5 อาชญากรรมข้ามชาติรูปแบบยาเสพติด

Page 1

อาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด ป ญ หายาเสพติ ด เป น ป ญ หาที่ มี ค วามรุ น แรงต อ เนื่ อ งมาเป น เวลานาน ซึ่ ง มี ค วามพยายามในการปรั บ ปรุ ง กระบวนการดานการปองกัน และการแกไขจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนมาโดยตลอด และโดยที่การ กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมีรูปแบบการกระทําผิดในลักษณะขององคกรอาชญากรรมที่มีความซับซอน และทวี ความรุ นแรงมากยิ่ งขึ้ น ส งผลให การปราบปรามการกระทําความผิด เป นไปอย างยากลําบาก ดัง นั้น ภัยคุก คามจาก ยาเสพติดเปนภัยคุกคามภูมิภาคอาเซียนอยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่งเปนเพราะในภูมิภาคนี้ มีพื้นที่การผลิตยาเสพติดใหญ เปนลําดับตน ๆ ของโลก แหลงผลิต และชองทางการลําเลียงกระจายอยูในหลายประเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ ยาเสพติด ยังมีสวนเชื่อมโยงกับปญหาหลายดานดวยกัน เชน ปญหาการคามนุษย องคกรอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงปญหาความ เชื่อมโยงระหวางขบวนการคายาเสพติดกับกลุมผลประโยชนในพื้นที่ ทําใหระดับปญหายังคงอยูอยางตอเนื่อง อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด มีลักษณะพิเศษตางจากอาชญากรรมทั่วไป กลาวคือ เปนการกระทํา โดยอาชญากรรมที่ รวมตัว กัน เป นองคก ร มีก ระบวนการทํา งานลั บ และมีก ารแบง หน าที่ และสายงานบัง คับ บั ญ ชา ตามลําดับ ซึ่งมีการปดบังการกระทําความผิดอยางซับซอน การสืบสวนสอบสวนของเจาหนาที่เพื่อดําเนินคดีกับผูกระทํา ผิด จึงไมสามารถพิสูจนความผิดของตัวการสําคัญได โดยสวนใหญจะเปนการจับกุมผูคารายยอยในความผิดฐานนําเขา สงออก จําหนาย หรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนาย ดังนั้น ในการรวบรวมพยานหลักฐานของเจาหนาที่ที่ทําการสืบสวน จึงมีการนําเทคนิคการสืบสวนพิเศษมาใชในการดําเนินการดวย สําหรับประเทศไทยไดมีความรวมมือดานยาเสพติดกับประเทศเพื่อนบานทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคีในดาน การปองกันและปราบปรามยาเสพติด และในกรอบอาเซียน รัฐบาลไทยกําหนดประเด็นปญหายาเสพติดวา เปนปญหา ความมั่นคงในภูมิภาค เพราะหากเยาวชนผูจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และภูมิภาคกลายเปนบุคคลไร สมรรถภาพทางสติปญญา อันเปนผลเนื่องจากการติดยาเสพติด การพัฒนาประเทศใหเติบโตเทาเทียมกับประเทศตะวันตก นั้นคงจะเปนเรื่องายาก ที่ประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนจึงไดประกาศเจตนารมณใหภูมิภาคอาเซียนปลอดยาเสพติดในป 2558 (Drug Free 2015) โดยกําหนดแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบผลิต การคา และการเสพยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกใชเปนแนวทางในการทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ซึ่งที่ผานมา พบวา พื้นที่ปลูกพืชยาเสพติดลดลง การจับกุมผูลําเลียงยาเสพติดบางประเทศลดลง และในขณะเดียวกัน บางประเทศก็เพิ่มขึ้น พบการทําลายโรงงานผลิตยา เสพติด บางประเทศผูใชยาเสพติดประเภทฝน กัญชา มีจํานวนเทาเดิม สวนใหญผูใชสารเสพติดในกลุมแอมเฟตามีน (ATS) (Amphetamine–type stimulants) ไดแก เมแอมเฟตามีน/ไอซ แอมเฟตามีน non-specified amphetamines และกลุมเอ็กซตาซี มีจํานวนเพิ่มขึ้น จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 21 ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 3-4 เมษายน 2555 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ทีผ่ านมา ไดรับรองปฏิญญารวมของผูนําประเทศอาเซียน ในการเปนอาเซียนที่ปลอดยาเสพติดในปพ.ศ. 2558 ทั้งนี้ อาเซียนไดประกาศวิสัยทัศนการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2563 และตอมา ผูนํา ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นพองที่จะเลื่อนปเปาหมายของการใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติดใหเร็วขึ้นอีก 5 ป เปนป พ.ศ. 2558 และไดนิยามการเปน “ประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด” วาคือ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถ ควบคุมปญหายาเสพติดไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ โดยไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตที่เปนปกติสุข ของสังคม และจะทําอยางไรเพื่อใหบรรลุตามเปาประสงคในการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนไดนั้น เปนประเด็นที่ ทาทาย รอเราอยูขางหนา ตางทํางานในการแกไขปญหายาเสพติดเชนเดียวกัน การตอสูกับปญหายาเสพติดในฐานะ อาเซียนที่เปนเสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน โดยเราจะรวมกันเปนประชาคมอาเซียน ภายใน ป พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนป


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 108

เปาหมายเดียวกับการเปนประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ผานการสรางความเชื่อมโยงกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) นั่นหมายถึง การเปดพรมแดน เพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายคนในภูมิภาคอยางเสรี ซึ่งเราควรจะไดตระหนัก ถึงผลกระทบเชิงลบจากการเชื่อมโยงดังกลาวดวย การสกัดกั้นยาเสพติดบริเวณพรมแดนถือเปนองคประกอบหนึ่งในการ สกัดการลักลอบขนยาเสพติดเขามาในประเทศ หรือ ออกไปสูประเทศที่สาม ไมเพียงแคนั้นยังควรรวมมือกันในการลด อุปสงคยาเสพติดอีกดวย เพื่ออนาคตของลูกหลานไมใหตกเปนเหยื่อของยาเสพติดในฐานะรัฐบาลไทย มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหมีการเตรียมความพรอมของประเทศไทย เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 และมอบหมายสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดมีการประชุมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน ป 2558 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2555 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานการประชุม ที่ประชุมมอบหมายใหมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานในแต ละยุทธศาสตรใหกําหนดเปาหมาย ระยะเวลา และงบประมาณที่จะทําใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด พรอมกับระบุโครงการ ที่มีความสําคัญระดับตน (Flagship Projects) ตามกรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ป 2558 เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป

สภาพปญหายาเสพติด ในชวงของการรวมตัวเปนสมาคมอาเซียนในระยะแรกระหวางป 2510-2520 ปญหาสําคัญที่ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตประสบอยูปญหาหนึ่ง คือ ปญหาการลับลอบผลิต ยาเสพติด การลักลอบคายาเสพติด และการแพร ระบาดของยาเสพติด ซึ่งยังคงมีอยูอยางตอเนื่องมากกวา 30 ปกอนที่จะมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน โดยรูปแบบของปญหา ยาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามสภาพการณแวดลอม และปจจัยที่เอื้ออํานวย ชวงระยะแรก เมื่อมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน สภาพปญหายาเสพติดที่ เปนปญหา ถือวา มีความรุนแรงใน ภูมิภาคอาเซียน คือ ปญหาการลักลอบปลูกพืชเสพติด คือ ฝน และการลักลอบผลิตเฮโรอีนในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา (Golden Triangle) ซึ่งเปนพื้นที่ติดตอกันของ 3 ประเทศ คือ เมียนมาร ลาว และไทย พื้นที่ปลูกฝนในบริเวณสามเหลี่ยม ทองคํามี กวา 150,000 เฮคตาร และใหผลผลิตฝนประมาณ ปละ 2,000-2,500 ตัน การปลูกฝนจะดําเนิน การโดย ชนกลุมนอย และชาวเขาที่อาศัยอยูบนพื้นที่สูง เพราะนอกเหนือจากการปลูกฝน เพื่อยังชีพแลว ฝนยังเกี่ยวของกับสังคม และวัฒนธรรมของชนเผาอีกดวย นอกจากนี้ ยังพบการลักลอบปลูกกัญชาในหลายพื้นที่ โดยเมื่อ 30 ปกอน กัญชาปลูก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว อินโดนีเซีย และฟลิปปนส เนื่องจาก เปนพืชที่สามารถเติบโตไดในทุกสภาพ อากาศ ทําให มีการกระจายตัวของการลัก ลอบปลูกกัญชาในหลายประเทศสมาชิกอาเซียน อีกทั้งประเทศไทย และ ประเทศอาเซียนอื่น ๆ คือ มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ตางถูกใชเปนจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยมทองคํา กอน จะถูกลักลอบตอไปยังประเทศที่สามในทวีปยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ป 2519 ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นวา ปญหายาเสพติดเปนภัยคุกคามตออาเซียน และภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยรวมที่จําเปนที่จะตองรวมมือกันขจัดยาเสพติดใหหมดไปจากภูมิภาค จึงไดประกาศปฏิญญาอาเซียนวาดวย หลักการในการตอตานการใชยาเสพติดในทางที่ผิด (ASEAN Declaration of Principles to Combat the Abuse of Narcotic Drugs) ซึ่งมีหลักการวา ประเทศสมาชิกอาเซียนแตละประเทศจะเพิ่มความระมัดระวัง และมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลับลอบคายาเสพติด จัดใหมีความรวมมือในดานการวิจัย และศึกษาเกี่ยวกับยาเสพติด ตอมา สภาพปญหาไดเปลี่ยนแปลงจากปญหายาเสพติดที่สกัดจากพืช มาเปนยาเสพติดประเภทสารสังเคราะห โดยปญหาการ ปลูกฝนในภูมิภาคลดลงทั้งในประเทศไทย เมียนมาร และลาว เนื่องจาก พยายามในการแกไขปญหายาเสพติด แตพบวา สารกระตุนประสาทประเภทเมทแอมเฟตามีน (Methamp hetamine Type Stimulants : ATS) ซึ่งเปนสารกระตุน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 109

ประสาทที่เรียกวา วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (psychotropic substance) เริ่มเขามาแพรระบาดในภูมิภาค อาเซียนใน ป 2532 และประมาณป 2540 เริ่มมียาเสพติดจากนอกภูมิภาค เชน โคเคน จากทวีปอเมริกาใต เอ็กซตาซี หรือยาอี จากประเทศในยุโรป ในปจจุบันตั้งแตป 2550 เปนตนมา พบวา มีไอซ หรือคริสตัลเมทแอมเฟตามีนจากประเทศ ในยุโรปเขามาแพรระบาด และมีการลักลอบคาในภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น และในระยะ 2-3 ปที่ผานมา พบวา มีความพยายาม ที่จะผลิตไอซในภูมิภาคอาเซียนดวย

สถานการณยาเสพติดในประเทศอาเซียน การใชยาเสพติดในกลุม AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS) /สารกระตุนจิตและประสาทในประเภท แอมเฟตามีน ซึ่งรวมไปถึงเมทแอมเฟตามีน หรือยาบา และ ICE ดวย โดยเฉพาะเมทแอมเฟตามีน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นใน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยยาบาเปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศไทย และ สปป.ลาว และเปนยาเสพติดอันดับสองในประเทศกัมพูชา และเวียดนาม สวน ICE เปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย และฟลิปปนส การผลิตยาเสพติดในกลุม ATS ยังคงอยูในระดับสูง โดยกลุมวาและโกกั้ง ซึ่งเปนชนกลุมนอยในประเทศ เมียนมารเปนกลุมผูผลิตหลัก (ยาบา) ในภูมิภาค และใน 2555 สามารถจับกุมโรงงานผลิต ICE เปนครั้งแรก การจับกุมยาเสพติดในกลุม ATS ในป พ.ศ. 2554-2555 ยังอยูในระดับสูงและมีการจับกุม ICE ไดเพิ่มขึ้น โดย ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย รายงานวา มีการจับกุม ICE ไดมากกวา 1 ตัน และประเทศกัมพูชา และสิงคโปร ก็ มีการจับกุม ICE เพิ่มมากขึ้นเชนกัน สําหรับยาอี มีจํานวนลดลงในชวงไมกี่ปที่ผานมา และในระดับโลกมีสัญญาณวา ยาอี จะกลับมาอีกครั้ง สําหรับกลุมนักคาแอฟริกันตะวันตก ลักลอบนําโคเคนมาขายในเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต มากขึ้น มีการจับกุมโคเคนจํานวนมากไดในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศกัมพูชา ฟลิปปนส เวียดนาม ฮองกง และจีน กลายเปนประเทศทางผานของโคเคนที่สําคัญ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็มีการจับกุมโคเคนไดเพิ่มขึ้น เชนกัน โดยกลุม แอฟริกาตะวันตก เดิมจะลักลอบลําเลียงโคเคน และเฮโรอีนเปนหลัก แตปจจุบันเริ่มลักลอบลําเลียงเมทแอมเฟตามีนมาก ขึ้น ซึ่งมีรายงานจากประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ญี่ปุน ลาว มาเลเซีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส ไทย และเวียดนาม สําหรับกลุมนักคาชาวอิหรานลักลอบลําเลียง ICE ยาเสพติดอื่น ๆ เขามาในภูมิภาค และจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษา การติดยาเสพติดในกลุม ATS มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ในกลุมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ อาจกลาวไดวา ไมมีประเทศไหนที่ไมมีปญหายาเสพติด แมกระทั่ง ประเทศสิงคโปร ซึ่งมีบทลงโทษที่รุนแรง เนื่องจาก กลุมประเทศอาเซียนมีแหลงผลิตยาเสพติดขนาดใหญ คือ พื้นที่ สามเหลี่ ยมทองคํ า ซึ่ ง เป น แหล ง ผลิ ตฝ น อั น ดั บ สองของโลก นอกจากนั้ น ยัง เป น แหล ง ผลิ ต เฮโรอี น ICE และยาบ า (AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS)) ซึ่งยาเสพติดที่ผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไดกระจายไปยังประเทศ อาเซียนทุกประเทศ นอกจากนี้ การผลิตยาเสพติด ในภูมิภาคเองแลว อาเซี ยนยัง เผชิญกั บปญหาการลั กลอบนําเข า ยาเสพติดจากภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะ ICE จากแอฟริกา และโคเคนจากอเมริกาใต สําหรับปญหายาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน แบงออกไดเปน 3 กลุมหลัก ๆ คือ 1. ประเทศที่มีสถานะเปนผูผลิตยาเสพติด ไดแก เมียนมาร ซึ่งเปนผูผลิตฝน เฮโรอีน ยาบา และ ICE 2. ประเทศที่มีสถานะเปนทางผานยาเสพติด หรือเปนเสนทางลําเลียงยาเสพติดจากแหลงผลิตในเมียนมาร ไปยังประเทศอื่น ๆ ไดแก ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ 3. ประเทศที่มีสถานะเปนผูบริโภค หรือเปนแหลงแพรระบาดยาเสพติด เชน ไทย ฟลิ ปปนส อินโดนีเซีย มาเลเซีย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 110

ซึ่งในแตละประเทศอาจมีหนึ่ง หรือสองสถานะรวมกัน นอกจากนั้น ยังมีอีก 2 ประเทศที่มีปญหายาเสพติดนอย คือ ประเทศสิงคโปร และบรูไน

1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม

ประเทศบรูไน แบงการปกครองเปน 4 เขต มีกรุงบันดาร เสรี เบกาวัน เปนเมืองหลวง การปกครองเปนแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และภาษาจีน บรูไน เปนประเทศเล็ก ๆ ที่มีปญหาคอนขางนอย สถานะเปนผูบริโภคยาเสพติดเปนประเทศที่ไมมีปญหาการ ผลิตยาเสพติดภายในประเทศ และไมมีปญหาเครือขายการคาที่สํา คัญ หรือเครือขายการคาขามชาติ ที่เคลื่อนไหวใน ประเทศ ยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศ คือ ICE และมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้น รองลงมาเปนกัญชา คีตามีน วัตถุ ออกฤทธิ์ฯ และสารระเหย โดยรายงานของ UNODC ระบุวา ใน พ.ศ. 2554 มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 183 คน เปนผูใช ICE รอยละ 96 และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด ทั้งสิ้น 588 คน เปนคดี ICE รอยละ 87 ของกลางที่ยึดได ไอซ 0.78 กิโลกรัม ยาอี 349 เม็ด กัญชา 0.58 กิโลกรัม คีตามีน 0.39 กิโลกรัม และไนเมตาซีแฟม 1,495 เม็ด สวนในป พ.ศ. 2555 (มกราคม-กันยายน) มีการจับกุมผูตองหาคดียาเสพติดได 296 คน ICE 4.7 กิโลกรัม กัญชา 615 กรัม อีริมินไฟว 545 เม็ด และคีตามีน 396 ขวด

