โครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น

Page 1

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการ ออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น รายวิชา 264 417 ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 (Urban Design Studio II) ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2559

โดย เอกพล กรวรรณ ธีระศักดิ์

ดาโชติ รุ่งสว่าง สวัสดี

58051207 58051208 58051212

นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


คำนำ

จังหวัดขอนแก่น คือ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การ บริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล”โดยมีเป้าประสงค์ของจังหวัด (Goals) ในประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีความ เข้มแข็ง สังคมสันติสุขและอยู่กันอย่างเอื้ออาทรและประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืนเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

รายงานการศึก ษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้ อ มและการออกแบบชุ ม ชนเมืองชาญฉลาด กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่นเป็น แนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการ พัฒนาพื้นที่เทศบาลเมืองขอนแก่น ให้เป็นไปตามเป้าหมายให้เป็นชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ซึ่ง นาไปสู่การเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ การเสนอแนะแนวทางในการ นาไปพัฒนา ซึ่งได้แก่ การรักษาสภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ ระบบนิเวศน์ การบริหารจัดการน้า มลภาวะ ทางน้า มลภาวะทางอากาศบริการ การส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ การผลิตพลังงานทดแทน ระบบบริหารจัดการพลังงานอัจฉริย ะ การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ระบบ การขนส่ง ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จักรยาน การมีส่วนร่วม การเป็นหุ้นส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการเจริญเติบโตโดย แนวทางการออกแบบเหล่านี้จะส่งเสริมให้เกิดความสะดวกสบายในการสัญจร คมนาคมขนส่ง ทางเดินเท้าริม ถนนและถนนสายหลักของชุมชน ควบคู่ไปกับ พื้นที่สาหรับคนรุ่นใหม่ รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงและก่อสร้าง พื้นที่ลานกิจกรรม กลุ่มเศรษฐกิจใหม่ให้เกิดความเชื่อมโยงของพื้นที่ จากศูนย์กลางเมืองไปยังพื้นที่ต่างๆ เพื่อ นาไปสู่เมืองชาญฉลาด (Smart City)

หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ที่นี้

คณะผู้จัดทา ธันวาคม 2559 รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 1


สารบัญ หน้า คานา

ส-1

สารบัญ

ส-2

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความจาเป็นและความสาคัญของการศึกษา 1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 กระบวนการศึกษา 1.5 วิธีการศึกษา

1-1 1-1 1-1 1-2 1-2 1-4

บทที่ 2 กรอบแนวคิดการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2.1 แนวคิดเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY) 2.2 The WHY, WHAT & HOW of Startupbootcamp’s newest program: Smart City & Living 2.3 11 Documentaries That Will Make You a Smarter Marketer 2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างชาญฉลาด 2.5 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (SMART GROWTH) 2.6 แนวคิดประเทศไทย 4.0 2.7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12

2-1 2-1 2-10 2-11 2-12 2-12 2-13 2-17

บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3.2 จังหวัดขอนแก่น 3.3 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค

3-1 3-1 3-3 3-7

บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของเมืองขอนแก่น 4.1 ตาแหน่งที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตการปกครอง 4.2 ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการเข้าถึง 4.3 ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 4.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4.5 ลักษณะทางกายภาพ 4.6 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองและชุมชน 4.7 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับเมือง 4.8 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับเมือง

4-1 4-1 4-2 4-6 4-7 4-13 4-17 4-19 4-24

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 2


บทที่ 5 แนวคิดเบื้องต้นในการพัฒนาเมืองและชุมชน 5.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของพื้นทีศ่ ึกษา 5.2 วิสัยทัศน์การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5.2.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาในระดับเมือง 5.2.2 ผังแนวคิดในการพัฒนา 5.2.2.1 ผังแนวคิดการใช้ประโยชน์ที่ดนิ และกลุ่มกิจกรรม 5.2.2.2 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการคมนาคมและการเข้าถึง 5.2.2.3 ผังแนวคิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ 5.2.2.4 ผังแนวคิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 5.2.2.5 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบน้า 5.2.2.6 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบพลังงาน 5.2.2.7 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการขยะ 5.2.2.8 ผังแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม 5.3 การกาหนดพื้นที่เฉพาะเพื่อการออกแบบ

5-1 5-1 5-2 5-2 5-2 5-5 5-6 5-7 5-8 5-11 5-13 5-15 5-18 5-19

บทที่ 6 การวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่กลางเมืองขอนแก่น 6-1 6.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันระดับพื้นที่ 6-1 6.1.1 ตาแหน่งที่ตั้ง 6-1 6.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง 6-1 6.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ 6-3 6.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดนิ 6-3 6.1.5 กลุ่มกิจกรรม 6-4 6.1.6 อาคารและพื้นทีว่ ่าง 6-7 6.1.7 พื้นที่สีเขียว 6-7 6.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ 6-8 6.2.1 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นทีด่ ้าน Mobility Data 6-9 6.2.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นทีต่ ลาด 6-12 6.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-16 6.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 6-18 6.3.2 ศักยภาพในการพัฒนา 6-18 6.3.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา 6-19 6.3.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา 6-19 รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 3


6.4

6.5

6.6

6.3.5 แนวความคิดหลัก 6-19 6.3.5.1 โครงสร้างการเชื่อมโยงและการเชื่อมต่อ (Linkage & Connection) 6-23 6.3.5.2 กลุ่มกิจกรรม (Social Dynamic) 6-24 6.3.5.3 ลักษณะเฉพาะที่มีเอกลักษณ์ (Identity) 6-25 6.3.5.4 ลักษณะทางธรรมชาติ (Natural Features) 6-26 6.3.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-27 6.3.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-28 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-33 6.4.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 6-34 6.4.2 ศักยภาพในการพัฒนา 6-34 6.4.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา 6-37 6.4.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา 6-37 6.4.5 แนวความคิดหลัก 6-37 6.4.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-41 6.4.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ยา่ นธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-42 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ 6-44 6.5.1 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะ และย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-44 6.5.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-46 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT)

6.7 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการถนนศรีจันทร์ยา่ นธุรกิจการค้า (SMART MICE)

6-47 6-61

บทที่ 7 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่บึงแก่นนคร

7-1

บทที่ 8 บทสรุป 8.1 สรุปสาระสาคัญของการศึกษา 8.2 ข้อจากัดของการศึกษา 8.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาขัน้ ต่อไป

8-1 8-1 8-2 8-3

รายการอ้างอิง

บ-1 รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 4


บทที่ 1 บทนา 1.1 ความจาเป็นและความสาคัญของการศึกษา โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ได้เริ่มดาเนินการโดยสานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม นับ ตั้ง แต่ปี งบประมาณ 2557 ซึ่ง ได้ แผนยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และชุมชนเมืองชาญฉลาด แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่ สังคมคาร์บอนต่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน การนาผลการประชุมและ แนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากาหนดรูปแบบการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่ เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทยสู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจ -ชุมชนเมืองชาญฉลาด สานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจาเป็นในการดาเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและ ชุมชนเมืองชาญฉลาดในปีงบประมาณ 2559 เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการนานโยบาย แผน และ ยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทาไว้ขึ้นสู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อนาแผนฯสู่ การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณดาเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมีคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการดาเนินงานโครงการ 1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ปีงบประมาณ 2559 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้าน พื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว นิเวศน์ การส่งเสริมการเกษตร แหล่งผลิตอาหารในเมือง สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียวรวมทั้ง การดาเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2) เพื่อประสานการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสี เขียว เมืองที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการดาเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติใน ระดับท้องถิ่น เป้าหมายเชิงผลผลิต ได้แก่ 1) รายงานผลการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่า และการดาเนินงานตามข้อริเริ่ม อาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2) รายงานผลการประสานการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียวเมื องที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น 3) รายงานผลการเสริมสร้างศักยภาพหน่วยงาน เทศบาลและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันการ ดาเนินงานตามนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสี เขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสังคม คาร์บอนต่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 1


4) เครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับใช้เพื่อการเสริมสร้า งศักยภาพของเทศบาล หน่ว ยงาน และภาคส่ วนที่ เกี่ยวข้องการดาเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ปีงบประมาณ 2559 มีกลุ่มเป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชนและประชาชน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ไปสู่การปฏิบัติในระดับ ท้องถิ่น 1.3 ขอบเขตของการศึกษา

1.4 กระบวนการศึกษา ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) หมายถึง ความเชื่อมโยงระหว่างการพัฒนาและคุณภาพชีวิตและ ผลักดันให้ความเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นใหม่ไปทาให้ชุมชนที่มีอยู่แล้วดีขึ้น การนาแนวคิดการเติบโตอย่างชาญฉลาดไปใช้ ในแต่ละชุมชนจะแตกต่างกันไป นอกจากนั้น โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ยังจะได้รับแนวคิดประเทศไทย 4.0 ที่จะส่งผล ต่อการออกแบบชุมชนเมืองดังนี้ 1. Smart City เมืองอัจฉริยะ คือนาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้เกิดการใช้ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น 2. เริ่มมีการเปลี่ยนจากสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดาเนินชีวิต (Active Aging) 3. เริ่มมี การเปลี่ ยนเกษตรกรรมแบบดั้ งเดิม ให้เป็ น เกษตรแม่ นย าสูง (Precision-Farming) คือ การน า เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกษตร รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 2


4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้าและการจัดการของเสียในเมือง การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบาบัดน้าเสีย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 สภาพปัญหา : อันเป็นที่มาของแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 1. การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่อง 2. มีแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย 3. การจัดสรรและการใช้งบประมาณแบบแยกส่วน 4. การกาหนดอนาคตของชาติกระทาโดยภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ 5. ประเทศพัฒนาแล้วจะมียุทธศาสตร์ชาติ กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์ แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่ 1. เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน 2. เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรมมีความเหลื่อมล้าน้อย 4. ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม 5. ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่ เข้มข้น 6. คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต 7. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 8. ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สานักงานฯ เสนอ โดยมีความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5 ปี โดยระบุแผนปฏิบัติการ และกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการ ดาเนินงานทุกรอบ 1 ปี และ 5 ปี รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 3


การเสริมสร้างศักยภาพการดาเนินงานของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่าเป็นกลไกสาคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่างๆเป็นหนึ่งในกลไกสาคัญต่อ การกาหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าในระดับประเทศรวมทั้งการจัดทาและ ผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่แวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพกาดาเนินงาน ของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าจะถูกดาเนินการโดยการให้ ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) การดาเนินงานโครงการฯมุ่งเน้นการขับเคลื่อน เชิงปฏิบัติการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่องเล็งเห็นความสาคัญของการ พัฒนาเมือง เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และบูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาในระดับต่างๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่นจะมีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิด การดาเนินงานโครงการนาร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจนการบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่ ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน 1.5 วิธีการศึกษา การจัดทาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) และการบูรณาการแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับ ท้องถิ่นเป็นเป้าหมายหลักของการดาเนินงาน ภารกิจดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน แต่ในปัจจุบันหน่วยงานต่างๆยังคงให้ความสาคัญแก่บทบาทและภารกิจหลักของ องค์กร โดยให้ความสาคัญแก่เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในลาดับรองลงมาจนขาดการบูรณาการระหว่าง หน่วยงาน อีกทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิ องค์กรอิสระ เอกชน ชุมชน ประชาชน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ยังไม่ได้เข้าร่วมเป็นกาลังขับเคลื่อน ตลอดจนการเผยแพร่องค์ความรู้ในเรื่องการพัฒนาเมืองและชุ มชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชน เมืองชาญฉลาด ยังอยู่ในวงจากัดซึ่งไม่สามารถมีส่วนแก้ไขปัญหาของสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ ชุมชนเมืองชาญฉลาด เข้าสู่การดาเนินงานของหน่วยงาน ต่างๆ และการนาแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นจึงต้องอาศัยความเชื่อมโยงระหว่างแผนและยุทธศาสตร์ของเมือง และชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนเมืองชาญฉลาด กับข้อมูลระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และ ระดับชาติ เพื่อชี้ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นถึงความสอดคล้องของการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ ชุมชนเมืองชาญ ฉลาด กับภารกิจการดาเนินงานที่ปฏิบัติ เพื่อให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสาคัญว่าการพัฒนา เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นภารกิจที่แต่ละฝ่ายได้ดาเนินการอยู่ในแต่ละส่วนย่อย โด ยที่การ ขับเคลื่อนในแต่ละส่วนเหล่านั้นต่างอยู่ภายใต้กรอบภาพกว้างของการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด และชี้ ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นว่าการดาเนินงานในส่วนใดที่ยังต้องเสริมสร้าง ตลอดจนกลไกและเครื่องมือใดที่ ควรได้รับการนามาใช้เพิ่มเติมเพื่อให้ภาพกว้างของการขับเคลื่อนสังคมคาร์บอนต่ามีความสมบูรณ์

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 4


บทที่ 2 นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ และการดาเนินงานที่เกี่ยวเนื่องกับ การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2.1 แนวคิดเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY) เกณฑ์ประเมิน Smart City มีอะไรบ้าง คาว่า Smart City ที่เกี่ยวกับการออกแบบเมืองให้สอดคล้องกับการ รักษาสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการลดปัญหามลภาวะต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีอันชาญฉลาด สู่การเป็นเมืองอัจฉริยะที่มี ประสิทธิภาพ สถาบันอาคารเขียวไทยได้จัดทาเกณฑ์ประเมิน Smart City มีทั้งหมด 7 หมวดด้วยกัน ได้แก่

2.1.1 พลังงานอัจฉริยะ (smart energy) ตัวชี้วัดพลังงานอัจฉริยะประกอบด้วยค่าพลังงานการใช้ต่อประชากร การผลิตพลังงานทดแทน การผลิต พลังงานณ จุดใช้งานการสะสมพลังงาน ระบบทาความเย็นและความร้อนรวมศูนย์ ระบบบริหารจัดการพลังงาน อัจฉริยะ การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ การส่งเสริมการใช้รถไฟฟ้า

2..1.2 การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการวางผังโครงสร้างพื้นฐานของระบบพลังงาน ระบบการจ่ายน้า ระบบการขนส่ง ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จักรยาน การจัดเตรียมสถานพยาบาล ระบบ ฉุกเฉิน ระบบความปลอดภัย สถานศึกษา สถานที่ท่องเที่ยว การบริหารจัดการขยะ น้าเสีย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 1


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 2


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 3


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 4


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 5


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 6


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 7


2.1.3 ชุมชนอัจฉริยะ (smart community) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ สุขภาพ การศึกษา การป้องกันภัยพิบัติ การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ

2.1.4 สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการรักษาสภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ ระบบนิเวศน์ การส่งเสริมการเกษตร แหล่ง ผลิ ต อาหารในเมื อ ง สวนสาธารณะ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว การบริ ห ารจั ด การน้ า มลภาวะทางน้ า มลภาวะทางอากาศ ปรากฏการณ์เกาะความร้อน

2.1.5 เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) ตัวชี้วัดประกอบด้วยโมเดลทางธุรกิจ นวัตกรรมรูปแบบการลงทุน ความสร้างความสามารถในการแข่งขัน การมีส่วนร่วม ความเป็นหุ้นส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการ เจริญเติบโตของเขต

2.1.6 อาคารอัจฉริยะ (smart building) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการผ่านเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวของสถาบันอาคารเขียวไทย การพัฒนาอาคารที่ ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ระบบอาคาร/ บ้านอัจฉริยะ

2.1.7 การปกครองอัจฉริยะ (smart governance) ตัว ชี้ วั ด ประกอบด้ ว ยหลั กความเป็ น เมื องอัจ ฉริย ะ ภาวะความเป็ น ผู้ น า ยุ ท ธศาสตร์ โครงสร้า งองค์กร กระบวนการบริหารจัดการ ระบบการวัดผลสาเร็จ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 8


ภาพที่ 2-1 เกณฑ์ประเมิน Smart City จากสถาบันอาคารเขียวแห่งประเทศไทย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 9


2.2 The WHY, WHAT & HOW of Startupbootcamp’s newest program: Smart City & Living (ที่มา https://www.startupbootcamp.org/blog/2014/10/untitled-resource1/)

2.2.1

Smart Home | Automated Living

2.2.2

Smart Home Appliances | Smart City appliances

2.2.3

Smart Mobility | Smart Parking | Traffic Management

2.2.4

Big Data regarding city projects | Open Data | FI-WARE

2.2.5

Internet of Things & Machine to Machine Solutions I Smart Connections | Smart Wifi

2.2.6

Smart Energy | Smart Metering | Smart Grid | Smart Lightning | Climate Control

2.2.7

Smart Building | Urban Planning | Waste Management

2.2.8

Smart Society

2.2.9

Smart Care | Emergency Response

2.2.10 Smart Working 2.2.11 Smart Product Management 2.2.12 Smart Retail 2.2.13 End User Innovation 2.2.14 Smart Agriculture | Smart Food Solutions 2.2.15 Smart Health Solutions

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 10


2.3 11 Documentaries That Will Make You a Smarter Marketer by Liesl Barrell on February 7th, 2014 in Online Marketing (ที่มา: http://unbounce.com/online-marketing/11-marketing-documentaries-that-will-make-you-asmarter-marketer/) 1. The Century of the Self (Public Relations, Focus Groups) 2. The Persuaders (Emotional Branding, Lifestyle Brands) 3. Art & Copy (Advertising, Inspiration, Creativity, Design) 4. Helvetica (Typeface, Typography, Fonts, Design) 5. This Space Available (Billboard Ban, Outdoor Advertising, Public Ad Campaign, Visual Pollution) 6. Not Business as Usual (Conscious Capitalism, Social Enterprise) 7. Miss Representation (Objectification, Post-Feminism, The Representation Project) 8. How TV Ruined Your Life (Media, TV, Advertising) 9. POM Wonderful Presents: The Greatest Movie Ever Sold (Integrated Advertising, Product Placement, Branded Entertainment) 10. Internet Rising (Security, Cyberspace, Second Life) รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 11


11. Transcendent Man (Nanotechnology, Robotics, the Singularity, Artificial Intelligence, Biotech, Transhumanism)

2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างชาญฉลาด ความพร้อมของการเป็น Smart City ของไทยความคืบหน้าล่าสุดเป็นการตั้งเป้าการเป็น Smart Thailand 2020 ให้เกิดขึ้นจริงภายในปี ค.ศ. 2020 โดยแต่ละขั้นตอนที่จะผลักดัน Smart City นั้น ไม่ใช่ภาครัฐที่ต้องผลักดัน แต่ความจริงนั้น ทุกภาคส่วนตั้งแต่ เอกชน องค์กรบริหารส่วนตาบล หรือเทศบาล จังหวัดสามารถผลักดันได้ทันทีโดย ไม่ต้องรอ แม้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ต้องใช้เวลา ถึงจะเห็นความคุ้มค่ากับการที่ลงทุนไปและทาให้คุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้น ด้วยเช่นเดียวกัน จนได้ชื่อว่า Smart City ที่ใช้งานได้จริง

2.5 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (SMART GROWTH) (ที่มา Smart Growth Thailand Institute http://www.asiamuseum.co.th) 1. การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน Mix land uses 2. การสนั บสนุน การออกแบบอาคารให้เกาะกลุ่ม กัน และใช้ป ระโยชน์ ในการออกแบบอาคารแบบกระชั บ (Compact Building Design) Take advantage of compact building design 3. การสร้างโอกาสและทางเลือกของที่อยู่อาศัยสาหรับประชากรทุกระดับรายได้ Create a range of housing opportunities and choices 4. การสนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างย่านและชุมชนด้วยการเดิน Create walkable neighborhood 5. การสร้างเสริมชุมชนให้เป็นสถานที่พิเศษ (distinctive) และมีแรงดึงดูด (attractive) ด้วยความผูกพันกับ สถานที่อย่างเข้มแขง Foster distinctive, attractive communities with a strong sense of place 6. การรักษาที่โล่ง พื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติที่งดงาม พื้นที่อนุรักษ์ประวัติศาสตร์ และพื้นที่ซึ่งมีความ เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม Preserve open space, farmland, natural beauty, and critical environmental areas 7. สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและมุ่งการพัฒนาไปยังชุมชนที่มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอยู่แล้ว Strengthen and direct development towards existing communities 8. การจัดหาทางเลือกการเดินทางและการคมนาคมขนส่งที่มีความหลากหลาย Provide a variety of transportation choices รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 12


