3.ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.pdf

Page 1

ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น ตลอดชวงระยะเวลากวา 40 ปที่ผานมา สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียนไดมีการ พัฒนาการมาเปนลําดับ เริ่มกอตั้งเมื่อป 2510 ทามกลางสถานการณความตึงเครียดของภาวะสงครามเย็น ซึ่งมีความ ขัดแยงดานอุดมการณทางการเมืองระหวางประเทศที่ตางกัน คือ ประเทศที่ยึดถือในอุดมการณเสรีนิยมประชาธิปไตยกับ ประเทศที่ยึดมั่นในอุดมการณสังคมนิยมคอมมิวนิสต ขณะเดียวกันในหวงเวลานั้น ยังมีความขัดแยงดานดินแดนระหวาง ประเทศในภูมิภาค เชน ความขัดแยงระหวางมลายู และฟลิปปนส ในการอางกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาห และซาราวัก รวมทั้งการที่สิงคโปรแยกตัวออกจากมลายา ทําใหหลายประเทศเริ่มตระหนักถึงความจําเปนในการรวมมือกันระหวาง ประเทศในภูมิภาค ประเทศไทยในขณะนั้น ไดมีบทบาทสําคัญในการเจรจาไกลเกลี่ยความขัดแยงระหวางประเทศเพื่อนบานเหลานี้ โดยเปนเจาภาพใหรัฐมนตรีตางประเทศของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตอีก 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร มาหารือรวมกันที่แหลมแทน จ.ชลบุรี อันนํามาสูการลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ เพื่อกอตั้ง อาเซียนที่วังสราญรมย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ไทยจึงถือเปนทั้งประเทศผูรวมกอตั้งและเปน “บานเกิด” ของอาเซียน อาเซียนไดขยายสมาชิกภาพขึ้นมาเปนลําดับ โดยบรูไนไดเขาเปนสมาชิกเปนประเทศที่ 6 ในป 2527 และภายหลังเมื่อ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่เหลืออีก 4 ประเทศ คือ เวียดนาม ลาว พมา และกัมพูชา ไดเขาเปนสมาชิกจนครบ 10 ประเทศ เมื่อป 2542 นับเปนกาวสําคัญที่ไทยไดมีบทบาทเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยูบนภาคพื้นทวีป และประเทศที่เปนหมูเกาะทั้งหมด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งปฏิญญากรุงเทพฯ มิไดระบุถึงความรวมมือดานการเมือง และความมั่นคง โดยกลาวถึงเพียงความรวมมือกันดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การเกษตร อุตสาหกรรม การสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค แตอาเซียนไดมีบทบาทสําคัญในการเสริมสรางความไววางใจระหวาง ประเทศในภูมิภาค ลดความหวาดระแวง และชวยเสริมสรางสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และ ที่สําคัญ ไทยไดเปนแกนนํารวมกับอินโดนีเซียและประเทศสมาชิกดั้งเดิมในการแกไขปญหากัมพูชา รวมทั้งความรวมมือใน การแกไขปญหาผูลี้ภัยอินโดจีนจนประสบความสําเร็จลุลวงไปดวยดี และชวยเสริมสรางสันติภาพ เสถียรภาพ และความ มั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนประโยชนตอไทยในฐานะเปนประเทศดานหนา ในป 2547 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่นครเวียงจันทน สปป.ลาว ไดรับรองเอกสาร “แผนปฏิบัติการ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political- Security Community Plan of Action) ซึ่งมีการ กําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน อนึ่ง ผูนําอาเซียนตระหนักวา การสงเสริมการรวมตัวของอาเซียนใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น โดยการเรงจัดตั้งประชาคมอาเซียน จะชวยสงเสริมความเปน ศูนยกลางของอาเซียน และบทบาทขับเคลื่อนการสรางโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาค ดังนั้น ที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 12 เดือนมกราคมที่ประเทศฟลิปปนส จึงไดตัดสินใจที่จะดําเนินการเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) และในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศ สิง คโปร ผูนํ าอาเซี ยนได ลงนามในกฎบั ตรอาเซี ยน ซึ่ง แสดงเจตนารมณ ในการเร งสรา งประชาคมอาเซี ยน โดยการ เสริมสรางความรวมมือ และการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผูนําอาเซียนไดมอบหมายใหรัฐมนตรี และเจาหนาที่จัดทําราง แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint :


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 43

APSC Blueprint) ซึ่งไดมีการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัว หิน ประเทศไทย APSC Blueprint โดยหลักของพิมพเขียวของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนี้ เปนการผสมผสาน ระหวาง ASEAN Security Community Plan of Action และ the Vientiane Action Programme (VAP) รวมถึงงาน ในสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งเปนการพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติการสําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (APSC Plan of Action) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Program : VAP) และขอ ตัดสินใจตาง ๆ จากองคกรเฉพาะดานของอาเซียน APSC Plan of Action เปนเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการ บรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่แผนปฏิบัติการเวียงจันทน เปน เอกสารที่วางมาตรการที่จําเปนระหวางป พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2553 เอกสารทั้ง 2 ฉบับ เปนเอกสารอางอิงที่สําคัญในการ สานตอความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ดังนั้น APSC Blueprint จึงเปนแผนงาน และกรอบเวลา สําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ APSC Blueprint ยังมี ความยืดหยุนที่จะสานตอกิจกรรมตาง ๆ ที่จะดําเนินการหลังป พ.ศ. 2558 ดวย เพื่อใหคงไวซึ่งความสําคัญและความ 1 ยั่งยืน APSC Blueprint ไดแบงเรื่องหลัก ๆ ในการสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คือ เรื่องการ พัฒนาทางการเมือง การพัฒนาบรรทัดฐาน กลไกปองกันความขัดแยง กลไกแกไขความขัดแยง 2 การพัฒนาทางการเมือง ประเด็น APSC Blueprint ใหความสําคัญเรื่องการสงเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และการติดตอใน ระดับประชาชนตอประชาชน อยางไรก็ตาม อาเซียนยังมีปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการประชาธิปไตย หลายประเทศยังมี ระบอบการปกครองที่ยังไมเปนประชาธิปไตย นอกจากนี้ ถึงแมกฎบัตรอาเซียนจะระบุวา จะมีการจัดตั้งกลไกดานสิทธิ มนุษยชนขึ้นมา ซึ่งตอมาไดมีการจัดตั้งกลไกดังกลาวขึ้ น ซึ่งมีชื่อเปนภาษาอังกฤษวา ASEAN Intergovernmental Commission on Human Right : AICHR อยางไรก็ตาม อํานาจหนาที่ของ AICHR ก็มีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาบรรทัดฐาน การพัฒนาบรรทัดฐาน เปนเรื่องหนึ่งที่ APSC Blueprint ใหความสําคัญ คือ กฎเกณฑ ขอตกลงตาง ๆ ของ อาเซียน ขณะนี้ ขอตกลงหลัก ๆ ของอาเซียนมีสนธิสัญญาสมานฉันทและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia Nuclear 6 Weapon Free Zone Treaty) และความตกลงการ ตอตานการกอการรายของอาเซียน (ASEAN Convention on Counter - Terrorism) ในอนาคตอาเซียนจะมีการพัฒนา ทําสนธิสัญญาและขอตกลงครอบคลุมความรวมมือในดานตาง ๆ มากขึ้น การปองกันความขัดแยง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะสรางกลไกปองกันความขัดแยง ซึ่งกลไกที่สําคัญ คือ CBM (Confidence Building Measures) หรือมาตรการสรางความไววางใจระหวางกัน การจัดประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียน การจดทะเบียนการซื้อขายอาวุธในอาเซียน (ASEAN Arms Register) และการพัฒนาระบบเตือนภัยลวงหนา อยางไรก็ตาม การพัฒนามาตรการเหลานี้ ไมใชเรื่องงาย การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนก็ยังมีความรวมมือที่ยังนอย อยู โดยเพิ่งจะมีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2549 ดังนั้น หากอาเซียนยังไมมีความรวมมือทางทหาร อยางจริงจัง การพัฒนาไปสูการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนอยางแทจริงคงจะไมเกิดขึ้น 1 2

กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 3-4. ประภัสสร เทพชาตรี, (2554). “ประชาคมอาเซียน”, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพเสมาธรรม, เมษายน 2554. หนา 19-32.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 44

การแกไขความขัดแยง ใน APSC Blueprint กลาวถึง การพัฒนากลไกแกไขความขัดแยง ซึ่งมีการระบุถึงกลไกตาง ๆ ที่จะแกไขความ ขัดแยงอยางสันติวิธี อยางไรก็ตาม มีกลไกหนึ่งที่สหประชาชาติใชไดผลคือ กองกําลังรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Force) ในชวงหลายปที่ผานมา จึงไดมีการถกเถียงกันในประเด็นที่วา อาเซียนควรมีการจัดตั้งกองกําลังรักษาสันติภาพของ อาเซียนหรือไม โดยที่อินโดนีเซียผลักดันเรื่องนี้เปนพิเศษ อุปสรรค การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น ไมใชเรื่องงาย ทั้งนี้ เพราะยังมีอุปสรรคหลายเรื่อง อาทิ ปญหาความขัดแยงทางการเมือง กรณีพิพ าทเรื่องพรมแดนระหวางประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกยังมีความ ไววางใจซึ่งกันและกัน และยังคงกําหนดยุทธศาสตรทางทหาร โดยตั้งอยูบนพื้นฐานวา ประเทศเพื่อนบานอาจจะเปนศัตรู หากอาเซียนแกปญหาเหลานี้ไมได การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนอยางแทจริง ก็คงจะเกิดขึ้นไมได

พั ฒ นาการความร ว มมื อ ด า นการเมื อ งและความมั่ น คง ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศไดเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นอกเหนือ จากการที่มีรัฐเอกราชใหมเกิดขึ้นเปนจํานวนมากแลว การที่ศูนยอํานาจในระบบการเมืองโลกไดแปรเปลี่ยนจากระบบ 2 ขั้วอํานาจ (bipolarity) ที่มีสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตเปนผูกุมอํานาจ และเผชิญหนากันอยูในลักษณะสงคราม เย็น (Cold War) ไดกลายมาเปนระบบหลายขั้วอํานาจ (multi polarity) สภาวะดังกลาวไดสงผลกระทบตอเสถียรภาพ ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใตอยางหลีกเลี่ยงไมได ประเทศตาง ๆ ภายในภูมิภาคไดเริ่มปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่แตกตางกัน บางประเทศไดเขาผูกพันกับประเทศมหาอํา นาจภายนอก เชน การเขารวมใน คณะกรรมการเศรษฐกิจสําหรับภาคพื้นเอเชียและตะวันออกไกล (Economic Committee for Asia and Far East : ECAFE) การเขาเปนสมาชิกของแผนการโคลัมโบ (Columbo Plan) รวมทั้งการเขาเปนภาคีองคการสนธิสัญญาปองกัน รวมกันแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asia Treaty Organization : SEATO) ซึ่งกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2493 เปนตน สําหรับบางประเทศซึ่งมีความภาคภูมิใจตอเอกราชและอิสรภาพ ที่ตนเพิ่งจะไดรับ ไมวาจะดวยวิธีการรุนแรง หรือสันติ หรือดวยเหตุที่ระบบจักรวรรดิเสื่อมลง ก็ไดหาวิธีการเสริมสรางพลังตอรองทางเศรษฐกิจและการเมืองกับ ประเทศมหาอํานาจภายนอก โดยไดริเริ่มจัดตั้งกลุมประเทศในโลกที่สามขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2490 โดยใชชื่อวา “ขบวนการ กลุมประเทศเอเชีย-แอฟริกา” (AFRO-ASIAN Movement) ซึ่งตอมา ไดกลายเปนขบวนการกลุมประเทศไมฝกใฝฝายใด (Non-Aligned Movement : NAM) อันเปนขบวนการที่มีบทบาท และความสําคัญอยางยิ่งในวงการการเมืองระหวาง ประเทศในปจจุบัน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ประเทศตางในภูมิภาค ๆ ก็ไดตื่นตัวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมนอยไปกวาประเทศ ในเขตภูมิภาคอื่น ๆ ทั้งนี้ เนื่องจาก ผูนําในภูมิภาคนี้ตางมีทัศนคติที่สอดคลองกันในเรื่อง การตอตานลัทธิจักรวรรดิในทุก รูปแบบ และมุงเนนการดําเนินนโยบายตางประเทศอยางเปนอิสระ เพื่อใชเปนเกราะกําบังภัยที่คุกคามจากภายนอก อยางไรก็ตาม บรรดาผูนําทั้งหลายตางตระหนักดีวา การดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาวนั้น ไมอาจกระทําไดโดย ลําพัง ในขณะที่การกลับไปพึ่งพิงมหาอํ า นาจก็ยังเป นสิ่งที่นาหวาดระแวง ดว ยสาเหตุดัง กลาว ทําใหป ระเทศตาง ๆ พยายามแสวงหาลูทางที่จะกระชับความรวมมือกันเฉพาะภายในภูมิภาค เพื่อใหบังเกิดผลในการพัฒนาตนเองในแตละ 3 ประเทศ ประกอบกับแนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิภาคนิยม” ในยุคนั้นก็กําลังมีอิทธิพล และเติบโตขึ้นโดยลําดับ ภายหลัง 3

