การออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณเทศบาลเมืองสระบุรี

Page 1

ผังบริเวณการออกแบบพื้นทีส่ ีเขียวบริเวณสานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี โดย กรวรรณ รุ่งสว่าง นักศึกษาปริญญาโท สาขาออกแบบชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร


สารบัญ ตัวอย่างการออกแบบพื้นที่สวนตามแนวคิด Green Space

หน้า 01

แนวคิดในการออกแบบ ชั้นล่าง

06

แผนผังการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี ชั้นล่าง

07

แนวคิดในการออกแบบ ชั้นที่ 2-3 และชั้นดาดฟ้า

08

แผนผังการออกแบบ ชั้นที่ 2-3 และชั้นดาดฟ้า

09

พันธุ์ไม้

12

ตารางราคาพรรณไม้

53

ทัศนียภาพหลังการปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ชั้นล่าง

56

ทัศนียภาพหลังการปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ชั้น 2-3 และดาดฟ้า

71

ค่าออกแบบแนวคิดเบื้องต้น

95

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ส-1


ตัวอย่างงาน

Good Landscape ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

01


ตัวอย่างงาน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

02


ตัวอย่างงาน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

03


ตัวอย่างงาน

Floor Pavement ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

04


ตัวอย่างงาน

Street Furniture ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

05


สานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี พื้นที่สานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรีแห่งนี้มีขนาดผังบริเวณความกว้าง 48 เมตร และความยาว 82 เมตร พื้นที่ในการออกมีทั้งหมด 857 ตารางเมตร โดยใช้แนวคิดในการออกแบบ “ Green Building ” เป็นลักษณะของอาคารที่อุดมไปด้วยต้นไม้สี เขียว ร่มรื่น น่านั่ง ในสภาวะน่าสบาย ตามภาพตัวอย่างงานที่แนบมาด้วย ซึ่งจะเป็นตัวอย่างของงานออกแบบภูมิทัศน์ในสถานที่ต่างๆ โดย ใน พื้นที่สานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเลือกที่จะเก็บต้นไม้ขนาดใหญ่เอาไว้ และเพิ่มพุ่มไม้สีเขียวด้วยพันธุ์ไม้ต่างๆ เช่น หมากผู้หมากเมีย ต้น โมก ต้นคริสติน่า หมากเขียว พุดศุภโชค ชาดัด และพุดซ้อน เป็นต้น และไม้ขนาดใหญ่ เช่น ต้นหูกระจง ต้นตีนเป็ด ต้นจัง๋ และไผ่เลี้ยง เป็นต้น ในส่วนบริเวณริมรั้วต้องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้มากขึ้นโดยการปลูกไม้เลื้อย คือ ลีกวนยู ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ที่ปลูกง่าย โดยสามารถห้อยจาก ด้านบนของรั่วได้เลย และมีลักษณะช่อที่สวยงาม ตามรูปที่แนบมาตรงพันธุ์ไม้เลื้อย มองดูจากภายนอกแล้วรู้สึกว่าอาคารแห่งนี้มีความร่ม รื่นมาก ขึ้น อีกทั้งบริเวณด้านหลังอาคารที่เป็นลานจอดรถแนะนาให้ปลูกม่านบาหลีห้อยจากหลังคาของอาคารบ้านพักเจ้าหน้าที่ ลักษณะเป็นไทรห้อย จากหลังคา และด้านข้างอาคารโรงพยาบาลบริเวณห้องตรวจคนไข้ในปัจจุบันบริเวณนั้นโล่งมาก จึงแนะนาให้ปลูกต้นไผ่เลี้ยง มีลักษณะสูงขึ้น มา เพื่อเพื่อความเป็นส่วนตัวให้กับคุณหมอและคนไข้ พื้นที่ระหว่างอาคารฟิตเนสและโรงอาหารจากเดิมเป็นบ่อน้า ได้ออกแบบใหม่เปลี่ยนเป็นลานไม้และมีที่นั่งพักใต้ต้นไม้ และสวนตรงกลาง อาคารโรงพยาบาล 4 ชั้น เพิ่มพื้นที่นั่งเล่นในสวน เลือกเก็บต้นไม้เดิมเอาไว้ เพิ่มพุ่มไม้เตี้ยเพื่อความเขียวในบริเวณนั้น โดยปรับระดับของพื้นที่ บริเวณนั้นให้สูงระดับเดียวกันและทาลานไม้และที่นั่งพัก ล้อมรอบด้วยต้นไม้ มีสภาวะน่าสบายและน่านั่ง ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

