแตเพียงประการเดียว แตจําเปนตองระดมสรรพกําลังของชาติในการตอสู ซึ่งตองใชเวลา ยาวนาน รวมทั้งการปฏิบัติอยางจริงจัง นอกจากนี้ บทเรียนจากความสําเร็จ และความลมเหลวในอดีต จะเปนขอบงชี้ถึง ความสําเร็จ และความลมเหลวการเอาชนะในอนาคตอีกดวย ซึ่งหากพิจารณาในแงของแหลงเงินทุนที่นํามาใชสนับสนุน กลุมอาชญากรรมขามชาติ การกอการรายตาง ๆ นั้น อาจกลาวไดวา การดําเนินการของฝายรัฐในการตอตาน มิไดให ความสนใจที่จะดําเนินการตัดแหลงทุนมากนัก


ส รุ ป : ห น า | 284

นอกจากนี้ พัฒนาการอันเปนผลจากกระแสโลกาภิวัตน ที่ทําใหเกิดความเชื่อ มโยงกันระหวางอาชญากรรมขาม ชาติกับการกอการร ายและการกอความไมสงบ ยังเปนประเด็นที่หนวยงานด านความมั่นคงจะตอ งเอาใจใส และหา มาตรการระวั ง ป อ งกั น อย า งจริ ง จั ง ซึ่ ง มาตรการในการตั ด แหล ง เงิ น ทุ น ของกลุ มดั ง กล า ว น า จะเป น เรื่ อ งที่ ต อ งให ความสําคัญดวยการศึกษาคนควา และความสําเร็จในดานหนึ่งจะชวยใหปญหาอาชญากรรมขามชาติในประเทศ รวมทั้ง การกอความไมสงบลดระดับความรุนแรง อยางไรก็ตาม ในระยะปจจุบันมีความพยายามของสหรัฐอเมริกา และประเทศ ตะวันตกเทานั้นที่ดําเนินการปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจัง เพราะเห็นวา ยาเสพติดนอกจากเปนแหลงเงินทุนที่สําคัญ ของกลุ มก อ การร า ยแล ว ยั ง ทํ า ให ส ภาพสั ง คมของสหรั ฐ อเมริ ก าเสื่ อ มโทรมลงอย า งเห็ น ได ชั ด และทั้ ง นี้ ในบรรดา อาชญากรรมขามชาติประเภทตาง ๆ นั้น อาจกลาวไดวา เฉพาะปญหายาเสพติดแตเพียงประการเดียว ก็ไดสงผลให อาชญากรรมขามชาติดานอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจประเภทนี้มีความรุนแรงขึ้น เชน การคาอาวุธ การฟอกเงิน เป นต น ขณะที่ รายได ที่มาจากยาเสพติ ด ก็ทํ าให กลุ มก อ การร า ย กลุ มกอ ความไม สงบสามารถดํ ารงปฏิ บัติ การ และ สถานภาพของกลุมได ดวยเหตุนี้ การปราบปรามกลุมคายาเสพติด และการกวาดลางธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง จึงเปนประเด็นที่ หนวยงานดานความมั่นคง ควรจะนํามาพิจารณาประกอบการกําหนดมาตรการในดานการตัดแหลงทุนของกลุมกอการราย หรือกลุมกอความไมสงบดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม ในดานการตอตานการกอความไมสงบในภาพรวมนั้น ก็จะตองไมลืมกรอบยุทธศาสตรใหญที่ตอง ใหความสําคัญกับการเอาชนะทางการเมืองดวย ซึ่งหมายความวา การใชมาตรการกวาดลางจับกุมแหลงทุนการกอการราย หรือการกอความไมสงบที่มาจากการคายาเสพติด จะตองดําเนินการด วยความรอบคอบระมัดระวังตามตัวบทกฎหมาย และมี พยานหลัก ฐานรองรับ เพราะความผิด พลาดที่ เ กิด ขึ้น เพี ยงเหตุ ก ารณเ ดี ยว อาจมี ผลทํ าใหฝ า ยรั ฐพ า ยแพท าง ยุทธศาสตรตอกลุมกอความไมสงบได ดวยเหตุนี้ จึงมีความจําเปนที่จะตองสรางกรอบความคิดใหมทางดานความมั่นคงในการเอาชนะการกอการราย และการกอความไมสงบ โดยในเรื่องของการตัดแหลงทุนนั้น อาจตองมองถึงความรวมมือดานความมั่นคง หรือการบังคับ ใชกฎหมายระหวางประเทศดวย เพราะหากประเทศตาง ๆ รวมมือกันดูแล และบังคับใชกฎหมายในประเด็นที่เกี่ยวของ กับ การก อการรา ย และการกอ ความไม สงบไปในทิ ศทางที่ ประสานสอดคลอ งกั นแลว ก็ จะชว ยลดสภาพแวดลอ มที่ เอื้ออํานวยในการแสวงหาแหลงทุนของกลุมกอการราย และกลุมกอความไมสงบได รวมทั้งตองมีความตระหนักรวมกัน ดวยวา ปญหาอาชญากรรมขามชาติไมอาจสิ้นสุดลงไดโดยใชกําลังทหาร การดําเนินนโยบายทางการเมืองใด ๆ หรือการ ดําเนินการแตเพียงรัฐเดียว แตตองรวมมือกันทุกประเทศ สําหรับการแสวงหาแหลงเงินทุนของกลุมกอความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตนั้น จะเห็นไดวา ในขณะนี้ สวนหนึ่งแหลงทุนมาจากอาชญากรรมขามชาติ และอาชญากรรมภายในประเทศ โดยเฉพาะการลักลอบคายาเสพติดและ การลักลอบคาอาวุธ ซึ่งอาจจะรวมถึงการลักลอบคามนุษยดวยในอนาคต โดยเฉพาะขบวนการลักลอบนํามุสลิมกัมพูชา และมุสลิมโรฮิงยาเขาประเทศ นอกจากนั้น แหลงทุนของกลุมกอความไมสงบที่มีความสําคัญตอกลุมมาก ยังมาจาก กิจกรรมที่ถูกตองตามกฎหมาย ในการตัดแหลงทุนของกลุมกอความไมสงบ จึงจําเปนตองบูรณาการหนวยงานตาง ๆ ของรัฐที่เกี่ยวของ โดย ประกอบดวย หนวยงานหลักที่รับผิดชอบดานการบังคับใชกฎหมาย เชน สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมสอบสวนคดีพิเศษ สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน เปนตน หนวยงานดานเศรษฐกิจ เชน ธนาคารแหงประเทศไทย และ กรมสรรพากร สวนหนวยงานดานความมั่นคง เชน สํานักงานขาวกรองแหงชาติ และหนวยขาวกรองอื่น ๆ โดยจะตอง รวมกันดําเนินการสืบสวนสอบสวน และการแหลงเงินทุนของกลุมกอความไมสงบพรอมทั้งดําเนินการตามกฎหมายอยาง เขมงวด นอกจากนี้ ประเทศไทยควรขอความรวมมือจากประเทศตาง ๆ ซึ่งใหบริจาคในสวนของมูลนิธิการกุศล เพื่อสราง


ส รุ ป : ห น า | 285

ความเขาใจ และปองกันการนําเงินบริจาคไปใชสนับสนุนการกอความไมสงบ ขณะเดียวกัน ควรสรางระบบควบคุม ชายแดน หรือระเบียบการนําเงินผานแดนที่เขมงวด เพื่อปองกันการขนเงินผานแดนจํานวนมาก และทั้งยังจําเปน ตอง ดําเนินการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะยาเสพติดควบคูกันไปดวย

ประชาคมอาเซียนกับผลกระทบตอระบบราชการสําหรับประเทศไทย ระบบราชการในฐานะที่เปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการ ปรับตัวเพื่อรองรับตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะมีทั้งสวนราชการที่เกี่ยวของหลัก และสวนราชการที่เกี่ยวของในลําดับ รองลงไป แตอยางไรก็ตาม ในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจําเปนที่จะตองมีการศึกษา วิเคราะห และ ขับเคลื่อนไปพรอมกันอยางเปนระบบ มิเชนนั้น จะไดรับผลกระทบในหลายมิติทั้ งประเด็นเรื่องความมั่นคงภายใน การ บริหารจัดการพื้นที่ การสื่อสารสราง และสรางความรูความเขาใจใหกับประชาชนในพื้นที่ จึงตองมีการปรับตัวดังตอไปนี้ 1) ปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (Non-traditional Security Issues) การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบทางออมใหเกิดปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional security) เชน ปญหายาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ การลักลอบนําเขาหรือการเคลื่อนยายสินคาผิดกฎหมาย เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนปญหาที่สามารถแอบแฝงมากับการลงทุน หรือการทําการคากับตางประเทศ 2) การบริหารงานทะเบียนราษฎร แมประชาคมอาเซียนจะมีการทําขอตกลงใหมีการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพอยางเสรีใน 7 สาขาวิชาชีพ คือ แพทย ทันตแพทย พยาบาล วิศวกรรม สถาปตยกรรม บัญชี และการสํารวจ อยางไรก็ดี ในระยะเฉพาะหนา การเตรียม ความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนของประเทศตาง ๆ รวมทั้งไทย จะสงผลใหเกิดการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานขนาด ใหญจากภาครั ฐและเอกชน เช น ถนน ทาเรือ โรงงาน สถานประกอบการ เปนต น ดั งนั้น จึง เปน โอกาสใหเกิ ดการ เคลื่ อ นย า ยของแรงงานต า งด า วทั้ ง ที่ ถู ก และผิ ด กฎหมายจากประเทศอื่ น เข า มาทํ า งานรั บ จ า งเป น แรงงานให กั บ ผูประกอบการภายในประเทศมากขึ้น ขณะเดียวกันการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรีในป 2558 ยังจะกอใหเกิดการยาย ถิ่นฐานของผูประกอบอาชีพตามขอตกลง เชน แพทย วิศวกร ที่สามารถเขามาทํางานและพํานักในประเทศไทยมากขึ้น ดังนั้น งานทะเบียนที่เกี่ยวกับบุคคลภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย จึงไดรับผลกระทบในแงการบังคับใช ใหเปนไปตามกฎหมาย และปองกันมิใหมีการแสวงหาประโยชนจากระบบทะเบียนและบัตรประจําตัวประชาชน 3) การจัดการความขัดแยงและการอํานวยความเปนธรรม บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต การพัฒนาทางเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอสังคมในดานตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตชุมชน ทําใหโครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น อาจไดรับแรงตอตานจากประชาชนที่อาจไดรับผลกระทบ ในพื้นที่กอนการกอสราง หรือประชาชนที่ไดรับผลกระทบภายหลังจากโครงการที่มีการดําเนินการแลวเสร็จ เชน จาก โรงงานหรือสถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น กลไกการจัดการความขัดแยงระหวางภาครัฐ /ภาคเอกชนกับประชาชน หรือระหวางประชาชนดวยกันเอง จึงตองมีการเตรียมการเพื่อรับมือกับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น การกําหนด แนวทางการไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นอยางมีสวนร วมจึงเปนสิ่งที่ตอง คํานึงถึงและเตรียมการ ซึ่งเปนภารกิจของฝายปกครองดวย ขณะเดียวกัน ยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนากลไกการ จัดการความขัดแยง และการอํานวยความเปนธรรมใหแกชาวตางชาติที่อาศัยอยูในประเทศไทย เชน ระบบรองเรียนหรือ รองทุกข ระบบการไกลเกลี่ยและประนีประนอมความขัดแยงระหวางบริษัทตางชาติกับประชาชนในพื้นที่เพื่อนําไปสู กระบวนการจัดการที่มีมาตรฐานในระดับสากล 4) การคาและการติดตอตามแนวชายแดน