2. ราชอาณาจักรกัมพูชา

ประเทศกัมพูชา แบ งการปกครองออกเป น 20 จังหวัด 4 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุ งพนมเปญ การ ปกครองเปนแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญใชภาษาเขมรเปนภาษา ราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ กัมพูชา มีสถานะเปนทางผานยาเสพติดหลายชนิด ทั้ง เฮโรอีน ICE และยาบา จากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไปยังประเทศที่สาม และยังเปนทางผาน ICE จากแอฟริกา โคเคนจากอเมริกาใต นอกจากนั้น ยังมีการผลิต ICE และสาร ตั้งตนซาฟโรล (สําหรับผลิต ICE หรือยาอี) ซึ่งปจจุบัน กัมพูชาถูกใชเปนฐานการคาของเครือขายนักคายาเสพติดชาว แอฟริกา ซึ่งกระจายยาเสพติดไปยังประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูถูกจับคดียาเสพติดทั้งสิ้น 2,381 คน เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่จับกุมได 864 คน ของกลาง ยาบา 238,994 เม็ด ICE 19.1 กิโลกรัม ยาอี 7,855 เม็ด กัญชา 210.2 กิโลกรัม โคเคน 1.1 กิโลกรัม และ เฮโรอีน 2.1 กิโลกรัม สวนในป 2555 (มกราคม-มิถุนายน) มีรายงานการจับกุมคดียาเสพติดทั่วประเทศ จํานวน 524 คดี ของกลาง ยาบา 47,041 เม็ด ICE 17.2 กิโลกรัม และโคเคน 29.4 กิโลกรัม ดานการแพรกระจายของยาเสพติด อาจกลาวไดวา กัมพูชาเปนอีกประเทศหนึ่งในกลุมอาเซียนที่มีปญหาการ แพรระบาดของยาเสพติดอยูในระดับปานกลาง แมทางการกัมพูชาจะระบุวา มีผูเสพเพียง 6,000 คน แตจากการประเมิน ขององคกรเอกชน และ UNODC ประมาณการวา อาจมีผูเสพยาเสพติดมากถึง 500,000 คน หรือประมาณ รอยละ 4 ของประชากรทั้งหมด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE รองลงมาเปน ยาบา และมีแนวโนมแพรระบาดเพิ่มขึ้น

3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ประเทศอินโดนีเซีย แบงการปกครองออกเปน 30 จังหวัด 2 เขตปกครองพิเศษและ 1 เขตนครหลวง เมือง หลวง คือ กรุงจาการตา มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข และหัวหนา ฝาย อินโดนีเซีย มีสถานะเปนประเทศผูบริโภค แตมีปญหายาเสพติดหลายประการ ทั้งเปนแหลงยาเสพติด เปน แหลงคา และแหลงแพรระบาด โดยเฉพาะดานปญหาการแพรระบาดที่มีปญหาคอนขางมาก จากสถิติ ป พ.ศ. 2554 ระบุ วา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 9,870 คน สวนใหญเขารับการบําบัดรักษา ICE และยาอี และมีผูจับกุมคดียาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 111

15,766 คนของกลางที่ยึดได ICE 1,163.3 กิโลกรัม ยาอี 1,096,249 เม็ด วัตถุออกฤทธิ์ฯ 684,819 เม็ด กัญชา 20,260 กิโลกรัม เฮโรอีน 28.8 กิโลกรัม และคีตามีน 49.3 กิโลกรัม และมีรายงานขอมูลการประมาณการจํานวนผูเสพยาเสพติด ในประเทศวา มีอยูประมาณ 4.1 ลานคน หรือประมาณ รอยละ 2 ของประชากร และมีการเพิ่มสูงขึ้นในรอบ 2-3 ปที่ผาน มา โดยเฉพาะในครึ่งปแรกของป 2554 ที่มีอัตราการเพิ่มของอาชญากรรมยาเสพติดประมาณรอยละ 67 เมื่อเปรียบเทียบ กับหกเดือนกอนหนา การแพรระบาดมีทั้งในเมือง และตามหมูบานในชนบท ผูเสพมีอายุตั้งแต 15-39 ป และกลุมผูใชที่ เปนเยาวชนเพิ่มมากขึ้น ยาเสพติดที่แพรระบาดมากที่สุด คือ ICE เฮโรอีน และคีตามีน ปญหายาเสพติด ของประเทศอิ นโดนี เซี ย จัด อยู ในระดับ รุน แรง ซึ่ง ปจจัยที่ส งผลต อสถานการณป ญหา ยาเสพติด ในประเทศอินโดนีเซีย คือ กลุมการคายาเสพติด และเครือขายการคา ซึ่งประกอบดวยหลายชนชาติ เชน กลุม อิหราน แอฟริกัน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน จีน ไทย ไตหวัน และอินเดีย

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

สปป.ลาว แบงการปกครองเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ เมืองหลวง คือ นครหลวงเวียงจันทน มี ระบอบการปกครองเปนแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต ใชภาษาลาวเปนภาษาราชการ สปป.ลาว มีสถานะเปนประเทศทางผานยาเสพติดสําคัญของประเทศพมามายังประเทศไทย เวียดนาม และ กัมพูชา กอนที่จะสงตอไปยังประเทศอื่น ๆ นอกจากนั้น ยังเปนทางผานสารตั้งตนเขาสูแหลงผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยม ทองคํา และเปนประเทศที่ผลิตกัญชามากที่สุดในอาเซียน รวมทั้งยังเปนประเทศที่มีการปลูกฝนในพื้นที่ทางตอนเหนือของ ประเทศ จากรายงานยาเสพติดประจําปของกระทรวงยุติธรรมประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา ลาวเปนทางผานยาเสพติด ที่สําคัญของยาเสพติดในภูมิภาคอาเซียน โดยในป พ.ศ. 2555 สปป. ลาว มีการจับกุมยาเสพติด จํานวน 1,223 คดี ยึด ของกลางได ยาบา 10 ลานเม็ด เฮโรอีน 45 กิโลกรัม และกัญชา 2.8 ตัน ปญหายาเสพติดของ สปป.ลาว อยูในระดับปานกลาง แตในสวนของการแพรระบาด สปป.ลาว เริ่มประสบ กับปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในประเทศมากขึ้น ในป พ.ศ. 2553 รัฐบาล สปป.ลาว ประเมินวา มีผูเสพยาบา ประมาณ 42,000 คน และมีผูเสพฝนประมาณ 14,000 คน และจากรายงานของ UNODC ระบุวา ในป พ.ศ. 2554 สปป. ลาว มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,554 คน โดยรอยละ 98 เปนผูใชยาบา มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 1,749 คน ของ กลางประเภทยาบา 4,609,729 เม็ด กัญชา 1,617.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 43.4 กิโลกรัม และฝน 63.4 กิโลกรัม ยาเสพติดที่ แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา รองลงมาเปนกัญชา และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น

5. มาเลเซีย (Malaysia)

มาเลเซี ย แบง การปกครองออกเป น 13 รั ฐ เมื อ งหลวง คื อ กรุ ง กั ว ลาลั มเปอร มีก ารปกครองระบอบ ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ใชภาษามาเลยเปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และจีน มาเลเซียเปนประเทศทางผานยาเสพติดที่สําคัญ ดังนั้น จึงจัดอยูในสถานะของประเทศผูบริโภค สถานการณ ยาเสพติดอยูในภาวะที่เกือบจะควบคุมได แตอยางไรก็ตาม มาเลเซียยังมีปญหาการเปนทางผานของเฮโรอีน ICE จากพื้นที่ สามเหลี่ยมทองคํา นอกจากนั้น กลุมนักคายาบางกลุมเขาไปใชมาเลเซียเปนฐานในการผลิต ICE และเอ็กซตาซี รวมทั้ง กลุมนักคายาชาวแอฟริกา และอิหรานใชเปนฐานในการลักลอบนํา ICE และโคเคนเขามาจําหนายในภูมิภาคอาเซียน ปญหายาเสพติดภายในประเทศมาเลเซีย อยูในระดับปานกลาง ยาเสพติดที่มีการแพรระบาดมาก คือ กัญชา ICE เอ็กซตาซี และวัตถุออกฤทธิ์ฯ แตมีแนวโนมลดลงในป พ.ศ. 2554 มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 160,879 คน สวนใหญ เปนคดีเฮโรอีน และ ICE ของกลาง 1,235.6 กิโลกรัม ยาบา 364,909 เม็ด เฮโรอีน 755.5 กิโลกรัม กัญชา 1,055 กิโลกรัม กระทอม 1,440.4 กิโลกรัม ยาแกไอ 1,537.7 ลิตร วัตถุออกฤทธิ์ฯ 1,773,875 เม็ด เอ็กซตาซี 98,751 เม็ด คีตา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 112

มีน 202.5 กิโลกรัม ฯลฯ และมีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 4,403 คน โดยรอยละ 83 เขาบําบัดการติดเฮโรอีน รัฐบาล มาเลเซียประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1,050,000 คน

6. สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร

เมียนมาร แบงการปกครองออกเปน 7 เขต 7 รัฐ เมืองหลวง คือ เมืองเนปดอ (Naypyidaw) ใชภาษาพมา เปนภาษาราชการ เมียนมารมีสถานะเปนประเทศผูผลิตยาเสพติดหลักในภูมิภาค ซึ่งมีการผลิตทั้งฝน เฮโรอีน ยาบา ICE และ เปนแหลงผลิตขนาดใหญที่สงผลกระทบทั้งภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งอี กหลายประเทศในโลก ในอดีตเมียนมารเปนแหลง ผลิตฝน และเฮโรอีนอันดับหนึ่งของโลก ปจจุบัน เปนอันดับสองของโลก รองจากอัฟกานิสถาน มีผลผลิตฝนประมาณรอย ละ 20 ของผลผลิตฝนทั้งโลก ปจจุบันเมียนมารเปนแหลงผลิตยาบา และ ICE ขนาดใหญ สําหรับยาบาเปนการผลิตเพื่อสง ตลาดในประเทศไทยเปนหลัก สวน ICE สงเขาไทย และประเทศในกลุมอาเซียน รวมทั้งสงไปยังประเทศปลายทางอื่น ๆ สถานการณปญหายาเสพติดในประเทศอยูในระดับรุนแรง แตในดานการแพรระบาด เมียนมารเปนประเทศ ที่ประสบกับปญหาแพรระบาดนอยกวาประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ เนื่องจาก ประชาชนยังยากจนไมมีเงินเพียงพอที่จะซื้อ ยาเสพติดมาเสพ ยกเวนการเสพฝนในพื้นที่เพาะปลูก องคกรเอกชนในเมียนมารประเมินวา มีผูเสพในเมียนมารประมาณ 300,000 คน ส วนใหญ จะเปน เยาวชนในพื้น ที่เ มื อง และผู ใช แ รงงานตามเหมื อ งแร ในเขตอิท ธิพ ลของชนกลุ มน อ ย ยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน และฝน แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน ยาบา ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดย ในป พ.ศ. 2554 มีการรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 1,550 สวนใหญเขารับการบําบัดเฮโรอีน และฝน ดานการจับกุมคดียาเสพติด ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานผูถูกจับคดียาเสพติด 3,691 คน สวนใหญเปนคดี ยาบา และเฮโรอีน ของกลาง ยาบา 5,894,188 เม็ด ICE 33.4 กิโลกรัม เฮโรอีน 42.4 กิโลกรัม ฝน 1,169.9 กิโลกรัม ฯลฯ สวนในป 2555 มีรายงานผลการจับกุมคดี ยาเสพติด 2,457 คดี ของกลาง ฝน 1.3 ตัน เฮโรอีน 147 กิโลกรัม และ ยาบา 15.9 ลานเม็ด อาจกลาวไดวา การผลิตยาเสพติดของเมียนมาร สงผลกระทบตอสถานการณปญหายาเสพติดเกือบ ทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทยที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด เนื่องจาก เปนตลาดขนาดใหญของเมท แอมเฟตามีนจากเมียนมาร (ยาบา และ ICE)

7. สาธารณรัฐฟลิปปนส

ฟลิปปนส แบงการปกครองออกเปน 17 เขต เมืองหลวง คือ กรุงมะนิลา มีการปกครองแบบสาธารณรัฐเดี่ยว ระบบประธานาธิ บดีเปนประมุข ภาษาที่ใชมีมากถึ ง 170 ภาษา แตภาษาทางราชการ คือ ภาษา ฟลิปปน สโน และ ภาษาอังกฤษ ฟลิปปนสมีสถานะเปนประเทศผูบริโภคยาเสพติด สถานการณการแพรระบาดอยูในระดับรุนแรง ฟลิปปนส ประสบปญหาการแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีน (ICE) และกัญชา ซึ่ง UNODC ประเมินวา ฟลิปปนสเปนประเทศที่มี การแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีสูงที่สุดในประเทศกลุมอาเซียนดวยกัน โดยในป 2544 ประมาณการวา มีผูเสพเมท แอเฟตามีนประมาณ รอยละ 2.1 ของประชากรที่มีอายุตั้งแต 16-64 ป นอกจากนั้น เครือขายการคาในฟลิปปนสมี ลักษณะเปนเครือขายอาชญากรรมขามชาติระหวางเครือขายนักคาชาวจีน และนักคาชาวฟลิปปนส ซึ่งทางการฟลิปปนส รายงานวา ประมาณรอยละ 30 ของคดีที่อยูในการพิจารณาของศาลเปนคดียาเสพติด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น รองลงมาเปนกัญชา แตมีแนวโนมลดลง ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 3,040 คน เปนผูเขารับการบําบัดรักษาการติด ICE 2,192 คน รองลงมาเปนกัญชา 903 คน และสารระเหย 166 คน และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 10,636 คน ของ กลาง ICE 254.3 กิโลกรัม ICE น้ํา 173.4 ลิตร กัญชา 596.5 กิโลกรัม และโคเคน 17.8 กิโลกรัม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 113

8. สาธารณรัฐสิงคโปร

สิงคโปร เปนประเทศเล็ก ๆ อยูทางตอนใตของประเทศมาเลเซีย เมืองหลวง คือ สิงคโปร การปกครองเปน ระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา คือ ภาษาจีนกลาง สิงคโปร เปนประเทศที่อยูในสถานะผูบริโภค ประสบกับปญหายาเสพติดนอยที่สุดในภูมิภาค เนื่องจาก มี ปญหาของการคา และการแพรระบาดนอยมาก จนรัฐบาลกลาววา เปนประเทศที่ไม มีปญหายาเสพติด และไมเป น ประเทศแหลงผลิต และไมมีเครือขายที่สําคัญเคลื่อนไหวในประเทศยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน รองลงมา เปน ICE โดยทั้ง 2 ตัวยามีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,245 คน เปนผูใชเฮโรอีน 558 คน และ ICE 549 คน สําหรับการจับกุมคดียาเสพติดในสิงคโปร มีสถิติจับกุมคอนขางนอยเชนกัน โดยในป พ.ศ. 2554 มีผูถูก จับกุมคดียาเสพติดเพียง 3,326 คน ของกลาง ICE 14.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 72.7 กิโลกรัม และยาบา 772 เม็ด สวนในครึ่ง ปแรกของป พ.ศ. 2555 มี การจับกุ ม คีตามีน 1.8 กิ โลกรัม กั ญชา 9 กิโลกรัม ICE 9.4 กิ โลกรัม และเฮโรอีน 44.8 กิโลกรัม