9. การสร้างระบบการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชนที่คาดการณ์ได้ ชัดเจน ยุติธรรม และมีประสิทธิภาพด้าน ต้นทุน Make development decisions predictable, fair, and cost effective 10. การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและส่งเสริมประสานร่วมมือกันระหว่างชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Encourage community and stakeholder collaboration in development decisions 2.6 แนวคิดประเทศไทย 4.0 จะส่งผลต่อการออกแบบชุมชนเมืองดังนี้ (ที่มา NSTDA) 1. Smart City เมืองอัจฉริยะ คือนาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้เกิดการใช้ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น 2. เริ่มมีการเปลี่ยนจากสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดาเนินชีวิต (Active Aging) 3. เริ่มมี การเปลี่ ยนเกษตรกรรมแบบดั้ งเดิม ให้เป็ น เกษตรแม่ นย าสูง (Precision-Farming) คือ การน า เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกษตร 4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้าและการจัดการของเสียในเมือง การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบาบัดน้าเสีย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 13


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 14


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 15


2.7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ที่มา www.nesbdb.go.th) 2.7.1 สภาพปัญหา : อันเป็นที่มาของแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 1. การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่อง 2. มีแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย 3. การจัดสรรและการใช้งบประมาณแบบแยกส่วน 4. การกาหนดอนาคตของชาติกระทาโดยภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ 5. ประเทศพัฒนาแล้วจะมียุทธศาสตร์ชาติ 2.7.2 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์ แห่งชาติ ในการที่จะพั ฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ 2.7.3 วิสัยทัศน์ : สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 1. ความมั่นคง  การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศใน ทุกระดับทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล  ความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง  ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตยมีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็งเป็น ศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน  ระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรร มาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมี ความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น  ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการดารงชีวิต มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน 2. ความมั่งคั่ง  ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูงความเหลื่อม ล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 16


 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการ คมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลัง  ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญาทุนทาง การเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ความยั่งยืน  การพั ฒนาที่ สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณ ภาพชี วิต ของประชาชนให้เพิ่ มขึ้นอย่า ง ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน์  การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลกซึ่ง เป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ขอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมี ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม  มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนใน สังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาในระดับอย่างสมดุล มี เสถียรภาพ และยั่งยืน 2.7.4 อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่ 1. เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน 2. เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรมมีความเหลื่อมล้าน้อย 4. ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม 5. ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่ เข้มข้น 6. คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต 2.7.5 ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สานักงานฯ เสนอ โดยมีความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5 ปี โดย รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 17


ระบุแผนปฏิบัติการ และกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการดาเนินงานทุก รอบ 1 ปี และ 5 ปี

2.7.6 กรอบหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อย่างต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9-11 2. คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา คนไทยให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยมีลักษณะสาคัญ 5 ประการ ได้แก่ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีทักษะในการคิดเชิงสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเคารพใน ความแตกต่าง และมีจุดยืนทางจริยธรรม 3. มุ่งเสริมสร้างกลไกการพัฒนาประเทศ มีการพัฒนาเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ยึดพื้นที่เป็นหลัก ปรับปรุงกฎหมายและกฎ ระเบียบต่างๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกระดับ 4. การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุมชน ภาคประชาสั งคม ภาคเอกชนและภาครัฐร่วมกันพัฒนาประเทศบน หลักการ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรับผลประโยชน์จากการพัฒนา 2.7.8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 ความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 18


ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค 2.7.8 เป้าหมายสาคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 คนไทยทุกคนมีคุณภาพสามารถปรับตัวรองรับสังคมสูงวัยและบริบทการพัฒนาในอนาคต โดยค่าดัชนีการ พัฒนามนุษย์ไม่ต่ากว่า 0.8 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 100 ร้อยละ 70 ของเด็กไทยมีคะแนน EQ ไม่ ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไม่ต่ากว่า 500 สัดส่วนของผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐาน อาชีพและมาตรฐานฝีมือแรงงานเพิ่มขึ้น สังคมมีความเหลื่อมล้าน้อยลง รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุด เพิ่มขึ้นไม่ต่า กว่า ร้อยละ 15 ต่อปี การถือครองสินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุดเพิ่มขึ้น สัดส่วน ประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลงเหลือร้อยละ 7.4 มีระบบเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและแข่งขันได้ เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 โดยมีรายได้ต่อหัวเป็น 8,200 ดอลลาร์ สรอ. และมีอันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศซึ่งประเมินโดย IMD ให้อยู่ใน กลุ่ม 1 ใน 25 ของประเทศแรก มีรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ต่ากว่า 3 ล้านล้านบาท เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทาง การเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 59,460 บาทต่อครัวเรือน พื้นที่การทาเกษตรอิ นทรีย์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้นเป็น 500,000 ไร่ รักษาทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความ มั่นคงอาหาร พลังงาน และน้า โดยเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ พื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มจาก 1.53 ล้านไร่ เป็น 1.58 ล้านไร่ และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและคมนาคมขนส่ง ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของ นานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง ปัญหาอาชญากรรมลดลง ประเทศ ไทยมีอันดับความเสี่ยงจากการก่อการร้ายต่ากว่าอันดับที่ 20 ของโลก และมีอันดับความเสี่ยงจากการโจมตีด้านไซ เบอร์ในต่ากว่าอันดับที่ 10 ของโลก

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 19


มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมี ส่วนร่วม จากประชาชน ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของ ประเทศอยู่ในอันดับสองของอาเซียน คะแนนดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันให้อยู่สูงกว่าร้อยละ 50 2.7.9 แนวทางการพัฒนาเมืองสาคัญ 1. เสริมสร้างกรุงเทพฯให้เป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจติดต่อทางการค้า การเงิน การบริการ และความร่วมมือกับ นานาชาติ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการศึกษาและบริการด้านการแพทย์และสุขภาพระดับนานาชาติ ที่พร้อม ด้วยสิ่งอานวยความสะดวกเทคโนโลยีในการสื่อสารและระบบคมนาคมมาตรฐานสูง 2. พัฒนาเมืองปริมณฑล (สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุ มธานี นครปฐม และสมุทรสาคร) ให้เป็นเมืองศูนย์กลาง การบริการธุรกิจและการพาณิชย์ ศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกส์ ศูนย์บริการด้านสุขภาพและการศึกษา และเมืองที่อยู่อาศัย 3. พัฒนาเมืองเชียงใหม่และเมืองพิษณุโลกให้เป็นศูนย์กลางการค้า การบริการ ธุรกิจสุขภาพ การศึกษา และ ธุรกิจด้านดิจิตัล 4. พัฒนาเมืองขอนแก่นและเมืองนครราชสีมาให้เป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การลงทุนการบริการสุขภาพและ ศูนย์กลางการศึกษา 5. พัฒนาเมืองภูเก็ตและเมืองหาดใหญ่ให้เป็ นเมืองน่าอยู่และเอื้อต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อม 6. พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งระบบรางในเมืองที่มีศักยภาพที่สาคัญ และบริเวณเมืองชายแดนที่มีศักยภาพ รวมทั้งบริเวณใกล้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 20


บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือมีพื้ นที่ป ระมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือ 105.5 ล้า นไร่ คิดเป็น พื้น ที่ ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ ประกอบด้วย 19 จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวลาภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อานาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นพื้นที่ที่มีประชากร และพื้นที่ทางการ เกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถาน และมีศิลปวัฒนธรรมอันมีลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาค ยังมีความได้เปรียบในด้านการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ด้ ว ยลั กษณะดั ง กล่ า วของภาคตะวั น ออกเฉีย งเหนื อ ท าให้รัฐ บาลมี น โยบายที่ จ ะพั ฒ นาให้ เป็ น สะพาน เศรษฐกิจเชื่อมโยงอินโดจีนตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) โดยเน้นพัฒนาบทบาท และศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพในการดารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน ด้วย โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ 1) การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานีและเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้ มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้นในทิศทางอื่นใน ปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักขอนแก่น 2) การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development) 3) การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology) 4) การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น 5 กลุ่ม คือ - กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ - กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ - กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอานาจเจริญ - กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลยและหนองบัวลาภู - กลุ่มมุกดาหารสกลนคร และนครพนม 5) การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 1


จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. 2600 ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนาแบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและ เครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ดได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกกาหนดแนวทางการพัฒนาไว้ เป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยว การบริการระดับภาค ด้านการศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ พลังงานทดแทน แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการพัฒนาตามกลุ่มจังหวัด จังหวัดขอนแก่นได้ถูก กาหนดให้อยู่ ในกลุ่ ม จั ง หวั ด ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสิ น ธุ์ โดยมี วิ สั ย ทั ศน์ ของกลุ่ ม จั ง หวั ด คื อ “ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” และกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา รวม 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและแข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ภาพที่ 3-1 แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุม่ เมืองจังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนา ร่วมกับจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,2600)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 2


โครงการสาคัญ ได้แก่ 1. โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออกแบบครบวงจร (Distribution Center) 2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษและข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 3. โครงการกาหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน (Zoning) 4. โครงการส่งเสริมการทาสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความมั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับ เกษตรกร 5. โครงการกาหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้อง กับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุนด้านขนส่ง 6. โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน 7. โครงการบารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข 9 และ 12 นโยบาย แผนและโครงการพัฒนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง โดยมีโครงการในระดับ ประเทศและระดับภาค ได้แก่ 1. โครงการรถไฟรางคู่ช่วงชุมทางจิระ – ขอนแก่น เป็นโครงการพัฒนารถไฟทางคู่ใหม่ แนวเส้นทางมี ระยะทางโดยประมาณ 185 กิโลเมตร 2. โครงการ MICE CITY จังหวัดขอนแก่นได้รับคัดเลือกให้เป็น MICE CITY แห่งที่ 5 ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พัทยา ภูเก็ตและขอนแก่น) ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์หลักการพัฒนาจังหวัด 4 ปี (2557-2560) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่มุ่งสู่มหานครแห่งอาเซียน” 3. โครงการพุทธมณฑลอิสาน ทางจังหวัดขอนแก่นพร้อมกับคณะสงฆ์ได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑล อีสานจังหวัดขอนแก่น” เพื่อเป็นสถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่ประชุมอบรมสัมมนาและปฏิบัติธรรม ของประชาชนพระภิกษุสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาสังคมและเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ขนาดใหญ่ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัด 4. ระบบรถโดยสารด่วนพิเศษที่มีโครงสร้างแบบบนดิน โดยมีความเหมาะสมกับเมืองขอนแก่ (ยุทธศาสตร์ ของการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, 2557 - 2560)

3.2 จังหวัดขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่านไปสู่ประตูอินโดจีน ดังแสดงในภาพที่ 6-2 โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการคมนาคมระหว่าง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาค อีสานสามารถเชื่อมโยงออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการส่วนกลางภูมิภาคซึ่งเป็นเครื่องมือที่ สาคัญในการให้บริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 3


แผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก ; EWEC) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 445 กิโลเมตร

ภาพที่ 3-2 แสดงผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดขอนแก่น

ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ทั้งหมด 10,886 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดอุบลราชธานี ตามลาดับ อีกทั้งยังมีขนาดใหญ่เป็น อันดับที่ 15 ของประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นมีขอบเขตพื้นที่ติดกับจังหวัดอื่นๆ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ จดจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลาภู และ จังหวัดเลย ทิศใต้ จดจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก จดจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก จดจังหวัดเพชรบูรณ์ และ จังหวัดชัยภูมิ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ รายได้ เ ฉลี่ ย /คน/ปี ของจั ง หวั ด ขอนแก่ น 106,583 บาทต่ อ คนต่ อ ปี สู ง เป็ น อั น ดั บ 1 ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ (กรุงเทพ 193,395 บาทต่อคนต่อปี) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ประจาปี 2557 มีมูลค่าจานวน 187,348 ล้านบาท ลาดับที่ 13 ของประเทศ และ ลาดับที่ 2 ของภาค (นครราชสีมา อันดับที่ 1) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี 2557 ร้อยละ 6.35

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 4


ผลิตภัณฑ์มวลรวม ตามสาขา ภาคนอกการเกษตร 163,644 ล้านบาท สาขาที่มีอันดับสูงสุ ด 4 อันดับแรก ได้แก่ 1. อุตสาหกรรม 73,241 ล้านบาท 2. การศึกษา 20,542 ล้านบาท 3. ค้าปลีก ค้าส่ง ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน 18,820 ล้านบาท 4. ภาคเกษตรกรรม 23,704 ล้านบาท 1,500,000

1,403,267

1,400,000

1,293,130

จานวน (ล้านบาท)

1,300,000

1,154,714

1,200,000

1,057,717

1,100,000

940,834

1,000,000 900,000

799,676 830,127

800,000 700,000 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556

แผนภูมิที่ 3-1 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2550 – 2556

แผนภูมิที่ 3-2 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งตามสาขา (ข้อมูลจากเว็บไซต์ www.konkaen.go.th) รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 5


100,000 95,000 90,000 85,000 จานวน (ล้านบาท)

80,000 75,000 70,000

65,000 60,000 55,000 50,000 45,000 หนองบัวลาภู กาฬสินธุ์ ยโสธร ชัยภูมิ อานาจเจริญ มหาสารคาม บุรีรัมย์ มุกดาหาร สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด สกลนคร บึงกาฬ นครพนม อุดรธานี เลย หนองคาย นครราชสีมา ขอนแก่น

40,000

แผนภูมิที่ 3-3 แสดง รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร ของจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2556 359,000 309,000 259,000 209,000 จานวน (ล้านบาท)

159,000 109,000 59,000 9,000

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้

143,911

150,999

182,210

220,594

253,466

326,937

380,083

อุตสาหกรรม

146,151

164,120

180,578

216,238

227,728

227,056

241,739

ยานยนต์ จักรยานยนต์

85,656

88,521

108,904

116,300

119,540

136,924

151,561

โรงแรม,ภัตตาคาร

9,723

9,856

10,567

10,948

12,139

12,407

14,111

การขนส่ง คลังสินค้า การคมนาคม

28,990

31,181

31,813

31,692

35,063

37,995

38,511

บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ และบริการทาง ธุรกิจ

58,278

58,898

61,969

67,274

68,534

67,922

70,475

การศึกษา

108,383

116,376

126,460

137,184

158,623

183,770

196,177

บริการด้านสุขภาพและสังคม

20,480

23,475

27,389

27,616

29,404

32,525

33,776

แผนภูมิที่ 3-4 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2550 - 2556

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 6


ด้านอุตสาหกรรม จังหวัดขอนแก่นมีเงินลงทุน 77,233,083,744 บาท มีการจ้างงาน 85,528 คน และมี โรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับใบอนุญาตจากกระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้นจานวน 4,131 โรงงานแบ่งเป็น 3 จาพวก แยกตามประเภทอุตสาหกรรม 1. โลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต์ 2. เกษตร อาหาร เครื่องดื่ม 3. ยาง พลาสติก อโลหะ

3.3 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค จังหวัดขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคลาดับ 1 มีศักยภาพในการพัฒนาเปนศูนยกลางหลักของภาค ขอบเขตการใหบริการเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงจีนด้วย เส้นทาง East-West Corridor เป็นเส้นทางหลักเพื่อขอนส่งสินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่สอด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยัง เวียดนาม โดยมีโครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดิน อีกทั้งผังภาคยังมีโครงการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. โครงการเพิ่มระบบถนน และระบบรางในอนาคต ได้กาหนดศูนย์กลางขนส่งหลายรูปแบบในพื้นที่ จังหวัด ขอนแก่น อุบลราชธานี และนครราชสีมา 2. พื้นที่ศูนย์การขนส่งและบริการ ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและนครราชสีมา 3. พื้นที่ศูนย์กลางรวบรวมและกระจายสินค้า ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น มุกดาหารและนครราชสีมา เศรษฐกิจ ของจัง หวัด ขอนแก่นมี ผ ลิต ภัณฑ์ มวลรวมภาคปี 2556 ขึ้นอยู่ กับ ภาคการเกษตรกรรมที่ มีการ ขยายตัว และมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยมีจานวนเงินหมุนเวียน 380,083 ล้านบาท รองลงมาคือภาคอุตสาหกรรม จานวน 241,739 ล้านบาท (สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 2556) ยุทธศาสตร์ของขอนแก่นเป็นศูนย์กลางทางด้านต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ 1. ศูนย์กลางทางด้านระบบการขนส่ง 2. ศูนย์กลางของการศึกษา โดยจังหวัดขอนแก่นมีสถานศึกษาจานวน 1,167 แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มี ด้วยกัน 6 คณะที่โดดเด่น ได้แก่ 1. คณะแพทยศาสตร์ 2. คณะเภสัชศาสตร์ 3. คณะพยาบาลศาสตร์ 4. คณะเทคนิค ทางการแพทย์ 5. คณะสัตวแพทยศาสตร์ 6. คณะเทคโนโลยีด้านอาหาร 3. ศูนย์กลางการรักษาพยาบาล คือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4. ศูนย์กลางของการสัมมนาและแสดงนิทรรศการ เช่น ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก งานไหม นานาชาติ ออกงานแสดงผ้าไหมของท้องถิ่น หอศิลป์ต้นตาลซึ่งมีตลาดนัดบริการด้วย เป็นต้น 5. ศูนย์กลางอุตสาหกรรมสีเขียว การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการปล่อยผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 7


บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของเมืองขอนแก่น 4.1 ตาแหน่งที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตการปกครอง ตาแหน่งที่ตั้ง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่บนถนนมิตรภาพ ซึ่งเป็นเส้นทางสาคัญในการเดินทางจากภคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลาง ตาแหน่งที่ตั้งของจังหวัดอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้าหลัก 2 ลุม่ น้า คือ ลุ่มน้ามูลและลุ่มน้าชี อีกทั้งยังมีแม่น้าพองเป็น เส้นเลือดใหญ่คอยหล่อเลี้ยงให้ชาวขอนแก่นด้วย

เนื้อที่ ขอบเขตผังเมืองรวมครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 228.02 ตารางกิโลเมตร โดยมีขอบเขตการปกครองดังนี้ 1. เทศบาลนครขอนแก่น 2. เทศบาลตาบลบ้านเป็ด 3. เทศบาลตาบลเมืองเก่า 4. เทศบาลตาบลพระลับ 5. องค์การบริหารส่วนตาบลศิลา

ภาพที่ 4-1 แสดงผังขอบเขตการปกครองในระดับผังเมืองรวม รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 1


4.2 ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการเข้าถึง ประวัติความเป็นมา ตานานแต่โบราณเล่าขานสืบต่อกันมาว่า ก่อนที่ท้าวเพี้ยเมืองแพนจะอพยพไพร่พลมาตั้งบ้านตั้งเมือง ขึ้นที่บ้านขาม หรือตาบลบ้านขาม อาเภอน้าพองในปัจจุบัน ซึ่งเป็นเขตแขวงร่วมการปกครองกับบ้านชีโล้น ปรากฏว่า มีตอมะขามขนาดใหญ่ที่ตายไปหลายปีแล้วกลับมีใบงอกงามเกิดขึ้นใหม่อีก ครั้ง และหากผู้ใดไปกระทามิดีมิร้ายหรือดู ถูกดูหมิ่น ไม่ให้ความเคารพยาเกรงตอมะขามนั้น ก็จะมีอันเป็นไป บรรดาชาวบ้านชาวเมืองในแถบถิ่นนั้น จึงได้พร้อมใจกันก่อเจดีย์ครอบตอมะขามเพื่อให้เป็นที่สักการะของ คนทั่วไป พร้อมกับได้บรรจุพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า 9 บทเข้าไว้ในเจดีย์ครอบตอมะขามนั้นด้วย ซึ่งเรียกว่า พระเจ้า 9 พระองค์ แต่เจดีย์ที่สร้างในครั้งแรกเป็นรูปปรางค์ หลังจากได้ทาการบูรณะใหม่เมื่อราว 50 ปีที่ผ่านมานี้ จึง ได้เปลี่ยนเป็นรูปทรงเจดีย์ และมีนามว่า พระธาตุขามแก่น ปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตวัดเจติยภูมิ บ้านขาม ตาบลบ้านขาม อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น พระเจดีย์ขามแก่นถือว่าเป็นปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์ของชาวจังหวัดขอนแก่น ซึ่งจะมี งานพิธีบวงสรวง เคารพสักการะกันในวันเพ็ญเดือน 6 ทุกปี ด้านทิศตะวันตกของเจดีย์พระธาตุขามแก่นมีซากโบราณ ที่ปรักหักพังปรากฏอยู่อีกฟากทุ่งของบ้านขาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าบริเวณแถบนี้น่าจะเป็นที่ ตั้งของเมืองมาก่อน การตั้ง นามเมืองว่าขามแก่น แต่ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็นเมืองขอนแก่น จนกระทั่งทุกวันนี้ (ที่มา : ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เทศบาลนครขอนแก่น)