ส รุ ป : ห น า | 286

ประชาคมอาเซียนจะกอใหเกิดการขยายตัวของระบบการคาชายแดนขนาดใหญ เนื่องจาก การขจัดภาษี นําเขาระหวางประเทศสมาชิก ทําใหเกิดการขนถาย นําเขาวัตถุดิบ/สินคาจากประเทศอื่นที่มีตนทุนถูกกวา ดังนั้น พื้นที่ ชายแดนของจังหวัดที่มีการคาอยูแลวในปจจุบัน จึงมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมการคาขายกับประเทศเพื่อนบานใน ระดับที่สูงยิ่งขึ้น ในขณะที่พื้นที่จังหวัดหรืออําเภอที่มีพื้นที่ติดชายแดนที่ยังไมไดมีการเปดเปนดานการคาหรือจุดผานแดนก็ มีแนวโนมที่จะไดรับการสนับสนุนใหมีการยกระดับมากขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้น กรมการปกครองตองมีการเขาไปจัดระเบียบ สังคมและความสงบเรียบรอย พรอมทั้งเรงพัฒนาระบบการใหบริการใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น 5) การประกอบอาชีพของประชาชน ภายใตสภาพแวดลอมทางการคา การลงทุน การบริการ และการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรียอมเปนทั้ง โอกาสและผลกระทบสําหรับประชากรวัยแรงงานของไทยในพื้นที่ กลาวคือ หากประเทศมีประชากรวัยแรงงานที่มี คุณภาพ และมีความพรอมในการปรับตัวก็จะทําใหประชาชนไดรับประโยชนจากโอกาสในการประกอบอาชีพที่เปดกวาง จากการสามารถทํางานในตางประเทศ หรือการจางงานอันเกิดจากการขยายตัวของการลงทุนภายในประเทศ ซึ่งยอมเปน การยกระดับชีวิตความเปนอยูของตนได ในทางตรงข า ม การสู ญ เสี ย ความสามารถในการแข ง ขั น ในภาคการผลิ ต เช น ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมบางสาขา จะกอใหเกิดการเคลื่อนยายฐานการผลิต สินคาภายในประเทศจะถูกตีตลาดรวมทั้งการไม สามารถผลิตประชากรวัยแรงงานใหตรงตามความตองการของตลาดยอมทําใหสงผลตอการวางงานของประชาชนได โดย สินคาของประเทศอื่นในกลุมสมาชิกอาเซียนอาจเขามาในตลาดภายในของประเทศไทยมากขึ้นในราคาที่ต่ํากวา และ/หรือ คุณภาพดีกวานั้น อาทิ สินคาอุตสาหกรรม เชน ปโตรเลียม (จากมาเลเซียและเมียนมาร) เคมีภัณฑ ยางและพลาสติก (จากมาเลเซีย ) สวนสินคาเกษตร เชน ขาว (จากเวียดนาม) น้ํามันปาลม (จากมาเลเซี ย) กาแฟ (จากเวียดนามและ อินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพราว (จากฟลิปปนส) เปนตน ผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ยอมกอใหเกิดความตึงเครียด และปญหาสังคมอื่นตามมาได เชน การ ประทวงของเกษตรกร การสูญเสียรายได การถูกเลิกจางหรือเปลี่ยนอาชีพใหม ซึ่งฝายปกครองของเราก็จะตองเขาไป จัดการปญหาในพื้นที่ดวย ดังนั้น เพื่อเปนการเสริมสรางความอยูดีมีสุขใหแกประชาชนในพื้นที่ตามยุทธศาสตร หนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของโดยเฉพาะกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงตองไปเขาไปดําเนินการสงเสริมและสนับสนุน ศักยภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ําและปองกันปญหาการวางงานที่ อาจเกิดขึ้นอีกดวย 6) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาชนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเขากับมาตรฐาน อื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑ ระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แตละประเทศ ตองเคารพและยึดถือ ไดแก หลักประชาธิปไตยและหลักสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การปฏิบัติหนาที่ของรัฐบาล หนวยงาน ราชการ จะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวย โดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่นโดยผิด กฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิใน การศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ํานี้อยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได 7) การสื่อสารสรางความเขาใจ และการตระหนักรูใหกัประชาชนในพื้นที่


ส รุ ป : ห น า | 287

เนื่องดวย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเปนหนวยงานที่มีการทํางานในเชิงพื้นที่และเขาถึงประชาชน จัดเปนจุดเดนของฝายปกครองอยางหนึ่ง ประเด็นนี้จึงมีความสําคัญมากที่จะตองจัดใหมีการสรางความรูความเขาใจใหกับ ประชาชนในพื้นที่อยางตอเนื่องดวยการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ เพื่อกระตุนใหประชาชนเห็นความสําคัญและ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งเปาหมายที่สําคัญที่สุด ก็คือ การสรางความตระหนักรูให ประชาชนถึงผลกระทบโดยตรงและโดยออมจากการเขาเปนประชาคมอาเซียน 8) การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประชาคมอาเซียนจะกระตุนใหเกิดการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม เชน เขตเศรษฐกิจแมสอด เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารและแสวงหาประโยชนทางเศรษฐกิจ ในอนาคตเขตเศรษฐกิจพิเศษอาจมีการขยายตัว มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ ซึ่งทําให การบริหารความสัมพันธระหวางสวนกลางและสวน ภูมิภาคตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมสอดคลองกันไป ขณะเดียวกัน โอกาสในการพัฒนาไปสูเขตบริหารจัดการพิเศษ ของจังหวัดใหญ ๆ หรือการมีผูบริหารจังหวัดมาจากการเลือกตั้งก็จะไดรับแรงผลักดันดวยเหตุผลในเชิงเศรษฐกิจ และ ความสามารถในการแขงขันจากพื้นที่มากยิ่งขึ้น 9) เศรษฐกิจฐานราก ประชาคมอาเซียนยอมกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจโดยรวมตอเศรษฐกิจฐานรากทั้งทางตรงจากการคา การลงทุน และทางออมจากการทองเที่ยว และการยายถิ่นของนักลงทุนจากตางประเทศ นอกจากนี้ กลุมการผลิตระดับ ชุมชนในพื้นที่ เชน กลุม OTOP ยังสามารถไดรับประโยชน เชน การเขา ถึงตลาดและแหลงวัตถุดิบใหม ๆ การเปนหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับผูประกอบการ รวมทั้งการขยายความรวมมือแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันมากขึ้น 10) ความเหลื่อมล้ําทางสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในพื้นที่ชายแดน พื้นที่ที่เปนโรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ชุมชนจากการขยายตัวดานโลจิสติกส สามารถสงผลตอคุณภาพการพัฒนาโดยรวมนั่นคือ กอใหเกิดความเหลื่อม ล้ําทางสังคม โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบทางลบ เชน เกษตรกรที่สินคาถูกตีตลาดผูวางงาน หรื อผูไมสามารถเขาถึง โอกาสการพัฒนาได เชน บุคคลดอยโอกาส บุคคลชายขอบ เปนตน 11) ภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาราชการอาเซียน จะทวีความสําคัญในการติดตอ การจัดการและประสานงาน ระหวางรัฐกับรัฐกับประชาชน และระหวางประชาชนดวยกันภายในอาเซียน หากบุคลากรของกระทรวงมหาดไทยยังขาด ความรูและทักษะดานภาษาอังกฤษอยางเพียงพอก็ยอมสงผลตอการทํางานกับประเทศอื่น ๆ ได อันจะนํามาซึ่งการพลาด โอกาสในการสรางความรวมมือ/เก็บเกี่ยวประโยชนหรือสูญเสียผลประโยชนแหงชาติจากประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ ความรูความเขาใจภาษาของประเทศเพื่อนบาน รวมทั้งดานขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศอื่น ๆ ยอมทําให เปนโอกาสของการสรางความรวมมือกันมากขึ้น 12) การสรางความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ประชาคมอาเซียนจะทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูบริหารระดับสูงในแตละพื้นที่มีความใกลชิดตอ กันมากขึ้น ดังนั้น ในสวนกระทรวงมหาดไทยโดยเฉพาะผูวาราชการจังหวัดจะมีบทบาทหรือสวนเกี่ยวของในการสราง ความสัมพันธระหวางประเทศมากขึ้น เชน ความรวมมือระหวางเมืองพี่ เมืองนอง/เมืองคูแฝดระหวางจังหวัดของประเทศ ตาง ๆ ในอาเซียน ทําใหกระทรวงมหาดไทยตองมีการปรับทักษะความสามารถดานการตางประเทศของบุคลากรให เหมาะสมและทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน 13) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือ ประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท


ส รุ ป : ห น า | 288

ดังนั้น เมื่อประชาคมอาเซียนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเขากับ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แต ละประเทศต อ งเคารพและยึ ดถื อ ได แ ก หลัก ประชาธิป ไตยและสิ ท ธิมนุ ษยชน ดั ง นั้น การปฏิบั ติ หน า ที่ ของรัฐ บาล หนวยงานราชการจะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวยโดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ําอยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได

