ประชาคมอาเซี ย น ความเป น มาประชาคมอาเซี ย น ประชาคมอาเซียนมีจุดเริ่มตนจากสมาคมอาสา ซึ่งกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) โดย ประเทศไทย มาเลเซีย และฟลิปปนส ไดรวมกันจัดตั้งสมาคมอาสา (Association of South East Asia) ขึ้น เพื่อรวมกัน ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตดําเนินการไดเพียง 2 ป ก็ตองหยุดชะงักลง เนื่องจาก ความผกผันทางการเมือง ระหวางประเทศอินโดนีเซีย และประเทศมาเลเซีย ตอมา ไดมีการฟนฟูสัมพันธภาพระหวางประเทศขึ้น และไดมีการจัดตั้ง องคกรสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) เปน องคกรทางภูมิรัฐศาสตร และองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยปฏิญญาสมาคม ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Declaration of ASEAN Concord) หรือปฏิญญากรุงเทพฯ (The Bangkok Declaration) โดยมีการลงนามรวมกันระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศของประเทศสมาชิก ณ พระราชวัง สราญรมย เมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) ประกอบด วย ประเทศสมาชิ กผูก อตั้ง 5 ประเทศ ไดแ ก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย ในเวลาตอมา มีประเทศตาง ๆ เขาเปนสมาชิกเพิ่มเติม ไดแก บรูไน ดารุสซาลาม เปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) เวียดนาม เปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ลาว และเมียนมารเปนสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) และกัมพูชา เปนสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ซึ่งสัญลักษณของอาเซียน คือ รูปรวงขาวสีเหลืองบนพื้นสีแดงลอมรอบดวยวงกลมสีขาว และสีน้ําเงิน รวงขาว 10 ตน หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุงเรือง สีแดง หมายถึง ความกลาหาญ และการมีพลวัต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพ และความมั่นคง จากวันที่เริ่มกอตั้ง อาเซียนไดเผชิญสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปในเวทีการเมืองระหวางประเทศจากสภาวะแหง ความตึงเครียด และการเผชิญหนาในยุคสงครามเย็น รวมทั้งความขัดแยงภายในระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน แตดวย ลักษณะของการรวมตัวกันแบบหลวม ๆ ไดเปนสวนดีใหอาเซียนคอย ๆ เรียนรูในการอยูรวมกันในลักษณะเฉพาะของ ตนเอง คือ การไมแทรกแซงกิจการภายใน และการใหความเคารพซึ่งกันและกัน จนนํามาสูความมีเสถียรภาพ ความมั่นคง และความรวมมืออยางใกลชิดกันมากขึ้นโดยลําดับ หลังสงครามเย็นยุติลง สภาพแวดลอมทางความมั่นคงและการเมือง ระหวางประเทศพัฒนาขึ้นมาก ทําใหสมาชิกอาเซียนไดคลายกังวลจากการเผชิญหนากันเองลงได ประเทศตาง ๆ จึง สามารถทุมเทในการพัฒนาเศรษฐกิจ จนนับไดวา เปนภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว แตปจจัยที่ ภูมิภาคตาง ๆ ของโลกตางตระหนักถึงความจําเปนในการรวมตัวกันใหเขมแข็งมากขึ้น เพื่อที่จะรับมือกับภัยคุกคาม รู ป แบบต า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น มี ลั ก ษณะเป น ป ญ หาระดั บ ภู มิ ภ าคมากขึ้ น ทุ ก ที เช น ภั ย ก อ การร า ย ภั ย ธรรมชาติ และ อาชญากรรมขามชาติ รวมทั้งการแขงขันทางเศรษฐกิจ การเงินระหวางภูมิภาค มีการรวมตัวกันมากขึ้น การอยูตามลําพัง ประเทศเดียวยอมเสียเปรียบกวาภูมิภาคที่รวมตัวกันได ดวยเหตุนี้ การรวมตัวกันอยางหลวม ๆ หรือเปนอยางเชนที่ผานมา ของอาเซียน จึงไมเพียงพออีกตอไป ดังนั้น จึงไมเปนที่นาแปลกใจที่สมาชิกอาเซียนทั้งปวงไดเล็งเห็นประโยชนจากการ รวมกันดังกลาว และหากอาเซียนแยกกันก็จะตองเผชิญกับความยากลําบากในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของโลก ซึ่งจะมีผลกระทบตอภูมิภาคอาเซียนอยางหลีกเลี่ยงไมได
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 5
อาเซียนกอตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมความรวมมือทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร สงเสริม สันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค สงเสริมความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนสงเสริม ความรวมมือระหวางอาเซียนกับตางประเทศ และองคกรระหวางประเทศในปฏิญญากรุงเทพฯ กําหนดจุดประสงคของ 1 อาเซียน ไวดังนี้ 1. เพื่อเรงรัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคม และการพัฒนาทางวัฒนธรรมใน ภูมิภาค โดยความเพียรพยายามรวมกัน ดวยเจตนารมณแหงความเสมอภาค และความรวมมือรวมใจ ทั้ งนี้ เพื่อสงเสริม รากฐานสําหรับประชาคมที่มีความรุงเรือง และสันติสุขแหงประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2. สงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพอยางแนวแนในความยุติธรรม และหลักแหง เนติธรรม ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค และยึดมั่นในหลักการแหงกฎบัตรสหประชาชาติ 3. สงเสริมใหมีความรวมมืออยางจริงจัง และความชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องที่มีผลประโยชนรวมกัน ทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร และการบริหาร 4. จัดใหมีความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการอํานวยความสะดวก การฝกอบรม และวิจัยทางดาน การศึกษา วิชาชีพ วิชาการ และการบริหาร 5. รวมมืออยางมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น เพื่อการใชประโยชนมากขึ้นในการเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม การ ขยายการคา รวมทั้งการศึกษาปญหาในเรื่องการคาระหวางประเทศเกี่ยวกับโภคภัณฑ การปรับปรุงบริการความสะดวก เกี่ยวกับการขนสง และคมนาคม และการยกระดับการครองชีพของประชาชนของตน 6. สงเสริมการศึกษาเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต 7. ธํารงความรวมมืออยางใกลชิดกับองคการระหวางประเทศ และระดับภูมิภาคที่มีความมุงหมาย และ ความมุงประสงคคลายคลึงกัน และที่จะแสวงหาลูทางทั้งหลาย เพื่อใหมีความรวมมืออยางใกลชิดขึ้นระหวางกัน นโยบายการดําเนินงานของอาเซียน จะเปนผลจากการประชุมหารือในระดับหัวหนารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และ เจาหนาที่อาวุโสอาเซียน การประชุมสุดยอด (ASEAN Summit) หรือการประชุมของผูนําประเทศสมาชิกอาเซียน เปน การประชุมสุดยอด เพื่อกําหนดแนวนโยบายในภาพรวม และเปนโอกาสที่ประเทศสมาชิกจะไดรวมกันประกาศเปาหมาย และแผนงานของอาเซียนในระยะยาว โดยจัดทําเอกสารรูปแบบตาง ๆ อาทิ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แถลงการณ รวม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความตกลง (Agreement) หรืออนุสัญญา (Convention) สวนการ ประชุมในระดับรัฐมนตรี และเจาหนาที่อาวุโส เปนการประชุมเพื่อพิจารณาทั้งนโยบายในภาพรวม และนโยบายเฉพาะ ดาน หนวยงานที่ทําหนาที่ประสานงาน และติดตามผลการดําเนินงานของอาเซียน ประกอบดวย สํานักงานเลขาธิการ อาเซียน (ASEAN Secretariat) มีสํานักงานตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เปนศูนยกลางในการติดตอระหวาง ประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียน (Secretary : General of ASEAN) เปนหัวหนาสํานักงาน และสํานักงาน เลขาธิการอาเซียนแหงชาติ (ASEAN National Secretariat) เปนหนวยงานระดับกรมในกระทรวงการตางประเทศของ ประเทศสมาชิกอาเซียน มีหนาที่ประสานกิจการอาเซียน และติดตามผลการดําเนินงานในประเทศนั้น ๆ สําหรับประเทศ ไทย หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ และคณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives : CPR)
1
กระทรวงการตางประเทศ, 2522.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 6
ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ความรวมมือในการดําเนินงานดานตาง ๆ ของอาเซียนมีความคืบหนาตามลําดับ โดย ในการประชุมสุดยอดอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2540 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ซึ่งเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของการกอตั้งอาเซียน ผูนําของประเทศสมาชิกไดใหการรับรอง “วิสัยทัศนอาเซียน 2020” (ASEAN Vision 2020) ซึ่งมีสาระสําคัญวา ภายใน ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) อาเซียนจะมีรูปแบบความรวมมือที่พัฒนาใกลชิดกันมากยิ่งขึ้น กลาวคือ อาเซียนจะมีลักษณะ 2 ดังนี้ 1) วงสมานฉันทแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (A Concert of Southeast Asian Nations) 2) หุนสวนเพื่อการพัฒนาอยางมีพลวัต (A Partnership in Dynamic Development) 3) มุงปฏิสัมพันธกับประเทศภายนอก (An Outward-looking ASEAN) 4) ชุมชนแหงสังคมที่เอื้ออาทร (A Community of Caring Societies) ในชวงเวลาที่ผานมา อาเซียนมีความรวมมือกันในดานตาง ๆ ดังนี้
1. ดานการเมืองและความมั่นคง
อาเซี ยนเน น ความร ว มมื อ เพื่ อ ธํ า รงรั ก ษาสั น ติ ภาพ และความมั่ น คงของภู มิ ภาค โดยได จั ด ทํ า ปฏิ ญ ญา กําหนดใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality : ZOPFAN) ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) การจัดทําสนธิสัญญาไมตรี และความรวมมือใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty on the Southeast Asian Nuclear Weapon – Free Zone : SEANWFZ) ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และการริเริ่มการประชุมอาเซียนวาดวยความ รวมมือดานการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum : ARF) ซึ่งไทยเปนเจาภาพ จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรก ในป พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994)
2. ดานเศรษฐกิจ
อาเซียนไดลงนามจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ในป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อลดภาษีศุลกากรระหวางกัน ชวยสงเสริมการคาภายในอาเซียนใหมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ลดตนทุนการผลิต ใน สินคาอุตสาหกรรม และดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ และไดขยายความรวมมือไปสูการคาบริการ และการเชื่อมโยง ทางดานอุตสาหกรรม เชน การจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA) มีจุดประสงคเพื่อใหอาเซียนมี ความไดเปรียบ และดึงดูดการลงทุนจากภายนอก และภายในภูมิภาค โดยการเปดตลาด (Market Access) และใหมีการ ปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (National Treatment) และยังไดขยายขอบเขตความตกลง AIA ใหครอบคลุมความรวมมือดาน การคาบริการ โดยมีการเปดเสรีการคาบริการใน 7 สาขา คือ การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ การเงิน การคลัง วิชาชีพธุรกิจ การกอสราง การคมนาคม และการทองเที่ยว โดยมีเปาหมายใหการเกิดเสรีครอบคลุมทุกสาขาบริการภายใน ป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
3. ดานสังคม
อาเซียนมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ภายใตสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมใน หลายดาน เพื่อพัฒนา และเสริมสรางสภาพชีวิต และความเปนอยูของประชากรในภูมิภาคใหมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดี สงเสริม และรักษาเอกลักษณประเพณี และวัฒนธรรม ตลอดจนสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประชาชนในภูมิภาค เพื่อใหประชาชนในอาเซียนมีสภาพความเปนอยู และคุณภาพชีวิตที่ดีทัดเทียมกับประชาชนในประเทศที่พัฒนาแลว
2
กองอาเซียน กรมอาเซียน, 2548.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 7
การรวมกลุมของประเทศสมาชิกอาเซียน ไดมีความรวมมือพัฒนาในหลายดาน ทั้งดานความมั่นคง เศรษฐกิจ การคาการลงทุน ดานสังคม และวัฒนธรรม ทั้งประเทศสมาชิกดวยกันเอง และรวมถึงประเทศอื่น ๆ ทั้งในเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกามาอยางตอเนื่อง ในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของการกอตั้งอาเซียน บรรดา ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมประกาศวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 (ASEAN Vision 2020) เปนการกําหนดทิศทาง และเปาหมายของการดําเนินการในดานตาง ๆ ของอาเซียนใหครอบคลุมทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้ง การดําเนินความสัมพันธกับประเทศภายนอกกลุม ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) ไดจัดทําแผนปฏิบัติการสําหรับวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 (Hanoi Plan of Action to Implement the ASEAN Vision 2020) การจัดทําแผนปฏิบัติการฮานอย (HPA) เปนการนําวิสัยทัศนอาเซียน พ.ศ. 2563 สูการปฏิบัติที่ เปนรูปธรรมโดยกําหนดกรอบเวลาที่ชัดเจน และใหมีการประเมินทุก ๆ 3 ป มีการกําหนดกิจกรรม และโครงการที่จะ นําไปสูเปาหมายในดานการเมือง เศรษฐกิจ และความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ซึ่งรวมถึงเรื่องการ พัฒนาสังคม วัฒนธรรม และสารสนเทศ ยาเสพติด สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีใหมีผลเปนรูปธรรม สราง ชุมชนอาเซียนที่มีความเอื้ออาทร และมี ความเปนประชาธิปไตยที่แทจริง เปนการเริ่มตนที่เปนรูปธรรมไปสูประชาคม อาเซียน
การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหวางวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผูนําอาเซียนไดลงนามปฏิญญาวาดวยความรวมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II) หรือปฏิญญาบาหลี (Bali Concord) เพื่อประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป พ.ศ. 2563 โดยสนับสนุนการรวมตัว และความรวมมืออยางรอบดาน ประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ดานการเมืองใหจัดตั้ง “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (ASEAN Political Security Community : APSC) ดานเศรษฐกิจให จัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) และดานสังคม และวัฒนธรรมใหจัดตั้ง “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) และตอมา ในการประชุมสุด ยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ระหวางวันที่ 9-15 มกราคม พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนํา อาเซียนไดเห็นชอบใหเรงรัดการเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้นกวาเดิมอีก 5 ป คือ เปนประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ ในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ที่ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสรางองคกร เพื่ อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดําเนินการตามวัตถุประสงค และเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 วัตถุประสงคของกฎบัตรอาเซียน คือ ทําใหอาเซียนเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเคารพกฎกติกาในการทํางานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบั ต รอาเซี ย นจะให ส ถานะนิ ติ บุ ค คลแก อ าเซี ย นเป น องค ก รระหว า งรั ฐ บาล (Intergovernmental organization) กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ภายหลังจากที่ประเทศ สมาชิกไดใหสัตยาบันกฎบัตรครบทั้ง 10 ประเทศ กฎบัตรอาเซียนกําหนดใหอาเซียน และรัฐสมาชิกปฏิบัติตามหลักการ พื้นฐาน ดังนี้ 1. การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณาการแหงดินแดน และอัตลักษณแหงชาติของรัฐสมาชิก อาเซียนทั้งปวง 2. ความผูกพัน และความรับผิดชอบรวมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมัง่ คั่งของภูมิภาค
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 8
3. การไมใชการรุกราน และการขมขูวาจะใช หรือการใชกําลัง หรือการกระทําอื่นใดในลักษณะที่ขัดตอกฎหมาย ระหวางประเทศ 4. การอาศัยการระงับขอพิพาทโดยสันติ 5. การไมแทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน 6. การเคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธํารงประชาชาติของตน โดยปราศจากการแทรกแซง การบอน ทําลาย และการบังคับจากภายนอก 7. การปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้น ในเรื่องที่มีผลกระทบอยางรายแรงตอประโยชนรวมกันของอาเซียน 8. การยึดมั่นตอหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตย และรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ 9. การเคารพเสรีภาพพื้นฐาน การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน และการสงเสริมความยุติธรรมทางสังคม 10. การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติ และกฎหมายระหวางประเทศ รวมถึงกฎหมายดานมนุษยธรรมระหวาง ประเทศที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ 11. การละเวนจากการมีสวนรวมในนโยบาย หรือกิจกรรมใด ๆ รวมถึงการใชดินแดนของตน ซึ่งดําเนินการโดย รัฐสมาชิกอาเซียน หรือรัฐที่ไมใชสมาชิกอาเซียน หรือผูกระทําที่ไมใชรัฐใด ๆ ซึ่งคุกคามอธิปไตย บรูณภาพแหงดินแดน หรือเสถียรภาพทางการเมือง และเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน 12. การเคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกตางของประชาชนอาเซียน โดยเนนคุณค ารวมกันของ ประชาชนอาเซียน ดวยจิตวิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย 13. ความเปนศูนยรวมของอาเซียนในความสัมพันธภายนอกทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดย คงไวซึ่งความมีสวนรวมอยางแข็งขัน การมองไปภายนอก การไมปดกั้น และการไมเลือกปฏิบัติ 14. การยึดมั่นในกฎการคาพหุภาคี และระบอบของอาเซียน ซึ่งมีกฎเปนพื้นฐานสําหรับการปฏิบัติตามขอผูกพัน ทางเศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพ และการลดอยางคอยเปนคอยไป เพื่อนําไปสูการขจัดอุปสรรคทั้งปวงตอการรวมตัวทาง เศรษฐกิจระดับภูมิภาค ในระบบเศรษฐกิจซึ่งขับเคลื่อนโดยตลอด กฎบัตรอาเซียน ประกอบดวย ขอบทตาง ๆ 13 บท 55 ขอ มีประเด็นใหมที่แสดงความกาวหนาของอาเซียน ไดแก 1. การจัดตั้งองคกรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน 2. การใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนสอดสอง และรายงานการทําตามความตกลงของรัฐสมาชิก 3. การจัดตั้งกลไกสําหรับการระงับขอพิพาทตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. การใหผูนําเปนผูตัดสินวา จะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีตามกฎบัตรอาเซียนอยางรายแรง 5. การเปดชองใหใชวิธีการอื่นในการตัดสินใจไดหากไมมีฉันทามติ 6. การสงเสริมการปรึกษาหารือกัน ระหวางประเทศสมาชิกเพื่อแกไขปญหาที่กระทบตอผลประโยชนรวม ซึ่งทํา ใหการตีความหลักการหามแทรกแซงกิจการภายในมีความยืดหยุนมากขึ้น 7. การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซี ยน เพื่อใหอาเซียนสามารถตอบสนองตอสถานการณฉุกเฉินไดอยา ง ทันทวงที 8. การเปดชองทางใหอาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธกับองคกรภาคประชาสังคมมากขึ้น 9. การปรับปรุงโครงสรางองคกรใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เชน ใหมีการประชุมสุดยอดอาเซียน 2 ครั้งตอป จัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความรวมมือในแตละ 3 เสาหลัก และการมีคณะผูแทนถาวรประจําอาเซียน ที่กรุงจาการตา เพื่อลดเวลา และคาใชจายในการประชุมของอาเซียน เปนตน 10. การกําหนดใหใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการของอาเซียน
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 9
