อาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด ป ญ หายาเสพติ ด เป น ป ญ หาที่ มี ค วามรุ น แรงต อ เนื่ อ งมาเป น เวลานาน ซึ่ ง มี ค วามพยายามในการปรั บ ปรุ ง กระบวนการดานการปองกัน และการแกไขจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนมาโดยตลอด และโดยที่การ กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมีรูปแบบการกระทําผิดในลักษณะขององคกรอาชญากรรมที่มีความซับซอน และทวี ความรุ นแรงมากยิ่ งขึ้ น ส งผลให การปราบปรามการกระทําความผิด เป นไปอย างยากลําบาก ดัง นั้น ภัยคุก คามจาก ยาเสพติดเปนภัยคุกคามภูมิภาคอาเซียนอยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่งเปนเพราะในภูมิภาคนี้ มีพื้นที่การผลิตยาเสพติดใหญ เปนลําดับตน ๆ ของโลก แหลงผลิต และชองทางการลําเลียงกระจายอยูในหลายประเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ ยาเสพติด ยังมีสวนเชื่อมโยงกับปญหาหลายดานดวยกัน เชน ปญหาการคามนุษย องคกรอาชญากรรมขามชาติ รวมถึงปญหาความ เชื่อมโยงระหวางขบวนการคายาเสพติดกับกลุมผลประโยชนในพื้นที่ ทําใหระดับปญหายังคงอยูอยางตอเนื่อง อาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด มีลักษณะพิเศษตางจากอาชญากรรมทั่วไป กลาวคือ เปนการกระทํา โดยอาชญากรรมที่ รวมตัว กัน เป นองคก ร มีก ระบวนการทํา งานลั บ และมีก ารแบง หน าที่ และสายงานบัง คับ บั ญ ชา ตามลําดับ ซึ่งมีการปดบังการกระทําความผิดอยางซับซอน การสืบสวนสอบสวนของเจาหนาที่เพื่อดําเนินคดีกับผูกระทํา ผิด จึงไมสามารถพิสูจนความผิดของตัวการสําคัญได โดยสวนใหญจะเปนการจับกุมผูคารายยอยในความผิดฐานนําเขา สงออก จําหนาย หรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนาย ดังนั้น ในการรวบรวมพยานหลักฐานของเจาหนาที่ที่ทําการสืบสวน จึงมีการนําเทคนิคการสืบสวนพิเศษมาใชในการดําเนินการดวย สําหรับประเทศไทยไดมีความรวมมือดานยาเสพติดกับประเทศเพื่อนบานทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคีในดาน การปองกันและปราบปรามยาเสพติด และในกรอบอาเซียน รัฐบาลไทยกําหนดประเด็นปญหายาเสพติดวา เปนปญหา ความมั่นคงในภูมิภาค เพราะหากเยาวชนผูจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และภูมิภาคกลายเปนบุคคลไร สมรรถภาพทางสติปญญา อันเปนผลเนื่องจากการติดยาเสพติด การพัฒนาประเทศใหเติบโตเทาเทียมกับประเทศตะวันตก นั้นคงจะเปนเรื่องายาก ที่ประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนจึงไดประกาศเจตนารมณใหภูมิภาคอาเซียนปลอดยาเสพติดในป 2558 (Drug Free 2015) โดยกําหนดแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบผลิต การคา และการเสพยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกใชเปนแนวทางในการทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ซึ่งที่ผานมา พบวา พื้นที่ปลูกพืชยาเสพติดลดลง การจับกุมผูลําเลียงยาเสพติดบางประเทศลดลง และในขณะเดียวกัน บางประเทศก็เพิ่มขึ้น พบการทําลายโรงงานผลิตยา เสพติด บางประเทศผูใชยาเสพติดประเภทฝน กัญชา มีจํานวนเทาเดิม สวนใหญผูใชสารเสพติดในกลุมแอมเฟตามีน (ATS) (Amphetamine–type stimulants) ไดแก เมแอมเฟตามีน/ไอซ แอมเฟตามีน non-specified amphetamines และกลุมเอ็กซตาซี มีจํานวนเพิ่มขึ้น จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ 21 ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 3-4 เมษายน 2555 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ทีผ่ านมา ไดรับรองปฏิญญารวมของผูนําประเทศอาเซียน ในการเปนอาเซียนที่ปลอดยาเสพติดในปพ.ศ. 2558 ทั้งนี้ อาเซียนไดประกาศวิสัยทัศนการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2563 และตอมา ผูนํา ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นพองที่จะเลื่อนปเปาหมายของการใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติดใหเร็วขึ้นอีก 5 ป เปนป พ.ศ. 2558 และไดนิยามการเปน “ประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด” วาคือ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถ ควบคุมปญหายาเสพติดไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ โดยไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตที่เปนปกติสุข ของสังคม และจะทําอยางไรเพื่อใหบรรลุตามเปาประสงคในการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนไดนั้น เปนประเด็นที่ ทาทาย รอเราอยูขางหนา ตางทํางานในการแกไขปญหายาเสพติดเชนเดียวกัน การตอสูกับปญหายาเสพติดในฐานะ อาเซียนที่เปนเสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน โดยเราจะรวมกันเปนประชาคมอาเซียน ภายใน ป พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนป
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 108
เปาหมายเดียวกับการเปนประชาคมอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ผานการสรางความเชื่อมโยงกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) นั่นหมายถึง การเปดพรมแดน เพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายคนในภูมิภาคอยางเสรี ซึ่งเราควรจะไดตระหนัก ถึงผลกระทบเชิงลบจากการเชื่อมโยงดังกลาวดวย การสกัดกั้นยาเสพติดบริเวณพรมแดนถือเปนองคประกอบหนึ่งในการ สกัดการลักลอบขนยาเสพติดเขามาในประเทศ หรือ ออกไปสูประเทศที่สาม ไมเพียงแคนั้นยังควรรวมมือกันในการลด อุปสงคยาเสพติดอีกดวย เพื่ออนาคตของลูกหลานไมใหตกเปนเหยื่อของยาเสพติดในฐานะรัฐบาลไทย มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหมีการเตรียมความพรอมของประเทศไทย เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 และมอบหมายสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดมีการประชุมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน ป 2558 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2555 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานการประชุม ที่ประชุมมอบหมายใหมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานในแต ละยุทธศาสตรใหกําหนดเปาหมาย ระยะเวลา และงบประมาณที่จะทําใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด พรอมกับระบุโครงการ ที่มีความสําคัญระดับตน (Flagship Projects) ตามกรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ป 2558 เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป
สภาพปญหายาเสพติด ในชวงของการรวมตัวเปนสมาคมอาเซียนในระยะแรกระหวางป 2510-2520 ปญหาสําคัญที่ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตประสบอยูปญหาหนึ่ง คือ ปญหาการลับลอบผลิต ยาเสพติด การลักลอบคายาเสพติด และการแพร ระบาดของยาเสพติด ซึ่งยังคงมีอยูอยางตอเนื่องมากกวา 30 ปกอนที่จะมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน โดยรูปแบบของปญหา ยาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามสภาพการณแวดลอม และปจจัยที่เอื้ออํานวย ชวงระยะแรก เมื่อมีการกอตั้งสมาคมอาเซียน สภาพปญหายาเสพติดที่ เปนปญหา ถือวา มีความรุนแรงใน ภูมิภาคอาเซียน คือ ปญหาการลักลอบปลูกพืชเสพติด คือ ฝน และการลักลอบผลิตเฮโรอีนในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา (Golden Triangle) ซึ่งเปนพื้นที่ติดตอกันของ 3 ประเทศ คือ เมียนมาร ลาว และไทย พื้นที่ปลูกฝนในบริเวณสามเหลี่ยม ทองคํามี กวา 150,000 เฮคตาร และใหผลผลิตฝนประมาณ ปละ 2,000-2,500 ตัน การปลูกฝนจะดําเนิน การโดย ชนกลุมนอย และชาวเขาที่อาศัยอยูบนพื้นที่สูง เพราะนอกเหนือจากการปลูกฝน เพื่อยังชีพแลว ฝนยังเกี่ยวของกับสังคม และวัฒนธรรมของชนเผาอีกดวย นอกจากนี้ ยังพบการลักลอบปลูกกัญชาในหลายพื้นที่ โดยเมื่อ 30 ปกอน กัญชาปลูก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว อินโดนีเซีย และฟลิปปนส เนื่องจาก เปนพืชที่สามารถเติบโตไดในทุกสภาพ อากาศ ทําให มีการกระจายตัวของการลัก ลอบปลูกกัญชาในหลายประเทศสมาชิกอาเซียน อีกทั้งประเทศไทย และ ประเทศอาเซียนอื่น ๆ คือ มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ตางถูกใชเปนจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยมทองคํา กอน จะถูกลักลอบตอไปยังประเทศที่สามในทวีปยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ป 2519 ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นวา ปญหายาเสพติดเปนภัยคุกคามตออาเซียน และภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยรวมที่จําเปนที่จะตองรวมมือกันขจัดยาเสพติดใหหมดไปจากภูมิภาค จึงไดประกาศปฏิญญาอาเซียนวาดวย หลักการในการตอตานการใชยาเสพติดในทางที่ผิด (ASEAN Declaration of Principles to Combat the Abuse of Narcotic Drugs) ซึ่งมีหลักการวา ประเทศสมาชิกอาเซียนแตละประเทศจะเพิ่มความระมัดระวัง และมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลับลอบคายาเสพติด จัดใหมีความรวมมือในดานการวิจัย และศึกษาเกี่ยวกับยาเสพติด ตอมา สภาพปญหาไดเปลี่ยนแปลงจากปญหายาเสพติดที่สกัดจากพืช มาเปนยาเสพติดประเภทสารสังเคราะห โดยปญหาการ ปลูกฝนในภูมิภาคลดลงทั้งในประเทศไทย เมียนมาร และลาว เนื่องจาก พยายามในการแกไขปญหายาเสพติด แตพบวา สารกระตุนประสาทประเภทเมทแอมเฟตามีน (Methamp hetamine Type Stimulants : ATS) ซึ่งเปนสารกระตุน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 109
ประสาทที่เรียกวา วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (psychotropic substance) เริ่มเขามาแพรระบาดในภูมิภาค อาเซียนใน ป 2532 และประมาณป 2540 เริ่มมียาเสพติดจากนอกภูมิภาค เชน โคเคน จากทวีปอเมริกาใต เอ็กซตาซี หรือยาอี จากประเทศในยุโรป ในปจจุบันตั้งแตป 2550 เปนตนมา พบวา มีไอซ หรือคริสตัลเมทแอมเฟตามีนจากประเทศ ในยุโรปเขามาแพรระบาด และมีการลักลอบคาในภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น และในระยะ 2-3 ปที่ผานมา พบวา มีความพยายาม ที่จะผลิตไอซในภูมิภาคอาเซียนดวย
สถานการณยาเสพติดในประเทศอาเซียน การใชยาเสพติดในกลุม AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS) /สารกระตุนจิตและประสาทในประเภท แอมเฟตามีน ซึ่งรวมไปถึงเมทแอมเฟตามีน หรือยาบา และ ICE ดวย โดยเฉพาะเมทแอมเฟตามีน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นใน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยยาบาเปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศไทย และ สปป.ลาว และเปนยาเสพติดอันดับสองในประเทศกัมพูชา และเวียดนาม สวน ICE เปนยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย และฟลิปปนส การผลิตยาเสพติดในกลุม ATS ยังคงอยูในระดับสูง โดยกลุมวาและโกกั้ง ซึ่งเปนชนกลุมนอยในประเทศ เมียนมารเปนกลุมผูผลิตหลัก (ยาบา) ในภูมิภาค และใน 2555 สามารถจับกุมโรงงานผลิต ICE เปนครั้งแรก การจับกุมยาเสพติดในกลุม ATS ในป พ.ศ. 2554-2555 ยังอยูในระดับสูงและมีการจับกุม ICE ไดเพิ่มขึ้น โดย ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย รายงานวา มีการจับกุม ICE ไดมากกวา 1 ตัน และประเทศกัมพูชา และสิงคโปร ก็ มีการจับกุม ICE เพิ่มมากขึ้นเชนกัน สําหรับยาอี มีจํานวนลดลงในชวงไมกี่ปที่ผานมา และในระดับโลกมีสัญญาณวา ยาอี จะกลับมาอีกครั้ง สําหรับกลุมนักคาแอฟริกันตะวันตก ลักลอบนําโคเคนมาขายในเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต มากขึ้น มีการจับกุมโคเคนจํานวนมากไดในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศกัมพูชา ฟลิปปนส เวียดนาม ฮองกง และจีน กลายเปนประเทศทางผานของโคเคนที่สําคัญ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็มีการจับกุมโคเคนไดเพิ่มขึ้น เชนกัน โดยกลุม แอฟริกาตะวันตก เดิมจะลักลอบลําเลียงโคเคน และเฮโรอีนเปนหลัก แตปจจุบันเริ่มลักลอบลําเลียงเมทแอมเฟตามีนมาก ขึ้น ซึ่งมีรายงานจากประเทศบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ญี่ปุน ลาว มาเลเซีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส ไทย และเวียดนาม สําหรับกลุมนักคาชาวอิหรานลักลอบลําเลียง ICE ยาเสพติดอื่น ๆ เขามาในภูมิภาค และจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษา การติดยาเสพติดในกลุม ATS มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ในกลุมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ อาจกลาวไดวา ไมมีประเทศไหนที่ไมมีปญหายาเสพติด แมกระทั่ง ประเทศสิงคโปร ซึ่งมีบทลงโทษที่รุนแรง เนื่องจาก กลุมประเทศอาเซียนมีแหลงผลิตยาเสพติดขนาดใหญ คือ พื้นที่ สามเหลี่ ยมทองคํ า ซึ่ ง เป น แหล ง ผลิ ตฝ น อั น ดั บ สองของโลก นอกจากนั้ น ยัง เป น แหล ง ผลิ ต เฮโรอี น ICE และยาบ า (AMPHETAMINE TYPE STIMULANT (ATS)) ซึ่งยาเสพติดที่ผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไดกระจายไปยังประเทศ อาเซียนทุกประเทศ นอกจากนี้ การผลิตยาเสพติด ในภูมิภาคเองแลว อาเซี ยนยัง เผชิญกั บปญหาการลั กลอบนําเข า ยาเสพติดจากภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะ ICE จากแอฟริกา และโคเคนจากอเมริกาใต สําหรับปญหายาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน แบงออกไดเปน 3 กลุมหลัก ๆ คือ 1. ประเทศที่มีสถานะเปนผูผลิตยาเสพติด ไดแก เมียนมาร ซึ่งเปนผูผลิตฝน เฮโรอีน ยาบา และ ICE 2. ประเทศที่มีสถานะเปนทางผานยาเสพติด หรือเปนเสนทางลําเลียงยาเสพติดจากแหลงผลิตในเมียนมาร ไปยังประเทศอื่น ๆ ไดแก ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ 3. ประเทศที่มีสถานะเปนผูบริโภค หรือเปนแหลงแพรระบาดยาเสพติด เชน ไทย ฟลิ ปปนส อินโดนีเซีย มาเลเซีย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 110
ซึ่งในแตละประเทศอาจมีหนึ่ง หรือสองสถานะรวมกัน นอกจากนั้น ยังมีอีก 2 ประเทศที่มีปญหายาเสพติดนอย คือ ประเทศสิงคโปร และบรูไน
1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
ประเทศบรูไน แบงการปกครองเปน 4 เขต มีกรุงบันดาร เสรี เบกาวัน เปนเมืองหลวง การปกครองเปนแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และภาษาจีน บรูไน เปนประเทศเล็ก ๆ ที่มีปญหาคอนขางนอย สถานะเปนผูบริโภคยาเสพติดเปนประเทศที่ไมมีปญหาการ ผลิตยาเสพติดภายในประเทศ และไมมีปญหาเครือขายการคาที่สํา คัญ หรือเครือขายการคาขามชาติ ที่เคลื่อนไหวใน ประเทศ ยาเสพติดที่เปนปญหาหลักของประเทศ คือ ICE และมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้น รองลงมาเปนกัญชา คีตามีน วัตถุ ออกฤทธิ์ฯ และสารระเหย โดยรายงานของ UNODC ระบุวา ใน พ.ศ. 2554 มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 183 คน เปนผูใช ICE รอยละ 96 และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด ทั้งสิ้น 588 คน เปนคดี ICE รอยละ 87 ของกลางที่ยึดได ไอซ 0.78 กิโลกรัม ยาอี 349 เม็ด กัญชา 0.58 กิโลกรัม คีตามีน 0.39 กิโลกรัม และไนเมตาซีแฟม 1,495 เม็ด สวนในป พ.ศ. 2555 (มกราคม-กันยายน) มีการจับกุมผูตองหาคดียาเสพติดได 296 คน ICE 4.7 กิโลกรัม กัญชา 615 กรัม อีริมินไฟว 545 เม็ด และคีตามีน 396 ขวด