ขอเสนอแนะและแนวทางการแกไข แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีความใกลชิดในเชิงกายภาพ มีความสัมพันธที่ดีระหวางกัน มีความสมานฉันท ทั้งใส เชิงประชากร วัฒนธรรม และสังคมมาเปนเวลาชานาน แตดวยระบบการเมืองการปกครองที่แตกตางกัน ไดสงผลใหระบบ กฎหมาย โครงสรางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และการบังคับใชกฎหมายมีความแตกตางกัน ซึ่งแนนอนวา ยอม สงผลกระทบตออํานาจหนาที่ และการปฏิบัติงานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายอยางหลีกเลี่ยงไมได และในโอกาสที่โลก มีความเชื่อมโยงภายใตกระแสโลกาภิวัตนที่ถูกขับเคลื่อนไปดวยพลังทุนและอิท ธิพลของเทคโนโลยีการสื่อสารยอมทําให กระบวนการบังคับใชกฎหมายในปจจุบันตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อใหสามารถตามทันความซับซอนของ อาชญากรรมขามชาติที่มีการพัฒนาการทํางานอยางเปนระบบและมีเครือขายขามประเทศที่ซับซอน และขอเสนอแนะใน การแกไขปญหาและปรับปรุงระบบกฎหมายกระบวนยุติธรรมทางอาญา และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทาง อาญาของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ดังนี้ ในระดับภายในประเทศ 1) การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหวางประเทศในภูมิภาคอาเซียน ดวยกัน ยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร โดยเฉพาะในกรณีที่ประเทศไทยรองขอความชวยเหลือในทางอาญาไปยังประเทศ เพื่อนบานในภูมิภาคอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการทําสนธิสัญญา ระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือทางอาญา และการสงผูรายขามแดนในปจจุบัน ยังไมมีความครอบคลุมทุกประเทศ ทําใหไมมีพันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ หรือหากเปนการรองขอความ ชวยเหลือระหวางประเทศผานชองทางการทูตก็ไมมีความแนนอน เนื่องจาก ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชนตาง ตอบแทนเปนสําคัญ ซึ่งพบวา การกระทําผิดของประชากรที่มาจากกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียนสวนใหญจะเปนเรื่อง การหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมาย ซึ่งหนวยงานที่บังคับใชกฎหมายสามารถใชกฎหมาย ภายในของแตละประเทศที่มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิด เฉกเชน องคกรอาชญากรรมจากเอเชียหรือแถบยุโรป หรือเปนลักษณะที่ผูกระทําความผิดมาจากประเทศในแถบอื่น ๆ ของโลกมาใชประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน องคกรอาชญากรรมในคดี ฉอโกงทางคอมพิวเตอร (Call Center) กลุมผูกอการรายขามชาติหรือยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธขามชาติ เปน ตน นอกจากนี้ ความแตกตางทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมยังเปนปจจัยที่มีผลทําใหระบบกฎหมาย และระบบการ บริหารยุติธรรมของภูมิภาคอาเซียนแตกตางกัน ซึ่งนับวา เปนอุปสรรคสําคัญอีกประการหนึ่ งที่ทําใหไมสามารถยกระดับ ความรวมมือระหวางกันในทางปฏิบัติใหพัฒนาไปเทาที่ควร 2) ความไมสอดคลองระหวางหลักการกฎหมายและแนวทางปฏิบัติของหนวยงานที่บังคับใชกฎหมายในการ ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งตองอาศัยความรวมมือและความชวยเหลือระหวางประเทศเป นหลัก กลาวคือ ในทางกฎหมายผูประสานงานกลางจะเปนผูพิจารณาถึงความเหมาะสมในการใหความชวยเหลือในเรื่องทาง


ส รุ ป : ห น า | 289

อาญา และการพิจารณาสง หรือรับ คํารอ งขอให มีการส งผูรา ยขามแดนในขณะที่ฝ ายตํารวจ หรื อหนว ยงานบั งคับใช กฎหมายอื่น ๆ เชน กรมสอบสวนคดีพิเศษ จะเปนหนวยงานที่ จะตองปฏิบัติตามความเห็นของฝายอัยการที่พิจารณาให ดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด อยางไรก็ตาม แนวคิดพื้นฐานในการดําเนินการของหนวยงานเหลานี้ มักจะไมสอดคลองกัน โดยในขณะที่ฝายอัยการจะเนนไปที่กระบวนการและขั้นตอนทางกฎหมาย (due process of law) อยางเครงครัด สวน ฝายตํารวจหรือหนวยปฏิบัติการในพื้นที่จริงจะเนนไปที่ผลลัพธ หรือเปาหมายในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม (crime prevention) ซึ่งมีวัตถุประสงคจะควบคุมอัตราการเกิดอาชญากรรมเปนสําคัญ ดังนั้น แนวคิดการการปองกัน อาชญากรรมจําเปนตองสรรหามาตรการที่มีประสิทธิภาพทั้ งทางกฎหมาย และทางสังคมในการลดระดับอาชญากรรม จําเปนตองสรรหามาตรการที่มีประสิทธิภาพทั้งทางกฎหมาย และทางสังคมในการลดระดับอาชญากรรมลง ในขณะที่ แนวคิดแบบกระบวนการทางกฎหมายจะตองเกิดอาชญากรรมขึ้นมากอน จึงจะเขาไปจัดการได 3) การขาดหนว ยงานรั บผิ ด ชอบหลัก ต อ ปญ หาอาชญากรรมข ามชาติ ซึ่ งเป น ปญ หาที่มั ก พบได ในบาง ประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน อันมีสาเหตุมาจาก 1. ความไมพร อมด านโครงสร างของหน วยงานบัง คับใช กฎหมายแบบเดิมที่ไ มมีความยื ดหยุน เพียง พอที่จะเปดพื้นที่ใหหนวยงานอื่น ๆ เขาไปจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ 2. ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาความมั่นคงแบบใหม ที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิมในการจัดการได และ 3. การทํา งานแบบแยกสว นความรับ ผิ ดชอบตามภารกิ จที่ ไ ดรั บ มอบหมายของหนว ยงานบั งคั บ ใช กฎหมาย ทําใหขาดการประสานงานและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน ซึ่งพบวา ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงานที่เขามาเกี่ยวของในภารกิจที่เกี่ยวของกับอาชญากรรมขาม ชาติเปนจํานวนมาก เชน สํานักงานตํารวจคนเขาเมือง กองปราบปราม กองบังคับการปราบปรามการกระทําผิดเกี่ยวกับ การคามนุษย กองการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม กรมศุลกากร และหนวยปฏิบัติการตาง ๆ ในพื้นที่ เปนตน ในขณะ ที่อีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้โดยตรง ทําใหเกิดความไมชัดเจนกับหนวยงานที่มีหนาที่ ประสานงานจากประเทศอื่น ๆ วาควรจะประสานงานในการปฏิบัติงานรวมกับหนวยงานใด นอกจากนี้ ในอีกหลาย ประเทศยังขาดกฎหมายพิเศษที่จะใหอํานาจเจาพนักงานในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่มีเรื่องเขตแดน และหลักอธิปไตยแหงรัฐเขามาเกี่ยวของ ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนไมเกิด ประสิทธิภาพเทาที่ควร 4) ในดานของทักษะของเจาหนาที่ที่เหมาะสมตอการจัดการปญหาอาชญากรรมขามชาติ ความรูความ เขาใจดานกฎหมายอาญาและกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรมและสังคมของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีความสําคัญตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินการ ดังนั้น จึงตองยอมรับวา ภาษาและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน ยังมีความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศมีภาษาเขียนและ ภาษาพูดเปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ทําคํารองขอความชวยเหลือ จําเปนตองใชภาษากลาง ซึ่งโดยทั่วไปจะใชภาษาอังกฤษเปนหลัก ดังนั้น การสรรหาบุคลากรที่มีทักษะทั้งในดานของภาษา กฎหมาย และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศจีน จึงเปนเรื่องที่เปนปญหาของแตละประเทศพอสมควร

ในระดับระหวางประเทศและในภูมิภาค 5) การไมมีหลักกฎหมายหรือขอตกลงรวมกันของประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาล ที่จะพิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งไดมีการกระทําผิดในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณีความผิดที่เกิดขึ้นมี จุดเริ่มตนการกระทําความผิดในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําผิดตอเนื่องไปในอีกประเทศหนึ่ง และบางสวนได


ส รุ ป : ห น า | 290

ถูกกระทําผิดตอเนือ่ งไปในอีกประเทศหนึ่ง และมีความเสียหายหรือผลกระทบเกิดขึ้นในอีกประเทศหนึ่ง กรณีดังกลาวหาก มีการสืบสวนสอบสวนพบสามารถจับกุมผูกระทําผิดได ศาลของประเทศใดควรจะมีอํานาจในการรับฟองคดีดวยเหตุผลใด โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากความเสียหายมิไดเกิดขึ้นในประเทศที่เปนจุดเริ่มตนของการกระทําผิดหรือการกระทําในลักษณะ ดังกลาวมิไดถูกบัญญัติไวเปนความผิดตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ เชน ความผิดฐานลักขโมยขอมูลสวนบุคคลเพื่อนําไปใชใน การฉอโกงทางอินเตอรเน็ต ความผิดฐานลักลอบคาอาวุธโดยอาศัยประเทศในภูมิภาคอาเซียนเปนทางผานในการนําไปสู การกอการรายในอีกประเทศหนึ่ง ความผิดฐานคายาเสพติดขามชาติ ซึ่งมีการลักลอบขนผานดินแดนตั้งแตสองประเทศขึ้น ไป เปนตน ดวยเหตุนี้ การนําเอาแนวความคิดในเรื่องอธิปไตยของรัฐแบบเขมงวดที่มุงเนนการไมแทรกแซงกิจการภายใน ซึ่งกันและกัน อาจจะไมกอใหเกิดประโยชนในแงของการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ หากแตควรจะใชวิธีการ สรางความรวมมือระหวางกันใหมากที่สุด และหากเปนไปไดควรมีการจัดทําอนุสัญญาของภูมิภาคเปนการเฉพาะ เพื่อให การบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศในดานการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่มีอยู เชน สนธิสั ญญาวาดวย ความชว ยเหลื อในเรื่อ งทางอาญาระหว างกัน ของภู มิภาคอาเซี ยน ค.ศ. 2004 อนุสั ญญาสหประชาชาติเ พื่อ ตอ ตา น อาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. 2000 และอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานการลักลอบขนยาเสพ ติดและสารตั้งตน สําหรับการผลิตยาเสพติดผิดกฎหมาย ค.ศ. 1988 เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด 6) การเกิดชองวางของกฎหมายในเรื่องของการสงคนชาติกลับสูประเทศตนทางหรือประเทศผูรองขอตาม สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน เนื่องจาก กระบวนการในการยื่นคํารองแบบเปนทางการเพื่อขอใหสงตัวผูตองหากลับไปรับ โทษดําเนินคดีในประเทศที่ความผิดเกิด จะมีขั้นตอนในการดําเนินการหลายขั้นตอน และใชระยะเวลานานพอสมควร ซึ่ง แมวา จะใชวิธีการยื่นคํารองขอจับกุมชั่วคราว ก็ยังมีขั้นตอนตามกฎหมายหลายสวนซึ่งเปนปญหาตอการบังคับใชกฎหมาย ของประเทศ จึงพบวา บอยครั้งที่เจาหนาที่ตํารวจประสานงานประจําสถานทูต มักจะใชความสัมพันธแบบไมเปนทางการ ในการประสานงานกับฝายตํารวจตรวจคนเขาเมือง และตํารวจทองที่เกิดเหตุในการสืบสวนจับกุมตัวของผูที่ถูกหมายจับ ของตางประเทศ จากนั้น จะนําตัวไปกักตัวไวที่สํานักงานตรวจคนเขาเมืองระหวางรอการยกเลิกหนังสือเดินทางและ ใบอนุญาตใหเขาประเทศ (วีซา) เพื่อใหอํานาจแกเจาหนาที่ตํารวจของประเทศที่ความผิดเกิดในการรับตัวผูตองหากลับไป ดําเนิ นคดี ซึ่งการกระทํา ในลั กษณะดังกลาวอยูในขายของการละเมิด สิทธิ มนุษ ยชน และไมเป นไปตามขั้ นตอนตาม กฎหมายที่ถูกตอง ดังนั้น เพื่อเปนการแกไขปญหาดังกลาว การจัดทําสัญญาสงผูรายขามแดนที่เปนลายลักษณระหวางกัน นาจะเปนทางเลือกหนึ่งที่จะทําใหกระบวนการสงคนชาติกลับสูมาตุภูมิ เพื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมเปนไปโดยถูกตอง รวดเร็ว และไมละเมิดตอกฎหมายที่มีอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งไมจําเปนตองผานกระบวนการของศาลในแตละประเทศ ตัวอยางเชน ในกรณีการจัดทําสนธิสัญญาสงผูรายขามแดน เพียงแตใหมีการจัดทําขอตกลงหรือแนวทางปฏิบัติระหวางกัน ใหถูกตองวา ความผิดในลักษณะใดที่สามารถใชชองทางดังกลาวได 7) การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย ของกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียน แมวาในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงานในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งใน ระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจ อาเซียน แตกรอบความรวมมือมีลักษณะเชิงนโยบายที่มีลักษณะหลวม ๆ เนนการกระชับความสัมพันธและการทํางาน รวมกันแบบไมเปนทางการผานการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนสวนใหญ ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑที่แนนอนตายตัวเหมือนกับ ความรวมมือ โดยใชกระบวนการทางกฎหมาย ทําใหกรอบความรวมมือที่เกิดขึ้นมีความไมแนนอนขึ้นอยูกับผลประโยชน ตางตอบแทน และนโยบายของรัฐบาลเปนสําคัญ ซึ่งแนนอนวาหากมีประเด็นเรื่องอธิปไตย และผลประโยชนแหงชาติเขา มาเกี่ยวของยอมทําใหเจตนารมณพื้นฐานในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติรวมกันอาจตองเปลี่ยนแปลง ไป ดวยเหตุนี้ การจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเพื่อเปนกลไกการประสานความรวมมือระหวาง


