องคกรอาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมข า มชาติ ถื อ ว า เป น ส ว นหนึ่ ง ของภั ย คุ ก คามต อ ความมั่ น คงนอกรู ป แบบ (Non-Traditional Security) ซึ่งการจัดการภัยคุกคามนอกรูปแบบนั้น เปนสวนหนึ่งของกุญแจสําคัญของเสาประชาคมการเมืองและความ มั่น คงอาเซี ยน การส ง เสริ มให เกิ ด ภู มิภาคที่ มีเ สถี ยรภาพ ความสงบสุข และความเป น อั นหนึ่ ง อัน เดี ยว โดยมี ค วาม รับผิดชอบทางดานความมั่นคงในวงกวางรวมกัน (A Cohesive, Peaceful, Stable and Resilient Region with shared responsibility for comprehensive security) ซึ่งมีกิจกรรมหลักคือ - เพิ่ ม ความร ว มมื อ ในการรั บ มื อ กั บ ภั ย ความมั่ น คงนอกรู ป แบบต า ง ๆ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การต อ สู กั บ อาชญากรรมขามชาติ และปญหาขามพรมแดนอื่น ๆ (Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges) - เพิ่มความพยายามในการตอตานการกอการรายโดยการลงนามรับรอง ASEAN Convention on CounterTerrorism และนําไปปฏิบัติอยางรวดเร็ว (Intensify counter - terrorism efforts by early ratification and full implementation of the ASEAN Convention on Counter - Terrorism) ทั้งนี้ องคการสหประชาชาติ ไดแบงอาชญากรรมขามชาติไวใน 10 ประเภท คือ 1. การลักลอบคายาเสพติด (Drugs Trafficking) 2. การลักลอบนําคนเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย (Smuggling of Illegal Migrants) 3. การคาอาวุธขามชาติ (Arms Trafficking) 4. การลักลอบคาอุปกรณนิวเคลียร (Trafficking in Nuclear Material) 5. กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย (Transnational Criminal Organization and Terrorism) 6. การคาหญิง และเด็ก (Trafficking in Women and Children) 7. การลักลอบคาชิ้นสวนมนุษย (Trafficking in Body Parts) 8. การโจรกรรม และลักลอบคายานพาหนะ (Theft and Sumuggling of Vehicles) 9. การฟอกเงิน (Money Laundering) และ 10.อื่น ๆ เชน การโจรกรรมวัตถุโบราณ, การติดสินบน, อาชญากรรมคอมพิวเตอร, อาชญากรรม สิ่งแวดลอม, อาชญากรรมทรัพยสินทางปญญา, การฉอโกงทางทะเล เปนตน สหประชาชาติไดใหคําจํากัดความของอาชญากรรมขามชาติไวใน Convention Against Transnational Organized Crime ใน Article 3 วา เปนอาชญากรรมที่ (1) มีการประกอบอาชญากรรมในรัฐตั้งแต 1 รัฐขึ้นไป (It is committed in more than one state); (2) มีการประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รัฐ แตมีการเตรียมการ วางแผน สั่งการ หรือควบคุมมาจากรัฐ อื่น (It is committed in one state but a substantial part of its preparation, planning, direction or control takes place in another state); (3) มีการประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รัฐ แตกลุมอาชญากรรมนั้น เปนกลุมที่ประกอบอาชญากรรมใน รัฐมากกวา 1 รัฐ (It is committed in one state but involves on organized criminal group that engages in criminal activities in more than on state); หรือ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 67
(4) มี ก ารประกอบอาชญากรรมภายใน 1 รั ฐ แต ผ ลของอาชญากรรมนั้ น ส ง ผลไปถึ ง รั ฐ อื่ น (It is committed in one state but has substantial effects in another state.)1 ในปจจุบันนี้ อาชญากรรมขามชาติมีความซับซอนมากขึ้นกวาเมื่อกอนมาก เนื่องจาก มีการพัฒนาดานเทคโนโลยี ดานการสื่อสารคมนาคม ทําให อาชญากรรมขามชาติในปจจุบัน นั้นยกระดับ เปนปญ หาระดับโลก ยิ่งพฤติกรรมทาง เศรษฐกิจในปจจุบันนั้น ยกระดับจากเศรษฐกิจภายในประเทศเปนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค และระดับโลก สงผลใหเกิดการ แกกฎหมาย หรือขอบังคับตาง ๆ ใหออนตัวขึ้น เพื่อเอื้อกับการคา การบริการ และแรงงานระหวางประเทศ แตผลที่ ตามมา คือ กลุมอาชญากรรมขามชาตินั้น ก็ไดใชชองวางเหลานี้แสวงหาผลประโยชน และประกอบอาชญากรรม ทั้งนี้ องคกรอาชญากรรมขามชาติ (Transnational Organized Crime, TOC) ที่รูจักกันดีในเวทีโลก เชน Cosa Nostra ใน American ที่รูจักกันในนามมาเฟย หรือกอดฟารเธอร, Neopolitan Camorra, the Calabrian Ndrangheta และ the Apulian Sacra Corona Unita ที่มีลักษณะคลายกับองคกรอาชญากรรมขามชาติของอิตาลี นอกจากนี้ ยังมี Russian Mafia, the Serbian mafia, the Israeli Mafia, the Albanian Mafia, Mexican และ Colombian Drug Cartels, the Indian Mafia, the Chinese Triads, Chinese Tongs, Irish Mob, the Corsican Mafia, the Japanese Yakuza, the Jamaican-British Yardies, the Turkish Mafia, the Macedonian และยังมีกลุมยอย ๆ ขององคกร เหลานี้ ที่ปฏิบัติการตามพื้นที่ทั่วไป เชน กลุม Sureños, Nortenos, Latin Kings, Gangster Disciples, Vice Lords, Bloods, Crips, Mexican Mafia, Folk Nation, Brazilian PCC, และ Hells Angels อาชญากรรมขามชาติในปจจุบันนั้น สงผลรายแรงกับความมั่นคงของชาติมากกวาเมื่อกอนมาก และกระทบสู หลายภาคสวนของประเทศนั้น ๆ อยางเชน ปญหาดานยาเสพติดที่นอกจากจะกระทบทางดานสาธารณสุขแลว ยังกระทบ ตอภาคเศรษฐกิจ ภาคการเมือง (การคอรรัปชั่น ) นอกจากนี้ กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติในปจจุบันนั้น ในบาง ประเทศมีอํานาจเหนือกฎหมายของประเทศ หรือเปนผูมีอิทธิพลในทางการเมืองของประเทศนั้น ๆ ดวย เชน ในโคลัมเบีย เปรู หรือเมียนมาร สงผลใหรัฐบาลประเทศนั้น ๆ ไมสามารถพัฒนาภาคการเมือง และภาคเศรษฐกิจไดอยางเต็มที่ Laki2 ไดวิเคราะหวา โลกาภิวัตนไดสงผลใหภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกตองเผชิญกับปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ เรียกวา อาชญากรรมขามชาติมากขึ้น ในขณะที่รัฐยังไมมีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคที่จะรับมือกับ ปญหาดังกลาวอยางเพียงพอ ซึ่งตอมา Roth3 ไดชี้ใหเห็นวา การกอการรายและอาชญากรรมขามชาติกําลังกลายเปน ปญหาที่ทาทายหนวยงานบังคับใชกฎหมายในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการสรางความรวมมือของหนวยงานตํารวจ และ เจาหนาทีบ่ ังคับใชกฎหมายระหวางประเทศ อันมีสาเหตุจากความกาวหนาทางเทคโนโลยี ภาษา วัฒนธรรม กระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา และประสบการณในจัดการกับปญหาที่แตกตางกัน โดยในการประชุมเชิงปฏิบัติการดานอาชญากรรม ขามชาติ สําหรับความรวมมือดานความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก เมื่อป 1997 Singh4 ไดเสนอแนะวา ความรวมมือ ระหว า งประเทศ จะเป น กลไกสํ า คั ญ ที่ จะทํ า ให ห น ว ยงานบั ง คั บ ใช ก ฎหมายจั ด การกั บ ป ญ หาดั ง กล า วได โดยต อ ง ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติใหเหมาะสม เชน การพัฒนากฎหมายของ ประเทศในภูมิภาคใหมีมาตรฐานใกลเคียงกัน การฝกอบรม และแลกเปลี่ยนบุคลากร การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร การ จัดตั้งทีมปฏิบัติก ารรวม การคุมครองพยาน การใหความรวมมือ และชวยเหลือทางเทคนิค ความชั ดเจนของหนว ย 1
United Nations Convention against Transnational Organized Crime. Laki, J. (2006). Non-traditional security issues: Securitization of transnational crime in Asia. Singapore: Institute of Defense and Strategy Studies. 3 Roth, M.P. (2010). Global organized crime: A reference handbook. California: ABC_CLIO. 4 Singh, J. (1997). Strategic impact of transnational crime. Paper presented at the 2nd meeting of the CSCAP Study Group on Transnational Crime in Bangkok, Thailand. October 10-11, 1997 2
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 68
ประสานงานในแตละประเทศ และมาตรการที่จะใชในการพัฒนาการนําแนวทางความรวมมือที่มีอยูไปปฏิบัติใหเกิดผล อยางจริงจัง ด ว ยเหตุ นี้ ทํา ให เ กิ ด คํา ถามว า การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ย นในป พ.ศ. 2558 จะส ง ผล กร ะทบ ต อ กา ร จั ด กา ร กั บ ป ญ หา อ า ชญา กร ร มข า มชา ติ ข อ ง กร ะบ ว นกา ร ยุ ต ิ ธ ร ร มทา ง อ า ญา ขอ ง ภู มิ ภ าคอาเซี ย นหรื อ ไม อ ย า งไร และรั ฐ อาเซี ย นควรจะมี แ นวทางในการจั ด การกั บ ป ญ หาดั ง กล า ว อย า งไร
ปจจัยเอื้ออํานวยตอองคกรอาชญากรรมขามชาติเขามาในประเทศไทย ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ เชนเดียวกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งผลจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในทวีปเอเชีย ทําใหมีบทบาททางสังคม และเศรษฐกิจของโลก ไม นอยกวาประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ สืบเนื่องจาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ชวยใหการคมนาคม และการติดตอสื่อสาร เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําใหชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบ หลบหนี เ ข า เมื อ งโดยผิ ด กฎหมายมี จํ า นวนมากขึ้ น โดยจะมี ก ารรวมตั ว ของผู ก ระทํ า ผิ ด ในลั ก ษณะของ “องค ก ร อาชญากรรมขามชาติ” ซึ่งมีปจจัยที่เอื้ออํานวยใหชาวตางชาติ ซึ่งเดินทางเขามาในประเทศไทย กระทําผิดกฎหมาย โดย ใชประเทศไทยเปนฐานในการกระทําความผิดในรูปแบบตาง ๆ ดวยเหตุผลดังนี้ 1. ประเทศไทยเป น ศู น ย ก ลางการคมนาคมไปประเทศต า ง ๆ ในทวี ป เอเชี ย และสถานที่ ตั้ ง เป น จุ ด ที่ เหมาะสมใชเปนเสนทางลําเลียง หรือลักลอบขนสงสิ่งของผิดกฎหมาย เชน ขบวนการคายาเสพติดประเภทฝน กัญชา เฮโรอีน ไปประเทศตาง ๆ ทั้งประเทศ จีน เมียนมาร สปป.ลาว กัมพูชา และประเทศที่สาม ฯลฯ 2. สภาพภูมิประเทศของประเทศไทย มีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อนบานทั้งทางบก และทางน้ํา เปน ระยะทางยาวประมาณ 8,167 กิ โ ลเมตร ทํ า ให ส ะดวกต อ การลั ก ลอบหลบหนี เ ข า เมื อ ง และหลบหนี อ อกนอก ราชอาณาจักร 3. ประเทศไทยไมมีขอจํากัด เรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม และมีบทลงโทษผูกระทําความผิด อาญาไมเด็ดขาดเหมือนประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร 4. นโยบายสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก การขอ วีซาเขาออกประเทศไทยทําไดโดยงาย สามารถจะทําวีซาเมื่อเดินทางมาถึงแลวก็มี และการเก็บคาธรรมเนียมของวีซามี ราคาถูกดวย กลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ซึ่งเกี่ยวของกับการลักลอบคายาเสพติด ลักลอบนําคนเขาเมือง และคาหญิงและเด็ก เปนตน กลุมที่ไดพบเห็นการกออาชญากรรมมีกลุมของขุนสา วาแดง แก็งลูกหมู และยากุซา เปนตน จะเห็นไดวา องคกรอาชญากรรมขามชาติเหลานี้ สวนใหญแลวประกอบอาชญากรรมเกี่ยวกับยาเสพติดเปนหลัก โดย ประเทศไทยตองเผชิญกับปญหายาเสพติด ทั้งในดานการเปนแหลงผลิต แหลงคายาเสพติด และแหลงลักลอบสงผาน ยาเสพติดรวมถึงเปนแหลงใชยาเสพติดในหมูประชาชน ยาเสพติดดังกลาวรวมถึง ยาบา เฮโรอิน ฝน ยาอี และโคเคน โดยเฉพาะยาบาที่ยากตอการจับกุมแหลงผลิตที่ใชเครื่องมือขนาดเล็ก และสามารถยายที่ไปไดงาย ในขณะที่การแสวงหา วัตถุดิบทั้งสารเคมี และสารตั้งตน ทั้งหลายก็เปนไปดวยความสะดวก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 69
จากการทีป่ ระเทศไทยมีอาณาเขตติดกับเมียนมาร และสปป.ลาวที่ยังคงมีแหลงปลูกฝน และยาเสพติดอื่น ๆ อยู มาก อีกทั้งสารเคมี เชน “Ephedrine” ก็สามารถจัดหามาไดจากจีนตอนใต ประมาณการณกันวา มียาบาผลิตอยูตาม ชายแดนไทย – เมียนมารเกือบพันลานเม็ดที่รอเขาไทยในแตละป การจับกุมยาเสพติดที่ลักลอบเขามาในแตละครั้ง อาจมี มากถึงหลายลานเม็ด ในขณะที่การจับกุมเฮโรอีนบางครั้งอาจถึงรอยกิโลกรัม ขบวนการคายาเสพติดเหลานี้ มักสราง เครือขายของตน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความสะดวก โดยจัดตั้งเปนองคกรที่คอรรัปชั่นเจาหนาที่รัฐที่อยูตามราย ทางของการคายาเสติด ไมวาจะเปนเจาหนาที่ศุลกากร เจาหนาที่ตํารวจ ทหาร และถาในเครือขายถูกจับได ก็มักจะมี ทนายความ หรือการสรางคนของตนเองในกระบวนการการเมือง และกระบวนการยุติธรรม เพื่อใหตนเองพนผิดจากการ กระทํา ในขณะเดียวกัน องคกรเหลานี้ ก็จะมีความสัมพันธกับกองกําลังติดอาวุธ ไวคอยขนยาเสพติดตามแนวชายแดน ทํา ใหการจัดหาอาวุธ เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมที่เกี่ยวของ และเงินที่ไดมาจากการคายาเสพติด ก็จะมีการฟอกเงินโดยใช ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา จากการที่สภาพภูมปิ ระเทศไทย มีอาณาเขตติดตอกับกัมพูชาที่เพิ่งพนสภาพของความขัดแยงภายในประเทศเมื่อ ไมนาน และติดกับเมียนมารที่ยังคงมีปญหาความขัดแยงกับชนกลุมนอยตามแนวชายแดน รวมทั้งปญหาภายในของไทย เอง ไดทําใหการลักลอบคาอาวุธขามชาติ ยังคงเกิดขึ้นในประเทศไทย นอกจากนี้แลว ดวยการเปนศูนยกลางการคมนาคม ที่สําคัญ ทําใหไทยกลายเปนแหลงผานของขบวนการคาอาวุธขามชาติที่ใชเรือบรรทุก หรือแมแต เครื่องบินในการขนสง เชน ที่จับกุมไดเมื่อปลายปที่แลว ดวยน้ําหนักอาวุธถึงสามสิบหาตัน ประมาณกับวา อาวุธขนาดเล็กผิดกฎหมายที่ผานเขา มาในไทย ตั้งแตป 1995 มีไมต่ํากวาสี่แสนกระบอก องคกรอาชญากรรมขามชาติ ยังมีเครือขายในดานการลักลอบขนคนหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ทั้งเปน การขนคนเพื่อเขามาหางานชั่วคราว หรือการขนคนหนีออกจากประเทศตนทาง เชน เครือขายการนําคนเมียนมาร, กัมพูชา และสปป.ลาวเขามาทํางานในไทย ซึ่งมักเปนงานระดับที่คนไทยไมตองการทําแลว เชน การเปนคนงานกอสราง คนใช หรืองานในเรือประมง นอกจากนี้แลว ยังมีการลักลอบขนคนหลบหนีออกจากประเทศ เชน การหนีออกนอก ประเทศของชาวจีน หรือ ชาวเกาหลีเหนือ ผานจีนแผนดินใหญ เขามาในสปป.ลาว ไทย และไปประเทศที่สามตอไป ขบวนการดังกลาว ยังเกี่ยวของ และนํามาซึ่งการลักลอบคามนุษย ไมวาจะเปนการคาผูหญิง หรือเด็ก เพื่อใหไปเปน โสเภณี หรือบุคคลขายตัว หรือคาเด็กใหกับพอแมอุปถัมภ การลักลอบขนคนหลบหนีเขาเมือง และคามนุ ษยดังกลาว เขา ไปเกี่ยวพันกับการทําพาสปอรต และวีซาปลอม จากการขโมยของจริง และสวมรูป ทั้งนี้ จากสถิติการทําพาสปอรตปลอม ประเทศไทยติดอันดับตน ๆ ของโลก การโจรกรรม และลักลอบคายานพาหนะ เปนอีกปญหาหนึ่งในอาชญากรรมขามชาติของไทย จากการพัฒนา ประเทศของเพื่อนบานทั้ง กัมพูชา เมียนมาร และลาว รวมทั้งสภาพการขนสงที่คอนขางสะดวกจากฝงไทยไปในประเทศ เหลานี้ดวยเวลาไมกี่ชั่วโมง ไดทําใหเกิดการโจรกรรมรถจากฝงไทย ไปขายในฝงกัมพูชา เมียนมาร และสปป.ลาว โดยจาก ที่เ ครื อ ขา ยอาชญากรต าง ๆ ที่มี อ ยูแ ลว ทั้ง การขนคนผิ ด กฎหมาย การคา ยาเสพติ ด และการเป ด ชอ งทางด ว ยการ คอรรัปชั่นไปตามรายทาง และความสัมพันธของไทยกับประเทศเพื่อนบานบางประเทศที่ไมดีนัก จนไมสามารถแสวงหา ความรวมมือ ในเรื่องดังกลาวได ทําใหปญหาดังกลาวรุนแรงขึ้นในหวงเวลาที่ผานมา และปญหาการฟอกเงิน กลายเปน ปญหาสําคัญประการหนึ่ง จากการที่กลุมอาชญากรรมขามชาติ ทั้งคนไทยเอง และคนตางชาติ ไดอาศัยความออนแอของ กฎหมาย และอํานาจรัฐมาใชประเทศไทย เปนแหลงฟอกเงิน โดยจัดตั้งบริษัท หรือธุรกิจถูกกฎหมายบังหน า แลวผันเงิน จากธุ ร กิ จผิ ด กฎหมายให มาสู ร ะบบที่ ถู ก กฎหมาย รวมทั้ ง การอาศั ยธนาคาร เป น แหล ง ฟอกเงิ น อี ก แหล ง หนึ่ ง ด ว ย นอกเหนือจากปญหาที่ไดกลาวไปแลว ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร, อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ, อาชญากรรมทางทรัพยสินทางปญญา และแมแตปญหาโจรสลัด สําหรับเรือไทยที่ออกไปในนานน้ําตาง ๆ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 70
องคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ปญหาจากอาชญากรรมข ามชาติ ในประเทศไทยที่ เพิ่มความรุน แรง และมี ความสลับซับ ซอนมากขึ้น ขยาย 5 อิทธิพลออกไปอยางกวางขวาง สวนใหญอยูในพื้นที่จังหวัดทองเที่ยว ชุมชนตางชาติ และบริเวณชายแดน อาทิเชน 1. กลุมมาเฟยตาง ๆ ในพัทยา จังหวัดชลบุรี 1.1. กลุมมาเฟยรัสเซีย มีพฤติกรรมคาผูหญิง และยาเสพติด 1.2. กลุมมาเฟยเยอรมัน (โรซา) โดยปลอมแปลงวีซาพาสปอรต คุมกิจการบารเบียร 1.3. กลุมมาเฟยอังกฤษ มีกิจการบารอโกโก คาโคเคน และเฮโรอีน คาผูหญิง 1.4. กลุมมาเฟยออสเตรเลีย มีพฤติการณสงหญิงไทยไปคาประเวณีตางชาติ 1.5. กลุมมาเฟยเดนมารค มีรานขายอาหาร และคาประเวณีขามชาติ คาเด็กชาย 2. แกงสิบสี่เค เปนแกงมาเฟยจีน เรียกคาคุมครอง คายาเสพติด และลักลอบขนชาวจีนจากแผนดินใหญ ผาน ประเทศไทยไปประเทศที่สาม หรือที่รูจักกันทั่วไปวา แกงลูกหมู 3. กลุมอเมริกัน-เมลบอก โดยรวมกับคนไทยปลอมวีซาและพาสปอรต กิจการดําเนินการทางไปรษณีย 4. แกงอเมริกาใต สวนใหญเปนชาวเวเนซุเอลา และเปรู ลักทรัพยตามโรงแรม มีความถนัดในการฉกเพชรตาม รานคาเพชรพลอย สวนเปรูชํานาญดานฉกเงินลูกคาธนาคาร 5. แกงปากีสถาน ทําธุรกิจสงลูกแพะจากเอเชียใต ตะวันออกกลาง และแอฟริกา โดยลักลอบนําชาวตางชาติมา จากอินเดีย บังคลาเทศ ไนจีเรีย อิรัก อิหราน ลิเบีย ฯลฯ เขามาอาศัยอยูในกรุงเทพฯ โดยปลอมพาสปอรต ปลอมดอลลาร สหรัฐอเมริกา เรียกเก็บคาคุมครองจากชาวตางชาติ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ และขนยาเสพติด 6. กลุมเมียนมารรวมกับคนไทยปลอมพาสปอรตวีซาของไทยและตางประเทศ เพื่อสงผูหญิงไปญี่ปุน กิจกรรมขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ที่เปนปญหาสําคัญของทุกประเทศ คือ การลักลอบคายาเสพติด แต การปราบปรามทําไดยาก เพราะองคกรอาชญากรรมขามชาติสามารถหลบเลี่ยงการจับกุม และยักยายเงินมหาศาลไปทั่ว โลก โดยอาศัยธรรมเนียมของกลุม คือ “ความจงรักภักดี” ทําใหการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติทําไดยาก อยางไรก็ตาม อาชญากรรมขามชาติ มักจะเกิดจากการที่ประเทศใดประเทศหนึ่งมีความเหลื่อมล้ําดานคุณภาพ ของกฎหมาย และการบังคับใชกฎหมายเมื่อเทียบกับอีกประเทศหนึ่ง รวมถึงเกิดจากการที่อํานาจรัฐบาลสวนกลางเขาไป ไมถึง ในกลุมประเทศอาเซียนก็เชนกัน ความเหลื่อมล้ําดานกฎหมาย และบางประเทศที่อํานาจสวนกลางเขาไปไมถึงบาง บริเวณของประเทศนั้น สงผลใหเกิดอาชญากรรมขามชาติ เชน การที่ชนกลุมนอยตามชายแดนเมียนมารผลิตยาเสพติด แลวนํามาขายในประเทศไทย หรือการที่บริเวณชายฝงบางพื้นที่ของอินโดนีเซียที่ขาดการสอดสองดูแลจากเจาหนาที่จาก สวนกลาง สงผลใหเกิดกลุมโจรสลัดที่เขาไปประกอบอาชญากรรมในนานน้ําสิงคโปร ซึ่งใน APSC Blueprint นั้น ได กลาวถึง อาชญากรรมขามชาติอยู 6 ประเภททีน่ อกเหนือจากการกอการราย นั่นก็คือ การลักพาตัวและคามนุษย การคา ยาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย การคาอาวุธเถื่อนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร และโจรสลัด อยางไรก็ตาม อาชญากรรมที่เปนภัยตอความมั่นคงของประเทศสมาชิกที่ตองจัดการอยางเรงดวนนั้น มี 3 ประเภท คือ การลักพาตัวและ คามนุษย การคายาเสพติด และโจรสลัด
การลักพาตัวและคามนุษย 5
สยามรัฐ. สัปดาหวิจารณ. (2545). หนา 40-41.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 71
กลาวกันวา ในปหนึ่ง ๆ มีการคามนุษยราว 80,000 คน ซึ่งราวหนึ่งในสามมาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต โดยสวนใหญจะถูกนํามาขายบริการ รวมถึงเปนแรงงานคาจางต่ํา หรือไมมีคาจางเลย นอกจากนี้ ยังมีรายงานอีกวา มี เด็กที่ถูกลักพาตัวจํานวนมากถูกนํามาเปนทหารเด็ก โดยสาเหตุหลัก ๆ ที่กอใหเกิดการคามนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นั้น มีอยูสองเหตุผลหลัก ๆ คือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการตองการแขงขันกับตลาดโลก ทําใหเกิดความ ตองการแรงงานราคาถูกจํานวนมาก หลายโรงงาน หรือสถานที่ที่เกี่ยวของกับการผลิต และการขนสง จึงตัดสินใจหา แรงงานผิดกฎหมายมาใชงาน เหตุผลที่สอง คือ ดวยความเจริญทางเศรษฐกิจที่ไมเทาเทียม สงผลใหคนในพื้นที่ยากจนนั้น ตัดสินใจขายลูกใหกับองคกรอาชญากรรมคามนุษย สิ่งเหลานี้ สงผลใหทุกประเทศในกลุมสมาชิกอาเซียนนั้น มักจะ เกี่ยวของกับการคามนุษยไมวาทางใดก็ทางหนึ่ง ไมวาจะเปนแหลงกําเนิด ทางผาน หรือปลายทาง หรือในกรณีที่แยที่สุด คือ เปนทั้งสามทางเลย 6
การคายาเสพติด
การคายาเสพติดในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น มีชื่อเสียงอันดับตน ๆ ของโลกทั้งในเรื่องปริมาณ และคุณภาพ ของยาเสพติด โดยเฉพาะการปลูกฝน ผลิตภัณฑจากฝน และแอมแฟตามีน หรือที่คนไทยรูจักวา “ยาบา” ซึง่ อาชญากรรม ขามชาติที่เกี่ยวกับยาเสพติดนั้น บั่นทอนการพัฒนาของสังคม และการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมาหลายสิบป แหลงที่โดงดังที่สุดในชวงที่ผานมาก็หนีไมพนบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา ซึ่งเคยเปนแหลงปลูกฝนที่ใหญที่สุดในโลก พื้นที่ที่ 7 เปนรอยตอระหวางประเทศเมียนมาร ไทย และสปป.ลาวนั้น เคยเปนแหลงผลิตเฮโรอีน และมอรฟนแหลงใหญของโลก แตก็เปนที่นายินดีวา ตั้งแตศตวรรษที่ 21 เปนตนมา ยาเสพติดในภูมิภาคนี้ ไดลดลงเปนอยางมาก เหลือเพียงแตประเทศ เมียนมารเทานั้น ที่ยังคงเปนผูสงออกยาเสพติดรายใหญอยูโดยเฉพาะแอมแฟตามีนหรือยาบา เนื่องจาก ในบางพื้นที่ของ เมียนมารนั้น ปกครองโดยชนกลุมนอยที่ซึ่งอํานาจรัฐบาลจากสวนกลางเขาไปไมถึง อีกทั้งชนกลุมนอยเหลานั้น จําเปนตอง หารายไดเพื่อซื้ออาวุธ เพื่อตอตานรัฐบาลสวนกลางดวย ซึ่งยาเสพติดดังกลาวจํานวนมากนั้ นไดไหลผานชายแดนเขา ประเทศไทย อินเดีย และจีน นอกจากนี้ กลุมอาชญากรคายาเสพติดนั้น มักจะเกี่ยวของกับอาชญากรรมอื่น ๆ กลุม อันธพาล และการคอรรัปชั่นในประเทศดวย
โจรสลัด
ตั้งแตประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเริ่มมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับโลกในชวงยุค ทศวรรษที่ 1990 ภัยโจรสลัดก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแตป 1998 1999 และ 2000 มีรายงานการกออาชญากรรมโดยโจร สลัดในนานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใต 99 คดี 167 คดี และ 257 คดีตามลําดับ ยิ่งไปกวานั้น ในปจจุบัน กลุมโจรสลัด อาจจะมีความเกี่ยวของกับกลุมกอการรายอีกดวย ภัยโจรสลัดที่ยังคงเกิดขึ้นในบริเวณนานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น เกิดจากเหตุผลหลัก ๆ คือ การที่นานน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใตยังมีเกาะแกงที่อยูหางไกล ที่ซึ่งอํานาจของรัฐเขาไปไมถึง และเป น ที่ห ลบซ อ นของกลุ มโจรสลั ด อย างเชน เกาะแก งต า ง ๆ ของประเทศอิน โดนี เ ซีย มาเลเซี ย และฟ ลิป ป น ส นอกจากนี้ การขาดกฎหมายทางทะเลรวมกันของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ก็เปนอีกเหตุผลหลักที่ทําใหการ จัดการทางกฎหมายกับกลุมโจรสลัดเหลานี้เปนไปไดอยางยากลําบาก ซึ่งแตละประเทศก็ไมกลาที่จะเขาไปกาวกา ย เนื่องจาก เปนการละเมิดอํานาจอธิปไตยของกันและกัน อยางไรก็ตาม เมื่อมีสัญญาณกดดันมาจากประเทศนอกกลุม อาเซียนอยางญี่ปุน เกาหลีใต และจีน ทําใหหลายประเทศเริ่มเขามารวมมือกันโดยอาศัยแรงสนับสนุน และการชวยเหลือ การฝกซอมจากประเทศนอกกลุมอาเซียน 6
Weatherbee, D.E. (2009). International relations in Southeast Asia: the struggle for autonomy. Maryland: Rowman & Littlefield Publishers, Inc. 7 Weatherbee, D.E. op. cit.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 72
ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนในปจจุบัน ประเทศอาเซียนมีความรวมมือตอตานการกอการรายอยางเปนรูปธรรมภายใตแผนปฏิบัติการอาเซียน เพื่อ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Plan of Action to Combat Transnational Crime) ซึ่งครอบคลุมอาชญากรรม 8 ประเภท คือ การลับลอบคายาเสพติด การคาสตรีและเด็ก การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน การกอการราย อาชญากรรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร โดยประเทศไทยมีสวนสําคัญใน การริเริ่มใหประเทศสมาชิกอาเซียนมีความรวมมือในการตอตานอาชญากรรมขามชาติมาตั้งแตเริ่มตน ดวยการผลักดันใน ระดับนโยบายในการประชุมสุดยอดอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือ ซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน (Mutual legal Assistance in Criminal Matters Treaty of ASEAN-MLAT ASEAN) เนื่องจาก ไทยเปนประเทศที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากปญหาอาชญากรรมขาม ชาติ จากการที่มีที่ตั้งเปนศูนยกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเปนประเทศที่เปดเสรีในการเดินทางเขา-ออก แตอยางไรก็ดี ปญหาอาชญากรรมขามชาติในปจจุบันมีรูปแบบวิธีการซับซอนและเปนระบบองคกรที่มีเครือขาย การทํางานที่กวางขวางโยงใยไปทั่วโลก ประกอบกับรูปแบบและลักษณะของอาชญากรรมเปนลักษณะการกระทําผิดโดย อาศัยโอกาสและพัฒนาเทคโนโลยี และมีสภาพเปนความผิดที่กระทําขามพรมแดนระหวางรัฐ 2 รัฐหรือมากกวานั้น ดังนั้น การที่อาชญากรรมขามชาติมีลักษณะเชนนี้ ทําใหเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศตางก็ประสบปญหา เดียวกัน นั่นคือ อํานาจการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมในแตละประเทศหมดลงเมื่อพน พรมแดนของประเทศตนเอง ขณะที่อาชญากรรมขามชาตินั้นไรพรมแดน จึงทําใหเกิดปญหาในเรื่องแนวทางการปฏิบัติใน การดําเนินคดีอาญา ความลาชาในการปฏิบัติงาน ปญหาเรื่องคาใชจายในการดําเนินคดี และความรวมมือทางอาญา ระหวางประเทศที่ยังไมมีความสอดคลองกับบริบทความเปลี่ยนแปลงในการเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนยังไมมี เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาวิธีการทํางานดานกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองทบทวน กฎหมายและแนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดีอาญาชาวตางประเทศ และความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาใน ดานตาง ๆ เพื่อใหเกิดประโยชนในการพัฒนากฎหมายและการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับกรอบขอตกลงและกลไกความ รวมมือระหวางประเทศ นอกจากนี้ ปญหาอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคอาเซียนมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณ ความรุนแรง และ รูปแบบการกระทําความผิด องคกรอาชญากรรมกลุมหลัก ๆ เชน การกอการรายขามชาติ การคามนุษย การลักลอบขน คนขามชาติ แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคายาเสพติดขามชาติ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร ไดใชประเทศอาเซียน 8 เปนทั้งประเทศตนทาง ทางผาน และปลายทางในการกระทําผิด และองคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมจะทํางาน รวมกันลักษณะเครือขาย และแลกเปลีย่ นผลประโยชนระหวางกลุมมากกวาในอดีต แมวา นโยบายการปองกันปราบปราม อาชญากรรมในประเทศอาเซียนบางประเภท เชน การคามนุษย และการคายาเสพติด ไดถูกจัดเปนวาระแหงชาติและมี ความรวมมือระหวางรัฐมากขึ้น แตอาชญากรรมขามชาติยังคงมีแนวโนมขยายตัวอันเนื่องมาจากความแตกตางของ กฎหมายภายในเจตนารมณของรัฐ และความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย จึงจําเปนตองชวยเหลือและรวมมือกันให มากขึน้ เพือ่ รองรับตอการขยายตัวของอาชญากรรมขามชาติ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนใน ปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ ดังนี้ 8
กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ . (2555). เอกสารประกอบสําหรับการประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน ครั้งที่ 32 ณ กรุงเนปดอว สาธารณรัฐแหงสภาพเมียนมาร ระหวางวันที่ 21-25 พฤษภาคม 2555. หนา 1-44. กองเกียรติ อภัยวงศ, พล.ต.ต. (2546). องคกรอาชญากรรม ขามชาติ: ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. เอกสารวิจัย หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 73
ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการจะปรากฏในลักษณะสนธิสัญญา อนุสัญญา กฎบัตร พิธีสาร ความตกลง กติกา ฯลฯ ซึ่ งเปนความตกลงระหวางประเทศ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ โดยทั่วไป มักจะกระทําขึ้นเปนลายลักษณอั กษร และมีผลผูกพันคูสัญญา รัฐภาคี จึงมีหนาที่ตองปฏิบัติตาม พันธกรณีที่มีในสนธิสัญญาและตามมาตรา 27 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา อีกทั้งไมสามารถอางบทบัญญัติของกฎหมาย 9I ภายในเพือ่ เปนเหตุในการไมปฏิบัติตามสนธิสัญญา ดวยเหตุนี้ รัฐจึงจําเปนตองวางขอกําหนดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการปรับ ใชสนธิสัญญากับระบบกฎหมายภายในของประเทศ เชน ประเทศไทยไดตราพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมี สวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 เพือ่ รองรับพันธกรณีที่มีตามอนุสัญญาตอตานอาชญากรรมขามชาติที่ จัดตั้งในลักษณะองคกร เปนตน ความร วมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบเปนทางการสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ กลาวคือ
ระดับระหวางประเทศ อนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ เ พื่อ ต อ ต า นอาชญากรรมข ามชาติ ที่ จั ด ตั้ ง ในลั ก ษณะองค ก ร ค.ศ. 2000 เป น กฎหมายระหวางประเทศฉบับสําคัญที่เปดโอกาสใหประเทศที่เปนภาคีมารวมมือกันในการตอสูกับองคกรอาชญากรรม ขามชาติโดยไมคํา นึงถึงความแตกตา งทั้ งทางดานการเมือง การปกครอง วัฒนธรรม และเชื้ อชาติ ของประเทศ โดย อนุสัญญาฯ ไดวางหลักเกณฑพื้นฐานอยางกวางใหประเทศสมาชิกตองนํา เขาไปบัญญัติไวเปนกฎหมายภายใน โดยมีขอ นาสนใจ ไดแก ความผิดทางอาญาของการเขารวมในองคกรอาชญากรรม การฟอกเงิน และการทุจริตคอรรัปชั่น และ มาตรการตอบโต ความรับผิดชอบของนิติบุคคล การฟองรอง และการพิพากษา การยึดทรัพย ความรวมมือระหว าง ประเทศ เพื่อวัตถุประสงคในการยึดทรัพย เขตอํานาจศาล การสงผูรายขามแดน การสงมอบตัวผูตองคําพิพากษา ความ ชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา การสืบสวนรวมกัน เทคนิคการสืบสวนพิเศษ การจัดทําฐานขอมูลความผิดทางอาญา การคุมครองพยาน มาตรการความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และการรวบรวม การแลกเปลี่ยน และการ วิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของกับลักษณะทัว่ ไปขององคกรอาชญากรรม เปนตน
ระดับภูมภิ าค
II
สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาของอาเซียน ค.ศ. 2004 ซึ่งเปนเครื่องมือ ทางกฎหมายสําคัญระดับภูมิภาคที่ไดกําหนดมาตรการทางกฎหมาย สําหรับหนวยงานบังคับใชกฎหมายในการใหความ ชวยเหลือ และการขอความชวยเหลือระหวางรัฐตอรัฐในภูมิภาคอาเซียนในเรือ่ งทางอาญาไวหลายรูปแบบ แตมีลักษณะที่ นาสนใจกวาสนธิสัญญาทวิภาคี หรือพหุภาคีทั่วไป กลาวคือ ไดวางหลักเกณฑความชวยเหลือระหวางประเทศอาเซียนไว มากกวาสนธิสัญญาสองฝายทัว่ ๆ ไป เชน การจัดหาใหซงึ่ เอกสาร และบันทึกอื่น ๆ ที่ประชาชนใชประโยชนได คาใชจาย ซึง่ แนนอนวา ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดลงนามรับรองสนธิสัญญาดังกลาวมีพันธกรณีที่จะตองนําเอาเงื่อนไข และขอบท III ตาง ๆ ไปกําหนดเปนกฎหมายภายในเพื่อบังคับใชใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม สนธิสัญญาอาเซียนฉบับนี้ มีขอจํากัดที่คลายคลึงกับสนธิสัญญาระหวางประเทศในเรื่องทาง อาญาทั่วไป โดยรัฐผูรับคํารองขอ สามารถปฏิเสธการใหความชวยเหลือได หากคํา รองขอเขาขายคดีที่เกี่ยวเนื่องกับ ประเด็น ทางการเมือง เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ชาติกําเนิด สัญชาติ และความผิดทางทหาร รวมถึงคดีความมั่นคงในลักษณะ อื่น ๆ สนธิสัญญาฯ ไดเปดโอกาสใหผูประสานงานกลางของแตละรัฐ สามารถสงคํารองขอความชวยเหลือ และการติดตอ 9
Makanczek, P. (2000). Modern Introduction to International Law. United States of America: Routledge.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 74
ประสานงานผานทางชองทางตํารวจสากล (INTERPOL) หรือองคการตํารวจอาเซียน (ASEANAPOL) ในสถานการณ เรงดวนได จึงทําใหขอมูล และพยานหลักฐานที่ไดจากการประสานงานทางคดีผานชองทางดังกลาว ไดรับการยอมรับใน กระบวนพิจารณาชั้นศาลมากขึ้น ดังนั้น การที่สนธิสัญญาฯ ไดระบุถึง กลไกการประสานงานดังกลาว จึงเทากับเปนการ ยอมรับถึงความถูกตองในการประสานความรวมมือระหวางประเทศโดยปริยาย
ระดับทวิภาคี
IV
V
สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา สนธิสัญญาโอนตัว VI นักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ รวมถึงขอตกลงระหวางรัฐบาลในรูปแบบอื่น ๆ เชน บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาล ไทยกับรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา เรือ่ ง ความรวมมือทวิภาคีวาดวยการขจัดการคาเด็กและหญิง และการชวยเหลือ เหยื่อของการคามนุษย ค.ศ. 2003 และบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาววาดวยความรวมมือตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ค.ศ. 2003 เปนตน เปน กฎหมายทีม่ ีผลผูกพันระหวางสองประเทศ ซึ่งคํานึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศที่มารวมลงนามเปนสําคัญ กฎหมาย ระหวางประเทศในระดับทวิภาคี ไดชวยทําใหการทํางานของหนวยงานบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศเปนไปดวยความ สะดวกและรวดเร็วมากขึน้ เนื่องจาก มีพันธกรณีระหวางรัฐในการทีจ่ ะตองปฏิบัติตามหากมีกรณีเขาตามเงือ่ นไขที่วางไว อยางไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบวา กฎหมายระหว างประเทศระดับทวิภาคีของภูมิภาคอาเซียนยังมีไม มากนัก โดยสวนใหญจะเปนประเด็นที่ ไดรับการผลักดัน หรือสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศ เชน บันทึกความ เขาใจระหวางรัฐบาลที่เกี่ยวกับการตอตานการคามนุษย และการตอตานการกอการราย ดังนั้น ในโอกาสที่ประเทศไทย กําลังจะเขาสูประชาคมอาเซียน และยังไมไดมีกฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยางครอบคลุม รัฐอาเซียน จึงควรผลักดันใหมีกรอบความรวมมือในลักษณะทวิภาคี หรือพหุภาคีใหมากขึ้น
ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการ ความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาแบบไมเปนทางการมีหลายลักษณะ โดยเนนความรวมมือในเชิง นโยบายและปฏิบัติเปนสําคัญ แมวา ประเทศคูเจรจาหรือประเทศที่เขามารวมเปนพันธมิตร จะไมไดมีพันธกรณีที่เครงครัด ที่จะตองปฏิบัติตามความตกลงที่เกิดขึ้น หรือตามมารยาทระหวางประเทศในเชิงการทูตเทากับความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่ องทางอาญาแบบเป นทางการที่ ยึด ถือ ตัว บทกฎหมาย หรือ หลั กกฎหมายระหวา งประเทศ แต รูป แบบ ความสัมพันธแบบไมเปนทางการได ทําใหเกิดเครือขายความรวมมือระหวางกลุมหนวยงานบังคับใชกฎหมาย และพัฒนา ไปเปนความสัมพันธในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบไมเปนทางการ ซึ่งทําใหการประสานความรวมมือในการ สืบสวนติดตามจับกุมตัวผูกระทําความผิดเปนไปอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปสามารถพิจารณาไดเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ ความรวมมือระหวางประเทศในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ
ในระดับนโยบาย - การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) เปนการประชุมเพื่อรองรับการประชุมในระดับรัฐมนตรีของประเทศอาเซียนที่ดูแลกํากับนโยบายดาน ความมัน่ คงที่เกี่ยวของกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ เกิดขึ้นตามมติที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยางเปนทางการครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อป 2538 เพื่อใหเปนกลไกระดับภูมิภาคในการกํา กับ และดําเนินการตอตานอาชญากรรมขามชาติที่มี แนวโนมจะทวีความรุนแรง และขยายตัวมากขึ้น โดยจัดขึ้นเปนประจําทุก 2 ป การประชุมดังกลาวเปนการหาแนวทาง รวมกันในการจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติที่สําคัญ ไดแก การตอตานการกอการราย การคามนุษย และการ ประชุมรวมกับประเทศคูเจรจา เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 75
- การประชุ มเจ า หน า ที่อ าวุโ สอาเซียนดา นอาชญากรรมขา มชาติ (Senior Official Meeting on Transnational Crime- SOMTC) เปนกลไกที่เนนความรวมมือดานการบังคับใชกฎหมาย และการเสริมสรางศักยภาพใน การตอตานอาชญากรรมขามชาติทั้งดานการปองกันและปราบปรามในระดับปฏิบัติของหนวยงานบังคับใชกฎหมายของ VII ประเทศอาเซียน ในรูปแบบของการประชุมสัมมนา เพือ่ เสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของ ประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้งแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยเปนเวทีในการผลักดันขอเสนอใหม ๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการรวมมือระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายใหมากขึ้น เชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การฝกอบรม และ การสรางเครือขายการทํางานรวมกันระหวางเจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย เปนตน นอกจากนี้ กรอบการประชุมดังกล าวไดประสบความสํา เร็จในการพัฒนาความรวมมือระหว างอาเซี ยนกั บ VIII ประเทศคูเจรจา ใหเปนรูปธรรมตามเอกสารแถลงการณทางการเมืองที่ ไดมีการลงนามกัน ในรูปแบบแผนงานที่ระบุ กิจกรรมความรวมมืออยางเปนรูปธรรม ซึ่งประเทศผูนําในแตละสาขาของอาชญากรรมขามชาติทําหนาที่ประสาน หารือ และแสวงหาความรวมมือกับประเทศคูเจรจา อันจะสงผลใหกลุมประเทศอาเซียนสามารถแสวงประโยชนสูงสุดจากความ เชี่ยวชาญของประเทศคูเจรจาบนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกันของทั้งสองฝาย เพื่อใหหนวยงานบังคับใชกฎหมายนํา นโยบายดานอาชญากรรมขามชาติดังกลาวไปใชเปนแนวทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ
ในระดับปฏิบัติ
IX
- การประชุมกระบวนการบาหลี (Bali process) เปนกลไกความรวมมือของภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟกที่มุงเนน การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการปองกั นปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะในเรื่ องการคา มนุษย และการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย เนื่องจาก ประเด็นเรื่องการคามนุษย และการขนคนขามชาติโดยเฉพาะทาง เรือเปนปญหาสําคัญของประเทศในภูมิภาคนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเวทีระดับภูมิภาคในการหารือ และกําหนด แนวทางรวมกันในการจัดการกับปญหาการคามนุษยการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย และปญหาอาชญากรรมขามชาติ อื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ เชน การแลกเปลีย่ นขอมูลขาวสาร และการขาวกรองผานหนวยงานบังคับใชกฎหมายดวยกันในรูปของ เครือขายการบังคับใชกฎหมาย การวางระบบการตรวจคนเขาเมืองที่ มีประสิทธิภาพ การตรวจรวมกันตามแนวชายแดน เปนตน ผลลัพธที่ไดจากกรอบการประชุมกระบวนการบาหลี มีตั้ งแตการดําเนินการในเชิงนโยบายของภูมิภาคในการ จัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติไปจนถึงการพัฒนากลไกดานกฎหมายโดยสงเสริมใหประเทศสมาชิกสรางความ รวมมือระหวางกันในหลากหลายมิติ เพื่อใหสามารถจัดการกับปญหาอาชญากรรมขามชาติอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้ น เชน การออกกฎหมายภายในประเทศ และมาตรการการปองกัน และความชวยเหลือตอเหยื่อของการคามนุษยโดยเฉพาะ ผูหญิงและเด็ก มาตรการจัดการกับการเขาเมืองผิดกฎหมาย และการเสริมสรางขีดความสามารถประเทศในรูปแบบของ โครงการฝกอบรม - การประชุมหัวหนาตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of Police Conference : ASEANAPOL) เปนกลไก X ความรวมมือระหวางองคกรตํารวจอาเซียนในระดับปฏิบัติ โดยเปนผลมาจากความตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรม ขามชาติตอการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาค และตอสังคมอาเซียนโดยรวม มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนระเบียบและ กฎหมายที่ใชกลุมประเทศอาเซียน สงเสริมการพัฒนาและการดําเนินงานที่เปนระบบในการบังคับใชกฎหมายและการ รักษาความสงบเรียบรอย เสริมสรางความรวมมือรวมใจ และความสามัคคีของตํา รวจอาเซียนในการตอตานการกอการ ราย และอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถทั้ งในระดับองคกรและบุคลากร และเพื่ อเสริมสราง ความสัมพันธระหวางองคกรตํารวจในภูมิภาคอาเซียนใหแน นแฟนมากยิ่งขึ้น ผลลัพธที่ไดจากการประชุมจะอยูในรูป แถลงการณรวมที่ เปนขอเสนอแนะหัวหนาตํารวจของประเทศสมาชิก นําไปเปนแนวทางในการทํางานรวมกัน แมวา ขอ เสนอแนะที่ เ กิ ด ขึ้น จะเป น เพียงกรอบนโยบายกว า ง ๆ และไม มี พัน ธะผู กพั น ทางกฎหมาย แต ใ นทางปฏิบั ติ แ ล ว