วิวัฒนาการของจังหวัดขอนแก่น สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ 1. ก่อตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่นในปี พ.ศ. 2507 เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ก่อสร้างศูนย์ราชการจังหวัดแห่งใหม่ในปี พ.ศ. 2507 ที่บริเวณโคกสนามบิน มีพื้นที่ประมาณ 550 ไร่ เนื่องจาก บริเวณแห่งเดิมคับแคบ และรอบๆ เป็นย่านธุรกิจการค้าหลักของเมือง โดยย้ายศาลากลาง และส่วนราชการอื่นๆ ก่อสร้างอาคารสานักงานเป็นเอกเทศอีกหลายแห่ง 3. จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี พ.ศ. 2507 นับเป็นศูนย์กลางการเงินภาครัฐที่ สาคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. จัดตั้งสนามบินพลเรือนขึ้นใหม่ เปิดเที่ยวบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 5. การพัฒนาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ช่วงที่ผ่านเมืองขอนแก่น เป็นแบบคู่ขนานกับทางรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ (กรุงเทพฯ – หนองคาย)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 2


ภาพที่ 4-2 แสดงผังการตั้งถิ่นฐานของลักษณะการกระจายตัวของเมืองขอนแก่น

การตั้งถิ่นฐาน บริเวณที่ 1 ด้านตะวันตกเฉียงเหนือ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณที่ใกล้ศูนย์กลางเป็นย่านพาณิชย กรรมและบริการในระยะ 100 เมตร ขนานกับทางหลวงแผ่นดินทั้งสองสายทาง ระยะถัดไปเป็นการพักอาศัย สถานที่ ราชการที่สาคัญในบริเวณนี้ ได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ค่ายทหารกรมทหารราบที่ 6 ค่ายสีหราชเดโชไชย สนามบิน ขอนแก่น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอื่นตามแนวทางเลี่ยงเมือง มีหมู่บ้านจัดสรรนอกเหนือ จากชุมชนเดิมเกิดขึ้นหลายแห่ง ส่วนใหญ่อยู่ด้านที่ใกล้กับถนนมิตรภาพพ้นเขตมหาวิทยาลัยขอนแก่น บริเวณที่ 2 ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณใกล้ศูนย์กลางเมืองเป็นย่านพาณิชยกรรมเละบริการ ในระยะ 100 เมตร ขนานกับทางหลวงแผ่นดินทั้งสองสายทาง ระยะถัดไปเป็นการพักอาศัย ส่วนการประกอบ อุตสาหกรรม โกดังเก็บสินค้า อาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อยู่ห่างจากศูนย์กลางเมืองตามแนวถนน มะลิวัลย์ ถนน มิตรภาพ ถนนเหล่านาดี (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2131) สถานที่ราชการที่สาคัญในบริเวณนี้ได้แก่ สถานี ไฟฟู าแรงสูง ขอนแก่น สถานี ควบคุม การจ่ า ยไฟขอนแก่น มี หมู่ บ้ า นจั ด สรรเกิด ขึ้น ใหม่ น อกเหนื อจากชุ ม ชนเดิ ม กระจายตามพื้นที่ต่างๆ และตามแนวถนนมะลิวัลย์ ถนนเหล่านาดี และทางเลี่ยงเมือง การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบนอก เป็นเกษตรกรรม สถานพักผ่อนหย่อนใจสาคัญ คือ หนองโคตร ที่เปรียบเสมือนแก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่นไว้ คอยรองรับน้าฝน แต่บริเวณนี้ปีใดมีปริมาณน้าฝนมากน้าจะท่วมขังรอบหนองโคตร เพราะบริเวณส่วนนี้มีสภาพ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 3


เหมือนแอ่งกระทะ รวมถึงบริเวณห้วยกุดกว้างทางด้านใต้ ที่อาจเกิด จากการระบายน้าออกนอกพื้นที่ทาได้ช้า หรือ ปริมาณน้าฝนโดยรวมมีมากทาให้ระดับน้าในแม่น้าชีสูงเกินปกติ บริเวณที่ 3 ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณที่ใกล้ศูนย์กลางเป็นย่านพาณิชย กรรมและบริการ ในระยะ 100 เมตร ขนานกับถนนมิตรภาพ ถนนประชาสโมสร ระยะถัดไปเป็นการพักอาศัย สถานที่ราชการสาคัญใน บริเวณนี้ มีศูนย์ราชการจังหวัดขอนแก่น มณฑลทหารบกที่ 23 สถานีขนส่งจังหวัดขอนแก่น และมีหมู่บ้านจัดสรร นอกเหนือจากชุมชนเดิมเกิดขึ้นหลายแห่ง ทั้งด้านใกล้กับถนนมิตรภาพ ถนนกสิกรทุ่งสร้าง ถนนประชาสโมสร (ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 209) บริเวณที่ห่างศูนย์กลางเมืองก็มีการปลูกสร้างอาคารตามแนวถนนมิตรภาพ ถนนประชา สโมสร ถนนหลังศูนย์ราชการ ถนนกสิกรทุ่งสร้าง เพื่อประกอบการพาณิชย์และการบริการ การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบ นอกเป็นเกษตรกรรม เพราะบริเวณนี้มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินสูงลาดไปหาที่ราบลุ่มแม่น้าพองผสมกับที่ลาดลอน คลื่น ส่วนใหญ่อยู่ในเขตจ่ายน้าของคลองส่งน้าชลประทาน สามารถเพาะปลูกได้ตลอดปี สถานพักผ่อนหย่อนใจสาคัญ คือ บึงทุ่งสร้าง ที่เปรียบเสมือนแก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่น คอยรองรับน้าในฤดูฝน

บริเวณที่ 4 ด้านตะวันออกเฉียงใต้ การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณใกล้ศูนย์กลางเมืองซึ่งเป็นเนื้อเมืองเดิมเป็นย่านพาณิช ยกรรม ย่านศูนย์การค้า การบริการประเภทต่างๆ การเงินการธนาคาร การใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณนี้ค่อนข้าง เข้มข้น เนื่องจากแนวถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง ถนนหลังเมือง ถนนเทพารักษ์ ถนนรอบเมือง ถนนประชาสาราญ ในแนวเหนือใต้ ถนนประชาสโมสร ถนนพิมพสุต ถนนอามาตย์ ถนนศรีจันทร์ ถนนชีท่าขอน ถนนชวนชื่น ถนนรื่นรมย์ ในแนวตะวันออกตะวันตก มีลักษณะเป็นตารางหมากรุก มีการใช้ประโยชน์เพื่อการพาณิชย์ และบริการเต็มพื้นที่ คือ บริเวณตลาดสดเทศบาล 1 (ตลาดเก่า) ตลาดสดเทศบาล 2 (ตลาด อ. จิระ – ตรงข้ามสถานีขนส่งจังหวัดขอนแก่น) ตลาดสดเทศบาล 3 (ตลาดโบ๊เบ๊) ตลาดสดเทศบาล 4 (ตลาดบางลาพู)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 4


ภาพที่ 4-3 แสดงผังของพื้นที่เมืองในปัจจุบัน ปี 2558 มีการเติบโตจากศูนย์กลางเมืองไปสู่พื้นที่เกษตรกรรม

ในตัวเมืองมีอาคารพาณิชย์อยู่ตามแนวถนนในย่านธุรกิจศูนย์กลาง (CBD : Central Business District) แทบไม่ขาดตอน ดังที่แสดงในภาพที่ 6-5 มีโรงงานอุตสาหกกรมตามแนวถนนมิ ตรภาพทางด้านใต้ของบริเวณนี้ สถานที่ราชการสาคัญมีโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น เรือนจากลางขอนแก่น สถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองขอนแก่น สนามกีฬาจังหวัดขอนแก่น มีหมู่บ้านจัดสรรเกิดขึ้นใหม่ทางด้านใต้และด้านตะวันออกของบริเวณนี้ ตามแนวถนน ขอนแก่น – เชียงยืน ถนนกลางเมือง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 เดิม) การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบนอกเป็น เกษตรกรรม เพราะบริเวณนี้ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินสู งลาดไปหาที่ราบลุ่มแม่น้าชี ผสมกับที่ราบลอนคลื่น บริเวณนี้ส่วนใหญ่อยู่ในเขตจ่ายน้าของคลองส่งน้าชลประทาน สามารถเพาะปลูกได้ตลอดปี สถานพักผ่อนหย่อนใจ สาคัญ คือ บึงแก่นนครที่เปรียบเสมือนแก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่นคอยรองรับน้าในฤดูฝน และมีการจัดลาน กิจกรรมให้ประชาชนใช้สันทนาการ การเข้าถึงโดยระบบการคมนาคมและขนส่ง เส้นทางคมนาคมทางถนนที่สาคัญที่เชื่อมโยงเมืองขอนแก่นกับพื้นที่อื่นๆ มีเส้นทางถนนสายสาคัญต่างๆ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 230 (ทางเลี่ยงเมือง) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2131 รถโดยสารประจาทางระหว่างประเทศบริษัทขนส่งจากัด และรัฐวิสาหกิจรถเมล์นครหลวงเวียงจันทน์ร่วมเปิดเส้นทาง เดินรถระหว่าง ขอนแก่น-นครหลวงเวียงจันทน์ รถบริการภายในตัวเมืองเช่น รถโดยสารประจาทางขนาดเล็ก รถตุ๊กๆ และแท็กซี่ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 5


ขบวนรถไฟออกจากสถานีกรุงเทพฯ (หัวลาโพง) ผ่านจังหวัดขอนแก่น ไปจังหวัดอุดรธานี และหนองคาย มี จุดจอดรับ - ส่ง ผู้โดยสารที่สถานีต่างๆ ในจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ สถานีอาเภอพล สถานีอาเภอบ้านไผ่ สถานีอาเภอ เมือง สถานีอาเภอน้าพอง และสถานีอาเภอเขาสวนกวาง ให้บริการวันละ 4 ขบวน ท่าอากาศยานพาณิชย์ 1 แห่ง ห่างจากตัวเมือง 8 กิโลเมตร เส้นทางบินกรุงเทพฯ – ขอนแก่น - กรุงเทพ ฯ ใช้เวลา เดินทางประมาณ 55 นาที 3 สายการบิน ได้แก่ บมจ.การบินไทย สายการบินนกแอร์และสายการบินแอร์เอเชีย ให้บริการรวมวันละ 12 เที่ยวบินเส้นทางบินเชียงใหม่ – ขอนแก่น 1 สายการบิน ได้แก่ สายการบินกานต์แอร์ ให้บริการวันละ 1 เที่ยวบิน

4.3 ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ จังหวัดขอนแก่นมีแหล่งน้าธรรมชาติที่สาคัญหลายแห่ง ได้แก่ 1. ลาน้าพองเป็นลาน้าที่มีความยาวในพื้นที่อาเภอเมืองประมาณ 55 กิโลเมตร ไหลผ่านตาบลสาราญ ตาบลโนน ท่อน ตาบลโคกสี ตาบลหนองตูม ตาบลศิลา และตาบลพระลับ ใช้เป็นเส้นทางคมนาคม เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทาการประมง 2. ลาน้าชี เป็นลาน้าที่มีความยาวประมาณ 31 กิโลเมตรไหลผ่านตาบลพระลับตาบลเมืองเก่าตาบลท่าพระ และตาบล ดอนหัน ประชาชนใช้ประโยชน์ในการทาประมง เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าบนผิวดินกระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่งเช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่งสร้าง บึงหนองโคตร หนองเลิงเปือยบึงแก่นน้า ต้อน เป็นต้น ทรัพยากรดิน จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ 6.8 ล้านไร่ ลักษณะดินเป็นดินทรายไม่อุ้มน้า พื้นที่สีเขียวในเขตเทศบาลนครขอนแก่น (สิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น) มีดังนี้ 1) สวนสาธารณะบึงแก่นนคร มีพื้นที่ประมาณ 603 ไร่ 2) สวนสุขภาพบึงทุ่งสร้าง มีพื้นที่ประมาณ 1,694 ไร่ 3) สวนสุขภาพบึงศรีมีพื้นที่รวมพื้นที่บึงศรีฐานด้วยประมาณ 165 ไร่ 4) สนามกีฬาประจาจังหวัด มีพื้นที่ 66 ไร่ 5) สวนรัชดานุสรณ์ มีพื้นที่ 20 ไร่ 6) สวนสาธารณะประตูเมือง มีพื้นที่ 10 ไร่ 1 งาน 14.2 ตารางเมตร 7) สวนหย่อมหน้าศาลเทพารักษ์หลักเมือง

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 6


ภาพที่ 4-4 แสดงผังพื้นที่สีเขียวที่สาคัญในเทศบาลนครขอนแก่น

4.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ พบแหล่งงานอุตสาหกรรมที่สาคัญของจังหวัดขอนแก่น โรงงานสีข้าวและอบเมล็ดพืชเป็น หลัก โรงงานทาแปูงมันสาปะหลัง และโรงงานทาผลิตภัณฑ์ใบยาสูบ แบ่งประเภทของอุตสาหกรรมได้ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมอโลหะ การผลิตวัสดุก่อสร้างเป็นหลัก เช่นการทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตหรือคอนกรีตผสมเสร็ จ การผลิต อิฐดินเผา การทาเครื่องสุขภัณฑ์เซรามิค 2. อุตสาหกรรมขนส่ง ศูนย์บริการซ่อมยนต์เป็นหลัก เช่นโรงงานซ่อมรถยนต์ ทาเบาะและโครงหลังคารถยนต์ ซ่อม รถจักรยานยนต์ 3. อุตสาหกรรมอาหาร ประกอบด้วยอุตสาหกรรมผลิตน้าดื่มและน้าแข็งเป็นหลัก 4. อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ ประกอบด้วยโรงงานผลิตวงกบ ประตูหน้าต่าง บานประตู บานหน้าต่างจาก ไม้ 5. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ ประกอบด้วยการผลิตชิ้นส่วน และซ่อมเครื่องยนต์เป็นหลัก เช่นนิคมอุตสาหกรรมชูชิ ตะ ผลิตชิ้นส่วนอิเล็คโทรนิค และนิคมอุตสาหกรรมไดชิน เป็นแหล่งรวบเงินทุนจากญี่ปุนเพื่อผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น, 2556) รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 7


ด้านเกษตรกรรม จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่การเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่จังหวัด) และ พืชเศรษฐกิจ ปีพ.ศ. 2556 พืชเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัดขอนแก่นที่ทารายได้หลักให้เกษตรกร คือ ข้าวนาปี อ้อย มันสาปะหลัง และยางพารา การขยายตัวของเศรษฐกิจขอนแก่น คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน (ปี 2556) ร้อยละ 5.0 ตามสถานการณ์ เศรษฐกิจประเทศ (ที่มา: รายงานประมาณการเศรษฐกิจขอนแก่น, 2557) 1. ภาคเกษตรกรรม ขยายตัว ร้อยละ 5.6 2. ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ขยายตัว ร้อยละ 5.4 3. ภาคบริการ ขยายตัว ร้อยละ 5.3 สรุปเศรษฐกิจจังหวัดขอนแก่น มีรายได้หลักมาจากภาคนอกการเกษตร ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมการผลิตเป็น ส่วนใหญ่มีการตั้งโรงงานกระจายตัวอยู่นอกเมืองเนื่องจากขอนแก่นเป็นเส้นทางส่งสินค้าที่สาคัญของภูมิภาค ส่วนใน ตัวเมืองเป็นกิจกรรมด้านการค้าส่ง ค้าปลีก และซ่อมแซมยานยนต์ รวมถึงสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา และระดับอื่นๆ เป็นจานวนมาก ทาให้ขอนแก่นได้เปรียบจังหวัดอื่นๆในด้านการค้า การบริการและการลงทุนในจังหวัด ด้านสังคม จานวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นประมาณ 184,859 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 ของประชากร เขตผังเมืองรวม ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 6.4 คนต่อไร่ จากการสารวจข้อมูลอาคารเพื่อการอยู่อาศัยในเขต ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นเพิ่มเติม โดยจาแนกประเภทอาคารที่อยู่อาศัยทั่วไป และอาคารที่อยู่อาศัยรวมซึ่งจะใช้ จานวนห้องพักเป็นหน่วยในการประมาณประชากร นามาประมวลผลร่ วมกับข้อมูลการอนุญาตปลูกสร้างอาคารใน เขตเทศบาลนครขอนแก่นบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีประชากรเพิ่มขึ้นจานวนมากจากการขยายตัวของ อาคารที่พักอาศัยประเภทอพาร์ทเมนต์ ห้องเช่า และหอพัก ประมาณ 9,000 ยูนิต เพื่อรองรับนักศึกษาค่าความ หนาแน่นประมาณ 30 คนต่อไร่ ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ได้กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพื่อการอยู่อาศัยหนาแน่น มาก พาณิชยกรรม และที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ค่าความหนาแน่นประชากรอยู่ระหว่าง 6 – 19 คนต่อไร่ใน บริเวณที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากลักษณะอาคารเฉพาะริมถนนที่เป็นตึกแถวหากจาแนก ประชากรตามช่วงอายุที่นับว่าเป็นผู้เป็นภาระ ซึ่งนิยามว่าหมายถึง กลุ่มวัยเด็กอายุ 0 – 14 ปี และกลุ่มวัยสูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กับประชากรวัยทางานอายุ 15 – 59 ปี เพื่อคานวณหาอัตราส่วนการเป็นภาระ พบว่ามีค่าเท่ากับ 41.2 หมายถึง ประชากรวัยทางานอายุ 15 -59 ปี ทุก 100 คนต้องรับภาระดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 41.2 คน เมื่อเปรียบเทียบโครงสร้างประชากรปีปัจจุบันกับข้อมูลเมื่อ 5 ปีที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า สัดส่วนของ ประชากรวัย ที่เป็น ภาระกับ ประชากรวั ยท างานใน 2 ช่ วงเวลาไม่ แตกต่ าง แต่ ว่า ในกลุ่ มวั ยที่ เป็ นภาระมี การ เปลี่ยนแปลงที่สะท้อนถึงแนวโน้มการเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้น (สานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ) ในเขตผัง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 8


เมืองรวมเมืองขอนแก่น มีสถาบันการศึกษา 94 แห่ง โดยแบ่งออกเป็น โรงเรียนระดับประถมศึกษา จานวน 46 แห่ง โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาจานวน 39 แห่ง และเป็นสถาบันระดับอุดมศึกษา จานวน 9 แห่ง โดยที่สถานศึกษา จะกระจุกตัวอยู่ในเขตเทศบาล โดยเฉพาะในเขตเทศบาลตาบลบ้านเป็ดและเขตอบต.ศิลา ส่วนในระดับอุดมศึกษาจะ มีการกระจุกตัวอยู่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น แสดงให้เห็นว่าการศึกษาในระดับอุดมศึกษายังไม่มีการกระจายตัว ออกจากเขตเมือง จึงทาให้เป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาในจังหวัดรวมทั้งจังหวัดใกล้เคียงอีกด้วย (สานักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น) 135,000 130,000

125,000 120,000 115,000

110,000 105,000 100,000 95,000 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

แผนภูมิที่ 4-1 แสดงจานวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ปี 2545 -2558 500,000 400,000

263,953

273,525

276,369

282,766

274,193

288,211

289,718

219,087

300,000 200,000 100,000 0

118,203

116,157

113,754

111,294

108,932

122,329

115,243

115674

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

จานวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นตามทะเบียนราษฎร

ประชากรแฝงทั้งหมดในเทศบาล

แผนภูมิที่ 4-2 แสดงจานวนประชากรตามทะเบียนราษฎรและประชากรแฝงในเขตเทศบาล ปี 2551 -2558

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 9


2550 2557

2505 2,441

2555

2,368 2,419

2553

2,473 2,525 2,569 2,612 2,630 2,660 2,677

2551 2549

2547

2,799 2,839

2545 2,100

2,200

2,300

2,400

2,500

2,600

2,700

2,800

2,900

แผนภูมิที่ 4-3 แสดงความหนาแน่นของประชากร/ตร.กม. (ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เทศบาลนครขอนแก่น)

