ความมั่นคงอาเซียน ผูเขียน
ดร.พรเทพ จันทรนิภ
บรรณาธิการ
นวพร เอี่ยมธีระกุล
เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ ISBN ราคา
บาท
ผูรับผิดชอบจัดการพิมพ
นวพร เอี่ยมธีระกุล
พิมพครั้งที่ 1
จํานวน 3,000 เลม สิงหาคม 2557
ผลิตและจัดพิมพโดย
บริษัท แอ็ปปา พริ้นติ้ง กรุป จํากัด 42/79 หมู 5 อาคารอดิศร ตําบลออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดนครปฐม โทรศัพท 0-8507-01082
ในกรณีที่ตองการซื้อเปนจํานวนมาก เพื่อใชในการสอน การฝกอบรม หรือเปนของขวัญ พิเศษ กรุณาติดตอ 0-8163-60101 , 0-8632-8138
สารบั ญ หนา บทนํา
1
ประชาคมอาเซียน
4
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
42
อาชญากรรมขามชาติ
66
อาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด
107
อาชญากรรมขามชาติรูปแบบการคามนุษย
137
อาชญากรรมขามชาติรูปแบบการกอการราย
200
ความมั่นคงทางทะเล
220
ความมั่นคงของมนุษย
248
อาชญากรรมคอมพิวเตอร
273
สรุป
330
บรรณานุกรม
358
ภาคผนวก
365
ประวัติผูเขียน
367
บทนํา เปนที่ทราบกันทั่วไปแลววา ในป ค.ศ. 2015 หรือป พ.ศ. 2558 นั้น อาเซียนจะทําการเปลี่ยนแปลงจาก รูปแบบการรวมตัวแบบสมาคม (Association) ไปเปนแบบประชาคม (Community) โดยแบงเปนสามเสาหลัก คือ เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community : APSC) เสาดานประชาคม เศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community : AEC) และเสาดานประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN SocioCultural Community : ASCC) อยางไรก็ตาม หนึ่งในสามเสาหลักที่ดูจะมีปญหาในการปฏิบัติมากที่สุดนั่นก็คือ เสา ดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง ซึ่งไดมีการคาดการณไวแตแรกแลวเชนกันวา เสาดานนี้ จะมีปญหาในการ ผลักดันมากที่สุด เห็นไดจากประโยคสุดทายในหัวขอ Introduction ของหนังสือพิมพเขียวนั้นที่ระบุวา ‘[t]he APSC Blueprint would also have the flexibility to continue programmes/activities beyond 2015 in order 1 to retain its significance and have an enduring quality.’ อยางไรก็ตาม ถึงแมวา จะเขาใจดีวา เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความยากในการ ปฏิบัติ แตก็ปวยการที่จะคิดในแงนั้น เพราะไมวาจะอยางไร ประเทศสมาชิกก็จําเปนตองทําใหเสาประชาคมดานนี้เกิด ขึ้นมาใหได ทั้งนี้ นักวิชาการดานอาเซียนและผูที่ทํางานเกี่ยวของกับเสาดานประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ไดนําเสนอหาทางจุดประกายการทํางานเพื่อใหเสาประชาคมดานนี้เริ่มตน และขยายตัวตอไปในอนาคต โดยหลาย ทานไดชี้ไปที่การหาบางสิ่ง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นมีความเห็นรวมกัน เชนเห็นวา เปนผลประโยชนหรือเปนภัย รวมกัน ซึ่งทําใหประเด็นเรื่องภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) นั้นเขามาอยูในความ สนใจ เชน การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ และภัยธรรมชาติ เนื่องจาก เปนภัยที่แตละประเทศไมสามารถแกไข ปญหาดวยตนเองไดเพียงลําพัง ซึ่งจะเปนการบังคับกลาย ๆ ใหแตละประเทศนั้นจําเปนตองรวมมือกันแบบพหุภาคี และเปนจุดเริ่มใหแตละประเทศเรียนรูที่จะสละอํานาจอธิปไตยของตนบางสวนเพื่อผลประโยชนรวมกันในภูมิภาค ดวยสภาพปจจุบันของอาเซียนนั้น เปนองคกรความรวมมือระหวางประเทศ โดยผูนํารัฐบาลของแตล ะ ประเทศเปนผูมีอํานาจตัดสินใจบนพื้นฐานของปฏิญญาและความสมัครใจ ซึ่งไมไดมีกฎบัตรหรือกฎหมายใด ๆ ภายใต อาเซีย นที่สามารถบั งคับใช ประเทศสมาชิกได อยางมี ประสิ ทธิผล กลายเปนวา อาเซียนนั้น เปน เพียงพื้น ที่พูดคุ ย แลกเปลี่ยน และเจรจาตอรองของผูนํารัฐบาล และชนชั้นนําของประเทศสมาชิกบนพื้นฐานของผลประโยชนของชาติ หรื อ ผลประโยชน ข องผู นํ า ซึ่ ง ถึ ง แม อาเซี ย นจะประกอบด ว ย องค ก รที่ ไ ม ใ ช รั ฐ บาล (Non-governmental Organization) จํานวนมาก ที่สามารถเปนกลุมกดดัน (Pressure group) ซึ่งมีสวนกับการออกนโยบายของอาเซียน 2 แตสุดทายแลวการตัดสินใจทุกอยางอยูที่อํานาจของรัฐบาลของแตละประเทศสมาชิก อยางไรก็ตาม อาชญากรรม ขามชาติซึ่งเปนสวนหนึ่งของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบนั้น อาจจะเปนความหวังใหเสาดานประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนนั้นเดินหนาไปได เพราะการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองอาศัยความรวมมือโดย ธรรมชาติอยูแลว จึงไมมีประเทศใดที่จะปฏิเสธที่จะใหความรวมมือ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการรวมตัวในอนาคต อาชญากรรมขามชาติ เปนภัยที่รายแรงตอนานาอารยะประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งทุกประเทศ ตางตระหนักถึงภัยที่เกิดขึ้น ในประเทศไทยมีกลุมอาชญากรรมขามชาติเขามาเคลื่อนไหว และมีการเชื่อมโยงเปน เครือขายอาชญากรรมขามชาติ ทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด โดยเครือขายอาชญากรรมขามชาติจะดํา เนิน ธุรกิจผิดกฎหมายที่มีผลตอบแทนสูง เชน การคามนุษย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การลักลอบเขาเมือง การฟอก เงิน การฉอโกงขามชาติ ฯลฯ สรางความเสียหาย และสงผลกระทบดานเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ อยางหลีกเลี่ยงไมได ในการดําเนินนโยบายเปดประเทศดานการทองเที่ยว และการเปนศู นยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทย จะทํ า ใหอาชญากรรมขา มชาติแอบแฝงเขามาในประเทศไทยในรูปแบบของ 1 2
ASEAN. (2009). ASEAN Political-Security Community Blueprint. Cini M. (2010). Intergovernmentalism. In M. Cini & Borragan N.P.S (Eds). Oxford University Press.
บ ท นํา : ห น า | 2
นักทองเที่ยว มีความสะดวกในการเดินทาง และการขนสง และสามารถเดินทางไปยังประเทศที่สามไดอยางสะดวก จึง เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหอาชญากรรมขามชาติสามารถเขามาในประเทศไทยและสามารถเขามากอเหตุไดงาย ดังที่กลาวมาแลว เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น เปนเสาที่ดูจะมีปญหาในทางปฏิบัติ มากที่ สุ ด เนื่ องจาก มีหลายประเด็ น ที่ ต องเขา ไปเกี่ ย วของกั บ อํ า นาจอธิ ป ไตยของแต ล ะประเทศ ซึ่ งเป น เรื่ องที่ ละเอียดออน และกระทบตอวิถีอาเซียนที่เคยปฏิบัติกันมา แตก็ไมใชวาจะเปนไปไมไดเลย ประเทศสมาชิกอาเซียนก็มี ความจําเปนในการรวมมือดานความมั่นรวมโดยเฉพาะในเรื่องของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) ซึ่งพบวา กิจกรรมภายใต APSC Blueprint มีความเปนไปไดวา กิจกรรมดังกลาวดําเนินไปอยางจริงจัง อยางไรก็ตาม ก็ยังมีขอขัดของที่อาจจะเปนอุปสรรคของการรวมตัวเปนประชาคมในดานประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน นั่นคือ วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ที่จะไมกาวกายกิจการภายในของกันและกัน อีกทั้งแตละประเทศ อาเซียนเองก็ขาดแรงจูงใจในการสรางความรวมมือ ฉะนั้น มีความเปนไปไดที่อาเซียนจะนําปจจัยอื่น ๆ เขามาสงเสริม ใหเกิดความรวมมือที่ดียิ่งขึ้น อยางเชน ความชวยเหลือสนับสนุน หรือแรงกดดันจากประเทศมหาอํานาจภายนอกกลุม อาเซี ย นอย า งประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ญี่ ปุ น และจี น รวมถึ ง อาศั ย แรงผลั กดั น จากเสาประชาคมอื่ น โดยเฉพาะ ความสําเร็จของเสาประชาคมดานเศรษฐกิจมาเอื้อตอการสรางความรวมมือในดานความมั่นคงรวม เพื่อปกปองความ เฟองฟูทางเศรษฐกิจ จากนี้ไป ชาติสมาชิกอาเซียนจะถูกขับเคลื่อนอยางหนักหนวงและรุนแรงมากขึ้นในทุก ๆ มิติ และจะสงผล ตอภาพอนาคตภาพของประเทศตาง ๆ ที่เปนสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ โดยภาพเปาหมายอาเซียนที่ตั้งไวคือ การเปน ประชาคมที่เปนหนึ่งเดียวในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เชนเดียวกับรูปแบบของการรวมตัวในภูมิ ภาคอื่น ๆ นั้น นับเปนเปาหมายในภาพรวม ๆ แตในรายละเอียดภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนจะเปนอยางไรนั้น นับเปนสิ่งที่ยัง คาดการณไดยาก เพราะแตละมุมมองของแตละประเทศก็ตองการใหอาเซียนเปนไปตาง ๆ กัน ตั้งแตภาพอนาคต อาเซียนที่เปนการรวมตัวกันแบบเหนียวแนน จนเกิดเปนรัฐอาเซียนใหมเชนเดียวกับสหภาพยุโรป ไปจนถึงภาพการ รวมตัวเพียงแคสัญลักษณเพื่อการเก็บเกี่ยวผลประโยชนที่สมาชิกแตละชาติพึงหาได ถึงแมตนแบบที่เปนความคาดหวัง ไวใหเปนประชาคมแหงการพึ่งพาที่สมบูรณ แตอุปสรรคปญหาก็คือ อาเซียนมีลักษณะเฉพาะทั้งความเชื่ อ โครงสราง การปฏิบัติ ความรับผิดชอบและคานิยมที่ไมเหมือนภูมิภาคใดในโลกจนไดรับคําจํากัดความวา เปนลักษณะวิถีแหง อาเซียน (The ASEAN Way) นอกจากนี้ อาเซียนยังไดรวมกันจัดทํากฎหมายของประชาคม คือ กฎบัตรอาเซียนไว เพื่อประกันการเปนประชาคมอาเซียนจะไดไมผิดเพี้ ยนไป ซึ่งนับวา จะเปนกรอบ และแรงบังคับใหประเทศสมาชิก ตองยึด และปฏิบัติตาม ก็ยังถูกวิจารณวา จะบังคับใชตอประเทศสมาชิกไมได และจะเปนไดเพียงรัฐธรรมนูญแหง ความตั้งใจของอาเซียนเทานั้น จากปญหาความมั่นคงที่เกิดขึ้น แนวโนมของสถานการณสามารถเปลี่ยนแปลง โดยมีความผันผวนจากทั้ง ดานการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดลอม ผลกระทบ จากปจจัยภายในและภายนอกประเทศ ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับความเสี่ยงทางดานความมั่นคงภายในประเทศ ที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปญหาความขัดแยงของคนในชาติ การขาดความสามัคคี และการกระทําที่กระทบตอความ มั่นคงของสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการกอความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ในขณะที่ปญหาการกอการ รายสากล และอาชญากรรมขามชาติ ตลอดจนปญ หาที่เปนเรื่ องสืบเนื่องจากอดีต อาทิ ปญหายาเสพติด และผู หลบหนีเขาเมือง ยังเปนภัยคุกคามที่มีแนวโนมสงผลกระทบในวงกวาง รวมถึงยังจะตองเผชิญกับผลกระทบจาก สภาวะโลกรอน ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น จึงควรสรางคุณคาความตองการอยากอยูรวมกันของพลเมือง ภายในชาติโดยยึดมั่นในชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย รวมทั้งการรูรักสามัคคี สรางความแข็งแกรงของโครงสราง ของสั ง คมไทยให มีภู มิ คุ ม กั นที่ มั่ น คง ด ว ยการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและขี ด ความสามารถการมี ส ว นร วมของภาค ประชาชนใหมีความรูเทาทันกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และรวมกันคุมครองปกปองฐานทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง เปนทุนสําคัญของประเทศไวไดอยางยั่งยืน มีจิตสํานึกความรับผิดชอบตอสวนรวม รวมทั้งมีการบังคับใชกฎหมายอยาง จริงจังและเปนรูปธรรม ในการดําเนินการรักษาผลประโยชนและดํารงไวซึ่งความมั่นคงของชาติสืบไป
บ ท นํา : ห น า | 3
สุดทายนี้ แตละประเทศอาเซียนนั้น มีความแตกตางกันอยางมาก ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ วัฒนธรรม ฉะนั้น การสรางประชาคมอาเซียนใหมีความมั่นคงถาวรในทุกเสานั้น อาจจะเปนไปไดยาก หากประชาชน ในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนนั้น ไมมีความรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่งของประชาคมอาเซียนในทุกวันนี้ แมแต ประชาชนในประเทศไทยเอง ก็มีความรูในเรื่องอาเซียนนอยมาก และ/หรือแทบไมมีความรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่ง ของประชาคมอาเซียนเลย อาเซียนจึงกลายเปนเรื่องของรัฐบาล และชนชั้นนําทางการเมืองและเศรษฐกิจเทานั้น ซึ่ง ตางจากสหภาพยุโรปที่ทุกคนรูสึกวา ตนเองเปนสวนหนึ่งของสหภาพยุโรป ฉะนั้น การศึกษา และงานวิจัยที่เรงดวน สําหรับอาเซียนนั้น ควรจะเปนในเรื่องการสรางความรูสึกใหประชาชนในกลุมประเทศอาเซียนรูสึกเปนสวนหนึ่งของ ประชาคมอาเซียนที่กําลังจะเกิดในป ค.ศ. 2015 รวมถึงลดอัตตาความรูสึกเรื่องชาตินิยมลง มิเชนนั้น อาเซียนก็จะ เปนเพียงเวทีของนักการเมื อง นักธุรกิจ ผูมีอิทธิพล ผูนําประเทศสมาชิก มาพบปะกันเหมือนอยางเชนที่เปนอยูใน ปจจุบัน ดร.พรเทพ จันทรนิภ สิงหาคม 2557
ประชาคมอาเซี ย น ความเป น มาประชาคมอาเซี ย น ประชาคมอาเซียนมีจุดเริ่มตนจากสมาคมอาสา ซึ่งกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) โดย ประเทศไทย มาเลเซีย และฟลิปปนส ไดรวมกันจัดตั้งสมาคมอาสา (Association of South East Asia) ขึ้น เพื่อรวมกัน ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตดําเนินการไดเพียง 2 ป ก็ตองหยุดชะงักลง เนื่องจาก ความผกผันทางการเมือง ระหวางประเทศอินโดนีเซีย และประเทศมาเลเซีย ตอมา ไดมีการฟนฟูสัมพันธภาพระหวางประเทศขึ้น และไดมีการจัดตั้ง องคกรสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) เปน องคกรทางภูมิรัฐศาสตร และองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยปฏิญญาสมาคม ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Declaration of ASEAN Concord) หรือปฏิญญากรุงเทพฯ (The Bangkok Declaration) โดยมีการลงนามรวมกันระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศของประเทศสมาชิก ณ พระราชวัง สราญรมย เมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) ประกอบด วย ประเทศสมาชิ กผูก อตั้ง 5 ประเทศ ไดแ ก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย ในเวลาตอมา มีประเทศตาง ๆ เขาเปนสมาชิกเพิ่มเติม ไดแก บรูไน ดารุสซาลาม เปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) เวียดนาม เปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ลาว และเมียนมารเปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) และกัมพูชา เปนสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ซึ่งสัญลักษณของอาเซียน คือ รูปรวงขาวสีเหลืองบนพื้นสีแดงลอมรอบดวยวงกลมสีขาว และสีน้ําเงิน รวงขาว 10 ตน หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุงเรือง สีแดง หมายถึง ความกลาหาญ และการมีพลวัต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพ และความมั่นคง จากวันที่เริ่มกอตั้ง อาเซียนไดเผชิญสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปในเวทีการเมืองระหวางประเทศจากสภาวะแหง ความตึงเครียด และการเผชิญหนาในยุคสงครามเย็น รวมทั้งความขัดแยงภายในระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน แตดวย ลักษณะของการรวมตัวกันแบบหลวม ๆ ไดเปนสวนดีใหอาเซียนคอย ๆ เรียนรูในการอยูรวมกันในลักษณะเฉพาะของ ตนเอง คือ การไมแทรกแซงกิจการภายใน และการใหความเคารพซึ่งกันและกัน จนนํามาสูความมีเสถียรภาพ ความมั่นคง และความรวมมืออยางใกลชิดกันมากขึ้นโดยลําดับ หลังสงครามเย็นยุติลง สภาพแวดลอมทางความมั่นคงและการเมือง ระหวางประเทศพัฒนาขึ้นมาก ทําใหสมาชิกอาเซียนไดคลายกังวลจากการเผชิญหนากันเองลงได ประเทศตาง ๆ จึง สามารถทุมเทในการพัฒนาเศรษฐกิจ จนนับไดวา เปนภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว แตปจจัยที่ ภูมิภาคตาง ๆ ของโลกตางตระหนักถึงความจําเปนในการรวมตัวกันใหเขมแข็งมากขึ้น เพื่อที่จะรับมือกับภัยคุกคาม รู ป แบบต า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น มี ลั ก ษณะเป น ป ญ หาระดั บ ภู มิ ภ าคมากขึ้ น ทุ ก ที เช น ภั ย ก อ การร า ย ภั ย ธรรมชาติ และ อาชญากรรมขามชาติ รวมทั้งการแขงขันทางเศรษฐกิจ การเงินระหวางภูมิภาค มีการรวมตัวกันมากขึ้น การอยูตามลําพัง ประเทศเดียวยอมเสียเปรียบกวาภูมิภาคที่รวมตัวกันได ดวยเหตุนี้ การรวมตัวกันอยางหลวม ๆ หรือเปนอยางเชนที่ผานมา ของอาเซียน จึงไมเพียงพออีกตอไป ดังนั้น จึงไมเปนที่นาแปลกใจที่สมาชิกอาเซียนทั้งปวงไดเล็งเห็นประโยชนจากการ รวมกันดังกลาว และหากอาเซียนแยกกันก็จะตองเผชิญกับความยากลําบากในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของโลก ซึ่งจะมีผลกระทบตอภูมิภาคอาเซียนอยางหลีกเลี่ยงไมได
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 5
อาเซียนกอตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมความรวมมือทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร สงเสริม สันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค สงเสริมความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนสงเสริม ความรวมมือระหวางอาเซียนกับตางประเทศ และองคกรระหวางประเทศในปฏิญญากรุงเทพฯ กําหนดจุดประสงคของ 1 อาเซียน ไวดังนี้ 1. เพื่อเรงรัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคม และการพัฒนาทางวัฒนธรรมใน ภูมิภาค โดยความเพียรพยายามรวมกัน ดวยเจตนารมณแหงความเสมอภาค และความรวมมือรวมใจ ทั้ งนี้ เพื่อสงเสริม รากฐานสําหรับประชาคมที่มีความรุงเรือง และสันติสุขแหงประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2. สงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพอยางแนวแนในความยุติธรรม และหลักแหง เนติธรรม ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค และยึดมั่นในหลักการแหงกฎบัตรสหประชาชาติ 3. สงเสริมใหมีความรวมมืออยางจริงจัง และความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องที่มีผลประโยชนรวมกัน ทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร และการบริหาร 4. จัดใหมีความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการอํานวยความสะดวก การฝกอบรม และวิจัยทางดาน การศึกษา วิชาชีพ วิชาการ และการบริหาร 5. รวมมืออยางมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น เพื่อการใชประโยชนมากขึ้นในการเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม การ ขยายการคา รวมทั้งการศึกษาปญหาในเรื่องการคาระหวางประเทศเกี่ยวกับโภคภัณฑ การปรับปรุงบริการความสะดวก เกี่ยวกับการขนสง และคมนาคม และการยกระดับการครองชีพของประชาชนของตน 6. สงเสริมการศึกษาเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต 7. ธํารงความรวมมืออยางใกลชิดกับองคการระหวางประเทศ และระดับภูมิภาคที่มีความมุงหมาย และ ความมุงประสงคคลายคลึงกัน และที่จะแสวงหาลูทางทั้งหลาย เพื่อใหมีความรวมมืออยางใกลชิดขึ้นระหวางกัน นโยบายการดําเนินงานของอาเซียน จะเปนผลจากการประชุมหารือในระดับหัวหนารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และ เจาหนาที่อาวุโสอาเซียน การประชุมสุดยอด (ASEAN Summit) หรือการประชุมของผูนําประเทศสมาชิกอาเซียน เปน การประชุมสุดยอด เพื่อกําหนดแนวนโยบายในภาพรวม และเปนโอกาสที่ประเทศสมาชิกจะไดรวมกันประกาศเปาหมาย และแผนงานของอาเซียนในระยะยาว โดยจัดทําเอกสารรูปแบบตาง ๆ อาทิ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แถลงการณ รวม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความตกลง (Agreement) หรืออนุสัญญา (Convention) สวนการ ประชุมในระดับรัฐมนตรี และเจาหนาที่อาวุโส เปนการประชุมเพื่อพิจารณาทั้งนโยบายในภาพรวม และนโยบายเฉพาะ ดาน หนวยงานที่ทําหนาที่ประสานงาน และติดตามผลการดําเนินงานของอาเซียน ประกอบดวย สํานักงานเลขาธิการ อาเซียน (ASEAN Secretariat) มีสํานักงานตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เปนศูนยกลางในการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียน (Secretary : General of ASEAN) เปนหัวหนาสํานักงาน และสํานักงาน เลขาธิการอาเซียนแหงชาติ (ASEAN National Secretariat) เปนหนวยงานระดับกรมในกระทรวงการตางประเทศของ ประเทศสมาชิกอาเซียน มีหนาที่ประสานกิจการอาเซียน และติดตามผลการดําเนินงานในประเทศนั้น ๆ สําหรับประเทศ ไทย หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ และคณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives : CPR)
1
กระทรวงการตางประเทศ, 2522.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 6
ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ความรวมมือในการดําเนินงานดานตาง ๆ ของอาเซียนมีความคืบหนาตามลําดับ โดย ในการประชุมสุดยอดอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2540 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ซึ่งเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของการกอตั้งอาเซียน ผูนําของประเทศสมาชิกไดใหการรับรอง “วิสัยทัศนอาเซียน 2020” (ASEAN Vision 2020) ซึ่งมีสาระสําคัญวา ภายใน ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) อาเซียนจะมีรูปแบบความรวมมือที่พัฒนาใกลชิดกันมากยิ่งขึ้น กลาวคือ อาเซียนจะมีลักษณะ 2 ดังนี้ 1) วงสมานฉันทแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (A Concert of Southeast Asian Nations) 2) หุนสวนเพื่อการพัฒนาอยางมีพลวัต (A Partnership in Dynamic Development) 3) มุงปฏิสัมพันธกับประเทศภายนอก (An Outward-looking ASEAN) 4) ชุมชนแหงสังคมที่เอื้ออาทร (A Community of Caring Societies) ในชวงเวลาที่ผานมา อาเซียนมีความรวมมือกันในดานตาง ๆ ดังนี้
1. ดานการเมืองและความมั่นคง
อาเซี ยนเน น ความร ว มมื อ เพื่ อ ธํ า รงรั ก ษาสั น ติ ภาพ และความมั่ น คงของภู มิ ภาค โดยได จั ด ทํ า ปฏิ ญ ญา กําหนดใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPFAN) ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) การจัดทําสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asian Nuclear Weapon – Free Zone : SEANWFZ) ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และการริเริ่มการประชุมอาเซียนวาดวยความ รวมมือดานการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) ซึ่งไทยเปนเจาภาพ จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรก ในป พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994)
2. ดานเศรษฐกิจ
อาเซียนไดลงนามจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ในป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อลดภาษีศุลกากรระหวางกัน ชวยสงเสริมการคาภายในอาเซียนใหมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ลดตนทุนการผลิต ใน สินคาอุตสาหกรรม และดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ และไดขยายความรวมมือไปสูการคาบริการ และการเชื่อมโยง ทางดานอุตสาหกรรม เชน การจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA) มีจุดประสงคเพื่อใหอาเซียนมี ความไดเปรียบ และดึงดูดการลงทุนจากภายนอก และภายในภูมิภาค โดยการเปดตลาด (Market Access) และใหมีการ ปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (National Treatment) และยังไดขยายขอบเขตความตกลง AIA ใหครอบคลุมความรวมมือดาน การคาบริการ โดยมีการเปดเสรีการคาบริการใน 7 สาขา คือ การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ การเงิน การคลัง วิชาชีพธุรกิจ การกอสราง การคมนาคม และการทองเที่ยว โดยมีเปาหมายใหการเกิดเสรีครอบคลุมทุกสาขาบริการภายใน ป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
3. ดานสังคม
อาเซียนมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ภายใตสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมใน หลายดาน เพื่อพัฒนา และเสริมสรางสภาพชีวิต และความเปนอยูของประชากรในภูมิภาคใหมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดี สงเสริม และรักษาเอกลักษณประเพณี และวัฒนธรรม ตลอดจนสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประชาชนในภูมิภาค เพื่อใหประชาชนในอาเซียนมีสภาพความเปนอยู และคุณภาพชีวิตที่ดีทัดเทียมกับประชาชนในประเทศที่พัฒนาแลว
2
กองอาเซียน กรมอาเซียน, 2548.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 7
การรวมกลุมของประเทศสมาชิกอาเซียน ไดมีความรวมมือพัฒนาในหลายดาน ทั้งดานความมั่นคง เศรษฐกิจ การคาการลงทุน ดานสังคม และวัฒนธรรม ทั้งประเทศสมาชิกดวยกันเอง และรวมถึงประเทศอื่น ๆ ทั้งในเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกามาอยางตอเนื่อง ในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของการกอตั้งอาเซียน บรรดา ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมประกาศวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 (ASEAN Vision 2020) เปนการกําหนดทิศทาง และเปาหมายของการดําเนินการในดานตาง ๆ ของอาเซียนใหครอบคลุมทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้ง การดําเนินความสัมพันธกับประเทศภายนอกกลุม ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) ไดจัดทําแผนปฏิบัติการสําหรับวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 (Hanoi Plan of Action to Implement the ASEAN Vision 2020) การจัดทําแผนปฏิบัติการฮานอย (HPA) เปนการนําวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 สูการปฏิบัติที่ เปนรูปธรรมโดยกําหนดกรอบเวลาที่ชัดเจน และใหมีการประเมินทุก ๆ 3 ป มีการกําหนดกิจกรรม และโครงการที่จะ นําไปสูเปาหมายในดานการเมือง เศรษฐกิจ และความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ซึ่งรวมถึงเรื่องการ พัฒนาสังคม วัฒนธรรม และสารสนเทศ ยาเสพติด สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีใหมีผลเปนรูปธรรม สราง ชุมชนอาเซียนที่มีความเอื้ออาทร และมี ความเปนประชาธิปไตยที่แทจริง เปนการเริ่มตนที่เปนรูปธรรมไปสูประชาคม อาเซียน
การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหวางวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผูนําอาเซียนไดลงนามปฏิญญาวาดวยความรวมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II) หรือปฏิญญาบาหลี (Bali Concord) เพื่อประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป พ.ศ. 2563 โดยสนับสนุนการรวมตัว และความรวมมืออยางรอบดาน ประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ดานการเมืองใหจัดตั้ง “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political Security Community : APSC) ดานเศรษฐกิจให จัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) และดานสังคม และวัฒนธรรมใหจัดตั้ง “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) และตอมา ในการประชุมสุด ยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ระหวางวันที่ 9-15 มกราคม พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนํา อาเซียนไดเห็นชอบใหเรงรัดการเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้นกวาเดิมอีก 5 ป คือ เปนประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ ในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ที่ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสรางองคกร เพื่ อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดําเนินการตามวัตถุประสงค และเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 วัตถุประสงคของกฎบัตรอาเซียน คือ ทําใหอาเซียนเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเคารพกฎกติกาในการทํางานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบั ต รอาเซี ย นจะให ส ถานะนิ ติ บุ ค คลแก อ าเซี ย นเป น องค ก รระหว า งรั ฐ บาล (Intergovernmental organization) กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ภายหลังจากที่ประเทศ สมาชิกไดใหสัตยาบันกฎบัตรครบทั้ง 10 ประเทศ กฎบัตรอาเซียนกําหนดใหอาเซียน และรัฐสมาชิกปฏิบัติตามหลักการ พื้นฐาน ดังนี้ 1. การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณาการแหงดินแดน และอัตลักษณแหงชาติของรัฐสมาชิก อาเซียนทั้งปวง 2. ความผูกพัน และความรับผิดชอบรวมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมัง่ คั่งของภูมิภาค
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 8
3. การไมใชการรุกราน และการขมขูวาจะใช หรือการใชกําลัง หรือการกระทําอื่นใดในลักษณะที่ขัดตอกฎหมาย ระหวางประเทศ 4. การอาศัยการระงับขอพิพาทโดยสันติ 5. การไมแทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน 6. การเคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธํารงประชาชาติของตน โดยปราศจากการแทรกแซง การบอน ทําลาย และการบังคับจากภายนอก 7. การปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้น ในเรื่องที่มีผลกระทบอยางรายแรงตอประโยชนรวมกันของอาเซียน 8. การยึดมั่นตอหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตย และรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ 9. การเคารพเสรีภาพพื้นฐาน การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และการสงเสริมความยุติธรรมทางสังคม 10. การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติ และกฎหมายระหวางประเทศ รวมถึงกฎหมายดานมนุษยธรรมระหวาง ประเทศที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ 11. การละเวนจากการมีสวนรวมในนโยบาย หรือกิจกรรมใด ๆ รวมถึงการใชดินแดนของตน ซึ่งดําเนินการโดย รัฐสมาชิกอาเซียน หรือรัฐที่ไมใชสมาชิกอาเซียน หรือผูกระทําที่ไมใชรัฐใด ๆ ซึ่งคุกคามอธิปไตย บรูณภาพแหงดินแดน หรือเสถียรภาพทางการเมือง และเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน 12. การเคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกตางของประชาชนอาเซียน โดยเนนคุณค ารวมกันของ ประชาชนอาเซียน ดวยจิตวิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย 13. ความเปนศูนยรวมของอาเซียนในความสัมพันธภายนอกทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดย คงไวซึ่งความมีสวนรวมอยางแข็งขัน การมองไปภายนอก การไมปดกั้น และการไมเลือกปฏิบัติ 14. การยึดมั่นในกฎการคาพหุภาคี และระบอบของอาเซียน ซึ่งมีกฎเปนพื้นฐานสําหรับการปฏิบัติตามขอผูกพัน ทางเศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพ และการลดอยางคอยเปนคอยไป เพื่อนําไปสูการขจัดอุปสรรคทั้งปวงตอการรวมตัวทาง เศรษฐกิจระดับภูมิภาค ในระบบเศรษฐกิจซึ่งขับเคลื่อนโดยตลอด กฎบัตรอาเซียน ประกอบดวย ขอบทตาง ๆ 13 บท 55 ขอ มีประเด็นใหมที่แสดงความกาวหนาของอาเซียน ไดแก 1. การจัดตั้งองคกรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน 2. การใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนสอดสอง และรายงานการทําตามความตกลงของรัฐสมาชิก 3. การจัดตั้งกลไกสําหรับการระงับขอพิพาทตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. การใหผูนําเปนผูตัดสินวา จะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีตามกฎบัตรอาเซียนอยางรายแรง 5. การเปดชองใหใชวิธีการอื่นในการตัดสินใจไดหากไมมีฉันทามติ 6. การสงเสริมการปรึกษาหารือกัน ระหวางประเทศสมาชิกเพื่อแกไขปญหาที่กระทบตอผลประโยชนรวม ซึ่งทํา ใหการตีความหลักการหามแทรกแซงกิจการภายในมีความยืดหยุนมากขึ้น 7. การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซี ยน เพื่อใหอาเซียนสามารถตอบสนองตอสถานการณฉุกเฉินไดอยา ง ทันทวงที 8. การเปดชองทางใหอาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธกับองคกรภาคประชาสังคมมากขึ้น 9. การปรับปรุงโครงสรางองคกรใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เชน ใหมีการประชุมสุดยอดอาเซียน 2 ครั้งตอป จัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความรวมมือในแตละ 3 เสาหลัก และการมีคณะผูแทนถาวรประจําอาเซียน ที่กรุงจาการตา เพื่อลดเวลา และคาใชจายในการประชุมของอาเซียน เปนตน 10. การกําหนดใหใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการของอาเซียน
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 9
กฎบัตร จะเปน Legal and Institutional Framework เพื่อใหอาเซียนสามารถดําเนินการตามวัตถุประสงค และเปาหมายขององคการ โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ตามที่ผูนําอาเซียนไดประกาศเจตนารมณไว โดย 1. ใหสถานะ “นิติบุคคล” แกอาเซียน เพื่อใหอาเซียนเปนองคการระหวางประเทศที่มีสถานะทางกฎหมาย ซึ่ง สามารถลงนามในสนธิสัญญาและทํานิติกรรมตาง ๆ ในนามของประเทศสมาชิกตามที่ไดรับมอบหมาย 2. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีกฎเกณฑในการทํางาน (Rule-based Organization) โดย 2.1. ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตามพันธกรณีภายใตกฎบัตรและความตกลงของอาเซียน รวมถึงการออก กฎหมายภายในรองรับพันธกรณี (Obligation to Comply) 2.2. มีกลไกการระงับขอพิพาทสําหรับความตกลงสําหรับความตกลงในทั้ง 3 เสาหลัก (Enforcement) 2.3. มีกลไกตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศสมาชิก โดยเลขาธิการอาเซียนเปนผูตรวจสอบ การปฏิบัติตามคําตัดสินจากกลไกการระงับขอพิพาทของประเทศสมาชิก และรายงานตอผูนํา (Monitoring) 2.4. มีมาตรการลงโทษกรณีไมปฏิบัติตามพันธกรณี (Sanctions) โดยใหผูนําสามารถตัดสินกรณีการละเมิด พันธกรณีตามกฎบัตรอยางรายแรง 3. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง (People-oriented Organization) โดย 3.1. มุงใหกิจกรรมของอาเซียนกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนอยางแทจริง ใหความสําคัญกับการสงเสริม กิจกรรมเพื่อความอยูดีกินดีของประชาชน ความมั่นคงของมนุษยเสริมสรางประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และสิทธิ มนุษยชน รวมถึงการมีองคกรระดับภูมิภาคเพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน เปนตน 3.2. ส ง เสริ มการมี ส ว นร ว มของประชาชน เช น การกํ า หนดให อ งค ก ารต า ง ๆ ของอาเซี ย น มี ห น า ที่ ปรึก ษาหารือกั บภาคประชาชนในการดํา เนิน งานภายใตค วามรับ ผิด ชอบ การให สถานะที่ป รึกษากั บองคก ารภาค ประชาชนตาง ๆ เปนตน 4. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยกําหนดโครงสรางองคกรใหม เพื่อปรับปรุงการ ประสานงาน ปรับกระบวนการตัดสินใจใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และปรับหลักการ Non-interference ใหมีความ ยืดหยุน เพื่อใหอาเซียนสามารถแกไขปญหาที่กระทบตอผลประโยชนสวนรวมไดทันทวงที โดย 4.1. ตั้ง ASEAN Summit ระดับผูนํา ซึ่งจะประชุมรวมกันบอยขึ้น เพื่อใหแนวทาง และเสริมสราง เจตนารมณในการสรางประชาคมอาเซียน 4.2. ตั้งคณะมนตรี (Councils) ของแตละเสาหลัก เพื่อความเปนเอกภาพ และการประสานงานที่ดีระหวาง กิจกรรมภายใตแตละเสาหลัก และประเด็นที่เปน Cross-cutting Issues 4.3. ตั้งองคกร ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน มีหนาที่กลั่นกรองเรื่อง ตาง ๆ กอนที่จะเสนอเขาสูการพิจารณาของผูนํา 4.4. เพิ่มบทบาท และหนาที่ของประธานอาเซียน เพื่อใหการดําเนินงานของอาเซียนเกิดความตอเนื่อง และ มีการประสานงานที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีปญหาที่ตองไดรับการแกไขเรงดวน 4.5. เพิ่มอํานาจ และความรับผิดชอบของเลขาธิการอาเซียน โดยนอกจากจะเปน Chief Administrative Official แลว ยังมีหนาที่ติดตามการปฏิบัติตามคําตัดสินจากกลไกระงับขอพิพาทของประเทศสมาชิก และรายงานตอผูนํา และสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธขององคการของอาเซียนกับภาคประชาสังคม 4.6. ตั้งสํานักผูแทนถาวรของประเทศสมาชิกประจําอาเซียนที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อลด คาใชจายในการเดินทางเขารวมประชุม และการประสานงานที่ดีขึ้น
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 10
4.7. การตัดสินใจดวยหลักการ “ฉันทามติ” ยังคงเปนหลักการสําคัญของอาเซียน แตในกรณีที่ไมสามารถ หาฉั น ทามติ ใ นระหว า งประเทศสมาชิ ก ได ให ผู นํ า สามารถตกลงกั น ให ใ ช วิ ธี ก ารตั ด สิ น ใจรู ป แบบอื่ น ได ซึ่ ง จะทํ า ให กระบวนการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น 4.8. ยกระดับ Political Dialogue เพื่อปรึกษาหารือถึงปญหาที่กระทบตอประโยชนรวมของประเทศ สมาชิกอาเซียน กฎบัตรอาเซียนสรางกลไกตรวจสอบและติดตามการดํา เนินการตามความตกลงตาง ๆ ของประเทศสมาชิกใน หลากหลายรูปแบบ เชน 1. ใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนดูแลการปฏิบตั ิตามพันธกรณี และคําตัดสินขององคกรระงับขอพิพาท 2. หากการปฏิบัติ หรือไมปฏิบัติตามขอตกลงตาง ๆ ทําใหเกิดขอพิพาทระหวางรัฐสมาชิกสามารถใชกลไก และขั้นตอนระงับขอพิพาท ทั้งที่มีอยูแลว และที่จะตั้งขึ้นใหมเพื่อแกไขขอพิพาทที่เกิดขึ้นโดยสันติวิธี 3. หากมีการละเมิดพันธกรณีในกฎบัตรฯ อยางรายแรง ผูนํา อาเซียนสามารถกํา หนดมาตรการใด ๆ ที่ เหมาะสมวาจะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีกฎบัตรอาเซียน ชวยใหอาเซียนเปนประชาคมเพื่อประชาชนได อยางไร ขอบทตาง ๆ ในกฎบัตรอาเซียน แสดงใหเห็นวา อาเซียนกําลังผลักดันองคกรใหเปนประชาคม เพื่อประชาชน อยางแทจริง จึงกําหนดใหการลดความยากจน และลดชองวาง การพัฒนาเปนเปาหมายหนึ่งของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน เปดโอกาสใหภาคประชาชน และภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวม ในอาเซียนผานการมีปฏิสัมพันธกับองคกรตาง ๆ ของ อาเซียนมากขึ้น ทั้งยังกําหนดใหมีความรวมมือระหวางอาเซียนกับสมัชชารัฐสภาอาเซียน ซึ่งเปนองคกรความรวมมือ ระหวางรัฐสภาของประเทศสมาชิกกําหนดใหมีการจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียน เพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิ มนุษยชน และสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน กฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนกฎหมายสูงสุดของอาเซียน ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เปน เอกสารหลักที่กําหนดโครงสรางองคกรของอาเซียน ไวในหมวดที่ 4 ดังนี้ 1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบดวย ประมุขหรือหัวหนารัฐบาล มีอํานาจหนาที่การ กําหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางความรวมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสํา คัญ โดยใหประเทศสมาชิกซึ่งเปน ประธานอาเซียนเปนเจาภาพจัดการประชุม 2 ครั้งตอป หรือเรียกประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจําเปน 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ทําหนาที่ เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลง และขอตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงาน ระหวาง 3 เสาหลัก ดูแลการดําเนินงานและกิจการตาง ๆ ของอาเซียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมี การประชุมกันอยางนอย 2 ครั้งตอป 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบดวย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก อันไดแก คณะมนตรีการเมือง และความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเปนผูแทนที่ประเทศสมาชิกแตงตั้งใหเปนผูรับผิดชอบแตละเสาหลัก มี อํานาจหนาที่ในการประสานงาน และติดตาม การทํางานตามนโยบาย โดยเสนอรายงาน และขอเสนอแนะตอที่ประชุมผูนํา มีการประชุมอยางนอยปละ 2 ครั้ง ประธาน การประชุมเปนรัฐมนตรีที่เหมาะสมจากประเทศสมาชิก ซึ่งเปนประธานอาเซียน
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 11
4. องคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectorial Ministerial Bodies) องค ก รระดั บ รั ฐมนตรี อ าเซี ยนเฉพาะสาขา (เช น ด า นสาธารณสุ ข ด า นกลาโหม ด า นการศึ ก ษา ฯลฯ) ประกอบดวย รัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหนาที่ปฏิบัติตามขอตกลง และขอตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู ใน ขอบขายการดําเนินงานของตน และเสริมสรางความรวมมือในสาขาของแตละองคกรใหเขมแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการ รวมตัวของประชาคมอาเซียน 5. เลขาธิการอาเซียนและสํานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) สํานักเลขาธิการอาเซียนไดจัดตั้งขึ้นตามขอตกลงที่ลงนามโดยรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนในระหวางการ ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในป 2519 เพื่อทําหนาที่ประสานงาน และดําเนินงานตามโครงการ และกิจกรรมตาง ๆ ของสมาคมอาเซียน และเปนศูนยกลางในการติดตอระหวางสมาคมอาเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันตาง ๆ และ รัฐบาลของประเทศสมาชิกสํานักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีหัวหนาสํา นักงาน เรียกวา “เลขาธิการอาเซียน” (ASEAN Secretary-General) ซึ่งไดรับการแตงตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระ การดํารงตําแหนง 5 ป และตองไดรับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลํา ดับตัวอักษร ผูดํารงตําแหนง เลขาธิการอาเซียนทีเ่ ปนคนไทย คือ นายแผน วรรณเมธี ซึ่งมีวาระดํารงตําแหนงระหวางป 2527-2529 และดร. สุรินทร พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดํารงตําแหนงระหวางป 2551-2555 6. คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives to ASEAN) คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน เปนผูแทนระดับเอกอัครราชทูตที่แตงตั้งจากประเทศสมาชิกให ประจําที่สํานักงานใหญอาเซียน กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย มีหนาที่สนับสนุนการทํางานของคณะมนตรีประชาคม อาเซียน และองคกรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการอาเซียนใน เรื่องที่เกี่ยวของ และประสานงานกับสํานักงานเลขาธิการอาเซียนแหงชาติ และองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา 7. สํานักงานอาเซียนแหงชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) เปนหนวยงานระดับกรมในกระทรวงการตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแตละประเทศไดจัดตั้ง ขึ้นเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความรวมมือตาง ๆ เกี่ ยวกับอาเซียนในประเทศนั้น ๆ สําหรับประเทศไทยหนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ 8. องคกรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการสงเสริม และคุมครอง สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทํางาน และอํานาจหนาที่จะไดกําหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีตางประเทศ อาเซียนตอไป 9. มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) มูลนิธิอาเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียน และดําเนินการรวมกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของในการ สนั บ สนุ น การสร า งประชาคมอาเซี ยน โดยการส ง เสริ มความสํ า นึ ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เกี่ ย วกั บ อั ต ลั ก ษณ ข องอาเซี ยน การมี ปฏิสัมพันธระหวางประชาชน การดําเนินงานรวมกันที่ใกลชิดระหวางภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผูมีสวน ไดเสียอื่น ๆ ในอาเซียน โดยสรุปสาระสําคัญของกฎบัตรอาเซียน คือ การเรงรัดการรวมตัวเปนประชาคมทั้งสามหลัก ไดแก 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุงใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติ มีระบบแกไข ความขัดแยงระหวางกันไดดวยดี มีเสถียรภาพอยางรอบดาน มีกรอบความรวมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้ง รูปแบบเดิม และรูปแบบใหม ๆ เพื่อใหประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 12
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุงใหเกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอํานวยความสะดวกในการ ติดตอคาขายระหวางกัน อันจะทําใหภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได เพื่อความอยูดีกิน ดีของประชาชนในประเทศอาเซียน และ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อใหประชาชนแตละประเทศอาเซียนอยูรวมกันภายใตแนวคิด สังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม
เสาหลั ก ประชาคมอาเซี ย น ผลจากแรงขับเคลื่อนอาเซียนเหลานี้ ในป พ.ศ. 2540 อาเซียนไดกําหนดวิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) โดยมีเปาหมายใหอาเซียนเปนกลุมหุนสวนที่มีความสมานฉันท รวมกันพัฒนาอยางเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ใหได ในป พ.ศ. 2563 จากจุดเริ่มของการกําหนดวิสัยทัศนดังกลาว เปนแรงขับใหอาเซียนมีพัฒนาการอยางรวดเร็วในการ เตรียมตัวเขา สูรูปแบบของประชาคมที่มีค วามเป นหนึ่งเดียวกั น มีสัน ติสุข และเอื้อ อาทรกัน ตอ มาในป พ.ศ. 2549 อาเซียนไดประกาศรางพิมพเขียวกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) และเรงใหเกิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ใน พ.ศ. 2558 หรือ ค.ศ. 2015 โดยประชาคมอาเซียน จะประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ที่มีเปาหมายดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) อาเซียนมุงสงเสริมความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคง เพื่อเสริมสราง และธํารงไว ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติสุข และสามารถแกไขปญหา และความขัดแยง โดยสันติวิธี โดยมีเปาหมายรวมกันในการสราง “สังคมประชาธิปไตย” เพื่อความมั่นคงรวมกันในภูมิภาค องคประกอบ อื่น ๆ ทางการเมืองที่อาเซียนถือเปนแนวทางรวมกัน รวมถึงหลักการปกครองที่ดี การเคารพในสิทธิมนุษยชน อิสรภาพ เสรีภาพ และความเสมอภาคกันในหมูพลเมืองอาเซียน เพื่อรองรับการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน อาเซียนไดจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political – Security Community Blueprint) โดยเนนใน 3 ประการ คือ การมีกฎเกณฑและคานิยมรวมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรม ตาง ๆ ที่รวมกันทํา เพื่อสรางความเขาใจในระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตรที่แตกตางของประเทศสมาชิก สงเสริมพัฒนาการทางการเมืองไปในทิศทางเดียวกัน เชน หลักการประชาธิปไตย การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีสวนรวมของภาคประชาสังคม การตอตานการทุจริต การสงเสริมหลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล เปน ตน ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุมดังนี้ 1) สงเสริมความสงบสุข และรับผิดชอบรวมกันในการรักษาความมั่นคง สําหรับประชาชนครอบคลุมในทุก ดาน ครอบคลุมความรวมมือ เพื่อเสริมสรางความมั่นคงในรูปแบบเดิม ซึ่งหมายถึง มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และ การระงับขอพิพาทโดยสันติ เพื่อปองกันสงคราม และใหประเทศสมาชิกอาเซียนอยูดวยกัน โดยสงบสุข และไมมีความ หวาดระแวง นอกจากนี้ ยั งขยายความร วมมือ เพื่อ ตอ ตานภัยคุก คามรู ปแบบใหม เช น การต อต านการก อการรา ย อาชญากรรมขามชาติตาง ๆ เชน ยาเสพติด การคามนุษย ตลอดจนการเตรียมความพรอมเพื่อปองกัน และจัดการภัยพิบัติ และภัยธรรมชาติ 2) การมีพลวัต และปฏิสัมพันธกับโลกภายนอก กําหนดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางบทบาทของอาเซียนในความ รวมมือระดับภูมิภาค เชน กรอบ ASEAN+3 (จีน ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี) และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธที่เขมแข็งกับมิตรประเทศ และองคการระหวางประเทศ เชน สหประชาชาติ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 13
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
อาเซียนมีเปาหมายที่จะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมี เปาหมายใหอาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียว และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมี ฝมืออยางเสรี เพื่อมุงหวังที่จะพัฒนาอาเซียนใหเปนภูมิภาคที่เจริญมั่งคั่ง มั่นคง ขจัดความยากจน และลดความไมเทา เทียมกันทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะสงผลใหอาเซียนพัฒนาอยูในระดับที่เทียบเคียงกัน โดยอาเซียนไดจัดทําแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเปนแผนงานบูรณาการการดําเนินงานในดาน เศรษฐกิจ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค 4 ดาน คือ 1) การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยจะมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงาน ฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น รวมทั้งการสงเสริมการรวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียนใหเปน รูปธรรม โดยไดกําหนดเวลาที่จะคอย ๆ ลด หรือยกเลิกอุปสรรคระหวางกันเปนระยะ ทั้งนี้ กําหนดใหลดภาษีสินคาเปน ศูนย และลด หรือเลิกมาตรการที่มิใชภาษี ภายใน ป พ.ศ. 2553 เปดตลาดภาคบริการทั้งหมดภายใน ป พ.ศ. 2558 และ เปดเสรีการลงทุนภายในป พ.ศ. 2553 2) การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน โดยใหความสําคัญกับประเด็น ดานนโยบายที่จะชวยสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เชน นโยบายการแขงขัน การคุมครองผูบริโภค สิทธิในทรัพยสิน ทางป ญญา พาณิช ยอิเ ล็กทรอนิกส นโยบายภาษี และการพั ฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค ใหมีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และ การเสริมสรางขีดความสามารถผานโครงการตาง ๆ เชน ขอริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) เปนตน เพื่อลดชองวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิก 4) การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก เนนการปรับประสาน นโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาค เพื่อใหอาเซียนมีทาทีรวมกันอยางชัดเจน เชน การจัดทําเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจา ตาง ๆ เปนตน รวมทั้งสงเสริมการสรางเครือขายในดานการผลิต/จําหนายในภูมิภาคใหเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ ความรวมมือดานเศรษฐกิจของอาเซียน ยังใหความสําคัญตอการเสริมสรางศักยภาพ และพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การยอมรับคุณสมบัติดานวิชาชีพรวมกัน การสงเสริมใหมีการหารือรวมกันอยางใกลชิดในการดําเนิน นโยบายด า นเศรษฐกิ จ และการเงิ น การส ง เสริ ม การเชื่ อ มโยงด า นโครงสร า ง และการคมนาคม การพั ฒ นาการ ติดตอสื่อสารทางสื่ออิเล็กทรอนิกส การบูรณาการดานอุตสาหกรรมขามภูมิภาค เพื่อสงเสริมทรัพยากรของภูมิภาค และ การเพิ่มบทบาทการมีสวนรวมของภาคเอกชน เพื่อสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) อาเซียนมุงหวังประโยชนจากการรวมตัวกันเพื่อทําใหประชาชนมีการอยูดีกินดี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ มี สิ่งแวดลอมที่ดี และมีความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ภายใตสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมในหลายดาน ไดแก เยาวชน การศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สิทธิ มนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สิ่งแวดลอม สตรี และแรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคม และการพัฒนา วัฒนธรรม และสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเขาเมือง และศุลกากร ยาเสพติด และการจัดการ ภั ยพิ บั ติ สิ ท ธิ มนุ ษ ยชน โดยมี ค ณะทํ า งานอาเซี ย นรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น ความร ว มมื อ ในแต ล ะด า น ซึ่ ง อาเซี ย นได ตั้งเปาหมายการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในป พ.ศ. 2558 ไดจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint : ASCC) โดยมุงหวังที่จะทําใหเกิดประชาคม อาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเปนสังคมที่รับผิดชอบ เพื่อกอใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และความเปน เอกภาพในหมูประชาชาติและประชาชนอาเซียน โดยเสริมสรางอัตลักษณรวมกัน สรางสังคมที่เอื้ออาทร และแบงปน และ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 14
ประชาชนมีสวนรวม โดยมีคุณภาพชีวิต และความเปนอยู และสวัสดิการของประชาชนดีขึ้น ตอบสนองตอความตองการ ของภูมิภาคในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยดําเนินกิจกรรมที่เนนการใหความสําคัญกับประชาชน และเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อมุงไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จะชวยสนับสนุนการสราง พื้นฐานที่แข็งแกรงสําหรับความเขาใจอันดีการเปนเพื่อนบานที่ดี และการแบงปนความรับผิดชอบ ประชาคมสั งคมและวั ฒนธรรมอาเซี ยน เคารพในความแตกต างทางวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาของ ประชาชนอาเซียน เนนคุณคารวมกันทามกลางความเปนเอกภาพในความหลากหลาย โดยปรับใหเขากับสถานการณ โอกาส และสิ่งทาทายในปจจุบัน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนใหความสําคัญกับมิติทางวัฒนธรรมในเรื่องการลด ชองวางการพัฒนา โดยขจัดความแตกตางทางการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ครอบคลุมลักษณะ 6 ดาน คือ 1) การพัฒนามนุษย (Human Development) 2) การคุมครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3) ความยุติธรรมทางสังคมและสิทธิ (Social Justice and Rights) 4) ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม (Ensuring Environmental Sustainability) 5) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN Identity) และ 6) การลดชองวางทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) การรวมตัวกันของอาเซียน โดยมุงหวังวา ประชาคมอาเซียนจะนําประโยชนกลับมาสูประเทศสมาชิก ทั้งในมิติ ดานเศรษฐกิจที่จะทําใหประชากรของแตละประเทศอยูดีกินดี การรวมตัวกันจะเปนการสรางความเขมแข็งใหภาคการผลิต ที่จะสามารถสรางอํานาจตอรองในระดับโลกไดมากขึ้น และยังเปนการสรางตลาดที่ใหญขึ้นจากจํานวนประชากรอาเซียนที่ มีมากกวา 600 ลานคน กลุมสินคาและบริการนํารองที่สําคัญที่จะเกิดการรวมกลุมกัน คือ สินคาเกษตร สินคาประมง ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ ยานยนต อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการดานสุขภาพ การทองเที่ยว และการขนสงทางอากาศ (การบิน) โดยกําหนดให ป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เปนปที่เริ่มรวมตัวกันอยางเปนทางการ แต จะผอนปรนใหกับประเทศลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม สําหรับประเทศไทยไดรับมอบหมายใหจัดทํา Roadmap ทางดานทองเที่ยวและการขนสงทางอากาศ (การบิน) จากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซียไดจัดทํา ขอตกลงรวมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เกี่ยวกับคุณสมบัติของวิชาชีพหลัก แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผูมีความสามารถพิเศษ เพื่ออํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายไดอยางเสรีที่จะเริ่มต นในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ทั้งนี้ ในเบื้องตนประเทศสมาชิกตกลงรวมกันแลววา แรงงาน 7 สาขาที่เปดเสรีกอน คือ วิศวกร (Engineering Services) พยาบาล (Nursing Services) สถาปนิก (Architectural Services) นักสํารวจ (Surveying Qualifications) แพทย (Medical Practitioners) ทันตแพทย (Dental Practitioners) และนักบัญชี (Accountancy Services) ซึ่งจาก ผลการวิจัยของ Osaka School of International Public Policy รวมกับ OECD และ Johns Hopkins University ศึกษาวัด ผลกระทบจากการรวมตั วเป นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช แบบจํา ลอง Dynamic Computable General Equilibrium Model (CGE) ซึ่งเปนการวิเคราะหเชิงปริมาณตอผลกระทบตอความรุงเรืองทางเศรษฐกิจ (Economic welfare) การเคลื่อนยายของสินคา (Trade flows) และผลลัพธตามภาคสวน (Sectoral output) พบวา เมื่อมีการลดกําแพงอุปสรรคทางการคาตาง ๆ ลงของประชาคมในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) แลว ประเทศตาง ๆ ใน อาเซียนจะไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจทุกประเทศ โดยแตละประเทศจะไดรับประโยชนแตกตางกันไป ในสวนของ 3 ประเทศไทยจะเปนประเทศที่ไดรับผลประโยชนสูงที่สุดถึงรอยละ 9.38 นอกจากนี้ ยังพบวา ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาด 3
Hiro Lee , Michael G. Plummer, Assessing the Impact of the ASEAN Economic Community, OSIPP Discussion Paper, 23 March 2011.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 15
ใหญนอกภูมิภาคอาเซียน จะไดรับผลกระทบเชิงลบทั้ง จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด กลุมประเทศ อเมริกาเหนือและสหภาพยุโรป นอกจาก ประโยชนด านเศรษฐกิจแลว สิ่ งที่จะเปน ประโยชน คือ การเสริ มสรางความมั่ นคงใหแก ภูมิ ภาค ประชาคมจะรวมกันสรางเครื่องมือตาง ๆ ในการปกปองการถูกคุกคามจากภัยรูปแบตาง ๆ ที่เปนภัยคุกคามรวม (ASEAN Common Threats) ไดแก ภัยจากโรคติดตอ (Health threats and infectious diseases) ภัยจากธรรมชาติ และการ ทําลายสิ่งแวดลอม และภัยจากอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบตาง ๆ เชน การกอการราย โจรสลัด การคายาเสพติด การคาอาวุธ การฟอกเงิน และอาชญากรรมทางระบบไซเบอร ซึ่งการรวมตัวกันของอาเซียน จะชวยแกไขปญหาความ ขัดแยงภายใน ดวยการสรางความไววางใจ ลดความหวาดระแวงซึ่งกันและกันใหมากขึ้น การรวมตัวกัน จะทําใหเกิดเปน กําลังอํานาจ สําหรับชวยประเทศสมาชิกตอตานการถูกคุกคามจากมหาอํานาจภายนอกอาเซียน เชน ปญหาจากจีนที่ คุกคามประเทศตาง ๆ ในกรณีของขอพิพาทเขตแดนทางทะเลจีนใต หรือการขัดกันของมหาอํานาจที่เขามามีอิทธิพลใน ภูมิภาค ซึ่งหากอาเซียนสามารถประสานความรวมมือกันเปนนโยบายตางประเทศของภูมิภาคยอมเกิดเปนอํานาจตอรอง หรือสรางความยําเกรงแกประเทศเหลานี้ได และความมั่นคงที่เกิดขึ้นจากการสรางและพัฒนาเศรษฐกิจของสมาชิกให พัฒนาขึ้นมาใหมีระดับที่ใกลเคียงกัน จะทําใหประชาชนของประเทศตาง ๆ อยูดีกินดีขึ้น และประเทศที่มีเศรษฐกิจดีอยู แลวก็จะมีความมั่นคงมากขึ้น เพราะจะไมตองเผชิญกับการเคลื่อนยายแรงงานผิดกฎหมายที่จะนํามาซึ่งความไมมั่นคง ทางดานสาธารณสุข เชน โรคติดตอ หรือการคายาเสพติด อาวุธ หรือการปลนสะดม หรือแมแตโจรสลัด ดังที่เกิดขึ้นใน ชองแคบมะละกา เพราะความยากจนของชาวอินโดนีเซียในพื้นที่นั้น ดั งนั้น สภาพแวดลอมความมั่นคงระหวางประเทศ ของประเทศสมาชิกภายหลังการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน จะมีโอกาสที่จะมีความมั่นคงมากขึ้น หากอาเซียนจัดตั้ง เปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดสําเร็จ จะทําใหการสื่อสารแบบพหุภาคีเพื่อแกปญหาของคูขัดแยง โดย จะมีอํานาจตอรอง และมีเวทีใหเกิดการเจรจามากกวาการใชกําลังทหาร อีกทั้งการที่ประเทศสมาชิกมีการเชื่อมโยง ทางดานสังคม และเศรษฐกิจซึ่งกันและกันมากขึ้น ยอมทําใหคูขัดแยงแตละฝายตางตองคิดใหมากในการใชวิธีที่รุนแรงเขา แกปญหา ซึ่งจะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ และประชาชนของตนที่ทํางานในประเทศคูขัดแยง นอกจากนี้ สภาพแวดลอม แบบเดิมที่ประเทศสมาชิกชักนํามหาอํานาจเขามาสนับสนุนอยางชัดเจน เพื่อคานอํานาจกับประเทศสมาชิกอื่น หรือเลือก มหาอํานาจหนึ่งมาคานอํานาจกับอีกมหาอํานาจ เชน เวียดนามใชรัสเซีย และสหรัฐอเมริกามาคานอํานาจจีน การมี ความสําคัญแบบทวิภาคีของสมาชิกกับประเทศมหาอํานาจตองผานประชาคมอาเซียนมากขึ้น และการมีความสัมพันธ แบบทวิ ภาคี ข องสมาชิ ก กั บ ประเทศมหาอํ า นาจจะถู ก จั บ ตามองจากประชาคม โดยเฉพาะเมื่ อ พิ จ ารณานโยบาย ตางประเทศของประชาคมอาเซียน คาดวา นาจะเลือกเปนความเปนกลางกับทุกประเทศมหาอํานาจได เพราไมสามารถ อางเหตุผลเดิมที่กองทัพมีความออนแอ ทําใหประเทศตาง ๆ ในอาเซียนจําเปนตองอาศัยประเทศมหาอํานาจหนุนหลังอยู เพื่อสรางอํานาจใหแกประเทศของตน ดังนั้น เพื่อไมใหเวทีประชาคมอาเซียนเปนเวทีตัวแทนของมหาอํานาจ การกําหนด นโยบายตางประเทศของประชาคมก็จะไมเลือกเขากับฝายหนึ่งฝายใด
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 16
สภาวะแวดล อ มด า นความมั่ น คงในป จ จุ บั น สถานการณโลก หลังสิ้นสุดสงครามเย็น โลกไดพัฒนาเขาสูยุคแหงการเปลี่ยนแปลงที่เปนไปอยางรวดเร็วและไมแนนอน กระแส โลกาภิวัตน และความกาวหนาทางเทคโนโลยี ไดนํามาซึ่งการเคลื่อนยายอยางเสรีของผูคน สินคา และการบริการ ไดเพิ่ม จํานวนขึ้นในอัตราที่ไมเคยปรากฏมากอน เกิดความเชื่อมโยงอยางกวางขวางที่ทําใหบุคคล หรือผูแสดงบทบาทที่ไมใชรัฐ (Non-state actor) มีอิทธิพลมากขึ้นในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทั้งในระดับโลก ภูมิภาค หรือภายในรัฐชาติหนึ่งรัฐชาติ ใด อันสงผลใหเกิดความทาทายตอความเปนรัฐชาติรวมถึงองคการระหวางประเทศ ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแลว ไดใหความสนใจกับธรรมาภิบาลในงานดานความมั่นคง (Security Sector Governance: SSG) ของประเทศตาง ๆ โดยเปนเรื่องเกี่ยวกับความโปรงใสของกระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ คานิยม ธรรมเนียม และความรับผิ ดชอบดานความมั่นคงตอสาธารณะ ซึ่ งตองเปน การปฏิบัติที่ ชอบด วยกฎหมายทั้งในและ ตางประเทศ สําหรับ ธรรมาภิบาลในงานด านความมั่นคงเปนเรื่ องที่มีค วามสลั บซับซอ น และที่สํา คัญ จะตองมีความ สอดคลองกับสภาพแวดลอมของประเทศหรือสั งคม ดังนั้น ประเทศตาง ๆ จึงจําเปนตองปฏิรูปงานดานความมั่นคง (Security Sector Reform : SSR) ของประเทศใหเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศ และในสังคมโลก สภาวะความมั่ น คงในป จ จุ บั น มี ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ เ กิ ด ขึ้ น ในหลากหลายมิ ติ (Multidimensional Characteristics) และมีสภาพความเชื่อมโยงในรูปแบบของความมั่นคง เชิงองครวม (Comprehensive Security) ที่ สามารถแปรเปลี่ยน และสงผานผลกระทบไดอยางรวดเร็วระหวางมิติ ไมวาจะเปนมิติทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม หรือการทหาร ซึ่งไมใชกระบวนการแกไขปญ หาดานความมั่นคงโดยใชกรอบวิธีคิด เฉพาะทางดานกําลัง และอาวุธในลักษณะเดิมอีกตอไป หรือไมสามารถใชวิธีคิดแบบรัฐชาติ เพราะกรอบและวิธีคิด ดังกลาวไมสามารถสนองตอบกับสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในลักษณะไรพรมแดนในปจจุบัน อยางไรก็ดี ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดชวยบรรเทาความยากจนของประชากร แตดวยเทคโนโลยีทันสมัย ที่ นํ า มาใช ใ นการแสวงหา และใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ได ช ว ยเร ง การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง มี ผ ลในการทํ า ลาย สิ่งแวดลอม และนําไปสูปญหาการขาดแคลนทรัพยากรและแหลงพลังงาน รวมทั้งยังเปนการเรงใหเกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติทรี่ ุนแรงตามมา ซึ่งการขาดแคลนทรัพยากร และแหลงพลังงานไดนําไปสูปญหาความขัดแยงเหนือพื้นที่อางสิทธิ์ ทับซอน โดยเฉพาะพื้นที่ทางทะเลที่มีแนวโนมเปนแหลงพลังงานใหม และแหลงการประมงที่อุดมสมบูรณ หรือเปน เสนทางการขนสงที่สําคัญ และดวยโลกที่เชื่อมตอกันอยางไม เคยมีมากอน เหตุการณในมุมหนึ่งของโลกยอมเห็นและ รับทราบไดในอีกมุมหนึ่ง อนึ่ง หลังเหตุการณ 9/11 เมื่อ พ.ศ. 2544 กลุมกอการรายไดแผกระจายไปทั่วโลก และขยายวง ไปสูอุดมการณความรุนแรง แมวา จะไมมีผูนํา และองคกรที่ชัดเจน จึงมีโอกาสที่การกอการรายจะดํารงอยู และขยายตัว ตอไปตราบใดที่เงื่อนไขบมเพาะการกอการรายยังไมหมดไป กระแสโลกาภิวัตนทําใหการเชื่อมโยงในมิติตาง ๆ รวดเร็วขึ้น โลกไซเบอรมีผลตอวัฒนธรรม วิถีชีวิต ทัศนคติ ความเชื่อ ความสัมพันธระหวางบุคคล กระบวนการเรียนรู และพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน รวมทั้งทําใหแนวโนม ของความเสี่ยงตอความมั่นคง ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือขายที่เกิดจากการคุกคามทางไซเบอรมีสูงขึ้น โดย ป จจุ บั น หลายประเทศที่ มี ค วามขั ด แย ง ระหว า งกั น ได มี ก ารพั ฒนาความสามารถในการคุ ก คามทางไซเบอร เ พื่ อ ลด ความสามารถของฝายตรงขาม ทั้งความสามารถโดยทั่วไปของประเทศ และความสามารถของกองทัพ ซึ่งทําใหหลาย ประเทศใหความสําคัญตอการคุกคามดังกลาว และพัฒนาวิธีการปองกันการคุกคามนี้มากขึ้น
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 17
สถานการณ ค วามเปลี่ ย นแปลงของบริ บ ทความมั่ น คง การเมืองโลกมีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปสูระบบหลายขั้วอํานาจ ทําใหโครงสรางระบบความร วมมือดานความ มั่นคงระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงไป โดยกลุมประเทศมหาอํานาจหลักในปจจุบันนําโดยสหรัฐอเมริกา รวมดวยสหภาพ ยุโรปและญี่ ปุนกํ าลั งประสบปญ หาทางเศรษฐกิจ ในขณะที่ได มีก ารรวมกลุมประเทศที่มี ระดับการพัฒนาทั้ งในดา น เศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร ซึ่งเติบโตและเขมแข็งขึ้นมาอยางรวดเร็ว คือ กลุม BRICS ประกอบดวย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต ซึ่งนําไปสูการแขงขันกันขยายบทบาทเขาไปในภูมิภาคตาง ๆ โดยเฉพาะภูมิภาคอาเซียนและ เอเชียตะวันออกที่ประเทศมหาอํานาจใหความสนใจ และปรับเปลี่ยนนโยบายที่มีแนวโนมของการแข งขันและการขยาย อิทธิพลของชาติมหาอํานาจเพิ่มขึ้น ทั้งในรูปแบบการใชพลังอํานาจทางทหารและพลังอํานาจทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการเขา มาแทรกแซงกิจการภายในของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคมากขึ้น สงผลกระทบตอการดําเนินนโยบายตางประเทศของไทย และกอใหเกิดความยากลําบากในการรักษาดุลยภาพทางความสัมพันธระหวางไทยกับประเทศมหาอํานาจ
ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภูมิภาคและประเทศเพื่อนบาน
1. การเข าสู ประชาคมอาเซีย นในป พ.ศ. 2558 การพั ฒนาความสั มพั นธ ใ นกลุมประเทศอาเซี ยนเป น ประชาคมอาเซียนในป 2558 (ASEAN Community) จะทําใหประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ มีการติดตอ เชื่ อ มโยงกั น มากขึ้ น ทั้ง ในด านเศรษฐกิ จ สัง คม การเมื อ ง และความมั่ นคง ซึ่ งจะเป นโอกาสนํ า ไปสูก ารเสริ มสร า ง พัฒนาการในดานเหลานี้อยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ประเทศสมาชิกยังมีระดับของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองที่แตกตางกัน หากมีการเปดกวางใหมีการติดตอกันอยางเสรี อาจทําใหมีความเสี่ยงที่กอใหเกิดผลกระทบตอความ มั่นคงของชาติไ ด โดยเฉพาะการเติ บโตและเขมแข็งของประชาชน และการขยายตัว ของอาชญากรรมขามชาติและ เศรษฐกิจนอกระบบ 2. ความขัดแยงเรื่องเขตแดนและการใชกําลังทหาร ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานยังมีปญหาความไม เขาใจที่นําไปสูความหวาดระแวงที่อาจทําใหเกิดการเผชิญหนา และอาจนําไปสูการใชกําลังทหารได แตทั้งนี้ ยังคงสามารถ จํากัดขอบเขตและระดับความรุนแรงใหอยูในเฉพาะพื้นที่ อันเนื่องมาจากการเสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือที่ ใกลชิดระหวางประเทศในภูมิภาค รวมทั้งเสริมสรางความสัมพันธทางการทูตเชิงปองกัน ตลอดจนทิศทางความรวมมือของ ประเทศในภูมิภาคที่มุงสูการเปนประชาคมระหวางประเทศ อยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงสถานการณขอพิพาทใน ภูมิภาค สถานการณภายในประเทศเพื่อนบาน และบทบาทของประเทศมหาอํานาจในภูมิภาคที่ประเทศไทยตั้งอยูแลว ได ปรากฏสิ่งบงชี้ถึงการเพิ่มงบประมาณทางทหารในภูมิภาคนี้ ที่อาจสงผลตอดุลยภาพทางความมั่นคงของไทย จึงทําใหยังคง มีความเสี่ยงของการเผชิญหนาทางดานทหารได 3. ความมั่ น คงและผลประโยชน ข องชาติ ท ะเล ประเทศไทยมี อ าณาเขตทางทะเล ซึ่ ง เชื่ อ มโยงกั บ ผลประโยชนของชาติทางทะเลที่มีมูลคามหาศาล จากแหลงทรัพยากรทางทะเลทั้งที่มีชีวิต เชน การประมง เปนตน และที่ ไมมีชีวิต เชน แหลงพลังงาน เปนตน รวมทั้งเปนเสนทางการเดินเรือที่สําคัญในการติดตอระหวางประเทศ ซึ่งประเทศ มหาอํานาจตาง ๆ ไดแขงขันกันขยายอิทธิพลอยางตอเนื่อง และมีบทบาทกําหนดความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟก สงผลกระทบตอดุลยภาพ และพลวัตรดานความมั่นคงของไทย ในขณะเดียวกัน ลักษณะภูมิศาสตรของไทยดังกลาว อยูในตําแหนงที่มีความเสี่ยงตอความมั่นคงทางทะเลที่สําคั ญ โดยเฉพาะปญหาภัย คุ ก คามและอาชญากรรมข า มชาติ รวมทั้ ง ป ญ หาความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรทางทะเล ส ง ผลให เ กิ ด ป ญ หา ภายในประเทศ เชน กรณีการแยงชิงทรัพยากรในทะเล เปนตน และทําใหประเทศไทยมีความเสี่ยงในการสรางดุลยภาพ ของการรักษาความมั่นคงและผลประโยชนของชาติทางทะเล
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 18
ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภายในประเทศ
1. ความมั่นคงของสถาบันหลักของประเทศ โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งไดมีกลุมบุคคลและ ขบวนการเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ เพื่อบอนทําลาย และมุงเปลี่ยนแปลงสถานะของสถาบันในระดับและขอบเขตที่ กว า งขวาง ทั้ ง ภายในและจากภายนอกประเทศ ในลั ก ษณะที่ ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความมั่ น คงของสถาบั น พระมหากษัตริย โดยนํามาแสวงหาประโยชนทางการเมือง รวมทั้งมีการดําเนินการในลักษณะตาง ๆ เชน กลาวอางความ เท็ จ เพื่ อ ดู ห มิ่ น ใส ร า ย ตลอดจนนํ า ประเด็ น การบั ง คั บ ใช ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ การหมิ่ น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ม า วิพากษวิจารณ โดยกลาวอางถึงการขัดตอหลักสิทธิ เสรีภาพ และหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งสถานการณดังกลาว เปนประเด็น ที่มีความออนไหวที่อาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางการเมืองระหวางกลุมตาง ๆ ในสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ ปญหาดังกลาวได สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจ และจุดยึดเหนี่ยวของสังคมไทยที่เปนความ มั่นคงโดยรวมของประเทศ 2. ความขัดแยงของคนในชาติ นับจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จนถึ ง ปจจุ บั น พั ฒนาการของประชาธิป ไตยได ข ยายตั วอย า งตอ เนื่ อง อยา งไรก็ ต าม ความตื่ น ตั วทางการเมือ งของ ประชาชนไดปรากฏผลในทางลบ เมื่อถูกขับเคลื่อนดวยเปาหมายสุดขั้วสุดโตงทางการเมือง โดยอาศัยเงื่อนไขปญหาเชิง โครงสรางของสังคมที่มีความเหลื่อมล้ําในมิติตาง ๆ โดยเฉพาะในมิติทางเศรษฐกิจ และสังคม สงผลใหเกิดการแตกแยก ทางความคิดระหวางกลุมคนตาง ๆ ในสังคม และนําไปสูการใชความรุนแรงที่ทําลายความสงบเรียบรอยและวัฒนธรรมอัน ดีของสังคม ประกอบกับสภาพสังคมปจจุบันที่แนวโนมความอดทนอดกลั้นมีลักษณะลดต่ําลง ในขณะที่ความตองการให เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วขึ้น จึงทําใหสถานการณความขัดแยงของคนในชาติ กลายเปนจุดเปราะบางตอการรักษา เอกภาพของคนในชาติ และการสรางภูมิคุมกันของสังคมไทย ซึ่งเชื่อมโยงกับการเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันชาติใน อนาคตดวย 3. ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต นับตั้งแตเกิดเหตุการณรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต เมื่อ ป พ.ศ. 2547 เปนตนมา รัฐบาลไดพยายามดําเนินการทั้งในดานความมั่นคงและดานการพัฒนาแกไขปญหาอยางตอเนื่อง โดยระดมทรัพยากร (คน งบประมาณ) เปนจํานวนมาก แตเนื่องจากเปนปญหาที่เรื้อรังมายาวนาน จึงยังไมอาจสงบลงได โดยงาย ขณะที่ในปจจุบันปญหามีความซับซอนมากยิ่งขึ้น โดยพบวา เหตุของความรุนแรงมาจากหลายสวน ทั้งสาเหตุเดิม ที่มาจากการกระทําของผูที่มีอุดมการณตางจากรัฐ ซึ่งยังคงดําเนินอยูตอไป และสาเหตุอื่นเพิ่มขึ้นในปจจุบัน โดยเฉพาะ ความขัดแยงเรื่องผลประโยชนของกลุมอิทธิพล การขยายตัวของอํานาจมืด และเศรษฐกิจสีเทา ความแคนในเรื่องสวนตัว ความบาดหมางระหวางคนตางศาสนา และการแทรกแซงจากภายนอกประเทศ ประกอบกับบรรยากาศความหวาดระแวง ระหวางประชาชนในพื้นที่กับเจาหนาที่รัฐ ซึ่งเปนอุปสรรคในการแกไขปญหายังคงดํารงอยูหลายพื้นที่ นอกจากนี้ ยังมีขอ เรียกรองใหภาครัฐแสวงหาแนวทางแกไขปญ หาเชิงโครงสรางใหสอดคลองกับสังคมพหุวัฒนธรรม เชน เรื่องอัตลักษณ มลายูมุสลิม เรื่องความยุติธรรมในพื้นที่ และเรื่องความยากจนของประชาชนในพื้นที่ เปนตน ซึ่งเปนประเด็นละเอียดออน ที่เปนรากเหงาของปญหาความขัดแยงและความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต 4. ความเชื่อมั่นของประเทศในการบริหารตามหลักนิติธรรม ประเทศไทยยังคงมีปญหาเชิงโครงสรางที่ไม เอื้อตอการบริหารตามหลักนิติธรรม กฎหมายจํานวนมากยังไมไดรับการปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักนิติรัฐ และไม สอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ กลไกการตรวจสอบการทุจริตคอร รัปชั่นยังขาดความเขมแข็ง สงผลให เกิดชองทางการทุจริตคอรรัปชั่นในกลไกภาครัฐระดับตาง ๆ ซึ่งนําไปสูปญหาการเลือกปฏิบัติและปญหาความไมเทาเทียม กันที่กอตั้งเปนความขัดแยงในสังคม ในขณะที่ภาคเอกชนและประชาชนบางสวนยอมรับกระบวนการทุจริตคอรรัปชั่นเพื่อ แสวงหาประโยชนสวนตน โดยผลของปญหาดังกลาว ไดกัดกรอนพื้นฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงามของสังคม รวมทั้งเปนการรุกล้ําสิทธิและโอกาสของผูไรอํานาจที่เปนสาเหตุของความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนเปน การทําลายกฎกติกาที่ควรยึดถือรวมกัน ซึ่งจะนําไปสูผลกระทบตอเสถียรภาพและความมั่นคงของชาติตอไป
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 19
5. วิกฤตการณความมั่นคงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ จากสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก และการเพิ่ม จํานวนประชากรโลกอยางตอเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกที่ เนนการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ สงผลใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางขาดสมดุล และนําไปสูปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เสื่อมโทรม จนทําใหเกิดภาวะโลกรอนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมที่ทําใหเกิดภัยพิบัติตาง ๆ บอยครั้งมากขึ้น รวมทั้งเพิ่มความรุนแรงและสรางความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของมนุษยเพิ่มมากขึ้ นดวย แตยังขาดการพัฒนา ความรู ความสามารถ ทักษะ และประสบการณใหมีความพรอมดําเนินงานในลักษณะบูรณาการเพื่อเผชิญภัยพิบัติไดอยาง มีประสิทธิภาพ และบริหารวิกฤตการณอยางเปนระบบสอดคลองกับสถานการณ จึงทําใหไมสามารถคลี่คลายหรือแกไข ปญหาไดทันสถานการณ
ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงขามพรมแดน
1. การเคลื่อนตัวของภัยคุกคามขามชาติ ในปจจุบันปญหาภัยคุกคามขามชาติทั้งเกิดจากการกระทําของรัฐ และตัวแสดงที่ไมใชรัฐ ไดเคลื่อนตัวแผขยายออกไปอยางรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งเปนภัยคุกคามที่กอผลกระทบ ตอเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคงของชาติโดยรวม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบจากการกอการรายสากลที่ ไดรับการประเมินวา แรงขับเคลื่อนการตอสูในเชิงอุดมการณยังคงมีอยูอยางเขมขนในกลุมมุสลิม โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบ จากเดิมที่มีกลุมอัลกออิดะหเปนศูนยรวมสั่งการ ไปเปนการขยายความคิดความเชื่อไปยังกลุมตัวแทนในประเทศตาง ๆ ที่ มีเงื่อนไขพรอมพัฒนาตนเองเปนผูกอการรายในรูปแบบ Home-Grown Terrorist เชน เงื่อนไขความคับแคนจากการ ไมไดรับความเปนธรรม การถูกทําลายอัตลักษณของชาติพันธุ และเงื่อนไขความเชื่อและศรัทธาหลักศาสนาที่ถูกบิดเบือน หรือเชื่อ และศรัทธาแบบสุดขั้ว/สุดโตง เปนตน นอกจากนี้ กลุมหรือขบวนการอาชญากรรมขามชาติยังไดแสวงประโยชน จากสภาวะโลกไรพรมแดน โดยการเคลื่อนไหวเชื่อมโยงเปนเครือขายในภูมิภาคตาง ๆ ทั้งปญหาที่มีอยูเดิม เชน การคา ยาเสพติ ด การค า อาวุ ธ สงคราม การค า มนุ ษ ย การฟอกเงิ น และการกระทํ า อั น เป น โจรสลั ด เป น ต น และป ญ หา อาชญากรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ซึ่งเปนปญหาภัยคุกคามที่พัฒนารูปแบบและวิธีการไดสลับซั บซอนเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนื่อง จากความกาวหนาทางเทคโนโลยี รวมทั้งมีแนวโนมขยายตัวและควบคุมไดยาก ทั้งนี้ ไดมีการคาดวา การ แสวงหาอํานาจและผลประโยชนขององคกรการกอการรายสากล และองคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมขยายตัว เพิ่มขึ้น และมีความซับซอนเชื่อมโยงเปนเครือขายที่เขมแข็งมากขึ้น รวมทั้งมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นเปนลําดับ ทําใหยาก ตอการปองกันและแกไขปญหา สําหรับในกรณีของไทย แมวา จะยังมิใชเปาหมายโดยตรงของการกอการราย แตยังคงตอง เฝาระวังความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการบมเพาะเครือขายกับกลุมกอความไมสงบภายในของไทย ซึ่งจะสงผลกระทบตอความ มั่นคงของประเทศ 2. การยายถิ่นประชากร การยายถิ่นของประชากรจากประเทศตาง ๆ เขาสูประเทศไทยไดสงผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศโดยตอเนื่อง สาเหตุการยายถิ่นมีทั้งเหตุผลความแตกตางดานเศรษฐกิจและการเมืองระหวางไทย กับประเทศเพื่อนบาน โดยสวนหนึ่งใชไทยเปนเสนทางผานสูประเทศที่สาม เชน หนีภัยสงคราม และการลักลอบหลบหนี เขาเมืองจากประเทศเพื่อนบานเพื่อมาขายแรงงานในประเทศไทย ซึ่งมีปญหาการสงกลับประเทศตนทางสงผลใหมีผูยาย ถิ่นจํานวนมากยังคงคางในไทย นํามาซึ่งปญหาที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยางกวางขวาง อาทิ ปญหาดานสาธารณสุข ปญหาการคามนุษย และปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งปญหา การเมืองระหวางประเทศ ตลอดจนเปนภาระดานงบประมาณภาครัฐ และในระยะยาวอาจเกิดปญหาดานสังคม เนื่องจาก ปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลตามกฎหมายของบุตรหลานที่เกิดขึ้น ปญหาชุมชนคนตางดาวที่อาจนําไปสูปญหาความ ขัดแยงกับคนไทยถือเปนปญหาละเอียดออนและสงผลกระทบในหลายมิติ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 20
3. การเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากบริบทความมั่นคงในมิติใหม สถานการณปจจุบันโลกไดเผชิญกับภัยคุกคาม รูปแบบใหมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลกในบริบทตาง ๆ ซึ่งสงผลกระทบตอความมั่นคงของมนุษยและความมั่นคง ของชาติ สําหรับประเทศไทยตองเผชิญกับปญหาความมั่นคงมิติใหมที่เปนผลจากการพัฒนาประเทศในชวงทศวรรษที่ผาน มาที่มุงสูการเปนประเทศอุตสาหกรรม โดยมีการใชทรัพยากรธรรมชาติโดยขาดความสมดุล ในขณะที่ขาดกลไกการบริหาร ทรัพยากรฯ ที่เขมแข็ง ทําใหเกิดปญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม และสงผลกระทบตอความมั่นคงในมิติอื่น ๆ เชน ความมั่นคงดานอาหาร และดานพลังงาน เปนตน เปนผลใหประเทศไทยมีความเสี่ยงที่มาจากแนวโนมการขาดแคลน อาหารและพลังงาน หากประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติขนาดใหญ นอกจากนี้ ผลของกระแสโลกาภิวัตนที่นําไปสูการ เชื่อมโยงในมิติตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับการแพรระบาดของโรคอุบัติใหม อันเนื่องมาจากการ สูญเสียสมดุลธรรมชาติ และระบบนิเวศนอยางตอเนื่อง ประกอบกับความกาวล้ําทางนวัตกรรมเทคโนโลยีการสื่อสาร เปน ผลใหเกิดการไหลบาของวัฒนธรรมตาง ๆ ผานโลกไซเบอรเขาสูประเทศไทย สงผลตอวิถีชีวิตวัฒนธรรม และความสัมพันธ ของบุ ค คล ตลอดจนพฤติก รรมการบริ โ ภคของประชาชนอาจส ง ให เ กิ ด วิ กฤตเอกลั ก ษณ ท างวั ฒนธรรม โดยเฉพาะ วัฒนธรรมปจเจกชนนิยม ซึ่งมีแนวโนมทําใหสังคมไทยออนแอ ประชาชนขาดจิตสํานึกรวมดานความมั่นคง รวมทั้งมีความ เสี่ยงดานความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ปญหามีแนวโนมทําใหสังคมไทยออนแอ ประชาชนขาดจิตสํานึกรวมดาน ความมั่นคง รวมทั้งมีความเสี่ยงดานความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีปญหามีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยเฉพาะการโจมตีทางไซเบอร และการเจาะเขาสูระบบขอมูลขาวสาร และความลับทางราชการและขอมูลทาง ธุรกิ จของภาคเอกชน รวมทั้ง ความเสี่ยงตอ ระบบควบคุ มสาธารณู ปโภค การคมนาคม และระบบการติ ดต อสื่อ สาร ประกอบกับอิทธิพลของสื่อประเภทเครือขายสังคมที่มีแนวโนมกลายเปนเครื่องมือสําคัญในการรวมตัวของประชาชนเพื่อ ดําเนินกิจกรรมสาธารณะตาง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมทางการเมือง ที่มีการใชสื่อในการโจมตี บอนทําลาย หรือบิดเบือน ขอเท็จจริงฝายตรงขาม ซึ่งอาจนําไปสูการสรางความเกลียดชังและสรางความแตกแยกภายในประเทศที่รุนแรงเพิ่มขึ้น รวมถึงอาจสงผลกระทบตอความสัมพัน ธระหว างประเทศด วย หากมี การใช สื่อโจมตี หรือบ อนทําลายประเทศอื่น ที่ สนับสนุนฝายตรงขาม ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก มีหลายพื้นที่ และหลายประเด็นปญหา ซึ่งมีความเสี่ยงตอเสถียรภาพดานความ มั่นคงของโลก อาทิ ขอสงสัยเกี่ยวกับการพัฒนาขีดความสามารถดานนิวเคลียรของบางประเทศ ปฏิ บัติการของกลุม กอการราย และกลุมหัวรุนแรงทั้งในระดับระหวางประเทศ และภายในประเทศ รวมทั้งสถานการณในทะเลจีนใตที่นับเปน พื้นที่ศูนยกลางที่สําคัญของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ซึ่งความมั่นคงทางทะเลในบริเวณนี้ ยังเปนปญหาที่มีความเปราะบาง ตอการกระทบกระทั่งทั้งระหวางประเทศที่มีขอพิพาทดานเสนเขตแดนดวยกันเอง และกับประเทศนอกภูมิภาค อยางไรก็ ตาม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กําลังกลายเปนพื้นที่ที่หลายประเทศใหความสนใจ ทั้งดานความมั่นคงระดับภูมิภาค และผลประโยชนแหงชาติดานการคาและการลงทุน ซึ่งสถานการณดังกลาว จะทําใหแตละประเทศในภูมิภาคมีแนวโนม ของการพัฒนาขีดความสามารถดานการทหาร เพื่อคุมครองผลประโยชนทางเศรษฐกิจของชาติ ทั้งดวยตนเอง และที่ไดรับ การสนับสนุนจากประเทศอื่นในรูปแบบของความชวยเหลือทางทหาร หรือการจัดหายุทโธปกรณภายใตเงื่อนไข และราคา ทีเ่ ปนพิเศษ จากการที่ประเทศไทยมีที่ตั้งทางยุทธศาสตรที่สําคัญยิ่ง โดยเปนพื้นที่ศูนยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใตที่สามารถเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน และอยูใกลประเทศที่มีประชากรโลกมากที่สุด 2 ลําดับแรก คือ จีน และ อินเดีย อีกทั้งเปนจุดเชื่อมโยงเสนทางการคาและการขนสงพลังงานที่สําคัญระหวางมหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งพัฒนาการของสังคมโลก และภูมิภาคที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว จึงไดนํามาซึ่งปญหาความมั่นคงของไทยที่มีความ ยุงยากสลั บซับซอนเพิ่มขึ้นในอีกหลายมิติ ไม วาจะเป นปญหาอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะการคาอาวุ ธ การค า ยาเสพติด การคามนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร และการกอการรายสากล
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 21
ประเทศไทยยังตองเผชิญปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย และปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด ภายในประเทศ ซึ่งสงผลกระทบตอสภาพสั งคม และความมั่นคงในระยะยาว นอกจากนี้ ปญหาสิ่งแวดลอม และภัย ธรรมชาติเป นอี กปญ หาหนึ่ง ที่สํา คัญของไทย เป นป ญหาที่เกิ ดจากความเสื่อ มโทรมของธรรมชาติ และภัยพิบัติ ทาง ธรรมชาติ ซึ่งมีทั้งภัยแลง อุทกภัย และภัยหนาว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อปลาย พ.ศ. 2554 ประเทศไทยไดประสบปญหา อุทกภัยรายแรงที่สรางความสูญเสียใหแกประเทศ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ และดานสังคมจิตวิทยา สําหรับการพัฒนาดานการทหาร ประเทศไทยไดใหความสํา คัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีปองกันประเทศ โดย จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) เพื่อสนับสนุนการพึ่งพาตนเองดานยุทโธปกรณของกองทัพ ดําเนินการวิจัยโครงการขนาดใหญดานยุทโธปกรณที่ตองใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งในระยะถัดจากนี้ไป การ รวมกลุมเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบตอประเทศไทยในทุกเรื่อง ไดแก การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนี้ เปน ที่คาดหมายวา แนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สําคัญก็คือ อาเซียนจะเผชิญกับการดําเนินการเชิงรุกจากประเทศ คูเจรจามากขึ้น ในดานเศรษฐกิจ อาเซียนจะตอนรับการลงทุนจากตางประเทศเพิ่มมากขึ้น การเคลื่อนยายแรงงานอยาง เสรีในอาเซียน ทําใหประเทศไทยตองพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน เพื่อสรางศักยภาพในการแขงขัน ในขณะเดียวกัน ก็พรอม รองรับกับแรงงานขามชาติที่จะเขามาทํางานในประเทศไทย อยางไรก็ดี การขยายตัวของภาคการเมืองจากการพัฒนา เศรษฐกิจ ทําใหมีแนวโนมวา ที่อยูอาศัยจะไมเพียงพอโดยเฉพาะผูมีรายไดนอย สวนในดานสังคม การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีการสื่อสาร จะมีผลตอการดําเนินชีวิต โดยมีแนวโนมที่คนจะพึ่งพาเทคโนโลยีมากขึ้น ชุมชนจะมีการพัฒนามาก ขึ้นไปในแนวทางทุนนิยม ซึ่งจะสงผลใหสูญเสียอัตลักษณชุมชน ในขณะที่สภาพแวดลอมทางธรรมชาติจะเสื่อมโทรมลง และเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเพิ่มขึ้น ถึงแมวา การเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียน จะสงผลกระทบอยางสําคัญตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ ดานสังคม โดยคาดการณวา ประเด็นหลักที่จะเปนปญหา ไดแก การแยงชิงทรัพยากรมากขึ้น เกิดความเหลื่อมล้ําทางการ พัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ปญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น เชน ยาเสพติด พฤติกรรมอําพราง การผสมผสานระหวางเชื้อชาติ การคามนุษย โรคอุบัติใหม และความมั่นคงทางอาหาร และประเด็นทางสังคมที่มีความนาหวงใย และจะตองไดรับความใส ใจเนื่องจาก จะสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศไทย ไดแก การสรางภูมิคุมกันใหกลุมเปาหมาย มาตรฐานในการจัด สวัสดิการสังคมใหกลุมเปาหมายเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การปฏิบัติตามขอตกลงรวมกัน และยึดมั่นในพันธกรณีภายใต ประชาคมอาเซี ย น ความร ว มมื อ ของอาเซี ย นเพื่ อ แข ง ขั น กั บ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ และการคุ ม ครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของ กลุมเปาหมาย ดังนั้น เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ประเทศไทยจะตองมีการเตรียม ความพรอมดานบุคลากร งบประมาณ และบูรณาการการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ตองสงเสริมใหประชาชนมีสวน รวม สรางชุมชนเขมแข็ง พัฒนาเยาวชน และสรางเครือขายการพัฒนาสังคม รวมทั้งตองสรางทักษะที่จําเปนตอการ เปลี่ยนแปลง สรางความตระหนักและปลูกจิตสํานึกการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน
ความทาทายความมั่นคงสําหรับประเทศไทย ความทาทายดานความมั่นคง ทั้งที่กําลังเผชิญอยูและอาจตองเผชิญในอนาคต ในสวนที่เปนความทาทายทาง ทหาร ซึ่งประเทศไทยไมตองการใหเกิดขึ้นนั้น ยังไมปรากฏชัดเจน อยางไรก็ตาม ประเทศไทยจําเปนตองมีความพรอมใน ขั้นตนเพื่อเผชิญความทาทายทางทหารที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดในอนาคต และใชกํา ลังทหารที่จัดเตรียมไวสนับสนุนการ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบสหประชาชาติ และกรอบประชาคมอาเซียนในยามปกติ รวมทั้งสนับสนุนการเผชิญ ความทาทายอื่น ดังนี้ 1. ปญหาความไมสงบเรียบรอยในสังคมไทย 2. ปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต 3. ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ไดแก การคาอาวุธ การคายาเสพติด การคามนุษย การกระทําอันเปนโจร สลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร และการกอการรายสากล
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 22
4. ปญหาภัยคุกคามทางไซเบอร 5. ปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย 6. ปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดภายในประเทศ 7. ปญหาสิ่งแวดลอมและภัยธรรมชาติ 8. ปญหาโรคระบาดและโรคติดตอ นอกจาก ความทาทายดานความมั่นคงตามที่กลาวแลว จากการประเมินสภาวะแวดลอมดานความมั่นคง ทําให พบวา ประเทศไทยจําเปนตองมีการดําเนินการในเรื่องที่สําคัญ ไดแก การสนับสนุนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และการรักษาความสมดุลในการพัฒนาความสัมพันธและความ รวมมือดานความมั่นคงกับประเทศที่มีบทบาทสําคัญในภูมิภาค
แนวคิ ด ความเชื่ อ มโยงกั น ในอาเซี ย น (ASEAN Connectivity) นอกจากนี้ เพื่อเปนการกาวสูความเปนประชาคมอาเซียนอยางเปนรูปธรรมยิ่งขึ้นในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อวันที่ 29-30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ที่ประชุมไดเห็นชอบรางแผนวาดวย ความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) เพื่อใชเปนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 โดยไดกําหนดการเชื่อมโยงครอบคลุม 3 มิติ คือ การเชื่อมโยงทางกายภาพ การเชื่อมโยงองคกร และการเชื่อมโยงประชาชน ซึ่งมีเจตนารมณที่จะเรงรัดการเชื่อมโยง ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศใหเปนหนึ่งเดียวทั้งในดานโครงสรางพื้นฐาน ดานกฎระเบียบ และดานประชาชน โดยมี เปาหมายสูงสุดเพื่อการสนับสนุน การสรางประชาคมอาเซียนอยางแทจริง ภายในป 2558 และใหอาเซียนเปนศูนยกลาง ของสถาปตยกรรมภูมิภาค โดยกําหนดใหมีการดําเนินงาน ดังนี้ 1. การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) โดยเนนความเชื่อมโยงในดานโครงสรางพื้นฐานดานตาง ๆ ทั้งการปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพโครงสรางพื้นฐาน เดิมที่มีอยูแลวใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น และการขยายเครือขายโครงสรางพื้นฐานใหครอบคลุมทั่วถึงมียุทธศาสตรการ เชื่อมโยงที่สําคัญ อาทิ 1.1. การเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ แผนแมบท MPAC จะ ผลักดันโครงการสาธารณูปโภคพื้นฐาน ดานคมนาคมทางบกที่สําคัญใหแลวเสร็จ อาทิ โครงการ ASEAN Highway Network (AHN) ซึ่งเปนเครือขายเสนทางถนนเชื่อมโยงประเทศสมาชิกอาเซียนเปนระยะทางทั้งสิ้น 38,400 กิโลเมตร โดยปจจุบันยังมีหลายจุดที่ขาดความเชื่อมโยง (Missing Link) โดยเฉพาะในเมียนมาร และอีกหลายเสนทางที่ยังไมได มาตรฐาน โครงการ Singapore Kunming Rail Link (SKRL) ซึ่งเปนเสนทางรถไฟเชื่อมโยง 8 ประเทศ คือ เสนทางหลัก ที่ผาน 6 ประเทศ คือ สิงคโปร มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และจีน (คุนหมิง) และมีเสนทางแยกอีก 2 สาย คือ ไทยสปป.ลาว และไทย-เมียนมาร ซึ่งยังมีจุดที่ขาดความเชื่อมโยงหลายจุด ในกัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร สปป.ลาว และไทย สําหรับทางน้ํา แผนแมบท MPAC ไดกําหนดยุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพทาเรือหลักสําหรับเครือขายการขนสงทางทะเลใน ภูมิภาคอาเซียนไว 47 แหง ซึ่งทาเรือกรุงเทพและทาเรือแหลมฉบังของไทยไดถูกนับรวมไวในยุทธศาสตรดังกลาวดวย รวมทั้งยุทธศาสตรที่จะพัฒนาประสิทธิภาพของเสนทางเดินเรือระหวางประเทศโดยเฉพาะเสนทางในอนุภูมิภาค ขณะที่ ทางอากาศ จะเนนในเรื่องการปรับปรุงระบบการบิน/พัฒนาคุณภาพสาธารณูปโภคพื้นฐานรองรับการขนสงทางอากาศให มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงการพัฒนาเสนทางบินใหมที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพรองรับการขยายตัวของการขนสง ทางอากาศในระดับภูมิภาค
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 23
1.2. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อตอบสนองการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และบริการที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพรองรับการขยายตัวทางการคา รวมทั้งลดชองวางความเหลื่อมล้ําที่เกิดจาก ความสามารถในการเขาถึงขอมูลขาวสารและเทคโนโลยีระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเปนประเด็นสําคัญที่ตองเรง แกไขเพื่อลดผลกระทบที่จะบั่นทอนการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ หนึ่งในยุทธศาสตรสําคัญ คือ การจัดตั้ง ASEAN Broadband Corridor ภายในป พ.ศ. 2557 เพื่อชวยใหประเทศ สมาชิกอาเซียนเขาถึงขอมูลไดเชนเดียวกันกอนเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 1.3. การเชื่อมโยงเครือขายดานพลังงาน เนื่องจากประเทศอาเซียนมีบทบาทสําคัญในการเปนฐานการผลิต ภาคอุตสาหกรรมของโลก ทําใหความตองการพลังงานมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่ อง ขณะที่หลายประเทศโดยเฉพาะ ประเทศ CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam) ยังไมสามารถเขาถึงพลังงานไดอยางทั่วถึงแผนแมบท MPAC จึงเนนใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงพลังงาน โดยอาศัยกรอบ ASEAN Power Grid (APG) และ Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) เปนความเชื่อมโยงหลักเพื่อกอใหเกิดความมั่นคงดานพลังงาน การเขาถึงพลังงาน และความยั่งยืน ดานพลังงาน ภายในภูมิภาคอาเซียน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น 2. การเชื่อมโยงองคกร (Institutional Connectivity) การเชื่อมโยงองคกรเปนการเนนการเชื่อมโยงในดานระบบ/กระบวนการทํางานของหนวยงานตาง ๆ อยางมี ประสิทธิผล โดยอาศัยความตกลง หรือความรวมมือระหวางกันที่จะนํามาซึ่งการดําเนินการในเชิงรูปธรรม ทั้งนี้ ปจจุบันมี ความตกลงหลายกรอบที่เอื้อตอความเชื่อมโยงของระบบ แตยังไมมีผลบังคับใชและตองปรับปรุงรายละเอียดใหเกิด ประโยชนสูงสุดในทางปฏิบัติ อาทิ กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาผานแดน กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาขามแดน และกรอบความตกลงวาดวยการ ขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ 3. การเชื่อมโยงประชาชน (People-to-people Connectivity) การเชื่อมโยงประชาชนจะใหการสงเสริมการเรียนรูวัฒนธรรมและสังคมของประเทศอาเซียน อาทิ การ สงเสริมการเรียนรูภาษาของประเทศในอาเซียนเปนภาษาที่สาม การถายทอดหรือแลกเปลี่ยนระบบการศึกษาระหวางกัน รวมถึงการสงเสริมการเคลื่อนยายบุคคลโดยเสรี อาทิ การยกเวนระบบวีซาระหวางกัน และการสงเสริมการทองเที่ยว ภายในอาเซียนในป พ.ศ. 2558 การเชื่อมโยงดังกลาวจะชวยใหประชาชนในภูมิภาคเรียนรูและเขาใจประเทศรวมกลุม อาเซียนในดานสังคมและวัฒนธรรมไดลึกซึ้งยิ่งขึ้น ซึ่งเอื้อตอการปรับใช ในทางธุรกิจเพื่อผลิตสิ นคาตอบสนองความ ตองการผูบริโภคในตลาดอาเซียน และสรางความไวเนื้อเชื่อใจในการทําการคาและการลงทุนระหวางกัน
ประเทศไทยกั บ การเป น ประชาคมอาเซี ย น ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งกฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนธรรมนูญที่กําหนดกรอบดาน กฎหมาย และโครงสรางองคกรอาเซียน ทําใหอาเซียนมีกฎกติกาในการทํางานในสถานะเปนนิติบุคคล มีประชาชนเปน ศูนยกลาง และวางรากฐานการรวมตัวเปนประชาคม ในป 2558 โดยการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) มีเจตจํานงใหอาเซียนเปนภูมิภาคที่มีสันติสุข รักษาสันติภาพ และดํารงความเปนกลาง มีการรวมแกไขขอพิพาท ลดความ ขัดแยงโดยสันติวิธี และมีเสรีภาพทางการคา โดยทุกประเทศในประชาคมจะใหความรวมมือกันและดําเนินกิจกรรมของ อาเซียนในทุกรูปแบบ ทั้งระดับทวิภาคี อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝก ศึกษา หรือการเจรจาหารือ ในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี อาทิ การประชุมหรือสัมมนา รวมทั้งครอบคลุมในทุกมิติ อันประกอบไปดวย การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อลดความแตกตางระหวางกันในดานตาง ๆ โดยแบงการดําเนินงาน ออกเปน 3 เสาหลัก (three-pillars) ไดแก 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 24
Community : APSC) 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และ 3) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) การดําเนินการดังกลาวขางตน ทําใหประเทศไทยจําเปนตองเตรียมการรองรับผลกระทบดานความมั่นคงที่จะ เกิ ด ขึ้ น ทั้ งในรู ป แบบที่จะกระทบตอ ประเทศไทยโดยตรง และรู ป แบบที่ จะกระทบต อ อาเซียนในภาพรวม รวมทั้ ง ผลกระทบตอภูมิภาคอื่น ๆ ของโลกอีกดวย ซึ่งผลกระทบที่จะเกิดขึ้นไมจํากัดอยูเฉพาะแตภัยคุกคามรูปแบบใหม เชน ภัย พิบัติทางธรรมชาติ การกอการราย ยาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ เปนตน แตยังรวมถึงภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เชน การ ขัดแยงของเสนเขตแดนทั้งทางบก และทางทะเล ซึ่งรวมถึงประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน และยังรวมถึงความขัดแยง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ที่มีกับประเทศเพื่อนบานดวย เชน ปญหาทะเลจีนใต ซึ่งมาเลเซีย บรูไน ฟลิปปนส และ เวียดนาม มีปญหาอยูกับจีนในปจจุบัน โดยในระยะเริ่มตนของการเปนประชาคมอาเซียนนั้น ปญหาตาง ๆ จะเพิ่มทวีคูณ ในแนวตั้งชัน (Sheer) แบบยกกําลัง (Exponential) โดยเฉพาะประเทศไทยที่จะตองดูแลเฉพาะปญหาภายในประเทศ เชน ความแตกแยกของคนในชาติ (Division) ปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต และปญหาความไมชัดเจนของเสนเขตแดน กับประเทศเพื่อนบานแลว ประเทศไทยยังจะตองมีความเกี่ยวของกั บปญหาอื่น ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งตองมี ความรับผิดชอบรวมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังตองเขาไปเกี่ยวของกับปญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งตองมีความรับผิดชอบรวมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังตองเขาไปเกี่ยวของ กับปญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ในฐานะที่อาเซียนเปนนิติบุคคล ซึ่งตองมีปฏิสัมพันธกับโลกภายนอกอีกดวย อยางไรก็ตาม ผลตอการรวมตัวไมไดสงผลเสียแตเพียงอยางเดียวเทานั้น การรวมตัวเปนเพียงแตการกระตุนให ปญหาตาง ๆ ที่จําเปนจะตองไดรับการแกไขใหมีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูความรวมมือในลักษณะพหุภาคีที่จะ ชวยกันในการแกไขปญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งหากไดมีการเตรียมการแตเริ่มตน และมีการประสานงาน รวมทัง้ รวมมือกันในทุก ภาคสวนของไทยและของประเทศสมาชิกอาเซียนแลว ผลประโยชนที่ไดรับก็จะอยูกับประชาชนของประเทศสมาชิ ก อาเซียน ซึ่งการดําเนินการเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้น จะเห็นไดวา รัฐบาลไดใหความสําคัญกับการเปนประชาคม อาเซียน ในป 2558 โดยมีนโยบาย และยุทธศาสตรดานตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินการดังกลาว ซึ่งนําไปสูการจัดทํา แผนงานโครงการ และงบประมาณของหนวยราชการตาง ๆ ซึ่งในสวนที่เกี่ยวของกับหนวยงานดานความมั่นคงนั้น มีความ จําเปนที่รัฐบาลจะตองจัดตั้งหนวยงานใหม ๆ ขึ้นมารองรับงานดานภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เพิ่มมากขึ้น เชน หนวยงาน ดานการปองกั นและปราบปรามสิ่งเสพติด หนวยปองกัน ชายฝง การจั ดหนวยบริ หารจัดการพื้นที่ชายแดนแบบรวม หนวยงานดานการปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย และภัยพิบัติ ซึ่งหนวยงานดังกลาวตองมีความเปนสากล และมีกําลัง พลรวมถึงยุทโธปกรณที่เพียงพอที่จะปฏิบัติงานทั้งในประเทศ และนอกประเทศ เชนเดียวกับ กองทัพจําเปนตองปรับปรุง โครงสรางใหมของกองทัพนั้น รัฐบาลตองลดภาระของกองทัพในการดําเนินการดานภัยคุกคามรูปแบบใหมที่ไมจําเปนลง รวมทั้งยังตองใหเวลา และสนับสนุนงบประมาณ และการดําเนินการทุกดานในการพัฒนาใหกองทัพเปนกองทัพที่ทันสมัย มีความเปนสากล ทีพ่ รอมปฏิบัติภารกิจในฐานะอาเซียนไดอยางเต็มภาคภูมิใจ ซึ่งหากสามารถดําเนินการไดแลว ก็จะเปน พื้ น ฐานให ป ระเทศไทย สามารถที่ จะบริ ห ารจั ด การได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น และประหยั ด งบประมาณการ ดําเนินการในระยะยาว
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 25
ประโยชน ที่ ป ระเทศไทยจะได รั บ จากประชาคมอาเซี ย น 1. สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ปองกันความขัดแยงและสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางประเทศสมาชิก ธํารงสันติภาพในภูมิภาค และมีกลไกในการควบคุมการทํางานของภาครัฐใหมีความโปรงใสยิ่งขึ้น โดยประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและรวมแกไขปญหาตาง ๆ มากขึ้น 2. อุปสรรคทางการคาจะลดลงหรือหมดไป ทําใหไทยสามารถขยายการสงออกสินคาไปยังสมาชิกกลุมอาเซียน และการรวมเปนตลาดเดียวกัน จะชวยดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ อีกทั้งการคมนาคมและการขนสงระหวางประเทศ จะมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น 3. ประชาชนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปญหาความยากจนจะลดลง โดยสามารถเขาถึง โอกาส ทางการศึกษาไดอยางทั่วถึง มีสวัสดิการทางสังคมที่มั่นคง และมีสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบตอประเทศไทยในวงกวาง โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ เชน เกิดการจัดระบบ การเพิ่มขึ้นของการคา การลงทุน และการบริการระหวางประเทศ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการขยายตัวของเมือง การบริหารงานชายแดน การคาชายแดน การปฏิสัมพันธทางสังคมอยางใกลชิด การเคลื่อนยายบุคลากรและแรงงานฝมือ และการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร และนอกจากนี้ เพื่อรองรับ และเตรียมการในทิศทางตาง ๆ ที่จะ เกิดขึ้นตอไป กระทรวงกลาโหมเปนหนวยงานรัฐบาลที่อยูภายใตเสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคง รวมทั้งมี ภาระรับผิดชอบในการสนับสนุนเสาหลักเศรษฐกิจ และเสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอีกดวย ซึ่งการ ดําเนินการในการรองรับการเปนประชาคมอาเซียนนั้น กระทรวงกลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียนไดจัดตั้งเวทีในการ ประชุมของฝายทหารขึ้น เพื่อเปดโอกาสใหเจาหนาที่ในระดับผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม ปลัดกระทรวง กลาโหม รั ฐมนตรี ว า การกระทรวงกลาโหม ได มี โ อกาสในการแลกเปลี่ ยนแนวคิด หารื อ และกํ า หนดแนวทางการ ดําเนิน การของกองทัพประเทศสมาชิกอาเซียน โดยไดเริ่ ม ดําเนิ นการมาตั้ง แตป 2549 โดยมีการประชุ มครั้ง ที่ 1 ที่ มาเลเซีย ครั้งที่ 2 ที่สิงคโปร ครั้งที่ 3 ที่ไทย ครั้งที่ 4 ที่เวียดนาม ครั้งที่ 5 ที่อินโดนีเซีย ครั้งที่ 6 ที่กัมพูชา ครั้งที่ 7 ที่ บรูไน และครั้งที่ 8 ทีเ่ มียนมาร ซึ่งดําเนินการในปจจุบันไดพัฒนาไปสูการประชุมของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรี กลาโหมประเทศคูเจรจาอีก 8 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เกาหลีใต รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด ออสเตรเลีย และจีน โดยมีกรอบความรวมที่สําคัญ 2 กรอบความรวมมือ คือ 1. ความรวมมือในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน 1.1. ความรวมมือระหวา งกลาโหมอาเซียนกับองคก รภาคประชาสั งคมในดา นความมั่น คงรู ปแบบใหม (Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil Society Organizations (CSOs) Cooperation on Non – Traditional Security) ริเริ่มโดยประเทศไทย 1.2. เอกสารแนวความคิดเรื่องการใชทรัพยากร และศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือ ดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in humanitarian Assistance and Disaster Relief) ริเริ่มโดยประเทศอินโดนีเซีย 1.3. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยความร ว มมื อ ด า นอุ ต สาหกรรมป อ งกั น ประเทศ ในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) ริเริ่มโดยประเทศมาเลเซีย 1.4. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภาพในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers network) ริเริ่มโดยประเทศไทย/ อินโดนีเซีย
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 26
2. ความรวมมือในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา 2.1. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงทางทะเล (ADMM – Plus : Maritime Security Working Group Concept Paper) มีประเทศมาเลเซีย และออสเตรเลีย เปนประธานรวม 2.2. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง คณะทํ า งานผู เ ชี่ ย วชาญด า นการให ค วามช ว ยเหลื อ ด า น มนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (ADMM – Plus: Concept Paper for the Establishment of an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR)) มีประเทศเวียดนามและจีน เปน ประธานรวม 2.3. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการปฏิบัติการรักษาสันติ (ADMM – Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) มีประเทศฟลิปปนส และ นิวซีแลนด เปนประธานรวม 2.4. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการแพทยทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) มีประเทศสิงคโปร และญี่ปุนเปนประธาน 2.5. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (ADMM – Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group) มีประเทศอินโดนีเซีย และ สหรัฐอเมริกาเปนประธานรวม เละยังมีการประชุมในระดับผูบัญชาการทหารสูงสุด และผูบัญชาการเหลาทัพ และหนวยตาง ๆ ที่ขึ้นตรงของ กองทัพ เชน การประชุมผูบัญชาการทหารสูงสุดแบบไมเปนทางการ (ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting: ADCFIM) การประชุมผูบัญชาการทหารบกอาเซียน การประชุมผูบัญชาการทหารเรืออาเซียน การประชุมผู บัญชาการทหารอากาศอาเซียน และการยิงปนอาเซียน เปนตน จากความรวมมือดังกลาวขางตน จะทําใหแตละประเทศไดรับประโยชนในการดําเนินการ คือ ในระยะแรกของ การเปนประชาคมอาเซียน คือ การขจัดความไมไววางใจระหวางกัน ดังนั้น มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจตาง ๆ เชน การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝก จึงมีความสําคัญอยูในระยะเริ่มตน โดยในระยะตอไป คือ ลดชองวาง และเสริมจุดออนของขีดความสามารถของกองทัพประเทศตาง ๆ เชน การสรางเครือขายศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เพื่อใหมีการแลกเปลี่ยนขีดความสามารถของแตละประเทศดานปฏิบัติการรักษาสันติภาพของทั้ง 5 ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส รวมทั้งขยายขีดความสามารถใหกับประเทศที่ไมมีศูนยฝกดังกลาว ไดใช ประโยชนดวย งานดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน เพื่อใหอาเซียนมียุทโธปกรณที่ผลิตไดในภูมิภาค ซึ่งทํา ใหมีความเชื่อถือไดในดานยุทโธปกรณ และประหยัดงบประมาณดานการปองกันประเทศ เปนตน แผนงานในระยะยาว ของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน คือ แนวความคิดในการใชกองกําลังจากประเทศสมาชิกอาเซียนในดานการ ชวยเหลือดานมนุษยธรรมของอาเซียน และการปฏิบัติการรักษาสันติภาพในอนาคตตอไป อยางไรก็ตาม การดําเนินการ ดังกลาว อาเซียนไมสามารถดําเนินการไดสําเร็จโดยลําพัง ดังนั้น การที่อาเซียนมีกรอบความรวมมือในกรอบการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting – Plus: ADMM-Plus) จะชวยเสริมสรางใหกองทัพอาเซียนสามารถที่จะใชประโยชนจากทรัพยากรบุคคล ขีดความสามารถดาน ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีจากประเทศตาง ๆ ได รวมทั้งยังเปนการสรางความไวเนื้อเชื่อใจของอาเซียนกับประเทศคู เจรจาอีกทางหนึ่งดวย การดําเนินการขางตน พบวา ยังมีอุปสรรคอีกมากมาย ดังนั้น รัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียน ควรใหความสําคัญ กับการแกไขปญหาตาง ๆ กับประเทศเพื่อนบานเปนลําดับแรก โดยเฉพาะความไมชัดเจนของเรื่องเขตแดน ปญหาดาน อื่น ๆ กับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งเปนปจจัยเริ่มตนของการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และจะเปนปจจัยสําคัญในการนําพาเขา สูค วามสําเร็จในระดับอาเซียน และในระดับภูมิภาคตอไป โดยประเทศไทยนั้น ปญหาตาง ๆ กับประเทศเพื่อนบานที่ตอง
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 27
ไดรับการแกไขโดยเรงดวนนั้น หากแกไขในระดับเจาหนาที่ผูปฏิบัติ (Track I) แลวไมสําเร็จ นักวิชาการตาง ๆ (Track II) ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ก็นาที่จะไดรวมมือกันในการแสดงแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ แลวเสนอขอมูลให Track I ดําเนินการตอไป และมีความคาดหวังวา ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และจะเกิดเพิ่มมากขึ้นในอนาคตของ ประเทศไทย จากการรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ยน จะสร า งนั ก วิ ช าการ นั ก วิ จั ย นั ก พั ฒ นา นั ก วิ ท ยาศาสตร นั ก คณิตศาสตร ผูบริหารที่มีความสามารถในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียน และในระดับโลกเกิดขึ้น และหวังวา กลุม บุคคลดังกลาว จะสรางความสําเร็จ ความเจริญรุงเรือง ความสงบสุขใหกับประเทศไทย และภูมิภาคอื่น ๆ ตอไป อยางไรก็ดี อาเซียนเปนภูมิภาคที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติอยางมหาศาล และเปนแหลงผลิต อาหารที่สําคัญของโลก อยางไรก็ตาม ในป 2558 ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในภูมิภาค คือ การเปดประชาคม อาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งจะเปนทั้งปจจัยเสี่ยงและความทาทายของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมของภูมิภาค และการเปดเสรีทางเศรษฐกิจเพื่อใหภูมิภาคอาเซียนกลายเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน จะ กระตุนใหมีการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิกและการเติบโตของภาคการผลิตในอัตราที่เพิ่มขึ้น อันจะเรงใหเกิดการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของภูมิภาค นอกจากนี้ ดวยความแตกตางของ ระดับการพัฒนาและระบอบการปกครองของประเทศในอาเซียน ทําใหบางพื้นที่อาจมีการประกอบการที่ขาดจริยธรรม และการรับผิดชอบตอผลกระทบตอชุมชน และสิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถสรุปผลกระทบคราว ๆ ไดดังนี้
ผลกระทบของการเข า สู ป ระชาคมอาเซี ย นต อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ในอาเซี ย น การเขาสูประชาคมอาเซียนในมิติโครงสรางพื้นฐานและผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 1. โครงสรางพื้นฐานดานพลังงานโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน 1.1. การเขาสูประชาคมอาเซียนของภาคพลังงาน ความรวมมือของอาเซียนดานพลังงานมีขอบเขตภายใต แผนปฏิบัติการความรวมมือดานพลังงานของอาเซียน 3 ฉบับ ปจจุบันอยูในชวงที่สาม 2553-2558 เพื่อเสริมสรางความ มั่นคงดานพลังงาน การเขาถึงและใชพลังงานอยางยั่งยืนสําหรับภูมิภาค และไดจัดทําโครงการที่มีความสําคัญลําดับตน 2 โครงการ คือ โครงขายระบบสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Power Grid) ที่เชื่อมทอเคเบิลใตทะเลหรือบนบกกับโครงขาย ระบบสง ไฟฟ าของกั มพู ช า สปป.ลาว เมี ยนมา ร และเวี ยดนาม และโครงการเชื่อ มโยงท อก า ซธรรมชาติอ าเซี ยนที่ มี เปาหมายพัฒนาโครงขายระบบสงกาซของภูมิภาคใหแลวเสร็จในป 2563 นอกจากนี้ อาเซียนกําลังพิจารณาการวาง 4 โครงสรางพื้นฐานสําหรับขนสงกาซธรรมชาติเหลว (Liquid Natural Gas: LNG) นอกเหนือจากกาซธรรมชาติแลว แมน้ําโขงยังเปนแหลงพลังงานหมุนเวียนที่สําคัญของสมาชิกอาเซียน บางประเทศ ปจจุบันแมน้ําโขงมีเขื่อนกั้นลําน้ําสายหลัก 5 แหง ที่อยูในประเทศจีน และยังมีแผนการกอสรางเขื่อนใน แมน้ําโขงอีก 15 แหง ซึ่งตั้งอยูในจีน 3 แหง กัมพูชา 2 แหง และสปป.ลาว 10 แหง ซึ่งมีเขื่อนปากชมและเขื่อนบานกุมอยู 5 ในพื้นที่ติดตอไทย-ลาว ซึ่งผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานพลังงานเมื่อ เขาสูประชาคมอาเซียน
4
กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. ICEM. (2553). บทสรุปผูบริหาร รายงานฉบับสมบูรณการประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรเกี่ยวกับเขื่อนไฟฟาพลังน้ํา ใน แมน้ําโขงสายหลัก. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง. เขาถึงขอมูลไดจาก http://ns1.mrcmekong.org/ish/SEA/SEA-Summary-final-report-Thai29-3-11-fixname.pdf เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2557. 5
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 28
1) ผลกระทบตอความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศแมน้ําและปริมาณสัตวน้ํา สําหรับการประมง เขื่อนกั้นแมน้ําโขงสายหลักทําใหปริมาณน้ํา ตะกอน สารอาหารที่ไหลไปยังทายน้ํามีปริมาณลดลง สงผลโดยตรงตอความ อุดมสมบูร ณของสิ่ง มีชีวิต ที่อาศัยอยูในน้ํา โดยที่ ผานมาปริมาณตะกอนในลํา น้ําโขงที่ไ หลผ านมายังจั งหวั ดกระแจะ (Kratie) ในกัมพูชา ลดลงถึงรอยละ 55 อีกทั้งเขื่อนยังขัดขวางเสนทางการอพยพของปลา ซึ่งประมาณรอยละ 35 เปน ปลาที่มีการยายถิ่นเปนประจํา สงผลกระทบตอเนื่องไปยังชาวประมงในลําน้ําโขงและประเทศทายน้ํา ทั้งนี้คาดวา หากมี การสรางเขื่อนกั้นลําน้ําโขงตอนลางทั้งหมดตามแผนที่กําหนดไวจํานวนปลาในลําน้ําโขงจะลดลงเหลือเพียง 5.5-8.8 แสน 6 ตัน หรือรอยละ 26-42 ของจํานวนปลาในป 2543 2) ผลกระทบจากการกอสรางระบบสงไฟฟา และการวางทอกาซในทะเลการวางระบบสงไฟฟาบน บกที่เชื่อมโยงระหวางประเทศตางๆ ในอาเซียน อาจมีการวางแนวสายสงที่พาดผานพื้นที่ปา จึงจํา เปนตองแผวถางพื้นที่ เพื่อลําเลียงเครื่องจักรอุปกรณรวมทั้งพื้นที่สําหรับติดตั้งเสา และฐานของสายสง ซึ่งการเปดพื้นที่เหลานี้จะเพิ่มโอกาสใหมี การลักลอบตัดไมทําลายปา และจับสัตวปาเพิ่มมากขึ้น สวนการวางทอกาซธรรมชาติในทะเลนั้น นอกจาก จะกอใหเกิด ผลกระทบตอระบบนิเวศนใตทะเล โดยเฉพาะบริเวณผิวดินทองทะเลระหวางการกอสรางแลว ยังเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุกาซธรรมชาติรั่วไหลในชวงปฏิบัติการดวย 3) การปลดปลอยกาซเรือนกระจก แมวา เขื่อนในลําน้ําโขงตอนลางที่อยูในแผนการกอสรางจํานวน 12 แหง มีความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํารวมกัน 14,697 เมกกะวัตต หรือรอยละ 5-8 ของศักยภาพการ 7 ผลิตไฟฟาในภูมิภาค ซึ่งจะชวยใหภูมิภาคอาเซียนลดการปลอยกาซเรือนกระจก แตโครงการเชื่อมโยงระบบทอกาซ ธรรมชาติจะมีผลในทางตรงขาม เพราะกาซธรรมชาติจัดเปนเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทหนึ่งการปลดปลอยกาซเรือนกระจก แมวาเขื่อนในลําน้ําโขงตอนลางที่อยูในแผนการกอสรางจํานวน 12 แหง มีความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํา 8 รวมกัน 14,697 เมกกะวัตต หรือรอยละ 5-8 ของศักยภาพการผลิตไฟฟาในภูมิภาค ซึ่งจะชวยใหภูมิภาคอาเซียนลดการ ปลอยกาซเรือนกระจก แตโครงการเชื่อมโยงระบบทอกาซธรรมชาติจะมีผลในทางตรงขาม เพราะกาซธรรมชาติจัดเปน เชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทหนึ่ง 2. โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง 2.1. การเขาสูประชาคมอาเซียนของภาคคมนาคมขนสง ความรวมมือของอาเซียนในการสรางถนน และทางรถไฟมีเปาหมายเพื่อเชื่อมโยงประเทศสมาชิกและ ประเทศนอกภูมิภาคเขาดวยกัน เพื่อใหสามารถเดินทาง ขนสงไดอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย โดยมี 2 โครงการสําคัญ คือ โครงการทางหลวงอาเซียน เปนสวนตอขยายของโครงขายทางหลวงสายเอเชียสวนที่อยูในอาเซียนที่ไมสมบูรณ ซึ่ง สว นใหญ อยู ในเมี ยนม าร ยาว 227 กิ โลเมตรรวมทั้ง ยัง มี ถนนที่ ต่ํา กว ามาตรฐานชั้ น 3 อี กกวา 5,300 กิ โลเมตร และ โครงการทางรถไฟสายสิงคโปร- คุนหมิง ซึ่งมีเสนทางที่ขาดหายอยูหลายชวง โดยเฉพาะเสนทางรถไฟฝงตะวันออก (ไทย กัมพูชา และเวียดนาม) รวมถึงความรวมมือดานการขนสงทางทะเล โดยกํา หนดใหทาเรือ 47 แหงเปนทาเรือหลักใน โครงขายการขนสงอาเซียน (Trans-ASEAN Transport Network) เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงสินคา รวมทั้ง 9 ระบบโลจิสติกสทางบก
6
Ibid. Ibid. 8 Ibid. 9 กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. 7
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 29
2.2. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมเมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน 1) การขยายตัวของเมืองอยางไรระบบ การกอสรางถนน และระบบคมนาคมขนสงของโครงการทาง หลวงอาเซียน มีสวนสงเสริมใหเกิดการขยายตัวของเมืองตามแนวริมถนน หากไมมีการเตรียมพรอมเรื่องการวางผังเมืองที่ คํานึงถึงศักยภาพดานเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมของพื้นที่อยางเหมาะสม 2) การปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศมีแนวโนมเพิ่มขึ้น การเปดดานการคา และจุด ผอนปรนการคาตามแนวชายแดนไทย จะทําใหมีการจราจรไปมาระหวางประเทศมากขึ้น แตปจจุบันประเทศเพื่อนบานยัง มีกฎระเบียบในการควบคุมสภาพยานพาหนะไมเขมงวดทัดเทียมกับไทย อันจะกลายเปนแหลงกํา เนิดมลพิษทางอากาศ เพิม่ ขึ้น นอกจากนี้ปริมาณการเดินทางโดยรถยนตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนใหญยังคงใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนหลัก จะทําใหปริมาณ การปลดปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นตามไปดวย 3) การลักลอบขนยายและทิ้งขยะและสารอันตรายขามแดน แมวา ประเทศเพื่อนบานของไทย สวนมากจะเปนภาคีอนุสัญญาบาเซลวาดวยการควบคุมการเคลื่อนยายของเสียอันตรายขามแดนและการกํา จัดแลวก็ ตามแตปจจุบันขอกําหนดเรื่องการหามการสงออกของเสียอันตรายยังไมมีผลบังคับใชจึงอาจมีการลักลอบทิ้งขยะอันตราย ในไทยมากขึ้น 4) การทําลายทรัพยากรชายฝงและปาชายเลน การเชื่อมโยงอาเซียนดานการขนสงทางทะเล อาจ เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดอุบัติภัยทางเรือ น้ํามันรั่วไหล รวมทั้ง การทําลายปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น
ความพร อ มขององค ก รในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่ อ เข า สู ป ระชาคมอาเซี ย น 1. ความทาทายดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน จาก ผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจากการเปดประชาคมอาเซียน สามารถสรุปประเด็นทายทายดานการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของอาเซียนไดดังนี้ 1.1. การใชทรัพยากรเกินขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ จะถูกนําไปใชจนเกินขีดความสามารถในการรองรับ โดยเฉพาะกลุมประเทศที่มีรายไดต่ําจะใชความไดเปรียบจาก ความมั่ งคั่ งเหล านี้ ซึ่ งจะทํ าใหเ กิด การปรับ เปลี่ยนการใช ที่ดิ นเพื่อ ขยายกํา ลัง การผลิต การเพิ่ มขึ้ นของอัต ราการใช ทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน ทั้งในดานพลังงาน การคมนาคมขนสง การทองเที่ยว อันจะ สงผลใหเกิดการบุกรุกพื้นที่ปาไมและการรุกล้ําระบบนิเวศเพิ่มขึ้น และนําไปสูการสูญเสียความหลากหลายของพันธุพืช และพันธุสัตวที่อาศัยอยูในระบบนิเวศเหลานั้น ซึ่งหากอาเซียนยังไมมีมาตรการควบคุมดูแลอยางมีประสิทธิภาพแลว จะ ทําใหการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติไมมีความยั่งยืน 1.2. กาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศ การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง และ โลจิสติกส จะกระตุนใหเกิดการเดินทางไปมาระหวางประเทศและเกิดการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น จะสงผลให ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศอื่น ๆ เพิ่มขึ้นตามไปดวย 1.3. ปญหาขยะและน้ําเสีย ปริมาณขยะและน้ําเสียจะเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ทั้งจากการทองเที่ยวและการผลิต รวมถึงการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วขึ้น
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 30
1.4. ปญหามลพิษขามแดน เนื่องจาก การควบคุมและบังคับใชกฎเกณฑดานสิ่งแวดลอมของประเทศใน อาเซียนมีมาตรฐาน และความเขมงวดตางกัน การเปดประชาคมอาเซียน จึงอาจทําใหปญหาการลักลอบทิ้งสารอันตราย 10 ขามแดน หรือการยายฐานการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษมากขึ้น 2. ความพรอมขององคกรตาง ๆ ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.1. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใตความรวมมืออาเซียน 1) หลักการและการดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของอาเซียน การประชุมสุด ยอดเรื่องสิ่งแวดลอมและมนุษย ณ กรุงสตอกโฮลม (Stockholm Conference on Human and Environment) เมื่อป 2510 ทําใหอาเซียนมีความตระหนักและไดบูรณาการประเด็นสิ่งแวดลอมเขาเปนสวนหนึ่งของวาระการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม โดยอยูบนพื้นฐานการบริหารจัดการในระดับประเทศเปนหลัก ภายใตหลักความรับผิดชอบรวมกันในระดับที่ แตกตางกัน (Common but Differentiated Responsibilities) กลาวคือ ประเทศสมาชิกตองเห็นชอบในมาตรการ ตาง ๆ รวมกัน ตัดสินใจเรื่องแนวทางดําเนินการ และมีสวนรวมดําเนินการตามศักยภาพและระดับการพัฒนาของแตละ ประเทศ ซึ่งอาเซียนไดกําหนดกลไกการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมไวชัดเจนใน ASEAN Charter รวมทั้งกําหนด เปาหมายและแผนงานใน Roadmap ที่มุงพัฒนาอาเซียนไปสูการเปนเศรษฐกิจสีเขียว (Green ASEAN) โดยมุงเนนเรื่อง การนําเครื่องมือดานกลไกตลาดมาใชมากขึ้น การลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบจากภัยพิบัติการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเผาและไฟปา แหลงน้ํา จืด ทองทะเล และระบบนิเวศชายฝง การลดอัตราการตัดไม ทําลายปา และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เมืองที่มีสิ่งแวดลอมยั่งยืน ประเด็นดานสิ่งแวดลอมของโลก ความ เขมแข็งของสถาบันและกรอบนโยบายระดับภูมิภาค นอกจากนี้ อาเซียนยังไดรวมกันจัดทํา กรอบแผนงานรายสาขาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Multi-sectoral Framework on Climate Change and Food Safety: AFCC) เพื่อการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการจัดการปาไม อยางยั่งยืน (Sustainable Forest Management: SFM) เพื่อสงเสริมการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนในอาเซียน และสนับสนุนความริเริ่มในการบังคับใชกฎหมายปาไมและหลักธรรมาภิบาล (Forest Law Enforcement, Governance and Trade: FLEGT) 2) ความพร อ มของอาเซี ย นในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่ อ เข า สู ประชาคมอาเซียน อาเซียนถือกําเนิดมาจากการแสวงหาสันติภาพและสรางความมั่นคงของภูมิภาค รวมทั้งการสงเสริม ความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมบนพื้นฐานของหลักการวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ซึ่งประกอบดวย (1) การไมแทรกแซงกิจการภายใน (Non-Interference) (2) การสรางฉันทามติ (Consensus Building) และ (3) การดําเนินการเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดของประเทศเปนสําคัญ (Preference for National Implementation of Programs)
10
นิรมล สุธรรมกิจ และคณะ. (2556). รายงานความกาวหนา โครงการการเปรียบเทียบมาตรการดานสิ่งแวดลอมของสมาชิกประเทศอาเซียน. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ; Jarayab hand, S. et al. (2010). Final Report Establishment of knowledge and network of researchers on environment and climate change in Thailand and neighboring countries (CLMV-T). Thailand Research Fund.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 31 11
แมวา หลักการดังกลาวจะชวยใหอาเซียนสามารถตกลงรวมมือกันเขาสูประชาคมอาเซียนได แต 12 หลักการดังกลาวกลับกลายเปนขอจํากัดของอาเซียนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลาวคือ (1) การไมแทรกแซงกิจการภายในอยางเครงครัดกลายเปนอุปสรรคตอการยอมรับมาตรการที่ 13 14 เปนไปไดในทางปฏิบัติรวมกัน เชน กรณีการแกปญหาหมอกควันขามแดน ที่อินโดนีเซียรวมลงนามความตกลงอาเซียน วาดวยมลพิษจากหมอกควันขามแดนลาชา ทั้งที่เปนตนกําเนิดของไฟปาและมลพิษ (2) การสนับสนุนทรัพยากรที่ไ มเพียงพอ กลาวคือ อาเซียนยั งขาดบุคลากรผูเชี่ยวชาญ แหล ง 15 เงินทุน และการสนับสนุนเชิงองคกร (3) ขอมูลที่ไมเพียงพอ สงผลใหเกิดขอจํากัดในกลไกการติดตามตรวจสอบ ที่ไมสามารถดําเนินการ ไดอยางมีประสิทธิผล (4) การขาดกลไกแกไขขอพิพาท เนื่องจาก วิถีอาเซียนมุงเนนการตัดสินใจดวยกระบวนการสราง 16 ฉันทามติ สง ผลใหอ าเซี ยนมั กจะหลี กเลี่ ยงข อขั ดแย งแทนที่จะใชกลไกแกไขขอ พิพาทที่มี การเจรจาตอรองบนพื้ น ฐานขอมูลทางวิทยาศาสตรอยางโปรงใสและเปนธรรม และ (5) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของอาเซียนไมมีประสิทธิผล ขาดการประสานงานภารกิจ 17 หลายสวนซ้ําซอนและขัดแยงกันเอง 2.2. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใตความรวมมือระดับอนุภูมิภาค : อนุ ภูมิภาคลุมน้ําโขง (GMS) 1. ทิศทางในการดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ GMS อยูภายใตการกํากับ ดูแลของคณะทํางานดานสิ่งแวดลอม (WGE) ซึ่งมีองคประกอบเปนรัฐมนตรีดานสิ่งแวดลอมของประเทศสมาชิก ตาม กรอบ CEP-BCI ซึ่งมุงสงเสริมการลงทุนพัฒนาในแนวพื้นที่เศรษฐกิจ GMS และพื้นที่ตอเนื่องพรอมกับบริหารจัดการดาน ความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมของ GMS ในป 2556 มีแนวทางและแผนงานสําคัญ คือ (1) การปรับปรุงระบบงานการวางแผนดานสิ่งแวดลอม ทั้งดานแผนกลยุทธมาตรการปองกันและ การติดตามประเมินผล เชน การประเมินตนทุนทางธรรมชาติในแหลงคุมครอง การพิจารณากรอบการลงทุนระดับภูมิภาค (Regional Investment Framework) ที่เหมาะสม
11
Taguchi, H. (2011). Regional issues in environmental management. In Broniewicz, E. (Ed.), Environmental Management in Practice (pp.67-84). DOI: 10.5772/17267; Goh, G. (2003). The ‘ASEAN Way’ non-intervention and ASEAN’s role in conflict management. Stanford Journal of East Asian Affairs, 3(1), pp. 113-118. 12 Middleton, C. (2012). ASEAN, Economic integration and regional environmental governance: Emerging norms and Transboundary environmental justice. Unpublished paper presented at The 2nd International Conference on Inter-national Relations and Development, Chieng Mai, Thailand. 13 Koga, K. (2010). The normative power of the “ASEAN Way.”: Potentials, limitations and implications for East Asian regionalism. Stanford Journal of East Asian Affairs, Winter, 80-94. Retrieved from http://www.academia.edu/4027546/The_ Nortmative_Power_of_the_ASEAN_Way_ 14 Nesadurai, H. E. S. (2008). The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN). Global Monitor, 13(2), pp. 225-239. 15 Kheng-Lian, K. & Robinson, N. A. (2002B). Strengthening sustainable development in regional intergovernmental governance: Lessons from the “ASEAN Way.” Singapore Journal of International and Comparative Law, 6, pp. 640-682 16 Ibitz, A. (2012). Environmental policy coordination in ASEAN: The case of waste from electrical and electronic equipment. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 5(1), pp. 30-51. 17 Elliott, L. (2003). ASEAN and environmental cooperation norms, interests and identity. The Pacific Review, 16(1), pp. 29-52.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 32
(2) การบริหารจัดการและติดตามผลดานความหลากหลายทางชีวภาพขามแดน เชน การเสริมสราง ความเขมแข็งตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจ การศึกษาเพื่อจัดทําหวงโซเพิ่มมูลคาทีย่ ั่งยืน (3) การพัฒนายุทธศาสตรดานการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการลดการปลอยคารบอน และ (4) การจัดการดานเงินทุนและการเสริมสรางองคกรดานสิ่งแวดลอม ประกอบกับคํานึงถึงประเด็น ความเทาเทียมทางเพศของบุคลากร และการจัดเตรียมงานสัมมนานานาชาติ GMS ในป 2563 ซึ่งจะมีจุดเนนเรื่อง สิ่งแวดลอม 2. ความพร อ มของ GMS ในการบริห ารจั ดการทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดลอ ม เมื่อ เข า สู ประชาคมอาเซียน แมวา วัตถุประสงคหลักดั้งเดิมของ GMS คือ การสงเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและยกระดับความ เปนอยูของประชาชนในภูมิภาค แตภายหลังป 2548 เปนตนมา GMS โดยการสนับสนุนของ ADB ไดใหความสําคัญกับ การปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้นตามลําดับ อยางไรก็ดี ประเทศสมาชิกยังไมมีค วามมุงมั่นจริงจังในการแกปญหาทรัพ ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมที่เพียงพอ ดังจะเห็นไดจากการที่ง บประมาณสวนใหญในการดําเนินโครงการของ GMS ในการเสริมสราง สมรรถนะของประเทศดานสิ่งแวดลอมและการคามาจากความชวยเหลืออยางเปนทางการ (Official Development Assistance: ODA) ของประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และหนวยงานระหวางประเทศ เชน 18 UNDP และ OECD เปนตน 2.3. กรอบความรวมมือการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย (IMT-GT) 1. แนวทางการดําเนินงานของคณะทํางานดานเกษตร อุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม ภายใต IMT-GT ในชวงกรอบแผนงาน IMT-GT ระยะที่ 2 (IMT-GT Implementation Blueprint 2012-2016) ยังคงใชกรอบการ พิจารณาขอเสนอโครงการแบบลางสูบน (Bottom-Up) ภายใตกลไกการกลั่นกรองขอเสนอโครงการจากระดับพื้นที่ หรือ มุขมนตรี และผูวาราชการจังหวัด (Chief Ministers and Governors’ Forum: CMGF) กลาวคือ มุงเนนการพัฒนาที่ สรางความเติบโตอยางเทาเทียมกันของคนทุกกลุมในสังคม และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ประเทศสมาชิก IMT-GT ได รวมกันจัดทํากรอบความรวมมือที่ตองการการประกอบการที่มีจริยธรรม เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยไดรวมกันราง ขอบเขตการดําเนินงาน เมื่อกรกฎาคม 2556 ณ ประเทศมาเลเซีย เพื่อจัดเตรียมกลไก และมาตรการรองรับดานการ พัฒนาฐานวัตถุดิบ และการแปรรูปการเกษตรที่คํานึงถึงผลกระทบสิ่งแวดลอม 2. ความพรอมของ IMT-GT ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน IMT-GT ก็มีลักษณะเชนเดียวกับ GMS คือ มีจุดมุงเนนที่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก โดย ใหความสําคัญกับพื้นที่เชื่อมตอระหวางประเทศ จึงไมมีกลไกและประเด็นการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมโดยตรง อยางไร ก็ดี การที่ WG-AAE ไดเริ่มบูรณาการประเด็นสิ่งแวดลอมไว ในกรอบความรวมมือและมาตรฐานวัตถุดิบ และการแปรรูป เกษตรที่คํานึงถึงผลกระทบสิ่งแวดลอม แสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่ IMT-GT อาจมีการขยายขอบเขตการดําเนินงานดาน สิ่งแวดลอมมากขึ้นในอนาคต
18
Dosch, J. (2010). Balancing trade growth and environmental protection in ASEAN: Environmental issues in trade and investment policy deliberations in the Mekong subregion. TKN Series on Trade and Environment in ASEAN – Policy Report, 2.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 33
2.4. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) 1. บทบาทของ MRC เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน การกาวเขาสูประชาคมอาเซียนจะกระตุนให ประเทศสมาชิก MRC ที่อยูบริเวณตนน้ําโขง เรงใชประโยชนจากแมน้ําโขงมากขึ้นเพื่อเสริมสรางโอกาสทางเศรษฐกิจ ใหกับประเทศตนเอง เชน การกอสรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาของสปป.ลาว และการผันน้ําจากแมน้ําโขงมาใชในไทย ซึ่งจะสงผลกระทบตอความสมดุลของระบบนิเวศและการใชประโยชนจากลําน้ําโขงของประเทศที่อยูทายน้ํา คือ กัมพูชา และเวียดนาม ดังนั้น โครงการพัฒนาเพื่อใชประโยชนจากลําน้ําโขงในสปป.ลาวก็จะสงผลกระทบในรูปแบบเดียวกันตอ ไทย อยางไรก็ดีตลอดเวลา 18 ปที่ผานมา บทบาทสวนใหญของ MRC จํากัดอยูเพียงการพัฒนาองคความรู และการ เสริมสรางศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืนใหกับประเทศสมาชิก โดยยังไมสามารถพัฒนาขอตกลง 19 หรือกลไกที่ชัดเจนในการควบคุมการใชประโยชนจากแมน้ํา โขงได ทั้งนี้ ขอตกลงในป 2538 กําหนดไวเพียงวาการใช ประโยชนจากแมน้ําโขงตองอยูภายใตการใชสิทธิอยางเปนธรรมและสมเหตุสมผล ซึ่งไมมีผลผูกมัดที่ เปนรูปธรรม ทําให ปจจุบันประเทศสมาชิกยังคงสามารถใชประโยชนจากแมน้ํา โขงในเขตอธิปไตยของตนเองไดเชน การกอสรางเขื่อน และ การผันน้ํา โดยเพียงแตตองแจงใหกรรมาธิการรวม (Joint Committee) ของ MRC รับทราบกอนเทานั้น 2. ความพรอมของ MRC ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเมื่อเขาสูประชาคม อาเซียน จากที่ในปจจุบันมีบางประเทศที่แมน้ําโขงไหลผาน แตไมไดเขารวมเปนสมาชิกของ MRC คือ จีน และเมียนมาร ซึ่งมีฐานะเปนเพียงประเทศผูสังเกตการณเทานั้น ประกอบกับการที่ประเทศสมาชิก โดยเฉพาะ ไทย และสปป.ลาว ยังคง ตองการใหประเทศของตนเองสามารถดําเนินโครงการพัฒนาแหลงน้ํา เพื่อใชประโยชนจากแมน้ําโขงไดอยางเสรี และ ตองการให MRC เปนเพียงองคกรที่มีบทบาทในดานการดําเนินโครงการพัฒนาภูมิภาค โดยอาศัยเงินทุนจากภายนอกเปน หลัก จึงเปนขอจํากัดสําคัญที่ MRC ไมอาจเพิ่มบทบาทใหครอบคลุมทุกมิติของการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืนได อยางไรก็ดี แมวา MRC จะไมมีอํานาจในการควบคุมการใชประโยชนดังกลาวจากแมน้ําโขงได แต MRC จะยังคงมีบทบาท สําคัญในการพัฒนาความสามารถในการปรับตัว และถายทอดองคความรูใหกับประเทศ หรือชุมชนที่ไดรับผลกระทบ 2.5. ความพรอมของไทยในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. ความทาทายของไทยเมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ปจจุบันกลไกหลักที่ใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายในไทยมีลักษณะเปน การบังคับและควบคุมโดยการใชกฎหมายและกฎระเบียบที่มีการกําหนดบทลงโทษ ตัวอยางเชน พระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวของ ซึ่งกําหนดใหมีมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม ในดานตาง ๆ โดยการควบคุมปริมาณการปลอยมลพิษที่แหลงกําเนิด เชน คุณภาพแหลงน้ํา อากาศ เสียง รวมถึงกฎหมาย ดานการคุมครองพื้นที่ปาไม ไดแก พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2485 พระราชบัญญัติอุทยาน แหงชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในปจจุบันมี มากกวา 60 ฉบับ กระจายความรับผิดชอบไปตามหนวยงานตาง ๆ กวา 11 กระทรวง ทั้งที่เปนหนวยงานในสวนกลาง และเจา พนักงานทองถิ่นเปนผูรักษา และบังคับใชกฎหมาย ซึ่งนอกจาก พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม แหงชาติ พ.ศ. 2535 และกฎหมายดานการคุมครองพืน้ ที่ปาไมที่กลาวไปแลวขางตน ยังมีกฎหมายฉบับอื่นอีกจํานวนมาก อาทิ พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย พ.ศ. 2522 พระราชบั ญ ญั ติ ป โ ตรเลี ยม พ.ศ. 2521 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2535 19
Backer, E. B. (2007) The Mekong River Commission: Does It Work, and How Does the Mekong Basin’s Geography Influence Its Effectiveness? Journal of Current Southeast Asian Affairs, 25(4), pp. 32-56.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 34
อยางไรก็ตาม เนื่องจาก กฎหมายแตละฉบับขางตนมีวัตถุประสงคเฉพาะดานประกอบกับกฎหมาย หลายฉบั บ ที่ใ ช อ ยู ยั ง มี ค วามล า สมั ย ทํ า ให ข อ กํา หนดในกฎหมายจึ ง ยัง คงมี ช อ งวา งและข อ จํา กั ด ในด า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภาพรวม นอกจากนี้ การขาดงบประมาณ และกําลังคนที่เพียงพอยังทําใหภาครัฐไม สามารถบังคับใชกฎหมายเหลานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหเกิดความสูญเสียของทรั พยากร และการรั่วไหลของ มลพิษ อีกทั้งกลไกที่เนนการสั่งการและควบคุม ซึ่งไมเอื้อตอการมีสวนรวมของชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ยัง สงผลใหเกิดความขัดแยงในการบังคับใชกฎหมายระหวางภาครัฐ และประชาชนอีกดวย ทั้งนี้ หากพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปดประชาคมอาเซียนตอประเทศไทย พบวา กลไกที่มีอยูยังไมครอบคลุมประเด็นความเสี่ยงตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่จะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ประเด็นสําคัญที่ ประเทศไทยยังไมพรอมในการรับมือกับผลกระทบจากการเปดประชาคมอาเซียน ประกอบดวย (1) การลดปริมาณขยะจากการอุปโภคและบริโภค การเขาสูประชาคมอาเซียนจะทําใหการนําเขาสินคาประเภทตาง ๆ เปนไปอยางเสรี มากยิ่งขึ้น ประกอบกับไทยมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวาประเทศเพื่อนบาน ดังนั้นจึงมีแนวโนมที่จะนํา เขาสินคาเหลานี้ได มาก ซึ่งจะสงผลใหปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกัน การเปดเสรีภาคบริการอาจสงผลใหแรงงานตางดาวมีแนวโนม เขามาทํางานในไทยมากขึ้น เนื่องจาก คาตอบแทนที่สูงกวา แรงงานตางดาวเหลานี้ จึงเปนประชากรกลุมสําคัญที่จะเพิ่ม ปริมาณขยะใหมากขึ้น นอกจากนี้ คาดวา ภาคการทองเที่ยวของไทยอาจไดรับผลบวกจากการเขาสูประชาคมอาเซียน ซึ่ง จะเปนผลใหนักทองเที่ยวมีจํานวนมากขึ้น และทําใหมีปริมาณขยะจากการทองเที่ยวเพิ่มขึ้นตามมา (2) การลดปริมาณการใชน้ํา และการจัดการคุณภาพน้ํา การเขาสูประชาคมอาเซียนนั้น นอกเหนือไปจากจะทําใหจํานวนประชากรแรงงานและ นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น และสงผลใหปริมาณความตองการใชน้ําในการอุปโภคและบริโภคเพิ่มขึ้นแลว ยังทําใหมีการขยายตัว ของภาคการผลิตโดยเฉพาะในบริเวณเขตเศรษฐกิจพิเศษตาง ๆ ที่ภาครัฐไดจัดเตรียมไว ซึ่งจะยิ่งเพิ่มปริมาณความตองการ ใชน้ําของภาคอุตสาหกรรม อันจะนําไปสูความขัดแยงดานการใชทรัพยากรน้ําระหวางภาคอุตสาหกรรมกับภาคการเกษตร ที่มีอยูแลวใหทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ยิ่งไปกวานั้น กลไก และสถานภาพการลงทุนของรัฐดานการบําบัดน้ําเสียยังไมเขมแข็ง และเพียงพอ จึงไมสามารถเพิ่มปริมาณน้ําใชหมุนเวียน (Recycled Water) ที่เหมาะสมกับการใชประโยชนบางประเภท ได (3) การลดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงาน และการขนสง เดินทาง ผลเด นชั ดที่ จะเกิ ดขึ้ นเมื่อ มี การเขา สูป ระชาคมอาเซี ยนประการหนึ่ง คือ การขนส ง เดินทางที่เพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากความเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐานในการคมนาคม โดยเฉพาะโครงการทางหลวง อาเซียน ที่จะรองรับปริมาณการขนสงทางรถยนตที่เพิ่มมาก นอกจากนี้ ความเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐานทางพลังงาน จะกระตุนใหความตองการใชไฟฟาเพิ่มมากขึ้น สงผลใหมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มตามไปดวย (4) การควบคุมผลกระทบตอสิ่งแวดลอม อันเนื่องมาจาก การกอสรางและกิจกรรมเกี่ยวเนื่องของโครงการลงทุนดานโครงสราง พื้นฐาน ในชวงระยะเวลาของการกอสรางของโครงการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงอาเซียนนั้น จะกอใหเกิด ความเสี่ยงตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น ทั้งในเรื่องของโอกาสที่จะเกิดอุบัติภัยและความเดือดรอนรําคาญ ตอประชาชนที่อยูในบริเวณใกลเคียง ดังนั้น การศึกษาเรื่องขีดความสามารถของทรัพยากรในการรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ และขีดความสามารถในการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity) ของทางทรัพยากรที่ดิน ทรัพยากรน้ํา คุณภาพ อากาศ และทรัพยากรปาไม จึงมีความสําคัญมาก ในการวางแผนและประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 35
2. นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศไทย 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ปจจุบัน ประเทศไทยไดป ระกาศใชแผนพัฒนาฯ ฉบั บที่ 11 ซึ่ง มีเปาหมายเพื่อใหสังคมอยู รวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง โดยยึดแนวพระราชดํา รัส เศรษฐกิจพอเพียง มี คนเปน ศูนยก ลาง ซึ่ งการพั ฒนาในแผนพั ฒนาฯ ฉบับที่ 11 ได กําหนดยุทธศาสตรที่สํ าคัญ 6 ยุทธศาสตรครอบคลุมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอย างยั่งยืน เปนยุทธศาสตรหนึ่งที่ เกิดขึ้นจากการวิเคราะหสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นทั้งทรัพยากรปาไมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรแรและพลังงาน มลพิษปริมาณของเสียและวัตถุอันตราย รวมทั้ง สถานภาพการบริหารจัดการและพันธกรณีตาง ๆ แลวทําการประเมินความเสี่ยงตางๆ ที่จะเกิดขึ้น เพื่อเตรียมการรับมือ และสร า งภู มิ คุ มกั น จากนั้ น ทํ า การกํ าหนดวั ต ถุ ป ระสงค เ ป า หมาย ตั ว ชี้ วั ด และแนวทางการพั ฒนา โดยได กํ า หนด วัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษและฟนฟูควบคูไปกับการผลิตการบริโภคที่เปนมิตรและมีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ พรอมตั้งเปาหมายเพิ่มพื้นที่ปาไมใหไดรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพิ่มพื้นที่ปาชายเลนไมนอยกวาปละ 5,000 ไร เพิ่ม พื้นที่ชลประทานเฉลี่ยปละ 200,000 ไร เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนความมั่นคง ดานอาหาร พัฒนาคุณภาพแหลงน้ํา และแมน้ําสายสําคัญใหอยูในเกณฑตั้งแตพอใชขึ้นไปไมนอยกวารอยละ 80 คุณภาพ อากาศอยูในเกณฑมาตรฐาน การจัดการขยะใหถูกหลักสุขาภิบาลเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 50 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการนําขยะกลับมาใชใหมไมนอยกวารอยละ 30 โดยที่ชุมชนสามารถอยูรวมกับปาไดอยางยั่งยืน และมีตัวชี้วัดตาม เปาหมายที่กําหนดไว 2. นโยบายรัฐบาล ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานของอาเซียนมาโดยตลอด ในฐานะที่อาเซียนเปนกลุม ภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยรัฐบาลไดใชนโยบาย ASEAN First Policy คือ อาเซียนตองมากอน และรัฐบาลไดใหความสํา คัญตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยกํา หนดเปนนโยบาย เรงดวน สงเสริมใหมีการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ และเรงรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน โดยเรงใหบริหารจัดการ น้ําอยางมีประสิทธิภาพ สามารถปองกันปญหาอุทกภัย และภัยแลงไดรวมทั้งสนับสนุน ภาคการเกษตร และกําหนด นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย การ อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง การดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมการ สงเสริมและสรางความตระหนัก และจิตสํานึกดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการพัฒนาองคความรูในการ บริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งไดกําหนดนโยบายการตางประเทศ และเศรษฐกิจระหวาง ประเทศเพื่อเรงสงเสริม และพัฒนาความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน และสรางความสามัคคีและสงเสริมความรวมมือ ระหวางประเทศอาเซียน เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และเตรียมความพรอมของทุกภาคสวนใน การเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 ทั้งในดานเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมและความมั่นคง 3. ยุทธศาสตรประเทศไทย รัฐบาลไดตระหนักถึงความสําคัญในการเขาสูประชาคมอาเซียน จึงไดเตรียมการหลายดานมา อยางตอเนื่อง เพื่อจัดทํายุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน 8 ดาน ซึ่งประเด็นดานสิ่งแวดลอมไดผนวกรวมอยูกับ เรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการคุมครองทางสังคม รัฐบาลไดมอบหมายใหสวนราชการตาง ๆ รวมกันบูรณาการ ยุทธศาสตรประเทศ และยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียนเขาไวดวยกัน เปนยุทธศาสตรประเทศไทย
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 36
ยุทธศาสตรประเทศไทย “เปนแนวทางขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มศักยภาพของประเทศไทยใหมีขีด ความสามารถในการแขงขันที่สูงขึ้น ลดความเหลื่อมล้ํา สงเสริมการเติบโตอยางเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และประสานให ทุกหนวยงานทั้งภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคสังคมตาง ๆ เขาใจและเขารวมในการพัฒนาประเทศ พัฒนาบุคลากร โดยมีเปาหมายไปสูอนาคตที่มั่นคง ยั่งยืนและสมดุลของประเทศ” ทั้งนี้ ยุทธศาสตรหลักประกอบดวย (1) ยุทธศาสตรการสรางความสามารถในการแขงขัน (Growth & Competitiveness) (2) ยุทธศาสตรการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตรการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Growth) (4) ยุทธศาสตรการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) โดยมียุทธศาสตรหลัก คือ ยุทธศาสตรการสรางการเติบโตที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Growth) ซึ่งกําหนดมาตรการสําคัญ ไดแก ความมั่นคงทางพลังงานและพลังงานที่เปนมิตรสิ่งแวดลอม เมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ/เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การรับมือและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนโยบายการคลัง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยมี เ ป า หมายให เ กิ ด การอนุ รั ก ษ แ ละใช พ ลั ง งาน ลดการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มพื้นที่ปา สงเสริมใหเกิดการผลิตการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและพัฒนาเศรษฐกิจ ควบคูไปกับการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน พรอมกําหนดแนวทางดังนี้ 1) การอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มพื้นที่ปา เพื่อสรางความสมดุลใหกับระบบ นิเวศ และเปนฐานในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน สงเสริมการปลูกปาแบบมีสวนรวมสงเสริมการปลูกไมเศรษฐกิจโดย พัฒนารูปแบบ และกลไกทางการเงินเพื่อสงเสริมการปลูกไมสัก และไมมีคาทางเศรษฐกิจ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มในระยะยาว เชน ธนาคารตนไม พันธบัตรปาไม รวมทั้งพัฒนาเศรษฐกิจจากการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืนใหไดรอยละ 40 (128 ลานไร) โดยมีโครงการสําคัญ ไดแก โครงการปลูกปาและฟนฟูปาตนน้ํา และโครงการประชาอาสาปลูกปา 800 ลานกลา 80 พรรษามหาราชินีพื้นที่ 224,059 ไร (ภายใตงบเงินกู 3.5 แสนลานบาท) 2) การลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยลดการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ขนสงและ ครัวเรือน รวมทั้งสนับสนุนการใชพลังงานทดแทน โครงการที่สํา คัญ เชน โครงการพัฒนาเครื่องมือกลไกในการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจกของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม งบประมาณดาเนินงานป 2556-2561 จํานวน 9,899.84 ลานบาท (ป 2557 จํานวน 1,419.83 ลานบาท) ประกอบดวยกิจกรรม อาทิ การเพิ่มประสิทธิภาพการปองกัน ไฟปาและควบคุมหมอกควัน การพัฒนาตลาดฉลากคารบอน และการปลูกเสริมและฟนฟูพื้นที่ปาอนุรักษในเขตพื้นที่สวน 20 ปาเศรษฐกิจ เพื่อเปนแหลงดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด เปนตน 3) การบริหารจัดการภัยพิบัติและการบริหารจัดการน้ํา โดยเนนยุทธศาสตรเชิงรุก เชน การ จัดตั้งศูนยปฏิบัติการเพื่อสั่งการโดยตรงสูพื้นที่ประสบภัยไดอยา งทันทวงที รวมทั้งบูรณาการการลงทุนในโครงสราง พื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานใหสอดคลองกับแผนงานปองกันภัยพิบัติ โดยปจจุบัน รัฐบาลอยูระหวางการ ดําเนินโครงการระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา อยางยั่งยืน และระบบแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศไทย วงเงิน 291,000 ลานบาท ประกอบดวย 6 แผนงานหลัก คือ (1) การกอสรางอางเก็บน้ํา (2) การจัดทําผังการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่ปดลอมชุมชน (3) การปรับปรุงพื้นที่เกษตรเพื่อกักเก็บน้ําหลากชั่วคราว (4) การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลัก 20
สํานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). ยุทธศาสตรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2556-2561 ฉบับ ทบทวนสอดคลอ งกับ ยุทธศาสตรป ระเทศ (Country Strategy) และขอ มูลโครงการสํา คัญ (Flagship Project). เขา ถึง ได จ าก http://lib.mnre.go.th/book/yudtasat56-61.pdf. เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2557.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 37
(5) การจัดทําทางผันน้ํา และ (6) ระบบคลังขอมูลน้ํา 4) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานควบคูกับการรักษาสิ่งแวดลอม เปนปจจัยที่ชวยเชื่อมประสาน ยุทธศาสตรการเติบโตแบบสมดุล ไดแก การพัฒนาการวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิต และเชื่อมการสรางรายไดกับการรักษา สิ่งแวดลอม รวมทั้งการสรางจิตสํานึกความตระหนัก และสงเสริมการมีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม และธรรมชาติ ของประเทศ 5) นโยบายการเงินการคลังเพื่ อสิ่งแวดล อม โดยจั ดเก็บภาษีสิ่งแวดล อมเพื่อลดการปลอ ย มลพิษ ทั้งนี้เพื่อใหภาคเอกชนตระหนักถึงเรื่องการรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น รวมไปถึงการกําหนดนโยบายภาษีเพื่อลดการ ใชพลังงาน และสงเสริมใหมีการใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้น โดยปจจุบันกระทรวงการคลังอยู ระหว า งการร า งกฎหมายพระราชบั ญ ญั ติ มาตรการการคลั ง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ ง ประกอบด ว ย มาตรการ เช น ภาษี 21 สิ่งแวดลอม คาธรรมเนียมในการจัดเก็บสิ่งแวดลอม และสิทธิในการซื้อขายคารบอน 6) การพั ฒนาเมืองอุ ตสาหกรรมเชิงนิ เวศ ซึ่งเป นอุตสาหกรรมเพื่ อการเติบโตรูปแบบใหม (New Growth) ของไทยในอนาคต โดยรัฐบาลจะรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกํา หนดทิศทางการใชพลังงานใน ภาคอุตสาหกรรม และการใชพืชพลังงาน เพื่อสงเสริมการปลูกพืชพลังงานอยางเปนระบบในระยะยาว
ประชาคมอาเซี ย นกั บ ผลกระทบต อ ระบบราชการสํา หรั บ ประเทศไทย ระบบราชการในฐานะที่เปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการ ปรับตัวเพื่อรองรับตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะมีทั้งสวนราชการที่เกี่ยวของหลัก และสวนราชการที่เกี่ยวของในลําดับ รองลงไป แตอยางไรก็ตาม ในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจําเปนที่จะตองมีการศึกษา วิเคราะห และ ขับเคลื่อนไปพรอมกันอยางเปนระบบ มิเชนนั้น จะไดรับผลกระทบในหลายมิติทั้งประเด็นเรื่องความมั่นคงภายใน การ บริหารจัดการพื้นที่ การสื่อสารสราง และสรางความรูความเขาใจใหกับประชาชนในพื้นที่ จึงตองมีการปรับตัวดังตอไปนี้ 1) ปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (Non-traditional Security Issues) การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบทางออมใหเกิดปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional security) เชน ปญหายาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ การลักลอบนําเขาหรือการเคลื่อนยายสินคาผิดกฎหมาย เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนปญหาที่สามารถแอบแฝงมากับการลงทุน หรือการทําการคากับตางประเทศ 2) การบริหารงานทะเบียนราษฎร แมประชาคมอาเซียนจะมีการทําขอตกลงใหมีการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพอยางเสรีใน 8 สาขาวิชาชีพ คือ แพทย ทันตแพทย พยาบาล วิศวกรรม สถาปตยกรรม บัญชี การสํารวจ และนักการทองเที่ยว อยางไรก็ดี ในระยะเฉพาะ หน า การเตรียมความพร อมเขา สู ประชาคมอาเซียนของประเทศตา ง ๆ รวมทั้ ง ไทย จะส ง ผลใหเ กิ ดการลงทุน ด า น โครงสรางพื้นฐานขนาดใหญจากภาครัฐและเอกชน เชน ถนน ทาเรือ โรงงาน สถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น จึงเปน โอกาสใหเกิดการเคลื่อนยายของแรงงานตางดาวทั้งที่ถูก และผิดกฎหมายจากประเทศอื่นเขามาทํางานรับจางเปนแรงงาน ใหกับผูประกอบการภายในประเทศมากขึ้น ขณะเดียวกัน การเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรีในป 2558 ยังจะกอใหเกิด การยายถิ่นฐานของผูประกอบอาชีพตามขอตกลง เชน แพทย วิศวกรที่สามารถเขามาทํางานและพํานักในประเทศไทย มากขึ้น ดังนั้น งานทะเบียนที่เกี่ยวกับบุคคลภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย จึงได รับผลกระทบในแงการ บังคับใชใหเปนไปตามกฎหมาย และปองกันมิใหมีการแสวงหาประโยชนจากระบบทะเบียนและบัตรประจําตัวประชาชน 21
ณัฐญา เนตรหนิ. (6 กันยายน 2555). คลังเดินหนาจัดเก็บภาษีสิ่งแวดลอม-ปรับโครงสรางภาษีรถประหยัดพลังงาน. หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ Than Online เข า ถึงได จ ากhttp://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=140624&catid= 176&Itemid=524 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2557.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 38
3) การจัดการความขัดแยงและการอํานวยความเปนธรรม บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต การพัฒนาทางเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอสังคมในดานตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตชุมชน ทําใหโครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น อาจไดรับแรงตอตานจากประชาชนที่อาจไดรับผลกระทบ ในพื้นที่กอนการกอสราง หรือประชาชนที่ไดรับผลกระทบภายหลังจากโครงการที่มีการดําเนินการแลวเสร็จ เชน จาก โรงงานหรือสถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น กลไกการจัดการความขัดแยงระหวางภาครัฐ /ภาคเอกชนกับประชาชน หรือระหวางประชาชนดวยกันเอง จึงตองมีการเตรียมการเพื่อรับมือกับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น การกําหนด แนวทางการไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นอยางมีสวนรวมจึงเปนสิ่ งที่ตอง คํานึงถึงและเตรียมการ ซึ่งเปนภารกิจของฝายปกครองดวย ขณะเดียวกัน ยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนากลไกการ จัดการความขัดแยง และการอํานวยความเปนธรรมใหแกชาวตางชาติที่อาศัยอยูในประเทศไทย เชน ระบบรองเรียนหรือ รองทุกข ระบบการไกลเกลี่ยและประนีประนอมความขัดแยงระหวางบริษัทตางชาติกับประชาชนในพื้นที่เพื่อนําไปสู กระบวนการจัดการที่มีมาตรฐานในระดับสากล 4) การคาและการติดตอตามแนวชายแดน ประชาคมอาเซียนจะกอใหเกิดการขยายตัวของระบบการคาชายแดนขนาดใหญ เนื่องจาก การขจัดภาษี นําเขาระหวางประเทศสมาชิก ทําใหเกิดการขนถาย นําเขาวัตถุดิบ/สินคาจากประเทศอื่นที่มีตนทุนถูกกวา ดังนั้น พื้นที่ ชายแดนของจังหวัดที่มีการคาอยูแลวในปจจุบัน จึงมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมการคาขายกับประเทศเพื่อนบานใน ระดับที่สูงยิ่งขึ้น ในขณะที่พื้นที่จังหวัด หรืออําเภอที่มีพื้นที่ติดชายแดนที่ยังไมไดมีการเปดเปนดานการคา หรือจุดผาน แดนก็มีแนวโนมที่จะไดรับการสนับสนุนใหมีการยกระดับมากขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้น กรมการปกครองตองมีการเขาไปจัด ระเบียบสังคมและความสงบเรียบรอย พรอมทั้งเรงพัฒนาระบบการใหบริการใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น 5) การประกอบอาชีพของประชาชน ภายใตสภาพแวดลอมทางการคา การลงทุน การบริการ และการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรียอมเปนทั้ง โอกาสและผลกระทบสําหรับประชากรวัยแรงงานของไทยในพื้นที่ กลาวคือ หากประเทศมีประชากรวัยแรงงานที่มี คุณภาพ และมีความพรอมในการปรับตัวก็จะทําใหประชาชนไดรับประโยชนจากโอกาสในการประกอบอาชีพที่เปดกวาง จากการสามารถทํางานในตางประเทศ หรือการจางงานอันเกิดจากการขยายตัวของการลงทุนภายในประเทศ ซึ่งยอมเปน การยกระดับชีวิตความเปนอยูของตนได ในทางตรงข า ม การสู ญ เสี ย ความสามารถในการแข ง ขั น ในภาคการผลิ ต เช น ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมบางสาขา จะกอใหเกิดการเคลื่อนยายฐานการผลิต สินคาภายในประเทศจะถูกตีตลาดรวมทั้งการไม สามารถผลิตประชากรวัยแรงงานใหตรงตามความตองการของตลาดยอมทําใหสงผลตอการวางงานของประชาชนได โดย สินคาของประเทศอื่นในกลุมสมาชิกอาเซียนอาจเขามาในตลาดภายในของประเทศไทยมากขึ้นในราคาที่ต่ํากวา และ/หรือ คุณภาพดีกวานั้น อาทิ สินคาอุตสาหกรรม เชน ปโตรเลียม (จากมาเลเซียและเมียนมาร) เคมีภัณฑ ยางและพลาสติก (จากมาเลเซีย ) สวนสินคาเกษตร เชน ขาว (จากเวียดนาม) น้ํามันปาลม (จากมาเลเซี ย) กาแฟ (จากเวียดนามและ อินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพราว (จากฟลิปปนส) เปนตน ผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ยอมกอใหเกิดความตึงเครียด และปญหาสังคมอื่นตามมาได เชน การ ประทวงของเกษตรกร การสูญเสียรายได การถูกเลิกจางหรือเปลี่ยนอาชีพใหม ซึ่งฝายปกครองของเราก็จะตองเขาไป จัดการปญหาในพื้นที่ดวย ดังนั้น เพื่อเปนการเสริมสรางความอยูดีมีสุขใหแกประชาชนในพื้นที่ตามยุทธศาสตร หนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของโดยเฉพาะกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงตองไปเขาไปดําเนินการสงเสริมและสนับสนุน ศักยภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ําและปองกันปญหาการวางงานที่ อาจเกิดขึ้นอีกดวย
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 39
6) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาชนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําให อาเซียนปรับตัวใหเขากับมาตรฐาน อื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑ ระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แตละ ประเทศตองเคารพและยึดถือ ไดแก หลักประชาธิปไตยและหลักสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การปฏิบัติหนาที่ของรัฐบาล หนวยงานราชการ จะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวย โดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ํานี้อยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได 7) การสื่อสารสรางความเขาใจ และการตระหนักรูใหกัประชาชนในพื้นที่ เนื่องดวย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเปนหนวยงานที่มีการทํางานในเชิงพื้นที่และเขาถึงประชาชน จัดเปนจุดเดนของฝายปกครองอยางหนึ่ง ประเด็นนี้จึงมีความสําคัญมากที่จะตองจัดใหมีการสรางความรูความเขาใจใหกับ ประชาชนในพื้นที่อยางตอเนื่องดวยการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ เพื่อกระตุนใหประชาชนเห็นความสําคัญและ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งเปาหมายที่สําคัญที่สุด ก็คือ การสรางความตระหนักรูให ประชาชนถึงผลกระทบโดยตรงและโดยออมจากการเขาเปนประชาคมอาเซียน 8) การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประชาคมอาเซียนจะกระตุนใหเกิดการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม เชน เขตเศรษฐกิจแมสอด เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารและแสวงหาประโยชนทางเศรษฐกิจ ในอนาคตเขตเศรษฐกิจพิเศษอาจมีการขยายตัว มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ ซึ่งทําใหการบริหารความสัมพันธระหวางสวนกลางและสวน ภูมิภาคตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมสอดคลองกันไป ขณะเดียวกัน โอกาสในการพัฒนาไปสูเขตบริหารจัดการพิเศษ ของจังหวัดใหญ ๆ หรือการมีผูบริหารจังหวัดมาจากการเลือกตั้งก็จะไดรับแรงผลักดันดวยเหตุผลในเชิงเศรษฐกิจ และ ความสามารถในการแขงขันจากพื้นที่มากยิ่งขึ้น 9) เศรษฐกิจฐานราก ประชาคมอาเซียนยอมกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจโดยรวมตอเศรษฐกิจฐานรากทั้งทางตรงจากการคา การลงทุน และทางออมจากการทองเที่ยว และการยายถิ่นของนักลงทุนจากตางประเทศ นอกจากนี้ กลุมการผลิตระดับ ชุมชนในพื้นที่ เชน กลุม OTOP ยังสามารถไดรับประโยชน เชน การเขา ถึงตลาดและแหลงวัตถุดิบใหม ๆ การเปนหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับผูประกอบการ รวมทั้งการขยายความรวมมือแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันมากขึ้น 10) ความเหลื่อมล้ําทางสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในพื้นที่ชายแดน พื้นที่ที่เปนโรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ชุมชนจากการขยายตัวดานโลจิสติกส สามารถสงผลตอคุณภาพการพัฒนาโดยรวมนั่นคือ กอใหเกิดความเหลื่อม ล้ําทางสังคม โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบทางลบ เชน เกษตรกรที่สินคาถูกตีตลาดผูวางงาน หรือผูไมสามารถเขาถึง โอกาสการพัฒนาได เชน บุคคลดอยโอกาส บุคคลชายขอบ เปนตน 11) ภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาราชการอาเซียน จะทวีความสําคัญในการติดตอ การจัดการ และประสานงาน ระหวางรัฐกับรัฐกับประชาชน และระหวางประชาชนดวยกันภายในอาเซียน หากบุคลากรของกระทรวงมหาดไทยยังขาด ความรูและทักษะดานภาษาอังกฤษอยางเพียงพอก็ยอมสงผลตอการทํางานกับประเทศอื่น ๆ ได อันจะนํามาซึ่งการพลาด โอกาสในการสรางความรวมมือ/เก็บเกี่ยวประโยชน หรือสูญเสียผลประโยชนแหงชาติจากประชาคมอาเซียน นอกจากนี้
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 40
ความรูความเขาใจภาษาของประเทศเพื่อนบาน รวมทั้งดานขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศอื่น ๆ ยอมทําให เปนโอกาสของการสรางความรวมมือกันมากขึ้น 12) การสรางความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ประชาคมอาเซียนจะทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูบริหารระดับสูงในแตละพื้นที่มีความใกลชิดตอ กันมากขึ้น ดังนั้น ในสวนกระทรวงมหาดไทยโดยเฉพาะผูวาราชการจังหวัดจะมีบทบาทหรือสวนเกี่ยวของในการสราง ความสัมพันธระหวางประเทศมากขึ้น เชน ความรวมมือระหวางเมืองพี่ เมืองนอง/เมืองคูแฝดระหวางจังหวัดของประเทศ ตาง ๆ ในอาเซียน ทําใหกระทรวงมหาดไทยตองมีการปรับทักษะความสามารถดานการตางประเทศของบุคลากรให เหมาะสมและทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน 13) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาคมอาเซียนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเข ากับ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แต ละประเทศต อ งเคารพและยึ ดถื อ ได แ ก หลัก ประชาธิป ไตยและสิ ท ธิมนุ ษยชน ดั ง นั้น การปฏิบั ติ หน า ที่ ของรัฐ บาล หนวยงานราชการจะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวยโดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ําอยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได
ป ญ หาและอุ ป สรรคที่ สํา คั ญ ของประชาคมอาเซี ย น 1. ประเทศสมาชิกอาเซียน มีสภาพภูมิศาสตรคลายคลึงกัน จึงมีสินคาเกษตร หรือแรธาตุที่คลายคลึงกัน บางครั้ง จึงมีการแยงตลาดกันเอง และสินคาสวนใหญเปนผลผลิตทางการเกษตรที่ยังไมไดแปรรูป ทําใหราคาสินคาตกต่ํา นโยบาย เขตการคาเสรีในภูมิภาคนี้ จึงดําเนินไปอยางชามาก จะแกไขปญหานี้ได จะตองมีการแบงการผลิตตามความถนัดของแต ละประเทศแลวนํามาแลกเปลี่ยนกัน จึงจะเกิดการรวมกลุมกันได แตถาตางคนตางผลิตโดยไมมีการกําหนดมาตรฐาน รวมกันในการวางแผนการผลิตก็ถือวา เปนปญหาใหญในการรวมกลุม 2. สินคาอุตสาหกรรมในกลุมอาเซียนนั้นก็เปนอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน แตละประเทศตางก็มุงจะพัฒนา ประเทศใหเปนประเทศที่พัฒนาแลวตามแบบอยางตะวันตก จึงตองมีการจัดซื้อเทคโนโลยีชั้นสูง ประเทศในกลุมอาเซียนที่ พอจะผลิตสินคาเทคโนโลยีไดก็คือ สิงคโปร แตประเทศสมาชิกก็เกี่ยงวา ยังไมมีคุณภาพ จึงจําเปนที่จะตองพึ่งพาสินคา จากประเทศอุตสาหกรรมนอกกลุมอาเซียน ทําใหการคาขายระหวางกันในกลุมอาเซียนทํา ไดยาก วิธีการแกไขจะตองมี การแบงงานกันทํา และยอมรับสินคาประเทศในภูมิภาคเดียวกัน รวมทั้งจะตองมีการพัฒนาคุณภาพสินคาภายในกลุม ประเทศอาเซียนใหดีขึ้น 3. ประเทศในอาเซียนตางพยายามพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศเพื่อทดแทนการนํา เขา แตละประเทศ พยายามสงเสริม พัฒนา และคุมครองอุตสาหกรรมในประเทศตน โดยการใชกํา แพงภาษี หรือกําหนดโควตา ซึ่งสวนทาง กับหลักการในการรวมกลุมและตลาดการคาเสรี ซึ่งเปนประเทศสมาชิกมารวมกลุมกันตองยกเลิกขอเลือกปฏิบัติทางการ คาระหวางประเทศเพื่อกอใหเกิดการคาเสรี (Free Trade) ดังนั้น ขอตกลงใน AFTA ของอาเซียนหลายขอจึงยังไมไดรับ การปฏิบัติ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 41
4. ประเทศสมาชิกยังคงปกปองผลประโยชนแหงชาติของตนเปนหลัก และการหารายไดเขาของรัฐประเทศใน อาเซียนมีลักษณะเหมือนกัน คือ รายไดหลักของประเทศมาจากการเก็บภาษีศุลกากรสินคาขาเขา และขาออก ซึ่งการ รวมกลุมเปนประชาคมอาเซียนใหยกเลิกการเก็บภาษีระหวางกันหรือเก็บภาษีใหนอยลง แตประเทศสมาชิกไมสามารถ สละรายไดในสวนนี้ได เนื่องจาก เปนเงินที่ตองนํามาพัฒนาประเทศ การรวมกลุมเพื่อใหเกิดการคาเสรีระหวางประเทศใน ภาคีจึงยังทําไดยาก 5. ความแตกตางกันทางการเมืองและการปกครอง กฎบัตรอาเซียนไดกําหนดไวชัดเจนถึงหลักการประชาธิปไตย และใหประเทศสมาชิกยึดมั่นตอรัฐบาลที่มาจากวิถีทางรัฐธรรมนูญ การสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะชวยยกระดับความรวมมือในการสงเสริม ประชาธิปไตยของแตละประเทศ อันมีผลตอความสงบเรียบรอยทางการเมือง ในภูมิภาคดวย แตการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนมีหลากหลายรูปแบบ ประกอบดวย 5.1 แบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา มี 4 ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา สิงคโปร และมาเลเซีย 5.2 ประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดี 2 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย และฟลิปปนส 5.3 เผด็จการสังคมนิยมคอมมิวนิสต 2 ประเทศ คือ สปป.ลาว และเวียดนาม 5.4 เผด็จการทหาร 1 ประเทศ คือ เมียนมาร หรือพมา 5.5 สมบูรณาญาสิทธิราชย 1 ประเทศ คือ บรูไน จะเห็นไดวา สมาชิกในกลุมอาเซียนมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด สมาชิกบางประเทศยังมีปญหาดานความ เปนประชาธิปไตย และยังปกครองในรูปแบบเผด็จการ และตองการรักษาอํานาจของตนไว ทําใหอาเซียนพัฒนาไดอยาง ยากลําบาก 6. ความขัดแยงระหวางประเทศอาเซียน ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนยังมีปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ อยู เชน ปญหาพรมแดนระหวางประเทศไทย – กัมพูชา ปญหาพรมแดนระหวาง มาเลเซีย – ฟลิปปนส – อินโดนีเซีย 7. ความแตกตางดานสังคมและวัฒนธรรม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนดินแดน ซึ่งมีความหลากหลาย ทางเชื้อชาติศาสนา โดยสามารถแบงกลุมประเทศตามศาสนาที่ประชากรสวนใหญของประเทศนับถือได ดังนี้ - ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม คือ บูรไน อินโดนีเซีย และมาเลเซีย - ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ คือ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร เวียดนาม สิงคโปร และ ไทย - สวนในฟลิปปนส ประชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาคริสต นอกเหนือจากความแตกตางทางศาสนาแลว ปญหาชนกลุมนอยที่มีจํา นวนมาก ซึ่งแนนอนวา ยอมจะมีความ แตกตางทางความเชื่อ วิถีชีวิต ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ก็เปนอุปสรรคตอการหลอมรวมสรางความ เปนหนึ่งเดียว กระนั้น อุปสรรคจากการขาดศูนยกลางและผูนําก็เปนอีกปจจัยที่จะทําใหการเกิดประชาคมอาเซียนสําเร็จไดยาก 22 ในชวงตน ๆ ของการกอตั้งอาเซียนนั้น มีประเทศที่เปนแกนกลางหลักของอาเซียน หรือ “strategic centrality” ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย แตในระยะตอมาทั้งสามประเทศเผชิญปญหาภายในทั้งปญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจ จนไมมีศักยภาพที่จะเปนผูนําที่เขมแข็งได ทําใหอาเซียนตกอยูในสภาพที่ไรแกนนําในการขับเคลื่อนประชาคมในดาน ตาง ๆ ใหเปนรูปธรรม และคาดวา สภาพหลังจาก พ.ศ. 2558 ก็คงจะไมมีประเทศแกนนําที่มีความพรอมเปนผูนําใหแก อาเซียนได ซึ่งการขับเคลื่อนอาเซียนใหเปนประชาคมที่สมบูรณไดนั้น นอกจาก จะตองการความรวมมืออยางมากจาก สมาชิกแลว การมีประเทศแกนนําในการชักพาประเทศอื่น ๆ เขามารวมมือกันก็เปนปจจัยแหงความสําเร็จที่สําคัญ 22
Rizal SUKMA, Jakarta Paper presented at A Seminar on " ASEAN Cooperation: Challenges and Prospects in the Current International Situation" New York, 3 June 2003.
ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น ตลอดชวงระยะเวลากวา 40 ปที่ผานมา สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียนไดมีการ พัฒนาการมาเปนลําดับ เริ่มกอตั้งเมื่อป 2510 ทามกลางสถานการณความตึงเครียดของภาวะสงครามเย็น ซึ่งมีความ ขัดแยงดานอุดมการณทางการเมืองระหวางประเทศที่ตางกัน คือ ประเทศที่ยึดถือในอุดมการณเสรีนิยมประชาธิปไตยกับ ประเทศที่ยึดมั่นในอุดมการณสังคมนิยมคอมมิวนิสต ขณะเดียวกันในหวงเวลานั้น ยังมีความขัดแยงดานดินแดนระหวาง ประเทศในภูมิภาค เชน ความขัดแยงระหวางมลายู และฟลิปปนส ในการอางกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาห และซาราวัก รวมทั้งการที่สิงคโปรแยกตัวออกจากมลายา ทําใหหลายประเทศเริ่มตระหนักถึงความจําเปนในการรวมมือกันระหวาง ประเทศในภูมิภาค ประเทศไทยในขณะนั้น ไดมีบทบาทสําคัญในการเจรจาไกลเกลี่ยความขัดแยงระหวางประเทศเพื่อนบานเหลานี้ โดยเปนเจาภาพใหรัฐมนตรีตางประเทศของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตอีก 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร มาหารือรวมกันที่แหลมแทน จ.ชลบุรี อันนํามาสูการลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ เพื่อกอตั้ง อาเซียนที่วังสราญรมย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ไทยจึงถือเปนทั้งประเทศผูรวมกอตั้งและเปน “บานเกิด” ของอาเซียน อาเซียนไดขยายสมาชิกภาพขึ้นมาเปนลําดับ โดยบรูไนไดเขาเปนสมาชิกเปนประเทศที่ 6 ในป 2527 และภายหลังเมื่อ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่เหลืออีก 4 ประเทศ คือ เวียดนาม ลาว พมา และกัมพูชา ไดเขาเปนสมาชิกจนครบ 10 ประเทศ เมื่อป 2542 นับเปนกาวสําคัญที่ไทยไดมีบทบาทเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยูบนภาคพื้นทวีป และประเทศที่เปนหมูเกาะทั้งหมด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งปฏิญญากรุงเทพฯ มิไดระบุถึงความรวมมือดานการเมือง และความมั่นคง โดยกลาวถึงเพียงความรวมมือกันดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การเกษตร อุตสาหกรรม การสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค แตอาเซียนไดมีบทบาทสําคัญในการเสริมสรางความไววางใจระหวาง ประเทศในภูมิภาค ลดความหวาดระแวง และชวยเสริมสรางสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และ ที่สําคัญ ไทยไดเปนแกนนํารวมกับอินโดนีเซียและประเทศสมาชิกดั้งเดิมในการแกไขปญหากัมพูชา รวมทั้งความรวมมือใน การแกไขปญหาผูลี้ภัยอินโดจีนจนประสบความสําเร็จลุลวงไปดวยดี และชวยเสริมสรางสันติภาพ เสถียรภาพ และความ มั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนประโยชนตอไทยในฐานะเปนประเทศดานหนา ในป 2547 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่นครเวียงจันทน สปป.ลาว ไดรับรองเอกสาร “แผนปฏิบัติการ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political- Security Community Plan of Action) ซึ่งมีการ กําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน อนึ่ง ผูนําอาเซียนตระหนักวา การสงเสริมการรวมตัวของอาเซียนใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น โดยการเรงจัดตั้งประชาคมอาเซียน จะชวยสงเสริมความเปน ศูนยกลางของอาเซียน และบทบาทขับเคลื่อนการสรางโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาค ดังนั้น ที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 12 เดือนมกราคมที่ประเทศฟลิปปนส จึงไดตัดสินใจที่จะดําเนินการเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) และในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศ สิง คโปร ผูนํ าอาเซี ยนได ลงนามในกฎบั ตรอาเซี ยน ซึ่ง แสดงเจตนารมณ ในการเร งสรา งประชาคมอาเซี ยน โดยการ เสริมสรางความรวมมือ และการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผูนําอาเซียนไดมอบหมายใหรัฐมนตรี และเจาหนาที่จัดทําราง แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint :
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 43
APSC Blueprint) ซึ่งไดมีการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัว หิน ประเทศไทย APSC Blueprint โดยหลักของพิมพเขียวของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนี้ เปนการผสมผสาน ระหวาง ASEAN Security Community Plan of Action และ the Vientiane Action Programme (VAP) รวมถึงงาน ในสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งเปนการพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติการสําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (APSC Plan of Action) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Program : VAP) และขอ ตัดสินใจตาง ๆ จากองคกรเฉพาะดานของอาเซียน APSC Plan of Action เปนเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการ บรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่แผนปฏิบัติการเวียงจันทน เปน เอกสารที่วางมาตรการที่จําเปนระหวางป พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2553 เอกสารทั้ง 2 ฉบับ เปนเอกสารอางอิงที่สําคัญในการ สานตอความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ดังนั้น APSC Blueprint จึงเปนแผนงาน และกรอบเวลา สําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ APSC Blueprint ยังมี ความยืดหยุนที่จะสานตอกิจกรรมตาง ๆ ที่จะดําเนินการหลังป พ.ศ. 2558 ดวย เพื่อใหคงไวซึ่งความสําคัญและความ 1 ยั่งยืน APSC Blueprint ไดแบงเรื่องหลัก ๆ ในการสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คือ เรื่องการ พัฒนาทางการเมือง การพัฒนาบรรทัดฐาน กลไกปองกันความขัดแยง กลไกแกไขความขัดแยง 2 การพัฒนาทางการเมือง ประเด็น APSC Blueprint ใหความสําคัญเรื่องการสงเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และการติดตอใน ระดับประชาชนตอประชาชน อยางไรก็ตาม อาเซียนยังมีปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการประชาธิปไตย หลายประเทศยังมี ระบอบการปกครองที่ยังไมเปนประชาธิปไตย นอกจากนี้ ถึงแมกฎบัตรอาเซียนจะระบุวา จะมีการจัดตั้งกลไกดานสิทธิ มนุษยชนขึ้นมา ซึ่งตอมาไดมีการจัดตั้งกลไกดังกลาวขึ้ น ซึ่งมีชื่อเปนภาษาอังกฤษวา ASEAN Intergovernmental Commission on Human Right : AICHR อยางไรก็ตาม อํานาจหนาที่ของ AICHR ก็มีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาบรรทัดฐาน การพัฒนาบรรทัดฐาน เปนเรื่องหนึ่งที่ APSC Blueprint ใหความสําคัญ คือ กฎเกณฑ ขอตกลงตาง ๆ ของ อาเซียน ขณะนี้ ขอตกลงหลัก ๆ ของอาเซียนมีสนธิสัญญาสมานฉันทและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia Nuclear 6 Weapon Free Zone Treaty) และความตกลงการ ตอตานการกอการรายของอาเซียน (ASEAN Convention on Counter - Terrorism) ในอนาคตอาเซียนจะมีการพัฒนา ทําสนธิสัญญาและขอตกลงครอบคลุมความรวมมือในดานตาง ๆ มากขึ้น การปองกันความขัดแยง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะสรางกลไกปองกันความขัดแยง ซึ่งกลไกที่สําคัญ คือ CBM (Confidence Building Measures) หรือมาตรการสรางความไววางใจระหวางกัน การจัดประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียน การจดทะเบียนการซื้อขายอาวุธในอาเซียน (ASEAN Arms Register) และการพัฒนาระบบเตือนภัยลวงหนา อยางไรก็ตาม การพัฒนามาตรการเหลานี้ ไมใชเรื่องงาย การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนก็ยังมีความรวมมือที่ยังนอย อยู โดยเพิ่งจะมีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2549 ดังนั้น หากอาเซียนยังไมมีความรวมมือทางทหาร อยางจริงจัง การพัฒนาไปสูการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนอยางแทจริงคงจะไมเกิดขึ้น 1 2
กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 3-4. ประภัสสร เทพชาตรี, (2554). “ประชาคมอาเซียน”, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพเสมาธรรม, เมษายน 2554. หนา 19-32.
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 44
การแกไขความขัดแยง ใน APSC Blueprint กลาวถึง การพัฒนากลไกแกไขความขัดแยง ซึ่งมีการระบุถึงกลไกตาง ๆ ที่จะแกไขความ ขัดแยงอยางสันติวิธี อยางไรก็ตาม มีกลไกหนึ่งที่สหประชาชาติใชไดผลคือ กองกําลังรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Force) ในชวงหลายปที่ผานมา จึงไดมีการถกเถียงกันในประเด็นที่วา อาเซียนควรมีการจัดตั้งกองกําลังรักษาสันติภาพของ อาเซียนหรือไม โดยที่อินโดนีเซียผลักดันเรื่องนี้เปนพิเศษ อุปสรรค การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น ไมใชเรื่องงาย ทั้งนี้ เพราะยังมีอุปสรรคหลายเรื่อง อาทิ ปญหาความขัดแยงทางการเมือง กรณีพิพ าทเรื่องพรมแดนระหวางประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกยังมีความ ไววางใจซึ่งกันและกัน และยังคงกําหนดยุทธศาสตรทางทหาร โดยตั้งอยูบนพื้นฐานวา ประเทศเพื่อนบานอาจจะเปนศัตรู หากอาเซียนแกปญหาเหลานี้ไมได การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนอยางแทจริง ก็คงจะเกิดขึ้นไมได
พั ฒ นาการความร ว มมื อ ด า นการเมื อ งและความมั่ น คง ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศไดเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นอกเหนือ จากการที่มีรัฐเอกราชใหมเกิดขึ้นเปนจํานวนมากแลว การที่ศูนยอํานาจในระบบการเมืองโลกไดแปรเปลี่ยนจากระบบ 2 ขั้วอํานาจ (bipolarity) ที่มีสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตเปนผูกุมอํานาจ และเผชิญหนากันอยูในลักษณะสงคราม เย็น (Cold War) ไดกลายมาเปนระบบหลายขั้วอํานาจ (multi polarity) สภาวะดังกลาวไดสงผลกระทบตอเสถียรภาพ ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใตอยางหลีกเลี่ยงไมได ประเทศตาง ๆ ภายในภูมิภาคไดเริ่มปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่แตกตางกัน บางประเทศไดเขาผูกพันกับประเทศมหาอํา นาจภายนอก เชน การเขารวมใน คณะกรรมการเศรษฐกิจสําหรับภาคพื้นเอเชียและตะวันออกไกล (Economic Committee for Asia and Far East : ECAFE) การเขาเปนสมาชิกของแผนการโคลัมโบ (Columbo Plan) รวมทั้งการเขาเปนภาคีองคการสนธิสัญญาปองกัน รวมกันแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asia Treaty Organization : SEATO) ซึ่งกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2493 เปนตน สําหรับบางประเทศซึ่งมีความภาคภูมิใจตอเอกราชและอิสรภาพ ที่ตนเพิ่งจะไดรับ ไมวาจะดวยวิธีการรุนแรง หรือสันติ หรือดวยเหตุที่ระบบจักรวรรดิเสื่อมลง ก็ไดหาวิธีการเสริมสรางพลังตอรองทางเศรษฐกิจและการเมืองกับ ประเทศมหาอํานาจภายนอก โดยไดริเริ่มจัดตั้งกลุมประเทศในโลกที่สามขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2490 โดยใชชื่อวา “ขบวนการ กลุมประเทศเอเชีย-แอฟริกา” (AFRO-ASIAN Movement) ซึ่งตอมา ไดกลายเปนขบวนการกลุมประเทศไมฝกใฝฝายใด (Non-Aligned Movement : NAM) อันเปนขบวนการที่มีบทบาท และความสําคัญอยางยิ่งในวงการการเมืองระหวาง ประเทศในปจจุบัน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ประเทศตางในภูมิภาค ๆ ก็ไดตื่นตัวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมนอยไปกวาประเทศ ในเขตภูมิภาคอื่น ๆ ทั้งนี้ เนื่องจาก ผูนําในภูมิภาคนี้ตางมีทัศนคติที่สอดคลองกันในเรื่อง การตอตานลัทธิจักรวรรดิในทุก รูปแบบ และมุงเนนการดําเนินนโยบายตางประเทศอยางเปนอิสระ เพื่อใชเปนเกราะกําบังภัยที่คุกคามจากภายนอก อยางไรก็ตาม บรรดาผูนําทั้งหลายตางตระหนักดีวา การดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาวนั้น ไมอาจกระทําไดโดย ลําพัง ในขณะที่การกลับไปพึ่งพิงมหาอํ า นาจก็ยังเป นสิ่งที่นาหวาดระแวง ดว ยสาเหตุดัง กลาว ทําใหป ระเทศตาง ๆ พยายามแสวงหาลูทางที่จะกระชับความรวมมือกันเฉพาะภายในภูมิภาค เพื่อใหบังเกิดผลในการพัฒนาตนเองในแตละ 3 ประเทศ ประกอบกับแนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิภาคนิยม” ในยุคนั้นก็กําลังมีอิทธิพล และเติบโตขึ้นโดยลําดับ ภายหลัง 3
พิษณุ สุวรรณะชฎ. (2540). สามทศวรรษอาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 29.
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 45
จากที่ 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย สามารถฟนฝา อุปสรรคตาง ๆ จนบรรลุผลในการกอตั้งสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียน (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ขึ้นไดในที่สุด เมื่อป พ.ศ. 2510 แลวนั้น ความเคลื่อนไหวและบทบาทของอาเซียน ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมก็เพิ่มพูนขึ้นโดยลําดับ ซึ่งพัฒนาการของอาเซียนแตละขั้นตอนเปนเครื่องบงชี้ให เห็นวา อาเซียนเปนองคการระหวางประเทศอีกองคการหนึ่ง ซึ่งมีกิจกรรมดานการเมืองอยางตอเนื่อง และไดรั บการ ยอมรับจากนานาประเทศมากขึ้น พรอมกันนั้นความสัมพันธของประเทศตาง ๆ ภายในอาเซียนก็ไดรับการกระชับขึ้นจน แนนแฟน ทั้งนี้ เพื่อใหความพยายามรวมกันที่จะใหความรวมมือสวนภูมิภาคบรรลุผลตามเจตนารมณที่กํา หนดไวอยาง จริงจัง อยางไรก็ตาม ถึงแมวา ในเอกสารทางราชการของอาเซียนจะระบุวา อาเซียนเปนองคการความรวมมือระดับ ภูมิภาค ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อความรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตสิ่งที่ไดรับ การเนนหนักเปนพิเศษไมวาจะเปนเนื้อหาในปฏิญญากรุงเทพฯ หรือทาทีที่แสดงออก โดยผูนําอาเซียนในยุคนั้นกลับ กลายเปนถอยความที่เกี่ยวกับสันติภาพ (peace) เสรีภาพ (freedom) เสถียรภาพ (stability) และความมั่นคง (security) ของภูมิภาค โดยเนนเฉพาะภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอความมั่นคง ซึ่งเกิดจากการแทรกแซงจากภายนอกทุกรูปแบบ รวมทั้งระบุถึงปญหาที่เกี่ยวกับฐานทัพตางประเทศ ซึ่งยังตั้งอยูในประเทศสมาชิกบางประเทศ อันเปนการชี้ใหเห็นวา มูลเหตุจูงใจทางดานการเมืองตลอดจนปญหาที่เกี่ยวกับเสถียรภาพ และความมั่นคงเปนตัวแปรหลักที่มีอิทธิพลผลักดันให ประเทศภาคีทั้ง 5 ประเทศตกลงใจรวมกันที่จะกอตั้งอาเซียนขึ้น การกําเนิดของอาเซียน มีนัยในบทบาทดานความมั่นคงแฝงอยูในตัวเอง แมจะมีความพยายามทําใหองคกรนี้ มี ภารกิจหลักทางดานความมั่นคงคูขนานกันไป ดังจะพบวา ความสําเร็จประการสําคัญของอาเซียนในยุคแรกเกิดขึ้นที่ 4 กัวลาลัมเปอร ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) คือ “การประกาศ เขตสันติภาพ เสรีภาพ และเปนกลาง ” หรือที่เรียกกัน โดยทั่วไปวา “ZOPFEN” (Zone of Peace, Free-dome and Neutrality Declaration) ซึ่งถือเปนหลักการสําคัญใน การกําหนดนโยบายตางประเทศรวมกันของสมาชิกอาเซียน การประกาศหลักการนี้ เปนการแสดงเจตนารมณอยา งแนว แนของประเทศสมาชิกในการเตรียมตัวรับมือกับการเปลี่ ยนแปลงทางการเมืองภายใน และภายนอกภูมิภาค กลาวคือ ภายในภูมิภาค ประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐอเมริกากําหนดจะถอนตัวออกไปจากภูมิภาคนี้ และปลอยใหในภูมิภาคนี้ จัดการกับปญหาความมั่นคงของตนเอง ในขณะที่สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพโซเวียตใหการสนับสนุนกัมพูชา และเวียดนามมากขึ้น ญี่ปุนไดเพิ่มบทบาททางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคมากขึ้นเชนกัน สวนภายนอกภูมิภาคนั้น สภาพ การเมืองระหวางประเทศกําลังเปลี่ยนจากระบบสองขั้วอํานาจไปสูระบบหลายขั้วอํานาจ ความสําเร็จตอมาของอาเซียนเกิดขึ้นที่บาหลี ในป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) ไดแก “สนธิสัญญามิตรภาพและ ความรวมมือ” (The Treaty of Amity and Cooperation : TAC) แตก็ตองยอมรับในความเปนจริงวา การประชุม อาเซียนในอดีตแตละครั้ง มีความพยายามอยูพอสมควรที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นความมั่นคงระหวางประเทศ เพราะไม ตองการใหองคกรเขาไปมีบทบาทโดยตรงในเรื่องเชนนี้มากนัก เนื่องจาก ระบบความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดแก ซีโต (SEATO) หรือองคกรสนธิสัญญาปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asian Treaty Organization) ยังคงมี บทบาทอยูมาก คูขนานไปกับระบบความมั่นคงของเครือจัก รภพอังกฤษ ไดแก ความตกลงดานการปองกันประเทศ ระหวางสมาชิก 5 ประเทศ (Five-Power Defense Arrangement) สถานการณเชนนี้ อาจจะเปนขอดี เพราะปญหา ความมั่นคงในภูมิภาคถูกค้ําประกันโดยตรงจากรัฐมหาอํานาจใหญในขณะนั้น คือ ทั้งสหรัฐอเมริกา และอังกฤษ และใน 4
สุรชาติ บํารุงสุข. “จับมือ ไมจับปน : ทหารกับประชาคมอาเซียน”. มติชนสุดสัปดาห. 32. (1647). วันที่ 9-15 มีนาคม 2555. หนา 36.