กฎบัตร จะเปน Legal and Institutional Framework เพื่อใหอาเซียนสามารถดําเนินการตามวัตถุประสงค และเปาหมายขององคการ โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ตามที่ผูนําอาเซียนไดประกาศเจตนารมณไว โดย 1. ใหสถานะ “นิติบุคคล” แกอาเซียน เพื่อใหอาเซียนเปนองคการระหวางประเทศที่มีสถานะทางกฎหมาย ซึ่ง สามารถลงนามในสนธิสัญญาและทํานิติกรรมตาง ๆ ในนามของประเทศสมาชิกตามที่ไดรับมอบหมาย 2. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีกฎเกณฑในการทํางาน (Rule-based Organization) โดย 2.1. ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตามพันธกรณีภายใตกฎบัตรและความตกลงของอาเซียน รวมถึงการออก กฎหมายภายในรองรับพันธกรณี (Obligation to Comply) 2.2. มีกลไกการระงับขอพิพาทสําหรับความตกลงสําหรับความตกลงในทั้ง 3 เสาหลัก (Enforcement) 2.3. มีกลไกตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศสมาชิก โดยเลขาธิการอาเซียนเปนผูตรวจสอบ การปฏิบัติตามคําตัดสินจากกลไกการระงับขอพิพาทของประเทศสมาชิก และรายงานตอผูนํา (Monitoring) 2.4. มีมาตรการลงโทษกรณีไมปฏิบัติตามพันธกรณี (Sanctions) โดยใหผูนําสามารถตัดสินกรณีการละเมิด พันธกรณีตามกฎบัตรอยางรายแรง 3. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง (People-oriented Organization) โดย 3.1. มุงใหกิจกรรมของอาเซียนกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนอยางแทจริง ใหความสําคัญกับการสงเสริม กิจกรรมเพื่อความอยูดีกินดีของประชาชน ความมั่นคงของมนุษยเสริมสรางประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และสิทธิ มนุษยชน รวมถึงการมีองคกรระดับภูมิภาคเพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน เปนตน 3.2. ส ง เสริ มการมี ส ว นร ว มของประชาชน เช น การกํ า หนดให อ งค ก ารต า ง ๆ ของอาเซี ย น มี ห น า ที่ ปรึก ษาหารือกั บภาคประชาชนในการดํา เนิน งานภายใตค วามรับ ผิด ชอบ การให สถานะที่ป รึกษากั บองคก ารภาค ประชาชนตาง ๆ เปนตน 4. ทําใหอาเซียนเปนองคการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยกําหนดโครงสรางองคกรใหม เพื่อปรับปรุงการ ประสานงาน ปรับกระบวนการตัดสินใจใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และปรับหลักการ Non-interference ใหมีความ ยืดหยุน เพื่อใหอาเซียนสามารถแกไขปญหาที่กระทบตอผลประโยชนสวนรวมไดทันทวงที โดย 4.1. ตั้ง ASEAN Summit ระดับผูนํา ซึ่งจะประชุมรวมกันบอยขึ้น เพื่อใหแนวทาง และเสริมสราง เจตนารมณในการสรางประชาคมอาเซียน 4.2. ตั้งคณะมนตรี (Councils) ของแตละเสาหลัก เพื่อความเปนเอกภาพ และการประสานงานที่ดีระหวาง กิจกรรมภายใตแตละเสาหลัก และประเด็นที่เปน Cross-cutting Issues 4.3. ตั้งองคกร ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน มีหนาที่กลั่นกรองเรื่อง ตาง ๆ กอนที่จะเสนอเขาสูการพิจารณาของผูนํา 4.4. เพิ่มบทบาท และหนาที่ของประธานอาเซียน เพื่อใหการดําเนินงานของอาเซียนเกิดความตอเนื่อง และ มีการประสานงานที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีปญหาที่ตองไดรับการแกไขเรงดวน 4.5. เพิ่มอํานาจ และความรับผิดชอบของเลขาธิการอาเซียน โดยนอกจากจะเปน Chief Administrative Official แลว ยังมีหนาที่ติดตามการปฏิบัติตามคําตัดสินจากกลไกระงับขอพิพาทของประเทศสมาชิก และรายงานตอผูนํา และสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธขององคการของอาเซียนกับภาคประชาสังคม 4.6. ตั้งสํานักผูแทนถาวรของประเทศสมาชิกประจําอาเซียนที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อลด คาใชจายในการเดินทางเขารวมประชุม และการประสานงานที่ดีขึ้น
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 10
4.7. การตัดสินใจดวยหลักการ “ฉันทามติ” ยังคงเปนหลักการสําคัญของอาเซียน แตในกรณีที่ไมสามารถ หาฉั น ทามติ ใ นระหว า งประเทศสมาชิ ก ได ให ผู นํ า สามารถตกลงกั น ให ใ ช วิ ธี ก ารตั ด สิ น ใจรู ป แบบอื่ น ได ซึ่ ง จะทํ า ให กระบวนการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น 4.8. ยกระดับ Political Dialogue เพื่อปรึกษาหารือถึงปญหาที่กระทบตอประโยชนรวมของประเทศ สมาชิกอาเซียน กฎบัตรอาเซียนสรางกลไกตรวจสอบและติดตามการดํา เนินการตามความตกลงตาง ๆ ของประเทศสมาชิกใน หลากหลายรูปแบบ เชน 1. ใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนดูแลการปฏิบตั ิตามพันธกรณี และคําตัดสินขององคกรระงับขอพิพาท 2. หากการปฏิบัติ หรือไมปฏิบัติตามขอตกลงตาง ๆ ทําใหเกิดขอพิพาทระหวางรัฐสมาชิกสามารถใชกลไก และขั้นตอนระงับขอพิพาท ทั้งที่มีอยูแลว และที่จะตั้งขึ้นใหมเพื่อแกไขขอพิพาทที่เกิดขึ้นโดยสันติวิธี 3. หากมีการละเมิดพันธกรณีในกฎบัตรฯ อยางรายแรง ผูนํา อาเซียนสามารถกํา หนดมาตรการใด ๆ ที่ เหมาะสมวาจะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีกฎบัตรอาเซียน ชวยใหอาเซียนเปนประชาคมเพื่อประชาชนได อยางไร ขอบทตาง ๆ ในกฎบัตรอาเซียน แสดงใหเห็นวา อาเซียนกําลังผลักดันองคกรใหเปนประชาคม เพื่อประชาชน อยางแทจริง จึงกําหนดใหการลดความยากจน และลดชองวาง การพัฒนาเปนเปาหมายหนึ่งของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน เปดโอกาสใหภาคประชาชน และภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวม ในอาเซียนผานการมีปฏิสัมพันธกับองคกรตาง ๆ ของ อาเซียนมากขึ้น ทั้งยังกําหนดใหมีความรวมมือระหวางอาเซียนกับสมัชชารัฐสภาอาเซียน ซึ่งเปนองคกรความรวมมือ ระหวางรัฐสภาของประเทศสมาชิกกําหนดใหมีการจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียน เพื่อสงเสริม และคุมครองสิทธิ มนุษยชน และสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน กฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนกฎหมายสูงสุดของอาเซียน ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เปน เอกสารหลักที่กําหนดโครงสรางองคกรของอาเซียน ไวในหมวดที่ 4 ดังนี้ 1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบดวย ประมุขหรือหัวหนารัฐบาล มีอํานาจหนาที่การ กําหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางความรวมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสํา คัญ โดยใหประเทศสมาชิกซึ่งเปน ประธานอาเซียนเปนเจาภาพจัดการประชุม 2 ครั้งตอป หรือเรียกประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจําเปน 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบดวย รัฐมนตรีตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ทําหนาที่ เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลง และขอตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงาน ระหวาง 3 เสาหลัก ดูแลการดําเนินงานและกิจการตาง ๆ ของอาเซียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมี การประชุมกันอยางนอย 2 ครั้งตอป 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบดวย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก อันไดแก คณะมนตรีการเมือง และความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเปนผูแทนที่ประเทศสมาชิกแตงตั้งใหเปนผูรับผิดชอบแตละเสาหลัก มี อํานาจหนาที่ในการประสานงาน และติดตาม การทํางานตามนโยบาย โดยเสนอรายงาน และขอเสนอแนะตอที่ประชุมผูนํา มีการประชุมอยางนอยปละ 2 ครั้ง ประธาน การประชุมเปนรัฐมนตรีที่เหมาะสมจากประเทศสมาชิก ซึ่งเปนประธานอาเซียน
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 11
4. องคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectorial Ministerial Bodies) องค ก รระดั บ รั ฐมนตรี อ าเซี ยนเฉพาะสาขา (เช น ด า นสาธารณสุ ข ด า นกลาโหม ด า นการศึ ก ษา ฯลฯ) ประกอบดวย รัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหนาที่ปฏิบัติตามขอตกลง และขอตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู ใน ขอบขายการดําเนินงานของตน และเสริมสรางความรวมมือในสาขาของแตละองคกรใหเขมแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการ รวมตัวของประชาคมอาเซียน 5. เลขาธิการอาเซียนและสํานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) สํานักเลขาธิการอาเซียนไดจัดตั้งขึ้นตามขอตกลงที่ลงนามโดยรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนในระหวางการ ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในป 2519 เพื่อทําหนาที่ประสานงาน และดําเนินงานตามโครงการ และกิจกรรมตาง ๆ ของสมาคมอาเซียน และเปนศูนยกลางในการติดตอระหวางสมาคมอาเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันตาง ๆ และ รัฐบาลของประเทศสมาชิกสํานักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีหัวหนาสํา นักงาน เรียกวา “เลขาธิการอาเซียน” (ASEAN Secretary-General) ซึ่งไดรับการแตงตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระ การดํารงตําแหนง 5 ป และตองไดรับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลํา ดับตัวอักษร ผูดํารงตําแหนง เลขาธิการอาเซียนทีเ่ ปนคนไทย คือ นายแผน วรรณเมธี ซึ่งมีวาระดํารงตําแหนงระหวางป 2527-2529 และดร. สุรินทร พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดํารงตําแหนงระหวางป 2551-2555 6. คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives to ASEAN) คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียน เปนผูแทนระดับเอกอัครราชทูตที่แตงตั้งจากประเทศสมาชิกให ประจําที่สํานักงานใหญอาเซียน กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย มีหนาที่สนับสนุนการทํางานของคณะมนตรีประชาคม อาเซียน และองคกรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการอาเซียน และสํานักงานเลขาธิการอาเซียนใน เรื่องที่เกี่ยวของ และประสานงานกับสํานักงานเลขาธิการอาเซียนแหงชาติ และองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา 7. สํานักงานอาเซียนแหงชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) เปนหนวยงานระดับกรมในกระทรวงการตางประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแตละประเทศไดจัดตั้ง ขึ้นเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความรวมมือตาง ๆ เกี่ ยวกับอาเซียนในประเทศนั้น ๆ สําหรับประเทศไทยหนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ 8. องคกรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการสงเสริม และคุมครอง สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทํางาน และอํานาจหนาที่จะไดกําหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีตางประเทศ อาเซียนตอไป 9. มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) มูลนิธิอาเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียน และดําเนินการรวมกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของในการ สนั บ สนุ น การสร า งประชาคมอาเซี ยน โดยการส ง เสริ มความสํ า นึ ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เกี่ ย วกั บ อั ต ลั ก ษณ ข องอาเซี ยน การมี ปฏิสัมพันธระหวางประชาชน การดําเนินงานรวมกันที่ใกลชิดระหวางภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผูมีสวน ไดเสียอื่น ๆ ในอาเซียน โดยสรุปสาระสําคัญของกฎบัตรอาเซียน คือ การเรงรัดการรวมตัวเปนประชาคมทั้งสามหลัก ไดแก 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุงใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติ มีระบบแกไข ความขัดแยงระหวางกันไดดวยดี มีเสถียรภาพอยางรอบดาน มีกรอบความรวมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้ง รูปแบบเดิม และรูปแบบใหม ๆ เพื่อใหประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 12
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุงใหเกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอํานวยความสะดวกในการ ติดตอคาขายระหวางกัน อันจะทําใหภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได เพื่อความอยูดีกิน ดีของประชาชนในประเทศอาเซียน และ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อใหประชาชนแตละประเทศอาเซียนอยูรวมกันภายใตแนวคิด สังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม
เสาหลั ก ประชาคมอาเซี ย น ผลจากแรงขับเคลื่อนอาเซียนเหลานี้ ในป พ.ศ. 2540 อาเซียนไดกําหนดวิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) โดยมีเปาหมายใหอาเซียนเปนกลุมหุนสวนที่มีความสมานฉันท รวมกันพัฒนาอยางเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ใหได ในป พ.ศ. 2563 จากจุดเริ่มของการกําหนดวิสัยทัศนดังกลาว เปนแรงขับใหอาเซียนมีพัฒนาการอยางรวดเร็วในการ เตรียมตัวเขา สูรูปแบบของประชาคมที่มีค วามเป นหนึ่งเดียวกั น มีสัน ติสุข และเอื้อ อาทรกัน ตอ มาในป พ.ศ. 2549 อาเซียนไดประกาศรางพิมพเขียวกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) และเรงใหเกิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ใน พ.ศ. 2558 หรือ ค.ศ. 2015 โดยประชาคมอาเซียน จะประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ที่มีเปาหมายดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) อาเซียนมุงสงเสริมความรวมมือในดานการเมืองและความมั่นคง เพื่อเสริมสราง และธํารงไว ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติสุข และสามารถแกไขปญหา และความขัดแยง โดยสันติวิธี โดยมีเปาหมายรวมกันในการสราง “สังคมประชาธิปไตย” เพื่อความมั่นคงรวมกันในภูมิภาค องคประกอบ อื่น ๆ ทางการเมืองที่อาเซียนถือเปนแนวทางรวมกัน รวมถึงหลักการปกครองที่ดี การเคารพในสิทธิมนุษยชน อิสรภาพ เสรีภาพ และความเสมอภาคกันในหมูพลเมืองอาเซียน เพื่อรองรับการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน อาเซียนไดจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political – Security Community Blueprint) โดยเนนใน 3 ประการ คือ การมีกฎเกณฑและคานิยมรวมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรม ตาง ๆ ที่รวมกันทํา เพื่อสรางความเขาใจในระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตรที่แตกตางของประเทศสมาชิก สงเสริมพัฒนาการทางการเมืองไปในทิศทางเดียวกัน เชน หลักการประชาธิปไตย การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีสวนรวมของภาคประชาสังคม การตอตานการทุจริต การสงเสริมหลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล เปน ตน ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุมดังนี้ 1) สงเสริมความสงบสุข และรับผิดชอบรวมกันในการรักษาความมั่นคง สําหรับประชาชนครอบคลุมในทุก ดาน ครอบคลุมความรวมมือ เพื่อเสริมสรางความมั่นคงในรูปแบบเดิม ซึ่งหมายถึง มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และ การระงับขอพิพาทโดยสันติ เพื่อปองกันสงคราม และใหประเทศสมาชิกอาเซียนอยูดวยกัน โดยสงบสุข และไมมีความ หวาดระแวง นอกจากนี้ ยั งขยายความร วมมือ เพื่อ ตอ ตานภัยคุก คามรู ปแบบใหม เช น การต อต านการก อการรา ย อาชญากรรมขามชาติตาง ๆ เชน ยาเสพติด การคามนุษย ตลอดจนการเตรียมความพรอมเพื่อปองกัน และจัดการภัยพิบัติ และภัยธรรมชาติ 2) การมีพลวัต และปฏิสัมพันธกับโลกภายนอก กําหนดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางบทบาทของอาเซียนในความ รวมมือระดับภูมิภาค เชน กรอบ ASEAN+3 (จีน ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี) และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธที่เขมแข็งกับมิตรประเทศ และองคการระหวางประเทศ เชน สหประชาชาติ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 13
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
อาเซียนมีเปาหมายที่จะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมี เปาหมายใหอาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียว และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมี ฝมืออยางเสรี เพื่อมุงหวังที่จะพัฒนาอาเซียนใหเปนภูมิภาคที่เจริญมั่งคั่ง มั่นคง ขจัดความยากจน และลดความไมเทา เทียมกันทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะสงผลใหอาเซียนพัฒนาอยูในระดับที่เทียบเคียงกัน โดยอาเซียนไดจัดทําแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเปนแผนงานบูรณาการการดําเนินงานในดาน เศรษฐกิจ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค 4 ดาน คือ 1) การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยจะมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงาน ฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น รวมทั้งการสงเสริมการรวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียนใหเปน รูปธรรม โดยไดกําหนดเวลาที่จะคอย ๆ ลด หรือยกเลิกอุปสรรคระหวางกันเปนระยะ ทั้งนี้ กําหนดใหลดภาษีสินคาเปน ศูนย และลด หรือเลิกมาตรการที่มิใชภาษี ภายใน ป พ.ศ. 2553 เปดตลาดภาคบริการทั้งหมดภายใน ป พ.ศ. 2558 และ เปดเสรีการลงทุนภายในป พ.ศ. 2553 2) การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน โดยใหความสําคัญกับประเด็น ดานนโยบายที่จะชวยสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เชน นโยบายการแขงขัน การคุมครองผูบริโภค สิทธิในทรัพยสิน ทางป ญญา พาณิช ยอิเ ล็กทรอนิกส นโยบายภาษี และการพั ฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค ใหมีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และ การเสริมสรางขีดความสามารถผานโครงการตาง ๆ เชน ขอริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) เปนตน เพื่อลดชองวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิก 4) การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก เนนการปรับประสาน นโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาค เพื่อใหอาเซียนมีทาทีรวมกันอยางชัดเจน เชน การจัดทําเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจา ตาง ๆ เปนตน รวมทั้งสงเสริมการสรางเครือขายในดานการผลิต/จําหนายในภูมิภาคใหเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ ความรวมมือดานเศรษฐกิจของอาเซียน ยังใหความสําคัญตอการเสริมสรางศักยภาพ และพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การยอมรับคุณสมบัติดานวิชาชีพรวมกัน การสงเสริมใหมีการหารือรวมกันอยางใกลชิดในการดําเนิน นโยบายด า นเศรษฐกิ จ และการเงิ น การส ง เสริ ม การเชื่ อ มโยงด า นโครงสร า ง และการคมนาคม การพั ฒ นาการ ติดตอสื่อสารทางสื่ออิเล็กทรอนิกส การบูรณาการดานอุตสาหกรรมขามภูมิภาค เพื่อสงเสริมทรัพยากรของภูมิภาค และ การเพิ่มบทบาทการมีสวนรวมของภาคเอกชน เพื่อสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) อาเซียนมุงหวังประโยชนจากการรวมตัวกันเพื่อทําใหประชาชนมีการอยูดีกินดี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ มี สิ่งแวดลอมที่ดี และมีความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ภายใตสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมในหลายดาน ไดแก เยาวชน การศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สิทธิ มนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สิ่งแวดลอม สตรี และแรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคม และการพัฒนา วัฒนธรรม และสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเขาเมือง และศุลกากร ยาเสพติด และการจัดการ ภั ยพิ บั ติ สิ ท ธิ มนุ ษ ยชน โดยมี ค ณะทํ า งานอาเซี ย นรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น ความร ว มมื อ ในแต ล ะด า น ซึ่ ง อาเซี ย นได ตั้งเปาหมายการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในป พ.ศ. 2558 ไดจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint : ASCC) โดยมุงหวังที่จะทําใหเกิดประชาคม อาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเปนสังคมที่รับผิดชอบ เพื่อกอใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และความเปน เอกภาพในหมูประชาชาติและประชาชนอาเซียน โดยเสริมสรางอัตลักษณรวมกัน สรางสังคมที่เอื้ออาทร และแบงปน และ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 14