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา แบ งการปกครองออกเป น 20 จังหวัด 4 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุ งพนมเปญ การ ปกครองเปนแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญใชภาษาเขมรเปนภาษา ราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ กัมพูชา มีสถานะเปนทางผานยาเสพติดหลายชนิด ทั้ง เฮโรอีน ICE และยาบา จากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคํา ไปยังประเทศที่สาม และยังเปนทางผาน ICE จากแอฟริกา โคเคนจากอเมริกาใต นอกจากนั้น ยังมีการผลิต ICE และสาร ตั้งตนซาฟโรล (สําหรับผลิต ICE หรือยาอี) ซึ่งปจจุบัน กัมพูชาถูกใชเปนฐานการคาของเครือขายนักคายาเสพติดชาว แอฟริกา ซึ่งกระจายยาเสพติดไปยังประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูถูกจับคดียาเสพติดทั้งสิ้น 2,381 คน เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่จับกุมได 864 คน ของกลาง ยาบา 238,994 เม็ด ICE 19.1 กิโลกรัม ยาอี 7,855 เม็ด กัญชา 210.2 กิโลกรัม โคเคน 1.1 กิโลกรัม และ เฮโรอีน 2.1 กิโลกรัม สวนในป 2555 (มกราคม-มิถุนายน) มีรายงานการจับกุมคดียาเสพติดทั่วประเทศ จํานวน 524 คดี ของกลาง ยาบา 47,041 เม็ด ICE 17.2 กิโลกรัม และโคเคน 29.4 กิโลกรัม ดานการแพรกระจายของยาเสพติด อาจกลาวไดวา กัมพูชาเปนอีกประเทศหนึ่งในกลุมอาเซียนที่มีปญหาการ แพรระบาดของยาเสพติดอยูในระดับปานกลาง แมทางการกัมพูชาจะระบุวา มีผูเสพเพียง 6,000 คน แตจากการประเมิน ขององคกรเอกชน และ UNODC ประมาณการวา อาจมีผูเสพยาเสพติดมากถึง 500,000 คน หรือประมาณ รอยละ 4 ของประชากรทั้งหมด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE รองลงมาเปน ยาบา และมีแนวโนมแพรระบาดเพิ่มขึ้น
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย แบงการปกครองออกเปน 30 จังหวัด 2 เขตปกครองพิเศษและ 1 เขตนครหลวง เมือง หลวง คือ กรุงจาการตา มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข และหัวหนา ฝาย อินโดนีเซีย มีสถานะเปนประเทศผูบริโภค แตมีปญหายาเสพติดหลายประการ ทั้งเปนแหลงยาเสพติด เปน แหลงคา และแหลงแพรระบาด โดยเฉพาะดานปญหาการแพรระบาดที่มีปญหาคอนขางมาก จากสถิติ ป พ.ศ. 2554 ระบุ วา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 9,870 คน สวนใหญเขารับการบําบัดรักษา ICE และยาอี และมีผูจับกุมคดียาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 111
15,766 คนของกลางที่ยึดได ICE 1,163.3 กิโลกรัม ยาอี 1,096,249 เม็ด วัตถุออกฤทธิ์ฯ 684,819 เม็ด กัญชา 20,260 กิโลกรัม เฮโรอีน 28.8 กิโลกรัม และคีตามีน 49.3 กิโลกรัม และมีรายงานขอมูลการประมาณการจํานวนผูเสพยาเสพติด ในประเทศวา มีอยูประมาณ 4.1 ลานคน หรือประมาณ รอยละ 2 ของประชากร และมีการเพิ่มสูงขึ้นในรอบ 2-3 ปที่ผาน มา โดยเฉพาะในครึ่งปแรกของป 2554 ที่มีอัตราการเพิ่มของอาชญากรรมยาเสพติดประมาณรอยละ 67 เมื่อเปรียบเทียบ กับหกเดือนกอนหนา การแพรระบาดมีทั้งในเมือง และตามหมูบานในชนบท ผูเสพมีอายุตั้งแต 15-39 ป และกลุมผูใชที่ เปนเยาวชนเพิ่มมากขึ้น ยาเสพติดที่แพรระบาดมากที่สุด คือ ICE เฮโรอีน และคีตามีน ปญหายาเสพติด ของประเทศอิ นโดนี เซี ย จัด อยู ในระดับ รุน แรง ซึ่ง ปจจัยที่ส งผลต อสถานการณป ญหา ยาเสพติด ในประเทศอินโดนีเซีย คือ กลุมการคายาเสพติด และเครือขายการคา ซึ่งประกอบดวยหลายชนชาติ เชน กลุม อิหราน แอฟริกัน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน จีน ไทย ไตหวัน และอินเดีย
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
สปป.ลาว แบงการปกครองเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ เมืองหลวง คือ นครหลวงเวียงจันทน มี ระบอบการปกครองเปนแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต ใชภาษาลาวเปนภาษาราชการ สปป.ลาว มีสถานะเปนประเทศทางผานยาเสพติดสําคัญของประเทศพมามายังประเทศไทย เวียดนาม และ กัมพูชา กอนที่จะสงตอไปยังประเทศอื่น ๆ นอกจากนั้น ยังเปนทางผานสารตั้งตนเขาสูแหลงผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยม ทองคํา และเปนประเทศที่ผลิตกัญชามากที่สุดในอาเซียน รวมทั้งยังเปนประเทศที่มีการปลูกฝนในพื้นที่ทางตอนเหนือของ ประเทศ จากรายงานยาเสพติดประจําปของกระทรวงยุติธรรมประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา ลาวเปนทางผานยาเสพติด ที่สําคัญของยาเสพติดในภูมิภาคอาเซียน โดยในป พ.ศ. 2555 สปป. ลาว มีการจับกุมยาเสพติด จํานวน 1,223 คดี ยึด ของกลางได ยาบา 10 ลานเม็ด เฮโรอีน 45 กิโลกรัม และกัญชา 2.8 ตัน ปญหายาเสพติดของ สปป.ลาว อยูในระดับปานกลาง แตในสวนของการแพรระบาด สปป.ลาว เริ่มประสบ กับปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในประเทศมากขึ้น ในป พ.ศ. 2553 รัฐบาล สปป.ลาว ประเมินวา มีผูเสพยาบา ประมาณ 42,000 คน และมีผูเสพฝนประมาณ 14,000 คน และจากรายงานของ UNODC ระบุวา ในป พ.ศ. 2554 สปป. ลาว มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,554 คน โดยรอยละ 98 เปนผูใชยาบา มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 1,749 คน ของ กลางประเภทยาบา 4,609,729 เม็ด กัญชา 1,617.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 43.4 กิโลกรัม และฝน 63.4 กิโลกรัม ยาเสพติดที่ แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา รองลงมาเปนกัญชา และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
5. มาเลเซีย (Malaysia)
มาเลเซี ย แบง การปกครองออกเป น 13 รั ฐ เมื อ งหลวง คื อ กรุ ง กั ว ลาลั มเปอร มีก ารปกครองระบอบ ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ใชภาษามาเลยเปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษ และจีน มาเลเซียเปนประเทศทางผานยาเสพติดที่สําคัญ ดังนั้น จึงจัดอยูในสถานะของประเทศผูบริโภค สถานการณ ยาเสพติดอยูในภาวะที่เกือบจะควบคุมได แตอยางไรก็ตาม มาเลเซียยังมีปญหาการเปนทางผานของเฮโรอีน ICE จากพื้นที่ สามเหลี่ยมทองคํา นอกจากนั้น กลุมนักคายาบางกลุมเขาไปใชมาเลเซียเปนฐานในการผลิต ICE และเอ็กซตาซี รวมทั้ง กลุมนักคายาชาวแอฟริกา และอิหรานใชเปนฐานในการลักลอบนํา ICE และโคเคนเขามาจําหนายในภูมิภาคอาเซียน ปญหายาเสพติดภายในประเทศมาเลเซีย อยูในระดับปานกลาง ยาเสพติดที่มีการแพรระบาดมาก คือ กัญชา ICE เอ็กซตาซี และวัตถุออกฤทธิ์ฯ แตมีแนวโนมลดลงในป พ.ศ. 2554 มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 160,879 คน สวนใหญ เปนคดีเฮโรอีน และ ICE ของกลาง 1,235.6 กิโลกรัม ยาบา 364,909 เม็ด เฮโรอีน 755.5 กิโลกรัม กัญชา 1,055 กิโลกรัม กระทอม 1,440.4 กิโลกรัม ยาแกไอ 1,537.7 ลิตร วัตถุออกฤทธิ์ฯ 1,773,875 เม็ด เอ็กซตาซี 98,751 เม็ด คีตา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 112
มีน 202.5 กิโลกรัม ฯลฯ และมีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 4,403 คน โดยรอยละ 83 เขาบําบัดการติดเฮโรอีน รัฐบาล มาเลเซียประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1,050,000 คน
6. สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร
เมียนมาร แบงการปกครองออกเปน 7 เขต 7 รัฐ เมืองหลวง คือ เมืองเนปดอ (Naypyidaw) ใชภาษาพมา เปนภาษาราชการ เมียนมารมีสถานะเปนประเทศผูผลิตยาเสพติดหลักในภูมิภาค ซึ่งมีการผลิตทั้งฝน เฮโรอีน ยาบา ICE และ เปนแหลงผลิตขนาดใหญที่สงผลกระทบทั้งภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งอี กหลายประเทศในโลก ในอดีตเมียนมารเปนแหลง ผลิตฝน และเฮโรอีนอันดับหนึ่งของโลก ปจจุบัน เปนอันดับสองของโลก รองจากอัฟกานิสถาน มีผลผลิตฝนประมาณรอย ละ 20 ของผลผลิตฝนทั้งโลก ปจจุบันเมียนมารเปนแหลงผลิตยาบา และ ICE ขนาดใหญ สําหรับยาบาเปนการผลิตเพื่อสง ตลาดในประเทศไทยเปนหลัก สวน ICE สงเขาไทย และประเทศในกลุมอาเซียน รวมทั้งสงไปยังประเทศปลายทางอื่น ๆ สถานการณปญหายาเสพติดในประเทศอยูในระดับรุนแรง แตในดานการแพรระบาด เมียนมารเปนประเทศ ที่ประสบกับปญหาแพรระบาดนอยกวาประเทศเพื่อนบานอื่น ๆ เนื่องจาก ประชาชนยังยากจนไมมีเงินเพียงพอที่จะซื้อ ยาเสพติดมาเสพ ยกเวนการเสพฝนในพื้นที่เพาะปลูก องคกรเอกชนในเมียนมารประเมินวา มีผูเสพในเมียนมารประมาณ 300,000 คน ส วนใหญ จะเปน เยาวชนในพื้น ที่เ มื อง และผู ใช แ รงงานตามเหมื อ งแร ในเขตอิท ธิพ ลของชนกลุ มน อ ย ยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน และฝน แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน ยาบา ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดย ในป พ.ศ. 2554 มีการรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 1,550 สวนใหญเขารับการบําบัดเฮโรอีน และฝน ดานการจับกุมคดียาเสพติด ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานผูถูกจับคดียาเสพติด 3,691 คน สวนใหญเปนคดี ยาบา และเฮโรอีน ของกลาง ยาบา 5,894,188 เม็ด ICE 33.4 กิโลกรัม เฮโรอีน 42.4 กิโลกรัม ฝน 1,169.9 กิโลกรัม ฯลฯ สวนในป 2555 มีรายงานผลการจับกุมคดี ยาเสพติด 2,457 คดี ของกลาง ฝน 1.3 ตัน เฮโรอีน 147 กิโลกรัม และ ยาบา 15.9 ลานเม็ด อาจกลาวไดวา การผลิตยาเสพติดของเมียนมาร สงผลกระทบตอสถานการณปญหายาเสพติดเกือบ ทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทยที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด เนื่องจาก เปนตลาดขนาดใหญของเมท แอมเฟตามีนจากเมียนมาร (ยาบา และ ICE)
7. สาธารณรัฐฟลิปปนส
ฟลิปปนส แบงการปกครองออกเปน 17 เขต เมืองหลวง คือ กรุงมะนิลา มีการปกครองแบบสาธารณรัฐเดี่ยว ระบบประธานาธิ บดีเปนประมุข ภาษาที่ใชมีมากถึ ง 170 ภาษา แตภาษาทางราชการ คือ ภาษา ฟลิปปน สโน และ ภาษาอังกฤษ ฟลิปปนสมีสถานะเปนประเทศผูบริโภคยาเสพติด สถานการณการแพรระบาดอยูในระดับรุนแรง ฟลิปปนส ประสบปญหาการแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีน (ICE) และกัญชา ซึ่ง UNODC ประเมินวา ฟลิปปนสเปนประเทศที่มี การแพรระบาดของเมทแอมเฟตามีสูงที่สุดในประเทศกลุมอาเซียนดวยกัน โดยในป 2544 ประมาณการวา มีผูเสพเมท แอเฟตามีนประมาณ รอยละ 2.1 ของประชากรที่มีอายุตั้งแต 16-64 ป นอกจากนั้น เครือขายการคาในฟลิปปนสมี ลักษณะเปนเครือขายอาชญากรรมขามชาติระหวางเครือขายนักคาชาวจีน และนักคาชาวฟลิปปนส ซึ่งทางการฟลิปปนส รายงานวา ประมาณรอยละ 30 ของคดีที่อยูในการพิจารณาของศาลเปนคดียาเสพติด โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ICE ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น รองลงมาเปนกัญชา แตมีแนวโนมลดลง ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานวา มีผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 3,040 คน เปนผูเขารับการบําบัดรักษาการติด ICE 2,192 คน รองลงมาเปนกัญชา 903 คน และสารระเหย 166 คน และมีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 10,636 คน ของ กลาง ICE 254.3 กิโลกรัม ICE น้ํา 173.4 ลิตร กัญชา 596.5 กิโลกรัม และโคเคน 17.8 กิโลกรัม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 113
8. สาธารณรัฐสิงคโปร
สิงคโปร เปนประเทศเล็ก ๆ อยูทางตอนใตของประเทศมาเลเซีย เมืองหลวง คือ สิงคโปร การปกครองเปน ระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข ใชภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา คือ ภาษาจีนกลาง สิงคโปร เปนประเทศที่อยูในสถานะผูบริโภค ประสบกับปญหายาเสพติดนอยที่สุดในภูมิภาค เนื่องจาก มี ปญหาของการคา และการแพรระบาดนอยมาก จนรัฐบาลกลาววา เปนประเทศที่ไม มีปญหายาเสพติด และไมเป น ประเทศแหลงผลิต และไมมีเครือขายที่สําคัญเคลื่อนไหวในประเทศยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน รองลงมา เปน ICE โดยทั้ง 2 ตัวยามีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาทั้งสิ้น 1,245 คน เปนผูใชเฮโรอีน 558 คน และ ICE 549 คน สําหรับการจับกุมคดียาเสพติดในสิงคโปร มีสถิติจับกุมคอนขางนอยเชนกัน โดยในป พ.ศ. 2554 มีผูถูก จับกุมคดียาเสพติดเพียง 3,326 คน ของกลาง ICE 14.1 กิโลกรัม เฮโรอีน 72.7 กิโลกรัม และยาบา 772 เม็ด สวนในครึ่ง ปแรกของป พ.ศ. 2555 มี การจับกุ ม คีตามีน 1.8 กิ โลกรัม กั ญชา 9 กิโลกรัม ICE 9.4 กิ โลกรัม และเฮโรอีน 44.8 กิโลกรัม
9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนาม แบงการปกครองออกเปน 59 จังหวัด 5 เทศบาล เมืองหลวง คือ กรุงฮานอย มีการปกครอง ระบบสังคมนิยมโดยพรรคคอมมิวนิสต เปนพรรคการเมืองเดียว ใชภาษาเวียดนามเปนภาษาราชการ เวียดนามเปนประเทศทางผานยาเสพติด ทั้งเฮโรอีน ICE กัญชา และโคเคน ปญหายาเสพติดของเวียดนาม อยูในระดับปานกลาง ปจจุบันเครือขายการคายาเสพติดเริ่มมีการใชเวียดนามเปนฐานในการคามากขึ้น ยาเสพติดที่แพร ระบาดมาก ไดแก เฮโรอีน แตมีแนวโนมลดนอยลง รองลงมาเปน ICE ยาบา และยาอี ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เวียดนามประสบกับปญหาการแพรระบาดของเฮโรอีน โดยในครึ่งปแรกของป พ.ศ. 2554 มีรายงานจํานวนผู เสพประมาณ 150,000 คน สวนใหญเปนผูเสพเฮโรอีน แตมีผูเขารับการบําบัดรักษาเพียง 16,000 คน โดย 9,400 คน เขา รับการบําบัดรักษาในระบบบังคับ และ 6,600 คน บําบัดรักษาในชุมชน มีผูถูกจับกุมคดียาเสพติด 26,680 คน ของกลาง ยาบา 366,000 เม็ด กัญชาสด 7.1 ตัน กัญชาแหง 500 กิโลกรัม เฮโรอีน 309 กิโลกรัม กับ 36 แทง สวนในป 2555 มี การจับกุมยาบาได 13,022 เม็ด และเฮโรอีน 45 กิโลกรัม ในครึ่งปแรก รัฐบาลเวียดนามประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติด ประมาณ 171,400 คน
10. ราชอาณาจักรไทย
ประเทศไทยแบงการปกครองออกเปน 77 จังหวัด เมืองหลวง คือ กรุงเทพมหานคร มีการปกครอง ระบบ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ใชภาษาไทยเปนภาษาราชการ ประเทศไทยเปนประเทศที่อยูใ นสถานะของประเทศผูบ ริโภค มีปญหาการแพรระบาดของยาเสพติ ด คอนขางสูง ในป 2553 มีการประมาณการวา มีผูเสพยาเสพติดประมาณ 1.2 ลานคน นอกจากนั้น ยังเปนทางผานของ ยาเสพติดทั้งเฮโรอีน และ ICE จากเมียนมารไปยังประเทศที่ 3 โดยยาเสพติดที่แพรระบาดมาก ไดแก ยาบา และมี แนวโนมไมเปลี่ยนแปลง รองลงมาเปน กัญชา แตมีแนวโนมลดลง สวน ICE มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น โดยนักวิชาการได ประมาณการณวา จากสถานการณปญหายาเสพติดในปจจุบัน คาดวา จํานวนผูเสพ ICE จะเพิ่มขึ้นเปน 500,000 คนในป พ.ศ. 2559 โดยในป พ.ศ. 2556 (ตุ ล าคม 2555 – 25 มี น าคม 2556) มี ร ายงานจํ า นวนผู เ ข า รั บ การบํ า บั ด รั ก ษา 129,355 คน มีการจับกุมคดียาเสพติด 204,282 คดี ผูตองหา 194,600 คน ของกลางยาบา 53.8 ลานเม็ด ICE 863.3 กิโลกรัม เฮโรอีน 181.8 กิโลกรัม กัญชา 11.2 ตัน และโคเคน 45.5 กิโลกรัม
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 114
มาตรการและแนวทางแกไขปญหายาเสพติดของประเทศเพื่อนบาน ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดในประเทศไทย มิใชปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศเทานั้น แตเปนปญหาที่มี สวนเกี่ยวของกับตางประเทศดวย โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบาน ดังนั้น มาตรการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศ เพื่อนบาน จึงเปนปญหาสําคัญที่สะทอนถึงประสิทธิผลของนโยบาย การแกไขปญหายาเสพติดของไทย
1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
