สรุปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลพบุรีที่มีผังเมืองรวม

Page 1

สรุปสาระสาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลพบุรีที่มผี ังเมืองรวม 1. กฎกระทรวง ผังเมืองรวมเมืองโคกสาโรง พ.ศ. 2543 เทศบาลตาบลโคกสาโรง อาเภอโคกสาโรง มีผงั เมืองรวมเมืองโคกสาโรง พ.ศ. 2543 ซึง่ สามารถสรุป เป็นประเด็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ สมควรกาหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในท้องที่ตาบลโคกสาโรง ตาบลถลุงเหล็ก ตาบลคลองเกตุ และ ตาบลวังขอนขว้าง อาเภอโคกสาโรง จังหวัดลพบุรี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมือง และบริเ วณที่ เ กี่ยวข้อ งหรือ ชนบท ในด้านการใช้ป ระโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การ สาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการวางผังเมือง และ โดยที่มาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ การผัง เมื อง (ฉบับ ที่ 3) พ.ศ. 2535 บัญ ญัติว่า การใช้บัง คับ ผัง เมืองรวมให้ก ระทาโดยกฎกระทรวง จึง จาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ 1) กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับได้มีกาหนดห้าปี 2) ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลโพนทอง ตาบลเชียงงา ตาบลบ้านกล้วย ตาบลบ้านหมี่ และ ตาบลสนามแจง อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายกฎกระทรวงนี้ 3) การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคม และการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริก ารสาธารณะ และสภาพแวดล้อมในบริเวณแนวเขต ตามข้อ ๒ ให้ สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4) ผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีนโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้มี ประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต ส่งเสริมและพัฒ นาเศรษฐกิจ และโครงข่ายบริการสาธารณะ 5) การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ ไ ด้ จ าแนกประเภท แผนผั ง แสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการประกอบแผนผัง ท้ าย กฎกระทรวงนี้ 6) การใช้ป ระโยชน์ที่ ดินตามแผนผัง ก าหนดการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดินตามที่ ได้จ าแนกประเภทท้ า ย กฎกระทรวง 7) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อย ละสิบห้าของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด 8) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกิน ร้อยละยี่สิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด 9) ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ ดิน


-2-

เพื่อกิ จการอื่น ให้ใช้ได้ไม่ เกิ นร้อ ยละสิบห้าของแปลงที่ดิน ที่ยื่นขออนุญาต และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการตามที่กาหนด 10) ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์เพื่ออุตสาหกรรมและคลังสินค้า การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อย ละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด 11) ที่ ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ ยวข้องกับ เกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการตามที่กาหนด 12) ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่เป็นของรัฐ ให้ใช้ ประโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ นั น ทนาการหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ นั น ทนาการ การรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ สาธารณประโยชน์เท่านั้น 13) ที่ ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อการศึก ษาหรือเกี่ ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 14) ที่ ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับ การศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 15) ที่ ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดิน เพื่อ กิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 16) ที่ดินประเภทโครงการคมนาคมและขนส่ง ให้ใช้ประโยชน์เพื่อก่อสร้างถนน การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการที่เกี่ยวข้อง หรือเกษตรกรรมเท่านั้น 17) ให้ผู้มีอานาจหน้าที่ในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการในเขตผังเมืองรวม ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้


-3-

ภาพที่ 1 แผนที่ท้ายกฎกระทรวง ผังเมืองรวมเมืองโคกสาโรง พ.ศ. 2543


-4-

ภาพที่ 2 แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ผังเมืองรวมเมืองโคกสาโรง พ.ศ. 2543