9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

เวียดนาม แบงการปกครองออกเปน 59 จังหวัด 5 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุงฮานอย มีการปกครอง ระบบสังคมนิยมโดยพรรคคอมมิวนิสต เปนพรรคการเมืองเดียว ใชภาษาเวียดนามเปนภาษาราชการ เวียดนามเปนประเทศทางผานยาเสพติด ทั้งเฮโรอีน ICE กัญชา และโคเคน ปญหายาเสพติดของเวียดนาม อยูในระดับปานกลาง ปจจุบันเครือขายการคายาเสพติดเริ่มมีการใชเวียดนามเปนฐานในการคามากขึ้น ยาเสพติดที่แพร ระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน แตมีแนวโนมลดนอยลง รองลงมาเปน ICE ยาบา และยาอี ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เวียดนามประสบกับปญหาการแพรระบาดของเฮโรอีน โดยในครึ่งปแรกของป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผู เสพประมาณ 150,000 คน สวนใหญเปนผูเสพเฮโรอีน แตมีผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 16,000 คน โดย 9,400 คน เขา รับการบําบัดรักษาในระบบบังคับ และ 6,600 คน บําบัดรักษาในชุมชน มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 26,680 คน ของกลาง ยาบา 366,000 เม็ด กัญชาสด 7.1 ตัน กัญชาแหง 500 กิโลกรัม เฮโรอีน 309 กิโลกรัม กับ 36 แทง สวนในป 2555 มี การจับกุมยาบาได 13,022 เม็ด และเฮโรอีน 45 กิโลกรัม ในครึ่งปแรก รัฐบาลเวียดนามประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติด ประมาณ 171,400 คน

10. ราชอาณาจักรไทย

ประเทศไทยแบงการปกครองออกเปน 77 จังหวัด เมืองหลวง คือ กรุงเทพมหานคร มีการปกครอง ระบบ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ใชภาษาไทยเปนภาษาราชการ ประเทศไทยเปนประเทศที่อยูใ นสถานะของประเทศผูบ ริโภค มีปญหาการแพรระบาดของยาเสพติ ด คอนขางสูง ในป 2553 มีการประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1.2 ลานคน นอกจากนั้น ยังเปนทางผานของ ยาเสพติดทั้งเฮโรอีน และ ICE จากเมียนมารไปยังประเทศที่ 3 โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา และมี แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน กัญชา แตมีแนวโนมลดลง สวน ICE มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น โดยนักวิชาการได ประมาณการณวา จากสถานการณปญหายาเสพติดในปจจุบัน คาดวา จํานวนผูเสพ ICE จะเพิ่มขึ้นเปน 500,000 คนในป พ.ศ. 2559 โดยในป พ.ศ. 2556 (ตุ ล าคม 2555 – 25 มี น าคม 2556) มี ร ายงานจํ า นวนผู เ ข า รั บ การบํ า บั ด รั ก ษา 129,355 คน มีการจับกุมคดียาเสพติด 204,282 คดี ผูตองหา 194,600 คน ของกลางยาบา 53.8 ลานเม็ด ICE 863.3 กิโลกรัม เฮโรอีน 181.8 กิโลกรัม กัญชา 11.2 ตัน และโคเคน 45.5 กิโลกรัม


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 114

มาตรการและแนวทางแกไขปญหายาเสพติดของประเทศเพื่อนบาน ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดในประเทศไทย มิใชปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศเทานั้น แตเปนปญหาที่มี สวนเกี่ยวของกับตางประเทศดวย โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบาน ดังนั้น มาตรการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศ เพื่อนบาน จึงเปนปญหาสําคัญที่สะทอนถึงประสิทธิผลของนโยบาย การแกไขปญหายาเสพติดของไทย

1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม

ประเทศบรูไน ใหความสําคัญกับการบําบัดรักษา และฟนฟูผูที่ติดยาเสพติด โดยกอตั้งสถาบันเพื่อการบําบัด และฟนฟูผูติดยาเสพติด “Rumah-Al-Islan” ซึ่งอยูภายใตการดูแลของกรมราชทัณฑ สําหรับมาตรการดานกฎหมายใน การแกไขปญหายาเสพติด บรูไนไดออกพระราชบัญญัติวาดวยการใชยาในทางที่ผิด (Misuse of Drugs Act: MDA) ในป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ซึ่งมีบทลงโทษแกผูลักลอบคายาเสพติดถึงขั้นประหารชีวิต นอกจากนี้ ยังไดออกคําสั่งวาดวยการ ฟอกเงินอีกดวย สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น บูรไนไดเขารวมเปนสมาชิกในการประชุมดานยาเสพติดของ อาเซียน และความรวมมือระดับทวิภาคี กับมาเลเซีย โดยการแลกเปลี่ยนขอมูลการสืบสวนและการปฏิบัติการรวมกัน

2. ราชอาณาจักรกัมพูชา

การแกไขปญหายาเสพติดของกัมพูชา ไดมุงเนนการทํากิจกรรมดานตาง ๆ ทั้งดานการบังคับใชกฎหมายและ การปราบปรามยาเสพติด มาตรการควบคุมสารตั้งตนในการผลิตยาเสพติด การทําลายแหลงเพาะปลูกพืชเสพติด และการ ใหความรูเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดแกเด็ก และเยาวชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น กัมพูชาไดเขารวม การประชุมในเวทีตาง ๆ มากมาย ตลอดจนการกอตั้งความรวมมือขามพรมแดนระหวางไทย-กัมพูชา และความรวมมือใน ระดับทวิภาคีและไตรภาคี (กัมพูชา-สปป.ลาว-เวียดนาม)

3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

อินโดนีเซียมียุทธศาสตร และมาตรการควบคุม และตอตานยาเสพติด โดยสรางความสมดุลของยุทธศาสตร ในการดําเนินงานแกไขปญหายาเสพติดทั้งการลดอุปสงค และอุปทาน การควบคุมสารตั้งตน การควบคุมการนําสง ซึ่ง ดําเนินการรวมกับประเทศไทย การประกาศใชกฎหมายปราบปรามการฟอกเงินในป ค.ศ. 2002 และเปนสมาชิกของกลุม ประเทศเอเชียแปซิฟก ในเรื่องการตอตานการฟอกเงิน นอกจากนี้ อินโดนีเซียไดจัดตั้งระบบฐานขอมูลเพื่อรวบรวม รายงานการใชยาเสพติดในทางทีผ่ ิดจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น อินโดนีเซีย ไดเ ขาร วมเปน ภาคีในอนุสั ญญาของสหประชาชาติ จํ านวน 3 ฉบับ ดานยาเสพติด ทั้ง นี้ อินโดนีเ ซียยังไดร วมมื อกั บ UNDCP ในการทําโครงการตาง ๆ

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

การแกไขปญหายาเสพติดในสปป.ลาวนั้น รัฐบาลลาวใหความสําคัญตอการจัดการปลูกฝนภายในประเทศ เปนอยางมาก โดยมุงเนนการใชแนวทางสมดุล เพื่อแกไขปญหาความยากจนควบคูไปกับการขจัดฝนโดยผาน 3 สวนหลัก คือ การพัฒนาทางเลือก การลดอุปสงคยาเสพติดโดยเนนชุมชน และการบังคับใชกฎหมาย รัฐบาลลาวไดดําเนินการลด อุปสงคยาเสพติดดวย การรองรับแผนปลูกจิตสํานึกในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น สปป.ลาวเนนความรวมมือทางวิชาการ และการรับความชวยเหลือ จากตางประเทศเปนหลัก และรัฐบาลลาวไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อการควบคุมยาเสพติด 2 ฉบับ และ กําหนดใหมีกฎหมายฟอกเงิน และกฎหมายควบคุมสารตั้งตน บังคับใชภายในประเทศ นอกจากนี้ ในป 2540 ลาวไดรับ เลือกเปนสมาชิกของคณะกรรมาธิการยาเสพติดแหงสหประชาชาติ ซึ่งมีวาระการเปนสมาชิก 4 ป ปจจุบัน สปป.ลาวมี ความรวมมือระดับภูมิภาคภายใตก รอบอาเซียน โดยมีเปาหมายรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด ภายในป 2558 และยังมีความรวมมือในระดับอนุภูมิภาคดวย


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 115

5. สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร เมียนมารไดจัดทํารางแผนควบคุมยาเสพติดและลดพื้นที่ปลูกฝนภายใน 15 ป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดพื้นที่ ปลูกฝน ลดการผลิตและการบริโภคฝนใหหมดไป การดําเนินงานแบงเปน 3 ระยะ ๆ ละ 5 ป โดยมีหลักยุทธศาสตร คือ ดําเนินงานเพื่อการพัฒนาพื้นที่ชายแดน เปนการยกระดับความเปนอยูของชาวเมียนมาร ซึ่งการดําเนินงานตามแผนนี้ ครอบคลุมถึงการลดอุปสงค อุปทาน และการปราบปรามยาเสพติด นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมารไดปฏิรูปให CCDAC (Central Committee for Drug Abuse Control) ซึ่งเปนหนวยงานหลักดานยาเสพติดที่เรงดําเนินมาตรการควบคุมยา เสพติดมากขึ้น และไดลงนามในปฏิญญารวมที่จะทําใหภูมิภาคอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด และรัฐบาลเมียนมารไดให ความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ทุกระดับ โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก UNODC และลงนามในความตกลงเปน บันทึกความเขาใจ (MOU) กับหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่อยูในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

6. มาเลเซีย

หนวยงานหลักของประเทศมาเลเซียที่เปนผูกําหนดวัตถุประสงคในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด คือ National Drugs Council และมาเลเซียยังไดจัดกิจกรรมเพื่อการปองกันปญหายาเสพติดขึ้นมากมาย อาทิ กิจกรรม ปองกันยาเสพติดในโรงเรียน กิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของชุมชน การประชาสัมพันธ และสารสนเทศ และการบําบัด ฟนฟู โดยมีวิธีการบําบัดและฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดหลายรูปแบบ ไดแก 1) One-Stop Center Concept การจัดตั้งศูนยฟนฟูในชุมชนตาง ๆ 2) Multi-Disciplinary Approach การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงหวังการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ 3) Military-Style Training การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงปลุกจิตสํานึกดานระเบียบวินัยเปนสําคัญ สําหรับมาตรการดานกฎหมาย มาเลเซียไดออกมาตรการทางกฎหมายที่สําคัญจํานวน 5 ฉบับ และไดเขา รวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติด จํานวน 3 ฉบับ สวนในระดับภูมิภาค มาเลเซียไดเปนภาคีใน Asean Declaration of Principles on Drug Abuse Control ในป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และในระดับทวิภาคีได รวมมือในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดกับประเทศอังกฤษ อองกง สหรัฐอเมริกา เวเนซูเอลา และรัสเซีย

7. สาธารณรัฐฟลิปปนส

ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ประธานาธิบดีของประเทศฟลิปปนส ไดประกาศสงครามกับ ยาเสพติดโดยใชมาตรการเด็ดขาด ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อการปราบปรามผูคา และผูมีสว นเกี่ยวของกับยาเสพติด รวมทั้งผูที่ ทุจริตคอรรัปชั่นดวย โดยรัฐบาลไดดําเนินยุทธศาสตร Holistic Anti-Drug Strategy : HADS เพื่อตอตานยาเสพติด ซึ่ง เปนสวนหนึ่งของแผนดําเนินการตอตานยาเสพติดแหงชาติ Holistic Anti-Drug Program of Action : NADPA โดย แบงเปน 3 ดาน คือ การปองกันและควบคุม การปฏิรูปสวนราชการ และการมีสวนรวมของประชาสังคม ดานกฎหมายได ออกกฎหมายฉบับใหมทดแทนฉบับเดิม คือ Republic Act 1965 หรือ The Comprehensive Dangerous Dugs Act of 2002 และเพิ่มบทลงโทษตอผูละเมิดกฎหมายดานยาเสพติดที่รุนแรงมากขึ้น โดยมีโทษสูงสุดถึงขั้นจําคุกตลอดชีวิต และประหารชี วิ ต ปรับ ตั้ งแต 10,000 ถึ ง 200,000 ดอลลารส หรัฐ ฯ นอกจากนี้ กฎหมายฉบั บ นี้ไ ด กํา หนดใหผู ติ ด ยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษาโดยระบบสมัครใจ หรือบังคับบําบัดและเนนใหครอบครัว โรงเรียน เอกชน สหภาพ แรงงาน และสวนราชการเกิดความรวมมือกันในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด พรอมทั้งสงเสริมการสรางเขต ปลอดยาเสพติด สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น ฟลิปปนสไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาสหประชาชาติดานยาเสพ ติด 3 ฉบับ โดยใหความรวมมือในภูมิภาคอื่น และมีบทบาทในกลไกตาง ๆ ภายใตกรอบอาเซียน นอกจากนี้ ฟลิปปนสได ทําความตกลงกับจีน โดยลงนามในเอกสารที่เกี่ยวของกับยาเสพติด 3 ฉบับ คือ สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน บันทึกความ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 116

เขาใจวาดว ยการตอสูกั บอาชญากรรมขามชาติ และบันทึก ความเขาใจวาดวยการปองกันการปลูก ผลิต และการใช ยาเสพติดผิดกฎหมาย และฟลิปปนสยังไดรับความชวยเหลือดานเทคนิคจากหลายประเทศ

8. สาธารณรัฐสิงคโปร

หนวยงานหลักของสิงคโปรที่รับผิดชอบเรื่องยาเสพติด คือ Central Narcotics Bureau : CNB โดยกําหนด ยุทธศาสตรการแกไขปญหายาเสพติดทั้งดานการลดอุปสงค และอุปทานยาเสพติด และสิงคโปรใชมาตรการทางกฎหมาย The Misuse of Drugs Act 1973 เปนกฎหมายหลักในการบังคับใชเพื่อปราบปรามยาเสพติด โดยมีการปรับปรุงให ทันสมัยตลอดเวลา โดยเฉพาะการเพิ่มบัญชีรายชื่อยาเสพติดชนิดใหม และยังไดออกกฎหมายใหมเพิ่มเติม คือ The Drug Trafficking Act 1993 ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเปน The Corruption, Drug Trafficking and other Serious Crimes Act 1999 โดยใหอํานาจการติดตาม ยึดทรัพยสินที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การบําบัดฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดเปนหนาที่ของ หนวยงาน Drug Rehabilitation Centre : DRCs ซึ่งมีหนาที่ในการปลูกฝงระเบียบวินัย ความรับผิดชอบตลอดจน จริยธรรมตาง ๆ หากผานการบําบัดแลว จะตองอยูภายใตการควบคุมของ DRC อีก 2 ป โดยมีการตรวจสอบปสสาวะเปน ประจํา หากพบวา มีการใชยาเสพติดจะถูกสงตัวเขารับการบําบัดอีกครั้งหนึ่ง สําหรับการศึกษาเชิงปองกัน CNB ไดจัดตั้ง The Preventive Education Unit : PEU ตั้งแตป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เพื่อสรางจิตสํานึกใหแกเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ สิงคโปรไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดจํานวน 3 ฉบับอีกดวย

9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

เวียดนามไดประการใชแผนปฏิบัติการแหงชาติในการควบคุมยาเสพติดระหวางป ค.ศ. 2001-2005 โดย มุงเนน 8 โครงการสําคัญ คือ 1) การใหความรูและเผยแพรขอมูลขาวสารดานยาเสพติด โดยเวียดนามใหวันตอตานยาเสพติดสากล คือ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกป เปนวันตอตานยาเสพติดแหงชาติดวย 2) การทําลายฝน และโครงการพัฒนาทางเลือกที่ทํารวมกับ UNDCP 3) การตอตานยาเสพติดและการควบคุมสารตั้งตน 4) การปรับปรุงประสิทธิภาพในการบําบัดและฟนฟู 5) การปองกันการใชยาเสพติดในทางที่ผิดในโรงเรียน 6) การศึกษาและประยุกตวิธีการทางการแพทยแผนโบราณ และอื่น ๆ ในการบําบัดและฟนฟู 7) การกอตั้งประชาคมสํานักงาน หรือหนวยงานที่ปลอดยาเสพติด 8) การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการควบคุมยาเสพติด ทั้งนี้ เวียดนามไดมีสวนรวมในกิจกรรมระหวางประเทศ และยังรวมมือกับสํานักงานผูประสานงานชายแดน ของ ประเทศจีน ลาวและกัมพูชา ในการตรวจสอบ และควบคุมยาเสพติดระหวางพรมแดนอีกดวย

ภูมภิ าคแหลงลุม แมน้ําโขง ภูมิภาคแหลงลุมแมน้ําโขง เปนแหลงผลิต และเสนทางลําเลียงยาเสพติดที่สําคัญ โดยพบวา - เมียนมาร เปนแหลงวัตถุดิบ และยาเสพติดรายใหญที่สุดในโลก และยังถูกจัดอยูในบัญชีรายชื่อประเทศที่ ไมใหความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดอีกแหงหนึ่งดวย - จีน คือ แหลงผลิตสารเคมีที่ใชผลิตสารเสพติด และเปนทางผานของยาเสพติดไปยังฮองกง เพื่อสงตอไป ยังประเทศแถบตะวันตก - สปป.ลาว เปนแหลงผลิตฝนที่สําคัญแหงหนึ่ง และเปนจุดกระจายของยาเสพติด - เวียดนาม และกัมพูชา เปนเสนทางผานของยาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 117