06


หมากผู้หมากเมีย ม่านบาหลี หมากผู้หมากเมีย ลานไม้

ไผ่เลี้ยง

ต้นโมก

ต้นจั๋ง ลานไม้

ต้นคริสติน่า ต้นหูกระจง พุดซ้อน

ต้นตีนเป็ด หมากเขียว

ต้นโมก หญ้า

พุดศุภโชค

พุดศุภโชค พุดซ้อน ชาดัด ต้นโมก หมากเขียว

หมากเขียว

หญ้า

ต้นคริสติน่า หญ้า

ต้นหูกระจง ต้นโมก

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

07


สานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี พื้นที่สานักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรีบริเวณชั้น 2 ชั้น 3 และชั้นดาดฟ้ามีพื้นที่อยู่กลางแจ้งจึงออกแบบให้ดูแล รักษาง่าย เพิ่มร่มเงาให้แก่ผู้ใช้งานและทาให้อาคารร่มรื่นขึ้นด้วยการใช้ต้นไม้ดูดซับแสงแดด แต่เดิมพื้นเป็นคอนกรีตซึ่งเก็บความร้ อนเป็นอย่างดี ส่งผลให้อาคารมีอุณหภูมิสูง ดังนั้นจึงออกแบบใหม่โดยใช้พื้นไม้และหญ้าเป็นบางส่วนปรับภูมิทัศน์ร่มรื่นขึ้นอีกทั้งยังเพิ่มเก้าอี้ไ ม้สาหรับนั่ง พักผ่อนโดยรอบพื้นที่ซึ่งเป็นเก้าที่อยู่รายล้อมไปด้วยต้นไม้ นานาชนิด ส่วนใหญ่ก็จะเป็นต้นที่หาซื้อได้ง่าย ตามร้านขายต้นไม้ทั่วไปมีขาย แล้วก็ เป็นต้นไม้ที่ดูแลง่าย สภาพอากาศบนดาดฟ้าข้างบนนั้นลมแรง แดดจัด รับแดดเต็มวัน พื้นเป็นคอนกรีตที่ ดูดและสะสมความร้อนได้สูง ลมพัด แรงเกือบจะตลอดเวลาและมักจะพัดพาเอาความชื้นออกไปด้วย ทาให้สภาพบนดาดฟ้าจึงค่อนข้างร้อน และแห้งแล้ง มากเพราะฉะนั้นแล้ว ต้นไม้ ที่ปลูกบนดาดฟ้าก็จะต้องเป็นต้นที่ชอบแดดจัด อึด ทนความร้อนที่มาจากแสงแดดและความร้อนที่แผ่ขึ้นมาจากพื้นดาดฟ้าด้วย ใบเล็ก หนาเป็น มัน เพราะเก็บน้าไมได้ดีกว่าใบบางๆ กิ่งอ่อนลูล่ มแต่กิ่งเหนียวไม่เปราะหักง่ายเวลาที่โดนลมกรรโชกแรงๆ และต้องเป็นต้นไม้ที่กินพื้นปลูกไม่มาก ปรับตัวได้ดีกับพื้นที่เล็กๆ บริเวณชั้น 2 และชั้นดาดฟ้าพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่กลางแจ้งจึงออกแบบโดยใช้พื้นไม้เป็นส่วนใหญ่ มีบางส่วนใช้กรวดเพื่อเพิ่มความสวยงาม แก่สวน แต่เดิมชั้น 2 มีห้องเก็บของอยู่แล้วจึงปรับเป็นห้องเก็บอุปกรณ์ทาสวน ชั้นดาดฟ้ามีห้องขนาดกลางออกแบบให้เป็นห้องนั่งเล่นกลางสวน สามารถจัดประชุมขนาดกลางได้ โดยพันธุ์ที่เลือกใช้ปลูกโดยรอบ คือ หมากเหลือง พุดซ้อน (ปลูกใส่กระถางจะสวย ต้นสูงได้ถึง 3 เมตร สามารถ ตัดแต่งความสูงได้ตามต้องการ) หมากผู้หมากเมีย (ทั้งใบให้สีสันสดใส สีแดงเข้ม ชมพูสด ขาวปนเขียว) ลิ้นมังกร และปลูกไม้เลื้อยไปตามอาคาร ด้วยพลูด่างราชินีสีทอง ส่วนชั้น 3 เป็นระเบียงพักผ่อน ใช้งานอเนกประสงค์ ใช้ต้นจั๋งเป็นต้นไม้ที่ปรับตัวเก่ง ปลูกได้ทั้งในร่ม ในอาคารไปจนถึง กลางแจ้งแดด และต้นพลูด่างราชินีสีทองแขวนจากหลังคาเป็นแนวบังสายตาสีเขียว เพิ่มความร่มรื่น ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

08


ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ต้นหมากเหลือง

ลานไม้

ต้นหมากเหลือง

ต้นพุดซ้อน

ต้นลิ้นมังกร ต้นหมากผู้หมากเมีย

ต้นว่านเศรษฐี ต้นพุดศุภโชค

ต้นพุดศุภโชค

ต้นคริสติน่า

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

หญ้า

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี

09


ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ต้นหมากผู้หมากเมีย

ต้นจั๋ง

ต้นโมก

ต้นพุดซ้อน

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ม่านบาหลี

ลานไม้

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี

10


ต้นพลูด่างราชินีสี ต้นคริสติน่า

หญ้า

ต้นจั๋ง ห้องนั่งเล่น / ห้องประชุม กลางสวน

หญ้า

ต้นคริสติน่า ต้นลิ้นมังกร หญ้าเม็กซิกัน ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ต้นหมากผู้หมากเมีย

ม่านบาหลี

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี

11


หญ้า หญ้านวลน้อย หญ้าพื้นเมืองของไทย นิยมปลูกกันมาก สามารถขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นดินเหนียว หรือดินปนทราย ยังปรับตัวกับสภาพแวดล้อมได้ดีได้ง่าย นอกจากนี้ยังทนต่อร้อนและแห้งแล้ง หรือที่น้าท่วมขังแฉะได้เป็นครั้งคราว ใบกว้างและการเจริญเติบโตเร็ว ใบไม่แข็งกระด้าง หญ้าชนิดนี้ ขึ้นง่าย และเจริญเติบโต เป็นแผ่นได้เร็วพอสมควร แต่ช่อดอกค่อนข้างยาว และเห็นได้ชัด สามารถขึ้น ในที่ กลางแจ้ง แต่ในที่ร่มมีแดดพอเพียงก็สามารถขึ้นได้

การตัดหญ้า ควรตัดในระยะ 0.75 - 1.5 นิ้ว โดยตัดทุก ๆ 1 - 2 สัปดาห์ เพราะด้วยเหตุที่ว่า หญ้านี้จะมี ช่ อ ค่ อ นข้ า งยาว ดอกมี สี น้ าตาลออกดก จึ ง ท าให้ ส นามหญ้ า ไม่ ส วยในเวลาออกดอก จาเป็นต้องคอยระวังกาจัดช่อดอกให้หมด ในช่วงฤดูกาลออกดอก เครื่องตัดหญ้าทั่ว ๆ ไปก็ ใช้ได้ แม้กระทั่งกรรไกร หรือรถเข็นหญ้าก็ได้ การขยายพันธุ์ ใช้ลาต้นปลูก เพราะขยายพันธุ์ได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นหญ้าที่มีเมล็ดน้อย จึงไม่มีผู้ผลิตเมล็ด จาหน่าย ข้อดี เป็นหญ้าที่ปลูกใช้ประโยชน์ได้ทั่วไป ใบมีขนาดกลางและนุ่มเท้า ทนต่อการเหยียบ ที่มา http://www.novabizz.com/CDC/Garden/Garden_Grass-102.htm

หญ้าปูสนาม • เพิ่มพื้นที่สีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

12


หญ้า

หญ้าเม็กซิกัน หญ้าแดง/African Fountain Grass/Fountain Grass/Purple Grass ชื่อวิทยาศาสตร์: Pennisetum setaceum (Forssk.) Chiov. ‘Purpureum’ วงศ์: Poaceae

ประเภท: หญ้า ความสูง: 1 – 1.50 เซนติเมตร ลาต้น: เจริญเป็นพุ่มแน่น ใบ: ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปแถบ กว้าง 2 – 2.5 เซนติเมตร ยาว 25 – 50 เซนติเมตร มีขนเล็กๆ ปกคลุมบนแผ่นใบปลาย ใบลู่ลงพื้น สีแดงเลือดหมู ดอก: ช่อดอกสีแดงเรื่อออกที่ปลายยอด ชูตั้งขึ้น สูง 25 – 30 เซนติเมตร อัตราการเจริญเติบโต: เร็วแผ่ขยายปกคลุมพื้นดินได้ดี ดิน: ดินร่วนปนทราย แสงแดด: เต็มวัน น้า: ปานกลาง ขยายพันธุ์: แยกกอ การใช้งานและอื่นๆ: นิยมปลูกลงแปลงในสวนหินหรือสวนที่ไม่ต้องดูแลมากนัก หรือปลูกคลุมดินเพื่อป้องกันหน้าดินพังทลาย ทนน้าท่วมได้ดี