ประชาชนมีสวนรวม โดยมีคุณภาพชีวิต และความเปนอยู และสวัสดิการของประชาชนดีขึ้น ตอบสนองตอความตองการ ของภูมิภาคในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยดําเนินกิจกรรมที่เนนการใหความสําคัญกับประชาชน และเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อมุงไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จะชวยสนับสนุนการสราง พื้นฐานที่แข็งแกรงสําหรับความเขาใจอันดีการเปนเพื่อนบานที่ดี และการแบงปนความรับผิดชอบ ประชาคมสั งคมและวั ฒนธรรมอาเซี ยน เคารพในความแตกต างทางวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาของ ประชาชนอาเซียน เนนคุณคารวมกันทามกลางความเปนเอกภาพในความหลากหลาย โดยปรับใหเขากับสถานการณ โอกาส และสิ่งทาทายในปจจุบัน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนใหความสําคัญกับมิติทางวัฒนธรรมในเรื่องการลด ชองวางการพัฒนา โดยขจัดความแตกตางทางการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ครอบคลุมลักษณะ 6 ดาน คือ 1) การพัฒนามนุษย (Human Development) 2) การคุมครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3) ความยุติธรรมทางสังคมและสิทธิ (Social Justice and Rights) 4) ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม (Ensuring Environmental Sustainability) 5) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN Identity) และ 6) การลดชองวางทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) การรวมตัวกันของอาเซียน โดยมุงหวังวา ประชาคมอาเซียนจะนําประโยชนกลับมาสูประเทศสมาชิก ทั้งในมิติ ดานเศรษฐกิจที่จะทําใหประชากรของแตละประเทศอยูดีกินดี การรวมตัวกันจะเปนการสรางความเขมแข็งใหภาคการผลิต ที่จะสามารถสรางอํานาจตอรองในระดับโลกไดมากขึ้น และยังเปนการสรางตลาดที่ใหญขึ้นจากจํานวนประชากรอาเซียนที่ มีมากกวา 600 ลานคน กลุมสินคาและบริการนํารองที่สําคัญที่จะเกิดการรวมกลุมกัน คือ สินคาเกษตร สินคาประมง ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ ยานยนต อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการดานสุขภาพ การทองเที่ยว และการขนสงทางอากาศ (การบิน) โดยกําหนดให ป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เปนปที่เริ่มรวมตัวกันอยางเปนทางการ แต จะผอนปรนใหกับประเทศลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม สําหรับประเทศไทยไดรับมอบหมายใหจัดทํา Roadmap ทางดานทองเที่ยวและการขนสงทางอากาศ (การบิน) จากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซียไดจัดทํา ขอตกลงรวมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เกี่ยวกับคุณสมบัติของวิชาชีพหลัก แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผูมีความสามารถพิเศษ เพื่ออํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายไดอยางเสรีที่จะเริ่มต นในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ทั้งนี้ ในเบื้องตนประเทศสมาชิกตกลงรวมกันแลววา แรงงาน 7 สาขาที่เปดเสรีกอน คือ วิศวกร (Engineering Services) พยาบาล (Nursing Services) สถาปนิก (Architectural Services) นักสํารวจ (Surveying Qualifications) แพทย (Medical Practitioners) ทันตแพทย (Dental Practitioners) และนักบัญชี (Accountancy Services) ซึ่งจาก ผลการวิจัยของ Osaka School of International Public Policy รวมกับ OECD และ Johns Hopkins University ศึกษาวัด ผลกระทบจากการรวมตั วเป นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช แบบจํา ลอง Dynamic Computable General Equilibrium Model (CGE) ซึ่งเปนการวิเคราะหเชิงปริมาณตอผลกระทบตอความรุงเรืองทางเศรษฐกิจ (Economic welfare) การเคลื่อนยายของสินคา (Trade flows) และผลลัพธตามภาคสวน (Sectoral output) พบวา เมื่อมีการลดกําแพงอุปสรรคทางการคาตาง ๆ ลงของประชาคมในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) แลว ประเทศตาง ๆ ใน อาเซียนจะไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจทุกประเทศ โดยแตละประเทศจะไดรับประโยชนแตกตางกันไป ในสวนของ 3 ประเทศไทยจะเปนประเทศที่ไดรับผลประโยชนสูงที่สุดถึงรอยละ 9.38 นอกจากนี้ ยังพบวา ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาด 3
Hiro Lee , Michael G. Plummer, Assessing the Impact of the ASEAN Economic Community, OSIPP Discussion Paper, 23 March 2011.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 15
ใหญนอกภูมิภาคอาเซียน จะไดรับผลกระทบเชิงลบทั้ง จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด กลุมประเทศ อเมริกาเหนือและสหภาพยุโรป นอกจาก ประโยชนด านเศรษฐกิจแลว สิ่ งที่จะเปน ประโยชน คือ การเสริ มสรางความมั่ นคงใหแก ภูมิ ภาค ประชาคมจะรวมกันสรางเครื่องมือตาง ๆ ในการปกปองการถูกคุกคามจากภัยรูปแบตาง ๆ ที่เปนภัยคุกคามรวม (ASEAN Common Threats) ไดแก ภัยจากโรคติดตอ (Health threats and infectious diseases) ภัยจากธรรมชาติ และการ ทําลายสิ่งแวดลอม และภัยจากอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบตาง ๆ เชน การกอการราย โจรสลัด การคายาเสพติด การคาอาวุธ การฟอกเงิน และอาชญากรรมทางระบบไซเบอร ซึ่งการรวมตัวกันของอาเซียน จะชวยแกไขปญหาความ ขัดแยงภายใน ดวยการสรางความไววางใจ ลดความหวาดระแวงซึ่งกันและกันใหมากขึ้น การรวมตัวกัน จะทําใหเกิดเปน กําลังอํานาจ สําหรับชวยประเทศสมาชิกตอตานการถูกคุกคามจากมหาอํานาจภายนอกอาเซียน เชน ปญหาจากจีนที่ คุกคามประเทศตาง ๆ ในกรณีของขอพิพาทเขตแดนทางทะเลจีนใต หรือการขัดกันของมหาอํานาจที่เขามามีอิทธิพลใน ภูมิภาค ซึ่งหากอาเซียนสามารถประสานความรวมมือกันเปนนโยบายตางประเทศของภูมิภาคยอมเกิดเปนอํานาจตอรอง หรือสรางความยําเกรงแกประเทศเหลานี้ได และความมั่นคงที่เกิดขึ้นจากการสรางและพัฒนาเศรษฐกิจของสมาชิกให พัฒนาขึ้นมาใหมีระดับที่ใกลเคียงกัน จะทําใหประชาชนของประเทศตาง ๆ อยูดีกินดีขึ้น และประเทศที่มีเศรษฐกิจดีอยู แลวก็จะมีความมั่นคงมากขึ้น เพราะจะไมตองเผชิญกับการเคลื่อนยายแรงงานผิดกฎหมายที่จะนํามาซึ่งความไมมั่นคง ทางดานสาธารณสุข เชน โรคติดตอ หรือการคายาเสพติด อาวุธ หรือการปลนสะดม หรือแมแตโจรสลัด ดังที่เกิดขึ้นใน ชองแคบมะละกา เพราะความยากจนของชาวอินโดนีเซียในพื้นที่นั้น ดั งนั้น สภาพแวดลอมความมั่นคงระหวางประเทศ ของประเทศสมาชิกภายหลังการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน จะมีโอกาสที่จะมีความมั่นคงมากขึ้น หากอาเซียนจัดตั้ง เปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนไดสําเร็จ จะทําใหการสื่อสารแบบพหุภาคีเพื่อแกปญหาของคูขัดแยง โดย จะมีอํานาจตอรอง และมีเวทีใหเกิดการเจรจามากกวาการใชกําลังทหาร อีกทั้งการที่ประเทศสมาชิกมีการเชื่อมโยง ทางดานสังคม และเศรษฐกิจซึ่งกันและกันมากขึ้น ยอมทําใหคูขัดแยงแตละฝายตางตองคิดใหมากในการใชวิธีที่รุนแรงเขา แกปญหา ซึ่งจะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ และประชาชนของตนที่ทํางานในประเทศคูขัดแยง นอกจากนี้ สภาพแวดลอม แบบเดิมที่ประเทศสมาชิกชักนํามหาอํานาจเขามาสนับสนุนอยางชัดเจน เพื่อคานอํานาจกับประเทศสมาชิกอื่น หรือเลือก มหาอํานาจหนึ่งมาคานอํานาจกับอีกมหาอํานาจ เชน เวียดนามใชรัสเซีย และสหรัฐอเมริกามาคานอํานาจจีน การมี ความสําคัญแบบทวิภาคีของสมาชิกกับประเทศมหาอํานาจตองผานประชาคมอาเซียนมากขึ้น และการมีความสัมพันธ แบบทวิ ภาคี ข องสมาชิ ก กั บ ประเทศมหาอํ า นาจจะถู ก จั บ ตามองจากประชาคม โดยเฉพาะเมื่ อ พิ จ ารณานโยบาย ตางประเทศของประชาคมอาเซียน คาดวา นาจะเลือกเปนความเปนกลางกับทุกประเทศมหาอํานาจได เพราไมสามารถ อางเหตุผลเดิมที่กองทัพมีความออนแอ ทําใหประเทศตาง ๆ ในอาเซียนจําเปนตองอาศัยประเทศมหาอํานาจหนุนหลังอยู เพื่อสรางอํานาจใหแกประเทศของตน ดังนั้น เพื่อไมใหเวทีประชาคมอาเซียนเปนเวทีตัวแทนของมหาอํานาจ การกําหนด นโยบายตางประเทศของประชาคมก็จะไมเลือกเขากับฝายหนึ่งฝายใด
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 16
สภาวะแวดล อ มด า นความมั่ น คงในป จ จุ บั น สถานการณโลก หลังสิ้นสุดสงครามเย็น โลกไดพัฒนาเขาสูยุคแหงการเปลี่ยนแปลงที่เปนไปอยางรวดเร็วและไมแนนอน กระแส โลกาภิวัตน และความกาวหนาทางเทคโนโลยี ไดนํามาซึ่งการเคลื่อนยายอยางเสรีของผูคน สินคา และการบริการ ไดเพิ่ม จํานวนขึ้นในอัตราที่ไมเคยปรากฏมากอน เกิดความเชื่อมโยงอยางกวางขวางที่ทําใหบุคคล หรือผูแสดงบทบาทที่ไมใชรัฐ (Non-state actor) มีอิทธิพลมากขึ้นในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทั้งในระดับโลก ภูมิภาค หรือภายในรัฐชาติหนึ่งรัฐชาติ ใด อันสงผลใหเกิดความทาทายตอความเปนรัฐชาติรวมถึงองคการระหวางประเทศ ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแลว ไดใหความสนใจกับธรรมาภิบาลในงานดานความมั่นคง (Security Sector Governance: SSG) ของประเทศตาง ๆ โดยเปนเรื่องเกี่ยวกับความโปรงใสของกระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ คานิยม ธรรมเนียม และความรับผิ ดชอบดานความมั่นคงตอสาธารณะ ซึ่ งตองเปน การปฏิบัติที่ ชอบด วยกฎหมายทั้งในและ ตางประเทศ สําหรับ ธรรมาภิบาลในงานด านความมั่นคงเปนเรื่ องที่มีค วามสลั บซับซอ น และที่สํา คัญ จะตองมีความ สอดคลองกับสภาพแวดลอมของประเทศหรือสั งคม ดังนั้น ประเทศตาง ๆ จึงจําเปนตองปฏิรูปงานดานความมั่นคง (Security Sector Reform : SSR) ของประเทศใหเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศ และในสังคมโลก สภาวะความมั่ น คงในป จ จุ บั น มี ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ เ กิ ด ขึ้ น ในหลากหลายมิ ติ (Multidimensional Characteristics) และมีสภาพความเชื่อมโยงในรูปแบบของความมั่นคง เชิงองครวม (Comprehensive Security) ที่ สามารถแปรเปลี่ยน และสงผานผลกระทบไดอยางรวดเร็วระหวางมิติ ไมวาจะเปนมิติทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม หรือการทหาร ซึ่งไมใชกระบวนการแกไขปญ หาดานความมั่นคงโดยใชกรอบวิธีคิด เฉพาะทางดานกําลัง และอาวุธในลักษณะเดิมอีกตอไป หรือไมสามารถใชวิธีคิดแบบรัฐชาติ เพราะกรอบและวิธีคิด ดังกลาวไมสามารถสนองตอบกับสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในลักษณะไรพรมแดนในปจจุบัน อยางไรก็ดี ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดชวยบรรเทาความยากจนของประชากร แตดวยเทคโนโลยีทันสมัย ที่ นํ า มาใช ใ นการแสวงหา และใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ได ช ว ยเร ง การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง มี ผ ลในการทํ า ลาย สิ่งแวดลอม และนําไปสูปญหาการขาดแคลนทรัพยากรและแหลงพลังงาน รวมทั้งยังเปนการเรงใหเกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติทรี่ ุนแรงตามมา ซึ่งการขาดแคลนทรัพยากร และแหลงพลังงานไดนําไปสูปญหาความขัดแยงเหนือพื้นที่อางสิทธิ์ ทับซอน โดยเฉพาะพื้นที่ทางทะเลที่มีแนวโนมเปนแหลงพลังงานใหม และแหลงการประมงที่อุดมสมบูรณ หรือเปน เสนทางการขนสงที่สําคัญ และดวยโลกที่เชื่อมตอกันอยางไม เคยมีมากอน เหตุการณในมุมหนึ่งของโลกยอมเห็นและ รับทราบไดในอีกมุมหนึ่ง อนึ่ง หลังเหตุการณ 9/11 เมื่อ พ.ศ. 2544 กลุมกอการรายไดแผกระจายไปทั่วโลก และขยายวง ไปสูอุดมการณความรุนแรง แมวา จะไมมีผูนํา และองคกรที่ชัดเจน จึงมีโอกาสที่การกอการรายจะดํารงอยู และขยายตัว ตอไปตราบใดที่เงื่อนไขบมเพาะการกอการรายยังไมหมดไป กระแสโลกาภิวัตนทําใหการเชื่อมโยงในมิติตาง ๆ รวดเร็วขึ้น โลกไซเบอรมีผลตอวัฒนธรรม วิถีชีวิต ทัศนคติ ความเชื่อ ความสัมพันธระหวางบุคคล กระบวนการเรียนรู และพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน รวมทั้งทําใหแนวโนม ของความเสี่ยงตอความมั่นคง ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือขายที่เกิดจากการคุกคามทางไซเบอรมีสูงขึ้น โดย ป จจุ บั น หลายประเทศที่ มี ค วามขั ด แย ง ระหว า งกั น ได มี ก ารพั ฒนาความสามารถในการคุ ก คามทางไซเบอร เ พื่ อ ลด ความสามารถของฝายตรงขาม ทั้งความสามารถโดยทั่วไปของประเทศ และความสามารถของกองทัพ ซึ่งทําใหหลาย ประเทศใหความสําคัญตอการคุกคามดังกลาว และพัฒนาวิธีการปองกันการคุกคามนี้มากขึ้น
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 17
สถานการณ ค วามเปลี่ ย นแปลงของบริ บ ทความมั่ น คง การเมืองโลกมีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปสูระบบหลายขั้วอํานาจ ทําใหโครงสรางระบบความร วมมือดานความ มั่นคงระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงไป โดยกลุมประเทศมหาอํานาจหลักในปจจุบันนําโดยสหรัฐอเมริกา รวมดวยสหภาพ ยุโรปและญี่ ปุนกํ าลั งประสบปญ หาทางเศรษฐกิจ ในขณะที่ได มีก ารรวมกลุมประเทศที่มี ระดับการพัฒนาทั้ งในดา น เศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร ซึ่งเติบโตและเขมแข็งขึ้นมาอยางรวดเร็ว คือ กลุม BRICS ประกอบดวย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต ซึ่งนําไปสูการแขงขันกันขยายบทบาทเขาไปในภูมิภาคตาง ๆ โดยเฉพาะภูมิภาคอาเซียนและ เอเชียตะวันออกที่ประเทศมหาอํานาจใหความสนใจ และปรับเปลี่ยนนโยบายที่มีแนวโนมของการแข งขันและการขยาย อิทธิพลของชาติมหาอํานาจเพิ่มขึ้น ทั้งในรูปแบบการใชพลังอํานาจทางทหารและพลังอํานาจทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการเขา มาแทรกแซงกิจการภายในของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคมากขึ้น สงผลกระทบตอการดําเนินนโยบายตางประเทศของไทย และกอใหเกิดความยากลําบากในการรักษาดุลยภาพทางความสัมพันธระหวางไทยกับประเทศมหาอํานาจ
ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภูมิภาคและประเทศเพื่อนบาน
1. การเข าสู ประชาคมอาเซีย นในป พ.ศ. 2558 การพั ฒนาความสั มพั นธ ใ นกลุมประเทศอาเซี ยนเป น ประชาคมอาเซียนในป 2558 (ASEAN Community) จะทําใหประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ มีการติดตอ เชื่ อ มโยงกั น มากขึ้ น ทั้ง ในด านเศรษฐกิ จ สัง คม การเมื อ ง และความมั่ นคง ซึ่ งจะเป นโอกาสนํ า ไปสูก ารเสริ มสร า ง พัฒนาการในดานเหลานี้อยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ประเทศสมาชิกยังมีระดับของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองที่แตกตางกัน หากมีการเปดกวางใหมีการติดตอกันอยางเสรี อาจทําใหมีความเสี่ยงที่กอใหเกิดผลกระทบตอความ มั่นคงของชาติไ ด โดยเฉพาะการเติ บโตและเขมแข็งของประชาชน และการขยายตัว ของอาชญากรรมขามชาติและ เศรษฐกิจนอกระบบ 2. ความขัดแยงเรื่องเขตแดนและการใชกําลังทหาร ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานยังมีปญหาความไม เขาใจที่นําไปสูความหวาดระแวงที่อาจทําใหเกิดการเผชิญหนา และอาจนําไปสูการใชกําลังทหารได แตทั้งนี้ ยังคงสามารถ จํากัดขอบเขตและระดับความรุนแรงใหอยูในเฉพาะพื้นที่ อันเนื่องมาจากการเสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือที่ ใกลชิดระหวางประเทศในภูมิภาค รวมทั้งเสริมสรางความสัมพันธทางการทูตเชิงปองกัน ตลอดจนทิศทางความรวมมือของ ประเทศในภูมิภาคที่มุงสูการเปนประชาคมระหวางประเทศ อยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงสถานการณขอพิพาทใน ภูมิภาค สถานการณภายในประเทศเพื่อนบาน และบทบาทของประเทศมหาอํานาจในภูมิภาคที่ประเทศไทยตั้งอยูแลว ได ปรากฏสิ่งบงชี้ถึงการเพิ่มงบประมาณทางทหารในภูมิภาคนี้ ที่อาจสงผลตอดุลยภาพทางความมั่นคงของไทย จึงทําใหยังคง มีความเสี่ยงของการเผชิญหนาทางดานทหารได 3. ความมั่ น คงและผลประโยชน ข องชาติ ท ะเล ประเทศไทยมี อ าณาเขตทางทะเล ซึ่ ง เชื่ อ มโยงกั บ ผลประโยชนของชาติทางทะเลที่มีมูลคามหาศาล จากแหลงทรัพยากรทางทะเลทั้งที่มีชีวิต เชน การประมง เปนตน และที่ ไมมีชีวิต เชน แหลงพลังงาน เปนตน รวมทั้งเปนเสนทางการเดินเรือที่สําคัญในการติดตอระหวางประเทศ ซึ่งประเทศ มหาอํานาจตาง ๆ ไดแขงขันกันขยายอิทธิพลอยางตอเนื่อง และมีบทบาทกําหนดความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟก สงผลกระทบตอดุลยภาพ และพลวัตรดานความมั่นคงของไทย ในขณะเดียวกัน ลักษณะภูมิศาสตรของไทยดังกลาว อยูในตําแหนงที่มีความเสี่ยงตอความมั่นคงทางทะเลที่สําคั ญ โดยเฉพาะปญหาภัย คุ ก คามและอาชญากรรมข า มชาติ รวมทั้ ง ป ญ หาความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรทางทะเล ส ง ผลให เ กิ ด ป ญ หา ภายในประเทศ เชน กรณีการแยงชิงทรัพยากรในทะเล เปนตน และทําใหประเทศไทยมีความเสี่ยงในการสรางดุลยภาพ ของการรักษาความมั่นคงและผลประโยชนของชาติทางทะเล
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 18
ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภายในประเทศ
1. ความมั่นคงของสถาบันหลักของประเทศ โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งไดมีกลุมบุคคลและ ขบวนการเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ เพื่อบอนทําลาย และมุงเปลี่ยนแปลงสถานะของสถาบันในระดับและขอบเขตที่ กว า งขวาง ทั้ ง ภายในและจากภายนอกประเทศ ในลั ก ษณะที่ ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความมั่ น คงของสถาบั น พระมหากษัตริย โดยนํามาแสวงหาประโยชนทางการเมือง รวมทั้งมีการดําเนินการในลักษณะตาง ๆ เชน กลาวอางความ เท็ จ เพื่ อ ดู ห มิ่ น ใส ร า ย ตลอดจนนํ า ประเด็ น การบั ง คั บ ใช ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ การหมิ่ น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ม า วิพากษวิจารณ โดยกลาวอางถึงการขัดตอหลักสิทธิ เสรีภาพ และหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งสถานการณดังกลาว เปนประเด็น ที่มีความออนไหวที่อาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางการเมืองระหวางกลุมตาง ๆ ในสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ ปญหาดังกลาวได สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจ และจุดยึดเหนี่ยวของสังคมไทยที่เปนความ มั่นคงโดยรวมของประเทศ 2. ความขัดแยงของคนในชาติ นับจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จนถึ ง ปจจุ บั น พั ฒนาการของประชาธิป ไตยได ข ยายตั วอย า งตอ เนื่ อง อยา งไรก็ ต าม ความตื่ น ตั วทางการเมือ งของ ประชาชนไดปรากฏผลในทางลบ เมื่อถูกขับเคลื่อนดวยเปาหมายสุดขั้วสุดโตงทางการเมือง โดยอาศัยเงื่อนไขปญหาเชิง โครงสรางของสังคมที่มีความเหลื่อมล้ําในมิติตาง ๆ โดยเฉพาะในมิติทางเศรษฐกิจ และสังคม สงผลใหเกิดการแตกแยก ทางความคิดระหวางกลุมคนตาง ๆ ในสังคม และนําไปสูการใชความรุนแรงที่ทําลายความสงบเรียบรอยและวัฒนธรรมอัน ดีของสังคม ประกอบกับสภาพสังคมปจจุบันที่แนวโนมความอดทนอดกลั้นมีลักษณะลดต่ําลง ในขณะที่ความตองการให เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วขึ้น จึงทําใหสถานการณความขัดแยงของคนในชาติ กลายเปนจุดเปราะบางตอการรักษา เอกภาพของคนในชาติ และการสรางภูมิคุมกันของสังคมไทย ซึ่งเชื่อมโยงกับการเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันชาติใน อนาคตดวย 3. ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต นับตั้งแตเกิดเหตุการณรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต เมื่อ ป พ.ศ. 2547 เปนตนมา รัฐบาลไดพยายามดําเนินการทั้งในดานความมั่นคงและดานการพัฒนาแกไขปญหาอยางตอเนื่อง โดยระดมทรัพยากร (คน งบประมาณ) เปนจํานวนมาก แตเนื่องจากเปนปญหาที่เรื้อรังมายาวนาน จึงยังไมอาจสงบลงได โดยงาย ขณะที่ในปจจุบันปญหามีความซับซอนมากยิ่งขึ้น โดยพบวา เหตุของความรุนแรงมาจากหลายสวน ทั้งสาเหตุเดิม ที่มาจากการกระทําของผูที่มีอุดมการณตางจากรัฐ ซึ่งยังคงดําเนินอยูตอไป และสาเหตุอื่นเพิ่มขึ้นในปจจุบัน โดยเฉพาะ ความขัดแยงเรื่องผลประโยชนของกลุมอิทธิพล การขยายตัวของอํานาจมืด และเศรษฐกิจสีเทา ความแคนในเรื่องสวนตัว ความบาดหมางระหวางคนตางศาสนา และการแทรกแซงจากภายนอกประเทศ ประกอบกับบรรยากาศความหวาดระแวง ระหวางประชาชนในพื้นที่กับเจาหนาที่รัฐ ซึ่งเปนอุปสรรคในการแกไขปญหายังคงดํารงอยูหลายพื้นที่ นอกจากนี้ ยังมีขอ เรียกรองใหภาครัฐแสวงหาแนวทางแกไขปญ หาเชิงโครงสรางใหสอดคลองกับสังคมพหุวัฒนธรรม เชน เรื่องอัตลักษณ มลายูมุสลิม เรื่องความยุติธรรมในพื้นที่ และเรื่องความยากจนของประชาชนในพื้นที่ เปนตน ซึ่งเปนประเด็นละเอียดออน ที่เปนรากเหงาของปญหาความขัดแยงและความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต 4. ความเชื่อมั่นของประเทศในการบริหารตามหลักนิติธรรม ประเทศไทยยังคงมีปญหาเชิงโครงสรางที่ไม เอื้อตอการบริหารตามหลักนิติธรรม กฎหมายจํานวนมากยังไมไดรับการปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักนิติรัฐ และไม สอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ กลไกการตรวจสอบการทุจริตคอร รัปชั่นยังขาดความเขมแข็ง สงผลให เกิดชองทางการทุจริตคอรรัปชั่นในกลไกภาครัฐระดับตาง ๆ ซึ่งนําไปสูปญหาการเลือกปฏิบัติและปญหาความไมเทาเทียม กันที่กอตั้งเปนความขัดแยงในสังคม ในขณะที่ภาคเอกชนและประชาชนบางสวนยอมรับกระบวนการทุจริตคอรรัปชั่นเพื่อ แสวงหาประโยชนสวนตน โดยผลของปญหาดังกลาว ไดกัดกรอนพื้นฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงามของสังคม รวมทั้งเปนการรุกล้ําสิทธิและโอกาสของผูไรอํานาจที่เปนสาเหตุของความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนเปน การทําลายกฎกติกาที่ควรยึดถือรวมกัน ซึ่งจะนําไปสูผลกระทบตอเสถียรภาพและความมั่นคงของชาติตอไป