ส รุ ป : ห น า | 291

ประเทศในทางปฏิบัติ เชน ทีมสืบสวนสอบสวนรวมของอาเซียนในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ จึงมีสวน สําคัญที่จะทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติบังเกิดผลเปนรูปธรรมไดมากขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ 11 นอกจากนี้ นวลจันทร ทัศนชัยกุล ไดเสนอแนวทางการแกไขปราบปรามอาชญากรรมองคการ ไวดังนี้ 1. จัดตั้งคณะกรรมการหนวยงานเฉพาะกิจ ใหรับผิดชอบอาชญากรรมนี้โดยตรงเฉพาะทางคณะทํางานควร ไดรับการอบรมใหมีความรู และทักษะในการปราบปราม 2. ในการทํางานของเจาหนาทีต่ ํารวจ ควรเพิ่มงบประมาณที่ทันสมัยในการจัดหาเทคโนโลยีที่จะเก็บขอมูล การ ตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาก องคการนี้ ลงทุนในการจัดหาอุปกรณ เพื่อประกอบอาชญากรรมสูง เจาหนาที่ของ รัฐ จะตองมีเครื่องมืออุปกรณที่มีประสิทธิภาพ 3. การแกไขโดยตรากฎหมาย เพื่อความคลองตัวในการปราบปรามใหไดผลอยางจริงจัง เชน 3.1. กฎหมายการใหความคุมครองพยาน การกันบุคคลไวเปนพยาน การตอรองคํารับสารภาพ และการสง มอบทรั พ ย สิ น (ล อ ซื้ อ ) ภายใต ก ารควบคุ ม ที่ อ นุ ญ าตเป ด โอกาสให ป ระชาชนได ร อ งเรี ย นในกิ จการธุ ร กิ จ ของกลุ ม อาชญากรรมองคการ ทั้งนี้ เจาหนาที่ตํารวจตองใหความคุมครองแกผูเสียหายดวย 3.2. กฎหมายการดั ก ฟ ง การติ ด ต อ ทางโทรศั พ ท เพื่ อ เป น การติ ด ตามรวบรวมพยานหลั ก ฐานในการ ดําเนินคดี โดยมีเงื่อนไขใหคุมครองสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลตามรัฐธรรมนูญ 3.3. กฎหมายฟอกเงินควรมีมาตรการพิเศษในการตรวจสอบบัญชีเงินฝากธนาคาร การซื้อขายหุน และ สถาบันการเงินอื่น ๆ ที่จะรวบรวมหลักฐานโดยบัญญัติเพียงวา หลักฐานนั้น ควรเชื่อไดก็สามารถดําเนินคดีได 4. เจาหนาที่กระบวนการยุติธรรม คือ ตํารวจ อัยการ ศาล และราชทัณฑ จะตองทํางานดวยความซื่อสัตย มี ความรับผิดชอบตอหนาที่ที่จะตองรวมมือกันอยางจริงจังในการปราบปรามบังคับใชกฎหมายใหศักดิ์สิทธิ์ สํ า หรั บ ป ญ หาการทุ จ ริ ต คอร รั ป ชั่ น ของข า ราชการหน ว ยงานต า ง ๆ ที่ เ กี่ ยวข อ ง ในด า นการปราบปราม อาชญากรรมขามชาติมีอยูในแทบทุกวงการ เจาหนาที่ของรัฐเห็นแกประโยชนที่ไดรับ หรือมีผลประโยชนรวมกันกับกลุม ผูกระทําผิด ดังปรากฏในหนาหนังสือพิมพรายวัน มีเจาหนาที่ตํารวจจับกุมเจาหนาที่ตํารวจจําหนาย หรือเสพยาเสพติด และมีเจาหนาที่ราชทัณฑรวมรูเห็น หรือคายาเสพติดใหกับผูตองโทษ ดังนั้น การแกไขปญหาขาราชการคอรัปชั่น เริ่มตน จากการสรรหาบุคคลที่เหมาะสม เปนผูมีความรูความสามารถ มีประวัติพื้นฐานที่ดี โดยการตรวจสอบสืบความประพฤติ และผลการทดสอบจากนักจิตวิทยา แลวนําบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกเขารับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาความรู และความ ชํานาญในวิชาชีพ เรียนรูเทคนิค และวิทยาการทันสมัย ทําใหปฏิบัติหนาที่ไดอยางดี พรอมปลูกฝงสรางจิตสํานึกในหนาที่ มีจรรยาบรรณ และประพฤติปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัย ทั้งนี้ หนวยงานตองใหการสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณทันสมัย เสริมสรางขวัญ และกําลังใจขาราชการใหไดรับผลตอบแทนตามความเหมาะสม สามารถดํารงตนในสังคมอยางมีเกียรติ และศักดิ์ศรี 5. อาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมองคการ มีความสัมพันธกับอาชญากรรมขามชาติมาก ความรวมมือกัน ระหวางประเทศที่จะบังคับกับพลเมืองในการบังคับกันและกัน สมควรเรงรีบที่จะดําเนินการรวมกัน การขอความรวมมือ การจัดการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จะทําใหเกิดประโยชนในการปราบปรามแกไขตอไป 6. การจัดทําประวัติของเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรม และนักการเมือง จะเปนประโยชนในการรวบรวม หลักฐานที่มาของทรัพยสิน การฟอกเงิน การตรวจสอบที่พิจารณาถึงฐานะทางการเงิน จะชวยในสวนที่บุคคลกลุมนี้ ซึ่ง เปน “อาชญากรรมคอปกขาว” ดวย 11

นวลจันทร ทัศนชัยกุล. (2528). อาชญากรรม (การปองกัน : การควบคุม). กรุงเทพฯ : พรทิพยการพิมพ. หนา 256-257.


ส รุ ป : ห น า | 292

7. การดําเนินคดี ในการบังคับใชกฎหมายแกพวกมาเฟย ควรกระทําอยางเด็ดขาดรวดเร็ว และตองใหรับโทษ สถานหนัก การหาพยานหลักฐานเพื่อสนับสนุนการลงโทษจําเปนตองไดรับความรวมมือจากสมาชิก หรือผูใกลชิดกับ สมาชิกขององคกร ดังนั้น นอกจาก มีกฎหมายการคุมครองพยานสวนหนึ่งแลว สมควรเปลี่ยนแปลงกฎหมายพิธีพิจารณา ความอาญา โดยการยอมรับ เอาคํ าให การของพยานบุคคลในการพิ จารณาลับ (witnesses in camera) เป น พยานหลักฐานในการดําเนินคดีได และเพื่อปกปองพยานจากการเปดเผยตัว และมีความกลาจะใหการเปนปฏิปกษตอ องคกรอาชญากรรมขามชาติ 8. รัฐบาล โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยตองปรับปรุงทะเบียนราษฎร บัตรประชาชน และทะเบียน ประวัติอาชญากร ใหมีประสิทธิภาพสามารถตรวจสอบไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 9. กรมตํารวจตองพัฒนาขยายขอบขายงาน การทํางานของศูนยรับแจงเหตุ หรือขาวดวนของกรมตํารวจ ใหมี การจัดตั้งกวางขวางทั้งในสวนกลาง และสวนภูมิภาค 10.การใชมาตรการทางอาญา โดยนําวิธีการเพื่อความปลอดภัยกับคนที่เปนภัยทางสังคม เชน การหามเขาเขต กําหนด การกักกัน และการทําทัณฑบนเพื่อเปนการควบคุม ดําเนินการกับผูมีพฤติการณเปนภัยตอสังคม เพื่อเปนการเตรียมความพรอมดานการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพรอม เขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 รัฐบาลควรมียุทธศาสตรในการบริหารและพัฒนากระบวนการยุติธรรมของไทยใน 5 ดานหลัก ดังนี้ 1. การพัฒนาและปรับเปลี่ยนโครงสรางกระบวนการยุติธรรมใหเหมาะสม ในระดับภูมิภาค 1.1. รัฐ อาเซี ยนควรให การสนับ สนุ นและผลัก ดัน ให องคก รอาเซี ยนที่มี อยู ในปจจุ บัน เชน สํ านั กงาน เลขาธิการอาเซียน สํานักงานเลขาธิการตํารวจอาเซียน สํานักงานเลขาธิการดานอื่น ๆ ของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของ รวมถึงสถาบันฝกอบรมระหวางประเทศที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ ในอาเซียน เปนหนวยงานภูมิภาคหลักในการกํา หนด ผลักดัน ขับเคลื่อน และศึกษาวิจัยกระบวนการเชิงนโยบายทางอาญาของประเทศอาเซียนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจทําหนาที่เปนทั้งหนวยประสานงานดานกระบวนการยุติธรรม หรืออาจจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระดับรอง ในองคกรดังกลาว เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน 1.2. รั ฐ อาเซี ย นควรเสนอให จั ด ตั้ ง ที มปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภาคอาเซี ยน (ASEAN Investigative Team) ในลักษณะของทีมบูรณาการอาจประกอบดวยหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจ อัยการ ศาล ศุลกากร และตรวจคนเขาเมือง โดยอาจทําเปนรูปของโครงการระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ซึ่งจําเปนตองมีการตั้งคณะทํางานเตรียมการเพื่อศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งทีมปฏิบัติการดังกลาว โดยเริ่มตั้งแต กระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะความชํานาญเฉพาะดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติการรวมการทดลอง จน นําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง โดยทีมที่ตั้งขึ้นจะเปนการบูรณาการผูเชี่ยวชาญ เชน ทีมสืบสวน ทีมสอบสวน ทีมนิติ วิทยาศาสตร ทีมเทคโนโลยี ทีมปฏิบัติการพิเศษ จากทุกประเทศที่จําเปนตอการทํางานที่เกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติ เขาดวยกัน มีการแลกเปลี่ ยนและถายทอดความรูประสบการณ รวมถึงแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานระหวางกัน อยางไรก็ตาม ทีมปฏิบัติการที่ตั้งขึ้นควรไดรับการรับรองจากรัฐบาลประเทศอาเซียนอยางถูกตองตามกฎหมายภูมิภาค อาเซียนที่จะจัด ทําขึ้น โดยมีสํา นักงานเลขาธิ การอาเซียนเป นกลไกบริหารหลักเพื่อ ให สามารถปฏิบั ติหนาที่ ไดอยา ง คลองตัว และเจาหนาที่ในทีมปฏิบัติการควรตองไดรับเอกสิทธิเทียบเทาผูแทนทางการทูตที่สามารถเดินทางเขาออก ประเทศตาง ๆ ในอาเซียน เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานในสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติโดยไมขัดตอหลักดินแดน แตอยางใด