3

2557, 2.62

2 1

2545, 0.77

0 -1 -2

2544

2546

2546, -1.37

2556, 0.57

2548, -0.6 2548

2550, -0.65 2550 2552 2551, -1.63 2549, -1.15

2552, -1.73

-3 -4 -5

2547, -4.38

2554 2553, -2.07

2556

2558

2555, -2.11

2554, -2.17

อัตราการเพิ่ม/ลด

แผนภูมิที่ 4-4 แสดงอัตราการเพิม่ /ลดของประชากรในเขตเทศบาล ปี 2544 -2558

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 10


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 11


จากสถานการณ์การท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่นที่มีรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นทาให้เกิดการพัฒนาเมือง เพื่อรองรับเศรษฐกิจซึ่งขยายตัวส่งผลให้ราคาที่ดินภายในเมืองมีราคาสูงขึ้น (ที่มา บัญชีกาหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2555-2558 กรมธนารักษ์ กระทรวงมหาดไทย) ในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นมีโรงพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนที่ให้บริการอีก จานวน 9 แห่ง เป็นของ รัฐ 6 แห่ง และเอกชน 3 แห่ง นอกจากนี้ยังมีศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน และสถานีอนามัยในองค์การบริหารส่วน ตาบลที่มีพื้นที่ตั้งอยู่รอบเทศบาลนครขอนแก่น มีสถานีอนามัยประจาทุกตาบลกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ จึงกล่าวได้ว่า การบริการด้านสาธารณสุขในเขตพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นมีการให้บริการที่เพี ยงพอต่อการให้บริการในอนาคต มีสถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการกับสานักงานประกันสังคมจังหวัดขอนแก่นทั้งหมด 4 แห่ง เป็นสถานพยาบาลของ รัฐ จ านวน 3 แห่ง ได้ แก่ โรงพยาบาลศู น ย์ ขอนแก่น โรงพยาบาลชุ ม แพ และโรงพยาบาลศรีน คริ น ทร์ ส่ ว น สถานพยาบาลเอกชนจานวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชประสิทธิ์

ภาพที่ 4-5 แสดงผังลักษณะย่านเมืองในปัจจุบัน ปี 2558 โดยมีย่านราชการ ย่านการศึกษา ย่านที่อยู่อาศัย ย่านการค้า พาณิชยกรรม และย่านอุตสาหกรรม รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 12


ด้านวัฒนธรรม 1. งานเทศกาลดอกคูณเสียงแคน เทศกาลสงกรานต์บนถนนข้าวเหนียว ริมบึงแก่นนคร จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 -15 เมษายน ของทุ ก ปี บริ เวณบึ ง แก่ น นคร ซึ่ ง เป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ และชุ ม นุ ม สั ง สรรค์ ของชาวขอนแก่ น ความสาคัญเป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อชุมนุมสังสรรค์ของชาวขอนแก่น ในงานนี้จะตกแต่งด้วยดอกไม้หลากสี เพื่อความ สวยงามและแนวคิดสร้างสรรค์ จุดเด่นของงานจะเป็นความงามของขบวนรถบุปผาชาติเสียงเพลงและสาวงาม 2. งานเทศกาลไหมและประเพณี ผูกเสี่ย ว ประเพณี การผูกเสี่ย วซึ่ง เป็น ขนบธรรมเนี ย มดั้ ง เดิ ม ของภาคอีส าน เนื่องมาจากประชาชนในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ มีอาชีพรองที่นอกเหนือจากการทานา คือการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ทอผ้าต่างๆเป็นขนบธรรมเนียมดั้งเดิมของภาคอีสาน ที่มุ่งให้คนรุ่นเดียวกันรักใคร่ เป็นพี่เป็นน้องช่วยเหลือกันเรียกว่า "คู่เสี่ยว" จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในช่วงปลายเดือน พฤศจิกายน ถึงต้นเดือนธันวาคม เป็นเวลา 10 วัน 10 คืน บริเวณ สนามกีฬากลางจังหวัด 3. งานเทศกาลไหว้พระธาตุขามแก่น เป็นงานเฉลิมฉลองพระธาตุ เพื่อให้ประชาชนได้สักการะพระธาตุ คู่บ้านคู่เมือง ในงานมีการแสดงศิลปะพื้นบ้าน และการออกร้านจาหน่ายสินค้าต่างๆ จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในวันเพ็ญเดือนหก (วัน ขึ้น 15 ค่า เดือน6) ณ วัดเจติยภูมิ (ที่มา: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2557)

4.5 ลักษณะทางกายภาพ เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นที่ราบสูงเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ มีพื้นที่ประมาณ 953.4 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 12 ของพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ในเขตเทศบาลนคร ขอนแก่นมีเนื้อที่ 46 ตารางกิโลเมตร อยู่ในระดับความสูงประมาณ 150 – 200 เมตร จากระดับน้าทะเล ลักษณะ ทั่วไปเป็นที่ราบและลาดชันขึ้นไปทางทิศเหนือ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ของเขตเทศบาลนครขอนแก่ นเป็นพื้นที่ ราบครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 56.40 ของพื้นที่เขตเทศบาล แม่น้าชีไหลผ่านด้านใต้สุดของเมืองและลาน้าพองไหลผ่าน ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นได้รับบริการไฟฟูาจากการไฟฟูาส่วนภูมิภาค โดยมี แหล่งผลิตกระแสไฟฟูา คือ โรงไฟฟูาพลังน้าเขื่อนอุบลรัตน์และโรงไฟฟูาพลังความร้อนน้าพอง นอกจากนี้ยังมี แหล่ง น้าธรรมชาติกระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่ง ยกตัวอย่างแหล่งน้า เช่น บึงทุ่งสร้าง (B) เป็นพื้นที่นันทนาการขนาดใหญ่ (เริ่มปลูกต้นไม้ แต่มีปัญหาเรื่องคุณภาพของดินเค็ม) ดังที่ แสดงในภาพที่ 6-7 พื้นที่แก้มลิง มีเส้นทางจักรยานแต่ไม่ให้ความสาคัญ โครงการปลูกหญ้าแฝกลดการพังทลายของ หน้าดิน และช่วยบาบัดน้าเสีย บึงแก่นนคร (C) เป็นแหล่งพักผ่อน ออกกาลังกายและแหล่งเรียนรู้ของคนขอนแก่น ในแต่ละวันมีประชาชน มาบึงแก่นนครเป็นจานวนมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะและการทาลายระบบนิเวศของบึงแก่นนคร อีกทั้งในปัจจุบัน วัฒนธรรมอันดีดังที่กล่าวมาข้างต้นกาลังเลือนหายไป เนื่องจากมีร้านอาหารและสถานบันเทิงขึ้นรอบบึงแก่นนคร มากมาย ทาให้มีผู้ใช้บริการสถานบันเทิงมากกว่าที่จะไปสถานที่พักผ่อนที่อนุรักษ์วัฒนธรรม รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 13


บึงหนองโครตเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจเนื่องจากมีสวนสาธารณะและชายหาด แต่เดิมบึงนี้มี ขนาดเล็กกว่าปัจจุบันแต่มีการขุดดินตะกอนไปถมที่ดินบริเวณอื่นน้าจึงค่อยๆเติมเต็มบึงและเวลาฝนตก บึงนี้ก็เป็น แหล่งเก็บน้าขนาดใหญ่ของเมืองขอนแก่นด้วย

ภาพที่ 4-6 แสดงทัศนียภาพของบึงแก่นนครทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน

ภาพที่ 4-7 แสดงผังสภาพแวดล้อมและพื้นที่สเี ขียวของจังหวัดขอนแก่น

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 14


ย่านในเมืองปัจจุบัน ถนนสายหลัก คือถนนมิตรภาพ ด้านจราจรและการขนส่งมีปริมาณมาก ทางเทศบาล กาหนดนโยบายลดความคับคั่ง ของการใช้พื้นที่เมือง โดยพื้นที่ธุรกิจการค้า พาณิชยกรรม ควรมีการปรับปรุงฟื้นฟู เพราะปัจจุบันมีความหนาแน่นและอิ่มตัว บริเวณตะวันออกของพื้นที่มีแหล่งน้าจานวนมาก แต่ไม่ได้รับการส่งเสริม การพัฒนาเมือง ดังที่แสดงในภาพที่ 6-8 (ที่มา:โครงการจัดทาแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนปูองกัน, 2555)

ภาพที่ 4-8 แสดงผังลักษณะย่านเมืองในปัจจุบัน ปี 2558 โดยมีย่านพักอาศัยชุมชนเมืองเก่า ย่านพักอาศัยพื้นที่ศูนย์กลาง การค้า ย่านที่พักอาศัยสวัสดิการข้าราชการ ย่านที่พักอาศัยนักศึกษา และย่านที่พักอาศัยที่รองรับการขยายตัวของเมือง 341.166 134,101.07

48.228

30,431.64

302,160.93

434,193.40

302,665.25 425,786.82

420,469.21 591,381.86

พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม คลังสินค้า ที่พักอาศัยกึ่งพาณิชยกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอ สาธารณูปการอื่น ๆ สถานสงเคราะห์ สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ พื้นทีอ่ นุรักษ์เพือ่ ศิลปะและวัฒนธรรมไทย โบราณสถาน อนุสรณ์สถาน นันทนาการ สนามกอล์ฟ สวนสาธารณะ

แผนภูมิที่ 4-3 แสดงสัดส่วนการใช้อาคาร เทศบาลเมืองขอนแก่น 2547 (หน่วยตารางเมตร) รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 15


สาธารณูปโภค การประปาส่วนภูมิภาค สาขาขอนแก่นมีพื้นที่คลอบคลุม พื้นที่ให้บริการ 84 ตร.กม. ในปี 2555 มีผู้ใช้น้าใน เขตบริการสานักงานการประปาฯ จานวน 328,225 ราย ปริมาณกาลังผลิตที่ใช้งาน 406,992 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และการระบายน้าในสภาพปัจจุบันการเกิดฝนในฤดูกาลปกติและฝนนอกฤดูกาลสามารถก่อให้เกิดสภาพน้าท่วมขังบน ผิวจราจรรวมทั้งบริเวณที่ลุ่มต่า จากสภาพภูมิประเทศของตัวเมืองซึ่งมีลักษณะเป็นเนินและแอ่งกระทะประกอบกับการเพิ่มขึ้นของอาคารใน พื้นที่ตัวเมืองทาให้มีพื้นที่ดินให้น้าฝนซึมลงสู่ชั้นดินด้านล่างน้อยลง ส่งผลให้การระบายน้าเป็นไปได้ช้า ทั้งนี้เมือง ขอนแก่นมีแหล่งน้าที่สามารถระบายน้าฝนจากท่อระบายน้าที่เชื่อมต่อลงสู่แหล่งดังกล่าวได้เป็นอย่างดี คือ บึงทุ่งสร้าง บึ ง หนองโคตร และบึ ง แก่ น นคร บริเวณทั้ ง 3 แห่ง รวมทั้ ง คลองร่อ งเหมื องสามารถเป็ น แหล่ ง รับ น้ าฝน (ที่ ม า: แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2559-2561 เทศบาลนครขอนแก่น) 16,000,000 14,000,000 12,000,000

ที่อยู่อาศัย

10,000,000

ราชการ ธุรกิจขนาดเล็ก

8,000,000

รัฐวิสาหกิจ

6,000,000

ธุรกิจขนาดใหญ่ อุตสาหกรรม

4,000,000 2,000,000 0 2552

2553

2554

2555

2556

2557

แผนภูมิที่ 4-4 แสดงสัดส่วนการใช้น้าประปาของจังหวัดขอนแก่น

โครงสร้างพื้นฐาน ในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น มีสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะมีการกระจุกตัวอยู่ในเขตเทศบาลนคร ขอนแก่น แสดงให้เห็นว่าการศึกษาในระดับอุดมศึกษายังไม่มีการกระจายตัวออกจากเขตเมือง จึงทาให้เป็นศูนย์กลาง ด้านการศึกษาทั้งในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดใกล้เคียง มีโรงพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนที่ให้บริการ จานวน 9 แห่ง นอกจากนี้ยังมีศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน และสถานีอนามัย ในองค์การบริหารส่วนตาบลที่มีพื้นที่ตั้งอยู่รอบ เทศบาลนครขอนแก่ น มี ส ถานี อ นามั ย ประจ าทุ กต าบลกระจายตั ว อยู่ ใ นพื้ น ที่ จึ ง กล่ า วได้ ว่ า การบริ การด้ า น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 16


สาธารณสุขในเขตพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นมีการให้บริการที่เพียงพอต่อการให้บริการในอนาคต และมีแหล่ง อุตสาหกรรมกระจุกตัวอยู่ทางทิศตะวันออกของเมือง ด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ มีการกระจายตัว ครอบคลุมเขตเทศบาลนครขอนแก่น ประชาชนในพื้นที่ ได้รับบริการไฟฟูา จากการไฟฟูาส่วนภูมิภาค โดยมีแหล่งผลิตกระแสไฟฟูา คือ โรงไฟฟูาพลังน้าเขื่อนอุบลรัตน์และ โรงไฟฟูาพลังความร้อนน้าพอง นอกจากนี้ยังมี แหล่งน้าธรรมชาติที่กระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่ง การประปาส่วน ภูมิภาค สาขาขอนแก่นมีพื้นที่คลอบคลุม พื้นที่ให้บริการ 84 ตร.กม. แหล่งน้าทีส่ ามารถระบายน้าฝนจากท่อระบายน้าที่เชื่อมต่อลงสูแ่ หล่งดังกล่าวได้เป็นอย่างดี คือ บึงทุ่งสร้าง บึงหนองโคตร และบึงแก่นนคร บริเวณทั้ง 3 แห่ง รวมทั้งคลองร่องเหมืองสามารถเป็นแหล่งรับน้า

ภาพที่ 4-9 แสดงผังโครงสร้างพื้นฐานในปัจจุบัน

4.6 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต มีข้อค้นพบว่า พื้นที่กลางเมืองขอนแก่นบริเวณถนนมิตรภาพเปลี่ยน จากที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ทานด้านตะวันออกของ ขอบเขตผังเมืองรวมเปลี่ยนจากที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม เนื่องจากเป็นพื้นที่ชุ่มน้า

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 17


ภาพที่ 4-10 แสดงแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต พ.ศ. 2542 (ซ้าย) พ.ศ. 2559 ฉบับปิด 15 วัน (ขวา)

กฎกระทรวง ควบคุมอาคารในอาเภอเมืองขอนแก่น พ.ศ. 2547 สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ 1. ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมกัน ตั้งแต่ 300 ตรม. แต่ไม่เกิน 1000 ตรม. เว้นแต่ เป็นไปตามข้อกาหนด 2. ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมกัน เกิน 1000 ตรม. 3. ที่ดินที่จะก่อสร้างอาคารจะต้องติดถนนสาธารณะขนาด 4 ช่องทาง หรือ ขนาดไม่น้อยกว่า 20 เมตร และจะต้อง บรรจบกับถนนสาธารณะที่มีขนาดทางเท่ากันหรือมากกว่า 4. ที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ดินที่ติดตั้งอาคาร ดังที่แสดงในภาพที่ 6-10 5. ค่าสูงสุดของอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคารต่อพื้นที่ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 1.5: 1 6. อัตราส่วนของพื้นที่ว่างที่จัดให้เป็นสวน หรือบริเวณปลูกต้นไม้หรือนันทนาการต่อพื้นที่ของแปลงที่ดินที่จะใช้เป็น ที่ตั้งอาคาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 7. ที่ว่างด้านหน้าอาคารไม่น้อยกว่า 50 เมตร 8. ที่ว่างด้านหลังและด้านข้างห่างจากที่ดินของคนอื่นไม่น้อยกว้า 15 เมตร 9. อาคารที่มีความสูงเกิน 10 เมตรต้องมีระยะห่างจากศูนย์ราชการ ศาสนสถาน โบราณสถาน หรือสถานศึกษาไม่ น้อยกว่า 500 เมตร ดังที่แสดงในภาพที่ 6-11 10. ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คน ต่อพื้นที่อาคาร 40 ตรม. 11. ที่พักขยะมูลฝอย ต้องมีระยะห่างจากที่ดินขิงผู้อื่น หรือถนนสาธารารณะไม่น้อยกว่า 10 เมตร รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 18


ที่ว่างรอบอาคาร 70 %

อาคาร 30 %

มีที่ว่างด้านข้างและด้านหลังอาคาร ไม่น้อยกว่า 15 เมตร

สวน 20 %

ที่ว่างด้านหน้าของอาคารต้องห่างจากถนนสาธารณะไม่ น้อยกว่า 50 เมตร

ภาพที่ 4-11 แสดงผังของอาคารที่ก่อสร้าง ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547

ภาพที่ 4-12 แสดงรูปตัดของอาคารสูงเกิน 10 เมตร ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547

4.7 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง วิสัยทัศน์

พันธกิจ

ยุทธศาสตร์

“พัฒนาเมืองสูส่ ากล สร้างสังคมแห่งความสุข”

1.พัฒนาศักยภาพนครขอนแก่น เพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 1.พัฒนานครขอนแก่นเป็นนครแห่งการ ประชุมสัมมนาและเป็นศูนย์กลาง พาณิยกรรมของภูมิภาค 2.ส่งเสริมพัฒนาศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ให้มีคุณค่าเพื่อนามาขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์เมือง 3.ส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่า วิสาหกิจชุมชน

2.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งแวดล้อมให้เป็นนครที่น่าอยู่ใน ระดับสากล

3.พัฒนาคุณภาพชีวิตและทุนทาง สังคมให้เป็นสังคมที่เอื้ออาทร และพร้อมต่อการพัฒนา

4.พัฒนาขีดความสามารถของ องค์กรในการบริหารงานท้องถิ่น

4.พัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชน และโครงสร้างพื้นฐานให้เป็นนครแห่งการ ลงทุนและนครแห่งการอยู่อาศัย 5.พัฒนาและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับ มาตรฐานสากล

6.สร้างสังคมที่เอื้ออาทรและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (Healthy City) 7.สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อรองรับ AEC และให้พร้อม ต่อการเปลี่ยนแปลงสูส่ ากล 8.สร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนและส่งเสริม การมีส่วน ร่วมในการจัดการเมืองในทุกมิติ ของการพัฒนา

9.พัฒนานวัตกรรมการ ให้บริการและการบริหารบ้านเมือง 10.ปรับโครงสร้างและ ศักยภาพองค์กรให้เป็นองค์กร ที่มีสมรรถนะสูง

แผนภูมิที่ 4-5 แสดงวิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ของเทศบาลนครขอนแก่น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 19


พัฒนาศักยภาพนครขอนแก่นเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนานครขอนแก่นเป็นนครแห่งการประชุมสัมมนาและเป็นศูนย์กลางพาณิยกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมพัฒนาศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยให้มีคุณค่าเพื่อนามาขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมือง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่าวิสาหกิจชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชนและโครงสร้างพื้นฐานให้เป็นนครแห่งการลงทุนและนคร แห่งการอยู่อาศัย อีกทั้งยังมีโครงการ Car Pool คือโครงการสาหรับคนที่ไปสถานที่เดียวกัน ทางเดียวกัน ทางเทศบาล ได้เริ่มดาเนินโครงการโดยใช้รถขนส่งจากที่พักอาศัยรอบนอกเมืองเข้ามาสู่สถานที่ราชการในเมือง ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล เช่นโครงการสังคมไร้มลพิษ ทาง เทศบาลร่วมกับโรงเรียนต่างๆ จุดสีส้มบนภาพที่ 4-13 เพื่อจัดการแยกขยะลดปริมาณการสะสมของขยะที่บ่อฝังกลบ นอกเมือง และยังมีโครงการจัดตลาดนัดสีเขียวขึ้นที่บึงแก่นนคร เพื่อนาผลผลิตทางการเกษตรที่ชาวบ้านปลูกกันเอง ซึ่ ง เป็ น ผั ก ปลอดสารพิ ษ น ามาขายให้ ช าวเมื อ งขอนแก่ น และกิ จ กรรมที่ ถู ก ส่ ง เสริ ม อี ก แห่ ง หนึ่ ง อยู่ ที่ บ ริ เ วณ สวนสาธารณะของบึงทุ่งสร้าง โดยมศูนย์ฝึกอบรมการเรียนรู้พันธุ์ไม้แก่ผู้ที่มีความสนใจ เช่น นักท่องเที่ยว ชาวเมือง ขอนแก่น และนักเรียน นักศึกษา (แผนพัฒนา 3 ปี พ.ศ. 2559-2561 เทศบาลนครขอนแก่น)