-5-

2. กฎกระทรวง ผังเมืองรวมเมืองบ้านหมี่ พ.ศ. 2556 เทศบาลเมืองบ้านหมี่ อาเภอบ้านหมี่ มีผังเมืองรวมเมืองบ้านหมี่ พ.ศ. 2556 ซึ่งสามารถสรุปเป็น ประเด็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ สมควรกาหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในท้องที่ตาบลโพนทอง ตาบลเชียงงา ตาบลบ้านกล้วย ตาบล บ้านหมี่ และตาบลสนามแจง อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารง รักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง และ โดยที่มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ การผัง เมื อง (ฉบับ ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ บัญ ญัติว่า การใช้บัง คับ ผัง เมืองรวมให้ก ระทาโดยกฎกระทรวง จึง จาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ 1) กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับได้มีกาหนดห้าปี 2) ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลโพนทอง ตาบลเชียงงา ตาบลบ้านกล้วย ตาบลบ้านหมี่ และ ตาบลสนามแจง อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายกฎกระทรวงนี้ 3) การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคม และการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริก ารสาธารณะ และสภาพแวดล้อมในบริเวณแนวเขตตามข้อ ๒ ให้ สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4) ผัง เมื อ งรวมตามกฎกระทรวงนี้ มี นโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดิ น โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัว ของชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ 5) การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ ไ ด้ จ าแนกประเภท แผนผั ง แสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการประกอบแผนผัง ท้ าย กฎกระทรวงนี้ 6) การใช้ป ระโยชน์ที่ ดินตามแผนผัง ก าหนดการใช้ ป ระโยชน์ที่ ดินตามที่ ได้จ าแนกประเภทท้ า ย กฎกระทรวง 7) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อย ละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 8) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกิน ร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 9) ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ


-6-

10) ที่ ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ ยวข้องกับ เกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 11) ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดินซึ่งเป็นของรัฐ ให้ ใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ นั น ทนาการหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ นั น ทนาการ การรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ สาธารณประโยชน์เท่านั้น 12) ที่ ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อการศึก ษาหรือเกี่ ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 13) ที่ ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับ การศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 14) ที่ ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดิน เพื่อ กิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 15) การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายกฎกระทรวงนี้ ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (๑) ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก ๑ ถนนสาย ก ๒ ถนนสาย ก ๓ ถนนสาย ก ๔ ถนนสาย ก ๕ ถนนสาย ข ๑ ถนนสาย ข ๔ ถนนสาย ข ๕ และถนนสาย ข ๖ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจาก กิจการตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ (ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตรหรือไม่ใช่ อาคารขนาดใหญ่ (๒) ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ข ๒ ถนนสาย ข ๓ และถนนสาย ค ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ (ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือไม่ใช่ อาคารขนาดใหญ่ (ง) การอยู่อาศัยที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (จ) การอยู่อาศัยที่ไม่ใช่ห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (ฉ) การอยู่อาศัยที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดิน 16) ให้ผู้มีอานาจหน้าที่ในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการในเขตผังเมืองรวม ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้


-7-

ภาพที่ 3 แผนที่ท้ายกฎกระทรวง ผังเมืองรวมเมืองบ้านหมี่ พ.ศ. 2556


-8-

ภาพที่ 4 แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ผังเมืองรวมเมืองบ้านหมี่ พ.ศ. 2556


-9-

ภาพที่ 5 แผนผังแสดงการคมนาคมและขนส่ง ผังเมืองรวมเมืองบ้านหมี่ พ.ศ. 2556


-10-

3. กฎกระทรวง ผังเมืองรวมชุมชนแก่งเสือเต้น พ.ศ. 2558 เทศบาลตาบลแก่ งเสือ เต้น อ าเภอพัฒ นานิคม มี ผัง เมื องรวมชุม ชนแก่ง เสือเต้น พ.ศ. 2558 ซึ่ง สามารถสรุปเป็นประเด็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ สมควรกาหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในท้องที่ตาบลหนองบัว อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี เพื่อ ใช้เ ป็นแนวทางในการพั ฒ นา และการดารงรัก ษาเมือง และบริเ วณที่ เกี่ ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง และโดยที่มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผัง เมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ บัญญัติว่า การใช้ บังคับผังเมืองรวมให้กระทาโดยกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ 1) ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลหนองบัว อาเภอพัฒนานิคม จังหวั ดลพบุรีภายในแนวเขต ตามแผนที่ท้ายกฎกระทรวงนี้ 2) การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคม และการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริก ารสาธารณะ และสภาพแวดล้อมในบริเวณแนวเขตตามข้อ ๑ ให้ สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3) ผัง เมื อ งรวมตามกฎกระทรวงนี้ มี นโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดิ น โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัว ของชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ 4) การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ ไ ด้ จ าแนกประเภท แผนผั ง แสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการประกอบแผนผัง ท้ าย กฎกระทรวงนี้ 5) การใช้ป ระโยชน์ที่ ดินตามแผนผัง ก าหนดการใช้ป ระโยชน์ที่ ดินตามที่ ได้จ าแนกประเภทท้ า ย กฎกระทรวงนี้ 6) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อย ละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 7) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้ใช้ได้ไม่เ กิน ร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 8) ที่ ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ ยวข้องกับ เกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 9) ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับ เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การอนุรักษ์และส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกิน ร้อยละห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ


-11-

10) ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็นของรัฐ ให้ ใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ นั น ทนาการหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ นั น ทนาการ การรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ สาธารณประโยชน์เท่านั้น 11) ที่ ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อการศึก ษาหรือเกี่ ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 12) ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมหรือเกี่ยวข้องกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การประมง หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 13) ที่ ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับ การศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 14) ที่ ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 15) การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายกฎกระทรวงนี้ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (๑) ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ข ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่ กาหนดดังต่อไปนี้ (ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่ เกิน ๙ เมตร หรือ ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (๒) ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก ๑ และถนนสาย ก ๒ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ (ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือ ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (ง) การอยู่อาศัยที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (จ) การอยู่อาศัยที่ไม่ใช่ห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (ฉ) การอยู่อาศัยที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดิน 16) ให้ผู้มีอานาจหน้าที่ในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการในเขตผังเมืองรวม ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้


-12-

ภาพที่ 6 แผนที่ท้ายกฎกระทรวง ผังเมืองรวมชุมชนแก่งเสือเต้น พ.ศ. 2558


-13-

ภาพที่ 7 แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ผังเมืองรวมชุมชนแก่งเสือเต้น พ.ศ. 2558


-14-

ภาพที่ 8 แผนผังแสดงการคมนาคมและขนส่ง ผังเมืองรวมชุมชนแก่งเสือเต้น พ.ศ. 2558


-15-

4. กฎกระทรวง ผังเมืองรวมชุมชนลานารายณ์ พ.ศ. 2558 เทศบาลตาบลลานารายณ์ อาเภอชัยบาดาล มีผังเมืองรวมชุมชนลานารายณ์ 2558 ซึ่งสามารถสรุป เป็นประเด็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ สมควรกาหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในท้องที่ตาบลนิคมลานารายณ์ ตาบลลานารายณ์ ตาบลบ้าน ใหม่สามัคคี ตาบลบัวชุม ตาบลชัยนารายณ์ ตาบลท่ามะนาว และตาบลท่าดิ นดา อาเภอชัยบาดาล จังหวัด ลพบุรี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกีย่ วข้องหรือชนบท ในด้านการ ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง และโดยที่มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผัง เมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ บัญญัติว่า การใช้ บังคับผังเมืองรวมให้กระทาโดยกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ 1) กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับได้มีกาหนดห้าปี 2) ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลนิคมลานารายณ์ ตาบลลานารายณ์ ตาบลบ้านใหม่สามัคคี ตาบลบัวชุม ตาบลชัยนารายณ์ ตาบลท่ามะนาว และตาบลท่าดินดา อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ภายใน แนวเขตตามแผนที่ท้ายกฎกระทรวงนี้ 3) การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคม และการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อมในบริเวณแนวเขตตามข้อ ๒ ให้ สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4) ผัง เมื อ งรวมตามกฎกระทรวงนี้ มี นโยบายและมาตรการเพื่อจัดระบบการใช้ป ระโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัว ของชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ 5) การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ ได้จ าแนกประเภท แผนผัง แสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการประกอบแผนผัง ท้ าย กฎกระทรวงนี้ 6) การใช้ป ระโยชน์ที่ ดินตามแผนผังก าหนดการใช้ป ระโยชน์ที่ ดินตามที่ได้จ าแนกประเภทท้าย กฎกระทรวงนี้ 7) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกิน ร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 8) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่ เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 9) ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดนิ เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ


-16-

10) ที่ ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่ออุตสาหกรรมบริการที่ประกอบ กิจการโดยไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม ในลักษณะโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานตามประเภท ชนิด และจ าพวกที่ กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ ายกฎกระทรวงนี้ คลัง สินค้าสถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกิน ร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 11) ที่ ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ ยวข้องกับ เกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 12) ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้อง กับเกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และ การอนุรักษ์และรักษาสภาพแวดล้อมเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกิน ร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 13) ที่ดินประเภทที่โล่งเพือ่ นันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดินซึ่งเป็นของรัฐ ให้ ใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ นั น ทนาการหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ นั น ทนาการ การรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ สาธารณประโยชน์เท่านั้น 14) ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษาหรือบารุงป่า ไม้ สัตว์ป่า ต้นน้า ลาธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเท่านั้น 15) ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึก ษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 16) ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมหรือเกี่ยวข้องกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การประมงหรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 17) ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 18) ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิ นเพื่อ กิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 19) การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายกฎกระทรวงนี้ให้เป็นไป ดังต่อไปนี้ (๑) ที่ ดินในบริเ วณแนวถนนสาย ง และถนนสาย จ ๑ ห้ามใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อกิ จการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ (ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตรหรือ ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (๒) ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก ๑ ถนนสาย ก ๒ ถนนสาย ก ๓ ถนนสาย ข ๑ ถนนสาย ข ๒ ถนนสาย ข ๓ ถนนสาย ข ๔ ถนนสาย ข ๕ ถนนสาย ค ๑ ถนนสาย ค ๒ ถนนสาย ค ๓ และถนนสาย จ ๒ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนดดังต่อไปนี้


-17-

(ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง (ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือ ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (ง) การอยู่อาศัยที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ (จ) การอยู่อาศัยที่ไม่ใช่ห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (ฉ) การอยู่อาศัยที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดิน 20) ให้ผู้มีอานาจหน้าที่ในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการในเขตผังเมืองรวม ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้


-18-

ภาพที่ 9 แผนที่ท้ายกฎกระทรวง ผังเมืองรวมชุมชนลานารายณ์ พ.ศ. 2558


-19-

ภาพที่ 10 แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ผังเมืองรวมชุมชนลานารายณ์ พ.ศ. 2558