ส รุ ป : ห น า | 293

1.3. รัฐอาเซียนควรเสนอใหมีการตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจ เพื่อศึกษาทบทวนความเปนไปไดในการจัดตั้ง องคกรกระบวนการยุติธรรมในระดับภูมิภาคของอาเซียน เชน ศาลยุติธรรม สํานักงานอัยการอาเซียน ควบคูไปกับองคกร ตํารวจอาเซียน ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นแลว เพื่อแกปญหาเรื่องเขตอํานาจศาลที่ถูกจํากัดโดยอํานาจอธิปไตยของแตละประเทศ และ ลดปญหาความแตกตางของขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศอาเซียน โดยกําหนดโครงสรางองคกร และขอบเขตอํานาจหนาที่ภารกิจใหเหมาะสมสอดคลองกับประเภทคดีที่สมควรจะนําขึ้นสูกระบวนการพิจารณาคดีในชั้น ศาลใหชัดเจน เชน เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากลบางประเด็น และคดีสงผูรายขามแดนระหวางประเทศสมาชิก เปน ตน เพื่อเปนการยกระดับหนวยงานบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับกฎหมายภูมิภาคที่มีอยู แลว เชน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกัน และกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 และอาจมีการ พัฒนาขึ้นใหมในอนาคต โดยอาจนําตัวแบบของกระบวนการยุติธรรมและศาลยุติธรรมของสหภาพยุโรปมาใชเปนแนวทาง ในการจัดโครงสรางองคกรและแนวทางการปฏิบัติงาน ในระดับประเทศ 1.4. รัฐจะตองบูรณาการหนวยงานดานตาง ๆ ของรัฐ เพื่อรับผิดชอบภารกิจในการตอสูกับอาชญากรรม ขามชาติ เนื่องจาก ในปจจุบันหนวยงานบังคับใชกฎหมายของประเทศอาเซียน มีความแตกตางกันคอนขางมาก บาง ประเทศใหอํานาจกับตํารวจมาก โดยสืบสวนสอบสวนจับกุม และฟองรองดําเนินคดี เชน เมียนมาร เวียดนาม บาง ประเทศตองการใหมีการถวงดุลอํานาจระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกัน เชน ไทย สปป.ลาว และฟลิปปนส ซึ่ง สวนใหญยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานที่มีภารกิจที่เกี่ยวของกับอาชญากรรมขามชาติโดยตรง ในขณะที่การทับซอนกันในเชิง ภารกิจระหวางหนวยงานยังคงเปนปญหาในอีกหลายประเทศ อันเนื่องมาจากยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานเฉพาะหรือหนวย ประสานงานกลางขึ้นมารับผิดชอบกํากับดูแล ดังนั้น เพื่อใหการประสานความรวมมือกับตางประเทศมีความเปนเอกภาพ มากขึ้น รัฐควรกําหนดภารกิจในการจัดการปญหาอาชญากรรมขามชาติใหชัดเจน และจัดโครงสรางหนวยงานขึ้นมา รองรับภารกิจดังกลาว โดยอาจเปนการบูรณาการหนวยงานที่มีอยูโดยอาจมอบหมายใหกระทรวงยุติธรรมเปนหนวย ประสานงานกลาง เพื่อประสานการทํางานระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายใหเกิดความคลองตัวมากขึ้น เพื่อให สอดคลองกับรางพระราชบัญญัติปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. .... ที่อยูระหวาง การพิจารณาของรัฐสภาและคาดวา จะมีผลใชบังคับในอนาคตอันใกล สําหรับตัวแบบที่นาสนใจสําหรับการบูรณาการ หนวยงานดานความมั่นคงอาจใชรูปแบบของกระทรวงกิจการภายใน (Department of Home Land Security) ของ สหรัฐอเมริกา หรือการจัดตั้งหนวยอาชญากรรมรายแรง (Serious Organized Crime Agency; SOCA) ที่เปนการบูรณา การหนวยงานยุติธรรมของสหราชอาณาจักร ไดแก ตํารวจ ศุลกากร ตรวจคนเขาเมือง เขามาทํางานรวมกัน 2. การพัฒนากฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และระบบการบริหารจัดการ ในระดับภูมิภาค 2.1. รัฐอาเซียนควรกําหนดใหมีมาตรการทางกฎหมายรวมกันในหลากหลายมิติอยางเหมาะสมทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ เพื่อรองรับการขยายตัวของภูมิภาคอาเซียน เชน มาตรการทางกฎหมายการ ฟอกเงิน มาตรการตอตานการกอการราย มาตรการสงเสริมสิทธิมนุษยชนอาเซียน มาตรการทางกฎหมายตอผูตองหาและ เหยื่อจากการคามนุษย เปนตน แมวา ในปจจุบันการกระทําผิดของอาชญากรรมที่เปนคนตางชาติและเดินทางมาจาก ประเทศในภูมิภาคอาเซียนดวยกันจะยังมีไมมาก และรูปแบบความผิดอาจไมซับซอนมาก อยางไรก็ตาม เปนที่คาดหมาย ไดวา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว ประชากรจากทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะหลั่งไหลเขาและออกจากประเทศ ไทย และจากประเทศไทยไปสูประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนมากขึ้น อันเนื่องมาจากนโยบายเปดรับและอํานวยความสะดวก แกเพื่อนบาน ดังนั้น การกําหนดใหมีอนุสัญญาของอาเซียนวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือแนวทางปฏิบัติที่ดี


ส รุ ป : ห น า | 294

ที่สุดดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียนเชนเดียวกับกฎหมายของภูมิภาคอื่น เชน อนุสัญญาสหภาพยุโรปวา ดวยการสงผูรายขามแดน ค.ศ. 1957 และอนุสัญญาสหภาพยุโรปวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา ค.ศ. 1959 ที่วางหลักเกณฑใหแตละประเทศถือปฏิบัติรวมกันแบบกวาง ๆ เปน กลาง และไมยึดติดกับเรื่องของชาติพันธุ วัฒนธรรม โดยสมควรมีสาระสําคัญประกอบดวย บททั่วไป ความผิดอาญาที่จะใชกฎหมายดังกลาว หนวยงานบังคับใช กฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศ บทยกเวนและอื่น ๆ เกี่ยวของนาจะเปน แนวทางหนึ่งที่จะทําใหการบังคับใชกฎหมายและการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคมีมาตรฐาน ใกลเคียงกันและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.2. รัฐอาเซียนควรสงเสริมผลักดันใหประเทศสมาชิกใชเครื่องมือ และระบบการบริหารจัดการคดีระหวาง ประเทศที่มีอยู เชน ระบบหมายจับและระบบฐานขอมูลหลักฐานขององคการตํารวจสากล ระบบฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ซึ่งเกี่ยวของกับฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติหลายประเภท ไดแก การกอการราย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การคา มนุษย การฉอโกงขามชาติ การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรมคอมพิวเตอร อาชญากรรมเศรษฐกิจและการเงิน และ อาชญากรรมสิ่งแวดลอม มาใชในการปฏิบัติงานและสามารถใชขอมูลจากฐานดังกลาวเปนแนวทางในการสืบสวนสอบสวน อาชญากรรมขามชาติและในภูมิภาค และควรไดรับการยอมรับใหสามารถใชเปนพยานหลักฐานในชั้นศาลของแตละ ประเทศไดดวย 2.3. รัฐอาเซียนควรเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใชกฎระเบียบที่เ กี่ยวของดานอื่น ๆ เชน ดานมาตรฐาน คุณภาพและความปลอดภัยของสินคาและบริการ การปรับปรุงกฎหมายระเบียบและขอบังคับที่เกี่ยวของโดยที่ครอบคลุม ถึงคุณภาพการใหบริการของหนวยงานภาครัฐ การเพิ่มชองทางการเขาถึงขอมูลและองคความรูเกี่ยวกับสิทธิและการ คุมครองสิทธิรวมถึงชองทางการรับขอรองเรียน พรอมทั้งปรับปรุงกลไกเฝาระวังคุณภาพมาตรฐาน การตรวจสอบและ ติดตามความคืบหนาของการดําเนินการจากการรองเรียน การเพิ่มสมรรถนะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการมี สวนรวมของประชาชนในการคุมครองสิทธิผูบริโภค สรางความตระหนักของผูบริโภคในการรักษาสิทธิและดูแลผลกระทบ จากการใชสินคาและบริการ ควบคูไปกับการกระตุนจิตสํานึก ความรับผิดชอบตอสังคมและภาคธุรกิจเอกชน เพื่อการ พัฒนามาตรฐานระบบการคุมครองผูบริโภค เพื่อการคุมครองภายในประเทศและรองรับการเคลื่อนยายสินคา บริการ และ ขอมูลขาวสารอยางเสรีในประชาคมอาเซียน ในระดับประเทศ 2.4. รัฐควรกําหนดใหปญหาอาชญากรรมขามชาติเปนวาระแหงชาติ ซึ่งมีความสําคัญตอการกําหนดแนว ทางการปองกันอาชญากรรมขามชาติในอนาคตของภูมิภาคอาเซียน เพราะมีผลกระทบตอการจัดองคกรบังคับใชกฎหมาย และการจัดสรรงบประมาณของภาครัฐเพื่อบรรลุเปาหมายที่วางไว รัฐบาลของแตละประเทศจะเปนหนวยสําคัญที่จะ กําหนดวาปญหาสาธารณะใดสมควรจะไดรับการแกไขกอนหรือหลัง ซึ่งยอมผูกพันตอการใชงบประมาณและการระดม สรรพกําลัง โดยใหหนวยราชการทุกกระทรวง ทบวง กรมใหความสําคัญกับเรื่องดังกลาวและประสานงานในเชิงนโยบาย ใหสอดคลองตองกัน 2.5. รัฐควรตั้งคณะกรรมการพิจารณาทบทวนแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาโดยประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศ หรือ ภูมิภาคที่มีอยูในปจจุบันหรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตในการเขาสูประชาคมอาเซียน เชน การแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของ ใหสอดคลองกับสนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องทางอาญาของอาเซียน การยกรางกฎหมายปองกัน ปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมใหรองรับการเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยอาชญากรรม ขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ซึ่งทั้งสองกรณีสํานักงานอัยการสูงสุดเปนเจาภาพและอยูระหวางดําเนินการและการ