- ไทย เปนทั้งแหลงเงินทุน และตลาดรองรับสินคาที่สําคัญของยาเสพติด ทั้งนี้ จากปญหาที่พบนั้นสืบเนื่องมาจากสาเหตุของการเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมสมัยใหมในเวลา อันรวดเร็วแตมีความเสี่ยงสูง ยาเสพติดจึงกลายเปนทางออกหนึ่งของผู ดอยโอกาสทางสังคม และพวกแสวงหาอํานาจ ในทางทุจริต ประเทศไทยไดขยายความรวมมือกับประเทศที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด หรือประเทศที่ประสบปญหายาเสพติด ทั้งในภูมิภาคเดียวกัน และภูมิภาคอื่น ๆ โดยไดลงนามในบันทึกความตกลงเกี่ยวกับความรวมมือดานการปองกัน และ ปราบปรามยาเสพติดระหวางประเทศ และยังเปนเจาภาพจัดการประชุมระหวางประเทศวาดวยยาเสพติด ซึ่งถือเปนการ ประกาศเจตนารมณทางการเมืองในการยอมรับวา ปญหายาเสพติดเปนปญหารวมกันของประชาคมระหวางประเทศที่ตอ ง รวมกันรับผิดชอบ และแกไขรวมกันทั้งในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระหวางประเทศ ดังนั้น ความสัมพันธอันดีระหวาง 1 ประเทศ จึงเปนเรื่องสําคัญยิ่งตอการแกไขปญหาการแพรระบาดยาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียนรวมมือกันในการตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแต ป ค.ศ. 1976 เพราะเห็นวา ผลรายอันเกิดจากอาชญากรรมดังกลาว กระทบกับการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะกรณีการ ลักลอบคายาเสพติด แลวขยายตัวและเพิ่มความหลากหลายของรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ จากนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวประเทศไทย ทําใหในแตละป มีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติหลั่งไหลเขา มาทองเที่ยวประเทศไทยจํานวนมาก โดยในชวง 5 ปที่ผานมา มีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทย เพิ่มขึ้นจาก 20.6 ลานคน ในป 2551 เพิ่มขึ้นเปน 31.4 ลานคนในป 2555 โดยขอมูลของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองระบุ วา ชาวตางชาติที่เดินทางเขาประเทศไทยสูงสุด 10 อันดับ ไดแก จีน มาเลเซีย ลาว ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย อังกฤษ และสิงคโปร ในป 2555 โดยเฉพาะคนในประเทศอาเซียน ก็พบวา มีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน คือ มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยชาวมาเลเซียเปนกลุมที่เดินทางเขาประเทศไทยมากที่สุด รองลงมา คือ ชาวลาว สิงคโปร และเวียดนาม จากสถิติการจับกุมผูตองหาชาวตางชาติในคดียาเสพติดในป 2551-2555 พบวา มีกลุมคนในประเทศอาเซียนเขา มาถูกจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง สัญชาติที่ถูกจับกุมมากที่สุด คือ สปป.ลาว รองลงมา เปน เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย สวนสัญชาติที่ไมมีการจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเลย คือ บรูไน ชนิดยาเสพ ติดที่กลุมผูตองหาในประเทศอาเซียนเขามาเกี่ยวของมากที่สุด ไดแก ยาบา ไอซ เฮโรอีน และกัญชา ตามลําดับ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ที่ มี ก ารจั บ กุ มผู ต อ งหาชาวต า งชาติ ใ นกลุ มประเทศอาเซี ยนจากมากไปน อ ย ได แ ก กรุ ง เทพฯ อุบลราชธานี ระนอง มุกดาหาร สงขลา ตาก หนองคาย เชียงใหม นราธิวาส สระแกว สุราษฎรธานี กาญจนบุรี เลย นครพนม เชียงราย ชลบุรี สมุทรปราการ และปทุมธานี ตามลําดับ สวนใหญเปนจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศ เพื่อนบาน พื้นที่เมืองใหญ และพื้นที่ที่เปนตลาดแรงงาน หรือพื้นที่ที่เปนแหลงทองเที่ยว โดยสวนใหญจะเปนการถูกจับกุม ในขอหาเสพ รอยละ 30.1 ครอบครอง รอยละ 27.1 และครอบครองเพื่อจําหนาย รอยละ 27.0 แตหากพิจารณาในขอหา สําคัญ พบวา ขอหาผลิต จะเปนผูตองหาชาวสิง คโปร และเมียนมาร ขอหานําเขาเปนผูตองหาชาวฟลิปปนส สปป.ลาว และเวียดนาม ขอหาสงออกจะเปนผูตองชาวสิงคโปร และฟลิปปนส โดยคาดวา ในป 2558 ซึ่งเปนปที่เขาสูประชาคมอาเซียน ประมาณการวา จะมีคนอาเซียนเดินทางเขาประเทศ ไทยมากถึง 13 ลานคน และอาจจะมีคนในกลุมประเทศอาเซียนเขามากระทําความผิด และถูกจับกุมในคดี ยาเสพติดใน ประเทศเพิ่มขึ้นเปน กวา 7,000 คน 1

สํานักวิชาการดานยาเสพติด สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.. การศึกษาและวิจัยนโยบายการแกไขปญหายา เสพติด เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูลสารเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ . มหาวิทยาลัยขอนแกน. มิถุนายน 2553.


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 118

กลไกความรวมมือดานยาเสพติดของอาเซียน ในที่ประชุมผูนําอาเซียนอยางเปนทางการ ไดย้ําถึงความจําเปนที่จะตองมีการรวมมือกันระหวางชาติสมาชิก และกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวข องในการตอสูกับอาชญากรรมนี้ จึงไดมีมติในแถลงการณสมานฉันทอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ ค.ศ. 1976 ใหประเทศสมาชิกรวมมือกันอยางแข็งขันกับ องคการระหวางประเทศในการปองกันและการขจัดยาเสพติด และการลักลอบคายาเสพติด และในการประชุมผูนํา อาเซี ย นทุ ก ครั้ ง ที่ ผ า นมา ที่ ป ระชุ มได แ สดงความห ว งใยต อ ป ญ หายาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคมาโดยตลอด และในเดื อ น พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 1 ที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ ประชุมเรียกรองใหองคกรของอาเซียนที่ เกี่ยวของศึกษาความเปนไปไดในการมีความรวมมือในระดับภูมิภาคในเรื่อง อาชญากรรมรวมทั้งการสงผูรายขามแดน และในวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมไดมีมติใหมีมาตรการที่แน นอน และเขมงวดในการตอสูกับ อาชญากรรมขามชาติ อาทิเชน การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาผูหญิงและเด็กรวมถึงอาชญากรรมขามชาติอื่น ๆ ในขณะที่ การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรมขาม ชาติที่มีผลกระทบตออาเซียน จึงไดเรียกรองใหมีการรวมมืออยางใกลชิด และมีการประสานการปฏิบัติระหวางประเทศ สมาชิก โดยในการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 29 ที่กรุงจาการตา อินโดนีเซีย เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2539 ที่ประชุมฯ ไดเห็นพองกันถึงความจําเปนที่จะสนใจรวมกันในปญหาอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับ ยาเสพติด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการฟอกเงิน ปญหาสิ่งแวดลอม และการหลบหนีเขาเมือง ซึ่งเปนปญหาขาม พรมแดนของแตละประเทศสมาชิก มีผลกระทบตอชีวิตของประชากรในภูมิภาคและตกลงใหมีการจัดการเกี่ยวกับปญหา ขามชาตินโี้ ดยเรงดวน เพื่อมิใหมีผลกระทบตอการดํารงอยูในระยะยาวของอาเซียน และของแตละประเทศสมาชิก จากนั้น ที่ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 30 ไดย้ําอีกครั้งถึงความจําเปนในการรวมมือกันเกี่ยวกับ ปญหาขามชาติรวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบสงคนหลบหนีเขาเมือง ยาเสพติด อาวุธ โจรสลัด และโรค ระบาด อยางไรก็ตาม ในระยะแรกดานยาเสพติดของอาเซียนอยูในความรับผิดชอบของคณะกรรมการอาเซียนวาดวย การพัฒนาสังคม โดยมีการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติด (ASEAN Drugs Experts Meeting) เปนประจําทุกป จากหนวยงานกลางดานยาเสพติดของอาเซียน ตอมา เมื่อมีการปรับโครงสรางของสํานักเลขาธิการอาเซียน และมีการยก สถานะของคณะผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติดอาเซียนขึ้นเปนระดับเจาหนาที่อาวุโสอาเซียน (ASEAN Senior Officials on Drugs : ASOD) ในป 2540 ซึ่งจะรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ซึ่งเปนองคกรสูงสุดในการบริหารงาน ความรวมมือในกรอบอาเซียนในดานตาง ๆ ของอาเซียน โดยมีปลัดกระทรวงการตางประเทศของประเทศอาเซียนเปน กรรมการ อาเซี ยนได กํา หนดการดํ าเนิ น งานแกไ ขป ญหายาเสพติ ดใน 5 สาขาของความรว มมื อโดยผา นกรอบการ ดําเนินงานของเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ดังนี้ 1. ความรวมมือดานการปราบปรามยาเสพติด 2. ความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด 3. ความรวมมือดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด 4. ความรวมมือดานการวิจัย 5. ความรวมมือดานการพัฒนาทางเลือก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 119

ตอมา ในป 2545 อาเซียนไดเพิ่มคณะกรรมการอีก 1 คณะ คือ เจาหนาที่อาวุโสดานอาชญากรรมขามชาติ (Senior Officials on Transnational Crime) เนื่องจาก สถานการณปญหาใน 8 สาขาของความรวมมือ เชน การคา มนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน และการปราบปรามการลักลอบคายาเสพติด ซึ่งเปน 1 ใน 8 สาขาของความรวมมืออาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และไดเพิ่มการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดาน อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งจะมีการประชุมปเวนป โดยไดปรับเปลี่ยนใหงานยาเสพติดภายใตคณะกรรมการเจาหนาที่อาวุโส อาเซียนดานยาเสพติดเสนอรายงานตอที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (Ministerial Meeting of ASEAN on Transnational Crimes : AMMTC) แทนการเสนอรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug-Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สําคัญในการ ผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุมสุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมือง รวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไดรับการยอมรับจากนานา ประเทศในดา นความสํ าเร็จของการพัฒนาทางเลือ กเพื่อ แก ไขปญ หาพืช เสพติ ด และความตกลงระหวา งประเทศที่ เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ พิธีสาร เพื่อปองกัน ปรามปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยาย ถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ อย า งไรก็ ต าม การปกป อ งคุ มครองผลประโยชน แ ห ง ชาติ ข องแต ล ะประเทศนํ า ไปสู ค วามขั ด แย ง ระหว า ง ผลประโยชนแหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด ตอ งอาศั ยป จจั ยด า นการเมื องระหว า งประเทศ และความสั มพั น ธ ร ะหว า งประเทศที่ เอื้ อ อํ า นวยต อ การดํ า เนิ น งาน ปราบปรามยาเสพติด ซึ่งงานดานตางประเทศเปนเรื่องที่ละเอียดออนที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อ เสริมสรางความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน นอกจากนี้ ความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานขึ้นอยูกับเรื่อง ความสั มพัน ธ ศัก ยภาพในการดํ าเนินงาน และเงื่อ นไขภายในประเทศของแต ละประเทศดว ย อยา งเชน สํา นัก งาน ประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศเพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ และตองมีการ ประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทําใหเกิดปญหาการขาดความคลองตัวในการทํางาน ประเด็นที่สําคัญ คือ ประเทศเพื่อน บานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมในหลาย ๆ ดาน ทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลเปนอยาง มากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค แสดงใหเห็นวา การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณา การรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ และการมองปญหาที่ไมเหมือนกัน นําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนิน นโยบายการแกไขปญหาที่แตกตางกัน

องคกรอาเซียนที่เกี่ยวของในความรวมมือเกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด เนื่องจาก ปญหาอาชญากรรมขามชาติไมไดจํากัดอยูเพียงสวนใดสวนหนึ่ง แตเกี่ยวของกับหลายองคกรของ อาเซียน ในการกําหนดนโยบายและการปฏิบัติการเพื่อตอตานการประกอบอาชญากรรมขามชาติ องคกรของอาเซียนที่มี สวนเกี่ยวของ ไดแก 1. การประชุมอธิบดีกรมตํารวจของอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) ดูแล เกี่ยวกับการปองกันปราบปรามและการปฏิบัติการในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matter : ASOD) มีหนาที่ เชนเดียวกัน แตเนนการปราบปรามและควบคุมยาเสพติด และกิจกรรมที่เกี่ยวของ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 120

3. การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers Meeting : AFMM) มี หนาที่ในการติดตามและตรวจสอบปญหาขามชาติในดานการเงินและศุลกากร เชน การลักลอบคายาเสพติดและสารกลอม ประสาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดนโยบาย กระบวนการ และกฎระเบียบในการตอตานการประกอบอาชญากรรม ดังกลาว 4. การประชุมรั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทยอาเซี ยน (Meeting of ASEAN Ministers of Interior/Home Affairs)

ปฏิญญาอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ไดมีมติใหการรับรองปฏิญญาอาเซียนวาดวย อาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) ตามที่คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนฯ เสนอ ซึ่ง ไดมีการลงนามในการประชุมฯ มีสาระสําคัญวาประเทศผูลงนามจะรวมมือกัน ดังนี้ 1. สงเสริมความมุงมั่นของประเทศสมาชิกในการรวมมือในระดับภูมิภาคเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. จัดใหมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ เพื่อประสานกิจกรรมขององคกร อาเซียนที่เกี่ยวของ เชน คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drugs Matters : ASOD) และการประชุมอธิบดีกรมตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) 3. จัดใหมีการหารือเพื่อใหมีการลงนามในความตกลงชวยเหลือดานกฎหมายรวมกัน สนธิสัญญาทวิภาคี บันทึก ความเขาใจหรือการดําเนินการอื่น ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. พิจารณาจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Centre on Transnational Crime : ACOT) ซึ่งจะประสานความพยายามในระดับภูมิภาคในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ดวยการแลกเปลี่ยนขาวสาร การปรับปรุงนโยบายใหสอดคลองกัน และการประสานความรวมมือระหวางกัน 5. จัดใหมีการประชุมคณะผูเชี่ยวชาญระดับสูงเฉพาะกิจทุกป โดยไดรับการสนับสนุนจากสํานักเลขาธิการ อาเซียน เพื่อดําเนินการดังนี้ 5.1. จัดทําแผนปฏิบัติการอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ 5.2. พิจารณาจัดกรอบการดําเนินงานขององคกรการดําเนินความรวมมือของอาเซียนดานอาชญากรรมขาม ชาติ และ 5.3. ทําการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ACOT) 6. สนั บ สนุ น ประเทศสมาชิ ก ในการพิ จ ารณาแต ง ตั้ ง เจ า หน า ที่ ตํ า รวจประจํ า ประเทศสมาชิ ก (Police Attache/Police Liaison Officer) เพื่ออํานวยความสะดวกในการรวมมือกันในดานการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 7. สนับสนุนการมีเครือขายระหวางหนวยงาน หรือองคการระดับชาติที่เกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติเพื่อ เพิ่มพูนการแลกเปลี่ยนขาวสาร และการกระจายขาวสาร 8. ขยายขอบขายความพยายามของประเทศสมาชิก ในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงินโดยผิดกฎหมาย การลักลอบสงคนเขาเมืองและการกระทําเชน โจรสลัด และรองขอใหเลขาธิการอาเซียนใหรวมขอบขายในเรื่องนี้อยูในกรอบการดําเนินการของสํานักเลขาธิการอาเซียน 9. สํารวจหาลูทางที่ประเทศสมาชิกสามารถทํางานรวมกันอยางใกลชิด กับหนวยงานและองคการที่เกี่ยวของใน ประเทศคูเจรจา ประเทศอื่น ๆ และองคการระหวางประเทศ รวมทั้งองคการสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของ สหประชาชาติ สํานักงานแผนโคลัมโบ องคการตํารวจสากล และหนวยงานอื่น ๆ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 121

10. รวมมือและประสานกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของอยางใกลชิดมากยิ่งขึ้น เชน การประชุมรัฐมนตรี อาเซี ย นด า นกฎหมาย และการประชุ ม อั ย การสู ง สุ ด อาเซี ย น การประชุ ม อธิ บ ดี ก รมตํ า รวจอาเซี ย น การประชุ ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน การประชุมผูบัญชาการสํา นักงานตรวจคนเขาเมืองอาเซียน และการประชุม อธิบดีกรมศุลกากรอาเซียน ในการสอบสวน การดําเนินคดี และการฟนฟูผูประกอบอาชญากรรมดังกลาว 11. สงเสริมการพัฒนาสมรรถภาพของสํานักเลขาธิการอาเซียน ในการชวยเหลือประเทศสมาชิกในการริเริ่ม การ ดําเนินการ การวางแผน และการประสานงานในการจัดกิจกรรม การกําหนดกลยุทธ การวางแผน และโครงการในการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ นับตั้งแตมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ป ค.ศ. 1997 จนถึงปจจุบันเปนเวลา ประมาณ 17 ป ความสัมพันธระหวางชาติสมาชิกไดใกลชิดกันมากยิ่งขึน้ มีความรวมมือกันในหลาย ๆ ดาน เปนประโยชน ในการพั ฒนาภู มิ ภาคให มั่ น คงและเจริ ญ ก า วหน า ทั้ ง นี้ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ยนส ว นใหญ เ ป น ประเทศกํ า ลั ง พั ฒนา ประชากรมีรายไดนอย บางประเทศในอาเซียนมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทําใหระบบการเมืองออนแอ แตทุก ประเทศสมาชิกมีความเขาใจอันดีตอกัน จะเห็นไดจาก 1. ความรว มมื อในการตอ ตา นอาชญากรรมขา มชาติ เ ปน ความรว มมื อเฉพาะดา นระหวา งประเทศสมาชิ ก นอกจากความรวมมือทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ 2. มีโครงการที่สําคัญ คือ แผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการประกาศใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด ในป ค.ศ. 2015 3. การรวมกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน จะพัฒนาความรวมมือ และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ตองอาศัยระยะเวลาในการดําเนินการ เพื่อกําหนด และวางมาตรการการปองกันปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ

แผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบยาเสพติด เพื่อใหบรรลุการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนภายใน ค.ศ. 2015 (2558) คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดาน ยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matters: ASOD) ซึ่งอยูภายใตองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา คือ ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC ไดรวมกันยกรางแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อ ตอตานการลักลอบคายาเสพติด เมื่อป 2548 ซึ่งตอมา ที่ประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 30 ณ ประเทศกัมพูชา ป 2552 ไดใหการรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบคายาเสพติด ป พ.ศ. 2552-2558 (ASEAN Work Plan on Combating Illicit Drug Manufacturing, Trafficking and Abuse 2009-2015) หรือที่ เรียกวา “แผนปฏิบัติการ ASOD” แผนปฏิบัติการ ASOD มีการดําเนินงานเกี่ยวของกับ 2 เสาหลัก ไดแก เสาหลักดานสังคมและวัฒนธรรม ตาม มาตรการภายใต ASCC Blueprint หัวขอ B6 Enduring a drug-free ASEAN โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตอง ดําเนินการเกี่ยวของกับงานดานการปองกัน และบําบัดรักษายาเสพติด และงานดานการพัฒนาทางเลือก และเสาหลักดาน การเมืองและความมั่นคง ภายใน APSC Blueprint หัวขอ B4 Non-Traditional Security Issues หัวขอยอย B4.1 Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges ขอ vi-xi โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตองดําเนินการ เกี่ยวกับงานดานการปราบปรามยาเสพติด และเคมีภัณฑที่นําไปใชในการผลิตยาเสพติด รวมถึงงานดานการตรวจพิสูจน ยาเสพติด และการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 122

นอกจากนี้ ยังไดรวมกําหนดนิยามของการปลอดยาเสพติด ดังนี้ “การดําเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิด กฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ พรอมทั้งลดผลตอเนื่องตาง ๆ ในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม ในที่นี้ รวมถึงการลดลงอยางยั่งยืน และมีนัยสําคัญในเรื่องดังตอไปนี้ 1) พื้นที่ปลูกพืชเสพติด 2) การผลิต และการลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกีย่ วเนื่องยาเสพติด 3) การแพรระบาดของการใชยาเสพติด พรอมทั้งไดรวมกันกําหนดเกณฑวัดผลสําเร็จสําหรับการดําเนินกิจกรรม เพื่อแกไขปญหายาเสพติดทั้ง 3 ดาน ดังกลาวขางตน ไดแก เกณฑวัดผลดานพื้นที่ปลูกพืชเสพติด เกณฑวัดผลดานการแพรระบาดของการใชยาเสพติด และ เกณฑวัดผลดานการผลิต และลําเลียงยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนนําไปประกอบการจัดทําแผนชาติอันจะ นําไปสูเปาหมายการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนตอไป ในการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 31 ประเทศอินโดนีเซีย ในป 2553 ไดจัดลําดับ ความสําคัญของการดําเนินการตามวิสัยทัศนการปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายใน ค.ศ. 2015 คือ การปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การลดการแพรระบาดของการใช ยาเสพติด และการลดฟนที่ปลูกเสพติด ซึ่งจากการที่อาเซียนไดใหความสําคัญกับการปราบปรามยาเสพติด จึงไดกําหนด เกณฑวัดผลสําหรับการดําเนินงานการปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติดไว ดังนี้ 1. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด 2. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวกับการลักลอบลําเลียงยาเสพติด 3. การขจัดการลักลอบและการนําสารตั้งตนไปใชในการผลิตยาเสพติด 4. สงเสริมความรวมมือขามพรมแดน และการปฏิบัติการดานการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ

ยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนเปนความรวมมือที่มีมานานในรูปแบบต าง ๆ ซึ่งเปนผลมา จากการที่ทุกประเทศตางก็ตระหนักวา ปญหายาเสพติดเปนภัยของมนุษยชาติรวมกันที่ทุกประเทศตองรวมมือกันที่จะขจัด ภัยดังกลาว ดังนั้น กรอบความคิดความรวมมือดานยาเสพติด จึงเปนการพัฒนาตอยอดใหสําเร็จผลโดยเร็วขึ้น โดยอาศัย เงื่อนไขของการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนเปนแรงผลักที่สําคัญ ทั้งนี้ กําหนดกรอบความคิดทางยุทธศาสตร ดังนี้ 1. ใชกรอบความคิดที่ทุกประเทศในอาเซียนไดกําหนดเปนยุทธศาสตรรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด อาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) เปนกรอบความคิดหลัก ทั้งนี้ เพราะกรอบความคิดนี้ ถือเปนฉันทามติรวมกัน (commitment) อยูแลว และไดแปลงมาเปนแผนการปฏิบัติในมาตรการตาง ๆ ใหแตละประเทศปฏิบัติไดงายขึ้น 2. ใชกรอบความคิดที่จะทําใหการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาค ซึ่งเปนกรอบขอเสนอเชิงรุกของ รัฐบาล และไดรับการขานรับจากทุกประเทศในอาเซียนในทางหลักการแลว ซึ่งเปนกรอบความคิดที่มองปญหายาเสพติด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่สงผลกระทบกับประเทศไทย วาจะตองทําใหทุกประเทศในอาเซียน ตองชวยกัน รวมมือกัน และ ตระหนักถึงภัยรวมกัน โดยเล็งเห็น และเขาใจที่ประเทศใดประเทศหนึ่งไดรับผลจากปญหายาเสพติดอยางมาก และการที่ จะแกไขปญหาดังกลาวไดนั่น จะตองไดรับความรวมมือที่ดียิ่งจากกลุมประเทศตนทาง 3. ใชกรอบความคิด ขยายจุดรวม มุงผลโดยตรง เสริมสรางความพรอม เปนเข็มมุงหลักที่จะพัฒนาความรวมมือ เชิงรุก เพื่อแสวงหามาตรการการปฏิบัติตาง ๆ ที่จะสงผลตอการลดระดับปญหายาเสพติดโดยเร็ว โดยมุงขยายความ รวมมือใหมากที่สุด ใหสงผลตอการลดปญหายาเสพติดทั้งในประเทศและภูมิภาค รวมทั้งเตรียมการสรางความพรอมของ หนวยงานตาง ๆ ใหมากที่สุด ในการเตรียมการเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 123

เพื่อใหมีผลในการเรงยกระดับการมีสวนรวมของประเทศตาง ๆ ในประเทศอาเซียน ซึ่งจะมีผลตอการลดระดับ ปญหายาเสพติดภายในประเทศในระยะ 3 ป เพื่อรองรับความเปนประชาคมอาเซียน จึงกําหนดกลยุทธในการบรรลุ ยุทธศาสตรตามลําดับ ดังตอไปนี้ กลยุทธที่ 1 ขยายความรวมมือเชิงรุกตอมาตรการที่สงผลตอการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม โดย ในระยะ 3 ปนี้ แมจะยังไมเขาสูประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ สวนใหญจะมุงไปสูการเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ แต เฉพาะกรณีปญหายาเสพติด อาศัยขอตกลงการสรางเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนในป 2558 และขอตกลงรวมใหปญหา ยาเสพติดเปนความรวมมือระดับภูมิภาค ดังนั้น การกําหนดกลยุทธขยายความรวมมือในงานดานยาเสพติดในกลุมอาเซียน ใหเปนผลในการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม จึงเปนกลยุทธหลักใน 3 ปนี้ โดยขยายความรวมมือที่สําคัญในดาน supply reduction เปนหลัก ไดแก การขยายความรวมมือในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัด กั้นยาเสพติดทั้งตามแนวชายแดน และทาอากาศยานนานาชาติ การปราบปรามการผลิตยาเสพติด การลดพื้นที่ปลูกพืช เสพติด ฯลฯ กับประเทศตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน กลยุทธที่ 2 เตรียมการ สรางความพรอมตอมาตรการที่จะมุงขยายความรวมมื อที่มากขึ้น โดยพิจารณา มาตรการที่สําคัญ และจําเปนที่จะกอใหเกิดความรวมมือในกลุมประเทศอาเซียนเพิ่มมากขึ้น ดวยการสรางความพรอม หรือแสวงหาขอตกลงใจเพื่อนําไปสูความรวมมือในการแกไขปญหารวมกัน อันจะนําไปสูการแกไขปญหายาเสพติดที่จะมี การยกระดับมากขึ้น กลยุทธที่ 3 พัฒนาความรวมมือในหลายรูปแบบตามความเหมาะสมสอดคลองกับภารกิจ และการแสวงหา ประเด็นรวม โดยพัฒนาความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดในรูปแบบตาง ๆ ทั้งใน รูปแบบของกลุมประเทศ อาเซียน ความรวมมือแบบพหุภาคี ไตรภาคี และทวิภาคี ตามความเหมาะสมของสภาพปญหาภารกิจ และขอตกลงใจ รวมกัน เพื่อใหความรวมมือที่เกิดขึ้นปรากฏผลเปนรูปธรรม ปฏิบัติไดจริง กลยุทธที่ 4 เสริมบทบาทภาคีนอกกลุมประเทศอาเซียน หรืออาเซียนบวก โดยชักชวนแสวงหาความรวมมือ กับประเทศนอกอาเซียนที่มีผลตอการแกไขปญหายาเสพติดในประเทศในอาเซียน ทั้งในภาพรวมทุกประเทศ หรือใน ประเทศเฉพาะ เพื่อใหเกิด ผลสะทอนกลับ ตอการลดปญหายาเสพติดในอาเซียนตามมาตรการที่เหมาะสม และเป น ขอตกลงใจรวมกัน

กรอบยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติด เพื่อใหเกิดเอกภาพในกรอบความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน จึงไดกําหนดกรอบยุทธศาสตรไว 6 กรอบความรวมมือ ดังนี้ 1. กรอบความรวมมือในดานปราบปรามยาเสพติด (supply reduction) คือ การดําเนินการปราบปราม ยาเสพติด ทั้งในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัดกั้นตามทาอากาศยาน การยึดทรัพยสิน ฯลฯ 2. กรอบความรวมมือในดานการเสริมสรางความมั่นคงชายแดน คือ การดําเนินงานในดานการสกัดกั้น ยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสรางชุมชนตามแนวชายแดนใหเขมแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ 3. กรอบความรวมมือ การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดดวยการพัฒนาทางเลือก (Alternative Development) คือ การใชแนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาลดปญหาการปลูกฝน 4. กรอบความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด (potential demand) คือ การดําเนินการดานการปองกัน ยาเสพติดในกลุมที่กําหนดเปนเปาหมายรวมสกัดวงจรของผูเสพยาเสพติดรายใหมในกลุม ประเทศอาเซียน 5. กรอบความรวมมือดานการแกไขผูเสพยาเสพติด คือ การดําเนินการดานบําบัดรักษาผูเสพยาเสพติด การ พัฒนาความพรอมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนยายประชากรในกลุมประเทศอาเซียน


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 124

6. กรอบความรวมมือดานการพัฒนาวิชาการ และการพัฒนาในดานตาง ๆ ไดแก การพัฒนาความรวมมือ ในดานการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือดานนิติวิทยาศาสตร การพัฒนากฎหมาย ฯลฯ เพื่อใหความรวมมือกับ ประเทศอาเซียนใหมีความกาวหนามากยิ่งขึ้น กรอบความรวมมือนี้ ถือเปนเข็มทิศหลักที่เปนขอตกลงของกลุมประเทศอาเซียนที่จะตองยึดถือ และใหแปลง ไปสูการปฏิบัติ

หนวยงานกลางประสานงานดานยาเสพติดระหวางประเทศ การขับเคลื่อนงานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนใหบรรลุผลตามยุทธศาสตรที่กําหนด จะตองผานหนวยงาน กลางดานยาเสพติดของแตละประเทศเปนกลไกกลางในการขับเคลื่อนหลัก โดยมีหนวยงานกลางของแตละประเทศ ดังนี้ กัมพูชา ไดแก National Authority for Combating Drugs (NACD) บรูไน ไดแก Narcotics Control Bureau (NCB) ฟลิปปนส ไดแก Dangerous Drugs Board (DDB) มาเลเซีย ไดแก National Anti-Drugs Agency (NADA) เมียนมาร ไดแก Central Committee for Drug Abuse Control (CCDAC) อินโดนีเซีย ไดแก National Narcotics Board (NNB) สปป.ลาว ไดแก Lao National Commission for Drug Control (LCDC) เวียดนาม ไดแก Standing Office on Drugs and Crime of Vietnam (SODC) สิงคโปร ไดแก Central Narcotics Bureau (CNB) ไทย ไดแก Office of Narcotics Control Board (ONCB)

กรอบความรวมมือประเทศไทยกับองคกรระหวางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ฐานะตัวแทนของรัฐบาลในการดําเนินงาน นโยบายดานยาเสพติด โดยการจัดทํากรอบความรวมมือระหวางประเทศขึ้น ซึ่งองคกรระหวางประเทศที่มีความรวมมือกับ ประเทศไทย คือ 1. องคการสหประชาชาติ (United Nations : UN) องคกรหลักขององคการสหประชาชาติที่ดําเนินงานดาน ยาเสพติด คือ โครงการควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศแหงสหประชาชาติ (United nations International Drug Control Program : UNDCP) ซึ่งเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้น และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) โดยประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดแลวทั้ง 3 ฉบับ คือ 1) อนุสัญญาเดี่ยววา ดว ยยาเสพติ ด ให โทษ ค.ศ. 1961 และพิ ธี สารแก ไขเพิ่ มเติ มอนุ สัญ ญาเดี่ยววา ด วยยาเสพติด ใหโ ทษ ค.ศ. 1972 2) อนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 และ 3) อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับ ลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวทั้งหมดมุงเนนไปที่การจํากัด การเติบโตของตลาดยาเสพติดดวยมาตรการเนนหนักในการลดอุปทานเปนหลัก บทบาทในเวทีสหประชาชาติของประเทศ ไทย คือ การไดรับเลือกใหเปนคณะกรรมาธิการยาเสพติด ตั้งแตป 2516 และประเทศไทยไดบริจาคเงินอุดหนุน UNDCP เปนประจํา ตั้งแตป 2521 เปนตนมา 2. สหภาพยุโรป (Europeans: EU) สํานักงาน ป.ป.ส. ไดรับความชวยเหลือจากสหภาพยุโรปในโครงการตาง ๆ ดานยาเสพติดตั้งแตป 2532 คือ การใหความชวยเหลือดานการควบคุมพืชเสพติด และการปองกันยาเสพติด ซึ่งตอมา สหภาพยุโรปไดทําความตกลงกับประเทศไทย เพื่อการควบคุมเคมีภัณฑ และสารตั้งตนที่นําไปใชผลิตยาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 125

