ภาคผนวก แนวคิดและองค์ประกอบของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ตามลักษณะท้องถิ่นในประเทศไทย

Page 1

1 ภาคผนวก ก เมืองสร้างสรรค์ในต่างประเทศ เมืองต่างๆ ทีเ่ ข้าร่วมในเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก (UNESCO, 2015) แบ่งเป็น 7 ประเภท ได้แก่ 1. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านวรรณกรรมและการประพันธ์ มีทั้งหมด 11 เมือง ได้แก่ 1.1 Dublin (Ireland) 1.2 Dunedin (New Zealand) 1.3 Edinburgh (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 1.4 Granada (Spain) 1.5 Heidelberg (Germany) 1.6 Iowa City (USA) 1.7 Krakow (Poland) 1.8 Melbourne (Australia) 1.9 Norwich (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 1.10 Prague (Czech Republic) 1.11 Reykjavik (Iceland) 2. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านภาพยนตร์ มีทั้งหมด 5 เมือง ได้แก่ 2.1 Bradford (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 2.2 Busan (Republic of Korea) 2.3 Galway (Ireland) 2.4 Sofia (Bulgaria) 2.5 Sydney (Australia) 3. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านดนตรี มีทั้งหมด 9 เมือง ได้แก่


2 3.1 Bogota (Colombia) 3.2 Bologna (Italy) 3.3 Brazzaville (Congo) 3.4 Glasgow (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland UK) 3.5 Ghent (Belgium) 3.6 Hamamatsu (Japan) 3.7 Hanover (Germany) 3.8 Mannheim (Germany) 3.9 Seville (Spain) 4. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศิลปะพื้นถิ่น มีทั้งหมด 12 เมือง ได้แก่ 4.1 Aswan (Egypt) 4.2 Fabriano (Italy) 4.3 Hangzhou (China) 4.4 Icheon (Republic of Korea) 4.5 Jacmel (Haiti) 4.6 Jingdezhen (China) 4.7 Kanazawa (Japan) 4.8 Nassau (Bahamas) 4.9 Paducah (USA) 4.10 Pekalongan (Indonesia) 4.11 Santa Fe (USA) 4.12 Suzhou (China) 5. กลุ่มงานสร้างสรรค์ด้านการออกแบบ มีทั้งหมด 16 เมือง ได้แก่ 5.1 Beijing (China) 5.2 Berlin (Germany)


3 5.3 Bilbao (Spain) 5.4 Buenos Aires (Argentina) 5.5 Curitiba (Brazil) 5.6 Dundee (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 5.7 Graz (Austria) 5.8 Helsinki (Finland) 5.9 Kobe (Japan) 5.10 Montreal (Canada) 5.11 Nagoya (Japan) 5.12 Saint-Étienne (France) 5.13 Seoul (Republic of Korea) 5.14 Shanghai (China) 5.15 Shenzhen (China) 5.16 Turin (Italy) 6. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านสื่อศิลปะ มีทั้งหมด 8 เมือง ได้แก่ 6.1 Dakar (Senegal) 6.2 Enghien-les-Bains (France) 6.3 Gwangju (Republic of Korea) 6.4 Linz (Austria) 6.5 Lyon (France) 6.6 Sapporo (Japan) 6.7 Tel Aviv-Yafo (Israel) 6.8 York (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 7. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศาสตร์เกี่ยวกับอาหาร มีทั้งหมด 8 เมือง ได้แก่ 7.1

Chengdu (China)


4 7.2

Florianopolis (Brazil)

7.3

Jeonju (Republic of Korea)

7.4

Östersund (Sweden)

7.5

Popayan (Colombia)

7.6

Shunde (China)

7.7

Tsuruoka (Japan)

7.8

Zhale (Lebanon)

47 เมืองที่เข้าร่วมเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก (UNESCOPRESS, 2015) ยู เ นสโกได้ ประกาศ เมื อง 47 เมื องจาก 33 ประเทศที่ เป็ นสมาชิ กของเครือข่ายเมื อง สร้างสรรค์ของยูเนสโก ในปี 2015 ผลจากการคัดเลือกเมื องที่ มี การยกระดับความหลากหลายทาง ภูมิศาสตร์ ในเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกมีความยินดีที่จะให้เมืองต่างๆ เข้าร่วม เริ่มสร้างสรรค์ ทั้ง 7 ประเภท ได้แก่ 1. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านวรรณกรรมและการประพันธ์ มีทั้งหมด 9 เมือง ได้แก่ 1.1 Baghdad (Iraq) 1.2 Barcelona (Spain) 1.3 Ljubljana (Slovenia) 1.4 Lviv (Ukraine) 1.5 Montevideo (Uruguay) 1.6 Nottingham (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 1.7 Óbidos (Portugal) 1.8 Tartu (Estonia) 1.9 Ulyanovsk (Russian Federation) 2. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านภาพยนตร์ มีทั้งหมด 3 เมือง ได้แก่ 2.1 Bitola (The former Yugoslav Republic of Macedonia)


5 2.2 Rome (Italy) 2.3 Santos (Brazil) 3. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านดนตรี มีทั้งหมด 10 เมือง ได้แก่ 3.1 Adelaide (Australia) 3.2 Idanha-a-Nova (Portugal) 3.3 Katowice (Poland) 3.4 Kingston (Jamaica) 3.5 Kinshasa (Democratic Republic of the Congo) 3.6 Liverpool (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) 3.7 Medellín (Colombia) 3.8 Salvador (Brazil) 3.9 Tongyeong (Republic of Korea) 3.10 Varanasi (India) 4. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศิลปะพื้นถิ่น มีทั้งหมด 8 เมือง ได้แก่ 4.1 Al-Ahsa (Saudi Arabia) 4.2 Bamiyan (Afghanistan) 4.3 Durán (Ecuador) 4.4 Isfahan (Iran [Islamic Republic of]) 4.5 Jaipur (India) 4.6 Lubumbashi (Democratic Republic of the Congo) 4.7 San Cristóbal de las Casas (Mexico) 4.8 Sasayama (Japan) 5. กลุ่มงานสร้างสรรค์ด้านการออกแบบ มีทั้งหมด 6 เมือง ได้แก่ 5.1 Bandung (Indonesia)


6 5.2 Budapest (Hungary) 5.3 Detroit (United States of America) 5.4 Kaunas (Lithuania) 5.5 Puebla (Mexico) 5.6 Singapore (Singapore) 6. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านสื่อศิลปะ มี ทั้ งหมด 1 เมื อง ได้แก่ Austin (United States of America) เน้นด้าน green energy, digital media, wireless, bio technology and lifestyle 7. กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศาสตร์เกี่ยวกับอาหาร มีทั้งหมด 10 เมือง ได้แก่ 7.1 Belém (Brazil) 7.2 Bergen (Norway) 7.3 Burgos (Spain) 7.4 Dénia (Spain) 7.5 Ensenada (Mexico) 7.6 Gaziantep (Turkey) 7.7 Parma (Italy) 7.8 Phuket (Thailand) 7.9 Rasht (Iran [Islamic Republic of]) 7.10 Tucson (United States of America)


7 ภาคผนวก ข บทบาทเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก เมืองคานาซาว่า ประเทศญี่ปนุ่ การประชุมประจาปีครั้งที่ 9 ของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก ปี 2015 (UNESCOPRESS, 2015) วัตถุประสงค์ของการประชุมนี้คือ 1. กิจกรรมที่สาคัญทั้งหลายซึ่งถูกดาเนินการโดยเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก การ ประสานงานกับเมืองสร้างสรรค์ต่างๆ หน่วยงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และโครงการเรือธง ซึ่งเป็น อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่มีสินค้าและบริการจากความคิดสร้างสรรค์ การจัดการกระบวนการผลิต ผลงานของสมาชิกเริ่มสร้างสรรค์เมืองใหม่ 2. การขับเคลื่อนกลุ่มสร้างสรรค์ต่างๆ จากการจัดประเภททั้งหมด 7 กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ทถี่ กู นาเสนอออกมาในการประชุมครั้งนี้ ได้จัดกลุ่มของเมืองสร้างสรรค์ที่ถูกเสนอชื่อเข้ามาโดยพิจารณาจาก ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ภูมิภาค 3. เมืองสมาชิกจะต้องมีการอัพเดทชุมชนเมืองสร้างสรรค์อาทิเช่นกิจกรรมและงานเกี่ยวกับ ความคิดสร้างสรรค์โดยมีการจัดการตามวัตถุประสงค์ของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก 4. เมืองสมาชิกจะต้องมีการวัดระดับผลกระทบของเมืองสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นรวมถึง สถาบันการศึกษา และมีการเก็บสะสมข้อมูลของชุมชนท้องถิ่น รวมถึงมีการแลกเปลีย่ นประเด็นทางด้าน ภูมิปัญญาความรู้ และโครงข่ายการทางานของเมืองสร้างสรรค์แก่ชุมชน Östersund เมืองสร้างสรรค์ของสวีเดน เป็นกลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศาสตร์เกี่ยวกับอาหาร ได้รับ เกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดประชุ ม เครือข่ ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก ประจาปีครั้งที่ 10 ระหว่างวันที่ 14-16 กันยายน 2016 (UNESCOPRESS, 2016) เมืองนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นเมืองศาสตร์ด้านอาหารตั้งแต่ปี 2010 โดยเรื่องสาคัญที่นามา พูดในการประชุมประจาปีครั้งนี้ คือการสนทนาระหว่างกลุ่มเมืองสร้างสรรค์และยูเนสโก โดยวิธีการของ เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก มีวัตถุประสงค์การจัดการและการแลกเปลีย่ นข้อมูลจากเมืองสมาชิก ทั้งหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุประสงค์ของการประชุมนี้คือ


8 1. การแลกเปลี่ยนข้อมู ลของกิ จกรรมที่ ถูกจัดขึ้นโดยเมื อง และมี แนวโน้มที่ จะส าเร็จตาม วัตถุประสงค์จากเมืองสร้างสรรค์ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติ และร่วมกันวางเกณฑ์ประเมินผูท้ ี่ จะเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเมือง 2. รวมทั้งกาหนดวิธีการและการจัดการของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ โดยลงความเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่สาคัญก่อน ซึ่งสัมพันธ์กับการพัฒนาในอนาคตรวมถึงการจัดลาดับความสาคัญของเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ที่จะมาเข้าร่วมในปีหน้า 3. การตระหนักถึงการจัดลาดับความสาคัญขององค์กรที่อยู่บนการพัฒนาและวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีประเด็นความน่าสนใจซึ่งกันและกัน ในการประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ " การประเมินคุณค่าและประเมินเมืองสร้างสรรค์ สาหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืน " โดยอาศัยความร่วมมือจากการทางานทางด้านวัฒนธรรมรวมถึงภาคส่วน ของศิลปิน ผู้คิดริเริ่มความคิดสร้างสรรค์ นักลงทุนในขอบเขตของเมืองสร้างสรรค์และเมืองที่มีศาสตร์ ทางด้านอาหาร


9 ภาคผนวก ค บทบาทการประชุมอังค์ถัด การประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 12 (UNCTAD XII) (ศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจระหว่างประเทศ, 2555) หั ว ข้ อ หลั ก ของการประชุ ม คื อ Addressing the Opportunities and Challenges of Globalization for Development ซึ่งจะเป็นการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและการหาฉันทามติในด้านการ ดาเนินนโยบาย เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ทั้งด้านการค้า การลงทุนให้มีความสอดคล้อง เพื่อจัดการกับ กระแสโลกาภิวัตน์ให้ได้ประโยชน์สูงสุดและลดผลกระทบทางลบที่มีต่อการพัฒนา โดยประกอบด้วย 4 หัวข้อย่อย ได้แก่ 1. ส่งเสริมความสอดคล้องในการกาหนดนโยบายระดับโลกเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน และการลดปัญหาความยากจน รวมถึงการใช้ความร่วมมือระดับภูมิภาค 2. ประเด็ นด้ านการค้ าและการพั ฒนาที่ ส าคั ญ และความเป็ นจริงที่ เกิ ดขึ้นใหม่ ในระบบ เศรษฐกิจโลก 3. ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยในทุกระดับเพื่อสร้างขีดความสามารถในการผลิต การค้า และการลงทุน เน้นการระดมทรัพยากรและใช้ประโยชน์จากความรู้เพื่อการพัฒนา 4. สร้างความเข้มแข็งให้ UNCTAD ส่งเสริมบทบาทด้านการพัฒนา การสร้างผลกระทบ และ ความมีประสิทธิภาพของสถาบัน การประชุ ม สหประชาชาติ ว่ า ด้ วยการค้ าและการพั ฒนา หรื อ อั งค์ ถั ด (The United Nations Conference on Trade and Development – UNCTAD) (ศูนย์ บริ การข้อมูลเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ, 2556) UNCTAD เป็นองค์กรภายใต้องค์การสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1964 (พ.ศ. 2507) โดยทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานขององค์การสหประชาชาติเพื่อสร้างความเจริญในด้านการค้าและการ พัฒนา สนับสนุนการดาเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในสาขาการลงทุน การเงิน เทคโนโลยี การพัฒนาองค์กร ธุรกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) ปัจจุบัน UNCTAD มีสมาชิก 194 ประเทศ จากทุกภูมิภาคของโลก ทั้งยุโรป อเมริกาเหนือ ลาตินอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย โดยประเทศไทยเป็น หนึ่งในสมาชิกก่อตั้ง


10 UNCTAD มีภารกิจหลักในการส่งเสริมให้ประเทศกาลังพัฒนาร่วมกันสร้างความเจริญทาง เศรษฐกิจ สามารถยกระดับความเจริญและการพัฒนาของประเทศให้ทันกับภาวะเศรษฐกิจโลกในกระแส โลกาภิวัตน์ UNCTAD มีการดาเนินงานที่มุ่งเน้นการเป็นสถาบันวิชาการ (an authoritative knowledgebased institution) ให้บริการประสานการหารือเกี่ยวกับนโยบายและแนวคิดด้านการพัฒนา มุ่งเน้นการ ประสานนโยบายภายในประเทศ (domestic policies) กับการดาเนินงานระหว่างประเทศ (international action) ให้สอดคล้องและส่งเสริมซึ่งกันและกันเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน รายงาน Creative Economy Report 2008 ของ UNCTAD (ชมัยพร วิเศษมงคล, 2553) จากรายงานได้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ / อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ที่ปัจจุบันถือว่าเป็นสาขาที่มีการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องในการค้าโลก ตลอดช่วงระยะเวลาปี ค.ศ. 20002005 การค้าในสินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์นี้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 8.7 ต่อปี มู ลค่าการ ส่งออกสินค้าเชิงสร้างสรรค์ของโลกสูงถึง 424.4 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐในปี ค.ศ. 2005 เปรียบเทียบกับ 227.5 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐในปี ค.ศ. 1996 ในขณะที่ สาขาบริการเชิงสร้างสรรค์ก็มีการเติบโตในอัตรา สูงถึงร้อยละ 8.8 ต่อปี ซึ่งตัวเลขดังกล่าวปรากฎในเกือบทั่วทุกมุมโลก และคาดว่าจะยังคงสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในทศวรรษหน้า โดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแล้ว และดูเหมือนจะเห็นบางประเทศในภูมิภาค เอเซีย (เช่น ประเทศเกาหลีใต้ เป็นต้น) ได้รับประโยชน์จากสินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์นี้แล้วอย่างเห็น ได้ชัด การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD) ระบุว่ามูลค่าการค้าของ สินค้าและบริการสร้างสรรค์ในระดับโลกของโลกอยู่ที่ 6.24 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ในปี พ.ศ.2554 เป็น การขยายตัวมากกว่า 2 เท่ า นับแต่ปี พ.ศ.2545 โดยอัตราเติบโตของการส่งออกสินค้าและบริการ สร้างสรรค์ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก เฉลี่ยอยู่ในระดับร้อยละ 8.8 ต่อปี สอดคล้องกับตัวเลขจากองค์การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) พบว่า พ.ศ.2556 อุตสาหกรรม สร้างสรรค์และวัฒนธรรมทั่วโลกมีรายรับถึง 22.5 แสนล้านเหรียญสหรัฐ มีการจ้างงานถึง 29.5 ล้านคน หากเปรียบเทียบให้เห็นภาพ นั่นหมายถึง 1 บาท ที่ใช้ในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์จะสร้างผลผลิตได้ 2.656 บาท สูงกว่าอุตสาหกรรมทั่วไปที่สร้างผลผลิตได้ 2.584 บาท ตัวเลขเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าการสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจจากความคิดสร้างสรรค์กาลังกลายเป็นขบวนหัวรถจักรสาคัญในการขับเคลื่อนความมั่นคง ของระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้วอย่างอังกฤษ,สหรัฐ อเมริกา, สิงคโปร์


11 รวมถึงประเทศมหาอานาจฝั่งเอเชียอย่างจีน ต่างรุกคืบเศรษฐกิจชาติด้วยแนวคิดเดียวกันนี้อย่างเห็นได้ชดั (ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, 2559)


12 ภาคผนวก ง บทบาทของเมืองสิงคโปร์ บทบาทของเมืองสิงคโปร์เมืองสร้างสรรค์ดา้ นการออกแบบ (World Cities Culture for U, 2017) 1) การปกครอง สิงคโปร์เป็นเมืองเกิดใหม่ที่มีประชากรหลากหลายเชื้อชาติ และเป็นที่รู้จักกันในนามของเมือง ที่มีการวางแผนมากที่สุดในโลก อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางของธุรกิจและการค้ า โดยรัฐบาลกาลังทางาน เพื่อพั ฒ นาการมี ส่วนร่วมในระดับรากหญ้าด้านงานศิลปะ วัฒ นธรรมที่ นาความร่ารวยสู่ชีวิตทาง วัฒนธรรมของเมือง โดยสิงคโปร์ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรัฐธรรมนูญเป็น กฎหมายสูงสุด 2) สถิติประชากร สิงคโปร์มีประชากรกว่า 5.5 ล้านที่คน ซึ่งประมาณ 60% เป็นพลเมืองของประเทศ เมือง ยังคงมีความหลากหลายด้านการค้าขายเพราะมีประชากรหลากหลายเชื้อชาติประกอบด้วย ชาวจีน 74% ชาวมาเลย์ 13% และชาวอิ นเดีย 9% ซึ่ง สิง คโปร์มีเ สรีภาพในการนับถือศาสนาโดยนับถือ ศาสนาพุทธ 42.5% รองลงมาคือ อิสลาม 14.9% คริสต์ 14.5% ฮินดู 4% และอื่นๆ 24.1% ในฐานะ ที่เป็นประเทศใหม่เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสิงคโปร์ยังคงต้องได้รับการพัฒนา รัฐบาลได้มีการ จัดลาดับความสาคัญทางวัฒนธรรม เช่น ที่อยู่อาศัยของประชาชนได้รับการจัดสรรเพื่อให้มั่นใจว่า ละแวกใกล้เคียงสะท้อนให้เห็นถึ งเชื้อชาติของเมืองโดยรวม แต่ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ เมืองนาไปสู่การผสมผสานทางศิลปะ ภาพวาดที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการผสมผสานเอกลักษณ์ของ อิทธิพลเชื้อชาติต่างๆ 3) เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว US$ 55,182.48 หรือ 1,950,122.38 บาท ข้อมูลปี พ.ศ. 2557 แสดงการจ้างงานในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 1.8% ตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ปกครองตนเอง เศรษฐกิจของสิงคโปร์มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว มีตลาดการค้าที่เปิดกว้างและการลงทุนทั่วโลกซึ่ง อาศัยธุรกิจแบบเป็นมิตร เศรษฐกิจสร้างสรรค์ท้องถิ่นมีอัตราการเติบโตประจาปีของผลิตภัณฑ์มวล รวมในประเทศ คือ 2.13 ล้านดอลลาร์ ซึ่งมีบริษัททางด้านการออกแบบมากถึง 5,500 บริษัท และมี จานวนพนักงานถึง 29,000 คน รัฐบาลมีส่วนเกี่ยวข้องในชีวิตของประชาชนอย่างมากเพราะสิงคโปร์