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 46
ขณะเดียวกัน ก็ลดคาใชจายทางทหารภายในของประเทศและภูมิภาคพรอม ๆ กับเปดโอกาสใหประเทศเหลานี้ จัดการกับ ปญหาความมั่นคงภายในของตนไดมากขึ้น โดยปญหาในระดับภูมิภาคนั้น ถือเปนภาระของรัฐมหาอํานาจที่จะจัดการแทน แตเมื่อสถานการณสงครามเวียดนามสอใหเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการถอนตัวของสหรัฐอเมริกาออกจาก เวียดนามใต ซึ่งไดดําเนินการภายใตการเจรจาสันติภาพที่กรุงปารีส ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) อันเปนผลโดยตรงจาก การประกาศหลักการนิกสัน (The Nixon Doctrine) ในป พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) และสัญญาณสําคัญของการ เปลี่ยนแปลงก็คือ การยุติสงครามกลางเมืองในเวียดนาม ในป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ที่นําสูการถอนตัวทางทหารอยาง สมบูรณของสหรัฐอเมริกาออกจากเวียดนามใต กัมพูชา และสปป.ลาว ซึ่งก็คือ การลดพันธกรณีดานความมั่นคงของ สหรัฐอเมริกาตอพันธมิตรของตนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตลงอยางเปนรู ปธรรม รวมถึงการประกาศปดฐานทัพ ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยชวงระยะเวลาดังกลาว สถานการณความมั่นคงยุคหลังสงครามเวียดนาม หรือสถานการณหลังป 2518 [ค.ศ. 1975] สะทอนใหเห็นถึง ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางยุทธศาสตรของภูมิภาคนี้โดยตรง ผลจากสภาพเชนนี้ ทําให สหรัฐอเมริกา ตัดสินใจยุติบทบาทขององคกรความมั่นคงของตนในภูมิภาคดวย ซึ่งก็คือ การสิ้นสุดบทบาทอยางเปนทางการของซีโต ใน ป 2518 (ค.ศ. 1975) อยางไรก็ตาม สถานการณในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดคลี่คลายลง กลาวคือ สหรัฐอเมริกาไดถอนทหาร ออกจากฐานทัพซูบิค และคลารคในฟลิปปนส ขณะที่สหภาพโซเวียตก็ยุติการใชฐานทัพที่อาวคัมรานหในเวียดนาม และ ยุตินโยบายอิทธิพลทางทหารในเอเชียแปซิฟก และยุติการสนับสนุน เวียดนาม สปป.ลาว และกัมพูชา สถานการณเชนนี้ ถูกมองวา กอใหเกิดชองวางแหงอํานาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุน และอินเดียพยายาม เขามาแทนที่ ดังนั้น ประเทศตาง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งเปนสมาชิกอาเซียน จึงไดเพิ่มขีดความสามารถในการ ปองกันประเทศตนเองมากขึ้น โดยตางสะสมอาวุธ และปรับปรุงกองทัพของตนเอง โดยเนนการจัดหาเรือที่ทันสมัย เครื่องบินลาดตระเวนและเครื่องบินขับไล และโจมตีที่มีสมรรถภาพในการปฏิบัติการปองกันชายฝงทะเล และทะเลอาณา เขตของตน การเพิ่มขีดอํานาจทางการทหารของประเทศ ซึ่งอาจพิจารณาไดวา เปนมาตรการที่จะนําไปสูการพึ่งพาตนเอง ในการรักษาความมั่นคงในภูมิภาคนี้ และลดการพึ่งพิง หรือการคุมครองจากประเทศมหาอํานาจภายนอกภูมิภาค อัน ไดแก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอังกฤษ แมวา กลุมประเทศ ASEAN ยังมีประเทศสมาชิกหลายประเทศที่คัดคานแนวความคิดการจัดตั้งกองกําลังปองกัน รวมกันในลักษณะพันธมิตรทางการทหาร แตในอนาคตอาจมีความจําเปนในการพิจารณาหามาตรการทางทหารรวมกันใน การดูแลความสงบในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะความปลอดภัยจากโจรสลัดตามเสนทางเดินเรือในชองแคบมะละกา การให ความชวยเหลือแกเรือเดินทะเลที่ประสบอุบัติเหตุ และการรวมมือกันพิทักษรักษาสภาพแวดลอมในทะเล เปนตน อยางไรก็ตาม บทบาทอาเซียนในดานการเมือง อาจจะกลาวไดวา ในชวงกอนป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ไมมี อะไรเดนชัดนัก เนื่องจาก กอนหนานี้ ประเทศสมาชิกยังมีความขัดแยงระหวางกันอยู ทําใหอาเซียนไมสามารถแสดง บทบาททางการเมืองไดมากนัก แตหลังจากป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) แลว สถานการณทางการเมืองในอินโดจีนได เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก คอมมิวนิสตเขามามีอํานาจในอินโดจีน ขณะที่สหรัฐอเมริกาก็ถอนตัวออกจากอินโดจีน ประเทศ สมาชิกอาเซียนจึงจัดใหมีการประชุมสุดยอดที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และไดลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือ และปฏิญญาวาดวยความสมานฉันทของอาเซียน จึงทําใหประเทศ สมาชิกรวมมือกันมากขึ้น และระงับความขัดแยงระหวางประเทศได อาเซียนตองเผชิญกับความทาทายใหมในความขัดแยงระหวางเวียดนาม-กัมพูชา นําไปสูการตัดสินใจของรัฐบาล เวียดนามที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองในเดือนมกราคม พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และสงครามสิ้นสุดดวยการยึดครอง
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 47
กัมพูชา อันสงผลใหการตอสูทางการเมือง และความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดดําเนินไปอยางรุนแรง เปนสภาพที่ ภูมิภาคถูกแบงออกเปน 2 สวน ไดแก กลุมรัฐที่ปกครองในระบอบเสรีนิยม และกลุมรั ฐที่ปกครองในระบบสังคมนิยม สภาพดังกลาวสิ้นสุดดวยการถอนตัวของทหารเวียดนามออกจากกัมพูชา ซึ่งสอดรับกับสถานการณในเวทีโลก ในชวงป พ.ศ. 2532-2533 (ค.ศ. 1989-1990) ที่บงบอกถึงการถดถอยของโลกสังคมนิยม หรือในบริบทความมั่นคง กลาวคือ การ สิ้นสุดของภัยคุกคามจากลัทธิสังคมนิยม และสัญญาณที่สําคัญก็คือ การสมัครเขาเปนสมาชิกอาเซียนของเวียดนาม ในการจัดตั้งกลไกเฉพาะเกี่ยวกับการพิจารณาปญหาความมั่นคงในภูมิภาคนี้ อาเซียนไดเริ่มหารือกันอยางจริงจัง ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประเทศสิงคโปร เมื่อป พ.ศ. 2535 โดยที่ประชุมไดเสนอใหพัฒนากลไกของ อาเซียนที่มีอยูแลว โดยเฉพาะการประชุมระหวางอาเซียนกับคูเจรจา ภายหลังการประชุมระดับรัฐมนตรี (ASEAN PostMinisterial Conference : PMC) ซึ่งเปนพื้นฐานสําหรับจัดตั้งเวทีการหารือในประเด็นดานการเมือง และความมั่นคง ตาง ๆ เพื่อเสริมสรางสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาคตามเจตนารมณของสหประชาชาติ (United Nations : UN) โดยมีวัตถุประสงคเบื้องตนในการเสริมสรางลักษณะนิสัย และแบบแผนทางพฤติกรรมแกประเทศที่เกี่ยวของใหเรียนรู เกี่ยวกับการหารือรวมกันอยางเปดเผย และตรงไปตรงมา เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากผลของ ความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน อีกทั้งเพื่อสรางสรรคสภาวะแวดลอมที่เกื้อกูลตอเสถียรภาพทางการเมือง และความมั่นคง ของภูมิภาค การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมใหมเชนนี้ ทําใหเกิดการยอมรับวา มีความจําเปนที่จะตองใหความสนใจกับ ประเด็นดานความมั่นคง แตก็ดูเหมือนอาเซียนยังไมตองการใหตนเองเขามาเกี่ยวของโดยตรง ทําใหเกิดการจัดตั้ง “เวที ความมั่นคงภูมิภาค” หรือที่รูจักกันในชื่อของ “การประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก” (ARF : ASEAN Regional Forum) ในป พ.ศ. 2537 ระหวางการประชุมประจําปของรัฐมนตรี ตางประเทศอาเซียน ขึ้นเปนครั้งแรกที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 โดยไดรับความรวมมือจาก 17 ประเทศในเอเชีย-แปซิฟก ไดแก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม สปป.ลาว ปาปวนิวกินี จีน รัสเซีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุน เกาหลีใต และอีก 1 กลุมประเทศ คือ สหภาพยุโรป ซึ่ง ในการประชุมครั้งแรกนี้ อาเซียนประสบความสํา เร็จในการผลักดันใหที่ประชุมรับรองหลักการตาง ๆ ตามที่ระบุใน สนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ใหเปนแบบแผนการปฏิบัติและกลไกทางการทูตเพื่อสนับสนุนการทูตเชิงปองกัน และความรวมมือดาน การเมื อง และความมั่น คง รวมทั้ ง เสริ มสรา งความมั่ นใจระหว างสมาชิก ARF ดั ง จะเห็ น ได วา องคก รนี้เ กิด ขึ้ นนอก โครงสรางอยางเปนทางการของอาเซียน ในสภาพเชนนี้ อาเซียนเขาไปมีบทบาทอยางมากกับกระบวนการสันติภาพใน กัมพูชา การผลักดันใหเกิดเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันเนื่องมาจากผลการเจรจาอยางยาวนาน ภายหลังการประชุมครั้งแรก ARF ไดพัฒนาไปอยางตอเนื่อง โดยไดเกิดการประชุมระดับตางๆ ภายใตกรอบของ ARF อยางสม่ําเสมอ นอกจากนั้น ประเทศตาง ๆ ทั้งในและนอกเขตเอเชีย-แปซิฟก (อินเดีย มองโกเลีย เกาหลีเหนือ เมียนมาร สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส) ไดแสดงความสนใจ และยื่นความจํานงที่จะขอเขาเปนสมาชิก ARF ดวย สวนใน ดานเนื้อหาไดมีการขยายขอบเขตความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงออกไปอยางกวางขวาง เชน มีการหารือกัน ในหัวขอเกี่ยวกับปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ความรวมมือในการคนหาและกูภัย เปนตน นอกจากนี้ อาเซียนยังมีความ พยายามเสมอมาที่จะสรางเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร แตความพยายามดังกลาวของอาเซียน ประสบอุปสรรคมากมายในชวงสงครามเย็น เนื่องจาก ตองเผชิญกับอิทธิพล และการคัดคานของประเทศมหาอํานาจที่ ครอบครองอาวุธนิวเคลียร ซึ่งยังแขงขันชวงชิงความเปนใหญอยูในภูมิภาคในขณะนั้น ภายหลังการสิ้นสุดลงของสงคราม เย็น สภาวการณระหวางประเทศเปนไปในลักษณะเอื้ออํานวยตอเจตนารมณของอาเซียนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกระแสการเมือง
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 48
ระหวางประเทศที่คัดคานการทดลอง ผลิต พัฒนา และการครอบครองอาวุธนิวเคลียร สําหรับประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใตทุกประเทศตางตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองสรางภูมิภาคใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรอยางจริงจัง ดังนั้น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป พ.ศ. 2538 ผูนําอาเซียนทั้ง 7 ประเทศ รวมทั้งนายกรัฐมนตรี ของลาว กัมพูชา และเมียนมารไดรวมลงนามในสนธิสัญญาวาดวยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ) ซึ่งมีสาระสําคัญ คือ การจัดตั้งเขตปลอด อาวุธ นิวเคลียรใ นเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต ซึ่ง ประกอบด วย ดิ นแดนเขตเศรษฐกิจจํ าเพาะ และไหลทวีป ของทั้ ง 10 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยภาคีสมาชิกมีพันธกรณีที่จะไมพัฒนา ผลิต หรือครอบครองอาวุธนิวเคลียร และจะ ไมอนุญาตใหรัฐอื่นเขามาพัฒนา ผลิต หรือเก็บอาวุธนิวเคลียรไวในดินแดนของตน ยกเวนแตเปนการดําเนินการเกี่ยวกับ การใชพลังงานปรมาณูเพื่อสันติที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศสมาชิก นอกจากนั้น ยังตก ลงจัดตั้งคณะกรรมาธิการขึ้น ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของสมาชิก เพื่อดูแลการปฏิบัติ ตาง ๆ ใหเปนไปตามสนธิสัญญา SEANWFZ รวมทั้งกํากับดูแลการแกไขกรณีพิพาทตาง ๆ ระหวางสมาชิกดวย การลงนามในสนธิสัญญา SEANWFZ ถือไดวา เปนการประกาศเจตนารมณทางการเมืองครั้งประวัติศาสตรของ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้ง 10 ประเทศ ซึ่งสอดคลองกับความตองการของประชาคมระหวางประเทศที่ตอตาน การแพรขยายอาวุธนิวเคลียร อยางไรก็ดี วัตถุประสงคของอาเซียนจะบรรลุผลอยางสมบูรณไดก็ตอเมื่อไดรับความรวมมือ จากประเทศผูครอบครองอาวุธนิวเคลียร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และจีน) ซึ่งอาเซียนไดรณรงค ในเรื่องนี้ ตอไปอยางแข็งขัน และในที่สุด อาเซียนประสบผลสําเร็จในการกอใหเกิด “ขอกําหนดในการปฏิบัติตอจีนในทะเลจีนใต” (Code of Conduct in the South China Sea with China) ในป พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) และประโยชนสําคัญยิ่งที่ อาเซียนไดรับจากความรวมมือดานการเมืองในระยะเวลาที่ผานมา คือ การที่อาเซียนสามารถสรางธรรมเนียมปฏิบัติของ ตนเองเกี่ยวกับการแกไขขอพิพาทระหวางกันบนพื้นฐานของการอยูรวมกันโดยสันติ กลาวคือ สมาชิกตางรูจักยับยั้งชั่งใจที่ จะหลีกเลี่ยงการกระทําใด ๆ ที่เปนการแทรกแซงกิจการภายในของเพื่อนสมาชิก แตเมื่อเกิดขอพิพาทระหวางกันขึ้น สมาชิกก็หลีกเลี่ยงการเผชิญหนาแตหันมาแกไขปญหาระหวางกันดวยการปรึกษาหารือโดยสันติวิธี การเคารพในเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดนซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกอยางเครงครัด นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนยังไดประโยชนจากความรวมมือดานการเมืองในลักษณะอื่น ๆ ดวย อาทิ การที่สมาชิกแตละประเทศพนจากการอยูโดดเดี่ยวตามลําพัง และอาเซียนยังไดกลายเปนเวทีสําหรับประเทศสมาชิกใน การแลกเปลี่ยนทัศนะ และประสบการณระหวางกันอยางตรงไปตรงมา ซึ่งยังผลใหเกิดการกลั่นกรองนโยบายของแตละ ประเทศอยางรัดกุม ในขณะที่ลดความแตกตางกันในเรื่องผลประโยชนลง และความใกลชิดกันระหวางสมาชิกในอาเซียน ทําใหสมาชิกแตละประเทศสามารถแสดงทาทีตอประเด็นทางการเมืองตาง ๆ ไดอยางเปดเผย กอนที่จะสรุปเปนทาที รวมกันของอาเซียน ซึ่งมีผลเพิ่มน้ําหนัก และอํานาจการตอรองใหแกทาทีทรี่ วมกันดังกลาวดวย ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา ความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน กอนการกอตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) นั้น เมื่อพิจารณาไปถึงภูมิหลังของ อาเซียนในชวงกอนการกอตั้งองคการ ทั้งเรื่องนโยบายตางประเทศ และผลประโยชนของประเทศผูกอตั้งทั้ง 5 ประเทศ ตลอดจนองคการระดับ ภูมิภาคที่ไดรับ การจัด ตั้งขึ้นในยุคกอนหนานั้น ไดแก องคก าร SEATO และสมาคมเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asia : ASA) การจัดตั้งองคการเหลานี้ ชี้ใหเห็นวา การจัดตั้งอาเซียนเปน ผลมาจากความหวังรวมกันของสมาชิกผูกอตั้งที่จะอาศัยองคการที่จัดตั้งขึ้นเปนเครื่องค้ํา ประกันความมั่นคงของแตละ ประเทศ ภายใตสภาวการณทภี่ ูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในขณะนั้น ที่กําลังเปนเวทีของความขัดแยงดานอุดมการณ อยางรุนแรงระหวางมหาอํานาจ ซึ่งประเทศผูกอตั้งอาเซียนเห็นวา หนทางที่จะรักษาไว ซึ่งความมั่นคงของแตละประเทศ
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 49
คือ การสรางภูมิภาคใหมีเสถียรภาพ และพึ่งพาตนเองแทนการพึ่งพามหาอํานาจ ดังเชนที่เคยเปนมา ดังนั้น อาเซียนจึงได อาศัยความลมเหลวขององคการที่จัดตั้งขึ้นกอนหนา เปนอุทาหรณในการกําหนดแนวทางความรวมมือเพื่อปองกัน ความ ลมเหลว ตัวอยางเชน การจํากัดสมาชิกไวเฉพาะประเทศภายในภูมิภาคเทานั้น หรือการจัดโครงสรางองคการใหเปนไป อยางหลวม ๆ และยืดหยุน เปนตน ซึ่งแนวทางดังกลาวไดชวยเกื้อกูล และเปดโอกาสใหอาเซียนถือกําเนิดขึ้น และสามารถ พัฒนาไปอยางตอเนื่อง สวนเรื่องความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคงนั้น โดยเหตุที่อาเซียนกอตั้งขึ้นดวยมูลเหตุทางการเมือง เปนสําคัญ แมวา ถอยคําที่ระบุในปฏิญญากรุงเทพฯ พ.ศ. 2510 อันเปนเอกสารพื้นฐานในการกอตั้งจะระบุถึงเรื่อง ผลประโยชน และความรวมมือทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ในชวงทศวรรษแรกอาเซียนจึงทุมเทเวลา และกําลังงานใหแกการ ระงับขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิก ทั้งนี้ เพื่อใหบรรลุถึงความไวเนื้อเชื่อใจกัน ความพยายามในการระงับขอพิพาทที่มี อยูในขณะนั้นไดพัฒนามาจนกลายมาเปนธรรมเนียมปฏิบัติของอาเซียนในการแกไขขอพิพาทโดยสันติวิธี แปรสภาพจาก การเผชิญหนาเพื่อเอาชนะซึ่งกันและกัน มาเปนการปรึกษาหารือ เพื่อคลี่คลายปญหาเพื่อผลประโยชนรวมกัน นอกจากนี้ บทบาทของอาเซียนตอปญหาระหวางประเทศอื่น ๆ สะทอนใหเห็นถึง บทบาทสําคัญของอาเซียนตอการค้ํา ประกัน I สันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาค อาทิ ปญหากั มพูชาในชวงป พ.ศ. 2522 – พ.ศ. 2534 การใหภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง ในการจัดการประชุม ARF และการประกาศใหเอเชีย 5 ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร เปนตน
แนวคิ ด เรื่ อ งประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น 6 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีพัฒนาการจากความรวมมืออันใกลชิด และความเปนอันหนึ่งอัน เดียวกันมานานกวา 40 ป โดยผูนําอาเซียนในที่ประชุมสุดยอดอยางไมเปนทางการที่กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย เมื่อป พ.ศ. 2540 ไดรวมประกาศ “วิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ.2020/พ.ศ.2563” (ASEAN Vision 2020) ซึ่งเห็นพองใหกลุม ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มองไปสูโลกภายนอกอยูรวมกันอยางสันติ มีเสถียรภาพ และมีความมั่งคง ผูกพัน กันด วยความเปนหุ นสวนในการพัฒนาอั นเป นพลวั ต และเป นประชาคมแห งสัง คมที่เ อื้ออาทร ดังนั้ น เพื่อให วิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 มีผลอยางเปนรูปธรรม ผูนําอาเซียนไดรับรองปฏิญญาวาดวยความรวมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (The Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II) เมื่อป พ.ศ. 2546 เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน ป พ.ศ. 2563 โดยประชาคมอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ผูนําอาเซียนตระหนักวา การสงเสริมการรวมตัวของอาเซียนใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น โดยการเรงจัดตั้งประชาคม อาเซียนจะชวยสงเสริมความเปนศูนยกลางของอาเซียน และบทบาทขับเคลื่อนการสรางโครงสรางสถาปตยกรรมใน ภูมิภาค ดังนั้น ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนํา อาเซียนจึงตัดสินใจที่จะเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใหเปนผลสํา เร็จ ในป พ.ศ. 2558 ตอมา ในที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดรวมลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่ง แสดงเจตนารมณในการเรงสรางประชาคมอาเซียน โดยการเสริมสรางความรวมมือ และการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผูนําไดมอบหมายใหรัฐมนตรี และเจาหนาที่จัดทํา รางแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 5
พิษณุ สุวรรณะชฎ, 2540 : 114-115 ยงยุทธ มัยลาภ, รอยเอก. การเตรียมความพรอมดานความมั่นคงของไทยตอการเปนประชาคมอาเซียน. เอกสารการวิจัยสวนบุคคล, วิทยาลัย ปองกันราชอาณาจักร, 2553. หนา 8. 6
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 50
(ASEAN Political-Security Community Blueprint : APSC Blueprint) ซึ่งไดมีการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย APSC Blueprint ยึดหลักการในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติการสํา หรับการจัดตั้ง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC Plan of Action) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Program : VAP) และขอตัดสินใจตาง ๆ จากองคกรเฉพาะดานของอาเซียน APSC Plan of Action เปนเอกสารหลักที่ ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการบรรลุวัตถุประสงคของการจั ดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่ แผนปฏิบัติการเวียงจันทน เปนเอกสารที่วางมาตรการที่จําเปนระหวางป พ.ศ. 32547 – พ.ศ. 2553 เอกสารทั้ง 2 ฉบับ เปนเอกสารอางอิงที่สําคัญในการสานตอความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ดังนั้น APSC Blueprint จึง เปนแผนงาน และกรอบเวลาสําหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ APSC Blueprint ยังมีความยืดหยุนที่จะสานตอกิจกรรมตาง ๆ ที่จะดําเนินการหลังป พ.ศ. 2558 ดวย เพื่อใหคงไวซึ่ง 7 ความสําคัญ และความยั่งยืน คุณลักษณะและองคประกอบของแผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เปนความมุงหวังวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะทําใหความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียนที่มีการพัฒนา มากยิ่งขึ้น โดยเปนหลักประกันตอประชาชน และประเทศสมาชิกอาเซียนใหอยูอยางสันติระหวางกันและกับโลกภายนอก ในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ความยุติธรรม และการมีความปรองดองตอกัน จากหลักการขางตน ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ไดแก 1. ประชาคมที่มีกติกา และมีการพัฒนาคานิยม และบรรทัดฐานรวมกัน (A rules-based community of shared values and norms) 2. ประชาคมที่ทําใหภูมิภาคมีความเปนเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกรง พรอมทั้งมีความรับผิดชอบ รวมกัน เพื่อแกไขปญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful, and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) 3. ประชาคมที่ทําใหเปนภูมิภาคที่มีพลวัตร และมองไปยังโลกภายนอกที่มีการรวมตัว และลักษณะพึ่งพาซึ่งกัน และกันมากยิ่งขึ้น (A dynamic and outward-looking region in an increasingly integrated and interdependent world) คุณลักษณะเหลานี้ มีความเกี่ยวโยงกันและสงเสริมซึ่งกันและกัน และดําเนินการอยางสมดุล และสม่ําเสมอ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint จึงเปนเอกสารที่มุงการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผล 8 และตระหนักถึงศักยภาพ และความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียน
1. ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาคานิยมและบรรทัดฐานรวมกัน (A rules-based community of shared values and norms) ความรวมมือดานการพัฒนาทางการเมืองของอาเซียน มีเปาหมายที่จะสรางความแข็งแกรงแกประชาธิปไตย สงเสริมธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม สงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยระลึกถึงสิทธิ
7 8
กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 3-4 กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 4-6.
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 51
และความรับ ผิดชอบของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อนําไปสูการสรางประชาคมที่มีกฎเกณฑ และบรรทัดฐาน และ คานิยมรวมกัน อาเซียนมีเปาหมายที่จะบรรลุมาตรฐานของการยึดมั่นรวมกันตอบรรทัด ฐานแหงการปฏิบัติที่ดีระหวาง ประเทศสมาชิกอาเซียน สรางความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ความใกลชิด และการอยูรวมกันอยางเปนสุข และเอื้อตอ การสร า งประชาคมที่ มี ค วามสงบสุ ข มี ป ระชาธิ ป ไตย มี ขั น ติ ธ รรม ทุ ก ฝา ยมี ส ว นร ว ม และโปร ง ใสในภู มิ ภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ ความรวมมือดานการพัฒนาทางการเมือง นําองคประกอบ และสถาบันทางการเมืองใน อาเซียนไปสูการเติบโตอยางมั่นคง ซึ่งการไปสูเปาหมายดังกลาว ความรูสึกของความเปนหนึ่งเดียวระหวางรัฐในเรื่องระบบ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร ควรไดรับการสงเสริมความเปนหนึ่งเดียวระหวางรัฐดังกลาว สามารถบรรลุได โดยการสรางบรรทัดฐาน และมีบรรทัดฐานรวมกัน 1.1. ความรวมมือดานการพัฒนาการเมือง ตั้งแตที่ไดรับรองแผนปฏิบัติการของประชาคมการเมื องและความมั่นคงอาเซียน ในป พ.ศ. 2546 อาเซียนมีความกาวหนาในการดําเนินมาตรการดานการพัฒนาทางการเมืองเปนลําดับ โดยมีสวนรวมขององคการตาง ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย และองคกรภาคประชาสังคม ในการประชุม และกิจกรรมของอาเซียน การ ปรึกษาหารือ และการปฏิสัมพันธที่เพิ่มขึ้นดังกลาว สงเสริมความสัมพันธอันดี และสงผลใหเกิดผลลัพธที่ดีสําหรับภูมิภาค โดยมีความพยายามที่จะปูทางสําหรับกรอบองคกร เพื่ออํานวยความสะดวกตอการไหลเวียนขอมูลอยางเสรี ซึ่งเปนไปตาม กฎหมาย และกฎระเบียบของแตละประเทศ ปองกัน และตอต านการทุจริต ความรวมมือดานนิติธรรม ระบบยุติธรรม และโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมาย และธรรมาภิบาล นอกจากนี้ เพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพ พื้นฐาน ซึ่งกฎบัตรอาเซียนระบุใหมีการจัดตั้งองคกรดานสิทธิมนุษยชนของอาเซียน มีการสงเสริม ดังนี้ 1) สงเสริมความเขาใจ และการยอมรับในระบอบการเมืองตาง ๆ วัฒนธรรม และประวัติศาสตรของ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดสัมมนา/การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับสถาบันประชาธิปไตย การให ความเทาเทียมทางเพศเปนกระแสหลักในนโยบาย และการมีสวนรวมของประชาชน 2) ปูทางสําหรับกรอบองคกรเพื่ออํานวยความสะดวกตอการไหลเวียนของขอมูลโดยเสรี เพื่อการ สนับสนุน และความชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ใหมีการฝกงาน ทุน ฝกงาน มอบทุนการศึกษา การประชุม เชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน และการแลกเปลี่ยนผูสื่อขาว เพื่อเพิ่มศักยภาพ และความเปนมืออาชีพดานสื่อในภูมิภาค โดยเนนกระบวนการของการดําเนินการตามแผนงานนี้ 3) จัดทําแผนงานเพื่อสนับสนุน และใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ในการพัฒนายุทธศาสตรเพื่อเสริมสรางหลักนิติธรรม ระบบยุติธรรม และโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมาย โดยมีกิจกรรม เชน จัดทําการศึกษาเปรียบเทียบสําหรับผูรางกฎหมายในการประกาศใชกฎหมาย และกฎระเบียบตาง ๆ 4) สงเสริมธรรมาภิบาล โดยมีกิจกรรม เชน ศึกษา และวิเคราะห เพื่อจัดทําฐานขอมูล และรวบรวม แนวทางปฏิบัติที่ดีเลิศในเรื่องธรรมาภิบาลของภูมิภาค 5) ส ง เสริ ม และคุ มครองสิ ท ธิ มนุ ษ ยชน โดยมี กิ จ กรรม เช น รวบรวมข อ มู ล เรื่ อ งกลไกด า นสิ ท ธิ มนุษยชน และองคกรที่เกี่ยวของ รวมทั้งองคกรเฉพาะดาน เพื่อสงเสริมสิทธิสตรีและเด็กภายในป พ.ศ. 2552 6) เพิ่มการมีสวนรวมขององคกรที่มีความสัมพันธกับอาเซียนที่เกี่ยวของตอการขับเคลื่อนความคิด ริเริ่มเพื่อพัฒนาการทางการเมืองของอาเซียนใหดํ า เนินไปขางหนา โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริมการศึกษาวิจัย และ สนับสนุนทุนจัดพิมพของการริเริ่มพัฒนาทางการเมืองอาเซียน
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 52
7) ปองกันและปราบปรามการทุจริต โดยมีกิจกรรม เชน กํา หนดกลไกที่เกี่ยวของในการปฏิบัติกับ กิจกรรมเพื่อการปองกันและปราบปรามการทุจริต และสรางเสริมความเชื่อมโยงและความรวมมือระหวางองคกรที่ เกี่ยวของ 8) สงเสริมหลักการประชาธิปไตย โดยมีกิจกรรม เชน การจัดทําการศึกษาวิจัยเปนรายปเพื่อรวบรวม ประสบการณดานประชาธิปไตย และเพื่อสงเสริมการยึดมั่นในหลักการของประชาธิปไตย 9) สงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยมีกิจกรรม เชน พัฒนาใหมีกิจกรรมเพื่อสนับสนุน วัฒนธรรมเพื่อสันติภาพ และการหารือระหวางศาสนา และภายในศาสนาในภูมิภาค 1.2. การสรางและแบงปนกฎเกณฑรวม อาเซียนสงเสริ มใหมีบ รรทัดฐานระดั บภูมิภาคเรื่ องแนวปฏิบั ติที่ดีเลิ ศ และความเปนปกแผน โดย สอดคลองกับหลักการสําคัญตามที่บัญญัติไวในกฎบัตรอาเซียน ในบริบทนี้ อาเซียนยังคงยึดมั่นในสนธิสัญญามิตรภาพ และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และขอตกลงสําคัญอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงปฏิญญาวาดวยการปฏิบัติของรัฐภาคีในทะเลจีนใต ซึ่งมีการสงเสริม ดังนี้ 1) ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนใหเปนไปตามกฎบัตรอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดเตรียม และ ดําเนินการตามแผนงานในชวงเปลี่ยนผานวาดวยการปฏิรูปสถาบันที่จําเปนเพื่อดําเนินการตามกฎบัตรอาเซียน 2) เสริ มสรา งความร วมมื อภายใต สนธิสั ญญา TAC โดยมีกิ จกรรม เช น จัดใหมี การประชุมเชิ ง ปฏิบัติการ และการสัมมนา เพื่อประเมินความกาวหนาของการดําเนินงานของสนธิสัญญา TAC และหาทางในการพัฒนา กลไกการดําเนินการตอไป 3) สงเสริมใหมีการดําเนินการอยางสมบูรณตามปฏิญญาวาดวยทะเลจีนใต (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DOC) เพื่อสันติภาพ และเสถียรภาพในทะเลจีนใต โดยมีกิจกรรม เชน ดําเนิน การตามวิธี ปฏิ บัติ ที่มีอ ยูข องอาเซียนโดยประเทศสมาชิก เพื่ อใหมี การปรึ กษาหารืออยา งใกลชิ ด และให การ ดําเนินการของปฏิญญาวาดวยทะเลจีนใตบรรลุผลอยางเต็มที่ 4) ส ง เสริ มให มั่ น ใจในการดํ า เนิ น การตามสนธิ สั ญ ญา SEANWFZ และแผนปฏิ บั ติ ก ารภายใต สนธิสัญญานี้ โดยมีกิจกรรม เชน สนับสนุนใหมีการภาคยานุวัตรพิธีสารของสนธิสัญญา SEANWFZ สําหรับกลุมประเทศที่ ครอบครองอาวุธนิวเคลียร 5) สงเสริมความรวมมือทางทะเลอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดการประชุมเวทีหารืออาเซียนเรื่อง ความรวมมือทางทะเล 2. ภูมิภาคที่มีความเปนเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกรง พรอมทั้งมีความรับผิดชอบรวมกันเพื่อแกไข ปญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) ในการสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนที่มีความเปนเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกรงยึดมั่น กับหลักการความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ ซึ่งครอบคลุมมากกวาแงมุมความมั่น คงในรูปแบบเดิม แตคํานึงถึงความ มั่นคงในรูปแบบใหม ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญตอความแข็งแกรงในระดับชาติ และภูมิภาค เชน มิติเศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมของการพัฒนาอาเซียน ยังคงยึดมั่นตอการปองกันความขัดแยง/มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ การทูต เชิงปองกัน และการสรางสันติภาพหลังความขัดแยง
2.1. ปองกันความขัดแยง และมาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 53
มาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และการทูตเชิงปองกันเปนเครื่องมือสําคัญในการปองกันความ ขัดแยง ชวยลดความตึงเครียด และปองกันไมใหเกิดขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน และระหวางประเทศ สมาชิกอาเซียนกับประเทศที่ไมใชสมาชิกอาเซียน ตลอดจนชวยปองกันการขยายความรุนแรงของความขัดแยงที่มีอยูแลว ในสวนของการหารือดานการปองกัน หรือการเมืองในภูมิภาค เจาหนาที่กลาโหมอาเซียน ไดมีสวนรวมในการเจรจาดาน ความมั่นคงของอาเซียน ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ภายใตกรอบเวทีการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดาน ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ARF) อาเซียนไดทําการรายงานโดยสมัครใจในเรื่องพัฒนาการความมั่นคงในภูมิภาค และจัดประชุมเจาหนาที่กลาโหมระดับสูงโดยสม่ําเสมอภายใตการหารือของเจาหนาที่กลาโหม ARFDOD และการประชุม นโยบายความมั่นคง ARF (APSC) อาเซียนยังไดจัดตั้งการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานกลาโหม ซึ่งมีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางมาตรการการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริมการแลกเปลี่ยนผู สังเกตการณในการฝกทหาร โดยเปนไปตามความสามารถ และเงื่อนไขของแตละประเทศสมาชิกอาเซียน 2) สงเสริมความโปรง ใส และความเขา ใจในนโยบายกลาโหม และมุมมองดา นความมั่น คง โดยมี กิจกรรม เชน มุงไปสูการพัฒนา และตีพิมพมุมมองสถานการณความมั่นคงประจําปของอาเซียน 3) สรางกรอบการดําเนินการทางสถาบันที่จําเปนเพื่อเสริมสรางกระบวนการภายใตกรอบการประชุม ARF เพื่อสนับสนุนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ติดตามขอเสนอแนะเกี่ยวกับการ ทบทวนความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก 4) เสริมสรางความพยายามในการธํารงความเคารพในบูรณภาพแหงดินแดนอธิปไตย และเอกภาพ ของประเทศสมาชิกตามที่กําหนดไวในปฏิญญาวาดวยหลักการแหงกฎหมายระหวางประเทศเกี่ยวกับความสัมพันธฉันท มิตร และความรวมมือโดยเปนไปตามกฎบัตรสหประชาชาติ โดยมีกิจกรรม เชน สงเสริม และเพิ่มความตระหนักตอ ประเด็นเหลานี้ เพื่อเรงรัดการสรางประชาคม และยกระดับการเปนที่ยอมรับเปนที่รูจักของอาเซียนในเวทีโลก 5) สงเสริมการพัฒนาบรรทัดฐานเพื่อสรางความรวมมือดานการปองกันทางทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ริเริ่มงานเตรียมการสําหรับการพัฒนาโครงการความรวมมือที่เปนรูปธรรมระหวางหนวยงาน ทหารของประเทศสมาชิกอาเซียน
2.2. การแกไขความขัดแยงและการระงับขอพิพาทโดยสันติ
อาเซียนเชื่อมั่นวา การระงับความแตกตาง หรือขอพิพาทควรกํากับโดยกระบวนการที่มีเหตุผล มี ประสิทธิภาพ และยืดหยุนเพียงพอ เพื่อหลีกเลี่ยงแนวคิดในทางลบ ซึ่งอาจเปนอันตราย หรือเปนอุปสรรคตอความรวมมือ อาเซียน จึงสนับสนุน TAC ซึ่งใหบทบัญญัติสําหรับการระงับขอพิพาทโดยสันติตลอดเวลา โดยผานการเจรจาฉันทมิตร และหลีกเลี่ยงการขมขูวา จะใช หรือการใชกําลัง เพื่อแกไขขอพิพาทยุทธศาสตร สําหรับการแกไขความขัดแยง เปนสวน หนึ่งของแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ วัตถุประสงคสําหรับยุทธศาสตรเหลานี้เปนไปเพื่อปองกันขอพิพาท และความ ขัดแยงไมใหเกิดขึ้นระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีศักยภาพที่จะสรางภัยคุกคามตอสันติภาพ และเสถียรภาพใน ภูมิภาค อาเซียน สหประชาชาติ และองคการอื่น ๆ ไดจัดกิจกรรมความรวมมือจํานวนมากรวมกันภายใตความ พยายามในการสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพ มีความพยายามที่มากขึน้ ในการเสริมสรางวิธีการระงับขอพิพาทโดยสันติ ที่มีอยู เพื่อหลีกเลี่ยง หรือระงับขอพิพาทในอนาคต และการดําเนินการในการจัดการความขัดแยง และการศึกษาวิจยั เรื่อง การแกไขความขัดแยง ในการนี้ อาเซียนอาจตั้งกลไกการระงับขอพิพาทที่เหมาะสมไดเชนกันภายใตกฎบัตรอาเซียน มีการ สงเสริม ดังนี้
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 54
1) พัฒนารูปแบบการระงับขอพิพาทโดยสันติ เพิ่มเติมจากรูปแบบที่มีอยู และพิจารณาเสริมสราง รูปแบบดังกลาวใหเขมแข็งขึ้นดวยกลไกเพิ่มเติม โดยมีกิจกรรม เชน ศึกษา และวิเคราะหรูปแบบการระงับขอพิพาทโดย สันติที่มีอยู และ/หรือกลไกเพิ่มเติม เพื่อเสริมสรางกลไกในภูมิภาคในการระงับขอพิพาทโดยสันติ 2) เสริมสรางกิจกรรมการคนควาวิจัยเรื่องสันติภาพ การจัดการความขัดแยง และการแกไขความ ขัดแยง โดยมีกิจกรรม เชน พิจารณาจัดตั้งสถาบันอาเซียนสําหรับสันติภาพ และสมานฉันท 3) สงเสริมความรวมมือในภูมิภาคเพื่อธํารงไว ซึ่งสันติภาพ และเสถียรภาพ โดยมีกิจกรรม เชน ระบุ หนวยงานหลักของประเทศเพื่อสงเสริมความรวมมือ ดานสันติภาพ และเสถียรภาพในระดับภูมิภาค
2.3. การสรางสันติภาพหลังความขัดแยง
ความพยายามของอาเซียนในเรื่อ งการสร างสัน ติภาพหลั งความขั ดแยง ตอ งเกื้อ กูล ความพยายาม อื่น ๆ ที่ใชแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อ 1) ใหมั่นใจวา จะไมเกิดความขัดแยง และความรุนแรง และ/หรือภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษยในพื้นที่ที่ ไดรับผลกระทบ 2) สงเสริมการกลับคืนมาของสันติภาพ และ/หรือการกลับสูภาวะปกติของชีวิตโดยเร็วที่สุด และ 3) วางพื้นฐานเพื่อการสมานฉันท และมาตรการที่จําเปนตาง ๆ เพื่อรักษาสันติภาพ และเสถียรภาพ ทั้งนี้ เพื่อปองกันพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากการกลับไปสูความขัดแยงในอนาคต สามารถใชมาตรการตาง ๆ ในการสงเสริมกิจกรรมบรรเทาเพื่อมนุษยธรรม ซึ่งรวมถึงการเพิ่มความรวมมือกับสหประชาชาติ และองคการอื่น ๆ ตลอดจน การเสริมสรางขีดความสามารถใหกับประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ มีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางความชวยเหลือดานมนุษยธรรมอาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน ใหการบริการ และความ ชวยเหลือขั้นพื้นฐาน เพื่อบรรเทาทุกขแกผูไดรับผลกระทบจากความขัดแยง โดยตองปรึกษากับประเทศที่ไดรับผลกระทบ 2) ดําเนินการตามโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย และสรางขีดความสามารถในพื้นที่ภายหลังความ ขัดแยง โดยมีกิจกรรม เชน รางแนวทางการประเมินความตองการการฝกอบรม และการเสริมสรางขีดความสามารถ 3) เพิ่มความรวมมือในดานการไกลเกลี่ยประนีประนอม และคานิยมที่มีสันติภาพเปนศูนยกลาง โดยมี กิจกรรม เชน ดําเนินการศึกษาเพื่อเพิ่มความรวมมือดานการสมานฉันท และสงเสริมคานิยมที่มีสันติภาพเปนศูนยกลาง
2.4. ประเด็นความมั่นคงรูปแบบใหม
จุดประสงคหลักของอาเซียน คือ การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และทันทวงที โดยสอดคลองกับ หลักการดานความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติ จากภัยคุกคามในทุกรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ และความทาทายขามแดน มีการสงเสริม ดังนี้ 1) เสริมสรางความรวมมือในการรับมือประเด็นปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม โดยเฉพาะเรื่องการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ และความทาทายขามแดนอื่น ๆ โดยมีกิจกรรม เชน ดําเนินการในประเด็นสําคัญในแผนการ ดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2) เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการใหสัตยาบันโดยเร็ว และดําเนินการอยาง เต็มทีต่ ามอนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย 3) โดยมีกิจกรรม เชน ดํา เนิน การเพื่อ ให อนุสั ญญาฯ มี ผลบั งคั บใช ภายในป พ.ศ. 2552 การให สัตยาบันโดยประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ และสงเสริมการดําเนินการตามอนุสัญญาฯ
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 55
2.5. เสริมสรางความรวมมือของอาเซียนดานการจัดการภัย พิบัติ และการตอบสนองตอสถานการณ ฉุกเฉิน โดยมีกิจกรรม เชน พัฒนาแนวทางยุทธศาสตรของความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก สําหรับความชวยเหลือทางมนุษยธรรม และความรวมมือดานการบรรเทาภัยพิบัติ 2.6. การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และทันกาลตอประเด็นเรงดวน หรือสถานการณวิกฤตที่สงผล กระทบตออาเซียน โดยมีกิจกรรม เชน จัดการประชุมสมัยพิเศษในระดับผูนํา หรือรัฐมนตรี ในเหตุการณวิกฤติ หรือ สถานการณฉุกเฉินที่มีผลกระทบตออาเซียน และพัฒนากรอบการดําเนินการ เพื่อจัดการกับสถานการณดังกลาวอยาง ทันทวงที 3. ภูมิ ภาคที่มี พ ลวั ตร และมองไปยั งโลกภายนอก ในโลกที่ มี ก ารรวมตัว และพึ่ งพาอาศั ย กั นยิ่ งขึ้ น (A dynamic and outward looking region in an increasingly integrated and interdependent world) อาเซียนสงเสริม และรักษาความสัมพันธที่เปนมิตร และเปนประโยชนรวมกันกับประเทศภายนอก เพื่อให มั่นใจวา ประชาชน และรัฐประเทศสมาชิกของอาเซียนสามารถอยูอยางสันติในโลก ในสภาวะที่มีความยุติธรรมเปน ประชาธิปไตย และปรองดอง อาเซียนจะยังคงมองไปยังภายนอก และดําเนินบทบาทที่สําคัญในเวทีระดับภูมิภาค และใน ระดับระหวางประเทศ เพื่อสงเสริมผลประโยชนรวมกันของอาเซียน อาเซียนจะธํารง และรักษาความเปนศูนยรวม และ บทบาทเชิงรุกในฐานะพลังขับเคลื่อน หลักในโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาคที่เปดกวาง โปรงใส และทุกฝายมีสวนรวม เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยเสริมสรางความสัมพันธกับภายนอก ภูมิภาค 1) การส งเสริ มอาเซี ยนให เป น ศูน ยก ลางในความรว มมื อระดับ ภูมิ ภาค และการสรา งประชาคม โดยมี กิจกรรม เชน เพิ่มพูนการประสานงานในการดํา เนินความสัมพันธภายนอกของอาเซียนตลอดจนการประชุมในระดับ ภูมิภาค และพหุภาคี 2) สงเสริมความสัมพันธที่เพิ่มพูนกับประเทศภายนอก โดยมีกิจกรรม เชน แสวงหาโครงการความรวมมือ กับองคการระดับภูมิภาค 3) เสริมสรางการปรึกษาหารือ และความรวมมือในประเด็นพหุภาคีที่เปนความกังวลรวมกัน โดยมีกิจกรรม เชน เพิ่มพูนการปรึกษาหารือภายในอาเซียน ซึ่งรวมถึงการแตงตั้งผูแทนถาวรของประเทศอาเซี ยนประจําสหประชาชาติ 9 และองคการระหวางประเทศอื่น ๆ เพื่อสงเสริมผลประโยชนของอาเซียน ในป 2552 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ไดใหการรับรอง “แผนงานการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political-Security Community Blueprint: APSC Blueprint) เปนเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จําเปนในการบรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน มีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เปนความมุงหวังวา จะทําใหความรวมมือดานการเมือ ง และ ความมั่นคงของอาเซียนมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น โดยเปนหลักประกันตอประชาชน และประเทศสมาชิกอาเซียนใหอยูอยาง สันติระหวางกัน และกับโลกภายนอกในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ความยุติธรรม และการมีความปรองดอง ตอกัน 2. ประชาคมการเมื อ งและความมั่น คงอาเซี ยน จะส ง เสริ มพั ฒนาการด า นการเมือ ง โดยยึ ด หลั กการของ ประชาธิปไตย นิติธรรม ธรรมาภิบาล ความเคารพ การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน 9
กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. หนา 6-28
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 56
ภายใตกฎบัตรอาเซียน โดยจะเปนตัวเชื่อมตอใหประเทศสมาชิกอาเซียน มีการติดตอ และมีความรวมมือระหวางกัน เพื่อ สรางบรรทัดฐานกฎเกณฑ และกลไกรวมกันในการบรรลุเปาหมายอาเซียนในดานการเมือง และความมั่นคง ซึ่งจะทําให อาเซียนเปนองคกรที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง โดยทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวม และไดผลประโยชนจากกระบวนการ รวมตัว และการสรางประชาคมโดยไมคํานึงถึงเพศ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา หรือพื้นเพทางสังคม และวัฒนธรรม ในการ ปฏิบัติตามแผนงาน อาเซียนจะตองสงเสริม และสนับสนุนการใหความเทาเทียมทางเพศ แนวทางหลักในนโยบายความอด กลั้น การเคารพความหลากหลายความเทาเทียมกัน และมีความเขาใจที่ดีตอกัน 3. เพื่อประโยชนในการปกปอง และสงเสริมสันติภาพในภู มิภาค ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประสงคจะสงเสริมความรวมมือที่แนนแฟน และมีผลประโยชนรวมกันระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา และมิตร ประเทศ เพื่อคงไวซึ่งความเปนศูนยกลาง และบทบาทแขงขันของอาเซียน ในโครงสรางสถาปตยกรรมในภูมิภาคที่เปด กวาง โปรงใส และที่ทุกฝายมีสวนรวมอีกทั้งมีสวนรวมอยางแข็งขันในการกาวไปขางหนา และไมเลือกปฏิบัติ 4. ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย นสนั บ สนุ น แนวทางด า นความมั่ น คงที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ (Comprehensive Approach) ซึ่งมีความเกี่ยวโยงตอพัฒนาการดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอยางใกลชิด ยึดหลัก ในการละเวนการรุกราน หรือการขูใชกําลัง และการกระทําใด ๆ ที่ไมสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศ และการ พึ่งพา การแกไขปญหาความขัดแยงโดยสันติวิธี ในการนี้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนยึดมั่นความตกลง ทางการเมืองของอาเซียน อาทิ ปฏิญญาวาดวยเขตสันติภาพ อิสรภาพ และการวางตัวเปนกลาง หรือสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) เปนตน ซึ่งมีบทบาทสําคัญในดานมาตรการสงเสริมความไว เนื้อเชื่อใจ การทูตในเชิงปองกัน และแนวทางแกไขปญหาโดยสันติวิธี อีกทั้งแกไขประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ จะมีการประกาศจัดตั้ง “คณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวา ดวยสิทธิมนุษยชน” อยางเปนทางการ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ที่จัดตั้งขึ้นนี้ จะทําหนาที่เปนหนวยงานหลักในการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนกับองคการระหวางประเทศ และภาคประชาสังคมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะมี สวนสําคัญในการสงเสริม และคุมครองสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนชีวิตความเปนอยูของคนไทย และประชาชนอาเซียน โดยรวม นอกจากนี้ การมีกลไกทางดานสิทธิมนุษยชนอยางเปนรูปธรรม จะทําใหอาเซียนเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ มากขึ้น อันจะสงผลทางออมตอความรวมมือกับประเทศ และองคการระหวางประเทศนอกอาเซียนในทุก ๆ ดาน อยางไรก็ตาม APSC Blueprint ยังมีเนื้อหา และกระบวนการดําเนินการที่คอนขางจะกระทบตอประเด็น ออนไหวของหมูประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะหลักการ หรือกฎเหล็กของอาเซียน ไดแก การไมกาวกายกิจการ ภายในประเทศ และการเคารพตออํานาจอธิปไตยของกันและกัน รวมถึงวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ยกตัวอยางเชน ใน จุดประสงคดานแรก คือ การสรางประชาคมที่มีคานิยม และบรรทัดฐานรวมกันบนพื้นฐานของการใชกฎรวม (A Rulesbased Community of Shared values and norms) นั้น ประกอบไปดวย 2 กรอบการทํางานหลัก คือ การรวมมือกัน ในการพัฒนาการเมือง (Cooperation in Political Development) และการสราง และใชบรรทัดฐานรวมกัน (Shaping and Sharing of Norms) ซึ่งกรอบการทํางานแรกนั้นประกอบไปดวยกิจกรรมตาง ๆ เชน การสงเสริมสภาพธรรมาภิบาล การส ง เสริ ม และปกป อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน การป อ งกั น และต อ สู กั บ การคอร รั ป ชั่ น และการส ง เสริ ม หลั ก การของ ประชาธิปไตย ซึ่งหากเพียงแคมองกิจกรรมดังกลาวเพียงคราว ๆ แลว ก็พอจะสามารถคาดเดาไดวา เปนไปไดยากที่แตละ ประเทศสมาชิกจะเขามารวมมือกันได เชน การปองกัน และการตอสูกับการคอรรัปชั่น
กรอบความร ว มมื อ ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น อาเซียนมีเปาหมายดานความมั่นคงที่สําคัญ คือ การสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต เพื่อสราง conditions ที่จะอํานวยตอการสรางประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ในการนี้ พื้นฐาน
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 57
ของประชาคมอาเซียน ประกอบดวย 3 เสา คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคม สังคมและวัฒนธรรม มาจาก Bali Concord II ลงนามในป พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ตอมา มีการพัฒนาแผนเพื่อนํามาซึ่ง ประชาคมทั้ง 3 เสา ภายใต Roadmap for and ASEAN Community 2009-2015 มี ASEAN Political-Security Community Blueprint เปนองคประกอบสําคัญ นอกจากนี้ ในบริบทของกฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชตั้งแตเดือน ธันวาคม 2551 อาเซียนมีเปาหมายสําคัญที่จะธํารงรักษา และเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคงเสถียรภาพ รวมทั้งเสริมสราง คุณคาทางสันติภาพในภูมิภาคใหมากขึ้น อาเซียนไดแสดงบทบาทและความพยายามในการสรางสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงในภูมิภาค เพื่อให เกิดความผาสุกแกประชาชน ภายใตกรอบความรวมมือดานการเมืองที่สําคัญ ไดแก 1. การประกาศใหอาเซียนเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPEAN) ลงนามครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2514 (ค.ศ. 1971) 2. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ลงนามเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2519 (ค.ศ. 1976) 3. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ) ลงนามเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2537 (ค.ศ. 1994) 4. การกอตั้งการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) มีการประชุมครั้งแรก เมื่อป 2537 (ค.ศ. 1994) ประเทศที่เขารวมมี 27 ประเทศ ไดแก อาเซียน 10 ประเทศ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด จีน ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย อินเดีย สหภาพยุโรป ปาปวนิวกินี มองโกเลีย เกาหลีเหนือ ปากีสถาน ติมอรเลสเต บังกลาเทศ และศรีลังกา โดย ARF เปนเวที สําหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดานความมั่นคงในภูมิภาค อาทิ การตอตานการกอการราย อาชญากรรมขามชาติ การไมแพรขยายอาวุธนิวเคลียร คาบสมุทรเกาหลี และทะเลจีนใต ในการดําเนินการของ ARF (Asian Regional Forum) เปนนิมิตหมายที่ดีของความรวมมือดานความมั่นคงของประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนเวทีการประชุมที่ใหขอมูลทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร กระชับความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิก มีสวนใหการประชุมในเวทีการประชุมในเวที ตาง ๆ เชน การฝกรวม มีความราบรื่น และเกิดการพัฒนาตอยอดในการปฏิบัติการรวมตอไป 5. ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord : Bali Concord) ลงนามเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2519 (ค.ศ. 1976) ที่บาหลี ซึ่งกําหนดใหประเทศสมาชิกอาเซียนสงเสริมความรวมมือดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สารสนเทศ และความมั่นคง อีกทั้งจัดตั้งสํานักงานเลขาธิการอาเซียน
6. ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II) ลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2546 (ค.ศ. 2003) ในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 9 ที่บาหลี ซึ่งผูนําอาเซียนได เห็นชอบใหมีการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) อันประกอบไปดวย ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจประชาคม (ASEAN Economic Community : AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ภายในป 2563 ตอมาในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) ที่เมืองเซบู ประเทศ ฟลิปปนส ผูนําอาเซียนไดตกลงใหเรงรัดการจัดตั้งประชาคมใหแลวเสร็จภายใน 2558 (ค.ศ. 2015)
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 58
7. อนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย (ASEAN Convention on Counter-Terrorism : ACCT) ลงนามเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) ระหวางการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 12 ที่เมืองเซบู ฟลิปปนส เพื่อกําหนดกรอบความรวมมือดานการตอตานการกอการรายในเรื่องตาง ๆ อาทิ เขตอํานาจศาลของรัฐ การสง ผูรายขามแดน การแลกเปลี่ยนขอมูล ฯลฯ 8. ความรวมมือดานการบริหารจัดการภัยพิบัติ (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response : AADMER) มีผลบังคับใชแลวเมื่อเดือนธันวาคม 2552 (ค.ศ. 2009) มีการจัดตั้งศูนยใหความ ชวยเหลือเพื่อบรรเทาภัยพิบัติของอาเซียน (ASEAN Humanitarian Assistance Center) ที่อินโดนีเซีย โดยเลขาธิการ อาเซียนไดรับมอบหมายใหเปน ASEAN Humanitarian Assistance Coordinator ซึ่งไทยเสนอใหอาเซียนมีแถลงการณ วาดวยความรวมมือในดานการปองกันอุทกภัย การลดผลกระทบ การบรรเทา การฟนฟู และการบูรณะ 9. อาเซียนไดดําเนินความพยายามในการแกไขขอพิพาทในทะเลจีนใต ซึ่งเปนพื้นที่ทับซอนที่ประเทศสมาชิ ก อาเซียนหลายประเทศ และจีนที่อางสิทธิ์ โดยการดําเนินความรวมมือระหวางประเทศที่เกี่ยวของตามปฏิญญาวาดวยการ ปฏิบัติของประเทศภาคีในทะเลจีนใต (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DoC) ตาม Guidelines for the Implementation of the Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea (Guidelines on DoC) การจัดทํา Code of Conduct of Parties in the South China Sea (CoC) การ สงเสริม และธํารงไวซึ่งเสรีภาพ และความปลอดภัยในการเดินเรือ เพื่อเพิ่มพูนการคา และพาณิชย สนับสนุนใหขอพิพาท ในทะเลจีนใต ใหไดรับการแกไขโดยการหารือ และอยางสันติ 10. การจัดตั้งสถาบันเพื่อสันติภาพและการปรองดอง (ASEAN Institute for Peace and Reconciliation) เปน “Entity Associated with ASEAN” ตามขอ 16 ของกฎบัตรอาเซียน ใหรัฐมนตรีตางประเทศพิจารณา ToR เพื่อให สถาบันเริ่มดําเนินการ (launch) อยางเปนทางการในป 2555 (ค.ศ. 2012) ระหวางการเปนประธานอาเซียนของกัมพูชา โดยไมมีความเกี่ยวของกับกลไกระงับขอพิพาทของอาเซียน 11. กลไกเพื่อยุติขอพิพาท อาเซียนมี ดังนี้ 11.1. คณะอัครมนตรีของสนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (High Council of the Treaty of Amity and Amity and Cooperation in Cooperation in Southeast Asia) ซึ่งเปนกลไกระงับขอ พิพาท โดยสันติวิธีระหวางประเทศที่เปนภาคีสนธิสัญญา TAC ในระดับรัฐมนตรี โดย High Council อาจเสนอ ขอเสนอแนะ และทําหนาที่เปนผูไกลเกลี่ยในกรณีที่เกิดขอพิพาท 11.2. กลุมผูประสานงานอาเซียน (ASEAN Troika) ซึ่งเปนขอเสนอของไทย โดย ASEAN Troika จะ ประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ดํารงตําแหนงประธานอาเซียน ประเทศที่เปนประธาน กอนหนานี้ และประเทศที่เปนประธานตอไป เพื่อเปนกลไกในการพิจารณา และหารือเกี่ยวกับเหตุการณฉุกเฉินที่อาจ สงผลกระทบตอภูมิภาค โดยจะทําหนาที่ติดตาม และเสนอแนะแนวทาง หรือมาตรการที่เหมาะสม เพื่อสนองตอบตอ เหตุการณตาง ๆ ไดอยางทันทวงที 11.3. ASEAN High Level Legal Experts จัดทํา Dispute Settlement Mechanism (DSM) โดย ไดรับอาณัติจากรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสิ้นป พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) เพื่อเสนอ DSM ใหรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนพิจารณาในป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) นับตั้งแตกอตั้งอาเซียน เมื่อป 2510 (ค.ศ. 1967) จนถึงปจจุบัน อาจกลาวไดวา อาเซียนประสบความสําเร็จใน การบรรลุถึงเปาหมายสําคัญ ๆ และเจตนารมณที่กําหนดไวในปฏิญญากรุงเทพฯ อยางนาพอใจ โดยในดานการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียนนั้น อาเซียนไดสรางความมีเสถียรภาพ ความไวเนื้อเชื่อใจ และแนวทางปองกันมิใหเกิดปญหาความ
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 59
ขัดแยงในภูมิภาคขึ้น ทั้งนี้ ยังไดดําเนินการเพื่อสงเสริมใหสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) เปนหลักในการดําเนินความสัมพันธในภูมิภาค อีกทั้งไดพยายามเรงการปฏิบัติตามสนธิสัญญา เขตปลอดอาวุธ นิวเคลียรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (SEANWFZ) และโนมนาวใหประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียรเขารวมในสนธิสัญญา ดังกลาว อยางไรก็ตาม สถานการณความมั่นคงในภูมิภาคยังคงมีความแปรปรวนอยู สืบเนื่องมาจากปญหาในทะเลจีนใต ความขัดแยง และปญหาภายในของบางประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมียนมาร และอินโดนีเซีย ซึ่งสงผลกระทบ โดยตรงกับภูมิภาค ในขณะเดียวกัน อาเซียนเองยังคงตองเผชิญกับสิ่งทาทายใหม ๆ อาทิ ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และตองอาศัยความรวมมืออยางเปนรูปธรรมในระดับภูมิภาค เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ เหลานี้ ตอไป
ความก า วหน า ในการจั ด ตั้ ง ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น กระบวนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีรากฐานมาจากการนําความรวมมือ และความ ตกลงของอาเซียนดานการเมืองและความมั่นคงที่ไดดําเนินการมาระยะหนึ่งแลว มาตอยอดใหมีผลเปนรูปธรรมและมีแบบ แผนมากยิ่งขึ้น อาทิ ขอบทตาง ๆ ภายใตสนธิสัญญา TAC สนธิสัญญา SEANWFZ และปฏิญญากําหนดใหภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : 10 ZOPFAN) และรวมถึงผลลัพธตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประชุม ARF ปจจุบัน การสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความคืบหนาในการสงเสริมการแลกเปลี่ยน ขอมูล และประสานทาทีมากยิ่งขึ้นในเรื่องที่มีนัยทางนโยบาย และการเมืองของภูมิภาค โดยมีคณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Council) เปนผูดําเนินการขับเคลื่อน สําหรับประเด็นดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนที่ไดรับความสนใจในชวง 1 - 2 ป ที่ผานมา คือ การสงเสริมกลไก อาเซียนตาง ๆ (Sectoral Bodies) และเนนการประสานงานเพื่อแกไขปญหา ซึ่งเปนประเด็นที่คาบเกี่ยวกับกลไกตาง ๆ (cross-cutting issues) ตัวอยางสําคัญที่อาเซียนกําลังพิจารณาอยางตอเนื่อง คือ ความเสี่ยงของการสงเสริมความ เชื่อมโยงในภูมิภาค ซึ่งรวมถึงอาชญากรรมขามชาติ และผลกระทบทางดานลบตาง ๆ เชน ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และ ปญหาสาธารณสุข ซึ่งเปนปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional threats) อย า งไรก็ ต าม การดํ า เนิ น การเพื่ อ รองรั บ การเป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น ยั ง ไม มี ความกาวหนามากนัก เมื่อเทียบกับการเตรียมความพรอมในมิติของเศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม ปญหาอุปสรรค สํา คั ญ ที่ สุ ด ในการสร า งประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ยน คื อ การสร า งค า นิ ยมร ว มกั น เนื่ อ งจาก ความ หลากหลายของวั ฒ นธรรมการเมื อ งของประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น และการที่ แ ต ล ะประเทศยั ง ไม มุ ง ไปสู ก ารสร า ง ผลประโยชนรวมกันของประชาคมอาเซียนอยางชัดเจน สวนหนึ่งของปญหาเกิดจากการที่ระบบสถาบันของอาเซียนที่จะ ชวยสงเสริมคานิยมอาเซียนยังคงออนแอ ความทาทายสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การที่ยังมีประเด็นที่มีความออนไหวสูงในแตละประเทศสมาชิก หรือ ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งสรางขอจํา กัดใหอาเซียนในการใชกลไกของตนได เชน กรณีที่เกือบทุกประเทศไม ประสงคที่จะใหอาเซียนมายุงเกี่ยวกับปญหาภายในประเทศ แมวา ปญหาดังกลาวจะมีนัย หรือผลกระทบในระดับภูมิภาค ก็ตาม เชน เรื่องพัฒนาการทางการเมือง และสิทธิมนุษยชนในเมียนมาร หรือปญหาหมอกควัน เปนตน อีกทั้งไมประสงค 10
ศูนยขาวการศึกษาไทย. (2555). ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 60
ใหอาเซียนมายุงเกี่ยวกับปญหาทวิภาคีโดยเฉพาะปญหาเขตแดน อยางเชน กรณีความขัดแยงระหวางสิงคโปรกับมาเลเซีย ในป พ.ศ. 2552 ทั้งสองประเทศไดใชกลไกของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice : ICJ) มากกวาการใชกลไกของอาเซียนในการแกขอพิพาททางเขตแดน แมวา ประเทศสมาชิกจะพยายามใหอาเซียนเปนศูนยกลางของการขับเคลื่อน (ASEAN Centrality) ในภูมิภาค แตปฏิสัมพันธระหวางมหาอํานาจไดสรางขอจํากัดใหกับอาเซียนในการที่จะผลักดันใหกลไกตาง ๆ ในภูมิภาคเปนเรื่องของ ความมั่นคงในภูมิภาค นอกจากนี้ เนื่องจาก ความมั่นคงในภูมิภาคยังตองพึ่งพาอาศัยบทบาทของประเทศนอกภูมิภาค อาเซียนจึงจําเปนตองสรางหุนสวนสําคัญกับประเทศนอกภูมิภาค และในบางกรณียังตองใชวิธีการคานอํา นาจ เพื่อไมให ประเทศมหาอํานาจใด มาครอบงําภูมิภาค ปญหาอุปสรรคอีกประการหนึ่ง คือ การที่ยังไมมีความไวเนื้อเชื่อใจระหวาง กันเองในประเทศสมาชิกอาเซียน เนื่องจาก ประเทศตาง ๆ ยังอยูในสภาพที่ตองแขงขันแยงชิงผลประโยชนระหวางกัน ตัวอยางเชน เรื่องการแสวงหาผลประโยชนจากทรัพยากรทางทะเล ซึ่งมีสวนใหเกิดความตึงเครียดมากขึ้นในทะเลจีนใต 11 เปนตน ในดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีเปาหมายสําคัญ คือ การสงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อสรางสถานะที่จะอํานวยตอการสรางประชาคมอาเซียน ใหสําเร็จภายในป 2558 ซึ่งจะทําให ประชาคมอาเซียนในดานการเมืองความมั่นคงมีความแข็งแกรงและนาเชื่อถือ ความรวมมือดานการเมืองความมั่นคงของ อาเซียนที่สําคัญ ไดแก 1. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใตจัดทําขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร และไทย เมื่อป พ.ศ. 2519 เพื่อกําหนดหลักการพื้นฐานของความรวมมือ และการดําเนินความสัมพันธระหวางกันของประเทศสมาชิกหลักการสํา คัญของสนธิสัญญา ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียน ยึดถือ และยอมรับในการปฏิบัติตาม ไดแก 1.1. เคารพในเอกราช การมีอํานาจอธิปไตย ความเทาเทียมกัน ความมั่นคงทางดินแดน และเอกลักษณ แหงชาติของทุกประเทศ 1.2. ปราศจากการแทรกแซงจากภายนอก การโคนลมอธิปไตย หรือการบีบบังคับจากภายนอก 1.3. การไมแทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน 1.4. การแกไขปญหาความขัดแยง หรือขอพิพาทโดยสันติวิธี 1.5. การยกเลิกการใชการคุกคามและกองกําลัง 1.6. การมีความรวมมือที่มีประสิทธิภาพระหวางกัน เมื่อเดือนธันวาคม 2530 ไดมีการแกไขสนธิสัญญา เพื่อเปดทางใหประเทศที่อยูนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใตสามารถเขารวมเปนภาคีไดนั้น เปนการชวยเสริมสรางโครงสรางความมั่นคงและสันติภาพภายในภูมิภาคใหมีความ เขมแข็งยิ่งขึ้น ปจจุบันประเทศที่เขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญา TAC ไดแก สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ประเทศคู เจรจาของอาเซียน และประเทศที่เขารวมการประชุมอาเซียนวาดวยการเมืองและความมั่นคงในเอเชีย-แปซิฟก เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต และนิวซีแลนด ออสเตรเลีย แคนาดา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป
11
กรมอาเซียน กองอาเซียน 1. (2554). “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.” ASEAN Highlights 2011, กรุงเทพฯ : กระทรวงการ ตางประเทศ. หนา 30.
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 61
2. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asia Nuclear-Free Zone : SEAN-FZ) ประเทศสมาชิ กอาเซี ยน ลงนามในการประชุ มสนธิสั ญญาในกรุ งเทพฯ เมื่ อวั นที่ 15 ธันวาคม 2538 วัตถุประสงคหลักของสนธิสัญญา คือ ใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร โดยประเทศที่เปน ภาคีจะไมพัฒนา ไมผลิต ไมจัดซื้อ ไมครอบครอง รวมทั้งไมเปนฐานการผลิต ไมทดสอบ ไมใชอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาค และไมใหรัฐใดปลอย หรือทิ้งวัสดุอุปกรณที่เปนกัมมันตภาพรังสีลงบนพื้นดิน ทะเล และอากาศ นอกจากนี้ ทั้ง 5 ประเทศ อาวุธนิวเคลียร ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และสหราชอาณาจักร (หาสมาชิกผูแทนถาวรของคณะมนตรี ความมั่นคงแหงสหประชาชาติ ) ไดยอมรับ และใหความเคารพสนธิสัญญา โดยจะไมละเมิด และไมแพรกระจายอาวุธ นิวเคลียรในภูมิภาคนี้ 3. ปฏิญญากําหนดใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพเสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPFAN) เปนการแสดงเจตนารมณของอาเซียน ใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมิภาคที่ปลอดการแทรกแซง จากภายนอก เพื่อเปนหลักประกันตอสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และยังไดเสนอใหอาเซียน ขยายความรวมมือ ใหครอบคลุมทุก ๆ ดาน อันจะนํามาซึ่งความแข็งแกรง ความเปนปกแผนและความสัมพัน ธที่ใกลชิดระหวางประเทศ สมาชิก และประเทศสมาชิก ได ประกาศลงนามโดยรั ฐมนตรีตา งประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่ งในขณะนั้ น ประกอบดวย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 1971 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย 4. การประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีสําหรับปรึกษาหารือ (Consultative forum) โดยมีวัตถุประสงคที่มุงสงเสริมสันติภาพโดย การเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ความรวมมือ และความสัมพันธอันดีระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศอาเซียนกับ คูเจรจา และประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองและความมั่นคง โดยมีทั้งผูแทนฝายการ ทูต และการทหารเขารวมการประชุมการหารือดานการเมือง และความมั่นคงในกรอบ ARF ไดกําหนดพัฒนาการของ กระบวนการ ARF เปน 3 ขั้นตอน ไดแก
ขั้นตอนที่ 1 สงเสริมการสรางความไวเนื้อเชื่อใจกัน (Confidence Building) ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาการทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) ขั้นตอนที่ 3 การแกไขความขัดแยง (Conflict Resolution) การประชุมระดับรัฐมนตรี ARF ไดจัดขึ้นครั้งแรก ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 ปจจุบัน ประเทศที่เปนสมาชิกการประชุมวาดวยการเมืองและความมั่ นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟกมี 27 ประเทศ ประกอบดวย ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ คือ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร และเวียดนาม ประเทศคูเจรจาของอาเซียน ประเทศผูสังเกตการณของอาเซียน และประเทศอื่นในภูมิภาค อัน ไดแก ออสเตรเลีย บังคลาเทศ แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนเกาหลี (เกาหลี เ หนื อ ) มองโกเลี ย นิ ว ซี แ ลนด ปากี ส ถาน ปาป ว นิ ว กิ นี รั ส เซี ย ติ ม อร -เลสเต ศรี ลั ง กา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 62
5. กลุมผูประสานงานเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี (ASEAN Troika) ผูประสานงานเฉพาะกิจในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 ณ กรุงมะนิลา ผูนํา ของประเทศสมาชิกอาเซียนไดเห็นชอบ ในการจัดตั้งกลุมผูประสานงานเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี (ASEAN Troika) ซึ่งประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศที่ดํารงตําแหนงประธานคณะกรรมการประจําของอาเซียนในอดีต ป จจุ บั น และอนาคต และจะหมุ น เวี ยนกั น ไปตามการเป น ประธานการประชุ ม วั ต ถุ ป ระสงค ข องการจั ด ตั้ ง กลุ ม ผู ประสานงานเฉพาะกิจ ASEAN Troika คือ 5.1 เปนกลไกใหอาเซียนสามารถรวมมือกันอยางใกลชิดในการหารือแกไขปญหาที่สงผลกระทบตอสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยไมกาวกายกิจการภายในของประเทศสมาชิกเปนการยกระดับความรวมมือของอาเซียนให สูงขึ้น และเสริมสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของอาเซียน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของการดําเนินงานโดยรวม 5.2 เพื่อรองรับสถานการณ และจะดําเนินการโดยสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติในสนธิสัญญา และขอตกลง ตาง ๆ ของอาเซียน เชน สนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) 6. กรอบความรวมมือทางทหาร (ASEAN Defense Ministerial Meeting - ADMM) เพื่อสรางเครือขาย และความสัมพันธที่ใกลชิดระหวางฝายทหารของประเทศ สมาชิก ความรวมมือ ดานการ ปองกันยาเสพติด การตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย โดยเฉพาะประเด็นหลังนี้ อาเซียนไดลงนามใน อนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการกอการราย ในป 2550 7. ความสัมพันธกับประเทศนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อสรางความรวมมื อดา นการเมืองความมั่นคงที่ส มดุล และสรางสรรค ระหวางกั น โดยผา นเวที หารื อ ระหวางอาเซียนกับประเทศ คูเจรจา ไดมีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS) และ กระบวนการอาเซียน+3
หน ว ยงานด า นความมั่ น คงของไทยกั บ การดํา เนิ น ความร ว มมื อ ในกรอบประชาคม อาเซี ย น การดําเนินการเพื่อรองรับประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนในระดับนโยบายของไทย ซึ่งมีสํา นักงาน สภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) เปนหนวยงานรับผิดชอบ ไดจัดทํารางยุทธศาสตรในการดําเนินการดานการเมือง และ ความมั่นคง เพื่อเตรียมความพรอมในการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร คือ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาการเมือง 2. ยุทธศาสตรการเสริมสรางบรรทัดฐานความรวมมือดานความมั่นคงในภูมิภาค 3. ยุทธศาสตรการแกปญหาภัยคุกคามรูปแบบใหมที่มีลักษณะขามชาติ 4. ยุทธศาสตรการจัดการกับภัยพิบัติที่สงผลกระทบรุนแรง 5. ยุทธศาสตรการปองกันและแกปญหาความขัดแยงในภูมิภาค 6. ยุทธศาสตรความสัมพันธกับมหาอํานาจ ทั้งนี้ ในรางยุทธศาสตรดังกลาว จะกําหนดมาตรการในการดําเนินการในแตละยุทธศาสตร ซึ่งปรากฏอยูในราง ยุทธศาสตรแหงชาติของสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ในสวนของกระทรวงกลาโหมไดใชกลไกการประชุมรัฐมนตรี
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 63
กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defense Ministers’ Meeting : ADMM) เปนสวนเสริมสรางเพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งจากผลของการประชุม ADMM ที่ผานมา ไดเห็นชอบรวมกันใหมีกิจกรรมความ รวมมือที่สําคัญ คือ - ความรวมมือระหวางกลาโหมอาเซียนกับองคกรภาคประชาสังคมในดานความมั่นคงรูปแบบใหม - การใชทรัพยากร และศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการ บรรเทาภัยพิบัติ - ความรวมมือดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน นอกจาก ความรวมมือในกรอบของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนดังกลาวแลว ยังมีกรอบความรวมมือของการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) อีก 8 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุน นิวซีแลนด เกาหลีใต รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2553 รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และ ประเทศคูเจรจาไดเห็นชอบในการดําเนินการ ดานความรวมมือเพื่อความมั่นคง 5 ดาน คือ 1. การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HA/DR) 2. ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) 3. การแพทยทหาร (Military Medical) 4. การตอตานการกอการราย (Counter Terrorism) 5. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Operations) สําหรับการดําเนินการตามกรอบความรวมมือของแตละดานนั้น ประเทศในอาเซียนจะไดดํารงตําแหนงประธาน คณะทํางานอยางนอย 1 ดาน และ 1 วาระ (มีวาระ 2 – 3 ป) ซึ่งแตละดานจะมีประธานรวมระหวางประเทศสมาชิก อาเซียนกับประเทศคูเจรจา ไดแก การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย มีเวียดนามและจีน เปน ประธาน ความมั่นคงทางทะเล มีมาเลเซีย และออสเตรเลียเปนประธาน การแพทยทหาร มีสิงคโปร และญี่ปุนเป น ประธาน การตอตานการกอการราย มีอินโดนี เซีย และสหรัฐอเมริก าเปนประธาน การปฏิ บัติการรักษาสันติภาพ มี ฟลิปปนส และนิวซีแลนดเปนประธาน โดยไทยมี แ นวทางในการเข า ร ว มเป น คณะทํ า งานทุ ก ด า น และเพื่ อ สนั บ สนุ น กรอบความร ว มมื อ ดั ง กล า ว กระทรวงกลาโหมของไทยไดมีการแตงตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญในแตละดาน เพื่อทําหนาที่กําหนดแนวทาง วางแผนการ 12 ปฏิบัติและเปนศูนยกลางการติดตอประสานงานกับกลาโหมอาเซียน และกลาโหมประเทศคูเจรจา
การเป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น การเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น จะเริ่มมาจากการที่กลุมของประเทศตาง ๆ พึ่งพาทาง การเมืองและเศรษฐกิจในระดับสูงจนกอเกิดเปนนิสัยแหงความไวเนื้อเชื่อใจ (Habit of trust) ดังนั้น การพิจารณาวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะเกิดขึ้นจริงหรือไมนั้น จะตองศึกษาหลักการของประชาคมการเมืองและ 13 ความมั่นคงวามีลักษณะอยางไร แลวนํามาเปรียบเทียบกับการรวมตัวของอาเซียน โดย คารล ดัทช (Karl Deutsch) ให คําจํากัดความประชาคมความมั่นคงวา “กลุมประเทศที่มีการเชื่อมรวมตัวกันดวยความรูสึกของความเปนประชาคม 12
ภุชงค ประดิษฐธีระ, น.อ. (2554). “ประชาคมอาเซียนกับบทบาทกองทัพเรือ.” วารสารนาวิกศาสตร, 4(8), หนา 66 – 67. Kael W. Deutsch, Security Communities,1961, in James Rosenau, ed., International Politics and Foreign policy, อางใน Donald K. Emmerson, Will the Real ASEAN Please Stand Up? Security, Community, and Democracy in Southeast Asia, Stanford University. 13
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 64
(Sense of community) ดวยการจัดตั้งเปนสถาบันทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ มีการผลักดันใหเกิดขึ้นในทาง ปฏิบัติ มีความเขมแข็ง และครอบคลุมกวางขวางที่เพียงพอ จะประกันการเกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อยางสันติ และ สมเหตุสมผล ระหวางสมาชิกของประชาคมที่มีระยะเวลาอันยาวนาน” ทั้งนี้ ในการเปนประชาคมความมั่นคงได จะตอง ประกอบดวยลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. สมาชิกไมมีการแขงขันกันสรางกําลังทางทหาร 2. ไมมีการขัดแยงที่ตองใชกําลังทหารระหวางรัฐโดยเด็ดขาด 3. มีองคกร หรือสถาบันที่เปนทางการ และไมเปนทางการในการจัดการเพื่อปองกัน ลด จัดการ และแกปญหา ความขัดแยง และภาวะไรระเบียบระหวางสมาชิก 4. มีการเชื่อมรวมทางดานเศรษฐกิจในระดับสูง 5. ไมมีปญหาขัดแยงดานการแบงเขตแดนระหวางรัฐสมาชิก จะเห็นไดวา การเกิดประชาคมความมั่นคงจะตองมีรากฐานจากผลประโยชนพื้นฐานที่ชัดเจนของสมาชิก และมี ระยะเวลานานในการรวมกลุมกัน เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงการเกิดสงครามความขัดแยงตาง ๆ ซึ่งจะแตกตางจากการรวมกลุม ของประเทศตาง ๆ เพื่อสรางอํานาจ หรือคานอํานาจ หรือเพื่อสรางสถานการณเชิงขมขู ตอภัยคุกคาม การโจมตีจาก ภายนอก ซึ่งจะเรียกการรวมตัวแบบนี้วา “ระบอบความมั่นคง” (Security Regime) เมื่อพิจารณาการรวมตัวกันของอาเซียนในดานความมั่นคงแลว อาเซียนยังขาดปจจัยการเปนประชาคมในหลาย องคประกอบ เชน อาเซียนคงมีการเสริมสรางกองทัพดวยการจัดหายุทโธปกรณเชิงแขงขันกันที่คอนขางสูง ถึงแมจะมีการ ปฏิเสธวา การจัดหาอาวุธเพื่อการรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม หรือเพื่อชดเชยกับการขาดการพัฒนากองทัพในชวงที่ ประเทศตาง ๆ เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ ดังนั้น เมื่อชวงหลายปที่ผานมาประเทศตาง ๆ มีการจัดหาทั้งเรือรบ เรือดําน้ํา และ เครื่องบินรบสมรรถนะ และราคาสูงจํานวนมาก ดังนั้น สถานการณการเสริมสรางกองทัพของประเทศในอาเซียนยอม หลีกเลี่ยงไมไดวาประเทศเหลานี้ มีนัยแหงการถวงดุลระหวางกันดวย นอกจากนี้ ประเทศในอาเซียนยังจะมีการใชกําลังรบ เขาแกปญหาทั้งไทยกับกัมพูชา ไทยกับเมียนมาร มาเลเซียกับอินโดนีเซีย โดยปญหาหลัก คือ ขัดแยงทางเขตแดน การ รวมตัวกันจึงจะเปนเพียงระบอบความมั่นคงของอาเซียนเทานั้น
ป ร ะ ช า ค ม ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง : ห น า | 65
อ า งอิ ง ท า ยบท I
สงครามกัมพูชาเกิดขึ้นหลังจากกัมพูชาไดเอกราชในป พ.ศ. 2518 และไดนําเอาการปกครองแบบคอมมิวนิสตมาใชภายใต การปกครองของกลุมบุคคลที่เรียกวา เขมรแดง ตอมาเวียดนามไดสงทหารจํานวนมากเขายึดครองกัมพูชา ทําใหเกิดสงคราม
องคกรอาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมข า มชาติ ถื อ ว า เป น ส ว นหนึ่ ง ของภั ย คุ ก คามต อ ความมั่ น คงนอกรู ป แบบ (Non-Traditional Security) ซึ่งการจัดการภัยคุกคามนอกรูปแบบนั้น เปนสวนหนึ่งของกุญแจสําคัญของเสาประชาคมการเมืองและความ มั่น คงอาเซี ยน การส ง เสริ มให เกิ ด ภู มิภาคที่ มีเ สถี ยรภาพ ความสงบสุข และความเป น อั นหนึ่ ง อัน เดี ยว โดยมี ค วาม รับผิดชอบทางดานความมั่นคงในวงกวางรวมกัน (A Cohesive, Peaceful, Stable and Resilient Region with shared responsibility for comprehensive security) ซึ่งมีกิจกรรมหลักคือ - เพิ่ ม ความร ว มมื อ ในการรั บ มื อ กั บ ภั ย ความมั่ น คงนอกรู ป แบบต า ง ๆ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การต อ สู กั บ อาชญากรรมขามชาติ และปญหาขามพรมแดนอื่น ๆ (Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges) - เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการลงนามรับรอง ASEAN Convention on CounterTerrorism และนําไปปฏิบัติอยางรวดเร็ว (Intensify counter - terrorism efforts by early ratification and full implementation of the ASEAN Convention on Counter - Terrorism) ทั้งนี้ องคการสหประชาชาติ ไดแบงอาชญากรรมขามชาติไวใน 10 ประเภท คือ 1. การลักลอบคายาเสพติด (Drugs Trafficking) 2. การลักลอบนําคนเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย (Smuggling of Illegal Migrants) 3. การคาอาวุธขามชาติ (Arms Trafficking) 4. การลักลอบคาอุปกรณนิวเคลียร (Trafficking in Nuclear Material) 5. กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย (Transnational Criminal Organization and Terrorism) 6. การคาหญิง และเด็ก (Trafficking in Women and Children) 7. การลักลอบคาชิ้นสวนมนุษย (Trafficking in Body Parts) 8. การโจรกรรม และลักลอบคายานพาหนะ (Theft and Sumuggling of Vehicles) 9. การฟอกเงิน (Money Laundering) และ 10.อื่น ๆ เชน การโจรกรรมวัตถุโบราณ, การติดสินบน, อาชญากรรมคอมพิวเตอร, อาชญากรรม สิ่งแวดลอม, อาชญากรรมทรัพยสินทางปญญา, การฉอโกงทางทะเล เปนตน สหประชาชาติไดใหคําจํากัดความของอาชญากรรมขามชาติไวใน Convention Against Transnational Organized Crime ใน Article 3 วา เปนอาชญากรรมที่ (1) มีการประกอบอาชญากรรมในรัฐตั้งแต 1 รัฐขึ้นไป (It is committed in more than one state); (2) มีการประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รัฐ แตมีการเตรียมการ วางแผน สั่งการ หรือควบคุมมาจากรัฐ อื่น (It is committed in one state but a substantial part of its preparation, planning, direction or control takes place in another state); (3) มีการประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รัฐ แตกลุมอาชญากรรมนั้น เปนกลุมที่ประกอบอาชญากรรมใน รัฐมากกวา 1 รัฐ (It is committed in one state but involves on organized criminal group that engages in criminal activities in more than on state); หรือ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 67
(4) มี ก ารประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รั ฐ แต ผ ลของอาชญากรรมนั้ น ส ง ผลไปถึ ง รั ฐ อื่ น (It is committed in one state but has substantial effects in another state.)1 ในปจจุบันนี้ อาชญากรรมขามชาติมีความซับซอนมากขึ้นกวาเมื่อกอนมาก เนื่องจาก มีการพัฒนาดานเทคโนโลยี ดานการสื่อสารคมนาคม ทําให อาชญากรรมขามชาติในปจจุบัน นั้นยกระดับ เปนปญ หาระดับโลก ยิ่งพฤติกรรมทาง เศรษฐกิจในปจจุบันนั้น ยกระดับจากเศรษฐกิจภายในประเทศเปนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค และระดับโลก สงผลใหเกิดการ แกกฎหมาย หรือขอบังคับตาง ๆ ใหออนตัวขึ้น เพื่อเอื้อกับการคา การบริการ และแรงงานระหวางประเทศ แตผลที่ ตามมา คือ กลุมอาชญากรรมขามชาตินั้น ก็ไดใชชองวางเหลานี้แสวงหาผลประโยชน และประกอบอาชญากรรม ทั้งนี้ องคกรอาชญากรรมขามชาติ (Transnational Organized Crime, TOC) ที่รูจักกันดีในเวทีโลก เชน Cosa Nostra ใน American ที่รูจักกันในนามมาเฟย หรือกอดฟารเธอร, Neopolitan Camorra, the Calabrian Ndrangheta และ the Apulian Sacra Corona Unita ที่มีลักษณะคลายกับองคกรอาชญากรรมขามชาติของอิตาลี นอกจากนี้ ยังมี Russian Mafia, the Serbian mafia, the Israeli Mafia, the Albanian Mafia, Mexican และ Colombian Drug Cartels, the Indian Mafia, the Chinese Triads, Chinese Tongs, Irish Mob, the Corsican Mafia, the Japanese Yakuza, the Jamaican-British Yardies, the Turkish Mafia, the Macedonian และยังมีกลุมยอย ๆ ขององคกร เหลานี้ ที่ปฏิบัติการตามพื้นที่ทั่วไป เชน กลุม Sureños, Nortenos, Latin Kings, Gangster Disciples, Vice Lords, Bloods, Crips, Mexican Mafia, Folk Nation, Brazilian PCC, และ Hells Angels อาชญากรรมขามชาติในปจจุบันนั้น สงผลรายแรงกับความมั่นคงของชาติมากกวาเมื่อกอนมาก และกระทบสู หลายภาคสวนของประเทศนั้น ๆ อยางเชน ปญหาดานยาเสพติดที่นอกจากจะกระทบทางดานสาธารณสุขแลว ยังกระทบ ตอภาคเศรษฐกิจ ภาคการเมือง (การคอรรัปชั่น ) นอกจากนี้ กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติในปจจุบันนั้น ในบาง ประเทศมีอํานาจเหนือกฎหมายของประเทศ หรือเปนผูมีอิทธิพลในทางการเมืองของประเทศนั้น ๆ ดวย เชน ในโคลัมเบีย เปรู หรือเมียนมาร สงผลใหรัฐบาลประเทศนั้น ๆ ไมสามารถพัฒนาภาคการเมือง และภาคเศรษฐกิจไดอยางเต็มที่ Laki2 ไดวิเคราะหวา โลกาภิวัตนไดสงผลใหภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกตองเผชิญกับปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ เรียกวา อาชญากรรมขามชาติมากขึ้น ในขณะที่รัฐยังไมมีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคที่จะรับมือกับ ปญหาดังกลาวอยางเพียงพอ ซึ่งตอมา Roth3 ไดชี้ใหเห็นวา การกอการรายและอาชญากรรมขามชาติกําลังกลายเปน ปญหาที่ทาทายหนวยงานบังคับใชกฎหมายในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการสรางความรวมมือของหนวยงานตํารวจ และ เจาหนาทีบ่ ังคับใชกฎหมายระหวางประเทศ อันมีสาเหตุจากความกาวหนาทางเทคโนโลยี ภาษา วัฒนธรรม กระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา และประสบการณในจัดการกับปญหาที่แตกตางกัน โดยในการประชุมเชิงปฏิบัติการดานอาชญากรรม ขามชาติ สําหรับความรวมมือดานความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก เมื่อป 1997 Singh4 ไดเสนอแนะวา ความรวมมือ ระหว า งประเทศ จะเป น กลไกสํ า คั ญ ที่ จะทํ า ให ห น ว ยงานบั ง คั บ ใช ก ฎหมายจั ด การกั บ ป ญ หาดั ง กล า วได โดยต อ ง ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติใหเหมาะสม เชน การพัฒนากฎหมายของ ประเทศในภูมิภาคใหมีมาตรฐานใกลเคียงกัน การฝกอบรม และแลกเปลี่ยนบุคลากร การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร การ จัดตั้งทีมปฏิบัติก ารรวม การคุมครองพยาน การใหความรวมมือ และชวยเหลือทางเทคนิค ความชั ดเจนของหนว ย 1
United Nations Convention against Transnational Organized Crime. Laki, J. (2006). Non-traditional security issues: Securitization of transnational crime in Asia. Singapore: Institute of Defense and Strategy Studies. 3 Roth, M.P. (2010). Global organized crime: A reference handbook. California: ABC_CLIO. 4 Singh, J. (1997). Strategic impact of transnational crime. Paper presented at the 2nd meeting of the CSCAP Study Group on Transnational Crime in Bangkok, Thailand. October 10-11, 1997 2
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 68
ประสานงานในแตละประเทศ และมาตรการที่จะใชในการพัฒนาการนําแนวทางความรวมมือที่มีอยูไปปฏิบัติใหเกิดผล อยางจริงจัง ด ว ยเหตุ นี้ ทํา ให เ กิ ด คํา ถามว า การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ย นในป พ.ศ. 2558 จะส ง ผล กร ะทบ ต อ กา ร จั ด กา ร กั บ ป ญ หา อ า ชญา กร ร มข า มชา ติ ข อ ง กร ะบ ว นกา ร ยุ ต ิ ธ ร ร มทา ง อ า ญา ขอ ง ภู มิ ภ าคอาเซี ย นหรื อ ไม อ ย า งไร และรั ฐ อาเซี ย นควรจะมี แ นวทางในการจั ด การกั บ ป ญ หาดั ง กล า ว อย า งไร
ปจจัยเอื้ออํานวยตอองคกรอาชญากรรมขามชาติเขามาในประเทศไทย ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ เชนเดียวกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งผลจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในทวีปเอเชีย ทําใหมีบทบาททางสังคม และเศรษฐกิจของโลก ไม นอยกวาประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ สืบเนื่องจาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ชวยใหการคมนาคม และการติดตอสื่อสาร เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําใหชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบ หลบหนี เ ข า เมื อ งโดยผิ ด กฎหมายมี จํ า นวนมากขึ้ น โดยจะมี ก ารรวมตั ว ของผู ก ระทํ า ผิ ด ในลั ก ษณะของ “องค ก ร อาชญากรรมขามชาติ” ซึ่งมีปจจัยที่เอื้ออํานวยใหชาวตางชาติ ซึ่งเดินทางเขามาในประเทศไทย กระทําผิดกฎหมาย โดย ใชประเทศไทยเปนฐานในการกระทําความผิดในรูปแบบตาง ๆ ดวยเหตุผลดังนี้ 1. ประเทศไทยเป น ศู น ย ก ลางการคมนาคมไปประเทศต า ง ๆ ในทวี ป เอเชี ย และสถานที่ ตั้ ง เป น จุ ด ที่ เหมาะสมใชเปนเสนทางลําเลียง หรือลักลอบขนสงสิ่งของผิดกฎหมาย เชน ขบวนการคายาเสพติดประเภทฝน กัญชา เฮโรอีน ไปประเทศตาง ๆ ทั้งประเทศ จีน เมียนมาร สปป.ลาว กัมพูชา และประเทศที่สาม ฯลฯ 2. สภาพภูมิประเทศของประเทศไทย มีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อนบานทั้งทางบก และทางน้ํา เปน ระยะทางยาวประมาณ 8,167 กิ โ ลเมตร ทํ า ให ส ะดวกต อ การลั ก ลอบหลบหนี เ ข า เมื อ ง และหลบหนี อ อกนอก ราชอาณาจักร 3. ประเทศไทยไมมีขอจํากัด เรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม และมีบทลงโทษผูกระทําความผิด อาญาไมเด็ดขาดเหมือนประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร 4. นโยบายสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก การขอ วีซาเขาออกประเทศไทยทําไดโดยงาย สามารถจะทําวีซาเมื่อเดินทางมาถึงแลวก็มี และการเก็บคาธรรมเนียมของวีซามี ราคาถูกดวย กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ซึ่งเกี่ยวของกับการลักลอบคายาเสพติด ลักลอบนําคนเขาเมือง และคาหญิงและเด็ก เปนตน กลุมที่ไดพบเห็นการกออาชญากรรมมีกลุมของขุนสา วาแดง แก็งลูกหมู และยากุซา เปนตน จะเห็นไดวา องคกรอาชญากรรมขามชาติเหลานี้ สวนใหญแลวประกอบอาชญากรรมเกี่ยวกับยาเสพติดเปนหลัก โดย ประเทศไทยตองเผชิญกับปญหายาเสพติด ทั้งในดานการเปนแหลงผลิต แหลงคายาเสพติด และแหลงลักลอบสงผาน ยาเสพติดรวมถึงเปนแหลงใชยาเสพติดในหมูประชาชน ยาเสพติดดังกลาวรวมถึง ยาบา เฮโรอิน ฝน ยาอี และโคเคน โดยเฉพาะยาบาที่ยากตอการจับกุมแหลงผลิตที่ใชเครื่องมือขนาดเล็ก และสามารถยายที่ไปไดงาย ในขณะที่การแสวงหา วัตถุดิบทั้งสารเคมี และสารตั้งตน ทั้งหลายก็เปนไปดวยความสะดวก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 69
จากการทีป่ ระเทศไทยมีอาณาเขตติดกับเมียนมาร และสปป.ลาวที่ยังคงมีแหลงปลูกฝน และยาเสพติดอื่น ๆ อยู มาก อีกทั้งสารเคมี เชน “Ephedrine” ก็สามารถจัดหามาไดจากจีนตอนใต ประมาณการณกันวา มียาบาผลิตอยูตาม ชายแดนไทย – เมียนมารเกือบพันลานเม็ดที่รอเขาไทยในแตละป การจับกุมยาเสพติดที่ลักลอบเขามาในแตละครั้ง อาจมี มากถึงหลายลานเม็ด ในขณะที่การจับกุมเฮโรอีนบางครั้งอาจถึงรอยกิโลกรัม ขบวนการคายาเสพติดเหลานี้ มักสราง เครือขายของตน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความสะดวก โดยจัดตั้งเปนองคกรที่คอรรัปชั่นเจาหนาที่รัฐที่อยูตามราย ทางของการคายาเสติด ไมวาจะเปนเจาหนาที่ศุลกากร เจาหนาที่ตํารวจ ทหาร และถาในเครือขายถูกจับได ก็มักจะมี ทนายความ หรือการสรางคนของตนเองในกระบวนการการเมือง และกระบวนการยุติธรรม เพื่อใหตนเองพนผิดจากการ กระทํา ในขณะเดียวกัน องคกรเหลานี้ ก็จะมีความสัมพันธกับกองกําลังติดอาวุธ ไวคอยขนยาเสพติดตามแนวชายแดน ทํา ใหการจัดหาอาวุธ เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมที่เกี่ยวของ และเงินที่ไดมาจากการคายาเสพติด ก็จะมีการฟอกเงินโดยใช ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา จากการที่สภาพภูมปิ ระเทศไทย มีอาณาเขตติดตอกับกัมพูชาที่เพิ่งพนสภาพของความขัดแยงภายในประเทศเมื่อ ไมนาน และติดกับเมียนมารที่ยังคงมีปญหาความขัดแยงกับชนกลุมนอยตามแนวชายแดน รวมทั้งปญหาภายในของไทย เอง ไดทําใหการลักลอบคาอาวุธขามชาติ ยังคงเกิดขึ้นในประเทศไทย นอกจากนี้แลว ดวยการเปนศูนยกลางการคมนาคม ที่สําคัญ ทําใหไทยกลายเปนแหลงผานของขบวนการคาอาวุธขามชาติที่ใชเรือบรรทุก หรือแมแต เครื่องบินในการขนสง เชน ที่จับกุมไดเมื่อปลายปที่แลว ดวยน้ําหนักอาวุธถึงสามสิบหาตัน ประมาณกับวา อาวุธขนาดเล็กผิดกฎหมายที่ผานเขา มาในไทย ตั้งแตป 1995 มีไมต่ํากวาสี่แสนกระบอก องคกรอาชญากรรมขามชาติ ยังมีเครือขายในดานการลักลอบขนคนหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ทั้งเปน การขนคนเพื่อเขามาหางานชั่วคราว หรือการขนคนหนีออกจากประเทศตนทาง เชน เครือขายการนําคนเมียนมาร, กัมพูชา และสปป.ลาวเขามาทํางานในไทย ซึ่งมักเปนงานระดับที่คนไทยไมตองการทําแลว เชน การเปนคนงานกอสราง คนใช หรืองานในเรือประมง นอกจากนี้แลว ยังมีการลักลอบขนคนหลบหนีออกจากประเทศ เชน การหนีออกนอก ประเทศของชาวจีน หรือ ชาวเกาหลีเหนือ ผานจีนแผนดินใหญ เขามาในสปป.ลาว ไทย และไปประเทศที่สามตอไป ขบวนการดังกลาว ยังเกี่ยวของ และนํามาซึ่งการลักลอบคามนุษย ไมวาจะเปนการคาผูหญิง หรือเด็ก เพื่อใหไปเปน โสเภณี หรือบุคคลขายตัว หรือคาเด็กใหกับพอแมอุปถัมภ การลักลอบขนคนหลบหนีเขาเมือง และคามนุ ษยดังกลาว เขา ไปเกี่ยวพันกับการทําพาสปอรต และวีซาปลอม จากการขโมยของจริง และสวมรูป ทั้งนี้ จากสถิติการทําพาสปอรตปลอม ประเทศไทยติดอันดับตน ๆ ของโลก การโจรกรรม และลักลอบคายานพาหนะ เปนอีกปญหาหนึ่งในอาชญากรรมขามชาติของไทย จากการพัฒนา ประเทศของเพื่อนบานทั้ง กัมพูชา เมียนมาร และลาว รวมทั้งสภาพการขนสงที่คอนขางสะดวกจากฝงไทยไปในประเทศ เหลานี้ดวยเวลาไมกี่ชั่วโมง ไดทําใหเกิดการโจรกรรมรถจากฝงไทย ไปขายในฝงกัมพูชา เมียนมาร และสปป.ลาว โดยจาก ที่เ ครื อ ขา ยอาชญากรต าง ๆ ที่มี อ ยูแ ลว ทั้ง การขนคนผิ ด กฎหมาย การคา ยาเสพติ ด และการเป ด ชอ งทางด ว ยการ คอรรัปชั่นไปตามรายทาง และความสัมพันธของไทยกับประเทศเพื่อนบานบางประเทศที่ไมดีนัก จนไมสามารถแสวงหา ความรวมมือ ในเรื่องดังกลาวได ทําใหปญหาดังกลาวรุนแรงขึ้นในหวงเวลาที่ผานมา และปญหาการฟอกเงิน กลายเปน ปญหาสําคัญประการหนึ่ง จากการที่กลุมอาชญากรรมขามชาติ ทั้งคนไทยเอง และคนตางชาติ ไดอาศัยความออนแอของ กฎหมาย และอํานาจรัฐมาใชประเทศไทย เปนแหลงฟอกเงิน โดยจัดตั้งบริษัท หรือธุรกิจถูกกฎหมายบังหน า แลวผันเงิน จากธุ ร กิ จผิ ด กฎหมายให มาสู ร ะบบที่ ถู ก กฎหมาย รวมทั้ ง การอาศั ยธนาคาร เป น แหล ง ฟอกเงิ น อี ก แหล ง หนึ่ ง ด ว ย นอกเหนือจากปญหาที่ไดกลาวไปแลว ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร, อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ, อาชญากรรมทางทรัพยสินทางปญญา และแมแตปญหาโจรสลัด สําหรับเรือไทยที่ออกไปในนานน้ําตาง ๆ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 70
องคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ปญหาจากอาชญากรรมข ามชาติ ในประเทศไทยที่ เพิ่มความรุน แรง และมี ความสลับซับ ซอนมากขึ้น ขยาย 5 อิทธิพลออกไปอยางกวางขวาง สวนใหญอยูในพื้นที่จังหวัดทองเที่ยว ชุมชนตางชาติ และบริเวณชายแดน อาทิเชน 1. กลุมมาเฟยตาง ๆ ในพัทยา จังหวัดชลบุรี 1.1. กลุมมาเฟยรัสเซีย มีพฤติกรรมคาผูหญิง และยาเสพติด 1.2. กลุมมาเฟยเยอรมัน (โรซา) โดยปลอมแปลงวีซาพาสปอรต คุมกิจการบารเบียร 1.3. กลุมมาเฟยอังกฤษ มีกิจการบารอโกโก คาโคเคน และเฮโรอีน คาผูหญิง 1.4. กลุมมาเฟยออสเตรเลีย มีพฤติการณสงหญิงไทยไปคาประเวณีตางชาติ 1.5. กลุมมาเฟยเดนมารค มีรานขายอาหาร และคาประเวณีขามชาติ คาเด็กชาย 2. แกงสิบสี่เค เปนแกงมาเฟยจีน เรียกคาคุมครอง คายาเสพติด และลักลอบขนชาวจีนจากแผนดินใหญ ผาน ประเทศไทยไปประเทศที่สาม หรือที่รูจักกันทั่วไปวา แกงลูกหมู 3. กลุมอเมริกัน-เมลบอก โดยรวมกับคนไทยปลอมวีซาและพาสปอรต กิจการดําเนินการทางไปรษณีย 4. แกงอเมริกาใต สวนใหญเปนชาวเวเนซุเอลา และเปรู ลักทรัพยตามโรงแรม มีความถนัดในการฉกเพชรตาม รานคาเพชรพลอย สวนเปรูชํานาญดานฉกเงินลูกคาธนาคาร 5. แกงปากีสถาน ทําธุรกิจสงลูกแพะจากเอเชียใต ตะวันออกกลาง และแอฟริกา โดยลักลอบนําชาวตางชาติมา จากอินเดีย บังคลาเทศ ไนจีเรีย อิรัก อิหราน ลิเบีย ฯลฯ เขามาอาศัยอยูในกรุงเทพฯ โดยปลอมพาสปอรต ปลอมดอลลาร สหรัฐอเมริกา เรียกเก็บคาคุมครองจากชาวตางชาติ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ และขนยาเสพติด 6. กลุมเมียนมารรวมกับคนไทยปลอมพาสปอรตวีซาของไทยและตางประเทศ เพื่อสงผูหญิงไปญี่ปุน กิจกรรมขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ที่เปนปญหาสําคัญของทุกประเทศ คือ การลักลอบคายาเสพติด แต การปราบปรามทําไดยาก เพราะองคกรอาชญากรรมขามชาติสามารถหลบเลี่ยงการจับกุม และยักยายเงินมหาศาลไปทั่ว โลก โดยอาศัยธรรมเนียมของกลุม คือ “ความจงรักภักดี” ทําใหการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติทําไดยาก อยางไรก็ตาม อาชญากรรมขามชาติ มักจะเกิดจากการที่ประเทศใดประเทศหนึ่งมีความเหลื่อมล้ําดานคุณภาพ ของกฎหมาย และการบังคับใชกฎหมายเมื่อเทียบกับอีกประเทศหนึ่ง รวมถึงเกิดจากการที่อํานาจรัฐบาลสวนกลางเขาไป ไมถึง ในกลุมประเทศอาเซียนก็เชนกัน ความเหลื่อมล้ําดานกฎหมาย และบางประเทศที่อํานาจสวนกลางเขาไปไมถึงบาง บริเวณของประเทศนั้น สงผลใหเกิดอาชญากรรมขามชาติ เชน การที่ชนกลุมนอยตามชายแดนเมียนมารผลิตยาเสพติด แลวนํามาขายในประเทศไทย หรือการที่บริเวณชายฝงบางพื้นที่ของอินโดนีเซียที่ขาดการสอดสองดูแลจากเจาหนาที่จาก สวนกลาง สงผลใหเกิดกลุมโจรสลัดที่เขาไปประกอบอาชญากรรมในนานน้ําสิงคโปร ซึ่งใน APSC Blueprint นั้น ได กลาวถึง อาชญากรรมขามชาติอยู 6 ประเภททีน่ อกเหนือจากการกอการราย นั่นก็คือ การลักพาตัวและคามนุษย การคา ยาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย การคาอาวุธเถื่อนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร และโจรสลัด อยางไรก็ตาม อาชญากรรมที่เปนภัยตอความมั่นคงของประเทศสมาชิกที่ตองจัดการอยางเรงดวนนั้น มี 3 ประเภท คือ การลักพาตัวและ คามนุษย การคายาเสพติด และโจรสลัด
การลักพาตัวและคามนุษย 5
สยามรัฐ. สัปดาหวิจารณ. (2545). หนา 40-41.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 71
กลาวกันวา ในปหนึ่ง ๆ มีการคามนุษยราว 80,000 คน ซึ่งราวหนึ่งในสามมาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต โดยสวนใหญจะถูกนํามาขายบริการ รวมถึงเปนแรงงานคาจางต่ํา หรือไมมีคาจางเลย นอกจากนี้ ยังมีรายงานอีกวา มี เด็กที่ถูกลักพาตัวจํานวนมากถูกนํามาเปนทหารเด็ก โดยสาเหตุหลัก ๆ ที่กอใหเกิดการคามนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นั้น มีอยูสองเหตุผลหลัก ๆ คือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการตองการแขงขันกับตลาดโลก ทําใหเกิดความ ตองการแรงงานราคาถูกจํานวนมาก หลายโรงงาน หรือสถานที่ที่เกี่ยวของกับการผลิต และการขนสง จึงตัดสินใจหา แรงงานผิดกฎหมายมาใชงาน เหตุผลที่สอง คือ ดวยความเจริญทางเศรษฐกิจที่ไมเทาเทียม สงผลใหคนในพื้นที่ยากจนนั้น ตัดสินใจขายลูกใหกับองคกรอาชญากรรมคามนุษย สิ่งเหลานี้ สงผลใหทุกประเทศในกลุมสมาชิกอาเซียนนั้น มักจะ เกี่ยวของกับการคามนุษยไมวาทางใดก็ทางหนึ่ง ไมวาจะเปนแหลงกําเนิด ทางผาน หรือปลายทาง หรือในกรณีที่แยที่สุด คือ เปนทั้งสามทางเลย 6
การคายาเสพติด
การคายาเสพติดในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น มีชื่อเสียงอันดับตน ๆ ของโลกทั้งในเรื่องปริมาณ และคุณภาพ ของยาเสพติด โดยเฉพาะการปลูกฝน ผลิตภัณฑจากฝน และแอมแฟตามีน หรือที่คนไทยรูจักวา “ยาบา” ซึง่ อาชญากรรม ขามชาติที่เกี่ยวกับยาเสพติดนั้น บั่นทอนการพัฒนาของสังคม และการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมาหลายสิบป แหลงที่โดงดังที่สุดในชวงที่ผานมาก็หนีไมพนบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา ซึ่งเคยเปนแหลงปลูกฝนที่ใหญที่สุดในโลก พื้นที่ที่ 7 เปนรอยตอระหวางประเทศเมียนมาร ไทย และสปป.ลาวนั้น เคยเปนแหลงผลิตเฮโรอีน และมอรฟนแหลงใหญของโลก แตก็เปนที่นายินดีวา ตั้งแตศตวรรษที่ 21 เปนตนมา ยาเสพติดในภูมิภาคนี้ ไดลดลงเปนอยางมาก เหลือเพียงแตประเทศ เมียนมารเทานั้น ที่ยังคงเปนผูสงออกยาเสพติดรายใหญอยูโดยเฉพาะแอมแฟตามีนหรือยาบา เนื่องจาก ในบางพื้นที่ของ เมียนมารนั้น ปกครองโดยชนกลุมนอยที่ซึ่งอํานาจรัฐบาลจากสวนกลางเขาไปไมถึง อีกทั้งชนกลุมนอยเหลานั้น จําเปนตอง หารายไดเพื่อซื้ออาวุธ เพื่อตอตานรัฐบาลสวนกลางดวย ซึ่งยาเสพติดดังกลาวจํานวนมากนั้ นไดไหลผานชายแดนเขา ประเทศไทย อินเดีย และจีน นอกจากนี้ กลุมอาชญากรคายาเสพติดนั้น มักจะเกี่ยวของกับอาชญากรรมอื่น ๆ กลุม อันธพาล และการคอรรัปชั่นในประเทศดวย
โจรสลัด
ตั้งแตประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเริ่มมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับโลกในชวงยุค ทศวรรษที่ 1990 ภัยโจรสลัดก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแตป 1998 1999 และ 2000 มีรายงานการกออาชญากรรมโดยโจร สลัดในนานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใต 99 คดี 167 คดี และ 257 คดีตามลําดับ ยิ่งไปกวานั้น ในปจจุบัน กลุมโจรสลัด อาจจะมีความเกี่ยวของกับกลุมกอการรายอีกดวย ภัยโจรสลัดที่ยังคงเกิดขึ้นในบริเวณนานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น เกิดจากเหตุผลหลัก ๆ คือ การที่นานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใตยังมีเกาะแกงที่อยูหางไกล ที่ซึ่งอํานาจของรัฐเขาไปไมถึง และเป น ที่ห ลบซ อ นของกลุ มโจรสลั ด อย างเชน เกาะแก งต า ง ๆ ของประเทศอิน โดนี เ ซีย มาเลเซี ย และฟ ลิป ป น ส นอกจากนี้ การขาดกฎหมายทางทะเลรวมกันของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ก็เปนอีกเหตุผลหลักที่ทําใหการ จัดการทางกฎหมายกับกลุมโจรสลัดเหลานี้เปนไปไดอยางยากลําบาก ซึ่งแตละประเทศก็ไมกลาที่จะเขาไปกาวกา ย เนื่องจาก เปนการละเมิดอํานาจอธิปไตยของกันและกัน อยางไรก็ตาม เมื่อมีสัญญาณกดดันมาจากประเทศนอกกลุม อาเซียนอยางญี่ปุน เกาหลีใต และจีน ทําใหหลายประเทศเริ่มเขามารวมมือกันโดยอาศัยแรงสนับสนุน และการชวยเหลือ การฝกซอมจากประเทศนอกกลุมอาเซียน 6
Weatherbee, D.E. (2009). International relations in Southeast Asia: the struggle for autonomy. Maryland: Rowman & Littlefield Publishers, Inc. 7 Weatherbee, D.E. op. cit.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 72
ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบัน ประเทศอาเซียนมีความรวมมือตอตานการกอการรายอยางเปนรูปธรรมภายใตแผนปฏิบัติการอาเซียน เพื่อ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Plan of Action to Combat Transnational Crime) ซึ่งครอบคลุมอาชญากรรม 8 ประเภท คือ การลับลอบคายาเสพติด การคาสตรีและเด็ก การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน การกอการราย อาชญากรรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร โดยประเทศไทยมีสวนสําคัญใน การริเริ่มใหประเทศสมาชิกอาเซียนมีความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติมาตั้งแตเริ่มตน ดวยการผลักดันใน ระดับนโยบายในการประชุมสุดยอดอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือ ซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน (Mutual legal Assistance in Criminal Matters Treaty of ASEAN-MLAT ASEAN) เนื่องจาก ไทยเปนประเทศที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากปญหาอาชญากรรมขาม ชาติ จากการที่มีที่ตั้งเปนศูนยกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเปนประเทศที่เปดเสรีในการเดินทางเขา-ออก แตอยางไรก็ดี ปญหาอาชญากรรมขามชาติในปจจุบันมีรูปแบบวิธีการซับซอนและเปนระบบองคกรที่มีเครือขาย การทํางานที่กวางขวางโยงใยไปทั่วโลก ประกอบกับรูปแบบและลักษณะของอาชญากรรมเปนลักษณะการกระทําผิดโดย อาศัยโอกาสและพัฒนาเทคโนโลยี และมีสภาพเปนความผิดที่กระทําขามพรมแดนระหวางรัฐ 2 รัฐหรือมากกวานั้น ดังนั้น การที่อาชญากรรมขามชาติมีลักษณะเชนนี้ ทําใหเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศตางก็ประสบปญหา เดียวกัน นั่นคือ อํานาจการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมในแตละประเทศหมดลงเมื่อพน พรมแดนของประเทศตนเอง ขณะที่อาชญากรรมขามชาตินั้นไรพรมแดน จึงทําใหเกิดปญหาในเรื่องแนวทางการปฏิบัติใน การดําเนินคดีอาญา ความลาชาในการปฏิบัติงาน ปญหาเรื่องคาใชจายในการดําเนินคดี และความรวมมือทางอาญา ระหวางประเทศที่ยังไมมีความสอดคลองกับบริบทความเปลี่ยนแปลงในการเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนยังไมมี เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาวิธีการทํางานดานกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองทบทวน กฎหมายและแนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญาชาวตางประเทศ และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาใน ดานตาง ๆ เพื่อใหเกิดประโยชนในการพัฒนากฎหมายและการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับกรอบขอตกลงและกลไกความ รวมมือระหวางประเทศ นอกจากนี้ ปญหาอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณ ความรุนแรง และ รูปแบบการกระทําความผิด องคกรอาชญากรรมกลุมหลัก ๆ เชน การกอการรายขามชาติ การคามนุษย การลักลอบขน คนขามชาติ แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคายาเสพติดขามชาติ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร ไดใชประเทศอาเซียน 8 เปนทั้งประเทศตนทาง ทางผาน และปลายทางในการกระทําผิด และองคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมจะทํางาน รวมกันลักษณะเครือขาย และแลกเปลีย่ นผลประโยชนระหวางกลุมมากกวาในอดีต แมวา นโยบายการปองกันปราบปราม อาชญากรรมในประเทศอาเซียนบางประเภท เชน การคามนุษย และการคายาเสพติด ไดถูกจัดเปนวาระแหงชาติและมี ความรวมมือระหวางรัฐมากขึ้น แตอาชญากรรมขามชาติยังคงมีแนวโนมขยายตัวอันเนื่องมาจากความแตกตางของ กฎหมายภายในเจตนารมณของรัฐ และความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย จึงจําเปนตองชวยเหลือและรวมมือกันให มากขึน้ เพือ่ รองรับตอการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนใน ปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ ดังนี้ 8
กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ . (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. หนา 1-44. กองเกียรติ อภัยวงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรม ขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 73
ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการจะปรากฏในลักษณะสนธิสัญญา อนุสัญญา กฎบัตร พิธีสาร ความตกลง กติกา ฯลฯ ซึ่ งเปนความตกลงระหวางประเทศ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ โดยทั่วไป มักจะกระทําขึ้นเปนลายลักษณอั กษร และมีผลผูกพันคูสัญญา รัฐภาคี จึงมีหนาที่ตองปฏิบัติตาม พันธกรณีที่มีในสนธิสัญญาและตามมาตรา 27 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา อีกทั้งไมสามารถอางบทบัญญัติของกฎหมาย 9I ภายในเพือ่ เปนเหตุในการไมปฏิบัติตามสนธิสัญญา ดวยเหตุนี้ รัฐจึงจําเปนตองวางขอกําหนดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการปรับ ใชสนธิสัญญากับระบบกฎหมายภายในของประเทศ เชน ประเทศไทยไดตราพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมี สวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 เพือ่ รองรับพันธกรณีที่มีตามอนุสัญญาตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ จัดตั้งในลักษณะองคกร เปนตน ความร วมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ กลาวคือ
ระดับระหวางประเทศ อนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ เ พื่อ ต อ ต า นอาชญากรรมข ามชาติ ที่ จั ด ตั้ ง ในลั ก ษณะองค ก ร ค.ศ. 2000 เป น กฎหมายระหวางประเทศฉบับสําคัญที่เปดโอกาสใหประเทศที่เปนภาคีมารวมมือกันในการตอสูกับองคกรอาชญากรรม ขามชาติโดยไมคํา นึงถึงความแตกตา งทั้ งทางดานการเมือง การปกครอง วัฒนธรรม และเชื้ อชาติ ของประเทศ โดย อนุสัญญาฯ ไดวางหลักเกณฑพื้นฐานอยางกวางใหประเทศสมาชิกตองนํา เขาไปบัญญัติไวเปนกฎหมายภายใน โดยมีขอ นาสนใจ ไดแก ความผิดทางอาญาของการเขารวมในองคกรอาชญากรรม การฟอกเงิน และการทุจริตคอรรัปชั่น และ มาตรการตอบโต ความรับผิดชอบของนิติบุคคล การฟองรอง และการพิพากษา การยึดทรัพย ความรวมมือระหว าง ประเทศ เพื่อวัตถุประสงคในการยึดทรัพย เขตอํานาจศาล การสงผูรายขามแดน การสงมอบตัวผูตองคําพิพากษา ความ ชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา การสืบสวนรวมกัน เทคนิคการสืบสวนพิเศษ การจัดทําฐานขอมูลความผิดทางอาญา การคุมครองพยาน มาตรการความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และการรวบรวม การแลกเปลี่ยน และการ วิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของกับลักษณะทัว่ ไปขององคกรอาชญากรรม เปนตน
ระดับภูมภิ าค
II
สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 ซึ่งเปนเครื่องมือ ทางกฎหมายสําคัญระดับภูมิภาคที่ไดกําหนดมาตรการทางกฎหมาย สําหรับหนวยงานบังคับใชกฎหมายในการใหความ ชวยเหลือ และการขอความชวยเหลือระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคอาเซียนในเรือ่ งทางอาญาไวหลายรูปแบบ แตมีลักษณะที่ นาสนใจกวาสนธิสัญญาทวิภาคี หรือพหุภาคีทั่วไป กลาวคือ ไดวางหลักเกณฑความชวยเหลือระหวางประเทศอาเซียนไว มากกวาสนธิสัญญาสองฝายทัว่ ๆ ไป เชน การจัดหาใหซงึ่ เอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได คาใชจาย ซึง่ แนนอนวา ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดลงนามรับรองสนธิสัญญาดังกลาวมีพันธกรณีที่จะตองนําเอาเงื่อนไข และขอบท III ตาง ๆ ไปกําหนดเปนกฎหมายภายในเพื่อบังคับใชใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม สนธิสัญญาอาเซียนฉบับนี้ มีขอจํากัดที่คลายคลึงกับสนธิสัญญาระหวางประเทศในเรื่องทาง อาญาทั่วไป โดยรัฐผูรับคํารองขอ สามารถปฏิเสธการใหความชวยเหลือได หากคํา รองขอเขาขายคดีที่เกี่ยวเนื่องกับ ประเด็น ทางการเมือง เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ชาติกําเนิด สัญชาติ และความผิดทางทหาร รวมถึงคดีความมั่นคงในลักษณะ อื่น ๆ สนธิสัญญาฯ ไดเปดโอกาสใหผูประสานงานกลางของแตละรัฐ สามารถสงคํารองขอความชวยเหลือ และการติดตอ 9
Makanczek, P. (2000). Modern Introduction to International Law. United States of America: Routledge.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 74
ประสานงานผานทางชองทางตํารวจสากล (INTERPOL) หรือองคการตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ในสถานการณ เรงดวนได จึงทําใหขอมูล และพยานหลักฐานที่ไดจากการประสานงานทางคดีผานชองทางดังกลาว ไดรับการยอมรับใน กระบวนพิจารณาชั้นศาลมากขึ้น ดังนั้น การที่สนธิสัญญาฯ ไดระบุถึง กลไกการประสานงานดังกลาว จึงเทากับเปนการ ยอมรับถึงความถูกตองในการประสานความรวมมือระหวางประเทศโดยปริยาย
ระดับทวิภาคี
IV
V
สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา สนธิสัญญาโอนตัว VI นักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ รวมถึงขอตกลงระหวางรัฐบาลในรูปแบบอื่น ๆ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาล ไทยกับรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา เรือ่ ง ความรวมมือทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและหญิง และการชวยเหลือ เหยื่อของการคามนุษย ค.ศ. 2003 และบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ค.ศ. 2003 เปนตน เปน กฎหมายทีม่ ีผลผูกพันระหวางสองประเทศ ซึ่งคํานึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศที่มารวมลงนามเปนสําคัญ กฎหมาย ระหวางประเทศในระดับทวิภาคี ไดชวยทําใหการทํางานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเปนไปดวยความ สะดวกและรวดเร็วมากขึน้ เนื่องจาก มีพันธกรณีระหวางรัฐในการทีจ่ ะตองปฏิบัติตามหากมีกรณีเขาตามเงือ่ นไขที่วางไว อยางไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบวา กฎหมายระหว างประเทศระดับทวิภาคีของภูมิภาคอาเซียนยังมีไม มากนัก โดยสวนใหญจะเปนประเด็นที่ ไดรับการผลักดัน หรือสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศ เชน บันทึกความ เขาใจระหวางรัฐบาลที่เกี่ยวกับการตอตานการคามนุษย และการตอตานการกอการราย ดังนั้น ในโอกาสที่ประเทศไทย กําลังจะเขาสูประชาคมอาเซียน และยังไมไดมีกฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางครอบคลุม รัฐอาเซียน จึงควรผลักดันใหมีกรอบความรวมมือในลักษณะทวิภาคี หรือพหุภาคีใหมากขึ้น
ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการมีหลายลักษณะ โดยเนนความรวมมือในเชิง นโยบายและปฏิบัติเปนสําคัญ แมวา ประเทศคูเจรจาหรือประเทศที่เขามารวมเปนพันธมิตร จะไมไดมีพันธกรณีที่เครงครัด ที่จะตองปฏิบัติตามความตกลงที่เกิดขึ้น หรือตามมารยาทระหวางประเทศในเชิงการทูตเทากับความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่ องทางอาญาแบบเป นทางการที่ ยึด ถือ ตัว บทกฎหมาย หรือ หลั กกฎหมายระหวา งประเทศ แต รูป แบบ ความสัมพันธแบบไมเปนทางการได ทําใหเกิดเครือขายความรวมมือระหวางกลุมหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และพัฒนา ไปเปนความสัมพันธในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบไมเปนทางการ ซึ่งทําใหการประสานความรวมมือในการ สืบสวนติดตามจับกุมตัวผูกระทําความผิดเปนไปอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปสามารถพิจารณาไดเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ ความรวมมือระหวางประเทศในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ
ในระดับนโยบาย - การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) เปนการประชุมเพื่อรองรับการประชุมในระดับรัฐมนตรีของประเทศอาเซียนที่ดูแลกํากับนโยบายดาน ความมัน่ คงที่เกี่ยวของกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ เกิดขึ้นตามมติที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยางเปนทางการครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป 2538 เพื่อใหเปนกลไกระดับภูมิภาคในการกํา กับ และดําเนินการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่มี แนวโนมจะทวีความรุนแรง และขยายตัวมากขึ้น โดยจัดขึ้นเปนประจําทุก 2 ป การประชุมดังกลาวเปนการหาแนวทาง รวมกันในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่สําคัญ ไดแก การตอตานการกอการราย การคามนุษย และการ ประชุมรวมกับประเทศคูเจรจา เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 75
- การประชุ มเจ า หน า ที่อ าวุโ สอาเซียนดา นอาชญากรรมขา มชาติ (Senior Official Meeting on Transnational Crime- SOMTC) เปนกลไกที่เนนความรวมมือดานการบังคับใชกฎหมาย และการเสริมสรางศักยภาพใน การตอตานอาชญากรรมขามชาติทั้งดานการปองกันและปราบปรามในระดับปฏิบัติของหนวยงานบังคับใชกฎหมายของ VII ประเทศอาเซียน ในรูปแบบของการประชุมสัมมนา เพือ่ เสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของ ประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้งแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยเปนเวทีในการผลักดันขอเสนอใหม ๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการรวมมือระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายใหมากขึ้น เชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การฝกอบรม และ การสรางเครือขายการทํางานรวมกันระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย เปนตน นอกจากนี้ กรอบการประชุมดังกล าวไดประสบความสํา เร็จในการพัฒนาความรวมมือระหว างอาเซี ยนกั บ VIII ประเทศคูเจรจา ใหเปนรูปธรรมตามเอกสารแถลงการณทางการเมืองที่ ไดมีการลงนามกัน ในรูปแบบแผนงานที่ระบุ กิจกรรมความรวมมืออยางเปนรูปธรรม ซึ่งประเทศผูนําในแตละสาขาของอาชญากรรมขามชาติทําหนาที่ประสาน หารือ และแสวงหาความรวมมือกับประเทศคูเจรจา อันจะสงผลใหกลุมประเทศอาเซียนสามารถแสวงประโยชนสูงสุดจากความ เชี่ยวชาญของประเทศคูเจรจาบนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกันของทั้งสองฝาย เพื่อใหหนวยงานบังคับใชกฎหมายนํา นโยบายดานอาชญากรรมขามชาติดังกลาวไปใชเปนแนวทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ
ในระดับปฏิบัติ
IX
- การประชุมกระบวนการบาหลี (Bali process) เปนกลไกความรวมมือของภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟกที่มุงเนน การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะในเรื่ องการคา มนุษย และการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย เนื่องจาก ประเด็นเรื่องการคามนุษย และการขนคนขามชาติโดยเฉพาะทาง เรือเปนปญหาสําคัญของประเทศในภูมิภาคนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเวทีระดับภูมิภาคในการหารือ และกําหนด แนวทางรวมกันในการจัดการกับปญหาการคามนุษยการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย และปญหาอาชญากรรมขามชาติ อื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ เชน การแลกเปลีย่ นขอมูลขาวสาร และการขาวกรองผานหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกันในรูปของ เครือขายการบังคับใชกฎหมาย การวางระบบการตรวจคนเขาเมืองที่ มีประสิทธิภาพ การตรวจรวมกันตามแนวชายแดน เปนตน ผลลัพธที่ไดจากกรอบการประชุมกระบวนการบาหลี มีตั้ งแตการดําเนินการในเชิงนโยบายของภูมิภาคในการ จัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติไปจนถึงการพัฒนากลไกดานกฎหมายโดยสงเสริมใหประเทศสมาชิกสรางความ รวมมือระหวางกันในหลากหลายมิติ เพื่อใหสามารถจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้ น เชน การออกกฎหมายภายในประเทศ และมาตรการการปองกัน และความชวยเหลือตอเหยื่อของการคามนุษยโดยเฉพาะ ผูหญิงและเด็ก มาตรการจัดการกับการเขาเมืองผิดกฎหมาย และการเสริมสรางขีดความสามารถประเทศในรูปแบบของ โครงการฝกอบรม - การประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of Police Conference : ASEANAPOL) เปนกลไก X ความรวมมือระหวางองคกรตํารวจอาเซียนในระดับปฏิบัติ โดยเปนผลมาจากความตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรม ขามชาติตอการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาค และตอสังคมอาเซียนโดยรวม มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนระเบียบและ กฎหมายที่ใชกลุมประเทศอาเซียน สงเสริมการพัฒนาและการดําเนินงานที่เปนระบบในการบังคับใชกฎหมายและการ รักษาความสงบเรียบรอย เสริมสรางความรวมมือรวมใจ และความสามัคคีของตํา รวจอาเซียนในการตอตานการกอการ ราย และอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถทั้ งในระดับองคกรและบุคลากร และเพื่ อเสริมสราง ความสัมพันธระหวางองคกรตํารวจในภูมิภาคอาเซียนใหแน นแฟนมากยิ่งขึ้น ผลลัพธที่ไดจากการประชุมจะอยูในรูป แถลงการณรวมที่ เปนขอเสนอแนะหัวหนาตํารวจของประเทศสมาชิก นําไปเปนแนวทางในการทํางานรวมกัน แมวา ขอ เสนอแนะที่ เ กิ ด ขึ้น จะเป น เพียงกรอบนโยบายกว า ง ๆ และไม มี พัน ธะผู กพั น ทางกฎหมาย แต ใ นทางปฏิบั ติ แ ล ว
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 76
แถลงการณดังกลาว ถือเปนเจตจํานงรวมของผูนําองคกรบังคับใชกฎหมายหลักของแตละประเทศที่ จะตองใชความ พยายามอยางสุดความสามารถในอันทีจ่ ะปฏิบัติตามใหได - การประสานความร วมมือ ทางอาญาผ านองค การตํ า รวจอาชญากรรมระหว างประเทศ (International Criminal Police Organization : INTERPOL) หรือเรียกทั่วไปวา องคการตํารวจสากล ซึง่ เปนองคการระหวางประเทศที่ เปนหนวยประสานงานกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมระหวางประเทศ และชวยเหลือ กัน ในการติดตามจับกุมผูกระทําผิดมาลงโทษXI ผานชองทางตํารวจสากล คือ ระบบขอมูลขาวสารตลอด 24 ชั่วโมง (I24/7) ซึง่ เปนการสงและรับขอมูลผานแหลงขอมูลกลาง (server) ของตํารวจสากลทีม่ ีสํานักงานใหญอยูที่ประเทศฝรั่งเศส สําหรับแลกเปลี่ยนขอมูลทางอาชญากรรมระหวางกัน เพือ่ ประโยชนในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติ หรือ คดีที่อาชญากรหลบหนีไปตางประเทศในลักษณะตาง ๆ ในรูปแบบของหมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) 8 ประเภทXII ตามลักษณะของประเภทคดี และคํารองขอความรวมมือที่กําหนดไว ตามระเบียบการใชหมายตํารวจสากล เชน หมายสีแดงใชสําหรับการติดตามบุคคลทีเ่ ปนที่ตองการตัวเพื่อสงกลับไปดําเนินคดี หรือรับโทษทางอาญาในประเทศผู รองขอ หรือหมายสีดําใชสําหรับติดตามบุคคลสูญหาย เปนตน เพื่อใหประเทศสมาชิกตํารวจสากลชวยเหลือในการสืบสวน สอบสวน และติดตามอาชญากรขามชาติที่หลบหนีจากประเทศหนึ่งเขาไปในอีกประเทศหนึ่งXIII คดีอาชญากรรมสําคัญที่ นาสนใจ ไดแก การกอการราย การคามนุษย การคายาเสพติด การลักลอบขนคนผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย การลักขโมยวัตถุโบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร ตลอดจนการติดตามบุคคลหลบหนีการดําเนินคดีอาญา และคําพิพากษา และอาชญากรสงคราม เปน ตน - การประสานงานผานสํานักงานนายตํารวจประสานงานประจําสถานทูต (Police Liaison Office) โดยมี นายตํารวจที่เปนผูแทนของสํานักงานตํารวจของประเทศนั้น ๆ ประจําอยูที่สถานทูตที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ มีหนาที่ใน การติดตอประสานงานในคดีอาญาตาง ๆ ที่ผูตองหาไดหลบหนีมาอยูในประเทศอาเซียน หรือจากประเทศอาเซียนไปอยู ตางประเทศใหเกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ทั้งในดานการแลกเปลี่ยนขอมูล การแสวงหาพยานหลักฐาน และการสง และรั บคําร องขอทางการทูต ที่ เกี่ยวของกับคดี สํานั กงานนายตํ ารวจประสานงานดังกลาวไดมีบทบาทสํ าคัญในการ คลี่คลายคดีอาชญากรรม และอาชญากรรมขามชาติสําคัญที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และอาเซียนในหลายคดีโดยเฉพาะ อยางยิง่ ทําใหขอจํากัดดานกฎหมายภายในนอยลง และเกิดความรวมมือระหวางกันมากขึน้ XIV กลาวโดยสรุป ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนมีทั้งในระดับที่เปนทางการ และไมเปน ทางการ ซึ่ ง นั บ เป น กลไกความร ว มมื อ ระหว า งประเทศที่ สํ า คั ญ แม ว า ประเทศอาเซี ยนจะได ต ระหนั ก ถึ ง ภั ยของ อาชญากรรมขามชาติทเี่ พิม่ ขึน้ แตเนื่องจาก กรอบความรวมมือของภูมิภาคสวนใหญ จะมีลักษณะของแนวทางการทํางาน รวมกันไมไดมีผลผูกพันในทางกฎหมายอยางเครงครัด ทําใหการบังคับใชกฎหมายของแตละประเทศ ยังคงตั้งอยูบน พืน้ ฐานของหลักกฎหมายภายในของรัฐ นโยบายของรัฐบาล และผลประโยชนของแตละประเทศเปนสํา คัญ ประกอบกับ กฎหมายของภูมิภาคยังไมไดมีการพัฒนาเหมือนเชน ในสหภาพยุโรป จึงทําใหความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาค อาเซียนไมเกิดประสิทธิภาพเทาทีค่ วร
การตอตานอาชญากรรมขามชาติ กลุ มประเทศอาเซี ยนนั้ น มีค วามตื่ น ตั ว ในการต อ ต า นอาชญากรรมข า มชาติ มาเป น เวลากว าทศวรรษแล ว เนื่องจาก อาชญากรรมขามชาตินั้นเปน เรื่องที่ไมไดเกิดภายในขอบเขตของประเทศใดประเทศหนึ่ง ความรวมมือหลาย ๆ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 77
อยางนั้น ประสบความสําเร็จเปนอยางดี เชน การลดจํานวนการคายาเสพติดในภูมิภาค แตก็ยังมีอีกหลายประเด็นที่ยังคง ตองรวมมือกันแกไข อยางเชน ปญหาโจรสลัด รวมถึงการพัฒนากลไกความรวมมือตาง ๆ เพื่อรับมือกับอาชญากรรมขาม ชาติทพี่ ัฒนาตัวเองตามการเปลี่ยนแปลงของโลก ในความเปนจริงแลว อาเซียนเริ่มมีความรวมมือในเรื่องการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแตป 1976 หลังจาก 10 Bali Concord I แตสวนใหญนั้น จะเนนในเรื่องของการคายาเสพติด จนอาเซียนไดมีการจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรี อาเซียน (ASEAN Ministerial Meetings : AMM) และเริ่มพูดถึงอาชญากรรมขามชาติในวงที่กวางขึ้น และไดมีการ เรียกรองใหประเทศสมาชิกมีการรวมมือกันใกลชิดยิ่งขึ้นในการแกปญหาตาง ๆ เชน ความไรประสิทธิภาพของตํารวจ ระบบกฎหมายที่ลาสมัย และการคอรรัปชั่น จนกระทั่ง ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในป 1997 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดประกาศ “คําประกาศที่วาดวยเรื่อง อาชญากรรมขามชาติ” (Declaration on Transnational Crime) ซึ่งถือเปนความรวมมือที่เปนรูปธรรมครั้งแรกของกลุม ประเทศอาเซียน ซึ่งคําประกาศดังกลาวมีความนาสนใจตรงที่มีการสรางกลไกความรวมมือตาง ๆ เพื่อตอตานปญหา อาชญากรรมขามชาติ เชน การกําหนดการประชุมรัฐมนตรีในเรื่องอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) ทุก ๆ สองป และเรียกรองใหมีความรวมมือในสวนกลไกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ อาชญากรรมขามชาติ เชน ASEAN Senior Officials on Drug Matters (ASOD) และ ASEAN Chiefs of National 11 Police (ASEANAPOL) นอกจากนี้ ยังเรียกรองใหผลักดันกลไกความรวมมือเฉพาะกิจอยางเชน ASEAN Plan of Action on Transnational Crime, Institutional Framework for ASEAN Cooperation on Transnational Crime รวมถึงการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้ง ASEAN Centre on Transnational Crime (ACOT) เพื่อสนับสนุนงานของ สํานักงานเลขาธิการอาเซียน รวมไปถึงการเรียกรองใหมีความรวมมือในกลไกด านอื่น ๆ ที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและ ทางออม เชน ASEAN Law Ministers and Attorneys-General, ASEAN Chiefs of National Police, ASEAN Finance Ministers, Directors-General of Immigration และ Directors-General of Customs ใหมีบทบาทในการ ตอตานภัยจากอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น จนเกิดการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในป ค.ศ. 2015 ขึ้นมา โดยมีการเรียกรองใหประเทศสมาชิกรวมกันตอตานอาชญากรรมขามชาติโดยใชความเปนประชาคมอาเซียนเปน กลไกในการแกปญหา ซึ่งก็เปนที่นาติดตามวาการเปนประชาคมอาเซียนนั้น จะสามารถตอตานและการแกไขปญหาเรื่อง อาชญากรรมขามชาติไดดีเพียงใด จากความรวมมือดานอาชญากรรมขามชาติของอาเซียน ซึ่งถือไดวา ความรวมมือในการแกไขปญหานั้น เปน เพียงตัวแทนโดยรัฐเปนหลัก อยางเชน ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) ก็เปนเวทีที่ รัฐมนตรี ซึ่งเปนตัวแทนของรัฐเขามาหารือและรวมมือกัน และเปนผูตัดสินใจหลักในกิจกรรมตาง ๆ หรือกลไกอื่น ๆ เชน ASEANAPOL (ASOD) ก็เปนตัวแทนจากรัฐที่ไมมีอํานาจตัดสินใจในตัวเอง โดยตองไดรับทิศทาง และการสั่งการจาก รัฐบาลเทานั้น นอกจากนี้ กลไกเฉพาะกิจอื่น ๆ เชน Institutional Framework for ASEAN Cooperation on Transnational Crime หรือการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้ง ASEAN Centre on Transnational Crime ก็อยู ภายใตอาณัติของ AMMTC ทําใหถึงแมจะมีความรวมมือแตก็เปนในรูปแบบที่รัฐเปนศูนยกลาง (State-Centrism) ของ อํานาจการตัดสินใจ โดยไมมีการจัดองคกร หรือสถาบันที่มีลักษณะเหนือชาติ (Supranational) แตอยางใดก็ตาม ทั้งนี้ มี การใหเหตุผลถึงการที่สมาชิกกลุมประเทศอาเซียนในความสัมพันธแบบรัฐพันธนิยมวา เนื่องมาจาก การแกไขปญหา อาชญากรรมขามชาตินั้น มีหลายประเด็นที่ออนไหวตอความมั่นคงและอธิปไตยของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งขัดตอ 10 11
Ibid. ASEAN. (1997). ASEAN Declaration on transnational crime Manila, 20 December 1997.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 78
หลักการดั้งเดิมของอาเซียน อยางไรก็ดี ในสภาพของอาเซียนนั้น หากขาดความรวมมือระหวางรัฐเชนนี้ ก็ยากที่กอใหเกิด การรวมตัวได เนื่องจาก องคกรภาคประชาชนนั้นไมมีอํานาจในการกดดันรัฐบาลไดมากพอ นอกจากนี้ ยังมีความเปนไปได ที่นักการเมืองของประเทศในกลุมอาเซียนเองก็มีความสัมพันธกับกลุมอาชญากรรมขามชาติ หรือเปนผูกระทําการเอง เชน การคายาเสพติด และการฟอกเงิน โดยเฉพาะประเทศที่มีระดับการคอรรัปชั่นสูง เชน เมียนมาร ไทย และฟลิปปนส อยางไรก็ตาม ความรวมมือของรัฐมนตรีประเทศสมาชิกอาเซียนในรูปของ AMMTC ก็ไดแสดงถึงความจําเปนใน การกระจายความรวมมือไปยังดานอื่น ๆ เชน ระบบกฎหมายและการใชกฎหมาย ระบบ และระเบียบที่ปองกันการฟอก เงิน และการสงเงินขามพรมแดนอยางผิดกฎหมาย จนกอใหเกิดกลไกอยาง ASEAN Law Ministers and AttorneysGeneral, ASEAN Chiefs of National Police, ASEAN Finance Ministers, the Directors-General of Immigration และ Directors-General of Customs และจากการประชุม AMMTC ครั้งที่ 6 ป ค.ศ. 2007 ที่กรุงบันดา เสรี เบกาวัน ประเทศบรูไน ไดมีการริเริ่มโครงการ “Drug-Free ASEAN by 2015” ซึ่งมีความเห็นรวมกันวา มีความ จําเปนตองอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวน ตามที่ APSC Blueprint ไดระบุเปน ASEAN Work Plan for 12 Combating Illicit Drug-Trafficking ซึ่งตองอาศัยตั้งแตความรวมมือดานกฎหมาย การสงผูรายขามแดน ซึ่งยังคงเปน ปญหาของประเทศกลุมอาเซียน รวมถึงระบบสาธารณสุขในการแกไขปญหาผูติดยาเสพติด
ความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ไดประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2556 และจะมีผลใชบังคับ เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราช กิจจานุเบกษา เปนตนไป และโดยที่พระราชบัญญัติดังกลาวมีความสําคัญในดานความรวมมือระดับสากล เพื่อปองกันและ ปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยมีการกําหนดความผิดฐานมีสวนรว มในองคกรอาชญากรรมขามชาติ และ กําหนดมาตรการที่เปนเครื่องมือพิเศษในการสืบสวน สอบสวน และดําเนินคดีแกผูกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกร อาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ เชนเดียวกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ และ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติดฯ เหตุ ผ ลในการยกร างพระราชบั ญญั ติ ฉ บับ นี้ เนื่อ งจาก ป จจุ บั น ประเทศไทยมี ปญ หาเกี่ ยวกั บการประกอบ อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสงผลกระทบตอความสงบเรียบรอย และความมั่นคงของประเทศเปนอยางมาก แตปรากฏวา กฎหมายที่มีอยูในปจจุบัน ซึ่งมีบทบัญญัติใกลเคียงกับการที่จะนํามาใชเปนมาตรการในการปองกันปราบปรามองคกร อาชญากรรม เชน บทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญาวาดวยเรื่องอั้งยี่ และซองโจร กฎหมายปองกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน และกฎหมายปองกันและปราบปรามยาเสพติด แตมาตรการเหลานั้นยังไมเพียงพอ และยังไมสามารถใชบังคับ เพื่อดําเนินคดีกับการกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบกับ ประเทศไทยไดลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร จึงสมควร กําหนดลักษณะความผิดใหครอบคลุมการกระทําดังกลาว รวมทั้งกํา หนดวิธีการสืบสวน สอบสวนการกระทําความผิด 13 ดังกลาวนั้นดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัตินี้ ไดใหคํานิยามของ “องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลตั้งแตสามคนขึ้นไปที่ รวมตัวกันกระทําการใด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระทําความผิดอาญาที่กฎหมายกําหนดโทษจําคุกขั้นสูง ตั้งแตสี่ปขึ้นไป หรือโทษสถานที่หนักกวานั้น และเพื่อไดมาซึ่งผลประโยชนทางการเงิน ทรัพยสิน หรือผลประโยชนทางวัตถุอยางอื่นไมวา 12 13
ASEAN Political-Security Community Blueprint. วันชัย รุจนวงศ. (2548). ผาองคกรอาชญากรรม : มะเร็งรายของสังคม สํานักพิมพมติชน. สิงหาคม. 2548.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 79
โดยทางตรงหรือทางออม และ “องคกรอาชญากรรมขามชาติ ” หมายความวา องคกรอาชญากรรมที่มีการกระทํา ความผิดที่มีความเชือ่ มโยง หรือเกี่ยวพันกันมากกวาหนึ่งรัฐ และบัญญัติใหผูใดที่กระทําการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ 1) เปนสมาชิกหรือเปนเครือขายดําเนินงานขององคกรอาชญากรรมขามชาติ 2) สมคบกันตั้งแตสองคนขึ้นไป เพื่อกระทําความผิดรายแรง อันเกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ 3) มี ส ว นร ว มกระทํ า การใด ๆ ไม ว า โดยตรง หรื อ ทางอ อ มในกิ จ กรรม หรื อ การดํ า เนิ น การขององค ก ร อาชญากรรมขามชาติ โดยรูถึงวัตถุประสงค และการดําเนินกิจกรรม หรือโดยรูถึงเจตนาที่จะกระทําความผิดรายแรงของ องคกรอาชญากรรมขามชาติดังกลาว 4) จัดการ สั่งการ ชวยเหลือ ยุยง อํานวยความสะดวก หรือใหคําปรึกษาในการกระทําความผิดรายแรงของ องคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยรูถึงวัตถุประสงค และการดําเนินกิจกรรม หรือโดยรูถึงเจตนาที่จะกระทําความผิด รายแรงขององคกรอาชญากรรมขามชาติดังกลาว ผูนั้นกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ และ หากเปนการกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร ผูนั้นจะตองรับโทษในราชอาณาจักร รวมทั้งยังไดบัญญัติใหการกระทํา ความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติตามพระราชบัญญัตินี้ เปนความผิดมูลฐานตามกฎหมายวาดวยการ ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน อีกดวย หากผูก ระทํา ความผิ ดฐานมี สวนร วมในองคกรอาชญากรรมขามชาติคนหนึ่งคนใดไดล งมือกระทําความผิ ด รายแรงตามวัตถุประสงคขององคกรอาชญากรรมขามชาตินั้น ผูกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขาม ชาติที่อยูดวยในขณะกระทําความผิดรายแรง หรือรวมประชุมแตไมไดคัดคานในการตกลงใหกระทําความผิดรายแรงนั้น รวมทั้งบรรดาหัวหนา ผูจัดการ และผูมีตําแหนงหนาที่ในองคกรอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองระวางโทษตามที่ไดบัญญัติ ไว สําหรับความผิดรายแรงนั้นทุกคน ในส ว นของบทกํ า หนดโทษ ได กํ าหนดให ผู ก ระทํ า ความผิ ดต อ งรั บโทษหนั ก ขึ้ น หากผูก ระทํ าความผิ ด เป น สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น ขาราชการ พนักงานองคกรปกครองสวน ทองถิ่น พนักงานองคการ หรือหนวยงานของรัฐ กรรมการ หรือผูบริหาร หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ เจาพนักงาน กรรมการ ผู จั ด การ หรื อ บุ ค คลใด ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น งานของสถาบั น การเงิ น หรื อ กรรมการขององค ก รต า ง ๆ ตาม รัฐธรรมนูญ จะตองไดรับโทษหนักเปนสองเทาของโทษที่กําหนด และโทษหนักสามเทา สําหรับพนักงานเจาหนาที่ หรือ พนักงานสอบสวนตามพระราชบัญญัตินี้ ผูใดกระทําความผิดตอตําแหนงหนา ที่ราชการอันเกี่ยวเนื่องกับการกระทํ า ความผิดตามหมวดนี้ มาตรการพิ เ ศษในการสื บ สวนสอบสวน และดํ า เนิ น คดี แ ก ผู ก ระทํ า ความผิ ด ฐานมี ส ว นร ว มในองค ก ร อาชญากรรมขามชาติ พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดวางระบบการใชอํานาจการดําเนินคดีในความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรม ขามชาติ เพื่อมิใหเกิดการทับซอนอํานาจระหวางหนวยงาน และเกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ โดยกําหนดใหพนักงาน สอบสวนที่มีอํานาจ คือ พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กรณีที่ผูกระทําความผิดเปน เจาหนาที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต และอยูในอํานาจหนาที่ ของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบก็ยังคงมีอํานาจดําเนินคดี ตอไปตามพระราชบัญญัตินี้ได แตตองแจงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบ ทั้งนี้ ไมตัด อํานาจของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติที่จะดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงเอง หรือมอบหมาย ใหพนักงานไตสวนตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตเขารวมสอบสวนกับ พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบก็ได
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 80
ในกรณีที่คณะกรรมการคดีพิเศษไดมีมติใหคดีดังกลาวตองดําเนินการโดยกรมสอบสวนคดีพิเศษใหพนักงาน สอบสวนสงเรื่องใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการ ซึ่งบทบัญญัติมาตรานี้ แมจะไมบัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้ หากคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) มีมติใหคดีความผิดดังกลาว ซึ่งไมใชคดีความผิดที่อยูในบัญชีทายพระราชบัญญัติการ สอบสวนคดี พิ เ ศษ พ.ศ. 2547 หรื อ ที่ กํ า หนดเพิ่ ม เติ ม โดยกฎกระทรวง เป น คดี พิ เ ศษตามมาตรา 21 (2) แห ง พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ พนักงานสอบสวนก็จะตองสงสํานวนใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการอยูแลว ตามขอบังคับ กคพ. แตอยางไรก็ดี การบัญญัติใหมีความชัดเจนไวในพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว ก็เปนการเชื่อมตอ อํานาจการสอบสวนมิใหขาดตอน พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยังมีบทบัญญัติเรื่องการใชมาตรการทางกฎหมายที่เปนเครื่องมือพิเศษในการสืบสวนไว หลายประการ เชนเดียวกับบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ ซึ่งไดนํามาพิจารณาประกอบการยกราง พระราชบัญญัตินี้ อาทิ การทําขอตกลงระหวางหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ การขอใหหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ที่อื่น ของรัฐใหความชวยเหลือ สนับสนุน หรือเขารวมปฏิบัติหนาที่ไดตามความจําเปน การคนโดยไมตองมีหมายจากศาล การมี หนังสือสอบถาม หรือเรียกบุคคล หรือเอกสาร หรือการยึด อายัด การดําเนินการกับของกลาง การมี และใชอาวุธปน เครื่ อ งกระสุ น ป น ยุ ท ธภั ณ ฑ การได ม าซึ่ ง เอกสารข อ มู ล ข า วสาร ซึ่ ง ส ง ทางไปรษณี ย โทรเลข โทรศั พ ท โทรสาร คอมพิวเตอร เครื่องมือ หรืออุปกรณในการสื่อสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อทางเทคโนโลยีใด การมอบหมายใหบุคคลใด จัดทําเอกสาร หรือหลักฐานใดขึ้น หรือปฏิบัติการอําพราง เพื่อประโยชนในการสืบสวน แตในสวนที่บัญญัติเพิ่มเติม นอกเหนือจากมาตรการตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ ก็คือ การเคลื่อนยายภายใตการควบคุม ตลอดจนใช เครื่องมือสื่อสารโทรคมนาคม เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส หรือดวยวิธีก ารอื่นใด เฉพาะในการสะกดรอย ผูตองสงสัยวา 14 กระทําความผิด หรือจะกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ นอกจากนี้ ยังมีบทบัญญัติที่เปน มาตรการการสงเสริมใหผูตองหารวมมือในการใหขอมูลที่สําคัญ และเปนประโยชนอยางยิ่ง ในการสืบสวนสอบสวน เกี่ยวกับ กิจกรรม และการกระทําความผิดขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสามารถใชเปนพยานหลักฐานในการ ดําเนินคดีตอหัวหนา หรือผูมีบทบาทสําคัญในองคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยใหอัยการสูงสุดมีอํานาจใชดุลพินิจออก คําสั่งไมฟองผูตองหานั้น ทุกขอหา หรือบางขอหาก็ได หรือออกคําสั่งถอนฟอง ถอนอุทธรณ ถอนฎีกา หรือไมอุทธรณ ไม ฎีกา ในความผิดนั้นทั้งหมด หรือบางสวน แลวแตกรณี หรือศาลจะลงโทษผูนั้นนอยกวาอัตราโทษขั้นต่ําที่กําหนดไวสําหรับ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ก็ได ดังนั้น การปองกันและปราบปรามปญหาองคกรอาชญากรรมขามชาติใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนตอง อาศัยความรวมมือระหวางประเทศ พระราชบัญญัติปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 นี้ จึงเปนสวนหนึ่งของการประสานความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมรวมกัน โดย มีการบัญญัติใหคํานิยามความหมายที่เปนสากล และกําหนดฐานความผิด ตลอดจนการมีมาตรการพิเศษในการสืบสวน สอบสวนใหสอดคลอง และเปนไปตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ซึ่งมาตรการพิเศษตาง ๆ เหลานี้ จะเปนประโยชนตอการสืบสวนสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน เพื่ อดําเนินคดีกับ ผูกระทําความผิด และองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ และสัมฤทธิ์ผล อยางไรก็ตาม ประเทศไทยก็ไม สามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได เนื่องจาก สาเหตุดังตอไปนี้ 1. กฎหมายของประเทศไทย ปจจุบัน มีกฎหมายไทยบังคับใชเพื่อปอ งกันและแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ เชน กฎหมายตอตาน ยาเสพติด กฎหมายฟอกเงิน กฎหมายปองกันและปราบปรามการคาประเวณี และกฎหมายตอตานการคาหญิงและเด็ก 14
วารสาร “DSI ไตรสาร” ปที่ 5 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2556.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 81
เปนตน แตกฎหมายเหลานี้ บัญญัติโดยพื้นฐานทัศนคติที่มุงใชเพื่อปราบปรามการกระทําผิดของปจเจกบุคคล รวมทั้ง กฎหมายที่บัง คับใชเปนเวลานานก็ไมอ าจปราบปรามการกระทํ าผิดโดยองค กรอาชญากรรมขามชาติที่ มีระบบ และ โครงสรางซับซอน มีอิทธิพล และปกปดการดําเนินงานได เชน 1.1. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 ในความผิดฐานเปนอั้งยี่ บัญญัติไววา “ผูใดเปนสมาชิกของคณะบุคคล ซึ่งปกปดวิธีดําเนินการ และมีความมุงหมาย เพื่อการอันมิชอบดวย กฎหมาย ผูนั้นกระทําความผิดฐานเปนอั้งยี่ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดป และปรับไมเกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท ถาผูกระทําความผิดเปนหัวหนา ผูจัดการ หรือผูมีตําแหนงหนาที่ในคณะบุคคลนั้น ผูนั้ นระวางโทษ จําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองหมื่นบาท” แตต ามขอ เท็ จจริ งมาตราดังกลา วไมมี สภาพการบัง คับ ใชเ ทา ที่ค วร เพราะความเขาใจผิ ดของเจ า พนักงานวา ผูกระทําความผิดตองเปนชาวจีนเทานั้น เมื่อแกงชาวตางชาติกระทําความผิดอันมีองคประกอบของความผิด ฐานเปนอั้งยี่ ก็ไมมีการดําเนินคดีอาญาในฐานความผิดดังกลาว ประกอบกับอัตราโทษปรับเปนเงินจํานวนนอย ทําใหกลา เสี่ยงจะประกอบอาชญากรรมรายแรง เนื่องจาก ไดรับผลตอบแทนเปนจํานวนเงินมากกวา 1.2. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กําหนดวิธีปฏิบัติในการจับกุมการดําเนินคดีอาญา และการ พิจารณาลงโทษแกผูกระทําผิด ซึ่งเปนสมาชิกองคกรอาชญากรรมขามชาติเชนเดียวกับคดีอาญาทั่วไป โดยพนักงาน สอบสวนรับคํารองทุกข สอบสวน และเสนอสํานวนการสอบสวนใหพนักงานอัยการพิจารณามีคําสั่งฟองหรือไมฟอง ผูตองหา แตผูตองหาซึ่งเปนสมาชิกองคกรอาชญากรรมขามชาติ จะมีหัวหนาคอยใหความชวยเหลือ มีการวางแผน และ หลบหนี ร อดโดยอาศั ยเงิ น ได จ ากการกระทํ า ความผิ ด ในการซื้ อ อิ ส รภาพ รวมทั้ ง กรณี ก ารปล อ ยตั ว ชั่ ว คราว โดยมี หลักประกัน และเมื่อชาวตางชาติผูกระทําความผิดหลบหนีไปได และยอมใหยึดเงินประกัน เปนตน 1.3. กฎหมายเฉพาะเพื่อปองกันและปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน พระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปรามผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 เปนตน มีลักษณะเปนกฎหมายเดี่ยว และไมมีหนวยงานอื่นสนับสนุนเทาที่ควร ปจจุบัน ประเทศไทยมีกรมสอบสวนพิเศษ สังกัดกระทรวงยุติธรรม ซึ่งมีหนาที่ปราบปรามอาชญากรรม ในทุกรูปแบบ รวมทั้งองคกรอาชญากรรมขามชาติที่มีผลกระทบตอความสงบสุขของประเทศ โดยกรมสอบสวนคดีพิเศษ จะมีผูเชี่ยวชาญจากทุกสาขาที่มีความรูทําการสืบสวน รวบรวมหลักฐาน ประวัติ และพฤติการณของผูตองสงสัย วาเปนผู อยูเบื้องหลังการกระทําความผิดในคดีตาง ๆ เพื่อสังเกต และติดตามพฤติการณของกลุมบุคคลหรือองคกร และใชเปน พยานหลักฐานในการดําเนินคดีอาญา ตอไป 1.4. ประเทศไทยไมมีกฎหมายสําหรับการสืบสวนปราบปรามองคกรอาชญากรรมโดยเฉพาะ เชน กฎหมาย เพื่อการปราบปรามองคกรอาชญากรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา อิตาลี ที่มีอัตราโทษสูงกวากฎหมายอาญาทั่วไป และไม มีกฎหมายวาดวยการดักฟงโทรศัพท หรือระบบคอมพิวเตอรในการสื่อสาร กฎหมายคุมครองพยาน หรือกฎหมายวาดวย การต อ รองคํา รั บสารภาพ ทํา ใหจํ าเลยหลุ ดพ น จากการถู ก ลงโทษ เนื่ องจาก พยานหลัก ฐานไมเ พียงพอ และไปก อ อาชญากรรมที่มีความรุนแรงมากขึ้นอีก 2. ป ญ หาขอความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ ในการปราบปรามและต อ ต า นองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ เนื่องจาก ประเทศมีร ะบบกฎหมายที่แ ตกตางกัน ทํา ใหกระบวนการพิจารณา และวิธีปฏิบัติ แตกตา งกัน โดยระบบ กฎหมาย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ระบบกลาวหา (Accusatorial System) และระบบไตสวน (Inquisitorial System)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 82
ระบบกฎหมายของไทย เปนแนวทางเดียวกับ ระบบของประเทศอังกฤษ และสหรัฐ อเมริก า คือ ระบบ กลาวหาที่มีผูเสียหาย หรือโจทกนําคดีมาฟองรองโดยกลาวหาผูกระทําผิด หรือจําเลย และคูความตองนําพยานหลักฐาน มาแสดง แถลงตอศาล ศาลเปนตุลาการผูชี้ขาด ซึ่งตองวางตัวเปนกลาง ซึ่งแตกตางจากบางประเทศ เชน ประเทศฝรั่งเศส ที่มีระบบไตสวนคนหาขอเท็จจริงในศาล โดยเจาหนาที่ของรัฐ ดังนั้น พยานหลักฐานจึงเปนสาระสําคัญในการพิจารณา ลงโทษจําเลยตามขอหา แตภาระการพิสูจน และความยุงยากในการพิสูจนความผิดโดยปราศจากขอสงสัย ซึ่งกําหนดไวใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิพื้นฐานของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ การรวมมือกันระหวางประเทศที่มีอยาง จํากัด ทําใหจําเลยซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม อาจหลุดพนจากการถูกลงโทษไดโดยงาย
ภาพรวมของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน 1. โครงสรางกระบวนการยุติธรรม ภาพรวมในกระบวนการยุ ติ ธ รรมทางอาญาของแต ละประเทศในภู มิภาคอาเซี ยนนั้ น มี โ ครงสร า งของ กระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน กลาวคือ หนวยงานบังคับใชกฎหมายหลักประกอบด วย ตํารวจ อัยการ ศาล และราชทัณฑ ตามที่กฎหมายของแตละประเทศบัญญัติไว แมวา หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลัก เหลานี้จะมีขอบเขต และอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบที่ตางกัน เชน ในกรณีของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เจาหนาที่ตํารวจนอกจากจะทําหนาที่ในการสืบสวนแลว ยังทําหนาที่เปนพนักงานราชทัณฑดวย และในบางประเทศมีการ แยกสํานักงานตรวจคนเขาเมืองออกจากโครงสรางของตํารวจ รวมถึงการมีกระทรวงที่กํากับดูแลการปฏิบัติในเชิงนโยบาย ที่ตางกัน แตถือวา โครงสรางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของทุกประเทศมีความทันสมัยตามสมควร ซึ่งสามารถสรุป บทบาทหนาที่ของแตละองคกรไดดังตอไปนี้
1) ตํารวจ
ทําหน าที่ในการสื บสวนคดีอ าญา ดูแลรั กษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิ นของ ประชาชนและรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศทั่วไป 2) อัยการ ทําหนาที่หลักในการฟองคดีตอศาล การยื่นอุทธรณหรือฎีกาคดีตอศาล การคุมครองสิทธิ ประโยชนตามกฎหมายแกประชาชน รวมถึงการสอบสวนรวมกับเจาพนักงานตํารวจใน บางคดี 3) ศาล ทําหนาที่ในการพิจารณาอรรถคดีทั้งปวงที่เกิดขึ้นในเขตอํานาจของแตละประเทศตามที่ พนักงานอัยการไดยื่นฟองมา โดยทั่วไปจะแบงประเภทคดีออกเป นคดีเพงและพาณิชย และคดีอ าญา โดยในบางประเทศที่ป ระชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาอิสลามจะมีศาล อิสลาม ที่เรียกวา “ศาลซารีอะห” ซึ่งจะพิจารณาพิพากษาเฉพาะในคดีเกี่ยวกับศาสนา และคดีครอบครัว 4) ราชทัณฑ มีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลผูตองขังที่อยูระหวางการพิจารณาในชั้นศาลและที่ ไดถูกตัดสินใหลงโทษจําคุก การตรวจสอบของฝายอัยการ 2. ระบบงานยุติธรรม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 83
ขั้นตอนของการดําเนินคดีอาญาโดยทั่วไปของประเทศอาเซียน จะมีลักษณะคลายคลึงกัน โดยสามารถแบง ออกไดเปน 4 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนการสืบสวนสอบสวน และจับกุม ขั้นตอนการฟองรองดําเนินคดี ขั้นตอนการตัดสิน พิจารณาคดี และขัน้ ตอนการลงโทษ และรับโทษ โดยในแตละขั้นตอนอาจมีความแตกตางในรายละเอียดบางประการ ดังนี้ 1) ขั้นตอนการสืบสวนสอบสวนและจับกุมดําเนินคดี สวนใหญจะเปนหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย ตํารวจ โดยอาจมาจากการที่ผูเสียหายมารองทุกขตอเจาหนาที่ดวยตนเอง หรือเจาหนาที่ตํารวจสืบสวนพบเหตุ เมื่อพบวา คดีมีพยานหลักฐานเพียงพอเจาหนาที่ตํารวจจะเขาไปดําเนินการสืบสวนตรวจคน จับกุม นําตัวมาสอบสวน และควบคุม ตัวระหวางสอบสวนตามอํานาจที่กฎหมายบัญญัติไว ซึ่งโดยทั่วไปจะมีอํานาจควบคุมไดไมเกิน 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น จะตองไปขออํานาจพนักงานอัยการหรือศาลในการควบคุมตัวตอ เชน ในกรณีของสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ตํารวจจะควบคุมตัวภายในอํานาจไดไมเกิน 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น จะตองยื่นคํารองตอพนักงานอัยการเพื่อขอใหมี การกักขังชั่วคราวไดครั้งละไมเกิน 3 เดือน และขอขยายไดไมเกิน 3 ครั้ง หรือในกรณีของไทยตองยื่นคํารองตอศาลเพื่อ ขอใหฝากขังผูตองหาไดไมเกินครั้งละ 12 วัน รวมทั้งหมดไดไมเกิน 84 วัน เปนตน ทั้งนี้ จํานวนระยะเวลาในการควบคุม ตัวและอํานาจในการดําเนินการขึ้นอยูกับกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของแตละประเทศเปนสําคัญ โดยในระหวางการ สอบสวน ผูตอ งหาสามารถจัดหาทนายความมารวมฟงการสอบสวนดวยก็ได หรือในคดีสําคัญหรือที่มีโทษสูง รัฐตองจัดหา ทนายให แตในกรณีของสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร ซึ่งปกครองดวยระบอบทหาร อํานาจสวนใหญจะอยูที่เจา พนักงานตํารวจ การสอบสวนโดยทั่วไปไมตองมีทนายความมารวมฟงการสอบสวน แตผูตองหาอาจมีทนายความให คําปรึกษาดานคดีไดแตตองวาจางเอง และในกรณีการสอบสวนเด็กหรือเยาวชนที่กระทําผิด กฎหมายไมไดบัญญัติใหตอง มีส หวิ ช าชี พ เข ามาร ว มสอบสวนแต อ ย างใด ซึ่ง แตกตา งจากประเทศสมาชิ กอาเซี ยอื่ น ๆ ที่มี นั ก จิ ตวิ ท ยา นั ก สั ง คม สงเคราะห และพนักงานอัยการเขามารวมสอบสวนดวย สําหรับการจับกุมผูตองหาพบวา ในกลุมประเทศอาเซียนตํารวจจะจับกุมผูตองหาได 2 กรณี คือ จับ ตามหมายจับที่ออกโดยศาล หรืออัยการสูยงสุด และจับโดยอาศัยเหตุซึ่งหนา โดยเหตุที่ออกหมายจับ และหมายคนเปนไป ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวของของแตละประเทศกําหนดไว เชน มีอัตราโทษจําคุกตั้งแตกี่ปขึ้นไป หรือมีเหตุอันควรเชื่อวา จะ หลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน 2) ขั้นตอนการฟองรองดําเนินคดี เมื่อฝายตํารวจไดรวบรวมพยานหลัก ฐานครบถวนสมบูรณ และมี หลักฐานพอฟองผูตองหาไดวา กระทําผิดจริง และทราบวา ผูใดเปนผูกระทําผิดโดยไมวาจะมีตัวผูตองหาอยูในความ ควบคุมหรือไมมีผูตองหาก็ตาม ฝายตํารวจจะสรุปสํานวนการสอบสวนสงสํานวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อดําเนินการฟอง คดีตอศาลที่รับผิดชอบ โดยมีกําหนดระยะเวลาในการที่จะตองยื่นฟองคดีใหทันเวลา ทั้งนี้ ขึ้นอยู กับอัตราโทษ เช น พนักงานอัยการใน สปป.ลาว ตองพิจารณาคดีใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 15 วัน หากเกินกวานั้น ถือวา เปนการกระทํา ที่ไมชอบดวยกฎหมาย ในขณะที่ พนักงานอัยการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามตองฟองคดีตอศาลใหเสร็จสิ้น ภายในระยะเวลา 20 วัน สําหรับความผิดที่กฎหมายบัญญัติไวใหมีโทษจําคุกเกินกวา 7 ป และภายในระยะเวลา 30 วัน สําหรับความผิดที่กฎหมายบัญญัติไวใหมีโทษจําคุกเกินกวา 7 ป จําคุกตลอดชีวิตและประหารชีวิต นับแตวันที่ไดรับ สํานวนการสอบสวน แตสามารถขอขยายเวลาในการฟองไดโดยขึ้นอยูกับอัตราโทษ ซึ่งพนัก งานอัยการจะมีหนาที่สําคัญ ไดแก การฟองคดีตอศาล การสั่งสอบสวนเพิ่มเติม และระงับคดี หรือระงับคดีชั่วคราว อยางไรก็ตาม ขั้นตอนการฟองคดีในบางประเทศ เชน ในสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมารฝายตํารวจมี หนาที่ในการฟองคดีโดยศาลสงสํานวนการสอบสวนพรอมตัวผูกระทําผิ ด (จําเลย) ตอศาล แตหากผูเสียหายฟองคดีเอง ศาลจะไตสวนมูลฟอง และในคดีที่ผูตองหาเปนเยาวชนจะมีผูพิพากษาสมทบเขารวมพิจารณาคดีดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 84
3) ขั้นตอนการตัดสินพิจารณาคดี การพิจารณาคดีในชั้นศาลจะเริ่มจากศาลชั้นตนในการพิจารณาอรรคดี ทั้งปวงที่พนักงานอัยการ หรือผูเสียหายไดยื่นฟองตอศาล โดยหากมีการพิพากษาลงโทษประการใดแลว หากฝายจําเลยไม พอใจคําตัดสินสามารถยื่นคํารองอุทธรณคดีตอศาลอุทธรณได ซึ่งมีกําหนดระยะเวลาในการยื่นคํารองไว เชน ภายใน 15 วัน ในกรณีของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือภายใน 30 วัน ในกรณีของประเทศไทยหรือมาเลเซีย นับแตวันที่ศาล มีคําพิพากษา โดยศาลมีอํานาจกลับคําพิพากษาหรือยืนตามคําพิพากษาศาลชั้นตนก็ได นอกจากนี้ หากศาลพบวา มีการ กระทํามิชอบดวยกฎหมาย หรือพบการกระทําที่ยังไมถูกลงโทษ คณะผูพิพากษาของประเทศมีอํานาจยกคดีขึ้นเพื่อ พิจารณาใหมได และหากผลของคําพิพากษาศาลอุทธรณเปนเชนไร คูความสามารถยกคดีขึ้นสูศาลสูงสุด หรือศาลฎีกาได คําพิพากษาศาลฎีกาถือเปนที่สุด และคําพิพากษาของศาลจะมีผลบังคับตามกฎหมาย เมื่อพนระยะเวลาอุทธรณ หรือฎีกา แลว 4) ขั้นตอนการรับโทษ และอภัยโทษ หลังจากที่ศาลไดตัดสินลงโทษและไมมีการอุทธรณหรือฎีกาในคดีแต ละลักษณะ จําเลยจะถูกบังคับคดีตามคําพิพากษา โดยในกรณีที่ถูกตัดสินลงโทษจําคุก หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือประหาร ชีวิต จําเลยจะถูกสงตัวไปจําคุกที่ฝายราชทัณฑบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา ซึ่งในหลายประเทศจะมีวธิ ีการ ปฏิบัติตอผูตองขังแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ ขั้นอยูกับสถานะทางเศรษฐกิจของประเทศ และการใหความสําคัญตอเรื่องสิทธิ มนุษยชน อยางไรก็ตาม ทุกประเทศจะมีการแยกประเภทผูตองขังเปนชายและหญิง ซึ่งรวมถึงสถานพินิจที่ควบคุมตัวเด็ก ดวย โดยในหลายประเทศเปดโอกาสใหผูตองขังขออภัยโทษไดขึ้นอยูกับความร ายแรงของคดี โทษที่ไดรับและความ ประพฤติของผูตองขัง นอกจากนี้ ในกรณีที่ประเทศมีความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญากับประเทศผูรองขอ และมีการขอรับตัวนักโทษกลับไปดําเนินการเอง ก็สามารถกระทําได นอกจากนี้ ประเทศในกลุมอาเซียนจะมีกระบวนการ ใหอภัยโทษได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับระบบการบริหารงาน ความรายแรงของความผิดและอัตราโทษที่ไดรับดวย
3. โทษทางอาญา การลงโทษในทางอาญาของประเทศอาเซียนมีหลายระดับขึ้นอยูกับความรายแรงของความผิด โดยเริ่มตั้งแต เบาไปหนัก ไดแก บริการสาธารณะ คุมประพฤติ ใชแรงงาน ปรับ ริบทรัพย กักขัง จําคุกตลอดชีวิต และประหารชีวิต โดย ในบางประเทศอาจมีโทษแบบอื่น ๆ เชน การเฆี่ยน ในประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร สําหรับความผิดบางประเภทที่ ตองการใหเกิดความหลาบจํา แตในหลายประเทศ แมวา ผูกระทําผิดจะถูกตัดสินประหารชีวิตก็ตาม แตในทางปฏิบัติยังคง ใหรอโทษดังกลาวโดยใหจําคุกตลอดชีวิตไวกอน โดยอาจมีสาเหตุมาจากการอยูระหวางแกไขกฎหมาย หรือประเด็นเรื่อง สิทธิมนุษยชนและศาสนา เชน ในกรณีของ สปป.ลาว ไมไดมีการลงโทษประหารชีวิตมาเปนเวลานานพอสมควรแลว แต สํ า หรั บ กรณี ข องประเทศไทยศาลมี อํ า นาจในการสั่ ง โทษได แต ใ นเรื่ อ งการให อ ภั ย โทษเป น พระราชอํ า นาจของ พระมหากษัตริย นอกจากนี้ ในบางประเทศจะพบวา จํานวนคดีที่ขึ้นสูศาลอาจไมมากนัก เนื่องจาก มีกระบวนการไกลเกลี่ย เขามาชวยในการประนีประนอมระหวางคูพิพาทโดยใชกลไกของการบริหารราชการสวนทองถิ่น หรือทางฝายปกครอง เชน ตําบลหรือหมูบาน เขามาชวยในการยุติคดี ซึ่งพบมากในประเทศที่ความขัดแยงไมสูงมากนัก เชน กรณีของ สปป.ลาว เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 85
4. หลักเกณฑความรับผิดทางอาญา หลั ก เกณฑ ก ารได รั บ ความคุ ม ครองสิ ท ธิ ใ นฐานเด็ ก หรื อ ผู เ ยาว ซึ่ ง พบว า หลายประเทศในอาเซี ยนมี หลักเกณฑเรื่องอายุเขามาเกี่ยวของในการรับผิดและรับโทษทางอาญาโดยมีชวงอายุหนึ่งที่แมวา กระทําผิดแตไมตองรับ โทษ เชน อายุต่ํากวา 7 ป หรือ 15 ป หรือมีอายุต่ํากวา 18 ป ซึ่งอยูในขายเปนเยาวชนและกระทําผิดแตไมตองเขาสู กระบวนการพิจารณาคดีแบบผูใหญ หรือผูที่บรรลุนิติภาวะแลว โดยจะมีกระบวนการพิจารณาคดี และการลงโทษเปนการ เฉพาะเพื่อใหเหมาะสมตอสภาพทางรางกายและจิตใจ เชน การคุมตัวไวในสถานพินิจ และคุมครองเด็กและเยาวชน และมี การบําบัด ฟนฟู เยียวยา และฝกอบรม เพื่อใหสามารถกลับคืนสูสังคมไดอยางเปนปกติสุขและปลอดภัย ซึ่งในเรื่อง ดังกลาวพบวา มีกฎหมายและหนวยงานรับผิดชอบเปนการเฉพาะในเกือบทุกประเทศ ยกเวนในสาธารณรัฐแหงสหภาพ เมียนมาร
สภาพปญหาของกระบวนการยุติธรรมไทยในการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองเสรีภาพ ของบุคคลในประเทศไทย การเตรียมความพรอมดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในฐานกลไกที่ทํา หนาที่สนับสนุนความ รวมมื อรัฐ ระดับองคกร หรื อระดั บบุค คล จึงเป นเรื่ องที่ มีความสํา คัญในลําดั บตน ๆ ที่จะช วยใหการเปน ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียนสัมฤทธิ์ผลตามที่วางไว สําหรับประเทศไทยที่ผานมา กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย มักไดรับคําวิจารณวา ขาดประสิทธิภาพ ทั้งในดานการบัง คับใช กฎหมาย และการคุม ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของบุค คลที่ ไ มเปน ไปตามหลัก สากล อีกทั้ งเป น กระบวนการยุติธรรมที่มีความลาชา ซึ่งผลที่ตามมา คือ ไมสามารถอํานวยความยุติธรรมทําใหผูตองหา หรือจําเลยตองถูก คุมขังเปนเวลานาน ผูเสียหายก็ไมไดรับการชดใชเยียวยาทันทวงที นอกจากนี้ ในการพิจารณาคดีของศาลชั้นตน คดีสวน ใหญจะพิจารณาเสร็จภายใน 1 ป แตก็มีคดีอีกจํานวนมากที่มีระยะเวลาการพิจารณาเกิน 1 ป และมีบางคดีที่ใชระยะเวลา พิจารณาถึง 5 ป ซึ่งการใหความยุติธรรมที่ลาชา ก็คือ การปฏิเสธความยุติธรรม (Justice delayed, Justice denied) ในปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่ใชในการปราบปรามอาชญากรรมอยูหลายฉบับ นับตั้งแตประมวลกฎหมาย อาญา พระราชบัญญั ติยาเสพติ ดใหโทษ พระราชบั ญญัติอาวุธ ปน ฯลฯ พระราชบั ญญัติปองกั นและปราบปรามการ คาประเวณี พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พระราชบัญญัติการพนัน เปนตน แตกฎหมายเหลานี้ไดตราขึ้นเพื่อบังคับใชแก การประกอบอาชญากรรมของปจเจกบุคคล หรือการประกอบอาชญากรรมที่มีการสมคบกันในกรณีธรรมดาทั่ว ๆ ไป แต ไมใชการประกอบอาชญากรรมที่มีลักษณะเปนองคกรอาชญากรรมขามชาติ เมื่อนํากฎหมายที่มีอยู ดังกลาวมาบังคับใช ดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติ จึงมักจะไมคอยสัมฤทธิ์ผลเทาที่ควร สําหรับตัวอยางผลกระทบของประชาคมอาเซียน ที่อาจมีตอระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของประเทศไทยนั้น ไดแก ปญหาแรงงานตางดาว ทั้งที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมาย และที่ลักลอบมาเปนแรงงานเถื่อน การ เคลื่อนยายแรงงานระหวางประเทศนี้ มีความสัมพันธกับกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ตองการจะขยายการลงทุน และการคาระหวางประเทศสมาชิก ในสวนแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายนั้น ประเทศไทยอาจจะตองพิจารณา เนื้อหากฎหมายแรงงานที่บังคับใชในปจจุบันวา สอดคลองกับประเทศอื่น ๆ หรือไม พรอมทั้งเจรจากับประเทศที่มี มาตรฐานการคุมครองแรงงานต่ํากวาประเทศไทย ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการปรับปรุงมาตรฐานการคุมครองแรงงานไทยใน ตางประเทศดวย สําหรับแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมายนั้น เป นเรื่องที่ตองใหความสําคัญเปนพิเศษประการ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 86
หนึ่ ง และเป น ประเด็ น ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมาธิ ก ารสหประชาชาติ ว า ด ว ยการป อ งกั น อาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา สมัยที่ 21 นอกจาก ปญหาการเขาประเทศโดยผิดกฎหมายแลว การรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนดังกลาวเกิดขึ้นใน ชวงเวลาของความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในภูมิภาค ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง รวมทั้งสังคมและวัฒนธรรม ทําให ปญหาตาง ๆ ที่เคยเปนปญหาระดับชาติ อาทิ ปญหาการคามนุษย อาชญากรรมขามชาติ ไดขยายวงกวางขึ้นเปนปญหา ระหวางประเทศ ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ประเทศสมาชิก จะตองมีการปรับตัวใหเขากับสถานการณ ตลอดจนพัฒนา ศักยภาพในการรับมือกับปญหา และความทาทายในประเด็นตาง ๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อสรางความแข็งแกรง และอํานาจ ตอรองรวมกัน ทั้งนี้ อาจแยกพิจาณาปญหาในการดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทยใหเห็นอยาง ชัดเจนได ดังนี้
1. การสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน
ในกรณีที่องคกรอาชญากรรมขามชาติเปนผูประกอบอาชญากรรม เชน การลักลอบคายาเสพติด การสืบสวน สอบสวน รวบรวมขอมูลตาง ๆ ที่ใชเปนพยานหลักฐานในการดําเนินคดี สวนมากจะไดจากสายลับ หรือผูหวังดีที่แจงขาว ในทางลับ บางครั้งตองมีการใชวิธีการลอซื้อ แตผูกระทําความผิดที่อยูในองคกรอาชญากรรมเหลานั้น มักมีการติดตามขาว ของเจาหนาที่อยูตลอดเวลา ทั้งมีความชํานาญและไหวตัวทัน ทําใหยากแกการจับกุม หรืออาจจับกุมไดแตตัวผูคารายยอย ที่อยูปลายแถวเทานั้น ไมสามารถสาวไปถึงตัวการใหญได เพราะหากจะจับตัวการใหญ หรือทั้งเครือขาย เจาหนาที่ตองใช เทคนิคการสืบสวนสอบสวนพิเศษ เชน การจัดสงภายใตการควบคุม (controlled delivery) ซึ่งหมายถึง การที่เจา พนักงานยอมใหมีการสงมอบสิ่งผิดกฎหมาย เชน ยาเสพติด จากผูกระทําความผิดรายหนึ่งไปสูผูกระทําความผิดรายอื่น ๆ โดยยังไมเขาจับกุม เพื่อสืบหาใหถึงตนตอ หรือบุคคลผูอยูเบื้องหลัง การเจรจาตอรองใหผูตองหาใหการรับสารภาพ และ ซัดทอดถึงผูรวมกระทําความผิดรายใหญที่อยูเบื้องหลัง (plea bargaining) การใชเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสติดตาม สะกด รอย และการดักฟงทางโทรศัพท (wiretapping) ซึ่งรวมถึงการเจาะขอมูลทางคอมพิวเตอร แตการใชเทคนิคการสืบสวน สอบสวนพิเศษนั้น เจาหนาที่ทําไมได ทั้งนี้ เพราะกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบัน ยังไมมีบทบัญญัติใหอํานาจแกเจาพนักงานไว จึงทํา ใหการสืบ สวนสอบสวนรวบรวมพยานหลั กฐาน เพื่ อดําเนินคดี แกอ งคกรอาชญากรรมข ามชาติไม คอยประสบ ผลสําเร็จเทาที่ควร อยางไรก็ตาม ภายหลังจากที่ไดมีการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ซึ่งมีบทบัญญัติใหอํานาจแกเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) ในการ 15 ดักฟงโทรศัพท หรือเขาถึงขอมูลทางการสื่อสาร และคอมพิวเตอรไดโดยไดรับอนุญาตจากศาลเพงกอน ผลปรากฏวา เจ า หน า ที่ ตํ า รวจสามารถจั บ กุ มผู ค า ยาเสพติ ด ได เ พิ่ มมากขึ้ น ซึ่ ง เป น ผลมาจาการใช วิ ธี ก ารดั ก ฟ ง ทางโทรศั พ ท ต าม บทบัญญัติของกฎหมายฉบับดังกลาว แตการที่จะนําบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวมาใชยังมีขอจํากัดอยูมาก กลาวคือ จะตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการฟอกเงินเทานั้น ดังนั้น หากเปนการกระทําความผิดที่ไมเกี่ยวกับการฟอกเงิน เจา พนักงานไมอาจนําวิธีการตามกฎหมายดังกลาวมาใชบังคับแกองคกรอาชญากรรมขามชาติได
2. การดําเนินคดีในชั้นศาล
การดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทยในปจจุบัน ยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใด ๆ เพื่อใชเปนกรณีพิเศษ วิธีพิจารณาคดีก็ใชเหมือนกับคดีทั่ว ๆ ไป เริ่มตั้งแตการฟองคดีจําเลยมีสิทธิที่จะไดรับการประกันตัว ออกไปสูคดี การพิสูจนความผิดเปนภาระหนาที่ของโจทก (อัยการ) ที่จะตองนําพยานหลักฐานมานําสืบพิสูจนการกระทํา ความผิดของจําเลยตอศาล เพื่อใหศาลเชื่อวา จําเลยไดกระทําความผิดจริง หรือจําเลยมีสวนเกี่ยวของในขั้นตอนที่สําคัญ 15
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 46.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 87
ในการกระทําความผิดนั้น ซึ่งกระทําไดยากมาก เพราะองคกรอาชญากรรมขามชาติมีเงินทุนมาก มีเครือขายกวางขวาง สามารถใชเงิน และอํานาจอิทธิพลขององคกรเขาขัดขวางการดําเนินคดีไดทุกขั้นตอน เชน ขมขูพยานมิใหมาใหการเบิก ความตอศาล หรือจางพยานใหใหการเท็จ จนถึงกําจัดพยานเพื่อตัดตอน มิใหพาดพิงถึงตัวการใหญ ติดสินบนเจาหนาที่ ผูเกี่ยวของเพื่อจัดทํา หรือรับรองพยานหลักฐานเท็จ หรือทําลายพยานหลักฐานที่สําคัญในคดี จนกระทั่ง ผูเสียหาย และ พยานบุคคลเสียขวัญไมกลามาใหการเปนพยานในศาล กฎหมายที่มีอยูในขณะนี้ ยังไมสามารถที่จะใหความชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย และพยานในคดีไดอยาง เต็มที่และเปนทางการ เพราะประเทศไทยยังไมมีกฎหมายคุมครองพยานออกมาบังคับใช สวนการขมขูพยาน จางพยานให การเท็จ และการกําจัดพยานบุคคลหรือพยานอื่น ตลอดจนการติดสินบนเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมเปนเพียง ความผิดทางอาญาในเรื่องนั้น ๆ (เชน ฐานขมขืนใจผูอื่นใหกระทําการใด ๆ กระทําการใหผูอื่นเกิดความตกใจกลัว ทําราย รางกาย ฆาผูอื่น เอาไปเสียซึ่งเอกสาร ใหสินบนเจาพนักงาน ฯลฯ) แตยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายที่กําหนดความผิด ฐานขัดขวางความยุติธรรมเปนการเฉพาะแตอยางใด จึงเปนสาเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหการดําเนินคดีแกองคกร อาชญากรรมขามชาติไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร
3. การดํ า เนิ น คดี แ ก ผู อ ยู เ บื้ อ งหลั ง องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ และนิ ติ บุ ค คลขององค ก ร อาชญากรรมขามชาติ
องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ มั ก มี ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมผิ ด กฎหมายภายใต อ งค ก รที่ มี ก ารจั ด โครงการ สลับซับซอน และมีการเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย โดยมีบุคคลที่มีอํานาจอิทธิพลกวางขวางเปนหัวหนา มักจะมีการ ประกอบธุรกิจที่ถูกกฎหมายไวบังหนา โดยจะมีสมาชิกขององคกรในระดับรองลงมาเปนผูดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย และ ประกอบอาชญากรรมภายใต ก ารสั่ ง หรื อ ความเห็ น ชอบจากหั ว หน า องค ก รอย า งลั บ ๆ ตั ว อย า งของกลุ ม องค ก ร อาชญากรรมขามชาติที่เขามาปฏิบั ติการในประเทศไทย ไดแก กลุ มมาเฟยเยอรมั น ซึ่งมีหลายแกง ๆ ใหญที่สุด คื อ “โรธา” มีการดําเนินการเปดสํานักงานทนายความบังหนา แทจริงมีธุรกิจผิดกฎหมายปลอมพาสปอรตและวีซา นํ า 16 ยาเสพติดมาจําหนายใหบารเบียร และคาหญิงโสเภณีในยานพัฒนพงษ และพัทยา จะเห็นไดวา ถึงแมจะมีการประกอบธุรกิจที่ผิดกฎหมาย หรือมีการประกอบอาชญากรรมโดยสมาชิกของกลุ ม องคกรอาชญากรรมดังกลาว แตการกระทําของหัวหนาองคกรที่อยูเบื้องหลังการประกอบอาชญากรรมนั้น กลับไมเปน ความผิด หรือไมถูกนําตัวมาดําเนินคดี เนื่องจาก ในปจจุบันนี้กฎหมายไทยบัญญัติความผิดแกการมีสวนรวมเฉพาะใน ความผิดบางฐานเทานั้น เชน ความผิดฐานสมคบกันเปนกบฏ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 114 ความผิดฐานเปน อั้งยี่ และฐานซองโจร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 และ 210 ซึ่งความผิดฐานเปนอั้งยี่และซองโจรนั้น มี ขอจํากัดอยูมาก กลาวคือ ความผิดฐานเปนอั้งยี่นั้นไดกําหนดไววา สมาชิกหรือหัวหนาหรือผูที่มีตําแหนงในคณะบุคคล ซึ่ง ปกปดวิธีดําเนินการนั้น จะตองมีความมุงหมายเพื่อการอันมิชอบดวยกฎหมาย แตมิไดระบุวาเรื่องใด ทําใหขอบเขตของ ความผิดฐานนี้กวางมากเกินไป และหาพยานหลักฐานมาพิสูจนความผิดไดยาก ในทางปฏิบัติ จึงมีการฟองคดีนอยมาก สวนความผิดฐานซองโจรนั้น กําหนดองค ประกอบความผิดแคบเกินไป กลาวคือ ตองมีการสมคบกันตั้งแตหาคนขึ้นไป และเพื่อกระทําความผิดเฉพาะที่บัญญัติไวในภาค 2 แหงประมวลกฎหมายอาญาที่มีกําหนดโทษจําคุกอยางสูงไวตั้งแตหนึ่ง ปขึ้นไปดวย จึงไมอาจนํามาใชบังคับแกการดําเนินคดีกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งมีการประกอบอาชญากรรมอยาง กวางขวางในหลายความผิดทั้งในประมวลกฎหมายอาญา และตามกฎหมายอื่นดวย นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาเพื่อดําเนินธุรกิจถูกกฎหมายบังหนาแตมีการประกอบธุรกิจนอก กฎหมายอยูเบื้องหลังนั้น ถึงแมแนวความคิดของนักกฎหมายไทย แนวคําพิ พากษาของศาลฎีกาจะเห็นพองกันวา นิติ 16
ขอมูลจากหนังสือพิมพมติชนรายวัน, ฉบับวันที่ 10 มิถุนายน 2545.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 88
บุคคลมีความรับผิดทางอาญาได ทั้งนี้ เพราะนิติบุคคลสามารถแสดงเจตนา และกระทําการภายในวัตถุประสงคของนิติ บุคคลนั้น โดยผานทางผูแทนของนิติบุคคล เมื่อนิติบุคคลมีการแสดงเจตนากระทําการอันเปนความผิดตอกฎหมายการ กระทํานั้น ยอมเปนความผิด และนิติบุคคลนั้นยอมตองรับผิดทางอาญาก็ตาม แตโทษที่จะลงแกนิติบุคคลนั้นจะลงไดเพียง เทาที่ลักษณะแหงความผิดจะเปดชองใหลงแกนิติบุคคลได ซึ่งตองพิจารณาตามลักษณะความผิดพฤติการณแหงการ กระทํา และอํานาจหนาที่ของผูแทนนิติบุคคลประกอบกับวัตถุประสงคข องนิติบุคคลเปนราย ๆ ไป ทั้งนี้ ตามนัยคํา พิพากษาฎีกาที่ 787-788/2506 ประชุมใหญ ซึ่งมีเพียงโทษปรับและริบทรัพยสินเทานั้น ทั้งที่ตามสภาพแลว จะนํามา ลงโทษแกนิติบุคคลได และที่สําคัญ คือ มีกฎหมายบางฉบับไดบัญญัติการลงโทษแกนิติบุคคลโดยเฉพาะ โดยผูจัดการ หรือ ผู แ ทนอื่ น ที่ ก ระทํ า การภายในของวั ต ถุ ป ระสงค ข องนิ ติ บุ ค คลนั้ น ไม ต อ งรั บ ผิ ด เป น การส ว นตั ว แต อ ย า งใด เช น พระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. 2497 มาตรา 14 บัญญัติหามมิใหผูไดรับใบอนุญาตการขนสงสาธารณะเขาทําการ ขนสงในเสนทางใดในลักษณะที่เปนการแขงขันกับผูไดรับใบอนุญาตการขนสงประจําทางในเสนทางนั้น (ซึ่งผูที่จะขอ ใบอนุญาตการขนสงสาธารณะประจําทางไดตามกฎหมายนี้ ตองเปนนิติบุคคลเทานั้น) ดังนั้น ผูที่มีความผิดตามมาตรานี้ได คือ นิติบุคคลผูรับใบอนุญาตฯ มิใชผูขับรถยนตหรือกรรมการ หรือผูจัดการ ของบริษัทเดินรถ ทั้งนี้ ตามนัยคําพิพากษาฎีกาที่ 674/2540 จึงเปนชองทางใหองคกรอาชญากรรมขามชาติ ถือโอกาส จัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาประกอบธุรกิจบังหนา แตเบื้องหลังนั้น กลับใชนิติบุคคลทํากิจการนอกกฎหมาย เมื่อถูกจับไดจะถูก ลงโทษปรับหรือริบทรัพยสิน สวนตัวผูประกอบอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนผูแทนนิติบุคคลนั้นหลุดพนความรับผิด กลับไปสรางความเสียใหแกประเทศไทยอยูทุกวันนี้ ตัวอยาง แกงมาเฟยเดนมารกที่เปนอดีตนายธนาคารหลบหนีคดี ฉอโกง และยักยอกเงินเขามาตั้งบริษัทขายสินคาทางไปรษณีย เมื่อมีผูสั่งซื้อสินคาจายเงินแลวไมสงสินคาให และแกงชาว 17 จีนที่เขามาเปดบริษัททองเที่ยวบังหนาแตเบื้องหลัง คือ “แกงคาลูกหมู” เปนตน
4. การบังคับใชโทษริบทรัพยสิน
เมื่อสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติถูกจับกุมดําเนินคดี โทษที่จําเลยจะถูกบังคับ ไดแก โทษจําคุก หรือโทษปรับ และอาจมีโทษริบทรัพยสินดวย โดยโทษริบทรัพยสินตามกฎหมายในปจจุบันนั้น มีขอจํากัดคอนขางมาก ศาลจะลงโทษริบทรัพยสินไดเฉพาะตามที่ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 33 และ 34 หรือตามที่มีกฎหมายอื่น ๆ บัญญัติไวเทานั้น ซึ่งแยกพิจารณา รายละเอียดไดดังนี้ 1. ทรัพยสินที่ผูใดทํา หรือมีไวเปนความผิด โดยมากมักเปนทรัพยสินที่มีลักษณะผิดกฎหมายในตัวเอง เชน อาวุธปนเถื่อน ยาเสพติด วัตถุสิ่งพิมพลามกอนาจาร 2. ทรัพยสินที่บุคคลไดใช หรือมีไวเพื่อใชในการกระทําความผิด หรือทรัพยสิน ซึ่งบุคคลไดมาโดยการ กระทําความผิด ซึ่งมักจะเปนทรัพยที่มีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิด เชน อาวุธที่ใชฆาผูอื่น สินคาที่ไดมาจากการ ละเมิดลิขสิทธิ์ เปนตน 3. ทรัพยสินซึ่งไดในมาตรา 143, 144, 149, 150, 167, 201 และ 202 คือ สินบนที่ใหเกี่ยวกับความผิดตอ เจาพนักงาน หรือทรัพยสินที่ไดใหเพื่อจูงใจบุคคลใหกระทําความผิด หรือเปนรางวัลในการที่บุคคลไดกระทําความผิด
4. การริบทรัพยในกฎหมายอื่น ๆ
จะเห็นไดวา ทรัพยสินที่ศาลจะสั่งใหริบไดนั้น จะตองเปนทรัพยที่เปนความผิดอยูในตัวเอง หรือเปน ทรัพยที่มีไว หรือใช หรือไดมา หรือมีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิดโดยตรงอยางใกลชิ ด เทานั้น แตถาเปนทรัพย 17
ขอมูลจากหนังสือพิมพมติชนรายวัน, ฉบับวันที่ 2 กันยายน 2545.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 89
ขององคกรอาชญากรรมขามชาติ หากไมใชทรัพยที่เปนความผิดอยูในตัวเอง หรือเปนทรัพยที่จําเลยมีไว หรือใชหรือไดมา หรือมีความเกี่ยวของกั บการกระทําความผิดโดยตรงอยางใกลชิดแล ว ถึงแม จะเปน ทรัพยสิ นที่ไดมาจากการกระทํ า ความผิดแตไดถูกแปรสภาพไป หรือถูกเปลี่ยนรูปไปเปนทรัพยสินอื่น หรือเปนทรัพยสินขององคกรอาชญากรรมที่พรอมจะ นํามาใชกระทําความผิดอยางใดอยางหนึ่งในอนาคต หากแตยังมิไดมีการกําหนดไวอยางชัดเจนวา จะนําไปใชกระทํา ความผิดใด เมื่อใดนั้น ยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใดใหศาลพิพากษาริบแตอยางใด จึงเปนเหตุใหองคกรอาชญากรรม ขามชาติ ยังคงมีทรัพยสินในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมายประกอบอาชญากรรม และขยายเครือขายตอไปได ถึงแมจะมี สมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติบางสวนถูกจับดําเนินคดีก็ตาม อนึ่ง เมื่อสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติถูก จับกุมดําเนินคดี พนักงานอัยการไมอาจมีคําขอให ศาลริบทรัพยสินอื่น ๆ ขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่ไดมาจากการกระทําความผิดแตไดถูกแปรสภาพหรือถูกเปลี่ยน รูปไป หรือทรัพยสินที่เปนเงินทุนในการดําเนินการขององคกรอาชญากรรมใหตกเปนของแผนดินได เนื่องจาก ไมใช ทรัพยสินที่ประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น ๆ บัญญัติใหอํา นาจศาลพิจารณาริบได ทั้งนี้ การขอใหศาลสั่งริบ ทรัพยสินตามประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายตาง ๆ นั้น สวนมากเปนโทษที่มีลักษณะเปนมาตรการทางอาญา ซึ่ง โดยปกติแลวจะตองมีการพิสูจนความผิดของผูกระทํากอน จึงจะบัง คับโทษได และลักษณะของทรัพยสินที่จะถูกริบ จะตองเปนทรัพยสินที่เกี่ยวของโดยตรงกับการกระทําความผิด แตถาทรัพยสินนั้นถูกแปรสภาพไปแลว กลายสภาพเปน 18 ทรัพยสินอื่นที่ศาลจะไมริบ
ปญหาและอุปสรรคของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาทั่วไปของไทย ประการแรก
ปญหาการขาดความรูความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพ กลาวคือ ในสวนของประชาชนเอง ซึ่งไมไดตระหนักถึงสิทธิบุคคลขั้นพื้นฐาน ของตนเอง และในสวนของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งไมเขาใจเจตนารมณที่แทจริงของระบบงาน ยุ ติ ธ รรมทางอาญา จึ ง ทํ า ให ก ระบวนการประชาธิ ป ไตย และหลั ก สิ ท ธิ มนุ ษ ยชนยั ง ไม เขมแข็งเทาที่ควร ประการที่สอง ปญหาเกี่ยวกับผูบังคับใชกฎหมายไมปฏิบัติหนาที่อยางจริงจัง โดยมีการเลือกปฏิบัติ ซึ่ง บางครั้งอาจเกี่ยวขอ งกับผลประโยชนสวนตัว หรือของบุค คลบางกลุ มทําใหระบบงาน กระบวนการยุติธรรมไมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางแทจริง ประการที่สาม ปญหาขอกฎหมายบางเรื่องไมมีความชัดเจน และมีความขัดแยงกัน อันเนื่องมาจากการมี กฎหมายบังคับใชในเรื่องเดียวกันหลายฉบับ ซึ่งมีการตราขึ้นในชวงและในสถานการณที่ แตกตางกัน จึงทําใหการบังคับใชกฎหมายเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพตามไปดวย ประการที่สี่ ปญหาการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่ไมตอเนื่องโดยเฉพาะอาชญากรรมที่มี ลักษณะเปนเครือขายขามชาติ ทําใหเกิดการกระทําความผิดในรูปแบบดังกลาวในอัตราที่ สูงขึน้ อยางตอเนื่อง
ปญหาและอุปสรรคในดานความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา ประการแรก
18
กฎหมายที่เกี่ยวของกับคดียาเสพติด คดีการคามนุษยขามชาติ คดีหลบหนีเขาเมือง และคดี ฉอ โกงนั้ น มีค วามแตกต างกั น ในสาระสํ าคั ญของกฎหมายและวิธี ปฏิ บั ติค อนขา งมาก
วีระพงษ บุญโญภาส, อาชญากรรมคาหญิง คาเด็ก กับกฎหมายปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน , บทบัณฑิตย เลมที่ 56 ตอน 2 มิถุนายน 2543, หนา 241-215.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 90
โดยเฉพาะการกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานในการดําเนินการ ซึ่งในบางประเทศมี กฎหมายเฉพาะในการนํ ามาใชพิ จารณาคดี ดัง กล าว แตบ างประเทศใชบ ทบั ญญั ติต าม กฎหมายอาญาทั่วไปของประเทศเปนหลักในการพิจารณาคดี ประกอบกับบางประเทศยัง ไมมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือระหวางประเทศและสนธิสัญญาระหวาง ประเทศวาดวยเรื่องนั้น ๆ เชน สนธิสัญญาการสงผูรายขามแดน หรือสนธิสัญญาการโอนตัว นักโทษ ทําใหการบังคับใชกฎหมายในเรื่องการตรวจคนจับกุม สืบสวนและสอบสวน และ ขั้นตอนในกระบวนการพิจารณาคดีแตกตางกันออกไป ประการที่สอง การใชชองทางทางการทูตซึ่งเปนชองทางปกติในกรณีที่ประเทศผูรองขอ และผูรับคํารองขอ ไมมีสนธิสัญญาระหวางกัน ไมมีความแนนอนขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐบาลและผลประโยชน ตางตอบแทนของแตละประเทศ โดยเฉพาะในกรณีที่ผูกระทําความผิดเปนประชาชนใน ประเทศของตน ที่ จะต อ งถู ก ส ง ตั ว ไปรั บ การพิ จารณาตั ด สิ น คดี แ ละต อ งรั บ โทษในอี ก ประเทศหนึ่ง ก็จะตองไดรับการพิจารณาจากรัฐบาลหรือมีกฎหมายที่บัญญัติไววาหามมิให สงตัวผูกระทําผิด ซึ่งเปนประชาชนในประเทศของตนไปรับโทษในตางประเทศ ทําใหกรณี ดังกลาวนั้น เปนปญหาตอการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติเปนอยางมาก ประการที่สาม ขอจํากัดดานอธิปไตยทางกฎหมายของแตละประเทศ ความแตกตางในดานฐานความคิด วิธีพิจารณาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญายังคงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกระบวนการ สรางความรวมมือระหวางประเทศเปนไปดวยความลาชาและไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร จึงมีความจําเปนที่จะตองใชชองทางอื่น ๆ ทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติเพื่อสรางความ รวมมือแบบไมเปนทางการ เพื่อใหเกิดประสิทธิผลมากขึ้น เชน หัวหนาตํารวจอาเซียน และ การประชุมทวิภาคีกับเพื่อนบาน เพื่อชวยใหการปองกันปราบปรามเกิดประสิทธิภาพมาก ขึ้น ประการที่สี่ มาตรการทางกฎหมายในการจัดการกับคนตางดาวหลบหนีเขาเมือง เชน พระราชบัญญัติ คนเขาเมือง พ.ศ. 2522 ใหอํานาจแกเจาพนักงานในการใชดุลพินิจในการผลักดันออก ประเทศโดยไมผานชองทางของการสงผูรายขามแดน เชน การเพิกถอนวีซา โดยใหเหตุผล ว า จะเป น ภั ย ต อ ความมั่ น คง ผู ต อ งหาก็ จ ะไม ถู ก พิ ม พ ล ายนิ้ ว มื อ ซึ่ ง เท า กั บ ทํ า ให กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไมสามารถจัดการกับปญหานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพและมี โอกาสที่จะเปนชองทางใหเกิดการทุจริตได
ปญหาและอุปสรรคของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีกรอบความรวมมือในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ชัดเจนมากขึ้นใน หวง 10 ปที่ผาน แตดวยลักษณะของความเปนรัฐที่กําลังพัฒนา และมีรูปแบบการเมืองการปกครอง และแนวนโยบายของ รัฐที่แตกตางกัน19 ทําใหการพัฒนาแนวทางความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคคอนขางลาชาไมสามารถกาว ทันกับรูปแบบการกระทําผิดสมัยใหมขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่เติบโตอยางรวดเร็วได โดยสามารถวิเคราะห ปญหาและอุปสรรคของความรวมมือในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ไดดังนี้
19
Keling, M.F. (2011). The development of ASEAN from historical approach.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 91
ประการแรก
การไมมีหลักกฎหมาย หรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคทีจ่ ะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะ พิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติที่ไดกระทําลงในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณี ความผิดที่มีถูกเริ่มตนกระทําในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําในอีกประเทศหนึ่ง และมี ค วามเสี ย หาย หรื อ ผลกระทบเกิ ด ขึ้ น ในอี ก หลายประเทศ แม ว า อาเซี ย นจะมี สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา แตในทางปฏิบัติยัง เปนไปดวยความลาชา อันเนื่องมาจากอุปสรรคดานภาษา ความแตกตางของกฎหมายในแง ของวิธีปฏิบัติ และดานขอมูล20 นอกจากนี้ มีเพียงบางประเทศในอาเซียนที่มีสนธิสัญญาวา ดวยการสงผูรายขามแดน และความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาระหวางกัน ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการนํา ตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ ขึ้นอยูกับนโยบายของแตละรัฐเปนสําคัญ21 เชน กรณีที่การวางแผน การสมคบคิด และการ ลงมือกระทําผิดอยูคนละประเทศ ศาลของประเทศใดควรจะมีอํา นาจในการรับฟอง และ พิจารณาคดีดวยเหตุผลใด เปนตน
ประการทีส่ อง
การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหวางประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนดวยกั นยังไม มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีที่ ประเทศไทยขอความ ชวยเหลือทางอาญาไปยังประเทศเพื่อนบานในอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากสนธิสัญญาระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือทาง อาญาและการส ง ผู ร า ยข า มแดน ซึ่ ง ในป จ จุ บั น ยั ง ไม ค รอบคลุ มทุ ก ประเทศ ทํ า ให ไ ม มี พันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ 22 หรือหากเปน การรองขอความชวยเหลือระหว างประเทศผานชองทางทางการทูต ก็ไมมีความแนนอน ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชน ตางตอบแทนเปนสําคัญ พบวา การกระทําผิด ของประชากรที่มาจากกลุมประเทศอาเซียนจะเปนเรื่องการหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมายเปนสวนใหญ ซึ่ งหนวยงานบังคับใชกฎหมายสามารถใช กฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิดเหมือนองคกรอาชญากรรมจากเอเชีย หรือแถบ ยุโ รป หรื อเปน ลัก ษณะที่ ผู กระทํา ความผิ ดมาจากประเทศในแถบอื่ น ๆ ของโลกมาใช ประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน การ ฉอโกงทางคอมพิวเตอร กลุมผูกอการรายขามชาติ กลุมยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธ ขามชาติ เปนตน ความไมเพียงพอของกฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยู เนื่องจาก การดําเนินคดีกับ อาชญากรรมข า มชาติ โดยเฉพาะที่ จั ด ตั้ ง ในลั ก ษณะองค ก รมี ค วามสลั บ ซั บ ซ อ น และ
ประการทีส่ าม
20
ประพันธ นัยโกวิท และประธาน จุฬาโรจนมนตรี. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการพัฒนา กฎหมายความรวมมือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญา. วารสารนิติศาสตร 33(3), 542-552 21 Emmers, R. (2003). The threat of transnational crime in Southeast Asia: Drug trafficking, human smuggling and trafficking, and sea piracy. Discussion Papers. Institute of Defence and Strategic Studies (IDSS), Singapore 22 สุนิสา สถาพรเสริมสุข. สัมภาษณเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ สํานักงานการตางประเทศ สํานักงานอัยการสูงสุด.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 92
ประการทีส่ ี่
ประการทีห่ า
23
เชื่อมโยงในลักษณะเครือขายเกี่ยวเนื่องกันในหลายประเทศ ทําใหตองใชเทคนิควิธีการ สืบสวนสอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานเปนกรณีพิเศษ หากแตกฎหมายภายในทีใ่ ชใน แตละประเทศ โดยมากมีวัตถุประสงคเพือ่ บังคับใชแกการประกอบอาชญากรรมของปจเจก บุคคล หรื อการประกอบอาชญากรรมที่ มี การสมคบกันในกรณี ธรรมดาทั่ วไป ทํ าใหไ ม สามารถเอาผิดกับตัวผูกระทําผิดที่อยูเบื้องหลัง ซึ่งมักมีการประกอบธุรกิจถูกกฎหมายบัง หนาได นอกจากนี้ หลายประเทศยังไมมีกฎหมายปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ที่ใหอํานาจพิเศษแกเจาพนักงานในการสืบสวนสอบสวน เชน การดักฟงโทรศัพท (wire tapping) การใชสายลับในการสืบสวน (undercover operation) การใชอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสสะกดรอย (intelligence by electronic devices) การจัดสงภายใตการ ควบคุม (controlled delivery) รวมถึงการบัญญัติโทษริบทรัพยสินที่ยังมิไดใชในการ กระทําผิด หรือมีไวเพื่อกระทําผิด หรือพรอมที่จะใชกระทําความผิดอยางหนึ่งอยางใดใน อนาคต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ใชในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย ประกอบอาชญากรรม และขยายเครือขายขององคกรอาชญากรรมขามชาติ23 การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาที่มักพบได ในหลายประเทศในอาเซียน แอฟริกา และตะวันออกกลาง อันมีสาเหตุมาจากความไม พรอมดานโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่ มักยึดติดกับแนวคิดการปองกั น อาชญากรรมแบบเดิม ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปราบอาชญากรรมขามชาติ ซึง่ เปนปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิม ในการจั ด การได และการทํ า งานแบบแยกส ว น ภารกิ จ ของหน ว ยงานทํ า ให ข าดการ ประสานงาน และแลกเปลีย่ นขอมูลระหวางกัน24 เชน ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงาน ที่เขามาเกี่ยวของกับภารกิจการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติเปนจํา นวนมาก เชน สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการปราบปราม กองบังคับปราบปรามการคามนุษย กองการตางประเทศ ศูนยปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ กระทรวงกลาโหม กรม ศุลกากร และหนวยปฏิบัติการตาง ๆ หากแตในทางปฏิบัตินั้น ขาดเอกภาพในการบริหาร จัดการ ในขณะทีอ่ ีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตัง้ หนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้ โดยตรงทํา ใหเกิดความไมชัดเจนในการประสานการปฏิบัติ การขาดทักษะและความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของประเทศอาเซียนที่จะจัดการกับ ปญหาอาชญากรรมขามชาติ25 ตองยอมรับวา ภาษา และวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน ทีย่ ัง
คมกริช ดุ ลยพิทัก ษ. (ม.ป.ป.) ปญหาการดํา เนินคดีองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. สืบคน เมื่อ 1 ตุลาคม 2556. เว็บ ไซต ww.chaibadancrime.com/images/sub_1353041547/11080811829.doc 24 Broome, J. (2000). Transnational crime in the twenty-first century. Paper presented at the Transnational Crime Conference, Canberra, 9-10 March 2000. 25 Intararam, Kanchon. (2001). Problems and obstacles (of investigators) in transnational organized crime investigation in the Metropolitan Police Bureau. Thesis for Master of Arts (Criminology and Criminal Justice). Mahidol University; สายันต สุโขพืช. (ม.ป.ป.). ผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียนดานกฎหมายและกระบวนการ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 93
ประการสุดทาย
มีความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศตาง ๆ มีภาษาเขียนและภาษาพูด เปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ การ จัด ทํ า คํ าร อ งขอความช วยเหลื อทางอาญา จํ า เป น ต อ งใช ภาษากลางในการสื่ อสาร ซึ่ ง โดยทั่ วไปจะใชภาษาอั งกฤษ ดั งนั้ น การสรรหาบุ คลากรที่ มีทัก ษะทั้ งในดานของภาษา กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศ จึงเปนเรื่องที่เป นจําเปน ตอการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการประสานความรวมมื อระหว า ง ประเทศ การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับ ใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน แมวา ในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงาน ในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งในระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่ อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจอาเซียน แตกรอบความรวมมือ มีลักษณะเชิงนโยบายที่เนนการกระชับความสัมพันธ และการทํางานรวมกันแบบไมเปน ทางการ เชน การแลกเปลีย่ นมูลขาวสาร และการฝกอบรม ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑและขั้นตอน ทีแ่ นนอนเหมือนเชนความรวมมือระหวางประเทศที่ใชกระบวนการทางกฎหมาย ประกอบ กับโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่แตกตางกันออกไปในแตละประเทศ ทําให ความรวมมือขึ้นอยูกับประโยชนตางตอบแทน และนโยบายของรัฐเปนสําคัญ
โอกาสและความเสี่ยงของกระบวนการยุติธรรมเมื่อประเทศไทยเขาเปนสมาชิกประชาคม อาเซียน โดยเฉพาะมิติดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตลอดระยะเวลา 47 ปที่ผานมาของอาเซียน ไดมีการประสานความรวมมือในดานตาง ๆ ระหวางชาติสมาชิก อยางคอยเปนคอยไป แตในป พ.ศ. 2558 กําลังจะเปนยางกาวสําคัญของอาเซียน คือ การเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งจะทําใหชาติสมาชิกทั้ง 10 ประเทศเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และถือเปนโอกาสสําคัญของ ประเทศไทยในการขยายฐานจํานวนผูบริโภคสินคาและบริการจาก 65 ลานคนเปน 600 ลานคน รวมถึงโอกาสในการ เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและการลงทุนรวมกับประเทศสมาชิกอาเซียนโดยเสรีมากขึ้น อยางไรก็ดี โอกาสดังกลาวอาจจะ กลายเปนวิกฤติได หากไมมีการเตรียมความพรอมอยางรัดกุมและรอบดาน โดยเฉพาะมิติดานกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ใหสอดคลองกั บการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ซึ่งนับเปนสิ่งที่ประเทศไทยตองใหความสําคัญ ดังนั้น ขอนําเสนอโอกาสและความเสี่ยงของกระบวนการยุติธรรม เมื่อประเทศไทยเขาเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน ไว ดังนี้ 1) โอกาส 1. ประเทศไทยจะมีโอกาสรวมมือกับสมาชิกประชาคมอาเซียน ทั้งทางดานกฎหมายการทําขอตกลง การ นํากฎระเบียบแนวทางปฏิบัติของแตละประเทศมารองรับ ซึ่งจะเปนการสานความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิกใน ประชาคมอาเซียนใหมีความแนนแฟนมากยิ่งขึ้น 2. เมื่ อ มีก ารเข า สู ประชาคมอาเซี ยนแล ว จะทํ า ใหก ระบวนการยุ ติธ รรมทางอาญาและการบั งคั บ ใช กฎหมายของไทย มีการพัฒนาและกาวทันตอสถานการณอาชญากรรมตาง ๆ มากยิ่งขึ้น ตัวอยางเชน ยาเสพติด หรือ อาชญากรรมรายแรงอื่น ๆ ใหสามารถควบคุมและลงโทษผูกระทําความผิดหรือองคกรอาชญากรรมขามชาติใหไดอยาง เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 94
3. เมื่อมีการเขารวมกลุมประชาคมอาเซียน จะเปนโอกาสใหหนวยงานตาง ๆ ในกระบวนการยุติธรรมเกิด กระแสความตื่นตัวในการพัฒนาหนวยงาน อาทิ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กระทรวงยุติธรรม ศาล อัยการ ราชทัณฑ หรือ หนวยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม โดยมีการพัฒนาการทํางานทั้งในระดับองคกรและบุคลากร ทั้ง บุคลากรในระดับปฏิบัติการและระดับบริหารงาน โดยการเปดโอกาสใหเจา หนาที่ไดมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน และ สงเสริมการทํางานเปนทีมเพื่อใหบุคลากรไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรางภาวะผูนํา โดยการพัฒนาทางดาน ความรูความสามารถที่เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ภาษา รวมถึงความตระหนักรูของบุคลากรเกี่ยวกับกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหบุคลากรสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเต็มความสามารถ การพัฒนาบุคลากรจึงเปนเรื่องที่มี ความสําคัญอยางยิ่ง และเปนโอกาสที่ดีในการนําไปสูการพัฒนากระบวนการยุติธรรมของไทยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4. การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ย น ทํ า ให ภู มิ ภ าคนี้ เ ป น ที่ ส นใจของประเทศมหาอํ า นาจ เช น สหรั ฐอเมริ ก า และจี นมากขึ้ น รวมถึ ง ประเทศที่พั ฒนาแลว อื่ น ๆ ที่ มี พลั ง อํา นาจทางเศรษฐกิ จมากกว า เช น ญี่ ปุ น ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และสหภาพยุโรป เปนตนที่จะเขามาลงทุนในดานต าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ประเทศไทยเปนศูนยกลางของการคมนาคมของภูมิภาคและปกครองดวยระบอบเสรีนิยมประชาธิปไตย ซึ่งเปด กวางกวาประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงเปนโอกาสอันดีที่ประเทศไทยจะไดรับความชวยเหลือทั้ง ทางดานเศรษฐกิจ เทคโนโลยี บุคลากร และวัสดุอุปกรณตาง ๆ โดยเฉพาะที่จําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงาน บังคับใชกฎหมาย 5. ปญหาที่เกิดขึ้นเมื่อมีการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ ปญหาเรื่องความแตกตางของ ระบบกฎหมายที่ใชบังคับในแตละประเทศ ในบางประเทศใชกฎหมายลายลักษณอักษรเชนเดียวกับประเทศไทย (Civil law tradition) แตบางประเทศใชกฎหมายจารีตประเพณี (Common law system) ดังนั้น เมื่อเกิดขอพิพาทคดีอาญา อาจจะทําใหเกิดปญหาในการบังคับใชกฎหมายที่เหมาะสม และเปนธรรมได ดังนั้น จึงเปนโอกาสที่ดีสําหรับประเทศไทยที่ จะตองปรับปรุงแกไขกฎหมายภายในประเทศ ทั้งกฎหมายสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติเพื่อใหมีความสอดคลองกับการเขาสู ประชาคมอาเซียน โดยใหหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ในการปรับปรุงแกไขกฎหมายไดเรงศึกษาขอบกพรองของกฎหมาย ภายในประเทศที่มีอยู และจะตองศึกษาทบทวนกฎหมายของแตละประเทศ เพื่อปรับกฎหมายของแตละประเทศเขาหา กัน (Harmonization of legal system) อันจะนํามาซึ่งหลักกฎหมายรวมกันของอาเซียน (Common law of ASEAN) หลายฉบับ รวมทั้งจะตองสรางความตระหนักรูในดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหแกประชาชนตอไป 2) ความเสี่ยง 1. เนื่องจาก ประเทศไทยยังไมมีการศึกษาระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศ อื่น ๆ ในเชิง ลึกมากเท าที่ค วร จึง สง ผลทําใหยั งขาดความรูค วามเข าใจในเรื่ องเกี่ยวกั บรากฐานระบบกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรมของประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียนอยูมาก ดังนั้น เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว อาจมีแนวโนมที่ จะเกิดปญหาการบังคับใชกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาระหวางกันได 2. จากการศึก ษา พบวา คนไทยมีทั กษะการใชภาษาอังกฤษอยูในระดับที่ดอยกวาประเทศอื่น ๆ ใน ภูมิภาคอาเซียน ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศไทยไมไดใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลักประกอบกั บระบบการเรียนการสอนของ ประเทศไทยไมไ ด มุ ง เน น ให นัก เรี ยนสามารถนํ า ไปใช ป ฏิ บัติ ไ ด จริง มากเท า ที่ ค วร ส ง ผลทํ า ใหค นไทยมี ทั ก ษะการใช ภาษาอังกฤษอยูในระดับที่ดอยกวาประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งผลจากการที่คนไทยมีทักษะความรูภาษาอังกฤษนอย ทําใหเปนอุปสรรคในการศึกษา หรือทําความเขาใจตัวบทกฎหมายของประเทศในกลุมภูมิภาคอาเซียนอยางลึกซึ้ง ซึ่งถือวา เปนจุดเสียเปรียบประเทศอื่น ๆ ในกลุมภูมิภาคอาเซียนเปนอยางมาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 95
3. การที่ป ระเทศไทยมี ส ภาพเศรษฐกิจที่ ดี กว า ประเทศสมาชิก บางประเทศ เช น กัมพู ช า สปป.ลาว เมียนมาร เปนเหตุใหประชาชนจากประเทศดังกลาวเดินทางเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวนมาก ทั้งที่ชอบดวย กฎหมายและไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งอาจสรางปญหาตอความมั่นคงตอประเทศในอนาคต กลาวคือ เมื่อผูใชแรงงาน เหลานี้อยูในประเทศไทยเปนเวลานาน ก็สามารถพูดฟงและเขาใจภาษาไทยไดดีขึ้น แตในทางกลับกันคนไทยไมไดใหความ สนใจที่จะเรียนรูภาษาของบุคคลเหลานี้ ทําใหประเทศไทยเสียเปรียบเปนอยางมาก 4. แมวา ประเทศไทยจะมี กระบวนการตรวจสอบและถวงดุ ลในกระบวนการยุติธรรมทั้งภายในและ ระหวางองคกรที่ครบถวน แตหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับงานยุติธรรม ยังมิไดนําระบบการบริหารจัดการที่ดีมาใชอยาง เต็มที่ เนื่องจาก ยังคงยึดติดกับคานิยมและวัฒนธรรมแบบไทย ๆ ไดแก ความเปนพรรคพวกเพื่อนฝูง ระบบลูกพี่ลูกนอง และระบบผลประโยชนตางตอบแทนที่เปนการเอื้อการประโยชนคอนขางสูง ดังนั้น การเขาสูประชาคมอาเซียนอาจเปน ชองโอกาสใหกลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติใชชองทางดังกลาวกระทําผิด โดยการใหผลประโยชนแกเจาหนาที่ของรัฐ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการบังคับใชกฎหมายแบบเขมงวดกวดขัน หรืออาจชักชวนใหเจาหนาที่ของรัฐรวมกระทําผิดดวย
ความเสี่ยงดานอาชญากรรมเมื่อประเทศไทยเขาสูการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 1) อาชญากรรมประเภทหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการคามนุษย เนื่องจาก เมื่อเปดประชาคมอาเซียน จะมีนักลงทุนเขาไปลงทุนในกลุมประเทศภูมิภาคอาเซียนมากยิ่งขึ้น ทั้งคนไทยก็จะมีโอกาสไปลงทุนในตางประเทศ และ คนตางประเทศที่เปนประเทศขางเคียงก็มีโอกาสมาลงทุนในประเทศไทยเชนกัน ดังนั้น เมื่อมีกลุมคนเขาไปลงทุนทําธุรกิจ ในตางประเทศมากยิ่งขึ้น สิ่งที่ตามมา ก็คือ อัตราความตองการกลุมคนผูใชแรงงานที่จะมีเพิ่มสูงมากขึ้นตามลําดับ อันจะ สงกระทบทําใหเกิดการอพยพเคลื่อนยายคนในลักษณะเขาเมืองอยางผิดกฎหมายมากขึ้น รวมไปถึงจะมีอาชญากรรมใน รูปแบบของการคามนุษยเพิ่มสูงมากยิ่งขึ้นตามไปดวย 2) เนื่ อ งจาก ประเทศไทยมี พ รมแดนที่ ติ ด ต อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นหลายประเทศ ได แ ก สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร และมาเลเซีย ซึ่งทําใหเกิด การ ลักลอบขนยาเสพติดในบริเวณชายแดนเปนจํานวนมาก ดังนั้น ในมุมมองของผูเชี่ยวชาญระดับผูบริหารของหนวยงานใน กระบวนการยุติธรรมโดยสวนใหญ จึงมีความเห็นวา เมื่อเปดประชาคมอาเซียนแลว ก็จะมีการเดินทางเขาออกระหวาง ประเทศที่สะดวกยิ่งขึ้น สงผลทําใหการลักลอบขนยาเสพติดเขามาตามแนวชายแดนของประเทศ มีแนวโนมสูงเพิ่มมากขึ้น ตามไปดวย 3) อาชญากรรมขามชาติในแงอาชญากรรมเศรษฐกิจ เนื่องจาก เมื่อเปดประชาคมอาเซียนจะมีนักลงทุนมา ลงทุนทําธุรกิจมากยิ่งขึ้น ดังนั้น อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ตัวอยางเชน การฟอกเงิน การปลอมแปลงธนบัตร การฉอโกง และแกงคอลเซ็นเตอรก็ทําใหมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย
ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ประเทศไทย มีการพัฒนาทางดานสัง คม และเศรษฐกิ จ เชนเดี ยวกับประเทศตา ง ๆ ในภู มิภาคเอเชีย โดย ประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชียกําลังมีบทบาททางสังคม และเศรษฐกิจของโลกไมนอยกวาประเทศในภูมิภาคแถบอื่น ๆ สืบเนื่องจาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยีชวยใหการเดินทาง และติดตอสื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําให ชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองกฎหมาย และลักลอบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมายมีจํานวนมากขึ้น ซึ่ง จะมีการรวมตัวของผูกระทําผิดในลักษณะองคกรอาชญากรรมขามชาติ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 96
ผลกระทบจากปญหาที่เกิดขึ้นจากอาชญากรรมขามชาติ แผขยายเพิ่มความรุนแรงไปทุกภูมิภาคทั่วโลก และได นํามาซึ่งผลกระทบตอสังคมในทุกดาน จนองคการสหประชาชาติ องคกรภูมิภาค เชน อาเซียนและทุกประเทศตาง ก็ได ออกมารณรงคในการแกไขปญหาดังกลาว ทั้งนี้ ในภาพรวมแลว อาชญากรรมขามชาติสงผลตอความมั่นคงของสังคม จาก การบอนทําลายของสิ่งเลวราย ไมวาจะเปนยาเสพติดที่ทําลายทรัพยากรบุคคล การคามนุษย และปญหาโสเภณี อันนํามา ซึ่งการละเมิดสิทธิมนุษยชน และทําลายศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยชาติ การลักลอบคาอาวุธ อันนํามาซึ่งการใชอาวุธไป ในทางที่รุนแรง เพื่อการกออาชญากรรม การตอสูกันในสังคมโลก นอกจากนี้แลว ปญหาการกอการราย ซึ่งอาจกลาวไดวา เปนปญหาอาชญากรรมขามชาติ ประการหนึ่ง ที่ถูกยกระดับความสําคัญขึ้ นมา ทําใหเราไดเห็นถึงความรุนแรง และ ผลกระทบที่เกิดขึ้นในทุกมุมโลกจากปญหานี้ ในภาพที่เฉพาะเจาะจงลงมา อาชญากรรมขามชาติสามารถบอนทําลาย ระบบการเมืองของประเทศ จากการคอรรัปชั่นของเจาหนาที่ รวมถึงตํารวจ จะนํามาซึ่งความไมไววางใจในระบบการ ปกครองของรัฐ และการไมใหการสนับสนุนตอตํารวจ ในการปฏิบัติหนาที่ตอไป และผลที่ตามมา ก็คือ การทําลายระบบ เศรษฐกิจของชาติ ดวยการสรางปญหาใหกับระบบการเงินของประเทศ การเขาไปขัดขวางการกระบวนการตรวจสอบดาน การเงินของรัฐ อีกทั้งยังทําลายทรัพยากรคนของชาติ ที่จะนํามาซึ่งการพัฒนาประเทศตอไป และในดานสังคม ปญหา อาชญากรรมขามชาติ นํามาซึ่งแกงอาชญากรตามถนน การติดยาเสพติด และความรูสึกตอตานสังคมของประชาชน ภาพรวมจากผลกระทบดังกลาว ก็คือ การทําลายซึ่งการพัฒนาความเจริญของประเทศนั้น ๆ ในขณะเดียวกัน ปญหา อาชญากรรมขามชาติ เชน การลักลอบขนยาเสพติด ขนแรงงาน หรือลักลอบคายานพาหนะ ก็อาจนํามาซึ่ง ปญหาความ ขัดแยงกันระหวางประเทศได ผลที่ตามมาก็คือ ความออนแอลงของสังคมมนุษยทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก สาเหตุของปญหาทําใหประเทศไทยไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติไดหมดสิ้นไปได เกิดจากสาเหตุ หลายประการ เชน บทกฎหมายที่ไมมีสภาพการบังคับใชเทาที่ควร การกําหนดวิธีปฏิบัติในการจับกุม การดําเนินคดีอาญา และการพิจารณาลงโทษแกผูกระทํา ซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติ มีการดําเนินคดีอาญาเชนเดียวกับ คดีอาญาทั่ว ๆ ไป เปนตน ซึ่งแนวทางการแกไขปญหาการปราบปราม ปองกัน และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน การจัดตั้งหนวยมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง การจัดการศึกษาอบรมใหกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติทุกหนวย การแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เปนสมาชิกองคการตํารวจสากล ซึ่งปจจุบันมี ดวยกัน ทั้งหมด 181 ประเทศ ตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัยตลอดเวลา
ปญหาและอุปสรรคในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ การตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติของกลุมประเทศอาเซียน จะเปนจุดเริ่มตน และกอใหเกิดการพัฒนา ไปสูการเปนประชาคมอาเซียนในดานการเมืองและความมั่นคง แตในปจจุบันตองยอมรับวา ยังคงมีขอขัดของที่อาจจะเปน อุปสรรคในการดําเนินงานที่ประเทศสมาชิกจําเปนตองรู และหาวิธีจัดการ อันที่จริงตองยอมรับวา มีความคืบหนานอย มากในความรวมมือกันในกลุมประเทศอาเซียน ในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบ ซึ่งในที่นี้ คือ อาชญากรรม ขามชาติ ความรวมมือในการตอสูภัยดานความมั่นคงนั้น มักจะมีประเด็นที่ตองกระทบตออํานาจอธิปไตยของประเทศ สมาชิก ทําใหไมคอยมีประเทศใดกลาออกมาเปนผูนําอยางจริงจัง นอกจากนี้ ประเด็นบางประเด็นยังถูกมองวา เปนเพียง ประเด็นระดับทวิภาคี อยางเชน ปญหายาเสพติดจากเมียนมารที่ไหลเขามาสูประเทศไทย หรือปญหาโจรสลัดในชองแคบ มะละกาที่เปนประเด็นระหวางมาเลเซียกับอินโดนีเซีย ซึ่งไมตองการใหประเทศที่สามเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา ยิ่งไปกวานั้น บางประเด็นยังถูกมองวา เปนเรื่องของประเทศใดประเทศหนึ่งดวย เชน ปญหากลุมอาชญากรรมจาก ประเทศรัสเซียที่เขามาประกอบธุรกิจอยูในประเทศไทย ซึ่งประเด็นตาง ๆ ดังกลาว แมวา จะเปนปญหาอาชญากรรมขาม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 97
ชาติ แตก็ไมไดสรางแรงจูงใจใหประเทศสมาชิกอื่น ๆ เขามามีสวนรวม ฉะนั้น เมื่อประเด็นเรื่องอาชญากรรมขามชาตินั้น ถูกมองเปนเรื่องระหวางสองประเทศ หรือเรื่องภายในประเทศใดประเทศหนึ่ง วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ก็มักจะถูก นํามาใชทันที โดยการไมเขาไปยุงเรื่องภายในประเทศของอีกฝาย หรือไมเขาไปยุงกับความขัดแยงของทั้งสองฝายดวย พื้นฐานวิถีอาเซียนที่วา ความขัดแยงระดับทวิภาคีใด ๆ จะตองไมทําลายเสถียรภาพ และความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ซึ่งหมายความวา ประเทศสมาชิกที่ไมเกี่ยวของจําเปนตองหลีกเลี่ยงการเขาไปมีสวนรวมใด ๆ ในการแกไขปญหา นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนขาดแรงจูงใจในการแกไขปญหารวมกัน กลับเปนประเทศภายนอกอาเซียนที่ เขามามีอิทธิพลและสรางแรงจูงใจใหกับประเทศสมาชิกอาเซียนเขามารวมมือกัน ซึ่งจะเห็นไดชัดเจนในประเด็นปญหา เรื่องโจรสลัด โดยญี่ปุนเปนประเทศแรกที่เสนอการแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป ค.ศ. 1999 หลังจากการประชุม ASEAN+3 ซึ่งในขณะนั้น เรือสินคาญี่ปุนตองประสบกับภัยโจรสลัดในนานน้ําบริเวณ เอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูบอยครั้ง ซึ่งญี่ปุนเปนผูผลักดันในการจัดการประชุมเรื่องภัยโจรสลัด ในป ค.ศ. 2000 กับ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน และรวมกับบังคลาเทศ จีน ฮองกง อินเดีย เกาหลีใต และศรีลังกา รวมถึงผลักดันโครงการที่มีชื่อ วา “Asia Anti-Piracy Challenges 2000” และรัฐบาลญี่ปุนยังเขามารวมมือกับอาเซียนอยางจริงจังในการลงนาม ขอตกลง Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป ค.ศ. 2004 และนํามาบังคับใชในป ค.ศ. 2006 ซึ่งภายใตขอตกลงนี้ ญี่ปุนเปนผูสนับสนุนดาน การเงินและการฝกซอมเพื่อตอตานภัยจากโจรสลัด และอีกตัวอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดเจน คือ การที่จีนเขามาผลักดัน โครงการตอตานการคายาเสพติดกับไทย สปป.ลาว และเมียนมาร เพือ่ ตอตานยาเสพติดที่ขนผานมณฑลยูนานทางตอนใต ของประเทศจีน โดยมีความพยายามจัดตั้ง ASEAN and China Cooperative Operations in Response to Dangerous Drugs (ACCORD) ในป ค.ศ. 2000 และมีการปรับปรุงใหม ในป ค.ศ. 2005 อยางไรก็ตาม โครงการ ACCORD ก็ลมเหลวอยางสิ้นเชิงทั้งการนําไปใชและการปฏิบัติงานรวมกัน โดยสรุป การปราบปรามอาชญากรรมในรู ปองคก รประเทศต าง ๆ ในทวีป เอเชีย ตอ งเผชิญกั บป ญหาการ 26 ปราบปรามอาชญากรรมในรูปขององคกรคลายกัน กลาวคือ ในการปราบปรามอาชญากรรมในรูปแบบดังกลาวตอง ประสบกับอุปสรรคนานาประการ เชน 1. ความผูกพันในเรื่องชาติพันธของสมาชิกแกงตาง ๆ การเกรงกลัวตอโทษที่ปาเถื่อนโหดราย ซึ่งจะไดรับเมื่อมี การเปดเผยความลับ ความมีเลหเหลี่ยมมากขึ้น ฯลฯ สิ่งเหลานี้ นับเปนอุปสรรคที่ทําใหการตามจับอาชญากรรมทั้งหลาย ลําบากมากขึ้น 2. ในการดําเนินธุรกิจดานการเงินที่ผิดกฎหมายของแกงตาง ๆ ไดสรางความสับสนใหกับศาลเปนอยางมาก เมื่อ มีคดีในเรื่องดังกลาวมาสูศาล เพราะวาแกงเหลานั้นใชระบบธนาคารแบบใตดิน ซึ่งไดรับการหนุนหลังจากรานคาทอง บริษัท และผูประกอบธุรกิจแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในเมืองใหญ ๆ หลายประเทศ 3. การสื่อสารโดยใชโทรศัพท โทรสาร และการลักลอบสงวิทยุสื่อสารขามทวีป เพื่อโอนเงินนับลานดอลลารรอบ โลกภายในเวลาไมกี่ชั่วโมง และเนื่องจาก ผูที่รวมกระบวนการในแกงตาง ๆ ยังเปนคนในระบบครอบครัวที่มีความผูกพัน ใกลชิด ทั้งภายในแกง ในวงการธุรกิจ จึงทําใหแกงเหลานั้นสามารถหลีกเลี่ยงการเก็บภาษี การปราบปราม และยังคงความ ยิ่งใหญอยูได ในขณะเดียวกัน แกงตาง ๆ ก็ไดเรียนรูที่จะโตตอบ และขัดขวางการปราบปรามดวยวิธีรุนแรงของรัฐบาล เชน หากรัฐบาลเริ่มใชเรดาร และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัยในการติดตามผูลักลอบคายาเสพติด พวกเขาก็จะใช อุปกรณดังกลาวเชนกัน รัฐบาลของประเทศตาง ๆ พยายามใชวิธีการขัดขวางโตตอบการคุกคามขององคกรอาชญากรรม ดังกลาว 26
รัชนีกร โชติชัยสถิต และกุลพล พลวัน. (2533). ประเทศไทยกับปญหาองคกรอาชญากรรมในอนาคต. รัฐสภาสาร : (กรกฎาคม 2533). หนา 18.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 98
การควบคุมปราบปรามและตอตา นองค กรอาชญากรรมนั้นทํ าไดยาก เนื่ องจาก ลักษณะของอาชญากรรม ประเภทนี้ มีวิธีและการดําเนินงานขององคการที่มีการวางแผน มีการบริหาร และที่สําคัญมีขาราชการ และนักการเมือง ร ว มมื อ ด ว ย นอกจากนั้ น สมาชิ ก ขององค ก ารมี ค วามภั ก ดี ส ามั ค คี ใ นระดั บ สู ง มาก ซึ่ ง ป ญ หา และอุ ป สรรคในการ ปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ มีดังนี้ 1. มาตรการที่ใชปราบปรามองคกรอาชญากรรมในปจจุบัน แสดงใหเห็นวา เปนกรณีตางคนตางทําโดยไมมีการ ประสานงานกันอยางเปนระบบระหวางหนวยงาน ขาดความรวมมือ และความไววางใจซึ่งกันและกัน 2. มาตรการทางกฎหมายในการตอตาน และปราบปรามองคกรอาชญากรรม และกรณีองคกรอาชญากรรมขาม ชาติ ความรวมมือระหวางประเทศยังไมมากเทาที่ควร 3. ไมมีหนวยงานอันเปนศูนยรวมเฉพาะในการตอตาน และปราบปรามองคกรอาชญากรรมโดยตรง ความผิดที่ เกิด จากการกระทําขององค กรอาชญากรรม จะเปนหนา ที่ของหน วยงานที่ เกี่ยวขอ งเฉพาะแต ละฐานความผิด เช น ยาเสพติด คาแรงงานตางชาติ 4. ข า ราชการขาดความรู ความชํ า นาญเฉพาะด า น ไม ใ ห ค วามร ว มมื อ หรื อ ตกอยู ภายใต อิ ท ธิ พ ลองค ก ร อาชญากรรม และหากขาราชการไมปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย มีความรับผิดชอบตองานหนาที่ของตน อาชญากร องคการก็จะทํากิจการตาง ๆ ไดงายขึ้น อยางไรก็ดี อาชญากรรมมีอยูในทุกประเทศ ทุกสังคม ทั้ งในเอเชีย สหรัฐอเมริกา และยุโรปดังไดกลาวมาแลว เชน แกงมาเฟย และยากูซา แมใน ประเทศญี่ปุนจะไดชื่อวา มีอาชญากรรมนอย และเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรมก็ สามารถควบคุมปราบปรามอาชญากรรมไดผล แตแกงอาชญากรรมองคการก็เกิดขึ้น และขยายจํานวนแกงมากขึ้น ๆ เปน ลําดับ
ขอเสนอแนะดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการเขาสูประชาคมอาเซียน เพื่อเปนการการเตรียมความพรอมดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการเขาสูประชาคมอาเซียนในป 2558 รัฐบาลของประเทศอาเซียนจึงมีความจําเปนจะตองเสริมสรางความรวมมือระหวางกันในภูมิภาค และควรมียุทธศาสตร ความรวมมือของภูมิภคอาเซียนในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยสมควรพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของใน 3 ดาน ไดแก การพัฒนากลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหเหมาะสม การพัฒนาความรวมมือระหวาง ประเทศดานกฎหมายและการบริหารจัดการ และการพัฒนาเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปนี้ 1. การพัฒนากลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหเหมาะสม 1.1. รัฐอาเซี ยนควรใหผลัก ดันใหอ งคกรอาเซียนที่มีอยูในปจจุบัน เชน สํานักงานเลขาธิการอาเซียน สํานักงานเลขานุการตํารวจอาเซียน และศูนยฝกอบรมระหวางประเทศที่ตั้งอยูในภูมิภาคอาเซียนที่มีอยูแลว เชน สถาบัน ระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย (ILEA Bangkok) และศูนยความรวมมือการบังคับใช กฎหมายจาการตา (JCLEC) เปนหนวยงานภูมิภาคหลักในการกําหนด ผลักดัน ขับเคลื่อน และศึกษาวิจัยกระบวนการเชิง นโยบายทางอาญาของประเทศอาเซียนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจทําหนาที่เปนทั้งหนวยนโยบาย และหนวย ประสานงานดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรืออาจจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระดับรองในองคกรดังกลาว เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน เชน การจัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตรอาเซียน เพื่อ เปนศูนยกลางในการตรวจพิสูจนทางนิติวิทยาศาสตรและการฝกอบรมสําหรับนักนิติวิทยาศาสตรของอาเซียน เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 99
1.2. รัฐอาเซียนควรจัดตั้งทีมปฏิบัติการสืบสอบสวนรวมของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Investigative Team) ประกอบดวย หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลักที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจ อัยการ ศาล หนวยสืบสวนพิเศษ ศุลกากร และหนวยตรวจคนเขาเมือง ในลักษณะของทีมบูรณาการ ประกอบดวย หนวยสืบสวนสอบสวน หนวยนิติ 27 วิทยาศาสตร หนวยเทคโนโลยี หนวยปฏิบัติการพิเศษ เปนตน โดยใหมีอํานาจหนาที่ในการสืบสวนคดีอาชญากรรมขาม ชาติที่ สงผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศอาเซียนในวงกวา ง เชน การกอ การรายข ามชาติ การคา มนุษย และ อาชญากรรมคอมพิวเตอร เปนตน 1.3. รั ฐ อาเซี ยนควรจั ด ตั้ ง คณะกรรมาธิ ก าร เพื่ อ ศึ ก ษาทบทวนความเป น ไปได ใ นการจั ด ตั้ ง องค ก ร กระบวนการยุติธรรมในระดับภูมิภาคของอาเซียน เชน ศาลยุติธรรมอาเซียน สํานักงานอัยการอาเซียนควบคูไปกับองคกร ตํารวจอาเซียน ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นแลว เพื่อแกปญหาเรื่องเขตอํานาจศาลที่ถูกจํากัดโดยอํานาจอธิปไตยของแตละประเทศ โดย กําหนดโครงสรางองคกรและขอบเขตอํานาจหนาที่ภารกิจใหเ หมาะสมสอดคลองกับประเภทคดีที่สมควรจะนําขึ้นสู กระบวนการพิจารณาคดีในชั้นศาลใหชัดเจน เชน เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากลรายแรง และคดีสงผูรายขามแดน เปนตน เพื่อเปนการยกระดับหนวยงานบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับกฎหมายภูมิภาคที่มี ในป จ จุ บั น เช น สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยความช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ในเรื่ อ งทางอาญาของอาเซี ยน ค.ศ. 2004 และ กระบวนการยุติธรรม และศาลยุติธรรมของสหภาพยุโรปมาใชเปนแนวทางในการจัดโครงสรางองคกร และแนวทางการ ปฏิบัติงาน 2. การพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศดานกฎหมายและการบริหารจัดการ 2.1. รัฐอาเซียนควรกําหนดใหมีมาตรการทางกฎหมายรวมกันในหลากหลายมิติอยางเหมาะสม ทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการเพื่อรองรับการขยายตัวของภูมิภาคอาเซียน เชน มาตรการทางกฎหมายการฟอก เงิน มาตรการตอตานการกอการราย มาตรการสงเสริมสิทธิมนุษยชนอาเซี ยน มาตรการทางกฎหมายตอผูตองหาและ เหยื่อจากการคามนุษย เปนตน ซึ่งเปนที่คาดหมายไดวา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว ประชากรจากทุกประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนจะมีการเคลื่อนยายในกลุมประเทศอาเซียนดวยกันมากขึ้น อันเนื่องมาจากนโยบายเปดรับและอํานวย ความสะดวกแกเพื่อนบาน ดังนั้น การกําหนดใหมีอนุสัญญาภูมิภาคอาเซียนวาดวยเรื่องกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน ในลักษณะที่คลายกับกฎหมายของภูมิภาค อื่น เช น อนุสั ญญาสหภาพยุ โรปว า ดว ยการส ง ผูร า ยข า มแดน ค.ศ. 1957 และอนุสั ญญาสหภาพยุ โรปว า ดว ยความ ช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ทางอาญา ค.ศ. 1959 ที่ ว างหลั ก เกณฑ ใ ห แ ต ล ะประเทศถื อ ปฏิ บั ติ ร ว มกั น แบบกว า ง ๆ มี สาระสําคัญประกอบดวย บททั่วไป ความผิดอาญาที่จะใชกฎหมายดังกลาว หนวยงานบังคับใชกฎหมาย วิธีพิจารณาความ ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศ บทยกเวน และอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ สามารถเปนแนวทางหนึ่งที่จะทําใหการบังคับใช กฎหมายและการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคมีมาตรฐานใกลเคียงกันและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.2. รัฐอาเซียนควรสงเสริมผลักดันใหประเทศสมาชิกใชเครื่องมือ และกระบวนการบริหารจัดการทางคดี ระหวางประเทศที่มีอยู เชน ระบบฐานขอมูลและการตรวจพิสูจนขององคการตํารวจสากล ระบบฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ระบบการบริหารจัดการและสืบสวนคดี ซึ่งที่เกี่ยวของกับฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติหลายประเภท เชน การกอการ ราย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงขามชาติ การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรมคอมพิวเตอร อาชญากรรมเศรษฐกิจและการเงิน และอาชญากรรมสิ่งแวดลอม มาใชในการปฏิบัติงาน และใหสามารถยอมรับเปน พยานหลักฐานชั้นศาลได 27
Singh, J. (1999). Strategic ipact of Transnational Crime. in Hernandez, C.G. and Pattugalan, G.R. (eds) (1999). Transnational crime and regional security in the Asia Pacific. Manila, Philippines: Institute for Strategic and Development Studies.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 100
2.3. รัฐอาเซียนควรสงเสริมการพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ทั้งในรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใหความสําคัญตอความรวมมือและการใหความชวยเหลือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญาเพิ่มมากขึ้น และแสดงใหเห็นถึงความจริงใจที่จะใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันบนหลักปฏิบัติ ตางตอบแทน ซึ่งสามารถกระทําไดทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ เชน การกําหนดใหเรื่องความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญาอยูในแผนแมบทของรัฐบาลที่จะตองดําเนินการ การแกไขกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาใหครอบคลุมถึงกิจกรรมผิดกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขา มชาติไมวาจะ กระทําภายในหรือภายนอกประเทศ การเพิ่มอํานาจใหเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของในการสืบสวนสอบสวนคดีที่ มีลักษณะขามชาติ การจัดตั้งหนวยงานเฉพาะขึ้นมาเพื่อรับผิดชอบในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ เปนตน นอกจากนี้ การใช ชอ งทางประสานงานเพื่ อ เพิ่มประสิท ธิ ภาพความร ว มมื อระหวา งภู มิ ภาคในเรื่ อ งทางอาญาอื่ น ๆ นอกเหนือจากกลไกทางกฎหมาย เชน การประสานงานผานชองทางตํารวจสากลฐานขอมูลตํารวจอาเซียน และการ ประสานงานผานเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูต ควรไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา อยางเปนทางการของประเทศอาเซียนดวย 2.4. รัฐอาเซียนควรจัดตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาแกไขทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวของกับกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา โดยประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายระหวาง ประเทศ หรือภูมิภาคที่มีอยูในปจจุบั น หรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตในการเขาสูประชาคมอาเซียน เชน การแกไข กฎหมายให สอดคลองกั บสนธิสัญญาวาด วยความช วยเหลือซึ่ง กันและกัน ในเรื่ องทางอาญาของอาเซียน การยกรา ง กฎหมายปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมใหรองรับการเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวา ดวยอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร 2.5. รัฐอาเซียนควรจัดทํานโยบายและแผนการพัฒนาประชาคมอาเซียนดานการบริหารงานยุติธรรม รวมกัน เชน การเคลื่อนยายแรงงาน การสงกลับคนเขาเมืองผิดกฎหมาย การปฏิบัติตอเด็กและสตรี เปนตน โดยอาจ จัดทําเปนลักษณะของขอ ตกลง หรือแนวทางการปฏิบัติที่ดี ที่สุด เชน การปฏิบัติตอคนต างชาติเมื่อเข าสูการดําเนิ น คดีอาญาของกระบวนการยุติธรรมอาเซียน ทั้งนี้ ในชวงเริ่มตนอาจจะประสานงานเพื่อขอรับการสนับสนุนบุคลากร และ เครื่องมือจากประเทศในกลุมภูมิภาคอื่น ๆ หรือองคการระหวางประเทศที่ มีประสบการณมากอน เชน สหภาพยุโรป สหประชาชาติ องคการตํารวจสากล เปนตน 2.6. รัฐอาเซียนควรเรงสรางความตระหนักรูในเรื่องอาชญากรรมขามชาติใหเกิดขึ้นกับประชาชน เพื่อให เห็นถึงความสําคัญและการปรับตัวที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาผานสื่อตาง ๆ เชน สิทธิ มนุษยชนของ พลเมืองอาเซียน สิทธิของผูตองหาและผูเสียหายเมื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมของประเทศตาง ๆ รูปแบบและวิธีการ ประสานงานกับหนวยงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย เมื่อตองเขาไปเกี่ยวของกับคดีอาญาในประเทศ อาเซียน รวมตลอดถึงการใหความรูความเขาใจตอวัฒนธรรมประเพณีที่แตกตางของคนชาติอาเซียนที่จะชวยลดความ ขัดแยงที่อาจนําไปสูการฟองรองดําเนินคดีอาญา 3. การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม 3.1. รัฐอาเซียนควรจัดเตรียมบุคลากรหนวยงานบังคับใชกฎหมายโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการสืบสวน สอบสวนและประสานงานทางคดีใหมีความรูในลักษณะสหวิทยาการ ประกอบดวย กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย สารบัญญัติ และวิธีสบัญญัติทางอาญา การสืบสวนสอบสวนคดี และการใชภาษาตางประเทศอีกอยางนอยสองภาษา โดยมี ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาพื้ น ฐาน เพื่ อ เข า ร ว มในที ม ปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภ าคอาเซี ย น (ASEAN Investigative Team) และทีมผูประสานงานชายแดน (Border Liaison Officers) โดยอาจทําเปนรูปของโครงการพัฒนา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 101
ทรัพยากรมนุษยเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะ ความชํานาญเฉพาะดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติรวม การทดลอง จนนําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง ๆ ในอาเซียน เพื่อปฏิบัติงานในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติได 3.2. รัฐอาเซียนควรจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ เพื่อเตรียมบุคลากรใน หนวยงานราชการตาง ๆ ใหพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนทั้งในเชิงระบบบริหารงานบุคคล และศักยภาพของบุคคล อาทิ การเตรียมความพรอมในดานภาษาตางประเทศใหแกขาราชการการฝกอบรมใหขาราชการในทุกกระทรวง ทบวง กรม เขาใจตอกฎหมายและระเบียบของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับหนวยงานของตน และหนวยงานขางเคียงเมื่อตอง ปฏิบัติงานระดับภูมิภาค ซึ่งไมเพียงแตเปนหนาที่ของหนวยงานกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของเทานั้น หากแตจําเปนตอง อาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งสถาบันการศึกษา สังคม และครอบครัวในการชวยกลอมเกลา และสรางทรัพยากร มนุษยใหมีความพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนดวย ดังนั้น การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน นับเปนการพัฒนาความรวมมืออีกกาวหนึ่งของประเทศอาเซียนที่ พยายามที่จะสรางความเปนภูมิภาคนิยมและสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจ โดยลดกฎระเบียบภายในรัฐลงเพื่อเปด โอกาสใหประชากรอาเซียนสามารถผานเขา-ออกประเทศไดมากขึ้น แตในอีกดานหนึ่งกลับทําใหองคกรอาชญากรรมขาม ชาติสามารถใชชองโอกาสดังกลาวในการเขามากระทําความผิดในภูมิภาคอาเซียนหลากหลายรูปแบบ อยางไรก็ดี ความร วมมือระหวา งประเทศในทางอาญาของภูมิภาคอาเซี ยนในปจจุบัน ยังมีจุ ดออนอยูหลาย ประการ กลาวคือ การไมมีกฎหมายหรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาคดี อาชญากรรมขา มชาติ การประสานความรว มมื อระหว างหน วยงานบัง คับ ใช กฎหมายยั งมี ขอ จํา กัด อัน เนื่ องมาจาก กฎหมายภายในของรัฐ การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ การขาดทักษะและความรูความ เขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของ ประเทศอาเซียน การขาดความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ และการขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของกลุ ม ประเทศอาเซียน ดังนั้น กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของแตละประเทศอาเซียน จึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหเหมาะสม ตอการเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ โดยควรมียุทธศาสตรวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน รวมกัน โดยอาจพิจารณาใน 3 สวนหลัก ประกอบดวย ดานกลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดาน ความรวมมือระหวางประเทศ ดานกฎหมาย และการบริหารจัดการ และดานการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรใน กระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ เพื่อลดขอจํากัดดานกฎหมายภายในของแตละประเทศ อันเปนอุปสรรคสําคัญตอการปองกัน ปราบปรามอาชญากรรมข า มชาติ และขยายความร ว มมื อ ระหว า งหน ว ยงานบั ง คั บ ใช ก ฎหมายของอาเซี ย นให มี 28 ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก ประเทศไทยมีการพัฒนาทางดานสังคมและเศรษฐกิจ เชนเดียวกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชีย กําลังมีบทบาททางสังคมและเศรษฐกิจของโลกไมนอยกวาประเทศในภูมิภาคแถบอื่น ๆ สืบเนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีชวยใหการเดินทาง และติดตอสื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําให ชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย มีจํานวน มาก ซึ่งมีการรวมตัวของผูกระทําผิดในลักษณะองคกรองคกาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้
28
ชิตพล กาญจนกิจ. (2556). ความรวมมือระหวางประเทศวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอาเซียน : ขอเสนอเชิงยุทธศาสตรเพื่อการ เตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน. (กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร).