ภาพที่ 4-13 แสดงผังโครงการพัฒนาเทศบาลนครขอนแก่น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 20


ตารางที่ 4-1 แสดงโครงการพัฒนาตามแผนนโยบาย แผนพัฒนา 3 ปี (2559-2561)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 21


โครงการรถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) ต้นแบบในเมืองภูมิภาค จังหวัดขอนแก่น แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พัฒนาระบบรถประจาทางด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit : BRT) ในพื้นที่ผังเมือง รวม เมืองขอนแก่น ใน 5 เส้นทาง (สีแดง สีเหลือง สีชมพู สีเขียวและสีน้าเงิน) 108 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 6,356.6 ล้านบาท และมีรถโดยสารสนับสนุนการให้บริการของ BRT ระยะที่ 2 ก่ อ สร้ า งส่ ว นต่ อ ขยายเส้ น ทางการ ให้บริการในระยะที่ ๑ สายสีแดง และสายสีเหลือง มีคนเดินทางจานวนมาก และรถโดยสารที่วิ่งให้บริการมีเพียงระยะ สั้นๆ เท่านั้น หากเพิ่มจุดบริการที่ระยะทางยาวขึ้น จะทาให้คนหันมาใช้บริการสาธารณะมากขึ้น ลดการใช้พลังงาน ดาเนินโครงการนาร่องเส้นทางสายสีแดง (สาราญ-ท่าพระ) ระยะทาง๒๘ กิโลเมตร โดยเทศบาลนครขอนแก่น และ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ได้ศึกษาและออกแบบเพื่อก่อสร้างระบบรถโดยสาร BRT ต้นแบบในเมืองภูมิภาค วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาจราจรขอนแก่น ในการจัดระเบียบจราจรหน้าสถานศึกษา การจัดเดินรถทางเดียว (One way) 2. การจัดระเบียบเมือง การจัดระเบียบปูาย เช่น ปูายโฆษณา และ คัดเอาต์ต่างๆ 3. จัดระเบียบทางเท้า หาบเร่ ร้านค้าแผงลอย

ภาพที่ 4-14 แสดงเส้นทางรถโดยสารด่วนพิเศษ (เทศบาลนครขอนแก่น,2555)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 22


ภาพที่ 4-15 แสดงผังเส้นทางรถโดยสารด่วนพิเศษ (เทศบาลนครขอนแก่น,2555)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 23


4.8 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับเมือง 1. เมืองศูนย์กลางภูมิภาคเพื่อเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงจีนด้วย 2. East-West Corridor เส้นทางหลักเพื่อขอนส่งสินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่สอด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยังเวียดนาม โดยมี โครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงหมายเลข 9 3. ผังประเทศเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง และบริการการท่องเที่ยว Mice City and Event City 4. รายได้เฉลี่ย/คน/ปี จังหวัด 106,583 บาทต่อคนต่อปี 5. ภาคการเกษตรกรรมมีการขยายตัว และมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยมีจานวนเงินหมุนเวียน 380,083 ล้านบาท รองลงมาเป็นภาคอุตสาหกรรม จานวน 241,739 ล้านบาท 6. ยุ ทธศาสตร์ของขอนแก่น เป็ นศูนย์ กลางทางด้า นการคมนาคม การศึกษา การสาธารณสุข เศรษฐกิจ และ อุตสาหกรรมสีเขียว 7. ระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชนและสาธารณะ BRT และรถสองแถว 8. วิสัยทัศน์ พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข 9. โรงพยาบาลศรีนครินทร์ให้บริการคนไข้ทั้งในภาคอีสานกว่า 20 จังหวัด ภูมิภาคอื่นๆ และประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาวและเวียดนาม 10. โครงการขอนแก่นเมืองในสวน รวมพื้นที่ 1,374.08 ไร่ คิดเป็น 17.16 ตร.ม. / คน สามารถรณรงค์ ลดภาวะโลก ร้อนและช่วยลดโลกร้อนได้ถึง 263.82 กก.คาร์บอนไดออกไซค์/วัน

ภาพที่ 4-16 แสดงทัศนีภาพของเมืองขอนแก่นในปัจจุบัน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 4 - 24


บทที่ 5 แนวคิดเบื้องต้นในการพัฒนาเมืองและชุมชน 5.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของพื้นที่ศึกษา การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS ของจังหวัดขอนแก่นได้ทราบถึงรายละเอียดเนื้อหาที่สามารถอธิบายสาระ ในมิติของเทศบาลนครขอนแก่นได้ดั้งนี้ จุดแข็ง ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคลาดับ 1 ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางหลักของภาคขอบเขต การให้บริการเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC 10 ประเทศรวมถึงประเทศจีน เส้นทาง East-West Corridor เป็นศูนย์กลางการบริหารและบริการภาครัฐของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นแหล่งอาหาร ที่ ส าคั ญ ล าดั บ 4 ของภาค และเป็ น ศู น ย์ บ ริ ก ารการแพทย์ แ ละสาธารณะสุ ข และการศึ ก ษาที่ ส าคั ญ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนืออีกทั้งยังได้รับการส่งเสริมให้เป็นนครแห่งการประชุมและสัมมนาอีกด้วย - เป็นศูนย์กลางทางด้านคมนาคมขนส่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - เป็นศูนย์กลางทางด้านการค้าและการบริการของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - เป็นศูนย์กลางทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุข และการศึกษา - เป็นศูนย์กลางทางราชกาลของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญลาดับ 4 ของภาค - เป็นศูนย์กลางด้านคมนาคมขนส่ง Logistics และศูนย์รวบรวมกระจายสิ้นค้า - เป็นศูนย์กลางทางด้านการประชุมและการสัมมนา จุดอ่อน ของแก่นเป็นเมืองที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มากมาย มีการพัฒนาเป็นจุดๆไม่ทั่วถึงอย่างเช่นบน ถนนศรี จั น ทร์ ที่ มี ก ารลงทุ น จากภาคเอกชนจ านวนมากท าให้ ภ าครั ฐ ไม่ ส ามารถควบคุ ม การจั ด การได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและประชากรส่วนใหญ่ยังมีรายได้ต่าและภาคเกษตรที่มีผลผลิตต่อไร่ที่ต่าเนื่องจากขาดดินที่มีความอุดม สมบูรณ์ รวมถึงเกษตรกรยังขาดความสามารถขาดความรู้ในการประยุกต์ใช้ - ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้ต่า - ภาคเกษตรมีผลการผลิตต่อไร่ต่า - ปัญหาทางด้านการจัดการขยะที่อยู่ในระดับต่า โอกาส ตามแผนยุทธศาสตร์ที่มุ้งเน้นให้มีการพัฒนาศักยภาพนครขอนแก่นให้เป็นศูน ย์กลางทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรม พัฒนาเมืองขอนแก่นเป็นศูนย์กลางแห่งการประชุมและการสัมมนา มีการพัฒนาระบบ Logistic ระบบ ขนส่งมวลชลและโครสร้างพื้นฐานที่สามารถดึงนักลงทุนเข้ามาได้เป็นจานวนมาก - สามารถดึกนักลงทุนเข้ามาได้เป็นจานวนมาก - มีการส่งเสริมให้จังหวัดขอนแก่นเป็นนครแห่งการประชุมและการสัมมนา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 1


- มีการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมรมสีเขียว ที่จังหวัดขอนแก่น - การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนทาให้มีความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น ทาให้มีความต้องการสิ้นค้าทางการเกษตร มากขึ้น - มีงบลงทนด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - มีการพัฒนาด้าน Logistics เป็นศูนย์กลางของภาคที่สามารถเชื่อมโยงกับกรุงเทพ ภัยคุกคาม ขอนแก่นเป็นเมืองที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมากทาให้มี ประชากรแฝงและการเคลื่อนย้ายของ ประชากรสูง และมีการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การบริการ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ของที่ดินจาก การเกษตรไปสู่ที่อยู่อาศัยและธุรกิจการบริการ - ประชากรแฝงและการเคลื่อนย้ายประชากรมีมาก - การขยายตัวด้านอุตสาหกรรมและการบริการ เกิดการเปลี่ยนแปลด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน 5.2 วิสัยทัศน์การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5.2.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาในระดับเมือง วิสัยทัศน์การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 หลักการ ดังต่อไปนี้ ไป ปรับใช้ให้เข้ากับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ หลักการที่ 1 พลังงานอัจฉริยะ (smart energy) หลักการที่ 2 การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility) หลักการที่ 3 ชุมชนอัจฉริยะ (smart community) หลักการที่ 4 สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) หลักการที่ 5 เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) หลักการที่ 6 อาคารอัจฉริยะ (smart building) หลักการที่ 7 การปกครองอัจฉริยะ (smart governance) 5.2.2 ผังแนวคิดในการพัฒนา แนวทางเสนอแนะการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาดเทศบาลนคร ขอนแก่นในขอบเขตผังเมืองรวมขอนแก่น มีแนวคิดดังนี้ 1. การสนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง มีศูนย์กลางเมืองที่รองลงมา การเติบโตที่เป็นกลุ่มๆแยกออกจาก กัน ส่งเสริมให้เมืองมีความกระชับในตัวเอง ไม่สนันสนุนให้คนไปอยู่นอกเมืองเป็นกลุ่มใหญ่แล้วเข้ามาทางานในเมือง BRT รถยนต์ ในเมืองอาจจะยังไม่ติด แต่อนาคตรถยนต์จะติดมากขึ้น จึงหาวิธีการประหยัดการใช้ประหยัดการใช้ น้ามัน ต้องเข้าโครงการ Car Pool & Car Sharing

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 2


2. แนวคิด TOD คือ คนกระจายตัวอยู่เป็นกลุ่ม มีแหล่งงานด้วยโดยคนไม่จาเป็นต้องเข้ามาทางานในเมือง ตลอดเวลา ประหยัดเวลาในการเดินทาง มีชีวิตที่สะดวกสบายในพื้นที่นั้นได้ ไม่ต้องพึ่งพาศูนย์กลางเมืองมาก 3. พื้นที่จุดศูนย์กลางเมืองที่น่าจะเติบโตมากขึ้นคือ ด้านบนของถนนวงแหวนและด้านล่าง (สถานีท่าพระ) แบ่งออกมาเป็น 3 ศูนย์กลาง จึงเป็นประเด็นสาคัญในการตั้งถิ่นฐานในอนาคต ลดการปล่อยคาร์บอน 4. โครงการ Park Ride ขับรถยนต์เข้ามารอบนอกเมืองและใช้ระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะเพื่อประหยัด พลังงาน 5. การใช้จักรยานต้องส่งเสริมระยะทางใกล้ ใช้พลังงานเพื่อลดพลังงาน แต่ยังไม่ได้มีกาหนดการที่แน่ชัด เดิน เท้าและปั่นจักรยานที่ดีทาให้เมืองน่าเดินมากขึ้น ส่งเสริมเป็นพื้นที่นาร่อง 6. ระบบการเดินเท้าโดยการส่งเสริมเส้นทางเดินเท้าที่ดี พ่วงไปกับต้นไม้ในเมือง พื้นที่หลายแห่งน่าเดิน เพราะเมืองมีชีวิตชีวา แต่ว่าพื้นผิวการเดินเท้าไม่ดีและต้นไม้ยังขาดแคลน 7. เส้นทางจักรยานที่เหมาะสม และแหล่งเดินเท้าที่ดีซึ่งเหมาะสมกับเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ (การออกแบบเพื่อ คนทั้งมวล) และการสนับสนุน wheel chair ใช้พื้นที่ได้แบบ universal ต้องมีทางให้เข็นจักรยานได้ 8. แนวคิดวิถีชีวิตคาร์บอนต่าควรส่งเสริมบริเวณย่านมหาวิทยาลัยเนื่องจากมีบริการที่สัมพันธ์กับชีวิต นักศึกษา เช่น ร้านอาหาร ร้านกาแฟ เป็นต้น และการจัดทาเส้นทางจักรยานที่ดี 9. พื้นที่เขตอุตสาหกรรม อยู่นอกเมืองแต่ก็มีความสัมพันธ์กับเมืองด้วยโดยเขตอุตสาหกรรมจะอยู่ทางตอนใต้ ของเทศบาล (สถานี ท่ า พระ) ลดการใช้ พ ลั ง งานและเลื อ กใช้ พ ลั ง งานทางเลื อ ก การจั ด การน้ าและขยะให้ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น 10. การลดขยะจากการก่อสร้าง ใช้วัสดุที่สามารถใช้ซ้าได้ 11. อาคารประหยัดพลังงาน เช่น อาคารราชการ เป็นตัวอย่างทีดีในภาคเอกชน จัดการน้าและขยะ ส่งเสริม การใช้พลังงานทางเลือก ใช้พื้นที่สีเขียวประดับอาคารเพื่อลดอุณหภูมิของเมือง 12. การท่องเที่ยวคาร์บอนต่า (Mass tourism) นิยมการเดินเท้าและขี่จักรยานเพื่อซึมซับกับธรรมชาติและ เมืองมากขึ้น โดยขอนแก่นมีศักยภาพของการท่องเที่ยวทางน้าสูงมาก เช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่มสร้างและบึงหนองโครต และพักอาศัยในเรือนที่มีกลิ่นอายของวัฒนธรรมความเป็นเมืองเก่า 13. พื้นที่สีเขียวของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นส่วนหนึ่งของเมืองเหมือนกัน ควรสนับสนุนให้มีการปลูก ต้นไม้มากขึ้น งบประมาณ ในการปรับปรุงภูมิทัศน์รอบบึงต่างๆ น่าจะเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณทุ่งสร้างเพื่อแก้ปัญหา เรื่องดินเค็ม 14. โครงข่ายพื้นที่สีเขียว (Green Network) ต้นไม้ริมทาง สนับสนุนทุกเส้นถนน นอกจากมีพื้นที่สีเขียว กระจายรอบเมืองเป็นหย่อมๆ แล้วควรมีโครงข่ายสีเขียวเป็นเส้นทางเชื่อมโยงกันบนเส้นทางการคมนาคมหลักๆของ เมือง โดยที่ 4 จุดหลักของเมืองได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บึงทุ่งสร้าง บึงแก่นนคร และบึงหนองโครต ควรมี โครงการนาร่อง ซึ่งลอคเป็น grid จะส่งเสริมด้านทางเท้า ลดอุณหภูมิของเมือง ดูดซับก๊าซคาร์บอน อากาศก็จะดีขึ้น ด้วย พื้นที่สีเขียวอยู่ในเมืองลดเกาะความร้อน และเป็นพื้นที่ทางสังคม อีกทั้งยังเพิ่มมูลค่าทางทรัพย์สิน การค้าก็ดีมาก ขึ้น คนจะมาเดินมากขึ้น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 3


15. พื้นที่สีเขียวใหญ่ มีรัศมีครอบคลุมการบริการทั่ วทั้งเมือง ขอนแก่นมีศักยภาพสูง แต่โครงข่ายการเขื่อม โยงพื้นที่สีเขียวยังขาดอยู่ สามารถระบุวิสัยทัศน์ของเมืองว่าเป็นเมืองสีเขียว 16. บขส.3 ซึ่งตั้งอยู่นอกเมืองควรเปิดการค้าขายเต็มที่สาหรับคนได้ทามาค้าขาย และจัดระบบขนส่งขนาด เล็กเข้ามาในเมือง เช่น รถตู้และ BRT เชื่อมโยงจากนอกเมืองเข้าสู่เมืองโดยให้คนเปลี่ยนการคมนาคมอื่นๆ ต่อไป

ภาพที่ 5-1 แสดงผังแนวทางเสนอแนะการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด เทศบาล นครขอนแก่น ลักษณะรูปทรงเมืองในปัจจุบัน การกระจุกตัวของเมืองอยู่ที่ใจกลางเมือง เนื้อเมืองเดิมอยู่ที่ถนนกลางเมือง ถนนศรีจนั ทร์ มีอาคารพาณิชย์ อยู่ตามแนวถนนในย่านธุรกิจศูนย์กลาง ขนานกับถนนมิตรภาพและถนนประชาสโมสร มีที่พักอาศัยตลอดถนนกลาง เมือง ส่วนการประกอบอุตสาหกรรม โกดังเก็บสินค้า อาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อยู่ห่างจากศูนย์กลางเมืองตามแนว ถนนมะลิวัลย์ ถนนมิตรภาพ ถนนเหล่านาดี รอบนอกเป็นเกษตรกรรม สถานพักผ่อนหย่อนใจสาคัญ คือ บึงหนอง โคตร บึงแก่นนคร เป็นพื้นที่แก้มลิงหนึ่งในสามของเมืองขอนแก่นเพื่อรองรับน้าฝน และมีการจัดลานกิจกรรมให้ ประชาชนใช้สนั ทนาการ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 4


5.2.2.1 ผังแนวคิดการใช้ประโยชน์ที่ดนิ และกลุ่มกิจกรรม

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 5


5.2.2.2 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการคมนาคมและการเข้าถึง

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 6


ระบบการคมนาคมของเมืองขอนแก่นในปัจจุบัน ประกอบด้วยเส้นทางรถไฟตัดผ่านกลางเมือง เส้นทางถนนในตัวเมืองเป็นกริดตารางส่งผลดีต่อการเดินทาง มีการขยายเส้นทางเลี่ยงเมือง (ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 230) เป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมือง มีถนนที่สาคัญเชื่อมโยงเมืองขอนแก่นกับพื้นที่ อื่นๆ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิ วัลย์) ในตัวเมืองมีสถานีขนส่งผู้โดยสารมากถึง 2 แห่ง เชื่อมต่อการเดินทางในระยะใกล้กระจายมายัง พื้นที่นอกเมือง 1 แห่ง เพื่อกระจายการเดินทางในระยะไกล เช่น กรุงเทพมหานคร หรือเดินทางข้าม ภูมิภาค มีโครงข่ายขนส่งมวลชนด้วยรถ 2 แถว ให้บริการในตัวเมือง และมีท่าอากาศยานพาณิชย์ 1 แห่ง ห่างจากตัวเมือง 8 กิโลเมตร 5.2.2.3 ผังแนวคิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 7


กรณีศึกษา

5.2.2.4 ผังแนวคิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพของเมืองต้องได้รับการรักษาและฟืน้ ฟูเพื่อรักษาคุณภาพชีวิตที่ดี ของผู้อยู่อาศัย การเข้าถึงพื้นที่สเี ขียว มีแนวคิด ดังนี้ - ปกป้อง ฟื้นฟู และพัฒนาโครงข่ายสีเขียวที่เข้าถึงได้ในระดับเมือง - สร้างพืน้ ที่สีเขียวเป็นส่วนหนึง่ ของอาณาบริเวณสาธารณะ และพื้นีท่เปิดโล่งสาคัญ - พัฒนาโครงข่ายสีเขียวของเมืองโดบูรณา-การจากพื้นที่เปิดโล่ง สวนสาธารณะ ต้นไม้ริมทาง พื้นที่สีเขียวของเอกชน หลังคาสีเขียวและผนังเขียว

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 8


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 9


กรณีศึกษา

สภาพแวดล้อมเมืองขอนแก่นในปัจจุบัน มีแม่น้าชีไหลผ่านด้านใต้สุดของเมืองและลาน้าพอง ไหลผ่านทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือใช้เป็นเส้นทางคมนาคม เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทาการ ประมง แหล่งน้าบนผิวดินกระจายอยู่ในพื้นที่หลายแห่ง ได้แก่ บึงแก่นนครเป็นแหล่งพักผ่อน ออกกาลัง กายและแหล่งเรียนรู้ของคนขอนแก่น บึงทุ่งสร้าง เป็นพื้นที่แก้มลิงและพื้นที่นันทนาการขนาดใหญ่ มี เส้ น ทางจั ก รยาน บึ ง หนองโคตรเป็ น ทะเลสาบขนาดใหญ่ ใช้ เ ป็ น ที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจเนื่ อ งจากมี สวนสาธารณะและชายหาด หนองเลิงเปือย บึงแก่นน้าต้อน เป็นต้น ทรัพ ยากรดิน จังหวัดขอนแก่นมี พื้นที่ 6.8 ล้านไร่ ลักษณะดินเป็นดินทรายไม่อุ้มน้า สวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครขอนแก่น มี 7 แห่ง มีพื้นที่การเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่จังหวัด)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 10