13 เป็นเมืองที่มีระบบการวางผังเมืองเข้มข้นมากของโลก จากสาเหตุการขาดแคลนที่ดินเพื่อการพัฒนา เมือง ซึ่งนั่นจึงเป็นความท้าทายสาหรับโครงสร้างพื้นฐานด้านศิลปะโดยเฉพาะอย่างยิ่งในใจกลางเมือง แต่สิงคโปร์ได้จัดสรรที่อยู่อาศัยความหนาแน่นสูงแก่ประชาชนกว่า 80% ด้วยการสร้างที่อยู่อาศัยใน แนวตั้งเพื่อลดการใช้พื้นที่ในแนวราบ 4) วัฒนธรรม สิง คโปร์ เ ป็น จุดนัดพบระหว่างวัฒนธรรม ตั้ง แต่ช่วงต้นศตวรรษที่ 19 เมื่ ออัง กฤษเข้ามา ครอบครองและทาการค้าขายภายในประเทศ ช่วงหลายทศวรรษต่อมามีประชากรชาวมาเลย์ จีนและ ชวาเข้ามาเป็นผู้อยู่อาศัยใหม่ รวมทั้งเป็นฐานทัพเรือหลักของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ เมื่อพื้นที่นี้ถูกครอบครองโดยชาวญี่ปุ่น สิงคโปร์จึงได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี พ.ศ. 2502 ซึ่งยังเป็น ส่วนหนึ่งของมาเลเซียและต่อมากลายเป็นประเทศปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2508 นโยบายทาง วัฒนธรรมของสิงคโปร์ถูกกาหนดโดยกระทรวงวัฒนธรรมชุมชนและเยาวชน ซึ่งได้ส่งมอบการบริหาร จัดการตามกฎหมายแก่สภาศิลปะแห่งชาติและคณะกรรมการมรดกแห่งชาติ โดยทั้ง 2 องค์กรนี้มี นโยบายในการสร้างทุนทางสังคม สร้างตัวตนและความเป็นชาติ กลยุทธ์ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม ได้ถูก ทบทวนและตีพิ ม พ์ ในปี พ.ศ. 2554 ซึ่ง เน้นการมอบวัฒ นธรรมแก่ ทุ ก คน ทุ ก สถานที่ โ ดยมี จุดมุ่งหมายที่จะกระจายวัฒนธรรมที่ถูกจากัดแต่คนเฉพาะกลุ่ม วัฒนธรรมแบบดั้งเดิมไปสู่วัฒนธรรม ชั้นสูง เช่น โอเปร่าหรือบัลเล่ต์ รวมถึงงานอดิเรกและงานฝีมือ ถนนสายวัฒนธรรม ความบันเทิงยอด นิยมและกิจกรรมของชุมชนที่มีรากเหง้าทางวัฒนธรรม เช่น Getai หรือการแสดงสดบนเวที (เทศกาล วันสารทจีน ซึ่งมีการกางเต็นท์ขนาดใหญ่ขึ้นกลางแจ้งเพื่อจัดเลี้ยงอาหารค่าในบรรยากาศคึกคัก ผู้คน ส่งเสียงและมีการจัดประมูลสิง่ ของในย่านอสังหาริมทรัพย์ใจกลางเมือง) ประเด็นหนึ่งที่รฐั บาลสิงคโปร์ ต้องเผชิญกับการกาหนดนโยบายคือ กิจกรรมทางวัฒนธรรมที่มีอยู่มากมายไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิต ของคนสิงคโปร์เลย เพราะการขับเคลื่อนของคนเมืองมุ่งเน้นแสวงหาความรู้ทางเศรษฐกิจอย่างเดียว ประกอบกับค่าใช้จ่ายด้านที่อยู่อาศัยค่อนข้างสูง รัฐบาลจึงต้องมี เป้าหมายที่จะเปลี่ยนความตั้งใจต่อ วัฒนธรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชนจนกลายเป็นการพัฒนาเครือข่าย ศิลปะและวัฒนธรรมชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและเปิดกิจกรรมในห้องสมุด ศูนย์ชุมชนซึ่ง เป็นสถานที่สาหรับมือสมัครเล่นและกลุ่มชุมชนใช้แสดงความสามารถ ปัจจุบันสิงคโปร์อยู่ในช่วงระหว่างการสร้างและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานทางวัฒนธรรมที่ สาคัญ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของสิงคโปร์และพิพิธภัณฑ์อารยธรรมเอเชียได้รับการออกแบบเพื่อ


14 เฉลิมฉลองวันชาติของสิงคโปร์ครบรอบ 50 ปี พ.ศ. 2558 ในปีเดียวกันนี้เองได้เปิดหอศิลป์แห่งชาติ สิงคโปร์แห่งใหม่ ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตั้งอาคารศาลฎีกาและศาลาว่าการเดิมเพื่อรวบรวมศิลปะในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และสิงคโปร์ ตารางที่ 1 ตัวชี้วัดเมืองสร้างสรรค์ สิงคโปร์ Indicator Number of comedy clubs Number of music performances

Figure

Date

Source

1

2012

BOP

3,565

2012

Singapore Cultural Statistics 2013 - Arts

per year

and Cultural Activities

Public libraries

27

2015

Public Libraries Singapore Website

Other museums

51

2013

Singapore Cultural Statistics 2014 - Arts and Cultural Scene (National Arts Council)

National museums

6

2012

Singapore Cultural Statistics 2013 - Arts and Cultural Scene (National Arts Council)

Major concert halls Number of theatrical

4

2014

National Arts Council

3,930

2012

Singapore Cultural Statistics 2013 - Arts

performances at all theatres per

and Cultural Activities (National Arts

year

Council)

Theatres % of public green space (parks

14

2014

National Arts Council

47.00%

2011

National Parks Board

67

2014

Preservation of Sites and Monuments,

and gardens) Number of other Heritage/Historical sites UNESCO World Heritage Sites Number of dance performances

National Heritage Board Singapore 1

2015

UNESCO

1,035

2012

Singapore Cultural Statistics 2013 - Arts

per year

and Cultural Activities (National Arts Council)

Art galleries

258

2014

Singapore Cultural Statistics 2003-2007 - Enablers of Arts and Culture Report / Eguide Singapore Business Directory

Notes


15 Indicator Specialist private cultural HE

Figure

Date 7

2013

establishments Number of students of specialist

Source Ministry of Education - Education Statistics Digest 2014

4,645

2013

Ministry of Education, Singapore

4,492

2012

Singapore Cultural Statistics 2013 - Arts

Art & Design public institutions Number of students of Art & Design degree courses at

Education (National Arts Council)

generalist universities Number of non-professional

96

2014

Eguide Singapore Business Directory

30

2014

Wikipedia - List of cinemas in Singapore

207

2013

Department of Statistics Singapore -

dance schools Cinemas Cinema screens

Yearbook of Statistics 2014 (Culture and Recreation) Number of cinema screens per

37,8

2013

million population

Department of Statistics Singapore Yearbook of Statistics 2014 (Culture and Recreation)

Number of films given theatrical

310

2013

Box Office Mojo - Singapore

19

2014

Ministry of Culture, Community and

release in the country in a year Film festivals

Youth Bookshops

164

2014

Eguide Singapore Business Directory

Number of bookshops per

3,0

2014

Eguide Singapore Business Directory

12

2014

Eguide Singapore Business Directory

659

2014

Eguide Singapore Business Directory -

100.000 population Rare & second hand bookshops Number of bars

Bars and Pubs Number of bars per 100,000 population

12,0

2014

Eguide Singapore Business Directory Bars and Pubs

Notes


16 Indicator Number of restaurants

Figure

Date

2,426

2012

Source

Notes

Department of Statistics Singapore Service Survey Series (Food & Beverage) 2012

Number of Michelin star

0

2014

Michelin Guide

80,000

2014

Department of Statistics Singapore

17

2014

Eguide Singapore Business Directory -

restaurants Number of international students studying in the city Number of video games arcades

Arcade Game Centres Museums/galleries attendance -

40,0%

2013

% working age population

National Population Survey on the Arts 2013, National Arts Council

attending at least once a year Number of visits to top 5 most

2,871,500

2013

Department of Statistics Singapore

visited museums & galleries

Monthly Digest of Statistics Culture and Recreation (18.1)

Number of admissions at all

800,400

2013

theatres per year Total value of theatre ticket

Singapore Cultural Statistics 2014 Attendance at Arts and Cultural Events

$62.875.468

2012

sales at all theatres per year -

Singapore Cultural Statistics 2013 Attendance at Arts and Cultural Events

$m (ppp) Number of cinema admissions

24.578.200

2013

per year Total value of cinema ticket

Singapore Film Commission $228.418.086

2013

sales per year -$ (ppp) Number of international tourists

Media Development Authority, Media Development Authority, Singapore Film Commission

15.567.900

2013

Department of Statistics Singapore

284,6%

2013

Department of Statistics Singapore

per year Number of international tourists per year as % of city population


17 Indicator Geographical area size, sq. km

Figure

Date

Source

718

2014

Department of Statistics Singapore

5.469.724

2014

Department of Statistics Singapore

100,0

2011

Department of Statistics Singapore

Working age population

2.583.846

2014

Department of Statistics Singapore

Number of households

1.174.500

2014

Department of Statistics Singapore

29,23%

2014

Department of Statistics Singapore

27,3%

2013

Department of Statistics Singapore

$76,846

2013

Department of Statistics Singapore

$838

2013

Ministry of Manpower Singapore -

Total population number % of total national country population living in the city

Foreign born population % Education level-% with degree level or higher Average income per capita per year (ppp) Median gross weekly earnings (ppp) GDP (ppp)(million) Creative industries employment

Comprehensive Labour Force Survey $425,155

2013

Department of Statistics Singapore

1,80%

2013

Ministry of Manpower Singapore -

% Night Clubs, Discos and Dance

Comprehensive Labour Force Survey 57

2014

Eguide Singapore Business Directory

0.5

2014

Public Libraries Singapore Website

35.5

2013

Singapore Cultural Statistics 2014 -

Halls Number of public libraries per 100,000 population Number of book loans by public libraries per year (million)

Library Visitorship and Services (National Arts Council)

Total number of museums

57

2012

Singapore Cultural Statistics 2013 - Arts and Cultural Scene (National Arts Council)

Specialist public cultural HE establishments

2

2013

Ministry of Education - Education Statistics Digest 2014

Notes


18 Indicator Number of restaurants per 100.000 population

Figure

Date 44,4

2012

Source Department of Statistics Singapore Service Survey Series (Food & Beverage) 2012

Notes


19 ภาคผนวก จ บทบาทของกรุงโซล บทบาทของกรุงโซล ประเทศเกาหลี เมืองสร้างสรรค์ดา้ นการออกแบบ (World Cities Culture for U, 2017) 1) การปกครอง โซลแบ่งออกเป็น 25 เขตการปกครอง แต่ละเขตก็มีขนาดพื้นที่แตกต่างกันออกไปตั้งแต่ 10 จนถึง 47 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรตั้งแต่น้อยกว่า 140,000 จนถึง 630,000 คน เขตซงพาเป็น เขตที่มีประชากรมากที่สุด ขณะที่เขตซอโชเป็นเขตที่มีพื้นที่มากที่สุด รัฐบาลของแต่ละเขตมีหน้าที่ ดูแลหลากหลายด้านและรัฐบาลนครพิเศษมีหน้าที่ดูแลในเขตอื่นๆ 2) สถิติประชากร โซลเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรอย่างมาก ซึ่งมีความหนาแน่นเกือบสองเท่าของนคร นิวยอร์ก ในเขตปริมณฑลของโซลถือเป็นพื้นที่ที่มีความหนาแน่นมากที่สุด ผู้ที่อยู่อาศัยในโซลเกือบ ทั้งหมดเป็นชาวเกาหลี มีชาวญี่ปุ่นและชาวจีนอาศัยอยู่เล็กน้อ ย ในปี พ.ศ. 2552 โซลมีประชากร ประมาณ 10,208,302 คน เมื่อสิ้นสุดเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 ชาวเกาหลี 10.29 ล้านคนอาศัยอยู่ ในโซลซึ่งลดลง 0.24% และในปี พ.ศ. 2553 มีชาวต่างชาติอาศัยอยู่ในโซลประมาณ 255,501 คน จากนั้นเพิ่ ม เป็น 281,780 คน ในเดือนมิ ถุนายน พ.ศ. 2554 ประกอบด้วยชาวจีน 186,631 คน (66%) โดยมีอัตราเพิ่มขึ้น 8.84% กลุ่มต่อมาเป็นชาวอเมริกันมีจานวน 9,999 คน และชาวไต้หวันมี จานวน 8,717 คน ทาให้เกิดความท้าทายใหม่ของรัฐบาลกรุงโซลในด้านการบูรณาการแรงงานข้าม ชาติท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชาติ 3) เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว US$ 39,786 หรือ 1,406,018.16 บาท ข้อมูลปี พ.ศ. 2557 การจ้างงานในอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ 9.4% (World Cities Culture for U, 2017) แม้ ว่า อุตสาหกรรมจะเติบโตอย่างรวดเร็วนาไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง แต่กรุ งโซลก็เกิดปัญหาที่สาคัญสาหรับ สภาพแวดล้อ มและคุณภาพชีวิต ตอนนี้เ มื องมีเ ป้าหมายใหม่ที่ จะกระจายฐานเศรษฐกิจ ผ่านการ ออกแบบและอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ โซลได้จัดล าดับ ความสาคัญ สาหรับ โครงสร้างพื้นฐานทาง วัฒนธรรมใหม่ซึ่งเป็นวิธีของการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ในหลายสถานที่ และเปิดให้บริการในปี


20 พ.ศ. 2559 เช่น โรงละครแบบดั้งเดิมดอนฮวามุนอยู่ใกล้กับพระราชวังชางด๊อกกุงที่แสดงถึงดนตรี เกาหลีแบบดั้งเดิม และยังมีพื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ชางวอน 61 (Platform 61 Changdong) ซึ่งเป็น พื้นที่แสดงงานศิลปะอเนกประสงค์ โดยสร้างมาจากตู้คอนเทนเนอร์ ตั้งอยู่ภายในย่านอุตสาหกรรม เก่าทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงโซล ซึ่งโครงการนี้เป็นเพียงระยะแรกของรัฐบาลโซลที่จะ ผลั ก ดั น เขตศู น ย์ ก ลางทางเศรษฐกิ จ แห่ ง ใหม่ ใ นชางวอนดงและฮางเยดง ( Chang-dong และ Sanggye-dong) ซึ่งมุ่งเน้นไปที่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ แผนในอนาคตต้องการให้พื้นที่ชางวอนดง เป็นพื้นที่รองรับการทางานของนักสร้างสรรค์ 20,000 ตาแหน่ง ในศตวรรษที่ 21 กรุงโซลฟื้นฟูตัวเอง อีกครั้งจากผู้นาทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 สู่การพัฒนาระยะ ใหม่ โดยรูปแบบการพัฒนาระยะใหม่นี้เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์และวัฒนธรรมในการสร้างเมือง ที่มีความสุขเช่นเดียวกับความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ 4) วัฒนธรรม แผนทางวัฒนธรรมใหม่ของนครโซลปี พ.ศ. 2573 เลือกใช้การมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรมและ รับมือกับประเด็นทางสังคมที่กว้างขึ้น ความนิยมของวัฒนธรรมเกาหลีหรือที่เรียกว่า คลื่นเกาหลี (Korean Wave) การส่งออกวัฒนธรรมของตนไปทั่วโลก โซลอยู่ในท่ามกลางยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ สร้างสรรค์ การผลิตวัฒนธรรมของประเทศจะกลายเป็นภาพสะท้อนของเมืองร่วมสมัย คลื่นเกาหลี เริ่ม ก่ อ ตัวขึ้นในตอนต้นของศตวรรษที่ 21 โดยกระตุ้นการระดมทุ นของรัฐบาลในอุตสาหกรรม สร้างสรรค์เพื่อที่จะรับมือกับความท้าทายของเศรษฐกิจวัฒนธรรมศตวรรษที่ 21 ทั้งศิลปินเกาหลีและ ละครเกาหลีมีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เช่น ศิลปินชื่อไซ (Psy) มาพร้อมกับเพลง Gangnam Style ใน ปี พ.ศ. 2555 ทาให้คนทั่วโลกรู้จักย่านนี้มากขึ้นและมีอิทธิพลต่อลักษณะที่ผสมผสานของวั ฒนธรรม โซลที่ทันสมัย ในช่วงงานโอลิมปิกฤดูร้อนปี พ.ศ. 2531 มีการจัดคอนเสิร์ตให้ศิลปินเกาหลีได้ขึ้นไป แสดงบนเวทีขนาดใหญ่โดยเริ่มนาเทคโนโลยีฉายภาพฮาโลแกรมซึ่งมีราคาที่ ไม่แพงมากและชมได้ อย่างใกล้ชิด จุดนั้นเองเป็นจุดเริ่มต้นของกระแสเทคโนโลยีสมัยใหม่ในเกาหลี เทศกาลเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตทางวัฒนธรรมในเมืองซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลกรุงโซล เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชนและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวตามฤดูกาลสาหรับผู้เข้าชม ส่งเสริม การท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลในแต่ละฤดูกาล เช่น เทศกาลแสดงกลองของโซล เทศกาลท่องเที่ยวโซล ในตอนกลางคืน เทศกาลถนนศิลปะและเทศกาลกิ มจิของโซล อีก ทั้ ง ยัง มี กิจกรรมหรือเทศกาลที่ รัฐบาลกรุงโซลได้ประกาศออกมาในปี พ.ศ. 2552 คือ เทศกาลงานศิลปะ คึมช็อนประจากรุงโซล


21 (Seoul Art Space at Geumcheon) โดยปรับปรุงโรงงานเก่าจากเดิมเป็นโรงงานผลิตเหรียญสาหรับ โทรศัพท์มาเป็นพื้นที่แสดงงานศิลปะเพราะช่วงนั้นรัฐบาลโซลมีแผนนโยบายพั ฒนาผังแม่บทสาหรับ เมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ และยังเพิ่มสิ่งอานวยความสะดวกทางด้านวัฒ นธรรม โดยจุดมุ่งหมาย สาหรับพื้นที่เหล่านี้คือการใช้พื้นที่เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรมและเตรียมพร้อมรับมือกับ ประเด็นทางสังคมที่กว้างขึ้น ซึ่งประชาชนสามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างงานศิลปะมากกว่า ผู้บริโภคงานศิลปะเพียงอย่างเดียว ตารางที่ 2 ตัวชี้วัดเมืองสร้างสรรค์ กรุงโซล Indicator Number of comedy clubs Number of music

Figure

Date

Source

8

2015

The Seoul Institute

7,907

2013

Korea Arts Management Service

608

2015

Seoul Metropolitan

performances per year Public libraries

Government + The Seoul Institute Other museums

191

2015

Ministry of Culture, Sports and Tourism + The Seoul Institute

National museums

15

2015

Ministry of Culture, Sports and Tourism

Major concert halls

4

2015

The Seoul Institute + Korea Arts Management Service

Number of live music venues

40

2015

The Seoul Institute / Korea Arts Management Service

Number of theatrical

85,735

2013

Korea Arts Management Service

526

2015

The Seoul Institute / Korea Arts

performances at all theatres per year Theatres

Management Service

Notes


22 Indicator % of public green space

Figure 26.60%

Date

Source

2015

Seoul Metropolitan

(parks and gardens) Number of other

Government 346

2015

Heritage/Historical sites

Seoul Metropolitan Government /Cultural Heritage Administration

UNESCO World Heritage Sites Number of book titles

3

2015

UNESCO

47,589

2014

Korean Publishers Association

2,875

2013

Korea Arts Management Service

416

2015

The Seoul Institute

49

2014

Korean Educational

published in the country in a year Number of dance performances per year Art galleries Specialist private cultural HE establishments Number of students of

Development Institute 2,323

2014

Center for H.E.I Information

specialist Art & Design public

Disclosure (Korea Council for

institutions

University Education)

Number of students of Art &

80,418

2014

Design degree courses at

Korean Educational Development Institute

generalist universities Number of non-professional

99

2014

Korea Telephone Directory

88

2015

Korean Film Council

Cinema screens

504

2015

Korean Film Council

Number of cinema screens

49,9

2015

Korean Film Council

dance schools Cinemas

per million population

Notes


23 Indicator Number of films given

Figure

Date

Source

1.117

2014

Korean Film Council

885

2014

Korean Film Council

74

2013

Korean Film Council + other

Notes

theatrical release in the country in a year Number of foreign films given theatrical release in the country in a year Film festivals

sources Bookshops

875

2015

The Seoul Institute

Number of bookshops per

8,7

2015

The Seoul Institute

104

2015

The Seoul Institute

18.829

2013

STATISTICS KOREA (Report of

100.000 population Rare & second hand bookshops Number of bars

the census on establishment) Number of bars per 100,000

186,4

2013

population Number of restaurants

STATISTICS KOREA (Report of the census on establishment)

81,477

2013

STATISTICS KOREA (Report of the census on establishment)

Number of markets

366

2014

Seoul Metropolitan Government

Festivals and celebrations

350

2014

Seoul Metropolitan Government

Number of international students studying in the city

23,961

2014

Korean Educational

Figure excludes

Development Institute

students in language courses


24 Indicator Number of video games

Figure 227

Date 2013

arcades

Source

Notes

STATISTICS KOREA (Report of

Figure does not

the census on establishment)

include additional 3279 'PC-Bang's (LAN-gaming center)

Number of visits to top 5

16,564,691

2013

most visited museums &

Ministry of Culture, Sports and Tourism

galleries Number of admissions at all

17,558,002

2013

Korea Arts Management Service

$70.000

2013

Korea Arts Management Service

59.509.392

2014

Korean Film Council

17,568

2014

IWFFIS(International Women's

theatres per year Total value of theatre ticket sales at all theatres per year $m (ppp) Number of cinema admissions per year Number of admissions at main film festival Total value of cinema ticket sales per year -$ (ppp) Estimated attendance at main

Film Festival in Seoul) $420.414.9

2014

Korean Film Council

2014

Seoul Metropolitan

43 1,100,000

carnival/festival Estimated attendance at main

Government 11%

2014

carnival/festival as % of city

Seoul Metropolitan Government

population Number of international tourists per year

Hi Seoul Festival

11.446.422

2014

Korea Tourism Organization / Korea Culture and Tourism Institute

Hi Seoul Festival


25 Indicator Number of international

Figure

Date

113,2%

2013

Source Korea Tourism Organization /

tourists per year as % of city

Korea Culture and Tourism

population

Institute

Geographical area size, sq. km

605

2014

Statistics Korea

10.103.233

2014

Statistics Korea

19,7

2014

Statistics Korea

Working age population

7.048.199

2014

Statistics Korea

Number of households

4.194.176

2010

Statistics Korea

Foreign born population %

4,10%

2014

Statistics Korea

Education level-% with

34,8%

2010

Statistics Korea

$17,743

2013

Statistics Korea

GDP (ppp)(million)

$335,493

2013

Statistics Korea

Creative industries

12,00%

2012

Statistics Korea

191

2013

STATISTICS KOREA (Report of

Total population number % of total national country population living in the city

degree level or higher Average income per capita per year (ppp)

employment % Night Clubs, Discos and Dance Halls Number of public libraries per

the census on establishment) 6

2014

100,000 population

Seoul Metropolitan Government / The Seoul Institute

Number of book loans by

21.5

2013

Committee on Library and

public libraries per year

Information Policy/ Ministry of

(million)

Culture, Sports and Tourism

Total number of museums

206

2015

Ministry of Culture, Sports and Tourism / The Seoul Institute

Notes


26 Indicator Specialist public cultural HE

Figure 7

Date

Source

2014

Korean Educational

establishments Number of restaurants per 100.000 population

Development Institute 806,4

2013

Seoul Metropolitan Government

Notes


27 ภาคผนวก ฉ สรุปบันทึกการศึกษาภาคสนาม ณ มหานครโซล สรุปบันทึกประสบการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้ของโครงการรายวิชาการศึกษาภาคสนาม ณ มหานคร โซล และเขตเศรษฐกิจพิเศษอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี วันที่ 15-18 มีนาคม 2560 ซึ่งเป็นเมืองกรณีศึกษาของผู้วิจยั โดยมีหัวข้อและรายละเอียด ดังนี้ การศึกษาภาคสนาม ณ มหานครโซลและเขตเศรษฐกิจพิเศษอินชอน สาธารณรัฐเกาหลีมี โครงการที่ใช้เป็นกรณีศึกษา ทั้งหมด 18 โครงการ โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ได้ดังนี้ 1.