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 102
1. องคกรอาชญากรรม หมายถึง กลุมอาชญากรที่จัดตั้งในลักษณะองคกรประกอบดวยบุคคลสามคนหรือ มากกวา ที่รวมตัวกันเปนระยะเวลาหนึ่ง และที่มีการประสานการดําเนินงานระหวางกัน โดยมีเปาหมายใน การกระทําอาชญากรรมรายแรงหนึ่งอยางหรือมากกวา เพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนทางการเงิน หรือ ผลประโยชนทางวัตถุอยางอื่น 2. องคกรอาชญากรรมขามชาติ จะปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งมีความซับซอนมาก ได แก พวก มาเฟย ยากูซา เปนตน บอนทําลายประเทศตาง ๆ ทั่วโลก การควบคุมจะตองอาศัยความรวมมือจาก หนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มากกวาหนึ่งประเทศรวมมือกันปราบปรามปองกัน และกําหนดบทลงโทษสถานหนัก 3. ผลกระทบจากปญหาที่เกิดขึ้นจากองคกรอาชญากรรมขามชาติ แผขยายเพิ่มความรุนแรงไปทุกภูมิภาคทั่ว โลก ทุกประเทศตางตระหนักถึงความเสียหายอันเกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติ และมีมาตรการ ปองกันแตกตางกัน แตยังไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได 4. ประเทศที่พัฒนาแลว เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดมีการดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม องคก รอาชญากรรมขามชาติ โดยไดมี กฎหมายพิ เศษ เช น กฎหมายเฉพาะในการปราบปรามองคก ร อาชญากรรม กฎหมายการคุมครองพยานหลักฐาน กฎหมายพิเศษเพื่อควบคุมเรื่องการดักฟงการติดตอ ทางโทรศัพทอยางถูกตองตามกฎหมาย เปนตน 5. สาเหตุของปญหาทําใหประเทศไทย ไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได เกิดจาก สาเหตุหลายประการ เชน บทกฎหมายที่ไมมีสภาพการบังคับใชเทาที่ควร การกําหนดวิธีปฏิบัติในการ จับกุม การดําเนินคดีอาญา และการพิจารณาลงโทษแกผูกระทําผิดซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม ขามชาติ มีการดําเนินคดีอาญาเชนเดียวกับคดีอาญาทั่ว ๆ ไป เปนตน 6. แนวทางการแกไขปญหาการปราบปรามปองกันและตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน การจัดตั้ง หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง การจัดการศึกษาอบรมใหกั บเจาหนาที่ผูปฏิบัติทุกหนวย การ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เปนสมาชิกองคการตํารวจ สากล ซึ่งปจจุบันมีดวยกันทั้งหมด 181 ประเทศ ตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัยตลอดเวลา ปญหาองคกรอาชญากรรมเปนปญหาระดับชาติ การแกไขจะตองมีการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม และระบบที่ ถูกตอง การปราบปรามเปนเพียงวิธีหนึ่งเพื่อชะลอการแผขยายอิทธิพลขององคกรอาชญากรรมขามชาติเทานั้น แตไม สามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได จึงเปนหนาที่ของทุกประเทศตองรวมมือกันแกไขปญหา ดังกลาวอยางตอเนื่อง โดยตั้งเปาหมายในแตละป เพื่อทําใหปญหาอาชญากรรมขามชาติไดลดนอยลงตามเปาหมายที่ กําหนด หากทําไดตามเปาหมายนี้ก็ถือวา ประสบความสําเร็จ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 103
อางอิงทายบท I
อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยเรื่องกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ไดใหคํานิยามไว ในมาตรา 2 ยอหนา 1a วา สนธิสัญญา หมายถึง ความตกลงระหวางประเทศ ซึ่งกระทําเปนลายลักษณอักษรระหวางรัฐ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ ไมวาจะกระทําขึ้นเปนเอกสารฉบับเดียว หรือหลายฉบับ และไม วาจะเรียกวา อยางไรก็ตาม อางถึงใน จตุรนต ถิระวัฒน. (2547). กฎหมายระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 78-79. II สนธิสัญญาฯ ไดรวมลงนามโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ประกอบดวย บรูไน ดารุส ซาลาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟ ลิป ปน ส สาธารณรัฐ สิ งคโปร ราชอาณาจั กรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสหภาพเมียนมาร และประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญา ดังกลาวเมื่อป 2556 III ปจจุบัน ประเทศไทยไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนกฎหมายอนุวัติการเพื่อใหเปนไปตามอนุสัญญาฯ โดยไดเริ่มมีผลบังคับใชแลวตั้งแตเดือนกันยายน 2556 อยางไร ก็ตาม ขณะนี้ อยูระหวางการพิจารณาออกขอบังคับประกอบพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวของสํานักงานอัยการสูงสุด และ หนวยงานที่เกี่ยวของ IV สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน (Extradition Treaty) เปนเครื่องมือทางการศาล หรือความรวมมือระหวางประเทศทางอาญา เพือ่ เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งสามารถใชอํานาจทางการศาลของตนเหนือคดีที่เกิดขึ้นในดินแดนของตนเอง แตผูกระทําความผิดใน ขณะนั้นกลับอยูในดินแดน หรืออาณาเขตของอีกรัฐหนึ่ง โดยการสงมอบตัวผูตองหา หรือผูที่ศาลไดมีคําพิพากษาใหลงโทษผู นั้นในการกระทําความผิดทางอาญาในดินแดนของรัฐที่ขอใหสงตัวบุคคลผูนั้น เพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือลงโทษในดินแดน ของรัฐที่รองขอ แตก็มิไดหมายความวา หากไมมีสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนกันไว จะไมสามารถสรางความรวมมือทางอาญา ระหวางประทศไดเลย เพราะรัฐยังคงสามารถมีความรวมมือทางอาญากับรัฐอื่น ๆ ได โดยอาศัยหลักกฎหมายระหวางประเทศ บนพื้นฐานของพันธไมตรีระหวางประเทศ หลักถอยทีถอยปฏิบัติ และหลักความยุติธรรม หรือที่รูจักกันในชื่อวา ความรวมมือ ทางการทูต V สนธิสัญญาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา (Mutual Assistance in Criminal Matters Treaty) เปน กฎหมายระหวางประเทศที่เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่ง หรืออีกหลายหลายรัฐ สามารถใหความชวยเหลือระหวางกันได ตามพันธกรณีที่ตกลงกันไวบนพื้นฐานของประโยชนตางตอบแทน โดยมองตามความเปนจริงวา อาชญากรรมสามารถเกิดขึ้น ในทุกแหงบนโลก และอาชญากรไมวาจะเปนคนเดียว หรือหลายคนก็ไมไดถูกจํากัดดวยพื้นที่ และเวลาในการกระทําผิด และ หลบหนี ดังนั้น จึงจําเปนที่รัฐจะตองรวมมือกันในการแลกเปลี่ยนขอมูล และชวยเหลือในการสืบสวนสอบสวนคดี เพื่อนํา พยานหลักฐานที่ไดไปใชในการดําเนินการทางศาลไดอยางถูกตองตามกระบวนวิธีพิจารณาของศาลยุติธรรม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 104
V
สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่ง เรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่ แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VI
สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่ง เรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VII การประชุมจะมุงเนนความรวมมือของภูมิ ภาคอาเซียนและประเทศคูเจรจาในหัวขอการประชุมที่เกี่ยวของ 8 หัวขอ ประกอบดวย การกอการราย การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน โจรสลัด อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร VIII ประเทศคูเจรจาในกรอบการประชุม SOMTC ประกอบดวย จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอินเดีย IX ปจจุบันประกอบดวยสมาชิกจํานวน 44 ประเทศ และ 2 องคการระหวางประเทศ และมีประเทศผูสังเกตการณอีก 29 ประเทศ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน http://www.baliprocess.net X ประกอบดวย สํานักงานตํารวจจากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และคูเจรจาอีก 5 ประเทศ และ 2 องคระหวาง ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน เกาหลี นิวซีแลนด สํานักงานเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจ สากล เนื้อหาสาระของการประชุมจะประกอบดวย อาชญากรรมขามชาติ 9 ฐานความผิด และ 3 ประเด็นความรวมมือ ประกอบดวย การลักลอบคายาเสพติด การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรม ทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมคอมพิวเตอร การใชเอกสารเดินทางปลอม การฉอโกงขามชาติ ฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ความ รวมมือทางอาญา และการฝกอบรมระหว างตํารวจอาเซียน โดยจะเปนการเสนอถึงสถานการณทั่วไป สภาพปญหาของ อาชญากรรม รวมถึ ง เสนอกฎหมาย และมาตรการที่ เ หมาะสมในการแกไข ป ญ หาต อ ไป ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ใ น http://www.aseanapol.org/information/dialogue-partners XI องคการตํารวจสากล กอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ ประเทศโมนาโค ในป 1914 ปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวม 190 ประเทศ สํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจสากล ตั้งอยูที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส มีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ประสานงาน และ ติด ต อ แลกเปลี่ ยนข อ สนเทศ หรื อ ข อ มูล เกี่ ย วกั บ อาชญากรรมต อ องค ก ารตํา รวจสากลหรือ ต อ สํ านั ก งานกลางแห ง ชาติ (National Central Bureau : NCB) ซึ่งเปนกลไกของประเทศสมาชิกที่สําคัญในการดําเนินงานประสานการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิกดวยกัน โดยองคการตํารวจสากลจะมีบทบาทในการเปนชองทางการติดตอประสานความรวมมือกับระหวาง ประเทศสมาชิกผานระบบเทคโนโลยีสมัยใหม ในการตอสูกับอาชญากรรมและอาชญากรรมขามชาติในศตวรรษที่ 21 โดยคดี สําคัญหลัก ๆ ที่เปนเปาหมายของตํารวจสากล ไดแก การกอการราย การคามนุษย ยาเสพติดใหโทษ การลักลอบขนคนผิด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 105
กฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย โจรสลัด การลักขโมยวัตถุ โบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร นักโทษหลบหนี และอาชญากรสงคราม เปนตน ดูรายละเอียด เพิ่มเติมไดใน http://www.interpol.int/About-INTERPOL/Overview
XII
หมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) เปนคํารองขอความรวมมือ หรือการแจงเตือนระหวางประเทศ ซึ่งอนุญาตให ตํารวจของประเทศสมาชิกแบงปนขอมูลขาวสารสําคัญระหวางกัน ไดถูกจัดทําและเผยแพร โดยสํานักงานเลขาธิการตํารวจ สากลตามคํารองขอของสํานักงานกลางแหงชาติ หรือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายของประเทศสมาชิก และซึ่งจะเผยแพรดวย ภาษาทางการ 4 ภาษาไดแก อาราบิค, อังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน โดยแบงหมายออกเปน 8 ลักษณะ ประกอบดวย หมายสี แดง หมายสีดํา หมายสีสม หมายสีฟา หมายสีเหลือง หมายสีเขียว หมายสีมวง และหมายสีขาว ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดใน http://www.interpol.int/INTERPOL-expertise/Notices XIII ตัวอยางความรวมมือนาสนใจ เชน การดําเนินงานของตํารวจสากลในการนําหมายเอฟบีไอ จับกุม นายไบรอัน สมิธ ผูตองหาตามหมายจับของสํานักงานสืบสวนกลางสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ) ในขอหาลวงละเมิดทางเพศเด็กและขมขืนผูหญิง ใน ป พ.ศ. 2532 ในลาสเวกัส และไดหลบหนีมาซอนตัวอยูในพื้นที่ จ.นาน เปนครูสอนพิเศษวิชาภาษาอังกฤษใหกับเด็กนักเรียน ในโรงเรียนบานปรางค ต. บานปรางค อ.ปว จ.นาน โดยหลังจากแจงขอหาตํารวจสากลไดควบคุม ตัวไปดําเนินการเพื่อสงไป ดํา เนิ นคดีที่ ประเทศสหรัฐ อเมริ กาตามข อ ตกลงเรื่ องสง ผูร ายขา มแดนตอ ไป เป นต น (ข อมู ลจากฝา ยตํ ารวจสากล และ ประสานงานภูมิภาค 3 กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ) XIV ในปจจุบันมีเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูตในประเทศไทยรวม 19 ประเทศและ 2 องคการระหวางประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย, เบลเยี่ยม, แคนาดา, จีน, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อินโดนีเซีย, อิสราเอล, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลีใต, มาเลเซีย, เนเธอรแลนด, นิวซีแลนด, กลุมประเทศนอดิก, นอรเวย, สเปน, สวิสเซอรแลนด, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, องคการตํารวจสากล และสํานักงานตอตานยาเสพติดและอาชญากรรมขององคการสหประชาชาติ
อาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด ป ญ หายาเสพติ ด เป น ป ญ หาที่ มี ค วามรุ น แรงต อ เนื่ อ งมาเป น เวลานาน ซึ่ ง มี ค วามพยายามในการปรั บ ปรุ ง กระบวนการดานการปองกัน และการแกไขจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนมาโดยตลอด และโดยที่การ กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมีรูปแบบการกระทําผิดในลักษณะขององคกรอาชญากรรมที่มีความซับซอน และทวี ความรุ นแรงมากยิ่ งขึ้ น ส งผลให การปราบปรามการกระทําความผิด เป นไปอย างยากลําบาก ดัง นั้น ภัยคุก คามจาก ยาเสพติดเปนภัยคุกคามภูมิภาคอาเซียนอยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่งเปนเพราะในภูมิภาคนี้ มีพื้นที่การผลิตยาเสพติดใหญ เปนลําดับตน ๆ ของโลก แหลงผลิต และชองทางการลําเลียงกระจายอยูในหลายประเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ ยาเสพติด ยังมีสวนเชื่อมโยงกับปญหาหลายดานดวยกัน เชน ปญหาการคามนุษย องคกรอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงปญหาความ เชื่อมโยงระหวางขบวนการคายาเสพติดกับกลุมผลประโยชนในพื้นที่ ทําใหระดับปญหายังคงอยูอยางตอเนื่อง อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด มีลักษณะพิเศษตางจากอาชญากรรมทั่วไป กลาวคือ เปนการกระทํา โดยอาชญากรรมที่ รวมตัว กัน เป นองคก ร มีก ระบวนการทํา งานลั บ และมีก ารแบง หน าที่ และสายงานบัง คับ บั ญ ชา ตามลําดับ ซึ่งมีการปดบังการกระทําความผิดอยางซับซอน การสืบสวนสอบสวนของเจาหนาที่เพื่อดําเนินคดีกับผูกระทํา ผิด จึงไมสามารถพิสูจนความผิดของตัวการสําคัญได โดยสวนใหญจะเปนการจับกุมผูคารายยอยในความผิดฐานนําเขา สงออก จําหนาย หรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนาย ดังนั้น ในการรวบรวมพยานหลักฐานของเจาหนาที่ที่ทําการสืบสวน จึงมีการนําเทคนิคการสืบสวนพิเศษมาใชในการดําเนินการดวย สําหรับประเทศไทยไดมีความรวมมือดานยาเสพติดกับประเทศเพื่อนบานทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคีในดาน การปองกันและปราบปรามยาเสพติด และในกรอบอาเซียน รัฐบาลไทยกําหนดประเด็นปญหายาเสพติดวา เปนปญหา ความมั่นคงในภูมิภาค เพราะหากเยาวชนผูจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และภูมิภาคกลายเปนบุคคลไร สมรรถภาพทางสติปญญา อันเปนผลเนื่องจากการติดยาเสพติด การพัฒนาประเทศใหเติบโตเทาเทียมกับประเทศตะวันตก นั้นคงจะเปนเรื่องายาก ที่ประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนจึงไดประกาศเจตนารมณใหภูมิภาคอาเซียนปลอดยาเสพติดในป 2558 (Drug Free 2015) โดยกําหนดแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบผลิต การคา และการเสพยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกใชเปนแนวทางในการทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ซึ่งที่ผานมา พบวา พื้นที่ปลูกพืชยาเสพติดลดลง การจับกุมผูลําเลียงยาเสพติดบางประเทศลดลง และในขณะเดียวกัน บางประเทศก็เพิ่มขึ้น พบการทําลายโรงงานผลิตยา เสพติด บางประเทศผูใชยาเสพติดประเภทฝน กัญชา มีจํานวนเทาเดิม สวนใหญผูใชสารเสพติดในกลุมแอมเฟตามีน (ATS) (Amphetamine–type stimulants) ไดแก เมแอมเฟตามีน/ไอซ แอมเฟตามีน non-specified amphetamines และกลุมเอ็กซตาซี มีจํานวนเพิ่มขึ้น จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 21 ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 3-4 เมษายน 2555 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ทีผ่ านมา ไดรับรองปฏิญญารวมของผูนําประเทศอาเซียน ในการเปนอาเซียนที่ปลอดยาเสพติดในปพ.ศ. 2558 ทั้งนี้ อาเซียนไดประกาศวิสัยทัศนการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2563 และตอมา ผูนํา ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นพองที่จะเลื่อนปเปาหมายของการใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติดใหเร็วขึ้นอีก 5 ป เปนป พ.ศ. 2558 และไดนิยามการเปน “ประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด” วาคือ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถ ควบคุมปญหายาเสพติดไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ โดยไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตที่เปนปกติสุข ของสังคม และจะทําอยางไรเพื่อใหบรรลุตามเปาประสงคในการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนไดนั้น เปนประเด็นที่ ทาทาย รอเราอยูขางหนา ตางทํางานในการแกไขปญหายาเสพติดเชนเดียวกัน การตอสูกับปญหายาเสพติดในฐานะ อาเซียนที่เปนเสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน โดยเราจะรวมกันเปนประชาคมอาเซียน ภายใน ป พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนป
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 108
เปาหมายเดียวกับการเปนประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ผานการสรางความเชื่อมโยงกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) นั่นหมายถึง การเปดพรมแดน เพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายคนในภูมิภาคอยางเสรี ซึ่งเราควรจะไดตระหนัก ถึงผลกระทบเชิงลบจากการเชื่อมโยงดังกลาวดวย การสกัดกั้นยาเสพติดบริเวณพรมแดนถือเปนองคประกอบหนึ่งในการ สกัดการลักลอบขนยาเสพติดเขามาในประเทศ หรือ ออกไปสูประเทศที่สาม ไมเพียงแคนั้นยังควรรวมมือกันในการลด อุปสงคยาเสพติดอีกดวย เพื่ออนาคตของลูกหลานไมใหตกเปนเหยื่อของยาเสพติดในฐานะรัฐบาลไทย มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหมีการเตรียมความพรอมของประเทศไทย เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 และมอบหมายสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดมีการประชุมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน ป 2558 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2555 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานการประชุม ที่ประชุมมอบหมายใหมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานในแต ละยุทธศาสตรใหกําหนดเปาหมาย ระยะเวลา และงบประมาณที่จะทําใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด พรอมกับระบุโครงการ ที่มีความสําคัญระดับตน (Flagship Projects) ตามกรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ป 2558 เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป
สภาพปญหายาเสพติด ในชวงของการรวมตัวเปนสมาคมอาเซียนในระยะแรกระหวางป 2510-2520 ปญหาสําคัญที่ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตประสบอยูปญหาหนึ่ง คือ ปญหาการลับลอบผลิต ยาเสพติด การลักลอบคายาเสพติด และการแพร ระบาดของยาเสพติด ซึ่งยังคงมีอยูอยางตอเนื่องมากกวา 30 ปกอนที่จะมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน โดยรูปแบบของปญหา ยาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามสภาพการณแวดลอม และปจจัยที่เอื้ออํานวย ชวงระยะแรก เมื่อมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน สภาพปญหายาเสพติดที่ เปนปญหา ถือวา มีความรุนแรงใน ภูมิภาคอาเซียน คือ ปญหาการลักลอบปลูกพืชเสพติด คือ ฝน และการลักลอบผลิตเฮโรอีนในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา (Golden Triangle) ซึ่งเปนพื้นที่ติดตอกันของ 3 ประเทศ คือ เมียนมาร ลาว และไทย พื้นที่ปลูกฝนในบริเวณสามเหลี่ยม ทองคํามี กวา 150,000 เฮคตาร และใหผลผลิตฝนประมาณ ปละ 2,000-2,500 ตัน การปลูกฝนจะดําเนิน การโดย ชนกลุมนอย และชาวเขาที่อาศัยอยูบนพื้นที่สูง เพราะนอกเหนือจากการปลูกฝน เพื่อยังชีพแลว ฝนยังเกี่ยวของกับสังคม และวัฒนธรรมของชนเผาอีกดวย นอกจากนี้ ยังพบการลักลอบปลูกกัญชาในหลายพื้นที่ โดยเมื่อ 30 ปกอน กัญชาปลูก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว อินโดนีเซีย และฟลิปปนส เนื่องจาก เปนพืชที่สามารถเติบโตไดในทุกสภาพ อากาศ ทําให มีการกระจายตัวของการลัก ลอบปลูกกัญชาในหลายประเทศสมาชิกอาเซียน อีกทั้งประเทศไทย และ ประเทศอาเซียนอื่น ๆ คือ มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ตางถูกใชเปนจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยมทองคํา กอน จะถูกลักลอบตอไปยังประเทศที่สามในทวีปยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ป 2519 ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นวา ปญหายาเสพติดเปนภัยคุกคามตออาเซียน และภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยรวมที่จําเปนที่จะตองรวมมือกันขจัดยาเสพติดใหหมดไปจากภูมิภาค จึงไดประกาศปฏิญญาอาเซียนวาดวย หลักการในการตอตานการใชยาเสพติดในทางที่ผิด (ASEAN Declaration of Principles to Combat the Abuse of Narcotic Drugs) ซึ่งมีหลักการวา ประเทศสมาชิกอาเซียนแตละประเทศจะเพิ่มความระมัดระวัง และมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลับลอบคายาเสพติด จัดใหมีความรวมมือในดานการวิจัย และศึกษาเกี่ยวกับยาเสพติด ตอมา สภาพปญหาไดเปลี่ยนแปลงจากปญหายาเสพติดที่สกัดจากพืช มาเปนยาเสพติดประเภทสารสังเคราะห โดยปญหาการ ปลูกฝนในภูมิภาคลดลงทั้งในประเทศไทย เมียนมาร และลาว เนื่องจาก พยายามในการแกไขปญหายาเสพติด แตพบวา สารกระตุนประสาทประเภทเมทแอมเฟตามีน (Methamp hetamine Type Stimulants : ATS) ซึ่งเปนสารกระตุน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 109
ประสาทที่เรียกวา วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (psychotropic substance) เริ่มเขามาแพรระบาดในภูมิภาค อาเซียนใน ป 2532 และประมาณป 2540 เริ่มมียาเสพติดจากนอกภูมิภาค เชน โคเคน จากทวีปอเมริกาใต เอ็กซตาซี หรือยาอี จากประเทศในยุโรป ในปจจุบันตั้งแตป 2550 เปนตนมา พบวา มีไอซ หรือคริสตัลเมทแอมเฟตามีนจากประเทศ ในยุโรปเขามาแพรระบาด และมีการลักลอบคาในภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น และในระยะ 2-3 ปที่ผานมา พบวา มีความพยายาม ที่จะผลิตไอซในภูมิภาคอาเซียนดวย
สถานการณยาเสพติดในประเทศอาเซียน การใชยาเสพติดในกลุม AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS) /สารกระตุนจิตและประสาทในประเภท แอมเฟตามีน ซึ่งรวมไปถึงเมทแอมเฟตามีน หรือยาบา และ ICE ดวย โดยเฉพาะเมทแอมเฟตามีน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นใน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยยาบาเปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศไทย และ สปป.ลาว และเปนยาเสพติดอันดับสองในประเทศกัมพูชา และเวียดนาม สวน ICE เปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย และฟลิปปนส การผลิตยาเสพติดในกลุม ATS ยังคงอยูในระดับสูง โดยกลุมวาและโกกั้ง ซึ่งเปนชนกลุมนอยในประเทศ เมียนมารเปนกลุมผูผลิตหลัก (ยาบา) ในภูมิภาค และใน 2555 สามารถจับกุมโรงงานผลิต ICE เปนครั้งแรก การจับกุมยาเสพติดในกลุม ATS ในป พ.ศ. 2554-2555 ยังอยูในระดับสูงและมีการจับกุม ICE ไดเพิ่มขึ้น โดย ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย รายงานวา มีการจับกุม ICE ไดมากกวา 1 ตัน และประเทศกัมพูชา และสิงคโปร ก็ มีการจับกุม ICE เพิ่มมากขึ้นเชนกัน สําหรับยาอี มีจํานวนลดลงในชวงไมกี่ปที่ผานมา และในระดับโลกมีสัญญาณวา ยาอี จะกลับมาอีกครั้ง สําหรับกลุมนักคาแอฟริกันตะวันตก ลักลอบนําโคเคนมาขายในเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต มากขึ้น มีการจับกุมโคเคนจํานวนมากไดในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศกัมพูชา ฟลิปปนส เวียดนาม ฮองกง และจีน กลายเปนประเทศทางผานของโคเคนที่สําคัญ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็มีการจับกุมโคเคนไดเพิ่มขึ้น เชนกัน โดยกลุม แอฟริกาตะวันตก เดิมจะลักลอบลําเลียงโคเคน และเฮโรอีนเปนหลัก แตปจจุบันเริ่มลักลอบลําเลียงเมทแอมเฟตามีนมาก ขึ้น ซึ่งมีรายงานจากประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ญี่ปุน ลาว มาเลเซีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส ไทย และเวียดนาม สําหรับกลุมนักคาชาวอิหรานลักลอบลําเลียง ICE ยาเสพติดอื่น ๆ เขามาในภูมิภาค และจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษา การติดยาเสพติดในกลุม ATS มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ในกลุมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ อาจกลาวไดวา ไมมีประเทศไหนที่ไมมีปญหายาเสพติด แมกระทั่ง ประเทศสิงคโปร ซึ่งมีบทลงโทษที่รุนแรง เนื่องจาก กลุมประเทศอาเซียนมีแหลงผลิตยาเสพติดขนาดใหญ คือ พื้นที่ สามเหลี่ ยมทองคํ า ซึ่ ง เป น แหล ง ผลิ ตฝ น อั น ดั บ สองของโลก นอกจากนั้ น ยัง เป น แหล ง ผลิ ต เฮโรอี น ICE และยาบ า (AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS)) ซึ่งยาเสพติดที่ผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไดกระจายไปยังประเทศ อาเซียนทุกประเทศ นอกจากนี้ การผลิตยาเสพติด ในภูมิภาคเองแลว อาเซี ยนยัง เผชิญกั บปญหาการลั กลอบนําเข า ยาเสพติดจากภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะ ICE จากแอฟริกา และโคเคนจากอเมริกาใต สําหรับปญหายาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน แบงออกไดเปน 3 กลุมหลัก ๆ คือ 1. ประเทศที่มีสถานะเปนผูผลิตยาเสพติด ไดแก เมียนมาร ซึ่งเปนผูผลิตฝน เฮโรอีน ยาบา และ ICE 2. ประเทศที่มีสถานะเปนทางผานยาเสพติด หรือเปนเสนทางลําเลียงยาเสพติดจากแหลงผลิตในเมียนมาร ไปยังประเทศอื่น ๆ ไดแก ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ 3. ประเทศที่มีสถานะเปนผูบริโภค หรือเปนแหลงแพรระบาดยาเสพติด เชน ไทย ฟลิ ปปนส อินโดนีเซีย มาเลเซีย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 110
ซึ่งในแตละประเทศอาจมีหนึ่ง หรือสองสถานะรวมกัน นอกจากนั้น ยังมีอีก 2 ประเทศที่มีปญหายาเสพติดนอย คือ ประเทศสิงคโปร และบรูไน
1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
ประเทศบรูไน แบงการปกครองเปน 4 เขต มีกรุงบันดาร เสรี เบกาวัน เปนเมืองหลวง การปกครองเปนแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และภาษาจีน บรูไน เปนประเทศเล็ก ๆ ที่มีปญหาคอนขางนอย สถานะเปนผูบริโภคยาเสพติดเปนประเทศที่ไมมีปญหาการ ผลิตยาเสพติดภายในประเทศ และไมมีปญหาเครือขายการคาที่สํา คัญ หรือเครือขายการคาขามชาติ ที่เคลื่อนไหวใน ประเทศ ยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศ คือ ICE และมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้น รองลงมาเปนกัญชา คีตามีน วัตถุ ออกฤทธิ์ฯ และสารระเหย โดยรายงานของ UNODC ระบุวา ใน พ.ศ. 2554 มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 183 คน เปนผูใช ICE รอยละ 96 และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด ทั้งสิ้น 588 คน เปนคดี ICE รอยละ 87 ของกลางที่ยึดได ไอซ 0.78 กิโลกรัม ยาอี 349 เม็ด กัญชา 0.58 กิโลกรัม คีตามีน 0.39 กิโลกรัม และไนเมตาซีแฟม 1,495 เม็ด สวนในป พ.ศ. 2555 (มกราคม-กันยายน) มีการจับกุมผูตองหาคดียาเสพติดได 296 คน ICE 4.7 กิโลกรัม กัญชา 615 กรัม อีริมินไฟว 545 เม็ด และคีตามีน 396 ขวด
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา แบ งการปกครองออกเป น 20 จังหวัด 4 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุ งพนมเปญ การ ปกครองเปนแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญใชภาษาเขมรเปนภาษา ราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ กัมพูชา มีสถานะเปนทางผานยาเสพติดหลายชนิด ทั้ง เฮโรอีน ICE และยาบา จากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไปยังประเทศที่สาม และยังเปนทางผาน ICE จากแอฟริกา โคเคนจากอเมริกาใต นอกจากนั้น ยังมีการผลิต ICE และสาร ตั้งตนซาฟโรล (สําหรับผลิต ICE หรือยาอี) ซึ่งปจจุบัน กัมพูชาถูกใชเปนฐานการคาของเครือขายนักคายาเสพติดชาว แอฟริกา ซึ่งกระจายยาเสพติดไปยังประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูถูกจับคดียาเสพติดทั้งสิ้น 2,381 คน เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่จับกุมได 864 คน ของกลาง ยาบา 238,994 เม็ด ICE 19.1 กิโลกรัม ยาอี 7,855 เม็ด กัญชา 210.2 กิโลกรัม โคเคน 1.1 กิโลกรัม และ เฮโรอีน 2.1 กิโลกรัม สวนในป 2555 (มกราคม-มิถุนายน) มีรายงานการจับกุมคดียาเสพติดทั่วประเทศ จํานวน 524 คดี ของกลาง ยาบา 47,041 เม็ด ICE 17.2 กิโลกรัม และโคเคน 29.4 กิโลกรัม ดานการแพรกระจายของยาเสพติด อาจกลาวไดวา กัมพูชาเปนอีกประเทศหนึ่งในกลุมอาเซียนที่มีปญหาการ แพรระบาดของยาเสพติดอยูในระดับปานกลาง แมทางการกัมพูชาจะระบุวา มีผูเสพเพียง 6,000 คน แตจากการประเมิน ขององคกรเอกชน และ UNODC ประมาณการวา อาจมีผูเสพยาเสพติดมากถึง 500,000 คน หรือประมาณ รอยละ 4 ของประชากรทั้งหมด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE รองลงมาเปน ยาบา และมีแนวโนมแพรระบาดเพิ่มขึ้น
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย แบงการปกครองออกเปน 30 จังหวัด 2 เขตปกครองพิเศษและ 1 เขตนครหลวง เมือง หลวง คือ กรุงจาการตา มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข และหัวหนา ฝาย อินโดนีเซีย มีสถานะเปนประเทศผูบริโภค แตมีปญหายาเสพติดหลายประการ ทั้งเปนแหลงยาเสพติด เปน แหลงคา และแหลงแพรระบาด โดยเฉพาะดานปญหาการแพรระบาดที่มีปญหาคอนขางมาก จากสถิติ ป พ.ศ. 2554 ระบุ วา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 9,870 คน สวนใหญเขารับการบําบัดรักษา ICE และยาอี และมีผูจับกุมคดียาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 111
15,766 คนของกลางที่ยึดได ICE 1,163.3 กิโลกรัม ยาอี 1,096,249 เม็ด วัตถุออกฤทธิ์ฯ 684,819 เม็ด กัญชา 20,260 กิโลกรัม เฮโรอีน 28.8 กิโลกรัม และคีตามีน 49.3 กิโลกรัม และมีรายงานขอมูลการประมาณการจํานวนผูเสพยาเสพติด ในประเทศวา มีอยูประมาณ 4.1 ลานคน หรือประมาณ รอยละ 2 ของประชากร และมีการเพิ่มสูงขึ้นในรอบ 2-3 ปที่ผาน มา โดยเฉพาะในครึ่งปแรกของป 2554 ที่มีอัตราการเพิ่มของอาชญากรรมยาเสพติดประมาณรอยละ 67 เมื่อเปรียบเทียบ กับหกเดือนกอนหนา การแพรระบาดมีทั้งในเมือง และตามหมูบานในชนบท ผูเสพมีอายุตั้งแต 15-39 ป และกลุมผูใชที่ เปนเยาวชนเพิ่มมากขึ้น ยาเสพติดที่แพรระบาดมากที่สุด คือ ICE เฮโรอีน และคีตามีน ปญหายาเสพติด ของประเทศอิ นโดนี เซี ย จัด อยู ในระดับ รุน แรง ซึ่ง ปจจัยที่ส งผลต อสถานการณป ญหา ยาเสพติด ในประเทศอินโดนีเซีย คือ กลุมการคายาเสพติด และเครือขายการคา ซึ่งประกอบดวยหลายชนชาติ เชน กลุม อิหราน แอฟริกัน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน จีน ไทย ไตหวัน และอินเดีย
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
สปป.ลาว แบงการปกครองเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ เมืองหลวง คือ นครหลวงเวียงจันทน มี ระบอบการปกครองเปนแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต ใชภาษาลาวเปนภาษาราชการ สปป.ลาว มีสถานะเปนประเทศทางผานยาเสพติดสําคัญของประเทศพมามายังประเทศไทย เวียดนาม และ กัมพูชา กอนที่จะสงตอไปยังประเทศอื่น ๆ นอกจากนั้น ยังเปนทางผานสารตั้งตนเขาสูแหลงผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยม ทองคํา และเปนประเทศที่ผลิตกัญชามากที่สุดในอาเซียน รวมทั้งยังเปนประเทศที่มีการปลูกฝนในพื้นที่ทางตอนเหนือของ ประเทศ จากรายงานยาเสพติดประจําปของกระทรวงยุติธรรมประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา ลาวเปนทางผานยาเสพติด ที่สําคัญของยาเสพติดในภูมิภาคอาเซียน โดยในป พ.ศ. 2555 สปป. ลาว มีการจับกุมยาเสพติด จํานวน 1,223 คดี ยึด ของกลางได ยาบา 10 ลานเม็ด เฮโรอีน 45 กิโลกรัม และกัญชา 2.8 ตัน ปญหายาเสพติดของ สปป.ลาว อยูในระดับปานกลาง แตในสวนของการแพรระบาด สปป.ลาว เริ่มประสบ กับปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในประเทศมากขึ้น ในป พ.ศ. 2553 รัฐบาล สปป.ลาว ประเมินวา มีผูเสพยาบา ประมาณ 42,000 คน และมีผูเสพฝนประมาณ 14,000 คน และจากรายงานของ UNODC ระบุวา ในป พ.ศ. 2554 สปป. ลาว มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,554 คน โดยรอยละ 98 เปนผูใชยาบา มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 1,749 คน ของ กลางประเภทยาบา 4,609,729 เม็ด กัญชา 1,617.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 43.4 กิโลกรัม และฝน 63.4 กิโลกรัม ยาเสพติดที่ แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา รองลงมาเปนกัญชา และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
5. มาเลเซีย (Malaysia)
มาเลเซี ย แบง การปกครองออกเป น 13 รั ฐ เมื อ งหลวง คื อ กรุ ง กั ว ลาลั มเปอร มีก ารปกครองระบอบ ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ใชภาษามาเลยเปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และจีน มาเลเซียเปนประเทศทางผานยาเสพติดที่สําคัญ ดังนั้น จึงจัดอยูในสถานะของประเทศผูบริโภค สถานการณ ยาเสพติดอยูในภาวะที่เกือบจะควบคุมได แตอยางไรก็ตาม มาเลเซียยังมีปญหาการเปนทางผานของเฮโรอีน ICE จากพื้นที่ สามเหลี่ยมทองคํา นอกจากนั้น กลุมนักคายาบางกลุมเขาไปใชมาเลเซียเปนฐานในการผลิต ICE และเอ็กซตาซี รวมทั้ง กลุมนักคายาชาวแอฟริกา และอิหรานใชเปนฐานในการลักลอบนํา ICE และโคเคนเขามาจําหนายในภูมิภาคอาเซียน ปญหายาเสพติดภายในประเทศมาเลเซีย อยูในระดับปานกลาง ยาเสพติดที่มีการแพรระบาดมาก คือ กัญชา ICE เอ็กซตาซี และวัตถุออกฤทธิ์ฯ แตมีแนวโนมลดลงในป พ.ศ. 2554 มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 160,879 คน สวนใหญ เปนคดีเฮโรอีน และ ICE ของกลาง 1,235.6 กิโลกรัม ยาบา 364,909 เม็ด เฮโรอีน 755.5 กิโลกรัม กัญชา 1,055 กิโลกรัม กระทอม 1,440.4 กิโลกรัม ยาแกไอ 1,537.7 ลิตร วัตถุออกฤทธิ์ฯ 1,773,875 เม็ด เอ็กซตาซี 98,751 เม็ด คีตา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 112
มีน 202.5 กิโลกรัม ฯลฯ และมีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 4,403 คน โดยรอยละ 83 เขาบําบัดการติดเฮโรอีน รัฐบาล มาเลเซียประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1,050,000 คน
6. สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร
เมียนมาร แบงการปกครองออกเปน 7 เขต 7 รัฐ เมืองหลวง คือ เมืองเนปดอ (Naypyidaw) ใชภาษาพมา เปนภาษาราชการ เมียนมารมีสถานะเปนประเทศผูผลิตยาเสพติดหลักในภูมิภาค ซึ่งมีการผลิตทั้งฝน เฮโรอีน ยาบา ICE และ เปนแหลงผลิตขนาดใหญที่สงผลกระทบทั้งภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งอี กหลายประเทศในโลก ในอดีตเมียนมารเปนแหลง ผลิตฝน และเฮโรอีนอันดับหนึ่งของโลก ปจจุบัน เปนอันดับสองของโลก รองจากอัฟกานิสถาน มีผลผลิตฝนประมาณรอย ละ 20 ของผลผลิตฝนทั้งโลก ปจจุบันเมียนมารเปนแหลงผลิตยาบา และ ICE ขนาดใหญ สําหรับยาบาเปนการผลิตเพื่อสง ตลาดในประเทศไทยเปนหลัก สวน ICE สงเขาไทย และประเทศในกลุมอาเซียน รวมทั้งสงไปยังประเทศปลายทางอื่น ๆ สถานการณปญหายาเสพติดในประเทศอยูในระดับรุนแรง แตในดานการแพรระบาด เมียนมารเปนประเทศ ที่ประสบกับปญหาแพรระบาดนอยกวาประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ เนื่องจาก ประชาชนยังยากจนไมมีเงินเพียงพอที่จะซื้อ ยาเสพติดมาเสพ ยกเวนการเสพฝนในพื้นที่เพาะปลูก องคกรเอกชนในเมียนมารประเมินวา มีผูเสพในเมียนมารประมาณ 300,000 คน ส วนใหญ จะเปน เยาวชนในพื้น ที่เ มื อง และผู ใช แ รงงานตามเหมื อ งแร ในเขตอิท ธิพ ลของชนกลุ มน อ ย ยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน และฝน แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน ยาบา ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดย ในป พ.ศ. 2554 มีการรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 1,550 สวนใหญเขารับการบําบัดเฮโรอีน และฝน ดานการจับกุมคดียาเสพติด ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานผูถูกจับคดียาเสพติด 3,691 คน สวนใหญเปนคดี ยาบา และเฮโรอีน ของกลาง ยาบา 5,894,188 เม็ด ICE 33.4 กิโลกรัม เฮโรอีน 42.4 กิโลกรัม ฝน 1,169.9 กิโลกรัม ฯลฯ สวนในป 2555 มีรายงานผลการจับกุมคดี ยาเสพติด 2,457 คดี ของกลาง ฝน 1.3 ตัน เฮโรอีน 147 กิโลกรัม และ ยาบา 15.9 ลานเม็ด อาจกลาวไดวา การผลิตยาเสพติดของเมียนมาร สงผลกระทบตอสถานการณปญหายาเสพติดเกือบ ทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทยที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด เนื่องจาก เปนตลาดขนาดใหญของเมท แอมเฟตามีนจากเมียนมาร (ยาบา และ ICE)
7. สาธารณรัฐฟลิปปนส
ฟลิปปนส แบงการปกครองออกเปน 17 เขต เมืองหลวง คือ กรุงมะนิลา มีการปกครองแบบสาธารณรัฐเดี่ยว ระบบประธานาธิ บดีเปนประมุข ภาษาที่ใชมีมากถึ ง 170 ภาษา แตภาษาทางราชการ คือ ภาษา ฟลิปปน สโน และ ภาษาอังกฤษ ฟลิปปนสมีสถานะเปนประเทศผูบริโภคยาเสพติด สถานการณการแพรระบาดอยูในระดับรุนแรง ฟลิปปนส ประสบปญหาการแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีน (ICE) และกัญชา ซึ่ง UNODC ประเมินวา ฟลิปปนสเปนประเทศที่มี การแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีสูงที่สุดในประเทศกลุมอาเซียนดวยกัน โดยในป 2544 ประมาณการวา มีผูเสพเมท แอเฟตามีนประมาณ รอยละ 2.1 ของประชากรที่มีอายุตั้งแต 16-64 ป นอกจากนั้น เครือขายการคาในฟลิปปนสมี ลักษณะเปนเครือขายอาชญากรรมขามชาติระหวางเครือขายนักคาชาวจีน และนักคาชาวฟลิปปนส ซึ่งทางการฟลิปปนส รายงานวา ประมาณรอยละ 30 ของคดีที่อยูในการพิจารณาของศาลเปนคดียาเสพติด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น รองลงมาเปนกัญชา แตมีแนวโนมลดลง ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 3,040 คน เปนผูเขารับการบําบัดรักษาการติด ICE 2,192 คน รองลงมาเปนกัญชา 903 คน และสารระเหย 166 คน และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 10,636 คน ของ กลาง ICE 254.3 กิโลกรัม ICE น้ํา 173.4 ลิตร กัญชา 596.5 กิโลกรัม และโคเคน 17.8 กิโลกรัม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 113
8. สาธารณรัฐสิงคโปร
สิงคโปร เปนประเทศเล็ก ๆ อยูทางตอนใตของประเทศมาเลเซีย เมืองหลวง คือ สิงคโปร การปกครองเปน ระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา คือ ภาษาจีนกลาง สิงคโปร เปนประเทศที่อยูในสถานะผูบริโภค ประสบกับปญหายาเสพติดนอยที่สุดในภูมิภาค เนื่องจาก มี ปญหาของการคา และการแพรระบาดนอยมาก จนรัฐบาลกลาววา เปนประเทศที่ไม มีปญหายาเสพติด และไมเป น ประเทศแหลงผลิต และไมมีเครือขายที่สําคัญเคลื่อนไหวในประเทศยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน รองลงมา เปน ICE โดยทั้ง 2 ตัวยามีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,245 คน เปนผูใชเฮโรอีน 558 คน และ ICE 549 คน สําหรับการจับกุมคดียาเสพติดในสิงคโปร มีสถิติจับกุมคอนขางนอยเชนกัน โดยในป พ.ศ. 2554 มีผูถูก จับกุมคดียาเสพติดเพียง 3,326 คน ของกลาง ICE 14.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 72.7 กิโลกรัม และยาบา 772 เม็ด สวนในครึ่ง ปแรกของป พ.ศ. 2555 มี การจับกุ ม คีตามีน 1.8 กิ โลกรัม กั ญชา 9 กิโลกรัม ICE 9.4 กิ โลกรัม และเฮโรอีน 44.8 กิโลกรัม
9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนาม แบงการปกครองออกเปน 59 จังหวัด 5 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุงฮานอย มีการปกครอง ระบบสังคมนิยมโดยพรรคคอมมิวนิสต เปนพรรคการเมืองเดียว ใชภาษาเวียดนามเปนภาษาราชการ เวียดนามเปนประเทศทางผานยาเสพติด ทั้งเฮโรอีน ICE กัญชา และโคเคน ปญหายาเสพติดของเวียดนาม อยูในระดับปานกลาง ปจจุบันเครือขายการคายาเสพติดเริ่มมีการใชเวียดนามเปนฐานในการคามากขึ้น ยาเสพติดที่แพร ระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน แตมีแนวโนมลดนอยลง รองลงมาเปน ICE ยาบา และยาอี ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เวียดนามประสบกับปญหาการแพรระบาดของเฮโรอีน โดยในครึ่งปแรกของป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผู เสพประมาณ 150,000 คน สวนใหญเปนผูเสพเฮโรอีน แตมีผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 16,000 คน โดย 9,400 คน เขา รับการบําบัดรักษาในระบบบังคับ และ 6,600 คน บําบัดรักษาในชุมชน มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 26,680 คน ของกลาง ยาบา 366,000 เม็ด กัญชาสด 7.1 ตัน กัญชาแหง 500 กิโลกรัม เฮโรอีน 309 กิโลกรัม กับ 36 แทง สวนในป 2555 มี การจับกุมยาบาได 13,022 เม็ด และเฮโรอีน 45 กิโลกรัม ในครึ่งปแรก รัฐบาลเวียดนามประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติด ประมาณ 171,400 คน
10. ราชอาณาจักรไทย
ประเทศไทยแบงการปกครองออกเปน 77 จังหวัด เมืองหลวง คือ กรุงเทพมหานคร มีการปกครอง ระบบ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ใชภาษาไทยเปนภาษาราชการ ประเทศไทยเปนประเทศที่อยูใ นสถานะของประเทศผูบ ริโภค มีปญหาการแพรระบาดของยาเสพติ ด คอนขางสูง ในป 2553 มีการประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1.2 ลานคน นอกจากนั้น ยังเปนทางผานของ ยาเสพติดทั้งเฮโรอีน และ ICE จากเมียนมารไปยังประเทศที่ 3 โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา และมี แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน กัญชา แตมีแนวโนมลดลง สวน ICE มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น โดยนักวิชาการได ประมาณการณวา จากสถานการณปญหายาเสพติดในปจจุบัน คาดวา จํานวนผูเสพ ICE จะเพิ่มขึ้นเปน 500,000 คนในป พ.ศ. 2559 โดยในป พ.ศ. 2556 (ตุ ล าคม 2555 – 25 มี น าคม 2556) มี ร ายงานจํ า นวนผู เ ข า รั บ การบํ า บั ด รั ก ษา 129,355 คน มีการจับกุมคดียาเสพติด 204,282 คดี ผูตองหา 194,600 คน ของกลางยาบา 53.8 ลานเม็ด ICE 863.3 กิโลกรัม เฮโรอีน 181.8 กิโลกรัม กัญชา 11.2 ตัน และโคเคน 45.5 กิโลกรัม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 114
มาตรการและแนวทางแกไขปญหายาเสพติดของประเทศเพื่อนบาน ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดในประเทศไทย มิใชปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศเทานั้น แตเปนปญหาที่มี สวนเกี่ยวของกับตางประเทศดวย โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบาน ดังนั้น มาตรการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศ เพื่อนบาน จึงเปนปญหาสําคัญที่สะทอนถึงประสิทธิผลของนโยบาย การแกไขปญหายาเสพติดของไทย
1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
ประเทศบรูไน ใหความสําคัญกับการบําบัดรักษา และฟนฟูผูที่ติดยาเสพติด โดยกอตั้งสถาบันเพื่อการบําบัด และฟนฟูผูติดยาเสพติด “Rumah-Al-Islan” ซึ่งอยูภายใตการดูแลของกรมราชทัณฑ สําหรับมาตรการดานกฎหมายใน การแกไขปญหายาเสพติด บรูไนไดออกพระราชบัญญัติวาดวยการใชยาในทางที่ผิด (Misuse of Drugs Act: MDA) ในป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ซึ่งมีบทลงโทษแกผูลักลอบคายาเสพติดถึงขั้นประหารชีวิต นอกจากนี้ ยังไดออกคําสั่งวาดวยการ ฟอกเงินอีกดวย สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น บูรไนไดเขารวมเปนสมาชิกในการประชุมดานยาเสพติดของ อาเซียน และความรวมมือระดับทวิภาคี กับมาเลเซีย โดยการแลกเปลี่ยนขอมูลการสืบสวนและการปฏิบัติการรวมกัน
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
การแกไขปญหายาเสพติดของกัมพูชา ไดมุงเนนการทํากิจกรรมดานตาง ๆ ทั้งดานการบังคับใชกฎหมายและ การปราบปรามยาเสพติด มาตรการควบคุมสารตั้งตนในการผลิตยาเสพติด การทําลายแหลงเพาะปลูกพืชเสพติด และการ ใหความรูเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดแกเด็ก และเยาวชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น กัมพูชาไดเขารวม การประชุมในเวทีตาง ๆ มากมาย ตลอดจนการกอตั้งความรวมมือขามพรมแดนระหวางไทย-กัมพูชา และความรวมมือใน ระดับทวิภาคีและไตรภาคี (กัมพูชา-สปป.ลาว-เวียดนาม)
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียมียุทธศาสตร และมาตรการควบคุม และตอตานยาเสพติด โดยสรางความสมดุลของยุทธศาสตร ในการดําเนินงานแกไขปญหายาเสพติดทั้งการลดอุปสงค และอุปทาน การควบคุมสารตั้งตน การควบคุมการนําสง ซึ่ง ดําเนินการรวมกับประเทศไทย การประกาศใชกฎหมายปราบปรามการฟอกเงินในป ค.ศ. 2002 และเปนสมาชิกของกลุม ประเทศเอเชียแปซิฟก ในเรื่องการตอตานการฟอกเงิน นอกจากนี้ อินโดนีเซียไดจัดตั้งระบบฐานขอมูลเพื่อรวบรวม รายงานการใชยาเสพติดในทางทีผ่ ิดจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น อินโดนีเซีย ไดเ ขาร วมเปน ภาคีในอนุสั ญญาของสหประชาชาติ จํ านวน 3 ฉบับ ดานยาเสพติด ทั้ง นี้ อินโดนีเ ซียยังไดร วมมื อกั บ UNDCP ในการทําโครงการตาง ๆ
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
การแกไขปญหายาเสพติดในสปป.ลาวนั้น รัฐบาลลาวใหความสําคัญตอการจัดการปลูกฝนภายในประเทศ เปนอยางมาก โดยมุงเนนการใชแนวทางสมดุล เพื่อแกไขปญหาความยากจนควบคูไปกับการขจัดฝนโดยผาน 3 สวนหลัก คือ การพัฒนาทางเลือก การลดอุปสงคยาเสพติดโดยเนนชุมชน และการบังคับใชกฎหมาย รัฐบาลลาวไดดําเนินการลด อุปสงคยาเสพติดดวย การรองรับแผนปลูกจิตสํานึกในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น สปป.ลาวเนนความรวมมือทางวิชาการ และการรับความชวยเหลือ จากตางประเทศเปนหลัก และรัฐบาลลาวไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อการควบคุมยาเสพติด 2 ฉบับ และ กําหนดใหมีกฎหมายฟอกเงิน และกฎหมายควบคุมสารตั้งตน บังคับใชภายในประเทศ นอกจากนี้ ในป 2540 ลาวไดรับ เลือกเปนสมาชิกของคณะกรรมาธิการยาเสพติดแหงสหประชาชาติ ซึ่งมีวาระการเปนสมาชิก 4 ป ปจจุบัน สปป.ลาวมี ความรวมมือระดับภูมิภาคภายใตก รอบอาเซียน โดยมีเปาหมายรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด ภายในป 2558 และยังมีความรวมมือในระดับอนุภูมิภาคดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 115
5. สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร เมียนมารไดจัดทํารางแผนควบคุมยาเสพติดและลดพื้นที่ปลูกฝนภายใน 15 ป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดพื้นที่ ปลูกฝน ลดการผลิตและการบริโภคฝนใหหมดไป การดําเนินงานแบงเปน 3 ระยะ ๆ ละ 5 ป โดยมีหลักยุทธศาสตร คือ ดําเนินงานเพื่อการพัฒนาพื้นที่ชายแดน เปนการยกระดับความเปนอยูของชาวเมียนมาร ซึ่งการดําเนินงานตามแผนนี้ ครอบคลุมถึงการลดอุปสงค อุปทาน และการปราบปรามยาเสพติด นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมารไดปฏิรูปให CCDAC (Central Committee for Drug Abuse Control) ซึ่งเปนหนวยงานหลักดานยาเสพติดที่เรงดําเนินมาตรการควบคุมยา เสพติดมากขึ้น และไดลงนามในปฏิญญารวมที่จะทําใหภูมิภาคอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด และรัฐบาลเมียนมารไดให ความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ทุกระดับ โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก UNODC และลงนามในความตกลงเปน บันทึกความเขาใจ (MOU) กับหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่อยูในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
6. มาเลเซีย
หนวยงานหลักของประเทศมาเลเซียที่เปนผูกําหนดวัตถุประสงคในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด คือ National Drugs Council และมาเลเซียยังไดจัดกิจกรรมเพื่อการปองกันปญหายาเสพติดขึ้นมากมาย อาทิ กิจกรรม ปองกันยาเสพติดในโรงเรียน กิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของชุมชน การประชาสัมพันธ และสารสนเทศ และการบําบัด ฟนฟู โดยมีวิธีการบําบัดและฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดหลายรูปแบบ ไดแก 1) One-Stop Center Concept การจัดตั้งศูนยฟนฟูในชุมชนตาง ๆ 2) Multi-Disciplinary Approach การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงหวังการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ 3) Military-Style Training การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงปลุกจิตสํานึกดานระเบียบวินัยเปนสําคัญ สําหรับมาตรการดานกฎหมาย มาเลเซียไดออกมาตรการทางกฎหมายที่สําคัญจํานวน 5 ฉบับ และไดเขา รวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติด จํานวน 3 ฉบับ สวนในระดับภูมิภาค มาเลเซียไดเปนภาคีใน Asean Declaration of Principles on Drug Abuse Control ในป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และในระดับทวิภาคีได รวมมือในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดกับประเทศอังกฤษ อองกง สหรัฐอเมริกา เวเนซูเอลา และรัสเซีย
7. สาธารณรัฐฟลิปปนส
ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ประธานาธิบดีของประเทศฟลิปปนส ไดประกาศสงครามกับ ยาเสพติดโดยใชมาตรการเด็ดขาด ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อการปราบปรามผูคา และผูมีสว นเกี่ยวของกับยาเสพติด รวมทั้งผูที่ ทุจริตคอรรัปชั่นดวย โดยรัฐบาลไดดําเนินยุทธศาสตร Holistic Anti-Drug Strategy : HADS เพื่อตอตานยาเสพติด ซึ่ง เปนสวนหนึ่งของแผนดําเนินการตอตานยาเสพติดแหงชาติ Holistic Anti-Drug Program of Action : NADPA โดย แบงเปน 3 ดาน คือ การปองกันและควบคุม การปฏิรูปสวนราชการ และการมีสวนรวมของประชาสังคม ดานกฎหมายได ออกกฎหมายฉบับใหมทดแทนฉบับเดิม คือ Republic Act 1965 หรือ The Comprehensive Dangerous Dugs Act of 2002 และเพิ่มบทลงโทษตอผูละเมิดกฎหมายดานยาเสพติดที่รุนแรงมากขึ้น โดยมีโทษสูงสุดถึงขั้นจําคุกตลอดชีวิต และประหารชี วิ ต ปรับ ตั้ งแต 10,000 ถึ ง 200,000 ดอลลารส หรัฐ ฯ นอกจากนี้ กฎหมายฉบั บ นี้ไ ด กํา หนดใหผู ติ ด ยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษาโดยระบบสมัครใจ หรือบังคับบําบัดและเนนใหครอบครัว โรงเรียน เอกชน สหภาพ แรงงาน และสวนราชการเกิดความรวมมือกันในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด พรอมทั้งสงเสริมการสรางเขต ปลอดยาเสพติด สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น ฟลิปปนสไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาสหประชาชาติดานยาเสพ ติด 3 ฉบับ โดยใหความรวมมือในภูมิภาคอื่น และมีบทบาทในกลไกตาง ๆ ภายใตกรอบอาเซียน นอกจากนี้ ฟลิปปนสได ทําความตกลงกับจีน โดยลงนามในเอกสารที่เกี่ยวของกับยาเสพติด 3 ฉบับ คือ สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน บันทึกความ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 116
เขาใจวาดว ยการตอสูกั บอาชญากรรมขามชาติ และบันทึก ความเขาใจวาดวยการปองกันการปลูก ผลิต และการใช ยาเสพติดผิดกฎหมาย และฟลิปปนสยังไดรับความชวยเหลือดานเทคนิคจากหลายประเทศ
8. สาธารณรัฐสิงคโปร
หนวยงานหลักของสิงคโปรที่รับผิดชอบเรื่องยาเสพติด คือ Central Narcotics Bureau : CNB โดยกําหนด ยุทธศาสตรการแกไขปญหายาเสพติดทั้งดานการลดอุปสงค และอุปทานยาเสพติด และสิงคโปรใชมาตรการทางกฎหมาย The Misuse of Drugs Act 1973 เปนกฎหมายหลักในการบังคับใชเพื่อปราบปรามยาเสพติด โดยมีการปรับปรุงให ทันสมัยตลอดเวลา โดยเฉพาะการเพิ่มบัญชีรายชื่อยาเสพติดชนิดใหม และยังไดออกกฎหมายใหมเพิ่มเติม คือ The Drug Trafficking Act 1993 ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเปน The Corruption, Drug Trafficking and other Serious Crimes Act 1999 โดยใหอํานาจการติดตาม ยึดทรัพยสินที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การบําบัดฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดเปนหนาที่ของ หนวยงาน Drug Rehabilitation Centre : DRCs ซึ่งมีหนาที่ในการปลูกฝงระเบียบวินัย ความรับผิดชอบตลอดจน จริยธรรมตาง ๆ หากผานการบําบัดแลว จะตองอยูภายใตการควบคุมของ DRC อีก 2 ป โดยมีการตรวจสอบปสสาวะเปน ประจํา หากพบวา มีการใชยาเสพติดจะถูกสงตัวเขารับการบําบัดอีกครั้งหนึ่ง สําหรับการศึกษาเชิงปองกัน CNB ไดจัดตั้ง The Preventive Education Unit : PEU ตั้งแตป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เพื่อสรางจิตสํานึกใหแกเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ สิงคโปรไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดจํานวน 3 ฉบับอีกดวย
9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนามไดประการใชแผนปฏิบัติการแหงชาติในการควบคุมยาเสพติดระหวางป ค.ศ. 2001-2005 โดย มุงเนน 8 โครงการสําคัญ คือ 1) การใหความรูและเผยแพรขอมูลขาวสารดานยาเสพติด โดยเวียดนามใหวันตอตานยาเสพติดสากล คือ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกป เปนวันตอตานยาเสพติดแหงชาติดวย 2) การทําลายฝน และโครงการพัฒนาทางเลือกที่ทํารวมกับ UNDCP 3) การตอตานยาเสพติดและการควบคุมสารตั้งตน 4) การปรับปรุงประสิทธิภาพในการบําบัดและฟนฟู 5) การปองกันการใชยาเสพติดในทางที่ผิดในโรงเรียน 6) การศึกษาและประยุกตวิธีการทางการแพทยแผนโบราณ และอื่น ๆ ในการบําบัดและฟนฟู 7) การกอตั้งประชาคมสํานักงาน หรือหนวยงานที่ปลอดยาเสพติด 8) การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการควบคุมยาเสพติด ทั้งนี้ เวียดนามไดมีสวนรวมในกิจกรรมระหวางประเทศ และยังรวมมือกับสํานักงานผูประสานงานชายแดน ของ ประเทศจีน ลาวและกัมพูชา ในการตรวจสอบ และควบคุมยาเสพติดระหวางพรมแดนอีกดวย
ภูมภิ าคแหลงลุม แมน้ําโขง ภูมิภาคแหลงลุมแมน้ําโขง เปนแหลงผลิต และเสนทางลําเลียงยาเสพติดที่สําคัญ โดยพบวา - เมียนมาร เปนแหลงวัตถุดิบ และยาเสพติดรายใหญที่สุดในโลก และยังถูกจัดอยูในบัญชีรายชื่อประเทศที่ ไมใหความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดอีกแหงหนึ่งดวย - จีน คือ แหลงผลิตสารเคมีที่ใชผลิตสารเสพติด และเปนทางผานของยาเสพติดไปยังฮองกง เพื่อสงตอไป ยังประเทศแถบตะวันตก - สปป.ลาว เปนแหลงผลิตฝนที่สําคัญแหงหนึ่ง และเปนจุดกระจายของยาเสพติด - เวียดนาม และกัมพูชา เปนเสนทางผานของยาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 117
- ไทย เปนทั้งแหลงเงินทุน และตลาดรองรับสินคาที่สําคัญของยาเสพติด ทั้งนี้ จากปญหาที่พบนั้นสืบเนื่องมาจากสาเหตุของการเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมสมัยใหมในเวลา อันรวดเร็วแตมีความเสี่ยงสูง ยาเสพติดจึงกลายเปนทางออกหนึ่งของผู ดอยโอกาสทางสังคม และพวกแสวงหาอํานาจ ในทางทุจริต ประเทศไทยไดขยายความรวมมือกับประเทศที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด หรือประเทศที่ประสบปญหายาเสพติด ทั้งในภูมิภาคเดียวกัน และภูมิภาคอื่น ๆ โดยไดลงนามในบันทึกความตกลงเกี่ยวกับความรวมมือดานการปองกัน และ ปราบปรามยาเสพติดระหวางประเทศ และยังเปนเจาภาพจัดการประชุมระหวางประเทศวาดวยยาเสพติด ซึ่งถือเปนการ ประกาศเจตนารมณทางการเมืองในการยอมรับวา ปญหายาเสพติดเปนปญหารวมกันของประชาคมระหวางประเทศที่ตอ ง รวมกันรับผิดชอบ และแกไขรวมกันทั้งในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระหวางประเทศ ดังนั้น ความสัมพันธอันดีระหวาง 1 ประเทศ จึงเปนเรื่องสําคัญยิ่งตอการแกไขปญหาการแพรระบาดยาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียนรวมมือกันในการตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแต ป ค.ศ. 1976 เพราะเห็นวา ผลรายอันเกิดจากอาชญากรรมดังกลาว กระทบกับการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะกรณีการ ลักลอบคายาเสพติด แลวขยายตัวและเพิ่มความหลากหลายของรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ จากนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวประเทศไทย ทําใหในแตละป มีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติหลั่งไหลเขา มาทองเที่ยวประเทศไทยจํานวนมาก โดยในชวง 5 ปที่ผานมา มีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทย เพิ่มขึ้นจาก 20.6 ลานคน ในป 2551 เพิ่มขึ้นเปน 31.4 ลานคนในป 2555 โดยขอมูลของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองระบุ วา ชาวตางชาติที่เดินทางเขาประเทศไทยสูงสุด 10 อันดับ ไดแก จีน มาเลเซีย ลาว ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย อังกฤษ และสิงคโปร ในป 2555 โดยเฉพาะคนในประเทศอาเซียน ก็พบวา มีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน คือ มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยชาวมาเลเซียเปนกลุมที่เดินทางเขาประเทศไทยมากที่สุด รองลงมา คือ ชาวลาว สิงคโปร และเวียดนาม จากสถิติการจับกุมผูตองหาชาวตางชาติในคดียาเสพติดในป 2551-2555 พบวา มีกลุมคนในประเทศอาเซียนเขา มาถูกจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง สัญชาติที่ถูกจับกุมมากที่สุด คือ สปป.ลาว รองลงมา เปน เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย สวนสัญชาติที่ไมมีการจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเลย คือ บรูไน ชนิดยาเสพ ติดที่กลุมผูตองหาในประเทศอาเซียนเขามาเกี่ยวของมากที่สุด ไดแก ยาบา ไอซ เฮโรอีน และกัญชา ตามลําดับ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ที่ มี ก ารจั บ กุ มผู ต อ งหาชาวต า งชาติ ใ นกลุ มประเทศอาเซี ยนจากมากไปน อ ย ได แ ก กรุ ง เทพฯ อุบลราชธานี ระนอง มุกดาหาร สงขลา ตาก หนองคาย เชียงใหม นราธิวาส สระแกว สุราษฎรธานี กาญจนบุรี เลย นครพนม เชียงราย ชลบุรี สมุทรปราการ และปทุมธานี ตามลําดับ สวนใหญเปนจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศ เพื่อนบาน พื้นที่เมืองใหญ และพื้นที่ที่เปนตลาดแรงงาน หรือพื้นที่ที่เปนแหลงทองเที่ยว โดยสวนใหญจะเปนการถูกจับกุม ในขอหาเสพ รอยละ 30.1 ครอบครอง รอยละ 27.1 และครอบครองเพื่อจําหนาย รอยละ 27.0 แตหากพิจารณาในขอหา สําคัญ พบวา ขอหาผลิต จะเปนผูตองหาชาวสิง คโปร และเมียนมาร ขอหานําเขาเปนผูตองหาชาวฟลิปปนส สปป.ลาว และเวียดนาม ขอหาสงออกจะเปนผูตองชาวสิงคโปร และฟลิปปนส โดยคาดวา ในป 2558 ซึ่งเปนปที่เขาสูประชาคมอาเซียน ประมาณการวา จะมีคนอาเซียนเดินทางเขาประเทศ ไทยมากถึง 13 ลานคน และอาจจะมีคนในกลุมประเทศอาเซียนเขามากระทําความผิด และถูกจับกุมในคดี ยาเสพติดใน ประเทศเพิ่มขึ้นเปน กวา 7,000 คน 1
สํานักวิชาการดานยาเสพติด สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.. การศึกษาและวิจัยนโยบายการแกไขปญหายา เสพติด เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูลสารเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ . มหาวิทยาลัยขอนแกน. มิถุนายน 2553.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 118
กลไกความรวมมือดานยาเสพติดของอาเซียน ในที่ประชุมผูนําอาเซียนอยางเปนทางการ ไดย้ําถึงความจําเปนที่จะตองมีการรวมมือกันระหวางชาติสมาชิก และกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวข องในการตอสูกับอาชญากรรมนี้ จึงไดมีมติในแถลงการณสมานฉันทอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ ค.ศ. 1976 ใหประเทศสมาชิกรวมมือกันอยางแข็งขันกับ องคการระหวางประเทศในการปองกันและการขจัดยาเสพติด และการลักลอบคายาเสพติด และในการประชุมผูนํา อาเซี ย นทุ ก ครั้ ง ที่ ผ า นมา ที่ ป ระชุ มได แ สดงความห ว งใยต อ ป ญ หายาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคมาโดยตลอด และในเดื อ น พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 1 ที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ ประชุมเรียกรองใหองคกรของอาเซียนที่ เกี่ยวของศึกษาความเปนไปไดในการมีความรวมมือในระดับภูมิภาคในเรื่อง อาชญากรรมรวมทั้งการสงผูรายขามแดน และในวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมไดมีมติใหมีมาตรการที่แน นอน และเขมงวดในการตอสูกับ อาชญากรรมขามชาติ อาทิเชน การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาผูหญิงและเด็กรวมถึงอาชญากรรมขามชาติอื่น ๆ ในขณะที่ การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรมขาม ชาติที่มีผลกระทบตออาเซียน จึงไดเรียกรองใหมีการรวมมืออยางใกลชิด และมีการประสานการปฏิบัติระหวางประเทศ สมาชิก โดยในการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 29 ที่กรุงจาการตา อินโดนีเซีย เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2539 ที่ประชุมฯ ไดเห็นพองกันถึงความจําเปนที่จะสนใจรวมกันในปญหาอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับ ยาเสพติด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการฟอกเงิน ปญหาสิ่งแวดลอม และการหลบหนีเขาเมือง ซึ่งเปนปญหาขาม พรมแดนของแตละประเทศสมาชิก มีผลกระทบตอชีวิตของประชากรในภูมิภาคและตกลงใหมีการจัดการเกี่ยวกับปญหา ขามชาตินโี้ ดยเรงดวน เพื่อมิใหมีผลกระทบตอการดํารงอยูในระยะยาวของอาเซียน และของแตละประเทศสมาชิก จากนั้น ที่ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 30 ไดย้ําอีกครั้งถึงความจําเปนในการรวมมือกันเกี่ยวกับ ปญหาขามชาติรวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบสงคนหลบหนีเขาเมือง ยาเสพติด อาวุธ โจรสลัด และโรค ระบาด อยางไรก็ตาม ในระยะแรกดานยาเสพติดของอาเซียนอยูในความรับผิดชอบของคณะกรรมการอาเซียนวาดวย การพัฒนาสังคม โดยมีการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติด (ASEAN Drugs Experts Meeting) เปนประจําทุกป จากหนวยงานกลางดานยาเสพติดของอาเซียน ตอมา เมื่อมีการปรับโครงสรางของสํานักเลขาธิการอาเซียน และมีการยก สถานะของคณะผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติดอาเซียนขึ้นเปนระดับเจาหนาที่อาวุโสอาเซียน (ASEAN Senior Officials on Drugs : ASOD) ในป 2540 ซึ่งจะรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ซึ่งเปนองคกรสูงสุดในการบริหารงาน ความรวมมือในกรอบอาเซียนในดานตาง ๆ ของอาเซียน โดยมีปลัดกระทรวงการตางประเทศของประเทศอาเซียนเปน กรรมการ อาเซี ยนได กํา หนดการดํ าเนิ น งานแกไ ขป ญหายาเสพติ ดใน 5 สาขาของความรว มมื อโดยผา นกรอบการ ดําเนินงานของเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ดังนี้ 1. ความรวมมือดานการปราบปรามยาเสพติด 2. ความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด 3. ความรวมมือดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด 4. ความรวมมือดานการวิจัย 5. ความรวมมือดานการพัฒนาทางเลือก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 119
ตอมา ในป 2545 อาเซียนไดเพิ่มคณะกรรมการอีก 1 คณะ คือ เจาหนาที่อาวุโสดานอาชญากรรมขามชาติ (Senior Officials on Transnational Crime) เนื่องจาก สถานการณปญหาใน 8 สาขาของความรวมมือ เชน การคา มนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน และการปราบปรามการลักลอบคายาเสพติด ซึ่งเปน 1 ใน 8 สาขาของความรวมมืออาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และไดเพิ่มการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดาน อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งจะมีการประชุมปเวนป โดยไดปรับเปลี่ยนใหงานยาเสพติดภายใตคณะกรรมการเจาหนาที่อาวุโส อาเซียนดานยาเสพติดเสนอรายงานตอที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (Ministerial Meeting of ASEAN on Transnational Crimes : AMMTC) แทนการเสนอรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug-Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สําคัญในการ ผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุมสุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมือง รวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไดรับการยอมรับจากนานา ประเทศในดา นความสํ าเร็จของการพัฒนาทางเลือ กเพื่อ แก ไขปญ หาพืช เสพติ ด และความตกลงระหวา งประเทศที่ เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ พิธีสาร เพื่อปองกัน ปรามปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยาย ถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ อย า งไรก็ ต าม การปกป อ งคุ มครองผลประโยชน แ ห ง ชาติ ข องแต ล ะประเทศนํ า ไปสู ค วามขั ด แย ง ระหว า ง ผลประโยชนแหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด ตอ งอาศั ยป จจั ยด า นการเมื องระหว า งประเทศ และความสั มพั น ธ ร ะหว า งประเทศที่ เอื้ อ อํ า นวยต อ การดํ า เนิ น งาน ปราบปรามยาเสพติด ซึ่งงานดานตางประเทศเปนเรื่องที่ละเอียดออนที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อ เสริมสรางความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน นอกจากนี้ ความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานขึ้นอยูกับเรื่อง ความสั มพัน ธ ศัก ยภาพในการดํ าเนินงาน และเงื่อ นไขภายในประเทศของแต ละประเทศดว ย อยา งเชน สํา นัก งาน ประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศเพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ และตองมีการ ประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทําใหเกิดปญหาการขาดความคลองตัวในการทํางาน ประเด็นที่สําคัญ คือ ประเทศเพื่อน บานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมในหลาย ๆ ดาน ทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลเปนอยาง มากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค แสดงใหเห็นวา การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณา การรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ และการมองปญหาที่ไมเหมือนกัน นําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนิน นโยบายการแกไขปญหาที่แตกตางกัน
องคกรอาเซียนที่เกี่ยวของในความรวมมือเกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด เนื่องจาก ปญหาอาชญากรรมขามชาติไมไดจํากัดอยูเพียงสวนใดสวนหนึ่ง แตเกี่ยวของกับหลายองคกรของ อาเซียน ในการกําหนดนโยบายและการปฏิบัติการเพื่อตอตานการประกอบอาชญากรรมขามชาติ องคกรของอาเซียนที่มี สวนเกี่ยวของ ไดแก 1. การประชุมอธิบดีกรมตํารวจของอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) ดูแล เกี่ยวกับการปองกันปราบปรามและการปฏิบัติการในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matter : ASOD) มีหนาที่ เชนเดียวกัน แตเนนการปราบปรามและควบคุมยาเสพติด และกิจกรรมที่เกี่ยวของ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 120
3. การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers Meeting : AFMM) มี หนาที่ในการติดตามและตรวจสอบปญหาขามชาติในดานการเงินและศุลกากร เชน การลักลอบคายาเสพติดและสารกลอม ประสาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดนโยบาย กระบวนการ และกฎระเบียบในการตอตานการประกอบอาชญากรรม ดังกลาว 4. การประชุมรั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทยอาเซี ยน (Meeting of ASEAN Ministers of Interior/Home Affairs)
ปฏิญญาอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ไดมีมติใหการรับรองปฏิญญาอาเซียนวาดวย อาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) ตามที่คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนฯ เสนอ ซึ่ง ไดมีการลงนามในการประชุมฯ มีสาระสําคัญวาประเทศผูลงนามจะรวมมือกัน ดังนี้ 1. สงเสริมความมุงมั่นของประเทศสมาชิกในการรวมมือในระดับภูมิภาคเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. จัดใหมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ เพื่อประสานกิจกรรมขององคกร อาเซียนที่เกี่ยวของ เชน คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drugs Matters : ASOD) และการประชุมอธิบดีกรมตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) 3. จัดใหมีการหารือเพื่อใหมีการลงนามในความตกลงชวยเหลือดานกฎหมายรวมกัน สนธิสัญญาทวิภาคี บันทึก ความเขาใจหรือการดําเนินการอื่น ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. พิจารณาจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Centre on Transnational Crime : ACOT) ซึ่งจะประสานความพยายามในระดับภูมิภาคในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ดวยการแลกเปลี่ยนขาวสาร การปรับปรุงนโยบายใหสอดคลองกัน และการประสานความรวมมือระหวางกัน 5. จัดใหมีการประชุมคณะผูเชี่ยวชาญระดับสูงเฉพาะกิจทุกป โดยไดรับการสนับสนุนจากสํานักเลขาธิการ อาเซียน เพื่อดําเนินการดังนี้ 5.1. จัดทําแผนปฏิบัติการอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ 5.2. พิจารณาจัดกรอบการดําเนินงานขององคกรการดําเนินความรวมมือของอาเซียนดานอาชญากรรมขาม ชาติ และ 5.3. ทําการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ACOT) 6. สนั บ สนุ น ประเทศสมาชิ ก ในการพิ จ ารณาแต ง ตั้ ง เจ า หน า ที่ ตํ า รวจประจํ า ประเทศสมาชิ ก (Police Attache/Police Liaison Officer) เพื่ออํานวยความสะดวกในการรวมมือกันในดานการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 7. สนับสนุนการมีเครือขายระหวางหนวยงาน หรือองคการระดับชาติที่เกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติเพื่อ เพิ่มพูนการแลกเปลี่ยนขาวสาร และการกระจายขาวสาร 8. ขยายขอบขายความพยายามของประเทศสมาชิก ในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงินโดยผิดกฎหมาย การลักลอบสงคนเขาเมืองและการกระทําเชน โจรสลัด และรองขอใหเลขาธิการอาเซียนใหรวมขอบขายในเรื่องนี้อยูในกรอบการดําเนินการของสํานักเลขาธิการอาเซียน 9. สํารวจหาลูทางที่ประเทศสมาชิกสามารถทํางานรวมกันอยางใกลชิด กับหนวยงานและองคการที่เกี่ยวของใน ประเทศคูเจรจา ประเทศอื่น ๆ และองคการระหวางประเทศ รวมทั้งองคการสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของ สหประชาชาติ สํานักงานแผนโคลัมโบ องคการตํารวจสากล และหนวยงานอื่น ๆ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 121
10. รวมมือและประสานกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของอยางใกลชิดมากยิ่งขึ้น เชน การประชุมรัฐมนตรี อาเซี ย นด า นกฎหมาย และการประชุ ม อั ย การสู ง สุ ด อาเซี ย น การประชุ ม อธิ บ ดี ก รมตํ า รวจอาเซี ย น การประชุ ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน การประชุมผูบัญชาการสํา นักงานตรวจคนเขาเมืองอาเซียน และการประชุม อธิบดีกรมศุลกากรอาเซียน ในการสอบสวน การดําเนินคดี และการฟนฟูผูประกอบอาชญากรรมดังกลาว 11. สงเสริมการพัฒนาสมรรถภาพของสํานักเลขาธิการอาเซียน ในการชวยเหลือประเทศสมาชิกในการริเริ่ม การ ดําเนินการ การวางแผน และการประสานงานในการจัดกิจกรรม การกําหนดกลยุทธ การวางแผน และโครงการในการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ นับตั้งแตมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ป ค.ศ. 1997 จนถึงปจจุบันเปนเวลา ประมาณ 17 ป ความสัมพันธระหวางชาติสมาชิกไดใกลชิดกันมากยิ่งขึน้ มีความรวมมือกันในหลาย ๆ ดาน เปนประโยชน ในการพั ฒนาภู มิ ภาคให มั่ น คงและเจริ ญ ก า วหน า ทั้ ง นี้ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ยนส ว นใหญ เ ป น ประเทศกํ า ลั ง พั ฒนา ประชากรมีรายไดนอย บางประเทศในอาเซียนมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทําใหระบบการเมืองออนแอ แตทุก ประเทศสมาชิกมีความเขาใจอันดีตอกัน จะเห็นไดจาก 1. ความรว มมื อในการตอ ตา นอาชญากรรมขา มชาติ เ ปน ความรว มมื อเฉพาะดา นระหวา งประเทศสมาชิ ก นอกจากความรวมมือทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ 2. มีโครงการที่สําคัญ คือ แผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการประกาศใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด ในป ค.ศ. 2015 3. การรวมกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน จะพัฒนาความรวมมือ และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ตองอาศัยระยะเวลาในการดําเนินการ เพื่อกําหนด และวางมาตรการการปองกันปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ
แผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบยาเสพติด เพื่อใหบรรลุการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนภายใน ค.ศ. 2015 (2558) คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดาน ยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matters: ASOD) ซึ่งอยูภายใตองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา คือ ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC ไดรวมกันยกรางแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อ ตอตานการลักลอบคายาเสพติด เมื่อป 2548 ซึ่งตอมา ที่ประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 30 ณ ประเทศกัมพูชา ป 2552 ไดใหการรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบคายาเสพติด ป พ.ศ. 2552-2558 (ASEAN Work Plan on Combating Illicit Drug Manufacturing, Trafficking and Abuse 2009-2015) หรือที่ เรียกวา “แผนปฏิบัติการ ASOD” แผนปฏิบัติการ ASOD มีการดําเนินงานเกี่ยวของกับ 2 เสาหลัก ไดแก เสาหลักดานสังคมและวัฒนธรรม ตาม มาตรการภายใต ASCC Blueprint หัวขอ B6 Enduring a drug-free ASEAN โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตอง ดําเนินการเกี่ยวของกับงานดานการปองกัน และบําบัดรักษายาเสพติด และงานดานการพัฒนาทางเลือก และเสาหลักดาน การเมืองและความมั่นคง ภายใน APSC Blueprint หัวขอ B4 Non-Traditional Security Issues หัวขอยอย B4.1 Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges ขอ vi-xi โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตองดําเนินการ เกี่ยวกับงานดานการปราบปรามยาเสพติด และเคมีภัณฑที่นําไปใชในการผลิตยาเสพติด รวมถึงงานดานการตรวจพิสูจน ยาเสพติด และการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 122
นอกจากนี้ ยังไดรวมกําหนดนิยามของการปลอดยาเสพติด ดังนี้ “การดําเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิด กฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ พรอมทั้งลดผลตอเนื่องตาง ๆ ในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม ในที่นี้ รวมถึงการลดลงอยางยั่งยืน และมีนัยสําคัญในเรื่องดังตอไปนี้ 1) พื้นที่ปลูกพืชเสพติด 2) การผลิต และการลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกีย่ วเนื่องยาเสพติด 3) การแพรระบาดของการใชยาเสพติด พรอมทั้งไดรวมกันกําหนดเกณฑวัดผลสําเร็จสําหรับการดําเนินกิจกรรม เพื่อแกไขปญหายาเสพติดทั้ง 3 ดาน ดังกลาวขางตน ไดแก เกณฑวัดผลดานพื้นที่ปลูกพืชเสพติด เกณฑวัดผลดานการแพรระบาดของการใชยาเสพติด และ เกณฑวัดผลดานการผลิต และลําเลียงยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนนําไปประกอบการจัดทําแผนชาติอันจะ นําไปสูเปาหมายการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนตอไป ในการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 31 ประเทศอินโดนีเซีย ในป 2553 ไดจัดลําดับ ความสําคัญของการดําเนินการตามวิสัยทัศนการปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายใน ค.ศ. 2015 คือ การปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การลดการแพรระบาดของการใช ยาเสพติด และการลดฟนที่ปลูกเสพติด ซึ่งจากการที่อาเซียนไดใหความสําคัญกับการปราบปรามยาเสพติด จึงไดกําหนด เกณฑวัดผลสําหรับการดําเนินงานการปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติดไว ดังนี้ 1. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด 2. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวกับการลักลอบลําเลียงยาเสพติด 3. การขจัดการลักลอบและการนําสารตั้งตนไปใชในการผลิตยาเสพติด 4. สงเสริมความรวมมือขามพรมแดน และการปฏิบัติการดานการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ
ยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนเปนความรวมมือที่มีมานานในรูปแบบต าง ๆ ซึ่งเปนผลมา จากการที่ทุกประเทศตางก็ตระหนักวา ปญหายาเสพติดเปนภัยของมนุษยชาติรวมกันที่ทุกประเทศตองรวมมือกันที่จะขจัด ภัยดังกลาว ดังนั้น กรอบความคิดความรวมมือดานยาเสพติด จึงเปนการพัฒนาตอยอดใหสําเร็จผลโดยเร็วขึ้น โดยอาศัย เงื่อนไขของการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนเปนแรงผลักที่สําคัญ ทั้งนี้ กําหนดกรอบความคิดทางยุทธศาสตร ดังนี้ 1. ใชกรอบความคิดที่ทุกประเทศในอาเซียนไดกําหนดเปนยุทธศาสตรรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด อาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) เปนกรอบความคิดหลัก ทั้งนี้ เพราะกรอบความคิดนี้ ถือเปนฉันทามติรวมกัน (commitment) อยูแลว และไดแปลงมาเปนแผนการปฏิบัติในมาตรการตาง ๆ ใหแตละประเทศปฏิบัติไดงายขึ้น 2. ใชกรอบความคิดที่จะทําใหการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาค ซึ่งเปนกรอบขอเสนอเชิงรุกของ รัฐบาล และไดรับการขานรับจากทุกประเทศในอาเซียนในทางหลักการแลว ซึ่งเปนกรอบความคิดที่มองปญหายาเสพติด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่สงผลกระทบกับประเทศไทย วาจะตองทําใหทุกประเทศในอาเซียน ตองชวยกัน รวมมือกัน และ ตระหนักถึงภัยรวมกัน โดยเล็งเห็น และเขาใจที่ประเทศใดประเทศหนึ่งไดรับผลจากปญหายาเสพติดอยางมาก และการที่ จะแกไขปญหาดังกลาวไดนั่น จะตองไดรับความรวมมือที่ดียิ่งจากกลุมประเทศตนทาง 3. ใชกรอบความคิด ขยายจุดรวม มุงผลโดยตรง เสริมสรางความพรอม เปนเข็มมุงหลักที่จะพัฒนาความรวมมือ เชิงรุก เพื่อแสวงหามาตรการการปฏิบัติตาง ๆ ที่จะสงผลตอการลดระดับปญหายาเสพติดโดยเร็ว โดยมุงขยายความ รวมมือใหมากที่สุด ใหสงผลตอการลดปญหายาเสพติดทั้งในประเทศและภูมิภาค รวมทั้งเตรียมการสรางความพรอมของ หนวยงานตาง ๆ ใหมากที่สุด ในการเตรียมการเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 123
เพื่อใหมีผลในการเรงยกระดับการมีสวนรวมของประเทศตาง ๆ ในประเทศอาเซียน ซึ่งจะมีผลตอการลดระดับ ปญหายาเสพติดภายในประเทศในระยะ 3 ป เพื่อรองรับความเปนประชาคมอาเซียน จึงกําหนดกลยุทธในการบรรลุ ยุทธศาสตรตามลําดับ ดังตอไปนี้ กลยุทธที่ 1 ขยายความรวมมือเชิงรุกตอมาตรการที่สงผลตอการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม โดย ในระยะ 3 ปนี้ แมจะยังไมเขาสูประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ สวนใหญจะมุงไปสูการเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ แต เฉพาะกรณีปญหายาเสพติด อาศัยขอตกลงการสรางเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนในป 2558 และขอตกลงรวมใหปญหา ยาเสพติดเปนความรวมมือระดับภูมิภาค ดังนั้น การกําหนดกลยุทธขยายความรวมมือในงานดานยาเสพติดในกลุมอาเซียน ใหเปนผลในการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม จึงเปนกลยุทธหลักใน 3 ปนี้ โดยขยายความรวมมือที่สําคัญในดาน supply reduction เปนหลัก ไดแก การขยายความรวมมือในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัด กั้นยาเสพติดทั้งตามแนวชายแดน และทาอากาศยานนานาชาติ การปราบปรามการผลิตยาเสพติด การลดพื้นที่ปลูกพืช เสพติด ฯลฯ กับประเทศตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน กลยุทธที่ 2 เตรียมการ สรางความพรอมตอมาตรการที่จะมุงขยายความรวมมื อที่มากขึ้น โดยพิจารณา มาตรการที่สําคัญ และจําเปนที่จะกอใหเกิดความรวมมือในกลุมประเทศอาเซียนเพิ่มมากขึ้น ดวยการสรางความพรอม หรือแสวงหาขอตกลงใจเพื่อนําไปสูความรวมมือในการแกไขปญหารวมกัน อันจะนําไปสูการแกไขปญหายาเสพติดที่จะมี การยกระดับมากขึ้น กลยุทธที่ 3 พัฒนาความรวมมือในหลายรูปแบบตามความเหมาะสมสอดคลองกับภารกิจ และการแสวงหา ประเด็นรวม โดยพัฒนาความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดในรูปแบบตาง ๆ ทั้งใน รูปแบบของกลุมประเทศ อาเซียน ความรวมมือแบบพหุภาคี ไตรภาคี และทวิภาคี ตามความเหมาะสมของสภาพปญหาภารกิจ และขอตกลงใจ รวมกัน เพื่อใหความรวมมือที่เกิดขึ้นปรากฏผลเปนรูปธรรม ปฏิบัติไดจริง กลยุทธที่ 4 เสริมบทบาทภาคีนอกกลุมประเทศอาเซียน หรืออาเซียนบวก โดยชักชวนแสวงหาความรวมมือ กับประเทศนอกอาเซียนที่มีผลตอการแกไขปญหายาเสพติดในประเทศในอาเซียน ทั้งในภาพรวมทุกประเทศ หรือใน ประเทศเฉพาะ เพื่อใหเกิด ผลสะทอนกลับ ตอการลดปญหายาเสพติดในอาเซียนตามมาตรการที่เหมาะสม และเป น ขอตกลงใจรวมกัน
กรอบยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติด เพื่อใหเกิดเอกภาพในกรอบความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน จึงไดกําหนดกรอบยุทธศาสตรไว 6 กรอบความรวมมือ ดังนี้ 1. กรอบความรวมมือในดานปราบปรามยาเสพติด (supply reduction) คือ การดําเนินการปราบปราม ยาเสพติด ทั้งในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัดกั้นตามทาอากาศยาน การยึดทรัพยสิน ฯลฯ 2. กรอบความรวมมือในดานการเสริมสรางความมั่นคงชายแดน คือ การดําเนินงานในดานการสกัดกั้น ยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสรางชุมชนตามแนวชายแดนใหเขมแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ 3. กรอบความรวมมือ การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดดวยการพัฒนาทางเลือก (Alternative Development) คือ การใชแนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาลดปญหาการปลูกฝน 4. กรอบความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด (potential demand) คือ การดําเนินการดานการปองกัน ยาเสพติดในกลุมที่กําหนดเปนเปาหมายรวมสกัดวงจรของผูเสพยาเสพติดรายใหมในกลุม ประเทศอาเซียน 5. กรอบความรวมมือดานการแกไขผูเสพยาเสพติด คือ การดําเนินการดานบําบัดรักษาผูเสพยาเสพติด การ พัฒนาความพรอมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนยายประชากรในกลุมประเทศอาเซียน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 124
6. กรอบความรวมมือดานการพัฒนาวิชาการ และการพัฒนาในดานตาง ๆ ไดแก การพัฒนาความรวมมือ ในดานการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือดานนิติวิทยาศาสตร การพัฒนากฎหมาย ฯลฯ เพื่อใหความรวมมือกับ ประเทศอาเซียนใหมีความกาวหนามากยิ่งขึ้น กรอบความรวมมือนี้ ถือเปนเข็มทิศหลักที่เปนขอตกลงของกลุมประเทศอาเซียนที่จะตองยึดถือ และใหแปลง ไปสูการปฏิบัติ
หนวยงานกลางประสานงานดานยาเสพติดระหวางประเทศ การขับเคลื่อนงานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนใหบรรลุผลตามยุทธศาสตรที่กําหนด จะตองผานหนวยงาน กลางดานยาเสพติดของแตละประเทศเปนกลไกกลางในการขับเคลื่อนหลัก โดยมีหนวยงานกลางของแตละประเทศ ดังนี้ กัมพูชา ไดแก National Authority for Combating Drugs (NACD) บรูไน ไดแก Narcotics Control Bureau (NCB) ฟลิปปนส ไดแก Dangerous Drugs Board (DDB) มาเลเซีย ไดแก National Anti-Drugs Agency (NADA) เมียนมาร ไดแก Central Committee for Drug Abuse Control (CCDAC) อินโดนีเซีย ไดแก National Narcotics Board (NNB) สปป.ลาว ไดแก Lao National Commission for Drug Control (LCDC) เวียดนาม ไดแก Standing Office on Drugs and Crime of Vietnam (SODC) สิงคโปร ไดแก Central Narcotics Bureau (CNB) ไทย ไดแก Office of Narcotics Control Board (ONCB)
กรอบความรวมมือประเทศไทยกับองคกรระหวางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ฐานะตัวแทนของรัฐบาลในการดําเนินงาน นโยบายดานยาเสพติด โดยการจัดทํากรอบความรวมมือระหวางประเทศขึ้น ซึ่งองคกรระหวางประเทศที่มีความรวมมือกับ ประเทศไทย คือ 1. องคการสหประชาชาติ (United Nations : UN) องคกรหลักขององคการสหประชาชาติที่ดําเนินงานดาน ยาเสพติด คือ โครงการควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศแหงสหประชาชาติ (United nations International Drug Control Program : UNDCP) ซึ่งเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้น และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) โดยประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดแลวทั้ง 3 ฉบับ คือ 1) อนุสัญญาเดี่ยววา ดว ยยาเสพติ ด ให โทษ ค.ศ. 1961 และพิ ธี สารแก ไขเพิ่ มเติ มอนุ สัญ ญาเดี่ยววา ด วยยาเสพติด ใหโ ทษ ค.ศ. 1972 2) อนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 และ 3) อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับ ลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวทั้งหมดมุงเนนไปที่การจํากัด การเติบโตของตลาดยาเสพติดดวยมาตรการเนนหนักในการลดอุปทานเปนหลัก บทบาทในเวทีสหประชาชาติของประเทศ ไทย คือ การไดรับเลือกใหเปนคณะกรรมาธิการยาเสพติด ตั้งแตป 2516 และประเทศไทยไดบริจาคเงินอุดหนุน UNDCP เปนประจํา ตั้งแตป 2521 เปนตนมา 2. สหภาพยุโรป (Europeans: EU) สํานักงาน ป.ป.ส. ไดรับความชวยเหลือจากสหภาพยุโรปในโครงการตาง ๆ ดานยาเสพติดตั้งแตป 2532 คือ การใหความชวยเหลือดานการควบคุมพืชเสพติด และการปองกันยาเสพติด ซึ่งตอมา สหภาพยุโรปไดทําความตกลงกับประเทศไทย เพื่อการควบคุมเคมีภัณฑ และสารตั้งตนที่นําไปใชผลิตยาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 125
3. อาเซียน (ASEAN) ในป 2519 มีการประกาศปฏิญญาอาเซียนวา ดวยหลัก การในการตอตา นการใช ยาเสพติดในทางที่ผิด ซึ่งมีหลักการวา ประเทศอาเซียนแตละประเทศตองเพิ่มความระมัดระวัง สรางมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลักลอบคายาเสพติดจัดใหมีความรวมมือทางดานงานวิจัยและศึกษา และปรับปรุงกฎหมายแตละ ประเทศ โดยพบวา มีความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด สรุปไดดังนี้ 1) การประชุมเจาหนาที่อาวุโส ความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด 2) โครงการอาเซียนดานยาเสพติด และ 3) โครงการอาเซียนดานยาเสพติดที่ประเทศไทยรับผิดชอบเปนผูประสานโครงการ 4. สํานักงานแผนโคลัมโบ (Colombo Plan Bureau) กอตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือประเทศสมาชิกในดานตาง ๆ ทั้งนี้ ในสวนของยาเสพติดมีโครงการที่ปรึกษาดานยาเสพติด (Drug Advisory Program : DAP) กอตั้งขึ้นเมื่อเดือน สิงหาคม 2516 มีหนาที่ใหคําปรึกษาแกรัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดการสัมมนาทางวิชาการ การประชุม ปฏิบัติการ และกิจกรรมตาง ๆ เพื่อชวยแกไขปญหายาเสพติด และใหทุนการศึกษา ดูงานแกเจาหนาที่ปฏิบัติงานดาน ยาเสพติด โดยให DAP เปนผูดําเนินงานรวมกับรัฐบาล องคการะหวางประเทศ และองคการเอกชนที่เกี่ยวของ ซึ่งตอมา บทบาทของ DAP ในระยะหลังไดเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการฝกอบรม กิจกรรมของ DAP ไดมุงเนน Demand Reduction ความรวมมือในระดับภูมิภาค และความรวมมือบริเวณพรมแดนการดําเนินงานตามอนุสัญญาป ค.ศ. 1988 และสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ 5. องคการตํารวจสากล (International Criminal Police Organization: Interpol or International Police) ความรวมมือกับตํารวจสากลเปนลักษณะการแลกเปลี่ยนขาวสารดานการปราบปรามยาเสพติด ซึ่งองคการตํารวจ สากลไดสงผูแทนมาประจําในประเทศไทย เพื่อปฏิบัติงานรวมกับเจาหนาที่ฝายไทย โดยตั้งสํานักงานที่กรมตํารวจ 6. องคกรเอกชนตางประเทศ (International Non-government : NGOs) สํานักงาน ป.ป.ส. มีความรวมมือ กับองคการเอกชนตางประเทศหลายองคการ ซึ่งองคการเอกชนระหวางประเทศมีการดําเนินงานดานยาเสพติด ใหความ ชวยเหลือแกประเทศไทย และประสานความรวมมือระหวางกันดานยาเสพติด
จุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด จุดแข็ง 1) ทําเลที่ตั้งของประเทศไทยเหมาะสมในการเปนศูนยกลางของภูมิภาค สามารถวางแผนพัฒนาศักยภาพการ เปนศูนยกลางอาเซียนใน เรื่องการขนสงการทองเที่ยว และการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถขยายตัวเพื่อสรางความเขมแข็งในอนาคตไดมาก ทั้งในลักษณะอาเซียน บวก 3 โดยการเพิ่มประเทศจีน เกาหลีใต และญี่ปุน และอาเซียนบวก 6 โดยการเพิ่มประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย 3) แนวโนมของอํานาจทางเศรษฐกิจโลกจะเคลื่อนยายมาสูภูมิภาคเอเชียมากขึ้น การรวมกลุมของภูมิภาคเอเชีย จะสงผลใหเอเชียเปนตลาดที่มีศักยภาพ มีความเชื่อมโยงกันและมีเสถียรภาพมากขึ้น 4) การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อสงเสริมการคา การลงทุน การจางงาน การใชวัตถุดิบ และการตลาดจากประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะในจังหวัดที่อยูตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ และเมือง ชายแดน 5) มีหลายประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และหลากหลาย เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ถานหิน แร ธาตุ ปาไม น้ํา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 126
6) ความสอดคลองกันของผลประโยชนแหงชาติของทุกประเทศ (Common of national interest) โดยมอง การเขาสูประชาคมอาเซียนเปนเปาหมายรวมกัน 7) ทุกประเทศอาเซียนสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug – Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน 8) ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สํา คัญในการผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุม สุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมืองรวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด 9) ประเทศไทยไดรับการยอมรับจากนานาประเทศในดานความสําเร็จของการพัฒนาทางเลือกเพื่อแกไขปญหา พืชเสพติด 10) ประเทศไทยเปนภาคีของความตกลงระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยายถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ
จุดออน 1) การปกปองคุมครองผลประโยชนแ หงชาติของแตละประเทศ นํา ไปสูความขัดแยงระหวางผลประโยชน แหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) 2) ประเทศมหาอํานาจทั้งภายใน และภายนอกภูมิภาคเปนตัวแปรที่สําคัญของการเมืองระหวางประเทศ และ ความสัมพันธระหวางประเทศ 3) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติดตองอาศัยปจจัยดานการเมืองระหวางประเทศ และความสัมพันธ ระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานดวย 4) งานดานตางประเทศเปนเรื่องละเอียดออน ตองดํา เนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อเสริมสราง ความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน 5) ความรวมมื อกับประเทศเพื่ อนบานขึ้นอยูกั บเรื่องความสัมพันธศักยภาพในการดําเนินงาน และเงื่อนไข ภายในประเทศของแตละประเทศดวย อยางเชน สํานักงานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศ เพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ ตองมีการประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทํา ใหขาดความคลองตัวในการ ทํางาน 6) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมหลายดานทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลอยางมากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค 7) นโยบายตางประเทศสัมพันธกับการเมืองภายในประเทศ 8) การมองปญหาที่ไมเหมือนกันนําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนินนโยบายการแกไขปญหาที่แตกตาง กัน 9) การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ 10) การปรับปรุงแกไขกฎหมายเพื่อรองรับพันธกรณีตาง ๆ หนวยงานที่เกี่ยวของตองขอความเห็นชอบจาก รัฐสภา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 127
โอกาส 1) การรวมกลุมของเหลาประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความหลากหลายทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม 2) การสรางประชาคมอาเซียนดวยโครงสรางแบบเสาหลัก 3) ระดับการพัฒนาประเทศที่สูงขึ้น และขนาดเศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น จะเปนโอกาสสําหรับการคา และการ ลงทุนของไทยในประเทศเหลานี้เพิ่มมากขึ้น 4) การเชื่อมโยงภูมิภาคเพื่อกาวสูความเปนหนึ่งเดียว โดยเฉพาะโครงสรางพื้นฐานภายใตกรอบความรวมมือใน อนุภูมิภาคลุมน้ําโขงที่เชื่อมทั้งภูมิภาคเขาดวยกัน เชน การพัฒนาคมนาคมระบบราง การสรางทาเรือน้ําลึกทวาย 5) ประเทศสมาชิกอาเซียนเปนฐานการผลิตใหผูประกอบการไทย เพื่อผลิต และสงออกสินคา เพื่อรับสิทธิ ประโยชนทางภาษีในรูปแบบตาง ๆ 6) อาเซียนในฐานะองคการระหวางประเทศ และสถาบันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตองปรับตัวภายใต เงื่อนไขของภูมิภาคนิยมแบบใหม (New regionalism) กับกระแสโลกาภิวัตน (Globalization) 7) การลงทุนในประเทศเพื่อนบานที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ และพรอมเปดรับการลงทุนจากตางชาติ 8) ความอยูร อดภายใตบ ริบ ทใหม โดยเฉพาะอยา งยิ่ง เศรษฐกิ จการเงิ นภายใต ระบบทุน นิยมโลกาภิ วัต น ที่ ผันผวน การพัฒนาตนเองตอสภาพแวดลอมของการแขงขันแบบใหม 9) โลกแหงการพึ่งพา เนื่องจาก เศรษฐกิจไทยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ปญหายาเสพติดเปนปญหา สากล และมีความเชื่อมโยงกันทั่วโลก การแกไขปญหายาเสพติดจะตองไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน 10) หากประเทศในภูมิภาคมีระดับการพัฒนาที่ดีขึ้น ปญหาขามชาติตาง ๆ ที่คุกคามความมั่นคงของประเทศ ไทยในปจจุบันก็จะลดลง
ภัยคุกคาม 1) ภัยคุกคามรูปแบบใหมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงรูปแบบใหม (Non traditional security) อยางเชน การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบเขาเมือง โดยผิดกฎหมาย การคามนุษยอาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การฟอกเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอรการเกิด ภัยพิบัติโรคระบาด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ช องวา งของการพั ฒนาระหวา งประเทศในกลุมอาเซียน ระดับ การพั ฒนาเศรษฐกิจที่แ ตกตา งกัน มีบาง ประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูง มีหลายประเทศที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมพัฒนา ยังมีชองวางของระดับความ ทันสมัยอีกดวย 3) การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแขงขัน จําเปนตองยายฐานการผลิตไปตางประเทศมากขึ้น นัก ลงทุนอาจขยายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน 4) เกิดการเคลื่อนยายแรงงานฝมือของไทยไปประเทศที่ไดคาตอบแทนสูงกวา และแรงงานตางดาวราคาถูกกวา เขามามากขึ้น 5) มีแนวโนมผอนปรนขอจํากัดในการทํางานของคนตางชาติมากขึ้น 6) หากไมมีมาตรการควบคุมที่เหมาะสม สินคาที่ไมไดมาตรฐานจะเขามาในประเทศไทยมากขึ้น 7) อุตสาหกรรมหลักของประเทศยังคงพึ่งพาเงินทุน และเทคโนโลยีจากตางประเทศ 8) ชองวางในการพัฒนาอาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางสังคม 9) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีการปลูกพืชเสพติด และมีแหลงผลิตยาเสพติดจํานวนมาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 128
10) นโยบายดานความสัมพันธอันดีกับประเทศเพื่อนบาน และนโยบายดานการคาชายแดนกลายเปนชองทาง และโอกาสใหเกิดการนําเขายาเสพติด แรงงานเถื่อน สินคาหนีภาษี 11) ปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตรเทคโนโลยี และตางประเทศ สงผลโดยตรงตอการเกิด การ ดํารงอยู และการขยายตัวของปญหายาเสพติดในประเทศไทย
ขอผูกพันระหวางประเทศในการกําหนดนโยบายดานยาเสพติด ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดจําเปนตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศเพื่อนบานรวมกันแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น ซึ่งการกําหนดนโยบายในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทย ไมสามารถดําเนินการไดอยางอิสระโดย ปราศจากความตระหนักถึงพันธะ และขอผูกพันสัญญาระหวางประเทศ และความรวมมือตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ประเทศเพื่อนบาน ในป 1909 มีขอตกลงระหวางประเทศในการจัดตั้งกลไกการแกไขปญหาฝน โดยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการฝน ขึ้ น ซึ่ ง นั บ แต นั้ น มาพบว า มี ก ฎหมายระหว า งประเทศที่ เ กี่ ยวกั บ การควบคุ ม ยาเสพติ ด ที่ สํ า คั ญ รวม 7 ฉบั บ ได แ ก คณะกรรมาธิการฝนนามเซี่ยงไฮ ป 1909 อนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1912 อนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1925 อนุสัญญา ค.ศ. 1931 อนุสัญญา ค.ศ. 1936 พิธีสารกรุงปารีส ค.ศ. 1948 และพิธีสารวาดวยฝน ค.ศ. 1953 ในอดีตที่ผานมาปญหายาเสพ ติดมีมากขึ้นอยางตอเนื่อง ประเทศตาง ๆ พยายามหาทางแกไขปญหาโดยมีกฎหมายระหวางประเทศขึ้นมาหลายฉบับ เพื่อนํามาใชเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวกับยาเสพติดในปจจุบัน อนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1961 (The Single Convention on Narcotic Drugs, 1961) และพิธีสารแกไขเพิ่มเติมอนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1972 (The 1972 Protocol Amending The Single Convention on narcotic Drugs, 1961) ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวไดรวบรวมอนุสัญญา หรือขอตกลงระหวาง ประเทศที่มีอยูมาไวเปนฉบับเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีอนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 (The Convention on Psychotropic Substances, 1971) ซึ่งอนุสัญญาทั้งหมดนี้ มีเนื้อหาที่มุงเนนการควบคุม และจํากัด การใชยาเสพติดใหโทษเพื่อประโยชนทางการแพทย และทางวิทยาศาสตรเทานั้น และไดกําหนดใหมีคณะกรรมการ ควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศขึ้น (International Narcotics Control Board: INCB) โดยที่ประเทศภาคีตองรายงาน ปริมาณการใชยาเสพติดตอ INCB อยางไรก็ตาม แมวา มีอนุสัญญาในการควบคุมยาเสพติดดังกลาวแลว แตยังคงพบการแพรระบาดยาเสพติดไปยัง ประเทศต า ง ๆ อยู แ ละทวี ค วามรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น จึ ง ได มี ก ารจั ด ทํ า อนุ สั ญ ญาขึ้ น มาใหม อี ก ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 (The United nation Convention against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) โดยมีหลักการที่สําคัญ ถือเปนมาตรการใหมที่กําหนดไวในประเทศภาคีนําไปปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน ไดแก 1) ความผิดและกําหนดโทษ 2) เขตอํานาจรัฐ 3) การบริหารทรัพยสิน 4) การสงผูรายขามแดน 5) การชวยเหลือกันทางกฎหมาย และ 6) การโอนการดําเนินคดี
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 129
นับตั้งแตมีอนุสัญญาฉบับนี้ ประเทศตาง ๆ ใหความสนใจและสมัครเขาเปนภาคีจํานวนมาก จนถึงปจจุบันมี ประเทศตาง ๆเขารวมเปนภาคีแลวไมนอยกวา 138 ประเทศ สําหรับในประเทศไทยนั้นเขาเปนภาคี ในป พ.ศ. 2545
มาตรการสงผูรายขามแดน : กลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามยาเสพติด การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางรัฐที่มีมานานแลว แตในสมัยกอนความรวมมือในลักษณะดังกลาว ยังไมแพรหลายมากนัก ทั้งนี้ เปนเพราะสมัยนั้น การคมนาคมระหวางประเทศยังไมสะดวกและรวดเร็วเหมือนเชนปจจุบัน การประกอบอาชีพอาชญากรรมและการหลบหนีการจับกุมสวนใหญ จึงจํากัดอยูเฉพาะภายในเขตหรือภายในประเทศที่ กออาชญากรรมเทานั้น แตตอมา เมื่อเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคมขนสงระหวางประเทศมีความเจริญกาวหนา มากขึ้น รูปแบบการประกอบอาชญากรรมบางประเภทก็เปลี่ยนไปเปน “องคกรอาชญากรรมขามชาติ” (Transnational Crime) ที่มีเครือขายเชื่อมโยงการกระทําผิดในพื้นที่หลายประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “องคกรอาชญากรรมคายาเสพติด ขามชาติ” ที่ตัวนายทุน หรือตัวการสําคัญที่ไมตองเดินทางไปติดตอ หรือการดําเนินการสงมอบยาเสพติดใหกับลูกคาใน ตางประเทศดวยตนเอง แมเจาหนาที่ในประเทศที่มีการสงมอบยาเสพติด จะสามารถจับกุมตัวผูรวมกระทําผิดในขณะที่นํา ยาเสพติดไปสงมอบใหลูกคา และมีพยานหลักฐานเชื่อมโยงไปถึงตัวบุคคลที่เปนนายทุน หรือตัวการสําคัญที่อยูอีกประเทศ หนึ่งก็ตาม แตดวยขอจํากัดเรื่องอํานาจอธิปไตย และความแตกตางของกฎหมายภายในแตละรัฐ ทําใหไมสามารถติดตาม จับกุมตัวบุคคลเหลานั้นมาดําเนินคดีในประเทศผูเสียหายได ดังนั้น ปจจุบันประเทศตาง ๆ จึงไดยอมรับแนวคิดเกี่ยวกับ ความรวมมือระหวางรัฐในการสงผูรายขามแดน และนํามาบังคับใชแพรหลายมากขึ้น
ความหมายของการสงผูรายขามแดน “การสงผูรายขามแดน” (Extradition) หมายถึง การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งตกลงยินยอมสงตัวบุคคลที่ตอง หาวากระทําความผิดทางอาญาในอีกประเทศหนึ่ง ตามคําขอเพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือบังคับโทษตามคําพิพากษาของ ประเทศผูรองขอ และจากความหมายดังกลาวจะเห็นไดวา การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางประเทศทาง อาญา ซึ่งตามปกติแลว จะดําเนินภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงตางตอบแทนระหวางรัฐที่สอดคลองกับกฎหมายภายใน ของแตละประเทศ
เจตนารมณของการสงผูรายขามแดน
การสงผูรายขามแดนเปนมาตรการทางกฎหมายที่มีเจตนารมณในการเสริมสรางความรวมมือระหวางรัฐในการ ปราบปรามอาชญากรรมอยางมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของความเคารพตออํานาจอธิปไตยซึ่งกันและกัน โดยมุงเนนให บรรลุผลตามหลักการสําคัญ ๆ 3 ประการ คือ 1) หลักความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามอาชญากรรม (International Co-operation) 2) หลักการบังคับใชกฎหมาย “ผูก ระทําความผิดทางอาญาจะตอ งไดรับโทษทางอาญา” (Certainly of Punishment) 3) หลักการปองกันการกออาชญากรรมซ้ํา หรือการตัดชองโอกาสใหอาชญากรรมที่หลบหนีการจับกุมไปกอ อาชญากรรมในประเทศอื่นไดอีก (Prevention Crime)
หลักการทั่วไปของการสงผูรายขามแดน หลั ก การเกี่ ยวกั บการส ง ผู ร า ยข า มแดนได ถู ก กํ า หนดไว ใ นอนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ 2 ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลักลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ขอ 6 (United Nations Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) และอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ค.ศ. 2000 ขอ 16 (United Nations
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 130
Convention Against Transnation Organized Crime, 2000) ที่ระบุใหประเทศภาคีตองรวมมือในการสงผูรายขาม แดน เพื่อผลในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ และอาชญากรรมคายาเสพติด โดยกําหนดหลักการสําคัญ ๆ ในการสงผูรายขามแดนใหประเทศภาคีสมาชิกใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือนําไปบัญญัติเปนกฎหมายภายในบังคับใช ดังนี้ 1) ความผิดที่จะสงผูรายขามแดนได จะตองเปนความผิดทางอาญาตามกฎหมายภายในทั้งของประเทศผูรองขอ และประเทศผูรับคําขอ (Double Criminality) 2) โทษที่ผูถูกสงตัวเปนผูรายขามแดน จะไดรับตองเปนโทษตามความผิดที่ระบุไวในคํารองขอ (Rule of Specialty) 3) คํ า ร อ งขอให ส ง ผู ร า ยข า มแดนอาจถู ก ปฏิ เ สธได ถ า บุ ค คลนั้ น มี สั ญ ชาติ ข องประเทศผู รั บ คํ า ร อ งขอ (Nationality) หรือความคิดตามคํารองขอเปนความผิดทางการเมือง (Political Crime) หรือเปนความผิดที่ตามกฎหมาย ในประเทศผูรองขอถึงขั้นประหารชีวิต (Death Penalty)
ประเทศไทยกับความรวมมือในการสงผูรายขามแดน ประเทศไทยไดใหความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ในการสงตัวผูรายขามแดนมานานแลว โดยในระยะแรก ๆ การ สงผูรายขามแดนดําเนินไปอยางไมเปนทางการบนพื้นฐานของความมีสัมพันธไมตรีที่ดีตอกัน ซึ่งสวนใหญเปนประเทศ เพื่อนบานที่มีอาณาเขตติดกับประเทศไทย จนกระทั่ง ในปลายรัชสมั ยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนของไทย จึงไดมีความชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยมีการทําความ รวมมือในรูปสัญญาระหวางรัฐเปนครั้งแรกกับประเทศอังกฤษ เมื่อป พ.ศ. 2453 (ร.ศ.129) และหลังจากนั้น ก็มีการทํา สัญญาในลักษณะดังกลาวกับประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศในเวลาตอมา ปจจุบัน ประเทศไทยไดทําสัญญาสงผูรายขาม แดนกับประเทศตาง ๆ รวม 10 ฉบับ ประกอบดวย 1) ประกาศสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนในระหวางกรุงสยามกับอังกฤษ มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2453 2) อนุสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนระหวางกรุงสยามกับเบลเยี่ยม มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2479 3) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐอินโดนีเซียวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2523 4) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐฟลิปปนสวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2527 5) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสหรัฐอเมริกาวาดวยการสงผูรายขามแดน มี ผลบังคับใช เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2534 6) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีนวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2542 7) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐเกาหลีวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2544 8) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววา ดวยการสงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2544 9) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศวาดวยการ สงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2544
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 131
10)สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห งราชอาณาจักรกัมพูชาวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2544 นอกจาก ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนที่ดําเนินการภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงระหวางรัฐตอรัฐแลว ประเทศไทยยังใหความรวมมือในการสงผูรายขามแดนกับประเทศอื่น ๆ ที่ไมไดมีสนธิสัญญา หรือขอตกลงกับไทยดวย โดยออกเปนกฎหมายภายในเฉพาะเรื่อง ไดแก พ.ร.บ.สงผูรายขามแดน พ.ศ. 2472 ซึ่งบัญญัติใหการสงผูรายขามแดนของ ไทย สามารถกระทําไดทั้งกับประเทศที่มีสนธิสัญญา และประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย โดยมีหลักเกณฑ หรือขั้นตอน วิธีการดําเนินงานแตกตางกันบางประการ กลาวคือ ถาเปนการสงผูรายขามแดนใหกับประเทศที่มีสนธิสัญญากับไทย ก็ให ปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ระบุไวในสนธิสัญญาเปนหลัก แตถาเปนการสงผูรายขามแดนกับประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย ก็ใหพิจารณาตามหลักเกณฑทั่วไปตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้
ปญหาการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด ในกรณีที่รัฐบาลตางประเทศเปนผูรองขอใหรัฐบาลไทยสงผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเปนผูรายขามแดน ปญหาในทางปฏิบัติมักจะเกิดจากความลาชาในขั้นตอนการดําเนินการกอนนําคดีขึ้นสูศาล ทั้งนี้ เพราะปจจุบันยังไมมี หน ว ยงานของไทยที่ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะ ทํ า ให ก ารร อ งขอต อ งใช วิ ธี ผ า นช อ งทางการทู ต (Diplomatic Channel) ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุงยากและเสียเวลามาก สวนในกรณีที่รัฐบาลไทยเปนผูรองขอ ปญหาที่เกิดขึ้นไดแก เรื่องบทกําหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ของแตละประเทศที่มีความแตกตางกัน โดยที่กฎหมายไทยกําหนดโทษความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดบางขอหามีโทษขั้น ประหารชีวิต ทําใหคํารองขอใหสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด อาจถูกปฏิเสธจากประเทศผูรับคํารองขอได นอกจากนั้น การที่ประเทศไทยไมมีสนธิสัญญากับรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลไทย จึง ไม อ าจร อ งขอโดยผ า นช อ งทางการทู ต ตามปกติ ไ ด ทํ า ให ต อ งใช วิ ธี ก ารร อ งขอในรู ป ของข อ ตกลงต า งตอบแทน (Reciprocity) ปจจุบัน กฎหมายสงผูรายขามแดนของไทยกําลังอยูระหวางการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติใหเอื้อตอการ ดําเนินการมากขึ้น
บทบาทประเทศไทยตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรฯ สําหรับการปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาลไทย ไดกําหนดเปนวาระแหงชาติ โดยมุงเนนการปราบปรามตาม แนวชายแดนตาง ๆ ตลอดจนสกัดกั้นเสนทางลําเลียงยาเสพติดทุกเสนทางจากสภาพปญหาที่ผานมา จากที่ประเทศไทย เปนตนทาง ซึ่งจะมีแหลงผลิตยาเสพติดอยูตามแนวชายแดนของประเทศไทย เมียนมาร และสปป.ลาวตอเนื่องกัน ที่ เรียกวา “สามเหลี่ยมทองคํา” (Golden Triangle) และยังอาศัยประเทศไทยเปนทางผาน และเปนจุดพักยาเสพติด เพื่อ สง ไปยัง ประเทศที่ส าม ดั งนั้ น นโยบายดา นการปราบปรามยาเสพติด ของประเทศไทย จึ งท าทายตอ การผนึก กํา ลั ง ปราบปราม และเพื่ อ ให การขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อด า นยาเสพติ ด กั บ ประเทศต า ง ๆ ในกลุ มอาเซี ยนบรรลุ ผ ลตาม ยุทธศาสตรฯ นี้ จึงกําหนดใหประเทศไทยควรมีบทบาท ดังนี้ 1. บทบาทในฐานะประเทศที่ไ ดรับผลโดยตรงกับปญ หายาเสพติ ด อาจจะเรียกไดวา “มากที่สุ ด” ในกลุ ม ประเทศอาเซียนดวยกัน บทบาทนี้ จึงทําใหประเทศไทยจะตองแสดงความกระตือรือรนมากกวาประเทศอื่น ๆ ที่ ไดรับผล นอยกวา เพราะหากประสบผลสําเร็จในความรวมมือไดมากเทาใด ก็จะสงผลตอการลดสถานการณปญหายาเสพติด ภายในประเทศมากขึ้นเทานั้น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 132
2. บทบาทในฐานะประเทศที่มีสภาพทางภูมิรัฐศาสตรที่อยูกึ่งกลางของประเทศในกลุมอาเซียน บทบาทนี้ สามารถทําใหประเทศไทยสามารถเปนกึ่งกลาง หรือศูนยกลางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรในจุดที่เหมาะสมไดมากกวา ประเทศอื่น ๆ ซึ่งหากประเทศไทยไดขับเคลื่อนอยางจริงจังก็มีโอกาสทําใหการขับเคลื่อนงานดานยาเสพติดในภูมิภาคจะ เปนไปอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น ทั้ง นี้ สภาพกึ่ ง กลางของประเทศไทย รวมหมายความถึ งกึ่ ง กลางของประเทศในอาเซียนที่มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจ ความมั่งคั่งที่แตกตางกันระหวางประเทศที่อยูทางตอนเหนือ และตะวันออกของประเทศไทย ที่มีฐานะยากจน กวากับประเทศทางตอนใตของประเทศไทยที่มีฐานะมั่งคั่งกวา โดยประเทศที่มีผลกระทบดานยาเสพติดกับประเทศไทย โดยตรง ไดแก ประเทศที่อยูทางตอนเหนือทั้งสิ้น 3. บทบาทในฐานะผู ใ หก ารสนั บ สนุ น มากกวา ผู รั บ ซึ่ ง เป น บทบาทที่ กํ า หนดให ป ระเทศไทยที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจอยูในระดับตน ๆ ของกลุมประเทศอาเซียน และตองเผชิญกับปญหายาเสพติดมากที่สุดในกลุมประเทศอาเซียน จะตองพัฒนาบทบาทในฐานะผูใหการสนับสนุนกลุมประเทศทางตอนเหนือ และตะวันออกใหสามารถมีความคลองตัวใน การปฏิบัติงานดานยาเสพติดในประเทศของตน เพื่อลดปริมาณยาเสพติดที่จะถูกลักลอบนําเขาประเทศไทย อันจะสงผล ตอประเทศอาเซียนโดยรวมทั้งหมด และจะมีโอกาสใหเจตนารมณที่ทําใหอาเซียนปลอดยาเสพติดในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ใกลเคียงกับความจริงมากที่สุด 4. บทบาทในฐานะประเทศแกนหลั ก ที่ เ สนอให ป ญ หายาเสพติ ด เป น วาระภู มิ ภาค โดยที่ ก ารแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติดในประเทศจะเปนไปอยางยากยิ่ง หากไมไดรับความรวมมืออยางจริงจังกับประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งกลุมประเทศทางตอนเหนือ และทางตะวันออกประเทศไทย จึงตองมีบทบาทสําคัญในการยกระดับปญหา ยา เสพติดใหเปนวาระภูมิภาคใหเปนผลสําเร็จ ไมเพียงแตจะเปนการสรางการยอมรับในเวทีสากลแลว ยังเปนการแกไขปญหา ภายในประเทศอีกดวย
ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด จากกิจกรรมหลากหลายรูปแบบขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ในปจจุบัน ไดกลายปญหาสําคัญของทุก ประเทศปญหาหนึ่ง คือ ยาเสพติด โดยแพรระบาดไปทั่วโลกมีผูรวมกระทําผิดจํานวนมาก ลักษณะการดําเนินการเปน ความลับ ยึดเปนอาชีพและส วนหนึ่งอยูเบื้องหลังอาชีพถูก กฎหมาย ทํารายไดจํานวนมาก ทั้งนี้ จะมีผูมีอิทธิพลทาง การเมืองในระดับทองถิ่นและระดับชาติ รวมมือใหความชวยเหลือเพื่อแลกเปลี่ยน หรือหวังผลประโยชนตางตอบแทน ปญหายาเสพติด ทําใหรัฐตองสูญเสียทรัพยากร ทั้งดานกําลังคน งบประมาณ ในการพัฒนาประเทศชาติ ซึ่ง ผลกระทบจากปญหายาเสพติด ซึ่งเปนปญหาสําคัญของประเทศไทย แบงออกเปน 1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ 2. ผลกระทบทางดานสังคม
1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ
จากกรณีองคกรอาชญากรรมขามชาติมุงหวังกําไรเปนหลัก กิจกรรมตาง ๆ ทั้ง ธุรกิจผิดกฎหมาย และอาศัย ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา ทําใหเกิดผลเสียหายทางดานเศรษฐกิจกับประเทศ ดังนี้ 1) ทําใหเกิดระบบผูกขาดในทางเศรษฐกิจ เกิดการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ทําใหระบบเศรษฐกิจ ออนแอ ตนทุนการผลิตสินคาแพงขึ้น จากการเก็บคาคุมครองและอื่น ๆ และประชาชนตองบริโภคสินคาในราคาแพง 2) การฟอกเงินทําใหระบบเศรษฐกิจปนปวน การเงินไมเปนไปตามหลักเหตุผลทางเศรษฐศาสตร คาดการณ ยาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 133
3) รัฐตองจัดสรรงบประมาณ สําหรับการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมและตองสูญเสียรายไดในรูป ของภาษีอากร เชน การคาน้ํามันเชื้อเพลิง การลักลอบขนสินคาหนีภาษี 4) เงินรายไดของรัฐสิ้นเปลืองไป ทําใหทรัพยากรไมเพียงพอ ในการพัฒนาดานสังคม และสวัสดิการของ ประชาชน 5) จากกรณีความไมสงบเรียบรอยในบานเมือง ทําใหนักลงทุนตางชาติเกิดความลังเลในการเขามาลงทุน หรือรวมลงทุนกิจการในประเทศ
2. ผลกระทบทางดานสังคม
1) กอใหเกิดปญหาอาชญากรรม เพราะยาเสพติดบางอยางทําใหคนมีนิสัยกา วราว รุนแรง และประกอบ อาชญากรรมในหลายรายปรากฏว า การเสพยาเสพติ ด ทํ า ให เ กิ ด พลั ง จอมปลอมขึ้ น ทํ า ให ค นมี นิ สั ย ใจคอก า วร า ว อาชญากรบางคน ยอมรับวา ใชยาเสพติดเพื่อใหมีความกลาเพียงพอที่จะประกอบอาชญากรรม ผูติดยาเสพติดยังตอง พยายามหาเงินมาเพื่อบําบัดความตองการเสพยาเสพติด โดยอาจใชวิธีการที่ไมชอบดวยกฎหมาย เชน ฉกชิง วิ่งราว ทํา การโจรกรรม ปลนทรัพย หรือเปนโสเภณี ทําใหเกิดปญหาในดานความสงบสุขของประชาชนทั่วไป 2) ปญหาตอเยาวชนและวัยรุน โดยเฉพาะเด็กที่อยูในครอบครัวแตกแยก พอแมวิวาทเกลียดชังกัน ไมไดรับ ความอบอุน จึงหันไปหาสิ่งอื่น เชน หันไปหายาเสพติด เมื่อติดแลวก็กออาชญากรรมเพื่อหาเงินซื้อยาเสพติด สรางปญหา สังคมอื่น ๆ ขึ้นมา 3) กอใหเกิดปญหาโสเภณี หญิงโสเภณีจํานวนไมนอยที่เปนโสเภณี เพราะมูลเหตุจูงใจเบื้องตนจากการติด ยาเสพติด 4) กอใหเกิดปญหาการวางงาน นายจางไมวาจากรั ฐบาล หรือเอกชน ไมปรารถนาที่จะจางบุคคลที่ติด ยาเสพติดไวทํางาน และผูติดยาเสพติดจะหมกมุนอยูแตเรื่องที่จะหายาเสพติดมาเสพ เพื่อบําบัดความตองการเทานั้น มิได คิดถึงการประกอบอาชีพใด ๆ ขาดความกระตือรือรนที่จะขวนขวายหาอาชีพอื่น ทําใหกลายเปนคนวางงานในที่สุด 5) ปญหาสังคมอื่น ๆ เชน ปญหาความยากจน ปญหาการหยาราง ปญหาเด็กถูกทอดทิ้ง ปญหาคนไรที่พึ่ง และปญหาการสงเคราะหผูติดยาเสพติด เปนตน 6) ด า นกํ า ลั ง คน กล า วคื อ ประเทศที่ มี ป ระชากรติ ด ยาเสพติ ด จะเป น ประชากรที่ ข าดคุ ณ ภาพ ขาด ประสิทธิภาพในการทํางาน ขาดแรงจูงใจในการทํางาน การพัฒนาประเทศยอมหยุดชะงักหรือไมกาวหนาเทาที่ควร 7) ดานการเงินงบประมาณ โดยหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคการระหวางประเทศไดทุม งบประมาณในการแกไขปญหายาเสพติดอยางมหาศาล รัฐบาลทุกรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดเปนนโยบายสําคัญ พรอมจัดสรรงบประมาณประจําป เพื่อปองกันปราบปรามยาเสพติดใหแกหนวยงานตาง ๆ ที่ มีหนาที่เกี่ยวของในดานการปองกัน และปราบปรามยาเสพติด ตลอดจนการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด โดยมีจุดมุงหมาย เพียงเพื่อยับยั้งและทําลายยาเสพติดใหหมดสิ้นไป ยาเสพติด มีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางมาก ประเทศไทยตระหนักถึงปญหายาเสพติด และ ดําเนินการปองกันปราบปราม ควบคุมการแพรระบาดของยาเสพติด ใหลดนอยลง เพื่อประชาชนในประเทศจะไดมีความ เปนอยูดีขึ้น ปญหาอาชญากรรม และการสูญเสียกําลังงบประมาณก็จะลดนอยลง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 134
ผลกระทบจากการแกไขปญหายาเสพติดเมื่อรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ป 2558 เมื่ อ ประเทศในภู มิ ภาคกํ า ลั ง จะรวมตั ว กั น เป น ประชาคมอาเซี ยนในป 2558 จะส ง ผลกระทบต อ แนวโน ม สถานการณยาเสพติด และการบริหารจัดการเพื่อแกไขปญหายาเสพติด ทั้งทางบวก และทางลบหลายประการดวยกัน กลาวคือ
1. ประชาคมเศรษฐกิจ
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค การพัฒนาเศรษฐกิจระหวางประเทศ การ สงเสริมการลงทุนในตางประเทศ บรรยากาศการคา และการลงทุนเสรีมากขึ้น เงินทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศเขาออก ไดอยางเสรี เกิดความเชื่อมโยงระบบชําระเงินระหวางกันในอาเซียน การแขงขันเพื่อเปนศูนยกลางการขนสงของภูมิภาค ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกันเอง นําไปสูการพัฒนาดานศุลกากร ดานตรวจคนเขาเมือง และการปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวของ เกิดโครงขายทางดวนสารสนเทศรวมทั้งเพิ่มโอกาสในการพัฒ นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม ๆ จากการวิจัย และพัฒนารวมกันในภูมิภาคอาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อเสริมสรางเครือขายความเชื่อมโยงระหวาง ไทยกกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค จะเอื้ออํานวยตอการลําเลียงยาเสพติดทั้งตอประเทศตนทางที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด ประเทศทางผ า นที่ เ ปน จุ ดแวะพั ก และประเทศปลายทางที่เ ปน ตลาดผูบ ริ โภค เส นทางลํ าเลี ยงยาเสพติ ด จะมีก าร เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และเกิดความหลากหลายมากขึ้น กอใหเกิดความยุงยากในการสกัดกั้นและปราบปราม เกิด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจขามชาติ อาชญากรรมที่เกี่ยวกับยาเสพติด และอาชญากรรมคอมพิวเตอร แผนประทุษกรรม เกี่ยวกับยาเสพติดจะพลิกแพลง และซับซอนมากขึ้น การใชประโยชนเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหมใหเอื้ออํานวยตอการ ประกอบอาชญากรรมระหวางประเทศ ธุรกรรมทางการเงินระหวางประเทศ และการฟอกเงิน นักลงทุน ตางชาติจะอาศัย สิทธินักลงทุนสัญชาติอาเซียนเขามาลงทุนในไทยมากขึ้น เกิดปญหาการประกอบธุรกิจของคนตางดาว
2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การกระตุนใหทุกภาคสวนเตรียมความพรอม และพัฒนาตามกรอบอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเขาใจ และความรวมมือกันมากขึ้นในการแกไขปญหา เกิดความรวมมือระดับภูมิภาค อาเซียนในเรื่องการสงเสริม และคุมครองสิทธิ ดวยปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก ภารกิจในการขับเคลื่อนความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซีย นมี ปริมาณงานเพิ่มขึ้น ความพรอมของบุคลากรดานภาษา และความเชี่ยวชาญเฉพาะดานขอจํากัดดานงบประมาณ และ กําลังคน เครื่องมือ และกลไกพื้นฐานของระบบราชการขาดความยืดหยุน และคลองตัว คานิยม และวัฒนธรรมบางอยาง อาจจะยั งไมสอดคลอง หรื อสรางการไม ยอมรับ มีทั ศนคติเ ชิง ลบต อการเปลี่ยนแปลงเกิ ดความเหลื่ อมล้ํ าทางสั งคม ประชาชนบางกลุมยังเขาไปไมถึงบริการของภาครัฐ และขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซี ย น ความแตกต า ง และความหลากหลายทางประชากรอย า งเช น เชื้ อ ชาติ ศาสนา วั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีการดําเนินชีวิต ปญหาสังคมเปนมูลเหตุที่สําคัญของปญหายาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 135
3. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงบวกที่สําคัญ ไดแก การสรางความรวมมือดานการปองกันทางการทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยเฉพาะการกําหนดแนวทางการจัดการพื้นที่ชายแดน การดําเนินงานภายใตความรวมมือตาง ๆ จะกอใหเกิด สันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคอาเซียน เกิดการเสริมสรางความเขาใจในระบบกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย การพัฒนาประสิทธิภาพของหนวยงานบังคับใชกฎหมาย การพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับพันธกรณี อาเซียน การสรางแนวปฏิบัติรวมกันของประชาคมอาเซียน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ และความรูกับประเทศในกลุม อาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก การกําหนดนโยบาย และการขับเคลื่อนดานการเมือง และความมั่นคง มีความซับซอนเพิ่มขึ้น การควบคุมตรวจสอบการดําเนินงานของราชการที่เขมขนยิ่งขึ้น ปจจุบันกฎหมายหลายฉบับไม สอดคลองกับพันธกรณี การปฏิบัติตอคนตางดาว แรงงานตางดาว และผูอพยพลี้ภัยใหเปนไปตามพันธกรณี การคุมครอง สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนพื้ น ฐาน การเคลื่ อ นย า ยแรงงาน โดยเสรี อ าจก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความสงบสุ ข และความมั่ น คง ภายในประเทศ กลุมกอการราย และอาชญากรรมขามชาติแสวงประโยชนจากการเปดเสรี และเคลื่อนยายเสรี แผน ประทุษกรรมเกี่ยวกับอาชญากรรม และยาเสพติดจะพัฒนารูปแบบที่พลิกแพลงมากขึ้น ทําใหการปองกัน และปราบปราม มีความยุงยาก และซับซอนยิ่งขึ้น
ปญหาและอุปสรรคในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ประการแรก
ประการที่สอง
ประการที่สาม
รู ป แบบของการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นในป จ จุ บั น มี ค วาม หลากหลายมากขึ้น โดยมีการผลิต จําหนาย และเสพยาเสพติดแตกตางกันไปในแตละ ประเทศ โดยมีการขนสงลําเลียงในรูปแบบใหมที่แตกตางไปจากเดิมโดยเฉพาะการขนสง เขาประเทศ โดยใชชองทางไปรษณีย และระบบการขนสงขนาดใหญ เชน การขนสงทาง ทะเล ซึ่งการตรวจสอบทําไดคอนขางลําบาก รวมถึงการปลอมแปลงเอกสารเพื่อใหผานพิธี การทางศุลกากร การกระทํ า ผิ ด มั ก เกิ ด ขึ้ น บนพื้ น ที่ ค าบเกี่ ย วระหว า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น การค า ยาเสพติดขา มชาติ การลั กลอบขนยาเสพติ ดขามชาติ โดยการใชผูก ระทํา ความผิดเป น ประชาชนของอีก ประเทศหนึ่ง ซึ่ งเปน ตัวกลางในการไปดํา เนิน การเคลื่อนยายขนถา ย ยาเสพติด โดยที่ผูนั้นไมทราบถึงสินคาที่ถูกวาจางใหไปดําเนินการขนยายวา เปนสินคาปกติ ทั่วไป หรือเปนยาเสพติดผิดกฎหมาย และเมื่อถูกเจาหนาที่จับกุมตัวก็จะถูกดําเนินคดีทําให ไมทราบถึงตัวการในการกระทําความผิดอยางแทจริง การรวบรวมพยานหลักฐานซึ่งมีความยุงยากซับซอน หากมีการกระทําผิดเกิดขึ้นระหวาง ประเทศ กลาวคือ การกระทําความผิดไดถูกแยกสวนที่กระทํา ผิดลงไปในดินแดนมากกวา หนึ่งประเทศขึ้นไป ซึ่งขอจํากัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐาน และความสมัครใจ ของพยานบุคคลที่จะสมัครใจเขาเปนพยานในคดี รวมถึงนโยบายของแตละประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนที่ใหความสําคัญในการรวมมือเกี่ยวกับการคนหาพยานหลักฐานระหวาง ประเทศ ซึ่งขอจํากัดในการรับฟงพยานหลักฐานในตางประเทศของศาลมีคอนขางมาก ดังนั้น กวาจะไดมา ซึ่งพยานหลักฐานเพื่อนําไปใชใหเกิดประโยชนประกอบการพิจารณาคดี
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 136
อยางถูกตอง จึงจําเปนตองผานขั้นตอน และกระบวนการระหวางประเทศที่ลาชา อันสวน ทางกับอาชญากรรมขามชาติที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว ประการที่สี่ การใช ภาษาที่ แตกต างกันในแตละประเทศ กล าวคือ เจาหนาที่หน วยงานภาครั ฐ และ เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศมีทักษะในการใชภาษาอังกฤษอยูใน ระดับที่ไมสามารถใชงานในการสื่อสารไดดีพอ ทําใหตองอาศัยลามแปล ซึ่งอาจไมสามารถ จัดหาลามแปลไดครบทุกภาษาที่ตองการ และมีคาใชจายสูง ในขณะที่ บางประเทศยังมิได จัดเตรียมงบประมาณสําหรับการจัดหาลาม เพื่อเขามาเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือในการ พิจารณาคดี หากมีผูกระทําความผิดเปนชาวตางชาติ ประการที่หา การสืบพยานประเด็นนั้น อาจมีปญหาในกรณีที่ระบบศาลของแตละประเทศในภูมิภาค อาเซียนนั้นมีความแตกตางกัน ซึ่งแตกตางจากกลุมประเทศในสหภาพยุโรปที่มีกฎหมาย ของภูมิภาคและสามารถนํามาบังคับใชรวมกันได ทําใหกระบวนการยุติธรรมและขั้นตอน การพิจารณาคดีเปนไปไดอยางสอดคลองกัน เมื่อเกิดกรณีที่ประชาชนตา งชาติที่มาจาก ประเทศในกลุ ม สหภาพยุ โ รปเข า มากระทํ า ความผิ ด ระหว า งประเทศก็ จ ะต อ งเข า สู กระบวนการพิจารณาคดีที่ทัดเทียมกัน ทั้งทางดานกฎหมายและสิทธิมนุษยชน ประการที่หก เกณฑอายุของตัวผูกระทําความผิดยังมีความแตกตางกัน โดยเฉพาะการจํากัดความรับผิด ของเด็กและเยาวชน เชน อายุต่ํากวา 7 ป ไมตองรับโทษ หรือเกินกวา 7 ป แตไมเกิน 18 ป กระทําผิดแตรับโทษในฐานะเด็กและเปนเยาวชนเทานั้น ประการสุดทาย ปญหาเรื่องเขตอํานาจในเชิงพื้นที่ เชน เมื่อเจาพนักงานพบการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในฝ งประเทศเพื่ อนบ านที่ มีแ นวชายแดนติ ด ตอ กั น แตไ ม สามารถดํา เนิน การจั บกุ มตั ว ผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมาสูกระบวนการได เนื่องจาก ติดปญหาเรื่องขอบเขต อํานาจรวมถึงหลักดินแดน ซึ่งสิ่งที่สามารถกระทําได เพื่อใหสามารถนําตัวผูกระทําความผิด มาดําเนินคดี คือ ตองทําการลอซื้อใหเคลื่อนยายการกระทําผิดมาที่ประเทศไทย ซึ่งเปนการ ยากและมีขั้นตอนที่มีความเสี่ยงและลาชา การปราบปรามยาเสพติดจึงไมบรรลุเปาหมาย ตามนโยบายเทา ที่ควร หากสามารถลดป ญหาเรื่ องการจัด กุมตัว ผูกระทํ าความผิด ขา ม พรมแดนได ก็จะชวยใหการจัดการกับแหลงผลิตยาเสพติดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นั่นคือ การแกปญหาที่ตนเหตุ ดังนั้น ในยุคโลกาภิวัตน อาชญากรรมคายาเสพติดในหลายประเทศไดพัฒนารูปแบบเปนองคกรอาชญากรรม คายาเสพติดขามชาติที่มีเครือขายดําเนินการเชื่อมโยงกันในพื้นที่หลายประเทศ และมีการแบงหนาที่กันทําเปนสวน ๆ ไม วาจะเปนขั้นตอนการวางแผน การตระเตรียมการ การติดตอซื้อขาย การจัดหา และการสงมอบยาเสพติด จึงเปนการยาก ที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะดําเนินการปราบปรามอยางไดผลเพียงลําพัง หากแตจะตองอาศัยความรวมมือจากนานา ประเทศในการแสวงหามาตรการพิเศษมาชวยเสริมประสิทธิภาพการปราบปรามและดําเนินคดี โดยไมยึดติดกับหลัก อํานาจอธิปไตย และหลักดินแดนแหงรัฐ ในการนี้ มาตรการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติดก็เปนมาตรการอยางหนึ่งที่ นานาประเทศไดนํามาใชเปนกลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดอยางไดผล โดย แนวทางความร ว มมื อ ในการแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ให บ รรลุ ผ ลนั้ น ทุ ก ประเทศในกลุ มต อ งมองป ญ หาร ว มกั น โดย แลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ และมีการอบรมดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกัน ไมวาจะเปน จีน ไทย เมียนมาร สปป.ลาว เวียดนาม กัมพูชา แมวา จีนจะไมไดอยูในประชาคมอาเซียนก็ตาม
อาชญากรรมขามชาติรูปแบบการคามนุษย การคามนุษยไมใชปญหาใหมที่พึ่งจะเกิดขึ้น แตเปนปญหาที่มีมาตั้งแตการคาทาสในสังคมสมัยกอน เพื่อใชเปน แรงงานในกระบวนการผลิตแบบเกษตรกรรม และการสงคราม และมีพัฒนาการเรื่อยมาจนถึงยุคลาอาณานิคม เชน การ ลาอาณานิคม และการกวาดตอนผูคนมาเปนทาส อันไดแก การคาทาสชาวผิวดํา หรือชนเผาพื้นเมืองมาเปนสินคาเชิง พาณิชยโดยตรง ทั้งนี้ มีความเปลี่ยนแปลงสําคัญที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งโฉมหนาของสังคมโลก คือ นับตั้งแตการปฏิวัติ 1 อุต สาหกรรมที่เ ริ่มขึ้ นในยุ โ รปตะวัน ตก ตั้ง แตศ ตวรรษที่ 18 เป นต นมา นอกจากนี้ การคา มนุ ษ ยใ นภู มิภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต ในยุคปจจุบัน เริ่มตนขึ้นในชวงป พ.ศ. 2503-2513 พรอม ๆ กับ การเขามาของกองทัพสหรัฐอเมริกา ในอินโดจีน โดยสตรีเหลานี้ จะถูกคาประเวณีใหกับทหารชาวอเมริกัน โดยวิธีการถูกบังคับขูเข็ญ หรือบางครั้ งมีการให คาตอบแทน โดยมีเพื่อนบานหรือบุคคลในทองถิ่นนั้นเปนผูลอลวง ทําใหสตรีบางคนที่ครอบครัวเดือดรอนทางดานการเงิน หันมายึดอาชีพนี้ เพราะไดเงินอยางรวดเร็ว ซึ่งไดกลายเปนคานิยมแบบผิด ๆ ที่เริ่มเกิดขึ้นตั้งแตนั้นเปนตนมา หลังจากที่ สหรัฐอเมริกาถอนทหารออกไปจากอินโดจีน ในป พ.ศ. 2518 สตรีบางคนยังคงคาประเวณีอยูตอไป ในขณะที่ บางคนก็เริ่มออกไปคาประเวณีในตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศเยอรมัน ประเทศแถบ สแกนดิเนเวีย ฮองกง และญี่ปุน โดยตัวแทนตาง ๆ ไดอํานวยความสะดวกในการยายถิ่น และการจางงานสตรีโดยผานทาง “เครือขายการคามนุษยขามชาติ” ปญหาสําคัญประการหนึ่ง คือ การที่ สตรีเหลานี้ ไมอาจทราบลวงหนาถึงสภาพการ ทํางาน และไมสามารถควบคุมสภาพนีไ้ ดเลย หลังจาก การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป พ.ศ. 2518 ประเทศในภูมิภาคนี้ ไดแบง ออกเปนสองฝาย ตามความแตกตางของอุดมการณทางการเมือง โดยประกอบดวย กลุมประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต ไดแก เวียดนาม สปป.ลาว และกัมพูชา ซึ่งกลุมประเทศเหลานี้ไดยึดแนวทางการเมืองการปกครอง และแนวทางเศรษฐกิจ ในระบอบสังคมนิยม สวนอีกกลุมประเทศหนึ่ง ไดแก ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส และอินโดนีเซีย ที่แมวา กลุม ประเทศเหลานี้ จะมีรูปแบบการปกครองที่แตกตางกันออกไปหลายรูปแบบ แตก็มีลักษณะรวม คือ เปนกลุมประเทศเสรี นิ ยม และมี ร ะบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม ซึ่ ง ระบบเศรษฐกิ จแบบทุ น นิ ยมนี้ เ อง ที่ ไ ด ก อ ให เ กิ ด การพั ฒนาทางด า น อุตสาหกรรมภายในประเทศอยางมาก นอกจากนี้ ในชวงระยะเวลาประมาณ 20 ปที่ผานมา เศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก รวมทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมที่ เนนการใชแรงงานเขมขน (labour intensive) ในประเทศที่มีทิศทางการพัฒนาไปสูความเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม ไดแก ไทย มาเลเซีย หรือสิงคโปร ซึ่งสงผลใหเกิดความตองการจางแรงงานเพิ่มมากยิ่งขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่ง แรงงานระดับลาง หรือแรงงานไรฝมือ ทั้งนี้ ความตองการในการจางแรงงานไมวาจะเปนในภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ อสังหาริมทรัพย รวมไปถึงภาคเกษตรกรรม มีอัตราความตองการจางงานในระดับสูง โดยที่การเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ของระบบเศรษฐกิจโดยรวมนั้น ไดสงผลใหเกิดการขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่งสายงานบางประเภท ที่เรียกกันวา งานแบบ 3 ส. ไดแก งานที่เสี่ยง สกปรก และแสนยากลําบาก ในขณะเดียวกัน แรงงานในประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมนั้น ๆ มีการศึกษาที่สูงขึ้น มีการฝกทักษะอาชีพ มากขึ้น ดังนั้น จึงสามารถเลือกงานที่จะทําไดมากขึ้น และแนนอนวา ยอมไมเลือกทํางานประเภท 3 ส. ดังกลาว แตงาน ประเภท 3 ส. ก็ยังตองการแรงงานเขามาทํางานประเภทนี้อยูเชนเดิม ดังนั้น จึงไดเกิดการทดแทนแรงงานภายในประเทศ 1
ศูนยวิจัยและพัฒนาอาญาวิทยาและกระบวนการยุติธรรม. (2550). โครงการวิจัยเรื่อง กระบวนการเขาสูการคามนุษย . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 1.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 138 โดยการใชแรงงานจากตางประเทศ โดยเฉพาะอย างยิ่ง แรงงานจากประเทศดอยพัฒนาที่ไมมีโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดี เทากับประเทศกําลังพัฒนา หรือประเทศที่พัฒนาแลว จึงมีความตองการที่จะยายออกจากประเทศของตนเอง เพื่อ แสวงหาชีวิตที่ดีกวา ตรงจุดนี้เองที่เปนจุดดุลยภาพระหวางความตองการจางงาน และความตองการหางานทํา ดังนั้น จึง เกิดการยายถิ่นขามประเทศเพื่อไปหางานทํา โดยในสวนของภูมิภาคเอเชีย ธุรกิจการคาแรงงานเริ่มตนขึ้น เมื่ อเกิดกระแสการยายถิ่นขามประเทศ เพื่อไป ทํางานในชวงตนของทศวรรษของป พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เปนตลาดแรงงานที่ใหญที่สุดในขณะนั้น คือ กลุมประเทศ ตะวันออกกลางที่ร่ํารวยจากอุตสาหกรรมปโตรเลียม และตอมา ประมาณกลางทศวรรษของป พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) ตลาดแรงงานไดขยายตัวมายังหลาย ๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก ไตหวัน สิงคโปร ฮองกง และมาเลเซีย ธุรกิจการคาแรงงานไปยังตางประเทศเริ่มมีการแขงขันที่สูงขึ้น และเกิดการเอารัดเอาเปรียบแรงงานมากขึ้น จนถึงขั้นสราง ขอมูลหลอกลวงแรงงาน และในขณะเดียวกัน ก็เกิดธุรกิจใตดินนอกระบบที่นําสงแรงงานหรือขนคนจากประเทศหนึ่งไปสู 2 อีกประเทศหนึ่งอยางซับซอนมากขึ้น และละเมิดกฎเกณฑของการเดินทางขามประเทศมากขึ้น ทั้งนี้ การคามนุษยขาม ชาติ นับเปนธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จัดอยูในธุรกิจนอกระบบที่ผิดกฎหมาย และมีเครือขายเชื่อมโยงกับอาชญากรรมขาม ชาติในรูปแบบอื่น ๆ อีกดวย และยังมีความคิดเห็นในเชิงสังคมศาสตรที่เห็นวา อาชญากรรมการคามนุษยไดเกิดขึ้น และ เจริญเติบโตภายใตระบบทุนนิยมเสรีที่ปลุกเรากระแสบริโภคนิยมอยางไมมีที่สิ้นสุด และขยายชองวางความแตกตางทาง เศรษฐกิจระหวางประเทศ หรือระหวางภูมิภาคของโลกใหเพิ่มสูงมากขึ้นดวยสถานภาพของคนระดับลางในประเทศตาง ๆ อันรวมไปถึงสถานภาพของผูหญิงและเด็กที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ประกอบกับสภาวะที่ไรทางเลือก หรือการมีทางเลือกอัน จํากัดยิ่งในประเทศตนทางไดผลักดันใหคนเหลานี้ มุงแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกวาในอีกประเทศหนึ่ง และกลุมบุคคล 3 จํานวนหนึ่งก็ไดกลายเปนเหยื่อของวงจรการคามนุษย ในปจจุบัน ปญหาการคามนุษยโดยเฉพาะการคาหญิงและเด็กเปนปญหาที่ประชาคมโลกหวงใย และเรงหา มาตรการเพื่อแกไขและปองกัน ถือวา เปนปญหาการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนตอหญิงและเด็กอยางรุนแรง กอใหเกิด อาชญากรรมทั้งในระดับนานาชาติ ระดับประเทศ และระดับทองถิ่น และเปนปญหาสังคมตาง ๆ เชน การแพรระบาดของ โรคเอดส ยาเสพติด โรคติดตออื่น ๆ เปนตน ซึ่งมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีของมนุษย และความมั่นคง ของประเทศทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม วัฒนธรรมของประเทศ และประชาคมโลก และจากการเปลี่ยนแปลงเขาสูยุค โลกาภิวัตน ทําใหการคามนุษยไดรับการพิจารณาวา เปนสวนหนึ่งของอาชญากรรมขามชาติ เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน 4 ที่รายแรง อีกทั้งการที่ประเทศในอาเซียนกําลังจะกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในป พ.ศ. 2558 นี้ โดยมีเปาหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอํานาจตอรอง และขีดความสามารถใน การแขงขันในเวทีระหวางประเทศในทุกดาน ประเทศในอาเซียนมีการเปดอยางเสรีทางดานการคา การลงทุนมากยิ่งขึ้น 5 รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปญหาใหม ๆ ระดับโลกที่สงผลกระทบตอภูมิภาค สงผลใหประเด็นการคามนุษยใน อาเซียนเปนความทาทายอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของปญหาขามชาติ อันสงผลกระทบตอความมั่นคงระหวางประเทศที่ ประชาคมอาเซียนจะตองตอบโจทยใหไดวา การเปนประชาคมอาเซีย นนั้น เปรียบเสมือนการปองกัน หรือเปดชองวาง ใหแกขบวนการคามนุษยอยางแทจริง 2
กฤตยา อาชวนิจกุล, (2545). สถานะความรูเรื่องแรงงานขามชาติในประเทศไทยและทิศทางการวิจัยที่พึงพิจารณา. (นครปฐม :สถาบันวิจัย ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล), หนา 49 3 เรื่องเดียวกัน. 4 ศูนยปฏิบัติการตอตานการคามนุษย มูลนิธิกระจกเงา. (2554). รายงานการคามนุษย ประจําป พ.ศ. 2554. 5 สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (2555). การกาวสูประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. หนา 11.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 139 ในปจจุบั น มหัตภั ยในรูป แบบอาชญากรรมขามชาติ ยังเปนปญหาที่หลายประเทศทั่วโลก ยังตองเผชิญอยู แมกระทั่ง ประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนของเรายังตองหาวิธีตาง ๆ มาชวยกันแกปญหานี้ ปญหาการคามนุษยเปน อาชญากรรมขามชาติที่ไมสามารถเกิดไดในบริเวณอาณาเขตประเทศใดประเทศหนึ่งไดเทานั้น ยังสงผลกระทบไปยัง ภูมิภาคอื่น และลุกลามไปอีกมากมาย ซึ่งโยงใยเปนลูกโซไปสูอาชญากรรมขามชาติประเภทอื่น เช น ปญหายาเสพติด ปญหาการฟอกเงินและสงผลกระทบตอดานความมั่นคง และเสถียรภาพของรัฐเปนอยางยิ่ง ทั้งดานการศึกษาและดาน สังคม
ความหมายของการคามนุษย
6
คํานิยามของ “การคามนุษย” มีคํานิยามทีม่ ีความหมายที่แตกตางกัน ซึง่ พิศวาส สุคนธพันธุ ไดกลาววา พิธีสาร เพื่อป องกั นปราบ และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะอย างยิ่ง สตรี และเด็ก และไดใ หความหมายของการคา มนุษ ย หมายถึง การจัดหา การขน การสงตอ การจัดใหที่อยูอาศัย หรือการรับไวซึ่งบุคคลดวยวิธีการขมขู หรือดวยการใชกําลัง หรือดวยการบังคับในรูปแบบอื่นใด ดวยการลักพาตัว ดวยการฉอโกง ดวยการหลอกหลวง ดวยการใช อํานาจที่เหนือกวา หรือดวยการใชสถานะความออนแอตอภัยของบุคคล มีการให รับเงิน หรือผลประโยชนอยางอื่น เพื่อใหไดความยินยอม ของบุคคลหนึ่ง ผูมีอํานาจควบคุมอีกบุคคลหนึ่ง เพื่อความมุงประสงคในการแสวงหาผลประโยชน อยางนอยที่สุดใหรวมถึง การแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณี หรือการแสวงหาผลประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น การบังคับใชแรงงาน หรือ บริการ การเอาคนลงเปนทาส หรือการกระทําอื่นเหมือนการเอาคนมาเปนทาส การทําใหตกอยูภายใตบังคับ หรือการตัด อวัยวะออกจากรางกาย นอกจากนี้ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 (มาตรา 4) ไดให นิยามความหมายการคามนุษยที่กวางมากขึ้น โดยครอบคลุมทั้งการคาประเวณี การแสวงหาผลประโยชนทางเพศใน รูปแบบอื่น การเอาคนมาเปนทาส การนําคนมาขอทาน การบังคับใชแรงงาน หรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการคา หรือการอื่นใดคลายคลึงกัน อันเปนการขูดรีดบุคคลไมวาบุคคลนั้น จะยินยอมหรือไมก็ตาม 7 ดังนั้น การคามนุษย จึงประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ 1) การกระทํา (Action) ไดแก เปนธุระ จัดหา ลอไป ชักพาไป ซื้อ ขาย จําหนาย นําเขา พามาจาก สงออก ไป รับไว หนวงเหนี่ยว กักขัง ซอนเรน 2) วิธีการ (Means) ไดแก การใชอุบาย หลอกลวง บังคับ ชักจูง ยุยง สงเสริมใชกําลังประทุษราย ขูเข็ญวา จะใชกําลังประทุษราย ใชอํานาจครอบงําผิดคลองธรรม ขมขืนใจ 3) วัตถุประสงค (Purposes) คือ เพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากเหยื่อ เชน การนําตัวไปเพื่อสนอง ความใคร เพื่อการอนาจาร หรือทําการคาประเวณี เอาตัวลงเปนทาสหรือมีฐานะคลายทาส กดขี่แรงงานและตัดอวัยวะ นอกจากนั้น ยังมีคํานิยามของคําวา “การคามนุษยดานแรงงาน” ตามที่ระบุในแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปองกัน ปราบปราม และชวยเหลือผูคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยดานแรงงานของประเทศไทย หมายถึง การเปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจาก หรือสงไปยังที่ใด หนวงเหนี่ยวกักขัง จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซึ่งบุคคลใดโดยขมขู ใชกําลัง บังคับ ลักพาตัว ฉอฉล หลอกลวง ใชอํานาจโดยมิชอบ หรือโดยใหเงิน หรือผลประโยชนอยางอื่ นแกผูปกครองหรือผูดูแล บุคคลนั้น เพื่อใหผูปกครองหรือผูดูแลใหความยินยอมแกผูกระทําความผิดในการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดานแรงงาน จากบุคคลที่ตนดูแล และใหหมายความรวมถึงการเปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจาก หรือสงไปยังที่ใด หนวง 6
พิศวาส สุคนธพันธุ, (2548), รายงานการวิจัยมาตรการในการแกไขปญหาการลักลอบขนผูยายถิ่น (พิธีสารเพื่อตอตานการลักลอบขนยายถิ่นฐาน ทางบก ทางทะเล ทางอากาศ). กรุงเทพฯ : สถาบันกฎหมาย สํานักอัยการสูงสุด. หนา 6. 7 อํานาจ เนตยสุภา. (2552). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคามนุษย. วารสารวิชาการนิติศาสตร, หนา 15.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 140 8