3. อาเซียน (ASEAN) ในป 2519 มีการประกาศปฏิญญาอาเซียนวา ดวยหลัก การในการตอตา นการใช ยาเสพติดในทางที่ผิด ซึ่งมีหลักการวา ประเทศอาเซียนแตละประเทศตองเพิ่มความระมัดระวัง สรางมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลักลอบคายาเสพติดจัดใหมีความรวมมือทางดานงานวิจัยและศึกษา และปรับปรุงกฎหมายแตละ ประเทศ โดยพบวา มีความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด สรุปไดดังนี้ 1) การประชุมเจาหนาที่อาวุโส ความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด 2) โครงการอาเซียนดานยาเสพติด และ 3) โครงการอาเซียนดานยาเสพติดที่ประเทศไทยรับผิดชอบเปนผูประสานโครงการ 4. สํานักงานแผนโคลัมโบ (Colombo Plan Bureau) กอตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือประเทศสมาชิกในดานตาง ๆ ทั้งนี้ ในสวนของยาเสพติดมีโครงการที่ปรึกษาดานยาเสพติด (Drug Advisory Program : DAP) กอตั้งขึ้นเมื่อเดือน สิงหาคม 2516 มีหนาที่ใหคําปรึกษาแกรัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดการสัมมนาทางวิชาการ การประชุม ปฏิบัติการ และกิจกรรมตาง ๆ เพื่อชวยแกไขปญหายาเสพติด และใหทุนการศึกษา ดูงานแกเจาหนาที่ปฏิบัติงานดาน ยาเสพติด โดยให DAP เปนผูดําเนินงานรวมกับรัฐบาล องคการะหวางประเทศ และองคการเอกชนที่เกี่ยวของ ซึ่งตอมา บทบาทของ DAP ในระยะหลังไดเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการฝกอบรม กิจกรรมของ DAP ไดมุงเนน Demand Reduction ความรวมมือในระดับภูมิภาค และความรวมมือบริเวณพรมแดนการดําเนินงานตามอนุสัญญาป ค.ศ. 1988 และสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ 5. องคการตํารวจสากล (International Criminal Police Organization: Interpol or International Police) ความรวมมือกับตํารวจสากลเปนลักษณะการแลกเปลี่ยนขาวสารดานการปราบปรามยาเสพติด ซึ่งองคการตํารวจ สากลไดสงผูแทนมาประจําในประเทศไทย เพื่อปฏิบัติงานรวมกับเจาหนาที่ฝายไทย โดยตั้งสํานักงานที่กรมตํารวจ 6. องคกรเอกชนตางประเทศ (International Non-government : NGOs) สํานักงาน ป.ป.ส. มีความรวมมือ กับองคการเอกชนตางประเทศหลายองคการ ซึ่งองคการเอกชนระหวางประเทศมีการดําเนินงานดานยาเสพติด ใหความ ชวยเหลือแกประเทศไทย และประสานความรวมมือระหวางกันดานยาเสพติด

จุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด จุดแข็ง 1) ทําเลที่ตั้งของประเทศไทยเหมาะสมในการเปนศูนยกลางของภูมิภาค สามารถวางแผนพัฒนาศักยภาพการ เปนศูนยกลางอาเซียนใน เรื่องการขนสงการทองเที่ยว และการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถขยายตัวเพื่อสรางความเขมแข็งในอนาคตไดมาก ทั้งในลักษณะอาเซียน บวก 3 โดยการเพิ่มประเทศจีน เกาหลีใต และญี่ปุน และอาเซียนบวก 6 โดยการเพิ่มประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย 3) แนวโนมของอํานาจทางเศรษฐกิจโลกจะเคลื่อนยายมาสูภูมิภาคเอเชียมากขึ้น การรวมกลุมของภูมิภาคเอเชีย จะสงผลใหเอเชียเปนตลาดที่มีศักยภาพ มีความเชื่อมโยงกันและมีเสถียรภาพมากขึ้น 4) การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อสงเสริมการคา การลงทุน การจางงาน การใชวัตถุดิบ และการตลาดจากประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะในจังหวัดที่อยูตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ และเมือง ชายแดน 5) มีหลายประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และหลากหลาย เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ถานหิน แร ธาตุ ปาไม น้ํา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 126

6) ความสอดคลองกันของผลประโยชนแหงชาติของทุกประเทศ (Common of national interest) โดยมอง การเขาสูประชาคมอาเซียนเปนเปาหมายรวมกัน 7) ทุกประเทศอาเซียนสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug – Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน 8) ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สํา คัญในการผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุม สุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมืองรวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด 9) ประเทศไทยไดรับการยอมรับจากนานาประเทศในดานความสําเร็จของการพัฒนาทางเลือกเพื่อแกไขปญหา พืชเสพติด 10) ประเทศไทยเปนภาคีของความตกลงระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยายถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ

จุดออน 1) การปกปองคุมครองผลประโยชนแ หงชาติของแตละประเทศ นํา ไปสูความขัดแยงระหวางผลประโยชน แหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) 2) ประเทศมหาอํานาจทั้งภายใน และภายนอกภูมิภาคเปนตัวแปรที่สําคัญของการเมืองระหวางประเทศ และ ความสัมพันธระหวางประเทศ 3) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติดตองอาศัยปจจัยดานการเมืองระหวางประเทศ และความสัมพันธ ระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานดวย 4) งานดานตางประเทศเปนเรื่องละเอียดออน ตองดํา เนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อเสริมสราง ความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน 5) ความรวมมื อกับประเทศเพื่ อนบานขึ้นอยูกั บเรื่องความสัมพันธศักยภาพในการดําเนินงาน และเงื่อนไข ภายในประเทศของแตละประเทศดวย อยางเชน สํานักงานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศ เพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ ตองมีการประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทํา ใหขาดความคลองตัวในการ ทํางาน 6) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมหลายดานทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลอยางมากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค 7) นโยบายตางประเทศสัมพันธกับการเมืองภายในประเทศ 8) การมองปญหาที่ไมเหมือนกันนําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนินนโยบายการแกไขปญหาที่แตกตาง กัน 9) การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ 10) การปรับปรุงแกไขกฎหมายเพื่อรองรับพันธกรณีตาง ๆ หนวยงานที่เกี่ยวของตองขอความเห็นชอบจาก รัฐสภา


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 127

โอกาส 1) การรวมกลุมของเหลาประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความหลากหลายทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม 2) การสรางประชาคมอาเซียนดวยโครงสรางแบบเสาหลัก 3) ระดับการพัฒนาประเทศที่สูงขึ้น และขนาดเศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น จะเปนโอกาสสําหรับการคา และการ ลงทุนของไทยในประเทศเหลานี้เพิ่มมากขึ้น 4) การเชื่อมโยงภูมิภาคเพื่อกาวสูความเปนหนึ่งเดียว โดยเฉพาะโครงสรางพื้นฐานภายใตกรอบความรวมมือใน อนุภูมิภาคลุมน้ําโขงที่เชื่อมทั้งภูมิภาคเขาดวยกัน เชน การพัฒนาคมนาคมระบบราง การสรางทาเรือน้ําลึกทวาย 5) ประเทศสมาชิกอาเซียนเปนฐานการผลิตใหผูประกอบการไทย เพื่อผลิต และสงออกสินคา เพื่อรับสิทธิ ประโยชนทางภาษีในรูปแบบตาง ๆ 6) อาเซียนในฐานะองคการระหวางประเทศ และสถาบันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตองปรับตัวภายใต เงื่อนไขของภูมิภาคนิยมแบบใหม (New regionalism) กับกระแสโลกาภิวัตน (Globalization) 7) การลงทุนในประเทศเพื่อนบานที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ และพรอมเปดรับการลงทุนจากตางชาติ 8) ความอยูร อดภายใตบ ริบ ทใหม โดยเฉพาะอยา งยิ่ง เศรษฐกิ จการเงิ นภายใต ระบบทุน นิยมโลกาภิ วัต น ที่ ผันผวน การพัฒนาตนเองตอสภาพแวดลอมของการแขงขันแบบใหม 9) โลกแหงการพึ่งพา เนื่องจาก เศรษฐกิจไทยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ปญหายาเสพติดเปนปญหา สากล และมีความเชื่อมโยงกันทั่วโลก การแกไขปญหายาเสพติดจะตองไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน 10) หากประเทศในภูมิภาคมีระดับการพัฒนาที่ดีขึ้น ปญหาขามชาติตาง ๆ ที่คุกคามความมั่นคงของประเทศ ไทยในปจจุบันก็จะลดลง

ภัยคุกคาม 1) ภัยคุกคามรูปแบบใหมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงรูปแบบใหม (Non traditional security) อยางเชน การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบเขาเมือง โดยผิดกฎหมาย การคามนุษยอาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การฟอกเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอรการเกิด ภัยพิบัติโรคระบาด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ช องวา งของการพั ฒนาระหวา งประเทศในกลุมอาเซียน ระดับ การพั ฒนาเศรษฐกิจที่แ ตกตา งกัน มีบาง ประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูง มีหลายประเทศที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมพัฒนา ยังมีชองวางของระดับความ ทันสมัยอีกดวย 3) การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแขงขัน จําเปนตองยายฐานการผลิตไปตางประเทศมากขึ้น นัก ลงทุนอาจขยายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน 4) เกิดการเคลื่อนยายแรงงานฝมือของไทยไปประเทศที่ไดคาตอบแทนสูงกวา และแรงงานตางดาวราคาถูกกวา เขามามากขึ้น 5) มีแนวโนมผอนปรนขอจํากัดในการทํางานของคนตางชาติมากขึ้น 6) หากไมมีมาตรการควบคุมที่เหมาะสม สินคาที่ไมไดมาตรฐานจะเขามาในประเทศไทยมากขึ้น 7) อุตสาหกรรมหลักของประเทศยังคงพึ่งพาเงินทุน และเทคโนโลยีจากตางประเทศ 8) ชองวางในการพัฒนาอาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางสังคม 9) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีการปลูกพืชเสพติด และมีแหลงผลิตยาเสพติดจํานวนมาก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 128

10) นโยบายดานความสัมพันธอันดีกับประเทศเพื่อนบาน และนโยบายดานการคาชายแดนกลายเปนชองทาง และโอกาสใหเกิดการนําเขายาเสพติด แรงงานเถื่อน สินคาหนีภาษี 11) ปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตรเทคโนโลยี และตางประเทศ สงผลโดยตรงตอการเกิด การ ดํารงอยู และการขยายตัวของปญหายาเสพติดในประเทศไทย

ขอผูกพันระหวางประเทศในการกําหนดนโยบายดานยาเสพติด ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดจําเปนตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศเพื่อนบานรวมกันแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น ซึ่งการกําหนดนโยบายในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทย ไมสามารถดําเนินการไดอยางอิสระโดย ปราศจากความตระหนักถึงพันธะ และขอผูกพันสัญญาระหวางประเทศ และความรวมมือตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ประเทศเพื่อนบาน ในป 1909 มีขอตกลงระหวางประเทศในการจัดตั้งกลไกการแกไขปญหาฝน โดยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการฝน ขึ้ น ซึ่ ง นั บ แต นั้ น มาพบว า มี ก ฎหมายระหว า งประเทศที่ เ กี่ ยวกั บ การควบคุ ม ยาเสพติ ด ที่ สํ า คั ญ รวม 7 ฉบั บ ได แ ก คณะกรรมาธิการฝนนามเซี่ยงไฮ ป 1909 อนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1912 อนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1925 อนุสัญญา ค.ศ. 1931 อนุสัญญา ค.ศ. 1936 พิธีสารกรุงปารีส ค.ศ. 1948 และพิธีสารวาดวยฝน ค.ศ. 1953 ในอดีตที่ผานมาปญหายาเสพ ติดมีมากขึ้นอยางตอเนื่อง ประเทศตาง ๆ พยายามหาทางแกไขปญหาโดยมีกฎหมายระหวางประเทศขึ้นมาหลายฉบับ เพื่อนํามาใชเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น

กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวกับยาเสพติดในปจจุบัน อนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1961 (The Single Convention on Narcotic Drugs, 1961) และพิธีสารแกไขเพิ่มเติมอนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1972 (The 1972 Protocol Amending The Single Convention on narcotic Drugs, 1961) ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวไดรวบรวมอนุสัญญา หรือขอตกลงระหวาง ประเทศที่มีอยูมาไวเปนฉบับเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีอนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 (The Convention on Psychotropic Substances, 1971) ซึ่งอนุสัญญาทั้งหมดนี้ มีเนื้อหาที่มุงเนนการควบคุม และจํากัด การใชยาเสพติดใหโทษเพื่อประโยชนทางการแพทย และทางวิทยาศาสตรเทานั้น และไดกําหนดใหมีคณะกรรมการ ควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศขึ้น (International Narcotics Control Board: INCB) โดยที่ประเทศภาคีตองรายงาน ปริมาณการใชยาเสพติดตอ INCB อยางไรก็ตาม แมวา มีอนุสัญญาในการควบคุมยาเสพติดดังกลาวแลว แตยังคงพบการแพรระบาดยาเสพติดไปยัง ประเทศต า ง ๆ อยู แ ละทวี ค วามรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น จึ ง ได มี ก ารจั ด ทํ า อนุ สั ญ ญาขึ้ น มาใหม อี ก ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 (The United nation Convention against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) โดยมีหลักการที่สําคัญ ถือเปนมาตรการใหมที่กําหนดไวในประเทศภาคีนําไปปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน ไดแก 1) ความผิดและกําหนดโทษ 2) เขตอํานาจรัฐ 3) การบริหารทรัพยสิน 4) การสงผูรายขามแดน 5) การชวยเหลือกันทางกฎหมาย และ 6) การโอนการดําเนินคดี


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 129

นับตั้งแตมีอนุสัญญาฉบับนี้ ประเทศตาง ๆ ใหความสนใจและสมัครเขาเปนภาคีจํานวนมาก จนถึงปจจุบันมี ประเทศตาง ๆเขารวมเปนภาคีแลวไมนอยกวา 138 ประเทศ สําหรับในประเทศไทยนั้นเขาเปนภาคี ในป พ.ศ. 2545

มาตรการสงผูรายขามแดน : กลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามยาเสพติด การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางรัฐที่มีมานานแลว แตในสมัยกอนความรวมมือในลักษณะดังกลาว ยังไมแพรหลายมากนัก ทั้งนี้ เปนเพราะสมัยนั้น การคมนาคมระหวางประเทศยังไมสะดวกและรวดเร็วเหมือนเชนปจจุบัน การประกอบอาชีพอาชญากรรมและการหลบหนีการจับกุมสวนใหญ จึงจํากัดอยูเฉพาะภายในเขตหรือภายในประเทศที่ กออาชญากรรมเทานั้น แตตอมา เมื่อเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคมขนสงระหวางประเทศมีความเจริญกาวหนา มากขึ้น รูปแบบการประกอบอาชญากรรมบางประเภทก็เปลี่ยนไปเปน “องคกรอาชญากรรมขามชาติ” (Transnational Crime) ที่มีเครือขายเชื่อมโยงการกระทําผิดในพื้นที่หลายประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “องคกรอาชญากรรมคายาเสพติด ขามชาติ” ที่ตัวนายทุน หรือตัวการสําคัญที่ไมตองเดินทางไปติดตอ หรือการดําเนินการสงมอบยาเสพติดใหกับลูกคาใน ตางประเทศดวยตนเอง แมเจาหนาที่ในประเทศที่มีการสงมอบยาเสพติด จะสามารถจับกุมตัวผูรวมกระทําผิดในขณะที่นํา ยาเสพติดไปสงมอบใหลูกคา และมีพยานหลักฐานเชื่อมโยงไปถึงตัวบุคคลที่เปนนายทุน หรือตัวการสําคัญที่อยูอีกประเทศ หนึ่งก็ตาม แตดวยขอจํากัดเรื่องอํานาจอธิปไตย และความแตกตางของกฎหมายภายในแตละรัฐ ทําใหไมสามารถติดตาม จับกุมตัวบุคคลเหลานั้นมาดําเนินคดีในประเทศผูเสียหายได ดังนั้น ปจจุบันประเทศตาง ๆ จึงไดยอมรับแนวคิดเกี่ยวกับ ความรวมมือระหวางรัฐในการสงผูรายขามแดน และนํามาบังคับใชแพรหลายมากขึ้น