พิษณุ สุวรรณะชฎ. (2540). สามทศวรรษอาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 29.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 45

จากที่ 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย สามารถฟนฝา อุปสรรคตาง ๆ จนบรรลุผลในการกอตั้งสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียน (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ขึ้นไดในที่สุด เมื่อป พ.ศ. 2510 แลวนั้น ความเคลื่อนไหวและบทบาทของอาเซียน ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมก็เพิ่มพูนขึ้นโดยลําดับ ซึ่งพัฒนาการของอาเซียนแตละขั้นตอนเปนเครื่องบงชี้ให เห็นวา อาเซียนเปนองคการระหวางประเทศอีกองคการหนึ่ง ซึ่งมีกิจกรรมดานการเมืองอยางตอเนื่อง และไดรั บการ ยอมรับจากนานาประเทศมากขึ้น พรอมกันนั้นความสัมพันธของประเทศตาง ๆ ภายในอาเซียนก็ไดรับการกระชับขึ้นจน แนนแฟน ทั้งนี้ เพื่อใหความพยายามรวมกันที่จะใหความรวมมือสวนภูมิภาคบรรลุผลตามเจตนารมณที่กํา หนดไวอยาง จริงจัง อยางไรก็ตาม ถึงแมวา ในเอกสารทางราชการของอาเซียนจะระบุวา อาเซียนเปนองคการความรวมมือระดับ ภูมิภาค ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อความรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตสิ่งที่ไดรับ การเนนหนักเปนพิเศษไมวาจะเปนเนื้อหาในปฏิญญากรุงเทพฯ หรือทาทีที่แสดงออก โดยผูนําอาเซียนในยุคนั้นกลับ กลายเปนถอยความที่เกี่ยวกับสันติภาพ (peace) เสรีภาพ (freedom) เสถียรภาพ (stability) และความมั่นคง (security) ของภูมิภาค โดยเนนเฉพาะภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอความมั่นคง ซึ่งเกิดจากการแทรกแซงจากภายนอกทุกรูปแบบ รวมทั้งระบุถึงปญหาที่เกี่ยวกับฐานทัพตางประเทศ ซึ่งยังตั้งอยูในประเทศสมาชิกบางประเทศ อันเปนการชี้ใหเห็นวา มูลเหตุจูงใจทางดานการเมืองตลอดจนปญหาที่เกี่ยวกับเสถียรภาพ และความมั่นคงเปนตัวแปรหลักที่มีอิทธิพลผลักดันให ประเทศภาคีทั้ง 5 ประเทศตกลงใจรวมกันที่จะกอตั้งอาเซียนขึ้น การกําเนิดของอาเซียน มีนัยในบทบาทดานความมั่นคงแฝงอยูในตัวเอง แมจะมีความพยายามทําใหองคกรนี้ มี ภารกิจหลักทางดานความมั่นคงคูขนานกันไป ดังจะพบวา ความสําเร็จประการสําคัญของอาเซียนในยุคแรกเกิดขึ้นที่ 4 กัวลาลัมเปอร ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) คือ “การประกาศ เขตสันติภาพ เสรีภาพ และเปนกลาง ” หรือที่เรียกกัน โดยทั่วไปวา “ZOPFEN” (Zone of Peace, Free-dome and Neutrality Declaration) ซึ่งถือเปนหลักการสําคัญใน การกําหนดนโยบายตางประเทศรวมกันของสมาชิกอาเซียน การประกาศหลักการนี้ เปนการแสดงเจตนารมณอยา งแนว แนของประเทศสมาชิกในการเตรียมตัวรับมือกับการเปลี่ ยนแปลงทางการเมืองภายใน และภายนอกภูมิภาค กลาวคือ ภายในภูมิภาค ประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐอเมริกากําหนดจะถอนตัวออกไปจากภูมิภาคนี้ และปลอยใหในภูมิภาคนี้ จัดการกับปญหาความมั่นคงของตนเอง ในขณะที่สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพโซเวียตใหการสนับสนุนกัมพูชา และเวียดนามมากขึ้น ญี่ปุนไดเพิ่มบทบาททางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคมากขึ้นเชนกัน สวนภายนอกภูมิภาคนั้น สภาพ การเมืองระหวางประเทศกําลังเปลี่ยนจากระบบสองขั้วอํานาจไปสูระบบหลายขั้วอํานาจ ความสําเร็จตอมาของอาเซียนเกิดขึ้นที่บาหลี ในป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) ไดแก “สนธิสัญญามิตรภาพและ ความรวมมือ” (The Treaty of Amity and Cooperation : TAC) แตก็ตองยอมรับในความเปนจริงวา การประชุม อาเซียนในอดีตแตละครั้ง มีความพยายามอยูพอสมควรที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นความมั่นคงระหวางประเทศ เพราะไม ตองการใหองคกรเขาไปมีบทบาทโดยตรงในเรื่องเชนนี้มากนัก เนื่องจาก ระบบความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดแก ซีโต (SEATO) หรือองคกรสนธิสัญญาปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asian Treaty Organization) ยังคงมี บทบาทอยูมาก คูขนานไปกับระบบความมั่นคงของเครือจัก รภพอังกฤษ ไดแก ความตกลงดานการปองกันประเทศ ระหวางสมาชิก 5 ประเทศ (Five-Power Defense Arrangement) สถานการณเชนนี้ อาจจะเปนขอดี เพราะปญหา ความมั่นคงในภูมิภาคถูกค้ําประกันโดยตรงจากรัฐมหาอํานาจใหญในขณะนั้น คือ ทั้งสหรัฐอเมริกา และอังกฤษ และใน 4

สุรชาติ บํารุงสุข. “จับมือ ไมจับปน : ทหารกับประชาคมอาเซียน”. มติชนสุดสัปดาห. 32. (1647). วันที่ 9-15 มีนาคม 2555. หนา 36.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 46

ขณะเดียวกัน ก็ลดคาใชจายทางทหารภายในของประเทศและภูมิภาคพรอม ๆ กับเปดโอกาสใหประเทศเหลานี้ จัดการกับ ปญหาความมั่นคงภายในของตนไดมากขึ้น โดยปญหาในระดับภูมิภาคนั้น ถือเปนภาระของรัฐมหาอํานาจที่จะจัดการแทน แตเมื่อสถานการณสงครามเวียดนามสอใหเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการถอนตัวของสหรัฐอเมริกาออกจาก เวียดนามใต ซึ่งไดดําเนินการภายใตการเจรจาสันติภาพที่กรุงปารีส ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) อันเปนผลโดยตรงจาก การประกาศหลักการนิกสัน (The Nixon Doctrine) ในป พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) และสัญญาณสําคัญของการ เปลี่ยนแปลงก็คือ การยุติสงครามกลางเมืองในเวียดนาม ในป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ที่นําสูการถอนตัวทางทหารอยาง สมบูรณของสหรัฐอเมริกาออกจากเวียดนามใต กัมพูชา และสปป.ลาว ซึ่งก็คือ การลดพันธกรณีดานความมั่นคงของ สหรัฐอเมริกาตอพันธมิตรของตนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตลงอยางเปนรู ปธรรม รวมถึงการประกาศปดฐานทัพ ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยชวงระยะเวลาดังกลาว สถานการณความมั่นคงยุคหลังสงครามเวียดนาม หรือสถานการณหลังป 2518 [ค.ศ. 1975] สะทอนใหเห็นถึง ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางยุทธศาสตรของภูมิภาคนี้โดยตรง ผลจากสภาพเชนนี้ ทําให สหรัฐอเมริกา ตัดสินใจยุติบทบาทขององคกรความมั่นคงของตนในภูมิภาคดวย ซึ่งก็คือ การสิ้นสุดบทบาทอยางเปนทางการของซีโต ใน ป 2518 (ค.ศ. 1975) อยางไรก็ตาม สถานการณในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดคลี่คลายลง กลาวคือ สหรัฐอเมริกาไดถอนทหาร ออกจากฐานทัพซูบิค และคลารคในฟลิปปนส ขณะที่สหภาพโซเวียตก็ยุติการใชฐานทัพที่อาวคัมรานหในเวียดนาม และ ยุตินโยบายอิทธิพลทางทหารในเอเชียแปซิฟก และยุติการสนับสนุน เวียดนาม สปป.ลาว และกัมพูชา สถานการณเชนนี้ ถูกมองวา กอใหเกิดชองวางแหงอํานาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุน และอินเดียพยายาม เขามาแทนที่ ดังนั้น ประเทศตาง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งเปนสมาชิกอาเซียน จึงไดเพิ่มขีดความสามารถในการ ปองกันประเทศตนเองมากขึ้น โดยตางสะสมอาวุธ และปรับปรุงกองทัพของตนเอง โดยเนนการจัดหาเรือที่ทันสมัย เครื่องบินลาดตระเวนและเครื่องบินขับไล และโจมตีที่มีสมรรถภาพในการปฏิบัติการปองกันชายฝงทะเล และทะเลอาณา เขตของตน การเพิ่มขีดอํานาจทางการทหารของประเทศ ซึ่งอาจพิจารณาไดวา เปนมาตรการที่จะนําไปสูการพึ่งพาตนเอง ในการรักษาความมั่นคงในภูมิภาคนี้ และลดการพึ่งพิง หรือการคุมครองจากประเทศมหาอํานาจภายนอกภูมิภาค อัน ไดแก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอังกฤษ แมวา กลุมประเทศ ASEAN ยังมีประเทศสมาชิกหลายประเทศที่คัดคานแนวความคิดการจัดตั้งกองกําลังปองกัน รวมกันในลักษณะพันธมิตรทางการทหาร แตในอนาคตอาจมีความจําเปนในการพิจารณาหามาตรการทางทหารรวมกันใน การดูแลความสงบในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะความปลอดภัยจากโจรสลัดตามเสนทางเดินเรือในชองแคบมะละกา การให ความชวยเหลือแกเรือเดินทะเลที่ประสบอุบัติเหตุ และการรวมมือกันพิทักษรักษาสภาพแวดลอมในทะเล เปนตน อยางไรก็ตาม บทบาทอาเซียนในดานการเมือง อาจจะกลาวไดวา ในชวงกอนป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ไมมี อะไรเดนชัดนัก เนื่องจาก กอนหนานี้ ประเทศสมาชิกยังมีความขัดแยงระหวางกันอยู ทําใหอาเซียนไมสามารถแสดง บทบาททางการเมืองไดมากนัก แตหลังจากป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) แลว สถานการณทางการเมืองในอินโดจีนได เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก คอมมิวนิสตเขามามีอํานาจในอินโดจีน ขณะที่สหรัฐอเมริกาก็ถอนตัวออกจากอินโดจีน ประเทศ สมาชิกอาเซียนจึงจัดใหมีการประชุมสุดยอดที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และไดลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือ และปฏิญญาวาดวยความสมานฉันทของอาเซียน จึงทําใหประเทศ สมาชิกรวมมือกันมากขึ้น และระงับความขัดแยงระหวางประเทศได อาเซียนตองเผชิญกับความทาทายใหมในความขัดแยงระหวางเวียดนาม-กัมพูชา นําไปสูการตัดสินใจของรัฐบาล เวียดนามที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองในเดือนมกราคม พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และสงครามสิ้นสุดดวยการยึดครอง