เหนี่ยว กักขัง จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซึ่งเด็ก เพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดานแรงงาน และนอกจากคํานิยมขางตน 9 แลว ยังไดมีการขยายความของคําตาง ๆ ที่ปรากฏในคํานิยามดังกลาว ไดแก 1. การแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดานแรงงาน หมายถึง การแสวงหาประโยชนจากการบังคับใชแรงงาน หรือบริการ 2. การบังคับใชแรงงาน หรือบริการ หมายความวา การขมขืนใจใหทํางาน หรือใหบริการโดยทําใหกลัววา จะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพยสินของบุคคลนั้นเอง หรือของผูอื่น โดยขูเข็ญดวยประการ ใด ๆ โดยใชกําลังประทุษราย หรือโดยทําใหบุคคลนั้นอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได 3. ผูเสียหายจากการคามนุษยดานแรงงาน หมายความวา บุคคลที่ตกเปนผูถูกกระทําในการคามนุษยดาน แรงงานโดยตรง 4. แรงงานเด็ก หมายความวา ลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุไมต่ํากวา 15 ปแตไมถึง 18 ป ตามความในหมวด 4 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 5. เด็กที่ถูกใชแรงงานโดยมิชอบดวยกฎหมาย หมายความวา บุคคลอายุต่ํากวา 15 ป ยกเวนเด็กอายุตั้งแต I 13 ปบริบูรณ ในงานเกษตรกรรมที่ไมทําตลอดทั้งป ซึ่งถูกใชแรงงาน และพึงไดรับการชวยเหลือตามแนวปฏิบัติฉบับนี้ ทั้งนี้ โดยไมตองคํานึงถึงวา บุคคลดังกลาวจะตกเปนผูเสี ยหายจากการคามนุษยดานแรงานหรือไม หรือบุคคลผูเปน นายจางจะกระทําการอันเปนการฝาฝนตอบทบัญญัติของกฎหมายอื่นใดหรือไมก็ตาม นอกจากนี้ ผูที่ลักลอบเดินทางเขา ประเทศไทยโดยผิดกฎหมายนั้น ไมวาจะดําเนินการในเรื่องใด ๆ ก็ตาม เชน การเดินทาง การหางานทํา รวมไปถึงการจาง งานนั้น จะตองลักลอบดําเนินการดวยกันทั้งสิ้น เพื่อใหพนจากสายตาของเจาหนาที่ทางการของไทย และเมื่อดําเนินการ ทุกอยางเปนไปโดยลักลอบ และรอดพนจากสายตาเจาหนาที่รัฐแลว นั่นหมายความวา แรงงานตางดาวยอมตกอยูในความ เสี่ยงที่จะถูกใชแรงงานอยางไมเปนธรรม หรืออาจจะตกเปนเหยื่อของการแสวงประโยชนดานแรงงานไปในที่สุด นอกจากนี้ ยังมีคํานิยามของคําวา “การคามนุษย” ตามที่ระบุโดยพันธมิตรโลกเพื่อตอตานการคาหญิง (Global Alliance Against Trafficked in Women : GAATW) ที่ระบุวา การคามนุษย หมายถึง การกระทํา และความพยายาม ใด ๆ ที่เปนการจัดหา ขนสง ลําเลียงภายใน หรือขามพรมแดน การซื้อขาย การสงตอ หรือการรับหรือกักขังหนวงเหนี่ยว บุคคลดวยการลอลวง การบังคับ รวมทั้งการขูที่ใชกําลัง หรือใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ หรือการผูกมัดดวยภาระหนี้สิน เพื่อกักขังหนวงเหนี่ยวบุคคลนั้นใหตกอยูในภาวะจํายอม (เชน ในรูปแบบของงานรับใชในบาน งานบริการทางเพศแก ผูชาย) ไมวาจะมี หรือไมมีคาจางก็ตาม เพื่อบังคับใชแรงงาน หรือเปนแรงงานติดหนี้ หรือทําใหตกอยูในสภาพการทํางาน 10 เยี่ยงทาสในชุมชนอื่นที่มิใชภูมิลําเนาที่บุคคลนั้นอาศัยอยู ในขณะทีเ่ กิดการลอลวง บังคับหรือมีหนี้สินผูกมัดขึ้น ในป พ.ศ. 2537 ยั ง ได ป รากฏคํ า จํ า กั ด ความเรื่ อ งการค า มนุ ษ ย ข องสหประชาชาติ โดยสมั ช ชาใหญ แ ห ง สหประชาชาติ ไดมีมติ รับรอง และประณามเรื่องการคาหญิงและเด็กหญิ งไววา การค าหญิงและเด็ก หญิงเป น “การ เคลื่อนยายบุคคลภายในประเทศ และขามพรมแดนระหวางประเทศในลักษณะที่ตองหาม และลักลอบ โดยสวนใหญจะ เปนการเคลื่อนยายจากประเทศที่กําลังพัฒนาและประเทศที่เศรษฐกิจอยูระหวางการเปลี่ยนแปลง โดยมีเปาหมายเพื่อ บังคับใหหญิง และเด็กตกอยูในสถานการณที่ถูกแสวงหาประโยชน และถูกกดขี่ทางเศรษฐกิจ และทางเพศ เพื่อกําไรของผู จัดหาคัดเลือก ผูคา และเครือขายอาชญากรรมรวมถึงกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งเกี่ ยวของกับการคาหญิงและเด็กอื่น ๆ 8
“แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปองกัน ปราบปราม และชวยเหลือคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยดานแรงงาน” (เอกสารไมตีพิมพเผยแพร) เรื่องเดียวกัน. 10 พันธมิตรโลกตอตานการคาผูหญิง , การคาหญิง : จากแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนสูการปฏิบัติ , แปลโดย พัชราวดี แกวคูณ และคนอื่นๆ (กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง, 2543), หนา 14. 9
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 141 เชน การบังคับใชแรงงานในบาน การแตงงานจอมปลอม การจางแรงงาน แบบลักลอบ และการหลอกปลอมแปลงรับบุตร 11 บุญ ธรรม” และในป พ.ศ. 2538 ได มีร ายงานโดยเลขาธิก ารสหประชาชาติใ นการชี้ แจงถึง การที่ สมั ช ชาใหญแ ห ง สหประชาชาติมุงความสนใจไปที่มิติระหวางประเทศของการคามนุษย และยังไดขยายความสนใจไปไกลกวาการมองเรื่อง การคามนุษยเพื่อการคาประเวณีแตอยางเดียว โดยยังไดคํานึงถึงรูปแบบอื่น ๆ ของการบังคับใชแรงงานและการลอลวงอีก 12 ดวย และทางดานองคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน (International Organization for Migration : IOM) ยังไดกําหนดคํานิยามของคําวา “การคามนุษย” เมื่อ พ.ศ. 2542 โดยพิจารณาวาการคามนุษยนั้นจะเกิดขึ้น “เมื่อผู ยายถิ่นไดรับการจางงานอยางผิดกฎหมาย เชน การถูกจัดหา ถูกลักพา หรือถูกขาย เปนตน และ/หรือถูกเคลื่อนยาย ไมวา จะภายในประเทศ หรือขามพรมแดนระหวางประเทศ (และ) ในระหวางสวนใดของกระบวนการนี้ ตัวกลาง (นักคามนุษย) ไดรับผลประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือผลประโยชนอื่นโดยการใชอุบายหลอกลวง บีบบังคับ และ/หรือแสวงหาประโยชนใน 13 รูปแบบอื่นภายใตเงื่อนไข ซึ่งละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของผูยายถิ่น” โดยสรุปแลว ในเรื่องของคํานิยามของคําวา “การคามนุษย” นั้น แมวา ในปจจุบันคํานิยามของพิธีสารวาดวย การปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก เพิ่มเติมอนุสัญญาแหงองคการสหประชาชาติ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร จะเปนคํานิยามที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายทั่วไป จากความหมายที่กลาวมาในเบื้องตน จะเห็นไดวา ความหมายและลักษณะของ “การคามนุษย” จะคลายคลึง กับ “การคาแรงงานขามชาติ” เพราะการคาแรงงานขามชาติ หมายถึง การคาที่บุคคลใดมีพันธะเกี่ยวพันในกิจกรรมที่ กอใหเกิดรายไดในประเทศที่เขา หรือเธอไมไดมีสัญชาตินั้น ซึ่งเปนบุคคลที่ถูกวาจางใหทํางาน กําลังถูกวาจาง หรือถูก วาจางใหทํางาน โดยไดรับคาตอบแทนในประเทศที่ตนไมไดเปนคนของชาตินั้น โดยวิธีการเคลื่อนยายแรงงานจากประเทศ หนึ่งสูอีกประเทศหนึ่ง โดยมีลักษณะที่มีปฏิสัมพันธกับอีกสังคม และหรือวัฒนธรรมหนึ่งผานการวาจางแรงงาน ซึ่งการคา แรงงานขามชาติ มี 2 ประเภท คือ การคาแรงงานขามชาติแบบถูกกฎหมาย และการคาแรงงานขามชาติแบบผิดกฎหมาย ซึ่งการคาแรงงานขามชาติแบบถูกกฎหมายนั้น ตองมีการจดทะเบียน และรับรองโดยกฎหมายของประเทศที่แรงงาน 14 อพยพเขาไปอาศัยอยู สวนการคาแรงงานขามชาติแบบผิดกฎหมายนั้น จะเปนไปในรูปแบบของการคามนุษย ดังนั้น จะ เห็นไดวา การคามนุษยเปนรูปแบบหนึ่งของการคาแรงงานขามชาติในรูปแบบที่ผิดกฎหมาย โดยการคามนุษยจะกระทํา เปนกระบวนการ และจะแทรกแซงอยูในรูปแบบการคาแรงงานขามชาติไรฝมือ เพราะแรงงานขามชาติไรฝมือสวนใหญ เปนแรงงานที่ไดรับการศึกษานอย ฐานะทางครอบครัวยากจน จึงมีความจําเปนที่จะตองเขาไปหางานทํายังประเทศหนึ่ง ๆ ที่มีระบบทางเศรษฐกิจที่ดีกวา มีแหลงงานที่หลากหลาย แตดวยความที่ตองการแสวงหาความมีชีวิตที่ดีกวา จึงทําใหตก เปนเหยื่อของขบวนการคามนุษยไดงาย และเนื่องจาก ในปจจุบันโลกไดเปลี่ยนแปลงไปสูยุคโลกาภิวัตน สงผลใหเศรษฐกิจ โลกไปตามกระแสโลกาภิวัตน และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแรงงานไปทั่วโลก ในปจจุบัน โอกาสที่จะเคลื่อนยายสินคา และผลผลิตตาง ๆ มีมากขึ้น ผูใชแรงงานก็มีโอกาสที่จะเคลื่อนยายถิ่น เขาไปทํางานในเขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมากขึ้น อยางไรก็ตาม ยังมีแนวโนมที่นายจางสามารถสรางผลกําไรไดมาก ดวย การจางแรงงานยายถิ่นจากประเทศที่ยากจนกวาตน เมื่อความตองการที่จะหารายไดมีมากขึ้น ในขณะที่นโยบายคนเขา เมืองของประเทศอุตสาหกรรมกําลังเพิ่มความเขมงวดมากขึ้น เพื่อควบคุมการหลั่งไหลของคนยายถิ่น แรงงานยายถิ่น 11
เรื่องเดียวกัน, หนา 16. เรื่องเดียวกัน. 13 เรื่องเดียวกัน. 14 เมขลา วุฒิวงศ . (2553). รวมบทความวิชาการและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553.) (เลม 1). มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ. หนา 420. 12
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 142 จําตองใชชองทางที่ผิดกฎหมาย และพึ่งพาผูลักลอบนําคนเขาเมือง เพื่อที่จะยายถิ่นไปหางานทํา ยิ่งไปกวานั้น ผูหญิงจึง ไดรับความเสี่ยงที่จะถูกนักคามนุษยลอลวงดวยการใหขอมูลเท็จ
สภาพปญหาและลักษณะของการคามนุษยในปจจุบัน การคามนุษยเปนวิธีการแสวงหาผลประโยชนจากการคาแรงงานขา มชาติ กลาวคือ การคามนุษย สืบเนื่องจาก การที่แรงงานตางชาติสวนใหญมีฐานะยากจน และตองการเขามาทํางานยังประเทศปลายทางที่มีเศรษฐกิจที่ดีกวา โดย สวนใหญเคลื่อนยายเขามาในลักษณะที่ผิดกฎหมาย เพราะฉะนั้น จึงทําใหแรงงานเหลานี้ตกเปนเหยื่อของขบวนการคา มนุษยไดงาย ในปจจุบันการคามนุษยไดกลายเปนอาชญากรรมขามชาติ อันเปนปญหาที่ยังไมสามารถแกไขใหหมดสิ้นไป 15 ได โดยมีรูปแบบการคามนุษยอยู 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) การคามนุษยแบบสองขั้นตอน คือ ผูห ญิงและเด็กไดยายถิ่นจากชนบทเขาสูเมืองใหญ เพื่อหางานทํากอน แลว ตอมาถูกลอลวงใหยายถิ่นไปหางานทําในตางแดนตอไป 2) การคามนุษยแบบขั้นตอนเดียว คือ ผูหญิงและเด็กที่ถูกคา โดยตรงจากหมูบานในชนบทแลว ผานขาม พรมแดนไปยังประเทศอื่น
สาเหตุของการจางแรงงานที่นําไปสูปญหาการคามนุษย 1. ปญหาดานความตองการจางแรงงาน (Demand Side) 1) การกดคาจางแรงงานสามารถทําไดโดยงาย
16
เนื่องจาก นายจางที่ตองการจางแรงงานเด็ก หรือแรงงานตางดาว สวนมากมักจะเปนนายจางที่ขึ้นอยูกับ ตลาดของผูมีอํานาจการซื้อต่ํา ดังนั้น สินคาที่ผลิตขึ้น จึงเปนสินคาที่มีตนทุนต่ํา และคุณภาพต่ํา ราคาถูก เพื่อตอบสนอง ความตองการของผูมีอํานาจซื้อต่ํา และในขณะเดียวกัน นายจางกลุมนี้มีขนาดการลงทุนที่จํากัด และไมสามารถลดตนทุน การผลิตจากปจจัยการผลิตอื่น ๆ เชน เครื่องจักร อาคารสถานที่ หรือวัตถุดิบที่มาปอนโรงงาน เวนแตเพียงคาจางที่ สามารถกดไดเพื่อลดตนทุน ดังนั้น จึงทําใหนายจางระดับลางตองการจางแรงงานเด็ก หรือแรงงานตางดาว โดยที่แรงงาน ประเภทนี้ ไมสามารถติดตอทําสัญญาจางงานกับนายจางไดโดยตรง แตตองผานตัวกลาง ผูคาแรงงาน หรือนายหนาเขามา ติดตอ การที่แรงงานตางดาวไมสามารถตกลงกับนายจางไดโดยตรงเชนนี้นี่เอง ที่กอใหเ กิดการคาแรงงานขามชาติ โดยมี ตัวกลาง เชน นายหนาหรือผูคามนุษย เพื่ออํานวยความสะดวกใหเกิดการพบปะ และตกลงจางแรงงานระหวางนายจาง 17 และลูกจางประเภทนี้ นอกจากนี้ การที่แรงงานเด็ก หรือแรงงานตางดาวไมมีความรู จึงไมสามารถตอรอง หรือเรียกรอง สิทธิตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน จึงเปนเหตุใหนายจางสามารถกดคาจางแรงงานไดต่ํากวาผูใชแรงงานกลุมอื่น ๆ จึงเปนปจจัยที่กอใหเกิดการคาแรงงานขามชาติ โดยเฉพาะแรงงานหญิงและเด็ก
2) การควบคุมดูแลสามารถทําไดโดยงาย
นายจางที่จางแรงงานตางดาว รวมไปถึงแรงงานตางดาวหญิงและเด็ก มักจะเปนนายจางที่กระทําผิด กฎหมายที่เกี่ยวของหลายฉบับ โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายที่เกี่ยวกับแรงงานและการคามนุษย เชน กฎหมายคุมครอง แรงงาน กฎหมายคนเขา เมือ ง เปนต น ดังนั้ น นายจ างเหลา นี้ จึ งจา งแรงงานต างด าวและแรงงานเด็ก เนื่อ งจากว า ควบคุมดูแลงาย และมั่นใจวา แรงงานเหลานี้จะไมสามารถเปดเผยขอมูลกิจการผิดกฎหมายของตนใหผูอื่นทราบ ดวย 15
อํานาจ เนตยสุภา. (2552), แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคามนุษย. วารสารวิชาการนิติศาสตร, หนา 35-36. สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล , รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิงและเด็ก (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2548), หนา 5. 17 เรื่องเดียวกัน. หนา 7. 16
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 143 สาเหตุนี้ จึงทําใหนายจางนิยมจางแรงงานประเภทดังกลาว นอกจากนี้ กลุมแรงงานตางดาวที่ลักลอบเขาเมือง และทํางาน โดยไมไดรับอนุญาต ยอมไมกลาเรียกรองสิทธิตาง ๆ ตามกฎหมายแรงงาน เนื่องจาก เกรงวา จะตองถูกดําเนินคดี และถูก สงกลับประเทศไปในที่สุด สงผลใหตนเองตองหมดโอกาสในการหารายได ความเกรงกลัวดังกลาวของแรงงานตางดาว จึง กลายเปนปจจัยที่สําคัญอันกอใหเกิดการคามนุษยและการคาแรงงานขามชาติ
3) ประเภทของงาน
ลักษณะของงานบางประเภทที่ตองใชแรงงานเด็กทํา เนื่องจาก เด็กมีนิ้วมือที่เล็กเหมาะสมกับงาน เชน การบรรจุผลิตภัณฑดวยมือ หรืองานประเภทจําเจซ้ําซาก ที่นายจางไมอาจบังคับใหแรงงานผูใหญทําไดอยางตอเนื่อง เพราะความเบื่อหนายจําเจ ทั้งนี้ แรงงานเด็กมีแนวโนมที่จะถูกบังคับใหทํางานซ้ําซากนาเบื่อหนายไดงายกวา
2. ปจจัยทางดานความตองการทํางานของแรงงานตางดาว (Supply Side) 1) ปจจัยเรื่องความยากจน
18
ปญหาความยากจน สามารถแบงออกได 2 ประเภท คือ II - ครอบครัวยากจนที่แทจริง หมายความวา มีระดับรายไดที่ต่ํากวาเสนความยากจน เมื่อเด็กที่อยูใน ครอบครัวประเภทนี้เติบโตพอที่จะพึ่งพาตนเองแลว ครอบครัวก็จะกระตุนใหเด็กรายนั้น ๆ ออกไปหางานทําเพื่อแบงเบา ภาระคาใชจายของครอบครัว แตเมื่อเด็กคนดังกลาวสามารถหารายไดสงครอบครัวไดก็ถือวา เปนผลพลอยได - ครอบครัวยากจนไมแทจริง คือ เมื่อครอบครัวที่มีการใชจายเกินรายไดที่หามาได จึงตองหาทางเพิ่ม รายไดใหเพียงพอกับความตองการใชจายในครอบครัว ครอบครัวประเภทนี้ จึงเปนครอบครัวที่คาดหวังรายไดจากลูก จึงมี ความเสี่ยงสูงที่จะสงลูกไปคาบริการทางเพศ หรือไปทํางานที่ผิดกฎหมาย หรือ ออกไปทํางานเพื่อหารายได ทั้งนี้ หาก ประเทศตนทางไมสามารถจัดหางานที่เหมาะสมรองรับ แรงงานตางดาวเหลานี้ ก็จะดิ้นรนขามพรมแดนมาแสวงหางานทํา ในประเทศไทยเพื่อความอยูรอด
2) การขาดโอกาสทางการศึกษา การขาดโอกาสทางการศึ กษา ส งผลให เ ด็ก หรื อ หญิ ง ตอ งออกหางานทํ า เมื่ อมาทํ า งานแล ว จึ งต อ ง กลายเปนแรงงานไรฝมือ เนื่องมาจากไรการศึกษา ไมมีความรูความสามารถ รวมทั้งทักษะที่จําเปนตอการทํางาน ทั้งนี้ มี สาเหตุมาจากการที่พอแมมีการศึกษาที่อยูในระดับต่ําเชนเดียวกัน ดังนั้น พอและแมหรือผูปกครอง จึงไมเห็นความสําคัญ ของการศึกษาและมองไมเห็นวา “การศึกษา” คือ ชองทางของการพัฒนารายได ไมเห็นวา การศึกษาทําใหเกิดความรู ความชํานาญในอาชีพที่กอใหเกิดการพัฒนาทางรายไดตอไป กลับมีแตเพียงทัศนคติที่วา ถาใหบุตรหลานศึกษาตอจะสงผล ใหสูญเสียรายไดจาการทํางานในปที่เรียนตอ จึงสงผลใหเกิดแรงงานไรฝมือในที่สุด
3) ความสัมพันธภายในครอบครัว
การที่ครอบครัวละเลยทอดทิ้ง ไมเอาใจใสดแู ล รวมไปถึงไมไดวางแผนชีวิตไวใหแกบุตรหลานของตนเอง ในอนาคต จะสงผลใหเด็กตองออกไปหางานทํากอนถึงวัยอันสมควร รวมไปถึงการที่บิดามารดาไมสามารถใหคําแนะนําที่ เหมาะสมแกบุตรหลานได ซึ่งการที่เด็กตองออกจากครอบครัวไปหางานทํานั้น แสดงใหเห็นวา ครอบครัวมีความสัมพันธที่ เหินหาง ไมอบอุน ซึ่งจะสงผลใหครอบครัวละเลยเด็ก ไมติดตามวาลูกไปทํางานที่ไหน ใครเปนนายจาง สภาพการทํางาน เปนอยางไร และในที่สุด เด็กคนนั้นก็จะตกเปนเหยื่อของการคามนุษย และในบางกรณีก็เกิดจากการที่ครอบครัวมีปญหา เด็กถูกทารุณกรรม ถูกลวงเกินทางเพศ หรือถูกละเลยไมเอาใจใส เด็กรายนั้น ๆ ก็ไมสามารถอาศัยอยูกับครอบครัวได จึง 18
เรื่องเดียวกัน.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 144 ตองหลบหนีออกมาจากครอบครัวของตนเอง และตองกลายเปนเหยื่อ หรือเสี่ยงที่จะตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยได เชนเดียวกัน
4) การแบงแยกทางเพศ
ผลจากการแบงแยกทางเพศ ทําใหภาระในการแบกรับปญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวไปตกอยูกับ สมาชิ กฝา ยหญิ งของครอบครั ว ทํา ใหห ญิงรวมทั้ งเด็ก หญิง ตองออกจากครอบครัว ไปทํา งาน ทั้ง นี้ เรื่ องของอุ ปทาน (supply) ของแรงงานหญิงชาวไทยนั้น ตองการทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมมากกวาทํางานเปนแรงงานรับใชในบาน เนื่องจาก งานในโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมีความอิสระมากกวา แตเมื่อพิจารณาจากอุปสงค (demand) ในการจางแรงงาน ของนายจางแลว นายจางกลับตองการจางแรงงานหญิง และแรงงานเด็กมาทํางานรับใชในบานมากกวาแรงงานที่เปน ผูชาย แตเงื่อนไขของแรงงานรับใชในบานนั้นขาดความอิ สระ ไมมีวันหยุดพัก และเวลาพักที่แนนอน ทําใหแรงงาน หญิงไทยเลือกทํางานตามโรงงานมากกวา สาเหตุเหลานี้ จึงสงผลใหเกิดความตองการจางแรงงานหญิงและเด็กตางดาวเขา มาทํางานรับใชในบานมากขึ้น ซึ่งเปนแรงกระตุนใหเกิดการคามนุษยโดยเฉพาะหญิงและเด็กเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย
5) สงครามและความไมสงบภายในประเทศ
ในบางพื้นที่ของบางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศเพื่อนบานที่เกิดความขัดแยง มีการสูรบกันดวย กําลังอาวุธ หรือมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ยกตัวอยางเชน รัฐบาลทหารเมียนมารที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน กดขี่ขูดรีด บังคับเกณฑแรงงานโดยไมมีคาตอบแทน บังคับโยกยายประชากรออกจากถิ่นที่อยูเดิม ทารุณกรรม รวมไปถึงลวงละเมิด ทางเพศ เปนตน หรือการที่รัฐบาลขาดประสิทธิภาพ และไมมีความสามารถในการปกครองประเทศ ทําใหไมสามารถ ทํางานหารายไดในทองถิน่ หรือภูมิลําเนาของตน จึงเกิดการยายถิ่นเพื่อแสวงหารายได ทั้งที่อยูในรูปแบบของแรงงานผิด กฎหมาย ผูลี้ภัย และผูอพยพยายถิ่น ประกอบกับการที่ประเทศไทยมีความเจริญทางเศรษฐกิจมากกวาประเทศเพื่อนบาน ก็ไดกลายเปนสิ่งดึงดูดใจใหประชาชนจากประเทศเพื่อนบานเดินทางขามพรมแดนเขามาในไทย เพื่อแสวงหาคุณภาพชีวิต ที่ดีกวา จนตกเปนหรือเสี่ยงที่จะตกเปนเหยื่อของการคามนุษย
6) วัฒนธรรมและคานิยม
19
วัฒนธรรมและคานิยม เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่กอใหเกิดปญหาการคามนุษย ยกตัวอยางเชน สังคมของ ชนชาติบางชนชาติที่ผลักดันผูห ญิงเขาสูขบวนการคามนุษย เนื่องมาจาก ความเชื่อที่วา เปนหนาที่ของลูกสาวที่ตอง 20 รับภาระหาเลี้ยงครอบครัวไมวาจะดวยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ภาระหนาที่ดังกลาวอาจจะสิ้นสุดเมื่อลูกสาวสมรสออกไป แตถา เปนกรณีที่ลูกสาวของครอบครัวตางก็สมรสออกไปทั้งหมด พอแมที่อาจเขาสูวัยชรา แลวก็ไมมีคนดูแล ภาระของการเลี้ยง ดูพอแมจึงตกไปอยูกับลูกสาวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งอาจกอใหเกิดความขัดแยงกับสามีของตนและถึงขั้นเลิกรากันไป ดังนั้น ผูหญิง ที่อยูในสังคมที่มีวัฒนธรรมแบบนี้ ก็จะตองออกไปหางานทําเพื่อสงเงินใหพอแม ลูก และสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว นอกจากนี้ แนวคิดบริโภคนิยมและกระแสโลกาภิวัตนก็เปนอีกปจจัยที่สําคัญมาก โดยที่คานิยมที่มีเงินตราเปนตัวกําหนด ถึงสถานะทางสังคมนั้น ไดแพรกระจายออกไปอยางกวางขวาง และเขาถึงสังคมเมืองและสังคมชนบท โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสังคมชนบทนั้น หากครอบครัวใดที่มีฐานะทางการเงินดี ก็จะไดรับความเคารพนับถือโดยไมไดคํานึงถึงเลยวา ครอบครัว นั้น ๆ ร่ํารวยมาไดอยางไร คานิยมแบบนี้ที่ผลักดันใหผูหญิงและเด็กเขาสูกระบวนการคามนุษย 19
ทรงพล พันธุวิชาติกุล, ความผิดฐานคามนุษยตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. 2000 และผลกระทบหากประเทศไทยเขาเปนภาคี (กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2547), หนา 36. 20 Roujanavong, Wanchai, “Thailand: The Situation of Trafficking in Women,” in The 1997 Regional Conference on Trafficking in Women and Children, p. 342. (Unpublished Manuscript)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 145 ในปจจุบัน เหยื่อการคามนุษยมีทั้งชายและหญิง แตเหยื่อสวนใหญเปนหญิงและเด็ก โดยเหยื่อของการคามนุษย ที่เปนหญิงมักจะถูกนําไปสูตลาดธุรกิจบริการทางเพศ และการทํางานบาน ซึ่งเปนงานที่ยังมิไดรับการคุมครองสภาพ การ ทํางาน และคาตอบแทน ทําใหไมมีหลักประกันในการทํางาน และตกเปนเหยื่อของความรุนแรงทั้งทางรางกาย จิตใจ และ ทางเพศ มีชีวิตทีอ่ ยูภายใตการครอบงํา และการกระทําตามอําเภอใจของนักคามนุษย และนายจางที่ซื้อตนมา สวนผูชาย มักจะนําไปแสวงหาประโยชนโดยเปนแรงงานที่ถูกบังคับในการทํางานประมง และแรงงาน โดยลักษณะของการคามนุษย มี 2 หมวดใหญ ๆ ดังนี้
1. การแสวงหาประโยชนทางเพศ (Sexual exploitation)
1.1. การค า หญิ งเพื่ อ งานบริ ก ารทางเพศ มี ผู ห ญิ ง จํ า นวนมากที่ ย า ยถิ่ น โดยที่ รู ว า จะต อ งทํ า งานใน อุตสาหกรรมบริการทางเพศ แมจะไมไดตระหนักถึงสภาพการจางงาน และการสูญเสีย การควบคุมสภาพการทํางาน และ รายไดของตนเอง สําหรับผูหญิงที่ถูกหลอก หรือบังคับใหทํางานบริการทางเพศโดยไมสมัครใจ มีสิ่งที่ตองเผชิญกับการ ผูกมัดดวยภาระหนี้สิน การถูกยึดหนังสือเดินทาง และรายได การถูกทุบตี การถูกแสวงหาประโยชน การถูกกักขัง และ การถูกทารุณทางจิตใจ 1.2. การคามนุษยเพื่อการแตงงาน ผูคามนุษยอาจจะนําเสนอตนในรูปแบบของนายหนาจัดคู และให สัญญาแกผูหญิงวา จะแนะนําใหรูจักกับสามีในอนาคตที่ประสบความสําเร็จ โดยชาวตางชาติบางคนเดินทางเขามาใน ประเทศเพื่อ พบกับผูหญิงและแตงงาน หรือโดยการจัดหาคูทางเมล ไปรษณีย ซึ่งเรียกอีก อยางหนึ่งวา “เมียสั่งทาง ไปรษณีย” เมื่อผูหญิงเหลานี้ ถูกชักจูงไปตางประเทศ ก็ตองใชชีวิตในสิ่งแวดลอมใหม โดยไมมีความเขาใจในภาษาและ วัฒนธรรม และกลายเปนบุคคลที่ตกอยูในสภาพเยี่ยงทาส เมื่อไมประสบความสําเร็จในการแตงงาน เหยื่อเหลานี้ก็จะถูก บังคับใหขายบริการทางเพศ ทํางานโดยไมไดรับคาจาง หรือตกอยูในสภาพการแตงงานเยี่ยงทาส
2. การแสวงหาประโยชน ท างเศรษฐกิ จและแรงงาน (Economic exploitation)
related
and
labor
2.1. การคามนุษยเพื่อการรับใชงานในบาน ผูหญิงที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ตองตกอยูในภาวะถูก ผูกมัดดวยภาระหนี้สินจากการกูยืม ที่ตองจายดอกเบี้ยจํานวนสูงจากผูจัดหาและเอเยนต และถูกบังคับใหทํางานแก นายจาง แมจะมีสภาพการทํางานที่เลวรายก็ตาม ในปจจุบันแรงงานรับใชในบานไดเปลี่ยนรูปแบบ ซึ่งเดิมจะเปนแรงงานที่ เปนผูหญิง และเด็กภายในประเทศ เปนการใชแรงงานเด็กตางชาติที่เพิ่มขึ้น โดยมีรูปแบบการทํางาน คือ งานบาน งาน ดูแลเด็ก และคนชราในบาน และการชวยงานที่เกี่ยวกับกิจการในบาน 2.2. การคามนุษยเพื่อการบังคับใชแรงงาน ผูหญิง ผูชาย และเด็กอาจถูกนําไปคา เพื่อการทํางานในงาน เกษตร งานกอสราง งานในโรงงาน หรือการผลิตอื่น ๆ ที่คาดหวังจะไดรับคาจางสูง แตมีหลายกรณีที่ตองถูกกดคาแรงงาน หรือไมไดรับคาจางเลย และยังตองเผชิญกับการถูกแสวงหาประโยชนดวยการบังคับทางรางกาย ทางเพศ และทางจิตใจ ในสถานประกอบการ ประกอบกับสถานภาพที่ผิดกฎหมาย จึงเกรงกลัวที่จะขอความรวมมือจากเจาหนาที่ เนื่องจาก จะ ถูกตั้งขอหาเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย นอกจากนี้แลว ยังมีกรณีที่เด็ก อาจถูกนําไปคา เพื่อการบังคับใชเด็กใหเขามามีสวน รวม ในการลําเลียงขนยาเสพติด อันเปนการประกอบอาชญากรรมที่ผิดกฎหมาย 2.3. การคามนุษยเพื่อใหเปนขอทาน การคามนุษยเพื่อใหเปนขอทานกลายเปนปรากฏการณที่เพิ่มมากขึ้น เรื่อย ๆ ในภูมิภาคแมน้ําโขง หญิงชรา คนพิการ และทารกไดถูกจัดหาจากหมูบานหางไกลมาสูเมืองใหญนอกประเทศของ ตน ซึ่งจะมีพวกนายหนามารวบรวมเงิน การถูกบังคับใหขอทานจึงลบหลูความเปนมนุษย โดยพวกเขามีชีวิตอยูดวยความ หวาดกลัวจากการถูกจับและการลงโทษจากผูควบคุม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 146 ประเด็นการคามนุษย เปนปญหาขามชาติที่สงผลกระทบตอความสั่นคลอนทางความมั่นคงระหวาง ประเทศ โดยมีปจจัยทางการเมือง และปจจัยทางดานเศรษฐกิจของประเทศนั้น ๆ เปนตัวผลักดัน ใหเกิดปญหาการคา มนุษย สวนหนึ่ง ดังนั้น การวิเคราะหประเด็นการคามนุษย จึงมุงเนนไปที่ผลกระทบในดานความมั่นคงของประเทศเปน สวนใหญ อยางไรก็ตาม ประชาคมอาเซียนเปนเปาหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอํานาจ ตอรอง และขีดความสามารถในการรับมือกับปญหาใหม ๆ ระดับโลกที่สงผลกระทบตอภูมิภาค เชน ภาวะโลกรอน การ กอการรายหรืออาจกลาวไดวา “การเปนประชาคมอาเซียน” คือ การทําใหประเทศสมาชิกรวมเปนครอบครัวเดียวกัน มี ความแข็งแกรง และมีภูมิตานทานที่ดี สมาชิกในครอบครัวมีสภาพความเปนอยูที่ดี ปลอดภัย และสามารถทํามาคาขายได อยางสะดวกยิ่งขึ้น แรงผลักดันสําคัญที่ทําใหผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงจัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งถือเปนการ ปรับปรุง และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียนครั้งใหญ ก็คือ สภาพแวดลอมระหวางประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้ง ดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทําใหอาเซียนตองเผชิญกับความทาทายใหม ๆ เชน โรคระบาด อาชญากรรมขามชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ปญหาสิ่งแวดลอม ภาวะโรครอน และความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการไมสามารถแขงขันทางเศรษฐกิจ กับประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะประเทศจีน และอินเดียได เพราะประเทศเหลานี้ มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางกาว 21 กระโดด
การคัดแยกการคามนุษยออกจากอาชญากรรมอื่น ๆ (Distinguishing Trafficking form other crimes) และการคามนุษยที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดทางอาญาประเภทอื่น 1. การประกอบอาชญากรรมการคามนุษย และการลักลอบของผูยายถิ่นฐาน คดีคามนุษยมักจะสับสนกับอาชญากรรมอื่น ๆ และปรากฏการณที่เกี่ยวของกับการอพยพโยกยาย เชน การ เขาเมืองโดยผิดกฎหมาย พิธีสารตอตานการลับลอบเขาเมืองทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ภาคผนวก อนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ The Protocal against the Suggling of Migrants by Land, Sea and Air Supplementing the UN Convention against Transnational Organized Crime (พิธีสารวา ดวยการลักลอบขนคนเขาเมืองวาการดําเนินการใหบุคคลสัญชาติอื่น หรือบุคคลที่ไมมีถิ่นอยูถาวรในประเทศใดเขา ประเทศนั้นโดยผิดกฎหมาย เพื่อใหมาซึ่งเงินหรือผลประโยชนอื่นใด ไมวาทางตรงหรือทางออม (มาตรา 3 พิธีสารวาดวย การลับลอบขนคนเขาเมือง การคามนุษย และอาชญากรรมขามชาติ (Article 3 Migrant Smuggling) ภายใตคําจํากัด ความนี้ การลักลอบขนคนเขาเมือง จําเปนตองพิสูจนองคประกอบ ดังตอไปนี้ 1. ใหการชวยเหลือผูอื่น 2. โดยผิดกฎหมาย 3. เพื่อใหไดเงินหรือผลประโยชน หรือรายได การลักลอบขนคนเขาเมือง สามารถแยกออกจากการคา มนุษยได โดยคํานึงถึงประเด็นดังตอไปนี้ 3.1. การลักลอบขนคนเขาเมืองตองมีการเคลื่อนยายคนขามพรมแดน แตการคามนุษยไมจําตองมี การกระทําดังกลาว
21
สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (2555). การกาวสูประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. หนา 12.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 147 3.2. การลักลอบขนคนเขาเมืองไมจําเปนตองพิสูจนวิธีการ แตการคามนุษยในกรณีเหยื่อเปน ผูใหญตองใชวิธีการตาง ๆ หรือบังคับหลอกลวง ฉอฉล ซึ่งสิ่งเหลานี้ ไมจําเปนตองพิสูจนในคดีลักลอบขนคนเขาเมือง โดย สวนมากแลวจะทํางานเปนทีม ในขณะที่คดีคามนุษยผูที่เปนเหยื่อจะถูกบังคับหรือหลอกใหทําตาม แตอยางไรก็ดี ควร ระลึกวา ในทางปฏิบัติการแยกแยะระหวางการลักลอบขนคนเขาเมืองกับการคามนุษยนั้น อาจจะมีความคลายคลึงกันมาก ในระยะของการเคลื่อนยาย เนื่องจาก ผูคามนุษยโดยมากจะหลอกใหเหยื่อ คามนุษยใหความรวมมือในระหวางการ เคลื่อนยาย เหยื่อการคามนุษยอาจเชื่อหรือเขาใจวา กําลังจะพาไปทํางานดี ๆ ที่รออยูขางหนา โดยไมทราบวา ตองพบกับ เหตุการณอะไรในอนาคต สิ่งนี้ ทําใหพนักงานสอบสวนซึ่งเปนผูบังคับใชกฎหมายประสบกับปญหาในการแยกแยะคดีทั้ง สองประเภท เพราะเหยื่อการคามนุษยจะดูเหมือนกับผูลักลอบเขาเมือง ซึ่งเหยื่อการคามนุษยก็มีความคิดเชนเดียวกัน จนกระทั่ง ถูกพาไปทํางานที่สถานคาประเวณี หรือโรงงานที่ใชแรงงานเยี่ยงทาส ก็ไมสามารถขอความชวยเหลือจากเจา พนักงานทองที่ได และไมสามารถหลีกหนีจากสถานที่คุมขังได มักปรากฏขอเท็จจริงวา เหยื่อการคามนุษย เริ่มตนการ เดินทางของตนในฐานะผูที่ถูกพาลักลอบเขาเมือง โดยมีสัญญาวาจางใหบุคคล หรือกลุมบุคคลใหความชวยเหลือในการ ลักลอบเขาเมือง เพื่อใหไดรับผลประโยชนทางการเงินเปนการตอบแทน ในสถานการณของทั่วไป ผูลักลอบพาคนเขาเมือง และบุคคลที่ถูกพาเขาเมืองนั้นเปนไปโดยความสมัครใจ และเมื่อผูถูกพาเขาเมืองเดินทางเขามาในประเทศปลายทาง มักจะ ถูกการใชแรงงานขัดหนี้ ถูกขูกรรโชก หรือใชกําลังบังคับใชแรงงานเยี่ยงทาส ความสัมพันธระหวางนักคามนุษยกับผู ลักลอบเขาเมือง เนนใหเห็นอุปสรรคที่สําคัญอยางหนึ่งในการคัดแยกเหยื่อจากการคามนุษย จะตองมีเจตนาแสวงหา ประโยชน ซึ่งเจตนาดังกลาวมักจะไมปรากฏจนกวา ระยะของการนําพาไปที่ใดนั้นจบสิ้นลง ดังนั้น จึงเปนเรื่องยากที่จะคัด แยกเหยื่อจากการคามนุษย กอนการคามนุษยและการลักลอบขนคนเขาเมืองในระยะของการลักลอบขนคนเขาเมืองเสร็จ สิ้นลง และเหยื่อคามนุษยถูกกักขังในสภาวการณที่มีการแสวงหาประโยชนที่ชัดเจน ซึ่งจะเปนการพิ สูจนวา ผูลักลอบเขา เมืองมิใชเปนเพียงผูที่ถูกพาลักลอบเขาเมืองเทานั้น ความผิดทั้งสองประเภทดังกลาวขางตนมีความคลายคลึงกันหลายประการ จนบางครั้งกอใหเกิดความสับสน ระหว า งเจ า หน า ที่ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน การแยกความแตกต า งระหว า งการกระทํ า ทั้ ง สองประเภท จึ ง มี ค วามจํ า เป น และ ความสําคัญอยางยิ่ง ขบวนการคัดแยกที่ถูกตองและรวดเร็วจะชวยใหพนักงานเจาหนาที่ตํารวจสามารถปองกันความ ผิดพลาดในการสืบสวน และสามารถนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษไดอยางถูกตอง ในขณะเดียวกัน ก็สามารถใหความ ชวยเหลือเหยื่อไดทันที แมวา การคามนุษย และการลักลอบขนผูยายถิ่นฐานอาจจะเปนอาชญากรรมรายแรงทั้งสอง ประเภท แตเหยื่อที่ถูกพาเคลื่อนยาย เคลื่อนที่หรือถูกพาขามแดนอาจจะเปนอาชญากรรมรายแรงทั้งสองประเภท แต เหยื่อที่ถูกพาเคลื่อนยาย เคลื่อนที่หรือถูกพาขามแดนมีสถานภาพที่แตกตางกัน บุคคลที่ถูกนําพาโดยกลุมหรือขบวน การคามนุษย คือ ผูที่ถูกหลอก ถูกบังคับใหมาโดยบุคคลเหลานั้นไมเต็มใจ ขณะที่บุคคลที่กลุมหรือขบวนการพาคนขาม แดนมานั้น คือ คนที่ยินยอมหรือสมัครใจ หรือขอใหคนอื่นชวยพามา บุคคลเหลานี้รูอยูแลววาการเดินทางเขาประเทศตอง มีขั้นตอนและวิธีการอยางไร แตยังจงใจฝาฝนหรือแสวงหาชองทางโดยไมถูกตอง
2. ความแตกตางของการคามนุษยและการลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน
2.1. การคามนุษยเปนความผิดตอบุคคล (Crime against person) ในขณะที่การลอบขนยายถิ่นฐานเปน ความผิดตอรัฐ - การคามนุษย เปนการนําพา ชักพา บังคับหลอกลวง นําตัวเหยื่อมาแสวงหาประโยชนในรูปแบบ ตาง ๆ โดยเหยื่อเหลานั้นไมไดเต็มใจหรือยินยอม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 148 - การลักลอบขนยายถิ่นฐาน ทั้งผูรับจางนําพา หรือบุคคลที่ถูกนําพาตางสมประโยชนดวยกันทั้งสอง ฝาย โดยฝายหนึ่งไดเดินทางเขาประเทศตามที่ตองการ ในขณะที่อีกฝายหนึ่งก็ไดประโยชนเปนเงิน หรือวัตถุอยางอื่นเปน คาตอบแทน
2.2. ความยินยอมของบุคคลที่ถูกนําพา (consent)
- การค า มนุ ษย เป นกรณีที่ เ หยื่ อไม ยิน ยอมที่จะถูก พามาแสวงหาประโยชนที่ มิช อบ หรื อ แม จะ ยินยอมในครั้งแรก แตความยินยอมดังกลาว มักมีสาเหตุ หรือเหตุผลอยูเบื้องหลัง เชน ถูกหลอกลวงกับสภาพที่แทจริงของ งานที่ตองถูกบังคับ อยูภาวะจําเปนตองยอมตามไมสามารถขัดขืนได - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน เกิดจากความยินยอม หรือสมัครใจของผูที่ถูกนําพาขามแดนมา ผูรับ จางพาข ามแดนเปนผู ทํา หนา ที่อํา นวยความสะดวก หรือผู ชวยผูที่ป ระสงค ขามแดน สามารถเดินทางไปยัง ประเทศ ปลายทางตามความตองการ
2.3. วัตถุประสงคในการนําพา (Purpose of movement)
- การคามนุษย มีวัตถุประสงคที่แทจริงตั้งแตเริ่มตน คือ พาเหยื่อไปแสวงหาประโยชนยังสถานที่ที่ ตั้งเปาหมายไว โดยเจตนาเพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ผูก ระทํามีวัตถุประสงคเพื่อนําผูที่มีความประสงคขามแดน ขามแดน ตามที่ตกลงกันไวเทานั้น โดยมิไดมีเจตนาที่จะแสวงหาประโยชนอื่นใด นอกเหนือไปจากคาจางตอบแทนที่ตกลงกันไว ลวงหนา
2.4. จุดหมายปลายทาง (Destination)
- การคามนุษย เกิดขึ้นไดทั้งภายในประเทศ หรือเกิดขึ้นระหวางประเทศ โดยเหยื่อไมสามารถจะ เลือกหรือเรียกรองวา จะไปอยูหรือทํางานในสถานที่ - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน เกิดไดเฉพาะระหวางประเทศเทานั้น วัตถุประสงคหลักเพียงอยาง เดียว คือ การพาคนจากประเทศหนึ่งเขาไปยังอีกประเทศหนึ่ง โดยไมถูกตองตามกฎหมาย และเมื่อสามารถพาขามแดนไป ไดแลว ผูที่ถูกพาขามแดนจะเดินทางไปที่ใดขึ้นอยูกับการตัดสินใจของตนเอง
2.5. การเสาะแสวงหา และการแนะนําชักชวน (Recruitmentor and Procurement)
- การคามนุษย นักคามนุษย (trafficker) จะเปนผูออกไปทําการแสวงหาเอง และเมื่อพบเหยื่อ จะใช วิธีการตาง ๆ เชน การใชอุบายหลอกลวง ชักจูง โนมนาว หรือใชกําลังบังคับเพื่อใหไดตัวเหยื่อมา - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ผูรับจางขนคนขามแดน (smuggler) ไมใชฝายที่ริเริ่มออกไปหาผูที่ ประสงคขามแดน โดยผูที่จะประสงคขามแดนจะเขามาติดตอขอใชบริการเอง 2.6. ความสัมพันธเชิงธุรกิจ (customer relationship) - การคามนุษย เกิดขึ้นระหวางนักคามนุษยดวยกัน หรือระหวางนักคามนุษย กับผูที่ตองการแสวงหา ประโยชนจากเหยื่อ (exploiter) เหยื่อจะไมมีโอกาสรับรู หรือตอรองราคา หรือคาตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน มีวัตถุประสงคเพียงอยางเดียว คือ การนําพาขามแดนไดสําเร็ จ ดังนั้น ผูประสงคขามแดนจะเปนใครไมสําคัญ เมื่อมีการตกลงกันแลวหนาที่เพียงประการเดียวของผูรับจาง คือ การพา ขามแดนไดสําเร็จเพื่อที่จะไดคาจาง
2.7. ความรูความสามารถในการควบคุมสถานการณ (knowledge and control)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 149 - การคามนุษย เหยื่อจะไมมีอํานาจในการตัดสินใจเลือกหรือตอรองเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ ทั้งสิ้น อนาคต และชะตาชีวิตจะขึ้นอยูกับนักคามนุษย หรือขบวนการคามนุษยที่จะเปนผูกําหนด - การลั ก ลอบขนผู ย า ยถิ่ นฐาน ผู ป ระสงค จะเดิ น ทางยั ง คงสามารถคิ ด ตั ด สิ น ใจ หรื อ สามารถ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขอยางใด ๆ ก็ได ตราบเทาที่การกระทําที่ผานมาจะไมอยูในระหวางขั้นตอนพาขามแดน
2.8. ผลประโยชนตอบแทนหรือกําไร (profit)
- การคามนุษย จะแสวงหาประโยชน โดยการนําเหยื่อไปขายเปนทอด ๆ แตละทอดจะมีการบวก คาใชจายและกําไรเพิ่มเขาไป - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ผูรับจางไดคาตอบแทนเพียงจํานวนเดียว จากผูประสงคขามแดน จํานวนเงินจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับการเจรจาแตแรก โดยอาจรวมคาใชจาย ในการปลอมเอกสารเงินติดสินบน พนักงานเจาหนาที่ดวยก็ได
2.9. การใชความรุนแรง (violence)
- การคามนุษย เมื่อพบวา ตัวเองตองตกเปนเหยื่อมักตอสูขัดขืน หรือหาทางหลบหนี วิธีการหนึ่งที่ จะควบคุม หรือบังคับใหเหยื่อเหลานี้ ยอมทําตามก็คือ การใชความรุนแรงตอเหยื่อ - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน ไมมีความจําเปนใด ๆ ที่จะตองใชความรุนแรง เนื่องจาก ผูรับจาง มิไดมีความประสงคจะนําผูประสงคขามแดนมาอยูภายใตการควบคุมดูแลของตน
2.10. ความเปนไปเมื่อเดินทางถึงที่หมาย (upon the arrival)
- การคามนุษย เมื่อเหยื่อถึงที่หมายปลายทางเหยื่อเหลานั้น จะถูกขาย หรือถูกบังคับใหทํางานใน สถานที่ที่กําหนดไว เหยื่อจะไมมีอิสระ หรือถูกควบคุมจากนักคา หรือผูแสวงหาประโยชนจากเหยื่อเอกสารการเดินทาง หรือเอกสารสําคัญอื่น ๆ มักจะถูกริบหรือยึดไป - การลักลอบขนผูยายถิ่นฐาน เมื่อผูรับจางพาผูประสงคเดินทางมาถึงที่หมายปลายทางแลว ทั้งสอง ฝายไมมีพันธะผูกพันใด ๆ ตอกันอีกตอไป ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา เหยื่อคามนุษย ผูล ักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมายและผูยายถิ่น มีความแตกตาง กัน ดังนี้
เหยื่อคามนุษย
ในกรณีที่มีความยินยอม หรือสมัครใจในการถูกนําพาหรือถูกกระทํานั้น เปนความยินยอมโดยถูกหลอกลวง หรือถูกอําพรางขอเท็จจริงจากผูคามนุษย เพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากเหยื่อ โดยพิจารณาจากขอเท็จจริงที่วา ไม มีบุคคลใดที่จะยินยอมใหมีการแสวงหาผลประโยชน และถูกเอารัดเอาเปรียบ เพราะผูสมัครใจมาและตกอยูในสภาพเปน เหยื่อ มักพบวา ตนมาถูกแสวงหาประโยชนภายหลัง นอกจากนี้ การคามนุษยยังเกิดขึ้นไดทั้งการนําพาขามเขตพื้นที่ภายในประเทศ และระหวางประเทศ ในขณะ ที่ผูลักลอบจะเปนการนําพา2ขามพรมแดนเทานั้น และสิ่งสําคัญ เหยื่อจากการคามนุษยจะถูกแสวงหาประโยชนโดย วิธีการตาง ๆ ที่มิชอบดังที่กลาวมา เพื่อใหไดเหยื่อมาควบคุมอยูภายใตอํานาจการบงการของนักคา ขาดอิสระ ไมสามารถ ติดตอสื่อสาร หรือขอความชวยเหลือ หรือยกเลิกขอตกลงกับผูนําพาได
ผูลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 150 เปนความยินยอมใหถูกพาขามพรมแดน ซึ่งเกิดขึ้นเฉพาะมีการเดินทางขามพรมแดนระหวางประเทศ โดย บุคคลดังกลาวทราบจุดหมายปลายทางแนชัด รวมถึงสามารถติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่นได นอกจากนี้ การนําพาขามแดน มักพบวา ผูประสงคขามแดนรูถึงสถานการณที่จะเกิดขึ้น และทราบเงื่อนไขในการขามแดน สามารถยกเลิกขอตกลงเมื่อใด ก็ได และมีการใหนําพาขามแดนที่มีการตกลงกันกอน โดยจายสินจางเทาที่มีการตกลงกันในเริ่มแรก
ผูยายถิ่น
การยายถิ่น ไมวาจะโดยถูกตองตามกฎหมายหรือผิดกฎหมายนั้น เปนกระบวนการที่ผูยายถิ่นเลือกดวยความ สมัครใจของตนเอง ในการที่จะเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง การยายถิ่นเปนปญหาหนึ่ง ซึ่งเปนผลพวงมาจากการ พัฒนา และกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งถือเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหหญิงและเด็กตองตกเปนเหยื่อของการคามนุษย เนื่องจาก สภาพปญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เปนเหตุใหหญิงและเด็กตองอพยพโยกยาย เพียงเพื่อหางานทํา และ เพื่อแสวงหาชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็มีกลุมคนบางคน บางกลุม ใชชองทางของความไดเปรียบ หรือมี อํานาจเหนือกวา แสวงหาประโยชนจากหญิงและเด็กเหลานี้ โดยการลอลวงขูเข็ญ หรือบังคับใชแรงงาน บังคับคาประเวณี หรือบังคับใหเปนขอทาน โดยมีการกระทํากันอยางเปนขบวนการ
องคการสหประชาชาติกับการคามนุษย การค า มนุ ษ ย นั บ ว า เป น ป ญ หาใหญ ที่ ห ลายภู มิ ภาคทั่ ว โลกต อ งร ว มมื อ การอย า งจริ ง ในการแก ป ญ หากั บ สถานการณที่ยังตองเผชิญอยู จะเห็นไดจากการที่องคการสหประชาชาติไดตระหนัก และใหความสําคัญแกอาชญากรรม ขามชาติโดยในป ค.ศ. 2000 องคการสหประชาชาติไดมีการออกอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยอนุสัญญาอาชญากรรม ขามชาติไว และไดมีพิธีสารวาดวยการตอตานการคามนุษยในหญิงและเด็ก เปนสวนเสริมของอนุสัญญาดังกลาวไวแนบ ทาย และมีคํานิยามที่ครอบคลุมที่มากขึ้นตามนิยามในมาตรา 3 ไวอยางรัดกุมเพื่อปกปองเหยื่อ คุมครองเหยื่อจากการ ขบวนการคามนุษย รวมถึงการคุมครองมาตรการดานอื่นที่สําคัญแกเหยื่อ อนึ่ง แมแ ตกฎหมายสิทธิ มนุษ ยชน ที่เป นรากฐานของกฎหมายระหว างประเทศ ยั งให ความสําคั ญในเรื่อ ง ดังกลาวไวโดยไดมีการบัญญัติเรื่องการคาทาสไวในบทบัญญัติมาตรา 4 มีใจความวาการคามนุษยและการคาทาสในทุก รูปแบบเปนสิ่งที่ตองหามโดยเด็ดขาด เพราะถือไดวา การคาทาสในทุกรูปแบบเปนการกระทํา ที่สงผลกระทบตอสิทธิ มนุษยชนอยางรายแรงอยางยิ่ง จะใหมีการกดขี่ขมเหงดวยเหตุที่ไมเปนธรรม ยอมกระทําการมิได ในดานกฎกติการะหวาง ประเทศวาดวยสิทธิทางดานการเมือง และพลเมืองก็มีการกลาวไวในลักษณะเดียวกับกฎหมายสิทธิมนุษยชนวาการคาทาส มนุษยในทุกรูปแบบเปนสิ่งที่มนุษย จะกระทําตอมนุษยในลักษณะที่กดขี่ขมเหงโดยไมเปนธรรมมิไดโดยเด็ดขาด เพราะทุก คนลวนมีศักดิ์และศรีของความเปนมนุษยอยู ประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่อยูในระดับที่ ดียอมไมสนับสนุนใหมีการคา ทาสแรงงานแตอยางใด ซึ่งมีความแตกตางจากประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่อยูในระดับต่ําที่ประชากรในรัฐ หรือ ดินแดนนั้น ตองการมีชีวิตที่ดีมากยิ่งขึ้น จึงพยายามดิ้นรนในทุกรูปแบบที่จะอพยพมาสูประเทศที่ร่ํารวย ในประการนี้เอง จึงเริ่มตนเขาสูม หันตภัยของการคามนุษย โดยที่ผูตกเปนเหยื่อ หรือผูถูกคาอาจจะไมทันรูตัว แรงผลักดันจากครอบครัวใน ชนบทสูสังคมเมืองที่มีความเจริญกวาก็ยอมจะเปนแรงจูงใจของเด็ก และผูหญิงหลายคนในชนบท และถูกชักชวนจากคน ในหมูบานมาประกอบอาชีพในลักษณะแมเลาตอไป และจะวงเวียนเปนวัฏจักรเปนอยางนี้เรื่อยไป ตราบใดที่ความเทา เทียมกันของบุคคลในทางสังคมในชนบทกับสังคมในเมืองที่มีความเหลื่อมล้ํา ที่แตกตางเปนอยางมาก จึงนําสูซึ่งปญหา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 151 สําคัญของการคามนุษยในระดับภูมิภาคอาเซียนที่จะตองอาศัยความรวมมือในทุกภาคสวนของสังคมรวมมือกันอยาง จริงจังในการแกปญหาที่ยิ่งใหญของภูมิภาค ในระหวางประเทศเองก็ไมไดมีทาทางนิ่งเฉยในเรื่องนี้พยายามออกอนุสัญญาแมบทขององคการสหประชาชาติ บัญญัติคํานิยามของการคามนุษย ออกบทบัญญัติมาตรการในการคุมครองเหยื่อในการคามนุษย ที่ครอบคลุมมากขึ้นไม เฉพาะแตหญิงและเด็กเทานั้น ยังครอบคลุมและกวางขวางสามารถบังคับกับผูชายและไมมีเหตุในการเลือกปฏิบัติตาง ๆ ไมวาจะเปนในเรื่องเพศ ภาษา ศาสนา สัญชาติ เชื้อชาติ องคการสหประชาชาติไดใหความหมายของการคามนุษยไว แลวพันธมิตรทั่วโลกตอตานการคาหญิง ก็ไดใหคํา 22 นิยามการคามนุษยไว ดังนี้ “การคามนุษย” หมายถึง การกระทํา และความพยายามใด ๆ ที่เปนการจัดหาขนสง ลําเลียงภายใน หรือขามพรมแดน การซื้อขาย การสงตอ หรือการรับ หรือกักขัง หนวงเหนี่ยวบุคคลดวยการลอลวงการบังคับ รวมทั้งการใชการขูที่จะใชกําลัง หรือการใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ หรือการผูกมัดดวยภาระหนี้สินเพื่อกั กขัง หนวงเหนี่ยวบุคคลนั้นใหตกอยูในสภาวะจํายอม เชน ในรูปแบบของงานรับใชภายในบาน งานบริการทางเพศ หรืองานบริการเจริญพันธุ ไมวาจะมี หรือไมมีคาจางก็ตาม เพื่อบังคับใชแรงงาน หรือเปนแรงงานติดหนี้สิน หรือ ทําใหตกอยูในสภาพการทํางานเยี่ยงทาสในชุมชนอื่นที่มิใชภูมิลําเนาที่บุคคลนั้นอาศัยอยูในขณะที่ถูกลอลวง บังคับ หรือ มีหนี้สิ้นผูกมัดขึ้น รูปแบบการคามนุษยมีหลายรูปแบบที่สําคัญมีอยู 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการคามนุษยเพื่อการคาประเวณีทาง เพศรูปแบบหนึ่ง สวนใหญบุคคลที่ตกเปนเหยื่อในการคาประเวณี จะอยูในกลุมผูหญิง และเด็ก มากกวาผูชาย อีกรูปแบบ หนึ่ง คือ การคามนุษยเพื่อการเอาคนลงเปนทาส หรือการบังคับคาแรงงานโดยไมเปนธรรม และการตัดอวัยวะออกจาก รางกาย ตามมาตรา 3 ของพิธีสารเพื่อตอตานการคามนุษยในเด็กและสตรีตอทายอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตาน การคามนุษยในหญิงและเด็ก เชน การใชแรงงานเด็กโดยไมเปนธรรม การใชแรงงานในภาคประมง และกลุมบุคคลที่ตก เปนเหยื่อจากขบวนการคามนุษยมากที่สุดอยูในกลุมแรงงานตางดาว ชนกลุมนอย และบุคคลไรซึ่งสัญชาติ สืบเนื่องมาจาก สาเหตุที่ บุคคลนั้นไมไดมีหลักแหลงที่อยูในประเทศนั้น ๆ จึงอาจถูกลอลวงมาเปนเหยื่อการคามนุษยไดงาย โดยกรณี แรงงานตางดาวอาจถูกนายจางยึดหนังสือเดินทางได และบัตรทํางานของคนตางดาว และในกรณีแรงงานตางดาวที่เขา เมืองมาโดยผิดกฎหมายลักลอบเขาเมืองมาก็ยอมเปนกลุมเสี่ยงที่จะถูกลอลวงมาคาประเวณี นําพามาสูข บวนการคามนุษย ในที่สุด ดวยเหตุผลทางดานภาษาการสื่อสาร ระดับการสื่อสาร ระดับการศึกษา ปญหาของเด็กและหญิงที่เปนชนกลุม นอยที่อาจเปนกลุมเสี่ยงมาจากปจจัยการไรซึ่งสัญชาติ ซึ่งเด็กเหลานั้นถูกบังคับใชแรงงานอยางทาส ทารุณกรรม โหดราย เชน การใชแรงงานเด็กในภาคอุตสาหกรรม โดยใชแรงงานเด็กหนักเกินขีดความสามารถของเด็ก บังคับเด็กขายดอกไม ตามสี่แยกไฟแดง ตัดอวัยวะเด็กออกจากรางกายเพื่อบังคับใหเด็กเหลานั้นไปนั่งขอทานตามสะพานลอย จะเห็นไดวา เหยื่อของการคามนุษยสวนใหญ จะเปนผูหญิงและเด็กเปนสวนใหญ เพราะวา เปนเพศที่ถูกลอลวง มาคามนุษยไดงายกวาเพศชาย โดยสวนใหญการคามนุษยจะนิยมในรูปแบบการคาประเวณีทางเพศ และตามมาดวย การคามนุษยในรูปแบบการคาทาสแรงงาน เชน การคามนุษยในรูปแบบจายคาแรงงานโดยไดรับคาแรงที่ต่ํากวาความเปน จริงที่สมควรจะไดโดยกดขี่ ขมเหงอยางทารุณกรรมในทุกรูปแบบการคามนุษยในรูปแบบขอทานโดยตัดอวัยวะเด็กออก จากรางกาย เพื่อใหเด็กดูนาสงสารแลวใหคนที่พบเห็นไปมาสงสาร และก็จะไดใหเงินแกเด็กดังกลาว ในขณะเดียวกัน ใน กลุมผูชายก็ยังเปนกลุมเสี่ยงที่จะถูกคามนุษยเชนเดียวกัน ซึ่งจะถูกเสี่ยงในการบังคับใชแรงงานโดยไมเปนธรรม เชน การ บั ง คั บ ใช แ รงงานในเรื อ ประมง และในกลุ มการค า ประเวณี ท างเพศโดยพวกที่ นิ ยมเพศเดี ยวกั น ในกลุ มชายรั ก ชาย 22
พันธมิตรทั่วโลกดานการคาหญิง, การคาหญิง จากแนวคิดสิทธิมนุษยชนสูการปฏิบัติ, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิผูหญิง, 2545), หนา 14.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 152 สถานการณในปจจุบันขบวนการคามนุษยไดมีอิทธิพลอยางมากทั้งในระดับภูมิภาค และระดับสังคมระหวางประเทศที่ จะตองขจัดใหหมดสิ้นไปโดยเร็ว
การคามนุษยโดยองคกรอาชญากรรมขามชาติ ในความผิดฐานการคามนุษยมีสวนโยงใยถึงความผิดในลักษณะอื่น ๆ อีกมากมายที่เปนความผิดในลักษณะการ กระทําความผิดขามชาติ หรืออาชญากรรมขามชาติ ไมวาจะเปนความผิดฐานการฟอกเงิน ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ความผิดเกี่ยวกับการเปนธุระจัดหาการคาประเวณีชายและหญิง ซึ่งความผิดดังกลาวตองการความรวมมือในระดับสากล เปนอยางยิ่ง เพื่อขจัดปญหาที่ทุกภูมิภาคทั่วโลกตองการใหหมดสิ้นไปโดยดวน และทั้งนี้ ตองการความรวมมือในระดับ ระหวางประเทศทั้งหลาย โดยผานทางอนุสัญญา พิ ธีสารตาง ๆ ความรวมมือตาง ๆ ในเรื่องการคามนุษยทั้งในระดับ ภูมิภาค และอนุภูมิภาค เพราะการคามนุษย นํามาซึ่งปญหาอาชญากรรมขามชาติประเภทตาง ๆ มากมาย ไมวาจะเปน เรื่องการฟอกเงิน ยาเสพติด ซึ่งอาชญากรรมประเภทตาง ๆ นั้น ลวนแตทําลายความมั่นคง และเสถียรภาพของประเทศ ตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน ก็ไดมีความรวมมือกันอยางหนักแนนในเรื่องนี้ โดยประเทศสมาชิกอาเซียน ไดมีการประชุมเรื่องการคามนุษย ในเวทีการประชุมสุดยอดผูนําเอเชีย-ยุโรป หรือ อาเซม ครั้งที่ 9 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติ นครเวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว ซึ่งการประชุมจะ เน น ไปในเรื่อ งมาตรการป อ งกั นการคา มนุ ษ ย โดยเน น ถึ งการกิน ดี อ ยูดี ข องประชาชนในประเทศ การศึ ก ษา สั ง คม ครอบครัว การสาธารณสุข เพื่อสรางมาตรการใหประชาชนในประเทศไทยเองไดอยูดีกินดี เพื่อเปนภูมิคุมกันในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติ และในป พ.ศ. 2558 ประเทศทั้งหลายในอาเซียนจะรวมตัวกันเปนประชาคม จึงตองแกปญหานี้ อยางเรงดวน ปญหาการคามนุษยยังตองไดรับการแกปญหาจากตนเหตุ อาทิ ปญหาความยากจน และความไมเทาเทียม กันของคนในสังคม รวมทั้งการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจอยางยั่งยืน โดยมีภาคประชาชนเปนศูนยกลาง ไดแก การลด ความเสี่ยง และการเตรียมรับความพรอมรับภัยพิบัติ ความสําคัญตอหวงโซอาหารที่ชัดเจน
ประเทศไทยกับปญหาการคามนุษย นับตั้งแตประเทศไทยไดมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ นับตั้งแตป พ.ศ. 2530 เปนตนมา ประกอบกับสถานการณ ทางการเมืองทีเ่ กิดขึ้นในประเทศเพื่อนบานทั้งสามประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย อันไดแก เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชาที่มีปญหาการสูรบ และความไมสงบภายในประเทศมาตั้งแตยุคสงครามเย็น ซึ่งสงผลใหสภาพเศรษฐกิจ ภายในประเทศเหลานั้นย่ําแยตามไปดวย และจากสภาพที่เกิดขึ้นในประเทศเพื่อนบานทั้งสามของไทยดังกลาว ประกอบ กับในชวงเวลาเดียวกันที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจของไทยไดมีความเจริญกาวหนากวาประเทศเพื่อนบานทั้งสามประเทศ ไดสงผลใหประชาชนจากทั้งสามประเทศพากันอพยพหลั่งไหลเขามาหางานทําในประเทศไทยเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ แรงงานไทยในช ว งระยะหลั ง ๆ มี ค วามรู และมี ร ะดั บ การศึ ก ษาที่ สู ง มากขึ้ น กว า ในอดี ต ดั ง นั้ น แรงงานไทยจึ ง มี ความสามารถที่จะเลือกงานที่ตอนเองถนัดไดมากขึ้น และไมเลือกงานที่มีรายไดนอย และเกิดความลําบาก เชน งาน ประเภท 3 ส. ที่ไดกลาวถึงไปแลวในตอนตน ทั้งนี้ แมวา แรงงานชาวไทยจะไมเลือกทํางานประเภท 3 ส. ดังกลาว แตมิได หมายความวา อุปสงคของนายจางที่มีตอแรงงานที่เขามาทํางานดังกลาวจะลดนอยถอยลงไป แตในทางตรงกันขามอุปสงค ดังกลาวกลับมีมากขึ้น เนื่องจาก แรงงานชาวไทยเลือกที่จะไมทํางานประเภทดังกลาวนั่นเอง ดังนั้น แรงงานตางดาวจึง กลายเปนตัวเลือกที่สําคัญสําหรับนายจางที่จะจางใหเขามาทํางานประเภทดังกลาว สําหรับประเภทของแรงงานขามชาติ หรือแรงงานตางดาวที่เดินทางเขามาทํางานในประเทศนั้น มีทั้งบุคคลหรือ กลุมบุคคลที่ลี้ภัยทางการเมืองภายในประเทศของตน บุคคลที่สมัครใจเขามาเสี่ยงโชคหางานทําในไทย อันเนื่องมาจาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 153 สภาพทางเศรษฐกิจอันย่ําแยที่เปนผลมาจากสภาพปญหาทางการเมืองที่มีความขัดแยง และการสูรบในประเทศรวมไปถึง สภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นดีกวาในประเทศ หรือในภูมิลําเนาของตน หรืออาจจะมีแรงงานขามชาติบางกลุมที่ มิไดสมัครใจเขามาทํางานในประเทศไทย แตอยางใด แตกลับถูกหลอกลวงใหเขามาทํางาน โดยพยายามใชขออางตาง ๆ หวานลอมใหเห็นวา การเขามาทํางานทําในประเทศไทยนั้นเปนสิ่งที่ดี กอใหเกิดรายไดมากกวาทํางานในภูมิลําเนาของตน แตเมื่อเขามาถึงประเทศไทยแลวกลับพบวา งานที่ตองทํานั้นมีสภาพที่ ย่ําแย หรือเลวราย และถูกกดขี่หรือเอารัดเอา เปรียบจากนายจาง นอกจากนี้ ยังมีแรงงานขามชาติบางกลุมที่มิไดมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ยากจน แตกลับตองการเขามา ทํางานในประเทศไทย ดวยเหตุผลอื่น ๆ เชน เมื่อครอบครัวมีการใชจายเกินรายไดที่หามาได จึงตองหาทางเพิ่มรายไดให 23 เพียงพอกับความตองการใชจาย ซึ่งครอบครัวประเภทนี้ มักจะมีการใชจายเกินตัวหรือเกินจากรายไดที่มีโดยปกติ นอกจากนี้ สาเหตุที่นําไปสูปญหาการคาแรงงานขามชาติยังรวมไปถึงคานิยมที่ผิด ๆ เชน วัตถุนิยมและบริโภคนิยมที่ได หลั่งไหลมาพรอมกับกระแสโลกาภิวัตนในปจจุบัน ไดเปนแรงผลักดันใหทั้งบุคคล และกลุมบุคคลจากทั้งเมียนมาร สปป. ลาว และกัมพูชาเดินทางเขามาคาแรงงานในประเทศไทย สําหรับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการตกเปนเหยื่อในขบวนการคามนุษย รวมทั้งการคาแรงงานขามชาตินั้น มิได จํากัดเพียงผูหญิงและเด็กเทานั้น แตในปจจุบัน จะพบวา ผูชายก็ไดกลายเปนเหยื่อของการคาแรงงานขามชาติไปแลว เชนกัน ซึ่งประเภทของงานที่ใชแรงงานจากเหยื่อเพศชายเหลานี้ มักจะเปนงานใชแรงงาน ไดแก งานในภาคอุตสาหกรรม งานภาคเกษตรกรรม และงานอุตสาหกรรมการประมง เปนตน สําหรับประเทศไทยนั้น เปนประเทศเปาหมายที่ขบวนการคามนุษย จะนําเหยื่อเขามาแสวงหาผลประโยชนจาก การคามนุษย ซึ่งประเทศไทยเปนทั้งประเทศตนทาง ทางผาน และประเทศปลายทางของขบวนการคามนุษย ประเทศตนทาง คือ ประเทศที่มีการสงเด็กและผูห ญิงไปคามนุษยยังตางประเทศ ประเทศทางผาน คือ ประเทศที่ใชเปนเสนทางคมนาคมผานของการนํา เด็กและผูหญิงไป เพื่อการคาใน ประเทศตาง ๆ ประเทศปลายทาง คือ ประเทศที่มีการนําเด็กและผูห ญิงเขามาคาประเวณี หรือแสวงหาผลประโยชน หรือมี การลวงละเมิดสิทธิในดานตาง ๆ ของเหยื่อการคามนุษย เพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคของขบวนการคามนุษยมาก ที่สุด เมื่อพิจารณาประเทศสมาชิกอาเซียนที่ถือวา เปนประเทศที่มีสถานการณการคามนุษยขามชาติ หรือการคา แรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมายมากที่สุดก็คือ ประเทศในบริเวณอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงอยางประเทศเวียดนาม ซึ่ง เปนทั้งแหลงนําเขา และสงออกแรงงานผิดกฎหมาย ชาย หญิง และเด็กที่ใหญที่สุดในภูมิภาคอาเซียน แตถามองใน แงของลักษณะภูมิประเทศที่เอื้อตอการคามนุษยมากที่สุดก็คือ ประเทศไทย จากแผนที่ประเทศไทย แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยอาจถือไดวา เปนประเทศศูนยกลางของภูมิภาคอาเซียน ที่มี ชายแดนติดกับหลายประเทศในอาเซียนดวยกันมากกวาประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน หากพิจารณาจากภาพจะเห็นไดวา ประเทศไทยเปนประเทศตนทาง ประเทศทางผาน และประเทศปลายทาง ซึ่งประเทศไทยมีชายแดนติดตอกับ สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร และมาเลเซีย ดังนั้น การขนสงสินคา การเคลื่อนยายแรงงานถูกกฎหมายจึงมีมาก ในขณะเดียวกัน ก็ เปนชองวางเปดทางใหแกขบวนการคามนุษยลักลอบขนยายแรงงานที่ผิดกฎหมายดวยเชนกัน ซึ่งเหยื่ อการคามนุษยสวน ใหญจะเปนเด็กและผูหญิง โดยถูกลอลวงจากเพื่อนบานดวยกัน หรือนายหนาขามพรมแดนมาคาประเวณี หรือเปนขอทาน นอกจากนี้ ยัง มี ส ถานการณ ห ลอกลวงแรงงานไทยที่ เป น ผู ห ญิง ที่ มี นายหนา จั ด หาแรงงานในการเดิ น ทางไปทํ า งาน 23
สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล , (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิง และเด็ก. (กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย). หนา 8.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 154 ตางประเทศ ซึ่งเรียกเก็บคาธรรมเนียม คาใชจายเปนจํานวนมากเกินความเปนจริง หรือหลอกไปทํางานไดรับคาจางไม เพียงพอ หรือคุมคากับคาใชจายที่เสียไป หรือตองทํางานขัดหนี้ (Debt Bondage) ซึ่งพนักงานสอบสวน ผูบังคับใช กฎหมายเบื้องตนในประเทศ ยังมีมุมมองวา การกระทําความผิดในลักษณะเชนนี้ เปนการกระทําความผิดทางเพง หรือ เปนการฉอโกงประชาชน มิใชเปนความผิดฐานคามนุษย ซึ่งมุมมองของโลกสากลกําลังใหความสนใจในกรณีการคามนุ ษย ในลักษณะของแรงงานขัดหนี้ วาผูเสียหายตกอยูในสภาพถูกบังคับใหทํางานเพื่อชดใชหนี้ที่เกิดขึ้น อันมีสภาพไมตางจาก การคามนุษยนั่นเอง ปญหาการคามนุษย ซึ่งเกิดจากการคาประเวณีเด็กเพศชายที่เกี่ยวเนื่องกับการถายภาพโป เปลือย อนาจารเด็ก มีการจับกุมดําเนินคดีกับผูตองหาที่เปนชาวตางชาติ ซึ่งมีเจตนากระทําทางเพศกับเด็ก (pectophiles) และมีการถายภาพ ในรูปของการถายบันทึกวิดีโอ ซีดี เพื่อจําหนายใหกับผูมีรสนิยมเดียวกัน การซื้อประเวณีเด็กผูชาย สวนใหญจะมีการ ติดตอเด็กผานนายหนา แตการจํากุมดําเนินคดีผูกระทําความผิดมักจะเกิดขึ้นในโรงแรม จึงทําใหการจับกุมดําเนินคดี เปนไปในลักษณะการกระทําผิดฐานอนาจารเด็ก มิใชความผิดฐานการคามนุษย เพราะไมมีการสืบสวนขยายผลถึงผูทําธุระ จัดหา กลุม pectophiles ในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือในประเทศยุโรป มีเปาหมายที่เขามาซื้อบริการทางเพศเด็กในแถบ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะในอนุภูมิภาคแถบลุมแมน้ําโขง เนื่องจาก เปนพื้นที่ที่หาซื้อบริการทางเพศกับ เด็กไดงาย และการใชบังคับกฎหมายในเรื่องหยอนยาน มีพฤติการณ และรูปแบบกระทําความผิดดวยการหลอกลวง หญิงไทยไปคาประเวณีในตางประเทศ สวนใหญมีพื้นฐานมาจากหญิงไทย มีความตองการไปทํางานในตางประเทศดวย ความสมัครใจ แตเงื่อนไข หรือสภาพการทํางานเมื่อเดินทางไปถึง อาจกลายเปนสภาพการคามนุษยในที่สุด อันมีสาเหตุมา จากผูเสียหายมีภาระหนี้สินอันสืบเนื่องมาจาก คาเดินทาง และไมสามารถใชชีวิตโดยมีอิสรภาพภายนอกได ทําใหกลาย สภาพเปนการกักขัง หรือบังคับใหคาประเวณีในเวลาตอมา การใชก ฎหมายการใช ดุลพินิจของผูบั งคับใช กฎหมาย มักมีทั ศนคติเ ชิงลบต อผูเสียหายในลักษณะนี้ มักไม ประสงคจะดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด ทั้งยังมีปญหากรณีบังคับใชแรงงานหรือบริการอื่น ๆ เชน แรงงานรับใชในบาน หรือบังคับใหเด็กวัยรุนโกนศีรษะ หรือปลอมเปนสามเณรออกเรี่ยไรขอบริจาคเงินจากชาวบาน ลวนเปนคดีคามนุษย ถึงแมวา ประเทศตาง ๆ จะมีมาตรการเปนตัวบทกฎหมาย หรือดานตรวจคนเขาเมืองคอยตรวจสอบความ เรียบรอย หรือสิ่งผิดปกติที่สุมเสี่ยงที่จะผิดกฎหมายก็ตาม แตปญหาการคามนุษยยังไมสามารถคลี่คลายได อาจเปนเพราะ หัวหนาขบวนการคามนุษยเปนผูมีอิทธิพล สรางเครือขายไวหลายแหง และมีสวนไดสวนเสียตอบางหนวยงาน หรือ แมกระทั่ง เจาหนาที่ของรัฐเปนผูสนับสนุน เชน ในจังหวัดหนองคาย ซึ่งมีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว พบวา มีชาวลาวเปนจํานวนมากที่เขามาหางานทําในประเทศไทย สวนใหญจะเปนในรูปแบบคนรับใช เด็ก เสิรฟตามรานอาหาร รานคาราโอเกะ และรวมไปถึงขายบริการทางเพศ ซึ่งมีทั้งที่เต็มใจ และไมเต็มใจ โดยผูที่ซื้อบริการมี ทั้งบุคคลธรรมดาไปจนถึงเจาหนาที่รัฐ บางคนเดินทางไปเชา-เย็นกลับ บางคนมีพาสปอรตก็พักอาศัยอยูในประเทศไทย หากมองในแงของกฎหมาย การเขาออกประเทศเปนไปตามกระบวนการทุกอยาง แมวา จะมีกระบวนการพิสูจนสัญชาติ แตเราจะทราบไดอยางไรวา ในขณะที่พวกเขาพักอาศัยภายในประเทศไทยในระยะเวลาสั้น ๆ นั้น พวกเขาประกอบอาชีพ อะไร หนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐเขาไปตรวจสอบสม่ําเสมอ และตรวจตราอยางถี่ถวนหรือไม เราจะมีวิธีอยางไรในการ ที่จะตรวจสอบไดอยางแนชัดวา พวกเขาเขามาโดยที่ไมไดเขามาสูวงจรการคามนุษย นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเปนประเทศทางผานสําหรับการสงเหยื่อการคามนุษยจากประเทศ เกาหลีเหนือ จีน เวียดนาม ปากีสถาน และเมียนมาร เพื่อนําเหยื่อของการคามนุษยไปขายยังประเทศ เชน มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร รัสเซีย ยุโรปตะวันตก เกาหลีใต และสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศตาง ๆ ที่ยากจนก็ตางพากันอพยพเขามาดินแดนของ ประเทศไทยเพื่อที่จะหางานทํา โดยสวนใหญอพยพเขามาโดยวิธีการที่ผิดกฎหมายไมถูกตองตามกฎหมายวาดวยคนเขา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 155 เมือง และบางกลุมก็อพยพเขามาในดินแดนประเทศไทย เพราะเปนกลุมบุคคลซึ่งไรสัญชาติ และอพยพเขามาสูดินแดนที่ อุดมสมบูรณเต็มไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ และแรธาตุตาง ๆ ที่เต็มเปยมไปดวยความอุดมสมบูรณ จึงเปนประเทศ เปาหมายของขบวนการคามนุษยที่จะเขามาแสวงหาผลประโยชนจากดินแดนของประเทศไทย เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ประเทศไทยไดมีการออกพระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการมีสวนรวม ในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ มุงปราบปรามกลุมผูมีอิทธิพลขามชาติ หรือแกงมาเฟยขาม ชาติที่ทําธุรกิจผิดกฎหมาย และเปนกฎหมายที่ออกตามหลักการของอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกร อาชญากรรมขามชาติ ค.ศ. 2000 (United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000) ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ มุงเนนในลักษณะการกระทําความผิดขามชาติ อาทิ การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบ ขนคนเขาเมือง การขายอาวุธที่ผิดกฎหมาย การคาทรัพยากรธรรมชาติที่ผิดกฎหมาย การคาสัตวปาที่ผิดกฎหมาย การ ขายยา และเวชภัณฑปลอม รวมทั้งอาชญากรรมคอมพิวเตอร เชน แกงฉอโกง เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2556 พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา เอกอัครราชทูตผูแทนถาวรแหงประเทศ ไทยประจําสหประชาชาติ ณ กรุงเวียนนา ไดทรงเปนผูแทนรัฐบาลไทยในการยื่นสัตยาบันอนุสัญญาสหประชาชาติเ พื่อ ตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร (United Nations Convention against Transnational Organized Crime : UNTOC) และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษ การคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก เสริมอนุสัญญาฯ (Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, supplementing the United Nations Convention against Transnational Organization Crime) ตอ ผูแทนเลขาธิการสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรก ซึ่งการยื่นสัตยาบันสารทั้งสองฉบับจะสงผลใหอนุสัญญาฯ และพิธีสาร เรื่องการคามนุษย เริ่มมีผลใชบังคับกับประเทศไทยในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2556 เปนตนไปตามขอ 38 ของอนุสัญญาฯ และขอ 17 ของพิธีสารฯ ซึ่งประเทศไทยไดมลี งนามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้ง ในลักษณะองคกร เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2543 และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะ 24 สตรีและเด็ก เสริมอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2544 อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้งในลักษณะองคกรเปนกรอบความรวมมือ ทางกฎหมายที่กําหนดมาตรฐานระดับสากลเกี่ยวกับการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่กระทําโดยองคกรอาชญากรรม โดยมี ขอบเขตการบั ง คั บใช ใ นด า นการป อ งกั น การสื บสวน และการดํ าเนิ น คดีเ กี่ ยวกั บ ฐานความผิ ด ที่กํ า หนดไว ใ น อนุสัญญาฯ 4 ฐาน ไดแก การมีสวนรวมในกลุมองคกรอาชญากรรม การฟอกทรัพยสินที่ไดมาจากการกระทําผิด การ ทุจริตคอรรัปชั่น และการขัดขวางกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งฐานความผิดรายแรงที่อนุสัญญาฯ ไดกําหนดนิยามวาเปน ความผิดที่มีโทษจําคุกอยางสูงตั้งแต 4 ปขึ้นไป เมื่อความผิดดังกลาวมีลักษณะขามชาติ และเกี่ยวของกับกลุมองคกร อาชญากรรม ทั้งนี้ อนุสัญญาฯ ไดระบุถึงการใหความรวมมือระหวางรัฐภาคี อาทิ การสงผูรายขามแดน เรื่องโอนตัว นักโทษ การชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา อนึ่ง อนุสัญญาฯ นี้มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2556 อนุสัญญาฯ ปจจุบันมีภาคีสมาชิกทั้งหมด 178 ประเทศ โดยประเทศไทยเขาเปนภาคีอนุสัญญาฯ ลําดับที่ 179 สําหรับพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปรามและลงโทษ การคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็กเสริมอนุสัญญาฯ นั้น มี วัตถุประสงคหลักเพื่อปองกันและตอตานการคามนุษย โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับสตรีและเด็ก โดยพิธีสารฯ นี้ ได 24
การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้งในลักษณะองคกร และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปรามและ ลงโทษ การคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็กเสริมอนุสัญญาฯ. กระทรวงการตางประเทศ. วันที่ 20 ตุลาคม 2556. ออนไลน. คนหาขอมูลวันที่ 1 มิถุนายน 2557. ไดจาก http://www.mfa.go.th/main/th/media-center/14/40175 -การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตาน อาชญ.html.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 156 กําหนดใหการคามนุษยเปนความผิดทางอาญา และกําหนดมาตรการเพื่อคุมครอง และชวยเหลือผูเสียหายจากการคา มนุษย เชน การพิจารณาคดีลับ หรือการจัดใหมีการฟนฟูทางกายภาพทางจิตใจและทางสังคม และการกําหนดความ รวมมือในการสงกลับเหยื่อจากการคามนุษยไปยังประเทศตนทาง อนึ่ง พิธีสารฯ มีผลใชบังคับแลวเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2546 ปจจุบันพิธีสารฯ มีภาคีสมาชิก 157 ประเทศ โดยประเทศไทยเขาเปนภาคีพิธีสารฯ ลําดับที่ 158
แผนภาพที่ 1 แสดงเสนทางแรงงานตางชาติจากถิ่นตนทางสูประเทศไทย25
ปจจุบันประเทศไทยมีพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 และพระราชบัญ ญั ติ ป องกั น และปราบปรามการค า มนุ ษ ย พ.ศ. 2551 ซึ่ ง จะเป น กฎหมายอนุวั ติ ก ารสํ า หรั บ อนุสัญญาฯ และพิธีสารฯ ดังกลาวแลว อนึ่ง การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการตอตานอาชญากรรมขาม ชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก 25
นวลนอย ตรีรัตน. (2548). รายงานการวิจัย สภาพความรุนแรงของปญหาองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบัน กฎหมาย สํานักอัยการสูงสุด. หนา 55.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 157 นับเปน กา วสํา คัญ ในการแสดงความมุ งมั่ นของรั ฐบาลไทยในการต อตา นอาชญากรรมข ามชาติ ทุก รูป แบบ และเป น ประโยชน อยา งยิ่ งสํ าหรั บหนว ยงานผู บัง คับใชก ฎหมายของประเทศไทย ในการขอความร วมมื อจากภาคี อื่น ๆ ตาม อนุสัญญาฯ และพิธีสารฯ ในการสืบสวน สอบสวน ติดตามนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ อันจะมีสวนชวยในการ เสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยในอนาคต ซึ่งมีประเทศไทยมีกลไกการดําเนินงาน ดังนี้
กลไกการดําเนินงานของไทย 1. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย (ปคม.) เปนกลไกระดับชาติดานการคามนุษย ซึ่งอาศัย พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน รัฐมนตรีวาการกระทรวงที่ เกี่ยวของเปนกรรมการ และปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเปนเลขานุการ 2. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก ซึ่งมีมาตรการปองกัน คุมครอง และชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย โดยไมเลือกปฏิบัติ ตั้งแตการฟนฟูรางกาย และจิตใจ ฝกอาชีพ ชวย ดําเนินคดีกับนายจาง โดยไดเปดโทรศัพทสายดวน จัดบานพักเด็กและครอบครัว เปนตน
สถานการณปจจุบันอันเกี่ยวของปญหาการคามนุษยกับประเทศเพื่อนบาน จากความพยายามของรัฐบาลไทย รวมทั้งองคกรภาคเอกชนที่เกี่ยวของในการรณรงคและแกไขปญหาการคา มนุษย และการใชแรงงานเด็ก ทําใหปญหาการคามนุษยที่มีเหยื่อเปนคนไทยลดจํานวนลง แตในทางกลับกัน การที่เหยื่อ คนไทยลดจํานวนลง จึงสงผลใหขบวนการคามนุษยหันไปแสวงหาเหยื่อที่นําเขาจากตางประเทศมาทดแทน ทั้งนี้ ประเทศ ไทยในฐานะที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค สงผลใหไทยกลายเปนพื้นที่ศูนยกลางสําหรับนักคามนุษยในการนํา เหยื่อจากประเทศเพื่อนบานเขามาคาในประเทศไทย โดยรูปแบบของการคามนุษยนั้น จะปรากฏอยูในหลายรูปแบบ ทั้ง การคาบริการทางเพศ ขอทาน แรงงานรับใชในบาน งานในภาคเกษตรกรรม งานปศุสัตว งานกอสราง งานโรงงานทอผา 26 รวมทั้งกิจการประมง ทั้งนี้ ผูอพยพยายถิ่นฐานจํานวนมากไดตัดสินใจเลือกการยายถิ่นผานชองทางที่ไมถูกกฎหมายเขา มายังประเทศไทย ซึ่งจะยิ่งทําใหบุคคลเหลานั้น ตองตกอยูในความเสี่ยงตอการเปนเหยื่อการคามนุษยมากขึ้น ทั้งนี้ จาก รายงานของโครงการความรวมมือสหประชาชาติเพื่อตอตานการคามนุษยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (United Nations Inter – Agency Project on Human Trafficking : UNIAP) ชี้ใหเห็นวา เหยื่อจากการคามนุษยนั้นจะมาจากครอบครัว ยากจน และมีระดับการศึกษาต่ํา นอกจากนี้ ยังพบวา ผูที่อพยพยายถิ่นนั้นมีอายุเยาววัยลงเรื่อย ๆ ทั้งนี้ บุคคลที่สามารถ ยายถิ่นออกมาไดนั้น จะมิใชบคุ คลที่มีฐานะยากจนมากที่สุด แตอยางใด แตอาจเกิดมาจากการที่ไดรับอิทธิพลของคานิยม บริโภคนิยมก็เปนไปไดเชนเดียวกัน ผูอพยพยายถิ่นจํานวนมากถูกหลอกลวงใหเขาสูกระบวนการคามนุษย โดยการติดตอภายในทองถิ่น โดยขบวน การคามนุษยจะพยายามเสาะหาบุคคลที่ตองการยายถิ่นฐาน หรือคนที่ตองการยายถิ่นนั้น อาจติดตอมายังบุคคลที่พวกเขา คิดวา มีหนทางที่จะสามารถพาพวกเขาเดินทางเขาไปยังประเทศไทย และชวยใหมีงานทํา ทั้งนี้ ขั้นตอนของการคามนุษย ประกอบไปดวยขั้นตอนที่หลากหลาย รวมทั้งการสงตัวบุคคลจากขบวนการหนึ่งไปยังอีกขบวนการหนึ่ง และบุคคลนั้นก็ 27 อาจจะถูกขายออกไปในบางขั้นตอนของกระบวนการคามนุษยดวย ทั้งนี้ ในปจจุบันขบวนการคามนุษยมีเครือขายในการ จัดหาเหยื่อ เชน เครือขายนายหนา โดยที่เครือขายโยงใยของขบวนการคาแรงงานขามชาติทั่วไป จะเริ่มตนจาก “นายหนา 26
International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 151. 27 กฤตยา อาชวนิจกุล, สถานะความรูเรื่องแรงงานขามชาติในประเทศไทยและทิศทางการวิจัยที่พึงพิจารณา (นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2545), หนา 51.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 158 รายยอย” ในประเทศตนทาง โดยในกลุมที่ทําเปนอาชีพจะโยงใยถึงนายหนารายใหญอีกทอดหนึ่ง เพื่อจัดการนําสง แรงงานจนถึงสถานที่ทํางานที่ตั้งอยูในประเทศไทย โดยอาจจะเขาไปติดตอทาบทามกับกลุมเปาหมายเอง หรือมิเชนนั้น ผู ที่ตองการเดินทางก็จะเปนคนติดตอมาเอง สวนในกลุมนายหนาที่มิไดทําเปนอาชีพก็มักจะเปนญาติ เพื่อนหรือคนในชุมชน เดียวกัน ที่จะเปนคนพาไปติดตอนายหนา เมื่อกระบวนการเริ่มแรกสําเร็จแลว ก็จะมาถึงขั้นตอนตอไปที่ “นายหนาหลัก” ที่มักมีเครือขายเปนนายหนารายยอยที่นําพาแรงงานมายังชายแดน โดยนายหนาหลักจะทําหนาที่จัดการเดินทางผานขาม แดนกิจการนี้ อาจตัดชวงเมื่อนําแรงงานไปขายตอนายหนาในประเทศปลายทางที่จุดชายแดน หรืออาจมีการดําเนินการ เชื่อมโยงทันทีอยางเปนระบบ โดยการประสานงานของเครือขายขนาดใหญ ที่ดําเนินการสงแรงงานจากบริเวณชายแดนไป ยังสถานประกอบการตาง ๆ โดยที่ผูจัดการการขนลองในประเทศไทยเกือบทุกรายมักไดรับความรวมมือกับเจาหนาที่ของ รัฐ หรืออาจเปนเจาหนาที่รัฐที่ดําเนินการเองก็มีความเปนไปไดเชนกัน จากการที่มีเครือขายนายหนาที่กวางขวางตั้งแตระดับหมูบานจนถึงระดับภูมิภาค ทําใหนายจาง หรือเจาของ กิจการไมตองแสวงหาแรงงานตางดาวดวยตนเอง ดังเชนที่เปนมาเนื่องมาจากมีนายหนาที่คอยเสนอ หรือติดตอเขามาหา นายจางเอง ทั้งนี้ ปญหาการคามนุษยจากตางประเทศไดขยายตัวจนกลายเปนปญหาใหญของประเทศไทย ซึ่งเราสามารถ 28 แบงประเภทของเหยื่อการคามนุษยตามแหลงที่มาได 3 ประเภท ไดแก 1. กลุมที่มาจากประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย เชน เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา 2. กลุมที่มาจากประเทศใกลเคียง เชน ประเทศจีน และเวียดนาม 3. กลุมที่มาจากประเทศอื่น ๆ โดยในสวนของกลุมที่มาจากประเทศที่มีพรมแดนติดกันกับประเทศไทย โดยประเทศไทยนั้น มีพรมแดนที่ติดตอ กับประเทศตาง ๆ ถึง 4 ประเทศ ไดแก เมียนมาร สปป.ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ดังนั้น เมื่อพิจารณาจากสภาพทาง เศรษฐกิจและสังคมของทั้ง 4 ประเทศนี้ จะเห็นไดวา นอกจากประเทศมาเลเซียแลว ประเทศอื่น ๆ ทั้งหมดตางก็มีปญหา ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ยกตัวอยางเชน เมียนมารที่นอกเหนือจากการมีปญหาทางเศรษฐกิจแลว ยังมี ปญหาความขัดแยง และการสูรบภายในประเทศอีกดวย อยางที่เปนที่ทราบกันโดยทั่วไป ยกตัวอยางเชน การสูรบระหวาง รัฐบาลทหารเมียนมารกับชนกลุมนอยกลุมตาง ๆ ซึ่งสิ่งเหลานี้ ไดสงผลใหประชากรในประเทศเหลานั้น ตองหาหนทางที่ จะปรับปรุงคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว โดยวิธีการหนึ่งที่เปนที่นิยมกันคือ การยายถิ่นเขาสูประเทศเพื่อนบานที่ มีสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่ดีกวา นั่นคือ ประเทศไทย และสิ่งนี้กลายเปนสาเหตุที่ทําใหผูยายถิ่นหลายคนไดกลายเปน เหยื่อของขบวนการคามนุษย โดยเหยื่อเหลานี้ ถูกนําเขามายังประเทศไทยดวยวัตถุประสงคตาง ๆ กัน ทั้งการคาประเวณี การใชแรงงาน และการขอทาน การข ามพรมแดนกระทํา โดยการลักลอบเขา มาทางชายแดน รวมทั้งการเขามาโดย หลักเกณฑผอนผันตามกฎหมาย แตมิไดเดินทางกลับคืนสูประเทศของตนตามกําหนด หรืออาจจะอาศัยการทุจริตของ 29 เจาหนาที่รัฐของไทย หรือการใชเอกสารปลอม ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้
สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร
ชาวเมียนมารจํานวนมากเดินทางออกจากประเทศของตน เพื่อหนีจากสภาวะยากลําบากทางเศรษฐกิจ การ ถูก เกณฑ แรงงานและการละเมิ ด สิ ท ธิ มนุ ษ ยชน และยั ง มี ชาวเมี ยนม า ร จํ า นวนมากที่ ตอ งเดิ น ทางออกจากประเทศ เนื่องจาก การถูกบังคับใหตองยายออกมาจากภูมิลําเนาของตน รวมทั้งยังมีชาวเมียนมารอีกจํานวนมากที่ตองยายหนี ออกมาจากการสูรบ และการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ในจํานวนชาวเมียนมารกวาสามลานคนที่เดินทางออกมาจาก ประเทศของตนนั้น จํานวนกวาครึ่งหนึ่งจะเดินทางเขามายังประเทศไทย โดยประเทศไทยนั้น จะเปนจุดหมายปลายทาง 28 29
อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547), หนา 19. เรื่องเดียวกัน, หนา 20.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 159 หลักสําหรับผูยายถิ่นชาวเมียนมาร อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดกับประเทศเมียนมาร การเดินทางขามพรมแดนที่ไมยุงยาก รวมทั้งโอกาสในการหางานทําอันเนื่องมาจากเศรษฐกิจที่กําลังเจริญเติบโตของไทย โดยชาวเมียนมารที่อาศัยในประเทศ ไทยนั้น จะอยูในฐานะแรงงานตางดาว หรืออาจติดตามสมาชิกในครอบครัวที่เดินทางเขามาเปนแรงงาน โดยทั่วไปแลว แรงงานตางดาวชาวเมียนมารเพศชายจะทํางานในกิจการประมง เกษตรกรรม และงานกอสราง ในขณะที่แรงงานหญิงจะ 30 ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมอาหารทะเล และเปนแรงงานรับใชในบาน ในป พ.ศ. 2546 ประเทศไทยและเมียนมาร ไดรวมลงนามในบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการจาง แรงงาน โดยในบันทึกความเขาใจดังกลาวไดอนุญาตใหมีการจางงานอยา งถูกตองตามกฎหมายกับแรงงานตางดาวเปน ระยะเวลา 2 ป หรืออาจขยายเวลาการจางงานออกไปไดอีก 2 ป แตไมเกิน 4 ป และเมื่อครบ 4 ปแลวแรงงานตางดาว รายนั้น ๆ จะไมสามารถสมัครงานใหมไดจนกวาเวลาจะผานพนไปแลวถึง 3 ป และแรงงานแตละรายยังตองนํารายได จํานวนรอยละ 15 ของเงินเดือนของตนไปเขากองทุนสําหรับการสงกลับ ซึ่งจะไดรับเมื่อเดินทางกลับภูมิลําเนาของตนแลว นอกจากนี้ ยังมีการกอตั้งศูนยหนังสือผานแดนชั่วคราว (Temporary Visa Centres) เมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550 ใกลอําเภอแมสอดและเมืองเมียวดีของเมียนมาร โดยศูนยดังกลาวนี้ มีหนาที่ในการออกหนังสือผานแดนภายใน 24 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับขั้นตอนการตรวจสอบรายละเอียดของผูรองขอ แตถึงกระนั้น ชาวเมียนมารยายถิ่นสวนใหญก็ไมกลาที่จะเขาไป ใชบริการในศูนยดังกลาว เนื่องจาก เกรงวาจะสงผลกระทบถึงครอบครัวของตน นอกจากนี้ ความกลัวดังกลาวยังถูกสําทับ ดวยขาวแพรสะพัดทั่วไปวา หนวยงานภาครัฐสังกัดรัฐบาลเมียนมารไดใชอํานาจในการบีบบังคับใหทุกครอบครัวนํารูปภาพ สมาชิกทุกคนของแตละครอบครัวมาแขวนไวที่หนาบาน เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบไดวา มีสมาชิกคนใดบางที่ยายถิ่น ออกไป และเพื่อตรวจสอบรายละเอียดของบุคคลที่ไมอยูในถิ่นฐานนั้น จากนั้นหนวยงานภาครัฐก็จะเริ่มเก็บภาษีจาก 31 ครอบครัวที่มีสมาชิกยายถิ่นฐานออกไปทํางานยังประเทศไทย หรือประเทศอื่นๆ ทั้งนี้ แมวา จะมีความพยายามในการ อพยพโยกยายถิ่นฐานของแรงงานตางดาวชาวเมียนมาร แตถึงกระนั้น การโยกยายถิ่นฐานก็ไมไดเปนหลักประกันวา จะได พบกับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นแตอยางใด โดยผูอพยพก็ยังถูกหลอกลวงและถูกแสวงประโยชนในระหวางการอพยพยายถิ่น และยังมีชาวเมียนมารยายถิ่นฐานบางรายที่ยายถิ่นเพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น แตกลับตองถูกบั งคับใหใช 32 แรงงาน รวมทั้งถูกบังคับใหคาประเวณีอีกดวย ในสวนของแรงงานตางดาวชาวเมียนมารนั้น จากการศึกษาโดย International Labour Organization/ International Programme on the Elimination of Child Labour (ILO/IPEC) พบวา จํานวนแรงงานที่ทํางานใน กิจการประมงในจังหวัดสมุทรสาครมากกวารอยละ 90 นั้นเปนชาวเมียนมาร โดยไดประมาณการถึงจํานวนแรงงานชาว เมียนมารที่ทํางานบนเรือประมงของไทยวา มีจํานวนมากกวา 200,000 คน และยังมีแรงงานตางดาวอีกจํานวนหลายพัน คนที่ทํางานในอุตสาหกรรมอาหารทะเล ทั้งนี้ แรงงานตางดาวที่ทํางานในกิ จการประมงสวนมากจะมาจากประเทศ เมียนมารและกัมพูชา สวนที่มาจากประเทศลาวนั้น ก็มีเชนกันแตจํานวนไมนอย อยางไรก็ตาม แรงงานตางดาวเหลานั้น ก็จะตองเผชิญกับการถูกแสวงประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุม แรงงานตางดาวที่ยังไมไดจดทะเบียนกับทางการไทย แตในสวนของแรงงานตางดาวที่แมวา จะจดทะเบียนแลวก็ยังจะตอง เผชิญกับการถูกแสวงหาประโยชนดานแรงงานเชนกัน เชน การที่แรงงานตางดาวจะตองถูกหักเงินจากเงินคาจางของตน คืนใหกับนายจางที่ไดชวยสํารองจายคาธรรมเนียม สําหรับการขึ้นทะเบียนใหแกลูกจาง โดยจํานวนเงินที่จะถูกหักออกไป 30
International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 97. 31 Ibid., p. 98. 32 Ibid., p. 99.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 160 นั้นกลับมีจํานวนมากกวาคาธรรมเนียมในการขึ้นทะเบียนแรงงานตางดาว นอกจากนี้ แรงงานตางดาวยังถูกควบคุม 33 เสรีภาพในการเดินทางเคลื่อนยาย ตองทํางานในชั่วโมงที่ยาวนาน และไดรับคาจางในอัตราที่ต่ําอีกดวย สําหรับเสนทางของแรงงานตางดาวชาวเมียนมารนั้น เสนทางที่นิยมใชในการเดินทางมากที่สุด คือ ดานอําเภอ แมสาย จังหวัดเชียงราย และดานอําเภอแมสอด จังหวัดตาก นอกจากนี้ ยังมีบางสวนที่เดินทางเขาประเทศไทยทางดาน เจดียสามองค จังหวัดกาญจนบุรี และทางจังหวัดระนอง โดยลักษณะการเดินทางเขามานั้น จะมีนายหนาไปชักชวนคน ตามหมูบานตาง ๆ จากนั้น จะพาเดินทางรวมกันเปนกลุม กลุมละประมาณ 5-10 คน โดยจะมารวมกันตามเมืองตาง ๆ เชน เสนทางจากเมืองพะออน เมียนมารมายังกรุงเทพฯ จะเริ่มตนจากการพาคนตามหมูบานมารวมกันไวยังจุดนัดหมายที่ เมืองเมียวดี จากนั้น จึงพาเดินทางขามพรมแดนเขามาประเทศไทยทางดานอําเภอแมสอด จังหวัดตาก จากนั้น นายหนา จะพานั่งรถตอมายังประเทศไทย ซึ่งอาจจะใหชาวเมียนมารเหลานี้ใชวิธีหลบซอนหลังรถกระบะ รถบรรทุก หรือรถตู หรือ อาจจะพานั่งรถโดยสารประจําทางในกรณีที่ชาวเมียนมารบางรายที่สามารถพูดภาษาไทยได หรือพูดไดใกลเคียงคนไทย มากที่สุด นอกจากนี้ ยังพบกรณีที่ใชยานอนหลับกับชาวเมียนมารยายถิ่นบางราย เพื่อที่จะไดไมรูสึกตัว และไมอาจจํา เสนทางได ทั้งนี้ นายหนาจะหักคาใชจายจากแรงงานชาวเมียนมาร และจะมาหักจากนายหนาอีกครั้งหนึ่ง และนายจางก็ จะหักคาใชจายจากแรงงานชาวเมียนมาร และจะมาหักจากนายหนาอีกครั้งหนึ่ง และนายจางก็จะหักคาใชจายในสวนที่ นายหนาหักไปแลว จะมาหักจากนายจางอีกครั้งหนึ่ง และนายจางก็จะหักคาใชจายในสวนที่นายหนาหักไปแลว และจาก คาจางแรงงานในภายหลัง โดยรูปแบบของการถูกแสวงประโยชนนั้น นอกจากการถูกแสวงประโยชนทางเพศแลว ยังมีการ 34 ถูกแสวงประโยชนในการบังคับใชแรงงาน นอกจากนี้ ปญหาที่สําคัญของเมียนมารอีกปญหาหนึ่งในเรื่องของการคามนุษย คือ การคาหญิงและเด็ก โดยที่ ทางรัฐบาลเมียนมารก็มิไดนิ่งนอนใจในปญหาดังกลาว และไดมีความพยายามในการใชมาตรการตาง ๆ เพื่อปองกัน และ แกไขปญหาการคามนุษย ตัวอยางของมาตรการ ไดแก การที่รัฐบาลเมียนมารไดออกมาตรการกําหนดหลักเกณฑที่ 35 เครงครัดสําหรับผูหญิงโสดในเรื่องของการขอหนังสือเดินทาง หรือในการแตงงานกับชาวตางชาติ นอกจากนี้ ยังมี กฎหมายที่หามผูหญิงที่มีอายุต่ํากวา 25 ปเดินทางขามพรมแดนออกนอกประเทศ เวนเสียแตวาจะไปกับผูปกครอง ซึ่ง มาตรการที่กลาวมาทั้งหมดนี้ ใชไมไดผลแตอยางใด ทั้งนี้ ประเทศไทยเปนประเทศหลักในการรองรับการคามนุษยจาก เมียนมาร โดยที่เหยื่อคามนุษยจากเมียนมาร สวนมากจะเปนกลุมเชื้อชาติอื่น ดังที่เปนที่ทราบกันดีวา เมียนมารในปจจุบัน นี้ประกอบไปดวยชนหลายเชื้อชาติ แตเพื่อความสะดวก จึงเรียกรวมกันวา ชาวเมียนมาร
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 33
Ibid., p. 103. สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส, เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการผูปฏิบัติงานองคกรเครือขายภายในประเทศที่ดําเนินงานดาน การปองกันปญหาการคาหญิง ภายใตโครงการสงเสริมความรวมมือในการปองกันการคาหญิงระหวางประเทศ (ลุมน้ําโขง) วันที่ 21 – 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ณ โรงแรมเฟสทโฮเต็ล ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพมหานคร (กรุงเทพฯ: สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส สํานักงาน สงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย , 2549), หนา 6. 35 อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547). หนา 20. 34
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 161 สปป.ลาวมีสถานะเปนประเทศตนทางในการคามนุษยโดยเฉพาะผูหญิงและเด็ก และยังรวมถึงเหยื่อการคา มนุษยที่เปนผูชายดวย โดยเหยื่อเหลานี้จะถูกนํามาคาเพื่อวัตถุประสงคทั้งการคาประเวณีและการบังคับแรงงาน ทั้งนี้ สปป.ลาวเปนอีกประเทศหนึ่งที่ออ นไหวตอการคามนุษย อันเนื่องมาจากการที่สปป.ลาวมีที่ตั้งอยูในภูมิภาคเดียวกันกับ ประเทศอื่นที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวา แตสปป.ลาวกลับมีการเจริญเติบโตทั้งทางสังคมและเศรษฐกิจที่ดอย 36 กวาประเทศเหลานี้ เหยื่อการคามนุษยของลาวเกือบทั้งหมดถูกคาเขามายังประเทศไทย โดยในเบื้องตนไดขามพรมแดน มาดวยความสมัครใจ เพื่อหางานทําจากการลอลวงของขบวนการคามนุษย แตเมื่อขามพรมแดนมาแลวกลับถูกสัญญาจาง งานผูกมัด และยังถูกบังคับใหทํางานที่ไมไดตกลงกันไวในตอนแรก เหยื่อชาวลาวเหลานี้ มักจะถูกบังคับแสวงประโยชน 37 ทางเพศ หรือบังคับใชแรงงาน ทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมขนาดเล็ก รานอาหาร และกิจการประมง นอกจากนี้ ยั ง มี ผู ห ญิ ง และเด็ ก ชาวลาวจํ า นวนมากถู ก นํ า ไปบั ง คั บ ใช แ รงงานในโรงงานโดยไม ไ ด รั บ คาตอบแทนแตอยางใด หรืออาจจะไปทํางานเปนแรงงานรับใชในบานรวมทั้งไปทํางานเปนบริกร หรือพนักงานเสิรฟตาม รานอาหาร เพื่อใชหนี้ที่ถูกผูกมัดมาตั้งแตตนของกระบวนการคามนุษย นอกจากนี้ ยังมีชาวลาวอีกจํานวนหนึ่งที่ถูกนํามา คา เพื่อนําไปทํางานเปนคนรับใชตามบาน โดยมีแนวโนมของเด็กชาวลาวที่ถูกนํามาทดแทนแรงงานเด็กไทยในการนําไปคา 38 แรงงานประเภทดังกลาวเพิ่มมากขึ้น โดยชาวลาวที่เปนแรงงานรับใชตามบานเหลานี้ มีความเสี่ยงที่จะถูกทํารายรางกาย และถูกลวงละเมิดทางเพศ โดยที่กฎหมายแรงงานของไทยก็มิไดคุมครองสิทธิของแรงงานเหลานี้แตประการใด โดยที่ แรงงานเหยื่อการคามนุษยเหลานี้ มักจะถูกกักขังหนวงเหนี่ยว ไดรับคาจางจํานวนนอยมาก หรืออาจไมไดรับคาจางเลย รวมทั้งยังไมไดรับการดูแลทางดานสาธารณสุขและการศึกษา และนอกจาก การเปนคนรับใชตามบานเรือนแลว ผูชายและ เด็กชายชาวลาวอีกสวนหนึ่งก็มักจะถูกลอลวงไปทํางานในกิจการประมง โดยแรงงานเหลานี้จะตองทํางานบนเรือประมง 39 เกือบตลอดเวลา และมีโอกาสหลบหนีไปนอยมาก ในการเดินทางเขามายังประเทศไทยนั้น เหยื่อจากการคามนุษยชาวลาวนั้น จะเดินทางเขามาจากแขวง สะหวันนะเขต แขวงจําปาสัก แขวงไซยะบุรี แขวงสาละวัน กําแพงเวียงจันทน และแขวงคํามวน โดยเสนทางที่เหยื่อจาก การคามนุษยชาวลาวเดินทางผานเขามายังประเทศไทยนั้น มีหลายเสนทาง ไดแก เสนทางอําเภอเขมราฐ อําเภอโขงเจียม ดานชองเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ดานมิตรภาพไทย-ลาว จังหวัดหนองคาย จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดเลย ดานบอแกวของ ประเทศลาว ซึ่งอยูใกลพื้นที่ทางภาคเหนือของประเทศไทย รวมทั้งดานอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ลักษณะการเดิน ทางเขามานั้น จะมีนายหนาเขาไปโฆษณาชวนเชื่อถึงในหมูบานเพื่อใหเขามาทํางานในประเทศไทย โดยอาจมีการสัญญาวา จะไดเงินเดือนเปนจํานวนมาก จากนั้น จะมีการรวบรวมเปนกลุมและจําแนกแจกจายไปตามจุดตาง ๆ โดยเสนทางที่นิยม ใชกันมาก คือ ดานเขมราฐ ดานชองเม็ก อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี และยังมีบางสวนที่เดิ นทางเขามาทาง จังหวัดมุกดาหารและจังหวัดเลย ซึ่งการเดินทางเขามาของชาวลาวนั้นไมยุงยากมากนัก เนื่องจาก คนไทยและคนลาวจะมี การขามไปมาหาสูกันเปนปกติอยูแลว นอกจากนี้ การเดินทางเขามาของชาวลาวนั้น จะตองชําระคาทําบัตรผานแดนเพียง 40 100 บาทเทานั้น ราชอาณาจักรกัมพูชา 36
International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 69. 37 อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547). หนา 23. 38 International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 70. 39 Ibid., p. 71. 40 อางแลว. สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 162 กัมพูชามีสถานะเปนทั้งประเทศตนทาง ปลายทาง รวมทั้งยังเปนประเทศทางผานของเสนทางในการคา มนุษย โดยที่เหยื่อการคามนุษยชาวกัมพูชาสวนใหญมักจะถูกนํามาคายังประเทศไทย โดยเหยื่อชาวกัมพูชาที่ถูกนํามา แสวงประโยชนในประเทศไทยนั้น มีพื้นที่ตนทางจากเขตอําเภอปอยเปต จังหวัดบันเตียเมียนเจย และจังหวัดพระตะบอง โดยจะเดินทางผานชองทางที่นิยมใชกันมากที่สุด คือ ดานตรวจคนเขาเมืองอรัญประเทศ จังหวัดสระแกว และอําเภอ คลองใหญ จังหวัดตราด สวนลักษณะของการเดินทางเขามานั้น จะมีนายหนาทั้งที่เปนชาวกัมพูชา ไทย รวมทั้งชาว เวียดนาม เดินทางเขาไปเจรจากับบิดามารดาของเด็ก จากนั้นแลวหัวหนา หรือกลุมขอทานก็จะพาเด็กมาขอทานตามจุด ตาง ๆ โดยบังคับใหเด็กขอทานใหไดจํานวนเงินไมต่ํากวาที่กําหนด หากไมไดตามจํานวนที่กําหนดไวเด็กก็จะถูกทําราย รางกาย นอกจากนี้ ยังมีเด็กบางสวนที่บิดามารดา หรือญาติของเด็กไดใหเด็กเขามาขอทานเอง โดยบิดามารดา หรือญาติ 41 จะเดินทางรวมมากับเด็กแลวคอยตามที่ตาง ๆ เพื่อคอยรับเงินจากเด็กเมื่อเด็กขอทานไดเงินมาแลว สําหรับวัตถุประสงคในการคามนุษยจากกัมพูชามายังไทยนั้น จะคามาเพื่อวัตถุประสงคอื่น ๆ มากกวาเพื่อ การคาประเวณี เชน เด็กชาวกัมพูชาจะถูกนํามาเพื่อไปเปนขอทาน สวนหญิงกัมพูชาจะถูกคามาเปนแรงงานรับใชตามบาน 42 43 และแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีการเขามาเรขายดอกไม กระดาษทิชชู ลูกอม หรือหมากฝรั่ง แต ถึงกระนั้น การคามนุษยจากกัมพูชาเขาสูประเทศไทยยังแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ การคามนุษยเพื่อนําไปใชแรงงาน 44 เยี่ยงทาสกับการคามนุษยเพื่อการคาบริการทางเพศ ทั้งนี้ เราสามารถแบงประเภทเหยื่อการคามนุษยชาวกัมพูชาโดยไม รวมเหยื่อการคาบริการทางเพศ อยางไรก็ตาม การที่ประเทศไทยมีแรงงานตางดาวเขามาในประเทศมากขึ้น ซึ่งอาจสงผลกระทบตอประเทศไทย 45 ในดานตาง ๆ ดังตอไปนี้
1) ดานสาธารณสุข
แรงงานตางดาวที่เดินทางเขามาในประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งแรงงานตางดาวจากประเทศดอย พัฒนา เชน เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา แรงงานเหลานี้ จะไมไดรับการรองรับจากระบบสาธารณสุขของประเทศไทย และเมื่อเกิดการเจ็บปวยขึ้น จะไมมีโอกาสไดรับการรักษาพยาบาลเฉกเชนประชาชนคนไทย หรือคนที่มีสัญชาติไทย ซึ่งจะ รวมไปถึ ง การไม ไ ด รั บ ภู มิ คุ มกั น โรคติ ด ต อ ของเด็ ก ต า งด า ว ทั้ ง นี้ แม ว า รั ฐ บาลไทยจะได ใ ห ค วามช ว ยเหลื อ ในการ รักษาพยาบาลแรงงานตางดาว แตก็ยังไมสามารถดําเนินการไดอยางทั่วถึง เนื่องจาก มีขอจํากัดทางดานงบประมาณ จึง สงผลใหมาตรฐานทางสุขภาพของแรงงานตางดาวยังต่ํากวามาตรฐานโดยปรกติ ซึ่งก็จะสงผลมาถึงสุขภาพของประชาชน ไทยดวย ถาแรงงานตางดาวเหลานั้นเปนโรคติดตอ หรือเปนพาหะของโรคติดตอ โดยเฉพาะอยางยิ่งโรคติดตอที่ไมสามารถ รักษาใหหายขาดได เชน โรคเอดส
2) ดานการประกอบอาชีพ
แรงงานตางดาวมักเดินทางเขามาในประเทศไทย เพื่อประกอบอาชีพในงานประเภทที่แรงงานไทยไม ตองการทํา เชน งานประมง สวนยางพารา งานกอสราง งานรับใชตามบาน หรืองานในโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ซึ่ง สภาพแวดลอมในการทํางาน มักจะถูกกดดันและมีความเครียดในการทํางานเปนเวลานาน หรือทํางานเต็มเวลา ไมมีเวลา 41
เรื่องเดียวกัน, หนา 5. International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007), p. 38 43 อางแลว. สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส, หนา 5. 44 อางแลว. ทรงพล พันธุวิชาติกุล. (2547). หนา 24. 45 สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล. (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิง และเด็ก (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย), หนา 32. 42
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 163 ใหพักผอน หรือถามีเวลาใหพักก็จะเปนเพียงชวงเวลาสั้น ๆ รวมทั้งยังไมมีสวัสดิการตาง ๆ เฉกเชนแรงงานทั่วไป เชน วันหยุด วันลาพัก หรือวันลาคลอดบุตร และยังถูกนายจางกดคาแรงอีกดวย นอกจากนี้ แรงงานตางดาวยังตองเผชิญกับ สถานการณอื่น ๆ ที่ไมพึงประสงค เชน การถูกเลือกปฏิบัติ หรือถูกแบงแยกกีดกัน เพราะความแตกตางทั้งในเรื่องเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา และเพศอีกดวย
3) ดานการศึกษา
ในกรณีของแรงงานเด็กตางดาวที่อาจยายติดตามบิดามารดาของตน หรือเดินทางผานนายหนาเขามา ทํางานในประเทศไทย รวมทั้งเด็กที่เกิดในประเทศไทยโดยมีบิดามารดาเปนคนตางดาว เด็กตางดาวเหลานี้จะไมไดรับ โอกาสทางการศึกษาในประเทศไทยตามเกณฑการศึกษามาตรฐานเชนเดียวกับ เด็กไทย ทําใหเด็กตางดาวยังคงตองเปน แรงงานไรทักษะในตลาดแรงงานอยูเชนนั้นตอไป ดังนั้น โดยสรุ ปแลว ปญหาการคา มนุษยที่ เกิดขึ้น ในประเทศไทยนั้น มีสาเหตุมาจากสภาพปญหาที่ เกิดขึ้ น ภายในประเทศเพื่อนบานทั้งสาม ไดแก เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา ที่มีพรมแดนติดกันกับประเทศไทย โดยปญหาที่ เกิดขึ้นภายในประเทศทั้งสามดังกลาว ซึ่งเปนสาเหตุหรือปจจัยผลักดันใหประชาชนของทั้งสามประเทศตองอพยพโยกยาย ถิ่นฐานออกมาหางานทําในประเทศไทย ประกอบไปดวย ปญหาเศรษฐกิจ ยกตัวอยางเชน การไมมีงานทําในภูมิลําเนาของ ตน หรือไมมีการสรางงานขึ้นในทองถิ่ น หรืออาจจะเกิดจากปญหาความไมส งบที่เกิดขึ้นภายในประเทศหรื อภายใน ภูมิลําเนาของตน เชน สถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้นภายในประเทศเมียนมาร อันมีสาเหตุมาจากความขัดแยงระหวาง ชนกลุมนอยกลุมตาง ๆ กับรัฐบาลทหารเมียนมาร จนกอใหเกิดการสูรบขึ้นระหวางสองฝายในพื้นที่ตาง ๆ โดยที่การสูรบ ดังกลาวไดสงผลใหเกิดสภาวะที่ไมปรกติในพื้นที่ที่เปนสนามรบ และยอมเปนที่แนนอนวาพื้นที่ภูมิลําเนาของประชาชนใน ประเทศที่เกิดการสูรบขึ้นยอมไมเหมาะสมที่จะประกอบอาชีพ และก็ไดกลายเปนปจจัยผลักดันใหประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ ตองอพยพออกมาหางานทํายังประเทศไทย นอกจากนี้ วัฒนธรรมและคานิยมของสังคมก็ยังเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่กอใหเกิด ปญหาการคามนุษย รวมไปถึงแนวคิดบริโภคนิยมและกระแสโลกาภิวัตนก็เปนอีกปจจัยผลักดันหนึ่งที่สําคัญ โดยคานิยมที่ มีเงินตราเปนตัวกําหนดถึงสถานะทางสังคมนั้น ไดแพรกระจายออกไปอยางกวางขวางและเขาถึงทั้งสังคมเมืองและสังคม ชนบท หากครอบครัวใดที่มีฐานะทางการเงินดีก็จะไดรับความเคารพนับถือ ซึ่งคานิยมเชนนี้ก็ไดผลักดันใหเกิดเหยื่อเขาสู กระบวนการคามนุษยเชนเดียวกัน
ปญหาการใหความรวมมือของเหยื่อการคามนุษย เนื่องจาก “เหยื่อการคามนุษย” คือ ผูไดรับความเสียหายจากการกระทําความผิดของผูลักลอบคามนุษย ทั้งเปน บุคคลซึ่งเปนแหลงขอมูลสําคัญยิ่งสําหรับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เปนพยานที่สําคัญในคดีลักลอบคามนุษย จึง จําเปนอยางยิ่งที่พนักงานสอบสวนตองมีความสามารถทําใหผูที่เปนเหยื่อจากการคามนุษยเขามามีสวนรวมในฐานะพยาน ซึ่งเปนบทบาทหนึ่งของพนักงานสอบสวน จะตองสรางความมั่นใจแกเหยื่อการคามนุษยสามารถเขาถึงกระบวนการ ยุติธรรมได ดวยการมีโอกาสที่จะเปนพยานเบิกความในชั้นศาล อุปสรรคตอความรวมมือของบุคคลที่ตกเปนเหยื่อในคดี การคามนุษย เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่พนักงานสอบสวนจะตองใชทักษะเวลาและทรัพยากรที่เหมาะสม อันเปนการ แสดงความสามารถของพนักงานสอบสวนวา จะมีความสามารถใหบุคคลที่เปนเหยื่อจากการคามนุษยตัดสินใจใหความ รวมมือในการใหขอมูล และเปนพยานเบิกความในชั้นศาล สรางความมั่นใจในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา จึงจําเปน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 164 อยางยิ่งที่พนักงานสอบสวนจะตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ซึ่งสงผลถึงพฤติกรรม และการตัดสินใจของเหยื่อจากการคา มนุษยที่จะใหความรวมมือกับเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังตอไปนี้ 1. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากประสบการณที่เกิดจากการถูกทารุณกรรม เนื่องจาก กอนที่เหยื่อจากการคามนุษย จะไดติดตอกับพนักงานสอบสวน โดยทั่วไปเหยื่อเหลานี้ ไดผานการถูกทํารายรางกาย และหรือจิตใจมาชวงระยะเวลาหนึ่ง มาแลว ในขณะที่อยูในการควบคุมกักขังของผูลักลอบคามนุษย ซึ่งใชวิธีการทุบตี ทําราย ขมขืน ปลอยใหอดอาหาร ทําให ติดยาเสพติด และกักขัง การกระทําดังกลาวในเวลานานอาจสงผลกระทบอยางรายแรงตอความสามารถของเหยื่อในการ ลําดับเหตุการณขึ้นอยางเปนระบบ นอกจากนี้ เหยื่ออาจมีความเกี่ยวของกับผูกระทําความผิด และปฏิเสธ หรือปดบัง ความผิดของตน 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความกลัว โดยเฉพาะเหยื่อจากการคามนุษย มักจะกลัว การลางแคนของผูกระทํา ความผิด ซึ่งจะมาทํารายเหยื่อ หรือคนที่เหยื่อรักเปนการลางแคนที่ใหความรวมมือในการดําเนินคดี 3. ผลกระทบที่เกิดจากความกลัว การถูกดําเนินคดีหรือการถูกสงกลับประเทศ หรือแมแตการตั้งขอหากับเหยื่อ สําหรับความผิดเกี่ยวกับสถานะของเหยื่อ เชน จากการลักลอบเขาเมืองแลว ทํางานโดยผิดกฎหมาย 4. ผลกระทบจากความละอายถูกตําหนิติเตียน หรือถูกตัดออกจากชุมชน หรือครอบครัว โดยเฉพาะเหยื่อจาก การคามนุษยที่แสวงหาประโยชนในทางเพศ 5. ผลกระทบจากความกลัวการเผชิญหนากับนักคามนุษย เนื่องจาก ผูกระทําความผิดบางคดีมีความสัมพันธ เปนญาติหรือผูใกลชิด หรือเปนสมาชิกที่มีอิทธิพลในภูมิลําเนาเดิมของเหยื่อ ทําใหเหยื่อไมกลาใหการ เพราะขาดความ เชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม วาจะสามารถนําตัวผูกระทําความผิดลงโทษ โดยเหยื่อไมไดรับอันตรายใด ๆ จากการให การเปนพยานในชั้นสอบสวนและชั้นศาล 6. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และรายไดข องเหยื่อ ขั้น ตอนการดําเนินคดีในชั้นสอบสวน และชั้นศาลมักใช เวลานานในการนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย เหยื่อมักกังวลกับรายไดของตนเองที่ตองสงเสียเลี้ยงดู ครอบครัวของเหยื่อ จึงไมประสงคจะใหการเปนพยาน และเดินทางกลับภูมิลําเนาของตนโดยเร็ว
ความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบการคามนุษยของภูมิภาคอาเซียน ประวัติและแนวคิดในการตอตานการคามนุษย ภูมิภาคอาเซียนไดรวมตัวกอตั้งเปนภูมิภาค เมื่อป พ.ศ. 2547 กอกําเนิดที่ปฏิญญากรุงเทพฯ ซึ่งมีวัตถุประสงค ในการกอตั้ง เพื่อมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางภูมิภาค และในป ค.ศ. 2015 ประเทศสมาชิกอาเซียนประกาศที่ จะผนึกกําลังกอตั้งเปนประชาคมอาเซียนใหได เพื่อการแลกเปลี่ยนขอมู ลขาวสารระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนใน ภูมิภาค ซึ่งประกอบไปดวยสามเสาหลัก คือ เสาสังคม เศรษฐกิจ เสาการเมืองและความมั่นคง ซึ่งอาชญากรรมขามชาติ การคามนุษยอยูในเสาการเมืองและความมั่นคงประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคไมไดนิ่งเฉยในเรื่องดังกลาว จะเห็นไดจากการที่ ประชาคมอาเซียนไดมีการจัดทําความรวมมือในระดับทวีภาคี และพหุภาคีตางมากมาย เชน ความรวมมือการตอตาน การคามนุษยในอนุภูมิภาคในลุมแมน้ําโขง ซึ่งอนุภูมิภาคดังกลาวยังมีปญหาการคามนุษยตามแนวชายแดนที่ยังไมสามารถ แกปญหาได การแกปญหากับอาชญากรรมขามชาติตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคมไมวาจะเปนองคกร ภาครัฐ อัยการ พนักงานสอบสวน เจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง ตํารวจชายแดน และภาคเอกชนที่นับวา มีสวนผลักดันใน ดานแหลงเงินทุน เพื่อชวยเหลือในดานการสืบสวน และสอบสวนที่ไมลาชา แลวมีสวนผลักดันรางกฎหมายที่เกี่ยวของกับ การคามนุษยในเรื่องมาตรการคุมครองเหยื่อ เพราะภาคเอกชนนับไดวา มีแหลงเงินทุนในการชวยเหลือเหยื่อการคามนุษย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 165 รวมถึงในดานที่พักของเหยื่อ และมาตรการในการฝกฝนทางดานอาชีพใหแกเหยื่อการคามนุษย ซึ่งเปนมาตรการที่สําคัญ ตอตัวเหยื่อเอง เมื่อเหยื่อไดกลับมาดํารงชีวิตในสังคม เหยื่อจะไดมีอาชีพในการเลี้ยงตนเอง และจะไมไดตกมาเปนเหยื่อ ของขบวนการคามนุษยอีกครั้งหนึ่ง การคามนุษยนับไดวา ขัดตอกฎบัตรของอาเซียนในขอที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน เพราะการคามนุษยทําให บุคคลตกอยูภายใตอํานาจของบุคคลอีกคนหนึ่งโดยถูกกดขี่ขมเหงอยางไรคุณธรรม ดวยเหตุผลที่ไมเปนธรรมตอมนุษย ดวยกัน ซึ่งการกระทําดังกลาวนั้นเขาความหมายของการคามนุษยตามบทนิยามของพิธีสารเพื่อปองกันและปราบปราม การคามนุษยในสตรีและเด็กขององคการสหประชาชาติ และในมาตรา 4 ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนเองก็ไดตระหนัก และมีการบัญญัติการคามนุษยวา เปนสิ่งที่ตองหาม และขัดตอการอยูรวมกันโดยสงบสุขในสังคมของมนุษย จะมีการคา ทาสเอาคนลงเปนทาสเปนสิ่งที่ขัดตอบทกฎหมายดังกลาวเปนอยางมาก
ความรวมมือการตอตานการคามนุษยของภูมิภาคอาเซียนในรูปแบบทวิภาคีและพหุภาคี ความรวมมือในการตอตานปญหาในการคามนุษยในมติของอาเซียน ก็ไดมีความรวมมืออยางจริงจังในเรื่องนี้ไว อยางมากมาย อาทิ ความรวมมือในระดับภูมิภาค (MOU) ของประเทศในกลุมลุมแมน้ําโขง ความรวมมือระหวางไทยกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการตอตานการคามนุ ษย ความรวมมือระหวางราชอาณาจักรไทยกับประเทศ กั ม พู ช าในเรื่ อ งการค า มนุ ษ ย หรื อ แม ก ระทั่ ง ในราชอาณาจั ก รของไทยก็ ไ ด ต ระหนั ก ในเรื่ อ งการค า มนุ ษ ย โ ดยมี พระราชบัญญัติเพื่อตอตานการคามนุษยไว พ.ศ. 2551 จึงกลาวไดวา การคามนุษยยังคงเปนปญหาที่สําคัญในประเทศของ ประชาคมอาเซียนรัฐบาล ประมุขของรัฐประเทศตาง ๆ ก็ไมไดมีทาทีนิ่งเฉยในเรื่องนี้ โดยจะเห็นไดจากการที่ประเทศ อาเซียนไดจัดใหมีการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน เพื่อกระชับความสัมพันธอันดีระหวางประเทศในภูมิภาค และเพื่อ แกปญหาตาง ๆ รวมกัน มีการประกาศวา ภายในป ค.ศ. 2015 ประเทศอาเซียนจะผนึกกํา ลังในการตอตานปญหา อาชญากรรมในทุกรูปแบบ และหนึ่งในปญหาอาชญากรรมที่เปนปญหาอันหนักหนวงที่ยังไมสามารถขจัดใหหมดไปจาก สังคมอาเซียนได คือ การคามนุษย เพราะถือไดวา ปญหาการคามนุษยเปนปญหาพื้นฐานนํามาสูปญหาอาชญากรรมตาง ๆ อีกมากมาย ไมวาจะเปนปญหายาเสพยติด ปญหาการฟอกเงิน ปญหาการคาประเวณีในสตรีและเด็กและรวมถึงผูชายดวย ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนอุปสรรคในการนําพาอาเซียนมารวมตัวเปนประชาคมอยางมาก เพราะปญหาเหลานี้ นําพามาซึ่ง ปญหาความยากจน การศึกษาของเด็ก และทําใหขบวนการคามนุษยยังมีอยูในสังคมอาเซียน ซึ่งยังไมสามารถแกปญหา ความยากจนในชนบทใหเทาเทียมกับสังคมในเมืองได และเรื่องการศึกษาของเด็กเองก็เปนอุปสรรคสํา คัญเปนอยางยิ่ง เพราะถาเด็กไมมีการศึกษาเลาเรียนแลว ก็จะตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษยไดงายกวาเด็กที่ไดรับการศึกษาเลาเรียน บวกกับฐานะทางสังคมของครอบครัวก็มีสวนสําคัญอยางยิ่ง ถาสภาพสังคมที่ยากจน ผูปกครองก็มีสวนผลักดันใหเด็กเขา มาสูวงโคจรของขบวนการคามนุษยในที่สุด สภาพบังคับทางกฎหมายของประเทศสมาชิกอาเซียน ยังไมมีกฎหมายที่จะเปนแมบทถึงขั้นระดับอนุสัญญาของ ประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะ ที่จะใหทุกประเทศทั้งสิบประเทศในอาเซียนไดลงนามในอนุสัญญา และรวมถึงการให สัตยาบัน หรือภาคยานุวัติ เพื่อใหอนุสัญญานั้น มีผลบังคับใชไดจริงโดยผานความเห็นชอบจากรัฐสภา
1) ปฏิญญาอาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษย
สภาพบังคับกฎหมายในปจจุบันมีเพียงปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษย ซึ่งตอทายปฏิญญา ฮานอยเพื่อตอตานการคามนุษย และความรวมมือในระดับภูมิภาคตาง ๆ (MOU) แตก็ยังไมมีความครอบคลุมมากเพียงพอ ที่จะทําใหขบวนการคามนุษยหมดไปจากสังคมของประชาคมอาเซียนอยางจริงจัง มีเพียงไมกี่ประเทศที่ไดรวมมือกันและ ยังไมครบสิบประเทศ จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีอนุสัญญาที่เปรียบเสมือนกฎหมายแมบทของชาวอาเซียน เพื่อให สอดคลองประสานความรวมมือไปทิศทางเดียวกันกับกฎบัตรของอาเซียน ซึ่งเกิดขึ้นที่ปฏิญญากรุงเทพ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 166 ประเทศในภูมิ ภาคอาเซี ยนได รว มมื อกั นอยา งจริง เพื่ อจะต อต านการค ามนุ ษย จะเห็น ได จากปฏิญ ญา อาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษยในสตรีและเด็กประเทศตาง ๆ ในอาเซียนจะพยายามสุดความสามารถเพื่อจัดการปญหา อันหนักหนวงของภูมิภาคภายใตขอบเขตและนโยบายภายในของแตละประเทศผานมาตรการตาง ๆ ดังตอไปนี้ จะมีการ จัดตั้งศูนยกลางเครือขายระดับภูมิภาค เพื่อปองกันและปราบปราบการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็กในภูมิภาค อาเซียน จะนํามาตรการตาง ๆ มาใช เพื่อไมใหมีการปลอมแปลงหนังสือการเดินทาง และเอกสารการเดินทางของทาง ราชการไดออกไวใหรวมถึงบัตรประจําตัวประชาชน จะจัดใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกันอยางตอเนื่อง เกี่ยวกับ ความเคลื่อนไหวของการยายถิ่นฐาน มาตรการควบคุมตามแนวชายแดนตลอดจนการบังคับใชมาตรการทางกฎหมายที่ เกี่ยวของและจําเปน จะมีการประสานความรวมมือระหวางตํารวจตรวจคนเขาเมือง และหนวยงานตาง ๆ ซึ่งเปนผูบังคับ ใชกฎหมายของประเทศสมาชิกทั้งสิบประเทศ จะมีการแยกผูเสียหายจากการคามนุษยออกจากผูที่กระทํา ความผิด และ ตรวจหาประเทศตนทาง และสัญชาติของผูเสียหาย ตลอดจนการปฏิบัติตอผูเสียหายอยางมีมนุษยธรรม โดยไดมีการจัดให ผูเสียหายไดรับความชวยเหลือทางการแพทยที่จําเปน และไดรับความชวยเหลือดานอื่นจากประเทศปลายทาง ซึ่งรวมไป ถึงการสงกลับผูเสียหายไปยังประเทศตนทางโดยไมชักชา และจะตองปฏิบัติตอผูเสียหายในการคามนุษยโดยคํา นึงถึง ศักดิ์ศรี และสิทธิมนุษยชน ซึ่งตามปฏิญญาสากลมาตรา 4 ก็ไดเนนเรื่องนี้เชนกัน จะใชมาตรการที่แข็งกราวเพื่อจะปราบ อาชญากรที่เกี่ยวของกับการคามนุษย และจะใหการสนับสนุนอยางมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดแกประเทศสมาชิกในการ เอาผิดการกระทําตาง ๆ ที่เกี่ยวของ จะนํามาตรการตางที่เกี่ยวของเพื่อเสริมสรางความรวมมือในการปองกันปราบปราม การคามนุษยทั้งภายในระดับภูมิภาค และระดับระหวางประเทศ ประเทศตาง ๆ ย้ําถึงพันธกิจรวมกันในขอปฏิญญานี้วา จะรวมมืออยางจริงจังโดยใชกลไกดานกฎหมายและนโยบายแหงประเทศตน กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคามนุษย ในภูมิภาคอาเซียนยังไมมีความรวมมือถึงขั้นระดับอนุสัญญาที่ เกี่ยวของ เกี่ยวกับเรื่องการคามนุษยที่ประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะได ใชระดับมาตรฐานทางกฎหมายในระดับเดียวกัน ในป ค.ศ. 2015 เป า หมายของประเทศอาเซี ย น เมื่ อ รวมตั ว กั น เป น ประชาคมชาวอาเซี ย น คื อ ต อ งการที่ จ ะมี อ นุ สั ญ ญาซึ่ ง เปรียบเสมือนเปนธรรมนูญกฎหมายแมบทที่ใชระดับมาตรฐานทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการคามนุษยในระดับเดียวกันทั้ง ภูมิภาค อาทิ เรื่องมาตรการทางกฎหมายในการคุมครองผูตกเปนเหยื่อ มาตรการในการสอบสวนเหยื่อในการคามนุษยที่ เปนผูหญิง ในสถานการณปจจุบัน มหันตภัยการคามนุษยยังทวีความรุนแรงมากขึ้นในภูมิภาคอาเซียนยังไมมีมาตรฐานทาง กฎหมายที่เพียงพอที่จะยับยั้งได ปจจุบัน อาเซียนมีเพียงปฏิญญาอาเซียนตอตานการคามนุษยยังไมถึงเปนอนุสัญญา จึงทําใหสภาพการทาง กฎหมายยังไมครอบคลุมและเพียงพอ ซึ่งตางจากภูมิภาคยุโรปที่มีการจัดตั้งเปนสหภาพยุโรป และมีกฎหมายเกี่ยวของใน เรื่องการคามนุษย ซึ่งไดระบุไวในมาตราที่ 5 ของสหภาพยุโรปวา การคามนุษย และการคาทาสในรูปแบบตาง ๆ เปนสิ่งที่ ผิด กฎหมาย และขัด ตอ ศี ลธรรมอั นดี ของประชาชนชาวยุโ รป และประชาคมชาวยุ โรปก็ มี อนุ สัญ ญาการค ามนุษ ย ที่ เปรี ยบเสมื อ นธรรมนู ญ การค า มนุ ษ ย ที่ ส มบู ร ณ แบบภู มิ ภาคอาเซี ยนควรที่ จะมี อ นุ สั ญ ญาต อ ต า นการค า มนุ ษ ย ซึ่ ง เปรียบเสมือนกฎหมายแมบทเกี่ยวของกับเรื่องนี้ โดยเฉพาะซึ่งสามารถจะแกปญหาดานการคามนุษยไดตรงจุดประสงค เมื่อภูมิภาคอาเซียนไดรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ในป ค.ศ. 2015 ประเทศตางในภูมิภาคยอมที่จะเปดประเทศในดาน ความรว มมื อตา ง ๆ รวมถึ งดา นการค ามนุ ษย และความมั่ นคง เนื่ องจาก การค ามนุ ษยเ ปน ตัว ทํ าลายศั กยภาพ และ เสถียรภาพที่มั่นคง และยั่งยืนของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียนอยางมาก
2) MOU ในภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับเรื่องการตอตานการคามนุษย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 167 (1) บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลราชอาณาจักรไทย กับรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชาเรื่อง 46 ความรวมมือทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและหญิง และการชวยเหลือเหยื่อของการคามนุษย รัฐบาลไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา มุงกระชับความสัมพันธและปฏิญาณรวมกันในการขจัดการคา เด็กและหญิง และคุมครองเหยื่อการคามนุษย ซึ่งในบันทึกความเขาใจฉบับนี้ มุงเนนการคุมครองหญิงกับเด็กเปนสําคัญ ซึ่งไดระบุไวในข อ 2 และเด็ก หมายถึง บุคคลที่ มีอายุต่ํากวา 18 ปบริบูรณ มาตรการในการปองกันภาคีคูสัญญาจะ ดําเนินการปฏิรูปกฎหมายที่จําเปน และใชมาตรการที่เหมาะสมอื่น เพื่อใหแนใจวา กรอบมาตรการทางกฎหมายของ ประเทศตนไดส อดคลองประสานไปแนวทางเดี ยวกับปฏิ ญญาสากลวาดว ยสิทธิมนุษยชน อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ ก อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติในสิทธิสตรีในทุกรูปแบบ และตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ซึ่ง ภาคีคูสัญญาจะไดใหสัตยาบัน หรือภาคยานุวัติ และมีประสิทธิภาพในการขจัดการคาเด็กและหญิง และคุมครองสิทธิทุก ประการของเด็กและหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย ซึ่งเปนมาตรการที่ถูกระบุไวในขอที่ 4 และภาคีคูสัญญาจะมีการ ใหการศึกษา และการฝกฝนอาชีพ เพื่อเปนแนวทางใหเด็กและหญิงลดความเสี่ยงที่เด็ก และหญิงจะไดไมถูกนําเขามาสู ขบวนการคามนุษย ในเรื่องทางดานมาตรการทางกฎหมายคูภาคีสัญญาวา จะมีการปฏิรูปทางกฎหมายและการชวยเหลือ ทางกฎหมายที่จําเปน เพื่อใหแนใจวา เหยื่อของการคามนุษย จะไดรับการเยียวยาทางกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพใน เรื่องการปราบปรามการคาหญิงและเด็กนั้น หนวยงานบังคับใชกฎหมายทั้งภายในประเทศและนอกประเทศบริเวณ ชายแดน จะทํางานรวมกันอยางใกลชิดเพื่อเปดเผยการคาหญิง และเด็กทั้งภายในระดับประเทศ และขามพรมแดน สภาพปญหาของ MOU ฉบับนี้ ยังมีจุดบกพรองอยูในการมุงเนนความคุมครองเฉพาะเด็ก และหญิง เทานั้น ซึ่งไมมีความครอบคลุมเพียงพอรวมถึงเพศชายดวย และนิยามเด็กตามขอสองหมายความถึง บุคคลที่มีอายุต่ํากวา 18 บริบูรณเทานั้น ซึ่งนาจะมีความครอบคลุมและบังคับไดกับเพศชายดวย ดวยเหตุผลในปจจุบัน มหันตภัยการคามนุษย สามารถแผขยายไปถึงเพศชายดวย ซึ่งอาจอยูในรูปแบบของการคาประเวณีทางเพศ การคาทาสแรงงานโดยไดรับคาจาง แรงงานในอัตราที่ต่ํากวาความเปนจริงมากถูกเอารัดเอาเปรียบดวยเหตุที่ไมเปนธรรมอยางมาก อาชญากรรมการคามนุษย ไดมีอิทธิผลแพรกระจายไปสูอาชญากรรมประเภทอื่น อาทิ การฟอกเงิน ยาเสพติด 47 (2) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือในการตอตานการคามนุษยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง สาระสําคัญของบันทึกความเขาในฉบับนี้ มีคูสัญญาหกประเทศไดรวมมือกันในการตอตานการคา มนุษยในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ไดแก รัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา รัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลแหง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รัฐบาลแหงสหภาพเมียนมาร รัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย และรัฐบาลแหง สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม ได มี ค วามกั ง วลว า มหั น ตภั ย ในรู ป แบบการค า มนุ ษ ย จ ะแพร ข ยายวงกว า งไปใน อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และนอกภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก ประเทศทั้งหกประเทศยืนยันวา การที่มนุษยไดถูกนํามาคา ซื้อขาย ลอลวง กักขัง และตกอยูในสถานการณของการแสวงหาผลประโยชนเปนสิ่งที่ไมสามารถยอมรับไดอยางสิ้นเชิง ซึ่งนํามาสู การปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน ซึ่งสืบเนื่องมาจาก สาเหตุของความยากจน การขาดโอกาสทางดานการศึกษา และความไมเสมอภาคกันทางสังคม รวมถึงการขาดโอกาสที่เทาเทียมกันในทางสังคมเปนสาเหตุที่ทํา ใหบุคคลตกอยูใน สภาวะเสี่ยงตอการถูกคามนุษย ซึ่งมีความเชื่อมโยงระหวางการคามนุษย และความตองการที่เพิ่มขึ้นในการแสวงหา ผลประโยชนจากการใชแรงงาน และการแสวงหาผลประโยชนจากการใหบริการทางเพศ และมีการยอมรับวา การคา มนุษยมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก มาจากทัศนคติที่มีการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของเพศ อายุ เชื้อชาติ เผา พันธุ 46
พิศวาส สุคนธพันธุ และณรงค ใจหาญ. (2549). รายงานการศึกษาเรื่อง ระบบงานยุติธรรมทางอาญาไทยกับการคามนุษย , (ปทุมธานี: ศูนย กฎหมายภูมิภาคแมน้ําโขง), หนา 141 ภาคผนวก 1. 47 เรื่องเดียวกัน, หนา 155.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 168 และกลุมในทางสังคม ซึ่งมุงเนนไปที่กลุมหญิงและเด็กเปนสําคัญ เพราะเปนเพศที่ตองการความคุมครองมากกวาเพศชาย และเปนเพศที่สามารถหลอกลวงไดงายกวาเพศชาย และการคามนุษยมีสวนเชื่อมโยงกับองคกรอาชญากรรมในรูปแบบ อื่น ๆ มากมาย มีการไดยอมรับถึงความจําเปนของกระบวนการทางยุติธรรมทางอาญามีสวนสําคัญ และจําเปนอยางมาก เพื่อปกปองคุมครองเหยื่อของการคามนุษย ยอมรับถึงความสําคัญของบทลงโทษที่มีประสิทธิภาพ และไดสัดสวนสําหรับ ผูคามนุษยรวมถึงบทบัญญัติในการยึดและการริบทรัพยสินของบุคคลเหลานั้น และใชทรัพยสินเหลานี้อยางมีประสิทธิภาพ และผูที่รอดจากขบวนการคามนุษยมีสวนที่จะชวยดําเนินการ และพัฒนาการการดําเนินมาตรการตาง ๆ ของการตอตาน การคามนุษย ไดมีการดําเนินการฟองรองผูคามนุษย มีการยอมรับถึงบทบาทที่สําคัญของหนวยงานที่ใหความชวยเหลือ บทบาทของบุคคลที่ไดตกเปนเหยื่อของการค ามนุษยในเรื่องการปองกัน การคุมครอง การฟองคดีทางกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา การใหการชวยเหลือ การสงกลับ การบําบัดฟนฟู และการกลับคืนสูสังคม รวมไปถึงการขานรับ มาตรการทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่เขมแข็ง ซึ่งรัฐบาลแตละประเทศจะรับผิดชอบในการดําเนินการใหไดมาก ที่สุด เทาที่ทรัพยากรจะเอื้ออํานวยโดยดําเนินการผานการชวยเหลือ และความรวมมืออันดีทางระหวางประเทศ เพื่อได บรรลุความคืบหนาในการปฏิบัติตามขอผูกพันที่รับรองที่บันทึกความเขาใจฉบับนี้ และมีการตระหนักถึงปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในขอที่ 4 ซึ่งระบุวา “บุคคลใด ๆ จะถูกกักตัวเปนทาส หรือตกอยูในภาวะจํายอมไมได เด็ดขาด ความเปนทาส และการคาทาสในทุกรูปแบบจะกระทําการไมไดเด็ดขาด” ในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ไดตระหนักถึงปญหาอาชญากรรมการคามนุษยเปนอยางมาก จะเห็นได จากการที่ ประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงไดใหสัตยาบัน และภาคยานุวัติทางตราสารในกฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของในเรื่อง การคามนุษย และการแสวงหาผลประโยชนที่เกี่ยวของ ซึ่งไดรวมถึงตราสารดังตอไปนี้ ก. อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งขึ้นในลักษณะองคกร และพิธีสารของ อนุสัญญานี้วาดวยการปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก ข. อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ค. อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยสิทธิเด็ก และพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญา ฉบับนี้วาดวยการคาเด็ ก การคาประเวณีของเด็ก และสื่อลามกที่เกี่ยวของกับเด็ก และความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแยงกันวาดวยอาวุธ ง. อนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ วาดวยการบังคับใชแรงงาน ฉบับที่ 29 และ105 จ. อนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ ฉบับ 182 เกี่ยวกับการหาม และการปฏิบัติการโดยทันทีเพื่อ ขจัดการใชแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวรายที่สุด และอาเซียนยังไดมีการสนับสนุนใหรัฐตาง ๆ ในภูมิภาคไดลงนาม และภาคยานุวัติใหสนธิสัญญามีผลสมบูรณ แบบมีผลบังคับใช ในบันทึกความเขาใจฉบับนี้ ตองการที่จะใหประเทศในภูมิภาคลุมน้ําโขงไดตระหนักถึงความรายแรง ของการคามนุษยที่สามารถแผขยายวงกวางไปสูนอกภูมิภาคลุมน้ํา โขง และภูมิภาคอื่นที่สําคัญขอผูกพันในบันทึกความ เขาใจฉบับนี้ ตองกระทําเพื่อบรรลุเปาหมาย มีดังตอไปนี้
1) ในดานที่เกี่ยวของกับนโยบาย และความรวมมือในระดับชาติและในทางระหวางประเทศ
ไดมีการสนับสนุนใหมีการใหคําจํากัดความของคําวา “การคามนุษย” ซึ่งไดมีการระบุไวในพิธีสารวาดวย การปองกันและปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ซึ่งไดเพิ่มเติมอนุสัญญาสหประชาชาติวา ดวยการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ไดมีการจัดตั้งขึ้นในลักษณะขององคกร และไดมีการพัฒนาแผนการระดับชาติวา ดว ยการตอ ตา นการคา มนุ ษย ในทุก รูป แบบ ซึ่ง ได มีก ารรว มการทํา งานด วยกัน เพื่อ จุด มุง หมายในการเสริ มสรา งให คณะกรรมการระดั บชาติ วา ด วยการค า มนุ ษ ย ประกอบไปด วย ภาคส วนต าง ๆ โดยมี อ าณั ติ ใ นการดํ า เนิน การตาม แผนปฏิบัติการระดับชาติ และดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการตอตานการคามนุษย ไปปรับปรุงความรวมมือในระดับ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 169 ภูมิภาคในการตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งไดทําการตกลงทวิภาคี และพหุภาคี และไดมีการเสริมสรางความ รวมมือระหวางรัฐบาล องคการระหวางประเทศตาง ๆ และภาคเอกชนตาง ๆ ที่มีความประสงคในการตอตานกับขบวน การคามนุษย
2) ในดานที่เกี่ยวกับกรอบทางกฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม
ไดมีการรับเอากฎหมายและการบังคับใชกฎหมายโดยเร็วเทาที่จะเปนไปได ซึ่งกฎหมายที่เกี่ยวของกับ การตอตานการคามนุษยที่เหมาะสม และจัดใหมีการฝกอบรมเจาหนาที่เกี่ยวของ เพื่อคัดแยกผูเสียหายที่ตกเปนเหยื่อของ การคามนุษยอยางรวดเร็ว และถูกตอง เพื่อปรับปรุงการสืบสวน และสอบสวน การฟองคดีทางอาญา และกระบวนการ ทางศาล สืบสวน จับกุม ฟองคดีอาญา และมีการลงโทษผูกระทําความผิดฐานการคามนุษยตามกฎหมายแหงชาติ ซึ่งไดจัด ใหมีความชวยเหลือทางกฎหมายแกผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย รวมถึงการใหขอมูลทางภาษาที่เหยื่อของการคา มนุษยสามารถเขาถึงได ไดมีการพัฒนาความรวมมือที่เปนรูปธรรม และมีประสิทธิภาพในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหผูคามนุษยไดรับการลงโทษ และเพื่อบังเกิดความยุติธรรมสําหรับตัวเหยื่อเอง มีการเสริมสรางความรวมมือขาม พรมแดนในการบังคับใชกฎหมายใน 6 ประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง เพื่อจะไดตอสูกับขบวนการคามนุษยผานทาง กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ไดมีการสนับสนุนทางบุคลากร และงบประมาณที่จําเปน เพื่อสามารถเพิ่มสมรรถภาพใน การตอตานการคามนุษยของเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมายในระดับชาติ และไดมีความชวยเหลือรวมมือของเหลาประเทศ ในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงเพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกันในกระบวนการในทางศาล
3) ในดานที่เกี่ยวของกับการคุมครอง การฟนฟู และการกลับคืนสูสังคม
สงเสริมในเรื่องบทบาทความเปนหญิงหรือชายและเด็กใหมากขึ้นในการทํางานในทุกดานทีเ่ กีย่ วของกับ ผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย ไดมีหลักการประกันวา บุคคลที่ตองตกเปนเหยื่อของการคามนุษยจะไมถูกกักขังโดย เจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย ไดมีการจัดใหเหยื่อของการคามนุษยทุกคนมีที่พัก และไดรับการชวยเหลือที่เหมาะสมใน ทางดานรางกายและจิตใจ สังคม กฎหมาย การศึกษา รวมถึงดานสุขภาพ ไดมีการรับเอานโยบายและกลไกตาง ๆ เพื่อ คุมครอง และสนับสนุนบุคคลที่เปนเหยื่อของการคามนุษย ไดมีการเสริมสรางศักยภาพของสถานเอกอัครราชทูต และ สถานกงสุลตาง ๆ เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นแกเหยื่อของการคามนุษยวา จะไดรับการชวยเหลืออยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีหลักประกันดานความรวมมือขามแดนในการสงตัวเหยื่อการคามนุษยกลับอยางปลอดภัย รวมไปถึงการสนับสนุน เพื่อใหมั่นใจวา บุคคลเหลานั้น มีความเปนอยูที่ดี ไดมีการอํานวยความสะดวก และบําบัดฟนฟู ในการกลับคืนสูสังคมของ บุคคลผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย รวมถึงปองกันบุคคลไมใหตกเปนเหยื่อของการคามนุษยอีกครั้ง
4) ในดานที่เกี่ยวกับมาตรการปองกัน
ไดมีการรับเอามาตรการตาง ๆ เพื่อลดความไมมั่นคงของบุคคล ซึ่งรวมถึงการสนับสนุนการลดปญหา ความยากจน การเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจ การทําใหมั่นใจวา จะเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และไดจัดใหมีเอกสารสวน บุคคลในทางกฎหมายที่จําเปนซึ่งไดรวมถึงทะเบียนเกิดดวย ไดมีการสนับสนุนการใหชุมชน และเครือขายในการเฝาระวัง ถึงการพิสูจนตัวบุคคลลวงหนา และการเขาแทรกแซงตัวบุคคลที่เสี่ยงตอการถูกคามนุษย ไดมีการเพิ่มความตระหนักแก สาธารณชนในทุกระดับ รวมถึงการรณรงคการใหขอมูลโดยการใหขอมูลขาวสาร และการสนับสนุนที่ชี้ใหเห็นอันตราย และผลกระทบทางดานลบของการคามนุษย และการใหความชวยเหลือเทาที่มีอยูแกเหยื่อ ไดมีการบังคับใชกฎหมาย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 170 แรงงานแหงชาติ เพื่อคุมครองสิทธิแรงงานทุกคนโดยอยูบนพื้นฐานของการไมเลือกปฏิบัติดวยเหตุทางเพศและความเสมอ ภาคกัน ไดมีการสนับสนุนใหมีการบังคับใชกฎหมายแหงชาติที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพเพื่อลดการแสวงหาประโยชน จากบุคคลอันเปนการสงเสริมใหเกิดความตองการในการใชแรงงานของบุคคลที่ถูกคา และการปราบปรามการคาหญิง และเด็ กด ว ยการให ความร วมมื อซึ่ ง กัน และกั น และได มี ความร ว มมื อกั บ ภาคเอกชนโดยเฉพาะในอุ ต สาหกรรมการ ทองเที่ยวและการบันเทิงในการตอสูกับการคามนุษยอยางแข็งขัน
เขาใจนี้
5) ในดานที่เกี่ยวกับกลไกสําหรับการอนุวัติการ การตรวจสอบ การประเมินผลของบันทึกความ
ไดมีการพัฒนาการแผนปฏิบัติการระดับอนุภูมิภาควาดวยการตอตานการคามนุษย พ.ศ. 2548-2550 และใชความพยายามทั้งปวงเพื่อใหมีการอนุวัติการแผนปฏิบัติการนี้อยางเต็มที่ ไดมีการจัดเก็บ และการวิเคราะหขอมูล และขอสนเทศเกี่ยวกับเรื่องการคามนุษย และไดมีการประกันวายุทธศาสตรในการตอตานการคามนุษยอยูบนพื้นฐานใน การวิ จัยประสบการณ และในการวิเ คราะหที่ ได ขอ มูล ที่ถู กต อง และเป นป จจุ บัน ไดมี การตรวจสอบการอนุวั ติต าม แผนปฏิบัติการเพื่อประเมินสถานการณที่เปนอยู และความคืบหนาการอนุวัติขอผูกพันภายใตบันทึกความเขาใจนี้ รวมถึง มีการจัดการประชุมเจาหนาที่อาวุโสปละหนึ่งครั้ง ไดมีการทบทวนแผนปฏิบัติการและรับเอา แผนปฏิบัติการในระดับ ภูมิภาคโดยมีการพิจารณาของที่ประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงในปลายป พ.ศ. 2550 ไดมีการ จัดตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจระดับชาติเพื่อรวมมือกับสํานักงานเลขานุการของ Commit (โครงการหนวยงานเพื่อการ ตอตานการคามนุษยของสหประชาชาติในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง) และหุนสวนอื่น ไดมีการเชิญชวนหนวยงานที่ใหการ สนับสนุนดานทุนของรัฐบาลรวมทั้งของสหประชาชาติที่เกี่ยวของ องคการระหวางประเทศอื่น และภาคเอกชนในการมี สวนรวมในการใหความชวยเหลือในดานการเงิน วัสดุอุปกรณ และดานวิชาการของประเทศสมาชิกในอนุภูมิภาคลุมแมน้ํา โขงรวมไปถึงการใหมีการอนุวัติการในแผนการบันทึกความเขาใจ จากที่ไดกลาวมาแลวขางตน สภาพปญหาตามบันทึกความรวมมือในการตอตานการคามนุษยในภูมิภาคลุมแมน้ํา โขง ยังมุงเนนการคุมครองไปที่ผูหญิงและเด็กเปนสํา คัญ ยังไมมีความครอบคลุมถึงเพศชายทั้งในเรื่องการคาบริการ ประเวณีทางเพศ และการคาทาสแรงงานโดยไมยุติธรรมกดขี่ขมเหงโดยปราศจากเสรีภาพ ตามที่กฎหมายสิทธิมนุษยชน มาตรา 4 ไดใหการคุมครองรับรองสิทธิไวใหโดยชอบดวยกฎหมาย ซึ่งปจจุบันการคามนุษยไดทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้ น ซึ่งผูชายเองก็เปนเปาหมายของขบวนการคามนุษยภูมิภาคอาเซียนควรที่จะมีมาตรการทางกฎหมายที่เปนมาตรฐาน เดียวกัน เพื่อที่จะมาตอตานกับขบวนการคามนุษย ซึ่งในบันทึกความเขาใจฉบับดังกลาวนี้ ไมมีความครอบคลุมทั้งใน ภูมิภาคอาเซียนในดานมาตรการทางกฎหมายที่เพียงพอ และครอบคลุมรวมถึงดานบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในการ ชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยที่เพียงพอ เพราะในสถานการณปจจุบันปญหาการคามนุษยยัง ไมหมดสิ้นไปจากภูมิภาค อาเซียน สืบเนื่องมาจากสาเหตุที่ยังไมมีบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในการชวยเหลือเหยื่อที่เกิดจากการคามนุษยอยาง เพียงพอมีแตเพียงนโยบายออกมาเทานั้น แตบุคลากรในดานนั้นยังไมมีความรูที่จะนําไปปฏิบัติก็ยอมไมบังเกิดผลที่จะทํา ใหการคามนุษยหมดไปจากภูมิภาค 6) บั น ทึ ก ความเข า ใจระหว า งรั ฐ บาลแห ง ราชอาณาจั ก รไทย กั บ รั ฐ บาลแห ง สาธารณรั ฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือในการตอตานการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก48
วัต ถุ ป ระสงคใ นการทํ า ความตกลงบัน ทึ ก ความรว มมื อ ระหวา งราชอาณาจั ก รไทยกับ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวนั้นเพื่อตอตานขบวนการคามนุษย ซึ่งไดมีการยอมรับถึงปฏิญญากรุงเทพวาดวยการโยกยาย ถิ่นฐานทีไ่ มปกติในป 1999 โดยเชื่อมั่นวา การปราบปรามอาชญากรรมในดานเกี่ยวกับการคามนุษยในสตรีและเด็ก โดย 48
เรื่องเดียวกัน, หนา 168.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 171 ความรวมมือซึ่งกันและกันในทางกฎหมายและกระบวนการดําเนินคดีทางอาญาเปนมาตรการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ ในการ นี้ ภาคีจะมีการดําเนินการปรับปรุงแกไขกฎหมายที่จําเปน และใชมาตรการที่เหมาะสม เพื่อไดมีการประกันวา การปฏิบัติ ตามกฎหมาย และเขตอํ านาจศาลของประเทศตนสอดคลอ งประสานไปในแนวทางเดียวกันกั บปฏิ ญ ญาสากล หรื อ สนธิสัญญาระหวางประเทศที่รัฐบาลประเทศตนไดเขารวมเปนภาคี ภาคีจะมีโครงการใหการศึกษา และฝกอาชีพใหแกสตรี และเด็ก เพือ่ เสริมสรางโอกาสในการมีงานทํา และลดความเสี่ยงจากการตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษย ภาคีมีความ พยายามอยางสุดความสามารถในการดําเนินมาตรการสกัดกั้นการคามนุษยในสตรีและเด็ก โดยไดมีการจัดใหมีโครงการให การศึกษา การฝกอบรมในดานวิชาชีพ และเพิ่มการบริการทางสังคมในรูปแบบการจัดหางาน สรางรายได รักษาสุขภาพ ใหแกสตรีและเด็กที่มีความเสี่ยงตอการคามนุษย และไดมีการเผยแพรขอมูลขาวสารใหกับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับปจจัย เสี่ยงตอการคามนุษยในสตรีและเด็ก และมีมาตรการในทางสังคมในการเยียวยาเหยื่อใหกลับมาดํารงชีวิตอยู ไดภายหลัง ตกเป น เหยื่อ ของขบวนการค ามนุษ ย ทั้ งมาตรการดา นอาชีพ มาตรการในการเยี ยวยาทางจิ ตใจโดยจิ ตแพทย และ มาตรการทางดานอื่นแกเหยื่อของขบวนการคามนุษย จากที่กลาวมาแลวในบันทึกความรวมมือระหวางราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว นั้น ในเรื่ อ งการต อ ตา นการค า มนุ ษ ย ยั งมี จุ ด บกพร อ งอยู ใ นการมุ ง เน น ความคุมครองไปที่ ส ตรี แ ละเด็ ก เท า นั้ น ไม ไ ด หมายความรวมถึงผูชายดวย จึงทําใหสภาพการทางกฎหมายไมสามารถบังคับเยียวยากับเหยื่อผูชายที่เพียงพอ และ ครอบคลุมทั้งมาตรการในทางกฎหมายมาตรการในการคุมครองเหยื่อจากการคามนุษย มาตรการทางสังคมเยียวยาให เหยื่อการคามนุษยที่เปนผูชาย จึงจําเปนอยางยิ่งที่ประชาคมชาวอาเซียนตองมีอนุสัญญาที่เปนแมบทที่เกี่ยวกับการตอตาน การคามนุษย
7) สนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน
ในสนธิสญ ั ญาดังกลาวมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ (1) ไดมีการกําหนดขอบเขตของความชวยเหลือของสนธิสัญญาฯ การไมบังคับใชของสนธิสัญญา ขอจํากัด ความชวยเหลือของภาคีสมาชิก และการแตงตั้งผูประสานงานกลางของแตละภาคีเพื่อจัดทํา และรับคํารองขอ ความชวยเหลือ (2) ไดมีการกําหนดแบบและเนื้อหาของคํารองขอความชวยเหลือในทางอาญา การดําเนินการตามคํา รองขอ และการเก็บรักษาความลับของประเทศสมาชิก (3) ไดมีการกําหนดขอจํากัดการใชพยานหลักฐานที่ไดมาจากการชวยเหลือการไดมาซึ่งการใหถอยคํา โดยสมัครใจของผูใหถอยคํา การไดมาซึ่งพยานหลักฐาน และสิทธิที่จะปฏิเสธการใหพยานหลักฐาน (4) ไดมีการกําหนดการจัดหาใหซึ่งเอกสารและบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได การปรากฏตัว ของบุคคลในภาคีผูรองขอ และการปรากฏตัวของบุคคลที่ถูกคุมขังในภาคีผูรองขอ (5) ไดมีการกําหนดหลักประกัน การเดินทางผานของบุคคลซึ่งถู กคุมขัง การคน และยึด การสง พยานหลั กฐานคืน การคน หาที่อยู หรื อการระบุตัว บุคคล การสงเอกสาร และความช วยเหลือ ในการดํ า เนิ นการริ บ ทรัพยสิน (6) ไดมีการกําหนดความสอดคลองกับขอตกลงอื่น การรับรอง และการยืนยันความถูกตองแทจริง คาใชจาย การปรึกษาหารือ การแกไข การระงับขอพิพาท และการตั้งขอสงวน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 172 (7) ไดมีการกําหนดเงื่อนไขในการลงนาม การใหสัตยาบัน การภาคยานุวัติ การเก็บรักษา และการ 49 ลงทะเบียน การมีผลใชบังคับจริงของสนธิสัญญา การใชบังคับ และการบอกเลิกสนธิสัญญา และผูเก็บรักษาสนธิสัญญา การที่ประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของ ภูมิภาคอาเซียนนั้ นถือเรื่องที่ดีที่จะมีการใหค วามชวยเหลือซึ่ งกันและกั นในทางอาญาของภูมิ ภาคอาเซียน นํา มาซึ่ ง ผลประโยชนแกผูที่ตกเปนเหยื่อ หรือผูที่ถูกคาที่ไดรับผลกระทบในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพราะจะมีความ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางอาญาทั้งสิบประเทศภายในภูมิภาคอาเซียนอยางเปนระบบ ซึ่งผลประโยชนตาง ๆ จะตกแก ผูที่ตกเปนเหยื่อมากที่สุด และในเรื่องการคุมครองพยานหลักฐานก็มีมาตรการที่เครงครัดมากรวมถึงเรื่องการใหการเปน พยานหลักฐานในศาล โดยที่พยานที่ใหการในศาลจะไมถูกขมเหงดวยประการทั้งปวง สืบเนื่องมาจากพยานจะใหการโดย ไมมีการขมขู ขมเหงจากบุคคลใด
ความรวมมือระหวางประเทศในการตอตานอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบการคามนุษย รูปแบบการคามนุษยยังคงเปนสิ่งที่ทาทายตอประเทศทั้งหลายในประชาคมอาเซียนที่จะตองขจัดอาชญากรรมนี้ ใหหมดสิ้นไปจากภูมิภาคโดยดวน สืบเนื่องมาจากอาชญากรรมรูปแบบการคามนุษยในภูมิภาคสามารถโยงใยไปสูรูปแบบ ดานอื่น ๆ ในภูมิภาค เชน รูปแบบอาชญากรรมทางเพศดานอื่น ๆ ยาเสพติด รูปแบบการฟอกเงิน การศึกษา เสถียรภาพ และความมั่นคงของประเทศรวมทั้งดานเศรษฐกิจ ภูมิภาคอาเซียนตระหนักที่จะรวมมือกันผนึกกําลังที่จะตอตานของขบวนการคามนุษยออกไปใหหมดสิ้นจาก ภูมิภาคโดยเรงดวน เพราะถือวา ภูมิภาคอาเซียนเปนอีกหนึ่งภูมิภาคที่ยังตองเผชิญกับอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบของ การคามนุษยอยู ซึ่งในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ ค.ศ. 2007 ที่ประเทศสิงคโปรผูนําอาเซียนไดลงนาม ในกฎบัตรอาเซียนซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน และขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนภายในป ค.ศ. 2015 ก็ไดมีกฎบัตรของอาเซียนที่บัญญัติในเรื่องอาชญากรรมขามชาติไว ซึ่งอยูในเสาการเมืองและความมั่นคง หนึ่งในนั้น รวมถึงรูปแบบอาชญากรรมขามชาติในเรื่องการคามนุษยไว ในภูมิภาคอาเซียน จึงไดมีปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษยในสตรีและเด็กตอทายในปฏิญญา ฮานอยวาดวยการคามนุษย และความรวมมือของการตอตานการคามนุษยในระดับภูมิภาครัฐตอรัฐ (MOU) ในปจจุบันมี เพียงไมกี่ประเทศในอาเซียนที่ตกลงความรวมมือระหวางรัฐตอรัฐ ความรวมมือยังไมครอบคลุมทั้งภูมิภาคอาเซียน ซึ่งในป ค.ศ. 2015 เมื่อประเทศทั้งหลายในภูมิภาคอาเซียนไดรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนแลวเปาหมายของอาเซียน ในการ ตอตานรูปแบบอาชญากรรมขามชาติในเรื่องการคามนุษยก็คงที่จะมีการรวมมือกันอยางจริงจังในเรื่องนี้มากยิ่งขึ้น เพราะ ในปจจุบันภูมิภาคอาเซียนมีเพียงปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษยยังไมถึงขั้นเปนอนุสัญญาแมบทของชาว อาเซียนที่จะครอบคลุมในเรื่องการคามนุษยทั้งสิบประเทศในภูมิภาคนี้ ประเด็นปญหาที่ประเทศไทย และอาเซียนยังไมสามารถแกปญหาอาชญากรรมขามชาติรูปแบบการคามนุษยนั้น ในภูมิภาคของเรายังไมมีความรวมมือในรูปแบบของอนุสัญญาพหุภาคีที่มีความรวมมือทั้งสิบประเทศภายในภูมิภาค รวมกันอยางจริงจัง แตอยางใด เพื่อจะไดลดความเหลื่อมล้ําทางกฎหมายใหทั้งสิบประเทศใชมาตรฐานทางกฎหมายใน 49
อารไวททีไนน, การใหสัตยาบันสนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภ าคอาเซียน, คนขอมูลวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 จาก http://www.ryt9.com /s/cabt1528770.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 173 ระดับเดียวกัน โดยจะตองอาศัยความรวมมือในทุกภาคสวนของสังคมในการออกอนุสัญญาดังกลาวรวมถึงพิธีสารตอทาย อนุสัญญา ปญหาดังกลาว จึงจะสามารถทุเลาเบาลงกวาที่เปนอยูไ ดอยางแนแท ซึ่งสามารถแยกเปนประเด็นไดดังนี้
ความไมเปนธรรมและเอกภาพของกฎหมาย กฎหมายในประเทศไทย หรือแมแตภูมิภาคอาเซียนเองสภาพการบังคับของกฎหมายยังไมเปนเอกภาพเทาที่ควร มาตรฐานของกฎหมายแตละประเทศในภูมิภาคอาเซียนในการตอตานกับการคามนุษยยังไมมีป ระสิทธิภาพเทาที่ควร จึง จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีมาตรฐานในการตอตานกับอาชญากรรมการคามนุษยที่มีเอกภาพ ในป ค.ศ. 2015 ประเทศตาง ในภูมิภาคไดมีการประกาศวา จะมีการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน เพื่อที่จะเปนการตอตานการคามนุษยอยางจริงจัง ดวยมาตรฐานกฎหมายที่เทาเทียมกัน และความรวมมือที่จะชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยที่เพียงพอ และครอบคลุมโดย คํานึงถึงหลักการมนุษยธรรมเปนหลักในรูปแบบอนุสัญญาของภูมิภาค
สภาพบังคับทางกฎหมายในภูมิภาคอาเซียน สภาพปญหาในภูมิภาคอาเซียน คือ การที่ยังไมมีกฎหมายกลางที่เปรียบเสมือนธรรมนูญของชาวอาเซียน ดังเชน กฎหมายของสหภาพยุโรปที่รวมตัวเปนประชาคมชาวยุโรป ซึ่งมีกฎหมายกลางที่เกี่ยวของกับการคามนุษยที่ถูกระบุไวใน มาตรา 5 ซึ่งใจความของมาตราดังกลาวมีวา การคามนุษยรวมถึงการคาทาสในทุกรูปแบบเปนสิ่งที่ตองหาม และขัดตอ บทบั ญ ญั ติ ข องชาวยุ โ รปเป น อย า งมาก ซึ่ ง ถู ก บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นอนุ สั ญ ญายุ โ รปเพื่ อ ต อ ต า นการค า มนุ ษ ย (European Trafficking Convention) ในอนุสัญญาตองประกอบไปดวยมาตรการในการคุมครองเหยื่อในการคามนุษย บทนิยามของ การคามนุษย มาตรการทางกฎหมายในการชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยในระหวางดําเนินคดีทางกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา มาตรการในการกักตัวเหยื่อโดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ ในหลักการหามเลือกปฏิบัติดวยเหตุตาง ๆ รวมถึงมาตรการหลังจากเหยื่อการคามนุษยกลับไปดําเนินชีวิตในสังคม และการเยียวยาเหยื่อการคามนุษย รวมถึงการ ออกกฎหมายระดับรองที่ออกมาเกี่ยวของประสานไปในแนวทางเดียวกัน เชน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎาตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับการคามนุษยอยางจริงจัง รวมถึงอนุสัญญาที่เปรียบเสมือนธรรมนูญอยางสหภาพยุโรปก็มีอนุสัญญาดาน การคามนุษยที่เปนเหมือนกฎหมายหลักของภูมิภาค ซึ่งทําใหสภาพการทางกฎหมายของสหภาพยุโรปสามารถบังคับเอา ขบวนการคามนุษยมาลงโทษไดโดยราบรื่น จากสภาพปญหาที่เกิดขึ้น ยังไมมีความรวมมือถึงขั้นอนุสัญญาในการตอตานการคามนุษยในภูมิภาคอาเซียน อยางเปนรูปธรรม ในปจจุบันมีเพียงปฏิญญาอาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษย ความรวมมือในการตอตานการคามนุษยใน ระดับทวิภาคีระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคเทานั้น และพระราชบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคามนุษยแตยังไมสามารถ บังคับใชเปนมาตรฐานกลางทั้งภูมิภาคอาเซียนได จึงเปนประเด็นซี่งสามารถพิจารณาไดดังนี้
1) ในบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลไทยกั บรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา เรื่องความรวมมือ ทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและสตรี และการชวยเหลือเหยื่อของการคามนุษย
ซึ่งมีการใชบทนิยามของการคามนุษยใหสอดคลองกับพิธีสารเรื่องการคาบุคคล โดยเฉพาะการคาหญิง และ เด็กขององคการสหประชาชาติ และขอดีมีการนิยามวัตถุประสงคที่ครอบคลุมมากกวาพิธีสารการคามนุษยขององคการ สหประชาชาติ รวมถึงมีการนิยามการคามนุษยในรูปแบบการใชเด็ก และผูห ญิงในสื่อลามก อนาจาร การรับบุตรบุญธรรม อันเปนเท็จ และการกระทําใหผูหญิงและเด็กตกเปนทาสของยาเสพติดในบันทึกความเขาใจฉบับนี้ มีประเด็นปญหาที่ยัง ไมใหการคุมครองเหยื่อการคามนุษยที่เปนเพศชายที่เพียงพอ โดยสวนมากจะถูกบังคับใชแรงงานเยี่ยงทาสในอุตสาหกรรม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 174 ภาคประมงและไดรับคาจางโดยกดขี่ขมเหง ดวยเหตุที่ไมเปนธรรมอยางมาก ในปจจุบัน ผูชายก็เปนกลุมเสี่ยงที่จะถูก ลอลวงเขาสูว งโคจรของการคามนุษยไดเชนกันไมเพียงแตเด็กและผูหญิงเทานั้น
2) พระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ. 254050
พระราชบั ญ ญั ติ มาตรการป อ งกั น และปราบปรามการค า หญิ ง และเด็ ก พ.ศ. 2540 ในมาตรา 8 ของ พระราชบัญญัติฉบับนี้ การใหความชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยในระหวางการถูกดําเนินคดี และการเบิกความในศาลที่จะ ใหความชวยเหลือผูหญิงและเด็กเทานั้น ยังไมมีความครอบคลุมรวมถึงผูชายที่ไดตกเปนเหยื่อการคามนุษยดวยแตอยางใด ซึ่งถือเปนขอเสียของพระราชบัญญัตินี้ ในดานการชวยเหลือนั้น ตามพระราชบัญญัติดังกลาวนี้ ยังใหการชวยเหลือเฉพาะ เรื่องอาหาร ที่พัก และการสงกลับประเทศ หรือภูมิลําเนาเดิมเทานั้น ไมไดมีความคุมครองที่ครอบคลุมถึงการเยียวยาใน ด า นความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในด า นร า งกาย จิ ต ใจของผู ที่ ต กเป น เหยื่ อ แต อ ย า งใดถื อ เป น ข อ บกพร อ งของ พระราชบัญญัตินี้ - ขอดีของพระราชบัญญัติดังกลาวนั้น มีการใหสืบพยานไวทันทีที่ศาลไดรับคํา รองขอจากอัยการ ถึงแมวา จะยังไมไดตัวผูตองหามาก็ตาม - ขอ เสี ยของพระราชบั ญญั ติ ฉบั บดั งกลา วนี้ ได อา งถึ ง พระราชบัญ ญั ติอื่ น ๆ ที่เ กี่ ยวขอ งกั บการ คาประเวณี และการทําอนาจาร จึงทําใหพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไมมีความครอบคลุมในทุกรูปแบบ และวัตถุประสงคอื่น ๆ อันรวมถึงการบังคับใชแรงงานสงผลกระทบถึงการที่จะเอาผิดกับผูกระทํา ผิดฐานการคามนุษยในรูปแบบอื่นนั้น ในการ บังคับเอาผิดกับขบวนการคามนุษยตามพระราชบัญญัติเปนไปไดยากมาก จึงนับวา เปนจุดดอยของพระราชบัญญัตินี้ ในป พ.ศ. 2551 ไดมีการออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย เพื่อใชคํานิยาม และ มาตรการตาง ๆ ที่สอดคลองกับพิธีสาร เพื่อการปองกันและปราบปราม และลงโทษการคาบุคคลโดยเฉพาะการคาหญิง และเด็กขององคการสหประชาชาติ
3) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 254051
ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ตองการใชบังคับในเรื่องการกระทําความผิดเกี่ยวกับเพศ โดยไดมีการเพิ่มโทษแก บุคคลที่ไดกระทําการตอหญิงและชาย เพื่อสนองความใครของบุคคลอื่น ในการแกไขบทบัญญัติฉบับนี้ เพื่อจะจัดการกับ การคาบุคคลเพื่อวัตถุประสงคในการคาประเวณี และเพื่อวัตถุประสงคอื่นที่มิชอบดวยกฎหมายรวมถึงการขายเด็กใหมา เปนขอทาน หรือทํางานในสภาพที่ทารุณโหดราย ซึ่งตัวบทแตละมาตราไมมีความครอบคลุมถึงเจตจํานงดังกลาวแตอยาง ใดเลย จึงถือวา เปนขอดอยที่จะตองมีการปรับปรุงกฎหมายฉบับนี้ขึ้นมา และเปนอุปสรรคในการบังคับใชกฎหมายใหมี ความครอบคลุมเหยื่อการคามนุษยที่ถูกบังคับใหกระทําการอยางอื่นที่ไมใชแคความหมายของการคาประเวณีเพียงอยาง เดียวเทานั้น และการที่บุคคลที่สามนําบุคคลใดมาเพื่อสําเร็จความใครของผูอื่น หรือเพื่อการอนาจาร ไมวาบุคคลดังกลาว จะยินยอมหรือไมก็ตาม ก็ถือวา เปนการกระทําความผิดแลว เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติดังกลาวนี้ สืบเนื่องมาจากไดมีการกระทําความผิดเกี่ยวกับเด็กและ หญิง โดยไดมีการซื้อขาย จําหนาย พา หรือจัดหาหญิงและเด็กไปดวยวิธีการตาง ๆ แกตนเอง รวมถึงผูอื่นเพื่อการอนาจาร เพื่อประโยชนอยางอื่นอันมิชอบดวยกฎหมาย ไมวาจะเปนวิธีการขายเด็กใหไปเปนขอทาน หรือการทํางานในสภาพที่โดน กดขีข่ มเหงดวยเหตุอันไมเปนธรรม จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการกําหนดฐานความผิดใหมที่เกี่ยวของกับการคามนุษยที่ มีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กลุมเปาหมายของขบวนการคามนุษยไมไดมีเฉพาะหญิงและเด็กเทานั้น ยังรวมไป ถึงเพศชายที่มีความเสี่ยงที่จะตองตกเปนเหยื่อของการคามนุษยดวย และมีแนวโนมเปนการกระทําตอบุคคลที่ไมจํากัดเพศ 50 51
ศิริพร สโครบาเนค. (2548). การคามนุษย แนวคิด กลไก และประเด็นทาทาย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิผูหญิง. เรื่องเดียวกัน, หนา 82-83.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 175 ดวย จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองแกไขฐานความผิดในบทที่เกี่ยวของให กวางขวางมากยิ่งขึ้น และควรแกไขบทบัญญัติ มาตรา 282 และมาตรา 283 แหงประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งไดกําหนดใหศาลไทยมีอํานาจในการลงโทษการกระทํา ความผิดดังกลาว แมจะไดกระทําการดังกลาวในตางประเทศก็ตาม โดยตองแยกไวใหเห็นเด นชัดในมาตรา 7 ซึ่งเปน บทบัญญัติที่เกี่ยวของกับอํานาจของศาลไทยในการนําตัวบุคคลที่กระทําความผิดในลักษณะเปนความผิดอาญาระหวาง ประเทศ จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้นมา
2542
52
4) พระราชบั ญ ญั ติ แ ก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา (ฉบั บ ที่ 20) พ.ศ.
ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไมไดมีสวนเกี่ยวของกับเรื่องการคามนุษยแตอยางใด แตสามารถที่จะนํามาปรับใช กับการคุมครองพยาน และผูเสียหาย โดยเฉพาะพยานที่เปนเด็กที่ตองไดรับการคุมครองที่รัดกุมมากกวาบุคคลในวัยผูใหญ โดยมีการคํานึงถึงสภาพความตองการของเด็กเปนสําคัญ ทั้งสภาพแวดลอม ทางรางกาย และจิตใจของเด็ก โดยจัดใหมี นักวิชาการที่มีความหลากหลายสาขาเพื่อชวยในการสอบปากคําพยานที่เปนเด็ก โดยมีหลักเกณฑวา ตองเปนคดีที่มีอัตรา โทษจําคุกสูง ตั้งแตสามปขึ้นไป หรือในกรณีที่เด็กรองขอ หรือในคดีการทํารายรางกายโดยใหจัดหองสอบสวนที่เหมาะสม และใหมีนักจิตวิทยาเพื่อชวยในการซักถามเด็ก หรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอ และพนักงานอัยการเขา รวมกับพนักงานสอบสวนในการสอบถามปากคํา จากเด็ก ในเรื่องการชี้ตัวผูกระทํา ความผิดจะตองมีมาตรการในการ ปองกันไมใหผูตองหาเห็นตัวเด็กผูเสียหาย หรือพยาน ซึ่งนับไดวา เปนขอดีของพระราชบัญญัติฉบับนี้ และในกรณีที่เด็กได กระทําความผิดรัฐเองตองจัดหาทนายความใหแกเด็กดวย - ขอดีของพระราชบัญญัติฉบับนี้ มีการกําหนดใหมีการสืบพยานเด็ก โดยมีการใชสื่อการบันทึกภาพ และเสียงไปยังหองพิจารณาคดี ในการชักถามพยาน ถามคาน หรือถามติงก็ตาม จะตองจัดใหมีนักจิตวิทยา หรือนักสังคม สงเคราะหเปนบุคคลที่จะตองถามคําถามเหลานี้ไปสูเด็ก ในกรณีที่พยานไมสามารถมาเบิกความไดสื่อภาพ และเสียงที่ ไดรับการบันทึกไวนี้สามารถนํามาใชได ซึ่งเปนเสมือนคําเบิกความของพยาน และจะเปนประโยชนมากตอเด็กที่เปน ชาวตางชาติที่มีเหตุที่จะตองกลับบานกอนที่จะมีการดําเนินคดี หรือเด็กที่ยากแกการที่จะติดตามมาใหการเปนพยานใน ศาล มาตรการเหลานี้จะชวยปองกันมิใหมีการกระทํา ซ้ําเติมแกผูที่ตกเปนเหยื่อ หรือพยานในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา - ขอเสียมาตรการเหลานี้ ยังไมมีความคุมครองที่เพียงพอถึงเหยื่อ หรือพยานในคดีการคามนุษยที่ เปนผูใหญนับวา เปนจุดดอยของพระราชบัญญัตินี้ เพราะวาผูที่ตกเปนเหยื่อไมวาจะเปนเพศใดอายุเทาใดก็ยอมที่จะตอง ความคุมครองที่เพียงพอในการเปนพยานในศาลรวมถึงการคุมครองในการถูกแกแคนขมขูจากขบวนการคามนุษย
5) พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 254253
ในมาตรา 3 ของพระราชบัญญัตินี้ ไดกําหนดไววาความผิดมูลฐาน 7 ประเภท ไดแก ความผิดเกี่ยวกับ ยาเสพติด เพศ การฉอโกงประชาชน การยักยอก หรือฉอโกง หรือการประทุษรายตอ ทรัพย การทุจริตตอหนาที่ทาง ราชการ การกรรโชกรีดเอาทรัพย การลักลอบหนีศุลกากร ซึ่งทรัพยสินที่ไดยึดมาดังกลาวใหศาลมีคํา สั่งใหตกเปนของ แผนดิน
52 53
เรื่องเดียวกัน, หนา 84. เรื่องเดียวกัน, หนา 85-86.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 176 ซึ่งในตัวพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอเสีย คือ ไมมีการบัญญัติใหผูเสียหายจากการกระทําความผิดมูลฐานมี สิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตน ดังนั้น เหยื่อจากการคามนุษย จึงไมสามารถ ไดรับสิทธิประโยชนโดยตรงจากพระราชบัญญัติฉบับนี้ จึงตองไปเรียกรองความเสียหายตามพระราชบัญญัติคาตอบแทน ผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2545 ถือไดวา เปนจุดบกพรองของพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ เพราะตองไปเรียกรองคาเสียหายจากพระราชบัญญัติฉบับอื่น แมแตในมาตรา 49 วรรคทาย ระบุไววา ในกรณีตามวรรคหนึ่งถามีเหตุสมควรที่จะดํา เนินการเพื่อคุมครอง สิทธิของผูเสียหายในความผิดมูลฐาน ใหเลขาธิการสงเรื่องใหพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายที่กํา หนดความผิดฐานนั้น ดําเนินการตามกฎหมายดังกลาวเพื่อคุมครองสิทธิของผูเสียหายกอน หนวยงานที่เกี่ยวของควรจะดําเนินการใหผูเสียหาย ไดรับคาชดเชยตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ และถาหากมีการกําหนดคํานิยามเรื่องการคามนุษยที่ครอบคลุมถึงการบังคับใช แรงงาน และเรื่องอื่น ๆ ทั้งของเด็ก ผูหญิง และผูชายก็ควรจะขยายความผิดมูลฐานของพระราชบัญญัติปองกันและ ปราบปรามการฟอกเงินดวย
2545
54
6) พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจํา เลยในคดีอาญา พ.ศ.