ความหมายของการสงผูรายขามแดน “การสงผูรายขามแดน” (Extradition) หมายถึง การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งตกลงยินยอมสงตัวบุคคลที่ตอง หาวากระทําความผิดทางอาญาในอีกประเทศหนึ่ง ตามคําขอเพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือบังคับโทษตามคําพิพากษาของ ประเทศผูรองขอ และจากความหมายดังกลาวจะเห็นไดวา การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางประเทศทาง อาญา ซึ่งตามปกติแลว จะดําเนินภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงตางตอบแทนระหวางรัฐที่สอดคลองกับกฎหมายภายใน ของแตละประเทศ

เจตนารมณของการสงผูรายขามแดน

การสงผูรายขามแดนเปนมาตรการทางกฎหมายที่มีเจตนารมณในการเสริมสรางความรวมมือระหวางรัฐในการ ปราบปรามอาชญากรรมอยางมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของความเคารพตออํานาจอธิปไตยซึ่งกันและกัน โดยมุงเนนให บรรลุผลตามหลักการสําคัญ ๆ 3 ประการ คือ 1) หลักความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามอาชญากรรม (International Co-operation) 2) หลักการบังคับใชกฎหมาย “ผูก ระทําความผิดทางอาญาจะตอ งไดรับโทษทางอาญา” (Certainly of Punishment) 3) หลักการปองกันการกออาชญากรรมซ้ํา หรือการตัดชองโอกาสใหอาชญากรรมที่หลบหนีการจับกุมไปกอ อาชญากรรมในประเทศอื่นไดอีก (Prevention Crime)

หลักการทั่วไปของการสงผูรายขามแดน หลั ก การเกี่ ยวกั บการส ง ผู ร า ยข า มแดนได ถู ก กํ า หนดไว ใ นอนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ 2 ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลักลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ขอ 6 (United Nations Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) และอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ค.ศ. 2000 ขอ 16 (United Nations


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 130

Convention Against Transnation Organized Crime, 2000) ที่ระบุใหประเทศภาคีตองรวมมือในการสงผูรายขาม แดน เพื่อผลในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ และอาชญากรรมคายาเสพติด โดยกําหนดหลักการสําคัญ ๆ ในการสงผูรายขามแดนใหประเทศภาคีสมาชิกใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือนําไปบัญญัติเปนกฎหมายภายในบังคับใช ดังนี้ 1) ความผิดที่จะสงผูรายขามแดนได จะตองเปนความผิดทางอาญาตามกฎหมายภายในทั้งของประเทศผูรองขอ และประเทศผูรับคําขอ (Double Criminality) 2) โทษที่ผูถูกสงตัวเปนผูรายขามแดน จะไดรับตองเปนโทษตามความผิดที่ระบุไวในคํารองขอ (Rule of Specialty) 3) คํ า ร อ งขอให ส ง ผู ร า ยข า มแดนอาจถู ก ปฏิ เ สธได ถ า บุ ค คลนั้ น มี สั ญ ชาติ ข องประเทศผู รั บ คํ า ร อ งขอ (Nationality) หรือความคิดตามคํารองขอเปนความผิดทางการเมือง (Political Crime) หรือเปนความผิดที่ตามกฎหมาย ในประเทศผูรองขอถึงขั้นประหารชีวิต (Death Penalty)

ประเทศไทยกับความรวมมือในการสงผูรายขามแดน ประเทศไทยไดใหความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ในการสงตัวผูรายขามแดนมานานแลว โดยในระยะแรก ๆ การ สงผูรายขามแดนดําเนินไปอยางไมเปนทางการบนพื้นฐานของความมีสัมพันธไมตรีที่ดีตอกัน ซึ่งสวนใหญเปนประเทศ เพื่อนบานที่มีอาณาเขตติดกับประเทศไทย จนกระทั่ง ในปลายรัชสมั ยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนของไทย จึงไดมีความชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยมีการทําความ รวมมือในรูปสัญญาระหวางรัฐเปนครั้งแรกกับประเทศอังกฤษ เมื่อป พ.ศ. 2453 (ร.ศ.129) และหลังจากนั้น ก็มีการทํา สัญญาในลักษณะดังกลาวกับประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศในเวลาตอมา ปจจุบัน ประเทศไทยไดทําสัญญาสงผูรายขาม แดนกับประเทศตาง ๆ รวม 10 ฉบับ ประกอบดวย 1) ประกาศสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนในระหวางกรุงสยามกับอังกฤษ มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2453 2) อนุสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนระหวางกรุงสยามกับเบลเยี่ยม มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2479 3) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐอินโดนีเซียวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2523 4) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐฟลิปปนสวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2527 5) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสหรัฐอเมริกาวาดวยการสงผูรายขามแดน มี ผลบังคับใช เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2534 6) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีนวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2542 7) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐเกาหลีวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2544 8) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววา ดวยการสงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2544 9) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศวาดวยการ สงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2544


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 131

10)สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห งราชอาณาจักรกัมพูชาวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2544 นอกจาก ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนที่ดําเนินการภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงระหวางรัฐตอรัฐแลว ประเทศไทยยังใหความรวมมือในการสงผูรายขามแดนกับประเทศอื่น ๆ ที่ไมไดมีสนธิสัญญา หรือขอตกลงกับไทยดวย โดยออกเปนกฎหมายภายในเฉพาะเรื่อง ไดแก พ.ร.บ.สงผูรายขามแดน พ.ศ. 2472 ซึ่งบัญญัติใหการสงผูรายขามแดนของ ไทย สามารถกระทําไดทั้งกับประเทศที่มีสนธิสัญญา และประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย โดยมีหลักเกณฑ หรือขั้นตอน วิธีการดําเนินงานแตกตางกันบางประการ กลาวคือ ถาเปนการสงผูรายขามแดนใหกับประเทศที่มีสนธิสัญญากับไทย ก็ให ปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ระบุไวในสนธิสัญญาเปนหลัก แตถาเปนการสงผูรายขามแดนกับประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย ก็ใหพิจารณาตามหลักเกณฑทั่วไปตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้

ปญหาการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด ในกรณีที่รัฐบาลตางประเทศเปนผูรองขอใหรัฐบาลไทยสงผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเปนผูรายขามแดน ปญหาในทางปฏิบัติมักจะเกิดจากความลาชาในขั้นตอนการดําเนินการกอนนําคดีขึ้นสูศาล ทั้งนี้ เพราะปจจุบันยังไมมี หน ว ยงานของไทยที่ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะ ทํ า ให ก ารร อ งขอต อ งใช วิ ธี ผ า นช อ งทางการทู ต (Diplomatic Channel) ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุงยากและเสียเวลามาก สวนในกรณีที่รัฐบาลไทยเปนผูรองขอ ปญหาที่เกิดขึ้นไดแก เรื่องบทกําหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ของแตละประเทศที่มีความแตกตางกัน โดยที่กฎหมายไทยกําหนดโทษความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดบางขอหามีโทษขั้น ประหารชีวิต ทําใหคํารองขอใหสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด อาจถูกปฏิเสธจากประเทศผูรับคํารองขอได นอกจากนั้น การที่ประเทศไทยไมมีสนธิสัญญากับรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลไทย จึง ไม อ าจร อ งขอโดยผ า นช อ งทางการทู ต ตามปกติ ไ ด ทํ า ให ต อ งใช วิ ธี ก ารร อ งขอในรู ป ของข อ ตกลงต า งตอบแทน (Reciprocity) ปจจุบัน กฎหมายสงผูรายขามแดนของไทยกําลังอยูระหวางการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติใหเอื้อตอการ ดําเนินการมากขึ้น

บทบาทประเทศไทยตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรฯ สําหรับการปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาลไทย ไดกําหนดเปนวาระแหงชาติ โดยมุงเนนการปราบปรามตาม แนวชายแดนตาง ๆ ตลอดจนสกัดกั้นเสนทางลําเลียงยาเสพติดทุกเสนทางจากสภาพปญหาที่ผานมา จากที่ประเทศไทย เปนตนทาง ซึ่งจะมีแหลงผลิตยาเสพติดอยูตามแนวชายแดนของประเทศไทย เมียนมาร และสปป.ลาวตอเนื่องกัน ที่ เรียกวา “สามเหลี่ยมทองคํา” (Golden Triangle) และยังอาศัยประเทศไทยเปนทางผาน และเปนจุดพักยาเสพติด เพื่อ สง ไปยัง ประเทศที่ส าม ดั งนั้ น นโยบายดา นการปราบปรามยาเสพติด ของประเทศไทย จึ งท าทายตอ การผนึก กํา ลั ง ปราบปราม และเพื่ อ ให การขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อด า นยาเสพติ ด กั บ ประเทศต า ง ๆ ในกลุ มอาเซี ยนบรรลุ ผ ลตาม ยุทธศาสตรฯ นี้ จึงกําหนดใหประเทศไทยควรมีบทบาท ดังนี้ 1. บทบาทในฐานะประเทศที่ไ ดรับผลโดยตรงกับปญ หายาเสพติ ด อาจจะเรียกไดวา “มากที่สุ ด” ในกลุ ม ประเทศอาเซียนดวยกัน บทบาทนี้ จึงทําใหประเทศไทยจะตองแสดงความกระตือรือรนมากกวาประเทศอื่น ๆ ที่ ไดรับผล นอยกวา เพราะหากประสบผลสําเร็จในความรวมมือไดมากเทาใด ก็จะสงผลตอการลดสถานการณปญหายาเสพติด ภายในประเทศมากขึ้นเทานั้น


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 132

2. บทบาทในฐานะประเทศที่มีสภาพทางภูมิรัฐศาสตรที่อยูกึ่งกลางของประเทศในกลุมอาเซียน บทบาทนี้ สามารถทําใหประเทศไทยสามารถเปนกึ่งกลาง หรือศูนยกลางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรในจุดที่เหมาะสมไดมากกวา ประเทศอื่น ๆ ซึ่งหากประเทศไทยไดขับเคลื่อนอยางจริงจังก็มีโอกาสทําใหการขับเคลื่อนงานดานยาเสพติดในภูมิภาคจะ เปนไปอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น ทั้ง นี้ สภาพกึ่ ง กลางของประเทศไทย รวมหมายความถึ งกึ่ ง กลางของประเทศในอาเซียนที่มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจ ความมั่งคั่งที่แตกตางกันระหวางประเทศที่อยูทางตอนเหนือ และตะวันออกของประเทศไทย ที่มีฐานะยากจน กวากับประเทศทางตอนใตของประเทศไทยที่มีฐานะมั่งคั่งกวา โดยประเทศที่มีผลกระทบดานยาเสพติดกับประเทศไทย โดยตรง ไดแก ประเทศที่อยูทางตอนเหนือทั้งสิ้น 3. บทบาทในฐานะผู ใ หก ารสนั บ สนุ น มากกวา ผู รั บ ซึ่ ง เป น บทบาทที่ กํ า หนดให ป ระเทศไทยที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจอยูในระดับตน ๆ ของกลุมประเทศอาเซียน และตองเผชิญกับปญหายาเสพติดมากที่สุดในกลุมประเทศอาเซียน จะตองพัฒนาบทบาทในฐานะผูใหการสนับสนุนกลุมประเทศทางตอนเหนือ และตะวันออกใหสามารถมีความคลองตัวใน การปฏิบัติงานดานยาเสพติดในประเทศของตน เพื่อลดปริมาณยาเสพติดที่จะถูกลักลอบนําเขาประเทศไทย อันจะสงผล ตอประเทศอาเซียนโดยรวมทั้งหมด และจะมีโอกาสใหเจตนารมณที่ทําใหอาเซียนปลอดยาเสพติดในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ใกลเคียงกับความจริงมากที่สุด 4. บทบาทในฐานะประเทศแกนหลั ก ที่ เ สนอให ป ญ หายาเสพติ ด เป น วาระภู มิ ภาค โดยที่ ก ารแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติดในประเทศจะเปนไปอยางยากยิ่ง หากไมไดรับความรวมมืออยางจริงจังกับประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งกลุมประเทศทางตอนเหนือ และทางตะวันออกประเทศไทย จึงตองมีบทบาทสําคัญในการยกระดับปญหา ยา เสพติดใหเปนวาระภูมิภาคใหเปนผลสําเร็จ ไมเพียงแตจะเปนการสรางการยอมรับในเวทีสากลแลว ยังเปนการแกไขปญหา ภายในประเทศอีกดวย

ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด จากกิจกรรมหลากหลายรูปแบบขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ในปจจุบัน ไดกลายปญหาสําคัญของทุก ประเทศปญหาหนึ่ง คือ ยาเสพติด โดยแพรระบาดไปทั่วโลกมีผูรวมกระทําผิดจํานวนมาก ลักษณะการดําเนินการเปน ความลับ ยึดเปนอาชีพและส วนหนึ่งอยูเบื้องหลังอาชีพถูก กฎหมาย ทํารายไดจํานวนมาก ทั้งนี้ จะมีผูมีอิทธิพลทาง การเมืองในระดับทองถิ่นและระดับชาติ รวมมือใหความชวยเหลือเพื่อแลกเปลี่ยน หรือหวังผลประโยชนตางตอบแทน ปญหายาเสพติด ทําใหรัฐตองสูญเสียทรัพยากร ทั้งดานกําลังคน งบประมาณ ในการพัฒนาประเทศชาติ ซึ่ง ผลกระทบจากปญหายาเสพติด ซึ่งเปนปญหาสําคัญของประเทศไทย แบงออกเปน 1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ 2. ผลกระทบทางดานสังคม

1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ

จากกรณีองคกรอาชญากรรมขามชาติมุงหวังกําไรเปนหลัก กิจกรรมตาง ๆ ทั้ง ธุรกิจผิดกฎหมาย และอาศัย ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา ทําใหเกิดผลเสียหายทางดานเศรษฐกิจกับประเทศ ดังนี้ 1) ทําใหเกิดระบบผูกขาดในทางเศรษฐกิจ เกิดการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ทําใหระบบเศรษฐกิจ ออนแอ ตนทุนการผลิตสินคาแพงขึ้น จากการเก็บคาคุมครองและอื่น ๆ และประชาชนตองบริโภคสินคาในราคาแพง 2) การฟอกเงินทําใหระบบเศรษฐกิจปนปวน การเงินไมเปนไปตามหลักเหตุผลทางเศรษฐศาสตร คาดการณ ยาก


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 133

3) รัฐตองจัดสรรงบประมาณ สําหรับการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมและตองสูญเสียรายไดในรูป ของภาษีอากร เชน การคาน้ํามันเชื้อเพลิง การลักลอบขนสินคาหนีภาษี 4) เงินรายไดของรัฐสิ้นเปลืองไป ทําใหทรัพยากรไมเพียงพอ ในการพัฒนาดานสังคม และสวัสดิการของ ประชาชน 5) จากกรณีความไมสงบเรียบรอยในบานเมือง ทําใหนักลงทุนตางชาติเกิดความลังเลในการเขามาลงทุน หรือรวมลงทุนกิจการในประเทศ