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 47

กัมพูชา อันสงผลใหการตอสูทางการเมือง และความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดดําเนินไปอยางรุนแรง เปนสภาพที่ ภูมิภาคถูกแบงออกเปน 2 สวน ไดแก กลุมรัฐที่ปกครองในระบอบเสรีนิยม และกลุมรั ฐที่ปกครองในระบบสังคมนิยม สภาพดังกลาวสิ้นสุดดวยการถอนตัวของทหารเวียดนามออกจากกัมพูชา ซึ่งสอดรับกับสถานการณในเวทีโลก ในชวงป พ.ศ. 2532-2533 (ค.ศ. 1989-1990) ที่บงบอกถึงการถดถอยของโลกสังคมนิยม หรือในบริบทความมั่นคง กลาวคือ การ สิ้นสุดของภัยคุกคามจากลัทธิสังคมนิยม และสัญญาณที่สําคัญก็คือ การสมัครเขาเปนสมาชิกอาเซียนของเวียดนาม ในการจัดตั้งกลไกเฉพาะเกี่ยวกับการพิจารณาปญหาความมั่นคงในภูมิภาคนี้ อาเซียนไดเริ่มหารือกันอยางจริงจัง ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประเทศสิงคโปร เมื่อป พ.ศ. 2535 โดยที่ประชุมไดเสนอใหพัฒนากลไกของ อาเซียนที่มีอยูแลว โดยเฉพาะการประชุมระหวางอาเซียนกับคูเจรจา ภายหลังการประชุมระดับรัฐมนตรี (ASEAN PostMinisterial Conference : PMC) ซึ่งเปนพื้นฐานสําหรับจัดตั้งเวทีการหารือในประเด็นดานการเมือง และความมั่นคง ตาง ๆ เพื่อเสริมสรางสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาคตามเจตนารมณของสหประชาชาติ (United Nations : UN) โดยมีวัตถุประสงคเบื้องตนในการเสริมสรางลักษณะนิสัย และแบบแผนทางพฤติกรรมแกประเทศที่เกี่ยวของใหเรียนรู เกี่ยวกับการหารือรวมกันอยางเปดเผย และตรงไปตรงมา เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากผลของ ความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน อีกทั้งเพื่อสรางสรรคสภาวะแวดลอมที่เกื้อกูลตอเสถียรภาพทางการเมือง และความมั่นคง ของภูมิภาค การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมใหมเชนนี้ ทําใหเกิดการยอมรับวา มีความจําเปนที่จะตองใหความสนใจกับ ประเด็นดานความมั่นคง แตก็ดูเหมือนอาเซียนยังไมตองการใหตนเองเขามาเกี่ยวของโดยตรง ทําใหเกิดการจัดตั้ง “เวที ความมั่นคงภูมิภาค” หรือที่รูจักกันในชื่อของ “การประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก” (ARF : ASEAN Regional Forum) ในป พ.ศ. 2537 ระหวางการประชุมประจําปของรัฐมนตรี ตางประเทศอาเซียน ขึ้นเปนครั้งแรกที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 โดยไดรับความรวมมือจาก 17 ประเทศในเอเชีย-แปซิฟก ไดแก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม สปป.ลาว ปาปวนิวกินี จีน รัสเซีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุน เกาหลีใต และอีก 1 กลุมประเทศ คือ สหภาพยุโรป ซึ่ง ในการประชุมครั้งแรกนี้ อาเซียนประสบความสํา เร็จในการผลักดันใหที่ประชุมรับรองหลักการตาง ๆ ตามที่ระบุใน สนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ใหเปนแบบแผนการปฏิบัติและกลไกทางการทูตเพื่อสนับสนุนการทูตเชิงปองกัน และความรวมมือดาน การเมื อง และความมั่น คง รวมทั้ ง เสริ มสรา งความมั่ นใจระหว างสมาชิก ARF ดั ง จะเห็ น ได วา องคก รนี้เ กิด ขึ้ นนอก โครงสรางอยางเปนทางการของอาเซียน ในสภาพเชนนี้ อาเซียนเขาไปมีบทบาทอยางมากกับกระบวนการสันติภาพใน กัมพูชา การผลักดันใหเกิดเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันเนื่องมาจากผลการเจรจาอยางยาวนาน ภายหลังการประชุมครั้งแรก ARF ไดพัฒนาไปอยางตอเนื่อง โดยไดเกิดการประชุมระดับตางๆ ภายใตกรอบของ ARF อยางสม่ําเสมอ นอกจากนั้น ประเทศตาง ๆ ทั้งในและนอกเขตเอเชีย-แปซิฟก (อินเดีย มองโกเลีย เกาหลีเหนือ เมียนมาร สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส) ไดแสดงความสนใจ และยื่นความจํานงที่จะขอเขาเปนสมาชิก ARF ดวย สวนใน ดานเนื้อหาไดมีการขยายขอบเขตความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงออกไปอยางกวางขวาง เชน มีการหารือกัน ในหัวขอเกี่ยวกับปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ความรวมมือในการคนหาและกูภัย เปนตน นอกจากนี้ อาเซียนยังมีความ พยายามเสมอมาที่จะสรางเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร แตความพยายามดังกลาวของอาเซียน ประสบอุปสรรคมากมายในชวงสงครามเย็น เนื่องจาก ตองเผชิญกับอิทธิพล และการคัดคานของประเทศมหาอํานาจที่ ครอบครองอาวุธนิวเคลียร ซึ่งยังแขงขันชวงชิงความเปนใหญอยูในภูมิภาคในขณะนั้น ภายหลังการสิ้นสุดลงของสงคราม เย็น สภาวการณระหวางประเทศเปนไปในลักษณะเอื้ออํานวยตอเจตนารมณของอาเซียนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกระแสการเมือง


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 48

ระหวางประเทศที่คัดคานการทดลอง ผลิต พัฒนา และการครอบครองอาวุธนิวเคลียร สําหรับประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใตทุกประเทศตางตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองสรางภูมิภาคใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรอยางจริงจัง ดังนั้น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป พ.ศ. 2538 ผูนําอาเซียนทั้ง 7 ประเทศ รวมทั้งนายกรัฐมนตรี ของลาว กัมพูชา และเมียนมารไดรวมลงนามในสนธิสัญญาวาดวยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ) ซึ่งมีสาระสําคัญ คือ การจัดตั้งเขตปลอด อาวุธ นิวเคลียรใ นเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต ซึ่ง ประกอบด วย ดิ นแดนเขตเศรษฐกิจจํ าเพาะ และไหลทวีป ของทั้ ง 10 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยภาคีสมาชิกมีพันธกรณีที่จะไมพัฒนา ผลิต หรือครอบครองอาวุธนิวเคลียร และจะ ไมอนุญาตใหรัฐอื่นเขามาพัฒนา ผลิต หรือเก็บอาวุธนิวเคลียรไวในดินแดนของตน ยกเวนแตเปนการดําเนินการเกี่ยวกับ การใชพลังงานปรมาณูเพื่อสันติที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศสมาชิก นอกจากนั้น ยังตก ลงจัดตั้งคณะกรรมาธิการขึ้น ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของสมาชิก เพื่อดูแลการปฏิบัติ ตาง ๆ ใหเปนไปตามสนธิสัญญา SEANWFZ รวมทั้งกํากับดูแลการแกไขกรณีพิพาทตาง ๆ ระหวางสมาชิกดวย การลงนามในสนธิสัญญา SEANWFZ ถือไดวา เปนการประกาศเจตนารมณทางการเมืองครั้งประวัติศาสตรของ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้ง 10 ประเทศ ซึ่งสอดคลองกับความตองการของประชาคมระหวางประเทศที่ตอตาน การแพรขยายอาวุธนิวเคลียร อยางไรก็ดี วัตถุประสงคของอาเซียนจะบรรลุผลอยางสมบูรณไดก็ตอเมื่อไดรับความรวมมือ จากประเทศผูครอบครองอาวุธนิวเคลียร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และจีน) ซึ่งอาเซียนไดรณรงค ในเรื่องนี้ ตอไปอยางแข็งขัน และในที่สุด อาเซียนประสบผลสําเร็จในการกอใหเกิด “ขอกําหนดในการปฏิบัติตอจีนในทะเลจีนใต” (Code of Conduct in the South China Sea with China) ในป พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) และประโยชนสําคัญยิ่งที่ อาเซียนไดรับจากความรวมมือดานการเมืองในระยะเวลาที่ผานมา คือ การที่อาเซียนสามารถสรางธรรมเนียมปฏิบัติของ ตนเองเกี่ยวกับการแกไขขอพิพาทระหวางกันบนพื้นฐานของการอยูรวมกันโดยสันติ กลาวคือ สมาชิกตางรูจักยับยั้งชั่งใจที่ จะหลีกเลี่ยงการกระทําใด ๆ ที่เปนการแทรกแซงกิจการภายในของเพื่อนสมาชิก แตเมื่อเกิดขอพิพาทระหวางกันขึ้น สมาชิกก็หลีกเลี่ยงการเผชิญหนาแตหันมาแกไขปญหาระหวางกันดวยการปรึกษาหารือโดยสันติวิธี การเคารพในเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดนซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกอยางเครงครัด นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนยังไดประโยชนจากความรวมมือดานการเมืองในลักษณะอื่น ๆ ดวย อาทิ การที่สมาชิกแตละประเทศพนจากการอยูโดดเดี่ยวตามลําพัง และอาเซียนยังไดกลายเปนเวทีสําหรับประเทศสมาชิกใน การแลกเปลี่ยนทัศนะ และประสบการณระหวางกันอยางตรงไปตรงมา ซึ่งยังผลใหเกิดการกลั่นกรองนโยบายของแตละ ประเทศอยางรัดกุม ในขณะที่ลดความแตกตางกันในเรื่องผลประโยชนลง และความใกลชิดกันระหวางสมาชิกในอาเซียน ทําใหสมาชิกแตละประเทศสามารถแสดงทาทีตอประเด็นทางการเมืองตาง ๆ ไดอยางเปดเผย กอนที่จะสรุปเปนทาที รวมกันของอาเซียน ซึ่งมีผลเพิ่มน้ําหนัก และอํานาจการตอรองใหแกทาทีทรี่ วมกันดังกลาวดวย ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา ความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน กอนการกอตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) นั้น เมื่อพิจารณาไปถึงภูมิหลังของ อาเซียนในชวงกอนการกอตั้งองคการ ทั้งเรื่องนโยบายตางประเทศ และผลประโยชนของประเทศผูกอตั้งทั้ง 5 ประเทศ ตลอดจนองคการระดับ ภูมิภาคที่ไดรับ การจัด ตั้งขึ้นในยุคกอนหนานั้น ไดแก องคก าร SEATO และสมาคมเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asia : ASA) การจัดตั้งองคการเหลานี้ ชี้ใหเห็นวา การจัดตั้งอาเซียนเปน ผลมาจากความหวังรวมกันของสมาชิกผูกอตั้งที่จะอาศัยองคการที่จัดตั้งขึ้นเปนเครื่องค้ํา ประกันความมั่นคงของแตละ ประเทศ ภายใตสภาวการณทภี่ ูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในขณะนั้น ที่กําลังเปนเวทีของความขัดแยงดานอุดมการณ อยางรุนแรงระหวางมหาอํานาจ ซึ่งประเทศผูกอตั้งอาเซียนเห็นวา หนทางที่จะรักษาไว ซึ่งความมั่นคงของแตละประเทศ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 49

คือ การสรางภูมิภาคใหมีเสถียรภาพ และพึ่งพาตนเองแทนการพึ่งพามหาอํานาจ ดังเชนที่เคยเปนมา ดังนั้น อาเซียนจึงได อาศัยความลมเหลวขององคการที่จัดตั้งขึ้นกอนหนา เปนอุทาหรณในการกําหนดแนวทางความรวมมือเพื่อปองกัน ความ ลมเหลว ตัวอยางเชน การจํากัดสมาชิกไวเฉพาะประเทศภายในภูมิภาคเทานั้น หรือการจัดโครงสรางองคการใหเปนไป อยางหลวม ๆ และยืดหยุน เปนตน ซึ่งแนวทางดังกลาวไดชวยเกื้อกูล และเปดโอกาสใหอาเซียนถือกําเนิดขึ้น และสามารถ พัฒนาไปอยางตอเนื่อง สวนเรื่องความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงนั้น โดยเหตุที่อาเซียนกอตั้งขึ้นดวยมูลเหตุทางการเมือง เปนสําคัญ แมวา ถอยคําที่ระบุในปฏิญญากรุงเทพฯ พ.ศ. 2510 อันเปนเอกสารพื้นฐานในการกอตั้งจะระบุถึงเรื่อง ผลประโยชน และความรวมมือทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ในชวงทศวรรษแรกอาเซียนจึงทุมเทเวลา และกําลังงานใหแกการ ระงับขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิก ทั้งนี้ เพื่อใหบรรลุถึงความไวเนื้อเชื่อใจกัน ความพยายามในการระงับขอพิพาทที่มี อยูในขณะนั้นไดพัฒนามาจนกลายมาเปนธรรมเนียมปฏิบัติของอาเซียนในการแกไขขอพิพาทโดยสันติวิธี แปรสภาพจาก การเผชิญหนาเพื่อเอาชนะซึ่งกันและกัน มาเปนการปรึกษาหารือ เพื่อคลี่คลายปญหาเพื่อผลประโยชนรวมกัน นอกจากนี้ บทบาทของอาเซียนตอปญหาระหวางประเทศอื่น ๆ สะทอนใหเห็นถึง บทบาทสําคัญของอาเซียนตอการค้ํา ประกัน I สันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาค อาทิ ปญหากั มพูชาในชวงป พ.ศ. 2522 – พ.ศ. 2534 การใหภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง ในการจัดการประชุม ARF และการประกาศใหเอเชีย 5 ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร เปนตน