พระราชบัญญัติฉบับนี้ เปนผลสืบเนื่องมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 245 และมาตรา 246 ซึ่งไดบัญญัติในเรื่องการไดรับความชวยเหลือจากรัฐของบุคคลที่ไดรับความเสียหายจากการ กระทําความผิดของบุคคลอื่น โดยที่บุคคลนั้นมิไดมีสวนรวมในการกระทําความผิดแตอยางใดเลย ผูเสียหายจากการคา มนุษย นับไดวา เปนผูที่ไดรับความเสียหายอยางรายแรง เนื่องจาก การกระทําความผิดทางอาญาตอบุคคลอื่น ไมวาจะ ไดรับความเสียหายจากขบวนการคามนุษย นายจาง หรือผูแสวงหาผลประโยชนจากการเปนโสเภณีจากบุคคลอื่น โดยมี การกระทําที่ถูกละเมิดตอสิทธิขั้นพื้นฐานทั้งทางดานรางกาย จิตใจ หรือการกระทํา ทางเพศ โดยวิธีการบังคับใชแรงงาน การเอาคนลงเปนทาส หรือการถูกแสวงหาผลประโยชนในทางดานเพศ จนผูเสียหายบางรายไดถึงแกชีวิตนั้น ดังนั้น จึงถือ วา เปนพระราชบัญญัติฉบับเดียวที่สามารถใหผูเสียหายจากการคามนุษยสามารถเรียกรองคาเสียหายไดโดยตรงไดถูกระบุ ไวในมาตรา 17 ผูเสียหายจะไดรับคาตอบแทน ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 18 ดังกรณีตอไปนี้ (1) คาใชจายที่จําเปนในการรักษาพยาบาล รวมทั้งคาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจ (2) คาตอบแทนในกรณีที่ผูเสียหายถึงแกความตายจํานวนไมเกินที่กําหนดในกฎกระทรวง (3) คาขาดประโยชนในการทํามาหาไดในระหวางที่ไมสามารถประกอบการงานไดตามปกติ (4) คาตอบแทนความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร คณะกรรมการจะเปน ผูที่กํา หนดใหผู เสียหายไดรับ คาตอบแทนเพี ยงใดขึ้ นอยูกับ พฤติการณ และความ รายแรงของการกระทําความผิด และความเสียหายที่ผูเสียหายไดรับ รวมทั้งโอกาสที่ผูเสียหายจะไดรับจากการบรรเทา ความเสียหายโดยทางอื่น ในมาตรา 22 ไดกําหนดใหผูเสียหาย จําเลย หรือทายาทซึ่งไดรับความเสียหายมีสิทธิในการไดรับคาตอบแทน คาทดแทน คาใช จายตามพระราชบัญญัติ นี้ โดยตองยื่นคํ าขอต อคณะกรรมการ ณ สํา นักงาน ภายในกํ าหนดหนึ่ง ป นับตั้งแตวันที่ผูเสียหายไดรูถึงการกระทําความผิด และในมาตรา 23 ในกรณีที่ผูเสียหาย จําเลย หรือทายาทผูไดรับความ เสียหายเปนผูไร ความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคํา ขอด วยตนเองได ผูแทนโดยชอบธรรม หรื อผูอนุบาล ผูบุพการี 54
เรื่องเดียวกัน, หนา 87-88.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 177 ผูสืบสันดาน สามี หรือภรรยา หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากผูเสียหาย หรือจําเลย แลวแตกรณีสามารถ ยื่นคําขอรับคาตอบแทน คาทดแทน หรือคาใชจายแทนได
7) บันทึกแนวทางปฏิบัติรวมกันในการดําเนินการกรณีการคาเด็กและหญิง55 นอกจาก พระราชบัญญัติที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการคามนุษยแลว ประเทศไทยยังไดมีการจัดทําแบบบันทึก ขอตกลงเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในภาครัฐเอง และภาคเอกชน ซึ่งขอตกลง ฉบับดังกลาวนี้ ไมมีผลผูกพันบังคับทางกฎหมายแตอยางใดเลย ในปจจุบันมีขอตกลงรวมกันภายในประเทศ 4 ฉบับ มีสาระสําคัญ คือ มีการกําหนดคํานิยามของเด็ก และ หญิงผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ระบุสถานภาพของหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย กํา หนดแนวทาง เพื่อชวยเหลือทั้งเด็กและหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย จากการที่ไดศึกษาบันทึกขอตกลงแนวทางรวมกันในการ ดําเนินการกรณีการคาหญิงและเด็กนั้นมีขอดี ดังตอไปนี้ (1) มีการกําหนดคํานิยามของเด็กและหญิงผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยที่มีความชัดเจน ดังนี้ เด็กหรือ ผูหญิงที่ถูกบุคคล กลุมบุคคล หรือองคกร ในการเปนธุระจัดหา ซื้อขาย จําหนาย พามาจาก หรือสงไปยังที่ใด รับ หนวง เหนี่ยว หรือการกักขัง ซอนเรนเด็กหรือผูหญิง โดยมีการใชอุบายหลอกลวงขูเข็ญ ประทุษราย มีการใชอํานาจครอบงํา ผิด คลองธรรม หรื อ การใช วิ ธี ก ารข มขื น ใจด ว ยประการทั้ ง ปวง ไม ว า จะเป น การกระทํ า ภายในประเทศหรื อ ภายนอก ราชอาณาจักรก็ตาม และการกระทําดังกลาวนั้น ทําใหเด็กและผูหญิงตกอยูในสภาวะซึ่งตองจํานง หรือยอมกระทําการ ใด ๆ อันมิชอบดวยกฎหมาย ซึ่งถือไดวา เปนขอดีของบันทึกแนวทางดังกลาว (2) มีการจําแนกเหยื่อที่เกิดจากการคามนุษยที่มีครอบคลุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคุมครองเหยื่อ ใน บันทึกขอตกลงฉบับดังกลา วนี้ มีการจํา แนกเหยื่อทั้ง ผูหญิง และเด็กที่เกิดจากการคามนุษ ย ที่จะไดรับ การคุมครอง ชวยเหลือไว 4 กลุมคือ กลุมแรก เด็กและหญิงไทยที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย กลุม ที่สอง เด็กและหญิงชาวตางดาวที่เขามาในประเทศไทยหรืออยูในราชอาณาจักรไทยโดยไม ถูกตองตามกฎหมายและไดตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษย กลุมที่สาม เด็กและหญิงตางดาวที่เขามาประเทศไทยถูกตองตามกฎหมาย แตภายหลังตกเปนเหยื่อ ของการคามนุษย กลุมที่สี่ เด็กและหญิงที่มีไดมีสัญชาติไทย แตอาศัยอยูในประเทศไทยและไดตกเปนเหยื่อของ การคามนุษย (3) ไดมีการกําหนดแนวทางปฏิบัติตอเด็กและผูหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้ ประการแรก มีการสอบสวนผูที่ตกเปนเหยื่อและการดําเนินคดีแกผูที่กระทําความผิดตามกฎหมายที่ เกี่ยวของรวมถึงไดมีการคุมครองผูเสียหายและพยาน ประการที่สอง มีการระบุอายุของผูที่ตกเปนเหยื่อและมีการจัดทํา เอกสารสวนบุคคลของผูที่ตกเปน เหยื่อ 55
เรื่องเดียวกัน, หนา 89-92.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 178 ประการที่สาม มีการชวยเหลือดูแลผูที่ตกเปนเหยื่อ การใหที่พักพิง และมาตรการในการอบรมดาน อาชีพ ประการที่สี่ มีการประสานงานสงกลับภูมิลําเนา และประเทศตนทาง (4) มีหนวยงานที่เกี่ยวของใหความรวมมืออยางจริงจังเพื่อชวยแกปญหา ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของที่ได ลงนามมีทั้งของภาครัฐเอง และภาคเอกชนที่ไดมีความรวมมือ ไดแก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน สํานักงานอัยการสูงสุด สํานักงานตํารวจแหงชาติ ผูวา ราชการจังหวัดทางภาคเหนือ 9 จังหวัด และหนวยงานเอกชนตาง ๆ ที่รวมทํางานปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย รวมถึงองคการระหวางประเทศที่ไดมีความรวมมือจากทุกฝายในการแกปญหาที่เกิดขึ้น และบันทึกแนวทางความรวมมือดานการคามนุษยในผูหญิงและเด็กฉบับดังกลาว ยังมีจุดบกพรองอยูดังนี้ ก. แนวทางฉบับนี้ยังมิไดมีสภาพการทางกฎหมายแตอยางใดเลยที่จะมีผลผูกพันใหปฏิ บัติตามแตอยางใด จึงมีปญหาที่ตามมาในการบังคับใชเพื่อประโยชนของผูที่ตกเปนเหยื่อ ในการปฏิบัติเจาหนาที่ผูที่เกี่ยวของยังมีความเขาใจ วา การคาหญิงและเด็กมีเพียงเพื่อประโยชนในการคาประเวณีเพียงอยางเดียวเทานั้น ซึ่งถาหากหญิงและเด็กมีสวนรวม และสมัครใจที่จะกระทําการคาประเวณีก็จะไมไดรับการใหความชวยเหลือในดานตาง ๆ ดวยเหตุนี้เอง จึงทําใหมีการ ดําเนินคดีในเรื่องการคามนุษยมีจํานวนนอยมาก เพราะเหตุผลที่เหยื่อเกรงวา ตนจะไมไดรับความคุมครอง ข. นอกจากนั้น กระบวนการดํ าเนิ นคดี และสง กลั บภู มิ ลํา เนาในประเทศต น ทางที่ ตอ งใช เ วลาในการ ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ เปนเวลานาน จึงทําใหการดําเนินการสงกลับประเทศเกิดความลาชา ทําใหผูที่ตกเปน เหยื่อตามที่ไดระบุไวตามนิยามขอตกลงไมสมัครใจที่จะรับการชวยเหลือตามแนวทางฉบับดังกลาวนี้จากภาครัฐ ค. ในการเขารวมเปนพยานในการดําเนินคดีทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตอนักคามนุษย แตไมมี การไดรับคาเสียหายชดเชยที่เกิดขึ้นรวมถึงการไมไดรับคาแรง ทําใหผูหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อไมไดรับประโยชนและ การชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเอาผิดกับขบวนการคามนุษย
8) สนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน
สนธิ สั ญ ญาดั ง กล า ว ทํ า ให ส ภาพการบั ง คั บ ทางกฎหมายของภู มิ ภ าคอาเซี ย นในการต อ ต า นป ญ หา อาชญากรรมขามชาติ ในรูปแบบการคามนุษยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากที่ประเทศไทยไดใหสัตยาบันแก สนธิสัญญาดังกลาว ซึ่งสงผลดีเปนอยางมากแกเหยื่อ หรือผูเสียหายในคดีอาญาเปนอยางมาก เพราะจะไดมีการรวมมือ และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางอาญาของประเทศในภูมิภาคอาเซียน และสนธิสัญญาฯ มีสาระสําคัญดังนี้ (1) ไดมีการกําหนดขอบเขตของความชวยเหลือของสนธิสัญญา การไมบังคับใชของสนธิสัญญา ขอจํากัด ความชวยเหลือของภาคีสมาชิก และการแตงตั้งผูประสานงานกลางของแตละภาคี เพื่อจัดทํา และรับคํารองขอความ ชวยเหลือ ในขอนี้นับวา เปนขอดีที่มีผูประสานงานในการชวยเหลือแกเหยื่อการรับเรื่องรองเรียนจากผูเสียหายหรือเหยื่อ (2) ไดมีการกําหนดแบบและเนื้อหาของคํารองขอความชวยเหลือในทางอาญา การดําเนินการตามคํารองขอ และการเก็บรักษาความลับของประเทศสมาชิกในขอนี้ก็นับวา เปนขอดีอีกขอหนึ่ง เพราะมีการเก็บรักษาในการใหความ ชวยเหลือเปนความลับเฉพาะประเทศสมาชิกเทานั้น (3) ไดมีการกําหนดขอจํากัดการใชพยานหลักฐานที่ไดมาจากการชวยเหลือการไดมา ซึ่งการใหถอยคําโดย สมั ครใจของผู ให ถอ ยคํา การไดมาซึ่ง พยานหลั กฐาน และสิ ท ธิที่ จะปฏิเ สธการใหพ ยานหลั กฐานในข อ นี้นั บว า เป น ประโยชนอยางมากแกผูที่ตองการเปนพยานในศาล เพราะไมมีการขมขูในการใหการเปนพยานในศาลแตอยางใด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 179 (4) ไดมีการกําหนดการจัดหาใหซึ่งเอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได การปรากฏตัวของ บุคคลในภาคีผูรองขอ และการปรากฏตัวของบุคคลที่ถูกคุมขังในภาคีผูรองขอ (5) ไดมีการกําหนดหลักประกัน การเดินทางผานของบุคคลซึ่งถูกคุมขัง การจับกุมบุคคล การคนและยึด การ สงพยานหลักฐานคืน การคนหาที่อยูหรือการระบุตัวบุคคล การสงเอกสาร และความชวยเหลือในการดํา เนินการริบ ทรัพยสิน (6) ไดมีการกําหนดความสอดคลองกับขอตกลงอื่น การรับรอง และการยืนยันความถูกตองแทจริง คาใชจาย การปรึกษาหารือ การแกไข การระงับขอพิพาท และการตั้งขอสงวน (7) ได มี ก ารกํ า หนดเงื่ อ นไขในการลงนาม การให สั ต ยาบั น การภาคยานุ วั ติ การเก็ บ รั ก ษา และการ ลงทะเบียน การมีผลใชบังคับจริงของสนธิสัญญา การใชบังคับ และการบอกเลิกสนธิสัญญา และผูเก็บรักษาสนธิสัญญา ในสาระสําคัญของสนธิสัญญาฉบับดังกลาวนั้น มีขอดีแกผูเสียหาย หรือเหยื่อเปนอยางมาก ทั้งมาตรการในการ ใหความชวยเหลือตาง ๆ มาตรการรักษาเก็บรักษาคดีเปนความลับ มาตรการในการเดินทางผานในประเทศหรือในดินแดน รัฐนั้น ๆ ของผูที่ถูกคุมขัง ซึ่งเปนมาตรการที่ดีมากสําหรับผูที่ตองขัง ในเรื่องหมายจับ หมายคนของบุคคลตามสนธิสัญญานั้น ยังมีขอดอยอยูในเรื่องการออกหมายจับหมายคนของ ประชาคมอาเซียน เพื่อตอตานการคามนุษย ในกฎหมายของประเทศไทยและภูมิภาคของอาเซียนนั้น ในการสืบสวน และ สอบสวนหาพยานหลักฐานในคดีอาญานั้น เพื่อที่จะเอาผูกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมายมีความจําเปนอยางยิ่ง ตองมีการออกหมายจับบุคคลใดก็ตาม เพื่อนําบุคคลนั้นมาลงโทษในการจับบุคคลใดมาลงโทษก็ตองมีการออกหมายจับทุก ครั้ง ซึ่งทําใหเสียเวลาเปนอยางมาก นอกจาก การออกหมายจับแลว ยังใหอํานาจโดยชอบตอเจาพนักงานสอบสวนในการ ออกหมายเรียกบุคคลนั้นมาใหการเปนพยานหลักฐานในศาล หรือถามีเหตุฉุกเฉินที่ จะจับบุคคลใดไดตามที่กฎหมาย 56 กําหนด และมีอํานาจคนตัวบุคคลในที่สาธารณะได เพื่อที่จะแสวงหาพยานหลักฐาน ในกรณีการคนในที่รโหฐานนั้น เจาพนักงานจะทํา ไดก็ตอเมื่อมีหมายคนจากศาล เวนแตในกรณีฉุกเฉินและ 57 เรงดวนตามที่กฎหมายไดกําหนดไว ในการออกหมายจับนั้น ตองมีเหตุออกหมายจับ หมายขังตามที่ไดระบุไวในมาตรา 66(1) และ (2) ซึ่งกฎหมาย ไดระบุไววา จะจับบุคคลใดก็ได บุคคลนั้นตองกระทําความผิดทางอาญา โดยระบุไววา มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินสามป หรือมีหลักฐานอันสมควรวาบุคคลนั้นนาจะมีการกระทําความผิดทางอาญาเกิดขึ้น และมีเหตุที่พยานจะมีการหลบหนีการ จับกุม หรือจะไปยุงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายในประการอื่น ๆ ในกรณีที่บุคคลนั้นไมมีที่อยูเปนหลักแหลง หรือไมมาตามหมายเรียก หรือตามนัดโดยที่ไมมีเหตุอันควรแลว ใหตั้งขอสันนิฐานไวกอนวาบุคคลนั้น จะหลบหนีจากการ 58 ถูกจับกุม ในกรณีถาผูตองหา หรือจําเลยมีอายุไมถึงสิบแปดปบริบูรณ หรือเปนผูหญิงที่ตั้งครรภ หรือเพิ่งคลอดบุตรมาไม ถึงสามเดือน หรือเจ็บปวย ซึ่งถาตองขังจะถึงอันตรายแกชีวิต ศาลจะไมมีการออกหมายขั ง หรือหมายปลอยตัวผูตองหา หรือจําเลยซึ่งถูกขังอยูนั้นก็ได จากที่ไดวิเคราะหในการสงหมายนั้นมีขอดีตามมาตรา 77(3) วิธีในการดําเนินการในการสงหมายจับ หมายคนที่ เจาพนักงานไมสามารถที่จะมาศาลไดดวยเหตุจําเปน และฉุกเฉินกฎหมายไดกําหนดไวใหสามารถสงหมายทางโทรสาร สื่อ
56
อางแลว. พิศวาส สุคนธพันธุ และณรงค ใจหาญ. (2549). หนา 94. เรื่องเดียวกัน. 58 เรือ่ งเดียวกัน. 57
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 180 อิเล็กทรอนิกส หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ได และมีการสอดคลองกับวิธีในการขอหมายตามมาตรา 59 นับไดวา เปนการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อมาชวยในการสงหมายอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเปนวิธีการที่ทําใหเปนการประหยัดเวลา
ปกติแลวการที่จะจับกุมบุคคลใดก็ตาม จะตองมีการออกหมายจับกอนทุกครั้ง จึงจะสามารถจับกุมบุคคลนั้นได เพื่อจะเอาบุคคลนั้นมาลงโทษตามกฎหมาย เวนแตตามที่กฎหมายไดกําหนดไวในกรณีตามมาตรา 78 ดังนี้ (1) เมื่อบุคคลนั้นไดมีการกระทําความผิด ในลักษณะซึ่งหนา ดังไดบัญญัติไวในมาตรา 78 (2) เมื่อพบบุคคลโดยมีพฤติการณอันควรสงสัยวา บุคคลนั้น จะกอเหตุรายอันเกิดอันตรายแกบุคคลหรือ ทรัพยสินของบุคคลอื่นโดยไดมีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอยางอื่นที่สามารถใชในการกระทําความผิดนั้นได (3) เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับไดตามมาตรา 66 (2) แตมีความจําเปนที่ไมอาจขอใหศาลออกหมายจับ บุคคลนั้นได (4) เปนการจับผูตองหา หรือจําเลยที่หลบหนี หรือจะหลบหนีในระหวางถูกปลอยตัวชั่วคราวตามมาตรา 59 117 ในมาตรา 117 เมื่อผูตองหา หรือจําเลยมีการจะหลบหนี ใหอํานาจแกพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจที่พบ เห็นการกระทํา มีอํานาจในการจับผูตองหา หรือจําเลยนั้นได ซึ่งถือเปนขอยกเวนในการที่จะออกหมายจับบุคคลในแตละ ครั้งมาลงโทษตามกฎหมาย เวนแต ในกรณีที่บุคคลนั้น ไดทําสัญ ญาประกันหรื อหลักประกันอาจขอใหพนักงานฝา ย ปกครอง หรือตํารวจที่ใกลที่สุดจับตัวผูตองหา หรือจําเลยได ถาไมสามารถขอความชวยเหลือไดทันทีก็ใหสามารถจับตัว ผูตองหาหรือจําเลยไวไดเอง แลวสงไปยังพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่ใกลเคียงที่สุด และเจาพนักงานนั้นรีบสงตัว 60 ผูตองหา หรือจําเลยไปยังเจาพนักงาน หรือศาลโดยคิดคาพาหนะจากบุคคลที่ทําสัญญาประกันไว ในการคามนุษยนั้น ในภูมิภาคอาเซียน ยังไมมีการออกหมายจับของอาเซียนเพียงหมายจับหมายเดียว ที่สามารถ ใชไดทั่วประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้งสิบประเทศ ที่ทําใหตํารวจสามารถจับผูกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมายได สืบเนื่องมาจากการที่พนักงานตํารวจของรัฐเอง จะจับขบวนการคามนุษยไดก็ตองมีหมายจับกอน จึงจะสามารถจับขบวน การคามนุษยมาลงโทษได ถาภูมิภาคอาเซียนมีหมายจับอาเซียนแลว จะทําใหการจับกุมขบวนการคามนุษยงายมากยิ่งขึ้น เพราะจะตองไมมีการออกหมายจับทุกครั้งที่จะออกจับกุมผูกระทําความผิด ถาออกหมายจับทุกครั้งทําใหการจับกุมบุคคล ใดมาลงโทษจะยิ่งลาชา และในบางครั้ง ก็จะทําใหขบวนการคามนุษยหลุดพนจากการนําตัวมาดําเนินคดี ซึ่งสาเหตุสวน ใหญมาจากการที่จะจับบุคคลใดตองมีการออกหมายจับทุกครั้ง ทําใหเปนการเสียเวลาเปนอยางมาก จึงมีความจําเปน อยางยิ่งที่จะตองมีการออกหมายจับหมายคนเพียงหมายเดียวเทานั้น ที่สามารถใชไดทั่วทั้งภูมิภาคอาเซียนของเรา ซึ่งใน สถานการในปจจุบันนั้นไมสามารถที่จะกระทํา ได เพราะไมมีหนวยงานที่ใหการรับรองของการออกหมายจับ หมายคน เพียงหมายเดียวที่สามารถใชไดทั่วภูมิภาคอาเซียน สําหรับในสวนนี้ยังเปนจุดบกพรองเปนอยางมาก ดวยเหตุผลที่วา การจับบุคคล การคนตัวบุคคลมีความสําคัญ เปนอยางยิ่งตอกระบวนการยุติธรรมนํามาซึ่งพยานหลักฐาน
59 60
เรื่องเดียวกัน, หนา 95. เรื่องเดียวกัน.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 181 มาตรการคุมครองเหยื่อในระดับภูมิภาคอาเซียน ในระดับภูมิภาคอาเซียน ยังไมมีกฎหมายกลางที่ใหคํานิยามที่เฉพาะเจาะจงของคําวา ผูที่ตกเปนเหยื่อของการคา มนุษย หรือผูถูกคาแตอยางใด จึงเกิดปญหาขึ้นมาของคํานิยามของผูที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย หรือผูถูกคานั้น นิยามที่แทจริงมีความครอบคลุมเพียงใด เพราะถาไมมีคํานิยามที่เพียงพอบุคคลที่ลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมายวาดวย คนเขาเมืองยอมไมมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครอง ดังเชน บุคคลที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษยบุคคลเหลานั้น จะไดรับ มาตรการในการคุมครองของรัฐภาคีที่เหมาะสม รวมถึงในดานที่พักมาตรการในการเยี ยวยาในทางสังคม มาตรการ ฝกอบรมดานอาชีพใหแกผูที่ถูกคา มาตรการในการปองกันในระดับภูมิภาคของอาเซียนตามปฏิญญาอาเซียน มีการ กลาวถึง การคุมครองเหยื่อใหรัฐภาคีใชวิธีการตามที่ประเทศของตนเห็นสมควรในการคุมครองเหยื่อหรือผูเสียหายจาก การคามนุษยโดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน ในปฏิญญาอาเซียนเพื่อตอตานการคามนุษยมีการใหความชวยเหลือเหยื่อ หรือผูถูกคา โดยมีการคัดแยกเหยื่อ ออกจากผูที่กระทําความผิด เพราะจะไดใหความชวยเหลือเหยื่อการคามนุษยที่ตรงจุดประสงคที่สุด นับวา เปนขอดีของ ปฏิญญาเปนอยางมาก ถาไมมีการแยกเหยื่อออกจากผูกระทําความผิดแลว จะไมสามารถใหความคุมครองเหยื่อไดตรง วัตถุประสงค เนื่องจาก ผูกระทําผิดจะถูกดําเนินคดีทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งมีความแตกตางโดยสิ้นเชิงจาก ผูถูกคาที่ไดรับความคุมครองในการกักตัวไวเปนพยานหลักฐาน เพื่อดําเนินคดีแกนักคามนุษยทั้งในเรื่องมาตรการคุมครอง พยานในระหวางที่ใหการเปนพยานในศาล เพื่อเอาผิดแกนักคามนุษยในกรณีของผูกระทําความผิดจะมีการดําเนินคดีทาง ศาล และไมมีมาตรการในการใหความคุมครองแตอยางใด ในเรื่องความแตกตางระหวางผูกระทําความผิดกับผูที่ถูกคาผูกระทําความผิดจะไมไดรับการคุมครองในดาน ตาง ๆ ที่ผูถูกคาพึงจะไดรับทั้งมาตรการเรื่องความคุมครองก็จะแตกตางตามมาดวย ผูกระทําความผิดจะถูกดําเนินคดีตาม กฎหมายของประเทศนั้น ๆ ไมไดรับความคุมครอง ดังเชน ผูถูกคา หรือเหยื่อที่ไดรับการคุมครองในการเปนพยานในศาล ตลอดถึงการคุมครองในชีวิตความเปนสวนตัวตลอดระยะเวลาที่อยูในประเทศ หรือรัฐนั้น ไมมีการกดขี่ขมเหงจากขบวน นักคามนุษยแตอยางใด รวมถึงการสอบปากคําพยานในศาลแตมาตรการดังกลาว ยังไมรวมถึงการคุมครองการประกอบ อาชีพอยางถูกตองตามกฎหมายภายในประเทศนั้น ๆ แตอยางใด รวมถึงการไดสัญชาติที่ถูกตองในรัฐหรือดินแดนนั้นแต อยางใด ประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่ยังไมมีการแยกผูกระทําความผิดออกจากเหยื่อการคามนุษย มีสองประเทศไดแก ประเทศสิงคโปร และประเทศมาเลเซีย ซึ่งจะถูกดําเนินคดีตามกฎหมายไมไดรับสิทธิในดานการคุมครองแตอยางใด ดังนั้น ขอยกตัวอยางประเทศสิงคโปร สิงคโปรถูกมองวา เปนประเทศปลายทางของการคามนุษย เหยื่อการคามนุษยสวนใหญมาจากหลากหลาย ประเทศ อาทิ ประเทศไทย เมียนมาร มาเลเซีย เวียดนาม ประเทศสิงคโปรไดลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย การตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ และไมไดเขาเปนภาคีพิธีสารวาดวยการตอตานการคามนุษยในสตรีและเด็กแต อยางใด ประเทศสิง คโปรไมมี กฎหมายที่เ กี่ยวของกั บการคามนุษยบัญญัติ ไวโดยชัดแจงแตอยา งใด และไมมีแผนใน ระดับชาติที่เกี่ยวของกับการคามนุษย แตในประมวลกฎหมายอาญาของประเทศไดมีการกลาวถึง ความผิดฐานลักพาตัว 61 บุคคล ซื้อขายบุคคล เพื่อวัตถุประสงคในการบังคับใชแรงงานบังคับการคาประเวณีในทางเพศ บังคับใหแตงงาน ซึ่งเขา องคประกอบความผิดฐานการคามนุษยไดเชนกัน หรือคํานิยามของบุคคลที่ตกเปนเหยื่อก็ปรากฏในกฎบัตรวาดวยสตรีที่ 61
โชติรส โชคสวัสดิ์, (2549). มาตรการคุมครองผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยตามพิธีสารเพิ่มเติมวาดวยการปองกันปราบปรามและลงโทษ การคามนุษย โดยเฉพาะผูหญิง และเด็ก: ผลกระทบตอการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเขาเปนภาคี, (วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย), หนา 84.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 182 ไดมีการกลาวถึงการคาหญิงกับเด็ก เพื่อวัตถุประสงคในการคาประเวณี วาเปนความผิด และในพระราชบัญญัติวาดวยเด็ก และเยาวชนที่บัญญัติถึงการกระทําตอเด็กในหลายลักษณะตามกฎหมายฉบับดังกลาวเด็ก หมายถึง บุคคลที่มีอายุต่ํากวา 14 ปบริบูรณ ในกฎหมายทั้งสองฉบับดังกลาวมีสวนที่เกี่ยวของกับมาตรการในการใหความคุมครองแกผูที่ตกเปนเหยื่อ ดัง ประเด็นตอไปนี้ 1) การกําหนดใหมีหนวยงานเฉพาะในการดูแลสุขภาพของเด็กและผูหญิงที่ตกเปนเหยื่อของการ
กระทําความผิด62
ในบทบัญญัติวาดวยกฎบัตรของผูหญิง ไดมีหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นเปนการเฉพาะในการดูแล และดําเนินการให เปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย โดยมีการกําหนดผูอํานวยการสวัสดิการสังคมเปนผูทําหนาที่ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ การใหความชวยเหลือผูหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อของการคาประเวณี และมีหนาที่ในการบริหารงานใหเปนไปตาม ขอกําหนดในบทบัญญัติฉบับนี้ 63 2) การพิจารณาคดีโดยการถายทอดสัญญาณผานกลองโทรทัศนวงจรปด รัฐบาลสิงคโปรตระหนักถึงการเบิกความในคดีการคาประเวณีเปนอยางมาก ดังนั้น ถาศาลเห็นควรจะให ผูเสียหายเบิกความคดีผานทางการถายทอดสดแทนการที่จะตองเผชิญกับผูถูกกลาวหา เพราะปองกันการถูกขมขูของ พยานในศาล 64 3) การดําเนินกระบวนการพิจารณาคดีเปนการลับ การพิจารณาคดีการคาประเวณีที่เกี่ยวของกับเด็กและหญิงใหดําเนินกระบวนในการพิจารณาเปนการลับ หามบุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับคดีอยูในหองพิจารณาคดี เวนแตมีสวนเกี่ยวของกับคดี 65 4) การหามเปดเผยขอมูลสวนตัว รัฐบาลสิงคโปรไดมีการหามโดยเด็ดขาดหามหนังสือพิมพในการเสนอขอมูลใด ๆ ก็ตามเกี่ยวของกับผูหญิง และเด็กในเรื่องการคาประเวณีในทางเพศเด็ดขาด ไมวาจะเปนที่อยูรูปถายของผูเสียหาย หรือพยานในคดีผูเสียหายมีสิทธิ 66 ในการไดรับคาชดใชคาเสียหายในทางอาญา ใหศาลใชดุลยพินิจในการพิจารณาคาชดเชยจากการเสียหายในทางอาญาแกเหยื่อ และไมตัดสิทธิในการ เรียกรองในทางแพงแตอยางใด 67 5) การจัดที่พักที่ปลอดภัยใหกับผูหญิงและเด็กที่ตกเปนเหยื่อที่เกิดจากการคาประเวณี ในระหวางการพิจารณาคดีในศาล ผูอํานวยการสวัสดิการทางสังคมอาจพิจารณาใหผูหญิง และเด็กผูหญิงที่ ตกเปน เหยื่ อ ของการค า ประเวณี ไ ปอยู ในสถานที่ ปลอดภั ยโดยไดรั บ สวัส ดิ การดา นต างที่ จํา เป น จนกว า จะเสร็ จสิ้ น กระบวนการพิจารณา 68
6) มาตรการในการปกปองเด็กและเยาวชน
62
เรื่องเดียวกัน, หนา 85. เรื่องเดียวกัน. 64 เรื่องเดียวกัน. 65 เรื่องเดียวกัน. 66 เรื่องเดียวกัน, หนา 86. 67 เรื่องเดียวกัน. 68 เรื่องเดียวกัน. 63
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 183 สิงคโปรมีมาตรการในการปกปองเด็ก และเยาวชนที่เปนการเฉพาะ มีการเอาใจใสในการหาที่พักที่เหมาะสม แกเด็ก และเยาวชนรวมถึงการจัดการรักษาพยาบาลใหแกเด็ก
กรณีศึกษา69
Wongsa เปนหญิงสาวเผาอาขา ที่อยูในประเทศไทย เธอถูกหลอกลวงจากนายหนาคามนุษยใหเขาไปทํา งานที่ หาดใหญและถูกบังคับใหคาประเวณีในทางเพศ หลังจากนั้น นายหนาที่หาดใหญสงตัวเธอไปยังสิงคโปร ที่สิงคโปรเธอได ถูกจับตัว และถูกตั้งขอหาวา เขาเมืองโดยไมรับอนุญาต จากขอเท็จจริงดังกลาว ทําใหเราทราบ แมชนกลุมนอยก็ตาม ยังไมรอดพนในการจับกุมตัว และยังเปนเปาหมาย ของขบวนการคามนุษยในการเขาไปแสวงหาผลประโยชนจากกลุมบุคคลดังกลาว ตามตัวอยาง หญิงสาวผูที่ตกเปนเหยื่อ ถูกสงตัวไปภายในประเทศ และเวลาตอมา เธอถูกสงตัวออกไปยังประเทศหนึ่ง โดยที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมาย สุดทายเมื่อ เธอถูกจับกุมเธอถูกตั้งขอหาในการเขาเมืองโดยผิดกฎหมายจากรัฐผูรับ ซึ่งมองวา เธอไมใชผูที่ตกเปนเหยื่อ แตมองวา เธอ คือ ผูกระทําความผิด จึงมีความผิดตามกฎหมาย
ขอเสนอแนะเรื่องความไมเปนธรรมและเอกภาพของกฎหมาย สภาพการบังคับตามกฎหมายของภูมิภาคอาเซียนนั้น ยังไมมีความรวมมือที่เพียงพอในภูมิภาคที่จะสามารถมา แกไขปญหาความรายแรงของอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบการคามนุษยไดมีเพียงปฏิญญาอาเซียนวาดวยการคามนุษย และความรวมมือในระดับรัฐตอรัฐในรูปแบบ (MOU) ของภูมิภาคที่ยังไมมีความครอบคลุม และเพียงพอมาเยียวยาแก เหยื่อการคามนุษย ทั้งมาตรการในทางกฎหมายและมาตรการดานอื่นที่สําคัญ ดังนั้น ขอเสนอมาตรการดังกลาวเพื่อใหเกิด ความเขาใจ ซึ่งแยกเปนประเด็นดังนี้ 1) ภูมิภาคอาเซียน ควรจะตองมีอนุสัญญาในระดับภูมิภาคที่เกี่ยวของกับการคามนุษย และมีกฎหมายระดับ รองลงมารองรับ เชน พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงตาง ๆ เพื่อที่จะมาบัญญัติรองรับอนุสัญญาเพื่อที่จะ มาแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ ดังนั้น ควรกระทําตามแบบของสหภาพยุโรปที่มีอนุสัญญาของสหภาพยุโรปเพื่ อ ตอตานการคามนุษยที่มีความรวมมือของประเทศทั้งหลายในภูมิภาค และไดมีการบัญญัติมาตราที่เกี่ยวของในเรื่องการคา มนุษยไวในบทบัญญัติมาตรา 5 อนุสัญญาเพื่อตอตานการคามนุษยของประชาคมยุโรป และประเทศทั้งหลายในสหภาพก็ มีการลงนาม การใหสัตยาบันแกอนุสัญญารับรูถึงการเกิดมีขึ้นของอนุสัญญา และทําใหสภาพการบังคับเอาบุคคลที่กระทํา ความผิดในฐานการคามนุษยมาลงโทษตามกฎหมายไดโดยราบรื่น และมีความรวดเร็วเปนอยางยิ่ง เมื่ออาเซียนไดรวมเปนประชาคมอาเซียนอนุสัญญาอาเซียน จะตองมีมาตรฐานที่เปนเอกภาพ และเปนกลาง อยางแนแท เพราะประเทศตาง ๆ ภายในภูมิภาค จะตองใชระดับมาตรฐานทางกฎหมายในระดับเดียวกัน กฎหมายตัว เดียวกันมีการแลกเปลี่ยนซึ่งขอมูลระหวางกัน และการเปดประชาคมรวมกันนับวา เปนนิมิตรหมายที่ดีที่จะมีความรวมมือ ที่เปนรูปธรรมภายในภูมิภาค
2) ภูมิภาคอาเซียน ควรมีคําจํากัดความของคําวา “เหยื่อ” ที่เพียงพอ และมีความครอบคลุมเหยื่อที่เปนเพศชาย ดวย เพราะในปจจุบันเหยื่อที่เปนเพศชาย ยังตองการคุมครองในเรื่องนี้เชนกัน ซึ่งประเทศสวนใหญในภูมิภาคไมมีการ กําหนดความคุมครองใหแกเหยื่อการคามนุษยที่เปนเพศชายที่ เพียงพอ และมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองถูกบัญญัติไว
69
เรื่องเดียวกัน, หนา 87.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 184 โดยเฉพาะในอนุสัญญา และกฎหมายระดับรองที่ออกมารองรับกฎหมายแมบทของภูมิภาค ถามีการกํา หนดบทนิยามที่ ชัดเจน จะไดทราบถึงสิทธิของเหยื่อที่พึ่งจะไดรับสิทธิในดานที่เพียงพอ คํานิยามของเหยื่อในอนุสัญญา “เหยื่อ” ควรมีความครอบคลุมถึงบุคคลทุกคนที่ไดรับความเสียหายทั้งทาง รางกาย สภาพจิตใจในการกระทําผิดทางอาญาขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่มีความครอบคลุมถึงในทุกรูปแบบของ อาชญากรรมขามชาติ ภูมิภาคอาเซียน ควรมีการจําแนกเหยื่อการคามนุษยออกจากกันทั้งเพศหญิง เพศชาย และเด็กรวมถึงการ แยกผูที่กระทําความผิดออกจากเหยื่อ ดังเชน ประเทศสหรัฐอเมริกา เพราะจะไดใหความชวยเหลือเหยื่อ และคุมครอง เหยื่อไดตรงวัตถุประสงคมากที่สุด รวมถึงการคัดแยกเหยื่อในระหวางการอยูในสถานที่พักพิงของเหยื่อ เพื่อจะไดลดปญหา ในระหว า งที่ อ ยู ใ นสถานที่ พั ก พิ ง รวมถึ ง ให ค วามสํ า คั ญ แก เ หยื่ อ ที่ เ ป น เพศชายด ว ย เพราะประเทศต า ง ๆ ยั ง ไม ใ ห ความสําคัญแกเหยื่อที่เปนเพศชายที่เพียงพอ แตอยางใด อาเซียนควรจะมีกรอบประสานแยกเหยื่อที่เปนเพศชายใหอยูใน สถานที่พักพิงของเหยื่อ กอนที่เหยื่อจะถูกสงตัวกับประเทศที่เหยื่อมีภูมิลําเนาอยู 3) ในอนุสัญญาควรมีมาตรการกําหนดใหแกเหยื่อการคามนุษยไดรับถึงสิทธิในดานตาง ๆ ที่พึงจะไดรับ เชน มาตรการฝกอบรมดานอาชีพ มาตรการเยียวยาแกเหยื่อการคามนุษยหลังกลับไปดํารงชีวิตตามปกติในสังคม มาตรการ ทางดานกฎหมาย และดานอื่นที่สําคัญตอเหยื่อ หรือผูถูกคารวมถึงมาตรการที่ใหเหยื่อมีสิทธิไดพบนักจิตวิทยา นักสังคม สงเคราะหดวยในการไดรับคําปรึกษาในดานตาง ๆ เพราะเหยื่อสวนใหญที่ถูกคาไมไดยินยอมดวยประการทั้งปวง และยัง หวาดกลัวตอสิ่งรอบขางอยู เพื่อใหเหยื่อสามารถกลับไปดํา เนินชีวิตตามปกติสุข และไมใหมาอยูในวงโคจรของการคา มนุษยอีก รวมถึงการเปนแมเลาอีกครั้ง 4) มาตรการคุมครองเหยื่อประเทศไทย และอาเซียน ควรมีมาตรการในการออกวีซาใหแกเหยื่อของการคามนุษย อยางเชน ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการออกวีซาประเทศ T ใหแกผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ซึ่งบุคคลที่ถือวีซา ประเภทดังกลาวนั้น จะไดรับความคุมครองในดานสังคมในการใหที่พักพิงอาศัยตลอดจนการรักษาในการเปนพยานในศาล การฝกอบรมดานอาชีพ การดูแลดานสุขภาพและการฟนฟูสภาพทางจิตใจ เหยื่อที่ไดถือวีซาดังกลาวจะไดรับการคุมครอง จากรัฐที่ใหความชวยเหลือ บุคคลที่ถือวีซา T จะไดการใหความชวยเหลือตลอดจนการปองกันจากการถูกแกแคนในการ เปนพยานหลักฐานในศาล ภูมิภาคของเราสมควรมีกรอบประสานในการออกวีซาประเภทดังกลาวเปนอยางยิ่ง เพื่อที่จะได ใหการชวยเหลือเหยื่อจากการคามนุษยภายในภูมิภาครวมมือกันอยางเปนระบบทั้งสิบประเทศ 5) ภู มิ ภ าคอาเซี ย นควรมี ห ลั ก ประสานการคุ ม ครองพยานในศาลแก ผู ที่ ต กเป น เหยื่ อ ดั ง เช น ประเทศ สหรัฐอเมริกาที่มีหลักการคุมครองพยานในศาล เพื่อปองกันการถูกแกแคน มาตรการดังกลาวรวมถึงการเปลี่ยนตัวตน รูปพรรณ ที่อยูอาศัย คาใชจาย การเดินทาง ความชวยเหลือทางการเงิน ความชวยเหลือในดานการฝกฝนอาชีพ รวมถึง ดานอื่นเพื่อใหเหยื่อสามารถชวยเหลือตัวเองไดตลอดเวลาที่อาศัยอยูในประเทศนั้น 6) การคุมครองพยานของประเทศสหรัฐอเมริกานั้น มีความครอบคลุมถึงบุคคลที่มีความใกลชิดกับพยานดวยถือ วา เปนมาตรการที่ดีอยางยิ่งอาเซียนสมควรที่จะมีมาตรการดังกลาวเปนอยางยิ่งเพื่อปองกันการขมขู การแกแคนตอพยาน รวมถึงญาติในการใหการเปนพยานในศาล รวมถึงการเคลื่อนยายไปอยูในที่พักอาศัยที่มีความปลอดภัยตอพยานและ ครอบครัว รวมถึงในดานความคุมครองสิทธิดานพื้นฐาน เชน ในดานสถานสงเคราะห ดานที่พักอาศัยของเหยื่อที่มีความ ปลอดภัย สถานสงเคราะหที่มีความปลอดภัย สัญญาณเตือนภัย โทรศัพทเคลื่อนที่ การเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพทการที่ สามารถติดตอเจาหนาที่ทางกฎหมายทุกวัน หากมีความตองการสามารถจัดใหไดในคดีการคามนุษย 7) มาตรการในการคุมครองพยานหลักฐานในศาลภูมิภาคอาเซียน ควรมีมาตรการในการหามเปดเผยชื่อของ พยานในศาลตอสาธารณชนรวมถึงการเก็บรักษาคดีเปนความลับ ซึ่งถือวา เปนมาตรการที่ดีเปนอยางยิ่ง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 185 8) ภูมิภาคอาเซียนควรใหสิทธิแกผูที่ตกเปนเหยื่อไดรับทราบถึงขอมูลขาวสารในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในคดีที่ตนไดตกเปนเหยื่อรวมถึงสิทธิที่ในการไดรับรูขอมูลเกี่ยวกับการพิจารณาลงโทษ การจําคุก และการปลดปลอยผูที่ กระทําความผิด ซึ่งผูตกเปนเหยื่อสามารถรับรูโดยผานทางทนายความ อัยการในนามของผูที่ตกเปนเหยื่อ 9) ภูมิภาคอาเซียนควรจะสนับสนุน และใหความชวยเหลือแกผูที่ตกเปนเหยื่อในการที่จะมีทนายความ หรือผูวา ตางตามกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหผูที่ตกเปนเหยื่อไดเกิดความเชื่อมั่นในดานที่เกี่ยวของกับการให การเปนพยานรวมถึงการสัมภาษณกับเจาหนาที่สืบสวนและสอบสวนและพนักงานอัยการ 10) ภูมิภาคอาเซียนควรใหเหยื่อไดสิทธิที่จะพบนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะหแกเหยื่อทั้งเพศหญิง เพศชาย และเด็ก เพื่อใหเหยื่อไดมีที่ปรึกษาในดานสภาพทางจิตใจ
องคกรในการปฏิบัติตามกฎหมายและองคกรดานอื่นที่สําคัญเกี่ยวของกับการคามนุษย องคกรที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการคามนุษยนั้น องคกรตาง ๆ ลวนแตมีความสําคัญเปนอยางมากที่จะชวยเหลือแก เหยื่อ เนื่องมาจาก องคกรตาง ๆ เหลานั้นลวนมีอํานาจที่จะชวยเหลือเหยื่อไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะแนวทางที่ภูมิภาค อาเซียน ควรที่จะตองกระทํา ซึ่งสามารถแยกเปนประเด็นไดดังตอไปนี้
1) ดานแหลงเงินทุนของภาคธุรกิจ
ในดานแหลงเงินทุนของภาคธุรกิจนั้น ภูมิภาคอาเซียนควรที่จะตองมีการจัดตั้งกองทุนเงิน เพื่อชวยเหลือ เหยื่อการคามนุษย ดังเชน สหภาพยุโรปที่มีการจัดตั้งแหลงเงินทุน เพื่อมาชวยเหลือเหยื่อการคามนุษย ซึ่งนําเงินมาจาก การผูที่กระทําความผิดฐานการฟอกเงิน และนําเงินดังกลาวมาเขาเปนกองทุน เพื่อชวยเหลือเหยื่อ และรวมถึงเปน คาใชจายในการแสวงหาพยานหลักฐาน เพื่อนําบุคคลที่ไดกระทําความผิดมาลงโทษตามกฎหมายตอไป
2) ดานขอมูลขาวสาร
ในดานขอมูลขาวสารเมื่อภูมิภาคอาเซียนไดรวมเปนประชาคมแลว การรับรูขอมูลขาวสารของภูมิภาคยอมที่ จะมีการเปดรับขอมูลขาวสารที่มีความเปนกลางบุคคลทุกคนสามารถรับรูถึงขอมูลได ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่อาเซียน ของเราตองมีการจัดทําเว็บไซตเพื่อเผยแพรดานขอมูลขาวสารของภูมิภาค ดังเชน ภูมิภาคยุโรปที่มีการจัดทําเว็บไซต เกี่ยวกับการคามนุษย รวมถึงการมีบัตรประจําตัวของบุคคลผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษย ซึ่งในเรื่องนี้นับวา เปนสิ่งที่ ภูมิภาคของเราควรตองกระทําเปนอยางยิ่ง เพราะจะไดทราบวา ใครเปนเหยื่อการคามนุษยบางเพื่อที่จะใหความชวยเหลือ ไดตรงวัตถุประสงค และมุงคุมครองประโยชนโดยตรงแกเหยื่อ
3) ดานกลไกการประเมินและตรวจสอบ
เมื่อภูมิภาคอาเซียนไดรวมเปนประชาคมแลว กลไกในดานการประเมิน และตรวจสอบเหยื่อการคามนุษย นับวา เปนอี กเรื่องหนึ่งที่ มีความสํา คัญ เปนอยางมาก กอ นที่ผูถู กคาจะกลับไปดํารงชีวิตตามปกติในสัง คมได มีความ จําเปนตองไดรับการประเมินถึงความพรอมในดานครอบครัวสังคมที่เหยื่อจะตองกลับไปดําเนินชีวิตอยู ดังเชน สหภาพ ยุโรป มีการจัดใหประเมินเหยื่อการคามนุษยในทุกหกเดือน เพื่อใหเหยื่อไมกลับมาอยูในวงโคจรของการคามนุษยอีกนับวา เปนเรื่องที่ภมู ิภาคอาเซียนนาจะกระทําตามเปนอยางยิ่ง
4) การชดใชทางกฎหมายและคาสินไหมทดแทน
ในเรื่องการชดใชคาสินไหมทดแทน นับไดวา เปนเรื่องที่ผูถูกคามีความตองการเปนอยางมาก ในเรื่องดังกลาว ตามกฎหมายของประเทศไทยเอง หรือแมแตภูมิภาคอาเซียนยังมีมาตรการเรียกคาสินไหมทดแทนแกผูที่ถูกคานอยมาก เชน ในทางคดีอาญาผูถูกคา หรือผูเสียหายสามารถเรียกคาสินไหมทดแทนเพียงพระราชบัญญัติเดียวตามพระราชบัญญัติ คาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 นับวา เปนกฎหมายตัวเดียวที่มีอยู
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 186 ในปจจุบันที่สามารถใหผูเสียหายเรียกคาทดแทนได นับวา เปนขอดอยของกฎหมายเปนอยางมาก ภูมิภาคอาเซียนควรที่ จะรวมมือกันอยางจริงจังในแกปญหาดังกลาว ดวยการออกกฎหมายมาคุมครอง และสามารถใหผูเสียหายสามารถเรียกคา ทดแทนไดตามกฎหมายที่ผูเสียหายไดถูกกระทําเรื่องดังกลาว นาจะทุเลาเบาบางลงกวาที่เปนอยูตามที่ปรากฏ เชน ใน พระราชบัญญัติการฟอกเงิน ผูไดรับความเสียหายไมสามารถเรียกรองความเสียหายดังกลาวไดตามพระราชบัญญัติการ ฟอกเงินแตอยางใด สวนในการเรียกรองคาสินไหมในสวนแพงนั้น ผูเสียหายจํานวนนอยมากที่จะสามารถจะเรียกคาสินไหม ทดแทนไดคุมกับการที่ตนตองตกเปนเหยื่อ เพราะผูเสียหายสวนมากมีความยากจน จะตองจางทนายความมาวาความใน ศาลแกตนเอง ซึ่งฝายรัฐไมไดจัดหาทนายความใหแกอยางใดเลย นับวา เปนขอดอยของการเรียกรองคาสินไหมในทางแพง เปนอยางยิ่ง และจะตองใหคดีอาญาเสร็จสิ้นกอนผูเสียหาย จึงจะสามารถเรียกรองในทางแพงได พนักงานอัยการก็ไม สามารถที่จะฟองรองคดีดังกลาวไปในฟองคดีอาญาได สํา หรั บในเรื่ องนี้ ขอเสนอวา ฝา ยรั ฐ ควรจะตอ งจั ด หาทนายความให แก ผู เสี ยหายในการใชสิ ท ธิใ นการ เรียกรองคาสินไหมทดแทน เพื่อที่ผูเสียหายจะไมตองไปจางทนายความเอง เพื่อเปนการชวยผูที่เสียหายไปในตัวอีกทาง รวมถึงการจัดหานักสังคมสงเคราะห และนักจิตวิทยาใหแกผูถูกคาที่เปนเด็กและผูหญิง ดวยเรื่องดังกลาว จึงจะมีความ ทุเลาเบาลงกวาที่เปนอยูอยางแนแท
ระบบและกลไกการดําเนินงาน (คืน) สูสังคมที่มีอยูในกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) ประสบการณการถูกคามนุษยนั้น สรางความเสียหายรายแรง และยากยิ่งที่จะกาวพนไปได ทั้งยังทิ้งบาดแผล ยาวนานทั้งบาดแผลทางรางกายและจิตใจ ซึ่งไมอาจรักษาได แมเมื่อผูเสียหายจากการคามนุษยไดเขามาในสถานที่ ปลอดภัยแลวก็ตาม แตบอยครั้งที่ผูเสียหายจากการคามนุษยไดรับการแยก และถูกสงตัวกลับไปยังสภาพแวดลอมเดิม ๆ ซึ่งทําใหเขาตองตกอยูในสภาพการณเดิม ที่เปนสาเหตุหลักใหพวกเขาตกเปน เหยื่อการคามนุษยตั้งแตแรก และเปนที่ ทราบดีวา ผูเสียหายจากการคามนุษยจํานวนมาก ตองการความชวยเหลือ เพื่อใหเขาสามารถยืนดวยตัวเองได ฟนฟูจาก ประสบการณการคามนุษย และสรางชีวิตใหม ทั้งนี้ องคกรภาครัฐและเอกชน มีบทบาทสําคัญในการดําเนินการชวยเหลือ ผูเสียหายจากการคามนุษยใหสามารถกลับคืนสูสภาพปกติ และคืนสูสังคมอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการดําเนินงานจะตอง ตอบสนองความตองการของผูเสียหายรายบุคคล รวมทั้งจะตองรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของชวงเวลาและความทาทาย ของชีวิตผูเสียที่ดําเนินตอไป โครงการ COMMIT Region-wide (Re) Integration Initiative เปนสวนหนึ่งของกระบวนการคอมมิท (COMMIT Process) เปดตัวในป พ.ศ. 2553 โดยมีจุดมุงหมายที่จะสรางความเชื่อมั่น ความตองการของผูเสียหายจาก การคามนุษย จะถูกบงชี้ และไดรับการตอบสนองอยางเหมาะสม ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวครอบคลุมทั่วอนุภูมิภาคลุม แมน้ําโขง (GMS) โครงการ COMMIT Region-wide (Re) Integration Initiative เปดตัวในระหวางปสุดทายของการ ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการระดับอนุภูมิภาคของคอมมิทฉบับที่สอง และโครงการนี้ ไดดําเนินการตอเนื่องภายใต แผนปฏิบัติการระดับอนุภูมิภาคของคอมมิท ฉบับที่สาม ซึ่งวัตถุประสงคหลักของโครงการ COMMIT Region-wide (Re) Integration Initiative ก็เพื่อทําการประเมินประสิทธิผลการดําเนินงานดานการ (คืน) สูสังคมในประเทศกลุมอนุภูมิภาค ลุมแมน้ําโขง (GMS) และเพื่อพัฒนาความเขาใจอันลึกซึ้งเกี่ยวกับความตองการ และความกังวลที่แทจริงของผูเสียหายจาก การคามนุษย ทั้งผูเสียหายทีไ่ ดรับและไมไดรับความชวยเหลือ ราชอาณาจักรกัมพูชา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 187 การสงผูเสียหายจากการคามนุษยชาวกัมพูชา กลับประเทศขามพรมแดนจากประเทศไทยและเวียดนามจะ ดําเนินการผานกระบวนการที่เปนระบบตามหลักการบันทึกความเขาใจทวิภาคี โดยประเทศกัมพูชามีวิธีดํา เนินงาน มาตรฐาน (SOPs) นโยบายและระเบียบการตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการฟนฟู การสงคืนสูสังคม และการคุมครองผูเสียหาย ในสวนของการประสานความรวมมือกับประเทศไทยนั้น สํานักงานตอตานการคามนุษย และสงคืนสูสังคม กระทรวงกิจการสังคมและฟน ฟูทหารผานศึกและเยาวชน (MoSVY) จะไดรับขอมูลผูเสียหายจากการคามนุษยชาวกัมพูชา ที่ไดรับการคัดแยกแลว ซึ่งจะสงขอมูลใหกับสํานักงานกระทรวงกิจการสังคมและฟนฟูทหารผานศึก และเยาวชนระดับ จังหวัด (DoSVY) เพื่อตามหาครอบครัว จากนั้น จะทําการสงตัวผูเสียหายผานศูนยผานแดนปอยเปต (PTC) ซึ่งเปน บานพักชั่วคราวบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ดําเนินการโดย MoSVY โดยผูเสียหายทุกเพศ และทุกวัยจะเขาพักใน บานพักไมเกิน 24 ชั่วโมง กอนจะไดรับการสงกลับชุมชนของตนดวยความชวยเหลือดานการเดินทาง และจะไดรับชุด ความชวยเหลือชั่วคราว และการชวยเหลือดานการประกอบอาชีพจากองคการพัฒนาเอกชน กระบวนการสงตัวผูเสียหายชาวกัมพูชาจากประเทศอื่น ๆ นั้น จะดําเนินการผานชองทางทางการทูตผาน สถานทูต กระทรวงการตางประเทศ และความรวมมือระหวางประเทศ (MoFA) พรอมดวยการสนับสนุนจากผูเกี่ยวของ เชน UNIAP หรือ IOM และองคกรพัฒนาเอกชนภายในกัมพูชาและประเทศปลายทาง ในการนี้กระทรวงการตางประเทศ จะรองขอให MoSVY เปนหนวยงานหลักในการดํา เนินการสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคมเพิ่มเติมไปจากแนวทางการ ดําเนินงานที่วางไว แมวา ผู เสียหายจํานวนมาก ซึ่ งไดรับ การสง ตัวกลับ ตามการดํา เนิน งานดัง กลาว ยังไมไ ดรับการ ชวยเหลืออยางรอบดานก็ตาม และการคามนุษยภายในประเทศนั้น ผูหญิงและเด็กเปนสวนใหญ โดยเฉพาะกรณีที่เปน ผูเสียหายจากคามนุษยทางเพศ สามารถเขารับการบริการจาก MoSVY และองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของตามที่ไดระบุ ไว อยางไรก็ตาม ผูเสียหายผูชายไมไดอยูในบริบทของการชวยเหลือนี้ นอกจากนี้ ผูเสียหายที่เดินทางกลับประเทศดวย ตัวเองจํานวนมาก ตางเผชิญอุปสรรคในการเขารับความชวยเหลือเพื่อกลับ (คืน) สูสังคมในประเทศกัมพูชา สําหรับเวียดนามนั้น การสงตัวผูเสียหายจะดําเนินรวมกับสถานกงสุลกัมพูชาในกรุงโฮจิมินห ซึ่งจะทําการคัด แยกผูเสียหาย และสงตอขอมูลไปยังสํานักงานกระทรวงกิจการสังคมและฟนฟูทหารผานศึก และเยาวชนระดับจังหวัด (DoSVY) เพื่อการตามหาครอบครัว จากนั้น หนวยงานทั้งสองจะประสานงานในการสงตัวผูเสียหายกลับประเทศ ทั้งนี้ ผูเสียหายที่เปนผูหญิงและเด็ก ซึ่งถูกสงกลับจากประเทศไทยและเวียดนามสามารถเลือกเขาพํานักในบานพักขององคกร พัฒนาเอกชนได ซึ่งใหบริการดานการฟนฟูทางจิตใจและสังคม โครงการดานการศึกษาและฝกทักษะอาชีพ การพํานักใน บานพักจะมีระยะเวลาตั้ งแตสามเดือนถึงหาป ภายหลังพํา นักในบานพักดังกลาว องคกรพัฒนาเอกชน จะดําเนินการ ชวยเหลือผูเสียหายอยางตอเนื่องในการสงผูเสียหายกลับ (คืน) สูสังคม โดยการเยี่ยมบาน การมอบเงินทุนประกอบอาชีพ เพิ่มเติม และการฝกอบรมทักษะขัน้ สูงเปนเวลาประมาณหนึ่งหรือสองป
สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีการดําเนินงานเพื่อคัดแยก และสงผูเสียหายจากการคามนุษยกลับคืนสูสังคม เนน ที่ระดับภายในประเทศเปนการเฉพาะ แมวา รัฐบาลจะดําเนินการสงตัว และใหความชวยเหลือผูเสียหายชาวจีนใน ตางประเทศ โดยเฉพาะผูเสียหายในประเทศมาเลเซีย และประเทศไทยก็ตาม โดยทั่วไปแลว เฉพาะผูหญิง และเด็กที่ตก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 188 อยูในสถานการณการแสวงหาประโยชน เชน การบังคับแตงงาน การรับบุตรบุญธรรมผิดกฎหมาย การแสวงหาประโยชน ทางเพศ และการบังคับใชแรงงานเด็กและเยาวชน จะไดรับการจําแนก และไดรับความชวยเหลือในฐานะผูเสียหายจาก การคามนุษยในประเทศจีน อยางไรก็ต าม ผูชายก็สามารถไดรับ การจําแนกวา เปน ผูเสียหายจากการค ามนุษ ยจากการถูกบัง คับใช แรงงานตามประมวลกฎหมายอาญา และสามารถไดรับความชวยเหลือจากบานพักของรัฐบาลไดเชนกัน เมื่อตํารวจทําการ คัดแยกผูเสียหาย กระทรวงตํารวจ (MPS) กระทรวงมหาดไทย (MCA) และสมาพันธสตรีจีน (ACWF) โดยไดรับความ สนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ จะดําเนินการสงเคราะหใหความชวยเหลือชั่วคราวดานการ สงกลับและสงคืนผูเสียหายสูสังคม ดวยอาณาเขตประเทศที่ใหญโตกวางขวางและมีประชากรจํานวนมาก รัฐบาลจีนจึงดําเนินงานศูนยพักพิง และศูนยคุมครอง 1,593 แหงทั่วประเทศ ซึ่งใหบริการผูเสียหายจากการคามนุษยรูปแบบตาง ๆ หลากหลาย อันไดแก การใหที่พักอาศัย การรักษาพยาบาล การฟ นฟูดานจิตใจ การใหความรู และความชวยเหลือดานกฎหมาย รวมทั้งการ ฝกอบรมทักษะชีวิต และวิชาชีพ การใหความชวยเหลือเชนนี้ มีเปาหมายเพื่อสรางความตระหนักแกผูเสียหายถึงการคา มนุษยและเพื่อพัฒนาศักยภาพผูเสียหายในการปองกันตนเอง รวมทั้งมีทักษะชีวิตและวิชาชีพ ทั้งนี้ บานพักของรัฐบาล ทั้งหมดดําเนินงานภายใตแนวทาง ซึ่งพัฒนาโดยกระทรวงมหาดไทย ซึ่งระบุกลไกในการรับและใหบริการผูเสียหายจาก การคามนุษยตลอดชวงการพํานัก โดยศูนยสมาพันธสตรีจีนในทองถิ่น จะรวมกับองคกรพัฒนาเอกชนระหวางประเทศ และองคกรชุมชนระดับทองถิ่นอาจดําเนินการในการจัดที่พักอาศัย และอาหารใหการฝกอบรมทักษะชีวิตและวิชาชีพ การ ใหความชวยเหลือดานการรักษาพยาบาล และฟนฟูจิตใจ หรือการเขาถึงโอกาสเงินทุนขนาดเล็กสําหรับผูเสียหายจาก การคามนุษย และบางครั้งก็มีการดําเนินการติดตามใหความชวยเหลือตอเนื่องเปนเวลาหกเดือน ภายหลังผูเสียหายจบ โครงการจากบานพักแลว สาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว มีกลไกการสงกลับและการดําเนินงาน (คืน) สูสังคม มุงความสําคัญไป ที่คดีขามชาติกับประเทศไทย ดวยจํานวนผูเสียหายที่ไดรับการสงกลับจากที่อื่น ๆ มีไมมากนัก กระบวนการสงกลับ จึง ดําเนินการผานชองทางทางการทูตเฉพาะกิจ ทั้งนี้ ผูเสียหายจะไดรับการสงตัวกลับไปยังชุมชนทันทีเมื่อเดินทางมาถึ ง ชายแดน อยางไรก็ตาม บนพืน้ ฐานบันทึกความเขาใจทวิภาคีนั้น จะมีการรับผูเสียหายที่ถูกสงตัวกลับจากประเทศไทย ที่ศูนยผานแดนเวียงจันทน (VTC) ซึ่งเปนสถาบันที่ดําเนินการรวมกันระหวางกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (MLSW) และองคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน (IOM) เปนเวลาหนึ่งสัปดาห จากนั้น เจาหนาที่ตํารวจจะ ดําเนินการสัมภาษณถึงประสบการณการคามนุษย ซึ่งองคกรที่เกี่ยวของ ไดแก องคกรชวยเหลือเด็กและผูหญิง Village Focus International และ World Vision จะชี้แจงถึงแผนงานใหความชวยเหลือ (คืน) สูสังคมที่เปนไปได รวมทั้งการ ตรวจสุขภาพและการรักษากรณีจําเปน จากนั้น MLSW, IOM และ/หรือ WV จะอํานวยความสะดวกในการชวยเหลือ ผูเสียหายคืนสูครอบครัว จากนั้น องคกรที่เกี่ยวของจะทําการประเมินครอบครัวและประเมินความตองการเพื่อที่จะทํางาน รวมกันในการวางแผนการใหความชวยเหลือในการ (คืน) สูสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยผูเสียหายอาจพํานักใน บานพักแหงใดแหงหนึ่งจากบานพักสี่แหงภายในประเทศ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับวา หนวยงานใดเปนผูทําการประเมินครอบครัว หนวยงานดังกลาว จะดําเนินการจัดสภาพแวดลอมที่ปลอดภัยพรอมทั้งใหการฝกอบรมดานอาชีพ และเยียวยาดานจิตใจ และสังคม สําหรับกรณีอื่น ๆ ไดมีการใหความชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยในรูปแบบที่ คลายคลึงกันนี้ ภายใน ชุมชนของผูเสียหายโดยไมตองเขาพํานักในบานพัก เมื่อแผนงาน (คืน) สูสังคมดําเนินการเสร็จสิ้น จะมีการติดตามสภาพ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 189 ความเปนอยูของผูที่ถูกสงตัวกลับบาน และชุมชนเปนเวลาหนึ่งถึงสามป ซึ่งการดําเนินการดังกลาวนี้ นําไปใชกับกรณี ผูเสียหายจากการคามนุษยภายในประเทศเชนกัน โดยเปนการดําเนินงานรวมกันระหวางสหภาพแมหญิงลาว (LWU) และ องคกรชวยเหลือเด็กและผูหญิงแหงประเทศลาว องคกรทั้งสองดําเนินงานบานพักสําหรับผูเสียหายจากการคามนุษย ภายในประเทศ และใหความชวยเหลือผูเสียหายเหลานี้ ในรูปแบบเดียวกันกับผูเสียหายจากการคามนุษยระหวางประเทศ ตามที่กลาวมาแลว ทั้งนี้ ถึงแมวา ผูเสียหายผูชายจะสามารถไดรับการคัดแยกในฐานะผูเสียหายจากการคามนุษยภายใต ประมวลกฎหมายอาญาได กระนั้น การใหความชวยเหลือสวนใหญที่มีอยูจะมุงไปที่ผูหญิงและเด็กเทานั้น สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร มีการสงผูเสียหายกลับประเทศผานชองทางระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ชองทางตาง ๆ นั้น ชวยอํานวยความสะดวกในการเดินทางกลับของผูเสียหายจากประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ประเทศจีนและไทย ผูเสียหายทุกคนไมจํากัดอายุ และเพศ มีสิทธิไดรับการคุมครองและความชวยเหลือภายใตกฎหมาย ตอตานการคามนุษย อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัตินนั้ บริการและความชวยเหลือแกผูหญิงและเด็ก มีความครอบคลุมรอบดานกวา บริการและความชวยเหลือที่มีใหผูเสียหายผูชาย เมื่อผูเสียหายเดินทางมาถึง จะมีการรับผูเสียหายที่ศูนยผานแดน/พักพิง หนึ่งในหาศูนยที่ตั้งอยูทั่วประเทศ ซึ่งดําเนินการโดยกรมสวัสดิการสังคม (DSW) โดยจะรับผูเสียหายเขาพักเปนระยะสั้น ๆ กอนสงตัวกลับยังภูมิลําเนา โดยทําการฝกอบรมทักษะวิชาชีพ การรักษาพยาบาลฉุกเฉิน และการใหคําปรึกษาเบื้องตน ระหวางพํานักในบานพักในกรณีพิเศษ เชน ผูเสียหายที่เปนเด็ก ซึ่งมีผลการประเมินครอบครัวเปนลบจะไดรับอนุญาตให พํานักระยะยาวเพื่อรับความชวยเหลือ ทั้งนี้ เมื่อผูเสียหายเดินทางมาถึงจะมีประชุมการสงกลับและการกลับคืนสูสังคม เพื่อประสานความรวมมือในการเตรียมการดําเนินงานชวยเหลือสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคมอยางมีประสิทธิภาพ โดย DSW เปนประธานการประชุม และมีภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนที่ดําเนินการตอตานการคามนุษยเขารวมประชุมดวย ทั้งนี้ จะมีการแบงความรับผิดชอบระหวางผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวย การสืบคน/ประเมินครอบครัว การออก เอกสารประจําตัวบุคคล การสัมภาษณเพื่อดําเนินคดี การเขารวมในกระบวนการกฎหมาย การเดินทางกลับ และการแบง สรรหนาที่รับผิดชอบในการดําเนินความชวยเหลือสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคม กรมสวัสดิการสังคม World Vision (WV) และองคกรชวยเหลือเด็ก คือ องคกรหลักที่ดําเนินงานดานการสงผูเสียหาย (คืน) สูสังคมระยะยาวในประเทศเมียนมาร ใน กรณีที่ผูเสียหายถูกสงตัวกลับยังพื้นที่ทํางานปจจุบันของ WV และองคกรชวยเหลือเด็ก ผูเสียหายจะไดรับบริการการสง (คืน) สูสังคมอยางครอบคลุมรอบดาน ซึ่งประกอบดวย การประเมินความตองการ การฝกอบรมทักษะวิชาชีพ การ สนับสนุนอุปกรณ และเงินทุนประกอบอาชีพ การฟ นฟูดานจิตใจและสังคม รวมทั้ งการติดตามประเมินผล และการ สนับสนุนอยางตอเนื่องตลอดหนึ่ง หรือสองป ในพื้นที่หางไกลหรือพื้นที่ที่ยากแกการเขาถึงในประเทศเมียนมารนั้น กรม สวั ส ดิ ก ารสั ง คม โดยการสนั บ สนุ น จากองค ก ร UNICEF จะดํ า เนิน การสนั บ สนุ น ชุ ด ความช ว ยเหลื อ ส ว นหนึ่ ง ซึ่ ง ประกอบดวย เงินทุน อุปกรณและการติดตามผลในระยะสัน้ นอกเหนือจากนี้ องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่น ฐาน จะมอบเงินสดเพื่อเติมเต็มสวนที่ขาดในการดําเนินงานชวยเหลือผูเสียหายทั้งผูหญิงและผูชายที่ถูกสงตัวกลับมาจาก ตางประเทศ (คืน) สูสังคม สําหรับผูเสียหายจากการคามนุษยภายในประเทศนั้น หนวยงานบังคับใชกฎหมายจะทําการคัด แยกผูเสียหายสวนใหญ อยางไรก็ตาม การใหบริการสง (คืน) สูสังคมของผูเสียหายกลุมนี้ มีไมมากนัก เชนเดียวกัน ผูเสียหายซึ่งเดินทางกลับดวยตนเองตางไดรับความชวยเหลือเพียงเล็กนอย หากพวกเขารายงานประสบการณที่เขาถูก คา มนุษยใหบานพัก หรือหนวยงานบังคับใชกฎหมายไดรับทราบ พวกเขาอาจไดรับเงิ นทุนหรือเงินสดจํานวนหนึ่ง หรือชุด ชวยเหลือผูเสี ยหายจากกรมสวัสดิการสัง คม ซึ่งไดรับ การสนับสนุน จาก UNICEF แตในป จจุบัน ไมมีก ารชวยเหลือ ที่ ครอบคลุมรอบดานสําหรับผูเสียหายในสภาพการณเชนนี้
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 190 ราชอาณาจักรไทย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (DSDW) ประสานงานกับตํารวจองคการระหวางประเทศ เพื่อการโยกยาย ถิ่นฐาน และองคกรพัฒนาเอกชนภายในประเทศ ในการรับตัวผูเสียหายชาวไทย ณ สนามบินในกรุงเทพ เมื่อผูเสียหาย เดินทางมาถึง จากนัน้ จะมีการสัมภาษณผูเสียหายแตละคนถึงประสบการณการคามนุษย รวมถึงกําหนดความชวยเหลือ เบื้องต นที่เหมาะสมที่สุด ในขั้น นี้ และมีการจัดที่พั กใหชั่ วคราวในสถานคุ มครองของรั ฐบาลรวมทั้ งใหค วามคุ มครอง ผูเสียหาย จนกระทั่ง การประสานงานในระดับประเทศเสร็จสิ้น และมีการสงผูเสียหายกลับบาน จากนั้น สํานักปองกัน และแกไขปญหาการคาหญิงและเด็ก (BATWC) จะทํางานรวมกับหนวยงานภาครัฐระดับจังหวัด องคกรเอกชนและองคกร พัฒนาเอกชนในการให ความชว ยเหลือดา นสัง คมและเศรษฐกิจในการส งผูเ สียหาย (คืน) สูสั งคม ซึ่ง กระบวนการนี้ ประกอบด วย การประเมินความต องการแบบมี ส วนร วมจากผูเ สียหาย และครอบครัว รวมทั้ งพิ จารณาเงื่ อนไขทาง เศรษฐกิจของชุมชนโดยรวม ซึ่งผูเสียหายจะเขาพํานักในสถานคุมครองหนึ่งในเกาแหงทั่วประเทศ (บานพักสําหรับผูหญิงสี่ แห ง สํา หรั บ ผูช ายสี่แ หง และสํ าหรับ เด็ก ผูช ายหนึ่ ง แห ง ) เปน เวลาสองหรื อ สามเดือ น โดยสถานคุมครองเหล านี้ มี วัตถุประสงคเพื่อฟน ฟูสภาพจิตใจ และฝกทักษะวิชาชีพใหแกผเู สียหาย การฝกทักษะวิชาชีพนี้ ประกอบดวย การฝกอาชีพ ทําอาหาร และการเรียนเสริมสวยสําหรับผูหญิง และชั้นเรียนดานเครื่องยนต และเทคนิคสําหรับผูชาย อีกทางเลือกหนึ่ง คือ ผูเสียหายสามารถเลือกกลไกสนับสนุนฟน ฟูภายนอก ซึ่งมีการฝกอบรมที่คลายคลึงกัน เพียงแตไมไดดําเนินการภายใน สถานคุมครอง เมื่อดําเนินการฝกอบรมเสร็จสิ้นแลว สํานักปองกันและแกไขปญหาการคาหญิงและเด็ก และหนวยงาน ภาครัฐระดับจังหวัด จะประสานงานกับหนวยงานระดับอําเภอและหมูบาน เพื่อติดตามประสิทธิผลของการดําเนินงานคืน (สู) สังคม และเพื่อใหแนวทางและความชวยเหลือเพิ่มเติม ระยะเวลาการติดตาม และประเมินผลดังกลาวนี้ มีระยะเวลา ตัง้ แตสามเดือนถึงหนึ่งป สําหรับผูเสียหายชาวไทยที่เดินทางกลับประเทศเองนั้ น หนวยงานภาคีองคกรพัฒนาเอกชนในประเทศ ปลายทางจะแจงขอมูลมายังกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ถึงการเดินทางกลับของผูเสียหาย จากนั้น กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการรวมกับเจาหนาที่ตํารวจ จะดําเนินการคัดแยกผูเสียหาย ณ สํานักงานตรวจคนเขาเมือง หากผูเสียหายที่ เดินทางกลับเองนั้นไดรับการจําแนกวา เปนผูเสียหายจากการคามนุษย พวกเขามีสิทธิไดรับบริการ และการคุมครอง ใน สวนของการสงผูเสียหายตางชาติกลับประเทศและกลับคืนสูสงั คมนั้น ประเทศไทยมุงใหความสําคัญกับการประสานความ รวมมือระหวางประเทศ เพื่อการสงกลับที่ปลอดภัยผานกลไกระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ดว ยวิธีดําเนินงานมาตรฐาน (SOPs) พรอมดว ยแนวทางที่มีผูเสียหายเป นศูนยกลาง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดและสิทธิของ ผูเสียหาย
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนามนั้ น กระทรวงแรงงาน ทุ พ พลภาพ และสวั ส ดิ ก ารสั ง คม (MOLISA) ดําเนินการรับผิดชอบทั้งหมด ดานการคุมครอง และการสงผูเสียหายจากการคามนุษยคืน (สู) สังคม กฎหมายตอตาน การคามนุษยฉบับใหมของประเทศเวียดนาม ตระหนักถึงผูเสียหายจากการคามนุษยทั้งผูหญิงและผูชาย แมวา สวนใหญ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 191 แลว ผูเสียหายผูชายมักจะไมไดรับความชวยเหลือ เนื่องจาก ไมมีแผนงานที่เหมาะสมทางเพศสภาพ รวมทั้งสถานคุมครอง สําหรับผูเสียหายผูชาย ผูเสียหายชาวเวียดนามที่ไดรับการคัดแยกจากประเทศกัมพูชา สปป.ลาว และจีน จะถูกสงตัวกลับ ณ พืน้ ที่ชายแดนผานชองทางรัฐบาล สําหรับผูเสียหายที่ถูกสงตัวกลับจากประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะจากประเทศไทย และ มาเลเซีย หนวยงานทางการทูตของประเทศจะอํา นวยความสะดวกกระบวนการสงกลับโดยการสนับสนุนจากองคการ ระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน และองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของ ในพื้นที่เฉพาะบางแหง ผูเสียหายสามารถ ขอรับการสงเคราะหจากศูนยปองกันภัยชายแดนหรือศูนยแรกรับระยะสั้น ซึ่งดําเนินการโดย Border Guard Command และ MOLISA ตามลําดับ ทัง้ นี้ เวียดนามมีศูนยแรกรับระยะสั้นสามแหง โดยศูนยสองแหงที่ตั้งอยูในภาคเหนือนั้น ใหบริการผูเสียหายที่ ถูกสงกลับจากประเทศจีน และศูนยอีกหนึ่งแหงที่ตั้งอยูในภาคใตจะรองรับผูเสียหายที่ถูกสงกลับจากกัมพูชา ทั้งนี้ ศูนยจะ จัดหาที่พัก ความจําเปนพื้นฐาน การดูแลสุขภาพและการใหคําปรึกษาเบื้องตนเปนเวลา 15 วัน จากนั้น ผูเสียหายสามารถ แสวงหาความชวยเหลือเพิ่มเติมผานศูนยระยะยาวหาแหง ซึ่งดําเนินงานโดยหนวยงานรัฐบาลทองถิ่นของเวียดนาม และ ไดรับการสนับสนุนดานเทคนิคและงบประมาณจากองคกรพัฒนาเอกชนระหวางประเทศ โดยสถาบันเหลานี้ มีขอบเขต การดําเนินงานที่กวางกวาศูนยแรกรับที่ไดกลาวมาขางตน แตมักทํางานกับผูเสียหาย ซึ่งมีญาติอาศัยอยูใกลชิด การบริการ ครอบคลุมถึงการศึกษาในระบบ การฝกวิชาชีพ การใหความชวยเหลือดานกฎหมาย การรักษาพยาบาลและใหคําปรึกษา โดยขึ้นอยูกับผลการประเมินความตองการ และการเลือกของผูเสียหาย และครอบครัว จะไมมีการกําหนดระยะการพํานัก ของผูเสียหายลวงหนา ซึ่งผูเสียหายสามารถพํานักยาวนานไดถึงสองป และจะมีการติดตาม และใหการสนับสนุนตอเนื่อง เปนรายบุคคลตามสภาพการณ โดยไมมีแนวทางเปนมาตรฐาน ผูเสียหายสามารถเลือกที่จะรับความชวยเหลือในรูปแบบ การบริการภายนอกศูนย เชน การฝกอบรมวิชาชีพ การหางาน หรือการกูยืมเงิน โดยผานสํานักงาน MOLISA ในทองถิ่น ไดนานสุดเปนเวลาหกเดือน นอกเหนือจากนัน้ กฎหมายตอตานการคามนุษยฉบับใหมยังอนุญาตใหผูเสียหาย ซึ่งเดินทาง กลับเองสามารถรายงานคดีของตนแกหน วยงานรัฐบาล เพื่อขอสถานภาพการเปนผูเสียหายจากการคามนุษยอยางเปน ทางการ และสามารถเขารับบริการ อยางไรก็ตาม กระบวนการเหลานี้ มักจะมีหลักฐานไมเพียงพอ เพื่อพิสูจนสถานภาพการเปนผูเสียหาย ซึ่ง สงผลใหผูที่ไมไดรับการคัดแยกวา เปนผูเสียหายมีทางเลือกเดียวในการแสวงหาการชวยเหลือนั่นคือ จากบานพักระยะยาว ซึ่งมีขอบเขตหนาที่ที่ครอบคลุมกวา โดยสรุปแลว ปญหาการคามนุษย เปนปญหาขามชาติที่กอใหเกิดผลกระทบตอความมั่นคงของประเทศ และ ความสั มพั น ธ ร ะหว า งประเทศมาเป น เวลาช า นาน ป จจั ยที่ เ ป น สาเหตุ ที่ ก อ ให เ กิ ด ป ญ หาก็ เ นื่ อ งมาจากสภาวการณ เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจภายในประเทศ ความยากจนของประชากร ภาวการณวางงาน ความตองการมีชีวิตที่ดีกวา การ ถูกลอลวงจากนายหนา เสนทางและลักษณะภูมิประเทศบริเวณแนวพรมแดนที่เอื้อตอการเคลื่อนยายของกลุมขบวน การคามนุษยขามชาติ ปจจัยเหลานี้ ลวนแลวแตเปนปจจัยหลักที่ทําใหเกิดปญหาการคามนุษย และปจจัยที่สงเสริมให การคามนุษยไมหมดสิ้นไปก็คือ การที่มีมาตรการ และนโยบายในการปราบปรามปองกัน แตสุดทายแลว การดําเนินการ ไมไดทั้งหมดตามที่ไดกําหนดไว ดวยเหตุเพราะเจาหนาที่ของรัฐละเลย หรือมีสวนไดสวนเสียดวย ปญหาการคามนุษยไมไดเปนปญหาใหมที่พึ่งจะเกิดในภูมิภาคอาเซียนนี้ ดังนั้น มาตรการในการปองกันและ แกไขปญหาการคามนุษยในวิธีตาง ๆ จึงมีมานานแลว ไมวาจะเปนในรูปแบบของตัวบทกฎหมาย อนุสัญญา พิธีสาร ฯลฯ แตถึงกระนั้น ปญหาการคามนุษยก็ยังมิไดหมดสิ้นไปจากสังคมโลก อันเนื่องดวยจากสภาวการณโลกที่เปลี่ยนแปลงไมเคย หยุดนิ่ง เศรษฐกิจโลกมีขาขึ้น ขาลง บางชวงเศรษฐกิจโลกดี สงผลใหวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนดีขึ้น แตบางชวงที่ อยูในชวงเศรษฐกิจตกต่ํา ขาวยากหมากแพง ทําใหประชาชนตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอดของตนเอง จนนําไปสูการเกิด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 192 ปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางการคามนุษย การถูกลอลวง หรือบางคนก็ถือวา การคาประเวณี หรือการทํางานเปนคน รับใช เปนเรื่องธรรมดา อีกทั้งปญหาการคามนุษย เราไมสามารถปฏิเสธไดวา ในบางครั้งบางประเทศก็มีการละเลย ในการ สอดสองดูแล หรืออาจจะมีผูมีอิทธิพลบางกลุมที่สมรูรวมคิด และใหการสนับสนุนอยูเบื้องหลังดวย และที่สําคัญในเรื่อง ของลักษณะภูมิประเทศก็มีสวนสําคัญที่ทําใหเกิดชองวางในการขนสง เคลื่อนยายเหยื่อการคามนุษยไดสะดวก ในการที่ประเทศตาง ๆ ในอาเซียนรวมมือกันเพื่อเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ เพื่อเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงนั้น แมวา วัตถุประสงคของการกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน จะมุงเนนไปที่การเพิ่มอํานาจตอรองและ ขีดความสามารถดานการแขงขันของอาเซียนในเวทีระหวางประเทศ รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปญหาใหม ๆ ใน ระดับโลกที่สงผลกระทบตอภูมิภาคอาเซียน แตสิ่งที่อาเซียนถูกจับตามองจากเวทีโลกก็คือ ประชาคมอาเซียนจะสามารถ ปฏิบัติไดตามที่ไดกําหนดนโยบายไวหรือไม และการเปนดําเนินงานของประชาคมอาเซียนจะมีศักยภาพดังเชนสหภาพ ยุโรปหรือไม สําหรับปญหาการคามนุษยประเภทการคาประเวณีในผูหญิงและเด็ก รวมทั้งประเภทขอทาน ถือวา มีจํานวน มากที่สุด และถือเปนการละเมิดสิทธิความเปนมนุษย และบั่นทอนความรูสึกของผูถูกกระทําเปนที่สุด ในการที่ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใตกําลังจะกาวสูการเปนประชาคมอาเซียน ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 นับเปนกาวที่ประเทศ ในภูมิภาคกําลังตื่นตัว และเตรียมความพรอมในการรับมือ มีการจัดเตรียมนโยบายและแผนยุทธศาสตรตาง ๆ เพื่อเตรียม ความพรอมใหกับประเทศของตน สําหรับปญหาการคามนุษย ซึ่งถือเปนปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น แมวา จะอยูใน นโยบายของประชาคมอาเซียนที่ทุกประเทศ จะตองรวมมือกันในการแกไขปญหาใหคลี่คลายลงก็ตาม เมื่อพิจารณานโยบายและมองในสถานการณโลกในขณะนี้ ก็ยังพบวา ป ญหาการคามนุษยยังคงมิอาจที่จะ คลี่คลายปญหาลงไปได การกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียนที่ตองการใหอาเซียน เปนดังสโลแกนที่วา “หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งเอกลักษณ หนึ่งประชาคม” (One Vision, One Identity, One Community) แตสําหรับผลกระทบของการกาวเขา สูการเปนประชาคมอาเซียนที่มีตอปญหาการคามนุษย จะเปรียบเสมือนการสรางกําแพงกั้น หรือยิ่งเปนการสรางสะพาน เชื่อมใหเกิดปญหาการคามนุษยเพิ่มมากขึ้น ณ ปจจุบันนี้ หากมองจากนโยบายของการเปนประชาคมอาเซียนแลว อาจกลาวไดวา เปรียบเสมือนการสราง กําแพงลองหน แตการสรางสะพานเชื่อมใหเกิดการคามนุษยมีมาชานานแลว เพียงแตเปนการสรางสะพานใหทอดยาวมาก ไปกวาเดิม และสิ่งที่ประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียนตองรวมกันปองกัน และอุดชองโหวของปจจัยที่จะกอใหเกิดการคา มนุษยก็คือ เรื่องมาตรการการตรวจตราบริเวณพรมแดนอยางเขมงวด เพราะการเปดประเทศอยางเสรีมากกวาเดิม หลังจากเปนประชาคมอาเซียนแลว แตละประเทศในภูมิภาคจะเชื่อมโยงไดงายยิ่งขึ้น ดังนั้น ประเทศในภูมิภาคอาเซียน จะตองรวมมือกันอยางจริงจัง และหากตองการใหปญหาการคามนุษยคลี่คลายใหไดมากที่สุด สิ่งที่สําคัญที่ไมควรละเลย ก็ คือ “ประชากรรากหญา” เพราะพวกเขาคือ ผูที่ตกเปนเหยื่อของขบวนการคามนุษยไดงายที่สุด ดังนั้น ถาหากประชาคม อาเซียนดูแล และพัฒนาประชาชนภายในประเทศไดตามนโยบายที่กําหนดไวในเสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน และแกไขปญหาไดตามนโยบายในเสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดอยางจริงจังแลว ก็ นับเปนนิมิตหมายที่ดีในการที่จะสนับสนุนเสาหลักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของภูมิภาคใหรุดหนาทัดเทียมกับนานา ประเทศที่ มีก ารพัฒนา หรื อประเทศมหาอํ านาจทางเศรษฐกิ จประเทศอื่ น ๆ ไดอ ยา งมี ประสิ ทธิภาพ ซึ่ งเราจะตอ ง ทําการศึกษาและติดตามเสนทางของความสําเร็จของการเปนประชาคมอาเซียนตอไป สําหรับประเทศไทย การตอตานการคามนุษยยังไมสามารถที่จะขจัดปญหาการคามนุษยใหหมดไปจากประเทศ ได สืบเนื่องมาจากสาเหตุการที่ประเทศไทยยังขาดบุคลากร ในสายงานที่มีความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานในการ ตอตานการคามนุษยอยางเปนระบบ รวมถึงการรวมมือของทุกภาคสวนในสังคมยังไมเปนระบบเทาที่ควร จะเปนทั้งตํารวจ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 193 ตรวจคนเขาเมือง ตํารวจตามแนวชายแดน พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ รวมถึงดานแหลงเงินทุนของภาคธุรกิจเอง ที่คอยสนับสนุนในการหาพยานหลักฐานมาชวยในการพิจารณาคดีทางกระบวนยุติธรรมทางอาญา เพราะถาไมมีแหลง เงินทุนในการนํามาสืบแสวงหาพยานหลักฐานแลว การดําเนินงานในดานการตอขบวนการคามนุษยก็ยังไมเกิดประสิทธิผล เทาที่ควรจะเปน เพราะการไมมีเงินในการนําไปแสวงหาพยานหลักฐานทําใหขบวนการคามนุษยไดลอยนวล และจะขยาย อิทธิพลออกไปทั่วในภูมิภาคอาเซียน และนําไปสูปญหาอาชญากรรมในรูปแบบอื่นมากมาย เชน ปญหายาเสพติด ปญหา การฟอกเงิน และปญหาอาชญากรรมขามชาติตาง ๆ นับวันปญหาเหลานี้ยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้น การที่จะแกไขปญหาการคามนุษยใหประสบความสําเร็จ หรืออยางน อยที่สุดใหอยูในระดับบรรเทาเบา บางลงไปไดนั้น จะตองแกไขปญหาทั้งในพื้นที่ประเทศตนทาง และประเทศปลายทางของการคามนุษย โดยประเทศตน ทาง ซึ่งหมายถึง ประเทศที่เหยื่อการคามนุษยเดินทางจากมานั้น จะตองไดรับการแกไขปญหาในเรื่องของการพัฒนาใน พื้นที่ตนทาง เชน การพัฒนาเศรษฐกิจ การสรางงานสรางอาชีพในทองถิ่น การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแกประชาชน การ ใหความรูความเขาใจที่ถูกตองแกประชาชนในเรื่องของการเดินทางไปทํางานยังตางประเทศ รวมไปถึงมาตรการในการ ระงับปญหาการสูรบระหวางฝายที่มีความขัดแยงระหวางกัน อันจะสงผลเสียตอการพัฒนาเศรษฐกิจและการสรางโอกาส ในการจางงานในทองถิ่น ซึ่งเปนแนวทางแกไขปญหาขั้นพื้นฐานในการแกไขปญหาการคามนุษย นอกจาก การแกไขปญหาในพื้นที่ประเทศตนทางแลว การแกไขปญหาในพื้นที่ประเทศปลายทาง หรืออีกนัยหนึ่ง คือ ประเทศที่แรงงานตางดาว หรือเหยื่อการคามนุษยเดินทางเขาไปทํางานนั้น ก็นับวา เปนสิ่งที่สําคัญไมยิ่งหยอนไปกวา กัน โดยสิ่งที่จะตองไดรับการแกไขในพื้นที่ประเทศปลายทาง คือ การบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของใหมีความเขมงวดรัดกุม มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งกับนายจางที่ลักลอบจางแรงงานตางดาว รวมทั้งเจาหนาที่รัฐที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการแกไข ปญหา แตกลับรูเห็นเปนใจกับนายจางในการกระทําผิดกฎหมาย ซึ่งการกระทําดังกลาวของเจาหนาที่ จะกลายเปน อุปสรรคที่สงผลใหการแกไขปญหาการคามนุษย หรือการเอารัดเอาเปรียบดานแรงงานนั้น ไดรับการแกไขใหบรรเทาลงไป ไดยากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชน จะตองใหความรูความเขาใจแกนายจาง ในเรื่องของขั้นตอนการจางแรงงานตางดาวที่ถูกตองตามกฎหมาย และหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของของไทย จะตอง ดําเนินการรวมกับหนวยงานภาครัฐของประเทศตนทางในการแกไขปญหาการคามนุษย และปญหาแรงงานตางดาวเขา เมื อ งผิ ด กฎหมายที่ นั บ ได ว า เป น กลุ มเสี่ ย งที่ จะตกเป น เหยื่ อ การค า มนุ ษ ย เช น การแสวงหาแนวทางในการสร า ง กระบวนการจางแรงงานตางดาวที่ถูกตองตามกฎหมาย การเรงรัดดําเนินการจางแรงงานตางดาว ตามแนวทางที่ปรากฏใน บันทึกความเขาใจวา ดวยการจางแรงงานที่รัฐบาลไทยไดลงนามรวมกับประเทศเพื่อนบานทั้งสามประเทศใหเกิดผลในทาง ปฏิบัติมากยิ่งขึ้นกวาที่เปนอยูในปจจุบัน ทั้งนี้ ก็เพื่อใหปญหาการคามนุษย ซึ่งนับวา เปนปญหารวมกันทั้งของประเทศตน ทางและประเทศปลายทางไดรับการแกไขจนลุลวงไปไดโดยถาวร หรืออยางนอยที่สุดก็ใหไดรับการแกไขจนระดับความ รุนแรงของปญหาบรรเทาเบาบางลงไป ทั้งนี้ ก็เพื่อความเจริญรุงเรืองทั้งของประเทศตนทางและประเทศปลายทางเคียงคู กันไป ซึ่งสามารถสรุปปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเรื่องการคามนุษยขามชาติไดดังนี้
ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเรื่องการคามนุษยขามชาติ ประการแรก
รู ป แบบการกระทํ า ผิ ด ของคดี ค า มนุ ษ ย ใ นป จ จุ บั น มี ลั ก ษณะเป น เครื อ ข า ยองค ก ร อาชญากรรม และมีการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาใชในการกออาชญากรรมมากขึ้น โดย มีก ารเตรี ยมเครื่อ งมือ เครื่อ งใช หรื อ เทคโนโลยี มาใชง านในเรื่ องของการปลอมแปลง เอกสาร เพื่อใหมีลักษณะคลายกับเอกสารฉบับจริงที่ออกใหโดยหนวยงานราชการของแต ละประเทศมากที่สุด เชน การปลอมแปลงหนังสือเดินทาง การใชชื่อของบุคคลอื่นแทนชื่อ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 194
ประการที่สอง
ประการที่สาม
ประการที่สี่
ประการที่หา
ตนโดยมี การทํา ศัลยกรรมพลาสติกตนเองใหคล ายกับคนในบัต ร หรือมี การใช เลขบัต ร ประจําตัวเลขเดียวกันซ้ํากันหลาย ๆ คน การบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับคดีคามนุษยขามชาติเกี่ยวของกับกฎหมายหลายฉบับทั้งใน สวนของหลักการตามกฎหมายระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคีและกฎหมายภายใน เชน พระราชบัญญัติ คนเขาเมือง พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. 2535 อยางไรก็ตาม กลไกการประสานความรวมมือของ ประเทศไทยยังคงขาดประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจากขอจํากัดของระเบียบและกฎหมาย ภายในอื่น ๆ ซึ่งมีขั้นตอนความรวมมือระหวางประเทศที่ซับซอนและมีความแตกตางกัน จึง ทําใหปญหาความลาชาในการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับคดีการคามนุษยขามชาติ การรวบรวมพยานหลักฐานในกรณีที่เกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการ กระทําผิด อาจมีความลาชา เนื่องจาก ความไมพรอมของอุปกรณที่ทันสมัย และขาดแคลน บุคลากรที่มีความรูความสามารถ หรือการขอความรวมมือระหวางประเทศในการรวบรวม พยานหลักฐานเปนไปดวยความยากลําบาก โดยเฉพาะหากตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่ทํา หน า ที่ เ ป น ระบบแม ข า ยคอมพิ ว เตอร (Server) อยู ต า งประเทศซึ่ ง มี ขั้ น ตอนและใช ระยะเวลาพอสมควรในการขอเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ เชน ขอมูลดิจิตอล (digital) เปนตน เมื่อไดพยานหลักฐานมาแลว พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการจะตองอธิบาย ถึงวิธีการไดมาจนสิ้นขอสงสัยในระบบการพิจารณาของศาล เพื่อใหศาลรับฟง ซึ่งตองการ เจ า หน า ที่ ที่ มี ค วามรู เ ฉพาะทางชั้ น สู ง พอสมควร และต อ งเป น นั ก กฎหมาย หรื อ เป น เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรม แตในปจจุบันนี้มีจํานวนนอยมาก การดู แ ลพยานบุ ค คล ซึ่ ง เป น ผู เสี ยหายชาวต า งประเทศ หรื อ ที่มี ถิ่ น ที่ อ ยู นอกประเทศ จะตองเผชิญกับปญหาเรื่องภัยคุกคามความปลอดภัย ทั้งตอตนเอง ครอบครัวรวมถึ งผู ใกลชิด ทั้งนี้ รัฐจะตองสนับสนุนงบประมาณในการดูแลพยาน เชน คาที่พัก คาครองชีพ คา เดิ น ทาง เป น ต น อั น เนื่ อ งมาจากการไม ไ ด รั บ ค า จ า งจากการทํ า งานในระหว า งที่ เ ป น ผูเสียหาย ตลอดจนผลกระทบในดานอื่น ๆ เชน การไมสามารถดําเนินชีวิตประจําวันตาม วิถีทางปกติได จึงจําเปนอยางยิ่งที่รัฐจะตองมีกฎหมายเฉพาะเพื่อรองรับกลไกทางกฎหมาย พิเศษบางประการในการชวยเหลือผูเสียหายที่ตกเปนเหยื่อ เชน กระบวนการชั้นศาลในการ สืบพยานไวกอน และการสนับสนุนงบประมาณใหพนักงานสอบสวนในการดูแลและติดตอ กับพยานในตางประเทศ เปนตน การขาดประสบการณความชํานาญในการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคามนุษยของ หนวยงานที่เกี่ยวของ อันเนื่องมาจากขอจํากัดในการรับการสนับสนุนจากภาคเอกชนหรือ รัฐอื่น ๆ ทําใหการดําเนินการเปนไปโดยลาชา และเกิดอุปสรรคในการประสานงานระหวาง หนวยงานที่บังคับใชกฎหมายและหนวยงานที่สนับสนุนการบังคับใชกฎหมาย เชน ปญหา การขอรั บความชวยเหลื อตา ง ๆ ป ญหาในโครงการคุมครองพยาน ปญ หาการรับเรื่อ ง รองเรียนกรณีที่เกิดการคาแรงงานหรือการคามนุษย ซึ่งตองอาศัยทักษะดานภาษา เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 195 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเรื่องคนตางดาวหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย ประการแรก
ประการที่สอง
ประการที่สาม
ประการที่สี่
การดําเนินคดีตอคนตางดาวที่กระทําความผิดในคดีอาญาจะเปนไปตามกฎหมายภายใน ของแต ล ะประเทศโดยมิ ไ ด มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ว า เป น คนชาติ นั้ น หรื อ เป น คนต า งด า ว เนื่ อ งจากถื อ ว า การกระทํ า ความผิ ด ภายในประเทศ สํ า หรั บ ในทางปฏิ บั ติ เ มื่ อ มี ก าร ดําเนินคดีกับคนตางดาว สถานทูตจะเปนกลไกสําคัญที่เปนตัวแทนรัฐของคนชาตินั้น ๆ ที่ เจาเขาไปชวยเหลือ โดยฝายตํารวจหรืออัยการของประเทศที่มีการดําเนินคดี จะแจงใหทาง สถานทูตทราบ เพื่อใหเขามาชวยเหลือระหวางการดําเนินคดี และแจงใหญาติของผูตองหา หรื อ ผู ถู ก จั บ กุ มทราบถึ ง สถานภาพของผู ต อ งขั ง อย า งไรก็ ต าม ความสั มพั น ธ ร ะหว า ง สถานทูตไทยในตางประเทศอาจเปนไปในลักษณะที่เปนทางการ และเจาหนาที่ประจํา สถานทูตไมไดมีความรู หรือประสบการณเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเทาที่ควร เนื่องจาก มุงเนนไปในเรื่องการประสานงานในระดับรัฐเสียเปนสวนใหญ จึงทําใหมีอํานาจ ตอรองกับฝายบังคับใชกฎหมายของประเทศตาง ๆ ไมมากนัก คนตางดาวที่หลบหนีเขาเมืองสวนใหญ จะเขามาเปนลูกจางใชแรงงานมากกวาจะเปน พนักงานตามบริษัท ซึ่งสามารถสื่อสารโดยใชภาษาอังกฤษได บางครั้งที่ถูก จับกุมไดจะพูด แตภาษาทองถิ่นของตนเอง และไมสามารถสื่อสารภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ทําใหเปน อุปสรรคตอการสอบสวนดําเนินคดีและการใหความชวยเหลือ ประกอบกับทักษะในการ สื่อสารภาษาตางประเทศของเจาหนาที่ตํารวจไทยเองก็มีไมมากนัก ตองอาศัยลามเปนสวน ใหญ คนตางดาวหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมายที่ถูกจับกุมและดําเนินคดีเสร็จสิ้น และตองถูก ผลักดันกลับสูประเทศตนเองสวนใหญมีปญหาในเรื่องของคาใชจายในการเดินทาง ซึ่ ง หนวยงานรับผิดชอบหลักของไทย ไดแก สํานักงานตรวจคนเขาเมือง จะใชวิธีรอใหมีจํานวน ที่พอเหมาะ และจัดหารถเพื่อสงกลับไปยังประเทศ ซึ่งสวนใหญจะปลอยตัวบริเวณตามแนว ชายแดน แตเนื่องจาก ไมมีรั้วหรือแนวกั้นที่มิดชิดชัดเจน จึงทําใหคนตางดาวเหลานี้ มักจะ หลบหนีเขามาอยูบอยครั้ง ทําใหตองสูญเสียงบประมาณ นอกจากนี้ เครือขายขบวนการ ลักลอบขนคนขามชาติ ซึ่งมักจะมีความสัมพันธที่ดีกับเจาหนาที่ก็เปนปญหาอีกประการหนึ่ง ที่ ทํ า ให ก ารหลบหนี เ ข า เมื อ งผิ ด กฎหมายขยายตั ว มากขึ้ น และเป น อุ ป สรรคต อ การ ปราบปราม
องคกรอาชญากรรมที่ตั้งบริษัทเพื่อบังหนาในการกระทําผิดซื้อขายแรงงานผิดกฎหมายและ การคา มนุษย มักใชก ารติด ต อสื่อสารทางคอมพิวเตอรผา นระบบอินเตอรเน็ต โดยเป ด เว็บไซตที่มี Sever อยูตางประเทศ ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นสวนใหญที่พบก็คือ Sever ของกลุม อาชญากรตั้งอยูในตางประเทศ ทําใหเกิดความยากในการติดตามตัวผูกระทําความผิดมา ดําเนินคดีตามกฎหมาย โดยสรุปกระบวนทัศนในการทํางานตอตานการคามนุษย (Anti-Human Trafficking Paradigm) 1. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Humanitarian Approach)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 196 2. ประโยชนสูงสุดของผูเสียหาย + ไมเลือกปฏิบัติ (The best interest of victims without discrimination) 3. การลงโทษผูกระทําผิดและการคุมครองผูเสียหาย (Prosecution & Protection) 4. แนวคิด 5 P (Policy, Prevention, Protection, Prosecution, Partnership) 5. แนวทางคุมครอง มี 4 R เพื่อตอตาน Re-trafficking ไดแก (Rescue, Recovery, Repatriation, Reintegration) 6. MDT Approach คือ Multi-Disciplinary Team Approach การทํางานโดยทีมสหวิชาชีพ อนึ่ง กรอบ ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS) ไดกําหนดใหแรงงานมีทักษะ 8 กลุม อาชีพสามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรีนั้น ประกอบดวย แพทย พยาบาล สถาปนิก ชางสํารวจ วิศวกร ทันตแพทย นักบัญชี และนักการทองเที่ยว แตไดมีการคาดการณวา จะไมมีแรงงานที่มีทักษะเหลานี้ที่เขามาทํางานในไทยมากนัก ดวยเพราะ แรงจูงใจในเรื่องคาจางแรงงานทักษะของไทยยังคงต่ํากวาสิงคโปร และมาเลเซียน โดยแพทยในสิงคโปรมีรายไดสูงถึง 3,523 เหรียญสหรัฐฯ ตอเดือน ซึ่งสูงกวาไทยถึง 3.8 เทา ขณะที่มาเลเซียมีคาจางของแพทยสูงกวาไทย 3.5 เทา ดังนั้น กลุมแรงงานไรฝมือจะเปนกลุมหลักที่เคลื่อนยายเขามาในไทยเปนจํานวนมาก แมจะไมมีเงื่อนไขในการเปดเสรีที่เอื้อตอ การเคลื่อนยายแรงงานกลุมนี้ ทั้งนี้ เนื่องจากคาจางแรงงานไรทักษะของไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบานที่มีอาณาเขต ติดตอกัน ประกอบกับไทยยังขาดแคลนแรงงานทักษะต่ําที่จําเปนในงานบางประเภท
ผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากแรงงานตางดาวเมื่อ ไทยเขาสูประชาคมอาเซียน 1) ความตองการใชพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น พรอมกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ จากชุมชน การขยายตัวของการลงทุนดานอุตสาหกรรม และกิจกรรมทางเศรษฐกิจกอใหเกิดการเคลื่อนยายแรงงานตาง ดาวทักษะต่ํามาสูมากขึ้น เชนที่ปรากฏในจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งการตั้งถิ่นฐานของแรงงานเหลานี้ในแตละชุมชนเปนไป อยางไรระเบียบ อีกทั้งทําใหปริมาณการใชทรัพยากรน้ํา ไฟฟา ตลอดจนปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นอยางมีนัยสําคัญ 2) ผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย แมวา แรงงานตางดาวที่ขึ้นทะเบียนโดยถูกตองตาม กฎหมายจะตองไดรับการตรวจสุขภาพ และคนหาโรคจากหนวยงานสาธารณสุขตลอดจนไดรับบัตรประกันสุขภาพก็ตาม แตแรงงานที่ขึ้นทะเบียนโดยถูกตองเหลานี้มีจํานวนนอยมาก เมื่อเทียบกับกลุมที่ลักลอบเขามาโดยผิดกฎหมาย ซึ่งเปน แหลงแพรกระจายของโรคติดตอที่สําคัญ เชน วัณโรค อหิวาตกโรค รวมทั้งโรคอุบัติใหม เชน โรคกาฬหลังแอน เปนตัน
อางอิงทายบท I
กฎกระทรวงวาดวยการคุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. 2547 ขอ 8 นายจางอาจใหเด็กอายุตั้งแตสิบสามป บริบูรณทํางานในชวงระยะเวลาโรงเรียนปดภาคเรียนหรือนอกเวลาเรียนไดเฉพาะงานที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย หรือเปนงานที่ไมขัดตอการพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตของเด็ก ทั้งนี้โดยไดรับอนุญาตจากบิดา มารดา หรือผูปกครอง ของเด็กนั้น II เสนความยากจน หมายถึง เกณฑชี้วัดความยากจน โดยพิจารณาจากระดับรายไดที่เพียงพอตอการดํารงชีวิตเทานั้น ซึ่งมี 2 ประเภท ไดแก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข้ า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ : ห น้ า | 197 (1) เสนความยากจนเดิม ธนาคารโลกไดเริ่มตนศึกษา เมื่อป พ.ศ. 2505 - 2506 โดยพิจารณาจากความจําเปน ขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิต โดยแยกเปนความจําเปนดานอาหาร และสินคาอุปโภคของคนไทยตามหลักสากลที่ธนาคารได ริเริ่มขึ้น จุดออนของเสนความยากจนเดิม คือ การใชคาเฉลี่ยความตองการสารอาหารตอวันตอคน โดยไมไดคํานึงถึงความ แตกตางในเรื่องอายุและเพศ ดังนั้น เสนความยากจนที่พัฒนาขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2513 จึงไมสามารถสะทอนแบบแผนการ บริโภคในปจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร นอกจากนี้ ยั งไมสะทอนความแตกตางในระดับ ราคาสินคาในพื้นที่ (เมืองและชนบท) (2) เสนความยากจนใหม ซึ่งไดจัดทําขึ้นภายในกองประเมินผลการพัฒนา สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) นับเปนเสนความยากจนของทางการ เสนความยากจนใหมนี้ สามารถวัดความยากจน ไดในระดับบุคคล ครัวเรือน พื้นที่ จังหวัด ภูมิภาคจนถึงระดับประเทศ โดยพิจารณาจากความตองการพื้นฐานขั้นต่ําของ ปจเจกบุคคล ทั้งดานอาหาร และสินคาอุปโภค หากครัวเรือนมีรายไดต่ํากวาคาใชจายที่คํานวณไดถือวา เปนครัวเรือน ยากจน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซตของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
อาชญากรรมข า มชาติ รู ป แบบการก อ การร า ย สถานการณความมั่นคงของโลกปจจุบัน ปฏิเสธไมไดวา การกอการรายไดกลายเปนปญหาที่สงผลกระทบตอ เสถียรภาพ และความมั่นคงในทุกระดับ ไมวาจะเปนในเวทีระหวางประเทศ เวทีในภูมิภาค และเวทีในประเทศ นับตั้งแต สงครามเย็นสิ้นสุดลง ภัยคุกคามทางทหารที่ทําใหหลายประเทศตามภูมิภาคตาง ๆ ของโลกตกอยูในภาวะตึงเครียด และ ประสบความทุกขยากลําบาก ไดลดนอยลงไป ทั้งนี้ ปญหาที่ปรากฏกลับเปนปญหาที่เกิดจากความขัดแยงพื้นฐาน เชน ปญหาเชื้อชาติ ปญหาศาสนา ปญหาเขตแดน ปญหาวัฒนธรรม ปญหาอุดมการณทางการเมือง/ความเชื่อถือ และปญหา ความยากจน ปญหาเหลานี้ ไดกลายเปนชนวนความขัดแยงที่นําไปสูการตอสูหลากหลายรูปแบบ รวมทั้งการดําเนินการกอ การราย โดยเฉพาะภายหลังเหตุการณกอวินาศกรรมในสหรัฐอเมริกา เมื่อ 11 กันยายน 2544 สหรัฐอเมริกาไดประกาศ ทําสงครามตอตานการกอการราย โดยมีพันธมิตรที่สําคัญ คือ อังกฤษ อิสราเอล และประเทศยุโรปตะวันตก ทําใหการกอ การรายไดกระจายเกิดขึ้นในหลายภูมิภาค ซึ่งแตละครั้งมีความรุนแรงกอใหเกิดการสูญเสียอยางมหาศาล ทั้งตอทรัพยสิน และชีวิตของประชาชนผูบริสุทธิ์ ไมวาจะเปนเหตุการณลอบวางระเบิดบนเกาะบาหลี อินโดนีเซีย เมื่อ 12 ตุลาคม 2545 เหตุการณจับตัวประกันในโรงละคร กลางกรุงมอสโก รัสเซีย เมื่อ 23 ตุลาคม 2545 ฯลฯ ทั้งนี้ นอกจากกลุมประเทศ ดังกลาวจะตกเปนเปาหมายในการกอการรายแลว ผลประโยชนตาง ๆ ของประเทศเหลานั้นในทุกประเทศที่เอื้อตอการเขา ไปเคลื่อนไหวปฏิบัติการ ซึ่งรวมถึงประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยที่มีเครือขายกลุมกอการรายปรากฏ อยู ก็อาจตกเปนเปาหมายของกลุมกอการรายดวยเชนกัน โลกหลังวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) เปนโลกของความรุนแรง ซึ่งปรากฏใหเห็นใน 2 ลักษณะ คือ สงครามกอการราย และสงครามตอตานการกอการราย และความรุนแรงจากสงครามใน 2 ลักษณะนี้ เกิดขึ้นในพื้นที่ สวนตาง ๆ ของโลก ไมใชในแบบของสงครามเย็นที่สงครามเกิดขึ้นในพื้นที่ของประเทศกําลังพัฒนาเปนสวนใหญ หากแต ตัวแบบของความรุนแรงใหมที่เห็นจากการกอการรายโดยเอากรณีตึกเวิลดเทรด ในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) เปนเสนแบงเวลานั้น จะเห็นไดถึงความรุนแรงจากกรณีสําคัญ ไมวาจะเปน บาหลี จาการตา มอสโคว มาดริด ลอนดอน และสถานที่พักตากอากาศในอียิปต เหตุการณความรุนแรงเหลานี้ ถือไดวา เปนสัญญาณสําคัญที่บงบอกถึง ระยะเปลี่ยนผานของปญหายุทธศาสตร และความมั่นคงที่สําคัญวา โลกไดกาวเขาสูยุคของสงครามกอการรายเต็มรูปแลว ดังนั้น เมื่อพิจารณาประวัติศาสตรอันยาวนานของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตแลว จะพบวา การกอการรายนั้นไมใช ประเด็นปญหาใหมสําหรับภูมิภาคนี้ ในอดีตบรรดาประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มักประสบปญหา การกอการรายที่ใชกองกําลัง และความรุนแรง เพื่อแยงชิงอํานาจ และแกไขประเด็นความขัดแยง และรวมถึงการตอตาน รัฐบาลกลาง ทั้งนี้ โดยมีตนตอมาจากปญหาทางอุดมการณ ความแตกตางทางศาสนา และชาติพันธุ การกอการรายใน ลักษณะนี้ เกิดขึ้นมาตั้งแตกอนสมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะเริ่มขึ้น และบางปญหาก็ยังคงดํารงอยูจวบจนถึงปจจุบัน สําหรับการกอการรายที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีตสวนใหญเปนการตอตานรัฐบาล และ เรียกรองความชอบธรรมในทางการเมืองและสังคมโดยอาศัยอุดมการณ ศาสนา และชาติพันธุ เปนตัวนํา และในสวนของ ปญหาทางอุดมการณนั้น คือ อุดมการณคอมมิวนิสตเปนความตองการของกลุมที่เรียกรองความยุติธรรมและความเสมอ ภาคในสังคม ซึ่งเกิดขึ้นในชวงสงครามเย็นเปนที่นิยมของฝายตอตานรัฐบาลเผด็จการทหารและรัฐบาลประชาธิปไตยใน หลายประเทศ ทั้งอินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร มาเลเซีย และไทย ซึ่งคอมมิวนิสตบางกลุมมีการใชวิธีการกอการรายใน การตอสูกับรัฐบาล แตในที่สุดความขัดแยงนั้นก็สามารถคลี่คลาย และสงบลงพรอมกับการสิ้นสุดของสงครามเย็น ซึ่งโดย ภาพรวมแลว การตอสูกันนี้เปนปญหาภายในของแตละประเทศ นอกจาก ปญหาทางอุดมการณแลว ภูมิภาคนี้ ยังมีปญหา ความมั่นคงเกี่ยวกับชนกลุมนอย และการตอสูเพื่อแบงแยกดินแดนมาแตเดิม ซึ่งเปนผลมาจากเงื่อนไขหลายประการ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 201
ตัวอยางเชน การปกปนเสนเขตแดนโดยประเทศเจาอาณานิคมที่กระทําโดยมิไดคํานึงถึงความแตกตางทางชาติพันธุที่มีอยู ในอดีต สงผลใหหลาย ๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีคนตางเชื้อชาติอาศัยอยูรวมกัน หรือกรณีที่ชาติพันธุ เดียวกัน แตถูกจัดแยกใหไปอยูในดินแดนของประเทศเพื่อนบาน ซึ่งในบางครั้ง ความแตกตาง และความไมชอบธรรมใน สังคมบางอยางก็กระตุนใหกลุมเหลานั้น เชน กลุมคนเชื้อชาติตาง ๆ ในพมา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และไทย เปนตน อยางไรก็ตาม ปญหาที่เกิดจากกลุมชาติพันธุ และศาสนาเหลานี้ ยังคงเปนปญหาภายในประเทศมากกวาที่จะ เปนประเด็นที่เกี่ยวของกับการกอการรายสากล เพราะแมบางครั้ง กลุมกอความไมสงบในประเทศจะไดรับความชวยเหลือ จากกลุมกอการรายขามชาติ แตก็ยังเปนประเด็นปญหาที่รัฐบาลของประเทศนั้น ๆ สามารถจัดการได เชน กรณีของกลุม แนวรวมเพื่อการปลดปลอยแหงชาติโมโร (Moro National Liberation Front : MNLF) ในประเทศฟลิปปนส เปนตน เอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนภูมิภาคที่สามารถเกิดการแทรกซึมของเครือขายกอการรายขามชาติที่ดําเนินการ ปฏิบัติการตาง ๆ โดยอาศัยชนกลุมนอย กลุมแบงแยกดินแดน และกลุมตาง ๆ ที่ตอตานรัฐบาล เปนฐานในการทํางาน ซึ่ง สหรัฐอเมริกา ไดกลาววา กลุมกอการรายอัลกออิดะห (AI Qaida) ไดเริ่มเขามาในภูมิภาคนี้ ตั้งแตชวงทศวรรษ 1990 (พ.ศ. 2533) นอกเหนือ จากการกอการรายที่เคยจํากัดขอบเขตอยูเพียงแคภายในประเทศดังกลาวแลว ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตในปจจุบัน กําลังเผชิญหนากับการกอการรายในรูปแบบใหม นั่นคือ การกอการรายสากล สําหรับมูลเหตุของการกอการรายนั้น พบวา เกิดจากสภาพแวดลอมภายใน และภายนอกประเทศแบบไมปกติ ประกอบกับการมีปฏิกิริยาโตตอบจากบุคคล หรือกลุมบุคคล ซึ่งถูกกีดกัน ถูกบีบคั้น รวมทั้งคับของใจ อัน เนื่องมาจาก สภาพแวดลอมที่ไมปกติดดังกลาว และที่สําคัญเกิดจากแรงจูงใจจากภายใน (motivation) ที่ผลักดันใหเกิดพฤติกรรมกอ การราย ซึ่งมี 4 ประการ คือ 1) ความมั่นใจทางศีลธรรม (moral convictions) 2) การนิยามอยางงาย ๆ ระหวางความดี และความชั่วราย (Simplified definition of good and evil) 3) การแสวงหาสังคมในอุดมคติ (Seeking utopia) และ 4) การอุทิศตน (Codes of self-sacrifice) โดยมีเปาหมาย เพื่อ 1) ใหไดรับสิ่งที่ถูกปฏิเสธโดยไมชอบธรรม เชน ที่ดิน เสรีภาพ สิทธิขั้นพื้นฐาน รวมทั้งโอกาส 2) ทําใหเกิดเอกลักษณ สถานภาพสิทธิความเปนเจาของถูกทาทาย หรือสูญเสียไปกลับมาใหม 3) ปกปองตัวตนที่ถูกขมขู หรือไดรับการปฏิบัติที่ไมดี และ 4) เพื่อรื้อฟนสิทธิ ผลประโยชน สิทธิพิเศษที่ถูกเพิกถอน หรือถูกยึดเอาไป สิ่งตาง ๆ เหลานี้ไดสงผลทําให พฤติกรรมการกอการรายที่เกิดขึ้นกลายเปนสิ่งที่ชอบธรรม และมีความสมเหตุสมผล (Rationality) ในความคิด ทั้ง นี้ วั ตถุ ป ระสงค ทั่ ว ไปของการก อ การร า ยที่ ป รากฏเปน ไป เพื่อ เปลี่ ยนแปลงในระเบียบกฎเกณฑ ที่ มี อ ยู (Changing the existing order) ทําลายทางจิตวิทยา (Psychological disruption) ทําลายสังคม (Social disruption) ใหเกิดผลตอสาธารณะ (Publicizing the Cause) และสรางสภาพแวดลอมแหงการเปลี่ยนแปลง (Creating a revolutionary environment) นอกจากนี้ ยังมีการระบุวา การกอการรายในปจจุบันมีวัตถุประสงคเพื่อดึงดูดความสนใจ (Attracting Attention) มุงหวังผลทางศาสนา เปนไปตามพระประสงคของพระเจา (Pleasing God) สรางความเสียหาย ตอระบบเศรษฐกิจ (Damaging Economies) และตองการใหเกิดอิทธิพลตอฝายตรงขาม หรือศัตรู (Influencing Enemies)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 202
ในความจริงแลวกลุมประเทศอาเซียนนั้น มีความตื่นตัวในการตอตานอาชญากรรมขามชาติมาเปนเวลานานแลว ตัง้ แตป ค.ศ. 1976 แตสวนใหญเนนเรื่องการปราบปรามยาเสพติดทั่วไป จนกระทั่ง อาเซียนเริ่มจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรี อาเซียน หรือ ASEAN Ministerial Meetings (AMM) และเริ่มมีการกลาวถึง อาชญากรรมขามชาติมากขึ้น รวมทั้งกระตุน ใหประเทศสมาชิกตระหนักถึงผลกระทบและการแกปญหาอาชญากรรม ขามชาติ ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในป 1977 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ไดมีการประกาศรวมกันของประเทศสมาชิกใน คําประกาศวาดวยเรื่องอาชญากรรมขามชาติ หรือ Declaration on Transnational Crime ซึ่งถือเปนความรวมมือที่เปนรูปธรรมครั้งแรกระหวางประเทศสมาชิกในภูมิภาค ในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติ ในคําประกาศดังกลาวยังไดมีการประกาศใชกลไกตาง ๆ เชน กําหนดการประชุมระหวางรัฐมนตรี ในการตอตานอาชญากรรมขามชาติทุก ๆ 2 ป (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime-AMMTC) นอกจากนี้ ยังจัดใหมีการประชุมอื่น ๆ ดวย เชน ASEAN Senior Officials on Drug Matters (ASOD) และ ASEAN Chiefs of National Police (ASEANAPOL) เปนตน และที่สําคัญที่สุด คือ การผลักดันใหประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียนหรือ APSC เกิดขึ้น และมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางแทจริง สําหรับการกําหนดความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติภายใตกรอบของประชาคมการเมืองและ ความมั่นคง (APSC) คือ • เพิ่มความรวมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการตอสูกับอาชญากรรม ขามชาติและปญหาขามพรมแดนอื่น ๆ (Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges) • เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการลงนามรับรองในอนุสัญญาอาเซียนวาดวยการตอตาน การกอการราย และนําขอตกลงจากอนุสัญญาไปปฏิบัติจริง (Intensify counter terrorism effort by early ratification and full implementation of the ASEAN Convention on Counter-Terrorism) นอกจาก เครื่อ งมื อและกลไกตา ง ๆ ภายในอาเซียนเองแล ว การสรา งความร วมมือ จากประเทศนอกกลุ ม โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียเองนั้น ก็ยังเปนปจจัยสําคัญในการแกปญหาอาชญากรรมความมั่นคงนอกรูปแบบ รวมทั้งอาชญากรรมขามชาติดวยเชนกัน ความชวยเหลือจากประเทศนอกกลุมสมาชิก เชน ญี่ ปุน จีน และเกาหลีนั้น จะ ชวยผลักดันนโยบายตาง ๆ ใหสําเร็จมากขึ้น ยกตัวอยางเชน ปญหาโจรสลัด ประเทศญี่ปุนซึ่งตองสงสินคาผานนานน้ํา ทะเลจีนใตไดรับความเดือดรอน จากการแผขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงไดเสนอใหแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณ เอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางจริงจัง ประเทศญี่ปุนไดผลักดันใหเกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในป ค.ศ. 2000 กับ ประเทศสมาชิกอาเซียน และยังไดเชิญตัวแทนจากประเทศอื่น ๆ เชน จีน ฮองกง อินเดีย และศรีลังกา เขารวมดวย นอกจากนี้ ญี่ปุนยังไดผลักดันโครงการ “Asia Anti-Piracy Challenges 2000” และรวมลงนามในขอตกลงRegional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป ค.ศ. 2004 ซึ่งนํามาสูการบังคับใชในป ค.ศ. 2006 โดยมีขอตกลงโดยรัฐบาลญี่ปุนไดชวยสนับสนุนเงินทุนและการฝกซอม ตอหนวย งานในประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมทางทะเลจากโจรสลัด การเขามารวมมือของประเทศ ญี่ปุนในการตอตานอาชญากรรมจากโจรสลัดดังกลาว ชวยใหรัฐบาลของอาเซียนสามารถรวมมือกันอยางเปนรูปธรรมมาก ขึ้นเพื่อตอ ตานและการปราบปรามโจรสลัดในนานน้ําของอาเซียนเอง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 203
สถานการณที่กลาวมาขางตน สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้งทางดาน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยในดานการเมือง การกอการรายทําใหสหรัฐอเมริกาตองใหความสําคัญ และแสดง บทบาทของตนในภูมิภาคนี้อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ถอนตัวออกไปตั้งแตสิ้นสุดสงครามเย็น ทําใหนโยบายตางประเทศของ ภูมิภาคนี้ ถูกกดดันโดยอิทธิพลของรัฐบาลสหรัฐอเมริกามากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยของรัฐบาลของนายจอรจ ดับเบิลยู บุช (George W. Bush) ทั้งนี้ แมรัฐบาลอินโดนีเซียจะจับสมาชิกของ JI ไดหลายคน และทําการสอบสวนหาขอเท็จจริงมาโดย ตลอด ในขณะเดียวกัน แหลงขอมูลจากตะวันตกโดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกาก็ระบุเพียงวา JI เปนองคการกอการรายที่มี ฐานปฏิบัติการในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
เครือขา ยกอการรา ยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อินโดนีเซียเปนประเทศที่มีจํานวนประชากรที่นับถือศาสนาอิส ลามหรือ “มุสลิม” มากที่สุดในโลก ศาสนา อิสลามในอินโดนีเซียเปนอิสลามสายกลาง และมีความแตกตางกันหลากหลายมิติเมื่อเทียบกับอิสลามทั่วโลก เมื่อพิจารณา จากภูมิรัฐศาสตรแลว อินโดนีเซียอยูหางจากตะวันออกกลางซึ่งเปนแหลงกําเนิดของอิสลามมาก แตก็ไมไดเปนอุปสรรคตอ การทําความเขาใจในศาสนาอิสลามแตอยางใด อินโดนีเซียตองเผชิญกับความทาทายอยางตอเนื่องจากกลุมมุสลิมหัวรุ นแรงที่ชื่อ กลุมเจมาห อิสลามียะห (Jamaah Islamiyah: JI) รวมทั้งองคกรและกลุมยอยอื่น ๆ นับตั้งแตเหตุระเบิดที่บาหลีครั้งแรกเมื่อตุลาคม 2545 ซึ่งครา ชีวิตผูคนไปเปนจํานวนมาก ตอมาในมีนาคม และเมษายน 2554 อินโดนีเซียตองเผชิญกับการโจมตรีอีกหลายครั้ง เชน มี การสงหนังสือที่มีวัตถุระเบิดซุกซอนอยูถึงชาวมุสลิมที่มีแนวทางเสรีนิยมคนสําคัญหลายคน การวางระเบิดแบบพลีชีพใน มัสยิดแหงหนึ่ง ซึ่งมุงสังหารเจาหนาทีต่ ํารวจ การตีพิมพเอกสารของกลุมหัวรุนแรง นอกจากนี้ ยังพบการปลูกฝงหลักการ ใหแก นักเรียนอยางตอเนื่องในโรงเรียนประจําของกลุมมุสลิมหัวรุนแรงหรือโรงเรียนสอนศาสนา ซึ่งอาจทําใหลัทธิหัว รุนแรงฝงรากลึกลงไปอีก
ความเชื่อมโยงของกลุมกอการรา ยอินโดนีเ ซียกับชาติส มาชิ ก อาเซียน กลุมเจมาห อิสลามียะห (Jamaah Islamiyah: JI) เปนกลุมกอการรายที่ทรงอิทธิพลที่สุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต มีศูนยบัญชาการอยูในอินโดนีเซีย และมีเครือขายเชื่อมโยงกับกลุม “อัลไคดา” กลุม “แนวรวมปลอดปลอย อิสลามโมโร” ในฟลิปปนส และกลุม “กัมปูสัน มูญาฮีตีน” ในมาเลเซีย โดยกลุม “JI” มีจุดมุงหมายสูงสุด คือ สถาปนารัฐ อิสลามบริสุทธิ์ “ดอเลาะ อิสลามิยะห นุสันตารา” ภายใตการปกครองโดยกฎหมาย “ซาริอะห” สําหรับปจจัยที่เปน เงื่อนไขหรือเปนชองทางใหกับกลุมกอการราย ไดแก การกระทําของเจาหนาที่รัฐ หรือคานิยมของประชาชนมุสลิม นอกจากนี้ กลุม JI ยังมีความเชื่อมโยงกับกลุม “อาบูไซยาฟ” (Abu Sayyaf) ซึ่งเปนกลุมกอการรายที่มีฐานที่มั่นตั้งอยูทาง ตอนเหนือของเมืองอีซาเบลา เมืองหลวงของจังหวัดบาซิลัน ในเขตบังซาโมโร ทางภาคใตของฟลิปปนส อาบูไซยาฟเปน กลุม กอการรายที่มีแนวคิดนิยมอิสลาม และไดรับการสนับสนุนเงินทุนในการฝกแนวรวม การจัดหาอาวุธ และอุปกรณที่ใช ในการกอเหตุความไมสงบจากกลุม “อัลไคดา” โดยกลุมอาบูไซยาฟ ถือวา เปนกลุมติดอาวุธที่มีความแข็งแกรงกลุมหนึ่ง ในบรรดากลุมขบวนการแบงแยกดินแดนในฟลิปปนส สมาชิกบางสวนของกลุมอาบูยาฟเคยเดินทางเขาไปศึกษา และฝก อาวุธในซาอุดิอาระเบีย ลิเบีย และซีเรีย และมีบางสวนเคยเขารวมรบกับกลุม “มูจาฮิดีน” เพื่อตอตานการรุกรานของโซ เวียตในสมรภูมิอัฟกานิสถาน สําหรับประเทศไทย ไมพบหลักฐานชัดเจนวา กลุม “เจมาห อิสลามียะห” และกลุม “อาบู ไซยาฟ” มีความเชื่อมโยงกับกลุมมุสลิมในประเทศไทย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 204
อย า งไรก็ ต าม ความมั่ นคงภายในประเทศยั ง เป น ประเด็ นหลั ก ในนโยบายดา นความมั่ นคงของอิ น โดนี เ ซี ย โดยเฉพาะการตอตานการกอการราย ซึ่งรัฐบาลอินโดนีเซียใหความสําคัญตอการดําเนินนโยบายลดแนวคิดนิ ยมความ รุนแรง (De-Radicalization) และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแนวคิดของกลุมหัวรุนแรง โดยการตอตานการโฆษณาชวน เชื่อ และสงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชนและประชาชน โดยมี Indonesia national Counter Terrorism Agency) เปนหนวยงานกลางในการประสานงาน และในป 2555 อินโดนีเซียไดเปดศูนยรักษาสันติภาพและความมั่นคงที่ เมืองโบเกอร เพื่อเปนศูนยศึกษาและฝกรวมในการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ การจัดการภัยพิบัติและการตอตานการกอ การรายรวมทั้งความพยายามในการแกไขรางพระราชบัญญัติขาวกรอง เพื่อใหการดําเนินการปองกันการกอการรา ยมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ในขณะที่ สหรัฐอเมริกามีความกังวลกับกลุมมุสลิมหัวรุนแรงอยูไมนอย จึงไดกําหนดยุทธศาสตรที่จะนํามาใชใน 1 เอเชียตะวันออกเฉียงใตในอนาคตดังนี้ นโยบายแรก สหรัฐอเมริกาจะเขามาเพื่อสนับสนุนกลุมแนวคิดสายกลางในการถวงดุลกับกลุมหัวรุนแรง นโยบายที่สอง การพยายามผลักดันใหเกิดการปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปมัสยิด ปฏิรูประเบียบการเรียนการสอน ในโรงเรียนตาง ๆ เชน โรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนตาง ๆ นโยบายที่สาม คือ การขยายโอกาสทางเศรษฐกิจ ทําใหประชาชนที่อยูในพื้นที่ยากจนที่รูสึกถึงความไมเปน ธรรม ใหสามารถพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถทางเศรษฐกิจได นโยบายที่สี่ พยายามสกัดกั้นและลดบทบาทของกลุมหัวรุนแรง ตามกลุมชุมชนตาง ๆ ที่เขาไปยึดสถาบัน ทางศาสนา หรือยึดกิจกรรมทางการเมืองของทองถิ่นในหลายพื้นที่ นโยบายที่หา แนวความคิดที่จะพยายามสนับสนุนใหเกิด Civil Islam หรือ Muslim Civil Society Group ที่ทํางานชวยเหลือประชาชนในพื้นที่ นโยบายที่หก การสกัดกั้นทรัพยากร และการระดมเงินของกลุมเหลานี้ นโยบายที่เจ็ด ขยายขีดความสามารถทางการทหารในรูปแบบที่สมดุล ถวงดุลกันระหวางการตอตานกลุมหัว รุนแรง กับการยกระดับของกลุมสายกลางตาง ๆ ดวยการใชการทหารที่ยืดหยุนกวาเดิม อนึ่ง มุสลิมในอินโดนีเซียนั้น ประชาชนสวนใหญยังคงเปนมุสลิมสายกลางที่รักความยุติธรรม ความเสมอภาค และสันติ ในขณะที่กลุมกอการรายเปนเพียงมุสลิมหัวรุนแรงกลุมนอยเทานั้น ซึ่งปญหาจากกลุมมุสลิมหัวรุน แรงดังกลาว กําลังเปนปญหาทาทายทั้งรัฐบาลอินโดนีเซียและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และสามารถเชื่อมโยงไปยังประเทศ มุส ลิ มที่ มี ค วามขัด แย ง เช น กรณี ข องสงครามในซี เ รีย ดั งนั้ น อาเซียนจึง ตระหนั ก ถึง ภั ยจากการก อการร า ยและให ความสําคัญกับนโยบายขามชาติ โดยอาเซียนมีความรวมมือกันภายใตกลไกที่มีอยู เชน อนุสัญญาตอตานการกอการราย เพื่อสรางมาตรการความรวมมือระหวางกันในการตอตานการกอการรายในอาเซียนและในระดับภูมิภาค และใหความ ชวยเหลือทางกฎหมายซึ่งกันและกัน เพื่อรองรับความรวมมือในการตอตานการกอการรายและอาชญากรรมขามชาติ และ อีกทั้งอาเซียนยังไดขยายความรวมมือดานการตอตานการกอการรายไปยังประเทศอื่น ๆ นอกภูมิภาค เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย รัสเซีย จีน ญี่ปุน ฯลฯ โดยการสรางเครือขายความรวมมือทางดานขาวกรองและการปฏิบัติการ เพื่อปองกันการตกเปนเปาโจมตีของกลุมกอการรายไดอีกทั้งควรพัฒนาระบบการเฝาระวังใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
1
ปณิธาน วัฒนายากร. www.southwatch.com.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 205
ความร ว มมื อ ด า นการต อ ต า นการก อ การร า ยสากลในกลุ ม อาเซี ย น กลุมกอการรายมีแนวโนมขยายเครือขายเขามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้น เพื่อใชเปนแหลงพัก พิง ซองสุม และ/หรือ แหลงจัดหา/เสนทางขนสงอาวุธ แมวา ไทยจะไมใชเปาหมายโดยตรงของการกอการราย และไมได มีอยูในฐานะคูกรณีกับกลุมกอการราย แตเนื่องจาก ไทยเปนประเทศเสรีประชาธิปไตยที่เปนศูนยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะศูนยกลางดานการบิน และมีนโยบายสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหสามารถเดินทางผานเขา– ออก ไดอยางสะดวก ประกอบกับไทยมีที่ตั้งของเปาหมายหลักในการปฏิบัติการของกลุมกอการรายที่เปนผลประโยชนของ สหรัฐอเมริกา อิสราเอล และประเทศยุโรปตะวันตก เชน สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล สายการบิน บริ ษัท หางราน ตลอดจนนักทองเที่ยวของประเทศดังกลาว ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงและหนวยที่เกี่ยวของที่รับผิดชอบงานตอตาน การกอการรายสากลตองมีความพรอมตั้งแตยามปกติ รวมทั้งจัดทําแผนและมีการซักซอมอยูเสมอ นอกจากกิจกรรมที่ เตรียมพรอมของในหนวยงานภายในประเทศแลว กระทรวงกลาโหมยังมีความรวมมือดานการตอตานการกอการรายสากล ภายใตกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) รายละเอียดดังนี้ 1. การประชุมคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG on CT) ภายใตกรอบ ADMMPlus ซึ่งที่ผานมามีการดําเนินการแลว จํานวน 3 ครั้ง ดังนี้ 1.1 การประชุม ครั้งที่ 1 เมื่อ 18 – 21 กันยายน 2554 จัดกําลังพล จํานวน 3 นาย เขารวมประชุม คณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG on CT) ในกรอบ ADMM-Plus ณ เมืองมาคัสซาร ประเทศ อินโดนีเซีย ไดหารือกรอบความรวมมือกันดานการตอตานการกอการรายในภูมิภาค และใหความสําคัญเทียบเทากับกรอบ ความรวมมือในระดับสหประชาชาติ ตลอดจนไดวางแนวทาง และวิธีการ ในการกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานตามความ รวมมือในการตอตานการกอการราย โดยมุงเนนในการสรางความรวมมือระหวางกระทรวงกลาโหมในการรับมือกับการกอ การราย และตั้งเปาหมายในการจัดการฝกรวมกันในป 2556 1.2 การประชุม ครั้งที่ 2 เมื่อ 3 – 5 เมษายน 2555 จัดกําลังพล 3 นาย เขารวมประชุมคณะทํางาน ผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG-on-CT) ภายใตกรอบ ADMM-Plus ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศ สหรัฐอเมริกา ผลการประชุม ไดมีการแลกเปลี่ยนนโยบายของแตละประเทศ และความทาทายของการตอตานการกอการ รายในภูมิภาค รวมทั้ง การสลายแนวคิดกลุมหัวรุนแรง และการฟนฟูเยียวยา รวมทั้งมีการกําหนดรางแผนการใชเวลา และรายละเอียดการฝกขั้นตนของการฝกการตอตานการกอการราย (CTX) ในป 2556 1.3 การประชุม ครั้งที่ 3 เมื่อ 10 – 14 มีนาคม 2556 จัดกําลังพล 3 นาย เขารวมการประชุมคณะทํางาน ผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (EWG on CT) ภายใตกรอบ ADMM-Plus ณ กรุงจาการตา และตรวจ ภูมิประเทศขั้นตนที่ IPSC (Indonesia Peace and Security Center) ที่ Sentul Borgor ประเทศอินโดนีเซีย ผลการ ประชุม ไดมีการปฏิบัติและกรอบเวลาในการฝกการตอตานการกอการราย (CTX) ในป 2556 ประกอบดวยการฝกปญหา ที่บังคับการ-(TTX/Table-Top-Exercise)-การฝกภาคสนาม ในเชิงลักษณะเชิงสาธิต (PE/Practical Exercise) โดยในการฝกนั้นจะมีแผนการปฏิบัติตอไป ดังนี้ 1.3.1. ในหวง 13 – 15 สิงหาคม 2556 ตรวจภูมิประเทศขั้นสุดทาย FSS (Final Site Survey) ที่ IPSC (Indonesia Peace and Security Center) ที่ Sentul Borgor ประเทศอินโดนีเซีย 1.3.2. ในห วง 6 – 13 กั น ยายน 2556 การฝ ก CTX ซึ่ ง ประกอบด ว ยการฝ ก ปญ หาที่ บัง คั บ การ (TTX/Table-Top-Exercise) การฝ ก ภาคสนามลั ก ษณะเชิ ง สาธิ ต (PE/Practical-Exercise) ซึ่ ง มี กิ จกรรมที่ สํ า คั ญ ประกอบไปดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 206
1. การยิง (Shooting) 2. การฝกในอาคารฝกรบประชิด (CQB) 3. การฝกเขาสูที่หมาย (MOE) 4. การฝกระเบิดแสวงเครื่อง (IEDD) 5. การฝกตามสถานการณการฝก จํานวน 2 สถานการณ ดังนี้ 1. สถานการณเรือบรรทุกกาซธรรมชาติ (LPG Tanker Scenario) 2. สถานการณภัยคุกคามในการจัดการแขงขันกีฬาที่สําคัญในภูมิภาค (Threat Against a Major Regional Sporting Event) 2. ความรวมมือกับ JUSMAGTHAI ในหวงที่ผานมาทีการดําเนินการแลว จํานวน 1 ครั้ง เมื่อ 2 – 8 มิถุนายน 2556 ไดจัดกําลังพล จํานวน 1 นาย เขารวมประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Pacific Area Security Sector Working Group (PASSWG) ณ หลวงพระบาง สปป.ลาว ผลการประชุม สามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหวางกัน และผูเขารวมประชุมสามารถสรางเครือขาย และประสานความรวมมือดานการตอตานการกอ การรายในระดับภูมิภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ความรวมมือกับ ATA (Anti-Terrorism-Assistance-Program) ในหวงที่ผานมามีการดําเนินการแลว จํานวน 3 ครั้ง 3.1 เมื่อ 27 – 30 สิงหาคม 2555 จัดกําลังพล จํานวน 2 นาย เขารวมประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Suicide Bomber Prevention Workshop) ณ ILEA, Bangkok (International Law Enforcement Academy) กทม. ผลการประชุมสัมมนา ทําใหทราบระบบการปฏิบัติงานระเบิดพลีชีพของกลุมผูกอการราย อีกทั้ง ยังสามารถสราง เครือขายระหวางประเทศไดเปนอยางดี 3.2 เมื่อ 17 – 21 ธันวาคม 2555 จัดกําลังพล จํานวน 3 นาย เขารับการฝกอบรมหลักสูตร First Response to A Terrorist Incident ณ ศูนยพัฒนาดานขาวกรอง กองบัญชาการตํารวจสันติบาล กทม. ผลการปฏิบัติ ผูที่เขารับการ ฝ ก อบรม และผู มี ส ว นเกี่ ย วข อ งได รั บ ความรู เ ทคนิ ค การปฏิ บั ติ และสามารถปฏิ บั ติ ก ารเผชิ ญ เหตุ ขั้ น ต น ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถนําไปขยายผลภายในหนวย 3.3 เมื่อ 28 – 29 มีนาคม 2556 จัดกําลังพล จํานวน 2 นาย เขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการระบบบังคับ บัญชาเหตุการณระดับชาติ (National Incident Command System Consultation) ณ โรงแรม รอยัล ปริ๊นเซส หลาน หลวง กทม. ผลการปฏิบัติ ทําใหทราบระบบการบริหารเหตุการณระดับชาติ รวมทั้งบทบาทหนาที่ของหนวยงานตางๆ ที่ เกี่ยวของกับสหรัฐฯ และสามารถนํามาประยุกตใชกับประเทศไทยไดในบางเรื่อง ศตก. ในฐานะหนวยรับผิดชอบหลัก คณะทํางานผูเชี่ยวชาญฝายไทย ดานการตอตานการกอการราย ภายใตกรอบการประชุม ADMM-Plus เขารวมประชุม คณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย EWG on CT เมื่อ 3 – 5 เมษายน 2556 ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการประชุมสรุปไดดังนี้ การประชุมในครั้งนี้ มุงเนนการหารือเพื่อนําไปสูความรวมมือ ในการฝก ผสมของกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียน และประเทศคูเจรจา โดยกําหนดใหมีการเห็นชอบแผน ความรวมมือในหวง 2 ป และการแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ 1. ประธานรวม 1.1 ฝายสหรัฐอเมริกา : CAPT (USN) Stephen Grzeszczak (Retire) อดีตเสนาธิการ หนวยบัญชาการปฏิบัติการพิเศษสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟค 1.2 ฝายอินโดนีเซีย : Major General Puguh Santoso ผอ.สนผ.กห.อินโดนีเซีย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 207
2. ประเทศที่เขารวมประชุมประกอบดวยประเทศในกลุมอาเซียน 9 ประเทศ บรูไน กัมพูชา สปป.ลาว มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และประเทศคูเจรจา 7 ประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน นิวซีแลนด เกาหลีใต รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา 3. หัวขอในการแลกเปลี่ยน สําหรับหัวขอในการแลกเปลี่ยนจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งในแตละการ ประชุมขึ้นอยูกับประเทศเจาภาพวา ใหความสนใจในสิ่งใด สําหรับการประชุมในครั้งนี้ มีหัวขอดังนี้ 3.1 นโยบายของรัฐในการตอตานการกอการราย ประเด็น : การประสานงานของหนวยงาน ภายในประเทศอยางมีประสิทธิภาพ ประเทศสมาชิกที่เขารวมการประชุม ตางก็มีแนวทางการแกปญหาที่คลายกัน คือ การจัดการกับปญหาการกอการรายไมใชจะมีเพียงหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งที่จะดําเนินการดําเนินการไดตามลําพัง ตอง อาศัยความรวมมือระหวางกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ และเพื่อใหมีการประสานงานอยางมีประสิทธิภาพ ไดมีการจัดตั้ง คณะกรรมการเพื่อดูแลในระดับนโยบาย และจัดตั้งหนวยงาน หรือหนวยเฉพาะกิจเพื่อดูแลในระดับปฏิบัติทั้งในเรื่องของ การปฏิบัติ การประสานงาน และการสนับสนุน พรอมทั้งมีนโยบายในการเสริมศักยภาพของหนวยปฏิบัติ และการฟนฟู เยียวยาควบคูกันไปดวย 3.2 ความทาทายของการตอตานการกอการรายในภูมิภาค ประเทศสมาชิกมีความเห็นวา ความทาทายที่จะกลาวถึงนั้นมิใชเปนแคภัยคุกคามในภูมิภาคเทานั้น แตเปนความทาทายที่หมายรวมถึงในทุก ๆ ที่ที่มีการ กอการราย โดยมีความทาทายในเรื่องของการกอการรายทางไซเบอร Cyber Terrorism ไมวาจะเปนในเรื่องของ Social Media เครือขายสังคม (Social Network) อินเตอรเน็ท ซึ่งสามารถกอใหเกิดผูกอการรายซึ่งมีพฤติกรรมรุนแรงดวยตัวเอง (Self-Radicalized Terrorist) ความทาทายในเรื่องของรูปแบบการกอการรายที่ทันสมัยใชเทคโนโลยีมากขึ้น ตลอดจน ความทาทายในการกอการรายดวยสารเคมี สารชีวะ สารรังสี และนิวเคลียร 3.3 การทําใหกลุมหัวรุนแรงกลับใจและเขารับการฟนฟูเยียวยาเพื่อกลับเขาสูสังคมเปน ประเด็น : ความทาทายและการดําเนินการที่สัมฤทธิ์ผล ประเทศสมาชิกมีความเห็นวา การใชกําลังไมอาจแกปญหาได หรือแมแตการบังคับใชกฎหมายอยางเดียวก็ไมอาจทําใหสําเร็จได ความทาทายของเรื่องนี้อยูที่การเขาถึงจิตใจและสํานึก ของบุคคลหรือกลุมแนวคิดหัวรุนแรง อีกทั้งการปองกันไมใหกลับไปมีแนวคิดแบบเดิมอีก โดยรัฐจะตองมีการจูงใจและการ เยียวยาใหสามารถกลับคืนสูสังคมได เชน การสวัสดิการการศึกษา การใหความรูในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมาตรการ ในการติดตามผลหลังจากการกลับคืนสูสังคม 4. แผนความรวมมือในหวง 2 ป (2555 – 2556) 4.1 เปาหมายหลักของแผน คือ การจัดการฝก TABLE TOP EXCERCISE : TTX และ การ ฝก PRACTICAL EXERCISE : PE ในป 2556 ณ อินโดนีเซีย เพื่อเสริมสรางศักยภาพ พัฒนาขีดความสามารถ แลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสาร และประสานความรวมมือใหใกลชิดมากขึ้น ทั้งในระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติ 4.2 แผนการใชเวลา 4.2.1 การประชุมวางแผนขั้นตน หวง 3 – 4 เมษายน 2555 4.2.2 การตรวจภูมิประเทศขั้นตน หวงกันยายน 2555 ณ อินโดนีเซีย 4.2.3 การประชุมวางแผนขั้นสุดทาย หวงมีนาคม 2556 ณ อินโดนีเซีย 4.2.4 การตรวจภูมิประเทศขั้นสุดทาย หวงพฤษภาคม 2556 ณ อินโดนีเซีย 4.2.5 การฝก TTX และ PE ในหวงกันยายน 2556 ณ อินโดนีเซีย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 208
4.3 รูปแบบการฝก 4.3.1 การฝก TTX ไดมีการกําหนดสถานการณสมมุติไว 3 เรื่อง คือ เรื่องการโจมตี เรือบรรทุกกาซ ในเสนทางเดินเรือหรือบริเวณทาเรือ เรื่องการลักลอบขนอาวุธยิงอากาศยานแบบประทับ บา เรื่องการ โจมตีการแขงขันกีฬาสําคัญๆ เชน ซีเกมส และไดกําหนดหวงการฝก 5 วัน โดยจัดผูเขารวมการฝกทั้งระดับนโยบายและ ระดับปฏิบัติ ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนความรูและการแกปญหาตามสถานการณสมมุติ 4.3.2 การฝ ก PE ห วงการฝ ก 5 วัน เปน การฝ กในลั กษณะการสาธิ ตโดยใช สถานการณสมมุติตอจากการฝก TTX กับเนนการปฏิบัติทางยุทธวิธีโดยใชกําลังเขาปฏิบัติจริง รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยน ความรูและการฝกสาธิต จากการประชุมแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในการประสานความรวมมือของคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการ ตอตานการกอการรายในกรอบของ ADMM-Plus โดยเปาหมายหลักของการประสานความรวมมือในหวง 2 ป คือ การฝก รวมกัน ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกไดแสดงออกถึงการประสานความรวมมือที่ดี จึงควรจัดกําลังพลและยุทโธปกรณเขารวมตาม แผนงานในขอ 4 โดยมอบให ศตก. ในฐานะหนวยรับผิดชอบหลักในคณะทํางานผูเชี่ยวชาญฝายไทย ดานการตอตานการ กอการรายเปนผูพิจารณาความเหมาะสม และดําเนินการในการสงกําลังพลของกองทัพไทย และหนวยงานที่เกี่ยวของเขา รวมการดําเนินงานตามแผนงานตอไป ในการแกไขปญหาจากอาชญากรรมขามชาตินั้น มีความจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศในภูมิภาคตองรวมมือกัน ไมใช ปลอยใหเปนความรับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่งเทานั้น สําหรับการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียนนั้นไมแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ กลาวคือ เกิดจากความเหลื่อมล้ําดานคุณภาพของ กฎหมายและการบังคับ ใชกฎหมายของ ประเทศสมาชิก รวมทั้งความออนแอของรัฐบาลกลางที่จะเขาไปแกปญหา อาชญากรรมองคกรขามชาติ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ เมื่อเกิดการคุกคามจากปญหาอาชญากรรมขามชาติดังกลาว ประเทศสมาชิก อาเซียนไมไดแกปญหารวมกันอยางบูรณาการ แตกลับมองวา ปญหาการคุกคามดังกลาวเกิดขึ้ นใน ประเทศใดก็เปนความรับผิดชอบของประเทศนั้นในการจัดการ ดังนั้น การแกปญหาอาชญากรรมขามชาติจึงไมอาจเกิดขึ้น อยางเปนรูปธรรมได ระหวางประเทศสมาชิก
ความร ว มมื อ ทางอาญาระหว า งประเทศของภู มิ ภ าคอาเซี ย นในป จ จุ บั น ปญหาอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ ทัง้ ในเชิงปริมาณ ความรุนแรง และรูปแบบการ กระทําความผิด องคกรอาชญากรรมกลุมหลักๆ เชน การกอการรายขามชาติ การคามนุษย การลักลอบขนคนขามชาติ แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคายาเสพติดขามชาติ และอาชญากรรมคอมพิวเตอรได ใชประเทศอาเซียนเป นทั้ ง 2 ประเทศตนทาง ทางผาน และปลายทางในการกระทําผิด แมวา นโยบายการปองกันปราบปรามอาชญากรรมในประเทศ อาเซียนบางประเภท เชน การคามนุษย และการคายาเสพติด ไดถูกจัดเปนวาระแหงชาติและมีความรวมมือระหวางรัฐ มากขึน้ แตอาชญากรรมขามชาติยังคงมีแนวโนมขยายตัว อันเนื่องมาจากความแตกตางของกฎหมายภายใน เจตนารมณ ของรัฐ และความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย นอกจากนี้ องคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมจะทํางานรวมกัน ลักษณะเครือขาย และแลกเปลี่ยนผลประโยชนระหวางกลุมมากกวาในอดีต หนวยงานบังคับใชกฎหมายของแตละ 2
กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ . (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. หนา 1-44. กองเกียรติ อภัยวงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรม ขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 209
ประเทศ จึงจําเปนตองชวยเหลือและรวมมือกันใหมากขึ้น เพื่อรองรับตอการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติ สําหรับ ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ ดังนี้
ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศในเรื่ อ งทางอาญาแบบเป น ทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการจะปรากฏในลักษณะสนธิสัญญา อนุสัญญา กฎ บัตร พิธีสาร ความตกลง กติกา ฯลฯ ซึง่ เปนความตกลงระหวางประเทศและอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวางประเทศ โดยทัว่ ไป มักจะกระทําขึ้นเปนลายลักษณอักษร และมีผลผูกพันคูสัญญา รัฐภาคี จึงมีหนาทีต่ องปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีใน สนธิสัญญาและตามมาตรา 27 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา อีกทั้งไมสามารถอางบทบัญญัติของกฎหมายภายในเพือ่ เปนเหตุ I ในการไมปฏิบัติตามสนธิสัญญา ดวยเหตุนี้ รัฐจึงจําเปนตองวางขอกําหนดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการปรับใชสนธิสัญญากั บ ระบบกฎหมายภายในของประเทศ เช น ประเทศไทยไดตราพระราชบัญญัติปองกั นและปราบปรามการมีสวนรวมใน องคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 เพื่อรองรับพันธกรณีที่มีตามอนุสัญญาตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ จัดตั้งใน ลักษณะองคกร เปนตน ความรวมมือระหว างประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ กลาวคือ
ระดับระหวา งประเทศ อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. 2000 เปนกฎหมาย ระหวางประเทศฉบับสําคัญที่เปดโอกาสใหประเทศที่เปนภาคีมารวมมือกันในการตอสูกบั องคกรอาชญากรรมขามชาติโดย ไมคํานึงถึงความแตกตางทั้งทางดานการเมือง การปกครอง วัฒนธรรม และเชื้อชาติของประเทศ โดยอนุสัญญาฯ ไดวาง หลักเกณฑพื้นฐานอยางกวางใหประเทศสมาชิกตองนํา เขาไปบัญญัติไวเปนกฎหมายภายใน โดยมีขอนาสนใจ ไดแก ความผิดทางอาญาของการเขารวมในองคกรอาชญากรรม การฟอกเงิน และการทุจริตคอรัปชั่ น และมาตรการตอบโต ความรั บ ผิ ด ชอบของนิ ติ บุ ค คล การฟ อ งร อ ง และการพิ พ ากษา การยึ ด ทรั พ ย ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศเพื่ อ วัตถุประสงค ในการยึดทรัพย เขตอํานาจศาล การสงผูรายขามแดน การสงมอบตัวผูตองคําพิพากษา ความชวยเหลือซึ่ง กันและกันทางอาญา การสืบสวนรวมกัน เทคนิคการสืบสวนพิเศษ การจัดทําฐานขอมูลความผิดทางอาญา การคุมครอง พยาน มาตรการความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และการรวบรวม การแลกเปลี่ ยน และการวิเคราะห ขอมูลทีเ่ กี่ยวของกบลักษณะทั่วไปขององคกรอาชญากรรม เปนตน
ระดับภูมิภาค II
สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 ซึ่งเปนเครื่องมือทาง กฎหมายสํ าคัญ ระดั บภูมิ ภาคที่ได กําหนดมาตรการทางกฎหมายสํ า หรั บหน วยงานบั งคับ ใชก ฎหมายในการให ความ ชวยเหลือ และการขอความชวยเหลือระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคอาเซียนในเรือ่ งทางอาญาไวหลายรูปแบบ แตมีลักษณะที่ นาสนใจกวาสนธิสัญญาทวิภาคี หรือพหุภาคีทั่วไปกลาวคือ ไดวางหลักเกณฑความชวยเหลือระหวางประเทศอาเซียนไว มากกวาสนธิสัญญาสองฝายทัว่ ๆ ไป เชน การจัดหาให ซึง่ เอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ทีป่ ระชาชนใชประโยชนได คาใชจาย ซึง่ แนนอนวา ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดลงนามรับรองสนธิสัญญาดังกลาวมีพันธกรณีที่จะตองนําเอาเงื่อนไขและขอบท III ตาง ๆ ไปกําหนดเปนกฎหมายภายในเพื่อบังคับใชใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม สนธิสัญญาอาเซียนฉบับนี้ มีขอจํากัดทีค่ ลายคลึงกับสนธิสัญญาระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา ทัว่ ไปโดยรัฐผูรับคํารองขอสามารถปฏิเสธการใหความชวยเหลือได หากคํารองขอเขาขายคดีที่เกี่ยวเนื่องกับประเด็น ทาง การเมือง เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ชาติกําเนิด สัญชาติ และความผิดทางทหาร รวมถึงคดีความมั่นคงในลักษณะอื่น ๆ สนธิ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 210
สั ญ ญาฯ ได เ ป ด โอกาสให ผู ป ระสานงานกลางของแต ล ะรั ฐ สามารถส ง คํ า ร อ งขอความช ว ยเหลื อ และการติ ด ต อ ประสานงานผานทางชองทางตํารวจสากล (INTERPOL) หรือองคการตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ในสถานการณ เรงดวนได จึงทําใหขอมูล และพยานหลักฐานที่ไดจากการประสานงานทางคดีผานชองทางดังกลาวไดรับการยอมรับใน กระบวนพิจารณาชั้นศาลมากขึ้น ดังนั้น การที่สนธิสัญญาฯ ไดระบุถึงกลไกการประสานงานดังกลาวจึงเทากั บเปนการ ยอมรับถึงความถูกตองในการประสานความรวมมือระหวางประเทศโดยปริยาย
ระดับทวิภาคี IV
V
สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา สนธิสัญญาโอนตัว VI นักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ รวมถึงขอตกลงระหวางรัฐบาลในรูปแบบอื่นๆ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาล ไทยกั บรั ฐบาลแห งราชอาณาจั กรกัมพูช า เรื่อ ง ความรว มมือ ทวิ ภาคีว าด วยการขจั ดการคา เด็ ก และหญิ ง และการ ชวยเหลือเหยื่อของการคามนุษย ค.ศ. 2003 และบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกั บรัฐบาลแหง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ค.ศ. 2003 เปน ตน เปนกฎหมายที่มีผลผูกพันระหวางสองประเทศ ซึ่งคํานึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศที่มารวมลงนามเปนสําคัญ กฎหมายระหวางประเทศในระดับทวิภาคีไดชวยทําใหการทํางานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเปนไป ดวยความสะดวกและรวดเร็วมากขึน้ เนื่องจาก มีพันธกรณีระหวางรัฐในการทีจ่ ะตองปฏิบัติตามหากมีกรณีเขาตามเงือ่ นไข ทีว่ างไว อยางไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบวา กฎหมายระหวางประเทศระดับทวิภาคีของภูมิภาคอาเซียนยังมีไมมากนัก โดยสวนใหญจะเปนประเด็นที่ไดรับ การผลักดัน หรือสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลที่ เกี่ยวกับการตอตาน การคามนุษย และการตอตานการกอการราย ดังนัน้ ในโอกาสทีป่ ระเทศไทยกําลังจะเขาสูประชาคมอาเซียน และยังไมได มีกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางครอบคลุมรัฐอาเซียน จึงควรผลักดันใหมีกรอบความ รวมมือในลักษณะทวิภาคี หรือพหุภาคีใหมากขึ้น
ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศในเรื่ อ งทางอาญาแบบไม เ ป น ทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการมีหลายลักษณะ โดยเนนความรวมมือในเชิง นโยบายและปฏิบัติเปนสําคัญ แมวา ประเทศคูเจรจาหรือประเทศที่เขามารวมเปนพันธมิตร จะไมไดมีพันธกรณีที่เครงครัด ที่จะตองปฏิบัติตามความตกลงที่เกิดขึ้น หรือตามมารยาทระหวางประเทศในเชิงการทูตเทากับความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่ องทางอาญาแบบเป น ทางการที่ ยึ ด ถื อตั ว บทกฎหมายหรื อ หลั กกฎหมายระหวา งประเทศ แต รู ป แบบ ความสัมพันธแบบไมเปนทางการไดทําใหเกิดเครือขายความรวมมือระหวางกลุมหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และพัฒนา ไปเปนความสัมพันธในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบไมเปนทางการ ซึ่งทําใหการประสานความรวมมือในการ สืบสวนติดตามจับกุมตัวผูกระทําความผิดเปนไปอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปสามารถพิจารณาไดเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ ความรวมมือระหวางประเทศในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ
ในระดับนโยบาย -การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) เปนการประชุมเพื่อรองรับการประชุมในระดับรัฐมนตรีของประเทศอาเซียนที่ดูแลกํากับนโยบายดาน ความมัน่ คงที่เกี่ยวของกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ เกิดขึ้นตามมติที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยางเปนทางการครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป 2538 เพื่อใหเปนกลไกระดับภูมิภาคในการกํา กับและดําเนินการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ มี
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 211
แนวโนมจะทวีความรุนแรง และขยายตัวมากขึ้น โดยจัดขึ้นเปนประจําทุก 2 ป การประชุมดังกลาวเปนการหาแนวทาง รวมกันในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่สําคัญ ไดแก การตอตานการกอการราย การคามนุษย และการ ประชุมรวมกับประเทศคูเจรจา เปนตน -การประชุมเจาหนาทีอ่ าวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (Senior Official Meeting on Transnational Crime- SOMTC) เปนกลไกที่เนนความรวมมือดานการบังคับใชกฎหมายและการเสริมสรางศักยภาพในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติทั้งดานการปองกันและปราบปรามในระดับปฏิบัติของหนวยงานบังคับใชกฎหมายของประเทศ VII อาเซียน ในรูปแบบของการประชุมสัมมนา เพือ่ เสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของประเทศ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นทั ง แบบที่ เ ป น ทางการและไม เ ป น ทางการ โดยเป น เวที ใ นการผลั ก ดั น ข อ เสนอใหม ๆ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการรวมมือระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายใหมากขึ้น เชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การฝกอบรม และ การสรางเครือขายการทํางานรวมกันระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย เปนตน นอกจากนี้ กรอบการประชุมดังกลาวได VIII ประสบความสํ า เร็ จในการพั ฒนาความร ว มมื อ ระหว า งอาเซี ยนกั บ ประเทศคู เ จรจา ให เ ป น รู ป ธรรมตามเอกสาร แถลงการณทางการเมืองที่ไดมีการลงนามกัน ในรูปแบบแผนงานที่ระบุกิจกรรมความรวมมืออยางเปนรูปธรรม ซึ่งประเทศ ผูนําในแตละสาขาของอาชญากรรมขามชาติทําหนาทีป่ ระสาน หารือ และแสวงหาความรวมมือกับประเทศคูเจรจา อันจะ สงผลใหกลุมประเทศอาเซียนสามารถแสวงประโยชนสูง สุดจากความเชี่ ยวชาญของประเทศคูเจรจาบนพื้ นฐานของ ผลประโยชนรวมกันของทั้งสองฝาย เพือ่ ใหหนวยงานบังคับใชกฎหมายนํานโยบายดานอาชญากรรมขามชาติดังกลาวไปใช เปนแนวทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ
ในระดับปฏิบัติ IX
-การประชุมกระบวนการบาหลี (Bali process) เปนกลไกความรวมมือของภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟคที่มุงเนน การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะในเรื่ องการคา มนุษย และการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย เนื่องจาก ประเด็นเรื่องการคามนุษย และการขนคนขามชาติโดยเฉพาะทาง เรือเปนปญหาสําคัญของประเทศในภูมิภาคนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเวทีระดับภูมิภาคในการหารือและกํา หนด แนวทางรวมกันในการจัดการกับปญหาการคามนุษยการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย และปญหาอาชญากรรมขามชาติ อื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ เชน การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการขาวกรองผานหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกันในรูปของ เครือขายการบังคับใชกฎหมาย การวางระบบการตรวจคนเขาเมืองที่ มีประสิทธิภาพ การตรวจรวมกันตามแนวชายแดน เปนตน ผลลัพธที่ไดจากกรอบการประชุมกระบวนการบาหลี มีตั้ งแตการดําเนินการในเชิงนโยบายของภูมิภาคในการ จัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติไปจนถึงการพัฒนากลไกดานกฎหมายโดยสงเสริมใหประเทศสมาชิกสรางความ รวมมือระหวางกันในหลากหลายมิติ เพื่อใหสามารถจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้ น เชน การออกกฎหมายภายในประเทศ และมาตรการการปองกัน และความชวยเหลือตอเหยื่อของการคามนุษยโดยเฉพาะ ผูหญิงและเด็ก มาตรการจัดการกับการเขาเมืองผิดกฎหมาย และการเสริมสรางขีดความสามารถประเทศในรูปแบบของ โครงการฝกอบรม -การประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of Police Conference –ASEANAPOL) เปนกลไกความ X รวมมือระหวางองคกรตํารวจอาเซียนในระดับปฏิบัติ โดยเปนผลมาจากความตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรมขาม ชาติตอการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาค และตอสังคมอาเซียนโดยรวมมีวัตถุประสงคเพื่ อสนับสนุนระเบียบ และ กฎหมายที่ใชกลุมประเทศอาเซียน สงเสริมการพัฒนาและการดําเนินงานที่เปนระบบในการบังคับใชกฎหมายและการ รักษาความสงบเรียบรอย เสริมสรางความรวมมือรวมใจ และความสามัคคีของตํา รวจอาเซียนในการตอตานการกอการ ราย และอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถทั้ งในระดับองคกรและบุคลากร และเพื่ อเสริมสราง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 212
ความสัมพันธระหว างองคกรตํารวจในภูมิภาคอาเซียนใหแน นแฟนมากยิ่งขึ้น ผลลัพธที่ไดจากการประชุมจะอยูในรูป แถลงการณรวมที่ เปนขอเสนอแนะหัวหนาตํารวจของประเทศสมาชิกนํา ไปเปนแนวทางในการทํา งานรวมกัน แมวา ขอ เสนอแนะที่ เ กิ ด ขึ้น จะเป น เพียงกรอบนโยบายกว า ง ๆ และไม มี พัน ธะผู กพั น ทางกฎหมาย แต ใ นทางปฏิบั ติ แ ล ว แถลงการณดังกลาว ถือเปนเจตจํานงรวมของผูนําองคกรบังคับใชกฎหมายหลักของแตละประเทศที่ จะตองใชความ พยายามอยางสุดความสามารถในอันทีจ่ ะปฏิบัติตามใหได - การประสานความร ว มมื อ ทางอาญาผ า นองค ก ารตํ า รวจอาชญากรรมระหว า งประเทศ (International Criminal Police Organization : INTERPOL) หรือเรียกทั่วไปวา องคการตํารวจสากล ซึง่ เปนองคการระหวางประเทศที่ เปนหนวยประสานงานกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมระหวางประเทศ และชวยเหลือ XI กนในการติดตามจับกุมผูกระทําผิดมาลงโทษผานชองทางตํารวจสากล คือ ระบบขอมูลขาวสารตลอด 24 ชั่วโมง (I24/7) ซึง่ เปนการสงและรับขอมูลผานแหลงขอมูลกลาง (server) ของตํารวจสากลทีม่ ีสํานักงานใหญอยูที่ประเทศฝรั่งเศส สําหรับแลกเปลี่ยนขอมูลทางอาชญากรรมระหวางกันเพื่อประโยชนในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติ หรือ คดีที่อาชญากรหลบหนีไปตางประเทศในลักษณะตาง ๆ ในรูปแบบของหมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) 8 XII ประเภท ตามลักษณะของประเภทคดีและคํารองขอความรวมมือที่กําหนดไว ตามระเบียบการใชหมายตํารวจสากล เชน หมายสีแดงใชสําหรับการติดตามบุคคลที่เปนที่ตองการตัวเพื่อสงกลับไปดําเนินคดีหรือรับโทษทางอาญาในประเทศผูรอง ขอ หรือหมายสีดําใชสําหรับติดตามบุคคลสูญหาย เปนตน เพื่อใหประเทศสมาชิกตํารวจสากลชวยเหลือในการสืบสวน XIII สอบสวน และติดตามอาชญากรขามชาติที่หลบหนีจากประเทศหนึ่งเขาไปในอีกประเทศหนึ่ง คดีอาชญากรรมสําคัญที่ นาสนใจ ไดแก การกอการราย การคามนุษย การคายาเสพติด การลักลอบขนคนผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย การลักขโมยวัตถุโบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร ตลอดจนการติดตามบุคคลหลบหนีการดําเนินคดีอาญาและคําพิพากษา และอาชญากรสงคราม เปน ตน -การประสานงานผานสํานักงานนายตํารวจประสานงานประจําสถานทูต (Police Liaison Office) โดยมี นายตํารวจที่เปนผูแทนของสํานักงานตํารวจของประเทศนั้นๆ ประจําอยูที่สถานทูตที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ มีหนาที่ใน การติดตอประสานงานในคดีอาญาตางๆ ที่ผูตองหาไดหลบหนีมาอยูในประเทศอาเซียน หรือจากประเทศอาเซียนไปอยู ตางประเทศใหเกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ทั้งในดานการแลกเปลี่ยนขอมูล การแสวงหาพยานหลักฐาน และการสง และรั บคําร องขอทางการทูต ที่ เกี่ยวของกับคดี สํานั กงานนายตํ ารวจประสานงานดังกลาวไดมีบทบาทสํ า คัญในการ คลี่คลายคดีอาชญากรรม และอาชญากรรมขามชาติสําคัญที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และอาเซียนในหลายคดีโดยเฉพาะ 3XIV อยางยิง่ ทําใหขอจํากัดดานกฎหมายภายในนอยลง และเกิดความรวมมือระหวางกันมากขึน้ กลาวโดยสรุป ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนมีทั้งในระดับที่เปนทางการ และไมเปนทางการ ซึ่งนับเปนกลไกความรวมมือระหวางประเทศที่สําคัญ แมวา ประเทศอาเซียนจะไดตระหนักถึงภัยของอาชญากรรมขาม ชาติที่เพิ่มขึ้น แตเนื่องจาก กรอบความรวมมือของภูมิภาคสวนใหญจะลักษณะของแนวทางการทํางานรวมกันไมไดมีผล ผูกพันในทางกฎหมายอยางเครงครัด ทํา ใหการบังคับใชกฎหมายของแตละประเทศยังคงตั้งอยูบนพื้นฐานของหลั ก กฎหมายภายในของรัฐ นโยบายของรัฐบาล และผลประโยชนของแตละประเทศเปนสํา คัญ ประกอบกับกฎหมายของ ภูมิภาคยังไมไดมีการพัฒนาเหมือนเชนในสหภาพยุโรป จึงทําใหความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนไมเกิด ประสิทธิภาพเทาทีค่ วร ซึ่งสามารถวิเคราะหปญหาและอุปสรรคไดดังนี้ 3
เกชา สุขรมย. พ.ต.ท. สัมภาษณเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2556 ณฺ กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 213
ปญหาและอุ ปสรรคของกระบวนการยุ ติธรรมทางอาญาของอาเซียน แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีกรอบความรวมมือในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ชัดเจนมากขึ้นใน หวง 10 ปที่ผาน แตดวยลักษณะของความเปนรัฐที่กําลังพัฒนา และมีรูปแบบการเมืองการปกครอง และแนวนโยบายของ 4 รัฐที่แตกตางกัน ทําใหการพัฒนาแนวทางความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคคอนขางลาชาไมสามารถกาว ทันกับรูปแบบการกระทําผิดสมัยใหมขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่ เติบโตอยางรวดเร็วได โดยสามารถวิเคราะห ปญหาและอุปสรรคของความรวมมือในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ไดดังนี้ ประการแรก การไมมีหลักกฎหมาย หรือขอตกลงรวมกนของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะ พิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติที่ไดกระทําลงในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณี ความผิดที่มีถูกเริ่มตนกระทําในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําในอีกประเทศหนึ่ง และมี ค วามเสี ย หายหรื อ ผลกระทบเกิ ด ขึ้ น ในอี ก หลายประเทศ แม ว า อาเซี ย นจะมี สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา แตในทางปฏิบัติยัง เปนไปดวยความลาชา อันเนื่องมาจากอุปสรรคดานภาษา ความแตกตางของกฎหมายในแง 5 ของวิธีปฏิบัติ และดานขอมูล นอกจากนี้ มีเพียงบางประเทศในอาเซียนที่มีสนธิสัญญาวา ดวยการสงผูรายขามแดน และความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาระหวางกัน ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการนํา ตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ 6 ขึ้นอยูกับนโยบายของแตละรัฐเปนสําคัญ เชน กรณีที่การวางแผน การสมคบคิด และการ ลงมือกระทําผิดอยูคนละประเทศ ศาลของประเทศใดควรจะมีอํา นาจในการรับฟอง และ พิจารณาคดีดวยเหตุผลใด เปนตน ประการทีส่ อง การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหว างประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนดวยกั นยังไม มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีที่ ประเทศไทยขอความ ชวยเหลือทางอาญาไปยังประเทศเพื่อนบานในอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากการสนธิสัญญาระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือ ทางอาญาและการส ง ผู ร า ยข า มแดนในป จ จุ บั น ยั ง ไม ค รอบคลุ มทุ ก ประเทศทํ า ให ไ ม มี 7 พันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ หรือหากเปน การรองขอความชวยเหลือระหวางประเทศผานชองทางทางการทูตก็ไมมีความแนนอน ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชน ตางตอบแทนเปนสําคัญ ซึ่งพบวา การกระทําผิด ของประชากรที่มาจากกลุมประเทศอาเซียนจะเปนเรื่องการหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมายเปนสวนใหญ ซึ่ งหนวยงานบังคับใชกฎหมายสามารถใช กฎหมายภายในของแตละประเทศที่ มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิดเหมือนองคกรอาชญากรรมจากเอเชีย หรือแถบ 4
Keling, M.F. (2011). The development of ASEAN from historical approach. ประพันธ นัยโกวิท และประธาน จุฬาโรจนมนตรี. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการพัฒนา กฎหมายความรวมมือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญา. วารสารนิติศาสตร 33(3), 542-552 6 Emmers, R. (2003). The threat of transnational crime in Southeast Asia: Drug trafficking, human smuggling and trafficking, and sea piracy. Discussion Papers. Institute of Defence and Strategic Studies (IDSS), Singapore 7 สุนิสา สถาพรเสริมสุข. สัมภาษณเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ สํานักงานการตางประเทศ สํานักงานอัยการสูงสุด. 5
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 214
ประการทีส่ าม
ประการทีส่ ี่
8
ยุโ รป หรื อเปน ลัก ษณะที่ ผู กระทํา ความผิ ดมาจากประเทศในแถบอื่ น ๆ ของโลกมาใช ประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน การ ฉอโกงทางคอมพิวเตอร กลุมผูกอการรายขามชาติ กลุมยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธ 8 ขามชาติ เปนตน ความไมเพียงพอของกฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยู เนื่องจากการดําเนินคดีกับ อาชญากรรมขามชาติโดยเฉพาะทีจ่ ัดตัง้ ในลักษณะองคกรมีความสลับซับซอน และเชือ่ มโยง ในลักษณะเครือข ายเกี่ ยวเนื่องกัน ในหลายประเทศ ทําใหต องใชเทคนิควิธีก ารสืบสวน สอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานเปนกรณีพิเศษ หากแตกฎหมายภายในที่ใชในแตละ ประเทศโดยมากมีวัตถุประสงคเพื่อบังคับใชแกการประกอบอาชญากรรมของปจเจกบุคคล หรือการประกอบอาชญากรรมที่มีการสมคบกันในกรณีธรรมดาทั่วไป ทําใหไมสามารถเอา ผิ ด กั บ ตั ว ผู ก ระทํ า ผิ ด ที่ อ ยู เ บื้ อ งหลั ง ซึ่ ง มั ก มี ก ารประกอบธุ ร กิ จถู ก กฎหมายบั ง หน า ได นอกจากนี้ หลายประเทศยังไมมีกฎหมายปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ ให อํ า นาจพิ เ ศษแก เ จ า พนั ก งานในการสื บ สวนสอบสวน เช น การดั ก ฟ ง โทรศั พ ท (wire tapping) การใชสายลับในการสืบสวน (undercover operation) การใชอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสสะกดรอย (intelligence by electronic devices) การจัดสงภายใตการ ควบคุม (controlled delivery) รวมถึงการบัญญัติโทษริบทรัพยสินที่ยังมิไดใชในการ กระทําผิด หรือมีไวเพื่อกระทําผิด หรือพรอมที่จะใชกระทําความผิดอยางหนึ่งอยางใดใน อนาคต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ใชในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย ประกอบอาชญากรรม 9 และขยายเครือขายขององคกรอาชญากรรมขามชาติ การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาที่มักพบได ในหลายประเทศในอาเซียน แอฟริกา และตะวันออกกลาง อันมีสาเหตุมาจากความไม พรอมดานโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่ มักยึดติดกับแนวคิดการปองกั น อาชญากรรมแบบเดิม ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปราบอาชญากรรมขามชาติซงึ่ เปนปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิมใน การจั ด การได และการทํ า งานแบบแยก ส ว นภารกิ จ ของหน ว ยงานทํ า ให ข าดการ 10 ประสานงานและแลกเปลีย่ นขอมูลระหวางกัน เชน ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงานที่ เข า มาเกี่ ยวข อ งกบภารกิ จการปราบปรามอาชญากรรมข า มชาติเ ป น จํ า นวนมาก เช น สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการปราบปราม กองบังคับปราบปรามการคามนุษย กองการตางประเทศ ศูนยปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ กระทรวงกลาโหม กรม ศุลกากร และหนวยปฏิบั ติก ารต าง ๆ หากแตใ นทางปฏิบัติ ขาดเอกภาพในการบริ หาร จัดการ ในขณะทีอ่ ีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตัง้ หนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้ โดยตรงทํา ใหเกิดความไมชัดเจนในการประสานการปฏิบัติ
จอม สิงหนอย, พ.ต.ท. สัมภาษณเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ณ กองบังคับการปราบปราม กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง. คมกริช ดุลยพิทักษ, ม.ป.ป. ปญหาการดําเนินคดีองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. 10 Broome, J. (2000). Transnational crime in the twenty-first century. Paper presented at the Transnational Crime Conference, Canberra, 9-10 March 2000. 9
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 215
ประการทีห่ า
การขาดทักษะและความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของประเทศอาเซียนที่จะจัดการกับ 11 ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ตองยอมรับวา ภาษา และวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนยังมี ความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศตาง ๆ มีภาษาเขียนและภาษาพูด เปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ การ จั ด ทํ า คํ า ร อ งขอความช ว ยเหลื อ ทางอาญาจํ า เป น ต อ งใช ภาษากลางในการสื่ อ สาร ซึ่ ง โดยทั่ วไปจะใชภาษาอั งกฤษ ดั งนั้ น การสรรหาบุ คลากรที่ มีทัก ษะทั้ งในดานของภาษา กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศ จึงเปนเรื่องที่เป นจําเปน ตอการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการประสานความรวมมื อระหว า ง ประเทศ ประการสุดทาย การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับ ใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน แมวา ในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงาน ในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งในระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่ อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจอาเซียน แตกรอบความรวมมือ มีลักษณะเชิงนโยบายที่เนนการกระชับความสัมพันธ และการทํางานรวมกันแบบไมเปน ทางการ เชน การแลกเปลีย่ นมูลขาวสาร และการฝกอบรม ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑและขั้นตอน ทีแ่ นนอนเหมือนเชนความรวมมือระหวางประเทศที่ใชกระบวนการทางกฎหมาย ประกอบ กับโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่แตกตางกันออกไปในแตละประเทศ ทําให ความรวมมือขึ้นอยูกับประโยชนตางตอบแทน และนโยบายของรัฐเปนสําคัญ
บทสรุ ป การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนนับเปนพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจอีกกาวหนึ่ งของประเทศอาเซียนที่ พยายามที่สรางความเปนภูมิภาคนิยม และสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจโดยลดกฎระเบียบภายในรัฐลง เพื่อเปด โอกาสใหประชากรอาเซียนสามารถผานเขา-ออกประเทศไดมากขึ้น แตในอีกดานหนึ่งกลับทําใหองคกรอาชญากรรมขาม ชาติสามารถใชชองโอกาสดังกลาว ในการเขามากระทําความผิดในภูมิภาคอาเซียนหลากหลายรูปแบบ ผลการศึกษาพบวา ความรวมมือระหวางประเทศในทางอาญาของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบันยังมีจุดออนอยูหลายประการ กลาวคือ การไมมี กฎหมาย หรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาคดี อาชญากรรมขามชาติ การ ประสานความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายยังมีขอจํา กัด อันเนื่องมาจากกฎหมายภายในของรัฐ การขาด หนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ การขาดทักษะ และความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และ กฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒ นธรรม และสังคมของประเทศอาเซียน การขาดความรู ความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศของเจาหนาที่ทเี่ กี่ยวของ และการขาดกลไกในทางปฏิบัติใน การขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน
11
Intararam, Kanchon. (2001). Problems and obstacles (of investigators) in transnational organized crime investigation in the Metropolitan Police Bureau. Thesis for Master of Arts (Criminology and Criminal Justice). Mahidol University; สายันต สุโขพืช. (ม.ป.ป.). ผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียนดานกฎหมายและกระบวนการ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 216
ดังนั้น กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของแตละประเทศอาเซียน จึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมตอการ เสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ โดยควรมียุทธศาสตรวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียนรวมกัน โดยอาจ พิจารณาใน 3 สวนหลัก ประกอบดวย ดานกลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ด านความ รวมมือระหวางประเทศดานกฎหมาย และการบริหารจัดการ และดานการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการ ยุติธรรม ทั้งนี้ เพื่อลดขอจํากัดดานกฎหมายภายในของแตละประเทศอันเปนอุปสรรคสําคัญตอการปองกันปราบปราม อาชญากรรมขามชาติ และขยายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของอาเซียนใหมีประสิทธิภาพมากขึน้
อ า งอิ ง ท า ยบท I
อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยเรื่องกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ไดใหคํานิยามไว ในมาตรา 2 ยอหนา 1a วา สนธิสัญญา หมายถึงความตกลงระหวางประเทศ ซึ่งกระทําเปนลายลักษณอักษรระหวางรัฐ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ ไมวาจะกระทําขึ้นเปนเอกสารฉบับเดียว หรือหลายฉบับ และไมวาจะเรียกวา อยางไรก็ตาม อางถึงใน จตุรนต ถิ ระวัฒน. (2547). กฎหมายระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 78-79. II สนธิสัญญาฯ ไดรวมลงนามโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ประกอบดวย บรูไนดารุสซาลาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟ ลิป ปน ส สาธารณรัฐ สิ งคโปร ราชอาณาจั กรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสหภาพพมา และประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญาดังกลาว เมือป 2556 III ปจจุบัน ประเทศไทยไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนกฎหมายอนุวัติการเพื่อใหเปนไปตามอนุสัญญาฯ โดยไดเริ่มมีผลบังคับใชแลวตั้งแตเดือนกันยายน 2556 อยางไร ก็ตาม ขณะนี้ อยูระหวางการพิจารณาออกขอบังคับประกอบพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวของสํานักงานอัยการสูงสุด และ หนวยงานที่เกี่ยวของ IV สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน (Extradition Treaty) เปนเครื่องมือทางการศาล หรือความรวมมือระหวางประเทศทางอาญา เพือ่ เปด โอกาสใหรัฐหนึง่ สามารถใชอํานาจทางการศาลของตนเหนือคดีทเี่ กิดขึน้ ในดินแดนของตนเอง แตผูกระทําความผิดใน ขณะนั้นกลับอยูในดินแดน หรืออาณาเขตของอีกรัฐหนึ่ง โดยการสงมอบตัวผูตองหา หรือผูที่ศาลไดมีคําพิพากษาใหลงโทษผู นั้นในการกระทําความผิดทางอาญาในดินแดนของรัฐที่ขอใหสงตัวบุคคลผูนั้นเพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือลงโทษในดินแดนของ รัฐที่รองขอ แตก็มิไดหมายความวา หากไมมีสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนกันไว จะไมสามารถสรางความรวมมือทางอาญา ระหวางประทศไดเลย เพราะรัฐยังคงสามารถมีความรวมมือทางอาญากับรัฐอื่น ๆ ได โดยอาศัยหลักกฎหมายระหวางประเทศ บนพื้นฐานของพันธไมตรีระหวางประเทศ หลักถอยทีถอยปฏิบัติ และหลักความยุติธรรม หรือที่รูจักกันในชื่อวา ความรวมมือ ทางการทูต V สนธิสัญญาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา (Mutual Assistance in Criminal Matters Treaty) เปน กฎหมายระหวางประเทศที่เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่ง หรืออีกหลายหลายรัฐ สามารถใหความชวยเหลือระหวางกันได ตามพันธกรณีที่ตกลงกันไวบนพื้นฐานของประโยชนตางตอบแทน โดยมองตามความเปนจริงวา อาชญากรรมสามารถเกิดขึ้น ในทุกแหงบนโลก และอาชญากรไมวาจะเปนคนเดียว หรือหลายคนก็ไมไดถูกจํากัดดวยพื้นที่ และเวลาในการกระทําผิด และ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 217
หลบหนี ดังนั้น จึงจําเปนที่รัฐจะตองรวมมือกันในการแลกเปลี่ยนขอมูล และชวยเหลือในการสืบสวนสอบสวนคดีเพื่อนํา พยานหลักฐานที่ไดไปใชในการดําเนินการทางศาลไดอยางถูกตองตามกระบวนวิธีพิจารณาของศาลยุติธรรม VI สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่งเรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VII การประชุมจะมุงเนนความรวมมือของภูมิภาคอาเซียนและประเทศคูเจรจาในหัวขอการประชุมที่เกี่ยวของ 8 หัวขอ ประกอบดวย การกอการราย การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน โจรสลัด อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร VIII ประเทศคูเจรจาในกรอบการประชุม SOMTC ประกอบดวย จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอินเดีย IX ปจจุบันประกอบดวยสมาชิกจํานวน 44 ประเทศ และ 2 องคการระหวางประเทศ และมีประเทศผูสังเกตการณอีก 29 ประเทศ ดู รายละเอียดใน http://www.baliprocess.net X ประกอบดวย สํานักงานตํารวจจากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และคูเจรจาอีก 5 ประเทศ และ 2 องคระหวาง ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน เกาหลี นิวซีแลนด สํานักงานเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจ สากล เนื้อหาสาระของการประชุมจะประกอบดวยอาชญากรรมขามชาติ 9 ฐานความผิด และ 3 ประเด็นความรวมมือ ประกอบดวย การลักลอบคายาเสพติด การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรม ทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมคอมพิวเตอร การใชเอกสารเดินทางปลอม การฉอโกงขามชาติ ฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ความ รวมมือทางอาญา และการฝกอบรมระหวางตํารวจอาเซียน โดยจะเปนการเสนอถึงสถานการณทั่วไป สภาพปญหาของ อาชญากรรม รวมถึ ง เสนอกฎหมาย และมาตรการที่ เ หมาะสมในการแกไข ป ญ หาต อ ไป ดู ร ายละเอี ย ดได ใ น http://www.aseanapol.org/information/dialogue-partners XI องคการตํารวจสากล กอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ประเทศโมนาโค ในป 1914 ปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวม 190 ประเทศ สํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจสากล ตั้งอยูที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส มีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ประสานงาน และ ติดต อแลกเปลี่ยนขอ สนเทศ หรือ ขอ มูล เกี่ย วกั บอาชญากรรมต อองคก ารตํา รวจสากล หรือ ตอสํ านั กงานกลางแหง ชาติ (National Central Bureau : NCB) ซึ่งเปนกลไกของประเทศสมาชิกที่สําคัญในการดําเนินงานประสานการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิกดวยกัน โดยองคการ ตํารวจสากลจะมีบทบาทในการเปนชองทางการติดตอประสานความรวมมือกับระหวาง ประเทศสมาชิกผานระบบเทคโนโลยีสมัยใหม ในการตอสูกับอาชญากรรมและอาชญากรรมขามชาติในศตวรรษที่ 21 โดยคดี สําคัญหลักๆ ที่เปนเปาหมายของตํารวจสากล ไดแก การกอการราย การคามนุษย ยาเสพติดใหโทษ การลักลอบขนคนผิด กฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย โจรสลัด การลักขโมยวัตถุ โบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร นักโทษหลบหนี และอาชญากรสงคราม เปนตน ดูรายละเอียดได ใน http://www.interpol.int/About-INTERPOL/Overview XII หมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) เปนคํารองขอความรวมมือ หรือการแจงเตือนระหวางประเทศซึ่งอนุญาตให ตํารวจของประเทศสมาชิกแบงปนขอมูลขาวสารสําคัญระหวางกัน ไดถูกจัดทําและเผยแพร โดยสํานักงานเลขาธิการตํารวจ สากลตามคํารองขอของสํานักงานกลางแหงชาติหรือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายของประเทศสมาชิก และซึ่งจะเผยแพรดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ก า ร ก อ ก า ร ร า ย : ห น า | 218
ภาษาทางการ 4 ภาษาไดแก อาราบิค, อังกฤษฝรั่งเศส และสเปน โดยแบงหมายออกเปน 8 ลักษณะ ประกอบดวย หมายสี แดง หมายสี ดํ า หมายสี ส ม หมายสี ฟ า หมายสี เ หลื อ ง หมายสี เ ขี ย ว หมายสี ม วง และหมายสี ข าว ดู ร ายละเอี ย ดได ใ น http://www.interpol.int/INTERPOL-expertise/Notices XIII ตัวอยางความรวมมือนาสนใจ เชน การดําเนินงานของตํารวจสากลในการนําหมายเอฟบีไอ จับกุม นายไบรอั น สมิธ ผูตองหาตามหมายจับของสํานักงานสืบสวนกลางสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ) ในขอหาลวงละเมิดทางเพศเด็กและขมขืนผูหญิงใน ป พ.ศ. 2532 ในลาสเวกัส และไดหลบหนีมาซอนตัวอยูในพื้นที่ จ.นาน เปนครูสอนพิเศษวิชาภาษาอังกฤษใหกับเด็กนักเรียน ในโรงเรียนบานปรางค ต. บานปรางค อ.ปว จ.นาน โดยหลังจากแจงขอหาตํารวจสากลไดควบคุม ตัวไปดําเนินการเพื่อสงไป ดํา เนิ นคดีที่ ประเทศสหรัฐ อเมริ กาตามข อ ตกลงเรื่ องสง ผูร ายขา มแดนตอ ไป เป นต น (ข อมู ลจากฝา ยตํ ารวจสากล และ ประสานงานภูมิภาค 3 กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ) XIV ในปจจุบนั มีเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูตในประเทศไทยรวม 19 ประเทศและ 2 องคการระหวางประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย, เบลเยี่ยม, แคนาดา, จีน, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อินโดนีเซีย, อิสราเอล, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลีใต, มาเลเซีย, เนเธอรแลนด, นิวซีแลนด, กลุมประเทศนอดิก, นอรเวย, สเปน, สวิสเซอรแลนด, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, องคการตํารวจสากล และสํานักงานตอตานยาเสพติดและอาชญากรรมขององคการสหประชาชาติ
ความมั่นคงทางทะเล ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งอยูระหวางเอเชียใต เอเชียตะวันออก และตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย มี เนื้อที่ประมาณรอยละ 14 ของทวีปเอเชีย หรือรอยละ 3 ของโลก เปนที่ตั้งของ 11 ประเทศ ไดแก ไทย เมียนมาร สปป. ลาว เวียดนาม กัมพูชา อินโดนี เซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร บรูไน และติมอรเลสเต หรือตะวันออก มีประชากร 1 รวมกันประมาณ 600 ลานคน คิดเปนรอยละ 14 ของทวีปเอเชีย หรือรอยละ 9 ของโลก มีพื้นที่ทางบกประมาณ 4,494,495 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเปนภูมิภาคที่มีความหลากหลายทั้งดานประวัติศาสตร วัฒนธรรม ศาสนา มรดกจากความ เปนอาณานิคม และเผาพันธุที่เปนแบบผสมผสานระหวางวัฒนธรรมตะวันออก ซึ่งไดรับอิทธิพลจากอินเดีย และจีนกับ วัฒนธรรมตะวันตก จากลักษณะดังกลาว ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงมีความสําคัญทั้งทางดานการเมือง และความ มั่นคงระหว างประเทศ เนื่ องจาก เปนจุ ดเชื่อมตอระหวางมหาสมุ ทรอิ นเดียกั บมหาสมุท รแปซิฟก เปนเสน ทางการ คมนาคมทางยุทธศาสตรหลัก หรือเปนเสนเลือดหลัก (Blood Line) ในการขนสงสินคาเขา-ออกที่เชื่อมโลกตะวันตกและ ตะวันออกเขาดวยกัน และยังมีความสําคัญทางเศรษฐกิจของโลก เนื่องจาก เปนแหลง ทรัพยากร และแหลงผลิตผลทาง การเกษตรที่สําคัญของโลก ในภูมิภาคนี้มีทะเลที่สําคัญ คือ ทะเลอันดามัน (Andaman Sea) มีพื้นที่ประมาณ 116,280 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ทองทะเลสวนใหญเปนโคลนปนทราย และโคลนเหลว ความลึกน้ําเฉลี่ยประมาณ 1,000 เมตร สภาพของทะเลมีเกาะ แกงมากมาย มีทิวทัศนสวยงาม และเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศไทย นอกจากนั้น ยังเปนแหลงปะการัง จํานวนมาก ซึ่งทําใหมีสัตวน้ําชุกชุม โดยทะเลอันดามันเปนสวนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดียดานตะวันออกเชื่อมตอภูมิภาค เอเชียใต และเอเชียตะวันออกเฉียงใตเขาดวยกัน ครอบคลุมอาณาเขตทางทะเลของประเทศเมียนมาร อินโดนีเซีย ไทย และมาเลเซีย และทะเลจีนใต (South China Sea) ซึ่งเปนจุดเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟก เปนเสนทางการคมนาคมที่สําคัญของภูมิภาคและของโลก ในภูมิภาคนี้ มีชองแคบสําคัญที่เปนเสนทางคมนาคม ไดแก ชองแคบมะละกา (Strait of Malacca) ซึ่งถือเปนเสนทางยุทธศาสตรที่สําคัญในการคมนาคมทางทะเลในภูมิภาค เปน เสนทางหลักระหวางทะเลอันดามันกับทะเลจีนใต เปนชองแคบที่มีเรือแลนผานหนาแนนที่สุดแหงหนึ่งของโลก นอกจาก ชองแคบมะละกาแลว ยังมีชองแคบลอมบ็อก (Lombok Strait) ซึ่งอยูทางปลายเกาะชวาดานตะวันออกในอาณาเขตทาง ทะเลของประเทศอินโดนีเซีย ชองแคบนี้มีความกวางและลึกมาก จึงเปนเสนทางเดินเรือสํารองที่สําคัญ เพราะมีความ ปลอดภัยสูง แตเรือสินคาสวนใหญจะใชชองแคบนี้นอยกวาชองแคบมะละกา และชองแคบซุนดา (Sunda Strait) อยู ระหวางเกาะสุมาตรากับเกาะชวา มีกระแสน้ํา แรงแตมีความลึกไมมากนัก มีเกาะแกงจํานวนมาก และคอนขางอันตราย เรือสินคาใชชองแคบนี้นอยมาก โดยเฉพาะเรือที่มีขนาดใหญ 100,000 ตัน จะไมใชชองแคบนี้ ชองแคบซุนดาอยูในอาณา เขตทางทะเลของประเทศอินโดนีเซียเชนเดี ยวกับชองแคบลอมบ็อก นอกจากเปนเสนทางคมนาคมหลักแลว ทะเลใน ภูมิภาคนี้ ยังเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ ทั้งที่มีชีวิต และไมมีชีวิต เชน น้ํามันดิบและกาซธรรมชาติ โดยเฉพาะ ในพื้นที่อาวไทยและทะเลจีนใต ซึ่งจากการสํา รวจทางธรณีวิทยา พบวา บริเวณตะวันออกของอาวไทยเปนแหลงน้ํามัน และกาซธรรมชาติที่สําคัญ เปนที่ตั้งของแองน้ํามัน Pattani Basin, Panjang Basin , Khmer Trough และ Unname Basin ที่ไทย และกัมพูชาตางอางสิทธิ แตยังไมสามารถตกลงกันได สวนบริเวณดานใตของอาวไทย นอกชายฝงเขตแดน ไทย- มาเลเซีย มีแหลงน้ํามัน และกาซธรรมชาติที่ทั้งสองประเทศไดมีการเจรจาตกลงแสวงประโยชนรวมกันเรียบรอยแลว 1
ชลทิศ นาวานุเคราะห, นาวาเอก, (2552). “กองทัพเรือกับความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล” เอกสารประจําภาค, วิทยาลัยการทัพเรือ. หนา 6.
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 220
นอกจากนี้ พื้นที่บริเวณหมูเกาะสแปรตลีย (Spratly Islands) ที่ 6 ชาติ ไดแก จีน มาเลเซีย ฟลิปปนส ไตหวัน บรูไน และ เวียดนามอางกรรมสิทธิ์ โดยเชื่อวา เปนบริเวณที่อุดมไปดวยน้ํามัน และกาซธรรมชาติจํานวนมาก จึงเปนสาเหตุของความ ขัดแยงระหวางประเทศ และมีความตึงเครียดระหวางเวียดนาม จีน และฟลิปปนสอยูในขณะนี้ สําหรับทรัพยากรธรรมชาติที่เปนแหลงพลังงานนั้น ประเทศในภูมิภาคตางก็ไดดํา เนินการแสวงประโยชนใน อาณาเขตทางทะเลของตนอยางตอเนื่อง จะเห็นไดจากแทนขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติที่ปจจุบันตั้งเรียงรายอยูใน อาณาเขตทางทะเลของแตละประเทศนั้นมีอยูเปนจํานวนมาก เชน อินโดนีเซียมี 500 แทน ไทยมี 265 แทน มาเลเซียมี 2 240 แทนมี บรูไน 160 แทน และเวียดนามมี 45 แทน
ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน เอเชี ยตะวั นออกเฉียงใต มีพื้นที่ ทางทะเลที่แตล ะประเทศประกาศทะเลอาณาเขต เขตต อเนื่ อง รวมถึ งเขต เศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลทะเล โดยทางดานทิศเหนือมีอาณาเขตทัง้ ทางบก และทางทะเลติดประเทศจีน อินเดีย และไตหวัน ดานตะวันออกติด กับประเทศปาปวนิวกินี และมหาสมุทรแปซิฟก ดานใตติดประเทศออสเตรเลีย ดานตะวันตกติดบังคลาเทศ อินเดีย และ มหาสมุทรอินเดีย เปนภูมิภาคทีไ่ มใหญมากนัก ประกอบดวย ภูมิภาคยอย 3 ภูมิภาค คือ 1. ประเทศในคาบสมุทรอินโดจีน สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ 2. ประเทศแหลมและหมูเกาะ คือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม 3. ประเทศฟลปิ ปนส และติมอรเลสเต เปนประเทศหมูเกาะ สวนใหญนับถือศาสนาคริสต สปป.ลาว และกัมพูชาเปนประเทศปด (Landlocked) เวียดนาม ไทย เมียนมาร เปนประเทศรัฐชายฝง และ สิงคโปรเปนประเทศเกาะเมือง มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลปิ ปนส และติมอรเลสเต เปนประเทศหมูเกาะ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประกอบดวย ภูมิศาสตรที่เปนพื้นที่ภูเขา ที่ราบสูง ปาเขตรอน และที่ราบปาก แมน้ํา ฝนตกชุก บางพื้นทีย่ งั ไมมีการบุกเบิก ภัยคุกคามถาวรในภูมิภาคนี้ คือ ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว และสึนามิ พายุ ใตฝุน พายุไซโคลน ซึ่งลาสุดสึนามิใกลเกาะสุมาตราไดคราชีวิตคนไปประมาณ 250,000 คน พื้นที่ทางทะเลที่สําคัญที่อยูโดยรอบ ซึ่งมีผลตอเศรษฐกิจและความมั่นคงทางทะเล ไดแก ทะเลจีนใต ชองแคบ มะละกา มหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย และนอกจากเปนเสนทางคมนาคมหลักแลว ทะเลในภูมิภาคนี้ยังเปน แหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต เชน น้ํามันดิบ และกาซธรรมชาติ โดยเฉพาะในพื้นที่อาวไทย และทะเลจีนใต ซึ่งจากการสํารวจทางธรณีวิทยาพบวา บริเวณตะวันออกของอาวไทยเปนแหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติที่ 3 สําคัญ เปนที่ตั้งของแองน้ํามัน Pattani Basin, Panjang Basin , Khmer Trough และ Unname Basin ที่ไทยและ กัมพูชาตางอางสิทธิ แตยังไมสามารถตกลงกันได สวนบริเวณดานใตของอาวไทย นอกชายฝงเขตแดนไทย- มาเลเซีย มี แหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติที่ทั้งสองประเทศไดมีการเจรจาตกลงแสวงประโยชนรวมกันเรียบรอยแลว นอกจากนี้ พื้นที่ บริเวณหมูเกาะสแปรตลีย (Spratly Islands) ที่ 6 ชาติ ไดแก จีน มาเลเซีย ฟลิปปนส ไตหวัน บรูไน และเวียดนามอาง กรรมสิทธิ์ โดยเชื่อวา เปนบริเวณที่อุดมไปดวยน้ํามันและกาซธรรมชาติจํานวนมาก จึงเปนสาเหตุของความขัดแยงระหวาง ประเทศและมีความตึงเครียดระหวางเวียดนาม จีน และฟลิปปนสอยูในขณะนี้ 2
Robert C Beckman, CSCAP Singapore Director, Centre for International Law (CIL),National University of Singapore บรรยายใน การประชุม 1st Meeting of CSCAP Study Group on Safety and Security of Offshore Oil and Gas Installations ณ เมืองดานัง เวียดนาม เมื่อ 7 ตุลาคม 2553. 3 อางแลว. ชลทิศ นาวานุเคราะห
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 221
ลักษณะภูมิศาสตรทางทะเลเอเชียตะวันออกเฉียงใต4 1. ทะเลจีนใต
ทะเลจีนใตเปนพื้นที่สวนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟกตะวันตก มีความยาวจากเหนือจรดใต (ตัง้ แตเกาะไตหวัน จนถึงเกาะสุมาตรา ประมาณ 1,800 ไมลทะเล ความลึกน้ํามากที่สุด 5,518 เมตร มีประเทศชายฝงโดยรอบ 10 ประเทศ ไดแก จีน ไตหวัน ฟลิปปนส มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย สิงคโปร ไทย กัมพูชา และเวียดนาม มีเกาะ แนวปะการัง หิน โสโครก สันทรายใตน้ํา และโขดหิน ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 4 กลุมที่สําคัญ คือ หมูเกาะพาราเซล หมูเกาะสแปรตลีย หมูเกาะปราตัส และแมกเคิลฟลดแบงค ทะเลจีนใตเปนเสนทางคมนาคมทางทะเลที่สําคัญของโลก โดยเชื่อมระหวางมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทร แปซิฟก ซึ่งเปนการเชื่อมตอระหวางภูมิภาคตะวันออกกลางเอเชียใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชียตะวันออก ทั้งนี้ เสนทางคมนาคมในทะเลจีนใตที่สําคัญ คือ เสนทางที่ผานทั้งทางดานตะวันตก และตะวันออกของหมูเกาะสแปรตลีย โดย การเดินทางผานเขาออกทะเลจีนใตจากทางดานเหนือจะใชเสนทางที่ผานระหวางไตหวั นกับฟลิปปนส สวนทางใตจะใช ชองแคบที่สําคัญ ไดแก ชองแคบมะละกา
2. ชองแคบมะละกา
ชองแคบมะละกาเปนชองทางหลักระหวางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต มีความยาวประมาณ 600 ไมล ทะเล และกวางประมาณ 300 ไมลทะเล โดยจะกวางทางดานตะวันตก แลวคอย ๆ แคบลงทางดานตะวันออก ซึ่งเมื่อเขา ไปในชองแคบสิงคโปร จะเหลือความกวางนอยที่สุดเพียง 3 ไมลทะเล ซึ่งเปนชองทางเดินเรือเพียง 1.5 ไมลทะเล โดยชอง แคบสิงคโปรมีความยาว 75 ไมลทะเล ความลึกน้ําเฉลี่ยคอนขางตื้น บางแหงลึกเพียง 72 ฟุต จึงทําใหสํานักงานกิจการ ทางทะเลสากล (International Maritime Office) ขององคการสหประชาชาติกําหนดไมใหเรือที่กินน้ําลึกเกิน 65 ฟุต ผานชองแคบมะละกา ทั้งนี้ ชองแคบนี้ มีเรือพาณิชยผานเปนจํานวนมากทําใหการจราจรทางน้ําหนาแนนมาก จึงปรากฏมี อุบัติเหตุเรือชนกันบอยครั้ง
3. มหาสมุทรแปซิฟก
มหาสมุทรแปซิฟกอยูระหวางทวีปอเมริกาเหนือ-ใต กับทวีปเอเชีย และทวีปออสเตรเลีย แบงออกไดเปน 2 สวน คือ มหาสมุทรแปซิฟกเหนือ ไดแก พื้นที่จากวงกลมอารกติกถึงเสนศูนยสูตร และมหาสมุทรแปซิฟกใต ไดแก พื้นที่ จากเสนศูนยสูตรถึงแถบแอนตารกติกา รวมทั้งฝงตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ-ใต ไปยังทวีปออสเตรเลียตลอดจนกลุม หมูเกาะมลายู ถึงฝงตะวันออกของทวีปเอเชีย มหาสมุทรนี้เปนมหาสมุทรที่กวางใหญไพศาลที่สุด มีพื้นที่ประมาณ 68 ลาน ตารางไมลทะเล หรือประมาณ 2 ใน 5 ของผิวโลก โดยมีทะเลจีนใตเชื่อมระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับมหาสมุทรอิ นเดีย ประเทศที่มีศักยภาพสูงทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร ที่ตั้งอยูตามแนวชายฝงของมหาสมุทรแปซิฟก ไดแก สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุน รัสเซีย และออสเตรเลีย และในปจจุบัน ไดมีการรวมกลุมประเทศทางเศรษฐกิจขึ้นโดยใชชื่อวา 5 กลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (Asia Pacific Economic Cooperation : APEC) ซึ่งมีสมาชิก ประกอบดวย 21 เขตเศรษฐกิจ ไดแก ไทย มาเลเซีย สิงคโปร อิ นโดนีเซีย ฟลิปป นส บรูไน เวียดนาม ออสเตรเลี ย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา แคนาดา รัสเซีย จีน ไตหวัน ฮองกง เม็กซิโก ชิลี เปรู และปาปวนิวกินี
4
สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง, (2543). หนา 7-8. ชัยโชค จุลศิริวงศ, (2546). การทหารของประเทศกลุมอาเซียน. เอกสารประกอบการบรรยาย ณ วิทยาลัยการทัพเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือ ชั้นสูง. กรุงเทพฯ : สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง. 5
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 222
4. มหาสมุทรอินเดีย
มหาสมุทรอินเดียอยูระหวางทวีปแอฟริกากับทวีปออสเตรเลีย มีพื้นที่ประมาณ 23 ลานตารางไมลทะเล มี ความลึกเฉลี่ย 3,872 เมตร ชวงที่ลึกมากที่สุดอยูที่เหวลึกชวา (Java Trench) ซึ่งลึกถึง 7,725 เมตร มหาสมุทรนี้ ถานับ รวมทะเลแดงกับอาวเปอรเซียเขาดวยกัน จะมีขนาดใหญเปนอันดับที่สามของโลก รองจากมหาสมุทรแปซิฟก และ มหาสมุทรแอตแลนติก ตามลําดับ มหาสมุทรอินเดียมีอาณาเขตติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟกทางตะวันออกเฉียงใต และ มหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตกเฉียงใต มีทะเลใหญที่สําคัญ เชน ทะเลแดง ทะเลอาหรับ อาวเปอรเซีย ทะเลอันดามัน และอ า วเบงกอล เป น ต น มหาสมุ ท รอิ น เดี ย เป น พื้ น ที่ ที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ อุ ด มสมบู ร ณ เนื่ อ งจาก มี แ หล ง ทรัพยากรธรรมชาติจําพวกปโตรเลียม แรธาตุ และสัตวน้ํา โดยในบริเวณอาวเปอรเซียตามแนวชายฝงและเขตไหลทวีป เปนแหลงปโตรเลียมที่สําคัญของโลก สวนแรทองแดงมีมากในทะเลแดง รวมทั้งบริเวณกนมหาสมุทร โดยทั่วไปอุดม สมบูร ณ ไปด วยแร แ มงกานิ ส นอกจากนี้ ยั งเป นเส นทางเดิน เรือ ที่ มีค วามสํา คั ญเส นหนึ่ง ของโลกที่ เชื่ อมต อระหว า ง มหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งประเทศในทวีปเอเชียใชเปนเสนทางติดตอคาขายกับประเทศในทวีป แอฟริกาและทวีปยุโรปอีกดวย
ความสําคัญของทะเล “ผูใดสามารถครองทะเล ผูนั้นสามารถครองโลก” เปนคํากลาวที่อมตะ และยิ่งใหญของอัลเฟรด ไทเยอร มาฮาน (Alfred Theyer Mahan) นักยุทธศาสตรที่มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนคํากลาวที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของ ทะเลไดอยางกระชับ และสื่อความหมายไดดีที่สุด ลั ก ษณะภู มิ ศ าสตร ท างทะเลที่ เ อื้ อ อํ า นวยต อ การคมนาคมทางทะเล อี ก ทั้ ง ยั ง อุ ด มสมบู ร ณ ไ ปด ว ย ทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวิต (living resources) และไมมีชีวิต (non-living resources) ดังนั้น ทะเลจึงมีความสําคัญ ตอความมั่นคงทั้งในระดับโลก และภูมิภาคกับเปนแหลงกําเนิดของสมุททานุภาพ (sea power) ในการกําหนดยุทธศาสตร ที่สําคัญของประเทศ และเปนแหลงผลประโยชนของชาติทางทะเล (maritime interests) ที่สําคัญยิ่ง ซึ่งสามารถจําแนก ความสําคัญของทะเลออกเปนดานตาง ๆ ไดดังนี้ 1. เปนเสนทางคมนาคมระหวางประเทศ 2. เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต 3. เปนแหลงทองเที่ยว 4. เปนแหลงศึกษาศิลปวัฒนธรรมที่จมอยูใตทะเล 5. เปนเสนทางในการขยายกําลังทางทหาร 6. เปนที่แสวงประโยชนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางทะเล จากความสําคัญอยางยิ่งของทะเล ที่เปนประโยชนมหาศาลแกมวลมนุษย แตในทางกลับกันทะเลก็เปนตนเหตุ ของความขัดแยงระหวางประเทศที่มีอาณาเขตทางทะเลติดตอกัน ซึ่งอาจจะนําไปสูการใชกําลังทางเรือเขาทําสงครามตอ กัน ดังนั้น จึงเปนความจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศที่มีอาณาเขตติดทะเล ตองมีการแขงขัน เสริมสรางกําลังทางเรือตามฐานะ ทางเศรษฐกิจของแตละประเทศ จะเอื้ออํานวยโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 223
การขนสงทางทะเล เสนเลือดใหญของระบบเศรษฐกิจ พื้นผิวน้ําซึ่งสวนใหญ คือ ทะเล ครอบคลุมเนื้อที่เกือบสามในสี่ของพื้นผิวโลกทั้งสิ้น อีกทั้ งยังเปนเปรียบเสมือน 6 บานของเรือขนาดใหญเกือบหาหมื่นลํา ที่ทําการขนสงสินคาประมาณแปดสิบเปอรเซ็นตของการคาขายของโลก ผาน เสนทางการขนสงทางทะเลระหวางทาเรือสําคัญมากกวา 2,800 แหง เกี่ยวพันกับผูประกอบอาชีพทางทะเลมากกวาหนึ่ง ลานสองแสนคนกับคนงานที่ทาเรือ อีกหลายแสนคน ทํางานอยูกับตูสินคาจํานวน 15 ลานตู ที่ถูกขนสงไปมาระหวาง 7 ทาเรือเปนจํานวนมากกวา 230 ลานเที่ยวตูในหนึ่งป สิ่งที่ทําใหเสนทางการขนสงทางทะเลไดรับความสําคัญจนอาจกลาว ไดวา เปนเสนเลือดใหญของการคาของโลกก็วาได และที่สําคัญมากยิ่งขึ้นก็ คือ รอยละ 75 ของการขนสงสินคาทางทะเล ดังกลาว มีความจําเปนที่จะตองผานชองแคบที่กระจายกันอยูทั่วไป เชน ชองแคบฮอรมุชที่เปนประตูทางผานของทะเล อาราเบียน และมหาสมุทรอินเดีย ชองแคบมะละกา และสิงคโปรที่เชื่อมตอมหาสมุทรอินเดีย กับมหาสมุทรแปซิฟ กผาน ทางทะเลอันดามัน และทะเลจีนใต ชองแคบปานามาที่เชื่อมตอมหาสมุทรแปซิฟก กับมหาสมุทรแอตแลนติก ชองแคบ สุเอชที่เชื่อมตอทะเลแดงกับทะเลเมดิเตอเรเนียน เปนตน โดยในแตละวันนั้น จะมีน้ํามันเชื้อเพลิงเกือบ 35 ลานบาเรล หรือครึ่งหนึ่งของการใชพลังงานเชื้อเพลิงในแตละวัน (เกือบ 78 ลานบาเรลตอวันในป พ.ศ. 2545) ตองขนสงผานชองแคบ 8 เหลานี้ ทั้งนี้ ยังไมนับสินคาสําคัญอีกหลายประการ เชน แกสธรรมชาติในรูปของเหลว (LNG) ที่ตองขนสงผานชองแคบ ตาง ๆ เชนกัน ในบรรดาชองแคบเหลานี้ ชองแคบมะละกา และสิงคโปรดู จะเปนคมนาคมทางทะเลที่สําคัญ และวิกฤตที่สุด ดวยสาเหตุหลายประการดวยกัน ไมวาจะเปนสภาพของชองแคบที่ยาวมากกวา 600 ไมล โดยมีชวงที่แคบที่สุดกวางเพียง 1.5 ไมลอยูบริเวณชองฟลิปปนสที่อยูใกลกับเรือที่ผานไปมาปละประมาณ 50,000 เที่ยวตอป ซึ่งถือวา มากกวาปริมาณที่ ผานชองแคบสุเอชถึงสองเทาตัว และมากกวาที่ผานชองแคบปานามาถึงสามเทาตัว นอกจากนี้แลว ดวยการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจีน ญี่ปุน และเกาหลี กับการเพิ่มขึ้นของสนธิสัญญาการคาเสรีที่ทํา กันระหวางประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคนี้ รวมทั้งที่ทํากับคูคานอกภูมิภาคไดสงผลใหชองแคบมะละกาและสิงคโปรยิ่งเนือง แนนไปดวยสินคาที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น จนอยูในระดับหนึ่งในสี่ของปริมาณการคาขายทั้งหมดของโลก โดยครึ่งหนึ่งของ สินคาเหลานี้ คือ น้ํามันเชื้อเพลิง และ LNG และที่ทําใหชองแคบนี้สําคัญมากขึ้นโดยเฉพาะกับประเทศในเอเชียตะวันออก 9 ก็คือ รอยละ 80 ของน้ํามันนําเขาญี่ปุน จีน และเกาหลีใต จะตองผานชองแคบนี้เชนกัน ผลการประมาณการณของกระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกา พบวา ถาชองแคบมะละกา และสิงคโปรถูกปด ซึ่งจะดวยเหตุใดก็ตาม ผลที่จะตามมาก็คือ เรือเดินทะเลเกือบครึ่งหนึ่งจะตองออมผานไป อันจะนํามาซึ่งคาใชจายที่เพิ่ม มากขึ้ น และเวลาที่ ต องเสี ยไป นอกจากนี้ แล ว ด วยความต อ งการสิ น ค า และพลั ง งานเชื้ อ เพลิ ง ของประเทศเอเชี ย ตะวันออกก็จะสงผลให อาจตองมีการเพิ่มจํานวนเรือเดินทะเล หรือเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงสินคาทางเรือใหมากขึ้น เพื่อรักษาระดับการเจริญเติบโตของประเทศในกลุมดังกลาว อยางไรก็ตาม ในระยะสั้น จะเกิดสงผลกระทบตอประเทศ ตาง ๆ ในภูมิภาคเปนอยางมาก และถาปญหายังคงไมสามารถแกไขไดในระยะยาว ก็จะสงผลกระทบตอประเทศสิงคโปร อยางรุนแรง ทั้งนี้ก็เนื่องจากวา ประเทศสิงคโปร ตองพึ่งพาการคากับนานาชาติเปนหลัก โดยรอยละ 80 ของ GDP ของ
6
Gal Luft and Anne Korin, “Terrorism Goes to Sea’, FORIGN AFFAIRS, Vol. 83, No. 6, Nov-Dec 2004, p.62. Michael Richardson, Terrorism: The Maritime Dimension, Dec 2003, (2004 Regional Outlook Forum, Institute of Southeast Asian Studies, (ISEAS), Singapore, 7 Jan 2004), p.2. 8 Ibid. p.6. 9 Ibid. pp.1-7. 7
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 224
สิงคโปรขึ้นกับการคาขาย เมื่อไมมีเสนทางขนสงทางทะเลผานแลว ประเทศสิงคโปรก็จะประสบกับความยุงยากมากกวา ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค
สถานการณและปญหาความมั่นคงทางทะเลในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก ในหวง 5 ปขางหนา จะมีอยูหลายพื้นที่เกิดขอพิพาท ความขัดแยง และปญหาการแยงชิงพื้นที่ผลประโยชน สําคัญทางทะเล อยางไรก็ตาม พื้นที่ทางทะเลในภูมิภาคนี้ยังเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญทางยุทธศาสตรสูง เนื่องจาก เปน เสนทางเดินเรือที่สําคัญของโลก จึงเปนที่ดึงดูดใหประเทศมหาอํานาจเขามาแผอิทธิพลในบริเวณนี้ รวมทั้งพื้นที่ทางทะเล บริเวณนี้ยังเปนพื้นที่ที่มีการลักลอบคาอาวุธสงคราม การกระทําอันเปนโจรสลัดเพิ่มมากขึ้นในหลายพื้นที่ และมีแนวโนมที่ เพิ่มขึ้นของการกอการราย
สถานการณความมั่นคงทางทะเลในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก 1. พื้นที่แปซิฟกเหนือ มีปญหากรณีพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะดูริลระหวางรัสเซียกับญี่ปุน ปญหากรณี พิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์เตียวหยูระหวางญี่ปุนและจีน นอกจากนี้ ปญหาความขัดแยงในคาบสมุทรเกาหลี กรณีปญหา นิวเคลียร และการทดลองขีปนาวุธในเกาหลีเหนือ รวมทั้งปญหาไตหวัน ซึ่งอาจปะทุ หรือนําไปสูปญหาความขัดแยง รุนแรงไดตลอดเวลา ในขณะเดียวกัน พื้นที่บริเวณนี้มีการคมนาคมดานตาง ๆ รวมทั้งทางทะเลเพิ่มมากขึ้น ตามการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนที่สูงสุดแหงหนึ่งของโลก 2. พื้นที่แปซิฟกใต มีปญหาความขัดแยงที่สําคัญในบริเวณนี้ คือ การอางกรรมสิทธิ์ในทะเลจีนใตบริเวณหมู เกาะสแปรตลีย และพาราเซลของประเทศตาง ๆ ถึง 6 ประเทศ ทั้งนี้ แมวา จะไดมีการทํา regional code of conduct ระหวางประเทศที่อางกรรมสิทธิ์ แตก็ยังไมสามารถเปนหลักประกันที่มั่นคงในการนํามาซึ่งสันติภาพในบริเวณดังกลาว นอกจากนั้น ปญหาทางการเมืองและความมั่นคงภายในของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดสงผลกระทบตอ ความมั่นคงทางทะเลในบริเวณนี้ดวย เชน ปญหาการกอการรายของกลุมอาบูซายาฟ (Aba Sayyaf) ปญหาขบวนการ แบงแยกดินแดนของกลุมแนวรวมปลดปลอยอิสลามโมโร (Moro Islamic Liberation Front) ทางตอนใตของฟลิปปนส เปนรัฐหมูเกาะ และปญหาการกอความไมสงบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต 3. พื้นที่มหาสมุทรอินเดีย เปนพื้นที่เชื่อมโยงระหวางประเทศในตะวันออกกลาง ซึ่งเปนแหลงน้ํามันที่สําคัญ ของโลกกับประเทศผูใชน้ํามัน เชื่อมตอไปจนถึงชองแคบมะละกาและชองแคบฮอมุส จึงมีแนวโนมในการแยงชิงอิทธิพล บริเวณนี้ พื้นที่ดังกลาวของประเทศมหาอํานาจที่จะมีมากขึ้น ขณะเดียวกัน จะเปนการชักจูงกลุมผูกอการรายตาง ๆ ให หันมาสนใจพื้นที่ดังกลาว ซึ่งเปนผลประโยชนของประเทศมหาอํานาจมากขึ้นตามไปดวย นอกจากนี้ ยังมีปญหาความ ขัดแยงกรณีแควนแคชเมียร การแยงอิทธิพลระหวางอินเดีย และปากีสถาน ปญหาการแบงแยกดินแดน ในเขตอาเจหของ อินโดนีเซีย สถานการณความไมสงบเรียบรอยทางการเมือง กรณีความขัดแยงระหวางชาวทมิฬ และชาวสิงหลในศรีลังกา และสถานการณตะวันออกกลาง ประกอบดวย ปญหาระหวางอิสราเอลกับปาเลสไตนและประเทศกลุมอาหรับ ปญหาอิรัก และปญหาการพัฒนานิวเคลียรของอิหราน เปนตน ซึ่งเปนปญหาที่ยากตอการแกไข 4. ชองแคบมะละกา เปนชองแคบทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกและมหาสมุทรอินเดียหลักและสําคัญ ที่สุด และเปนจุดออนดานความมั่นคงที่สําคัญอีกจุดหนึ่ง เนื่องจาก เปนเสนทางการขนสงสินคาทางทะเลที่สําคัญของโลก โดยมีปริมาณการขนสงผานชองแคบดังกลาวถึง 1 ใน 3 ของมูลคาการคาโลก แตมีจุดออนดานการรักษาความปลอดภัยที่ ทําไดยาก เนื่องจาก มีเรือแลนผานจํานวนมาก ความหนาแนนของการสัญจรสูง และเหตุการณโจรสลัดปลนเรือสินคามาก ที่สุดในโลก รวมทั้งเชื่อมโยงขบวนการที่เกี่ยวของกับการคาอาวุธสงคราม ยาเสพติด และการเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ปจจุบันมีความเปนไปไดที่จะมีการดําเนินการของกระบวนการกอการรายตอเปาหมายในบริเวณนี้
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 225
ปญหาความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาค 1. ความขัดแยงเรื่องเขตแดนทางทะเลของประเทศในภูมิภาค เชน ปญหาความขัดแยงระหวางประเทศที่อาง กรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย คือ สาธารณรัฐประชาชาจีน ไตหวัน ฟลิปปนส เวียดนาม มาเลเซีย และบรูไน ซึ่งที่ ผานมาไดเกิดการกระทบกระทั่งทางทหารขึ้นเปนประจํา และลาสุดประชาชนชาวเวียดนามไดเดินขบวนประทวงจีน และ เวียดนามยังไดทําการฝกยิงกระสุนจริงในทะเลจีนใตอีกดวย นับวา เปนการทาทายของเวียดนามตอมหาอํานาจอยางจีน ซึ่งไมเห็นกันบอยนักในรอบหลาย ๆ ป และจนถึงขณะนี้ ประชาชนเวียดนามจํานวนหนึ่งก็ไดทําการประทวงจีนอยาง ตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีปญหาเขตแดนทางทะเลระหวางประเทศมาเลเซีย-อินโดนีเซีย มาเลเซีย-สิงคโปร และในสวน ของไทยกับเพื่อนบานที่ยังเปนปญหาดังที่ทราบกันอยู คือ ปญหาพื้นที่อางสิทธิทับซอนทางทะเลระหวางไทย-กัมพูชา และ ไทย-เมียนมาร ซึ่งปญหาเหลานี้ไดสงผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศ และความมั่นคงทางทะเลของภูมิภาคใน ภาพรวม 2. การขาดความไว เ นื้อ เชื่อ ใจซึ่ งกั นและกั น ซึ่ ง สว นหนึ่ งมี ผ ลมาจากเสริมสร า งกํ า ลัง ทางทหาร (Armed Racing) ของประเทศในภูมิภาค โดยจะเห็นวา ที่ผานมาและปจจุบันประเทศตาง ๆ เชน มาเลเซีย สิงคโปร และเวียดนาม ตางเสริมเขี้ยวเล็บทางทะเลดวยการจัดหาเรือดําน้ํา และอากาศยานเขาประจําการอยางตอเนื่อง ถึงแมวา การเสริมสราง กําลังทางเรือของประเทศดังกลาวมีเหตุผลเพื่อปกปองผลประโยชนและอธิปไตยของตนเองก็ตาม นอกจากนี้ การจัดทํา ยุทธศาสตรทหารของประเทศในภูมิภาคก็มักจะกําหนดยุทธศาสตรบนพื้นฐานที่วา ประเทศเพื่อนบานอาจเปนศัตรู หรือที่ เรียกวา Threats Base 3. การกอการรายทางทะเล (Maritime Terrorism) เปนภัยคุกคามที่ประเทศตาง ๆ และองคกรระหวาง ประเทศทั่วโลกใหความสําคัญ ซึ่งปจจุบันกลุมกอการรายที่มีบทบาทสูง คือ อัลกออิดะห (Al Qaeda) ที่ไดโจมตีเรือรบ สหรัฐอเมริกา USS Cole เมื่อเดือนตุลาคม 2543 บริเวณอาวเอเดน และโจมตีเรือสินคาของฝรั่งเศสชื่อ Limburg บริเวณ นอกฝงเยเมนในป 2545 สําหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตการกอการรายทางทะเลก็ไมอาจมองขามไดโดยเฉพาะ ในนานน้ําของอินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งมีกลุมกอการรายที่สําคัญ 3 กลุม ประกอบดวย Abu Sayyaff Group (ASG), 10 Jemaah Islamiyah (JI) และ Gerakan Aceh Merdeka (GAM) โดยกลุมที่มีบทบาทสูงในภูมิภาคนี้ ไดแก Abu 11 Sayyaff ที่ไดโจมตีเรือเฟอรรี่ของฟลิปปนสใกลกรุงมะนิลาในเดือนกุมภาพันธ 2547 มีผูเสียชีวิตถึง 116 คน ทั้งนี้ มี นักวิเคราะหหลายคนเชื่อวา รากฐาน และการสนับสนุนดานการเงินของกลุมกอการรายตาง ๆ เหลานี้ อาจมาจากแหลง เดียวกัน ในหวงเวลาที่ผานมาเหตุการณการกอการรายทางทะเลในภูมิภาคนี้ยังไมปรากฏเดนชัดนัก แตจากที่ไดกลาว มาแลววา ภูมิภาคนี้มีเสนทางคมนาคมหลัก คือ ชองแคบมะละกาที่เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดีย ทะเลจีนใต และ มหาสมุทรแปซิฟก ดังนั้น หากมีเหตุการณการกอการรายทางทะเล เชน การระเบิดเรือสินคาจมในชองทางเดินเรือสําคัญ หรือการนําเรือสินคาขนาดใหญพุงชนทาเรือในรูปแบบเดียวกันกับการใชเครื่องบินพุงชนตึกในเหตุการณ 9/11 ก็จะเกิด ความเสียหายอยา งมหาศาล นอกจากนี้ แท นขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติ ในทะเลที่มีอยูเป นจํานวนมากก็เป น เปาหมายลอแหลมตอการถูกโจมตีจากกลุมกอการรายตาง ๆ อีกดวย
10
Rommel C. Banlaoi, “Maritime Terrorism in Southeast Asia”, Naval War College Review, Vol. 58, No.4, Autumn 2005, p.63. John F. Bradford, “The growing prospects for Maritime Security Cooperation in Southeast Asia”, Naval War College Review, Summer 2005, Vol. 58, No.3, p.71 11
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 226
ทั้งนี้ เปนที่นาสนใจอยางยิ่งเมื่อประเทศไทยถูกจัดอันดับเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอการรายเปน อันดับที่ 12 ของโลก และถือวา เปนอันดับ 1 ของอาเซียน สวนฟลิปปนสถูกจัดใหเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอ การรายเปนอันดับ 13 ของโลก และเปนอันดับ 2 ของอาเซียนรองจากไทย ซึ่งการจัดอันดับดังกลาวเปนการรายงานผล ดัชนีความเสี่ยงจากการกอการรายประจําป พ.ศ. 2554 (Terrorism Risk Index 2011) โดยบริษัท เมเปลครอฟต (Maple croft’s) ที่ปรึกษาดานความเสี่ยงซึ่งมีสํานักงานอยูในอังกฤษ ไดรายงานเมื่อตนสิงหาคม 2554 4. การคาอาวุธสงคราม สวนใหญการคาอาวุธสงครามในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก มีการลักลอบนํามาจากประเทศ ที่เคยเปนสมรภูมิรบมากอน และประเทศที่มีการจัดเก็บอาวุธที่ไมรัดกุมไปสูประเทศที่ยังคงมีปญหาความขัดแยงระหวาง ชนกลุมนอย โดยนิยมใชเสนทางขนสงทางนั้น ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนทั้งตนทาง และเสนทางผาน การลักลอบขนสงอาวุธไปประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน และไปยังเอเชียใต และบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตยัง ไมลดลง รวมทั้งกลุมการกอการรายเขามาเคลื่อนไหวในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกเพิ่มมากขึ้น 5. โจรสลัด การปลนในทะเล (Piracy and Armed Robbery at Sea) เปนภัยคุกคามตอการเดินเรือในภูมิภาค โดยพื้นที่ที่เกิดเหตุการณโจรสลัดบอยครั้ง ไดแก ชองแคบมะละกาซึ่งมีเรือสินคาแลนผานเปนจํานวนมากและนานน้ําของ อินโดนีเซีย ขณะเดียวกัน ยังเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ โดยเฉพาะทรัพยากรประมง ดังนั้น จึงมีเรือประมงเขา ไปทําประมงในชองแคบและบริเวณใกลเคียงเปนจํานวนมาก ทําใหมีเหตุการณของโจรสลัดปลนเรือบรรทุกสินคาและ เรือประมงอยูเสมอ และดวยลักษณะของชายฝงของชองแคบทั้งสองดานเป นชายฝงเวาแหวง และมีเกาะตาง ๆ จํานวน มาก จึงเอื้อตอการหลบซอนตัวทําใหยากตอการเขาไปควบคุมดูแล อยางไรก็ตาม สถิติการเกิดโจรสลัดในชองแคบมะละกา มีแนวโนมลดลงหลังจากมีการรวมลาดตระเวน (Coordinated Patrol) ของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และ ไทย แตการเกิดโจรสลัดและการปลนเรือไปเกิดขึ้นมากในนานน้ําของอินโดนีเซีย นอกจากนี้ โจรสลัดโซมาเลียที่เปนปญหาอยูในปจจุบันก็ถือวา สงผลกระทบตอผลประโยชนของชาติใน อาเซียนดวย เนื่องจาก เรือสินคาของหลายประเทศในอาเซียนที่แลนผานบริเวณอาวเอเดนและชายฝงโซมาเลี ยก็ถูก คุกคามจากโจรสลัดโซมาเลียเชนเดียวกัน โจรสลัดยังคงเปนปญหาใหญปญหาหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะปญหาที่เกิดขึ้นใน บริเวณนานน้ําของอินโดนีเซีย กับบริเวณตลอดชองแคบมะละกาและสิงคโปร อันเปรียบเสมือนเสนเลือดใหญในการคา ขายทางทะเลของภูมิภาค และยิ่งสรางความกังวลใจใหมากยิ่งขึ้นก็คือ ความรุนแรง และรูปแบบของการปฏิบัติในหวง ทศวรรษที่ผาน หลายเหตุการณ สนับสนุนแนวความคิดที่วา กลุมกอการรายในเอเชียตะวันออกเฉียงใตกําลังใชเทคนิคของ I โจรสลัด เพื่อการกอการรายทะเละ (Maritime Terrorism) อันจะนํามาซึ่งความไมปลอดภัยในระบบการขนสงทางทะเล และความเสียหายทางเศรษฐกิจอยางมหาศาลที่จะตามมา 6. ยาเสพติด การลักลอบขนยาเสพติดทางทะเล เปนการขนยาเสพติดจากแหลงผลิตทางบกผานทางทะเล โดยเฉพาะผ านทางทะเลอั นดามั น เข ามาในไทย และไปยั งแหล ง จํา หน ายอื่ นแตยั ง มีไ มมากนั ก เป น ผลจากนโยบาย ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจังของรัฐบาลไทย ประกอบการการขนสงยังนิยมใชเสนทางบกมากกวาทางทะเล อยางไรก็ ตาม การขนยาเสพติดทางทะเลอันดามัน ยังมีโอกาสเกิดขึ้นไดตลอดเวลา เนื่องจาก การปราบปรามทางบกกระทําอยาง จริงจัง ทําใหขบวนการคายาเสพติดอาจหันมาใชเสนทางลําเลียงทางทะเลแทน
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 227
7. การกระทําผิดกฎหมายทางทะเล (Illegal Activities at Sea) เชน การคาของเถื่อน ยาเสพติด การคาอาวุธ การทําประมงผิดกฎหมาย และการคามนุษย ลวนเปนปญหาและภัยคุกคามตอประเทศในภูมิภาคที่หลายประเทศให ความสําคัญ ซึ่งปญหาหลายอยางเหลานี้ ปจจุบันไดกลายเปนปญหาที่เปนลักษณะอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น และ ลักษณะของการกระทําผิดดังกลาวมีการเชื่อมโยงกัน ทําใหการแกปญหาของประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงลําพังกระทําได ยาก ซึ่งเปนปจจัยบอนทําลายความมั่นคง ตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาค 8. ภัยธรรมชาติ และอุบัติภยั ทางทะเล (Natural Disaster and Accident at Sea) ที่แนวโนมของการเกิดภัย พิบัติจากพายุ และคลื่นลมจะยังคงปรากฏตอไป รวมถึงภัยพิบัติขนาดใหญจากกรณีภัยพิบัติที่เกิดจากคลื่นยักษสึนามิ เมื่อ ปลายป 2547 และพายุไตฝุนนากีซ และยังมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดอีก เนื่องจาก ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศโลก หรือสภาวะโลกรอน ซึ่งจะสงผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจนความเปนอยูของประชาชนบริเวณชายฝงทะเล และพื้นที่ใกลเคียง ปญหาอุบัติภัยทางทะเลที่สวนใหญมีสาเหตุจากกรณีเรือลม เรือจม และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นภายในเรือ ทํ า ให เ กิ ด คราบน้ํ า มั น รั่ ว ไหล เกิ ด คราบน้ํ า มั น ในทะเล ซึ่ ง จะส ง ผลกระทบต อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ ม และ ระบบนิเวศในบริเวณนั้น ทั้งนี้ ปญหาภัยอันเกิดจากธรรมชาติมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นทั้งจํานวนและความรุนแรง และจะ สงผลกระทบเปนวงกวางในภูมิภาค นับวา เปนปญหาที่ไทยควรใหความสําคัญในฐานะประเทศเกษตรกรรม ซึ่งตองอาศัย ธรรมชาติเปนหลัก เนื่องจาก ปญหาดังกลาวจะสงผลกระทบใหเกิดความแหงแลง และขาดแคลนน้ํา ซึ่งจะสงผลกระทบตอ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองได
การขยายตัวของการกอการรายสูทะเล ผลของการสิ้นสุดสงครามเย็น ไดนําซึง่ การขาดการสนับสนุนทางดานการเงินอาวุธยุทโธปกรณ และการฝกศึกษา ของขบวนการกอการราย ซึ่งกอนหนานี้เคยไดรับการสนับสนุนจากประเทศอภิมหาอํานาจทั้งสองฝาย ที่ตางก็พยายามใช ทุกวิถีทาง แมแตการสนับสนุนกลุมตอตาน หรือกลุมกอการรายในการตอสูกับฝายตรงขาม โดยพยายามหลีกเลี่ยงการ เผชิญหนาโดยตรงที่อาจเกิดขึ้น จนเปนที่มาของสภาพแวดลอมโลกที่เราเรียกกันวา ยุคสงครามเย็น ตอมา สภาพแวดลอม โลกเปลี่ยนไป ขบวนการกอการรายหลายขบวนการไดสลายตัวลงไป ในขณะที่อีกหลายขบวนการไดผันตัวเองเขาไปสูการ ตอ สูใ นทุก รู ปแบบ เพื่อ ให ไ ด มาซึ่ งเงิ นสนั บสนุ นอาวุธ ยุ ทโธปกรณ การจั ด การฝ ก ทั้ งนี้ ก็ เพื่ อ การดํา รงอยู และการ ปฏิ บัติ ง านขององค กรตามอุด มการณ ต น ดัง เห็น ไดว า ในห ว งทศวรรษที่ ผา นมาได เกิ ด คํา หลายคํ า ที่ มี ที่มาจากการ ผสมผสานการดําเนินงานในการกอการราย หรือการแบงแยกดินแดน เขากับอาชญากรรมทั่วไป โดยเฉพาะอาชญากรรม ขามชาติ เชน “Nacro-terrorism” ที่พยายามอธิบายถึงการรวมมือกันของขบวนการกอการรายกับกลุมคายาเสพติด เปน ตน และในหวงหลายปที่ผาน เราก็ไดรูจักกับคําวา “การกอการรายทางทะเล” (Maritime Terrorism) อันเปนคําที่ พยายามอธิบายถึงการกอการรายที่กําลังขยายขอบขายการดําเนินงานไปสูทะเล ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 สมาชิกกลุมอัลเคดาห ไดพยายามใชเรือบรรทุกระเบิด พุงเขาชนเรือ USS The Sullivans ของสหรัฐอเมริกาที่อยูในอาณาเขตของเยเมน แตปฏิบัติการของกลุมดังกลาวลมเหลว ทั้งนี้ก็เนื่องจากว า เรือ บรรทุกระเบิดลํานั้นหนักมากจนจมไปเสียกอน อยางไรก็ตาม ในเดือนตุลาคม ตอมาเรือ USS Cole ก็ไดถูกพุงเขาชน โดย เรือเร็วบรรทุกระเบิด อันสงผลใหทหารเรือสูญเสียชีวิตไปถึง 17 นาย และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 เรือขนสงน้ํามันของ ฝรั่งเศสชื่อ Limburg ก็ไดถูกผูกอการรายโจมตีที่นอกชายฝงเยเมน ตามดวยการระเบิดเรือเฟอรี่ขามฟากขนาดใหญใน ฟลิปปนส อันสงผลใหมีผูเสียชีวิตไมนอยกวารอยคน ซึ่งกลุมกอการรายในฟลิปปนสอาบูซายับ ก็ไดออกมายอมรับวา เปน ฝมื อ ของตน จากหลายเหตุก ารณ ดั งกล า วทํ าให เ ชื่ อ ได ว า กลุมก อ การร า ยหลายกลุ ม เช น Hezbollah, Jamaah Islamiyah, Gerakan Aceh Merdeka (GAM), the Popular Front for the Liveration of Palestine-General Command, Abu Sayyaf และ Sri Lanka’s Tamll Tigers ตางก็กําลังพยายามพัฒนาขีดความสามารถในการกอการ
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 228 12
รายทางทะเลของตน โดยขอเท็จจริงแลว กลุมกอการรายหลายกลุมไดใชพื้นที่ปฏิบัติการรวมกับกลุมโจรสลัดมาเปน เวลานาน จนสงผลใหเกิดสภาพแวดลอมที่เกื้อกูลตอความพยายามในการแสวงหาวิธีการใชเทคนิคของโจรสลัดใหเกิด ประโยชนกับการกอการรายของกลุมตาง ๆ และยิ่งเมื่อไดมีความพยายามในการสกัดกั้นแหลงสนับสนุนทางดานการเงิน แหลงอาวุธยุทโธปกรณ และแหลงหลบซอนของกลุมกอการรายมีความจําเปนในการแสวงหาแหลงสนับสนุน เพื่อการดํารง อยูขององคกร และดํารงรักษาไวซึ่งการปฏิบัติการ อันจะนํามาซึ่งวัตถุประสงคทางดานการเมือง อันเปนเปาหมายสุดทาย ของขบวนการ ดังนั้น การกอการรายทางทะเลดวยวิธีการแบบโจรสลัด เพื่อใหไดมาซึ่งแหลงเงิน อาวุธยุทโธปกรณ แหลง หลบซอน และสิ่งจําเปนทั้งหลายเพื่อการปฏิบัติการในอนาคตดูจะมีคา และมีความหมายเปนอยางมากสําหรับกลุมกอการ รายตาง ๆ ที่มีพื้นที่ปฏิบัติการติดตออยูกับทะเล บริเวณชองแคบมะละกาและสิงคโปร กับบริเวณใกลเคียงจัดไดวา เปนจุดที่เกิดเหตุของการปลนฆา ลักพาตัว เรียกคาไถ และปฏิบัติการในทะเลมากกวาบริเวณอื่นของโลก โดยสถิติในป 2546 เหตุที่เกิดในบริเวณนี้ คิดเปนรอยละ 42 ของเหตุการณที่เกิดขึ้นในโลก และถึงแมวา ในป 2547 สถิติของเหตุการณโจรสลัดทั่วโลกจะไดลดลงจาก 445 เหลือ 325 ครั้ง แตรอยละของเหตุการณที่เกิดขึ้นในบริเวณชองแคบมะละกา และสิงคโปร ก็ไมลดลงไปดวย อีกทั้งความรุนแรง และ จํานวนผูเสียชีวิตจะเพิ่มมากขึ้นเสียดวยซ้ํา นอกจากนี้แลว ที่สรางความกังวลใจใหมากยิ่งขึ้นก็คือ ในบรรดาเหตุการณที่ เกิดขึ้นเหลานี้ มีหลักฐานที่ทําใหเชื่อวา หลายเหตุการณเปนการกระทําของกลุมกอการรายในภูมิภาค ผลการสืบสวนของเจาหนาที่ขาวกรองอินโดนีเซียที่ไดจากสมาชิกระดับนําของกลุมเจไอ (Jemaah Islamiyah) อันเปนกลุมที่เชื่อไดวา มีความสัมพันธอยูกับกลุมอัลเคดาห ไดมีการเปดออกมาวา กลุมเจไอกําลังพิจารณาวางแผนในการ โจมตีหรือสินคาในชองแคบมะละกา ในขณะเดียวกันก็ไดปรากฏ การปฏิบัติของกลุมแบงแยกดินแดนในอาเจห Gerakan Aceh Merdeka (GAM) ของกลุมกอการรายในฟลิปปนส Abu Sayyaf ที่ออกมาปฏิบัติในรูปแบบของการยึดเรือ การจัด ตัวประกัน และการเรียกคาไถในปริมาณที่เพิ่มขึ้น อันแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการขยายตัว และการพัฒนาขีด ความสามารถในการปฏิบัติการกอการรายทางทะเลของกลุมกอการรายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เมื่อ 26 สิงหาคม 2544 กลุม GAM กลุมหนึ่งไดใชอาวุธอัตโนมัติ และจรวดตอสูรถถัง RPG 7 โจมตีและยึดเรือ ของฮอนดูรัสชื่อ M/V Ocean Silver โดยบังคับใหนําเรือเขาสูนานน้ําจามบูในอาเจห จับลูกเรือเปนตัวประกันหกคน และ เรียกคาไถจํานวนสามหมื่นเหรียญสหรัฐ ในวันที่ 8 เมษายน 2546 กลุม GAM จํานวนหาสิบคนแบงออกเปนสามกลุม นํา เรือเร็วสามลําเขาโจมตีเรือสินคาของอินโดนีเซีย ชื่อ M/V Trimanggada ในบริเวณชองแคบมะละกา กลุมดังกลาว เขายึด เรือไว ถอดอุปกรณการติดตอสื่อสาร อุปกรณเดินเรือที่สําคัญออกไป ยึดเอกสารสําคัญที่มีในเรือ นําตัวกัปตัน เรือ ชาง เครื่อง และบุคคลสําคัญในเรือไปดวย และกักตัวไว ซึ่งจนถึงปจจุบันยังไมทราบชะตากรรม ตอมาในวันที่ 10 สิงหาคมของ ปเดียวกัน กลุม GAM แปดคนพรอม AK 47s, M-16s และ RPG7 โจมตีเรือบรรทุกน้ํามันของมาเลเซีย ชื่อ M/V Penrider ขึ้นไปยึดเอกสารสําคัญ เงินสด อุปกรณสื่อสาร และเสื้อผาเครื่องแบบของลูกเรือ บังคับใหเดินเรือเขาไปใน นานน้ําอินโดนีเซียพรอมกับการที่กลุมดังกลาวศึกษาการเดินเรือไปดวย ตอจากนั้น ไดนําตัวกัปตัน และชางเครื่องซึ่งเปน 13 คนอินโดนีเซียไปดวยเพื่อเรียกคาไถ และในเวลาตอมา ไดปลอยตัวไปเมื่อไดคาไถแลว สถานการณที่เกิดขึ้นจากฝมือของ กลุม GAM ที่ไดชื่อวา เปนผูกอการรายที่มีความมุงหมายในการแบงแยกดินแดนนี้ ทําใหเราสามารถที่จะวิเคราะห และ ประเมินทิศทางของการกอการรายทางทะเลไดไมมากก็นอย ทั้งนี้ แมวา เหตุการณในป 2544 จะมีความมุงหมายไปที่เงิน คาไถ ซึ่งคลายการกระทําของโจรสลัดที่มุงหวังทรัพยสิน แตอยางไรก็ตาม วิธีในการใชอาวุธ และการบังคับใหนําเรือเขาสู 12
Gal Luft and Anne Korin, op.clt, p.64. Rupert Herbert-Burns and Lauren Zucker, “Drawing the line between piracy and maritime terrorism”, JANE’S INTELLIGENCE REVIEW, Vol. 16. No. 9, September 2004, pp.32-33. 13
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 229
นานน้ําอินโดนีเซีย ทําใหตองประเมินความมุงหมายในระยะยาวของกลุมนี้ดวย เงินเรียกคาไถอาจเปนเพียงความมุงหมาย ในระยะสั้น เพื่อการดํารงอยูขององคกร และเพื่อการจัดหาสิ่งจําเปนในการปฏิบัติการตอไป การบังคับใหแลนเรือไปใน ทิศทางที่ตนตองการ ก็อาจนํามาซึ่งการศึกษาการเดินเรือของสมาชิก ทั้งนี้ ตอมาเหตุการณที่เกิดขึ้นในป 2546 ไดยืนยัน ความคิดดังกลาว เมื่อกลุม GAM เขายึดอุปกรณ และเอกสารสําคัญของเรือไป อีกทั้งยังไดนําตัวกัปตัน และชางเครื่องที่ใช ภาษาเดียวกันได (ภาษามลายู หรือภาษาที่ใชในอินโดนีเซีย มาเลเซีย) ไปดวย อันสามารถเปนที่จะคาดเดาไดวา กลุมกอ การรายดังกลาว กําลังพัฒนาขีดความสามารถของตนในการกอการรายทางทะเลดวยการฝกการเดิ นเรือ และการปฏิบัติ II บนเรือ และการดําเนินการที่ชวยยืนยันความเปนไปไดในการกอการรายทางทะเลมากขึ้น ก็คือ การที่กลุม GAM มีการ เตรียมการกอการรายดวยการยึดชุดกลาสี เอกสารสําคัญตาง ๆ ไวใชในการแทรกซึม และปลอมแปลงเขาปฏิบัติการ รวมทั้งไดมีการฝกเขาปลนเรือที่ตางกันไป เชน เรือสินคาทั่วไป และเรือน้ํามัน เพื่อการสรางความคุนเคยกับเรือตาง ๆ มากขึ้น กลุมที่ไดชื่อวา เปนกลุมกอการรายที่สําคัญในภูมิภาคอีกกลุมก็คือ กลุม Abu Sayyaf ทั้งนี้ เมื่อ 26 กุมภาพันธ 2543 กลุม Abu Sayyaf ไดวางระเบิดเรือขามฟากชื่อ Our Lady Mediatrix สงผลใหมีผูเสียชีวิตประมาณ 45 คน ตอมา เมื่อ 27 กุมภาพันธ 2547 ก็ไดวางระเบิดเรือขามฟากในลักษณะเดียวกันอีกครั้งหนึ่ง สงผลใหมีผูเสียชีวิตถึงรอยคน จาก เหตุการณทั้งสองครั้ง สงผลใหมีผูเสียชีวิตถึงรอยคน จากเหตุการณทั้งสองครั้งโดยเฉพาะเหตุการณในครั้งแรก ยังคงมีการ ถกเถียงกันวา เปนการกระทําในลักษณะการกอการรายทางทะเล หรือโจรสลัด เพราะการวางระเบิดคอนขางจะเปนไปใน ลักษณะของการขูบริษัทขนสงโดยตรง อยางไรก็ตาม เหตุการณดังกลาวก็ไดชี้ใหเห็นวา กลุมกอการรายไดมีการพัฒนา วิธีการกอการรายมากขึ้น โดยสามารถที่จะกําหนดเวลาที่ทําใหเกิดผลกระทบรุนแรงมากที่สุดได และอีกสองเหตุการณที่ เกี่ยวของกับกลุม Abu Sayyaf ที่นาจะนํามาศึกษาก็คือ การจับตัวประกันเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2543 จากสิปาตัน อัน เปนแหลงทองเที่ยวของมาเลเซีย นําไปกักขังไวในตอนใตของฟลิปปนสไป 80 กิโลเมตร โดยไดเรียกรองเงินคาไถถึง 25 ลานเหรียญสหรัฐ พรอมกับการเรียกรองขอตั้งรัฐอิสลามขึ้นในตอนใตของฟลิปปนส ขอใหตรวจสอบการละเมิดสิทธิ มนุษยชนตอผูอพยพชาวฟลิปปนสที่เขาไปอาศัยในมาเลเซีย และเรียกรองใหมีการรักษาสิ่งแวดล อมบริเวณนานน้ําโจโล ดวยการยุติการทําประมง อีกเหตุการณหนึ่งก็คือ การที่โจรสลัดจํานวน 11 คนใชเรือเร็วสองลําโจมตีเรือสิงคโปรชื่อ M/V Sintel Marine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2545 จับตัวกัปตัน หัวหนาชางเครื่อง หัวหนาลูกเรือ และรองหัวหนาลูกเรือไป 14 จากนั้นก็สงมอบใหกับกลุม Abu Sayyaf ที่โจโล ในเหตุการณแรก ชี้ใหเห็นถึงการทํางานของกลุมกอการราย Abu Sayyaf ที่มีลักษณะของการขามพรมแดน มี การวางแผน และมีการปฏิบัติอยางเปนขั้นตน มีการพาตัวประกันสงตอ และหลบหนีเปนชวง ๆ อีกทั้งยังมีการเรียกรองใน ลักษณะของการแสวงหาสิทธิมนุษยชน และการรักษาสิ่งแวดลอม อันเสมือนกับกลุมดังกลาวนี้ เปนนักสูเพื่อเสรีภาพ อีก ทั้งกลุม Abu Sayyaf ยังสามารถสรางความสนใจ และการรับรูถึงการเรียกรองของกลุมอยางไดผล ผสมผสานกับความ หวาดกลัวกระจายไปไดทั่วโลก ในขณะที่เหตุการณที่สองคอนขางจะชี้ใหเห็นไดอยางชัดเจนวา โจรสลัด และกลุมกอการ รายทางทะเลไดมีความสัมพันธกัน ในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และอาจถึงขั้นรวมกันปฏิบัติการ
14
Ibid. pp.34-35.
