นำเสนอหัวข้อเรื่องและโครงการวิทยานิพนธ์ แนวคิดและองค์ประกอบของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ตามลักษณะท้องถิ่น

Page 1


ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การพัฒนาเมืองในปัจจุบัน เกิดจากประชากรที่อยู่อาศัยภายใน เมือง ยิ่งเมืองมีการเติบโตทางเศรษฐกิจมากเท่าใดก็จะทาให้เมือง นั้นมีการพัฒนาเมืองมากขึ้นเท่านั้น ทั้งในด้านสาธารณูปโภค / สาธารณูปการ รวมถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเมือง

ประเทศไทยได้มีแผนนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ แ ละ สั ง ค มแ ห่ ง ช าติ ที่ ก ล่ าวถึ งเ ศรษ ฐกิ จ สร้างสรรค์ โดยให้ความสาคัญกับคุณภาพของ คนที่อยู่อาศัยจะเป็นตัวขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ ของเมืองได้เป็นอย่างดี การเติบโตของเศรษฐกิจ สร้ า งสรรค์ จ าเป็ น ต้ อ งมี ส ภาพแวดล้ อ มทาง กายภาพที่เอื้อต่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้วย

จากการไปศึกษาหนังสือ The Creative City: Place, Creativity & People, Glasgow and Portland ของ Aaron Borchardt ได้ให้ความหมายของเมืองสร้างสรรค์คือ ความ เชื่อมต่อระหว่างคน สถานที่และอัตลักษณ์เข้าด้วยกัน (Borchardt, 2013)

เมืองสร้างสรรค์ตามนิยามที่การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและพัฒนา (UNCTAD - Conference on Trade and Development) หมายถึง เมืองที่มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่หลากหลายเป็นส่วนสาคัญของ เศรษฐกิจและสังคมของเมืองนั้นๆ และต้องประกอบไปด้วยรากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม มีการรวมกลุ่ม กันอย่างหนาแน่นของคนที่มีงานสร้างสรรค์และมีสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดการลงทุนเพราะความยั่งยืนของสถานที่ใน เชิงวัฒนธรรมเป็นตัวขับเคลื่อนความเติบโตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (UNCTAD, 2008) UNCTAD. (2008). Creative Economy Report 2008. United Nations, 332.


ปัจจัยทางด้านประชากร อุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และกิจกรรมทางด้าน ศิลปะ/ประเพณี/วัฒนธรรม เป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดเมืองสร้างสรรค์ ซึ่ง พื้ น ที่ ข องเมื อ งจะถู ก ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยนวั ต กรรมทางวั ฒ นธรรมที่ มี ค วาม สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสินทรัพย์ของแต่ละพื้นที่ อีกทั้งยังมีผู้ประกอบการที่มีความคิดสร้างสรรค์ จ า ก บุ ค ค ล รุ่ น ใ ห ม่ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ต ล อ ด จ น ความสัมพั นธ์ของการเติบโตทางเศรษฐกิจกับ ระดับของความคิดสร้างสรรค์ยังเป็นตัวแปรหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดเมืองสร้างสรรค์ (Borchardt, 2013)

Borchardt, A. (2013). The Creative City: Place, Creativity & People, Glasgow and Portland. (Research Term), the Mackintosh School of Architecture, the Glasgow School of Art.