หญ้าปลูกริมทาง • เพิ่มความสวยงาม

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

12


พันธุไ์ ม้เลื้อย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

13


พันธุ์ไม้ ตีนตุ๊กแก มะเดื่อเถา/ลิ้นเสือ/Climbing fig/Creeping fig/Creeping rubber plant/Tropical Ivy ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficus pumila L. วงศ์: MORACEAE ประเภท: ไม้เลื้อยขนาดเล็ก ความสูง: ยอดเลื้อยได้ไกล 2-5 ม. ใบ: ใบรูปไข่แกมรูปรี ปลายใบมน โคนใบเว้า ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนังสีเขียว เข้ม ผิวสาก ดอก: ออกเป็นช่อกระจุกที่ซอกใบและปลายยอด ดอกย่อย 8-20 ดอก กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบ ดอกสีขาว โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ ออกดอกตลอดปี ผล: ผลสดมีเนื้อรูปทรงกลมหรือรูปไข่ เมื่อแก่สีม่วงดา ดิน: ดินร่วนซุยหรือดินปนทราย น้​้า: ปานกลาง ความชื้นสูง แสงแดด: เต็มวัน ขยายพันธุ์: ปักชากิ่ง การใช้งาน: ปลูกเป็นไม้เลื้อยเกาะผนังหรือประดับตามแนวรั้ว

ไม้เลื้อยสาหรับปลูกริมรั้ว • รั้วสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

14


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

15


พันธุ์ไม้ ลีกวนยู ซ้าหมักหลอด/ตานฆ้อน/ตานหม่อน/Climbing Vernonia

ชื่อวิทยาศาสตร์: Vernonia elliptica DC. วงศ์: Asteraceae ประเภท: ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง อายุหลายปี ความสูง: เลื้อยได้ไกล 2 – 3 เมตร ล้าต้น: ลาต้นและกิ่งก้านยาวเป็นเส้นเล็กๆ มีขนสีเงิน

ใบ: เดี่ยว ออกตรงข้ามรูปไข่กลับกว้าง 3 – 5 เซนติเมตร ยาว 5 – 7 เซนติเมตร ปลายใบ แหลม โคนใบสอบ ขอบใบจักฟันเลื่อยห่างๆ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบด้านหน้าเกลี้ยง ใต้ใบมีขนสีเงินคล้ายเส้นไหม ดอก: ออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบและปลายยอด ดอกรูปกลม สีขาวอมน้าตาล กลีบดอก ชั้นในเป็นเส้น ออกดอกเดือนธันวาคมถึงมกราคม ผล: แห้ง เมล็ดมีพู่ขนสีขาวจานวนมากรูปสามเหลี่ยม

ดิน: ดินร่วน แสงแดด: เต็มวัน น้​้า: ปานกลาง ขยายพันธุ์: เพาะเมล็ดและปักชากิ่ง การใช้งานและอื่นๆ: นิยมปลูกเป็นซุ้มไม้เลื้อยตามกาแพงหรือกันสาดเพื่อช่วยลดความแข็ง กระด้างของสิ่งก่อสร้าง หากปลูกในที่แสงราไร ข้อปล้องจะยืดยาว ควรปลูกด้านบนของแผง สวนแนวตั้งให้ต้นห้อยระย้าและได้รับแสงแดดเต็มที่ ตารายาไทยใช้ราก ดอก ใบ แก้โรคตาน ซางในเด็ก รักษาลาไส้และฆ่าพยาธิ ชาวนานิยมใช้ใบตาพอกกีบเท้าควายเพื่อรักษาแผล

ไม้เลื้อยสาหรับปลูกริมรั้ว • รั้วสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

16


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

17


พันธุ์ไม้ ม่านบาหลี ม่านบังตา/Grape Ivy/Javanese Treebine

ชื่อวิทยาศาสตร์: Cissus nodosa Blume วงศ์: Vitaceae ประเภท: ไม้เลื้อยขนาดกลาง อายุหลายปี ความสูง: กิ่งก้านทอดเลื้อยได้ไกล 2-6 เมตร ลาต้น: ลาต้นมีรากพิเศษแตกตามข้อเป็นเส้นสีแดงยาวห้อยลงมา 3-8 เมตร เมื่อ อายุมากขึ้นลาต้นและรากมีเนื้อไม้ ใบ: ใบเดี่ยวออกสลับ รูปไข่ กว้าง 4-7 เซนติเมตร ยาว 7-8 เซนติเมตร ปลายใบ เรียวแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจ ขอบใบหยักมนเล็กน้อย แผ่นใบสีเขียวเข้ม ดอก: ออกเป็ น ช่ อ กระจุ ก ตามซอกใบ ดอกย่ อ ยสี ข าวครี ม ออกดอกเดื อ น พฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ แต่มักไม่ค่อยพบ ผล: ไม่ติดผล อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ดิน: ดินร่วน ระบายน้าดี มีอินทรียวัตถุสูง แสงแดด: เต็มวัน ขยายพันธุ:์ ปักชากิ่ง การใช้งานและอื่นๆ: ควรหมั่นตัดแต่งกิ่งอยู่เสมอไม่ให้รก ส่วนรากหากตัดบ่อยๆ จะแตกใหม่เป็นสีชมพูสวยงาม

ไม้เลื้อยสาหรับปลูกบนหลังคา • หลังคาสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

18


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

19


พันธุ์ไม้

พลูด่างราชินีสีทอง Devil,s ivy, Golden pothos, Hunter,s robe

ชื่อวิทยาศาสตร์: Epipremnum aureum ประเภท: ไม้ดอกไม้ประดับประเภทไม้เลื้อยที่นิยมปลูกมากชนิดหนึ่ง ทั้งปลูกใน แปลงจัดสวน ปลูกในกระถาง และปลูกในแจกัน เนื่องจากให้ใบดก ใบมีสีสัน สวยงาม เติบโตได้ดีในทุกสภาพ และดูแลง่าย ความสูง: กิ่งก้านทอดเลื้อยได้ไกล 1-5 เมตร ลาต้น: พลูด่างเป็นไม้เลื้อยอิงอาศัย มีลาต้นกลม ส่วนต้นแก่มีสีเขียวออกน้าตาล ลาต้นส่วนอ่อนมีสีเขียว มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5-3 ซม. ใบ: ใบเดี่ยวแทงออกบริเวณข้อ 2 ใบ อยู่ตรงข้ามกัน ใบกว้างประมาณ 5-30 ซม. ยาวประมาณ 7-45 ซม. ดอก: ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อ มีกลีบรองดอกหลายสี อาทิ สี เหลือง สีเขียว หรือสีม่วงแดง ดอกมีลักษณะร่วงง่าย อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ดิน: ดินร่วน ระบายน้าดี แสงแดด: เต็มวัน ขยายพันธุ:์ เพาะเมล็ด และปักชากิ่ง การใช้งานและอื่นๆ: พันธุ์ที่นิยมปลูกทั้งในกระถาง แจกัน และแปลงจัดสวน เนื่องจากลาต้นมีขนาดเล็ก ทน และเติบโตได้ดีในที่แสงน้อย เช่น ภายในห้องโถง ห้องทางาน รวมถึงในแปลงที่มีไม้ใหญ่ขึ้นสูง มีแสงส่องถึงน้อย