แนวคิ ด เรื่ อ งประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น 6 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีพัฒนาการจากความรวมมืออันใกลชิด และความเปนอันหนึ่งอัน เดียวกันมานานกวา 40 ป โดยผูนําอาเซียนในที่ประชุมสุดยอดอยางไมเปนทางการที่กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย เมื่อป พ.ศ. 2540 ไดรวมประกาศ “วิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ.2020/พ.ศ.2563” (ASEAN Vision 2020) ซึ่งเห็นพองใหกลุม ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มองไปสูโลกภายนอกอยูรวมกันอยางสันติ มีเสถียรภาพ และมีความมั่งคง ผูกพัน กันด วยความเปนหุ นสวนในการพัฒนาอั นเป นพลวั ต และเป นประชาคมแห งสัง คมที่เ อื้ออาทร ดังนั้ น เพื่อให วิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 มีผลอยางเปนรูปธรรม ผูนําอาเซียนไดรับรองปฏิญญาวาดวยความรวมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (The Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II) เมื่อป พ.ศ. 2546 เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน ป พ.ศ. 2563 โดยประชาคมอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ผูนําอาเซียนตระหนักวา การสงเสริมการรวมตัวของอาเซียนใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น โดยการเรงจัดตั้งประชาคม อาเซียนจะชวยสงเสริมความเปนศูนยกลางของอาเซียน และบทบาทขับเคลื่อนการสรางโครงสรางสถาปตยกรรมใน ภูมิภาค ดังนั้น ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนํา อาเซียนจึงตัดสินใจที่จะเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใหเปนผลสํา เร็จ ในป พ.ศ. 2558 ตอมา ในที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดรวมลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่ง แสดงเจตนารมณในการเรงสรางประชาคมอาเซียน โดยการเสริมสรางความรวมมือ และการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผูนําไดมอบหมายใหรัฐมนตรี และเจาหนาที่จัดทํา รางแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 5

พิษณุ สุวรรณะชฎ, 2540 : 114-115 ยงยุทธ มัยลาภ, รอยเอก. การเตรียมความพรอมดานความมั่นคงของไทยตอการเปนประชาคมอาเซียน. เอกสารการวิจัยสวนบุคคล, วิทยาลัย ปองกันราชอาณาจักร, 2553. หนา 8. 6


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 50

(ASEAN Political-Security Community Blueprint : APSC Blueprint) ซึ่งไดมีการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย APSC Blueprint ยึดหลักการในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติการสํา หรับการจัดตั้ง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC Plan of Action) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Program : VAP) และขอตัดสินใจตาง ๆ จากองคกรเฉพาะดานของอาเซียน APSC Plan of Action เปนเอกสารหลักที่ ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการบรรลุวัตถุประสงคของการจั ดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่ แผนปฏิบัติการเวียงจันทน เปนเอกสารที่วางมาตรการที่จําเปนระหวางป พ.ศ. 32547 – พ.ศ. 2553 เอกสารทั้ง 2 ฉบับ เปนเอกสารอางอิงที่สําคัญในการสานตอความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ดังนั้น APSC Blueprint จึง เปนแผนงาน และกรอบเวลาสําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ APSC Blueprint ยังมีความยืดหยุนที่จะสานตอกิจกรรมตาง ๆ ที่จะดําเนินการหลังป พ.ศ. 2558 ดวย เพื่อใหคงไวซึ่ง 7 ความสําคัญ และความยั่งยืน คุณลักษณะและองคประกอบของแผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เปนความมุงหวังวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะทําใหความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียนที่มีการพัฒนา มากยิ่งขึ้น โดยเปนหลักประกันตอประชาชน และประเทศสมาชิกอาเซียนใหอยูอยางสันติระหวางกันและกับโลกภายนอก ในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ความยุติธรรม และการมีความปรองดองตอกัน จากหลักการขางตน ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ไดแก 1. ประชาคมที่มีกติกา และมีการพัฒนาคานิยม และบรรทัดฐานรวมกัน (A rules-based community of shared values and norms) 2. ประชาคมที่ทําใหภูมิภาคมีความเปนเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกรง พรอมทั้งมีความรับผิดชอบ รวมกัน เพื่อแกไขปญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful, and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) 3. ประชาคมที่ทําใหเปนภูมิภาคที่มีพลวัตร และมองไปยังโลกภายนอกที่มีการรวมตัว และลักษณะพึ่งพาซึ่งกัน และกันมากยิ่งขึ้น (A dynamic and outward-looking region in an increasingly integrated and interdependent world) คุณลักษณะเหลานี้ มีความเกี่ยวโยงกันและสงเสริมซึ่งกันและกัน และดําเนินการอยางสมดุล และสม่ําเสมอ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint จึงเปนเอกสารที่มุงการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผล 8 และตระหนักถึงศักยภาพ และความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียน

1. ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาคานิยมและบรรทัดฐานรวมกัน (A rules-based community of shared values and norms) ความรวมมือดานการพัฒนาทางการเมืองของอาเซียน มีเปาหมายที่จะสรางความแข็งแกรงแกประชาธิปไตย สงเสริมธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม สงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยระลึกถึงสิทธิ

7 8

กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 3-4 กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 4-6.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 51

และความรับ ผิดชอบของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อนําไปสูการสรางประชาคมที่มีกฎเกณฑ และบรรทัดฐาน และ คานิยมรวมกัน อาเซียนมีเปาหมายที่จะบรรลุมาตรฐานของการยึดมั่นรวมกันตอบรรทัด ฐานแหงการปฏิบัติที่ดีระหวาง ประเทศสมาชิกอาเซียน สรางความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ความใกลชิด และการอยูรวมกันอยางเปนสุข และเอื้อตอ การสร า งประชาคมที่ มี ค วามสงบสุ ข มี ป ระชาธิ ป ไตย มี ขั น ติ ธ รรม ทุ ก ฝา ยมี ส ว นร ว ม และโปร ง ใสในภู มิ ภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ ความรวมมือดานการพัฒนาทางการเมือง นําองคประกอบ และสถาบันทางการเมืองใน อาเซียนไปสูการเติบโตอยางมั่นคง ซึ่งการไปสูเปาหมายดังกลาว ความรูสึกของความเปนหนึ่งเดียวระหวางรัฐในเรื่องระบบ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร ควรไดรับการสงเสริมความเปนหนึ่งเดียวระหวางรัฐดังกลาว สามารถบรรลุได โดยการสรางบรรทัดฐาน และมีบรรทัดฐานรวมกัน 1.1. ความรวมมือดานการพัฒนาการเมือง ตั้งแตที่ไดรับรองแผนปฏิบัติการของประชาคมการเมื องและความมั่นคงอาเซียน ในป พ.ศ. 2546 อาเซียนมีความกาวหนาในการดําเนินมาตรการดานการพัฒนาทางการเมืองเปนลําดับ โดยมีสวนรวมขององคการตาง ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย และองคกรภาคประชาสังคม ในการประชุม และกิจกรรมของอาเซียน การ ปรึกษาหารือ และการปฏิสัมพันธที่เพิ่มขึ้นดังกลาว สงเสริมความสัมพันธอันดี และสงผลใหเกิดผลลัพธที่ดีสําหรับภูมิภาค โดยมีความพยายามที่จะปูทางสําหรับกรอบองคกร เพื่ออํานวยความสะดวกตอการไหลเวียนขอมูลอยางเสรี ซึ่งเปนไปตาม กฎหมาย และกฎระเบียบของแตละประเทศ ปองกัน และตอต านการทุจริต ความรวมมือดานนิติธรรม ระบบยุติธรรม และโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมาย และธรรมาภิบาล นอกจากนี้ เพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพ พื้นฐาน ซึ่งกฎบัตรอาเซียนระบุใหมีการจัดตั้งองคกรดานสิทธิมนุษยชนของอาเซียน มีการสงเสริม ดังนี้ 1) สงเสริมความเขาใจ และการยอมรับในระบอบการเมืองตาง ๆ วัฒนธรรม และประวัติศาสตรของ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดสัมมนา/การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับสถาบันประชาธิปไตย การให ความเทาเทียมทางเพศเปนกระแสหลักในนโยบาย และการมีสวนรวมของประชาชน 2) ปูทางสําหรับกรอบองคกรเพื่ออํานวยความสะดวกตอการไหลเวียนของขอมูลโดยเสรี เพื่อการ สนับสนุน และความชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ใหมีการฝกงาน ทุน ฝกงาน มอบทุนการศึกษา การประชุม เชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน และการแลกเปลี่ยนผูสื่อขาว เพื่อเพิ่มศักยภาพ และความเปนมืออาชีพดานสื่อในภูมิภาค โดยเนนกระบวนการของการดําเนินการตามแผนงานนี้ 3) จัดทําแผนงานเพื่อสนับสนุน และใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ในการพัฒนายุทธศาสตรเพื่อเสริมสรางหลักนิติธรรม ระบบยุติธรรม และโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมาย โดยมีกิจกรรม เชน จัดทําการศึกษาเปรียบเทียบสําหรับผูรางกฎหมายในการประกาศใชกฎหมาย และกฎระเบียบตาง ๆ 4) สงเสริมธรรมาภิบาล โดยมีกิจกรรม เชน ศึกษา และวิเคราะห เพื่อจัดทําฐานขอมูล และรวบรวม แนวทางปฏิบัติที่ดีเลิศในเรื่องธรรมาภิบาลของภูมิภาค 5) ส ง เสริ ม และคุ มครองสิ ท ธิ มนุ ษ ยชน โดยมี กิ จ กรรม เช น รวบรวมข อ มู ล เรื่ อ งกลไกด า นสิ ท ธิ มนุษยชน และองคกรที่เกี่ยวของ รวมทั้งองคกรเฉพาะดาน เพื่อสงเสริมสิทธิสตรีและเด็กภายในป พ.ศ. 2552 6) เพิ่มการมีสวนรวมขององคกรที่มีความสัมพันธกับอาเซียนที่เกี่ยวของตอการขับเคลื่อนความคิด ริเริ่มเพื่อพัฒนาการทางการเมืองของอาเซียนใหดํ า เนินไปขางหนา โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริมการศึกษาวิจัย และ สนับสนุนทุนจัดพิมพของการริเริ่มพัฒนาทางการเมืองอาเซียน


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 52

7) ปองกันและปราบปรามการทุจริต โดยมีกิจกรรม เชน กํา หนดกลไกที่เกี่ยวของในการปฏิบัติกับ กิจกรรมเพื่อการปองกันและปราบปรามการทุจริต และสรางเสริมความเชื่อมโยงและความรวมมือระหวางองคกรที่ เกี่ยวของ 8) สงเสริมหลักการประชาธิปไตย โดยมีกิจกรรม เชน การจัดทําการศึกษาวิจัยเปนรายปเพื่อรวบรวม ประสบการณดานประชาธิปไตย และเพื่อสงเสริมการยึดมั่นในหลักการของประชาธิปไตย 9) สงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยมีกิจกรรม เชน พัฒนาใหมีกิจกรรมเพื่อสนับสนุน วัฒนธรรมเพื่อสันติภาพ และการหารือระหวางศาสนา และภายในศาสนาในภูมิภาค 1.2. การสรางและแบงปนกฎเกณฑรวม อาเซียนสงเสริ มใหมีบ รรทัดฐานระดั บภูมิภาคเรื่ องแนวปฏิบั ติที่ดีเลิ ศ และความเปนปกแผน โดย สอดคลองกับหลักการสําคัญตามที่บัญญัติไวในกฎบัตรอาเซียน ในบริบทนี้ อาเซียนยังคงยึดมั่นในสนธิสัญญามิตรภาพ และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และขอตกลงสําคัญอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงปฏิญญาวาดวยการปฏิบัติของรัฐภาคีในทะเลจีนใต ซึ่งมีการสงเสริม ดังนี้ 1) ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนใหเปนไปตามกฎบัตรอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดเตรียม และ ดําเนินการตามแผนงานในชวงเปลี่ยนผานวาดวยการปฏิรูปสถาบันที่จําเปนเพื่อดําเนินการตามกฎบัตรอาเซียน 2) เสริ มสรา งความร วมมื อภายใต สนธิสั ญญา TAC โดยมีกิ จกรรม เช น จัดใหมี การประชุมเชิ ง ปฏิบัติการ และการสัมมนา เพื่อประเมินความกาวหนาของการดําเนินงานของสนธิสัญญา TAC และหาทางในการพัฒนา กลไกการดําเนินการตอไป 3) สงเสริมใหมีการดําเนินการอยางสมบูรณตามปฏิญญาวาดวยทะเลจีนใต (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DOC) เพื่อสันติภาพ และเสถียรภาพในทะเลจีนใต โดยมีกิจกรรม เชน ดําเนิน การตามวิธี ปฏิ บัติ ที่มีอ ยูข องอาเซียนโดยประเทศสมาชิก เพื่ อใหมี การปรึ กษาหารืออยา งใกลชิ ด และให การ ดําเนินการของปฏิญญาวาดวยทะเลจีนใตบรรลุผลอยางเต็มที่ 4) ส ง เสริ มให มั่ น ใจในการดํ า เนิ น การตามสนธิ สั ญ ญา SEANWFZ และแผนปฏิ บั ติ ก ารภายใต สนธิสัญญานี้ โดยมีกิจกรรม เชน สนับสนุนใหมีการภาคยานุวัตรพิธีสารของสนธิสัญญา SEANWFZ สําหรับกลุมประเทศที่ ครอบครองอาวุธนิวเคลียร 5) สงเสริมความรวมมือทางทะเลอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดการประชุมเวทีหารืออาเซียนเรื่อง ความรวมมือทางทะเล 2. ภูมิภาคที่มีความเปนเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกรง พรอมทั้งมีความรับผิดชอบรวมกันเพื่อแกไข ปญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) ในการสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนที่มีความเปนเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกรงยึดมั่น กับหลักการความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ ซึ่งครอบคลุมมากกวาแงมุมความมั่น คงในรูปแบบเดิม แตคํานึงถึงความ มั่นคงในรูปแบบใหม ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญตอความแข็งแกรงในระดับชาติ และภูมิภาค เชน มิติเศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมของการพัฒนาอาเซียน ยังคงยึดมั่นตอการปองกันความขัดแยง/มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ การทูต เชิงปองกัน และการสรางสันติภาพหลังความขัดแยง