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 230
การเชื่อมตอกันระหวางการกอการรายทางทะเลกับโจรสลัด ปรากฏการณที่เกิดขึ้นในหวงทศวรรษที่ผานมา ชี้ใหเห็นวา กลุมกอการรายกําลังอาศัยทองทะเลเปนสนามรบอีก แหงหนึ่งดวยการกอการรายทางทะเล พรอมกับผลประโยชนระยะสั้นที่กลุมกอการรายจะไดรับ เชน เงินที่ไดจากการปลน และการเรียกคาไถ อุปกรณที่สามารถจะนํามาใชประโยชนไดตอไป การเรียนรูในการเดินเรือ และการปฏิบัติการอื่น ๆ ใน ทองทะเล อันจะนํามาซึ่งความสามารถในการกอการรายทางทะเลในอนาคต ทั้งนี้ก็ดวยการศึกษากับผูชํานาญการที่จับไป III เปนตัวประกัน นอกจากนี้แลว กลุมกอการรายยังไดมีการเตรียมการ เพื่อการปฏิบัติตอไปในอนาคตอีกดวย เชน ไดมีการ ยึดเอาเครื่องแตงกายของลูกเรือไป มีการนําเอกสารแสดงตนของบุคคล และเรือไป มีการนําเรือที่ปลนไปเก็บไวเพื่อการ ปฏิบัติการในอนาคต นอกจากนี้แลว กลุมกอการรายและโจรสลัดที่มีศัตรูรวมกัน คือ การปราบปรามของฝายรัฐบาล อีก ทั้งยังมีผลประโยชนที่เอื้อตอกัน เชน กลุมกอการรายจัดหา และฝกอาวุธ ยุทธวิธีใหกับโจรสลัด ใหความคุมครองโจรสลัด เมื่อถูกไลลา ในขณะที่โจรสลัดสามารถที่จะชวยเหลือกลุมกอการรายในการปฏิบัติการได โดยการแบงปนผลประโยชนที่ ไดรับรวมกัน อยางไรก็ตาม ในมุมมองของสังคมโดยทั่วไปแลว โจรสลัดก็คือ โจรสลัดที่มีความมุ งหมายเพื่อทรัพยสมบัติ เงินทองของตน และกลุมตนเทานั้น โดยไมมีอุดมการณใด ๆ ในขณะที่กลุมกอการรายตองการผลทางดานการเมือง มุมมองดังกลาวทําใหดูเหมือนกับวา โจรสลัดและกลุมกอการรายตองเปนคนละพวกกัน และรวมกันไมได ดังนั้น เมื่อมี เหตุการณในปจจุบันที่บงชี้วา โจรสลัดทํางานใหกลุมกอการราย พรอมกับกลุมกอการรายก็ไดทําตัวเชนโจรสลัด จึงไดเกิด ความสับสน และมีการถกเถียงกันอยางมากมาย จนถึงกับทําใหเสนแบงระหวางโจรสลัด กับกลุมการกอการรายทางทะเล ไมชัดเจนขึ้นมาทันที มุมมองในยุคสงครามเย็น กลุมแบงแยกดินแดนและกลุมกอการรายที่มุงหวังการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมือง จะตองเปนกลุมที่ไมมุงหวังประโยชนสวนตัว และไมมีพฤติกรรมเยี่ยงโจร ทั้งนี้ก็เนื่องจากวา ถากลุมนี้ทํางานสําเร็จ ก็จะ สามารถเปลี่ยนแปลงทางดานการเมืองได ไมวาจะเปนการเปลี่ยนจากระบอบกษัตริยเปนประชาธิปไตย หรือประชาธิปไตย เปนคอมมิวนิสต หรือคอมมิวนิสตเปนประชาธิปไตย หรือแมกระทั่ง การแยกประเทศออกไปจากกัน กลุมเหลานี้ จะ IV กลายเปนผูปกครองประเทศขึ้นมาทันทีเมื่อสําเร็จ ที่เปนเชนนี้ไดนั้น ก็เนื่องจากวา กลุมเหลานี้จะมีการสนับสนุนทางดาน V งบประมาณ และอาวุธยุทโธปกรณ ซึ่งสวนมากมาจากประเทศอภิมหาอํานาจที่อยูในฝายตรงขามกันในยุคสงครามเย็น ในสภาพแวดลอมของสังคมโลกปจจุบัน กลุมกอการรายตาง ๆ ไมสามารถที่จะไดรับการสนับสนุน เชน ในยุค สงครามเย็น ประเทศที่ใหการสนับสนุนกลุมกอการรายอยางเปดเผย เช น ลิเบีย ซูดาน ซีเรีย อิรัก อิหราน เกาหลีเหนือ และซาอุดิอาระเบีย ก็จะถูกนานาชาติ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกากดดันในทุก ๆ ดานอยางหนัก ระบบการเงินก็จะถู ก ตรวจสอบอยางเขมงวด สงผลใหกลุมกอการรายจําเปนตองดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อการดํารงอยูของตนเอง และเพื่อการ ปฏิบัติการอันจะนําไปสูอุดมการณการเมืองของตนได จึงไมนาแปลกใจที่การกอการรายไดเชื่อมตอกับการกระทําอันเปน โจรสลัดไปแลว อันสงผลใหการลากเสนแบงความเปนโจรสลัดกับการกอการรายทางทะเลนั้น มีความยุงยากเปนอยางมาก และเมื่อผสมผสานกับการใหนิยามความหมาย และคําจํา กัดความของทั้งการกอการรายทางทะเล กับโจรสลัดที่มิไดมี นิยามความหมายที่เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลว ก็ยิ่งทําใหความไมชัดเจนของการแบงเสนนี้ยุงยากมากยิ่งขึ้น ในปจจุบันทั้งการกอการรายทางทะเลและโจรสลัดตางก็ใชเทคนิค และวิธีพื้นฐานในการปฏิบัติการแบบโจรสลัด ทั้งคู อยางไรก็ตาม การปฏิบัติการของกลุมกอการรายจะมีการวางแผนการปฏิบัติการที่ซับซอนและรอบคอบมากกวาพวก โจรสลัด รวมทั้งการปฏิบัติก็มักจะใชความรุนแรง เพื่อสรางความหวาดกลัวใหเกิดขึ้นกับสังคมโดยรวม ดวยการพยายาม ทําใหเหตุการณที่กอขึ้นนั้น ไดมีการกระจายออกไปในวงกวาง ทั้งนี้ก็ดวยเหตุผลระยะยาวทางดานการเมือง แตถึงอยางไร ก็ตาม ในสภาพแวดลอมปจจุบันทีก่ ารกอการรายไมสามารถขอรับการสนับสนุนทางดานการเงิน อาวุธยุทโธปกรณ แหลงที่ พักอาศัย และหลบซอนจากประเทศ หรือกลุมตาง ๆ ไดเชนในอดีต ก็ไดทําใหกลุ มกอการราย ตองแสวงหาเกาะแกงใน
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 231
ทองทะเลที่สามารถนํามาใชเปนที่พักหลบซอน และสถานที่ฝกได อีกทั้งยังตองการงบประมาณที่จะนํามาใชในการดํารง ชีพขององคกร และใชในการปฏิบัติการกอการรายเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมืองตอไปในอนาคต ความจําเปน ดังกลาวไดทําใหผูกอการรายตองออกปลนเรือสินคา รวมทั้งมีการจับตัวเรียกคาไถ จนทําใหการกอการรายทางทะเล เปรียบไดเชนกับโจรสลัดกลุมหนึ่งนั่นเอง ในขณะที่ ยุทธวิธีของกลุมโจรสลัดไมมีรูปแบบที่แนนอน สามารถปรับเปลี่ยนได ตามความตอง การทําใหยากตอ การจับกุม หรือปองกัน เพราะโจรสลัดไดเปรียบฝายปองกันทั้งดานเวลา และระยะทาง รวมทั้งสามารถขามนานน้ําระหวางประเทศไดโดยเสรี ในขณะที่ฝายปองกันยังคง ประสบปญหาเรื่องการไลตามติดพันเขา ไปในนานน้ําหรือนานฟาของประเทศอื่น แมกฎหมาย ระหวางประเทศจะอนุญาตใหดําเนินการไดก็ตาม ขณะที่ ตั้ ง แต ต น ป 2013 จนถึ ง เดื อ นกรกฎาคมที่ ผ า นมา สํ า นั ก งานทางทะเลระหว า งประเทศ (International Maritime Bureau : IMB) ยังมีรายงานวา พบเหตุการณกระทําอันเปนโจรสลัดในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตกวา 57 ครั้ง มากที่สุดในบรรดานานน้ําทั่วโลกโดยสวนใหญ 48 ครั้ง เกิดขึ้นในนานน้ําอินโดนีเซีย อัน เปนแหลงกบดานสําคัญของโจรสลัดที่เติบโตขึ้นอยางมากหลังการสิ้นสุดยุคซูฮารโต ขณะเดียวกัน ยังมีรายงานวา พบการ กระทําอันเปนโจรสลัดในพื้นที่ชองแคบมะละกา นานน้ําของสิงคโปร และฟลิปปนสอยางตอเนื่องทุกป ตัวเลขเหลานี้บงชี้ วา ปญหาโจรสลัดไมใชเรื่องเล็ก ๆ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และยิ่งกวานั้น นาจะกลายเปนปญหารวมกันของ ประเทศตาง ๆ ที่ตองขนสงสินคาทางเรือผานเสนทางทะเลจีนใตและนานน้ําอื่นในภูมิภาคนี้ ในประเด็นดังกลาวนี้ ทําใหการแกปญหาในระยะสั้น ดวยการพิจารณาปญหาการกอการรายทางทะเล และโจร สลัดเปนปญหารวมกันในลักษณะของปญหาขามชาติ (Transnational Issues) ดังนั้น การสรางความรวมมือของประเทศ ในภู มิภาค โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน อั นเป นผลมาจากการประชุ มเพื่อสรา งความรวมมือ ดานความมั่ นคง (ASEAN Regional Forum : ARF) ที่ผานมา พรอมกับการสนับสนุนจากประเทศตาง ๆ ที่อาจมีผลกระทบจากปญหาการ กอการรายทางทะเล และโจรสลัด เชน ประเทศญี่ปุน เกาหลีใต และจีน นาจะเปนหนทางในการแกปญหาระยะสั้นที่ไดผล ดังจะเห็นไดวา ดวยความรวมมือในการลาดตระเวนนานน้ํารวมกันของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร ไดสงผลใหการ ดําเนินงานของโจรสลัด และการกอการรายทางทะเลในหวงที่ผานมาลําบากขึ้น เชน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2548 ผู บัญชาการตํารวจน้ํามาเลเซีย กลาวภายหลังพิธปี ดการฝกผสมหมูเรือลาดตระเวนรวมระหวางกองทัพเรือไทย กองทัพเรือ และกองตํารวจน้ํามาเลเซีย ภายใตรหัสการฝก SEAEX THAMAL 2005 ที่สถานีตํารวจน้ําเกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย วา สถานการณโจรสลัดในชองแคบมะละกา ตั้งแตเดือนมกราคม ถึงกันยายน 2548 มีสถิติการเกิดเหตุ 6 ครั้ง ซึ่งถือวา ลดลงเมือ่ เทียบกับการเกิดเหตุ ในหวงระยะเวลาเดียวกันเมื่อป 2546 ซึ่งเกิดเหตุ 15 ครั้ง ทั้งนี้ เนื่องจาก ความรวมมือใน การลาดตระเวนระหวางมาเลเซียกับประเทศเพื่อนบาน และยืนยันวา จะเพิ่มความรวมมือในการฝกและการแลกเปลี่ยน 15 ขอมูลกับประเทศเพื่อนบานเพื่อรักษาความปลอดภัยในชองแคบมะละกาตอไป
15
ที่มา : สรุปขาวสําคัญประจําวัน ขว.ทร. 4 ตุลาคม 2548.
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 232
สรุปความสัมพันธการกอการรายทางทะเลกับโจรสลัด เสนทางการขนสงทางทะเล มีความสําคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก เปนอยางมาก จากความสําคัญดังกลาว ก็ไดสงผลใหเปนที่สนใจการกอการรายของกลุมการกอการรายทั้งหลายที่อยูใน ภูมิภาค เชน กลุมเจไอ กลุม GAM และกลุม Abu Sayyaf ดวย ทั้งนี้ การสรางความหวาดกลัวดวยการกอการรายในชอง แคบมะละกา และสิงคโปรสามารถที่จะสงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจของหลายประเทศในภูมิภาคนี้ได รวมทั้งอาจสงผล กระทบตอเศรษฐกิจโลกไดดวย จะอยางไรก็ตาม กอนที่กลุมตาง ๆ ดังกล าวนั้น จะสามารถการกอการรายทางทะเลได การเรียนรูเทคนิคโจรสลัด และการรวมมือกับโจรสลัด ดูจะเปนสิ่งจําเปนในการพัฒนาขีดความสามารถในการกอการราย ทางทะเล สําหรับเหตุการณที่เริ่มบงชี้ใหเห็นแลววา กลุมกอการรายหลายกลุมกําลังดําเนินงานในการเตรียมการเพื่อการ กอการรายทางทะเลในอนาคต นอกจากนี้ แลวความสําเร็จในการกอการรายทางทะเลโดยใชเรือบรรทุกระเบิดพุงเขาชน เรือ USS Cole ดูจะเปนเครื่องเตือนใจใหประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคไดมีความสนใจที่จะเขามารวมแกไขปญหาการกอการ รายทางทะเลนี้มากขึ้น ดังนั้น ในการแกไขปญหาระยะสั้นนั้น การกําหนดใหผูกอการรายทางทะเล และโจรสลัดเปนกลุม เดียวกัน และแกปญหาโดยใหมีการลาดตระเวน คนหา ปองกันการกอการใด ๆ ในทะเลรวมกันของประเทศตาง ๆ ใน ภูมิภาค นาจะเปนหนทางที่เหมาะสมที่สุด ในขณะที่ การแกไขปญหาในระยะยาว จะตองมีการแยกแยะกลุม ตาง ๆ ออกมาใหชัดเจน เพื่อกําหนดแนวทางที่เหมาะสม และแกไขปญหาไดอยางมีบูรณาการตอไป
บทบาทของประเทศมหาอํานาจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก 1. สหรัฐอเมริกา ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ยังเปนพื้นที่ยุทธศาสตร ซึ่งสหรัฐอเมริกาใหความสําคัญอยางยิ่ง ทั้งใน ดานความมั่นคงและดานเศรษฐกิจที่จะตองรักษาไว โดยเฉพาะผลประโยชนดานความมั่นคงจากปญหาการกอการราย ทํา ใหสหรัฐอเมริกายังคงนโยบายความสัมพันธอยางใกลชิดกับประเทศและคงอิทธิพลอยูในภูมิภาคนี้ รวมทั้งเปนเสนทาง เดินเรือสําคัญระหวางมหาสมุทรอินเดียกับแปซิฟก ทําใหสหรัฐอเมริกาพยายามเขามามีบทบาทในภูมิภาคนี้เพิ่มมากขึ้น โดยกดดันใหประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคใหความรวมมือกับสหรัฐอเมริกาตอตานการกอการราย นอกจากนั้น สหรัฐอเมริกา ยังตองการสกัดการเจริญเติบโตของจีนที่เริ่มกาวขึ้นมามีบทบาทและทาทายความเปนขั้วอํานาจเดียว (uni-polar) ของ สหรัฐอเมริกา 2. สหพันธรัฐรัสเซีย ยังคงใหความสําคัญและมีบทบาทในภูมิภาคนี้ รัสเซียมีแนวทางสรางความสัมพันธกับจีน และอินเดีย ในฐานะหุนสวนทางยุทธศาสตร รวมทั้งสรางความสัมพันธกับญี่ปุนและประเทศกลุมอาเซียน รัสเซียยังคง บทบาทตนเองในการแกปญหาคาบสมุทรเกาหลี โดยมีจุดมุงหมายสําคัญในการสรางระบบหลายขั้วอํานาจ (multi-polar) ขึ้นคานดุลการเปนขั้วอํานาจเดียว (uni-polar) ของสหรัฐอเมริการวมทั้งเพื่อเสริมสรางโอกาส และชองทางการฟนฟู เศรษฐกิจของตนเอง เพื่อการพลิกพื้นฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ 3. สาธารณรัฐประชาชนจีน มุงขยายบทบาททางการเมือง อิทธิพลในภูมิภาคนี้เพิ่มมากขึ้น โดยการกระชับ ความสัมพันธ และรวมมือกับทุกประเทศตอตานการขยายอํานาจของสหรัฐอเมริกา และประเทศมหาอํานาจอื่นที่จะมี อิทธิพลเหนือภูมิภาคนี้ สนับสนุนบทบาทขององคการสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพ เนื่องจาก ภูมิภาคนี้เปนเขต ผลประโยชนที่สําคัญยิ่งของจีนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคง นอกจากนี้ จีนยังพยายามแสดงบทบาทผูนํา และเปนมหาอํานาจที่มีความรับผิดชอบ เพื่อใหประเทศในภูมิภาคนี้ตระหนักถึงความสําคัญของจีน เพื่อใหมีอิทธิพลตอ การกําหนดนโยบายของประเทศเหลานั้น ในแนวทางที่เปนประโยชนตอจีน ซึ่งพลังอํานาจของจีนจะเติบโตรุงเรืองเพิ่มขึ้น ในทุกดาน และมีแนวโนมแผอิทธิพลเขามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้น
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 233
4. ญี่ปุน จะแขงขันอิทธิพลทางเศรษฐกิจกับจีนในภูมิภาคนี้มากขึ้น เนื่องจาก เกรงวา จะสูญเสียอิทธิพลทาง เศรษฐกิจในภูมิภาคนี้แก จีนที่กําลังมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว โดยญี่ปุนจะเพิ่มบทบาทของตนเองในเวที การเมืองระหวางประเทศทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ดานการเมืองระหวางประเทศ ญี่ปุนยังคงดําเนินนโยบาย ตางประเทศที่สอดคลองกับสหรัฐอเมริกา โดยคงความผูกพันและรักษาผลประโยชนเกี่ยวพันกันอยางแนนแฟนตอไป ดาน ความสัมพันธกับอาเซียน ญี่ปุนจะขยายบทบาทใหมากขึ้น และผลักดันแนวคิดเรื่องประชาคมเอเชียตะวันออกที่มีญี่ปุน เปนแกนนํารวมกับประเทศกลุมอาเซียนใหเกิดผลเปนรูปธรรม เพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของจีนที่กําลังแผกวางในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก 5. สาธารณรัฐอินเดีย ยังคงใหความสําคัญกับนโยบายเสริมสรางความสัมพันธ กับประเทศเพื่อนบานและ ประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อินเดียใชนโยบายมุงตะวันออก (look east) เพื่อ โดดเดี่ยวปากีสถาน และถวงดุลอํานาจกับจีน โดยมองวา การขยายอิทธิพลของจีนในภูมิภาคนี้ เปนการคุกคามอินเดียใน ทุกดานทั้งทางตรงและทางออม นอกจากนั้น อินเดียยังมีนโยบายเรงเสริมสรางความสัมพันธกับมหาอํานาจอื่น ๆ โดยไม เลือกฝายเพื่อเสริมสรางระบบหลายขั้วอํานาจขึ้นในโลก และเปนการแสดงอิทธิพลในภูมิภาคเอเชียใตและมหาสมุ ทร อินเดีย รวมทั้งใหความสําคัญตอการมีความสัมพันธระหวางประเทศกับสหรัฐอเมริกามากขึ้น เนื่องจาก ปจจุบันรัสเซียได กันไปมีความสัมพันธกับประเทศตะวันตกมากขึ้น
สถานการณความมั่นคงทางทะเลของไทย 1. สภาพทางภูมิศาสตรทางทะเลของไทย ประเทศไทยเปนรัฐชายฝง (coastal state) มีอาณาเขตทางทะเล ติดกับประเทศเพื่อนบานถึง 6 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา เมียนมาร และอินเดีย ประเทศไทยมี ฝงทะเลทั้งดานอาวไทยและดานทะเลอันดามันที่ยาวมาก ดานอาวไทย 1,660 กิโลเมตร ดานอันดามัน 952 กิโลเมตร จาก สภาพภูมิประเทศดังกลาว ทําใหประเทศไทยมีพื้นที่ผลประโยชนของชาติทางทะเล และเสนทางคมนาคมทางทะเลที่เปด กวางสามารถเดินทางเขา-ออก ติดตอกับประเทศตาง ๆ ไดโดยงายทั้งสองฝงทะเล ดานทรัพยากรนานน้ําไทยเปนแหลง ประมงที่สําคัญ สามารถทํารายไดใหประเทศเปนมูลคามหาศาลจนกลายเปนสิน คาออกที่สําคัญอยางหนึ่งของประเทศ และยังเปนแหลงน้ํามันดิบ-กาซธรรมชาติ ลดการนําเขาปละหมายหมื่นลานบาท นอกจากนั้น ทะเลไทยและบริเวณชายฝง มีภูมิประเทศที่สวยงาม จึงเปนแหลงทองเที่ยวและพักผอนของทั้งของชาวไทยและชาวตางประเทศ
2. ปญหาภายในที่สงผลกระทบตอประเทศ
2.1. ปญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต มีการใชความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต เปนปญหาดานความมั่นคงที่สําคัญ พื้นที่ดังกลาวนอกจากติดกับมาเลเซียแลว ยังสามารถติดตอกับภายนอกประเทศที่ทาง ฝงทะเลดานอาวไทยโดยตรง และทางฝงทะเลอันดามัน โดยผานจังหวัดสตูลไดอีกดวย 2.2. ปญหาความขัดแยงจากการใชทรัพยากรทางทะเล โดยเฉพาะสัตวน้ํา ปจจุบันปริมาณทรัพยากรสัตว น้ําในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยไดลดลงอยางรวดเร็ว เนื่องมาจาก ความตองการบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง การ ทําประมงที่ไมถกู วิธี และประกอบกับจํานวนเรือประมงที่มากขึ้นและไมสัมพันธกับปริมาณทรัพยากรสัตวน้ําที่มีอยู ซึ่งจาก สาเหตุดังกลาวกอใหเกิดการขัดแยง และแยงชิงทรัพยากรในทะเลระหวางกลุมเรือประมงกันเอง เพื่อแสวงหาสัตวน้ําที่ ตนเองตองการ จากการที่ทรัพยากรสัตวน้ําในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยลดลง เปนการบีบบังคับใหเรือประมงไทยตอง ออกไปทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศเพื่อนบาน ซึ่งมีทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย และมีเรือประมงไทย ไมนอยที่ถูกจับ
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 234
2.3. ปญหายาเสพติด จากการปราบปรามยาเสพติดของไทย ภายหลังการใชมาตรการเชิงรุกเปนตนมา ซึ่ง ปรากฏวา ไดรับความรวมมือจากประชาชนมากขึ้นสรางความหวาดหวั่นใหกับขบวนการคายาเสพติดกลุมตาง ๆ อยางไรก็ ตาม การลักลอบนํายาเสพติดเขาไทย ก็ยังคงไดรับรายงานอยางตอเนื่อง แตเปนที่นาสังเกตวา มีการลดปริมาณ และ ความถี่ลงพรอมกับเพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น สําหรับความเคลื่อนไหวของการลําเลียงยาเสพติดในพื้นที่ทางทะเลนั้น ดานอาวไทยมีการลําเลียงยาเสพติดทางทะเลเขามาตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา โดยนําขึ้นฝงไดในหลายพื้นที่ ทั้งพื้นที่ ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคใต ตามแพปลาตาง ๆ ซึ่งยากตอการตรวจสอบ ดานทะเลอันดามัน จากการที่ทางการ ไทยไดมีการกดดัน และเขมงวดในการสกัดกั้นการลําเลียงยาเสพติดเขาสูไทยทางบกดานภาคเหนือ และภาคกลางตอนบน จึงพบวา มียาเสพติดอีกเปนจํานวนมากที่เปลี่ยนมาใชการลําเลียงออกทางทะเล โดยเฉพาะดานทะเลอันดามัน เพื่อนําเขา สูประเทศไทยตามจังหวัดชายฝงทะเล เชน ระนอง ภูเก็ต ตรัง กระบี่ และสตูล รวมทั้งตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย เพื่อเตรียมการลําเลียงออกนอกประเทศ และบางสวนไดลําเลียงกลับเขามาจําหนายในพื้นที่ภาคกลาง 2.4. ปญหาการลักลอบจําหนายน้ํามันเลี่ยงภาษีศุลกากร จากสภาวะทางการตลาดของราคาน้ํามันที่สูงขึ้น ทําใหการลักลอบจําหนายน้ํามันเลี่ยงภาษีศุลกากรในปจจุบันยังคงมีอยู โดยกลุมผูคารายใหญยังคงทําการจําหนายอยูใน จุดเดิมที่ทําการจําหนาย และมีการนําเรือไปบริการใหกับเรือประมงที่ออกไปทําการประมงไกลฝง สวนกลุมผูคาอิสระ หรือกลุมผูคารายยอย สวนใหญจะทําการจําหนายในภูมิภาคของตัวเอง ที่บริเวณหางจากฝงเกินระยะที่กฎหมายควบคุม ภายในพื้นที่จังหวัดชายทะเล โดยจําหนายใหเฉพาะสมาชิกของตน หรือเรือในแพปลาที่รวมกัน นอกจากนี้ ยังมีการ ลักลอบนําเขาตามแนวชายแดน ซึ่งสวนใหญจะนําเขามาทางบก แตมีบางสวนที่มีการนําเขาทางทะเล 2.5. ปญหาแรงงานตางดาว สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทย มีพื้นที่ของจังหวัดที่ติดกับชายทะเลถึง 22 จังหวัด และมีแนวชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งเอื้ออํานวยตอการลักลอบผานเขา -ออกตลอดเวลา โดยเฉพาะ ชายแดนไทย-เมียนมาร ที่ยาวถึง 2,401 กิโลเมตร ทําใหมีแรงงานตางดาว ซึ่งสวนใหญเปนชาวเมียนมารลักลอบเขามา ประกอบอาชีพในประเทศไทยเปนจํานวนมากที่สําคัญ ไดแก อาชีพทําประมง โดยเฉพาะในจังหวัดระนอง และเกือบทุก จังหวัดในภาคใต อาชีพทําสวนยางในจังหวัดพังงา จังหวัดตราด อาชีพแปรรูปอาหารทะเล ในจังหวัดชุมพร และอีกหลาย จังหวัด ในจํานวนนี้ พบวา ปญหาที่ประสบมาก คือ กลุมที่ลักลอบไปกับเรือประมงในพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งตรวจสอบไดยาก และสงผลใหเกิดปญหาตามมาหลายประการ เชน การอาชญากรรมทั้งในกลุมแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง และกลุม คนไทย รวมถึงปญหาการแยงอาชีพทํากินของชาวไทย นอกจากนี้ ยังพบวา แรงงานเหลานี้ไดมีการแอบแฝงนํายาเสพติด เขาในประเทศ
ปญหาความมั่นคงทางทะเลของไทยกับประเทศเพื่อนบาน 1. สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร ปญหาเขตแดนทางทะเล
ปญหาที่ยังไมสามารถตกลงกันได คือ บริเวณเขตแดนจากจุดที่อยูเหนือหมู เกาะสุรินทรเขามาจนถึงปากแมน้ํากระบุรี จังหวัดระนอง การอางกรรมสิทธิ์ เหนือเกาะหลาม เกาะคัน และเกาะขี้นก ซึ่งทั้งสองฝาย (ไทย-เมียนมาร) อางอธิปไตยเหนือดินแดนเกาะทั้งสาม ซึ่งสถานะปจจุบันยังไมมีขอยุติถา ปลอยไว โดยไมรีบแกไข อาจนํามาสูการเผชิญหนาระหวางกําลังทางเรือของ ทั้งสองฝายได
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 235
ปญหายาเสพติด
ปญหาหลบหนีเขาเมือง
ปญหาประมง
2. มาเลเซีย
ปญหาเขตแดนทางทะเล
ปญหาโจรกอการราย
จากการที่ไทยไดมีนโยบายเชิงรุกในการปราบปรามอยางตอเนื่องในชวงป พ.ศ. 2546 ที่ผานมา ทําใหปริมาณยาเสพติดในประเทศลดนอยลง แตยังคง ปรากฏการผลิ ต และการค า จากชนกลุ ม น อ ยในเมี ย นม า ร เพื่ อ ระบาย ยาเสพติ ด ที่ ต กค า ง และทดแทนรายได ที่ ห ายไปจากการจั บ กุ ม และ ปราบปรามอยางหนักของไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ทางภาคเหนือ กลุมผูผลิต และผูคาในฝงเมียนมารไดปรับเปลี่ยนวิธีการลักลอบนําเขามาพักรอในฝง ไทย เพื่อปองกันการตรวจจับ และอาจจะมีการเปลี่ยนเสนทางโดยใชทาง ทะเลแทนได จากป ญ หาทางการเมื อ งภายในประเทศเมี ยนม า ร และผลกระทบจาก นโยบายคว่ําบาตรทางเศรษฐกิจของประเทศมหาอํานาจตอเมียนมาร ทําให เกิดการวางงาน และปญหาทางสังคมในเมียนมาร สงผลใหชาวเมียนมาร หลบหนีเขาเมืองมาในเขตไทย ดวยเหตุผลทางดานเศรษฐกิจประกอบกับ ประเทศไทยขาดแคลนแรงงานบางประเภท และผูประกอบการไดประโยชน จากแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองดังกลาว เพื่อลดตนทุนการผลิตและ เพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันดานราคา กับประเทศคูแขงทางการคา แต ส ง ผลกระทบต อ แรงงานไทยทั้ ง โอกาส และค า จ า งที่ ถู ก กดให ต่ํ า ลง รวมทั้ ง ในอนาคตจะสร า งป ญ หาเรื้ อ รั ง ด า นสั ง คมโดยเฉพาะป ญ หา อาชญากรรม และปญหาชนกลุมนอย รัฐบาลเมียนมารใหความสําคัญกับการรักษาผลประโยชนทางทะเล และ ทรัพยากรสัตวน้ําเปนอยางมาก สงผลใหมีการเขมงวดในการตรวจ และ พิจารณาในการใหสัมปทานการทําประมงในเขตนานน้ําเมียนม าร และสั่ง การใหทหารเรือเมียนมารเขมงวดกวดขันในการจับกุมเรือประมงตางชาติที่ ลั ก ลอบเข า มาทํ า ประมงในเขตน า นน้ํ า และเขตเศรษฐกิ จจํ า เพาะของ เมียนมาร ซึ่งในปจจุบันทางการเมียนมารไดเปดสัมปทานในรูปของการรวม ลงทุน แตผูประกอบการประมงไทยเห็นวา มีตนทุนคอนขางสูง จึงมีเรือเขา ไปทําประมงนอย ปญหาเขตแดนทางทะเลนั้น ทั้งไทยและมาเลเซียไดลงนามใน MOU เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2522 กําหนดใหพื้นที่ทับซอนทางทะเล 7,250 ตารางกิโลเมตรเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Development Area: JDA) โดยร ว มกั น ในการแสวงประโยชน จากทรั พ ยากรในพื้ น ดิ น ใต ท ะเลและ แบงปนผลประโยชนบนพื้นฐานของความเทาเทียมกัน มาเลเซียใหความรวมมือกับไทยในการแกไข ปญหากลุมโจรที่เคลื่อนไหวอยู บริเวณชายแดนไทย-มาเลเซียเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการลาดตระเวนรวม บริเวณชายแดน (joint border patrol) ถึงแมวา จะยังไมรวมมือเต็มที่ก็ทํา ใหกลุมกอการรายเคลื่อนไหวในมาเลเซียทําไดยากขึ้น
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 236
ปญหาประมง
3. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ปญหาเขตแดนทางทะเล
มาเลเซี ย ได อ อกกฎหมายเกี่ ยวกั บ การประมงครอบคลุ ม เขตเศรษฐกิ จ จําเพาะของมาเลเซียเปน maritime fishery zone กําหนดใหเรือประมงที่ เดินทางผานนานน้ํามาเลเซีย จะตองแจงใหมาเลเซียทราบลวงหนา และเก็บ อุปกรณทําการประมงใหเรียบรอย ซึ่งปจจุบันเรือประมงไทยมีความเขาใจ และปฏิ บัติ ตามที่ท างการมาเลเซียกํ าหนด จึง ทํา ใหป ญหาการถู ก จับ กุ ม นอยลง รวมทั้งไดอนุญาตใหเรือประมงไทยประเภทเรืออวนลอยและเรือ อวนลอม ทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของมาเลเซียไดวิธีเ ดียว ใน ลักษณะการรวมทุนกับบริษัทประมงของมาเลเซียเทานั้น โดยการใหเอกชน มาเลเซียเชาเรือไทย และชักธงมาเลเซีย
ในพื้นที่ทับซอนไหลทวีไทย-กัมพูชา ปจจุบันการเจรจาทั้งในสวนของการ แบงแยกทะเล (maritime delimitation) และการกําหนดเขตทางทะเล รวมทั้งระบบการพัฒนารวมทรัพยากรปโตรเลียมในพื้นที่ทับซอนมีความ คืบหนาไปมาก อยางไรก็ตาม ทะเลดานจังหวัดตราดยังไมไดรับการแกไข อยางเปนรูปธรรม จึงเกิดการรุกล้ํ านานน้ําของผูประกอบการประมงอยู บอยครั้ง ปญหายาเสพติด จากนโยบายปราบปรามยาเสพติ ด ของไทย ทํ า ให ผู ค า ยาเสพติ ด ด า น เมียนมารและลาว เปลี่ยนฐานการผลิต และเสนทางการลําเลียงผานมาทาง แมน้ําโขงเขาสูส ปป.ลาว และกัมพูชา เพื่อสงผานไทยและนําไปประเทศที่ 3 โดยใชไทยเปนทางผาน รวมทั้งมีการลําเลียงยาเสพติดผานทางทะเลดวย ปญหาประมง ป จจุ บั น กั ม พู ช าได อ นุ ญ าตให ไ ทยทํ า ประมงในเขตเศรษฐกิ จจํ า เพาะได (ยกเวนเรือไดปนไฟจับปลากระตัก) ในรูปแบบของตั๋วทองถิ่น โดยเฉพาะที่ เกาะกง ซึ่งไมไดอยูในความดูแลของรัฐบาลกลางกัมพูชา ในขณะนี้ รัฐบาล ทองถิ่ นดูแ ลไม ทั่วถึง ทํา ใหเ กิดการทุจริต จึงมี ปญหาการลักลอบทํ าการ ประมง ปญหาเรือประมงมีพฤติกรรมเปนโจรสลัด และปญหาการทําประมง ล้ําแดน ซึ่งสวนหนึ่งมาจากเขตแดนทางทะเลที่ยังตกลงกันไมได 4. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปญหาเขตแดนทางทะเล ปญหาเขตแดนทางทะเลและปญหาไหลทวีปทับซอน ไทยและเวียดนามตก ลงกันได เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2540 โดยใหแบงพื้นที่ทับซอนดวยเสน K-C ซึ่งการที่ประเทศไทยและเวียดนาม สามารถมีขอตกลงดานปญหาเขตแดน ทางทะเลไดอยางสมานฉันท จึงถือเปนแบบอยางที่ดีในการเจรจาขอยุติของ ปญหาเขตแดนทางทะเลระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ ดวย
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 237
ปญหาประมง
5. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ปญหาประมง
มีการตั้งคณะกรรมการระดับสูงวาดวยการแกไขปญหาและการจัดระเบียบ ทะเล ไดติดตั้งโทรศัพทสายตรง (hot line) เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ในทะเล และกําหนดใหมีการทําประมงในลักษณะการเชาเรือเขาไปทําการ ประมง แตยังไมมีเรือประมงเขาไปทําประมงในนานน้ําเวียดนามโดยถูกตอง จึ ง มี ก ารลั ก ลอบเข า ไปทํ า การประมงอยู เ สมอ อย า งไรก็ ต าม พบว า มี เรือประมงของเวียดนามรุกล้ําเขามาในเขตเศรษฐกิจของไทยเชนกัน อินโดนีเซียประกาศหามเรือประมงตางชาติเขาไปทําการประมงในนานน้ํา อิ น โดนี เ ซี ย โดยเด็ ด ขาด ยกเว น เรื อ ประมงที่ จ ดทะเบี ย นกั บ บริ ษั ท ของ อินโดนีเซีย หรือรวมทุนกับอินโดนีเซียเทานั้น ทั้งนี้ ไทยและอินโดนีเซียได กําหนดกรอบความรวมมือดานการประมงเพื่อแกไขปญหาอุปสรรคดาน ประมง โดยมี ค ณะอนุ ก รรมการความร ว มมื อ ด า นการประมง ภายใต คณะกรรมการรวมไทย-อินโดนีเซียของกระทรวงตางประเทศเปนกลไกใน การแก ไขปญ หามีการประชุมหารือ กันมาอยา งต อเนื่องเพื่ อแกไ ขป ญหา ดังกลาว
ปจจัยคุกคามที่เกิดขึ้นตอผลประโยชนทางทะเลของอาเซียน ทะเลในภูมิภาคนี้ นับวา มีความสําคัญและเปนผลประโยชนรวม (Common Interests) ของทุกชาติในภูมิภาค จากความสําคัญของทะเลในภูมิภาคที่เปนเสนทางคมนาคมหลัก (ชองแคบมะละกา และทะเลจีนใต) และอุดมสมบูรณไป ดวยทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งสิ่งมีชีวิต เชน สัตวน้ํา และสิ่งไมมีชีวิต เชน กาซธรรมชาติ และน้ํามัน เปนตน ในขณะเดียวกัน ภูมิภาคนี้กป็ ระสบปญหาภัยคุกคามที่สงผลกระทบตอการดําเนินกิจกรรมทางทะเลตาง ๆ ทั้งการขนสง และการแสวงหา ประโยชนจากทะเล ซึ่งถือวา เปนภัยคุกคามตอความมั่นคงและผลประโยชนทางทะเลของแตละประเทศ โดยภัยคุกคาม เหลานี้ไมเพียงแตมีผลกระทบตอประเทศใดประเทศหนึ่งเทานั้น ยังสงผลกระทบตอหลายประเทศในภูมิภาคอีกดวย จึงถือ วา เปนปญหาภัยคุกคามรวม (Common Concerns or Common Threats) ของภูมิภาค โดยมีเหตุปจจัยหลากหลาย เกื้อหนุน ซึ่งพอจะกําหนดไดโดยพิจารณาจากสถิติและแนวโนม ดังนี้ 1. ปญ หาความขัด แย งเรื่อ งเขตแดนทางทะเลของประเทศในภู มิภาค เชน ป ญหาความขั ดแยง ระหว า ง ประเทศที่อางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย คือ จีน ไตหวัน ฟลิปปนส เวียดนาม มาเลเซีย และบรูไน ซึ่งที่ผานมาได เกิดการกระทบกระทั่งทางทหารขึ้นเปนประจํา ความเปนไปไดของการปะทะกันครั้งใหมยังคงดํารงอยูตอไป เนื่องจาก สถานการณในปจจุบัน ยังคงเปราะบาง ดวยเหตุที่แนวทางในการแกไขขอพิพาทเกี่ยวกับเขตแดนทางทะเลยังไมสามารถ ตกลงกัน ได แม วา รัฐ สมาชิ ก ของสมาคมประชาชาติ แห งเอเชี ยตะวั น ออกเฉียงใต (อาเซียน) และจี นไดแ สดงความ ปรารถนาที่จะลดความขัดแยงดวยการเห็นชอบตอ China Sea เมื่อ พ.ศ. 2545 ก็ตาม เพราะปฏิญญาดังกลาวไมใช แนวทางปฏิบัตทิ ี่เปนขอผูกพัน ตามกฎหมายระหวางประเทศ หรือเปนมติเอกฉันทสําหรับแนวทางที่จะเดินตอไป (“2002 Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea,” 2002) นอกจากนี้ ยังมีปญหาเขตแดนทางทะเลระหวางประเทศมาเลเซีย-อินโดนีเซีย มาเลเซีย-สิงคโปร และในสวน ของไทยกับเพื่อนบานที่ยังเปนปญหาดังที่ทราบกันอยู คือ ปญหาพื้นที่อางสิทธิทับซอนทางทะเลระหวางไทย-กัมพูชา และ ไทย-เมียนมาร ซึ่งปญหาเหลานี้ ไดสงผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศ และความมั่นคงทางทะเลของภูมิภาคใน ภาพรวม
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 238
อยางไรก็ตาม ปญหาการแยงชิงผลประโยชนทางทะเล เชน การทําประมงในพื้นที่เขตเหลื่อมทับทางทะเล หรือการลักลอบทําประมงในนานน้ําของประเทศเพื่อนบาน เปนตน ทําใหเกิดความหวาดระแวง และไมไววางใจ จนทําให ประเทศเพื่อนบานตองจัดกําลังทางเรือ ลาดตระเวนตรวจการณในพื้นที่รอยตอของอาณาเขตทางทะเล หรือพื้นที่เหลื่อม ทับ และจับกุมเรือประมงไทยดวยความรุนแรง ซึ่งอาจนําไปสูการเผชิญหนาทางทหารได 2. การเสริมสรางกําลังทางทหาร (Armed Racing) ของประเทศในภูมิภาค ก็ถือวา เปนสวนหนึ่งที่ทําใหเปน ปญหาภัยคุกคามตอความมั่นคงอยางหนึ่ง โดยจะเห็นวา ที่ผานมาและปจจุบันประเทศตาง ๆ เชน มาเลเซีย สิงคโปร และ เวียดนามตางเสริมเขี้ยวเล็บทางทะเลดวยการจัดหาเรือดําน้ํา และอากาศยานเขาประจําการอยางตอเนื่อง ถึงแมวา การ เสริมสรางกําลังทางเรือของประเทศดังกลาว มีเหตุผลเพื่อปกปองผลประโยชน และอธิปไตยของตนเองก็ตาม นอกจากนี้ การจัดทํายุทธศาสตรทหารของประเทศในภูมิภาคก็มักจะกําหนดยุทธศาสตรบนพื้นฐานที่วา ประเทศเพื่อนบานอาจเปน ศัตรู หรือเรียกวา Threats Base ซึ่งการกระทําดังกลาวทําใหแตละประเทศขาดความไวเนื้อเชื่อใจซึ่งกัน และกัน ทําให สงผลกระทบตอความมั่นคงของภูมิภาคได 3. การกอการรายทางทะเล (Maritime Terrorism) เปนภัยคุกคามที่ประเทศตาง ๆ และองคกรระหวาง ประเทศทั่วโลกใหความสําคัญ ซึ่งปจจุบันกลุมกอการรายที่มีบทบาทสูง คือ อัลกออิดะห (Al Qaeda) ที่ไดโจมตีเรือรบ สหรัฐ USS Cole เมื่อเดือนตุลาคม 2543 บริเวณอาวเอเดน และโจมตีเรือสินคาของฝรั่งเศส ชื่อ Limburg บริเวณนอกฝง เยเมนในป 2545 สําหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตการกอการรายทางทะเลก็ไมอาจมองขามได โดยเฉพาะใน นานน้ําของอินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งมีกลุมกอการรายที่สําคัญ 3 กลุม ประกอบดวย Abu Sayyaff Group (ASG), 16 Jemaah Islamiyah (JI) และ Gerakan Aceh Merdeka (GAM) โดยกลุมที่มีบทบาทสูงในภูมิภาคนี้ ไดแก Abu 17 Sayyaff ที่ไดโจมตีเรือเฟอรรี่ของฟลิปปนสใกลกรุงมะนิลา ในเดือนกุมภาพันธ 2547 มีผูเสียชีวิตถึง 116 คน ทั้งนี้ มี นักวิเคราะหหลายคนเชื่อวา รากฐานและการสนับสนุนดานการเงินของกลุมกอการรายตาง ๆ เหลานี้ อาจมาจากแหลง เดียวกัน ในหวงเวลาที่ผานมาเหตุการณการกอการรายทางทะเลในภูมิภาคนี้ ยังไมปรากฏเดนชัดนัก แตจากที่ไดกลาว มาแลววา ภูมิภาคนี้มีเสนทางคมนาคมหลัก คือ ชองแคบมะละกาที่เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดีย ทะเลจีนใต และ มหาสมุทรแปซิฟก ดังนั้น หากมีเหตุการณการกอการรายทางทะเล เชน การระเบิดเรือสินคาจมในชองทางเดินเรือสํา คัญ หรือการนําเรือสินคาขนาดใหญพุงชนทาเรือในรูปแบบเดียวกันกับการใชเครื่องบินพุ งชนตึกในเหตุการณ 9/11 ก็จะเกิด ความเสียหายอยา งมหาศาล นอกจากนี้ แท นขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติ ในทะเลที่มีอยูเป นจํา นวนมากก็เป น เปาหมายลอแหลมตอการถูกโจมตีจากกลุมกอการรายตาง ๆ อีกดวย ทั้งนี้ เปนที่นาสนใจอยางยิ่ง เมื่อประเทศไทยถูกจัดอันดับเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอการรายเปน อันดับที่ 12 ของโลก และถือวา เปนอันดับ 1 ของอาเซียน สวนฟลิปปนสถูกจัดใหเปนประเทศที่มีความเสี่ยงจากการกอ การรายเปนอันดับ 13 ของโลก และเปนอันดับ 2 ของอาเซียนรองจากไทย ซึ่งการจัดอันดับดังกลาวเปนการรายงานผล ดัชนีความเสี่ยงจากการกอการรายประจํา ป พ.ศ. 2554 (Terrorism Risk Index 2011) โดยบริษัท เมเปลครอฟต (Maple croft’s) ที่ปรึกษาดานความเสี่ยง ซึ่งมีสํานักงานอยูในอังกฤษ ไดรายงาน เมื่อตนสิงหาคม 2554
16
Rommel C. Banlaoi, “Maritime Terrorism in Southeast Asia”, Naval War College Review, Vol. 58, No.4, Autumn 2005, p.63 John F. Bradford, “The growing prospects for Maritime Security Cooperation in Southeast Asia”, Naval War College Review, Summer 2005, Vol. 58, No.3, p.71 17
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 239
4. โจรสลัด และการปลนในทะเล (Piracy and Armed Robbery at Sea) เปนภัยคุกคามตอการเดินเรือใน ภูมิภาคโดยพื้นที่ที่เกิดเหตุการณโจรสลัดบอยครั้ง ไดแก ชองแคบมะละกาซึ่งมีเรือสินคาแลนผานเปนจํา นวนมาก และ นา นน้ํ า ของอิน โดนี เซี ย อยา งไรก็ ตาม สถิติ ก ารเกิ ด โจรสลั ดในชอ งแคบมะละกามี แนวโน มลดลงหลัง จากมีก ารร ว ม ลาดตระเวน (Coordinated Patrol) ของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และไทย แตการเกิดโจรสลัด และการ ปลนเรือไปเกิดขึ้นมากในนานน้ําของอินโดนีเซีย นอกจากนี้ โจรสลัดโซมาเลียที่เปนปญหาอยูในปจจุบัน ก็ถือวา สงผล กระทบตอผลประโยชนของชาติในอาเซียนดวย เนื่องจาก เรือสินคาของหลายประเทศในอาเซียนที่แลนผานบริเวณอาว เอเดน และชายฝงโซมาเลียก็ถูกคุกคามจากโจรสลัดโซมาเลียเชนเดียวกัน 5. การกระทําผิดกฎหมายทางทะเล (Illegal Activities at Sea) เชน การคาของเถื่อน ยาเสพติด การคาอาวุธ การทําประมงผิดกฎหมาย และการคามนุษย ลวนเปนปญหา และภัยคุกคามตอประเทศในภูมิภาคที่หลายประเทศให ความสําคัญ ซึ่งปญหาหลายอยางเหลานี้ ปจจุบันไดกลายเปนปญหาที่เปนลักษณะอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น และ ลักษณะของการกระทําผิดดังกลาวมีการเชื่อมโยงกัน ทําใหการแกปญหาของประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงลําพังกระทําได ยาก 6. ปญหาภัยธรรมชาติ และอุบัติภัยทางทะเล (Natural Disaster and Accident at Sea) ที่แนวโนมของการ เกิดภัยพิบัติจากพายุ และคลื่นลมจะยังคงปรากฏตอไป รวมถึง ภัยพิบัติขนาดใหญจากกรณีภัยพิบัติที่เกิดจากคลื่นยักษ สึน ามิ เมื่ อ ปลายป 2547 และพายุ ไ ต ฝุ น นากี ซ ยั ง มี โ อกาสที่จะเกิ ด ขึ้ น ได อี ก เนื่ อ งจาก ความแปรปรวนของสภาพ ภูมิอากาศโลก หรือสภาวะโลกรอน ซึ่งจะสงผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจนความเปนอยูของประชาชนบริเวณ ชายฝงทะเล และพื้นที่ใกลเคียง ปญหาอุบัติภัยทางทะเลที่สวนใหญมีสาเหตุจากกรณีเรือลม เรือจม และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ภายในเรือ ทําใหเกิดคราบน้ํามันรั่วไหล เกิดคราบน้ํามันในทะเล ซึ่งจะสงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และระบบนิเวศในบริเวณนั้น ทั้งนี้ ปญหาภัยอันเกิดจากธรรมชาติ มีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นทั้งจํานวน และความรุนแรง และจะสงผลกระทบเปนวงกวางในภูมิภาค 7. การใชแรงงาน/การเขาเมืองผิดกฎหมาย (Illegal Labour/Illegal Immigration) การใชแรงงานตางดาว ผิดกฎหมายยังคงเปนปญหาของอาเซียน เนื่องมาจาก การขาดแรงงานระดับลาง หรือกิจการบางประเภทประกอบกับ ปญหาทางการเมืองภายในประเทศ และปญหาเศรษฐกิจความยากจนของบางประเทศ รวมทั้งผูประกอบการยังนิยมใชวิธี ลักลอบใชแรงงานตางดาวอยางผิดกฎหมาย เพราะตนทุนราคาถูก ซึ่งมักอาศัยลักลอบเขามาทางทะเล เพราะยากตอการ ตรวจจับ ทะเลจึงเปนทั้งแหลงทํางาน และทางผานเขามา และออกไปสูประเทศที่สาม ซึ่งนําไปสูการบังคับใชแรงงาน และ การคามนุษย ซึ่งอาจนําโรคมาเผยแพร กออาชญากรรมตาง ๆ เชน ปลน/ฆา โดยไมรูกฎหมายภายในประเทศนั้น ๆ ยาก ตอการตรวจพบและจับกุม และอาจมีอาชญากรรมขามชาติแอบแฝงเขามา และเปนทางผานของยาเสพติด หรืออาวุธ สงครามได 8. การคาของผิดกฎหมาย (Illegal Trafficking) ซึ่งหมายรวมถึง การคายาเสพติด (Illicit Drug) อาวุธสงคราม (Armed Trafficking) และสินคาอื่น ๆ ดวย ซึ่งการลักลอบโดยใชทะเลเปนชองทางผานหรือคาขาย เปนปญหาที่เกิดขึ้นมา นาน แตยังแกไขไมได เพราะพื้นที่ทางทะเลไมสามารถเฝาตรวจ หรือระวังไดครอบคลุมทั่วพื้นที่ไดตลอดเวลา การตรวจ พบ หรือจับกุมเปนไปไดยาก ปญหาชองวางของขอกฎหมายที่ไมครอบคลุมพื้นที่ทางทะเลทั้งหมด ทําใหไมสามารถเอา ผูกระทําผิดมาลงโทษได โดยเฉพาะการคาน้ํามันเชื้อเพลิงนอกเขตบังคับใชกฎหมาย ทั้งที่จําหนายใหเรือประมงและ ลักลอบขึ้นฝง
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 240
9. การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทางทะเล (Environment Destruction) การกระทําที่ สงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และระบบนิเวศน ไดแก การลักลอบตัดไมตามเกาะ หรือบริเวณชายฝง การทําประมงผิดประเภท การลักลอบงมปะการัง และการเกิดน้ํามันรั่วไหลในทะเล ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุจากเรือลม เรือ โดนกัน และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นภายในเรือ การสูบถายน้ํามันในทาเรือหรือในทะเล การปลอยน้ํามันและของเสียลงทะเล รวมทั้งกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในทะเล เชน การทองเที่ยว การดําน้ํา การตกปลา เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ มีผลกระทบ ตอความสมบูรณของทรัพยากรสัตวน้ํา และความสวยงามของทะเล มีผลโดยตรงตออุตสาหกรรมประมงและการทองเที่ยว
กลไกความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเลของภูมภิ าคในปจจุบัน ที่ผานมาประเทศในภูมิภาคอาเซียนและประเทศใกลเคียง ไดแสวงความรวมมือโดยใชกลไกความรวมมือระหวาง ประเทศที่มีอยู และกอตั้งกิจกรรมความรวมมือทั้งแบบพหุภาคีและทวิภาคี ขึ้นใหมเพื่อสงเสริมความรวมมือในมิติตาง ๆ ทั้งดานความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเลนั้น ประกอบดวย - CSCAP-Council for Security Cooperation in Asia Pacific กอตั้งเมื่อป 2535 มีสมาชิก 20 ประเทศ (รวมไทยดวย) CSCAPไดตระหนักถึงปญหาภัยคุกคามทางทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชีย แปซิฟกมาตั้งแตป 2535 โดยไดตั้งคณะทํางานจัดทําเอกสาร ขอแนะนํา ระเบียบปฏิบัติ และขอบังคับเกี่ยวกับความ รวมมือในการตอตานภัยคุกคามทางทะเล นอกจากนี้ CSCAP ยังมีการจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับความมั่นคง ทางทะเลอยูเปนประจํา โดยมุงเนนในเรื่องการพัฒนาความรวมมือเกี่ยวกับการใชกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ที่อยูนอกเหนือ กฎหมายภายในประเทศในประเด็นที่ไมขัดกับหลักกฎหมายสากล - WPNS-Western Pacific Naval Symposium กอตั้งเมื่อป 2531 เพื่อสงเสริมกิจกรรมความรวมมือ ของกองทัพเรือในภูมิภาคแปซิฟกตะวันตกในระดับพหุภาคี ซึ่งกองทัพเรือของประเทศในอาเซียนสวนใหญไดรับเชิญใหเขา รวมดวย แรกเริ่มของการกอตั้ง WPNS จะมุงเนนการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางประเทศสมาชิกที่เรียกวา Military Information Exchange Directory (MIED) และ Code for Unaltered Encounters at Sea (CUES) ปจจุบันเวที WPNS ไดขยายความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล เชน การลาดตระเวนรวมในการตอตานโจรสลัด และการกระทําผิด กฎหมายทะเลอื่น ๆ นอกจากนี้ ยังเปนเวทีหนึ่งสําหรับการประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับความมั่นคงทางทะเล ซึ่งจัด ประชุมทุกป โดยมีผูแทน กองทัพเรือไปเขารวมประชุมดวย ในป 2554 ไดมีการจัดการฝก Top Table Exercise เกี่ยวกับ การชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) ทางทะเล ที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อเดือนเมษายน 2554 โดย กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา (จัสแมก) และกองทัพเรือไทยรวมเปนเจาภาพ และในป 2556 กองทัพเรือจะเปนเจาภาพจัดการ ประชุม WPNS Workshop 2013 - IONS-Indian Ocean Naval Symposium เปนความริเริ่มของกองทัพเรืออินเดียเมื่อป ค.ศ. 2008 โดยมีแนวความคิด (Concept) คลายกับ WPNS มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางความรูดานการคมนาคมขนสงทางทะเลใน มหาสมุทรอินเดีย และเสริมสรางความรวมมือในการปฏิบัติงานระหวางประเทศตาง ๆ ที่มีที่ตั้งบนชายฝงทะเล และเขต เศรษฐกิจจําเพาะในมหาสมุทรอินเดีย โดยกองทัพเรืออินเดียไดเชิญผูบัญชาการทหารเรือของประเทศในแถบภูมิภาค มหาสมุทรอินเดีย รวม 30 ประเทศ ตลอดจนบุคลากรจากภาครัฐบาล ภาคเอกชน และองคกรตาง ๆ ของอินเดียเขา รวมงานดวย สาระสําคัญประกอบดวย 3 สวนหลัก ไดแก การสัมมนาเพื่อเสริมสรางความรูและความเขาใจเกี่ยวกั บการ เดินเรือและพาณิชยนาวีในมหาสมุทรอินเดีย และการสัมมนาเพื่อเสริมสรางความรวมมือดานการปฏิบัติของกองทัพเรือ ชาติตาง ๆ ในการรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับการเดินเรือและพาณิชยนาวีในมหาสมุทรอินเดีย
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 241
- ReCAAP-Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia กอตั้งขึ้นโดยขอเสนอของนายกรัฐมนตรีของญี่ปุนในระหวางการประชุม ASEAN+3 ที่บรูไน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 มีจุดมุงหมายเพื่อเสริมสรางความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเลโดยมุงเนนการ ตอตานโจรสลัด และการกระทําผิดกฎหมายในทะเล เปนความรวมมือระหวางชาติสมาชิกอาเซียน (ยกเวนมาเลเซียและ อินโดนีเซีย) และประเทศในเอเชีย ปจจุบันมีสมาชิก 17 ประเทศ โดยสมาชิก ReCAAP ไดเห็นชอบรวมกันในการกอตั้ง Information Sharing Centre (ReCAAP-ISC) เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ที่สิงคโปร เพื่อเปนศูนยในการแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารดานโจรสลัด และการปลนเรือ ซึ่งปจจุบัน กองทัพเรือไทยไดสงนายทหารไปประจําที่ศูนยขอมูลขาวสาร ReCAAP-ISC ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2554 - ASEAN -Association of Southeast Asian Nations กอตั้งเมื่อป 2510 ที่ประเทศไทย แรกเริ่ม กอตั้งมีสมาชิก 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย มีจุดประสงคหลักเพื่อส งเสริมความ รวมมือทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ปจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้ง 10 ประเทศลวนเปนสมาชิก โดยไดเพิ่มบทบาทที่สําคัญในการประสานความรวมมือในการตอตานภัยคุกคาม และการกระทําผิดกฎหมายในทางทะเล ในภูมิภาค เชน สมาชิก ASEAN ไดมีความเห็นรวมกันที่จะตอตานการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็กโดยไดประกาศ ASEAN Declaration เมื่อป 2547 และไดจัดตั้งอนุสัญญาวาดวยการตอตานการกอการรายเมื่อป 2549 นอกจากนี้ สมาชิกอาเซียนยังกําหนดเปาหมายรวมกันที่จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตปลอดจากยาเสพติดภายในป 2558 อีกดวย ในสวนของกิจกรรมเพื่อสงเสริมความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล ไดมีเวทีการประชุมผูบัญชาการ ทหารเรืออาเซียนซึ่งโดยปกติจะจัดทุก 2 ปและหมุนเวียนกันเปนเจาภาพ - ARF-ASEAN Regional Forum เปนอีกเวทีหนึ่งที่สงเสริมความรวมมือในการตอตาน ภัยคุกคามทาง ทะเล โดยประเทศสมาชิกมีขอตกลงรวมกันที่จะใช และสนับสนุนกําลังทรัพยากรของตัวเอง เพื่อรวมมือในการตอตานภัย คุกคาม และการกระทําผิดกฎหมายทางทะเลทุกรูปแบบ เชน การกอการราย อาชญากรรมทางทะเล การคายาเสพติด และการคามนุษย เปนตน - ADMM-ASEAN Defense Ministers’ Meeting เปนเวทีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนเพื่อ เสริมสรางความรวมมือดานความมั่นคงเพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน นอกจาก ยังมี กรอบความรวมมือของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและประเทศคูเจรจา (ADMM-Plus) อีก 8 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย ญี่ปุน นิวซีแลนด สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อ 12 ตุลาคม 2553 รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และประเทศคูเจรจาไดเห็นชอบในการดําเนินการดานความรวมมือเพื่อความ มั่นคง 5 ดาน คือ การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and Disaster Relief-HA/DR) ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) การแพทยทหาร (Military Medical) การตอตาน การกอการราย (Counter Terrorism) และการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Operations) - AMF-ASEAN Maritime Forum เปนกิจกรรมความรวมมือที่จะมีการจัดตั้งขึ้นมาใหมตามแผนงานการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC Blueprint) ที่กําหนดใหมีการสงเสริมความรวมมือทางทะเล โดยการประชุมเมื่อสิงหาคม 2554 โดยประเทศไทยเปนเจาภาพ นอกจาก กิจกรรมความรวมมือในระดับพหุภาคีที่มีหลาย ประเทศเขารวมดังที่ไดกลาวมาขางตนแลว ประเทศในภูมิภาคที่มีพื้นที่ทางทะเลติดกันไดมีกิจกรรมความรวมมือเพื่อ ตอตาน ภัยคุกคาม และการกระทําผิดกฎหมายทางทะเล เชน - การรวมลาดตระเวน (Coordinated Patrol) ในชองแคบมะละกาของกองทัพเรือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และไทย
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 242
- ความรวมมือ ดานความมั่นคงในระดับทวิภาคี เชน การลาดตระเวนรวมของไทยกับมาเลเซีย มาเลเซีย กับอินโดนีเซีย และไทยกับเวียดนาม รวมทั้งการจัดประชุม Navy to Navy Talks ระหวางกองทัพเรือของแตละประเทศ เปนตน จะเห็นวา ปจจุบัน มีกลไกลความรวมมือทางทะเลในภูมิภาค ทั้งระดับพหุภาคีและทวิภาคีอยูแลวหลายกรอบ ความรวมมือ และที่กําลังจะจัดตั้งใหมอีก ทั้งนี้ จะเห็นวา กลไกความรวมมือตาง ๆ ที่เปนพหุภาคีนั้น จะมีประเทศที่ไมใช สมาชิกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศมหาอํา นาจรวมอยูดวย เนื่องจาก ทะเลในภูมิภาคมีความสํา คัญ เพราะเปนพื้นที่ เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟกตามที่กลาวไปแลว โดยสรุปความรวมมือระหวางประเทศเปนสิ่งสําคัญ เนื่องจาก ปญหาดานความมั่นคงทางทะเลเปนปญหาที่มี ลักษณะขามชาติ และเกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางประเทศ เชน ความขัดแยงในเรื่องผลประโยชนทางทะเล หรือการ กระทําผิดกฎหมายทางทะเลในประเทศหนึ่ง โดยบุคคล หรือกลุมบุคคลของอีกประเทศหนึ่ง ดวยเรือหรือยานพาหนะที่จด ทะเบียนในอีกประเทศหนึ่งและเปาหมายที่ถูกกระทําอาจเปนเรือหรือบุคคลของอีกประเทศหนึ่งก็เปนได ซึ่งความยุงยาก ซับซอนเหลานี้ เปนคุณลักษณะเฉพาะของปญหาความมั่นคงทางทะเลที่ตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศในการ กําหนดบรรทัดฐาน และความเขาใจที่ตรงกันในการจัดการกับปญหาดังกลาว ที่ผานมา ความรวมมือระหวางประเทศในดานความมั่นคงทางทะเล จะเนนในการยอมรับสิทธิ และอํานาจ อธิปไตยตามกรอบของอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS, 1982) และมาตรการความ ปลอดภัยในการใชทะเลขององคการทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) รวมถึงอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการ ปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายตอความปลอดภัยในการเดินเรือ ค.ศ. 1988 (SUA, 1988) และตอมา เมื่อมีความกังวล เกี่ ยวกั บการก อการร า ยสากลทางทะเลมากขึ้ น จึ งมี มาตรการความรว มมือ ระหวา งประเทศเพิ่ มเติ มเชน มาตรการ Container Security Initiative (CSI) มาตรการ Proliferation Security Initiative (PSI) และการใช International Ship and Port Facility Security (ISPS) code ขององคการทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) เปนตน อยางไรก็ตาม ในระดับภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟกก็ไดมีความพยายามในการร วมมือดานความมั่นคงในลักษณะ cooperative security เพื่อสงเสริมความไววางใจและโปรงใส (confidence and transparency) ในแนวทางตาง ๆ โดยเฉพาะในกรอบการประชุม ASEAN Regional Forum (ARF) และในการประชุม Western Pacific Naval Symposium (WPSN) ซึ่งมีหัวขอสําคัญในการสงเสริมความมั่นคงทางทะเลดวย การฝกผสมทางเรือรวมกันก็เปนมาตรการหนึ่งของการแสดงออกถึงความรวมมือและความไววางใจซึ่งกันและกัน ที่พัฒนามาจากการสรางความโปรงใสและความไววางใจซึ่งกันและกัน จากระดับการแลกเปลี่ยนการเยี่ยมเยือนของ ผูบังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพเรือ และกําลังทางเรือตามวาระตาง ๆ จนถึงขั้นการแลกเปลี่ยนยุทธวิธี และมีแนว ปฏิบัติการฝกรวมกัน ซึ่งปจจุบัน กองทัพเรือ มีการฝกผสมในลักษณะทวิภาคีอยูแลวกับกองทัพเรือมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และอินเดียเปนประจํา ซึ่งสามารถสรางความรวมมือทางทะเลและความไววางใจซึ่งกันและกันไดเปนอยางดี ดังนั้น การฝกผสมรวมทางเรือ ควรขยายผลไปยังประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ ไดแก เวียดนาม กัมพูชา และเมียนมารตอไป จากปญหาภัยคุกคามของภูมิภาคและขอเสนอแนวทางในการแกปญหาในแตละภัยคุกคามที่กลาวมาแลวนั้น เนื่องจาก แตละประเทศมีแนวทางการใชกําลังทหาร หรือระเบียบปฏิบัติในการดําเนินการตาง ๆ แตกตางกัน ดังนั้น ประเทศในอาเซียนรวมกันจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Standard Operating Procedure-SOP) ของความรวมมือในการ ตอตานภัยคุกคามตาง ๆ เพื่อใหทุกชาติเขาใจตรงกันเชนเดียวกับที่ประเทศในกลุมนาโตดําเนินการอยู และจัดใหมีการฝก ปฏิบัติการตาม SOP เพื่อเปนการสรางขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการปฏิบัติการตาง ๆ ใหมีความ ใกลเคียงกันดวย นอกจากนี้ ในเรื่องการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางทะเลระหวางกันที่ปจจุบันมีกลไก ReCAAP-ISC ที่
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 243
สิงคโปรอยูแลว แตไมนาจะเพียงพอในดานขอมูลขาวสาร เนื่องจาก ศูนยดังกลาวมุงเนนเฉพาะขาวสารดานโจรสลัด และ การปลนเรือเทานั้น ยังไมรวมปญหาภัยคุกคามอื่น เชน การกอการราย ทางทะเลและการทําผิดกฎหมายอื่น ๆ ทางทะเล ประกอบกับ 2 ประเทศในอาเซียน คือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ไมไดเขารวมกลไก ReCAAP ดังนั้น จึงควรเพิ่มการ แลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารทางทะเลใหมากขึ้น โดยเพิ่มประเด็นขอมูลขาวสารใหครอบคลุมภัยคุกคามทางทะเลทุกดานที่ กลาวมาแลว โดยอาจใชกลไกที่จัดตั้งขึ้นตามกรอบประชาคมอาเซียน คือ AMF เปนกลไกเริ่มตนในการแสวงความรวมมือ และใชชองทางศูนยปฏิบัติการของกองทัพเรือแตละประเทศในการติดตอสื่อสารระหวางกัน ซึ่งในอนาคตอาจพัฒนาไป เปนศูนยขอมูลขาวสารทางทะเลของประเทศอาเซียน (ASEAN Maritime Information Sharing Center) ตอไป เดือนกันยายน 2556 ฟลิปปนสไดรวมกับสหรัฐอเมริกาจัดประชุมเชิงปฏิบัติการคนประจําเรือ เพื่อการตอตาน โจรสลัด (Seafarer’s Training – Counter Piracy Workshop : EAST-CP) เพื่อใหคนประจําเรือที่เขารวมการฝกพรอม รับมื อกั บเหตุก ารณที่ ไม คาดฝน หากถู กบุ กโจมตีหรื อจั บกุ มโดยโจรสลั ด ขณะที่ใ นป 2547 สิ งคโปร มาเลเซี ย และ อินโดนีเซีย ไดริเริ่มโครงการลาดตระเวนทางอากาศบริเวณชองแคบมะละกาที่เรียกวา Eyes in the Sky เพื่อรวมมือกัน ปองกันภัยคุกคามทางทะเลในชองแคบมะละกา และพื้นที่ใกลเคียง ขณะเดียวกัน ความรวมมือที่เปนรูปธรรมที่สุดของชาติ อาเซียน คือ การเขาไปมีสวนสําคัญในการจัดตั้งขอตกลงความรวมมือระหวางภูมิภาคดานการตอตานโจรสลัดและการ ปลนสะดมกองเรือดวยอาวุธในเอเชีย (Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against ships in Asia : ReCAAP) อันเปนองคการระหวางรัฐบาลที่ไดรับการผลักดันในการประชุมสุดยอด อาเซียนบวกสาม ในป 2544 ขอตกลง ReCAPP มีผลบังคับใชจริงในเดือนกันยายน 2549 และคอนขางสรางผลลัพธในแง บวก เมื่อดูจากจํานวนการกระทําอันเปนโจรสลัดในบริเวณชองแคบมะละกาที่ลดลงพอสมควร กระนั้น การทํางานของ ReCAPP ยังมีขอจํากัดอยูมาก อันเนื่องมาจากชาติอาเซียนอยางมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งเปนผูมีสวนไดสวนเสียหลัก ไมไดลงนามและใหสัตยาบันในขอตกลงดังกลาว ทั้งนี้ มาเลเซียปฏิเสธการลงนาม เพราะมองวา รูปแบบการทํางานของ ReCAPP ซึ่งมีสํานักงานกลางอยูที่สิงคโปร จะทับซอนกับอํานาจหนาที่ของศูนยรายงานโจรสลัดของ IMB ที่ตั้งอยู ณ กรุง กัวลาลัมเปอร ความขัดแยงดังกลาวสงผลสําคัญหลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การขาดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการวิเคราะหวิจัยในพื้นที่เฝาระวัง จนทําใหบางสวนจากรายงานของหนวยงานทั้งสองสถาบันขัดแยงกันอยางนา ประหลาดใจ ขณะที่อินโดนีเซียไมยินยอมใหสัตยาบันในขอตกลง ReCAPP เพราะเห็นวา ขอตกลงดังกลาวอาจละเมิด อธิปไตยของอินโดนีเซีย โดยมองวา ปญหาโจรสลัดเปนปญหาความมั่นคงภายในของอินโดนีเซีย ที่สามารถแกไขไดดวย การบังคับใชกฎหมายอยางเขมงวด และเสริมความเขมแข็งใหกับกองทัพเรือในการลาดตระเวนและจัดการกับกลุมโจรสลัด 18 ที่แฝงตัวอยูตามหมูเกาะตาง ๆ ความขัดแยงขางตนเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นขอจํากัดของความรวมมือดานความมั่นคงของอาเซียนในการแกไข ปญหาที่นากังวลนี้ ปญหาโจรสลัด การกอการราย จะไมสามารถแกไขไดเลย หากแตละประเทศยังคงไมแกไขกฎหมายทาง ทะเลที่ มีค วามหละหลวม ทั้ ง ยั ง มีป ญ หาขาดแคลนผู เ ชี่ ยวชาญ และเทคโนโลยี ที่ ทัน สมั ย รวมไปถึง ป ญ หาเรื่ อ งการ ประสานงานระหวางประเทศอยางไมจริงจังนักในการตอตานโจรสลัด เนื่องจาก หลายประเทศมักมีขอพิพาทดานอธิปไตย เหนือดินแดนทางทะเลระหวางกัน จนเปนเหตุใหแตละประเทศเกรงวา การยอมลงนามในขอตกลงทางทะเลระหวาง ประเทศใด ๆ อาจกลายเปนการยอมรับสิทธิอันชอบธรรมทางกฎหมายเหนือดินแดนทางทะเลของชาติอื่นอยางไมตั้งใจ สิ่ง เหลานี้ แสดงใหเห็นถึงการหวงแหนอธิปไตยของชาติอาเซียน ซึ่งเปนอุปสรรคตอการรวมมือระหวางประเทศ โดยเฉพาะ การเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน นอกจากนี้ สภาพแวดลอมทางการเมืองและเศรษฐกิจระหวาง 18
ภาคิน นิมมานนรงศ. ปญหาโจรสลัด : ความทาทายในประชาคมอาเซียน, กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 17 ตุลาคม 2556.
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 244
ประเทศที่เปลี่ยนไปยังมีสวนสําคัญทําใหกลุมโจรสลัดเติบโตขึ้นมากดวย ตัวอยางสําคัญ เชน กลุมอาชญากรรมขามชาติที่ พัฒนาขึ้นอยางเปนระบบ และสรางเครือขายกิจกรรมผิดกฎหมายอยูทั่วภูมิภาคกลุมคนเหลานี้ มักมีบทบาทอยูเบื้องหลัง การปลนสะดมของโจรสลัดหลายครั้ง สาเหตุหนึ่ง เพราะมีอาวุธ และทุนรอนมากพอที่จะบุกปลนเรือขนสงขนาดใหญได ขณะเดียวกัน การประมงรูปแบบใหม หลังมีการกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ยังทําใหชาวประมงทองถิ่นที่สงใหญพึ่งพิง รายไดกับการประมงเพียงอยางเดียว มักตองลักลอบเขาไปจับปลาในนานน้ําของประเทศอื่น ทําใหตกเปนเหยื่อของโจร สลัดไดงาย หรืออีกดานหนึ่งคือ ความยากจน และรายไดที่ไมเพียงพอตอการเลี้ยงชีพอาจทําใหพวกเขากลายเปนโจรสลัด เสียเอง ในภาพรวม ตัวเลขจํานวนการกระทําอันเปนโจรสลัดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลอดปที่แลวลดลงจากสองป กอนหนานั้น และกวารอยละ 60 ของเหตุการณทั้งหมด มักเกิดขึ้นบริเวณทาเรือหรือจุดทอดสมอใกลชายฝง ซึ่งตางจาก โจรสลัดในแอฟริกาที่มักกระทําการในนานน้ําสากลเปนหลัก สิ่ งนี้แสดงใหเห็นวา การปลนสะดมของโจรสลัดในนานน้ํา ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต มักไมใชการปลนขนาดใหญและสรางความสูญเสียทางทรัพยสินมากนัก แตนั่นไมอาจทําให เราละเลยความเปนจริงที่วา การขาดความรวมมืออยางจริงจังระหวางกลุมประเทศผูมีสวนไดสวนเสีย จะทําใหการแกไข ปญหาความมั่นคงที่คอนขางซับซอนอยางปญหาโจรสลัด ดําเนินไปอยางยากลําบากมากขึ้น ปจจุ บัน มีก ลไกความรว มมื อในภู มิภาคอยูเ พียงพอหรือไมนั้ น จากตั วอยางกลไกความรวมมือ ขา งต นน าจะ สามารถตอบไดวามีกลไกเพียงพอหรือบางทานอาจจะกลาวไดวา มีมากเกินพอ แตผลสําเร็จของความรวมมือตาง ๆ นั้นยัง มีขอสงสัย ซึ่งมีนักวิเคราะหหลายรายตั้งสังเกตวา ความรวมมือในระดับพหุภาคี (Multilateral) จะประสบผลสําเร็จนอย กวาความรวมมือในระดับทวิภาคี (Bilateral) เนื่องจาก เหตุผลตาง ๆ ประกอบดวย - เหตุผลความออนไหวตอเรื่องอธิปไตย (Sovereignty Sensitivities) เชน ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย จะระมัดระวังในการเขารวมกิจกรรมความรวมมือที่จะเกี่ยวของกับพื้นที่ชองแคบมะละกา โดยไมเขารวมเวที ReCAAP เปนตน - ขอจํากัดเรื่องงบประมาณ (Financial Constraint) ของประเทศในภูมิภาคเปนอุปสรรคที่สําคัญของกิจกรรม ความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล เนื่องจาก ประเทศตาง ๆ มีขอจํากัดในการสนับสนุนทั้งทรัพยากรบุคคล และกําลัง ทางเรือในการเขารวมกิจกรรมความรวมมือตาง ๆ ที่หลายชาติเขารวม เชน การประชุมทางวิชาการ การฝกผสม และการ รวมลาดตระเวน เปนตน - ขีดความสามารถ (Capacity) ของหลายประเทศในภูมิภาคนี้มีขอจํากัดทั้งในเรื่องของกําลังพล และกําลังทาง เรือ จึงทําใหมีความลังเลที่จะเขารวมกิจกรรมความรวมมือที่จัดขึ้น เชน ขอจํากัดเรื่อง เรือ อากาศยาน และอุปกรณการ สื่อสาร รวมทั้งขีดความสามารถในการใชภาษาที่จะสามารถสื่อสารกับประเทศตาง ๆ ซึ่งเรื่องนี้ในสวนของไทยก็คอนขาง จะเปนปญหาพอสมควรหากเทียบกับชาติอื่นในอาเซียนดวยกัน เชน มาเลเซีย สิงคโปร หรือฟลิปปนส - เหตุผลเรื่องความมั่นคงของชาติ (National Security) ก็เปนขอจํากัดหนึ่งของกิจกรรมความรวมมือเพื่อความ มั่นคงทางทะเล เนื่องจาก บางประเทศ เชน เมียนมารมีลักษณะทางวัฒนธรรมทางทหารที่คอนขางปกปด (Closed Military Culture) ดังนั้น จึงเขารวมกิจกรรมความรวมมือทางทหารกับประเทศอื่น ๆ คอนขางนอย นอกจากนี้ ในหลาย ๆ เวทีความรวมมือโดยเฉพาะกิจกรรมที่เปนลักษณะการประชุมสัมมนาในระดับพหุภาคีจะ เกิดผลสําเร็จนอย เนื่องจาก แตละประเทศขาดความจริงจังในการนําผล หรือขอตกลงของการประชุมฯ ไปปฏิบัติใหเปน รูปธรรม หรือที่เรียกวา NATO (No Action Talk Only)
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 245
ขอเสนอแนวทางหรือทาทีตอความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเล จากปญหาภัยคุกคามที่สงผลกระทบตอความมั่นคงและผลประโยชนทางทะเลของประเทศในภูมิภาค และกลไก ความรวมมือทางทะเลทั้งระดับพหุภาคีและทวิภาคีที่มีอยูตามที่กลาวขางตนที่ยังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ดังนั้น ประเทศในอาเซียนซึ่งตั้งเปาจะเปนประชาคมหนึ่งเดียวในป 2558 ควรจะตองรวมมือกันแกปญหาอยางจริงจัง ซึ่งเห็นวา สามารถใชกลไกความรวมมือทั้งระดับพหุภาคีและทวิภาคีที่มีอยูตามที่กลาวโดยเพิ่มความจริงจังในการนํากรอบความ รวมมือไปปฏิบัติใหมากขึ้นเพื่อแกปญหาในแตละเรื่อง ดังนี้
ปญหาเขตแดนทางทะเล
แตละประเทศที่ยังมีปญหาเรื่องเขตแดนทางทะเลควรมุงแสวงหาแนวทางแกไขโดยใชการเจรจาตกลงใน กรอบทวิภาคี ลักษณะเดียวกับการเจรจาแบงเขตทางทะเล ระหวางไทย-เวียดนาม หรือการทําเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Developing Areas : JDA) ระหวางไทย-มาเลเซีย เปนตน สําหรับปญหาการอางสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลียนั้น เนื่องจาก ประเทศคูกรณีไมมีเฉพาะประเทศในอาเซียนเทานั้น ยังมีสาธารณรัฐประชาชนจีน และไตหวันที่อางสิทธิในพื้นที่ ประกอบกับมีบางประเทศในอาเซียนที่ไมใชคูขัดแยง เชน ไทย สิงคโปร เมียนมาร สปป.ลาว และกัมพูชา ดังนั้น การ แกปญหาของประเทศคูขัดแยงควรที่จะทําในลักษณะทวิภาคีเชนเดียวกัน ไมควรใชเวทีความรวมมือของอาเซียนในการ เจรจาแกปญหานี้ สําหรับทาทีของไทยตอปญหาความขัดแยงในทะเลจีนใตนั้น ควรที่จะตองกําหนดทาที และจุดยืนที่ เหมาะสมเนื่องจาก ไมใชคูขัดแยงของตอปญหาดังกลาว
ปญหาความไมไววางใจซึ่งกันและกัน
การเสริ มสรา งกํ า ลัง ทางทหารของแตล ะประเทศในภูมิ ภาคที่ อาจทํ า ให ขาดความไวเ นื้ อเชื่อ ใจกัน การ แกปญหานี้สามารถกระทําโดยสงเสริมการสรางมาตรการสรางความไววางใจระหวางประเทศ (Confidence Building Measures : CBM) และการสรางความโปรงใสทางทหาร (Transparency) โดยการแสดงความเปดเผยโปรงใสในนโยบาย ทางการทหาร แสดงเจตจํานงใหชัดเจนในการพัฒนากําลังรบเพื่อปองกันอธิปไตย และรักษาผลประโยชนแหงชาติ และ เปดเผยขอมูลในการจัดหายุทโธปกรณ รวมทั้งแลกเปลี่ยนการเยือนระหวางผูบังคับบัญชาและหนวยเรือ (Staff Visit & Ship Visit) อยางตอเนื่องเพื่อกระชับความสัมพันธทางทหารใหแนนแฟนมากขึ้น
ปญหาการกอการรายทางทะเล
ถึงแมวา ในภูมิภาคนี้จะมีสถิติการเกิดเหตุการณกอการรายทางทะเลไมบ อยนัก แตหากเกิดขึ้นแลวจะกอ ความเสียหายอยางมหาศาล การปองกัน และการตอตานการกอการรายเปนเรื่องที่กระทําไดคอนขางยาก ดังนั้น ใน เบื้องตนประเทศในภูมิภาครวมทั้งประเทศใกลเคียงควรสงเสริมการรับรูขาวสารทางทะเล (Enhance Maritime Domain Awareness) ดวยการเพิ่มความรวมมือในกลไกที่มีอยู เชน ใชศูนย ReCAAP-ISC ที่สิงคโปรในการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารเรื่องการกอการราย ดวยนอกเหนือจากเรื่องของโจรสลัดและการปลนเรือ และประเทศในภูมิภาคควรที่จะให ความรวมมือกับมาตรการเพื่อความมั่นคงทางทะเลระหวางประเทศ เชน ขอบังคับวาดวยการรักษาความปลอดภัยของเรือ และทาเรือพรอมสิ่งอํานวยความสะดวก (International Ship and Port Facility Security Code-ISPS Code) ระบบ ติดตามที่เรืออัตโนมัติ (Automatic Identification System : AIS) และระบบติดตาม และพิสูจนทราบระยะไกล (Long Range Identification Tracking System : LRIT) เปนตน นอกจากนี้ ประเทศในอาเซียนควรมีการฝกรวมการตอตาน การกอการรายตอทาเรือ หรือแทน/ฐานขุดเจาะน้ํามัน และกาซธรรมชาติในทะเลระหวางกัน ซึ่งจะเปนการปองกันและ ปองปรามการกอการรายตอสิ่งลอแหลมเหลานี้ดวย
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 246
ปญหาโจรสลัดและการปลนเรือในทะเล
การแกปญหาโจรสลัดและการปลนเรือในทะเลนั้น ในเบื้องตนควรสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร โดยใชศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่มีอยูแลว เชน ศูนย ReCAAP - ISC และศูนยปฏิบัติการกองทัพเรือของแตละ ประเทศ ใหเกิดประโยชนรวมกันใหมากที่สุด และจัดใหมีการลาดตระเวนรวมกันในพื้นที่ที่เกิดโจรสลัด เชนเดียวกับการ รวมลาดตระเวนในชองแคบมะละกาที่ทําใหสถิติการเกิดโจรสลัดลดลง สําหรับปญหาโจรสลัดโซมาเลียนั้น ประเทศสมาชิก อาเซียนซึ่งมีเรือสินคาที่แลนผานอาวเอเดนยอมไดรับผลกระทบจากปญหานี้ดวย จึงควรที่จะมีแนวคิดรวมมือกันในการ ประกอบกําลังทางเรือของชาติในอาเซียน (เฉพาะประเทศที่พรอม) ไปปฏิบัติงานรวมกันในพื้นที่อาวเอเดนเพื่อเปนการ แสดงความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวของประเทศในอาเซียน โดยอาจใชรูปแบบเดียวกับประเทศในกลุม EU
ปญหาการกระทําผิดกฎหมายทางทะเลอื่น ๆ
เนื่องจาก พื้นที่อาณาเขตทางทะเลของหลายประเทศในภูมิภาคเปนพื้นที่ติดตอกัน และมีพื้นที่กวางใหญ ไพศาล ซึ่งเปนการยากที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะดําเนินการแกปญหาเพียงลําพังได จึงควรเพิ่มการลาดตระเวนรวมกัน และมี การติ ดตอ สื่อสารระหวางหนวยควบคุ มการใชกํ าลัง ของแตละประเทศได ทันที ซึ่งสามารถดําเนินการได โดยมี Hotline ระหวางศูนยปฏิบัติการกองทัพเรือของแตละประเทศ นอกจากนี้แลว เพื่อใหการแกปญหามีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้นประเทศในอาเซียนควรริเริ่มในการจัดตั้งหนวยงานรวมกัน เชน ศูนยความรวมมือเพื่อการปราบปรามอาชญากรรม ขามชาติ ยาเสพติด การคาอาวุธสงคราม การคามนุษย การทําลายทรัพยากรทางทะเลและการกระทําความผิดอื่นในทะเล
ปญหาภัยธรรมชาติและอุบัติภัยในทะเล
ปญหาภัยธรรมชาตินับวันจะมีความรุนแรงและเกิดขึ้นบอยครั้ง โดยเฉพาะภัยทางทะเล ซึ่งทําใหเกิดความ สูญเสียทั้งชีวิต และทรัพยสินของประชาชนในหลายประเทศ ดังนั้น จึงควรจัดตั้งศูนยประสานงานปฏิบัติการชวยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัยทางทะเลของภูมิภาค เพื่อเปนการชวยเหลือซึ่งกันและกันในการคนหา และชวยเหลือผูประสบภัย ทางทะเล ปฏิบัติการบรรเทาภัยพิบัติจากธรรมชาติ อุบัติภัย และภัยที่กอใหเกิดความเสียหายขนาดใหญ นอกจากนี้ ประเทศในกลุมอาเซียนควรที่จะสนับสนุนทรัพยากร อาทิเชน เรือ อากาศยาน ในการชวยเหลือซึ่งกันและกัน เมื่อเกิดภัย พิบัติดังกลาวดวย
ขอเสนอในภาพรวม จากปญหาภัยคุกคามของภูมิภาคและขอเสนอแนวทางในการแกปญหาในแตละภัยคุกคามที่กลาวมาแลวนั้น เนื่องจาก แตละประเทศมีแนวทางการใชกําลังทหาร หรือระเบียบปฏิบัติในการดําเนินการตาง ๆ แตกตางกัน ดังนั้น ประเทศในอาเซียนควรรวมกันจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Standard Operating Procedure : SOP) ของความรวมมือในการ ตอตานภัยคุกคามตาง ๆ เพื่อใหทุกชาติเขาใจตรงกันเชนเดียวกับที่ประเทศในกลุมนาโตดําเนินการอยู และจัดใหมีการฝก ปฏิบัติการตาม SOP เพื่อเปนการสรางขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการปฏิบัติการตาง ๆ ใหมีความ ใกลเคียงกันดวย นอกจากนี้ ในเรื่องการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางทะเลระหวางกันที่ปจจุบันมีกลไก ReCAAP-ISC ที่ สิงคโปรอยูแลว แตไมนาจะเพียงพอในดานขอมูลขาวสาร เนื่องจาก ศูนยดังกลาวมุงเนนเฉพาะขาวสารดานโจรสลัด และ การปลนเรือเทานั้น ยังไมรวมปญหาภัยคุกคามอื่น เชน การกอการรายทางทะเล และการทําผิดกฎหมายอื่น ๆ ทางทะเล ประกอบกับ 2 ประเทศในอาเซียน คือ มาเลเซียและอินโดนีเซีย ซึ่งไมไดเขารวมกลไก ReCAAP ดังนั้น จึงควรเพิ่มการ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางทะเลใหมากขึ้น โดยเพิ่มประเด็นขอมูลขาวสารใหครอบคลุมภัยคุกคามทางทะเลทุกดานที่ กลาวมาแลว โดยอาจใชกลไกที่จัดตั้งขึ้นตามกรอบประชาคมอาเซียน คือ AMF เปนกลไกเริ่มตนในการแสวงความรวมมือ และใชชองทางศูนยปฏิบัติการของกองทัพเรือแตละประเทศในการติดตอสื่อสารระหวางกัน ซึ่งในอนาคตอาจพัฒนาไป เปนศูนยขอมูลขาวสารทางทะเลของประเทศอาเซียน (ASEAN Maritime Information Sharing Center) ตอไป
ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ะ เ ล : ห น า | 247
ในสวนของหนวยงานที่เกี่ยวของกับความมั่นคงทางทะเลของไทย ซึ่งปจจุบันมีอยูหลายหนวย เชน กระทรวงการ ตางประเทศ สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) กองทัพเรือ กรมเจาทา ตํารวจน้ํา กรมประมง กรมศุลกากร และ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงนั้น สมควรที่จะตองเตรียมการในดานองคความรูของบุคลากรเกี่ยวกับความรวมมือ ทางทะเลที่จะมีขึ้น และแผนยุทธศาสตรของหนวยเพื่อใหมีความพรอมที่จะรวมมือกับหนวยงานทางทะเลของชาติใน อาเซียนในกิจกรรมตาง ๆ ทั้งการประชุมสัมมนาในระดับพหุภาคี และการปฏิบัติการดานความรวมมือในทะเลที่จะ ดําเนินการรวมกันในอนาคตอันใกลนี้ ทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความสําคัญตอประเทศในภูมิภาคและตอโลก ขณะเดียวกันก็ประสบ ปญหาภัยคุกคามทางทะเลที่กระทบตอความมั่นคงในภูมิภาค เชน ปญหาเขตแดนทางทะเล การกอการรายทางทะเล โจร สลัด ภัยธรรมชาติ และการทําผิดกฎหมายทางทะเลอื่น ๆ ซึ่งที่ผานมา ประเทศในภูมิภาคก็มีกลไกความรวมมือตาง ๆ ทั้ง ระดับพหุภาคีและทวิภาคีในการแกปญหา แตก็ยังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ดังนั้น ในโอกาสที่ประเทศในอาเซียนตั้ง เปาวา จะเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 (ASEAN 2015) ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงควรจะเพิ่มความจริงจังในความ รวมมือตาง ๆ ใหมากขึ้นกวาเดิมโดยใชกลไกที่มีอยูเดิม และกลไกที่จัดตั้งขึ้นใหมตามกรอบประชาคมอาเซียนใหเกิด ประโยชน และเห็นเปนรูปธรรมใหไดมากที่สุด สําหรับหนวยงานที่รับผิดชอบดานความมั่นคงทางทะเลของไทยซึ่งมีอยูหลายหนวยงาน สมควรที่จะตองเตรียม ความพรอมเพื่อรองรับความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเลกับชาติในอาเซียนในกิจกรรมตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคที่ตั้งไว
อางอิงทายบท I
นิยมความหมายของคํานี้ ก็เชนเดียวกันกับนิยามของคําวา “การกอการราย” ที่ยังไมมีนิยามใดเปนที่ยอมรับกันทุกฝาย อยางไรก็ตาม นิยามของคําวา “การกอการราย” คําหนึ่ง ซึ่งไดรับการยอมรับกันอยางแพรหลาย ก็คือ “การดําเนินการอยาง ตั้งใจ เพื่อใหประสบผลในการสรางความหวาดกลัวใหเกิดขึ้น ทั้งนี้ ก็ดวยการกระทําที่รุนแรง หรือขมขูวาจะกระทําการที่ รุนแรง เพื่อใหไดม าซึ่ง การเปลี่ ยนแปลงทางการเมือง” ความหมายดั งกล าวนี้ เมื่ อนํามาใช กับการก อการรายทางทะเล (Maritime terrorism) ก็คือ การกอการรายในขอบเขตทางทะเล อันหมายรวมถึงพื้นที่, สิ่งที่เกี่ยวของ หรือสิ่งที่ติดตออยูกับ ทะเล และมหาสมุทร เชน ทาเทียบเรือ เรือสินคา ระบบนํารอง เปนตน II เชน ที่สหรัฐอเมริกาไดคนเรือสินคาในอาวเปอรเซียแลวพบวา 7 ใน 45 คนของลูกเรือลําดังกลาว เปนเครือขายของกลุม อัลเคดาห อันหมายถึง การกอการรายทางทะเลที่อาจเกิดขึ้นไดในอนาคต III กอนเหตุการณ 9/11 กลุมกอการรายก็ไดมีการแอบทําการฝกบินทั้งในมาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา เพื่อที่จะไดนํามาใชใน การกอการ ดังนั้น การฝกเดินเรือและการใชเรือเพื่อการกอการรายก็อาจเกิดขึ้นได ถาไมไดมีการปองกันอยางเหมาะสม IV เชน พรรคคอมมิวนิสตของเหมาเจอตุงในจีน รัฐบาลประเทศลาวในปจจุบัน รัฐตาลีบันในอาฟกานิสถานในชวงขับไลรัสเซีย ออกไป และรัฐบาลประเทศติมอรลิส (ติมอรตะวันออก) ที่แยกออกจากอินโดนีเซีย ตางก็ใชการกอการรายในชวงตนของการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง V เชน การสนับสนุนของจีนและรัสเซียในการเปลี่ยนแปลงในอินโดจีนใหเปนคอมมิวนิสต และการสนับสนุนของสหรัฐอเมริกา ปละประมาณหารอยลานเหรียญตอปเพื่อสนับสนุนนักรบมูจาฮีดีนในการขับไลรัสเซียออกจากอาฟกานิสถาน
ความมั่นคงของมนุษย ความทา ทายและโอกาสของประเทศไทยในประชาคมอาเซียนในการกา วเขา สูก ารเป นประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community) ในป 2558 สิ่งที่เรากังวลกันคือ การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบอยางไรกับประเทศ ไทยและประเทศไทยจะยืนอยูตรงไหนในประชาคมอาเซียน “เสาหลักทางสังคมและวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน” (ASEASN Socio-Cultural Community-ASCC) เพื่อใหประชาชนแตละประเทศอาเซียน อยูรวมกันภายใตแนวคิด สังคม ที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม นโยบายของประเทศไทยสูอาเซียน ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 เปนการสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ดวยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสรางสถาบันการศึกษาใหมีมาตรฐาน สรางความสามัคคี และสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศอาเซียน เพื่อใหบรรลุเปาหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและสงเสริมความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใตกรอบความ รวมมือดานตาง ๆ และเตรียมความพรอมของทุกภาคในการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การทําใหอาเซียน เปนประชาคมที่มีประชาชนเปนจุดศูนยกลาง (Revitalising ASEAN as a people-centred Community) ซึ่งหมายถึง การเสริมสรางความตระหนักรูเกี่ยวกับอาเซียนในหมูประชาชน การสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและภาคประชา สังคมในการสรางประชาคมอาเซียน การเสริมสรางการพัฒนาและความมั่นคงของมนุษยสําหรับประชาชนทุกคนใน ภูมิภาค (Reinforcing human development and security for all the peoples of the region) โดยสงเสริมให ความรวมมือของอาเซียนตอบสนองตอผลประโยชนของประชาชนใหมากที่สุด การรวมตัวของอาเซียน ทิศทางของ อาเซียนในอนาคต แมจะมีความแตกตางดานเชื้อชาติ ศาสนา ระดับการพัฒนา ระบบการปกครอง แตสิ่งสําคัญของ อาเซียนนั้น ควรมีความปรองดองและมีเอกภาพ เพื่อผลประโยชนของประชาชนในสวนรวม ทั้งนี้ เอกภาพของอาเซียน จะตองตั้งอยูบนหลักของความถูกตอง และเคารพซึ่งกันและกัน ความยืดหยุน ความเอื้ออาทร และการมีสวนรวมของ ประชาชน ฯลฯ ตามเจตนารมณที่ไทยไดระบุไวในวิสัยทัศนอาเซียน ป ค.ศ. 2020 ภายใตหัวขอ “Open and Caring Societies” รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาสังคมโดยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (HRD) ซึ่งจะเปนกลไกที่จะนําไปสูการ ลดชองวางระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนและการรวมตัวของอาเซียนในระยะยาว แนวคิดเรื่องความมั่นคงของมนุษย (Human Security) เปนแนวคิดใหมที่เสนอเปนระเบียบวาระโลก ในรายงาน “การพัฒนามนุษย 1994” ของแผนงานพัฒนาองคกรสหประชาชาติ (United Nations Development Programme : UNDP) เปนแนวคิดที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง (People Centered) และไดมกี ารจัดทํารายงานขึ้นมาอีกอยางตอเนื่อง ซึ่งสงอิทธิพลตอนโยบายการพัฒนาในประเทศตาง ๆ รวมทั้งประเทศกําลังพัฒนาในระดับหนึ่ง เชน ในประเทศไทยไดมี การบรรจุแผนพัฒนาที่ถือวา “ประชาชนเปนศูนยกลาง” ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ซึ่งเปนแผน ที่มีการปรับกระบวนทัศนใหมของการพัฒนา โดยเชื่อวา เปนการพัฒนาที่ตอบรับตอความเปลี่ยนแปลงของโลก อยางมี 1 ประสิทธิภาพ การพัฒนาสังคมมี รากฐานทางแนวคิดและทฤษฎีมายาวนานและเปนสากล เป นการพัฒนาที่มีความหมาย ครอบคลุมกวาง และเกี่ยวของกับศักยภาพของมนุษยในการสรางสรรคสังคม (Cleveland and Jacobs, 1999) เปนเรื่อง ของความใฝฝน ความคิดและการตื่นตัวของมนุษยในการตระหนักถึงสภาพปญหาของสังคม และตองการแกปญหาที่ มนุษยประสบอยางสรางสรรค โดยนัยนี้ การพัฒนาสังคมจึงเกี่ยวพันกับมิติตาง ๆ ของความเปนอยูและการดําเนินชีวิต ของมนุษย ทั้งความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม อุดมการณ จารีตขนบธรรมเนียมประเพณีวั ฒนธรรม กฎระเบียบ บรรทัดฐาน 1
ธรรมรักษ การพิดิษฐ. (2543). วิสัยทัศนการวางแผนพัฒนาประเทศในสหัสวรรษหนา.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพชรรุงการพิมพ.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 249
ทางวัฒนธรรม ความรูการศึกษา ความสัมพันธระหว างคน สถาบัน เศรษฐกิจการเมือง ตลอดไปจนถึงศาสนาและจิต วิญญาณ รายงานการพัฒนามนุษยของ UNDP ถือเปนความพยายามครั้งใหญที่จะใหคําจํากัดความของความมั่นคงจาก เดิมที่มักหมายถึง ความมั่นคงของชาติอันประกอบดวย รัฐและดินแดนมาเปนความมั่นคงของประชาชนซึ่งเปนพื้นของชาติ และจากความมั่นคงทางแสนยานุภาพสูความมั่นคงทางการพัฒนา นอกจากนี้ ยังมีการกลาวถึงความมั่นคงของมนุษย (Human Security) ในเรื่องของเสรีภาพและความหวาดกลัว (Freedom from fear) และเสรีภาพจากความตองการ (Freedom from Want) ในทางวิชาการ โดยในป 1999 หลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเอเชียที่สงผละกระทบไปทั่วโลก ที่ นาสนใจคือ รายงานการพัฒนามนุษยของ UNDP นี้มีการปรับเปลี่ยน โดยการยกประเด็นใหม ๆ ขึ้นมาอยางตอเนื่อง เชน รายงาน “การพัฒนามนุษย 1999” ไดกลาวถึง ความมั่นคงของมนุษยอีกครั้ง และรายงานชิ้นนี้ไดกลาวถึงความมั่นคงของ มนุษยในเชิงลบไวดวย โดยชี้วา มนุษยทั้งในประเทศพัฒนาแลวและกําลังพัฒนา ไดเผชิญกับความไมมั่นคงอะไรบางใน กระบวนโลกาภิวัตน ซึ่งไดจําแนกออกเปน 7 ประเด็นดวยกัน ไดแก 1. ความผันผวนทางการเงินและความไมมั่นคงทางเศรษฐกิจ 2. ความไมมั่นคงทางอาชีพและรายได 3. ความไมมั่นคงทางสุขภาพ 4. ความไมมั่นคงทางวัฒนธรรม 5. ความไมมั่นคงสวนบุคคล เชน การเผชิญกับอาชญากรรม การคายาเสพติดและการคามนุษย 6. ความไมมั่นคงทางสิ่งแวดลอม และ 7. ความไมมั่นคงทางการเมืองและชุมชน ไดแก การเกิดความตึงเครียดทางสังคม เชน ในรูปของสงครามทั้ง ระหวางประเทศและสงครามกลางเมือง 2 อันกอผลกระทบตอเสถียรภาพทางการเมืองและความเปนปกแผนของชุมชน และที่นาสังเกตเปนอยางมากก็คือ รายงานนี้เปนรายงานที่เปนทางการระดับโลกที่เชื่อมโยงความมั่นคงและความไมมั่นคงของมนุษยเขากับกระบวนการ โลกาภิวัตนกลายเปนเครื่องมือหรือกลไกแหงการพัฒนาหรือการสรางความเจริญที่ถูกมองวา จะสงผลวกกลับในการสราง ความไมมั่นคงแกมนุษยขึ้น และมีแนวโนมจะกลายเปนปญหาที่เดนชัดขึ้นทุกที ในรายงานการพัฒนามนุษย 2000 ไดใชชื่อวา “สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนามนุษย เพื่อเสรีภาพและความเปน ปกแผน (Solidarity)” อันเปนการเชื่อมความสัมพันธระหวางสิทธิมนุษยชน การพัฒนามนุษย และความมั่นคงมนุษยเขา ดวยกัน โดยเห็นวา สิทธิมนุษยชนและการพัฒนามนุษยมีวิสัยทัศนและจุดประสงครวมกัน ไดแก การสรางความมั่นคงแก เสรีภาพ การอยูดีกินดีมีสุข และศักดิ์ศรีของมนุษยทุกคนทั่วโลก โดยไดจําแนกความมั่นคงทางเสรีภาพออกเปน 7 ประการ ไดแก 1. เสรีภาพจากการกีดกัน 2. เสรีภาพจากความตองการ 3. เสรีภาพในการพัฒนาและการประจักษในศักยภาพแหงตน 4. เสรีภาพจาความหวาดกลัว เชน ภัยคุกคามตอความมั่นคงของบุคคล 5. เสรีภาพจากความอยุติธรรมและการละเมิดการปกครองโดยกฎหมาย 6. เสรีภาพทางความคิด การพูดและการรวมกลุม 2
United Nations Development Programme (UDDP). (1999). Human Development Report 1999. New York: Oxford University Press.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 250 3
7. เสรีภาพในการทํางานที่เหมาะสมไมถูกขูดรีด สําหรับ ความหมายของความมั่ นคงของมนุษ ย ได มีค วามพยายามของนัก วิช าการถึ งความหมายและความ เชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาอื่น ๆ ที่มีมากอน เชน แนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน ในที่สุดมีความเห็นวา สิทธิมนุษยชนตาม ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนและคําประกาศอื่นทํานองเดียวกัน เชน สิทธิสตรี และสิทธิเด็กนั้น ถือเปนสิ่งพื้นฐาน กวา นั่นคือ สิทธิมนุษยชนถือเปนหนาที่ของรัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของที่จะตองประกันสิ่งจําเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต ซึ่งไดแก อาหาร สุขภาพ การศึกษา ที่อยูอาศัย ครอบครัว ประชาธิปไตย การมีสวนรวม การปกครอง กฎหมาย การ ปองกันการคาทาส การทรมาน การปฏิบัติและการลงโทษที่ผิดความเปนมนุษย สวนความมั่นคงมนุษยไมไดบังคับใหตอง ปฏิบัติมากเทาการนําความมั่นคงของมนุษยมาอยูในบริบทของสิทธิมนุษยชน จึงเปนการเรียกรองใหมีการปฏิบัติมากขึ้น โดยทําใหเห็นวา ความมั่นคงของบุคคล ประเทศ และระหวางประเทศ ตองการการคุมครองสิทธิมนุษยชน การพัฒนาตอง ตั้งอยูบนพื้นฐานของการยอมรับในสิทธิมนุษยชน ก็ชวยเสริมความเขมแข็งแกสิทธิมนุษยชนในหลายดาน เชน ชวยลดแรง กดดันที่มากเกินไปของรัฐตอสิทธิตาง ๆ โดยอางความมั่นคงแหงชาติ รวมทั้งการละเมิดสิทธิทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอม ธรรมชาติและทางวัฒนธรรมของประชาชน โดยใชการสรางความเจริญ เปนขออาง นอกจากนี้ ความมั่นคงมนุษยยังชวย แกปญหาความขัดแยงระหวางสิทธิมนุษยชนที่แตกตางกัน สวนการพัฒนามนุษยซึ่งมีแกนแกนอยูที่ความยั่งยืน และการ พึ่งตนเองได เปนสิ่งที่จะตองยึดถือเปนใจกลาง ในการสรางความมั่นคงของมนุษย เชน การชวยเหลือผูอดอยากควรเกิดขึ้น 4 เพื่อสรางใหชุมชนนั้นสามารถพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืนไมใชเพื่อใหรอดตายไปเฉพาะหนา แนวคิดเรื่องการคุมครองทางสังคม (Social Protection) ถือไดวา เปนแนวคิดใหมที่สุด ที่ไดมีการผลักดันเปน วาระสําคัญของการพัฒนาระดับโลก และนายบัน คี มูน (Ban Ki-moon) เลขาธิการสหประชาชาติ คนปจจุบัน ได กลาวถึงความสําคัญของความเปนธรรมทางสังคมในสารของทาน เนื่องในวันแหงความเปนธรรมของโลก (World Day of Social Justice) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 ที่ผานมา มีใจความสําคัญวา “ความเปนธรรมเปนมากกวาเรื่อง เรงดวนทางจริยธรรม มันเปนรากฐานของความมั่นคงของชาติและความมัง่ คั่งระดับโลก ... โอกาสที่เทาเทียมกันความเปน หนึ่งเดียวกันและการเคารพตอสิทธิมนุษยชน ทั้งหมดนี้ลวนจํา เปนเพื่อปลดปลอยพันธนาการของการผลิตอยางเต็ม ศักยภาพของชาติและประชาชน” จุดเนนดานนโยบายของป 2554 ที่เลขาธิการสหประชาชาติเลือก คือ การเรียกรองให รัฐบาลประเทศตาง ๆ ดําเนินการอยางเปนรูปธรรมเพื่อทําใหหลักการสากลเรื่องสิทธิมนุษยชนและโอกาสที่เทาเทียมกันมี ความหมายที่แทจริงขึ้นมา โดยผลักดันใหเกิด “ความคุมครองทางสังคม” (Social Protection) แกทุกคน ทั้งนี้ เพื่อใหมี 5 สังคมที่เปนธรรมอยางครอบคลุมและเทาเทียมกันยิ่งขึ้น การคุมครองทางสังคม มีความหมายเกี่ยวของกับการปองกัน การจัดการและการตอสูใหหลุดพนจากสภาพการณ 6 ที่สงผลทางลบตอความอยูดีมีสุขของประชาชน ในการดําเนินการคุมครองทางสังคม ประกอบดวย นโยบาย และ โครงการที่ออกแบบเพื่อลดปญหาความยากจน (Poverty) และความเปราะบาง (Vulnerability) ของประชากร สงเสริม ศักยภาพของประชาชนในการจัดการกับความเสี่ยงทางเศรษฐกิจและสังคม เชน การตกงาน การกีดกันทางสังคม การ
3
United Nations Development Programme (UDDP). (2000). Human Development Report 2000: Human Right and Human Development. New York: United Nations Publications. 4 นิรนาม-ข. (2547). ความมั่นคงของมนุษย : (2) ยุทธศาสตรใหมการพัฒนา, บทความพิเศษ โครงการขาวสารทิศทางประเทศไทย มติชนสุด สัปดาหวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ป ที่ 25 ฉบับที่ 1263. 5 เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. (2554). จะสรางสังคมที่เปนธรรม ตองกาวขามแนวคิดการ “สงเคราะห”. กรุงเทพธุรกิจ 24 กุมภาพันธ 2554. 6 United Nations Research Institute for Social Development (UNRISD). (2010). UNRISD Flagship Report 2011, Combating Poverty and Inequality: Structural Change, Social Policy and Politics. Geneva: UNRISD.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 251
เจ็บปวย ความพิการ และความชรา ฯลฯ โดยมีเปาหมายเบื้องต นเพื่อการคุมครองทางสังคมขั้นต่ํากอน แลวคอยปรับ ระดับการคุมครองทางสังคมไปสูขั้นสูงตอไป หลักการเรื่องการคุมครองทางสังคมขั้นต่ําประกอบดวย องคประกอบสําคัญ 2 สวน คือ การเขาถึงบริการที่ จําเปนและเขาถึงสวัสดิการสังคมรูปแบบตาง ๆ โดยในสวนแรก หมายถึง การที่ รัฐบาลจะตองจัดหาบริการสาธารณะที่ จําเปน อันไดแก น้ําสะอาด และสุขอนามัย บริการสาธารณสุข บริการดานการศึกษา และการชวยเหลือสิ่งจําเปนตอการ ดํารงชีพระดับครอบครัว รวมทั้งดําเนินการใหเกิดความตอเนื่องของบริการ และจัดการใหประชาชนทั่วไปสามารถเขาถึง ได ในสวนหลัง คือ การเขาถึงสวัสดิการที่รัฐจัดโอนใหถึงแกประชาชนโดยตรง ซึ่งรัฐบาลจะตองจัดการใหมีระบบสวัสดิการ ทั้งในรูปตัวเงินและสินคาหรือบริการแกผูยากจนและกลุมดอยโอกาส เพื่อสรางหลักประกันดานความมั่นคงในการดํารงชีพ แกคนเหลานี้ สวั สดิการที่ วานี้ อาจจะเป นความมั่ นคงดานอาหารและความมั่นคงด านรายได อยางไรก็ตาม การจั ด สวัสดิการสังคมในรูปของตัวเงินนับวันจะมีความสําคัญมากขึ้น และถือเปนการกระจายรายไดที่สําคัญรูปแบบหนึ่งตาม กระบวนทัศนการพัฒนาใหม อีกทั้งยังเปนรูปแบบการพัฒนาที่ถือเปนสวนหนึ่งของนโยบายที่สําคัญของการพัฒนาของรัฐ ควบคูกับการลงทุนดานโครงสรางและบริการพื้นฐานที่ไมอาจจะแยกสวนหรือจัดเปนการพัฒนาทางเลือกอีกตอไปใน หลาย ๆ ประเทศในโลก โดยเฉพาะประเทศที่ประสบผลสําเร็จในการสรางความเติบโตทางเศรษฐกิจพอสมควร ซึ่งมักจะ 7 ประสบปญหาความเหลื่อมล้ําทางสังคมสูงไปดวย สําหรับประเทศไทย แนวคิดเกี่ยวกับการคุมครองทางสังคมนับวันจะไดรับความสนใจและทวีความสําคัญมากขึ้น เนื่องจาก ตลอดเวลา 2-3 ทศวรรษที่ผานมา สังคมไทยไดเดินหนาเขาสูความเปนสังคมอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง ในขณะ ที่ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคมไดกลายเปนประเด็นที่มีการกลาวถึงควบคูกัน ฝายรัฐและการเมืองก็ไดพยายาม ผลักดันและนําเสนอนโยบายดานสวัสดิการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งไดรับความสนใจเปนอยางมากจากประชาชน ที่ผานมา สวัสดิการบางประเภทไดมีความพยายามผลักดันใหเปนสวัสดิการถวนหนาใหครอบคลุมประชากรทุกคน อยางไรก็ตาม มักจะมีขอโตแยงจากฝายที่เคลือบแคลงหรือคัดคานการสรางระบบสวัสดิการถวนหนาวา เปนระบบที่มีตนทุนสูงมาก และ ประเทศไทยยังไมพรอมที่จะใชระบบนี้ ประกอบกับสวัสดิการถวนหนาบางประเภทที่รัฐไดดําเนินการไปแลว เกิดมีปญหา เรื่องความจํากัดและคุณภาพของบริการที่จัดให รวมทั้งความเสมอภาคในการเขาถึงบริการระหวางผูรับบริการตางประเทศ พรอมกับยังมีขอเสนอเปนทางเลือกในการจัดสวัสดิการดวยการใหประชาชนเขามามีสวนรวม ผานการระดมทรัพยากรมา รวมกันตั้งเปนกองทุนสวัสดิการ ในรูปของสวัสดิการชุมชน ซึ่งไดมีการดําเนินการประสบผลสําเร็จบางแลวในหลายชุมชน
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการพัฒนา สังคม และความมั่นคงมนุษย บริบทที่เปนปจจัยสําคัญตอการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษยของประเทศ ประกอบดวย 1. การเปลี่ยนแปลงจากกระแสโลกาภิวัตน การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานกฎระเบียบทางสังคม เริ่มมีบทบาทสําคัญมาก ขึ้น โดยเฉพาะดานสิทธิมนุษยชนที่ใหความสําคัญกับการสงเสริมใหเกิดความเคารพและรักษาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของ ทุกคนอยางเทาเทียมกัน ประเด็นดานสิทธิมนุษยชนไดเขาไปมีบ ทบาทในเชิงการคาและความรวมมือระหวางประเทศ สงผลใหประเทศที่เขมแข็งทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยและเคารพตอสิทธิมนุษยชน สามารถสรางภาพลักษณ ความเชื่อมั่นตอการคาการลงทุนในประเทศและระหวางประเทศได เชน กรณีประเทศผูซื้อตั้งเงื่อนไขวา สินคานั้นจะตอง ไมใชแรงงานเด็ก ในการผลิต หรือที่มาของวัตถุดิบที่นํามาผลิตสินคาจะตองไมเปนการละเมิดสิทธิในการเขาถึงทรัพยากร 7
อางแลว. เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 252
ของบุคคลหรือชุมชน และการเขาไปลงทุนบรรษัทขามชาติในประเทศกําลังพัฒนาที่ตองคํานึงถึงประเด็นสิทธิมนุษยชน นอกเหนือไปจากความไดเปรียบในดานตนทุนขอผูกพันอันเกิดจากสนธิสัญญาวาดวยสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยไดเขา ร ว มและมี พั น ธกรณี ก อ ให เ กิ ด ข อ ผู ก พั น ที่ ต อ งปฏิ บั ติ ต อ งรายงานสถานการณ ด า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแต ล ะด า นต อ สหประชาชาติการแกไขกฎหมาย กฎระเบียบตาง ๆ และการปฏิบัติงานของหนวยงานรัฐใหสอดคลองกับพันธกรณีตาง ๆ ไดแก - ดานสิทธิเด็ก ตามหลักการพื้นฐานที่เด็กทุกคนจะตองไดรับความสําคัญไดรับการดูแลและคุมครองอยางเทา เทียมกัน โดยไมแบงแยกทั้งในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา การมีชีวิต การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจิตใจ อารมณ สังคม รวมถึงการแสดงความคิดเห็น - ดานการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี การประกันวาสตรีและบุรุษมีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติ และดูแลจากรัฐอยางเสมอภาคกัน ทั้งใน ดานการประกอบอาชีพและความกาวหนาในการประกอบอาชีพ สิทธิและโอกาสที่จะไดรับการจางงาน และสิทธิดาน แรงงาน การป อ งกั น ความรุ น แรงต อ สตรี ใ นสถานที่ ทํ า งาน การปรั บ รู ป แบบทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม รวมถึ ง การ ปราบปรามการลักลอบคาและแสวงหาประโยชนทางเพศ - ดานสิทธิของคนพิการ การเคารพในศักดิ์ศรีที่มีมาแตกําเนิด การมีเสรีภาพในการตัดสินใจ และความเปนอิสระของ บุคคล การไมเลือกปฏิบัติ การเขาไปมีสวนรวมทางสังคมอยางเสมอภาค การเขาถึงและใชประโยชนของการบริการตาง ๆ ทางสังคม - ดานการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ คนทุกคนจะมีสิทธิในความเปนพลเมืองสิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม อยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน - ดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การใหความสําคัญกับการจัดบริการพื้นฐานทั้งดานสุขภาพ การศึกษา การเปดพื้นที่เรียนรูให กวางขวางผานสื่อสรางสรรคตาง ๆ การใชประโยชนจากความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการจัด สวัสดิการและการคุมครองทางสังคมจากครอบครัว ชุมชน และรัฐบาล อันจะนําไปสูการมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดีขึ้น - ดานการตอตานการทรมาน ผูด อยโอกาสทางสังคม ผูตองขัง หรือผูกระทําผิดที่ตองถูกลงโทษ จะตองไดรับความเปนธรรม และไดรับการดูแลตามมาตรฐานและไมถูกกดขี่หรือถูกลงโทษจากเจาหนาที่ของรัฐหรือบุคคลอื่น ๆ ใหเจ็บปวดหรือทุกข ทรมานอยางสาหัส - ดานสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองที่เนนใหทุกคนรูจักสิทธิหนาที่ของตนเอง และผูอื่นเคารพ สิทธิมนุษยชน สิทธิการมีชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงแหงบุคคล มีความเสมอภาคทางสังคม และการแสดงความคิดเห็น และการเขาถึงขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะนโยบายที่มีผลตอความเปนอยูของประชาชนโดยตรง การคุมครองทางกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมตาง ๆ รวมถึงการใหความสําคัญตอสิทธิชุมชน และการมีสวนรวมของประชาชนในการดูแล กิจการสาธารณะ ตลอดจนการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐโดยภาคประชาชน
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 253
2. การเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ในเดือนตุลาคม 2546 ที่เกาะบาหลี ผูนําอาเซียนไดลงนามใน ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เห็นชอบใหมีการ จัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป 2563 และตอมาในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 12 ในเดือนมกราคม 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนําอาเซียนไดตกลงใหมีการจัดตั้งประชาคมใหแลวเสร็จเร็วขึ้นเปน ภายในป 2558 ประชาคมอาเซียน ประกอบดวย ความรวมมือ 3 เสาหลัก ซึ่งเสาหลักแตละดานจะมีวัตถุประสงคที่ แตกตางกันออกไป โดยในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษยนั้น โดยตรงจะเปนเรื่องของประชาคม สังคมและวัฒนธรรมที่มีวัตถุประสงคสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน และเสริมสรางอัตลักษณทางวัฒนธรรมของอาเซียน 2.1. การแกไขผลกระทบตอสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ การมุงสรางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงดานเดียว โดยมิไดคํานึงถึงผลกระทบที่ตามมาอาจ ทําใหเกิดปญหาความไมเสมอภาคทางสังคม ซึ่งสามารถสั่นคลอนเสถียรภาพทางการเมืองตอไป แผนการปฏิบัติการดาน สังคมและวัฒนธรรม จึงเนนการสรางฐานทรัพยากรที่มีความสามารถในการแขงขัน และสรางระบบการปองกันทางสังคม เพื่อเปน หลักประกันความมั่นคงมนุษย โดยให ความสํ าคัญกับ การศึก ษาและฝกอบรม การพั ฒนาฝมื อแรงงาน และ เสริมสรางความรวมมือดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สาธารณสุข โดยเนน ปญหาที่มากับโลกาภิวัตน เชน โรคระบาด ไขหวัดนก SARS มาลาเรีย และวัณโรค เปนตน 2.2. สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม และการจัดการการดูแลสิ่งแวดลอมที่ถูกตอง โดยมีกลไกเพื่อจัดการการดูแลสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม ตลอดจนการปองกันและขจัดภัยพิบัติดาน สิ่งแวดลอม การปองกันมลพิษจากหมอกควันที่ขามแดน การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ชายฝงและทะเล การอนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดการและสงเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม แรธาตุ 2.3. การเสริมสรางอัตลักษณของอาเซียน (ASEAN Identity) การเสริมสรางอัตลักษณของอาเซียน ซึ่งเปนรากฐานสําคัญของการสรางประชาคมอาเซียน โดย การใหการศึกษาแกประชาชน สงเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและปฏิสัมพันธในหมูประชาชนเพื่อใหประชาชน ตระหนักวา ในทามกลางความหลากหลายทางประสบการณและมรดกทางวัฒนธรรมนั้น ประชาชนอาเซียนยังมีความ เชื่อมโยงกันดานประวัติศาสตร แหลงที่อยูอาศัยในเขตที่ตั้งทางภูมิศาสตร และความมุงหวังที่จะเห็นสันติภาพและความ รุงเรืองของภูมิภาคที่จะเปนพื้นฐานของการสรางอัตลักษณรวมกันของอาเซียนได 3. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรและการกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ จากรายงานการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550 ของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา ประชากรสูงอายุของประเทศไทยมีถึงประมาณ 7 ลานคน คิดเปนรอยละ 11 ของประชากรทั้งประเทศที่มีอยูประมาณ 65.6 ลานคน ขอมูลดังกลาว แสดงใหเห็นชัดวา สังคมไทยไดเริ่มเขาสูสังคมสูงวัยแลว แมวา สัดสวนประชากรสูงอายุของ ประเทศไทยยังไมมากเทาประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งในปจจุบันมีถึงประมาณ 1 ใน 4 หรือ 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด แต การเปลี่ยนเปนประชากรสูงวัยของประเทศไทยนั้นเกิดขึ้นในระยะเวลาที่สั้นกวามาก กลาวคือ การเพิ่มของประชากรอายุ 65 ปขึ้นไปจากรอยละ 7 เปนรอยละ 14 ใชเวลาเพียงประมาณ 22 ป ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา หรือประเทศในสหภาพยุโรป ใชเวลากวาครึ่งศตวรรษหรือเปนศตวรรษ การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วนี้ ยอมหมายความ วา ประเทศไทยจะมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการทั้งในดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการเตรียมการในดาน
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 254
สวัสดิการ การบริการ และการสรางหลักประกันตาง ๆ เพื่อรองรับประชากรสูงอายุ ซึ่งไดมีการคาดกันวา ภายใน 15-20 ปขางหนา จํา นวนประชากรผูสู งอายุไทยจะเพิ่มกวา เทาตัวของจํานวนประชากรสูง อายุในปจจุบัน และสัดสวนของ ประชากรสูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มเปนเกือบ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งหมด และในชวงเดียวกันนั้น คาดวา จํานวน ประชากรสูงอายุจะเริ่มมีมากกวาจํานวนประชากรวัยเด็ก นอกจากนี้ ทั้งแนวโนมการลดลงของประชากรวัยแรงงานที่จะเปนกําลังในฐานะผูผลิตผูสรางรายได หรือผูจายภาษี รวมทั้งผูใหการดูแลเกื้อหนุนผูสูงอายุก็ลดลงเปนลําดับเชนกัน ดังจะเห็นไดจากอัตราสวนศักยภาพเกื้อหนุน กลาวคือ ลดจากจํานวนประชากรวัยแรงงานประมาณ 10 คนตอผูสูงอายุ 1 คนในป พ.ศ. 2543 ซึ่งใกลเคียงกับชวงแรก ของแผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 เหลือเพียงประมาณ 6 คนในป 2563 หรือในชวงปลายของแผนผูสูงอายุ ยิ่งไปกวานั้น กลุมประชากรที่เคยเกิดมามากกวา 1 ลานคนตอป ซึ่งอยูในชวงอายุประมาณ 26-46 ป ในป พ.ศ. 2522 ก็จะเริ่มทยอย เขาสูวัยสูงอายุในชวง 14-15 ปขางหนา หรือในชวงสิ้นสุดแผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 จึงกลายเปนเสมือนคลื่นสึนามิ 8 ลูกใหญที่กําลังถาโถมเขามาสูสังคมไทย การกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุของประเทศไทย จะสงผลโดยตรงตอวัฒนธรรม คานิยม วิถีการดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ รวมถึงปฏิสัมพันธของผูคนในสังคม ตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศ ดังนั้น ถาประเทศ ไทยสามารถนําทุนทางสังคมที่มีอยูมาอนุรักษ ฟนฟู พัฒนาตอยอด และนําไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสมแลว ก็จะชวย พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชาติใหมีความสุข ประเทศชาติมีความสมดุลและยั่งยืนตอไป อยางไรก็ตาม การอุบัติใหมของสังคมไทย อันสืบเนื่องจากการเขาสูสังคมผูสูงอายุในประเทศไทยนี้ จะมี ลักษณะเฉพาะที่แตกตางจากสังคมผูสูงอายุในประเทศอุตสาหกรรมอื่น ๆ ประกอบกับทุนทางสังคมและวัฒนธรรมไทยที่ ยังมีความเขมแข็งและอาจตองฟน ฟูขึ้นมาใหม หากภาครัฐบาลยังคงใชนโยบายแบบเดิม ๆ ดวยการใชประชานิยม ที่ไมมี การจําแนกประเภทผูสูงอายุ จะสงผลตอภาระการคลังของประเทศอยางใหญหลวง ดังประเด็นที่สําคัญ คือ การทํางานใน มิติของกระบวนการทางสังคมและมาตรการทางสังคมที่จะเสริมสรางผูสูงอายุใหเปนพลังทางเศรษฐกิจและสังคม อันเปน การเตรียมการเพื่อรองรับกับภาวะสังคมผูสูงอายุอยางเปนองครวม ดวยการนําศักยภาพของผูสูงอายุมาเปนสวนสําคัญใน การดําเนินชีวิตและเปนสวนหนึ่งของสังคม ในฐานะผูกระทําการอยางมีศักดิ์ศรี อนาคตของประเทศไทยเราในวันขางหนา ซึ่งแมจะเปนสังคมผูสูงอายุ แตก็เปนคุณปู คุณยา คุณตา คุณยายที่เต็มไปดวยพละกําลัง และคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะชวย ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมไดไมแพคนในวัยทํางาน การเปนสังคมผูสูงอายุไทยไมใชปญหา แตเปนปรากฏการณธรรมชาติของสังคมที่มนุษยชาติเราตอง เผชิญ ดังนั้น เมื่ออาเซียนรวมตัวเปนชุมชนหรือประชาคมเดียวกัน และจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 การ กําหนดนโยบายทางสังคมเกี่ยวกับผูสูงอายุ ภาครัฐตองใหความสําคัญกับ “คุณภาพสังคม” (Social Quality) ทั้งในระดับ ปจเจก และในระดับสังคม การเพิ่มขึ้นของจํานวนผูสูงอายุนี้ ปจจุบันทั้งนักวิชาการไทย และตางชาติ ยังเห็นวา ผูสูงอายุ เปน liability เปนคาใชจายที่ตองคอยดูแล เปนภาระการพึ่งพิง เปนผูทเี่ กษียณ เปนประชากรที่ไมมีกําลังการผลิตแลว จึง ตองเฝาวิตกกังวลกันไปวา จะแกปญหากันอยางไร รัฐบาลจะมีรูปแบบการใหบริการสงเคราะหกับผูสูงอายุไดอยางไร เปนเรื่องที่นาเสียดายเปนอยางมาก ที่สวนใหญของหนวยงานภาครัฐ ยังมองขามโอกาสทองของการนํา พลังของผูสูงอายุไทยมาใชประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคม เตรียมความพรอมในการกาวเขาสูการเปนสังคมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนอยางมีศักดิ์ศรี ที่จะทําใหประเทศไทยไดรับผลประโยชนทางเศรษฐกิจ
8
ปราโมทย ประสาทกุล. (2550). คนหาแผนดิน : ประวัติศาสตรที่ยังมีชีวิต.นครปฐม:สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 255
ในบริบทของสังคมแบบไทย ๆ ที่มีเงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในแตละ ภูมิภาคและภูมินิเวศวัฒนธรรม ในฐานะที่เปนทุนทางสังคมวัฒนธรรมของแตละสังคมจะเปนตัวกําหนดอยางสําคัญ ซึ่ง อาจนํามาซึ่งกระบวนการในการเสริมสรางพลังทางเศรษฐกิจและสังคม และรองรับมาตรการทางสังคมเพื่อรองรับภาวะ สังคมผูสูงอายุในสังคมไทย โดยมีการบูรณาการของทุกภาคสวน ทั้งรัฐ ทองถิ่น ชุมชน ประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน ครอบครัว และสมาคมตาง ๆ ตลอดจนผูสูงอายุเองเปนผูนิยามความหมายของผูสูงอายุไทย นําเสนอมาตรการทางสังคม เปนกลไกหลักในการเสริมสรางกระบวนการทางสังคมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุเพื่อใหเปนทุนทางสังคม/พลังงานทาง เศรษฐกิจและสังคม คือ 1. ทุนทางสังคม-วัฒนธรรม กับกระบวนการทางสังคม ถือเปนหัวใจสําคัญของการกําหนดมาตรการ ทางสังคมในการเสริมสรางผูส ูงอายุใหเปนพลังทางเศรษฐกิจและสังคมได ในความเปนจริง หากพื้นที่ใดมีทุนเหลานี้สูงและ มีกระบวนการทางสังคมที่กาวหนาและตอเนื่อง สังคมนั้นจะเปนสังคมผูสูงอายุที่มีพลังในการตอรองสังคม ผูสูงอายุมี บทบาทในสังคมสูง ในขณะที่สังคมใดมีทุนนอยและมีกระบวนการทางสังคมก็นอยดวย การขับเคลื่อนทางสังคมก็จะมี ขอ จํ า กั ด อย า งมากมาย ดั ง นั้ น นอกเหนื อ ไปจากมาตรการทางเศรษฐกิ จนโยบายเชิ ง สวั ส ดิ ก ารทางสั ง คม และการ เตรียมการระบบสาธารณสุขแลว ภาครั ฐพึงต องส งเสริ มและใชป ระโยชนจากทุ นทางสังคม วัฒนธรรม เพื่อกํ าหนด มาตรการทางสังคมรูปแบบอื่น ในการสงเสริมสนับสนุนพลังทางเศรษฐกิจและสังคมของผูสูงอายุ ทั้งในปจจุบันและที่จะ เพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความแตกตางหลากหลายในแตละภูมิภาคของพื้นที่ตาง ๆ เงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิ จ สังคม และวัฒนธรรมในแตละภูมิภาค และภูมิ นิเวศวัฒนธรรม สังคมผู สู งอายุข องไทย มีการใช ทุนหลาย ประเภท ในการขับเคลื่อนงานหรือกิจกรรม “ทุน” มีฐานะเปนทั้งวัตถุ (Input) และผลลัพธ (Outcome) ในกระบวนการ ทางสังคมของผูสูงอายุ ทุน ที่สําคัญในฐานะที่เปนพลังขับเคลื่อนสังคมผูสูงอายุดังกลาว ไดแก ทุนทางสังคม (Social Capital) ทุนทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ทุนเศรษฐกิจ (Economic Capital) ทุนธรรมชาติ ซึ่งทุนเหลานี้เชื่อมโยง สัมพันธกันเปนวงลอ ทุนประเภทหนึ่งทําใหเกิดทุนอีกประเภทหนึ่ง เปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกันเปนวงโซ 2. ทุนทางสังคม เปนระบบคุณคาเดิมที่มีอยูในโครงสรางสังคมไทย และเกี่ยวโยงเกื้อหนุนอยูกับ กระบวนการทางสังคมของผูสูงอายุที่สํา คัญ ไดแก เครือขายทางสังคมของสังคมผูสูงอายุ (Social Networks) การ ปฎิสังสรรคท างสังคม (Social Interaction) การเข ารวมและการเขา ไปเกี่ยวของในกิจกรรมทางสัง คม (Social Involvement) การไววางใจ (Trust) จารีต (Norm) องคกรผูสูงอายุ (Structural and Function Base) ความสัมพันธ เชิ ง อุ ป ถั มภ กิ จกรรมที่ เ กี่ ยวข อ งกั บ ผลประโยชน ต า งตอบแทน (Reciprocity) ทรั พ ยากรที่ ใ ช ป ระโยชน ร ว มกั น (Communality) กิจกรรมรวม (Activity) และผูกระทําที่เกี่ยวของกับกระบวนการทางสังคมของสังคมผูสูงอายุ (Agent) โดยทุนเหลานี้ไดแสดงออกมาในรูปของ กฎเกณฑ กติกา ที่ทําหนาที่จัดระเบียบและกําหนดความสัมพันธตาง ๆ ทางสังคม ใหผูสูงอายุอยูรวมกันได และเปนพลังสําคัญในการขับเคลื่อนชุมชนตาง ๆ ไปสูการการพึ่งตนเองไดในระยะยาว 3. ความเปนชุมชนของสังคมผูสูงอายุ ทําใหเกิดการกําหนดและการสรางพื้นที่ทางสังคมบนพื้นฐาน ระบบความสํานึก ความมีตัวตนของผูสูงอายุภายในชุมชนของผูสูงอายุเอง ความเปนชุมชนปรากฏ และเห็นชัดไดจาก กระบวนการทางสังคม ดังเชน การประชุมประจําเดือน การแสดงออกทางศิลปวัฒนธรรม การถายทอดภูมิปญญา การเขา รวมกิจกรรมตาง ๆ การทํากิจกรรมสาธารณประโยชน ฯลฯ หรืออาจกลาวไดวา ความเปนชุมชนของสังคมผูสูงอายุนําไปสู การกําหนดอัตลักษณ (Identity) ของผูสูงอายุ หลังจากเกิดเครือขายของสังคม เพื่อแสดงออกถึงความรู ความคิด และ อุดมการณของผูสูงอายุ สรางวัฒนธรรมของผูสูงอายุใหมีตัวตนและมีพลังมากขึ้นในสังคมที่ผูสูงอายุดํารงอยู และกลายเปน ปจจัยที่เสริมยกระดับความเปนอยูของสังคมผูสูงอายุเตรียมความพรอมเสริมสรางผูสูงอายุใหเปนพลังทางเศรษฐกิจและ สังคมไทยไดตอไป
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 256
ทั้ ง นี้ ทุ น ทางสั ง คม-วั ฒนธรรมแต ล ะสั ง คมจะเป น ตั ว กํ า หนดอย า งสํ า คั ญ ในการนํ า มาเสริ ม สร า ง กระบวนการทางสังคม และรองรับมาตรการทางสังคมเพื่อรองรับภาวะสังคมผูสูงอายุของสังคมไทย โดยบูรณาความคิด รวมกันของทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ทองถิ่น ชุมชน ประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน ครอบครัว และสมาคมตางๆ ตลอดจนตัวผูสูงอายุเอง กระบวนการทางสังคมในการขับเคลื่อนงานดานผูสูงอายุ โดยของกลุม/ชมรม เปนกระบวนการที่ มีพลวัตและตอเนื่องนั้น ตองอาศัยทุนประเภทตาง ๆ อันไดแก ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ทุนวัฒนธรรม ทุนสัญลักษณ ทุน เศรษฐกิจ ทุนทรัพยากรธรรมชาติ เขามาเปนปจจัยนําเขาในกระบวนการ โดยกระบวนการทางสังคมก็ยังประกอบดวย หลายกระบวนการที่ทํางานเชื่อมโยงประสานกัน ซึ่งจะนําไปสูผลลัพธที่แตกตางกัน คุณประโยชนที่ผูสูงอายุจะไดรับจาก การรวมทํากิจกรรมก็คือ การไดรับความพึงพอใจและมีศักยภาพในการดําเนินชีวิตตอไปไดดีกวาผูสูงอายุที่ไมไดทํากิจกรรม กิจกรรมจึงสามารถสรางใหผูสูงอายุมีศักยภาพตามความหมายของคําวา Active Aging ซึ่งเปนสัญลักษณของผูสูงอายุที่พึง ประสงคในสังคมปจจุบัน โดยหลักการสําคัญคือ สรางใหผูที่กําลังเขาสูความเปนผูสูงอายุหรือผูที่สูงอายุแลว มีศักยภาพ ทางรางกายและจิตใจที่แข็งแรง ดังนั้น นโยบายผูสูงอายุของไทย ตองมีการเปลี่ยนมุมมองตอการกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุในฐานะโอกาส ของสังคมที่จะมีผูสูงอายุที่มีพลังความรู มีความสามรถในการรวมพัฒนาชุมชนสังคม ปจจุบันผูมีบทบาทหลักตอนโยบาย ผูสูงอายุเปนระบบผูกขาดโดยรัฐ ทัง้ นี้ ควรเปนการใหภาคสวนที่ไมใชรัฐเขามารวมมีบทบาท ซึ่งอาจจะเปนองคการพัฒนา เอกชน (NGO) ภาคประชาชน ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชน เปนตน มาตรการที่จะไปเสริมสรางแนว ทางการรองรับสังคมผูสูงอายุใหสมบูรณ โดยมองความสําคัญของการใชทุนทางสังคม และสนับสนุนใหชุมชนทองถิ่นดูแล ผูสูงอายุ องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรตองเปนหนวยงานหลักในการดูแลผูสูงอายุโดยใหชุมชนมีสวนรวมมิใชเพียง เพราะหนาที่ตามกฎหมาย ผลประโยชนทางสังคมที่ผูสูงอายุไดรับจากนโยบายรัฐ ควรเปนนโยบายแบบสนับสนุนเฉพาะผู ที่มีปญหาอยางแทจริง ซึ่งในปจจุบันเปนแบบทุกคนไดรับเปนเรื่องของสิทธิตามกฎหมายที่พึงได สวนการจายเบี้ยยังชีพ องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจายในพื้นที่ ซึ่งจะทําใหเห็นบริบทอื่นๆ เกิดการสัมผัส สวนระบบการประกันตนเอง เชน ระบบบํานาญแหงชาติ การออมยามชราภาพ เปนประเด็นสําคัญที่คนอายุ 20 กวาปขึ้นไปตองตระหนักถึงการออมสําหรับ อนาคต แทนที่จะสนใจการจายเบี้ยยังชีพในระยะยาว ควรตองกลับมาพิจารณาถึงเรื่องการออมยามชราภาพ สงเสริมให เกิดการออมเพื่ออนาคต หากไมเรงดําเนินการเรื่องนี้อนาคตรัฐจะสูญเสียงบประมาณอันใหญหลวงเพื่อสังคมผูสูงอาย 4. ปญหาเกี่ยวกับครอบครัวและปจเจกชน 4.1. สถาบันครอบครัวออนแอ ไมสามารถทําบทบาทหนาที่ไดอยางเหมาะสม ครอบครัวไทยไดผาน กระบวนการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีความเปนพลวัตร ความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การสื่อสาร รวมทั้งกระแสโลกาภิวัตนทเี่ ขามาอยางรวดเร็ว รุนแรง และสังคมไทยไดถูกขับเคลื่อนไปดวยระบบเศรษฐกิจที่ สลับซับซอน ซึ่งแมวา จะชวยใหเกิดความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตมีเศรษฐกิจ/มีรายไดเพิ่มขึ้น แตก็ทําใหสังคมไทย ประสบภาวะวิกฤตในรูปแบบของการขยายตัวของคานิยมทางวัตถุมากกวาคานิยมทางจิตใจ วิถีการดําเนินชีวิตครอบครัว ไทยไดเปลี่ยนจากแตกอน ทุกคนทั้งหญิงชายตองออกจากบาน เพื่อทํามาหากิน มีการเคลื่อนยายถิ่นหางานทํา ทําให สมาชิกในครอบครัวมีเวลาอยูดวยกันนอยลง จึงขาดปฏิสัมพันธที่ดีระหวางสมาชิกในครอบครัว นอกจากนี้ โครงสรางครอบครัวไดมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ซึ่งเคยมีอยูเพียง 2 ลักษณะที่ ชัดเจน คือ ครอบครัวขยายที่นอกจากมีพอแมลูกแลว อาจมีปูยาตายายหรือเครือญาติอาศัยรวมอยูดวย และครอบครัว เดี่ยวที่ประกอบดวยพอแมลูก แตในปจจุบันครอบครัวเดี่ยวมีหลายลักษณะ เชน ครอบครัวที่พอหรือแมเลี้ยงลูกตามลําพัง ครอบครัวที่อยูคนเดียว ครอบครัวที่เกิดจากการแตงงานของเพศเดียวกัน รวมทั้งคูสมรสที่อยูดวยกัน โดยมิไดจดทะเบียน สมรสก็มีมากขึ้นเชนกัน สงผลใหรูปแบบและความสัมพันธของระบบครอบครัวไทยมีความหลากหลายซับซอนมากขึ้น ผล
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 257
พวงจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของครอบครัวและผลจากการที่สังคมไมตระหนักถึงความสําคัญของสถาบันครอบครัว ในการทําหนาที่หลักเรื่องการอบรมเลี้ยงดูขัดเกลาและปลูกฝงเด็กใหเปนคนดีมีคุณภาพและเปนสมาชิกที่ดีของสังคม อีก ทั้งยังผลักภาระไปใหสถาบันอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะการใชบริการรับเลี้ยงเด็กหรือดูแลผู สูงอายุ บริการอาหารสําเร็จรูป บริการทําความสะอาดบาน และการอบรมบุตรหลานกลายเปนบทบาทของสถาบันการศึกษา ทําใหสมาชิกในครอบครัว ขาดการเรียนรูและใชเวลารวมกันอยางมีคุณภาพ สถานการณดังกลาวไดมีสวนทําใหสัมพันธภาพระหวางคูสมรสโดยรวม ถดถอย ขาดจิตวิญญาณของความเป นครอบครัว และไดนําไปสูการแตกแยกของครอบครัวมากขึ้น โดยอัตราการจด ทะเบียนหยาและอัตราการแยกกันอยูของคูสมรสไดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันยังมีสวนกอใหเกิดปญหา เด็กเรรอน/เด็กถูกทอดทิ้งในสถานสงเคราะห ปญหาเด็กและเยาวชนที่กระทําผิดถูกดําเนิ นคดีในสถานพินิจฯ รวมถึง ปญหาผูสูงอายุถูกทอดทิ้งใหอยูคนเดียวเพิ่มขึ้น 4.2. ระดับการศึกษาของคนไทยสูงขึ้น ขณะที่คุณธรรมจริยธรรมลดลง ความกาวหนาของการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร ทําใหสภาพการดําเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไปสูการแขงขันมากขึ้น ประกอบกับ การไดรับรูวัฒนธรรมตางชาติอยางกวางขวางผานชองทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอมูลขาวสารที่ทันสมัย รวดเร็ว เขาถึง งาย สงผลใหทุกฝายเห็นความสําคัญของการศึกษา โดยเฉพาะการดําเนินงานของภาครัฐที่กําหนดใหมีการศึกษาภาค บังคับเริ่มจาก 6 ป และขยายเปน 9 ป ไดเปดโอกาสใหเด็กและเยาวชนไดเขาเรียนในระบบโรงเรียนมากขึ้น เด็กไทยแทบ ทุกคนไดรับการศึกษาถึงระดับประถมศึกษา และมีการกระจายโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายและทุก พื้นที่ โดยมีอัตราสวนนักเรียนตอประชากรที่เขาเรียนในระบบโรงเรียน ในทุกระดับชั้นรอยละ 84.61 ในป 2550 สําหรับ เด็กดอยโอกาส เด็กพิการและเด็กพิเศษดานตาง ๆ ไดรับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นจาก 3.03 ลานคน ในป 2548 เปน 3.3 ลานคน ในป 2549 จนทําใหคนไทยมีจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 6.1 ในป 2553 เปน 8.7 ปในป 2550 สัดสวนแรงงานที่จบการศึกษาระดับปริญญามีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะที่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของผูเรียนยังอยูในระดับต่ํา คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาในทุกระดับต่ํากวามาตรา อันเปนผลมาจาก ปญหาในการจัดการศึกษาหลายประการ การขาดแคลนครูในเชิงปริมาณและคุณภาพ การขาดสื่อการเรียนการสอนที่ทัน ทันสมัยที่ครอบคลุมผูเรียนอยางทั่วถึง ซึ่งตองอาศัยการบริหารจัดการไมที่เนนความสําคัญในการพัฒนาผูเรียนในทุกกลุม ตามสภาพปญหา นอกจากนี้ ระบบการศึกษายังไมทําหนาที่ในการสรางจิตสํานึก ทัศนคติตอประโยชนและความ รับผิดชอบตอสวนรวม และขาดการหลอหลอมคนไทยใหรูจักคิด วิเคราะหอยางเปนระบบ ใชหลักเหตุผลในการตัดสินใจ ทําใหไมสามารถคัดกรอง เลือกรับขอมูล ขาวสาร รวมถึงวัฒนธรรม กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางคานิยม ทัศนคติที่มุง ความฟุงเฟอ การเลียนแบบการบริโภคนิยม ปญหาความรุนแรง และความขัดแยงในสังคม 4.3. คนไทยมีอายุยืนขึ้น แตมีการเจ็บปวยดวยโรคเรื้อรังที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมการดํารงชีวิตที่ไม เหมาะสมเพิ่มขึ้น ความกาวหนาของวิทยาศาสตรเทคโนโลยีทางการแพทยถูกนํามาใชในการรักษาโรคภัยไขเจ็บอยาง ตอเนื่อง สามารถลดอัตราการตายจากการเจ็บปวยไดมากขึ้น สงผลใหคนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น จากที่เคยมีอายุคาดหมาย เฉลี่ย 60 ป ในป 2510 เพิ่มขึ้นเปน 73.2 ป ในป 2549 แตเนื่องจาก การรับวัฒนธรรมตางชาติ โดยขาดการคัดกรองและ นํามาประยุกตใชอยางเหมาะสมทั้งในเรื่องของพฤติกรรมการบริโภคและการดํารงชีวิตที่นิยมบริโภคอาหารประเภทไขมัน เนื้อสัตว แปง น้ําตาล น้ําอัดลม ขนมขบเคี้ยว และอาหารฟาสตฟูดมากขึ้น ขณะที่มีการออกกําลังกายนอยลง ทําใหคน ไทยปวยและตายดวยโรคที่ปองกันไดเพิ่มขึ้น ทั้งโรคหัวใจ โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน มะเร็งและอุบัติเหตุ โดยเฉพาะ ในกลุมเด็กและเยาวชนนั้น พบวา มีภาวะโภชนาการเกินและโรคอวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยป 2549 พบเด็กอายุต่ํากวา 5 ปมีภาวะโภชนาเกินถึงรอยละ 10.6 และคาดวา อีก 10 ป ขางหนาจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 20 ขณะที่การเคลื่อนยายคน
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 258
อยางเสรีตลอดเวลา จะเพิ่มความเสี่ยงใหคนไทยมีการเจ็บปวยดวยโรคติด ตอและโรคระบาดใหม โรคระบาดซ้ําตาง ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ ไขหวัดนก ซารส ไขหวัดใหญ 2009 เปนตน 4.4. เด็กและเยาวชนถูกดําเนินคดียาเสพติดมากขึ้น ในชวงที่ผานมาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 – 11 เด็กและเยาวชนถูกดําเนินคดีโดยสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน มีสัดสวน 5.02-5.39 คดีตอเด็กพันคน สูง กวาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-9 ที่มีสัดสวน 3.34-5.05 โดยคดียาเสพติดเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องจาก 8,803 คดี ในป 2549 เพิ่มขึ้นเปน 12,352 คดี ในป 2552 สํานักงานสถิติแหงชาติ รายงานการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ สถานการณการแพรระบาด ยาเสพติดในเดือนกุมภาพันธ 2553 พบวา ประชาชนรอยละ 37.5 เห็นวา ยังมีปญหาการ แพรระบาดยาเสพติดในชุมชน/หมูบานเพิ่มขึ้น ปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในโรงเรียน สถานศึกษา เพิ่มขึ้นอยาง นาเปนหวง โดยเฉพาะโรงเรียนสถานบันการศึกษาในเขตกรุงเทพฯ มีปญหายาเสพติดมากที่สุด รองลงมาคือ ภาคใต ภาค กลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ยาเสพติดมีสวนทําลายพัฒนาการทั้งดานรางกาย จิตใจ และสมองของเด็ก และเยาวชน จึงเปนปจจัยเสี่ยงตอสังคมไทย เมื่อเยาวชนที่จะเปนกําลังแรงงานใหมทดแทนผูสูงอายุมีคุณภาพดอยลง สงผลกระทบตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในระยะยาว 4.5. คนไทยกลุมวัยตาง ๆ ไดรับสวัสดิการทางสังคมเพิ่มขึ้น แตปญหาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสินยังคงคุกคามคุณภาพชีวิตประชาชน ปจจุบันคนไทยรอยละ 99.2 ไดรับสวัสดิการและมีหลักประกันดานสุขภาพ จําแนกตามกลุมวัย พบวา กลุมเด็กวัยเรียนรอยละ 98.4 สามารถเขาถึงสวัสดิการดานการศึกษาตามนโยบายเรียนฟรี 15 ป ขณะที่กลุมวัยทํางานรอยละ 25.3 ของผูมีงานทําทั้งหมด ไดรับการคุมครองอยูในระบบประกันสังคม อยางไรก็ตาม ยัง มีแรงงานนอกระบบจํานวนมากถึงรอยละ 62.7 ยังไมไดรับการคุมครองทางสังคม ซึ่งเปนกลุมที่รัฐตองเรงสรางระบบการ คุมครองทางสังคมรองรับในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สําหรับกลุมวัยสูงอายุ รอยละ 70.2 ไดรับการชวยเหลือเบี้ย ยังชีพผูสูงอายุคนละ 500 บาทตอเดือน เพื่อเปนหลักประกันความมั่นคงดานรายได สวนที่เหลืออยูในระบบประกันสังคม และสวัสดิการตาง ๆ ของภาครัฐ นอกจากนี้ ยังมีกลุมผูพิการที่รัฐไดใหความชวยเหลือ โดยการจายเบี้ยยังชีพความพิการคนละ 500 บาทตอเดือน โดยเริ่มจายในป 2553 สําหรับผูพิการที่ขึ้นทะเบียน ขณะเดียวกัน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ยังคงเปนปญหาสําคัญที่สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตประชาชน โดยปญหายาเสพติดยังคงเปนปญหาหลักและมีแนวโนม เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในป 2551 มีจํานวนคดีสูงถึง 224.9 คดีตอประชากรแสนคน สวนปญหาอาชญากรรมมีแนวโนม ลดลง การกอ คดีชีวิต รางกาย และเพศ ไดลดลงจาก 76.4 คดี ตอประชากรแสนคน ในป 2546 เหลือ 62.6 คดีต อ ประชากรแสนคน ในป 2551 แตคดีประทุษรายตอทรัพยเพิ่มขึ้นจาก 106.6 คดีตอประชากรแสนคนเปน 115.8 คดี ในชวงเวลาเดียวกัน 4.6. วิถีชีวิตไทยมีการเปลี่ยนแปลง เชื่อมโยงวิถีชีวิตไทยเขากับวัฒนธรรมจากนานาอารยประเทศที่มี ความหลากหลายมากขึ้น เศรษฐกิจและสังคมโลกที่ไดปรับเปลี่ยนจาก “สังคมเกษตรกรรม” สู “สังคมอุตสาหกรรม” และ “สังคมฐานความรู” ทําใหวัฒนธรรมของโลกแพรเขาสูประเทศไทยผานกระแสโลกาภิวัตนและโลกไซเบอร เกิดเปน วัฒนธรรมยอยรวมสมัยมากมายในรูปแบบของการรวมกลุมของบุคคลที่สนใจเรื่องเดียวกัน ขณะที่วัฒนธรรมที่บงบอก ความเปนไทยไมสามารถแสดงบทบาทที่ชัดเจน ดังนั้ น การพั ฒนาสมัยใหมที่กํ าหนดให “คน” เป นศู นยก ลางของการพั ฒนา เชื่อ วา เปา หมายสํา คัญ ที่ทุ ก ประเทศตองคํานึงถึง ในการกําหนดยุทธศาสตรแผนการพัฒนา และแนวทางนโยบายพัฒนาตาง ๆ ควรเปนในเรื่องของ การสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาศักยภาพมนุษยและทรัพยากรบุคคลภายในประเทศ รวมถึงการสรางความ มั่นคงของมนุษยใหทุกคนไดสามารถดํารงชีพอยูไดโดยเปนอิสระจากความตองการที่ไมไดรับการสนองตอบ (freedom
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 259
from want) เปนอิสระจากความกลัวตอปจจัยเสี่ยง หรือภัยคุกคามที่มีตอการอยูรอด (freedom from fear) รวมถึงเปน 9 อิสระที่จะสามารถมีชีวิตอยูและเติบโตขึ้นอยางมีเกียรติและสิทธิความเปนมนุษยที่เทาเทียมกับผูอื่น นอกเหนือไปจากมุมมองที่เปลี่ยนไปตอเปาหมายของการพัฒนาที่หันมาใหความสําคัญกับ “คน” มากขึ้นแลว แนวคิดเกี่ยวกับ “ความมั่นคงของมนุษย” ยังมีที่มาจากมุมมองที่เปลี่ยนไปของนานาประเทศตอประเด็นความมั่นคงของ ชาติอีกดวย จากแตเดิมที่ความมั่นคงของชาติถูกตีความถึงในเรื่องความมั่นคงของรัฐเปนหลัก นับตั้งแตตนทศวรรษ 1990 หรือในชวงหลังสงครามเย็นเปนตนมา ความสนใจในประเด็นดังกลาวไดถูกปรับเปลี่ยนใหมุงไปสูการสรางความมั่นคงของ มนุษย หรือความมั่นคงในระดับปจเจกบุคคลมากขึ้น รายงานการพัฒนาคนของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงประชาชาติ หรือ UNDP’s Human Development Report ในป ค.ศ. 1994 (United Nation Development Programme, 1994) นับเปนเอกสารฉบับแรกที่กลาวถึงอยางใหความสําคัญตอแนวคิดและกรอบแนวทางในการสรางความมั่นคงของ มนุษยใหเกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศและระดับนานาประเทศ ซึ่งในรายงานฉบับดังกลาว ความมั่นคงของมนุษยไดถูก ตีความไววา “...ประกอบดวย 2 มิติ มิติแรก คือ ความปลอดภัยจากภาวะคุกคามที่เกิดขึ้นตอเนื่องนาวนาน เชน ความหิวโหย โรคภัยไขเจ็บ และ การกดขี่ปราบปราม มิติที่สอง คือ การไดรับการปกปองคุมครองจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นตอการดํารงชีวิต ไมวาจะเปนที่ บาน ที่ 10 ทํางาน หรือในสังคม” รายงานการพัฒนาคนของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติในป ค.ศ. 1994 ไดเสนอมิติความมั่นคง ของมนุษยในองคประกอบเบื้องตน 7 ดานดวยกัน (United Nations Development Programme, 1994) ซึ่งในแตละ 11 ดานมีนัยยะของความมั่นคง สรุปไดดังนี้ 1) เศรษฐกิจ การมีรายไดขั้นต่ําที่เพียงพอ ทั้งจากการทํางานหรือเครือขายความคุมครองทางสังคม (Safety net) ที่มี 2) สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย หรือการไดรับการคุมครองจากภัยพิบัติทางสิ่งแวดลอมที่เกิดจากธรรมชาติ และ ด ว ยมื อ มนุ ษ ย ทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว รวมถึ ง ความเสี่ ย งจากการหมดไปของ ทรัพยากรธรรมชาติ 3) อาหาร การเขาถึงอาหารอยางเทาเทียมกัน และเพียงพอสําหรับคนทุกคน ทั้งในดานปริมาณ และ คุณภาพ 4) สุขภาพ การไดรับหลักประกันขั้นต่ํา ที่คุมครองสุขภาพของคนจากการเจ็บปวยและการตายดวยโรคภัย หรือการใชชีวิตและพฤติกรรมทางสุขภาพที่ไมเหมาะสม 5) สวนบุคคล ความปลอดภัย จากความรุนแรง การถูกแสวงหาผลประโยชน หรือละเมิดสิทธิ 6) ชุมชน ความปลอดภั ย จากการขั ด แย ง รุ น แรงภายใน หรื อ ระหว า งชุ ม ชนที่ นํ า ไปสู ก ารสู ญ เสี ย ความสัมพันธที่ดี หรือคานิยมรวมดั้งเดิมในชุมชน 9
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. (2549). รายงานผลจัดการสัมมนาระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับความมั่นคงของมนุษย : จุดยืนและกาวตอไป ระหวางวันที่ 8 -9 พฤษภาคม 2549 10 สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (ประเทศไทย), (2552). รายงานการพัฒนาคนของประเทศไทย ป 2552: ความมั่นคงของมนุษยใน ปจจุบันและอนาคต. กรุงเทพฯ: สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (ประเทศไทย) หนา 2. 11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. (2555). มาตรฐานความมั่นคงของมนุษย (Human Security Standards). กรุงเทพฯ: โรง พิมพเทพเพ็ญวานิสย.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 260
7) การเมือง
บริบททางการเมืองในสังคมที่เคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของคนทุกคน มีเสถียรภาพและ มั่นคง จากการจัดอันดับในป พ.ศ. 2554 ใน 232 ประเทศทั่วโลกดวยคาดัชนีความมั่นคงของมนุษย ประเทศสมาชิก อาเซียนที่มีความมั่นคงของมนุษยสูงที่สุด คือ สิงคโปร (รอยละ 80) หากใชอันดับรอยละที่ 50 เปนเกณฑ มีเพียง 3 ประเทศเทานั้น ที่มีระดับความมั่นคงของมนุษยสูงอยูในกลุมประเทศครึ่งแรกของโลก ซึ่งไดแก บรูไน มาเลเซีย และไทย ตามลํ า ดับ สํา หรับ ประเทศสมาชิ กอี ก 6 ประเทศนั้น ความมั่ นคงของมนุ ษ ยยั ง อยู ใ นระดับ ที่ คอ นขา งต่ํา เวี ยดนาม อินโดนีเซีย และลาว มีคาดัชนีอยูในชวงอันดับรอยละที่ประมาณ 30 ถึง 35 ฟลิปปนส และเมียนมาร อยูในอันดับที่ 2223 ขณะที่กัมพูชาซึ่งมีดัชนีความมั่นคงของมนุษยต่ําที่สุดในกลุมประเทศสมาชิกมีอันดับรอยละอยูที่ 16 จากขอมูลการจัด อันดับ จะเห็นไดวา ความมั่นคงของมนุษยในภาพรวมในหลายประเทศสมาชิกอาเซียนยังอยูในระดับที่ต่ําและตองเรง พัฒนา โดยเฉพาะใน กัมพูชา เมียนมาร ฟลิปปนส เชนเดียวกับการพัฒนาคน ซึ่งเปนอีกเรื่องที่มีความสําคัญในการสราง ความมั่นคงของมนุษย รวมถึงความมั่นคงของประเทศในระยะยาว สําหรับประเทศไทย แมความมั่นคงของมนุษยภาพรวม จะอยูในระดับปานกลางคอนขางไปทางดีแลว (อันดับรอยละ 56) แตจากระดับรอยละของคาดัชนีการพัฒนาคนที่ต่ํากวา พอสมควร (อันดับรอยละ 45) การเรงพัฒนาคุณภาพคนในประเทศควบคูไปกับการเสริมสรางความมั่นคงของมนุษย จึงยัง เปนประเด็นการพัฒนาประเทศที่ตองใหความสําคัญ
ความมั่นคงของมนุษยในดานเศรษฐกิจ หัวใจหลักของความมั่นคงทางเศรษฐกิจของมนุษย คือ การที่มนุษยทุกคนมีรายไดที่พอเพียงตอความตองการใน การดํารงชีพขั้นต่ํา ซึ่งรายไดนั้น อาจมีที่มาทั้งจากการทํางาน หรือการไดรับจางงานที่มั่นคงกอใหเกิดรายไดอยางสม่ําเสมอ หรือจากการไดรับการชวยเหลือจากหลักประกันการคุมครองทางสังคมที่มี เมื่อเกิดเหตุการณไมคาดคิดซึ่งทําใหเกิดการ ขาดรายไดประจํา 12 จากการจัดอันดับมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติตอหัว (GNP_C) ซึ่งเปนตัวชี้วัดระดับรายได หรือคุณภาพ 13 ชีวิตทางเศรษฐกิจของคนในแตละประเทศ ใน 187 ประเทศ โดย UNDP (หนวยเปน PPP $ ณ ราคาคงที่ป ค.ศ. 2548) พบวา สิงคโปรและบรูไน เปน 2 ประเทศที่มีอันดับรอยละสูงมาก (ที่ 99 และ 97 ตามลําดับ) ทิ้งหางทุกประเทศในกลุม อาเซียน รวมทั้งมาเลเซีย และไทย ซึ่งมีรายไดตอหัวอยูในเกณฑปานกลางที่อันดับรอยละ 63 และ 51 ตามลําดับ ระดับ รายไดตอหัวของอินโดนีเซีย และฟลิปปนส อยูในอันดับที่เทากันแตถือวา คอนขางต่ํา (ที่ 34) ตามดวยเวียดนาม ลาวและ กัมพูชา และเมียนมาร ซึ่งเปนประเทศที่มีรายไดตอหัวต่ําที่สุดในกลุมอาเซียน โดยอยูที่อันดับรอยละ เพียงที่ 18 จากผล การจัดอันดับขางตน เห็นไดอยางชัดเจนวา ความแตกตางของระดับรายไดในกลุมประเทศอาเซียนนั้นมีสูงมากระหวาง ประเทศที่ร่ํารวยและประเทศที่ยากจน ซึ่งก็เปนภาพสะทอนที่ดีใหเห็นความแตกตางของระดับ ความมั่นคงของมนุษยทาง 14 เศรษฐกิจดวยเชนกัน
12
GNP per capita United Nations Development Programme. (2013). Human Development Report 2013: The Rise of the South Human Progress in a Diverse World. New York: Lowe - Martin Group. 14 รวบรวมจากฐานขอมูลธนาคารโลก ป พ.ศ. 2551 – 2554 (The World Bank, 2013). Indicators. Retrieved 1 March 2014, from The World Bank Open Data: http://data.worldbank.org/indicator 13
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 261
แผนภาพที่ 2 แสดงดัชนีความมั่นคงของมนุษย พ.ศ. 2554 และดัชนีการพัฒนาคน พ.ศ. 2555
ในกลุมประเทศสมาชิกที่รายไดตอหัวต่ํา ปญหาความยากจนของคนในประเทศที่ยังคงมีสัดสวนคนจนอยูใน ระดับที่สูงเปนเรื่องเรงดวนที่ตองใหความสําคัญ จากขอมูลที่มีใน 7 ประเทศสมาชิก ไมรวม สิงคโปร บรูไนและเมียนมาร ณ เสนความยากจนสากล 1.25 PPP$ ตอวัน ประเทศที่มีสัดสวนคนจนสูงที่สุด ไดแก สปป.ลาว (รอยละ 66 หรือ 2 ใน 3 ของประชากรในประเทศ) ตามดวยกัมพูชา (รอยละ 53.3) อินโดนีเซีย เวียดนามและฟลิปปนส แมจะมีสัดสวนคนจนต่ํา กวาแตก็นับวา อยูในระดับที่สูง หรือประมาณ กวา 2 ใน 5 ของประชากรในประเทศ ในกรณีของมาเลเซียและไทย ซึ่งเปน ประเทศสมาชิกที่มีรายไดตอหัวระดับปานกลาง (คอนไปทางสูง - สําหรับมาเลเซีย) ความยากจนอาจไมใชปญหาที่มีระดับ ความรุ น แรงเท า กั บ ป ญ หาการกระจายรายได รวมถึ ง การกระจายทรั พ ยากรทางเศรษฐกิ จ อื่ น ๆ ที่ ไ ม เ ท า เที ย ม ภายในประเทศ พิจารณาจากสัมประสิทธิ์การกระจายรายได ใน 7 ประเทศสมาชิกขางตน มาเลเซียมีระดับการกระจาย รายไดที่ไมเทาเทียมกันมากที่สุด (สัมประสิทธิ์ Gini 46.2) ตามมาดวยฟลิปปนส (ซึ่งยังมีปญหาความยากจนคอนขาง รุนแรง) และไทย ตามลําดับ การขาดหลักประกันและการคุมครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะชวยบรรเทาผลกระทบใหแกประชาชนจากการ ขาดรายไดที่เพียงพอในการดํารงชีพ หรือจากเหตุการณความเสี่ยงตาง ๆ ที่ไมคาดคิด เปนอีกหนึ่งประเด็นที่ประเทศ สมาชิกอาเซียนตองพิจารณาเพื่อพัฒนาใหมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น จากข อมูลของธนาคารโลก ชี้ใหเห็นวา หลาย ประเทศในกลุมอาเซียนยังคงมีสัดสวนประชากรที่ไมมีหลักประกันการคุมครองทางสังคม (จากภาครัฐ ) ใดๆ เลย ใน
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 262
สัดสวนที่สูง โดยเฉพาะในสปป.ลาว กัมพูชา และฟลิปปนส ซึ่งสูงกวารอยละ 90 มาเลเซีย และเวียดนาม ถึงรอยละ 85 และ 71.3 ตามลําดับ
ความมั่นคงของมนุษยดานสิ่งแวดลอม ดัชนีสมรรถนะดานสิ่งแวดลอม หรือ EPI ประเมินสถานการณสิ่งแวดลอมของแตละประเทศ ใน 2 เรื่อง คือ หนึ่ง อนามัยสิ่งแวดลอม (environment health) เกี่ยวกับภาระโรคที่เกิดจากสิ่งแวดลอม ผลกระทบจากมลพิษ ทางอากาศ และผลกระทบเรื่องน้ําที่มีตอมนุษย และสอง การอยูรอดของระบบนิเวศ (ecosystem vitality) เกี่ยวกับ เรื่องมลพิษทาง 15 อากาศ และน้ําความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึง การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ จากผลการประเมินและจัดอันดับดัชนี EPI ลาสุด ป 2555 ใน 132 ประเทศ รวม 9 ประเทศสมาชิกอาเซียน ไม รวมลาว กลาวไดวา ประเทศสมาชิกสวนใหญ มีสถานการณทางสิ่งแวดลอมซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งที่สํา คัญของความ มั่นคงของมนุษย อยูในระดับที่ดีกวาหลายประเทศในโลก ไลเรียงจากมาเลเซีย บรูไน ไทย ฟลิปปนส สิงคโปร และกัมพูชา ที่มีอันดับรอยละสูงกวาที่รอยละ 50 จะเห็นไดวา ที่นาสนใจคือ ในภาพรวมทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ สิงคโปร จะเปนประเทศที่อยูในอันดับหนึ่งมาตลอดใน 10 ประเทศสมาชิก แตในดานสิ่งแวดลอม สถานการณ (ชี้วัดจาก EPI) พบวา แยกวาหลายประเทศในภูมิภาค สวน เมียนม าร อินโดนีเซีย และเวียดนาม เปน 3 ประเทศที่มีสมรรถนะดาน สิ่งแวดลอมต่ําทีส่ ุดตามลําดับ โดยอยูในอันดับรอยละที่รอยละ 41 – 48 ความเสี่ยงตอการหมดไปของทรัพยากรธรรมชาติ ขอมูลรอยละพื้นที่ปาตอพื้นที่ทั้งหมด เปนหนึ่งตัวชี้วัดที่ชวย ใหเห็นภาพสถานการณความมั่นคงของมนุษยทางสิ่งแวดลอม บรูไนเปนประเทศที่มีพื้นที่ปามากที่สุด หรือเกือบ 3 ใน 4 ของพื้นที่รวม รองลงมาไดแก สปป.ลาว มาเลเซีย กัมพูชา ซึ่งยังคงมีพื้นที่ปามากกวาครึ่งของพื้นที่รวม ในขณะที่สิงคโปรมี เพียงรอยละ 3.3 ฟลิปปนส รอยละ 25.7 และไทย (นอยเปนอันดับ 3 ในกลุม) รอยละ 37.1 หรือกวา 1 ใน 3 ของพื้นที่ ประเทศรวม ในดานพลังงาน ขอมูลจากธนาคารโลก แสดงใหเห็นวา สิงคโปร ฟลิปปนส ไทย และกัมพูชา เปน 4 ประเทศ ในกลุมอาเซียนที่มีการพึ่งพิงพลังงานจากภายนอก (การนําเขา) โดยเฉพาะสิงคโปร ที่เกือบรอยละรอยของการบริโภค พลังงานทั้งหมดมาจากการนําเขา ในขณะที่บรูไน อินโดนีเซีย และเมียนมารเปนประเทศที่มีปริมาณการสงออกพลังงาน เทียบกับปริมาณการบริโภคพลังงานในประเทศในสัดสวนที่สูง ระดับการพึ่งพิงพลังงานจากภายนอก เปนตัวชี้วัดที่ดีตัว หนึ่งใหเห็นสถานการณความมั่นคงทางพลังงานของแตละประเทศ
ความมั่นคงของมนุษยดานสังคม ดานอาหาร ความมั่นคงดานอาหาร ซึ่งเปนองคประกอบยอยหนึ่งของความมั่นคงของมนุษยดานสังคม 2 ดัชนีชี้วัด ที่นํามา 16 17 พิจารณา ไดแก ดัชนีความมั่นคงทางอาหารโลก (GFSI) และดัชนีความอดอยากโลก (GHI) ซึ่งทั้งสองเปนดัชนีที่มี จุดประสงคเพื่อประเมินและจัดอันดับสถานการณความมั่นคงทางอาหารของแตละประเทศในโลก เพียงแตมีมิติในการ 18 ประเมินที่ตางกันเล็กนอย GFSI ใหความสําคัญในดานการเขาถึงอาหารของมนุษยทุกคน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง 15
NASA Socioeconomic Data and Applications Center. (2012, February 28). Environmental Performance Index (EPI). Retrieved 1 March 2014, from http://sedac.ciesin.columbia.edu/data/collection/epi 16 Global Food Security Index 2012 (105 ประทศ): GFSI 17 Global Hunger Index 2012 (79 ประเทศ): GHI 18 Economist Intelligence Unit. (2012). The Global Food Security Index 2012: An assessment of food affordability, availability and quality. Economist Intelligence Unit.