ไม้เลื้อยสาหรับปลูกบนหลังคา • อาคารเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

20


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

21


พันธุไ์ ม้เตี้ย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

22


พันธุ์ไม้ ชาดัด ชาดัดใบมัน/Eukien tea

ชื่อวิทยาศาสตร์: Carmona retusa (Vahl.) Masum วงศ์: Boraginaceae ประเภท: ไม้พุ่ม ความสูง: 0.30-1 เมตร ลาต้น: สีเขียวอมน้าตาล พุ่มกว้าง 0.30-0.60 เมตร ใบ: เดี่ยว รูปไข่กลับ ปลายหยัก 3 แฉก โคนใบสอบ ใบหนา สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอก: ขนาดเล็กสีขาว 5 กลีบ ออกดอกตลอดปี ผล: กลม สีเหลือง อัตราการเจริญเติบโต: ปานกลาง ดิน: ดินร่วน น้า: ปานกลาง ทนแล้งได้ดี แต่ไม่ทนน้าท่วม แสงแดด: ราไรถึงแดดจัด ขยายพันธุ:์ เพาะเมล็ด ปักชากิ่งหรือตอนกิ่ง การใช้งานและอื่นๆ: ระยะปลูก 15-30 เซนติเมตร หรือ 16 ต้น/ตารางเมตร ตัด แต่งทรงพุ่มเป็นรั้วบ้านได้ดี เพราะไม่ทิ้งใบโคนต้น โตเร็วกว่าชาปัตตาเวีย ออก ดอกคล้ ายกั น นิย มปลู กเป็นไม้ตั ดแต่งหรือ ปลู กเป็ นแปลงใหญ่ใ นสวนหย่อ ม เพื่อให้มีสีเขียวตัดกับสีไม้ดอกชนิดต่างๆ

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

23


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

24


พันธุ์ไม้ ผักเป็ดแดง ชื่อวิทยาศาสตร์: Alternanthera bettzickiana (Regel) G.Nicholson

วงศ์: AMARANTHACEAE ชื่อสามัญ: Joy weed. ชื่ออื่น: ผักเป็ดฝรั่ง;ผักโหมแดง (ภาคเหนือ);พรมมิแดง (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาต้น: ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลาต้นตั้งตรง สูง 10-20เซนติเมตร ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปสีเหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปใบหอกกลับ กว้าง 0.5-1.5 เซนติเมตร ยาว 1-5 เซนติเมตร สีแดง ดอก: ออกเป็นช่อ รูปกระบอก หรือทรงกลมออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง กลีบรวม สีขาวนวล ผล: ผลแห้ง รูปคล้ายโล่ เมล็ดสีน้าตาล สรรพคุณทางสมุนไพร ต้น : ต้มกับน้ารับประทานเป็นยาแก้ไข้ ตาพอกรักษาแผล ต้น : รสเย็น ดับพิษโลหิต ระบายอ่อนๆ ฟอกและบารุงโลหิต แก้ระดูพิการเป็น ลิ่ม เป็นก้อนดาเหม็น ปวดเมื่อยบั้นเอวและท้องน้อย

ที่มา http://thaiherb-tip108.blogspot.com/2011/03/blog-post.html

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

25


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

26


พันธุ์ไม้ พุดซ้อน ไม้พุ่มขนาดกลาง สูง 1-2 ม. แตกกิ่งแขนงมาก ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน ดอกเดี่ยว สีขาว ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงหนาเป็นสัน มีทั้งดอก ชั้นเดียวและดอกซ้อน การปลูกเลี้ยง พุดซ้อนเป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการแสงแดดจัด ชอบดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์ เพียงพอ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและตอนกิ่ง ประโยชน์ นิยมนาไปร้อยพวงมาลัยบูชาพระ เมล็ดสีเหลืองทอง ใช้แต่งสีอาหารและทาสี ย้อม ส่วนดอกใช้สกัดน้ามันหอมระเหย ใช้ทาน้าหอมและแต่งกลิ่นเครื่องสาอาง ในตารายาจีนเรียกจือจื่อ (ภาษาจีนกลาง) หรือกี้จือ (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ผลสดหรือ ผลที่เผาจนเป็นเถ้าใช้เป็นยาระบายความร้อนและขับสารพิษ

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

27


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

28


พันธุ์ไม้ พุดศุภโชค ชื่อสามัญ : Gerdenia Crape Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gardenia jasminoides ชื่อพื้นเมือง : พุดศรีลังกา พุดแคระ ซึ่งลักษณะของพุดชนิดนี้ก็อยู่ในกลุ่มไม้ทรงพุ่มอีกชนิดหนึ่ง แต่จัดอยู่ในประเภทไม้พุ่มเตี้ย เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ .80 ซ.ม.-1.00 เมตร กิ่งก้านและใบหนาแน่นเป็นพุ่มทึบ ใบเรียวแหลมเล็ก สีเขียวสด ดอก จะออกดอกเป็นช่อที่บริเวณปลายยอด โดยเฉลี่ยแต่ละช่อจะมีดอกประมาณ 8-10 ดอก ดอกสีขาวประกอบด้วยกลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีกลิ่นหอม การดูแลรักษา พุดศุภโชค จัดเป็นไม้ประดับสวนที่ปลูกง่าย ดูแลง่าย ทนทานไม่มีปัญหาเรื่อง โรคและแมลง สามารถปลูกกลางแจ้งได้ ชอบแดดจัด การรดน้าก็รดตามปกติ เช่น เช้า -เย็น หรือ แม้จะรดวันละครั้ง ก็ไม่มีปัญหาสาหรับไม้ชนิดนี้ การขยายพันธุ์ ขยายพันธ์ด้วยการเพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง, ปักชา