ประเทศบรูไน ใหความสําคัญกับการบําบัดรักษา และฟนฟูผูที่ติดยาเสพติด โดยกอตั้งสถาบันเพื่อการบําบัด และฟนฟูผูติดยาเสพติด “Rumah-Al-Islan” ซึ่งอยูภายใตการดูแลของกรมราชทัณฑ สําหรับมาตรการดานกฎหมายใน การแกไขปญหายาเสพติด บรูไนไดออกพระราชบัญญัติวาดวยการใชยาในทางที่ผิด (Misuse of Drugs Act: MDA) ในป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ซึ่งมีบทลงโทษแกผูลักลอบคายาเสพติดถึงขั้นประหารชีวิต นอกจากนี้ ยังไดออกคําสั่งวาดวยการ ฟอกเงินอีกดวย สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น บูรไนไดเขารวมเปนสมาชิกในการประชุมดานยาเสพติดของ อาเซียน และความรวมมือระดับทวิภาคี กับมาเลเซีย โดยการแลกเปลี่ยนขอมูลการสืบสวนและการปฏิบัติการรวมกัน
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
การแกไขปญหายาเสพติดของกัมพูชา ไดมุงเนนการทํากิจกรรมดานตาง ๆ ทั้งดานการบังคับใชกฎหมายและ การปราบปรามยาเสพติด มาตรการควบคุมสารตั้งตนในการผลิตยาเสพติด การทําลายแหลงเพาะปลูกพืชเสพติด และการ ใหความรูเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดแกเด็ก และเยาวชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น กัมพูชาไดเขารวม การประชุมในเวทีตาง ๆ มากมาย ตลอดจนการกอตั้งความรวมมือขามพรมแดนระหวางไทย-กัมพูชา และความรวมมือใน ระดับทวิภาคีและไตรภาคี (กัมพูชา-สปป.ลาว-เวียดนาม)
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียมียุทธศาสตร และมาตรการควบคุม และตอตานยาเสพติด โดยสรางความสมดุลของยุทธศาสตร ในการดําเนินงานแกไขปญหายาเสพติดทั้งการลดอุปสงค และอุปทาน การควบคุมสารตั้งตน การควบคุมการนําสง ซึ่ง ดําเนินการรวมกับประเทศไทย การประกาศใชกฎหมายปราบปรามการฟอกเงินในป ค.ศ. 2002 และเปนสมาชิกของกลุม ประเทศเอเชียแปซิฟก ในเรื่องการตอตานการฟอกเงิน นอกจากนี้ อินโดนีเซียไดจัดตั้งระบบฐานขอมูลเพื่อรวบรวม รายงานการใชยาเสพติดในทางทีผ่ ิดจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น อินโดนีเซีย ไดเ ขาร วมเปน ภาคีในอนุสั ญญาของสหประชาชาติ จํ านวน 3 ฉบับ ดานยาเสพติด ทั้ง นี้ อินโดนีเ ซียยังไดร วมมื อกั บ UNDCP ในการทําโครงการตาง ๆ
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
การแกไขปญหายาเสพติดในสปป.ลาวนั้น รัฐบาลลาวใหความสําคัญตอการจัดการปลูกฝนภายในประเทศ เปนอยางมาก โดยมุงเนนการใชแนวทางสมดุล เพื่อแกไขปญหาความยากจนควบคูไปกับการขจัดฝนโดยผาน 3 สวนหลัก คือ การพัฒนาทางเลือก การลดอุปสงคยาเสพติดโดยเนนชุมชน และการบังคับใชกฎหมาย รัฐบาลลาวไดดําเนินการลด อุปสงคยาเสพติดดวย การรองรับแผนปลูกจิตสํานึกในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น สปป.ลาวเนนความรวมมือทางวิชาการ และการรับความชวยเหลือ จากตางประเทศเปนหลัก และรัฐบาลลาวไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อการควบคุมยาเสพติด 2 ฉบับ และ กําหนดใหมีกฎหมายฟอกเงิน และกฎหมายควบคุมสารตั้งตน บังคับใชภายในประเทศ นอกจากนี้ ในป 2540 ลาวไดรับ เลือกเปนสมาชิกของคณะกรรมาธิการยาเสพติดแหงสหประชาชาติ ซึ่งมีวาระการเปนสมาชิก 4 ป ปจจุบัน สปป.ลาวมี ความรวมมือระดับภูมิภาคภายใตก รอบอาเซียน โดยมีเปาหมายรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด ภายในป 2558 และยังมีความรวมมือในระดับอนุภูมิภาคดวย
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 115
5. สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร เมียนมารไดจัดทํารางแผนควบคุมยาเสพติดและลดพื้นที่ปลูกฝนภายใน 15 ป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดพื้นที่ ปลูกฝน ลดการผลิตและการบริโภคฝนใหหมดไป การดําเนินงานแบงเปน 3 ระยะ ๆ ละ 5 ป โดยมีหลักยุทธศาสตร คือ ดําเนินงานเพื่อการพัฒนาพื้นที่ชายแดน เปนการยกระดับความเปนอยูของชาวเมียนมาร ซึ่งการดําเนินงานตามแผนนี้ ครอบคลุมถึงการลดอุปสงค อุปทาน และการปราบปรามยาเสพติด นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมารไดปฏิรูปให CCDAC (Central Committee for Drug Abuse Control) ซึ่งเปนหนวยงานหลักดานยาเสพติดที่เรงดําเนินมาตรการควบคุมยา เสพติดมากขึ้น และไดลงนามในปฏิญญารวมที่จะทําใหภูมิภาคอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด และรัฐบาลเมียนมารไดให ความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ทุกระดับ โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก UNODC และลงนามในความตกลงเปน บันทึกความเขาใจ (MOU) กับหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่อยูในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
6. มาเลเซีย
หนวยงานหลักของประเทศมาเลเซียที่เปนผูกําหนดวัตถุประสงคในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด คือ National Drugs Council และมาเลเซียยังไดจัดกิจกรรมเพื่อการปองกันปญหายาเสพติดขึ้นมากมาย อาทิ กิจกรรม ปองกันยาเสพติดในโรงเรียน กิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของชุมชน การประชาสัมพันธ และสารสนเทศ และการบําบัด ฟนฟู โดยมีวิธีการบําบัดและฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดหลายรูปแบบ ไดแก 1) One-Stop Center Concept การจัดตั้งศูนยฟนฟูในชุมชนตาง ๆ 2) Multi-Disciplinary Approach การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงหวังการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ 3) Military-Style Training การจัดตั้งศูนยฟนฟูโดยมุงปลุกจิตสํานึกดานระเบียบวินัยเปนสําคัญ สําหรับมาตรการดานกฎหมาย มาเลเซียไดออกมาตรการทางกฎหมายที่สําคัญจํานวน 5 ฉบับ และไดเขา รวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติด จํานวน 3 ฉบับ สวนในระดับภูมิภาค มาเลเซียไดเปนภาคีใน Asean Declaration of Principles on Drug Abuse Control ในป ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) และในระดับทวิภาคีได รวมมือในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดกับประเทศอังกฤษ อองกง สหรัฐอเมริกา เวเนซูเอลา และรัสเซีย
7. สาธารณรัฐฟลิปปนส
ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ประธานาธิบดีของประเทศฟลิปปนส ไดประกาศสงครามกับ ยาเสพติดโดยใชมาตรการเด็ดขาด ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อการปราบปรามผูคา และผูมีสว นเกี่ยวของกับยาเสพติด รวมทั้งผูที่ ทุจริตคอรรัปชั่นดวย โดยรัฐบาลไดดําเนินยุทธศาสตร Holistic Anti-Drug Strategy : HADS เพื่อตอตานยาเสพติด ซึ่ง เปนสวนหนึ่งของแผนดําเนินการตอตานยาเสพติดแหงชาติ Holistic Anti-Drug Program of Action : NADPA โดย แบงเปน 3 ดาน คือ การปองกันและควบคุม การปฏิรูปสวนราชการ และการมีสวนรวมของประชาสังคม ดานกฎหมายได ออกกฎหมายฉบับใหมทดแทนฉบับเดิม คือ Republic Act 1965 หรือ The Comprehensive Dangerous Dugs Act of 2002 และเพิ่มบทลงโทษตอผูละเมิดกฎหมายดานยาเสพติดที่รุนแรงมากขึ้น โดยมีโทษสูงสุดถึงขั้นจําคุกตลอดชีวิต และประหารชี วิ ต ปรับ ตั้ งแต 10,000 ถึ ง 200,000 ดอลลารส หรัฐ ฯ นอกจากนี้ กฎหมายฉบั บ นี้ไ ด กํา หนดใหผู ติ ด ยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษาโดยระบบสมัครใจ หรือบังคับบําบัดและเนนใหครอบครัว โรงเรียน เอกชน สหภาพ แรงงาน และสวนราชการเกิดความรวมมือกันในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด พรอมทั้งสงเสริมการสรางเขต ปลอดยาเสพติด สําหรับความรวมมือระหวางประเทศนั้น ฟลิปปนสไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาสหประชาชาติดานยาเสพ ติด 3 ฉบับ โดยใหความรวมมือในภูมิภาคอื่น และมีบทบาทในกลไกตาง ๆ ภายใตกรอบอาเซียน นอกจากนี้ ฟลิปปนสได ทําความตกลงกับจีน โดยลงนามในเอกสารที่เกี่ยวของกับยาเสพติด 3 ฉบับ คือ สนธิสัญญาสงผูรายขามแดน บันทึกความ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 116
เขาใจวาดว ยการตอสูกั บอาชญากรรมขามชาติ และบันทึก ความเขาใจวาดวยการปองกันการปลูก ผลิต และการใช ยาเสพติดผิดกฎหมาย และฟลิปปนสยังไดรับความชวยเหลือดานเทคนิคจากหลายประเทศ
8. สาธารณรัฐสิงคโปร
หนวยงานหลักของสิงคโปรที่รับผิดชอบเรื่องยาเสพติด คือ Central Narcotics Bureau : CNB โดยกําหนด ยุทธศาสตรการแกไขปญหายาเสพติดทั้งดานการลดอุปสงค และอุปทานยาเสพติด และสิงคโปรใชมาตรการทางกฎหมาย The Misuse of Drugs Act 1973 เปนกฎหมายหลักในการบังคับใชเพื่อปราบปรามยาเสพติด โดยมีการปรับปรุงให ทันสมัยตลอดเวลา โดยเฉพาะการเพิ่มบัญชีรายชื่อยาเสพติดชนิดใหม และยังไดออกกฎหมายใหมเพิ่มเติม คือ The Drug Trafficking Act 1993 ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเปน The Corruption, Drug Trafficking and other Serious Crimes Act 1999 โดยใหอํานาจการติดตาม ยึดทรัพยสินที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การบําบัดฟนฟูผูที่ติดยาเสพติดเปนหนาที่ของ หนวยงาน Drug Rehabilitation Centre : DRCs ซึ่งมีหนาที่ในการปลูกฝงระเบียบวินัย ความรับผิดชอบตลอดจน จริยธรรมตาง ๆ หากผานการบําบัดแลว จะตองอยูภายใตการควบคุมของ DRC อีก 2 ป โดยมีการตรวจสอบปสสาวะเปน ประจํา หากพบวา มีการใชยาเสพติดจะถูกสงตัวเขารับการบําบัดอีกครั้งหนึ่ง สําหรับการศึกษาเชิงปองกัน CNB ไดจัดตั้ง The Preventive Education Unit : PEU ตั้งแตป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เพื่อสรางจิตสํานึกใหแกเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ สิงคโปรไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดจํานวน 3 ฉบับอีกดวย
9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนามไดประการใชแผนปฏิบัติการแหงชาติในการควบคุมยาเสพติดระหวางป ค.ศ. 2001-2005 โดย มุงเนน 8 โครงการสําคัญ คือ 1) การใหความรูและเผยแพรขอมูลขาวสารดานยาเสพติด โดยเวียดนามใหวันตอตานยาเสพติดสากล คือ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกป เปนวันตอตานยาเสพติดแหงชาติดวย 2) การทําลายฝน และโครงการพัฒนาทางเลือกที่ทํารวมกับ UNDCP 3) การตอตานยาเสพติดและการควบคุมสารตั้งตน 4) การปรับปรุงประสิทธิภาพในการบําบัดและฟนฟู 5) การปองกันการใชยาเสพติดในทางที่ผิดในโรงเรียน 6) การศึกษาและประยุกตวิธีการทางการแพทยแผนโบราณ และอื่น ๆ ในการบําบัดและฟนฟู 7) การกอตั้งประชาคมสํานักงาน หรือหนวยงานที่ปลอดยาเสพติด 8) การเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการควบคุมยาเสพติด ทั้งนี้ เวียดนามไดมีสวนรวมในกิจกรรมระหวางประเทศ และยังรวมมือกับสํานักงานผูประสานงานชายแดน ของ ประเทศจีน ลาวและกัมพูชา ในการตรวจสอบ และควบคุมยาเสพติดระหวางพรมแดนอีกดวย
ภูมภิ าคแหลงลุม แมน้ําโขง ภูมิภาคแหลงลุมแมน้ําโขง เปนแหลงผลิต และเสนทางลําเลียงยาเสพติดที่สําคัญ โดยพบวา - เมียนมาร เปนแหลงวัตถุดิบ และยาเสพติดรายใหญที่สุดในโลก และยังถูกจัดอยูในบัญชีรายชื่อประเทศที่ ไมใหความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดอีกแหงหนึ่งดวย - จีน คือ แหลงผลิตสารเคมีที่ใชผลิตสารเสพติด และเปนทางผานของยาเสพติดไปยังฮองกง เพื่อสงตอไป ยังประเทศแถบตะวันตก - สปป.ลาว เปนแหลงผลิตฝนที่สําคัญแหงหนึ่ง และเปนจุดกระจายของยาเสพติด - เวียดนาม และกัมพูชา เปนเสนทางผานของยาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 117
- ไทย เปนทั้งแหลงเงินทุน และตลาดรองรับสินคาที่สําคัญของยาเสพติด ทั้งนี้ จากปญหาที่พบนั้นสืบเนื่องมาจากสาเหตุของการเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมสมัยใหมในเวลา อันรวดเร็วแตมีความเสี่ยงสูง ยาเสพติดจึงกลายเปนทางออกหนึ่งของผู ดอยโอกาสทางสังคม และพวกแสวงหาอํานาจ ในทางทุจริต ประเทศไทยไดขยายความรวมมือกับประเทศที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด หรือประเทศที่ประสบปญหายาเสพติด ทั้งในภูมิภาคเดียวกัน และภูมิภาคอื่น ๆ โดยไดลงนามในบันทึกความตกลงเกี่ยวกับความรวมมือดานการปองกัน และ ปราบปรามยาเสพติดระหวางประเทศ และยังเปนเจาภาพจัดการประชุมระหวางประเทศวาดวยยาเสพติด ซึ่งถือเปนการ ประกาศเจตนารมณทางการเมืองในการยอมรับวา ปญหายาเสพติดเปนปญหารวมกันของประชาคมระหวางประเทศที่ตอ ง รวมกันรับผิดชอบ และแกไขรวมกันทั้งในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระหวางประเทศ ดังนั้น ความสัมพันธอันดีระหวาง 1 ประเทศ จึงเปนเรื่องสําคัญยิ่งตอการแกไขปญหาการแพรระบาดยาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียนรวมมือกันในการตอสูกับปญหาอาชญากรรมขามชาติ ตั้งแต ป ค.ศ. 1976 เพราะเห็นวา ผลรายอันเกิดจากอาชญากรรมดังกลาว กระทบกับการเติบโตและการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะกรณีการ ลักลอบคายาเสพติด แลวขยายตัวและเพิ่มความหลากหลายของรูปแบบอาชญากรรมขามชาติ จากนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวประเทศไทย ทําใหในแตละป มีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติหลั่งไหลเขา มาทองเที่ยวประเทศไทยจํานวนมาก โดยในชวง 5 ปที่ผานมา มีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเดินทางเขามาในประเทศไทย เพิ่มขึ้นจาก 20.6 ลานคน ในป 2551 เพิ่มขึ้นเปน 31.4 ลานคนในป 2555 โดยขอมูลของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองระบุ วา ชาวตางชาติที่เดินทางเขาประเทศไทยสูงสุด 10 อันดับ ไดแก จีน มาเลเซีย ลาว ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย อังกฤษ และสิงคโปร ในป 2555 โดยเฉพาะคนในประเทศอาเซียน ก็พบวา มีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน คือ มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยชาวมาเลเซียเปนกลุมที่เดินทางเขาประเทศไทยมากที่สุด รองลงมา คือ ชาวลาว สิงคโปร และเวียดนาม จากสถิติการจับกุมผูตองหาชาวตางชาติในคดียาเสพติดในป 2551-2555 พบวา มีกลุมคนในประเทศอาเซียนเขา มาถูกจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง สัญชาติที่ถูกจับกุมมากที่สุด คือ สปป.ลาว รองลงมา เปน เมียนมาร กัมพูชา และมาเลเซีย สวนสัญชาติที่ไมมีการจับกุมคดียาเสพติดในประเทศไทยเลย คือ บรูไน ชนิดยาเสพ ติดที่กลุมผูตองหาในประเทศอาเซียนเขามาเกี่ยวของมากที่สุด ไดแก ยาบา ไอซ เฮโรอีน และกัญชา ตามลําดับ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ที่ มี ก ารจั บ กุ มผู ต อ งหาชาวต า งชาติ ใ นกลุ มประเทศอาเซี ยนจากมากไปน อ ย ได แ ก กรุ ง เทพฯ อุบลราชธานี ระนอง มุกดาหาร สงขลา ตาก หนองคาย เชียงใหม นราธิวาส สระแกว สุราษฎรธานี กาญจนบุรี เลย นครพนม เชียงราย ชลบุรี สมุทรปราการ และปทุมธานี ตามลําดับ สวนใหญเปนจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศ เพื่อนบาน พื้นที่เมืองใหญ และพื้นที่ที่เปนตลาดแรงงาน หรือพื้นที่ที่เปนแหลงทองเที่ยว โดยสวนใหญจะเปนการถูกจับกุม ในขอหาเสพ รอยละ 30.1 ครอบครอง รอยละ 27.1 และครอบครองเพื่อจําหนาย รอยละ 27.0 แตหากพิจารณาในขอหา สําคัญ พบวา ขอหาผลิต จะเปนผูตองหาชาวสิง คโปร และเมียนมาร ขอหานําเขาเปนผูตองหาชาวฟลิปปนส สปป.ลาว และเวียดนาม ขอหาสงออกจะเปนผูตองชาวสิงคโปร และฟลิปปนส โดยคาดวา ในป 2558 ซึ่งเปนปที่เขาสูประชาคมอาเซียน ประมาณการวา จะมีคนอาเซียนเดินทางเขาประเทศ ไทยมากถึง 13 ลานคน และอาจจะมีคนในกลุมประเทศอาเซียนเขามากระทําความผิด และถูกจับกุมในคดี ยาเสพติดใน ประเทศเพิ่มขึ้นเปน กวา 7,000 คน 1
สํานักวิชาการดานยาเสพติด สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.. การศึกษาและวิจัยนโยบายการแกไขปญหายา เสพติด เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูลสารเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ . มหาวิทยาลัยขอนแกน. มิถุนายน 2553.