ส รุ ป : ห น า | 295

ปรับปรุงแกไขกฎหมายใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศในเรื่องตาง ๆ ที่ประเทศไทยจะเขาเปนภาคี ซึ่งอาจมี ผลกระทบตอการรวมตัวเปนภูมิภาคอาเซียน เชน พิธีสารเพื่อการตอตานการลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐานโดยทางบก ทาง ทะเล และทางอากาศ และพิธีสารเพื่อตอตานการลักลอบผลิตและคาอาวุธโดยผิดกฎหมาย เปนตน 2.6. รัฐควรเปดโอกาสใหองคกรนอกรัฐและองคกรที่ไมแสวงหาผลกําไรที่เกี่ยวของ เชนสภาทนายความใน พระบรมราชูปถัมภ องคกรกาชาดสากล องคกรสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ มูลนิธิเพื่อนหญิง ฯลฯ ไดเขามามีสวนรวม และบทบาทในการปฏิบัติงานเพื่อชวยเหลือ ผูเสียหาย และผูตองหาที่เปนคนชาติตามสิทธิมนุษยชนสากลและบทบัญญัติ ของกฎหมายภายในของแตละประเทศตามสมควร เพื่อเปดพื้นที่ในการใหทุกภาคสวนไดเขามามีสวนรวมในการแกไข ปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางจริงจังและเต็มที่ นอกจากนี้ หนวยงานบังคับใชกฎหมายทั้งในระดับนโยบายและปฏิบัติ เชน ศาล อัยการ ตํารวจ ราชทัณฑ และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ควรจะตองกําหนดนโยบายทางอาญาใหสอดประสาน กับนโยบายทางอาญาของประเทศ โดยยึดหลักกระบวนการยุติธรรมสากล โดยเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญามากขึ้น เชน การสรางระบบชวยเหลือประชาชนทางกฎหมายของภูมิภาคอาเซียน การ จัดตั้งกองทุนใหความชวยเหลือตามแนวทางของกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อใหชุมชนเขามารวมรับผิดชอบมากขึ้น 2.7. รัฐควรจะจัดทํานโยบายและแผนการพัฒนาประชาคมอาเซียนดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา รวมกัน เชน การเคลื่อนยายแรงงาน การสงกลับคนเขาเมืองผิดกฎหมาย การปฏิบัติตอเด็กและสตรี เปนตน โดยอาจเปน ลักษณะของการทําขอตกลง (Memorandum of Understanding) ธรรมเนียมการปฏิบัติ (Code of conduct) หรือ แนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practices) เชน การปฏิบัติตอคนตางชาติเมื่อเขาสูการดําเนินคดีอาญาของอาเซียน ทั้งนี้ ในชวงเริ่มตนอาจจะประสานงานเพื่อขอรับการสนับสนุนบุคลากร และเครื่องมือจากประเทศในกลุมภูมิภ าคอื่น ๆ หรือองคการระหวางประเทศที่มีประสบการณมากอน เชน สหภาพยุโรป สหประชาชาติ องคการตํารวจสากล เปนตน

3. การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรรัฐ ในระดับภูมิภาค 3.1. รัฐอาเซียนควรจัดเตรียมบุคลากรหนวยงานบังคับใชกฎหมายโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการสืบสวน สอบสวนและประสานงานทางคดีใหมีความรูในลักษณะสหวิทยาการ ประกอบดวย กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย บัญญัติ และวิธีสหบัญญัติทางอาญา การสืบสวนสอบสวนคดี และการใชภาษาตางประเทศอีกอยางนอยสองภาษาโดยมี ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาพื้ น ฐาน เพื่ อ เข า ร ว มในที ม ปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภ าคอาเซี ย น (ASEAN Investigative Team) โดยอาจทําเปนรูปของโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคม อาเซียน โดยอาจแบงเปนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยอาจจัดตั้งเปนคณะกรรมการเตรียมการเพื่อศึกษาความ เปนไปไดในการจัดตั้งทีมปฏิบัติการดังกลาว โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะความชํานาญเฉพาะ ดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติการรวม การทดลอง จนนําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง โดยทีมที่ตั้งขึ้นจะเปนการ บูรณาการผูเชี่ยวชาญ เชน ทีมสืบสวน ทีมสอบสวน ทีมนิติวิทยาศาสตร ทีมเทคโนโลยี ทีมปฏิบัติการพิเศษ จากทุก ประเทศที่ จํ า เป น ต อ การทํ า งานที่ เ กี่ ยวกั บ อาชญากรรมข ามชาติ เ ข า ด ว ยกั น มี ก ารแลกเปลี่ ยนและถ า ยทอดความรู ประสบการณ รวมถึงแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานระหวางกัน ซึ่งหากไดรับการยอมรับเปนมติของผูนําอาเซียนแลว


ส รุ ป : ห น า | 296

ทีมปฏิบัติการรวมดังกลาวควรตองไดรับเอกสิทธิเทียบเทาผูแทนทางการทูตที่สามารถเดินทางเขาออกประเทศตาง ๆ ใน อาเซียน เพื่อปฏิบัติงานในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติโดยไมขัดตอหลักดินแดนแตอยางใด 3.2. รัฐ อาเซี ยนควรสง เสริมใหมี เจ าหน าที่ ตํา รวจประสานงานประจํ าสถานทูต ในแต ละประเทศเพื่ อ ประโยชนในการประสานงานทางคดี โดยเฉพาะอาชญากรรมขามชาติที่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียน และที่ใชกลุมประเทศ อาเซียนเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด โดยที่ประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ไดยอมรับถึงความสําคัญและ ความจําเปนของการมีเจาหนาที่ตํารวจประสานงานประจําในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกและให ความชวยเหลือกับหนวยงานบังคับใชกฎหมายในประเทศสมาชิก ซึ่งปจจุบันไดมีการดําเนินการในบางประเทศ เชน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สวนกัมพูชาและไทยกําลังอยูระหวางการไดรับอนุมัติจากรัฐบาล โดยคาดวาสํานักงานตํา รวจ แหงชาติของไทย จะสามารถสงเจาหนาที่ตํารวจไปประจําการในชวงแรกไดใน 4 ประเทศ ไดแก จีน กัมพูชา สปป.ลาว และเมี ย นม า ร เมื่ อ ได รั บ ความเห็ น ชอบตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ทั้ ง นี้ ไม นั บ รวมสหพั น ธ รั ฐ มาเลเซี ย ที่ มี เ จ า หน า ที่ ตํารวจสันติบาลประจําการอยูแลว ดังนั้น รัฐอาเซียนจึงควรมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรเพื่อเตรียมการและดําเนินการใน เรื่องดังกลางอยางเรงดวน ในระดับประเทศ 3.3. รัฐตองมีแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ เพื่อเตรียมบุคลากรในหนวยงาน ราชการตาง ๆ ใหพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนทั้งในเชิงระบบบริหารงานบุคคล และศักยภาพของบุคคล เชน การ เตรียมความพรอมในดานภาษาตางประเทศใหแกขาราชการ การฝกอบรมใหขาราชการในทุกกระทรวง ทบวง กรม เขาใจ ตอกฎหมาย และระเบียบของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับหนวยงานของตน และหนวยงานกระบวนการยุติธรรมที่ เกี่ยวของเทานั้น หากแตตองอาศัยความรวมมือทุกภาคสวนทั้งสถาบันการศึกษา สังคม และครอบครัวในการชวยกลอม เกลา และสรางทรัพยากรมนุษยใหมีความพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนดวย 3.4. รัฐควรเรงสรางความตระหนักรูใ หเกิดกับ ประชาชนโดยเฉพาะที่เกี่ ยวของกั บสิทธิมนุ ษยชนของ พลเมืองอาเซียนตามปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ขั้นตอนการดําเนินคดีในกระบวนการยุติธรรมทางอายาของ ประเทศอาเซียนที่มีความแตกตางกัน สิทธิของผูตองหาและผูเสียหาย เมื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมของประเทศตาง ๆ ในอาเซียน และการขอความชวยเหลือจากรัฐของตนเอง เพื่อใหทราบวาหากมีกรณีที่จะตองเขาสูกระบวนการยุติธรรมของ ประเทศเหลานั้น จะตองปฏิบัติอยางไร เชน รูปแบบและวิธีการประสานงานกับหนวยงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย เมื่อตองเขาไปเกี่ยวของกับคดีอาญาในประเทศอาเซียน รวมตลอดถึงการใหความรูความเขาใจตอ วัฒนธรรมประเพณีที่แตกตางของอาเซียนที่จะชวยลดความขัดแยงที่อาจนําไปสูการฟองรองดําเนินคดีอาญา 4. การพัฒนาและสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศ 4.1. รัฐควรสงเสริมการพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใหความสําคัญตอความรวมมือและการใหความชวยเหลือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญาเพิ่มมากขึ้น และแสดงใหเห็นถึงความจริงใจที่จะใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันบนหลักปฏิบัติตางตอบ แทน ซึ่งสามารถกระทําไดทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ตัวอยางเชน การจัดทําแผนแมบทของกระทรวงยุติธรรม เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ไดแก การจัดตั้งหนวยงาน เฉพาะขึ้นมา เพื่อรับผิดชอบในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการแกไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ เชน การแกไขกฎหมายอาญาใหครอบคลุมถึงความผิดในลักษณะตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขามชาติไมวา จะกระทําภายในหรือภายนอกประเทศ ความผิดในลักษณะขององคกรอาชญากรรมขามชาติ การแกไขกฎหมายวิ ธี พิจารณาความอาญาใหขยายอํานาจใหเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของในการสืบสวนสอบสวนคดีที่มีลักษณะขาม