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 76
แถลงการณดังกลาว ถือเปนเจตจํานงรวมของผูนําองคกรบังคับใชกฎหมายหลักของแตละประเทศที่ จะตองใชความ พยายามอยางสุดความสามารถในอันทีจ่ ะปฏิบัติตามใหได - การประสานความร วมมือ ทางอาญาผ านองค การตํ า รวจอาชญากรรมระหว างประเทศ (International Criminal Police Organization : INTERPOL) หรือเรียกทั่วไปวา องคการตํารวจสากล ซึง่ เปนองคการระหวางประเทศที่ เปนหนวยประสานงานกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมระหวางประเทศ และชวยเหลือ กัน ในการติดตามจับกุมผูกระทําผิดมาลงโทษXI ผานชองทางตํารวจสากล คือ ระบบขอมูลขาวสารตลอด 24 ชั่วโมง (I24/7) ซึง่ เปนการสงและรับขอมูลผานแหลงขอมูลกลาง (server) ของตํารวจสากลทีม่ ีสํานักงานใหญอยูที่ประเทศฝรั่งเศส สําหรับแลกเปลี่ยนขอมูลทางอาชญากรรมระหวางกัน เพือ่ ประโยชนในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติ หรือ คดีที่อาชญากรหลบหนีไปตางประเทศในลักษณะตาง ๆ ในรูปแบบของหมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) 8 ประเภทXII ตามลักษณะของประเภทคดี และคํารองขอความรวมมือที่กําหนดไว ตามระเบียบการใชหมายตํารวจสากล เชน หมายสีแดงใชสําหรับการติดตามบุคคลทีเ่ ปนที่ตองการตัวเพื่อสงกลับไปดําเนินคดี หรือรับโทษทางอาญาในประเทศผู รองขอ หรือหมายสีดําใชสําหรับติดตามบุคคลสูญหาย เปนตน เพื่อใหประเทศสมาชิกตํารวจสากลชวยเหลือในการสืบสวน สอบสวน และติดตามอาชญากรขามชาติที่หลบหนีจากประเทศหนึ่งเขาไปในอีกประเทศหนึ่งXIII คดีอาชญากรรมสําคัญที่ นาสนใจ ไดแก การกอการราย การคามนุษย การคายาเสพติด การลักลอบขนคนผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย การลักขโมยวัตถุโบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร ตลอดจนการติดตามบุคคลหลบหนีการดําเนินคดีอาญา และคําพิพากษา และอาชญากรสงคราม เปน ตน - การประสานงานผานสํานักงานนายตํารวจประสานงานประจําสถานทูต (Police Liaison Office) โดยมี นายตํารวจที่เปนผูแทนของสํานักงานตํารวจของประเทศนั้น ๆ ประจําอยูที่สถานทูตที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ มีหนาที่ใน การติดตอประสานงานในคดีอาญาตาง ๆ ที่ผูตองหาไดหลบหนีมาอยูในประเทศอาเซียน หรือจากประเทศอาเซียนไปอยู ตางประเทศใหเกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ทั้งในดานการแลกเปลี่ยนขอมูล การแสวงหาพยานหลักฐาน และการสง และรั บคําร องขอทางการทูต ที่ เกี่ยวของกับคดี สํานั กงานนายตํ ารวจประสานงานดังกลาวไดมีบทบาทสํ าคัญในการ คลี่คลายคดีอาชญากรรม และอาชญากรรมขามชาติสําคัญที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และอาเซียนในหลายคดีโดยเฉพาะ อยางยิง่ ทําใหขอจํากัดดานกฎหมายภายในนอยลง และเกิดความรวมมือระหวางกันมากขึน้ XIV กลาวโดยสรุป ความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาคอาเซียนมีทั้งในระดับที่เปนทางการ และไมเปน ทางการ ซึ่ ง นั บ เป น กลไกความร ว มมื อ ระหว า งประเทศที่ สํ า คั ญ แม ว า ประเทศอาเซี ยนจะได ต ระหนั ก ถึ ง ภั ยของ อาชญากรรมขามชาติทเี่ พิม่ ขึน้ แตเนื่องจาก กรอบความรวมมือของภูมิภาคสวนใหญ จะมีลักษณะของแนวทางการทํางาน รวมกันไมไดมีผลผูกพันในทางกฎหมายอยางเครงครัด ทําใหการบังคับใชกฎหมายของแตละประเทศ ยังคงตั้งอยูบน พืน้ ฐานของหลักกฎหมายภายในของรัฐ นโยบายของรัฐบาล และผลประโยชนของแตละประเทศเปนสํา คัญ ประกอบกับ กฎหมายของภูมิภาคยังไมไดมีการพัฒนาเหมือนเชน ในสหภาพยุโรป จึงทําใหความรวมมือระหวางประเทศของภูมิภาค อาเซียนไมเกิดประสิทธิภาพเทาทีค่ วร
การตอตานอาชญากรรมขามชาติ กลุ มประเทศอาเซี ยนนั้ น มีค วามตื่ น ตั ว ในการต อ ต า นอาชญากรรมข า มชาติ มาเป น เวลากว าทศวรรษแล ว เนื่องจาก อาชญากรรมขามชาตินั้นเปน เรื่องที่ไมไดเกิดภายในขอบเขตของประเทศใดประเทศหนึ่ง ความรวมมือหลาย ๆ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 77
อยางนั้น ประสบความสําเร็จเปนอยางดี เชน การลดจํานวนการคายาเสพติดในภูมิภาค แตก็ยังมีอีกหลายประเด็นที่ยังคง ตองรวมมือกันแกไข อยางเชน ปญหาโจรสลัด รวมถึงการพัฒนากลไกความรวมมือตาง ๆ เพื่อรับมือกับอาชญากรรมขาม ชาติทพี่ ัฒนาตัวเองตามการเปลี่ยนแปลงของโลก ในความเปนจริงแลว อาเซียนเริ่มมีความรวมมือในเรื่องการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแตป 1976 หลังจาก 10 Bali Concord I แตสวนใหญนั้น จะเนนในเรื่องของการคายาเสพติด จนอาเซียนไดมีการจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรี อาเซียน (ASEAN Ministerial Meetings : AMM) และเริ่มพูดถึงอาชญากรรมขามชาติในวงที่กวางขึ้น และไดมีการ เรียกรองใหประเทศสมาชิกมีการรวมมือกันใกลชิดยิ่งขึ้นในการแกปญหาตาง ๆ เชน ความไรประสิทธิภาพของตํารวจ ระบบกฎหมายที่ลาสมัย และการคอรรัปชั่น จนกระทั่ง ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในป 1997 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดประกาศ “คําประกาศที่วาดวยเรื่อง อาชญากรรมขามชาติ” (Declaration on Transnational Crime) ซึ่งถือเปนความรวมมือที่เปนรูปธรรมครั้งแรกของกลุม ประเทศอาเซียน ซึ่งคําประกาศดังกลาวมีความนาสนใจตรงที่มีการสรางกลไกความรวมมือตาง ๆ เพื่อตอตานปญหา อาชญากรรมขามชาติ เชน การกําหนดการประชุมรัฐมนตรีในเรื่องอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC) ทุก ๆ สองป และเรียกรองใหมีความรวมมือในสวนกลไกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ อาชญากรรมขามชาติ เชน ASEAN Senior Officials on Drug Matters (ASOD) และ ASEAN Chiefs of National 11 Police (ASEANAPOL) นอกจากนี้ ยังเรียกรองใหผลักดันกลไกความรวมมือเฉพาะกิจอยางเชน ASEAN Plan of Action on Transnational Crime, Institutional Framework for ASEAN Cooperation on Transnational Crime รวมถึงการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้ง ASEAN Centre on Transnational Crime (ACOT) เพื่อสนับสนุนงานของ สํานักงานเลขาธิการอาเซียน รวมไปถึงการเรียกรองใหมีความรวมมือในกลไกด านอื่น ๆ ที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและ ทางออม เชน ASEAN Law Ministers and Attorneys-General, ASEAN Chiefs of National Police, ASEAN Finance Ministers, Directors-General of Immigration และ Directors-General of Customs ใหมีบทบาทในการ ตอตานภัยจากอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น จนเกิดการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในป ค.ศ. 2015 ขึ้นมา โดยมีการเรียกรองใหประเทศสมาชิกรวมกันตอตานอาชญากรรมขามชาติโดยใชความเปนประชาคมอาเซียนเปน กลไกในการแกปญหา ซึ่งก็เปนที่นาติดตามวาการเปนประชาคมอาเซียนนั้น จะสามารถตอตานและการแกไขปญหาเรื่อง อาชญากรรมขามชาติไดดีเพียงใด จากความรวมมือดานอาชญากรรมขามชาติของอาเซียน ซึ่งถือไดวา ความรวมมือในการแกไขปญหานั้น เปน เพียงตัวแทนโดยรัฐเปนหลัก อยางเชน ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) ก็เปนเวทีที่ รัฐมนตรี ซึ่งเปนตัวแทนของรัฐเขามาหารือและรวมมือกัน และเปนผูตัดสินใจหลักในกิจกรรมตาง ๆ หรือกลไกอื่น ๆ เชน ASEANAPOL (ASOD) ก็เปนตัวแทนจากรัฐที่ไมมีอํานาจตัดสินใจในตัวเอง โดยตองไดรับทิศทาง และการสั่งการจาก รัฐบาลเทานั้น นอกจากนี้ กลไกเฉพาะกิจอื่น ๆ เชน Institutional Framework for ASEAN Cooperation on Transnational Crime หรือการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้ง ASEAN Centre on Transnational Crime ก็อยู ภายใตอาณัติของ AMMTC ทําใหถึงแมจะมีความรวมมือแตก็เปนในรูปแบบที่รัฐเปนศูนยกลาง (State-Centrism) ของ อํานาจการตัดสินใจ โดยไมมีการจัดองคกร หรือสถาบันที่มีลักษณะเหนือชาติ (Supranational) แตอยางใดก็ตาม ทั้งนี้ มี การใหเหตุผลถึงการที่สมาชิกกลุมประเทศอาเซียนในความสัมพันธแบบรัฐพันธนิยมวา เนื่องมาจาก การแกไขปญหา อาชญากรรมขามชาตินั้น มีหลายประเด็นที่ออนไหวตอความมั่นคงและอธิปไตยของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งขัดตอ 10 11
Ibid. ASEAN. (1997). ASEAN Declaration on transnational crime Manila, 20 December 1997.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 78
หลักการดั้งเดิมของอาเซียน อยางไรก็ดี ในสภาพของอาเซียนนั้น หากขาดความรวมมือระหวางรัฐเชนนี้ ก็ยากที่กอใหเกิด การรวมตัวได เนื่องจาก องคกรภาคประชาชนนั้นไมมีอํานาจในการกดดันรัฐบาลไดมากพอ นอกจากนี้ ยังมีความเปนไปได ที่นักการเมืองของประเทศในกลุมอาเซียนเองก็มีความสัมพันธกับกลุมอาชญากรรมขามชาติ หรือเปนผูกระทําการเอง เชน การคายาเสพติด และการฟอกเงิน โดยเฉพาะประเทศที่มีระดับการคอรรัปชั่นสูง เชน เมียนมาร ไทย และฟลิปปนส อยางไรก็ตาม ความรวมมือของรัฐมนตรีประเทศสมาชิกอาเซียนในรูปของ AMMTC ก็ไดแสดงถึงความจําเปนใน การกระจายความรวมมือไปยังดานอื่น ๆ เชน ระบบกฎหมายและการใชกฎหมาย ระบบ และระเบียบที่ปองกันการฟอก เงิน และการสงเงินขามพรมแดนอยางผิดกฎหมาย จนกอใหเกิดกลไกอยาง ASEAN Law Ministers and AttorneysGeneral, ASEAN Chiefs of National Police, ASEAN Finance Ministers, the Directors-General of Immigration และ Directors-General of Customs และจากการประชุม AMMTC ครั้งที่ 6 ป ค.ศ. 2007 ที่กรุงบันดา เสรี เบกาวัน ประเทศบรูไน ไดมีการริเริ่มโครงการ “Drug-Free ASEAN by 2015” ซึ่งมีความเห็นรวมกันวา มีความ จําเปนตองอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวน ตามที่ APSC Blueprint ไดระบุเปน ASEAN Work Plan for 12 Combating Illicit Drug-Trafficking ซึ่งตองอาศัยตั้งแตความรวมมือดานกฎหมาย การสงผูรายขามแดน ซึ่งยังคงเปน ปญหาของประเทศกลุมอาเซียน รวมถึงระบบสาธารณสุขในการแกไขปญหาผูติดยาเสพติด
ความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ไดประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2556 และจะมีผลใชบังคับ เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราช กิจจานุเบกษา เปนตนไป และโดยที่พระราชบัญญัติดังกลาวมีความสําคัญในดานความรวมมือระดับสากล เพื่อปองกันและ ปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยมีการกําหนดความผิดฐานมีสวนรว มในองคกรอาชญากรรมขามชาติ และ กําหนดมาตรการที่เปนเครื่องมือพิเศษในการสืบสวน สอบสวน และดําเนินคดีแกผูกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกร อาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ เชนเดียวกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ และ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติดฯ เหตุ ผ ลในการยกร างพระราชบั ญญั ติ ฉ บับ นี้ เนื่อ งจาก ป จจุ บั น ประเทศไทยมี ปญ หาเกี่ ยวกั บการประกอบ อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสงผลกระทบตอความสงบเรียบรอย และความมั่นคงของประเทศเปนอยางมาก แตปรากฏวา กฎหมายที่มีอยูในปจจุบัน ซึ่งมีบทบัญญัติใกลเคียงกับการที่จะนํามาใชเปนมาตรการในการปองกันปราบปรามองคกร อาชญากรรม เชน บทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญาวาดวยเรื่องอั้งยี่ และซองโจร กฎหมายปองกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน และกฎหมายปองกันและปราบปรามยาเสพติด แตมาตรการเหลานั้นยังไมเพียงพอ และยังไมสามารถใชบังคับ เพื่อดําเนินคดีกับการกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบกับ ประเทศไทยไดลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร จึงสมควร กําหนดลักษณะความผิดใหครอบคลุมการกระทําดังกลาว รวมทั้งกํา หนดวิธีการสืบสวน สอบสวนการกระทําความผิด 13 ดังกลาวนั้นดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัตินี้ ไดใหคํานิยามของ “องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลตั้งแตสามคนขึ้นไปที่ รวมตัวกันกระทําการใด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระทําความผิดอาญาที่กฎหมายกําหนดโทษจําคุกขั้นสูง ตั้งแตสี่ปขึ้นไป หรือโทษสถานที่หนักกวานั้น และเพื่อไดมาซึ่งผลประโยชนทางการเงิน ทรัพยสิน หรือผลประโยชนทางวัตถุอยางอื่นไมวา 12 13
ASEAN Political-Security Community Blueprint. วันชัย รุจนวงศ. (2548). ผาองคกรอาชญากรรม : มะเร็งรายของสังคม สํานักพิมพมติชน. สิงหาคม. 2548.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 79
โดยทางตรงหรือทางออม และ “องคกรอาชญากรรมขามชาติ ” หมายความวา องคกรอาชญากรรมที่มีการกระทํา ความผิดที่มีความเชือ่ มโยง หรือเกี่ยวพันกันมากกวาหนึ่งรัฐ และบัญญัติใหผูใดที่กระทําการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ 1) เปนสมาชิกหรือเปนเครือขายดําเนินงานขององคกรอาชญากรรมขามชาติ 2) สมคบกันตั้งแตสองคนขึ้นไป เพื่อกระทําความผิดรายแรง อันเกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ 3) มี ส ว นร ว มกระทํ า การใด ๆ ไม ว า โดยตรง หรื อ ทางอ อ มในกิ จ กรรม หรื อ การดํ า เนิ น การขององค ก ร อาชญากรรมขามชาติ โดยรูถึงวัตถุประสงค และการดําเนินกิจกรรม หรือโดยรูถึงเจตนาที่จะกระทําความผิดรายแรงของ องคกรอาชญากรรมขามชาติดังกลาว 4) จัดการ สั่งการ ชวยเหลือ ยุยง อํานวยความสะดวก หรือใหคําปรึกษาในการกระทําความผิดรายแรงของ องคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยรูถึงวัตถุประสงค และการดําเนินกิจกรรม หรือโดยรูถึงเจตนาที่จะกระทําความผิด รายแรงขององคกรอาชญากรรมขามชาติดังกลาว ผูนั้นกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ และ หากเปนการกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร ผูนั้นจะตองรับโทษในราชอาณาจักร รวมทั้งยังไดบัญญัติใหการกระทํา ความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติตามพระราชบัญญัตินี้ เปนความผิดมูลฐานตามกฎหมายวาดวยการ ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน อีกดวย หากผูก ระทํา ความผิ ดฐานมี สวนร วมในองคกรอาชญากรรมขามชาติคนหนึ่งคนใดไดล งมือกระทําความผิ ด รายแรงตามวัตถุประสงคขององคกรอาชญากรรมขามชาตินั้น ผูกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขาม ชาติที่อยูดวยในขณะกระทําความผิดรายแรง หรือรวมประชุมแตไมไดคัดคานในการตกลงใหกระทําความผิดรายแรงนั้น รวมทั้งบรรดาหัวหนา ผูจัดการ และผูมีตําแหนงหนาที่ในองคกรอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองระวางโทษตามที่ไดบัญญัติ ไว สําหรับความผิดรายแรงนั้นทุกคน ในส ว นของบทกํ า หนดโทษ ได กํ าหนดให ผู ก ระทํ า ความผิ ดต อ งรั บโทษหนั ก ขึ้ น หากผูก ระทํ าความผิ ด เป น สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น ขาราชการ พนักงานองคกรปกครองสวน ทองถิ่น พนักงานองคการ หรือหนวยงานของรัฐ กรรมการ หรือผูบริหาร หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ เจาพนักงาน กรรมการ ผู จั ด การ หรื อ บุ ค คลใด ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น งานของสถาบั น การเงิ น หรื อ กรรมการขององค ก รต า ง ๆ ตาม รัฐธรรมนูญ จะตองไดรับโทษหนักเปนสองเทาของโทษที่กําหนด และโทษหนักสามเทา สําหรับพนักงานเจาหนาที่ หรือ พนักงานสอบสวนตามพระราชบัญญัตินี้ ผูใดกระทําความผิดตอตําแหนงหนา ที่ราชการอันเกี่ยวเนื่องกับการกระทํ า ความผิดตามหมวดนี้ มาตรการพิ เ ศษในการสื บ สวนสอบสวน และดํ า เนิ น คดี แ ก ผู ก ระทํ า ความผิ ด ฐานมี ส ว นร ว มในองค ก ร อาชญากรรมขามชาติ พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดวางระบบการใชอํานาจการดําเนินคดีในความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรม ขามชาติ เพื่อมิใหเกิดการทับซอนอํานาจระหวางหนวยงาน และเกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ โดยกําหนดใหพนักงาน สอบสวนที่มีอํานาจ คือ พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กรณีที่ผูกระทําความผิดเปน เจาหนาที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต และอยูในอํานาจหนาที่ ของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบก็ยังคงมีอํานาจดําเนินคดี ตอไปตามพระราชบัญญัตินี้ได แตตองแจงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบ ทั้งนี้ ไมตัด อํานาจของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติที่จะดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงเอง หรือมอบหมาย ใหพนักงานไตสวนตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตเขารวมสอบสวนกับ พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบก็ได
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 80
ในกรณีที่คณะกรรมการคดีพิเศษไดมีมติใหคดีดังกลาวตองดําเนินการโดยกรมสอบสวนคดีพิเศษใหพนักงาน สอบสวนสงเรื่องใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการ ซึ่งบทบัญญัติมาตรานี้ แมจะไมบัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้ หากคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) มีมติใหคดีความผิดดังกลาว ซึ่งไมใชคดีความผิดที่อยูในบัญชีทายพระราชบัญญัติการ สอบสวนคดี พิ เ ศษ พ.ศ. 2547 หรื อ ที่ กํ า หนดเพิ่ ม เติ ม โดยกฎกระทรวง เป น คดี พิ เ ศษตามมาตรา 21 (2) แห ง พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ พนักงานสอบสวนก็จะตองสงสํานวนใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการอยูแลว ตามขอบังคับ กคพ. แตอยางไรก็ดี การบัญญัติใหมีความชัดเจนไวในพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว ก็เปนการเชื่อมตอ อํานาจการสอบสวนมิใหขาดตอน พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยังมีบทบัญญัติเรื่องการใชมาตรการทางกฎหมายที่เปนเครื่องมือพิเศษในการสืบสวนไว หลายประการ เชนเดียวกับบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ ซึ่งไดนํามาพิจารณาประกอบการยกราง พระราชบัญญัตินี้ อาทิ การทําขอตกลงระหวางหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ การขอใหหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ที่อื่น ของรัฐใหความชวยเหลือ สนับสนุน หรือเขารวมปฏิบัติหนาที่ไดตามความจําเปน การคนโดยไมตองมีหมายจากศาล การมี หนังสือสอบถาม หรือเรียกบุคคล หรือเอกสาร หรือการยึด อายัด การดําเนินการกับของกลาง การมี และใชอาวุธปน เครื่ อ งกระสุ น ป น ยุ ท ธภั ณ ฑ การได ม าซึ่ ง เอกสารข อ มู ล ข า วสาร ซึ่ ง ส ง ทางไปรษณี ย โทรเลข โทรศั พ ท โทรสาร คอมพิวเตอร เครื่องมือ หรืออุปกรณในการสื่อสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อทางเทคโนโลยีใด การมอบหมายใหบุคคลใด จัดทําเอกสาร หรือหลักฐานใดขึ้น หรือปฏิบัติการอําพราง เพื่อประโยชนในการสืบสวน แตในสวนที่บัญญัติเพิ่มเติม นอกเหนือจากมาตรการตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษฯ ก็คือ การเคลื่อนยายภายใตการควบคุม ตลอดจนใช เครื่องมือสื่อสารโทรคมนาคม เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส หรือดวยวิธีก ารอื่นใด เฉพาะในการสะกดรอย ผูตองสงสัยวา 14 กระทําความผิด หรือจะกระทําความผิดฐานมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ นอกจากนี้ ยังมีบทบัญญัติที่เปน มาตรการการสงเสริมใหผูตองหารวมมือในการใหขอมูลที่สําคัญ และเปนประโยชนอยางยิ่ง ในการสืบสวนสอบสวน เกี่ยวกับ กิจกรรม และการกระทําความผิดขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสามารถใชเปนพยานหลักฐานในการ ดําเนินคดีตอหัวหนา หรือผูมีบทบาทสําคัญในองคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยใหอัยการสูงสุดมีอํานาจใชดุลพินิจออก คําสั่งไมฟองผูตองหานั้น ทุกขอหา หรือบางขอหาก็ได หรือออกคําสั่งถอนฟอง ถอนอุทธรณ ถอนฎีกา หรือไมอุทธรณ ไม ฎีกา ในความผิดนั้นทั้งหมด หรือบางสวน แลวแตกรณี หรือศาลจะลงโทษผูนั้นนอยกวาอัตราโทษขั้นต่ําที่กําหนดไวสําหรับ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ก็ได ดังนั้น การปองกันและปราบปรามปญหาองคกรอาชญากรรมขามชาติใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนตอง อาศัยความรวมมือระหวางประเทศ พระราชบัญญัติปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 นี้ จึงเปนสวนหนึ่งของการประสานความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมรวมกัน โดย มีการบัญญัติใหคํานิยามความหมายที่เปนสากล และกําหนดฐานความผิด ตลอดจนการมีมาตรการพิเศษในการสืบสวน สอบสวนใหสอดคลอง และเปนไปตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ซึ่งมาตรการพิเศษตาง ๆ เหลานี้ จะเปนประโยชนตอการสืบสวนสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน เพื่ อดําเนินคดีกับ ผูกระทําความผิด และองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ และสัมฤทธิ์ผล อยางไรก็ตาม ประเทศไทยก็ไม สามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได เนื่องจาก สาเหตุดังตอไปนี้ 1. กฎหมายของประเทศไทย ปจจุบัน มีกฎหมายไทยบังคับใชเพื่อปอ งกันและแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ เชน กฎหมายตอตาน ยาเสพติด กฎหมายฟอกเงิน กฎหมายปองกันและปราบปรามการคาประเวณี และกฎหมายตอตานการคาหญิงและเด็ก 14