ประเภทโครงการพัฒนา

2.

ประเภทโครงการอนุรักษ์

3.

ประเภทโครงการพัฒนาที่ควบคู่กบั การอนุรกั ษ์ และนอกจากโครงการทีเ่ ป็นกรณีศึกษาทั้ง

18 โครงการแล้ว ระหว่างการเดินทางในสาธารณรัฐเกาหลียงั ได้สัมผัสกับพื้นฐานการใช้ชีวิตของ สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งอาจแบ่งย่อยเป็นประเด็นสาคัญได้ดังนี้ •

การดาเนินชีวิตของประชาชน

วัฒนธรรมการรับประทานอาหาร

ระบบคมนาคมขนส่ง

ที่อยู่อาศัย ฯลฯ โดยได้มีการวิเคราะห์ประสบการณ์และการเรียนรู้จากการศึกษา ภาคสนาม ดังนี้

1.1 โครงการ INCHON ECONOMIC FREE ZONE (IEFZ)/ SONGDO CITY: IEFZ 1.ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการ INCHON ECONOMIC FREE ZONE (IEFZ) SONGDO CITY นั้นเป็นเมืองนั้นที่ อยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษนั้นมีระบบการจัดการของเมืองทีม่ ีการวางแผนมาเป็นอย่างดี โดยเฉพาะ การพั ฒ นาเมื อ งใหม่ บ นทะเล ที่ ส ามารถพั ฒ นาเมื อ งได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ และไม่ มี ข้ อ จ ากั ด อี ก ทั้ ง กระบวนการในการจัดการที่เกิดจากความร่วมมือของรัฐบาลและเอกชน สามารถควบคุมและจัดการ ให้อยู่ในขอบเขตและเป้าหมาที่วางไว้ เนื่องจากมีการบังคับใช้กฎหมายที่เข้มงวดและเคร่งคัด รวมถึง


28 การที่มีประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา จากศึกษาโครงการดังกล่าวทาให้เข้าใจถึงแผนพัฒนา ของเมืองอินชอน แนวคิดในการวางผังเมือง แนวทางการพัฒนาโครสร้างที่สาคัญของเมืองอินชอน เช่น ระบบคมนาคมขนส่งของเมือง ระบบถนนภายในเมือง การวางแผนด้านระบบขนส่งมวลชน และ การบริหารจัดการโครงการๆที่เป็นไปตามผังเมือง 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - ในการถมทะเล หรือถมแม่น้า เพื่อพื้นที่ในการพัฒนาเมืองนั้นจะต้องมีความระมัดระวังใน เรื่องผลกระทบทางด้านระบบนิ เวศ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่มีการถม และพื้นที่บริเวณใกล้เคียง รวมถึงยังต้องมุ่งสร้างจิตสานึกรักษาและความภาคภูมิใจให้เกิดกับคนในพื้นที่ อีกทั้งยังต้องมีการวาง ข้อกาหนดและข้อบังคับที่มีผลตามกฎหมาย รวมถึงการบังคับใช้ที่จะส่งผลในด้านไม่ดีให้รัดกุม และมี ประสิทธิภาพ จึงถือว่าเป็นตัวแปรที่สาคัญในการพัฒนาเมืองที่อยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ

ภาพที่ 1 แผนผังพื้นทีเ่ ศรษฐกิจเสรีอินชอน พื้นที่เศรษฐกิจเสรีอินชอนเป็นพื้นทีจ่ ัดนิทรรศการ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจเสรีอินชอน ซึ่ง แบ่งเป็น 3 ศูนย์กลางหลักๆ ดังนี้ 1. Songdo เป็นศูนย์กลางธุรกิจ การค้า สถานพยาบาล การศึกษา และพื้นที่อยู่อาศัย 2. Yeongjong เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทั้งท่าอากาศยานและท่าเรือ ระดับนานาชาติ และศูนย์กลางระบบโลจิสติกส์


29 3. Cheongna เป็นศูนย์กลางธุรกิจการเงิน การท่ องเที่ยวและการกี ฬา รวมถึงอุตสาหกรรม ไฮเทค อาคารนิทรรศการตั้งอยู่ในพื้นที่ศูนย์กลางการพัฒนาเมือง มีลักษณะเป็นอาคารสูง สามารถ มองเห็นการพัฒนาพื้นที่จริงได้ครบถ้วน และมีช่วงเวลาการพัฒนาตั้งแต่ออดีต ปัจจุบันและอนาคตใน ปี ค.ศ. 2022 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. การวางแผนการพัฒนาเมือง มีการฉายภาพให้ประชาชนเห็นใน อนาคตอย่างชัดเจน เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการต่างๆ ได้คาดกการณ์ในการลงทุนในพื้นที่พัฒนา ดังกล่าวได้อย่าง ดี 2. ภาครัฐบาลและภาคเอกชนมีพละกาลังมากพอที่จะรวมกันพัฒนาพื้นที่มหาศาลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้ป ระกอบการและผู้ล งทุ นมี ความมั่ นใจในการลงทุ น ในพื้ นที่ ซึ่ง อาจเนื่องจาก มาตรการจูงใจของงภาครัฐที่น่าดึงดูด และน่าสนใจ

ภาพที่ 2 พื้นที่เศรษฐกิจเสรีอินชอน (Songdo)


30 ข้อสังเกตและข้อควรระมัดระวัง และปัญหาในการดาเนินโครงการ ศู น ย์ ก ลางการพพั ฒ นาเมื อง บริ เ วณ Songdo ซึ่ ง เป็ นย่ า นเป็น ศู นย์ ก ลางธุ ร กิ จ การค้า สถานพยาบาล การศึกษา และ พื้นที่อยู่อาศัย ซึ่งยังพัฒนาไม่สมบูรณ์นั้น ยังไม่มีผู้คนอาศัยอยูม่ ากนัก ส่วนใหญ่เ ป็นคนที่ ทางานอยู่ ในพื้ นที่ดัง กล่าว ท าให้บ างช่วงเวลาเมืองขาดความมี ชีวิตชีวา จึง ตั้ง ข้อสังเกตว่าย่านดังกกล่าวนี้เป็น Smart City ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ 1.2 โครงการ COMPACT/SMART CITY 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการ COMPACT CITY/ SMART CITY นั้นเป็นโครงการด้านพิพิธ ภัณฑ์ ที่ จัดแสดง ข้อมูลของพัฒนาเมืองที่วางแผนเมืองในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษได้ตามกรอบทฤษฎีของการพัฒนา เมื องแบบ COMPACT CITY และ SMART CITY โดยจะจัดแสดงให้เ ห็นภาพที่ จ ะเกิ ดขึ้นกั บ เมื อง ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน รวมถึงภาพรวมที่ จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย โครงการดังกล่าวนั้นมีรูปแบบของ สถาปัตยกรรมทั้งภายนอกและภายในที่ดี แต่เนื่องจากช่วงเวลาที่เข้าไปศึกษาโครงกล่าวดังกล่าวนั้น เป็นช่วงเวลาที่มีการปิดปรับปรุงพื้นที่จัดแสดงงานส่วนใหญ่ จึงทาให้รับทราบเพียงแต่ข้อมูลเบื้องต้นที่ เกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์ความเป็นมาของพื้นที่เสียเป็นส่วนใหญ่ โดยการจัดแสดงนั้นมีการ นาเสนอโดยใช้ทั้งหุ่นจาลองพร้อมเทคโนโลยีเมาช่วย รวมถึงการนาสิ่งของที่ใช้จริงมาจัดแสดง และ วิทยากรเข้ามาช่วยบรรยายทาให้มีความรู้ในภาพของข้อมูลเบื้องต้นในช่วงก่อนการพัฒนาโครงการ มากขึน้ 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย/ปัญหา/สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก/มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากโครงการนี้พื้นที่ส่วนใหญ่มีการปิดปรับปรุงทาให้รับทราบข้อมูลในการศึกษาเพียง แค่ข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น นิทรรศการ Compact/Smart City เป็นนิทรรศการที่จัดแสดง การพัฒนาความเป็นเมื อง ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต มีนิทรรศการแยกเป็นส่วนๆ ดังนี้ 1. พัฒนาการความเป็นเมืองในอดีต ศิลปวัฒนธรรม การติดต่อการค้า


31 การคมนาคม และความทุ กข์ร ะทมในสงครามและการยึดครองดินแดนจากชาติ มหาอานาจ เพื่อเป็นความทรงจาและรากฐานในการพัฒนาเมือง 2. แบบจาลองการพัฒนาเมืองในปัจจุบันและอนาคต 3. การพัฒ นาพื้นที่เศรษฐกิ จเสรีอินชอน โดยนาเสนอด้วยรูปแบบ แผนภาพ แผนผังคาอธิบาย แบบจาลอง และสื่อผสมเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ดึงดูดการ เข้าชมของคนทุกเพศทุทกวัย

ภาพที่ 3 นิทรรศการ Compact/Smart City ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. ได้เป็นวิวัฒนาการ และพื้นฐานของประเทศในทุกด้านความยากลาบาก บ่มเพาะให้คนในชาติ เป็นหนึ่งเดียว มีระเบียบวินัย อันเป็นฐานรากที่สาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่พัฒนา ก้าวหน้าไปยังอนาคต บนรากฐานชาติที่มั่นคง ดังจะเห็นได้จากหลายๆ โครงการในกรุงโซล 2. มีการอัพเดท ปรับปรุง สื่อนิทรรศการให้ทันยุคสมัยตลอดเวลา 1.3 โครงการ SEOUL TOWER 1.ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - เป็นจุดชมวิวที่สูงที่สุดในกรุงโซล มีงานสถาปัตยกรรมที่ทันสมัย เห็นเด่นชัดเนื่องจากตั้งอยู่ บนพื้นที่ของภูเขาที่สูงสุดใจกลางกรุงโซลทาให้กลายเป็นหนึ่งในแลนด์มาร์คที่สาคัญของเมืองเนื่องจาก สามารถเห็น


32 - มีการนาภาพวิดีโอเข้ามาดึง ความสนใจขอคนที่เ ข้ามาเยี่ยมชมในขณะที่ โดยสารลิฟท์ ขึ้น และลง - มีการสร้างรูปแบบของกิจกรรมที่ดึงความสนใจให้นักท่องเที่ยว หรือผู้คนในกรุงโซลได้เข้า มาร่วมกิจกรรม เช่นการคล้องกุญแจ หรือ การแสดงต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอดีต 2. ข้ อ สั ง เกตและข้ อ ควรระมั ด ระวั ง ในการด าเนิ น โครงการที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ โครงการที่ เ ป็ น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - นอกจากกิจกรรมดังกล่าวแล้วพื้นที่แห่งนี้ยังขาดกิจกรรมที่น่าจะดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้า มาเยี่ยมชม - พื้นที่โครงการตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีลักษณะลาดชันมาก ทาให้ต้องมีการเดินเท้าเข้าไปยังพื้นที่ บริการส่วนหนึง่ แต่บริเวณพื้นที่ดังกล่าวไม่มีการออกแบบที่นึกถึงบุคคลพิการ ในการถึงพื้นที่บริการ Seoul Tower เป็น Landmark ที่สาคัญ และเป็นจุดชมทิวทัศน์ของกรุงโซลทั้งหมดตั้งอยู่บน เชิงเขานัมซาน ตาแหน่งเดียวกับป้อมปราการโบราณสาหรับเฝ้าระวังข้าศึกและกาแพพงเมืองเก่าของ เกาหลี

ภาพที่ 4 Seoul Tower ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. Seoul Tower เป็น Landmark ทีสาคัญ และเป็นจุดชมทิวทัศน์ของกรุงโซลทั้งหมด 2. ตั้งอยู่บริเวณป้อมปราการโบราณสาหรับเฝ้าระวังข้าศึก และกาแพงเมืองเก่าของงเกาหลีทา ให้ระลึกถึงได้ว่า อดีตมีความเป็นชาติที่เข้มแข็งได้อย่างไร


33 3. สร้าง Landmark ใหม่โดยยังคงอนุรักษ์สถานที่อันทรงคุณค่าอย่างกลมกลืน ให้ชนรุ่นหลังได้ เห็น 4. จัดเส้นทางสัญจร ให้สามารถเป็นสถานที่ออกกาลังกาย และนันทนาการได้อย่างลงตัว 1.4. โครงการ DONGDAEMUN DESIGN PLAZA 1.ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - มีสถาปัตยกรรมภายนอกและภายในที่ทันสมัย เป็นเอกลักษณ์ ทาให้กลายเป็นหนึ่งในแลนด์ มาร์คที่สาคัญของเมือง - เป็นพื้นที่ที่พัฒนาให้ต่อยอดจากการที่มีแผนพัฒนาเมืองกาหนดไว้ว่า กรุงโซลจะต้องเป็น เมืองแห่งการออกแบบ พื้นที่โครงการดังกล่าว - เป็นโครงการที่เป็นส่วนเชื่อมต่อพื้นที่บริเวรตลาดทงแดมุน โดยโครงการดั งกล่าวสามารถ เข้าได้หลากหลายวิธี - บางส่วนของโครงการพอมีการนาการออกแบบเข้าใช้ร่วม ทาให้เกิดการใช้งานสองรูป แบบ เช่น จุดระบายอากาศของพื้นที่โครงการมีการออกแบบที่ดี จนสามารถทากลายงานประติมากรรม ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ได้อย่างไม่ขัดตา - ถึงแม้จะมีความโดดเด่นในเรื่องของงานสถาปัตยกรรม แต่พื้นที่ดังกล่าวนั้นก็ได้มีการเก็บ บางส่วนของโบราณสถานไว้จัดแสดงให้ผู้คนเข้ามาเยี่ยมชน - พื้นที่ภายนอกของโครงการเป็นพื้นที่สาธารณะที่ผู้คนสามารถเข้ามานั่งพักผ่อนได้ 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น ก ร ณี ศึ ก ษ า ( ข้ อ เ สี ย / ปั ญ ห า / สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค ว ร น า ม า ใ ช้ อี ก / มุ ม ม อ ง ใ น ด้ า น ล บ ) - เนื่องจากรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่มีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์และแปลกตามาก จน อาจจะไปขัดกับ บริบ ทของพื้ นที่ใกล้เคียงกั บโครงการ ซึ่ง หากมี ก ารดาเนินการโครงการที่มี ความ คล้ายคลึงกับโครงการดังกล่าวแล้วจะต้องมีการศึกษาพื้นที่และบริบทโดยรอบ เพื่อให้เกิดความสมดุล กับพื้นที่โดยรอบ


34 DDP เรียกได้ว่าเป็นศูนย์กลางด้านศิลปะระดับ นานนาชาติที่ ตั้งอยู่ในนกรุง โซล มีพื้นที่จัด แสดงผลงานศิลปะ พื้นที่ขายสินค้าที่ออกแบบจากศิลปินระดับ นานาชาติและมี พื้นที่ Design Lab สาหรับทางานวิจัยทางด้านศิลปะสาคัญ DDP ยังเป็นพื้นที่สาธารณะให้ประชาชนมาร่วมทากิจกรรมใน เมืองอีกด้วย

ภาพที่ 5 Dongdaemun Design Plaza ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. ประเทศเกาหลีมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการเลือกปรับปรุงสถานที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ให้เป็นพื้นที่สาธารณะอันเกิดประโยชน์สูงสุดได้ดีและสามารถทาโครงการขนาดใหญ่ระดับนี้ให้เกิดขึ้น ได้จริง 2. รูปแบบสถาปัตยกรรมล้าสมัยทาให้ดึงดูดนานาชาติเข้ามาร่วมลงทุนหรือ สร้างกิจกรรมขึ้นในพื้นที่แห่งนี้ 3. เป็นตัวอย่างที่ดีในการสร้างสถาปัตยกรรมใหม่ซ้อนทับ สิ่งก่อสร้างเก่า โดย เคารพสิ่งก่อสร้างเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์นั้น และสามารถออกแบบให้อยู่ร่วมกันได้อย่างลงตัว 4. ออกแบบอาคารและพื้นที่ ส าธารณะให้เ ชื่อมต่อกั บ ระบบขนส่ง มวลชน สาธารณะได้อย่างกลมกลืนและลงตัว ข้อสังเกตและข้อควรระมัดระวัง และปัญหาในการดาเนินโครงการ 1. อาคารขนาดใหญ่มาก จนทาให้ประโยชน์ใช้สอย ดูหลวมๆ ซึ่งอาจเกิดจากการออกแบบที่ เริ่ม ต้นจากฟอร์ม ของอาคารแล้วจัดการประโยชน์ใช้สอย ภายหลัง แต่อย่างไรก็ ตาม ทาง DDP ก็ ประชาสัมพันธ์ได้น่าสนใจมาก


35 2. DDP เป็นอาคารขนาดใหญ่ ซึ่ง มี ค่าบ ารุงรักษาสูงมาก ท าให้รายได้ที่จะนามาบารุงรักษา อาคารไม่สมดุลกับรายจ่าย จากที่ได้รับข้อมูลนั้น การใช้งานจริงต้องปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอย เพื่อ สร้างสมดุลรายจ่ายให้มากที่สุด 1.5 โครงการ FLOATING ISLAND 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการดังกล่าวเป็นโครงการเกาะเทียมที่สร้างอยู่บริเวณแม่น้าฮัน เป็นหนึ่งในแลนด์มาร์ค ของพื้นที่ มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ทันสมัย เป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ รวมถึงการจัดกิจกรรรม แห่งใหม่ของริมแม่น้าฮัน - รูปแบบสถาปัตยกรรมภายนอกมีความโดดเด่น 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - โครงการดังกล่าวตั้งอยู่บริเวณกลางน้า อีกทั้ง ยังมีขนาดสูง อาจจะทาให้มีการบดบังของ ทัศนียภาพริมแม่น้า จึงต้องระมัดระวังในการออกแบบเป็น Landmark และพื้นที่สาธารณะแห่งใหม่ที่ ตั้งอยู่กลางแม่น้าฮัน

ภาพที่ 6 Floating Islands ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. เป็น Landmark ที่ส่วยงามอีกแห่งหนึ่ง ในแนว พื้นที่สาธารณะริมแม่น้าฮัน 2. เป็นสถานที่ดึงดูดกิจกรรมสาธารณะต่างๆ ให้คึกคักในบริเวณนี้


36 3. เป็นตัวแทน และเป็นต้นแบบของอาคารที่ทนต่อภาวะอากาศแลละภัยธรรมชาติในอนาคต (Amphibian Building) ข้อสังเกตและข้อควรระมัดระวัง และปัญหาในการดาเนินโครงการ 1. Floating Islands เป็นเพี ยง Landmark เท่ านั้น ประโยชน์ใช้สอยของแต่ละอาคารเป็น ร้านอาหารและกิจกรรมเฉพาะด้านไม่สามารถใช้ทากิจกรรมสาธารณะในอาคารได้อย่าง แท้จริง 2. Floating Islands ต้อ งใช้ง บประมาณในการดูแลรัก ษาสูง เนื่อ งจากเป็นทุ่ นลอยน้า ซึ่ง ตั้ง ข้อสังเกตได้ว่าคุ้มค่าหรือไม่ 1.6 โครงการ NAMSAN HANOK VILLAGE 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - เป็นโครงการที่ แสดงให้เ ห็นถึง การอนุรัก ษ์ที่ มี คุณ ค่าทางประวั ติศ าสตร์ได้เ ป็นอย่ า งดี เนื่องจากเป็นการนาบ้านของขุนนางชั้นผู้ใหญ่จากพื้นที่ตั้งเดิมที่ได้รับการพัฒนามาตั้งและจัดแสดงไว้ - เห็นถึงรูปแบบการวางอาคารรวมถึงส่วนต่างๆ ในพื้นที่ - พื้นที่ดังกล่าวมีไทม์แคปซูลที่จะเปิดขึ้นอีกภายใน 400 ปีข้างหน้า เป็นการเก็บและอนุรักษ์ สิ่งต่างๆ ให้กับคนรุ่นหลังได้รับรู้และเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสาธารณรัฐเกาหลี - มีการละเล่นสมัยโบราณให้ผู้คนที่เข้ามาเยี่ยมชมได้ทดลองเล่น 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากเป็นการนาบ้านในสมัยอดีตมาประกอบในพื้นที่ทาให้ต้องมีความระมัดระวังในการ รื้อถอน หรือติดตั้งเนื่องจากมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์