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 19
5. วิกฤตการณความมั่นคงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ จากสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก และการเพิ่ม จํานวนประชากรโลกอยางตอเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกที่ เนนการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ สงผลใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางขาดสมดุล และนําไปสูปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เสื่อมโทรม จนทําใหเกิดภาวะโลกรอนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมที่ทําใหเกิดภัยพิบัติตาง ๆ บอยครั้งมากขึ้น รวมทั้งเพิ่มความรุนแรงและสรางความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของมนุษยเพิ่มมากขึ้ นดวย แตยังขาดการพัฒนา ความรู ความสามารถ ทักษะ และประสบการณใหมีความพรอมดําเนินงานในลักษณะบูรณาการเพื่อเผชิญภัยพิบัติไดอยาง มีประสิทธิภาพ และบริหารวิกฤตการณอยางเปนระบบสอดคลองกับสถานการณ จึงทําใหไมสามารถคลี่คลายหรือแกไข ปญหาไดทันสถานการณ
ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงขามพรมแดน
1. การเคลื่อนตัวของภัยคุกคามขามชาติ ในปจจุบันปญหาภัยคุกคามขามชาติทั้งเกิดจากการกระทําของรัฐ และตัวแสดงที่ไมใชรัฐ ไดเคลื่อนตัวแผขยายออกไปอยางรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งเปนภัยคุกคามที่กอผลกระทบ ตอเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคงของชาติโดยรวม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบจากการกอการรายสากลที่ ไดรับการประเมินวา แรงขับเคลื่อนการตอสูในเชิงอุดมการณยังคงมีอยูอยางเขมขนในกลุมมุสลิม โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบ จากเดิมที่มีกลุมอัลกออิดะหเปนศูนยรวมสั่งการ ไปเปนการขยายความคิดความเชื่อไปยังกลุมตัวแทนในประเทศตาง ๆ ที่ มีเงื่อนไขพรอมพัฒนาตนเองเปนผูกอการรายในรูปแบบ Home-Grown Terrorist เชน เงื่อนไขความคับแคนจากการ ไมไดรับความเปนธรรม การถูกทําลายอัตลักษณของชาติพันธุ และเงื่อนไขความเชื่อและศรัทธาหลักศาสนาที่ถูกบิดเบือน หรือเชื่อ และศรัทธาแบบสุดขั้ว/สุดโตง เปนตน นอกจากนี้ กลุมหรือขบวนการอาชญากรรมขามชาติยังไดแสวงประโยชน จากสภาวะโลกไรพรมแดน โดยการเคลื่อนไหวเชื่อมโยงเปนเครือขายในภูมิภาคตาง ๆ ทั้งปญหาที่มีอยูเดิม เชน การคา ยาเสพติ ด การค า อาวุ ธ สงคราม การค า มนุ ษ ย การฟอกเงิ น และการกระทํ า อั น เป น โจรสลั ด เป น ต น และป ญ หา อาชญากรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ซึ่งเปนปญหาภัยคุกคามที่พัฒนารูปแบบและวิธีการไดสลับซั บซอนเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนื่อง จากความกาวหนาทางเทคโนโลยี รวมทั้งมีแนวโนมขยายตัวและควบคุมไดยาก ทั้งนี้ ไดมีการคาดวา การ แสวงหาอํานาจและผลประโยชนขององคกรการกอการรายสากล และองคกรอาชญากรรมขามชาติมีแนวโนมขยายตัว เพิ่มขึ้น และมีความซับซอนเชื่อมโยงเปนเครือขายที่เขมแข็งมากขึ้น รวมทั้งมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นเปนลําดับ ทําใหยาก ตอการปองกันและแกไขปญหา สําหรับในกรณีของไทย แมวา จะยังมิใชเปาหมายโดยตรงของการกอการราย แตยังคงตอง เฝาระวังความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการบมเพาะเครือขายกับกลุมกอความไมสงบภายในของไทย ซึ่งจะสงผลกระทบตอความ มั่นคงของประเทศ 2. การยายถิ่นประชากร การยายถิ่นของประชากรจากประเทศตาง ๆ เขาสูประเทศไทยไดสงผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศโดยตอเนื่อง สาเหตุการยายถิ่นมีทั้งเหตุผลความแตกตางดานเศรษฐกิจและการเมืองระหวางไทย กับประเทศเพื่อนบาน โดยสวนหนึ่งใชไทยเปนเสนทางผานสูประเทศที่สาม เชน หนีภัยสงคราม และการลักลอบหลบหนี เขาเมืองจากประเทศเพื่อนบานเพื่อมาขายแรงงานในประเทศไทย ซึ่งมีปญหาการสงกลับประเทศตนทางสงผลใหมีผูยาย ถิ่นจํานวนมากยังคงคางในไทย นํามาซึ่งปญหาที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยางกวางขวาง อาทิ ปญหาดานสาธารณสุข ปญหาการคามนุษย และปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งปญหา การเมืองระหวางประเทศ ตลอดจนเปนภาระดานงบประมาณภาครัฐ และในระยะยาวอาจเกิดปญหาดานสังคม เนื่องจาก ปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลตามกฎหมายของบุตรหลานที่เกิดขึ้น ปญหาชุมชนคนตางดาวที่อาจนําไปสูปญหาความ ขัดแยงกับคนไทยถือเปนปญหาละเอียดออนและสงผลกระทบในหลายมิติ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 20
3. การเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากบริบทความมั่นคงในมิติใหม สถานการณปจจุบันโลกไดเผชิญกับภัยคุกคาม รูปแบบใหมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลกในบริบทตาง ๆ ซึ่งสงผลกระทบตอความมั่นคงของมนุษยและความมั่นคง ของชาติ สําหรับประเทศไทยตองเผชิญกับปญหาความมั่นคงมิติใหมที่เปนผลจากการพัฒนาประเทศในชวงทศวรรษที่ผาน มาที่มุงสูการเปนประเทศอุตสาหกรรม โดยมีการใชทรัพยากรธรรมชาติโดยขาดความสมดุล ในขณะที่ขาดกลไกการบริหาร ทรัพยากรฯ ที่เขมแข็ง ทําใหเกิดปญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม และสงผลกระทบตอความมั่นคงในมิติอื่น ๆ เชน ความมั่นคงดานอาหาร และดานพลังงาน เปนตน เปนผลใหประเทศไทยมีความเสี่ยงที่มาจากแนวโนมการขาดแคลน อาหารและพลังงาน หากประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติขนาดใหญ นอกจากนี้ ผลของกระแสโลกาภิวัตนที่นําไปสูการ เชื่อมโยงในมิติตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับการแพรระบาดของโรคอุบัติใหม อันเนื่องมาจากการ สูญเสียสมดุลธรรมชาติ และระบบนิเวศนอยางตอเนื่อง ประกอบกับความกาวล้ําทางนวัตกรรมเทคโนโลยีการสื่อสาร เปน ผลใหเกิดการไหลบาของวัฒนธรรมตาง ๆ ผานโลกไซเบอรเขาสูประเทศไทย สงผลตอวิถีชีวิตวัฒนธรรม และความสัมพันธ ของบุ ค คล ตลอดจนพฤติก รรมการบริ โ ภคของประชาชนอาจส ง ให เ กิ ด วิ กฤตเอกลั ก ษณ ท างวั ฒนธรรม โดยเฉพาะ วัฒนธรรมปจเจกชนนิยม ซึ่งมีแนวโนมทําใหสังคมไทยออนแอ ประชาชนขาดจิตสํานึกรวมดานความมั่นคง รวมทั้งมีความ เสี่ยงดานความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ปญหามีแนวโนมทําใหสังคมไทยออนแอ ประชาชนขาดจิตสํานึกรวมดาน ความมั่นคง รวมทั้งมีความเสี่ยงดานความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีปญหามีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยเฉพาะการโจมตีทางไซเบอร และการเจาะเขาสูระบบขอมูลขาวสาร และความลับทางราชการและขอมูลทาง ธุรกิ จของภาคเอกชน รวมทั้ง ความเสี่ยงตอ ระบบควบคุ มสาธารณู ปโภค การคมนาคม และระบบการติ ดต อสื่อ สาร ประกอบกับอิทธิพลของสื่อประเภทเครือขายสังคมที่มีแนวโนมกลายเปนเครื่องมือสําคัญในการรวมตัวของประชาชนเพื่อ ดําเนินกิจกรรมสาธารณะตาง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมทางการเมือง ที่มีการใชสื่อในการโจมตี บอนทําลาย หรือบิดเบือน ขอเท็จจริงฝายตรงขาม ซึ่งอาจนําไปสูการสรางความเกลียดชังและสรางความแตกแยกภายในประเทศที่รุนแรงเพิ่มขึ้น รวมถึงอาจสงผลกระทบตอความสัมพัน ธระหว างประเทศด วย หากมี การใช สื่อโจมตี หรือบ อนทําลายประเทศอื่น ที่ สนับสนุนฝายตรงขาม ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก มีหลายพื้นที่ และหลายประเด็นปญหา ซึ่งมีความเสี่ยงตอเสถียรภาพดานความ มั่นคงของโลก อาทิ ขอสงสัยเกี่ยวกับการพัฒนาขีดความสามารถดานนิวเคลียรของบางประเทศ ปฏิ บัติการของกลุม กอการราย และกลุมหัวรุนแรงทั้งในระดับระหวางประเทศ และภายในประเทศ รวมทั้งสถานการณในทะเลจีนใตที่นับเปน พื้นที่ศูนยกลางที่สําคัญของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ซึ่งความมั่นคงทางทะเลในบริเวณนี้ ยังเปนปญหาที่มีความเปราะบาง ตอการกระทบกระทั่งทั้งระหวางประเทศที่มีขอพิพาทดานเสนเขตแดนดวยกันเอง และกับประเทศนอกภูมิภาค อยางไรก็ ตาม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กําลังกลายเปนพื้นที่ที่หลายประเทศใหความสนใจ ทั้งดานความมั่นคงระดับภูมิภาค และผลประโยชนแหงชาติดานการคาและการลงทุน ซึ่งสถานการณดังกลาว จะทําใหแตละประเทศในภูมิภาคมีแนวโนม ของการพัฒนาขีดความสามารถดานการทหาร เพื่อคุมครองผลประโยชนทางเศรษฐกิจของชาติ ทั้งดวยตนเอง และที่ไดรับ การสนับสนุนจากประเทศอื่นในรูปแบบของความชวยเหลือทางทหาร หรือการจัดหายุทโธปกรณภายใตเงื่อนไข และราคา ทีเ่ ปนพิเศษ จากการที่ประเทศไทยมีที่ตั้งทางยุทธศาสตรที่สําคัญยิ่ง โดยเปนพื้นที่ศูนยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใตที่สามารถเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน และอยูใกลประเทศที่มีประชากรโลกมากที่สุด 2 ลําดับแรก คือ จีน และ อินเดีย อีกทั้งเปนจุดเชื่อมโยงเสนทางการคาและการขนสงพลังงานที่สําคัญระหวางมหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งพัฒนาการของสังคมโลก และภูมิภาคที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว จึงไดนํามาซึ่งปญหาความมั่นคงของไทยที่มีความ ยุงยากสลั บซับซอนเพิ่มขึ้นในอีกหลายมิติ ไม วาจะเป นปญหาอาชญากรรมขามชาติ โดยเฉพาะการคาอาวุ ธ การค า ยาเสพติด การคามนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร และการกอการรายสากล
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 21
ประเทศไทยยังตองเผชิญปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย และปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด ภายในประเทศ ซึ่งสงผลกระทบตอสภาพสั งคม และความมั่นคงในระยะยาว นอกจากนี้ ปญหาสิ่งแวดลอม และภัย ธรรมชาติเป นอี กปญ หาหนึ่ง ที่สํา คัญของไทย เป นป ญหาที่เกิ ดจากความเสื่อ มโทรมของธรรมชาติ และภัยพิบัติ ทาง ธรรมชาติ ซึ่งมีทั้งภัยแลง อุทกภัย และภัยหนาว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อปลาย พ.ศ. 2554 ประเทศไทยไดประสบปญหา อุทกภัยรายแรงที่สรางความสูญเสียใหแกประเทศ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ และดานสังคมจิตวิทยา สําหรับการพัฒนาดานการทหาร ประเทศไทยไดใหความสํา คัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีปองกันประเทศ โดย จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) เพื่อสนับสนุนการพึ่งพาตนเองดานยุทโธปกรณของกองทัพ ดําเนินการวิจัยโครงการขนาดใหญดานยุทโธปกรณที่ตองใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งในระยะถัดจากนี้ไป การ รวมกลุมเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบตอประเทศไทยในทุกเรื่อง ไดแก การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนี้ เปน ที่คาดหมายวา แนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สําคัญก็คือ อาเซียนจะเผชิญกับการดําเนินการเชิงรุกจากประเทศ คูเจรจามากขึ้น ในดานเศรษฐกิจ อาเซียนจะตอนรับการลงทุนจากตางประเทศเพิ่มมากขึ้น การเคลื่อนยายแรงงานอยาง เสรีในอาเซียน ทําใหประเทศไทยตองพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน เพื่อสรางศักยภาพในการแขงขัน ในขณะเดียวกัน ก็พรอม รองรับกับแรงงานขามชาติที่จะเขามาทํางานในประเทศไทย อยางไรก็ดี การขยายตัวของภาคการเมืองจากการพัฒนา เศรษฐกิจ ทําใหมีแนวโนมวา ที่อยูอาศัยจะไมเพียงพอโดยเฉพาะผูมีรายไดนอย สวนในดานสังคม การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีการสื่อสาร จะมีผลตอการดําเนินชีวิต โดยมีแนวโนมที่คนจะพึ่งพาเทคโนโลยีมากขึ้น ชุมชนจะมีการพัฒนามาก ขึ้นไปในแนวทางทุนนิยม ซึ่งจะสงผลใหสูญเสียอัตลักษณชุมชน ในขณะที่สภาพแวดลอมทางธรรมชาติจะเสื่อมโทรมลง และเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเพิ่มขึ้น ถึงแมวา การเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียน จะสงผลกระทบอยางสําคัญตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ ดานสังคม โดยคาดการณวา ประเด็นหลักที่จะเปนปญหา ไดแก การแยงชิงทรัพยากรมากขึ้น เกิดความเหลื่อมล้ําทางการ พัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ปญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น เชน ยาเสพติด พฤติกรรมอําพราง การผสมผสานระหวางเชื้อชาติ การคามนุษย โรคอุบัติใหม และความมั่นคงทางอาหาร และประเด็นทางสังคมที่มีความนาหวงใย และจะตองไดรับความใส ใจเนื่องจาก จะสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศไทย ไดแก การสรางภูมิคุมกันใหกลุมเปาหมาย มาตรฐานในการจัด สวัสดิการสังคมใหกลุมเปาหมายเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การปฏิบัติตามขอตกลงรวมกัน และยึดมั่นในพันธกรณีภายใต ประชาคมอาเซี ย น ความร ว มมื อ ของอาเซี ย นเพื่ อ แข ง ขั น กั บ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ และการคุ ม ครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของ กลุมเปาหมาย ดังนั้น เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ประเทศไทยจะตองมีการเตรียม ความพรอมดานบุคลากร งบประมาณ และบูรณาการการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ตองสงเสริมใหประชาชนมีสวน รวม สรางชุมชนเขมแข็ง พัฒนาเยาวชน และสรางเครือขายการพัฒนาสังคม รวมทั้งตองสรางทักษะที่จําเปนตอการ เปลี่ยนแปลง สรางความตระหนักและปลูกจิตสํานึกการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน
ความทาทายความมั่นคงสําหรับประเทศไทย ความทาทายดานความมั่นคง ทั้งที่กําลังเผชิญอยูและอาจตองเผชิญในอนาคต ในสวนที่เปนความทาทายทาง ทหาร ซึ่งประเทศไทยไมตองการใหเกิดขึ้นนั้น ยังไมปรากฏชัดเจน อยางไรก็ตาม ประเทศไทยจําเปนตองมีความพรอมใน ขั้นตนเพื่อเผชิญความทาทายทางทหารที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดในอนาคต และใชกํา ลังทหารที่จัดเตรียมไวสนับสนุนการ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบสหประชาชาติ และกรอบประชาคมอาเซียนในยามปกติ รวมทั้งสนับสนุนการเผชิญ ความทาทายอื่น ดังนี้ 1. ปญหาความไมสงบเรียบรอยในสังคมไทย 2. ปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต 3. ปญหาอาชญากรรมขามชาติ ไดแก การคาอาวุธ การคายาเสพติด การคามนุษย การกระทําอันเปนโจร สลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร และการกอการรายสากล
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 22
4. ปญหาภัยคุกคามทางไซเบอร 5. ปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย 6. ปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดภายในประเทศ 7. ปญหาสิ่งแวดลอมและภัยธรรมชาติ 8. ปญหาโรคระบาดและโรคติดตอ นอกจาก ความทาทายดานความมั่นคงตามที่กลาวแลว จากการประเมินสภาวะแวดลอมดานความมั่นคง ทําให พบวา ประเทศไทยจําเปนตองมีการดําเนินการในเรื่องที่สําคัญ ไดแก การสนับสนุนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และการรักษาความสมดุลในการพัฒนาความสัมพันธและความ รวมมือดานความมั่นคงกับประเทศที่มีบทบาทสําคัญในภูมิภาค
แนวคิ ด ความเชื่ อ มโยงกั น ในอาเซี ย น (ASEAN Connectivity) นอกจากนี้ เพื่อเปนการกาวสูความเปนประชาคมอาเซียนอยางเปนรูปธรรมยิ่งขึ้นในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อวันที่ 29-30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ที่ประชุมไดเห็นชอบรางแผนวาดวย ความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) เพื่อใชเปนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 โดยไดกําหนดการเชื่อมโยงครอบคลุม 3 มิติ คือ การเชื่อมโยงทางกายภาพ การเชื่อมโยงองคกร และการเชื่อมโยงประชาชน ซึ่งมีเจตนารมณที่จะเรงรัดการเชื่อมโยง ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศใหเปนหนึ่งเดียวทั้งในดานโครงสรางพื้นฐาน ดานกฎระเบียบ และดานประชาชน โดยมี เปาหมายสูงสุดเพื่อการสนับสนุน การสรางประชาคมอาเซียนอยางแทจริง ภายในป 2558 และใหอาเซียนเปนศูนยกลาง ของสถาปตยกรรมภูมิภาค โดยกําหนดใหมีการดําเนินงาน ดังนี้ 1. การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) โดยเนนความเชื่อมโยงในดานโครงสรางพื้นฐานดานตาง ๆ ทั้งการปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพโครงสรางพื้นฐาน เดิมที่มีอยูแลวใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น และการขยายเครือขายโครงสรางพื้นฐานใหครอบคลุมทั่วถึงมียุทธศาสตรการ เชื่อมโยงที่สําคัญ อาทิ 1.1. การเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ แผนแมบท MPAC จะ ผลักดันโครงการสาธารณูปโภคพื้นฐาน ดานคมนาคมทางบกที่สําคัญใหแลวเสร็จ อาทิ โครงการ ASEAN Highway Network (AHN) ซึ่งเปนเครือขายเสนทางถนนเชื่อมโยงประเทศสมาชิกอาเซียนเปนระยะทางทั้งสิ้น 38,400 กิโลเมตร โดยปจจุบันยังมีหลายจุดที่ขาดความเชื่อมโยง (Missing Link) โดยเฉพาะในเมียนมาร และอีกหลายเสนทางที่ยังไมได มาตรฐาน โครงการ Singapore Kunming Rail Link (SKRL) ซึ่งเปนเสนทางรถไฟเชื่อมโยง 8 ประเทศ คือ เสนทางหลัก ที่ผาน 6 ประเทศ คือ สิงคโปร มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และจีน (คุนหมิง) และมีเสนทางแยกอีก 2 สาย คือ ไทยสปป.ลาว และไทย-เมียนมาร ซึ่งยังมีจุดที่ขาดความเชื่อมโยงหลายจุด ในกัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร สปป.ลาว และไทย สําหรับทางน้ํา แผนแมบท MPAC ไดกําหนดยุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพทาเรือหลักสําหรับเครือขายการขนสงทางทะเลใน ภูมิภาคอาเซียนไว 47 แหง ซึ่งทาเรือกรุงเทพและทาเรือแหลมฉบังของไทยไดถูกนับรวมไวในยุทธศาสตรดังกลาวดวย รวมทั้งยุทธศาสตรที่จะพัฒนาประสิทธิภาพของเสนทางเดินเรือระหวางประเทศโดยเฉพาะเสนทางในอนุภูมิภาค ขณะที่ ทางอากาศ จะเนนในเรื่องการปรับปรุงระบบการบิน/พัฒนาคุณภาพสาธารณูปโภคพื้นฐานรองรับการขนสงทางอากาศให มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงการพัฒนาเสนทางบินใหมที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพรองรับการขยายตัวของการขนสง ทางอากาศในระดับภูมิภาค
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 23
