รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น

Page 1

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคม คาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น รายวิชา 264 416 ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 1 (Urban Design Studio I) ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2558

โดย เอกพล กรวรรณ ธีระศักดิ์ จิรเมธ ศิริวัฒน์

ด่าโชติ รุ่งสว่าง สวัสดี อัตตสรรค์สาธิต พึ่งฉิม

58051207 58051208 58051212 58051215 58051218

นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


ค่าน่า

จังหวัดขอนแก่น คือ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การ บริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล”โดยมีเป้าประสงค์ของจังหวัด (Goals) ในประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีความ เข้มแข็ง สังคมสันติสุขและอยู่กันอย่างเอื้ออาทรและประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืนเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนคร ขอนแก่นเป็นแนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาพืน้ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาพื้นที่เทศบาลเมือง ขอนแก่น ให้เป็นไปตามเป้าหมายให้เป็นเมือง Low carbon ซึ่งน่าไปสู่การเสนอแนะมาตรการควบคุมและ ส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบ การเสนอแนะแนวทางในการน่าไปพัฒนา ซึ่งได้แก่ การรักษาและฟื้นฟู ความหลากหลายทางชีวภาพโครงการปรับปรุงพื้นที่ถนนสายหลัก บริการสาธารณะและสิ่งอ่านวยความสะดวก ปรับปรุงพัฒนาสิ่งแวดล้อมพื้นที่ต่างๆให้เกิดการเชื่อมโยง และปรับปรุงพื้นที่ให้เหมาะสมแก่การใช้งานทั้งของ คนเดินเท้าและผู้ใช้รถ มีความเป็นย่านที่กระชับและเด่นชัดยิ่งขึ้น โดยแนวทางการออกแบบเหล่านี้จะส่งเสริม ให้เกิดความสะดวกสบายในการสัญจร คมนาคมขนส่ง ทางเดินเท้าริมถนนและถนนสายหลักของชุมชน ควบคู่ ไปกับผิวจราจรทาง รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงและก่อสร้างพื้นที่ลาดจอดรถยนต์ใหม่ เกิดความเชื่อมโยงของ เส้นทางถนน Green Corridor จากศูนย์กลางเมืองไปยังพืน้ ที่ต่างๆ เพื่อน่าไปสู่เมืองคาร์บอนต่​่า

หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดท่าขออภัยไว้ ณ ที่นี้

คณะผู้จัดท่า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -2


สารบัญ บทที่ 1 บทน่า 1.1 ความจ่าเป็นและความส่าคัญของการศึกษา 1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 กระบวนการศึกษา 1.5 วิธีการศึกษา บทที่ 2 กรอบแนวคิดการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่​่า 2.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่​่าในระดับนานาชาติและระดับชาติ 2.2 แนวคิดและทฤษฏีการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่​่า 2.3 กรณีศึกษาการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่​่า 2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่​่า บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3.1.1 ภาพรวมในปัจจุบันและแนวโน้มการเติบโตของภูมิภาค 3.1.2 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องของภูมิภาค 3.2 จังหวัดขอนแก่น 3.2.1 ภาพรวมในปัจจุบันและแนวโน้มการเติบโตของจังหวัด 3.2.2 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องของจังหวัด 3.3 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของเมืองขอนแก่น 4.1 ต่าแหน่งที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตการปกครอง 4.2 ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการเข้าถึง 4.3 ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 4.3.1 ลักษณะภูมิประเทศ 4.3.2 ลักษณะภูมิอากาศ 4.3.3 ลักษณะทางธรณีวิทยา 4.3.4 ทรัพยากรป่าไม้ 4.3.5 ทรัพยากรน้่า 4.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4.4.1 ลักษณะของประชากรและชุมชน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -3


4.5

4.6 4.7 4.8

4.4.2 อาชีพ วิถีชีวิต 4.4.3 วัฒนธรรมและประเพณี 4.4.4 กิจกรรมและแนวโน้มทางเศรษฐกิจ 4.4.5 องค์กรอิสระและผู้น่าชุมชน ลักษณะทางกายภาพ 4.5.1 การคมนาคมขนส่ง 4.5.2 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 4.5.3 อาคารและความหนาแน่นอาคาร 4.5.4 สถานที่ส่าคัญ และแหล่งท่องเที่ยว 4.5.5 สาธารณูปโภค สาธารณูปการ 4.5.6 พื้นที่เปิดโล่งและพื้นที่สีเขียว กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองและชุมชน นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับเมือง สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับเมือง

บทที่ 5 การศึกษาสถานการณ์กา็ ซเรือนกระจก 5.1 การใช้น้่ามัน 5.2 การใช้พลังงาน 5.3 การทิ้งและก่าจัดขยะมูลฝอย 5.4 การชี้วัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ บทที่ 6 แนวคิดเบื้องต้นในการพัฒนาเมืองและชุมชน 6.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของพื้นที่ศึกษา 6.2 วิสัยทัศน์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า 6.2.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาในระดับเมือง 6.2.2 ผังแนวคิดในการพัฒนา 6.2.2.1 ผังแนวคิดการใช้ประโยชน์ที่ดินและกลุ่มกิจกรรม 6.2.2.2 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการคมนาคมและการเข้าถึง 6.2.2.3 ผังแนวคิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ 6.2.2.4 ผังแนวคิดการอนุรักษ์และฟืน้ ฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 6.2.2.5 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบน้​้า 6.2.2.6 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบพลังงาน 6.2.2.7 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการขยะ 6.2.2.8 ผังแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -4


6.3 การก่าหนดพืน้ ที่เฉพาะเพื่อการออกแบบ บทที่ 7 การวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่กลางเมืองขอนแก่น 7.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันระดับพืน้ ที่ 7.1.1 ต่าแหน่งที่ตั้ง 7.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง 7.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ 7.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 7.1.5 กลุ่มกิจกรรม 7.1.6 อาคารและพื้นที่ว่าง 7.1.7 พื้นที่สีเขียว 7.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพืน้ ที่ 7.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพืน้ ที่ 7.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 7.3.2 เป้าประสงค์ในการพัฒนา 7.3.3 แนวความคิดหลัก 7.3.3.1 โครงสร้างและส่วนประกอบทางกายภาพ 7.3.3.2 การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร 7.3.3.3 กลุ่มกิจกรรมและการเชื่อมโยง 7.3.3.4 บริการสาธารณะและสิ่งอ่านวยความสะดวก 7.3.3.5 ที่ว่างและพื้นที่สีเขียว 7.3.3.6 การอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 7.3.3.7 การท่องเที่ยว 7.3.3.8 อื่นๆ 7.3.4 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้ งานพืน้ ที่สาธารณะ 7.3.5 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และ โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน 7.3.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD) 7.3.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้งานพืน้ ที่ สาธารณะ 7.3.8 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และโครงการ ปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน 7.3.9 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -5


ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบ

7.4

7.4.1 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้งานพื้นที่สาธารณะ 7.4.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการถนนคนเดิน บนถนน หลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และโครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน 7.4.3 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD)

- การเติบโตอย่างชาญฉลาด - การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - การเดินเท้าและการใช้จักรยาน - วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า - การส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า - การรักษาและฟืน้ ฟูความหลากหลายทางชีวภาพ - การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน - อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน - การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก - การจัดการขยะอย่างยั่งยืน - การจัดการน้่าใช้ - การจัดการความเสี่ยงต่ออุทกภัย การน่าแผนและผังไปปฏิบัติโครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้งานพืน้ ที่ สาธารณะ การน่าแผนและผังไปปฏิบัติโครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และโครงการ

7.5 7.6

ปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน การน่าแผนและผังไปปฏิบัติโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD)

7.7

บทที่ 8 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่บึงแก่นนคร บทที่ 9 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่ย่านมหาวิทยาลัย บทที่ 10 บทสรุป 10.1 สรุปสาระส่าคัญของการศึกษา 10.2 ข้อจ่ากัดของการศึกษา 10.3 ข้อเสนอแนะส่าหรับการศึกษาขั้นต่อไป รายการอ้างอิง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -6


บทที่ 1 บทน่า 1.1 ความจ่าเป็นและความส่าคัญของการศึกษา โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนา เมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้น เพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสูส่ ังคมคาร์บอนต่​่า การริเริ่ม ยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนดรูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และ การเดิ น หน้ า ประเทศไทยสู่ ก ารเป็ น ประเทศเศรษฐกิ จ -สั ง คมคาร์ บ อนต่​่ า ส่ า นั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุม ชนเพื่อมุ่งสู่สังคม คาร์บอนต่​่าในปีงบประมาณ 2559 เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่ ได้จัดท่าไว้ขึ้นสู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯสู่การปฏิบัติใน ระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมีคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ 1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ปีงบประมาณ 2559 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้าน พื้น ที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่า รวมทั้งการด่าเนิน งานตามข้อริเริ่ม อาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น เป้าหมายเชิงผลผลิต ได้แก่ 1) รายงานผลการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่า และการด่าเนินงานตามข้อริเริ่ม อาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2) รายงานผลการประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียวเมืองที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น 3) รายงานผลการเสริมสร้างศักยภาพหน่วยงาน เทศบาลและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดัน การ ด่าเนินงานตามนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสั ง คม คาร์บอนต่​่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -7


4) เครื่องมือที่เหมาะสมส่าหรับใช้เพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาล หน่วยงาน และภาคส่วนที่ เกี่ ย วข้ อ งการด่ า เนิ น งานโครงการพั ฒ นาเมื อ งและชุ ม ชนเพื่ อ มุ่ ง สู่ สั ง คมคาร์ บ อนต่​่ า ปี ง บประมาณ 2559 มี กลุ่มเป้า หมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชนและประชาชน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนเมืองและ ชุมชนที่มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่​่าไปสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น 1.3 ขอบเขตของการศึกษา

1.4 กระบวนการศึกษา สังคมคาร์บอนต่​่า (Low Carbon Society) หมายถึง ความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการลดปริมาณการ ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์รวมถึงก๊าซเรือนกระจกอื่นๆบนพื้นฐานของความเป็นเมืองคาร์บอนต่​่าเศรษฐกิจ คาร์บอนต่​่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่​่า เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่​่า เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่การ ค้นพบภาวะเรือนกระจกซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลกที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ เช่น ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลกว่าด้วยเรื่ อง วิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและพิธีสารต่างๆ เช่น กรอบ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change; UNFCCC) และพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ในการสร้างข้อตกลงและความร่วมมือในระดับ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -8


นานาชาติเพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่ เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และร่วมลงนามและให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯในปี พ.ศ.2537 และต่อพิธีสารฯในปี พ.ศ.2545 โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีด ความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและทุกระดับการบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่า่ จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอันหลากหลายของเมืองและชุมชน ภาพที่ 1 แสดงมิติที่เกี่ยวเนื่องกับ การพัฒนาเมืองและชุมชนไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ได้แก่ มิติทางสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการมีส่วน ร่วม การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนาตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์ การพัฒนาและขับเคลื่อนเพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่​่าในทุ กระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่​่าต้องถูกด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศเพื่อตอบสนอง ต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับโลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการ ขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสั งคมคาร์บอนต่​่าก็ต้องอาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อผลักดันให้เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่า สัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม

ภาพที่ 1-1 มิติที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาเมืองและชุมชนไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่า การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าจะถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุมภาพ กว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มีเครื่องมือ และกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมือง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -9


เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดั ง นั้ น กระบวนการศึ ก ษา การประเมิ น ผล และการวางแผนจากบนลงสู่ เ บื้ อ งล่ า ง (Top-Down Process of Development) จะถูกน่า มาใช้เพื่อท่า การทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง (Road Map) ของการ พัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่​่าที่ยั่งยืน เพื่อ ท่าการ ประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็น ไปได้จริงต่อการควบคุม และ พัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและหน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ นอกจากนั้น โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่ายังจะได้รับการด่าเนินงานบนพื้นฐาน ของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วม เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคม คาร์บอนต่​่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up Process of Development) จะถูกน่ามาใช้ ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่​่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว/ชุ ม ชนอย่ า งยั่ ง ยื น และลดภาวะโลกร้ อ นและมาตรฐานพื้ น ที่ สี เ ขี ย วในเมื อ ง ร่ ว มกั บ การศึ ก ษา ลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททางวัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่ เกี่ยวข้องในท้องถิ่น เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าจะถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อ จัดท่า แผนและผังแนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจ กรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ล ะ เทศบาล ซึ่งสามารถน่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการ ด่าเนินงานจริงในกิจกรรมน่าร่องต่างๆเพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเป็น สังคมคาร์บอนต่​่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่น ต่อการ ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชนคือกลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้ การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่​่าเป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่างๆเป็นหนึ่งในกลไกส่าคัญต่อ การก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าในระดับประเทศรวมทั้งการจัดท่าและ ผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่แวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพกาด่าเนินงาน ของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าจะถูกด่าเนินการโดยการให้ ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าถูกคาดหวังผลักดันให้เป็นวาระแห่งชาติในระยะยาว การด่า เนินงานโครงการฯมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่องเล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อมเมืองที่ ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่​่า และบูรณาการเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพั ฒนาในระดับต่างๆ ใน ขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่นจะมีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจนการบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าให้เข้ากับกลไก ระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -10


1.5 วิธีการศึกษา การจัดท่าเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บ อนต่​่า และการบูรณาการแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับท้ องถิ่ น เป็ น เป้าหมายหลักของการด่าเนินงาน ภารกิจดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจและมีส่วน ร่วมในการขับเคลื่อน แต่ในปัจจุบันหน่วยงานต่างๆยังคงให้ความส่าคัญแก่บทบาทและภารกิจหลักขององค์กร โดยให้ ความส่าคัญแก่เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร ์บอนต่​่าในล่าดับรองลงมาจนขาดการบูรณาการ ระหว่างหน่วยงาน อีกทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิ องค์กรอิสระ เอกชน ชุมชน ประชาชน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง หลายฝ่ายยังไม่ได้เข้าร่วมเป็นก่าลังขับเคลื่อน ตลอดจนการเผยแพร่องค์ความรู้ในเรื่องการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อ มุ่งสู่สังคมคาร ์บอนต่​่ายังอยู่ในวงจ่ากัดซึ่งไม่สามารถมีส่วนแก้ไขปัญหาของสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าเข้าสู่การด่าเนินงานของหน่วยงานต่างๆ และการน่าแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นจึงต้องอาศัยความเชื่อมโยงระหว่างแผนและยุทธศาสตร์ของเมืองและ ชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่ากับข้อมูลระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และระดับชาติ เพื่อชี้ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นถึงความสอดคล้องของการด่าเนินงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่ากับภารกิจ การด่าเนินงานที่ปฏิบัติ เพื่อให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความส่าคัญว่าการพัฒนาเมืองและชุมชนที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่านั้นเป็นภารกิจที่แต่ละฝ่ายได้ด่าเนินการอยู่ในแต่ละส่วนย่อย โดยที่การ ขับเคลื่อนในแต่ละส่วนเหล่านั้นต่างอยู่ภายใต้กรอบภาพกว้างของการด่าเนินงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า และชี้ให้ ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นว่าการด่าเนินงานในส่วนใดที่ยังต้องเสริมสร้าง ตลอดจนกลไกและเครื่องมือใดที่ ควรได้รับการน่ามาใช้เพิ่มเติมเพื่อให้ภาพกว้างของการขับเคลื่อนสังคมคาร์บอนต่​่ามีความสมบูรณ์

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -11


บทที่ 2 นโยบาย แผน ยุทธศาสตร ์ และการด่าเนินงานที่เกี่ยวเนื่องกับ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า 2.1 นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสังคมคาร์บอนต่​่ารวมถึงการพัฒนาที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ การพัฒนา พื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนนั้นปรากฏอยู่ในนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ต่างๆ อย่างไรก็ตาม นโยบาย แผน ยุ ทธศาสตร์ในระดับนานาชาติที่มีความส่าคัญต่อการ พิจารณาถึงกรอบแนวทางในการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสังคมคารบ์ อนต่​่า ได้แก่ 1) แผนปฏิบัติการ 21 2) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 3) ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2.1.1 แผนปฏิบัติการ 21

ภาพที่ 2-1 แสดงแผนปฏิบัติการ 21 ที่มา : วิกิพีเดีย,2559 แผนปฏิบัติการ 21 เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นแผนปฏิบัติการที่ได้รับการอนุมัติจากการประชุม Earth Summit หรื อ ที่ ป ระชุ ม สหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยสิ่ ง แวดล้ อ มและการพั ฒ นา (The United Nations Conference on Environment and Development UNCED) เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.2535 ที่นครริโอเดอ จาเนโร โดยมีผู้แทนจากประเทศต่าง ๆ จ่านวน 179 ประเทศ เข้าร่วมประชุม วาระส่าหรับศตวรรษที่ 21 (Agenda for the 21st Century) เป็นแผนแม่บทปฏิบัติการระหว่ า ง ประเทศเพื่อการด่าเนินงานที่จะท่าให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้ง ในด้านสัง คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยแผนปฏิบัติการ 21 มีกรอบแนวคิดว่าการเพิ่มของประชากร การบริโภค และเทคโนโลยีล้วนส่งผลให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ดังนั้นมนุษย์จึงต้องร่วมมือกันลดการบริโภคที่ฟุ่มเฟือยและไร้ประสิทธิภาพ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -12


รวมทั้งสนับสนุนให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนขึ้นในทุกส่วนของโลก นอกจากนั้น วาระส่าหรับศตวรรษที่ 21 ยังได้ เสนอแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและแนวทางอนุรักษ์ความหลากหลาย ของชนิ ด และสายพันธุ์ ของสิ่ งมีชี วิ ต การอนุ รัก ษ์ป่ า การต่ อ สู้ กั บ ความยากจนรวมถึ ง ปัญ หาการบริโ ภคที่ ฟุ่มเฟือยการวางแผนการจัดการ ด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย การแก้ปัญหาของเมืองใหญ่ และปัญหาของ เกษตรกรซึ่งเป็นหน้าที่ของทุกคน ทุกกลุ่ม และทุกอาชีพ เพื่อท่าให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนอันเป็นหนทาง เอาชนะความยากจนและการท่าลายสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ส่าคัญของแผนปฏิบัติการ 21 คือ การขจัดความ ยากจนโดยให้ประชาชนที่ยากไร้มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรที่จ่าเป็นต่อการด่ารงชีวิตได้อย่างยั่งยืนมากขึ้น แผนปฏิบัติการ 21 ค่านึงถึงองค์ประกอบส่าคัญ สู่การพัฒนาอย่างยั่ง ยืน 4 ส่วนด้วยกัน คือ (1) มิติ ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ(Social and Economic Dimensions) (2) การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากร (Conservation and Management of Resources) (3) การส่ ง เสริ ม บทบาทของกลุ่ ม ต่ า งๆที่ ส่ า คั ญ (Strengthening the Role of Major Groups) (4) วิธีการในการด่าเนินงาน (Means of Implementation) โดยมีแนวทางที่ส่าคัญดังต่อไปนี้ (ส่านักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา, 2558: 1) 1) การพัฒนาเศรษฐกิจจะต้องผสมผสานและควบคู่ไปกับการพัฒนาและความห่วงใยในสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมไม่อาจจะเป็นสิ่งสุดท้ายที่จะพิจารณาอีกต่อไป การที่จะเพิ่มรายได้และจัดหางานให้ประชาชนนั้น ควรจะกระท่าไปพร้อมกับการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อม 2) การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย การสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์ การปล่อยของเสียและมลพิษต่างๆเป็น สาเหตุที่ท่าให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมไม่ยั่งยืน ซึ่งไม่อาจปล่อยให้เป็นเช่นนี้อีกต่อไปได้ เพราะเป็นการท่าลาย สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในโลก 3) จะต้องมีการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจาก (1) มีผลกระทบอย่างเฉียบพลันต่อสุขภาพและความ เป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ (2) เกิดผลกระทบต่อประชากรรุ่นลูกรุ่นหลานในอนาคต 4) มนุษย์ทุกคนไม่ว่าจะร่​่ารวยหรือยากจนล้วนมีสิทธิเท่าเทียมกันในอันที่จะด่ารงชีวิตความเป็นอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่ดี ได้ดื่มน้่าที่สะอาด หายใจในอากาศที่บริสุทธิ์ และสามารถที่จะควบคุมการใช้ทรัพยากรของ ตนเองได้ 2.1.2 ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน ประชาคมอาเซียนถือก่าเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2546 จากการที่ผู้น่าอาเซียน ได้ร่วมลงนามในปฏิญญาเห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ.2563 ต่อมาในการประชุมสุดยอด ผู้น่าอาเซียน ครั้งที่ 12 ในเดือนมกราคม พ.ศ.2550 ที่เมืองเซบู สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ผู้น่าอาเซียนได้ตกลงให้มี การจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้นภายในปี พ.ศ.2558 โดยประกอบด้วยความร่วมมือ 3 ด้าน ซึ่ง เปรียบเสมือนเสาหลักที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ได้แก่ - ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community: APSC) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -13


- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และ - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) พร้อมทั้งจัดท่าพิมพ์เขียว(Blueprint) ให้กับทุกเครือข่ายความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติแ ละ สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ และเพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนได้จัดท่า แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่ 1) เพื่อให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (a. Human Development) 2) เพื่อให้มีการคุ้มครองและให้สวัสดิการทางสังคม (b. Social Welfare and Protection) 3) เพื่อให้เกิดการรักษาสิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (c. Social Justice and Rights) 4) เพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม (d. Ensuring Environmental Sustainability) 5) เพื่อสร้างอัตลักษณ์แห่งอาเซียน (e. Building the ASEAN Identity) 6) เพื่อลดช่องว่างการพัฒนา (f. Narrowing the Development Gap) นอกจากนั้น การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) (ข้อ D ในข้อ 4) เพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม) ยังถูกมุ่งเน้นขึ้นซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือในประเด็นต่างๆ 11 ด้าน ดังนี้ (ส่านักความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ, ม.ป.ป.: 5) D1. การจั ด การปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มของโลก (Global Environmental Issues) เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา สิ่งแวดล้อมของโลกโดยปราศจากผลกระทบต่อหลักการแข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยอยู่ บน พื้นฐานของหลักความเท่าเทียม ยืดหยุ่น มีประสิทธิภาพ และหลักการความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่ แตกต่าง D2. การจั ด การและการป้ อ งกั น ปั ญ หามลพิ ษ ทางสิ่ ง แวดล้ อ มข้ า มแดน ( Transboundary Environment Pollution) เพื่อด่าเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ายของเสีย อันตรายข้ามแดน D3. ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ( Environmental Education) มุ่งหวังท่าให้อาเซียนมีสิ่งแวดล้อมที่ดีและสะอาด มั่งคั่งด้วยประเพณี วัฒนธรรมที่มีค่านิยมและ ธรรมเนียมปฏิบัติของประชาชนสอดคล้อง กลมกลืน และประสานกับธรรมชาติ โดยผ่านทางการศึกษาด้าน สิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน D4. ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sound Technology) มุ่งหวังใช้เทคโนโลยี ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบรรลุเป้าหมายเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนให้มีผลกระทบน้อยที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม D5. ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการด่ารงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง (Quality Living Standards) เพื่อรับประกันว่าเขตเมืองและชุมชนในอาเซียน มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนรองรับความต้องการของ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -14


ประชาชนในด้านสังคมและเศรษฐกิจได้ D6. การท่ า การประสานกั น เรื่ อ งนโยบายด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและฐานข้ อ มู ล (Harmonization of Environmental Policies and Database) ส่ ง เสริ ม ความพยายามที่ เ หมาะสมที่ จ ะประสานนโยบายด้าน สิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูลทีละขั้น โดยค่านึงถึงสภาวะแวดล้อมระดับชาติของรัฐสมาชิก เพื่อสนับสนุนการบูร ณาการด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและเป้าประสงค์ด้านเศรษฐกิจของภูมิภาค D7. ส่ ง เสริ ม การใช้ ท รัพ ยากรชายฝั่ ง และทรั พยากรทางทะเลอย่า งยั่ ง ยื น (Coastal and Marine Environment) เพื่อสร้างหลักประกันเรื่องสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งว่าจะได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบนิเวศตัวอย่าง พืชและพื้นที่ดั้งเดิมได้รับการคุ้มครอง การด่าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับการจัดการ อย่างยั่งยืน และการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งได้รับการปลูกฝัง D8. ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างยั่งยืน (Nature Conservation and Biodiversity) เพื่อให้ความมั่นใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่ สมบูรณ์ของอาเซียนจะได้รับการรักษาและจัดการอย่างยั่งยืนโดยการเริ่มสร้างสภาวะที่ดีทางด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม D9. ส่ ง เสริ ม ความยั่ ง ยื น ของทรั พ ยากรน้่ า จื ด (Freshwater Resources Management) ส่ ง เสริ ม ความยั่ง ยืนของทรัพยากรน้่าจืด โดยให้ความเชื่อมั่นในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรน้่าอย่างเท่าเทียมกันและ คุณภาพที่ได้รับการยอมรับได้ในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน D10. การตอบสนองต่ อ การเปลี่ ย นแปลงทางสภาพภู มิ อ ากาศและการจั ด การต่ อ ผลกระทบ (Response to Climate Change and Its Impacts) ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สุขภาพและสิ่งแวดล้อม D11. ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน (Sustainable Forestry Management) ส่งเสริมการ บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน รวมถึงการด่าเนินการปราบปรามการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและ การค้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ 2.1.3 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals หรือตัวย่อว่า SDGs) เป็น เป้าหมายเกี่ยวกับการพัฒนาระดับนานาชาติซึ่งจัดท่าขึ้นโดยององค์กรสหประชาชาติ โดยมีผู้น่าชาติสมาชิก 193 ประเทศ รวมทั้งองค์กรภาคประชาชนที่หลากหลายร่วมกันก่าหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อขยายผลต่อยอดเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ โดยอาศัยกรอบแนวคิดที่มองการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่าน มิติที่เชื่อมโยงกันของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในการรวบรวมความเห็นและข้อเสนอจากประชาชน จากทุกประเทศทั่วโลก ที่จะใช้เป็นเป้าหมายเพื่อการพัฒนาร่วมกันในอีก 15 ปีข้างหน้าจนถึงปีพ.ศ.2573 เพื่อ ทดแทนเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ทั้ง 8 ข้อที่สิ้นสุดลงในปี รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -15


พ.ศ.2558 (มูลนิธิมั่นพัฒนา, 2558) โดยเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่ง ยืน ประกอบด้วยเป้าหมายหลัก 17 เป้าหมาย ดังนี้

ภาพที่ 2-2 แสดงเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่มา : มูลนิธิมั่นพัฒนา,2558 เป้าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ ทุกที่ เป้าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุเป้าความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการที่ดีขึ้น และส่งเสริม เกษตรกรรมยั่งยืน เป้าหมายที่ 3 ท่าให้แน่ใจถึงการมีสุขภาวะในการด่ารงชีวิต และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนใน ทุกช่วงอายุ เป้าหมายที่ 4 ท่าให้แน่ใจถึงการได้รับการศึกษาที่ได้คุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงและส่งเสริม โอกาสในการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตแกทุ่กคน เป้าหมายที่ 5 บรรลุถึงความเท่าเทียมทางเพศ และเสริมสร้างพลังให้แก่สตรีและเด็กหญิงทุกคน เป้าหมายที่ 6 ท่าให้แน่ใจว่าเรื่องน้่าและการสุขาภิบาลได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อม ใช้ส่าหรับทุกคน เป้าหมายที่ 7 ท่าให้แน่ใจว่าทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานที่ทันสมัย ยั่งยืน เชื่อถือได้ ตามก่าลังซื้อ ของตน เป้าหมายที่ 8 ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและทั่วถึงให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ส่งเสริม ศักยภาพการมีงานท่าและการจ้างงานเต็มที่ และงานที่มีคุณค่าส่าหรับทุกคน เป้าหมายที่ 9 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็น อุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนและทั่วถึงและสนับสนุนนวัตกรรม เป้าหมายที่ 10 ลดความเหลื่อมล้่าทั้งภายในและระหว่างประเทศ เป้าหมายที่ 11 ท่าให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงและยั่งยืน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -16


เป้าหมายที่ 12 ท่าให้แน่ใจถึงการมีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 13 ด่าเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่ เกิดขึ้น เป้าหมายที่14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลส่าหรับการ พัฒนาที่ยั่งยืน ให้เป็นไปอย่างยั่น เป้าหมายที่ 15 พิทักษ์ บูรณะ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบก จัดการป่า ไม้อย่างยั่งยืนต่อสู้กับการแปรสภาพเป็นทะเลทราย หยุดยั้งและฟื้นฟูความเสื่อมโทรม ของที่ดิน และหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เป้าหมายที่ 16 ส่งเสริมให้สังคมมีความเป็นปกติสุข ไม่แบ่งแยก เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีการเข้าถึง ความยุติธรรมโดยถ้วนหน้าและสร้างให้เกิดสถาบันอันเป็นที่พึ่งของส่วนรวม มี ประสิทธิผล และเป็นที่ยอมรับในทุกระดับ เป้าหมายที่ 17 เสริมสร้างความเข้มแข็งในวิธีการปฏิบัติให้เกิดผล และสร้างพลังแห่งการเป็นหุ้นส่วน ความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.2 นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับประเทศ นอกเหนือจากนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดั บนานาชาติแล้ว การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่ง สังคมคาร์บอนต่​่ารวมถึงการพัฒนาที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ การพัฒนาพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนยังปรากฏอยู่ในนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ระดับประเทศ อาทิ 1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 2) ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 3) แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 4) ความเห็นและข้อเสนอแนะสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5) แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 6) แผนปฏบิ ัติการยุทธศาสตร์ประเทศ (ปีงบประมาณ 2556-2561) ฉบับรา่ ง 7) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 8) นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540-2559 9) นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 10) ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ของประเทศไทย 2.2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 ส่านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดท่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ขึ้นโดยมีแนวคิดที่จะสร้างภูมิคุ้มกันในมิติ ต่างๆให้แก่ ปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ โดยใช้แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -17


ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 พร้อมทั้งขยายการน่าทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก 3 ทุน ทั้งทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็น 6 ทุน ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และทุนทางวัฒนธรรม มาใช้ประโยชน์อย่างบูรณาการ และเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะการสร้างฐานทางปัญญาเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มี คุ ณ ภาพ ก้ า วสู่ สั ง คมและเศรษฐกิ จ สี เ ขี ย วที่ มี แ บบแผนการผลิ ต และบริ โ ภคอย่ า งยั่ ง ยื น และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม โดยน่าความรู้และจุดแข็งของอัตลักษณ์ไทยมาปรับโครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานนวัตกรรมที่เข้มแข็ง เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในภูมิภาคอย่างรู้เท่าทัน สร้างความยั่งยืนของภาคเกษตรและความมั่ง คั่งด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการ เสริมสร้างระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันท์ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ เป็นฐานการพัฒนาประเทศที่ มั่นคงและสมดุล มุ่งสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่า งมีความสุขและเป็นธรรม (ส่านักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554: 23) โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาที่ส่าคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่1 การสร้างความเป็นธรรมในสังคม มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัวและ ชุมชน เพื่อให้เป็นสังคมที่มีคุณภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงและบริหารจัดการความเสี่ยงได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ความส่าคัญกับการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคนในสังคมไทย สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุมทั่วถึงและมีคุณภาพเท่า เทียมกัน มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานในการสร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคงสามารถเข้าถึง กระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ได้รับการคุ้มครองสิทธิ ผลประโยชน์และความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินอย่างเท่าเทียม และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ อย่างมีศักดิ์ศรี ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่ง ใส่ ยึดประโยชน์ส่วนรวม และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในกระบวนการพัฒนา ประเทศ ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน มุ่งเตรียมคนให้พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลง โดยให้ความส่าคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันเพื่อเข้าสู่สังคมแห่ง การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเสริมสร้างศักยภาพของคนในทุกมิติ ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้ และมีจิตใจที่สานึกในคุณธรรมจริยธรรม มีความเพียร และรู้คุณค่าความเป็นไทย มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ ตลอดชีวิ ต ควบคู่กับการเสริ ม สร้ า ง สภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการพัฒนาคน รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่นให้เข้มแข็งและสามารถสร้างภูมิ คุ้ม กันให้คนในชุม ชน และเป็นพลัง ทางสัง คมในการพั ฒ นา ประเทศ ยุทธศาสตร์ที่3 ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ให้ความส่าคัญกับการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง ยั่งยืน เพื่อให้ภาคเกษตรเป็นฐานการผลิตอาหารและพลังงานที่มีความมั่นคง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -18


ศั ก ยภาพการผลิ ต ภาคเกษตร สนั บ สนุ น การวิ จั ย และพั ฒ นาพั น ธุ์ พื ช พั น ธุ์ สั ต ว์ แ ละสั ต ว์ น้ า ร วมถึ ง เทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร อาหาร และพลังงาน บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นและความรู้สร้างสรรค์ การสร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ ให้แก่เกษตรกรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขณะเดียวกัน ให้ความส่าคัญกับการสร้างความมั่นคง ด้านอาหารและพลังงานชีวภาพทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ เพื่อสร้างภูมิคุ้ มกันให้ภาคเกษตร สามารถพึ่งตนเองได้และเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ได้อย่างมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่4 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพ และยั่งยืน ให้ความส่าคัญกับ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ตลอดจนภูมิปัญญา ท้องถิ่นเป็นพื้นฐานส่าคัญในการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้ปัจจัยสนับสนุนที่เอื้ออา นวยและระบบการแข่งขันที่เป็นธรรม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประเทศ มุ่งปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุน ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้ง ภายในและต่า งประเทศ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสาขาบริการที่มี ศักยภาพบนพื้นฐานของนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์ เพิ่ม ผลิตภาพของภาคเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ควบคู่ไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎ ระเบียบ ต่างๆ ทางเศรษฐกิจ และบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นฐานเศรษฐกิจของ ประเทศที่เข้มแข็งและขยายตัวอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่5 การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสัง คม มุ่งเชื่อมโยงมิติของการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับมิติของความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคต่างๆ บน พื้ น ฐานของการพึ่ ง พาซึ่ ง กั น และกั น และมี ภู มิ คุ้ ม กั น ต่ อ กระแสการเปลี่ ย นแปลงจากภายนอก โดยให้ ความส่าคัญ กับการพัฒนาฐานการผลิตและการลงทุนของประเทศให้ เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้า นและ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงกับการผลิตในประเทศ พัฒนาความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการ พัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกันทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค และสร้างปฏิสัมพันธ์ใน ความร่วมมือระหว่างประเทศอย่างสร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้ ความส่าคัญกับการพัฒนากาลังคนในทุกภาคส่วนให้มีทักษะที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ควบคู่ไปกับการพัฒนา ความเชื่อมโยงด้านขนส่งและระบบโลจิสติกส์ภายใต้กรอบร่วมมืออนุภูมิภาค ปรับปรุงกฎ ระเบียบการขนส่ง คนและสินค้าเพื่อลดต้นทุนการดาเนินธุรกิจ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศ ตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่นให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 6 การจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น มุ่ ง บริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เพียงพอต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการดูแล รักษาและใช้ประโยชน์ ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติเพื่อให้สัง คมมีภูมิ คุ้มกัน สามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ และ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -19


ยกระดับคุณภาพชีวิตให้คนในสังคมไทย โดยให้ความส่าคัญกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจ และสังคมคาร์บอนต่​่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยกระดับขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ควบคุมและลดมลพิษ และพัฒนาระบบการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่ง ใสและเป็นธรรมอย่างบูรณาการ สร้าง ภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตภาวะโลกร้อน และเพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวที ประชาคมโลกที่เกี่ยวข้องกับกรอบความตกลงและพันธกรณีด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ 2.2.2 ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ส่านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดท่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่งชาติ ฉบั บที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ขึ้น โดยวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยัง คงมีความ ต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ซึ่งต้องให้ความส่าคัญกับการก่าหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การ เปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และน่าไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ โดยยึดกรอบแนวคิดและหลักการในการวางแผนที่ส่าคัญ ดังนี้ (1) การน้อมน่าและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม (3) การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิด การปฏิรูปประเทศ และ (4) การพัฒนาสู่ความมั่นคง ยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยมีแนวทางใน การพัฒนา (ส่านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554: 16) ดังนี้ 1) การยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง ประกอบด้วย (1) การส่ง เสริมด้านการวิจัยและพัฒนา (2) การพัฒนาผลิตภาพแรงงาน (3) การส่ง เสริมผู้ประกอบการที่ เข้มแข็งและพาณิชย์ดิจิตอล (4) การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน (5) การปรับโครงสร้างการผลิต 2) การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวั ยและการปฏิ รูประบบ เพื่อสร้างสัง คมสูง วัยอย่ างมี คุ ณ ภาพ ประกอบด้วย (1) การพัฒนาศักยภาพคนในทุกช่ วงวัยให้สนั บสนุนการเจริญ เติบโตของประเทศ (2) การ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง (3) การพัฒนาด้านสุขภาพ (4) การ สร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อการดารงชีพในสังคมสูงวัย 3) การลดความเหลื่อมล้่าทางสังคม ประกอบด้วย (1) การยกระดับรายได้และสร้างโอกาสในการ ประกอบอาชีพ (2) การจัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน และเน้นการสร้างภูมิคุ้มกันระดั บ ปัจเจก (3) การสร้างความเสมอภาคในการเข้าถึงทรัพยากร (4) การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค 4) การรองรับการเชื่อมโยงภูมิภาคและความเป็นเมือง ประกอบด้วย (1) การลงทุนด้านโครงสร้ าง พื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกของเมือง (2) การพัฒนาด้านการขนส่งและโลจิสติกส์เชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน (3) การส่งเสรมิ การลงทุน การค้าชายแดน และการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -20


5) การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย (1) การรักษาทุนทางธรรมชาติเพื่อการเติบโตสีเขียว (2) การส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (3) การ ส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการสร้างงานสีเขียว (4) การจัดการมลพิษและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (5) การพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (6) การเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ 6) การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย (1) การสร้างความโปร่งใส (2) การ พัฒนาบุคลากรภาครัฐ (3) การสร้างรูปแบบการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ให้เหมาะสม (4) การสร้างระบบตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ 2.2.3 แนวนโยบายพ้นื ฐานแห่งรัฐ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้ถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 จนถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้มีบทบัญญัติหลายประการที่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยาธรรมชาติแ ละสิ่งแวดล้อม ก่าหนดให้ต้องกระจาย อ่านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ได้บัญญัติไว้ใน มาตรา 75 – 87 บัญญัติไว้เพื่อให้รัฐด่าเนินการตรากฎหมายและก่าหนดนโยบายใน การบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 9 นโยบายหลัก แต่ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง/ชุมชน ไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่าดังนี้ 1) แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ก่าหนดให้รัฐต้องด่าเนินการตาม แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้ (1) ก่าหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินให้ ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยให้ค่านึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้่า วิถีชีวิต ของชุมชนท้องถิ่น (2) กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและด่าเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ หรือ สิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างทั่วถึง (3) จัดให้มีการวางผังเมือง พัฒนา และด่าเนินการตามผัง เมื อ งอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล (4) จั ด ให้ มี แ ผนการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้่ า และ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม (5) ส่งเสริม บ่ารุงรักษา และคุ้มครอง คุณภาพสิ่ง แวดล้อมตามหลัก การพัฒนาที่ ยั่ง ยืนตลอดจนควบคุ มและก่ าจั ด ภาวะมลพิษ ที่มี ผ ลต่ อสุ ข ภาพ อนามัยสวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิ ตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (มาตรา 85) 2) แนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ก่าหนดให้รัฐต้องด่าเนินการตาม แนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ดังต่อไปนี้ (1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านต่างๆ (2) ส่งเสริมการประดิษฐ์หรือการค้นคิดเพื่อให้เกิดความรู ใหม่รักษาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย รวมทั้งให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (3)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -21


ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติและเป็นคุณต่อ สิ่งแวดล้อม (มาตรา 86) (บุญยิ่ง ประทุม, 2552) 2.2.4 ข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2556 – 2575 สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ด่าเนินการศึกษา ประมวลผล วิเคราะห์และสังเคราะห์ ข้อมูลเพื่อจัดท่าความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง “ยุทธศาสตร์ประเทศไทยใน 2 ทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556 2575) ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งจากการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมของประเทศไทยที่จะส่ง ผล ต่อการพัฒนาประเทศไทยใน 2 ทศวรรษหน้าฯ สามารถสรุปประเด็นส่าคัญได้ 4 มิติ ดังนี้ (1) มิติที่จะสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมของประเทศ (2) มิติที่จะต้องปรับปรุงและพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคม (3) มิติที่จะต้องปรับตัวเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคม (4) มิ ติ ที่ จ ะต้ อ งปฎิ รูป เพื่ อสร้ า งความเข้ม แข็ ง ทางเศรษฐกิจ และสั ง คม (ส่ า นั ก งานสภาที่ ป รึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2556: 76) ซึ่ง ยุทธศาสตร์ประเทศไทย ใน 2 ทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556 - 2575)ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์หลัก คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 4 ด้าน ดังต่อไปนี้ (1) การสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจ และจิตส่านึกตระหนักถึง ความส่ าคัญ ในหลัก ปรั ชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงทั้งในและต่างประเทศ (2) การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม (3) การสร้างเอกลักษณ์ของชาติ ให้ประเทศไทยเป็น “แผ่นดินแห่งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” (4) การน่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้กับยุทธศาสตร์ประเทศไทยใน 2 ทศวรรษ หน้า (พ.ศ. 2556 – 2575) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างสังคมเข้มแข็ง อยู่เย็นเป็นสุข มีวิถีประชาธิปไตย ใช้หลักธรรมาภิบาล สู่ สังคมสีเขียว ประกอบด้วย 6 ด้าน ดังต่อไปนี้ (1) การปฏิรูปการศึกษาสู่การศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างมีคุณค่าคุณประโยชน์ และคุณธรรม (2) การส่ ง เสริ ม ความเข้ ม แข็ ง และบทบาทของศาสนา วั ฒ นธรรมเพื่ อการพัฒ นาคนสั ง คม และ ประเทศชาติ (3) การส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่พอเพียงอย่างถ้วนหน้าและเป็นธรรม (4) การส่งเสริมสวัสดิการสังคมที่พอเพียงอย่างถ้วนหน้า ทั่วถึง และเป็นธรรม (5) การส่งเสริมวัฒนธรรมประชาธิปไตย เพื่อสู่ประชาธิปไตยโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (6) การเสริมสร้างธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ประกอบด้วย 9 ด้าน คือ (1) การเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน โดยใช้การเกษตรเป็นฐาน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -22


(2) การเป็ น หุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ ที่ ดี ส่ า หรั บ ประชาคมอาเซี ย นและเครื อ ข่ า ยความร่ว มมื อ ทาง เศรษฐกิจอื่นๆ (3) การพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องสู่การเป็นครัวของโลก (4) การพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน (5) การพัฒนาเศรษฐกิจโดยการบูรณาการเชิงพื้นที่ (6) การพัฒนาเศรษฐกิจภาคบริการ (7) การพัฒนาการท่องเที่ยว (8) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคม และการจัดการขนส่ง (Logistics) (9) การสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 6 ด้าน ดังต่อไปนี้ (1) การจัดการมูลฝอยอุตสาหกรรมและกากของเสีย (2) การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3) การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจโดยค่านึงถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน (4) การกระจายอ่ า นาจและส่ ง เสริม การมีส่ ว นร่ วม และจิ ต ส่ า นึ ก ในการจั ด การทรั พยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (5) การป้องและแก้ไขผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (6) การเตรียมความพร้อมและจัดการกับภาวะวิกฤติจากภัยพิบัติ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว ประกอบด้วย 6 ด้าน ดังต่อไปนี้ (1) การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี (เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก เทคโนโลยีการเกษตร อุตสาหกรรม เทคโนโลยีสุขภาพเทคโนโลยีนิวเคลียร์) (2) การพัฒนานวัตกรรมสีเขียวจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (3) การใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาประเทศ (4) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) (5) การส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัย (6) การพัฒนาบุคลากรทุกระดับทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.2.5 แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 – 2559 ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม จัดท่าแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 ขึ้น โดยมีความต่อเนื่องจากกรอบแนวคิด และทิศทางของแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550-2559 กล่าวคือ ยังคงยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -23


พอเพียง ในการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บนแนวทางของความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการใช้องค์ความรู้ทั้งทางวิชาการ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบการตัดสินใจ โดยค่านึงถึงความถูกต้องและเป็นธรรม ในการสร้างภูมิคุ้มกันแก่ฐานทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนที่เป็นการสมประโยชน์ (Win-Win Situations) ต่อ การพั ฒ นาในหลายมิ ติ ทั้ ง มิ ติ ด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม (ส่ า นั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2555: 38) โดยแผนจัดการคุณภาพสิ่ง แวดล้อม พ.ศ. 2555 – 2559 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับฐานการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มุ่ งเน้นการก่าหนด และส่งเสริมนโยบายที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การ ต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน รวมถึงการเตรียมพร้อมต่อ มาตรการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการค้าและการลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ให้ความส่าคัญกับการ สนั บ สนุ น ให้ ภ าคี เ ครื อ ข่ า ยเข้ า มามีส่ ว นร่ วมในการดู แ ล รั ก ษา ติ ด ตามและตรวจสอบการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพและบทบาทการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของทุกภาคี และการพัฒนาองค์ความรู้และการส่ง เสริมการศึก ษาวิจัยเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟ พื้นที่และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่า ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบ าล มุ่งเน้น การส่งเสริมความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้่าของสัง คม ลดข้อขัดแย้ งจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สร้า โอกาสให้แก่คนยากจนในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน การ เยียวยาปัญ หาวิกฤติสิ่งแวดล้อม การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม การกระจายอ่านาจหน้าที่ การพัฒนา กระบวนการยุติธรรมสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงและบัง คับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิผล รวมทั้งการพัฒนา ฐานข้อมูลและความเชื่อมโยงของฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน ชัดเจน โปร่งใส และสาธารณชนสะดวกต่อการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชนในทุกระดับ มุ่งเน้นการป้องกันและ ลดมลพิษ ณ แหล่งก่าเนิด และการกระจายอ่านาจในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการจัดการที่มี ประสิทธิผล การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่ธรรมชาติ และศิลปกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยธรรมชาติ มุ่งเน้นการสร้างศักยภาพและความพร้อมของทุกภาคส่วนในการรองรับและปรับตัวต่อ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติและความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงความร่วมมือในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน และรักษาความมั่นคงในการพัฒนาประเทศในทุก มิ ติ ทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -24


ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคนและสังคมให้มีส่านึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการสร้างรากฐาน ให้ประชาชนในสังคมไทยมีวิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อมบนพื้นฐานของความรู้ที่ถูกต้องในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน พร้อมกับสร้างความตระหนักในบทบาทตามภารกิจ หน้ า ที่ และเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของทุ ก ภาคส่ ว น ในการร่ ว มกั น บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อมของประเทศอย่างเหมาะสม 2.2.6 แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ ปีงบประมาณ 2556-2561 แผนยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) จัดท่าขึ้นจากการประชุมเชิง ปฏิบัติการหัวหน้ า ส่วน ราชการ ระดับปลัดกระทรวงหรือเทียบเท่ า วาระพิเศษ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2555 เพื่อร่วมกันวาง ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ เป้าหมายและแนวทางในการท่างานร่วมกันในปีงบประมาณ 2556 และเป็นกรอบในการ จัดท่างบประมาณปี 2557 ตลอดจนแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับภาพรวมของการท่างานร่วมกันในรอบปีที่ ผ่านมา โดยยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) มีวิสัยทัศน์คือ “ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการ แข่ ง ขั น คนไทยอยู่ ดี กิ น ดี มี ค วามเสมอภาค และเป็ น ธรรม” (ส่ า นั ก นโยบายแผน สป., 2556: 8) ซึ่ ง ประกอบด้วย4 ยุทธศาสตร์ 30 ประเด็นหลัก 79 แนวทางการด่าเนินการ ซึ่งสรุปได้ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศ รายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness) ประกอบด้วย 9 ประเด็นหลัก คือ 1) ด้านเกษตร 2) ด้านอุตสาหกรรม 3) การท่องเที่ยวและบริการ 4) โครงสร้างพื้นฐาน 5) พลังงาน 6) การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค 7) การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน 8) การวิจัยและพัฒนา 9) การพัฒนาพื้นที่และเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การลดความเหลื่อมล้่า (Inclusive Growth) ประกอบด้วย 8 ประเด็นหลัก คือ 1) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) การยกระดับคุณภาพชีวิตและมาตรฐานบริการสาธารณสุข 3) การจัดสวัสดิการสังคมและการดูแลผู้สูงอายุ เด็กสตรี และผู้ด้อยโอกาส 4) การสร้างโอกาสและรายได้แก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และเศรษฐกิจชุมชน 5) แรงงาน 6) ระบบยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้่า รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -25


7)การต่อต้านการคอร์รัปชั่นสร้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใส 8) การสร้างองค์ความรู้เรื่องอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth) ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก 1) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อความยั่งยืน 2) การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) 3) นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 4) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการบริหารจัดการน่้า 5) การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความสมดุลและปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) ประกอบด้วย 8 ประเด็นหลัก คือ 1) กรอบแนวทางและการปฏิรูปกฎหมาย 2) การปรับโครงสร้างระบบราชการ 3) การพัฒนาก่าลังคนภาครัฐ 4) การปรับโครงสร้างภาษี 5) การจัดสรรงบประมาณ 6) การพัฒนาสินทรัพย์ราชการที่ไม่ได้ใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด 7) การแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้และเสริมสร้างความมั่นคงในอาเซียน 8) การปฏิรูปการเมือง 2.2.7 แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558 – 2593 ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ง แวดล้อม ได้จัดท่าแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใช้ กรอบแนวคิดหลักในการ วิเคราะห์ ได้แก่ กรอบแนวคิด DPSIR (Driving Forces-Pressure-State-Impact-Response Framework) ซึ่งมีการก่าหนดเป้าหมายของแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 แบ่งเป็น เป้าหมาย 3 ระยะ (ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2558: 57) ได้แก่ 1) เป้าหมายระยะสั้น ก่าหนดปีเป้าหมาย คือ พ.ศ. 2559 โดยก่าหนดเป้าหมายในการพัฒนากลไก และสร้างขีดความสามารถในประเด็นหลักๆ ที่ต้องด่าเนินการอย่างเร่งด่วน 2) เป้าหมายระยะกลาง ก่าหนดปีเป้าหมาย คือ พ.ศ. 2563 โดยก่าหนดเป้าหมายในการพัฒนากลไก และสร้างขีดความสามารถในส่วนที่ต้องใช้ระยะเวลาในการด่าเนินงาน รวมถึง ก่าหนดเป้าหมายที่แสดงถึง ผลลัพธ์ (Outcome) ของการด่าเนินงานในระยะกลาง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -26


3) เป้าหมายระยะยาว ก่าหนดปีเป้าหมาย คือ พ.ศ. 2593 โดยก่าหนดเป้าหมายที่แสดงถึงผลลัพธ์ของ การด่าเนินงานในระยะยาว รวมถึงเป้าหมายต่อเนื่อง ซึ่งระบุตัวชี้วัดของผลลัพธ์ที่ควรมีการติดตามข้อมูลเป็น ระยะๆ อย่างต่อเนื่องโดยแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 ประกอบด้วย แนวทางการด่าเนินงานใน 3 เรื่องหลัก (ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม, 2558: 64) ได้แก่ 1) การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในการพัฒนาประเทศ โดยผลักดันให้เกิดการบูรณาการแนวทางและมาตรการในการปรับตัว เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในทุกภาคส่วนและทุกระดับ ประกอบด้วย 6 สาขา คือ (1) การจัดการน้่า อุทกภัย และภัยแล้ง (2) การเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร (3)การท่องเที่ยว (4) สาธารณสุข (5) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (6) การตั้งถิ่นฐานและความมั่นคงของมนุษย์ 2) การลดก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมการเติบโตที่ปล่อยคาร์บอนต่​่า ลดอัตราการปล่อยก๊าซเรือน กระจกของประเทศและสร้างกลไกให้เกิดการเติบโตแบบปล่อยคาร์บอนต่​่า อย่างยั่งยืนประกอบด้วย 8 สาขา คือ (1) การผลิตไฟฟ้า (2) การคมนาคมขนส่ง (3) การใช้พลังงานภายในอาคาร (4) ภาคอุตสาหกรรม (5) ภาค ของเสีย (6) ภาคการเกษตร (7) ภาคป่าไม้ (8) การจัดการเมือง 3) การสร้างขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เสริมสร้าง ศักยภาพและความตระหนักรู้ของภาคีการพัฒนาในทุกระดับเพื่อสร้างความพร้อมในการด่าเนินมาตรการตาม นโยบายและแผนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพัฒนาฐานข้อมูล องค์ความรู้ และเทคโนโลยี เพื่อ สนับสนุนการรองรับและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรวมถึงการพัฒนาแบบปล่อยคาร์บอนต่​่า อย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 4 สาขา คือ (1) การพัฒนาข้อมูล งานศึกษาวิจัย และเทคโนโลยี (2) การพัฒนากลไกสนับสนุนการด่าเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (3) การสร้างความตระหนักรู้และเสริมศักยภาพด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (4) แนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2.2.8 นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540–2559 ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ได้จัดท่าแผนนโยบายและแผนการส่ง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติ พ.ศ.2540– 2559 ขึ้นโดยมีความมุ่งหมายที่จะให้่มีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการส่ง เสริมและรักษาคุณภาพ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -27


สิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้่ควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อันจะยังผลให้่การพัฒนาประเทศเป็นการ พัฒนาที่ยั่ง ยืนและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยก่าหนดแนวทางที่จ่าเป็นเร่งด่วนในการฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดทดแทนได้ให้เข้า่สภาพสมดุ สู่ ลของการใช้่และการเกิดทดแทน และก่าหนดแนว ทางการแก้ไข ขจัดภาวะมลพิษทางน้่า มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียงและความสั่นสะเทือน มูลฝอยและสิ่ง ปฏิกูล สารอันตราย และของเสียอันตราย ตลอดจนการก่าหนดแนวทางในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติในอนาคต (ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, ม.ป.ป.) โดย นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540 - 2559 ได้ก่าหนดนโยบาย หลัก 6 ประการ ดังนี้ 1) นโยบายทรัพยากรธรรมชาติ 1.1) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้่ทรัพยากรธรรมชาติ ประสานการใช้ประโยชน์และลดปัญหาความขัดแย้ง รวมทั้งเร่งรัดฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมให้เป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยการกระจายอ่านาจการ บริหาร และการจัดการจากส่วนกลาง ไปสู่ส่วนภูมิ ภาคอย่างเป็นระบบรวมทั้ง เสริมสร้างพลังความร่วมมือ ระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรเอกชน และประชาชน 1.3) สนั บ สนุ น การใช้่หลั ก การทางเศรษฐศาสตร์่สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ จั ด กา ทรัพยากรธรรมชาติและสร้างความเป็นธรรมในสังคม 1.4) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับเพื่อสนับสนุนการบริหารและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งรองรับสิทธิและหน้าที่การเป็นเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติ 1.5) สนับสนุนการศึกษา วิจัย แ ละเสริมสร้างโครงข่ายพื้นฐานระบบข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน 1.6) ส่งเสริมการสร้างจิ ตส่านึกและจิตวิญญาณด้านการอนุรักษ์่ ให้แก่ผู้บริหารในหน่วยงานของรั ฐ นักการเมืองทุกระดับ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้่เ กิดการประสานแนวคิดทางด้านการพัฒนาและ การอนุรักษ์ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2) นโยบายป้องกันและขจัดมลพิษ 2.1) ลดและควบคุมปัญหามลพิษอัน เนื่องมาจากชุมชน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม คมนาคมและ กิจกรรมก่อสร้างไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งฟื้นฟูคุณภาพ สิ่ง แวดล้อมในพื้นที่ที่มีความส่าคัญทางเศรษฐกิจเพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกิดสมดุลของ ระบบนิเวศ และเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.2) สนับสนุนให้่มีการจัดการของเสียและสารอันตรายอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพพร้อมทั้งจัด ให้มีระบบป้องกันและแก้ไขกรณีฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติภัยขนาดใหญ่

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -28


2.3) พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการมลพิษให้เกิดเอกภาพในการก่าหนดนโยบายแผน และ แนวทางปฏิบัติ โดยกฎหมาย องค์กร และเงินทุนต้องมีความสอดคล้องและสนับสนุนให้่การด่าเนินการบริหาร และการจัดการมลพิษที่มีประสิทธิภาพ โดยให้ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบ รวมทั้งการให้่เอกชนมีส่วนร่วมในการ ลงทุน และมีการประสานความร่วมมือในการจัดการมลพิษ โดยภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน 3) นโยบายแหล่งธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรม ป้องกัน สงวนรักษา อนุรักษ์และฟื้นฟู แหล่งธรรมชาติและ แหล่งศิลปกรรมให้มีศักยภาพที่เหมาะสมและเป็นมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของประเทศ 4) นโยบายสิ่งแวดล้อมชุมชน ให้่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่สีเขียว เพื่อเสริมสร้ างคุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยให้่มีวิถีชีวิตที่เหมาะสม ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัยแล ความสวยงาม สอดคล้องกับระบบนิเวศ ทางธรรมชาติเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี 5) นโยบายการศึกษาและประชาสัมพัน่เพื ธ์ ่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนในทุกระดับให้มี้ความ เข้มแข็ง และเกิดขบวนการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ 6) นโยบายเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมพัฒนาและส่งเสริมการใช่​่เทคโนโลยีเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.2.9 นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้เตรียมจัดท่านโยบายและ แผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ขึ้นเพื่อเป็นแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะยาวในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ โดมี วัตถุประสงค์เพื่อจัดท่าวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ประเทศในระยะ 20 ปีข้างหน้าและมีการด่าเนินงานที่ส่าคัญ เช่น การคาดการณ์สถานการณ์ในอนาคต การ ก่าหนดประเด็นส่าคัญที่จะมีผลต่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน 20 ปีข้างหน้า การ จัดท่าภาพฉายอนาคตและวิสัยทัศน์ระยะยาวของประเทศ เป็นต้น และได้เสนอให้มีการปรับกระบวนทัศน์ใน 4 ประการส่าคัญเพื่อรองรับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน 20 ปีข้างหน้า ได้แก่ (1) การปรับกระบวนทัศน์การมองระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างแยกส่วนไปสู่การมองที่ เป็นองค์รวมเพื่อสะท้อนความเป็นจริงตามธรรมชาติ (2) การปรับกระบวนทัศน์จากการมองแบบเส้นตรง (Linear Thinking) สู่การมองอย่างเป็นระบบครบ วงจร (Closed-Loop Thinking) ตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ“จากอู่สู่อู่” (Cradle to Cradle) (3) การปรับกระบวนทัศน์โดยมองโลก ภูมิภาค ประเทศ ท้องถิ่นอย่างเชื่อมโยงกัน (4) การปรับกระบวนทัศน์สู่การเปิดพื้นที่ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เพื่อให้เกิดระบบธรรมาภิบาลแบบปรับตัวได้ (Adaptive Governance) (สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่ง จุฬาลงกรณ์ม หาวิท ยาลั ย , 2556: 5-11) โดย (ร่าง) นโยบายและแผนการส่ง เสริ มและรั กษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อมพ.ศ. 2560-2579 นี้มีนโยบาย 5 ด้าน ดังนี้

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -29


1) นโยบายการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่อย่างสมดุล ยั่งยืนและเป็นธรรม เน้นการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อรักษาทุนธรรมชาติของ ประเทศให้คงอยู่อย่างมั่นคงและยั่งยืนโดยการใช้ประโยชน์จากบริการที่ไ ด้จากระบบนิเวศหรือธรรมชาติ ใน อัตราที่เหมาะสมและสนับสนุนให้น่าหลักการผู้ได้รั บประโยชน์เป็นผู้จ่าย (User Pays Principle, UPP) เพื่อ สร้างความยุติธรรมในด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน มุ่งเน้นการส่งเสริมและสร้างความ ตระหนักให้กับอุตสาหกรรม ครัวเรือน ประชาชนและทุกภาคส่วนในการลดผลกระทบทางลบและสร้ า ง ผลกระทบทางบวกต่อสิ่งแวดล้อมจากการผลิต การบริโภคและการใช้ชีวิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม (Green Lifestyle) และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) นโยบายการขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสัง คมที่เป็นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม เน้นการปรับรูปแบบการ พัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเน้นการเปลี่ยนรูปแบบการผลิต การบริโภค การลงทุน และการใช้ พลัง งานจากการพึ่งพาฐานทรัพยากร (Resource-Based Economy) สู่เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Economy) ผ่านการพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประหยั ด (Resource Decoupling) ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มต่​่ า (Impact Decoupling) และการยกระดั บ เข้ า สู่ เศรษฐกิจฐานความรู้และภูมิปัญญา (Knowledge-Based and Wisdom-Based Economy) 4) นโยบายการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิ บัติทางธรรมชาติ เน้นการสร้างความพร้อม ให้กับประเทศและประชาชนในการรับมือทั้งในเชิงรุกและเชิงรับต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย มุ่งเน้นเป้าหมายในการเข้าสู่สังคมคาร์บอนต่​่า (Low Carbon Society) และสังคมที่มีความสามารถปรับ ตัว และยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภู มิอากาศ (Climate Resilience Society) ตลอดจนสามารถเพิ่ มขี ด ความสามารถของประเทศโดยอาศัยโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5) นโยบายการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เน้นการเสริมสร้าง ศักยภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ ง แวดล้อมผ่ านทรัพยากรมนุษย์และการศึกษากลไก กฎหมายและเครื่องมือต่างๆ ระบบฐานข้อมูลและการสื่อสารตลอดจนการเสริมศักยภาพให้กับท้องถิ่นและ ชุมชน และการพัฒนาศักยภาพในการร่วมมือกับอาเซียนและประชาคมโลกเพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 2.2.10 ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ของประเทศไทย รัฐบาลได้มอบหมายให้ส่านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) บูรณา การแนวทางการด่าเนินการของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศในการร่ วม ผลักดันให้เกิดการสร้างประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 โดยการเตรียมความพร้อมและใช้โอกาสจาการ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -30


รวมตัวทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน และการเชื่อมโยงภายใน ภูมิภาคทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบและประชาชน การสร้างความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งและความมั่นคงในรูปแบบต่างๆ (ศูนย์ข้อมูล อาเซียนกรุงเทพมหานคร, 2556) ซึ่งเป็นหลักการส่าคัญที่ น่ามาซึ่งการก่าหนดยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ภายใต้แนวทางการพัฒนา 8 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้า และการลงทุน มี เป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพภาคการผลิต บริการ การค้าและการลงทุน เพื่อรองรับการเปิดเสรีแ ละใช้ โอกาสจากการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม มีเป้าหมายให้ประชาชนได้รับการ คุ้มครองทางสังคมและประกันความเสี่ยง มีสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ที่มั่นคงและปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และโลจิสติกส์ มีเป้าหมายในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานให้มความเชื่อมโยงและมีขีดความสามารถในการรองรับ พร้อมทั้งมีกฎ ระเบียบที่อ่านวยความสะดวก ทั้งการค้าและการลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีเ ป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาอาเซี ยน รวมทั้งทักษะฝีมือและภาษา กลุ่มเป้าหมายที่ส่าคัญ ได้แก่ การศึกษาแรงงาน/ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่รัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ มีเป้าหมายในการปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบ ที่อ่านวยความสะดวกการค้า การลงทุน และสอดรับกับพันธกรณีและข้อตกลงต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึง ความส่า คัญ ของอาเซียน มี เป้ า หมายให้ ป ระชาชนทุ ก กลุ่ ม เข้ าใจและตระหนั กรู้ถึ ง ความส่ า คั ญ ของการเป็ นประชาคมอาเซี ยนโดยมี กลุ่มเป้าหมายที่ส่าคัญ ได้แก่ ภาคประชาชน ภาคแรงงาน/ผู้ประกอบการ และภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเสริมสร้างความมั่นคง มีเป้าหมายในการสร้างความร่วมมือด้านการเมืองและ ความมั่นคงเพื่อน่าไปสู่ภูมิภาคที่มีบรรทัดฐาน เอกภาพ และสันติภาพร่วมกัน ยุทธศาสตร์ที่ 8 การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน มีเป้าหมายในการพัฒนา เมืองให้มีศักยภาพที่จะเชื่อมโยงกับประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวบริการ การ ลงทุน และการค้าชายแดนโดยมียุทธศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง/ชุมชน ไปสู่การเติบโตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่า ในขณะที่ทุ กยุทธศาสตร์มีความส่าคัญต่อการพัฒนาเมืองและ ชุมชน แต่ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม มีเนื้อหาส่าคัญต่อการพัฒนสังคม คาร์บอนต่​่า โดยมีเป้าหมายให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองทางสังคมและประกันความเสี่ยง มีสภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่ที่มั่นคงและปลอดภัย อาทิ - ส่งเสริมการจัดการและความร่วมมือเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลาย  ทางชีวภาพ พื้นที่ชุ่มน้่า การจัดการทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน และการจัดการปัญหามลพิษข้าม  ชาติ อาทิ มลพิษหมอกควันข้ามแดน มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน - พัฒนาระบบฐานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขาให้ทันสมัยและมีมาตรฐาน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -31


- จัดท่าฐานข้อมูลการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในตลาดภาคบังคับและคาร์บอนออฟเซตในตลาดภาค  สมัครใจ - ความร่วมมือในการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการลดก๊าซเรือนกระจก และการ  ปรับตัว 2.3 นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์รายสาขา นอกเหนือจาก นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ต่างๆระหว่างประเทศและระดับประเทศมีความส่าคัญต่อ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสังคมคาร์บอนต่​่ารวมถึงการพัฒนาที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ การพัฒนาพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมเมื องที่ยั่ง ยืน ดังที่ได้กล่าวผ่านมา นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์รายสาขาจากหน่วยงานต่างๆก็มีความส่าคัญยิ่งต่อการพิจารณาถึงกรอบแนวทางการพัฒนาเมือง และชุมชนเพื่อมุ่งสังคมคาร์บอนต่​่า อาทิ 1) แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก พ.ศ.2559-2563 2) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน พ.ศ.2556-2560 3) แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี พ.ศ.2554-2573 4) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี พ.ศ.2555-2564 5) ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านการเกษตร พ.ศ.2556-2559 6) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ.2555-2559 7) แผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน พ.ศ.2550 8) โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะการด่าเนินงานด้านพื้นที่สีเขียวชุมชน พ.ศ.2553 9) โครงการเทศบาลไทยมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่​่า 10) โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า พ.ศ.2557 11) โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า พ.ศ.2558 2.3.1 แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2559–2563องค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) ในฐานะหน่วยงานหลักในการส่งเสริมและสนับสนุนการ ด่าเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ได้วางยุทธศาสตร์การท่างาน โดยเน้นการ สร้ า งเครื อ ข่ า ย (Networking) เชื่ อ มโยงกั บ หน่ ว ยงานรัฐ และทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อร่ ว มกั น ผลั กดัน เป้าหมายเชิงนโยบายในการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ตลอดจนส่งเสริมการมีส่วนร่ วมของภาคส่วน ต่างๆให้เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่​่าอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมายคือ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่คาดว่าจะลดได้จากกิจกรรมที่องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกส่งเสริมและ สนับสนุน ไม่น้อยกว่า 1 MtCO2e (ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า) ภายในปี 2563 (องค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก, ม.ป.ป.: 43) โดยมีรายละเอียดภารกิจภายใต้พันธกิจหลัก ดังนี้ พันธกิจที่ 1 สนับสนุนให้ลดก๊าซเรือนกระจกโดยใช้กลไกต่างๆ รวมทั้งพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจคาร์บอน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -32


พันธกิจที่ 2 สร้างเสริมศักยภาพและองค์ความรู้สร้างความตระหนัก และพัฒนาเครือข่าย พันธกิจที่ 3 จัดการ วิเคราะห์ รายงานข้อมูล และ สถานการณ์ก๊าซเรือนกระจก

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ส่าคัญ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สนับสนุนทุกภาคส่วนในการลดก๊าซเรือนกระจกด้วยกลไกตลาดและกลไกอื่นๆเพื่อให้ทุกภาค ส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการก๊าซเรือนกระจกผ่านกลไกที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งมีกลยุทธ์หลักคือ 1) พัฒนากลไก ระบบ เครื่องมือ เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดการก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกเชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพ 3) ให้การรับรองโครงการ กิจกรรม และปริมาณก๊าซเรือนกระจก ที่มีความถูกต้อง รวดเร็ว และ โปร่งใสในฐานะเป็นหน่วยงานให้การรับรอง (Certified Body) 4) สร้างความร่วมมือและหุ้นส่วนการท่างานร่วม จากภาคี ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบสารสนเทศ และการจัดการองค์ความรู้ด้านการจัดการก๊าซเรือนกระจกเพื่อให้มี ข้อมูลสถานการณ์ก๊าซเรือนกระจก และองค์ความรู้ ที่มีความน่าเชื่อถือ ทันสมัย และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ซึ่งมีกลยุทธ์หลักคือ 1) พัฒนาชุดข้อมูลและข้อมูลสถานการณ์ก๊าซเรือนกระจก ที่มีความน่าเชื่อถือทันสมัย และเพิ่มช่อง ทางการเข้าถึง 2) พัฒนาชุดองค์ความรู้ด้านการจัดการก๊าซเรือนกระจก ที่มุ่งเน้นเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่​่า 2.3.2 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน พ.ศ. 2556-2560 กระทรวงพลั ง งาน มี อ่ า นาจหน้ า ที่ แ ละภารกิ จ รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด หา พั ฒ นา และบริ ก ารจั ด การพลังงานเพื่อสร้างเสถียรภาพด้านพลังงานของประเทศ ให้มีพอเพียงต่อความต้องการและเพิ่มศักยภาพใน การแข่งขันของประเทศ ดังนั้น เพื่อให้กระทรวงพลังงานด่าเนินการตามพันธกิจบรรลุเป้าประสงค์ตามวิสัยทัศน์ ที่ตั้งไว้ คือ "มุ่งพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน ให้ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย มีพลังงานใช้อย่างพอเพียง"จึง ได้ประกาศแผนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน (พ.ศ.2556-2560) โดยมีสาระส่าคัญ (กระทรวงพลังงาน, 2556: 1) ดังต่อไปนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดหาเพื่อสร้างเสริมความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ เพื่อจัดหาพลังงานให้ เพียงพอต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตประชาชน กระจายแหล่งชนิดเชื้อเพลิงที่หลากหลาย มี โครงสร้างพื้นฐานและพลังงานที่เชื่อถือได้ต่อการเติบโตอุตสาหกรรมพลังงาน มีระบบรองรับสภาวะวิกฤต ป้องกันแก้ไขขาดพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การอนุรักษ์พลังงานและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประสิทธิภาพการใช้ พลังงานของประเทศเพิ่มขึ้น และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -33


ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานสะอาด เพื่อสามารถทดแทนพลังงานฟอสซิลมาก ขึ้น ใช้พลัง งานทดแทนในชุมชนอย่างทั่วถึง มีการแก้ไ ขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา และพัฒนา กฎหมายเฉพาะในการส่งเสริมและก่ากับดูแลพลัง งานทดแทน และคนไทยสามารถเป็นเจ้าของเทคโนโลยี พลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพในต้นทุนที่แข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การก่ากับดูแลกิจการพลังงานและราคาพลังงาน เพื่อ ประชาชนเข้า ถึงพลังงานใน ราคาที่เหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกภาคส่วนและสะท้อนต้นทุนที่แท้จริง และการผลิต การแปรรูป การขนส่ง มีความปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ประชาชนได้ใช้พลังงานที่มีคุณภาพและปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 อุตสาหกรรมพลังงานสร้างรายได้ให้ประเทศ เพื่อมุ่ งสู่การเป็นศูนย์กลางการค้าด้าน พลังงานและศูนย์กลางการค้าเชื้อเพลิงชีวภาพในภูมิภาคอาเซียน และรายได้ของภาคพลังงานเติบโตอย่ าง ต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงที่ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้กระทรวงพลังงานเป็น องค์กรภาครัฐระดับแนวหน้า เป็นศูนย์กลางข้อมูล และมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล 2.3.3 แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี พ.ศ. 2554 – 2573 กระทรวงพลังงาน โดย ส่านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้สนับสนุนทุนการศึกษาเพื่อ จัดท่าแผนอนุ รักษ์ พ ลังงานโดยได้ ท่ าการประเมิน ศัก ยภาพเชิง เทคนิ ค ในการอนุรั กษ์พ ลัง งาน ใน 3 ภาค เศรษฐกิจหลักได้แก่ ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม และภาคอาคารธุรกิจและบ้านอยู่อาศัย เพื่อจัดท่าเป้าหมาย การอนุรักษ์พลังงานใน 20 ปี ซึ่งแผนการอนุรักษ์พลังงานนี้มีความหมาย 2 นัย คือ (1) การประหยัดหรือการลดการใช้พลังงานที่ไม่จ่าเป็น (2) การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร และคณะ,ม.ป.ป.: 4-3) โดยในเชิง ยุทธศาสตร์ก ารขั บ เคลื่ อนนโยบายและการด่ า เนินงานแผนอนุรัก ษ์พ ลัง งานในภาพรวมเพื่อ ให้ บรรลุ ต าม เป้าหมายที่ตั้งไว้นั้น ควรให้ความส่าคัญกับเรื่องต่อไปนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้มาตรการแบบผสมผสานทั้งการบังคับด้วยกฎระเบียบและมาตรฐาน และการ ส่งเสริมและสนับสนุนด้วยการจูงใจ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การใช้มาตรการที่จะส่งผลกระทบในวงกว้างในเชิงการสร้างความตระหนักและการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้พลังงานของผู้ใช้พลังงานและพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้ประกอบการ และการ เปลี่ยนทิศทางตลาด (Market Transformation) โดยเพิ่มนวัตกรรมในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ เช่นการ เชื่อมโยงการอนุรักษ์พลังงานกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดปัญหาภาวะโลกร้อน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้เอกชนเป็นหุ้นส่วนที่ส่าคัญ (Public-Private Partnership) ในการส่งเสริมและ ด่าเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -34


ยุทธศาสตร์ที่ 4 การกระจายงานด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานไปยังหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐ และเอกชนที่มีความพร้อมด้านทรัพยากรและความเชี่ยวชาญ เช่น การไฟฟ้าฯ และสมาคมอุตสาหกรรมต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การใช้มืออาชีพและบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) เป็นกลไกส่าคัญเพื่อให้ค่าปรึกษา และด่าเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่ต้องใช้เทคนิคที่สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยีเพื่อลดต้นทุนเทคโนโลยีและเพิ่มโอกาสการ เข้าถึงเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง รวมทั้งการเสริมสร้างธุรกิจผลิตสินค้าที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง แผนอนุรักษ์พลังงานนี้ ประกอบด้วยกลยุทธ์ทั้งหมด 5 ด้าน ซึ่งเป็นมาตรการที่มีล่าดับความส่าคัญสูงเนื่องจาก เป็นมาตรการที่ใช้เงินลงทุนต่​่าและเกิดผลการประหยัดพลังงานสูง ได้แก่ กลยุทธ์ด้านที่ 1 การบังคับด้ว กฎ ระเบียบและมาตรฐาน กลยุทธ์ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน กลยุทธ์ด้านที่ 3 กา สร้างความตระหนักและเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรม กลยุทธ์ด้านที่ 4 การส่ง เสริมการพัฒนาเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม กลยุทธ์ด้านที่ 5 การพัฒนาก่าลังคนและความสามารถเชิงสถาบันซึ่งในระยะ 5 ปีแรก การด่าเนิน มาตรการตามแผน ควรมีผลการประหยัดพลังงานขั้นสุดท้ายปีละไม่น้อยกว่า 1,000 ktoe (พันตันเทียบเท่า น้่ามันดิบ) โดยที่ภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมจะต้องมีสัดส่วนการประหยัดพลังงานที่สูงสุดหรือรวมกันกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมายรวมในแต่ละปี 2.3.4 แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี พ.ศ.2555-2564 กระทรวงพลังงานได้จัดท่าแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก25% ใน 10 ปี (พ.ศ. 2555-2564) หรือ Alternative Energy Development Plan, AEDP (2012-2021) เพื่อก่าหนดกรอบและ ทิศทางการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศ โดยกระทรวงพลังงานได้พยากรณ์ความต้องการพลังงานใน อนาคตของประเทศ โดยในปี พ.ศ.2564 คาดว่าจะมีความต้องการ 99,838 ktoe จากปัจจุบัน 71,728 ktoe โดยแผนพัฒนาก่าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 และแผนการพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก พ.ศ. 2555-2564 ได้ก่าหนดให้มีสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นจาก 7,413 ktoe ในปี 2555 เป็น 25,000 ktoe ในปี 2564 หรือคิดเป็น 25% ของการใช้พลังงานรวมทั้งหมด (กระทรวงพลังงาน, ม.ป.ป.: 3) กระทรวงพลังงานได้ก่าหนดยุทธศาสตร์ในการจัดท่า Roadmap เพื่อส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี (พ.ศ.2555-2564) หรือ AEDP (2012-2021) ใน 6 ประเด็น ดังนี้ 1) การส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตและการใช้พลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง 2) การปรับมาตรการจูงใจส่าหรับการลงทุนจากภาคเอกชนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ 3) การแก้ไขกฎหมาย และกฎระเบียบที่ยังไม่เอื้อต่อการพัฒนาพลังงานทดแทน 4) การปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบสายส่ง สายจ่าหน่ายไฟฟ้ารวมทั้งการพัฒนาสู่ ระบบ Smart Grid ซึ่งหมายถึง ระบบโครงข่ายส่าหรับส่งไฟฟ้าอัจฉริยะแบบครบวงจรโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 5) การประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจต่อประชาชน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -35


6) การส่งเสริมให้งานวิจัยเป็นเครื่องมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนแบบครบวงจร 2.3.5 ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านการเกษตร พ.ศ.2556-2559 กระทรงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดท่าแผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี พ.ศ.2556-2559 ขึ้นโดยมีกรอบแนวคิดการจัดท่ายุทธศาสตร์ คือ สนับสนุนการพัฒนาเกษตรให้มีภูมิคุ้มกัน สามารถปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อคงไว้ซึ่งความมั่นคงในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และความมั่นคงทางอาหาร รวมทั้งการเพิ่มผลิตภาพการผลิตและความสามารถในการแข่งขัน โดยการปรับการ ผลิตสู่การเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกษตรคาร์บอนต่​่า โดยความสมัครใจ รวมทั้งค่านึงถึงผลประโยชน์ ของเกษตรกรและการพัฒนาเกษตรอย่างยั่งยืน ซึ่งจะบรรลุการพัฒนาในทิศทางดังกล่าวจ่าเป็นต้ องด่าเนินการ วิจัย พัฒนา สร้างองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ มีกลไกสนับสนุนทางการเงินและการพัฒนาศักยภาพของผู้ที่เกี่ยวข้องในภาคการเกษตรทุกภาคส่วนให้เกิดการ รับรู้ ความเข้าใจ เพื่อมีส่วนร่วมในการบรรเทาและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, 2555: 36) ซึ่งมีประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อรักษาพื้นที่เกษตร สร้างความ มั่นคงทางด้านอาหาร และสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเก็บกักและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตร เพื่อใช้ศักยภาพของ ภาคการเกษตรในการมีส่วนร่วมช่วยบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างเหมาะสม เป็นธรรม เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรในตลาดโลก และให้เกษตรมีโอกาสสร้างรายได้จากกลไก สนับสนุนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร เพื่อพัฒนา เชื่อมโยงองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นในการปรับตัว การลดและการเก็บกักก๊าซเรือนกระจก สร้างความตระหนักรู้แก่ทุกภาคส่วน ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วม ของเกษตรกร ชุมชนเกษตร และพัฒนาการด่าเนินงานและกรอบความร่วมมือกับต่างประเทศ 2.3.6 แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2555-2559 กรมควบคุมมลพิษในฐานะหน่วยงานหลักในการเสนอนโยบายและมาตรการเกี่ ยวกับการจัดการ มลพิษของประเทศ โดยได้จัดท่าแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2555-2559 มีวัตถุประสงค์เพื่อก่าหนดกรอบและ ทิศทางในการจัดการมลพิษของประเทศไทย (พ.ศ. 2555-2559) ที่ทันต่อสถานการณ์ เพื่อให้การป้องกันและ แก้ไขปัญหามลพิษอย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก (กรมควบคุมมลพิษ, 2555: 35) โดยมีแนวทางการจัดการมลพิษดังนี้ 1) การจัดการมลพิษจากภาคชุมชน ประกอบด้วย - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนต้องจัดการขยะมูลฝอยชุมชน มูลฝอยติดเชื้อ ของ  เสียอันตรายชุมชนได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนต้องจัดการน้่าเสียได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -36


- เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ควบคุมแหล่งก่าเนิด 2) การจัดการมลพิษจากภาคเกษตรกรรม ประกอบด้วย - การผลิตภาคเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - การจัดการสารอันตรายในภาคเกษตรกรรม - การควบคุมการเผาในที่โล่ง 3) การจัดการมลพิษจากภาคอุตสาหกรรม ประกอบด้วย - การผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ควบคุมแหล่งก่าเนิด - ก่ากับดูแลการจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายในภาคอุตสาหกรรม 4) การจัดการมลพิษจากภาคคมนาคมและการขนส่ง ประกอบด้วย - ส่งเสริมการใช้ยานพาหนะและเชื้อเพลิงที่มีมลพิษต่​่า - เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ควบคุมแหล่งก่าเนิด 5) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประกอบด้วย ปรับรูปแบบและพฤติกรรมการบริโภค ให้ความร่วมมือใน การจ่ า ยค่ า ธรรมเนีย มและค่ า บริก ารในการจั ดการของเสี ย ของภาครัฐ หรื อ องค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ประชาชนและชุมชนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ เข้ามามีส่วนร่วมในการให้ ความคิดเห็นและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมร่วมกับภาครัฐ ร่วมตรวจสอบและติดตามการแก้ไขปัญหามลพิษของ ส่วนราชการและผู้ประกอบการ 6) การพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งของภาคส่วน ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน่าแนวคิด การจั ด การมลพิษ ไปประยุก ต์ ใช้ ใ นการวางแผนหรื อแผนการท่ า งานในการบริ หารพั ฒนาท้ องถิ่ น พั ฒ นา ศักยภาพบุคลากรภาครั ฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้น่าชุมชน เครือข่ายภาค ประชาชน และภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง ก่าหนดให้มีหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและด้านการ จัดการมลพิษเป็นหลักสูตรภาคบังคับของการศึกษาขั้นพื้นฐานในทุกระดับการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ จัดให้มีหลักสูตรจัดการสิ่งแวดล้อมในหลักสูตรการฝึกอบรมส่าหรับนักการเมื องและผู้บริหารของหน่ว ยงาน ราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการหมู่บ้าน และภาคเอกชน เผยแพร่และประชาสัมพันธ์เชิงรุก อย่างทั่วถึง และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบงานกฎหมายสิ่งแวดล้อม 7) การวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนการจัดการมลพิษ ประกอบด้วย - สนับสนุนการวิจัยองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ เพื่อใช้ในการจัดการมลพิษที่  ง่ายส่าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในการน่าไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม  กับสภาพและปัญหาในแต่ละพื้นที่มีการบูรณาการการท่างานร่วมกันระหว่างภาครัฐและ  ภาคเอกชนเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และเชื่อมโยงผลการวิจัยไปสู่เชิงพาณิชย์มากขึ้น - จัดล่าดับความส่าคัญและจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการวิจัยเพื่อการจัดการมลพิษ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -37


2.3.7 แผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน พ.ศ.2550

ภาพที่ 2-3 แสดงมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่7/2550 ที่มา : แผนปฏิบัติการเชิงนโยบาย ด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน, 2550 แผนปฏิ บั ติ ก ารเชิ ง นโยบายด้ า นการจั ด การพื้ น ที่ สี เ ขี ย วชุ ม ชนอย่ า งยื น (พ.ศ. 2550) เป็ น แผน ด่าเนินการตามนโยบายและแผนส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (พ.ศ.2540-2559) ซึ่งเป็นแผน ระดับปฏิบัติการในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนในที่ดินของหน่วยงานรัฐและเอกชน รวมทั้งการเสริมสร้ างขี ด ความสามารถ ศักยภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการปรับปรุงระเบียบ กฎหมาย เพื่อให้เกิดการเพิ่มพื้นที่ สีเขียวยั่ง ยืนอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ แผนดัง กล่าวฯ ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่ง แวดล้ อ ม แห่งชาติและมติคณะรัฐมนตรีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยได้ก่าหนดนิยาม วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ในการพัฒนาพื้นที่สีเขียงยั่งยืนในชุมชนเมืองไว้อย่างชัดเจน รวมทั้งก่าหนดแนวทางการด่าเนินงานเพื่อเพิ่มและ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -38


จั ด การพื้ น ที่ สี เ ขี ย วชุ ม ชนเมื อ งอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายที่ ก่ า หนดไว้ 6 แนวทาง (ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2552: 3) ได้แก่ แนวทางที่ 1 การน่าร่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนในแปลงที่ดินของรัฐ สถานที่ราชการ สถานศึกษาศาสนสถาน และการปลูกไม้ยืนต้นในบริเวณที่ดินสาธารณะริมทางหรือริมน้่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนให้กับชุมชน แนวทางที่ 2การปรับปรุงกฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับการส่งเสริมการเพิ่มและการ บริหารจัดการพื้นที่สีเขียวยั่งยืนของชุมชน และผลักดันให้มีการบังคับใช้อย่างเคร่งครัด แนวทางที่ 3 สนับสนุน ส่งเสริม และก่าหนดให้เอกชนเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน แนวทางที่ 4 การใช้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวยั่งยืน แนวทางที่ 5การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ใน การจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน แนวทางที่ 6 สนับสนุนการสร้างความรู้ จิตส่านึ กในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการเพิ่มและการจัดการ พื้นที่สีเขียวยั่งยืนของชุมชน 2.3.8 โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะการด่าเนินงานด้านพื้นที่สีเขียวชุมชน พ.ศ.2553 โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะการด่าเนินงานด้านพื้นที่สีเขียวชุมชน พ.ศ.2553 เป็น โครงการที่จัดท่าขึ้นเพื่อให้มีความสอดคล้องและเป็นการขยายผลของแผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการ จัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน (2550) เพื่อเป็นการเร่ง สมรรถนะการด่าเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ชุมชน และประชาชนในทุกระดับ ให้มีการด่าเนินงานด้านพื้นที่สีเขียวในทิศทางที่ ยั่ง ยืนโดยเร่งผลักดันและด่าเนินการตามกรอบความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมเมืองยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน โครงการได้เสนอแนะรูปแบบที่เป็นรูปธรรม และน่าไปปฏิบัติได้ส่าหรับการสร้างพื้นที่สีเขียวในชุมชนเมือง พร้อมทั้งการจัดท่าคู่มือรูปแบบการสร้างพื้นที่ สีเขียวพร้อมภาพประกอบที่ชัดเจน ซึ่งภาครัฐ เอกชน ชุมชน และประชาชนจะสามารถน่าองค์ความรู้ไปสร้างและดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวของตนเองได้ รวมทั้ง การจัดท่า ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการด่าเนินงาน เพื่อพัฒนาพื้นที่สีเขียวสู่เมืองน่าอยู่ เมืองนิเวศ และสังคมคาร์บอนต่​่า ส่าหรับประเทศไทย (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2557ก: 4-44) โดยมีปัจจัยดังนี้ 1) ผู้บริหารเมืองและชุมชน 2) การจัดตั้งคณะท่างานที่ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกภาคส่วน และนักวิชาการผู้สนับสนุนในเชิง วิชาการแก่ชุมชน 3) การมีกระบวนการมีส่วนร่วม 4) การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้เกิดแรงกระเพื่อมในการพัฒนาไปสู่เป้าหมาย 5) การประสานความร่วมมือกับองค์กรภายนอก 6) การประชาสัมพันธ์ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -39


โครงการได้เสนอรูปแบบและแนวทางการสร้างพื้นที่สีเขียวชุมชนอย่างยั่งยืน โดยน่าเสนอรูปแบบและ แนวทางส่าหรับพื้นที่และสถานที่แบบต่างๆ อาทิ การสร้างพื้นที่สีเขียวในสถานที่ท่า งานและหน่วยงานของรัฐ สถานที่เอกชน ห้างสรรพสินค้า พื้นที่ว่างอื่นๆ ในเมือง และสถานที่อื่นๆ พื้นที่สาธารณะและแปลงที่ดิน เป็นต้น 2.3.9 โครงการเทศบาลไทยมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่​่า

ภาพที่ 2-4 แสดงยุทธศาสตรโ์ ครงการเทศบาลไทยมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่​่า ที่มา : สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย, 2555 สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย ได้ริเริ่ม “โครงการเทศบาลไทยมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่​่าเพื่อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 84 พรรษา” ขึ้น โดยมุ่งหวังที่จะรวมพลังเทศบาลไทยในการ บรรเทาความรุนแรงของวิกฤตโลกร้อน โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทาง อันเป็นการแสดงออก ถึงความจงรักภักดีในวาระมหามงคลที่พระองค์ทรงมีพระชนมายุครบ 84 พรรษาหรือ 7 รอบในปี พ.ศ. 2554 โดยสหภาพยุ โ รป (European Union; EU) ได้ ส นั บ สนุ น งบประมาณส่ ว นใหญ่ประมาณร้อ ยละ 90 ให้ แ ก่ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทยในการด่าเนินโครงการนี้ภายในระยะเวลา 36 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 และสิ้นสุดเดือนมกราคม พ.ศ.2558 ทั้งนี้ สมาคมฯ ได้อุดหนุนงบในการด่าเนิน กิจกรรมอีกร้อยละ 10 โดยโครงการฯ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อมุ่งส่งเสริมให้ผู้บริหารและบุคลากรของเทศบาล ที่อาสาเข้าร่วมโครงการฯได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงสาเหตุและกระบวนการปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรม ต่างๆในภาคเมืองจนเกิดความตระหนักและมีศักยภาพพอที่จะปรับเปลี่ยนทิศทางการพัฒนาสู่ “เทศบาล คาร์บอนต่​่า” ตามแนวทางพระราชด่าริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรเทา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์และการด่ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ในระบบนิเวศ โดยพยายามส่งเสริมให้ลดการปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในเมือง และ มียุทธศาสตร์ ดังนี้ (1) เมืองแห่งต้นไม้ (City of Tree) (2) เมืองไร้มลพิษ (City of Waste Minimization) (3) เมืองพิชิตพลังงาน (City of Energy Efficiency) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -40


(4) เมืองที่มีการบริโภคอย่างยั่งยืน (City of Sustainable Consumption) (สมาคมสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทย, 2555) โดยหลังจากที่สิ้นสุดการด่าเนินโครงการผลที่เกิดขึ้นมีดังนี้ 1) เทศบาลจ่านวน 181 แห่ง มีขีดความสามารถและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสู่เมืองคาร์บอนต่​่า โดย สามารถด่าเนินกิจกรรมลดคาร์บอนได้ส่าเร็จตามแผนงานได้อย่างน้อยเทศบาลละ 1 โครงการ โดยมีการบูรณา การโครงการเมืองคาร์บอนต่​่าเข้าไปในแผนพัฒนา 3 ปี หรือแผนพัฒนาประจ่าปีของเทศบาล 2) จากการด่าเนินโครงการริเริ่มของเทศบาลน่าร่อง ภายใต้กรอบการด่าเนินงาน 4 ยุทธศาสตร์สู่การ เป็นเมืองคาร์บอนต่​่า สามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาพรวมของประเทศได้อย่างน้อย 84,000 กิโลกรัมหลังสิ้นสุดโครงการในปี 2558 โดยค่านวณจากโปรแกรมการวัดปริมาณคาร์บอนที่พัฒนาขึ้น 3) มี “เอกสารตัวอย่างที่ดี 84 โครงการสู่เมืองคาร์บอนต่​่าของเทศบาลไทย เพื่อเฉลิมฉลองพระชนมายุ 84 พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” และหนังสั้นอย่างน้อย 10 เรื่องซึ่งเป็นผลงานของเทศบาลน่าร่องจะ ถูกน่าขึ้นทูลเกล้าถวายรายงานแก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหลังสิ้นสุดโครงการฯ เพื่อเป็นสิริมงคลสูงสุดแก่ ชาวท้องถิ่น 2.3.10 โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ปีงบประมาณ 2557 ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ในฐานะหน่วยงานประสานงาน กลาง (Nation Focal Point) ของประเทศไทยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และปฏิบัติงานร่วมกับ ประเทศในภูมิภาคอาเซียน ได้เล็งเห็นความจ่าเป็นในการจัดท่ากรอบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมรวมทั้งการ พัฒนาพื้นที่สีเขียวในเมืองอย่างยั่งยืน เพื่อมุ่งสู่การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่าจัดท่า แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง/ชุมชน จัดท่ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้านพื้นที่สีเขียวและชนิดพรรณ ไม้ในเมือง/ชุมชน ที่มีประสิทธิภาพในการดูดซับมลพิษดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ และลดอุณหภูมิในเมือง การ ขับเคลื่อนการด่าเนินงานภายในประเทศ ตลอดจนการเสริ มสร้างองค์ความรู้และศักยภาพการด่าเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของเมือง/ชุมชน จึง ได้จัดสรรงบประมาณปี 2557 เพื่อด่าเนินกิจกรรมดังกล่าว ภายใต้ชื่อ “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่ง สู่สังคมคาร์บอนต่​่า” (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2558: 10) โดยประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับทิศทางการพัฒนาเมือง/ชุมชนให้ไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ เป็นสังคมคาร์บอนต่​่า - แนวทางที่ 1.1 ปรับทิศทางการจัดท่าแผนพัฒนาและการจัดสรรงบประมาณของเมือง/ชุมชนให้เอื้อ ต่อการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และการไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่า - แนวทางที่ 1.2 หน่วยงานภาครัฐปรับวิธีการด่าเนินภารกิจที่มุ่งเน้นการให้ความส่าคัญต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติที่ดีแก่ประชาชน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -41