ที่มา http://xn--82cybqc9b4bxa5d1k1bd.blogspot.com/2014/12/blog-post.html

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

29


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

30


พันธุ์ไม้ ว่านเศรษฐี ต้นมีขนาดเล็กมากแตกใบขึ้นเป็นพุ่มสูง 25-30 เซนติเมตร ใบเป็นรูปแถบยาว 15-28 เซนติเมตร กว้าง 1-2 เซนติเมตร ปลายแหลมสีเขียว เข้มเป็นมันและด่างสีขาวครีมบริเวณกลางใบ

มีต้นขนาดเล็กๆ เกิดจากกิ่งที่แตกออกและทอดยาวออกมา สีเหลืองอมเขียว ดอกออกเป็นช่อยาว ดอกขนาดเล็กสีขาว ชอบแสงราไร มีหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์ Vittatum, Milky Way

ที่มา http://www.nanagarden.com/tag/ว่านเศรษฐี

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

31


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

32


พันธุ์ไม้

หมากผู้หมากเมีย มะผู้มะเมีย/Good luck Plant/Miracle Plant/Hawaiian Ti/Ti tree

ชื่อวิทยาศาสตร์: cordyline fruticose (l.) Göpp. วงศ์: Agavaceae ประเภท: ไม้พุ่มขนาดกลาง ความสูง: 3-4 ม. ทรงพุ่ม: แผ่กว้าง 60-90 ซม. ลาต้น: ลาต้นเดี่ยว ทรงกลม หรือเป็นกอ เมื่อโตเต็มที่มีเนื้อไม้ ใบ: เดี่ยว ออกเรียงเวียบสลับรอบต้น แผ่นใบมีหลายแบบ ทั้งใบหอก ใบหอก กลับ ใบแถบ ปลายเรียวแหลม มีสีสันต่างๆ กัน เช่น เขียว เขียวขอบขาว แดง เข้มหรือแดงอมน้าตาล ดอก: ออกเป็นช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยจานวนมาก สีขาว ครีม หรือสีขาวอมแดงเรื่อ ผล: กลม เนื้อนุ่ม ภายในมีเมล็ดรูปโค้ง อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ดิน: ดินร่วน น้า/ความชิ้น: ปานกลาง แสงแดด: ครึ่งวัน หรือราไร ขยายพันธุ:์ ปักชาหรือตอนกิ่ง การใช้งานและอื่นๆ: ชาวฮาวายเรียก Ti และยกย่องให้เป็นราชาแห่งไม้ใบหรือไม้ ใบนาโชค นาใบมานุ่งสาหรับเต้นฮูลาฮูล่าหรือพิธีมงคลต่างๆ กิ่งก้านมักยืดยาว ควรหมั่นตัดแต่ง ปัจจุบันมีลูกผสมมากมาย พันธุ์แคระเรียกว่า “Red Dracaena” แม้จะเป็นพันธุ์เดียวกัน แต่ถ้าสภาพการปลูกเลีย้ งต่างกัน สีของใบก็ จะต่างกัน

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

33


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

34


พันธุ์ไม้

ลิ้นมังกร ว่านหางเสือ, ว่านงาช้าง (หอกสุระกาฬ), คลีบปลาวาฬ, ลิ้นนาคราช

ชื่อวิทยาศาสตร์: Sansevieria spp. วงศ์: Dracaenaceae ประเภท: ไม้พุ่มขนาดกลาง ความสูง: 30-60 เซนติเมตร ลาต้น: เป็นหัวหรือเหง้าอยู่ในดิน ใบเกิดจากหัวโผล่ออกมาพ้นดินประกอบกัน เป็นกอ ใบ: เป็นแท่งกลมยาวหรือใบแบนกว้าง ปลายแหลม แข็ง หนาเป็นมัน ขอบใบ เรียบ โค้งงอเล็กน้อยหรือเป็นเกลียว ใบมีความกว้างประมาณ 4-7 เซนติเมตร ดอก: ลิ้นมังกรมักจะออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ดอกมีสีขาวหรือ สีเขียวอ่อนและมีกลิ่นหอม ดอกมี 5 กลีบขนาดเล็กประมาณ 1.5 เซนติเมตร เรียงเป็นแนวตามชั้นของก้านดอก อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ดิน: ดินร่วน น้า/ความชิ้น: ปานกลาง แสงแดด: แดดจัด ขยายพันธุ:์ ปักชาหรือตอนกิ่ง การใช้งานและอื่นๆ: ช่วยฟอกอากาศบริเวณรอบ ๆ ให้มีคุณภาพมากขึ้น ช่วยดูด ซับสารพิษ ไอระเหยประเภทฟอร์มาลดีไฮด์ โทลูอีน เบนซิน คลอโรฟอร์ม ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ และสารพิษอื่น ๆ ที่มาจากสีทาบ้าน เฟอร์นิเจอร์ เครื่อง ถ่ายเอกสาร เป็นต้น

ไม้เตี้ยสาหรับปลูกริมทาง • แนวทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

35


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

36


พันธุไ์ ม้สูง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

37


พันธุ์ไม้ ต้นคริสติน่า ชื่อวิทยาศาสตร์ Syzygium australe ( J.C. Wendl. Ex Link ) B.Hyland ชื่อสามัญ Australian Rose Apple, Brush Cherry, Creek Lily pilly, Creek แตกกิ่งแขนงมาก ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม

ลักษณะทั่วไปของไม้ชนิดนี้ เป็นไม้ทรงพุ่มขนาดกลาง ชอบอยู่กลางแจ้งเมื่อโต เต็มที่สามารถสูงได้ 9-10 เมตร ใบเดี่ยวปลายใบเรียวแหลม เวลาใบอ่อนแตก ออกมาใหม่จะมีสีแดงเป็นมันสวยงามมาก เป็นพันธ์ไม้ที่ชอบแดดเลี้ยงง่าย โตเร็ว นิยมเอามาปลูกเป็นแนวตามรั้วบ้าน ต้นคริสติน่า มีดอก ไม้ชนิดนี้มีดอกนะครับดอกจะเป็นสีขาวมีกลิ่นหอมอ่อนๆ และจะออกดอกช่วงประมาณ 2-3 เดือนแรกของต้นปี เดี๋ยวถ้ามีรูปแล้วจะเอามา ลงให้ดูกัน ไม้ประดับสวนชนิดนี้หาซื้อไม่ยาก มีจาหน่ายตามร้านขายต้นไม้ทั่วไป ราคาคริสติน่า สาหรับร้านขายต้นไม้ทั่วไปต้นที่มคี วามสูงประมาณ 1 เมตรก็ตก ประมาณต้นละ 150-180 บาท หากอยากประหยัดไม่อยากซือ้ แบบต้นโตมาปลูกก็หาซื้อแบบเป็นไม้ถุงมาปลูก เลี้ยงเอาก็ได้ ที่มา http://ต้นไม้จัดสวน.blogspot.com/2015/05/blog-post_9.html