5.2.2.5 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบน้า

ระบบจัดการน้​้า 1. เพิ่มบทบาทของโครงข่ายเส้นทางน้าในเมืองในการช่วยลดอุณหภูมิ เป็นพื้นที่นนั ทนาการ รองรับ การคมนาคมไร้มลพิษ และจัดการกับความเสี่ยงอุทกภัย 2. การจัดการน้า - น้าอุปโภค-บริโภค - น้าฝน-น้าหลาก-น้าท่วม - น้าเสีย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 11


กรณีศึกษา Philadelphia Green Streets Design Manual (ที่มา http://greaterplaces.com/project-topic/philadelphia-green-streets-design-manual/)

Biological Treatment: Constructed Wetlands

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 12


5.2.2.6 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบพลังงาน

การจัดการพลังงาน • ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • พลังงานหมุนเวียน กรณีศึกษา

ย่านอาคารในสถานทีร่ าชการ ย่านอาคารในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 13


(ที่มา http://www.landezine.com/index.php/2014/10/bill-melinda-gates-foundationcampus-by-gustafson-guthrie-nichol/bill_melinda_gates_foundationgustafson_guthrie_nichol-asla_award_2014-12/)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 14


5.2.2.7 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการขยะ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 15


กรณีศึกษา

(ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกระทรวงพลังงาน)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 16


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 17


5.2.2.8 ผังแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม

สถานีส้าราญ Car Pool

BRT Park & Ride สถานีท่าพระ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 18


5.3 การก้าหนดพื้นที่เฉพาะเพือ่ การออกแบบ

ภาพที่ 5-2 แสดงผังวิเคราะห์พื้นที่ศึกษาในการพัฒนาเมืองขอนแก่นและให้คะแนนตามเกณฑ์การออกแบบ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 19


ภาพที่ 5-3 แสดงกรอบแนวคิดด้านเมืองอัจฉริยะทั้งหมด 7 ด้าน แนวทางเสนอแนะการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด เทศบาลนครขอนแก่น สรุปพื้นที่นาไปสุ่การออกแบบมีดังนี้ 1. พื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) มีแนวคิดการพัฒนา สภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาดที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ ชุมชนอัจฉริยะ (smart community) และทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) ส่วนแนวคิดสนับสนุน ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 2 คือ การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility) ทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) และทฤษฎีข้อที่ 6 คือ อาคารอัจฉริยะ (smart building) 2. พื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) มี แ นวคิ ด การพั ฒ นาสภาพแวดล้ อ มและการ ออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาดที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 2 คือ การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility) ส่วน แนวคิดสนับสนุน ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 1 คือ พลังงานอัจฉริยะ (smart energy) ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ ชุมชนอัจฉริยะ (smart community) ทฤษฎีข้อที่ 4 คือ สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) ทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจ อัจฉริยะ (smart economy) ทฤษฎีข้อที่ 6 คือ อาคารอัจฉริยะ (smart building) และทฤษฎีข้อที่ 7 คือ การ ปกครองอัจฉริยะ (smart governance) 3. พื้นที่พื้นที่บึงแก่นนคร มีแนวคิดการพัฒนาสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาดที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ การศึกษาอัจฉริยะ (smart education) ส่วนแนวคิดสนับสนุน ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ ชุมชนอัจฉริยะ (smart รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 20


community) ทฤษฎีข้อที่ 4 คือ สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) และทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจ อัจฉริยะ (smart economy)

ภาพที่ 5-4 แสดงผังแนวทางเสนอแนะการพัฒนาเทศบาลนครขอนแก่น

ภาพที่ 5-5 แสดงการสัญจรอัจฉริยะ ระบบคมนาคมขนส่ง LRT รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5 - 21


บทที่ 6 การวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่กลางเมืองขอนแก่น 6.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันระดับพื้นที่ 6.1.1 ตาแหน่งที่ตั้ง พื้นที่ศึกษาบริเวณกลางเมืองตั้งอยู่ในใจกลางเทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พื้นที่กลาง เมืองมีบทบาทหลักเป็น ศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และศูนย์ราชการในระดับภูมิภาค โดยมี อาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับถนนศูนย์ราชการ ทิศตะวันออก ติดกับถนนหลังเมือง ทิศใต้ ติดกับบริเวณพื้นที่การรถไฟและถนนรื่นรมย์ ทิศตะวันตก ติดกับถนนมิตรภาพ

ภาพที่ 6-1 ผังแสดงตาแหน่งที่ตงั้ 6.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง บริบทภายในพื้นที่มีระบบถนนทั้งหมด 3 ประเภท จากการแบ่งลาดับศักดิ์ โดยประเภทแรก คือถนนสาย หลัก ได้แก่ ถนนทางหลวงหมายเลข 2 หรือ ถนนมิตรภาพอยู่ทางทิศตะวันตกของพื้นที่ ถนนประชาสโมสร ถนนศรี จันทร์ ถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง ถนนหลังเมือง และถนนรอบเมือง ประเภทที่สอง ซึ่งถนนสายหลังเป็นถนนที่มี การจราจรหนาแน่นในช่วงเช้าและ ช่วงเย็น ประเภทที่สอง คือถนนสายรอง ทาหน้าที่เป็นเส้นทางเชื่อมต่อจากสาย หลักไปยังชุมชน และประเภทที่สาม คือถนนซอยย่อย ทาหน้าที่เป็นเส้นทางย่อยในการเข้าถึงพื้นที่ต่างๆในชุมชน รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 1


ในพื้นที่มีการให้บริการระบบรถโดยสารสาธารณะ โดยรถ 2 แถวเป็นหลัก ซึ่งมีการให้บริการทั้งหมด 23 สายในการเข้าถึงพื้นที่ต่างๆ ในตัวเมืองที่สะดวกขึ้น

ภาพที่ 6-2 ผังแสดงการคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง

ภาพที่ 6-3 ผังแสดงเส้นทางรถ 2 แถว รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 2


6.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ จานวนประชากรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นมีประมาณ 184,859 คนมีความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 6.4 คน/ไร่ (จากการสารวจข้อมูลอาคารเพื่อการอยู่อาศัยในเขตผังเมืองรวมขอนแก่น) ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ย่านพื้นที่กลางเมืองมีการกาหนดการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีก พื้นที่ราชการ และพื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 6.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดนิ บริบทพื้นที่มีลักษณะการใช้ที่ดินไปในด้านพาณิชยกรรม การค้า พื้นที่ราชการ และที่อยู่อาศัย เป็นหลัก พื้นที่ศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจจะอยู่บริเวณ ถนนศรีจันทร์ บริเวณช่วงประตูเมืองไปจนถึงถนนหน้าเมือง และพื้นที่ ตลาดกลาง ซึ่งยังมีพื้นที่อยู่อาศัยกึ่งพาณิชยกรรมตามเส้นทางถนนสายหลักและสายรอง ส่วนพื้นที่ศูนย์กลางราชการ จะอยูบ่ ริเวณ ถนนประชาสโมสร ทางด้านทิศเหนือของย่านกลางเมือง

ภาพที่ 6-4 ผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดนิ การใช้ประโยชน์ที่ดินในย่านกลางเมืองโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นพื้นที่พาณิชยกรรมเพราะว่าอยู่ติดกับถนนเส้น เศรษฐกิจนั่นคือถนนมิตรภาพและถนนศรีจันทร์ซึ่งเป็นถนนที่ตัดเข้ามายังใจกลางเมือง โดยถนนนั้นก็จะผ่านสถานที่ สาคัญอาทิเช่น ศูนย์ราชการของเมืองขอนแก่น สถานีขนส่งของเมืองขอนแก่นย่านโรงแรมและห้างสรรพสินค้า รวมถึง ตลาดสดกลางเมืองอีกด้วย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 3


ภาพที่ 6-5 ผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดนิ 6.1.5 กลุ่มกิจกรรม

ภาพที่ 6-6 ผังแสดงลักษณะกลุม่ กิจกรรมวันจันทร์ถึงวันศุกร์ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 4


ภาพที่ 6-7 ผังแสดงลักษณะกลุม่ กิจกรรมวันเสาร์และวันอาทิตย์

ภาพที่ 6-8 ผังแสดงกลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจของเมือง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 5


ภาพที่ 6-9 ผังแสดงบทบาทของตลาด บทบาทของตลาดภายในเมืองขอนแก่นมีทั้งหมด 7 ตลาด ได้แก่ 1. ตลาดบางลาพู เวลาเปิด-ปิด 04.00-17.30 2. ตลาดสดเทศบาล 3 (โบ๊เบ๊) เวลาเปิด-ปิด 04.00-16.30 3. ตลาดสดเทศบาล 2 (อ.จิระ) เวลาเปิด-ปิด 04.00-16.00 4. ตลาดสดเทศบาล 1 (ตลาด2ชัน้ ) เวลาเปิด-ปิด 04.00-16.00 5. ตลาดรถไฟ ผัดผลไม้สด เวลาเปิด-ปิด 03.00-16.00 6. ตลาดโต้รุ่ง (ตลาดรื่นรมย์) เวลาเปิด-ปิด 17.00-02.00 7. ตลาดตองแปด เวลาเปิด-ปิด 06.00-22.00 ตลาดภายในเมืองขอนแก่น ซึ่งตั้งอยู่ในย่านกลางเมืองมีความหลากหลายตามสินค้าที่วางขายอยู่ภายในตลาด โดยเริ่มจากตลาดของเอกชนนั่นคือตลาดบางลาภูเป็นตลาดขายเสื้อผ้าเปิดตั้งแต่เช้าจนถึงตอนเย็นมีคนเข้ามาใช้งาน เป็นจานวนมากเพราะว่ามีความสะอาดถูกสุขลักษณะตามมาตรฐานของตลาด ซึ่งมี พื้นที่อยู่ติดกับถนนศรีจันทร์ถนน หน้าเมืองและถนนกลางเมืองมีศักยภาพสูงสะดวกต่อการเดินทางรวมถึงมีพื้นที่จอดรถสาหรับพ่อค้าแม่ค้าอีกด้วย ตลาดของเอกชนมีการบริหารจัดการที่ดีซึ่งแตกต่างกับตลาดสดของเทศบาลมีทั้งหมด 3 ตลาดนั่นคือตลาดเทศบาล 1 เป็นตลาด 2 ชั้นตลาดเทศบาล 2 ตลาดอ. จิระ และตลาดสดเทศบาล 3 คือตลาดโบ๊เบ๊ตั้งอยู่ติดกับโรงเรียนกัลยาณ วัตรมีโครงการที่จะสร้างอาคารใหม่เพื่อให้มีความทันสมัยตอบสนองต่อผู้ใช้งานของคนรุ่นใหม่ ตลาดอื่นที่อยู่โดยรอบก็ มีตลาดรถไฟซึ่งขายผักผลไม้ในราคาขายส่งและตลาดโต้รุ่งขึ้นจะเปิด ในตอนกลางคืนมีผู้ใช้งานเป็นจานวนมาก และ รวมถึงตลาดตองแปดเป็นตลาดที่คล้ายกับโรงอาหารมีร้านอาหารอยู่รายล้อมเปิดตั้งแต่เช้าจนเย็น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 6


6.1.6 อาคารและพื้นทีว่ ่าง

ภาพที่ 6-10 ผังแสดงอาคารและพื้นที่วา่ ง 6.1.7 พื้นที่สีเขียว

ภาพที่ 6-11 ผังแสดงพืน้ ที่สีเขียว รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 7


6.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS ของพื้นที่ย่านกลางเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ได้ทราบถึงรายละเอียด เนื้อหาที่สามารถอธิบายสาระในมิติของย่านกลางเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ได้ดั้งนี้ จุดแข็ง เป็นศูนย์กลางทางราชกาล เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การคมนาคมขนส่งและยังมีศักยภาพด้านการลงทุนการ พัฒนาในด้านเศรษฐกิจที่สูง และยังเป็นพื้นที่ที่มีการพัฒนาให้เป็นเมือง Mice city and Event city - เป็นศูนย์กลางทางด้านราชการ - เป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ - เป็นศูนย์กลางทางด้านวัฒนธรรม - เป็นศูนย์กลางทางด้านการคมนาคมขนส่ง - เป็นศูนย์กลางทางด้านการประชุมสัมมนาและกิจกรรม จุดอ่อน มีการจราจรที่หนาแน่นเนื่องจากเป็นเส้นทางผ่านไปสู่จังหวัดต่างๆ และยังเป็นเส้นทางคมนาคมของคนในเมือง ขอนแก่นและยังมีสถานีขนส่งที่อยู่บริเวณใจกลางเมืองทาให้ต้องมีรถบัสขนาดใหญ่วิ่งเข้ามาสู่ใจกลางเมืองซึ่งทาให้เกิด ปัญหาด้านการจราจรอีกด้วย - มีการจราจรที่หนาแน่น - โครงสร้างพื้นฐานยังไม่ดี - รสบัสปรับอากาศยังต้องเข้ามาใช้พื้นที่บริเวณสถานีขนส่ง โอกาส ตามแผนยุทธศาสตร์ของเทศบาลนครขอนแก่นที่มุ้งเน้นให้มีการพัฒนาศักยภาพนครขอนแก่นให้เป็นศูนย์กลาง ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม พัฒนาเมืองขอนแก่นเป็นศูนย์กลางแห่งการประชุมและการสัมมนา มีการพัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชลพื้นให้การเดินทางในเมืองได้สะดวกและโครสร้างพื้นฐานที่ เพียบพร้อมสามารถดึงนัก ลงทุนเข้ามาได้เป็ นจานวนมาก และยังได้กระแสของเมืองคาร์บอนต่าที่จ ะพัฒนาบริเวณศูนย์ ราชกาลมุ่งสู่สังคม คาร์บอนต่า - พัฒนาให้เป็นเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม - พัฒนาให้เป็นเมือง Mice city and Event city - มีโครงการรถไฟฟ้ารางเบา ภัยคุกคาม

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 8


ด้านประชากรแฝงที่เพิ่มมากขึ้นทาให้มีความต้องการทางผลผลิตที่สูงขึ้นด้วย และการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ จะเปลี่ยนประโยชน์การใช้ที่ดินจากที่พักอาศัยไปสู่การลงทุนในรูปแบบใหม่แล้วยังเป็นการทาลายทรัพยากรพื้นที่สี เขียวอีกด้วย - ประชากรแฝงที่มีมากขึ้น - การขยายตัวด้านเศรษฐกิจของนักลงทุน - พื้นที่สีเขียวลดลง

ภาพที่ 6-12 แสดงชุมชนเมืองในปัจจุบันบริเวณตลาดกลางเมืองและย่านเมืองเก่า ที่มา : Google Map 6.2.1 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ด้าน Mobility Data

ภาพที่ 6-13 แสดงภาพปัจจุบนั ของพื้นที่บริเวณถนนหน้าเมือง กลางเมืองและหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 9


ภาพที่ 6-14 แสดงผังเส้นทางสัญจรบริเวณถนนหน้าเมือง กลางเมืองและหลังเมือง ที่มา : ผู้ศกึ ษา

ภาพที่ 6-15 แสดงผังประวัติศาสตร์ของเมืองขอนแก่น ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 10


เมืองขอนแก่นเมื่อแรกตั้งนั้น ตั้งอยู่ที่บ้านโนนทอง (ปัจจุบันคือ บ้านเมืองเก่า )หลังจากตั้งเมืองขอนแก่นแล้ว ก็ได้มีการย้ายที่ตั้ง ที่ว่าการเมือง 6 ครั้งดังนี้การย้ายเมืองครั้งที่ 1 พ.ศ.2352(จากบ้านโนนทองไปบ้านดอนพันชาด) การย้ายเมืองครั้งที่ 2 พ.ศ.2381(จากบ้านดอนพันชาดไปบ้านโนนทัน)การย้ายเมืองครั้งที่ 3 พ.ศ.2424 (จากบ้านโนน ทันไปบ้านทุ่ม)การย้ายเมืองครั้งที่ 4 พ.ศ.2434(จากบ้านดอนบมรวมกับบ้านทุ่ม)การย้ายเมืองครั้งที่ 5 พ.ศ.2442(จาก บ้านทุ่มไปบ้านเมืองเก่า) การย้ายเมืองครั้งที่ 6 พ.ศ.2451 (จากบ้านเมืองเก่าไปบ้านพระลับ) แต่เดิมถนนสายหลักของเมืองขอนแก่น เป็นถนนเกวียนมีทั้งหมด 3 เส้นทาง ได้แก่ ถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง และถนนหลังเมือง ส่วนถนนมิตรภาพเริ่ม สร้างทีหลัง จุดแข็ง - รถสาธารณะให้บริการอย่างหลากหลาย เช่น รถ 2 แถว รถสามล้อถีบ รถมอเตอร์ไซต์พ่วงข้าง รถเมล์ KKTT - ถนนศรีจันทร์และถนนรื่นรมย์นาเสาไฟฟ้าลงดิน ทาให้ทัศนียภาพบนท้องถนนดีขึ้น - ทางเท้าที่น่าเดินส่งผลให้ร้านค้าบริเวณนั้นมีความเจริญเติบโตสูงขึ้น - วิถีชีวิตการขายของริมถนนทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ทาให้ถนนนั้นน่าเดิน จุดอ่อน - พื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ สังเกตได้จากการจอดรถยนต์ริมถนน - การจอดรถจักรยานยนต์ริมถนน ทาให้ผิวการจราจรน้อยลง - ร้านค้าแผงลอยตั้งอยู่บนทางเท้า ส่งผลให้ทางเดินเท้าแคบลง เดินไม่สะดวก - พื้นที่บริเวณหน้าโรงเรียนไม่ถูกส่งเสริมให้มีความปลอดภัย โอกาส - สถานีรถ BRT ใกล้กับสถานที่สาคัญย่านกลางเมือง -

การเดินเท้าจากสถานีรถสาธารณะสู่ตลาดได้อย่างสะดวกสบาย

-

การส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองช่วยทาให้คนเดินเท้ามากขึ้น

-

รูปแบบธุรกิจของคนรุ่นใหม่สามารถเข้ามาใช้พื้นที่ของบ้านเรือนเก่าในเมืองได้ ภัยคุกคาม - คนส่วนใหญ่ยังนิยมใช้รถยนต์สว่ นตัว - อาคารใหม่ที่ไม่รักษาเอกลักษณ์เดิม - ย่านกลางเมืองเริ่มขยายตัว ทาให้ความหนาแน่นภายในเมืองเพิม่ ขึ้น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 11


- พื้นที่เอกชนรายย่อยถูกกลุ่มนายทุนรายใหญ่ซื้อที่เพื่อพัฒนาด้านอสังหาริมทรัพย์ 6.2.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ตลาด

ภาพที่ 6-16 แสดงภาพปัจจุบนั ของตลาดสดเทศบาล 1 ตลาดสดเทศบาล 3 และตลาดบางลาภูในปัจจุบนั ที่มา : ผู้ศึกษา สภาพปัจจุบันของตลาดภายในตัวเมืองขอนแก่นมีทั้งหมด 3 ตลาดใหญ่ๆได้แก่ตลาดสดเทศบาล 1 ตลาดสด เทศบาล 3 และตลาดบางลาภู ซึ่งแต่ละตลาดขายของแตกต่างกันไป คือ ตลาดสดเทศบาล 1 เป็นตลาดขายของ อาหารสาเร็จรูป ขายดอกไม้แ ละผลไม้โดยอาคารมีทั้งหมด 2 ชั้น ชั้นล่างขายเป็นตลาด ส่ว นชั้น 2 เป็นพื้นที่ท า กิจกรรมของนักเรียน ซึ่งเป็นศูนย์ ICT มีคอมพิวเตอร์ให้ใช้งานได้ฟรี และยังมีห้องอบรมของชมรมต่างๆอีกด้วย ต่อมา ตลาดสดเทศบาล 3 เป็นตลาดที่ยังไม่ได้รับการปรับปรุงมี ความสกปรก โดยอาคารมีทั้งหมด 2 ชั้นแต่ว่าชั้น 2 ไม่ได้ถูก ใช้งานชั้นล่างขายของสด ซึ่งไม่มีการจัดการ ระบบน้าเสียที่ดี จึงทาให้มีน้านองอยู่ที่พื้นไม่ถูกสุขลักษณะของตลาด และ มีการขายของตามตึกแถวโดยรอบ ส่วนใหญ่จ ะเป็นของที่ใช้ภายในตลาดอย่างเช่นถุงพลาสติก ไม้กวาด เป็นต้ น บริเวณตึกแถวโดยรอบของตลาดสดเทศบาล 3 จะมีการขายของบนทางเท้าซึ่งกินพื้นที่ทางเท้าเข้ามา คนเดินตลาดจะ สัญจรได้อย่างลาบากเนื่องจากมีความกว้างค่อนข้างแคบ และตลาดสดสุดท้ายคือ ตลาดบางลาภู เป็นตลาดเอกชนแห่ง เดียวที่มีสุขลักษณะของตลาดถูกต้องตามมาตรฐาน มีการจัดการระบบน้าเสียและขยะเป็นอย่างดีอาการของตลาดมี ทั้งหมด 3 ชั้นคือชั้นล่างขายของสดและอาหารสาเร็จรูป ชั้นที่ 2 เป็นพื้นที่ entertainment ห้องนวด และชั้นที่ 3 คือ โรงเรียนสอนภาษาจีนซึ่งเป็นโรงเรียนที่เป็นของเอกชน และในบางครั้งก็เปิดสอนฟรีด้วย โดยอาคารแห่งนี้มีลิฟท์แก้ว รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 12