2.1. ปองกันความขัดแยง และมาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 53

มาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และการทูตเชิงปองกันเปนเครื่องมือสําคัญในการปองกันความ ขัดแยง ชวยลดความตึงเครียด และปองกันไมใหเกิดขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน และระหวางประเทศ สมาชิกอาเซียนกับประเทศที่ไมใชสมาชิกอาเซียน ตลอดจนชวยปองกันการขยายความรุนแรงของความขัดแยงที่มีอยูแลว ในสวนของการหารือดานการปองกัน หรือการเมืองในภูมิภาค เจาหนาที่กลาโหมอาเซียน ไดมีสวนรวมในการเจรจาดาน ความมั่นคงของอาเซียน ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ภายใตกรอบเวทีการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดาน ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ARF) อาเซียนไดทําการรายงานโดยสมัครใจในเรื่องพัฒนาการความมั่นคงในภูมิภาค และจัดประชุมเจาหนาที่กลาโหมระดับสูงโดยสม่ําเสมอภายใตการหารือของเจาหนาที่กลาโหม ARFDOD และการประชุม นโยบายความมั่นคง ARF (APSC) อาเซียนยังไดจัดตั้งการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานกลาโหม ซึ่งมีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางมาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริมการแลกเปลี่ยนผู สังเกตการณในการฝกทหาร โดยเปนไปตามความสามารถ และเงื่อนไขของแตละประเทศสมาชิกอาเซียน 2) สงเสริมความโปรง ใส และความเขา ใจในนโยบายกลาโหม และมุมมองดา นความมั่น คง โดยมี กิจกรรม เชน มุงไปสูการพัฒนา และตีพิมพมุมมองสถานการณความมั่นคงประจําปของอาเซียน 3) สรางกรอบการดําเนินการทางสถาบันที่จําเปนเพื่อเสริมสรางกระบวนการภายใตกรอบการประชุม ARF เพื่อสนับสนุนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ติดตามขอเสนอแนะเกี่ยวกับการ ทบทวนความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก 4) เสริมสรางความพยายามในการธํารงความเคารพในบูรณภาพแหงดินแดนอธิปไตย และเอกภาพ ของประเทศสมาชิกตามที่กําหนดไวในปฏิญญาวาดวยหลักการแหงกฎหมายระหวางประเทศเกี่ยวกับความสัมพันธฉันท มิตร และความรวมมือโดยเปนไปตามกฎบัตรสหประชาชาติ โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริม และเพิ่มความตระหนักตอ ประเด็นเหลานี้ เพื่อเรงรัดการสรางประชาคม และยกระดับการเปนที่ยอมรับเปนที่รูจักของอาเซียนในเวทีโลก 5) สงเสริมการพัฒนาบรรทัดฐานเพื่อสรางความรวมมือดานการปองกันทางทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ริเริ่มงานเตรียมการสําหรับการพัฒนาโครงการความรวมมือที่เปนรูปธรรมระหวางหนวยงาน ทหารของประเทศสมาชิกอาเซียน

2.2. การแกไขความขัดแยงและการระงับขอพิพาทโดยสันติ

อาเซียนเชื่อมั่นวา การระงับความแตกตาง หรือขอพิพาทควรกํากับโดยกระบวนการที่มีเหตุผล มี ประสิทธิภาพ และยืดหยุนเพียงพอ เพื่อหลีกเลี่ยงแนวคิดในทางลบ ซึ่งอาจเปนอันตราย หรือเปนอุปสรรคตอความรวมมือ อาเซียน จึงสนับสนุน TAC ซึ่งใหบทบัญญัติสําหรับการระงับขอพิพาทโดยสันติตลอดเวลา โดยผานการเจรจาฉันทมิตร และหลีกเลี่ยงการขมขูวา จะใช หรือการใชกําลัง เพื่อแกไขขอพิพาทยุทธศาสตร สําหรับการแกไขความขัดแยง เปนสวน หนึ่งของแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ วัตถุประสงคสําหรับยุทธศาสตรเหลานี้เปนไปเพื่อปองกันขอพิพาท และความ ขัดแยงไมใหเกิดขึ้นระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีศักยภาพที่จะสรางภัยคุกคามตอสันติภาพ และเสถียรภาพใน ภูมิภาค อาเซียน สหประชาชาติ และองคการอื่น ๆ ไดจัดกิจกรรมความรวมมือจํานวนมากรวมกันภายใตความ พยายามในการสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพ มีความพยายามที่มากขึน้ ในการเสริมสรางวิธีการระงับขอพิพาทโดยสันติ ที่มีอยู เพื่อหลีกเลี่ยง หรือระงับขอพิพาทในอนาคต และการดําเนินการในการจัดการความขัดแยง และการศึกษาวิจยั เรื่อง การแกไขความขัดแยง ในการนี้ อาเซียนอาจตั้งกลไกการระงับขอพิพาทที่เหมาะสมไดเชนกันภายใตกฎบัตรอาเซียน มีการ สงเสริม ดังนี้


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 54

1) พัฒนารูปแบบการระงับขอพิพาทโดยสันติ เพิ่มเติมจากรูปแบบที่มีอยู และพิจารณาเสริมสราง รูปแบบดังกลาวใหเขมแข็งขึ้นดวยกลไกเพิ่มเติม โดยมีกิจกรรม เชน ศึกษา และวิเคราะหรูปแบบการระงับขอพิพาทโดย สันติที่มีอยู และ/หรือกลไกเพิ่มเติม เพื่อเสริมสรางกลไกในภูมิภาคในการระงับขอพิพาทโดยสันติ 2) เสริมสรางกิจกรรมการคนควาวิจัยเรื่องสันติภาพ การจัดการความขัดแยง และการแกไขความ ขัดแยง โดยมีกิจกรรม เชน พิจารณาจัดตั้งสถาบันอาเซียนสําหรับสันติภาพ และสมานฉันท 3) สงเสริมความรวมมือในภูมิภาคเพื่อธํารงไว ซึ่งสันติภาพ และเสถียรภาพ โดยมีกิจกรรม เชน ระบุ หนวยงานหลักของประเทศเพื่อสงเสริมความรวมมือ ดานสันติภาพ และเสถียรภาพในระดับภูมิภาค

2.3. การสรางสันติภาพหลังความขัดแยง

ความพยายามของอาเซียนในเรื่อ งการสร างสัน ติภาพหลั งความขั ดแยง ตอ งเกื้อ กูล ความพยายาม อื่น ๆ ที่ใชแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อ 1) ใหมั่นใจวา จะไมเกิดความขัดแยง และความรุนแรง และ/หรือภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษยในพื้นที่ที่ ไดรับผลกระทบ 2) สงเสริมการกลับคืนมาของสันติภาพ และ/หรือการกลับสูภาวะปกติของชีวิตโดยเร็วที่สุด และ 3) วางพื้นฐานเพื่อการสมานฉันท และมาตรการที่จําเปนตาง ๆ เพื่อรักษาสันติภาพ และเสถียรภาพ ทั้งนี้ เพื่อปองกันพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากการกลับไปสูความขัดแยงในอนาคต สามารถใชมาตรการตาง ๆ ในการสงเสริมกิจกรรมบรรเทาเพื่อมนุษยธรรม ซึ่งรวมถึงการเพิ่มความรวมมือกับสหประชาชาติ และองคการอื่น ๆ ตลอดจน การเสริมสรางขีดความสามารถใหกับประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ มีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางความชวยเหลือดานมนุษยธรรมอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ใหการบริการ และความ ชวยเหลือขั้นพื้นฐาน เพื่อบรรเทาทุกขแกผูไดรับผลกระทบจากความขัดแยง โดยตองปรึกษากับประเทศที่ไดรับผลกระทบ 2) ดําเนินการตามโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย และสรางขีดความสามารถในพื้นที่ภายหลังความ ขัดแยง โดยมีกิจกรรม เชน รางแนวทางการประเมินความตองการการฝกอบรม และการเสริมสรางขีดความสามารถ 3) เพิ่มความรวมมือในดานการไกลเกลี่ยประนีประนอม และคานิยมที่มีสันติภาพเปนศูนยกลาง โดยมี กิจกรรม เชน ดําเนินการศึกษาเพื่อเพิ่มความรวมมือดานการสมานฉันท และสงเสริมคานิยมที่มีสันติภาพเปนศูนยกลาง

2.4. ประเด็นความมั่นคงรูปแบบใหม

จุดประสงคหลักของอาเซียน คือ การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และทันทวงที โดยสอดคลองกับ หลักการดานความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติ จากภัยคุกคามในทุกรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ และความทาทายขามแดน มีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางความรวมมือในการรับมือประเด็นปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม โดยเฉพาะเรื่องการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ และความทาทายขามแดนอื่น ๆ โดยมีกิจกรรม เชน ดําเนินการในประเด็นสําคัญในแผนการ ดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2) เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการใหสัตยาบันโดยเร็ว และดําเนินการอยาง เต็มทีต่ ามอนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย 3) โดยมีกิจกรรม เชน ดํา เนิน การเพื่อ ให อนุสั ญญาฯ มี ผลบั งคั บใช ภายในป พ.ศ. 2552 การให สัตยาบันโดยประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ และสงเสริมการดําเนินการตามอนุสัญญาฯ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 55