วารสาร “DSI ไตรสาร” ปที่ 5 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2556.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 81
เปนตน แตกฎหมายเหลานี้ บัญญัติโดยพื้นฐานทัศนคติที่มุงใชเพื่อปราบปรามการกระทําผิดของปจเจกบุคคล รวมทั้ง กฎหมายที่บัง คับใชเปนเวลานานก็ไมอ าจปราบปรามการกระทํ าผิดโดยองค กรอาชญากรรมขามชาติที่ มีระบบ และ โครงสรางซับซอน มีอิทธิพล และปกปดการดําเนินงานได เชน 1.1. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 ในความผิดฐานเปนอั้งยี่ บัญญัติไววา “ผูใดเปนสมาชิกของคณะบุคคล ซึ่งปกปดวิธีดําเนินการ และมีความมุงหมาย เพื่อการอันมิชอบดวย กฎหมาย ผูนั้นกระทําความผิดฐานเปนอั้งยี่ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดป และปรับไมเกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท ถาผูกระทําความผิดเปนหัวหนา ผูจัดการ หรือผูมีตําแหนงหนาที่ในคณะบุคคลนั้น ผูนั้ นระวางโทษ จําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองหมื่นบาท” แตต ามขอ เท็ จจริ งมาตราดังกลา วไมมี สภาพการบัง คับ ใชเ ทา ที่ค วร เพราะความเขาใจผิ ดของเจ า พนักงานวา ผูกระทําความผิดตองเปนชาวจีนเทานั้น เมื่อแกงชาวตางชาติกระทําความผิดอันมีองคประกอบของความผิด ฐานเปนอั้งยี่ ก็ไมมีการดําเนินคดีอาญาในฐานความผิดดังกลาว ประกอบกับอัตราโทษปรับเปนเงินจํานวนนอย ทําใหกลา เสี่ยงจะประกอบอาชญากรรมรายแรง เนื่องจาก ไดรับผลตอบแทนเปนจํานวนเงินมากกวา 1.2. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กําหนดวิธีปฏิบัติในการจับกุมการดําเนินคดีอาญา และการ พิจารณาลงโทษแกผูกระทําผิด ซึ่งเปนสมาชิกองคกรอาชญากรรมขามชาติเชนเดียวกับคดีอาญาทั่วไป โดยพนักงาน สอบสวนรับคํารองทุกข สอบสวน และเสนอสํานวนการสอบสวนใหพนักงานอัยการพิจารณามีคําสั่งฟองหรือไมฟอง ผูตองหา แตผูตองหาซึ่งเปนสมาชิกองคกรอาชญากรรมขามชาติ จะมีหัวหนาคอยใหความชวยเหลือ มีการวางแผน และ หลบหนี ร อดโดยอาศั ยเงิ น ได จ ากการกระทํ า ความผิ ด ในการซื้ อ อิ ส รภาพ รวมทั้ ง กรณี ก ารปล อ ยตั ว ชั่ ว คราว โดยมี หลักประกัน และเมื่อชาวตางชาติผูกระทําความผิดหลบหนีไปได และยอมใหยึดเงินประกัน เปนตน 1.3. กฎหมายเฉพาะเพื่อปองกันและปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน พระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปรามผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 เปนตน มีลักษณะเปนกฎหมายเดี่ยว และไมมีหนวยงานอื่นสนับสนุนเทาที่ควร ปจจุบัน ประเทศไทยมีกรมสอบสวนพิเศษ สังกัดกระทรวงยุติธรรม ซึ่งมีหนาที่ปราบปรามอาชญากรรม ในทุกรูปแบบ รวมทั้งองคกรอาชญากรรมขามชาติที่มีผลกระทบตอความสงบสุขของประเทศ โดยกรมสอบสวนคดีพิเศษ จะมีผูเชี่ยวชาญจากทุกสาขาที่มีความรูทําการสืบสวน รวบรวมหลักฐาน ประวัติ และพฤติการณของผูตองสงสัย วาเปนผู อยูเบื้องหลังการกระทําความผิดในคดีตาง ๆ เพื่อสังเกต และติดตามพฤติการณของกลุมบุคคลหรือองคกร และใชเปน พยานหลักฐานในการดําเนินคดีอาญา ตอไป 1.4. ประเทศไทยไมมีกฎหมายสําหรับการสืบสวนปราบปรามองคกรอาชญากรรมโดยเฉพาะ เชน กฎหมาย เพื่อการปราบปรามองคกรอาชญากรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา อิตาลี ที่มีอัตราโทษสูงกวากฎหมายอาญาทั่วไป และไม มีกฎหมายวาดวยการดักฟงโทรศัพท หรือระบบคอมพิวเตอรในการสื่อสาร กฎหมายคุมครองพยาน หรือกฎหมายวาดวย การต อ รองคํา รั บสารภาพ ทํา ใหจํ าเลยหลุ ดพ น จากการถู ก ลงโทษ เนื่ องจาก พยานหลัก ฐานไมเ พียงพอ และไปก อ อาชญากรรมที่มีความรุนแรงมากขึ้นอีก 2. ป ญ หาขอความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ ในการปราบปรามและต อ ต า นองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ เนื่องจาก ประเทศมีร ะบบกฎหมายที่แ ตกตางกัน ทํา ใหกระบวนการพิจารณา และวิธีปฏิบัติ แตกตา งกัน โดยระบบ กฎหมาย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ระบบกลาวหา (Accusatorial System) และระบบไตสวน (Inquisitorial System)
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 82
ระบบกฎหมายของไทย เปนแนวทางเดียวกับ ระบบของประเทศอังกฤษ และสหรัฐ อเมริก า คือ ระบบ กลาวหาที่มีผูเสียหาย หรือโจทกนําคดีมาฟองรองโดยกลาวหาผูกระทําผิด หรือจําเลย และคูความตองนําพยานหลักฐาน มาแสดง แถลงตอศาล ศาลเปนตุลาการผูชี้ขาด ซึ่งตองวางตัวเปนกลาง ซึ่งแตกตางจากบางประเทศ เชน ประเทศฝรั่งเศส ที่มีระบบไตสวนคนหาขอเท็จจริงในศาล โดยเจาหนาที่ของรัฐ ดังนั้น พยานหลักฐานจึงเปนสาระสําคัญในการพิจารณา ลงโทษจําเลยตามขอหา แตภาระการพิสูจน และความยุงยากในการพิสูจนความผิดโดยปราศจากขอสงสัย ซึ่งกําหนดไวใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิพื้นฐานของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ การรวมมือกันระหวางประเทศที่มีอยาง จํากัด ทําใหจําเลยซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม อาจหลุดพนจากการถูกลงโทษไดโดยงาย
ภาพรวมของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน 1. โครงสรางกระบวนการยุติธรรม ภาพรวมในกระบวนการยุ ติ ธ รรมทางอาญาของแต ละประเทศในภู มิภาคอาเซี ยนนั้ น มี โ ครงสร า งของ กระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน กลาวคือ หนวยงานบังคับใชกฎหมายหลักประกอบด วย ตํารวจ อัยการ ศาล และราชทัณฑ ตามที่กฎหมายของแตละประเทศบัญญัติไว แมวา หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลัก เหลานี้จะมีขอบเขต และอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบที่ตางกัน เชน ในกรณีของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เจาหนาที่ตํารวจนอกจากจะทําหนาที่ในการสืบสวนแลว ยังทําหนาที่เปนพนักงานราชทัณฑดวย และในบางประเทศมีการ แยกสํานักงานตรวจคนเขาเมืองออกจากโครงสรางของตํารวจ รวมถึงการมีกระทรวงที่กํากับดูแลการปฏิบัติในเชิงนโยบาย ที่ตางกัน แตถือวา โครงสรางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของทุกประเทศมีความทันสมัยตามสมควร ซึ่งสามารถสรุป บทบาทหนาที่ของแตละองคกรไดดังตอไปนี้
1) ตํารวจ
ทําหน าที่ในการสื บสวนคดีอ าญา ดูแลรั กษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิ นของ ประชาชนและรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศทั่วไป 2) อัยการ ทําหนาที่หลักในการฟองคดีตอศาล การยื่นอุทธรณหรือฎีกาคดีตอศาล การคุมครองสิทธิ ประโยชนตามกฎหมายแกประชาชน รวมถึงการสอบสวนรวมกับเจาพนักงานตํารวจใน บางคดี 3) ศาล ทําหนาที่ในการพิจารณาอรรถคดีทั้งปวงที่เกิดขึ้นในเขตอํานาจของแตละประเทศตามที่ พนักงานอัยการไดยื่นฟองมา โดยทั่วไปจะแบงประเภทคดีออกเป นคดีเพงและพาณิชย และคดีอ าญา โดยในบางประเทศที่ป ระชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาอิสลามจะมีศาล อิสลาม ที่เรียกวา “ศาลซารีอะห” ซึ่งจะพิจารณาพิพากษาเฉพาะในคดีเกี่ยวกับศาสนา และคดีครอบครัว 4) ราชทัณฑ มีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลผูตองขังที่อยูระหวางการพิจารณาในชั้นศาลและที่ ไดถูกตัดสินใหลงโทษจําคุก การตรวจสอบของฝายอัยการ 2. ระบบงานยุติธรรม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 83
ขั้นตอนของการดําเนินคดีอาญาโดยทั่วไปของประเทศอาเซียน จะมีลักษณะคลายคลึงกัน โดยสามารถแบง ออกไดเปน 4 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนการสืบสวนสอบสวน และจับกุม ขั้นตอนการฟองรองดําเนินคดี ขั้นตอนการตัดสิน พิจารณาคดี และขัน้ ตอนการลงโทษ และรับโทษ โดยในแตละขั้นตอนอาจมีความแตกตางในรายละเอียดบางประการ ดังนี้ 1) ขั้นตอนการสืบสวนสอบสวนและจับกุมดําเนินคดี สวนใหญจะเปนหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย ตํารวจ โดยอาจมาจากการที่ผูเสียหายมารองทุกขตอเจาหนาที่ดวยตนเอง หรือเจาหนาที่ตํารวจสืบสวนพบเหตุ เมื่อพบวา คดีมีพยานหลักฐานเพียงพอเจาหนาที่ตํารวจจะเขาไปดําเนินการสืบสวนตรวจคน จับกุม นําตัวมาสอบสวน และควบคุม ตัวระหวางสอบสวนตามอํานาจที่กฎหมายบัญญัติไว ซึ่งโดยทั่วไปจะมีอํานาจควบคุมไดไมเกิน 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น จะตองไปขออํานาจพนักงานอัยการหรือศาลในการควบคุมตัวตอ เชน ในกรณีของสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ตํารวจจะควบคุมตัวภายในอํานาจไดไมเกิน 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น จะตองยื่นคํารองตอพนักงานอัยการเพื่อขอใหมี การกักขังชั่วคราวไดครั้งละไมเกิน 3 เดือน และขอขยายไดไมเกิน 3 ครั้ง หรือในกรณีของไทยตองยื่นคํารองตอศาลเพื่อ ขอใหฝากขังผูตองหาไดไมเกินครั้งละ 12 วัน รวมทั้งหมดไดไมเกิน 84 วัน เปนตน ทั้งนี้ จํานวนระยะเวลาในการควบคุม ตัวและอํานาจในการดําเนินการขึ้นอยูกับกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของแตละประเทศเปนสําคัญ โดยในระหวางการ สอบสวน ผูตอ งหาสามารถจัดหาทนายความมารวมฟงการสอบสวนดวยก็ได หรือในคดีสําคัญหรือที่มีโทษสูง รัฐตองจัดหา ทนายให แตในกรณีของสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร ซึ่งปกครองดวยระบอบทหาร อํานาจสวนใหญจะอยูที่เจา พนักงานตํารวจ การสอบสวนโดยทั่วไปไมตองมีทนายความมารวมฟงการสอบสวน แตผูตองหาอาจมีทนายความให คําปรึกษาดานคดีไดแตตองวาจางเอง และในกรณีการสอบสวนเด็กหรือเยาวชนที่กระทําผิด กฎหมายไมไดบัญญัติใหตอง มีส หวิ ช าชี พ เข ามาร ว มสอบสวนแต อ ย างใด ซึ่ง แตกตา งจากประเทศสมาชิ กอาเซี ยอื่ น ๆ ที่มี นั ก จิ ตวิ ท ยา นั ก สั ง คม สงเคราะห และพนักงานอัยการเขามารวมสอบสวนดวย สําหรับการจับกุมผูตองหาพบวา ในกลุมประเทศอาเซียนตํารวจจะจับกุมผูตองหาได 2 กรณี คือ จับ ตามหมายจับที่ออกโดยศาล หรืออัยการสูยงสุด และจับโดยอาศัยเหตุซึ่งหนา โดยเหตุที่ออกหมายจับ และหมายคนเปนไป ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวของของแตละประเทศกําหนดไว เชน มีอัตราโทษจําคุกตั้งแตกี่ปขึ้นไป หรือมีเหตุอันควรเชื่อวา จะ หลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน 2) ขั้นตอนการฟองรองดําเนินคดี เมื่อฝายตํารวจไดรวบรวมพยานหลัก ฐานครบถวนสมบูรณ และมี หลักฐานพอฟองผูตองหาไดวา กระทําผิดจริง และทราบวา ผูใดเปนผูกระทําผิดโดยไมวาจะมีตัวผูตองหาอยูในความ ควบคุมหรือไมมีผูตองหาก็ตาม ฝายตํารวจจะสรุปสํานวนการสอบสวนสงสํานวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อดําเนินการฟอง คดีตอศาลที่รับผิดชอบ โดยมีกําหนดระยะเวลาในการที่จะตองยื่นฟองคดีใหทันเวลา ทั้งนี้ ขึ้นอยู กับอัตราโทษ เช น พนักงานอัยการใน สปป.ลาว ตองพิจารณาคดีใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 15 วัน หากเกินกวานั้น ถือวา เปนการกระทํา ที่ไมชอบดวยกฎหมาย ในขณะที่ พนักงานอัยการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามตองฟองคดีตอศาลใหเสร็จสิ้น ภายในระยะเวลา 20 วัน สําหรับความผิดที่กฎหมายบัญญัติไวใหมีโทษจําคุกเกินกวา 7 ป และภายในระยะเวลา 30 วัน สําหรับความผิดที่กฎหมายบัญญัติไวใหมีโทษจําคุกเกินกวา 7 ป จําคุกตลอดชีวิตและประหารชีวิต นับแตวันที่ไดรับ สํานวนการสอบสวน แตสามารถขอขยายเวลาในการฟองไดโดยขึ้นอยูกับอัตราโทษ ซึ่งพนัก งานอัยการจะมีหนาที่สําคัญ ไดแก การฟองคดีตอศาล การสั่งสอบสวนเพิ่มเติม และระงับคดี หรือระงับคดีชั่วคราว อยางไรก็ตาม ขั้นตอนการฟองคดีในบางประเทศ เชน ในสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมารฝายตํารวจมี หนาที่ในการฟองคดีโดยศาลสงสํานวนการสอบสวนพรอมตัวผูกระทําผิ ด (จําเลย) ตอศาล แตหากผูเสียหายฟองคดีเอง ศาลจะไตสวนมูลฟอง และในคดีที่ผูตองหาเปนเยาวชนจะมีผูพิพากษาสมทบเขารวมพิจารณาคดีดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 84
3) ขั้นตอนการตัดสินพิจารณาคดี การพิจารณาคดีในชั้นศาลจะเริ่มจากศาลชั้นตนในการพิจารณาอรรคดี ทั้งปวงที่พนักงานอัยการ หรือผูเสียหายไดยื่นฟองตอศาล โดยหากมีการพิพากษาลงโทษประการใดแลว หากฝายจําเลยไม พอใจคําตัดสินสามารถยื่นคํารองอุทธรณคดีตอศาลอุทธรณได ซึ่งมีกําหนดระยะเวลาในการยื่นคํารองไว เชน ภายใน 15 วัน ในกรณีของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือภายใน 30 วัน ในกรณีของประเทศไทยหรือมาเลเซีย นับแตวันที่ศาล มีคําพิพากษา โดยศาลมีอํานาจกลับคําพิพากษาหรือยืนตามคําพิพากษาศาลชั้นตนก็ได นอกจากนี้ หากศาลพบวา มีการ กระทํามิชอบดวยกฎหมาย หรือพบการกระทําที่ยังไมถูกลงโทษ คณะผูพิพากษาของประเทศมีอํานาจยกคดีขึ้นเพื่อ พิจารณาใหมได และหากผลของคําพิพากษาศาลอุทธรณเปนเชนไร คูความสามารถยกคดีขึ้นสูศาลสูงสุด หรือศาลฎีกาได คําพิพากษาศาลฎีกาถือเปนที่สุด และคําพิพากษาของศาลจะมีผลบังคับตามกฎหมาย เมื่อพนระยะเวลาอุทธรณ หรือฎีกา แลว 4) ขั้นตอนการรับโทษ และอภัยโทษ หลังจากที่ศาลไดตัดสินลงโทษและไมมีการอุทธรณหรือฎีกาในคดีแต ละลักษณะ จําเลยจะถูกบังคับคดีตามคําพิพากษา โดยในกรณีที่ถูกตัดสินลงโทษจําคุก หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือประหาร ชีวิต จําเลยจะถูกสงตัวไปจําคุกที่ฝายราชทัณฑบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา ซึ่งในหลายประเทศจะมีวธิ ีการ ปฏิบัติตอผูตองขังแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ ขั้นอยูกับสถานะทางเศรษฐกิจของประเทศ และการใหความสําคัญตอเรื่องสิทธิ มนุษยชน อยางไรก็ตาม ทุกประเทศจะมีการแยกประเภทผูตองขังเปนชายและหญิง ซึ่งรวมถึงสถานพินิจที่ควบคุมตัวเด็ก ดวย โดยในหลายประเทศเปดโอกาสใหผูตองขังขออภัยโทษไดขึ้นอยูกับความร ายแรงของคดี โทษที่ไดรับและความ ประพฤติของผูตองขัง นอกจากนี้ ในกรณีที่ประเทศมีความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญากับประเทศผูรองขอ และมีการขอรับตัวนักโทษกลับไปดําเนินการเอง ก็สามารถกระทําได นอกจากนี้ ประเทศในกลุมอาเซียนจะมีกระบวนการ ใหอภัยโทษได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับระบบการบริหารงาน ความรายแรงของความผิดและอัตราโทษที่ไดรับดวย
3. โทษทางอาญา การลงโทษในทางอาญาของประเทศอาเซียนมีหลายระดับขึ้นอยูกับความรายแรงของความผิด โดยเริ่มตั้งแต เบาไปหนัก ไดแก บริการสาธารณะ คุมประพฤติ ใชแรงงาน ปรับ ริบทรัพย กักขัง จําคุกตลอดชีวิต และประหารชีวิต โดย ในบางประเทศอาจมีโทษแบบอื่น ๆ เชน การเฆี่ยน ในประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร สําหรับความผิดบางประเภทที่ ตองการใหเกิดความหลาบจํา แตในหลายประเทศ แมวา ผูกระทําผิดจะถูกตัดสินประหารชีวิตก็ตาม แตในทางปฏิบัติยังคง ใหรอโทษดังกลาวโดยใหจําคุกตลอดชีวิตไวกอน โดยอาจมีสาเหตุมาจากการอยูระหวางแกไขกฎหมาย หรือประเด็นเรื่อง สิทธิมนุษยชนและศาสนา เชน ในกรณีของ สปป.ลาว ไมไดมีการลงโทษประหารชีวิตมาเปนเวลานานพอสมควรแลว แต สํ า หรั บ กรณี ข องประเทศไทยศาลมี อํ า นาจในการสั่ ง โทษได แต ใ นเรื่ อ งการให อ ภั ย โทษเป น พระราชอํ า นาจของ พระมหากษัตริย นอกจากนี้ ในบางประเทศจะพบวา จํานวนคดีที่ขึ้นสูศาลอาจไมมากนัก เนื่องจาก มีกระบวนการไกลเกลี่ย เขามาชวยในการประนีประนอมระหวางคูพิพาทโดยใชกลไกของการบริหารราชการสวนทองถิ่น หรือทางฝายปกครอง เชน ตําบลหรือหมูบาน เขามาชวยในการยุติคดี ซึ่งพบมากในประเทศที่ความขัดแยงไมสูงมากนัก เชน กรณีของ สปป.ลาว เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 85
4. หลักเกณฑความรับผิดทางอาญา หลั ก เกณฑ ก ารได รั บ ความคุ ม ครองสิ ท ธิ ใ นฐานเด็ ก หรื อ ผู เ ยาว ซึ่ ง พบว า หลายประเทศในอาเซี ยนมี หลักเกณฑเรื่องอายุเขามาเกี่ยวของในการรับผิดและรับโทษทางอาญาโดยมีชวงอายุหนึ่งที่แมวา กระทําผิดแตไมตองรับ โทษ เชน อายุต่ํากวา 7 ป หรือ 15 ป หรือมีอายุต่ํากวา 18 ป ซึ่งอยูในขายเปนเยาวชนและกระทําผิดแตไมตองเขาสู กระบวนการพิจารณาคดีแบบผูใหญ หรือผูที่บรรลุนิติภาวะแลว โดยจะมีกระบวนการพิจารณาคดี และการลงโทษเปนการ เฉพาะเพื่อใหเหมาะสมตอสภาพทางรางกายและจิตใจ เชน การคุมตัวไวในสถานพินิจ และคุมครองเด็กและเยาวชน และมี การบําบัด ฟนฟู เยียวยา และฝกอบรม เพื่อใหสามารถกลับคืนสูสังคมไดอยางเปนปกติสุขและปลอดภัย ซึ่งในเรื่อง ดังกลาวพบวา มีกฎหมายและหนวยงานรับผิดชอบเปนการเฉพาะในเกือบทุกประเทศ ยกเวนในสาธารณรัฐแหงสหภาพ เมียนมาร
สภาพปญหาของกระบวนการยุติธรรมไทยในการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองเสรีภาพ ของบุคคลในประเทศไทย การเตรียมความพรอมดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในฐานกลไกที่ทํา หนาที่สนับสนุนความ รวมมื อรัฐ ระดับองคกร หรื อระดั บบุค คล จึงเป นเรื่ องที่ มีความสํา คัญในลําดั บตน ๆ ที่จะช วยใหการเปน ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียนสัมฤทธิ์ผลตามที่วางไว สําหรับประเทศไทยที่ผานมา กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย มักไดรับคําวิจารณวา ขาดประสิทธิภาพ ทั้งในดานการบัง คับใช กฎหมาย และการคุม ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของบุค คลที่ ไ มเปน ไปตามหลัก สากล อีกทั้ งเป น กระบวนการยุติธรรมที่มีความลาชา ซึ่งผลที่ตามมา คือ ไมสามารถอํานวยความยุติธรรมทําใหผูตองหา หรือจําเลยตองถูก คุมขังเปนเวลานาน ผูเสียหายก็ไมไดรับการชดใชเยียวยาทันทวงที นอกจากนี้ ในการพิจารณาคดีของศาลชั้นตน คดีสวน ใหญจะพิจารณาเสร็จภายใน 1 ป แตก็มีคดีอีกจํานวนมากที่มีระยะเวลาการพิจารณาเกิน 1 ป และมีบางคดีที่ใชระยะเวลา พิจารณาถึง 5 ป ซึ่งการใหความยุติธรรมที่ลาชา ก็คือ การปฏิเสธความยุติธรรม (Justice delayed, Justice denied) ในปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่ใชในการปราบปรามอาชญากรรมอยูหลายฉบับ นับตั้งแตประมวลกฎหมาย อาญา พระราชบัญญั ติยาเสพติ ดใหโทษ พระราชบั ญญัติอาวุธ ปน ฯลฯ พระราชบั ญญัติปองกั นและปราบปรามการ คาประเวณี พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พระราชบัญญัติการพนัน เปนตน แตกฎหมายเหลานี้ไดตราขึ้นเพื่อบังคับใชแก การประกอบอาชญากรรมของปจเจกบุคคล หรือการประกอบอาชญากรรมที่มีการสมคบกันในกรณีธรรมดาทั่ว ๆ ไป แต ไมใชการประกอบอาชญากรรมที่มีลักษณะเปนองคกรอาชญากรรมขามชาติ เมื่อนํากฎหมายที่มีอยู ดังกลาวมาบังคับใช ดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติ จึงมักจะไมคอยสัมฤทธิ์ผลเทาที่ควร สําหรับตัวอยางผลกระทบของประชาคมอาเซียน ที่อาจมีตอระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของประเทศไทยนั้น ไดแก ปญหาแรงงานตางดาว ทั้งที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมาย และที่ลักลอบมาเปนแรงงานเถื่อน การ เคลื่อนยายแรงงานระหวางประเทศนี้ มีความสัมพันธกับกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ตองการจะขยายการลงทุน และการคาระหวางประเทศสมาชิก ในสวนแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยถูกกฎหมายนั้น ประเทศไทยอาจจะตองพิจารณา เนื้อหากฎหมายแรงงานที่บังคับใชในปจจุบันวา สอดคลองกับประเทศอื่น ๆ หรือไม พรอมทั้งเจรจากับประเทศที่มี มาตรฐานการคุมครองแรงงานต่ํากวาประเทศไทย ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการปรับปรุงมาตรฐานการคุมครองแรงงานไทยใน ตางประเทศดวย สําหรับแรงงานตางดาวที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมายนั้น เป นเรื่องที่ตองใหความสําคัญเปนพิเศษประการ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 86