37 1.7 โครงการ SEOUL MUSEUM OF HISTORY 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - เป็นโครงการที่ตั้งอยู่ใจกลางกรุงโซล และพื้นทีท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ของเมือง จึงทา ให้สามารถเดินทางเข้าถึงพื้นที่ได้ง่าย - มีวางรูปแบบ ลาดับขั้นตอนในการจัดแสดงของข้อมูล - มีการจัดแสดงหุ่นจาลองของเมืองโซลพร้อมทั้งมีก ารนาเทคโนโลยีเ ข้ามาช่วยเพิ่มความ น่าสนใจให้กับการนาเสนอ - มีการจัดแสดงชิ้นส่วนของพระราชวังโบราณ รวมถึงแผนที่เมืองในสมัยโบราณ - รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของโครงการนั้นเป็นแบบร่วมสมัย แต่ก็กลมกลืนกับบรรยากาศ โดยรอบของพื้นที่ 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - ระบบการสัญจรในการสัญจรในการเดินดูนิทรรศการยังไม่เป็นระบบและเรียงตามลาดับที่ เหมาะสม 1.8 โครงการ SEOUL CITY HALL AND SEOUL PLAZA 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - มีการอนุรักษ์ทางงานสถาปัตยกรรมที่ดีโดยคงรูปแบบเดิมของงานสถาปัตยกรรมไว้ และมี การปรับเปลี่ยนการใช้งานให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์กับผู้คนในเมือง - อาคารหลังใหม่มีการออกแบบให้ประหยัดพลังงาน และใส่ใจสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังมีพื้นที่ให้ ผู้คนภายนอกได้เข้ามาใช้บริการในพื้นที่ - รูปแบบในการออกแบบอาคารมีความน่าสนใจ - ลานหน้าศาลาว่ากลางมีขนาดใหญ่ เหมาะในการจัดกิจกรรมในพื้นที่


38 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากลานด้านหน้าเหมาะกับการทากิ จกรรม ทาให้ต้องการเฝ้าระวังในเรื่องการจัด กิจกรรม และเพิ่มความปลอดภัยในบริเวณพื้นที่ ในกรณีที่มีการจัดกิจกรรมที่แสดงถึงความขัดแย้ง 1.9 โครงการ NATIONAL MUSEUM OF KOREA 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการมีขนาดใหญ่ มีรูปแบบสถาปัตยกรรมทันสมัย ดูสวยงามโดดเด่น และกลมกลืนกับ พื้นที่โดยรอบ - มีพื้นที่ในการจัดแสดงงานต่างๆ กว้างขวาง 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากพื้นที่โครงการมีขนาดใหญ่มาก ทาให้พื้นที่จัดแสดงชั้นด้านบนที่มีการจัดแสดงงาน นั้น แทบจะไม่มีผู้คนขึ้นไปเยี่ยมชม 1.10 โครงการ BLUE HOUSE/ CHEONGWADAE SARANGCHAE 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - มีการจัดรูปแบบของพื้นที่บริเวณรูปปั้นนกฟินิกซ์ได้น่าสนใจ - มีรูปแบบการจัดวางผังตามหลักฮวงจุ้ยโบราณของเกาหลี โดยตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ที่ดีที่สุด ของเมือง - เก็บรักษาอนุรักษ์งานสถาปัตยกรรมในอดีตได้เป็นอย่างดี - อาคารพิพิธภัณฑ์ชองเดวา มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดีและน่าสนใจ


39 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากมีระยะเวลาจากัดในการเยี่ยมชม ทาให้ไม่สามารถสารวจทุกส่วนของโครงการ 1.11 โครงการ GYEONGBOKGUNG PALACE 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการ GYEONGBOKGUNG PALACE หรือพระราชวังหลวงเคียงบ๊กกุง นั้นเป็นโครงการ ที่เก็บอนุรักษ์โบราณสถานที่มีความสาคัญของเมืองเป็นอย่างมาก โดยเป็น 1 ใน 5 ของพระราชวัง หลวงที่ ยังคงหลงเหลือ อยู่ในประวัติศาตร์ อีก ทั้ ง ยัง เป็นพระราชวัง หลวงที่ มีขนาดใหญ่ที่ สุด พื้นที่ โครงการนั้นตั้งอยู่ภายในมหานครกรุงโซล ทาให้พระราชวังแห่งนี้มีการจัดระเบียบของการจัดวาง อาคารบริเวณใกล้เคียงกับพระราชวังหลวงไม่ให้มีการบดบังสายตา อีกทั้งยังใช้บรรดาอาคารสูงนี้นั้น เป็นเส้นที่นาสายตาเข้าสู่พระราชวัง ทาให้พระราชวังนั้นเป็นที่น่าสนใจและดูยิ่งใหญ่ อีกทั้งพระราชวัง แห่งนี้ยังเปรียบเหมือนกับแลนด์มาร์คที่มีความสาคัญทางประวัติศาตร์ของสาธณารณรัฐเกาหลี และ เป็นแหล่ง ท่อ งเที่ยวที่ มีความสาคัญ ของเมือง ท าให้ได้รับ ประสบการณ์ในการออกแบบพื้นที่ที่มี ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ของเมือง รวมถึงการใช้ข้อกาหนดในการวางอาคาร รวมถึงความสูงของ คารที่จะส่งผลต่อพื้นที่โครงการอนุรักษ์ที่มีความสาคัญทางด้านประวัติศาตร์ 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - พื้นที่โครงการนั้นตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีการจราจรที่หนาแน่น อีกทั้งยังมีอาคารสูงตั้งอยู่ใกล้เคียง กับโครงการ หากมีการวางแผน การออกแบบและการวางรูปแบบ รวมถึงข้อกาหนดที่ไม่รอบคอบและ รัดกุมแล้ว อาจจะทาให้พื้นที่โครงการที่มีความสาคัญทางประวัติศาตร์และความสาคัญระดับประเทศ นั้นถูกบดบัง และทาให้พื้นที่โครงการนั้นด้อยความสาคัญลงไป หากมีการออกแบบและดาเนินการ โครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันนั้นจะต้องคานึงถึงปัจจัยที่กล่าวมาร่วมพิจารณาด้วย


40 1.12 โครงการ TTUKSEOM HANGANG RIVER PARK 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการสวนสาธารณะริมแม่น้า TTUKSEOM HANGANG RIVER PARK นั้นเป็นหนึ่งใน โครงการฟื้ นฟู สิ่งแวดล้อ มของเมืองที่ มี ผลจากการพัฒ นาเมืองของมหานครกรุงโซลในอดีต จาก โครงการดังกล่าวจะเห็นได้ว่ากรุงโซลนั้นได้ให้ความสาคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง โดยระบุใน ข้อกาหนดว่าห้ามมีการตั้งสิ่งปลูกสร้าง หรือที่อยู่อาศัยใกล้กับแม่น้าฮันตามระยะถอยร่นที่กาหนด ทา ให้ผู้คนภายในพื้นที่ และภายในเมืองสามารถใช้พื้นที่ริมแม่น้าได้ทุกพื้นที่ของริมแม่น้า และสามารถ ใช้ได้ทุกคน โดยสวนสาธารณะแห่งนี้เป็นพื้นที่สาหรับนันทนาการของย่านมีจุดชมวิวที่มีรปู ทรงอาคาร คล้ายกับท่อที่คนสามารถเดินจากเข้ามาถึงพื้นที่โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านพื้นที่ลานจอดรถ อีกทั้งยังมี ลิฟต์ที่คานึงถึงผู้สูงอายุ และผู้พิการให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ได้ เป็นแลนด์มาร์คของพื้นที่ อีกทั้งยังมีการ สร้างกิจกรรมที่มีความน่าสนใจสลับหมุนเวียนตามฤดูการต่างๆ เช่น ช่วงฤดู ร้อนจะมีพื้นที่ของสระ ว่ายน้าขนาดใหญ่เปิดให้บริการ แต่หากเป็นช่วงฤดูหนาวสระว่ายน้าดังกล่าวจะปิดบริการ แต่จะมีลาน สไลด์เดอร์หิมะแทน จากการสร้างกิจกรรมในพื้นที่ดังกล่าวทาให้พื้นที่โครงการนั้นได้มีจุดสนใจทีจ่ ะทา ให้เกิดการใช้งานตลอด อีกทั้งการออกแบบพื้นที่สวนสาธารณะดังกล่าวไม่ มีการวางผังที่ ขัดขวาง ทั ศนียภาพ อี ก ทั้ ง ยัง มีพื้ นที่ ในการปั่นจัก รยานที่ ไม่จาเป็นต้องใช้พื้นที่ม ากเกิ นพอดี มี เ ลนสาหรับ จักรยาน และสาหรับคนเดินเท้าอีกด้วย 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - จากโครงการดังกล่าวข้อสังเกตที่ควรระมัดระวังคือพื้นที่โครงการนั้นตั้งอยู่ใกล้กับพื้นที่ใต้ สะพาน ซึ่ง หากขาดการออกแบบที่ดีนั้นจะท าให้จุดบริเวณใต้สะพานนี้เ ป็นจุดเสี่ยงที่จะก่อใก้เกิด อาชญากรรม อี ก ทั้ ง บางจุดของพื้ นที่ นั้นสามารถให้จัก รยาน และคนเดินนั้นใช้พื้นที่ ในการสัญจร ร่วมกัน อาจจะทาให้เกิดอุบัติเหตุได้หากได้รับการออกแบบที่ไม่ครอบคลุม พื้นที่โครงการมีขนาดใหญ่ แต่มีจุดรักษาความปลอดภัยไม่มากพอ


41 Teoksam Han River Park เป็นพื้นที่สาธารณะสาหรับพักผ่อน ออกกาลังกาย และพบปะ สังสรรค์ของประชาชนที่ได้รับความนิยมมาก นอกจากนี้ยังเป็นจุดเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนที่สาคัญ อีกสถานหนึ่งด้วย ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. การจัดพื้นที่ริมน้าของกรุง โซล มี ข้อที่ น่าสนใจคือมีระยะถอยร่นประมาณ 100 เมตร ที่ สามารถจัดพื้นที่ให้เป็นพื้นที่สาธารณะได้ทาให้เปิดมุมมองริมน้าได้อย่าง เต็มที่และในกรณี น้าหลาก พื้นที่ถอยร่นนี้จะช่วยรับปริมาณน้าที่สูงขึ้นจากแม่น้าได้อย่างดี 2. จั ด เส้ นทางสัญ จรของคนเดิน จั ก รยาน ให้ ส ามารถเป็น สถานที่ อออกก าลัง กาย และ นันทนาการที่หลากหลาย ได้อย่างลงตัว และจัดพื้นที่จอดรถ และห้องน้าสาธารณะได้อย่าง เหมาะสม

ภาพที่ 7 Teoksam Han River Park 1.13 โครงการ CHEONGGYECHEON MUSEUM 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการ CHEONGGYECHEON MUSEUM นั้ น เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ จั ด แสดงข้ อ มู ล ทาง ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลองชองเกชอน โดยพิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีรูปแบบสถาปัตยกรรม ร่วมสมัยจึทาให้รู้สึกดึงดูดและน่าสนใจ โดยในการจัดแสดงข้อมูลประวั ติศาสตร์ทางการพัฒนานั้นมี การเรียงลาดับตามช่วงการพัฒนาได้เป็นอย่างดี โดยมีการใช้ทางลาดช่วยในการเดินชมพิพิธภัณฑ์จึง


42 เกิ ดความไหลลื่น และต่อเนื่อ ง อี ก ทั้ ง ผู้เ ยี่ยมชมยัง ไม่ เหนื่อยมากเนื่องจากเป็นทางลาดเดินลงไป สะดวกต่อผู้สูงอายุและผู้พิการในการเยี่ยมชม ในการนาเสนอรูปแบบของข้อมูลที่เกี่ยวข้องนั้นมีความ น่าสนใจ เนื่องจากมีการใช้หุ่นจาลองมาช่วยในการนาเสนอทาให้เห็นภาพในช่วงองการพัฒนานั้นได้ อย่างชัดเจน รวมถึงมีการนาสิ่งของ แบบที่ใช้ในการสร้างคลองมาจัดแสดงอีกด้วย ภายนอกโครงการมี การนาบ้านในอดีตมาจัดแสดงให้เห็นถึงภาพในอดีตอีกด้วย 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - ต้อ งมี ก ารทาความเข้าใจเรื่องวิถีชีวิตของผู้คนที่ อาศัยอยู่บ ริเวณริม คลองให้เป็นอย่างดี รวมถึงมีระบบการจัดการที่มั่นใจว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 1.14 โครงการ CHEONGGYECHEON STREAM 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการ CHEONGGYECHEON STREAM เป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง โดย คานึงถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์และสิ่งแวดล้อมในเมือง โครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่เกิดจากการ รับฟังเสียงจากประชาชนในประเทศว่าให้มีการฟื้นฟูคลองชองเกชอนที่มีความสาคัญในอดีตขึ้นมา อีก ทั้งเป็นโครงการที่นาประชาวิจารณ์ของคนในเมืองมาปรับใช้ โครงการดังกล่าวหลังพัฒนาให้เสร็จ สมบูรณ์แล้วนั้นทาให้เกิดการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของเมือง รวมถึงฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ทัศนียภาพที่ไม่ ดีกลับมาให้กลายเป็นพื้นที่น่าอยู่และน่าใช้ โดยพื้นที่นี้มีการออกแบบที่สวยงาม และน่าสนใจ เป็นการ ออกแบบที่ออกแบบทางด้านสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน โดยเลือกใช้พรรณไม้ที่ไม่จาเป็นต้องดูแลมากนัก อีกทั้งยังมีการสร้างเอกลักษณ์ให้กับย่านต่างๆ ของเมือง โดยใช้สะพานข้ามคลองที่มีรูปแบบแตกต่าง กัน 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - โครงการคลองชองเกชอนนั้นเป็นโครงการที่ตั้งอยู่บนเงื่อนไขที่บริเวณโดยรอบของพื้นที่นั้น ไม่มีบ้านพักอาศัย อาคารที่ตั้งอยู่ติดกับตัวคลอง อีกทั้งปริมาณน้าในคลองอยู่ในระดับที่ไม่สูง ไม่มีการ


43 สัญจรทางน้า ทาให้สามารถดูแ ลและจัดการสิ่งแวดล้อม ความสะอาด ความปลอดภัยภายในพื้นที่ โครงการได้ หากต้องดาเนินโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับโครงการที่ศึกษาจะต้องนาเรื่องบริบท โดยรอบ รวมถึงเรื่องของวิถีชีวิตของผู้คนในพื้นที่ดังกล่าวมาเป็นหนึ่งปัจจัยที่สาคัญในการออกแบบ 1.15 โครงการ GWANGHWAMUN SQUARE 1.ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึก ษา (ข้อดี/สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - จตุรัสควางฮามุนนั้น ตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของถนน 12 เลน เป็นจุดที่เชื่อมต่อให้เกิดความ เนื่องระหว่างประตูกวางฮามุน และพระราชวังหลวงเคียงบ๊กกุง โดยจัตุรัสดังกล่าวเป็นพื้นที่เปิดโล่ง สาธารณะที่มีขนาดยาวทาให้ผู้คนที่อาศัย หรือทางานอยู่ในพื้นที่บริเวณใกล้เคียงสามารถเข้ามาใช้ใน พื้นที่ได้ ถึงแม้ตัวจตุรัสจะตั้งอยู่บริเวณกลางถนน 12 เลนก็ตาม เนื่องจากมีการออกแบบเรื่องการ เข้าถึงพื้นที่ไม่ว่าจะเป็นทางเดินเข้าพื้นที่แบบลอดมาจากใต้ดิน ทางข้ามทางม้าลายที่มีไฟสัญญาณ จราจรแจ้ง ภายในพื้นที่มีอนุสาวรีย์ของบุคคลที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศไว้ เพื่อให้ คนในประเทศได้ตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งที่บุคคลสาคัญทั้งสองนี้ได้ทาให้กับประเทศชาติ โดย จัตุรัสแห่งนี้มีการออกแบบให้กลมกลืนกับทัศนียภาพ รวมถึงสามารถเชื่อมต่อกับพื้นที่สาคัญๆที่อยู่ ใกล้กับจัตุรัสแห่งนี้ 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย/ปัญหา/สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก/มุมมองในด้านลบ) - ในการดาเนินการโครงการที่คล้ายคลึงกับโครงการจตุรัสควางฮามุนนั้นจะต้องคานึงถึงเรื่อง การเข้ าถึ ง พื้ นที่ ที่ จ ะต้ อ งมี ค วามปลอดภั ยกั บ ผู้เ ข้า มาใช้ ง าน โดยจั ตุ รัส ความฮามุ นจากที่ ได้ไป สังเกตการณ์มาจะเห็นได้ว่าพื้นที่ในบริเวณจตุรัสนั้นขาดพื้นที่สีเขียวที่ให้ร่มเงากับคนในพื้ นที่ รวมถึง การซับเสียงและฝุ่นละอองที่เกิดจากการสัญจรโดยพาหนะ 1.16 โครงการ EWHA CAMPUS COMPLEX 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก)


44 - โครงการ EWHA CAMPUS UNIVERSITY นั้นเป็นโครงการที่เป็นแลนด์มาร์คให้กับย่านอีแด ซึ่งรูปแบบของสถาปัตยกรรมของโครงการนั้นมีรูปแบบที่ทันสมัย โดยเป็นอาคารประหยัดพลังงาน เนื่องจากมีการใช้กระจกเพื่อการเปิดรับแสงธรรมชาติ ด้านบนของอาคารมีสวนทีนักศึกษา หรือผู้เยีย่ ม ชมมหาวิทยาลัยสามารถขึ้นไปใช้งาน และพักผ่อน อี กทั้งยังเป็นการลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ ส่งผลโดยตรงกับตัวอาคาร แต่ถึงแม้รูปแบบของสถาปัตยกรรมของโครงการนั้นจะมีความโดดเด่นมาก แต่ตัวอาคารดังกล่าวก็สมารถกลมกลืนกับอาคารและพื้นที่อื่นๆ ของมหาวิทยาลัยที่มีมาแต่เดิมได้เป็น อย่างดี โดยสถานที่โครงการนั้นสามารถเข้าถึงได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็นทางรถยนต์ส่วนบุคคล รถ ประจาทาง หรือแม้กระทั่งรถไฟใต้ดินที่มีสถานีถึงพื้นที่โครงการโดยตรง จึงทาให้พื้นที่บริเวณใกล้เคียง กับพื้นที่โครงการมีการพัฒนารูปแบบการค้าขายเกิดขึ้น 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึ งกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากพื้นที่โครงการดังกล่าวเป็นพืน้ ที่ของมหาวิทยาลัย ทาให้การออกแบบพื้นที่ดังกล่าว รวมถึงการเปิดให้ผู้คนจากภายนอกเข้าไปใช้ภายในได้ อาจเป็นการรบกวนสมาธิของนักศึก ษาของ มหาวิทยาลัยดังกล่ าว จึงควรมีการจากัดการเข้าถึงของพื้นที่ภายในเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความปลอดภัยของผู้ใช้หลัก เป็นมหาวิทยาลัยหญิงเก่าแก่มีการก่อตั้งและก่อสร้างอาคารโดยได้รับอิทธิพลจากกครูสอน ศาสนาคริสต์ รูปแบบอาคารจึงมีรูแบบเรเนสซองค์และโกธิคตามคติคริสตศาสนา นอกจากนี้ยัง มี อาคารแห่งใหม่ที่รองรับกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นของมหาวิทยาลัย เช่น ห้องสมุด พื้นที่พักผ่อน ร้าน อาหาร ฯลฯ โดยเป็นอาคารสมัยใหม่ที่สร้างมุมมองพิเศษ และเพิ่มความโดดเด่นให้กับใจกลางพื้นที่โดยให้ ความเคารพต่ออาคารเดิมเป็นอย่างมาก