2.5. เสริมสรางความรวมมือของอาเซียนดานการจัดการภัย พิบัติ และการตอบสนองตอสถานการณ ฉุกเฉิน โดยมีกิจกรรม เชน พัฒนาแนวทางยุทธศาสตรของความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก สําหรับความชวยเหลือทางมนุษยธรรม และความรวมมือดานการบรรเทาภัยพิบัติ 2.6. การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และทันกาลตอประเด็นเรงดวน หรือสถานการณวิกฤตที่สงผล กระทบตออาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดการประชุมสมัยพิเศษในระดับผูนํา หรือรัฐมนตรี ในเหตุการณวิกฤติ หรือ สถานการณฉุกเฉินที่มีผลกระทบตออาเซียน และพัฒนากรอบการดําเนินการ เพื่อจัดการกับสถานการณดังกลาวอยาง ทันทวงที 3. ภูมิ ภาคที่มี พ ลวั ตร และมองไปยั งโลกภายนอก ในโลกที่ มี ก ารรวมตัว และพึ่ งพาอาศั ย กั นยิ่ งขึ้ น (A dynamic and outward looking region in an increasingly integrated and interdependent world) อาเซียนสงเสริม และรักษาความสัมพันธที่เปนมิตร และเปนประโยชนรวมกันกับประเทศภายนอก เพื่อให มั่นใจวา ประชาชน และรัฐประเทศสมาชิกของอาเซียนสามารถอยูอยางสันติในโลก ในสภาวะที่มีความยุติธรรมเปน ประชาธิปไตย และปรองดอง อาเซียนจะยังคงมองไปยังภายนอก และดําเนินบทบาทที่สําคัญในเวทีระดับภูมิภาค และใน ระดับระหวางประเทศ เพื่อสงเสริมผลประโยชนรวมกันของอาเซียน อาเซียนจะธํารง และรักษาความเปนศูนยรวม และ บทบาทเชิงรุกในฐานะพลังขับเคลื่อน หลักในโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาคที่เปดกวาง โปรงใส และทุกฝายมีสวนรวม เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยเสริมสรางความสัมพันธกับภายนอก ภูมิภาค 1) การส งเสริ มอาเซี ยนให เป น ศูน ยก ลางในความรว มมื อระดับ ภูมิ ภาค และการสรา งประชาคม โดยมี กิจกรรม เชน เพิ่มพูนการประสานงานในการดํา เนินความสัมพันธภายนอกของอาเซียนตลอดจนการประชุมในระดับ ภูมิภาค และพหุภาคี 2) สงเสริมความสัมพันธที่เพิ่มพูนกับประเทศภายนอก โดยมีกิจกรรม เชน แสวงหาโครงการความรวมมือ กับองคการระดับภูมิภาค 3) เสริมสรางการปรึกษาหารือ และความรวมมือในประเด็นพหุภาคีที่เปนความกังวลรวมกัน โดยมีกิจกรรม เชน เพิ่มพูนการปรึกษาหารือภายในอาเซียน ซึ่งรวมถึงการแตงตั้งผูแทนถาวรของประเทศอาเซี ยนประจําสหประชาชาติ 9 และองคการระหวางประเทศอื่น ๆ เพื่อสงเสริมผลประโยชนของอาเซียน ในป 2552 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ไดใหการรับรอง “แผนงานการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political-Security Community Blueprint: APSC Blueprint) เปนเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการบรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน มีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เปนความมุงหวังวา จะทําใหความรวมมือดานการเมือ ง และ ความมั่นคงของอาเซียนมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น โดยเปนหลักประกันตอประชาชน และประเทศสมาชิกอาเซียนใหอยูอยาง สันติระหวางกัน และกับโลกภายนอกในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ความยุติธรรม และการมีความปรองดอง ตอกัน 2. ประชาคมการเมื อ งและความมั่น คงอาเซี ยน จะส ง เสริ มพั ฒนาการด า นการเมือ ง โดยยึ ด หลั กการของ ประชาธิปไตย นิติธรรม ธรรมาภิบาล ความเคารพ การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน 9

กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 6-28


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 56

ภายใตกฎบัตรอาเซียน โดยจะเปนตัวเชื่อมตอใหประเทศสมาชิกอาเซียน มีการติดตอ และมีความรวมมือระหวางกัน เพื่อ สรางบรรทัดฐานกฎเกณฑ และกลไกรวมกันในการบรรลุเปาหมายอาเซียนในดานการเมือง และความมั่นคง ซึ่งจะทําให อาเซียนเปนองคกรที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง โดยทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวม และไดผลประโยชนจากกระบวนการ รวมตัว และการสรางประชาคมโดยไมคํานึงถึงเพศ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา หรือพื้นเพทางสังคม และวัฒนธรรม ในการ ปฏิบัติตามแผนงาน อาเซียนจะตองสงเสริม และสนับสนุนการใหความเทาเทียมทางเพศ แนวทางหลักในนโยบายความอด กลั้น การเคารพความหลากหลายความเทาเทียมกัน และมีความเขาใจที่ดีตอกัน 3. เพื่อประโยชนในการปกปอง และสงเสริมสันติภาพในภู มิภาค ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประสงคจะสงเสริมความรวมมือที่แนนแฟน และมีผลประโยชนรวมกันระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา และมิตร ประเทศ เพื่อคงไวซึ่งความเปนศูนยกลาง และบทบาทแขงขันของอาเซียน ในโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาคที่เปด กวาง โปรงใส และที่ทุกฝายมีสวนรวมอีกทั้งมีสวนรวมอยางแข็งขันในการกาวไปขางหนา และไมเลือกปฏิบัติ 4. ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย นสนั บ สนุ น แนวทางด า นความมั่ น คงที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ (Comprehensive Approach) ซึ่งมีความเกี่ยวโยงตอพัฒนาการดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอยางใกลชิด ยึดหลัก ในการละเวนการรุกราน หรือการขูใชกําลัง และการกระทําใด ๆ ที่ไมสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศ และการ พึ่งพา การแกไขปญหาความขัดแยงโดยสันติวิธี ในการนี้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนยึดมั่นความตกลง ทางการเมืองของอาเซียน อาทิ ปฏิญญาวาดวยเขตสันติภาพ อิสรภาพ และการวางตัวเปนกลาง หรือสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) เปนตน ซึ่งมีบทบาทสําคัญในดานมาตรการสงเสริมความไว เนื้อเชื่อใจ การทูตในเชิงปองกัน และแนวทางแกไขปญหาโดยสันติวิธี อีกทั้งแกไขประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ จะมีการประกาศจัดตั้ง “คณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวา ดวยสิทธิมนุษยชน” อยางเปนทางการ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ที่จัดตั้งขึ้นนี้ จะทําหนาที่เปนหนวยงานหลักในการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนกับองคการระหวางประเทศ และภาคประชาสังคมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะมี สวนสําคัญในการสงเสริม และคุมครองสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนชีวิตความเปนอยูของคนไทย และประชาชนอาเซียน โดยรวม นอกจากนี้ การมีกลไกทางดานสิทธิมนุษยชนอยางเปนรูปธรรม จะทําใหอาเซียนเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ มากขึ้น อันจะสงผลทางออมตอความรวมมือกับประเทศ และองคการระหวางประเทศนอกอาเซียนในทุก ๆ ดาน อยางไรก็ตาม APSC Blueprint ยังมีเนื้อหา และกระบวนการดําเนินการที่คอนขางจะกระทบตอประเด็น ออนไหวของหมูประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะหลักการ หรือกฎเหล็กของอาเซียน ไดแก การไมกาวกายกิจการ ภายในประเทศ และการเคารพตออํานาจอธิปไตยของกันและกัน รวมถึงวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ยกตัวอยางเชน ใน จุดประสงคดานแรก คือ การสรางประชาคมที่มีคานิยม และบรรทัดฐานรวมกันบนพื้นฐานของการใชกฎรวม (A Rulesbased Community of Shared values and norms) นั้น ประกอบไปดวย 2 กรอบการทํางานหลัก คือ การรวมมือกัน ในการพัฒนาการเมือง (Cooperation in Political Development) และการสราง และใชบรรทัดฐานรวมกัน (Shaping and Sharing of Norms) ซึ่งกรอบการทํางานแรกนั้นประกอบไปดวยกิจกรรมตาง ๆ เชน การสงเสริมสภาพธรรมาภิบาล การส ง เสริ ม และปกป อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน การป อ งกั น และต อ สู กั บ การคอร รั ป ชั่ น และการส ง เสริ ม หลั ก การของ ประชาธิปไตย ซึ่งหากเพียงแคมองกิจกรรมดังกลาวเพียงคราว ๆ แลว ก็พอจะสามารถคาดเดาไดวา เปนไปไดยากที่แตละ ประเทศสมาชิกจะเขามารวมมือกันได เชน การปองกัน และการตอสูกับการคอรรัปชั่น

กรอบความร ว มมื อ ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น อาเซียนมีเปาหมายดานความมั่นคงที่สําคัญ คือ การสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต เพื่อสราง conditions ที่จะอํานวยตอการสรางประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ในการนี้ พื้นฐาน


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 57

ของประชาคมอาเซียน ประกอบดวย 3 เสา คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคม สังคมและวัฒนธรรม มาจาก Bali Concord II ลงนามในป พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ตอมา มีการพัฒนาแผนเพื่อนํามาซึ่ง ประชาคมทั้ง 3 เสา ภายใต Roadmap for and ASEAN Community 2009-2015 มี ASEAN Political-Security Community Blueprint เปนองคประกอบสําคัญ นอกจากนี้ ในบริบทของกฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชตั้งแตเดือน ธันวาคม 2551 อาเซียนมีเปาหมายสําคัญที่จะธํารงรักษา และเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคงเสถียรภาพ รวมทั้งเสริมสราง คุณคาทางสันติภาพในภูมิภาคใหมากขึ้น อาเซียนไดแสดงบทบาทและความพยายามในการสรางสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงในภูมิภาค เพื่อให เกิดความผาสุกแกประชาชน ภายใตกรอบความรวมมือดานการเมืองที่สําคัญ ไดแก 1. การประกาศใหอาเซียนเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPEAN) ลงนามครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2514 (ค.ศ. 1971) 2. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ลงนามเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2519 (ค.ศ. 1976) 3. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ) ลงนามเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2537 (ค.ศ. 1994) 4. การกอตั้งการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) มีการประชุมครั้งแรก เมื่อป 2537 (ค.ศ. 1994) ประเทศที่เขารวมมี 27 ประเทศ ไดแก อาเซียน 10 ประเทศ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด จีน ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย อินเดีย สหภาพยุโรป ปาปวนิวกินี มองโกเลีย เกาหลีเหนือ ปากีสถาน ติมอรเลสเต บังกลาเทศ และศรีลังกา โดย ARF เปนเวที สําหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดานความมั่นคงในภูมิภาค อาทิ การตอตานการกอการราย อาชญากรรมขามชาติ การไมแพรขยายอาวุธนิวเคลียร คาบสมุทรเกาหลี และทะเลจีนใต ในการดําเนินการของ ARF (Asian Regional Forum) เปนนิมิตหมายที่ดีของความรวมมือดานความมั่นคงของประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนเวทีการประชุมที่ใหขอมูลทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร กระชับความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิก มีสวนใหการประชุมในเวทีการประชุมในเวที ตาง ๆ เชน การฝกรวม มีความราบรื่น และเกิดการพัฒนาตอยอดในการปฏิบัติการรวมตอไป 5. ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord : Bali Concord) ลงนามเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2519 (ค.ศ. 1976) ที่บาหลี ซึ่งกําหนดใหประเทศสมาชิกอาเซียนสงเสริมความรวมมือดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สารสนเทศ และความมั่นคง อีกทั้งจัดตั้งสํานักงานเลขาธิการอาเซียน

6. ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II) ลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2546 (ค.ศ. 2003) ในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 9 ที่บาหลี ซึ่งผูนําอาเซียนได เห็นชอบใหมีการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) อันประกอบไปดวย ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจประชาคม (ASEAN Economic Community : AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ภายในป 2563 ตอมาในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) ที่เมืองเซบู ประเทศ ฟลิปปนส ผูนําอาเซียนไดตกลงใหเรงรัดการจัดตั้งประชาคมใหแลวเสร็จภายใน 2558 (ค.ศ. 2015)