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 263 19
คุณภาพ ขณะที่ GHI คํานึงถึงความยั่งยืนของความสามารถในการผลิตอาหารภายใตเงื่อนไขของทรัพยากรตาง ๆ ที่มีใน ปจจุบัน โดยเฉพาะทรัพยากรน้ํา ที่ดิน และพลังงาน มากกวาในเรื่องการเขาถึง อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาอันดับ รอยละ ของกลุมประเทศอาเซียนจากการจัดอันดับดัชนีทั้งสอง ลาสุดในป พ.ศ. 2555 (ใน 105 ประเทศสําหรับ GFSI และ ใน 79 ประเทศ สําหรับ GHI) พบวา ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยสวนใหญ (ไมรวม สิงคโปร และบรูไน ที่ไมถูกรวม ในการจัด อันดับทั้งสองดัชนี) มีสถานการณดานความมั่นคงทางอาหารที่คอนขางดีกวาความมั่นคงของมนุษยในภาพรวม (เมื่อ พิจารณาเทียบกับอันดับรอยละ ของ HSI) โดยเฉพาะในดานความยั่งยืนของความสามารถในการผลิตอาหาร (พิจารณา จาก อันดับรอยละ GHI ซึ่งสูงกวา GFSI ในทุกประเทศ) มาเลเซีย ไทย และเวียดนาม เปน 3 ประเทศแรกที่มีความมั่นคงทางอาหารสูงที่สุด ทั้งในดานความยั่งยืนและ การเขาถึงอาหารของคนในประเทศ ขณะที่ กัมพูชา เมียนมาร และสปป.ลาว มีแนวโนมความเสี่ยงทางดานอาหารที่สูงกวา ประเทศอื่น ๆ เนื่องจาก จํานวนประเทศที่ถูกนํามารวมในการจัดอันดับ GFSI และ GHI อาจเปนคนละกลุมประเทศ สถานการณดานอาหารที่พบจากการจัดอันดับดัชนีทั้งสองนี้ อาจไมสามารถเปรียบเทียบกันไดทั้งหมด อยางไรก็ตาม การที่ อันดับรอยละ GFSI ของประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศอยูในชวงที่ต่ํากวาอันดับรอยละ GHI ก็เปนสัญญาณที่ชี้ใหเห็น วา ความเสี่ยงหรือความไมมั่นคงของมนุษยดานอาหารที่กลุมประเทศอาเซียนควรใหความสําคัญ นาจะเปนปญหาในดาน การไม ส ามารถเข า ถึ ง อาหารของคนทุ ก คนอย า งเท า เที ยม มากกว า ที่ จ ะเป น ความเสี่ ย งในเรื่ อ งความไม ยั่ ง ยื น ของ ความสามารถในการผลิตอาหารจากขอจํากัดในดานทรัพยากร
ดานสุขภาพ ความมั่นคงของมนุษยในดานสุขภาพ จะครอบคลุมถึงหลักประกันและการคุมครองทางสังคมตาง ๆ รวมถึง หลั กประกัน ทางสุข ภาพด ว ยเชน กัน ซึ่ ง พบวา ประชากรจํ านวนมากในหลายประเทศสมาชิ ก อาเซียนยั ง คงไม ได รั บ หลักประกันการคุมครองใดเลย ทั้งในเมียนม าร ลาว ฟลิปปนส และมาเลเซีย ซึ่งคิดเปนสัดสวนมากถึงกวา 4 ใน 5 ของ ประชากรทั้งหมด ในดานสถานะสุขภาพ ซึ่งสามารถชี้วัดไดจากอายุคาดเฉลี่ย รวมถึงอัตราการตาย และสาเหตุของการ ตายของประชากรในแตละประเทศนั้น จากการจัดอันดับจํานวนปของอายุคาดเฉลี่ย (เมื่อแรกเกิด) ของประชากรใน 194 ประเทศโดยใชฐานขอมูลของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ ป พ.ศ. 2555 สิงคโปรเปนประเทศในกลุมที่มี อายุคาดเฉลี่ยของประชากรยืนยาวกวาประเทศอื่น โดยจัดอยูในอันดับรอยละที่ 93 และ 80 ตามลําดับ รองมา ไดแก เวียดนาม ในอันดับที่ 70 นาสนใจ ที่แมองคประกอบความมั่นคงของมนุษยในดานอื่นของเวียดนามจะเปนรองกวาอีก หลายประเทศ แตอายุคาดเฉลี่ย ซึ่งเปนตัวชี้วัดที่สําคัญของสุขภาพประชากรในประเทศกับสูงกวาหลายประเทศมาก ถัด มาไดแก มาเลเซีย และไทย (อันดับที่ 61 - 63) อินโดนีเซียและฟลิปปนส (อันดับที่ 35 - 40) และเมียนมาร และกัมพูชา (อันดับที่ 24 - 27) จากขอมูลการจัดอันดับขางตน สอดคลองกับขอมูลอัตราการตายของแตละประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งพบวา สิง คโปร และบรู ไน มี อัต ราการตายตอ แสนประชากรตอ ป ที่ต่ํ า ตามด วยมาเลเซี ย เวี ยดนาม ไทย อิน โดนีเ ซีย และ ฟลิปปนส ซึ่งยังมีอัตราตายต่ํากวาพันคนตอแสนประชากร ขณะที่ สปป.ลาว กัมพูชา และเมียนมารมีอัตราตายในระดับที่ สูงกวาพันคน โดยเฉพาะเมียนมารที่มีอัตราตายสูงเกือบถึงพันหารอยคนตอแสนประชากร ความแตกตางนี้ สวนหนึ่งเปน ผลจากโครงสรางประชากรในปจจุบันที่ตางกัน และอีกสวนหนึ่งสะทอนใหเห็นความแตกตางในความพรอม และระดับการ พัฒนาทางสาธารณสุขของแตละประเทศ หากพิจารณาสาเหตุการตายรวมดวย จะเห็นวา ความเสี่ยงในดานสุขภาพของ 19
International Food Policy Research Institute (International Food Policy Research Institute, Concern Worldwide, and Welthungerhilfe, 2012)
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 264
ประชากรอาเซียนแตละกลุมประเทศมีลักษณะที่ตางกัน ในกลุมประเทศที่มีรายไดนอย เชน สปป.ลาว กัมพูชา และ เมียนมาร อัตราการตายในสัดสวนที่สูงยังคงเปนการตายที่มีสาเหตุจากโรคระบาด หรือโรคติดตอและการบาดเจ็บ ในขณะ ที่ ประเทศที่มีรายไดปานกลางถึงรายไดสูง สัดสวนของการตายมีสาเหตุมาจากโรคไมติดตอ ซึ่งเปนผลจากปจจัยเกี่ยวกับ วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางสุขภาพที่ไมเหมาะสมมากกวา
ดานชุมชน (ความสงบสุข) สําหรับความมั่นคงของมนุษยในองคประกอบความมั่นคงทางชุมชน สามารถพิจารณาไดจากสถานการณ ความ สงบสุขของแตละประเทศ ทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ ซึ่งไดมีการวัดระดับโดยใชดัชนีความสงบสุขโลก (GPI) และจัดอันดับ 158 ประเทศตามระดับความสงบสุขในป พ.ศ. 2555 เมื่อแปลงผลการจัดอันดับใหเปนอันดับรอยละใน 9 ประเทศอาเซียน (ไมรวม บรูไน) พบวา มาเลเซีย และสิงคโปรเปนประเทศที่มีความสงบสุขสูงที่สุด 2 อันดับแรก (ทีร่ อยละ 88 และ 86 ตามลําดับ) ถัดมาไดแก เวียดนาม และสปป.ลาว อยูอันดับรอยละที่ 79 และ 77 ตามลําดับ ซึ่งเห็นไดวา ไม ห า งจากสิ ง คโปร มากนั ก โดยแสดงให เ ห็ น ว า ระดั บ ความสงบสุ ข ในชุ มชน (หรื อ ประเทศ) อาจไม ไ ด ขึ้ น อยู หรื อ มี ความสัมพันธเชิงบวกกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจหรือรายไดของประเทศเสมอไป สําหรับประเทศไทย ผลจากการจัด อันดับ GPI ซึ่งอยูในรอยละที่ต่ํามาก โดยเปนอันดับที่ 3 ในกลุมประเทศอาเซียน รองจากเมียนมาร และกัมพูชา สะทอน ภาพที่ชัดเจนวา “ความไมสงบสุข” ยังคงเปนประเด็นความเสี่ยง หรือความเปราะบาง ทางสังคมที่สําคัญที่กระทบตอ ความมั่นคงของมนุษยภายในประเทศ ซึ่งควรตองไดรับการแกไขและเยียวยาใหดีขึ้น
ดานสวนบุคคล (ความปลอดภัยในชีวิต) ความสงบสุขในชุมชนสูความมั่นคงของมนุษยใ นดานความปลอดภั ยในสวนบุคคล ปญ หาหนึ่งที่ สําคัญและ มองขามไมได คือ ปญหาเรื่องความปลอดภัยบนทองถนน จากรายงานสถานการณความปลอดภัยบนทองถนนทั่วโลก โดย องคการอนามัยโลก ป พ.ศ. 2556 พบวา อัตราการตายจากจราจรบนทองถนนในประเทศสมาชิกอาเซียน หลายประเทศมี อัตราที่สูง โดยเฉพาะไทย ซึ่งมีอัตราตายจากสาเหตุนี้สูงที่สุดถึง 38.1 คนตอแสนประชากร ถัดมาไดแก มาเลเซียและ เวียดนามที่ประมาณ 25 คนตอแสนประชากร สําหรับความปลอดภัยสวนบุคคลในดานทั่วไป ซึ่งชี้วัด จากอัตราการตาย จากการถูก ฆาตกรรม พบวา ประเทศที่ มีอั ต ราการฆาตกรรมสูง ที่ สุด ในกลุ ม 2 ประเทศแรก ได แก เมี ยนม า ร และ อินโดนีเซีย ถัดมาคือ ฟลิปปนส ไทย และลาว ตามลําดับ
ดานสิทธิและการเมือง สําหรับความมั่นคงของมนุษยทางสังคม ในเรื่องสิทธิและการเมือง ดัชนีและตัวชี้วัดสามารถสะทอนสถานการณ 20 ในกลุมประเทศอาเซียน โดยในดานสิทธินั้น ดัชนีความไมเทาเทียมทางเพศ (GII) และดัชนีอิสรภาพ (FI) ซึ่งมีการจัด 21 อันดับใน 148 ประเทศ และ 123 ประเทศตามลําดับ ซึ่งในป พ.ศ. 2555 จากการจัดอันดับ GII ใน 9 ประเทศ (ไมรวม บรูไน) ซึ่งพิจารณาความไมเทาเทียมระหวางเพศในดานสุขภาพ การมีสวนรวมในกําลังแรงงาน การศึกษาและการเมือง (จากจํานวนที่นั่งในรัฐสภา) พบวา สิงคโปร มาเลเซีย และเวียดนาม เปนประเทศที่มีความเทาเทียมระหวางเพศหญิงและ เพศชายคอนขางสูง (รอยละ 68-92) ไทย ฟลิปปนส และเมียนมาร (รอยละ 47-56) ในระดับปานกลางขณะที่ กัมพูชา
20
Gender Inequality Index 2012 (148 ประเทศ): GII United Nations Development Programme. (2013). Human Development Report 2013: The Rise of the South Human Progress in a Diverse World. New York: Lowe - Martin Group. 21
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 265 22
ลาว และอินโดนีเซีย อยูในระดับคอนขางต่ํา (ความไมเทาเทียมยังมีสูงที่รอยละ 29-36) สําหรับ FI นั้น ประเมินจาก ระดับความมีอิสระของคนภายในประเทศในการเดินทางเคลื่อนยายไปมา ในการแสดงออก ในการมีความสัมพันธและใน ดานความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ถูกรวมในการจัดอันดับมีเพียง 6 ประเทศ (ไมรวม บรูไน 23 เวียดนาม กัมพูชา และสปป.ลาว) จากอันดับรอยละที่ได จะเห็นวา ประเทศที่มีระดับอิสรภาพคอนขางต่ํามากคือ เมียนมาร และรองลงมาไดแก มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ตามลําดับ ซึ่งอยูในอันดับรอยละต่ํากวารอยละ 50 นอกเหนือจากความเทาเทียมทางเพศ และความมีอิสระในการใชชีวิตดานตาง ๆ แลว ความมั่นคงของมนุษยที่ สําคัญอีกเรื่องก็คือ การไดรับการเคารพในสิทธิขั้นพื้นฐานของความเปนมนุษย ในการที่จะใชชีวิตอยางเทาเทียม และมี เกียรติโดยไมถูกละเมิดสิทธิ หรือถูกแสวงหาผลประโยชนจากสิทธิที่ควรจะได การคามนุษย (human trafficking) เปน การละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรงที่เกือบทุกประเทศเห็นตรงกันวา ควรไดรับการใหความสําคัญ และตองขจัดใหหมด ไป อยางไรก็ตาม จากการจัดชั้น (tier placement) ตามสภาพการณปญหาการคามนุษยในแตละประเทศ โดย I Department of States ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนถึง 3 ประเทศที่ยังคงถูกจัดใหอยู ใน ระดับ tier 2 watch list หรือในกลุมที่จัดวา มีความพยายามในการแกไขปญหาการคามนุษยในระดับหนึ่ง แตอุบัติการณ หรือความรุนแรงของการคามนุษยยังอยูในระดับที่ตองจับตา ซึ่งประเทศเหลานี้ ไดแก เมียนมาร มาเลเซีย และในป 2557 นี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาไดประกาศใหประเทศไทย อยูในระดับ tier 3 ในดานการเมือง การทํางานอยางโปรงใสมีธรรมาภิบาลของภาครัฐ และความมีเสถียรภาพของภาคการเมือง เปนปจจัยกําหนดหนึ่งที่มีอิทธิพลอยางยิ่งตอความมั่นคงของมนุษยในดานตางๆ ของคนในประเทศ จากการจัดอันดับดัชนี 24 ภาพลักษณคอรัปชั่น (CPI) ใน 176 ประเทศ (พ.ศ. 2555) ซึ่งประเมินภาพลักษณการคอรัปชั่น และการใชอํานาจที่มีใน การแสวงหาประโยชนมิชอบของเจาหนาที่ภาครัฐในแตละประเทศ โดยผูเชี่ยวชาญ และการเก็บขอมูลการสอบถาม 25 (Survey data) หลายแหลง พบวา สิงคโปรเปนประเทศที่มีภาพลักษณดีที่สุดในกลุมประเทศอาเซียน และเกือบดีที่สุด ในประเทศทั้งหมดที่ถูกจัดอันดับ บรูไน และมาเลเซียก็มีภาพลักษณอยูในระดับที่ดี โดยอยูในอันดับรอยละที่ประมาณ 70 - 75 ภาพลักษณคอรรัปชั่นของไทยอยูในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศอื่นโดยอยูในรอยละตรงกลางที่ 51 ขณะที่ ฟลิปปนส อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีภาพลักษณคอรรัปชั่นที่ไมดีมาก แตก็นับวาดีกวาสปป.ลาว กัมพูชา และเมียนมาร ซึ่งมีภาพลักษณของการคอรรัปชั่นของภาครัฐที่คอนขางสูง โดยเฉพาะสําหรับเมียนมาร ซึ่งมีอันดับรอยละอยูที่ 3 26 ดัชนีความไมมีเสถียรภาพทางการเมือง (PII) เปนดัชนีที่ใชชี้วัดระดับความเสี่ยงของการเกิดการประทวงตอตาน จากภาคสังคม (social protest) ตอภาคการเมือง โดยประเมินจากปจจัยเสี่ยงในดานตาง ๆ และจากระดับความตึงเครียด 27 ทางเศรษฐกิจ (economic distress) ที่มีในประเทศ ลาสุดมีการจัดอันดับ ใน 165 ประเทศ (พ.ศ. 2552 - 53) ซึ่งพบวา ประเทศในกลุมอาเซียนที่มีเสถียรภาพทางการเมืองมากที่สุดคือ เวียดนาม ตามดวยสิงคโปร และสปป.ลาว ในอันดับ 2 และ 3 สวนประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมืองนอยที่สุด และเกือบจะนอยที่สุดในการจัดอันดับทั้งหมดคือ กัมพูชา 22
Freedom Index 2012 (123 ประเทศ): FI McMahon, F. (2012). Towards a Worldwide Index of Human Freedom. Canada: Fraser Institute 24 Corruption Perception Index 2012 (176 ประเทศ): CPI 25 Transparency International. (2012). Corruption Perceptions Index 2012. Retrieved 1 March 2014, from http:// cpi.transparency.org/ cpi2012/results/ 26 Political Instability Index 2009 - 10 (165 ประเทศ): PII 27 Economist Intelligence Unit . (n.a.). ViewsWire. Retrieved 1 March 2014, from Social Unrest: http://viewswire.eiu.com/site_info.asp? info_name=social_unrest_table&page=noads 23
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 266
สําหรับไทย ซึ่งนาจะเปนผลจากความไมสงบทางการเมืองที่มีนับตั้งแตการปฏิวัติในป พ.ศ. 2549 ทําใหมี GII มากที่สุด (ซึ่งหมายความวา มีเสถียรภาพทางการเมืองนอยที่สุด) เปนอันดับ 3 รองมาจาก กัมพูชา และเมียนมาร ดัช นีแ ละตั วชี้ วัด ที่ เกี่ ยวข อง ข อ ค น พบที่ ได เป นเพียงภาพสะทอ นผ า นข อมู ล ที่เ ปน ตั วเลขเทา นั้น แต ก็เ ป น หลักฐานเชิงประจักษเบื้องตนที่แสดงใหเห็นถึงสถานการณที่เปนอยูของแตละประเทศ ความแตกตางของบริบทดานตาง ๆ ที่ยังคงมีอยูในกลุมประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ และชี้ใหเห็นจุดแข็ง จุดออนที่แตละประเทศตองใหความสําคัญในการ ปรับปรุงใหดีขึ้น ในที่นี้ไดแบงเปนองคประกอบที่ตองพัฒนา ดังตารางแสดงองคประกอบที่ตองการพัฒนาความมั่นคงของ มนุษยในแตละประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้น ทรัพยากรมนุษย จึงถือเปนปจจัยในการขับเคลื่อนองคกรใหคงอยูทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงใน ปจจุบันที่มีการแขงขันสูง และเปนปจจัยนําพาไปสูเปาหมาย และกาวสูความสําเร็จ ดังนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษยให สามารถและใหทันตอการเขาสูประชาคมอาเซียน จะตองพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีศักยภาพสูง มีความเปนเลิศ มีการสั่ง สมความรู มีทักษะ มีความเชี่ยวชาญ และการขยายขอบเขตความรูความสามารถอยางตอเนื่อง จึงเปนภาระหนาที่ของนัก ทรัพยากรมนุษยในการพัฒนา “คน” ใหสามารถรองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน นักพัฒนาทรัพยากรมนุษยจะตอง มีบทบาทสําคัญในการพัฒนา “คน” ของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยดําเนินการพัฒนา ทักษะความเชี่ยวชาญ พัฒนาความรูความสามารถที่เปนสากล การพัฒนาความรวมมือในการเปนประชาคมอาเซียน จึงนับวา เปนสิ่งทาทาย ซึ่งประเทศในกลุมประชาคม อาเซียนจะตองรวมกันผลักดันใหเปาหมายมีการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม โดยในทางการเมืองและความมั่นคงจะตองสราง คานิยมรวมกัน บรรทัดฐาน และกฎเกณฑ เพื่อสรางอาเซียนใหมีความสงบสุข แข็งแกรง และรวมรับผิดชอบในการ แกปญหาความมั่นคง โดยใหเปนชุมชนแหงสังคมที่เอื้ออาทร มุงสรางอาเซียนเปนสังคมที่มีเอกภาพ เอื้ออาทรตอกัน มี ความเปนอยูที่ดี พัฒนาทุกดาน และมีความมั่นคงทางสังคม ดวยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ดวยการเนนการบูรณาการ ดานการศึกษา สรางสังคมแหงการเรียนรู สงเสริมการจางงานที่เหมาะสม สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการ ปญหาสิ่งแวดลอม การคุมครองและสวัสดิการสังคม สรางเครือขายความปลอดภัยทางสังคม ความยุติธรรมและสิทธิตาง ๆ คุมครองสิทธิผูดอยโอกาส แรงงานยายถิ่นฐาน สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม การสรางอัตลักษณอาเซียน เพื่อสราง ความรูสึกเปนเจาของรวมกัน อนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน สงเสริมการสรางสรรคดานวัฒนธรรม ลดชองวาง การพัฒนา
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 267
ตารางแสดงองคประกอบที่ตองการพัฒนาความมั่นคงของมนุษยในแตละประเทศสมาชิกอาเซียนII ประเทศสมาชิกอาเซียน สิงคโปร บรูไน มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย
ฟลิปปนส
เวียดนาม ลาว กัมพูชา เมียนมาร
ตองพัฒนา
ตองพัฒนา “เรงดวน”
ตองปรับปรุง ดานสิ่งแวดลอม, ดานสังคม (อิสรภาพ)
ดานสังคม (อิสรภาพ, เสถียรภาพทางการเมือง) ด า นสั ง คม (ความสงบสุ ข , เสถี ย รภาพทาง ด า นเศรษฐกิ จ , ด า นสั ง คม (อิ ส รภาพ, การเมือง) ภาพลักษณคอรัปชั่น) ดา นเศรษฐกิ จ , ดา นสิ่ง แวดลอ ม, ดา นสัง คม ดานสังคม (ความเทาเทียมทางเพศ) (อาหาร, สุ ข ภาพ, อิ ส รภาพ, ภาพลั ก ษณ คอรัปชั่น, เสถียรภาพทางการเมือง) ดานสังคม (อาหาร, สุขภาพ, ความเทาเทียม ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (ความสงบสุข) ทางเพศ, อิ ส รภาพ, ภาพลั ก ษณ ค อรั ป ชั่ น , เสถียรภาพทางการเมือง) ดานสิ่งแวดลอม, ดานสังคม (อาหาร) ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (ภาพลักษณคอรัปชั่น) ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (อาหาร, สุขภาพ, ดานเศรษฐกิจ, ดานสังคม (ภาพลักษณคอรัปชั่น) ความเทาเทียมทางเพศ) ดา นสั งคม (อาหาร, สุข ภาพ, ความสงบสุ ข , ดา นสั ง คม (ภาพลั ก ษณ คอรั ปชั่ น , เสถี ยรภาพ ความเทาเทียมทางเพศ) ทางการเมือง) ดา นเศรษฐกิ จ , ดา นสิ่ง แวดลอ ม, ดา นสัง คม ด า นเศรษฐกิ จ , ด า นสั ง คม (ความสงบสุ ข , (อาหาร, สุขภาพ, ความเทาเทียมทางเพศ) อิสรภาพ, ภาพลักษณคอรัปชั่น, เสถียรภาพทาง การเมือง)
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 268
สําหรับความรวมมือของประชาคมอาเซียนดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางเปนรูปธรรม จะเห็นไดจากการ กําหนดนโยบายดานการศึกษาของประชาคมอาเซียนที่ริเริ่มนํามาปฏิบัติอยางคอยเปนคอยไป โดยเริ่มดําเนินการครั้งแรก ในป พ.ศ. 2508 จากการกอตั้ง The Southeast Asian Ministers of Education Organization : SEAMEO) โดยมี กลไกของการประชุมใหญประจําป คือ การประชุมรัฐมนตรีศึกษา (สภาซีแมค) จากนั้น ในป พ.ศ. 2518 มีการจัดการ ประชุมดานการศึกษา Asean Permanent Committee on Socio-Cultural Activities โดยยกระดับความรวมมือสู รัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษา ในป พ.ศ. 2520 โดยตัวของ Committee ก็ไดยกระดับเปน Asean Committee on Education (ASCOE) ตั้งแตป พ.ศ. 2532 และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 15 ปฏิญญาชะอําหัวหินวาดวยการ เสริมสรางความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน (Cha am – Hua hin Declaration on strengthening cooperation on education to achieve and Asean caring and sharing community) เปนการประชุมระดับผูนําอาเซียน เพื่อย้ําถึงบทบาทสําคัญของการศึกษาในการสรางประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 โดยสาระสําคัญของปฏิญญาที่เกี่ยวกับบทบาทของการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ คือ 1. พัฒนาจัดทําแผนบูรณาการเพื่อจัดทํากรอบการพัฒนาทักษะในอาเซียนดวยการจัดทํา Asean benchmaking และระบบการเทียบโอนหนวยกิต โดยใหความสําคัญกับสถาบันการฝกอบรมดานอาชีวศึกษา 2. สงเสริมใหมีการถายโอนนักเรียนดวยการจัดทําระบบแสดงขอมูลดานการศึกษาที่กําลังเปดสอนในกลุม ประเทศอาเซียน 3. สนับสนุนการเคลื่อนยายแรงงานฝมือ โดยเริ่มในบางสาขาอาชีพกอน เชน ดานบัญชี การแพทย วิศวกร พยาบาล สถาปนิก โดยสงเสริมใหมีการรวมอบรมและปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม 4. สนับสนุนการจัดตั้งเครือขายสารสนเทศอาเซียนดานทรัพยากรมนุษย ทั้งนี้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของอาเซียน ไดมีความรวมมือดานแรงงาน โดยใหความสําคัญตอสิทธิมนุษยชน ของแรงงาน ดวยการไมสนับสนุนการคาแรงงานเด็ก ตอตานการกดขี่แรงงาน การรวมมือกันปราบปรามการคามนุษย เชน การบังคับเด็กมาเปนแรงงาน การคาผูหญิง สงเสริมการพัฒนาชนบท การใหการศึกษา การขจัดความยากจน การพัฒนา สตรีดวยการสงเสริมใหมีอาชีพเลี้ยงตัวได และใหมีการศึกษา การสงเสริมสวัสดิการสังคม เชน การใหการรักษาพยาบาล การใหการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้ อาเซียนยังเนนการขจัดความยากจน การเพิ่มการจางงานที่มีผลผลิตที่สูงขึ้น และ การคุมครองกลุมผูดอยโอกาสในสังคม โดยประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมมือกัน และไดรับการสนับสนุนจากองคการ ระหวางประเทศ และองคกรเอกชนตาง ๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีบทบาทอยางแข็งขันในการสงเสริมความรวมมือและประสานความสัมพันธอันดีที่มี อยูระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเนนความร วมมือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตใหไดรับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ และมีฐานะที่มั่นคง เพื่อใหประชาชนชาวอาเซียนมี ความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดีทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งปจจุบันไดมีการกําหนดความรวมมือดานสังคมของ อาเซียนตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนนั้น มี 6 ดาน ประกอบดวย การพัฒนาทรัพยากร มนุษย การคุมครองและสวัสดิการสังคม สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม การสรางอัตลักษณ อาเซียนและลดชองวางทางการพัฒนา ซึ่งประเทศไทยมีบทบาทในดานสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่สําคัญ อาทิ
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 269
1. การสงเสริมความรวมมือดานการพัฒนาสังคมของอาเซียน ในการประชุมผูนํารัฐบาลอาเซียน ครั้งที่ 5 เมื่อป พ.ศ. 2538 ที่กรุงเทพฯ เปนจุดเริ่มตนของมิติใหมในการ พัฒนาสังคม เนื่องจาก เปนครั้งแรกที่ผูนําอาเซียนแสดงเจตจํานงใหมีการยกระดับความรวมมือดานการพัฒนาสังคมให ทัดเทียมกับความรวมมือดานการเมืองและเศรษฐกิจของอาเซียนโดยไดระบุไวใน “ปฏิญญากรุงเทพ ป ค.ศ. 1995” และมี แนวทางการดําเนินการ คือ ความไพบูลยรวมกันในการพัฒนามนุษย ความสามารถในการแขงขันดานเทคโนโลยีและความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และสืบเนื่องจากแนวคิดนี้ ตอมาที่ประชุมอยางไมเปนทางการของผูนํารัฐบาลอาเซียน ครั้งที่ 1 ณ กรุงจาการตา เมื่อป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ไทยก็ไดมีสวนผลักดันมติสําคัญ คือ การจัดทําวิสัยทัศนอาเซียน (ASEAN Vision) ใหครอบคลุมความรวมมือดานการเมืองและสังคมของอาเซียน และไดเห็นชอบใหจัดตั้งมูลนิธิอาเซียนขึ้น เพื่อ สนับสนุนกิจกรรมการศึกษาและการสรางความสัมพันธทางสังคมของอาเซียน ซึ่งจะเสริมสรางจิตสํานึกในความเปน อาเซียนและขยายการติดตอ การไปมาหาสูกัน แนวคิดการจัดตั้งมูลนิธิอาเซี ยนดังกลาว สวนหนึ่งพัฒนามาจากขอเสนอ จัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาสังคมของนายอํานวย วีรวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศในขณะนั้น และไดเขารวมการประชุมดังกลาว 2. การสงเสริมความรวมมือดานการศึกษา ประเทศไทยตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาตอการพัฒนาสังคม จึงไดนําเสนอ และสงเสริมแนวคิด ในการนําการศึกษามาเปนเครื่องมือในการพัฒนาสังคมและสรางความเขาใจอันดีระหวางกันของประชาชนในอาเซียน อยางตอเนื่อง บทบาทสําคัญในดานนี้ ไดแก การริเริ่มจัดตั้งเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน(ASEAN University Network หรือ AUN) ในป พ.ศ.2538 ตามมติของที่ประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 4 ที่มุงใหมีการสรางอัตลักษณอาเซียนและ พัฒนามนุษยผานการสรางความเขมแข็งของเครือขายมหาวิทยาลัย และสถาบันอุดมศึกษาที่มีอยูแลว เพื่อประโยชนใน ดานการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารดานการศึกษาและการดําเนินกิจกรรมดานการศึกษาระดับสูง โดยมีสํานักงานอยูที่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ การจัดตั้ง AUN ทําใหมีกิจกรรมความรวมมือตางๆ หลายดาน เชน การสรางโปรแกรมอาเซียนศึกษา การ พัฒนาหลักสูตรอาเซียนศึกษารวมกัน ความรวมมือดานการวิจัย ซึ่งริเริ่มเมื่อป พ.ศ. 2543 การจัดประชุมดานวัฒนธรรม เยาวชนอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2546 การแลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษาและคณาจารยใน AUN และความรวมมือดานการ ประกันคุณภาพการศึกษาของอาเซียน เปนตน 3. การสงเสริมการจัดตั้งคณะกรรมาธิการวาดวยการปกปองและสงเสริมสิทธิของสตรีและเด็ก (ACWC) การจัดตั้งคณะกรรมาธิการวาดวยการปกปองและสงเสริมสิทธิของสตรีและเด็ก (ASEAN Commission for the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children หรือ ACWC) มีวัตถุประสงคเพื่อให เปนกลไกในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของสตรีและเด็กในอาเซียน ประเทศไทยมีสวนสําคัญและมีบทบาทนําในการผลักดันใหเกิด TOR (Term of Reference) ของ ACWC จนเปนผลสําเร็จภายในเวลา 6 เดือน ในป พ.ศ. 2552 ซึ่งไทยรับหนาที่เปนประธานในการยกราง และถือไดวา เปน TOR ที่ภาคประชาสังคมของไทยและของประเทศสมาชิกไดมีสวนรวมในการรางดวย และในการประชุม ACWC ครั้งที่ 1 เมื่อ เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2554 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทยไดรับเลือกอยางเปนเอกฉันทใหเปนประธาน ACWC มี วาระดํารงตําแหนง 3 ป และไดมีการราง Rules of Procedures (ROP) ของ ACWC ฉบับที่ 1 รวมทั้งรางแผนการ ดําเนินงาน 5 ป โดยไทยใหความสําคัญตอสิทธิในการศึกษา การพัฒนาของเด็กปฐมวัย และประเด็นเรื่องความรุนแรงใน ครอบครัว โดยไทยไดเสนอตอที่ประชุมวาจะเปนเจาภาพจัดการประชุมเรื่อง Violence against Women and Children ในป พ.ศ. 2555 ดวย
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 270
4. การจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน บทบาทอีกอยางหนึ่งของประเทศไทยดานสังคม คือ ไดผลักดันใหกลไกใหม ๆ ของอาเซียนที่กําหนดไวใน กฎบัตรฯ สามารถดําเนินงานไดอยางครบถวน รวมทั้งเปดโอกาสใหประชาชน และภาคประชาสังคมตาง ๆ ไดเขามามีสวน รวม เพื่อชวยกันสรางประชาคมอาเซียน ดังจะเห็นไดจากริเริ่มใหมีการพบปะอยางไมเปนทางการระหวางผูนําอาเซียนกับ ผูแทนสมัชชารัฐสภาอาเซียน เยาวชนอาเซียน และภาคประชาสังคมอาเซียน ในระหวางการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 และครั้งที่ 15 ที่ชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย เปาหมายสําคัญประการหนึ่งของไทยในการสรางประชาคมอาเซียนใหเปน ‘ประชาคมเพื่อประชาชน’ ก็คือ การจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียนเพื่อใหเปนหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือระหวางประเทศสมาชิก อาเซียนกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และองคกรภาคประชาสังคมตาง ๆ ในการสงเสริมและคุมครองสิทธิของ ประชาชนในภูมิภาค ซึ่งเปนที่นายินดีวา เปาหมายดังกลาวไดบรรลุผลอยางเปนรูปธรรมในระหวางการประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 15 ที่ชะอํา-หัวหิน เมื่อเดือนตุลาคม 2552 ซึ่งมีการประกาศจัดตั้ง คณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาล อาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน-ไอชาร (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rightsหรือ AICHR) ขึ้น อยางเปนทางการ ในการประชุมสุดยอดผูนําสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (อาเซียนซัมมิท) ครั้งที่ 15 เมื่อ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ณ ชะอํา-หัวหิน ระหวางซึ่งเปนการจัดตั้งตามมาตรา 14 ของกฎบัตรอาเซียน AICHR ถือเปน กลไกสิ ท ธิ มนุ ษ ยชนกลไกใหม ใ นภู มิ ภาคโดยมี อํ า นาจหน า ที่ ใ นการส ง เสริ ม และคุ มครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ซึ่ ง นั บ เป น ความสําเร็จประการหนึ่งที่ไทยในฐานะประธานอาเซียนไดมีบทบาทสําคัญในการผลักดัน ปญหาสิทธิมนุษยชนในกลุมประเทศอาเซียนเปนปญหาที่ มีมาอยางยาวนาน และซับซอน และลุกลามถึง ปญหาระดับระหวางประเทศ ประเทศใดประเทศหนึ่งจึงไมอาจแกไขปญหานี้ไดโดยลําพังเมื่อยอนกลับไปดูเรื่องราวของ อาเซียน ที่จริงแลวอาเซียนมีการพูดถึงเรื่องสิทธิมนุษยชนมานานแลว โดยเริ่มตั้งแตการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ 36 ซึ่งจัดขึ้นที่สิงคโปร ระหวางวันที่ 23-24 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ในแถลงการณรวม (ในขณะนั้นมีสมาชิกทั้งหมด 6 ประเทศไดแก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส และบรูไน) 5. การจัดตั้งกลุมสามฝายอาเซียน-เมียนมาร-สหประชาชาติ (Tripartite Core Group หรือ TCG) ประเทศไทยไดมีบทบาทนําในการจัดตั้ง Tripartite Core Group หรือ TCG ซึ่งประกอบดวยพมา อาเซียน และสหประชาชาติ เพื่อเปนกลไกประสานงานเรื่องการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมแกพมาในชวง ไซโคลนนารกิส โดยมีการจัดทําแผนฟนฟูและเตรียมความพรอมหลังภั ยพิบัติไซโคลนนารกีส (Post-Nargis Recovery and Preparedness Plan - PONREPP) ซึ่งมีนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน และผูแทนของกลุมสามฝาย อาเซียน-พมา-สหประชาชาติ (Tripartite Core Group - TCG) เปนผูดูแลรับผิดชอบ PONREPP เปนแผน 3 ป (พ.ศ. 2552-2554) เนนการบูรณะฟนฟูใน 8 ดานคือ การประกอบอาชีพ ที่หลบภัย การศึกษา สาธารณสุข น้ําและสุขอนามัย การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ สิ่งแวดลอม และการคุมครองกลุมที่ไดรับผลกระทบ ความสําเร็จของ PONREPP เปนกาว สําคัญของการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งไมเพียงแคสําหรับเมียนมาร แตจะมีผลตอการจัดการภัยพิบัติของอาเซียนในภูมิภาคดวย โดยผลงานสําคัญ คือ ประเทศไทยไดใหความชวยเหลือชาวพมาที่ประสบภัยจากไซโคลนนารกิสคิดเปนมูลคาประมาณ 17 ลานดอลลารสหรัฐ (ประมาณ 595 ลานบาท) และกําลังจะชวยเหลือเมียนมารในการสรางที่หลบภัย 2 แหง สถานีอนามัย 2 แหง และสนับสนุนการปรับปรุงธนาคารเลือดที่โรงพยาบาลกลางในกรุงยางกุง โดยดําเนินงานโครงการขางตนในพระ นามของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 271
นอกจากบทบาทดังกลาวมา ประเทศไทยยังมีบทบาทนําและมีสวนรวมสงเสริมแนวคิดและแนวปฏิบัติ ตาง ๆ ดานสังคมและวัฒนธรรมอีกมากมาย เชน - การเปนศูนยอบรมเจาหนาที่ปราบปรามยาเสพติดของอาเซียน - การผลักดันใหอาเซียนมีมติรับรองการจัดใหมีปแหงการปลูกจิตสํานึกในการตอตานยาเสพติด อาเซียน ระหวางป 2545-2546 และสนับสนุนใหมีการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 7 รับรอง ปฏิญญาวาดวยเชื่อ HIV - การสงเสริมกิจกรรมดานสาธารณสุขอาเซียน เชน การจัดกิจกรรมวันไขเลือดออกอาเซียน - การรวมเสนอใหมีกลไกระดับรัฐมนตรีดานการกีฬาอาเซียน (ASEAN Ministerial Body on Sports) เพื่อสงเสริมความรวมมือดานการกีฬา - การผลักดันใหอาเซียนยกระดั บแรงงานของตนโดยการดําเนินโครงการดานการพัฒนาทักษะ แรงงานของอาเซียนใหสามารถรองรับความเจริญกาวหนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของ ประเทศสมาชิกสวนใหญ ตลอดจนผลักดันใหอาเซียนเห็นพองรวมกันวาไมควรเชื่อมโยงเรื่อง มาตรฐานแรงงานเขากับการคาระหวางประเทศตามความประสงคของประเทศพัฒนาแลว ดังนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนจุดมุงหมายหลักประการหนึ่งของประชาคมอาเซียน ในการยกระดับความ รวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม เพื่อแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนโดยตรง เชน ปญหา ความยากจน แรงงาน สิ่งเสพติด สิ่งแวดลอม ผูดอยโอกาส โรคติดตอ เปนตน ซึ่งจะชวยใหประชากรอาเซียนอยูในสังคมที่ มีความแข็งแกรงมีจริยธรรมและธรรมาภิบาล และดํารงชีวิตอยางมีความสุข ซึ่งประชาคมอาเซียนไดจัดทําแผนการรวม เปนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่เนนประชาชนเปนศูนยกลาง จึงไดกําหนดแผนงานความรวมมือเพื่อพัฒนา ทรัพยากรมนุษยในระดับภูมิภาค เพื่อใหอาเซียนมีสังคมที่มั่นคง ประชาชนยึดมั่นคุณธรรม ยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางรูคุณคา และมุงเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหสามารถปรับตัว เขากับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ในอนาคต ตลอดจนสามารถรับมือกับวิทยาการสมัยใหม และการแขงขันทางเศรษฐกิจที่จะ เพิ่มมากขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ
ค ว า ม มั่ น ค ง ม นุ ษ ย : ห น า | 272
อางอิงทายบท I
หมายเหตุ ในรายงานการคามนุษย พ.ศ. 2556 การจัดชั้น tier placement สําหรับแตละประเทศนั้น พิจารณาจากผลการ ดําเนินงานและความพยายามของรัฐบาลในการแกปญหาหรือขจัดปญหาการคามนุษยให หมดไป มากกวาที่จะเปนการ พิจารณาจากระดับความรุนแรงของปญหาคามนุษย โดย tier 1 หมายถึงประเทศที่ไดดําเนินมาตรการขั้นต่ําตามขอกําหนดใน ทุกๆ ดาน เพื่อขจัดปญหาการคามนุษย เปนที่เรียบรอยแลว tier 2 หมายถึง ประเทศที่ยังไมไดดําเนินมาตรการขั้นต่ําตาม ขอกําหนดในบางดาน แตรัฐบาลแสดงใหเห็นถึงความพยายามและเจตนาที่จะดําเนินการใหดีขึ้น tier 2 watch list (ในที่นี้ แทนดวย 2.5) หมายถึง ประเทศที่ยังไมไดดําเนินมาตรการขั้นต่ํา บางดาน รัฐบาลแสดงใหเห็นถึงความพยายามและเจตนา แต ยังพบปญหาการคามนุษยอยูในระดับที่สูงและจําเปนตองเฝาระวัง tier 3 หมายถึง ประเทศที่ยังไมไดดําเนินมาตรการขั้นต่ํา บางดาน และรัฐบาลก็ไมไดแสดงใหเห็นถึงความพยายามและเจตนาที่จะดําเนินการ ใหดีขึ้น II หมายเหตุ: 1) เปนการสรุปขอเสนอแนะ เฉพาะจากขอมูลดัชนีที่มีการจัดอันดับในระดับนานาชาติ (ไมรวมขอมูล ตัวชี้วัด) ซึ่งอาจไมครอบคลุมในทุกประเด็นของแตละองคประกอบความมั่นคงของมนุษย, 2) “ตองพัฒนา” หมายถึง องคประกอบความมั่นคงของมนุษยที่มีอันดับรอยละจากการจัดอันดับดวยคา ดัชนีที่เกี่ยวของ ต่ํากวารอยละที่ 50; “ตองพัฒนาเรงดวน” หมายถึง องคประกอบความมั่นคงของมนุษยที่ มีอันดับรอยละจากการจัดอันดับดวยคาดัชนีที่เกี่ยวของต่ํากวารอยละที่ 50 และต่ํากวาอันดับรอยละของ ดัชนีความมั่นคงของมนุษย (HSI) ของประเทศ; “ตองปรับปรุง” หมายถึง องคประกอบความมั่นคงของ มนุษยที่มีอันดับรอยละจากการจัดอันดับดวยคาดัชนีที่เกี่ยวของสูงกวารอยละที่ 50 แตต่ํากวาอันดับรอย ละของดัชนีความมั่นคงของมนุษย (HSI) ของประเทศ
อาชญากรรมทางคอมพิ ว เตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะเปนเครื่องมือสําคัญที่จะทําใหปจเจกบุคคลสามารถนํามาประยุกตใชใน การดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ มีอิสระที่จะเลือกและกระทําการใด ๆ โดยปจเจกชนทั่วไปรวมถึงชุมชนและทองถิ่น สามารถเขาถึงขอมูลและขาวสารและมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ทางโลกออนไลนในการดําเนินชีวิตและปฏิบัติหนาที่การ งาน รวมไปถึงความสามารถในการที่จะมีบทบาทสําคัญและมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนามากขึ้น e-Government ใน รูปแบบของ e-Service จะเปนกลไกหลักในการปฏิรูปกระบวนการทํางานของภาครัฐและเอกชน และเปนศู นยกลางของ การพัฒนาดาน ICT ใหกับภาครัฐ ภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม ในมุมมองที่ดีตอสังคม การที่บุคคลสามารถเขาถึงขอมูล ตาง ๆ ได นอกจากจะเปนประโยชนตอตนเองแลว ยังจะชวยใหการทํางานของรัฐมีความโปรงใส ตรวจสอบได ดวยการ เปดโอกาสใหประชาชนและธุรกิจเขาถึงขอมูลขาวสารและระบบงานผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Participation) ได ในทาง กลับกันอาจจะสงผลกระทบตอสังคมก็คือ ความสามารถในการควบคุมและการดําเนินการตาง ๆ ของภาครัฐ จะทําไดยาก ขึ้น ประชาชนสามารถที่จะใช ICT ในการสื่อสารถึงกันและใชเปนเครื่องมือกระทําการละเมิดตอผู อื่น หรือกอใหเกิด เหตุการณที่มีผลกระทบตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของสังคมได รัฐและภาคสวนที่เกี่ยวของจึงตองตระหนัก ถึงมิติตาง ๆ ในดานธรรมาภิบาลที่ดี การปกปองคุมครองผูบริสุทธิ์ และความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร เพื่อวางนโยบาย มาตรการ ระเบี ย บ กฎเกณฑ และกฎหมายที่ เ หมาะสม เพื่ อ ความสงบสุ ข ของสั ง คมยุ ค ดิ จิ ทั ล ที่ ทุ ก ประเทศต า งก็ ตั้งเปาหมายไว ปจจุบัน เครือขายคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ถูกนํามาใชเปนกลไกหลัก ที่สนับสนุนการประกอบธุรกิจ การดําเนินงานขององคกร หรือการติดตอสื่อสารของประชาชนทั่วไป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตลอดจนอํานวยความสะดวกในการทําธุรกรรม ดวยการใชเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส (Electronic document) การชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic payment) การใชสื่อสังคมออนไลน (Social media) การทํา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสเหลานี้ มีการใชงานอยางแพรหลายทั่วไป และมีกฎหมายรองรับผลของการทํา ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกสมาตั้งแตป พ.ศ. 2544 ตามพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 อยางไรก็ตาม การทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสมีความเสี่ยงจากภัยคุกคามดานสารสนเทศ (Threat) และชอง โหวของระบบสารสนเทศ (Vulnerability) ที่เกี่ยวของ ซึ่งอาจถูกใชเปนชองทางในการกออาชญากรรมในหลายรูปแบบ ทั้งที่อยูในลักษณะการใชอินเทอรเน็ตในการกออาชญากรรมโดยตรงซึ่งเรียกวา “อาชญากรรมคอมพิวเตอร” หรือใน ลักษณะที่มีการใชอินเทอรเน็ตเปนสื่อในการกออาชญากรรมตาง ๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร (Cyber-Crime) เปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย โดยใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอรและขอมูลที่อยูบนระบบดังกลาว สวนในมุมมองที่กวางขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ คอมพิวเตอร” หมายถึง การกระทําที่ผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งอาศัย หรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร หรือ เครือขาย อยางไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ ไมถือเปนอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรโดยตรง ซึ่งเปนเวลากวาทศวรรษ มาแลวที่นักคิดและนักคาดการณอนาคตไดทํานายไววา รูปแบบภัยคุกคามดานความมั่นคงของชาติจะเปลี่ยนไปอยางถอน รากถอนโคน (Radical change) ซึ่งจะเปนภัยคุกคามที่เปนลักษณะ ”สงครามอสมมาตร” (Asymmetric warfare) โดย ฝายตรงขาม หรือผูกอการรายจะโจมตีจุดสําคัญที่เปนหัวใจของชาติ โดยไมจําเปนตองมีกําลังทางทหาร ดวยการใชสื่อ ดิจิทัล (Digital media) และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เปนเครื่องมือขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร (Strategic-driven tool) โดยภัยคุกคามดังกลาวนี้ จะเปนภัยคุกคามที่มีผลกระทบในระดับนานาชาติ ซึ่งการเปลี่ยนแปลง อยางถอนรากถอนโคนดังกลาว เกิดจากการที่โลกไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีสื่อ และ ICT โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบ เครือขายอินเทอรเน็ตที่สามารถเชื่อมโยงมนุษย และขอมูลขาวสารจากทั่วทุกมุมโลกเขาดวยกัน โดยมีเครือขายใยแกวนํา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 274
แสง และระบบสื่อสารดาวเทียมทําหนาที่เปนสื่อเชื่อมตอใหกับทุกประเทศทั่วโลก จนทําใหโลกถูกเชื่อมตอกันโดยสมบูรณ อีกทั้งเทคโนโลยีที่มีใชกันอยูในทองตลาดทั่วไปเริ่มมีขีดความสามารถเทาเทียมกับเทคโนโลยีของภาครัฐ จนสงผลให อํานาจดานสื่อและ ICT ถูกถายโอนจากภายใตความควบคุมของภาครัฐสูภาคประชาชน จึงทําใหฝายตรงขามและผูที่ไม หวัง ดีตอ ชาติ มีเครื่องมือที่ มีขีด ความสามารถ มีทางเลื อกในการปฏิ บัติมากขึ้นและซั บซอ นขึ้น และที่สํ าคัญ สามารถ ปฏิบัติการจากที่ใดก็ไดในโลก อาชญากรรมคอมพิวเตอร (Computer Crime) ซึ่งหมายถึง การกระทําการใด ๆ ก็ตามที่เกี่ยวของกับการใช คอมพิวเตอร และเทคโนโลยี เปนเครื่องมืออันทําใหผูอื่นไดรับความเสียหาย และผูกระทําไดรับผลประโยชนตอบแทน การ ประกอบอาชญากรรมทางคอมพิ ว เตอร ไ ด ก อ ให เ กิ ด ความเสี ยหายต อ เศรษฐกิ จของประเทศเป น จํ า นวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรจึงจัดเปนอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรืออาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบหนึ่งที่มีความสําคัญ มาก ดังนั้น ความหมายตาง ๆ ของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร รวมหมายถึง 1. การกระทําใด ๆ ก็ตามที่เกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร อันทําใหเหยื่อไดรับความเสียหาย และทําใหผูกระทํา ไดรับผลตอบแทน 2. การกระทําผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งจะตองใชความรูเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร มาประกอบการกระทําผิดซึ่งยาก แกการสืบสวน ติดตาม จับกุมและ 3. ในประเทศญี่ปุนใหหมายรวมถึง การกระทําผิดโดยประมาทดวย ปจจุบั นเป นที่ยอมรั บกัน โดยทั่ วไปแลว เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารเขามามีบ ทบาทตอ การดํารง ชีวิตประจําวันของประชากรทุกสังคมในโลก และยังเปนกลไกสําคัญในการแขงขันเพื่อความอยูรอดขององคกรทั้งหลายทั้ง ภาครัฐและเอกชน ประเทศไทยยอมรับวา เทคโนโลยีสารสนเทศเปนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศที่สําคัญประการหนึ่งที่ สามารถเสริมสรางความแข็งแกรงตอธุรกิจ อุตสาหกรรม การคา ตลอดจนเปนเครื่องมือที่ใชในการพัฒนามนุษยและสังคม ไดอยางมีประสิทธิภาพ1 อยางไรก็ตาม ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 วาดวยการปองกันอาชญากรรมและการ ปฏิบัติตอผูกระทําผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ไดมีการจําแนกประเภทของอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร โดยแบงเปน 5 ประเภท คือ 1. การเขาถึงโดยไมไดรับอนุญาต 2. การสรางความเสียหายแกขอมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร 3. การกอกวนการทํางานของระบบคอมพิวเตอรหรือเครือขาย 4. การยับยั้งขอมูลที่สงถึง/จากและภายในระบบหรือเครือขายโดยไมไดรับอนุญาต และ 5. การจารกรรมขอมูลบนคอมพิวเตอร โครงการอาชญากรรมทางคอมพิ ว เตอร แ ละการโจรกรรมทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพรขอมูล และคนควาเกี่ยวกับอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร 6 ประเภทที่ไดรับความนิยม ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอประชาชนและผูบริโภค นอกจากนี้ ยังทําหนาที่ เผยแพรความรูเกี่ยวกับขอบเขต และความซับซอนของปญหา รวมถึงนโยบายปจจุบัน และความพยายามในการปญหา อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ซึ่งอาชญากรรม 6 ประเภทดังกลาวไดแก
1
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2543. แผนแมบทเชิงกลยุทธเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิก ส คอมพิ วเตอร โทรคมนาคม และ สารสนเทศ พ.ศ. 2543-2552.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 275
1. การเงิน อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององคกรธุรกิจในการทําธุรกรรม อี -คอมเมิรซ (หรือ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส) 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปจจุบันคอมพิวเตอรสวนบุคคลและอินเทอรเน็ตถูกใช เปนสื่อในการกออาชญากรรมแบบเกา โดยการโจรกรรมทางออนไลน หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธิใ์ ด ๆ ที่เกี่ยวของกับ การใชอินเทอรเน็ตเพื่อจําหนาย หรือเผยแพรผลงานสรางสรรคที่ไดรับการคุมครองลิขสิทธิ์ 3. การเจาะระบบ การใหไดมาซึ่งสิทธิในการเขาถึงระบบคอมพิวเตอร หรือเครือขายโดยไมไดรับอนุญาต และ ในบางกรณี อาจหมายถึ ง การใช สิ ท ธิ ก ารเข า ถึ ง นี้ โ ดยไม ไ ด รั บ อนุ ญ าต นอกจากนี้ การเจาะระบบยั ง อาจรองรั บ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในรูปแบบอื่น ๆ (เชน การปลอมแปลง การกอการราย ฯลฯ) 4. การกอการรายทางคอมพิวเตอร ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ งหมายเพื่อสรางความ หวาดกลัว เชนเดียวกับการกอการรายทั่วไป โดยการกระทําที่เขาขาย การกอการรายทางอิเล็กทรอนิกส (e-terrorism) จะเกี่ยวของกับการเจาระบบคอมพิวเตอร เพื่อกอเหตุรุนแรงตอบุคคลหรือทรัพยสิน หรืออยางนอยก็มีจุดมุงหมายเพื่อ สรางความหวาดกลัว 5. ภาพอนาจารทางออนไลน ตามขอกําหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรือการ เผยแพรภาพอนาจารเด็ก ถือเปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย และตามขอกําหนด 47 USC 223 การเผยแพรภาพลามก อนาจารในรูป แบบใด ๆ แกเ ยาวชนถือ เป นการกระทํา ที่ขัด ตอ กฎหมาย อิน เทอรเ น็ต เป นเพียงชอ งทางใหม สํา หรั บ อาชญากรรมแบบเกา อยางไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมชองทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลก และเขาถึงทุกกลุมอายุนี้ไดกอใหเกิดการถกเถียงและการโตแยงอยางกวางขวาง 6. ภายในโรงเรียน ถึงแมวา อินเทอรเน็ตจะเปนแหลงทรัพยากรสําหรับการศึกษาและสันทนาการ แตเยาวชน จําเปนตองไดรับทราบเกี่ยวกับวิธีการใชงานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อยางปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเปาหมาย หลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุนใหเด็กไดเรียนรูเกี่ยวกับขอกําหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมใน การปองกันการใชอินเทอรเน็ตในทางที่ผิด 2 โดยปจจุบันทั่วโลกจัดอาชญากรคอมพิวเตอรเปน 9 ประเภท ไดแก การขโมยขอมูล ทางอินเตอรเน็ต ซึ่งรวมถึง การขโมยประโยชนในการลักลอบใชบริการ ใชระบบการสื่อสารมาปกปดความผิดของตนเอง การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปลง เลียนแบบระบบซอฟตแวร โดยมิชอบ การใชระบบคอมพิวเตอรแพรภาพ เสียง ลามก อนาจาร และขอมูลที่ไมเหมาะสม การฟอกเงิน การกอกวนทําลายระบบสาธารณูปโภค เชน ระบบจายน้ํา -ไฟฟา ระบบโทรศัพท ระบบการจราจร การ หลอกลวงใหรวมคาขายหรือลงทุนปลอม การแทรกแซงขอมูลแลวนํา ขอมูลนั้นมาเปนประโยชนตอตนโดยมิชอบ การใช ระบบคอมพิวเตอรโอนเงินบัญชีผูอื่นเขาบัญชีตนเอง ที่เปนจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเตอรเน็ต ซึ่งรุนแรงกวาปญหาไวรัส คอมพิวเตอร ดังนั้น ผูใชทุกทานตองตระหนัก (Aware) ในปญหาเหลานี้ อยางไรก็ตาม ไมวาจะมีการปองกันที่ดีเพียงใด ปญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอรและเครือขายก็ยังมีอยูเสมอ การโจมตีที่พบบอย ไดแก Hacker & Cracker บุคคลซึ่งเปนอาชญากรที่ไดรับการยอมรับวามีผลกระทบตอสังคมไอทีเปนอยางยิ่ง โดยจะทําการเจาะระบบที่มีชองโหวเมื่อเจาะระบบไดแลวก็จะทําลายระบบและหรือขอมูลขององคกร
Buffers overflow เปนรูปแบบการโจมตีที่งายที่สุด แตทําอันตรายใหกับระบบไดมากที่สุด ซึ่งอาชญากร จะอาศัยชองโหวของระบบปฏิบัติการและขีดจํา กัดของทรัพยากรระบบมาใชในการโจมตี โดยการสงคํา สั่งใหเครื่อง 2
ขอมูลคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจรางกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอรขอมูลคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจรางกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 276
คอมพิวเตอรแมขายมีการรับสงขอมูลเปนปริมาณมาก ๆ ในเวลาเดียวกัน ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรแมขายดังกลาวใช หนวยความจํามาก สงผลใหไมสามารถทํางานไดตามปกติ Backdoors นักพัฒนาระบบมักจะสรางระบบ Backdoors เพื่อชวยอํานวยความสะดวกในการทํางาน ซึ่ง หากอาชญากรรูเทาทันก็สามารถใชประโยชนจาก Backdoors นั้นไดเชนกัน CGI Script ภาษาคอมพิวเตอรที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอรวิส (Web Service) มักเปนชองโหวอีก ทางหนึ่งไดเชนกัน Hidden HTML การสรางฟอรมดวยภาษา HTML และสรางฟลดเก็บรหัสในลักษณะการซอน (Hidden) ยอมเปนชองทางที่อํานวย ความสะดวกใหกับอาชญากรไดเปนอยางดี โดยการเปดดูรหัสคําสั่ง (Source Code) ก็สามารถ ตรวจสอบและนํามาใชงานไดทันที Failing to update การที่บริษัทเจาของซอฟตแวรประกาศจุดออนของซอฟตแวรของตนเพื่อใหผูใช ทราบและนําไปปรับปรุงก็เปนอีกหนทางหนึ่งที่อาชญากรนําไปโจมตีระบบที่ใชซอฟตแวรนั้น ๆ ไดเชนกัน เพราะกวาที่ เจาของเว็บไซตหรือเจาของระบบจะทําการปรับปรุง (Updated/Patch) ซอฟตแวรที่มีชองโหวนั้น ก็อาจไมทันการณ Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอรเน็ตตองมีการสงคาผานทางบราวเซอร แมกระทั่ง รหัสผานซึ่ง บราวเซอรบางรุนหรือรุนเกา ๆ ไมมีความสามารถในการเขารหัส หรือปองกันการเรียกดูขอมูล ซึ่งเปนอีกจุดออนของ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไดเชนกัน Malicious scripts การเขียนชุดคําสั่งไวในเว็บไซต แลวผูใชเรียกเว็บไซตดูบนเครื่องของตนเอง อาชญา กรอาจจะเขียนชุดคําสั่งแฝงในเอกสารเว็บ เมื่อมีการเรียกใชชุดคําสั่งนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝงเครื่อง หรืออุปกรณ คอมพิวเตอรลูกขาย และทํางานตามที่กําหนด โดยผูใชไมรูวา ตัวผูใชเองเปนผูสั่งใหชุดคําสั่งนั้นทํางานดวยตนเอง Poison cookies เปนที่เก็บขอมูลตาง ๆ ตามแตจะกําหนด และจะทํางานทันที เมื่อมีการเรียกดูเว็บไซตที่ บรรจุคุกกี้นี้ และไมยากที่จะเขียนชุดคําสั่งแฝงอีกชุดหนึ่งใหสงคุกกี้ที่บันทึกขอมูลตาง ๆ ของผูใชสงกลับไปยังอาชญากร Virus ไวรัสคอมพิวเตอรเปนชุดคําสั่ง (Program) คอมพิวเตอรที่มีพฤติกรรมการทํางานหลายรูปแบบ และ ยังคงเปนภัยรายสําหรับหนวยงานที่ใชระบบคอมพิวเตอร และเครือขายตั้งแตเริ่มแรกจนถึงปจจุบัน ตัวอยางเชน ในป 2001 พบวา ไวรัส Nimda ไดสรางความเสียหายไปทั่วโลกคิดเปนมูลคาถึง 25,400 ลานบาท ดังนั้น ทุกองคกรตองมีมาตรการตาง ๆ ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information Security) เพื่อปกปองระบบเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของและปกปองขอมูลสารสนเทศที่เก็บไว ภายในระบบ ใหเกิดความนาเชื่อถือตอผูใชงาน ในทุกระดับทั้งผูบริหาร ผูปฏิบัติ รวมถึงหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชนทั้ ง ภายในและต า งประเทศที่ มี ธุ ร กรรมมี ค วามเกี่ ย วข อ งสั ม พั น ธ กั น หากผู ที่ เ กี่ ย วข อ งหรื อ ผู ที่ มี ส ว นได เ สี ย (Stakeholder) ไมมีความมั่นใจ หรือเชื่อมั่นในระบบสารสนเทศของกรมศุลกากรและปฏิเสธ การใชระบบสารสนเทศของ กรมศุลกากร ความเสียหายก็จะเกิดแกกรมศุลกากรและประเทศอยางรุนแรง ทําใหการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สัมพันธกนั จะไมสามารถดําเนินการตอไปได วั ต ถุ ป ระสงค ข องการรั ก ษาความมั่ น คงความปลอดภั ยของระบบสารสนเทศ และเครื อ ข า ย เพื่ อ ให ร ะบบ สารสนเทศและเครือขายขององคกร เกิดความนาเชื่อถือไดในทุกดาน ไดแก ดานความลับ (Confidentiality) ความ ครบถ วนถูก ตองสมบูรณ (Integrity) ความพรอมใช (Availability) และการหามปฏิเ สธความรับ ผิดชอบ (NonRepudiation) (CIA-N) ซึ่งมีความหมายดังนี้
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 277
C=
“Confidentiality” หมายถึง การรักษาความลับ (Secret) หรือการไมเปดเผยขอมูลขององคกร โดย ใชเทคโนโลยีในดานตาง ๆ เชน ดาน Cryptography มีการเขารหัสและถอดรหัสขอมูล การติดตั้ง VPN (Virtual Private Network), SSL (Secure Socket Layer) หรือ PKI (Public Key Infrastructure) เปนตน อีกทั้งการใชระบบเสริม เชน ระบบ Single-Sign On สําหรับการยืนยันตัวบุคคลและการ กําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงระบบสารสนเทศและเครือขาย เปนตน I= “Integrity”หมายถึง ความแทจริงของขอมูล เพื่อใหมั่นใจไดวา ขอมูลที่ถูกตองขององคกรจะไมถูก แกไขโดยผูที่ไมไดรับอนุญาต ขอมูลที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะขอมูลที่เกี่ยวของกับทางดานการเงิน ถูก เปลี่ยนแปลงแกไขจะสงผลเสียใหกับองคกรอยางมาก เพราะขอมูลนั้นเปนขอมูลที่ขาดความนาเชื่อถือ การที่เครื่องคอมพิวเตอรขององคกรมีไฟลแปลกๆ หรือติดไวรัสคอมพิวเตอร ก็หมายถึง เราสูญเสีย I=Integrity A = “Availability” หมายถึง ความพรอมและความสามารถของระบบสารสนเทศและเครือขาย ของ องคกรในการรองรับความตองการใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพและเพียงพอตลอดเวลา ระบบตองไม ลมหรือทํางานชา หากเกิดปญหาระบบลม (Down) แลวไมมีระบบสํารองไวใชงานหรือตองใชเวลานาน ในการกูระบบจนสามารถทํางานไดเปนปรกติ ทําใหเกิดชวงเวลาที่ระบบหยุดทํางาน (Downtime) ซึ่ง เปนตนเหตุทําใหการปฏิบัติงาน การใหบริการขององคกรไมสามารถดําเนินการตอไปไดอยางตอเนื่อง N = “Non-Repudiation” หมายถึง การหามปฏิเสธความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเองกระทําลงไป เชน การ เพิ่มเติมแกไขปรับปรุงหรือลบขอมูล เปนตน ทั้งนี้ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศและเครือขายตองมีประสิทธิภาพในระดับ มาตรฐานสากล อาทิ การดูแลจัดการฮารดแวร ซอฟตแวร รวมถึงขอมูลใหพนจากภัยอันตรายตาง ๆ เชน ภัยจากอาชญากรคอมพิวเตอร (แฮกเกอร/แครกเกอร) ภัยธรรมชาติ (พายุ น้ําทวม แผนดินไหว) และภัยคุกคามอื่น ๆ ไมวาการกออาชญากรรมจะมี รูปแบบอยางไร เชน การปลอมแปลงขอมูล การลักลอบเขาระบบผานทางการสื่อสารขอมูลการเขาถึงขอมูลโดยผูไมมีสิทธิ์ การทําสําเนาซอฟตแวรที่มีลิขสิทธิ์ เปนตน ดวยวิธีการตาง ๆ เชน การโกงขอมูล (Data diddling) เปลี่ยนแปลงแกไข กอน/ขณะปอนขอมูลเขาสูระบบ การโจมตีเครื่องคอมพิวเตอรแมขายหรืออุปกรณเครือขาย (Denial of service attract) การหลอกถามขอมูล (Social engineering) การแอบใช (Piggybacking) การคนหาขอมูลที่สําคัญจากถังขยะ (Recycle bin) การใชชุดคําสั่ง (โปรแกรม) กับดัก (Trapdoor/backdoor) การแอบทําชองทางในการเขาถึงโปรแกรมโดยใช โปรแกรมมาโทรจัน (Trajan horse) ที่สําคัญก็คือ โปรแกรมไวรัสคอมพิวเตอร เปนโปรแกรมที่ออกแบบใหสามารถ แพรกระจายตัวเองภายในระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย เชน ไวรัสบูตเซ็กเตอร (Boot sector virus) ไวรัสคลัสเตอร (Cluster virus) ไวรัสโปรแกรม (File-infecting virus) ไวรัสมาโคร (Macro virus) เวิรม (Worm) บอมบ (Bomb) เปน ตน โปรแกรมเหลานี้จะแพรกระจายเกาะติดไปกับไฟล และสรางความเสียหายไดหลายรูปแบบขึ้นอยูกับรายละเอียดการ ทํางานของแตละโปรแกรม เชน ทําลายขอมูล ขโมยขอมูล ทําใหโปรแกรมทํางาน ผิดพลาด กอความรําคาญโดยทําให เครื่องทํางานชา/ทํางานตอไมได ทําใหระบบเครือขายมีปญหา สงผลใหไมสามารถเขาใชระบบสารสนเทศและ เครือขาย ขององคกรได
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 278
จากผลการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา ในป 2554 ประเทศไทยมีผูใชอินเทอรเน็ตที่มีอายุ 6 ปขึ้น ไป จํานวน 14.8 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 23.7 ของประชากรในประเทศ3 และจากจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตทั้งใน ประเทศ และตางประเทศที่มีจํานวนมากจะมีกลุมบุคคลที่เรียกวา “อาชญากรไซเบอร” ที่แฝงตัวเขามาใชเพื่อเจาะขอมูล เปลี่ยนแปลงขอมูล ทําลายขอมูล หรือใชพื้นที่บนโลกไซเบอรเพื่อแสวงหาผลประโยชนอยางผิดกฎหมาย ทั้งนี้ บริษัทไซ I แมนเทค เปดเผยสํารวจเกี่ยวกับความเสียหายจากอาชญากรรมออนไลนที่เกิดขึ้นทั่วโลกในป 2553 วามีมูลคาเฉลี่ย 3.48 แสนลานดอลลารสหรัฐ ฯ โดยแบงเปนความสูญเสียทางการเงิน 1.14 แสนลานดอลลารสหรัฐ ฯ และคาเสียเวลาของ ผูเสียหาย 2.74 แสนลานดอลลารสหรัฐ4 และเปดเผยวาในป 2554 อาชญากรรมไซเบอรสงผลใหเกิดการขยายตัวของ จํานวนการโจมตีทางอินเทอรเน็ตเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 815 โดยองคกรขนาดใหญที่มีพนักงานมากกวา 2,500 คน จะถูกโจมตี มากที่สุด มีการตรวจพบการโจมตีและการปองกันเฉลี่ย 36.7 ครั้งตอวัน6 ทั้งนี้ ธุรกิจอาชญากรรมบนโลกไซเบอรทั่วโลก คิดเปนมูลคาประมาณ 1 ลานลานเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 30 ลานลานบาท และภูมิภาคเอเชีย คือ ศูนยกลางของ อุตสาหกรรมดังกลาว7 เว็บไซตที่มีชื่อเสียงหลายเว็บไซตก็ไดทําการสํารวจขอมูล และผลกระทบของการกออาชญากรรมคอมพิวเตอร เชนเดียวกัน โดยเฉพาะเว็บไซต BotRevolt.com ไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติที่นาสนใจ และสามารถเตือนใจผูที่ชื่น ชอบการเลนคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตใหระมัดระวังตัว และไมหลงกลตกเปนเหยื่อไดเปนอยางดี และผลสํารวจของ เว็บไซต BotRevolt.com ในป พ.ศ. 2555 พบวา มีผูตกเปนเหยื่อของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรมากกวา 556 ลาน คนตอป โดยคิดเปน 1.5 ลานคนตอวัน 1,080 คนตอนาที และ 18 คนตอวินาที โดยสามารถขโมยเงินไดมากถึงหนึ่งแสน ลานเหรียญตอป หรือสามารถขโมยเงินจากเหยื่อไดเฉลี่ย 197 เหรียญตอคน สวนมูลเหตุจูงใจที่ทําใหกออาชญากรรม คือ อันดับหนึ่ง เหตุผลทางดานการเงินรอยละ 96 ความไมเห็นดวย หรือการประทวงรอยละ 3 ทําไปเพราะความสนุกสนาน ความอยากรูอยากเห็น ความภาคภูมิใจรอยละ 2 และสุดทาย ความโกรธแคนสวนตัวรอยละ 1 นอกจากนี้ จากการสํารวจ ยังพบอีกดวยวา อาชญากรทางคอมพิวเตอรสามารถเขาถึงคอมพิวเตอรของเราผานการลับลอบเจาะระบบ (Hacking) II มากที่สุดเปนอันดับหนึ่งรอยละ 81 อันดับสอง คือ มัลแวร (Malware) รอยละ 69 การขโมยขอมูลโดยตรงโดยการ ลักลอบทําสําเนาขอมูลในบัตรเครดิต ATM หรือทําบัตรปลอมรอยละ 10 การหลอกถามขอมูลตัวตอตัว ทางโทรศัพทและ ผานอีเมลรอยละ 7 และสุดทาย คือ การนําขอมูลของลูกคามาเปดเผยรอยละ 5 นอกจาก การสํารวจของเว็บไซตชื่อดังที่ ไดกลาวไปขางตนแลว ยังมีบริษัทชั้นนําอีกหลายบริษัทที่ไดเผยผลสํารวจผลกระทบที่ไดรับจากการกออาชญากรรมทาง คอมพิวเตอรนี้
3
สรุปผลที่สําคัญจากการสํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2554 (ICT Household 2011), สํานักงานสถิติ แหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. 4 Cybercrime Report 2011,http://now-static.norton.com/now/en/pu/images/Promotions/2012/cybercrime/assets/downloads /en-us/NCR-DataSheet.pdf 5 ขาว “เผยรายงานภัยคุกคามบนอินเทอรเน็ตการโจมตีเพิ่มขึ้นรอยละ 81”, GLOBAL BUSINESS ประจ าวันที่ 5-19 มิถุนายน พ.ศ. 2555 6 Symantec Intelligence Report: November 2011, http://www.symantec.com/connect/sites/default/files/SYMCINT_2011_11_ November_ FINAL-en.pdf 7 คอลัมน “ความปลอดภัยบนโลกอินเทอรเน็ต”, นิตยสาร Asia Pacific Defense FORUM, ชุดที่ 37ฉบับที่ 1/2555
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 279
รายงานของโครงการจั ด ตั้ ง ศู น ย ป ระสานงานการรั ก ษาความปลอดภั ยคอมพิ ว เตอร (Thai Computer Emergency Response Team : ThaiCERT) ซึ่งเปนสมาชิกของ สพธอ. ระบุวา ในป 2556 รอยละ 39.6 ของ อาชญากรรมออนไลน เกี่ยวของกับ การฉอ โกง (Fraud) ขณะที่ รอยละ 37.8 และร อยละ 17 เกี่ยวขอ งกับการบุกรุ ก III (Intrusion) และความพยายามที่จะบุกรุก (Intrusion Attempt) ตามลําดับ ทั้งนี้ ไดรับรายงานเกี่ยวกับภัยคุกคามทาง ไซเบอรเกือบ 1,800 ครั้ง โดยครอบคลุมถึงไวรัส เวิรม และการดําเนินการโดยแฮคเกอร นอกจากนี้ “อาชญากรรมทาง เพศ” และ “การโจรกรรมของนักยองเบา” ก็พบวา เปนอีกภัยใกลตัวที่เกิดขึ้นจากการใชงานสื่อสังคมออนไลนที่ผูใชงาน ไมมีความรัดกุม และความรอบคอบเรื่องความปลอดภัยมากพอ โดยกวา รอยละ 78 ของโจรในยุคนี้หันมาใชสื่อสังคม ออนไลน (Social Media) เพื่อเปนแหลงและชองทางในการคนหาเหยื่อ และอีก รอยละ 54 ของกลุมโจรยังระบุวา พฤติกรรมในการใชงานอยางการเช็คอินและการโพสตสเตตัสตาง ๆ ก็เปนความผิดพลาดของผูใชงานที่อาจนําภัยมาสู ทรัพยสินไดโดยไมรูตัว อาชญากรรมไซเบอรจะใชวิธีการโจมตีแบบมีเปาหมายมากขึ้น เชน พุงเปาไปที่การวิจัยแบบโอเพนซอรส และ ฟชชิ่งที่สามารถปรับแตงไดตามตองการ ซึ่งอุปกรณมือถือจะตกเปนเปาหมายเพิ่มขึ้นจากภัยคุกคามขั้นสูง ซึ่งรวมถึงการ โจมตีที่เรียกวา Click jackingIV และการโจมตีที่เรียกวา Watering HoleV การยุติการสนับสนุนซอฟตแวรยอดนิยม เชน Java 6 และ Windows XP จะยิ่งเปนการเปดชองใหเครื่องคอมพิวเตอร นับลานเครื่องถูกโจมตี ความไววางใจของ สาธารณะ ทําใหรัฐอาจใชประโยชนจากความไววางใจดังกลาวในการเขาถึงขอมูลสวนตัวของประชาชน สงผลใหเกิดความ พยายามในหลากหลายลักษณะที่จะพิทักษสิทธิความเปนสวนตัวของตน และ Deep Web จะยังคงสรางความลําบาก ใหกับเจาหนาที่ผูบังคับใช กฎหมาย ในการจัดการกับอาชญากรรมไซเบอรที่กําลังแพรหลายอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ รายงานดังกลาว ยังใหความสําคัญกับการถือกําเนิดของ IoE ซึ่งจะเปนตัวแปรสําคัญในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสวน บุคคล เชน เทคโนโลยีแบบสวมใสได ไดแก นาฬิ กา และแวนตา จึงเปนไปไดอยางมากที่อาชญากรรมไซเบอรจะเริ่ม คุกคามขอมูลประจําตัวเมื่อเทคโนโลยีในลักษณะดังกลาวเพิ่มจํานวนขึ้นอยางรวดเร็ว8 9 สําหรับป 2557 รายงานดานความปลอดภัยของซิสโก ประจําป 2557 เปดเผยวา ภัยคุกคามที่ใชประโยชนจาก ความไววางใจในระบบของผูใชรวมถึงแอพพลิเคชั่น และเครือขายสวนบุคคล มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นจนนาตกใจ รายงาน ดังกล าวระบุวา ปญหาการขาดแคลนบุคลากรผูเ ชี่ยวชาญด านการรักษาความปลอดภัยเกือบหนึ่ง ลานคนทั่วโลกส ง ผลกระทบตอความสามารถขององคกรในการตรวจสอบและคุมครองเครือขาย ขณะที่จุดออนและภัยคุกคามโดยรวม เพิ่มขึ้นจนถึงระดับสูงนับตั้งแตป 2543 เปนตนมา ซึ่งขอมูลที่พบในรายงานดังกลาวนําเสนอภาพที่ชัดเจนของปญหาและ ความทาทายดานความปลอดภัยที่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ซึ่งองคกรธุรกิจ ฝายไอที และผูใชตองประสบพบ เจอ ผูโจมตีใชวิธีการตาง ๆ เชน การขโมยรหัสผานและขอมูลผูใช ขอสําคัญที่พบในรายงานดานความปลอดภัยของซิลโกนั้น พบวา จุดออนและภัยคุกคามโดยรวมแตะระดับสูงสุด นับตั้งแตที่มีการตรวจสอบเปนครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม 2543 และ ณ เดือนตุลาคม 2556 ภัยคุกคามโดยรวมแตะ ระดับสูงสุดที่รอยละ 14 เมื่อเทียบกับป 2555 ซึ่งรายงานระบุถึง ปญหาการขาดแคลนบุคลากรดานความปลอดภัยกวา หนึ่งลานคนทั่วโลกในป 2557 ความซับซอนของเทคโนโลยีและเทคนิคที่อาชญากรออนไลนใชรวมถึงความพยายามอยาง ไมหยุดยั้งในการเจาะระบบเครือขายและโจรกรรมขอมูลไดแซงหนาความสามารถของบุคลากรฝายไอที และฝายรักษา ความปลอดภัยในการรับมือกับภัยคุกคาม องคกรสวนใหญไมมีบุคลากร หรือระบบสําหรับตรวจสอบเครือขายขนาดใหญ 8
เดลินิวส. แนวโนมความปลอดภัยโลกไซเบอรป 2557. วันพฤหัสบดี 2 มกราคม 2557. เขาถึงขอมูลไดจาก http://www.dailynews.co.th /Content/IT/205612 9 Cisco 2014 Annual Security Report
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 280
อยางตอเนื่อง รวมทั้งตรวจจับการแทรกซึมแลวปรับใชมาตรการปองกันอยางทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ และรอยละ 30 ของกลุมตัวอยางที่เปนบริษัทขามชาติที่ใหญที่สุดในโลก สรางแทรฟฟกของผูเยี่ยมชม (visitors) ไปยังเว็บไซตที่มีมัลแวร ทั้งนี้ รอยละ 96 ของบริษัทเหลานี้มีการสงแทรฟฟกไปยังเซิรฟเวอรที่ถูกใชเปนชองทางในการโจมตี (Hijacked Server) ในทํานองเดียวกันรอยละ 92 สงแทรฟฟกไปยังเว็บเพจที่ไมมีเนื้อหาใด ๆ ซึ่งโดยปกติแลวจะรองรับกิจกรรมที่เปนอันตราย สํา หรั บ ภาคธุ ร กิ จที่ เ ฉพาะเจาะจง เช น อุ ต สาหกรรมยาและเคมี ภั ณ ฑ และอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ชิ้ น ส ว น อิเล็กทรอนิกส มีอัตราการพบเจอมัลแวรที่สูงมากในอดีตที่ผานมา แตในป 2555 และ 2556 จํานวนครั้งของการพบ เจอมัลแวรเพิ่มสูงขึ้นอยางมากในภาคเกษตรกรรมและเหมืองแร และจากผลการสํารวจจากสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส10 ชี้วา จํานวนผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอยางมีนัยยะสําคัญในแตละป เมื่อสิ้นป 2556 มีผูใช อินเทอรเน็ต 25 ลานคน และผูใ ชโทรศัพทเคลื่อนที่ สถานการณในปจจุบันและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่เกี่ยวกับดานการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร พบวา ในชวงหลายปที่ผานมา ทุกประเทศตางตระหนัก และใหความสําคัญกับการปองกัน และแกไข ปญหาไซเบอรอยางจริงจัง เนื่องจาก ความแพรหลายของการให และใชบริการขอมูลคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร เครือขายคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต และโครงขายสื่อสารโทรคมนาคม ฯลฯ ที่ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ทั้งภายในประเทศ ไทยและทั่วโลก ซึ่งการเชื่อมโยงถึงกันดังกลาว หากพิจารณาจากมุมมองของผูที่ปฏิบัติหนาที่ รักษาความมั่นคงปลอดภัย ของประเทศ ก็อาจถือเปนปจจัยเชิงลบที่คุกคาม และสงผลกระทบอยางรวดเร็วและรุนแรงตอประชาชน เศรษฐกิจ และ ความมั่นคงของประเทศ หากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของยังขาดความพรอม และไมมีมาตรการปองกันแกไขที่ชัดเจน และมีประสิทธิภาพเพียงพอแลว ความเสียหายที่เกิดขึ้นตอทุกภาคสวนของสังคมนั้นก็จะมีมูลคามหาศาล และยากที่จะ ประเมินได อนึ่ง การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย มุงพัฒนาสูสังคมแหงภูมิปญญาและการ เรียนรู 5 ดาน ไดแก e-Industrial, e-Commerce, e-Government, e-Society และe-Education11 สงผลใหประเทศ ไทยมีอัตราการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มมากขึ้นอยางรวดเร็วทั้ง Hardware, Software, Network System และ Information รวมถึงการเพิ่มขึ้นของภัยคุกคาม การเจาะระบบคอมพิวเตอรโดยผูไมประสงคดี และอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร ดังขาวที่ปรากฏผานสื่อสารมวลชนอยูเปนระยะ ๆ อีกดวย จากผลการสํารวจผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทย พบวา ภัยคุกคาม และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร เชน ไวรัส12 และผูไมประสงคดียังคงเปนปญหาอันดับหนึ่ง เชน การ ใหขอมูลที่บิดเบือนรวมไปถึงขอมูลที่มีลักษณะการหมิ่นสถาบันเบื้องสูง ถือเปนเรื่องสําคัญที่ผูใชงานและสังคมออนไลน จําเปนตองชวยกันสอดสองดูแลจากสิ่งไมพึงประสงค อยางไรก็ดี ดานทิศทางของการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนการดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอรที่ผานมา ยังไมตอบสนองตอความสําคัญดังกล าว และจากผลการศึกษาปญหาอาชญากรรมไซเบอร รูปแบบตาง ๆ ไดแผขยายไปทั่วโลก พบวา เกิดผลกระทบตอบุคคล องคกร และประเทศ ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคงของชาติ ยกตัวอยางเชน ประเทศสหรัฐอเมริกาพบปญหาการคาภาพลามกอนาจารบนอินเทอรเน็ต และ ปญหาการลอลวงเด็กและเยาวชนผานสื่อสารทางอินเทอรเน็ต รวมถึงปญหาการโจรกรรมขอมูลบัตรเครดิต เชน บัตรวีซา 13 และมาสเตอรการดของลูกคาในประเทศสหรัฐอเมริกากวา 10 ลานราย ในทวีปเอเชีย มีการพบปญหากอกวนระบบ เครือขายตลาดหลักทรัพยฮองกง จนทําใหเกิดผลกระทบอยางมหาศาลตอระบบการเงิน บุคคล และบริษัทหลายรอยราย 10
สพธอ., ประเทศไทย, 2556. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2552. แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552-2556. 12 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ, 2552. รายงานการสํารวจกลุมผูใชงานอินเทอรเน็ตในประเทศไทย ป 2551. 13 หนังสือพิมพเดลินิวส. ขาว “ฉกขอมูลบัตรเครดิตวีซามาสเตอรการดกวา 10 ลานราย” ประจําวันที่ 10 เมษายน 2555. 11
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 281 14
เนื่องจาก การซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยฮองกงหยุดชะงัก ในขณะที่ประเทศญี่ปุนเกิดกรณีแฮกเกอรโจมตีเว็บไซต ของกระทรวงการคลัง ศาลฎีกา และศาลทรัพยสินทางปญญา โดยมีจุดประสงคเพื่อตอตานการออกกฎหมายปองกัน 15 ดาวนโหลดสินคาลิขสิทธิ์ สงผลใหเว็บไซตดังกลาวตองปดตัวลงชั่วคราว ปจจุบันมีหนวยงานของตางประเทศหลายหนวยงานที่ทําการสํารวจขอมูลสถิติเกี่ยวกับความเสียหายที่เกิดขึ้น จากอาชญากรรมคอมพิวเตอร เชน CSI, IPRI สวนหนวยงานของไทยที่ทําหนาที่เก็บรวบรวมสถิติทางดานอาชญากรรม คอมพิ ว เตอร ได แ ก ศู น ย ป ระสานงานการรั ก ษาความปลอดภั ย คอมพิ ว เตอร ป ระเทศไทย (ThaiCERT) หน ว ยงาน เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศ สังกัดศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ หรือเนคเทค ภายใต คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งจากรายงานการสํารวจความเสียหายที่เกิดขึ้นของ CSI ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว า ความเสี ยหายที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการขโมยข อ มู ล ทางคอมพิ ว เตอร มี มู ล ค า สู ง ที่ สุ ด รองลงมา คื อ การฉ อ โกงทาง คอมพิวเตอรและการปลอยไวรัสตามลําดับ ในขณะที่ AusCert ประเทศออสเตรเลีย ไดทําการสํารวจความเสียหายที่เกิด จากการกออาชญากรรมคอมพิวเตอร พบวา ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการขโมยขอมูลทางคอมพิวเตอรมีมูลคาสูงที่สุด 16 รองลงมา คือ การปลอยไวรัสและการเขาถึงอินเทอรเน็ต หรือเมลโดยไมไดรับอนุญาตจากคนในองคกรตามลําดับ
สงครามไซเบอรเ กิด ขึ้นแลวในประเทศไทย สงครามไซเบอรบนเครือขายสังคมออนไลนของไทยไดเกิดขึ้นแลว เชน เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เว็บไซต 17 สํานักนายกรัฐมนตรีในสวนหนาของรายชื่อคณะรัฐมนตรี http://www.opm.go.th/opminter/mainframe.asp ได ถูกแฮกเกอรเจาะเขาไปไดสําเร็จและทําการเปลี่ยนขอความ รวมทั้งรูปภาพบนหนาเว็บไซตดังกลาว นอกจากนี้ ยังปรากฏ การกระทําอื่น ๆ อีก เชน การทํา Facebook เลียนแบบบุคคลมีชื่อเสียง และหมิ่นสถาบันเบื้องสูง
ทิ ศ ทางการพั ฒ นาประเทศไทยของการประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ สื่ อ สาร 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 การพั ฒนาประเทศในระยะแผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห งชาติ ฉบั บ ที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ประเทศไทยจะตองเผชิญกับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนเร็ว และซับซอน มากยิ่งขึ้น เปนทั้งโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะขอผูกพันที่จะเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 จึงจําเปนตองนําภูมิคุมกันที่มีอยูพรอมทั้งเรงสรางภูมิคุมกันในประเทศใหเขมแข็งขึ้นมาใชในการเตรียมความพรอมใหแก คน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม สามารถพัฒนาประเทศใหกาวหนาตอไป เพื่อประโยชนสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย ประกอบดวย ยุทธศาสตรหลักในการพัฒนาประเทศดานเศรษฐกิจ สังคม อาหารและพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ซึ่งไดกําหนดให ICT เปนเครื่องมือสําคัญในการสนับสนุนการดําเนินยุทธศาสตรหลักดังกลาวเหลานั้น 14
หนังสือพิมพไทยรัฐ. ขาว “โคเรโร เน็ตเวิรค ซีเคียวริตี้รายงานเกี่ยวกับ 5 อันดับแรก ที่ถูกจูโจมระบบเครือขายหรือเซิรฟเวอรมากที่สุด ในป 2554 มีการโจมตีระบบเครือขายหรือเซิรฟเวอรรูปแบบใหม ๆ ที่เกงกาจมากขึ้นในชั้นบนสุดของกระบวนการรับ สงขอมูล ”. ประจําวันที่ 15 กรกฎาคม 2555. 15 หนังสือพิมพคมชัดลึก. ขาว “จับแกงคาขอมูลเครดิตขามชาติเอฟบีไอโวปองกันความเสียหายไดกวา 6 พันลาน”. ฉบับวันที่ 28 มิถุนายน 2555. 16 สถิติเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร.โครงการจัดการความรูดานภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ – กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. เขาถึงไดจาก http://www.ictkm.info/content/detail/64.html 17 มือดีแฮกเว็บสํานักนายกฯ “ยิ่งลักษณ” เยย ICT.www.manager.co.th.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 282
ในดานสังคม แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ไดกําหนดไวใน 2 ยุทธศาสตรหลัก ไดแก การสรางความเปนธรรม ในสังคม และการพัฒนาคนสูการเรียนรูตลอดชีวิต ซึ่ง ICT สามารถเปนกลไกที่สําคัญในการชวยผลักดันยุทธศาสตร ดังกลาวใหบรรลุวัตถุประสงคได ดวยบทบาทของ ICT ในการพัฒนาและกระจายขอมูลขาวสาร เพื่อการพัฒนาอาชีพ และ การพัฒนาระบบฐานขอมูลสุขภาพของประเทศ ในดานเศรษฐกิจ ประกอบดวยยุทธศาสตร การสรางความเขมแข็งภาคเกษตรกรรมความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน และการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศ ในภูมิภาค โดยบทบาทของ ICT ที่กลาวไวในแผนฯ ประกอบดวยการพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานอาหารและ พลังงาน ตั้งแตการผลิต การตลาดไปจนถึงการบริโภค เพื่อปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐในการสรางความมั่นคงดาน อาหารและพลังงาน รวมไปถึงการดําเนินการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจดวยการใชวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและความคิด สรางสรรคดวยการประยุกตเทคโนโลยีและการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันโดยการปรับโครงสรางพื้นฐานและ VI ระบบโลจิสติกส ของประเทศโดยรวมถึงการใช ICT เปนเครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยดวย ในดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน เพื่อการพัฒนาและการเติบโตอยางยั่งยืน โดยการอนุรักษฟนฟูและสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่ง ICT มีบทบาทสําคัญในสวน ตาง ๆ ที่เกี่ยวของประกอบดวย การพัฒนาระบบฐานขอมูลและการจัดการองคความรูใหเปนเครื่องมือในการวางแผนและ บริหารจัดการ มีการเตรียมความพรอมรองรับกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยการจัดทําแผนที่และจัดลําดับพื้นที่เสี่ยงภัยทั้ง ในระดับประเทศ ภูมิภาค และจังหวัด การยกระดับการจัดการภัยพิบัติใหมีประสิทธิภาพโดยมีระบบฐานขอมูลการสื่อสาร โทรคมนาคม สงเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานการจัดการภัยพิบัติ การพัฒนาระบบงานอาสาสมัครของ ประเทศอยางจริงจัง และใหมีมาตรฐานตามหลักสากล และประการสําคัญก็คือ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพอยางโปรง ใส และเปนธรรมอยางบูรณาการ มีการใช ICT ในการ ติดตามประเมินผล และสงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อสรางระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มี ประสิทธิภาพ 2. แผนบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 255-2558 แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2554-2558 มีหลักการบนพื้นฐานที่สงเสริมการดําเนินการตาม VII ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลที่ไดแถลงตอรัฐสภา ประกอบดวยสาระสําคัญ 4 สวนไดแก แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ แนวทางการบริหารราชการแผนดิน กลไกการนําแผนการบริหารราชการแผนดิน ไปสูการปฏิบัติ และแผนงาน/โครงการที่มีลําดับความสําคัญตามนโยบายรัฐบาลโดยทั้ง 4 สวนจะชวยสรางความชัดเจน และกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสวนราชการตาง ๆ ใหเปนไปตามเปาหมายเกิดความสามัคคีปรองดอง ความ สมานฉันท ความผาสุก ความเปนอยูที่ดี ความสงบ และความปลอดภัยของสังคมสวนรวม โดยในสวนของนโยบายดาน VIII เทคโนโลยีสารสนเทศไดกําหนดบทบาท และเปาหมายดาน ICT นับแตเรื่อง โครงสรางพื้นฐาน ระบบบริหารจัดการใน ภาคสวนตาง ๆ ขอมูลขาวสารสําหรับประชาชนและการพัฒนาทุนมนุษย ดานโครงสรางพื้นฐาน ICT แผนบริหารราชการแผนดินมีเปาหมายในการมีโครงสรางพื้นฐานดาน ICT และ กลไกสนับสนุนที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มั่นคงปลอดภัย สะดวกรวดเร็ว โดยมีเครือขายครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ รวมไปถึงการมีศูนยบริการเครือขายอินเทอรเน็ตสาธารณะที่ไดมาตรฐานครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศภาครัฐมีมาตรฐาน มั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ และการคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่เอื้อตอความเชื่อมั่น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 283
ดานการรับรูขอมูลขาวสารของประชาชน มีเปาหมายในการที่จะใหประชาชนมีความรอบรูเขาถึงสามารถ พัฒนาและใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางรูเทาทัน รวมทั้งสงเสริมใหผูสูงอายุ คนพิการและผูดอยโอกาสสามารถใช ICT เพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ประชาชนมี โ อกาสเข า ถึ ง ข อ มู ล ข า วสารผ า นบริ ก ารต า ง ๆ ที่ ใ ช ค ลื่ น ความถี่ อ ย า งมี ประสิทธิภาพ และมีชองรายการเผยแพรขอมูลขาวสารแกประชาชน ดานการศึกษา การสาธารณสุข แรงงาน การเกษตร วัฒนธรรม และการประชาสัมพันธดวยระบบดิจิทัลของภาครัฐ ดานการใช ICT เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม มุงเนนไปที่การพัฒนาบุคลากรดาน ICT ใหมีความสามารถ ตามมาตรฐานวิช าชีพ เพื่อ เพิ่มศัก ยภาพการแข งขัน ดา นอุ ตสาหกรรม ICT ของประเทศ การดํา เนิ นใหภาคธุ รกิ จ อุตสาหกรรมและบริการดาน ICT ไดรับการสนับสนุนใหมีศักยภาพ และสามารถทําใหประเทศไทยพึ่งพาตนเองได รวมไป ถึงกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายอันไดแก ภาคเกษตรและบริการไดรับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพสินคาและบริการให สามารถแขงขันลดตนทุนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ และทายที่สุด คือ การดําเนินการใหภาคธุรกิจอุตสาหกรรมและ บริการดาน ICT และผูใชในกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายนํา ICT ไปเปนกลไกในการผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลาง ดาน ICT ในภูมิภาค การนําเอา ICT มาชวยในการขับเคลื่อนโยบายดานการศึกษา ดานที่ดิน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม และดานการบริหารบานเมืองที่ดี แผนบริหารราชการแผนดินไดมีการกําหนดไว ไดแก ในดานการบริหารบานเมืองที่ดี มีแนวคิดที่จะนํา ICT มาใชในการวางแผนและตัดสินใจใหมีประสิทธิภาพ เพื่อ พัฒนาระบบราชการอยางตอเนื่อง รวมไปถึงการนํา ICT ที่ทันสมัยมาใชในการควบคุมอาชญากรรมใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด และการใหประชาชนมีโอกาสแสดงประชาทัศนในประเด็นสําคัญตาง ๆ อยางตอเนื่อง โดยอาศัย ICT เพื่อสงเสริมให ประชาชนมีสวนรวมในการบริหารราชการแผนดิน 3. ยุทธศาสตรประเทศไทย ยุทธศาสตรประเทศไทย (Country Strategy) ไดกําหนดยุทธศาสตร วิสัยทัศน เปาหมายและแนวทางใน การทํางานรวมกันของหนวยราชการในปงบประมาณ 2556 และเปนกรอบในการจัดทํางบประมาณป 2557 รวมทั้งไดมี การบูรณาการรวมกับยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน (ASEAN Strategy) จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเขาสู ประชาคมอาเซียน ป 2558 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2555 เพื่อเตรียมความพรอมของหนวยงานที่เกี่ยวของในการ เขาสูประชาคมอาเซียน โดยมีวิสัยทัศนในการที่จะพัฒนาใหประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแขงขัน คนไทยอยูดีกินดี มีความเสมอภาคและเปนธรรม โดยมียุทธศาสตรหลัก 4 ดาน ซึ่งไดมีการกําหนดแนวทางการดําเนินการที่เกี่ยวของกับ ICT ไวในแตละยุทธศาสตรประกอบดวย ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ เพื่อหลุดพนจากประเทศรายไดปาน กลาง (Growth & Competitiveness) โดยไดกําหนดแนวทางการดําเนินการดานโครงสรางพื้นฐานและที่เกี่ยวของกับ ICT ไดแก การพัฒนาระบบโลจิสติกสและโครงสรางพื้นฐาน การลงทุนการใหบริการและใชประโยชน ICT และการลงทุน โครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมเชื่อมโยงในภูมิภาค ยุทธศาสตรที่ 2 การลดความเหลื่อมล้ํา (Inclusive Growth) โดยไดกําหนดแนวทางการดําเนินการที่ เกี่ยวของกับ ICT เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไดแก การปฏิรูปการศึกษา ที่มุงเนน ครู หลักสูตรเทคโนโลยีการดูแล กอนวัยเรียน และการใช ICT ในระบบการศึกษา เชน แท็บแล็ตและอินเทอรเน็ตไรสาย เปนตน ยุทธศาสตรที่ 3 การเติบโตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Green Growth) โดยไดกําหนดแนวทางการ ดําเนินการที่เกี่ยวของกับ ICT ไดแก การจัดซื้อจัดจางสีเขียวในภาครัฐ การปองกันและบรรเทาภัยพิบัติธรรมชาติ และ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอาเซียน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 284
ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางความสมดุลและปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) โดยได กําหนดแนวทางการดําเนินการที่เกี่ยวของกับ ICT ไดแก ปรับปรุงระเบียบ ขอกฎหมายที่เปนขอจํากัดตอการพัฒนา ประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพองคกรภาครัฐและพัฒนารูปแบบการทํางานของภาครัฐ ดวยการสรางความพรอมในการบริหาร จัดการแบบบูรณาการ โดยมีประชาชนเปนศูนยกลาง เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการประชาชนดวยระบบ E-Service และพัฒนาทักษะและศักยภาพของกําลังคนภาครัฐและเตรียมความพรอมบุคลากรภาครัฐสูประชาชมอาเซียน
ทิ ศ ทางการพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของประเทศไทย ทิศทางการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยไดกําหนดแนวทางการพัฒนาตาม “กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย” หรือที่เรียกวา “กรอบ นโยบาย ICT2020” และแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียนสูป 2015 หรือ ASEAN ICT Masterplan 2015 1. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย หรือ กรอบนโยบาย ICT2020 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทยหรือกรอบ นโยบาย ICT2020 นั้น จัดทําขึ้นเพื่อกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนา ICT ของประเทศไทยในระยะ 10 ป ขางหนา และเพื่อใหการพัฒนา ICT ของประเทศไทยมีทิศทางที่ชัดเจนและมีความตอเนื่องของกรอบนโยบายในภาพรวม โดยมีวิสัยทัศนเพื่อมุงสูการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมที่อยูบนพื้นฐานของความรูเพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน และมี เปาหมายในการเพิ่มการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนใหทั่วถึง สง เสริมใหประชาชนสามารถเขาถึงและใช ประโยชนจากสารสนเทศได รวมไปถึงการเพิ่มบทบาทของอุตสาหกรรม ICT ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ และยกระดับ ความพรอมดาน ICT ของประเทศใหทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว โดยกรอบนโยบาย ICT2020 ไดกําหนดยุทธศาสตร การพัฒนา 7 ยุทธศาสตรดังนี้ 1) พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT ใหมีความทันสมัย มีการกระจายอยางทั่วถึงและมีความปลอดภัย 2) พัฒนาทุนมนุษยที่มีความสามารถในการสรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ 3) ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT 4) ใช ICT เพื่อสรางนวัตกรรมบริการของภาครัฐ 5) พัฒนาและประยุกตใช ICT เพื่อสรางเขมแข็งภาคการผลิต 6) พัฒนาและประยุกตใช ICT เพื่อลดความเหลื่อมล้ําในสังคม 7) พัฒนาและประยุกต ICT เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 2. แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียนสูป 2015 (ASEAN ICT Masterplan 2015) การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 30 (The 10th ASEAN Telecommunications & IT Ministers Meeting) ซึ่งประกอบดวย ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ เมื่อวันที่ 13-14 มกราคม พ.ศ. 2554 ไดรับรองแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอาเซียน 2558 หรือ ASEAN ICT Masterplan 2015 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดยุทธศาสตรและแนวทางความรวมมือที่จะขับเคลื่อนเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในภูมิภาคใหมีความแข็งแกรง เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน และสนับสนุนใหอาเซียนเปน ภูมิภาคที่ดึงดูดการลงทุน โดยการดําเนินการมีกรอบระยะเวลา 5 ป (พ.ศ. 2554-2558) มีเปาหมายในการพัฒนาดังนี้
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 285
1) ใช ICT เปนเครื่องมือในการผลักดันใหประเทศในกลุมอาเซียนมีความเติบโตทางเศรษฐกิจ 2) ใหอาเซียนเปนศูนยกลางแหงหนึ่งของโลกทางดาน ICT 3) ประชากรอาเซียนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและ 4) ให ICT มีสวนในการชวยสงเสริมการรวมกลุมของประเทศอาเซียน การดําเนินการใหบรรลุเปาหมายทั้ง 4 ประการขางตน อาเซียนไดกําหนดวิสัยทัศนและยุทธศาสตร 6 ขอ ในการขับเคลื่อน โดยยุทธศาสตรของแผนแมบท ICT อาเซียน ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตรซึ่งสามารถแบงออกเปน 3 เสา หลัก (Pilar) ไดแก การปรับเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ (Economic Transformation) การสรางพลังและมีสวนรวมของ ประชาชน (People Empowerment and Engagement) และการสรางนวัตกรรม (Innovation) ที่ตั้งอยูบนรากฐานที่ สําคัญ (Necessary Foundation) 3 ประการ ไดแก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (Infranstructure Development) การพัฒนาทุนมนุษย (Human Capital Development) และการลดความเหลื่อมล้ําทางดิจิทัล (Bridging the Digital Divide) 3. การประเมินผลแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2556 การประเมินผลแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 25512556 ไดมีการประเมินจากขอมูลและเอกสารที่เกี่ยวของ ซึ่งโดยหลักการพอที่จะอนุมานในภาพของการประเมินผลไดใน ระดับหนึ่ง โดยอาศัยขอมูลที่รวบรวมมาจากผลการสํารวจที่เกี่ยวของในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในบริบทที่เกี่ยวของและในวาระตาง ๆ กัน ซึ่งมีขอสรุปสําคัญของแตละเรื่องที่ทําการสํารวจปรากฏอยูในหัวขอเรื่องตาง ๆ ในขอ 4 สถานการปจจุบันดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย นอกจากนี้ จากเอกสารรายงานผลการสํารวจ ขอสังเกต และขอเสนอแนะ จากการประเมินสถานะแผน แมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2 ตามโครงการสํารวจสถานการณการดําเนินการตามแผนแมบท เทคโนโลยีสารสนเทศ (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 ที่ดําเนินการโดยบริษัท ทริส คอรปอเรชั่น จํากัด ได ชี้ใหเห็นผลการประเมินในรูปของผลผลิต พรอมดวยขอสังเกตและขอเสนอแนะที่จะเปนประโยชนตอการประเมินผลแผน แมบทดาน ICT ของประเทศในอนาคต โดยในสวนของผลผลิตดานการศึกษาและการวิเคราะหขอมูลไดชี้ใหเห็นวา ประการแรก หากหนวยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล มีความสามารถและมาตรฐานในการรวบรวมและจัดเก็บ ขอมูลของผลผลิตสวนใหญ จะทําใหการจัดอันดับความสามารถแขงขันดานเทคโนโลยีของประเทศไทยถูกตอง ประการที่ สอง หากมีการใชระบบประเมินผลเปนกลไก และเปนเครื่องมือในการผลักดันใหยุทธศาสตรและแผนงานโครงการตาง ๆ ไดบรรลุเปาหมายตัวชี้วัด (KPI) ที่กําหนดไว จะสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรใหเกิดผลสัมฤทธิ์ไดในสวนของผลผลิตดาน รายงานการติดตามความกาวหนาของดัชนีชี้วัด ชี้ใหเห็นวา กลุมตัวชี้วัดจํานวน 3 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 คือ กลุมที่มีความ สมบูรณ กลุมที่ 2 คือ กลุมที่มีความสมบูรณเพียงบางสวน และกลุมที่ 3 คือ ที่ไมมีความสมบูรณ โดยกลุมที่สองมีจํานวน สูงสุด รองลงมาคือ กลุมที่ 3 และกลุมที่ 1 มีจํานวนคอนขางนอย รวมทั้งมีขอสังเกตเพิ่มเติม ไดแก การกําหนดตัวชี้วัดผล การดํ าเนิน งานของแต ละยุท ธศาสตร มีค วามสอดคล องกัน พรอ มด วยการสรุป ปจจัย สํา เร็ จ และป จจั ยล มเหลวของ เปาหมาย 3 ขอของแผนแมบทฯ โดยในยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลทั่วไป จะตองมีการ กําหนดคํานิยามหรือคําจํากัดความของตัวชี้วัดใหเปนที่เขาใจตรงกันในทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหการดําเนินงาน เปนไปในทิศทางเดียวกันและสอดคลองกัน ในยุทธศาสตรที่ 5 ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาอุตสาหกรรม ICT ควรมีการ กําหนดประเภทของมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ที่มุงหมายใหชัดเจนวา ไดแก อุตสาหกรรมประเภทใดบางเปาหมาย ในแผนแมบทฯ ควรพิจารณาจากขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) จากหนวยงานที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจระดับมหภาค
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 286
และในเรื่องของบทบาทของผูมีสวนไดสวนเสียของอุตสาหกรรม ICT ตอแผนแมบทฯ พบวา ทุกหนวยงานที่ตอบแบบ สํารวจรับทราบถึงแผนแมบท ICT ผานหนังสือเผยแพรและเว็บไซตของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คิด เปนรอยละ 74 และรอยละ 37 ตามลําดับ รวมทั้งทุกหนวยงาน ยังมีการใชแผนแมบท ICT ประกอบการจัดทําแนวทาง/ แผนงานในการพัฒนาดาน ICT ของตน และทุกหนวยงานมีการระบุยุทธศาสตรขององคกรที่คํานึงถึงการสนับสนุน ยุทธศาสตรในแผนแมบทฯ โดยใหความสําคัญตามภารกิจหลักขององคกร ในสวนของขอสังเกตและขอเสนอแนะที่จะเปนประโยชนตอการประเมินผลแผนแมบทดาน ICT ของ ประเทศในอนาคต 1) ควรเพิ่มเติมเนื้อหาตัวชี้วัดระดับสากล ที่สนับสนุนการพัฒนา ICT ที่สอดคลองกับหลักเกณฑการ ประเมินขององคกร/สถาบันจัดอันดับในระดับโลก เชน IMD และ ITU เปนตน เพื่อตอบวัตถุประสงคของแผนแมบทฯ และการเพิ่มศักยภาพในการแขงขันดาน ICT ระดับสากล 2) ควรมีการสื่อสารเนื้อหาสาระของยุทธศาสตรที่สําคัญ เพื่อถายทอดลงไปสูหนวยงานที่เกี่ยวของอยาง เปนรูปธรรม เชน ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ควรผลักดันใหมีการนําไปใชและควรสื่อสารและเพิ่มความ รวมมือกับภาคเอกชนในการดําเนินตามยุทธศาสตรมากขึ้น 3) การดําเนินงานตามเปาหมาย 3 ขอของแผนแมบทฯ เปาหมายที่ 1 ในเรื่องความรอบรู การเขาถึง สรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ รูเทา ทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม (Information Liferacy) โดยมีขอสังเกตถึงตัวชี้วัดที่ระบุในแงอุปทานการเขาถึง และใช สารสนเทศ ซึ่งขาดในเรื่องคุณภาพและประโยชนของการใชขอมูล และทักษะของผูใช ในขณะที่ UNESCO ใชกรอบ Media/ICT Household Survey จึงควรมีหนวยงานดูแล เชน สํานักงานสถิติแหงชาติ เพื่อพัฒนารูปแบบและวิธีการที่ เหมาะสม เปาหมายที่ 2 ในเรื่องการยกระดับความพรอมดาน ICT จากการจัดอันดับของ NRI โดยเสนอแนะให กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนเจาภาพจัดทําแผนปฏิบัติการ (Action plan) และกําหนดหนวยงานที่ มีบทบาท อํานาจ หนาที่ในการกํากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลหนวยงานที่เปนผูรับผิดชอบแผนงานและผูรับผิดชอบ ตัวชี้วัด รวมทั้งหนวยงานเจาภาพในการจัดเก็บขอมูลกลาง เพื่อความถูกตองและเปนปจจุบันในการจัดอันดับการพัฒนา ดาน ICT ในสวนของการจัดอันดับ NRI ซึ่งมีตัวชี้วัดจํานวนมาก จึงควรศึกษาหลักเกณฑใหถี่ถวน เพื่อใหสะทอนอันดับของ ประเทศไทยอยางแทจริง และควรศึกษาเทียบเคียงกับประเทศคูแขง 4) ขอสังเกตยุทธศาสตรที่ 2 และ 4 ในสวนของยุทธศาสตรที่ 2 เรื่องการบริหารจัดการระบบ ICT อยางมี ธรรมาภิบาล ควรมีการกําหนดนิยามที่ชัดเจนของตัวชี้วัดพรอมดวยการสะทอนเปาหมายยุทธศาสตรที่ 4 เรื่องการใช ICT เพื่อการสรางธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ โดยตัวชี้วัดสนับสนุน e-Government จึงควรกําหนด คําจํากัดความของตัวชี้วัดที่เกี่ยวของ มาตรฐานการจัดเก็บ และหนวยงานรับผิดชอบ 5) การติดตามการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ มีขอสังเกต กลาวคือ ควรจัดเก็บขอมูลตัวชี้วันในหนวยงาน กลาง เพื่อการติดตามและประเมินผล และการควบคุมคุณภาพของขอมูล รวมทั้งควรมีการทบทวนแผนแมบทฯ ใน ระยะเวลาที่กําหนด ในสวนของความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และนโยบายที่เกี่ยวของที่ออกมาในระยะเวลาของ แผนแมบทฯ ดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 287
6) ขอสังเกตและขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ แผนแมบทฯ ควรมีความชัดเจนของเปาหมายและทิศทาง รวมทั้งตัวชี้วัดควรมีความเชื่อมโยงในแตละ ยุทธศาสตร เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการพัฒนา และควรมีการกําหนดทิศทางเปาหมาย ICT ของประเทศใน ระยะยาว ตัวชี้วัดควรมีทั้งลักษณะ Lead และ Lag ในการผลักดันเปาหมายแผนแมบทฯ ตลอดจนขอเสนอแนะอื่นๆ ไดแก การใชทรัพยากรรวมกัน การวางโครงสรางดานโทรคมนาคมความเร็วสูง การมุงเนนพัฒนา Content เพื่อให ประชาชนเขาถึงขอมูลและสืบคนขอมูลที่ตองการการกําหนดประเภทของกลุมเปาหมายที่ตองการใหชัดเจน การวาง กลยุทธในการพัฒนาเชิงพื้นที่ การพัฒนาทักษะดาน ICT ควบคูกับดานภาษาอังกฤษ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน ICT อยางตอเนื่อง การตั้งองคกรเพื่อบริหารจัดการดาน ICT ของประเทศ และสรางความรวมมือระหวางภูมิภาค 4. สถานการณปจจุบันดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ในชวงที่ผานมาประเทศไทยตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน และภายนอกประเทศที่สําคัญใน หลายดาน ซึ่งมีผลกระทบทั้งที่เปนโอกาสและอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ โดยสามารถสรุปสถานการณที่เกี่ยวของกับ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 8 ดานหลัก ตามแนวทางการจัดกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในแตละเรื่อง (Focus Group) จํานวน 8 กลุม ไดแก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาทุนมนุษย ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาดานรัฐ บาลอิเล็กทรอนิกส การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารกับเศรษฐกิจ การพั ฒนาสังคม การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาสิ่งแวดลอม รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร 1) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 76 รวมถึงกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศไทย ระยะ พ.ศ. 2554-2563 หรือกรอบนโยบาย ICT2020 ไดระบุทิศทางอยางชัดเจนวา จะ มุงเนนการพัฒนาโครงขายโทรคมนาคมขั้นพื้นฐานใหครอบคุลมทั่วประเทศ และสรางโอกาสในการเขาถึงบริการของ ประชาชนอยางเทาเทียมกัน เปรียบเสมือนการเขาถึงสาธารณูปโภคพื้นฐานที่มีคุณภาพและความมั่นคงปลอดภัยเทียบเทา มาตรฐานสากล โดยกําหนดเปาหมายไวรอยละ 80 ของประชาชนทั่วประเทศ จะสามารถเขาถึงโครงขายโทรคมนาคมและ อินเทอรเน็ตความเร็วสูงในชั้น Tier 1 (768 kpbs-1.5 Mbps) ภายในป 2558 และรอยละ 95 ภายในป 2563 โดยเมืองที่ เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจทุกเมืองจะตองมีการใหบริการในระดับความเร็วสูงมาก คือ มีการเชื่อมตอในสวนปลายทาง โดยใชเทคโนโลยีแกวนําแสง หรือ FTTx สวนในภาคธุรกิจและครัวเรือนจะตองมีการเชื่อมตอขั้นต่ําที่ความเร็วในชั้น Tier 5 (10-25 Mbps) จากผลการสํา รวจการมีก ารใช เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารทั้ งในครัว เรื อนและในสถาน ประกอบการ ป พ.ศ. 2556 ของสํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบวา สัดสวน ของประชากรที่ใชอินเทอรเน็ตมีเพียงรอยละ 28.9 และสวนใหญกระจุกตัวอยูในเขตกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหจากแนวโนมการใชงานตั้งแต พ.ศ. 2551 จนถึง พ.ศ. 2555 แลว พบวา อัตราเฉลี่ยของ ประชากรที่มีการใชงานอินเทอรเน็ตนั้นมีแนวโนมเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 2.08 ตอป ในขณะที่ประชากรมีการใชงาน โทรศัพทมือถือเพิ่มขึ้นรอยละ 4.35 ตอป สวนในสถานประกอบการมีการใชอินเทอรเน็ตเพียงรอยละ 19.2 จากจํานวน สถานประกอบการทั้งหมด ซึ่งชองทางการเชื่อมตออินเทอรเน็ตสวนใหญยังเปนการเชื่อมตอโดยใช xDSL และเทคโนโลยี อินเทอรเน็ตความเร็วสูงอื่น ๆ แตยังมีสถานประกอบการจํานวนร อยละ 5.6 ซึ่งยังใชเทคโนโลยีการเชื่อมตอความเร็วต่ํา เชน Analogue Modem, ISDN และเทคโนโลยีโทรศัพทมือถือ 2G หรือ 2.5G เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 288
เมื่ อเปรียบเที ยบสถานภาพของโครงสรา งพื้น ฐานด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อสารของ IX ประเทศไทยกับประเทศอื่นแลว ในป พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีคา Network Readiness Index (NRI) อยูที่ 4.01 และ อยูในลําดับที่ 67 ซึ่งเปนรองจากประเทศในอาเซียน 3 ประเทศ คือ สิงคโปร บรูไน และมาเลเซีย ในขณะที่ หากพิจารณา เฉพาะดานโครงสรางพื้นฐานแลว ประเทศไทยไดรับการจัดอันดับที่ 71 จากจํานวนประเทศที่ไดรับการจัดอันดับทั้งสิ้น 342 ประเทศ ซึ่งนับวา ดอยกวาประเทศในกลุมประชาคมอาเซียนเพียงสองประเทศ คือ สิงคโปร และบรูไน ไมนับรวมถึง ประเทศเมียนมาร และสปป.ลาว ซึ่งไมปรากฏรายชื่อประเทศที่ทําการจัดอันดับ ผลการจัดอันดับดังกลาวนี้ นับวา เปน การพัฒนาแบบกาวกระโดดของประเทศไทย เนื่องจาก ในป พ.ศ. 2555 นั้น ประเทศไทยอยูในอันดับที่ 107 ในดาน โครงสรางพื้นฐานซึ่งดอยกวาประเทศในกลุมประชาคมอาเซียนทั้งหมดที่ไดรับการจัดอันดับ จึงนับวา การพัฒนาในดาน โครงสรางพื้นฐานที่ไดริเริ่มขึ้นในป พ.ศ. 2555 ตามกรอบนโยบาย ICT2020 ไดดําเนินตามแนวทางที่เหมาะสมแลวใน ระดับหนึ่ง ในแงของระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดาน ICT พบวา กฎหมายและระเบียบตาง ๆ ยัง กระจัดกระจาย โดยเฉพาะกฎหมายและระเบียบที่จําเปนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ไมวาจะเปนเรื่องการปกปองขอมูลสวน บุคคล (Data Privacy) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร (Cybercrime) ความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร (Cyber Security) และการปกปองทรัพยสินทางปญหา (Intellectual Protery Rights) โดยประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร (พระราชบัญญัตวิ าดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550) และในเรื่อง ของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส (พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544) แตอยางไรก็ดี ประเทศไทยยัง ไมมีกฎหมายเฉพาะในเรื่องของการปกปองขอมูลสวนบุคคล และกฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยสินทางปญญายังตองการ การแกไขใหทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน นอกจากนี้ ระเบียบแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับการใชเทคโนโลยี ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เชน เทคโนโลยีคลาวด และสื่อสังคมออนไลน ยังคงไมชัดเจนในแนวทางปฏิบัติ ดังนั้น แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย (พ.ศ. 25572561) จึงควรเนนการทบทวนและกําหนดมาตรการดานโครงสรางพื้นฐานที่เปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ภายใตกรอบนโยบาย ICT2020 พรอมทั้งกําหนดตัวชี้วัด และระบุหนาที่รับผิดชอบที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อใหสามารถดําเนินการไดจริงและ บรรลุเปาหมายที่ตั้งไว 2) การพัฒนาทุนมนุษยดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย (กรอบ นโยบาย ICT2020) ไดกลาวถึงเรื่องทุนมนุษยไวในยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาทุนมนุษยที่มีความสามารถในการสรางสรรค และการใช สารสนเทศอยา งมี ประสิ ทธิ ภาพ มี วิ จารณญาณ และรู เ ท าทั น รวมถึ งพั ฒนาบุค ลากร ICT ที่ มีค วามรู ความสามารถ และความเชี่ยวชาญระดับมาตรฐานสากล โดยมีกลยุทธและมาตรการที่สําคัญ ไดแก การจัดทําแผนพัฒนา บุคลากร ICT (ICT Professional) การจัดทํา National ICT Competency Framework เพื่อกําหนดระดับความรูและ ทักษะทั้งสําหรับบุคลากรทั่วไปและบุคลากร ICT และการจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบในการทดสอบมาตรฐานความรูและ ทักษะดาน ICT (National ICT Skill Certificate Center) เปนตน การพัฒนาการศึกษาเปนปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งในการที่จะยกระดับทุนมนุษยของประเทศ แตที่ ผานมาพบวา ประเทศไทยประสบปญหาคุณภาพการศึกษาอยางรุนแรงจนกลายเปนปญหาที่ทาทายของประเทศ ถึงแม รัฐบาลจะทุมเทงบประมาณกวารอยละ 20 ของงบประมาณแผนดิน หรือคิดเปนรอยละ 3.7 ของผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ เพื่อใหผูเรียนทุกคนไดรับการศึกษาที่เทาเทียมกัน รวมทั้งมีความพยายามปฏิรูปการศึกษาตลอดระยะเวลา มากกวา 20 ป แตการพัฒนาคุณภาพการศึกษายังไมประสบผลสําเร็จในระดับที่พึงพอใจ กลับมีปญหาคุณภาพการศึกษา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 289
เพิ่มขึ้น ซึ่งสาเหตุของปญหามีอยูมากมาย ไมวาจะเปนปญหาที่เกิดจากครูผูสอน ผูเรียน และสภาพแวดลอมการจัด การศึกษา รวมทั้งขาดปจจัยที่จะสงเสริมการเรียนรู นอกจากนี้ พบวา ผลคะแนนสอบมาตรฐานในประเทศ (NT) และผล การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอยูในระดับต่ํากวามาตรฐาน WEF ไดทําการจัดอันดับ คุณภาพการศึกษาของประเทศตาง ๆ ทั่วโลก พบวา ในป พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีคุณภาพการศึกษาอยูอันดับที่ 37 ของ โลก และอยูในอันดับที่ 8 ในกลุมประเทศอาเซียน แสดงใหเห็นวา คุณภาพการศึกษาไทยตกต่ํา และตองไดรับการพัฒนา อยางเรงดวน ซึ่งหมายถึง การพัฒนาดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี และการปฏิรูปการเรียนรู รวมทั้งการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อยกระดับองคความรูและคุณภาพการศึกษาของประชาชนคนไทยทั้งประเทศ สําหรับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 ในสวนที่เกี่ยวของกับทุนมนุษยนั้น มุงเนนไปที่การเตรียมการดานการศึกษาเพื่อสรางรากฐาน/เตรียมคนไวสําหรับการ พัฒนาในอีก 5-10 ปขางหนา และการสรางทักษะของคนใหเกงขึ้น โดยเนน learning process and skill building เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรม โดยเปาหมายสําคัญของยุทธศาสตรสรุปไดเปน 3 สวน คือ การ เพิ่มกําลังคนดาน ICT การยกระดับมาตรฐานความรูความสามารถของบุคลากรดาน ICT และการเพิ่มความสามารถในการ เขาถึง ICT และการใชประโยชนจาก ICT ของประชาชน ทั้งนี้ จากการประเมินผลการดําเนินงานในดานยุทธศาสตรของ การพัฒนาบุคลากรสัดสวนของกําลังคนดาน ICT ที่จบการศึกษาในระดับที่สูงกวาปริญญาตรีในแตละป ไดกําหนดไวไม นอยกวารอยละ 15 ของผูจบการศึกษาในปนั้น ๆ พบวา ในป 2555 ผูที่จบการศึกษาดาน ICT มีเพียงรอยละ 3.35 ของผู ที่จบการศึกษาเทานั้น นอกจากนี้ บางตัวชี้วัดยังไม มีการกําหนดนิยามที่ชัดเจน และหรือไมมีการจัดเก็ บขอมูล เช น ขอบเขตของการใชประโยชนจาก ICT ในชีวิตประจําวัน นิยามคําจํากัดความของบุคลากรภาครัฐ หรือนิยามของเว็บไซตที่ มีเนื้อหาเปนประโยชน เปนตน เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถที่จะมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทุนมนุษยไมวาจะเปนในการสราง โอกาสอยางเทาเทียมกันในการเขาถึงขอมูลขาวสาร และพัฒนาคุณภาพของการศึกษาโดยเฉพาะการศึกษาของเยาวชนที่ จะเปนกําลังสําคัญของประเทศในอนาคต เทคโนโลยีใหม ๆ เชน MOOCs (Massive Online Open Courses) สามารถที่ จะนํ า มาประยุ ก ต ใ ช ใ นการเรี ยนการสอนเพื่ อ ให เ ยาวชนเข า ถึ ง เนื้ อ หาคุ ณ ภาพสู ง จากผู ส อนที่ มี คุ ณ ภาพได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ 3) การพัฒนาดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส การพัฒนาดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) ในระยะเริ่มตนดําเนินการพัฒนาในรูปแบบ ของ “Function (Supply) Based” ในประเทศไทย นับแตเริ่มมีกรอบนโยบาย IT2000 ตอเนื่องมาถึงกรอบนโยบาย IT2010 และแผนแมบท ICT (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2553 ซึ่งกําหนดใหมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศภาครัฐ ไว ผลลัพธสวนใหญยังพัฒนาเปนโครงการที่เนนเฉพาะหนวยงานเปนหลัก และผลการสํารวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาล อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2555 โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา หนวยงานภาครัฐตั้งแตระดับ กรมขึ้นไปมีเว็บครบทุก หนวยงาน และรอยละ 75 มีการนํา Social Media มาใช รอยละ 67 มีระบบใหบริการผาน e-Service แตมีเพียงรอยละ 10 ที่สามารถใหบริการในระดับ personalized e-service นอกจากนี้ มีเพียงรอยละ 5.6 ของหนวยงานภาครัฐเทานั้นที่มี การจัดทํามาตรฐาน ISO 27001 ในการสํารวจการใหบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของหนวยงานภาครัฐ โดยอางอิงวิธีการสํารวจและ จัดลําดับการใหบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสขององคการสหประชาชาติ (United Nations E-Government Survey 2012) และทําการสํารวจขอมูลของสวนราชการตั้งแตระดับกระทรวง 20 กระทรวง ลงไปจนถึงระดับกรม รวมทั้ง หนวยงานในกํากับ และหนวยงานภาครัฐอิสระอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งสิ้น 303 หนวยงาน ซึ่งผลการสํารวจชี้วา การ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 290
พัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสภาครัฐของไทยมีระดับความกาวหนาโดยรวมทั้งประเทศโดยเฉลี่ยอยูที่รอยละ 45 โดยวิธี คํานวณหาคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการพัฒนาแตละระดับเปนรายกระทรวง และผลการจัดลําดับการพัฒนา 4 ระดับ ตาม องคการสหประชาชาติไดผลลัพธ ดังนี้ ระดับที่ 1 ระดับการใหบริการขอมูลพื้นฐาน (Emerging Information Services) หนวยงานราชการทั้ง 20 กระทรวงมีการพัฒนากาวหนามากที่สุด โดยไดคะแนนเต็มรอยละ 100 ทั้งนี้ หนวยงานภาครัฐของไทยทุกกระทรวงมีบริการขอมูลขั้นพื้นฐานทางออนไลนผานเว็บไซต ระดับที่ 2 ระดับการใหขอมูลที่มีปฏิสัมพันธกับผูใชบริการ (Enhanced Information Services) การพัฒนาบริการออนไลนภาครัฐของไทยในระดับ ที่ 2 กาวหนาโดยเฉลี่ยรอยละ 82 ทั้งนี้ หนวยงานภาครัฐของไทยทุกกระทรวงมีบริการขอมูลทางออนไลนอยางมีปฏิสัมพันธกับประชาชน/ผูใชบริการ มีระดับ ความกาวหนาแตละกระทรวงอยูในชวงรอยละ 52-92 ระดับที่ 3 ระดับการใหบริการธุรกรรมออนไลน (Transactional Services) การพัฒนาบริการออนไลนภาครัฐของไทยระดับที่ 3 กาวหนาโดยเฉลี่ยรอยละ 33 ทั้งนี้ มี หนวยงานภาครัฐ 2 กระทรวงที่สามารถพัฒนาบริการธุรกรรมออนไลนไดกาวหนาถึงรอยละ 50 ในขณะที่หนวยงานสวน ใหญมีการพัฒนาบริการธุรกรรมออนไลนในระดับความกาวหนาแตละกระทรวงอยูเพียงรอยละ 6-48 โดยประมาณ อาจ กลาวไดวา มีหลายกระทรวงที่พัฒนาบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสนอย ทั้งนี้ มีกรณีบางหนวยงานระดับกรมอาจจะมี อํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานที่ไมไดเกี่ยวของกับประชาชนโดยตรง ระดับที่ 4 ระดับการเชื่อมโยงขอมูลและธุรกรรมออนไลนขามหนวยงาน (Connected Services) การพัฒนาบริการออนไลนภาครัฐของไทยในระดับที่ 4 กาวหนาโดยเฉลี่ยเพียงรอยละ 22 โดยหนวยงานภาครัฐทุกกระทรวง มีการพัฒนาบริการที่เชื่อมโยงขอมูลและธุรกรรมออนไลนขามหนวยงานไดในระดับ ความกาวหนาแตละกระทรวงอยูในชวงรอยละ 6-40 ยุทธศาสตรและแนวทางแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 ตามหลักการ e-Government และ ICT Government เนนการพัฒนาในระดับบูรณาการขาม หนวยงาน ในมุมมองของลูกคาเริ่มปรากฏใหเห็น โดยมีการบูรณาการ e-Service เขามารวมไวใน Web Portal ในระดับ กระทรวง/กรม เชน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดเริ่มพัฒนา Portal ในระดับประเทศโดยชองทาง e-Citizen Portal ซึ่งมี การรวบรวมบริการภาครัฐมาไวที่เดียวกัน ซึ่งยังคงตองไดรับการปรับปรุงเพื่อใหไดรับความนิยม รวมทั้งการเพิ่มเติม คุณสมบัติในการเปน Web Portal ที่สมบูรณ นอกจากนี้ ยุทธศาสตรนี้ประสบความสําเร็จในเรื่องของการจัดตั้งหนวยงาน กลางที่ทําหนาที่เปนองคกรขับเคลื่อนวาระแหงชาติดาน ICT ในระดับประเทศ โดยในชวงการดําเนินการของแผนไดมีการ จัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม (กสทช) ขึ้น แตการจัดตั้งสภา ICT ยังคงอยูในระหวางการดําเนินงาน นอกจากนี้ ในดานของการผลักดันกฎหมายพบวา มีการผลักดันกฎหมายที่เกี่ยวขอ ง รวมทั้งหมด 7 ฉบับ สวนเปาหมายของการประหยัดงบประมาณนั้นยังไมสามารถที่จะวัดในเชิงปริมาณได ในแงของการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสรางธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐนั้น ถือ ไดวา การที่มีระบบ National Single Window เปนความสําเร็จหนึ่งของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุน การสรางธรรมาภิบาล นอกจากนี้ พบวา ทุกหนวยงานภาครัฐมีเว็บไซตที่สามารถใหขอมูลขาวสารการบริการประชาชน ส ว นในเรื่ อ งของการพั ฒ นาระบบบู ร ณาการเชื่ อ มโยงข อ มู ล และบริ ก ารภาครั ฐ (Thailand e-Government Interorperability Framework หรือ TH e-GIF) เพื่อเปนมาตรฐานในการบูรณาการขอมูลและบริการรวมระหวาง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 291
หนวยงานภาครัฐนั้น พบวา มีหนวยงานภาครัฐเพียงรอยละ 50 เทานั้นที่มีการจัดทําเตรียมขอมูลตามมาตรฐาน TH eX GIF สวนลําดับของประเทศไทยในการจัดลําดับ e-Government Rankings ขององคการสหประชาชาตินั้น จากรายงาน การจัดลําดับพบวา ใน ค.ศ. 2032 ประเทศไทยไดอันดับที่ 92 จะเห็นไดวา การจัดอันดับของประเทศไทยตั้งแต ค.ศ. 2005-2032 นั้นมีแนวโนมที่ลดลงเรื่อย ๆ โดย ค.ศ. 2008 อยูในอันดับที่ 64 ค.ศ. 2030 อยูในอันดับที่ 76 และค.ศ. 2032 ตกไปอยูอันดับที่ 92 4) การใชเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจในประเทศไทยพึ่งพาการสงออกเปนหลัก โดยมีมูลคาการสงออกคิดเปนสองในสามของ GDP ใน พ.ศ. 2555 ประเทศไทยมี GDP อยูที่ 11.375 ลานลานบาท มีขนาดเปนอันดับสองในอาเซียนรองจากอินโดนีเซีย โดย ภาคการผลิตและบริการมีสัดสวนตอ GDP สูงสุดที่รอยละ 39.2 และ 24.9 ตามลําดับ ในขณะที่ภาคการเกษตรคิดเปน เพียงรอยละ 8.4 ของ GDP อันเนื่องมาจากใน พ.ศ. 2555 ปริมาณขาวที่ผลิตไดในฤดูกาลลดลง รวมทั้งราคาของสินคา เกษตรกรรม เชน น้ํามันปาลม และยางพารา มีแนวโนมราคาลดลงอยางตอเนื่องในขณะที่เกษตรกรตองลงทุนสูงขึ้น แผนแมบท ICT (ฉบับที่ 2) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน ซึ่งไดมีตัวชี้วัดและเปาหมายตาง ๆ เชน สัดสวนสถานประกอบการที่ใช ICT ในการดําเนินธุรกิจ สัดสวนของสถาน ประกอบการที่มีการขายสินคาและบริการผานทางอินเทอรเน็ต การเติบโตของมูลคาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบ B2B และ B2C ของประเทศ หรือคาดําเนินการดาน Logistic ของประเทศ เปนตน สําหรับการจัดอันดับในการแขงขัน ดานเศรษฐกิจระดับโลกจากการจัดลําดับ โดย Global Competitive Index (GCI) ของ World Economic Forum (WEF) ซึ่งพิจารณาจากปจจัยหลัก 3 ประการ ไดแก สภาพแวดลอม (Environment) ความพรอม (Readiness) และการ ใชงาน (Usage) ใน พ.ศ. 2556-2557 ประเทศไทยถือเปนประเทศที่ไดรับการจัดลําดับใหอยูในกลุม Efficiency-driven Economy และจัดอันดับที่ 37 จาก 344 ประเทศ และเปนอันดับที่ 4 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร มาเลเซีย และบรูไน โดย WEF วิเคราะหวา ความสามารถในการแขงขันของประเทศยังคงมีความนากังวลโดยเฉพาะเรื่องความไมมีเสถียรภาพ ทางการเมือง การแกปญหาแบบเฉพาะหนา ปญหาคอรรัปชั่น ความกังวลเรื่องความปลอดภัย และความไมแนนอนในเรื่อง ของการปกปองทรัพยสินเปนเรื่องที่ทําลายคุณภาพ institutional framework ของการทําธุรกิจโดยจัดอันดับที่ 78 นอกจากนี้ ประเทศไทยยังคงมีปญหาในเรื่องของบริการดานสาธารณสุข และการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดอันดับ 83 และ การยอมรับเทคโนโลยีจัดอันดับ 78 5) การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการพัฒนาสังคม จากการศึกษาของคณะกรรมการยุทธศาสตรการปฏิรูปประเทศ (คปร.) แตงตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 คปร. เสนอวา “ความลมเหลว” ของประเทศไทยเกิดจาก “ความเหลื่อมล้ําอยางสุดขั้วในทุก มิติ” สงผลใหเกิดปญหาเชิงโครงสรางอื่น ๆ ตามมาอีกมาก เชน ดานรายได ดานสิทธิ ดานโอกาส ดานอํานาจ และดาน ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ที่ผานมา ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และโทรคมนาคมของประเทศไทย ตางก็ ใหความสําคัญกับการแกปญหาความเหลื่อมล้ํา ไมวาจะเปนแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2545-2563 กรอบ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2545-2563 ของประเทศไทย แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของอาเซียน ค.ศ. 2015 (ASEAN ICT Masterplan 2015) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ ที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 และนโยบายบรอดแบนดแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ. 2553 ตางใหความสําคัญกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT เพื่อสรางความเปนธรรมในสังคมและลดความเหลื่อมล้ําทาง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 292
เศรษฐกิจและสังคม เชน ในดานสาธารณสุข ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการจัดทําฐานขอมูลบันทึกสุขภาพ และ/หรือ ระบบระเบียนผูปวยอิเล็กทรอนิกสของแพทยภาครัฐ และภาคเอกชน รวมทั้งภาคอื่น ๆ ที่เกี่ยวของใหมีความครบถวน เพื่อแกปญหาดานสุขภาพทุกกลุม โดยเฉพาะสังคมผูสูงอายุ สวนทางดานการเรียนรู ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการ แพรหลายของเทคโนโลยีดิจิทัล และขอมูลสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาวัฒนธรรมในโลกอินเตอรเน็ตในทุกสวนของ เศรษฐกิจและสังคม โดยใหสามารถเขาถึงไดทุกทีท่ ุกเวลา การสรางระบบ e-learning พัฒนาชุมชนทองถิ่นดวย ICT และ การสรางความเสมอภาคในการเขาถึงสารสนเทศไดอยางทั่วถึง เชน โครงการ one tablet per child เปนตน 6) การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม การเพิ่มประสิทธิภาพการจั ดการสิ่ง แวดลอม การแก ปญหาโลกรอน และการใชทรัพยากรอยางมี ประสิทธิภาพเปนปญหาที่สําคัญลําดับตน ๆ ของโลกในปจจุบัน ปริมาณคารบอนไดออกไซดรอยละ 2-3 ที่เกิดขึ้น ทุกวันนี้ มาจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยางไรก็ตาม ICT มีศักยภาพในการที่จะชวยลดปริมาณคารบอนไดออกไซด อีกรอยละ 97-98 ที่มาจากภาคสวนอื่น ๆ สําหรับประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษไดทําการศึกษาพบวา ประเทศไทยผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส (eWaste) ประมาณ 300,000 ตัน ใน พ.ศ. 2550 และคาดวา จะมีปริมาณ 400,000 ตัน ในป 2560 ทั้งนี้ โดยภาคสวน ตาง ๆ ที่เกี่ยวของไดใหความสนใจทั้งในเรื่อง Green ICT และ ICT for Green แตยังไมมีการกําหนดเปนนโยบายสําคัญ ของประเทศ โดยในสวนของ Green ICT นั้น มีหลายหนวยงานที่มีการปรับปรุง Data Center เพื่อใหมีการประหยัด พลังงาน ยกตัวอยางเชน บริษัท PTT ICT Solutions ไดมีการพัฒนา Data Center ใหเปนไปตามมาตรฐาน TIA-942 (Telecommunication Infrastructure Standard for Data Centers) อยางไรก็ดี การนํา ICT มาชวยในการปรับปรุง สิ่งแวดลอมนั้น หลาย ๆ หนวยงานทั้งในภาครัฐและภาคเอกชนมีการตื่นตัวในเรื่องนี้ ไมวาจะเปนการมุงสูการเปนการมุงสู การเปน paperless office หรือการประชุมสื่อสารทางไกลแบบ VDO Conference เพื่อชวยลดการใชพลังงานและเวลา ในการเดินทาง เปนตน การพัฒนาและประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green ICT) รวมถึงการนํา ICT มาชวยสังคมสีเขียว (ICT for Green) นั้น ไดกําหนดใหเปนหนึ่งในยุทธศาสตรของกรอบนโยบาย ICT2020 และมีความจําเปนอยางยิ่งในการชวยชะลอหรือลดผลกระทบจากสภาวะแวดลอมปจจุบันที่เปลี่ยนแปลงอยาง มาก (Climate Change) 7) อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจ ของประเทศไทย โดยใน พ.ศ. 2554 ตลาด ICT ในประเทศไทยมีมูลคาประมาณ 531,853 ลานบาท โดยสวนใหญรอยละ 76.9 เปนมูลคาตลาดการสื่อสาร รองลงมา ไดแก ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร และตลาดซอฟตแวรและการบริการ ซอฟตแวร และคาดวา ตลาด ICT จะมีการเติบโตไปในทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจาก แนวโนมการใชงานอินเทอรเน็ตบรอด แบนด ทั้งแบบใชสายและแบบไรสายขยายตัวมากขึ้น ผลการสํารวจของ TDRI และ SIPA พบวา ในป 2555 ภาพรวมของตลาดซอฟตแวรและบริการ ซอฟตแวรของไทย มีมูลคาการผลิตเฉพาะที่เกิดขึ้นในประเทศไทย 31,979 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2554 ถึงรอยละ 24 โดยจําแนกเปนซอฟตแวรสําเร็จรูปที่มีมูลคาการผลิต 5,877 ลานบาท คิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 24.7 และบริการ ซอฟตแวรที่มีมูลคาการผลิต 26,102 ลานบาท คิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 23.9 ขณะที่ ซอฟตแวรสมองกลฝงตัว มี มูลคาการผลิต 4,238 ลานบาทเพิ่มขึ้นจากป 2554 รอยละ 5.4
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 293
โดยสัดสวนมูลคาการผลิตซอฟตแวรและการใหบริการซอฟตแวรของผูประกอบการไทย พบวา ใน ตลาดบริการซอฟตแวรในป 2555 มีสัดสวนรายไดสูงถึงรอยละ 81.6 ขณะที่การผลิตซอฟตแวรสําเร็จรูปมีสัดสวนรายได ประมาณ 39.4 ในตลาดซอฟตแวรสําเร็จรูปนั้น รอยละ 36 เปน Desktop Application รอยละ 54 เปน Sever Application และรอยละ 10 เปน Mobile Application สํา หรั บ ตลาดดิ จิ ทัล คอนเทนต ข องประเทศไทย ที่เ กี่ ยวขอ งกั บ อุ ตสาหกรรมแอมิ เนชั่ น เกม และ อีเลิรนนิ่ง พ.ศ. 2554 มีมูลคารวมประมาณ 36,467 ลานบาท โดยเปนตลาดเกมประมาณ 8,806 ลานบาท ตลาดแอ มิเนชั่น 5,623 ลานบาท และตลาดอีเลิรนนิ่ง 2,038 ลานบาท ทั้งนี้ มูลคาตลาดรวมดังกลาวเปนผลิตภัณฑนําเขาเฉลี่ย ประมาณรอยละ 71 ผลผลิตของผูประกอบการไทยประมาณรอยละ 29 โดยในสวนของผูประกอบการไทย เปนการผลิต เพื่อบริโภคภายในประเทศประมาณรอยละ 23 และสงออกประมาณรอยละ 6 จากรายงานการจัดอันดับความไดเปรียบทางการแขงขันในภาคอุตสาหกรรม IT จํานวน 66 ประเทศ ทั่วโลกของ Economist Intelligence Unit ค.ศ. 2011 พบวา ประเทศไทยอยูในลําดับที่ 50 ซึ่งตกลงมาจาก ค.ศ. 2009 อยู 1 อันดับ จากการจัดอันดับนี้วัดจากคะแนน 6 ดาน โดยประเทศไทยไดคะแนนต่ําในดานสภาพแวดลอมทางดานวิจัย และพัฒนา และโครงสรางพื้นฐานดาน IT และจากการศึกษาของ TDRI และ SIPA พบวา ปญหาสําคัญของอุตสาหกรรม ซอฟตแวรของประเทศไทย คือ การขาดแคลนบุคลากรที่มีคุณภาพทุกแขนง หลักสูตรของสถาบันการศึกษาไมสอดคลอง กับความตองการของภาคอุตสาหกรรม พนักงานรุนใหมนิยมเปลี่ยนงานบอย ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ประสบปญหาการเขาถึงแหลงทุน การขาดการสนับสนุนดานการวิจัยและพัฒนาอยา งจริงจัง การขาดแคลนบุคลากร โดยเฉพาะบริษัทที่ตั้งอยูนอกกรุงเทพมหานคร 8) สถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร ผูเชี่ยวชาญในวงการดานความมั่นคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับ นานาชาติมีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันวา ปญหาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ปจจุบันนั้น มีแนวโนมที่จะเผชิญการโจมตีจากภัยในลักษณะแนวรวมที่เปนระบบมากขึ้น (Coordinated Attacks) มี แรงจูงใจและเปาหมายที่ชัดเจนมากขึ้น มีความพยายามในการซอนตัวมากขึ้น เพื่อใหสามารถโจมตีระบบไดเปนระยะ เวลานาน กอนที่ผูดูแลระบบจะรูตัว เชน ในลักษณะของการจารกรรมทางอุตสาหกรรม (Industrial Espionage) การกอ การรายตอรัฐ การสอดแนมเพื่อลวงความลับที่มีความสําคัญตอความมั่นคงของประเทศ การโจมตีเครือขายของสถาบัน ทางการเงิน และการโจมตีระบบสารสนเทศและสื่อสารของธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ SME เปนตน ปจจุบัน รัฐบาลและหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในประเทศไทย ไดใหความสําคัญตอความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยการจัดตั้งองคกร กรรมการ และรูปแบบที่คลายกันระดับชาติ ที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง อาทิเชน คณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส ศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรประเทศไทย (ThaiCERT) และเครือขาย ความรวมมือดานความปลอดภัยระบบคลาวดคอมพิวติ้ง (Cloud Security Alliance Thailand Chapter) เปนตน ตลอดจนมีการประกาศใชกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 71 ซึ่งวางหลักเกณฑการคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่เปนขอมูล ประวัติสุขภาพ เปนตน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนสวนหนึ่งของจุดเริ่มตนที่จะนําไปสูความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ดีขึ้นในประเทศไทยทั้งสิ้น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 294
อยางไรก็ตาม ภาพรวมสถานภาพการพัฒนาดานความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของประเทศไทยยังขาดการประสานงานกันระหวางหนวยงานตาง ๆ และการนํามาตรฐานที่ไดรับการยอมรับ ในระดับสากลมาบังคับใชและถือปฏิบัติ เพื่อใหเกิดการปฏิบัติตามขอกําหนดในมาตรฐานตาง ๆ (compliance) เชน มาตรฐาน ITIL และ COBIT และมาตรฐานในชุด SP800 ที่กําหนดโดย National Institute of Standards and Technology (NIST) นอกจากนี้ หนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะในภาครัฐยังขาดบุคลากรที่มีความรูความเขาใจ ในการนํา แนวทางการปฏิบัติ (Guidelines) ที่กําหนดไวในมาตรฐานตาง ๆ เหลานี้ มาดําเนินการอยางเปนรูปธรรม ในการพัฒนาใน ดานนี้ จึงจําเปนตองมีการพัฒนาอยางเปนระบบตามมาตรฐานสากล ทิศทางการพัฒนาความมั่น คงปลอดภั ยดา นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารนั้น ไดมีผ ลการ วิเคราะหทิศทางยุทธศาสตร เพื่อการกําหนดกรอบนโยบายความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติไวในประเด็นสําคัญ ไดแก การบูรณาการการจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศและการสื่อสาร การสรางศักยภาพในการตอบสนอง ตอภัยคุกคามดานสารสนเทศและการสื่อสาร การสรางศักยภาพในการตอบสนองตอภัยคุกคามดานสารสนเทศและการ สื่อสาร การปกปองโครงสรางพื้นฐานสําคัญของประเทศที่อาจตกเปนเปาของการคุกคามผานระบบสารสนเทศและการ สื่อสาร การสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ และการสื่อสาร การสรางกลไกในดานการวิจัยและพัฒนาในดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ และการปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวของ จึงควรมีการกําหนดไวในทิศทางการพัฒนาดานความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของประเทศอยางจริงจัง ตอไป
ศู น ย ป ร ะ ส า น ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม มั ่ น ค ง ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย (ThaiCERT) เซิรต (CERT) ยอมาจากคําวา Computer Emergency Response Team เปนคําที่มหาวิทยาลัยคาเนกี้ เมลลอน (Carnegie Mellon University) ประเทศสหรัฐอเมริกาไดจดทะเบียนการคาไวในฐานะที่จัดตั้งเปนหนวยงาน เซิรตแหงแรกของโลก ซึ่งทําหนาที่ตอบสนองและจัดการกับสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรที่เกิดขึ้น ภายในประเทศ ตอมา หลายประเทศก็ไดเลี ยนแบบแนวคิดนี้ และตั้ งหนวยงานภายในประเทศตนเองเพื่อทํา หนา ที่ เชนเดียวกันนี้ขึ้นมา ซึ่ง ในภายหลังมีการรวมตัวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลและสรางความรวมมือเปนเครือขายเซิรตที่ ครอบคลุมทั่วโลก ในสวนของประเทศไทยนั้น ไดมีการจัดตั้งศูนยประสานงานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร (Thailand Computer Emergency Response Team : ThaiCERT) ขึ้นภายใตศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ (NECTEC) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เมื่อป พ.ศ. 2543 ใหมีภารกิจหลักเพื่อตอบสนอง และจัดการกับสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร (Incident Response) และใหการสนับสนุนที่จําเปน และคําแนะนําในการแกไขภัยคุกคาม และการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศ รวมทั้งติดตาม และเผยแพรขาวสาร และสถานการณทางดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร ตอสาธารณชน ตลอดจนทํ า การศึกษา และพั ฒนาเครื่อ งมื อ และแนวทางตา ง ๆ ในการปฏิ บัติ เ พื่อ เพิ่ มความมั่ นคง ปลอดภัยในการใชคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งตอมา ภารกิจของไทยเซิรตไดโอนมาที่สํานักงานพัฒนา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) ตามมติคณะรัฐมนตรีมายัง สพธอ.ซึ่งเปนหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นใหมภายใต กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2554
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 295
ไทยเซิรตไดเปดตัวอยางเปนทางการและใหบริการอยางเต็มรูปแบบภายใต สพธอ. มาตั้งแตเดือนธันวาคม 2554 และไดปรับเปลี่ยนชื่อทางการของไทยเซิรตเปนศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรประเทศ ไทย หรือที่เ รียกสั้น ๆ วา ไทยเซิรต (ThaiCEERT) โดยมีวิสัยทัศนใหสังคมออนไลนมีความมั่นคงปลอดภัย เกิดความ เชื่อมั่นกับผูทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พันธกิจของไทยเซิรต มุงเนนการประสานงานกับหนวยงานในเครือขาย และ หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการแกไขเหตุภัยคุกคามดานสารสนเทศที่ไดรับแจง หรือที่ตรวจสอบพบเจอ นอกจากนี้ ไทยเซิรตยังมีพันธกิจเชิงรุกที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถดานการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยและเพื่อสรางคนใหกับประเทศ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) ไดดําเนินโครงการศูนยประสานการรักษาความ มั่นคงระบบคอมพิวเตอรประเทศไทย (ThaiCERT) โดยในปแรกใหความสําคัญกับภัยคุกคามดานสารสนเทศ 2 ประเภทที่ พบมากที่สุด ไดแก ประเภทที่ 1 ภัยคุกคามจากเว็บไซตหลอกลวง (Phishing) ซึ่งในป 2011 มีรายงานวา ในบางกรณี ประชาชนที่ตกเปนเหยื่อในแตละรายสูญเสียเงินในธนาคารไปหลายแสนบาทจากการถูกหลอกลวงนี้ โดยแตละเดือน ThaiCERT จะไดรับการรายงานเรื่องเกี่ยวกับเว็บไซตหลอกลวงจากในและตางประเทศเฉลี่ยประมาณ 50 กรณี หากจะ ประเมินผลกระทบเบื้องตนก็สามารถกลาวไดวา การแกไขปญหาเว็บไซตหลอกลวงอยางเดียวของ ThaiCERT เปนการลด XI โอกาสของความสูญเสียที่มีมูลคานับหลายสิบลานบาทตอเดือน และประเภทที่ 2 ปญหาบอตเน็ต (BOTNET) เชน ซูส XII XIII (Zeus) รุสตอก (Rustock) หรือเคลิฮอส (Kelihos) ที่แพรระบาดบนเครื่องคอมพิวเตอรในประเทศไทยเปนจํานวน มากกวา 100,000 เครื่อง ซึ่งเครื่องที่ติดโปรแกรมไมพึงประสงคนี้ถูกใชเปนเครื่องมือในการโจมตีผูอื่น หรือสรางความ XIV เสียหายใหกับเจาของเครื่องคอมพิวเตอร เชน การถูกใชเปนเครื่องมือในการสงแสปม (SPAM) มากกวา 25,000 ฉบับ ตอชั่วโมง การถูกใชเปนเครื่องมือในการขโมยขอมูลธุรกรรมออนไลนของผูใชงาน และการถูกใชเปนเครื่องมือในการรวม XV โจมตีสภาพความพรอมใชงานของระบบผูอื่น (DDoS) ภัยคุกคามดานสารสนเทศทั้ง 2 ประเภทดังกลาว เปนเพียงสวนหนึ่งของภัยคุกคามดานสารสนเทศที่ ThaiCERT ไดรับแจง ซึ่งจะเห็นไดจากขาวการแพรระบาดของภัยคุกคามดานสารสนเทศหลายประเภทที่เกิดขึ้นบนอินเทอรเน็ตอยาง แพร หลายและมี รูปแบบของภัยคุ กคามด านสารสนเทศซั บซ อน และแปลกใหมขึ้ นทุ กวัน ตามการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ในดานบุคลากร ไทยเซิรตจึงไดพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง เพื่อใหมีความรูความสามารถในการรับมือภัย คุกคามดานสารสนเทศรูปแบบใหม ๆ เชน ความรูดานการจัดการสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร (Incident Handling), การวิเคราะหกรณีบุกรุกทางสารสนเทศ (Intrusion Analysis) การทดสอบเจาะระบบสารสนเทศ (Penetration Testing) การดูแลจัดการระบบคอมพิวเตอร (System Administration) และการดูแลความมั่นคงระบบ เครือขายคอมพิวเตอร (Network Security) โดยมีเปาหมายใหการดําเนินการของไทยเซิรตสามารถใหบริการรับมือและ จัด การภั ยคุ ก คามด านสารสนเทศได อ ย างต อ เนื่อ ง และเพิ่ มความสามารถในการรั บ มื อ และจัด การภั ยคุ ก คามด า น สารสนเทศไดในระดับประเทศ ประกอบดวย การวิเคราะหและแกไขปญหาโปรแกรมไมพึงประสงค (Malware) ทั้งแบบ เคยตรวจพบกอนเกิดความเสียหาย หรือตรวจพบหลังเกิดความเสียหาย การวิเคราะหและแกไขการหลอกลวงผานเว็บไซต XVI ประเภทฟชชิ่ง (Phishing) และการวิเคราะหและแกไขชองโหวของบริการธุรกรรมที่สําคัญของประเทศ รวมถึงการ จัดเตรียมระบบสํารอง (backup site) ที่พรอมใหบริการแบบพรอมใชทันที (Hot-Standby)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 296
การดําเนินงานของไทยเซิรตยังมุงเนนในการพัฒนาบุคลากรใหมีความสามารถในการวิเคราะหภัยคุกคามดาน สารสนเทศ และจัด การไดอ ย างมี ประสิท ธิ ภาพ มี ก ารจั ดให มีก ารแบ งความรั บผิ ด ชอบของทีมออกเปน หลายดา นที่ ครอบคลุมกับสถานภาพภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดยมีทั้งทีมวิจัยและวิเคราะหภัยคุกคามดาน สารสนเทศทั้ง ที่ มีอ ยูใ นป จจุ บั น และภั ยคุ กคามด านสารสนเทศในรู ปแบบใหม ที มที่ ทํา หนา ที่ใ นการเฝา ระวัง ระบบ เครือขายระบบสารสนเทศ ทีมที่คอยจัดการกับสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (IT Security Incident) ที่เกิดขึ้นอยางทันทวงที ทีมที่คอยทําหนาที่ประสานความรวมมือกับหนวยงานทั้งภายในและตางประเทศ เมื่อมี เหตุการณเกิดขึ้น พรอมทั้งมีทีมที่คอยสงเสริมและสรางความตระหนักในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ เนื่องจาก ไทยเซิรตมิไดเปนหนวยงานรักษากฎหมายโดยตรง ดังนั้น การปฏิบัติงานจึงมีลักษณะเปนการประสาน ความรว มมื อกั บเครื อข ายหน วยงานต า ง ๆ ทั้ง ภายในและตา งประเทศที่ เกี่ ยวข องเพื่ อจั ดการปญ หาภัยคุก คามด า น สารสนเทศที่เกิดขึ้น การดําเนินการของไทยเซิรตจึงตองใหเจาของหนวยงานที่เปนเหยื่อของภัยคุกคามนั้นอนุญาต หรือ ยินยอมใหไทยเซิรตเขาไปใหบริการ หรือเขาไปชวยแกไขปญหาเมื่อเกิด incidents หรือภัยคุกคามตาง ๆ ขึ้น และไทย เซิรตก็ไดทํางานใกลชิดกับผูใหบริการและหนวยงานในสายกระบวนการยุติธรรมเพื่อสนับสนุนการตรวจหารองรอย ตัวอยางหนวยงานภายในประเทศที่ไทยเซิรตไดประสานความรวมมือ ไดแก ผูใหบริการอินเทอรเน็ต สมาคมธนาคารไทย สมาคมความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ สํานักปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมสืบสวนคดีพิเศษ ในกรณี ที่ มี ความจํ า เปน ต อ งประสานความร ว มมื อ กั บ ตา งประเทศ ไทยเซิร ต ก็ มี เ ครือ ข า ยความร ว มมื อ กั บ หนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่ง ไดรวมลงนามบั นทึกความเขาใจในการแลกเปลี่ ย นขอมูล และร วมมือแก ไขภัยคุก คามดา น สารสนเทศที่เกิดขึ้นกับหนวยงานในระดับสากล เชน เจพี เซิ รต /ซี ซี หรือ JPCERT/CC (Japan Computer Emergency Response Team Coordination Center) เปนหนวยงานเซิรตหลักของ ประเทศญี่ ปุ น ที่ เ ข ม แข็ ง และประสบความสํ า เร็ จ ในการบริ ห ารจั ด การ สถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรทั้งในระดับประเทศ และ ตางประเทศ เอพีดับบลิวจี หรือ APWG (Anti-Phishing working group) เปนหนวยงาน ประเภทไมแสวงหาผลกําไรในประเทศสหรัฐอเมริกา มีภารกิจรับมือ และ จัดการภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากการใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปน เครื่องมือในการฉอโกง (Fraud) โดยใชวิธีลักลอบขโมยขอมูลสวนตัว เชน บัญชีชื่อ รหัสผาน ขอมูลสําคัญของบัตรเครดิต หรือขอมูลสําคัญสําหรับทํา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ทีมคัมรี หรือ Team Cymru เปนหนวยงานประเภทไมแสวงหาผลกําไรใน ประเทศสหรัฐอเมริกา มีภารกิจวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีดานความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศ (IT Security) เพื่อแกไขปญหาภัยคุกคามใหม ๆ ที่ เกิดขึ้นในปจจุบัน และใหบริการขอมูลสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัย (Incident) ที่ไดรวบรวมและวิเคราะหไดจากระบบตรวจจับของหนวยงาน นอกจากนี้ ไทยเซิรตยังไดเขารวมเปนสมาชิกเต็มรูปแบบขององคกรทั้งใน ระดับภูมิภาคและนานาชาติ ไดแก เอพีเซิรต หรือ APCERT (Asia Pacific
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 297
CERT) สําหรับประสานความรวมมือกับประเทศในภาคพื้นเอเชียแปซิฟกและ เฟรส หรือ FIRST (Forum of Incident Response and Security Teams) สําหรับประสานความรวมมือกับประเทศทั่วโลก เอพีเซิรต (APCERT) เปนการรวมกลุมทีมซีเสิรตส (CSIRTs/Computer Security and Incident Response Team) หรือทีมเซิรตส (CERTs) จาก ประเทศสมาชิกในแถบภูมิภาคเอเชียแปซิฟก เพื่อสรางความตระหนักดาน การรักษาความมั่นคงปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพของประเทศสมาชิก ใน การจัดการกับเหตุการณละเมิดความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรไดทัดเทียม กับมาตรฐานนานาประเทศและกลุมภูมิภาคอื่น เฟรส (FIRST- Forum of Incident Response and Security Teams) เป น องค ก รระดั บ นานาชาติ ที่เ กิ ด จากการรวมตั ว กั น ของกลุ มผู เ ชี่ ยวชาญ ทางดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรและเครือขายของแตละ ประเทศทั่วโลก ทําหนาที่ตอบรับ ประสานความรวมมือ ตลอดจนการบริหาร จัดการกับเหตุการณละเมิดความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร ภารกิจสวน ใหญ ข องหน ว ยงานนี้ จะทํ า หน า ที่ เ ป น ตั ว แทนของแต ล ะประเทศและ หน ว ยงานในการตอบรั บ เหตุ ก ารณ ล ะเมิ ด ความมั่ น คงปลอดภั ย ระบบ คอมพิวเตอร และเครือขาย โดยการประสานความรวมมือไปยังหนวยงานของ เครือขายของเฟรส (FIRST) เพื่อยับยั้งเหตุการณการละเมิดความมั่นคง ปลอดภัยตอไป นอกจากนี้ การดําเนินงานของกลุมผูเชี่ยวชาญทางดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศและ เครือขายขององคกรเซิรต (CERTs : Computer Emergency Response Team) หรือซีเสิรต (CSIRTs : Computer Security Incident Response Team) ที่มีอยูในแตละประเทศ ทําหนาที่ในการตอบรับ ประสานความรวมมือ ตลอดจน การบริหารจัดการกับเหตุการณละเมิดความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรและเครือขาย โดยเมื่อไดรับแจงเหตุภัยคุกคาม ดานสารสนเทศจากหนวยงาน CERTs หรือ CSIRTs แลวหนวยงาน APCERT หรือ FIRST จะทําหนาที่ประสานความ รวมมือไปยังหนวยงานในเครือขายที่เปนตัวแทนของแตละประเทศสมาชิก เพื่อยับยั้งเหตุการณการละเมิดความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศตอไป ตลอดสิบกวาปที่ผานมาไทยเซิรตทําหนาที่เปนหนวยงานหลักของประเทศที่ใหคําแนะนําและใหการสนับสนุนที่ จํา เป น ในการรั บมื อและจั ด การสถานการณ ดา นความมั่ น คงปลอดภั ยดา นสารสนเทศ แก หน ว ยงานภาครั ฐ เอกชน ประชาชน และภาคธุรกิจ ในปจจุบันไทยเซิรตไดรับการยอมรับ และเปนที่รูจักทั้งในระดับภูมิภาค และนานาชาติจาก ผลงานที่ไดมีสวนรวมเปนเครือขายชวยปองกัน และยับยั้งปญหาความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรในโลกไซเบอร ซึ่งในป 2556 ไทยเซิรต/สพธอ. ไดรับเกียรติใหเปนเจาภาพรวมจัดงานสัมมนาและประชุมประจําปของเฟรสครั้งที่ 25 ป 2013 (25th Annual FIRST Conference 2013) ในระหวางวันที่ 16–21 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพมหานคร งานประชุมครั้งนี้นับเปนการจัดงานประชุมใหญประจําปครั้งที่ 2 ของเฟรส (FIRST) ที่มีการจัดขึ้นในภูมิภาค อาเซียน นับจากในป 2005 ที่จัดขึ้นที่ประเทศสิงคโปร มีผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศจากทั่วโลก เขารวมงานไมนอยกวา 500 คน ในจํานวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่งจะเปนบุคลากรจากหนวยงานประเภทเซิรตที่เปนสมาชิก ของเฟรส (FIRST) เขารวมงาน ซึ่งเปนประสบการณครั้งสําคัญ ที่สรางโอกาสใหไทยเซิรตเปนที่รูจักในเวทีสากลและเปน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 298
การชวยกระตุนใหคนไทย หรือผูเกี่ยวของตระหนักถึงเรื่อง Cyber security และไดแลกเปลี่ยนประสบการณกับ ผูเชี่ยวชาญในระดับนานาชาติ
บริก ารของ ThaiCERT การสนับสนุนใหสังคมออนไลนมีความมั่นคงปลอดภัยและเกิดความเชื่อมั่นในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส การเตรียมการรับมือเหตุการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร (Security Event) ซึ่งไมสามารถคาดการณลวงหนา ได และการจัดการกับสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร (Incident) ถือเปนกลไกที่จําเปนเพื่อรักษาความ ตอเนื่องในการดําเนินภารกิจของหนวยงาน (Business Continuity) และการใหบริการของหนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะ หนวยงานที่ถือเปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญยิ่งยวดของประเทศ (Critical Infrastructure) เชน หนวยงานดานการ สาธารณูปโภคและพลังงาน ดานการสื่อสาร ดานการแพทย เปนตน เนื่องจาก หนวยงานโครงสรางพื้นฐานสําคัญเหลานี้ นําเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการมากขึ้น และเพิ่มความซับซอนใหกับระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของ หากมีการโจมตีระบบ สารสนเทศหรื อเครือ ขาย หนวยงานที่ทําหนาที่รับ มือ และจัดการภัยคุ ก คามด านความมั่นคงปลอดภั ยคอมพิ วเตอร (Computer Emergency Response Team: CERT) จึงมีบทบาทที่สําคัญในการดําเนินการรับมือ และจัดการภัยคุกคาม เหลานี้ รวมถึงการตรวจสอบ และวิเคราะหขอมูลโดยเฉพาะการดําเนินการตรวจพิสูจนหลักฐานทางดิจิทัล (Digital Forensics) เพื่อหาตัวผูกระทําความผิด ไทยเซิรต (ThaiCERT/Thailand Computer Emergency Response Team) ถือเปนหนวยงานประเภทเซิรต หลักของประเทศ หรือเปนที่รูจักในชื่อสากลอีกชื่อหนึ่งวา ซีเสิรต (Computer Security Incident Response Team หรือ CSIRT) ที่มีภารกิจในการจัดการตอสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรสําหรับหนวยงานในขอบเขต การดําเนินงาน (Constituency) ครอบคลุมระบบเครือขายอินเทอรเน็ตภายในประเทศไทยและระบบคอมพิวเตอรภายใต XVII โดเมนเนม (Domain Name) ของประเทศไทย (.th) มีเจาหนาที่คอยเฝาระวังภัยคุกคามกับระบบสารสนเทศและ ระบบเครือขาย และคอยรับมือและจัดการกับสถานการณภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดขึ้นตลอด 24 ชั่วโมง และใน กรณีที่ตองทําหนาที่ประสานความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ เพื่อแกไขหรือระงับเหตุภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดขึ้น รวมถึงการดําเนินการเพื่อสงเสริมและสรางความตระหนัก ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรใหกับผูใชงาน ภายในประเทศ ไทยเซิรตไดดําเนินกิจกรรมในภารกิจของหนวยงานประเภทเซิรตผานบริการ 3 ประเภท ประกอบดวย บริการ รับมือ และจัดการสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัย (Incident Response) บริการขอมูลขาวสารความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศ และบริการวิชาการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ และคาดวา จะพรอม ใหบริการตรวจพิสูจนพยานหลักฐานทางดิจิทัล (Digital Forensics) ไดเต็มรูปแบบในป 2556 1. บริการรับมือและจัดการสถานการณ ดานความมั่นคงปลอดภัย ปจจุบันไทยเซิรตใหบริการรับมือ และจัดการสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัย ทางโทรศัพท และทาง อีเมลแกบุคคลทั่วไป สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย หนวยงานภาครัฐ และเอกชนทั่วโลก เมื่อไดรับแจงเหตุภัยคุกคาม ผูเชี่ยวชาญของไทยเซิรตตรวจสอบขอมูล เพื่อยืนยันวา สถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรที่ไดรับแจง เกิดขึ้น และมีอยูจริง แลววิเคราะหขอมูลเพื่อหาหนวยงานที่เปนตนเหตุของปญหา จากนั้น จึงประสานงานไปยังหนวยงาน ที่เกี่ยวของดังกลาว เพื่อใหคําแนะนํา และดําเนินการแกไขปญหาตอไป
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 299
ไทยเซิรตมีระบบการติดตามความคืบหนาของการจัดการปญหาที่ไดรับแจง และไดกําหนดมาตรฐานการ ใหบริการไว กลาวคือ ไทยเซิรตจะแจงหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อแกปญหาที่ไดรับแจง และรายงานสถานะของการจัดการ และแกไขปญหาภายใน 2 วันทําการ จากนั้น จะติดตามผลการดําเนินงานในทุก 2 วันทําการ โดยไทยเซิรตไดจัดเตรียม ชองทางการติดตอเพื่อแจงเหตุภัยคุกคามดานสารสนเทศ ไว 2 ชองทาง ประกอบดวย ทางโทรศัพทหมายเลข 02-1422483 เวลา 8.30–17.30 น. ทุกวันยกเวนวันหยุดราชการ และทางอีเมลที่ report@thaicert.or.th และในกรณีที่ผูแจงมี ความประสงคจะรักษาความลับของขอมูลในอีเมลที่สงถึงไทยเซิรต ผูแจงสามารถเขารหัสลับขอมูลดวยเทคโนโลยีพีจีพี XVIII (PGP) ดวยกุญแจสาธารณะของไทยเซิรตดังตอไปนี้ อีเมล: report@thaicert.or.th หมายเลขของกุญแจ (Key ID): 0xF2CB3EE1 ประเภทของกุญแจ (Key Type): RSA วันหมดอายุ (Expires): 2015-06-25 ขนาดความยาว (Key size): 2048 Fingerprint: 29B3 2C79 FB4A D4D7 E71A 71ED 5FFE F781 F2CB 3EE1 2. บริการขอมูลขาวสารความมั่นคงปลอดภัย ไทยเซิรตมีภารกิจในการแจงเตือนภัยคุกคามดานสารสนเทศ หรือเหตุการณดานความมั่นคงปลอดภัย คอมพิวเตอรที่ไดรับแจงจากเครือขายของหนวยงานประเภทเซิรต (CERT) หรือ ซีเสิรต (CSIRT) และที่ถูกตรวจพบจาก การทํางานของไทยเซิรตเอง อีกทั้งยังมีภารกิจในการสรางความตระหนัก และความพรอมในการรับมือตอภัยคุกคามดาน สารสนเทศ หรือเหตุการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรที่เกิดขึ้น โดยผูเชี่ยวชาญของไทยเซิรตจะวิเคราะหขอมูล ภัยคุกคามดานสารสนเทศ หรือเหตุการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรที่มีผลกระทบสูงกับผูใชงาน พรอม เสนอแนะขอควรปฏิบั ติในการรับมือ แกไข หรือปองกันในบทความแจงเตือนภัยคุกคามดานสารสนเทศของไทยเซิร ต นอกจากนั้น ไทยเซิรตยังจัดทําขอมูลเชิงสถิติของเหตุการณดานความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรที่ไดรับแจง และนํามา เผยแพรบนเว็บไซตไทยเซิรต (www.thaicert.or.th) เปนรายเดือน เพื่อนําเสนอสถิติ และแนวโนมสถานการณดานความ มั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอรที่เกิดภายในประเทศไทย 3. บริการวิชาการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ไทยเซิรตมีผูเชี่ยวชาญที่มีความรู ความสามารถ และศักยภาพในการใหบริการวิชาการดานการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศกับหนวยงานทั้งภายในและตางประเทศ โดยใหคําปรึกษากับหนวยงานภายในประเทศใน การวิ เ คราะห ข อ มู ล ภั ยคุ ก คามด า นสารสนเทศ การจั ด ทํ า แผนและนโยบายในการรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ยด า น สารสนเทศ เพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานสากลทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคลองกับขอกําหนดของกฎหมาย พรอมใหคําปรึกษาในการบริหารความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ การจัดอบรมสัมมนา เพื่อสรางความตระหนัก หรือ เสริมสรางศักยภาพของบุคลากรของหนวยงานใหสามารถปองกัน และแกไขภัยคุกคามดานสารสนเทศ อีกทั้งจัดการ ซักซอมรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ เพื่อเสริมทักษะ และสรางความพรอมในการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศให บุคลากรของทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงการสนับสนุนวิทยากรในการบรรยาย เพื่อสรางความตระหนัก และใหความรูกับ หนวยงานทั้งในและตางประเทศ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 300
สํา หรับ สถานการณภั ยคุก คามไซเบอร ใ นประเทศไทย ศู น ยป ระสานการรั ก ษาความมั่น คงปลอดภั ยระบบ คอมพิวเตอรประเทศไทย (Thailand Computer Emergency Response Team: ThaiCERT) สํานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดรวบรวมและเผยแพรขอมูลสถิติ ภัยคุกคามที่ไดรับแจง ในชวงเดือนสิงหาคม 2554 – กรกฎาคม 2555 โดยบงเปนภัยคุกคาม 8 ประเภท ดังแผนภาพนี้ แผนภาพแสดงสถิติภัยคุกคามที่ ThaiCERT ไดรับแจงในชวงสิงหาคม 2554-กรกฎาคม 2555 (จําแนกตามประเภท)
แผนภาพขางตนแสดงใหเห็นวา ประเทศไทยประสบปญหาอาชญากรรมไซเบอรหลากหลายรูปแบบ ซึ่งสถิติภัย คุกคามที่ ThaiCERT รับแจงแยกตามประเภทภัยคุกคาม ตั้งแตเดือนสิงหาคม 2554-กรกฎาคม 2555 พบวา การฉอฉล XIX XX หลอกลวงเพื่อผลประโยชน (Fraud) ยังเปนภัยคุกคามที่ไดรับแจงมากที่สุด ตามมาดวยการพยายามบุกรุกเขาระบบ XXI XXII (Information Gathering) โปรแกรมไมพึงประสงค (Malicious Code) และเนื้อหาที่เปนภัยคุกคาม (Abusive Content) ตามลําดับ ซึ่งประเภทของภัยคุกคามดังกลาว เปนสิ่งที่สมควรนําไปกําหนดประเด็นการวิจัยใหไดขอคนพบ เกี่ยวกับขอเสนอแนะในระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติสําหรับการปองกันและแกไขปญหาตอไป
CERTs พันธกรณีที่กํา หนดไวในกรอบประชาคมอาเซียน กวาสิบปที่ประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมกันพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ของภูมิภาคเพื่อสงเสริมความเปนอยูที่ดีขึ้นของชาวอาเซียนกวา 600 ลานคน ซึ่งรัฐมนตรีอาเซียนดานโทรคมนาคมและ เทคโนโลยีสารสนเทศไดยืนยันรวมกันที่จะสงเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ภูมิภาคอาเซียนใหมีความแข็งแกรง มีศักยภาพที่จะแขงขันทางธุรกิจ และดึงดูดการลงทุนจากภูมิภาคอื่น ๆ รวมทั้งการใช ไอซีทีเพื่อสรางศักยภาพใหกับประชาชนอาเซียน โดยตั้งเปาหมายใหป พ.ศ. 2558 เปนปที่อาเซียนจะรวมตัวกันเปนหนึ่ง เดียวที่เรียกวา ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งเปนการบูรณาการทั้งในมิติของประชาชน วัฒนธรรม และ เศรษฐกิจของอาเซียนเขาดวยกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายตาง ๆ ที่ไดวางแผนไวสมาชิกอาเซียนไดรวมกันจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารอาเซียน พ.ศ. 2558 (ASEAN ICT Master plan 2015) ซึ่งไดรับการรับรองในการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดาน โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 10 (The 10th ASEAN Telecommunications and IT Ministers Meeting) ระหวางวันที่ 13-14 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอาเซียนนี้ กําหนดแผนงาน เปาหมาย และระยะเวลาในการดําเนินการใหสําเร็จภายในระยะเวลา 5 ป (พ.ศ. 2553-2558) ในสวน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 301
ของการดําเนินการที่เกี่ยวของกับความมั่นคงปลอดภัยนั้น สพธอ. โดยทีมไทยเซิรต (ThaiCERT) มีบทบาทสําคัญในการ ชวยสนับสนุนการดําเนินการตามยุทธศาสตรที่กําหนดไวขางตนในหลายดาน
รายงาน CERTS ของประเทศสมาชิก อาเซียน เนื่องจาก ภัยคุกคามดานสารสนเทศ มีลักษณะที่ไรพรมแดน และมีแนวโนมที่เกิดกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาค เดียวกันมีลักษณะใกลเคียงกัน ในสวนนี้ จึงนําเสนอขอมูลภัยคุกคามดานสารสนเทศ ของ “หนวยงานเซิรต (CERT) ของ อาเซียน+3” ซึ่งหนวยงานเซิรต (CERT) จากประเทศในอาเซียน+3 นี้ทั้งหมดเปนสมาชิกของหนวยงานเอพีเซิรต (APCERT) และไดนําเสนอสถิติภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดขึ้นในประเทศของตนเอง ในรายงานประจําป 2011 ของเอพีเซิรต (APCERT) จากรายงานประจําป 2011 ของเอพีเซิรต (APCERT) ได ระบุจํานวนสมาชิกของกลุมประเทศของเครือขายความรวมมือในระดับเอเชียแปซิฟกวามีจํานวนทั้งสิ้น 22 หนวยงานจาก 19 เขตเศรษฐกิจ โดยในจํานวนนี้เปนหนวยงานเซิรต (CERT) จากประเทศในอาเซียน+3 จํานวนทั้งสิ้น 17 หนวยงานจาก 10 ประเทศ ประกอบดวย ชื่อหนวยงาน
ประเทศ
Bach Khao Internetwork Security Center (BKIS) Brunei Computer Emergency Response Team (BruCERT) CERNET Computer Emergency Response Team (CCERT) National Computer network Emergency Response technical Team/Coordination Center of China Prople’s Republic of China (CNCERT/Cc) Indonesia Computer Emergency Response Team (ID-CERT) Indonesia Security Incident Response Team on Internet Infrastructure Coordination Center (ID-SIRTII/CC) Japan Computer Emergency Response Team / Coordination Center (JPCERT / CC) Korea Internet Security Center (KrCERT/CC) Malaysian Computer Emergency Response Team (MyCERT) Philippine Computer Emergency Response Team (PHCERT) Singapore Computer Emergency Response Team (SingCERT) Thailand Computer Emergency Response Team (ThaiCERT) Vietnam Computer Emergency Response Team (VNCERT) Government Computer Security and Incident Response Team (GCSIRT) Myanmar Computer Emergency Response Team (mmCERT) National University of Singapore Computer Emergency Response Team (NUSCERT)
เวียดนาม บรูไน จีน จีน
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย ญี่ปุน เกาหลี มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม ฟลิปปนส เมียนมาร สิงคโปร
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 302
โดยทุกประเทศในอาเซียน+3 มีหนวยงานเซิรต (CERT) ในระดับประเทศ และเปนสมาชิกของหนวยงานเอพี เซิรต (APCERT) ยกเวนหนวยงานลาวเซิรต (LaoCERT) จากสปป.ลาว และแคมเซิรต (CamCERT) จากประเทศกัมพูชา ที่ยังไมไดเขาเปนสมาชิกของเอพีเซิรต (APCERT) จํานวนภัยคุกคามดานสารสนเทศที่หนวยงานเซิรต CERT ในประเทศอาเซียน+3 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในชวงยอนหลัง 5 ป โดยสามารถจัดหนวยงานเซิรต CERT ของประเทศที่มีการนําเสนอขอมูลจํานวนภัยคุกคามดาน สารสนเทศ ไวในรายงานประจํ าปของหนว ยงานเอพีเ ซิรต APCERT อยางสม่ําเสมอ และมีจํานวนภัยคุกคามดา น สารสนเทศที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง หนวยงานที่รับรายงานเกินจํานวน 10,000 รายการตอป ประกอบไปดวย หนวยงานมายเซิรต (MyCERT) ซีเอ็นเซิรต (CNCERT/CC) เจพีเซิรต (JPCERT/CC) และ เคอารเซิรต (KrCERT/CC) สวน จํานวนภัยคุกคามดานสารสนเทศ รายปของหนวยงานเซิรต (CERT) ของประเทศนอกเหนือจากกลุมขางตน บรูเซิรต (BruCERT) ไอดีเซอรตี้ (ID-SIRTII) พีเอชเซิรต (PHCERT) ไทยเซิรต (ThaiCERT) และ วีเอ็นเซิรต (VNCERT) พบวา มี แนวโนมของจํานวนภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่ไดรับรายงานเพิ่มขึ้นในลักษณะเดียวกับกลุมแรก แตมีจํานวนภัยคุกคาม ดานสารสนเทศที่ไดรับรายงานนอยกวา ซึ่งในป 2011 มีจํานวนภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่ไดรับรายงานอยูเปนจํานวน นอยกวา 5,000 รายการ จากขอมูลภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่หนวยงานเซิรต (CERT) ในประเทศอาเซียน+3 ไดนําเสนอไวในรายงาน ประจําปของหนวยงานเอพีเซิรต (APCERT) สามารถสรุปไดวา แนวโนมภัยคุกคามดานสารสนเทศ ในประเทศตาง ๆ ใน ภูมิภาคมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และสวนใหญจะเปนภัยคุกคามดานสารสนเทศ ในประเภทโปรแกรมไมพึงประสงค ประเภทความพยายามรวบรวมขอมูลของระบบ ประเภทความพยายามบุกรุกเขาระบบ และประเภทฉอโกง (Fraud)
การสรา งเครือขา ยความรวมมือ การดําเนินการแกไขภัยคุกคามดานสารสนเทศ ตองอาศัยความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวข องกับเหตุภัย คุกคามดานสารสนเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีที่หนวยรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ ไมมีอํานาจทางกฎหมายในการ จัดการกับภัยคุกคามดานสารสนเทศนั้น ปจจุบันมีการรวมตัวกันของหนวยงานรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ เปน เครือขายความรวมมืออยูหลายเครือขาย เชน เฟรส (FIRST), เอพีเซิรต (APCERT) และโอไอซีเซิรต (OICCERT) เปนตน หนวยงานในเครือขายความรวมมือจะชวยประสานความรวมมือในการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ แลกเปลี่ยนขอมูล เกี่ยวกับภัยคุกคามดานสารสนเทศ ตลอดจนซักซอมการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศรวมกัน เพื่อเปนการสรางความ เขมแข็งใหกับเครือขายความรวมมือ ปจจุบันประเทศไทยเปนสมาชิก เอพีเซิรต (APCERT) และเฟรส (FIRST) ซึ่งเปน เครือขายความรวมมือในระดับเอเชียแปซิฟก และระดับโลกตามลําดับ เอพีเซิรต (APCERT/Asia Pacific Computer Emergency Response Team) มีหนวยงานสมาชิก 30 หนวยงาน จาก 20 ประเทศ ซึ่งมีวิสัยทัศนรวมกันรักษาโลกไซเบอรใหมีความมั่นคงปลอดภัย และใชงานไดโดยอาศัยความ รวมมือระหวางหนวยงานทั่วโลก สมาชิกเอพีเซิรต (APCERT) พบกันอยางนอยปละหนึ่งครั้งในการประชุมประจําป ซึ่งมี การแลกเปลี่ยนขอมูล และประสบการณในการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ นอกจากนี้ ยังมีการจัดการซักซอมรับมือ ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ปละ 1 ครั้ง เพื่อทดสอบแนวทางการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ วายังใชไดอยางมี ประสิทธิผลอยูหรือไม เฟรส (FIRST/Forum of Incident Response and Security Teams) มีสมาชิกกวา 260 หนวยงาน และมี เปาหมายสนับสนุนใหหนวยงานสมาชิกรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยหลักปฏิบัติ เครื่องมือ และชองทางการสื่อสารที่มั่นคงปลอดภัย สมาชิกของเฟรส (FIRST) มีการรวมกลุมเพื่อรวมกันทํางานตามความ สนใจ เชน กลุมซีวีเอสเอส (CVSS SIG/CVSS Special Interest Group) จัดทํามาตรฐานการใหคะแนนความรุนแรงของ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 303
ชองโหวระบบสารสนเทศ กลุมเมทริกส เอสไอจี (Metrics SIG) จัดทําแนวทางการประเมินผลการรับมือภัยคุกคามดาน สารสนเทศของหนวยงานรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ กลุมเน็ตเวิรก มอนิเตอริ่ง เอสไอจี (Network Monitoring SIG) สงเสริมการเผยแพรความรูเกี่ยวกับวิธีการเก็บและวิเคราะหขอมูล เน็ตเวิรกเซ็นเซอร (network sensor) เพื่อหา เหตุการณผิดปกติในเครือขายคอมพิวเตอร หรือกลุมวิเคราะหมัลแวร เอสไอจี (Malware Analysis SIG) สงเสริมการ เผยแพรเครื่องมือและวิธีการวิเคราะหโปรแกรมไมพึงประสงค (Malware) กิจกรรมที่หนวยรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศทํารวมกันนําไปสูการกระชับความสัมพันธระหวางหนวยงาน เสริมสรางขีดความสามารถในการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ นําไปสูการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่มี คุณภาพระดับสากล
สถานะและความพร อ มของประเทศไทย นั บ จากไทยเซิ ร ต ได เ ริ่ มดํ า เนิ น การภายใต สํ า นั ก งานพั ฒนาธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (องค ก ารมหาชน) สถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยที่ไทยเซิรตไดรับแจงเหตุภัยคุกคามผานสองชองทาง คือ การรับขอมูลภัยคุกคามดาน สารสนเทศอัตโนมัติ จากหนวยงานเครือขายความรวมมือ และการรับแจงจากบุคคลทั่วไปทางอีเมล โดยสถิติขอมูลได ชี้ใหเห็นวา ปญหาสําคัญดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (IT Security) เกิดจากการขาดความตระหนักหรือ ความรูเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ โดยแบงเปนระดับตาง ๆ ไดแก - ระดับผูดูแลระบบ ปญหาที่เกิดกับระบบเครื่องแมขายของหนวยงานถูกโจมตี และใชเปนฐานกระทํา ความผิด หรือใชเปนเครื่องมือในการดําเนินกิจกรรมที่ไมพึงประสงคตาง ๆ เชน สงสแปมเมล โจมตีระบบคอมพิวเตอรหรือ ระบบเครือขายอื่นเพื่อวัตถุประสงคทําใหบริการผูอื่นเกิดความขัดของ หรือใชติดตั้งบริการเพื่อวัตถุประสงคในการฉอโกง นั้น เปน ตน มั กจะมีส าเหตุ มาจากผูดู แลระบบคอมพิว เตอร ไม ได บ ริห ารจัด การระบบเครื่อ งแมข า ยใหมี ความมั่น คง ปลอดภัย ไมไดติดตามและปรับปรุงซอฟตแวรใหทันสมัยเพื่อแกไขปญหาชองโหว (Vulnerability) เปนเหตุใหผูไมประสงค ดีสามารถเขาถึงระบบโดยไมไดรับอนุญาต และใชระบบเครื่องแมขายนั้นเปนฐานในการทํากิจกรรมไมพึงประสงค - ระดับผูใชงานทั่วไป ปญหาที่เกิดกับเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับผูใชงานทั่วไป มีซอฟตแวรไมพึงประสงคติด ตั้งอยู สวนใหญเปนผลมาจากผูใชงานใชงานซอฟตแวรที่ไมมีลิขสิทธิ์ ทําใหไมสามารถปรับปรุงซอฟตแวรใหทันสมัยเพื่อ แกไขปญหาชองโหว (Vulnerability) ประกอบกับผูใชงานขาดความตระหนักดานความมั่นคงปลอดภัยและมีพฤติกรรม เสี่ยงตาง ๆ เชน เขาเว็บไซตโดยไมตรวจสอบความนาเชื่อถือของเว็บไซต หรือการเปดโปรแกรมที่ดาวนโหลดมาจาก เว็บไซตหรืออีเมลโดยมิไดตรวจสอบความนาเชื่อถือของโปรแกรมดังกลาว เปนตน ทําใหไดรับโปรแกรมไมพึงประสงคมา ทํางานอยูในเครื่อง และในบางกรณีสงผลตอเครื่องใหถูกควบคุมโดยผูไมประสงคดี เพื่อทํากิจกรรมตาง ๆ เชน สงสแปม เมล หรือถูกดักรับขอมูลที่พิมพบนหนาจอหรือที่สงผานเว็บไซต เปนตน จะเห็นไดวา ปญหาสถานการณดานความมั่นคงปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนระบบเครื่องแมขาย หรือเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานทั่วไป ถือเปนตัวนําไปสู เหตุภัยคุกคามดานสารสนเทศไดทุกรูปแบบ ในทุกระดับตั้งแต ระดับบุคคล ระดับหนวยงาน ระดับประเทศ หรือระดับโลก เชน กรณีระบบเครื่องแมขายในประเทศไทยถูกเจาะระบบ และใช เ ป น เครื่ อ งให บ ริ ก ารเว็ บ ไซต ห ลอกลวงเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการฉ อ โกงลู ก ค า ของสถาบั น การเงิ น หรื อ ฟ ช ชิ่ ง (Phishing) มักเกิดจากผูดูแลระบบเครื่องแมขายไมติดตั้งระบบปฏิบัติการ หรือซอฟตแวรใหมีความมั่นคงปลอดภัย ปด พอรตบริการที่ไมจําเปน ประกอบกับความละเลยที่จะปรับปรุงซอฟตแวรในระบบใหทันสมัยอยูเสมอเพื่อแกไขปญหาชอง โหว ซึ่งเปนชองทางใหผูไมประสงคดีเจาะเขามาใชเปนฐานในการสรางเว็บไซตหลอกลวงหรือฟชชิ่ง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 304
ในปจจุบัน การพึ่งพาพาเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลที่เขามามีบทบาทมากขึ้นในภาคธุรกิจ สงผลใหเกิดการ โจรกรรมขอมูลและการโจมตีผานระบบไซเบอร (cyber-attack) เพิ่มมากขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได จากขอมูลของบริษัท Deutsche Telecom ซึ่งเปนโทรคมนาคมชั้นนําของเยอรมัน พบวา มีการโจมตีระบบ SMB (Server Message Block) ในสหรัฐอเมริกาถึง 1.4 ลานครั้ง หรือคิดเปนอยางนอย 32 ครั้งตอนาที เมื่อเมษายน 2014 (รูปที่ 1) ทั้งนี้ การถูกโจมตี ผานระบบไซเบอรอาจนําความเสียหายอยางใหญหลวงมาสูบริษัท เปนตนวา หากเครือขายหรือระบบคอมพิวเตอรของ บริษัทถูกเจาะเขาระบบ (hack) จากบุคคลภายนอก บริษัทอาจตองสูญเสียคาใชจายจากการละเมิดขอมูล รวมไปถึงความ ไววางใจและภาพลักษณของบริษัท นอกจากนี้ ยังอาจสงผลกระทบไปถึงผลกําไรของบริษัทในอนาคตอีกดวย
เมื่อวิเคราะหสถานภาพและความพรอมในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศขององคกรในประเทศ ไทยนั้น สามารถเปรียบเทียบจากจํานวนองคกรที่ไดรับใบรับรอง ไอเอสโอ ไออีซี 27001:2005 (ISO/IEC 27001:2005) ซึ่ง เป น มาตรฐานสากลในการรั บ รองระบบจั ด การความมั่น คงปลอดภั ยด า นสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) จากสถิติซึ่งรวบรวมโดย International Register of ISMS Certificate เมื่อเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2555 พบวา ญี่ปุนเปนอันดับหนึ่งมีองคกรที่ผานการรับรองแลวจํานวน 4,152 แหง ในขณะที่ประเทศไทย มีองคกรที่ไดรับการรับรองแลวจํานวน 5918 องคกร มากเปนอันดับที่ 2 ในกลุมประชาคมอาเซียนรองจากมาเลเซีย และ มากเปนอันดับที่ 15 ของโลก ซึ่งจํานวนองคกรในประเทศไทยที่ใหความสําคัญในเรื่องการจัดการความมั่นคงปลอดภัยดาน สารสนเทศ มีเปนจํานวนสูงกวาหลายประเทศในภูมิภาคอาเซียน และอยูใน 20 ลําดับแรกของโลก สวนหนึ่งเปนผลมาจาก การกําหนดและออกประกาศที่เกี่ยวของกับกฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสของประเทศในเรื่องการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศ โดยอางอิงตามขอกําหนดของมาตรฐาน ไอเอสโอ ไออีซี 27001 นี้ เชน พระราชกฤษฎีกาวาดวย วิธีการแบบปลอดภัยในการทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2553 และประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เรื่องแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 เปน 18
International Register of ISMS Certificates (http://www.iso-27001certificates.com/Register%20Search.htm)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 305
ตน ทําใหหลายองคกรไดใหความสําคัญในการจัดการความมัน่ คงปลอดภัยดานสารสนเทศใหสอดคลองกับขอกําหนดของ กฎหมายนี้ นอกจากความพรอมขององคกรแลว ยังจะตองพิจารณาถึงความพรอมดานบุคลากรภายในองคกร ซึ่งสามารถวัด ไดจากจํานวนบุคลากรที่ไดรับใบรับรองความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศที่ไดรับ การยอมรับในระดับสากล เชน ใบรับรอง Certified Information System Security Professional (CISSP) ซึ่งรับรอง โดย (ISC) ผลการสํารวจเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 255619 พบวา ทั่วโลกมีผูที่ไดรับใบรับรอง CISSP 85,285 คน จาก 144 ประเทศ ประเทศที่มีผูเชี่ยวชาญ CISSP สูงสุด คือ สหรัฐอเมริกา (55,924 คน) อันดับที่สอง คือ สหราชอาณาจักร (4,256 คน) อันดับที่สาม คือ แคนาดา (4,075 คน) อันดับที่สี่ คือ เกาหลีใต สวนประเทศไทย (153 คน) อยูในอันดับที่ 34 ของ โลก และเปนอันดับที่สามในประชาคมอาเซียน รองจากสิงคโปร (1,132 คน) และมาเลเซีย (239 คน)
กราฟแสดงจํานวนผูไดรับประกาศนียบัตรของจีแอค (GIAC) ในประเทศไทย เปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน กราฟแสดงจํานวนผูเชี่ยวชาญในประเทศไทยที่ไดรับประกาศนียบัตรของจีแอค (GIAC)XXIII จํานวน 29 ใบรับรอง ในขณะที่ประเทศในภูมิภาคอาเซียนซึ่งมีจํานวนผูเชี่ยวชาญที่ไดรับประกาศนียบัตรของจีแอค (GIAC) มากเปนลําดับที่หนึ่ง คือ ประเทศสิงคโปรมีจํานวน 336 ใบรับรอง และประเทศมาเลเซียเปนลําดับที่สองมีจํานวน 183 ใบรับรอง สถาบัน EC-Council ซึ่งเปนองคกรที่ใหการรับรองวิชาชีพของบุคลากร โดยประกาศนียบัตรของ EC-Council ดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศซึ่งเปนที่รูจักและไดรับการยอมรับในระดับสากล เชน ประกาศนียบัตร Certified Ethical Hacker (C|EH) และประกาศนียบัตร Certified Hacking Forensic Investigator (CHFI) จํานวน ผูเชี่ยวชาญในภูมิภาคอาเซียนที่ไดประกาศนียบัตรของ EC-Council มีจํานวน 15,000 ใบรับรอง ซึ่งในจํานวนนี้เกินรอย ละ 90 เปนผูที่ไดรับประกาศนียบัตรในประเทศสิงคโปรและประเทศมาเลเซีย สํา หรับในประเทศไทยมีจํานวนเฉลี่ย ประมาณ 400 ใบรับรอง20
19 20
(ISC), Inc (https://www.isc2.org/member-counts.aspx) ขอมูลที่ไดรับจากผูแทนของ EC-Council ประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟกในเดือนธันวาคม 2555
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 306
จากขอมูลจํานวนผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของประเทศในภูมิภาคอาเซียน ถึงแมวา จํานวนผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศไทยอยูในลํา ดับที่ 3 และมีจํานวนสูงกวาหลายประเทศใน ภู มิ ภาคอยู ก็ ต าม แต เ มื่ อ เปรี ยบเที ยบกั บ ประเทศในภู มิ ภาคอาเซี ยนที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ ว า มี ค วามก า วหน า ในด า น เทคโนโลยีสารสนเทศ เชน ประเทศสิงคโปร และประเทศมาเลเซียแลว จํา นวนผูเชี่ยวชาญดานการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศของไทยยังมีจํานวนนอยกวาอยางมีนัยสําคัญ สะทอนใหเห็นถึงความขาดแคลนผูเชี่ยวชาญที่มี ทักษะสูงของไทยและเปนความทาทายที่ไทยตองพัฒนาสวนของการสรางคน หรือผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงปลอดภัยให เปนที่ยอมรับและไดรับการรับรองในระดับสากล เพื่อยกระดับความนาเชื่อถือและรักษาระดับความเชื่อมั่นตอการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศและเพื่อใหมีศักยภาพที่พรอมตอในการแขงขันกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคนี้ ภัยคุกคามดานสารสนเทศ (Threat) เหลานี้ จะทวีความรุนแรงมากขึ้นหากไมมีการสรางความตระหนักเกี่ยวกับ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศใหกับบุคลากรในทุกระดับ เนื่องจาก เทคโนโลยีที่พัฒนาอยางตอเนื่องและ รวดเร็วพรอม ๆ กับแนวโนมของการใชอุ ปกรณอิเล็กทรอนิกสเคลื่อนที่และพกพาอยางแพรหลายเสมือนการใชสินคา อุปโภคบริโภคทั่วไป (Consumerization) ประกอบกับแนวโนมของการใชอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวในสถานที่ทํางาน (Bring Your Own Device: BYOD) และภัยคุกคามดานสารสนเทศที่มีความซับซอนมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีที่เกิดขึ้น ไมเพียงสงผลกระทบในเชิงความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (การรักษาความลับ การรักษาความ ครบถวนสมบูรณ และการรักษาสภาพพรอมใช) แตยังสงผลกระทบตอขอมูลสวนบุคคลอีกดวย ในการสรางภูมิคุมกันดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศของประเทศใหมีความเขมแข็ง ประเทศไทยจําเปนตอง เตรียมการในดานตาง ๆ ที่สําคัญ ดังนี้ - พัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน o สรางและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (IT Security) ใหเปน ผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการยอมรับในระดับสากล และสรางความตระหนัก ใหกับผูใชงานเพื่อใหไมตกเปน เครื่องมือหรือชองทางในการโจมตีระบบ o พัฒนากฎหมายเพื่อเอื้อใหเกิดสภาพแวดลอมสําหรับเจาหนาที่พนักงานในสายตํารวจ สายยุติธรรม และพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกระทําผิดทางคอมพิวเตอรสามารถดําเนินการ ปองปรามและอื่น ๆ ที่จําเปนตออาชญากรรมคอมพิวเตอรที่เกิดขึ้นในประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ - การเตรียมความพรอม o สงเสริมใหมีการดําเนินการวิจัยและพัฒนาดานความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (IT Security) เพื่อใหส ามารถรั บมือกับ ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ในรูป แบบใหม ๆ ที่เ กิดขึ้น และลดการพึ่งพา เทคโนโลยีดานความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรจากตางประเทศ o สรางความเขมแข็งของหนวยงานหรือองคกรที่มีภารกิจในการรับมือและจัดการสถานการณภัยคุกคาม ดานสารสนเทศ o การจัดเตรียมหนวยงานหรือองคกรเพื่อสนับสนุนหนวยงานสําคัญภายในประเทศ ในดานปฏิบัติการ รับมือกับภัยคุกคามดานสารสนเทศ และภัยคุกคามดานสารสนเทศ อุบัติใหมดานการสื่อสารและ โทรคมนาคม เพื่อรองรับ แผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของชาติ ในการกําหนด ทิ ศ ทาง และบรู ณ การในการดํ า เนิ น การของหน ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนในการรั บ มื อ และ ตอบสนองตอภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดขึ้น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 307
o สรางความเขมแข็งในดานความรวมมือกับหนวยงานในตางประเทศ เพื่อตอบสนอง และแกไขเหตุภัย คุกคามดานสารสนเทศ ที่พบวา โจมตีระบบสารสนเทศของหนวยงานในประเทศ o เตรียมความพรอมสูการเริ่มตนประชาคมอาเซียน เพื่อสรางศักยภาพและความสามารถในการแขงขัน ใหกับประเทศ - การบูรณาการ o การบู ร ณาการในการดํ า เนิ น การ เพื่ อ สร า งความตระหนั ก ด า นความมั่ น คงปลอดภั ย ของระบบ สารสนเทศ (IT Security) ใหกับผูใชงาน หรือในกลุมผูบริโภคของบริการโทรคมนาคมของหนวยงาน ดานนโยบาย หนวยงานผูควบคุมกิจการโทรคมนาคม และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ o กระบวนการในการรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากการบูรณาการทํางานในทุกภาคสวน เพื่ อ ให เ กิ ด การประสานงานอย า งมี เ อกภาพในการรั บ มื อ และจั ด การสถานการณ ภั ย คุ ก คามด า น สารสนเทศ จากประเด็นที่เสนอใหมีการเตรียมความพรอมของประเทศขางตน การดําเนินงานที่ควบคูกันไปในปจจุบัน ไดมี ความพยายามในการผลักดันการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของหนวยงานภาครัฐ เพื่อเปนไปตาม มาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับสากล ตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เรื่อง แนวนโยบายและแนว ปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 ซึ่งมีหนวยงานที่ผานความ เห็นชอบจากคณะกรรมการในการจัดทําแนวนโยบาย และแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ ของหนวยงานภาครัฐ ตั้งแตป 2533 จนถึงป 2555 จํานวน 56 หนวยงาน (ขอมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2555) สําหรับ การดําเนินงานของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะหนวยงานสําคัญในการผลักดันใหมีการนํา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชใหเกิดประโยชนในทุกภาคสวนนั้น ภายใตการผลักดันของคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ซึ่งเปนสํานักงานที่ทําหนาที่เปนหนวยงานธุรการและเปนเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส โดยมี สพธอ.ทําหนาที่สนับสนุนกรรมการธุรกรรมในการดําเนินงาน) จึงไดมีมาตรการผลักดันให หนวยงานภาครัฐมีการจัดทําแนวนโยบายและแนวปฏิบัติฯ ทั้งในรูปแบบการเสนอแนะแนวทาง การจัดสัมมนาเพื่อ เผยแพรแนวทางการดําเนินงานดังกลาว ซึ่งถือเปนการเริ่มดําเนินงานภายในหนวยงานใหเกิดมาตรฐานเปนที่ยอมรับมาก ขึ้น แตเพียงการดําเนินงานในเรื่องดังกลาว อาจจะไมเพียงพอ จึงนําไปสูการแตงตั้งคณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอรแหงชาติขึ้น โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน เพื่อพิจารณาการยกรางกรอบนโยบายเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอรแหงชาติและแผนแมบทการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ ตลอดจนการบูรณาการขอมูล และความรวมมือระหวางหนวยงานในภาคสวนตาง ๆ แตความทาทายที่พบในปจจุบัน คือ คนสวนใหญยังขาดองคความรู และความตระหนักตัง้ แตในระดับผูบริหารเชิงนโยบาย จนถึงระดับปฏิบัติการ เพราะเมื่อใดที่คนขาดความตระหนัก ก็ยาก ที่จะรับมือกับภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้นไดทุกเวลาอยางทันทวงที เนื่องจาก ทรัพยากรทางดานบุคคลถือเปนกลไกสําคัญ ในการปองกันและรับมือกับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงตองรูเทาทัน เพื่อการดูแลเกี่ยวกับปญหาเฉพาะหนาที่จะ เกิดขึ้น อันจะนําไปสูการลดความเสี่ยง ซึ่งไมเพียงแตหนวยงานภาครัฐ หรือภาคเอกชนเทานั้น แตยังรวมไปถึงการมีสวน รวมกับภาคสังคมมากขึ้น เพื่อผลักดันใหเกิดการดําเนินงานในภาคสาธารณะ และการเผยแพรขอมูลที่ เปนประโยชนผาน ชองทางตาง ๆ ไดมากขึ้น สิ่งเหลานี้ เปนการแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของทรัพยากรทางดานบุคคล ที่ประเทศไทยตองเรงในการสราง และพัฒนาศักยภาพของคนใหเพิ่มมากขึ้น ทั้งการตั้งรับ ปองกัน ปราบปราม และการสงเสริมใหเกิดการทํางานรวมกับคน ในหลายกลุม เพื่อสรางความเขาใจในปญหาเพื่อชวยเหลือประชาชน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 308
คณะกรรมการความมั่น คงปลอดภัย ไซเบอรแ หง ชาติ (National Cyber Security Committee) ดวยปจจุบันปญหาภัยคุกคามดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรมีแนวโนมทวีความรุนแรงและขยายวงกวาง มากยิ่งขึ้น อันจะสงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทั้งแกภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งความ เสียหายจากภัยคุกคามดังกลาวมิไดสงผลกระทบเฉพาะกับหนวยงานที่เปนเปาหมายของการโจมตีเทานั้น หากแตยังสงผล ตอความเชื่อมั่นและความนาเชื่อในการดําเนินงาน หรือการใหบริการของหนวยงานอื่นในประเทศไทยอยางเกี่ยวของ สัมพันธกัน ดังนั้น เพื่อใหการดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรของประเทศไทยเปนไปโดยมีประสิทธิภาพและ ครอบคลุมในทุกมิติ จึงจําเปนที่ประเทศไทยจะตองมีการกําหนดทิศทาง นโยบาย และมาตรการที่ชัดเจนในการดูแลรักษา ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรในภาพรวมของประเทศ โดยคณะกรรมการระดับชาติที่จะสามารถประสานความรวมมือ ระหว างหน ว ยงานที่เ กี่ ยวขอ งไดอ ย างบูร ณาการและครอบคลุ มในทุ ก มิติ ทั้ งมิ ติ การรั กษาความมั่น คงปลอดภั ยทาง การทหาร การรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ และการรักษาความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ซึ่งปจจุ บันไดมีคําสั่ง สํานักนายกรัฐมนตรีที่ 76/2555 แตงตั้งคณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ (National Cyber Security Committee) เพื่อทําหนาทีด่ ังกลาวขึ้น นอกเหนือจากการมีคณะกรรมการระดับชาติดังกลาวขางตนแลว เพื่อใหการดําเนินงานในการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอรเกิดผลในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม โดยหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนสามารถนํา แนวทางและมาตรการที่คณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ (National Cyber Security Committee) กําหนดไปดําเนินการไดอยางถูกตองและสอดคลองกับภารกิจหรือบทบาทหนาที่ของแตละหนวยงาน จึงจําเปนที่จะตองมี กลไกในรูปแบบคณะกรรมการระดับองคกร หรือระดับหนวยงาน เพื่อทําหนาที่กํากับดูแลการดําเนินงานดานรักษาความ มั่นคงปลอดภัยไซเบอรในขอบเขตความรับผิดชอบของตนควบคูกัน ไมวาจะเปนการกํากับดูแลการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามประเภทธุรกิจ โดยหนวยงานกํากับดูแล เชน ธุรกิจสถาบันการเงินโดยธนาคารแหง ประเทศไทย ธุรกิจหลักทรัพยโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือธุรกิจประกันภัยโดย สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เปนตน รวมทั้ งการกํากับดูแลการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เพื่อประโยชนในการสรางความเชื่อมั่นและความนาเชื่อถือในการใหบริการภาครัฐ และการประกอบธุรกิจของภาคเอกชน โดยคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ประกอบดวย 1. คณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ (National Cyber Security Committee) อํานาจหนาที่ - จัดทํานโยบาย และแผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ ใหสามารถปกปอง ปองกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากสถานการณดานภัยคุกคามในไซเบอร อันกระทบตอความมั่นคงของชาติทั้งจาก ภายในและภายนอกประเทศ ครอบคลุมถึงความมั่นคงทางการทหาร ความสงบเรียบรอยภายในประเทศ และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เพื่อนําเสนอตอคณะรัฐมนตรี - กําหนดและจัดทําแนวทาง มาตรการ หรือแผนงานและโครงการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอรตามนโยบายและแผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ - ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติการตามแนวทาง มาตรการ หรือแผนงานตามที่กําหนดและจัดทําไว - รายงานผลการดํ า เนิ น การ สถานการณ และวิ เ คราะห ค วามเสี่ ย งของภั ย คุ ก คามในไซเบอร ต อ คณะรัฐมนตรี
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 309
- ประสานความรวมมือดานความมั่นคงปลอดภัยในไซเบอรทั้งภายในและภายนอกประเทศ 2. คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส อํานาจหนาที่ บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ คือ การเสนอแนะการตรากฎหมายและการออกระเบียบหรือประกาศตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ของระบบสารสนเทศที่ใชในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสทั้งแกภาครัฐและภาคเอกชน โดยการกําหนดมาตรฐานขั้น ต่ําเพื่อใหหนวยงานตาง ๆ นําไปปฏิบัติ เพื่อประโยชนในการรักษาความถูกตอง ความครบถวน และสภาพพรอมใชงาน ของธุร กรรมทางอิเ ล็กทรอนิกส ใหมีความนา เชื่อถือ ตลอดจนใหขอเสนอแนะในการรักษาความมั่ นคงปลอดภัยของ สารสนเทศของหนวยงานตาง ๆ 3. คณะอนุกรรมการความมั่นคงปลอดภัย ในคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส อํานาจหนาที่ จัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายดานความมั่นคงปลอดภัยเสนอตอคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส โดยการวิ เ คราะห แ นวโน มภั ยคุ ก คามในการทํ า ธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ ค าดว า จะเกิ ด ขึ้ น เพื่ อ เสนอการจั ด ทํ า ยุทธศาสตรการบริหารความเสี่ยงในดานดังกลาว รวมทั้งชวยเหลือคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในดานการ สงเสริมและติดตามใหหนวยงานภาครัฐนํานโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศที่ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสกําหนดไปปฏิบัติ และสงเสริมใหหนวยงานที่เปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญของ ประเทศนํามาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัยที่คณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสนําขอกําหนดไปปรับใช 4. คณะกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส อํานาจหนาที่ บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในดานการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ คือ การกํากับดูแลและใหขอเสนอแนะตอการดําเนินงานของศูนยประสานการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรประเทศไทย (ThaiCERT) เพื่อใหสามารถตอบสนอง และจัดการกับเหตุการณความ มั่น คงปลอดภั ยคอมพิ ว เตอร และสามารถประสานการทํ างานร ว มกั น กับ หน ว ยงานที่ เกี่ ยวข อ งทั้ ง ในประเทศ และ ตางประเทศ ไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. สมาคมความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ ภารกิจสําคัญของกลุมนักวิชาชีพดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศในประเทศไทย พัฒนากระบวนการ และบุคลากรดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศใหไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับสากล
พระราชบัญญัติวา ดวยการกระทํา ความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฐานความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ.2550) มีผูคนจํานวนมากที่ตกเปนเหยื่อของอาชญากรคอมพิวเตอรในรูปแบบตาง ๆ ทั้งในเรื่องของการ บิดเบือนขอมูล แพรภาพ หรือตัดตอภาพอนาจาร การฉอโกง ทําใหผูที่ตกเปนเหยื่อตองเสียทรัพยสิน เสื่อมเสียชื่อเสียง หรือแมกระทั่งเสียชีวิต โดยที่ผูที่ตกเปนเหยื่อเหลานี้ไมสามารถจัดการ หรือปองกันตนเองไดดวยขอจํากัดของกฎหมายวา ดวยความผิดทางอาญาที่มิไดครอบคลุมถึง ดังนั้น จึงไดมีการตราพระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใชแลว นาจะเปนความหวังและเปนที่พึ่งของบรรดาเหยื่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 310
สําหรับใชในการตอสูกับการถูกกระทําโดยอาชญากรคอมพิวเตอร โดยสิ่งที่ควรทราบก็คือ ฐานความผิดที่เขาลักษณะของ การกระทําของอาชญากรคอมพิวเตอรในฐานตางๆ ดังนี้ 1. แฮกเกอร (Hacker) (มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8) มาตรา 5 “ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร ที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และ มาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่น บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” มาตรา 6 “ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะ ถานํา มาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวาง โทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” มาตรา 7 “ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอร ที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และ มาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” มาตรา 8 “ผูใ ดกระทํา ดวยประการใดๆ โดยมิ ชอบดว ยวิธี การ ทางอิเ ล็คทรอนิคส เพื่อ ดักรั บไว ซึ่ ง ขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวาง การสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอร นั้นมิไดมีไว เพื่อประโยชนสาธารณะ หรือเพื่อใหบุคคลทั่วไปใชประโยชนได ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ” 2. ทําลายซอฟทแวรและหรือขอมูล (มาตรา 9 มาตรา 10) มาตรา 9 “ผูใดทําใหเสียหาย ทํา ลายแกไข เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมไมวาทั้ง หมด หรือบางสวน ซึ่ ง ขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบตองระวางโทษ จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่ง แสนบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ” มาตรา 10 “ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ โดยมิชอบเพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรของผูอื่น ถูก ระงับชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติได ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน หาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ” มาตรา 12 ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10 (1) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้น จะเกิดขึ้นในทันที หรือใน ภายหลัง และไมวาจะเกิดขึ้นพรอมกัน หรือไม ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินสิบปและปรับ ไมเกินสองแสนบาท (2) เปนการกระทําโดยประการที่นาจะเกิด ความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบ คอมพิ ว เตอร ที่ เ กี่ ยวกั บ การรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ยของประเทศ ความปลอดภั ย สาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศหรือการบริการสาธารณะหรือเปน การ กระทําตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอรที่มีไวเพื่อประโยชนสาธารณะตอง ระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหกหมื่นถึงสามแสนบาท ถาการกระทําความผิดตาม(2) เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตายตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสิบป ถึงยี่สิบป
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 311
3. ปกปดหรือปลอมชื่อสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส (มาตรา 11) มาตรา 11 “ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอร หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุค คลอื่น โดยปกปดหรือปลอม แปลงแหลงที่มาของการสงขอมูล ดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของ บุคคลอื่น โดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท” 4. ผูคาซอฟทแวรสนับสนุนการทําผิด (มาตรา 13) มาตรา 13 “ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการ กระทําความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 11 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” 5. ตัดตอ เผยแพร ภาพอนาจาร (มาตรา 16) มาตรา 16 “ผูใดนําเขาสูร ะบบคอมพิวเตอรที่ประชาชนทั่วไป อาจเขาถึงไดซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่ปรากฏ เปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม หรือดัดแปลงดวย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่นาจะทําใหผูอื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไม เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” ถาการกระทําตามวรรคหนึ่ง เปนการนําเขาขอมูลคอมพิวเตอร โดยสุจริต ผูกระทําไมมีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิด อันยอมความได ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่ง ตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คูสมรส หรือบุตรของผูเสียหายรองทุกขได และใหถือวา เปนผูเสียหาย มาตรา 14 ผูใดกระทําความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่ง แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (1) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาทั้งหมด หรือบางสวน หรือ ข อ มู ล คอมพิ ว เตอร อั น เป น เท็ จ โดยประการที่ น า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก ผู อื่ น หรื อ ประชาชน (2) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความ เสียหายตอความมั่นคงของประเทศ หรือกอใหเกิดความตื่นตระหนกแกประชาชน (3) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความ มั่นคง แหงราชอาณาจักร หรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมาย อาญา (4) นํ า เข า สู ร ะบบคอมพิ ว เตอร ซึ่ ง ข อ มู ล คอมพิ ว เตอร ใ ด ๆ ที่ มี ลั ก ษณะอั น ลามก และ ขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงได (5) เผยแพร หรือสง ตอซึ่ง ขอมูล คอมพิ วเตอรโดยรูอยูแ ลววา เปน ขอมูล คอมพิ วเตอรตาม (1)(2)(3) หรือ (4) มาตรา 15 ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุน หรือยินยอมใหมี การกระทําความผิดตามมาตรา 14 ในระบบ คอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดตาม มาตรา 14
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 312
มาตรา 17 ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ นอกราชอาณาจักรและ (1) ผู ก ระทํ า ความผิ ด นั้ น เป น คนไทย และรั ฐ บาลแห ง ประเทศที่ ค วามผิ ด ได เ กิ ด ขึ้ น หรื อ ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ หรือ (2) ผูกระทําความผิดนั้ นเป นคนตางดาว และรัฐบาลไทย หรือ คนไทยเปนผู เสียหาย และ ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ จะตองรับโทษภายในราชอาณาจักร ปจจุบันแมว า มีกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิว เตอรโดยเฉพาะแล วก็ตาม แต ความผิด ในลักษณะนี้ไมใชความผิดซึ่งเจาหนาที่จะสามารถรูตัวผูกระทําความผิดไดทันทีเหมือนกับความผิดอาญา ดังนั้น โดยทั่วไป จะตองมีการสืบคนหาขอมูลหลักฐาน (Forensics) ในภายหลัง โดยจะสืบคนจากขอมูล หรือรองรอยที่ทิ้งไวใน ระบบ ซึ่งไดมีการเก็บประวัติหรือปูม (Log) การใชงานไว ทําใหสามารถตรวจสอบไดวา ใคร (Who) ทําอะไร (What) ที่ ไหน (Where) เมื่อไร (When) อยางไรก็ตาม ดวยประสิทธิภาพของการติดตอเชื่อมโยงเครือขายในการสื่อสารขอมูล ขาวสารในโลก IT (Information Technology) หรือ Cyberspace นั้น ระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย จึงเปนอํานาจที่ ไรขอบเขต ไรพรมแดน อาชญากรคอมพิวเตอรมีอยูไดทุกที่ และสามารถกออาชญากรรมไดในทุกชองทาง ขณะเดียวกันก็ เปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงสามัญสํานึกและจิตสํานึกในเชิงจริยธรรม ของผูใชระบบสารสนเทศและเครือขายที่ออนแอ และ เสื่อมทรามลงสงผลใหความรุนแรงในการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรไมลดลง ดังนั้น จึงเปนหนาที่ของทุกคน ที่ จะตองชวยกันควบคุมตรวจสอบดูแล และใชงานไปในทางสรางสรรค และที่สําคัญตองตระหนักอยูเสมอวาการใชระบบ คอมพิวเตอร และเครือขายอยางถูกตอง และระมัดระวังเทานั้น ที่จะทําใหทานใชระบบสารสนเทศ และเครือขายไดอยาง มีประสิทธิภาพ และมีความสุขไมตกเปนเหยื่อของอาชญากรคอมพิวเตอร
การเปรี ย บเที ย บพั ฒ นาการด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศของประเทศไทยกั บ ประเทศ อื่ น ๆ ศาสตรจารย Gary Becker ผูไดรับรางวัลโนเบลในป พ.ศ. 2535 ไดเคยชี้ใหเห็นถึงนัยสําคัญของ ICT กับ ความสําเร็จในการปรับปรุงผลิตภาพในสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดลงทุนอยางจริงจังในดาน ICT และไดชี้ใหเห็นเพิ่มเติมวา ผลกระทบจาก ICT ในขณะนั้น (ป ค.ศ. 2000) เพิ่งเปนจุดเริ่มตนเทานั้น ในระยะยาวการเติบโตของผลผลิตตอแรงงาน 1 คน เมื่อคํานวณแลวจะอยูในอัตราอยางนอยรอยละ 3 ตอปในหลายทศวรรษขางหนา เปนผลใหรายไดของแรงงานจะ เพิ่มขึ้นเปน 2 เทาใน 25 ปขางหนาหรือสั้นกวา ผลกระทบทางบวกของ ICT ตอภาคเศรษฐกิจเชนนี้ จะเกิดขึ้นในประเทศ ตาง ๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ รายงานการศึกษาดานชองวางทางดิจิทัล (Digital Divide) ระบุวา ทุกเปอรเซ็นตที่เพิ่มขึ้นของ การลงทุนดาน ICT และแรงงานรวมทั้งปริมาณการใชงาน ICT จะนําไปสูการเพิ่มขึ้นของ GDP ระหวาง 124-364 เหรียญ สหรัฐฯ การประยุกตใช ICT เปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศเปนที่ยอมรับในระดับสากล เพื่อให ICT ชวยยกระดับ การพัฒนาสูเปาหมายที่ตั้งไวดวยประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และธรรมาภิบาลที่ดี ในการพัฒนาในดานหลัก ๆ ไดแก การ สรางและแบงปนความรู กระบวนการผลิต และธุรกรรมดานธุรกิจและดานการเงิน และการเชื่อมโยงกันระหวางคน กลุม คน องคกร ชุมชน และรัฐบาล เปนตน บทบาทของ ICT เพื่อการพัฒนาประเทศจึงปรากฏชัดเจนมากขึ้นในนานาประเทศ ปจจุบันรัฐบาลของประเทศตาง ๆ มุงเนนที่การปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานดาน ICT และการแกปญหาความเหลื่อมล้ําทาง ดิจิทัลในการศึกษากลยุทธและแนวทางการปฏิบัติดาน ICT ของประเทศเปาหมายจํานวน 10 ประเทศ ไดแก สิงคโปร มาเลเซีย เกาหลี ญี่ปุน จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สวีเดน และออสเตรเลีย ไดทําการพิจารณาจาก สถานภาพปจจุบันของการพัฒนา ICT ของประเทศเหลานี้ โดยอาศัยตัวชี้วัดของ IMD World Competitive Index, UN
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 313
e-Government Ranking และ NRI (Networked Readiness Index) รวมทั้งการพิจารณานโยบายทางดาน ICT ของแต ละประเทศ รวมไปถึงการศึกษาวิเคราะหแนวทางการพัฒนา ICT ของประเทศเหลานี้ สรุปไดดังนี้ สิงคโปร ญี่ปุน และเกาหลีใต เปนกลุมประเทศเอเชียที่มีรายไดสูง สิงคโปรมีแผนแมบท Intelligent Nation 2015 (iN2015) เปนแผนแมบทดาน ICT ของรัฐบาลสิงคโปรที่ไดกําหนดไวตั้งแต ค.ศ. 2005 ที่กําหนดใหในสิบปขางหนา ที่จะผลักดันใหสิงคโปรกลายเปน Intelligent Nation โดยใชศักยภาพของ Infocomm ซึ่งแผนแมบทนี้ไดจัดทําโดย หนวยงาน Infocomm Development Authority (IDA) วิสยั ทัศนของแผนกําหนดไววา “สิงคโปรประเทศอัจฉริยะเปน เมืองระดับโลกที่ขับเคลื่อนดวย Infocomm” ในขณะที่นโยบาย u-Japan และ u-Korea ของประเทศญี่ปุนและเกาหลีใต ไดมีวิสัยทัศนของการที่ประชาชนทุกคนใชและไดรับประโยชนจาก ICT อยางเต็มที่ โดยรัฐบาลญี่ปุนตองการสรางโครงขาย แบบ Ubiquitous เพื่อใหประชาชนไดรับบริการโดยไมตองคํานึงถึงรูปแบบของการเชื่อมตอใช ICT สําหรับเกาหลีใตมี ความตองการที่จะเปนประเทศแรกที่มีการเชื่อมตอแบบ ubiquitous มาเลเซีย จีน และอินเดีย เปนกลุมประเทศในเอเชียที่มีรายไดปานกลาง ทั้ง 3 ประเทศยังคงมีเปาหมายในการที่ จะปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานของประเทศ และใช ICT ในการผลักดันการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจของประเทศ โดย มาเลเซียใชนโยบาย The National IT Agenda (NITA) ซึ่งพัฒนาโดย National IT Council ซึ่งใชเปนนโยบายหลักและ เปนพื้นฐานในการพัฒนาดาน ICT ของมาเลเซีย เพื่อเปลี่ยนมาเลเซียใหเปนประเทศที่พัฒนาแลวใน ค.ศ. 2020 ในขณะที่ อินเดียมีนโยบายที่ชื่อวา The National ‘Policy on Information Technology 2012 ซึ่งเปนแผนที่จะใชเปนตนแบบ ในการพัฒนาดาน ICT ของอินเดีย โดยการใชประโยชนจาก ICT ในการแกปญหาดานเศรษฐกิจและการพัฒนาขีด ความสามารถในการเพิ่ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนของอิ น เดี ย ในขณะที่ จี น ใช น โยบายที่ ชื่ อ ว า The State Informatization Development Strategy (2006-2020) โดยมีเปาหมายใหมีโครงสรางพื้นฐานดานขอมูลทั่วประเทศ การสรางความเขมแข็งใหกับการสรางสรรคดาน ICT อยางอิสระ การมีโครงสรางพื้นฐานขอมูลสําหรับอุตสาหกรรมที่ คุมคา การเพิ่มความมั่นคงดานสารสนเทศ การพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพโดยการสรางเศรษฐกิจและสังคมที่ใชขอมูลเปน พื้นฐาน การสรางรูปแบบใหมของอุตสาหกรรม (new type of industrialization model) การสรางนโยบายและระบบ อยางสมบูรณแบบสําหรับกระบวนการทางขอมูล (informatization process) และการสงเสริมศักยภาพในการใชขอมูล เพื่อสาธารณะ สําหรับกลุมประเทศตะวันตกที่พัฒนาแลว สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สวีเดน และออสเตรเลีย มีนโยบาย ICT ที่มุงเนนในการเพิ่มการมีสวนรวมของประชาชนและการเปดเผยขอมูล รวมไปถึงการใช ICT ในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของภาครัฐ โดยสหรัฐอเมริกาไดมีประกาศนโยบาย Digital Government “Building a 21st Century Platform to Bettger Serve The American People” โดยมีเปาหมายในการทําใหประชาชนอเมริกันและผูที่อยูในวัยทํางานสามารถ เขาถึงขอมูลที่มีคุณภาพของรัฐบาลโดยไมจํากัดสถานที่ เวลาและเครื่องมือในการเขาถึง โดยใหรัฐบาลมีการปรับตัวเขาสู ยุคดิจิทัล และการเปดเผยขอมูลขาวสารของรัฐบาล เพื่อนําไปสูการพัฒนานวัตกรรมและเพิ่มคุณภาพในการใหบริการแก ชาวอเมริกัน สวนสหราชอาณาจักรมุงเนนที่การใหบริการแกประชาชนดวยงบประมาณที่ลดลง โดยการนํากลับมาใชใหม และการใชงานรวมกันของทรัพยสินดาน ICT พรอมทั้งการเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพ การลดปริมาณความสิ้นเปลือง และการลดปริมาณโครงการที่ดําเนินการไมสําเร็จ และสรางชองทางในการทํางานรวมกัน และการแสดงความคิดเห็นตอ นโยบายตาง ๆ ของประเทศ ขณะที่สวีเดนมีนโยบายดาน ICT ที่เรียกวา Digital Agenda for Sweden ซึ่งเปนนโยบายที่ รวบรวมกิจกรรมดาน ICT ตาง ๆ ในแนวราบ (Horizontal) เพื่อใชประโยชนจากโอกาสที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ digitization ของประชาชนและธุรกิจ โดยแผนนี้ไดมุงเนนไปที่กลยุทธ 4 ดานไดแก การใชประโยชนที่งายและปลอดภัย (easy and safe to use) บริการที่ใหประโยชนแกผูใช (Services that create benefit) ความตองการดานโครงสราง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 314
พื้นฐาน (The Need for Intrastructure) และบทบาทของ ICT ตอการพัฒนาสังคม (Role of ICT for Social Development) สวนออสเตรเลียเนนการพัฒนา 3 ดาน ในเรื่องของการใหบริการที่ดีขึ้น (Deliver Better Services) การปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงานของรัฐบาล (Improve the Efficiency of Government Operations) และ การมีสวนรวมดําเนินการอยางเปดเผย (Engage Openly) โดยการดึงดูดใหทุกภาคสวนเขามารวมในการสรางความรู เกิด แนวคิดสรางสรรค และการแจงใหรับรูถึงการตัดสินใจและแนวทางที่เปนประโยชนตอทองถิ่น