หนึ่ ง และเป น ประเด็ น ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมาธิ ก ารสหประชาชาติ ว า ด ว ยการป อ งกั น อาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา สมัยที่ 21 นอกจาก ปญหาการเขาประเทศโดยผิดกฎหมายแลว การรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนดังกลาวเกิดขึ้นใน ชวงเวลาของความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในภูมิภาค ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง รวมทั้งสังคมและวัฒนธรรม ทําให ปญหาตาง ๆ ที่เคยเปนปญหาระดับชาติ อาทิ ปญหาการคามนุษย อาชญากรรมขามชาติ ไดขยายวงกวางขึ้นเปนปญหา ระหวางประเทศ ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ประเทศสมาชิก จะตองมีการปรับตัวใหเขากับสถานการณ ตลอดจนพัฒนา ศักยภาพในการรับมือกับปญหา และความทาทายในประเด็นตาง ๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อสรางความแข็งแกรง และอํานาจ ตอรองรวมกัน ทั้งนี้ อาจแยกพิจาณาปญหาในการดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทยใหเห็นอยาง ชัดเจนได ดังนี้
1. การสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน
ในกรณีที่องคกรอาชญากรรมขามชาติเปนผูประกอบอาชญากรรม เชน การลักลอบคายาเสพติด การสืบสวน สอบสวน รวบรวมขอมูลตาง ๆ ที่ใชเปนพยานหลักฐานในการดําเนินคดี สวนมากจะไดจากสายลับ หรือผูหวังดีที่แจงขาว ในทางลับ บางครั้งตองมีการใชวิธีการลอซื้อ แตผูกระทําความผิดที่อยูในองคกรอาชญากรรมเหลานั้น มักมีการติดตามขาว ของเจาหนาที่อยูตลอดเวลา ทั้งมีความชํานาญและไหวตัวทัน ทําใหยากแกการจับกุม หรืออาจจับกุมไดแตตัวผูคารายยอย ที่อยูปลายแถวเทานั้น ไมสามารถสาวไปถึงตัวการใหญได เพราะหากจะจับตัวการใหญ หรือทั้งเครือขาย เจาหนาที่ตองใช เทคนิคการสืบสวนสอบสวนพิเศษ เชน การจัดสงภายใตการควบคุม (controlled delivery) ซึ่งหมายถึง การที่เจา พนักงานยอมใหมีการสงมอบสิ่งผิดกฎหมาย เชน ยาเสพติด จากผูกระทําความผิดรายหนึ่งไปสูผูกระทําความผิดรายอื่น ๆ โดยยังไมเขาจับกุม เพื่อสืบหาใหถึงตนตอ หรือบุคคลผูอยูเบื้องหลัง การเจรจาตอรองใหผูตองหาใหการรับสารภาพ และ ซัดทอดถึงผูรวมกระทําความผิดรายใหญที่อยูเบื้องหลัง (plea bargaining) การใชเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสติดตาม สะกด รอย และการดักฟงทางโทรศัพท (wiretapping) ซึ่งรวมถึงการเจาะขอมูลทางคอมพิวเตอร แตการใชเทคนิคการสืบสวน สอบสวนพิเศษนั้น เจาหนาที่ทําไมได ทั้งนี้ เพราะกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบัน ยังไมมีบทบัญญัติใหอํานาจแกเจาพนักงานไว จึงทํา ใหการสืบ สวนสอบสวนรวบรวมพยานหลั กฐาน เพื่ อดําเนินคดี แกอ งคกรอาชญากรรมข ามชาติไม คอยประสบ ผลสําเร็จเทาที่ควร อยางไรก็ตาม ภายหลังจากที่ไดมีการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ซึ่งมีบทบัญญัติใหอํานาจแกเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) ในการ 15 ดักฟงโทรศัพท หรือเขาถึงขอมูลทางการสื่อสาร และคอมพิวเตอรไดโดยไดรับอนุญาตจากศาลเพงกอน ผลปรากฏวา เจ า หน า ที่ ตํ า รวจสามารถจั บ กุ มผู ค า ยาเสพติ ด ได เ พิ่ มมากขึ้ น ซึ่ ง เป น ผลมาจาการใช วิ ธี ก ารดั ก ฟ ง ทางโทรศั พ ท ต าม บทบัญญัติของกฎหมายฉบับดังกลาว แตการที่จะนําบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวมาใชยังมีขอจํากัดอยูมาก กลาวคือ จะตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการฟอกเงินเทานั้น ดังนั้น หากเปนการกระทําความผิดที่ไมเกี่ยวกับการฟอกเงิน เจา พนักงานไมอาจนําวิธีการตามกฎหมายดังกลาวมาใชบังคับแกองคกรอาชญากรรมขามชาติได
2. การดําเนินคดีในชั้นศาล
การดําเนินคดีแกองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทยในปจจุบัน ยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใด ๆ เพื่อใชเปนกรณีพิเศษ วิธีพิจารณาคดีก็ใชเหมือนกับคดีทั่ว ๆ ไป เริ่มตั้งแตการฟองคดีจําเลยมีสิทธิที่จะไดรับการประกันตัว ออกไปสูคดี การพิสูจนความผิดเปนภาระหนาที่ของโจทก (อัยการ) ที่จะตองนําพยานหลักฐานมานําสืบพิสูจนการกระทํา ความผิดของจําเลยตอศาล เพื่อใหศาลเชื่อวา จําเลยไดกระทําความผิดจริง หรือจําเลยมีสวนเกี่ยวของในขั้นตอนที่สําคัญ 15
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 46.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 87
ในการกระทําความผิดนั้น ซึ่งกระทําไดยากมาก เพราะองคกรอาชญากรรมขามชาติมีเงินทุนมาก มีเครือขายกวางขวาง สามารถใชเงิน และอํานาจอิทธิพลขององคกรเขาขัดขวางการดําเนินคดีไดทุกขั้นตอน เชน ขมขูพยานมิใหมาใหการเบิก ความตอศาล หรือจางพยานใหใหการเท็จ จนถึงกําจัดพยานเพื่อตัดตอน มิใหพาดพิงถึงตัวการใหญ ติดสินบนเจาหนาที่ ผูเกี่ยวของเพื่อจัดทํา หรือรับรองพยานหลักฐานเท็จ หรือทําลายพยานหลักฐานที่สําคัญในคดี จนกระทั่ง ผูเสียหาย และ พยานบุคคลเสียขวัญไมกลามาใหการเปนพยานในศาล กฎหมายที่มีอยูในขณะนี้ ยังไมสามารถที่จะใหความชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย และพยานในคดีไดอยาง เต็มที่และเปนทางการ เพราะประเทศไทยยังไมมีกฎหมายคุมครองพยานออกมาบังคับใช สวนการขมขูพยาน จางพยานให การเท็จ และการกําจัดพยานบุคคลหรือพยานอื่น ตลอดจนการติดสินบนเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมเปนเพียง ความผิดทางอาญาในเรื่องนั้น ๆ (เชน ฐานขมขืนใจผูอื่นใหกระทําการใด ๆ กระทําการใหผูอื่นเกิดความตกใจกลัว ทําราย รางกาย ฆาผูอื่น เอาไปเสียซึ่งเอกสาร ใหสินบนเจาพนักงาน ฯลฯ) แตยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายที่กําหนดความผิด ฐานขัดขวางความยุติธรรมเปนการเฉพาะแตอยางใด จึงเปนสาเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหการดําเนินคดีแกองคกร อาชญากรรมขามชาติไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร
3. การดํ า เนิ น คดี แ ก ผู อ ยู เ บื้ อ งหลั ง องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ และนิ ติ บุ ค คลขององค ก ร อาชญากรรมขามชาติ
องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ มั ก มี ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมผิ ด กฎหมายภายใต อ งค ก รที่ มี ก ารจั ด โครงการ สลับซับซอน และมีการเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย โดยมีบุคคลที่มีอํานาจอิทธิพลกวางขวางเปนหัวหนา มักจะมีการ ประกอบธุรกิจที่ถูกกฎหมายไวบังหนา โดยจะมีสมาชิกขององคกรในระดับรองลงมาเปนผูดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย และ ประกอบอาชญากรรมภายใต ก ารสั่ ง หรื อ ความเห็ น ชอบจากหั ว หน า องค ก รอย า งลั บ ๆ ตั ว อย า งของกลุ ม องค ก ร อาชญากรรมขามชาติที่เขามาปฏิบั ติการในประเทศไทย ไดแก กลุ มมาเฟยเยอรมั น ซึ่งมีหลายแกง ๆ ใหญที่สุด คื อ “โรธา” มีการดําเนินการเปดสํานักงานทนายความบังหนา แทจริงมีธุรกิจผิดกฎหมายปลอมพาสปอรตและวีซา นํ า 16 ยาเสพติดมาจําหนายใหบารเบียร และคาหญิงโสเภณีในยานพัฒนพงษ และพัทยา จะเห็นไดวา ถึงแมจะมีการประกอบธุรกิจที่ผิดกฎหมาย หรือมีการประกอบอาชญากรรมโดยสมาชิกของกลุ ม องคกรอาชญากรรมดังกลาว แตการกระทําของหัวหนาองคกรที่อยูเบื้องหลังการประกอบอาชญากรรมนั้น กลับไมเปน ความผิด หรือไมถูกนําตัวมาดําเนินคดี เนื่องจาก ในปจจุบันนี้กฎหมายไทยบัญญัติความผิดแกการมีสวนรวมเฉพาะใน ความผิดบางฐานเทานั้น เชน ความผิดฐานสมคบกันเปนกบฏ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 114 ความผิดฐานเปน อั้งยี่ และฐานซองโจร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 และ 210 ซึ่งความผิดฐานเปนอั้งยี่และซองโจรนั้น มี ขอจํากัดอยูมาก กลาวคือ ความผิดฐานเปนอั้งยี่นั้นไดกําหนดไววา สมาชิกหรือหัวหนาหรือผูที่มีตําแหนงในคณะบุคคล ซึ่ง ปกปดวิธีดําเนินการนั้น จะตองมีความมุงหมายเพื่อการอันมิชอบดวยกฎหมาย แตมิไดระบุวาเรื่องใด ทําใหขอบเขตของ ความผิดฐานนี้กวางมากเกินไป และหาพยานหลักฐานมาพิสูจนความผิดไดยาก ในทางปฏิบัติ จึงมีการฟองคดีนอยมาก สวนความผิดฐานซองโจรนั้น กําหนดองค ประกอบความผิดแคบเกินไป กลาวคือ ตองมีการสมคบกันตั้งแตหาคนขึ้นไป และเพื่อกระทําความผิดเฉพาะที่บัญญัติไวในภาค 2 แหงประมวลกฎหมายอาญาที่มีกําหนดโทษจําคุกอยางสูงไวตั้งแตหนึ่ง ปขึ้นไปดวย จึงไมอาจนํามาใชบังคับแกการดําเนินคดีกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งมีการประกอบอาชญากรรมอยาง กวางขวางในหลายความผิดทั้งในประมวลกฎหมายอาญา และตามกฎหมายอื่นดวย นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาเพื่อดําเนินธุรกิจถูกกฎหมายบังหนาแตมีการประกอบธุรกิจนอก กฎหมายอยูเบื้องหลังนั้น ถึงแมแนวความคิดของนักกฎหมายไทย แนวคําพิ พากษาของศาลฎีกาจะเห็นพองกันวา นิติ 16
ขอมูลจากหนังสือพิมพมติชนรายวัน, ฉบับวันที่ 10 มิถุนายน 2545.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 88
บุคคลมีความรับผิดทางอาญาได ทั้งนี้ เพราะนิติบุคคลสามารถแสดงเจตนา และกระทําการภายในวัตถุประสงคของนิติ บุคคลนั้น โดยผานทางผูแทนของนิติบุคคล เมื่อนิติบุคคลมีการแสดงเจตนากระทําการอันเปนความผิดตอกฎหมายการ กระทํานั้น ยอมเปนความผิด และนิติบุคคลนั้นยอมตองรับผิดทางอาญาก็ตาม แตโทษที่จะลงแกนิติบุคคลนั้นจะลงไดเพียง เทาที่ลักษณะแหงความผิดจะเปดชองใหลงแกนิติบุคคลได ซึ่งตองพิจารณาตามลักษณะความผิดพฤติการณแหงการ กระทํา และอํานาจหนาที่ของผูแทนนิติบุคคลประกอบกับวัตถุประสงคข องนิติบุคคลเปนราย ๆ ไป ทั้งนี้ ตามนัยคํา พิพากษาฎีกาที่ 787-788/2506 ประชุมใหญ ซึ่งมีเพียงโทษปรับและริบทรัพยสินเทานั้น ทั้งที่ตามสภาพแลว จะนํามา ลงโทษแกนิติบุคคลได และที่สําคัญ คือ มีกฎหมายบางฉบับไดบัญญัติการลงโทษแกนิติบุคคลโดยเฉพาะ โดยผูจัดการ หรือ ผู แ ทนอื่ น ที่ ก ระทํ า การภายในของวั ต ถุ ป ระสงค ข องนิ ติ บุ ค คลนั้ น ไม ต อ งรั บ ผิ ด เป น การส ว นตั ว แต อ ย า งใด เช น พระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. 2497 มาตรา 14 บัญญัติหามมิใหผูไดรับใบอนุญาตการขนสงสาธารณะเขาทําการ ขนสงในเสนทางใดในลักษณะที่เปนการแขงขันกับผูไดรับใบอนุญาตการขนสงประจําทางในเสนทางนั้น (ซึ่งผูที่จะขอ ใบอนุญาตการขนสงสาธารณะประจําทางไดตามกฎหมายนี้ ตองเปนนิติบุคคลเทานั้น) ดังนั้น ผูที่มีความผิดตามมาตรานี้ได คือ นิติบุคคลผูรับใบอนุญาตฯ มิใชผูขับรถยนตหรือกรรมการ หรือผูจัดการ ของบริษัทเดินรถ ทั้งนี้ ตามนัยคําพิพากษาฎีกาที่ 674/2540 จึงเปนชองทางใหองคกรอาชญากรรมขามชาติ ถือโอกาส จัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาประกอบธุรกิจบังหนา แตเบื้องหลังนั้น กลับใชนิติบุคคลทํากิจการนอกกฎหมาย เมื่อถูกจับไดจะถูก ลงโทษปรับหรือริบทรัพยสิน สวนตัวผูประกอบอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนผูแทนนิติบุคคลนั้นหลุดพนความรับผิด กลับไปสรางความเสียใหแกประเทศไทยอยูทุกวันนี้ ตัวอยาง แกงมาเฟยเดนมารกที่เปนอดีตนายธนาคารหลบหนีคดี ฉอโกง และยักยอกเงินเขามาตั้งบริษัทขายสินคาทางไปรษณีย เมื่อมีผูสั่งซื้อสินคาจายเงินแลวไมสงสินคาให และแกงชาว 17 จีนที่เขามาเปดบริษัททองเที่ยวบังหนาแตเบื้องหลัง คือ “แกงคาลูกหมู” เปนตน
4. การบังคับใชโทษริบทรัพยสิน
เมื่อสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติถูกจับกุมดําเนินคดี โทษที่จําเลยจะถูกบังคับ ไดแก โทษจําคุก หรือโทษปรับ และอาจมีโทษริบทรัพยสินดวย โดยโทษริบทรัพยสินตามกฎหมายในปจจุบันนั้น มีขอจํากัดคอนขางมาก ศาลจะลงโทษริบทรัพยสินไดเฉพาะตามที่ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 33 และ 34 หรือตามที่มีกฎหมายอื่น ๆ บัญญัติไวเทานั้น ซึ่งแยกพิจารณา รายละเอียดไดดังนี้ 1. ทรัพยสินที่ผูใดทํา หรือมีไวเปนความผิด โดยมากมักเปนทรัพยสินที่มีลักษณะผิดกฎหมายในตัวเอง เชน อาวุธปนเถื่อน ยาเสพติด วัตถุสิ่งพิมพลามกอนาจาร 2. ทรัพยสินที่บุคคลไดใช หรือมีไวเพื่อใชในการกระทําความผิด หรือทรัพยสิน ซึ่งบุคคลไดมาโดยการ กระทําความผิด ซึ่งมักจะเปนทรัพยที่มีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิด เชน อาวุธที่ใชฆาผูอื่น สินคาที่ไดมาจากการ ละเมิดลิขสิทธิ์ เปนตน 3. ทรัพยสินซึ่งไดในมาตรา 143, 144, 149, 150, 167, 201 และ 202 คือ สินบนที่ใหเกี่ยวกับความผิดตอ เจาพนักงาน หรือทรัพยสินที่ไดใหเพื่อจูงใจบุคคลใหกระทําความผิด หรือเปนรางวัลในการที่บุคคลไดกระทําความผิด
4. การริบทรัพยในกฎหมายอื่น ๆ
จะเห็นไดวา ทรัพยสินที่ศาลจะสั่งใหริบไดนั้น จะตองเปนทรัพยที่เปนความผิดอยูในตัวเอง หรือเปน ทรัพยที่มีไว หรือใช หรือไดมา หรือมีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิดโดยตรงอยางใกลชิ ด เทานั้น แตถาเปนทรัพย 17
ขอมูลจากหนังสือพิมพมติชนรายวัน, ฉบับวันที่ 2 กันยายน 2545.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 89
ขององคกรอาชญากรรมขามชาติ หากไมใชทรัพยที่เปนความผิดอยูในตัวเอง หรือเปนทรัพยที่จําเลยมีไว หรือใชหรือไดมา หรือมีความเกี่ยวของกั บการกระทําความผิดโดยตรงอยางใกลชิดแล ว ถึงแม จะเปน ทรัพยสิ นที่ไดมาจากการกระทํ า ความผิดแตไดถูกแปรสภาพไป หรือถูกเปลี่ยนรูปไปเปนทรัพยสินอื่น หรือเปนทรัพยสินขององคกรอาชญากรรมที่พรอมจะ นํามาใชกระทําความผิดอยางใดอยางหนึ่งในอนาคต หากแตยังมิไดมีการกําหนดไวอยางชัดเจนวา จะนําไปใชกระทํา ความผิดใด เมื่อใดนั้น ยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใดใหศาลพิพากษาริบแตอยางใด จึงเปนเหตุใหองคกรอาชญากรรม ขามชาติ ยังคงมีทรัพยสินในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมายประกอบอาชญากรรม และขยายเครือขายตอไปได ถึงแมจะมี สมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติบางสวนถูกจับดําเนินคดีก็ตาม อนึ่ง เมื่อสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติถูก จับกุมดําเนินคดี พนักงานอัยการไมอาจมีคําขอให ศาลริบทรัพยสินอื่น ๆ ขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่ไดมาจากการกระทําความผิดแตไดถูกแปรสภาพหรือถูกเปลี่ยน รูปไป หรือทรัพยสินที่เปนเงินทุนในการดําเนินการขององคกรอาชญากรรมใหตกเปนของแผนดินได เนื่องจาก ไมใช ทรัพยสินที่ประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น ๆ บัญญัติใหอํา นาจศาลพิจารณาริบได ทั้งนี้ การขอใหศาลสั่งริบ ทรัพยสินตามประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายตาง ๆ นั้น สวนมากเปนโทษที่มีลักษณะเปนมาตรการทางอาญา ซึ่ง โดยปกติแลวจะตองมีการพิสูจนความผิดของผูกระทํากอน จึงจะบัง คับโทษได และลักษณะของทรัพยสินที่จะถูกริบ จะตองเปนทรัพยสินที่เกี่ยวของโดยตรงกับการกระทําความผิด แตถาทรัพยสินนั้นถูกแปรสภาพไปแลว กลายสภาพเปน 18 ทรัพยสินอื่นที่ศาลจะไมริบ
ปญหาและอุปสรรคของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาทั่วไปของไทย ประการแรก
ปญหาการขาดความรูความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพ กลาวคือ ในสวนของประชาชนเอง ซึ่งไมไดตระหนักถึงสิทธิบุคคลขั้นพื้นฐาน ของตนเอง และในสวนของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งไมเขาใจเจตนารมณที่แทจริงของระบบงาน ยุ ติ ธ รรมทางอาญา จึ ง ทํ า ให ก ระบวนการประชาธิ ป ไตย และหลั ก สิ ท ธิ มนุ ษ ยชนยั ง ไม เขมแข็งเทาที่ควร ประการที่สอง ปญหาเกี่ยวกับผูบังคับใชกฎหมายไมปฏิบัติหนาที่อยางจริงจัง โดยมีการเลือกปฏิบัติ ซึ่ง บางครั้งอาจเกี่ยวขอ งกับผลประโยชนสวนตัว หรือของบุค คลบางกลุ มทําใหระบบงาน กระบวนการยุติธรรมไมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางแทจริง ประการที่สาม ปญหาขอกฎหมายบางเรื่องไมมีความชัดเจน และมีความขัดแยงกัน อันเนื่องมาจากการมี กฎหมายบังคับใชในเรื่องเดียวกันหลายฉบับ ซึ่งมีการตราขึ้นในชวงและในสถานการณที่ แตกตางกัน จึงทําใหการบังคับใชกฎหมายเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพตามไปดวย ประการที่สี่ ปญหาการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่ไมตอเนื่องโดยเฉพาะอาชญากรรมที่มี ลักษณะเปนเครือขายขามชาติ ทําใหเกิดการกระทําความผิดในรูปแบบดังกลาวในอัตราที่ สูงขึน้ อยางตอเนื่อง
ปญหาและอุปสรรคในดานความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา ประการแรก
18
กฎหมายที่เกี่ยวของกับคดียาเสพติด คดีการคามนุษยขามชาติ คดีหลบหนีเขาเมือง และคดี ฉอ โกงนั้ น มีค วามแตกต างกั น ในสาระสํ าคั ญของกฎหมายและวิธี ปฏิ บั ติค อนขา งมาก
วีระพงษ บุญโญภาส, อาชญากรรมคาหญิง คาเด็ก กับกฎหมายปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน , บทบัณฑิตย เลมที่ 56 ตอน 2 มิถุนายน 2543, หนา 241-215.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 90
โดยเฉพาะการกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานในการดําเนินการ ซึ่งในบางประเทศมี กฎหมายเฉพาะในการนํ ามาใชพิ จารณาคดี ดัง กล าว แตบ างประเทศใชบ ทบั ญญั ติต าม กฎหมายอาญาทั่วไปของประเทศเปนหลักในการพิจารณาคดี ประกอบกับบางประเทศยัง ไมมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือระหวางประเทศและสนธิสัญญาระหวาง ประเทศวาดวยเรื่องนั้น ๆ เชน สนธิสัญญาการสงผูรายขามแดน หรือสนธิสัญญาการโอนตัว นักโทษ ทําใหการบังคับใชกฎหมายในเรื่องการตรวจคนจับกุม สืบสวนและสอบสวน และ ขั้นตอนในกระบวนการพิจารณาคดีแตกตางกันออกไป ประการที่สอง การใชชองทางทางการทูตซึ่งเปนชองทางปกติในกรณีที่ประเทศผูรองขอ และผูรับคํารองขอ ไมมีสนธิสัญญาระหวางกัน ไมมีความแนนอนขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐบาลและผลประโยชน ตางตอบแทนของแตละประเทศ โดยเฉพาะในกรณีที่ผูกระทําความผิดเปนประชาชนใน ประเทศของตน ที่ จะต อ งถู ก ส ง ตั ว ไปรั บ การพิ จารณาตั ด สิ น คดี แ ละต อ งรั บ โทษในอี ก ประเทศหนึ่ง ก็จะตองไดรับการพิจารณาจากรัฐบาลหรือมีกฎหมายที่บัญญัติไววาหามมิให สงตัวผูกระทําผิด ซึ่งเปนประชาชนในประเทศของตนไปรับโทษในตางประเทศ ทําใหกรณี ดังกลาวนั้น เปนปญหาตอการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติเปนอยางมาก ประการที่สาม ขอจํากัดดานอธิปไตยทางกฎหมายของแตละประเทศ ความแตกตางในดานฐานความคิด วิธีพิจารณาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญายังคงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกระบวนการ สรางความรวมมือระหวางประเทศเปนไปดวยความลาชาและไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร จึงมีความจําเปนที่จะตองใชชองทางอื่น ๆ ทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติเพื่อสรางความ รวมมือแบบไมเปนทางการ เพื่อใหเกิดประสิทธิผลมากขึ้น เชน หัวหนาตํารวจอาเซียน และ การประชุมทวิภาคีกับเพื่อนบาน เพื่อชวยใหการปองกันปราบปรามเกิดประสิทธิภาพมาก ขึ้น ประการที่สี่ มาตรการทางกฎหมายในการจัดการกับคนตางดาวหลบหนีเขาเมือง เชน พระราชบัญญัติ คนเขาเมือง พ.ศ. 2522 ใหอํานาจแกเจาพนักงานในการใชดุลพินิจในการผลักดันออก ประเทศโดยไมผานชองทางของการสงผูรายขามแดน เชน การเพิกถอนวีซา โดยใหเหตุผล ว า จะเป น ภั ย ต อ ความมั่ น คง ผู ต อ งหาก็ จ ะไม ถู ก พิ ม พ ล ายนิ้ ว มื อ ซึ่ ง เท า กั บ ทํ า ให กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไมสามารถจัดการกับปญหานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพและมี โอกาสที่จะเปนชองทางใหเกิดการทุจริตได
ปญหาและอุปสรรคของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน แมวา ภูมิภาคอาเซียนจะมีกรอบความรวมมือในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติที่ชัดเจนมากขึ้นใน หวง 10 ปที่ผาน แตดวยลักษณะของความเปนรัฐที่กําลังพัฒนา และมีรูปแบบการเมืองการปกครอง และแนวนโยบายของ รัฐที่แตกตางกัน19 ทําใหการพัฒนาแนวทางความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคคอนขางลาชาไมสามารถกาว ทันกับรูปแบบการกระทําผิดสมัยใหมขององคกรอาชญากรรมขามชาติที่เติบโตอยางรวดเร็วได โดยสามารถวิเคราะห ปญหาและอุปสรรคของความรวมมือในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ไดดังนี้
19
Keling, M.F. (2011). The development of ASEAN from historical approach.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 91
ประการแรก
การไมมีหลักกฎหมาย หรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคทีจ่ ะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะ พิจารณาคดีอาชญากรรมขามชาติที่ไดกระทําลงในพื้นที่มากกวาหนึ่งรัฐ กลาวคือ ในกรณี ความผิดที่มีถูกเริ่มตนกระทําในประเทศหนึ่ง และบางสวนไดถูกกระทําในอีกประเทศหนึ่ง และมี ค วามเสี ย หาย หรื อ ผลกระทบเกิ ด ขึ้ น ในอี ก หลายประเทศ แม ว า อาเซี ย นจะมี สนธิสัญญาวาดวยความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา แตในทางปฏิบัติยัง เปนไปดวยความลาชา อันเนื่องมาจากอุปสรรคดานภาษา ความแตกตางของกฎหมายในแง ของวิธีปฏิบัติ และดานขอมูล20 นอกจากนี้ มีเพียงบางประเทศในอาเซียนที่มีสนธิสัญญาวา ดวยการสงผูรายขามแดน และความชวยเหลือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาระหวางกัน ทําใหการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการนํา ตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ ขึ้นอยูกับนโยบายของแตละรัฐเปนสําคัญ21 เชน กรณีที่การวางแผน การสมคบคิด และการ ลงมือกระทําผิดอยูคนละประเทศ ศาลของประเทศใดควรจะมีอํา นาจในการรับฟอง และ พิจารณาคดีดวยเหตุผลใด เปนตน
ประการทีส่ อง
การประสานความรวมมือในการบังคับใชกฎหมายอยางเปนทางการระหวางประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนดวยกั นยังไม มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีที่ ประเทศไทยขอความ ชวยเหลือทางอาญาไปยังประเทศเพื่อนบานในอาเซียน เชน สปป.ลาว เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากสนธิสัญญาระหวางกันในเรื่องของความชวยเหลือทาง อาญาและการส ง ผู ร า ยข า มแดน ซึ่ ง ในป จ จุ บั น ยั ง ไม ค รอบคลุ มทุ ก ประเทศ ทํ า ให ไ ม มี พันธกรณีที่จะตองใหความชวยเหลือกันตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ 22 หรือหากเปน การรองขอความชวยเหลือระหว างประเทศผานชองทางทางการทูต ก็ไมมีความแนนอน ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐและผลประโยชน ตางตอบแทนเปนสําคัญ พบวา การกระทําผิด ของประชากรที่มาจากกลุมประเทศอาเซียนจะเปนเรื่องการหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการใชแรงงานผิดกฎหมายเปนสวนใหญ ซึ่ งหนวยงานบังคับใชกฎหมายสามารถใช กฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยูในการจัดการไดอยูแลวตามหลักอธิปไตยแหงรัฐ ไมไดมีลักษณะแยกสวนในการกระทําผิดเหมือนองคกรอาชญากรรมจากเอเชีย หรือแถบ ยุโ รป หรื อเปน ลัก ษณะที่ ผู กระทํา ความผิ ดมาจากประเทศในแถบอื่ น ๆ ของโลกมาใช ประเทศไทยเปนฐานที่ตั้งในการกระทําผิด หรือเปนทางผานในการกระทําผิด เชน การ ฉอโกงทางคอมพิวเตอร กลุมผูกอการรายขามชาติ กลุมยาเสพติดขามชาติ หรือการคาอาวุธ ขามชาติ เปนตน ความไมเพียงพอของกฎหมายภายในของแตละประเทศที่มีอยู เนื่องจาก การดําเนินคดีกับ อาชญากรรมข า มชาติ โดยเฉพาะที่ จั ด ตั้ ง ในลั ก ษณะองค ก รมี ค วามสลั บ ซั บ ซ อ น และ
ประการทีส่ าม
20
ประพันธ นัยโกวิท และประธาน จุฬาโรจนมนตรี. (2546). องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการพัฒนา กฎหมายความรวมมือระหวางประเทศใน เรื่องทางอาญา. วารสารนิติศาสตร 33(3), 542-552 21 Emmers, R. (2003). The threat of transnational crime in Southeast Asia: Drug trafficking, human smuggling and trafficking, and sea piracy. Discussion Papers. Institute of Defence and Strategic Studies (IDSS), Singapore 22 สุนิสา สถาพรเสริมสุข. สัมภาษณเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ สํานักงานการตางประเทศ สํานักงานอัยการสูงสุด.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 92
ประการทีส่ ี่
ประการทีห่ า
23
เชื่อมโยงในลักษณะเครือขายเกี่ยวเนื่องกันในหลายประเทศ ทําใหตองใชเทคนิควิธีการ สืบสวนสอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานเปนกรณีพิเศษ หากแตกฎหมายภายในทีใ่ ชใน แตละประเทศ โดยมากมีวัตถุประสงคเพือ่ บังคับใชแกการประกอบอาชญากรรมของปจเจก บุคคล หรื อการประกอบอาชญากรรมที่ มี การสมคบกันในกรณี ธรรมดาทั่ วไป ทํ าใหไ ม สามารถเอาผิดกับตัวผูกระทําผิดที่อยูเบื้องหลัง ซึ่งมักมีการประกอบธุรกิจถูกกฎหมายบัง หนาได นอกจากนี้ หลายประเทศยังไมมีกฎหมายปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ที่ใหอํานาจพิเศษแกเจาพนักงานในการสืบสวนสอบสวน เชน การดักฟงโทรศัพท (wire tapping) การใชสายลับในการสืบสวน (undercover operation) การใชอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสสะกดรอย (intelligence by electronic devices) การจัดสงภายใตการ ควบคุม (controlled delivery) รวมถึงการบัญญัติโทษริบทรัพยสินที่ยังมิไดใชในการ กระทําผิด หรือมีไวเพื่อกระทําผิด หรือพรอมที่จะใชกระทําความผิดอยางหนึ่งอยางใดใน อนาคต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ใชในการดําเนินธุรกิจนอกกฎหมาย ประกอบอาชญากรรม และขยายเครือขายขององคกรอาชญากรรมขามชาติ23 การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งเปนปญหาที่มักพบได ในหลายประเทศในอาเซียน แอฟริกา และตะวันออกกลาง อันมีสาเหตุมาจากความไม พรอมดานโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่ มักยึดติดกับแนวคิดการปองกั น อาชญากรรมแบบเดิม ความรูความเขาใจในการปองกันปราบปราบอาชญากรรมขามชาติ ซึง่ เปนปญหาความมั่นคงแบบใหมที่ไมสามารถใชแนวคิดการปองกันอาชญากรรมแบบเดิม ในการจั ด การได และการทํ า งานแบบแยกส ว น ภารกิ จ ของหน ว ยงานทํ า ให ข าดการ ประสานงาน และแลกเปลีย่ นขอมูลระหวางกัน24 เชน ในกรณีของประเทศไทยมีหนวยงาน ที่เขามาเกี่ยวของกับภารกิจการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติเปนจํา นวนมาก เชน สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการปราบปราม กองบังคับปราบปรามการคามนุษย กองการตางประเทศ ศูนยปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ กระทรวงกลาโหม กรม ศุลกากร และหนวยปฏิบัติการตาง ๆ หากแตในทางปฏิบัตินั้น ขาดเอกภาพในการบริหาร จัดการ ในขณะทีอ่ ีกหลายประเทศยังไมมีการจัดตัง้ หนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้ โดยตรงทํา ใหเกิดความไมชัดเจนในการประสานการปฏิบัติ การขาดทักษะและความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของประเทศอาเซียนที่จะจัดการกับ ปญหาอาชญากรรมขามชาติ25 ตองยอมรับวา ภาษา และวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน ทีย่ ัง
คมกริช ดุ ลยพิทัก ษ. (ม.ป.ป.) ปญหาการดํา เนินคดีองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย. สืบคน เมื่อ 1 ตุลาคม 2556. เว็บ ไซต ww.chaibadancrime.com/images/sub_1353041547/11080811829.doc 24 Broome, J. (2000). Transnational crime in the twenty-first century. Paper presented at the Transnational Crime Conference, Canberra, 9-10 March 2000. 25 Intararam, Kanchon. (2001). Problems and obstacles (of investigators) in transnational organized crime investigation in the Metropolitan Police Bureau. Thesis for Master of Arts (Criminology and Criminal Justice). Mahidol University; สายันต สุโขพืช. (ม.ป.ป.). ผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียนดานกฎหมายและกระบวนการ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 93
ประการสุดทาย
มีความแตกตางกันคอนขางมาก เนื่องจาก แตละประเทศตาง ๆ มีภาษาเขียนและภาษาพูด เปนของตนเอง โดยมีเพียงบางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ ในขณะที่ การ จัด ทํ า คํ าร อ งขอความช วยเหลื อทางอาญา จํ า เป น ต อ งใช ภาษากลางในการสื่ อสาร ซึ่ ง โดยทั่ วไปจะใชภาษาอั งกฤษ ดั งนั้ น การสรรหาบุ คลากรที่ มีทัก ษะทั้ งในดานของภาษา กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของ และมโนทัศนทางดานความสัมพันธระหวางประเทศ จึงเปนเรื่องที่เป นจําเปน ตอการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการประสานความรวมมื อระหว า ง ประเทศ การขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับ ใชกฎหมายของกลุมประเทศอาเซียน แมวา ในภูมิภาคอาเซียนจะมีกลไกการประสานงาน ในเชิงนโยบายหลายระดับทั้งในระดับหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน เจาหนาที่ อาวุโสอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และหัวหนาตํารวจอาเซียน แตกรอบความรวมมือ มีลักษณะเชิงนโยบายที่เนนการกระชับความสัมพันธ และการทํางานรวมกันแบบไมเปน ทางการ เชน การแลกเปลีย่ นมูลขาวสาร และการฝกอบรม ซึ่งไมไดมีกฎเกณฑและขั้นตอน ทีแ่ นนอนเหมือนเชนความรวมมือระหวางประเทศที่ใชกระบวนการทางกฎหมาย ประกอบ กับโครงสรางของหนวยงานบังคับใชกฎหมายที่แตกตางกันออกไปในแตละประเทศ ทําให ความรวมมือขึ้นอยูกับประโยชนตางตอบแทน และนโยบายของรัฐเปนสําคัญ
โอกาสและความเสี่ยงของกระบวนการยุติธรรมเมื่อประเทศไทยเขาเปนสมาชิกประชาคม อาเซียน โดยเฉพาะมิติดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตลอดระยะเวลา 47 ปที่ผานมาของอาเซียน ไดมีการประสานความรวมมือในดานตาง ๆ ระหวางชาติสมาชิก อยางคอยเปนคอยไป แตในป พ.ศ. 2558 กําลังจะเปนยางกาวสําคัญของอาเซียน คือ การเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งจะทําใหชาติสมาชิกทั้ง 10 ประเทศเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และถือเปนโอกาสสําคัญของ ประเทศไทยในการขยายฐานจํานวนผูบริโภคสินคาและบริการจาก 65 ลานคนเปน 600 ลานคน รวมถึงโอกาสในการ เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและการลงทุนรวมกับประเทศสมาชิกอาเซียนโดยเสรีมากขึ้น อยางไรก็ดี โอกาสดังกลาวอาจจะ กลายเปนวิกฤติได หากไมมีการเตรียมความพรอมอยางรัดกุมและรอบดาน โดยเฉพาะมิติดานกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ใหสอดคลองกั บการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ซึ่งนับเปนสิ่งที่ประเทศไทยตองใหความสําคัญ ดังนั้น ขอนําเสนอโอกาสและความเสี่ยงของกระบวนการยุติธรรม เมื่อประเทศไทยเขาเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน ไว ดังนี้ 1) โอกาส 1. ประเทศไทยจะมีโอกาสรวมมือกับสมาชิกประชาคมอาเซียน ทั้งทางดานกฎหมายการทําขอตกลง การ นํากฎระเบียบแนวทางปฏิบัติของแตละประเทศมารองรับ ซึ่งจะเปนการสานความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิกใน ประชาคมอาเซียนใหมีความแนนแฟนมากยิ่งขึ้น 2. เมื่ อ มีก ารเข า สู ประชาคมอาเซี ยนแล ว จะทํ า ใหก ระบวนการยุ ติธ รรมทางอาญาและการบั งคั บ ใช กฎหมายของไทย มีการพัฒนาและกาวทันตอสถานการณอาชญากรรมตาง ๆ มากยิ่งขึ้น ตัวอยางเชน ยาเสพติด หรือ อาชญากรรมรายแรงอื่น ๆ ใหสามารถควบคุมและลงโทษผูกระทําความผิดหรือองคกรอาชญากรรมขามชาติใหไดอยาง เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 94
3. เมื่อมีการเขารวมกลุมประชาคมอาเซียน จะเปนโอกาสใหหนวยงานตาง ๆ ในกระบวนการยุติธรรมเกิด กระแสความตื่นตัวในการพัฒนาหนวยงาน อาทิ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กระทรวงยุติธรรม ศาล อัยการ ราชทัณฑ หรือ หนวยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม โดยมีการพัฒนาการทํางานทั้งในระดับองคกรและบุคลากร ทั้ง บุคลากรในระดับปฏิบัติการและระดับบริหารงาน โดยการเปดโอกาสใหเจา หนาที่ไดมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน และ สงเสริมการทํางานเปนทีมเพื่อใหบุคลากรไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรางภาวะผูนํา โดยการพัฒนาทางดาน ความรูความสามารถที่เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ภาษา รวมถึงความตระหนักรูของบุคลากรเกี่ยวกับกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา เพื่อใหบุคลากรสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเต็มความสามารถ การพัฒนาบุคลากรจึงเปนเรื่องที่มี ความสําคัญอยางยิ่ง และเปนโอกาสที่ดีในการนําไปสูการพัฒนากระบวนการยุติธรรมของไทยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4. การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ย น ทํ า ให ภู มิ ภ าคนี้ เ ป น ที่ ส นใจของประเทศมหาอํ า นาจ เช น สหรั ฐอเมริ ก า และจี นมากขึ้ น รวมถึ ง ประเทศที่พั ฒนาแลว อื่ น ๆ ที่ มี พลั ง อํา นาจทางเศรษฐกิ จมากกว า เช น ญี่ ปุ น ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และสหภาพยุโรป เปนตนที่จะเขามาลงทุนในดานต าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ประเทศไทยเปนศูนยกลางของการคมนาคมของภูมิภาคและปกครองดวยระบอบเสรีนิยมประชาธิปไตย ซึ่งเปด กวางกวาประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงเปนโอกาสอันดีที่ประเทศไทยจะไดรับความชวยเหลือทั้ง ทางดานเศรษฐกิจ เทคโนโลยี บุคลากร และวัสดุอุปกรณตาง ๆ โดยเฉพาะที่จําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงาน บังคับใชกฎหมาย 5. ปญหาที่เกิดขึ้นเมื่อมีการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ ปญหาเรื่องความแตกตางของ ระบบกฎหมายที่ใชบังคับในแตละประเทศ ในบางประเทศใชกฎหมายลายลักษณอักษรเชนเดียวกับประเทศไทย (Civil law tradition) แตบางประเทศใชกฎหมายจารีตประเพณี (Common law system) ดังนั้น เมื่อเกิดขอพิพาทคดีอาญา อาจจะทําใหเกิดปญหาในการบังคับใชกฎหมายที่เหมาะสม และเปนธรรมได ดังนั้น จึงเปนโอกาสที่ดีสําหรับประเทศไทยที่ จะตองปรับปรุงแกไขกฎหมายภายในประเทศ ทั้งกฎหมายสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติเพื่อใหมีความสอดคลองกับการเขาสู ประชาคมอาเซียน โดยใหหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ในการปรับปรุงแกไขกฎหมายไดเรงศึกษาขอบกพรองของกฎหมาย ภายในประเทศที่มีอยู และจะตองศึกษาทบทวนกฎหมายของแตละประเทศ เพื่อปรับกฎหมายของแตละประเทศเขาหา กัน (Harmonization of legal system) อันจะนํามาซึ่งหลักกฎหมายรวมกันของอาเซียน (Common law of ASEAN) หลายฉบับ รวมทั้งจะตองสรางความตระหนักรูในดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหแกประชาชนตอไป 2) ความเสี่ยง 1. เนื่องจาก ประเทศไทยยังไมมีการศึกษาระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศ อื่น ๆ ในเชิง ลึกมากเท าที่ค วร จึง สง ผลทําใหยั งขาดความรูค วามเข าใจในเรื่ องเกี่ยวกั บรากฐานระบบกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรมของประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียนอยูมาก ดังนั้น เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว อาจมีแนวโนมที่ จะเกิดปญหาการบังคับใชกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาระหวางกันได 2. จากการศึก ษา พบวา คนไทยมีทั กษะการใชภาษาอังกฤษอยูในระดับที่ดอยกวาประเทศอื่น ๆ ใน ภูมิภาคอาเซียน ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศไทยไมไดใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลักประกอบกั บระบบการเรียนการสอนของ ประเทศไทยไมไ ด มุ ง เน น ให นัก เรี ยนสามารถนํ า ไปใช ป ฏิ บัติ ไ ด จริง มากเท า ที่ ค วร ส ง ผลทํ า ใหค นไทยมี ทั ก ษะการใช ภาษาอังกฤษอยูในระดับที่ดอยกวาประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งผลจากการที่คนไทยมีทักษะความรูภาษาอังกฤษนอย ทําใหเปนอุปสรรคในการศึกษา หรือทําความเขาใจตัวบทกฎหมายของประเทศในกลุมภูมิภาคอาเซียนอยางลึกซึ้ง ซึ่งถือวา เปนจุดเสียเปรียบประเทศอื่น ๆ ในกลุมภูมิภาคอาเซียนเปนอยางมาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 95
3. การที่ป ระเทศไทยมี ส ภาพเศรษฐกิจที่ ดี กว า ประเทศสมาชิก บางประเทศ เช น กัมพู ช า สปป.ลาว เมียนมาร เปนเหตุใหประชาชนจากประเทศดังกลาวเดินทางเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวนมาก ทั้งที่ชอบดวย กฎหมายและไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งอาจสรางปญหาตอความมั่นคงตอประเทศในอนาคต กลาวคือ เมื่อผูใชแรงงาน เหลานี้อยูในประเทศไทยเปนเวลานาน ก็สามารถพูดฟงและเขาใจภาษาไทยไดดีขึ้น แตในทางกลับกันคนไทยไมไดใหความ สนใจที่จะเรียนรูภาษาของบุคคลเหลานี้ ทําใหประเทศไทยเสียเปรียบเปนอยางมาก 4. แมวา ประเทศไทยจะมี กระบวนการตรวจสอบและถวงดุ ลในกระบวนการยุติธรรมทั้งภายในและ ระหวางองคกรที่ครบถวน แตหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับงานยุติธรรม ยังมิไดนําระบบการบริหารจัดการที่ดีมาใชอยาง เต็มที่ เนื่องจาก ยังคงยึดติดกับคานิยมและวัฒนธรรมแบบไทย ๆ ไดแก ความเปนพรรคพวกเพื่อนฝูง ระบบลูกพี่ลูกนอง และระบบผลประโยชนตางตอบแทนที่เปนการเอื้อการประโยชนคอนขางสูง ดังนั้น การเขาสูประชาคมอาเซียนอาจเปน ชองโอกาสใหกลุมองคกรอาชญากรรมขามชาติใชชองทางดังกลาวกระทําผิด โดยการใหผลประโยชนแกเจาหนาที่ของรัฐ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการบังคับใชกฎหมายแบบเขมงวดกวดขัน หรืออาจชักชวนใหเจาหนาที่ของรัฐรวมกระทําผิดดวย
ความเสี่ยงดานอาชญากรรมเมื่อประเทศไทยเขาสูการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 1) อาชญากรรมประเภทหลบหนีเขาเมืองผิดกฎหมาย และการคามนุษย เนื่องจาก เมื่อเปดประชาคมอาเซียน จะมีนักลงทุนเขาไปลงทุนในกลุมประเทศภูมิภาคอาเซียนมากยิ่งขึ้น ทั้งคนไทยก็จะมีโอกาสไปลงทุนในตางประเทศ และ คนตางประเทศที่เปนประเทศขางเคียงก็มีโอกาสมาลงทุนในประเทศไทยเชนกัน ดังนั้น เมื่อมีกลุมคนเขาไปลงทุนทําธุรกิจ ในตางประเทศมากยิ่งขึ้น สิ่งที่ตามมา ก็คือ อัตราความตองการกลุมคนผูใชแรงงานที่จะมีเพิ่มสูงมากขึ้นตามลําดับ อันจะ สงกระทบทําใหเกิดการอพยพเคลื่อนยายคนในลักษณะเขาเมืองอยางผิดกฎหมายมากขึ้น รวมไปถึงจะมีอาชญากรรมใน รูปแบบของการคามนุษยเพิ่มสูงมากยิ่งขึ้นตามไปดวย 2) เนื่ อ งจาก ประเทศไทยมี พ รมแดนที่ ติ ด ต อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นหลายประเทศ ได แ ก สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร และมาเลเซีย ซึ่งทําใหเกิด การ ลักลอบขนยาเสพติดในบริเวณชายแดนเปนจํานวนมาก ดังนั้น ในมุมมองของผูเชี่ยวชาญระดับผูบริหารของหนวยงานใน กระบวนการยุติธรรมโดยสวนใหญ จึงมีความเห็นวา เมื่อเปดประชาคมอาเซียนแลว ก็จะมีการเดินทางเขาออกระหวาง ประเทศที่สะดวกยิ่งขึ้น สงผลทําใหการลักลอบขนยาเสพติดเขามาตามแนวชายแดนของประเทศ มีแนวโนมสูงเพิ่มมากขึ้น ตามไปดวย 3) อาชญากรรมขามชาติในแงอาชญากรรมเศรษฐกิจ เนื่องจาก เมื่อเปดประชาคมอาเซียนจะมีนักลงทุนมา ลงทุนทําธุรกิจมากยิ่งขึ้น ดังนั้น อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ตัวอยางเชน การฟอกเงิน การปลอมแปลงธนบัตร การฉอโกง และแกงคอลเซ็นเตอรก็ทําใหมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย
ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติในประเทศไทย ประเทศไทย มีการพัฒนาทางดานสัง คม และเศรษฐกิ จ เชนเดี ยวกับประเทศตา ง ๆ ในภู มิภาคเอเชีย โดย ประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชียกําลังมีบทบาททางสังคม และเศรษฐกิจของโลกไมนอยกวาประเทศในภูมิภาคแถบอื่น ๆ สืบเนื่องจาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยีชวยใหการเดินทาง และติดตอสื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําให ชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองกฎหมาย และลักลอบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมายมีจํานวนมากขึ้น ซึ่ง จะมีการรวมตัวของผูกระทําผิดในลักษณะองคกรอาชญากรรมขามชาติ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 96
ผลกระทบจากปญหาที่เกิดขึ้นจากอาชญากรรมขามชาติ แผขยายเพิ่มความรุนแรงไปทุกภูมิภาคทั่วโลก และได นํามาซึ่งผลกระทบตอสังคมในทุกดาน จนองคการสหประชาชาติ องคกรภูมิภาค เชน อาเซียนและทุกประเทศตาง ก็ได ออกมารณรงคในการแกไขปญหาดังกลาว ทั้งนี้ ในภาพรวมแลว อาชญากรรมขามชาติสงผลตอความมั่นคงของสังคม จาก การบอนทําลายของสิ่งเลวราย ไมวาจะเปนยาเสพติดที่ทําลายทรัพยากรบุคคล การคามนุษย และปญหาโสเภณี อันนํามา ซึ่งการละเมิดสิทธิมนุษยชน และทําลายศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยชาติ การลักลอบคาอาวุธ อันนํามาซึ่งการใชอาวุธไป ในทางที่รุนแรง เพื่อการกออาชญากรรม การตอสูกันในสังคมโลก นอกจากนี้แลว ปญหาการกอการราย ซึ่งอาจกลาวไดวา เปนปญหาอาชญากรรมขามชาติ ประการหนึ่ง ที่ถูกยกระดับความสําคัญขึ้ นมา ทําใหเราไดเห็นถึงความรุนแรง และ ผลกระทบที่เกิดขึ้นในทุกมุมโลกจากปญหานี้ ในภาพที่เฉพาะเจาะจงลงมา อาชญากรรมขามชาติสามารถบอนทําลาย ระบบการเมืองของประเทศ จากการคอรรัปชั่นของเจาหนาที่ รวมถึงตํารวจ จะนํามาซึ่งความไมไววางใจในระบบการ ปกครองของรัฐ และการไมใหการสนับสนุนตอตํารวจ ในการปฏิบัติหนาที่ตอไป และผลที่ตามมา ก็คือ การทําลายระบบ เศรษฐกิจของชาติ ดวยการสรางปญหาใหกับระบบการเงินของประเทศ การเขาไปขัดขวางการกระบวนการตรวจสอบดาน การเงินของรัฐ อีกทั้งยังทําลายทรัพยากรคนของชาติ ที่จะนํามาซึ่งการพัฒนาประเทศตอไป และในดานสังคม ปญหา อาชญากรรมขามชาติ นํามาซึ่งแกงอาชญากรตามถนน การติดยาเสพติด และความรูสึกตอตานสังคมของประชาชน ภาพรวมจากผลกระทบดังกลาว ก็คือ การทําลายซึ่งการพัฒนาความเจริญของประเทศนั้น ๆ ในขณะเดียวกัน ปญหา อาชญากรรมขามชาติ เชน การลักลอบขนยาเสพติด ขนแรงงาน หรือลักลอบคายานพาหนะ ก็อาจนํามาซึ่ง ปญหาความ ขัดแยงกันระหวางประเทศได ผลที่ตามมาก็คือ ความออนแอลงของสังคมมนุษยทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก สาเหตุของปญหาทําใหประเทศไทยไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติไดหมดสิ้นไปได เกิดจากสาเหตุ หลายประการ เชน บทกฎหมายที่ไมมีสภาพการบังคับใชเทาที่ควร การกําหนดวิธีปฏิบัติในการจับกุม การดําเนินคดีอาญา และการพิจารณาลงโทษแกผูกระทํา ซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติ มีการดําเนินคดีอาญาเชนเดียวกับ คดีอาญาทั่ว ๆ ไป เปนตน ซึ่งแนวทางการแกไขปญหาการปราบปราม ปองกัน และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน การจัดตั้งหนวยมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง การจัดการศึกษาอบรมใหกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติทุกหนวย การแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เปนสมาชิกองคการตํารวจสากล ซึ่งปจจุบันมี ดวยกัน ทั้งหมด 181 ประเทศ ตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัยตลอดเวลา
ปญหาและอุปสรรคในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ การตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติของกลุมประเทศอาเซียน จะเปนจุดเริ่มตน และกอใหเกิดการพัฒนา ไปสูการเปนประชาคมอาเซียนในดานการเมืองและความมั่นคง แตในปจจุบันตองยอมรับวา ยังคงมีขอขัดของที่อาจจะเปน อุปสรรคในการดําเนินงานที่ประเทศสมาชิกจําเปนตองรู และหาวิธีจัดการ อันที่จริงตองยอมรับวา มีความคืบหนานอย มากในความรวมมือกันในกลุมประเทศอาเซียน ในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบ ซึ่งในที่นี้ คือ อาชญากรรม ขามชาติ ความรวมมือในการตอสูภัยดานความมั่นคงนั้น มักจะมีประเด็นที่ตองกระทบตออํานาจอธิปไตยของประเทศ สมาชิก ทําใหไมคอยมีประเทศใดกลาออกมาเปนผูนําอยางจริงจัง นอกจากนี้ ประเด็นบางประเด็นยังถูกมองวา เปนเพียง ประเด็นระดับทวิภาคี อยางเชน ปญหายาเสพติดจากเมียนมารที่ไหลเขามาสูประเทศไทย หรือปญหาโจรสลัดในชองแคบ มะละกาที่เปนประเด็นระหวางมาเลเซียกับอินโดนีเซีย ซึ่งไมตองการใหประเทศที่สามเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา ยิ่งไปกวานั้น บางประเด็นยังถูกมองวา เปนเรื่องของประเทศใดประเทศหนึ่งดวย เชน ปญหากลุมอาชญากรรมจาก ประเทศรัสเซียที่เขามาประกอบธุรกิจอยูในประเทศไทย ซึ่งประเด็นตาง ๆ ดังกลาว แมวา จะเปนปญหาอาชญากรรมขาม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 97
ชาติ แตก็ไมไดสรางแรงจูงใจใหประเทศสมาชิกอื่น ๆ เขามามีสวนรวม ฉะนั้น เมื่อประเด็นเรื่องอาชญากรรมขามชาตินั้น ถูกมองเปนเรื่องระหวางสองประเทศ หรือเรื่องภายในประเทศใดประเทศหนึ่ง วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ก็มักจะถูก นํามาใชทันที โดยการไมเขาไปยุงเรื่องภายในประเทศของอีกฝาย หรือไมเขาไปยุงกับความขัดแยงของทั้งสองฝายดวย พื้นฐานวิถีอาเซียนที่วา ความขัดแยงระดับทวิภาคีใด ๆ จะตองไมทําลายเสถียรภาพ และความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ซึ่งหมายความวา ประเทศสมาชิกที่ไมเกี่ยวของจําเปนตองหลีกเลี่ยงการเขาไปมีสวนรวมใด ๆ ในการแกไขปญหา นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนขาดแรงจูงใจในการแกไขปญหารวมกัน กลับเปนประเทศภายนอกอาเซียนที่ เขามามีอิทธิพลและสรางแรงจูงใจใหกับประเทศสมาชิกอาเซียนเขามารวมมือกัน ซึ่งจะเห็นไดชัดเจนในประเด็นปญหา เรื่องโจรสลัด โดยญี่ปุนเปนประเทศแรกที่เสนอการแกไขปญหาโจรสลัดในนานน้ําบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป ค.ศ. 1999 หลังจากการประชุม ASEAN+3 ซึ่งในขณะนั้น เรือสินคาญี่ปุนตองประสบกับภัยโจรสลัดในนานน้ําบริเวณ เอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูบอยครั้ง ซึ่งญี่ปุนเปนผูผลักดันในการจัดการประชุมเรื่องภัยโจรสลัด ในป ค.ศ. 2000 กับ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน และรวมกับบังคลาเทศ จีน ฮองกง อินเดีย เกาหลีใต และศรีลังกา รวมถึงผลักดันโครงการที่มีชื่อ วา “Asia Anti-Piracy Challenges 2000” และรัฐบาลญี่ปุนยังเขามารวมมือกับอาเซียนอยางจริงจังในการลงนาม ขอตกลง Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ในป ค.ศ. 2004 และนํามาบังคับใชในป ค.ศ. 2006 ซึ่งภายใตขอตกลงนี้ ญี่ปุนเปนผูสนับสนุนดาน การเงินและการฝกซอมเพื่อตอตานภัยจากโจรสลัด และอีกตัวอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดเจน คือ การที่จีนเขามาผลักดัน โครงการตอตานการคายาเสพติดกับไทย สปป.ลาว และเมียนมาร เพือ่ ตอตานยาเสพติดที่ขนผานมณฑลยูนานทางตอนใต ของประเทศจีน โดยมีความพยายามจัดตั้ง ASEAN and China Cooperative Operations in Response to Dangerous Drugs (ACCORD) ในป ค.ศ. 2000 และมีการปรับปรุงใหม ในป ค.ศ. 2005 อยางไรก็ตาม โครงการ ACCORD ก็ลมเหลวอยางสิ้นเชิงทั้งการนําไปใชและการปฏิบัติงานรวมกัน โดยสรุป การปราบปรามอาชญากรรมในรู ปองคก รประเทศต าง ๆ ในทวีป เอเชีย ตอ งเผชิญกั บป ญหาการ 26 ปราบปรามอาชญากรรมในรูปขององคกรคลายกัน กลาวคือ ในการปราบปรามอาชญากรรมในรูปแบบดังกลาวตอง ประสบกับอุปสรรคนานาประการ เชน 1. ความผูกพันในเรื่องชาติพันธของสมาชิกแกงตาง ๆ การเกรงกลัวตอโทษที่ปาเถื่อนโหดราย ซึ่งจะไดรับเมื่อมี การเปดเผยความลับ ความมีเลหเหลี่ยมมากขึ้น ฯลฯ สิ่งเหลานี้ นับเปนอุปสรรคที่ทําใหการตามจับอาชญากรรมทั้งหลาย ลําบากมากขึ้น 2. ในการดําเนินธุรกิจดานการเงินที่ผิดกฎหมายของแกงตาง ๆ ไดสรางความสับสนใหกับศาลเปนอยางมาก เมื่อ มีคดีในเรื่องดังกลาวมาสูศาล เพราะวาแกงเหลานั้นใชระบบธนาคารแบบใตดิน ซึ่งไดรับการหนุนหลังจากรานคาทอง บริษัท และผูประกอบธุรกิจแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในเมืองใหญ ๆ หลายประเทศ 3. การสื่อสารโดยใชโทรศัพท โทรสาร และการลักลอบสงวิทยุสื่อสารขามทวีป เพื่อโอนเงินนับลานดอลลารรอบ โลกภายในเวลาไมกี่ชั่วโมง และเนื่องจาก ผูที่รวมกระบวนการในแกงตาง ๆ ยังเปนคนในระบบครอบครัวที่มีความผูกพัน ใกลชิด ทั้งภายในแกง ในวงการธุรกิจ จึงทําใหแกงเหลานั้นสามารถหลีกเลี่ยงการเก็บภาษี การปราบปราม และยังคงความ ยิ่งใหญอยูได ในขณะเดียวกัน แกงตาง ๆ ก็ไดเรียนรูที่จะโตตอบ และขัดขวางการปราบปรามดวยวิธีรุนแรงของรัฐบาล เชน หากรัฐบาลเริ่มใชเรดาร และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัยในการติดตามผูลักลอบคายาเสพติด พวกเขาก็จะใช อุปกรณดังกลาวเชนกัน รัฐบาลของประเทศตาง ๆ พยายามใชวิธีการขัดขวางโตตอบการคุกคามขององคกรอาชญากรรม ดังกลาว 26
รัชนีกร โชติชัยสถิต และกุลพล พลวัน. (2533). ประเทศไทยกับปญหาองคกรอาชญากรรมในอนาคต. รัฐสภาสาร : (กรกฎาคม 2533). หนา 18.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 98
การควบคุมปราบปรามและตอตา นองค กรอาชญากรรมนั้นทํ าไดยาก เนื่ องจาก ลักษณะของอาชญากรรม ประเภทนี้ มีวิธีและการดําเนินงานขององคการที่มีการวางแผน มีการบริหาร และที่สําคัญมีขาราชการ และนักการเมือง ร ว มมื อ ด ว ย นอกจากนั้ น สมาชิ ก ขององค ก ารมี ค วามภั ก ดี ส ามั ค คี ใ นระดั บ สู ง มาก ซึ่ ง ป ญ หา และอุ ป สรรคในการ ปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ มีดังนี้ 1. มาตรการที่ใชปราบปรามองคกรอาชญากรรมในปจจุบัน แสดงใหเห็นวา เปนกรณีตางคนตางทําโดยไมมีการ ประสานงานกันอยางเปนระบบระหวางหนวยงาน ขาดความรวมมือ และความไววางใจซึ่งกันและกัน 2. มาตรการทางกฎหมายในการตอตาน และปราบปรามองคกรอาชญากรรม และกรณีองคกรอาชญากรรมขาม ชาติ ความรวมมือระหวางประเทศยังไมมากเทาที่ควร 3. ไมมีหนวยงานอันเปนศูนยรวมเฉพาะในการตอตาน และปราบปรามองคกรอาชญากรรมโดยตรง ความผิดที่ เกิด จากการกระทําขององค กรอาชญากรรม จะเปนหนา ที่ของหน วยงานที่ เกี่ยวขอ งเฉพาะแต ละฐานความผิด เช น ยาเสพติด คาแรงงานตางชาติ 4. ข า ราชการขาดความรู ความชํ า นาญเฉพาะด า น ไม ใ ห ค วามร ว มมื อ หรื อ ตกอยู ภายใต อิ ท ธิ พ ลองค ก ร อาชญากรรม และหากขาราชการไมปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย มีความรับผิดชอบตองานหนาที่ของตน อาชญากร องคการก็จะทํากิจการตาง ๆ ไดงายขึ้น อยางไรก็ดี อาชญากรรมมีอยูในทุกประเทศ ทุกสังคม ทั้ งในเอเชีย สหรัฐอเมริกา และยุโรปดังไดกลาวมาแลว เชน แกงมาเฟย และยากูซา แมใน ประเทศญี่ปุนจะไดชื่อวา มีอาชญากรรมนอย และเจาหนาที่กระบวนการยุติธรรมก็ สามารถควบคุมปราบปรามอาชญากรรมไดผล แตแกงอาชญากรรมองคการก็เกิดขึ้น และขยายจํานวนแกงมากขึ้น ๆ เปน ลําดับ
ขอเสนอแนะดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการเขาสูประชาคมอาเซียน เพื่อเปนการการเตรียมความพรอมดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการเขาสูประชาคมอาเซียนในป 2558 รัฐบาลของประเทศอาเซียนจึงมีความจําเปนจะตองเสริมสรางความรวมมือระหวางกันในภูมิภาค และควรมียุทธศาสตร ความรวมมือของภูมิภคอาเซียนในดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยสมควรพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของใน 3 ดาน ไดแก การพัฒนากลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหเหมาะสม การพัฒนาความรวมมือระหวาง ประเทศดานกฎหมายและการบริหารจัดการ และการพัฒนาเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปนี้ 1. การพัฒนากลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหเหมาะสม 1.1. รัฐอาเซี ยนควรใหผลัก ดันใหอ งคกรอาเซียนที่มีอยูในปจจุบัน เชน สํานักงานเลขาธิการอาเซียน สํานักงานเลขานุการตํารวจอาเซียน และศูนยฝกอบรมระหวางประเทศที่ตั้งอยูในภูมิภาคอาเซียนที่มีอยูแลว เชน สถาบัน ระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย (ILEA Bangkok) และศูนยความรวมมือการบังคับใช กฎหมายจาการตา (JCLEC) เปนหนวยงานภูมิภาคหลักในการกําหนด ผลักดัน ขับเคลื่อน และศึกษาวิจัยกระบวนการเชิง นโยบายทางอาญาของประเทศอาเซียนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจทําหนาที่เปนทั้งหนวยนโยบาย และหนวย ประสานงานดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรืออาจจัดตั้งหนวยงานบังคับใชกฎหมายระดับรองในองคกรดังกลาว เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน เชน การจัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตรอาเซียน เพื่อ เปนศูนยกลางในการตรวจพิสูจนทางนิติวิทยาศาสตรและการฝกอบรมสําหรับนักนิติวิทยาศาสตรของอาเซียน เปนตน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 99
1.2. รัฐอาเซียนควรจัดตั้งทีมปฏิบัติการสืบสอบสวนรวมของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Investigative Team) ประกอบดวย หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลักที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจ อัยการ ศาล หนวยสืบสวนพิเศษ ศุลกากร และหนวยตรวจคนเขาเมือง ในลักษณะของทีมบูรณาการ ประกอบดวย หนวยสืบสวนสอบสวน หนวยนิติ 27 วิทยาศาสตร หนวยเทคโนโลยี หนวยปฏิบัติการพิเศษ เปนตน โดยใหมีอํานาจหนาที่ในการสืบสวนคดีอาชญากรรมขาม ชาติที่ สงผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศอาเซียนในวงกวา ง เชน การกอ การรายข ามชาติ การคา มนุษย และ อาชญากรรมคอมพิวเตอร เปนตน 1.3. รั ฐ อาเซี ยนควรจั ด ตั้ ง คณะกรรมาธิ ก าร เพื่ อ ศึ ก ษาทบทวนความเป น ไปได ใ นการจั ด ตั้ ง องค ก ร กระบวนการยุติธรรมในระดับภูมิภาคของอาเซียน เชน ศาลยุติธรรมอาเซียน สํานักงานอัยการอาเซียนควบคูไปกับองคกร ตํารวจอาเซียน ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นแลว เพื่อแกปญหาเรื่องเขตอํานาจศาลที่ถูกจํากัดโดยอํานาจอธิปไตยของแตละประเทศ โดย กําหนดโครงสรางองคกรและขอบเขตอํานาจหนาที่ภารกิจใหเ หมาะสมสอดคลองกับประเภทคดีที่สมควรจะนําขึ้นสู กระบวนการพิจารณาคดีในชั้นศาลใหชัดเจน เชน เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากลรายแรง และคดีสงผูรายขามแดน เปนตน เพื่อเปนการยกระดับหนวยงานบังคับใชกฎหมายของภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับกฎหมายภูมิภาคที่มี ในป จ จุ บั น เช น สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยความช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ในเรื่ อ งทางอาญาของอาเซี ยน ค.ศ. 2004 และ กระบวนการยุติธรรม และศาลยุติธรรมของสหภาพยุโรปมาใชเปนแนวทางในการจัดโครงสรางองคกร และแนวทางการ ปฏิบัติงาน 2. การพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศดานกฎหมายและการบริหารจัดการ 2.1. รัฐอาเซียนควรกําหนดใหมีมาตรการทางกฎหมายรวมกันในหลากหลายมิติอยางเหมาะสม ทั้งใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการเพื่อรองรับการขยายตัวของภูมิภาคอาเซียน เชน มาตรการทางกฎหมายการฟอก เงิน มาตรการตอตานการกอการราย มาตรการสงเสริมสิทธิมนุษยชนอาเซี ยน มาตรการทางกฎหมายตอผูตองหาและ เหยื่อจากการคามนุษย เปนตน ซึ่งเปนที่คาดหมายไดวา เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนแลว ประชากรจากทุกประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนจะมีการเคลื่อนยายในกลุมประเทศอาเซียนดวยกันมากขึ้น อันเนื่องมาจากนโยบายเปดรับและอํานวย ความสะดวกแกเพื่อนบาน ดังนั้น การกําหนดใหมีอนุสัญญาภูมิภาคอาเซียนวาดวยเรื่องกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ดานกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน ในลักษณะที่คลายกับกฎหมายของภูมิภาค อื่น เช น อนุสั ญญาสหภาพยุ โรปว า ดว ยการส ง ผูร า ยข า มแดน ค.ศ. 1957 และอนุสั ญญาสหภาพยุ โรปว า ดว ยความ ช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ทางอาญา ค.ศ. 1959 ที่ ว างหลั ก เกณฑ ใ ห แ ต ล ะประเทศถื อ ปฏิ บั ติ ร ว มกั น แบบกว า ง ๆ มี สาระสําคัญประกอบดวย บททั่วไป ความผิดอาญาที่จะใชกฎหมายดังกลาว หนวยงานบังคับใชกฎหมาย วิธีพิจารณาความ ความรวมมือทางอาญาระหวางประเทศ บทยกเวน และอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ สามารถเปนแนวทางหนึ่งที่จะทําใหการบังคับใช กฎหมายและการปองกันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติในภูมิภาคมีมาตรฐานใกลเคียงกันและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.2. รัฐอาเซียนควรสงเสริมผลักดันใหประเทศสมาชิกใชเครื่องมือ และกระบวนการบริหารจัดการทางคดี ระหวางประเทศที่มีอยู เชน ระบบฐานขอมูลและการตรวจพิสูจนขององคการตํารวจสากล ระบบฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ระบบการบริหารจัดการและสืบสวนคดี ซึ่งที่เกี่ยวของกับฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติหลายประเภท เชน การกอการ ราย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงขามชาติ การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรมคอมพิวเตอร อาชญากรรมเศรษฐกิจและการเงิน และอาชญากรรมสิ่งแวดลอม มาใชในการปฏิบัติงาน และใหสามารถยอมรับเปน พยานหลักฐานชั้นศาลได 27
Singh, J. (1999). Strategic ipact of Transnational Crime. in Hernandez, C.G. and Pattugalan, G.R. (eds) (1999). Transnational crime and regional security in the Asia Pacific. Manila, Philippines: Institute for Strategic and Development Studies.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 100