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 58

7. อนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย (ASEAN Convention on Counter-Terrorism : ACCT) ลงนามเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) ระหวางการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 12 ที่เมืองเซบู ฟลิปปนส เพื่อกําหนดกรอบความรวมมือดานการตอตานการกอการรายในเรื่องตาง ๆ อาทิ เขตอํานาจศาลของรัฐ การสง ผูรายขามแดน การแลกเปลี่ยนขอมูล ฯลฯ 8. ความรวมมือดานการบริหารจัดการภัยพิบัติ (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response : AADMER) มีผลบังคับใชแลวเมื่อเดือนธันวาคม 2552 (ค.ศ. 2009) มีการจัดตั้งศูนยใหความ ชวยเหลือเพื่อบรรเทาภัยพิบัติของอาเซียน (ASEAN Humanitarian Assistance Center) ที่อินโดนีเซีย โดยเลขาธิการ อาเซียนไดรับมอบหมายใหเปน ASEAN Humanitarian Assistance Coordinator ซึ่งไทยเสนอใหอาเซียนมีแถลงการณ วาดวยความรวมมือในดานการปองกันอุทกภัย การลดผลกระทบ การบรรเทา การฟนฟู และการบูรณะ 9. อาเซียนไดดําเนินความพยายามในการแกไขขอพิพาทในทะเลจีนใต ซึ่งเปนพื้นที่ทับซอนที่ประเทศสมาชิ ก อาเซียนหลายประเทศ และจีนที่อางสิทธิ์ โดยการดําเนินความรวมมือระหวางประเทศที่เกี่ยวของตามปฏิญญาวาดวยการ ปฏิบัติของประเทศภาคีในทะเลจีนใต (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DoC) ตาม Guidelines for the Implementation of the Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea (Guidelines on DoC) การจัดทํา Code of Conduct of Parties in the South China Sea (CoC) การ สงเสริม และธํารงไวซึ่งเสรีภาพ และความปลอดภัยในการเดินเรือ เพื่อเพิ่มพูนการคา และพาณิชย สนับสนุนใหขอพิพาท ในทะเลจีนใต ใหไดรับการแกไขโดยการหารือ และอยางสันติ 10. การจัดตั้งสถาบันเพื่อสันติภาพและการปรองดอง (ASEAN Institute for Peace and Reconciliation) เปน “Entity Associated with ASEAN” ตามขอ 16 ของกฎบัตรอาเซียน ใหรัฐมนตรีตางประเทศพิจารณา ToR เพื่อให สถาบันเริ่มดําเนินการ (launch) อยางเปนทางการในป 2555 (ค.ศ. 2012) ระหวางการเปนประธานอาเซียนของกัมพูชา โดยไมมีความเกี่ยวของกับกลไกระงับขอพิพาทของอาเซียน 11. กลไกเพื่อยุติขอพิพาท อาเซียนมี ดังนี้ 11.1. คณะอัครมนตรีของสนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (High Council of the Treaty of Amity and Amity and Cooperation in Cooperation in Southeast Asia) ซึ่งเปนกลไกระงับขอ พิพาท โดยสันติวิธีระหวางประเทศที่เปนภาคีสนธิสัญญา TAC ในระดับรัฐมนตรี โดย High Council อาจเสนอ ขอเสนอแนะ และทําหนาที่เปนผูไกลเกลี่ยในกรณีที่เกิดขอพิพาท 11.2. กลุมผูประสานงานอาเซียน (ASEAN Troika) ซึ่งเปนขอเสนอของไทย โดย ASEAN Troika จะ ประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ดํารงตําแหนงประธานอาเซียน ประเทศที่เปนประธาน กอนหนานี้ และประเทศที่เปนประธานตอไป เพื่อเปนกลไกในการพิจารณา และหารือเกี่ยวกับเหตุการณฉุกเฉินที่อาจ สงผลกระทบตอภูมิภาค โดยจะทําหนาที่ติดตาม และเสนอแนะแนวทาง หรือมาตรการที่เหมาะสม เพื่อสนองตอบตอ เหตุการณตาง ๆ ไดอยางทันทวงที 11.3. ASEAN High Level Legal Experts จัดทํา Dispute Settlement Mechanism (DSM) โดย ไดรับอาณัติจากรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสิ้นป พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) เพื่อเสนอ DSM ใหรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนพิจารณาในป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) นับตั้งแตกอตั้งอาเซียน เมื่อป 2510 (ค.ศ. 1967) จนถึงปจจุบัน อาจกลาวไดวา อาเซียนประสบความสําเร็จใน การบรรลุถึงเปาหมายสําคัญ ๆ และเจตนารมณที่กําหนดไวในปฏิญญากรุงเทพฯ อยางนาพอใจ โดยในดานการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียนนั้น อาเซียนไดสรางความมีเสถียรภาพ ความไวเนื้อเชื่อใจ และแนวทางปองกันมิใหเกิดปญหาความ


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 59

ขัดแยงในภูมิภาคขึ้น ทั้งนี้ ยังไดดําเนินการเพื่อสงเสริมใหสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) เปนหลักในการดําเนินความสัมพันธในภูมิภาค อีกทั้งไดพยายามเรงการปฏิบัติตามสนธิสัญญา เขตปลอดอาวุธ นิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (SEANWFZ) และโนมนาวใหประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียรเขารวมในสนธิสัญญา ดังกลาว อยางไรก็ตาม สถานการณความมั่นคงในภูมิภาคยังคงมีความแปรปรวนอยู สืบเนื่องมาจากปญหาในทะเลจีนใต ความขัดแยง และปญหาภายในของบางประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมียนมาร และอินโดนีเซีย ซึ่งสงผลกระทบ โดยตรงกับภูมิภาค ในขณะเดียวกัน อาเซียนเองยังคงตองเผชิญกับสิ่งทาทายใหม ๆ อาทิ ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และตองอาศัยความรวมมืออยางเปนรูปธรรมในระดับภูมิภาค เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ เหลานี้ ตอไป

ความก า วหน า ในการจั ด ตั้ ง ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น กระบวนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีรากฐานมาจากการนําความรวมมือ และความ ตกลงของอาเซียนดานการเมืองและความมั่นคงที่ไดดําเนินการมาระยะหนึ่งแลว มาตอยอดใหมีผลเปนรูปธรรมและมีแบบ แผนมากยิ่งขึ้น อาทิ ขอบทตาง ๆ ภายใตสนธิสัญญา TAC สนธิสัญญา SEANWFZ และปฏิญญากําหนดใหภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : 10 ZOPFAN) และรวมถึงผลลัพธตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประชุม ARF ปจจุบัน การสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความคืบหนาในการสงเสริมการแลกเปลี่ยน ขอมูล และประสานทาทีมากยิ่งขึ้นในเรื่องที่มีนัยทางนโยบาย และการเมืองของภูมิภาค โดยมีคณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Council) เปนผูดําเนินการขับเคลื่อน สําหรับประเด็นดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนที่ไดรับความสนใจในชวง 1 - 2 ป ที่ผานมา คือ การสงเสริมกลไก อาเซียนตาง ๆ (Sectoral Bodies) และเนนการประสานงานเพื่อแกไขปญหา ซึ่งเปนประเด็นที่คาบเกี่ยวกับกลไกตาง ๆ (cross-cutting issues) ตัวอยางสําคัญที่อาเซียนกําลังพิจารณาอยางตอเนื่อง คือ ความเสี่ยงของการสงเสริมความ เชื่อมโยงในภูมิภาค ซึ่งรวมถึงอาชญากรรมขามชาติ และผลกระทบทางดานลบตาง ๆ เชน ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และ ปญหาสาธารณสุข ซึ่งเปนปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional threats) อย า งไรก็ ต าม การดํ า เนิ น การเพื่ อ รองรั บ การเป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น ยั ง ไม มี ความกาวหนามากนัก เมื่อเทียบกับการเตรียมความพรอมในมิติของเศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม ปญหาอุปสรรค สํา คั ญ ที่ สุ ด ในการสร า งประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ยน คื อ การสร า งค า นิ ยมร ว มกั น เนื่ อ งจาก ความ หลากหลายของวั ฒ นธรรมการเมื อ งของประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น และการที่ แ ต ล ะประเทศยั ง ไม มุ ง ไปสู ก ารสร า ง ผลประโยชนรวมกันของประชาคมอาเซียนอยางชัดเจน สวนหนึ่งของปญหาเกิดจากการที่ระบบสถาบันของอาเซียนที่จะ ชวยสงเสริมคานิยมอาเซียนยังคงออนแอ ความทาทายสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การที่ยังมีประเด็นที่มีความออนไหวสูงในแตละประเทศสมาชิก หรือ ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งสรางขอจํา กัดใหอาเซียนในการใชกลไกของตนได เชน กรณีที่เกือบทุกประเทศไม ประสงคที่จะใหอาเซียนมายุงเกี่ยวกับปญหาภายในประเทศ แมวา ปญหาดังกลาวจะมีนัย หรือผลกระทบในระดับภูมิภาค ก็ตาม เชน เรื่องพัฒนาการทางการเมือง และสิทธิมนุษยชนในเมียนมาร หรือปญหาหมอกควัน เปนตน อีกทั้งไมประสงค 10

ศูนยขาวการศึกษาไทย. (2555). ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 60

ใหอาเซียนมายุงเกี่ยวกับปญหาทวิภาคีโดยเฉพาะปญหาเขตแดน อยางเชน กรณีความขัดแยงระหวางสิงคโปรกับมาเลเซีย ในป พ.ศ. 2552 ทั้งสองประเทศไดใชกลไกของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice : ICJ) มากกวาการใชกลไกของอาเซียนในการแกขอพิพาททางเขตแดน แมวา ประเทศสมาชิกจะพยายามใหอาเซียนเปนศูนยกลางของการขับเคลื่อน (ASEAN Centrality) ในภูมิภาค แตปฏิสัมพันธระหวางมหาอํานาจไดสรางขอจํากัดใหกับอาเซียนในการที่จะผลักดันใหกลไกตาง ๆ ในภูมิภาคเปนเรื่องของ ความมั่นคงในภูมิภาค นอกจากนี้ เนื่องจาก ความมั่นคงในภูมิภาคยังตองพึ่งพาอาศัยบทบาทของประเทศนอกภูมิภาค อาเซียนจึงจําเปนตองสรางหุนสวนสําคัญกับประเทศนอกภูมิภาค และในบางกรณียังตองใชวิธีการคานอํา นาจ เพื่อไมให ประเทศมหาอํานาจใด มาครอบงําภูมิภาค ปญหาอุปสรรคอีกประการหนึ่ง คือ การที่ยังไมมีความไวเนื้อเชื่อใจระหวาง กันเองในประเทศสมาชิกอาเซียน เนื่องจาก ประเทศตาง ๆ ยังอยูในสภาพที่ตองแขงขันแยงชิงผลประโยชนระหวางกัน ตัวอยางเชน เรื่องการแสวงหาผลประโยชนจากทรัพยากรทางทะเล ซึ่งมีสวนใหเกิดความตึงเครียดมากขึ้นในทะเลจีนใต 11 เปนตน ในดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีเปาหมายสําคัญ คือ การสงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อสรางสถานะที่จะอํานวยตอการสรางประชาคมอาเซียน ใหสําเร็จภายในป 2558 ซึ่งจะทําให ประชาคมอาเซียนในดานการเมืองความมั่นคงมีความแข็งแกรงและนาเชื่อถือ ความรวมมือดานการเมืองความมั่นคงของ อาเซียนที่สําคัญ ไดแก 1. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใตจัดทําขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร และไทย เมื่อป พ.ศ. 2519 เพื่อกําหนดหลักการพื้นฐานของความรวมมือ และการดําเนินความสัมพันธระหวางกันของประเทศสมาชิกหลักการสํา คัญของสนธิสัญญา ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียน ยึดถือ และยอมรับในการปฏิบัติตาม ไดแก 1.1. เคารพในเอกราช การมีอํานาจอธิปไตย ความเทาเทียมกัน ความมั่นคงทางดินแดน และเอกลักษณ แหงชาติของทุกประเทศ 1.2. ปราศจากการแทรกแซงจากภายนอก การโคนลมอธิปไตย หรือการบีบบังคับจากภายนอก 1.3. การไมแทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน 1.4. การแกไขปญหาความขัดแยง หรือขอพิพาทโดยสันติวิธี 1.5. การยกเลิกการใชการคุกคามและกองกําลัง 1.6. การมีความรวมมือที่มีประสิทธิภาพระหวางกัน เมื่อเดือนธันวาคม 2530 ไดมีการแกไขสนธิสัญญา เพื่อเปดทางใหประเทศที่อยูนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใตสามารถเขารวมเปนภาคีไดนั้น เปนการชวยเสริมสรางโครงสรางความมั่นคงและสันติภาพภายในภูมิภาคใหมีความ เขมแข็งยิ่งขึ้น ปจจุบันประเทศที่เขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญา TAC ไดแก สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ประเทศคู เจรจาของอาเซียน และประเทศที่เขารวมการประชุมอาเซียนวาดวยการเมืองและความมั่นคงในเอเชีย-แปซิฟก เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต และนิวซีแลนด ออสเตรเลีย แคนาดา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป

11

กรมอาเซียน กองอาเซียน 1. (2554). “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.” ASEAN Highlights 2011, กรุงเทพฯ : กระทรวงการ ตางประเทศ. หนา 30.