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 118
กลไกความรวมมือดานยาเสพติดของอาเซียน ในที่ประชุมผูนําอาเซียนอยางเปนทางการ ไดย้ําถึงความจําเปนที่จะตองมีการรวมมือกันระหวางชาติสมาชิก และกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวข องในการตอสูกับอาชญากรรมนี้ จึงไดมีมติในแถลงการณสมานฉันทอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ ค.ศ. 1976 ใหประเทศสมาชิกรวมมือกันอยางแข็งขันกับ องคการระหวางประเทศในการปองกันและการขจัดยาเสพติด และการลักลอบคายาเสพติด และในการประชุมผูนํา อาเซี ย นทุ ก ครั้ ง ที่ ผ า นมา ที่ ป ระชุ มได แ สดงความห ว งใยต อ ป ญ หายาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคมาโดยตลอด และในเดื อ น พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 1 ที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ ประชุมเรียกรองใหองคกรของอาเซียนที่ เกี่ยวของศึกษาความเปนไปไดในการมีความรวมมือในระดับภูมิภาคในเรื่อง อาชญากรรมรวมทั้งการสงผูรายขามแดน และในวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ในการประชุมผูนําอาเซียนอยางไมเปนทางการ ครั้งที่ 2 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมไดมีมติใหมีมาตรการที่แน นอน และเขมงวดในการตอสูกับ อาชญากรรมขามชาติ อาทิเชน การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาผูหญิงและเด็กรวมถึงอาชญากรรมขามชาติอื่น ๆ ในขณะที่ การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ตระหนักถึงผลรายของอาชญากรรมขาม ชาติที่มีผลกระทบตออาเซียน จึงไดเรียกรองใหมีการรวมมืออยางใกลชิด และมีการประสานการปฏิบัติระหวางประเทศ สมาชิก โดยในการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 29 ที่กรุงจาการตา อินโดนีเซีย เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2539 ที่ประชุมฯ ไดเห็นพองกันถึงความจําเปนที่จะสนใจรวมกันในปญหาอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับ ยาเสพติด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการฟอกเงิน ปญหาสิ่งแวดลอม และการหลบหนีเขาเมือง ซึ่งเปนปญหาขาม พรมแดนของแตละประเทศสมาชิก มีผลกระทบตอชีวิตของประชากรในภูมิภาคและตกลงใหมีการจัดการเกี่ยวกับปญหา ขามชาตินโี้ ดยเรงดวน เพื่อมิใหมีผลกระทบตอการดํารงอยูในระยะยาวของอาเซียน และของแตละประเทศสมาชิก จากนั้น ที่ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 30 ไดย้ําอีกครั้งถึงความจําเปนในการรวมมือกันเกี่ยวกับ ปญหาขามชาติรวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบสงคนหลบหนีเขาเมือง ยาเสพติด อาวุธ โจรสลัด และโรค ระบาด อยางไรก็ตาม ในระยะแรกดานยาเสพติดของอาเซียนอยูในความรับผิดชอบของคณะกรรมการอาเซียนวาดวย การพัฒนาสังคม โดยมีการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติด (ASEAN Drugs Experts Meeting) เปนประจําทุกป จากหนวยงานกลางดานยาเสพติดของอาเซียน ตอมา เมื่อมีการปรับโครงสรางของสํานักเลขาธิการอาเซียน และมีการยก สถานะของคณะผูเชี่ยวชาญดานยาเสพติดอาเซียนขึ้นเปนระดับเจาหนาที่อาวุโสอาเซียน (ASEAN Senior Officials on Drugs : ASOD) ในป 2540 ซึ่งจะรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ซึ่งเปนองคกรสูงสุดในการบริหารงาน ความรวมมือในกรอบอาเซียนในดานตาง ๆ ของอาเซียน โดยมีปลัดกระทรวงการตางประเทศของประเทศอาเซียนเปน กรรมการ อาเซี ยนได กํา หนดการดํ าเนิ น งานแกไ ขป ญหายาเสพติ ดใน 5 สาขาของความรว มมื อโดยผา นกรอบการ ดําเนินงานของเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ดังนี้ 1. ความรวมมือดานการปราบปรามยาเสพติด 2. ความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด 3. ความรวมมือดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด 4. ความรวมมือดานการวิจัย 5. ความรวมมือดานการพัฒนาทางเลือก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 119
ตอมา ในป 2545 อาเซียนไดเพิ่มคณะกรรมการอีก 1 คณะ คือ เจาหนาที่อาวุโสดานอาชญากรรมขามชาติ (Senior Officials on Transnational Crime) เนื่องจาก สถานการณปญหาใน 8 สาขาของความรวมมือ เชน การคา มนุษย การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงิน และการปราบปรามการลักลอบคายาเสพติด ซึ่งเปน 1 ใน 8 สาขาของความรวมมืออาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ และไดเพิ่มการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดาน อาชญากรรมขามชาติ ซึ่งจะมีการประชุมปเวนป โดยไดปรับเปลี่ยนใหงานยาเสพติดภายใตคณะกรรมการเจาหนาที่อาวุโส อาเซียนดานยาเสพติดเสนอรายงานตอที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (Ministerial Meeting of ASEAN on Transnational Crimes : AMMTC) แทนการเสนอรายงานตรงตอคณะกรรมการประจําอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug-Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สําคัญในการ ผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุมสุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมือง รวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไดรับการยอมรับจากนานา ประเทศในดา นความสํ าเร็จของการพัฒนาทางเลือ กเพื่อ แก ไขปญ หาพืช เสพติ ด และความตกลงระหวา งประเทศที่ เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ พิธีสาร เพื่อปองกัน ปรามปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยาย ถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ อย า งไรก็ ต าม การปกป อ งคุ มครองผลประโยชน แ ห ง ชาติ ข องแต ล ะประเทศนํ า ไปสู ค วามขั ด แย ง ระหว า ง ผลประโยชนแหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด ตอ งอาศั ยป จจั ยด า นการเมื องระหว า งประเทศ และความสั มพั น ธ ร ะหว า งประเทศที่ เอื้ อ อํ า นวยต อ การดํ า เนิ น งาน ปราบปรามยาเสพติด ซึ่งงานดานตางประเทศเปนเรื่องที่ละเอียดออนที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อ เสริมสรางความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน นอกจากนี้ ความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานขึ้นอยูกับเรื่อง ความสั มพัน ธ ศัก ยภาพในการดํ าเนินงาน และเงื่อ นไขภายในประเทศของแต ละประเทศดว ย อยา งเชน สํา นัก งาน ประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศเพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ และตองมีการ ประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทําใหเกิดปญหาการขาดความคลองตัวในการทํางาน ประเด็นที่สําคัญ คือ ประเทศเพื่อน บานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมในหลาย ๆ ดาน ทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลเปนอยาง มากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค แสดงใหเห็นวา การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณา การรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ และการมองปญหาที่ไมเหมือนกัน นําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนิน นโยบายการแกไขปญหาที่แตกตางกัน
องคกรอาเซียนที่เกี่ยวของในความรวมมือเกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติในรูปแบบยาเสพติด เนื่องจาก ปญหาอาชญากรรมขามชาติไมไดจํากัดอยูเพียงสวนใดสวนหนึ่ง แตเกี่ยวของกับหลายองคกรของ อาเซียน ในการกําหนดนโยบายและการปฏิบัติการเพื่อตอตานการประกอบอาชญากรรมขามชาติ องคกรของอาเซียนที่มี สวนเกี่ยวของ ไดแก 1. การประชุมอธิบดีกรมตํารวจของอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) ดูแล เกี่ยวกับการปองกันปราบปรามและการปฏิบัติการในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matter : ASOD) มีหนาที่ เชนเดียวกัน แตเนนการปราบปรามและควบคุมยาเสพติด และกิจกรรมที่เกี่ยวของ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 120
3. การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers Meeting : AFMM) มี หนาที่ในการติดตามและตรวจสอบปญหาขามชาติในดานการเงินและศุลกากร เชน การลักลอบคายาเสพติดและสารกลอม ประสาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดนโยบาย กระบวนการ และกฎระเบียบในการตอตานการประกอบอาชญากรรม ดังกลาว 4. การประชุมรั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทยอาเซี ยน (Meeting of ASEAN Ministers of Interior/Home Affairs)
ปฏิญญาอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ไดมีมติใหการรับรองปฏิญญาอาเซียนวาดวย อาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Declaration on Transnational Crime) ตามที่คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนฯ เสนอ ซึ่ง ไดมีการลงนามในการประชุมฯ มีสาระสําคัญวาประเทศผูลงนามจะรวมมือกัน ดังนี้ 1. สงเสริมความมุงมั่นของประเทศสมาชิกในการรวมมือในระดับภูมิภาคเพื่อการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 2. จัดใหมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนวาดวยอาชญากรรมขามชาติ เพื่อประสานกิจกรรมขององคกร อาเซียนที่เกี่ยวของ เชน คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drugs Matters : ASOD) และการประชุมอธิบดีกรมตํารวจอาเซียน (ASEAN Chiefs of National Police : ASEANAPOL) 3. จัดใหมีการหารือเพื่อใหมีการลงนามในความตกลงชวยเหลือดานกฎหมายรวมกัน สนธิสัญญาทวิภาคี บันทึก ความเขาใจหรือการดําเนินการอื่น ๆ ระหวางประเทศสมาชิก 4. พิจารณาจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ASEAN Centre on Transnational Crime : ACOT) ซึ่งจะประสานความพยายามในระดับภูมิภาคในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ ดวยการแลกเปลี่ยนขาวสาร การปรับปรุงนโยบายใหสอดคลองกัน และการประสานความรวมมือระหวางกัน 5. จัดใหมีการประชุมคณะผูเชี่ยวชาญระดับสูงเฉพาะกิจทุกป โดยไดรับการสนับสนุนจากสํานักเลขาธิการ อาเซียน เพื่อดําเนินการดังนี้ 5.1. จัดทําแผนปฏิบัติการอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ 5.2. พิจารณาจัดกรอบการดําเนินงานขององคกรการดําเนินความรวมมือของอาเซียนดานอาชญากรรมขาม ชาติ และ 5.3. ทําการศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งศูนยอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ (ACOT) 6. สนั บ สนุ น ประเทศสมาชิ ก ในการพิ จ ารณาแต ง ตั้ ง เจ า หน า ที่ ตํ า รวจประจํ า ประเทศสมาชิ ก (Police Attache/Police Liaison Officer) เพื่ออํานวยความสะดวกในการรวมมือกันในดานการตอตานอาชญากรรมขามชาติ 7. สนับสนุนการมีเครือขายระหวางหนวยงาน หรือองคการระดับชาติที่เกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติเพื่อ เพิ่มพูนการแลกเปลี่ยนขาวสาร และการกระจายขาวสาร 8. ขยายขอบขายความพยายามของประเทศสมาชิก ในการตอตานอาชญากรรมขามชาติ เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคาอาวุธ การฟอกเงินโดยผิดกฎหมาย การลักลอบสงคนเขาเมืองและการกระทําเชน โจรสลัด และรองขอใหเลขาธิการอาเซียนใหรวมขอบขายในเรื่องนี้อยูในกรอบการดําเนินการของสํานักเลขาธิการอาเซียน 9. สํารวจหาลูทางที่ประเทศสมาชิกสามารถทํางานรวมกันอยางใกลชิด กับหนวยงานและองคการที่เกี่ยวของใน ประเทศคูเจรจา ประเทศอื่น ๆ และองคการระหวางประเทศ รวมทั้งองคการสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของ สหประชาชาติ สํานักงานแผนโคลัมโบ องคการตํารวจสากล และหนวยงานอื่น ๆ เพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 121
10. รวมมือและประสานกับองคกรของอาเซียนที่เกี่ยวของอยางใกลชิดมากยิ่งขึ้น เชน การประชุมรัฐมนตรี อาเซี ย นด า นกฎหมาย และการประชุ ม อั ย การสู ง สุ ด อาเซี ย น การประชุ ม อธิ บ ดี ก รมตํ า รวจอาเซี ย น การประชุ ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน การประชุมผูบัญชาการสํา นักงานตรวจคนเขาเมืองอาเซียน และการประชุม อธิบดีกรมศุลกากรอาเซียน ในการสอบสวน การดําเนินคดี และการฟนฟูผูประกอบอาชญากรรมดังกลาว 11. สงเสริมการพัฒนาสมรรถภาพของสํานักเลขาธิการอาเซียน ในการชวยเหลือประเทศสมาชิกในการริเริ่ม การ ดําเนินการ การวางแผน และการประสานงานในการจัดกิจกรรม การกําหนดกลยุทธ การวางแผน และโครงการในการ ตอตานอาชญากรรมขามชาติ นับตั้งแตมีการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานอาชญากรรมขามชาติ ป ค.ศ. 1997 จนถึงปจจุบันเปนเวลา ประมาณ 17 ป ความสัมพันธระหวางชาติสมาชิกไดใกลชิดกันมากยิ่งขึน้ มีความรวมมือกันในหลาย ๆ ดาน เปนประโยชน ในการพั ฒนาภู มิ ภาคให มั่ น คงและเจริ ญ ก า วหน า ทั้ ง นี้ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ยนส ว นใหญ เ ป น ประเทศกํ า ลั ง พั ฒนา ประชากรมีรายไดนอย บางประเทศในอาเซียนมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทําใหระบบการเมืองออนแอ แตทุก ประเทศสมาชิกมีความเขาใจอันดีตอกัน จะเห็นไดจาก 1. ความรว มมื อในการตอ ตา นอาชญากรรมขา มชาติ เ ปน ความรว มมื อเฉพาะดา นระหวา งประเทศสมาชิ ก นอกจากความรวมมือทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ 2. มีโครงการที่สําคัญ คือ แผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการประกาศใหอาเซียนเปนเขตปลอดยาเสพติด ในป ค.ศ. 2015 3. การรวมกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน จะพัฒนาความรวมมือ และตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ซึ่ง ตองอาศัยระยะเวลาในการดําเนินการ เพื่อกําหนด และวางมาตรการการปองกันปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ
แผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบยาเสพติด เพื่อใหบรรลุการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนภายใน ค.ศ. 2015 (2558) คณะเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดาน ยาเสพติด (ASEAN Senior Officials on Drug Matters: ASOD) ซึ่งอยูภายใตองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา คือ ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime : AMMTC ไดรวมกันยกรางแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อ ตอตานการลักลอบคายาเสพติด เมื่อป 2548 ซึ่งตอมา ที่ประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 30 ณ ประเทศกัมพูชา ป 2552 ไดใหการรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตานการลักลอบคายาเสพติด ป พ.ศ. 2552-2558 (ASEAN Work Plan on Combating Illicit Drug Manufacturing, Trafficking and Abuse 2009-2015) หรือที่ เรียกวา “แผนปฏิบัติการ ASOD” แผนปฏิบัติการ ASOD มีการดําเนินงานเกี่ยวของกับ 2 เสาหลัก ไดแก เสาหลักดานสังคมและวัฒนธรรม ตาม มาตรการภายใต ASCC Blueprint หัวขอ B6 Enduring a drug-free ASEAN โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตอง ดําเนินการเกี่ยวของกับงานดานการปองกัน และบําบัดรักษายาเสพติด และงานดานการพัฒนาทางเลือก และเสาหลักดาน การเมืองและความมั่นคง ภายใน APSC Blueprint หัวขอ B4 Non-Traditional Security Issues หัวขอยอย B4.1 Strengthen cooperation in addressing non-traditional security issues, particularly in combating transnational crimes and other transboundary challenges ขอ vi-xi โดยมีรายละเอียดกิจกรรมที่ตองดําเนินการ เกี่ยวกับงานดานการปราบปรามยาเสพติด และเคมีภัณฑที่นําไปใชในการผลิตยาเสพติด รวมถึงงานดานการตรวจพิสูจน ยาเสพติด และการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 122
นอกจากนี้ ยังไดรวมกําหนดนิยามของการปลอดยาเสพติด ดังนี้ “การดําเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิด กฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ และประสบผลสําเร็จ พรอมทั้งลดผลตอเนื่องตาง ๆ ในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม ในที่นี้ รวมถึงการลดลงอยางยั่งยืน และมีนัยสําคัญในเรื่องดังตอไปนี้ 1) พื้นที่ปลูกพืชเสพติด 2) การผลิต และการลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกีย่ วเนื่องยาเสพติด 3) การแพรระบาดของการใชยาเสพติด พรอมทั้งไดรวมกันกําหนดเกณฑวัดผลสําเร็จสําหรับการดําเนินกิจกรรม เพื่อแกไขปญหายาเสพติดทั้ง 3 ดาน ดังกลาวขางตน ไดแก เกณฑวัดผลดานพื้นที่ปลูกพืชเสพติด เกณฑวัดผลดานการแพรระบาดของการใชยาเสพติด และ เกณฑวัดผลดานการผลิต และลําเลียงยาเสพติด เพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนนําไปประกอบการจัดทําแผนชาติอันจะ นําไปสูเปาหมายการเปนเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนตอไป ในการประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ครั้งที่ 31 ประเทศอินโดนีเซีย ในป 2553 ไดจัดลําดับ ความสําคัญของการดําเนินการตามวิสัยทัศนการปลอดยาเสพติดอาเซียน ภายใน ค.ศ. 2015 คือ การปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติด และอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับยาเสพติด การลดการแพรระบาดของการใช ยาเสพติด และการลดฟนที่ปลูกเสพติด ซึ่งจากการที่อาเซียนไดใหความสําคัญกับการปราบปรามยาเสพติด จึงไดกําหนด เกณฑวัดผลสําหรับการดําเนินงานการปราบปรามการผลิต และการลักลอบลําเลียงยาเสพติดไว ดังนี้ 1. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด 2. การขจัดเครือขายที่เกี่ยวกับการลักลอบลําเลียงยาเสพติด 3. การขจัดการลักลอบและการนําสารตั้งตนไปใชในการผลิตยาเสพติด 4. สงเสริมความรวมมือขามพรมแดน และการปฏิบัติการดานการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ
ยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนเปนความรวมมือที่มีมานานในรูปแบบต าง ๆ ซึ่งเปนผลมา จากการที่ทุกประเทศตางก็ตระหนักวา ปญหายาเสพติดเปนภัยของมนุษยชาติรวมกันที่ทุกประเทศตองรวมมือกันที่จะขจัด ภัยดังกลาว ดังนั้น กรอบความคิดความรวมมือดานยาเสพติด จึงเปนการพัฒนาตอยอดใหสําเร็จผลโดยเร็วขึ้น โดยอาศัย เงื่อนไขของการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนเปนแรงผลักที่สําคัญ ทั้งนี้ กําหนดกรอบความคิดทางยุทธศาสตร ดังนี้ 1. ใชกรอบความคิดที่ทุกประเทศในอาเซียนไดกําหนดเปนยุทธศาสตรรวมกัน ในการเปนเขตปลอดยาเสพติด อาเซียน ภายในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) เปนกรอบความคิดหลัก ทั้งนี้ เพราะกรอบความคิดนี้ ถือเปนฉันทามติรวมกัน (commitment) อยูแลว และไดแปลงมาเปนแผนการปฏิบัติในมาตรการตาง ๆ ใหแตละประเทศปฏิบัติไดงายขึ้น 2. ใชกรอบความคิดที่จะทําใหการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาค ซึ่งเปนกรอบขอเสนอเชิงรุกของ รัฐบาล และไดรับการขานรับจากทุกประเทศในอาเซียนในทางหลักการแลว ซึ่งเปนกรอบความคิดที่มองปญหายาเสพติด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่สงผลกระทบกับประเทศไทย วาจะตองทําใหทุกประเทศในอาเซียน ตองชวยกัน รวมมือกัน และ ตระหนักถึงภัยรวมกัน โดยเล็งเห็น และเขาใจที่ประเทศใดประเทศหนึ่งไดรับผลจากปญหายาเสพติดอยางมาก และการที่ จะแกไขปญหาดังกลาวไดนั่น จะตองไดรับความรวมมือที่ดียิ่งจากกลุมประเทศตนทาง 3. ใชกรอบความคิด ขยายจุดรวม มุงผลโดยตรง เสริมสรางความพรอม เปนเข็มมุงหลักที่จะพัฒนาความรวมมือ เชิงรุก เพื่อแสวงหามาตรการการปฏิบัติตาง ๆ ที่จะสงผลตอการลดระดับปญหายาเสพติดโดยเร็ว โดยมุงขยายความ รวมมือใหมากที่สุด ใหสงผลตอการลดปญหายาเสพติดทั้งในประเทศและภูมิภาค รวมทั้งเตรียมการสรางความพรอมของ หนวยงานตาง ๆ ใหมากที่สุด ในการเตรียมการเขาสูประชาคมอาเซียน ในป 2558
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 123
เพื่อใหมีผลในการเรงยกระดับการมีสวนรวมของประเทศตาง ๆ ในประเทศอาเซียน ซึ่งจะมีผลตอการลดระดับ ปญหายาเสพติดภายในประเทศในระยะ 3 ป เพื่อรองรับความเปนประชาคมอาเซียน จึงกําหนดกลยุทธในการบรรลุ ยุทธศาสตรตามลําดับ ดังตอไปนี้ กลยุทธที่ 1 ขยายความรวมมือเชิงรุกตอมาตรการที่สงผลตอการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม โดย ในระยะ 3 ปนี้ แมจะยังไมเขาสูประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ สวนใหญจะมุงไปสูการเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ แต เฉพาะกรณีปญหายาเสพติด อาศัยขอตกลงการสรางเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนในป 2558 และขอตกลงรวมใหปญหา ยาเสพติดเปนความรวมมือระดับภูมิภาค ดังนั้น การกําหนดกลยุทธขยายความรวมมือในงานดานยาเสพติดในกลุมอาเซียน ใหเปนผลในการลดปญหายาเสพติดอยางเปนรูปธรรม จึงเปนกลยุทธหลักใน 3 ปนี้ โดยขยายความรวมมือที่สําคัญในดาน supply reduction เปนหลัก ไดแก การขยายความรวมมือในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัด กั้นยาเสพติดทั้งตามแนวชายแดน และทาอากาศยานนานาชาติ การปราบปรามการผลิตยาเสพติด การลดพื้นที่ปลูกพืช เสพติด ฯลฯ กับประเทศตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน กลยุทธที่ 2 เตรียมการ สรางความพรอมตอมาตรการที่จะมุงขยายความรวมมื อที่มากขึ้น โดยพิจารณา มาตรการที่สําคัญ และจําเปนที่จะกอใหเกิดความรวมมือในกลุมประเทศอาเซียนเพิ่มมากขึ้น ดวยการสรางความพรอม หรือแสวงหาขอตกลงใจเพื่อนําไปสูความรวมมือในการแกไขปญหารวมกัน อันจะนําไปสูการแกไขปญหายาเสพติดที่จะมี การยกระดับมากขึ้น กลยุทธที่ 3 พัฒนาความรวมมือในหลายรูปแบบตามความเหมาะสมสอดคลองกับภารกิจ และการแสวงหา ประเด็นรวม โดยพัฒนาความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดในรูปแบบตาง ๆ ทั้งใน รูปแบบของกลุมประเทศ อาเซียน ความรวมมือแบบพหุภาคี ไตรภาคี และทวิภาคี ตามความเหมาะสมของสภาพปญหาภารกิจ และขอตกลงใจ รวมกัน เพื่อใหความรวมมือที่เกิดขึ้นปรากฏผลเปนรูปธรรม ปฏิบัติไดจริง กลยุทธที่ 4 เสริมบทบาทภาคีนอกกลุมประเทศอาเซียน หรืออาเซียนบวก โดยชักชวนแสวงหาความรวมมือ กับประเทศนอกอาเซียนที่มีผลตอการแกไขปญหายาเสพติดในประเทศในอาเซียน ทั้งในภาพรวมทุกประเทศ หรือใน ประเทศเฉพาะ เพื่อใหเกิด ผลสะทอนกลับ ตอการลดปญหายาเสพติดในอาเซียนตามมาตรการที่เหมาะสม และเป น ขอตกลงใจรวมกัน
กรอบยุทธศาสตรความรวมมือดานยาเสพติด เพื่อใหเกิดเอกภาพในกรอบความรวมมือดานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียน จึงไดกําหนดกรอบยุทธศาสตรไว 6 กรอบความรวมมือ ดังนี้ 1. กรอบความรวมมือในดานปราบปรามยาเสพติด (supply reduction) คือ การดําเนินการปราบปราม ยาเสพติด ทั้งในดานการขาว การปราบปรามกลุมการคายาเสพติด การสกัดกั้นตามทาอากาศยาน การยึดทรัพยสิน ฯลฯ 2. กรอบความรวมมือในดานการเสริมสรางความมั่นคงชายแดน คือ การดําเนินงานในดานการสกัดกั้น ยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสรางชุมชนตามแนวชายแดนใหเขมแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ 3. กรอบความรวมมือ การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดดวยการพัฒนาทางเลือก (Alternative Development) คือ การใชแนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาลดปญหาการปลูกฝน 4. กรอบความรวมมือดานการปองกันยาเสพติด (potential demand) คือ การดําเนินการดานการปองกัน ยาเสพติดในกลุมที่กําหนดเปนเปาหมายรวมสกัดวงจรของผูเสพยาเสพติดรายใหมในกลุม ประเทศอาเซียน 5. กรอบความรวมมือดานการแกไขผูเสพยาเสพติด คือ การดําเนินการดานบําบัดรักษาผูเสพยาเสพติด การ พัฒนาความพรอมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนยายประชากรในกลุมประเทศอาเซียน
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 124
6. กรอบความรวมมือดานการพัฒนาวิชาการ และการพัฒนาในดานตาง ๆ ไดแก การพัฒนาความรวมมือ ในดานการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือดานนิติวิทยาศาสตร การพัฒนากฎหมาย ฯลฯ เพื่อใหความรวมมือกับ ประเทศอาเซียนใหมีความกาวหนามากยิ่งขึ้น กรอบความรวมมือนี้ ถือเปนเข็มทิศหลักที่เปนขอตกลงของกลุมประเทศอาเซียนที่จะตองยึดถือ และใหแปลง ไปสูการปฏิบัติ
หนวยงานกลางประสานงานดานยาเสพติดระหวางประเทศ การขับเคลื่อนงานยาเสพติดในกลุมประเทศอาเซียนใหบรรลุผลตามยุทธศาสตรที่กําหนด จะตองผานหนวยงาน กลางดานยาเสพติดของแตละประเทศเปนกลไกกลางในการขับเคลื่อนหลัก โดยมีหนวยงานกลางของแตละประเทศ ดังนี้ กัมพูชา ไดแก National Authority for Combating Drugs (NACD) บรูไน ไดแก Narcotics Control Bureau (NCB) ฟลิปปนส ไดแก Dangerous Drugs Board (DDB) มาเลเซีย ไดแก National Anti-Drugs Agency (NADA) เมียนมาร ไดแก Central Committee for Drug Abuse Control (CCDAC) อินโดนีเซีย ไดแก National Narcotics Board (NNB) สปป.ลาว ไดแก Lao National Commission for Drug Control (LCDC) เวียดนาม ไดแก Standing Office on Drugs and Crime of Vietnam (SODC) สิงคโปร ไดแก Central Narcotics Bureau (CNB) ไทย ไดแก Office of Narcotics Control Board (ONCB)
กรอบความรวมมือประเทศไทยกับองคกรระหวางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ฐานะตัวแทนของรัฐบาลในการดําเนินงาน นโยบายดานยาเสพติด โดยการจัดทํากรอบความรวมมือระหวางประเทศขึ้น ซึ่งองคกรระหวางประเทศที่มีความรวมมือกับ ประเทศไทย คือ 1. องคการสหประชาชาติ (United Nations : UN) องคกรหลักขององคการสหประชาชาติที่ดําเนินงานดาน ยาเสพติด คือ โครงการควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศแหงสหประชาชาติ (United nations International Drug Control Program : UNDCP) ซึ่งเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้น และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) โดยประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาของสหประชาชาติดานยาเสพติดแลวทั้ง 3 ฉบับ คือ 1) อนุสัญญาเดี่ยววา ดว ยยาเสพติ ด ให โทษ ค.ศ. 1961 และพิ ธี สารแก ไขเพิ่ มเติ มอนุ สัญ ญาเดี่ยววา ด วยยาเสพติด ใหโ ทษ ค.ศ. 1972 2) อนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 และ 3) อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับ ลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวทั้งหมดมุงเนนไปที่การจํากัด การเติบโตของตลาดยาเสพติดดวยมาตรการเนนหนักในการลดอุปทานเปนหลัก บทบาทในเวทีสหประชาชาติของประเทศ ไทย คือ การไดรับเลือกใหเปนคณะกรรมาธิการยาเสพติด ตั้งแตป 2516 และประเทศไทยไดบริจาคเงินอุดหนุน UNDCP เปนประจํา ตั้งแตป 2521 เปนตนมา 2. สหภาพยุโรป (Europeans: EU) สํานักงาน ป.ป.ส. ไดรับความชวยเหลือจากสหภาพยุโรปในโครงการตาง ๆ ดานยาเสพติดตั้งแตป 2532 คือ การใหความชวยเหลือดานการควบคุมพืชเสพติด และการปองกันยาเสพติด ซึ่งตอมา สหภาพยุโรปไดทําความตกลงกับประเทศไทย เพื่อการควบคุมเคมีภัณฑ และสารตั้งตนที่นําไปใชผลิตยาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 125