1.2. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อตอบสนองการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และบริการที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพรองรับการขยายตัวทางการคา รวมทั้งลดชองวางความเหลื่อมล้ําที่เกิดจาก ความสามารถในการเขาถึงขอมูลขาวสารและเทคโนโลยีระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเปนประเด็นสําคัญที่ตองเรง แกไขเพื่อลดผลกระทบที่จะบั่นทอนการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ หนึ่งในยุทธศาสตรสําคัญ คือ การจัดตั้ง ASEAN Broadband Corridor ภายในป พ.ศ. 2557 เพื่อชวยใหประเทศ สมาชิกอาเซียนเขาถึงขอมูลไดเชนเดียวกันกอนเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 1.3. การเชื่อมโยงเครือขายดานพลังงาน เนื่องจากประเทศอาเซียนมีบทบาทสําคัญในการเปนฐานการผลิต ภาคอุตสาหกรรมของโลก ทําใหความตองการพลังงานมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่ อง ขณะที่หลายประเทศโดยเฉพาะ ประเทศ CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam) ยังไมสามารถเขาถึงพลังงานไดอยางทั่วถึงแผนแมบท MPAC จึงเนนใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงพลังงาน โดยอาศัยกรอบ ASEAN Power Grid (APG) และ Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) เปนความเชื่อมโยงหลักเพื่อกอใหเกิดความมั่นคงดานพลังงาน การเขาถึงพลังงาน และความยั่งยืน ดานพลังงาน ภายในภูมิภาคอาเซียน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น 2. การเชื่อมโยงองคกร (Institutional Connectivity) การเชื่อมโยงองคกรเปนการเนนการเชื่อมโยงในดานระบบ/กระบวนการทํางานของหนวยงานตาง ๆ อยางมี ประสิทธิผล โดยอาศัยความตกลง หรือความรวมมือระหวางกันที่จะนํามาซึ่งการดําเนินการในเชิงรูปธรรม ทั้งนี้ ปจจุบันมี ความตกลงหลายกรอบที่เอื้อตอความเชื่อมโยงของระบบ แตยังไมมีผลบังคับใชและตองปรับปรุงรายละเอียดใหเกิด ประโยชนสูงสุดในทางปฏิบัติ อาทิ กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาผานแดน กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาขามแดน และกรอบความตกลงวาดวยการ ขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ 3. การเชื่อมโยงประชาชน (People-to-people Connectivity) การเชื่อมโยงประชาชนจะใหการสงเสริมการเรียนรูวัฒนธรรมและสังคมของประเทศอาเซียน อาทิ การ สงเสริมการเรียนรูภาษาของประเทศในอาเซียนเปนภาษาที่สาม การถายทอดหรือแลกเปลี่ยนระบบการศึกษาระหวางกัน รวมถึงการสงเสริมการเคลื่อนยายบุคคลโดยเสรี อาทิ การยกเวนระบบวีซาระหวางกัน และการสงเสริมการทองเที่ยว ภายในอาเซียนในป พ.ศ. 2558 การเชื่อมโยงดังกลาวจะชวยใหประชาชนในภูมิภาคเรียนรูและเขาใจประเทศรวมกลุม อาเซียนในดานสังคมและวัฒนธรรมไดลึกซึ้งยิ่งขึ้น ซึ่งเอื้อตอการปรับใช ในทางธุรกิจเพื่อผลิตสิ นคาตอบสนองความ ตองการผูบริโภคในตลาดอาเซียน และสรางความไวเนื้อเชื่อใจในการทําการคาและการลงทุนระหวางกัน
ประเทศไทยกั บ การเป น ประชาคมอาเซี ย น ผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งกฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนธรรมนูญที่กําหนดกรอบดาน กฎหมาย และโครงสรางองคกรอาเซียน ทําใหอาเซียนมีกฎกติกาในการทํางานในสถานะเปนนิติบุคคล มีประชาชนเปน ศูนยกลาง และวางรากฐานการรวมตัวเปนประชาคม ในป 2558 โดยการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) มีเจตจํานงใหอาเซียนเปนภูมิภาคที่มีสันติสุข รักษาสันติภาพ และดํารงความเปนกลาง มีการรวมแกไขขอพิพาท ลดความ ขัดแยงโดยสันติวิธี และมีเสรีภาพทางการคา โดยทุกประเทศในประชาคมจะใหความรวมมือกันและดําเนินกิจกรรมของ อาเซียนในทุกรูปแบบ ทั้งระดับทวิภาคี อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝก ศึกษา หรือการเจรจาหารือ ในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี อาทิ การประชุมหรือสัมมนา รวมทั้งครอบคลุมในทุกมิติ อันประกอบไปดวย การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อลดความแตกตางระหวางกันในดานตาง ๆ โดยแบงการดําเนินงาน ออกเปน 3 เสาหลัก (three-pillars) ไดแก 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 24
Community : APSC) 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และ 3) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) การดําเนินการดังกลาวขางตน ทําใหประเทศไทยจําเปนตองเตรียมการรองรับผลกระทบดานความมั่นคงที่จะ เกิ ด ขึ้ น ทั้ งในรู ป แบบที่จะกระทบตอ ประเทศไทยโดยตรง และรู ป แบบที่ จะกระทบต อ อาเซียนในภาพรวม รวมทั้ ง ผลกระทบตอภูมิภาคอื่น ๆ ของโลกอีกดวย ซึ่งผลกระทบที่จะเกิดขึ้นไมจํากัดอยูเฉพาะแตภัยคุกคามรูปแบบใหม เชน ภัย พิบัติทางธรรมชาติ การกอการราย ยาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ เปนตน แตยังรวมถึงภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เชน การ ขัดแยงของเสนเขตแดนทั้งทางบก และทางทะเล ซึ่งรวมถึงประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน และยังรวมถึงความขัดแยง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ที่มีกับประเทศเพื่อนบานดวย เชน ปญหาทะเลจีนใต ซึ่งมาเลเซีย บรูไน ฟลิปปนส และ เวียดนาม มีปญหาอยูกับจีนในปจจุบัน โดยในระยะเริ่มตนของการเปนประชาคมอาเซียนนั้น ปญหาตาง ๆ จะเพิ่มทวีคูณ ในแนวตั้งชัน (Sheer) แบบยกกําลัง (Exponential) โดยเฉพาะประเทศไทยที่จะตองดูแลเฉพาะปญหาภายในประเทศ เชน ความแตกแยกของคนในชาติ (Division) ปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต และปญหาความไมชัดเจนของเสนเขตแดน กับประเทศเพื่อนบานแลว ประเทศไทยยังจะตองมีความเกี่ยวของกั บปญหาอื่น ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งตองมี ความรับผิดชอบรวมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังตองเขาไปเกี่ยวของกับปญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งตองมีความรับผิดชอบรวมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังตองเขาไปเกี่ยวของ กับปญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ในฐานะที่อาเซียนเปนนิติบุคคล ซึ่งตองมีปฏิสัมพันธกับโลกภายนอกอีกดวย อยางไรก็ตาม ผลตอการรวมตัวไมไดสงผลเสียแตเพียงอยางเดียวเทานั้น การรวมตัวเปนเพียงแตการกระตุนให ปญหาตาง ๆ ที่จําเปนจะตองไดรับการแกไขใหมีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูความรวมมือในลักษณะพหุภาคีที่จะ ชวยกันในการแกไขปญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งหากไดมีการเตรียมการแตเริ่มตน และมีการประสานงาน รวมทัง้ รวมมือกันในทุก ภาคสวนของไทยและของประเทศสมาชิกอาเซียนแลว ผลประโยชนที่ไดรับก็จะอยูกับประชาชนของประเทศสมาชิ ก อาเซียน ซึ่งการดําเนินการเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้น จะเห็นไดวา รัฐบาลไดใหความสําคัญกับการเปนประชาคม อาเซียน ในป 2558 โดยมีนโยบาย และยุทธศาสตรดานตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินการดังกลาว ซึ่งนําไปสูการจัดทํา แผนงานโครงการ และงบประมาณของหนวยราชการตาง ๆ ซึ่งในสวนที่เกี่ยวของกับหนวยงานดานความมั่นคงนั้น มีความ จําเปนที่รัฐบาลจะตองจัดตั้งหนวยงานใหม ๆ ขึ้นมารองรับงานดานภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เพิ่มมากขึ้น เชน หนวยงาน ดานการปองกั นและปราบปรามสิ่งเสพติด หนวยปองกัน ชายฝง การจั ดหนวยบริ หารจัดการพื้นที่ชายแดนแบบรวม หนวยงานดานการปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย และภัยพิบัติ ซึ่งหนวยงานดังกลาวตองมีความเปนสากล และมีกําลัง พลรวมถึงยุทโธปกรณที่เพียงพอที่จะปฏิบัติงานทั้งในประเทศ และนอกประเทศ เชนเดียวกับ กองทัพจําเปนตองปรับปรุง โครงสรางใหมของกองทัพนั้น รัฐบาลตองลดภาระของกองทัพในการดําเนินการดานภัยคุกคามรูปแบบใหมที่ไมจําเปนลง รวมทั้งยังตองใหเวลา และสนับสนุนงบประมาณ และการดําเนินการทุกดานในการพัฒนาใหกองทัพเปนกองทัพที่ทันสมัย มีความเปนสากล ทีพ่ รอมปฏิบัติภารกิจในฐานะอาเซียนไดอยางเต็มภาคภูมิใจ ซึ่งหากสามารถดําเนินการไดแลว ก็จะเปน พื้ น ฐานให ป ระเทศไทย สามารถที่ จะบริ ห ารจั ด การได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น และประหยั ด งบประมาณการ ดําเนินการในระยะยาว
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 25
ประโยชน ที่ ป ระเทศไทยจะได รั บ จากประชาคมอาเซี ย น 1. สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ปองกันความขัดแยงและสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางประเทศสมาชิก ธํารงสันติภาพในภูมิภาค และมีกลไกในการควบคุมการทํางานของภาครัฐใหมีความโปรงใสยิ่งขึ้น โดยประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและรวมแกไขปญหาตาง ๆ มากขึ้น 2. อุปสรรคทางการคาจะลดลงหรือหมดไป ทําใหไทยสามารถขยายการสงออกสินคาไปยังสมาชิกกลุมอาเซียน และการรวมเปนตลาดเดียวกัน จะชวยดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ อีกทั้งการคมนาคมและการขนสงระหวางประเทศ จะมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น 3. ประชาชนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปญหาความยากจนจะลดลง โดยสามารถเขาถึง โอกาส ทางการศึกษาไดอยางทั่วถึง มีสวัสดิการทางสังคมที่มั่นคง และมีสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบตอประเทศไทยในวงกวาง โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ เชน เกิดการจัดระบบ การเพิ่มขึ้นของการคา การลงทุน และการบริการระหวางประเทศ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการขยายตัวของเมือง การบริหารงานชายแดน การคาชายแดน การปฏิสัมพันธทางสังคมอยางใกลชิด การเคลื่อนยายบุคลากรและแรงงานฝมือ และการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร และนอกจากนี้ เพื่อรองรับ และเตรียมการในทิศทางตาง ๆ ที่จะ เกิดขึ้นตอไป กระทรวงกลาโหมเปนหนวยงานรัฐบาลที่อยูภายใตเสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคง รวมทั้งมี ภาระรับผิดชอบในการสนับสนุนเสาหลักเศรษฐกิจ และเสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอีกดวย ซึ่งการ ดําเนินการในการรองรับการเปนประชาคมอาเซียนนั้น กระทรวงกลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียนไดจัดตั้งเวทีในการ ประชุมของฝายทหารขึ้น เพื่อเปดโอกาสใหเจาหนาที่ในระดับผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม ปลัดกระทรวง กลาโหม รั ฐมนตรี ว า การกระทรวงกลาโหม ได มี โ อกาสในการแลกเปลี่ ยนแนวคิด หารื อ และกํ า หนดแนวทางการ ดําเนิน การของกองทัพประเทศสมาชิกอาเซียน โดยไดเริ่ ม ดําเนิ นการมาตั้ง แตป 2549 โดยมีการประชุ มครั้ง ที่ 1 ที่ มาเลเซีย ครั้งที่ 2 ที่สิงคโปร ครั้งที่ 3 ที่ไทย ครั้งที่ 4 ที่เวียดนาม ครั้งที่ 5 ที่อินโดนีเซีย ครั้งที่ 6 ที่กัมพูชา ครั้งที่ 7 ที่ บรูไน และครั้งที่ 8 ทีเ่ มียนมาร ซึ่งดําเนินการในปจจุบันไดพัฒนาไปสูการประชุมของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรี กลาโหมประเทศคูเจรจาอีก 8 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เกาหลีใต รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด ออสเตรเลีย และจีน โดยมีกรอบความรวมที่สําคัญ 2 กรอบความรวมมือ คือ 1. ความรวมมือในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน 1.1. ความรวมมือระหวา งกลาโหมอาเซียนกับองคก รภาคประชาสั งคมในดา นความมั่น คงรู ปแบบใหม (Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil Society Organizations (CSOs) Cooperation on Non – Traditional Security) ริเริ่มโดยประเทศไทย 1.2. เอกสารแนวความคิดเรื่องการใชทรัพยากร และศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือ ดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in humanitarian Assistance and Disaster Relief) ริเริ่มโดยประเทศอินโดนีเซีย 1.3. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยความร ว มมื อ ด า นอุ ต สาหกรรมป อ งกั น ประเทศ ในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) ริเริ่มโดยประเทศมาเลเซีย 1.4. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภาพในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers network) ริเริ่มโดยประเทศไทย/ อินโดนีเซีย
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 26
2. ความรวมมือในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา 2.1. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานความมั่นคงทางทะเล (ADMM – Plus : Maritime Security Working Group Concept Paper) มีประเทศมาเลเซีย และออสเตรเลีย เปนประธานรวม 2.2. เอกสารแนวความคิ ด ว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง คณะทํ า งานผู เ ชี่ ย วชาญด า นการให ค วามช ว ยเหลื อ ด า น มนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (ADMM – Plus: Concept Paper for the Establishment of an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR)) มีประเทศเวียดนามและจีน เปน ประธานรวม 2.3. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการปฏิบัติการรักษาสันติ (ADMM – Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) มีประเทศฟลิปปนส และ นิวซีแลนด เปนประธานรวม 2.4. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการแพทยทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) มีประเทศสิงคโปร และญี่ปุนเปนประธาน 2.5. เอกสารแนวความคิดวาดวยการจัดตั้งคณะทํางานผูเชี่ยวชาญดานการตอตานการกอการราย (ADMM – Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group) มีประเทศอินโดนีเซีย และ สหรัฐอเมริกาเปนประธานรวม เละยังมีการประชุมในระดับผูบัญชาการทหารสูงสุด และผูบัญชาการเหลาทัพ และหนวยตาง ๆ ที่ขึ้นตรงของ กองทัพ เชน การประชุมผูบัญชาการทหารสูงสุดแบบไมเปนทางการ (ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting: ADCFIM) การประชุมผูบัญชาการทหารบกอาเซียน การประชุมผูบัญชาการทหารเรืออาเซียน การประชุมผู บัญชาการทหารอากาศอาเซียน และการยิงปนอาเซียน เปนตน จากความรวมมือดังกลาวขางตน จะทําใหแตละประเทศไดรับประโยชนในการดําเนินการ คือ ในระยะแรกของ การเปนประชาคมอาเซียน คือ การขจัดความไมไววางใจระหวางกัน ดังนั้น มาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจตาง ๆ เชน การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝก จึงมีความสําคัญอยูในระยะเริ่มตน โดยในระยะตอไป คือ ลดชองวาง และเสริมจุดออนของขีดความสามารถของกองทัพประเทศตาง ๆ เชน การสรางเครือขายศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เพื่อใหมีการแลกเปลี่ยนขีดความสามารถของแตละประเทศดานปฏิบัติการรักษาสันติภาพของทั้ง 5 ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส รวมทั้งขยายขีดความสามารถใหกับประเทศที่ไมมีศูนยฝกดังกลาว ไดใช ประโยชนดวย งานดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน เพื่อใหอาเซียนมียุทโธปกรณที่ผลิตไดในภูมิภาค ซึ่งทํา ใหมีความเชื่อถือไดในดานยุทโธปกรณ และประหยัดงบประมาณดานการปองกันประเทศ เปนตน แผนงานในระยะยาว ของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน คือ แนวความคิดในการใชกองกําลังจากประเทศสมาชิกอาเซียนในดานการ ชวยเหลือดานมนุษยธรรมของอาเซียน และการปฏิบัติการรักษาสันติภาพในอนาคตตอไป อยางไรก็ตาม การดําเนินการ ดังกลาว อาเซียนไมสามารถดําเนินการไดสําเร็จโดยลําพัง ดังนั้น การที่อาเซียนมีกรอบความรวมมือในกรอบการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting – Plus: ADMM-Plus) จะชวยเสริมสรางใหกองทัพอาเซียนสามารถที่จะใชประโยชนจากทรัพยากรบุคคล ขีดความสามารถดาน ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีจากประเทศตาง ๆ ได รวมทั้งยังเปนการสรางความไวเนื้อเชื่อใจของอาเซียนกับประเทศคู เจรจาอีกทางหนึ่งดวย การดําเนินการขางตน พบวา ยังมีอุปสรรคอีกมากมาย ดังนั้น รัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียน ควรใหความสําคัญ กับการแกไขปญหาตาง ๆ กับประเทศเพื่อนบานเปนลําดับแรก โดยเฉพาะความไมชัดเจนของเรื่องเขตแดน ปญหาดาน อื่น ๆ กับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งเปนปจจัยเริ่มตนของการสรางความไวเนื้อเชื่อใจ และจะเปนปจจัยสําคัญในการนําพาเขา สูค วามสําเร็จในระดับอาเซียน และในระดับภูมิภาคตอไป โดยประเทศไทยนั้น ปญหาตาง ๆ กับประเทศเพื่อนบานที่ตอง
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 27
ไดรับการแกไขโดยเรงดวนนั้น หากแกไขในระดับเจาหนาที่ผูปฏิบัติ (Track I) แลวไมสําเร็จ นักวิชาการตาง ๆ (Track II) ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ก็นาที่จะไดรวมมือกันในการแสดงแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ แลวเสนอขอมูลให Track I ดําเนินการตอไป และมีความคาดหวังวา ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และจะเกิดเพิ่มมากขึ้นในอนาคตของ ประเทศไทย จากการรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซี ยน จะสร า งนั ก วิ ช าการ นั ก วิ จั ย นั ก พั ฒ นา นั ก วิ ท ยาศาสตร นั ก คณิตศาสตร ผูบริหารที่มีความสามารถในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียน และในระดับโลกเกิดขึ้น และหวังวา กลุม บุคคลดังกลาว จะสรางความสําเร็จ ความเจริญรุงเรือง ความสงบสุขใหกับประเทศไทย และภูมิภาคอื่น ๆ ตอไป อยางไรก็ดี อาเซียนเปนภูมิภาคที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติอยางมหาศาล และเปนแหลงผลิต อาหารที่สําคัญของโลก อยางไรก็ตาม ในป 2558 ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในภูมิภาค คือ การเปดประชาคม อาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งจะเปนทั้งปจจัยเสี่ยงและความทาทายของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมของภูมิภาค และการเปดเสรีทางเศรษฐกิจเพื่อใหภูมิภาคอาเซียนกลายเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน จะ กระตุนใหมีการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิกและการเติบโตของภาคการผลิตในอัตราที่เพิ่มขึ้น อันจะเรงใหเกิดการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของภูมิภาค นอกจากนี้ ดวยความแตกตางของ ระดับการพัฒนาและระบอบการปกครองของประเทศในอาเซียน ทําใหบางพื้นที่อาจมีการประกอบการที่ขาดจริยธรรม และการรับผิดชอบตอผลกระทบตอชุมชน และสิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถสรุปผลกระทบคราว ๆ ไดดังนี้
ผลกระทบของการเข า สู ป ระชาคมอาเซี ย นต อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ในอาเซี ย น การเขาสูประชาคมอาเซียนในมิติโครงสรางพื้นฐานและผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 1. โครงสรางพื้นฐานดานพลังงานโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน 1.1. การเขาสูประชาคมอาเซียนของภาคพลังงาน ความรวมมือของอาเซียนดานพลังงานมีขอบเขตภายใต แผนปฏิบัติการความรวมมือดานพลังงานของอาเซียน 3 ฉบับ ปจจุบันอยูในชวงที่สาม 2553-2558 เพื่อเสริมสรางความ มั่นคงดานพลังงาน การเขาถึงและใชพลังงานอยางยั่งยืนสําหรับภูมิภาค และไดจัดทําโครงการที่มีความสําคัญลําดับตน 2 โครงการ คือ โครงขายระบบสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Power Grid) ที่เชื่อมทอเคเบิลใตทะเลหรือบนบกกับโครงขาย ระบบสง ไฟฟ าของกั มพู ช า สปป.ลาว เมี ยนมา ร และเวี ยดนาม และโครงการเชื่อ มโยงท อก า ซธรรมชาติอ าเซี ยนที่ มี เปาหมายพัฒนาโครงขายระบบสงกาซของภูมิภาคใหแลวเสร็จในป 2563 นอกจากนี้ อาเซียนกําลังพิจารณาการวาง 4 โครงสรางพื้นฐานสําหรับขนสงกาซธรรมชาติเหลว (Liquid Natural Gas: LNG) นอกเหนือจากกาซธรรมชาติแลว แมน้ําโขงยังเปนแหลงพลังงานหมุนเวียนที่สําคัญของสมาชิกอาเซียน บางประเทศ ปจจุบันแมน้ําโขงมีเขื่อนกั้นลําน้ําสายหลัก 5 แหง ที่อยูในประเทศจีน และยังมีแผนการกอสรางเขื่อนใน แมน้ําโขงอีก 15 แหง ซึ่งตั้งอยูในจีน 3 แหง กัมพูชา 2 แหง และสปป.ลาว 10 แหง ซึ่งมีเขื่อนปากชมและเขื่อนบานกุมอยู 5 ในพื้นที่ติดตอไทย-ลาว ซึ่งผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานพลังงานเมื่อ เขาสูประชาคมอาเซียน
4
กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. ICEM. (2553). บทสรุปผูบริหาร รายงานฉบับสมบูรณการประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรเกี่ยวกับเขื่อนไฟฟาพลังน้ํา ใน แมน้ําโขงสายหลัก. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง. เขาถึงขอมูลไดจาก http://ns1.mrcmekong.org/ish/SEA/SEA-Summary-final-report-Thai29-3-11-fixname.pdf เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2557. 5
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 28
1) ผลกระทบตอความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศแมน้ําและปริมาณสัตวน้ํา สําหรับการประมง เขื่อนกั้นแมน้ําโขงสายหลักทําใหปริมาณน้ํา ตะกอน สารอาหารที่ไหลไปยังทายน้ํามีปริมาณลดลง สงผลโดยตรงตอความ อุดมสมบูร ณของสิ่ง มีชีวิต ที่อาศัยอยูในน้ํา โดยที่ ผานมาปริมาณตะกอนในลํา น้ําโขงที่ไ หลผ านมายังจั งหวั ดกระแจะ (Kratie) ในกัมพูชา ลดลงถึงรอยละ 55 อีกทั้งเขื่อนยังขัดขวางเสนทางการอพยพของปลา ซึ่งประมาณรอยละ 35 เปน ปลาที่มีการยายถิ่นเปนประจํา สงผลกระทบตอเนื่องไปยังชาวประมงในลําน้ําโขงและประเทศทายน้ํา ทั้งนี้คาดวา หากมี การสรางเขื่อนกั้นลําน้ําโขงตอนลางทั้งหมดตามแผนที่กําหนดไวจํานวนปลาในลําน้ําโขงจะลดลงเหลือเพียง 5.5-8.8 แสน 6 ตัน หรือรอยละ 26-42 ของจํานวนปลาในป 2543 2) ผลกระทบจากการกอสรางระบบสงไฟฟา และการวางทอกาซในทะเลการวางระบบสงไฟฟาบน บกที่เชื่อมโยงระหวางประเทศตางๆ ในอาเซียน อาจมีการวางแนวสายสงที่พาดผานพื้นที่ปา จึงจํา เปนตองแผวถางพื้นที่ เพื่อลําเลียงเครื่องจักรอุปกรณรวมทั้งพื้นที่สําหรับติดตั้งเสา และฐานของสายสง ซึ่งการเปดพื้นที่เหลานี้จะเพิ่มโอกาสใหมี การลักลอบตัดไมทําลายปา และจับสัตวปาเพิ่มมากขึ้น สวนการวางทอกาซธรรมชาติในทะเลนั้น นอกจาก จะกอใหเกิด ผลกระทบตอระบบนิเวศนใตทะเล โดยเฉพาะบริเวณผิวดินทองทะเลระหวางการกอสรางแลว ยังเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุกาซธรรมชาติรั่วไหลในชวงปฏิบัติการดวย 3) การปลดปลอยกาซเรือนกระจก แมวา เขื่อนในลําน้ําโขงตอนลางที่อยูในแผนการกอสรางจํานวน 12 แหง มีความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํารวมกัน 14,697 เมกกะวัตต หรือรอยละ 5-8 ของศักยภาพการ 7 ผลิตไฟฟาในภูมิภาค ซึ่งจะชวยใหภูมิภาคอาเซียนลดการปลอยกาซเรือนกระจก แตโครงการเชื่อมโยงระบบทอกาซ ธรรมชาติจะมีผลในทางตรงขาม เพราะกาซธรรมชาติจัดเปนเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทหนึ่งการปลดปลอยกาซเรือนกระจก แมวาเขื่อนในลําน้ําโขงตอนลางที่อยูในแผนการกอสรางจํานวน 12 แหง มีความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํา 8 รวมกัน 14,697 เมกกะวัตต หรือรอยละ 5-8 ของศักยภาพการผลิตไฟฟาในภูมิภาค ซึ่งจะชวยใหภูมิภาคอาเซียนลดการ ปลอยกาซเรือนกระจก แตโครงการเชื่อมโยงระบบทอกาซธรรมชาติจะมีผลในทางตรงขาม เพราะกาซธรรมชาติจัดเปน เชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทหนึ่ง 2. โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง 2.1. การเขาสูประชาคมอาเซียนของภาคคมนาคมขนสง ความรวมมือของอาเซียนในการสรางถนน และทางรถไฟมีเปาหมายเพื่อเชื่อมโยงประเทศสมาชิกและ ประเทศนอกภูมิภาคเขาดวยกัน เพื่อใหสามารถเดินทาง ขนสงไดอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย โดยมี 2 โครงการสําคัญ คือ โครงการทางหลวงอาเซียน เปนสวนตอขยายของโครงขายทางหลวงสายเอเชียสวนที่อยูในอาเซียนที่ไมสมบูรณ ซึ่ง สว นใหญ อยู ในเมี ยนม าร ยาว 227 กิ โลเมตรรวมทั้ง ยัง มี ถนนที่ ต่ํา กว ามาตรฐานชั้ น 3 อี กกวา 5,300 กิ โลเมตร และ โครงการทางรถไฟสายสิงคโปร- คุนหมิง ซึ่งมีเสนทางที่ขาดหายอยูหลายชวง โดยเฉพาะเสนทางรถไฟฝงตะวันออก (ไทย กัมพูชา และเวียดนาม) รวมถึงความรวมมือดานการขนสงทางทะเล โดยกํา หนดใหทาเรือ 47 แหงเปนทาเรือหลักใน โครงขายการขนสงอาเซียน (Trans-ASEAN Transport Network) เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงสินคา รวมทั้ง 9 ระบบโลจิสติกสทางบก
6
Ibid. Ibid. 8 Ibid. 9 กรมอาเซียน. (2554). แผนแมบทวาดวยความเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัทคาริสมามีเดีย จํากัด. 7
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 29
2.2. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมเมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน 1) การขยายตัวของเมืองอยางไรระบบ การกอสรางถนน และระบบคมนาคมขนสงของโครงการทาง หลวงอาเซียน มีสวนสงเสริมใหเกิดการขยายตัวของเมืองตามแนวริมถนน หากไมมีการเตรียมพรอมเรื่องการวางผังเมืองที่ คํานึงถึงศักยภาพดานเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมของพื้นที่อยางเหมาะสม 2) การปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศมีแนวโนมเพิ่มขึ้น การเปดดานการคา และจุด ผอนปรนการคาตามแนวชายแดนไทย จะทําใหมีการจราจรไปมาระหวางประเทศมากขึ้น แตปจจุบันประเทศเพื่อนบานยัง มีกฎระเบียบในการควบคุมสภาพยานพาหนะไมเขมงวดทัดเทียมกับไทย อันจะกลายเปนแหลงกํา เนิดมลพิษทางอากาศ เพิม่ ขึ้น นอกจากนี้ปริมาณการเดินทางโดยรถยนตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนใหญยังคงใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนหลัก จะทําใหปริมาณ การปลดปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นตามไปดวย 3) การลักลอบขนยายและทิ้งขยะและสารอันตรายขามแดน แมวา ประเทศเพื่อนบานของไทย สวนมากจะเปนภาคีอนุสัญญาบาเซลวาดวยการควบคุมการเคลื่อนยายของเสียอันตรายขามแดนและการกํา จัดแลวก็ ตามแตปจจุบันขอกําหนดเรื่องการหามการสงออกของเสียอันตรายยังไมมีผลบังคับใชจึงอาจมีการลักลอบทิ้งขยะอันตราย ในไทยมากขึ้น 4) การทําลายทรัพยากรชายฝงและปาชายเลน การเชื่อมโยงอาเซียนดานการขนสงทางทะเล อาจ เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดอุบัติภัยทางเรือ น้ํามันรั่วไหล รวมทั้ง การทําลายปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น
ความพร อ มขององค ก รในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่ อ เข า สู ป ระชาคมอาเซี ย น 1. ความทาทายดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน จาก ผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจากการเปดประชาคมอาเซียน สามารถสรุปประเด็นทายทายดานการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของอาเซียนไดดังนี้ 1.1. การใชทรัพยากรเกินขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ จะถูกนําไปใชจนเกินขีดความสามารถในการรองรับ โดยเฉพาะกลุมประเทศที่มีรายไดต่ําจะใชความไดเปรียบจาก ความมั่ งคั่ งเหล านี้ ซึ่ งจะทํ าใหเ กิด การปรับ เปลี่ยนการใช ที่ดิ นเพื่อ ขยายกํา ลัง การผลิต การเพิ่ มขึ้ นของอัต ราการใช ทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน ทั้งในดานพลังงาน การคมนาคมขนสง การทองเที่ยว อันจะ สงผลใหเกิดการบุกรุกพื้นที่ปาไมและการรุกล้ําระบบนิเวศเพิ่มขึ้น และนําไปสูการสูญเสียความหลากหลายของพันธุพืช และพันธุสัตวที่อาศัยอยูในระบบนิเวศเหลานั้น ซึ่งหากอาเซียนยังไมมีมาตรการควบคุมดูแลอยางมีประสิทธิภาพแลว จะ ทําใหการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติไมมีความยั่งยืน 1.2. กาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศ การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง และ โลจิสติกส จะกระตุนใหเกิดการเดินทางไปมาระหวางประเทศและเกิดการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น จะสงผลให ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศอื่น ๆ เพิ่มขึ้นตามไปดวย 1.3. ปญหาขยะและน้ําเสีย ปริมาณขยะและน้ําเสียจะเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ทั้งจากการทองเที่ยวและการผลิต รวมถึงการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วขึ้น
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 30
1.4. ปญหามลพิษขามแดน เนื่องจาก การควบคุมและบังคับใชกฎเกณฑดานสิ่งแวดลอมของประเทศใน อาเซียนมีมาตรฐาน และความเขมงวดตางกัน การเปดประชาคมอาเซียน จึงอาจทําใหปญหาการลักลอบทิ้งสารอันตราย 10 ขามแดน หรือการยายฐานการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษมากขึ้น 2. ความพรอมขององคกรตาง ๆ ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.1. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใตความรวมมืออาเซียน 1) หลักการและการดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของอาเซียน การประชุมสุด ยอดเรื่องสิ่งแวดลอมและมนุษย ณ กรุงสตอกโฮลม (Stockholm Conference on Human and Environment) เมื่อป 2510 ทําใหอาเซียนมีความตระหนักและไดบูรณาการประเด็นสิ่งแวดลอมเขาเปนสวนหนึ่งของวาระการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม โดยอยูบนพื้นฐานการบริหารจัดการในระดับประเทศเปนหลัก ภายใตหลักความรับผิดชอบรวมกันในระดับที่ แตกตางกัน (Common but Differentiated Responsibilities) กลาวคือ ประเทศสมาชิกตองเห็นชอบในมาตรการ ตาง ๆ รวมกัน ตัดสินใจเรื่องแนวทางดําเนินการ และมีสวนรวมดําเนินการตามศักยภาพและระดับการพัฒนาของแตละ ประเทศ ซึ่งอาเซียนไดกําหนดกลไกการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมไวชัดเจนใน ASEAN Charter รวมทั้งกําหนด เปาหมายและแผนงานใน Roadmap ที่มุงพัฒนาอาเซียนไปสูการเปนเศรษฐกิจสีเขียว (Green ASEAN) โดยมุงเนนเรื่อง การนําเครื่องมือดานกลไกตลาดมาใชมากขึ้น การลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบจากภัยพิบัติการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเผาและไฟปา แหลงน้ํา จืด ทองทะเล และระบบนิเวศชายฝง การลดอัตราการตัดไม ทําลายปา และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เมืองที่มีสิ่งแวดลอมยั่งยืน ประเด็นดานสิ่งแวดลอมของโลก ความ เขมแข็งของสถาบันและกรอบนโยบายระดับภูมิภาค นอกจากนี้ อาเซียนยังไดรวมกันจัดทํา กรอบแผนงานรายสาขาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Multi-sectoral Framework on Climate Change and Food Safety: AFCC) เพื่อการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการจัดการปาไม อยางยั่งยืน (Sustainable Forest Management: SFM) เพื่อสงเสริมการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนในอาเซียน และสนับสนุนความริเริ่มในการบังคับใชกฎหมายปาไมและหลักธรรมาภิบาล (Forest Law Enforcement, Governance and Trade: FLEGT) 2) ความพร อ มของอาเซี ย นในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่ อ เข า สู ประชาคมอาเซียน อาเซียนถือกําเนิดมาจากการแสวงหาสันติภาพและสรางความมั่นคงของภูมิภาค รวมทั้งการสงเสริม ความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมบนพื้นฐานของหลักการวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ซึ่งประกอบดวย (1) การไมแทรกแซงกิจการภายใน (Non-Interference) (2) การสรางฉันทามติ (Consensus Building) และ (3) การดําเนินการเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดของประเทศเปนสําคัญ (Preference for National Implementation of Programs)
10
นิรมล สุธรรมกิจ และคณะ. (2556). รายงานความกาวหนา โครงการการเปรียบเทียบมาตรการดานสิ่งแวดลอมของสมาชิกประเทศอาเซียน. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ; Jarayab hand, S. et al. (2010). Final Report Establishment of knowledge and network of researchers on environment and climate change in Thailand and neighboring countries (CLMV-T). Thailand Research Fund.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 31 11
แมวา หลักการดังกลาวจะชวยใหอาเซียนสามารถตกลงรวมมือกันเขาสูประชาคมอาเซียนได แต 12 หลักการดังกลาวกลับกลายเปนขอจํากัดของอาเซียนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลาวคือ (1) การไมแทรกแซงกิจการภายในอยางเครงครัดกลายเปนอุปสรรคตอการยอมรับมาตรการที่ 13 14 เปนไปไดในทางปฏิบัติรวมกัน เชน กรณีการแกปญหาหมอกควันขามแดน ที่อินโดนีเซียรวมลงนามความตกลงอาเซียน วาดวยมลพิษจากหมอกควันขามแดนลาชา ทั้งที่เปนตนกําเนิดของไฟปาและมลพิษ (2) การสนับสนุนทรัพยากรที่ไ มเพียงพอ กลาวคือ อาเซียนยั งขาดบุคลากรผูเชี่ยวชาญ แหล ง 15 เงินทุน และการสนับสนุนเชิงองคกร (3) ขอมูลที่ไมเพียงพอ สงผลใหเกิดขอจํากัดในกลไกการติดตามตรวจสอบ ที่ไมสามารถดําเนินการ ไดอยางมีประสิทธิผล (4) การขาดกลไกแกไขขอพิพาท เนื่องจาก วิถีอาเซียนมุงเนนการตัดสินใจดวยกระบวนการสราง 16 ฉันทามติ สง ผลใหอ าเซี ยนมั กจะหลี กเลี่ ยงข อขั ดแย งแทนที่จะใชกลไกแกไขขอ พิพาทที่มี การเจรจาตอรองบนพื้ น ฐานขอมูลทางวิทยาศาสตรอยางโปรงใสและเปนธรรม และ (5) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของอาเซียนไมมีประสิทธิผล ขาดการประสานงานภารกิจ 17 หลายสวนซ้ําซอนและขัดแยงกันเอง 2.2. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใตความรวมมือระดับอนุภูมิภาค : อนุ ภูมิภาคลุมน้ําโขง (GMS) 1. ทิศทางในการดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ GMS อยูภายใตการกํากับ ดูแลของคณะทํางานดานสิ่งแวดลอม (WGE) ซึ่งมีองคประกอบเปนรัฐมนตรีดานสิ่งแวดลอมของประเทศสมาชิก ตาม กรอบ CEP-BCI ซึ่งมุงสงเสริมการลงทุนพัฒนาในแนวพื้นที่เศรษฐกิจ GMS และพื้นที่ตอเนื่องพรอมกับบริหารจัดการดาน ความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมของ GMS ในป 2556 มีแนวทางและแผนงานสําคัญ คือ (1) การปรับปรุงระบบงานการวางแผนดานสิ่งแวดลอม ทั้งดานแผนกลยุทธมาตรการปองกันและ การติดตามประเมินผล เชน การประเมินตนทุนทางธรรมชาติในแหลงคุมครอง การพิจารณากรอบการลงทุนระดับภูมิภาค (Regional Investment Framework) ที่เหมาะสม
11
Taguchi, H. (2011). Regional issues in environmental management. In Broniewicz, E. (Ed.), Environmental Management in Practice (pp.67-84). DOI: 10.5772/17267; Goh, G. (2003). The ‘ASEAN Way’ non-intervention and ASEAN’s role in conflict management. Stanford Journal of East Asian Affairs, 3(1), pp. 113-118. 12 Middleton, C. (2012). ASEAN, Economic integration and regional environmental governance: Emerging norms and Transboundary environmental justice. Unpublished paper presented at The 2nd International Conference on Inter-national Relations and Development, Chieng Mai, Thailand. 13 Koga, K. (2010). The normative power of the “ASEAN Way.”: Potentials, limitations and implications for East Asian regionalism. Stanford Journal of East Asian Affairs, Winter, 80-94. Retrieved from http://www.academia.edu/4027546/The_ Nortmative_Power_of_the_ASEAN_Way_ 14 Nesadurai, H. E. S. (2008). The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN). Global Monitor, 13(2), pp. 225-239. 15 Kheng-Lian, K. & Robinson, N. A. (2002B). Strengthening sustainable development in regional intergovernmental governance: Lessons from the “ASEAN Way.” Singapore Journal of International and Comparative Law, 6, pp. 640-682 16 Ibitz, A. (2012). Environmental policy coordination in ASEAN: The case of waste from electrical and electronic equipment. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 5(1), pp. 30-51. 17 Elliott, L. (2003). ASEAN and environmental cooperation norms, interests and identity. The Pacific Review, 16(1), pp. 29-52.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 32
(2) การบริหารจัดการและติดตามผลดานความหลากหลายทางชีวภาพขามแดน เชน การเสริมสราง ความเขมแข็งตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจ การศึกษาเพื่อจัดทําหวงโซเพิ่มมูลคาทีย่ ั่งยืน (3) การพัฒนายุทธศาสตรดานการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการลดการปลอยคารบอน และ (4) การจัดการดานเงินทุนและการเสริมสรางองคกรดานสิ่งแวดลอม ประกอบกับคํานึงถึงประเด็น ความเทาเทียมทางเพศของบุคลากร และการจัดเตรียมงานสัมมนานานาชาติ GMS ในป 2563 ซึ่งจะมีจุดเนนเรื่อง สิ่งแวดลอม 2. ความพร อ มของ GMS ในการบริห ารจั ดการทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดลอ ม เมื่อ เข า สู ประชาคมอาเซียน แมวา วัตถุประสงคหลักดั้งเดิมของ GMS คือ การสงเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและยกระดับความ เปนอยูของประชาชนในภูมิภาค แตภายหลังป 2548 เปนตนมา GMS โดยการสนับสนุนของ ADB ไดใหความสําคัญกับ การปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้นตามลําดับ อยางไรก็ดี ประเทศสมาชิกยังไมมีค วามมุงมั่นจริงจังในการแกปญหาทรัพ ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมที่เพียงพอ ดังจะเห็นไดจากการที่ง บประมาณสวนใหญในการดําเนินโครงการของ GMS ในการเสริมสราง สมรรถนะของประเทศดานสิ่งแวดลอมและการคามาจากความชวยเหลืออยางเปนทางการ (Official Development Assistance: ODA) ของประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และหนวยงานระหวางประเทศ เชน 18 UNDP และ OECD เปนตน 2.3. กรอบความรวมมือการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย (IMT-GT) 1. แนวทางการดําเนินงานของคณะทํางานดานเกษตร อุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม ภายใต IMT-GT ในชวงกรอบแผนงาน IMT-GT ระยะที่ 2 (IMT-GT Implementation Blueprint 2012-2016) ยังคงใชกรอบการ พิจารณาขอเสนอโครงการแบบลางสูบน (Bottom-Up) ภายใตกลไกการกลั่นกรองขอเสนอโครงการจากระดับพื้นที่ หรือ มุขมนตรี และผูวาราชการจังหวัด (Chief Ministers and Governors’ Forum: CMGF) กลาวคือ มุงเนนการพัฒนาที่ สรางความเติบโตอยางเทาเทียมกันของคนทุกกลุมในสังคม และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ประเทศสมาชิก IMT-GT ได รวมกันจัดทํากรอบความรวมมือที่ตองการการประกอบการที่มีจริยธรรม เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยไดรวมกันราง ขอบเขตการดําเนินงาน เมื่อกรกฎาคม 2556 ณ ประเทศมาเลเซีย เพื่อจัดเตรียมกลไก และมาตรการรองรับดานการ พัฒนาฐานวัตถุดิบ และการแปรรูปการเกษตรที่คํานึงถึงผลกระทบสิ่งแวดลอม 2. ความพรอมของ IMT-GT ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน IMT-GT ก็มีลักษณะเชนเดียวกับ GMS คือ มีจุดมุงเนนที่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก โดย ใหความสําคัญกับพื้นที่เชื่อมตอระหวางประเทศ จึงไมมีกลไกและประเด็นการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมโดยตรง อยางไร ก็ดี การที่ WG-AAE ไดเริ่มบูรณาการประเด็นสิ่งแวดลอมไว ในกรอบความรวมมือและมาตรฐานวัตถุดิบ และการแปรรูป เกษตรที่คํานึงถึงผลกระทบสิ่งแวดลอม แสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่ IMT-GT อาจมีการขยายขอบเขตการดําเนินงานดาน สิ่งแวดลอมมากขึ้นในอนาคต
18
Dosch, J. (2010). Balancing trade growth and environmental protection in ASEAN: Environmental issues in trade and investment policy deliberations in the Mekong subregion. TKN Series on Trade and Environment in ASEAN – Policy Report, 2.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 33