ไม้สูงสาหรับปลูกเป็นแนว • แนวรั้ว / ทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

38


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

39


พันธุ์ไม้

ต้นจั๋ง การนาไปใช้ Usage: ปลูกในบ้าน/indoorปลูกในกระถาง/containerไม้พุ่ม

Trunk characteristics: ไม้พุ่ม/shrubs Habits: ชอบแดด/full sunทนแล้งได้/drought resistance Height: 2-4 เมตร/meters

ลักษณะลาตัน : ลาต้นจะขึ้นเป็นกอคล้ายๆ กอไผ่ กอหนึ่งถ้าปลูกในกระถางก็จะ อยู่ที่ประมาณ 3 เมตร แต่ถ้าปลูกลงดินต้นอาจจสูงได้ถึง 5 เมตร ลาต้นขนาดเท่า หัวนิ้วโป้งหรืออาจจะใหญ่กว่านั้นเล็กน้อย แต่ใหญ่เต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางลาต้น ไม่เกิน 2 นิ้ว ลักษณะใบ: ไฮไลท์ของต้นจั๋งก็อยู่ตรงใบนี่แหละค่ะ ใบของจั๋งรูปร่างคล้ายพัดที่ คลี่ออก ใบย่อยจะแตกออกจากเป็นแฉกๆ ใน 1ใบ จะแตกเป็นใบย่อยได้ถงึ 5-10 ใบ ใบและก้านสีเขียวเข้ม เป็นมัน ว่ากันว่าทรงพุ่มที่สวยก็คือ ทรงพุ่มที่คล้าย บอลลูน การดูแลรักษา: จั๋งเป็นไม้นิสัยง่ายๆ ให้อยู่กลางแจ้ง กลางแดดก็ไม่เดือนร้อน อ่อนเหี่ยวแห้ง หรือจะส่งให้ไปอยู่ในอาคาร ในร่มก็สบายมาก ขอแค่น้าที่พอให้ ดินชุ่มชื้น ใส่ปุ๋ยปีละ 2 ครั้ง ต้องคอยตัดแต่งกอให้โปร่ง เพื่อลดความหนาแน่น ของต้น ปลายใบมักจะแห้งหรือเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ต้องหมั่นตัดปลายใบทิ้ง ที่มา http://community.akanek.com/th/green/plant-lady-palm

ไม้สูงสาหรับปลูกเป็นแนว • แนวรั้ว / ทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

40


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

41


พันธุ์ไม้ ต้นโมก โมกเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลาต้นมีความสูงประมาณ 5-12 เมตร ผิวเปลือกสีนาตาลดา ลาต้นกลมเรียบมีจุดเล็กๆ สีขาวประทั่วต้น แตก กิ่งก้านสาขาออกรอบลาต้นไม่เป็นระเบียบใบเป็นใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตาม ก้านใบ ลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เนื้อใบ บางสีเขียว ขนาดใบกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ออกดอกเป็นช่อสั้น ๆ อยู่ตามปลายกิ่ง ช่อหนึ่งมีดอก 4-8 ดอก ลักษณะดอกจะคว่าหน้าลงสู่พื้นดินมีกลีบดอก 5 กลีบ มี สีขาวกลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่มีขนาด ประมาณ 2 เซนติเมตร

ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีขี้ เรียงอยู่จานวนมาก ขนาดความยาวของฝักประมาณ 10-15 เซนติเมตร การดูแลรักษา แสง ต้องการแสงแดดปานกลาง จนถึงแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง น้า ต้องการปริมาณน้าปานกลาง ควรให้น้า 5-7 วัน/ครั้ง ดิน ชอบดินร่วนซุย มีความชื้นปานกลาง ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 4-6 ครั้ง ที่มา https://th.wikipedia.org/โมก

ไม้สูงสาหรับปลูกเป็นแนว • แนวรั้ว / ทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

42


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

43


พันธุ์ไม้ ไผ่เลี้ยง ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa nana Roxb. วงศ์: Poaceae หรือ Gramineae ประเภท: ไผ่ ความสูง: 2-3 เมตร ลาต้น: สูง เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-6 เซนติเมตร พุ่มกว้าง 4-6 เมตร ลากลมและ เกลี้ยง สีเขียวเป็นมันและมีขนสีขาวนวลอยู่ตามข้อ ใบ: แคบเล็ก ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบแตกออกบริเวณกลางลา ทาให้ดูเป็น พุ่มอยู่ส่วนยอดของต้น มีใบดกมาก อัตราการเจริญเติบโต: ปานกลาง ดิน: ดินทั่วไป น้า: ปานกลาง แสงแดด: ราไรถึงจัด ขยายพันธุ:์ แยกกอ การใช้งานและอื่นๆ: ระยะปลูก 60 เซนติเมตร ปลูกตัดแต่งคู่กับรั้วไม้ไผ่ เสริม บรรยากาศแบบธรรมชาติได้ดี เป็นไผ่ที่ไม่มีหนาม จึงเหมาะกับการจัดสวน

ไม้สูงสาหรับปลูกเป็นแนว • แนวรั้ว / ทางเดินสีเขียว

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

44


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

45


พันธุไ์ ม้ใหญ่

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

46


พันธุ์ไม้ ต้นตีนเป็ด ตีนเป็ดเจ็ดใบ/สัตบรรณ/หัวบรรณ/Blackboard Tree/Devil Tree/Pali-mari ชื่อวิทยาศาสตร์: Alstonia scholaris (L.) R.Br. วงศ์: Apocynaceae devil tree2ประเภท: ไม้ต้น