3. อาเซียน (ASEAN) ในป 2519 มีการประกาศปฏิญญาอาเซียนวา ดวยหลัก การในการตอตา นการใช ยาเสพติดในทางที่ผิด ซึ่งมีหลักการวา ประเทศอาเซียนแตละประเทศตองเพิ่มความระมัดระวัง สรางมาตรการปองกัน และลงโทษเกี่ยวกับการลักลอบคายาเสพติดจัดใหมีความรวมมือทางดานงานวิจัยและศึกษา และปรับปรุงกฎหมายแตละ ประเทศ โดยพบวา มีความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด สรุปไดดังนี้ 1) การประชุมเจาหนาที่อาวุโส ความรวมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนดานยาเสพติด 2) โครงการอาเซียนดานยาเสพติด และ 3) โครงการอาเซียนดานยาเสพติดที่ประเทศไทยรับผิดชอบเปนผูประสานโครงการ 4. สํานักงานแผนโคลัมโบ (Colombo Plan Bureau) กอตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือประเทศสมาชิกในดานตาง ๆ ทั้งนี้ ในสวนของยาเสพติดมีโครงการที่ปรึกษาดานยาเสพติด (Drug Advisory Program : DAP) กอตั้งขึ้นเมื่อเดือน สิงหาคม 2516 มีหนาที่ใหคําปรึกษาแกรัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดการสัมมนาทางวิชาการ การประชุม ปฏิบัติการ และกิจกรรมตาง ๆ เพื่อชวยแกไขปญหายาเสพติด และใหทุนการศึกษา ดูงานแกเจาหนาที่ปฏิบัติงานดาน ยาเสพติด โดยให DAP เปนผูดําเนินงานรวมกับรัฐบาล องคการะหวางประเทศ และองคการเอกชนที่เกี่ยวของ ซึ่งตอมา บทบาทของ DAP ในระยะหลังไดเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการฝกอบรม กิจกรรมของ DAP ไดมุงเนน Demand Reduction ความรวมมือในระดับภูมิภาค และความรวมมือบริเวณพรมแดนการดําเนินงานตามอนุสัญญาป ค.ศ. 1988 และสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ 5. องคการตํารวจสากล (International Criminal Police Organization: Interpol or International Police) ความรวมมือกับตํารวจสากลเปนลักษณะการแลกเปลี่ยนขาวสารดานการปราบปรามยาเสพติด ซึ่งองคการตํารวจ สากลไดสงผูแทนมาประจําในประเทศไทย เพื่อปฏิบัติงานรวมกับเจาหนาที่ฝายไทย โดยตั้งสํานักงานที่กรมตํารวจ 6. องคกรเอกชนตางประเทศ (International Non-government : NGOs) สํานักงาน ป.ป.ส. มีความรวมมือ กับองคการเอกชนตางประเทศหลายองคการ ซึ่งองคการเอกชนระหวางประเทศมีการดําเนินงานดานยาเสพติด ใหความ ชวยเหลือแกประเทศไทย และประสานความรวมมือระหวางกันดานยาเสพติด
จุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติด จุดแข็ง 1) ทําเลที่ตั้งของประเทศไทยเหมาะสมในการเปนศูนยกลางของภูมิภาค สามารถวางแผนพัฒนาศักยภาพการ เปนศูนยกลางอาเซียนใน เรื่องการขนสงการทองเที่ยว และการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถขยายตัวเพื่อสรางความเขมแข็งในอนาคตไดมาก ทั้งในลักษณะอาเซียน บวก 3 โดยการเพิ่มประเทศจีน เกาหลีใต และญี่ปุน และอาเซียนบวก 6 โดยการเพิ่มประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย 3) แนวโนมของอํานาจทางเศรษฐกิจโลกจะเคลื่อนยายมาสูภูมิภาคเอเชียมากขึ้น การรวมกลุมของภูมิภาคเอเชีย จะสงผลใหเอเชียเปนตลาดที่มีศักยภาพ มีความเชื่อมโยงกันและมีเสถียรภาพมากขึ้น 4) การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อสงเสริมการคา การลงทุน การจางงาน การใชวัตถุดิบ และการตลาดจากประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะในจังหวัดที่อยูตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ และเมือง ชายแดน 5) มีหลายประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และหลากหลาย เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ถานหิน แร ธาตุ ปาไม น้ํา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 126
6) ความสอดคลองกันของผลประโยชนแหงชาติของทุกประเทศ (Common of national interest) โดยมอง การเขาสูประชาคมอาเซียนเปนเปาหมายรวมกัน 7) ทุกประเทศอาเซียนสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติด 2558 (Joint Declaration on A Drug – Free ASEAN 2015) และเห็นวา ยาเสพติดเปนความทาทายรวมกัน 8) ประเทศไทยไดมีบทบาทที่สํา คัญในการผลักดันการแกไขปญหายาเสพติดเปนวาระภูมิภาคในการประชุม สุดยอดอาเซียน เพื่อแสดงเจตนารมณทางการเมืองรวมกันที่จะบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนในการเปนเขตปลอดยาเสพติด 9) ประเทศไทยไดรับการยอมรับจากนานาประเทศในดานความสําเร็จของการพัฒนาทางเลือกเพื่อแกไขปญหา พืชเสพติด 10) ประเทศไทยเปนภาคีของความตกลงระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหา อยางเชน อนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธีสารวาดวยการตอตานการลักลอบขนผูยายถิ่น โดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ
จุดออน 1) การปกปองคุมครองผลประโยชนแ หงชาติของแตละประเทศ นํา ไปสูความขัดแยงระหวางผลประโยชน แหงชาติของแตละประเทศ (Conflict of national interest) 2) ประเทศมหาอํานาจทั้งภายใน และภายนอกภูมิภาคเปนตัวแปรที่สําคัญของการเมืองระหวางประเทศ และ ความสัมพันธระหวางประเทศ 3) ความรวมมือระหวางประเทศดานยาเสพติดตองอาศัยปจจัยดานการเมืองระหวางประเทศ และความสัมพันธ ระหวางประเทศที่เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานดวย 4) งานดานตางประเทศเปนเรื่องละเอียดออน ตองดํา เนินการอยางตอเนื่อง และระมัดระวัง เพื่อเสริมสราง ความสัมพันธ และความไววางใจระหวางกัน 5) ความรวมมื อกับประเทศเพื่ อนบานขึ้นอยูกั บเรื่องความสัมพันธศักยภาพในการดําเนินงาน และเงื่อนไข ภายในประเทศของแตละประเทศดวย อยางเชน สํานักงานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) ประเทศ เพื่อนบานสวนใหญขาดอํานาจในการตัดสินใจ ตองมีการประสานผานสวนกลางทุกครั้ง ทํา ใหขาดความคลองตัวในการ ทํางาน 6) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีขอจํากัด และความไมพรอมหลายดานทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และองคความรู สงผลอยางมากตอการแกไขปญหาในภูมิภาค 7) นโยบายตางประเทศสัมพันธกับการเมืองภายในประเทศ 8) การมองปญหาที่ไมเหมือนกันนําไปสูการกําหนดนโยบาย และการดําเนินนโยบายการแกไขปญหาที่แตกตาง กัน 9) การบริหารจัดการแผนความรวมมือระหวางประเทศยังขาดการบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ 10) การปรับปรุงแกไขกฎหมายเพื่อรองรับพันธกรณีตาง ๆ หนวยงานที่เกี่ยวของตองขอความเห็นชอบจาก รัฐสภา
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 127
โอกาส 1) การรวมกลุมของเหลาประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความหลากหลายทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม 2) การสรางประชาคมอาเซียนดวยโครงสรางแบบเสาหลัก 3) ระดับการพัฒนาประเทศที่สูงขึ้น และขนาดเศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น จะเปนโอกาสสําหรับการคา และการ ลงทุนของไทยในประเทศเหลานี้เพิ่มมากขึ้น 4) การเชื่อมโยงภูมิภาคเพื่อกาวสูความเปนหนึ่งเดียว โดยเฉพาะโครงสรางพื้นฐานภายใตกรอบความรวมมือใน อนุภูมิภาคลุมน้ําโขงที่เชื่อมทั้งภูมิภาคเขาดวยกัน เชน การพัฒนาคมนาคมระบบราง การสรางทาเรือน้ําลึกทวาย 5) ประเทศสมาชิกอาเซียนเปนฐานการผลิตใหผูประกอบการไทย เพื่อผลิต และสงออกสินคา เพื่อรับสิทธิ ประโยชนทางภาษีในรูปแบบตาง ๆ 6) อาเซียนในฐานะองคการระหวางประเทศ และสถาบันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตองปรับตัวภายใต เงื่อนไขของภูมิภาคนิยมแบบใหม (New regionalism) กับกระแสโลกาภิวัตน (Globalization) 7) การลงทุนในประเทศเพื่อนบานที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ และพรอมเปดรับการลงทุนจากตางชาติ 8) ความอยูร อดภายใตบ ริบ ทใหม โดยเฉพาะอยา งยิ่ง เศรษฐกิ จการเงิ นภายใต ระบบทุน นิยมโลกาภิ วัต น ที่ ผันผวน การพัฒนาตนเองตอสภาพแวดลอมของการแขงขันแบบใหม 9) โลกแหงการพึ่งพา เนื่องจาก เศรษฐกิจไทยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ปญหายาเสพติดเปนปญหา สากล และมีความเชื่อมโยงกันทั่วโลก การแกไขปญหายาเสพติดจะตองไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน 10) หากประเทศในภูมิภาคมีระดับการพัฒนาที่ดีขึ้น ปญหาขามชาติตาง ๆ ที่คุกคามความมั่นคงของประเทศ ไทยในปจจุบันก็จะลดลง
ภัยคุกคาม 1) ภัยคุกคามรูปแบบใหมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงรูปแบบใหม (Non traditional security) อยางเชน การกอการราย การลักลอบคาอาวุธ การกระทําอันเปนโจรสลัด การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบเขาเมือง โดยผิดกฎหมาย การคามนุษยอาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การฟอกเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอรการเกิด ภัยพิบัติโรคระบาด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ช องวา งของการพั ฒนาระหวา งประเทศในกลุมอาเซียน ระดับ การพั ฒนาเศรษฐกิจที่แ ตกตา งกัน มีบาง ประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูง มีหลายประเทศที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมพัฒนา ยังมีชองวางของระดับความ ทันสมัยอีกดวย 3) การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแขงขัน จําเปนตองยายฐานการผลิตไปตางประเทศมากขึ้น นัก ลงทุนอาจขยายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน 4) เกิดการเคลื่อนยายแรงงานฝมือของไทยไปประเทศที่ไดคาตอบแทนสูงกวา และแรงงานตางดาวราคาถูกกวา เขามามากขึ้น 5) มีแนวโนมผอนปรนขอจํากัดในการทํางานของคนตางชาติมากขึ้น 6) หากไมมีมาตรการควบคุมที่เหมาะสม สินคาที่ไมไดมาตรฐานจะเขามาในประเทศไทยมากขึ้น 7) อุตสาหกรรมหลักของประเทศยังคงพึ่งพาเงินทุน และเทคโนโลยีจากตางประเทศ 8) ชองวางในการพัฒนาอาจนํามาซึ่งความขัดแยงทางสังคม 9) ประเทศเพื่อนบานยังคงมีการปลูกพืชเสพติด และมีแหลงผลิตยาเสพติดจํานวนมาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 128
10) นโยบายดานความสัมพันธอันดีกับประเทศเพื่อนบาน และนโยบายดานการคาชายแดนกลายเปนชองทาง และโอกาสใหเกิดการนําเขายาเสพติด แรงงานเถื่อน สินคาหนีภาษี 11) ปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตรเทคโนโลยี และตางประเทศ สงผลโดยตรงตอการเกิด การ ดํารงอยู และการขยายตัวของปญหายาเสพติดในประเทศไทย
ขอผูกพันระหวางประเทศในการกําหนดนโยบายดานยาเสพติด ปญหาการแพรระบาดยาเสพติดจําเปนตองอาศัยความรวมมือระหวางประเทศเพื่อนบานรวมกันแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น ซึ่งการกําหนดนโยบายในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทย ไมสามารถดําเนินการไดอยางอิสระโดย ปราศจากความตระหนักถึงพันธะ และขอผูกพันสัญญาระหวางประเทศ และความรวมมือตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ประเทศเพื่อนบาน ในป 1909 มีขอตกลงระหวางประเทศในการจัดตั้งกลไกการแกไขปญหาฝน โดยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการฝน ขึ้ น ซึ่ ง นั บ แต นั้ น มาพบว า มี ก ฎหมายระหว า งประเทศที่ เ กี่ ยวกั บ การควบคุ ม ยาเสพติ ด ที่ สํ า คั ญ รวม 7 ฉบั บ ได แ ก คณะกรรมาธิการฝนนามเซี่ยงไฮ ป 1909 อนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1912 อนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1925 อนุสัญญา ค.ศ. 1931 อนุสัญญา ค.ศ. 1936 พิธีสารกรุงปารีส ค.ศ. 1948 และพิธีสารวาดวยฝน ค.ศ. 1953 ในอดีตที่ผานมาปญหายาเสพ ติดมีมากขึ้นอยางตอเนื่อง ประเทศตาง ๆ พยายามหาทางแกไขปญหาโดยมีกฎหมายระหวางประเทศขึ้นมาหลายฉบับ เพื่อนํามาใชเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวกับยาเสพติดในปจจุบัน อนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1961 (The Single Convention on Narcotic Drugs, 1961) และพิธีสารแกไขเพิ่มเติมอนุสัญญาเดี่ยววาดวยยาเสพติดใหโทษ ค.ศ. 1972 (The 1972 Protocol Amending The Single Convention on narcotic Drugs, 1961) ซึ่งอนุสัญญาดังกลาวไดรวบรวมอนุสัญญา หรือขอตกลงระหวาง ประเทศที่มีอยูมาไวเปนฉบับเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีอนุสัญญาวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 1971 (The Convention on Psychotropic Substances, 1971) ซึ่งอนุสัญญาทั้งหมดนี้ มีเนื้อหาที่มุงเนนการควบคุม และจํากัด การใชยาเสพติดใหโทษเพื่อประโยชนทางการแพทย และทางวิทยาศาสตรเทานั้น และไดกําหนดใหมีคณะกรรมการ ควบคุมยาเสพติดระหวางประเทศขึ้น (International Narcotics Control Board: INCB) โดยที่ประเทศภาคีตองรายงาน ปริมาณการใชยาเสพติดตอ INCB อยางไรก็ตาม แมวา มีอนุสัญญาในการควบคุมยาเสพติดดังกลาวแลว แตยังคงพบการแพรระบาดยาเสพติดไปยัง ประเทศต า ง ๆ อยู แ ละทวี ค วามรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น จึ ง ได มี ก ารจั ด ทํ า อนุ สั ญ ญาขึ้ น มาใหม อี ก ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลับลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 (The United nation Convention against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) โดยมีหลักการที่สําคัญ ถือเปนมาตรการใหมที่กําหนดไวในประเทศภาคีนําไปปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน ไดแก 1) ความผิดและกําหนดโทษ 2) เขตอํานาจรัฐ 3) การบริหารทรัพยสิน 4) การสงผูรายขามแดน 5) การชวยเหลือกันทางกฎหมาย และ 6) การโอนการดําเนินคดี
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 129
นับตั้งแตมีอนุสัญญาฉบับนี้ ประเทศตาง ๆ ใหความสนใจและสมัครเขาเปนภาคีจํานวนมาก จนถึงปจจุบันมี ประเทศตาง ๆเขารวมเปนภาคีแลวไมนอยกวา 138 ประเทศ สําหรับในประเทศไทยนั้นเขาเปนภาคี ในป พ.ศ. 2545
มาตรการสงผูรายขามแดน : กลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามยาเสพติด การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางรัฐที่มีมานานแลว แตในสมัยกอนความรวมมือในลักษณะดังกลาว ยังไมแพรหลายมากนัก ทั้งนี้ เปนเพราะสมัยนั้น การคมนาคมระหวางประเทศยังไมสะดวกและรวดเร็วเหมือนเชนปจจุบัน การประกอบอาชีพอาชญากรรมและการหลบหนีการจับกุมสวนใหญ จึงจํากัดอยูเฉพาะภายในเขตหรือภายในประเทศที่ กออาชญากรรมเทานั้น แตตอมา เมื่อเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคมขนสงระหวางประเทศมีความเจริญกาวหนา มากขึ้น รูปแบบการประกอบอาชญากรรมบางประเภทก็เปลี่ยนไปเปน “องคกรอาชญากรรมขามชาติ” (Transnational Crime) ที่มีเครือขายเชื่อมโยงการกระทําผิดในพื้นที่หลายประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “องคกรอาชญากรรมคายาเสพติด ขามชาติ” ที่ตัวนายทุน หรือตัวการสําคัญที่ไมตองเดินทางไปติดตอ หรือการดําเนินการสงมอบยาเสพติดใหกับลูกคาใน ตางประเทศดวยตนเอง แมเจาหนาที่ในประเทศที่มีการสงมอบยาเสพติด จะสามารถจับกุมตัวผูรวมกระทําผิดในขณะที่นํา ยาเสพติดไปสงมอบใหลูกคา และมีพยานหลักฐานเชื่อมโยงไปถึงตัวบุคคลที่เปนนายทุน หรือตัวการสําคัญที่อยูอีกประเทศ หนึ่งก็ตาม แตดวยขอจํากัดเรื่องอํานาจอธิปไตย และความแตกตางของกฎหมายภายในแตละรัฐ ทําใหไมสามารถติดตาม จับกุมตัวบุคคลเหลานั้นมาดําเนินคดีในประเทศผูเสียหายได ดังนั้น ปจจุบันประเทศตาง ๆ จึงไดยอมรับแนวคิดเกี่ยวกับ ความรวมมือระหวางรัฐในการสงผูรายขามแดน และนํามาบังคับใชแพรหลายมากขึ้น