2.4. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) 1. บทบาทของ MRC เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน การกาวเขาสูประชาคมอาเซียนจะกระตุนให ประเทศสมาชิก MRC ที่อยูบริเวณตนน้ําโขง เรงใชประโยชนจากแมน้ําโขงมากขึ้นเพื่อเสริมสรางโอกาสทางเศรษฐกิจ ใหกับประเทศตนเอง เชน การกอสรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาของสปป.ลาว และการผันน้ําจากแมน้ําโขงมาใชในไทย ซึ่งจะสงผลกระทบตอความสมดุลของระบบนิเวศและการใชประโยชนจากลําน้ําโขงของประเทศที่อยูทายน้ํา คือ กัมพูชา และเวียดนาม ดังนั้น โครงการพัฒนาเพื่อใชประโยชนจากลําน้ําโขงในสปป.ลาวก็จะสงผลกระทบในรูปแบบเดียวกันตอ ไทย อยางไรก็ดีตลอดเวลา 18 ปที่ผานมา บทบาทสวนใหญของ MRC จํากัดอยูเพียงการพัฒนาองคความรู และการ เสริมสรางศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืนใหกับประเทศสมาชิก โดยยังไมสามารถพัฒนาขอตกลง 19 หรือกลไกที่ชัดเจนในการควบคุมการใชประโยชนจากแมน้ํา โขงได ทั้งนี้ ขอตกลงในป 2538 กําหนดไวเพียงวาการใช ประโยชนจากแมน้ําโขงตองอยูภายใตการใชสิทธิอยางเปนธรรมและสมเหตุสมผล ซึ่งไมมีผลผูกมัดที่ เปนรูปธรรม ทําให ปจจุบันประเทศสมาชิกยังคงสามารถใชประโยชนจากแมน้ํา โขงในเขตอธิปไตยของตนเองไดเชน การกอสรางเขื่อน และ การผันน้ํา โดยเพียงแตตองแจงใหกรรมาธิการรวม (Joint Committee) ของ MRC รับทราบกอนเทานั้น 2. ความพรอมของ MRC ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเมื่อเขาสูประชาคม อาเซียน จากที่ในปจจุบันมีบางประเทศที่แมน้ําโขงไหลผาน แตไมไดเขารวมเปนสมาชิกของ MRC คือ จีน และเมียนมาร ซึ่งมีฐานะเปนเพียงประเทศผูสังเกตการณเทานั้น ประกอบกับการที่ประเทศสมาชิก โดยเฉพาะ ไทย และสปป.ลาว ยังคง ตองการใหประเทศของตนเองสามารถดําเนินโครงการพัฒนาแหลงน้ํา เพื่อใชประโยชนจากแมน้ําโขงไดอยางเสรี และ ตองการให MRC เปนเพียงองคกรที่มีบทบาทในดานการดําเนินโครงการพัฒนาภูมิภาค โดยอาศัยเงินทุนจากภายนอกเปน หลัก จึงเปนขอจํากัดสําคัญที่ MRC ไมอาจเพิ่มบทบาทใหครอบคลุมทุกมิติของการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืนได อยางไรก็ดี แมวา MRC จะไมมีอํานาจในการควบคุมการใชประโยชนดังกลาวจากแมน้ําโขงได แต MRC จะยังคงมีบทบาท สําคัญในการพัฒนาความสามารถในการปรับตัว และถายทอดองคความรูใหกับประเทศ หรือชุมชนที่ไดรับผลกระทบ 2.5. ความพรอมของไทยในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. ความทาทายของไทยเมื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ปจจุบันกลไกหลักที่ใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายในไทยมีลักษณะเปน การบังคับและควบคุมโดยการใชกฎหมายและกฎระเบียบที่มีการกําหนดบทลงโทษ ตัวอยางเชน พระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวของ ซึ่งกําหนดใหมีมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม ในดานตาง ๆ โดยการควบคุมปริมาณการปลอยมลพิษที่แหลงกําเนิด เชน คุณภาพแหลงน้ํา อากาศ เสียง รวมถึงกฎหมาย ดานการคุมครองพื้นที่ปาไม ไดแก พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2485 พระราชบัญญัติอุทยาน แหงชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในปจจุบันมี มากกวา 60 ฉบับ กระจายความรับผิดชอบไปตามหนวยงานตาง ๆ กวา 11 กระทรวง ทั้งที่เปนหนวยงานในสวนกลาง และเจา พนักงานทองถิ่นเปนผูรักษา และบังคับใชกฎหมาย ซึ่งนอกจาก พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม แหงชาติ พ.ศ. 2535 และกฎหมายดานการคุมครองพืน้ ที่ปาไมที่กลาวไปแลวขางตน ยังมีกฎหมายฉบับอื่นอีกจํานวนมาก อาทิ พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย พ.ศ. 2522 พระราชบั ญ ญั ติ ป โ ตรเลี ยม พ.ศ. 2521 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2535 19
Backer, E. B. (2007) The Mekong River Commission: Does It Work, and How Does the Mekong Basin’s Geography Influence Its Effectiveness? Journal of Current Southeast Asian Affairs, 25(4), pp. 32-56.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 34
อยางไรก็ตาม เนื่องจาก กฎหมายแตละฉบับขางตนมีวัตถุประสงคเฉพาะดานประกอบกับกฎหมาย หลายฉบั บ ที่ใ ช อ ยู ยั ง มี ค วามล า สมั ย ทํ า ให ข อ กํา หนดในกฎหมายจึ ง ยัง คงมี ช อ งวา งและข อ จํา กั ด ในด า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภาพรวม นอกจากนี้ การขาดงบประมาณ และกําลังคนที่เพียงพอยังทําใหภาครัฐไม สามารถบังคับใชกฎหมายเหลานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหเกิดความสูญเสียของทรั พยากร และการรั่วไหลของ มลพิษ อีกทั้งกลไกที่เนนการสั่งการและควบคุม ซึ่งไมเอื้อตอการมีสวนรวมของชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ยัง สงผลใหเกิดความขัดแยงในการบังคับใชกฎหมายระหวางภาครัฐ และประชาชนอีกดวย ทั้งนี้ หากพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปดประชาคมอาเซียนตอประเทศไทย พบวา กลไกที่มีอยูยังไมครอบคลุมประเด็นความเสี่ยงตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่จะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ประเด็นสําคัญที่ ประเทศไทยยังไมพรอมในการรับมือกับผลกระทบจากการเปดประชาคมอาเซียน ประกอบดวย (1) การลดปริมาณขยะจากการอุปโภคและบริโภค การเขาสูประชาคมอาเซียนจะทําใหการนําเขาสินคาประเภทตาง ๆ เปนไปอยางเสรี มากยิ่งขึ้น ประกอบกับไทยมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวาประเทศเพื่อนบาน ดังนั้นจึงมีแนวโนมที่จะนํา เขาสินคาเหลานี้ได มาก ซึ่งจะสงผลใหปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกัน การเปดเสรีภาคบริการอาจสงผลใหแรงงานตางดาวมีแนวโนม เขามาทํางานในไทยมากขึ้น เนื่องจาก คาตอบแทนที่สูงกวา แรงงานตางดาวเหลานี้ จึงเปนประชากรกลุมสําคัญที่จะเพิ่ม ปริมาณขยะใหมากขึ้น นอกจากนี้ คาดวา ภาคการทองเที่ยวของไทยอาจไดรับผลบวกจากการเขาสูประชาคมอาเซียน ซึ่ง จะเปนผลใหนักทองเที่ยวมีจํานวนมากขึ้น และทําใหมีปริมาณขยะจากการทองเที่ยวเพิ่มขึ้นตามมา (2) การลดปริมาณการใชน้ํา และการจัดการคุณภาพน้ํา การเขาสูประชาคมอาเซียนนั้น นอกเหนือไปจากจะทําใหจํานวนประชากรแรงงานและ นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น และสงผลใหปริมาณความตองการใชน้ําในการอุปโภคและบริโภคเพิ่มขึ้นแลว ยังทําใหมีการขยายตัว ของภาคการผลิตโดยเฉพาะในบริเวณเขตเศรษฐกิจพิเศษตาง ๆ ที่ภาครัฐไดจัดเตรียมไว ซึ่งจะยิ่งเพิ่มปริมาณความตองการ ใชน้ําของภาคอุตสาหกรรม อันจะนําไปสูความขัดแยงดานการใชทรัพยากรน้ําระหวางภาคอุตสาหกรรมกับภาคการเกษตร ที่มีอยูแลวใหทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ยิ่งไปกวานั้น กลไก และสถานภาพการลงทุนของรัฐดานการบําบัดน้ําเสียยังไมเขมแข็ง และเพียงพอ จึงไมสามารถเพิ่มปริมาณน้ําใชหมุนเวียน (Recycled Water) ที่เหมาะสมกับการใชประโยชนบางประเภท ได (3) การลดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงาน และการขนสง เดินทาง ผลเด นชั ดที่ จะเกิ ดขึ้ นเมื่อ มี การเขา สูป ระชาคมอาเซี ยนประการหนึ่ง คือ การขนส ง เดินทางที่เพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากความเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐานในการคมนาคม โดยเฉพาะโครงการทางหลวง อาเซียน ที่จะรองรับปริมาณการขนสงทางรถยนตที่เพิ่มมาก นอกจากนี้ ความเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐานทางพลังงาน จะกระตุนใหความตองการใชไฟฟาเพิ่มมากขึ้น สงผลใหมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มตามไปดวย (4) การควบคุมผลกระทบตอสิ่งแวดลอม อันเนื่องมาจาก การกอสรางและกิจกรรมเกี่ยวเนื่องของโครงการลงทุนดานโครงสราง พื้นฐาน ในชวงระยะเวลาของการกอสรางของโครงการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงอาเซียนนั้น จะกอใหเกิด ความเสี่ยงตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น ทั้งในเรื่องของโอกาสที่จะเกิดอุบัติภัยและความเดือดรอนรําคาญ ตอประชาชนที่อยูในบริเวณใกลเคียง ดังนั้น การศึกษาเรื่องขีดความสามารถของทรัพยากรในการรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ และขีดความสามารถในการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity) ของทางทรัพยากรที่ดิน ทรัพยากรน้ํา คุณภาพ อากาศ และทรัพยากรปาไม จึงมีความสําคัญมาก ในการวางแผนและประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 35
2. นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศไทย 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ปจจุบัน ประเทศไทยไดป ระกาศใชแผนพัฒนาฯ ฉบั บที่ 11 ซึ่ง มีเปาหมายเพื่อใหสังคมอยู รวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง โดยยึดแนวพระราชดํา รัส เศรษฐกิจพอเพียง มี คนเปน ศูนยก ลาง ซึ่ งการพั ฒนาในแผนพั ฒนาฯ ฉบับที่ 11 ได กําหนดยุทธศาสตรที่สํ าคัญ 6 ยุทธศาสตรครอบคลุมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอย างยั่งยืน เปนยุทธศาสตรหนึ่งที่ เกิดขึ้นจากการวิเคราะหสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นทั้งทรัพยากรปาไมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรแรและพลังงาน มลพิษปริมาณของเสียและวัตถุอันตราย รวมทั้ง สถานภาพการบริหารจัดการและพันธกรณีตาง ๆ แลวทําการประเมินความเสี่ยงตางๆ ที่จะเกิดขึ้น เพื่อเตรียมการรับมือ และสร า งภู มิ คุ มกั น จากนั้ น ทํ า การกํ าหนดวั ต ถุ ป ระสงค เ ป า หมาย ตั ว ชี้ วั ด และแนวทางการพั ฒนา โดยได กํ า หนด วัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษและฟนฟูควบคูไปกับการผลิตการบริโภคที่เปนมิตรและมีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ พรอมตั้งเปาหมายเพิ่มพื้นที่ปาไมใหไดรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพิ่มพื้นที่ปาชายเลนไมนอยกวาปละ 5,000 ไร เพิ่ม พื้นที่ชลประทานเฉลี่ยปละ 200,000 ไร เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนความมั่นคง ดานอาหาร พัฒนาคุณภาพแหลงน้ํา และแมน้ําสายสําคัญใหอยูในเกณฑตั้งแตพอใชขึ้นไปไมนอยกวารอยละ 80 คุณภาพ อากาศอยูในเกณฑมาตรฐาน การจัดการขยะใหถูกหลักสุขาภิบาลเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 50 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการนําขยะกลับมาใชใหมไมนอยกวารอยละ 30 โดยที่ชุมชนสามารถอยูรวมกับปาไดอยางยั่งยืน และมีตัวชี้วัดตาม เปาหมายที่กําหนดไว 2. นโยบายรัฐบาล ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานของอาเซียนมาโดยตลอด ในฐานะที่อาเซียนเปนกลุม ภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยรัฐบาลไดใชนโยบาย ASEAN First Policy คือ อาเซียนตองมากอน และรัฐบาลไดใหความสํา คัญตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยกํา หนดเปนนโยบาย เรงดวน สงเสริมใหมีการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ และเรงรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน โดยเรงใหบริหารจัดการ น้ําอยางมีประสิทธิภาพ สามารถปองกันปญหาอุทกภัย และภัยแลงไดรวมทั้งสนับสนุน ภาคการเกษตร และกําหนด นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย การ อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง การดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมการ สงเสริมและสรางความตระหนัก และจิตสํานึกดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการพัฒนาองคความรูในการ บริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งไดกําหนดนโยบายการตางประเทศ และเศรษฐกิจระหวาง ประเทศเพื่อเรงสงเสริม และพัฒนาความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน และสรางความสามัคคีและสงเสริมความรวมมือ ระหวางประเทศอาเซียน เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และเตรียมความพรอมของทุกภาคสวนใน การเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 ทั้งในดานเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมและความมั่นคง 3. ยุทธศาสตรประเทศไทย รัฐบาลไดตระหนักถึงความสําคัญในการเขาสูประชาคมอาเซียน จึงไดเตรียมการหลายดานมา อยางตอเนื่อง เพื่อจัดทํายุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน 8 ดาน ซึ่งประเด็นดานสิ่งแวดลอมไดผนวกรวมอยูกับ เรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการคุมครองทางสังคม รัฐบาลไดมอบหมายใหสวนราชการตาง ๆ รวมกันบูรณาการ ยุทธศาสตรประเทศ และยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียนเขาไวดวยกัน เปนยุทธศาสตรประเทศไทย
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 36
ยุทธศาสตรประเทศไทย “เปนแนวทางขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มศักยภาพของประเทศไทยใหมีขีด ความสามารถในการแขงขันที่สูงขึ้น ลดความเหลื่อมล้ํา สงเสริมการเติบโตอยางเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และประสานให ทุกหนวยงานทั้งภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคสังคมตาง ๆ เขาใจและเขารวมในการพัฒนาประเทศ พัฒนาบุคลากร โดยมีเปาหมายไปสูอนาคตที่มั่นคง ยั่งยืนและสมดุลของประเทศ” ทั้งนี้ ยุทธศาสตรหลักประกอบดวย (1) ยุทธศาสตรการสรางความสามารถในการแขงขัน (Growth & Competitiveness) (2) ยุทธศาสตรการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตรการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Growth) (4) ยุทธศาสตรการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) โดยมียุทธศาสตรหลัก คือ ยุทธศาสตรการสรางการเติบโตที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Growth) ซึ่งกําหนดมาตรการสําคัญ ไดแก ความมั่นคงทางพลังงานและพลังงานที่เปนมิตรสิ่งแวดลอม เมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ/เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การรับมือและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนโยบายการคลัง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยมี เ ป า หมายให เ กิ ด การอนุ รั ก ษ แ ละใช พ ลั ง งาน ลดการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มพื้นที่ปา สงเสริมใหเกิดการผลิตการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและพัฒนาเศรษฐกิจ ควบคูไปกับการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน พรอมกําหนดแนวทางดังนี้ 1) การอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มพื้นที่ปา เพื่อสรางความสมดุลใหกับระบบ นิเวศ และเปนฐานในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน สงเสริมการปลูกปาแบบมีสวนรวมสงเสริมการปลูกไมเศรษฐกิจโดย พัฒนารูปแบบ และกลไกทางการเงินเพื่อสงเสริมการปลูกไมสัก และไมมีคาทางเศรษฐกิจ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มในระยะยาว เชน ธนาคารตนไม พันธบัตรปาไม รวมทั้งพัฒนาเศรษฐกิจจากการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืนใหไดรอยละ 40 (128 ลานไร) โดยมีโครงการสําคัญ ไดแก โครงการปลูกปาและฟนฟูปาตนน้ํา และโครงการประชาอาสาปลูกปา 800 ลานกลา 80 พรรษามหาราชินีพื้นที่ 224,059 ไร (ภายใตงบเงินกู 3.5 แสนลานบาท) 2) การลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยลดการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ขนสงและ ครัวเรือน รวมทั้งสนับสนุนการใชพลังงานทดแทน โครงการที่สํา คัญ เชน โครงการพัฒนาเครื่องมือกลไกในการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจกของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม งบประมาณดาเนินงานป 2556-2561 จํานวน 9,899.84 ลานบาท (ป 2557 จํานวน 1,419.83 ลานบาท) ประกอบดวยกิจกรรม อาทิ การเพิ่มประสิทธิภาพการปองกัน ไฟปาและควบคุมหมอกควัน การพัฒนาตลาดฉลากคารบอน และการปลูกเสริมและฟนฟูพื้นที่ปาอนุรักษในเขตพื้นที่สวน 20 ปาเศรษฐกิจ เพื่อเปนแหลงดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด เปนตน 3) การบริหารจัดการภัยพิบัติและการบริหารจัดการน้ํา โดยเนนยุทธศาสตรเชิงรุก เชน การ จัดตั้งศูนยปฏิบัติการเพื่อสั่งการโดยตรงสูพื้นที่ประสบภัยไดอยา งทันทวงที รวมทั้งบูรณาการการลงทุนในโครงสราง พื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานใหสอดคลองกับแผนงานปองกันภัยพิบัติ โดยปจจุบัน รัฐบาลอยูระหวางการ ดําเนินโครงการระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา อยางยั่งยืน และระบบแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศไทย วงเงิน 291,000 ลานบาท ประกอบดวย 6 แผนงานหลัก คือ (1) การกอสรางอางเก็บน้ํา (2) การจัดทําผังการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่ปดลอมชุมชน (3) การปรับปรุงพื้นที่เกษตรเพื่อกักเก็บน้ําหลากชั่วคราว (4) การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลัก 20
สํานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). ยุทธศาสตรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2556-2561 ฉบับ ทบทวนสอดคลอ งกับ ยุทธศาสตรป ระเทศ (Country Strategy) และขอ มูลโครงการสํา คัญ (Flagship Project). เขา ถึง ได จ าก http://lib.mnre.go.th/book/yudtasat56-61.pdf. เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2557.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 37
(5) การจัดทําทางผันน้ํา และ (6) ระบบคลังขอมูลน้ํา 4) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานควบคูกับการรักษาสิ่งแวดลอม เปนปจจัยที่ชวยเชื่อมประสาน ยุทธศาสตรการเติบโตแบบสมดุล ไดแก การพัฒนาการวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิต และเชื่อมการสรางรายไดกับการรักษา สิ่งแวดลอม รวมทั้งการสรางจิตสํานึกความตระหนัก และสงเสริมการมีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม และธรรมชาติ ของประเทศ 5) นโยบายการเงินการคลังเพื่ อสิ่งแวดล อม โดยจั ดเก็บภาษีสิ่งแวดล อมเพื่อลดการปลอ ย มลพิษ ทั้งนี้เพื่อใหภาคเอกชนตระหนักถึงเรื่องการรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น รวมไปถึงการกําหนดนโยบายภาษีเพื่อลดการ ใชพลังงาน และสงเสริมใหมีการใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้น โดยปจจุบันกระทรวงการคลังอยู ระหว า งการร า งกฎหมายพระราชบั ญ ญั ติ มาตรการการคลั ง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ ง ประกอบด ว ย มาตรการ เช น ภาษี 21 สิ่งแวดลอม คาธรรมเนียมในการจัดเก็บสิ่งแวดลอม และสิทธิในการซื้อขายคารบอน 6) การพั ฒนาเมืองอุ ตสาหกรรมเชิงนิ เวศ ซึ่งเป นอุตสาหกรรมเพื่ อการเติบโตรูปแบบใหม (New Growth) ของไทยในอนาคต โดยรัฐบาลจะรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกํา หนดทิศทางการใชพลังงานใน ภาคอุตสาหกรรม และการใชพืชพลังงาน เพื่อสงเสริมการปลูกพืชพลังงานอยางเปนระบบในระยะยาว
ประชาคมอาเซี ย นกั บ ผลกระทบต อ ระบบราชการสํา หรั บ ประเทศไทย ระบบราชการในฐานะที่เปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการ ปรับตัวเพื่อรองรับตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะมีทั้งสวนราชการที่เกี่ยวของหลัก และสวนราชการที่เกี่ยวของในลําดับ รองลงไป แตอยางไรก็ตาม ในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจําเปนที่จะตองมีการศึกษา วิเคราะห และ ขับเคลื่อนไปพรอมกันอยางเปนระบบ มิเชนนั้น จะไดรับผลกระทบในหลายมิติทั้งประเด็นเรื่องความมั่นคงภายใน การ บริหารจัดการพื้นที่ การสื่อสารสราง และสรางความรูความเขาใจใหกับประชาชนในพื้นที่ จึงตองมีการปรับตัวดังตอไปนี้ 1) ปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (Non-traditional Security Issues) การเปนประชาคมอาเซียนจะสงผลกระทบทางออมใหเกิดปญหาความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional security) เชน ปญหายาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ การลักลอบนําเขาหรือการเคลื่อนยายสินคาผิดกฎหมาย เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้ เปนปญหาที่สามารถแอบแฝงมากับการลงทุน หรือการทําการคากับตางประเทศ 2) การบริหารงานทะเบียนราษฎร แมประชาคมอาเซียนจะมีการทําขอตกลงใหมีการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพอยางเสรีใน 8 สาขาวิชาชีพ คือ แพทย ทันตแพทย พยาบาล วิศวกรรม สถาปตยกรรม บัญชี การสํารวจ และนักการทองเที่ยว อยางไรก็ดี ในระยะเฉพาะ หน า การเตรียมความพร อมเขา สู ประชาคมอาเซียนของประเทศตา ง ๆ รวมทั้ ง ไทย จะส ง ผลใหเ กิ ดการลงทุน ด า น โครงสรางพื้นฐานขนาดใหญจากภาครัฐและเอกชน เชน ถนน ทาเรือ โรงงาน สถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น จึงเปน โอกาสใหเกิดการเคลื่อนยายของแรงงานตางดาวทั้งที่ถูก และผิดกฎหมายจากประเทศอื่นเขามาทํางานรับจางเปนแรงงาน ใหกับผูประกอบการภายในประเทศมากขึ้น ขณะเดียวกัน การเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรีในป 2558 ยังจะกอใหเกิด การยายถิ่นฐานของผูประกอบอาชีพตามขอตกลง เชน แพทย วิศวกรที่สามารถเขามาทํางานและพํานักในประเทศไทย มากขึ้น ดังนั้น งานทะเบียนที่เกี่ยวกับบุคคลภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย จึงได รับผลกระทบในแงการ บังคับใชใหเปนไปตามกฎหมาย และปองกันมิใหมีการแสวงหาประโยชนจากระบบทะเบียนและบัตรประจําตัวประชาชน 21
ณัฐญา เนตรหนิ. (6 กันยายน 2555). คลังเดินหนาจัดเก็บภาษีสิ่งแวดลอม-ปรับโครงสรางภาษีรถประหยัดพลังงาน. หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ Than Online เข า ถึงได จ ากhttp://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=140624&catid= 176&Itemid=524 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2557.