ภาพที่ 8 Ewha Campus Complex


45 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ และสิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์กับการพัฒนาได้ 1. อาคาร Ewha Campus Complex เป็นอาคารที่ออกแบบให้เคารพ บริบทเดิมของ มหาวิทยาลัยที่มีอาคารอันทรงคุณค่าอยู่โดยเป็นอาคารทีอ่ อกแบบประโยชน์ใช้สอยทั้งหมด อยู่ใต้ระดับผิวพื้นปกติ จึงไม่รบกวนสายตาต่อบริบท และตัวอาคาร Complex นี้เองก็มี จุดเด่นในตัวเอง และยังเพิ่มเส้นนาสายตาสู่อาคารสาคัญอีกด้วย 2. เนื่องจากอาคาร Ewha Campus Complex เป็นอาคารใต้ดินแต่ต้องการแสงสว่างเท่ากับ อาคารปกติจึงมีการออกแบบหนน้ากากอาคารเป็นนกระจกเพื่อรับแสงธรรมชาติและเพิม่ Reflector ในจุดอับของอาคารด้วยแผ่นสะท้อนที่ออกแบบอย่างสวยงาม 1.17 โครงการBUKCHON HANOK VILLAGE 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - โครงการ BUKCHON HANOK VILLAGE นั้นเป็นโครงการอนุรักษ์ทางด้านประวัติศาสตร์ เชิงท่องเที่ยว โดยหมู่บ้านแห่งนี้เป็นหมู่บ้านของบรรดาขุนนางในอดีตของประเทศเกาหลี และมีผู้อยู่ อาศัยอยู่จริงในปัจจุบัน บริเวณพื้นที่แห่งนี้จึงมีราคาที่ดินที่มีมูลค่าสูงมาก โดยโครงการดังกล่าวจะเป็น การเก็บอนุรักษ์งานสถาปัตยกรรมในอดีตของสาธารณรัฐเกาหลี รวมถึงการตั้งถิ่นฐานที่พื้นที่ที่มีความ ลาดชันได้เป็นอย่างดี โดยพื้นที่แห่งนี้ทางรัฐบาลได้มีการสนับสนุนให้เป็นหนึ่งในการส่งออกวัฒนธรรม ผ่านความบันเทิง จึงทาให้หมู่บ้านแห่งนี้เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง 2. ข้อ สัง เกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกั บโครงการที่เป็น กรณีศึกษา (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) - เนื่องจากโครงการ BUKCHON HANOK VILLAGE นั้นเป็นโครงการอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ เชิงท่องเที่ยวนั้นยังมีประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านดังกล่าวนั้นจริงๆ อีกทั้งยังมีผู้คนจานวนมาเข้าไป ในพื้นที่ ทาให้อาจก่อให้เกิดการรบกวนผู้คนที่พักอาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว รวมถึงเรื่องความปลอดภัย ของทรัพย์สินอีกด้วย อีกทั้งการเส้นทางในการเข้าไปเยี่ยมชมพื้นที่โครงการนั้นเป็นถนน 2 เลน ไม่มี ทางเท้าสาหรับสัญจร ทาให้ผู้ที่มีความสนใจเข้ามาเยี่ยมชมและศึกษาพื้นที่โครงการนั้นจะต้องสัญจร บนผิวทางจราจร อาจก่อให้เกิดอันตราย และอุบัติเหตุจากการเยี่ยมชม ในการดาเนินการโครงการที่


46 คล้ายคลึงกับโครงการนั้นจะต้องมีการคานึงถึงประเด็นดังกล่าวร่วมด้ว ย รวมถึงเรื่องของวิถีชีวิตของ ผู้คนในพื้นที่ 1.18 โครงการNATIONAL FOLK MUSEUM OF KOREA 1. ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการที่เป็นกรณีศึกษา (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) - เป็นการจัดเก็บเรือ่ งราวทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนเกาหลีได้เป็นอย่างดี - มีการเรียงลาดับของการจัดนิทรรศการที่ดี - ให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้คนในชาติ รวมถึงนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับเรื่องราวของวิถีชีวิตชาว เกาหลีในสมัยก่อน โดยนาเสนอออกมาในรูปแบบหุ่นจาลอง สรุปการศึกษาภาคสนาม ณ มหานครโซลและเขตเศรษฐกิจพิเศษอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี โดยสามารถสรุป การวิเ คราะห์ ประสบการณ์และการเรียนรู้จากการศึก ษาภาคสนามได้ดัง นี้ 1. ประเภทโครงการพัฒนา โครงการพัฒนาพื้นที่ทุกโครงการ มีเป้าหมายการพัฒนาไปในอนาคตอย่าง ก้าวไกล และมีวัตถุประสงค์การพัฒนาครอบถ้วนรอบด้าน ทั้งการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ธุรกิจการค้า ระบบคมนาคมขนส่ง ที่ อ ยู่อ าศัย สร้างเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้ ง พื้นที่ ส าธารณะ พื้นที่ นันทนาการ และการส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรมทั้งระดับประเทศและระดับ นานาชาติ ในโครงการ พัฒนาทุกโครงการ มีการประชาสัมพันธ์และจัดแสดงแนวคิดการพัฒนา ให้ประชาชนในประเทศ และ ต่างประเทศได้เห็นภาพในอนาคตที่ชัดเจน ที่สาคัญสุดและน่านามาเป็นแบบอย่างมากที่สุดคือ การ พัฒนาโครงการทุกโครงการ คานึงถึงรากฐานทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และความเป็นตัวตน ของชนชาติเกาหลี เพื่อเป็นหลักในการพัฒนาทุกโครงการ 2.ประเภทโครงการอนุรักษ์ สาธารณรัฐ เกาหลีให้ความสาคัญกับความเป็นตัวตนของชนชาติตน ให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์ทุกๆด้าน ทั้งวิถี ชีวิต อาคารบ้านเรือ น ศิล ปวัฒ นธรรม ประวัติศาสตร์ ระบบการปกครอง ฯลฯ โครงการแต่ละ โครงการ มีการเก็บรักษาทุกเศษเสี้ยวของประวัติศาสตร์อย่างละเอียดด้วยวิธีก ารนาเสนอที่ทันกับยุค สมั ย ซึ่ง แต่ล ะโครงการแบ่ง บทบาทหน้าที่ ในการอนุรัก ษ์ในแต่ล ะส่วนแตกต่างกั นออกไป แต่มี วัตถุประสงค์สาคัญเดียวกันคือการปลูกฝังให้ประชาชนเกิดความรักชาติ และรวมพลังเป็นหนึ่งเดียว เพื่อการพัฒนาประเทศและชนชาติไปสู่อนาคตอย่างมั่นคง 3.ประเภทโครงการพัฒนาที่ควบคู่กับการ อนุรักษ์ (15-18) โครงการพัฒนาพื้นที่บางโครงการ ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ซ้อนทับกันกับ สถานที่สาคัญทาง


47 ประวัติศาสตร์ที่มีอยู่ก่อนแล้ว ถึงแม้สิ่งที่พัฒนาขึ้นใหม่จะมีรูปแบบและแนวคิดที่ทันสมัยลายุ คสัก เพียงใด แต่ทุกโครงการก็ให้ความเคารพต่อสถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์นั้น บางโครงการใช้วิธีการ ฟื้นฟูและพัฒนา บางโครงการเก็บรักษา ความสง่างามทางประวัติศาสตร์ไว้โดยไม่ยุ่งเกี่ยวบางโครงการ ผนวกสิ่ ง ใหม่ แ ละสิ่ ง ที่ มี อ ยู่ ก่ อ นเข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น ชั้ น เดี ย ว ซึ ง จะเห็ น ได้ ว่ า สาธารณรั ฐ เกาหลีให้ ความส าคัญ กั บคุณค่าทางประวัติศาสตร์อย่างมากและนอกจากโครงการที่เป็นกรณีศึก ษาทั้ ง 18 โครงการแล้ว ระหว่างการเดินทางในสาธารณรัฐเกาหลียัง ได้สัม ผัส กั บ พื้นฐานการใช้ชีวิต ของ สาธารณรัฐเกาหลีซึ่งอาจแบ่งย่อยเป็นประเด็นสาคัญได้ดังนี้ • ระบบคมนาคมขนส่ง ระบบขนส่งมวลชนของสาธารณรัฐเกาหลีมีประสิทธิภาพสูง มีโครงข่าย การเดินทางเชื่อมโยงทั่วถึง ทุกส่วนของกรุงโซลมีระบบการให้บริการเป็นระบบอัจฉริยะ เป็น •

เมืองที่มีระบบขนส่งมวลชนที่ชาญฉลาดที่มีประสิทธิภาพ สิ่งอานวยความสะดวกสาธารณะ สาธารณรัฐเกาหลีให้ความสาคัญกับสิ่งอานวยความสะดวก สาธารณะอย่างมาก ทั้งทาง เท่า ทางเดินแม้ กระทั่งทางลาด ในการใช้รถ และการเดินเท้า ร่วมกัน ห้องน้าสาธารณะมีให้บริการตลอดเส้นทางการสัญจร และ ภายในห้องน้าสาธารณะ ทุกแห่งให้ความสาคัญกับการใช้งานแบบ Universal ทุกแห่ง

การวางแผนพัฒนาโครงการต่างๆระดับประเทศ ระดับภาค และระดับเมืองมีความสอดคล้อง และต่อเนื่องกัน โครงการวางแผนพัฒนาของโครงการต่างๆจึงมีประสิทธิภาพ และเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน

การวางแผนด้านโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นไปตามลาดับศักดิ์ มีการวางแผนด้านระบบขนส่ง มวลชนที่ดี มีการนามาตรการที่ทาให้คนในเมืองใช้ระบบขนส่งสาธารณะมากกว่าการใช้รถ ส่วนตัว

ให้ความสาคัญกับความเป็นชาติ ปลูกฝังความเป็นกับคนรุ่นหลัง โดยใช้พิพิธภัณฑ์เป็นสิ่งบอก เล่าเรื่องราวต่างๆ จึงเป็นเหตุผลที่ทาให้สาธารณรัฐเกาหลีนั้นมีพิพิธภัณฑ์ม าก และมีการ นาเสนอที่น่าสนใจ

จากการปลูกฝังให้คนในชาติรักชาติ จึงทาให้ง่ายต่อการพัฒนาเมือง พัฒนาประเทศ เนื่องจาก คนในชาติเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว

ผังเมืองมีการบังคับใช้ได้อย่างเข้มงวด


48 •

ระยะเวลาที่ลงพื้นที่ในการศึกษาภาคสนามนั้นมีระยะเวลาที่น้อย อีกทั้งบางแห่งแทบจะไม่มี เวลาเข้าไปเยี่ยมชมพื้นที่ รวมถึงไม่ได้รับข้อมูลเท่าที่ควร ทาให้ขาดความเข้าใจในการศึกษา

ข้อมูล สาธารณรัฐเกาหลีเป็นอีกประเทศที่เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการพัฒนาเมือง วิธีคิดและการ ปลูกฝังความรักชาติที่เป็นพื้นฐานสาคัญในการพัฒนาประเทศ


49 ภาคผนวก ช บทบาทของเมืองออสติน บทบาทของเมืองออสติน รัฐเท็กซัส อเมริกาเมืองสร้างสรรค์ด้านสื่อศิลปะ (World Cities Culture for U, 2017) 1) การปกครอง เมืองออสตินมีการบริหารงานโดยเทศบาลเมือง 11 เทศบาลตาบล โดย 10 เทศบาลตาบล มี สมาชิกเทศบาลตาบลตามภูมิภาค และนายกเทศมนตรีซึ่งได้รับการเลือกตั้งพร้อมกับ นักวางผังเมืองที่ ได้รับการว่าจ้างภายใต้ระบบการจัดการของการกากับดู แลเทศบาลเมืองและนายกเทศมนตรี การลง ประชามติต้องได้รับการอนุมัติจากผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 เกิดการ เปลี่ยนแปลงสมาชิกของเทศบาล 6 เทศบาลตาบลและนายกเทศมนตรีซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ปัจจุบัน เป็นระบบ 10 + 1 ระบบเขต เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ได้เริ่มการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้ ระบบใหม่ 2) สถิติประชากร เมืองออสตินเป็นต้นกาเนิดของการก่อตั้งรัฐเท็กซัสใน พ.ศ. 2373 ในปัจจุบันมีประชากรมาก ที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ในสหรัฐอเมริกา มีจานวนประชากร 885,400 คน ในปี พ.ศ. 2556 การพัฒนา เมืองมีลักษณะค่อนข้างกระจายออกไปจากแนวแกนเมืองหลักซึ่งถูกโอบล้อมด้วยพื้นที่ชานเมื องที่ กาลังขยายตัวออกไป แต่อย่างไรก็ตามยังมีที่อยู่อ าศัยใจกลางเมืองเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเกิด โครงการที่สร้างแรงจูงใจในการสร้างหน่วยพักอาศัยใจกลางเมืองและการเพิม่ จานวนของตึกสูงมากขึน้ เพื่อลดการขยายตัวของเมืองออกไปด้านนอก ออสตินเป็นหนึ่งในเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดของประเทศ สังเกตได้จากคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยดีขึ้น ค่าเช่าบ้านลดลง อัตราการว่างงานลดลงและสภาพ ภูมิอากาศที่ดีมีแสงแดด เมืองออสตินเปรียบเป็นบ้านของนักคิดทางด้านศิลปะซึง่ มีจานวนนักดนตรีตอ่ จานวนประชากรทั้งเมืองมากที่สุดในสหรัฐ 3) เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว US$ 52,110 หรือ 1,830,624.22 บาท ข้อมูลปี พ.ศ. 2556 เมืองออสตินมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์สูงขึ้น โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้น 25% ในช่วงภาวะเศรษฐกิจถดถอย เควิน จอห์นส์ เป็นกรรมการของกรมพัฒนาเศรษฐกิจเมืองออสติน


50 อธิบายว่าวัฒนธรรมในออสติน ได้แก่ ดนตรี ศิลปะ ความคิดสร้างสรรค์และความอยากเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของเมืองเป็นส่วนผสมที่พิเศษเพื่อความเจริญรุ่งเรืองของเมือง อันที่จริงแล้วเมือง ออสตินเป็นที่รู้จักกั นในฐานะที่เป็นศูนย์กลางของภูมิภาค โดยมีบริษัทด้านเทคโนโลยีอีกทั้งยังเป็น ศูนย์กลางการเกิดขึ้นใหม่ด้านเภสัชกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ จานวนของสานักงานใหญ่ สานักงาน ระดับภูมิภาคและศูนย์การพัฒนาเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจของเมืองยังนาความท้าทายมาสู่ผู้อยู่อาศัยในเมืองด้วย โครงสร้างพื้นฐานในเมืองที่ไม่ได้รับ การพัฒนาให้สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของเมืองส่งผลให้การจราจรหนาแน่นและราคาที่อยู่อาศัย ถูก ลง โรเบิร์ต แฟรี่ (Robert Faires) บรรณาธิก ารด้านศิล ปะและนัก ประวัติศาสตร์ของออสติน ชี้ให้เห็นถึงปัญหาเหล่านี้ซึ่งส่งผลกระทบต่อความเสียหายในคุณภาพของชีวิตแต่ละวัน ในระยะยาว เมืองจะกลายเป็นที่อยู่ของคนระดับล่าง กลาง และสูงตลอดจนการสร้างธุรกิจขนาดเล็กซึ่งออกมาจาก ใจกลางเมือ ง อี ก ทั้ง ยัง ผลัก ดันเศรษฐกิ จไปสู่จุดวิกฤต สิ่ง ที่ เ กิ ดขึ้นอย่างหลีก เลี่ยงไม่ ได้นี้ยังส่งผล กระทบต่อวัฒนธรรมของเมืองทาให้คนที่มีความคิดสร้างสรรค์หาพื้นที่ที่เหมาะสมในการใช้ชีวิตและ การทางานยากขึ้น เกิดความเสี่ยงต่อการแข่งขันมากขึ้น จากนั้นศิลปินจะเลือกออกไปอยู่อาศัยนอก เมือง 4) วัฒนธรรม Gerardo Interiano ซึ่งเป็นหัวหน้าฝ่ายกิจการภายนอกของบริษัท Google กล่าวว่าเมือง ออสตินมีวัฒนธรรมซึ่งถือเป็นปรากฏการณ์และแหล่งดึงดูดผู้คนจานวนมากที่กาลังจะย้ายเข้ามาอยู่ อาศัยภายในเมือง ตารางที่ 3 ตัวชี้วัดเมืองสร้างสรรค์ เมืองออสติน รัฐเท็กซัส อเมริกา Indicator Number of comedy clubs

Figure

Date

Source

8

2015

City of Austin

Public libraries

26

2015

City of Austin

Other museums

38

2015

Museums USA

National museums

0

2015

Museums USA

Major concert halls

2

2015

Live Music Guide Austin

117

2015

Live Music Guide Austin

Number of live music venues

Notes


51 Indicator

Date

Source

19

2015

Texas Theatre Online

15.00%

2015

City of Austin

189

2015

National Register of Historic Places

0

2015

UNESCO

304,912

2013

Bowker

Art galleries

50

2015

Art Alliance Austin

Cinemas

56

2015

Cinematreasures.org

Cinema screens

265

2015

Cinematreasures.org

Number of cinema screens per

29,0

2015

Cinematreasures.org

738

2014

Hollywood.com/Nash Information

Theatres % of public green space (parks

Figure

and gardens) Number of other Heritage/Historical sites UNESCO World Heritage Sites Number of book titles published in the country in a year

million population Number of films given theatrical release in the country in a year

Services

Film festivals

13

2015

City of Austin

Bookshops

75

2015

ReferenceUSAGov

Number of bookshops per

8,2

2015

ReferenceUSAGov

15

2015

City of Austin

Number of bars

199

2015

Nightlife Austin

Number of bars per 100,000

21,8

2015

Nightlife Austin

2,061

2015

Restaurant Guide

100.000 population Rare & second hand bookshops

population Number of restaurants

Notes


52 Indicator Number of markets

Figure 15

Date

Source

2015

USDA - Farmer Market

Notes

Directory/Texas Flea Market Listing Festivals and celebrations

156

2015

Everfest.com

Number of international

7,217

2012

Brookings Institution

5

2015

City of Austin

46,1%

2015

Central Texas Sustainability

Figure

Indicators Project

concerns

students studying in the city Number of video games arcades Museums/galleries attendance % working age population attending at least once a year

Central Texas area

Number of visits to top 5 most

1,295,118

2015

Official Museum Directory 2015

96,907

2015

Austin Business Journal

visited museums & galleries Number of admissions at main film festival

Statistics for SXSW Film 2015

Estimated attendance at main

400,000

2014

Austin Business Journal

carnival/festival Estimated attendance at main

Southwest 44%

2014

Austin Business Journal

carnival/festival as % of city

772

2010

US Census Bureau

912.791

2014

US Census Bureau

0,3

2014

US Census Bureau

Number of households

337.791

2013

US Census Bureau

Foreign born population %

17,00%

2010

U.S. Census Bureau

Total population number % of total national country

South by Southwest

population Geographical area size, sq. km

South by

population living in the city


53 Indicator Education level-% with degree

Figure

Date

Source

27,0%

2013

US Census Bureau

$31,990

2013

US Census Bureau

level or higher Average income per capita per year (ppp) Median gross weekly earnings

$586 2009- American Community Survey/US

(ppp)

2013

Census Bureau

$103,382

2013

US Bureau of Economic Analysis

54

2015

Nightlife Austin

2.9

2015

City of Austin

3.6

2015

City of Austin

Total number of museums

38

2015

Museums USA

Number of restaurants per

226,0

2015

Restaurant Guide

GDP (ppp)(million) Night Clubs, Discos and Dance Halls Number of public libraries per 100,000 population Number of book loans by public libraries per year (million)

100.000 population

Notes


54 ภาคผนวก ซ บทบาทของเมืองเบอร์มิงแฮม บทบาทของเมืองเบอร์มิงแฮมชุมชนเมืองสร้างสรรค์ (Birmingham, 2017) 1) แผนนโยบายการปกครอง (Visitbirmingham, 2016) แผนการพัฒนาเมือง (Big City Plan) ของเมืองเบอร์มิงแฮมถูกประกาศใช้ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ซึ่งเป็นแผนการพัฒนา 20 ปี เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเมืองเบอร์มิงแฮมสู่ศูนย์กลาง ของโลกในอนาคตด้วยการเติบโตอย่างยั่งยืน ในแผนมีนโยบายปรับปรุงการเชื่อมต่อลักษณะที่ดีของ สภาพแวดล้ อ มเมื อ ง การพั ฒ นาชุ ม ชนที่ อ ยู่ อาศั ย แห่ง ใหม่ แ ละพื้น ฐานทางเศรษฐกิ จ ที่ มี ความ หลากหลาย เมื อ งเบอร์มิ งแฮมมี ขนาดพื้นที่ 8 ตารางกิ โ ลเมตรซึ่ง ใหญ่ เป็นอันดับ 2 ของประเทศ อังกฤษ แผนการพัฒนา 20 ปีมีวิสัยทัศน์ กลยุทธ์และหลักการที่ช่วยเสนอแนะแนวทางการพัฒนาใน อนาคต รวมทั้งเครื่องมือการฟื้นฟูทางกายภาพและเอกสารการวางแผนเชิงกลยุทธ์โดยมีกรอบการ ทางาน ดังนี้ 1.1 กลยุทธ์เชิงพื้นที่เพื่อการเจริญเติบโตของเมืองหลัก โดยพื้นที่เมืองกว่า 25% มีการ เปลี่ยนแปลงถึง 5 พื้นที่ภายในเมือง 1.2 เครือข่ายของถนนและพื้นที่เพื่อเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดล้อมและศักยภาพของการเดิน เท้าภายในใจกลางเมือง 1.3 กลยุท ธ์สาหรับการเคลื่อนที่ ของคนภายในเมือง เพิ่ม วิธีก ารเชื่อมต่อการเดินทาง เพื่อให้คนเลือกใช้การเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ 1.4 วิธีการที่ยืดหยุ่นต่อวิวัฒนาการของการใช้ประโยชน์ที่ดิน 1.5 มุ่ ง เน้นบทบาทที่ สาคัญ ของมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการฟื้นฟูและการพัฒนาใน อนาคต 1.6 ข้อเสนอสาหรับการสร้างพื้นที่ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน 1.7 หลักการเพื่อรวมทั้งการพัฒนาที่ยั่งยืนและที่อยู่อาศัยซึ่ง ได้รับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงของศูนย์กลางเมืองในอนาคต 2) สถิติประชากร (Wikipedia, 2017)