Roadmap Smart Thailand 2020 แผนที่นําทาง (Roadmap) ที่วางไวในการขับเคลื่อนแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ. 2557-2561 เปนไปตามหลักการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศเพื่อ ลงไปสูระดับชุมชนและทองถิ่น โดยการวางแนวทางการพัฒนาจากระดับทองถิ่นไปสูเปาหมาย Smart Thailand ในป 2563 โดยการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการดํารงชีวิตและประกอบอาชีพของประชาชน เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิต และสรางสังคมอุดมปญญาพรอมไปสูการรวมกลุมประเทศในระดับภูมิภาค ไดแก ASEAN และ APEC ดวยหลักการที่วางไวในการกําหนดแผนที่นําทางดังกลาวขางตน ในภาพรวมขอการพัฒนาดาน ICT ของประเทศ จะกอใหเกิดการขับเคลื่อนแผนแมบท ICT (ฉบับที่ 3) ดวยกลไกการพัฒนาตามแนวยุทธศาสตรหลักดาน ICT ทั้ง 4 เรื่อง ไดแก ทุนมนุษยดาน ICT โครงสรางพื้นฐาน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส และธุรกิจและอุตสาหกรรม ICT ลงไปสูระดับชุมชน และทองถิ่นจนถึงระดับหมูบาน มีความครบถวนสมบูรณตลอดวงจรการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชน โดย ICT จะเปนเครื่องมือชวยในทุกกระบวนงานของการพัฒนาตามแนวยุทธศาสตรที่วางไว ซึ่งมีความเกี่ยวของกับ กิจกรรมตามพันธกิจของทุกสวนราชการ องคกรและเอกชนเพื่อใหบรรลุผลลัพธการพัฒนาที่ตั้งไวในแผนแมบทฯ การกําหนดแผนที่นําทาง หรือ Roadmap ในระดับยุทธศาสตรหลักในการขับเคลื่อนแผนแมบท ICT (ฉบับที่ 3) มีวัตถุประสงคเพื่อการจัดลําดับความสําคัญของกลยุทธ มาตรการ โครงการ และกิจกรรมที่กําหนดไวในแตยุทธศาสตร หลักจํานวน 4 ยุทธศาสตรของแผนแมบทฯ ในรูปแบบของตัวอยางฉากทัศน (Scenarios) และโครงการเรงดวนเปนราย ยุทธศาสตร ตามหลัก การและเหตุ ผลที่เ ปน ผลมาจากการวิ เคราะห สถานการณ ที่ป ระกอบดว ยป จจั ยทั้ งภายในและ ภายนอกประเทศที่ เกี่ ยวขอ งกับ การพั ฒนาด า น ICT ไดแ ก การวมตั ว กัน ทางเศรษฐกิ จและสัง คมในภู มิภาค การ เปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรเขาสูสังคมผูสูงอายุ การกระจายอํานาจสูชุมชนและทองถิ่น การปรับเปลี่ยนหรือปฏิรูป ดานการศึกษา ความขัดแยงในสังคม การเคลื่อนยายและตลาดแรงงาน วิกฤติดานพลังงาน อาหาร และสิ่งแวดลอม ที่มี ผลกระทบตอการพัฒนาทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทั้งกระแสหลักการพัฒนาดาน ICT ในเรื่อง แนวคิด วิธีการ มาตรฐาน และเทคโนโลยี ทั้งนี้ อยูภายใตกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 25542563 ของประเทศไทย หรือกรอบนโยบาย ICT2020 และกรอบนโยบาย แผน ยุทธศาสตรประเทศไทยและปจจั ย แวดลอมที่เกี่ยวของในปจจุบันและอนาคตสูป 2563 โดยประกอบดวยแผนที่นําทางทั้งในระดับภาพรวมดาน ICT ของ ประเทศเพื่อมุงสู Smart Thailand 2020 ที่ครอบคลุมถึงยุทธศาสตรหลัก 4 ดาน ของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย ระยะ พ.ศ. 2557-2563
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 315
แผนภาพ แสดงแผนที่นําทางเพื่อมุงสู Smart Thailand 2020 (Roadmap: Smart Thailand 2020)
แผนที่นํา ทางเพื่อมุงสู Smart Thailand 2020 การกําหนดแผนที่นําทางเพื่อมุงสู Smart Thailand ในป 2563 ตามกรอบการขับเคลื่อนแผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ. 2557-2561 ไดพิจารณาจากปจจัยแวดลอมหลักที่สําคัญ ไดแก (1) การพัฒนาดาน ICT ไปสูชุมชนและทองถิ่น ตามกรอบปจจัยในเรื่องกระจายอํานาจสูชุมชนและทองถิ่น รวมทั้งการใหชุมชนและทองถิ่นเปนศูนยกลางและมีสวนรวมในการพัฒนาดาน ICT ซึ่งเปนกระแสหลักปจจุบันในการ พัฒนาในทุกดาน ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล และ (2) การยกระดับการพัฒนาดาน ICT ไปสูการรวมตัวในภูมิภาค ASEAN, APEC และภูมิภาคทั่วโลก ซึ่งเปน ปจจัยที่เปนกระแสหลักปจจุบันในทุกมุมโลก โดย ICT จะเปนเครื่องมือสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาในระดับภูมิภาค การสรางความพรอมซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการบูรณาการในแตละเรื่องที่ตรงกับเปาหมายและยุทธศาสตรของประเทศ ไทยจึงเปนเรื่องสําคัญ ในสวนของปจจัยแวดลอมอื่น ๆ เปนองคประกอบที่จะตองพิจารณาในระดับภารกิจขององคกร หนวยงาน และชุมชน เพื่อใหเกิดความเหมาะสมและลงตัว โดยประกอบดวย เปาหมายรายทางในภาพรวม ดังตอไปนี้ - ป 1-2 (พ.ศ. 2557-2558) : การวางรากฐาน ICT สูความฉลาด (Smart Foundation) เปนการ วางรากฐานดาน ICT ใหมีความฉลาดและมีความแข็งแรง ในการกาวไปสูเศรษฐกิจดิจิทัล โดยพัฒนาลง สูระดับชุมชนและทองถิ่น ดวยการปรับปรุง พัฒนา และยกระดับดาน ICT ของประเทศที่ครอบคลุมถึง ประเด็นยุทธศาสตรดาน ICT ทุกเรื่องในทุกภาคสวน เพื่อบูรณาการลงไปสูระดับชุมชนและทองถิ่น เพื่อใหบรรลุการวางรากฐานความฉลาดในทุกมิติการพัฒนาดาน ICT มุงสู Smart Thailand พรอมทั้ง การเตรียมความพรอมในการเขารวมกลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจในอาเซียน (ASEAN Economic Cooperation: AEC) ในป 2558
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 316
เปาหมายรายทางในการวางรากฐาน ICT สูความฉลาด (Smart Foundation) เปนรายยุทธศาสตร ประกอบดวย - ประชาชนไดรับการยกระดับใหรูเทาทัน ICT (Enhanced ICT Literate People) การยกระดับใหประชาชนรูเทาทัน ICT เปนการวางรากฐานดาน ICT ใหมีความแข็งแรง ในการ พัฒนาเพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใตแนวทางการพัฒนาในระดับชุมชนและทองถิ่นรวมทั้ง การสรางความพรอมในการเขาสูชุ มชน AEC เพื่อพั ฒนากระบวนการในการยกระดับให ประชาชนรูเทาทัน ICT (Enhanced ICT Literate People) โดยมีเปาหมายหลักในเชิง มาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานการพัฒนาทุนมนุษย - ชุ ม ชนและท อ งถิ่ น ได รั บ การยกระดั บ ด า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (Enhanced e-Rural Community) การยกระดับดานอิเล็กทรอนิกสเปนการยกระดับโครงสรางพื้นฐานลงสูทองถิ่นชนบทโดยทั่วถึง โดยการวางรากฐานดาน ICT ใหมีความแข็งแรงในการพัฒนาเพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใต แนวทางการพัฒนาในระดับชุมชน และทองถิ่นรวมทั้งการสรางความพรอมเขาสู AEC โดยการ ยกระดับโครงสรางพื้นฐานลงสูทองถิ่นชนบทโดยทั่วถึง โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานโครงสรางพื้นฐานดาน ICT - บริการอิเล็กทรอนิกสเขาถึงประชาชน (e-Service Reach-out to the People) บริการอิเล็กทรอนิกสเขาถึงประชาชน เปนการพัฒนาบริก ารอิเล็กทรอนิกสภาครัฐและบูรณา การไปสูประชาชนระดับชุมชนและทองถิ่น (e-Service Reach-out to the People) ซึ่งชวย ยกระดับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส (Enhanced e-Service) ของประเทศ โดยใน ระยะแรกของการพัฒนาสู Smart Government จะใหความสําคัญในการปูพื้นฐานการพัฒนา เพื่อสรางความพรอมใหกับการยกระดับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และบูรณาการ ไปสูระดับชุมชนและทองถิ่น (e-Service Reach-out to the People) พรอมดวยการสราง ความพรอมสู AEC เพื่อมุงสูเปาหมาย Smart Thailand โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส - ความรว มมื อระหว างรัฐ และเอกชนไดรั บ การยกระดั บ (Enhanced Public-Private Collaboration) การยกระดับความรวมมือกันระหวางภาครัฐและเอกชน เปนการวางรากฐานดาน ICT ใหมี ความแข็งแรงในการพัฒนาเพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใตแนวทางการพัฒนาในระดับชุมชน และทองถิ่น พรอมดวยการสรางความพรอมเขาสู AEC ดวยการยกระดับความรวมมือกัน ระหวางภาครัฐและเอกชน (Enhanced Public-Private Collaboration) โดยมีเปาหมายหลัก ในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานธุรกิจที่เกี่ยวของในดาน ICT
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 317
- ป ที่ 3 พ.ศ.2559 : การร ว มดํ า เนิ น ธุ ร กรรมในกลุ ม AEC อย า งฉลาด (Smart AEC Collaboration) เปนการตอยอดการพัฒนาดาน ICT ใหมีความฉลาดและแข็งแรงยิ่งขี้นอยางตอเนื่องไปสู Smart Thailand ในการพัฒนาเพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใตแนวทางการพัฒนาในระดับชุมชนและทองถิ่น โดยมีเปาหมายในการปรับปรุง พัฒนา และยกระดับดาน ICT ของประเทศในทุกภาคสวน เพื่อบูรณา การให มีขีดความสามารถในการร วมดํา เนินธุร กรรมในกลุม AEC อยางฉลาด (Smart AEC Collaboration) เป า หมายรายทางในการรว มดํา เนินธุ รกรรมในกลุ ม AEC อย า งฉลาด เป นรายยุท ธศาสตร ประกอบดวย - การเชื่อมโยงประชาชนและชุมชนไปสูกลุมภูมิภาค AEC (Joined-up People to AEC) การเชื่อมโยงประชาชนและชุมชนไปสูภูมิภาค AEC เปนการวางรากฐานดาน ICT ใหมีความ แข็งแรงอยางตอเนื่องไปสูเปาหมาย Smart Thailand ในการพัฒนาเพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใตแนวทางการพัฒนาในระดับชุมชนและทองถิ่น รวมทั้งการเชื่อมโยงประชาชน และชุมชน ไปสูภูมิภาค AEC ที่มีความพรอมดานเครือขายธุรกรรมภายในกลุม (Joined-up People to AEC) โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตร ดานทุนมนุษย - การสรางความพรอมในการเขาสู AEC (Joined-p Connection to AEC) การสรางความพรอมในการเขาสู AEC เปนการวางรากฐานดาน ICT ใหมีความแข็งแรงอยาง ตอเนื่องไปสูเปาหมาย Smart Thailand ในการพัฒนาเพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใต แนวทางการพัฒนาในระดับชุมชนและทองถิ่น เพื่อใหมีความพรอมในการเขาสู AEC โดยมี เป า หมายหลั ก ในเชิ ง มาตรการ โครงการ และตั ว ชี้ วั ด ในการพั ฒ นาตามยุ ท ธศาสตร ด า น โครงสรางพื้นฐาน - การพัฒนาความรวมมือในบริการอิเล็กทรอนิกสมุงสูระดับ AEC (Joined-up e-Service to AEC) การพั ฒนาความร ว มมื อในบริก ารอิ เล็ กทรอนิก สมุ ง สูร ะดั บ AEC เป น การพั ฒนาบริก าร อิเล็กทรอนิกสมุงสูระดับ AEC (Joined-up e-Service to AEC) โดยการพัฒนา eGovernment Service ของประเทศไทยจะมุงไปสูเปาหมายที่ฉลาดขึ้นในการพัฒนาความ รวมมือ ผนึกกําลัง และบูรณาการไปสูชุมชนและทองถิ่น เพื่อมุงสูเปาหมาย Smart Thailand ในการขยายการดําเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสขามพรมแดนเขาสู AEC โดยการพัฒนาความ รวมมือกับพันธมิตรในอาเซียน สําหรับการดําเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในภูมิภาค ดังนั้น การปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานดาน กฎหมาย กฎ ระเบียบ และวิธีการ (Soft Infrastructure) จึงเปนเรื่องสําคัญเรงดวนที่ควรดําเนินการ โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และ ตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 318
- การขยายความรวมมือในการพัฒนาธุรกรรมดาน e-Business กับพันธมิตรในระดับ AEC (Joined-up e-Business Transaction to AEC) การขยายความรวมมือในการพัฒนาธุรกรรมดาน e-Business กับพันธมิตรในระดับ AECเปน การวางรากฐานดาน ICT ใหมีความแข็งแรงอยางตอเนื่องสู Smart Thailand ในการพัฒนา เพื่อเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใตแนวทางการพัฒนาในระดับชุมชนและทองถิ่น ดวยการขยาย ความรวมมือในการพัฒนาธุรกรรม e-Business กับพันธมิตรในระดับ AEC (Joined-up eBusiness Transaction to AEC) โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการโครงการ และตัวชี้วัดใน การพัฒนาตามยุทธศาสตรดานธุรกิจที่เกี่ยวของในดาน ICT - ปที่ 4 พ.ศ. 2560 การพัฒนาสูชุมชนฉลาด (Smart Community) การพัฒนาสูชุมชนฉลาด เปนการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงระบบบริการขอมูล ข า วสารและบริ ก ารธุ ร กรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ไ ปสู ร ะดั บ ชุ ม ชนและท อ งถิ่ น และให ส อดคล อ งกั บ วัตถุประสงคของชุมชนและทองถิ่น พรอมดวยความตองการเปนหุนสวนในการพัฒนารวมทั้ง การ เชื่อมโยงไปสูภูมิภาคเปาหมาย ไดแก ASEAN และ APEC ดวย เปาหมายรายทางในการพัฒนาสูชุมชนฉลาด (Smart Community) เปนรายยุทธศาสตร ประกอบดวย - การสรางเครือขายรวมมือกันระหวางชุมชนในภูมิภาคภายในและสากล (Collaborative Community) เปนการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสารและ บริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชนและทองถิ่นรวมทั้งการเชื่อมโยงไปสูภูมิภาค เปาหมาย ไดแก ASEAN และ APEC ดวยการสรางเครือขายปฏิสมั พันธ และรวมมือกันระหวาง ชุมชนในภูมิภาคภายในและสากล (Collaborative Community) โดยมีเปาหมายหลักในเชิง มาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานทุนมนุษย - การเชื่ อ มโยงโครงข า ยลงสู ชุ ม ชนระดั บ ภู มิ ภ าคทั้ ง ภายในและภายนอก (Connected Community Networks) การเชื่อมโยงโครงขายลงสูชุมชนระดับภูมิภาคทั้งภายในและภายนอก เปนการพัฒนาตอเนื่อง ด า น ICT เพื่ อ ให มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ ระบบบริ ก ารข อ มู ล ข า วสาร และบริ ก ารธุ ร กรรม อิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชน และทองถิ่น รวมทั้งการเชื่อมโยงไปสูภูมิภาคเปาหมาย ไดแก ASEAN และ APEC ดวยการเชื่อมโยงโครงขายลงสูชุมชนระดับภูมิภาคทั้งภายใน และภายนอก (Connected Community Networks) โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการโครงการ และ ตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานโครงสรางพื้นฐาน - การเชื่ อ มโยงชุ มชนบริ ก ารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ นระดั บ ภู มิ ภาค (Connected e-Service Community) การเชื่อมโยงชุมชนบริการอิเล็กทรอนิกสในระดับภูมิภาค เปนการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส เชื่ อ มโยงถึ ง กั น ในระดั บ ชุ ม ชน ในภู มิ ภาคอาเซี ย นและเอเปก (Connected e-Service Community) โดยการพั ฒนาบริการอิเล็ กทรอนิกสภาครั ฐ ไดรับการยกระดับไปสู ความ เชื่อมโยงถึงกันในระดับชุมชนและทองถิ่น เพื่อมุงสู Smart Thailand ในวงความรวมมือ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 319
อาเซียนและเอเปก โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตาม ยุทธศาสตรดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส - การเชื่อมโยงชุมชน e-Business โดยทั่วถึง (Connected e-Business Community) เปนการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และ บริ ก ารธุ ร กรรมทางธุ ร กิ จ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ไ ปสู ชุ ม ชนในระดั บ ภู มิ ภ าคภายใน และสากล (Connected e-Business Community) และเชื่อมโยงไปสูภูมิภาคเปาหมาย ไดแก ASEAN และ APEC โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตาม ยุทธศาสตรดานธุรกิจที่เกี่ยวของในดาน ICT - ปที่ 5 พ.ศ. 2561 การกาวสูบริการอิเล็กทรอนิกสอยางฉลาดในระดับภูมิภาคสากล (Smart Global Services) เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชน และทองถิ่น และใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของ ชุมชนและทองถิ่น พรอมดวยความตองการเปนหุนสวนในการพัฒนา รวมทั้งการเชื่อมโยงไปสูบริการ อิเล็กทรอนิกสอยางฉลาดในระดับภูมิภาคสากล (Smart Global Services) เปาหมายรายทางในการกาวสูบริก ารอิเ ล็ กทรอนิกส อยางฉลาดในระดั บภูมิ ภาคสากลเปนราย ยุทธศาสตร ประกอบดวย - การเชื่อมโยงไปสูระดับสากล (Mobilized People) การเชื่อมโยงไปสูระดับสากล เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความ เชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชน และทองถิ่น รวมทั้งการเชื่อมโยงไปสูบริการอิเล็กทรอนิกสในระดับสากล เพื่อใหประชาชน สามารถดํารงชีวิต และประกอบอาชีพไดอยางคลองตัวในระดับสากล (Mobilized People) โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานทุน มนุษย - การเชื่อมโยงโครงขายไปสูระดับสากล (Global Connectivity) การเชื่อมโยงโครงขายไปสูระดับสากล เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมี ความเชื่อมโยงโครงขายสําหรับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส ไปสูระดับชุมชน และทองถิ่นไปสูระดับสากล (Global Connectivity) โดยมีเปาหมายหลักใน เชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานโครงสรางพื้นฐาน - การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสเชื่อมโยงถึงกันในระดับสากล (Seamless e-Service Community) การพั ฒ นาบริ ก ารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ ชื่ อ มโยงถึ ง กั น ในระดั บ สากล เป น การพั ฒ นาบริ ก าร อิเล็กทรอนิกสแบบไรตะเข็บรอยตอ (Seamless) ในระดับสากล และการเชื่อมโยงถึงกันอยาง ตอเนื่องในระดับชุมชนและทองถิ่น เพื่อมุงสู Smart Thailand โดยบริการอิเล็กทรอนิกส ภาครั ฐ ได รั บ การยกระดั บ ไปสู บ ริ ก ารแบบไร ร อยต อ ระหว า งหน ว ยงานที่ มี ข อบข า ยทั้ ง ใน ระดับประเทศและในระดับสากล ซึ่งเปนผลใหผูไดรับบริการไมจํา เปนตองรูถึงหนวยงานผู
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 320
ให บ ริ ก าร โดยมี เ ป า หมายหลั ก ในเชิ ง มาตรการ โครงการ และตั ว ชี้ วั ด ในการพั ฒ นาตาม ยุทธศาสตรดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส - การเชื่อมโยง e-Business สูระดับสากล (Global e-Business) การเชื่อมโยง e-Business สูระดับสากล เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมี ความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกิจอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชน และทองถิ่น สูระดับสากล (Global e-Business) โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการโครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานธุรกิจที่เกี่ยวของในดาน ICT - ปที่ 6-7 พ.ศ. 2562-2563การกาวสูสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) การกาวสูสังคมอุดมปญญาหรือ Smart Thailand เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับ ชุมชน และทองถิ่น และใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของชุมชน และทองถิ่น พรอมดวยความตองการ เปนหุนสวนในการพัฒนา รวมทั้งการเชื่อมโยงไปสูภูมิภาคสากลโดยสมบูรณแบบ เพื่อใหประชาชน สามารถดํารงชีวิต และประกอบอาชีพทางอินเทอรเน็ตไดตลอดเวลาทุกหนแหงทั่วโลก (Ubiquitous) เปาหมายรายทางในปที่ 6-7 ในการกาวสูสังคมอุดมปญญาเปนรายยุทธศาสตร ประกอบดวย - ประชาชนพรอ มที่ จะมีสว นร วมในการพัฒ นาด าน ICT ของประเทศ (Participatory People) เปาหมายในการใหประชาชนพรอมที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาดาน ICT ของประเทศ เปนการ ขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชน และทองถิ่น เพื่อการเชื่อมโยงไปสูภูมิภาค โดยสมบูรณแบบตามมาตรฐานสากล ประชาชนสามารถดํารงชีวิต และประกอบอาชีพทางโลก ไซเบอรไดตลอดเวลาทุกหนแหงทั่วโลก (Ubiquitous) ในสังคมอุดมปญญา ที่ประชาชนพรอม ที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาดาน ICT ของประเทศ (Participatory People) โดยมีเปาหมาย หลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานทุนมนุษย - การพัฒนาไปสูโครงสรางพืน้ ฐานที่มคี วามคุมคา (Optimal Infrastructure) การพัฒนาไปสูโครงสรางพื้นฐานที่มีความคุมคา เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูลขาวสาร และบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส ไปสู ระดับชุมชนและทองถิ่น ดวยการเชื่อมโยงไปสูสากลโดยสมบูรณแบบที่มีความคุมคา (Optimal Infrastructure) เพื่อใหประชาชนสามารถดํารงชีวิต และประกอบอาชีพทางอินเทอรเน็ตได ตลอดเวลาทุกหนแหงทั่วโลก (Ubiquitous) โดยมีเปาหมายหลัก ในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานโครงสรางพื้นฐาน - การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกสที่ฉลาด (Smart Government) เปนการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกสที่ฉลาดหรือ Smart Government ลงสูระดับชุมชน และ ทองถิ่น สูยุคสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ซึ่งมีจุดหมายปลายทางที่สมบูรณในป พ.ศ. 2563 ตามเป า หมายที่ กํ า หนดไว ใ นกรอบนโยบาย ICT2020 โดยมี เ ป า หมายหลั ก ในเชิ ง มาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 321
- การพัฒนากาวสูยุคธุรกิจสดใส (Vibrant Business) เปนการขยายผลการพัฒนาตอเนื่องดาน ICT เพื่อใหมีความเชื่อมโยงกับระบบบริการขอมูล ขาวสารและบริการธุรกิจอิเล็กทรอนิกสไปสูระดับชุมชนและทองถิ่น ดวยการเชื่อมโยงไปสู ภูมิภาคโดยสมบูรณแบบ เพื่อใหประชาชนสามารถดํา รงชีวิตและประกอบอาชีพทางโลก ไซ เบอรไดตลอดเวลาทุกหนแหงทั่วโลก (Ubiquitous) ในโลกธุรกิจที่สดใส (Vibrant Business) ดวย ICT ในยุคสังคมอุดมปญญา หรือ Smart Thailand โดยมีเปาหมายหลักในเชิงมาตรการ โครงการ และตัวชี้วัดในการพัฒนาตามยุทธศาสตรดานธุรกิจที่เกี่ยวของ ในดาน ICT ปจจัยแวดลอมหลักที่สําคัญที่เกี่ยวของในการพัฒนาดานทุนมนุษยเพื่อมุงสู Smart Thailand ในป 2563 ตาม กรอบการขับเคลื่อนแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ. 2557-2561 ไดแก การเคลื่อนยายดานแรงงาน อันเปนผลจากการรวมตั วในภูมิภาค ASEAN, APEC และระดับสากลทั่วโลก การให ความสําคัญกับชุมชนและทองถิ่นในแงของการอยูรวมกัน (Inclusivity) และการมีสวนรวม (Participation) การ ปรับเปลี่ยนหรือปฏิรูปดานการศึกษา ความขัดแยงในสังคม รวมไปถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่เขามามีบทบาทสําคัญใน การดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพของประชาชน ซึ่งเปนปจจัยที่เปนกระแสหลักปจจุบัน โดยมีเปาหมายการพัฒนา เพื่อมุงสู Participatory People 2020 ภายในปพ.ศ. 2563 โดยสามารถแสดงในรูปแบบของตัวอยางฉากทัศน (Scenarios) ในการพัฒนาในดานทุนมนุษย กลาวคือ ประชาชนในทุกชุมชน และทองถิ่น มีขีดความสามารถในการเขาถึง และรูเทาทัน ICT ตามเปาหมายที่กําหนดไวโดยใน 2 ปแรก คือ 2557-2558 จะเปนการวางรากฐานในการพัฒนาในดาน ICT Literacy อยางเปนระบบตามมาตรฐานสากล (Baseline for ICT literacy established) ซึ่งจะสงผลกระทบในดาน สังคม (Social Impact) ลงไปถึงทุกชุมชนและทองถิ่น ทั้งนี้ เพื่อใหประชาชนและเอกชนมีการดํารงชีวิต และการประกอบ อาชีพไดอยางสัมฤทธิผ์ ล การพัฒนาจะสงผลกระทบในภาพรวมของประเทศ (Country Impact) นับแตในป 2557-2558 จะเปนการ วางรากฐานในการพัฒนากําลังคนดาน ICT ของประเทศ เพื่อนําไปสูการมีสวนรวมในการพัฒนาดาน ICT นับแตในระดับ ชุมชนและทองถิ่นไปจนถึงระดับชาติ และการเตรียมพรอมเขาสู AEC (Foundation for people participation) ในป 2559 ประชาชนสามารถพัฒนาความรวมมือกันในการดํารงชีวิต และประกอบอาชีพในชองทางอิเล็กทรอนิกส โดยเฉพาะ ชองทางสื่อและเครือขายสังคม (Collaborative people within AEC) ซึ่งจะขยายไปสูภูมิภาคอื่นๆ ของโลก เชน APEC ในป 2560 (Collaborative people within inter- regions) จนถึงการยกระดับสูมาตรฐานสากลซึ่งจะชวยใหมีความ คลองตัวในการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพในป 2561 (Mobilized participatory people) และเขาสูระยะ เปาหมายสุดทาย ในป 2562-2563 ในการที่ประชาชนสามารถมีสวนรวมในโลกดิจิทัล ณ สถานที่ เวลา และอุปกรณใด ๆ ก็ได (Ubiquitous People participation) ผลกระทบการดําเนินงานและการบริห ารจัดการ (Administration Impact) การยกระดับเพื่อเพิ่ม ขี ด ความสามารถดาน ICT ใหกับประชาชน ในป 2557-2558 จะชวยยกระดับการบริหารจัดการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสทั้งใน ภาครัฐและภาคธุรกิจใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น (ICT workforces be leveraged) ในป 2559 จะเปนการสงเสริมคนรุน ใหมเพื่อเปนกําลังสําคัญในแนวคิดเชิงสรางสรรคในการขับเคลื่อน การพัฒนาในยุคดิจิทัล (Promotion of creativity for younger generation) ในป 2560 จะเปนการเขาสูยุคการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพในระดับสากล (Standard Occupational Classification) ในป 2561จะเปนการเขาสูกระบวนการปฏิรูปการศึกษาโดยใช ICT เปนเครื่องมือสําคัญ (ICT-enabled education reform) และในป 2562-2563 จะเปนปที่บรรลุเปาหมายในการรักษาความสมดุลยระหวาง อุปสงคและอุปทานในดานแรงงานที่เกี่ยวของกับดาน ICT (Balancing supply and demand of ICT workforces)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 322
ผลกระทบดานธุรกิจ (Business Impact) ในป 2557-2558 จะเปนการเพิ่มศักยภาพ ในดาน ICT ใหกับ ประชาชนและเอกชนใหสามารถปฏิสัมพันธ และประกอบธุรกรรมระหวางกันไดในระดับAEC (Joined-up people to AEC) ในป 2559 จะเปนการพัฒนากําลังคนที่เกี่ยวของดาน ICT ใหมีทักษะ ตามมาตรฐาน และวิธีปฏิบัติในระดับชุมชน ภายใน AEC เพื่อใหมีศักยภาพในการเขารวมธุรกรรมในวง AEC (ICT workforces meet AEC community standards/practices) ซึ่งจะขยายไปสูภูมิภาคอื่น ๆ ในระดับสากลในป 2560 (ICT workforces meet intercommunity standards/practices) โดยในป 2561 จะเปนการยกระดับกําลังคนที่เกี่ยวของในดาน ICT สูมาตรฐานโลก (ICT workforces leverage to global standards) และจะบรรลุเปาหมายมาตรฐานระดับโลกในป 2562-2563 (ICT workforces meet global standards) การพัฒนาอยางตอเนื่องจะสงผลกระทบในภาพรวมของประเทศ (Country Impact) นับแต ในป 2557-2558 จะเปนการวางรากฐานในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน ICT ของประเทศ เพื่อนําไปสูความเปนเอกภาพ นับแตใน ระดับชุมชนและทองถิ่นไปจนถึงระดับชาติ (Foundation for ICT Infrastructure Improvement) ในป 2559 ประชาชนสามารถพัฒนาความรวมมือกันในเชื่อมโยงบริการอิเล็กทรอนิกสสําคัญในระดับ AEC (Infrastructure Ready for AEC Showcase) ซึ่งจะขยายไปสูภูมิภาค APEC ในป 2560 (Optimal Infrastructure for APEC Showcase) จนถึงการยกระดับโครงสรางพื้นฐานดาน ICT ของประเทศสูระดับสากลในแนวทางที่คุมคา และพอเพียงในป 2561 (Optimal Infrastructure for Global Connectivity) และเขาสูระยะเปาหมายสุดทายในป 2562-2563 ในการที่ โครงสรางพื้นฐานดาน ICT จะกลายเปนกลไกขับเคลื่อนความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ (Engine for Growth for Digital Economy) และจะเปนการวางรากฐานในการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของประเทศ เพื่อนําไปสู ความเปนเอกภาพ สงเสริมหลักธรรมาภิบาลที่ดีโดยการพัฒนาในเรื่องสํา คัญ ไดแก Secured e-Service, e-Portal, eParticipation และ Open Government และในป 2559 จะเปนการยกระดับไปสูการบูรณาการบริการธุรกรรม อิเ ล็ก ทรอนิก ส แบบไร พรมแดนทั้ งในและนอกประเทศ ซึ่ งจะขยายผลอย า งต อเนื่ องในป 2560 (Borderless eTransaction, Smart Province Scale-up) จนถึงการยกระดับสูชุมชนที่ปราศจากตะเข็บรอยตอ และเขาสูระยะ เปาหมายสุดทายในป 2562-2563 ในการการขยายผลรัฐบาลอิเล็ กทรอนิกสที่มีความพรอมในระดับสากล (e-GovReadiness)
ความร ว มมื อ ใน ASEAN ในมุมมองของผูแทนประเทศมาเลเซีย ไดใหทัศนะในการป องกันภัยคุกคามไซเบอรในอาเซียน โดยยกแนว ทางการรักษาความปลอดภัยดานไซเบอร ( Cyber Security ) ของมาเลเซีย ซึ่งกําหนดโดยรัฐบาล ในการตรวจสอบทุก แงมุมของความมั่นคงแหงชาติ เพื่อการบริหารจัดการรักษาความปลอดภัยในโลกไซเบอร และจะดําเนินการตอพื้นที่ที่คาด วาจะเปนอันตรายตอความมั่นคงของชาติ และความปลอดภัยของประชาชน โดยรัฐบาลจะใหความชวยเหลือดานเทคนิค การใหบริการตาง ๆ และการฝกอบรมบุคคลากรทางดานไซเบอร ในการดําเนินการตอวิกฤตการณตาง ๆ การบริการ ดังกลาวอาทิเชน การบริการฉุกเฉินทางดานการรักษาความปลอดภัยไซเบอร , การบริการจัดการคุณภาพดานความ ปลอดภัยไซเบอร, การพัฒนาผูเชี่ยวชาญทางดานความปลอดภัยดานขอมูล, การกําหนดแนวทางยุทธศาสตรการรบ ทางดานไซเบอร และการคนควาวิจัย เปนตน โดยมีความมุงหมายเพื่อการสงเสริมสรางความตระหนักของภัยคุกคาม ไซเบอรทั่วโลกที่มีผลกระทบตออาเซียน, การสรางเครือขายการทํางานรวมกันภายในอาเซียนสําหรับ การปองกัน ภัยคุ ก คามในโลกไซเบอร , การตรวจสอบสถานะของการเตรี ย มขอบเขตกรอบในการจั ด การและการพั ฒนาขี ด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 323
ความสามารถของอาเซียนในโลกไซเบอร , การเผยแพรองคความรูการพัฒนาทางกฎหมาย และเทคโนโลยีของการ ดําเนินงานในโลกไซเบอรที่สามารถเสริมสรางความสามารถในอาเซียน เปนตนไป สรุปแนวทางการดําเนินการดานไซเบอรในการจะกาวเขาสูประชาคมอาเซียน ในมุมมองของมาเลเซีย โดยการ สรางความรวมมือในระดับนานาชาติสําหรับการปองกันทางไซเบอรในอาเซียน ซึ่งจะตองมีแนวทางพัฒนาดานการรักษา ความปลอดภัยในโลกไซเบอรภายในประเทศ เพื่อเปนรากฐานใหกับประเทศของตน และรัฐบาลของกลุมประเทศสมาชิก อาเซี ย นไม ส ามารถทํ า งานฝ า ยเดี ย วได จํ า ต อ งอาศั ย ความร ว มมื อ จากภาคประชาชน รวมทั้ ง ภาคเอกชน ซึ่ ง เป น องคประกอบสําคัญในการลดภัยคุกคามทางไซเบอร ทั้งนี้ ความเขมแข็งในการปองกันไซเบอร จะชวยใหอาเซียนมีความ ยืดหยุนและการปกปองผลประโยชนรวมกันใน Cyber Space สําหรับแนวทางการสรางความรวมมือใน ASEAN จะประกอบดวย 1. การสรางกลยุทธสําหรับการปองกันและรักษาความปลอดภัยไซเบอร 2. การประชุมในระดับนานาชาติสําหรับการรักษาความปลอดภัยไซเบอร 3. การพัฒนาดานนโยบายและแนวปฏิบัติของรัฐเพื่อตอตานสงครามไซเบอร 4. การเพิ่มงบประมาณสําหรับการสรางกลุมผูโจมตีทางไซเบอร 5. การมีสวนรวมการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ กับภาคเอกชนทางดานไซเบอร 6. การดําเนินการตรวจสอบความปลอดภัยไซเบอรอยางตอเนื่องและทั่วถึง 7. การใหการศึกษาทางดานไซเบอรอยางตอเนื่อง การสัมมนานานาชาติ “สงครามไซเบอร สิ่งทาทายความรวมมือในอนาคตของอาเซียน” มีขอสรุปที่เปน สาระสําคัญในการสรางความตระหนัก และการเตรียมการดานไซเบอร เพื่ออนาคตของกลุมประเทศประชาคมอาเซียนใน อนาคต ดังนี้ 1. จะตองเขาใจธรรมชาติของภัยคุกคามทางดานไซเบอร ซึ่งมีความซับซอนและรวดเร็ว อาเซียนจะตองกาว ไปใหทัน 2. การโจมตีทางดานไซเบอรกับกลุมประเทศสมาชิกในอาเซียน จะกอใหเกิดความเสียหาย ดังนั้น ภาคีตอง พัฒนาศักยภาพพื้นฐานในดานนี้ใหมาก เพื่อการเตรียมความพรอมในการรับมือกับภัยคุดคามที่จะเกิดขึ้น 3. ภัยคุกคามประเภท APT (Advanced Persistent Threat) จะมีความซับซอนมากขึ้น และจะเกิดขึ้น เนื่องจากผลประโยชนทางดานการเมือง และดานเศรษฐกิจ 4. ความรวมมือในงานดานไซเบอร ระหวางภาครัฐกับเอกชนจะเพิ่มมากขึ้น เพื่อกาวใหทันกับพัฒนาการของ ภัยคุกคามที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว 5. การเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาในงานดานไซเบอร จะสรางเสริมศักยภาพของประเทศ 6. การสรางความตระหนักในภัยคุกคามดานไซเบอร โดยภาคีในกลุมอาเซียนจะสรางความเปนหุนสวนรวมกัน มีมาตรการรับมือ และขอเสนอแนะตาง ๆ รวมกัน 7. การจัดตั้งชุดเผชิญเหตุฉุกเฉินดานไซเบอรของประชาคมอาเซียน ASIAN CERT ( CERT : Community Emergency Response Teams ) เพื่อการแลกเปลี่ยนขอมูล, การแจงเตือน และการสื่อสารกันระหวางภาคี หากสมาชิก ในกลุมถูกภัยคุกคามดานไซเบอร จะไดรับประโยชน ดังนี้ 7.1. สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารภัยคุกคามดานไซเบอร ใหกับภาคีใหทราบไดรวดเร็ว ทันเวลา 7.2. อาเซียนมีศูนยรวมแหงความเปนเลิศดานไวเบอร (Center Excellent) สําหรับรวมทรัพยากร ทั้งหลายในกลุมภาคี ในการพิจารณาและรวมมือกันแกปญหาภัยคุกคามดานไซเบอร
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 324
7.3. มีการพัฒนาสงเสริมมาตรการความมั่นคงทางไซเบอร ในกรอบของอาเซียน เพื่อใหเอื้ออํานวยกับการ เปนระบบแบบเดียวกันในการสรางความมั่นคงปลอดภัย, การเตรียมการในการรับมือภัยคุกคาม และมีการลงทุนรวมกันใน งานดานนี้ 7.4. มีการศึ กษาในการเสริมสร างความเข มแข็ง ของ ASIAN CERT มีค วามร วมมือ กัน เพื่ อขยาย ความสัมพันธไปยัง AP CERT (ASEAN Pacific CERT) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ และขยายความมั่นคงทางไซเบอร 8. การติดตั้งระบบปองกันภัยคุกคามทางไซเบอร OSCAR ซึ่งเปนระบบฯ ที่กระทรวงกลาโหมอิสราเอล ใช งานอยู โดยนํา ระบบต า ง ๆ มารวมกั น และมีศู น ย ก ลางในการควบคุ ม เพื่ อ ทํ า ให ป ระเทศสมาชิ ก สามารถทราบถึ ง หนวยงานใดในกลุมถูกโจมตีโดยสมาชิกในกลุมจะทราบทั่วกันทันที, สามารถแลกเปลี่ยนขาวกรอง, ทราบรูปแบบ Pattern ของการโจมตี และรองรอยของการโจมตี เปนตน 9. การติดตั้งระบบ ADS (Advance Detection Systems ) ซึ่งเปนระบบตรวจสอบ Malware ไมเพียงแต ตรวจจับ Malware ที่เปนไฟลภายนอกเทานั้น ADS ยังสามารถตรวจสอบระบบควบคุมและสั่งการของ Malware ดวย เชน การตรวจสอบไฟล PDF ซึ่งระบบตรวจสอบทั่วไปไมสามารถทราบวา ในไฟล PDF มี Malware ฝงตัวอยู แต ADS สามารถตรวจสอบเขาไปในโครงสรางของไฟลได โดยจะวิเคราะหระบบควบคุมและสั่งการ ดังนั้นไมวาจะมีสิ่งแปลกปลอม ใด ระบบ ADS สามารถตรวจสอบไดทั้งหมด สําหรับรัฐบาลไทย ไดแตงตั้งคณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ (National Cyber Security Committee : NCSC) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน และหนวยงานที่เกี่ยวของดานความมั่นคง กระบวนการยุติธรรม และดานเศรษฐกิจ รวมเปนกรรมการฯ โดยมีหนาที่หลักในการจัดทํานโยบายความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ เพื่อให ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการปกปอง ปองกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากสถานการณดานภัยคุกคามในไซเบอร ที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ครอบคลุมถึงความมั่นคงทางการทหาร ความสงบ เรียบรอยภายในประเทศ และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ตลอดจนติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติที่เกี่ยวของ เพื่อให เกิดการบูรณาการการทํางานของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ อันจะกอใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหาร จัดการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร สอดคลองกับแนวทางการจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ประชาคมอาเซียน โดยมียุทธศาสตรหลัก 3 ดานแรก และยุทธศาสตรรองอีก 5 ดาน คือ (1) การบูรณาการจัดการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรของประเทศ (2) การสรางศักยภาพในการตอบสนองตอสถานการณฉุกเฉินทางความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (3) การปองกันโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศของประเทศ (4) การประสานความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน เพื่อความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (5) การสรางความตระหนักและรอบรูดานความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (6) การพัฒนาระเบียบและกฎหมายเพื่อความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (7) การวิจัยและพัฒนาเพื่อความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร (8) การประสานความรวมมือระหวางประเทศเพื่อความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร โดยรัฐบาลจะนํายุทธศาสตรทั้ง 8 ดานนี้เปนกรอบการพัฒนาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรสําหรับประเทศไทยใน อีก 5 ปขางหนา โดยมอบหมายใหสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) หรือ สพธอ. (ETDA) เปนฝายเลขานุการฯ โดยมีความรวมมือทางดานการรักษาความปลอดภัยไซเบอร (Cyber Security) ซึ่งทาง สพธอ. ไดมี การจัดทําความรวมมือ/บันทึกความเขาใจ (MOU) มีระยะเวลา 5 ป โดยมีกรอบความรวมมือในดานการเผยแพรขาวสาร ทางดานการรักษาความปลอดภัยไซเบอร, การถายโอนองคความรู, การแลกเปลี่ยนขาวสาร, การแลกเปลี่ยนทรัพยากร
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 325
องคความรูตาง ๆ, การสรางขีดความสามารถทางดานนิติวิทยาศาสตรทางดิจิตอลใหเพิ่มขึ้น และการพัฒนามาตรฐานดาน นิติวิทยาศาสตรทางดิจิตอล (Digital Forensics) สําหรับอาเซียนไดแนวทางสนับสนุนการรักษาความปลอดไซเบอร ใน ดานการสรางเครื่องมือในการรักษาความปลอดภัยขาวสาร, การประชาสัมพันธสรางความตะหนัก และการฝกอบรมอยาง ตอเนื่อง ดานผูแทนมหาวิทยาลัยปองกันประเทศ (National Defense University : NDU) ของสหรัฐอเมริกา เทียบเทา วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ) ในสวนของ Information Resources Management College (iCollege) ซึ่งมี หนาทีเ่ ตรียมผูนําทหารและพลเรือนในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การครอบครองขอมูล และ การรักษาความปลอดภัยไซเบอร ไดกลาวถึง ขั้นของสงครามตอไป อาจจะเปนไดวา ขาศึกนั้น สามารถเอาชนะเราไดโดย ไมตองมีสวนรวมโดยตรงในสนามรบ คลายวา เปนขาศึกเสมือน (Virtual Enemy) โดย Cyber จะเปนปญหาที่สามารถ ขยายจากความวิตกกังวลแบบปานกลางไปจนกระทั่ งเปนภัยคุกคามที่รายแรงที่สุดในดานความมั่ นคงของชาติ และ สงครามไซเบอร (Cyber War) จะเปนลักษณะการกระทําที่มุงประสงครายตอการใชเครื่องคอมพิวเตอร ขอมูล อิเล็กทรอนิกสและ/หรือเครือขายดิจิตอล เพื่อดําเนินการขโมย การทําลาย การปฏิเสธการทํางาน การสรางความเขาใจผิด ทําใหเสื่อมเสีย หรือทําลายระบบที่สําคัญ รวมทั้งขอมูลตาง ๆ และกระบวนการทํางานตาง ๆ โดยแนวโนมการโจมตีในยุค ป จ จุ บั น จะเป น การโจมตี ที่ ร ะบบคอมพิ ว เตอร แ บบรวมศู น ย (Cloud Computing), ระบบอั ต โนมั ติ (Autonomous), ระบบอุปกรณมือถือ (Mobile), ระบบไรสาย (Wireless), ระบบเครือขายความเร็วสูง (Broadband) และ Fiber Optic การจัดการประชุมรัฐมนตรีโทรคมนาคมและสารสนเทศอาเซียนครั้งที่ 11 (ASEAN Telecommunications and Information Technology Ministers Meeting : TELMIN) ในวันที่ 8-9 ธันวาคม 2554 ขึ้นที่กรุงเนปดอวของ เมียนมารโดยมีสาระสําคัญ ไดแก การรับทราบความกาวหนาการดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารอาเซียน (ASEAN ICT Master Plan 2015 : AIM 2015) ในปแรก ซึ่งมีโครงการรองรับการดําเนินการจํานวน 17 โครงการเปนพื้นฐานเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาไอซีทีมุงสูการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ไดแก โครงการ ASEAN CIOs Forum โครงการรางวัลไอซีทีอาเซียน (ASEAN ICT Awards) โครงการความมั่นคงปลอดภัยเครือขายคอมพิวเตอร (Network Security) โครงการการนําไอซีทีมาใชในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม โครงการเขตพื้นที่กระจาย สัญญาณเครือขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูงในอาเซียน (ASEAN Broadband Corridor) เปนตน ที่ประชุมดังกลาวยังได พิจารณาอนุมัติงบประมาณจํานวน 450,000 เหรียญสหรัฐฯ จากกองทุนไอซีทีอาเซียน (ASEAN ICT Fund) เพื่อใช สําหรับดําเนินโครงการตามแผนแมบทฯ ระหวางป 2555-2556 นอกจากนี้ ที่ประชุมยังไดมีมติรับรองแถลงการณเนปดอว “Nay Pyi Taw Statement on ICT: an Engine for Growth in ASEAN” ซึ่งเปนเอกสารที่แสดงเจตนารมณในการ ดําเนินความรวมมือในเรื่องตาง ๆ อาทิ o ขอริเริ่มตามแผนแมบท AIM 2015 o พัฒนาสภาพแวดลอมและนโยบายที่ยืดหยุนเพื่อจัดตั้ง ASEAN Broadband Corridor o ศึกษามาตรการเพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงบริการเครือขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูงหรือบรอดแบนด ระหวางอาเซียนโดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม o สงเสริมความรวมมือที่กาวหนาในเรื่องการบริหารจัดการคลื่นความถี่ o ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร o การสื่อสารในสภาวการณฉุกเฉิน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 326
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานไอซีที เปนตนเมื่อวันที่ 8-9 ธันวาคม มีการจัดการประชุมรัฐมนตรีโทรคมนาคม และสารสนเทศอาเซียนครั้งที่ 11 (ASEAN Telecommunications and Information Technology Ministers Meeting – TELMIN) ขึ้นที่กรุงเนปดอวของพมา โดยมีสาระสําคัญ ไดแก การรับทราบความกาวหนาการดําเนินงานตาม แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอาเซียน (ASEAN ICT Master Plan 2015 : AIM 2015) ในปแรก ซึ่งมี โครงการรองรับการดําเนินการจํานวน 17 โครงการ เปนพื้นฐานเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาไอซีทีมุงสูการรวมตัวเปน ประชาคมอาเซียน ไดแก โครงการ ASEAN CIOs Forum โครงการรางวัลไอซีทีอาเซียน (ASEAN ICT Awards) โครงการ ความมั่นคงปลอดภัยเครือขายคอมพิวเตอร (Network Security) โครงการการนําไอซีทีมาใชในวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม โครงการเขตพื้นที่กระจายสัญญาณเครือขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูงในอาเซียน (ASEAN Broadband Corridor) เปนตน ที่ประชุมดังกลาวยังได พิจารณาอนุมัติงบประมาณจํานวน 450,000 เหรียญสหรัฐฯจากกองทุนไอซีที อาเซียน (ASEAN ICT Fund) เพื่อใชสําหรับดําเนินโครงการตามแผนแมบทฯ ระหวางป 2555-2556 นอกจากนี้ ที่ประชุมยังไดมีมติรับรองแถลงการณเนปดอว “Nay Pyi Taw Statement on ICT: an Engine for Growth in ASEAN” ซึ่งเปนเอกสารที่แสดงเจตนารมณในการดําเนินความรวมมือในเรื่องตาง ๆ อาทิ o ขอริเริ่มตามแผนแมบท AIM 2015 o พัฒนาสภาพแวดลอมและนโยบายที่ยืดหยุนเพื่อจัดตั้ง ASEAN Broadband Corridor o ศึกษามาตรการเพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงบริการเครือขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง หรือบรอดแบนด ระหวางอาเซียนโดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม o สงเสริมความรวมมือที่กาวหนาในเรื่องการบริหารจัดการคลื่นความถี่ o ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร o การสื่อสารในสภาวการณฉุกเฉิน o การพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานไอซีที เปนตน อยางไรก็ตาม ปญหาอาชญากรรมไซเบอรรูปแบบตาง ๆ ไดแผขยายไปทั่ว โลก ซึ่งพบวา มีผลกระทบตอบุคคล องคกร และประเทศ ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชาติ เชน ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบปญหาการคา ภาพลามกอนาจารบนอินเทอรเน็ต และปญหาการลอลวงเด็กและเยาวชนผานการสื่อสารทางอินเทอรเน็ต รวมถึงปญหา การโจรกรรมขอมูลบัตรเครดิต เชน บัตรวีซา และบัตรมาสเตอรการดของลูกคาในประเทศสหรัฐอเมริกากวา 10 ลาน ราย21 สวนในทวีปเอเชีย มีการพบปญหาการกอกวนระบบเครือขายตลาดหลักทรัพยฮองกง จนทําใหเกิดผลกระทบอยาง มหาศาลตอระบบการเงิน บุคคล และบริษัทหลายรอยราย เนื่องจาก การซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยฮองกงหยุดชะงัก22 ในขณะที่ประเทศญี่ปุนเกิดกรณีแฮกเกอรโจมตีเว็บไซตของกระทรวงการคลัง ศาลฎีกา และศาลทรัพยสินทางปญญา โดย มีจุดประสงคเพื่อตอตานการออกกฎหมายปองกันการดาวนโหลดสินคาลิขสิทธิ์ สงผลใหเว็บไซตดังกลาวตองปดตัวลง ชั่วคราว23 ดังนั้น จึงมีความจําเปนดวนที่จะตองจัดทําแผนยุทธศาสตรดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร โดยมี องคประกอบสําคัญที่จะนําไปสูการวางแนวทาง และจัดทําแผนแมบทดานความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติอยางเปน รูปธรรม เพื่อสรางเสถียรภาพในการติดตอสื่อสาร และการทําธุรกรรมที่เกี่ยวของกับดานไซเบอรทั้งในระดับบุคคล และ 21
ขาว “ฉกขอมูลลูกคาบัตรเครดิตวีซามาสเตอรการดกวา 10 ลานราย”, http://www.dailynews.co.th ประจําวันที่ 10 เมษายน 2555. ขาว “โคเรโร เน็ตเวิรค ซีเคียวริตี้รายงานเกี่ยวกับ 5 อันดับแรก ที่ถูกจูโจมระบบเครือขายหรือเซิรฟเวอรมากที่สุด ในป 2554 มีการโจมตีระบบ เครือขายหรือเซิรฟเวอรรูปแบบใหมๆ ที่เกงกาจมากขึ้นในชั้นบนสุดของกระบวนการรับสงขอมูล ”, http://www.thairath.co.th ประจําวันที่ 15 กรกฎาคม 2555. 23 ขาว“จับแกงคาขอมูลเครดิตขามชาติเอฟบีไอโวปองกันความเสียหายไดกวา 6 พันลาน”, หนังสือพิมพคมชัดลึก ฉบับวันที่ 28 มิถุนายน 2555. 22
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 327
องคกรทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน อันจะนําไปสูการรักษาผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจ ความปลอดภัยของสังคม และ ความมั่นคงของประเทศไทยทั้งในปจจุบันและอนาคตอยางยั่งยืน หนวยงานของรัฐ ภาคเอกชน และประชาชนควรมีความตระหนักถึงความรุน แรงของผลกระทบ และความ เสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น และมีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสมเพื่อปกปอง ปองกัน หรือรับมือกับสถานการณ ดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร (Cyber security Incident) ซึ่งจะทําใหระบบขององคกรถูกบุกรุกหรือโจมตี และ ความมั่นคงปลอดภัยถูกคุกคาม ดังนั้น การพัฒนาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ ควรมีการเตรียมการรับมือภัย คุกคามดานสารสนเทศ ซึ่งไมสามารถคาดการณลวงหนาได ทั้งภัยคุกคามดานสารสนเทศที่รูจักกันดีและภัยคุกคามดาน สารสนเทศรูปแบบใหม ๆ เพื่อรักษาความตอเนื่องของการดําเนินการภารกิจของหนวยงาน (Business Continuity) และ การใหบริการของหนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะหนวยงานที่ถือเปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญยิ่งยวดของประเทศ (Critical Infrastructure) เชน หนวยงานดานการสาธารณูปโภคและพลังงาน ดานการสื่อสาร ดานการแพทย เปนตน หนวยงาน โครงสรางพื้นฐานสําคัญเหลานี้นําเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการมากขึ้น สงผลใหระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของทวีความ ซับซอนเพิ่มขึ้น เมื่อมีการโจมตีระบบสารสนเทศ หรือเครือขาย ทีมรับมือภัยคุกคามดานสารสนเทศจึงตองมีศักยภาพที่จะ ชวยกูคื นระบบ และบริการ ตรวจสอบและวิเคราะหข อมูลเพื่ อลดความเสี่ ยงปดช องโหว หรือลดความเสียหาย และ ผลกระทบในทันทีไดถือเปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญที่ควรเรงพัฒนาใหมีความพรอมรับมือกับความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
อ า งอิ ง ท า ยบท I
บริษัท Symantec บริษัทผูพัฒนาซอฟตแวรแอนติไวรัส และระบบรักษาความปลอดภัยบนอินเทอรเน็ต โทรจันอเนกประสงค ถือเปนมัลแวรบนเว็บที่พบเจอบอยครั้งที่สุด ดวยสัดสวนรอยละ 27 ของมัลแวรทั้งหมดที่พบในป 2556 สคริปตอันตราย เชน โปรแกรมสําหรับเจาะชองโหว (Exploit) และ iframe เปนหมวดหมูที่พบมากที่สุดเปนอันดับสองที่รอย ละ 23 โทรจันสําหรับโจรกรรมขอมูล เชน โปรแกรมขโมยรหัสผาน และการสรางประตูลับ (Backdoor) ครอบคลุมสัดสวน รอยละ 22 ของมัลแวรบนเว็บทั้งหมดที่พบ การลดลงอยางตอเนื่องในโฮสตมัลแวรและไอพีแอดเดรสที่แตกตางนั่นคือ ลดลง รอยละ 30 ระหวางเดือนมกราคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2556 แสดงใหเห็นวา มัลแวรมีการกระจุกตัวอยูในโฮสตและไอพี แอดเดรสเพียงไมกี่รายการ III ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากความพยายามจะบุกรุก/เจาะเขาระบบ (Intrusion Attempt) ทั้งที่ผานจุดออนหรือ ชองโหวที่เปนที่รูจักในสาธารณะ (CVE- Common Vulnerabilities and Exposures) หรือผานจุดออนหรือชองโหวใหมที่ยัง ไมเคยพบมากอน เพื่อจะไดเขาครอบครองหรือทําใหเกิดความขัดของกับบริการตาง ๆ ของระบบ ภัยคุกคามดานสารสนเทศ นี้ รวมถึงความพยายามจะบุกรุก/เจาะระบบผานชองทางการตรวจสอบบัญชีชื่อผูใชงานและรหัสผาน (Login) ดวยวิธีการสุม/เดา ขอมูล หรือวิธีการทดสอบรหัสผานทุกคา (Brute Force) IV การขโมยคลิก คือ การหลอกใหผูใชบริการคลิกลิงกบนเว็บ เพื่อใหผูที่ไมหวังดีสามารถผานเขาไปควบคุมการทํางานในเครื่อง คอมพิวเตอรของเหยื่อได V การโจมตีเว็บไซตที่คาดวา จะมีผูใชงานจํานวนมากเขามาใชบริการ เชน โจมตีเว็บไซตซื้อของขวัญในชวงเทศกาลปใหม II
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 328
VI
ระบบโลจิสติกส (Logistics & e-Logistics) หรือการบริหารจัดการโลจิสติกสเปนกระบวนการทํางานตางๆ ที่เกี่ยวของกับ การวางแผน การดําเนินการ และการควบคุมการทํางานขององคกร รวมทั้งการบริหารจัดการขอมูลและธุรกรรมทางการเงินที่ เกี่ยวของ ใหเกิดกาเคลื่อนยาย การจัดเก็บ การรวบรวม การกระจายสินคา วัตถุดิบ ชิ้นสวนประกอบ และการบริการ ใหมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด โดยคํานึงถึงความตองการและความพึงพอใจของลูกคาเปนสําคัญ และระบบโลจิสติกสก็ เปนกระบวนการหนึ่งของการตัดการสินคาและบริการตลอดหวงโซอุปทาน ดังนั้น e-Logistics มักจะหมายความรวมๆ วา หมายถึง การนําเอา ICT เขามาชวยในการะบวนการดังกลาว เชน ICT เขามาชวยในกระบวนการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ระหวางหนวยงาน [ที่มา: สรุปจากแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบโลจิสติกสของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2554] VII คุณลักษณะของความพอเพียงประกอบดวยความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม เบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณความมีเหตุมีผล หมายถึง การตัดสินใจ เกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่ คาดวา จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งใกลและไกล [ที่มา http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/porpeing/porpeing.html วันที่คนขอมูล 13 มิถนุ ายน 2557] VIII โครงสรางพื้นฐานสําคัญ (Critical infrastructure) หมายถึง หนวยงานที่มีความสําคัญและมีความจําเปนตอโครงสราง พื้นฐานของประเทศ โดยมีภารกิจเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ ความมั่นคง ชีวิต และทรัพยสิน หากเกิดความเสียหายกับหนวยงาน เหลานี้ อาจกอใหเกิดความเสียหายและกระทบความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ หนวยงานดังกลาวสามารถแบงออกเปนหลาย กลุม เชน (1) กลุมไฟฟาและพลังงาน (2) กลุมการเงินการธนาคารและการประกันภัย (3) กลุมสื่อสารโทรคมนาคมและขนสง (4) กลุมความสงบสุขของสังคม [ที่มา: เอกสารประกอบการสัมมนาการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและการเตรียมความพรอมในการบังคับใช กฎหมายใหม 8 สิงหาคม 2550] IX ดัชนีบงชี้ระดับความพรอมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และโอกาสในการใชประโยชนจากเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในการพัฒนาประเทศ ที่ครอบคลุมทั้งภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ ซึ่งจัดทําขึ้นโดย World Economic Forum และมีการรายงานใน Global Information Technology Report เปนประจําทุกป X Thailand e-Government Interoperability Framework (TH e-GIF) : การปฏิบัติงานรวมทางอิเล็กทรอนิกส (Interoperability) คือ ความสามารถในการแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสและการปฏิบัติงานรวมกันระหวางระบบ ICT ที่ แตกตางกันไดอยางอัตโนมัติ “แนวทางบูรณาการขอมูลภาครัฐดวยการสรางขีดความสามารถในการปฏิบัติงานรวมระหวาง ระบบ” (TH eGIF) คือ ชุดของขอเสนอแนะ, แนวทางการพัฒนาระบบ, มาตรฐานกลางการกําหนดดานชื่อรายการขอมูล, ขอกําหนดเอกสารอิเล็กทรอนิกสแ ละมาตรฐานทางเทคนิค ที่กําหนดเปนมาตรฐานกลางในการเชื่อมโยงระหวางระบบ สารสนเทศที่มีความแตกตางกัน [ที่มา ราง แนวทางบูรณาการขอมูลภาครัฐ ดวยการสรางขีดความสามารถในการปฏิบัติงานรวมระหวางระบบ, กระทรวง ICT และสถาบันนวัตกรรมไอทีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร] XI บอตเน็ต (Botnet) ภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดกับกลุมของเครื่องคอมพิวเตอรที่มีโปรแกรมไมพึงประสงคติดตั้งอยู ซึ่ง โปรแกรมไมพึงประสงคนี้จะทําการรับคําสั่งจากผูควบคุมผานเครือขายอินเทอรเน็ต โดยอาจเปนคําสั่งที่ใหทําการโจมตีระบบ เครือขาย สงสแปม หรือโจรกรรมขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรที่ตกเปนเหยื่อ เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร : ห น า | 329
XII
เปนมัลแวรประเภทบอตเน็ต (Botnet) ที่ติดในระบบปฏิบัติการวินโดวส มีความสามารถในการโจมตีในลักษณะดีดอส (DDoS) และเปนมัลแวรที่มีบทบาทสําคัญในการสงอีเมลสแปม (Spam) ซึ่งจากสถิติพบวา มัลแวรชนิดนี้สามารถสงอีเมล สแปม (Spam) ไดมากกวา 25,000 ฉบับตอชั่วโมง จากขอมูลของบริษัทไมโครซอฟท พบวา มีผูตกเปนเหยื่อของมัลแวร รุสต็อค (Rustock) ประมาณ 2.5 ลานเครื่องทั่วโลก XIII เปนมัลแวรประเภทบอตเน็ต (Botnet) ที่ติดในระบบปฏิบัติการวินโดวส มีความสามารถในการโจมตีในลักษณะดีดอส (DDoS) และใชในการสงอีเมลสแปม (Spam) XIV สแปม (Spam) ภัยคุกคามดานสารสนเทศที่เกิดจากผูไมประสงคดีทําการสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสออกไปยังผูรับจํานวน มาก ที่ไมไดมีความประสงคที่จะไดรับขอมูลนั้นมากอน สวนมากเปนการโฆษณาสินคาและบริการ สรางความเดือดรอนรําคาญ แกผูรับ XV เปนเทคนิคในการโจมตีสภาพความพรอมใชงานของระบบ โดยอาศัยแหลงโจมตีจากหลายที่ภายในชวงเวลาเดียวกัน เพื่อทํา ใหบริการตาง ๆ ของระบบไมสามารถใหบริการไดตามปกติ มีผลกระทบตั้งแตเกิดความลาชาในการตอบสนองของบริการ จนกระทั่งระบบไมสามารถใหบริการตอไปได ยกตัวอยางเชนการโจมตีเครื่องแมขายดวยการสงคําสั่งขอใชบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอรจํานวนมาก ๆ พรอม ๆ กัน จนเกิดความสามารถที่เครื่องแมขายนั้นจะใหบริการได XVI ฟชชิ่ง (Phishing) ภัยคุกคามดานสารสนเทศในลักษณะการฉอโกงหรือหลอกลวงเพื่อผลประโยชน สวนใหญมีวัตถุประสงค ในการขโมยขอมูลสําคัญของผูใชงาน เชน บัญชีผูใช รหัสผาน หรือขอมูลสําคัญทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยผูโจมตี ใชวิธีลอลวงใหผูใชงานเขาถึงบริการที่ถูกปลอมขึ้นและทําใหผูใชงานเขาใจผิดวากําลังใชงานกับระบบของผูใหบริการจริงอยู XVII เปนชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อใชแทนการเรียกหมายเลขไอพี (IP Address) เพื่อใหเปนที่รูจักและจดจําไดงายขึ้น XVIII PGP – Pretty Good Privacy เปนเทคโนโลยีที่ใชในการเขารหัสลับขอมูลในรูปแบบเทคโนโลยีกุญแจสาธารณะ (Public Key) สรางขึ้นโดย Philip R. Zimmermann นิยมใชเขารหัสลับและลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสในการรับสงอีเมล XIX ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากการฉอโกง (Fraud) สามารถเกิดไดในหลายลักษณะ เชน การลักลอบใชงานระบบ หรือทรัพยากรทางสารสนเทศที่ไมไดรับอนุญาตเพื่อแสวงหาผลประโยชนของตนเอง หรือการขายสินคาหรือซอฟตแวรที่ละเมิด ลิขสิทธิ์ XX ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากความพยายามในการรวบรวมขอมูลจุดออนของระบบของผูไมประสงคดี (Scanning) ดวยการเรียกใชบริการตาง ๆ ที่อาจจะเปดไวบนระบบ เชน ขอมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ ระบบซอฟตแวรที่ติดตั้งหรือใช งาน ขอมูลบัญชีชื่อผูใชงาน (User Account) ที่มีอยูบนระบบเปนตน รวมถึงการเก็บรวบรวมหรือตรวจสอบขอมูลจราจรบน ระบบเครือขาย (Sniffing) และการลอลวงหรือใชเลหกลตาง ๆ เพื่อใหผูใชงานเปดเผยขอมูลที่มีความสําคัญของระบบ (Social Engineering) XXI ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกพัฒนาขึ้นดวยความประสงคราย (Malicious Code) เพื่อ ทําใหเกิดความขัดของหรือเสียหายกับระบบที่โปรแกรมหรือซอฟตแวรไมพึงประสงคนี้ติดตั้งอยู โดยปกติโปรแกรมหรือ ซอฟตแวรไมพึงประสงคประเภทนี้ ตองอาศัยผูใชงานเปนผูเปดโปรแกรมหรือซอฟตแวรกอน จึงจะสามารถติดตั้งตัวเอง หรือ ทํางานได เชน ไวรัส (Virus) เวิรม (Worm) โทรจัน (Trojan) หรือ สปายแวร (Spyware) ตาง ๆ XXII ภัยคุกคามดานสารสนเทศ ที่เกิดจากการใช/เผยแพรขอมูลที่ไมเปนจริงหรือไมเหมาะสม (Abusive Content) เพื่อทําลาย ความนาเชื่อถือ เพื่อกอใหเกิดความไมสงบ หรือขอมูลที่ไมถูกตองตามกฎหมาย เชน ลามก อนาจาร หมิ่นประมาท และรวมถึง การโฆษณาขายสินคาตาง ๆ ทางอีเมลที่ผูรับไมไดมีความประสงคจะรับขอมูลโฆษณานั้น ๆ (SPAM) XXIII Global Information Assurance Certification (GIAC) สถาบันรับรองประกาศนียบัตรในสาขาวิชาชีพดานความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศที่เนนเนื้อหาดานเทคนิคและการนพไปปฏิบัติ ซึ่งไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ห น้ า | 330
สรุป สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of the South East Asian Nations : ASEAN) เปนองคการทางภูมิรัฐศาสตรและองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่ไดรับการจัดตั้ง ขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 แตตลอดระยะเวลาที่ผานมา ความรวมมือสวนใหญมักจะเปนความตกลงไมเปนทางการ และใชความสัมพันธเชิงบุคคลในการขับเคลื่อนความรวมมือทั้ง ในดานการเมือง เศรษฐกิจ และความรวมมืออื่น ๆ อยางไรก็ดี ปจจุบันสภาพแวดลอมทางการเมืองระหวางประเทศที่ ปรับเปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว ไดนํามาซึ่งโอกาสและความทาทายที่ประเทศตาง ๆ ตองประสบไมวาจะเปนโอกาสในการ เสริมสรางความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของประเทศตาง ๆ ใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น หรือการเผชิญหนากับภัย คุกคามที่มาในรูปแบบใหม ๆ เชน การก อการรายขามชาติ องคกรอาชญากรรม ภัยพิบัติทางธรรมชาติและโรคระบาด ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียน จึงไดเห็นชอบใหเรงรัดการจัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” ภายในป 2558 เพื่อสรางความเปน ปกแผนของประเทศสมาชิก ซึ่งประเทศไทยในฐานสมาชิกอาเซียนไดรวมลงนามในขอตกลงกฎบัตรสมาคมแหงประชาชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต (Charter of the Association of the Southeast Asia Nations) อันเปนกรอบการดําเนินงาน ที่รัฐสมาชิกของสมาคมตกลงจัดทําขึ้น โดยมีเปาหมายรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียน (Asian Community) เพื่อ สงเสริมอัตลักษณรวมกันและความรูสึกเปนสวนหนึ่งในประชาชนของตน ภายใตคําขวัญ “One Vision, One Identity, One Community” โดยมีความรวมมือหลัก 3 ดาน ไดแก ความรวมมือทางการเมืองและความมั่นคง ความรวมมือดาน เศรษฐกิจ และความรวมมือดานประชาสังคมและวัฒนธรรม เมื่อพิจารณากรอบความรวมมือหลักทั้งสามดานดังกลาวแลว จะพบวา ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community) เปนความรวมมือที่มี ความเกี่ยวโยงกับกระบวนการยุติธรรมมากที่สุด เนื่องจาก เปนกรอบความรวมมื อที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางคานิยม และ แนวปฏิบัติรวมกันของประเทศในกลุมอาเซียนดานตาง ๆ เสริมสรางขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับประเทศ ในกลุมอาเซียนดานตาง ๆ เสริมสรางขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม บนพื้นฐานหลักการวาดวยความมั่นคงของมนุษย และใหประชาคมอาเซียนมีปฏิสัมพันธที่แนนแฟนและ สรางสรรคกับประชาคมโลก โดยใหอาเซียนมีบทบาทนําในภูมิภาค และเมื่อเกิดการรวมตัวกันเปนประชาคมแลว ยอมเกิด การยา ยถิ่ นฐานของประชาชนในกลุ มอาเซียนทั้ งแบบชั่ วคราวและถาวรมากขึ้น รวมถึ งการติด ตอสื่ อสารและการมี ปฏิสัมพันธระหวางกันในมิติตาง ๆ ซึ่งจําเปนตองมีการกําหนดกฎกติกากลางของกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ถึงแมวา การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนในกรอบดังกลาวยอมจะสงผลกระทบในเชิงลบมากกวาในเชิงบวก จึงจําเปนที่ แตละประเทศ จะตองดําเนินการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเชนนี้ อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจําเปน อย า งยิ่ ง ที่ ตอ งมี การศึ กษาทบทวนกฎหมาย และกระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญาเกี่ ยวกั บ กระบวนการพิ จารณาคดี มาตรการการดําเนินคดี เพื่อใหการใชบริการของประชาชนจากกระบวนการยุติธรรมเปนไปดวยความรวดเร็วและถูกตอง เปน ธรรม ทั้ง ดานการบั งคับ ใช กฎหมาย และการคุมครองสิ ทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพื่อ เตรียมความพรอ มเขา สู ประชาคมอาเซียน สําหรับตัวอยางผลกระทบของประชาคมอาเซียนที่อาจมีตอระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของประเทศไทยนั้น ไดแก ปญหาแรงงานตางดาว ทั้งที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายและที่ลักลอบมาเป นแรงงานเถื่อน การ เคลื่อนยายแรงงานระหวางประเทศนี้มีความสัมพันธกับกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ตองการจะขยายการลงทุนและ การคาระหวางประเทศสมาชิก ในสวนของแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายนั้น ประเทศไทยอาจจะตองพิจารณา เนื้อหากฎหมายแรงงานที่บังคับใชใ นปจจุบันวา สอดคลองกับประเทศอื่น ๆ หรือไม พรอมทั้งเจรจากับประเทศที่มี
ส รุ ป : ห น า | 331
มาตรฐานการคุมครองแรงงานต่ํากวาประเทศไทย ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการปรับปรุงมาตรฐานการคุมครองแรงงานไทยใน ตางประเทศดวย สําหรับแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมายนั้น เปนเรื่องที่ตอ งใหความสําคัญเปนพิเศษประการ หนึ่ ง และเป น ประเด็ น ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมาธิ ก ารสหประชาชาติ ว า ด ว ยการป อ งกั น อาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา สมัยที่ 21 นอกจากปญหาการเขาประเทศโดยผิดกฎหมายแลว การรวมตัวเปน ประชาคมอาเซียนดังกลาว เกิดขึ้นในชวงเวลาของความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในภูมิภาค ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง รวมทั้งสังคม และวัฒนธรรม ทําใหปญหาตาง ๆ ที่เคยเปนปญหาระดับชาติ อาทิ ปญหาการคามนุษย อาชญากรรมขาม ชาติ ไดขยายวงกวางขึ้นเปนปญหาระหวางประเทศ ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ประเทศสมาชิกอาเซียน จะตองมีการปรับตัว ใหเขากับสถานการณ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพในการรับมือกับปญหาความทาทายในประเด็นตาง ๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อ สรางความแข็งแกรง และอํานาจตอรองรวมกัน สําหรับปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น ประเทศอาเซียนตางมีความรวมมือดานการตอตานการก อการรายเปน รูปธรรมภายใตแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Plan of Action to Combat Transnational Crime) ซึ่งครอบคลุมอาชญากรรม 8 ประเภท คือ การลับลอบคายาเสพติด การคาสตรีและเด็ก การ กระทําอันเปนโจรสลัด การลับลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน การกอการราย อาชญากรรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ และ อาชญากรรมคอมพิวเตอร โดยประเทศไทยมีสวนสําคัญในการริเริ่มใหประเทศสมาชิกอาเซียนมีความรวมมือในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติมาตั้งแตเริ่มตน ดวยการผลักดันในระดับนโยบายในการประชุมสุดอาเซียน การประชุมรัฐมนตรี ตางประเทศอาเซียน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน (Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Treaty of ASEAN-MLAT ASEAN) เนื่องจาก ไทยเปนประเทศที่ไดรับ ผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากปญหาอาชญากรรมขามชาติ จากการที่มี ที่ตั้งเปนศูนยกลางในภูมิภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต และเปนประเทศที่เปดเสรีในการเดินทางเขา-ออก แตอย างไรก็ดี ปญ หาอาชญากรรมข ามชาติใ นปจจุบัน มีรูป แบบวิธีก ารที่ ซับซ อนและเปนระบบองค กรที่ มี เครือขายการทํางานที่กวางขวางโยงในไปทั่วโลก ประกอบกับรูปแบบและลั กษณะของอาชญากรรมเปนอาชญากรรมที่มี ลักษณะการกระทําผิดโดยอาศัยโอกาสและพัฒนาเทคโนโลยี และมีสภาพเปนความผิดที่กระทําขามพรมแดนระหวางรัฐ 2 รัฐหรือมากกวานั้น การที่อาชญากรรมขามชาติมีลักษณะเชนนี้ ทําใหเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศ ตางก็ประสบปญหาเดียวกัน นั่นคือ อํานาจการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมในแตละประเทศ หมดลงเมื่อพนพรมแดนของประเทศตนเอง ขณะที่อาชญากรรมขามชาตินั้นไรพรมแดน จึงทําใหเกิดปญหาในเรื่องแนว ทางการปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญา ความลาชาในการปฏิบัติงาน ปญหาเรื่องค าใชจายในการดําเนินคดี และความ รวมมือทางอาญาระหวางประเทศที่ยังไมมีความสอดคลองกับบริบทความเปลี่ยนแปลงในการเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนยังไมมีเครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาวิธีการทํางานดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังนั้น จึงมีความ จําเปนที่จะตองทบทวนกฎหมายและแนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญาชาวตางประเทศและความรวมมือระหวาง ประเทศใหสอดคลองกับกรอบขอตกลงและกลไกความรวมมือระหวางประเทศของกลุมประเทศอาเซียน สําหรับประเทศไทย หนวยงานราชการหรือองคกรที่เกี่ยวของ นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญดานอาเซียนตางพยายาม สงเสริม สรางความเขาใจและใหความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนแกสังคม และประชาชนทั่วไปผานทางสื่อรูปแบบตาง ๆ รวมถึงมีการแสดงความคิดเห็น ใหทัศนะและมุมมองทั้งในดานบวกและลบของประเทศไทยกับประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสา หลัก ในสวนของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดมีการแสดงความคิดเห็นในแงมุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของเชนกัน โดยมีความคิดเห็นและมุมมองในบางประเด็นที่สําคัญ ดังนี้
ส รุ ป : ห น า | 332
ความเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในกรอบของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีหลายประเด็นที่นักวิชาการไดแสดงความคิดเห็นตั้งแต ปญหาของคํานิยามของประเทศสมาชิกอาเซียนมีความแตกตางกัน นักวิชาการอยางเชน รศ.ดร.ประภัสสร เทพชาตรี อาจารยประจําคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดแสดงความคิดเห็นวา คํานิยามของรัฐบาลอาเซียนมีความ แตกตางไปอยางมากจากคํานิยามของนักวิชาการ โดยประเด็นหลักที่นัก วิชาการใหความสําคัญ แตไมปรากฏใน APSC Blueprint คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะตองมีการกําหนดนโยบายรวมกัน การรับรูถึงภัยคุกคาม รวมกัน มีอัตลักษณรวมกัน มีความรวมมือทางทหาร ไวเนื้อเชื่อใจกัน มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และมี สถาบันที่เปนทางการ สําหรับกลไกการปองกันและแกไขความขัดแยงของประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน มีลักษณะ มุงเนนแกความขัดแยงระหวางรัฐ แตในปจจุบัน และอนาคต ความขัดแยงสวนใหญจะเปนความขัดแยงที่เกิดขึ้นภายในรัฐ แตมีลักษณะขามชาติ ดังนั้น กลไกอาเซียนจึงอาจจะไมมีประสิทธิภาพรองรับความขัดแยงในรูปแบบใหม นอกจากนี้ ความ รวมมือทางทหารของอาเซียนยังเบาบางมาก อาเซียนซึ่งกอตั้งมากวา 40 ป แลว แตเพิ่งจัดใหมีการประชุมรัฐมนตรี 1 กลาโหมเปนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2549 นอกจากนี้ ในเรื่องการปองกันและการตอสูกับคอรรัปชั่นที่เปนกิจกรรมหนึ่งของ APSC Blueprint นายพรพล นอยธรรมราช นักวิเคราะหเทคโนโลยีปองกันประเทศ ไดกลาวถึงในประเด็นนี้ โดย ยกตัวอยางในประเด็นของการสรางประชาคมที่มีคานิยมและบรรทัดฐานรวมกันบนพื้นฐานของการใชกฎรวมวา การสราง ประชาคมที่มีคานิยมและบรรทัดฐานรวมกันนั้น ประกอบไปดวย 2 กรอบการทํางานหลัก คือ 1) การรวมมือกันในการ พัฒนาการเมือง และ 2) การสรางและใชบรรทัดฐานรวมกัน ซึ่งกรอบการทํางานแรกนั้น ประกอบไปดวย กิจกรรมตาง ๆ เชน การสงเสริมสภาพธรรมาภิบาล การสงเสริมและปกปองสิทธิมนุษยชน การปองกันและการตอสูกั บคอรรัปชั่น และ การสงเสริมหลักการของประชาธิปไตย ซึ่งหากเพียงแคมองกิจกรรมดังกลาวเพียงคราว ๆ แลว ก็พอจะสามารถคาดเดาได วา เปนไปไดยากที่แตละประเทศสมาชิกจะเขามารวมมือกันได ยกตัวอยางเชน การปองกันและการตอสูกับคอรรัปชั่น ประเทศสมาชิกในอาเซียนนั้นเปนกลุมประเทศที่ประสบปญหากับการคอรรัปชั่นมากที่สุดแหงหนึ่งของโลก ตามสถิติของ Corruption Perception Index (CPI) ป พ.ศ. 2556 นั้น ประเทศในอาเซียนนอกจากสิงคโปรและบรูไนแลว ทุกประเทศ ที่เหลืออยูต่ํากวาอันดับที่ 50 ทั้งหมดและมีถึง 6 ประเทศที่มีอันดับต่ํากวา 100 เรียกไดวา ยังไมรูวาประเทศใดในอาเซียน 2 จะเปนผูริเริ่มในการแกไขปญหาคอรรัปชั่นนี้ และอยางไรดี
ความรวมมือทางทะเล ความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเลระหวางประเทศในอาเซียนเปนอีกประเด็นหนึ่งที่กําหนดอยูใน APSC Blueprint นาวาเอกภุชงค ประดิษฐธีระ จากศูนยศึกษายุทธศาสตรทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ไดแสดงความ คิดเห็นวา ความรวมกันทางทะเลเปนเรื่องที่มีขอบเขตคอนขางกวาง เนื่องจาก ทะเลในภูมิภาคนี้มีพื้นที่กวางใหญและมี ปญหาภัยคุกคามหลายอยาง ไดแก ปญหาความขัดแยงเรื่องเขตแดนทางทะเลของประเทศในภูมิภาค การกอการรายทาง ทะเล โจรสลัด และการปลนในทะเล การกระทําผิดกฎหมายทางทะเล และปญหาภัยธรรมชาติและอุบัติภัยทางทะเล รวมทั้งตรวจสอบกลไกความรวมมือที่มีอยูเดิม และเสนอแนวทางความรวมมือกันทางทะเลทั้งในสวนของทวิภาคี และ พหุภาคี 1
ประภัสสร เทพชาตรี. 2552. ขอเสนอการทําใหอาเซียนเปนองคกรของประชาชนอยางแทจริง . วันที่คนขอมูล 25 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://thepchatree.blogspot.com/2009/03/blog-post.html. 2 พรพล นอยธรรมราช, ม.ป.ป. อาชญากรรมขามชาติในอาเซียน. วันที่คนขอมูล 23 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://dtad.dti.or.th/ images/stories/pdf/asean2015.pdf
ส รุ ป : ห น า | 333
จากปญหาภัยคุกคามตาง ๆ ขางตน กลไกลความรวมมือที่มีอยูในปจจุบันยังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ในการ แกปญหาเขตแดนทางทะเลควรแกไขโดยใชการเจรจาตกลงในกรอบทวิภาคี การเสริมสรางกําลังทางทหารโดยการสงเสริม การสรางมาตรการ สรางความไววางใจระหวางประเทศ และการสรางความโปรงใสทางการ การกอการรายทางทะเลควรมี การสงเสริมการรับรูขาวสารทางทะเลดวยกลไกที่มีอยูกับมาตรการเพื่อความมั่นคงทางทะเลระหวางประเทศ ปญหาโจร สลัด และปลนเรือในทะเลควรสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารโดยใชศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่มีอยูแลว เชน ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร (Information Sharing Center : ReCAAP ISC) เปนตน และปญหาภัยธรรมชาติ และอุบัติภัยในทะเล ควรจัดตั้งศูนยประสานงานปฏิบัติการชวยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัยทางทะเลของภูมิภาค เพื่อ 3 เปนการชวยเหลือซึ่งกันและกัน
ความรวมมือดานการทหาร ในเรื่องของกองทัพและความมั่นคงนั้น ความรวมมือทางการทหารในอาเซียนเกิดจากการหารือกันในการประชุม ARF จากนั้น จึงมีผลตอการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและอีก 8 ประเทศ (ADMM-Plus) ซึ่งมีการหารือ และ วางแผนจัดทําความรวมมือดานความมั่นคงใน 5 ประเด็นหลัก และประเทศสมาชิกแบงหนาที่ความรับผิดชอบในประเด็น ตาง ๆ ดังนี้ 1. การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และบรรเทาสาธารณภัย โดยมีเวียดนาม และจีนเปนประธาน 2. ความมั่นคงทางทะเล โดยมีมาเลเซีย และออสเตรเลียเปนประธาน 3. ประเด็นความรวมมือระหวางกองทัพ โดยมีสิงคโปร และญี่ปุนเปนประธาน 4. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ โดยมีฟลิปปนส และนิวซีแลนดเปนประธาน 5. การตอตานการกอการราย โดยมีอินโดนีเซีย และสหรัฐอเมริกาเปนประธาน ทั้งนี้ จะเห็นไดวา ประเทศไทยไมมีบทบาทของการเปนผูนําในสวนใดเลย แมวา ประเทศไทยจะมีความพยายาม จัดใหมีการหารือ และการวางแผนงานในประเด็นการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และบรรเทาสาธารณภัยก็ตาม ซึ่ง ในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมครั้งถัดไป ทางกองทัพไทยนําประเด็นการสรางความรวมมือดานการบินเขาประชุม โดย เสนอใหมีการฝกบินรวมกัน ซึ่งประเทศไทยเปนผูนําในประเด็นดังกลาว อยางไรก็ตาม ที่ผานมาการซอมรบระหวาง ประเทศสมาชิกเปนความรวมมือในลักษณะทวิภาคี อาทิเชน การซอมรบระหวางประเทศไทยกับสิงคโปร รวมถึงมีการ ลาดตระเวนของแตละประเทศทั้งประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร โดยแตละประเทศจะลาดตระเวนใน นานน้ําของตนเปนการเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน ปจจุบัน ประเทศสมาชิกอาเซียนมองวา ประเทศไทยมีบทบาทการเปน ผูนําลดนอยลงมาก ถึงอยางไร ประเทศอาเซียนบางประเทศยังคงเชื่อในศักยภาพของประเทศไทยที่จะกาวขึ้นมามีบทบาท เพิ่มขึ้น ในประเด็นการเสริมสรางกองทัพดวยการจัดหายุทโธปกรณ ประเทศในอาเซียนมีการดําเนินในการแขงขันกัน คอนขางสูง ถึงแมจะมีการปฏิเสธวา การจัดหาอาวุธเปนไปเพื่อการรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม หรือเพื่อชดเชยกับการ ขาดการพัฒนากองทัพในชวงที่ประเทศตาง ๆ เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อชวงหลายปที่ผานมา ประเทศตาง ๆ มีการจัดหา เรือรบ เรือดําน้ํา และเครื่องบินรบสมรรถนะ และราคาสูงจํานวนมาก เชน มาเลเซียจัดหาเรือดําน้ําดีเซลชั้น SCORPENE สองลําและเรือดําน้ําใชแลว AGOSTA 70 B อีก 1 ลํา มูลคารวมไมต่ํากวา 990 ลานดอลลารสหรัฐ ในขณะที่ สิงคโปรมี การจั ดหาเรือดํา น้ําชั้น Vastergotland-class (A 17) จํานวน 2 ลํา และเรื อดําน้ํ ามือสองอีก 4 ลํ า สว นเวียดนาม อินโดนีเซียและไทยตางก็มีแผนที่จะจัดหาเรือดําน้ําเชนกัน และเมียนมารจัดซื้อเครื่องบินขับไล แบบ MiG-29 จํานวน 20 3
ภุชงค ประดิษฐธีระ, น.อ. (ม.ป.ป.). 2554. ประชาคมอาเซียนกับบทบาทกองทัพเรือ. วารสารนาวิกศาสตร, 4(8), หนา 66-67.
ส รุ ป : ห น า | 334
ลําจากรัสเซียเปนเงิน 600 ลานดอลลารสหรัฐ เพราะประเทศไทยมีการจัดหาฝูงบินขับไลเขาประจําการจากสวีเดน ดังนั้น 4 จึงกลาวไดวา สถานการณการเสริมสรางกองทัพของประเทศในอาเซียนมีนัยแหงการถวงดุลระหวางกันดวย
ปญหาเขตแดน ปญหาเขตแดน ยังเปนปญหาที่ตองแกไขและหาวิธีการระงับขอพิพาทดวยสันติวิธี ปจจุบันประเทศในอาเซียนยัง มีแนวโนมการใชกําลังรบเขาแกปญหา แมวา จะไมรุนแรงก็ตาม อยางเชน กรณีประเทศมาเลเซียกับประเทศอินโดนีเซีย และประเทศไทยซึ่งมีพรมแดนติดกับหลายประเทศ ยังคงมีปญหาเขตแดนกับประเทศเพื่อนบานทั้งประเทศเมียนม าร กัมพูชา และสปป.ลาว เปนตน ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต างประเทศ แสดง ความคิดเห็นเรื่องของปญหาเขตแดนวา ควรเรงแกปญหาเขตแดนและฟนฟูความสัมพันธกอนเขาสูประชาคมอาเซียน ซึ่ง ปญหาความขัดแยงเรื่องเขตแดนเปนเรื่องที่ชาติตะวันตกเปนผูกําหนดขึ้น ดังนั้น ประเทศไทยควรปรับมุมมองใหมและกาว ขามปญหาดังกลาวในบางจุด ไมเชนนั้น จะไมสามารถสรางเขตเศรษฐกิจชายแดนได เพราะหากเขมงวดเรื่องปญหาเขต แดนก็จะทําใหประเทศไทยตองทะเลาะกับประเทศเพื่อนบานในทุกจุด ฉะนั้น ทางออกเรื่องเขตแดนจึงมีอยู 3 แนวทาง คื อ 1) หากตกลงได ก็ ค วรจั ด การให เ สร็ จ สิ้ น 2) หากตกลงไม ไ ด อ าจปล อ ยให เ รื่ อ งดั ง กล า วดํ า รงต อ ไป เพื่ อ รั ก ษา ความสัมพันธระหวางประเทศ 3) หากตกลงไมไดเนื่องจาก เหตุผลทางเศรษฐกิจก็ควรขอความเห็นจากคนในประเทศ และ ใชแนวทางกฎหมายระหวางประเทศแกปญหาควบคูกัน เพราะการสรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศเพื่อนบานควร 5 เปนเปาหมายของไทย เพื่อสงเสริมใหกาวไปสูประชาคมอาเซียนอยางมั่นคง
ภัยคุกคามรูปแบบใหม/ภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ ภัยคุกคามรูปแบบใหม อยางเชน การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ ภัยธรรมชาติ เปนประเด็นหลักที่ไดรับ การมองวา เปนปจจัยสําคัญที่สามารถดึงเอาประเทศสมาชิกตาง ๆ ของอาเซียนยอมเขามารวมมือกัน เพื่อกอใหเกิด ประชาคมในดานการเมืองและความมั่นคงอาเซียนได เพราะภัยดังกลาวถือวา เปนภัยที่แตละประเทศไมสามารถแกปญหา ไดดวยตนเองไดเพียงลําพัง ซึ่งจะเปนการบังคับกลาย ๆ ใหแตละประเทศจําเปนตองรวมมือกันแบบพหุภาคี และเปน 6 จุดเริ่มตนใหแตละประเทศเรียนรูที่จะสละอํานาจอธิปไตยของตนบางสวนเพื่อผลประโยชนรวมกันในภูมิภาค ทั้งนี้ นักวิชาการและองคกรที่เกี่ยวของไดแสดงความคิดเห็นในเรื่องภัยคุกคามรูปแบบใหมไวนาสนใจ ดังนี้ อาชญากรรมขามชาติ ถือวา เปนสวนหนึ่งของภัยคุกคามรูปแบบใหม ปจจุบัน อาชญากรรมขามชาติมีความ ซับซอนมากขึ้นกวาเมื่อกอนมาก เนื่องจาก มีการพัฒนาดานเทคโนโลยีดานการสื่อสารและคมนาคม ทําใหอาชญากรรม ขามชาติยกระดับเปนปญหาระดับโลก ยิ่งพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในปจจุบันนั้น ยกระดับจากเศรษฐกิจภายในประเทศ เปนเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก สงผลใหเกิดการแกกฎหมายหรือขอบังคับตาง ๆ ใหออนตัว เพื่อเอื้อกับการคา และแรงงานระหวางประเทศ ผลที่ตามมา คือ กลุมอาชญากรรมขามชาติก็ใชชองวางเหลานี้ แสวงหาผลประโยชนและ 7 ประกอบอาชญากรรม
4
กิ ต ติ พ งษ จั น ทร ส มบู ร ณ , ร.น. (ม.ป.ป.). อนาคตภาพของประชาคมอาเซี ย น. วั น ที่ ค น ข อ มู ล 25 มิ ถุ น ายน 2557. เข า ถึ ง ได จ าก http://dtad.dti.or.th/images/stories/pdf/prepareasean.pdf. 5 ศูนยขาวอารเอสยูนิวส, 2555. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย หนุน สรางยุทธศาสตรจังหวัดจับคูคาประเทศเพื่อนบาน-จีน. วันที่คนขอมูล 23 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://www.rsunews.net/index.php/news/detail/945. 6 อางแลว. พรพล นอยธรรมราช, ม.ป.ป. 7 เรื่องเดียวกัน.
ส รุ ป : ห น า | 335
ใน APSC Blueprint ไดกลาวถึง อาชญากรรมขามชาติอยู 6 ประเภทนอกเหนือจากการกอการราย คือ การ ลักพาตัว และคามนุษย การคายาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย การคาอาวุธเถื่อนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร และโจรสลัด อยางไรก็ตาม อาชญากรรมที่เปนภัยตอความมั่นคงของประเทศสมาชิกที่ตองจัดการอยางเรงดวนนั้นมี 3 ประเภท คือ การลักพาตัวและคามนุษย การคายาเสพติด และโจรสลัด นายพรพล นอยธรรมราช นักวิเคราะหเทคโนโลยีปองกันประเทศ ใหทัศนะในเรื่องอาชญากรรมขามชาติวา การ รวมมือกันในกลุมประเทศอาเซียนมีความคืบหนาในการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหมนอยมาก เนื่องจาก มีผลกระทบ ตออํานาจอธิปไตยของประเทศสมาชิก ทําใหไมคอยมีประเทศใดกลาออกมาเปนผูนําอยางจริงจัง อีกทั้งบางประเด็นยังถูก มองวา เปนประเด็นระดับทวิภาคี เชน ปญหายาเสพติดของเมียนมารที่ไหลเขาสูประเทศไทย ปญหาโจรสลัดในชองแคบ มะละกา ซึ่งไมตองการใหประเทศที่สามเขามามีสวนรวม หรือบางประเด็นเปนเรื่องเฉพาะของประเทศใดประเทศหนึ่ง ทํา ใหวิถีอาเซียน (ASEAN Way) มักจะถูกนํามาใชทันที คือ การไมเขาไปยุงเรื่องภายในประเทศของอีกฝาย หรือไมเขาไปยุง กับความขัดแยงของทั้งสองฝาย และความขัดแยงระดับทวิภาคีใด ๆ จะตองไมทําลายเสถียรภาพ และความเปนหนึ่งเดียว ของอาเซียน ในขณะเดียวกัน ประเทศสมาชิกอาเซียนก็ขาดแรงจูงใจในการแกไขปญหารวมกัน กลับเปนประเทศภายนอก อาเซียนที่เขามามีอิทธิพลและสรางแรงจูงใจใหกับประเทศสมาชิกอาเซียนเขามารวมมือกัน ซึ่งเห็นไดชัดเจนในประเด็น ปญหาเรื่องโจรสลัด โดยประเทศญี่ปุนเปนประเทศแรกที่เสนอการแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณเอเชียตะวันออก เฉียงใต ในป พ.ศ. 2542 หลังการประชุม ASEAN+3 จนกระทั่ง มีการลงนามขอตกลง Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป พ.ศ. 2543 และ ปรับปรุงใหมในป พ.ศ. 2548 อยางไรก็ตาม โครงการ ACCORD ก็ไมประสบความสําเร็จในการนําไปใชและการปฏิบัติงาน รวมกัน ดังนั้น การสรางประชาคมดานการเมืองและความมั่นคงในกลุมประเทศอาเซียนจะประสบความสําเร็จได อาจจะ 8 ตองอาศัยแรงกดดันจากภายนอก เชน ประเทศมหาอํานาจตาง ๆ
การจัดการภัยพิบตั ิ ประเทศในอาเซียนมีการฝกรวมกันในภาคพลเรือนที่เรียกวา ASEAN Disaster Relief Exercise โดยประเทศ ไทยสงกรมปองกันและบรรเทาสาธารณะภัย เปนผูเขาฝกรวม โดยโครงการดังกลาวริเริ่มโดย ASEAN Coordinating Center for Humanitarian Assistance on Disaster Management (AHA Center) แต AHA Center ยังเปนแนวคิด ยังไมมีความเปนรูปธรรม เนื่องมาจากความไมลงตัวของขอตกลงในหลักการปฏิบัติ (Standing Arrangement Standard of Procedures : SASOP) ประเทศสมาชิกยังคงไมเห็นพองกันในบทที่วาด วยเรื่องสัดสวนการบริจาคเงินของแตละ ประเทศวา ประเทศตาง ๆ ควรบริจาคเทาใด นอกจากนี้ การไมสามารถหาขอมูลที่ถูกตองชัดเจนถึงศักยภาพและขีด ความสามารถทางทหารของแตละประเทศยังเปนอุปสรรคตอความรวมมือ ทั้งนี้ สวนหนึ่งเปนเพราะแตละประเทศยังคงมี ขอจํากัดในการนํากําลังออกนอกประเทศ รวมทั้งความพรอมของแตละประเทศที่แตกตางกัน สงผลใหความรวมมือ ดังกลาวยังคงอยูกับที่ นอกจากนี้ ความรวมมือดานภัยพิบัติในระดับภูมิภาคเอเชียที่เรียกวา ADPC ยังเปนเพียงการให 9 ความรู และการอบรมแกสมาชิก แตไมไดเปนศูนยที่มีเจาหนาที่ปฏิบัติการจริงเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ
8
เรื่องเดียวกัน. พรพล นอยธรรมราช. ASEANWatch, 2555. สรุปการสัมภาษณเรื่องความรวมมือดานความมั่นคงของอาเซียน พัฒนาการและแนวโนมในอนาคต. ณ ศูนยศึกษา ยุ ท ธศาสตร สถาบั น วิ ช าการป อ งกั น ประเทศ วั น ที่ 20 กุ ม ภาพั น ธ 2555. วั น ที่ ค น ข อ มู ล 23 มิ ถุ น ายน 2557. เข า ถึ ง ได จ าก http://aseanwatch.org/wp-content/uploads/2012/03/สัมภาษณทวี่ ปอ..pdf. 9
ส รุ ป : ห น า | 336
กลไกสิทธิมนุษยชน ปญหาประการแรกที่ทําใหอาเซียนยังไมใชองคกรของประชาชนอยางแทจริง คือ ปญหาดานการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในอาเซียน มาตรา 14 ของกฎบัตรอาเซียนกําหนดใหมีการจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียนขึ้น ทั้งนี้ ใน ระหวางการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อป พ.ศ. 2552 ที่อําเภอชะอํา-หัวหิน ประเทศไทย ไดมีการประกาศ จัดตั้งคณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชนอยางเปนทางการ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ที่จัดตั้งขึ้นจะ ทําหนาที่เปนหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนกับองคการระหวางประเทศและ ภาคประชาสังคมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะมีสวนสําคัญในการสงเสริมและคุมครองสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนชีวิตความ เปนอยูของประชาชนอาเซียนโดยรวม เมื่อพิจารณารายละเอียดของขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิ มนุษยชน (Terms of Reference of ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights : ToR of AICHR) แลว กลไกดังกลาว มีลักษณะของการเนนการสงเสริม แตไมมีบทบาทในการปกปอง ไมมีบทบาทในการรับเรื่อง รองทุกขหรือรองเรียน ไมมีบทบาทในการไตสวนเรื่องรองเรียน และไมมีบทบาทในการเสนอบทลงโทษตอการละเมิดสิทธิ มนุษยชน นอกจากนี้ ToR of AICHR ยังกําหนดใหยึดหลักการไมแทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก ฉะนั้น เมื่อ เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนเรื่องระหวางรัฐบาลกับประชาชน หากยึดหลักไมแทรกแซงกิจการภายใน กลไกนี้ จึงไม สามารถทําอะไรได ในการนี้ รศ.ดร. ประภัสสร เทพชาตรี ไดใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงกลไกสิทธิมนุษยชนของ อาเซียนไว ดังนี้ - เพิ่มบทบาทของกลไกในดานการปกปอง - แกไขขอความใน ToR of AICHR ในเรื่องหลักการไมแทรกแซงกิจการภายใน โดยใหมีขอความในลักษณะให หลักการนี้มีความยืดหยุน - ควรเพิ่มหลักการสากลขององคการสหประชาชาติเขาไปดวย โดยเฉพาะหลักการความรับผิดชอบในการ ปกปอง (responsibility to protect) และหลักการแทรกแซงดวยหลักการมนุษยธรรม (humanitarian intervention) - การเพิ่มบทบาทของกลไกในการรับเรื่องรองเรียน หรือรองทุกข บทบาทในการไตสวนเรื่องรองเรียน และ บทบาทในการเสนอมาตรการ เพื่อยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน - เพิ่มบทบาทใหกับเลขาธิการอาเซียน ใหมีลักษณะเหมือนกับบทบาทของเลขาธิการสหประชาชาติในการชวย ดูแลในเรื่องของการปกปองและการสงเสริมสิทธิมนุษยชน - ควรเพิ่มบทบาทใหกับภาคประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน (Non-governmental Organization : NGO) และประชาชน โดยเฉพาะบทบาทในการนําเสนอเรื่องรองทุกขรองเรียนตอกลไกดังกลาวได ตามหลักปฏิบัติ สากลที่องคการสหประชาชาติก็เปดโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชนเสนอเรื่องรองเรียน และเรื่องการละเมิด สิทธิมนุษยชนได - ในระยะยาว ควรผลักดันใหมีการพัฒนากลไกดานตุลาการ โดยเฉพาะการจัดตั้งศาลสิทธิมนุษยชนขึ้น (Court 10 of Human Rights) จากสภาพปจจุบันและความเปนไปไดในการรวมตัวเปนประชาคมโดยการนําทฤษฎีการรวมตัวเชิงภูมิภ าคมา ประยุกต จึงตองยอมรับวา การสรางประชาคมอาเซียนในดานการเมืองและความมั่นคงนั้นเปนเรื่องที่ยาก แตก็ไมใชวาจะ 10
อางแลว. ประภัสสร เทพชาตรี. 2552.
ส รุ ป : ห น า | 337
เปนไปไมได เพราะความรวมมือเพื่อตอตานภัยความมั่นคงนอกรูปแบบนั้น ยังอยูในชวงเริ่มตนและยังคงมีลูทางที่จะหา ความรวมมือจากประเทศสมาชิกอาเซียนอยูมาก แตอาจจะตองอาศัยปจจัยอื่น ๆ ที่อาเซียนมีนอกเหนือไปจากความ พยายามที่มีอยูในปจจุบัน อยางไรก็ดี ความรวมมือดานความมั่นคงในกลุมประเทศอาเซียนนั้น จะพบวา มีนอยมากที่เกิดจากการริเริ่มของ ประเทศในกลุมประเทศอาเซียนเองแลวประสบความสําเร็จ ฉะนั้น หากคิดโดยตรรกะนี้แลว การที่การสรางประชาคมดาน การเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะประสบความสําเร็จไดนั้น อาเซียนอาจจะตองอาศัยแรงกดดันจากภายนอก เชน ประเทศมหาอํานาจตาง ๆ เชน การที่ญี่ปุนเขามากดดันในเรื่องปญหาโจรสลัด จีนเขามากดดันในเรื่องการคายาเสพติด และสหรัฐอเมริกาเขามากดดันเรือ่ งการกอการราย ซึ่งอาเซียนก็เปนเหมือนการมีสถาบันที่เปนองคกรเหนือชาติที่สามารถ บังคับประเทศสมาชิกอาเซียนได ซึ่งอาจจะเปนเรื่องแปลกแตจริงที่กลไกที่เปนแรงกดดันจากประเทศนอกกลุมอาเซียนนั้น กลับมีประสิทธิภาพมากกวากลไกที่เกิดจากประเทศในกลุมอาเซียนเอง ซึ่งเห็นไดจากการที่อาเซียนจําเปนตองมีการ ประชุมรวมกับประเทศนอกกลุมบอยครั้ง เชน ASEAN+3 ASEAN+2 หรือ ASEAN+1 ในทางตรงขามทุกครั้งที่มีการ แถลงการณรวมหลังการประชุม AMMTC ซึ่งเปนการประชุมภายในของอาเซียนเองนั้น จะพบวา แทบไมมีอะไรใหมเลย อยางไรก็ตาม การที่ตองพึ่งพาประเทศมหาอํานาจนอกกลุมอาเซียนมาเปนแรงกดดันก็มีขอเสียดวยเชนกัน กลาวคือ ความสั มพันธร ะหวางประเทศมหาอํ านาจนอกกลุมอาเซี ยนกับประเทศอาเซียนนั้น มั กมีความไมแน นอน ขึ้ นอยูกั บ ผลประโยชนที่ประเทศมหาอํานาจมีกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเวลานั้น ๆ ดวย แมวาที่ผานมา กิจกรรมที่จะกอใหเกิดความสําเร็จในการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น สวนใหญเปนกิจกรรมระหวางรัฐ และตัดสินใจโดยผูนํารัฐบาลของกลุมประเทศสมาชิก แตในอนาคตหากวาประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียนยังมีอุปสรรคและไมสามารถเกิดขึ้นดวยตัวเอง อาจจะตองผลักดันใหประชาคมการเมือง และความมั่นคง เปนผลิตผลของ Spillover จากเสาประชาคมในดานอื่น ๆ เนื่องจาก เมื่อเทียบกันแลว เสาประชาคมตน อื่น โดยเฉพาะเสาทางดานประชาคมเศรษฐกิจนั้น มีความกาวหนากวาอยางมาก ซึ่งเสาประชาคมการเมืองและความ มั่นคง อาจจะตองอาศัยความเฟองฟูของเสาประชาคมเศรษฐกิจเปนตัวผลักดันใหเกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคง เชน หากเสาดานประชาคมเศรษฐกิจสามารถผลักดันใหเกิดการเคลื่อนยายสินคาและแรงงานไดอยางอิสระภายในกลุม ประเทศอาเซียนไดสําเร็จ ประเทศสมาชิกอาจจะจําเปนตองสรางกลไก หรือสถาบันรวมกันในการออกกฎบังคับที่มี มาตรฐานรวมในดานกฎหมายการผานแดน หรือการยายถิ่นเพื่อปองกันแรงงานผิดกฎหมาย การคายาเสพติด หรือกลุม อาชญากรรมขามชาติอื่น ๆ หรือความรวมมือกันตอตานการกอการรายและโจรสลัด เพื่อปกปองความเจริญรุงเรืองของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปนตน
สภาพการบังคับตามกฎหมาย ในเรื่องสภาพการบังคับตามกฎหมายของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีสองประเด็นที่จะขอเสนอแนะ ประเด็นแรกเรื่อง องคกรตรวจสอบของรัฐ ประเด็นตอมาเรื่องการสงผูรายขามแดนเพื่อนํา ตัวบุคคลมาลงโทษตามกฎหมายรวมถึงการเปน พยานในศาลในคดีกระบวนการยุติธรรมทางอาญาดวย ขอเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาแยกเปนประเด็นที่จะตอง พิจารณาไดดังตอไปนี้ 1) องคกรตรวจสอบของรัฐในภูมิภาคอาเซียนยังไมมีองคกรตรวจสอบที่เปนองคกรตรวจสอบของภูมิภาคที่เปน กลางที่จะใชรวมกันทั้งสิบประเทศภายในภูมิภาคแตอยางใดเลย จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีองคกรตรวจสอบของ รัฐที่เปนองคกรกลาง ควรมีองคกรตรวจสอบของรัฐ อยางเชน สหภาพยุโรปที่มีองคกรตรวจสอบของรัฐที่เปนองคกรกลาง เชน FBI ประเทศตางในสหภาพยุโรปก็มีการตรวจสอบโดยองคกรดังกลาวนี้ ทั้งในเรื่องมาตรการสืบสวนแสวงหา
ส รุ ป : ห น า | 338
พยานหลักฐานที่เปนกลางโดยองคกรที่มีความนาเชื่อถือ เพื่อประโยชนในการนําตัวขบวนการคามนุษยมาลงโทษตาม กฎหมายดังเจตนารมณที่ไดตั้งไว ภูมิภาคอาเซียนควรมีองคกรตรวจสอบของรัฐในการสืบเสาะหาพยานหลักฐานชิ้นสําคัญ เพื่อที่จะนําตัวบุคคลมา ลงโทษตามกฎหมายไดโดยเร็วไวโดยมีการตั้งชื่อองคกรนั้น เชน องคกรอัยการอาเซียน และใหประเทศในอาเซียนไดใช องคกรดัง กลาวในการสืบเสาะหาพยานหลัก ฐานรวมทั้งเปนองคกรหลั กในการนํา ขบวนการคามนุษยมาลงโทษตาม กฎหมาย 2) การสงผูรายขามแดนของประเทศไทยนั้นไดยึดตามแบบอยางของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศตาง ๆใน ภูมิภาคควรที่จะยึดหลักการของประเทศสหรัฐอเมริกามาบังคับใชทั้งสิบประเทศ โดยพรอมเพียงกัน เพราะกฎหมายไทยก็ มีการอนุวัติการยอมรับกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกามาบัญญัติเปนกฎหมายภายในของประเทศไทย โดยมีชื่อวา การสงผูรายขามแดนแบบวิธียอ และไมมีพิธีตรีตรองอะไรที่ยุงยากเหมือนกับที่ประเทศในอาเซียนสวนใหญไดใชกันปกติ การสงผูรายขามแบบวิธีปกติจะใชเวลาสงรวมประมาณหนึ่งเดือนถึงจะไดตัวบุคคลมาลงโทษตามกฎหมาย ซึ่งนับวา เปน การเสียเวลาเปนอยางยิ่ง ซึ่งมีความแตกตางจากการสงผูรายขามแดน โดยวิธียอที่จะใชเวลาไมนาน วิธีการดังกลาวถูก บัญญัติไวในมาตรา 27 ของพระราชบัญญัติสงผูรายขามแดน ในมาตรา 25 วรรคแรกนั้น ใหเจาหนาที่ผูมีอํานาจจับกุม บุคคลดังกลาวสอบถามบุคคลนั้นวา มีความประสงคยินยอมจะสงตนขามแดนหรือไม และถาบุคคลไดยินยอมแลวจะตอง กระทําเปนลายลักษณอักษรตอหนาศาลเพื่อใหศาลไดตรวจความยินยอม ถายินยอมตอหนาศาลแลวจะถอนคํา ยินยอม ไมไดเปนอันขาด นับวา เปนความกาวหนาของการสงผูรายขามแดนเปนอยางยิ่งที่ภูมิภาคอาเซียนควรจะตองกระทํา ตาม ทุกประเทศภายในภูมิภาค เนื่องมาจาก ไมมีพิธีอะไรที่ยุงยากรวมถึงการสงบุคคลมาลงโทษตามกฎหมายภายในภูมิภาคจะ บังเกิดผลดีเปนอยางยิ่ง ในภูมิภาคอาเซียนทั้งสิบประเทศยังไมมีอนุสัญญาพหุภาคีวาดวยการสงผูรายขามแดนที่ใชรวมกันทั้งสิบประเทศ จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองมีอนุสญ ั ญาวาดวยการสงผูรายขามแดนรวมกันภายในภูมิภาค และใหประเทศสมาชิกได ใหสัตยาบัน และมีการลงนามในอนุสัญญาดังกลาว เพื่อจะไดใหความรวมมือในทางอาญาภายในภูมิภาคอยางจริงจัง และ ควรมีการบัญญัติถึงวิธีการหลักการสงผูรายขามแดนแบบยอในอนุสัญญาดวย ซึ่งจะทําใหการสงผูรายขามแดนมีความ รวดเร็วบังเกิดผลดีตอการนําตัวบุคคลมาลงโทษตามกฎหมายภายในอาเซียนจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกวาที่เปนอยู อยางแนแท ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 นี้ ก็จะเปนวันที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จะกาวเขาสูการเปน ประชาคม อาเซียนอยางเต็มรูปแบบ แมวา ประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะหารือรวมกันในการกําหนดนโยบาย หรือมาตรการในการ พัฒนาในดานตาง ๆ และแกปญหาอาชญากรรมขามชาติรวมกัน และถึงแมวา ในประเด็นเสาหลักของประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนจะสงเสริมความรวมมือกับภาคประชาสังคม โดยใชหัวขอการหารือเปนตัวตั้งในการเชิญองคกรที่ มิใชของรัฐบาลในการแกไขปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม เชน เรื่องการบริหารจัดการภัยพิบัติ อาชญากรรมขามชาติ เชน การคายาเสพติด และการคามนุษย เปนตน และมุงดําเนินภารกิจทางมนุษยธรรมมากกวาดานการเมืองก็ตาม ถึงแมวา ภูมิภาคอาเซียน จะกาวเขาสูประชาคมอาเซียนแลวก็ตาม แตสิ่งที่จะเกิดการพัฒนาคงจะเปนเรื่อง เศรษฐกิจ การคาระหวางประเทศ เปนสวนใหญ แตในดานการเมือง ความมั่นคง และวัฒนธรรมตาง ๆ นั้น หากจะหลอม รวมใหเปนหนึ่งเดียวกัน คงจะเปนไปไดยากเนื่องจาก สภาพการเมืองการปกครอง วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาตั้งแต บรรพบุรุษมีความแตกตางกัน
ส รุ ป : ห น า | 339
สวนในเรื่อ งการคามนุษยนั้ น ถา หากเปดเปนประชาคมอาเซียนแลว ทางดานการเป นประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน ซึ่งมีการเปดประเทศ ในเรื่องเศรษฐกิจการคา การลงทุน รวมไปถึงการไหลบาของแรงงานระหวางประเทศยอม สะดวกมากขึ้น และผลที่ตามมา คือ ในเรื่องของปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งหนึ่งในนั้นรวมถึงปญหาการคามนุษยดวย ดวยปจจัยที่สนับสนุนใหการคามนุษยยังคงอยู แมวา ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตจะกาวเขาสูประชาคมอาเซียนก็ตาม ไดแก กระแสโลกาภิวัตน ผลของการที่โลกอยูในวงจรของกระแสโลกาภิวัตน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็ ไดรับผลกระทบดวยเชนกัน โดยเฉพาะในเรื่องความเปนโลกไรพรมแดน ความเปนเสรี การติดตอสื่อสารไปมาหาสูที่สะดวกรวดเร็วมากขึ้น เมื่อเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยาง รวดเร็ว ทําให มีการติดต อสื่อ สารกันได อยา งรวดเร็ว และทั่วถึ ง ประกอบกับ ติดต อ เดินทางกันไดสะดวกขึ้น จึงเปนปจจัยที่ทําใหการคามนุษยยังคงอยู เศรษฐกิจโลกผันผวน เศรษฐกิจถือวา เปนหัวใจสําคัญที่ทําใหประชากรในประเทศนั้น ๆ สามารถดํารงชีวิตอยู ได อย า งไรก็ ต าม เศรษฐกิ จ โลกนั้ น ไม ไ ด ค งที่ ยั ง มี ค วามผั น ผวนและเปลี่ ย นแปลง ตลอดเวลาไปตามเศรษฐกิ จ ของประเทศมหาอํ า นาจ ดั ง นั้ น ประเทศที่ จ ะได รั บ ผลกระทบมากที่สุดยอมเปนประเทศดอยพัฒนา และประเทศกําลังพัฒนา เนื่องจาก กลุมประเทศเหลานี้ ประชากรสวนใหญอยูในฐานะยากจน ซึ่งประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวัน ออกเฉี ยงใต ก็จั ดอยู ในกลุ มประเทศดัง กล า วด วย ดั ง นั้น ประชากรยากจนใน ประเทศตาง ๆ จึงตองการแสวงหาชีวิตที่ดีกวาจากประเทศปลายทางที่ศิวิไลซ และมี สภาพทางเศรษฐกิจที่ดีกวา สงผลใหตกเปนเหยื่อของกลุมขบวนการคามนุษยไดงาย การเอารัดเอาเปรียบ ตราบใดที่สังคมโลกยังมีกลุมบุคคลที่เอารัดเอาเปรียบ หวังผลประโยชนอยูเสมอ เชื่อแน วา แมจะกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน การคามนุษยก็ไมสามารถเลือนหายไป จากสังคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางแนนอน เชน ในอุตสาหกรรมที่ตองใช แรงงานคนในประเทศไทย เจาของบางธุรกิจตองการแรงงานราคาถูกเพื่อลดคาใชจาย ตนทุนในการผลิต เพื่อตองการใหตนเองไดผลประโยชนทางธุรกิจสูงสุด จึงรวมมือกับ ขบวนการคามนุษยเพื่อหวังเหยื่อคามนุษยมาเปนแรงงานผลิตงานใหกับตนเอง เปนตน ลักษณะทางภูมิศาสตร เชน ลักษณะภูมิประเทศของประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง โดยเฉพาะประเทศไทย ซึ่ง เปนประเทศที่มีพรมแดนติดกับหลายประเทศ ไดแก สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และ มาเลเซี ย ดั ง นั้ น การเดิ น ทางข ามประเทศทางดา นชายแดน จึ ง มีช อ งทางของการ ลักลอบคามนุษยขามพรมแดนไดงาย ชองโหวทางกฎหมาย และการละเลยการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ แมวา ประเทศตาง ๆ ทั่วโลก องคการ ระหวางประเทศตาง ๆ รวมถึงอาเซียนจะมีกฎหมาย หรือมาตรการในการปองกันและ ปราบปรามการคามนุษย แตปญหาการคามนุษยก็ยังไมสามารถที่จะคลี่คลายใหเบาบาง ลง ดวยสาเหตุที่กฎหมายมีชองวาง รวมไปถึงเจาหนาที่ยังไมมีความรูความเขาใจใน กฎหมายอยางถองแท และที่สําคัญ คือ มีเจาหนาที่บางคนที่มีสวนไดสวนเสียกับกลุม ขบวนการคามนุษย ดังนั้น จึงเกิดการละเลยการปฏิบัติหนาที่ และการควบคุมยังคงไม
ส รุ ป : ห น า | 340
เขมงวดเพียงพอ ซึ่งถาหากตัวบทกฎหมาย และการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ยังคงไมมี การเปลี่ยนแปลง กฎหมายก็จะเปนเพียง “เสือกระดาษ” เทานั้น ดังนั้น แมวา จะเปดประชาคมอาเซียนแลว กระบวนการคามนุษยก็ยังไมหมดสิ้นไป หากแตปญหาจะยิ่งทวีความ รุนแรงและสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น เหตุเพราะเมื่อมีการเปดประเทศทางด านเศรษฐกิจ การคา วัฒนธรรมมากเทาไร สิ่ง เหลานี้ก็จะสามารถเชื่อมโยงกันไดงาย สงผลใหแกงอาชญากรรมขามชาติ อยางขบวนการคามนุษย ก็จะสรางเครือขาย ที่ เชื่อมโยงกันไดงายดวยเชนกัน จากการพิจารณานโยบายของประชาคมอาเซียนแลว จะเห็นไดวา อาเซียนจะมุงเนนไปที่ การเปดเสรีทางดานเศรษฐกิจการคา มุงเนนพัฒนาแรงงานที่มีฝมือ แรงงานที่เชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถ แต ในขณะที่แรงงานไรฝมือ ประชาคมอาเซียนใหความสําคัญเพียงนอยนิด แมวา ปญหาการคามนุษยจัดเปนปญหาขามชาติที่ อยูในนโยบายของการแกไขปญหาของประชาคมอาเซียน แตอยางไรก็ตาม การที่จะแกปญหาตาง ๆ ใหมีความคลี่คลาย แมอาจจะไมหมดสิ้นไปเสียทีเดียว แตก็ลดปริมาณ ปญหาไปไดพอสมควรนั้น จะตองมีการแกปญหา ปองกัน และพัฒนาไปพรอม ๆ กัน ที่สําคัญ คือ ตองมีมาตรการที่ เขมงวดและจริงจัง โดยอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนของทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน เพราะปญหาการคามนุษย เปนปญหาที่เกี่ยวของกับเรื่องปากทองของประชากร และการละเมิดสิทธิมนุษยชน การกาวสูประชาคมอาเซียน ควรใหความสําคัญกับประชากรระดับรากหญาดวย แตถาหากนโยบายของเสาหลัก ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่มีจุดมุงหมายที่จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูรวมกันในสังคมที่เอื้อ อาทร ประชากร มีสภาพความเปนอยูที่ดีไดรับการพัฒนาในทุกดาน และมีความมั่นคงทางสังคม (social security) โดย เนนการสงเสริมความรวมมือในดานตาง ๆ อาทิ 1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเปนอยูของผูดอยโอกาสและผูที่ อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และสงเสริม การมีสวนรวมอยางแข็งขันของกลุมตาง ๆ ในสังคม 2) การพัฒนาฝกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสูงกวาการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสราง งาน และการคุมครองทางสังคม 3) การสงเสริมความรวมมือในดานสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกันและควบคุม โรคติดตอ เชน โรค เอดส และโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 4) การจัดการปญหาดานสิ่งแวดลอม 5) การสงเสริมการปฏิสัมพันธระหวางนักเขียน นักคิด และศิลปนในภูมิภาค ซึ่งถาหากประชาคมอาเซียน สามารถดําเนินการไดตามที่ไดกําหนดไว ประชากรระดับรากหญาก็จะมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แตก็ไมไดหมายความวา ประชากรบางกลุ ม จะไมถู กล อลวง หรื อถู กลั กพาตัว จากขบวนการค ามนุษ ย ดัง นั้ น สิ่ง ที่ป ระชาคมอาเซียนจะต อ ง ดําเนินการปราบปรามอยางเด็ดขาดก็คือ ขบวนการและเครือขายอาชญากรรมขามชาติ ดังนั้น ประเด็นสําคัญที่ตองตระหนักตลอดเวลาก็คือ การเอาชนะอาชญากรรมขามชาติ การกอความไมสงบ ไม สามารถใชปฏิบัติการทางทหารไดแตเพียงประการเดียว แตจําเปนตองระดมสรรพกําลังของชาติในการตอสู ซึ่งตองใชเวลา ยาวนาน รวมทั้งการปฏิบัติอยางจริงจัง นอกจากนี้ บทเรียนจากความสําเร็จ และความลมเหลวในอดีต จะเปนขอบงชี้ถึง ความสําเร็จ และความลมเหลวการเอาชนะในอนาคตอีกดวย ซึ่งหากพิจารณาในแงของแหลงเงินทุนที่นํามาใชสนับสนุน กลุมอาชญากรรมขามชาติ การกอการรายตาง ๆ นั้น อาจกลาวไดวา การดําเนินการของฝายรัฐในการตอตาน มิไดให ความสนใจที่จะดําเนินการตัดแหลงทุนมากนัก
ส รุ ป : ห น า | 341
นอกจากนี้ พัฒนาการอันเปนผลจากกระแสโลกาภิวัตน ที่ทําใหเกิดความเชื่อ มโยงกันระหวางอาชญากรรมขาม ชาติกับการกอการร ายและการกอความไมสงบ ยังเปนประเด็นที่หนวยงานด านความมั่นคงจะตอ งเอาใจใส และหา มาตรการระวั ง ป อ งกั น อย า งจริ ง จั ง ซึ่ ง มาตรการในการตั ด แหล ง เงิ น ทุ น ของกลุ มดั ง กล า ว น า จะเป น เรื่ อ งที่ ต อ งให ความสําคัญดวยการศึกษาคนควา และความสําเร็จในดานหนึ่งจะชวยใหปญหาอาชญากรรมขามชาติในประเทศ รวมทั้ง การกอความไมสงบลดระดับความรุนแรง อยางไรก็ตาม ในระยะปจจุบันมีความพยายามของสหรัฐอเมริกา และประเทศ ตะวันตกเทานั้นที่ดําเนินการปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจัง เพราะเห็นวา ยาเสพติดนอกจากเปนแหลงเงินทุนที่สําคัญ ของกลุ มก อ การร า ยแล ว ยั ง ทํ า ให ส ภาพสั ง คมของสหรั ฐ อเมริ ก าเสื่ อ มโทรมลงอย า งเห็ น ได ชั ด และทั้ ง นี้ ในบรรดา อาชญากรรมขามชาติประเภทตาง ๆ นั้น อาจกลาวไดวา เฉพาะปญหายาเสพติดแตเพียงประการเดียว ก็ไดสงผลให อาชญากรรมขามชาติดานอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจประเภทนี้มีความรุนแรงขึ้น เชน การคาอาวุธ การฟอกเงิน เป นต น ขณะที่ รายได ที่มาจากยาเสพติ ด ก็ทํ าให กลุ มก อ การร า ย กลุ มกอ ความไม สงบสามารถดํ ารงปฏิ บัติ การ และ สถานภาพของกลุมได ดวยเหตุนี้ การปราบปรามกลุมคายาเสพติด และการกวาดลางธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง จึงเปนประเด็นที่ หนวยงานดานความมั่นคง ควรจะนํามาพิจารณาประกอบการกําหนดมาตรการในดานการตัดแหลงทุนของกลุมกอการราย หรือกลุมกอความไมสงบดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม ในดานการตอตานการกอความไมสงบในภาพรวมนั้น ก็จะตองไมลืมกรอบยุทธศาสตรใหญที่ตอง ใหความสําคัญกับการเอาชนะทางการเมืองดวย ซึ่งหมายความวา การใชมาตรการกวาดลางจับกุมแหลงทุนการกอการราย หรือการกอความไมสงบที่มาจากการคายาเสพติด จะตองดําเนินการด วยความรอบคอบระมัดระวังตามตัวบทกฎหมาย และมี พยานหลัก ฐานรองรับ เพราะความผิด พลาดที่ เ กิด ขึ้น เพี ยงเหตุ ก ารณเ ดี ยว อาจมี ผลทํ าใหฝ า ยรั ฐพ า ยแพท าง ยุทธศาสตรตอกลุมกอความไมสงบได ดวยเหตุนี้ จึงมีความจําเปนที่จะตองสรางกรอบความคิดใหมทางดานความมั่นคงในการเอาชนะการกอการราย และการกอความไมสงบ โดยในเรื่องของการตัดแหลงทุนนั้น อาจตองมองถึงความรวมมือดานความมั่นคง หรือการบังคับ ใชกฎหมายระหวางประเทศดวย เพราะหากประเทศตาง ๆ รวมมือกันดูแล และบังคับใชกฎหมายในประเด็นที่เกี่ยวของ กับ การก อการรา ย และการกอ ความไม สงบไปในทิ ศทางที่ ประสานสอดคลอ งกั นแลว ก็ จะชว ยลดสภาพแวดลอ มที่ เอื้ออํานวยในการแสวงหาแหลงทุนของกลุมกอการราย และกลุมกอความไมสงบได รวมทั้งตองมีความตระหนักรวมกัน ดวยวา ปญหาอาชญากรรมขามชาติไมอาจสิ้นสุดลงไดโดยใชกําลังทหาร การดําเนินนโยบายทางการเมืองใด ๆ หรือการ ดําเนินการแตเพียงรัฐเดียว แตตองรวมมือกันทุกประเทศ สําหรับการแสวงหาแหลงเงินทุนของกลุมกอความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตนั้น จะเห็นไดวา ในขณะนี้ สวนหนึ่งแหลงทุนมาจากอาชญากรรมขามชาติ และอาชญากรรมภายในประเทศ โดยเฉพาะการลักลอบคายาเสพติดและ การลักลอบคาอาวุธ ซึ่งอาจจะรวมถึงการลักลอบคามนุษยดวยในอนาคต โดยเฉพาะขบวนการลักลอบนํามุสลิมกัมพูชา และมุสลิมโรฮิงยาเขาประเทศ นอกจากนั้น แหลงทุนของกลุมกอความไมสงบที่มีความสําคัญตอกลุมมาก ยังมาจาก กิจกรรมที่ถูกตองตามกฎหมาย ในการตัดแหลงทุนของกลุมกอความไมสงบ จึงจําเปนตองบูรณาการหนวยงานตาง ๆ ของรัฐที่เกี่ยวของ โดย ประกอบดวย หนวยงานหลักที่รับผิดชอบดานการบังคับใชกฎหมาย เชน สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมสอบสวนคดีพิเศษ สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน เปนตน หนวยงานดานเศรษฐกิจ เชน ธนาคารแหงประเทศไทย และ กรมสรรพากร สวนหนวยงานดานความมั่นคง เชน สํานักงานขาวกรองแหงชาติ และหนวยขาวกรองอื่น ๆ โดยจะตอง รวมกันดําเนินการสืบสวนสอบสวน และการแหลงเงินทุนของกลุมกอความไมสงบพรอมทั้งดําเนินการตามกฎหมายอยาง เขมงวด นอกจากนี้ ประเทศไทยควรขอความรวมมือจากประเทศตาง ๆ ซึ่งใหบริจาคในสวนของมูลนิธิการกุศล เพื่อสราง
ส รุ ป : ห น า | 342
ความเขาใจ และปองกันการนําเงินบริจาคไปใชสนับสนุนการกอความไมสงบ ขณะเดียวกัน ควรสรางระบบควบคุม ชายแดน หรือระเบียบการนําเงินผานแดนที่เขมงวด เพื่อปองกันการขนเงินผานแดนจํานวนมาก และทั้งยังจําเปน ตอง ดําเนินการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะยาเสพติดควบคูกันไปดวย
ประชาคมอาเซียนกับผลกระทบตอระบบราชการสําหรับประเทศไทย ระบบราชการในฐานะที่เปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการ ปรับตัวเพื่อรองรับตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะมีทั้งสวนราชการที่เกี่ยวของหลัก และสวนราชการที่เกี่ยวของในลําดับ รองลงไป แตอยางไรก็ตาม ในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจําเปนที่จะตองมีการศึกษา วิเคราะห และ ขับเคลื่อนไปพรอมกันอยางเปนระบบ มิเชนนั้น จะไดรับผลกระทบในหลายมิติทั้ งประเด็นเรื่องความมั่นคงภายใน การ บริหารจัดการพื้นที่ การสื่อสารสราง และสรางความรูความเขาใจใหกับประชาชนในพื้นที่ จึงตองมีการปรับตัวดังตอไปนี้ 1) ปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (Non-traditional Security Issues) การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบทางออมใหเกิดปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional security) เชน ปญหายาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ การลักลอบนําเขาหรือการเคลื่อนยายสินคาผิดกฎหมาย เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนปญหาที่สามารถแอบแฝงมากับการลงทุน หรือการทําการคากับตางประเทศ 2) การบริหารงานทะเบียนราษฎร แมประชาคมอาเซียนจะมีการทําขอตกลงใหมีการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพอยางเสรีใน 7 สาขาวิชาชีพ คือ แพทย ทันตแพทย พยาบาล วิศวกรรม สถาปตยกรรม บัญชี และการสํารวจ อยางไรก็ดี ในระยะเฉพาะหนา การเตรียม ความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนของประเทศตาง ๆ รวมทั้งไทย จะสงผลใหเกิดการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานขนาด ใหญจากภาครั ฐและเอกชน เช น ถนน ทาเรือ โรงงาน สถานประกอบการ เปนต น ดั งนั้น จึง เปน โอกาสใหเกิ ดการ เคลื่ อ นย า ยของแรงงานต า งด า วทั้ ง ที่ ถู ก และผิ ด กฎหมายจากประเทศอื่ น เข า มาทํ า งานรั บ จ า งเป น แรงงานให กั บ ผูประกอบการภายในประเทศมากขึ้น ขณะเดียวกันการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรีในป 2558 ยังจะกอใหเกิดการยาย ถิ่นฐานของผูประกอบอาชีพตามขอตกลง เชน แพทย วิศวกร ที่สามารถเขามาทํางานและพํานักในประเทศไทยมากขึ้น ดังนั้น งานทะเบียนที่เกี่ยวกับบุคคลภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย จึงไดรับผลกระทบในแงการบังคับใช ใหเปนไปตามกฎหมาย และปองกันมิใหมีการแสวงหาประโยชนจากระบบทะเบียนและบัตรประจําตัวประชาชน 3) การจัดการความขัดแยงและการอํานวยความเปนธรรม บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต การพัฒนาทางเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอสังคมในดานตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตชุมชน ทําใหโครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น อาจไดรับแรงตอตานจากประชาชนที่อาจไดรับผลกระทบ ในพื้นที่กอนการกอสราง หรือประชาชนที่ไดรับผลกระทบภายหลังจากโครงการที่มีการดําเนินการแลวเสร็จ เชน จาก โรงงานหรือสถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น กลไกการจัดการความขัดแยงระหวางภาครัฐ /ภาคเอกชนกับประชาชน หรือระหวางประชาชนดวยกันเอง จึงตองมีการเตรียมการเพื่อรับมือกับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น การกําหนด แนวทางการไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นอยางมีสวนร วมจึงเปนสิ่งที่ตอง คํานึงถึงและเตรียมการ ซึ่งเปนภารกิจของฝายปกครองดวย ขณะเดียวกัน ยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนากลไกการ จัดการความขัดแยง และการอํานวยความเปนธรรมใหแกชาวตางชาติที่อาศัยอยูในประเทศไทย เชน ระบบรองเรียนหรือ รองทุกข ระบบการไกลเกลี่ยและประนีประนอมความขัดแยงระหวางบริษัทตางชาติกับประชาชนในพื้นที่เพื่อนําไปสู กระบวนการจัดการที่มีมาตรฐานในระดับสากล 4) การคาและการติดตอตามแนวชายแดน
ส รุ ป : ห น า | 343
ประชาคมอาเซียนจะกอใหเกิดการขยายตัวของระบบการคาชายแดนขนาดใหญ เนื่องจาก การขจัดภาษี นําเขาระหวางประเทศสมาชิก ทําใหเกิดการขนถาย นําเขาวัตถุดิบ/สินคาจากประเทศอื่นที่มีตนทุนถูกกวา ดังนั้น พื้นที่ ชายแดนของจังหวัดที่มีการคาอยูแลวในปจจุบัน จึงมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมการคาขายกับประเทศเพื่อนบานใน ระดับที่สูงยิ่งขึ้น ในขณะที่พื้นที่จังหวัดหรืออําเภอที่มีพื้นที่ติดชายแดนที่ยังไมไดมีการเปดเปนดานการคาหรือจุดผานแดนก็ มีแนวโนมที่จะไดรับการสนับสนุนใหมีการยกระดับมากขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้น กรมการปกครองตองมีการเขาไปจัดระเบียบ สังคมและความสงบเรียบรอย พรอมทั้งเรงพัฒนาระบบการใหบริการใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น 5) การประกอบอาชีพของประชาชน ภายใตสภาพแวดลอมทางการคา การลงทุน การบริการ และการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรียอมเปนทั้ง โอกาสและผลกระทบสําหรับประชากรวัยแรงงานของไทยในพื้นที่ กลาวคือ หากประเทศมีประชากรวัยแรงงานที่มี คุณภาพ และมีความพรอมในการปรับตัวก็จะทําใหประชาชนไดรับประโยชนจากโอกาสในการประกอบอาชีพที่เปดกวาง จากการสามารถทํางานในตางประเทศ หรือการจางงานอันเกิดจากการขยายตัวของการลงทุนภายในประเทศ ซึ่งยอมเปน การยกระดับชีวิตความเปนอยูของตนได ในทางตรงข า ม การสู ญ เสี ย ความสามารถในการแข ง ขั น ในภาคการผลิ ต เช น ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมบางสาขา จะกอใหเกิดการเคลื่อนยายฐานการผลิต สินคาภายในประเทศจะถูกตีตลาดรวมทั้งการไม สามารถผลิตประชากรวัยแรงงานใหตรงตามความตองการของตลาดยอมทําใหสงผลตอการวางงานของประชาชนได โดย สินคาของประเทศอื่นในกลุมสมาชิกอาเซียนอาจเขามาในตลาดภายในของประเทศไทยมากขึ้นในราคาที่ต่ํากวา และ/หรือ คุณภาพดีกวานั้น อาทิ สินคาอุตสาหกรรม เชน ปโตรเลียม (จากมาเลเซียและเมียนมาร) เคมีภัณฑ ยางและพลาสติก (จากมาเลเซีย ) สวนสินคาเกษตร เชน ขาว (จากเวียดนาม) น้ํามันปาลม (จากมาเลเซี ย) กาแฟ (จากเวียดนามและ อินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพราว (จากฟลิปปนส) เปนตน ผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ยอมกอใหเกิดความตึงเครียด และปญหาสังคมอื่นตามมาได เชน การ ประทวงของเกษตรกร การสูญเสียรายได การถูกเลิกจางหรือเปลี่ยนอาชีพใหม ซึ่งฝายปกครองของเราก็จะตองเขาไป จัดการปญหาในพื้นที่ดวย ดังนั้น เพื่อเปนการเสริมสรางความอยูดีมีสุขใหแกประชาชนในพื้นที่ตามยุทธศาสตร หนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของโดยเฉพาะกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงตองไปเขาไปดําเนินการสงเสริมและสนับสนุน ศักยภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ําและปองกันปญหาการวางงานที่ อาจเกิดขึ้นอีกดวย 6) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาชนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเขากับมาตรฐาน อื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑ ระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แตละประเทศ ตองเคารพและยึดถือ ไดแก หลักประชาธิปไตยและหลักสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การปฏิบัติหนาที่ของรัฐบาล หนวยงาน ราชการ จะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวย โดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่นโดยผิด กฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิใน การศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ํานี้อยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได 7) การสื่อสารสรางความเขาใจ และการตระหนักรูใหกัประชาชนในพื้นที่
ส รุ ป : ห น า | 344
เนื่องดวย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเปนหนวยงานที่มีการทํางานในเชิงพื้นที่และเขาถึงประชาชน จัดเปนจุดเดนของฝายปกครองอยางหนึ่ง ประเด็นนี้จึงมีความสําคัญมากที่จะตองจัดใหมีการสรางความรูความเขาใจใหกับ ประชาชนในพื้นที่อยางตอเนื่องดวยการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ เพื่อกระตุนใหประชาชนเห็นความสําคัญและ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งเปาหมายที่สําคัญที่สุด ก็คือ การสรางความตระหนักรูให ประชาชนถึงผลกระทบโดยตรงและโดยออมจากการเขาเปนประชาคมอาเซียน 8) การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประชาคมอาเซียนจะกระตุนใหเกิดการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม เชน เขตเศรษฐกิจแมสอด เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารและแสวงหาประโยชนทางเศรษฐกิจ ในอนาคตเขตเศรษฐกิจพิเศษอาจมีการขยายตัว มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ ซึ่งทําให การบริหารความสัมพันธระหวางสวนกลางและสวน ภูมิภาคตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมสอดคลองกันไป ขณะเดียวกัน โอกาสในการพัฒนาไปสูเขตบริหารจัดการพิเศษ ของจังหวัดใหญ ๆ หรือการมีผูบริหารจังหวัดมาจากการเลือกตั้งก็จะไดรับแรงผลักดันดวยเหตุผลในเชิงเศรษฐกิจ และ ความสามารถในการแขงขันจากพื้นที่มากยิ่งขึ้น 9) เศรษฐกิจฐานราก ประชาคมอาเซียนยอมกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจโดยรวมตอเศรษฐกิจฐานรากทั้งทางตรงจากการคา การลงทุน และทางออมจากการทองเที่ยว และการยายถิ่นของนักลงทุนจากตางประเทศ นอกจากนี้ กลุมการผลิตระดับ ชุมชนในพื้นที่ เชน กลุม OTOP ยังสามารถไดรับประโยชน เชน การเขา ถึงตลาดและแหลงวัตถุดิบใหม ๆ การเปนหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับผูประกอบการ รวมทั้งการขยายความรวมมือแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันมากขึ้น 10) ความเหลื่อมล้ําทางสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในพื้นที่ชายแดน พื้นที่ที่เปนโรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ชุมชนจากการขยายตัวดานโลจิสติกส สามารถสงผลตอคุณภาพการพัฒนาโดยรวมนั่นคือ กอใหเกิดความเหลื่อม ล้ําทางสังคม โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบทางลบ เชน เกษตรกรที่สินคาถูกตีตลาดผูวางงาน หรื อผูไมสามารถเขาถึง โอกาสการพัฒนาได เชน บุคคลดอยโอกาส บุคคลชายขอบ เปนตน 11) ภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาราชการอาเซียน จะทวีความสําคัญในการติดตอ การจัดการและประสานงาน ระหวางรัฐกับรัฐกับประชาชน และระหวางประชาชนดวยกันภายในอาเซียน หากบุคลากรของกระทรวงมหาดไทยยังขาด ความรูและทักษะดานภาษาอังกฤษอยางเพียงพอก็ยอมสงผลตอการทํางานกับประเทศอื่น ๆ ได อันจะนํามาซึ่งการพลาด โอกาสในการสรางความรวมมือ/เก็บเกี่ยวประโยชนหรือสูญเสียผลประโยชนแหงชาติจากประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ ความรูความเขาใจภาษาของประเทศเพื่อนบาน รวมทั้งดานขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศอื่น ๆ ยอมทําให เปนโอกาสของการสรางความรวมมือกันมากขึ้น 12) การสรางความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ประชาคมอาเซียนจะทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูบริหารระดับสูงในแตละพื้นที่มีความใกลชิดตอ กันมากขึ้น ดังนั้น ในสวนกระทรวงมหาดไทยโดยเฉพาะผูวาราชการจังหวัดจะมีบทบาทหรือสวนเกี่ยวของในการสราง ความสัมพันธระหวางประเทศมากขึ้น เชน ความรวมมือระหวางเมืองพี่ เมืองนอง/เมืองคูแฝดระหวางจังหวัดของประเทศ ตาง ๆ ในอาเซียน ทําใหกระทรวงมหาดไทยตองมีการปรับทักษะความสามารถดานการตางประเทศของบุคลากรให เหมาะสมและทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน 13) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือ ประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท
ส รุ ป : ห น า | 345
ดังนั้น เมื่อประชาคมอาเซียนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเขากับ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แต ละประเทศต อ งเคารพและยึ ดถื อ ได แ ก หลัก ประชาธิป ไตยและสิ ท ธิมนุ ษยชน ดั ง นั้น การปฏิบั ติ หน า ที่ ของรัฐ บาล หนวยงานราชการจะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวยโดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ําอยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได
ขอเสนอแนะและแนวทางการแกไข แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีความใกลชิดในเชิงกายภาพ มีความสัมพันธที่ดีระหวางกัน มีความสมานฉันท ทั้งใส เชิงประชากร วัฒนธรรม และสังคมมาเปนเวลาชานาน แตดวยระบบการเมืองการปกครองที่แตกตางกัน ไดสงผลใหระบบ กฎหมาย โครงสรางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และการบังคับใชกฎหมายมีความแตกตางกัน ซึ่งแนนอนวา ยอม สงผลกระทบตออํานาจหนาที่ และการปฏิบัติงานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายอยางหลีกเลี่ยงไมได และในโอกาสที่โลก มีความเชื่อมโยงภายใตกระแสโลกาภิวัตนที่ถูกขับเคลื่อนไปดวยพลังทุนและอิท ธิพลของเทคโนโลยีการสื่อสารยอมทําให กระบวนการบังคับใชกฎหมายในปจจุบันตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อใหสามารถตามทันความซับซอนของ อาชญากรรมขามชาติที่มีการพัฒนาการทํางานอยางเปนระบบและมีเครือขายขามประเทศที่ซับซอน และขอเสนอแนะใน การแกไขปญหาและปรับปรุงระบบกฎหมายกระบวนยุติธรรมทางอาญา และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทาง อาญาของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ดังนี้ ในระดับภายในประเทศ 1) การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหวางประเทศในภูมิภาคอาเซียน ดวยกัน ยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร โดยเฉพาะในกรณีที่ประเทศไทยรองขอความชวยเหลือในทางอาญาไปยังประเทศ เพื่อนบานในภูมิภาคอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการทําสนธิสัญญา ระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือทางอาญา และการสงผูรายขามแดนในปจจุบัน ยังไมมีความครอบคลุมทุกประเทศ ทําใหไมมีพันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ หรือหากเปนการรองขอความ ชวยเหลือระหวางประเทศผานชองทางการทูตก็ไมมีความแนนอน เนื่องจาก ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชนตาง ตอบแทนเปนสําคัญ ซึ่งพบวา การกระทําผิดของประชากรที่มาจากกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียนสวนใหญจะเปนเรื่อง การหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมาย ซึ่งหนวยงานที่บังคับใชกฎหมายสามารถใชกฎหมาย ภายในของแตละประเทศที่มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิด เฉกเชน องคกรอาชญากรรมจากเอเชียหรือแถบยุโรป หรือเปนลักษณะที่ผูกระทําความผิดมาจากประเทศในแถบอื่น ๆ ของโลกมาใชประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน องคกรอาชญากรรมในคดี ฉอโกงทางคอมพิวเตอร (Call Center) กลุมผูกอการรายขามชาติหรือยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธขามชาติ เปน ตน นอกจากนี้ ความแตกตางทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมยังเปนปจจัยที่มีผลทําใหระบบกฎหมาย และระบบการ บริหารยุติธรรมของภูมิภาคอาเซียนแตกตางกัน ซึ่งนับวา เปนอุปสรรคสําคัญอีกประการหนึ่ งที่ทําใหไมสามารถยกระดับ ความรวมมือระหวางกันในทางปฏิบัติใหพัฒนาไปเทาที่ควร 2) ความไมสอดคลองระหวางหลักการกฎหมายและแนวทางปฏิบัติของหนวยงานที่บังคับใชกฎหมายในการ ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งตองอาศัยความรวมมือและความชวยเหลือระหวางประเทศเป นหลัก กลาวคือ ในทางกฎหมายผูประสานงานกลางจะเปนผูพิจารณาถึงความเหมาะสมในการใหความชวยเหลือในเรื่องทาง
ส รุ ป : ห น า | 346
อาญา และการพิจารณาสง หรือรับ คํารอ งขอให มีการส งผูรา ยขามแดนในขณะที่ฝ ายตํารวจ หรื อหนว ยงานบั งคับใช กฎหมายอื่น ๆ เชน กรมสอบสวนคดีพิเศษ จะเปนหนวยงานที่ จะตองปฏิบัติตามความเห็นของฝายอัยการที่พิจารณาให ดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด อยางไรก็ตาม แนวคิดพื้นฐานในการดําเนินการของหนวยงานเหลานี้ มักจะไมสอดคลองกัน โดยในขณะที่ฝายอัยการจะเนนไปที่กระบวนการและขั้นตอนทางกฎหมาย (due process of law) อยางเครงครัด สวน ฝายตํารวจหรือหนวยปฏิบัติการในพื้นที่จริงจะเนนไปที่ผลลัพธ หรือเปาหมายในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม (crime prevention) ซึ่งมีวัตถุประสงคจะควบคุมอัตราการเกิดอาชญากรรมเปนสําคัญ ดังนั้น แนวคิดการการปองกัน อาชญากรรมจําเปนตองสรรหามาตรการที่มีประสิทธิภาพทั้ งทางกฎหมาย และทางสังคมในการลดระดับอาชญากรรม จําเปนตองสรรหามาตรการที่มีประสิทธิภาพทั้งทางกฎหมาย และทางสังคมในการลดระดับอาชญากรรมลง ในขณะที่ แนวคิดแบบกระบวนการทางกฎหมายจะตองเกิดอาชญากรรมขึ้นมากอน จึงจะเขาไปจัดการได 3) การขาดหนว ยงานรั บผิ ด ชอบหลัก ต อ ปญ หาอาชญากรรมข ามชาติ ซึ่ งเป น ปญ หาที่มั ก พบได ในบาง ประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน อันมีสาเหตุมาจาก 1. ความไมพร อมด านโครงสร างของหน วยงานบัง คับใช กฎหมายแบบเดิมที่ไ มมีความยื ดหยุน เพียง พอที่จะเปดพื้นที่ใหหนวยงานอื่น ๆ เขาไปจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ 2. ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาความมั่นคงแบบใหม ที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิมในการจัดการได และ 3. การทํา งานแบบแยกสว นความรับ ผิ ดชอบตามภารกิ จที่ ไ ดรั บ มอบหมายของหนว ยงานบั งคั บ ใช กฎหมาย ทําใหขาดการประสานงานและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน ซึ่งพบวา ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงานที่เขามาเกี่ยวของในภารกิจที่เกี่ยวของกับอาชญากรรมขาม ชาติเปนจํานวนมาก เชน สํานักงานตํารวจคนเขาเมือง กองปราบปราม กองบังคับการปราบปรามการกระทําผิดเกี่ยวกับ การคามนุษย กองการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม กรมศุลกากร และหนวยปฏิบัติการตาง ๆ ในพื้นที่ เปนตน ในขณะ ที่อีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้โดยตรง ทําใหเกิดความไมชัดเจนกับหนวยงานที่มีหนาที่ ประสานงานจากประเทศอื่น ๆ วาควรจะประสานงานในการปฏิบัติงานรวมกับหนวยงานใด นอกจากนี้ ในอีกหลาย ประเทศยังขาดกฎหมายพิเศษที่จะใหอํานาจเจาพนักงานในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่มีเรื่องเขตแดน และหลักอธิปไตยแหงรัฐเขามาเกี่ยวของ ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนไมเกิด ประสิทธิภาพเทาที่ควร 4) ในดานของทักษะของเจาหนาที่ที่เหมาะสมตอการจัดการปญหาอาชญากรรมขามชาติ ความรูความ เขาใจดานกฎหมายอาญาและกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรมและสังคมของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีความสําคัญตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินการ ดังนั้น จึงตองยอมรับวา ภาษาและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน ยังมีความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศมีภาษาเขียนและ ภาษาพูดเปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ทําคํารองขอความชวยเหลือ จําเปนตองใชภาษากลาง ซึ่งโดยทั่วไปจะใชภาษาอังกฤษเปนหลัก ดังนั้น การสรรหาบุคลากรที่มีทักษะทั้งในดานของภาษา กฎหมาย และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศจีน จึงเปนเรื่องที่เปนปญหาของแตละประเทศพอสมควร
ในระดับระหวางประเทศและในภูมิภาค 5) การไมมีหลักกฎหมายหรือขอตกลงรวมกันของประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาล ที่จะพิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งไดมีการกระทําผิดในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณีความผิดที่เกิดขึ้นมี จุดเริ่มตนการกระทําความผิดในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําผิดตอเนื่องไปในอีกประเทศหนึ่ง และบางสวนได
ส รุ ป : ห น า | 347
ถูกกระทําผิดตอเนือ่ งไปในอีกประเทศหนึ่ง และมีความเสียหายหรือผลกระทบเกิดขึ้นในอีกประเทศหนึ่ง กรณีดังกลาวหาก มีการสืบสวนสอบสวน พบ สามารถจับกุมผูกระทําผิดได ศาลของประเทศใดควรจะมีอํานาจในการรับฟองคดีดวยเหตุผล ใด โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากความเสียหายมิไดเกิดขึ้นในประเทศที่เปนจุดเริ่ มตนของการกระทําผิด หรือการกระทําใน ลักษณะดังกลาวมิไดถูกบัญญัติไวเปนความผิดตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ เชน ความผิดฐานลักขโมยขอมูลสวนบุคคลเพื่อ นําไปใชในการฉอโกงทางอินเตอรเน็ต ความผิดฐานลักลอบคาอาวุธโดยอาศัยประเทศในภูมิภาคอาเซียนเปนทางผานใน การนําไปสูการกอการรายในอีกประเทศหนึ่ง ความผิดฐานคายาเสพติดขามชาติ ซึ่งมีการลักลอบขนผานดินแดนตั้งแตสอง ประเทศขึ้นไป เปนตน ดวยเหตุนี้ การนําเอาแนวความคิดในเรื่องอธิปไตยของรัฐแบบเขมงวดที่มุงเนนการไมแทรกแซง กิจการภายในซึ่งกันและกัน อาจจะไมกอใหเกิดประโยชนในแงของการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ หากแต ควรจะใชวิธีการสรางความรวมมือระหวางกันใหมากที่สุด และหากเปนไปไดควรมีการจัดทําอนุสัญญาของภูมิภาคเปนการ เฉพาะ เพื่อใหการบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศในดานการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่มีอยู เชน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือในเรื่องทางอาญาระหวางกันของภูมิภาคอาเซียน ค.ศ. 2004 อนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. 2000 และอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานการ ลักลอบขนยาเสพติดและสารตั้งตน สําหรับการผลิตยาเสพติดผิดกฎหมาย ค.ศ. 1988 เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุด 6) การเกิดชองวางของกฎหมายในเรื่องของการสงคนชาติกลับสูประเทศตนทาง หรือประเทศผูรองขอตาม สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน เนื่องจาก กระบวนการในการยื่นคํารองแบบเปนทางการเพื่อขอใหสงตัวผูตองหากลับไปรับ โทษดําเนินคดีในประเทศที่ความผิดเกิด จะมีขั้นตอนในการดําเนินการหลายขั้นตอน และใชระยะเวลานานพอสมควร ซึ่ง แมวา จะใชวิ ธีการยื่นคําร องขอจั บกุมชั่ วคราว ก็ยังมี ขั้นตอนตามกฎหมายหลายสวน ซึ่ งเปนป ญหาต อการบั งคับใช กฎหมายของประเทศ จึงพบวา บอยครั้งที่เจาหนาที่ตํารวจประสานงานประจําสถานทูต มักจะใชความสัมพันธแบบไมเปน ทางการในการประสานงานกับฝายตํารวจตรวจคนเขาเมือง และตํารวจทองที่เกิดเหตุในการสืบสวนจับกุมตัวของผูที่ถูก หมายจับของตางประเทศ จากนั้น จะนําตัวไปกักตัวไวที่สํานักงานตรวจคนเขาเมืองระหวางรอการยกเลิกหนังสือเดินทาง และใบอนุญาตใหเขาประเทศ (วีซา) เพื่อใหอํานาจแกเจาหนาที่ตํารวจของประเทศที่ความผิดเกิดในการรับตัวผูตองหา กลับไปดําเนินคดี ซึ่งการกระทําในลักษณะดังกลาวอยูในขายของการละเมิดสิทธิมนุษยชน และไมเปนไปตามขั้นตอนตาม กฎหมายที่ถูกตอง ดังนั้น เพื่อเปนการแกไขปญหาดังกลาว การจัดทําสัญญาสงผูรายขามแดนที่เปนลายลักษณระหวางกัน นาจะเปนทางเลือกหนึ่งที่จะทําใหกระบวนการสงคนชาติกลับสูมาตุภูมิ เพื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมเปนไปโดยถูกตอง รวดเร็ว และไมละเมิดตอกฎหมายที่มีอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งไมจําเปนตองผานกระบวนการของศาลในแตละประเทศ ตัวอยางเชน ในกรณีการจัดทําสนธิสัญญาสงผูรายขามแดน เพียงแตใหมีการจัดทําขอตกลง หรือแนวทางปฏิบัติระหวาง กันใหถูกตองวา ความผิดในลักษณะใดที่สามารถใชชองทางดังกลาวได 7) การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย ของกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียน แมวา ในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงานในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งใน ระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจ อาเซียน แตกรอบความรวมมือมีลักษณะเชิงนโยบายที่มีลักษณะหลวม ๆ เนนการกระชับความสัมพันธและการทํางาน รวมกันแบบไมเปนทางการผานการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนสวนใหญ ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑที่แนนอนตายตัวเหมือนกับ ความรวมมือ โดยใชกระบวนการทางกฎหมาย ทําใหกรอบความรวมมือที่เกิดขึ้นมีความไมแนนอนขึ้นอยูกับผลประโยชน ตางตอบแทน และนโยบายของรัฐบาลเปนสําคัญ ซึ่งแนนอนวาหากมีประเด็นเรื่องอธิปไตย และผลประโยชนแหงชาติเขา มาเกี่ยวของยอมทําใหเจตนารมณพื้นฐานในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติรวมกันอาจตองเปลี่ยนแปลง
ส รุ ป : ห น า | 348
ไป ดวยเหตุนี้ การจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเพื่อเปนกลไกการประสานความรวมมือระหวาง ประเทศในทางปฏิบัติ เชน ทีมสืบสวนสอบสวนรวมของอาเซียนในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ จึงมีสวน สําคัญที่จะทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติบังเกิดผลเปนรูปธรรมไดมากขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ 11 นอกจากนี้ นวลจันทร ทัศนชัยกุล ไดเสนอแนวทางการแกไขปราบปรามอาชญากรรมองคการ ไวดังนี้ 1. จัดตั้งคณะกรรมการหนวยงานเฉพาะกิจ ใหรับผิดชอบอาชญากรรมนี้โดยตรงเฉพาะทางคณะทํางานควร ไดรับการอบรมใหมีความรู และทักษะในการปราบปราม 2. ในการทํางานของเจาหนาที่ตํารวจ ควรเพิ่มงบประมาณที่ทันสมัยในการจัดหาเทคโนโลยีที่จะเก็บขอมูล การ ตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาก องคการนีล้ งทุนในการจัดหาอุปกรณ เพื่อประกอบอาชญากรรมสูง เจาหนาที่ของรัฐ จะตองมีเครื่องมืออุปกรณที่มีประสิทธิภาพ 3. การแกไขโดยตรากฎหมาย เพื่อความคลองตัวในการปราบปรามใหไดผลอยางจริงจัง เชน 3.1. กฎหมายการใหความคุมครองพยาน การกันบุคคลไวเปนพยาน การตอรองคํารับสารภาพ และการสง มอบทรั พ ย สิ น (ล อ ซื้ อ ) ภายใต ก ารควบคุ ม ที่ อ นุ ญ าตเป ด โอกาสให ป ระชาชนได ร อ งเรี ย นในกิ จการธุ ร กิ จ ของกลุ ม อาชญากรรมองคการ ทั้งนี้ เจาหนาที่ตํารวจตองใหความคุมครองแกผูเสียหายดวย 3.2. กฎหมายการดั ก ฟ ง การติ ด ต อ ทางโทรศั พ ท เพื่ อ เป น การติ ด ตามรวบรวมพยานหลั ก ฐานในการ ดําเนินคดี โดยมีเงื่อนไขใหคุมครองสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลตามรัฐธรรมนูญ 3.3. กฎหมายฟอกเงินควรมีมาตรการพิเศษในการตรวจสอบบัญชีเงินฝากธนาคาร การซื้อขายหุน และ สถาบันการเงินอื่น ๆ ที่จะรวบรวมหลักฐานโดยบัญญัติเพียงวา หลักฐานนั้น ควรเชื่อไดก็สามารถดําเนินคดีได 4. เจาหนาที่กระบวนการยุติธรรม คือ ตํารวจ อัยการ ศาล และราชทัณฑ จะตองทํางานดวยความซื่อสัตย มี ความรับผิดชอบตอหนาที่ที่จะตองรวมมือกันอยางจริงจังในการปราบปรามบังคับใชกฎหมายใหศักดิ์สิทธิ์ สํ า หรั บ ป ญ หาการทุ จ ริ ต คอร รั ป ชั่ น ของข า ราชการหน ว ยงานต า ง ๆ ที่ เ กี่ ยวข อ ง ในด า นการปราบปราม อาชญากรรมขามชาติมีอยูในแทบทุกวงการ เจาหนาที่ของรัฐเห็นแกประโยชนที่ไดรับ หรือมีผลประโยชนรวมกันกับกลุม ผูกระทําผิด ดังปรากฏในหนาหนังสือพิมพรายวัน มีเจาหนาที่ตํารวจจับกุมเจาหนา ที่ตํารวจจําหนาย หรือเสพยา และมี เจาหนาที่ราชทัณฑรวมรูเห็น หรือคายาเสพติดใหกับผูตองโทษ ดังนั้น การแกไขปญหาขาราชการคอรัปชั่น เริ่มตนจาก การสรรหาบุคคลที่เหมาะสม เปนผูม ีความรูความสามารถ มีประวัติพื้นฐานที่ดี โดยการตรวจสอบสืบความประพฤติ และ ผลการทดสอบจากนักจิตวิทยา แลวนําบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกเขารับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาความรู และความชํานาญ ในวิชาชีพ เรียนรูเทคนิค และวิทยาการทันสมัย ทําใหปฏิบัติหนาที่ไดอยางดี พรอมปลูกฝงสรางจิตสํานึกในหนาที่ มี จรรยาบรรณ และประพฤติปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัย ทั้งนี้ หนวยงานตองใหการสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณทันสมัย เสริมสรางขวัญ และกําลังใจขาราชการใหไดรับผลตอบแทนตามความเหมาะสม สามารถดํารงตนในสังคมอยางมีเกียรติ และศักดิ์ศรี 5. อาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมองคการ มีความสัมพันธกับอาชญากรรมขามชาติมาก ความรวมมือกัน ระหวางประเทศที่จะบังคับกับพลเมืองในการบังคับกันและกัน สมควรเรงรีบที่จะดําเนินการรวมกัน การขอความรวมมือ การจัดการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จะทําใหเกิดประโยชนในการปราบปรามแกไขตอไป 6. การจัดทําประวัติของเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรม และนักการเมือง จะเปนประโยชนในการรวบรวม หลักฐานที่มาของทรัพยสิน การฟอกเงิน การตรวจสอบที่พิจารณาถึงฐานะทางการเงิน จะชวยในสวนที่บุคคลกลุมนี้ ซึ่ง เปน “อาชญากรรมคอปกขาว” ดวย 11
นวลจันทร ทัศนชัยกุล. (2528). อาชญากรรม (การปองกัน : การควบคุม). กรุงเทพฯ : พรทิพยการพิมพ. หนา 256-257.
ส รุ ป : ห น า | 349
7. การดําเนินคดี ในการบังคับใชกฎหมายแกพวกมาเฟย ควรกระทําอยางเด็ดขาดรวดเร็ว และตองใหรับโทษ สถานหนัก การหาพยานหลักฐานเพื่อสนับสนุนการลงโทษจําเปนตองไดรับความรวมมือจากสมาชิก หรือผูใกลชิดกับ สมาชิกขององคกร ดังนั้น นอกจาก มีกฎหมายการคุมครองพยานสวนหนึ่งแลว สมควรเปลี่ยนแปลงกฎหมายพิธีพิจารณา ความอาญา โดยการยอมรับ เอาคํ าให การของพยานบุคคลในการพิ จารณาลับ (witnesses in camera) เป น พยานหลักฐานในการดําเนินคดีได และเพื่อปกปองพยานจากการเปดเผยตัว และมีความกลาจะใหการเปนปฏิปกษตอ องคกรอาชญากรรมขามชาติ 8. รัฐบาล โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยตองปรับปรุงทะเบียนราษฎร บัตรประชาชน และทะเบียน ประวัติอาชญากร ใหมีประสิทธิภาพสามารถตรวจสอบไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 9. กรมตํารวจตองพัฒนาขยายขอบขายงาน การทํางานของศูนยรับแจงเหตุ หรือขาวดวนของกรมตํารวจ ใหมี การจัดตั้งกวางขวางทั้งในสวนกลาง และสวนภูมิภาค 10.การใชมาตรการทางอาญา โดยนําวิธีการเพื่อความปลอดภัยกับคนที่เปนภัยทางสังคม เชน การหามเขาเขต กําหนด การกักกัน และการทําทัณฑบนเพื่อเปนการควบคุม ดําเนินการกับผูมีพฤติการณเปนภัยตอสังคม เพื่อเปนการเตรียมความพรอมดานการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพรอม เขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 รัฐบาลควรมียุทธศาสตรในการบริหารและพัฒนากระบวนการยุติธรรมของไทยใน 5 ดานหลัก ดังนี้ 1. การพัฒนาและปรับเปลี่ยนโครงสรางกระบวนการยุติธรรมใหเหมาะสม ในระดับภูมิภาค 1.1. รัฐ อาเซี ยนควรให การสนับ สนุ นและผลัก ดัน ให องคก รอาเซี ยนที่มี อยู ในปจจุ บัน เชน สํ านั กงาน เลขาธิการอาเซียน สํานักงานเลขาธิการตํารวจอาเซียน สํานักงานเลขาธิการดานอื่น ๆ ของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของ รวมถึงสถาบันฝกอบรมระหวางประเทศที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ ในอาเซียน เปนหนวยงานภูมิภาคหลักในการกํา หนด ผลักดัน ขับเคลื่อน และศึกษาวิจัยกระบวนการเชิงนโยบายทางอาญาของประเทศอาเซียนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจทําหนาที่เปนทั้งหนวยประสานงานดานกระบวนการยุติธรรม หรืออาจจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระดับรอง ในองคกรดังกลาว เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน 1.2. รั ฐ อาเซี ย นควรเสนอให จั ด ตั้ ง ที มปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภาคอาเซี ยน (ASEAN Investigative Team) ในลักษณะของทีมบูรณาการ อาจประกอบดวยหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจ อัยการ ศาล ศุลกากร และตรวจคนเขาเมือง โดยอาจทําเปนรูปของโครงการระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ซึ่งจําเปนตองมีการตั้งคณะทํางานเตรียมการเพื่อศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งทีมปฏิบัติการดังกลาว โดยเริ่มตั้งแต กระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะความชํานาญเฉพาะดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติการรวมการทดลอง จน นําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง โดยทีมที่ตั้งขึ้นจะเปนการบูรณาการผูเชี่ยวชาญ เชน ทีมสืบสวน ทีมสอบสวน ทีมนิติ วิทยาศาสตร ทีมเทคโนโลยี ทีมปฏิบัติการพิเศษ จากทุกประเทศที่จําเปนตอการทํางานที่เกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติ เขาดวยกัน มีการแลกเปลี่ยนและถายทอดความรูประสบการณ รวมถึงแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานระหวางกัน อยางไรก็ตาม ทีมปฏิบัติการที่ตั้งขึ้นควรไดรับการรับรองจากรัฐบาลประเทศอาเซียนอยางถูกตองตามกฎหมายภูมิภาค อาเซียนที่จะจัด ทําขึ้น โดยมีสํา นักงานเลขาธิ การอาเซียนเป นกลไกบริหารหลักเพื่อ ใหสามารถปฏิบั ติหนาที่ ไดอยา ง คลองตัว และเจาหนาที่ในทีมปฏิบัติการควรตองไดรับเอกสิทธิเทียบเทาผูแทนทางการทูตที่สามารถเดินทางเขาออก ประเทศตาง ๆ ในอาเซียน เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานในสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติโดยไมขัดตอหลักดินแดน แตอยางใด
ส รุ ป : ห น า | 350
1.3. รัฐอาเซียนควรเสนอใหมีการตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจ เพื่อศึกษาทบทวนความเปนไปไดในการจัดตั้ง องคกรกระบวนการยุติธรรมในระดับภูมิภาคของอาเซียน เชน ศาลยุติธรรม สํานักงานอัยการอาเซียน ควบคูไปกับองคกร ตํารวจอาเซียน ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นแลว เพื่อแกปญหาเรื่องเขตอํานาจศาลที่ถูกจํากัดโดยอํานาจอธิปไตยของแตละประเทศ และ ลดปญหาความแตกตางของขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศอาเซียน โดยกําหนดโครงสรางองคกร และขอบเขตอํานาจหนาที่ภารกิจใหเหมาะสมสอดคลองกับประเภทคดีที่สมควรจะนําขึ้นสูกระบวนการพิจารณาคดีในชั้น ศาลใหชัดเจน เชน เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากลบางประเด็น และคดีสงผูรายขามแดนระหวางประเทศสมาชิก เปน ตน เพื่อเปนการยกระดับหนวยงานบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับกฎหมายภูมิภาคที่มีอยู แลว เชน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกัน และกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 และอาจมีการ พัฒนาขึ้นใหมในอนาคต โดยอาจนําตัวแบบของกระบวนการยุติธรรมและศาลยุติธรรมของสหภาพยุโรปมาใชเปนแนวทาง ในการจัดโครงสรางองคกรและแนวทางการปฏิบัติงาน ในระดับประเทศ 1.4. รัฐจะตองบูรณาการหนวยงานดานตาง ๆ ของรัฐ เพื่อรับผิดชอบภารกิจในการตอสูกับอาชญากรรม ขามชาติ เนื่องจาก ในปจจุบันหนวยงานบังคับใชกฎหมายของประเทศอาเซียน มีความแตกตางกันคอนขางมาก บาง ประเทศใหอํานาจกับตํารวจมาก โดยสืบสวนสอบสวนจับกุม และฟองรองดําเนินคดี เชน เมียนมาร เวียดนาม บาง ประเทศตองการใหมีการถวงดุลอํานาจระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกัน เชน ไทย สปป.ลาว และฟลิปปนส ซึ่ง สวนใหญยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานที่มีภารกิจที่เกี่ยวของกับอาชญากรรมขามชาติโดยตรง ในขณะที่การทับซอนกันในเชิง ภารกิจระหวางหนวยงานยังคงเปนปญหาในอีกหลายประเทศ อันเนื่องมาจากยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานเฉพาะหรือหนวย ประสานงานกลางขึ้นมารับผิดชอบกํากับดูแล ดังนั้น เพื่อใหการประสานความรวมมือกับตางประเทศมีความเปนเอกภาพ มากขึ้น รัฐควรกําหนดภารกิจในการจัดการปญหาอาชญากรรมขามชาติใหชัดเจน และจัดโครงสรางหนวยงานขึ้นมา รองรับภารกิจดังกลาว โดยอาจเปนการบูรณาการหนวยงานที่มีอยูโดยอาจมอบหมายใหกระทรวงยุติธรรมเปนหนวย ประสานงานกลาง เพื่อประสานการทํางานระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายใหเกิดความคลองตัวมากขึ้น เพื่อให สอดคลองกับรางพระราชบัญญัติปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. .... ที่อยูระหวาง การพิจารณาของรัฐสภาและคาดวา จะมีผลใชบังคับในอนาคตอันใกล สําหรับตัวแบบที่นาสนใจสําหรับการบูรณาการ หนวยงานดานความมั่นคงอาจใชรูปแบบของกระทรวงกิจการภายใน (Department of Home Land Security) ของ สหรัฐอเมริกา หรือการจัดตั้งหนวยอาชญากรรมรายแรง (Serious Organized Crime Agency; SOCA) ที่เปนการบูรณา การหนวยงานยุติธรรมของสหราชอาณาจักร ไดแก ตํารวจ ศุลกากร ตรวจคนเขาเมือง เขามาทํางานรวมกัน 2. การพัฒนากฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และระบบการบริหารจัดการ ในระดับภูมิภาค 2.1. รัฐอาเซียนควรกําหนดใหมีมาตรการทางกฎหมายรวมกันในหลากหลายมิติอยางเหมาะสมทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ เพื่อรองรับการขยายตัวของภูมิภาคอาเซียน เชน มาตรการทางกฎหมายการ ฟอกเงิน มาตรการตอตานการกอการราย มาตรการสงเสริมสิทธิมนุษยชนอาเซียน มาตรการทางกฎหมายตอผูตองหาและ เหยื่อจากการคามนุษย เปนตน แมวา ในปจจุบันการกระทําผิดของอาชญากรรมที่เปนคนตางชาติและเดินทางมาจาก ประเทศในภูมิภาคอาเซียนดวยกันจะยังมีไมมาก และรูปแบบความผิดอาจไมซับซอนมาก อยางไรก็ตาม เปนที่คาดหมาย ไดวา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว ประชากรจากทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะหลั่งไหลเขาและออกจากประเทศ ไทย และจากประเทศไทยไปสูประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนมากขึ้น อันเนื่องมาจากนโยบายเปดรับและอํานวยความสะดวก แกเพื่อนบาน ดังนั้น การกําหนดใหมีอนุสัญญาของอาเซียนวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือแนวทางปฏิบัติที่ดี
ส รุ ป : ห น า | 351
ที่สุดดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียนเชนเดียวกับกฎหมายของภูมิภาคอื่น เชน อนุสัญญาสหภาพยุโรปวา ดวยการสงผูรายขามแดน ค.ศ. 1957 และอนุสัญญาสหภาพยุโรปวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา ค.ศ. 1959 ที่วางหลักเกณฑใหแตละประเทศถือปฏิบัติรวมกันแบบกวาง ๆ เป นกลาง และไมยึดติดกับเรื่องของชาติพันธุ วัฒนธรรม ควรมีสาระสําคัญประกอบดวย บททั่วไป ความผิดอาญาที่จะใชกฎหมายดังกลาว หนวยงานบังคับใชกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศ บทยกเวนและอื่น ๆ เกี่ยวของนาจะเปนแนวทางหนึ่งที่จะ ทําใหการบั งคับใชกฎหมายและการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคมีมาตรฐานใกลเคียงกันและมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.2. รัฐอาเซียนควรสงเสริมผลักดันใหประเทศสมาชิกใชเครื่องมือ และระบบการบริหารจัดการคดีระหวาง ประเทศที่มีอยู เชน ระบบหมายจับและระบบฐานขอมูลหลักฐานขององคการตํารวจสากล ระบบฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ซึ่งเกี่ยวของกับฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติหลายประเภท ไดแก การกอการราย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การคา มนุษย การฉอโกงขามชาติ การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรมคอมพิวเตอร อาชญากรรมเศรษฐกิจและการเงิน และ อาชญากรรมสิง่ แวดลอม มาใชในการปฏิบัติงานและสามารถใชขอมูลจากฐานดังกลาวเปนแนวทางในการสืบสวนสอบสวน อาชญากรรมขามชาติและในภูมิภาค และควรไดรับการยอมรับใหสามารถใชเปนพยานหลักฐานในชั้นศาลของแตละ ประเทศไดดวย 2.3. รัฐอาเซียนควรเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใชกฎระเบียบที่เกี่ยวของดานอื่น ๆ เชน ดานมาตรฐาน คุณภาพและความปลอดภัยของสินคาและบริการ การปรับปรุงกฎหมายระเบียบและขอบังคับที่เกี่ยวของโดยที่ครอบคลุม ถึงคุณภาพการใหบริการของหนวยงานภาครัฐ การเพิ่มชองทางการเขาถึงขอมูลและองคความรูเกี่ยวกับสิทธิและการ คุมครองสิทธิรวมถึงชองทางการรับขอรองเรียน พรอมทั้งปรับปรุงกลไกเฝาระวังคุณภาพมาตรฐาน การตรวจสอบและ ติดตามความคืบหนาของการดําเนินการจากการรองเรียน การเพิ่มสมรรถนะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการมี สวนรวมของประชาชนในการคุมครองสิทธิผูบริโภค สรางความตระหนักของผูบริโภคในการรักษาสิทธิและดูแลผลกระทบ จากการใชสินคาและบริการ ควบคูไปกับการกระตุนจิตสํานึก ความรับผิดชอบตอสังคมและภาคธุรกิจเอกชน เพื่อการ พัฒนามาตรฐานระบบการคุมครองผูบริโภค เพื่อการคุมครองภายในประเทศและรองรับการเคลื่อนยายสินคา บริการ และ ขอมูลขาวสารอยางเสรีในประชาคมอาเซียน ในระดับประเทศ 2.4. รัฐควรกําหนดใหปญหาอาชญากรรมขามชาติเปนวาระแหงชาติ ซึ่งมีความสําคัญตอการกําหนดแนว ทางการปองกันอาชญากรรมขามชาติในอนาคตของภูมิภาคอาเซียน เพราะมีผลกระทบตอการจัดองคกรบังคับใชกฎหมาย และการจัดสรรงบประมาณของภาครัฐเพื่อบรรลุเป าหมายที่วางไว รัฐบาลของแตละประเทศจะเปนหนวยสําคัญที่จะ กําหนดวาปญหาสาธารณะใดสมควรจะไดรับการแกไขกอนหรือหลัง ซึ่งยอมผูกพันตอการใชงบประมาณและการระดม สรรพกําลัง โดยใหหนวยราชการทุกกระทรวง ทบวง กรมใหความสําคัญกับเรื่องดังกลาว และประสานงานในเชิงนโยบาย ใหสอดคลองตองกัน 2.5. รัฐควรตั้งคณะกรรมการพิจารณาทบทวนแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาโดยประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศ หรือ ภูมิภาคที่มีอยูในปจจุบันหรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตในการเขาสูประชาคมอาเซียน เชน การแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของ ใหสอดคลองกับสนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องทางอาญาของอาเซียน การยกรางกฎหมายปองกัน ปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมใหรองรับการเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยอาชญากรรม ขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ซึ่งทั้งสองกรณีสํานักงานอัยการสูงสุดเปนเจาภาพและอยูระหวางดําเนินการและการ
ส รุ ป : ห น า | 352
ปรับปรุงแกไขกฎหมายใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศในเรื่องตาง ๆ ที่ประเทศไทยจะเขาเปนภาคี ซึ่งอาจมี ผลกระทบตอการรวมตัวเปนภูมิภาคอาเซียน เชน พิธีสารเพื่อการตอตานการลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐานโดยทางบก ทาง ทะเล และทางอากาศ และพิธีสารเพื่อตอตานการลักลอบผลิตและคาอาวุธโดยผิดกฎหมาย เปนตน 2.6. รัฐควรเปดโอกาสใหองคกรนอกรัฐและองคกรที่ไมแสวงหาผลกําไรที่เกี่ยวของ เชน สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ องคกรกาชาดสากล องคกรสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ มูลนิธิเพื่อนหญิง ฯลฯ ไดเขามามีสวน รวม และบทบาทในการปฏิบัติงานเพื่อชวยเหลือ ผูเสียหาย และผูตองหาที่เปนคนชาติตามสิทธิมนุษยชนสากล และ บทบัญญัติของกฎหมายภายในของแตละประเทศตามสมควร เพื่อเปดพื้นที่ในการใหทุกภาคสวนไดเขามามีสวนรวมในการ แกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางจริงจังและเต็มที่ นอกจากนี้ หนวยงานบังคับใชกฎหมายทั้งในระดับนโยบาย และ ปฏิบัติ เชน ศาล อัยการ ตํารวจ ราชทัณฑ และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ควรจะตองกําหนดนโยบายทางอาญาใหสอด ประสานกับนโยบายทางอาญาของประเทศ โดยยึดหลักกระบวนการยุติธรรมสากล โดยเปดโอกาสใหประชาชนเขามามี สวนรวมในกระบวนการยุติธรรมทางอาญามากขึ้น เชน การสรางระบบชวยเหลือประชาชนทางกฎหมายของภูมิภาค อาเซียน การจัดตั้งกองทุนใหความชวยเหลือตามแนวทางของกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อใหชุมชนเข ามารวมรับผิดชอบมาก ขึ้น 2.7. รัฐควรจะจัดทํานโยบายและแผนการพัฒนาประชาคมอาเซียนดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา รวมกัน เชน การเคลื่อนยายแรงงาน การสงกลับคนเขาเมืองผิดกฎหมาย การปฏิบัติตอเด็กและสตรี เปนตน โดยอาจเปน ลักษณะของการทําขอตกลง (Memorandum of Understanding) ธรรมเนียมการปฏิบัติ (Code of conduct) หรือ แนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practices) เชน การปฏิบัติตอคนตางชาติเมื่อเขาสูการดําเนินคดีอาญาของอาเซียน ทั้งนี้ ในชวงเริ่มตนอาจจะประสานงานเพื่อขอรับการสนับสนุนบุคลากร และเครื่องมือจากประเทศในกลุมภูมิ ภาคอื่น ๆ หรือองคการระหวางประเทศที่มีประสบการณมากอน เชน สหภาพยุโรป สหประชาชาติ องคการตํารวจสากล เปนตน
3. การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรรัฐ ในระดับภูมิภาค 3.1. รัฐอาเซียนควรจัดเตรียมบุคลากรหนวยงานบังคับใชกฎหมายโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการสืบสวน สอบสวนและประสานงานทางคดีใหมีความรูในลักษณะสหวิทยาการ ประกอบดวย กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย บัญญัติ และวิธีสหบัญญัติทางอาญา การสืบสวนสอบสวนคดี และการใชภาษาตางประเทศอีกอยางนอยสองภาษาโดยมี ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาพื้ น ฐาน เพื่ อ เข า ร ว มในที ม ปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภ าคอาเซี ย น (ASEAN Investigative Team) โดยอาจทําเปนรูปของโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคม อาเซียน โดยอาจแบงเปนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยอาจจัดตั้งเปนคณะกรรมการเตรียมการเพื่อศึกษาความ เปนไปไดในการจัดตั้งทีมปฏิบัติการดังกลาว โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะความชํานาญเฉพาะ ดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติการรวม การทดลอง จนนําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง โดยทีมที่ตั้งขึ้นจะเปนการ บูรณาการผูเชี่ยวชาญ เชน ทีมสืบสวน ทีมสอบสวน ทีมนิติวิทยาศาสตร ทีมเทคโนโลยี ทีมปฏิบัติการพิเศษ จากทุก ประเทศที่ จํ า เป น ต อ การทํ า งานที่ เ กี่ ยวกั บ อาชญากรรมข ามชาติ เ ข า ด ว ยกั น มี ก ารแลกเปลี่ ยนและถ า ยทอดความรู
ส รุ ป : ห น า | 353
ประสบการณ รวมถึงแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานระหวางกัน ซึ่งหากไดรับการยอมรับเปนมติของผูนําอาเซียนแลว ทีมปฏิบัติการรวมดังกลาวควรตองไดรับเอกสิทธิเทียบเทาผูแทนทางการทูตที่สามารถเดินทางเขาออกประเทศตาง ๆ ใน อาเซียน เพื่อปฏิบัติงานในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติโดยไมขัดตอหลักดินแดนแตอยางใด 3.2. รัฐ อาเซี ยนควรสง เสริมใหมี เจ าหน าที่ ตํา รวจประสานงานประจํ าสถานทูต ในแต ล ะประเทศเพื่ อ ประโยชนในการประสานงานทางคดี โดยเฉพาะอาชญากรรมขามชาติที่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียน และที่ใชกลุมประเทศ อาเซียนเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด โดยที่ประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ไดยอมรับถึงความสําคัญและ ความจําเปนของการมีเจาหนาที่ตํารวจประสานงานประจําในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกและให ความชวยเหลือกับหนวยงานบังคับใชกฎหมายในประเทศสมาชิก ซึ่งปจจุบันไดมีการดําเนินการในบางประเทศ เชน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สวนกัมพูชาและไทยกําลังอยูระหวางการไดรับอนุมัติจากรัฐบาล โดยคาดวาสํานักงานตํารวจ แหงชาติของไทย จะสามารถสงเจาหนาที่ตํารวจไปประจําการในชวงแรกไดใน 4 ประเทศ ไดแก จีน กัมพูชา สปป.ลาว และเมี ย นม า ร เมื่ อ ได รั บ ความเห็ น ชอบตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ทั้ ง นี้ ไม นั บ รวมสหพั น ธ รั ฐ มาเลเซี ย ที่ มี เ จ า หน า ที่ ตํารวจสันติบาลประจําการอยูแลว ดังนั้น รัฐอาเซียนจึงควรมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรเพื่อเตรียมการและดําเนินการใน เรื่องดังกลาวอยางเรงดวน ในระดับประเทศ 3.3. รัฐตองมีแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ เพื่อเตรียมบุคลากรในหนวยงาน ราชการตาง ๆ ใหพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนทั้งในเชิงระบบบริหารงานบุคคล และศักยภาพของบุคคล เชน การ เตรียมความพรอมในดานภาษาตางประเทศใหแกขาราชการ การฝกอบรมใหขาราชการในทุกกระทรวง ทบวง กรม เขาใจ ตอกฎหมาย และระเบียบของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับหนวยงานของตน และหนวยงานกระบวนการยุติธรรมที่ เกี่ยวของเทานั้น หากแตตองอาศัยความรวมมือทุกภาคสวนทั้งสถาบันการศึกษา สังคม และครอบครัวในการชวยกลอม เกลา และสรางทรัพยากรมนุษยใหมีความพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนดวย 3.4. รัฐควรเรงสรางความตระหนักรูใ หเกิดกับ ประชาชนโดยเฉพาะที่เกี่ ยวของกั บสิทธิมนุ ษยชนของ พลเมืองอาเซียนตามปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ขั้นตอนการดําเนินคดีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของ ประเทศอาเซียนที่มีความแตกตางกัน สิทธิของผูตองหาและผูเสียหาย เมื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมของประเทศตาง ๆ ในอาเซียน และการขอความชวยเหลือจากรัฐของตนเอง เพื่อใหทราบวาหากมีกรณีที่จะตองเขาสูกระบวนการยุติธรรมของ ประเทศเหลานั้น จะตองปฏิบัติอยางไร เชน รูปแบบและวิธีการประสานงานกับหนวยงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย เมื่อตองเขาไปเกี่ยวของกับคดีอาญาในประเทศอาเซียน รวมตลอดถึงการใหความรูความเขาใจตอ วัฒนธรรมประเพณีที่แตกตางของอาเซียนที่จะชวยลดความขัดแยงที่อาจนําไปสูการฟองรองดําเนินคดีอาญา 4. การพัฒนาและสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศ 4.1. รัฐควรสงเสริมการพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใหความสําคัญตอความรวมมือและการใหความชวยเหลือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญาเพิ่มมากขึ้น และแสดงใหเห็นถึงความจริงใจที่จะใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันบนหลักปฏิบัติตางตอบ แทน ซึ่งสามารถกระทําไดทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ตัวอยางเชน การจัดทําแผนแมบทของกระทรวงยุติธรรม เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ไดแก การจัดตั้งหนวยงาน เฉพาะขึ้นมา เพื่อรับผิดชอบในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการแกไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ เชน การแกไขกฎหมายอาญาใหครอบคลุมถึงความผิดในลักษณะตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขามชาติไมวา จะกระทําภายในหรือภายนอกประเทศ ความผิดในลักษณะขององคกรอาชญากรรมขามชาติ การแกไขกฎหมายวิ ธี
ส รุ ป : ห น า | 354
พิจารณาความอาญาใหขยายอํานาจใหเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของในการสืบสวนสอบสวนคดีที่มีลัก ษณะขาม ชาติ การแกไขพระราชบัญญัติความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาใหครอบคลุมการรวบรวมพยานหลักฐานที่ ไดมาโดยการปฏิบัติของทีมสืบสวนสอบสวนรวมของอาเซียน ซึ่งเปนการดําเนินการนอกประเทศ หลักฐานขอมูลตํารวจ อาเซียนและองคการตํารวจสากล และหลักฐานที่ไดจากการรวบรวมโดยเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูต เปนตน ควร ไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางเปนทางการของประเทศอาเซียนดวย 4.2. รัฐควรสงเสริมการเรียนรูในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศสมาชิกอาเซียนระหวาง หนวยงานบังคับใชกฎหมายรวมกัน เชน การจัดทําระบบฐานขอมูลกฎหมายระหวางประเทศ และกฎหมายอาญาและวิธี พิจารณาทางอาญาของอาเซียน การสงเสริมใหมีสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียนใน สถาบันการศึกษาตาง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและขาราชการที่จะลาไปศึกษาตอในสาขา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา นิติศาสตร รัฐศาสตร และอื่น ๆ ระหวางประเทศอาเซียนดวยกันในรูปแบบของทุนพัฒนา ขาราชการ หรือทุนการศึกษาตอตางประเทศ เปนตน 4.3. รัฐอาเซียนควรส งเสริมการพัฒนาความรว มมือในประชาคมอาเซียนในดานตาง ๆ โดยเฉพาะที่ เกี่ยวของกับการทองเที่ยว พิธีการเขาเมือง และการเคลื่อนยายแรงงานเขาสูประเทศไทยทั้งที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย ภายใตกรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยอาจมีการทําขอตกลงยอมรับรวมกันในคุณสมบัติวิชาชีพ เพื่อใหมีการ เคลื่อนยายแรงงานมีผีมือ 7 สาขาที่ขาดแคลน ไดแก บริการวิศวกรรม พยาบาล สถาปตยกรรม วิชาชีพสํารวจ แพทย ทันตแพทย และนักบัญชี โดยอาจมีขอตกลงยอมรับคุณสมบัติวิชาชีพระหวางกันในสาขาอื่น ๆ รวมถึงแรงงานกึ่งทักษะ ฝมือ ซึ่งนอกจากจะทําใหเกิดความรวมมือภายในภูมิภาคแลว ยังชวยทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรมประเพณี ในแตละสาขาอาชีพระหวางกันอีกดวย 5. การพัฒนาดานอื่น ๆ 5.1. ประเทศไทยควรเปดพื้นที่ในเรื่องสิทธิมนุษยชนใหมากขึ้น โดยขยายใหครอบคลุมถึงสิทธิพื้นฐานบาง ประการที่คนชาติในอาเซียนสมควรจะไดรับดวย เชน สิทธิในทรัพยสิน สิทธิในการประกอบอาชีพ หลักประกันสุขภาพ การประกันสังคม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม เปนตน รวมถึงการสงเสริมการรวมตัวเปนชุมชนของประชาชนใน อาเซียน เชน ชุมชนของคนเวียดนาม ชุมชนของคนเมียนมาร ชุมชนของคนลาว เปนตน เพื่อใหงายตอการควบคุมดู แล และบั ง คั บ ใช ก ฎระเบี ย บบางอย า งเป น การเฉพาะกลุ ม ได อ ย า งเหมาะสม และไม ก ระทบต อ คนไทยโดยทั่ ว ไป ใน ขณะเดียวกัน ก็เปนการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นเมืองของคนชาติเหลานั้น อันจะเปนประโยชนตอการเรียนรูและแลกเปลี่ยน ระหวางกันในประเทศไทยอีกดวย 5.2. ประเทศไทยควรตองตระหนักถึงกรณีขอพิพาทระหวางคนชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในกรณี ของบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลตางดาว ที่จะใชสิทธิในกระบวนการยุติธรรมในการฟองรองหรือถูกฟองในศาลไทย ไมวา ในคดีแพง คดีอาญา คดีภาษี คดีแรงงาน คดีสิ่งแวดลอม หรือคดีสิทธิมนุษยชน รวมถึงกรณีที่ทรัพยพิพาทตั้งอยูในประเทศ ไทย ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือกฎหมายวิธีพิจารณา ความปกครอง และเปนเรื่องที่ศาลตองนําพระราชบัญญัติวาดวยกฎหมายขัดกัน พ.ศ. 2481 มาใชในการพิจารณาคดีที่มี องคประกอบตางประเทศ 5.3. ประเทศไทยควรมีการศึกษาในเรื่องคําพิพากษาของประเทศสมาชิกอื่น ๆ โดยเฉพาะประเด็ นเรื่อง เขตอํานาจศาลในการพิจารณาคดีที่มีองคประกอบระหวางประเทศ ซึ่งศาลของประเทศสมาชิกอื่น ๆ ไดพิพากษาเสร็จ เด็ดขาดแลว และคูความในคดีตองการนําคําพิพากษาของศาลประเทศสมาชิกนั้น มาใหศาลไทยรับรองและบังคับตามคํา พิพากษาในประเทศไทย ศาลไทยจะรับรองและบังคับของศาลตา งประเทศอยางไร ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับกฎหมาย
ส รุ ป : ห น า | 355
ระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ซึ่งสามารถนําไปสูการทําความตกลงระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนวาดวยการรับรอง และบังคับตามคําพิพากษาของศาลตางประเทศในอนาคต 5.4. การเผยแพรความรูและสรางความตระหนักรูใหเกิดขึ้นกับประชาชนในภูมิภาคอาเซียน และจาก ภูมิภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการกระทําที่เขาลักษณะความผิดตามกฎหมายอาญาทั่วไป และขั้นตอนการ ดําเนินการตามแนวทางของกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน เพื่อใหประชาชนไดทราบ และถือปฏิบัติไดถูกตองเมื่อตองไปพํานักอยูทั้งชั่วคราวและถาวร เพื่อประกอบอาชีพและธุรกิจตาง ๆ ซึ่งสามารถอาศัย ชองสื่อตาง ๆ และกลไกอาเซียนที่มีอยู เชน สํานักงานเลขาธิการอาเซียน สถานเอกอัครราชทูต และสถานกงสุลที่มีอยู ตามประเทศตาง ๆ รวมตลอดถึงสํานักงานเจาหนาที่ตํารวจประสานงานประจําสถานทูต เปน ตัวกลางในการเผยแพร ขอมูลใหประชาชนไดรับทราบ 5.5. ผลกระทบดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับกฎหมายไทย การดําเนินการตาง ๆ ของประเทศไทย จะบรรลุสําเร็จไดตองไดรับความรวมมือในการปฏิบัติงานของ องคกรภายในของประเทศไทยทุกฝาย ทั้งองคกรฝายนิติบัญญัติที่ทําหนาที่ในการตรากฎหมายรองรับนิติสัมพันธที่เกิดขึ้น ระหวางประเทศไทยกับประเทศสมาชิกอื่น ๆ ฝายบริหาร ทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น ในการบังคับใช กฎหมายใหถูกตองและมีประสิทธิภาพ และฝายตุลาการ ในการชี้ขาดขอพิพาทที่มีองคประกอบระหวางประเทศไดอยาง ถูกตองและเปนธรรมได รวมถึงการรับรองและบังคับตามคําพิพากษาของศาลประเทศสมาชิกอื่น ๆ ในประเทศไทยอยาง เปนระบบและมีประสิทธิภาพ การทํางานของทุกฝายตองปรับตัวในการทํางานรวมกันอยางเปนระบบที่สอดคลองกันเปน หนึ่งเดียว และที่สําคัญที่สุด ใน ป พ.ศ. 2557 นี้ ประเทศไทยไดถูกจัดอันดับโดยประเทศสหรัฐอเมริกาในรายงาน สถานการณการคามนุษยประจําป ใหอยูในลําดับที่ 3 (Tier 3) ซึ่งเปนลําดับสําหรับประเทศที่มีมาตรการการแกไขปญหา การคามนุษยที่ต่ํากวามาตรฐานระดับแยที่สุด โดยกอนหนาที่ประเทศไทยจะถูกจัดใหอยูลําดับที่ 3 ประเทศสหรัฐฯ ได กลาวไวในรายงานวาประเทศไทยควรตองปรับปรุงการคัดแยกและการคุมครองผูเสียหายหรือผูอาจเปนผูเสียหายจาก การคามนุษยเนื่องจากยังมีผูเสียหาย หรือผูอาจเปนผูเสียหายจํานวนหนึ่งถูกดําเนินคดีฐานลักลอบเขาเมือง ทั้งที่ประเทศ ไทยไดมีพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ซึ่งกฎหมายภายในที่ใชเพื่อคุมครองผูเสียหาย จากการคามนุษยไวเปนการเฉพาะแลวเปนเวลากวา 6 ป และนอกจากนี้ ขอเท็จจริงปรากฏวาแทจริงแลวขอแตกตาง ระหวางการลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐานและการคามนุษยอาจแยกออกจากกันไดอยางชัดเจนในทางทฤษฎี แตในทาง I12 ปฏิบัติแลว “การลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐาน” อาจกลายสภาพไปเปนการ “แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ” ตอตัวผู โยกยายถิ่นฐาน ไดทุกเมื่อหากมีพฤติการณที่ “บังคับ” อันเปนองคประกอบที่ทําใหการคามนุษยมีความแตกตางจาก ลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐาน การใชและการตีความกฎหมายอาญาที่มุงประสงคแตการปราบปรามการปลอมและการใช หนั ง สื อ เดิ น ทางปลอมต อ ตั ว ผู โ ยกย า ยถิ่ น ฐาน โดยมิ ไ ด พิ จารณาถึ ง มิ ติ ข องการ “คุ มครองผู เ สี ยหายจากขบวนการ อาชญากรรมขามชาติ” และ “การปองกันขบวนการอาชญากรรมขามชาติ” อยางเปนระบบซึ่งอาจเกี่ยวเนื่องหรือเปนกลุม 12
Achara Ashayagachat (27 March 2014). “Refugees Thwarted En Route to Sweden.” Bangkok Post (Online). Retrieved from http://m.bangkokpost.com/topstories/402116. [Accessed 25 July 2014]., Paritta Wangkiat (11 July 2014). “LCT Calls for Action on Trafficking Gangs.” Bangkok Post (Online). Retrieved from http://www.bangkokpost.com/news/local/419960/lctcalls-for-action-on-trafficking-gangs. [Accessed 27 July 2014]., Kohnwilai Teppunkoonngam (24 April 2014). “‘Don’t Lose Hope’ – Law, Policy and Syrian Refugees in Thailand.” Prachathai (Online). Retrieved from http://www.prachatai.com/ english/node/3935. [Accessed 25 July 2014]. และ กรวิไล เทพพันธกุลงาม (2557). “ผูลี้ภัยทางอากาศจากซีเรีย : เหยื่อขบวนการคามนุษย ในรูปแบบใหม,” ThaiNGO.Org (ออนไลน). แหลงที่มาhttp://www.thaingo.org/thaingo/node/2812. [สืบคน 25 ก.ค. 2557].
ส รุ ป : ห น า | 356
เดียวกันกับขบวนการคามนุษยก็ยิ่งอาจทําใหประเทศไทยไมสามารถรักษาความมั่นคงภายในรัฐและอาจถูกโจมตีโดยสังคม ระหวางประเทศ กลับกลายเปนวาขัดตอเจตนารมณแหงกฎหมายของพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ 18) พ.ศ.2550 ฐานปลอมหนังสือเดินทางเสียอีก
อางอิงทายบท I
เชนการหลอกใหผูโยกยายถิ่นฐาน ซึ่งเปนผูลี้ภัย มอบตัวบุตรใหแกนายหนาในประเทศไทยในระหวางที่ถูกจับกุมตัว และ ดําเนินคดีเพื่อขูดรีดเงินจากผูโยกยายถิ่นฐานและญาติเปนคาเลี้ยงดูและคาใชจายอื่น ๆ ในทุกขั้นตอนของกระบวนการทาง กฎหมาย เปนตน
บรรณานุ ก รม ภาษาไทย กองอาเซียน กรมอาเซียน, 2548. กรุงเทพฯ : กระทรวงการตางประเทศ. กองอาเซียน กรมอาเซียน, 2522. กรุงเทพฯ : กระทรวงการตางประเทศ. กรมอาเซียน กองอาเซียน 1. (2554). “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.” ASEAN Highlights 2011, กรุงเทพฯ : กระทรวงการตางประเทศ. กรมอาเซียน. (2553). แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ. (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. กองเกียรติ อภัยวงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติใน ประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการ ยุติธรรม. การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ ที่จัดตั้งในลักษณะองคกร และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปรามและลงโทษ การคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็กเสริ มอนุสัญญาฯ. กระทรวงการตางประเทศ. วันที่ 20 ตุล าคม 2556. ออนไลน. วั นที่ คน ขอ มูล 1 มิ ถุ นายน 2557. ไดจ าก http://www.mfa.go.th/main/th/mediacenter/14/40175-การเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญา.html. กฤตยา อาชวนิจกุล, (2545). สถานะความรูเรื่องแรงงานขามชาติในประเทศไทยและทิศทางการวิจัยที่พึงพิจารณา. (นครปฐม :สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล), หนา 49. กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ. (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. หนา 1-44. กองเกียรติ อภัย วงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. (2549). รายงานผลจัดการสัมมนาระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับความ มั่นคงของมนุษย : จุดยืนและกาวตอไป ระหวางวันที่ 8 -9 พฤษภาคม 2549. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย . (2555). มาตรฐานความมั่นคงของมนุษย (Human Security Standards). กรุงเทพฯ: โรงพิมพเทพเพ็ญวานิสย. เกชา สุขรมย. พ.ต.ท. สัมภาษณเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2556 ณฺ กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ. เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. (2554). จะสรางสังคมที่เปนธรรม ตองกา วขามแนวคิดการ “สงเคราะห”. กรุงเทพธุรกิจ 24 กุมภาพันธ 2554. กิตติพงษ จันทรสมบูรณ, ร.น. (ม.ป.ป.). อนาคตภาพของประชาคมอาเซียน. วันที่คนขอมูล 25 มิถุนายน 2557. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://dtad.dti.or.th/images/stories/pdf/prepareasean.pdf. กรวิไล เทพพันธกุลงาม (2557). “ผูลี้ภัยทางอากาศจากซีเรีย : เหยื่อขบวนการคามนุษยในรูปแบบใหม ,” ThaiNGO.Org (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.thaingo.org/thaingo/node/2812. วันที่คนขอมูล 25 กรกฎาคม 2557.
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ห น า | 359 คมกริช ดุลยพิทักษ. (ม.ป.ป.) ปญหาการดําเนินคดีองคกรอาชญากรรมขามชาติ ในประเทศไทย. วันที่คนขอมูล 1 ตุลาคม 2556. จอม สิงหนอย, พ.ต.ท. สัมภาษณเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ณ กองบังคับการปราบปราม กองบัญชาการตํารวจสอบสวน กลาง. ชิตพล กาญจนกิจ . (2556). ความรวมมือระหวางประเทศวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอาเซียน : ขอเสนอเชิง ยุทธศาสตรเพื่อการ เตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน. (กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร). ชลทิศ นาวานุเคราะห, นาวาเอก, (2552). “กองทัพเรือกับความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล” เอกสารประจําภาค, วิทยาลัยการทัพเรือ. โชติรส โชคสวัสดิ์ , (2549). มาตรการคุมครองผูที่ตกเปนเหยื่อจากการคามนุษยตามพิธีสารเพิ่มเติมวาดวยการปองกัน ปราบปรามและลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะผูหญิง และเด็ก : ผลกระทบตอการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเขาเปน ภาคี, (วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย). ชัยโชค จุลศิริวงศ, (2546). การทหารของประเทศกลุมอาเซียน. เอกสารประกอบการบรรยาย ณ วิทยาลัยการทัพเรือ สถาบัน วิชาการทหารเรือชั้นสูง. กรุงเทพฯ : สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง. ณัฐ ญา เนตรหนิ . (6 กั น ยายน 2555). คลัง เดิ น หน า จั ด เก็ บ ภาษี สิ่ ง แวดล อ ม-ปรั บ โครงสร า งภาษี ร ถประหยั ด พลั ง งาน. หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ Than Online เขาถึงไดจาก http://www.thannews.th.com/index.php?option= com_content&view=article&id=140624&catid= 176&Itemid=524 วันที่คนขอมูล 19 สิงหาคม 2557. ทรงพล พันธุวิชาติกุล, ความผิดฐานคามนุษยตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะ องคกร ค.ศ. 2000 และผลกระทบหากประเทศไทยเขาเปนภาคี (กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547), หนา 36. ธรรมรักษ การพิดิษฐ. (2543). วิสัยทัศนการวางแผนพัฒนาประเทศในสหัสวรรษหนา.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพชรรุงการพิมพ. นิรมล สุธรรมกิจ และคณะ. (2556). รายงานความกาวหนาโครงการการเปรียบเทียบมาตรการดานสิ่งแวดลอมของสมาชิก ประเทศอาเซียน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. นิรนาม-ข. (2547). ความมั่นคงของมนุษย : (2) ยุทธศาสตรใหมการพัฒนา, บทความพิเศษ โครงการขาวสารทิศทางประเทศ ไทย มติชนสุดสัปดาหวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ป ที่ 25 ฉบับที่ 1263. นวลนอย ตรีรัตน . (2548). รายงานการวิจัย สภาพความรุนแรงของปญหาองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันกฎหมาย สํานักอัยการสูงสุด. นวลจันทร ทัศนชัยกุล. (2528). อาชญากรรม (การปองกัน : การควบคุม). กรุงเทพฯ : พรทิพยการพิมพ. ประภัสสร เทพชาตรี, (2554). “ประชาคมอาเซียน”, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเสมาธรรม, เมษายน 2554. ประภัสสร เทพชาตรี. 2552. ขอเสนอการทําใหอาเซียนเปนองคกรของประชาชนอยางแทจริง . วันที่คนขอมูล 25 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://thepchatree.blogspot.com/2009/03/blog-post.html. ประพันธ นัยโกวิท และประธาน จุฬาโรจนมนตรี. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการพัฒนา กฎหมายความรวมมือ ระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา. วารสารนิติศาสตร 33(3). ปราโมทย ประสาทกุล . (2550). คนห าแผ น ดิ น : ประวั ติ ศ าสตร ที่ ยัง มี ชี วิ ต .นครปฐม:สถาบั น วิ จัย ประชากรและสั ง คม มหาวิทยาลัยมหิดล. พรพล น อ ยธรรมราช, ม.ป.ป. อาชญากรรมข า มชาติ ใ นอาเซี ย น. วั น ที่ ค น ข อ มู ล 23 มิ ถุ น ายน 2557. เข า ถึ ง ได จ าก http://dtad.dti.or.th/ images/stories/pdf/asean2015.pdf.
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ห น า | 360 พิษณุ สุวรรณะชฎ. (2540). สามทศวรรษอาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 46. พิศวาส สุคนธพันธุ, (2548), รายงานการวิจัยมาตรการในการแกไขปญหาการลักลอบขนผูยายถิ่น (พิธีสารเพื่อตอตานการ ลักลอบขนยายถิ่นฐานทางบก ทางทะเล ทางอากาศ). กรุงเทพฯ : สถาบันกฎหมาย สํานักอัยการสูงสุด. พิศวาส สุคนธพันธุ และณรงค ใจหาญ. (2549). รายงานการศึกษาเรื่อง ระบบงานยุติธรรมทางอาญาไทยกับการคามนุษย , (ปทุมธานี: ศูนยกฎหมายภูมิภาคแมน้ําโขง). พันธมิตรโลกตอตานการคาผูหญิง, (2543). การคาหญิง : จากแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนสูการปฏิบัติ, แปลโดย พัชราวดี แกว คูณ และคนอื่นๆ (กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง). พันธมิตรทั่วโลกดานการคาหญิง, การคาหญิง จากแนวคิดสิทธิมนุษยชนสูการปฏิบัต,ิ (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิผูหญิง, 2545). ภุชงค ประดิษฐธีระ, น.อ. (ม.ป.ป.). 2554. ประชาคมอาเซียนกับบทบาทกองทัพเรือ. วารสารนาวิกศาสตร, 4(8). ภาคิน นิมมานนรงศ. ปญหาโจรสลัด : ความทาทายในประชาคมอาเซียน, กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 17 ตุลาคม 2556. เมขลา วุฒิวงศ. (2553). รวมบทความวิชาการและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553.) (เลม 1). มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ. ยงยุทธ มัยลาภ, รอยเอก. (2553). การเตรียมความพรอมดานความมั่นคงของไทยตอการเปนประชาคมอาเซียน. เอกสารการ วิจัยสวนบุคคล, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร. รั ช นี ก ร โชติ ชั ย สถิ ต และกุ ล พล พลวั น . (2533). ประเทศไทยกั บ ป ญ หาองค ก รอาชญากรรมในอนาคต. รั ฐ สภาสาร : (กรกฎาคม 2533). รวบรวมจากฐานขอมูลธนาคารโลก ป พ.ศ. 2551 – 2554 (The World Bank, 2013). Indicators. Retrieved 1 March 2014, from The World Bank Open Data: http://data.worldbank.org/indicator วันชัย รุจนวงศ. (2548). ผาองคกรอาชญากรรม : มะเร็งรายของสังคม สํานักพิมพมติชน. สิงหาคม. 2548. วีระพงษ บุญโญภาส, อาชญากรรมคาหญิง คาเด็ก กับกฎหมายปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน , บทบัณฑิตย เลมที่ 56 ตอน 2 มิถุนายน 2543. วารสาร “DSI ไตรสาร” ปที่ 5 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2556. ศูนยขาวการศึกษาไทย. (2555). ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. ศูนยวิจัยและพัฒนาอาญาวิทยาและกระบวนการยุติธรรม. (2550). โครงการวิจัยเรื่อง กระบวนการเขาสูการคามนุษย . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ศูนยปฏิบัติการตอตานการคามนุษย มูลนิธิกระจกเงา. (2554). รายงานการคามนุษย ประจําป พ.ศ. 2554. ศูนยขาวอารเอสยูนิวส, (2555). สุรเกียรติ์ เสถียรไทย หนุนสรางยุทธศาสตรจังหวัดจับคูคาประเทศเพื่อนบาน-จีน. วันที่คน ขอมูล 23 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://www.rsunews.net/index.php/news/detail/945. ศิริพร สโครบาเนค. (2548). การคามนุษย แนวคิด กลไก และประเด็นทาทาย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิผูหญิง. สุรชาติ บํารุงสุข. “จับมือ ไมจับปน : ทหารกับประชาคมอาเซียน”. มติชนสุดสัปดาห. 32. (1647). วันที่ 9-15 มีนาคม 2555. สํานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). ยุทธศาสตรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2556-2561 ฉบับทบทวนสอดคลองกับยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) และขอมูลโครงการสําคัญ (Flagship Project). เขาถึงไดจาก http://lib.mnre.go.th/book/yudtasat56-61.pdf. วันที่คนขอมูล 19 สิงหาคม 2557.
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ห น า | 361 สํานักวิชาการดานยาเสพติด สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.. การศึกษาและวิจัยนโยบาย การแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด เครื อ ข า ยพั ฒ นาวิ ช าการและข อ มู ล สารเสพติ ด ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ . มหาวิทยาลัยขอนแกน. มิถุนายน 2553. สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (2555). การกาวสูประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภา ผูแทนราษฎร. สรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ และพยงคศรี ขันธิกุล, (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ หัวขอมาตรการแกไขปญหาการคามนุษย โดยเฉพาะหญิงและเด็ก. (กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย). สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส, (2549). เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการผูปฏิบัติงานองคกรเครือขาย ภายในประเทศที่ดําเนินงานดานการปองกันปญหาการคาหญิง ภายใตโครงการสงเสริมความรวมมือในการปองกัน การคาหญิงระหวางประเทศ (ลุมน้ําโขง) วันที่ 21–22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ณ โรงแรมเฟสทโฮเต็ล ถนนเพชรบุรีตัด ใหม กรุงเทพมหานคร (กรุงเทพฯ: สํานักสงเสริมและพิทักษผูดอยโอกาส สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย). สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (ประเทศไทย), (2552). รายงานการพัฒนาคนของประเทศไทย ป 2552: ความ มั่นคงของมนุษยในปจจุบันและอนาคต. กรุงเทพฯ: สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (ประเทศไทย). อารไวททีไนน, การใหสัตยาบันสนธิสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลื อซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน, วันที่คนขอมูล 5 พฤษภาคม 2557 เขาถึงไดจาก http://www.ryt9.com /s/cabt1528770. อํานาจ เนตยสุภา. (2552). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคามนุษย. วารสารวิชาการนิติศาสตร. ภาษาอังกฤษ ASEAN. (2009). ASEAN Political-Security Community Blueprint. ASEAN. (1997). ASEAN Declaration on transnational crime Manila, 20 December 1997. ASEAN Political-Security Community Blueprint. ASEAN Watch, (2555). สรุปการสัมภาษณเรื่องความรวมมือดานความมั่นคงของอาเซียน พัฒนาการและแนวโนมในอนาคต. ณ ศูนยศึกษายุทธศาสตร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2555. วันที่คนขอมูล 23 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://aseanwatch.org/wp-content/uploads/2012/03/สัมภาษณที่วปอ..pdf. Achara Ashayagachat (27 March 2014). “Refugees Thwarted En Route to Sweden.” Bangkok Post (Online). Retrieved 25 July 2014, from http://m.bangkokpost.com/topstories/402116. Backer, E. B. (2007) The Mekong River Commission: Does It Work, and How Does the Mekong Basin’s Geography Influence Its Effectiveness? Journal of Current Southeast Asian Affairs, 25(4), pp. 32-56. Broome, J. (2000). Transnational crime in the twenty-first century. Paper presented at the Transnational Crime Conference, Canberra, 9-10 March 2000. Cini M. (2010). Intergovernmentalism. In M. Cini & Borragan N.P.S (Eds). Oxford University Press. Dosch, J. (2010). Balancing trade growth and environmental protection in ASEAN: Environmental issues in trade and investment policy deliberations in the Mekong subregion. TKN Series on Trade and Environment in ASEAN – Policy Report, 2.
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ห น า | 362 Elliott, L. (2003). ASEAN and environmental cooperation norms, interests and identity. The Pacific Review, 16(1). Economist Intelligence Unit . (n.a.). ViewsWire. Retrieved 1 March 2014, from Social Unrest: http://view swire.eiu.com/site_info.asp?info_name=social_unrest_table&page=noads. Economist Intelligence Unit. (2012). The Global Food Security Index 2012: An assessment of food affordability, availability and quality. Economist Intelligence Unit. Emmers, R. (2003). The threat of transnational crime in Southeast Asia: Drug trafficking, human smuggling and trafficking, and sea piracy. Discussion Papers. Institute of Defence and Strategic Studies (IDSS), Singapore. Gal Luft and Anne Korin, “Terrorism Goes to Sea’, FORIGN AFFAIRS, Vol. 83, No. 6, Nov-Dec 2004. Hiro Lee , Michael G. Plummer, Assessing the Impact of the ASEAN Economic Community, OSIPP Discussion Paper, 23 March 2011. Ibitz, A. (2012). Environmental policy coordination in ASEAN: The case of waste from electrical and electronic equipment. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 5(1), pp. 30-51. ICEM. (2553). บทสรุปผูบริหาร รายงานฉบับสมบูรณการประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรเกี่ยวกับ เขื่อนไฟฟาพลังน้ําในแมน้ําโขงสายหลัก . คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง. เขาถึงขอมูลไดจาก http://ns1.mrcmekong .org/ish/SEA/SEA-Summary-final-report-Thai-29-3-11-fixname.pdf วันทีค่ นขอมูล 10 กรกฎาคม 2557. Intararam, Kanchon. (2001). Problems and obstacles (of investigators) in transnational organized crime investigation in the Metropolitan Police Bureau. Thesis for Master of Arts (Criminology and Criminal Justice). Mahidol University; สายันต สุโขพืช. (ม.ป.ป.). ผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียนดานกฎหมาย และกระบวนการ. International Food Policy Research Institute (International Food Policy Research Institute, Concern Worldwide, and Welthungerhilfe, 2012) International Council on Social Welfare, Trafficking and Related Labour Exploitation in the ASEAN Region (The Netherlands: International Council on Social Welfare, 2007). Jarayab hand, S. et al. (2010). Final Report Establishment of knowledge and network of researchers on environment and climate change in Thailand and neighboring countries (CLMV-T). Thailand Research Fund. John F. Bradford, “The growing prospects for Maritime Security Cooperation in Southeast Asia”, Naval War College Review, Summer 2005, Vol. 58, No.3. Kohnwilai Teppunkoonngam (24 April 2014). “‘Don’t Lose Hope’ – Law, Policy and Syrian Refugees in Thailand.” Prachathai (Online). Retrieved 25 July 2014, from http://www.prachatai.com/english /node/3935. Kael W. Deutsch, Security Communities, 1961, in James Rosenau, ed., International Politics and Foreign policy, อางใน Donald K. Emmerson, Will the Real ASEAN Please Stand Up? Security, Community, and Democracy in Southeast Asia, Stanford University.
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ห น า | 363 Koga, K. (2010). The normative power of the “ASEAN Way.”: Potentials, limitations and implications for East Asian regionalism. Stanford Journal of East Asian Affairs, Winter, 80-94. Retrieved from http://www.academia.edu/4027546/The_Nortmative_Power_of_the_ASEAN_Way_ Kheng-Lian, K. & Robinson, N. A. (2002B). Strengthening sustainable development in regional intergovernmental governance: Lessons from the “ASEAN Way.” Singapore Journal of International and Comparative Law, 6. Keling, M.F. (2011). The development of ASEAN from historical approach. Laki, J. (2006). Non-traditional security issues: Securitization of transnational crime in Asia. Singapore: Institute of Defense and Strategy Studies. Middleton, C. (2012). ASEAN, Economic integration and regional environmental governance: Emerging norms and Transboundary environmental justice. Unpublished paper presented at The 2nd International Conference on Inter-national Relations and Development, Chieng Mai, Thailand. Makanczek, P. (2000). Modern Introduction to International Law. United States of America: Routledge. McMahon, F. (2012). Towards a Worldwide Index of Human Freedom. Canada: Fraser Institute. Michael Richardson, Terrorism: The Maritime Dimension, Dec 2003, (2004 Regional Outlook Forum, Institute of Southeast Asian Studies, (ISEAS), Singapore, 7 Jan 2004). Nesadurai, H. E. S. (2008). The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN). Global Monitor, 13(2). NASA Socioeconomic Data and Applications Center. (2012, February 28). Environmental Performance Index (EPI). Retrieved 1 March 2014, from http://sedac.ciesin.columbia.edu/data/collection/epi. Paritta Wangkiat (11 July 2014). “LCT Calls for Action on Trafficking Gangs.” Bangkok Post (Online). Retrieved 27 July 2014, from http://www.bangkokpost.com/news/local/419960/lct-calls-for-actionon-trafficking-gangs. Rizal SUKMA, Jakarta Paper presented at A Seminar on " ASEAN Cooperation: Challenges and Prospects in the Current International Situation" New York, 3 June 2003. Roujanavong, Wanchai, “Thailand: The Situation of Trafficking in Women,” in The 1997 Regional Conference on Trafficking in Women and Children. (Unpublished Manuscript). Roth, M.P. (2010). Global organized crime: A reference handbook. California: ABC_CLIO. Robert C Beckman, CSCAP Singapore Director, Centre for International Law (CIL),National University of Singapore บรรยายในการประชุม 1st Meeting of CSCAP Study Group on Safety and Security of Offshore Oil and Gas Installations ณ เมืองดานัง เวียดนาม เมื่อ 7 ตุลาคม 2553. Rommel C. Banlaoi, “Maritime Terrorism in Southeast Asia”, Naval War College Review, Vol. 58, No.4, Autumn 2005. Rupert Herbert-Burns and Lauren Zucker, “Drawing the line between piracy and maritime terrorism”, JANE’S INTELLIGENCE REVIEW, Vol. 16. No. 9, September 2004. Rommel C. Banlaoi, “Maritime Terrorism in Southeast Asia”, Naval War College Review, Vol. 58, No.4, Autumn 2005.
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ห น า | 364 Singh, J. (1997). Strategic impact of transnational crime. Paper presented at the 2nd meeting of the CSCAP Study Group on Transnational Crime in Bangkok, Thailand. October 10-11, 1997. Singh, J. (1999). Strategic ipact of Transnational Crime. in Hernandez, C.G. and Pattugalan, G.R. (eds) (1999). Transnational crime and regional security in the Asia Pacific. Manila, Philippines: Institute for Strategic and Development Studies. Taguchi, H. (2011). Regional issues in environmental management. In Broniewicz, E. (Ed.), Environmental Management in Practice (pp.67-84). DOI: 10.5772/17267; Goh, G. (2003). The ‘ASEAN Way’ nonintervention and ASEAN’s role in conflict management. Stanford Journal of East Asian Affairs, 3(1). Transparency International. (2012). Corruption Perceptions Index 2012. Retrieved 1 March 2014, from http:// cpi.transparency.org/ cpi2012/results/. United Nations Convention against Transnational Organized Crime. United Nations Development Programme (UDDP). (1999). Human Development Report 1999: Human Right and Human Development. New York: Oxford University Press. United Nations Development Programme (UDDP). (2000). Human Development Report 2000: Human Right and Human Development. New York: United Nations Publications. United Nations Research Institute for Social Development (UNRISD). (2010). UNRISD Flagship Report 2011, Combating Poverty and Inequality: Structural Change, Social Policy and Politics. Geneva: UNRISD. United Nations Development Programme. (2013). Human Development Report 2013: The Rise of the South Human Progress in a Diverse World. New York: Lowe - Martin Group. Weatherbee, D.E. (2009). International relations in Southeast Asia: the struggle for autonomy. Maryland: Rowman & Littlefield Publishers, Inc.
ภาคผนวก ปฏิญญากรุงเทพฯ : ดานอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับประเทศไทย ปฏิญญากรุงเทพฯ ดานอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับประเทศไทย มีกรอบสาระสําคัญ 14 เรื่องดังนี้ 1. การปรับปรุงมาตรการโตตอบอาชญากรรม และการกอการราย (ขอ 4 ถึงขอ 9 และขอ 20) ประเด็นสําคัญ คือ 1.1. การใหสัตยาบันอนุสัญญาตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ตอตานการคอรรัปชั่น และตอตานการ กอการราย 1.2. การใหความชวยเหลือทางวิชาการแกประเทศกําลังพัฒนา 1.3. การรวบรวม และแบงปนขอมูล สารสนเทศเกี่ยวกับอาชญากรรม และการกอการราย และมาตรการ ตอตานที่มีประสิทธิภาพ 1.4. ยึดมั่นในหลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล และการบริหารจัดการที่เหมาะสมในกิจการของรัฐ และ ทรัพยสินของรัฐในระดับทองถิ่นระดับชาติ และระดับระหวางประเทศ 1.5. การพัฒนา และรักษาไว ซึ่งสถาบันความยุติธรรมทางอาญาที่เที่ยงธรรม และมีประสิทธิภาพ 1.6. การปฏิบัติอยางมีมนุษยธรรมตอบุคคลทีถ่ ูกคุมขังกอน และหลังการพิจารณาคดี 1.7. การมีสวนรวมในการปองกัน และตอสูกับอาชญากรรม และการกอการรายของประชาสังคมและกลุม บุคคลนอกประเทศ 1.8. การพัฒนามาตรการระดับชาติ และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา และการสงผูราย ขามแดน 1.9. การเสริมสรางความเขมแข็งของความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อที่จะสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ การตอตานอาชญากรรม รวมถึงการสงเสริมความเจริญเติบโต การพัฒนาที่ยั่งยืน การขจัดความยากจนและการวางงาน โดยทางยุทธศาสตร การพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ และสมดุล และนโยบายการปองกันอาชญากรรม 2. การปองกันอาชญากรรม (ขอ 10) ประเด็นสําคัญ คือ ใชกลยุทธการปองกันอาชญากรรม เพื่อจัดการกับ มูลเหตุ และปจจัยเสี่ยงของอาชญากรรม และการตกเปนเหยื่อของอาชญากรรม ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับ ระหวางประเทศ 3. องคกรอาชญากรรม (ขอ 12 ถึงขอ 14) ประเด็นสําคัญ คือ 3.1. การยอมรับ ความสําคั ญของการต อตานองค กรอาชญากรรม ในเรื่องการลัก และคาทรัพยสินทาง วัฒนธรรม และการคาพืชและสัตวปาที่มีการคุมครองตามกฎหมาย โดยคํานึงถึงตราสารระหวางประเทศที่เกี่ยวของ 3.2. จัดใหมีมาตรการ และสรางกลไกในทางปฏิบัติ เพื่อตอตานอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับการลักพาตัวและ การคามนุษย 3.3. การใหความชวยเหลือ และความคุมครองตอเหยื่ออาชญากรรมที่เกี่ยวกับการลักพาตัว และการคา มนุษย 4. อาชญากรรมคอมพิวเตอร (ขอ 16) ประเด็นสําคัญ คือ การเพิ่มความรวมมือในการปองกันการสืบสวนและ การดําเนินคดี รวมถึงความรวมมือภาคเอกชนในการตอตานอาชญากรรมคอมพิวเตอร
ภ า ค ผ น ว ก : ห น า | 366
5. การคุมครองพยาน และเหยื่ออาชญากรรม (ขอ 17) ประเด็นสําคัญ คือ การใหความสําคัญตอการคุมครอง พยาน และเหยื่อของอาชญากรรม และการกอการราย ทั้งทางดานกฎหมาย และดานการเงิน 6. การสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรม (ขอ 18) ประเด็นสําคัญ คือ 6.1. การสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรมการใหการคุมครองสิทธิตามอํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการ ตามที่กําหนดไวในกฎหมาย และชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน 6.2. การปรับกฎหมายภายในเพื่อสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรม 7. การคายาเสพติด (ขอ 19) ประเด็นสําคัญ คือ เสริมสรางความเขมแข็งในความรวมมือระหวางประเทศในการ ตอตานอาชญากรรมนี้ ซึ่งอยูในลักษณะองคกรอาชญากรรม 8. การตอตานการกอการราย (ขอ 21-22) ประเด็นสําคัญ คือ 8.1. การรองขอความชวยเหลือทางดานวิชาการจากสหประชาชาติเพื่อการใหสัตยาบัน 8.2. การใหสัตยาบันอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการปราบปรามการกอการรายดวยอาวุธนิวเคลียร 9. การตอตานการคอรรัปชั่น (ขอ 23-25) ประเด็นสําคัญ คือ 9.1. การสงเสริมวัฒนธรรมในการยึดหลักคุณธรรม และการตรวจสอบไดทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน 9.2. การบริหารจัดการที่เหมาะสมในกิจการของรัฐที่เกี่ยวของกับสาธารณะ และทรัพยสินที่เกี่ยวของกับ สาธารณะ และหลักนิติธรรม 9.3. การสรางมาตรการในการไดคืนซึ่งทรัพยสินจากการคอรรัปชั่น 10.อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการเงินรวมถึงการฟอกเงิน (ขอ 26-27) ประเด็นสําคัญ คือ 10.1.เสริมสรางความเขมแข็งของนโยบาย มาตรการและสถาบันเพื่อการปฏิบัติระดับชาติและความรวมมือ ระหวางประเทศ 10.2.การตอตานการฉอโกงโดยใชเอกสาร และขอมูลสวนบุคคลปลอม โดยเฉพาะการใชเอกสารการเดินทาง โดยฉอฉล โดยปรับปรุงความรวมมือระหวางประเทศ ความชวยเหลือทางดานวิชาการ มาตรการรักษาความปลอดภัย การ ตรากฎหมายภายในประเทศที่เหมาะสม 11. มาตรฐาน และแบบแผนการจัดการทัณฑสถาน และนักโทษ (ขอ 30-31) ประเด็นสําคัญ คือ พัฒนา และจัด ใหมีมาตรการ และแนวทาง เพื่อทําใหมั่นใจวา ปญหาโรค HIV (เอดส) ภายในทัณฑสถานไดรับการดูแลอยางเพียงพอ 12.กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท (ขอ 32) ประเด็นสําคัญ คือ 12.1.การพัฒนาตอไปซึ่งโครงการ วิธีการ และนโยบายในเรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท 12.2.มาตรการทางเลือกแทนการฟองคดีอาญา 13.กระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชน (ขอ 33) ประเด็นสําคัญ คือ การสรางความมั่นใจวา มีการ ปฏิบัติตอเด็กที่เปนเหยื่ออาชญากรรม และเด็กที่ทําผิดกฎหมายอยางไดมาตรฐาน 14.บทสงทาย (ขอ 34) ประเด็นสําคัญ คือ 14.1.ปองกันการแพรขยายของอาชญากรรมเมือง 14.2.การปรับปรุงความรวมมือระหวางประเทศ 14.3.การพัฒนาศักยภาพของการบังคับใชกฎหมายและศาล 14.4.การสงเสริมการมีสวนรวมของเจาหนาที่ทองถิน่ และประชาสังคม
ประวัติผูเขียน ชื่อ
ดร.พรเทพ จันทรนิภ
ประวัติการศึกษา
- รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง - บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยรามคําแหง - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต นานาชาติ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (NIDA) - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทางการเมือง) มหาวิทยาลัยรามคําแหง (RU) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร) University of Interdisciplinary Studies, Texas, U.S.A. - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต - วาทีป่ รัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ประวั ติ ก ารทํา งาน (พอสั ง เขป) -
กรรมการผูจัดการ บริษัท เอส.ซี. เยเนอรัลเทรดกรุป จํากัด กรรมการผูจัดการ บริษัท พี.เอ็น.พี. เลด ไลทติ้ง โปรดักส จํากัด อาจารยประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยรัชตภาคย อาจารยพิเศษ คณะนวัตกรรม, หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาผูนําทางสังคม ธุรกิจ และ การเมือง, มหาวิทยาลัยรังสิต
กิจกรรมทางสังคมและการเมือง (พอสังเขป) -
นายกสโมสรไลออนส ราชดําริ กรุงเทพ ภาค 310-อี ปบริหาร 2552 - 2557 ประธานเขต 3 สโมสรไลออนสสากลภาค 310-อี ปบริหาร 2553-2554 กรรมการ สมาคมปรัชญาและศาสนาแหงประเทศไทย ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจําคณะกรรมาธิการการปกครอง วุฒิสภา ป พ.ศ. 2554 ที่ ป รึ ก ษากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ป ระจํ า คณะกรรมาธิ ก ารการพั ฒ นาการเมื อ งและการมี ส ว นร ว มของ ประชาชน วุฒิสภา ป พ.ศ. 2553 - ที่ ป รึ ก ษาคณะอนุ ก รรมาธิ ก ารการพั ฒ นาการเมื อ งและการมี ส ว นร ว มของประชาชน ด า น ผลกระทบตอวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชน วุฒิสภา ป พ.ศ. 2553 - ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ในคณะกรรมการสงเคราะหเด็กและเยาวชนสําหรับสถานพินิจและคุมครอง เด็กและเยาวชน กรุงเทพมหานคร