2.3. รัฐอาเซียนควรสงเสริมการพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญาของภูมิภาคอาเซียน ทั้งในรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใหความสําคัญตอความรวมมือและการใหความชวยเหลือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญาเพิ่มมากขึ้น และแสดงใหเห็นถึงความจริงใจที่จะใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันบนหลักปฏิบัติ ตางตอบแทน ซึ่งสามารถกระทําไดทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ เชน การกําหนดใหเรื่องความรวมมือระหวาง ประเทศในเรื่องทางอาญาอยูในแผนแมบทของรัฐบาลที่จะตองดําเนินการ การแกไขกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาใหครอบคลุมถึงกิจกรรมผิดกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมขา มชาติไมวาจะ กระทําภายในหรือภายนอกประเทศ การเพิ่มอํานาจใหเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของในการสืบสวนสอบสวนคดีที่ มีลักษณะขามชาติ การจัดตั้งหนวยงานเฉพาะขึ้นมาเพื่อรับผิดชอบในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ เปนตน นอกจากนี้ การใช ชอ งทางประสานงานเพื่ อ เพิ่มประสิท ธิ ภาพความร ว มมื อระหวา งภู มิ ภาคในเรื่ อ งทางอาญาอื่ น ๆ นอกเหนือจากกลไกทางกฎหมาย เชน การประสานงานผานชองทางตํารวจสากลฐานขอมูลตํารวจอาเซียน และการ ประสานงานผานเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูต ควรไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา อยางเปนทางการของประเทศอาเซียนดวย 2.4. รัฐอาเซียนควรจัดตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาแกไขทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวของกับกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา โดยประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายระหวาง ประเทศ หรือภูมิภาคที่มีอยูในปจจุบั น หรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตในการเขาสูประชาคมอาเซียน เชน การแกไข กฎหมายให สอดคลองกั บสนธิสัญญาวาด วยความช วยเหลือซึ่ง กันและกัน ในเรื่ องทางอาญาของอาเซียน การยกรา ง กฎหมายปองกันปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมใหรองรับการเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวา ดวยอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร 2.5. รัฐอาเซียนควรจัดทํานโยบายและแผนการพัฒนาประชาคมอาเซียนดานการบริหารงานยุติธรรม รวมกัน เชน การเคลื่อนยายแรงงาน การสงกลับคนเขาเมืองผิดกฎหมาย การปฏิบัติตอเด็กและสตรี เปนตน โดยอาจ จัดทําเปนลักษณะของขอ ตกลง หรือแนวทางการปฏิบัติที่ดี ที่สุด เชน การปฏิบัติตอคนต างชาติเมื่อเข าสูการดําเนิ น คดีอาญาของกระบวนการยุติธรรมอาเซียน ทั้งนี้ ในชวงเริ่มตนอาจจะประสานงานเพื่อขอรับการสนับสนุนบุคลากร และ เครื่องมือจากประเทศในกลุมภูมิภาคอื่น ๆ หรือองคการระหวางประเทศที่ มีประสบการณมากอน เชน สหภาพยุโรป สหประชาชาติ องคการตํารวจสากล เปนตน 2.6. รัฐอาเซียนควรเรงสรางความตระหนักรูในเรื่องอาชญากรรมขามชาติใหเกิดขึ้นกับประชาชน เพื่อให เห็นถึงความสําคัญและการปรับตัวที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาผานสื่อตาง ๆ เชน สิทธิ มนุษยชนของ พลเมืองอาเซียน สิทธิของผูตองหาและผูเสียหายเมื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรมของประเทศตาง ๆ รูปแบบและวิธีการ ประสานงานกับหนวยงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย เมื่อตองเขาไปเกี่ยวของกับคดีอาญาในประเทศ อาเซียน รวมตลอดถึงการใหความรูความเขาใจตอวัฒนธรรมประเพณีที่แตกตางของคนชาติอาเซียนที่จะชวยลดความ ขัดแยงที่อาจนําไปสูการฟองรองดําเนินคดีอาญา 3. การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม 3.1. รัฐอาเซียนควรจัดเตรียมบุคลากรหนวยงานบังคับใชกฎหมายโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการสืบสวน สอบสวนและประสานงานทางคดีใหมีความรูในลักษณะสหวิทยาการ ประกอบดวย กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย สารบัญญัติ และวิธีสบัญญัติทางอาญา การสืบสวนสอบสวนคดี และการใชภาษาตางประเทศอีกอยางนอยสองภาษา โดยมี ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาพื้ น ฐาน เพื่ อ เข า ร ว มในที ม ปฏิ บั ติ ก ารสื บ สวนสอบสวนร ว มของภู มิ ภ าคอาเซี ย น (ASEAN Investigative Team) และทีมผูประสานงานชายแดน (Border Liaison Officers) โดยอาจทําเปนรูปของโครงการพัฒนา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 101
ทรัพยากรมนุษยเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการคัดเลือกบุคคลที่จะตองมีทักษะ ความชํานาญเฉพาะดาน การฝกอบรม การฝกปฏิบัติรวม การทดลอง จนนําไปสูการปฏิบัติการในพื้นที่จริง ๆ ในอาเซียน เพื่อปฏิบัติงานในการสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมขามชาติได 3.2. รัฐอาเซียนควรจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ เพื่อเตรียมบุคลากรใน หนวยงานราชการตาง ๆ ใหพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนทั้งในเชิงระบบบริหารงานบุคคล และศักยภาพของบุคคล อาทิ การเตรียมความพรอมในดานภาษาตางประเทศใหแกขาราชการการฝกอบรมใหขาราชการในทุกกระทรวง ทบวง กรม เขาใจตอกฎหมายและระเบียบของภูมิภาคอาเซียนที่เกี่ยวของกับหนวยงานของตน และหนวยงานขางเคียงเมื่อตอง ปฏิบัติงานระดับภูมิภาค ซึ่งไมเพียงแตเปนหนาที่ของหนวยงานกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของเทานั้น หากแตจําเปนตอง อาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งสถาบันการศึกษา สังคม และครอบครัวในการชวยกลอมเกลา และสรางทรัพยากร มนุษยใหมีความพรอมตอการเขาสูประชาคมอาเซียนดวย ดังนั้น การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน นับเปนการพัฒนาความรวมมืออีกกาวหนึ่งของประเทศอาเซียนที่ พยายามที่จะสรางความเปนภูมิภาคนิยมและสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจ โดยลดกฎระเบียบภายในรัฐลงเพื่อเปด โอกาสใหประชากรอาเซียนสามารถผานเขา-ออกประเทศไดมากขึ้น แตในอีกดานหนึ่งกลับทําใหองคกรอาชญากรรมขาม ชาติสามารถใชชองโอกาสดังกลาวในการเขามากระทําความผิดในภูมิภาคอาเซียนหลากหลายรูปแบบ อยางไรก็ดี ความร วมมือระหวา งประเทศในทางอาญาของภูมิภาคอาเซี ยนในปจจุบัน ยังมีจุ ดออนอยูหลาย ประการ กลาวคือ การไมมีกฎหมายหรือขอตกลงรวมกันของภูมิภาคที่จะระบุถึงขอบเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาคดี อาชญากรรมขา มชาติ การประสานความรว มมื อระหว างหน วยงานบัง คับ ใช กฎหมายยั งมี ขอ จํา กัด อัน เนื่ องมาจาก กฎหมายภายในของรัฐ การขาดหนวยงานรับผิดชอบหลักตอปญหาอาชญากรรมขามชาติ การขาดทักษะและความรูความ เขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศ ความรูดานภาษา และความรูดานวัฒนธรรม และสังคมของ ประเทศอาเซียน การขาดความรูความเขาใจดานกฎหมายอาญา และกฎหมายระหวางประเทศของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ และการขาดกลไกในทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนนโยบายความรวมมือระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมายของกลุ ม ประเทศอาเซียน ดังนั้น กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของแตละประเทศอาเซียน จึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหเหมาะสม ตอการเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ โดยควรมียุทธศาสตรวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของอาเซียน รวมกัน โดยอาจพิจารณาใน 3 สวนหลัก ประกอบดวย ดานกลไกความรวมมือของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดาน ความรวมมือระหวางประเทศ ดานกฎหมาย และการบริหารจัดการ และดานการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรใน กระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ เพื่อลดขอจํากัดดานกฎหมายภายในของแตละประเทศ อันเปนอุปสรรคสําคัญตอการปองกัน ปราบปรามอาชญากรรมข า มชาติ และขยายความร ว มมื อ ระหว า งหน ว ยงานบั ง คั บ ใช ก ฎหมายของอาเซี ย นให มี 28 ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก ประเทศไทยมีการพัฒนาทางดานสังคมและเศรษฐกิจ เชนเดียวกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชีย กําลังมีบทบาททางสังคมและเศรษฐกิจของโลกไมนอยกวาประเทศในภูมิภาคแถบอื่น ๆ สืบเนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีชวยใหการเดินทาง และติดตอสื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทําให ชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย มีจํานวน มาก ซึ่งมีการรวมตัวของผูกระทําผิดในลักษณะองคกรองคกาอาชญากรรมขามชาติ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้
28
ชิตพล กาญจนกิจ. (2556). ความรวมมือระหวางประเทศวาดวยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอาเซียน : ขอเสนอเชิงยุทธศาสตรเพื่อการ เตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน. (กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร).
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 102
1. องคกรอาชญากรรม หมายถึง กลุมอาชญากรที่จัดตั้งในลักษณะองคกรประกอบดวยบุคคลสามคนหรือ มากกวา ที่รวมตัวกันเปนระยะเวลาหนึ่ง และที่มีการประสานการดําเนินงานระหวางกัน โดยมีเปาหมายใน การกระทําอาชญากรรมรายแรงหนึ่งอยางหรือมากกวา เพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนทางการเงิน หรือ ผลประโยชนทางวัตถุอยางอื่น 2. องคกรอาชญากรรมขามชาติ จะปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งมีความซับซอนมาก ได แก พวก มาเฟย ยากูซา เปนตน บอนทําลายประเทศตาง ๆ ทั่วโลก การควบคุมจะตองอาศัยความรวมมือจาก หนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มากกวาหนึ่งประเทศรวมมือกันปราบปรามปองกัน และกําหนดบทลงโทษสถานหนัก 3. ผลกระทบจากปญหาที่เกิดขึ้นจากองคกรอาชญากรรมขามชาติ แผขยายเพิ่มความรุนแรงไปทุกภูมิภาคทั่ว โลก ทุกประเทศตางตระหนักถึงความเสียหายอันเกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติ และมีมาตรการ ปองกันแตกตางกัน แตยังไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได 4. ประเทศที่พัฒนาแลว เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดมีการดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม องคก รอาชญากรรมขามชาติ โดยไดมี กฎหมายพิ เศษ เช น กฎหมายเฉพาะในการปราบปรามองคก ร อาชญากรรม กฎหมายการคุมครองพยานหลักฐาน กฎหมายพิเศษเพื่อควบคุมเรื่องการดักฟงการติดตอ ทางโทรศัพทอยางถูกตองตามกฎหมาย เปนตน 5. สาเหตุของปญหาทําใหประเทศไทย ไมสามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได เกิดจาก สาเหตุหลายประการ เชน บทกฎหมายที่ไมมีสภาพการบังคับใชเทาที่ควร การกําหนดวิธีปฏิบัติในการ จับกุม การดําเนินคดีอาญา และการพิจารณาลงโทษแกผูกระทําผิดซึ่งเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม ขามชาติ มีการดําเนินคดีอาญาเชนเดียวกับคดีอาญาทั่ว ๆ ไป เปนตน 6. แนวทางการแกไขปญหาการปราบปรามปองกันและตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ เชน การจัดตั้ง หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง การจัดการศึกษาอบรมใหกั บเจาหนาที่ผูปฏิบัติทุกหนวย การ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เปนสมาชิกองคการตํารวจ สากล ซึ่งปจจุบันมีดวยกันทั้งหมด 181 ประเทศ ตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัยตลอดเวลา ปญหาองคกรอาชญากรรมเปนปญหาระดับชาติ การแกไขจะตองมีการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม และระบบที่ ถูกตอง การปราบปรามเปนเพียงวิธีหนึ่งเพื่อชะลอการแผขยายอิทธิพลขององคกรอาชญากรรมขามชาติเทานั้น แตไม สามารถกําจัดองคกรอาชญากรรมขามชาติใหหมดสิ้นไปได จึงเปนหนาที่ของทุกประเทศตองรวมมือกันแกไขปญหา ดังกลาวอยางตอเนื่อง โดยตั้งเปาหมายในแตละป เพื่อทําใหปญหาอาชญากรรมขามชาติไดลดนอยลงตามเปาหมายที่ กําหนด หากทําไดตามเปาหมายนี้ก็ถือวา ประสบความสําเร็จ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 103
อางอิงทายบท I
อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยเรื่องกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ไดใหคํานิยามไว ในมาตรา 2 ยอหนา 1a วา สนธิสัญญา หมายถึง ความตกลงระหวางประเทศ ซึ่งกระทําเปนลายลักษณอักษรระหวางรัฐ และอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวาง ประเทศ ไมวาจะกระทําขึ้นเปนเอกสารฉบับเดียว หรือหลายฉบับ และไม วาจะเรียกวา อยางไรก็ตาม อางถึงใน จตุรนต ถิระวัฒน. (2547). กฎหมายระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 78-79. II สนธิสัญญาฯ ไดรวมลงนามโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ประกอบดวย บรูไน ดารุส ซาลาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟ ลิป ปน ส สาธารณรัฐ สิ งคโปร ราชอาณาจั กรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสหภาพเมียนมาร และประเทศไทยไดใหสัตยาบันสนธิสัญญา ดังกลาวเมื่อป 2556 III ปจจุบัน ประเทศไทยไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการมีสวนรวมในองคกรอาชญากรรมขามชาติ พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนกฎหมายอนุวัติการเพื่อใหเปนไปตามอนุสัญญาฯ โดยไดเริ่มมีผลบังคับใชแลวตั้งแตเดือนกันยายน 2556 อยางไร ก็ตาม ขณะนี้ อยูระหวางการพิจารณาออกขอบังคับประกอบพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวของสํานักงานอัยการสูงสุด และ หนวยงานที่เกี่ยวของ IV สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน (Extradition Treaty) เปนเครื่องมือทางการศาล หรือความรวมมือระหวางประเทศทางอาญา เพือ่ เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งสามารถใชอํานาจทางการศาลของตนเหนือคดีที่เกิดขึ้นในดินแดนของตนเอง แตผูกระทําความผิดใน ขณะนั้นกลับอยูในดินแดน หรืออาณาเขตของอีกรัฐหนึ่ง โดยการสงมอบตัวผูตองหา หรือผูที่ศาลไดมีคําพิพากษาใหลงโทษผู นั้นในการกระทําความผิดทางอาญาในดินแดนของรัฐที่ขอใหสงตัวบุคคลผูนั้น เพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือลงโทษในดินแดน ของรัฐที่รองขอ แตก็มิไดหมายความวา หากไมมีสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนกันไว จะไมสามารถสรางความรวมมือทางอาญา ระหวางประทศไดเลย เพราะรัฐยังคงสามารถมีความรวมมือทางอาญากับรัฐอื่น ๆ ได โดยอาศัยหลักกฎหมายระหวางประเทศ บนพื้นฐานของพันธไมตรีระหวางประเทศ หลักถอยทีถอยปฏิบัติ และหลักความยุติธรรม หรือที่รูจักกันในชื่อวา ความรวมมือ ทางการทูต V สนธิสัญญาความรวมมือระหวางประเทศในเรื่องทางอาญา (Mutual Assistance in Criminal Matters Treaty) เปน กฎหมายระหวางประเทศที่เปดโอกาสใหรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่ง หรืออีกหลายหลายรัฐ สามารถใหความชวยเหลือระหวางกันได ตามพันธกรณีที่ตกลงกันไวบนพื้นฐานของประโยชนตางตอบแทน โดยมองตามความเปนจริงวา อาชญากรรมสามารถเกิดขึ้น ในทุกแหงบนโลก และอาชญากรไมวาจะเปนคนเดียว หรือหลายคนก็ไมไดถูกจํากัดดวยพื้นที่ และเวลาในการกระทําผิด และ หลบหนี ดังนั้น จึงจําเปนที่รัฐจะตองรวมมือกันในการแลกเปลี่ยนขอมูล และชวยเหลือในการสืบสวนสอบสวนคดี เพื่อนํา พยานหลักฐานที่ไดไปใชในการดําเนินการทางศาลไดอยางถูกตองตามกระบวนวิธีพิจารณาของศาลยุติธรรม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 104
V
สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่ง เรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่ แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VI
สนธิสัญญาโอนตัวนักโทษเด็ดขาดระหวางประเทศ (Prisoner Transfer Treaty) เปนขอตกลงที่กําหนดถึงวิธีการในการโอน ตัว นักโทษที่ไดรับทางอาญาในรัฐหนึ่ง เรียกวา รัฐผูโอนกลับไปรับโทษในอีกรัฐหนึ่ง ซึ่งเรียกวา รัฐผูรับโอน เพื่อประโยชนใน การบริหารงานยุติธรรมภายใตความรวมมือในการบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษาในคดีอาญา โดยวิธีการดังกลาวจะชวยให บุคคลผูตองโทษมีโอกาสกลับคืนสูสังคมอยางเปนผลสําเร็จดวยการใหโอกาสแกผูสูญเสียอิสรภาพ เพราะการกระทําผิดทาง อาญาของตนมีโอกาสไปรับโทษของตนภายในสังคมของตนเอง และเพื่อประโยชนในการที่แตละประเทศจะไดใหการอบรม แกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําความผิดที่มีสัญชาติของประเทศของตนใหเปนพลเมืองดีตอไป VII การประชุมจะมุงเนนความรวมมือของภูมิ ภาคอาเซียนและประเทศคูเจรจาในหัวขอการประชุมที่เกี่ยวของ 8 หัวขอ ประกอบดวย การกอการราย การคายาเสพติด การคามนุษย การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน โจรสลัด อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร VIII ประเทศคูเจรจาในกรอบการประชุม SOMTC ประกอบดวย จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอินเดีย IX ปจจุบันประกอบดวยสมาชิกจํานวน 44 ประเทศ และ 2 องคการระหวางประเทศ และมีประเทศผูสังเกตการณอีก 29 ประเทศ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน http://www.baliprocess.net X ประกอบดวย สํานักงานตํารวจจากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และคูเจรจาอีก 5 ประเทศ และ 2 องคระหวาง ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน เกาหลี นิวซีแลนด สํานักงานเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจ สากล เนื้อหาสาระของการประชุมจะประกอบดวย อาชญากรรมขามชาติ 9 ฐานความผิด และ 3 ประเด็นความรวมมือ ประกอบดวย การลักลอบคายาเสพติด การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การคามนุษย การฉอโกงทางทะเล อาชญากรรม ทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมคอมพิวเตอร การใชเอกสารเดินทางปลอม การฉอโกงขามชาติ ฐานขอมูลตํารวจอาเซียน ความ รวมมือทางอาญา และการฝกอบรมระหว างตํารวจอาเซียน โดยจะเปนการเสนอถึงสถานการณทั่วไป สภาพปญหาของ อาชญากรรม รวมถึ ง เสนอกฎหมาย และมาตรการที่ เ หมาะสมในการแกไข ป ญ หาต อ ไป ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ใ น http://www.aseanapol.org/information/dialogue-partners XI องคการตํารวจสากล กอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ ประเทศโมนาโค ในป 1914 ปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวม 190 ประเทศ สํานักงานเลขาธิการองคการตํารวจสากล ตั้งอยูที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส มีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ประสานงาน และ ติด ต อ แลกเปลี่ ยนข อ สนเทศ หรื อ ข อ มูล เกี่ ย วกั บ อาชญากรรมต อ องค ก ารตํา รวจสากลหรือ ต อ สํ านั ก งานกลางแห ง ชาติ (National Central Bureau : NCB) ซึ่งเปนกลไกของประเทศสมาชิกที่สําคัญในการดําเนินงานประสานการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิกดวยกัน โดยองคการตํารวจสากลจะมีบทบาทในการเปนชองทางการติดตอประสานความรวมมือกับระหวาง ประเทศสมาชิกผานระบบเทคโนโลยีสมัยใหม ในการตอสูกับอาชญากรรมและอาชญากรรมขามชาติในศตวรรษที่ 21 โดยคดี สําคัญหลัก ๆ ที่เปนเปาหมายของตํารวจสากล ไดแก การกอการราย การคามนุษย ยาเสพติดใหโทษ การลักลอบขนคนผิด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ : ห น า | 105
กฎหมาย อาชญากรรมทางการเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย โจรสลัด การลักขโมยวัตถุ โบราณ การลักลอบขนยาผิดกฎหมาย อาชญากรรมองคกร นักโทษหลบหนี และอาชญากรสงคราม เปนตน ดูรายละเอียด เพิ่มเติมไดใน http://www.interpol.int/About-INTERPOL/Overview
XII
หมายตํารวจสากล (INTERPOL Notices) เปนคํารองขอความรวมมือ หรือการแจงเตือนระหวางประเทศ ซึ่งอนุญาตให ตํารวจของประเทศสมาชิกแบงปนขอมูลขาวสารสําคัญระหวางกัน ไดถูกจัดทําและเผยแพร โดยสํานักงานเลขาธิการตํารวจ สากลตามคํารองขอของสํานักงานกลางแหงชาติ หรือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายของประเทศสมาชิก และซึ่งจะเผยแพรดวย ภาษาทางการ 4 ภาษาไดแก อาราบิค, อังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน โดยแบงหมายออกเปน 8 ลักษณะ ประกอบดวย หมายสี แดง หมายสีดํา หมายสีสม หมายสีฟา หมายสีเหลือง หมายสีเขียว หมายสีมวง และหมายสีขาว ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดใน http://www.interpol.int/INTERPOL-expertise/Notices XIII ตัวอยางความรวมมือนาสนใจ เชน การดําเนินงานของตํารวจสากลในการนําหมายเอฟบีไอ จับกุม นายไบรอัน สมิธ ผูตองหาตามหมายจับของสํานักงานสืบสวนกลางสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ) ในขอหาลวงละเมิดทางเพศเด็กและขมขืนผูหญิง ใน ป พ.ศ. 2532 ในลาสเวกัส และไดหลบหนีมาซอนตัวอยูในพื้นที่ จ.นาน เปนครูสอนพิเศษวิชาภาษาอังกฤษใหกับเด็กนักเรียน ในโรงเรียนบานปรางค ต. บานปรางค อ.ปว จ.นาน โดยหลังจากแจงขอหาตํารวจสากลไดควบคุม ตัวไปดําเนินการเพื่อสงไป ดํา เนิ นคดีที่ ประเทศสหรัฐ อเมริ กาตามข อ ตกลงเรื่ องสง ผูร ายขา มแดนตอ ไป เป นต น (ข อมู ลจากฝา ยตํ ารวจสากล และ ประสานงานภูมิภาค 3 กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ) XIV ในปจจุบันมีเจาหนาที่ตํารวจประจําสถานทูตในประเทศไทยรวม 19 ประเทศและ 2 องคการระหวางประเทศ ประกอบดวย ออสเตรเลีย, เบลเยี่ยม, แคนาดา, จีน, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อินโดนีเซีย, อิสราเอล, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลีใต, มาเลเซีย, เนเธอรแลนด, นิวซีแลนด, กลุมประเทศนอดิก, นอรเวย, สเปน, สวิสเซอรแลนด, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, องคการตํารวจสากล และสํานักงานตอตานยาเสพติดและอาชญากรรมขององคการสหประชาชาติ