- แนวทางที่ 1.3 ชุมชนและภาคครัวเรือนน่าแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อการปรับเปลี่ ยน พฤติกรรมของสมาชิกในชุมชน และครัวเรือนให้มีวิถีการด่าเนินชีวิตที่เติบโตอย่างพอเพียงและเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม - แนวทางที่ 1.4 สถาบันการศึกษาพัฒนาเยาวชนให้มีขีดความสามารถ ควบคู่กับการมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมด้านสิ่งแวดล้อม - แนวทางที่ 1.5 สนับสนุนให้ภาคธุรกิจเอกชนปรับรูปแบบและวิธีการด่าเนินงานที่ให้ความส่ าคัญ กับ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 2 การพั ฒ นาขี ด ความสามารถของเมื อ ง/ชุ ม ชนเพื่ อ มุ่ ง สู่ ก ารเติ บ โตที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม และเป็นสังคมคาร์บอนต่​่า - แนวทางที่ 2.1 พั ฒ นาก่ า ลั ง คนของหน่ ว ยงานภาครั ฐ และผู้ น่ า ชุ ม ชนของเมื อ ง/ชุ ม ชนให้ มี ขี ด ความสามารถในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการสร้างสังคมคาร์บอนต่​่า - แนวทางที่ 2.2 สนับสนุนให้สถาบันการศึกษาเป็นหน่วยงานหลักในการเป็นที่พึ่งของเมือง/ชุมชนด้าน สิ่งแวดล้อม - แนวทางที่ 2.3 สนับสนุนการผลิตงานวิจัย และการน่านวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมไปใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาและแก้ปัญหาของเมือง/ชุมชน - แนวทางที่ 2.4 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมและผลักดัน สู่สัง คม คาร์บอนต่​่า - แนวทางที่ 2.5 ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียว รวมถึงการดูแลพื้นที่สีเขียวเดิมให้อยู่อย่างยั่งยืน - แนวทางที่ 2.6 ปรับปรุงผังเมืองให้เอื้อต่อการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อมการพัฒนาเมือง/ชุมชน - แนวทางที่ 2.7 ส่งเสริมให้เมือง/ชุมชนมีการติดตามประเมินผลความส่าเร็จในการพัฒนาไปสู่การ เติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่าอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การน่ามาตรการทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมายมาใช้ในการควบคุมและสร้าง แรงจูงใจเพื่อการพัฒนาเมือง/ชุมชนไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่​่าได้อย่าง มีประสิทธิภาพ - แนวทางที่ 3.1 น่ามาตรการที่ก่อให้เกิดแรงจูง ใจทางเศรษฐศาสตร์มาสนับสนุนการแก้ไ ขปัญ หาด้า น สิ่งแวดล้อมให้เกิดประสิทธิภาพ - แนวทางที่ 3.2 สนับสนุนการน่ากฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมมาใช้พัฒนาในพื้ นที่เมือง/ชุมชนให้เห็นผลเป็น รูปธรรม - แนวทางที่ 3.3 ส่งเสริมการน่ามาตรการทางสังคมมาใช้เพื่อสร้างแรงจูงใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ ประชาชนในการอยู่ร่วมกันโดยให้ความส่าคัญในการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -42


ภาพที่ 2-5 แสดงโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ปีงบประมาณ 2557 2.3.11 โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ปีงบประมาณ 2558 ในปีงบประมาณ 2558 ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้ จัดท่ากรอบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมรวมทั้งการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในเมืองอย่างยั่งยืน เพื่อมุ่งสู่การเติบโต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่​่า ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2557 โดยมีวิสัยทัศน์ “เมืองและ ชุมชนของประเทศไทยมีการพัฒนาและเติบโตที่เป็นมิตรกับ สิ่ง แวดล้อมอย่างยั่ง ยืนในระดับแนวหน้าของ อาเซี ย น” เพื่ อ การขั บ เคลื่ อ นเมื อ งและชุ ม ชนของประเทศไทยให้ ไ ปสู่ ก ารเป็ น เมื อ งเติ บ โตที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม และเป็ น เมื อ งคาร์ บ อนต่​่ า สอดคล้ อ งกั บ ความร่ ว มมื อ อาเซี ย นด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มเมื อ งที่ ยั่ ง ยื น (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2558: 41) ซึ่งมีเป้าหมายดังนี้ 1) ประเทศไทยได้รับการยอมรับจากประชาคมอาเซียนในเรื่องการขยายงานภายใต้ข้อริเริ่มอาเซียนว่า ด้วยเมืองที่มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 2) มีเกณฑ์ตามตัวชี้วัดที่เป็นมาตรฐานส่าหรับประเทศเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบระหว่างเมืองได้ 3) มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด สมเหตุผล พึ่งตนเองได้ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นโดย ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง 4) มีการลดของเสีย มลภาวะ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก สร้างคุณภาพสิ่ง แวดล้อมที่ดี และเพิ่ม สัดส่วนพื้นที่สีเขียว 5) มีการจัดการและกลไกพัฒนาที่มีธรรมาภิบาล มีกระบวนการที่ให้ประชาชนมีส่วนส่วนร่วมในการ พัฒนาเมืองและชุมชนในทุกขั้นตอนและมีการสร้างเครือข่ายเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน ความเชี่ยวชาญและ การถ่ายทอดเทคโนโลยี

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -43


การด่าเนินงานตามโครงการดังกล่าวประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ - ยุทธศาสตร์ที่ 1 เผยแพร่และขยายผลการพัฒนาเมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่าง - ยั่งยืน - ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างเกณฑ์ตัวชี้วัดที่เป็นมาตรฐานของประเทศและมีความเป็นสากล - ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยประยุกต์ใช้ - หลักเศรษฐกิจพอเพียง - ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีและเพิ่มสัดส่วนพื้นที่สีเขียว - ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกลไกการพัฒนาตามหลักธรรมาภิบาล - ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความร่วมมือกับอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน นอกจากนั้น การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมื องและชุ ม ชนเพื่อ มุ่ง สู่ สัง คมคาร์ บอนต่​่ ายัง มี ขึ้ น ใน เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด และเทศบาลเมืองศรีสะเกษ เพื่อให้มีการวางผัง แนวคิดการ พัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าและการผลักดันอย่างเป็นรูปธรรม

ภาพที่ 2-6 แสดงโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ปีงบประมาณ 2558 2.4 เป้าประสงค์ของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่ามีความสัมพันธ์กับแผน นโยบาย และยุทธศาสตร์ ต่างๆทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับรายสาขาจ่านวนมาก ประเด็นส่าคัญที่มีร่วมกันจากแผนและ นโยบายต่างๆได้รับการบูรณาการขึ้นเพื่อระบุถึงเป้าประสงค์ที่มีความส่าคัญต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -44


คาร์บอนต่​่าตลอดจนเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะน่าไปสู่การวิเคราะห์หากลไกและเครื่องมือในการ ด่าเนินงานในบทต่อไป ดังนี้ 2.4.1 ประเด็นส่าคัญที่มีร่วมกันจากนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นส่าคัญที่มีร่วมกันจากนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องนั้นมาจากการทบทวนถึงแผน นโยบาย และยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับรายสาขา ดังนี้การทบทวนถึงนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติการทบทวนถึงนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติซึ่งเกี่ยวข้องกับการ พัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ประกอบด้วย แผนปฏิบัติการ 21 ความร่วมมืออาเซียนด้าน สิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) - แผนปฏิบัติการ 21 เพื่อการพัฒนายั่งยืน ซึ่งกล่าวถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ และแนวทางอนุรักษ์ความหลากหลายชนิดและสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต การอนุรักษ์ป่า การ ต่อสู้กับความยากจนรวมถึงปัญหาการบริโภคที่ฟุ่มเฟือย การวางแผนการจัดการด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย การแก้ปัญหาของเมืองใหญ่ และปัญหาของเกษตรกร โดยมีแนวทางที่ส่าคัญคือ 1) การพัฒนาเศรษฐกิจจะต้องผสมผสานและควบคู่ไปกับการพัฒนาและ ความห่วงใยในสิ่งแวดล้อม 2) การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย การสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์ การปล่อยของเสียและมลพิษต่างๆเป็น สาเหตุที่ท่าให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมไม่ยั่งยืน ซึ่งไม่อาจปล่อยให้เป็นเช่นนี้อีกต่อไปได้ 3) ต้องมีการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 4) มนุษย์ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการด่ารงชีวิตความเป็นอยู่ ในสิ่งแวดล้อมที่ดี - ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนกล่าวถึง การด่าเนินความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานประชาคมสัง คมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่ง ประกอบด้วยความร่วมมือในประเด็นต่างๆ 11 ด้าน คือ 1) การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก 2) การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน 3) ส่งเสริมการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน 4) ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม 5) ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการด่ารงชีวิตในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง 6) การประสานกันเรื่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล 7) ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน 8) ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ 9) ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้่าจืด 10) การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ 11) ส่งเสริม การบริหารจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -45


- เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) จัดท่าขึ้นเพื่อการพัฒนาร่วมกันในอีก 15 ปีข้างหน้าจนถึงปี 2573 (พ.ศ.2558-2573) โดยเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน ประกอบด้วยเป้า หมายหลัก 17 เป้าหมาย ซึ่ง กล่าวถึงเรื่องสิ่งแวดล้อมดังนี้ คือ เป้าหมายที่ 13 ด่าเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น เป้าหมายที่14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากร ทางทะเลส่าหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 15 พิทักษ์ บูรณะ และส่งเสริมการใช้ ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบกจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้กับการแปรสภาพเป็นทะเลทราย หยุดยั้ง และฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน และหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสรุป นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติล้วนให้ความส่าคัญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม แทบทั้งสิ้น เนื่องจากถือได้ว่าเป็นปัญหาระดับโลกที่ต้องมีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้น่า ชาติสมาชิกเป็นจ่านวนมากในการหาความร่วมมือในด่าเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดการที่เกี่ยวกั บการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดการและป้องกันปัญ หามลพิ ษ ด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มและการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อากาศ การลดผลกระทบที่ ท่ า ให้ เกิ ด การเปลี่ ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและการเกิดก๊าซเรือนกระจก เป็นต้น ซึ่งได้มีเป้าหมายและแนวทางให้ทุ กประเทศปฏิบัติร่ว มกัน เพื่อที่จะสามารถจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมโลกได้อย่างยั่งยืน การทบทวนถึงนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับประเทศการทบทวนถึงนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ใน ระดับประเทศซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ประกอบด้วย - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) - ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) - แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ - ความเห็นและข้อเสนอแนะสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2555-2559 - แผนปฏบิ ัติการยุทธศาสตรป์ ระเทศ (ปีงบประมาณ 2556-2561) ฉบับร่าง - แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ.2558-2593 - นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540-2559 - นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ฉบับร่าง - ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ของประเทศไทย ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ - การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การยกระดับขีดความสามารถในการรองรับและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อให้ สังคมมีภูมิคุ้มกัน - การเตรียมความพร้อมรองรับกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -46


- การลดก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมการเติบโตที่ปล่อยคาร์บอนต่​่า - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เช่น การจัดการมูลฝอยอุตสาหกรรมและ กากของเสีย - การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว

-

-

ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจโดยค่านึงถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน การสร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่ง แวดล้อมและวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ การพัฒนาด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชนในทุกระดับ การกระจายอ่านาจและส่งเสริมการมีส่วนร่วม และจิตส่านึกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การพัฒนาคนและสังคมให้มีส่านึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มุ่ง เน้นการสร้างรากฐานให้ประชาชนใน สั ง คมไทยมี วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มบนพื้ น ฐานข องความรู้ ที่ ถู ก ต้ อ งในการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ

การทบทวนถึงนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์รายสาขา การทบทวนถึงนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์รายสาขาในระดับประเทศซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองและ ชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ประกอบด้วย - แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก พ.ศ.2559-2563 - แผนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน พ.ศ.2556-2560 - แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี พ.ศ.2554-2573 - แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี พ.ศ.2555-2564 - ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านการเกษตร พ.ศ.2556-2559 - แผนจัดการมลพิษ พ.ศ.2555-2559 - แผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน พ.ศ.2550 - โครงการสนบั สนนุ และเสริมสร้างสมรรถนะการด่าเนนิ งานดา่ นพื้นที่สีเขียวชุมชน พ.ศ.2553 - โครงการเทศบาลไทยมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่​่า รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -47


- โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า พ.ศ.2557 - โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า พ.ศ.2558 ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านการจัดการพลังงาน ได้แก่ - การอนุรักษ์พลังงานและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ - การพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานสะอาดเพื่อสามารถทดแทนพลังงานฟอสซิลมากขึ้น - การจัดหาเพื่อ สร้ างเสริ มความมั่น คงด้ านพลัง งานของประเทศเพื่ อให้เ พียงพอต่อ การเติ บ โตทาง เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตประชาชน - การก่ากับดูแลกิจการพลังงานและราคาพลังงานเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงพลังงานในราคาที่ เหมาะสม - การปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบสายส่ง สายจ่าหน่ายไฟฟ้ารวมทั้งการพัฒนาสู่ระบบ Smart Grid - การสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและการน่านวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและ แก้ปัญหาของเมือง/ชุมชน ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ได้แก่ - การเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนในแปลงที่ดินของรัฐ สถานที่ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน และการปลูก ไม้ยืนต้นในบริเวณที่ดินสาธารณะริมทางหรือริมน้่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนให้กับชุมชน - สนับสนุน ส่งเสริม และก่าหนดให้เอกชนเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน - การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการ จัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน - สนับสนุนการสร้างความรู้และจิตส่านึกในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการเพิ่มและการจัดการ พื้นที่สีเขียวยั่งยืนของชุมชน - การปรับปรุงกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับการส่งเสริมการเพิ่มและการบริหาร จัดการพื้นที่สีเขียวยั่งยืนของชุมชน ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านการจัดการการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ - การปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อรักษาพื้นที่เกษตร สร้างความมั่นคงทางด้าน - อาหาร และสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงข้อมูล - การเก็บกักและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตร - การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านการจัดการก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -48


- สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการลดก๊าซเรือนกระจก - พัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการองค์ความรู้ด้านการจัดการก๊าซเรือนกระจก เพื่อให้มีข้อมูล - สถานการณ์ก๊าซเรือนกระจก และองค์ความรู้ที่มีความน่าเชื่อถือ ทันสมัย และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ประเด็นส่าคัญของการด่าเนินงานในด้านการจัดการมลพิษ ได้แก่ - ให้มีการจัดการมลพิษทุกภาคส่วน ทั้งจากภาคชุมชน ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาค คมนาคมและการขนส่ง - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนการจัดการมลพิษ 2.4.2 เป้าประสงค์ของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า จากการทบทวนถึงแผน นโยบาย และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่ง สู่ สังคมคาร์บอนต่​่าในระดับต่างๆนั้น สามารถระบุถึงเป้าประสงค์ส่าคัญของการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอน ต่​่าและเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้ 8 ด้าน ดังนี้ - การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน - การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - การลดผลกระทบที่สง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการปลอ่ ยกาซเรือนกระจก - การรับมือกับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ - การเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาและส่งเสริมการวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว - การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกระดับ - การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -49


ภาพที่ 2-7 แสดงแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่​่า 2559

ตารางที่ 2-1 2-2 และ 2-3 แสดงความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ทั้ง 8 ด้านในการพัฒนาเมืองและ ชุมชนมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าที่มีต่อนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติ ระดับประเทศ และรายสาขา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป้าประสงค์ที่ถูกบูรณาการขึ้นนี้ครอบคลุมนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ต่างๆไว้ทั้งหมด

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -50


ตาราง 2-1 แสดงความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ในการพัฒนาเมืองและชุมชนมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าที่มีต่อ นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับนานาชาติ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -51


ตาราง 2-2 แสดงความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ในการพัฒนาเมืองและชุมชนมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าที่มีต่อ นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ในระดับประเทศ

ที่มา การวิเคราะห์นโยบาย แผน และยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนที่มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม รวมถึงยุทธศาสตร์ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว และสิ่งแวดล้อมล้อมที่ยั่งยืนในประเทศ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -52


ตาราง 2-3 แสดงความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ในการพัฒนาเมืองและชุมชนมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าที่มีต่อ นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์รายสาขา

ที่มา การวิเคราะห์นโยบาย แผน และยุทธศาสตร์รายสาขาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองและชุมชนที่มุ่งสู่สังคม คาร์บอนต่​่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงยุทธศาสตร์ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว และสิ่งแวดล้อมล้อมที่ยั่งยืน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -53


เป้าประสงค์ส่าคัญของการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่​่าและเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 8 ด้านเป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์กลไกและเครื่ องมือในการขับ เคลื่อนการพัฒนาฯดัง ที่ จะกล่ าวถึง ต่ อ ไป เป้าประสงค์ดังกล่าวมีดังนี้ 1) การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน คือ การอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่และ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่า โดยการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริมการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างพอเพียง โดยรักษาไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพให้สมบูรณ์ คงอยู อย่างมั่นคงและยั่งยืน อีกทั้งเร่งรัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมเพื่อให้เป็นปัจจัยพ้นื ฐานของกา พัฒนาที่ยั่งยืน แก้ไขปัญหาการตัดไม้ท่าลายป่า การจัดการมูลฝอยอุตสาหกรรมและกากของเสีย การพัฒนา สังคมและเศรษฐกิจโดยค่านึงถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืนบนพื้นฐานของการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล รักษา และใช้ประโยชน์ สร้างจิตส่านึกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ ทางธรรมชาติเพื่อให้สังคมมีภูมิคุ้มกัน 2) การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คือ การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการปรับฐานการผลิต การบริการ และการบริโภคให้มีคุ ณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัยโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยการส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการสร้างงานสีเขียว การจัดการมลพิษและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม การเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน โดยใช้การเกษตรเป็นฐานในการพัฒนา การ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน การพัฒนาเศรษฐกิจโดยการบูรณาการเชิงพื้นที่ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคม และการจัดการขนส่ง ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรมอย่างบูรณาการ สร้างภูมิคุ้มกันด้าน การค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตภาวะโลกร้อน 3) การลดผลกระทบที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การลดผลกระทบที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก คือ การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติให้ดีต่อไปในอนาคต และมุ่งเน้นการลด ก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน อุตสาหกรรม การเกษตร การเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่และป่าไม้ และการ จัดการของเสีย โดยการผลิตไฟฟ้า ควรเน้นการลดสัด ส่วนการใช้ เ ชื้อ เพลิง ฟอสซิ ล และเพิ่ม สั ดส่ วนการใช้ พลัง งานหมุนเวียน ภาคการคมนาคมขนส่งควรพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งที่มีประสิทธิภาพสูงและ ปล่อยคาร์บอนต่​่า ภาคอุตสาหกรรมควรเน้นเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรและการจัดการเพื่อประหยัดพลังงาน ลดของเสีย สนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน และภาคการจัดการเมืองควรมุ่ งเน้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่ อ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -54


เป็ น แหล่ ง ดู ด ซั บ มลพิ ษ และแหล่ ง กั ก เก็ บ คาร์ บ อน รวมทั้ ง ควบคุ ม ปั ญ หามลพิ ษ อั น เนื่ อ งมาจากชุ ม ชน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม คมนาคม และกิจกรรมก่อสร้าง 4) การรับมือกับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ การรับมือกับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ คือ การสร้างศักยภาพและความ พร้ อ มของทุ ก ภาคส่ ว นในการรองรับ และปรั บ ตั วต่ อ ผลกระทบจากภั ยธรรมชาติ แ ละความเสี่ ยงจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการรับมือกับอุทกภัย วาตภัย และแผ่นดินไหวที่มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก 5) การเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารจัด การทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อ ม คือ การเพิ่ ม ศั ก ยภาพและขีด ความสามารถในการด่ า เนิ นงานของหน่วยงานภาครั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ เอกชน ชุ ม ชน และ ประชาชนในทุกระดับ ให้มีการด่าเนินงานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยการสร้ าง มาตรการจูงใจเพื่อสนับสนุนการเติบโตที่ปล่อยคาร์บอนต่​่า การเสริมสร้างกลไก กฎหมายและเครื่องมือในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาเพื่อการรักษา สิ่งแวดล้อม การกระจายอ่านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการเสริมสร้ างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมใน ระดับต่างๆ 6) การพัฒนาและส่งเสริมการวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว การพัฒนาและส่งเสริมการวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว คือ การพัฒนาและสนับสนุนการ วิจัยและการน่าเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเมืองและ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว โดยการส่ ง เสริ ม การวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ การพั ฒ นานวั ต กรรมสี เ ขี ย วจากสาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากรทุกระดับทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งส่งเสริม ให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศ เช่น ด้านพลังงานสะอาด ระบบราง ยานยนต์ ไฟฟ้า การจัดการน้่า และขยะ 7) การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกระดับ การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกระดับ คือ การสร้าง คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน โดยการจัดการลดมลพิษของดิน น้่า และอากาศ การจัดกาสิ่งแวดล้อม เมืองและชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยการน่าร่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนในแปลง ที่ดินของรัฐ สถานที่ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน และการปลูกไม้ยืนต้นในบริเวณที่ดินสาธารณะริมทาง หรือริมน้่า เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวยั่งยืนให้กับชุมชน การสนับสนุน ส่งเสริม และก่าหนดให้เอกชนเพิ่มพื้นที่สีเขียว รวมทั้งปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามเหมาะกับเมืองและชุมชน การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน ในทุกระดับ ลดความเหลื่อมล้่าของสังคม ลดข้อขัดแย้งจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สร้างโอกาสให้แก่คน ยากจนในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน การเยียวยาปัญหา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -55


วิกฤติสิ่ง แวดล้อม มุ่งเน้นการป้องกันและลดมลพิษ ณ แหล่ง ก่าเนิด และการกระจายอ่านาจในการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการจัดการที่มีประสิทธิผล 8) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน คื อ การ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการดิน น้่า ป่าไม้ และความหลากหลายทางชีวภาพ การ สงวนรักษาและฟื้นฟูพื้นที่ทางธรรมชาติ ตลอดจนการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน โดย การพัฒนาคนและสังคมให้มีส่านึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างรากฐานให้ประชาชนในสัง คมไทยมีวิ ถี ชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจ และการปลูกฝังจิตส่านึกการพัฒนาเมืองที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมกับสร้างความตระหนักในบทบาทตามภารกิจหน้าที่ และเสริมสร้างศักยภาพของทุก ภาคส่วนในการร่วมกันบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศอย่างเหมาะสม 2.4.3 การขับเคลื่อนตามเป้าประสงค์ของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ภายใต้เป้าประสงค์จ่านวนมากที่เกี่ยวเนื่องกับการด่าเนินการตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ และการ ด่าเนินงานของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เมืองสีเขียว และสิ่ ง แวดล้ อ มเมื อ งที่ ยั่ ง ยื น นั้ น มิ ติ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การมุ่ ง ไปสู่ สั ง คมคาร์ บ อนต่​่ า ประกอบด้ ว ยมิ ติ ท าง สิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการมีส่วนร่วม ในการนี้ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สัง คม คาร์บอนต่​่าจึงไม่ได้เป็นการพัฒนาเพียงแต่มิติทางสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของเมืองและชุมชน แต่รวมถึงมิติ ของความเป็ น เมื อ งคาร์ บ อนต่​่ า เศรษฐกิ จ คาร์ บ อนต่​่ า และวั ฒ นธรรมคาร์บ อนต่​่ า มิ ติ ทั้ ง 3 ด้ า นซึ่ ง เป็น ความหมายของสังคมคาร์บอนต่​่านี้ยังถูกจ่าแนกออกได้เป็นประเด็นของการด่าเนินงานต่างๆ

ภาพที่ 2-8 มิติของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -56


1) เมืองคาร์บอนต่​่า (1) สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่​่า หมายถึง สภาพแวดล้อม การตั้งถิ่นฐาน รูปสัณฐาน และรูปทรงของ เมืองที่ปล่อยคาร์บอนต่​่า ลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดเกาะความร้อนของเมือง และ ไม่ท่าลายทรัพยากรทางธรรมชาติ (2) การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่​่า หมายถึง ระบบและวิธีในการเดินทางภายในเมืองและระหว่างเมือง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใช้พลังงานต่​่า ไร้มลพิษ มีโครงข่ายการเดินทางที่กระชั บหลากหลาย และเข้าถึงได้ จากคนทุกเพศ ทุกวัย และทุกสถานะ (3) โครงสร้ า งพื้ น ฐานคาร์ บ อนต่​่ า หมายถึ ง ระบบการจั ด เตรี ย มและบริ ก ารสาธารณู ป โภค สาธารณูปการที่ทั่วถึงภายในเมืองและมีความกระชับในเชิงพื้นที่ ใช้เทคโนโลยีที่สะอาด ปลอดภัยและไร้มลพิษ ตลอดจนลดการน่าเข้าทรัพยากรธรรมชาติมาใช้และลดการปล่อยของสียออกสู่ระบบนิเวศ (4) อาคารคาร์บอนต่​่า หมายถึง การก่อสร้าง การใช้งาน และการเปลี่ยนแปลงอาคาร สิ่งปลูกสร้าง และที่อยู่อาศัยอย่างชาญฉลาด ประหยัดพลังงาน มีระบบหมุนเวียนน้่าทิ้งเพื่อใช้ประโยชน์ด้านอื่น ลดความ ร้อน และให้แสงสว่างและร่มเงาที่เหมาะสมภายในอาคาร รวมถึงการใช้วัสดุก่อสร้างท้องถิ่น และหมุนเวียน และลดขยะจากการก่อสร้างหรือเปลี่ยนแปลง 2) วัฒนธรรมคาร์บอนต่​่า (1) ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง การรักษา ฟื้นฟู และน่ามาใช้ในภูมิปัญญาเฉพาะถิ่นของการปรับตัวใน การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ เคารพธรรมชาติ ไม่ท่าลายธรรมชาติ ทั้งจากลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน การอยู่อาศัย การเดินทาง และการรักษาพื้นที่ธรรมชาติของชุมชนในรูปแบบต่างๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้ยังหมายถึงมิติของ ความร่วมมือและความเข้มแข็งทางสังคมของชุมชนอีกด้วย (2) วิ ถี ชี วิ ต การบริโ ภคคาร์บ อนต่​่ า หมายถึ ง วิ ถี ก ารอยู่ อ าศั ย ท่ า งาน และพั ก ผ่ อ นที่ เ ป็น มิต รต่อ สิ่งแวดล้อม เลือกที่จะบริโภคทรัพยากรธรรมชาติอย่างพอเพียงและเลือกที่จะไม่ปล่อยของเสียออกสู่ธรรมชาติ ซึ่งมีขีดจ่ากัดในการรองรับ ตลอดจนมีความตระหนักและเข้าใจถึงความส่าคัญของการลดคาร์บอนให้ต่าลงจาก ชีวิตประจ่าวันในด้านต่างๆ (3) การมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมท่า ร่วมรับผลกับกลุ่มทางสังคม มีความรู้สึก เป็นส่วนร่วม มีจิตอาสาในการด่าเนินงาน และมุ่งมั่นที่จะด่าเนินการจัดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ของตนเอง ตลอดจนพร้อมที่จะร่วมมือในเครือข่ายทางสังคมในระดับอื่นๆเพื่ อการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อ มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า (4) การศึ ก ษา วิ จั ย และนวั ต กรรมเพื่ อ มุ่ ง สู่ ค าร์ บ อนต่​่ า หมายถึ ง การค้ น คว้ า จั ด ท่ า ฐานข้ อ มู ล เทคโนโลยี และนวั ต กรรมที่ ช่ ว ยให้ มี ก ารบริ โ ภคคาร์ บ อนต่​่ า รั ก ษาฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ และใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและพอเพียง 3) เศรษฐกิจคาร์บอนต่​่า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -57


(1) อุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า หมายถึง การผลิตในภาคอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยว และอื่นๆ ของเมืองที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีสะอาด ควบคุมสินค้าที่ไม่ให้ก่อมลพิษเพิ่มประสิทธิภาพในการ ผลิตโดยใช้พลังงานให้น้อยที่สุด ตลอดจนเฝ้าระวังและพัฒนาระบบการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมอย่ าง ต่อเนื่อง (2) การเกษตรคาร์บอนต่​่า หมายถึง การเพาะปลูกและผลิตในภาคเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีสะอาด เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ไม่ท่าลายทรัพยากรดินน้่า และอากาศ ตลอดจน การใช้พลังงานทดแทนในกระบวนการเกษตรเพ่อื ให้เกิดความย่งั ยนื ทางสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและชุมชน (3) การบริการคาร์บอนต่​่า หมายถึง การท่าธุรกิจสร้างสรรค์เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม ใช้แนวคิด 3R (Reuse, Reduce and Recycle) และธุ ร กิ จ สี เ ขี ย ว (Green Business) ในการด่ า เนิ น งาน ได้ แ ก่ การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการท่า งานที่รักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Green Company) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในทุกขั้นตอนการผลิต (Green Product) การบริการลูกค้าที่เน้นการเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม เช่น การลดใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุผลิตภัณฑ์ (Green Service) การให้ความส่าคัญด้านการ รักษาสภาพแวดล้อมที่ดีกับบริ ษัท คู่ค้ า (Green Purchasing) และ การด่าเนินการจัดซื้อจัดจ้างสิน ค้ า และ บริการที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Green Procurement) การด่าเนินงานเพื่อบรรลุถึงเป้าประสงค์ของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่ง สู่สั ง คมคาร์บอนต่​่า ภายใต้มิติของความเป็นเมืองคาร์บอนต่​่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่​่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่​่า มีความส่าคัญต่อ การก่าหนดกลไกและเคร่อื งมือในการผลักดันการพัฒนาฯ ดังที่จะกล่าวถึงในภายหลัง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -58


บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือมีพื้น ที่ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือ 105.5 ล้านไร่ คิดเป็น พื้น ที่ ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ ประกอบด้วย 19 จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวล่า ภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นพื้นที่ที่มีประชากร และพื้นที่ทางการ เกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถาน และมีศิลปวัฒนธรรมอันมีลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาค ยังมีความได้เปรียบในด้านการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ด้ ว ยลั ก ษณะดั งกล่าวของภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนือ ท่ า ให้ รั ฐ บาลมี น โยบายที่ จ ะพัฒ นาให้ เ ป็น สะพาน เศรษฐกิจเชื่อมโยงอินโดจีนตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) โดยเน้นพัฒนาบทบาท และศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน ด้วย โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ 1) การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานีและเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้ มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้นในทิศทางอื่นใน ปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักขอนแก่น 2) การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development) 3) การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology) 4) การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น 5 กลุ่ม คือ - กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ - กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ - กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ - กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลยและหนองบัวล่าภู - กลุ่มมุกดาหารสกลนคร และนครพนม 5) การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -59


จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. 2600 ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนาแบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและ เครือข่า ยการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ดได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ เป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยว การบริการระดับภาค ด้านการศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ พลังงานทดแทน แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการพัฒนาตามกลุ่มจังหวัด จังหวัดขอนแก่นได้ถูก ก่ า หนดให้อ ยู่ ในกลุ่ม จังหวัด ร้ อ ยเอ็ ด ขอนแก่ น มหาสารคามและกาฬสิน ธุ์ โดยมี วิ สั ย ทั ศ น์ข องกลุ่ ม จัง หวั ด คื อ “ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” และกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา รวม 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและแข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ภาพที่ 3-1 แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองจังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนา ร่วมกับจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,2600)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -60


โครงการส่าคัญ ได้แก่ 1. โครงการจัดตั้งศูน ย์รวบรวมและกระจายสิน ค้าบริการ และการส่งออกแบบครบวงจร (Distribution Center) 2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษและข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 3. โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน (Zoning) 4. โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความมั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับ เกษตรกร 5. โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้อง กับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุนด้านขนส่ง 6. โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน 7. โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข 9 และ 12 นโยบาย แผนและโครงการพัฒนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง โดยมีโครงการในระดับ ประเทศและระดับภาค ได้แก่ 1. โครงการรถไฟรางคู่ช่วงชุมทางจิระ – ขอนแก่น เป็น โครงการพัฒนารถไฟทางคู่ใหม่ แนวเส้น ทางมี ระยะทางโดยประมาณ 185 กิโลเมตร 2. โครงการ MICE CITY จั ง หวั ด ขอนแก่ น ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น MICE CITY แห่ ง ที่ 5 ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พัทยา ภูเก็ตและขอนแก่น) ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์หลักการพัฒนาจังหวัด 4 ปี (2557-2560) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่มุ่งสู่มหานครแห่งอาเซียน” 3. โครงการพุทธมณฑลอิส าน ทางจังหวัดขอนแก่นพร้อมกับคณะสงฆ์ได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑล อีสานจังหวัดขอนแก่น” เพื่อเป็นสถานที่ส่าคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่ประชุมอบรมสัมมนาและปฏิบัติธรรม ของประชาชนพระภิกษุสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาสังคมและเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ขนาดใหญ่ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัด 4. ระบบรถโดยสารด่วนพิเศษที่มีโครงสร้างแบบบนดิน โดยมีความเหมาะสมกับเมืองขอนแก่ (ยุทธศาสตร์ ของการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, 2557 - 2560)

3.2 จังหวัดขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่านไปสู่ประตูอินโดจีน ดังแสดงในภาพที่ 6-2 โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการคมนาคมระหว่า ง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาค อีสานสามารถเชื่อมโยงออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการส่วนกลางภูมิภาคซึ่งเป็นเครื่อ งมือ ที่ ส่าคัญในการให้บริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -61


แผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก ; EWEC) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 445 กิโลเมตร

ภาพที่ 3-2 แสดงผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดขอนแก่น

ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ทั้งหมด 10,886 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภาค ตะวัน ออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดอุบลราชธานี ตามล่าดับ อีกทั้งยังมีขนาดใหญ่เป็น อันดับที่ 15 ของประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นมีขอบเขตพื้นที่ติดกับจังหวัดอื่นๆ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ จดจังหวัดอุดรธานี หนองบัวล่าภู และ จังหวัดเลย ทิศใต้ จดจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก จดจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก จดจังหวัดเพชรบูรณ์ และ จังหวัดชัยภูมิ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น 106,583 บาทต่อคนต่อปี สูงเป็นอันดับ 1 ของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ (กรุงเทพ 193,395 บาทต่อคนต่อปี) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ประจ่าปี 2557 มีมูลค่าจ่านวน 187,348 ล้านบาท ล่าดับที่ 13 ของประเทศ และ ล่าดับที่ 2 ของภาค (นครราชสีมา อันดับที่ 1) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี 2557 ร้อยละ 6.35

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -62


ผลิตภัณฑ์มวลรวม ตามสาขา ภาคนอกการเกษตร 163,644 ล้านบาท สาขาที่มีอันดับสูงสุด 4 อันดับแรก ได้แก่ 1. อุตสาหกรรม 73,241 ล้านบาท 2. การศึกษา 20,542 ล้านบาท 3. ค้าปลีก ค้าส่ง ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน 18,820 ล้านบาท 4. ภาคเกษตรกรรม 23,704 ล้านบาท 1,500,000

1,403,267

1,400,000

1,293,130

จ่านวน (ล้านบาท)

1,300,000

1,154,714

1,200,000

1,057,717

1,100,000

940,834

1,000,000 900,000

799,676 830,127

800,000 700,000 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556

แผนภูมิที่ 3-1 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2550 – 2556

แผนภูมิที่ 3-2 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งตามสาขา (ข้อมูลจากเว็บไซต์ www.konkaen.go.th) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -63


100,000 95,000 90,000 85,000

จ่านวน (ล้านบาท)

80,000 75,000 70,000 65,000

60,000 55,000 50,000

45,000 หนองบัวล่าภู กาฬสินธุ์ ยโสธร ชัยภูมิ อ่านาจเจริญ มหาสารคาม บุรีรัมย์ มุกดาหาร สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด สกลนคร บึงกาฬ นครพนม อุดรธานี เลย หนองคาย นครราชสีมา ขอนแก่น

40,000

แผนภูมิที่ 3-3 แสดง รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร ของจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2556 359,000 309,000 259,000

จ่านวน (ล้านบาท)

209,000 159,000 109,000 59,000 9,000

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้

143,911

150,999

182,210

220,594

253,466

326,937

380,083

อุตสาหกรรม

146,151

164,120

180,578

216,238

227,728

227,056

241,739

ยานยนต์ จักรยานยนต์

85,656

88,521

108,904

116,300

119,540

136,924

151,561

โรงแรม,ภัตตาคาร

9,723

9,856

10,567

10,948

12,139

12,407

14,111

การขนส่ง คลังสินค้า การคมนาคม

28,990

31,181

31,813

31,692

35,063

37,995

38,511

บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ และบริการทาง ธุรกิจ

58,278

58,898

61,969

67,274

68,534

67,922

70,475

การศึกษา

108,383

116,376

126,460

137,184

158,623

183,770

196,177

บริการด้านสุขภาพและสังคม

20,480

23,475

27,389

27,616

29,404

32,525

33,776

แผนภูมิที่ 3-4 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2550 - 2556

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -64


ด้านอุตสาหกรรม จังหวัดขอนแก่นมีเงินลงทุน 77,233,083,744 บาท มีการจ้างงาน 85,528 คน และมี โรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับใบอนุญาตจากกระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น จ่านวน 4,131 โรงงานแบ่งเป็น 3 จ่าพวก แยกตามประเภทอุตสาหกรรม 1. โลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต์ 2. เกษตร อาหาร เครื่องดื่ม 3. ยาง พลาสติก อโลหะ

3.3 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค จังหวัดขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคล่าดับ 1 มีศักยภาพในการพัฒนาเปนศูนยกลางหลักของภาค ขอบเขตการใหบริการเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงจีน ด้ ว ย เส้น ทาง East-West Corridor เป็น เส้น ทางหลักเพื่อขอนส่งสิน ค้าผ่านย่างกุ้ ง แม่ส อด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยัง เวียดนาม โดยมีโครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดิน อีกทั้งผังภาคยังมีโครงการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. โครงการเพิ่มระบบถนน และระบบรางในอนาคต ได้ก่าหนดศูนย์กลางขนส่งหลายรูปแบบในพื้ นที่จังหวัด ขอนแก่น อุบลราชธานี และนครราชสีมา 2. พื้นที่ศูนย์การขนส่งและบริการ ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและนครราชสีมา 3. พื้นที่ศูนย์กลางรวบรวมและกระจายสินค้า ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น มุกดาหารและนครราชสีมา เศรษฐกิจ ของจังหวัดขอนแก่น มีผ ลิตภัณฑ์มวลรวมภาคปี 2556 ขึ้น อยู่กับภาคการเกษตรกรรมที่ มี ก าร ขยายตัว และมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยมีจ่านวนเงินหมุนเวียน 380,083 ล้านบาท รองลงมาคือภาคอุตสาหกรรม จ่านวน 241,739 ล้านบาท (ส่านักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 2556) ยุทธศาสตร์ของขอนแก่นเป็นศูนย์กลางทางด้านต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ 1. ศูนย์กลางทางด้านระบบการขนส่ง 2. ศูนย์กลางของการศึกษา โดยจังหวัดขอนแก่นมีสถานศึกษาจ่านวน 1,167 แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มี ด้วยกัน 6 คณะที่โดดเด่น ได้แก่ 1. คณะแพทยศาสตร์ 2. คณะเภสัชศาสตร์ 3. คณะพยาบาลศาสตร์ 4. คณะเทคนิค ทางการแพทย์ 5. คณะสัตวแพทยศาสตร์ 6. คณะเทคโนโลยีด้านอาหาร 3. ศูนย์กลางการรักษาพยาบาล คือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4. ศูนย์กลางของการสัมมนาและแสดงนิทรรศการ เช่น ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก งานไหม นานาชาติ ออกงานแสดงผ้าไหมของท้องถิ่น หอศิลป์ต้นตาลซึ่งมีตลาดนัดบริการด้วย เป็นต้น 5. ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรมสีเ ขี ย ว การบริ ห ารจัด การอย่ างมี ประสิท ธิภ าพ ลดการปล่ อ ยผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -65


บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของเมืองขอนแก่น 4.1 ต่าแหน่งที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตการปกครอง ต่าแหน่งที่ตั้ง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่บนถนนมิตรภาพ ซึ่งเป็นเส้นทางส่าคัญในการเดินทางจากภคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลาง ต่าแหน่งที่ตั้งของจังหวัดอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้า่ หลัก 2 ลุ่มน้า่ คือ ลุ่มน้่ามูลและลุ่มน้่าชี อีกทั้งยังมีแม่น้่าพองเป็น เส้นเลือดใหญ่คอยหล่อเลี้ยงให้ชาวขอนแก่นด้วย

เนื้อที่ ขอบเขตผังเมืองรวมครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 228.02 ตารางกิโลเมตร โดยมีขอบเขตการปกครองดังนี้ 1. เทศบาลนครขอนแก่น 2. เทศบาลต่าบลบ้านเป็ด 3. เทศบาลต่าบลเมืองเก่า 4. เทศบาลต่าบลพระลับ 5. องค์การบริหารส่วนต่าบลศิลา

ภาพที่ 4-1 แสดงผังขอบเขตการปกครองในระดับผังเมืองรวม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -66


4.2 ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการเข้าถึง

ประวัติความเป็นมา ต่านานแต่โบราณเล่าขานสืบต่อกันมาว่า ก่อนที่ท้าวเพี้ยเมืองแพนจะอพยพไพร่พลมาตั้งบ้านตั้งเมือง ขึ้นทีบ่ ้านขาม หรือต่าบลบ้านขาม อ่าเภอน้่าพองในปัจจุบัน ซึ่งเป็นเขตแขวงร่วมการปกครองกับบ้านชีโล้น ปรากฏว่า มีตอมะขามขนาดใหญ่ที่ตายไปหลายปีแล้วกลับมีใบงอกงามเกิดขึ้นใหม่อีก ครั้ง และหากผู้ใดไปกระท่ามิดีมิร้ายหรือดู ถูกดูหมิ่น ไม่ให้ความเคารพย่าเกรงตอมะขามนั้น ก็จะมีอันเป็นไป บรรดาชาวบ้านชาวเมืองในแถบถิ่นนั้ น จึงได้พร้อมใจกันก่อเจดีย์ครอบตอมะขามเพื่อให้เป็นที่สักการะของ คนทั่วไป พร้อมกับได้บรรจุพระธรรมค่าสอนของพระพุทธเจ้า 9 บทเข้าไว้ในเจดีย์ครอบตอมะขามนั้นด้วย ซึ่งเรียกว่า พระเจ้า 9 พระองค์ แต่เจดีย์ที่สร้างในครั้งแรกเป็นรูปปรางค์ หลังจากได้ท่าการบูรณะใหม่เมื่อราว 50 ปีที่ผ่านมานี้ จึง ได้เปลี่ยนเป็นรูปทรงเจดีย์ และมีนามว่า พระธาตุขามแก่น ปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตวัดเจติยภูมิ บ้านขาม ต่าบลบ้านขาม อ่าเภอน้่าพอง จังหวัดขอนแก่น พระเจดีย์ขามแก่นถือว่าเป็นปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์ของชาวจังหวัดขอนแก่น ซึ่งจะมี งานพิธีบวงสรวง เคารพสักการะกันในวันเพ็ญเดือน 6 ทุกปี ด้านทิศตะวันตกของเจดีย์พระธาตุขามแก่นมีซากโบราณ ที่ปรักหักพังปรากฏอยู่อีกฟากทุ่งของบ้านขาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าบริเวณแถบนี้น่าจะเป็นที่ตั้งของเมืองมาก่อน การตั้ง นามเมืองว่าขามแก่น แต่ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็นเมืองขอนแก่น จนกระทั่งทุกวันนี้ (ที่มา : ศูน ย์ข้อมูล ข่าวสาร เทศบาลนครขอนแก่น)

วิวัฒนาการของจังหวัดขอนแก่น สรุปสาระส่าคัญได้ดังนี้ 1. ก่อตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่นในปี พ.ศ. 2507 เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ก่อสร้างศูนย์ราชการจังหวัดแห่งใหม่ในปี พ.ศ. 2507 ที่บริเวณโคกสนามบิน มีพื้นที่ประมาณ 550 ไร่ เนื่องจาก บริเวณแห่งเดิมคับแคบ และรอบๆ เป็นย่านธุรกิจการค้าหลักของเมือง โดยย้ายศาลากลาง และส่วนราชการอื่น ๆ ก่อสร้างอาคารส่านักงานเป็นเอกเทศอีกหลายแห่ง 3. จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี พ.ศ. 2507 นับเป็นศูนย์กลางการเงินภาครัฐที่ ส่าคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. จัดตั้งสนามบินพลเรือนขึ้นใหม่ เปิดเที่ยวบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 5. การพัฒนาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ช่วงที่ผ่านเมืองขอนแก่น เป็นแบบคู่ขนานกับทางรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ (กรุงเทพฯ – หนองคาย)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -67


ภาพที่ 4-2 แสดงผังการตั้งถิ่นฐานของลักษณะการกระจายตัวของเมืองขอนแก่น

การตั้งถิ่นฐาน บริเวณที่ 1 ด้านตะวันตกเฉียงเหนือ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณที่ใกล้ศูนย์กลางเป็นย่านพาณิชย กรรมและบริการในระยะ 100 เมตร ขนานกับทางหลวงแผ่นดินทั้งสองสายทาง ระยะถัดไปเป็นการพักอาศัย สถานที่ ราชการที่ส่าคัญในบริเวณนี้ ได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ค่ายทหารกรมทหารราบที่ 6 ค่ายสีหราชเดโชไชย สนามบิน ขอนแก่น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอื่นตามแนวทางเลี่ยงเมือง มีหมู่บ้านจัดสรรนอกเหนือ จากชุมชนเดิมเกิดขึ้นหลายแห่ง ส่วนใหญ่อยู่ด้านที่ใกล้กับถนนมิตรภาพพ้นเขตมหาวิทยาลัยขอนแก่น บริเวณที่ 2 ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณใกล้ศูนย์กลางเมืองเป็นย่านพาณิชยกรรมเละบริการ ในระยะ 100 เมตร ขนานกับทางหลวงแผ่น ดิน ทั้งสองสายทาง ระยะถัดไปเป็น การพักอาศัย ส่วนการประกอบ อุตสาหกรรม โกดังเก็บสินค้า อาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อยู่ห่างจากศูนย์กลางเมืองตามแนวถนน มะลิวัลย์ ถนน มิ ต รภาพ ถนนเหล่ านาดี (ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 2131) สถานที่ ร าชการที่ส่ าคั ญในบริ เ วณนี้ ไ ด้แ ก่ สถานี ไฟฟ้า แรงสูงขอนแก่น สถานีควบคุมการจ่ายไฟขอนแก่น มีหมู่บ้านจัดสรรเกิดขึ้น ใหม่น อกเหนือจากชุมชนเดิ ม กระจายตามพื้นที่ต่างๆ และตามแนวถนนมะลิวัลย์ ถนนเหล่านาดี และทางเลี่ยงเมือง การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบนอก เป็นเกษตรกรรม สถานพักผ่อนหย่อนใจส่าคัญ คือ หนองโคตร ที่เปรียบเสมือนแก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่นไว้ คอยรองรับน้่าฝน แต่บริเวณนี้ปีใดมีปริมาณน้่าฝนมากน้่าจะท่วมขังรอบหนองโคตร เพราะบริเวณส่วนนี้มีสภาพ เหมือนแอ่งกระทะ รวมถึงบริเวณห้วยกุดกว้างทางด้านใต้ ที่อาจเกิดจากการระบายน้่าออกนอกพื้นที่ท่าได้ช้า หรือ ปริมาณน้่าฝนโดยรวมมีมากท่าให้ระดับน้่าในแม่น้่าชีสูงเกินปกติ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -68