-20-

ภาพที่ 11 แผนผังแสดงการคมนาคมและขนส่ง ผังเมืองรวมชุมชนลานารายณ์ พ.ศ. 2558


-21-

5. ผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้) เทศบาลตาบลหนองม่วง อาเภอหนองม่วง มีผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้) ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1) ความหนาแน่นประชากร ในเขตผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วงมีประชากร จานวน 9,157 คน อยู่ในเขตเทศบาล จานวน 5,443 คน อยู่นอกเขตเทศบาล จานวน 3,714 คน ประชากรในเขตเทศบาล มี ความหนาแน่น 3 คนต่อไร่ ประชากรนอกเขตเทศบาล มีความหนาแน่น 1 คนต่อไร่ 2) ลักษณะทางเศรษฐกิจ ขึ้นอยู่กับภาคการเกษตร ได้แก่ การปลูกมันสาปะหลัง อ้อย และพืชสวน 3) ส่วนการค้าและบริการ ส่วนใหญ่เป็นการค้าและบริการที่มีความจาเป็นสาหรับชุมชน ซึ่งได้แก่ ร้านค้าปลีก ร้านขายของชา ขายอาหารและเครื่องดื่มอุตสาหกรรมบริการ 4) ลักษณะทางสังคม เป็นสังคมการเกษตร เนื่องจากมีพื้นที่ ที่เหมาะสม 4.1) สถานที่ราชการ จานวน 5 แห่ง 4.2) สถาบันการศึกษา จานวน 5 แห่ง 4.3) สถาบันศาสนา จานวน 10 แห่ง 4.4) การบริการทางการแพทย์ จานวน 3 แห่ง 5) ศัก ยภาพชุม ชนหนองม่วง ศัก ยภาพด้านการคมนาคม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ผ่าน อาเภอหนองม่วง ไปยังจังหวัดนครสวรรค์ และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3326 ที่เชื่อมโยงในพื้นที่และยังมี ทางหลวงในชุมชนสายต่าง ๆ ที่สามารถเชื่อมต่อระหว่างกันได้เป็นอย่างดี 6) ศักยภาพด้านพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุในดิน ซึ่งเกิดจากการทับถมของตะกอนขนาด เล็ก ทาให้สภาพดินเหมาะสมกับการเกษตร สาหรับนาข้าว ประกอบกับมีแหล่งน้าธรรมชาติ และระบบ ชลประทานที่สมบูรณ์ 7) ข้อจากัดชุมชนหนองม่วง ถนนเข้าสู่ชุมชนต่าง ๆ เขตทางค่อนข้างแคบ เป็นอุปสรรคต่อการขาย ตัวของชุมชนและการขนส่ง อีกทั้งยังเป็นแนวขวางทางน้าหลาก 8) แนวโน้มและทิศทางขยายตัวของชุมชนหนองม่วง ชุมชนหนองม่วงเป็นชุมชนเกษตรกรรม การ เจริญเติบโตของชุมชนอยู่บริเวณโดยรอบเทศบาลตาบลหนองม่วง และตามแนวทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1 ส่วนอี ก บริเวณหนึ่งทางด้านใต้ของพื้นที่ วางผังฯ ซึ่ง คาดว่าจะมีการขยายตั วของชุมชนไปทางด้าน ตะวันออก คือตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 9) บทบาทของชุมชนหนองม่วง เป็นศูนย์กลาง การค้าและบริการด้านการเกษตร การคมนาคม เป็นพื้นที่ ที่มีเส้นทางคมนาคมสายสาคัญคือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ซึ่ง เป็นการคมนาคมระหว่าง จังหวัดลพบุรี – จังหวัดนครสวรรค์ และสามารถเชื่อมต่อกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3326 และเป็นพื้น พื้นที่เศรษฐกิจด้านการเกษตรที่สาคัญของจังหวัด 10) นโยบาย 10.1) เป็นกลไกชี้นาแนวทางการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน สามารถรองรับการขยายตัวของ ประชากรในอนาคต และรักษาประโยชน์ส่วนรวมของชุมชน


-22-

10.2) สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน 10.3) การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของชุ ม ชน รวมถึ ง การคมนาคมขนส่ ง การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 11) วัตถุประสงค์ 11.1) ส่งเสริมการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการค้าและบริการด้านการเกษตรในระดับชุมชน โดยกาหนดพื้นที่เพื่อรองรับการขยายตัวของการใช้ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม และพักอาศัย 11.2) ส่งเสริมให้มีการสงวน รักษาพื้นที่เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน 11.3) ก าหนดโครงข่ า ยคมนาคมและขนส่ง ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น อย่าง เหมาะสม 12) เป้าหมายในการวางผัง 12.1) เป้าหมายการใช้ประโยชน์ที่ดิน กาหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่โดยการกาหนดการใช้ ประโยชน์ที่ดินด้านต่าง ๆ รวมถึงระบบคมนาคมและขนส่ง ให้สามารถรองรับการขยายตัวในอนาคต โดย สอดคล้องกับแนวนโยบายของการวางผังฯที่กาหนดไว้ 12.2) เป้ า หมายด้ านเวลา การวางผัง เมื องรวมชุ ม ชนหนองม่ ว ง เป็ น การวางผัง การใช้ ประโยชน์ที่ดินในอนาคต เป็นเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2579) โดยประกาศเป็นกฎกระทรวงใช้บังคับ 12.3) เป้าหมายด้านประชากร ข้อมูลประชากรได้จากการสารวจเมื่อเดือนธันวาคม 2558 จ านวน9,157 คน และคาดว่าในปี พ.ศ. 2579 มี ป ระชากร 25,531 คน โดยมี อัตราการขยายตัว ประชากรร้อยละ 0.44 ต่อปี 13) แนวความคิดในการวางผังเมืองรวมชุมชนท่าโขลง ได้กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตให้ สอดคล้องกับบทบาทของชุมชน วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน สภาพการอยู่อาศัย การตั้งถิ่นฐาน และแนวโน้ม และทิศทางการขยายตัวของชุมชน รวมถึงความเหมาะสมด้านศักยภาพ ปัญหา และข้อจากัดต่าง ๆ 14) ข้อกาหนดผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง 14.1) ที่ ดินประเภทที่ อยู่อ าศัยหนาแน่นน้อย (สีเ หลือง) ให้ใช้ป ระโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการ อื่น ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่ที่มีความสูง ๑๒ เมตร และขนาดแปลงที่ดินไม่เกิน ๕๐ ตารางวา ยกเว้นเสาสาธารณูปโภค 14.2) ที่ ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม) ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อการอยู่ อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการอื่น ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่ที่มีความสูง ๑๒ เมตร และขนาดแปลงที่ดินไม่เกิน ๔๐ ตารางวา ยกเว้นเสาสาธารณูปโภค 14.3) ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (สีแดง) ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่