ความสูง: สูง 15 – 25 เมตร ทรงพุ่ม: แผ่เป็นชั้น ๆ ลาต้น: เนื้อไม้อ่อนและกิ่งเปราะ ทุกส่วนของต้นมีน้ายางสีขาว ใบ: ใบเดี่ยวออกเป็นวงรอบกิ่ง ส่วนมากมี 7 ใบ (สัตหรือสัตตะ แปลว่า 7) ใบย่อยรูปขอบ ขนาน กว้าง 2 – 6 เซนติเมตร ยาว 8 – 14 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเป็นติ่งเล็กน้อย โคน ใบมน แผ่นใบหนา ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีขาวนวล ดอก: ออกเป็นช่อกระจุกตามปลายกิง่ ช่อใหญ่ กลม ขนาด 10 – 20 เซนติเมตร ดอกย่อย จานวนมาก โคนกลีบติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉกสีขาวหรือขาวอมเขียว บาน พร้อมกันทั้งช่อและนานหลายวัน ส่งกลิ่นหอมอ่อนๆ ในช่วงเย็น ออกดอกเดือนมกราคม – พฤษภาคม ต้นที่ปลูกอยู่ในที่ชื้นแฉะดอกจะบานช้ากว่าต้นที่ปลูกอยู่ในที่แล้ง ผล: ผลเป็นฝักกลม ยาว 25 – 50 เซนติเมตรเมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดเล็ก มีขนเป็นปุย อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ดิน: ดินร่วนปนทราย แสงแดด: เต็มวัน น้า: ปานกลาง ทนแล้ง ขยายพันธุ:์ เพาะเมล็ด การใช้งานและอื่นๆ: ควรปลูกลงแปลงกลางแจ้งเป็นต้นเดี่ยวให้ห่างจากต้นไม้อื่นอย่างน้อย 8 เมตร ทรงพุ่มจะแผ่ได้สวยงาม สารสกัดจากเปลือกต้นมีฤทธิ์ลดระดับน้าตาลในเลือด รักษา แผลเรื้อรัง และต้านเชื้อแบคทีเรียบางชนิดได้

ไม้ใหญ่สาหรับปลูกให้ร่มเงา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

47


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

48


พันธุ์ไม้ ต้นหูกระจง แผ่บารมี/หูกวางแคระ ชื่อวิทยาศาสตร์: Terminalia ivorensis Chev. วงศ์: Combretaceae

ประเภท: ไม้ต้น ผลัดใบ ความสูง: 15 – 20 เมตร ทรงพุ่ม: ทรงพุ่มโปร่ง แตกกิ่งเป็นชั้น แต่ละชั้นห่าง 0.50 – 1 เมตร ลาต้น: เปลือกต้นสีน้าตาล ผิวค่อนข้างเรียบ มีรอยแตกเล็กน้อย ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับถี่ รูปไข่กลับขนาดเล็ก กว้าง 1 – 1.5 เซนติเมตร ยาว 1.5 – 3 เซนติเมตร ปลายใบมน โคนใบสอบ สีเขียวเป็นมัน ดอก: ขนาดเล็กสีขาว ดูกลืนไปกับทรงต้น มักมองไม่เห็นถ้าไม่สังเกต ผล: ขนาดเล็ก รูปไข่หรือทรงรี อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ดิน: ดินทุกประเภท น้า: ปานกลาง ทนน้าท่วมขัง แสงแดด: เต็มวัน ขยายพันธุ:์ ตอนกิ่งหรือเพาะเมล็ด การใช้งานและอื่นๆ : มีพันธุ์ใบด่างและพันธุ์แคระจาหน่ายในตลาดไม้ประดับ ด้วย ตั้งชื่อใหม่ว่า “แผ่บารมี” ตามลักษณะของทรงพุ่ม และเชื่อว่าจะทาให้มี บารมีกว้างไกล สามารถใช้เป็นไม้ประธานในสวนได้ ใบร่วงไม่ควรปลูกใกล้สระ หรือบ่อน้า

ไม้ใหญ่สาหรับปลูกให้ร่มเงา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

49


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

50


พันธุ์ไม้ หมากเขียว Areca Palm/Butterfly Palm/Golden Cane Palm ชื่อวิทยาศาสตร์: Dypsis lutescens (H.Wendl.) H.Beentje & J.Dransf. ชื่อพ้อง Chrysalidocarpus lutescens H.Wendl. ประเภท: ปาล์มแตกกอ

ลักษณะทั่วไป : ไม้: ปาล์มแตกกอ ลาต้นขนาด 4-8 เซนติเมตร สูง 2-3 เมตร ลาต้นเรียบสีเทาอ่อนหรือสี น้าตาลปนเทา เห็นข้อปล้องชัดเจน ใบ: ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 เซนติเมตร ยาว 90120 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบสีเขียวเข้ม ดอก: สีเหลืองอมเขียว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงใต้โคนกาบใบ ดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น ช่อดอกยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ผล: ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดียว ติดผลจานวนมาก ทรงกลมรี ขนาด 1 เซนติเมตร ผลสุกสี แดง เมื่อแห้งผิวย่น ประโยชน์ : ทรงพุ่มสวย ปลูกเป็นไม้ประธานสวนหย่อม ปลูกเป็นฉาก กั้นสายตาหรือเป็นรั้ว ปลูกริมสระว่ายน้า ใช้ประดับในอาคารได้ดี ปลูกริมทะเลได้ ดิน: ดินร่วนอุดมสมบูรณ์ แสงแดด: ราไรและกลางแจ้ง น้า: ปานกลาง ขยายพันธุ:์ แยกหน่อหรือเพาะเมล็ด ใช้เวลา 2 เดือนจึงงอก การใช้งานและอื่นๆ: เหมาะปลูกเป็นไม้กระถางหรือปลูกลงแปลง เมล็ดหมากเหลืองยังไม่สุก แก่เต็มที่ หลังจากสุกจนเป็นสีเหลืองส้มจะเริ่มร่วง ที่มา http://www.wegrow.in.th/tree_detail.php?lan=&id=514