บริเวณที่ 3 ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณที่ใกล้ศูนย์กลางเป็นย่านพาณิชย กรรมและบริการ ในระยะ 100 เมตร ขนานกับถนนมิตรภาพ ถนนประชาสโมสร ระยะถัดไปเป็นการพักอาศัย สถานที่ราชการส่าคัญใน บริเวณนี้ มีศูนย์ราชการจังหวัดขอนแก่น มณฑลทหารบกที่ 23 สถานีขนส่งจังหวัดขอนแก่น และมีหมู่บ้านจัดสรร นอกเหนือจากชุมชนเดิมเกิดขึ้นหลายแห่ง ทั้งด้านใกล้กับถนนมิตรภาพ ถนนกสิกรทุ่งสร้าง ถนนประชาสโมสร (ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 209) บริเวณที่ห่างศูนย์กลางเมืองก็มีการปลูกสร้างอาคารตามแนวถนนมิตรภาพ ถนนประชา สโมสร ถนนหลังศูนย์ราชการ ถนนกสิกรทุ่งสร้าง เพื่อประกอบการพาณิชย์และการบริการ การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบ นอกเป็นเกษตรกรรม เพราะบริเวณนี้มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินสูงลาดไปหาที่ราบลุ่มแม่น้่าพองผสมกับที่ลาดลอน คลื่น ส่วนใหญ่อยู่ในเขตจ่ายน้่าของคลองส่งน้่าชลประทาน สามารถเพาะปลูกได้ตลอดปี สถานพักผ่อนหย่อนใจส่าคัญ คือ บึงทุ่งสร้าง ที่เปรียบเสมือนแก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่น คอยรองรับน้่าในฤดูฝน

บริเวณที่ 4 ด้านตะวันออกเฉียงใต้ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณใกล้ศูนย์กลางเมืองซึ่งเป็นเนื้อเมืองเดิมเป็นย่านพาณิช ยกรรม ย่านศูนย์การค้า การบริการประเภทต่างๆ การเงินการธนาคาร การใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณนี้ค่อนข้า ง เข้มข้น เนื่องจากแนวถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง ถนนหลังเมือง ถนนเทพารักษ์ ถนนรอบเมือง ถนนประชาส่าราญ ในแนวเหนือใต้ ถนนประชาสโมสร ถนนพิมพสุต ถนนอ่ามาตย์ ถนนศรีจันทร์ ถนนชีท่าขอน ถนนชวนชื่น ถนนรื่นรมย์ ในแนวตะวันออกตะวันตก มีลักษณะเป็นตารางหมากรุก มีการใช้ประโยชน์เพื่อการพาณิชย์ และบริการเต็มพื้นที่ คือ บริเวณตลาดสดเทศบาล 1 (ตลาดเก่า) ตลาดสดเทศบาล 2 (ตลาด อ. จิระ – ตรงข้ามสถานีขนส่งจังหวัดขอนแก่น) ตลาดสดเทศบาล 3 (ตลาดโบ๊เบ๊) ตลาดสดเทศบาล 4 (ตลาดบางล่าพู)

ภาพที่ 4-3 แสดงผังของพื้นที่เมืองในปัจจุบัน ปี 2558 มีการเติบโตจากศูนย์กลางเมืองไปสู่พื้นที่เกษตรกรรม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -69


ในตัวเมืองมีอาคารพาณิช ย์อยู่ตามแนวถนนในย่านธุรกิจ ศูน ย์กลาง (CBD : Central Business District) แทบไม่ขาดตอน ดังที่แสดงในภาพที่ 6-5 มีโรงงานอุตสาหกกรมตามแนวถนนมิตรภาพทางด้านใต้ของบริเวณนี้ สถานที่ราชการส่าคัญมีโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น เรือนจ่ากลางขอนแก่น สถานีต่ารวจภูธรอ่าเภอเมืองขอนแก่น สนามกีฬาจังหวัดขอนแก่น มีหมู่บ้านจัดสรรเกิดขึ้นใหม่ทางด้านใต้และด้านตะวันออกของบริเวณนี้ ตามแนวถนน ขอนแก่น – เชียงยืน ถนนกลางเมือง (ทางหลวงแผ่น ดิน หมายเลข 2 เดิม) การใช้ประโยชน์ที่ดิน รอบนอกเป็ น เกษตรกรรม เพราะบริเวณนี้ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินสูงลาดไปหาที่ราบลุ่มแม่น้่าชี ผสมกับที่ราบลอนคลื่น บริเวณนี้ส่วนใหญ่อยู่ในเขตจ่ายน้่าของคลองส่งน้่าชลประทาน สามารถเพาะปลูกได้ตลอดปี สถานพักผ่อนหย่อนใจ ส่าคัญ คือ บึงแก่นนครที่เปรียบเสมือนแก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่นคอยรองรับน้่าในฤดูฝน และมีการจัดลาน กิจกรรมให้ประชาชนใช้สันทนาการ การเข้าถึงโดยระบบการคมนาคมและขนส่ง เส้นทางคมนาคมทางถนนที่ส่าคัญที่เชื่อมโยงเมืองขอนแก่นกับพื้นที่อื่นๆ มีเส้นทางถนนสายส่าคัญ ต่า งๆ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 230 (ทางเลี่ยงเมือง) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2131 รถโดยสารประจ่าทางระหว่างประเทศบริษัทขนส่งจ่ากัด และรัฐวิสาหกิจรถเมล์นครหลวงเวียงจันทน์ร่วมเปิดเส้นทาง เดินรถระหว่าง ขอนแก่น-นครหลวงเวียงจันทน์ รถบริการภายในตัวเมืองเช่น รถโดยสารประจ่าทางขนาดเล็ก รถตุ๊กๆ และแท็กซี่ ขบวนรถไฟออกจากสถานีกรุงเทพฯ (หัวล่าโพง) ผ่านจังหวัดขอนแก่น ไปจังหวัดอุดรธานี และหนองคาย มี จุดจอดรับ - ส่ง ผู้โดยสารที่สถานีต่างๆ ในจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ สถานีอ่าเภอพล สถานีอ่าเภอบ้านไผ่ สถานีอ่าเภอ เมือง สถานีอ่าเภอน้่าพอง และสถานีอ่าเภอเขาสวนกวาง ให้บริการวันละ 4 ขบวน ท่าอากาศยานพาณิชย์ 1 แห่ง ห่างจากตัวเมือง 8 กิโลเมตร เส้นทางบินกรุงเทพฯ – ขอนแก่น - กรุงเทพ ฯ ใช้เวลา เดิน ทางประมาณ 55 นาที 3 สายการบิน ได้แก่ บมจ.การบินไทย สายการบินนกแอร์และสายการบินแอร์เอเชีย ให้บริการรวมวัน ละ 12 เที่ยวบิน เส้น ทางบิน เชียงใหม่ – ขอนแก่น 1 สายการบิน ได้แก่ สายการบิน กานต์แอร์ ให้บริการวันละ 1 เที่ยวบิน

4.3 ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ จังหวัดขอนแก่นมีแหล่งน้่าธรรมชาติที่ส่าคัญหลายแห่ง ได้แก่ 1. ล่าน้่าพองเป็นล่าน้่าที่มีความยาวในพื้นที่อ่าเภอเมืองประมาณ 55 กิโลเมตร ไหลผ่านต่าบลส่าราญ ต่าบลโนน ท่อน ต่าบลโคกสี ต่าบลหนองตูม ต่าบลศิลา และต่าบลพระลับ ใช้เป็นเส้นทางคมนาคม เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และท่าการประมง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -70


2. ล่าน้่าชี เป็นล่าน้่าที่มีความยาวประมาณ 31 กิโลเมตรไหลผ่านต่าบลพระลับต่าบลเมืองเก่าต่าบลท่าพระ และต่าบล ดอนหัน ประชาชนใช้ประโยชน์ในการท่าประมง เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้่าบนผิวดินกระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่งเช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่งสร้าง บึงหนองโคตร หนองเลิงเปือยบึงแก่นน้่า ต้อน เป็นต้น ทรัพยากรดิน จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ 6.8 ล้านไร่ ลักษณะดินเป็นดินทรายไม่อุ้มน้่า พื้นที่สีเขียวในเขตเทศบาลนครขอนแก่น (สิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น) มีดังนี้ 1) สวนสาธารณะบึงแก่นนคร มีพื้นที่ประมาณ 603 ไร่ 2) สวนสุขภาพบึงทุ่งสร้าง มีพื้นที่ประมาณ 1,694 ไร่ 3) สวนสุขภาพบึงศรีมีพื้นที่รวมพื้นที่บึงศรีฐานด้วยประมาณ 165 ไร่ 4) สนามกีฬาประจ่าจังหวัด มีพื้นที่ 66 ไร่ 5) สวนรัชดานุสรณ์ มีพื้นที่ 20 ไร่ 6) สวนสาธารณะประตูเมือง มีพื้นที่ 10 ไร่ 1 งาน 14.2 ตารางเมตร 7) สวนหย่อมหน้าศาลเทพารักษ์หลักเมือง

ภาพที่ 4-4 แสดงผังพื้นที่สีเขียวที่ส่าคัญในเทศบาลนครขอนแก่น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -71


4.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ พบแหล่งงานอุตสาหกรรมที่ส่าคัญของจังหวัดขอนแก่น โรงงานสีข้าวและอบเมล็ดพืชเป็น หลัก โรงงานท่าแป้งมันส่าปะหลัง และโรงงานท่าผลิตภัณฑ์ใบยาสูบ แบ่งประเภทของอุตสาหกรรมได้ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมอโลหะ การผลิตวัสดุก่อสร้างเป็นหลัก เช่นการท่าผลิตภัณฑ์คอนกรีตหรือคอนกรีตผสมเสร็ จ การผลิต อิฐดินเผา การท่าเครื่องสุขภัณฑ์เซรามิค 2. อุตสาหกรรมขนส่ง ศูนย์บริการซ่อมยนต์เป็นหลัก เช่นโรงงานซ่อมรถยนต์ ท่าเบาะและโครงหลังคารถยนต์ ซ่อม รถจักรยานยนต์ 3. อุตสาหกรรมอาหาร ประกอบด้วยอุตสาหกรรมผลิตน้่าดื่มและน้่าแข็งเป็นหลัก 4. อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ ประกอบด้วยโรงงานผลิตวงกบ ประตูหน้าต่าง บานประตู บานหน้าต่างจาก ไม้ 5. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ ประกอบด้วยการผลิตชิ้นส่วน และซ่อมเครื่องยนต์เป็นหลัก เช่นนิคมอุตสาหกรรมชูชิ ตะ ผลิตชิ้นส่วนอิเล็คโทรนิค และนิคมอุตสาหกรรมไดชิน เป็นแหล่งรวบเงินทุนจากญี่ปุ่นเพื่อผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (ส่านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น, 2556) ด้านเกษตรกรรม จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่การเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่จังหวัด) และ พืชเศรษฐกิจ ปีพ.ศ. 2556 พืชเศรษฐกิจที่ส่าคัญของจังหวัดขอนแก่นที่ท่ารายได้ หลักให้เกษตรกร คือ ข้าวนาปี อ้อย มันส่าปะหลัง และยางพารา การขยายตัวของเศรษฐกิจขอนแก่น คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน (ปี 2556) ร้อยละ 5.0 ตามสถานการณ์ เศรษฐกิจประเทศ (ที่มา: รายงานประมาณการเศรษฐกิจขอนแก่น, 2557) 1. ภาคเกษตรกรรม ขยายตัว ร้อยละ 5.6 2. ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ขยายตัว ร้อยละ 5.4 3. ภาคบริการ ขยายตัว ร้อยละ 5.3 สรุปเศรษฐกิจจังหวัดขอนแก่น มีรายได้หลักมาจากภาคนอกการเกษตร ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมการผลิตเป็น ส่วนใหญ่มีการตั้งโรงงานกระจายตัวอยู่นอกเมืองเนื่องจากขอนแก่นเป็นเส้นทางส่งสินค้าที่ส่าคัญของภูมิภาค ส่วนใน ตัวเมืองเป็นกิจกรรมด้านการค้าส่ง ค้าปลีก และซ่อมแซมยานยนต์ รวมถึงสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา และระดับอื่นๆ เป็นจ่านวนมาก ท่าให้ขอนแก่นได้เปรียบจังหวัดอื่นๆในด้านการค้า การบริการและการลงทุนในจังหวัด ด้านสังคม จ่านวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นประมาณ 184,859 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 ของประชากร เขตผังเมืองรวม ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 6.4 คนต่อไร่ จากการส่ารวจข้อมูลอาคารเพื่อการอยู่อาศัยในเขต ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นเพิ่มเติม โดยจ่าแนกประเภทอาคารที่อยู่อาศัยทั่วไป และอาคารที่อยู่อาศัยรวมซึ่งจะใช้ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -72


จ่านวนห้องพักเป็นหน่วยในการประมาณประชากร น่ามาประมวลผลร่วมกับข้อมูลการอนุญาตปลูกสร้างอาคารใน เขตเทศบาลนครขอนแก่นบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีประชากรเพิ่มขึ้นจ่านวนมากจากการขยายตัวของ อาคารที่พักอาศัยประเภทอพาร์ทเมนต์ ห้องเช่า และหอพัก ประมาณ 9,000 ยูนิต เพื่อรองรับนัก ศึกษาค่าความ หนาแน่นประมาณ 30 คนต่อไร่ ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ได้ก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพื่อการอยู่อาศัยหนาแน่น มาก พาณิชยกรรม และที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ค่าความหนาแน่นประชากรอยู่ระหว่าง 6 – 19 คนต่อไร่ใน บริเวณที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากลักษณะอาคารเฉพาะริมถนนที่เป็นตึกแถวหากจ่าแนก ประชากรตามช่วงอายุที่นับว่าเป็นผู้เป็นภาระ ซึ่งนิยามว่าหมายถึง กลุ่มวัยเด็กอายุ 0 – 14 ปี และกลุ่มวัยสูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กับประชากรวัยท่างานอายุ 15 – 59 ปี เพื่อค่านวณหาอัตราส่วนการเป็นภาระ พบว่ามีค่าเท่ากับ 41.2 หมายถึง ประชากรวัยท่างานอายุ 15 -59 ปี ทุก 100 คนต้องรับภาระดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 41.2 คน เมื่อเปรียบเทีย บโครงสร้างประชากรปี ปัจ จุบัน กั บ ข้อ มูล เมื่อ 5 ปีที่ผ่านมา จะเห็น ได้ว่า สัดส่วนของ ประชากรวั ย ที่ เ ป็ น ภาระกั บ ประชากรวั ย ท่ า งานใน 2 ช่ ว งเวลาไม่ แ ตกต่ า ง แต่ ว่ า ในกลุ่ ม วั ย ที่ เ ป็ น ภาระมี ก าร เปลี่ยนแปลงที่สะท้อนถึงแนวโน้มการเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้น (ส่านักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ) ในเขตผัง เมืองรวมเมืองขอนแก่น มีสถาบันการศึกษา 94 แห่ง โดยแบ่งออกเป็น โรงเรียนระดับประถมศึกษา จ่านวน 46 แห่ง โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาจ่านวน 39 แห่ง และเป็นสถาบันระดับอุดมศึกษา จ่านวน 9 แห่ง โดยที่สถานศึกษาจะ กระจุกตัวอยู่ในเขตเทศบาล โดยเฉพาะในเขตเทศบาลต่าบลบ้านเป็ดและเขตอบต.ศิลา ส่วนในระดับอุดมศึกษาจะมี การกระจุกตัวอยู่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น แสดงให้เห็นว่าการศึกษาในระดับอุดมศึกษายังไม่มีการกระจายตัวออก จากเขตเมือง จึงท่าให้เป็น ศูน ย์กลางด้านการศึกษาในจังหวัดรวมทั้งจังหวัด ใกล้เ คียงอีก ด้ว ย (ส่านักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น) 135,000

130,000 125,000 120,000 115,000 110,000

105,000 100,000 95,000 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

แผนภูมิที่ 4-1 แสดงจ่านวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ปี 2545 -2558 รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -73


500,000 400,000

263,953

273,525

276,369

282,766

274,193

288,211

289,718

219,087

300,000 200,000 100,000 0

118,203

116,157

113,754

111,294

108,932

122,329

115,243

115674

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

จ่านวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นตามทะเบียนราษฎร

ประชากรแฝงทั้งหมดในเทศบาล

แผนภูมิที่ 4-2 แสดงจ่านวนประชากรตามทะเบียนราษฎรและประชากรแฝงในเขตเทศบาล ปี 2551 -2558

2550 2557

2505 2,441

2555

2,368 2,419

2553

2,473 2,525 2,569 2,612 2,630 2,660 2,677

2551 2549

2547

2,799 2,839

2545 2,100

2,200

2,300

2,400

2,500

2,600

2,700

2,800

2,900

แผนภูมิที่ 4-3 แสดงความหนาแน่นของประชากร/ตร.กม. (ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เทศบาลนครขอนแก่น)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -74


3

2557, 2.62

2 1

2545, 0.77

0 -1 -2

2544

2546

2546, -1.37

2556, 0.57

2548, -0.6 2548

2550, -0.65 2550 2552 2551, -1.63 2549, -1.15 2552, -1.73

-3 -4 -5

2547, -4.38

2554 2553, -2.07

2556

2558

2555, -2.11

2554, -2.17

อัตราการเพิ่ม/ลด

แผนภูมิที่ 4-4 แสดงอัตราการเพิ่ม/ลดของประชากรในเขตเทศบาล ปี 2544 -2558

ในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นมีโรงพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนที่ให้บริการอีก จ่านวน 9 แห่ง เป็นของ รัฐ 6 แห่ง และเอกชน 3 แห่ง นอกจากนี้ยังมีศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน และสถานีอนามัยในองค์การบริหารส่วน ต่าบลที่มีพื้นที่ตั้งอยู่รอบเทศบาลนครขอนแก่น มีสถานีอนามัยประจ่าทุกต่าบลกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ จึงกล่าวได้ว่า การบริการด้านสาธารณสุขในเขตพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นมีการให้บริการที่เพียงพอต่อการให้บริการในอนาคต มีสถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการกับส่านักงานประกันสังคมจังหวัดขอนแก่นทั้งหมด 4 แห่ง เป็นสถานพยาบาลของ รั ฐ จ่ า นวน 3 แห่ ง ได้ แ ก่ โรงพยาบาลศู น ย์ ข อนแก่ น โรงพยาบาลชุ ม แพ และโรงพยาบาลศรี น คริ น ทร์ ส่ ว น สถานพยาบาลเอกชนจ่านวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชประสิทธิ์

ภาพที่ 4-5 แสดงผังลักษณะย่านเมืองในปัจจุบัน ปี 2558 โดยมีย่านราชการ ย่านการศึกษา ย่านที่อยู่อาศัย ย่านการค้า พาณิชยกรรม และย่านอุตสาหกรรม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -75


ด้านวัฒนธรรม 1. งานเทศกาลดอกคูณเสียงแคน เทศกาลสงกรานต์บนถนนข้าวเหนียว ริมบึงแก่นนคร จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 -15 เมษายน ของทุ ก ปี บริ เ วณบึ ง แก่ น นคร ซึ่ ง เป็ น สถานที่ พัก ผ่อ นหย่ อนใจ และชุ ม นุ ม สัง สรรค์ ข องชาวขอนแก่น ความส่าคัญเป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อชุมนุมสังสรรค์ของชาวขอนแก่น ในงานนี้จะตกแต่งด้วยดอกไม้หลากสี เพื่อความ สวยงามและแนวคิดสร้างสรรค์ จุดเด่นของงานจะเป็นความงามของขบวนรถบุปผาชาติเสียงเพลงและสาวงาม 2. งานเทศกาลไหมและประเพณี ผู ก เสี่ ย ว ประเพณี ก ารผู ก เสี่ ย วซึ่ ง เป็ น ขนบธรรมเนี ย มดั้ ง เดิ ม ของภาคอี ส าน เนื่องมาจากประชาชนในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ มีอาชีพรองที่นอกเหนือจากการท่านา คือการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ทอผ้าต่างๆเป็นขนบธรรมเนียมดั้งเดิมของภาคอีสาน ที่มุ่งให้คนรุ่นเดียวกันรักใคร่ เป็นพี่เป็นน้องช่วยเหลือกันเรียกว่า "คู่เสี่ยว" จัดขึ้นเป็นประจ่าทุกปี ในช่วงปลายเดือน พฤศจิกายน ถึงต้นเดือนธันวาคม เป็นเวลา 10 วัน 10 คืน บริเวณ สนามกีฬากลางจังหวัด 3. งานเทศกาลไหว้พระธาตุขามแก่น เป็นงานเฉลิมฉลองพระธาตุ เพื่อให้ประชาชนได้สักการะพระธาตุ คู่บ้านคู่เมือง ในงานมีการแสดงศิลปะพื้นบ้าน และการออกร้านจ่าหน่ายสินค้าต่างๆ จัดขึ้นเป็นประจ่าทุกปี ในวันเพ็ญเดือนหก (วัน ขึ้น 15 ค่​่า เดือน6) ณ วัดเจติยภูมิ (ที่มา: การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย, 2557)

4.5 ลักษณะทางกายภาพ เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นที่ราบสูงเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ มีพื้น ที่ประมาณ 953.4 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ร้อยละ 12 ของพื้น ที่จังหวัดขอนแก่น ในเขตเทศบาลนคร ขอนแก่นมีเนื้อที่ 46 ตารางกิโลเมตร อยู่ในระดับความสูงประมาณ 150 – 200 เมตร จากระดับน้่าทะเล ลักษณะ ทั่วไปเป็นที่ราบและลาดชันขึ้นไปทางทิศเหนือ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ของเขตเทศบาลนครขอนแก่ นเป็นพื้นที่ ราบครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 56.40 ของพื้นที่เขตเทศบาล แม่น้่าชีไหลผ่านด้านใต้สุดของเมืองและล่าน้่าพองไหลผ่าน ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นได้รับบริการไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยมี แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า คือ โรงไฟฟ้าพลังน้่าเขื่อนอุบลรัตน์และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนน้่าพอง นอกจากนี้ยังมี แหล่ง น้่าธรรมชาติกระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่ง ยกตัวอย่างแหล่งน้่า เช่น บึงทุ่งสร้าง (B) เป็นพื้นที่นันทนาการขนาดใหญ่ (เริ่มปลูกต้นไม้ แต่มีปัญหาเรื่องคุณภาพของดินเค็ม) ดังที่ แสดงในภาพที่ 6-7 พื้นที่แก้มลิง มีเส้นทางจักรยานแต่ไม่ให้ความส่าคัญ โครงการปลูกหญ้าแฝกลดการพังทลายของ หน้าดิน และช่วยบ่าบัดน้่าเสีย บึงแก่นนคร (C) เป็นแหล่งพักผ่อน ออกก่าลังกายและแหล่งเรียนรู้ของคนขอนแก่น ในแต่ละวันมีประชาชน มาบึงแก่นนครเป็นจ่านวนมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะและการท่าลายระบบนิเวศของบึงแก่นนคร อีกทั้งในปัจจุบัน วัฒนธรรมอันดีดังที่กล่าวมาข้างต้นก่าลังเลือนหายไป เนื่อ งจากมีร้านอาหารและสถานบันเทิงขึ้นรอบบึงแก่น นคร มากมาย ท่าให้มีผู้ใช้บริการสถานบันเทิงมากกว่าที่จะไปสถานที่พักผ่อนที่อนุรักษ์วัฒนธรรม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -76


บึงหนองโครตเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจเนื่องจากมีสวนสาธารณะและชายหาด แต่เดิมบึงนี้มี ขนาดเล็กกว่าปัจจุบันแต่ มีการขุดดินตะกอนไปถมที่ดินบริเวณอื่นน้่าจึงค่อยๆเติมเต็มบึงและเวลาฝนตก บึงนี้ก็เป็น แหล่งเก็บน้่าขนาดใหญ่ของเมืองขอนแก่นด้วย

ภาพที่ 4-6 แสดงทัศนียภาพของบึงแก่นนครทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน

ภาพที่ 4-7 แสดงผังสภาพแวดล้อมและพื้นที่สีเขียวของจังหวัดขอนแก่น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -77


ย่านในเมืองปัจจุบัน ถนนสายหลัก คือถนนมิตรภาพ ด้านจราจรและการขนส่งมีปริมาณมาก ทางเทศบาล ก่าหนดนโยบายลดความคับคั่ง ของการใช้พื้นที่เมือง โดยพื้นที่ธุรกิจการค้า พาณิชยกรรม ควรมีการปรับปรุงฟื้น ฟู เพราะปัจจุบันมีความหนาแน่นและอิ่มตัว บริเวณตะวันออกของพื้นที่มีแหล่งน้่าจ่านวนมาก แต่ไม่ได้รับการส่งเสริม การพัฒนาเมือง ดังที่แสดงในภาพที่ 6-8 (ที่มา:โครงการจัดท่าแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน, 2555)

ภาพที่ 4-8 แสดงผังลักษณะย่านเมืองในปัจจุบัน ปี 2558 โดยมีย่านพักอาศัยชุมชนเมืองเก่า ย่านพักอาศัยพื้นที่ศูนย์กลาง การค้า ย่านที่พักอาศัยสวัสดิการข้าราชการ ย่านที่พักอาศัยนักศึกษา และย่านที่พักอาศัยที่รองรับการขยายตัวของเมือง 341.166 134,101.07

48.228

30,431.64

302,160.93

434,193.40

302,665.25 425,786.82 420,469.21 591,381.86

พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม คลังสินค้า ที่พักอาศัยกึ่งพาณิชยกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอ่าเภอหรือกิ่งอ่าเภอ สาธารณูปการอื่น ๆ สถานสงเคราะห์ สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ พื้นที่อนุรักษ์เพื่อศิลปะและวัฒนธรรมไทย โบราณสถาน อนุสรณ์สถาน นันทนาการ สนามกอล์ฟ สวนสาธารณะ

แผนภูมิที่ 4-3 แสดงสัดส่วนการใช้อาคาร เทศบาลเมืองขอนแก่น 2547 (หน่วยตารางเมตร) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -78


สาธารณูปโภค การประปาส่วนภูมิภาค สาขาขอนแก่นมีพื้นที่คลอบคลุม พื้นที่ให้บริการ 84 ตร.กม. ในปี 2555 มีผู้ใช้น้่าใน เขตบริการส่านักงานการประปาฯ จ่านวน 328,225 ราย ปริมาณก่าลังผลิตที่ใช้งาน 406,992 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และการระบายน้่าในสภาพปัจจุบันการเกิดฝนในฤดูกาลปกติและฝนนอกฤดูกาลสามารถก่อให้เกิดสภาพน้่าท่วมขังบน ผิวจราจรรวมทั้งบริเวณที่ลุ่มต่​่า จากสภาพภูมิประเทศของตัวเมืองซึ่งมีลักษณะเป็นเนินและแอ่งกระทะประกอบกับการเพิ่มขึ้นของอาคารใน พื้น ที่ตัวเมืองท่าให้มีพื้น ที่ดินให้น้่า ฝนซึมลงสู่ชั้นดินด้านล่างน้อยลง ส่งผลให้การระบายน้่าเป็นไปได้ช้า ทั้งนี้เมือง ขอนแก่นมีแหล่งน้่าที่สามารถระบายน้่าฝนจากท่อระบายน้่าที่เชื่อมต่อลงสู่แหล่งดังกล่าวได้เป็นอย่างดี คือ บึงทุ่งสร้าง บึ ง หนองโคตร และบึ ง แก่ น นคร บริ เ วณทั้ ง 3 แห่ ง รวมทั้ ง คลองร่ องเหมื องสามารถเป็น แหล่งรั บ น้่าฝน (ที่ ม า: แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2559-2561 เทศบาลนครขอนแก่น) 16,000,000 14,000,000 12,000,000 ที่อยู่อาศัย 10,000,000

ราชการ

ธุรกิจขนาดเล็ก

8,000,000

รัฐวิสาหกิจ

6,000,000

ธุรกิจขนาดใหญ่ อุตสาหกรรม

4,000,000 2,000,000 0 2552

2553

2554

2555

2556

2557

แผนภูมิที่ 4-4 แสดงสัดส่วนการใช้น้่าประปาของจังหวัดขอนแก่น

โครงสร้างพื้นฐาน ในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น มีสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะมีการกระจุกตัวอยู่ในเขตเทศบาลนคร ขอนแก่น แสดงให้เห็นว่าการศึกษาในระดับอุดมศึกษายังไม่มีการกระจายตัวออกจากเขตเมือง จึงท่าให้เป็นศูนย์กลาง ด้านการศึกษาทั้งในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดใกล้เคียง มีโรงพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนที่ให้บริการ จ่านวน 9 แห่ง นอกจากนี้ยังมีศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน และสถานีอนามัย ในองค์การบริหารส่วนต่าบลที่มีพื้นที่ตั้งอยู่รอบ เทศบาลนครขอนแก่ น มี ส ถานี อ นามัย ประจ่า ทุ กต่ า บลกระจายตั ว อยู่ ใ นพื้ น ที่ จึ ง กล่ า วได้ ว่ า การบริ ก ารด้ า น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -79


สาธารณสุขในเขตพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นมีการให้บริการที่เพียงพอต่อการให้บริการในอนาคต และมีแหล่ง อุตสาหกรรมกระจุกตัวอยู่ทางทิศตะวันออกของเมือง ด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ มีการกระจายตัว ครอบคลุมเขตเทศบาลนครขอนแก่น ประชาชนในพื้นที่ ได้รับบริการไฟฟ้า จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยมีแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า คือ โรงไฟฟ้าพลังน้่าเขื่อนอุบลรัตน์และ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนน้่าพอง นอกจากนี้ยังมี แหล่งน้่าธรรมชาติ ที่กระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่ง การประปาส่วน ภูมิภาค สาขาขอนแก่นมีพื้นที่คลอบคลุม พื้นที่ให้บริการ 84 ตร.กม. แหล่งน้่าที่สามารถระบายน้่าฝนจากท่อระบายน้า่ ที่เชือ่ มต่อลงสู่แหล่งดังกล่าวได้เป็นอย่างดี คือ บึงทุ่งสร้าง บึงหนองโคตร และบึงแก่นนคร บริเวณทั้ง 3 แห่ง รวมทั้งคลองร่องเหมืองสามารถเป็นแหล่งรับน้่า

ภาพที่ 4-9 แสดงผังโครงสร้างพื้นฐานในปัจจุบัน

4.6 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต มีข้อค้นพบว่า พื้นที่กลางเมืองขอนแก่นบริเวณถนนมิตรภาพเปลี่ยน จากที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ทานด้านตะวันออกของ ขอบเขตผังเมืองรวมเปลี่ยนจากที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม เนื่องจากเป็นพื้นที่ชุ่มน้่า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -80


ภาพที่ 4-10 แสดงแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต พ.ศ. 2542 (ซ้าย) พ.ศ. 2559 ฉบับปิด 15 วัน (ขวา)

กฎกระทรวง ควบคุมอาคารในอ่าเภอเมืองขอนแก่น พ.ศ. 2547 สรุปสาระส่าคัญได้ดังนี้ 1. ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมกัน ตั้งแต่ 300 ตรม. แต่ไม่เกิน 1000 ตรม. เว้นแต่ เป็นไปตามข้อก่าหนด 2. ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมกัน เกิน 1000 ตรม. 3. ที่ดินที่จะก่อสร้างอาคารจะต้องติดถนนสาธารณะขนาด 4 ช่องทาง หรือ ขนาดไม่น้อยกว่า 20 เมตร และจะต้อง บรรจบกับถนนสาธารณะที่มีขนาดทางเท่ากันหรือมากกว่า 4. ที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ดินที่ติดตั้งอาคาร ดังที่แสดงในภาพที่ 6-10 5. ค่าสูงสุดของอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคารต่อพื้นที่ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 1.5: 1 6. อัตราส่วนของพื้นที่ว่างที่จัดให้เป็นสวน หรือบริเวณปลูกต้นไม้หรือนันทนาการต่อพื้นที่ของแปลงที่ดินที่จะใช้เป็น ที่ตั้งอาคาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 7. ที่ว่างด้านหน้าอาคารไม่น้อยกว่า 50 เมตร 8. ที่ว่างด้านหลังและด้านข้างห่างจากที่ดินของคนอื่นไม่น้อยกว้า 15 เมตร 9. อาคารที่มีความสูงเกิน 10 เมตรต้องมีระยะห่างจากศูนย์ราชการ ศาสนสถาน โบราณสถาน หรือสถานศึกษาไม่น้อย กว่า 500 เมตร ดังที่แสดงในภาพที่ 6-11 10. ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คน ต่อพื้นที่อาคาร 40 ตรม. 11. ที่พักขยะมูลฝอย ต้องมีระยะห่างจากที่ดินขิงผู้อื่น หรือถนนสาธารารณะไม่น้อยกว่า 10 เมตร รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -81


ที่ว่างรอบอาคาร 70 %

อาคาร 30 %

มีที่ว่างด้านข้างและด้านหลังอาคาร ไม่น้อยกว่า 15 เมตร

สวน 20 %

ที่ว่างด้านหน้าของอาคารต้องห่างจากถนนสาธารณะไม่ น้อยกว่า 50 เมตร

ภาพที่ 4-11 แสดงผังของอาคารที่ก่อสร้าง ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547

ภาพที่ 4-12 แสดงรูปตัดของอาคารสูงเกิน 10 เมตร ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547

4.7 นโยบายและแผนพัฒนาทีเ่ กี่ยวข้อง วิสัยทัศน์

“พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข ”

พันธกิจ

1.พัฒนาศักยภาพนครขอนแก่น เพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

ยุทธศาสตร์

1.พัฒนานครขอนแก่นเป็นนครแห่งการ ประชุมสัมมนาและเป็นศูนย์กลาง พาณิยกรรมของภูมิภาค 2.ส่งเสริมพัฒนาศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ให้มีคุณค่าเพื่อนามาขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์เมือง 3.ส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่า วิสาหกิจชุมชน

2.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งแวดล้อมให้เป็นนครที่น่าอยู่ใน ระดับสากล

3.พัฒนาคุณภาพชีวิตและทุนทาง สังคมให้เป็นสังคมที่เอื้ออาทร และพร้อมต่อการพัฒนา

4.พัฒนาขีดความสามารถของ องค์กรในการบริหารงานท้องถิ่น

4.พัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชน และโครงสร้างพื้นฐานให้เป็นนครแห่งการ ลงทุนและนครแห่งการอยู่อาศัย 5.พัฒนาและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับ มาตรฐานสากล

6.สร้างสังคมที่เอื้ออาทรและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (Healthy City) 7.สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อรองรับ AEC และให้พร้อม ต่อการเปลี่ยนแปลงสู่สากล 8.สร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนและส่งเสริม การมีส่วน ร่วมในการจัดการเมื องในทุกมิติ ของการพัฒนา

9.พัฒนานวัตกรรมการ ให้บริการและการบริหารบ้านเมือง 10.ปรับโครงสร้างและ ศักยภาพองค์กรให้เป็นองค์กร ที่มีสมรรถนะสูง

แผนภูมิที่ 4-5 แสดงวิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ของเทศบาลนครขอนแก่น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -82


พัฒนาศักยภาพนครขอนแก่นเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนานครขอนแก่นเป็นนครแห่งการประชุมสัมมนาและเป็นศูนย์กลางพาณิยกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมพัฒนาศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยให้มีคุณค่าเพื่อน่ามาขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมือง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่าวิสาหกิจชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชนและโครงสร้างพื้นฐานให้เป็นนครแห่งการลงทุนและนคร แห่งการอยู่อาศัย อีกทั้งยังมีโครงการ Car Pool คือโครงการส่าหรับคนที่ไปสถานที่เดียวกัน ทางเดียวกัน ทางเทศบาล ได้เริ่มด่าเนินโครงการโดยใช้รถขนส่งจากที่พักอาศัยรอบนอกเมืองเข้ามาสู่สถานที่ราชการในเมือง ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล เช่นโครงการสังคมไร้มลพิษ ทาง เทศบาลร่วมกับโรงเรียนต่างๆ จุดสีส้มบนภาพที่ 4-13 เพื่อจัดการแยกขยะลดปริมาณการสะสมของขยะที่บ่อฝังกลบ นอกเมือง และยังมีโครงการจัดตลาดนัดสีเขียวขึ้นที่บึงแก่นนคร เพื่อน่าผลผลิตทางการเกษตรที่ชาวบ้านปลูกกันเอง ซึ่ ง เป็ น ผั ก ปลอดสารพิ ษ น่ า มาขายให้ ช าวเมื อ งขอนแก่ น และกิ จ กรรมที่ ถู ก ส่ ง เสริ ม อี ก แห่ ง หนึ่ ง อยู่ ที่ บ ริ เ วณ สวนสาธารณะของบึงทุ่งสร้าง โดยมศูนย์ฝึกอบรมการเรียนรู้พันธุ์ไม้แก่ผู้ที่มีความสนใจ เช่น นักท่องเที่ยว ชาวเมือง ขอนแก่น และนักเรียน นักศึกษา (แผนพัฒนา 3 ปี พ.ศ. 2559-2561 เทศบาลนครขอนแก่น)

ภาพที่ 4-13 แสดงผังโครงการพัฒนาเทศบาลนครขอนแก่น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -83


ตารางที่ 4-1 แสดงโครงการพัฒนาตามแผนนโยบาย แผนพัฒนา 3 ปี (2559-2561)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -84


โครงการรถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) ต้นแบบในเมืองภูมิภาค จังหวัดขอนแก่น แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พัฒนาระบบรถประจ่าทางด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit : BRT) ในพื้นที่ผังเมือง รวม เมืองขอนแก่น ใน 5 เส้นทาง (สีแดง สีเหลือง สีชมพู สีเขียวและสีน้่าเงิน) 108 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 6,356.6 ล้านบาท และมีรถโดยสารสนับสนุนการให้บริการของ BRT ระยะที่ 2 ก่ อ สร้ า งส่ ว นต่ อ ขยายเส้ น ทางการ ให้บริการในระยะที่ ๑ สายสีแดง และสายสีเหลือง มีคนเดินทางจ่านวนมาก และรถโดยสารที่วิ่งให้บริการมีเพียงระยะ สั้นๆ เท่านั้น หากเพิ่มจุดบริการที่ระยะทางยาวขึ้น จะท่า ให้คนหันมาใช้บริการสาธารณะมากขึ้น ลดการใช้พลังงาน ด่าเนินโครงการน่าร่องเส้นทางสายสีแดง (ส่าราญ-ท่าพระ) ระยะทาง๒๘ กิโลเมตร โดยเทศบาลนครขอนแก่น และ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ได้ศึกษาและออกแบบเพื่อก่อสร้างระบบรถโดยสาร BRT ต้นแบบในเมืองภูมิภาค วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาจราจรขอนแก่น ในการจัดระเบียบจราจรหน้าสถานศึกษา การจัดเดินรถทางเดียว (One way) 2. การจัดระเบียบเมือง การจัดระเบียบป้าย เช่น ป้ายโฆษณา และ คัดเอาต์ต่างๆ 3. จัดระเบียบทางเท้า หาบเร่ ร้านค้าแผงลอย

ภาพที่ 4-14 แสดงเส้นทางรถโดยสารด่วนพิเศษ (เทศบาลนครขอนแก่น,2555)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -85


ภาพที่ 4-15 แสดงผังเส้นทางรถโดยสารด่วนพิเศษ (เทศบาลนครขอนแก่น,2555)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -86


4.8 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับเมือง 1. เมืองศูนย์กลางภูมิภาคเพื่อเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงจีนด้วย 2. East-West Corridor เส้นทางหลักเพื่อขอนส่งสินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่สอด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยังเวียดนาม โดยมี โครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงหมายเลข 9 3. ผังประเทศเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง และบริการการท่องเที่ยว Mice City and Event City 4. รายได้เฉลี่ย/คน/ปี จังหวัด 106,583 บาทต่อคนต่อปี 5. ภาคการเกษตรกรรมมีการขยายตัว และมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยมีจ่านวนเงิน หมุนเวียน 380,083 ล้านบาท รองลงมาเป็นภาคอุตสาหกรรม จ่านวน 241,739 ล้านบาท 6. ยุ ท ธศาสตร์ ข องขอนแก่ น เป็ น ศู น ย์ ก ลางทางด้ า นการคมนาคม การศึ ก ษา การสาธารณสุ ข เศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรมสีเขียว 7. ระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชนและสาธารณะ BRT และรถสองแถว 8. วิสัยทัศน์ พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข 9. โรงพยาบาลศรีนครินทร์ให้บริการคนไข้ทั้งในภาคอีสานกว่า 20 จังหวัด ภูมิภาคอื่นๆ และประเทศเพื่ อนบ้าน เช่น ลาวและเวียดนาม 10. โครงการขอนแก่นเมืองในสวน รวมพื้นที่ 1,374.08 ไร่ คิดเป็น 17.16 ตร.ม. / คน สามารถรณรงค์ ลดภาวะโลก ร้อนและช่วยลดโลกร้อนได้ถึง 263.82 กก.คาร์บอนไดออกไซค์/วัน

ภาพที่ 4-16 แสดงทัศนีภาพของเมืองขอนแก่นในปัจจุบัน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -87


บทที่ 5 การศึกษาสถานการณ์ก็าซเรือนกระจก 5.1 การใช้น้่ามัน ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานในภาพต่างๆของจังหวัดขอนแก่น ปี 2548 – 2552 จังหวัดขอนแก่นมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี 2552 สูงถึง 2,725,379.97 tCO2 มีการใช้พลังงานในปริมาณ ที่มากจากการใช้พลังงาน 4 ประเภท คือ 1. น้่ามันเชื้อเพลิงส่าเร็จรูป 1,492,883 tCO2 คิดเป็นร้อยละ 56.70 2. พลังงานไฟฟ้า 935,849 tCO2 คิดเป็นร้อยละ 34.34 3. ก๊าซแอลพีจี 153,792.01 tCO2 คิดเป็นร้อยละ 5.61 4. ก๊าซซีเอ็นจี 97,576.36 tCO2 คิดเป็นร้อยละ 3.35 ในเทศบาลนครขอนแก่นมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน ปี 2552 สูงถึง 608,797.02 tCO2 โดยมีการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าในปริมาณที่มากที่สุด ซึ่งมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงถึงร้อยละ 80.64 ทั้งนี้ยังมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้น้ามันเชื้อเพลิงส่าเร็จรูปสูงเช่นกัน โดยมีการปล่อย ก๊าซสูงถึงร้อยละ 16.73

5.2 การใช้พลังงาน ปริมาณการใช้พลังงานรวมในทุกสาขาของ จังหวัดขอนแก่นในปี 2548 – 2558 ได้แก่ อันดับ 1.บ้านที่อยู่ อาศัย 2.เกษตรกรรม 3.อุตสาหกรรม 4.ธุรกิจการค้า 5.การขนส่ง จากการเปรียบเทียบปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกรณีท่าโครงการด้านพลังงาน ได้ท่าโครงการด้าน พลังงานพบว่า ในปี 2554 สามารถลดปริมานก๊าซเรือนกระจกได้ -3,556.54 ktCO2 จากโครงการโลกสวยด้วยมือเรา (ที่มา:การจัดทาบัญชีก๊าซเรือนกระจกภาคพลังงาน จังหวัดขอนแก่น วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2556)

5.3 การทิ้งและก่าจัดขยะมูลฝอย ปริมาณขยะมูล ฝอยเกิดขึ้น ในจังหวัดขอนแก่น ประมาณ 813 ตัน / วัน หรือ ประมาณ 300,000 ตัน /ปี ปริมาณขยะที่เก็บขนได้ในเขตเทศบาล จ่านวน 265 ตัน/วัน (เศษอาหาร121.11 พลาสติก/โฟม 48.35 ) นอกเขต เทศบาล จ่านวน 50.52 ตัน/วัน การก่าจัดขยะของเทศบาลนครขอนแก่นในปัจจุบัน คือ การฝังกลบ 255.65 ตัน/วัน สถานที่ก่าจัดขยะ ได้แก่ 1. เตาเผาขยะติดเชื้อ 2 แห่ง 2. บ่อฝังกลบขยะติดเชื้อ 1 แห่ง พื้นที่ 1 ไร่ 3. บ่อฝังกลบขยะมูลฝอยชุมชน 1 แห่ง พื้นที่ 98 ไร่ 4. บ่อบ่าบัดน้่าเสียจากขยะระบบบ่อผึ่ง 3 แห่ง (ที่มา:แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2559-2561 เทศบาลนครขอนแก่น) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -88


250.0 206.6 206.6 209.0

200.0 153.2

150.0 114.9 114.6 107.8 114.1

125.2 122.2

167.9 170.0 160.0 165.3

180.0

132.6 136.2 135.8

100.0 50.0

2558

2557

2556

2555

2554

2553

2552

2551

2550

2549

2548

2547

2546

2545

2544

2543

2542

2541

0.0

แผนภูมิที่ 5-1 แสดงปริมาณขยะที่น่าไปก่าจัดจากเทศบาลนครขอนแก่น ปี 2558

ตารางที่ 5-1 แสดงลักษณะสมบัติทางกายภาพขยะมูลฝอยเทศบาลนครขอนแก่น ที่มา:เทศบาลนครขอนแก่น 2558 รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -89


ศักยภาพพลังงานรวมของขอนแก่น เมื่อพิจ ารณาในปี พ.ศ. 2556 พบว่าภายในจังหวั ดมี ศั กยภาพพลัง งานทดแทนมากที่สุ ดโดยไม่นั บ รวม พลังงานแสงอาทิตย์ คือ ชีวมวลแข็งมีค่า 1,076.25 ktoe คิดเป็นร้อยละ 85.01 รองลงมาคือขยะเผาไหม้มีค่า 133.28 ktoe คิดเป็น ร้อยละ 10.53 จังหวัดขอนแก่น มีการใช้พ ลั งงานจากการขนส่ งในปี 2557 สูงถึง 550 ktoe. ล่าดั บ รองลงมาจากภาคอุตสาหกรรมสูงถึง 406 ktoe. และรองลงมาเป็นบ้านพักอาศัย 102 ktoe.