55 เบอร์มิงแฮมเป็นเมืองที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม จากการสารวจเมื่อ พ.ศ. 2544 ร้อยละ 70.4 ของประชากรเป็นคนขาว (ร้อยละ 3.2 เป็นชาวไอริช) ร้อยละ 19.5 เป็นชาว เอเชียหรือเอเชียบริติช (ชาวเอเชียในความหมายของอังกฤษ คือ ชาวเอเชียใต้) ร้อยละ 6.1 เป็นคนดา หรือคนดาบริติช ร้อยละ 0.5 เป็นชาวจีน และร้อยละ 3.5 เป็นเชื้อชาติผสมหรือเชื้อชาติอื่นและช่วง กลางปี พ.ศ. 2555 ประชากรของเบอร์มิงแฮมมีจานวน 1,085,400 คน เมืองเบอร์มิงแฮมเป็นเมืองที่ มีอานาจมากใหญ่ที่สุดในประเทศรองจากกรุงลอนดอน มีความหนาแน่นของประชากร 10,391 คนต่อ ตารางไมล์ เมื่อเทียบกับความหนาแน่นของประชากรของทั้งประเทศอังกฤษคือ 976.9 คนต่อตาราง ไมล์ จากข้อ มู ล การส ารวจจ านวนส ามะโนประชากรที่ ผ่านมาบนพื้ นฐานประชากร พ.ศ. 2554 ประชากรในเมืองเบอร์มิงแฮมมีอัตราการเติบโตถึง 1,160,100 คนในปี พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นการเพิ่มขึน้ 8.0% 3) เศรษฐกิจ แผนนโยบายของเมืองเบอร์มิงแฮม ต้องการเป็นศูนย์กลางของเขตองค์กรที่สาคัญโดยการลด ภาษีของธุรกิจที่เข้ามาตั้งบริษั ทในเขตธุรกิจที่เมืองเบอร์มิงแฮม รวมถึงเพิ่มการสนับสนุนการลงทุน ทางด้านเศรษฐกิจและโอกาสของโครงสร้างพื้นฐานธุรกิจกองทุน เช่น อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ภายใน เขตองค์กรของประเทศอังกฤษทั้ง 23 เขตถูกจัดสรรโดยความร่วมมือขององค์กรท้องถิ่นในพื้นที่ที่มี เขตองค์กรตั้งอยู่ โดยหน่วยงานท้องถิ่นซึ่งมีสิทธิ์ในการตัดสินใจในนโยบายต่างๆ ของเขต โดยภายใน เมืองเบอร์มิงแฮมซึ่งเป็นศูนย์กลางของเขตองค์กรมีพื้นที่ทั้งหมด 26 พื้นที่ใน 7 กลุ่มเศรษฐกิจกระจาย รอบเมือง ได้แก่ ด้านตะวันตก ด้านตะวันออก ประตูท างตอนใต้ ย่านสโนว์ฮิลล์ กลุ่ม ชุมชนเมื อง สร้างสรรค์ดิกเบ็ช (Digbeth) อุทยานวิทยาศาสตร์เบอร์มิงแฮมแอสตัน และย่านเครื่องประดับ โดย เขตองค์กรนี้มีความสนใจในภาคเศรษฐกิจด้านบริการธุรกิจและการเงิน เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และสื่อดิจิทัล 4) วัฒนธรรม วัฒนธรรมของเบอร์มิงแฮมเป็นลักษณะของประเพณีที่ฝังลึกในความเป็นปัจเจก การทดลอง ที่แปลกใหม่แต่เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดนวัตกรรมทางวัฒนธรรมซึ่งส่งผลให้ได้รับการยอมรับอย่าง แพร่ห ลาย ในศตวรรษที่ 18 เมื อ งได้ เ ติบ โตเป็นศูนย์ก ลางที่สาคัญของวรรณกรรม ดนตรี การจัด กิจกรรมการแสดงละคร ศิลปะในสังคมโลกที่โดดเด่น ไม่วุ่นวาย สนุกสนาน เปรียบเสมือนยุคแห่งการ


56 ดูดซับความคิดใหม่บนโลก การเปิดกว้างและวัฒนธรรม พหุนิยมนี้ได้รับการสนับสนุนโดยโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจของเมืองและผู้ประกอบการในวงกว้าง ผลที่ได้คือ การพัฒนาอย่างหลากหลายของวัฒนธรรมที่มีคุณค่า ตลอดจนการปรั บตัวและ การเปลี่ยนแปลงมากกว่าความเป็นอันหนึ่งอันเดียวและต่อเนื่องกัน นามาซึ่งความร่วมมือและความ ไว้วางใจกันในกลุ่มผู้อยู่อาศัยในเมือง เมืองมีลักษณะที่โดดเด่นด้วยความสามารถในการรองรับความ แตกต่างซึ่ง ได้เ รียนรู้จากรูป แบบของประวัติศาสตร์เมื อง นัก ประวัติศาสตร์ William Hutton ได้ สังเกตวัฒนธรรมที่หลากหลายของเบอร์มิงแฮมตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2325 พบสิ่งที่น่าแปลกใจคือความ หลากหลายทางวัฒนธรรมซึ่งประกอบไปด้วยดนตรี วรรณกรรม โรงภาพยนตร์ ละครตลก ทัศนศิลป์ สื่อ ภาพยนตร์ กิจกรรมงานศิลปะ เป็นต้น


57 ภาคผนวก ฌ แบบสัมภาษณ์สาหรับคนในท้องถิ่น หมายเลขแบบสัมภาษณ์ คาชี้แจง แบบสัมภาษณ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่องแนวคิดและองค์ประกอบของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ต าม ลักษณะท้องถิ่นในประเทศไทย ระดับปริญญามหาบัณฑิต วัตถุประสงค์ เพื่ อเก็ บ ข้ อมู ล ความคิ ดเห็ นเกี่ ย วกั บ แนวคิ ดและองค์ป ระกอบของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ตามลั กษณะ ท้องถิ่นในประเทศไทย และความสาเร็จของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ เพศ: O ชาย O หญิง O อื่นๆ หน่วยงาน............................................................ ตาแหน่ง............................................................ ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบในการนาไปสู่การพัฒนาชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย แนวคิดทฤษฏีอัตลักษณ์ของสถานที่ (Place Identity) ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ และลักษณะของ ท้องถิ่นไทยในการผลักดันแนวคิดชุมชนเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย (1) ในความเห็นของผู้ให้สัมภาษณ์ มองว่าชุมชนเมืองนั้นเป็นเป็นชุมชนเมืองสร้างสรรค์หรือไม่ (2) หลังจากเมืองได้รับการจัดอันดับจากกระทรวงพาณิชย์ให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ มีการกระตุ้นกิจกรรม สร้างสรรค์อย่างไรบ้าง (3) การพัฒนาชุมชนเมืองสู่ความเป็นชุมชนเมืองสร้างสรรค์ตามลักษณะท้องถิ่นไทยด้านใดบ้าง (4) กิจกรรมการพัฒนาเมืองที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาของเทศบาลอย่างไรบ้าง (5) โครงการพัฒนาเมืองถูกพัฒนาไปในนโยบายด้านอะไรบ้าง (6) มีกิจกรรมใดบ้างที่กระตุ้นการรวมกลุ่มของกลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ (7) จานวนบุคคลข้ามเพศภายในชุมชนเมือง (8) ความหลากหลายของวัฒนธรรมในชุมชนเมือง


58 (9) วัสดุท้องถิ่นที่หาได้ง่ายภายในชุมชนเมือง เอกลักษณ์เฉพาะตัวหรืออัตลักษณะของชุมชนเมือง (10) การเพิ่มมูลค่าของสินค้าท้องถิ่นให้เกิดเป็นนวัตกรรมสร้างสรรค์ ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับความสาเร็จของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ (1) โครงการที่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของเมืองมีอะไรบ้าง (2) แผนการพัฒนาเมืองระยะยาวมีการพัฒนาด้านเมืองสร้างสรรค์หรือไม่ (3) แหล่งอบรมและเรียนรู้ที่มีอยู่ในเมืองเพียงพอหรือไม่ (4) กลุ่มอาชีพของคนในเทศบาลเมืองในเกี่ยวข้องกับศิลปะ หรือแนวคิดสร้างสรรค์มีมากน้อยเพียงใด (5) มีวิธีการปฏิบัติต่อคนชุมชนเมืองเพื่อให้ตระหนักถึงความสาคัญของชุมชนเมืองสร้างสรรค์อะไรบ้าง (6) การมีส่วนร่วมของคนชุมชนเมือง (7) กิจกรรมของสังคม เช่น งานแสดงงานศิลปะ เกิดขึ้นภายในเมืองมีบ้างหรือไม่

☺ ขอขอบพระคุณในความร่วมมือของท่านเป็นอย่างสูง ☺


59 ภาคผนวก ญ แบบสัมภาษณ์สาหรับสถาปนิกผังเมืองเกาหลี

The Concepts and Components of Creative Urban Community Based On Local Characteristics in Thailand An Urban Design Master Thesis by Korawan Rungsawang Email: korawanrungsawang@gmail.com Advisor: Assistant Professor Dr. Supaktra Suthasupa Questions to Dr. Gye Ho Im, Former City Planner 1. Do you know that Seoul is highly ranked as Creative City in Design by UNESCO? ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ 2. In your opinion, do you think Seoul is a Creative City? ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ 3. How, in your own opinion, being named a Creative City in Design has helped bringing in more investment to Seoul from the technology and innovaton corporations? ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ 4. How was the development of Cheonggyecheon River being the starting point of taking Seoul to become a Creative City? Has the development been the agent of economic growth of the areas along the River? ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________


60 5. Do you think Dongdaemun Design Plaza is the learning hub for creative professions (those who work in creative industry such as designers, artists, and art & design students)? How do they utilize the DDP? ____________________________________________________________________________ 6. Are there more Creative City development plans or projects in Seoul City? What are they? ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________


61 ภาคผนวก ฎ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเมืองสร้างสรรค์ 1. ความคิดสร้างสรรค์ ไม่มีคาจากัดความของความคิดสร้างสรรค์ที่ชัดเจนเพราะว่ามีปรากฏการณ์ทางด้านความคิด สร้างสรรค์อย่างเช่น จิตวิทยา ความคิดสร้างสรรค์มีความเป็นปัจเจกบุคคล เพราะความคิดนั้นเกิดมา จากบุคคลหรือว่ากระบวนการคิดขั้นพื้นฐานที่ถูกนามาวิเคราะห์ร่วมกัน แต่ลัก ษณะของความคิด สร้างสรรค์ในหลากหลายพื้นที่มีความแตกต่างกัน บุคคลอื่นก็มีความพยายามที่จะพูดถึงคานิยามของ ความคิดสร้างสรรค์ในความหมายอื่น (UNCTAD, 2008, pp. 9-22) เช่น 1) ความคิดสร้างสรรค์ ทางด้านวัฒนธรรมรวมถึงจินตนาการและสมรรถนะของการทาให้เกิดแนวคิดต่างๆ บนโลกซึ่งแสดง ออกมาทางข้อความ เสียงและรูปภาพ 2) ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านวิทยาศาสตร์ รวมถึงความอยาก รู้อยากเห็น การทดลองสิ่ง ต่างๆ สร้างความเชื่อมโยงของปัญ หาและการแก้ไขปัญ หาขึ้นมาได้ 3) ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านเศรษฐกิจ เป็นกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อที่จะนามาซึง่ นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยี การฝึกฝนทางด้านเศรษฐกิจและการตลาด เป็นต้น ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีความสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ มีความเกี่ยวข้องกัน ไม่มากก็น้อย ภาพที่ 1 จะเห็นว่าความคิดสร้างสรรค์ในแต่ละส่วนมีความสอดคล้องกัน โดยความคิด สร้างสรรค์นั้นอยู่ในองค์ประกอบทุกด้านเพราะองค์ประกอบของคานิยามสอดคล้องกับอุตสาหกรรม สร้างสรรค์และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านวิทยาศาสตร์

ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านเทคโนโลยี

ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านเศรษฐกิจ

ความคิดสร้างสรรค์ทางด้านวัฒนธรรม

ภาพที่ 1 ความคิดสร้างสรรค์ของเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ดัดแปลงจาก UNCTAD, 2008)


62 วิ ธี ก ารพั ฒ นาความคิ ด สร้า งสรรค์ จ ากการวั ด ค่ า ของกระบวนการทางสัง คม จาก เป้าหมายทางเศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้ างสรรค์กับเศรษฐกิจและสังคมซึ่ง พัฒนาไปอย่างชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งในกรณีนี้การวัดระดับ ทางเศรษฐกิจสาคัญเท่ากับความคิดสร้างสรรค์ที่ก่อให้เกิดรายได้ วงจรของกิจกรรมสร้างสรรค์มี บทบาทจากรูปแบบของสินทรัพย์ทั้ง 4 ด้าน ภาพที่ 2 แสดงสินทรัพย์ทางด้านมนุษย์ สินทรัพย์ ทางด้านวัฒนธรรม สินทรัพย์ทางด้านสังคม และสินทรัพย์ทางด้านสถาบันการศึกษาซึ่งสินทรัพย์ ในด้านต่างๆ มี ส่วนท าให้ความคิดสร้างสรรค์เ ติบ โตขึ้นและเกิ ดเป็นผลที่ ได้กั บ ผลลัพธ์จ าก ความคิดสร้างสรรค์โดยมีดัชนีชี้วัดทางด้านความคิดสร้างสรรค์กาหนดจากกระบวนการที่ทาให้ เกิดแนวคิดและองค์ประกอบของการดาเนินการซึ่งมีการเชื่อมต่อและเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่มี คุณค่าทางความคิดริเริ่มจากสิ่งที่ไม่มีอยู่หรือการทาซ้าจากสิ่งที่มีอยู่เดิมแล้ว สินทรัพย์ทางด้านมนุษย์

สินทรัพย์ทางด้าน วัฒนธรรม

การเกิดขึ้นของความคิด สร้างสรรค์ (ผลที่ได้กับ ผลลัพธ์)

สินทรัพย์ทางด้าน สถาบันการศึกษา

สินทรัพย์ทางด้านสังคม ภาพที่ 2 การเกิดขึ้นของความคิดสร้างสรรค์ (ผลที่ได้กับผลลัพธ์) (ดัดแปลงจาก UNCTAD, 2008) 2. สินค้าและบริการสร้างสรรค์ สินค้าและบริการสร้างสรรค์ คือ สิ่งที่ถูกคิดค้นขึ้นมาจากความคิดสร้างสรรค์เพื่อตอบสนอง ความต้อ งการของผู้บ ริโ ภคมี ค วามเกี่ ย วโยงกั บ ขอบเขตของเศรษฐกิ จ สร้างสรรค์ คือ การขยาย อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ออกไปให้มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น โดยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เกิดจากการ


63 ริเริ่มสร้างสิ่งใหม่ๆ อีกทั้งความสาคัญของแนวคิดอุตสาหกรรมวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างระหว่าง ความคิดสร้างสรรค์กับวัฒนธรรม บางครั้งทั้ง 2 ส่วนมีการบูรณาการซึ่งกันและกัน หนทางที่ชัดเจน สาหรับจุดเริ่มต้นของสินค้าและบริการที่จะอยู่ในรูปของผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมที่จะช่วยพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อไป แนวคิดผลผลิตทางด้านวัฒ นธรรมจะมีความชัดเจนมากขึ้น ถ้าหากแนวคิดอุตสาหกรรม วัฒนธรรมได้รับการยอมรับในท้องตลาดมากขึ้น เช่น สินค้าและบริการทางด้านวัฒนธรรมจาพวกงาน ศิลปะ งานดนตรี งานวรรณกรรม งานภาพยนตร์และรูปแบบของการดาเนินรายการโทรทัศน์รวมถึง วีดีโอเกมส์ที่มีการแบ่งตามลักษณะของผลผลิตต่างๆ มีความต้องการที่จะนาความคิดสร้างสรรค์ของ มนุ ษ ย์ ม าใช้ เ ป็นศั ก ยภาพและสิน ทรัพ ย์ท างปัญ ญาที่ ดี โดยสิ่ ง ที่ ก ล่า วมาล้ว นเป็น อุตสาหกรรม วัฒนธรรม แนวทางการใช้ความรู้เพื่อเพิ่มคุณค่าให้สินค้าและบริการ ได้แก่ (1) สินทรัพย์ของเก่าที่ดีอยู่แล้ว คือ เงินทุน ทักษะการปฏิบัติงาน และเครื่องไม้เครื่องมือ (2) การเติมความรู้ 4.0 คือ นวัตกรรม เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และองค์ค วามรู้ที่ เหมาะสมกับยุคสมัย (3) การคิดและปฏิบัติเพื่อผลลัพธ์สูงสุด คือ สร้างสินค้าและบริการใหม่ ขายให้ลูกค้ากลุ่ม ใหม่ พัฒนาสินค้าและบริการเก่าให้ดีกว่าเดิม ขายให้ลูกค้ากลุ่มเดิม และขยายสู่ลูกค้ากลุ่มใหม่ ใน ราคาที่สูงขึ้น (OKMD, 2560b, p. 20) สินค้าและบริการสร้างสรรค์ ในปัจจุบัน ได้แก่ (1) ไอศครีมไร้ข้อจากัดในรูปร่างโดยการเลือกรูปร่างหน้าตาที่ แปลกใหม่ ไม่ซ้าใครและมี รสชาติที่หวานมันเข้มข้น (2) ธุรกิจใบชาการคัดเลือกโดยธรรมชาติ 100% ปราศจากการแต่งสีสังเคราะห์และการใช้ กลิ่นมั่นใจในคุณภาพ (3) ขนมไทยต้นตารับที่อยู่ในรูปแบบสาเร็จรูปแช่แข็งโดยสามารถสั่งซื้อออนไลน์และเข้า ไมโครเวฟพร้อมทานมีหลากหลายไส้เช่นมะพร้าว กระฉีก และถั่ว (4) คุกกี้แนวใหม่สไตล์ฝรั่งเป็นไอเดียสุดสร้างสรรค์ที่มีคุกกี้นุ่มชิ้นหนามีให้เลือกหลากหลาย รสชาติมีทั้งแบบมีไส้และไม่มีไส้


64 (5) ธุรกิจน้าผลไม้เพื่อสุขภาพโดยใช้ผักและผลไม้สด organic เป็นส่วนใหญ่ไม่ใส่น้าตาลไม่ แต่งกลิ่นและสี (6) ร้านซอฟไอศครีมที่มีวัตถุดิบผสมของนมจากญี่ปุ่น (7) ร้านไอศครีมโฮมเมดทาสดใหม่ใช้วัตถุดิบชั้นดีปราศจากการแต่งสีสังเคราะห์และการใส่ สารกันบูด (8) ร้ า นเฉาก๊ ว ยชาไทยเครื่องดื่ ม ที่ เ รีย กความฮื อ ฮาจากนั ก ท่ องเที่ ยวทั้ ง ชา วไทยและ ต่างประเทศด้วยการเลือกใช้เฉาก๊วยเป็นท็อปปิ้งช่วยคลายร้อนเหมาะกับสภาพอากาศร้อนร้อนแบบ ประเทศไทยซึ่งขายคู่กับขนมปังสอดไส้รสชาติแบบไทยๆ เช่น สังขยาไข่ สังขยาใบเตย และสังขยา เผือกหอม (9) ร้านหมูย่างที่มีความนุ่มด้วยการใช้สูตรเด็ดที่กลมกล่อมโดยเทคนิคการหมักหมู ที่ทาให้ หมูนุ่มซึ่งใช้สมุนไพรไทยไทยหมัก แบบไม่ใช้สาร ไม่ใส่ไข่ เป็นเวลา 24 ชั่วโมงและการเลือกใช้เนื้อหมู สันคอและสันนอก (10) ร้านขนมพายไทย ใช้ความคิดสร้างสรรค์ได้นาความอร่อยในแบบที่ลงตัวและดูน่ากิ น โดยการนาพายแบบฝรั่งมาใส่ไส้แบบไทยๆ เช่น ไส้กล้วยไข่เชื่อม ไส้ตะโก้เผือก และไส้ลูกตาล เป็นต้น (11) ธุรกิจสมุดทามือคือการนากระดาษเก็บสมุดโดยใช้ศาสตร์การเย็บสมุดที่มีหลายร้อยวิธี แต่มีเทคนิคที่จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. การใช้กาวและการเย็บให้เกิดเป็นเล่ม 2. ประเภทที่ใช้การ เย็บอย่างเดียวที่ทาให้เกิดเป็นเล่ม แต่มีความคิดสร้างสรรค์ตรงบริเวณตะเข็บที่เย็บ (12) ธุรกิจเครื่องหนังนักออกแบบรุ่นใหม่มากความสามารถที่นาเสนองานเครื่องหนัง และ สินค้าหมวดสเตชั่นเนอรี่ การเลือกใช้หนังวัวคุณภาพหลักโดยการฟอกฝาดโทนสีธรรมชาติและมีการ ตัดเย็บอย่างประณีตเป็นงาน Handmade Idea เริ่มแรกโดยมีความโดดเด่นของรูปแบบหน้าตาสินค้า (13) ธุรกิจเสื้อผ้าแฟชั่นเสื้อผ้าออกกาลังกายที่ได้รับแรงบันดาลใจจากโรงละครและบัลเล่ต์ สู่ การรังสรรค์ด้วยการหยิบจับรายละเอียดของโครงสร้างปีกหงส์มาเป็นส่วนประกอบหนึ่งของเสื้อผ้า (14) ธุรกิจข้าวหอมมะลิ ร้านข้าวสารแต้คุนฮะ โดยมีธุรกิจยาวนานมาตั้งแต่ 60 ปีก่อนโดย ลูก หลานรุ่นใหม่ต้องการรักษากิจการของครอบครัวด้วยการขยายสู่โลกออนไลน์พร้อมการดีไซน์ แพคเกจที่ควรค่าแก่การมอบเป็นของขวัญ