ให้ใช้บริการ มีความเหมาะสมกับคนทุกเพศทุกวัย และมีตลาดอีกแห่งหนึ่งนั่นคือตลาดโต้รุ่งซึ่งอยู่บนถนนรื่นรมย์เป็น ตลาดที่เปิดตอนกลางคืน มีความคึกคักเป็นอย่างมากส่วนใหญ่เป็นคนวัยรุ่นมาเดินซื้อของมีทางอาหารขนมและเสื้อผ้า ให้เลือกซื้อมากมาย

ภาพที่ 6-17 แสดงผังของพื้นที่ในปัจจุบันด้าน กลุ่มกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ ที่มา : ผู้ศึกษา จุดแข็งตลาดสดเทศบาล 1

- ตลาดผัก ตลาดของแห้ง กับข้าว ร้านกาแฟ ขายดอกไม้ พวงมาลัย ข้าวสาร ผลไม้ ไข่ ผักสด เสื้อ ภาพมือ 1 มือ 2 - ตาแหน่งที่ตั้งอยู่กลางเมือง สะดวกต่อการเดินทาง - พื้นที่จอดรถยนต์ใต้ดิน - ศูนย์ ICT เปิดบริการที่ชั้น 2 มีกลุ่มนักเรียนเข้ามาใช้งาน จุดแข็งตลาดสดเทศบาล 3

-

ตลาดค้าส่งเนื้อสด ตาแหน่งที่ตั้งอยู่กลางเมือง สะดวกต่อการเดินทาง ใกล้กับโรงเรียนมีนักเรียนเข้ามาใช้งาน ร้านค้าแผงลอยด้านหน้าตลาดทาให้คนเดินเยอะขึ้น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 13


จุดแข็งตลาดบางลาภู

-

ตลาดสด ตลาดของแห้ง กับข้าว เสื้อภาพมือ 1 มือ 2 การแบ่งสัดส่วนของตลาดมีความชัดเจน ตาแหน่งที่ตั้งอยู่กลางเมือง สะดวกต่อการเดินทาง พื้นของตลาดถูกสุขลักษณะ ย่านร้านขายส่งผ้า และร้านตัดเสื้อผ้า กลุ่มร้านค้าแผงลอยปักเสื้อนักเรียน จุดอ่อนตลาดสดเทศบาล 1

- การบริหารจัดการศูนย์ ICT ที่ไม่ครบวงจร / เครื่องคอมพิวเตอร์บางตัวไม่สามารถใช้งานได้ - บริเวณชัน้ จอดรถยนต์ใต้ดินมีกลิ่นไม่พึงประสงค์ - พื้นที่ชั้น 2 คนไม่ได้ขึ้นไปใช้งาน จุดอ่อนตลาดสดเทศบาล 3

-

การจัดการด้านขยะ / น้าเสีย ยังไม่ดีพอ พื้นของตลาดไม่ถูกสุขลักษณะ / ไม่สะอาด ร้านแร่เนื้อสด ระบบระบายน้าไม่ดี พื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ จอดรถจักรยานยนต์ริมถนน ถนนส่วนบริการใช้ทางเดียวกับคนเดินตลาด จุดอ่อนตลาดบางลาภู

- พื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ จอดรถจักรยานยนต์ริมถนน - ถนนในส่วนบริการใช้ทางเดียวกับคนเดินตลาด - ถนนกลางเมืองใกล้กับตลาด รถยนต์ขับค่อนข้างเร็ว เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ โอกาสตลาดสดเทศบาล 1 - การบริการด้านขนส่งสาธารณะด้วยระบบรถ BRT เดินทางเข้าสู่ตลาดได้อย่างสะดวกสบาย - การพัฒนาพื้นที่ชั้น 2 ให้ครบวงจร ทาให้มีกลุ่มผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้น รองรับทั้งนักเรียนและนักศึกษา - กลุ่มกิจกรรมรูปแบบใหม่สามารถใช้พื้นที่ชั้น 2 ของตลาด - พื้นที่รองรับกลุ่มวัยรุ่น คนรุ่นใหม่ - เตรียมจุดคัดแยกขยะต้นทาง โอกาสตลาดสดเทศบาล 3

- การบริการด้านขนส่งสาธารณะด้วยระบบรถ BRT จะมีสถานีตลาดกลางเมือง ซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อ การเดินทางเข้าสู่ตลาดได้อย่างสะดวกสบาย - ตาแหน่งของสถานี BRT อยู่ตรงกับตลาด สามารถสร้างทางเชื่อมต่อเข้าตลาดได้โดยตรง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 14


- ตลาดอยู่ตรงข้ามโรงเรียน ส่งผลให้กลุ่มนักเรียนเข้ามาเดิน / นั่งเล่นในตลาด - เตรียมจุดคัดแยกขยะต้นทาง โอกาสตลาดบางลาภู - สถานีรถ BRT อยู่ใกล้กับทางเข้าของตลาดสามารถทาทางเชื่อมต่อจากสถานีเข้ามาตลาดได้โดยตรง - พื้นที่ ชั้น 2 ของตลาดเป็นพื้นที่เพื่อความบันเทิงของกลุ่มคนทั่วไป สามารถรองรับกลุ่มคนรุ่นใหม่ - พื้นที่ ชั้น 3 ของตลาดเพิ่มศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง การบูรณาการกับภาษาอื่นๆ ภายในอาเซียน - เตรียมจุดคัดแยกขยะต้นทาง - ย่านขายเสื้อผ้า ชุดแต่งงาน ชุดนักเรียน ภัยคุกคามตลาดสดเทศบาล 1

- การขยายตัว ของเมืองทาให้ คนต้องการแหล่ งอาหารที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ส่ งผลให้ ตลาดเกิดความ หนาแน่น - รถขนส่งขนาดใหญ่ขับเข้ามายังถนนกลางเมืองส่งผลต่อการจราจรติดขัด ภัยคุกคามตลาดสดเทศบาล 3

- การรื้อตลาดทิ้งแล้วสร้างขึ้นใหม่ ส่งผลให้วิถีชีวิตทีดีของเดิมหายไป - กลุ่มนายทุนเข้ามาลงทุนสร้างตลาดขนาดใหญ่ค่าเช่าพื้นที่สูงขึ้น ทาให้กลุ่มแม่ค้าที่เคยขายอยู่เดิมไม่ สามารถเข้ามาขายได้ ภัยคุกคามตลาดบางลาภู

-

ตลาดเกิดการขยายตัว คนเดินตลาดนารถส่วนตัวมาตลาด ทาให้ที่จอดรถไม่เพียงพอ กลุ่มนายทุนเข้ามาซื้ออาคารรอบตลาดซึ่งอยู่ติดกับถนน ทาให้รูปแบบการค้าดั้งเดิมนั้นหายไป 6.2.3 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ถนนหลังเมือง จุดแข็ง

- รูปแบบอาคารสมัยเก่ายังคงมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน - ลักษณะการค้ายังคงรูปแบบเดิมจากในอดีต - บริบทวิถีชีวิตเรียบง่ายไม่วุ่นวาย จุดอ่อน - อาคารบางหลังถูกปล่อยร้างไม่ได้ใช้งาน - ทางเท้าแคบ ไม่สะดวกต่อคนเดินเท้า - กลุ่มร้านค้าค่อนข้างเงียบเหงา เนื่องจากไม่มีคนเดินเท้าเข้ามาใช้งาน โอกาส - ธุรกิจสมัยใหม่สามารถเข้ามาพัฒนาเศรษฐกิจย่านเมืองเก่า รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 15


- การบูรณะอาคารเก่าที่เสื่อมโทรมให้กลับมาสวยงาม - ถนนคนเดินย่ายเมืองเก่า โดยสามารถกระตุ้นการค้าให้รุ่งเรือง - การนาเสาไฟฟ้าลงดินจะช่วยให้สภาพแวดล้อมของถนนมีความสวยงามมากขึ้น น่าใช้งาน ภัยคุกคาม - กลุ่มนายทุนเข้ามาซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาด้านอสังหาริมทรัพย์ - การค้าในอดีตเริ่มเลือนรางหายไป เพราะไม่ได้รับการดูแลต่อจากคนรุ่นหลัง - การเจริญเติบโตของเมืองแผ่ขยายมา ทาให้อาคารเก่าถูกรื้อทิ้งเปลี่ยนเป็นอาคารรูปแบบใหม่ เปลี่ยนแปลงวิถี ชีวิตเดิม 6.3

ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT)

ภาพที่ 6-18 แสดงผังพืน้ ที่ออกแบบและพัฒนาพืน้ ที่นาร่องในการพัฒนาตลาดกลางเมืองด้วยแนวคิดตลาดอัจฉริยะ ที่มา : ผู้ศึกษา พื้นที่โครงการนาร่องในการพัฒนาพื้นที่สีแดงเข้มเป็นพื้นที่ในการออกแบบโครงการทั้ง 2 โครงการ นั่นคือ ตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า ส่วนพื้นที่ที่มีการศึกษา และมีผลต่อพื้นที่สีแดงนั่นคือพื้นที่ที่อยู่บริเวณโดยรอบ ส่งผล กระทบและมีปัจจัยเกื้อหนุนในการพัฒนาโครงการ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 16


โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ด้านเหนือ ติดต่อกับ ถนนศรีจนั ทน์ ด้านตะวันออก ติดต่อกับ ถนนหลังเมือง ด้านใต้ ติดต่อกับ ถนนรื่นจิตร ด้านตะวันตก ติดต่อกับ ถนนหน้าเมือง โครงการมีพื้นที่รวม 145.6 ไร่ (233000 ตารางเมตร ) ที่ตั้งโครงการ : โครงการนาร่องตั้งอยู่บริเวณตาบลในเมือง อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น การใช้ประโยชน์ที่ดิน : พื้นที่ที่อยู่อาศัย ย่านอาคารพาณิชยกรรม ตลาด สถานที่ราชการ และส่วนสาธารณะ จานวนประชากร : 113,754 คน และ 55,175 ครัวเรือน (ตามข้อมูลทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.2553) (ที่มา http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/districtList/S010107/th/56.htm)

ภาพที่ 6-19 แสดงผังสถานที่สาคัญ พื้นที่โครงการนาร่อง เป็นพื้นที่ของตลาดกลางเมืองและย่านเมืองเก่าซึ่งตั้งอยู่บนถนนหน้าเมืองกลางเมือง และหลังเมืองมีสถานที่สาคัญอยู่โดยรอบ ดังแผนภาพที่ปรากฏด้านบน พื้นที่ของราชพัสดุส่วนใหญ่จะเป็นตลาดสด ของเทศบาลและโรงเรียนกัลยาณวัตร อีกทั้งยังมีที่ทาการไปรษณีย์และสถานีตารวจภูธรอีก ด้วย ส่วนพื้นที่ของเอกชน ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่นั่นคือพื้นทีบ่ ริเวณตลาดบางลาภูมีการบริหารจัดการที่ดี พื้นที่แปลงขนาดใหญ่ซึ่งตั้งอยู่บริเวณนี้ ก็ยังมีโรงแรมสวัสดีและพื้นที่ตึกแถวต่างๆโดยรอบดังที่ปรากฏในภาพถัดมา มีโอกาสในการพัฒนาสูง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 17


ภาพที่ 6-20 แสดงแผนผังรูปแปลงที่ดนิ ในพืน้ ที่ศึกษา 6.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา พัฒนาย่านตลาดกลางเมืองสู่ตลาดอัจฉริยะ (SMART MARKET) และการพัฒนาย่านเมืองเก่าบนถนนหลัง เมืองสู่ชุมชนอัจฉริยะเพื่อรองรับกลุ่มคนยุคใหม่

-

6.3.2 ศักยภาพในการพัฒนา ตลาดอัจฉริยะ การบริการด้านขนส่งสาธารณะด้วยระบบรถ BRT สถานีตลาดกลางเมือง ซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อการเดิน ทางเข้าสู่ตลาด สถานีรถ BRT อยู่ใกล้กับทางเข้าของตลาดสามารถทาทางเชื่อมต่อจากสถานีเข้ามาตลาดได้โดยตรง การพัฒนาพื้นทีต่ ลาด ให้ครบวงจร ทาให้มีกลุ่มผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้น รองรับทั้งนักเรียนและนักศึกษา พื้นที่รองรับกลุ่มวัยรุ่น คนยุคใหม่ ย่านเมืองเก่า บริบทวิถีชีวติ เรียบง่ายไม่วนุ่ วาย ธุรกิจสมัยใหม่สามารถเข้ามาพัฒนาเศรษฐกิจย่านเมืองเก่า การบูรณะอาคารเก่าที่เสื่อมโทรมให้กลับมาสวยงาม ถนนคนเดินย่ายเมืองเก่า โดยสามารถกระตุ้นการค้าให้รุ่งเรือง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 18


-

-

6.3.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา ตลาดอัจฉริยะ ยกระดับตลาดกลางเมืองให้เป็นตลาดนัดสีเขียวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเดินเท้าจากสถานีขนส่ง BRT เข้าสู่ตลาด เพื่อสนับสนุนพืน้ ที่โดยรอบสถานีขนส่ง BRT มีการที่ดินแบบผสมผสาน เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจด้านอาหาร เพิ่มพื้นที่ Smart Farm ภายในเมือง ย่านเมืองเก่า เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจย่านเมืองเก่า สู่รูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและความปลอดภัยแก่ผู้อยู่อาศัย เพื่อสร้างเสริมชุมชนให้เป็นสถานที่พิเศษและมีแรงดึงดูด ด้วยความผูกพันกับสถานที่เมืองเก่า 6.3.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา ตลาดอัจฉริยะ เพื่อออกแบบรูปแบบการเคลื่อนที่ของคนภายในเมือง ได้แก่ ระบบการคมนาคมขนส่งสาธารณะ รถยนต์ ส่วนตัว จักรยาน รถสามล้อถีบ รถมอเตอร์ไซต์พ่วงข้าง และคนเดินเท้า เพื่อปรับปรุงวิถีชีวิตทีด่ ีของตลาดสู่ตลาดอัจฉริยะ เพื่อพัฒนาเอกลักษณ์ของแต่ละตลาดให้มีความโดดเด่นชัดเจน เพื่อลดความหนาแน่นของร้านค้าภายในตลาด เพื่อกาหนดการเดินเท้าจากจุดจอดรถขนส่งสาธารณะเข้าสู่ตลาด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อยูอ่ าศัยในอาคารแถว ย่านเมืองเก่า เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง ให้เป็นเมืองน่าเดิน เพื่อรักษาความหลากหลายของวิถีชีวิตที่ดียา่ นถนนหลังเมือง เพื่อรองรับกลุ่มคนยุคใหม่ เพื่อพัฒนาอาคารเก่าสู่กิจกรรมการค้ารูปแบบใหม่ เพื่อรักษาวิถีชีวิตที่ดีของผู้อยู่อาศัยบนถนนหลังเมือง เพื่อเพิ่มพื้นที่สาธารณะให้กับกลุ่มกิจกรรมใหม่ที่จะเกิดขึ้นภายในเมือง เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของอาคาร บ้านเรือน ร้านอาหาร

6.3.5 แนวความคิดหลัก ตลาดอัจฉริยะ และแนวคิดรองคือ การสัญจรอัจฉริยะและอาคารอัจฉริยะ ส่วนแนวคิด SMART GROWTH ได้เลือก หัวข้อเรื่องการใช้ที่ดินแบบผสมผสาน (Mix land uses) การสนับสนุนการออกแบบอาคารให้เกาะกลุ่มกัน แบบกระชับ (Take advantage of compact building design) และ การจัดหาทางเลือกการเดินทางและการ คมนาคมขนส่งที่มีความหลากหลาย (Provide a variety of transportation choices) รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 19


โดยแนวคิดด้านตลาดอัจฉริยะ มีองค์ประกอบดังนี้ 1. โมเดลทางธุรกิจตลาดอัจฉริยะ 2. นวัตกรรมรูปแบบการลงทุนสาหรับกลุ่มพ่อค้าแม่ค้ารุ่นใหม่ 3. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน สร้างเอกลักษณ์ของตลาด 4. การมีส่วนร่วมของกรรมการตลาดและหน่วยงานภาครัฐ 5. การส่งเสริมการเจริญเติบโตของตลาด 6. การเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการ 7. การกระจายรายได้สู่ประชาชน

ภาพที่ 6-21 แสดงผังของพื้นที่ในปัจจุบันด้าน วิถชี ีวิตของตลาด ที่มา : ผู้ศึกษา วิถชี ีวิตของตลาดในปัจจุบัน ตลาดในปัจจุบันแยกเป็น 3 ตลาดอย่างชัดเจนปัญหาท่าคัญคือ ไม่สามารถเดิน ถึงกันได้อย่างสะดวก ดังนั้นคนเดินเท้า หรือคนเดินตลาด จึงนิยมใช้รถจักรยานยนต์เพื่อเดินทางมาซื้อของ โดยคนแถว นี้ก็จอดรถจักรยานยนต์ริมถนนซึ่งกีดขวางทางสัญจรของรถทาให้เกิดปัญหารถติดอย่างที่เห็นในปัจจุบัน ระบบการเก็บขยะของแต่ละตลาดก็มีความแตกต่างกั นด้วยเพราะว่าตลาดของเอกชนมีการจัดการด้านขยะ อย่างเป็นระบบแต่ตลาดที่ดูแลโดยเทศบาล ไม่มีการจัดการขยะ และไม่มีการแยกขยะจากต้นทางทาให้เกิดปัญหาขยะ ล้นเมือง ดังนั้น จึงควรมีแผนในการจัดการระบบบาบัดน้าเสียและระบบกาจัดขยะอย่างเหมาะสม ซึ่งร้านค้าแผงลอยที่ ขายอยู่บนทางเท้า ซึ่งส่งผลต่อคนเดินทาง ไม่สามารถเดินได้อย่างสะดวกสบาย ผู้ออกแบบ จึงจาเป็นต้อง หาพื้นที่ที่ เหมาะสมสาหรับแม่ค้าพ่อค้าเหล่านั้น ลักษณะในงานออกแบบ จึงต้องจัดหาพื้นที่สาหรับ ค้าขายของสดและพื้นที่ สาหรับ แม่ค้าแผงลอยด้วย รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 20


ภาพที่ 6-22 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ตลาดกลางเมืองด้วยแนวคิดตลาดอัจฉริยะ ที่มา : ผู้ศึกษา พื้นที่การออกแบบบริเวณตลาดกลางเมือง ในอนาคตจะมี รถโดยสาร brt ซึ่งเป็นโครงการของ khon Kaen Think Tank วางระบบอยู่ทั่วทั้งเมือง โดยจะมี รถ brt สายสีเหลืองวิ่งผ่านบริเวณตลาดบางลาภู และมีสายสีชมพูและ สีเขียววิ่งผ่านบริเวณถนนกลางเมืองซึ่งอยู่ติดกับตลาดสดเทศบาล 3 และโรงเรียนกัลยาณวัตรในบริเวณนี้เองจะ กลายเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางขนาดใหญ่แห่งใหม่ของคนในเมืองขอนแก่น เนื่องจากบริเวณนี้มี รถสาธารณะเป็น จานวนมากอาทิเช่นรถสองแถวรถ รับจ้าง รถพ่วงข้าง และรถเมล์ ซึ่งจะมีคนมายืนรอเป็นจานวนมากมีทั้งพ่อค้าแม่ค้า คนเดินตลาดและนักเรียน ดังนั้นพื้นที่ตรงนี้จึงมีศักยภาพในการพัฒนาสูง ซึ่งทาให้การพัฒนาตลาดกลางเมืองสู่ตลาด อัจฉริยะจึงมีความจาเป็นอย่างมากสาหรับเมืองขอนแก่นตึกโตอย่างชาญฉลาด โดยการจัดการให้ตลาดมีความอัจฉริยะ นั้นจะต้องจัดการทางด้าน ระบบทางเดินเท้าภายในตลาดระบบการจัดการของพื้นที่ใช้งานเพื่อตอบรับกับคนทุกเพศ ทุกวั ย และที่ ส าคัญ คือต้ องเป็ น มิต รกับสิ่ ง แวดล้ อม โดยการจั ดการระบบบาบั ดน้ าเสีย และระบบกาจั ด ขยะให้มี ประสิทธิภาพ ชุมชนอัจฉริยะ และแนวคิดรองคือการสัญจรอัจฉริยะ อาคารอัจฉริยะและเศรษฐกิจอัจฉริยะ ส่วนแนวคิด SMART GROWTH ได้เลือก หัวข้อเรื่อง การสนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างย่านและชุมชนด้วยการเดิน (Create walkable neighborhood) โดยแนวคิดด้านชุมชนอัจฉริยะ มีองค์ประกอบดังนี้ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 21


1. 2. 3. 4. 5. 6.