แผนภูมิที่ 5-2 แสดงศักยภาพพลังงานทดแทนของจังหวัดขอนแก่น

5.4 การชี้วัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เปรียบเทียบปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกสาขาของ 3 จังหวัด จากการเปรียบเทียบปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานในทุกสาขาของ 3 จังหวัดพบว่า จั ง หวั ด ขอนแก่ น มี ก ารปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกสู ง สุ ด ใน ปี 2554 สู ง ถึ ง 3,349.59 ktCO2 ซึ่ ง มี ป ริ ม าณมากที่ สุ ด รองลงมาคือ จังหวัดศรีสะเกษ 1,040.42 ktCO2 และจังหวัดที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่​่าสุดคือ จังหวัดร้อยเอ็ด 1,031.50 ktCO2

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -90


บทที่ 6 แนวคิดเบื้องต้นในการพัฒนาเมืองและชุมชน 6.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของพื้นที่ศึกษา การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS ของจังหวัดขอนแก่นได้ทราบถึงรายละเอียดเนื้อหาที่สามารถอธิบายสาระ ในมิติของเทศบาลนครขอนแก่นได้ดั้งนี้ จุดแข็ง ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคล่าดับ 1 ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางหลักของภาคขอบเขต การให้บริการเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงประเทศจีน เส้นทาง East-West Corridor เป็นศูนย์กลางการบริหารและบริการภาครัฐของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นแหล่งอาหาร ที่ ส่ า คั ญ ล่ า ดั บ 4 ของภาค และเป็ น ศู น ย์ บ ริ ก ารการแพทย์ แ ละสาธารณะสุ ข และการศึ ก ษาที่ ส่ า คั ญ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนืออีกทั้งยังได้รับการส่งเสริมให้เป็นนครแห่งการประชุมและสัมมนาอีกด้วย - เป็นศูนย์กลางทางด้านคมนาคมขนส่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - เป็นศูนย์กลางทางด้านการค้าและการบริการของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - เป็นศูนย์กลางทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุข และการศึกษา - เป็นศูนย์กลางทางราชกาลของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - เป็นแหล่งอาหารที่ส่าคัญล่าดับ 4 ของภาค - เป็นศูนย์กลางด้านคมนาคมขนส่ง Logistics และศูนย์รวบรวมกระจายสิ้นค้า - เป็นศูนย์กลางทางด้านการประชุมและการสัมมนา จุดอ่อน ของแก่นเป็นเมืองที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มากมาย มีการพัฒนาเป็นจุดๆไม่ทั่วถึงอย่างเช่น บน ถนนศรี จั น ทร์ ที่ มี ก ารลงทุ น จากภาคเอกชนจ่ า นวนมากท่ า ให้ ภ าครั ฐ ไม่ ส ามารถควบคุ ม การจั ด การได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและประชากรส่วนใหญ่ยังมีรายได้ต่าและภาคเกษตรที่มีผลผลิตต่อไร่ที่ต่าเนื่องจากขาดดินที่มีความอุดม สมบูรณ์ รวมถึงเกษตรกรยังขาดความสามารถขาดความรู้ในการประยุกต์ใช้ - ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้ต่า - ภาคเกษตรมีผลการผลิตต่อไร่ต่า - ปัญหาทางด้านการจัดการขยะที่อยู่ในระดับต่​่า โอกาส ตามแผนยุทธศาสตร์ที่มุ้งเน้น ให้มีการพัฒนาศักยภาพนครขอนแก่นให้เป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรม พัฒนาเมืองขอนแก่นเป็นศูนย์กลางแห่งการประชุมและการสัมมนา มีการพัฒนาระบบ Logistic ระบบ ขนส่งมวลชลและโครสร้างพื้นฐานที่สามารถดึงนักลงทุนเข้ามาได้เป็นจ่านวนมาก - สามารถดึกนักลงทุนเข้ามาได้เป็นจ่านวนมาก - มีการส่งเสริมให้จังหวัดขอนแก่นเป็นนครแห่งการประชุมและการสัมมนา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -91


- มีการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมรมสีเขียว ที่จังหวัดขอนแก่น - การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนท่าให้มีความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น ท่าให้มีความต้องการสิ้นค้าทางการเกษตร มากขึ้น - มีงบลงทนด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - มีการพัฒนาด้าน Logistics เป็นศูนย์กลางของภาคที่สามารถเชื่อมโยงกับกรุงเทพ ภัยคุกคาม ขอนแก่นเป็นเมืองที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมากท่าให้มีประชากรแฝงและการเคลื่อนย้ายของ ประชากรสูง และมีการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การบริการ ท่าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ของที่ดินจาก การเกษตรไปสู่ที่อยู่อาศัยและธุรกิจการบริการ - ประชากรแฝงและการเคลื่อนย้ายประชากรมีมาก - การขยายตัวด้านอุตสาหกรรมและการบริการ เกิดการเปลี่ยนแปลด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน

6.2 วิสัยทัศน์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า 6.2.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาในระดับเมือง วิสัยทัศน์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า 12 หลักการ ดังต่อไปนี้ ไปปรับใช้ให้เข้า

กับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ หลักการที่ 1 การเติบโตอย่างชาญฉลาด หลักการที่ 2 การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หลักการที่ 3 การเดินเท้าและการใช้จักรยาน หลักการที่ 4 วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า หลักการที่ 5 เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า หลักการที่ 6 การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ หลักการที่ 7 การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน หลักการที่ 8 อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน หลักการที่ 9 การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก หลักการที่ 10 การจัดการขยะอย่างยั่งยืน หลักการที่ 11 การจัดการน้่าในเมือง หลักการที่ 12 การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -92


6.2.2 ผังแนวคิดในการพัฒนา แนวทางเสนอแนะการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่าเทศบาลนครขอนแก่น ในขอบเขตผังเมืองรวมขอนแก่น มี แนวคิดดังนี้ 1. การสนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง มีศูนย์กลางเมืองที่รองลงมา การเติบโตที่เป็นกลุ่มๆแยกออกจาก กัน ส่งเสริมให้เมืองมีความกระชับในตัวเอง ไม่สนันสนุนให้คนไปอยู่นอกเมืองเป็นกลุ่มใหญ่แล้วเข้ามาท่างานในเมือง BRT รถยนต์ ในเมืองอาจจะยังไม่ติด แต่อนาคตรถยนต์จะติดมากขึ้น จึงหาวิธีการประหยัดการใช้ประหยัดการใช้ น้่ามัน ต้องเข้าโครงการ Car Pool & Car Sharing 2. แนวคิด TOD คือ คนกระจายตัวอยู่เป็นกลุ่ม มีแหล่งงานด้วยโดยคนไม่จ่าเป็นต้องเข้ามาท่างานในเมือง ตลอดเวลา ประหยัดเวลาในการเดินทาง มีชีวิตที่สะดวกสบายในพื้นที่นั้นได้ ไม่ต้องพึ่งพาศูนย์กลางเมืองมาก 3. พื้นที่จุดศูนย์กลางเมืองที่น่าจะเติบโตมากขึ้นคือ ด้านบนของถนนวงแหวนและด้านล่าง (สถานีท่าพระ) แบ่งออกมาเป็น 3 ศูนย์กลาง จึงเป็นประเด็นส่าคัญในการตั้งถิ่นฐานในอนาคต ลดการปล่อยคาร์บอน 4. โครงการ Park Ride ขับรถยนต์เข้ามารอบนอกเมืองและใช้ระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะเพื่อประหยัด พลังงาน 5. การใช้จักรยานต้องส่งเสริมระยะทางใกล้ ใช้พลังงานเพื่อลดพลังงาน แต่ยังไม่ได้มีก่าหนดการที่แน่ชัด เดิน เท้าและปั่นจักรยานที่ดีท่าให้เมืองน่าเดินมากขึ้น ส่งเสริมเป็นพื้นที่น่าร่อง 6. ระบบการเดิน เท้าโดยการส่งเสริมเส้นทางเดินเท้าที่ดี พ่วงไปกับต้นไม้ในเมือง พื้น ที่หลายแห่งน่าเดิน เพราะเมืองมีชีวิตชีวา แต่ว่าพื้นผิวการเดินเท้าไม่ดีและต้นไม้ยังขาดแคลน 7. เส้นทางจักรยานที่เหมาะสม และแหล่งเดินเท้าที่ดีซึ่งเหมาะสมกับเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ (การออกแบบเพื่อ คนทั้งมวล) และการสนับสนุน wheel chair ใช้พื้นที่ได้แบบ universal ต้องมีทางให้เข็นจักรยานได้ 8. แนวคิดวิถีชีวิต คาร์บ อนต่​่า ควรส่ง เสริม บริ เวณย่านมหาวิท ยาลัย เนื่องจากมีบริ การที่สัมพัน ธ์ กั บ ชี วิ ต นักศึกษา เช่น ร้านอาหาร ร้านกาแฟ เป็นต้น และการจัดท่าเส้นทางจักรยานที่ดี 9. พื้นที่เขตอุตสาหกรรม อยู่นอกเมืองแต่ก็มีความสัมพันธ์กับเมืองด้วยโดยเขตอุตสาหกรรมจะอยู่ทางตอนใต้ ของเทศบาล (สถานีท่าพระ) ลดการใช้พลังงานและเลือกใช้พลังงานทางเลือก การจัดการน้่าและขยะให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น 10. การลดขยะจากการก่อสร้าง ใช้วัสดุที่สามารถใช้ซ้่าได้ 11. อาคารประหยัดพลังงาน เช่น อาคารราชการ เป็นตัวอย่างทีดีในภาคเอกชน จัดการน้่าและขยะ ส่งเสริม การใช้พลังงานทางเลือก ใช้พื้นที่สีเขียวประดับอาคารเพื่อลดอุณหภูมิของเมือง 12. การท่องเที่ยวคาร์บอนต่​่า (Mass tourism) นิยมการเดินเท้าและขี่จักรยานเพื่อซึมซับกับธรรมชาติและ เมืองมากขึ้น โดยขอนแก่นมีศักยภาพของการท่องเที่ยวทางน้่าสูงมาก เช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่มสร้างและบึงหนองโครต และพักอาศัยในเรือนที่มีกลิ่นอายของวัฒนธรรมความเป็นเมืองเก่า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -93


13. พื้นที่สีเขียวของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นส่วนหนึ่งของเมืองเหมือนกัน ควรสนับสนุนให้มีการปลูก ต้นไม้มากขึ้น งบประมาณ ในการปรับปรุงภูมิทัศน์รอบบึงต่างๆ น่าจะเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณทุ่งสร้างเพื่อแก้ปัญหา เรื่องดินเค็ม 14. โครงข่ายพื้น ที่สีเขียว (Green Network) ต้น ไม้ริมทาง สนับสนุนทุกเส้นถนน นอกจากมีพื้นที่สีเขียว กระจายรอบเมืองเป็นหย่อมๆ แล้วควรมีโครงข่ายสีเขียวเป็นเส้นทางเชื่อมโยงกันบนเส้นทางการคมนาคมหลักๆของ เมือง โดยที่ 4 จุดหลักของเมืองได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บึงทุ่งสร้าง บึงแก่น นคร และบึงหนองโครต ควรมี โครงการน่าร่อง ซึ่งลอคเป็น grid จะส่งเสริมด้านทางเท้า ลดอุณหภูมิของเมือง ดูดซับก๊าซคาร์บอน อากาศก็จะดีขึ้น ด้วย พื้นที่สีเขียวอยู่ในเมืองลดเกาะความร้อน และเป็นพื้นที่ทางสังคม อีกทั้งยังเพิ่มมูลค่าทางทรัพย์สิน การค้าก็ดีมาก ขึ้น คนจะมาเดินมากขึ้น 15. พื้นที่สีเขียวใหญ่ มีรัศมีครอบคลุมการบริการทั่วทั้ งเมือง ขอนแก่นมีศักยภาพสูง แต่โครงข่ายการเขื่อม โยงพื้นที่สีเขียวยังขาดอยู่ สามารถระบุวิสัยทัศน์ของเมืองว่าเป็นเมืองสีเขียว 16. บขส.3 ซึ่งตั้งอยู่นอกเมืองควรเปิดการค้าขายเต็มที่ส่าหรับคนได้ท่ามาค้าขาย และจัดระบบขนส่งขนาด เล็กเข้ามาในเมือง เช่น รถตู้และ BRT เชื่อมโยงจากนอกเมืองเข้าสู่เมืองโดยให้คนเปลี่ยนการคมนาคมอื่นๆ ต่อไป

ภาพที่ 6-1 แสดงผังแนวทางเสนอแนะการพัฒนาสู่เมืองคาร์บอนต่​่า เทศบาลนครขอนแก่น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -94


ลักษณะรูปทรงเมืองในปัจจุบัน การกระจุกตัวของเมืองอยู่ที่ใจกลางเมือง เนื้อเมืองเดิมอยู่ที่ถนนกลางเมือง ถนนศรีจันทน์ มีอาคารพาณิชย์ อยู่ตามแนวถนนในย่านธุรกิจศูนย์กลาง ขนานกับถนนมิตรภาพและถนนประชาสโมสร มีทพี่ ักอาศัยตลอดถนนกลาง เมือง ส่วนการประกอบอุตสาหกรรม โกดังเก็บสินค้า อาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อยู่ห่างจากศูนย์กลางเมืองตามแนวถนน มะลิวัลย์ ถนนมิตรภาพ ถนนเหล่านาดี รอบนอกเป็นเกษตรกรรม สถานพักผ่อนหย่อนใจส่าคัญ คือ บึงหนองโคตร บึง แก่นนคร เป็นพื้นที่แก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่นเพื่อรองรับน้่าฝน และมีการจัดลานกิจกรรมให้ประชาชนใช้ สันทนาการ 6.2.2.1 ผังแนวคิดการใช้ประโยชน์ที่ดินและกลุ่มกิจกรรม

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -95


6.2.2.2 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการคมนาคมและการเข้าถึง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -96


ระบบการคมนาคมของเมืองขอนแก่นในปัจจุบัน ประกอบด้วยเส้นทางรถไฟตัดผ่านกลางเมือง เส้นทางถนนในตัวเมืองเป็นกริดตารางส่งผลดีต่อการเดินทาง มีการขยายเส้นทางเลี่ยงเมือง (ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 230) เป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมือง มีถนนที่ส่าคัญเชื่อมโยงเมืองขอนแก่น กับพื้น ที่ อื่นๆ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) ในตัวเมืองมีสถานีขนส่งผู้โดยสารมากถึง 2 แห่ง เชื่อมต่อการเดินทางในระยะใกล้กระจายมายังพื้นที่นอก เมือง 1 แห่ง เพื่อกระจายการเดินทางในระยะไกล เช่น กรุงเทพมหานคร หรือเดินทางข้ามภูมิภาค มี โครงข่ายขนส่งมวลชนด้วยรถ 2 แถว ให้บริการในตัวเมือง และมีท่าอากาศยานพาณิชย์ 1 แห่ง ห่างจาก ตัวเมือง 8 กิโลเมตร 6.2.2.3 ผังแนวคิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -97


กรณีศึกษา

6.2.2.4 ผังแนวคิดการอนุรักษ์และฟืน้ ฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพของเมืองต้องได้รับการรักษาและฟืน้ ฟูเพื่อรักษาคุณภาพชีวิตที่ดี ของผู้อยู่อาศัย การเข้าถึงพื้นที่สีเขียว มีแนวคิด ดังนี้ - ปกป้อง ฟื้นฟู และพัฒนาโครงข่ายสีเขียวที่เข้าถึงได้ในระดับเมือง - สร้างพืน้ ที่สีเขียวเป็นส่วนหนึ่งของอาณาบริเวณสาธารณะ และพืน้ ีท่เปิดโล่งส่าคัญ - พัฒนาโครงข่ายสีเขียวของเมืองโดบูรณา-การจากพืน้ ที่เปิดโล่ง สวนสาธารณะ ต้นไม้ริมทาง พื้นที่สีเขียวของเอกชน หลังคาสีเขียวและผนังเขียว

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -98


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -99


กรณีศึกษา

สภาพแวดล้อมเมืองขอนแก่นในปัจจุบัน มีแม่น้่าชีไหลผ่านด้านใต้สุดของเมืองและล่าน้่าพอง ไหลผ่านทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือใช้เป็นเส้นทางคมนาคม เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และท่าการ ประมง แหล่งน้่าบนผิวดินกระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่ง ได้แก่ บึงแก่นนครเป็นแหล่งพักผ่อน ออกก่าลัง กายและแหล่งเรียนรู้ของคนขอนแก่น บึง ทุ่งสร้าง เป็นพื้นที่แก้มลิงและพื้นที่นันทนาการขนาดใหญ่ มี เส้ น ทางจั ก รยาน บึ ง หนองโคตรเป็ น ทะเลสาบขนาดใหญ่ ใช้ เ ป็ น ที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจเนื่ อ งจากมี สวนสาธารณะและชายหาด หนองเลิงเปือย บึงแก่นน้่าต้อน เป็นต้น ทรัพยากรดิน จังหวัดขอนแก่นมี พื้นที่ 6.8 ล้านไร่ ลักษณะดินเป็ นดินทรายไม่อุ้มน้่า สวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครขอนแก่น มี 7 แห่ง มีพื้นที่การเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่จังหวัด)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -100


6.2.2.5 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบน้า่

ระบบจัดการน้่า 1. เพิ่มบทบาทของโครงข่ายเส้นทางน้่าในเมืองในการช่วยลดอุณหภูมิ เป็นพื้นทีน่ ันทนาการ รองรับ การคมนาคมไร้มลพิษ และจัดการกับความเสี่ยงอุทกภัย 2. การจัดการน้่า - น้่าอุปโภค-บริโภค - น้่าฝน-น้่าหลาก-น้่าท่วม - น้่าเสีย

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -101


กรณีศึกษา Philadelphia Green Streets Design Manual (ที่มา http://greaterplaces.com/project-topic/philadelphia-green-streets-design-manual/)

Biological Treatment: Constructed Wetlands

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -102


6.2.2.6 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบพลังงาน

การจัดการพลังงาน • ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • พลังงานหมุนเวียน กรณีศึกษา

ย่านอาคารในสถานที่ราชการ ย่านอาคารในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -103


(ที่มา http://www.landezine.com/index.php/2014/10/bill-melinda-gates-foundation-campus-by-gustafson-guthrienichol/bill_melinda_gates_foundation-gustafson_guthrie_nichol-asla_award_2014-12/)

6.2.2.7 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการขยะ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -104


กรณีศึกษา

(ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกระทรวงพลังงาน)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -105


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -106


6.2.2.8 ผังแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม

สถานีส่าราญ Car Pool

BRT Park & Ride สถานีท่าพระ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -107


6.3 การก่าหนดพื้นที่เฉพาะเพื่อการออกแบบ

ภาพที่ 6-2 แสดงผังวิเคราะห์พื้นที่ศึกษาในการพัฒนาเมืองขอนแก่นและให้คะแนนตามเกณฑ์การออกแบบ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -108


แนวทางเสนอแนะการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่าเทศบาลนครขอนแก่น สรุปพื้นที่น่าไปสุ่การออกแบบมีดังนี้ 1. พื้นที่ศูนย์กลางเมือง (A) มีแนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่าที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 1 คือ การเติบโต อย่างชาญฉลาด ทฤษฎีข้อที่ 2 คือ การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ การเดินเท้าและการใช้ จักรยาน ทฤษฎีข้อที่ 4 คือ วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า ทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า ทฤษฎีข้อที่ 7 คือ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับคาร์บอน และทฤษฎีข้อที่ 8 คือ อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน กับผลพลอยได้จากแนวคิด การพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่า ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 9 คือ การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก และทฤษฎีข้อ ที่ 10 คือ การจัดการขยะอย่างยั่งยืน 2. พื้นที่ชุมชนบึงแก่นนคร (B) มีแนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่าที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 2 คือ การ เดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ การเดินเท้าและการใช้จักรยาน ทฤษฎีข้อที่ 4 คือ วิถีชีวิตคาร์บอน ต่​่า ทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า ทฤษฎีข้อที่ 6 คือ การรักษาและฟื้นที่ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ทฤษฎีข้อที่ 7 คือ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับคาร์บอน ทฤษฎีข้อที่ 9 คือ การประหยัดพลังงานและการใช้ พลังงานทางเลือก และทฤษฎีข้อที่ 11 คือ การจัดการน้่าในเมือง กับผลพลอยได้จากแนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอน ต่​่า ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 12 คือ การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ 3. พื้นที่เมืองมหาวิทยาลัยขอนแก่น (C) มีแนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่าที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 1 คือ การเติบโตอย่างชาญฉลาด ทฤษฎีข้อที่ 2 คือ การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ การเดินเท้าและ การใช้จักรยาน ทฤษฎีข้อที่ 4 คือ วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า และทฤษฎีข้อที่ 7 คือ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับคาร์บอน ทฤษฎีข้อที่ 8 คือ อาคารสีเขียวประหยัดพลังงานและทฤษฎีข้อที่ 9 คือ การประหยัดพลัง งานและการใช้พลังงาน ทางเลือก กับผลพลอยได้จากแนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่​่า ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 10 คือ การจัดการขยะอย่า ง ยั่งยืน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -109


บทที่ 7 การวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่กลางเมืองขอนแก่น 7.1

การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันระดับพืน้ ที่ 7.1.1 ต่าแหน่งที่ตั้ง

พื้นที่ศึกษาบริเวณกลางเมืองตั้งอยู่ในใจกลางเทศบาลนครขอนแก่น อ่าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พื้นที่กลางเมืองมีบทบาทหลักเป็น ศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และศูนย์ราชการในระดับ ภูมิภาค โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับถนนศูนย์ราชการ ทิศตะวันออก ติดกับถนนหลังเมือง ทิศใต้ ติดกับบริเวณพื้นที่การรถไฟและถนนรื่นรมย์ ทิศตะวันตก ติดกับถนนมิตรภาพ

ภาพที่ 7-1 ผังแสดงต่าแหน่งที่ตั้ง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -110


7.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง

บริบทภายในพื้นที่มีระบบถนนทั้งหมด 3 ประเภท จากการแบ่งล่าดับศักดิ์ โดยประเภทแรก คือถนน สายหลัก ได้แก่ ถนนทางหลวงหมายเลข 2 หรือ ถนนมิตรภาพอยู่ทางทิศตะวันตกของพื้นที่ ถนนประชาสโมสร ถนนศรีจันทร์ ถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง ถนนหลังเมือง และถนนรอบเมือง ประเภทที่สอง ซึ่งถนนสาย หลังเป็นถนนที่มีการจราจรหนาแน่นในช่วงเช้าและ ช่วงเย็น ประเภทที่สอง คือถนนสายรอง ท่าหน้าที่เป็น เส้นทางเชื่อมต่อจากสายหลักไปยังชุมชน และประเภทที่สาม คือถนนซอยย่อย ท่าหน้าที่เป็นเส้นทางย่อยใน การเข้าถึงพื้นที่ต่างๆในชุมชน ในพื้นที่มีการให้บริการระบบรถโดยสารสาธารณะ โดยรถ 2 แถวเป็นหลัก ซึ่งมีการให้บริการทั้งหมด 23 สายในการเข้าถึงพื้นที่ต่างๆในตัวเมืองที่สะดวกขึ้น

ภาพที่ 7-2 ผังแสดงการคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -111


ภาพที่ 7-3 ผังแสดงเส้นทางรถ 2 แถว 7.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ จ่านวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นมีประมาณ 184,859 คนมีความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 6.4 คน/ไร่ (จากการส่ารวจข้อมูลอาคารเพื่อการอยู่อาศัยในเขตผังเมืองรวมขอนแก่น) ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ย่านพื้นที่กลางเมืองมีการก่าหนดการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีก พื้นที่ราชการ และพื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 7.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน

บริบทพื้นที่มีลักษณะการใช้ที่ดินไปในด้านพาณิชยกรรม การค้า พื้นที่ราชการ และที่อยู่อาศัย เป็น หลัก พื้นที่ศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจจะอยู่บริเวณ ถนนศรีจันทร์ บริเวณช่วงประตูเมืองไปจนถึงถนนหน้า เมือง และพื้นที่ตลาดกลาง ซึ่งยังมีพื้นที่อยู่อาศัยกึ่งพาณิชยกรรมตามเส้นทางถนนสายหลักและสายรอง ส่วน พื้นที่ศูนย์กลางราชการจะอยู่บริเวณ ถนนประชาสโมสร ทางด้านทิศเหนือของย่านกลางเมือง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -112


ภาพที่ 7-4 ผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน

ภาพที่ 7-5 ผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -113


7.1.5 กลุ่มกิจกรรม

ภาพที่ 7-6 ผังแสดงลักษณะกลุ่มกิจกรรมวันจันทร์ถึงวันศุกร์

ภาพที่ 7-7 ผังแสดงลักษณะกลุ่มกิจกรรมวันเสาร์และวันอาทิตย์ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -114


7.1.6 อาคารและพื้นที่ว่าง

ภาพที่ 7-8 ผังแสดงอาคารและพื้นที่ว่าง 7.1.7 พื้นที่สีเขียว

ภาพที่ 7-9 ผังแสดงพื้นที่สีเขียว รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -115


ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพืน้ ที่ การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS ของพื้น ที่ย่านกลางเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ได้ทราบถึงรายละเอียด 7.2

เนื้อหาที่สามารถอธิบายสาระในมิติของย่านกลางเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ได้ดั้งนี้ จุดแข็ง เป็น ศูน ย์กลางทางราชกาล เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การคมนาคมขนส่งและยังมีศักยภาพด้านการลงทุนการ พัฒนาในด้านเศรษฐกิจที่สูง และยังเป็นพื้นที่ที่มีการพัฒนาให้เป็นเมือง Mice city and Event city - เป็นศูนย์กลางทางด้านราชกาล - เป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ - เป็นศูนย์กลางทางด้านวัฒนธรรม - เป็นศูนย์กลางทางด้านการคมนาคมขนส่ง เป็นศูนย์กลางทางด้านการประชุมสัมมนาและกิจกรรม จุดอ่อน มีการจราจรที่หนาแน่นเนื่องจากเป็นเส้นทางผ่านไปสู่จังหวัดต่างๆ และยังเป็นเส้นทางคมนาคมของคนในเมือง ขอนแก่นและยังมีสถานีขนส่งที่อยู่บริเวณใจกลางเมืองท่าให้ต้องมีรถบัสขนาดใหญ่วิ่งเข้ามาสู่ใจกลางเมืองซึ่งท่าให้เกิด ปัญหาด้านการจราจรอีกด้วย - มีการจราจรที่หนาแน่น - โครงสร้างพื้นฐานยังไม่ดี - รสบัสปรับอากาศยังต้องเข้ามาใช้พื้นที่บริเวณสถานีขนส่ง โอกาส ตามแผนยุทธศาสตร์ของเทศบาลนครขอนแก่นที่มุ้งเน้นให้มีการพัฒนาศักยภาพนครขอนแก่นให้เป็นศูนย์กลาง ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม พัฒนาเมืองขอนแก่นเป็นศูนย์กลางแห่งการประชุมและการสัมมนา มีการพัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชลพื้นให้การเดินทางในเมืองได้สะดวกและโครสร้างพื้นฐานที่ เพียบพร้อมสามารถดึ งนัก ลงทุน เข้า มาได้เป็น จ่านวนมาก และยังได้กระแสของเมืองคาร์บอนต่​่าที่จ ะพัฒนาบริเวณศูน ย์ราชกาลมุ่งสู่สังคม คาร์บอนต่​่า - พัฒนาให้เป็นเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม - พัฒนาให้เป็นเมือง Mice city and Event city - มีโครงการรถไฟฟ้ารางเบา ภัยคุกคาม ด้านประชากรแฝงที่เพิ่มมากขึ้นท่าให้มีความต้องการทางผลผลิตที่สูงขึ้นด้วย และการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ จะเปลี่ยนประโยชน์การใช้ที่ดินจากที่พักอาศัยไปสู่การลงทุนในรูปแบบใหม่แล้วยังเป็นการท่าลายทรัพยากรพื้นที่สี เขียวอีกด้วย - ประชากรแฝงที่มีมากขึ้น - การขยายตัวด้านเศรษฐกิจของนักลงทุน - พื้นที่สีเขียวลดลง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -116


7.3

ผังการออกแบบและพัฒนาพืน้ ที่ 7.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา

พัฒนาพื้นที่กลางเมืองเป็นศูนย์กลางหลักของจังหวัดขอนแก่นในรูปแบบสังคมคาร์บอนต่​่า 7.3.2 เป้าประสงค์ในการพัฒนา

พัฒนาพื้นที่ย่านกลางเมืองให้เป็น ศูนย์กลางการประชุม (Mice City) ศูนย์กลางราชการระดับ ภาค ศูนย์รวมของการจัดกิจกรรมต่างๆ(Event City) และ เป็นศูนย์กลางการทางด้านการค้าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน 7.3.3 แนวความคิดหลัก 7.3.3.1 โครงสร้างและส่วนประกอบทางกายภาพ

ภาพที่ 7-10 ผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -117


7.3.3.2 การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร

ย่านพักอาศัย ย่านพาณิชยกรรม ย่านราชการ ตลาดสด

ย่านพักอาศัย ย่าน CBD ย่านพาณิชยกรรม โรงแรม ตลาดสด โรงเรียน

ภาพที่ 7-11 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ย่านกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา ในบริเวณตลาดกลางเมืองมีการส่งเสริม ด้านการจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น พลังงานชีวมวล พลังงานหมุนเวียน เป็นต้น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -118


7.3.3.3 กลุ่มกิจกรรมและการเชื่อมโยง

1

2

3

ภาพที่ 7-12 แสดงผังแนวความคิดโครงข่ายถนนในการออกแบบพื้นที่ย่านกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

7.3.3.4 ที่ว่างและพื้นที่สีเขียว

ภาพที่ 7-13 แสดงผังแนวความคิดโครงข่ายการคมนาคมในการออกแบบพื้นที่ย่านกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -119


7.3.4 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้ งานพืน้ ที่สาธารณะ

แผนผังหลักการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design illustrative Master Plan) ผังบริเวณ

ภาพที่ 1.1 มาสเตอร์แปลน ที่มา: จากการออกแบบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -120


7.3.5 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และ โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน

แผนผังหลักการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Illustrative Master Plan) การออกแบบพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าน่าไปสู่การน่าแผนไปปฏิบัติ ซึ่งจะเป็น ขั้นตอนที่น่าแผนผังที่ออกแบบมาก่าหนดเป็นแผนงานและโครงการ ก่าหนดระยะเวลาดาเนินงาน การวิเคราะห์ ความเป็นไปได้ของโครงการ รูปแบบองค์กรที่บริหาร ซึ่งมีผังบริเวณการออกแบบ ดังนี้ ผังบริเวณ 9

10

11 1 12 13 5

14 15

2

16

17

18 6

13.

26

25 3

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

14. 15. 16. 17. 18.

8

7

19.

24

23

19 20

20.

22

21 4

21. 22. 23. 24. 25. 26.

ที่ท่าการไปรษณีย์ขอนแก่น สถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น โรงเรียนกัลยาณวัตร วัดศรีนวล ตลาดบางล่าภู ตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) ตลาดโต้รุ่ง ตลาดขายของเก่า ตึกร้าง 2 ชั้น คลินิกขอนแก่นรวมแพทย์ Supermarket & Bakery ร้านขายของช่า อาคารเก่า พาณิชย์ 3 ชั้น เรือนไม้ 2 ชั้น ด้านบนอยู่อาศัย ด้านล่างขายของ อาคารพาณิชย์อยู่อาศัย 3 ชั้น มี สถาปัตยกรรมที่เก่าแก่ เรือนไม้เก่าส่าหรับอยู่อาศัย เรือนไม้ 1 ชั้น ใช้ขายของ มูลนิธิการกุศลขอนแก่น เรือนไม้ 2 ชั้น ด้านบนอยู่อาศัย ด้านล่างขายของ บ้านไม้ 2 ชั้น ใช้เป็นร้านอาหาร (ร้านวอร์ม) บ้านไม้ 2 ชั้น ใช้เป็นร้านอาหาร (ร้านเย็นเต็ก) โรงเจฮกเซี่ยงตึ๊ง บ้านไม้เก่า 1 ชั้น ประกาศขาย ลานจอดรถส่าหรับตลาด ลานพักผ่อนสาธารณะ ศาลาพักคอยรถขนส่งสาธารณะ BRT สถานีตลาดกลาง ห้องสมุดชุมชน

ภาพที่ 1 แสดงผังบริเวณของตลาดสดกลางเมืองกับย่านชุมชนเก่า บนถนนกลางเมืองและถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -121


7.3.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD)

แผนผังหลักการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Illustrative Master Plan) ผังบริเวณ

1 โรงแรม + ห้องประชุมขนาดเล็ก 35-750คน 2 กลุ่มอาคารคอนโดมิเนียม 3 ศูนย์ประชุมและจัดแสดง 4 พัฒนาปรับปรุงสวนสาธารณะใจกลางเมือง 5 พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณลานศาลหลักเมือง 6 พัฒนาชุมชนประตูเมืองให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น

7 กลุ่มอาคารพาณิชยกรม 8 กลุ่มอาคารCommunity Mall 9 จุดจอดจักรยาน 10 ทางเดินลอยฟ้า (Sky Walk) 11 การเพิ่มพื้นที่สีเขียวริมถนน 12 กลุ่มอาคารอนุรักษ์

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -122


7.3.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้งานพืน้ ที่ สาธารณะ

ผังสภาพปัจจุบัน (Plan)

ภาพที่ 1.1 ผังสภาพปัจจุบัน ที่มา: จากการศึกษา

ผังแนวความคิดในการออกแบบ (Concept Plan)

ภาพที่ 1.2 ผังแสดแนวความคิดในการออกแบบ ที่มา: จากการศึกษา

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -123


ผังแสดงแนวความคิดโครงข่ายถนน (Road Concept Plan)

ภาพที่ 1.3 ผังแสดงแนวความคิดโครงข่ายถนน ที่มา: จากการศึกษา

ทัศนียภาพ (Perspective)

ภาพที่ 1.4 ทัศนียภาพมุมสูงของศูนย์ราชกาล ที่มา: จากการออกแบบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -124


ภาพที่ 1.5 ทัศนียภาพด้านหน้าของศาลากลาง ที่มา: จากการออกแบบ

ภาพที่ 1.6 ทัศนียภาพด้านหน้าอนุสาวรีย์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ที่มา: จากการออกแบบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -125


ภาพที่ 1.7 ทัศนียภาพทางเดินเท้าไปยังศาลากลางจังหวัด ที่มา: จากการออกแบบ

ภาพที่ 1.8 ทัศนียภาพเส้นทาง Green Network ที่มา: จากการออกแบบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -126


ภาพที่ 1.9 ทัศนียภาพ บ.ข.ส. ที่มา: จากการออกแบบ

ภาพที่ 1.10 ทัศนียภาพ บ.ข.ส.1 ที่มา: จากการออกแบบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -127


ภาพที่ 1.11 ทัศนียภาพจุดจอดรถเมล์ BRT ที่มา: จากการออกแบบ

7.3.8 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และโครงการ ปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน

โครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) ประกอบด้วย • ทรัพยากรบ้านเรือนเก่า ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจน ท่าข้อมูลให้จูงใจ เส้นทางถนนคนเดินจะไปตามทิศทาง ของบ้านเก่า สร้างบรรยากาศท่าให้น่าเดิน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -128


• บ้านไม้ 2 ชั้นบางหลังถูกปรับเปลี่ยนการใช้งานจากทีพ่ ักอาศัยเป้นร้านอาหารส่าหรับกลุ่มลูกค้ารุ่น ใหม่ • ตลาดค้าของเก่าอยู่ด้านหลังโรงเรียนกัลยาณวัตร • เรือนแถวชั้นเดียวยังคงมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบันใช้เป็นขายของช่า ความต้องการพัฒนาชุมชนของคนในชุมชนคุ้มพระลับ เขต 2 • สุขภาพอนามัย • เศรษฐกิจ / รายได้ • สิ่งแวดล้อมชุมชน • นันทนาการ / สถานที่พักผ่อน (ที่มา http://www.kkict.org/~kkwelfare/2012/images/information/17joupo.pdf)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -129


กิจกรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละวันของย่านถนนหลังเมืองในปัจจุบัน

อาคารมี 3 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารที่ท่ากิจกรรมเดิม เจ้าของ/ครอบครัวเดิมอยู่ได้ ท่ากิจการมาตั้งแต่อดีตมีประวัติศาสตร์มายาวนาน เพิ่มทัศนียภาพที่สวยงามด้วย Streetscape อาคารเก่ารายล้อม 2. อาคารปิดร้างที่มีศักยภาพ มีเรื่องราว ค่าแนะน่าให้บ่ารุงรักษาอาคารแล้วเปลี่ยนการใช้งานใหม่ แล้วแต่ ผู้ประกอบการรายใหม่ แต่มีแนวทางธุรกิจ คือ Guesthouse ร้านขายของหรือสินค้าประจ่าจังหวัด 3. อาคารสร้างใหม่ที่มีการควบคุมอาคาร รักษาภาพรวมของถนนโดยออกแบบให้มีรูปทรงหรือส่ วนประดับ ตกแต่งให้คล้ายของเดิม รวมถึงความสูงและสัดส่วนใกล้เคียงกันกัน และการสร้างในพื้นที่ว่างเพื่อเติมต็ม เนื้อเมือง ด้านในชุมชนมี Boutique Hotel ร้านอาหาร

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -130


ขอนแก่นมีถนนคนเดิน ซึ่งอยู่หลังศูนย์ราชการไม่ใช่พื้นที่นา่ เดิน แต่คนต้องการพื้นที่จัดงานถนนคนเดิน จึง เสนอถนนคนเดินภายในเมืองซึ่งมีการค้าเล็กๆ ช่วยสร้างอัตลักษณ์ชัดเจนมากขึ้น ย่านของถนนเส้นนีท้ ี่มีการฟื้นฟู เศรษฐกิจให้ดีขึ้นด้วยการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อาคารเก่า ช่วยให้มีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีจนกลายเป็นถนนคนเดิน ส่งเสริมธุรกิจภายในชุมชนอีกด้วย หลักการและแนวคิด • การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม • อนุรักษ์ย่าน โดยน่าบ้านเก่าแต่ละหลังมาท่าการค้าโดยไม่มีการรื้อถอน • อาคารใหม่สามารถสร้างได้แต่ต้องมีการควบคุมความสูงอาคารให้สอดคล้องกับอาคารเดิม กิจกรรม • ย่านการค้า ขายของ ร้านอาหาร แหล่งท่องเที่ ยว หลากหลายกิจกรรม โดยใช้พื้นที่จากอาคารเก่าใน พื้นที่ • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม • Guest House • ที่จอดรถ • สวนสาธารณะ ผู้ใช้งาน • นักท่องเที่ยว • คนในชุมชน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -131


ภาพที่ 10 แสดงทัศนียภาพของถนนคนเดินในชุมชนเก่าบนถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 11 แสดงบรรยากาศของถนนคนเดินในชุมชนเก่าบนถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

ชุมชนเก่าชื่อว่า คุ้มพระลับ เขต 2 บนถนนหลังเมือง จากวิสัยทัศน์ของชุมชนที่ต้องการ สุขภาพ อนามัย เศรษฐกิจ / รายได้ สิ่งแวดล้อมชุมชน และพื้นที่นันทนาการ / สถานที่พักผ่อน จึงน่าไปสู่การออกแบบ พัฒนาย่านชุมชนเก่าให้มีชีวิตชีวาอีกครั้ง เนื่องจากย่านนี้มีทรัพยากรบ้านเรือนเก่า สามารถก่าหนดเส้นทาง ถนนคนเดินจะไปตามทิศทางของบ้านเก่า สร้างบรรยากาศท่าให้น่าเดิน และเกิดเป็นธุรกิจแนวใหม่ที่น่าอาคาร เก่ามาปรับใช้ เช่น บ้านไม้ 2 ชั้นบางหลังถูกปรับเปลี่ยนการใช้งานจากที่พักอาศัยเป็นร้านอาหารส่าหรับกลุ่ม ลูกค้ารุ่นใหม่ ถนนคนเดินภายในเมืองซึ่งมีการค้าเล็กๆ ช่วยสร้างอัตลักษณ์ชัดเจนมากขึ้น ย่านของถนนเส้นนี้ที่ มีการฟื้นฟูเศรษฐกิจให้ดีขึ้นด้วยการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อาคารเก่า ช่วยให้มีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีจนกลายเป็น ถนนคนเดิน ส่งเสริมธุรกิจภายในชุมชนอีกด้วย รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -132


โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน ตลาดกลางเมืองที่ยั่งยืน ตลาดเขียว ตลาด Low Carbon

บริเวณพื้นที่ตลาดกลางเมืองและชุมชนเก่ามีโครงข่าย Green Corridor ด้วยการปลูกต้นไม้ริมทางให้มี ความร่มรื่นน่าเดินมากขึ้น ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของย่านนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังมีโครงข่ายรถ โดยสารสาธารณะ BRT ที่เชื่อมต่อกันทั้งเมืองช่วยให้การเดินทางนั้นสะดวกสบายยิ่งขึ้น จุดขึ้น-ลงของรถ โดยสารกลายเป็น Node ใหม่ของการเดินทางในเมืองขอนแก่น น่าไปสู่การส่งเสริมพัฒนาเมืองทางกายภาพ มากขึ้น เพื่อให้มีภาพลักษณ์ของเมืองที่ชัดเจนและเป็นที่จดจ่าของนักท่องเที่ยว

ภาพที่ 4 แสดงทัศนียภาพของตลาดสดกลางเมืองกับย่านชุมชนเก่า บนถนนกลางเมืองและถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 5 แสดงรูปตัดบริเวณตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) กับโรงเรียนกัลยาณวัตรบนถนนกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

กิจกรรมที่เกิดขึ้นบริเวณจุดจอดรถโดยสารสาธารณะ BRT สถานีตลาดกลางเมืองที่ส่งเสริมการเดินเท้า มากขึ้น คนที่มายังตลาดลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วนตัวโดยเลือกใช้การคมนาคมรูปแบบใหม่ที่ช่วยประหยัด พลังงาน ซึง่ การออกแบบสภาพแวดล้อมของตลาดนี้จะพัฒนาพืน้ ที่ชั้น 2 ของตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) จากเดิม ไม่ค่อยมีการใช้งานเนื่องจากบันไดทางขึ้นไม่สะดวกสบาย เมื่อมีการพัฒนาให้มีบันไดเลื่อนเชื่อมจากจุดจอดรถ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -133


ขึ้นมายังชั้น 2 ซึ่งเป็นตลาดนัดสีเขียว ส่งเสริมการกินพืชผักปลอดสารพิษ โดยผักเหล่านี้ถูกปลูกในพื้นที่เมือง โดยเกษตรกรในเมือง การท่าโครงการตลาดนัดสีเขียวในเมืองจะช่วยลดการขนส่งอาหารจากภายนอกเมืองเข้า มาในเมืองเป็นจ่านวนมาก ประหยัดค่าเชื้อเพลิง อีกทั้งยังช่วยเพิ่มรายได้แก่เกษตรกรด้วย วิถีชีวิตของตลาด • สัดส่วนของตลาดสด 40% (ตามซอยย่อย) • สัดส่วนของค้าขายเสื้อผ้าและของเบ็ดเตล็ด 60% (ตลาดโบ๊เบ๊/ตลาดบางล่าพู) • ตลาดไม่เพียงพอ มีความหนาแน่นจนขาดสุขลักษณะ แผงลอยรุกล้่าพืน้ ที่ถนน และทางสัญจร • ตลาดโบ๊เบ๊ ตึกแถวริมถนนขายเสื้อผ้า และมีอาคาร 2 ชั้น ชัน้ ล่างขายของสดและชั้นบนขายอุปกรณ์ IT คนไม่นิยม ขึ้นไปเดิน • บริเวณหน้าตลาดโบ๊เบ๊และโรงเรียนกัลยาณวัตรมีทั้งรถ 2 แถวจอดรับ-ส่ง รวมถึงมีเด็กนักเรียนข้ามถนนเป็น จ่านวนมาก

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -134


โครงสร้างของตลาดกลางเมืองขอนแก่น

ปัญหาที่พบ • การจัดการน้่า ขยะ ไม่ดีพอ • ระบบการคมนาคมขนส่ง (ระบบ2แถว) ที่คับคั่ง • การบริการทางเท้า (ทางเดินเท้าหน้าโรงเรียนไม่ดี) • ระบบไหลเวียนของรถไม่มีประสิทธิภาพ • ที่จอดรถแออัด เช่น คนเดินตลาดจอดรถริมถนน รถขนขยะไม่สามารถขับรถเข้าไปในตลาดได้อย่างสะดวก แนวคิดการวางผัง • Green Network เชื่อมทะลุจาก BRT กลางเมืองเข้ามาในตลาด เป็นเส้นน่าทางเข้ามาเพื่อให้คนเข้ามาใช้งาน มากขึ้นด้วย เชื่อมมายังพื้นที่ว่างในตลาด ส่งเสริมพืน้ ที่สีเขียวกลางตลาด • ไม่ส่งเสริมการใช้รถยนต์ ดังนั้นจึงไม่ให้มีที่จอดรถภายในตลาด • มีเพียงที่จอดรถขยะเท่านั้น เน้นการเดินเท้า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -135


กิจกรรม • ตลาดทันสมัย สะอาด มีมาตรฐาน ใช้แสงธรรมชาติ (Sunlight) • ตลาดนัดสีเขียวบริเวณชั้น 2 ของตลาดโบ๊เบ๊ • นักเรียนสามารถมานั่งพักผ่อน • WiFi เล่นได้อย่างทั่วถึง • ศูนย์เผยแพร่ความรู้ของชุมชน • พื้นที่ส่าหรับจัดกิจกรรมทุกเดือนตามเทศกาลประเพณีต่างๆ • การเข้าถึงจาก BRT ที่คล่องตัวกลายเป็น Public Space ซึ่งมีพื้นที่สีเขียว • พื้นที่ว่างของเอกชน จัดเป็นลานจอดรถใกล้กับตลาด • ร้านค้าเล็กๆ บริเวณช่องทางเดินไปยังตลาด ช่วยส่งเสริมให้เจ้าของพื้นที่มีรายได้ สนับสนุนกลไกของตลาด เพราะมีทางเดินมาตลาดที่สะดวกสบาย ผู้ใช้งาน • นักเรียน • คนท่างาน • คนเดินตลาด • พ่อค้า แม่ค้า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -136


ภาพที่ 6 แสดงรูปตัดบริเวณตลาดบางล่าพูกับด้านหน้าสถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่นบนถนนกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

สภาวะแวดล้อมของเมืองที่น่าใช้งานเกิดจากการออกแบบวางผังที่ดี โดยพิจารณาจากตัวอย่างการ ออกแบบทางเท้าที่ดีต้องมีทางเดินเท้าที่กว้าง บริเวณตึกแถวมีกันสาดยื่นออกมาเพื่อกันแดดแก่คนเดินเท้า และ การข้ามถนนอย่างปลอดภัยด้วยทางม้าลายที่อ่านวยความสะดวกแก่คนทั้งมวล (Universal Design) เป็นต้น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -137


ภาพที่ 7 แสดงรูปตัดบนถนนศรีจันทร์ ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 8 แสดงบรรยากาศของวิถีชีวิตตลาดกลางเมืองที่ถูกพัฒนาให้ดีขึ้นมีความร่มรื่น น่าเดิน ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 9 แสดงทัศนียภาพของสี่แยกถนนกลางเมืองตัดกับถนนศรีจันทร์ ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -138


7.3.9 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD)

ผังแนวความคิดในการออกแบบ

ศูนย์กลางหลักของเมือง เน้นการพัฒนารอบๆศูนย์กลางให้เชื่อมโยงกันโดย กิจกรรมการเดินเท้า การใช้จักรยาน และระบบขนส่งมวลชน ศูนย์การประชุมและจัดแสดง รองรับการเป็นเมืองแห่งการประชุม (Mice City)

สถานีรถไฟฟ้ารางเบา สถานีรถโดยสารสาธารณะ สถานีรถไฟ

การพัฒนาย่านชุมชนที่มีสภาพเสื่อมโทรมบริเวณชุมชนประตูเมือง จุดจอดจักรยาน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -139


ผังโครงข่ายการคมนาคม

รถบัสปรับอากาศประจ่าทาง รถไฟฟ้ารางเบา ส่าราญ-ท่าพระ (สถานีสี่แยกประตูเมือง) BRT สายสีน้่าเงิน หนองโคตร-หนองใหญ่ BRT สายสีเหลือง บ้านทุ่ม-บึงเนียม BRT สายสีเขียว น้่าต้อน-อ่างศิลา เส้นทางจักรยาน ให้มีจุดจอดจักรยานหลักที่สถานีสี่แยกประตูเมือง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -140


ทัศนียภาพการออกแบบ ทัศนียภาพมุมสูง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -141


ทัศนียภาพด้านบนทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk)

ทัศนียภาพบริเวณประตูเมือง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -142


ทัศนียภาพบริเวณศูนย์การประชุมและจัดแสดง

ภาพตัดบริเวณถนนศรีจันทร์

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -143


7.4

ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบ 7.4.1 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้งานพื้นที่สาธารณะ

-

การเติบโตอย่างชาญฉลาด การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเดินเท้าและการใช้จักรยาน วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า การส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน

เมืองโครงข่ายสีเขียวและคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon and Green-Network City) ในด้านหนึ่งแผนการพัฒนาพื้นที่ เมืองในอนาคตมุ่งเน้นให้เมืองมีความกระชับ โดยมีถนนวงแหวนของเมืองที่จะถูกใช้เป็นขอบเขตในการควบคุมการกระจายตัว ของเมือง มีการตั้งถิ่นฐานที่ล ดการปล่อยคาร์บอนโดยไม่ส นันสนุนให้มีการอยู่อาศัยกระจายตัวนอกเมือง ในอีกด้านหนึ่ง สนับสนุนโครงข่ายสีเขียวให้มีขึ้นบนพื้นที่ สาธารณะที่คนในเมืองใช้งานเป็นประจ่าในเขตเมือง เช่น ถนนสายหลักของธุรกิจ การค้า การประชุมในเขตเมือง และสร้างให้เชื่อมโยงกันเป็นโครงข่ายบนเส้นทางการคมนาคมหลักอื่นๆที่มุ่งไปสู่สถานที่ส่าคัญ ทางด้านพื้นที่สีเขียว 4 จุดหลักของเมือง ได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บึงทุ่งสร้าง บึงแก่นนคร และบึงหนองโครต การพัฒนา เหล่านี้เป็นพื้นที่ทางสังคม ที่เพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับคาร์บอน และเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจ ภาพลักษณ์ อัตลักษณ์ของเมืองขอนแก่น ต่อเวทีการประชุมนานาชาติและเพื่อคุณภาพชีวิตของคนในเมือง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -144