2. ผลกระทบทางดานสังคม

1) กอใหเกิดปญหาอาชญากรรม เพราะยาเสพติดบางอยางทําใหคนมีนิสัยกา วราว รุนแรง และประกอบ อาชญากรรมในหลายรายปรากฏว า การเสพยาเสพติ ด ทํ า ให เ กิ ด พลั ง จอมปลอมขึ้ น ทํ า ให ค นมี นิ สั ย ใจคอก า วร า ว อาชญากรบางคน ยอมรับวา ใชยาเสพติดเพื่อใหมีความกลาเพียงพอที่จะประกอบอาชญากรรม ผูติดยาเสพติดยังตอง พยายามหาเงินมาเพื่อบําบัดความตองการเสพยาเสพติด โดยอาจใชวิธีการที่ไมชอบดวยกฎหมาย เชน ฉกชิง วิ่งราว ทํา การโจรกรรม ปลนทรัพย หรือเปนโสเภณี ทําใหเกิดปญหาในดานความสงบสุขของประชาชนทั่วไป 2) ปญหาตอเยาวชนและวัยรุน โดยเฉพาะเด็กที่อยูในครอบครัวแตกแยก พอแมวิวาทเกลียดชังกัน ไมไดรับ ความอบอุน จึงหันไปหาสิ่งอื่น เชน หันไปหายาเสพติด เมื่อติดแลวก็กออาชญากรรมเพื่อหาเงินซื้อยาเสพติด สรางปญหา สังคมอื่น ๆ ขึ้นมา 3) กอใหเกิดปญหาโสเภณี หญิงโสเภณีจํานวนไมนอยที่เปนโสเภณี เพราะมูลเหตุจูงใจเบื้องตนจากการติด ยาเสพติด 4) กอใหเกิดปญหาการวางงาน นายจางไมวาจากรั ฐบาล หรือเอกชน ไมปรารถนาที่จะจางบุคคลที่ติด ยาเสพติดไวทํางาน และผูติดยาเสพติดจะหมกมุนอยูแตเรื่องที่จะหายาเสพติดมาเสพ เพื่อบําบัดความตองการเทานั้น มิได คิดถึงการประกอบอาชีพใด ๆ ขาดความกระตือรือรนที่จะขวนขวายหาอาชีพอื่น ทําใหกลายเปนคนวางงานในที่สุด 5) ปญหาสังคมอื่น ๆ เชน ปญหาความยากจน ปญหาการหยาราง ปญหาเด็กถูกทอดทิ้ง ปญหาคนไรที่พึ่ง และปญหาการสงเคราะหผูติดยาเสพติด เปนตน 6) ด า นกํ า ลั ง คน กล า วคื อ ประเทศที่ มี ป ระชากรติ ด ยาเสพติ ด จะเป น ประชากรที่ ข าดคุ ณ ภาพ ขาด ประสิทธิภาพในการทํางาน ขาดแรงจูงใจในการทํางาน การพัฒนาประเทศยอมหยุดชะงักหรือไมกาวหนาเทาที่ควร 7) ดานการเงินงบประมาณ โดยหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคการระหวางประเทศไดทุม งบประมาณในการแกไขปญหายาเสพติดอยางมหาศาล รัฐบาลทุกรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดเปนนโยบายสําคัญ พรอมจัดสรรงบประมาณประจําป เพื่อปองกันปราบปรามยาเสพติดใหแกหนวยงานตาง ๆ ที่ มีหนาที่เกี่ยวของในดานการปองกัน และปราบปรามยาเสพติด ตลอดจนการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด โดยมีจุดมุงหมาย เพียงเพื่อยับยั้งและทําลายยาเสพติดใหหมดสิ้นไป ยาเสพติด มีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางมาก ประเทศไทยตระหนักถึงปญหายาเสพติด และ ดําเนินการปองกันปราบปราม ควบคุมการแพรระบาดของยาเสพติด ใหลดนอยลง เพื่อประชาชนในประเทศจะไดมีความ เปนอยูดีขึ้น ปญหาอาชญากรรม และการสูญเสียกําลังงบประมาณก็จะลดนอยลง


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 134

ผลกระทบจากการแกไขปญหายาเสพติดเมื่อรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ป 2558 เมื่ อ ประเทศในภู มิ ภาคกํ า ลั ง จะรวมตั ว กั น เป น ประชาคมอาเซี ยนในป 2558 จะส ง ผลกระทบต อ แนวโน ม สถานการณยาเสพติด และการบริหารจัดการเพื่อแกไขปญหายาเสพติด ทั้งทางบวก และทางลบหลายประการดวยกัน กลาวคือ

1. ประชาคมเศรษฐกิจ

ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค การพัฒนาเศรษฐกิจระหวางประเทศ การ สงเสริมการลงทุนในตางประเทศ บรรยากาศการคา และการลงทุนเสรีมากขึ้น เงินทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศเขาออก ไดอยางเสรี เกิดความเชื่อมโยงระบบชําระเงินระหวางกันในอาเซียน การแขงขันเพื่อเปนศูนยกลางการขนสงของภูมิภาค ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกันเอง นําไปสูการพัฒนาดานศุลกากร ดานตรวจคนเขาเมือง และการปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวของ เกิดโครงขายทางดวนสารสนเทศรวมทั้งเพิ่มโอกาสในการพัฒ นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม ๆ จากการวิจัย และพัฒนารวมกันในภูมิภาคอาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อเสริมสรางเครือขายความเชื่อมโยงระหวาง ไทยกกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค จะเอื้ออํานวยตอการลําเลียงยาเสพติดทั้งตอประเทศตนทางที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด ประเทศทางผ า นที่ เ ปน จุ ดแวะพั ก และประเทศปลายทางที่เ ปน ตลาดผูบ ริ โภค เส นทางลํ าเลี ยงยาเสพติ ด จะมีก าร เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และเกิดความหลากหลายมากขึ้น กอใหเกิดความยุงยากในการสกัดกั้นและปราบปราม เกิด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจขามชาติ อาชญากรรมที่เกี่ยวกับยาเสพติด และอาชญากรรมคอมพิวเตอร แผนประทุษกรรม เกี่ยวกับยาเสพติดจะพลิกแพลง และซับซอนมากขึ้น การใชประโยชนเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหมใหเอื้ออํานวยตอการ ประกอบอาชญากรรมระหวางประเทศ ธุรกรรมทางการเงินระหวางประเทศ และการฟอกเงิน นักลงทุน ตางชาติจะอาศัย สิทธินักลงทุนสัญชาติอาเซียนเขามาลงทุนในไทยมากขึ้น เกิดปญหาการประกอบธุรกิจของคนตางดาว

2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การกระตุนใหทุกภาคสวนเตรียมความพรอม และพัฒนาตามกรอบอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเขาใจ และความรวมมือกันมากขึ้นในการแกไขปญหา เกิดความรวมมือระดับภูมิภาค อาเซียนในเรื่องการสงเสริม และคุมครองสิทธิ ดวยปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก ภารกิจในการขับเคลื่อนความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซีย นมี ปริมาณงานเพิ่มขึ้น ความพรอมของบุคลากรดานภาษา และความเชี่ยวชาญเฉพาะดานขอจํากัดดานงบประมาณ และ กําลังคน เครื่องมือ และกลไกพื้นฐานของระบบราชการขาดความยืดหยุน และคลองตัว คานิยม และวัฒนธรรมบางอยาง อาจจะยั งไมสอดคลอง หรื อสรางการไม ยอมรับ มีทั ศนคติเ ชิง ลบต อการเปลี่ยนแปลงเกิ ดความเหลื่ อมล้ํ าทางสั งคม ประชาชนบางกลุมยังเขาไปไมถึงบริการของภาครัฐ และขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซี ย น ความแตกต า ง และความหลากหลายทางประชากรอย า งเช น เชื้ อ ชาติ ศาสนา วั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีการดําเนินชีวิต ปญหาสังคมเปนมูลเหตุที่สําคัญของปญหายาเสพติด


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 135

3. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง

ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงบวกที่สําคัญ ไดแก การสรางความรวมมือดานการปองกันทางการทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยเฉพาะการกําหนดแนวทางการจัดการพื้นที่ชายแดน การดําเนินงานภายใตความรวมมือตาง ๆ จะกอใหเกิด สันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคอาเซียน เกิดการเสริมสรางความเขาใจในระบบกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย การพัฒนาประสิทธิภาพของหนวยงานบังคับใชกฎหมาย การพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับพันธกรณี อาเซียน การสรางแนวปฏิบัติรวมกันของประชาคมอาเซียน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ และความรูกับประเทศในกลุม อาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก การกําหนดนโยบาย และการขับเคลื่อนดานการเมือง และความมั่นคง มีความซับซอนเพิ่มขึ้น การควบคุมตรวจสอบการดําเนินงานของราชการที่เขมขนยิ่งขึ้น ปจจุบันกฎหมายหลายฉบับไม สอดคลองกับพันธกรณี การปฏิบัติตอคนตางดาว แรงงานตางดาว และผูอพยพลี้ภัยใหเปนไปตามพันธกรณี การคุมครอง สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนพื้ น ฐาน การเคลื่ อ นย า ยแรงงาน โดยเสรี อ าจก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความสงบสุ ข และความมั่ น คง ภายในประเทศ กลุมกอการราย และอาชญากรรมขามชาติแสวงประโยชนจากการเปดเสรี และเคลื่อนยายเสรี แผน ประทุษกรรมเกี่ยวกับอาชญากรรม และยาเสพติดจะพัฒนารูปแบบที่พลิกแพลงมากขึ้น ทําใหการปองกัน และปราบปราม มีความยุงยาก และซับซอนยิ่งขึ้น

ปญหาและอุปสรรคในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ประการแรก

ประการที่สอง

ประการที่สาม

รู ป แบบของการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นในป จ จุ บั น มี ค วาม หลากหลายมากขึ้น โดยมีการผลิต จําหนาย และเสพยาเสพติดแตกตางกันไปในแตละ ประเทศ โดยมีการขนสงลําเลียงในรูปแบบใหมที่แตกตางไปจากเดิมโดยเฉพาะการขนสง เขาประเทศ โดยใชชองทางไปรษณีย และระบบการขนสงขนาดใหญ เชน การขนสงทาง ทะเล ซึ่งการตรวจสอบทําไดคอนขางลําบาก รวมถึงการปลอมแปลงเอกสารเพื่อใหผานพิธี การทางศุลกากร การกระทํ า ผิ ด มั ก เกิ ด ขึ้ น บนพื้ น ที่ ค าบเกี่ ย วระหว า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น การค า ยาเสพติดขา มชาติ การลั กลอบขนยาเสพติ ดขามชาติ โดยการใชผูก ระทํา ความผิดเป น ประชาชนของอีก ประเทศหนึ่ง ซึ่ งเปน ตัวกลางในการไปดํา เนิน การเคลื่อนยายขนถา ย ยาเสพติด โดยที่ผูนั้นไมทราบถึงสินคาที่ถูกวาจางใหไปดําเนินการขนยายวา เปนสินคาปกติ ทั่วไป หรือเปนยาเสพติดผิดกฎหมาย และเมื่อถูกเจาหนาที่จับกุมตัวก็จะถูกดําเนินคดีทําให ไมทราบถึงตัวการในการกระทําความผิดอยางแทจริง การรวบรวมพยานหลักฐานซึ่งมีความยุงยากซับซอน หากมีการกระทําผิดเกิดขึ้นระหวาง ประเทศ กลาวคือ การกระทําความผิดไดถูกแยกสวนที่กระทํา ผิดลงไปในดินแดนมากกวา หนึ่งประเทศขึ้นไป ซึ่งขอจํากัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐาน และความสมัครใจ ของพยานบุคคลที่จะสมัครใจเขาเปนพยานในคดี รวมถึงนโยบายของแตละประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนที่ใหความสําคัญในการรวมมือเกี่ยวกับการคนหาพยานหลักฐานระหวาง ประเทศ ซึ่งขอจํากัดในการรับฟงพยานหลักฐานในตางประเทศของศาลมีคอนขางมาก ดังนั้น กวาจะไดมา ซึ่งพยานหลักฐานเพื่อนําไปใชใหเกิดประโยชนประกอบการพิจารณาคดี


อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 136

อยางถูกตอง จึงจําเปนตองผานขั้นตอน และกระบวนการระหวางประเทศที่ลาชา อันสวน ทางกับอาชญากรรมขามชาติที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว ประการที่สี่ การใช ภาษาที่ แตกต างกันในแตละประเทศ กล าวคือ เจาหนาที่หน วยงานภาครั ฐ และ เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศมีทักษะในการใชภาษาอังกฤษอยูใน ระดับที่ไมสามารถใชงานในการสื่อสารไดดีพอ ทําใหตองอาศัยลามแปล ซึ่งอาจไมสามารถ จัดหาลามแปลไดครบทุกภาษาที่ตองการ และมีคาใชจายสูง ในขณะที่ บางประเทศยังมิได จัดเตรียมงบประมาณสําหรับการจัดหาลาม เพื่อเขามาเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือในการ พิจารณาคดี หากมีผูกระทําความผิดเปนชาวตางชาติ ประการที่หา การสืบพยานประเด็นนั้น อาจมีปญหาในกรณีที่ระบบศาลของแตละประเทศในภูมิภาค อาเซียนนั้นมีความแตกตางกัน ซึ่งแตกตางจากกลุมประเทศในสหภาพยุโรปที่มีกฎหมาย ของภูมิภาคและสามารถนํามาบังคับใชรวมกันได ทําใหกระบวนการยุติธรรมและขั้นตอน การพิจารณาคดีเปนไปไดอยางสอดคลองกัน เมื่อเกิดกรณีที่ประชาชนตา งชาติที่มาจาก ประเทศในกลุ ม สหภาพยุ โ รปเข า มากระทํ า ความผิ ด ระหว า งประเทศก็ จ ะต อ งเข า สู กระบวนการพิจารณาคดีที่ทัดเทียมกัน ทั้งทางดานกฎหมายและสิทธิมนุษยชน ประการที่หก เกณฑอายุของตัวผูกระทําความผิดยังมีความแตกตางกัน โดยเฉพาะการจํากัดความรับผิด ของเด็กและเยาวชน เชน อายุต่ํากวา 7 ป ไมตองรับโทษ หรือเกินกวา 7 ป แตไมเกิน 18 ป กระทําผิดแตรับโทษในฐานะเด็กและเปนเยาวชนเทานั้น ประการสุดทาย ปญหาเรื่องเขตอํานาจในเชิงพื้นที่ เชน เมื่อเจาพนักงานพบการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในฝ งประเทศเพื่ อนบ านที่ มีแ นวชายแดนติ ด ตอ กั น แตไ ม สามารถดํา เนิน การจั บกุ มตั ว ผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมาสูกระบวนการได เนื่องจาก ติดปญหาเรื่องขอบเขต อํานาจรวมถึงหลักดินแดน ซึ่งสิ่งที่สามารถกระทําได เพื่อใหสามารถนําตัวผูกระทําความผิด มาดําเนินคดี คือ ตองทําการลอซื้อใหเคลื่อนยายการกระทําผิดมาที่ประเทศไทย ซึ่งเปนการ ยากและมีขั้นตอนที่มีความเสี่ยงและลาชา การปราบปรามยาเสพติดจึงไมบรรลุเปาหมาย ตามนโยบายเทา ที่ควร หากสามารถลดป ญหาเรื่ องการจัด กุมตัว ผูกระทํ าความผิด ขา ม พรมแดนได ก็จะชวยใหการจัดการกับแหลงผลิตยาเสพติดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นั่นคือ การแกปญหาที่ตนเหตุ ดังนั้น ในยุคโลกาภิวัตน อาชญากรรมคายาเสพติดในหลายประเทศไดพัฒนารูปแบบเปนองคกรอาชญากรรม คายาเสพติดขามชาติที่มีเครือขายดําเนินการเชื่อมโยงกันในพื้นที่หลายประเทศ และมีการแบงหนาที่กันทําเปนสวน ๆ ไม วาจะเปนขั้นตอนการวางแผน การตระเตรียมการ การติดตอซื้อขาย การจัดหา และการสงมอบยาเสพติด จึงเปนการยาก ที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะดําเนินการปราบปรามอยางไดผลเพียงลําพัง หากแตจะตองอาศัยความรวมมือจากนานา ประเทศในการแสวงหามาตรการพิเศษมาชวยเสริมประสิทธิภาพการปราบปรามและดําเนินคดี โดยไมยึดติดกับหลัก อํานาจอธิปไตย และหลักดินแดนแหงรัฐ ในการนี้ มาตรการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติดก็เปนมาตรการอยางหนึ่งที่ นานาประเทศไดนํามาใชเปนกลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดอยางไดผล โดย แนวทางความร ว มมื อ ในการแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ให บ รรลุ ผ ลนั้ น ทุ ก ประเทศในกลุ มต อ งมองป ญ หาร ว มกั น โดย แลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ และมีการอบรมดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกัน ไมวาจะเปน จีน ไทย เมียนมาร สปป.ลาว เวียดนาม กัมพูชา แมวา จีนจะไมไดอยูในประชาคมอาเซียนก็ตาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.