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 38
3) การจัดการความขัดแยงและการอํานวยความเปนธรรม บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต การพัฒนาทางเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอสังคมในดานตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตชุมชน ทําใหโครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น อาจไดรับแรงตอตานจากประชาชนที่อาจไดรับผลกระทบ ในพื้นที่กอนการกอสราง หรือประชาชนที่ไดรับผลกระทบภายหลังจากโครงการที่มีการดําเนินการแลวเสร็จ เชน จาก โรงงานหรือสถานประกอบการ เปนตน ดังนั้น กลไกการจัดการความขัดแยงระหวางภาครัฐ /ภาคเอกชนกับประชาชน หรือระหวางประชาชนดวยกันเอง จึงตองมีการเตรียมการเพื่อรับมือกับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น การกําหนด แนวทางการไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นอยางมีสวนรวมจึงเปนสิ่ งที่ตอง คํานึงถึงและเตรียมการ ซึ่งเปนภารกิจของฝายปกครองดวย ขณะเดียวกัน ยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนากลไกการ จัดการความขัดแยง และการอํานวยความเปนธรรมใหแกชาวตางชาติที่อาศัยอยูในประเทศไทย เชน ระบบรองเรียนหรือ รองทุกข ระบบการไกลเกลี่ยและประนีประนอมความขัดแยงระหวางบริษัทตางชาติกับประชาชนในพื้นที่เพื่อนําไปสู กระบวนการจัดการที่มีมาตรฐานในระดับสากล 4) การคาและการติดตอตามแนวชายแดน ประชาคมอาเซียนจะกอใหเกิดการขยายตัวของระบบการคาชายแดนขนาดใหญ เนื่องจาก การขจัดภาษี นําเขาระหวางประเทศสมาชิก ทําใหเกิดการขนถาย นําเขาวัตถุดิบ/สินคาจากประเทศอื่นที่มีตนทุนถูกกวา ดังนั้น พื้นที่ ชายแดนของจังหวัดที่มีการคาอยูแลวในปจจุบัน จึงมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมการคาขายกับประเทศเพื่อนบานใน ระดับที่สูงยิ่งขึ้น ในขณะที่พื้นที่จังหวัด หรืออําเภอที่มีพื้นที่ติดชายแดนที่ยังไมไดมีการเปดเปนดานการคา หรือจุดผาน แดนก็มีแนวโนมที่จะไดรับการสนับสนุนใหมีการยกระดับมากขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้น กรมการปกครองตองมีการเขาไปจัด ระเบียบสังคมและความสงบเรียบรอย พรอมทั้งเรงพัฒนาระบบการใหบริการใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น 5) การประกอบอาชีพของประชาชน ภายใตสภาพแวดลอมทางการคา การลงทุน การบริการ และการเคลื่อนยายแรงงานวิชาชีพเสรียอมเปนทั้ง โอกาสและผลกระทบสําหรับประชากรวัยแรงงานของไทยในพื้นที่ กลาวคือ หากประเทศมีประชากรวัยแรงงานที่มี คุณภาพ และมีความพรอมในการปรับตัวก็จะทําใหประชาชนไดรับประโยชนจากโอกาสในการประกอบอาชีพที่เปดกวาง จากการสามารถทํางานในตางประเทศ หรือการจางงานอันเกิดจากการขยายตัวของการลงทุนภายในประเทศ ซึ่งยอมเปน การยกระดับชีวิตความเปนอยูของตนได ในทางตรงข า ม การสู ญ เสี ย ความสามารถในการแข ง ขั น ในภาคการผลิ ต เช น ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมบางสาขา จะกอใหเกิดการเคลื่อนยายฐานการผลิต สินคาภายในประเทศจะถูกตีตลาดรวมทั้งการไม สามารถผลิตประชากรวัยแรงงานใหตรงตามความตองการของตลาดยอมทําใหสงผลตอการวางงานของประชาชนได โดย สินคาของประเทศอื่นในกลุมสมาชิกอาเซียนอาจเขามาในตลาดภายในของประเทศไทยมากขึ้นในราคาที่ต่ํากวา และ/หรือ คุณภาพดีกวานั้น อาทิ สินคาอุตสาหกรรม เชน ปโตรเลียม (จากมาเลเซียและเมียนมาร) เคมีภัณฑ ยางและพลาสติก (จากมาเลเซีย ) สวนสินคาเกษตร เชน ขาว (จากเวียดนาม) น้ํามันปาลม (จากมาเลเซี ย) กาแฟ (จากเวียดนามและ อินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพราว (จากฟลิปปนส) เปนตน ผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ยอมกอใหเกิดความตึงเครียด และปญหาสังคมอื่นตามมาได เชน การ ประทวงของเกษตรกร การสูญเสียรายได การถูกเลิกจางหรือเปลี่ยนอาชีพใหม ซึ่งฝายปกครองของเราก็จะตองเขาไป จัดการปญหาในพื้นที่ดวย ดังนั้น เพื่อเปนการเสริมสรางความอยูดีมีสุขใหแกประชาชนในพื้นที่ตามยุทธศาสตร หนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของโดยเฉพาะกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงตองไปเขาไปดําเนินการสงเสริมและสนับสนุน ศักยภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ําและปองกันปญหาการวางงานที่ อาจเกิดขึ้นอีกดวย
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 39
6) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาชนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําให อาเซียนปรับตัวใหเขากับมาตรฐาน อื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑ ระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แตละ ประเทศตองเคารพและยึดถือ ไดแก หลักประชาธิปไตยและหลักสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การปฏิบัติหนาที่ของรัฐบาล หนวยงานราชการ จะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวย โดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ํานี้อยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได 7) การสื่อสารสรางความเขาใจ และการตระหนักรูใหกัประชาชนในพื้นที่ เนื่องดวย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเปนหนวยงานที่มีการทํางานในเชิงพื้นที่และเขาถึงประชาชน จัดเปนจุดเดนของฝายปกครองอยางหนึ่ง ประเด็นนี้จึงมีความสําคัญมากที่จะตองจัดใหมีการสรางความรูความเขาใจใหกับ ประชาชนในพื้นที่อยางตอเนื่องดวยการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ เพื่อกระตุนใหประชาชนเห็นความสําคัญและ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งเปาหมายที่สําคัญที่สุด ก็คือ การสรางความตระหนักรูให ประชาชนถึงผลกระทบโดยตรงและโดยออมจากการเขาเปนประชาคมอาเซียน 8) การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประชาคมอาเซียนจะกระตุนใหเกิดการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม เชน เขตเศรษฐกิจแมสอด เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารและแสวงหาประโยชนทางเศรษฐกิจ ในอนาคตเขตเศรษฐกิจพิเศษอาจมีการขยายตัว มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ ซึ่งทําใหการบริหารความสัมพันธระหวางสวนกลางและสวน ภูมิภาคตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมสอดคลองกันไป ขณะเดียวกัน โอกาสในการพัฒนาไปสูเขตบริหารจัดการพิเศษ ของจังหวัดใหญ ๆ หรือการมีผูบริหารจังหวัดมาจากการเลือกตั้งก็จะไดรับแรงผลักดันดวยเหตุผลในเชิงเศรษฐกิจ และ ความสามารถในการแขงขันจากพื้นที่มากยิ่งขึ้น 9) เศรษฐกิจฐานราก ประชาคมอาเซียนยอมกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจโดยรวมตอเศรษฐกิจฐานรากทั้งทางตรงจากการคา การลงทุน และทางออมจากการทองเที่ยว และการยายถิ่นของนักลงทุนจากตางประเทศ นอกจากนี้ กลุมการผลิตระดับ ชุมชนในพื้นที่ เชน กลุม OTOP ยังสามารถไดรับประโยชน เชน การเขา ถึงตลาดและแหลงวัตถุดิบใหม ๆ การเปนหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับผูประกอบการ รวมทั้งการขยายความรวมมือแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันมากขึ้น 10) ความเหลื่อมล้ําทางสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในพื้นที่ชายแดน พื้นที่ที่เปนโรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ชุมชนจากการขยายตัวดานโลจิสติกส สามารถสงผลตอคุณภาพการพัฒนาโดยรวมนั่นคือ กอใหเกิดความเหลื่อม ล้ําทางสังคม โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบทางลบ เชน เกษตรกรที่สินคาถูกตีตลาดผูวางงาน หรือผูไมสามารถเขาถึง โอกาสการพัฒนาได เชน บุคคลดอยโอกาส บุคคลชายขอบ เปนตน 11) ภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาราชการอาเซียน จะทวีความสําคัญในการติดตอ การจัดการ และประสานงาน ระหวางรัฐกับรัฐกับประชาชน และระหวางประชาชนดวยกันภายในอาเซียน หากบุคลากรของกระทรวงมหาดไทยยังขาด ความรูและทักษะดานภาษาอังกฤษอยางเพียงพอก็ยอมสงผลตอการทํางานกับประเทศอื่น ๆ ได อันจะนํามาซึ่งการพลาด โอกาสในการสรางความรวมมือ/เก็บเกี่ยวประโยชน หรือสูญเสียผลประโยชนแหงชาติจากประชาคมอาเซียน นอกจากนี้
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 40
ความรูความเขาใจภาษาของประเทศเพื่อนบาน รวมทั้งดานขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศอื่น ๆ ยอมทําให เปนโอกาสของการสรางความรวมมือกันมากขึ้น 12) การสรางความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ประชาคมอาเซียนจะทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูบริหารระดับสูงในแตละพื้นที่มีความใกลชิดตอ กันมากขึ้น ดังนั้น ในสวนกระทรวงมหาดไทยโดยเฉพาะผูวาราชการจังหวัดจะมีบทบาทหรือสวนเกี่ยวของในการสราง ความสัมพันธระหวางประเทศมากขึ้น เชน ความรวมมือระหวางเมืองพี่ เมืองนอง/เมืองคูแฝดระหวางจังหวัดของประเทศ ตาง ๆ ในอาเซียน ทําใหกระทรวงมหาดไทยตองมีการปรับทักษะความสามารถดานการตางประเทศของบุคลากรให เหมาะสมและทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน 13) การสงเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ภายใตความเปนประชาคมอาเซียน ประเทศตาง ๆ ยอมตองการมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติตอกัน ระหวางประชาชน ไมวาจะเปนประชาชนของประเทศอาเซียน หรือประเทศนอกภูมิภาค เชน นักลงทุน พนักงานบริษัท ดังนั้น เมื่อประชาคมอาเซียนเปดกวางตอการเคลื่อนไหวของผูคนที่มากขึ้นก็ยอมตองทําใหอาเซียนปรับตัวใหเข ากับ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เปนสากลในลักษณะกฎเกณฑระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งคานิยมดวย ในปจจุบัน คานิยมสําคัญที่แต ละประเทศต อ งเคารพและยึ ดถื อ ได แ ก หลัก ประชาธิป ไตยและสิ ท ธิมนุ ษยชน ดั ง นั้น การปฏิบั ติ หน า ที่ ของรัฐ บาล หนวยงานราชการจะตองคํานึงถึงหลักดังกลาวดวยโดยในบางภาวการณก็อาจมีความขัดแยงกันได อาทิ ผูอพยพยายถิ่น โดยผิดกฎหมายที่อาศัยอยูในประเทศไทยก็จะตองไดรับการปฏิบัติขั้นต่ําตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล เชน สิทธิเด็ก สิทธิ ในการศึกษา และการรักษาพยาบาล ดังนั้น หนวยงานดานความมั่นคงที่เกี่ยวของจึงตองกําหนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเหลื่อมล้ําอยางเหมาะสม มิฉะนั้นแลว อาจกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอภาพลักษณของประเทศได
ป ญ หาและอุ ป สรรคที่ สํา คั ญ ของประชาคมอาเซี ย น 1. ประเทศสมาชิกอาเซียน มีสภาพภูมิศาสตรคลายคลึงกัน จึงมีสินคาเกษตร หรือแรธาตุที่คลายคลึงกัน บางครั้ง จึงมีการแยงตลาดกันเอง และสินคาสวนใหญเปนผลผลิตทางการเกษตรที่ยังไมไดแปรรูป ทําใหราคาสินคาตกต่ํา นโยบาย เขตการคาเสรีในภูมิภาคนี้ จึงดําเนินไปอยางชามาก จะแกไขปญหานี้ได จะตองมีการแบงการผลิตตามความถนัดของแต ละประเทศแลวนํามาแลกเปลี่ยนกัน จึงจะเกิดการรวมกลุมกันได แตถาตางคนตางผลิตโดยไมมีการกําหนดมาตรฐาน รวมกันในการวางแผนการผลิตก็ถือวา เปนปญหาใหญในการรวมกลุม 2. สินคาอุตสาหกรรมในกลุมอาเซียนนั้นก็เปนอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน แตละประเทศตางก็มุงจะพัฒนา ประเทศใหเปนประเทศที่พัฒนาแลวตามแบบอยางตะวันตก จึงตองมีการจัดซื้อเทคโนโลยีชั้นสูง ประเทศในกลุมอาเซียนที่ พอจะผลิตสินคาเทคโนโลยีไดก็คือ สิงคโปร แตประเทศสมาชิกก็เกี่ยงวา ยังไมมีคุณภาพ จึงจําเปนที่จะตองพึ่งพาสินคา จากประเทศอุตสาหกรรมนอกกลุมอาเซียน ทําใหการคาขายระหวางกันในกลุมอาเซียนทํา ไดยาก วิธีการแกไขจะตองมี การแบงงานกันทํา และยอมรับสินคาประเทศในภูมิภาคเดียวกัน รวมทั้งจะตองมีการพัฒนาคุณภาพสินคาภายในกลุม ประเทศอาเซียนใหดีขึ้น 3. ประเทศในอาเซียนตางพยายามพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศเพื่อทดแทนการนํา เขา แตละประเทศ พยายามสงเสริม พัฒนา และคุมครองอุตสาหกรรมในประเทศตน โดยการใชกํา แพงภาษี หรือกําหนดโควตา ซึ่งสวนทาง กับหลักการในการรวมกลุมและตลาดการคาเสรี ซึ่งเปนประเทศสมาชิกมารวมกลุมกันตองยกเลิกขอเลือกปฏิบัติทางการ คาระหวางประเทศเพื่อกอใหเกิดการคาเสรี (Free Trade) ดังนั้น ขอตกลงใน AFTA ของอาเซียนหลายขอจึงยังไมไดรับ การปฏิบัติ
ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น : ห น า | 41
4. ประเทศสมาชิกยังคงปกปองผลประโยชนแหงชาติของตนเปนหลัก และการหารายไดเขาของรัฐประเทศใน อาเซียนมีลักษณะเหมือนกัน คือ รายไดหลักของประเทศมาจากการเก็บภาษีศุลกากรสินคาขาเขา และขาออก ซึ่งการ รวมกลุมเปนประชาคมอาเซียนใหยกเลิกการเก็บภาษีระหวางกันหรือเก็บภาษีใหนอยลง แตประเทศสมาชิกไมสามารถ สละรายไดในสวนนี้ได เนื่องจาก เปนเงินที่ตองนํามาพัฒนาประเทศ การรวมกลุมเพื่อใหเกิดการคาเสรีระหวางประเทศใน ภาคีจึงยังทําไดยาก 5. ความแตกตางกันทางการเมืองและการปกครอง กฎบัตรอาเซียนไดกําหนดไวชัดเจนถึงหลักการประชาธิปไตย และใหประเทศสมาชิกยึดมั่นตอรัฐบาลที่มาจากวิถีทางรัฐธรรมนูญ การสรางประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จะชวยยกระดับความรวมมือในการสงเสริม ประชาธิปไตยของแตละประเทศ อันมีผลตอความสงบเรียบรอยทางการเมือง ในภูมิภาคดวย แตการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนมีหลากหลายรูปแบบ ประกอบดวย 5.1 แบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา มี 4 ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา สิงคโปร และมาเลเซีย 5.2 ประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดี 2 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย และฟลิปปนส 5.3 เผด็จการสังคมนิยมคอมมิวนิสต 2 ประเทศ คือ สปป.ลาว และเวียดนาม 5.4 เผด็จการทหาร 1 ประเทศ คือ เมียนมาร หรือพมา 5.5 สมบูรณาญาสิทธิราชย 1 ประเทศ คือ บรูไน จะเห็นไดวา สมาชิกในกลุมอาเซียนมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด สมาชิกบางประเทศยังมีปญหาดานความ เปนประชาธิปไตย และยังปกครองในรูปแบบเผด็จการ และตองการรักษาอํานาจของตนไว ทําใหอาเซียนพัฒนาไดอยาง ยากลําบาก 6. ความขัดแยงระหวางประเทศอาเซียน ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนยังมีปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ อยู เชน ปญหาพรมแดนระหวางประเทศไทย – กัมพูชา ปญหาพรมแดนระหวาง มาเลเซีย – ฟลิปปนส – อินโดนีเซีย 7. ความแตกตางดานสังคมและวัฒนธรรม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนดินแดน ซึ่งมีความหลากหลาย ทางเชื้อชาติศาสนา โดยสามารถแบงกลุมประเทศตามศาสนาที่ประชากรสวนใหญของประเทศนับถือได ดังนี้ - ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม คือ บูรไน อินโดนีเซีย และมาเลเซีย - ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ คือ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร เวียดนาม สิงคโปร และ ไทย - สวนในฟลิปปนส ประชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาคริสต นอกเหนือจากความแตกตางทางศาสนาแลว ปญหาชนกลุมนอยที่มีจํา นวนมาก ซึ่งแนนอนวา ยอมจะมีความ แตกตางทางความเชื่อ วิถีชีวิต ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ก็เปนอุปสรรคตอการหลอมรวมสรางความ เปนหนึ่งเดียว กระนั้น อุปสรรคจากการขาดศูนยกลางและผูนําก็เปนอีกปจจัยที่จะทําใหการเกิดประชาคมอาเซียนสําเร็จไดยาก 22 ในชวงตน ๆ ของการกอตั้งอาเซียนนั้น มีประเทศที่เปนแกนกลางหลักของอาเซียน หรือ “strategic centrality” ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย แตในระยะตอมาทั้งสามประเทศเผชิญปญหาภายในทั้งปญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจ จนไมมีศักยภาพที่จะเปนผูนําที่เขมแข็งได ทําใหอาเซียนตกอยูในสภาพที่ไรแกนนําในการขับเคลื่อนประชาคมในดาน ตาง ๆ ใหเปนรูปธรรม และคาดวา สภาพหลังจาก พ.ศ. 2558 ก็คงจะไมมีประเทศแกนนําที่มีความพรอมเปนผูนําใหแก อาเซียนได ซึ่งการขับเคลื่อนอาเซียนใหเปนประชาคมที่สมบูรณไดนั้น นอกจาก จะตองการความรวมมืออยางมากจาก สมาชิกแลว การมีประเทศแกนนําในการชักพาประเทศอื่น ๆ เขามารวมมือกันก็เปนปจจัยแหงความสําเร็จที่สําคัญ 22
Rizal SUKMA, Jakarta Paper presented at A Seminar on " ASEAN Cooperation: Challenges and Prospects in the Current International Situation" New York, 3 June 2003.