7.4.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการถนนคนเดิน บนถนนหลัง เมือง (ตลาดเมืองเก่า) และโครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน

-

การเติบโตอย่างชาญฉลาด การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเดินเท้าและการใช้จักรยาน วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า การส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน

ศูนย์กระจายสินค้าและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon Logistic and Industry) ควรให้มีการก่อตั้งอย่าง กระชับและสร้างความเด่นชัดของการเป็นศูนย์กลางเมือ งที่รองลงมาจากศูนย์กลางหลัก การเติบโตที่เป็นกลุ่มแยกออกมีค วาม กระชับในตัวเองในบริเวณท่าพระ และส่งเสริมระบบการคมนาคมขนส่งมวลชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเชื่อมโยงมาสู่ตัวเมือง (แนวคิด Smart Growth และ TOD) ศูนย์กระจายสินค้าและอุตสาหกรรมดังกล่าวควรเพิ่มการใช้พลังงานและเลือกใช้พลังงาน ทางเลือก การจัดการน้่า และขยะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โครงการจอดแล้วจร (Park Ride) ซึ่งสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่ง ประเทศไทยได้ร่วมด่าเนินการไว้กับเทศบาลนคร ควรถูกขยายผลไม่ใช่เพียงแค่เจ้าหน้าที่ของเทศบาล แต่มองหาโอกาสความ ร่วมมือของชุมชนขนาดใหญ่นอกเมือง อนึ่ง สถานที่ในการจอดแล้วจรควรถูกจัดเตรียมไว้ เช่น บริเวณ สถานีขนส่งแห่งที่ 3 บริเวณด้านทิศใต้ของเมือง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -145


7.4.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ

(CBD)

-

การเติบโตอย่างชาญฉลาด การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเดินเท้าและการใช้จักรยาน วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า การส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน

ศูนย์กลางการประชุมคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon Mice City) โดยการสนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง พื้นที่ ศูนย์กลางเมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่างชาญฉลาด มีความกระชับ และมีโครงข่ายของการเป็นพื้นที่ศูนย์กลางการประชุม ที่ชัดเจนและเป็นคาร์บอนต่​่า โดยอาศัยการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเชื่อมโยงสถานที่การจัดประชุมต่า งๆบริเวณกลาง เมือง มุ่งเน้นการเดินเท้าและการใช้จักรยานในเขตย่านกลางเมืองร่วมกับโครงข่าย BRT และรถโดยสารขนาดเล็ก ตลอดจนการ เพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับคาร์บอนในศูนย์กลางทางธุรกิจของเมือง อาคารสีเขียวประหยัดพลังงานและการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ยังควรมีขึ้นโดยมีอาคารสถานที่ราชการที่ควรเป็นต้นแบบในการพัฒนา

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -146


7.5

การน่าแผนและผังไปปฏิบัติโครงการพัฒนาย่านราชการ ส่งเสริมการเดินเท้า และการใช้งานพืน้ ที่ สาธารณะ

แผนผังแสดงขอบเขตของโครงการพัฒนา(Project Boundary) แผนผังของขอบเขตการพัฒนา

ภาพที่ 1.1 แผนผังแสดงขอบเขตการพัฒนา ที่มา: จากการออกแบบ

รายละเอียดของโครงการ แผนงานที่ 1 โครงการโครงข่าย Green Network เชื่อมโยงทั้งศูนย์ราชกาล โครงการที่ 1.1 โครงการก่อสร้างเส้นทาง Green Network เชื่อมทั้งศูนย์ราชกาลไปถึง บขส. - ผู้รับผิดชอบ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ศูนย์ราชกาลเป็นพื้นที่ที่มีความส่าคัญของราชกาลและเป็นพื้นที่ที่สามารถ จะปรับปรุงโครงสร้างต่างๆได้ง่ายกว่าพืน้ ที่อื่นๆและยังต้องใช้รถยนต์เพื่อเชื่อมต่อกันระหว่าง หลายๆที่ในศูนย์ราชกาล ยังขาดเส้นทางเดินเท้าทางจักรยานที่ดี - วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเป็นเส้นทางโครงข่ายสีเขียวเชื่อทั้งศูนย์ราชกาล ท่าให้สามารถลดการใช้ รถยนต์ได้ - ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ส่านักงานต่างๆในศูนย์ราชกาล

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -147


- ผลคาดว่าที่จะได้รับ เป็นเส้นทางสีเขียวเพื่อเชื่อมโยงศูนย์ราชกาลต่างๆในการเดินทางด้วยการ เดินหรือการปั่นจักรยาน และยังสามารถส่งเสริมภาพลักษณ์ของศาลากลางให้มีความสง่างาม เหมาะสมกับ ยุทธศาสตร์ของจังหวัดขอนแก่นที่ต้องการให้เป็นศูนย์กลางราชกาลของภูมิภาค แผนงานที่ 2 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณอนุสาวรีย์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และสวนสาธารณะ รัชดา นุสรณ์ โครงการที่ 2.1 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณอนุสาวรีย์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันบริเวณนี้มีการจัดกิจกรรมต่างๆมากมาแต่พื้นที่ยังมีการจัดการที่ ไม่ดีค่อนข้างไม่เป็นระเบียบจึงจ่าเป็นต้องมีการพัฒนาปรับปรุงให้มีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม - วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นศูนย์รวมของการจัดการกิจกรรมต่างๆและพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง - ระยะเวลาด่าเนินการ 1-3 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ส่านักงานราชกาลต่างๆ - ผลคาดว่าที่จะได้รับ ได้รับความเป็นพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ใจการเมืองสามารถใช้งานได้ หลากหลายประเภท แผนงานที่ 3 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ลานคนเมืองและเพิ่มลานจอดรถใต้ดิน โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ลานคนเมือง - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันมีจัดกิจกรรมต่างๆมากมายในบริเวณลานคนเมือง ท่าให้เกิด ความเสียหายจากการจัดกิจกรรมต่างท่าให้ต้องมีการปรับปรุงพื้นที่นี้ให้สามารถใช้งานได้ใน สภาพที่ดี - วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นศูนย์รวมของการจัดการกิจกรรมต่างๆที่ส่งเสริมความเป็น Event City - ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ศาลากลางจังหวัด - ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับพื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆที่ส่าคัญของเทศบาลนครขอนแก่นและยังส่ง เสิรมภาพลักษณ์ที่ดีของศูนย์ราชกาล

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -148


โครงการก่อสร้างพื้นที่จอดรถใต้ดินหน้าศาลากลางจังหวัด - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันคนขอนแก่นมีการใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นทางเลือกหลักในการ สัญจรไปพื้นที่ต่างๆท่าให้เกิดปัญหาพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอต่อความต้องการท่าให้ต้องมาจอด บริเวณถนน ซึ่งกีดขวางทางจราจรไปหลายเลนและท่าให้รถติดขัดได - วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นที่จอดและจรของคนท่างานหรือมาติดต่อในศูนย์ราชกาล - ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ศาลากลางจังหวัด - ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับที่จอดและจรของคนเมืองขอนแก่น แผนงานที่ 4 โครงการรักษาพื้นที่เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม โครงการรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อลดคาร์บอน - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันพื้นที่สีเขียวในเมืองเริ่มจะมีปริมาณที่ลดลง แต่ความต้องการ พื้นที่สีเขียวกับมีความต้องการสูงขึ้น ซึ่งขัดแย้งกัน - วัตถุประสงค์ เพื่อรักษาพื้นที่สีเขียว - ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ส่านักงานกรมป่าไม้ - ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับโครงข่ายพื้นที่สีเขียวและเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมืองได้ แผนงานที่ 5 การจัดระเบียบพื้นที่จอดรถ โครงการปรับปรุงพื้นที่จอดรถบริเวณศูนย์ราชกาล - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันคนขอนแก่นมีการใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นทางเลือกหลักในการ สัญจรไปพื้นที่ต่างๆท่าให้เกิดปัญหาพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอต่อความต้องการท่าให้ต้องมาจอด บริเวณถนน - วัตถุประสงค์ เพื่อจัดระเบียบที่จอดรถ - ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ศาลจังหวัดขอนแก่นและส่านักงานอัยการจังหวัดขอนแก่น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -149


- ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับที่จอดรถที่เพิ่มขึ้นและมีความเป็นระเบียบมากขึ้น แผนงานที่ 6 จุดจอดรถ BRT โครงการก่อสร้างจุดรอรถ BRT พร้อมสิ่งอ่านวยความสะดวกต่างๆ - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันตามยุทธศาสตร์ของเทศบาลนครขอนแก่นที่มีความต้องการเป็น Smart City จ่าจ่าเป็นต้องมีเครือข่ายรถ BRT รถไฟฟ้า รถเมล์ เพื่อที่จะรองรับการเจริญเติบโต ของเมือง - วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นจุดรอรถ BRT พื้นที่จอดจักรยาน - ระยะเวลาด่าเนินการ 1- 2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น - ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับจุดจอดรถ BRT ที่ทันสมัยที่สามารถตอบความต้องการของคนใน เมืองได้ แผนงานที่ 7 Reuse อาคาร บขส โครงการปรับปรุงอาคาร บขส. - ผู้รับผิดชอบโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันอาคาร บขส มีความเสื่อมโทรมอย่างมาก เนืองจากมีคนมาใช้ เป็นจ่านวนมาก และเป็นขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อตอบรับการเป็น transport hub ของจังหวัดขอนแก่นจึงจ่าเป็นต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้ใช้อาคารให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด - วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นจุดรอรถขนส่งสาธารณะและเป็นแหล่งอบปิ้งใหม่ใจกลางเมือง - ระยะเวลาด่าเนินการ 3 – 4 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ บริการขนส่งสาธารณะ - ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับอาคารที่สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพและได้แหละช๊อปปิ้ง แหล่งใหม่ของเทศบาลนครขอนแก่น แผนงานที่ 8 การส่งเสริมอาคารเขียว โครงการปรับปรุงอาคาพาณิชย์ให้เป็นอาคารเขียว รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -150


- ผู้รับผิดชอบของโครงการ เทศบาลนครขอนแก่น - หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันพื้นที่สีเขียวในเมืองเริ่มจะมีปริมาณที่ลดลง แต่ความต้องการ พื้นที่สีเขียวกับมีความต้องการสูงขึ้น จึงมีแนวคิดที่จะน่าพื้นที่สีเขียวไปใส่ไว้ในตัวอาคารเพื่อ เป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง - วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นอาคารเขียวอาคารประหยัดพลังงานที่ช่วยลดคาร์บอน - ระยะเวลาด่าเนินการ 0 – 2 ปี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในอาคารพาณิชย์ - ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับพื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้น แผนผังช่วงระยะเวลาการพัฒนา แผนผังช่วงระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -151


แผนผังช่วงระยะเวลา 3 -4 ปี

แผนผังระยะเวลาด่าเนินการ 0 – 2 ปี

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -152


ตารางแสดงระยะเวลาในการด่าเนินงาน แผนงานโครงการ

ระยะเว ลาการ ระยะที่1 ก่อสร้าง 2559 2560

โครงการโครงข่าย Green Network เชื่อมโยงทั้ง ศูนย์ราชกาล

2 ปี

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณอนุสาวรีย์จอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ สวนสาธารณะ รัชดา นุสรณ์

2 ปี

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ ลานคนเมืองและเพิ่มลาน จอดรถใต้ดิน

2 ปี

โครงการรักษาพื้นที่เพื่อ รักษาสิ่งแวดล้อม การจัดระเบียบพื้นที่จอด รถ โครงการก่อสร้างจุดรอรถ BRT พร้อมสิ่งอ่านวย ความสะดวกต่างๆ Reuse อาคาร บขส การส่งเสริมอาคารเขียว

2 ปี

ระยะที่2 2561

2562

2563

2564

ระยะที่3 2565

2566

2567

ระยะที่4 2568

25 69

25 70

2 ปี 2 ปี

4 ปี 1 ปี

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -153

25 71


7.6

การน่าแผนและผังไปปฏิบัติโครงการถนนคนเดิน บนถนนหลังเมือง (ตลาดเมืองเก่า) และโครงการ ปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน

ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Project’ Boundaries)

10 13

2 1

12

3

5

6

4

12

7 8

7 11

9

14

ภาพที่ 13 ผังแสดงขอบเขตโครงการพัฒนาตลาดกลางเมืองและชมุชนเก่า ที่มา : ผู้ท่าการศึกษา

โครงการพัฒนาตลาดกลางเมืองและถนนคนเดินในชุมชนเก่าบนถนนหลังเมือง มีโครงการดังนี้ 1. โครงการปรับปรุงลานจอดรถสถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น 2. โครงการปรับปรุงระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนในตลาดบางล่าพู 3. โครงการตัดถนนบริการส่าหรับขนส่งสินค้าและทางเดินเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -154


4. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) 5. โครงการตลาดนัดสีเขียว 6. โครงการพัฒนาสถานีรถโดยสารสาธารณะ BRT เชื่อมกับตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) 7. โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชกรรมเก่าของตลาดโต้รุ่ง 8. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดโต้รุ่ง 9. โครงการก่อสร้างพื้นที่ลานจอดรถในย่านตลาดกลางเมือง 10. โครงการปรับปรุงทางเท้าและทางจักรยานบนถนนกลางเมืองและถนนศรีจันทร์ 11. โครงการก่อสร้างลานอเนกประสงค์สาธารณะ 12. โครงการปรับปรุงอาคารเก่ามาเป็นร้านค้า 13. โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจถนนคนเดิน 14. โครงการก่อสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าจังหวัดขอนแก่น จะเน้นการพัฒนาเพื่อ เพิ่มศักยภาพและสนับสนุนพื้นที่โดยรอบด้วยการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ดีแก่เมือง อีกทั้งยังแก้ไข ปัญหาของบริเวณพื้นที่อย่างครอบคลุมและทุกกลุ่มผู้ใช้งาน ซึ่งโครงการออกแบบและพัฒนาพื้นที่จังหวัด ขอนแก่นจะประกอบด้วยแผนงานที่มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) แผนงานการสนับสนุนการส่งเสริมระบบคมนาคม 2) แผนงานการจัดการระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนในตลาด 3) แผนงานการฟื้นฟูชุมชนเก่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว 4) แผนงานการพัฒนาที่ว่างสาธารณะและพื้นที่สีเขียว 5) แผนงานการพัฒนาพื้นที่พาณิชยกรรมของชุมชน การน่าแผนไปปฏิบัติประกอบด้วย 5 แผนงานหลัก และแบ่งเป็น 14 โครงการย่อย โดยจะแสดง รายละเอียดในแผนงานต่างๆ ดังนี้ แผนงานที่ 1 (แผนงานการสนับสนุนการส่งเสริมระบบคมนาคม) ประกอบด้วย 4 โครงการ - โครงการที่ 1.1 โครงการปรับปรุงลานจอดรถสถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น - โครงการที่ 1.2 โครงการตัดถนนบริการส่าหรับขนส่งสินค้าและทางเดินเท้าในตลาด สดเทศบาล (โบ๊เบ๊) - โครงการที่ 1.3 โครงการพัฒนาสถานีรถโดยสารสาธารณะ BRT เชื่อมกับตลาดสด เทศบาล (โบ๊เบ๊) - โครงการที่ 1.4 โครงการก่อสร้างพื้นที่ลานจอดรถในย่านตลาดกลางเมือง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -155


แผนงานที่ 2 (แผนงานการจัดการระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนในตลาด) ประกอบด้วย 2 โครงการ - โครงการที่ 2.1 โครงการปรับปรุงระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนใน ตลาดบางล่าพู - โครงการที่ 2.2 โครงการตลาดนัดสีเขียว แผนงานที่ 3 (แผนงานการฟื้นฟูชุมชนเก่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว) ประกอบด้วย 2 โครงการ - โครงการที่ 3.1 โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจถนนคนเดิน - โครงการที่ 3.2 โครงการก่อสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แผนงานที่ 4 (แผนงานการพัฒนาที่ว่างสาธารณะและพื้นที่สีเขียว) ประกอบด้วย 4 โครงการ -

โครงการที่ 4.1 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) โครงการที่ 4.2 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดโต้รุ่ง โครงการที่ 4.3 โครงการปรับปรุงทางเท้าและทางจักรยานบนถนนกลางเมืองและ ถนนศรีจันทร์ โครงการที่ 4.4 โครงการก่อสร้างลานอเนกประสงค์สาธารณะ

แผนงานที่ 5 (แผนงานการพัฒนาพืน้ ที่พาณิชยกรรมของชุมชน) ประกอบด้วย 2 โครงการ -

โครงการที่ 5.1 โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชกรรมเก่าของตลาดโต้รุ่ง โครงการที่ 5.2 โครงการปรับปรุงอาคารเก่ามาเป็นร้านค้า

แผนงานและโครงการทั้งหมดที่ได้จัดท่าขึ้น ได้ก่าหนดช่วงระยะเวลาดาเนินโครงการ และ งบประมาณของ โครงการตามความเหมาะสม โดยค่านึงถึงการขยายตัวของประชากร การขยายตัวทาง เศรษฐกิจ ความต้องการในอนาคต การลงทุน เพื่อเป็นแนวทางให้เทศบาลนครขอนแก่น และภาคเอกชน สามารถนาไปปฏิบัติในช่วงเวลาที่เหมาะสม

รายละเอียดของโครงการพัฒนา (Project Description) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -156


แผนงานที่ 1 การสนับสนุนการส่งเสริมระบบคมนาคม โครงการที่ 1.1 โครงการปรับปรุงลานจอดรถสถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น ผู้รับผิดชอบ : สถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น หลักการและเหตุผล : สถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่นตั้งอยู่กลางเมืองขอนแก่นโดยลานจอดรถนี้เป็นลานโล่ง จอดรถอย่างไม่เป็นระเบียบ ท่าให้จอดรถยนต์ได้น้อยกว่าความเป็นจริง อีกทั้งบริเวณถนนกลางเมืองมีการจอด รถริมฟุตบาทเนื่องจากไม่มีที่จอดรถยนต์ส่าหรับคนที่เข้ามาท่าธุระในย่านนี้ จึงส่งผลให้เกิดปัญหารถติดในเมือง วัตถุประสงค์ : เพื่อจัดระเบียบพื้นที่จอดรถให้มีประสิทธิภาพ สามารถจอดรถยนต์ได้จ่านวนเพิ่มขึ้นในพื้นที่เท่า เดิม ระยะเวลาด่าเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : กรรมการของสถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น ผลที่คาดว่าจะได้รับ : บริเวณกลางเมืองมีพื้นที่จอดรถเพิ่มมากขึ้น ในช่วงหลังเวลาราชการสามารถใช้เป็นลาน จอดรถสาธารณะได้อย่างเหมาะสมและเพียงพอ

โครงการที่ 1.2 โครงการตัดถนนบริการส่าหรับขนส่งสินค้าและทางเดินเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ในปัจจุบันถนนส่าหรับรถขนส่งสินค้าที่มายังตลาดมีจ่านวนมากและไม่มีที่จอดรถที่ เพียงพอท่าให้รถขนส่งต้องจอดริมทางเท้า รบกวนคนเดินเท้าและคนเดินตลาดเป็นจ่านวนมาก ดังนั้นจาก ศักยภาพของพื้นที่ว่างในตลาดที่มีอยู่สามารถน่ามาพัฒนาตัดถนนบริการส่าหรับรถขนส่งได้โดยตรง วัตถุประสงค์ : เพื่ออ่านวยความสะดวกแก่รถบรรทุกขนส่งสินค้าและรถเก็บขยะภายในตลาด ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น ตลาดสด เทศบาล (โบ๊เบ๊) และพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : การขนส่งสินค้าจากรถขนส่งของพ่อค้าแม่ค้าจะไม่รบกวนคนเดินเท้าอีกต่อไป คน เดินตลาดเดินได้อย่างสะดวกสบาย แบ่งพื้นที่ของถนนและทางเท้าได้อย่างเป็นระเบียบ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -157


โครงการที่ 1.3 โครงการพัฒนาสถานีรถโดยสารสาธารณะ BRT เชื่อมกับตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : อนาคตทางเทศบาลนครขอนแก่นมีโครงการระบบขนส่งสาธารณะ BRT และมีสถานี ตลาดกลางเมืองซึ่งตรงกับบริเวณตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊)และโรงเรียนกัลยาณวัตร ซึ่งมีคนเป็นจ่านวนมากท่า ให้พื้นที่จุดรอรถกลายเป็นจุดศุนย์กลางการขนส่ง ดังนั้นพืน้ ที่ว่างของตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) ชั้นที่ 2 สามารถ น่ามาใช้งานใหม่ได้ โดยการท่าบันไดเลื่อนเชื่อมจากสถานี BRT ได้โดยตรง วัตถุประสงค์ : เพื่อความสะดวกสบายของการเดินจากจุดขึ้น-ลงรถสาธารณะไปยังตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) ระยะเวลาด่าเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น ตลาดสด เทศบาล (โบ๊เบ๊) ผู้รับผิดชอบโครงการ BRT และพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ตลาดเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจมากขึ้นในรูปแบบที่แตกต่างจากตลาดเดิม และเป็น สถานที่ / จุดนัดพบแห่งใหม่ของกลุ่มคนขอนแก่น

โครงการที่ 1.4 โครงการก่อสร้างพื้นที่ลานจอดรถในย่านตลาดกลางเมือง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : พื้นที่ภายในเมืองขอนแก่นมีอยู่อย่างจ่ากัดโดยเฉพาะบริเวณตลาดกลางเมืองไม่มีพนื้ ที่ จอดรถยนต์ส่าหรับบริการคนเดินตลาดท่าให้แต่ละคนต้องจอดรถริมทางเท้าซึ่งส่งผลต่อการจราจรภายในเมือง อย่างมาก ดังนั้นทางเทศบาลนครชอนแก่นจึงต้องส่ารวจพื้นที่ของเอกชนที่สามารถให้เช่าพื้นที่ท่าที่จอดรถยนต์ สาธารณะส่าหรับตัวเมือง โดยในลานจอดรถยนต์นั้นจะมีทางเดินเชื่อมต่อกับตลาดโต้รุ่ง อีกทั้งยังมีรา้ นค้าขนาด เล็กริมทางเดินเพื่อให้เจ้าของพื้นที่ดินสามารถท่าธุรกิจอย่างอื่นได้ด้วย นอกจากการปล่อยให้เช่าพื้นที่ วัตถุประสงค์ : เพื่อลดปัญหาการจอดรถยนต์ริมทาง และลดปัญหาการจราจร ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น และเจ้าของที่ดิน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -158


ผลที่คาดว่าจะได้รับ : พื้นที่จอดรถยนต์ภายในตัวเมืองมีระเบียบมากขึ้น ลดปัญหาการจราจรติดขัด และสร้าง แหล่งเศรษฐกิจริมทางให้เฟื่องฟูมากขึ้นด้วย สิ่งที่ส่าคัญที่สุดนั้นคือคนมาเดินตลาดมากขึ้นเรื่องจากมีที่จอด รถยนต์รองรับอย่างเพียงพอ

แผนงานที่ 2 การจัดการระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนในตลาด โครงการที่ 2.1 โครงการปรับปรุงระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนในตลาดบางล่าพู ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ปัญหาที่พบในตลาดบางล่าพูคือ การจัดการขยะที่ไม่เป็นระบบ ไม่มีการคัดแยกขยะและ จุดทิ้งขยะที่เหมาะสม ในบางพื้นที่มีจุดทิ้งขยะขนาดใหญ่ริมทางเท้า ส่งกลิ่นรบกวนแก่คนเดินเท้าเป็นอย่างมาก และการใช้น้่าอย่างฟุ่มเฟือยเพื่อฉีดล้างพื้นในตลาด ดังนั้นระบบการคัดแยกขยะเพื่อการจัดการอย่างมีระบบนั้น สามารถท่าได้ตั้งแต่ระดับร้านค้าจนถึงตลาดขนาดใหญ่โดยการเริ่มคัดแยกจากพ่อค้าแม่ค้าเป็นอันดับแรก เช่น ตลาดสดจะต้องมีการคัดแยกถุงพลาสติก และอาหารสด ซึ่งอาหารสดสามารถน่าไปท่าปุ๋ยชีวมวลน่ากลับมาเพิ่ม ผลผลิตทางการเกษตรได้เป็นอย่างดี เป็นต้น และการจัดท่าระบบใช้น้่าหมุนเวียน ด้วยการสร้างทางระบายน้่าที่ มีการบ่าบัดในตัว โดยหลักการบ่าบัดมี 3 ขั้นตอนนั้นคือ 1. บ่อที่มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อกรองตะกอนในน้่า 2. บ่อที่มีจุลินทรีย์ฆ่าเชื้อโรค และ 3. บ่อพักน้่า สามารถน่าน้่าไปใช้ล้างพื้นในตลาดหรือรดน้่าต้นไม้ภายในตลาด อย่างดี วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการคัดแยกขยะและระบบการใช้น้่าหมุนเวียน ระยะเวลาด่าเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น ตลาดบางล่าพู และพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ตลาดบางล่าพูมีการจัดการระบบขยะที่ดีขึ้นลดภาวะการปล่อยคาร์บอนสู่ธรรมชาติและ การใช้น้่าหมุนเวียนเพื่อช่วยประหยัดน้่าใช้ในตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -159


โครงการที่ 2.2 โครงการตลาดนัดสีเขียว ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : การปลูกพืชผักสวนครัว และพืชผักที่จ่าเป็นต่อการปรุงอาคารในชีวิตประจ่าวัน ปัจจุบัน จ่าเป็นต้องปลูกนอกเมืองและขนส่งใส่รถบรรทุกเข้ามาค้าขายภายในเมือง ซึ่งเป็นการปล่อยคาร์บอนสู่สภาพ อากาศเป็นจ่านวนมาก ดังนั้นหากมีการปลูกพืชผักเหล่านี้ภายในตัวเมืองจะช่วยลดภาระการขนส่งสินค้าได้ อย่างมาก ทางเทศบาลจึงมีโครงการตลาดนัดสีเขียวคือ การจัดสถานที่ให้พ่อค้าแม่ค้มาขายสินค้าที่ปลูกได้จาก ในเมือง ปลอดสารพิษ ห่างไกลจากสารก่อมะเร็ง ลดการเป็นโรคมะเร็งของคนขอนแก่นด้วย วัตถุประสงค์ : เพื่อลดภาระการขนส่งสินค้าจากนอกเมืองสู่ภายในเมืองและมีพืชผักปลอดสารพิษรับประทาน ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น และพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ตลาดนัดสีเขียวถูกให้ความส่าคัญมากในหมู่ในรักสุขภาพและส่งเสริมการปลูกพืชผักใน เมือง ลดภาระการขนส่งสินค้าจากนอกเมืองสู่ตัวเมือง

แผนงานที่ 3 การฟื้นฟูชุมชนเก่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว โครงการที่ 3.1 โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจถนนคนเดิน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ถนนคนเดินของเมืองขอนแก่นตั้งอยู่ที่หน้าศาลากลางจังหวัดจัดในวันเสาร์และอาทิตย์ เท่านั้น ได้รับความนิยมมากมีร้านค้าตั้งอยู่เป็นจ่านวนมากจ่าให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเดิน เพราะมีสินค้าพื้นถิ่น อาหารท้องถิ่น อีกทั้งยังมีกิจกรรมการแสดงของภาคอีสานให้นักท่องเที่ยวได้ชื่นชม แต่เนื่องจากต่าแหน่งที่ตั้ง อยู่ในพื้นที่ราชการ ในเวลาราชการมีรถยนต์เป็นจ่านวนมากและนอกเวลาราชการไม่มีการใช้งานพื้นที่จึ ง มองเห็นศักยภาพของถนนหลังเมืองซึง่ ตั้งอยู่ใกล้กบั แหล่งท่องเที่ยวในเมืองมากกว่าถนนหน้าศาลากลางจังหวัด จึงง่ายต่อการเดินทาง อีกทั้งบริเวณนี้ยังมีร้านค้าริมทางซึ่งขายสินค้าตลอดทั้งวัน หากมีการจัดท่าเป็นถนนคน เดินในเวลากลางคืน วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มจ่านวนนักท่องเที่ยวให้มีมากขึ้นกว่าเดิม และร้านค้าริมทางก็สามารถขายสินค้าได้อย่าง ปกติ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของเมืองด้วย รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -160


ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ชาวชุมชนคุ้มพระลับ เขต 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ : กระตุ้นเศรษฐกิจการค้าบริเวณถนนหลังเมืองด้วยการค้าถนนคนเดินมีแหล่งเศรษฐกิจที่ แตกต่างไปจากเดิม คาดว่าจะมีจ่านวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น และร้านค้าริมทางสามารถขายสินค้าได้ตลอดทั้งวัน เพิ่มรายได้แก่คนในชุมชน

โครงการที่ 3.2 โครงการก่อสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : สถานการณ์การท่องเที่ยวในเมืองขอนแก่นมีสภาวะนักท่องเที่ยวจ่านวนมากกว่าพื้นที่ ท่องเที่ยวจะรองรับเพียงพอ ดังนั้นทางเทศบาลจึงมองหาและส่ารวจพื้นที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่น่าสนใจและ สะท้อนถึงอัตลักษณ์ความเป็นเมืองขอนแก่นได้เป็นอย่างดี ดังนั้นชุมชนเก่าบริเวณชุมชนคุ้มพระลับ เขต 2 บน ถนนหลังเมืองจึงเป็นตัวเลือกของพื้นที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่น่าสนใจ เนื่องจากมีคนอยู่อาศัยเป็นจ่านวนมากและ มีวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่น่าสนใจและเป็นเอกลักษณ์ของคนขอนแก่น เกิดการบูรณาการระหว่างชุมชนกับการ ท่องเที่ยว ด้วยศักยภาพของอาคารที่มีสถาปัตยกรรมเก่าแก่ อาคารบางหลังไม่ได้ถูกใช้งาน จึงมีความเป็นไปได้ ในการน่าอาคารเหล่านี้กลับมาใช้งานใหม่ด้วยงานบูรณะแล้วพัฒนาธุรกิจรูปแบบใหม่แก่นักลงทุนหรือบริษัทน่า เที่ยว เช่น โฮสเทล พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ เป็นต้น วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างรายได้แก่ชุมชน ชุมชนสามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง และน่าเสนอวิถีชีวิตให้คนต่างชุมชน รวมถึงนักท่องเที่ยวได้รับรู้ ระยะเวลาด่าเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ชาวชุมชนคุ้มพระลับ เขต 2 มัคคุเทศก์น้อย และบริษัทเอกชนที่ให้บริการด้านการท่องเที่ยว ผลที่คาดว่าจะได้รับ : การสร้างเสริมอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเมืองขอนแก่นให้นักท่องเที่ยวรับรู้ได้อย่าง ชัดเจนและสามารถเรียนรู้วิถีชีวิตอย่างใกล้ชิดจากคนในพื้นที่ โดยการน่าเที่ยวด้วยมัคคุเทศก์น้อยประจ่า ท้องถิ่น ซึ่งเป็นนักเรียนอาสาสมัครน่าเที่ยว ช่วยส่งเสริมให้เด็กในชุมชนมีความกล้าแสดงออกมากขึ้น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -161


แผนงานที่ 4 แผนงานการพัฒนาที่ว่างสาธารณะและพื้นที่สีเขียว โครงการที่ 4.1 การปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) เป็นตลาดที่ส่าคัญของคนในเมืองขอนแก่นมีคนเข้ามาใช้งาน เป็นจ่านวนมาก ทั้งคนในจังหวัดและจากจังหวัดอื่นรอบข้าง จึงท่าให้สภาพแวดล้อมของตลาดเสื่อมโทรมลงไป อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีคนใช้งานแต่ไม่มีคนดูแลรักษา สภาพทางเท้าที่ไม่น่าเดินส่งผลกระทบต่อคนเดินตลาด เป็นอย่างมาก วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและที่นั่งภายในตลาดจะช่วยให้สภาพแวดล้อมของตลาดน่าใช้งานมากขึ้น และสามารถรองรับการเดินของคนที่มายังตลาดได้อย่างสะดวก ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น ตลาดสด เทศบาล (โบ๊เบ๊) และพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : การเดินของคนในตลาดสามารถเดินได้อย่างสะดวกสบาย มีภูมิทัศน์ที่ร่มรื่นน่าใช้งาน สวยงาม สร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็น

โครงการที่ 4.2 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดโต้รุ่ง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ตลาดโต้รุ่งมีการใช้งานในช่วงเช้ามีพ่อค้าแม่ค้าเข้ามาเป็นจ่านวนมากรวมถึงรถเข็นสินค้า และรถบรรทุกเข้ามายังพื้นที่ จอดรถอย่างไม่เป็นระเบียบ ท่าให้เกิดความสับสนของช่องทางรถ ช่องทางรถเข็น และช่องทางเดินเท้า ซึ่งท่าให้เกิดความวุ่นวายมากในช่วงเช้า ดังนั้นการจัดพื้นที่จอดรถบรรทุกให้สามารถขนส่ง ได้อย่างสะดวกใกล้กับร้านค้า ท่าให้ลดภาระการขนสินค้าด้วยรถเข็น สามารถเพิ่มช่องทางการเดินเท้าให้ สะดวกมากยิ่งขึ้น เมื่อมีการปรับปรุงภูมิทัศน์ของตลาดโต้รุ่งก็ส่งผลให้คนเดินเลือกซื้อสินค้าได้อย่างสบายใจ วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความสะดวกสบายแก่คนเดินตลาด ตอบสนองต่อการใช้งานของนักท่องเที่ยวและ นโยบายของเทศบาลนครขอนแก่น ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -162


ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น กรรมการเทศบาลนครขอนแก่น ตลาดสด เทศบาล (โบ๊เบ๊) และพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ส่งเสริมภาพลักษณ์ของตลาดให้ดีมากกว่ารูปแบบเดิม มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม น่าใช้งาน ปัญหาการจอดรถบรรทุกส่งของจะลดลง โครงการที่ 4.3 โครงการปรับปรุงทางเท้าและทางจักรยานบนถนนกลางเมืองและถนนศรีจันทร์ ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : จากสภาพปัญหาด้านการคมนาคมการท่องเที่ยในปัจจุบันที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคน เมืองขอนแก่น จึงเกิดแนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาต่างๆเหล่านั้นโดยมุ่งให้เกิดความร่วมมือระหว่างคนภายใน ชุมชน ซ฿งการท่องเที่ยนยุคปัจจุบันเป็นการท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่บนแนวคิดของการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ แนวคิดของการเดินและการใช้จักรยานก็เป็นหนึ่งในทางเลือกของการท่องเที่ยว ซึ่งสามารถด่าเนินการได้ในทันที โดยจะท่าให้ชุมชนและการท่องเที่ยวพัฒนาไปอย่างสอดคล้องกัน วัตถุประสงค์ : ระยะเวลาด่าเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ปัญหาการคมนาคม และมลภาวะต่างๆ ลดลง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การ ท่องเที่ยวและการใช้ชีวิตของคนจังหวัดขอนแก่นมีความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น

โครงการที่ 4.4 โครงการก่อสร้างลานอเนกประสงค์สาธารณะ ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : จากการส่ารวจภายในเมืองพบพื้นที่ว่างจ่านวนมากที่ไม่ได้ถูกใช้งานหรือใช้งานอย่างไม่ มี ประสิทธิภาพ เช่น บริเวณช่องว่างระหว่างอาคาร หัวมุมถนน และลานโล่งสาธารณะที่ไม่ถูกใช้งาน เป็นต้น เมื่อ เมืองมีความสวยงามมากขึ้นด้วยการปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง จึงจ่าเป็นต้องมีลานอเนกประสงค์สาธารณะ เพื่อรองรับกิจกรรมปกติและเทศกาลประจ่าเมือง วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างสิ่งอ่านวยความสะดวกสาธารณธขึ้นภายในเมือง ตอบสนองต่อการใช้งานของคนเมือง ขอนแก่นและนักท่องเที่ยว อีกทั้งยังส่งเสริมให้คนใช้พื้นที่สาธารณะมากขึ้น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -163


ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น ผลที่คาดว่าจะได้รับ : บรรเทาปัญหาการใช้พื้นที่สาธารณะที่ไม่เพียงพอ ซึ่งการน่าพืน้ ที่เดิมที่มีประสิทธิภาพมา ใช้งานสาธารณะ จะช่วยส่งเสริมการใช้งานอย่างสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น แผนงานที่ 5 แผนงานการพัฒนาพื้นที่พาณิชยกรรมของชุมชน โครงการที่ 5.1 โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชกรรมเก่าของตลาดโต้รุ่ง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : อาคารพาณิชกรรมของตลาดโต้รุ่งมีสภาพทรุดโทรมอีกทั้งยังไม่มีกันสาดบริเวณทางเดิน เท้าสาธารณะด้วย หากมีการปรับปรุงเพื่ออ่านวยความสะดวกแก่ระบบทางเท้าทั้งเมือง ควรจะปรับปรุงติดกัน สาดยื่นมาบนทางเท้าเพื่อสร้างร่มเงาแก่คนเดินทั้งเมือง และการปรับปรุงภาพลักษณ์ของอาคารเก่าให้มีสภาพที่ ใหม่และน่าใช้งานมากขึ้น ท่าให้คนเดินตลาดและนักท่องเที่ยวให้ความสนใจ วัตถุประสงค์ : เพื่อปรับปรุงอาคารพาณิชกรรมเก่าของตลาดโต้รุ่งให้มีสภาพน่าใช้งาน รองรับการใช้งานที่ หลากหลายของกิจกรรมใหม่ ระยะเวลาด่าเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : กรรมการของเทศบาลนครขอนแก่น ตลาดโต้รุ่ง และเจ้าของอาคาร ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ภูมิทัศน์เมืมองมีความสวยงาม น่าเดินมากขึ้นและสามารถรองรับการใช้งานได้อย่าง หลากหลาย

โครงการที่ 5.2 โครงการปรับปรุงอาคารเก่ามาเป็นร้านค้า ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ภายในเมืองเก่าจะพบอาคารมากมายถูกปิดทิ้งร้างไม่มีการใช้งาน ทั้งๆ ที่มีสภาพที่ สวยงามแสดงถึงสถาปัตยกรรมเก่า ดังนั้นทางเทศกาลจึงเห็นถึงคุณค่าและมูลค่าของอาคารเหล่านี้ซึ่งสามารถ น่ามาปรับปรุงสภาพทางกายภาพเล็กน้อยก็สามารถใช้งานได้อย่างดี วัตถุประสงค์ : เพื่อน่าอาคารเก่ากลับมาใช้งานใหม่ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -164


ระยะเวลาด่าเนินการ : 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : กรรมการของเทศบาลนครขอนแก่น และเจ้าของอาคาร ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ลดการก่อสร้างอาคารใหม่ภายในเมือง ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการก่อสร้างและ สร้างมูลค่าให้กับอาคารที่มีสถาปัตยกรรมเก่าที่งดงาม 1. ช่วงระยะเวลาในการพัฒนา (Development Phasing)

8

4 1

3

5

4

6 7

2

ภาพที่ 14 ผังแสดงขอบเขตโครงการพัฒนาตลาดกลางเมืองและชมุชนเก่า Phase 1 (ระยะเวลา 1-2 ปี) ที่มา : ผู้ท่าการศึกษา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -165


มีโครงการดังนี้ 1. โครงการตัดถนนบริการส่าหรับขนส่งสินค้าและทางเดินเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) 2. โครงการก่อสร้างพื้นที่ลานจอดรถในย่านตลาดกลางเมือง 3. โครงการตลาดนัดสีเขียว 4. โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจถนนคนเดิน 5. การปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) 6. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดโต้รุ่ง 7. โครงการก่อสร้างลานอเนกประสงค์สาธารณะ 8. โครงการปรับปรุงอาคารเก่ามาเป็นร้านค้า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -166


5

3 1

2

6 6

4

ภาพที่ 15 ผังแสดงขอบเขตโครงการพัฒนาตลาดกลางเมืองและชมุชนเก่า Phase 2 (ระยะเวลา 3-5 ปี) ที่มา : ผู้ท่าการศึกษา

มีโครงการดังนี้ 1. โครงการปรับปรุงลานจอดรถสถานีต่ารวจภูธรเมืองขอนแก่น 2. โครงการพัฒนาสถานีรถโดยสารสาธารณะ BRT เชื่อมกับตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) 3. โครงการปรับปรุงระบบการจัดการขยะและการใช้น้่าหมุนเวียนในตลาดบางล่าพู 4. โครงการก่อสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 5. โครงการปรับปรุงทางเท้าและทางจักรยานบนถนนกลางเมืองและถนนศรีจันทร์ 6. โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชกรรมเก่าของตลาดโต้รุ่ง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -167


ในการกาหนดช่วงระยะเวลาการด่าเนินการ ท่าให้ทราบล่าดับการพัฒนาพื้นที่ต่างๆ ภายใน โครงการ ที่ซึ่งจะเป็นแนวทางในการก่าหนดการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานภายในเมือง ตามล่าดับเพื่อให้ การพัฒนามีความสอดคล้องซึ่งกันต่อไป โดยแผนงานและโครงการการพัฒนามีรายละเอียดดังการจัดช่วง ระยะเวลาในการพัฒนาต่อไปนี้ การจัดช่วงระยะเวลาในการพัฒนาก่าหนดช่วงระยะเวลาการพัฒนาพื้นที่ออกมาเป็น 2 ระยะคือ ระยะแรก (1-2 ปี) ระยะกลาง (3-5 ปี) 1) ระยะที่ 1 (1-2 ปี) 2559 - 2560 การพัฒนาโครงการในระยะแรกพิจารณาปัจจัยอันประกอบไปด้วย - พัฒนาโครงการที่จ่าเป็นเร่งด่วนที่ต้องการเร่งก่อสร้างเพื่อรองรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระดับ เมืองและท้องถิ่น เช่น โครงการก่อสร้างพื้นที่ลานจอดรถ โครงการก่อสร้างอาคารพาณิชยกรรมใหม่ - พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานสนับสนุนการพัฒนาเมืองตามแนวถนนที่จาเป็นในระยะแรก เช่น โครงการ ปรับปรุงพื้นถนนสายหลัก โครงการปรับปรุงทางเดินเท้าริมถนน เเละต้นไม้เพื่อเอื้ออานวยความ สะดวกแก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ 2) ระยะที่ 2 (3-5 ปี) 2561 – 2563 การพัฒนาโครงการในระยะกลางพิจารณาปัจจัยอันประกอบไปด้วย - พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานต่อเนื่องจากโครงการในระยะแรก เพื่อให้เกิดความเชื่อมต่ออย่างไร้ รอยต่อของการเดินทาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวเเละสังคม - พัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อการท่องเที่ยว เพิ่มเติมกลุ่มกิจกรรมการท่องเที่ยวใหม่ รวมทั้งปรับปรุงและ แก้ไขภูมิทัศน์ของพื้นที่ท่องเที่ยวให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -168


แผนงานโครงการ

ระยะเวลา การก่อสร้าง (ปี)

โครงการตัดถนนบริการส่าหรับขนส่งสินค้าและทางเดิน เท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) โครงการก่อสร้างพื้นที่ลานจอดรถในย่านตลาดกลางเมือง โครงการตลาดนัดสีเขียว โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจถนนคนเดิน การปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และทางเท้าในตลาดโต้รุ่ง โครงการก่อสร้างลานอเนกประสงค์สาธารณะ โครงการปรับปรุงอาคารเก่ามาเป็นร้านค้า โครงการปรับปรุงลานจอดรถสถานีต่ารวจภูธรเมือง ขอนแก่น โครงการพัฒนาสถานีรถโดยสารสาธารณะ BRT เชื่อมกับ ตลาดสดเทศบาล (โบ๊เบ๊) โครงการปรับปรุงระบบการจัดการขยะและการใช้น้่า หมุนเวียนในตลาดบางล่าพู โครงการก่อสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โครงการปรับปรุงทางเท้าและทางจักรยานบนถนนกลาง เมืองและถนนศรีจันทร์ โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชกรรมเก่าของตลาดโต้รุ่ง

ระยะที่ 1 2559 2560 2561

ระยะที่ 2 2562

2563

1 2 1 2 1 1 1 2 3 5 4 3 4 5

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -169


2. มาตรการควบคุม (มาตรการทางลบ)

ภาพที่ 16 แสดงมาตรการการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต โดยพื้นที่ศึกษาอยู่ในที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศ่ย หนาแน่นมาก ที่มา : ส่านักผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ

จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต มีข้อค้นพบว่า พื้นที่กลางเมืองขอนแก่นบริเวณถนนมิตรภาพ เปลี่ยนจากที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ทานด้าน ตะวันออกของขอบเขตผังเมืองรวมเปลี่ยนจากที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ ชนบทและเกษตรกรรม เนื่องจากเป็นพื้นที่ชุ่มน้่า รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -170


กฎกระทรวง พ.ศ. 2557 ในพื้นที่อ่าเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม และที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทดังต่อไปนี้ - โรงงาน และโรงบ่าบัดน้่าเสียรวมของชุมชน - สถานที่บรรจุก๊าซ (ยกเว้นสถานีบริการ) - สถานที่ใช้เก็บน้่ามันเชื้อเพลิง (ยกเว้นสถานีบริการ) - เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู - จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฏหมาย - สุสาน และฌาปนสถาน - สถานบริการ - โรงฆ่าสัตว์ - ไซโลเก็บผลผลิตทางเกษตร - ก่าจัดมูลฝอย - ซื้อขาย หรือเก็บเศษวัสดุ - สถานบริการ การควบคุมการก่อสร้างอาคาร ในกฎกระทรวง พ.ศ. 2557 สรุปสาระส่าคัญได้ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมกัน เกิน 1000 ตรม. ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมกัน ตั้งแต่ 300 ตรม. แต่ไม่เกิน 1000 ตรม. เว้นแต่เป็นไปตามข้อก่าหนด ที่ดินที่จะก่อสร้างอาคารจะต้องติดถนนสาธารณะขนาด 4 ช่องทาง หรือ ขนาดไม่น้อยกว่า 20 เมตร และจะต้องบรรจบกับถนนสาธารณะที่มีขนาดทางเท่ากันหรือมากกว่า มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ใน 100 ส่วนของพืน้ ที่ดินที่ติดตั้งอาคาร มีค่าสูงสุดของอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคารต่อพื้นที่ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 1.5 ต่อ 1 มีอัตราส่วนของพื้นที่ว่างที่จัดให้เป็นสวน หรือบริเวณปลูกต้นไม้หรือนันทนาการต่อพื้นที่ของ แปลงที่ดินที่จะใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 มีที่ว่างด้านหน้าอาคารไม่น้อยกว่า 50 เมตร มีที่ว่างด้านหลังและด้านข้างห่างจากที่ดินของคนอื่นไม่น้อยกว้า 15 เมตร อาคารที่มีความสูงเกิน 10 เมตรต้องมีระยะห่างจากศูนย์ราชกาล ศาสนสถาน โบราณสถาน หรือสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 500 เมตร

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -171


10. มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คน ต่อพื้นที่อาคาร 40 ตรม. 11. ทีพ่ ักขยะมูลฝอย ต้องมีระยะห่างจากที่ดินขิงผู้อื่น หรือถนนสาธารารณะไม่น้อยกว่า 10 เมตร

ที่ว่างรอบอาคาร 70 %

อาคาร 30 %

สวน 20 %

มีที่ว่างด้านข้างและด้านหลังอาคาร ไม่น้อยกว่า 15 เมตร

ที่ว่างด้านหน้าของอาคารต้องห่างจากถนนสาธารณะไม่ น้อยกว่า 50 เมตร

ภาพที่ 17 แสดงผังของอาคารที่ก่อสร้าง ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547 ที่มา : ผู้ท่าการศึกษา