65 (15) ธุรกิจไส้อั่วต้นตารับเชียงใหม่ต้องการสร้างแบรนด์ให้กับอาหารพื้นเมือง (จากสูตรของ คุณแม่ที่ทาขายกว่า 20 ปี) เพื่อให้คนทั่วไปรับรู้ว่าอาหารเหนือไม่เป็นแค่ของฝากเท่านั้น แต่สามารถ สั่งซื้อออนไลน์ได้โดยมีจุดขายคือรสชาติที่จัดจ้างกาลังดี เนื้อแน่นเต็มคา และคาหอมกลิ่นสมุนไพร (ทะมะโกะ, 2560) 3. อุตสาหกรรมวัฒนธรรม 3.1 ต่อยอดวัฒนธรรมกินได้ 3.2 การใช้ทุนวัฒนธรรม 3.3 บทบาทของกระทรวงวัฒนธรรม อุตสาหกรรมวัฒนธรรมเกิดขึ้นตั้งแต่หลังสมัยสงครามโลกเป็นช่วงที่มีความต้องการสื่อบันเทิง มากที่สุดโดยสมาชิกของโรงเรียนแฟร้งค์เฟิร์ตนาโดย Theodor Adorno และ Max Horkheimer ใน เวลานั้ น อุ ต สาหกรรมวั ฒ นธรรมมี แ นวคิ ด ที่ ต้ อ งการท าให้ ทุ ก คนตกตะลึ ง ด้ ว ยวั ฒ นธรรมและ อุตสาหกรรมที่ มีความขัดแย้งกั นโดยสิ้นเชิง เพราะข้อจ ากั ดของวัฒ นธรรมซึ่งการอยู่อาศัยในยุค สมัยใหม่ทาให้เกิดการแสดงความรู้สึกแบบร่วมสมัยผ่านทางหนัง สือพิมพ์ ภาพยนตร์ นิตยสาร และ เพลงที่เข้ามาเป็นจานวนมาก ในเครือข่ายของยูเนสโกอุตสาหกรรมวัฒนธรรมได้ตระหนักถึงการรวมงานประดิษฐ์ การผลิต และการค้าให้จับ ต้อ งได้และยัง คงเป็นรูป แบบวัฒ นธรรมดั้ง เดิม สิ่ง ที่ ต้องท าเป็นตัวอย่างนั่นคือ กฎหมายลิขสิทธิ์ และการใช้รูปแบบของสินค้าหรือบริการ ที่ไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยแนวคิดที่ สาคัญของยูเนสโกนั้นคือ อุตสาหกรรมวัฒนธรรมจะต้องเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่และดารงอยู่ซึ่ง วัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย รวมถึงดารงอยู่บนแนวทางของประชาธิปไตยที่นาไปสู่วัฒนธรรมต่างๆ ความเป็นดั้งเดิมจะต้องเพิ่มขึ้นทวีเป็น 2 เท่า โดยอาศัยการร่วมกันระหว่างวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ เพื่อที่จะนามาซึ่งอุตสาหกรรมวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่นของวัฒนธรรมเดิม 3.1 ต่อยอดวัฒนธรรมกินได้ มิติของ “วัฒนธรรมกินได้” เพราะได้รับการส่งเสริมและต่อยอดไปสู่อุตสาหกรรมและธุรกิจที่ เกี่ยวเนื่องอย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่การสร้างแดจังกึมฉบับแอนิเมชันการท่องเที่ยวชมโรงถ่ายแดจังกึม การชิมอาหารและทดลองทาอาหารเกาหลี และการจาหน่ายสินค้าที่ระลึกเกี่ยวกับละครก่อนแตก แขนงสู่การส่งออกวัฒนธรรมอาหารเกาหลีผ่านการเปิดร้านอาหารและภัตตาคารเกาหลีทั่วทุกมุมโลก


66 อุตสาหกรรมคอนเทนต์จากเกาหลีใต้ที่เปลี่ยนธุรกิจบันเทิงให้กลายเป็นวัฒนธรรมกินได้ที่สร้างรายได้ มหาศาลให้แก่ประเทศ ความสาเร็จดังกล่าวเป็นผลจากการทางานอย่างต่อเนื่องของรัฐบาลเกาหลีใต้ ทุกชุด ภายใต้แนวคิดการสร้างKorean Wave หรือ กระแสนิยมเกาหลีไปทั่วโลก (OKMD, 2560a, pp. 8-9) การต่อยอดอุตสาหกรรมคอนเทนต์ให้กลายเป็น “วัฒนธรรมกินได้” ยกตัวอย่างเช่น การขาย คอนเทนต์ภาพยนตร์/ละครให้ ต่างประเทศนาไปสร้างใหม่ การส่งออกวงดนตรี K-Pop ไปแสดง คอนเสิร์ตในต่างประเทศ การเปิดเส้นทางท่องเที่ยวตามรอยสถานที่ถ่ายทาละครโทรทัศน์ของเกาหลี (Hallyu Tour) ธุรกิจถ่ายรูปชุดประจาชาติฮันบกให้นักท่องเที่ยวการเปิดคอร์สสอนทา อาหารเกาหลี รวมถึงธุรกิจร้านอาหารเกาหลี เป็นต้นสินค้าวัฒนธรรมดังกล่าวนาไปสู่การสร้างความภักดีในสินค้าแบ รนด์เกาหลี (Brand Loyalty) เช่นเดียวกับที่ญี่ปุ่นเคยทาสาเร็จมาก่อน ตั้งแต่สินค้าที่ระลึกต่างๆ ที่ เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมบันเทิง เช่น ซีดี ดีวีดี หนังสือ โปสเตอร์ของที่ระลึก สู่สินค้าอุปโภคบริโภค อาทิ สินค้าแฟชั่น สุขภาพ และเครื่องส าอางสินค้าเทคโนโลยี อาทิ รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ โทรศัพท์มือถือ ไปจนถึงธุรกิจศัลยกรรมและความงามที่ทารายได้เป็นอันดับหนึ่ง การต่อยอดอาชีพ สร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และอุตสาหกรรมสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง (OKMD, 2560a, p. 18) (1) การสร้างสรรค์เนื้อหา ได้แก่ ผู้ผลิตภาพยนตร์ นักเขียนบทภาพยนตร์ นักเล่าเรื่อง นักรีวิว ภาพยนตร์ ผู้ประพันธ์เพลงและดนตรี (2) การผลิต ได้แก่ ผู้กากับภาพยนตร์ ผู้กากับศิลป์ สไตลิสต์ ผู้จัด/ผู้อานวยการสร้าง ผู้ให้เช่า สถานที่ถ่ายทา ผู้ตัดต่อและทาโพสต์โปรดักชัน ผู้ผลิตแอนิเมชัน (3) การเผยแพร่ ได้แก่ ร้านจาหน่ายซีดี/ดีวีดี ร้านจาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่อง แพลตฟอร์ม สาหรับการจาหน่ายผ่านสื่อออนไลน์ แพลตฟอร์มชมภาพยนตร์ออนไลน์แบบถูกลิขสิทธิ์ แอปพลิเคชันดูหนังฟังเพลง นักออกแบบกราฟิกในสื่อเผยแพร่ต่างๆ (4) การศึกษา/การเรียนรู้ ได้แก่ อาจารย์ด้านสื่อมัลติมีเดีย/สื่อผสม โรงเรียนสอนหลักสูตร การสร้างภาพยนตร์/สื่อ นักแปลบทภาพยนตร์ คอร์สระยะสั้นด้านโปรดักชัน โค้ชการ แสดง 3.2 การใช้ทุนวัฒนธรรม การตีความ หลายครั้งที่การตีความทุนวัฒนธรรมและภูมิปัญญา กลายเป็นสิ่งสถิตย์ของของ สูงส่ง เพราะความเคยชินว่าวัฒนธรรมแปลว่าของสูงแบบราชสานัก แท้จริงแล้ว วัฒนธรรมและภูมิ


67 ปัญญาเป็นสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวัน บางเรื่องยังต้องใช้ตามแบบแผนดั้งเดิม หลายๆ เรื่องสามารถ นามาประยุกต์ใช้เพื่อให้วัฒนธรรมนั้นไม่ตาย มีการสืบทอดมาถึงปัจจุบัน การตีความจึงต้องอาศัย ความเข้าใจ (ในเนื้อทุนวัฒนธรรม) และการฝึกฝีมือให้เกิดทักษะในการตีความ ไม่นามาใช้แบบดิบ เกินไป มิฉะนั้น ผู้บริโภคต่ างถิ่นต่างแดน ซึ่งไม่คุ้นเคยกับวัฒนธรรมนั้นๆ ก็จะไม่สามารถมีอารมณ์ ร่วมกันงาน หรืออาจจะเกิดความตื่นตาตื่นใจ แต่ไม่ประทับใจ (และไม่ตัดสินใจซื้อ) ดังนั้น เสน่ห์ก็คือ ความประทับใจ ประเทศเกาหลีประสบความสาเร็จในการใช้ทุนวัฒนธรรมเพราะสร้างระบบการส่ง มอบ โดยมีหน่วยงานมากมายทางานบูรณการภายใต้ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเจ้าภาพคือกระทรวง วัฒนธรรม ระบบการส่งมอบของประเทศเกาหลีทาให้ผู้บริโภคในหลายๆ ประเทศยอมรับในคุณค่า ใหม่ (หมายถึงสิ่งที่ปรากฏเป็นผลิตภัณฑ์ ภาพยนตร์ อาหาร บริการ ฯลฯ) (สานักพัฒนาอุตสาหกรรม ชุมชน, 2559, p. 20) กระบวนการการเชิดชู คุณค่าเดิม (หรือการนาทุนวัฒนธรรมมาใช้) คือการดึงเสน่ห์มาใช้โดย อาศัยการออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ ความเข้าใจพฤติก รรม/ความต้องการของผู้บริโ ภค (ซึ่ง ปัจจุบันมีความปลีกย่อยมากขึ้น) ในการนี้ ระหว่างทางมักพบนวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นตัวชิ้นงานวัสดุ หรือกระบวนการผลิต คุณค่า ใหม่ที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็น นวัตศิลป์ ไม่ใช่การใช้แบบดิบๆ เดิมๆ เมื่อมี ระบบการส่งมอบคุณค่าเพื่อทาให้เกิดการยอมรับ ผู้บริโภคก็จะเข้าใจ ชื่นชมและเชิดชูคุณค่าเดิม การ ชื่นชมวัฒนธรรมและสินค่าทางวัฒนธรรม เกิดจากการยอมรับในคุณค่านั้น (สานักพัฒนาอุตสาหกรรม ชุมชน, 2559, p. 20)


68

คุณค่าใหม่ (การส่งมอบ)

อารยธรรม ไทย

การนาไปใช้

การเชื่อมโยง กับวิถีชีวิต ปัจจุบัน

ทั้งในและ ต่างประเทศ

เสน่ห์ (การชื่นชม) วิถีชีวิต ร่วมสมัย

ความคิด สร้างสรรค์

ห่วงโซ่แห่ง คุณค่า (อดีตปัจจุบัน)

มูลค่าใหม่ (การยอมรับ)

คุณค่าเดิม (การเชิดชู)

วัฒนธรรม ไทย

นวัตกรรม

นวัตศิลป์ การออกแบบ

แผนภูมิที่ 1 ความเชื่อมโยงในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมวัฒนธรรม (ดัดแปลงจากสานักพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน) 3.3 บทบาทของกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมเร่งปรับบทบาทและโครงสร้างจากกระทรวงสู่ภาคสังคมกึ่งเศรษฐกิ จ ตามแนวคิดสืบสานสร้างสรรค์บูรณาการ โดยมีองค์ประกอบ 3 มิติ คือ 1. มิติการบริหารจัดการวัฒนธรรม โดยส่งเสริมการนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเป็นทุน การสร้างคุณค่าทางสังคม และมูลค่าทางเศรษฐกิจเกิดประโยชน์สูงสุด เช่น โครงการรากวัฒนธรรม และโครงการของดีบ้านฉัน ซึ่งเป็นวิถีชีวิตอันเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของประเทศไทย 2. มิติการผลักดันเศรษฐกิจชุมชนบนฐานวัฒนธรรม ส่งเสริมการสร้างความมั่นคง และความ ยั่งยืนทางเศรษฐกิจจากฐานรากวัฒนธรรมของท้องถิ่น เช่น โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าและ บริ ก ารทางวั ฒ นธรรม เพื่ อ สร้า งมู ล ค่ า เพิ่ม ทางเศรษฐกิ จ หรื อ Cultural Product of Thailand (CPOT)


69 3. มิติการปรับโครงสร้างและระบบบริหารจัดการภาครัฐและบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพเช่น โครงการสนับ สนุนการดาเนินงานหมู่ บ้านวัฒ นธรรมสร้างสรรค์และหมู่ บ้านวัฒ นธรรมเพื่อ การ ท่ อ งเที่ ย วโดยได้ คัด เลือ กหมู่ บ้านที่ มี ค วามโดดเด่น และมี ค วามพร้อ มในเรื่ องศาสนาศิล ปะและ วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีท้ องถิ่นประยุกต์ให้หมู่บ้านมีลักษณะที่ร่วมสมั ยโดยนาทุนทาง วัฒนธรรมที่มีอยู่มาสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และจะพัฒนา หมู่บ้านวัฒนธรรมสร้างสรรค์เป็นหมู่บ้านวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวที่มั่นคงนาไปสู่การพัฒนาชุมชน เมืองสร้างสรรค์ ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็นพลัง ขั บ เคลื่อ นการด าเนิน งาน ประกอบกั บ กระทรวงวัฒ นธรรมก าหนด ยุท ธศาสตร์ในการนาทุ นทางวัฒ นธรรมของประเทศมาสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่ม มูล ค่าทาง เศรษฐกิจ กระทรวงวัฒนธรรมจึงจัดทาโครงการศูนย์บันดาลไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ และให้คาแนะนาปรึก ษาการพั ฒ นาธุร กิ จ อุ ตสาหกรรมเชิง สร้างสรรค์ บริห ารจัดการเสน่ห์ท าง วัฒ นธรรมหรือ ทุ นทางวัฒ นธรรม อีก ทั้ ง เป็นแหล่ง สร้างแรงบันดาลใจในการนามิ ติ และทุ นทาง วั ฒ นธรรมมาเพิ่ ม คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม และมู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ ( Value Added and Value Creation) ส่งเสริมอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมให้แก่ผู้ประกอบการนักวิชาการนักเรียน นัก ศึก ษาและประชาชนที่สนใจ ศูนย์บันดาลไทย ตามจัง หวัดต่างๆ ที่ ถูก จัดตั้ง ขึ้นได้แก่ กรุงเทพ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดราชบุรี และจังหวัดภูเก็ต (สานักพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน, 2559, p. 20) วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ เป็น แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล ด้ า นทุ น ทางวั ฒ นธรรม ซึ่ ง น าไปสู่ ก าร สร้างสรรค์และพัฒนาอุตสาหกรรมวัฒนธรรมไทยและเป็นแหล่งฐานข้อมูลด้านทุนทางวัฒนธรรมเพื่อ สร้างสรรค์และต่อยอดในการพัฒนาสินค้าและบริการสร้างสรรค์ ธุรกิจอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ชว่ ย สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนารูปแบบสินค้าและบริการของประเทศ ส่งเสริมให้เกิดผู้ประกอบการ และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย ความคาดหวัง ให้เ กิ ดอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์บ นฐานวัฒ นธรรมขยายตัวจากเดิม เพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันและส่วนแบ่งตลาดด้านอุตสาหกรรมวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ทางตลาดใน ประเทศ ภูมิภาค และนานาชาติ (สานักพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน, 2559, p. 20)


70 4. อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 4.1 กลุ่ม UK Government Department for Culture, Media and Sport (DCMS) 4.2 กลุ่ม Symbolic Texts 4.3 กลุ่ม Concentric Circles 4.4 กลุ่ม World Intellectual Property Organization (WIPO) อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เกิดขึ้นที่ประเทศออสเตรเลียในปี ค.ศ. 1994 รายงานข่าวของครีเอ ทีฟเนชั่น โดยการแถลงการณ์จากผู้สร้างนโยบายการพัฒนาเมืองอังกฤษในปี ค.ศ. 1997 เมื่อรัฐบาล ให้กระทรวงวัฒนธรรม สื่อและการกีฬา (Department for Culture, Media and Sport) จัดตั้งทีม ที่มีหน้าที่รับผิดชอบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โดยในรายงานดังกล่าวได้ระบุว่าอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ถูกพัฒนามาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมโดยเริ่มจากงานศิลปะ และการสร้างกิจกรรม ทางด้านการค้าที่มีศักยภาพ จนกระทั่งได้รับการยอมรับในฐานะที่เป็นกิจกรรมที่ไม่แสวงหากาไร กลุ่ม ที่จัดตั้งขึ้นมามีหลากหลายกลุ่มโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แต่ละกลุ่มแตกต่างกัน ในด้านของข้อสมมติฐานที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบรรลุเป้าหมายและการจัดการกับอุตสาหกรรมนั้น ทั้ง แนวคิดหลัก และองค์ป ระกอบต่างๆ ซึ่ง มี ก ารจั ดล าดับ ความส าคัญ โดยเน้นในส่วนของความคิ ด สร้างสรรค์เป็น 4 ประเภท (UNCTAD, 2008, pp. 9-22) ได้แก่ 4.1) กลุ่ม UK Government Department for Culture, Media and Sport (DCMS) เกิดขึ้นจากแรงผลักดันในช่วงปลายยุค 1990 ในประเทศอังกฤษมีการปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจอังกฤษ โดยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่เป็นการแข่งขันของโลกในยุคนั้น อุตสาหกรรมสร้างสรรค์คือ การนาความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในด้านทักษะและความสามารถต่างๆ ที่มี ศักยภาพและสามารถสร้างงานได้โดยการแสวงหาผลประโยชน์ของสินทรัพย์ที่โดดเด่นทางปัญ ญา ลักษณะของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย โฆษณา สถาปัตยกรรม งานศิลปะและ ตลาดของเก่า งานหัตถกรรม งานออกแบบ แฟชั่น ภาพยนตร์และวิดีโอ เพลง ศิลปะการแสดง การ เผยแพร่ ซอฟแวร์ โทรทัศน์และวิทยุ วิดีโอและเกมส์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 4.2) กลุ่ม Symbolic Texts เกิดขึ้นจากการวิพากษ์วิจารณ์วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมที่มี อยู่ในยุโรปและในประเทศอังกฤษ ด้วยกระบวนการพิจารณาอย่างเข้มข้นของงานศิลปะที่มี อ ยู่ใน สังคม ดังนั้นจึงมุ่งไปที่การสนับสนุนวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่น โดยใช้กระบวนการทางวัฒนธรรม


71 สังคมที่มีรูปแบบและสามารถกระจายบทบาททางวัฒนธรรมเหล่านั้นผ่านทางสินค้าของอุตสาหกรรม ต่างๆ การแพร่กระจายของสินค้าและการบริโภคข้อความทางสัญลักษณ์ที่ปรากฏอยู่บนสินค้าเหล่านัน้ และการกระจายผ่านสื่อมีเดียต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โฆษณาและข่าวในหนังสือพิมพ์ ลักษณะของ อุตสาหกรรมวัฒนธรรมในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย แกนหลักของอุตสาหกรรมวัฒนธรรม คือ โฆษณา ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ต เพลง การ เผยแพร่ โทรทัศน์และวิทยุ วิดีโอและเกมส์คอมพิวเตอร์ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมวัฒนธรรม คือ งานศิลปะสร้างสรรค์ ขอบเขตของอุตสาหกรรมวัฒนธรรม คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า แฟชั่น ซอฟแวร์และการกีฬา 4.3) กลุ่ม Concentric Circles คือการพิสูจ น์ถึง คุณค่า ของวัฒ นธรรมจากสิน ค้า ทาง วัฒนธรรมที่ได้รับมาจากอุตสาหกรรมต่างๆ ที่มีลักษณะที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีความเด่นชัดทางด้าน วัฒ นธรรมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสินค้าและบริการนั้น แต่ก็ ยัง มี การอ้างถึงผลผลิตทางอุตสาหกรรม สินทรัพย์จากความคิดสร้างสรรค์ก็ยังมีแนวแกนหลักที่เกี่ยวกับศิลปะสร้างสรรค์ด้วยในเชิงของเสียง ข้ อ ความ ภาพและแนวคิด นั้น ก็ ไ ด้ ก ระจายอิท ธิพ ลสู่ภายนอก สิ่ ง นี้ เ องเป็นการจัดประเภทของ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์อย่างง่าย ลักษณะของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย แกนหลักของอุตสาหกรรมวัฒนธรรม คือ งานวรรณกรรม เพลง ศิลปะการแสดงและ ทัศนศิลป์ แกนหลักอื่นสาหรับอุตสาหกรรมวัฒนธรรม คือ ภาพยนตร์ พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด อุตสาหกรรมวัฒนธรรมในมุมกว้าง คือ งานบริการเกี่ยวกับมรดกท้องถิ่น การเผยแพร่ การบันทึกเสียง โทรทัศน์และวิทยุ วิดีโอและเกมส์คอมพิวเตอร์ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม คือ โฆษณา สถาปัตยกรรม งานออกแบบและแฟชั่น 4.4) กลุ่ม World Intellectual Property Organization (WIPO) อุตสาหกรรมที่เป็นทัง้ โดยตรงและทางอ้อมซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า การจัดจาหน่าย การเผยแพร่ การแจกจ่าย ภายใต้ลิขสิท ธิ์ของงาน แม้ ว่าจะมี การมุ่งเน้นที่ สินทรัพย์ทางปัญญา ซึ่ง เป็นศูนย์รวมของความคิด สร้างสรรค์ และนามาสู่การผลิตสินค้าและบริการที่มีการจัดลาดับและประเภทอย่างชัดเจน ลักษณะ ของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย ลิข สิทธิ์ข องอุตสาหกรรมที่สาคัญ คือ โฆษณา การจัดเก็ บภาษี ภาพยนตร์และวิดีโอ เพลง ศิลปะการแสดง การเผยแพร่ ซอฟแวร์ โทรทัศน์และวิทยุ ทัศนศิลป์และกราฟิก