ในปัจจุบันกระแสการอนุรักษ์ความเป็นท้องถิ่นและกระแสความเปลี่ยนไปของโลกสามารถเป็นไปในทิศทาง เดียวกันและสอดคล้องกัน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มประชาชนผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ซึ่งมีความเป็น เจ้าของพื้นที่และสะท้อนลักษณะของท้องถิ่นออกมา รวมถึงความเป็นตัวตนของสังคมนั้นได้ จนกลายเป็นเมือง ที่มีอัตลักษณ์ชัดเจนมากขึ้น ปัจจัย ที่สัมพันธ์กับเมืองสร้างสรรค์ คือ คน สถานที่ และอัตลักษณ์ โดยลักษณะของท้องถิ่น ซึ่ง นาไปสู่การพัฒนาแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ (Borchardt, 2013) ได้แก่ 1. ประชากร อายุ 16-44 ปี ซึ่งเป็นวัยที่กาลังมีความคิดสร้างสรรค์และสามารถนาความคิดเหล่านั้นไป พัฒนาเป็นนวัตกรรมสร้างสรรค์ต่อไปได้ ซึ่งนาไปสู่การประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานสร้างสรรค์ 2. การมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสะท้อนลักษณะท้องถิ่นที่นาไปสู่การสร้างเมืองสร้างสรรค์ 3. กลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ 4. นวัตกรรมสร้างสรรค์ 5. ตาแหน่งที่ตั้ง 6. ลักษณะทางภูมิประเทศ 7. วิวัฒนาการของเมือง ที่สามารถนาไปสู่ความเข้าใจในสถานที่หรืออัตลักษณ์ของชุมชน 8. รูปทรงของเมือง ที่ก่อให้เกิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์เนื่องจากการก่อตัวของเมืองจะทาให้เกิดถนนสาย เศรษฐกิจ แม่น้าสายเศรษฐกิจ และพื้นที่ว่างสาธารณะ เป็นต้น 9. อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ทีเ่ ป็นตัวขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจทุกวันนี้ให้มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น 10. สาธารณูปโภค/สาธารณูปการ 11. ศิลปะ/ประเพณี/วัฒนธรรม ซึ่งอัตราการเติบโตของเมืองเกิดจากการขับเคลื่อนโดยนโยบายด้านศิลปะ/ ประเพณี/วัฒนธรรม และการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้แก่สินทรัพย์เดิมหรือเรียกว่า Re-Branding


Charles Landry ผู้เชี่ยวชาญด้านการวางแผนการประยุกต์ใช้ วัฒนธรรมเพื่อการฟื้นฟูเมืองและผู้เขียนหนังสือ The Creative City กล่าวไว้ว่า ความเป็นอัตลักษณ์ท้องถิ่นที่สื่อสารออกมาทางศิลปะรูปแบบ ต่างๆ และกิจ กรรมทางวัฒนธรรมถือว่าเป็นทรัพยากรสร้างสรรค์ของ เมื อ ง ดั ง นั้ น เมื อ งสร้ า งสรรค์ จึ ง ต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบของคน สถานที่ และอัตลักษณ์ (Landry, 2000)

ผู้เชี่ยวชาญอีกคนหนึ่งคือ Richard Florida ผู้ ให้นิยามกลุ่มมวลชน สร้างสรรค์ (Creative Class) กล่าวไว้ว่า กลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่เป็น กลไกสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์มีความสาคัญอย่างยิ่งด้ว ยเหตุผ ล ดั ง กล่ า ว เมื อ งต่ า งๆ จึ ง ต้ อ งแข่ ง ขั น กั น เพื่ อ ดึ ง ดู ด รั ก ษา และสร้ า งกลุ่ ม มวลชน สร้างสรรค์ด้วยการพัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง (Florida, 2002)

อีก หนึ่ ง แนวคิ ด ที่มี ความเกี่ย วข้อ งกั บ ลั ก ษณะท้อ งถิ่ น นั่ นคื อ ทฤษฎี อัต ลัก ษณ์ ข องสถานที่ (Place Identity) ถูกพูดถึงตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 70 เป็นบทความที่ถูกเขียนในวารสาร Environment and Behavior ฉบับที่ 10 โดย Harold Milton Proshansky กล่าวถึงอัตลักษณ์ของสถานที่เกิดจาก แนวคิดของสถานที่และอัตลักษณ์ในมิติของลักษณะทางภูมิประเทศ การวางผังเมือง การออกแบบชุมชน เมือง ภูมิสถาปัตยกรรม โดยบุคคลให้ความหมายและความสาคัญต่อสถานที่สาหรับอยู่อาศัยหรือได้ไป เยือน ซึ่งบุคคลนั้นเกิดความรับรู้และความเข้าใจต่อสภาพแวดล้อมทางกายภาพแล้วรู้สึกผูกพัน ซึ่งนั่น หมายถึงความโดดเด่นเฉพาะตัว และความเป็นเอกลักษณ์ของสถานที่นั้นด้วย (Proshansky, 1978)