ภาพที่ 18 แสดงรูปตัดของอาคารสูงเกิน 10 เมตร ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547 ที่มา : ผู้ท่าการศึกษา

3. มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน (มาตรการทางบวก) 1. ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน และการใช้พลังงานหมุนเวียน 2. การจูงใจในการด่าเนินการด้วยกลไกทางการตลาด 3. การร่วมมือระหว่างภาครัฐกับเอกชน ยกเลิกการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4. กลไกการตอบแทนการประหยัดพลังงานให้แก่ชุมชน 5. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานของเมือง ให้สะดวกสบาย รองรับทุกกิจกรรมที่หลากหลาย 6. การตั้งกองทุนเพื่อวิจัยและพัฒนาการจัดการทรัพยากรขยะและน้่าอย่างยั่งยืน 7. ลดการสนับสนุนในภาคธุรกิจที่มีการด่าเนินการไม่สอดคล้อง 8. การจัดกิจกรรมใช้รถขนส่งสาธารณะ BRT ไม่เสียค่าบริการ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -172


7.7 การน่าแผนและผังไปปฏิบัติโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD)

ผังแสดงขอบเขตโครงการพัฒนาแต่ละโครงการที่เป็นส่วนประกอบของแผนแม่บท ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Projects’ boundaries) โครงการในการพัฒนาย่านกลางเมืองบริเวณถนนศรีจันทร์

2 1

6

2 5 3

4

7

7 6

10

8 9

1

0

1

2 1

12

1

1

11 1 โครงการโรงแรมที่มีห้องประชุมขนาดเล็ก (35-750คน)

7 โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชยกรรมเก่า

2 โครงการคอนโดมิเนียม

8 โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่มีคุณค่า 3 โครงการพัฒนาภูมิทัศน์สวนสาธารณะบริเวณสวนเรื องแสง 9 โครงการคอมมูนิตี้มอลล์ 4 โครงการศูนย์ประชุมและจัดแสดง 10 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลหลักเมือง 5 โครงการทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk)

11 โครงการทางจักรยานสีเขียว

6 โครงการพัฒนาชุมชนประตูเมือง(ชุมชนต้นแบบคาร์บอนต่​่า) 12 โครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -173


รายละเอียดของโครงการพัฒนา (Projects Description) โครงการออกแบบและพัฒนาพื้นที่ถนนศรีจันทร์ จะเน้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพและสนับสนุนพื้นที่ในการ เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และเพิ่มศักยภาพของพื้นที่ให้กลางเป็นเมืองแห่งศูนย์การประชุม(Mice City) โดย เน้นการเชื่อมต่อของกลุ่มกิจกรรมต่างๆในเมืองด้วยระบบขนส่งสาธารณะ การเดินเท้า และการใช้จักรยาน โดยโครงการออกแบบและพัฒนาพื้นที่ถนนศรีจันทร์ ประกอบด้วยแผนงานที่มีรายระเอียดดังต่อไปนี้ แผนงานที่ 1 แผนงานด้านการคมนาคม โครงการที่ 1.1

: โครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนด้วยระบบรางและBRT

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: พื้นที่ถนนศรีจันทร์เป็นพื้นที่ที่มีการจราจรหนาแน่น เนื่องจากระบบขนส่งมวลชน เดิมที่เน้นไปทางรถ2แถวยังมีสิทธิภาพในการใช้งานค่อนข้างน้อยและไม่ สะดวกสบายดังนั้นทางเทศบาลนครขอนแก่นจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบขนส่ง มวลชนใหม่ที่จะช่วยอ่านวยความสะดวกในการเดินทางทั้งระบบรางและระบบBRT ให้มีประสิทธิภาพคอบคลุมในตัวเมือง

วัตถุประสงค์

: เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง และเป็นการสร้างทางเลือกที่ หลากหลายในการใช้บริการระบบขนส่งมวลชน

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-2 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: บริษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จ่ากัด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: ผู้คนจะหันมาใช้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น ท่าให้ปริมาณรถยนต์ในตัวเมือง เทศบาลนครขอนแก่นมีจ่านวนลดลด อีกทั้งยังเป็นการช่วยปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์และเป็นการประหยัดพลังงานในการใช้น้่ามันเป็นต้น

โครงการที่ 1.2

: โครงการทางจักรยานสีเขียว

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: พื้นที่ถนนศรีจันทร์เป็นพื้นที่ที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การค้า วัฒนธรรม ที่อยู่อาศัย และยังเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายเส้นทางสัญจรหลักที่จะผ่านเข้าไป ยังใจกลางเมืองและชุมชนโดยรอบ จากแนวคิดหลักที่เน้นทางด้านการเดินทางที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงได้เสนอแนะเส้นทางจักรยานเชื่อมต่อพื้นที่ชุมชนโดยรอบกับ พื้นที่เศรษฐกิจแห่งนี้และเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณทางจักรยานและทางเท้า

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -174


วัตถุประสงค์

: เพื่อเพิ่มทางเลือกในการเดินทางแก่ผู้คน และเป็นเส้นทางเชื่อมต่อพื้นที่โดยรอบไป ยังจุดเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมในพื้นที่แห่งนี้ โดยถนนศรีจันทร์จะเป็นถนนตัวอย่างที่ สมบูรณ์แบบ(Complete Street)

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-2 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: คนในชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: ถนนศรีจันทร์จะกลายเป็นถนนที่น่าเดินและมีความหลากหลายทางกิจกรรมและยัง ช่วยลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในเมือง

โครงการที่ 1.3

: โครงการทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk)

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: จากแนวคิดการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาในการส่งเสริมให้พื้นที่ ถนนศรีจันทร์เป็นถนนที่น่าเดินมีทัศนียภาพในการเดินเท้าที่ดี มีทางเลือกในการ เข้าถึงพื้นที่ที่สะดวกขึ้น อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมเรื่องของการท่องเที่ยวดึงดูดผู้คนให้ เข้ามาในพื้นที่

วัตถุประสงค์

: เพิ่มความหลากในการเดินทางให้แก่ผู้คน และเป็นจุดเชื่อมต่อจากสถานีรถไฟฟ้า รางเบาไปยังพื้นที่ต่างๆ เช่น ศูนย์การประชุม ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล และชุมชน อื่นๆ ที่สะดวกสบายและมีความปลอยภัย

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 2-3 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: ส่านักโยธาธิการและผังเมืองขอนแก่น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: มีความหลากหลายในการเดินเท้า เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในพื้นที่ลดลง

แผนงานที่ 2 แผนงานด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โครงการที่ 2.1

: โครงการศูนย์การประชุมและจัดแสดง

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: จากนโยบายของเทศบาลที่ต้องการพัฒนาเมืองขอนแก่นให้เป็นเมืองแห่งการ ประชุม ซึ่งย่านถนนศรีจันทร์เป็นย่านที่มีศักยภาพในการเป็นศูนย์รวมการประชุม หลัก มีประตูเมืองทางเข้าหลักและเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ มีห้างสรรพสินค้า หลัก มีโรงแรมอยู่โดยรอบพื้นที่หลายแห่ง โดยมีพื้นที่สาธารณะติดกับสวนเรืองแสง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -175


ฝั่งตรงข้ามเซ็นทรัล เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนามีการเข้าถึงที่สะดวกอยู่ใน บริบทที่เหมาะสม แต่ในปัจจุบันยังไม่ถูกใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ วัตถุประสงค์

: เพื่อพัฒนาย่านถนนศรีจันบริเวณพื้นที่ติดกับสวนเรืองแสงให้เป็นศูนย์กลางการ ประชุมและจัดแสดงของจังหวัดขอนแก่น โดยสนับสนุนให้เป็นอาคารที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเชื่อมโยงกับระบบขนส่งสาธารณะทั้งระบบรางและระบบBRT ผ่านทางทางเดินลายฟ้าและทางเท้า

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-5 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: ส่านักโยธาธิการและผังเมืองขอนแก่นและบริษัทเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: ย่านถนนศรีจันทร์จะกลายเป็นเมืองแห่งการประชุม(Mice City)ในรูปแบบเมือง คาร์บอนต่​่า

โครงการที่ 2.2

: โครงการที่พักอาศัยในรูปแบบคอนโดมิเนียม

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: จากการพัฒนาเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจและมีจุดเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมทั้งระบบ รางและระบบBRT ซึ่งในอนาคตย่านถนนศรีจันทร์จะเป็นย่านที่มีอัตราการพัฒนาที่ รวดเร็ว อีกทั้งเป็นการเพิ่มทางเลือกส่าหรับที่อยู่อาศัยที่มีความหลากหลาย

วัตถุประสงค์

: เพิ่มโอกาสในการเลือกให้แก่ผู้คนในทุกๆระดับ รองรับการเติบโตของเมืองใน อนาคต ลดการเดินทางมายังแหล่งงาน และลดความหนาแน่นในการใช้ที่ดิน

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-5 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: บริษัท แสนสิริ จ่ากัด และบริษัทเอกชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: ปริมาณการจราจรลดลง และเพิ่มโอกาสทางด้านเศรษฐกิจและเป็นย่านที่มีความ หลากหลายของที่อยู่อาศัย

โครงการที่ 2.3

: โครงการโรงแรม

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: จากการพัฒนาเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจและมีจุดเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมทั้งระบบ รางและระบบBRT อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางในการประชุม ซึ่งจะมีนักลงทุก หรือ หน่วยงานจากที่ต่างๆมายังพื้นที่นี้

วัตถุประสงค์

: รองรับการเติบโตของเมืองศูนย์กลางการประชุมในอนาคต

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-5 ปี

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -176


ผู้ร่วมด่าเนินการ

: บริษัทเอกชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: ย่านศรีจันทร์เป็นเมืองแห่งการประชุมที่สมบูรณ์แบบทั้งในเรื่องของการเดินทาง สิ่ง อ่านวยความสะดวกในด้านต่างๆ เช่น ที่พักอาศัย

โครงการที่ 2.4

: โครงการคอมมูนิตี้มอลล์

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: พัฒนาพื้นที่อาคารพาณิชย์เดิมในย่านการค้าที่ทรุดโทรมให้กลับมามีศักยภาพยิ่งขึ้น โดยใช้โครงสร้างเดิมเป็นหลัก

วัตถุประสงค์

: รองรับการเติบโตของเมืองศูนย์กลางการประชุมในอนาคตและเพิ่มความหลาย หลายในการเลือกแก่ผู้คน

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 2-3 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: บริษัทเอกชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: เกิดกิจกรรมที่หลากหลายและส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า

แผนงานที่ 3 แผนงานด้านการพัฒนาชุมชน โครงการที่ 3.1

: โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชยกรรมเก่า

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: เนื่องจากพื้นที่อาคารพาณิชยกรรมเดิมมีความเสื่อมโทรม มีทัศนียภาพที่ไม่น่ามอง จึงควรปรับปรุงและพัฒนาให้มีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น แต่ยังคงความเป็นพาณิชยกรรมไว้

วัตถุประสงค์

: เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์และภูมิทัศน์ที่ดีแก่เมือง

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-2 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: เจ้าของที่ดิน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: เมืองมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น และช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า

โครงการที่ 3.2

: โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่มีคุณค่าทางความงาม

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: อาคารเดิมบริเวณใกล้กับศาลหลักเมืองเป็นอาคารเก่าที่มีคุณค่าในแง่ของความงาม จึงควรแก่การอนุรักษ์ไว้

วัตถุประสงค์

: เพื่ออนุรักษ์อาคารเก่าที่มีคุณค่าทางด้านความงาม สามารถเป็นจุดดึงดูด นักท่องเที่ยว

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-2 ปี

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -177


ผู้ร่วมด่าเนินการ

: เจ้าของที่ดิน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: เมืองมีคุณค่าทางความงามและเป็นจุดถึงดูดนักท่องเที่ยว

โครงการที่ 3.3

: โครงการพัฒนาชุมชนประตูเมือง(ชุมชนต้นแบบคาร์บอนต่​่า)

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: เนื่องจากชุมชนประตูเมืองมีความเสื่อมโทรมค่อนข้างมากและอยู่ในพื้นที่เศรษฐกิจ จึงเสนอให้เป็นชุมชนน่าร่องในการพัฒนาตามแบบเมืองคาร์บอนต่​่าโดยสนับสนุนให้ มีการใช้พลังงานหมุนเวียน มีการคัดแยกขยะเพื่อน่ามาเป็นพลังงานชีวมวล และใช้ กระเบื้องโซลาเซลเป็นกระเบื้องหลังคาผลิตไฟฟ้า อีกทั้งยังสนับสนุนให้ในแต่บะ ครัวเรือนใช้บ่อดักไขมันก่อนจะปล่องลงสู่ท่อระบายน้่าส่วนกลางเพื่อเป็นการก่าจัด ของเสียภายในชุมชน

วัตถุประสงค์

: เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ให้เป็นชุมชนต้นแบบในรูปแบบคาร์บอนต่​่า

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 2-3 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: คนในชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: เพื่อลดการใช้พลังงานในชุมชน ลดการปล่อยของเสีย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

แผนงานที่ 4 ด้านการพัฒนาที่ว่างสาธารณะและพื้นที่สีเขียว โครงการที่ 4.1

: โครงการพัฒนาภูมิทัศน์สวนสาธารณะบริเวณสวนเรืองแสง

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

: เป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ในย่านเศรษฐกิจ ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้เป็นสวนสาธารณะกลางเมืองที่มีกิจกรรมการใช้งานตลอดเวลา

วัตถุประสงค์

: เพื่ออนุรักษ์และเพิ่มความหลากหลายทางชีวิภาพในเมือง และยังเป็นพื้นที่รวมตัว ของผู้คนที่เข้ามาท่ากิจกรรม เช่น การมีพื้นที่เปิดโล่งในจัดงานตามเทศกาลต่างๆที่ เหมาะสม

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-2 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: พื้นที่สาธารณะมีความร่มรื่นและน่าใช้งานมากยิ่งขึ้น

โครงการที่ 4.2

: โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลหลักเมือง

ผู้รับผิดชอบ

: เทศบาลนครขอนแก่น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -178


หลักการและเหตุผล

: เป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ และปรับปรุงภูมิทัศน์ ให้มีความร่มรื่น มีลานโล่งเอนกประสงค์และมีกิจกรรมการใช้งานตลอดเวลา

วัตถุประสงค์

: เพื่อท่าให้พื้นที่ศาลหลักเมืองที่เป็นพื้นที่สักการะบูชาของชาวเมืองขอนแก่นและ นักท่องเที่ยวที่ผ่านไปมา ให้มีความโดดเด่นและน่าเข้ามาใช้พื้นที่

ระยะเวลาด่าเนินการ

: 1-2 ปี

ผู้ร่วมด่าเนินการ

: กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

: พื้นที่ศาลหลักเมืองมีความโดดเด่น ร่มรื่นและน่าใช้งานมากยิ่งขึ้น

แผนผังช่วงระยะเวลาในการพัฒนา(development phasing)

โครงการพัฒนาย่านถนนศรีจันทร์ Phase 1 (ระยะเวลา 1-2 ปี)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -179


Phase 1 (ระยะเวลา 1-2 ปี) 1 โครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนด้วยระบบรางและBRT 2 โครงการทางจักรยานสีเขียว 3 โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชยกรรมเก่า 4 โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่มีคุณค่าทางความงาม 5 โครงการพัฒนาภูมิทัศน์สวนสาธารณะบริเวณสวนเรืองแสง 6 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลหลักเมือง

โครงการพัฒนาย่านถนนศรีจันทร์ Phase 2 (ระยะเวลา 2-3 ปี)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -180


Phase 2 (ระยะเวลา 2-3 ปี) 1 โครงการทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk) 2 โครงการคอมมูนิตี้มอลล์ 3 โครงการพัฒนาชุมชนประตูเมือง(ชุมชนต้นแบบคาร์บอนต่​่า)

โครงการพัฒนาย่านถนนศรีจันทร์ Phase 3 (ระยะเวลา 3-5 ปี)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -181


Phase 3 (ระยะเวลา 3-5 ปี) 1 โครงการศูนย์การประชุมและจัดแสดง 2 โครงการที่พักอาศัยในรูปแบบคอนโดมิเนียม 3 โครงการโรงแรม ตารางแสดงระยะเวลาในการด่าเนินงานตามแผนโครงการ แผนงานโครงการ

ระยะเวลา ก่อสร้าง

1 โครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนด้วย

Phase 1

2559

2560

Phase 2

2561

2562

Phase 3

2563

2564

2

ระบบรางและBRT 2 โครงการทางจักรยานสีเขียว

2

3 โครงการปรับปรุงกลุ่มอาคารพาณิชยก

1

รรมเก่า 4 โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่

2

มีคุณค่าทางความงาม 5 โครงการพัฒนาภูมิทัศน์สวนสาธารณะ

2

บริเวณสวนเรืองแสง 6 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณ

2

ศาลหลักเมือง 7 โครงการทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk)

3

8 โครงการคอมมูนิตี้มอลล์

3

9 โครงการพัฒนาชุมชนประตูเมือง(ชุมชน

2

ต้นแบบคาร์บอนต่​่า) 10 โครงการศูนย์การประชุมและจัดแสดง

5

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -182


11 โครงการที่พักอาศัยในรูปแบบ

4

คอนโดมิเนียม 12 โครงการโรงแรม

4

มาตรการควบคุมการพัฒนา (development control) กฎกระทรวง ก่าหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนใน ท้องที่ต่าบลส่าราญ ต่าบลศิลา ต่าบลบ้านค้อ ต่าบลแดงใหญ่ ต่าบลในเมือง ต่าบลบ้านเป็ด ต่าบลบึงเนียม ต่าบลพระลับ ต่าบลเมืองเก่า ต่าบลบ้านหว้า และต่าบลท่าพระ อ่าเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2547

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -183


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -184


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -185


มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน (มาตรการทางบวก) 1. กรอบมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนระดับเมือง - การสนับสนุนหลักการเติบโตอย่างชาญฉลาด สนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลางที่เชื่อมโยงกันโดย ระบบการคมนาคมขนส่งมวลชน และให้มีการใช้ที่ดินอย่างผสมผสาน(Mix Use)

- การสนับสนุนในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สนับสนุนให้มีการใช้ระบบขนส่งมวลชนมาก ขึ้น เน้นการใช้ทางจักรยาน และการเดินเท้าให้ร่มรื่นและปลอดภัย

- สนับสนุนให้มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง และให้มีการเชื่อมโยงโครงข่ายสีเขียว

- ส่งเสริมระบบประหยัดพลังงานภายในอาคารและชุมชน เช่น การออกแบบอาคารให้มีความ เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ มีระบบหลังคาเขียวและการใช้แผงโซลาเซลล์ตามอาคารและท้องถนน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -186


2. กรอบมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนระดับพื้นที่โครงการ

2 1

6

2 5 3

4

7

7 6

10

8 9

1

0

1

2 1

12

1

1

11 1 โครงการโรงแรมที่มีห้องประชุมขนาดเล็ก (35-750คน)

7 โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชยกรรมเก่า

2 โครงการคอนโดมิเนียม

8 โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่มีคุณค่า

3 โครงการพัฒนาภูมิทัศน์สวนสาธารณะบริเวณสวนเรื องแสง

9 โครงการคอมมูนิตี้มอลล์

4 โครงการศูนย์ประชุมและจัดแสดง

10 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลหลักเมือง

5 โครงการทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk)

11 โครงการทางจักรยานสีเขียว

6 โครงการพัฒนาชุมชนประตูเมือง(ชุมชนต้นแบบคาร์บอนต่​่า) 12 โครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน

1 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการโรงแรม 1.1 ส่งเสริมในเชิงนโยบายการพัฒนาเมืองตามแนวทางของเทศบาลนครขอนแก่นในรูปแบบคาร์บอน ต่​่าเพื่อรองรับการพัฒนาเมืองเศรษฐกิจ และเมืองแห่งการประชุม 1.2 ส่งเสริมการกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวให้แก่เมืองและชุมชน 2 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการที่อยู่อาศัยประเภทคอนโดมิเนียม 2.1 สนับสนุนในเรื่องความหลากหลายของที่อยู่อาศัย และตอบรับกับประชนชนหลายระดับตาม ลักษณะของท่าเลที่ตั้งและรูปแบบของอาคาร 3 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการพัฒนาภูมิทัศน์สวนสาธารณะบริเวณสวนเรืองแสง 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษณ์พื้นที่สีเขียวในเมือง ที่ใช้เป็นพื้นที่นันทนาการอื่นๆ 3.2 ส่งเสริมการปลูกต้นไม้และเพิ่มพื้นที่สีเขียว รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -187


4 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการศูนย์ประชุมและจัดแสดง 4.1 ส่งเสริมด้านการจัดการสถานที่สิ่งอ่านวยความสะดวกต่างๆในการเป็นเจ้าบ้านในการจัดการ ประชุม 4.2 ส่งเสริมอาคารต้นแบบ ศูนย์การประชุมในรูปแบบอาคารเขียว 5 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการทางเดินลอยฟ้า(Sky Walk) 5.1 สนับสนุนให้เกิดความหลากทางการเดินเท้าในการเชื่อมโยงพื้นที่ต่างๆ 5.2 ส่งเสริมให้ทางเท้าในพื้นที่มีกิจกรรมที่ด่าเนินอยู่ตลอดเวลาและหลากหลาย 6 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการพัฒนาชุมชนประตูเมือง(ชุมชนต้นแบบคาร์บอนต่​่า) 6.1 ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนให้เป็นชุมชนต้นแบบเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ในรูปแบบของการ จัดการด้านพลังงาน ขยะของเสีย และทั้งการจัดการน้่า เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีแก่คนในชุมชน 7 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการปรับปรุงอาคารพาณิชยกรรมเก่า 7.1 สนับสนุนด้านภาพลักษณ์ของเมืองที่สวยงามและน่าใช้งานมากยิ่งขึ้น 8 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่มีคุณค่า 8.1 ส่งเสริมให้ชุมชนและคนภายนอกเล็งเห็นคุณค่าทางสถาปัตยกรรมที่เก่าแก่และยังกลายเป็นจุด ท่องเที่ยวของเมือง 9 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการคอมมูนิตี้มอลล์ 9.1 สนับสนุนการกระตุ้นเศรษฐกิจการค้าอย่างครบวงจร เพิ่มความสะดวกสบายในการเข้าถึงย่าน การค้าที่หลากหลายขึ้น 10 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลหลักเมือง 10.1 ปรับภูมิทัศน์ให้โดดเด่นเป็นสง่าคู่กับศาลหลักเมืองซึ่งจะเป็นศูนย์กลางหลักอีกแห่งของย่านถนน ศรีจันทร์ 10.2 ส่งเสริมการปลูกต้นไม้และเพิ่มพื้นที่สีเขียว 11 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการทางจักรยานสีเขียว 11.1 สนับสนุนการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยก่าหนดเส้นทางจากชุมชนมาสู่จุดจิด จักรยานเพื่อเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมไปยังที่อื่นๆ 12 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน 12.1 สนับสนุนการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 12.2 สนับสนุนให้เกิดความหลากหลายในการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชนที่มีประสิทธืภาพ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -188


บทที่ 8 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่บึงแก่นนคร 8.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบนั ระดับพื้นที่ 8.1.1 ต่าแหน่งที่ตั้ง

จังหวัดขอนแก่น มีวัฒนธรรมอีสานมายาวนาน ทั้งสถานที่ส่าคัญที่ให้ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นั่นคือ "บึงแก่นนคร" ตั้ง อยู่ในบริบททางทิศใต้ของเทศบาลนครขอนแก่น เป็นบึง ขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ 603 ไร่ นอกจากจะเป็นพื้นที่ที่มีสถานที่ส่าคัญของขอนแก่นแล้ว บริบทของพื้นที่มีลักษณะ เป็นพื้นที่สีเขียว และเป็นแล่งท่องเที่ยวที่มีความส่าคัญล่าดับต้นๆของการท่องเที่ยวในเชิงนิเวศน์ และยังเป็น สถานที่ที่นิยมมาพักผ่อนหย่อนใจ และท่ากิจกรรมนันทนาการของชาวบึงแก่นนคร

ทิศเหนือของพื้นที่ จรดถนนหน้าเมือง19 ตัดกับถนนศรีนวล ทิศใต้ ถนนรอบบึง ทิศตะวันออก ถนนรอบบึง ทิศตะวันตก ถนนหน้าเมือง

ภาพที่ : 8-1 แสดงผังต่าแหน่งที่ตั้งบึงแก่นนคร รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -189


8.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง

ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ถนนซอยชุมชน ทางเดินเท้า

จุดจอดรถสาธารณะ จุดจอดจักรยาน

ภาพที่ : 8-2 แสดงเส้นทางการคมนาคม

ภาพที่ : 8-3 แสดงเส้นทางบริการสาธารณะ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -190


8.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ จังหวัดขอนแก่นมีการท่าธุรกิจอยู่จ่านวนมาก มีทั้งทางด้านการเกษตร การผลิตอุตสาหกรรมการขายส่ง ขาย ปลีก โรงแรมและภัตตาคาร ซึ่งการประกอบอาชีพในย่านบึงแก่นนครส่วนใหญ่เป็นการค้า พาณิช ธุรกิจการค้าการ ลงทุนหลักของคนในชุมชน และเนื่องจากประชาชนในชุมชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และมีสถานที่ประกอบพิธี ทางศาสนาหลายแห่ง ท่าให้พื้นที่นี้เปรียบเสมือนเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ส่งผลให้มีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นถิ่น 8.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน

ภาพที่ : 8-4 แสดงเส้นทางบริการสาธารณะ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -191


8.1.5 กลุ่มกิจกรรม

ภาพที่ : 8-5 แสดงกลุ่มกิจกรรม 8.1.6 อาคารและพื้นที่ว่าง

ภาพที่ : 8-5 แสดงกลุ่มกิจกรรม รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -192


8.1.7 พื้นที่สีเขียว

ภาพที่ : 8-6 แสดงลักษณะพื้นที่สีเขียว 8.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพืน้ ที่ การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS ของพื้นที่บึงแก่นนคร ได้ทราบถึงรายละเอียดเนื้อหาที่สามารถอธิบายสาระ ในมิติของพื้นที่บึงแก่นนคร ได้ดั้งนี้ จุดแข็ง พื้นที่บึงแก่นนครเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพและมีกลิ่นอายของวัฒนธรรมความเป็นเมือ งเก่า จะต้องมาเยือนพื้นที่นี้ ที่มีความส่าคัญของขอนแก่น ทั้งในเรื่องของระบบนิเวศและการด่ารงชีวิตที่มีเอกลักษณะ เฉพาะตัว อีกทั้งบริบทโดยรอบเป็นพื้นที่ส่าคัญทางประวัตติศาสตร์ท่าให้พื้นที่บึงแก่นนครมีจุดแข็งที่ชัดเจน - เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ - เป็นพื้นที่ที่มีกลิ่นอายของวัฒนธรรมชุมชนเมืองเก่า - เป็นพื้นที่ที่มีความส่าคัญทางระบบนิเวศ - เป็นพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว จุดอ่อน ด้วยสภาพพื้นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่มีนักท่ องเที่ยวมาแวะชมอย่างต่อเนื่องจึงท่าให้พื้นที่นี้ขาดการพัฒนา อย่างชัดเจนบริบทโดยรอบของพื้นที่ยังไม่ได้รับการออกแบบเพื่อปรับปรุงท่าให้กิจกรรมขาดความหลากหลายและ ต่อเนื่อง การท่องเที่ยวในเชิงนิเวศไม่บงชี้หรือต่อเนื่องกับชุมชน พื้นที่สาธารณะที่รองรับการใช้งานทางระบบนิเวชมี ปริมาณน้อยจึงท่าให้บริบทของพื้นที่มีจุดอ่อนที่ต้องการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและระบบนิเวศที่สมบูรณ์มายิ่งขึ้น - พื้นที่นี้ยังขาดการดูแลและการพัฒนาที่ชัดเจน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -193


- กิจกรรมขาดความหลากหลายและต่อเนื่องกับชุมชน - พื้นที่สาธารณะที่รองรับยังมีปริมาณอยู่น้อย โอกาส พื้นที่ว่างมีศักยภาพเหมาะสมแก่การพัฒนาเพิ่มพื้นที่สีเขียวและการท่องเที่ยวทางระบบนิเวศและวัฒนธรรมที่ เชื่อมต่อกับบริบทรอบข้างด้วยการเพิ่มรูปแบบของกิจกรรมและแนวทางใหม่ พื้นที่พาณิชยกรรม ของชุมชนล้วนแต่ เป็นโอกาสที่ส่าคัญต่อการพัฒนาและการพัฒนาออกแบบพื้นที่สีเขียวตามโครงการพัฒนาเมืองเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอน ต่​่าอย่างยั่งยืน - เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมกับการพัฒนาให้เป็นพื้นที่สีเขียวของเมือง - การเพิ่มพื้นที่สีเขียวตามโครงการพัฒนาเมืองสู่สังคมคาร์บอนต่​่า - ส่งเสริมให้เป็นแหล่งทางเที่ยวทางระบบนิเวช ภัยคุกคาม พื้นที่บึงแก่นนครเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางกิจกรรมและเป็นแหล่งเศรษฐกิจหลักที่ชุมชนพึ่งพารายได้ จากแหล่งท่องเที่ยวและตลาด ท่าให้ความเป็นบึงและลักษณะทางชีวภาพแย่ลงด้วยกิจกรรม ยังส่งผลกระทบในเรื่อง ของมลภาวะ หากพื้นที่บึงแก่นนครยังไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและได้มาตรฐาน จะท่าให้พื้นที่นี้เสื่อมสภาพ - ลักษณะทางชีวภาพแย่ลงจากการใช้กิจกรรมของคนในชุมชน - มลภาวะที่แย่ลง 8.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่ 8.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา วิสัยทัศน์ในการพัฒนาบึงแก่นนคร ให้เป็นแลนด์มาร์คส่าคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น โดยให้เป็นบึง น้่าอเนกประสงค์ส่าหรับชาวขอนแก่น โดยเน้นใช้ประโยชน์เป็นสถานที่พักผ่อนและออกก่าลังกายของผู้มาใช้บริการ 8.3.2 เป้าประสงค์ในการพัฒนา เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของบึงแก่นนครให้เกิดความสวยงาม ร่มรื่น และถูกสุขลักษณะอนามัยส่งเสริมสามารถ รองรับการใช้งานของกิ จกรรมได้หลากหลาย ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาแก่การพักผ่อน และตอบสนองต่อนโยบาย ของเทศบาล หันให้คนมาสนใจในเรื่องสุขภาพ และเป็นพื้นที่ส่งเสริมศักยภาพของวัยรุ่น โดยมุ่งเน้นการพัฒนาจาก พื้นที่เดิมและเพิ่มศักยภาพของพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น และเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนัก ถึงความส่าคัญของสาสน์สถาน และคนในชุมชนสามารถเป็นแหล่งเศรษฐกิจใหม่ของคนในชุมชน 8.3.3 แนวความคิดหลัก เพิ่มพื้น ที่สีเขียวให้กับบึงแก่นนคร และเป็น การอนุรักษ์พันธุ์ไม้พื้นถิ่นให้อยู่คู่บึงแก่น นคร ส่งเสริมให้เป็น สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้กับนักท่องเที่ยว และท่าให้คนในชุมชน นักท่องเที่ยว และผู้สนใจเกิดความเข้าใจวิถี ชีวิตของคนในชุมชน และเกิดความตะหนักถึงความส่าคัญ ปรับปรุงภูมิทัศน์ทางการสัญจรหลัก สามารถเชื่อมเป็น โครงข่าย Green Network เชื่อมโยงชุมชน สู่บึงแก่นนครได้โดยตรง การเข้าถึงพื้นที่มีความเหมาะสม สวยงาม ช่วย สร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยว และลดปัญหาความหนาแน่นของการจราจรลดลง ความสัมพันธุ์ระหว่า ง ชุมชนมีความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -194


8.3.4 โปรแกรมการวางผังและออกแบบ

แผนผังหลักการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Illustrative Master Plan)

ผังบริเวณ 1. อนุสาวรีย์ พระนครศรีบริรักษ์ 2. ตลาดนัดสีเขียว 3. โฮงมูนมังเมืองขอนแก่น 4. ลานจอดรถและลานเอ็กซ์ตรีม 5. วัดพระธาตุพระอารามหลวง

6. วัดกลาง 7. ตลาดนัดเพื่อสุขภาพและพื้นที่พักผ่อน 8. สวนดอกคูนเสียงแคน 9. พระมหาธาตุแก่นนคร

10. ทางเดินในบึงแก่นนคร 11. ลานน้่าพุบึงแก่นนคร 12. ทางเดินริมบึง 13. ลานจอดรถ/สถานที่พักผ่อน

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -195


8.3.5 ผังการออกแบบพื้นที่

ผังแนวความคิดในการออกแบบ สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา พื้นที่สาธารณะใหม่ พื้นที่สีเขียว โบราณสถาน Node หลัก Node รอง

เส้นทางการสัญจร โครงข่ายสีเขียวของเมือง โครงข่ายเชื่อมต่อพื้นที่สีเขียว เส้นทางท่องเที่ยววัฒนธรรม ทางจักรยาน จุดจอด brt จุดจอดจักรยาน รัศมีการเดิน

ผังแนวความคิดโครงข่ายถนน สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา โครงข่ายถนนหลัก ถนนสายหลักชุมชน ระบบขนส่งสาธารณะ ระบบขนส่งสาธารณะชุมชน จุดจอดรถระบบขนส่ง สาธารณะ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -196


ผังแสดงโครงข่ายถนน สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา ถนนสายหลัก

ถนนสายรอง ถนนซอยชุมชน ทางเดินเท้า จุดจอดรถสาธารณะ จุดจอดจักรยาน

ผังแสดงการสัญจรนักท่องเที่ยว สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา เส้นทางสาธารณะ เส้นทางรถแท็กซี่/นักท่องเที่ยว ทางเดินเท้าในชุมชน จุดจอดขนส่งสาธารณะ จุดจอดรถสามล้อ

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -197


MASTER PLAN รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -198


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -199


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -200


รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -201


8.4 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบ

-

การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเดินเท้าและการใช้จักรยาน วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า การส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า การรักษาและฟืน้ ฟูความหลากหลายทางชีวภาพ การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก การจัดการน้่าใช้

การท่องเที่ยวคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon Tourism) โดยสนับสนุนค่านิยมการเดินเท้าและใช้จักรยานในการ ท่องเที่ยว เมืองขอนแก่นมีภูมิประเทศที่มีศักยภาพสูงของความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่งสร้าง และบึงหนองโครต ซึ่งควรได้รับการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ รักษาพืน้ ที่สีเขียวแก้ปัญหาดินเค็ม และรักษา บ้านพักอาศัยที่มีกลิ่นอายของวัฒนธรรมความเป็นเมืองเก่าในบริเวณดังกล่าวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและ วัฒนธรรม ถนนคนเดินยังควรถูกส่งเสริมสนับสนุนเพิม่ เติมในเขตเมืองและชุมชนอีกด้วย

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -202


8.5 การน่าแผนและผังไปปฏิบัติ

ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Projects’ boundaries)

2 4

1

1

4

6 4 4 2 3 4

6

4

2

5

โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร 1. โครงการปรับปรุงตลาดนัดสีเขียว ลานจอดรถและลานกีฬาเอ็กตรีม 2. โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะชุมชน ศาสนสถานและเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3. โครงการพื้นที่สาธารณะ ลานพักผ่อนบึงแก่นนคร 4. โครงการปรับปรุงทางเดินภายในชุมชน 5. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สวนดอกคูนเสียงแคน 6. โครงการปรับปรุงพื้นที่สีเขียวลานจอดรถ สวนบึงแก่นนคร

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -203


รายละเอียดของโครงการพัฒนา (Projects Description) แผนงานที่ 1 การฟื้นฟูย่านบึงแก่นนคร โครงการที่ 1.1 โครงการปรับปรุงตลาดนัดสีเขียว ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล :

จากโครงการ “ตลาดนัดสีเขียว” หนึ่งในยุทธศาสตร์หลักของการพัฒนา นโยบายการพัฒนาเมืองขอนแก่นไปสู่เมืองคาร์บอนต่​่า ภายใต้ชื่อ ยุทธศาสตร์ สังคมของการสร้างคนรุ่นใหม่หัวใจสีเขียว NEW GREEN GENERATION ให้คนหันมาใส่ใจสุขภาพของตัวเอง สินค้าในตลาด จ่าหน่ายผักปลอดสาร อาหารปลอดสาร เป็นโครงการที่ช่วยสร้างคน เพื่อให้คนไปดูแลโลก จึงกลายเป็นหัวใจส่าคัญของโครงการท่าให้เกิดความ ภาคภูมิใจของคนในชุมชน ดังนั้นในการด่าเนินงานตามแผนพัฒนาจึง จ่าเป็นต้องมีแผนงานที่มาสนับสนุนเพื่อท่าการปรับปรุงภูมิทัศน์ของตลาด ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ได้ตามาตรฐานที่ก่าหนด และสามารถใช้ ประโยชน์ได้อย่างหลากหลายทั่งในช่วงวันธรรมดา และในช่วงเทศกาล

วัตถุประสงค์ :

เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของตลาดให้เกิดความสวยงาม ร่มรื่น และถูก สุขลักษณะอนามัยส่งเสริมสามารถรองรับการใช้งานของกิจกรรมได้ หลากหลาย

ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ :

คณะกรรมการชุมชนและคนในชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

ตลาดมีภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น ถูกสุขลักษณะอนามัย มีความสะอาดช่วยลดปัญหา เชื่อโรคจากมลพิษต่างๆ และสามารถรองรับกับการใช้งานที่หลากหลาย

โครงการที่ 1.2 โครงการลานจอดรถและลานกีฬาเอ็กตรีม ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล :

เนื่องจากสภาพแวดล้อมทั่วไปของพื้นที่ยังขาดพื้นที่ส่วนกลางส่าหรับที่จอด รถมีความกระจัดกระจาย ปรับเปลี่ยนลานจอดรถเดิมให้เป็นพื้นที่สีเขียว

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -204


แล้วจัดสรรพื้นที่ส่วนกลางส่าหรับจอดรถของตลาดนัดสีเขียวและคนที่มา ท่ากิจกรรมในบึงแก่นนคร จากแผนพัฒนาของเทศบาลให้คนหันมาใส่ใจ สุขภาพของตัวเอง จึงจ่าเป็นต้องมีแผนงานที่มาสนับสนุนหนึ่งในนั้นคือลาน กีฬา (เอ็กซ์ตรีม) ปรับปรุงพื้นที่ลานกีฬาเดิมเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิ ทัศนืเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของกิจกรรม วัตถุประสงค์ :

เพื่อปรับปรุงลานจอดรถ เพิ่มพื้นที่ลานกีฬา หันให้คนมาสนใจในเรื่อง สุขภาพ และเป็นพื้นที่ส่งเสริมศักยภาพของวัยรุ่น

ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ :

บริษัทเอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

ช่วยลดปริมาณคาร์บอนจากการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จัดสรรพื้นที่ให้เกิดความ เหมาะสม ช่วยเพิ่มกิจกรรมให้กับเด็กวัยรุ่นในพื้นที่ และสุขภาพของคนใน ชุมชนดีขึ้น

โครงการที่ 1.3 โครงการพื้นที่สาธารณะ ลานพักผ่อนบึงแก่นนคร ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล :

บึงแก่นนครเป็นพื้นที่ที่คนในชุมชนและคนในละแวกใกล้เคียง ใช้เป็นพื้นที่ ท่ากิจกรรมต่างๆ ทั้งกิจกรรมกีฬา สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ จึงมีความ เหมาะสมที่จะใช้พื้นที่นี้เป็นสถานที่ท่ากิจกรรม เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อน ใจ และเป็นสถานที่ออกก่าลังกายในลักษณะต่างๆ

วัตถุประสงค์ :

เพื่อสร้างพื้นที่ส่าหรับคนในพื้นที่ใช้ท่ากิจกรรมต่างๆ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา จากพื้นที่เดิมและเพิ่มศักยภาพของพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น

ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ :

คณะกรรมการชุมชนและคนในชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

ชุมชนมีพื้นที่สีเขียวท่ากิจกรรมและพักผ่อนอย่างเหมาะสม

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -205


โครงการที่ 1.4 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สวนดอกคูนเสียงแคน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล :

สวนดอกคูนเสียงแคนเป็นสวนสาธารณะที่มีพันธ์ไม้หลากหลายชนิดซึ่งหนึ่ง ในนั้นคือต้นราชพฤกษ์หรือดอกคูน ดอกไม้ประจ่าจังหวัดขอนแก่น จาก สภาพปัญหาดินมีความเค็มส่งผลให้ต้นไม้ที่มีอยู่ลดน้อยลง ทางเทศบาลจึงมี นโยบายให้พัฒนาสวนดอกคูนเสียงแคนโดยเพิ่มพันธ์ไม้ จัดสวนให้มีความ ร่มรื่น จัดพื้นที่ส่าหรับพักผ่อนเพิ่มบรรยากาศ เน้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อ ช่วยดูดซับคาร์บอน

วัตถุประสงค์โครงการ : เพิ่มจ่านวนพันธ์ไม้ที่มีความร่มรื่น ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาแก่การ พักผ่อน และตอบสนองต่อนโยบายของเทศบาล ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ชาวชุมชนบึงแก่นนคร ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับบึงแก่นนคร และเป็นการอนุรักษ์พันธุไ์ ม้พื้นถิ่นให้อยู่ คู่บึงแก่นนคร

โครงการที่ 1.5 โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะชุมชน ศาสน์สถานและเส้นทางท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ย่านบึงแก่นนครเป็นพื้นที่ๆหนึง่ ที่มีศาสน์สถานทางประวัติศาสตร์อยู่ พอสมควรซึงประกอบไปด้วย 1. วัดพระธาตุพระอารามหลวง 2. พระ มหาธาตุแก่นนคร 3. วัดกลาง และ4. อนุสาวรีย์ พระนครศรีบริรักษ์ ซึง่ ล้วนแต่มีความส่าคัญกับคนในชุมชน และยังเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ ของคนในชุมชน ทั้งนี้ในปัจจุบันชุมชนย่านบึงแก่นนครดั้งเดิมถูกลดจ่านวน ลงไปเรื่อยๆ บวกกับการถูกประชากรแฝงกลบกลืนวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดปัญหาในหลายด้าน ฉะนั้นเพื่อให้เกิดการรักษาวิถีชีวิตดั้งเดิม และฟื้นฟูศาสน์สถาน จึงจ่าเป็นที่จะต้องมีพื้นที่นี้เป็นสถานที่ส่วนกลางของ คนในชุมชน และส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ ชุมชน วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความส่าคัญของสาสน์สถาน และคน ในชุมชนสามารถเป็นแหล่งเศรษฐกิจใหม่ของคนในชุมชน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -206


ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมด่าเดินการ : ชุมชนย่านบึงแก่นนคร กระทรวงวัฒนธรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ชุมชนมีแหล่งเศรษฐกิจใหม่ในรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากตลาดแบบเดิม และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้กับนักท่องเที่ยว และท่าให้คนใน ชุมชน นักท่องเที่ยว และผู้สนใจเกิดความเข้าใจวิถีชีวิตของคนในชุมชน และเกิดความตะหนักถึงความส่าคัญอีกด้วย แผนงานที่ 2 แผนการสนับสนุนส่งเสริมระบบการคมนาคม โครงการที่ 2.1 โครงการปรับปรุงทางสัญจรหลักภายในชุมชน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : ในสภาพปัจจุบันเส้นทางการเชื่อมการเข้าถึงจากพื้นที่ชุมชนไปสู่บึงแก่น นครยังไม่ได้ รับการดูแลรักษา และไม่ได้ให้ความส่าคัญกับสุนทรียะภาพมากพอ ส่งผล ให้คนที่ใช้เส้นทางหรือนักท่องเที่ยว ไม่เกิดความประทับใจ ดังนั้นจึงจ่าเป็น ที่จะต้องมีการปรับปรุงทัศนียภาพของเส้นทางการสัญจรเส้นหลักให้มีความ จดจ่าและเป็นที่ประทับใจ เกิดความร่มรื่น วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อปรับปรุงเส้นทางการสัญจรหลัก ให้เกิดความประทับใจ สามารถเชื่อม เป็นโครงข่าย Green Network เชื่อมโยงชุมชน สู่บึงแก่นนครได้โดยตรง ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น ผลที่คาดว่าจะได้ : ภูมิทัศน์ทางการสัญจรหลักในการเข้าถึงพื้นที่มีความเหมาะสม สวยงาม ช่วยสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยว โครงการที่ 2.2 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางเท้า และทางจักรยาน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล : เนื่องจากสภาพปัญหาในปัจจุบันแนวคิดของการเดินและการใช้จักรยานก็ เป็นหนึ่งใน ทางเลือกของการท่องเที่ยว สนับสนุนให้มีร้านค้าที่จุดจอดจักรยาน ซึ่ง สามารถด่าเนินการได้ทันที ซึ่งจะช่วยให้ชุมชนและการท่องเที่ยว สามารถที่ จะพัฒนาได้อย่างสอดคล้อง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -207


วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อช่วยลดปัญหาความหนาแน่นของการจราจร ส่งเสริมให้คนในชุมชนเดิน และใช้จักรยาน แทนการใช้พาหนะยานยนต์ส่วนตัว ลดปริมาณคาร์บอนใน เขตชุมชน เพือสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ระยะเวลาในการด่าเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ : ส่านักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น ผลที่คาดว่าจะได้ : ปัญหาความหนาแน่นของการจราจรลดลง ความสัมพันธุ์ระหว่างชุมชนมี ความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น 1. ช่วงระยะเวลาในการพัฒนา (Development Phasing)

โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร Phase 1 ( ระยะเวลา 1-2 ปี ) 1. โครงการปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ลานจอดรถ สวนบึงแก่นนคร 2. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สวน ดอกคูนเสียงแคน

1

2

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -208


โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร

2

1

Phase 2 ( ระยะเวลา 2-3 ปี ) 1. โครงการปรับปรุงตลาดนัดสีเขียว

2. โครงการลานจอดรถและลานกีฬาเอ็กตรีม

5

3.โครงการพื้นที่สาธารณะ ลานพักผ่อนบึงแก่นนคร 4. โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะชุมชน ศาสน์

4

สถานและเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

3

5. โครงการปรับปรุงภูมิทศั น์ทางเท้า และทาง

จักรยาน

5

4

โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร

1

Phase 3 ( ระยะเวลา 3-5 ปี ) 1.โครงการปรับปรุงทางสัญจรหลักภายใน ชุมชน

5 1 1

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -209


ตารางที่ 1 ช่วงระยะเวลาในการพัฒนา (Development Phasing) ระยะเวลา

แผนงานโครงการ

การ

ระยะที่1

ก่อสร้าง 2559

2560

2561

ระยะที่2 2562

2563

2564

ระยะที่3 2565

2566

2567

ระยะที่4 2568

2569

2570

โครงการปรับปรุงพื้นที่ สีเขียวลานจอดรถ สวน บึงแก่นนคร

3ปี

โครงการปรับปรุงภูมิ ทัศน์สวนดอกคูนเสียง แคน

3ปี

โครงการปรับปรุงตลาด นัดสีเขียว

3ปี

โครงการลานจอดรถ และลานกีฬาเอ็กตรีม โครงการพื้นที่ สาธารณะ ลานพักผ่อน บึงแก่นนคร โครงการปรับปรุงพื้นที่ สาธารณะชุมชน ศาสน์ สถานและเส้นทาง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โครงการปรับปรุงภูมิ ทัศน์ทางเท้า และทาง จักรยาน

โครงการปรับปรุงทาง สัญจรหลักภายใน ชุมชน ที่มา : การวิเคราะห์ตามระดับปริมาณงานก่อสร้าง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -210