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 61

2. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asia Nuclear-Free Zone : SEAN-FZ) ประเทศสมาชิ กอาเซี ยน ลงนามในการประชุ มสนธิสั ญญาในกรุ งเทพฯ เมื่ อวั นที่ 15 ธันวาคม 2538 วัตถุประสงคหลักของสนธิสัญญา คือ ใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร โดยประเทศที่เปน ภาคีจะไมพัฒนา ไมผลิต ไมจัดซื้อ ไมครอบครอง รวมทั้งไมเปนฐานการผลิต ไมทดสอบ ไมใชอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาค และไมใหรัฐใดปลอย หรือทิ้งวัสดุอุปกรณที่เปนกัมมันตภาพรังสีลงบนพื้นดิน ทะเล และอากาศ นอกจากนี้ ทั้ง 5 ประเทศ อาวุธนิวเคลียร ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และสหราชอาณาจักร (หาสมาชิกผูแทนถาวรของคณะมนตรี ความมั่นคงแหงสหประชาชาติ ) ไดยอมรับ และใหความเคารพสนธิสัญญา โดยจะไมละเมิด และไมแพรกระจายอาวุธ นิวเคลียรในภูมิภาคนี้ 3. ปฏิญญากําหนดใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพเสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPFAN) เปนการแสดงเจตนารมณของอาเซียน ใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมิภาคที่ปลอดการแทรกแซง จากภายนอก เพื่อเปนหลักประกันตอสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และยังไดเสนอใหอาเซียน ขยายความรวมมือ ใหครอบคลุมทุก ๆ ดาน อันจะนํามาซึ่งความแข็งแกรง ความเปนปกแผนและความสัมพัน ธที่ใกลชิดระหวางประเทศ สมาชิก และประเทศสมาชิก ได ประกาศลงนามโดยรั ฐมนตรีตา งประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่ งในขณะนั้ น ประกอบดวย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 1971 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย 4. การประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีสําหรับปรึกษาหารือ (Consultative forum) โดยมีวัตถุประสงคที่มุงสงเสริมสันติภาพโดย การเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ความรวมมือ และความสัมพันธอันดีระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศอาเซียนกับ คูเจรจา และประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองและความมั่นคง โดยมีทั้งผูแทนฝายการ ทูต และการทหารเขารวมการประชุมการหารือดานการเมือง และความมั่นคงในกรอบ ARF ไดกําหนดพัฒนาการของ กระบวนการ ARF เปน 3 ขั้นตอน ไดแก

ขั้นตอนที่ 1 สงเสริมการสรางความไวเนื้อเชื่อใจกัน (Confidence Building) ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาการทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) ขั้นตอนที่ 3 การแกไขความขัดแยง (Conflict Resolution) การประชุมระดับรัฐมนตรี ARF ไดจัดขึ้นครั้งแรก ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 ปจจุบัน ประเทศที่เปนสมาชิกการประชุมวาดวยการเมืองและความมั่ นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟกมี 27 ประเทศ ประกอบดวย ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ คือ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร และเวียดนาม ประเทศคูเจรจาของอาเซียน ประเทศผูสังเกตการณของอาเซียน และประเทศอื่นในภูมิภาค อัน ไดแก ออสเตรเลีย บังคลาเทศ แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนเกาหลี (เกาหลี เ หนื อ ) มองโกเลี ย นิ ว ซี แ ลนด ปากี ส ถาน ปาป ว นิ ว กิ นี รั ส เซี ย ติ ม อร -เลสเต ศรี ลั ง กา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 62

5. กลุมผูประสานงานเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี (ASEAN Troika) ผูประสานงานเฉพาะกิจในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 ณ กรุงมะนิลา ผูนํา ของประเทศสมาชิกอาเซียนไดเห็นชอบ ในการจัดตั้งกลุมผูประสานงานเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี (ASEAN Troika) ซึ่งประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศที่ดํารงตําแหนงประธานคณะกรรมการประจําของอาเซียนในอดีต ป จจุ บั น และอนาคต และจะหมุ น เวี ยนกั น ไปตามการเป น ประธานการประชุ ม วั ต ถุ ป ระสงค ข องการจั ด ตั้ ง กลุ ม ผู ประสานงานเฉพาะกิจ ASEAN Troika คือ 5.1 เปนกลไกใหอาเซียนสามารถรวมมือกันอยางใกลชิดในการหารือแกไขปญหาที่สงผลกระทบตอสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยไมกาวกายกิจการภายในของประเทศสมาชิกเปนการยกระดับความรวมมือของอาเซียนให สูงขึ้น และเสริมสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของอาเซียน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของการดําเนินงานโดยรวม 5.2 เพื่อรองรับสถานการณ และจะดําเนินการโดยสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติในสนธิสัญญา และขอตกลง ตาง ๆ ของอาเซียน เชน สนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) 6. กรอบความรวมมือทางทหาร (ASEAN Defense Ministerial Meeting - ADMM) เพื่อสรางเครือขาย และความสัมพันธที่ใกลชิดระหวางฝายทหารของประเทศ สมาชิก ความรวมมือ ดานการ ปองกันยาเสพติด การตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย โดยเฉพาะประเด็นหลังนี้ อาเซียนไดลงนามใน อนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย ในป 2550 7. ความสัมพันธกับประเทศนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อสรางความรวมมื อดา นการเมืองความมั่นคงที่ส มดุล และสรางสรรค ระหวางกั น โดยผา นเวที หารื อ ระหวางอาเซียนกับประเทศ คูเจรจา ไดมีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS) และ กระบวนการอาเซียน+3

หน ว ยงานด า นความมั่ น คงของไทยกั บ การดํา เนิ น ความร ว มมื อ ในกรอบประชาคม อาเซี ย น การดําเนินการเพื่อรองรับประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนในระดับนโยบายของไทย ซึ่งมีสํา นักงาน สภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) เปนหนวยงานรับผิดชอบ ไดจัดทํารางยุทธศาสตรในการดําเนินการดานการเมือง และ ความมั่นคง เพื่อเตรียมความพรอมในการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร คือ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาการเมือง 2. ยุทธศาสตรการเสริมสรางบรรทัดฐานความรวมมือดานความมั่นคงในภูมิภาค 3. ยุทธศาสตรการแกปญหาภัยคุกคามรูปแบบใหมที่มีลักษณะขามชาติ 4. ยุทธศาสตรการจัดการกับภัยพิบัติที่สงผลกระทบรุนแรง 5. ยุทธศาสตรการปองกันและแกปญหาความขัดแยงในภูมิภาค 6. ยุทธศาสตรความสัมพันธกับมหาอํานาจ ทั้งนี้ ในรางยุทธศาสตรดังกลาว จะกําหนดมาตรการในการดําเนินการในแตละยุทธศาสตร ซึ่งปรากฏอยูในราง ยุทธศาสตรแหงชาติของสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ในสวนของกระทรวงกลาโหมไดใชกลไกการประชุมรัฐมนตรี


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 63

กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defense Ministers’ Meeting : ADMM) เปนสวนเสริมสรางเพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งจากผลของการประชุม ADMM ที่ผานมา ไดเห็นชอบรวมกันใหมีกิจกรรมความ รวมมือที่สําคัญ คือ - ความรวมมือระหวางกลาโหมอาเซียนกับองคกรภาคประชาสังคมในดานความมั่นคงรูปแบบใหม - การใชทรัพยากร และศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการ บรรเทาภัยพิบัติ - ความรวมมือดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน นอกจาก ความรวมมือในกรอบของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนดังกลาวแลว ยังมีกรอบความรวมมือของการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) อีก 8 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุน นิวซีแลนด เกาหลีใต รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2553 รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และ ประเทศคูเจรจาไดเห็นชอบในการดําเนินการ ดานความรวมมือเพื่อความมั่นคง 5 ดาน คือ 1. การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HA/DR) 2. ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) 3. การแพทยทหาร (Military Medical) 4. การตอตานการกอการราย (Counter Terrorism) 5. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Operations) สําหรับการดําเนินการตามกรอบความรวมมือของแตละดานนั้น ประเทศในอาเซียนจะไดดํารงตําแหนงประธาน คณะทํางานอยางนอย 1 ดาน และ 1 วาระ (มีวาระ 2 – 3 ป) ซึ่งแตละดานจะมีประธานรวมระหวางประเทศสมาชิก อาเซียนกับประเทศคูเจรจา ไดแก การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย มีเวียดนามและจีน เปน ประธาน ความมั่นคงทางทะเล มีมาเลเซีย และออสเตรเลียเปนประธาน การแพทยทหาร มีสิงคโปร และญี่ปุนเป น ประธาน การตอตานการกอการราย มีอินโดนี เซีย และสหรัฐอเมริก าเปนประธาน การปฏิ บัติการรักษาสันติภาพ มี ฟลิปปนส และนิวซีแลนดเปนประธาน โดยไทยมี แ นวทางในการเข า ร ว มเป น คณะทํ า งานทุ ก ด า น และเพื่ อ สนั บ สนุ น กรอบความร ว มมื อ ดั ง กล า ว กระทรวงกลาโหมของไทยไดมีการแตงตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญในแตละดาน เพื่อทําหนาที่กําหนดแนวทาง วางแผนการ 12 ปฏิบัติและเปนศูนยกลางการติดตอประสานงานกับกลาโหมอาเซียน และกลาโหมประเทศคูเจรจา

การเป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น การเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น จะเริ่มมาจากการที่กลุมของประเทศตาง ๆ พึ่งพาทาง การเมืองและเศรษฐกิจในระดับสูงจนกอเกิดเปนนิสัยแหงความไวเนื้อเชื่อใจ (Habit of trust) ดังนั้น การพิจารณาวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะเกิดขึ้นจริงหรือไมนั้น จะตองศึกษาหลักการของประชาคมการเมืองและ 13 ความมั่นคงวามีลักษณะอยางไร แลวนํามาเปรียบเทียบกับการรวมตัวของอาเซียน โดย คารล ดัทช (Karl Deutsch) ให คําจํากัดความประชาคมความมั่นคงวา “กลุมประเทศที่มีการเชื่อมรวมตัวกันดวยความรูสึกของความเปนประชาคม 12

ภุชงค ประดิษฐธีระ, น.อ. (2554). “ประชาคมอาเซียนกับบทบาทกองทัพเรือ.” วารสารนาวิกศาสตร, 4(8), หนา 66 – 67. Kael W. Deutsch, Security Communities,1961, in James Rosenau, ed., International Politics and Foreign policy, อางใน Donald K. Emmerson, Will the Real ASEAN Please Stand Up? Security, Community, and Democracy in Southeast Asia, Stanford University. 13


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 64

(Sense of community) ดวยการจัดตั้งเปนสถาบันทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ มีการผลักดันใหเกิดขึ้นในทาง ปฏิบัติ มีความเขมแข็ง และครอบคลุมกวางขวางที่เพียงพอ จะประกันการเกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อยางสันติ และ สมเหตุสมผล ระหวางสมาชิกของประชาคมที่มีระยะเวลาอันยาวนาน” ทั้งนี้ ในการเปนประชาคมความมั่นคงได จะตอง ประกอบดวยลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. สมาชิกไมมีการแขงขันกันสรางกําลังทางทหาร 2. ไมมีการขัดแยงที่ตองใชกําลังทหารระหวางรัฐโดยเด็ดขาด 3. มีองคกร หรือสถาบันที่เปนทางการ และไมเปนทางการในการจัดการเพื่อปองกัน ลด จัดการ และแกปญหา ความขัดแยง และภาวะไรระเบียบระหวางสมาชิก 4. มีการเชื่อมรวมทางดานเศรษฐกิจในระดับสูง 5. ไมมีปญหาขัดแยงดานการแบงเขตแดนระหวางรัฐสมาชิก จะเห็นไดวา การเกิดประชาคมความมั่นคงจะตองมีรากฐานจากผลประโยชนพื้นฐานที่ชัดเจนของสมาชิก และมี ระยะเวลานานในการรวมกลุมกัน เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงการเกิดสงครามความขัดแยงตาง ๆ ซึ่งจะแตกตางจากการรวมกลุม ของประเทศตาง ๆ เพื่อสรางอํานาจ หรือคานอํานาจ หรือเพื่อสรางสถานการณเชิงขมขู ตอภัยคุกคาม การโจมตีจาก ภายนอก ซึ่งจะเรียกการรวมตัวแบบนี้วา “ระบอบความมั่นคง” (Security Regime) เมื่อพิจารณาการรวมตัวกันของอาเซียนในดานความมั่นคงแลว อาเซียนยังขาดปจจัยการเปนประชาคมในหลาย องคประกอบ เชน อาเซียนคงมีการเสริมสรางกองทัพดวยการจัดหายุทโธปกรณเชิงแขงขันกันที่คอนขางสูง ถึงแมจะมีการ ปฏิเสธวา การจัดหาอาวุธเพื่อการรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม หรือเพื่อชดเชยกับการขาดการพัฒนากองทัพในชวงที่ ประเทศตาง ๆ เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ ดังนั้น เมื่อชวงหลายปที่ผานมาประเทศตาง ๆ มีการจัดหาทั้งเรือรบ เรือดําน้ํา และ เครื่องบินรบสมรรถนะ และราคาสูงจํานวนมาก ดังนั้น สถานการณการเสริมสรางกองทัพของประเทศในอาเซียนยอม หลีกเลี่ยงไมไดวาประเทศเหลานี้ มีนัยแหงการถวงดุลระหวางกันดวย นอกจากนี้ ประเทศในอาเซียนยังจะมีการใชกําลังรบ เขาแกปญหาทั้งไทยกับกัมพูชา ไทยกับเมียนมาร มาเลเซียกับอินโดนีเซีย โดยปญหาหลัก คือ ขัดแยงทางเขตแดน การ รวมตัวกันจึงจะเปนเพียงระบอบความมั่นคงของอาเซียนเทานั้น


ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 65

อ า งอิ ง ท า ยบท I

สงครามกัมพูชาเกิดขึ้นหลังจากกัมพูชาไดเอกราชในป พ.ศ. 2518 และไดนําเอาการปกครองแบบคอมมิวนิสตมาใชภายใต การปกครองของกลุมบุคคลที่เรียกวา เขมรแดง ตอมาเวียดนามไดสงทหารจํานวนมากเขายึดครองกัมพูชา ทําใหเกิดสงคราม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.