ความหมายของการสงผูรายขามแดน “การสงผูรายขามแดน” (Extradition) หมายถึง การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งตกลงยินยอมสงตัวบุคคลที่ตอง หาวากระทําความผิดทางอาญาในอีกประเทศหนึ่ง ตามคําขอเพื่อนําตัวไปดําเนินคดี หรือบังคับโทษตามคําพิพากษาของ ประเทศผูรองขอ และจากความหมายดังกลาวจะเห็นไดวา การสงผูรายขามแดนเปนความรวมมือระหวางประเทศทาง อาญา ซึ่งตามปกติแลว จะดําเนินภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงตางตอบแทนระหวางรัฐที่สอดคลองกับกฎหมายภายใน ของแตละประเทศ
เจตนารมณของการสงผูรายขามแดน
การสงผูรายขามแดนเปนมาตรการทางกฎหมายที่มีเจตนารมณในการเสริมสรางความรวมมือระหวางรัฐในการ ปราบปรามอาชญากรรมอยางมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของความเคารพตออํานาจอธิปไตยซึ่งกันและกัน โดยมุงเนนให บรรลุผลตามหลักการสําคัญ ๆ 3 ประการ คือ 1) หลักความรวมมือระหวางประเทศในการปราบปรามอาชญากรรม (International Co-operation) 2) หลักการบังคับใชกฎหมาย “ผูก ระทําความผิดทางอาญาจะตอ งไดรับโทษทางอาญา” (Certainly of Punishment) 3) หลักการปองกันการกออาชญากรรมซ้ํา หรือการตัดชองโอกาสใหอาชญากรรมที่หลบหนีการจับกุมไปกอ อาชญากรรมในประเทศอื่นไดอีก (Prevention Crime)
หลักการทั่วไปของการสงผูรายขามแดน หลั ก การเกี่ ยวกั บการส ง ผู ร า ยข า มแดนได ถู ก กํ า หนดไว ใ นอนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ 2 ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการลักลอบคายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ค.ศ. 1988 ขอ 6 (United Nations Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances, 1988) และอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ ค.ศ. 2000 ขอ 16 (United Nations
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 130
Convention Against Transnation Organized Crime, 2000) ที่ระบุใหประเทศภาคีตองรวมมือในการสงผูรายขาม แดน เพื่อผลในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ และอาชญากรรมคายาเสพติด โดยกําหนดหลักการสําคัญ ๆ ในการสงผูรายขามแดนใหประเทศภาคีสมาชิกใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือนําไปบัญญัติเปนกฎหมายภายในบังคับใช ดังนี้ 1) ความผิดที่จะสงผูรายขามแดนได จะตองเปนความผิดทางอาญาตามกฎหมายภายในทั้งของประเทศผูรองขอ และประเทศผูรับคําขอ (Double Criminality) 2) โทษที่ผูถูกสงตัวเปนผูรายขามแดน จะไดรับตองเปนโทษตามความผิดที่ระบุไวในคํารองขอ (Rule of Specialty) 3) คํ า ร อ งขอให ส ง ผู ร า ยข า มแดนอาจถู ก ปฏิ เ สธได ถ า บุ ค คลนั้ น มี สั ญ ชาติ ข องประเทศผู รั บ คํ า ร อ งขอ (Nationality) หรือความคิดตามคํารองขอเปนความผิดทางการเมือง (Political Crime) หรือเปนความผิดที่ตามกฎหมาย ในประเทศผูรองขอถึงขั้นประหารชีวิต (Death Penalty)
ประเทศไทยกับความรวมมือในการสงผูรายขามแดน ประเทศไทยไดใหความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ในการสงตัวผูรายขามแดนมานานแลว โดยในระยะแรก ๆ การ สงผูรายขามแดนดําเนินไปอยางไมเปนทางการบนพื้นฐานของความมีสัมพันธไมตรีที่ดีตอกัน ซึ่งสวนใหญเปนประเทศ เพื่อนบานที่มีอาณาเขตติดกับประเทศไทย จนกระทั่ง ในปลายรัชสมั ยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนของไทย จึงไดมีความชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยมีการทําความ รวมมือในรูปสัญญาระหวางรัฐเปนครั้งแรกกับประเทศอังกฤษ เมื่อป พ.ศ. 2453 (ร.ศ.129) และหลังจากนั้น ก็มีการทํา สัญญาในลักษณะดังกลาวกับประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศในเวลาตอมา ปจจุบัน ประเทศไทยไดทําสัญญาสงผูรายขาม แดนกับประเทศตาง ๆ รวม 10 ฉบับ ประกอบดวย 1) ประกาศสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนในระหวางกรุงสยามกับอังกฤษ มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2453 2) อนุสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดนระหวางกรุงสยามกับเบลเยี่ยม มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2479 3) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐอินโดนีเซียวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2523 4) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐฟลิปปนสวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2527 5) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสหรัฐอเมริกาวาดวยการสงผูรายขามแดน มี ผลบังคับใช เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2534 6) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีนวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2542 7) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐเกาหลีวาดวยการสงผูรายขาม แดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2544 8) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววา ดวยการสงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2544 9) สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศวาดวยการ สงผูรายขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2544
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 131
10)สนธิสัญญาระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห งราชอาณาจักรกัมพูชาวาดวยการสงผูราย ขามแดน มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2544 นอกจาก ความรวมมือในการสงผูรายขามแดนที่ดําเนินการภายใตสนธิสัญญา หรือขอตกลงระหวางรัฐตอรัฐแลว ประเทศไทยยังใหความรวมมือในการสงผูรายขามแดนกับประเทศอื่น ๆ ที่ไมไดมีสนธิสัญญา หรือขอตกลงกับไทยดวย โดยออกเปนกฎหมายภายในเฉพาะเรื่อง ไดแก พ.ร.บ.สงผูรายขามแดน พ.ศ. 2472 ซึ่งบัญญัติใหการสงผูรายขามแดนของ ไทย สามารถกระทําไดทั้งกับประเทศที่มีสนธิสัญญา และประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย โดยมีหลักเกณฑ หรือขั้นตอน วิธีการดําเนินงานแตกตางกันบางประการ กลาวคือ ถาเปนการสงผูรายขามแดนใหกับประเทศที่มีสนธิสัญญากับไทย ก็ให ปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ระบุไวในสนธิสัญญาเปนหลัก แตถาเปนการสงผูรายขามแดนกับประเทศที่ไมมีสนธิสัญญากับไทย ก็ใหพิจารณาตามหลักเกณฑทั่วไปตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้
ปญหาการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด ในกรณีที่รัฐบาลตางประเทศเปนผูรองขอใหรัฐบาลไทยสงผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเปนผูรายขามแดน ปญหาในทางปฏิบัติมักจะเกิดจากความลาชาในขั้นตอนการดําเนินการกอนนําคดีขึ้นสูศาล ทั้งนี้ เพราะปจจุบันยังไมมี หน ว ยงานของไทยที่ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะ ทํ า ให ก ารร อ งขอต อ งใช วิ ธี ผ า นช อ งทางการทู ต (Diplomatic Channel) ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุงยากและเสียเวลามาก สวนในกรณีที่รัฐบาลไทยเปนผูรองขอ ปญหาที่เกิดขึ้นไดแก เรื่องบทกําหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ของแตละประเทศที่มีความแตกตางกัน โดยที่กฎหมายไทยกําหนดโทษความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดบางขอหามีโทษขั้น ประหารชีวิต ทําใหคํารองขอใหสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติด อาจถูกปฏิเสธจากประเทศผูรับคํารองขอได นอกจากนั้น การที่ประเทศไทยไมมีสนธิสัญญากับรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลตางประเทศ การรองขอของรัฐบาลไทย จึง ไม อ าจร อ งขอโดยผ า นช อ งทางการทู ต ตามปกติ ไ ด ทํ า ให ต อ งใช วิ ธี ก ารร อ งขอในรู ป ของข อ ตกลงต า งตอบแทน (Reciprocity) ปจจุบัน กฎหมายสงผูรายขามแดนของไทยกําลังอยูระหวางการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติใหเอื้อตอการ ดําเนินการมากขึ้น
บทบาทประเทศไทยตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรฯ สําหรับการปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาลไทย ไดกําหนดเปนวาระแหงชาติ โดยมุงเนนการปราบปรามตาม แนวชายแดนตาง ๆ ตลอดจนสกัดกั้นเสนทางลําเลียงยาเสพติดทุกเสนทางจากสภาพปญหาที่ผานมา จากที่ประเทศไทย เปนตนทาง ซึ่งจะมีแหลงผลิตยาเสพติดอยูตามแนวชายแดนของประเทศไทย เมียนมาร และสปป.ลาวตอเนื่องกัน ที่ เรียกวา “สามเหลี่ยมทองคํา” (Golden Triangle) และยังอาศัยประเทศไทยเปนทางผาน และเปนจุดพักยาเสพติด เพื่อ สง ไปยัง ประเทศที่ส าม ดั งนั้ น นโยบายดา นการปราบปรามยาเสพติด ของประเทศไทย จึ งท าทายตอ การผนึก กํา ลั ง ปราบปราม และเพื่ อ ให การขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อด า นยาเสพติ ด กั บ ประเทศต า ง ๆ ในกลุ มอาเซี ยนบรรลุ ผ ลตาม ยุทธศาสตรฯ นี้ จึงกําหนดใหประเทศไทยควรมีบทบาท ดังนี้ 1. บทบาทในฐานะประเทศที่ไ ดรับผลโดยตรงกับปญ หายาเสพติ ด อาจจะเรียกไดวา “มากที่สุ ด” ในกลุ ม ประเทศอาเซียนดวยกัน บทบาทนี้ จึงทําใหประเทศไทยจะตองแสดงความกระตือรือรนมากกวาประเทศอื่น ๆ ที่ ไดรับผล นอยกวา เพราะหากประสบผลสําเร็จในความรวมมือไดมากเทาใด ก็จะสงผลตอการลดสถานการณปญหายาเสพติด ภายในประเทศมากขึ้นเทานั้น
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 132
2. บทบาทในฐานะประเทศที่มีสภาพทางภูมิรัฐศาสตรที่อยูกึ่งกลางของประเทศในกลุมอาเซียน บทบาทนี้ สามารถทําใหประเทศไทยสามารถเปนกึ่งกลาง หรือศูนยกลางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรในจุดที่เหมาะสมไดมากกวา ประเทศอื่น ๆ ซึ่งหากประเทศไทยไดขับเคลื่อนอยางจริงจังก็มีโอกาสทําใหการขับเคลื่อนงานดานยาเสพติดในภูมิภาคจะ เปนไปอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น ทั้ง นี้ สภาพกึ่ ง กลางของประเทศไทย รวมหมายความถึ งกึ่ ง กลางของประเทศในอาเซียนที่มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจ ความมั่งคั่งที่แตกตางกันระหวางประเทศที่อยูทางตอนเหนือ และตะวันออกของประเทศไทย ที่มีฐานะยากจน กวากับประเทศทางตอนใตของประเทศไทยที่มีฐานะมั่งคั่งกวา โดยประเทศที่มีผลกระทบดานยาเสพติดกับประเทศไทย โดยตรง ไดแก ประเทศที่อยูทางตอนเหนือทั้งสิ้น 3. บทบาทในฐานะผู ใ หก ารสนั บ สนุ น มากกวา ผู รั บ ซึ่ ง เป น บทบาทที่ กํ า หนดให ป ระเทศไทยที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจอยูในระดับตน ๆ ของกลุมประเทศอาเซียน และตองเผชิญกับปญหายาเสพติดมากที่สุดในกลุมประเทศอาเซียน จะตองพัฒนาบทบาทในฐานะผูใหการสนับสนุนกลุมประเทศทางตอนเหนือ และตะวันออกใหสามารถมีความคลองตัวใน การปฏิบัติงานดานยาเสพติดในประเทศของตน เพื่อลดปริมาณยาเสพติดที่จะถูกลักลอบนําเขาประเทศไทย อันจะสงผล ตอประเทศอาเซียนโดยรวมทั้งหมด และจะมีโอกาสใหเจตนารมณที่ทําใหอาเซียนปลอดยาเสพติดในป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ใกลเคียงกับความจริงมากที่สุด 4. บทบาทในฐานะประเทศแกนหลั ก ที่ เ สนอให ป ญ หายาเสพติ ด เป น วาระภู มิ ภาค โดยที่ ก ารแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติดในประเทศจะเปนไปอยางยากยิ่ง หากไมไดรับความรวมมืออยางจริงจังกับประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งกลุมประเทศทางตอนเหนือ และทางตะวันออกประเทศไทย จึงตองมีบทบาทสําคัญในการยกระดับปญหา ยา เสพติดใหเปนวาระภูมิภาคใหเปนผลสําเร็จ ไมเพียงแตจะเปนการสรางการยอมรับในเวทีสากลแลว ยังเปนการแกไขปญหา ภายในประเทศอีกดวย
ผลกระทบที่เกิดจากองคกรอาชญากรรมขามชาติรูปแบบยาเสพติด จากกิจกรรมหลากหลายรูปแบบขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ในปจจุบัน ไดกลายปญหาสําคัญของทุก ประเทศปญหาหนึ่ง คือ ยาเสพติด โดยแพรระบาดไปทั่วโลกมีผูรวมกระทําผิดจํานวนมาก ลักษณะการดําเนินการเปน ความลับ ยึดเปนอาชีพและส วนหนึ่งอยูเบื้องหลังอาชีพถูก กฎหมาย ทํารายไดจํานวนมาก ทั้งนี้ จะมีผูมีอิทธิพลทาง การเมืองในระดับทองถิ่นและระดับชาติ รวมมือใหความชวยเหลือเพื่อแลกเปลี่ยน หรือหวังผลประโยชนตางตอบแทน ปญหายาเสพติด ทําใหรัฐตองสูญเสียทรัพยากร ทั้งดานกําลังคน งบประมาณ ในการพัฒนาประเทศชาติ ซึ่ง ผลกระทบจากปญหายาเสพติด ซึ่งเปนปญหาสําคัญของประเทศไทย แบงออกเปน 1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ 2. ผลกระทบทางดานสังคม
1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ
จากกรณีองคกรอาชญากรรมขามชาติมุงหวังกําไรเปนหลัก กิจกรรมตาง ๆ ทั้ง ธุรกิจผิดกฎหมาย และอาศัย ธุรกิจถูกกฎหมายบังหนา ทําใหเกิดผลเสียหายทางดานเศรษฐกิจกับประเทศ ดังนี้ 1) ทําใหเกิดระบบผูกขาดในทางเศรษฐกิจ เกิดการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ทําใหระบบเศรษฐกิจ ออนแอ ตนทุนการผลิตสินคาแพงขึ้น จากการเก็บคาคุมครองและอื่น ๆ และประชาชนตองบริโภคสินคาในราคาแพง 2) การฟอกเงินทําใหระบบเศรษฐกิจปนปวน การเงินไมเปนไปตามหลักเหตุผลทางเศรษฐศาสตร คาดการณ ยาก
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 133