ส รุ ป : ห น า | 297

ชาติ การแกไขพระราชบัญญัติความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาใหครอบคลุมการรวบรวมพยานหลักฐานที่ ไดมาโดยการปฏิบัติของทีมสืบสวนสอบสวนรวมของอาเซียน ซึ่งเปนการดําเนินการนอกประเทศ หลักฐานขอมูลตํารวจ อาเซียนและองคการตํารวจสากล และหลักฐานที่ไดจากการรวบรวมโดยเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูต เปนตน ควร ไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางเปนทางการของประเทศอาเซียนดวย 4.2. รัฐควรสงเสริมการเรียนรูในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศสมาชิกอาเซียนระหวาง หนวยงานบังคับใชกฎหมายรวมกัน เชน การจัดทําระบบฐานขอมูลกฎหมายระหวางประเทศ และกฎหมายอาญาและวิธี พิจารณาทางอาญาของอาเซียน การสงเสริมใหมีสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียนใน สถาบันการศึกษาตาง ของประเทศสมาชิกอาเซียน การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและขาราชการที่จะลาไปศึกษาตอ ในสาขา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา นิติศาสตร รัฐศาสตร และอื่น ๆ ระหวางประเทศอาเซียนดวยกันในรูปแบบของทุนพัฒนา ขาราชการ หรือทุนการศึกษาตอตางประเทศ เปนตน 4.3. รัฐอาเซียนควรส งเสริมการพัฒนาความรว มมือในประชาคมอาเซียนในดานตาง ๆ โดยเฉพาะที่ เกี่ยวของการทองเที่ยว พิธีการเขาเมือง และการเคลื่อนยายแรงงานเขาสูประเทศไทยทั้งที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย ภายใตกรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยอาจมีการทําขอตกลงยอมรับรวมกันในคุณสมบัติวิชาชีพ เพื่อใหมีการ เคลื่อนยายแรงงานมีผีมือ 7 สาขาที่ขาดแคลน ไดแก บริการวิศวกรรม พยาบาล สถาปตยกรรม วิชาชีพสํารวจ แพทย ทันตแพทย และนักบัญชี โดยอาจมีขอตกลงยอมรับคุณสมบัติวิชาชีพระหวางกันในสาขาอื่น ๆ รวมถึงแรงงานกึ่งทักษะ ฝมือ ซึ่งนอกจากจะทําใหเกิดความรวมมือภายในภูมิภาคแลว ยังชวยทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรมประเพณี ในแตละสาขาอาชีพระหวางกันอีกดวย 5. การพัฒนาดานอื่น ๆ 5.1. ประเทศไทยควรเปดพื้นที่ในเรื่องสิทธิมนุษยชนใหมากขึ้น โดยขยายใหครอบคลุมถึงสิทธิพื้นฐานบาง ประการที่คนชาติในอาเซียนสมควรจะไดรับดวย เชน สิทธิในทรัพยสิน สิทธิในการประกอบอาชีพ หลักประกันสุขภาพ การประกันสังคม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม เปนตน รวมถึงการสงเสริมการรวมตัวเปนชุมชนของประชาชนใน อาเซียน เชน ชุมชนของคนเวียดนาม ชุมชนของคนเมียนมาร ชุมชนของคนลาว เปนตน เพื่อใหงายตอการควบคุมดู และ บังคับใชกฎระเบียบบางอยางเปนการเฉพาะกลุมไดอยางเหมาะสม และไมกระทบตอคนไทยโดยทั่วไป ในขณะเดียวกัน ก็ เปนการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นเมืองของคนชาติเหลานั้น อันจะเปนประโยชนตอการเรียนรูและแลกเปลี่ยนระหวางกันใน ประเทศไทยอีกดวย 5.2. ประเทศไทยควรตองตระหนักถึงกรณีขอพิพาทระหวางคนชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในกรณี ของบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลตางดาว ที่จะใชสิทธิในกระบวนการยุติธรรมในการฟองรองหรือถูกฟองในศาลไทย ไมวา ในคดีแพง คดีอาญา คดีภาษี คดีแรงงาน คดีสิ่งแวดลอม หรือคดีสิทธิมนุษยชน รวมถึงกรณีที่ทรัพยพิพาทตั้งอยูในประเทศ ไทย ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือกฎหมายวิธีพิจารณา ความปกครอง และเปนเรื่องที่ศาลตองนําพระราชบัญญัติวาดวยกฎหมายขัดกัน พ.ศ. 2481 มาใชในการพิจารณาคดีที่มี องคประกอบตางประเทศ 5.3. ประเทศไทยควรมีการศึกษาในเรื่องคําพิพากษาของประเทศสมาชิกอื่น ๆ โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง เขตอํานาจศาลในการพิจารณาคดีที่มีองคประกอบระหวางประเทศ ซึ่งศาลของประเทศสมาชิกอื่น ๆ ไดพิพากษาเสร็จ เด็ดขาดแลว และคูความในคดีตองการนําคําพิพากษาของศาลประเทศสมาชิกนั้น มาใหศาลไทยรับรองและบังคับตามคํา พิพากษาในประเทศไทย ศาลไทยจะรับรองและบังคับของศาลตางประเทศอยางไร ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับกฎหมาย


ส รุ ป : ห น า | 298

ระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ซึ่งสามารถนําไปสูการทําความตกลงระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนวาดวยการรับรอง และบังคับตามคําพิพากษาของศาลตางประเทศในอนาคต 5.4. การเผยแพรความรูและสรางความตระหนักรูใหเกิดขึ้นกับประชาชนในภูมิภาคอาเซียน และจาก ภูมิภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการกระทําที่เขาลักษณะความผิดตามกฎหมายอาญาทั่วไป และขั้นตอนการ ดําเนินการตามแนวทางของกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน เพื่อใหประชาชนไดทราบ และถือปฏิบัติไดถูกตองเมื่อตองไปพํานักอยูทั้งชั่วคราและถาวร เพื่อประกอบอาชีพและธุรกิจตาง ๆ ซึ่งสามารถอาศัยชอง สื่อตาง ๆ และกลไกอาเซียนที่มีอยู เชน สํานักงานเลขาธิการอาเซียน สถานเอกอัครราชทูต และสถานกงสุลที่มีอยูตาม ประเทศตาง ๆ รวมตลอดถึงสํานักงานเจาหนาที่ตํารวจประสานงานประจําสถานทูต เปนตัวกลางในการเผยแพรขอมูลให ประชาชนไดรับทราบ 5.5. ผลกระทบดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับกฎหมายไทย การดําเนินการตาง ๆ ของประเทศไทย จะบรรลุสําเร็จไดตองไดรับความรวมมือในการปฏิบัติงานของ องคกรภายในของประเทศไทยทุกฝาย ทั้งองคกรฝายนิติบัญญัติที่ทําหนาที่ในการตรากฎหมายรองรับนิติสัมพันธที่เกิดขึ้น ระหวางประเทศไทยกับประเทศสมาชิกอื่น ๆ ฝายบริหาร ทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น ในการบังคับใช กฎหมายใหถูกตองและมีประสิทธิภาพ และฝายตุลาการ ในการชี้ขาดขอพิพาทที่มีองคประกอบระหวางประเทศไดอยาง ถูกตองและเปนธรรมได รวมถึงการรับรองและบังคับตามคําพิพากษาของศาลประเทศสมาชิกอื่น ๆ ในประเทศไทยอยาง เปนระบบและมีประสิทธิภาพ การทํางานของทุกฝายตองปรับตัวในการทํางานรวมกันอยางเปนระบบที่สอดคลองกันเปน หนึ่งเดียว และที่สําคัญที่สุด ใน ป พ.ศ. 2557 นี้ ประเทศไทยไดถูกจัดอันดับโดยประเทศสหรัฐอเมริกาในรายงาน สถานการณการคามนุษยประจําป ใหอยูในลําดับที่ 3 (Tier 3) ซึ่งเปนลําดับสําหรับประเทศที่มีมาตรการการแกไขปญหา การคามนุษยที่ต่ํากวามาตรฐานระดับแยที่สุด โดยกอนหนาที่ประเทศไทยจะถูกจัดใหอยูลําดับที่ 3 ประเทศสหรัฐฯ ได กลาวไวในรายงานวาประเทศไทยควรตองปรับปรุงการคัดแยกและการคุมครองผูเสียหายหรือผูอาจเปนผูเสียหายจาก การคามนุษยเนื่องจากยังมีผูเสียหายหรือผูอาจเปนผูเสียหายจํานวนหนึ่งถูกดําเนินคดีฐานลักลอบเขาเมือง ทั้งที่ประเทศ ไทยไดมีพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ซึ่งกฎหมายภายในที่ใชเพื่อคุมครองผูเสียหาย จากการคามนุษยไวเปนการเฉพาะแลวเปนเวลากวา 6 ป และนอกจากนี้ ขอเท็จจริงปรากฏวาแทจริงแลวขอแตกตาง ระหวางการลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐานและการคามนุษยอาจแยกออกจากกันไดอยางชัดเจนในทางทฤษฎี แตในทาง I12 ปฏิบัติแลว “การลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐาน” อาจกลายสภาพไปเปนการ “แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ” ตอตัวผู โยกยายถิ่นฐาน ไดทุกเมื่อหากมีพฤติการณที่ “บังคับ” อันเปนองคประกอบที่ทําใหการคามนุษยมีความแตกตางจาก ลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐาน การใชและการตีความกฎหมายอาญาที่มุงประสงคแตการปราบปรามการปลอมและการใช หนั ง สื อ เดิ น ทางปลอมต อ ตั ว ผู โ ยกย า ยถิ่ น ฐาน โดยมิ ไ ด พิ จารณาถึ ง มิ ติ ข องการ “คุ มครองผู เ สี ยหายจากขบวนการ อาชญากรรมขามชาติ” และ “การปองกันขบวนการอาชญากรรมขามชาติ” อยางเปนระบบซึ่งอาจเกี่ยวเนื่องหรือเปนกลุม 12

Achara Ashayagachat (27 March 2014). “Refugees Thwarted En Route to Sweden.” Bangkok Post (Online). Retrieved from http://m.bangkokpost.com/topstories/402116. [Accessed 25 July 2014]., Paritta Wangkiat (11 July 2014). “LCT Calls for Action on Trafficking Gangs.” Bangkok Post (Online). Retrieved from http://www.bangkokpost.com/news/local/419960/lctcalls-for-action-on-trafficking-gangs. [Accessed 27 July 2014]., Kohnwilai Teppunkoonngam (24 April 2014). “‘Don’t Lose Hope’ – Law, Policy and Syrian Refugees in Thailand.” Prachathai (Online). Retrieved from http://www.prachatai.com/ english/node/3935. [Accessed 25 July 2014]. และ กรวิไล เทพพันธกุลงาม (2557). “ผูลี้ภัยทางอากาศจากซีเรีย : เหยื่อขบวนการคามนุษย ในรูปแบบใหม,” ThaiNGO.Org (ออนไลน). แหลงที่มาhttp://www.thaingo.org/thaingo/node/2812. [สืบคน 25 ก.ค. 2557].