ไม้ใหญ่สาหรับปลูกให้ร่มเงา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

51


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

52


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

53


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

54


ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

55


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

เรือนไม้ ธุรการ สุขศาลา

อาคารฟิตเนส

โรงอาหาร

เรือนไม้ กลุ่มนวด

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

56


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา เรือนไม้ธุรการ

อาคารฟิตเนส

เรือนไม้ กลุ่มนวด

สุขศาลา

ทางเข้า

ทางออก

ถนนพิชัย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

57


สุขศาลา

ภาพหลังการปรับปรุง

ถนนพิชัย

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

58


สุขศาลา

เรือนไม้ กลุ่มนวด

ทางเข้า ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

59


สุขศาลา

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

60


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา สุขศาลา

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

61


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ทางออก

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

62


สุขศาลา

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

63


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

สวนหย่อมกลางอาคาร ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

64


เรือนไม้ ธุรการ เรือนไม้ กลุ่มนวด โรงอาหาร

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

65


เรือนไม้ กลุ่มนวด โรงอาหาร

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

66


โรงอาหาร เรือนไม้ กลุ่มนวด

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

67


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ห้องตรวจคนไข้

อาคารบ้านพักเจ้าหน้าที่

ภาพหลังการปรับปรุง

ภาพก่อนการปรับปรุง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

68


วัดศาลาแดง สุขศาลา อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

เรือนไม้ กลุ่มนวด โรงอาหาร

อาคารฟิตเนส

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

69


วัดศาลาแดง

อาคารบ้านพัก เจ้าหน้าที่ ทางออก สุขศาลา

เรือนไม้ กลุ่มนวด

อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

โรงจอดรถยนต์

โรงอาหาร

อาคารฟิตเนส

ทางเข้า

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

70


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา สุขศาลา

เรือนไม้ กลุ่มนวด

ถนนพิชัย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

71


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา เรือนไม้ธุรการ

อาคารฟิตเนส

เรือนไม้ กลุ่มนวด

สุขศาลา

ทางเข้า

ทางออก

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

72


อาคารฟิตเนส

เรือนไม้ กลุ่มนวด

เรือนไม้ธุรการ

ทางเข้า สุขศาลา

อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ทางออก

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

73


อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

เรือนไม้ธุรการ

สุขศาลา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

74


ถนนพิชัย

อาคารฟิตเนส

เรือนไม้ กลุ่มนวด

สุขศาลา

ทางเข้า

เรือนไม้ธุรการ

อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทางออก

75


ต้นคริสติน่า ม่านบาหลี

หญ้าเม็กซิกัน

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ต้นลิ้นมังกร

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ต้นหมากผู้หมากเมีย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

76


ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ม่านบาหลี

หญ้าเม็กซิกัน ต้นลิ้นมังกร ต้นคริสติน่า

ต้นหมากผู้หมากเมีย

สุขศาลา

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง เรือนไม้ธุรการ

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

77


ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ม่านบาหลี ต้นหมากเหลือง

ต้นหมากเหลือง

เรือนไม้ธุรการ

ต้นพุดซ้อน

ต้นลิ้นมังกร

ทางเข้า

ต้นหมากผู้หมากเมีย

สุขศาลา

ต้นพุดศุภโชค ต้นว่านเศรษฐี ต้นคริสติน่า

อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ต้นพุดศุภโชค ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

78


ต้นคริสติน่า

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ต้นว่านเศรษฐี ต้นลิ้นมังกร ต้นพุดศุภโชค

ต้นหมากผู้หมากเมีย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

79


ต้นหมากเหลือง

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ต้นพุดศุภโชค ต้นหมากผู้หมากเมีย

ต้นคริสติน่า

ต้นพุดศุภโชค

ต้นลิ้นมังกร ต้นว่านเศรษฐี

ต้นพุดซ้อน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

80


ต้นคริสติน่า

ม่านบาหลี ต้นหมากเหลือง

ต้นหมากเหลือง

ต้นคริสติน่า

ต้นหมากผู้หมากเมีย

ต้นพุดศุภโชค ต้นพุดศุภโชค

ต้นว่านเศรษฐี

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

81


ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ม่านบาหลี

ต้นหมากเหลือง

ต้นหมากเหลือง

ต้นคริสติน่า

ต้นพุดซ้อน ต้นว่านเศรษฐี

ต้นลิ้นมังกร

ต้นพุดศุภโชค ต้นหมากผู้หมากเมีย

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

82


ม่านบาหลี ต้นหมากเหลือง ต้นหมากเหลือง

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ต้นหมากผู้หมากเมีย ต้นพุดซ้อน

ต้นพุดศุภโชค

ต้นลิ้นมังกร

ต้นว่านเศรษฐี ต้นคริสติน่า

ต้นพุดศุภโชค

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

83


ต้นคริสติน่า ม่านบาหลี

ม่านบาหลี

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ต้นหมากเหลือง

อาคาร เนาวพัฒน์เมตตา

ต้นลิ้นมังกร

ต้นพุดศุภโชค

ต้นว่านเศรษฐี ต้นพุดศุภโชค

ม่านบาหลี

ต้นคริสติน่า เรือนไม้ธุรการ

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

สุขศาลา

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

84


ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง ต้นไผ่เลี้ยง

ต้นจั๋ง ม่านบาหลี

ต้นพุดซ้อน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

85


ม่านบาหลี

ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง

ต้นไผ่เลี้ยง

ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง

ต้นโมก

ม่านบาหลี

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

86


ม่านบาหลี

ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง

ม่านบาหลี

ต้นไผ่เลี้ยง

ต้นจั๋ง ต้นพุดซ้อน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

87


ม่านบาหลี

ต้นไผ่เลี้ยง

ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง ต้นพุดซ้อน ต้นโมก

ต้นหมากผู้หมากเมีย

ม่านบาหลี ต้นพุดซ้อน ต้นหมากผู้หมากเมีย

ต้นโมก ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

88


ม่านบาหลี ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง

ต้นคริสติน่า ต้นไผ่เลี้ยง ต้นโมก

ต้นจั๋ง

ต้นพลูด่าง ราชินีสีทอง

ต้นพุดซ้อน

ม่านบาหลี

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

89


ต้นคริสติน่า

หญ้าเม็กซิกัน ต้นหมากผู้หมากเมีย

ต้นลิ้นมังกร ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

90


ต้นคริสติน่า

ต้นหมากผู้หมากเมีย หญ้าเม็กซิกัน

ต้นลิ้นมังกร

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

91


ต้นคริสติน่า

ต้นหมากผู้หมากเมีย

หญ้าเม็กซิกัน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

92


ต้นพลูด่างราชินีสีทอง ต้นคริสติน่า

ต้นลิ้นมังกร ต้นหมากผู้หมากเมีย

หญ้าเม็กซิกัน

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

93


ต้นคริสติน่า

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ต้นพลูด่างราชินีสีทอง

ต้นคริสติน่า ต้นจั๋ง

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

94


ค่าออกแบบแนวคิดเบื้องต้น – Phase 1 (ชั้นล่าง) แนวคิดการออกแบบ

3000

บาท

แผนผังแบบภูมิทัศน์

8000

บาท

ทัศนียภาพ 3 มิติ

10000

บาท

ค่าวิชาชีพ

5000

บาท

26,000

บาท

รวม

กรวรรณ รุ่งสว่าง ผู้ออกแบบประเมินราคา 25 ธันวาคม 2559

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

95


ค่าออกแบบแนวคิดเบื้องต้น – Phase 2 (ชั้นที่ 2-3 และดาดฟ้า) แนวคิดการออกแบบ

3000

บาท

แผนผังแบบภูมิทัศน์

8000

บาท

ทัศนียภาพ 3 มิติ

10000

บาท

ค่าวิชาชีพ

5000

บาท

26,000

บาท

รวม

กรวรรณ รุ่งสว่าง ผู้ออกแบบประเมินราคา 31 มีนาคม 2559

ผังบริเวณการออกแบบพื้นที่สีเขียวบริเวณสานัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสระบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

96


Contact กรวรรณ รุ่งสว่าง นักศึกษาปริญญาโท สาขาออกแบบชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร

korawanrungsawang@gmail.com 084-717-8657



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.