3) รัฐตองจัดสรรงบประมาณ สําหรับการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมและตองสูญเสียรายไดในรูป ของภาษีอากร เชน การคาน้ํามันเชื้อเพลิง การลักลอบขนสินคาหนีภาษี 4) เงินรายไดของรัฐสิ้นเปลืองไป ทําใหทรัพยากรไมเพียงพอ ในการพัฒนาดานสังคม และสวัสดิการของ ประชาชน 5) จากกรณีความไมสงบเรียบรอยในบานเมือง ทําใหนักลงทุนตางชาติเกิดความลังเลในการเขามาลงทุน หรือรวมลงทุนกิจการในประเทศ
2. ผลกระทบทางดานสังคม
1) กอใหเกิดปญหาอาชญากรรม เพราะยาเสพติดบางอยางทําใหคนมีนิสัยกา วราว รุนแรง และประกอบ อาชญากรรมในหลายรายปรากฏว า การเสพยาเสพติ ด ทํ า ให เ กิ ด พลั ง จอมปลอมขึ้ น ทํ า ให ค นมี นิ สั ย ใจคอก า วร า ว อาชญากรบางคน ยอมรับวา ใชยาเสพติดเพื่อใหมีความกลาเพียงพอที่จะประกอบอาชญากรรม ผูติดยาเสพติดยังตอง พยายามหาเงินมาเพื่อบําบัดความตองการเสพยาเสพติด โดยอาจใชวิธีการที่ไมชอบดวยกฎหมาย เชน ฉกชิง วิ่งราว ทํา การโจรกรรม ปลนทรัพย หรือเปนโสเภณี ทําใหเกิดปญหาในดานความสงบสุขของประชาชนทั่วไป 2) ปญหาตอเยาวชนและวัยรุน โดยเฉพาะเด็กที่อยูในครอบครัวแตกแยก พอแมวิวาทเกลียดชังกัน ไมไดรับ ความอบอุน จึงหันไปหาสิ่งอื่น เชน หันไปหายาเสพติด เมื่อติดแลวก็กออาชญากรรมเพื่อหาเงินซื้อยาเสพติด สรางปญหา สังคมอื่น ๆ ขึ้นมา 3) กอใหเกิดปญหาโสเภณี หญิงโสเภณีจํานวนไมนอยที่เปนโสเภณี เพราะมูลเหตุจูงใจเบื้องตนจากการติด ยาเสพติด 4) กอใหเกิดปญหาการวางงาน นายจางไมวาจากรั ฐบาล หรือเอกชน ไมปรารถนาที่จะจางบุคคลที่ติด ยาเสพติดไวทํางาน และผูติดยาเสพติดจะหมกมุนอยูแตเรื่องที่จะหายาเสพติดมาเสพ เพื่อบําบัดความตองการเทานั้น มิได คิดถึงการประกอบอาชีพใด ๆ ขาดความกระตือรือรนที่จะขวนขวายหาอาชีพอื่น ทําใหกลายเปนคนวางงานในที่สุด 5) ปญหาสังคมอื่น ๆ เชน ปญหาความยากจน ปญหาการหยาราง ปญหาเด็กถูกทอดทิ้ง ปญหาคนไรที่พึ่ง และปญหาการสงเคราะหผูติดยาเสพติด เปนตน 6) ด า นกํ า ลั ง คน กล า วคื อ ประเทศที่ มี ป ระชากรติ ด ยาเสพติ ด จะเป น ประชากรที่ ข าดคุ ณ ภาพ ขาด ประสิทธิภาพในการทํางาน ขาดแรงจูงใจในการทํางาน การพัฒนาประเทศยอมหยุดชะงักหรือไมกาวหนาเทาที่ควร 7) ดานการเงินงบประมาณ โดยหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคการระหวางประเทศไดทุม งบประมาณในการแกไขปญหายาเสพติดอยางมหาศาล รัฐบาลทุกรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดเปนนโยบายสําคัญ พรอมจัดสรรงบประมาณประจําป เพื่อปองกันปราบปรามยาเสพติดใหแกหนวยงานตาง ๆ ที่ มีหนาที่เกี่ยวของในดานการปองกัน และปราบปรามยาเสพติด ตลอดจนการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด โดยมีจุดมุงหมาย เพียงเพื่อยับยั้งและทําลายยาเสพติดใหหมดสิ้นไป ยาเสพติด มีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางมาก ประเทศไทยตระหนักถึงปญหายาเสพติด และ ดําเนินการปองกันปราบปราม ควบคุมการแพรระบาดของยาเสพติด ใหลดนอยลง เพื่อประชาชนในประเทศจะไดมีความ เปนอยูดีขึ้น ปญหาอาชญากรรม และการสูญเสียกําลังงบประมาณก็จะลดนอยลง
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 134
ผลกระทบจากการแกไขปญหายาเสพติดเมื่อรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ป 2558 เมื่ อ ประเทศในภู มิ ภาคกํ า ลั ง จะรวมตั ว กั น เป น ประชาคมอาเซี ยนในป 2558 จะส ง ผลกระทบต อ แนวโน ม สถานการณยาเสพติด และการบริหารจัดการเพื่อแกไขปญหายาเสพติด ทั้งทางบวก และทางลบหลายประการดวยกัน กลาวคือ
1. ประชาคมเศรษฐกิจ
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค การพัฒนาเศรษฐกิจระหวางประเทศ การ สงเสริมการลงทุนในตางประเทศ บรรยากาศการคา และการลงทุนเสรีมากขึ้น เงินทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศเขาออก ไดอยางเสรี เกิดความเชื่อมโยงระบบชําระเงินระหวางกันในอาเซียน การแขงขันเพื่อเปนศูนยกลางการขนสงของภูมิภาค ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกันเอง นําไปสูการพัฒนาดานศุลกากร ดานตรวจคนเขาเมือง และการปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวของ เกิดโครงขายทางดวนสารสนเทศรวมทั้งเพิ่มโอกาสในการพัฒ นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม ๆ จากการวิจัย และพัฒนารวมกันในภูมิภาคอาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อเสริมสรางเครือขายความเชื่อมโยงระหวาง ไทยกกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค จะเอื้ออํานวยตอการลําเลียงยาเสพติดทั้งตอประเทศตนทางที่เปนแหลงผลิตยาเสพติด ประเทศทางผ า นที่ เ ปน จุ ดแวะพั ก และประเทศปลายทางที่เ ปน ตลาดผูบ ริ โภค เส นทางลํ าเลี ยงยาเสพติ ด จะมีก าร เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และเกิดความหลากหลายมากขึ้น กอใหเกิดความยุงยากในการสกัดกั้นและปราบปราม เกิด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจขามชาติ อาชญากรรมที่เกี่ยวกับยาเสพติด และอาชญากรรมคอมพิวเตอร แผนประทุษกรรม เกี่ยวกับยาเสพติดจะพลิกแพลง และซับซอนมากขึ้น การใชประโยชนเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหมใหเอื้ออํานวยตอการ ประกอบอาชญากรรมระหวางประเทศ ธุรกรรมทางการเงินระหวางประเทศ และการฟอกเงิน นักลงทุน ตางชาติจะอาศัย สิทธินักลงทุนสัญชาติอาเซียนเขามาลงทุนในไทยมากขึ้น เกิดปญหาการประกอบธุรกิจของคนตางดาว
2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบที่สําคัญ ไดแก การกระตุนใหทุกภาคสวนเตรียมความพรอม และพัฒนาตามกรอบอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเขาใจ และความรวมมือกันมากขึ้นในการแกไขปญหา เกิดความรวมมือระดับภูมิภาค อาเซียนในเรื่องการสงเสริม และคุมครองสิทธิ ดวยปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก ภารกิจในการขับเคลื่อนความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซีย นมี ปริมาณงานเพิ่มขึ้น ความพรอมของบุคลากรดานภาษา และความเชี่ยวชาญเฉพาะดานขอจํากัดดานงบประมาณ และ กําลังคน เครื่องมือ และกลไกพื้นฐานของระบบราชการขาดความยืดหยุน และคลองตัว คานิยม และวัฒนธรรมบางอยาง อาจจะยั งไมสอดคลอง หรื อสรางการไม ยอมรับ มีทั ศนคติเ ชิง ลบต อการเปลี่ยนแปลงเกิ ดความเหลื่ อมล้ํ าทางสั งคม ประชาชนบางกลุมยังเขาไปไมถึงบริการของภาครัฐ และขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซี ย น ความแตกต า ง และความหลากหลายทางประชากรอย า งเช น เชื้ อ ชาติ ศาสนา วั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีการดําเนินชีวิต ปญหาสังคมเปนมูลเหตุที่สําคัญของปญหายาเสพติด
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 135
3. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงบวกที่สําคัญ ไดแก การสรางความรวมมือดานการปองกันทางการทหาร และความมั่นคง อาเซียน โดยเฉพาะการกําหนดแนวทางการจัดการพื้นที่ชายแดน การดําเนินงานภายใตความรวมมือตาง ๆ จะกอใหเกิด สันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาคอาเซียน เกิดการเสริมสรางความเขาใจในระบบกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย การพัฒนาประสิทธิภาพของหนวยงานบังคับใชกฎหมาย การพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับพันธกรณี อาเซียน การสรางแนวปฏิบัติรวมกันของประชาคมอาเซียน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ และความรูกับประเทศในกลุม อาเซียน ผลกระทบเชิงลบ ผลกระทบเชิงลบที่สําคัญ ไดแก การกําหนดนโยบาย และการขับเคลื่อนดานการเมือง และความมั่นคง มีความซับซอนเพิ่มขึ้น การควบคุมตรวจสอบการดําเนินงานของราชการที่เขมขนยิ่งขึ้น ปจจุบันกฎหมายหลายฉบับไม สอดคลองกับพันธกรณี การปฏิบัติตอคนตางดาว แรงงานตางดาว และผูอพยพลี้ภัยใหเปนไปตามพันธกรณี การคุมครอง สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนพื้ น ฐาน การเคลื่ อ นย า ยแรงงาน โดยเสรี อ าจก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ความสงบสุ ข และความมั่ น คง ภายในประเทศ กลุมกอการราย และอาชญากรรมขามชาติแสวงประโยชนจากการเปดเสรี และเคลื่อนยายเสรี แผน ประทุษกรรมเกี่ยวกับอาชญากรรม และยาเสพติดจะพัฒนารูปแบบที่พลิกแพลงมากขึ้น ทําใหการปองกัน และปราบปราม มีความยุงยาก และซับซอนยิ่งขึ้น
ปญหาและอุปสรรคในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ประการแรก
ประการที่สอง
ประการที่สาม
รู ป แบบของการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นในป จ จุ บั น มี ค วาม หลากหลายมากขึ้น โดยมีการผลิต จําหนาย และเสพยาเสพติดแตกตางกันไปในแตละ ประเทศ โดยมีการขนสงลําเลียงในรูปแบบใหมที่แตกตางไปจากเดิมโดยเฉพาะการขนสง เขาประเทศ โดยใชชองทางไปรษณีย และระบบการขนสงขนาดใหญ เชน การขนสงทาง ทะเล ซึ่งการตรวจสอบทําไดคอนขางลําบาก รวมถึงการปลอมแปลงเอกสารเพื่อใหผานพิธี การทางศุลกากร การกระทํ า ผิ ด มั ก เกิ ด ขึ้ น บนพื้ น ที่ ค าบเกี่ ย วระหว า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น การค า ยาเสพติดขา มชาติ การลั กลอบขนยาเสพติ ดขามชาติ โดยการใชผูก ระทํา ความผิดเป น ประชาชนของอีก ประเทศหนึ่ง ซึ่ งเปน ตัวกลางในการไปดํา เนิน การเคลื่อนยายขนถา ย ยาเสพติด โดยที่ผูนั้นไมทราบถึงสินคาที่ถูกวาจางใหไปดําเนินการขนยายวา เปนสินคาปกติ ทั่วไป หรือเปนยาเสพติดผิดกฎหมาย และเมื่อถูกเจาหนาที่จับกุมตัวก็จะถูกดําเนินคดีทําให ไมทราบถึงตัวการในการกระทําความผิดอยางแทจริง การรวบรวมพยานหลักฐานซึ่งมีความยุงยากซับซอน หากมีการกระทําผิดเกิดขึ้นระหวาง ประเทศ กลาวคือ การกระทําความผิดไดถูกแยกสวนที่กระทํา ผิดลงไปในดินแดนมากกวา หนึ่งประเทศขึ้นไป ซึ่งขอจํากัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐาน และความสมัครใจ ของพยานบุคคลที่จะสมัครใจเขาเปนพยานในคดี รวมถึงนโยบายของแตละประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนที่ใหความสําคัญในการรวมมือเกี่ยวกับการคนหาพยานหลักฐานระหวาง ประเทศ ซึ่งขอจํากัดในการรับฟงพยานหลักฐานในตางประเทศของศาลมีคอนขางมาก ดังนั้น กวาจะไดมา ซึ่งพยานหลักฐานเพื่อนําไปใชใหเกิดประโยชนประกอบการพิจารณาคดี
อ า ช ญ า ก ร ร ม ข า ม ช า ติ รู ป แ บ บ ย า เ ส พ ติ ด : ห น า | 136
อยางถูกตอง จึงจําเปนตองผานขั้นตอน และกระบวนการระหวางประเทศที่ลาชา อันสวน ทางกับอาชญากรรมขามชาติที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว ประการที่สี่ การใช ภาษาที่ แตกต างกันในแตละประเทศ กล าวคือ เจาหนาที่หน วยงานภาครั ฐ และ เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมของแตละประเทศมีทักษะในการใชภาษาอังกฤษอยูใน ระดับที่ไมสามารถใชงานในการสื่อสารไดดีพอ ทําใหตองอาศัยลามแปล ซึ่งอาจไมสามารถ จัดหาลามแปลไดครบทุกภาษาที่ตองการ และมีคาใชจายสูง ในขณะที่ บางประเทศยังมิได จัดเตรียมงบประมาณสําหรับการจัดหาลาม เพื่อเขามาเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือในการ พิจารณาคดี หากมีผูกระทําความผิดเปนชาวตางชาติ ประการที่หา การสืบพยานประเด็นนั้น อาจมีปญหาในกรณีที่ระบบศาลของแตละประเทศในภูมิภาค อาเซียนนั้นมีความแตกตางกัน ซึ่งแตกตางจากกลุมประเทศในสหภาพยุโรปที่มีกฎหมาย ของภูมิภาคและสามารถนํามาบังคับใชรวมกันได ทําใหกระบวนการยุติธรรมและขั้นตอน การพิจารณาคดีเปนไปไดอยางสอดคลองกัน เมื่อเกิดกรณีที่ประชาชนตา งชาติที่มาจาก ประเทศในกลุ ม สหภาพยุ โ รปเข า มากระทํ า ความผิ ด ระหว า งประเทศก็ จ ะต อ งเข า สู กระบวนการพิจารณาคดีที่ทัดเทียมกัน ทั้งทางดานกฎหมายและสิทธิมนุษยชน ประการที่หก เกณฑอายุของตัวผูกระทําความผิดยังมีความแตกตางกัน โดยเฉพาะการจํากัดความรับผิด ของเด็กและเยาวชน เชน อายุต่ํากวา 7 ป ไมตองรับโทษ หรือเกินกวา 7 ป แตไมเกิน 18 ป กระทําผิดแตรับโทษในฐานะเด็กและเปนเยาวชนเทานั้น ประการสุดทาย ปญหาเรื่องเขตอํานาจในเชิงพื้นที่ เชน เมื่อเจาพนักงานพบการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในฝ งประเทศเพื่ อนบ านที่ มีแ นวชายแดนติ ด ตอ กั น แตไ ม สามารถดํา เนิน การจั บกุ มตั ว ผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมาสูกระบวนการได เนื่องจาก ติดปญหาเรื่องขอบเขต อํานาจรวมถึงหลักดินแดน ซึ่งสิ่งที่สามารถกระทําได เพื่อใหสามารถนําตัวผูกระทําความผิด มาดําเนินคดี คือ ตองทําการลอซื้อใหเคลื่อนยายการกระทําผิดมาที่ประเทศไทย ซึ่งเปนการ ยากและมีขั้นตอนที่มีความเสี่ยงและลาชา การปราบปรามยาเสพติดจึงไมบรรลุเปาหมาย ตามนโยบายเทา ที่ควร หากสามารถลดป ญหาเรื่ องการจัด กุมตัว ผูกระทํ าความผิด ขา ม พรมแดนได ก็จะชวยใหการจัดการกับแหลงผลิตยาเสพติดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นั่นคือ การแกปญหาที่ตนเหตุ ดังนั้น ในยุคโลกาภิวัตน อาชญากรรมคายาเสพติดในหลายประเทศไดพัฒนารูปแบบเปนองคกรอาชญากรรม คายาเสพติดขามชาติที่มีเครือขายดําเนินการเชื่อมโยงกันในพื้นที่หลายประเทศ และมีการแบงหนาที่กันทําเปนสวน ๆ ไม วาจะเปนขั้นตอนการวางแผน การตระเตรียมการ การติดตอซื้อขาย การจัดหา และการสงมอบยาเสพติด จึงเปนการยาก ที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะดําเนินการปราบปรามอยางไดผลเพียงลําพัง หากแตจะตองอาศัยความรวมมือจากนานา ประเทศในการแสวงหามาตรการพิเศษมาชวยเสริมประสิทธิภาพการปราบปรามและดําเนินคดี โดยไมยึดติดกับหลัก อํานาจอธิปไตย และหลักดินแดนแหงรัฐ ในการนี้ มาตรการสงผูรายขามแดนในคดียาเสพติดก็เปนมาตรการอยางหนึ่งที่ นานาประเทศไดนํามาใชเปนกลไกความรวมมือระหวางรัฐในการปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดอยางไดผล โดย แนวทางความร ว มมื อ ในการแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ให บ รรลุ ผ ลนั้ น ทุ ก ประเทศในกลุ มต อ งมองป ญ หาร ว มกั น โดย แลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ และมีการอบรมดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกัน ไมวาจะเปน จีน ไทย เมียนมาร สปป.ลาว เวียดนาม กัมพูชา แมวา จีนจะไมไดอยูในประชาคมอาเซียนก็ตาม