ประชากร

ตาแหน่งที่ตั้ง

คน

ลักษณะทาง ภูมิประเทศ วิวัฒนาการ ของเมือง

เมืองสร้างสรรค์

รูปทรงของ เมือง อุตสาหกรรม สร้างสรรค์

การมีส่วนร่วม ของชุมชน กลุ่มมวลชน สร้างสรรค์ นวัตกรรม สร้างสรรค์

เศรษฐกิจสร้างสรรค์

สถานที่

อัตลักษณ์

สาธารณูปโภค สาธารณูปการ องค์ประกอบของแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์

ศิลปะ/ ประเพณี/ วัฒนธรรม


นโยบายของประเทศไทยจากส านักงานคณะกรรมการพั ฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ได้กล่า วถึง การพัฒนาและ ผลั ก ดั น การเพิ่ ม คุ ณ ค่ า ของสิ น ค้ า และบริ ก ารให้ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น บน ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศด้ วยทุนเดิ ม ที่มี อยู่ นั่นคือ วัฒนธรรม ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของประเทศไทยที่มีสั่งสมมายาวนาน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) มี น โยบายตอบสนองกั บ เศรษฐกิจโลกที่กาลังพัฒนาไปในลักษณะที่มีหลาย ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ

จนมาถึ ง ปั จ จุ บั น แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ที่ดาเนินอยู่ ในปัจจุบัน ได้กาหนดทิศทางการขับเคลื่อนประเทศ ไว้ อ ย่ า งชั ด เจน โดยเน้ น การพั ฒ นานวั ต กรรมที่ สร้างสรรค์ ผลักดันให้ประเทศไทยเป็นเมืองแห่งการ ท่องเที่ยวและพักผ่อนของอาเซียน

ดังนั้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของเมืองที่ เอื้อต่อการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์เป็นสิ่ง ที่ต้องดาเนินการควบคู่กันไป ซึ่งประเทศ ไทยมี แ ผนพัฒนาเศรษฐกิจสร้า งสรรค์ และเมื อ งสร้างสรรค์ แต่ยั งขาดแนวคิ ด หลั ก การและวิธีก ารในการนาไปสู่ การ พั ฒ นาแนวคิ ด ชุ ม ชนเมื อ งสร้ า งสรรค์ ด้วยความสาคัญของปัญหาที่เขียนมานี้ จึงจาเป็นต้องศึกษาแนวคิดชุมชนเมือง สร้างสรรค์ในประเทศไทย


ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการวิจัย ความมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อนาเสนอแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย ด้วยลักษณะที่สาคัญของท้องถิ่นไทย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึ กษาแนวคิ ด หลักการและวิธีการในการนาไปสู่การพัฒนาชุมชนเมืองสร้างสรรค์ ใน ประเทศไทย 2. เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฏีอัตลักษณ์ของสถานที่ (Place Identity) ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด ชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศและต่างประเทศ 3. เพื่อศึกษาลักษณะของท้องถิ่นไทยในการผลักดันแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย


ปัญหาการวิจัยและสมมติฐานของการวิจัย ปัญหาการวิจัย 1. แนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทยมีแนวคิด หลักการและวิธีการอย่างไร 2. แนวคิดและทฤษฏีอัตลักษณ์ของสถานที่ (Place Identity) มีส่วนในการพัฒนาชุมชน เมืองสร้างสรรค์ในประเทศและต่างประเทศหรือไม่ 3. ลักษณะของท้องถิ่นไทย ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ใน ประเทศไทยเป็นอย่างไร

สมมติฐาน 1. แนวคิ ด ชุ ม ชนเมื อ งสร้ า งสรรค์ ใ นประเทศไทยมี ห ลั ก การและวิ ธี ก ารที่ สั ม พั น ธ์ กั บ ลักษณะของท้องถิ่นไทย ได้แก่ คน สถานที่ และอัตลักษณ์ 2. แนวคิด ทฤษฏีอัตลักษณ์ของสถานที่ (Place Identity) เกี่ยวข้องกับแนวคิดชุมชน เมืองสร้างสรรค์ในประเทศและต่างประเทศ 3. ลักษณะของท้องถิ่นไทย ที่จะส่งผลการพัฒนาแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศ ไทย ได้แก่ ประชากร ตาแหน่งที่ตั้ง ลักษณะทางภูมิประเทศ วิวัฒนาการของเมือง รูปทรงของเมือง และประเพณี/วัฒนธรรม


ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตพื้นที่

โดยคัดเลือกเมืองหรือชุมชนที่มีศักยภาพต่อการพัฒนาชุมชนเมืองสร้างสรรค์ที่เหมาะสม และเป็นเมืองหรือชุมชนที่มีความพร้อมที่จะเข้าร่วมในกระบวนการศึกษาวิจัยอย่างน้อย 3 แห่ ง โดยมี เ กณฑ์ ใ นการคั ด เลื อ กคื อ พื้ น ที่ ต าแหน่ ง ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นภู มิ ภ าคที่ แ ตกต่ า งกั น ประเภทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่แตกต่างกัน

เมืองที่คัดเลือกมานี้ถูกคัดเลือกจากกระทรวงพาณิชย์ให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ทั้งหมด 30 จังหวัด โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกเมืองต้นแบบตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากเมืองที่ มีต้นทุนและปัญญาทางวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน แหล่งท่องเที่ยว หรือ สินค้าที่มีเอกลักษณ์ และเมืองที่มีอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ ที่ควรได้รับการ ส่งเสริมและสนับสนุน เช่น มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรม งานฝี มื อ สิ น ค้ า เชิ ง สร้ า งสรรค์ และการออกแบบ (อาคม โอเคเนชั่ น , 2554) แต่ ใ น การศึกษาครั้งนี้ได้คัดเลือกมา 3 จังหวัดเพื่อเป็นพื้นที่นาร่องในการศึกษา ได้แก่ อาคม โอเคเนชั่น. (2554). ตามไปดู 10 เมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย. Oknation Blog เข้าถึงจาก http://www.oknation.net/blog/akom/2011/05/09/entry-1 เข้าถึงเมื่อ 12/09/59


ขอบเขตการวิจัย 1) ชลบุ รี (ชุ ม ชนบางแสน...เมื อ งแสนสุ ข ) วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลเมื อ งแสนสุ ข คื อ เทศบาลเมืองแสนสุขเป็นเมืองน่าอยู่ แหล่งท่องเที่ยวสวยงามและยั่งยืน รักษา ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อม เศรษฐกิ จ รุ่ ง เรื อง ประชาชนอยู่ดี มี สุ ข ชุมชนเข้มแข็ง ภายใต้การบริหารท้องถิ่นที่มีธรรมาภิบาล 2) ราชบุรี (เมืองโอ่งดินสุก และตุ๊กตา) วิสัยทัศน์จังหวัดราชบุรี คื อ ผู้นาเกษตร ปลอดภัย มุ่งให้เป็นเมืองน่าอยู่ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเศรษฐกิจเชิง สร้างสรรค์ 3) ขอนแก่น (เมืองแห่งภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม สู่การสร้างนวัตกรรม “ไหม”) โดยกลุ่ ม ปราชญ์ ช าวบ้ า นที่ ส ร้ า งสรรค์ ง านผ้ า ไหมอยู่ ที่ อ าเภอชนบท จั ง หวั ด ขอนแก่น ซึ่งวิสัยทัศน์ของเทศบาลตาบลชนบท คือ มุ่งเน้นพัฒนาเมือง ควบคู่กับ การพัฒนา นาพาให้ชนบท ก้าวไปเป็นการเมืองเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยว ทางด้านศิ ลปหัตถกรรม ธรรมชาติที่สวยงาม การพัฒนาเสริมสร้างสัง คมให้ ชุมชนเข้มแข็ง พัฒนาเศรษฐกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง การ บริหารงานที่มีป ระสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ การมีส่วนร่วมระหว่าง องค์กรภาครัฐ และประชาชนท้องที่ เพื่อให้การพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน


ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตเนื้อหา

 ศึกษามิติทางด้านเนื้อหาของการวิจัย ได้แก่ 1) ประชากร 2) การมีส่วนร่วมของชุมชน 3) กลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ 4) นวัตกรรมสร้างสรรค์ 5) ตาแหน่งที่ตั้ง 6) ลักษณะทางภูมิประเทศ 7) วิวัฒนาการของเมือง 8) รูปทรงของเมือง 9) อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 10) สาธารณูปโภค/สาธารณูปการ 11) ศิลปะ/ประเพณี/วัฒนธรรม  ศึกษาค้นคว้า รวบรวมความรู้ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดเมืองสร้างสรรค์และกรณีตัวอย่างทั้งจากใน ประเทศ และต่างประเทศ  ศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนาเมือง เพื่อนาไปสู่การเสนอแนะหลักการ ออกแบบชุมชนเมืองสร้างสรรค์ที่เหมาะสมของประเทศไทย


ขั้นตอนการวิจัย ปัญหาของการวิจัย ความมุ่งหมายและ วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ความเป็นมาและ ความสาคัญของปัญหา

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตพื้นที่ ขอบเขตเนื้อหา

ตาแหน่งที่ตั้ง

ชลบุรี ราชบุรี ขอนแก่น ลักษณะท้องถิ่น

อัตลักษณ์ของสถานที่


-คน -สถานที่ -อัตลักษณ์

แนวคิด หลักการและวิธีการที่ สัมพันธ์กับลักษณะของท้องถิ่น ไทย ลักษณะของท้องถิ่นไทย ที่จะ ส่งผลการพัฒนาแนวคิดชุมชน เมืองสร้างสรรค์

รวบรวมลักษณะท้องถิ่นของ พื้นที่ชุมชนใน 3 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ราชบุรี ขอนแก่น ชุมชนเมืองสร้างสรรค์ใน ต่างประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ กรุงโซล, เกาหลี และเมือง ออสติน รัฐเท็กซัส, อเมริกา

สมมติฐานของการวิจัย

แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับ แนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ใน ต่างประเทศและในประเทศไทยมี แนวคิด และหลักการที่เกี่ยวข้อง กับอัตลักษณ์ของสถานที่

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การสัมภาษณ์ / การ สังเกตการณ์ -ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ศึกษา 50 คน -การมีส่วนร่วมของชุมชน -กลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ -นวัตกรรมสร้างสรรค์ -กิจกรรมทางประเพณี / วัฒนธรรม


การเปรียบเทียบชุดข้อมูลของ 3 จังหวัดที่เลือกมาเป็นพื้นที่ศึกษา การเปรียบเทียบชุดข้อมูลของ 3 ประเทศที่เลือกมาศึกษา

ลักษณะทางภูมิประเทศของพื้นที่ ศึกษา

การศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูล

วิวัฒนาการพัฒนาของเมือง รูปทรงของเมือง ประชากร

แนวคิด หลักการและวิธี ทางการออกแบบชุมชน เมืองสร้างสรรค์ของ ประเทศไทย

การมีส่วนร่วมของ ชุมชน

การสังเคราะห์และการ นาเสนอผลของการศึกษา

ลักษณะของ ท้องถิ่นไทย

กลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ นวัตกรรมสร้างสรรค์

ตาแหน่งที่ตั้ง ลักษณะทางภูมิประเทศ วิวัฒนาการของเมือง

รูปทรงของเมือง

แนวคิดชุมชนเมือง สร้างสรรค์ที่เหมาะสม ของประเทศไทย

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การสรุปผลของการศึกษา

สาธารณูปโภค/สาธารณูปการ

ศิลปะ/ประเพณี/วัฒนธรรม


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. แนวคิด หลักการ วิธีการและรายละเอียดขององค์ประกอบชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย 2. ฐานข้อมูลของเมืองหรือชุมชนที่มีลักษณะท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลสาหรับหน่วยงานและ องค์ ก รที่ เ กี่ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นาเมื อ งสร้ า งสรรค์ โ ดยสามารถประสานงานหรือ การพั ฒ นา กิจกรรมสร้างสรรค์ร่วมกับชุมชน 3. นาเสนอแนวทางการพัฒนาสาหรับชุมชนเมืองสร้างสรรค์ที่เหมาะสมของประเทศไทย




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.