-23-

สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่ที่มีความสูง ๑๒ เมตร และขนาดแปลงที่ดินไม่เกิน ๒๕ ตารางวา ยกเว้นเสาสาธารณูปโภค 14.4) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่ที่มีความสูง ๑๒ เมตร และพื้นที่ใช้สอยไม่เกิน ๗๕ ตารางวา ยกเว้นเสาสาธารณูปโภค 14.5) ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สีเขียวอ่อน) เฉพาะที่ ดินซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับ นันทนาการ การรัก ษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น 15) แนวความคิดในการกาหนดระบบคมนาคมขนส่ง 15.1) เป้าหมาย เพื่อให้การคมนาคมขนส่งทั้งระหว่างชุมชน และภายในชุมชนเป็นไปด้วย ความสะดวก มีประสิทธิภาพและปลอดภัย 15.2) วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นการเพิ่มความคล่องตัวในการเดินทางของประชาชน และป้องกันการเกิด อุบัติเ หตุโ ดยเฉพาะบริเวณศูนย์กลางเมือง อีก ทั้ ง เพื่อการเชื่อมต่อและรองรับการขยายตัวของชุมชนใน อนาคต • เพื่อให้พื้นที่วางผังเกิดการพัฒนาอย่างทั่งถึง และมุ่งเน้นให้ระบบคมนาคมขนส่ง เป็นปัจจัยสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ 15.3) รูปแบบของถนน ใช้ระบบถนนที่มีอยู่เดิมเป็นหลักในการพัฒ นา โดยกาหนดให้เ ป็น ถนนเดิมขยาย 16) ผังแนวความคิดระบบคมนาคมขนส่ง 16.1) การสร้างถนนหรือที่เกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 16.2) การสร้างรั้วหรือกาแพง 16.3) อาคาร เกษตรกรรมหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ เกษตรกรรมที่ มี ค วาม สู ง ของไม่ เ กิ น 9 เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่


-24-

ภาพที่ 12 แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยูร่ ะหว่างรอประกาศฯ ใช้)


-25-

ภาพที่ 13 แผนผังแสดงการคมนาคมและขนส่ง ผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้)


-26-

6. ผังเมืองรวมชุมชนท่าวุ้ง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้) เทศบาลตาบลท่าวุ้ง อาเภอท่าวุ้ง มีผังเมืองรวมชุมชนท่าวุ้ง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้) ซึ่งสามารถ สรุปเป็นประเด็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1) พื้นที่รวมประมาณ 7.71 ตารางกิโลเมตร (4,819 ไร่) 2) ประชากร 9,270 คน 3) พื้นที่วางผังครอบคลุม 4 พื้นที่ ได้แก่ 3.1) เทศบาลตาบลท่าวุ้ง มีพื้นที่ 1.60 ตารางกิโลเมตร 3.2) บางส่วนของตาบลบางคู้ มีพื้นที่ 5.80 ตารางกิโลเมตร 3.3) บางส่วนของตาบลโพตลาดแก้ว มีพื้นที่ 0.29 ตารางกิโลเมตร 3.4) บางส่วนของตาบลท่าวุ้ง มีพื้นที่ 0.02 ตารางกิโลเมตร 4) แนวความคิดในการวางผังเมืองรวมชุชนท่ าวุ้ง ได้กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ ดินในอนาคตให้ สอดคล้องกับบทบาทของชุมชน วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน สภาพการอยู่อาศัย การตั้งถิ่นฐาน และแนวโน้มและ ทิศทางการขยายตัวของชุมชน รวมถึงความเหมาะสมด้านศักยภาพ ปัญหา และข้อจากัดต่าง ๆ 5) ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ 5.1) กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน 9 ประเภท 5.2) กาหนดกิจกรรมหลัก 5.3) กาหนดสัดส่วนร้อยละของประเภทกิจกรรมรอง 5.4) ประเภทของกิจกรรมที่ห้ามในแต่ละประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 5.5) กาหนดระยะถอยร่นริมฝั่งแม่น้า ลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ 5.6) กาหนดข้อห้ามอาคารบางประเภท และความสูงของอาคาร 6) ข้อกาหนดผังเมืองรวมชุมชนท่าวุ้ง 6.1) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง)ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการ อื่นให้ได้ ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 6.2) ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม)ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 6.3) ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (สีแดง) ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการ พาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการ ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 6.4) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ


-27-

6.5) ที่ ดินประเภทที่ โ ล่ง เพื่ อนันทนาการและการรัก ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สีเ ขียวอ่อน) เฉพาะที่เป็นของรัฐให้ใช้ประโยชน์เพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือสาธารณะประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การอยู่อาศัย ซึ่งมิใช่การจัดสรรที่ดิน การเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูป การ การประกอบการเกี่ยวกับการท่องเที่ยวหรือสาธารณะประโยชน์ 7) ข้อกาหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 7.1) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อก่อสร้างโรงงาน ให้ดาเนินการได้ตามบัญชีแนบท้ายข้อกาหนด 7.2) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมแม่น้า ลาคลอง หรือแหล่งน้าสาธารณะ ให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่า 15 เมตร และ 6 เมตร 8) แนวความคิดในการกาหนดระบบคมนาคมขนส่ง 8.1) เป้าหมาย เพื่อให้การคมนาคมขนส่งทั้งระหว่างชุมชน และภายในชุมชนเป็นไปด้วยความ สะดวก มีประสิทธิภาพและปลอดภัย 8.2) วัตถุประสงค์ เพื่อลดปริมาณจราจรบนถนนสายประธานของชุมชน (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 311) โดยเฉพาะบริเวณศูนย์กลางเมือง และเพื่อให้มีการเชื่อมต่อของระบบคมนาคมและขนส่ง เป็นโครงข่ายที่มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพื่อให้พื้นที่วางผังเกิดการพัฒนาอย่างทั่งถึง โดยมุ่งเน้นให้ระบบ คมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยสนับสนุน และสอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ 8.3) รูปแบบของถนน ใช้ระบบถนนที่มีอยู่เดิมเป็นหลักในการพัฒนา โดยกาหนดให้เป็นถนน เดิมขยาย


-28-

ภาพที่ 14 แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยูร่ ะหว่างรอประกาศฯ ใช้)


-29-

แนวแกนการคมนาคมหลัก(ตะวันออก – ตะวันตก) แนวแกนการคมนาคมรอง(เหนือ – ใต้) แนวถนนเชื่อมโยงภายในชุมชน พื้นที่ชุมชน

ภาพที่ 15 แผนผังแสดงการคมนาคมและขนส่ง ผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้) 9) โครงข่ายระบบการคมนาคมมีความสมบูรณ์ ลดปริมาณจราจรบนถนนสายหลักโดยเฉพาะทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 311 และเป็นการเลี่ยงพื้นที่ศูนย์กลางชุมชน 10) สนับสนุนให้เกิดการใช้ประโยชน์ที่ดินมีประสิทธิภาพและเชื่อมต่อการคมนาคมอย่างเป็นระบบ 11) สาย ก ขนาดเขตทาง 12 เมตรสาย ข 1 ขนาดเขตทาง 16 เมตร (บังคับใช้แบบเข้มงวด) 12) สาย ข2 ข3 และ ข4 ขนาดเขตทาง 16 เมตร (บังคับใช้แบบยืดหยุ่น)

ภาพที่ 16 สภาพปัจจุบันของถนน สาย ก ข2 ข3 และ ข4


-30-

ถนนเดิมขยาย

ภาพที่ 17 แผนผังแสดงการคมนาคมและขนส่ง ผังเมืองรวมชุมชนหนองม่วง (อยู่ระหว่างรอประกาศฯ ใช้)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.