2571


2. มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน

ข้อก่าหนดการใช้พื้นที่ ประเภทที่อยู่อาศัย 2.1 พื้นที่ชุมชนริมบึงแก่นนคร - ห้ามมิให้ก่อสร้างหรือเพิ่มเติมอาคารที่มีความสูงมากกว่า 6 เมตร หรือสูงกว่าศาสน์สถานที่มี ความส่าคัญในพื้นที่ - ก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปในลักษณะที่อยู่อาศัย สอดคล้องกับขนบธรรมเนียม อัตลักษณ์พื้นถิ่น และการใช้งานเพื่อสาธารณูปโภคสาธารณูปการ - ห้ามมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ หรืออัตลักษณ์ของรูปแบบสถาปัตยกรรมเดิมก่อนได้รับการ อนุญาตจากเทศบาล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2 พื้นที่อัตลักษณ์และศาสน์สถาน - ห้ามมิให้ก่อสร้างหรือเพิ่มเติมอาคารที่มีความสูงมากกว่า 6 เมตร หรือสูงกว่าศาสน์สถานที่มี ความส่าคัญในพื้นที่ - ก่าหนดให้มีลักษณะของรูปแบบอาคารให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม รูปแบบอาคารให้ เป็นแบบที่ก่าหนด ควบคุมสีของอาคารให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ไม่เน้นสีฉูดฉาด

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -211


บทที่ 9 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่ย่านมหาวิทยาลัย 9.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบนั ระดับพื้นที่ 9.1.1 ต่าแหน่งที่ตั้ง

ย่านชุมชนมหาวิทยาลัยขอนแก่น อยู่ห่างไปทางด้านทิศเหนือของเขตเทศบาลขอนแก่นจากย่าน ใจกลางเมือง ล้อมรอบด้วยถนนมิตรภาพ และถนกัลปพฤกษ์ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น กับโรงพยาบาลศรี นครินทร์ ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก

ติดมหาวิทยาลัยขอนแก่น และโรงพยาบาลศรีนคริทร์ ติดกับถนนมิตรภาพ ติดกับชุมชนหนองแวงตราชู ติดกับมหาวัทยาลัยขอนแก่น (ด้านสวนป่า)

ภาพที่ 9-1 แผนที่แสดง ต่าแหน่งที่ตั้งชุมชนมหาวิทยาลัย รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -212


9.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง

ย่านมหาวิทยาลัย สามารถเข้าถึงได้จากทางรถยนต์ ทางถนนสายหลักคือถนนมิตรภาพทางด้าน ทิศตะวันออก เชื่อมต่อกับถนนสายรองเข้าผ่านชุมชนทางถนนกัลปพฤกษ์ทางด้านข้างมหาวิยาลัย และมี โครงข่ายสายย่อยภายในชุมชนผ่านทางถนนอดุลยารามเป็นถนนสายหลักภายในย่าน เชื่อมต่อระหว่างภายใน กับโครงสร้างถนนสายหลักภายนอกทางถนนมิตรภาพ ระบบคมนาคมสาธารณะ มีระบบรถสองแถววิ่งผ่านจากกลางเมืองมาสุ่มหาวิทยาลัยผ่านภายใน ชุมชน โดยมาทางถนนมิตรภาพผ่านสวนสาธารณะบึง หนองแวง วัด สถานที่ราชการ โรงเรียน และเข้า สู่ มหาวิทยาลัย ซึ่งภายในมหาวิทยาลัยมีระบบคมนาคมแบบ shuttle bus ครอบคลุมทั้งมหาวิทยาลัย ทั้งสอง ระบบจะมาบรรจบกันที่ บริเวณประตู 5 ซึ่งเป็นทางเข้าออกที่ใกล้ที่สุดระหว่างย่านชุมชนกับมหาวิทยาลัย รถสองแถวที่ผ่านย่านชุ่มชนทางถนนสายหลัก(มิตรภาพ) - สาย 4 ระหว่างขนส่ง 3 ถึง บ.หนองน้่าเกลี้ยง (เขียวคาดฟ้า) - สาย 19 ระหว่างตลาดหนองไผ่ล้อม ถึงบริษัทโนนเรือง (เขียวคาดฟ้า) - สาย 20 ระหว่างตลาดหนองไผ่ล้อม ถึงบริษัทกลางฮุง (เขียวคาดฟ้า) รถสองแถวที่ผ่านย่านชุมชนมหาวิทยาลัยทางถนนสายรอง - สาย 9 ระหว่าง บ.สามเหลี่ยม ถึง บ.สะอาด (ฟ้าคาดขาว) - สาย 16 ระหว่าง บ.โนนทัน ถึง วัดป่าอดุลยาราม (แดงคาดเหลือง) รถตู้สาธารณะ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น-เซนทรัล พลาซ่า ขอนแก่น

ภาพที่ 9-2 แผนที่แสดง ต่าแหน่งที่ตั้งชุมชนมหาวิทยาลัย รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -213


9.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ

สภาพสังคมเศรษฐกิจในระดับย่านเป็นไปตามเศรฐกิจจังหวัดและประเทศ โดยที่มีการประชากร หนาแน่นปานกลาง ส่วนใหญ่มีรายได้จัดอยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มผุ้อยู่อาศัยอยู่ในช่วงวัยรุ่น และวัยท่างาน เนื่องจากอยู่ใกล้สถานศึกษาและโรงพยาบาลหลักของจังหวัด อาชีพหลักของชุมชนได้แก่ การค้าปลีก และ การค้าบริการ เช่น ร้านอาหารและค้าเฟ่ ร้านสะดวกซื้อ ซ่กรีด ห้างทอง ร้านขายยา ร้านถ่ายเอกสาร เป็นต้น 9.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน

การใช้ประโยชน์ที่ดินมีลักษณะเป็นที่อยู่อาศัยเป็นส่วนใหญ่ โดยเป็นลักษณะหอพักให้เช่า หรือ อาพาร์ทเมนท์ รวมถึงโรงแรมอยู่เป็นจ่านวนมากในบริเวณที่ติดกับทางเข้าออกของมหาวิทยาลัย จนถึงสวน สาธาณะบึงหนองแวง และจากสวนสาธารณะลงไปจนถึงย่านชุมชนสามเหลี่ยมฝั่งทิศใต้ของมหาวิทยาลั ยมี ปริมาณหอพักเป็นจ่านวนน้อยลงตามล่าดับ บริเวณริมถนนสายรองที่รอบรั้วมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่เป็นร้านค้าและบริการ โดยเฉพาะถนน อดุ ล ยาราม 1 ซึ่ ง เป็ น ทางเข้ า ออกภายในย่า นนั้น มีร้ า นค้ า ร้ า นบริก ารตลอดริม สองฝั่ ง ถนนไปจนถึ ง รอบ สวนสาธารณะบึงหนองแวง ส่วนฝั่งถนนมิตรภาพมีลักษณะการใช้อาคารเพื่อการพาณิชยกรรมและส่านักงาน ส่วนบุคคลเป็นหลัก

ภาพที่ 9-3 แผนที่แสดง การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -214


9.1.5 กลุ่มกิจกรรม

วิถีชีวิตภายในย่านชุมชนในช่วงวันท่างานหรือเรียน(weekday) กิจกรรมที่มีความคึกคักส่วนใหญ่ จะอยู่บริเวณริมถนนกัลปพฤษ์ซึ่งติดกับรั้วและทางเข้าของมหาลัย มีร้านค้า ร้านอาหารและกิจกรรมที่เกี่ยวกับ นักศึกษาตลอดทั้งเส้นทางเป็นจ่านวนมากโดยเฉพาะจุดรับ-ส่ง รถสาธารณะบริเวณประตู 5 ที่มีสถานีบริการรถ ตู้ ส าธารณะ ในช่ ว งเย็ น จะเป็ น จุ ด รวมคน(node) ภายในย่ า น และปบริ เ วณประตู ม หาวิ ท ยาลั ย ไปจนถึ ง สวนสาธารณะบึงหนองแวงกิจกรรมร้านค้า ร้านบริการ เป็นจ่านวนมาก และต่อเนื่องตลอดเส้นทาง ส่วน บริเวณถัดเข้าไปด้านในชุมชนเป็นกิจกรรมแบบ passive เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นที่พักอาศัย ส่วนในช่วงวันหยุด กิจกรรมจะคึกคัก ในบริ เวณสวนสาธารณะ และถนนอดุลยารามซึ่ ง เป็ น ทางผ่านเข้าออกภายในย่าน ส่วนอื่นๆจะไม่ค่อยคึกคักมากนัก

ภาพที่ 9-4 แผนที่แสดง กิจกรรมในบริเวณย่าน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -215


9.1.6 อาคารและพื้นที่ว่าง

อาคารและสิ่ ง ปลู ก สร้ า งส่ ว นใหญ่ เ กาะกลุ่ ม หนาแน่ น ในบริ เ วณใกล้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย รอบ สวนสาธารณะบึงหนองแวงตราชู และริมถนนทั้งสายหลัก สายรอง ท่าให้ยังมีที่ว่างรองรับการขยายตัว ของ ชุมชนได้อีก ซึ่งยังท่าให้มีพื้นที่ว่างในการพัฒนาได้อีก 9.1.7 พื้นที่สีเขียว

พื้นที่สีเขียว เดิมนั้นประกอบด้วยพื้นที่สวนสาธารณะเป็นพื้นที่สีเขียวที่ใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่หลัก แห่งเดียวภายในย่าน ส่วนพื้นที่สีเขียวอื่นๆนั้นเป็นพื้นที่รกร้างที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา และพื้นที่ส่วนบุคคล ซึ่ง ยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้เชื่อมต่อพื้นที่สีเขียวให้ต่อเนื่องกัน ท่าให้ยังมีโอกาสพัฒนาพื้นที่สีเขียวให้ใช้ประโยชน์ ได้ดีขึ้น รวมถึงเชื่อมต่อพื้นที่สีเขียวทั้งภายในย่านกับพื้นที่สีเขียวโดยรอบ และพื้นที่สีเขียวภายในมหาวิทยาลัย ด้วย

ภาพที่ 9-5 แผนที่แสดง อาคารสิ่งปลูกสร้าง ที่ว่าง และพื้นที่สีเขียวเดิมภายในย่าน

9.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพืน้ ที่ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -216


9.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่

จุดแข็ง (Strength) - มีระบบคมนาคมในการเข้าถึงได้อย่างสะดวก เช่น BRT รถไฟฟ้ารางเบา และระบบขนส่งสองแถวรถตู้ สาธารณะ ท่าให้มีการเข้าถึงที่สะดวกและหลากหลายมากยิ่งขึ้น - มีแหล่งสาธารณูปโภค และสาธารณูปการเพียบพร้อม เนื่องจากเป็นย่านมหาวิทยาลัยที่มีโรงพยาล ศรนครินทร์ซึ่งเป็นศูนย์ขนาดใหญ่รองรับ จึงท่าให้มีสิ่งอ่านวยความสะดวกครบครันทั้งด้าน การศึกษา และด้านบริการ - มีโอกาสในการลงทุนในพื้นที่อยู่เป็นจ่านวนมากจากพื้นที่ว่างที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา - ท่าเลที่ตั้งอยู่ใกล้แหล่งงาน และแหล่งการศึกษา จุดอ่อน (Weakness) - การเชื่อมโยงระหว่างกิจกรรมส่าคัญภายในย่านนัน้ ท่าได้ไม่สะดวก - ท่าเลที่ตั้งใกล้วัด สถานที่ราชการ และโรงเรียน ท่าให้มีข้อจ่ากัดในการพัฒนาโครงการบางประเภท - อยู่ใกล้กับกลุ่มที่อยู่อาศัยระดับปานกลางไม่สูงมาก ท่าให้โอกาสพัฒนาโครงการดึงดูดนักท่องเที่ยว เป็นไปได้ยาก - โอกาสในการพัฒนาเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวเป้นไปได้นอ้ ย เนื่องจากไม่มีจุดดึงดูด อย่างเช่น สถานที่ ส่าคัญทางประวัติศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม เป็นต้น โอกาส (Oportutnity) - พื้นที่บางส่วนยังใช้ประโยชน์ที่ดินไม่คุ้มค่า สามารถยกระดับการใช้ประโยชน์ที่ดินเหล่านั้นได้ - อยู่ใกล้กับแหล่งผลิตนักศึกษา และใกล้กับศูนย์กลางเศรษญกิจของจังหวัดท่าให้สามารถพัฒนา โครงการเพื่อรองรับการขยายตัวของแหล่งุรกิจการค้าดังกล่าว เช่นอาคารส่านักงาน โครงการคอม มิวนิตี้มอลล์ เป็นต้น - มีพื้นที่รกร้างขนาดใหญ่เหมาะกับการพัฒนาโครงการให้สอดคล้องกับนโยบายด้านผังเมืองได้ - มีโอกาสในการดึงดูดในการสร้าง event ในการจัดการประชุมทางด้านวิชาการ เนื่องจากสอดคล้อง กับนโยบายของภาครัฐ และอยู่ในแหล่งศูนย์กลางการศึกษา การแพทย์ พยาบาลของจังหวัด

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -217


ภัยคุกคาม (Threats) - จากการพัฒนาโครงสร้างคมนาคม ในอนาคต ท่าให้มีโอกาสที่จะมีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นและท่าให้ ที่ดินในพื้นที่มีราคาสูงขึ้น อาจเกิดปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เป็นไปตามนโยบสยด้านผัง เมือง จากการเก็งก่าไรที่ดิน - ชุมชนเดิมในพื้นที่มีโอกาสที่จะถูกย้ายออกจากการที่นายทุนเข้ามากว้านซิอเพื่อพัฒนาโครงการต่างๆ 9.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา

1. เป็นศูนย์กลางรอง (Sub-Center) เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองจากศูนย์กลางหลักบริเวณ ใจกลางเมือง 2. เป็นศูนย์กลางการศึกษาของจังหวัด 3. พัฒนาชุมชนชนมหาวิทยาลัยให้เป็น ชุมชนคนรุ่นใหม่ที่เน้นการประหยัดการพลังงานภายใน ชุมชน 4. พัฒนาและใช้ประโยชน์จากท่าเลที่ตั้งให้เหมาะสม 9.3.2 เป้าประสงค์ในการพัฒนา

1. สร้างชุมชนคนรุ่นใหม่ ที่มีระบบการสัญจรที่สนับสนุนความน่าเดินและใช่จักรยานเพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นโครงการน่าร่องการพัฒนาไปสู่พื้นที่ใกล้เคียง (Walkable Neighbourhood) 2. สร้างโครงการใหม่ที่มีความผสมสานในบริเวณรอบสถานี ให้เกิดความกระชับของเมือง เช่น คอมมิวนิตี้มอลล์ โฮมออฟฟิศ และสวนสาธารณะ (Live / Work / Play) 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้นให้กับย่านร้านค้าร้านบริการ (Economics Low carbon) เปิดโอกาสเป็นแหล่งงานให้กับคนรุ่นใหม่ 4. เชื่อมต่อกิจกรรมทั้งหมดภายในย่านให้มีความต่อเนื่องคล่องตัวเพิ่มขึ้น ด้วยการสร้างจุดดึงดูด จากจุดรวมคนหลัก และจุดรวมคนรอง และสถานที่ส่าคัญภายในย่านให้เกิดความน่าอยู่มี ชีวิตชีวาเพิ่มมากขึ้น (Liveable District) 5. ปกป้องรักษาพื้นที่สีเขียวเดิม และปรับปรุง พร้อมทั้งเพิ่มใหม่ เพื่อส่งเสริมให้มีสภาพแวดล้อม ที่น่าอยู่เพิ่มมากขึ้น 9.3.3 แนวความคิดหลัก

จากสภาพปัจจุบัน ชุมชนมหาลัยจะมีบริเวณเกาะกลุ่มหนาแน่นช่วงติดกับ มหาวิทยาลัยด้าน ประตู 5 มาจนถึงบริเวณสวนสาธารณะบึงหนองแวง ซึ่งเป็นระยะที่เหมาะกับการพัฒนาให้เป็นชุมชนน่าเดิน วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า และสนับสนุนตามแนวทางนโยบายของเทศบาลนครขอนแก่น และหลักการพัฒนาเมืองสี เขียววิถีคาร์บอนต่​่า รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -218


แนวความคิดการพัฒนาด้านคมนาคม (Transportation Concept) พัฒนาระบบขนส่งเส้นทางใหม่ที่เชื่อมต่อกับระบบขนส่งสาธารณะเดิมให้ครอบคลุมพื้นที่ส่าคัญ ภายในย่าน และเชื่อมต่อกับศูนย์กลางเมืองได้ดีมากยิ่งขึ้น โดย 1. พัฒนาระบบรถไฟรางเบาบริเวณถนนมิตรภาพ (สายสีแดง) 2. เพิ่มเส้นทาง Shuttle Bus บริเวณเส้นถนนกัลปพฤกษ์ ที่อยู่ติดกับริมรั้วมหาวิทยาลัย เชื่อม ระหว่างถนนมะลิวัลย์กับถนนมิตรภาพ 3. พัฒนาเส้นทางจักรยานบนถนนสายกัลปพฤกษ์ และโดยรอบชุมชนมหาลัย ให้เชื่อมต่อกับ สถานีเดินรถภายในย่าน และรถไฟรางเบาเพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคต 4. พัฒนาทางเดินเท้าให้เชื่อมต่อกันภายในย่านให้เดินได้ดียิ่งขึ้น และเนมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวความคิดการพัฒนาสภาพแวดล้อมสีเขียว (Green Open Space Concept) เก็บรักษาพื้นที่สีเขียวที่ส่าคัญภายในย่าน เพื่อช่วยรักษาการดูดซับคาร์บอน และเพิ่มโครงข่าย พื้นที่สีเขียวในทุกระดับ ตั้งแต่ชุมชน ไปจนถึงระดับเมือง และการสนับสนุนอาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน โดย 1. พัฒนาแนวโครงข่ายสี เ ขียวบนถนนมิ ตรภาพตามแนวความคิ ด หลักระดับ เมื อง เชื่อ มต่ อ โครงข่ายสีเขียวระดับย่านตามแนวถนนกลัปพฤกษ์ และในระดับชุมชนตาโครงข่ายสีเขียวบน ถนนสายหลักภายในย่าน (ถนนอดุลยาราม 1, ถนนมิตรภาพ 14, ถนนพจนา, ถนนศิลปสนิท, ถนนอดุลยาราม) 2. พัฒนาถนนภายในย่านให้มีสภาพแวดล้อมสีเขียวมากยิ่งขึ้น 3. รักษาความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณสวนสาธารณะบึงหนองแวง 4. เพิ่มพื้นที่ว่างโล่งให้เป็นพื้นที่สีเขียวที่สามารถเข้าถึงได้ตามระบบโครงข่ายสีเขียว

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -219


ภาพที่ 9-6 แผนที่แสดง แนวความคิดการพัฒนาคมนาคม

ภาพที่ 9-7 แผนที่แสดง แนวความคิดการพัฒนาพื้นที่สีเขียว

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -220


ภาพที่ 9-8 แผนที่แสดง ผังแนวความคิดย่านชุมชนมหาล

ภาพที่ 9-9 แผนที่แสดง ผังบริเวณย่านมหาลัย

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -221


9.3.4 โปรแกรมการวางผังและออกแบบ

ผังบริเวณพื้นที่โครงการ (Master Plan)

ภาพที่1 แผนที่แสดง ผังแม่บทย่านชุมชนมหาลัย ผังบริเวณ 1. สถานี PARK & RIDE (NEIGHBOURHOOD 2. วัดป่าอดุลยาราม

9. ตลาดค้าปลีกชุมชน -SHOPING CENTER)

3. ทางเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น

10. สวนสาธารณะบึงหนองแวง

4. COMMUNITY LIFE-STYLE SHOPING MALL

11. สถานีรถไฟฟ้ารางเบา

5. สวนสาธารณะ และป่าชุมชน

12. โรงพยาบาลศรีนครินทร์

6. อาคารที่อยู่อาศัย CONDOMINIUM

13. มหาวิทยาลัยขอนแก่น

7. MIXED USE DEVELOPMENT

14. SPORT COMPLEX ให้เช่า

8. ตลาดค้าปลีกชุมชน (NEIGHBOURHOOD SHOPING CENTER) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -222


9.3.5 ผังการออกแบบพื้นที่

ผังแนวความคิดในการออกแบบ

ภาพที่2 ผังแนวความคิดย่านชุมชนมหาลัย

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -223


ภาพที่3 ทัศนียภาพหลังการพัฒนา

ภาพที่4 ทัศนียภาพหลังการพัฒนา รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -224


ภาพที่5 ทัศนียภาพหลังการพัฒนา

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -225


9.4 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมส่าหรับพื้นที่วางผังออกแบบ

-

การเติบโตอย่างชาญฉลาด การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเดินเท้าและการใช้จักรยาน วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า การเพิ่มพื้นที่เขียวเพื่อดูดซับคาร์บอน อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก

ชุมชนคนรุ่นใหม่คาร์บอนต่​่า (Low-Carbon New-Gen and Community) ควรน่าร่องในย่านพักอาศัยของ นักศึกษาใกล้มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยสนับสนุนการใช้จักรยานในระยะใกล้ ร่วมกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและ พื้นที่สีเขียว มีชีวิตชีวา น่าเดิน และปลอดภัย แนวคิดของวิถีชีวิตคาร์บอนต่​่ายังควรส่งเสริมบริเวณย่านมหาวิทยาลัย เนื่องจากมีบริการที่สัมพันธ์กับชีวิตนักศึกษา เช่น ร้านอาหาร ร้านกาแฟ เป็นต้น ซึ่งธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ต่อการลดการ ปลดปล่อยคาร์บอนควรถูกด่าเนินการเช่นกัน อาคารประหยัดพลังงานในธุร กิจต่างๆมุ่งเน้นในภาคเอกชน เพื่อการ จัดการน้่าและขยะ การใช้พลังงานทางเลือก ใช้พื้นที่สีเขียวประดับอาคารเพื่อลดอุณหภูมิของเมือง นอกจากนั้น ชุมชน คนรุ่นใหม่คาร์บอนต่​่า ไม่ได้ถูกจ่ากัดเพียงแค่นักศึกษา แต่ควรขยายผลไปสู่กลุ่มย่านโรงเรียน เยาวชน และชุมชน การ สร้างความร่วมมือกับชุมชนในการคัดแยกขยะบ่าบัดน้่าเสีย ซึ่งเทศบาลนครขอนแก่นได้ด่าเนินงานไว้แล้วยังควรได้รับ การสนับสนุนต่อเนื่อง รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -226


9.5 การน่าแผนและผังไปปฏิบัติ

ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Project Boundary)

ภาพที่6 ผังโครงการน่าร่องในย่านชุมชนมหาลัย แนวความคิดผังแม่บท (Master Plan) จากนโยบายภาครัฐที่ตั้งเป้าให้ขอนแก่นเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษา

และพัฒนาเมืองไปในแบบวิถี

ชีวิตคาร์บอนต่​่า จึงมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. พัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟฟ้ารางเบาให้รองรับกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น และมีกิจกรรมที่สัมพันธ์กับ มหาวิทยาลัย โดยพัฒนาพื้นที่ว่างในรัศมี 150 ม.ของสถานี BRT ที่รวมกิจกรรมหลากหลายไว้ด้วยกันเพื่อลด การเดินทาง และเชื่อมต่อเข้ากับระบบทางเดินเท้า ทางจักรยานภายในย่าน 2. ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว หันมาใช้ระบบคมนาคมสาธารณะเพิ่มมากขึ้น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -227


- เพิ่มจุดจักรยานบริการสาธารณะรอบ block ที่มีระยะที่เหมาะสมกับการเดินเท้า - เพิ่มพื้นที่ว่างโล่งสีเขียวของย่านให้สามารถเดินเชื่อมถึงกันอย่างทั่วถึง เพื่อลดการใช้รถส่วนตัว - ปรับปรุงถนนที่มีการใช้เป็นจ่านวนมากให้เป็น shared street เหมาะแก่วิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า ที่ สร้างสภาพแวดล้อมน่าอยู่ของคนในย่าน 3. รักษาสภาพแวดล้อมสีเขียว - รักษาพื้นที่สีเขียวบริเวณบึงหนองแวง เพื่อช่วยลดอุณหภูมิให้กับบริเวณโดยรอบ - สนับสนุนอาคารสีเขียว เพิ่มพื้นที่หลังคาสีเขียว ผนังเขียว ในบริเวณอาคารเดิมที่สามารถท่าได้ และอาคารใหม่ที่จะพัฒนาขึ้นในอนาคต - เพิ่มสวนพื้นที่สีเขียว สสวนสาธารณะชุมชน และโครงข่ายสีเขียวตามโครงข่ายถนนเพื่อช่วยลด คาร์บอนจากยานพาหนะ

ขอบเขตของโครงการพัฒนา (Project Boundary) โครงการพัฒนาย่านชุมชนมหาวทยาลัยแบบวิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า 1.โครงการสถานีจุดจอดแล้วจร และค้าปลีกชุมชน 2.ปรับปรุงเพิ่มทางเท้า ทางจักรยาน และภูมิทัศน์ถนนกัลปพฤกษ์ 3.ปรับปรุงถนนอดุลยาราม ให้เป็นถนน shared street 4.ปรับปรุงฟื้นฟูสวนสาธารณะบึงหนองแวง 5.โครงการสวนสาธารณะป่าชุมชน 6.โครงการก่อสร้าง community mall 7.โครงการก่อสร้างที่อยู่อาศัยและส่านักงาน หนาแน่นสูง 8.โครงการตลาดค้าปลีกเพื่อชุมชน 9.โครงการปรับปรุงและตัดถนนส่าหรับโครงข่ายคนเดินและจักรยานในชุมชน รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -228


รายละเอียดของการพัฒนาโครงการ (Project Description) แผนงานที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนาชุมชนมหาลัยแบบวิถีชีวิตคารืบอนต่​่า โครงการที่ 1.1 สถานีจุดจอดแล้วจร และค้าปลีกชุมชน ครบวงจร ผู้รับผิดชอบ

เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล พื้นที่ชุมชนมหาวิทยาลัย ในระยะประมาณ 500 เมตรจากมหาวิทยาลัยมีจ่านวน หอพัก และอพาร์ทเมนท์เป็นจ่านวนมาก ซึ่งส่วนมากเป็นนักเรียน นักศึกษา เนื่องจากอยู่ในระยะไม่ไกลมาก ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่มีความสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่เน้นการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ จึง ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน

นักศึกษาเปลี่ยนมาใช้ระบบคมนาคมสาธารณะหรือจักรยานเป็นการ

สัญจรทางเลือกหลักเพิ่มมากขึ้นได้ วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มทางเลือกในการเดินทางที่มีคาร์บอนต่​่ามากขึ้นและลดการใช้พาหนะ

ส่วนบุคคล โดยการก่อสร้างจุดจอดรถที่เพียงพอ และมีสภาพแวดล้อมสิ่งอ่านวยความสะดวกให้แก่คนเดินเทา และคนใช้จักรยานเพิ่มมากขึ้น ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชุมชนมีทางเลือกในการเดินทางด้วยยานพาหนะคาร์บอนต่​่ามากขึ้น มีแหล่ง

งานเพิ่มขึ้น เพิ่มโอกาสในการใช้ระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น และพื้นที่โดยรอบสถานีมีศักยภาพในการพัฒนา เพิ่มมากขึ้นด้วย

โครงการที่ 1.2 ปรับปรุงเพิ่มทางเท้า ทางจักรยาน และภูมิทัศน์ถนนกัลปพฤกษ์ ผู้รับผิดชอบ

เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล การเดินทางโดยการสัญจรทางเท้า และทางจักรยาน ต้องมีเส้นทางโครงข่ายที่ เหมาะสมเอื้ออ่านวยต่อการใช้เส้นทางนั้น ดึงดูดให้คนเข้ามาใช้งานเพิ่มมากขึ้น ถนนกัลปพฤกษ์นั้นมีลักษณะ กายภาพที่มีขนาดถนนที่กว้าง และมีการสัญจรของรถไม่มาก จึงสมควรมีการแบ่งช่องทางเพื่อน่ามาปรับปรุงมห้ รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -229


เป็นเส้นทางจักรยาน

และทางเดินเท้าที่กว้างขึ้นเชื่อมต่อระหว่างชุมชนกับโครงข่ายเส้นทางจักรยาน

และ

ทางเดินเท้าในมหาวิทยาลัย เพื่อให้โครงข่ายนั้นสมบูรณ์ ตอบสนองผุ้ใช้งานได้ดียิ่งขึ้น วัตถุประสงค์

เพื่อจัดสรรเพิ่มสิ่งอ่านวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทางเท้า ทางจักรยาน

ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ประชาชนในพื้นที่มีการใช้ทางเท้าทางจักรยานเพิ่มขึ้น และมีกิจกรรมเกี่ยวกับ

จักรยานเพิ่มมากขึ้น

โครงการที่ 1.3 ถนน shared street (อดุลยาราม) ผู้รับผิดชอบ

เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล ถนนอดุลยารามเป็นทางสัญจรเข้าออกระหว่างมหาวิทยาลัยและคนในย่าน ผ่าน สถานที่ส่าคัญทั้งหมด จึงท่าให้มีการสัญจรเป็นจ่านวนมาก ประกอบกับมีระบบขนส่งสาธารณะผ่านเส้นทางนี้ อยู่แล้ว จึงมีความเหมาะสม เพื่อที่จะพัฒนาเป็นย่านการค้าแบบเศรษฐกิจชุมชนคาร์บอนต่​่า เน้นการเดินเท้า มากกว่ารถยนต์ส่วนตัว วัตถุประสงค์

เพื่อลดการใช้รถยนต์ในบริเวณย่านการค้าส่าคัญของย่านชุมชน และพัฒนา

สภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ย่านการค้ามีสภาพแวดล้อมที่ดี น่าเดินยิ่งขึ้น ดึงดูดให้มีการพัฒนาพื้นที่รอบๆ

โครงการเพิ่มมากยิ่งขึ้นไปด้วย และเพิ่มพื้นที่สาธารณะให้กับชุมชนแห่งใหม่ เนื่องจากเดิมนั้นมีพื้นที่สาธารณะ เป็นจ่านวนน้อย

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -230


โครงการที่ 1.4

ปรับปรุงฟื้นฟูสวนสาธารณะบึงหนองแวง

ผู้รับผิดชอบ

เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

สวนสาธารณะบึงหนองแวงตั้งอยู่ใจกลางพื้นที่ชุมชน เป็นแหล่งรวมคนในย่าน

ปัจจุบันมีความทรุดโทรมลงไป จึงสมควรที่จะมีการปรับปรุงเพื่อให้กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกครั้ง และมีกิจกรรมที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น ตอบสนองกับผู้ใช้งาน วัตถุประสงค์

เพื่อฟื้นฟูสวนสาธารณะให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง สร้างสภาพแว้ดล้อมที่ดี

ให้กับเมือง ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ

ชุมชนมหาวิทยาลัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนมากขึ้น

โครงการที่ 1.5

สวนสาธารณะและป่าชุมชน

ผู้รับผิดชอบ

เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล

พื้นที่รอบสถานีรถไฟฟ้า เป็นพื้นที่รกร้างมีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น เนื่องจากการ

คาดการณ์การเจริญเติบโตในอนาคต ย่านชุมชนมหาลัยจะกลายเป็นศูนย์กลางรอง จึงควรจะมีสภาพแวดล้อมที่ ดี และเก็บรักษาพื้นที่สีเขียวไว้ให้ได้มากที่สุด วัตถุประสงค์

เพื่อรักษาพื้นที่สีเขียว และน่ามาใช้ประโยชน์ให้กับเมือง เนื่องจากอยู่ในพื้นที่

สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาตามกรอบแนวคิดคาร์บอนต่​่า คือรอบรัศมีบริการสถานีรถไฟฟ้า ระยะเวลาด่าเนินการ 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ

ชุมชนมหาวิทยาลัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ พื้นที่สาธารณะเพิ่มขึ้น และท่าให้เกิดการดึงดูดในการเข้ามาลงทุนในพื้นที่รอบๆ สวนสาธารณะดังกล่าวด้วย รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -231


โครงการที่ 1.6

โครงการก่อสร้าง community mall

ผู้รับผิดชอบ

ภาคเอกชน

หลักการและเหตุผล แนวทางข้างต้น

เนื่องจากความเป็นศูนย์กลางแห่งใหม่ เพื่อรองรับการพัฒนาที่สอดคล้องกับ

การพัฒนาพืน้ ที่รอบๆสถานีจึงมีความเหมาะสมและจ่าเป็นเพื่อให้ได้การใช้ประโยชน์ที่ดินที่

เป้นไปตามนโยบายด้านผังเมือง และเหมาะสมตามแนวคิด low carbon คือเพิ่มกิจกรรมที่หนาแน่นขึ้น โดยรอบสถานี (TOD) เป็นการลดการใช้พลังงาน และชี้น่าการพัฒนาในอนาคตโดยรอบพื้นที่นี้ วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้ใช้ประโยชน์ได้หลากหลายตอบสนองกับกิจกรรมของพืน้ ที่

และลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวในการเข้าถึงกิจกรรมหลักของย่าน ระยะเวลาด่าเนินการ 3-5 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ

เทศบาลนครขอนแก่น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดแหล่งงาน และแหล่งที่อยู่อาศัย รวมถึงจุดจอดรถ และพื้นที่ว่างสาธารณะที่ มีสภาพแวดล้อมที่ดี ใช้พื้นที่อย่างผสมผสานเพิ่มมากขึ้น เป็นไปตามนโยบายของทางภาครัฐในการใช้ประโยชน์ พื้นที่ได้ดีขึ้นโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า เป็นศูนย์รวมกิจกรรมแห่งใหม่ของย่าน รองรับกิจกรรมที่ตอบสนองกับกลุ่ม วัยรุ่น หรือนักศึกษาจบใหม่ที่ต้องการพื้นที่ส่าหรับท่างาน พักผ่อน ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม

โครงการที่ 1.7

โครงการก่อสร้างที่อยู่อาศัยและส่านักงานหนาแน่นสูง

ผู้รับผิดชอบ

ภาคเอกชน

หลักการและเหตุผล เป็นการสร้างการใช้พื้นที่แบบผสมผสานมากขึ้นเพื่อให้เกิดการรถการใช้รถยนต์ หันมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะ และอยู่ใกล้กับสาธารณูปโภค-ปการ วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นโครงการน่าร่องในการพัฒนาพื้นที่โดยรอบ ใก้เกิดการพัฒนาไปใน

ทิศทางที่สอดคล้องกัน ระยะเวลาด่าเนินการ 2-3 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ

เทศบาลนครขอนแก่น

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -232


ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีแหล่งที่อยู่อาศัยที่หลากหลาย และมีแหล่งงานเพิ่มมากขึ้น ตอบสนองกับ

นโยบายของรัฐ

โครงการที่ 1.8

โครงการตลาดค้าปลีกเพื่อชุมชน

ผู้รับผิดชอบ

ภาคเอกชน

หลักการและเหตุผล เพื่อตอบสนองกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นและเป็นศูนย์กลางรอง ของชุมชน ในย่านในการจัดสรรสิ่งอ่านวยความสะดวกให้เพียงพอกับชุมชน ลดการเดินทาง แหล่งเป้นจุดดึงดูดให้เกิดการ เข้าถึงพื้นที่ เกิดความมีชีวิตชีวาของย่านนั้นๆ วัตถุประสงค์

เพื่อกระตุ้นให้เป็นจุดดึงดูดให้คนเข้ามาใช้งาน เกิดเป็นศูนย์กลางย่อยๆ รองมา

จากศูนย์กลางหลักของย่าน ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี ผู้ร่วมด่าเนินการ

เทศบาลนครขอนแก่น และชุมชนมหาวิทยาลัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดแหล่งงาน และกิจกรรมที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น ท่าให้เกิดความหนาแน่น ขึ้นในบริเวณที่เหมาะสมเป็นไปตามนโยบายของรัฐ

โครงการที่ 1.9

โครงการปรับปรุงและตัดถนนคนเดินเท้า และจักรยานภายในชุมชน

ผู้รับผิดชอบ

เทศบาลนครขอนแก่น

หลักการและเหตุผล เพื่อปรับปรุงโครงข่ายการสัญจรทางเท้า และจักรยานให้เชื่อมต่อถึงกันได้ดีขึ้น และปรับปรุงกายภาพให้เอื้ออ่านวยต่อการเดินเท้า จักรยานได้สะดวกเพิ่มมากขึ้น วัตถุประสงค์

เพื่อส่งเสริมการเดินเท้า การใช้จักรยานในวิถีชีวิตประจ่าวันของประชาชนใน

พื้นที่ เพื่อลดการเกิดคาร์บอนจากการสัญจรโดยรถยนต์ ระยะเวลาด่าเนินการ 1-2 ปี รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -233


ผู้ร่วมด่าเนินการ

เทศบาลนครขอนแกน และชุมชนมหาวิทยาลัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดการใช้การสัญจรทางเท้า และจักรยานเพิ่มมากขึ้นในชีวิตประจ่าวันของคน ในชุมชน ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวหันมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะเพิ่มมากขึ้น ลดมลภาวะ ท่าให้คุ ณภาพชีวิตดี ขึ้น แผนผังช่วงระยะเวลาด่าเนินพัฒนาโครงการ (Development Phasing)

ภาพที่4.1 ผังระยะเวลาด่าเนินพัฒนาโครงการ ช่วง 1-2 ปี โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น (Phase-1 ระยะเวลา 1-2 ปี) 1. โครงการที่ 1.1 สถานีจุดจอดแล้วจร และค้าปลีกชุมชน ครบวงจร 2. โครงการที่ 1.2 ปรับปรุงเพิ่มทางเท้า ทางจักรยาน และภูมิทัศน์ถนนกัลปพฤกษ์ 3. โครงการที่ 1.3 ถนน shared street (อดุลยาราม) รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -234


4. โครงการที่ 1.4 ปรับปรุงฟื้นฟูสวนสาธารณะบึงหนองแวง 5. โครงการที่ 1.8 โครงการตลาดค้าปลีกเพื่อชุมชน 6. โครงการที่ 1.9 ปรับปรุงและตัดถนนคนเดินเท้า และจักรยานภายในชุมชน

ภาพที่4.2 ผังระยะเวลาด่าเนินพัฒนาโครงการ ช่วง 2-3 ปี โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น (Phase-2 ระยะเวลา 2-3 ปี) โครงการที่ 1.7 โครงการก่อสร้างที่อยู่อาศัยและส่านักงานหนาแน่นสูง

โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น (Phase-2 ระยะเวลา 3-5 ปี) 1. โครงการที่ 1.5 สวนสาธารณะและป่าชุมชน 2. โครงการที่ 1.6 โครงการก่อสร้าง community mall รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -235


ตารางที่4.3 แสดงระยะเวลาด่าเนินพัฒนาโครงการ ช่วงระยะที่ 1 (ปีที่ 1-3)

ตารางที่4.4 แสดงระยะเวลาด่าเนินพัฒนาโครงการ ช่วงระยะที่ 2,3 (ปีที่ 4-9) 5. มาตรการส่งเสริมสนุน (incentive) 1. ให้มาตรการลดภาษีให้กับผู้ที่ลดการใช้พลังงานภายในอาคาร หรือการใช้อาคารเขียว ในบริเวณย่านที่พัก อาศัยย่านมหาลัย 2. การรักษาแนวความสูงของอาคารในแนวถนน อดุลยาราม 1 เพื่อรักษามุมมองละภูมิทัศน์ของย่านมหาลัยให้ มีความเป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม 3.การเพิ่มพื้นที่สีเขียว ให้บริวเณถนนอดุลยารามเป็นพื้นที่สนับสนุนสิ่งแวดล้อมต่อเนื่องจากสวนสาธารณะบึง หนองแวง และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อวสร้างโครงข่ายีเขียวดูดซับคาร์บอนเพิ่มขึ้น 4. การสนับสนุนอาคารประหยัดพลังงาน ตามเกณฑ์ LEED ND 5. การจัดรูปที่ดินใหม่ให้มีสาธารณะประโยชน์เพิ่มากขึ้น (land readjustment) ในพื้นที่ที่ยังไม่ได้พฒ ั นาหรือ ถูกทิ้งร้าง

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -236


บทที่ 10 บทสรุป 10.1 สรุปสาระส่าคัญของการศึกษา

การออกแบบและพัฒนาพื้นที่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น เป็น การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคม คาร์บอนต่​่า ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคล่าดับ 1 มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางหลักของภาคขอบเขตการ ให้บริการเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงประเทศจีน เส้นทาง EastWest Corridor เป็น เส้น ทางหลักเพื่อขนส่งสินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่ส อด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยังเวียดนาม โดยมี โครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ของขอนแก่นเป็นศูนย์กลางทางด้านต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ 1. ศูนย์กลางทางด้านระบบการขนส่ง 2. ศูนย์กลางของการศึกษาโดยจังหวัดขอนแก่นมีสถานศึกษาจ่านวน 1,167 แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มี ด้วยกัน 6 คณะที่โดดเด่น ได้แก่ 1. คณะแพทยศาสตร์ 2. คณะเภสัชศาสตร์ 3. คณะพยาบาลศาสตร์ 4. คณะเทคนิค ทางการแพทย์ 5. คณะสัตว์แพทยศาสตร์ 6. คณะเทคโนโลยีด้านอาหาร 3. ศูนย์กลางการรักษาพยาบาล คือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ แ ละคณะแพทย์ศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแก่น 4. ศูนย์กลางของการสัมมนาและแสดงนิทรรศการ เช่น ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก งานไหม นานาชาติ ออกงานแสดงผ้าไหมของท้องถิ่น หอศิลป์ต้นตาลซึ่งมีตลาดนัดบริการด้วย เป็นต้น รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -237


5. ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว การบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ลดการปล่ อ ยผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่าจะถูกด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ความ ต้องการ ปัญหา และจุดยืนที่เมืองขอนแก่นได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมให้บูรณาการไปสู่ ความเป็นเมืองคาร์บอนต่​่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่​่า และวิถีชีวิตคาร์บอนต่​่า ซึ่งสะท้อนมาจากแนวคิดในการพัฒนาเมือง และชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่​่า ได้ แก่ 1. ศูนย์กลางการประชุมคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon Mice City) 2. เมืองโครงข่ายสีเขียวและคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon and Green-Network City) 3. ศูนย์กระจายสินค้าและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon Logistic and Industry) 4. การท่องเที่ยวคาร์บอนต่​่า (Low-Carbon Tourism) 5. ชุมชนคนรุ่นใหม่คาร์บอนต่​่า (Low-Carbon New-Gen and Community) 10.2 ข้อจ่ากัดของการศึกษา ข้อจ่า กัดของการศึกษา ด้วยสภาพพื้นที่เทศบาลนครขอนแก่นเป็นพื้ น ที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่แต่เนื่องด้วยการส่ารวจพื้นที่ที่มีอย่างจ่ากัดท่าให้ต้องเลือกส่ารวจเฉพาะจุดที่ต้องการ จะศึกษาเป็นล่าดับใหญ่ๆ ด้วยข้อจ่ากัดเหล่านี้อาจเป็นผลให้การศึกษาออกแบบมีข้อผิดพลาดได้ด้วยการที่ขอนแก่นมี ความต้องการที่จะเป็น Smart City มีผลต่อการด่ารงชีวิตในปั จจุบันของคนในชุมชนท่าให้ พื้นที่สีเขียวเดิมที่มีอยู่แล้ว ค่อยๆลดน้อยลงซึ่งขัดต่อการที่จะพัฒนาเมืองเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า 10.3 ข้อเสนอแนะส่าหรับการศึกษาขั้นต่อไป การออกแบบและพัฒนาชุมชนเมืองเทศบาลนครขอนแก่น เพื่อมุ่งสู่คาร์บอนต่​่าควรพัฒนาโดยคงความเป็น เอกลักษณ์ของเมืองเอาไว้ อันได้แก่ ประเพณีวัฒนธรรม รวมถึงพื้นที่ทางธรรมชาติ เช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่งสร้าง และ บึงหนองโครตให้มีความเป็นพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ของเมืองเพื่อพัฒนาเป้นแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อนของชาวเมือง ขอนแก่นอย่างยั่งยืน การเพิ่มพื้นที่สาธารณะภายในเมืองให้เกิ ดการใช้พื้นที่เพื่อรองรับการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนเมือง ด้วยคุณภาพของจังหวัดขอนแก่น ที่ถูกส่งเสริมเป็นศูนย์กลางการประชุม ศูน ย์กระจายสินค้า อุตสาหกรรม คาร์บอนต่​่าและชุมชนคนรุ่น ใหม่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายใต้โครงข่ายเมืองสีเขี ยวและการท่องเที่ยวคาร์บอนต่​่าที่จ ะช่ว ย ส่งเสริมให้เมืองขอนแก่นพัฒนาตามเป้าหมายที่วางเอาไว้ การส่งเสริมด้านการปลูกต้นไม้ในเมืองเป็นสิ่งที่ส่าคัญมาก และจ่าเป็นอย่างยิ่งส่าหรับเมืองที่ก่าลังขยายตัว เมื่อเกิดโครงข่ายสีเขียวตามเส้นทางการคมนาคมก็ส่งผลต่อการพัฒนา เมืองสีเขียวอย่างยั่งยืน มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่าอีกด้วย รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -238


รายการอ้างอิง  เทศบาลนครขอนแก่น. (-). ข้อมูลพื้นฐานของเทศบาล. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.kkmuni.go.th/  ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลนครขอนแก่น. (-). ข้อมูลข่าวสารแนะน่าเทศบาล. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จาก เว็บไซต์ http://center.kkmuni.go.th/  ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลนครขอนแก่น. (-). โครงสร้างด้านการบริหาร. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จาก เว็บไซต์ http://center.kkmuni.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=52&Itemid=81  ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลนครขอนแก่น. (-). ลักษณะภูมิประเทศและทิศทาง. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://center.kkmuni.go.th/images/data/data_public/Terrain-data/infa-01.pdf  Realist blog. (-). จับตามองเมืองขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.realist.co.th/blog/จับตามองเมืองขอนแก่น/  ประตูสู่อีสาน. (-). ข้อมูลทั่วไปจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.isangate.com/isan/khonkaen.html  การเคหะแห่งชาติ. (2557).Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.slideshare.net/FURD_RSU/ppt-urbanization  กรมชลประทาน. (2557).ประวัติความเป็นมาของจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 21 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://ridceo.rid.go.th/khonkaen/html/kkj_hist.html  วิกิพีเดีย. (2557).ข้อมูลของจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 21 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดขอนแก่น  BUSINESS EVENTS THAILAND. (2559). เที่ยวบินภายในประเทศจากขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.businesseventsthailand.com/th/mice-destinations/mice-destinations/khonkaen/international-flights-to-khon-kaen/  BUSINESS EVENTS THAILAND. (2559). เที่ยวบินระหว่างประเทศสู่ขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.businesseventsthailand.com/th/mice-destinations/mice-destinations/khonkaen/domestic-flights-from-khon-kaen/  สื่อไทบ้าน อีสานทีวี. (2558).Khonkaen Mice City. สืบค้นวันที่ 18 เมษายน 2558 จากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=SxY304nVpLE  กรมพัฒนาที่ดิน. (2559).สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2559 จากเว็บไซต์ http://www.ldd.go.th/web_OLP/Lu_58/Lu58_NE/KKN58.htm  Khonkaen Link. (2557). จุดเด่นของจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 20 มกราคม 2557 จากเว็บไซต์ http://forum.khonkaenlink.info/index.php?topic=17215970.0 http://www.ichumphae.com/topic.php?q_id=29550 http://www.dpt.go.th/msnk/?detail=5 รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -239


http://www.oknation.net/blog/smartgrowththailand/2016/01/20/entry-1 http://s1377.photobucket.com/user/Rawipad_Shaiyes/media/_zpsdufzg9gt.png.html https://www.facebook.com/Greenkhonkaen/?fref=photo https://www.facebook.com/KhonKaenTraffic-111247852333702/ https://www.facebook.com/SuchartStudio/?fref=ts

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่​่า กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น -240


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.