ส รุ ป : ห น า | 299

เดียวกันกับขบวนการคามนุษยก็ยิ่งอาจทําใหประเทศไทยไมสามารถรักษาความมั่นคงภายในรัฐและอาจถูกโจมตีโดยสังคม ระหวางประเทศ กลับกลายเปนวาขัดตอเจตนารมณแหงกฎหมายของพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ 18) พ.ศ.2550 ฐานปลอมหนังสือเดินทางเสียอีก

อางอิงทายบท I

เชนการหลอกใหผูโยกยายถิ่นฐาน ซึ่งเปนผูลี้ภัย มอบตัวบุตรใหแกนายหนาในประเทศไทยในระหวางที่ถูกจับกุมตัว และ ดําเนินคดีเพื่อขูดรีดเงินจากผูโยกยายถิ่นฐานและญาติเปนคาเลี้ยงดูและคาใชจายอื่น ๆ ในทุกขั้นตอนของกระบวนการทาง กฎหมาย เปนตน


ภาคผนวก ปฏิญญากรุงเทพฯ : ดานอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับประเทศไทย ปฏิญญากรุงเทพฯ ดานอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับประเทศไทย มีกรอบสาระสําคัญ 14 เรื่องดังนี้ 1. การปรับปรุงมาตรการโตตอบอาชญากรรม และการกอการราย (ขอ 4 ถึงขอ 9 และขอ 20) ประเด็นสําคัญ คือ 1.1. การใหสัตยาบันอนุสัญญาตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ตอตานการคอรรัปชั่น และตอตานการ กอการราย 1.2. การใหความชวยเหลือทางวิชาการแกประเทศกําลังพัฒนา 1.3. การรวบรวม และแบงปนขอมูล สารสนเทศเกี่ยวกับอาชญากรรม และการกอการราย และมาตรการ ตอตานที่มีประสิทธิภาพ 1.4. ยึดมั่นในหลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล และการบริหารจัดการที่เหมาะสมในกิจการของรัฐ และ ทรัพยสินของรัฐในระดับทองถิ่นระดับชาติ และระดับระหวางประเทศ 1.5. การพัฒนา และรักษาไว ซึ่งสถาบันความยุติธรรมทางอาญาที่เที่ยงธรรม และมีประสิทธิภาพ 1.6. การปฏิบัติอยางมีมนุษยธรรมตอบุคคลทีถ่ ูกคุมขังกอน และหลังการพิจารณาคดี 1.7. การมีสวนรวมในการปองกัน และตอสูกับอาชญากรรม และการกอการรายของประชาสังคมและกลุม บุคคลนอกประเทศ 1.8. การพัฒนามาตรการระดับชาติ และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา และการสงผูราย ขามแดน 1.9. การเสริมสรางความเขมแข็งของความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อที่จะสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ การตอตานอาชญากรรม รวมถึงการสงเสริมความเจริญเติบโต การพัฒนาที่ยั่งยืน การขจัดความยากจนและการวางงาน โดยทางยุทธศาสตร การพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ และสมดุล และนโยบายการปองกันอาชญากรรม 2. การปองกันอาชญากรรม (ขอ 10) ประเด็นสําคัญ คือ ใชกลยุทธการปองกันอาชญากรรม เพื่อจัดการกับ มูลเหตุ และปจจัยเสี่ยงของอาชญากรรม และการตกเปนเหยื่อของอาชญากรรม ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับ ระหวางประเทศ 3. องคกรอาชญากรรม (ขอ 12 ถึงขอ 14) ประเด็นสําคัญ คือ 3.1. การยอมรับ ความสําคั ญของการต อตานองค กรอาชญากรรม ในเรื่องการลัก และคาทรัพยสินทาง วัฒนธรรม และการคาพืชและสัตวปาที่มีการคุมครองตามกฎหมาย โดยคํานึงถึงตราสารระหวางประเทศที่เกี่ยวของ 3.2. จัดใหมีมาตรการ และสรางกลไกในทางปฏิบัติ เพื่อตอตานอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับการลักพาตัวและ การคามนุษย 3.3. การใหความชวยเหลือ และความคุมครองตอเหยื่ออาชญากรรมที่เกี่ยวกับการลักพาตัว และการคา มนุษย 4. อาชญากรรมคอมพิวเตอร (ขอ 16) ประเด็นสําคัญ คือ การเพิ่มความรวมมือในการปองกันการสืบสวนและ การดําเนินคดี รวมถึงความรวมมือภาคเอกชนในการตอตานอาชญากรรมคอมพิวเตอร


ภ า ค ผ น ว ก : ห น า | 301

5. การคุมครองพยาน และเหยื่ออาชญากรรม (ขอ 17) ประเด็นสําคัญ คือ การใหความสําคัญตอการคุมครอง พยาน และเหยื่อของอาชญากรรม และการกอการราย ทั้งทางดานกฎหมาย และดานการเงิน 6. การสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรม (ขอ 18) ประเด็นสําคัญ คือ 6.1. การสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรมการใหการคุมครองสิทธิตามอํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการ ตามที่กําหนดไวในกฎหมาย และชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน 6.2. การปรับกฎหมายภายในเพื่อสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรม 7. การคายาเสพติด (ขอ 19) ประเด็นสําคัญ คือ เสริมสรางความเขมแข็งในความรวมมือระหวางประเทศในการ ตอตานอาชญากรรมนี้ ซึ่งอยูในลักษณะองคกรอาชญากรรม 8. การตอตานการกอการราย (ขอ 21-22) ประเด็นสําคัญ คือ 8.1. การรองขอความชวยเหลือทางดานวิชาการจากสหประชาชาติเพื่อการใหสัตยาบัน 8.2. การใหสัตยาบันอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการปราบปรามการกอการรายดวยอาวุธนิวเคลียร 9. การตอตานการคอรรัปชั่น (ขอ 23-25) ประเด็นสําคัญ คือ 9.1. การสงเสริมวัฒนธรรมในการยึดหลักคุณธรรม และการตรวจสอบไดทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน 9.2. การบริหารจัดการที่เหมาะสมในกิจการของรัฐที่เกี่ยวของกับสาธารณะ และทรัพยสินที่เกี่ยวของกับ สาธารณะ และหลักนิติธรรม 9.3. การสรางมาตรการในการไดคืนซึ่งทรัพยสินจากการคอรรัปชั่น 10.อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการเงินรวมถึงการฟอกเงิน (ขอ 26-27) ประเด็นสําคัญ คือ 10.1.เสริมสรางความเขมแข็งของนโยบาย มาตรการและสถาบันเพื่อการปฏิบัติระดับชาติและความรวมมือ ระหวางประเทศ 10.2.การตอตานการฉอโกงโดยใชเอกสาร และขอมูลสวนบุคคลปลอม โดยเฉพาะการใชเอกสารการเดินทาง โดยฉอฉล โดยปรับปรุงความรวมมือระหวางประเทศ ความชวยเหลือทางดานวิชาการ มาตรการรักษาความปลอดภัย การ ตรากฎหมายภายในประเทศที่เหมาะสม 11. มาตรฐาน และแบบแผนการจัดการทัณฑสถาน และนักโทษ (ขอ 30-31) ประเด็นสําคัญ คือ พัฒนา และจัด ใหมีมาตรการ และแนวทาง เพื่อทําใหมั่นใจวา ปญหาโรค HIV (เอดส) ภายในทัณฑสถานไดรับการดูแลอยางเพียงพอ 12.กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท (ขอ 32) ประเด็นสําคัญ คือ 12.1.การพัฒนาตอไปซึ่งโครงการ วิธีการ และนโยบายในเรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท 12.2.มาตรการทางเลือกแทนการฟองคดีอาญา 13.กระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชน (ขอ 33) ประเด็นสําคัญ คือ การสรางความมั่นใจวา มีการ ปฏิบัติตอเด็กที่เปนเหยื่ออาชญากรรม และเด็กที่ทําผิดกฎหมายอยางไดมาตรฐาน 14.บทสงทาย (ขอ 34) ประเด็นสําคัญ คือ 14.1.ปองกันการแพรขยายของอาชญากรรมเมือง 14.2.การปรับปรุงความรวมมือระหวางประเทศ 14.3.การพัฒนาศักยภาพของการบังคับใชกฎหมายและศาล 14.4.การสงเสริมการมีสวนรวมของเจาหนาที่ทองถิน่ และประชาสังคม


ประวัติผูเขียน ชื่อ

ดร.พรเทพ จันทรนิภ

ประวัติการศึกษา

- รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง - บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยรามคําแหง - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต นานาชาติ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (NIDA) - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทางการเมือง) มหาวิทยาลัยรามคําแหง (RU) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร) University of Interdisciplinary Studies, Texas, U.S.A. - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต - วาทีป่ รัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประวั ติ ก ารทํา งาน (พอสั ง เขป) -

กรรมการผูจัดการ บริษัท เอส.ซี. เยเนอรัลเทรดกรุป จํากัด กรรมการผูจัดการ บริษัท พี.เอ็น.พี. เลด ไลทติ้ง โปรดักส จํากัด อาจารยประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยรัชตภาคย อาจารยพิเศษ คณะนวัตกรรม, หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาผูนําทางสังคม ธุรกิจ และ การเมือง, มหาวิทยาลัยรังสิต

กิจกรรมทางสังคมและการเมือง (พอสังเขป) -

นายกสโมสรไลออนส ราชดําริ กรุงเทพ ภาค 310-อี ปบริหาร 2552 - 2557 ประธานเขต 3 สโมสรไลออนสสากลภาค 310-อี ปบริหาร 2553-2554 กรรมการ สมาคมปรัชญาและศาสนาแหงประเทศไทย ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจําคณะกรรมาธิการการปกครอง วุฒิสภา ป พ.ศ. 2554 ที่ ป รึ ก ษากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ป ระจํ า คณะกรรมาธิ ก ารการพั ฒ นาการเมื อ งและการมี ส ว นร ว มของ ประชาชน วุฒิสภา ป พ.ศ. 2553 - ที่ ป รึ ก ษาคณะอนุ ก รรมาธิ ก ารการพั ฒ นาการเมื อ งและการมี ส ว นร ว มของประชาชน ด า น ผลกระทบตอวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชน วุฒิสภา ป พ.ศ. 2553 - ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ในคณะกรรมการสงเคราะหเด็กและเยาวชนสําหรับสถานพินิจและคุมครอง เด็กและเยาวชน กรุงเทพมหานคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.