72 ลิขสิทธิ์ของอุตสาหกรรมที่เกื้อกูลกัน คือ วัสดุบันทึกที่ว่างเปล่า เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่อง ดนตรี กระดาษ เครื่องถ่ายเอกสาร อุปกรณ์ถ่ายภาพ ลิขสิทธิ์ของอุตสาหกรรมอื่นๆ คือ สถาปัตยกรรม เสื้อผ้า รองเท้า งานออกแบบ แฟชั่น สินค้าใช้ในบ้าน และของเล่น โครงสร้ า งอุ ต สาหกรรมภายใต้ โ มเดล Thailand 4.0 กลุ่ ม เทคโนโลยี ห ลั ก 5 กลุ่ม สนับสนุนการพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย (1) กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยี ทางการแพทย์ เช่น การแพทย์ครบวงจร (2) กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ ทุ น วั ฒ นธรรม และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า สู ง เช่ น สิ่ ง ทอและ เครื่องนุ่งห่ม การท่องเที่ยว (3) กลุ่ ม อาหาร เกษตรและเทคโนโลยี ชี ว ภาพ เช่ น การแปรรู ป อาหาร การเกษตรและ เทคโนโลยีชีวภาพ (4) กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ ปัญญาประดิษฐ์และสมองกลฝังตัว เช่น อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ดิจิทัล (5) กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม เช่น ยานยนต์สมัยใหม่ หุ่นยนต์ (แบ่งเป็น การบินและโลจิสติกส์ เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ) (OKMD, 2560b, p. 17) อุตสาหกรรมดาวรุ่งแห่งทศวรรษ การศึกษาเรื่อง ศักยภาพการพัฒนาอุตสาหกรรมคอนเทนต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและ อาเซียน ได้นิยามว่า อุตสาหกรรมคอนเทนต์ (Content Industry) ประกอบด้วย การแพร่ภาพและ กระจายเสียงทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ แอนิเมชัน เกม และดนตรี ขณะที่อุตสาหกรรมคอนเทนต์ ใน ความหมายของญี่ปุ่นขยายขอบเขตไปจนถึงการผลิตและแพร่ภาพวิดีโอ (หนัง แอนิเมชัน โปรแกรม ทีวี) ดนตรี เกม และหนังสือ โดยในปี พ.ศ. 2556 ตลาดคอนเทนต์ของญี่ปุ่นมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ สองรองจากสหรัฐอเมริกา มีมูลค่าตลาดอยู่ที่ประมาณ 12 ล้านล้านเยนหรือราว 3.73 ล้านล้านบาท เทียบได้กับครึ่งหนึ่งของมูลค่าส่งออกสินค้าของไทย (OKMD, 2560a, pp. 3-5) อุตสาหกรรมคอนเทนต์ ได้แก่ ดนตรี โทรทัศน์ เกม ภาพยนตร์ แอนิเมชัน และหนังสือ จาก ส านั ก งานพั ฒ นาธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ก ทรอนิก ส์ร ะบุว่ า ในปี พ.ศ. 2559 เด็ ก และเยาวชนที่ อยู่ใน Generation Z ใช้เวลาอยู่กับอินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 6.4 ชั่วโมงต่อวัน โดยมีกิจกรรมหลักเป็นกิจกรรมเพือ่


73 ความบันเทิงเป็นส่วนใหญ่ 96.1% พูดคุยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 88.1% ดูคลิปวิดีโอผ่านยูทูป 79.7% หาข้อ มู ล 76.7% อ่ านหนัง สืออิ เ ล็ก ทรอนิก ส์ 72.8% ดูโ ทรทั ศน์/ดูภาพยนตร์/ฟัง เพลง ออนไลน์ 3 กิจกรรมยอดนิยมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile) ผ่านระบบ 3G/4G ตัวเลขดังกล่าวสะท้อน ให้เห็นว่าคอนเทนต์น่าจะเป็นธุรกิจดาวรุ่งที่มีโอกาสทาเงิน รวมถึงสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่คนไทย ในยุค Thailand 4.0 ได้ไม่ยาก 75.9% แชร์รูปถ่ายและคลิปวิดีโอผ่านสื่อสังคม 68.1% คุยโทรศัพท์ ผ่านอินเทอร์เน็ตหรือ Video Call 63.1% ดูโทรทัศน์/ฟังเพลง/เล่นเกมออนไลน์ จากความคิดและจินตนาการสู่อุตสาหกรรมทาเงิน แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจในยุคดิจิทัล ของไทยนั้ น มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาสิ น ค้ า และบริก ารใหม่ ๆ โดยเชื่ อ มโยงความคิ ด สร้ า งสรรค์และ จินตนาการเข้ากับวัฒนธรรมและองค์ความรู้ท้องถิ่น ผนวกกับการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ ในการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจให้แก่สินค้าและบริการ ซึ่งหนึ่งในอุตสาหกรรมทีร่ ัฐบาลไทยเล็งเห็น ว่ามีศักยภาพและโอกาสสูงในการพัฒนา ได้ แก่ อุตสาหกรรมคอนเทนต์ ข้อมูลจากโครงการศึกษา ความเหมาะสมของการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงโดย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่วมกับ บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จากัด ระบุว่าอุตสาหกรรมคอนเทนต์ของไทยที่มีอัตราการ เติบโตเฉลี่ยสูงสุด คือ อุตสาหกรรมแอนิเมชัน เนื่ องจากปัจจุบันประเทศไทยมีคนรุ่นใหม่ที่มีทักษะ ความรู้ด้านเทคนิคการทาคอมพิวเตอร์กราฟิกและแอนิเมชันเพิ่มมากขึ้น อันเป็นผลจากเทรนด์ความ นิยมในธุรกิจและอาชีพเกี่ยวกับการผลิตสื่อดิจิทัล ประกอบกับการตอบรับจากสถาบันอุดมศึกษาที่จัด หลักสูตรด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชัน และเกม ในมหาวิทยาลัยชั้นนาทั่วประเทศ หลายปีมานี้ จึงมีภาพยนตร์แอนิเมชันฝีมือคนไทยทยอยออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น เช่น ก้านกล้วย ยักษ์ และ Nine Lives ภาพยนตร์แอนิเมชันเหล่านี้เกิดจากการผนวกทักษะหลากหลาย (Multi-Skill) ผสมผสานองค์ความรู้ จากประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของไทยในการบอกเล่าเรื่องราว ซึ่งช่วยสร้างความโดดเด่น และ แตกต่างให้แก่อุตสาหกรรมภาพยนตร์และแอนิเมชันของประเทศ 5. เกณฑ์การจัดกลุ่มของเครือข่ายสร้างสรรค์ของยูเนสโกที่มีความสาคัญกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เชิงพื้นที่ เกณฑ์ดังกล่าวนี้ใช้เป็นแนวทางให้เมืองต่างๆ ใช้พิจารณาเข้าร่วมในเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ (สุขสันติ์ ชื่นอารมย์, 2554) ภายใต้เครือข่ายหลักดังลักษณะของกลุ่มเศรษฐกิจ ที่มีความสัมพันธ์กับเมือง 7 กลุ่ม ได้แก่


74 1) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านวรรณกรรมและการประพันธ์ 1.1) คณะกรรมการมองพื้นฐานทางด้านธุรกิจการพิมพ์โดยเฉพาะในส่วนของโรงพิม พ์ ที่ มี ความเป็นอิสระ 1.2) มีการแสดงการยอมรับและเห็นคุณค่าของแผนกการเรียนเกี่ยวกับการประพันธ์ 1.3) มีการผสมผสานทัศนียภาพของเมืองออกมาในงานวรรณกรรมการแสดงการแต่งโคลง กลอนต่างๆ อย่างมีบทบาทสาคัญ 1.4) มีประเพณีดั้งเดิมเกี่ยวเนื่องกับงานวรรณกรรมและการประพันธ์ 1.5) มีบุคคลที่มีชื่อเสียงด้านการประพันธ์และเมืองที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่สัมพันธ์กับโลกของ วรรณกรรม 1.6) การใช้งานห้องสมุด ร้านหนังสือ พื้นที่ทางวัฒนธรรมทั้งของสาธารณะและเอกชนเพื่อใช้ ในการเก็บรักษา สนับสนุนและเผยแพร่งานวรรณกรรม 1.7) เป็นสถานที่เกิด ที่พักอาศัยหรือสถานที่ทางานของนักประพันธ์ที่มีชื่อเสียง 1.8) ในอดีตมีการกล่าวถึงเรื่องในวรรณกรรมที่เต็มไปด้วยจินตนาการของนักเขียนท้องถิ่น 1.9) เมืองที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวรรณกรรมที่เกิดขึ้น 1.10) อุตสาหกรรมการพิมพ์มีบทบาทอย่างมากในการแปลวรรณกรรมต่างประเทศ 1.11) อุตสาหกรรมการพิมพ์มีความสัมพันธ์กับการเมืองเศรษฐกิจ 1.12) สื่อมีความเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการที่เพิ่มประสิทธิภาพของงานวรรณกรรมสู่ตลาด วรรณกรรม 2) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านภาพยนตร์ 2.1) มีโครงสร้างพื้นฐานที่มีชื่อเสียงด้านภาพยนตร์เช่น ฟิล์ม สตูดิโอ สภาวะแวดล้อมที่ถูกใช้ ในภาพยนตร์และเครื่องฉายภาพยนตร์ที่มีคุณค่า 2.2) มีประวัติศาสตร์สาคัญเกี่ยวกับการผลิต การจัดจาหน่ายและธุรกิจเกี่ยวกับภาพยนตร์ โดยเฉพาะเกี่ยวเนื่องกับบริบทท้องถิ่นทั้งในระดับภูมิภาคและนานาชาติ 2.3) มีมรดกทางงานภาพยนตร์ที่ประสบความสาเร็จในอดีตโดยเก็บสะสมในพิพิธภัณฑ์และ โรงเรียนด้านภาพยนตร์


75 2.4) มีงานเทศกาลทางด้านภาพยนตร์บทละครและการฉายภาพยนตร์ของท้องถิ่น 2.5) เป็นสถานที่เกิดของศิลปินที่มีชื่อเสียงทางด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์ 2.6) การนาภาพของเมืองนั้นๆ มาถ่ายทอดลงในภาพยนตร์อย่างโดดเด่นโดยศิลปินท้ องถิ่น และนานาชาติ 2.7) มีภาพยนตร์ที่เคยนาเสนอเกี่ยวกับเมือง 3) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านดนตรี 3.1) มีการยอมรับว่าเป็นศูนย์กลางทางกิจกรรมและความคิดสร้างสรรค์ด้านดนตรี 3.2) ประเพณีเทศกาลตลอดจนกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับดนตรี 3.3) เป็นผู้นาในอุตสาหกรรมดนตรีที่มีความโดดเด่นในระดับท้องถิ่น 3.4) มีสถานศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนทางดนตรีระดับสูง 3.5) มี ก ารจัดรูปแบบการศึกษาดนตรีอย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้ ง เปิดโอกาสให้นักดนตรี สมัครเล่นของวงดนตรีเครื่องสายจากสถาบันดนตรีอื่นมาจัดกิจกรรมและเปิดการแสดงอย่างไม่เป็น ทางการได้ 3.6) เป็นสถานที่เกิดสถานที่ทางานที่พักอาศัยของนักสร้างสรรค์และผู้มีความสามารถด้าน ดนตรี 3.7) เป็นที่แสดงดนตรีระดับท้องถิ่นและนานาชาติที่มีความสาคัญเป็นพิเศษ 3.8) เป็นศูนย์กลางของผลิตภัณฑ์และการจัดจาหน่ายอุปกรณ์ทางดนตรี 3.9) มีการสนับสนุนและให้ความสาคัญกับการพัฒนาดนตรีท้องถิ่นเป็นพิเศษ 3.10) ให้แรงบันดาลใจแก่นักดนตรีและนักแต่งเพลง 3.11) สภาพแวดล้อมของเมืองที่มีความเหมาะสมต่อการสร้างส่วนร่วมทางดนตรีการฝึกซ้อม ทางดนตรี เช่น พื้นที่สวน พื้นที่จัตุรัส และโรงละครกลางแจ้ง 4) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศิลปะพื้นถิ่น 4.1) มีประเพณีท้องถิ่นมายาวนานโดยเฉพาะในส่วนของศิลปะพื้น ถิ่น (งานผ้าต่างๆ เช่น ผ้า ไหม ผ้าฝ้าย ผ้าลินิน และเส้นใยจากธรรมชาติ งานโลหะต่างๆ ไม้ไผ่ หิน และวัสดุเนื้อแข็ง เช่น งาช้าง


76 กระดูกสัตว์ งานกระดาษคัดลายมือต่างๆ และเทคนิคการออกแบบงานแก้ว งานกระเบื้องเคลือบ พลอยและหินมีค่า อัญมณี พรมต่างๆ) 4.2) มีการรวมกลุ่มของประชากรที่มีความสามารถในเชิงงานฝีมือ 4.3) มีการผลิตศิลปะท้องถิ่นต่อเนื่องมาเรื่อยๆ 4.4) มีการยอมรับให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาและฝึกอบรมงานศิลปะพื้นถิ่นเป็นพิเศษ 4.5) เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนและจัดจาหน่ายสาหรับศิลปะพื้นถิ่นซึ่งมีความแตกต่าง ของชิ้นงานฝีมือที่มีความเกี่ยวข้องกับท้องถิ่นนั้น 4.6) มีความพยายามเป็นพิเศษในการอนุรักษ์งานศิลปะพื้นถิ่น 4.7) สามารถพบเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตงานศิลปะพื้นถิ่นได้ทั่วไป 4.8) วัสดุที่ใช้ในงานศิลปะพื้นถิ่นสามารถพบได้ทั่วไปและมีการเตรียมวัสดุในขั้นตอนนั้นเป็น ประจาสาหรับการผลิตชิ้นงาน 4.9) โครงสร้างพื้นฐานมีความสัมพันธ์กับงานศิลปะท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ ร้านขายสินค้า และ งานแสดงสินค้าซึ่งนามาจากศิลปะท้องถิ่น 4.10) ตลาดการค้า งานศิลปะท้องถิ่นที่มีความพิเศษเพื่อรองรับนักสะสมงานศิลปะที่มีความ เชี่ยวชาญ 5) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านการออกแบบ 5.1) มีภูมิวัฒนธรรมที่เป็นวัตถุดิบในการออกแบบและงานสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ 5.2) การออกแบบพื้นที่ในเมืองที่มีเอกลักษณ์ของเมืองอย่างโดดเด่น 5.3) มีโรงเรียนสอนออกแบบที่เป็นผู้นาทางด้านความคิดของยุค 5.4) นักออกแบบและกลุ่มคนสร้างสรรค์กับความสัมพันธ์เชิงพื้นถิ่นในการจัดจาหน่ายผลงาน ระดับนานาชาติ 5.5) การพัฒนาตลาดเฉพาะสาหรับนักสะสมงานออกแบบ 5.6) พลเมืองเห็นด้วยกับเมืองที่มีการพัฒนาทางการออกแบบพื้นที่ในเมืองไว้


77 5.7) การออกแบบเป็นกลไกขับ เคลื่อนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เ ช่น อัญ มณี เฟอร์นิเจอร์ เสื้อผ้า และงานออกแบบตกแต่งภายใน 6) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านสื่อศิลปะ 6.1) การสร้างแรงกระตุ้นทางไอที สามารถสร้างการพัฒนาทางวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ 6.2) การทางานร่วมกันของไอทีและสื่อศิลปะ นามาสู่การเติบโตของเมืองและภูมิทัศ น์ของ เมือง 6.3) วัตถุป ระสงค์ในการพัฒ นาความก้ าวหน้า ของระบบไอที นั้นท าให้ ค วามเป็นเมื อ งที่ แข็งแรงมากขึ้นและมีความเท่าเทียมกันในการแข่งขันเชิงวัฒนธรรม 6.4) สถานที่ทางาน ที่อยู่อาศัยและจัดแสดงผลงานของศิลปินในกลุ่มสื่อศิลปะ 6.5) การพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อศิลปะทาให้ภูมิทัศน์ของเมืองเปลี่ยนแปลงตามการพัฒนา 6.6) ชีวิตในเมื อ งอาศัยสื่อและเข้าถึงสื่ออย่างกว้างขวางทั้ งในด้านการบริหารจัดการจาก รัฐบาลและเครื่องมือในการดารงชีวิตประจาวัน 7) กลุ่มเมืองสร้างสรรค์ด้านศาสตร์เกี่ยวกับอาหาร 7.1) มีประเพณีในการทาอาหารที่หลากหลายเป็นพิเศษจนสามารถพัฒนาอาหารประเภท ต่างๆ ทาให้เกิดเอกลักษณ์เป็นศูนย์กลางด้านอาหารของท้องถิ่น 7.2) มีพ่อครัวและภัตตาคารอาหารท้องถิ่นมากมาย 7.3) มีประเพณีการทาอาหารที่ใช้ส่วนผสมซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่นมาประกอบอาหาร 7.4) สามารถนาวิธีคิดในการทาอาหารมาพัฒนาเป็นระบบอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีให้ ก้าวหน้าขึ้น 7.5) อาหารในปัจจุบันได้รับอิทธิพลมาจากอาหารที่มีมาตั้งแต่อดีต 7.6) มีตลาดอาหารท้องถิ่นดั้งเดิม 7.7) มีเทศกาลอาหารในแบบดั้งเดิม 7.8) เป็นจุดกาเนิดของอาหารที่ มีความพิถีพิถันเป็นพิเศษต่างๆ ด้านการใช้ส่วนผสมและ วิธีการทาอาหาร เช่น การทาไวน์ ชีสและขนมต่างๆ


78 เมื่ อ มี ก ารรวมกลุ่ม เมื อ งสร้างสรรค์ในลัก ษณะที่ เ กิ ดจากการประกาศและสนับ สนุนโดย องค์การระดับสากลจากยูเนสโก ทาให้เมืองที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมกลุ่ม เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ของยูเนสโกและได้รับสิทธิพิเศษต่างๆ ในการใช้ทรัพยากรหลายด้านที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม เช่น ความ ช่วยเหลือด้านการเงิน การเข้าถึงความรู้ในการวิจัยพัฒนาตลอดจนแนวทางการออกแบบนโยบายเพื่อ พัฒนาเมืองของตนเอง ซึ่งเครือข่ายนี้ไม่ได้จากัดเวลาในการเปลี่ยนสมาชิก เมืองต่างๆ สามารถเป็น สมาชิกในกลุ่มได้เรื่อยๆ หรือสามารถขอถอนตัวได้ตลอดเวลา แต่หลังจากการถอนตัวนั้นจะต้องหยุด ใช้ทรัพยากรร่วมกับเมืองอื่นๆ และไม่สามารถใช้สัญลักษณ์ของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก ได้ ตลอดจนไม่ ส ามารถเข้าร่วมการประชุ ม ตามวาระ ทางเครือข่ายของยูเนสโกจะทาเอกสารไป สอบถาม แต่ถ้าไม่มีการชี้แจงรายละเอียดหลังจากการได้รับเอกสารครบ 2 ครั้งแล้วเมืองนั้นจะถูกทาง เครือข่ายถอดถอนทันที และหมดสิทธิ์ในการใช้ทรัพยากรของกลุ่ม ในปัจจุบันนอกเหนือจากกลุ่ม เครือ ข่ายสนับ สนุน ยัง มี ก ลุ่ม ในสหภาพยุโ รปที่ มีความสามารถในการสร้างเครือข่ายของเมืองใน ภาคพื้นยุโรป ซึ่งเป็นเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นในการพัฒนาด้านการสนับสนุนอุตสาหกรรม สร้างสรรค์เป็นหลักที่มีความแตกต่างจากเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ มุ่งเน้นในการพัฒนาวัฒนธรรมออกมาเพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนระดับสากลนามาสู่การพัฒนาของระบบ เศรษฐกิจ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.