การรักษาความปลอดภัย การออกแบบเพื่อทุกคน การมีส่วนร่วมในชุมชนพื้นทีบ่ ริการชุมชน ศูนย์การเรียนรู้อัจริยะ การจัดการภัยพิบัติและวิกฤตการณ์ สุขภาพและสุขภาวะ

ภาพที่ 6-23 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ยา่ นเมืองเก่าด้วยแนวคิดชุมชนอัจฉริยะ ที่มา : ผู้ศึกษา ย่านเมืองเก่าบริเวณชุมชนคุ้มพระลับ คือเมืองที่มีอยู่มากแต่เดิมตั้งแต่สมัยตั้งเมืองและย้ายเมืองมาอยู่บริเวณ นี้เป็นครั้งที่ 6 มีลักษณะของสถาปัตยกรรมเก่ามากมายให้เห็นอย่างเช่นเรือนแถวไม้ และร้านค้าซึ่งมีวิถีชีวิต สืบมา ตั้งแต่อดีต รวมถึงบริเวณถนนหลังเมืองนี้เต็ มไปด้วยคลินิก แพทย์มากมาย เนื่องจากนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะแพทยศาสตร์มีความโดดเด่นเป็นอย่างมาก คนในเมืองขอนแก่นจึงนิยมเปิดคลินิก เพื่อให้ คนขอนแก่นนั้นมีสุขภาพดีตามแนวคิดชุมชนอัจฉริยะนั่นคือการรักษาความปลอดภัยการดูแลสุขภาพและสุขภาวะของ คนที่อยู่อาศัยภายในชุมชนการออกแบบเพื่อทุกคนนั่นคือออกแบบเพื่อทุกเพศทุกวัย และภายในชุมชนจะต้องมี ความ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 22


ร่วมมือกัน จึงจะเกิดเป็ นชุมชนที่ เข้มแข็ง นามาซึ่งการจัดการศูนย์การเรียนรู้ส าหรับชุม ชน ชื่อเด็กไทยในชุมชน สามารถเข้ามาใช้บริการได้อีกทั้งยังมีศูนย์บริการนักท่องเที่ยวด้วยเพราะพื้นที่ถนนหลังเมืองนี้มีความเงียบสงบเหมาะ แก่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ย่านเมืองเก่า ดังนั้นเราจึงควรสนับสนุนทางด้านการท่องเที่ยวเพื่อให้เศรษฐกิจ ของย่าน เมืองเก่านี้มีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นในอนาคต 6.3.5.1 โครงสร้างการเชื่อมโยงและการเชื่อมต่อ (Linkage & Connection)

ภาพที่ 6-24 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ยา่ นกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา แนวคิดในการออกแบบให้ญาติกลางเมืองนี้มีความเชื่อมโยงและสามารถเชื่อมต่อกันได้ระหว่างตลาดกลาง เมืองและย่านเมืองเก่าบริเวณถนนหลังเมืองโดยเราจะต้องศึกษาเส้นทางสัญจรหลักของคนในย่านนี้นั่นคือ ถนนหน้า เมือง ถนนกลางเมืองและถนนหลังเมือง ซึ่งเป็นถนนในแนวแกนทิศเหนือและทิ ศใต้ ทาให้เมืองทางด้านทิศตะวันตก และทิศตะวันออก ยังไม่เชื่อมต่อกันอย่างสมบูรณ์ดังนั้นเราจึงออกแบบ เส้นทางการสัญจรจากทิศตะวันตกไปยังทิศ ตะวันออก ซึ่ง คนจากถนนหน้าเมืองสามารถเดินมายังถนนหลังเมืองได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสามารถ เดินทางได้อย่างสะดวกสบายรวมถึง ภายในตลาดเองก็มีการเชื่อมต่อถึงกันทั้งหมด 3 ตลาดโดยการใช้แนวแกน ทางเดินเชื่อมต่อกันซึ่ง มีพื้นที่สาคัญนั่นคือพื้นที่บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางที่สถานี brt ถนนศรีจันทร์ติดกับ ทางเข้าของตลาดบางลาภูแห่งใหม่ และจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางอีกแห่งหนึ่งนั่นคือบริเวณด้านหน้าตลาดสดเทศบาล 3 และโรงเรียนกัลยาณวัตร ซึ่งจะเป็นพื้นที่แห่งใหม่ ในการ เปลี่ยน รถสาธารณะ ในอนาคตเป็นต้น

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 23


6.3.5.2 กลุ่มกิจกรรม (Social Dynamic)

ภาพที่ 6-25 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ยา่ นกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา กลุ่มกิจกรรมภายในย่านกลางเมืองแบ่งได้หลายกลุ่ม อาทิเช่น กลุ่มร้านค้าที่ขายเสื้อผ้า กลุ่มร้านอาหาร กลุ่ม คลินิก และกลุ่มขายของสดในตลาด ซึ่งแต่ละกลุ่มมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปโดยเราสามารถจาแนกออก นายเป็น ย่านตามแผนภาพที่ปรากฏอยู่ด้านบน ซึ่งกลุ่มร้านค้าที่ขายเสื้อผ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆจะอยู่บริเวณตลาดบางลาภู บนถนน หน้าเมืองและถนนศรีจันทร์ เป็นลักษณะของตึกแถวที่อยู่ติดกัน และขายของ ในรูปแบบเดียวกัน ซึ่งทาให้คน เดินตลาดสามารถรับรู้ได้ว่าย่านนี้ขายเสื้อผ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่อมาคือกลุ่มคลินิก ซึ่งมีอยู่เป็นจานวนมากภายใน เมืองขอนแก่นอยู่ บริเวณถนนหลังเมืองมีทั้งคลินิกทาฟันคลินิกเสริมความงามและคลินิกแพทย์ทั่วไป โดยคลินิกเหล่านี้ อาศัยพื้นที่ในตึกแถวเก่า นามาปรับปรุงใหม่และทาเป็นพื้นที่ สาหรับคลินิก กลุ่มกิจกรรมถัดไปคือกลุ่มร้านอาหารจะ อยู่บริเวณถนนหน้าเมือง มีอาหารขายทั้งตอนกลางวันและตอนกลางคืน ซึ่งเป็นเมืองที่ไม่หลับไหล คนส่วนใหญ่นิยม ขับ รถยนต์ ส่ ว นตั ว มาจอดบริเวณริม ถนนหน้ า ร้า นอาหารเหล่ า นั้ น จึ งท าให้เกิด ปั ญ หารถติ ดภายในเมื อง บริเวณ ร้านอาหารอีกแห่งหนึ่งก็คือถนนรื่นรมย์ ซึ่งจะเป็นถนนที่ตรงไปยังสถานีรถไฟขอนแก่นมีร้านอาหารอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งเป็นร้านอาหารลักษณะใหม่เหมาะสาหรับคนยุคใหม่ที่มีแนวคิดในการนาตึกแถวเก่ามาพัฒนาเป็นร้านอาหารสไตล์ โมเดิร์น ดึงดูดการใช้งานจากกลุ่มคนยุคใหม่ ซึ่งพวกเขาเหล่านี้ ต้องการกลิ่นอายทางด้านสถาปัตยกรรม รูปแบบเก่า แต่ก็มีความต้องการทางด้านเทคโนโลยีอย่ างเช่นพื้นที่เล่น wifi ซึ่งในอนาคตกลุ่มคนเหล่านี้จะมีจานวนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อความต้องการพื้นที่นั่งทางานภายในร้านกาแฟ เป็นต้น กลุ่มกิจกรรมสุดท้ายนั่นคือ กลุ่ม ร้านค้าภายในตลาด รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 24


ซึ่งมีทั้งขายของสดและขายของแห้ง เกาะกลุ่มกันอยู่ ทั้ง 3 ตลาด แต่ไม่สามารถเดินเชื่อมถึงกันได้อย่างสะดวกสบาย ดังนั้นเราจึงต้องจัดกลุ่ม กิจกรรมเหล่านี้ให้มีความโดดเด่นและสามารถรับรู้ได้จากภายนอก โดยกลุ่มของร้านค้า จะมี การปรับปรุงรูปร่างของอาคารที่แสดงถึง รูปแบบของเส้นใยผ้า และบริเวณอาคารศูนย์ ict ที่ตลาดสดเทศบาล 1 มี การออกแบบให้ใช้จอ lcd เป็นรูปด้านของอาคารเพื่อแสดงถึงความล้าหน้าทางเทคโนโลยีของเมืองขอนแก่น นาไปสู่ การพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาด 6.3.5.3 ลักษณะเฉพาะที่มีเอกลักษณ์ (Identity)

ภาพที่ 6-26 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ยา่ นกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา แนวคิดในการวางผังลักษณะเฉพาะของอาคาร ในบริเวณพื้นที่นาร่องโครงการ นั่นคือการอนุรักษ์รูปด้านของ อาคารเก่าบริเวณถนนหลังเมืองซึ่งมีลักษณะของสถาปัตยกรรมเก่าตั้งแต่สมัยอดีต เช่นเรือนไม้แถวลักษณะแนวยาว เรียงติดต่อกันทาให้มีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นอย่างมากเหมาะสาหรับการสนับสนุนทางด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อีกทั้งบริเวณด้านหลังของถนนหลังเมืองก็มีชุมชนเก่า ที่มีลักษณะบ้านเป็นเรือนไม้ และอนุรักษ์จนถึงปัจจุบัน ในส่วน ของลูกจ้างบริเวณถนน ศรีจันทร์ซึ่ง ติดกับตลาดบางลาภูมีการปรับปรุงรูปด้านอาคารให้มีเอกลักษณ์ทางด้าน การขาย เสื้อผ้า และรูปร่างของตึกแถวโดยรอบของตลาดสดเทศบาล 1 แสดงออกถึงความเป็นเทคโนโลยีนาสมัยซึ่งจะเป็นการ เชื้อเชิญให้คนในบริเวณนั้นเข้าไปใช้งานพื้นที่ชั้น 2 ซึ่งเป็นศูนย์ ict จึงตอบสนองต่อแนวคิดการพัฒนาเมืองอย่างชาญ ฉลาดของเทศบาลนครขอนแก่น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 25


6.3.5.4 ลักษณะทางธรรมชาติ (Natural Features)

ภาพที่ 6-27 แสดงผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่ยา่ นกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา การวางผังออกแบบทางด้านสภาพแวดล้อมลักษณะธรรมชาติ ซึ่งอยู่ภายในตัวเมืองขอนแก่น โดยลักษณะ ของการออกแบบพื้นที่สีเขียวภายในเมืองนั้น เป็นไปได้ยากในการออกแบบพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ดังนั้นเราจึงต้อง ออกแบบพื้นที่สีเขียวในลักษณะแนวยาวตามถนนซึ่งมีตลอดแนวของถนนบริเวณถนนศรีจันทร์ถนนหน้าเมืองถนน กลางเมืองและถนนหลักเมือง ซึ่งมี 2 รูปแบบในการ เพิ่มพื้นที่สีเขียวนั่นคือ พื้นที่ทางเดินเท้าสีเขียว จะเป็นการเพิ่ม ต้นไม้ในบริเวณพื้นที่ที่มีทางเท้าความกว้าง ขนาด 5 เมตรขึ้นไปจะสามารถแบ่งพื้นที่สาหรับทางเดินเท้าและพื้นที่ปลูก ต้นไม้ได้อย่างเหมาะสม และในลักษณะของการออกแบบ ให้รู้สึกถึงความ เป็นสีเขียวและร่มรื่น โดยการใช้แนวพุ่มไม้ เตี้ยหรือแนวผนังสีเขียวในการสร้างความร่มรื่นให้กับคนเดินเท้า ซึ่งมีผลดีต่อ ความเป็นมิตรในการเดินเท้า ทาให้คนมี ความต้องการเดินมากขึ้น เนื่องจากลักษณะ สภาพอากาศของประเทศไทย ไม่เหมาะสมกับ การเดินเท้าเท่าที่ควร ถ้า หากมีการออกแบบพื้นที่ให้มีความร่มรื่นน่าใช้งานเดินทางได้สะดวกสบายจะส่งเสริมการเดินให้กับคนขอนแก่นเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังได้ ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการขายของริมทาง และรูปแบบเศรษฐกิจใหม่ๆภายในตัวเมือง

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 26


6.3.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT)

ภาพที่ 6-28 แสดงผังแนวความคิดโครงข่ายการคมนาคมในการออกแบบพื้นที่ย่านกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา 1. จุดขึ้น-ลง รถ BRT ติดกับทางเข้าตลาดบางลาภู 2. กลุ่มร้านค้าขายเสื้อผ้า 3. ลานโล่งสาธารณะของตลาดบางลาภู 4. รูปด้านอาคารแสดงเอกลักษณ์ของย่านค้าขายผ้า 5. ตลาดสดเทศบาล 3 แห่งใหม่ 6. จุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางบนถนนกลางเมือง 7. ตลาดสดเทศบาล 1 ศูนย์ ICT และห้องกิจกรรมสาหรับคนยุคใหม่ 8. ทางเชื่อมจากถนนกลางเมืองสู่ศูนย์ ICT บริเวณชั้น 2 ของตลาดสดเทศบาล 1 9. รูปด้านอาคารแสดงเอกลักษณ์ของย่านเทคโนโลยี 10. อาคารเก่าบนถนนหลังเมืองที่ถูกอนุรักษ์ 11. ลานโล่งสาธารณะด้านหน้าโรงเจฮกเซี่ยงตึ้งเชื่อมต่อกับศูนย์บริการชุมชน 12. ร้านค้าของชุมชนคุ้มพระลับ 13. ถนนสายเศรษฐกิจเชื่อมถนนกลางเมืองและหลังเมือง

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 27


6.3.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT)

ภาพที่ 6-29 แสดง ผังแม่บทโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) ที่มา : ผู้ศึกษา ผังการออกแบบพื้นที่โครงการ เริ่มจากระบบการสัญจร ภายในตลาดทั้ง 3 แห่งสามารถเดินเชื่อมถึงกันได้ อย่างสะดวกสบายโดยเริ่มจากจุดลงสถานี brt ด้านหน้าของตลาดบางลาภูสามารถเดินทะลุ เข้ามายังพื้นที่ของอาคาร ขายของสดและสามารถเดินต่อมายังตลาดสดเทศบาล 3 แห่งใหม่ซึ่งเราออกแบบให้มีทั้งหมด 3 ชั้นประกอบไปด้วยที่ จอดรถใต้ดิน ชั้น 1 เป็นตลาดสดและชั้น 2 เป็น พื้นที่เรียนรู้สาหรับคนยุคใหม่ โดยมีการเดินทางที่สะดวกสบายด้วย การใช้บันไดเลื่อนและมีจุดกระจาย wifi อยู่ภายในศูนย์การเรียนรู้อีกด้วย เมื่อเดินออกมาจากตลาดสดเทศบาลสามก็ จะพบกับ พื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางแห่งใหม่ ที่มีพื้นที่รอรถขนาดใหญ่สามารถรองรับคนได้เป็นจานวนมาก และ เดินจากบริเวณนี้ไปยังตลาดสดเทศบาล 1 อย่างสะดวกสบาย ด้วยทางเท้าที่มีต้นไม้รายล้อมสีเขียวและสามารถเดินขึน้ ไปยังศูนย์ไอซีทีชั้น 2 ได้จากด้านหน้าของตลาดเลยไม่จาเป็นต้องเดินผ่านตลาดสดชั้น 1 บริเวณตลาดทั้ง 3 นี้สามารถ เชื่อมต่อกับย่านเมืองเก่าซึ่งเป็นเขตการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บริเวณถนนหลังเมืองได้ ด้วย ถนนสายเศรษฐกิจที่มีการ ค้าขายตลอดสองข้างทางช่วยกระตุ้น ให้ร้านค้ามีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อเดินมายังย่าน ชุมชนคุ้มพระลับ ซึ่งมีศาลเจ้าอยู่ ผู้ออกแบบได้เปิดพื้นที่โล่งกว้างสาหรับคนที่จะมายังศาลเจ้าแห่งนี้และสามารถใช้เป็นพื้นที่จุดรวมพลสาหรับคนใน รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 28


ชุมชนด้วย ถนนหลังเมืองแห่งนี้มีศูนย์บริการนักท่องเที่ยวและศูนย์บริการของชุมชน โดยอาศัยพื้นที่ของอาคารที่ไม่มี การใช้งานอยู่เดิม มาเพิ่มมูลค่าของอาคารเหล่านั้นด้วยการนารูปแบบใหม่ โดยทางเข้าของชุมชนยังมีร้านค้า ซึ่ง คนใน ชุมชนนั้นได้นาสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ของย่านนั้นมาขายนักท่องเที่ยวเป็นการกระจายรายได้สู่คนในชุมชน

ภาพที่ 6-30 แสดงทัศนียภาพของถนนคนเดินในชุมชนเก่าบนถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-31 แสดงทัศนียภาพของถนนคนเดินในชุมชนเก่าบนถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 29


ภาพที่ 6-32 แสดงบรรยากาศของถนนคนเดินในชุมชนเก่าบนถนนหลังเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-33 แสดงบรรยากาศก่อน-หลังการปรับปรุงจุดขึ้น-ลง รถ BRT ติดกับทางเข้าตลาดบางลาภูและเป็นจุดหมาย ตาแห่งใหม่ของตลาดกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 30


ภาพที่ 6-34 แสดงบรรยากาศก่อน-หลังการปรับปรุงจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางบนถนนกลางเมือง ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-35 แสดงบรรยากาศก่อน-หลังการปรับปรุงตลาดสดเทศบาล 3 แห่งใหม่ โดยชัน้ 1 ขายของสดและชั้น 2 ศูนย์ทากิจกรรมสาหรับคนยุคใหม่ ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 31


ภาพที่ 6-36 แสดงบรรยากาศก่อน-หลังการปรับปรุงทางเชื่อมจากถนนกลางเมืองสู่ศูนย์ ICT บริเวณชั้น 2 ของตลาด สดเทศบาล 1 ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-37 แสดงบรรยากาศก่อน-หลังการปรับปรุงอาคารเก่าบนถนนหลังเมืองที่ถูกอนุรักษ์และปรับปรุงภูมิทัศน์บน ทางเท้า: ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 32


ภาพที่ 6-38 แสดงบรรยากาศก่อน-หลังการปรับปรุงถนนสายเศรษฐกิจเชื่อมถนนกลางเมืองและหลังเมือง กลุ่ม ร้านอาหารและร้านกาแฟยุคใหม่ ที่มา : ผู้ศึกษา

6.4 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE)

ภาพที่ 6-39 ภาพแสดงพืน้ ที่ศึกษาบริเวณย่านถนนศรีจันทร์ (แยกประตูเมือง-สถานีขนส่งแห่งที่ 2) ที่มา : google map รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 33


อาณาบริเวณติดต่อ ด้านทิศเหนือ ติดกับย่านที่อยู่อาศัย และย่านราชการ ด้านทิศตะวันออกก ติดต่อกับย่านตลาดเทศบาลบริเวณถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง และถนน หลังเมือง และย่านที่พักอาศัยชุมชน ด้านทิศใต้ ติดต่อกับ สถานีรถไฟเดิม ย่านที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม และบึงแก่นนคร ด้านทิศตะวันตก ติดกับถนนมิตรภาพ บึงหนองโคตร และย่านที่อยู่อาศัย 6.4.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา “ SMART MICE “ ศูนย์กลางการประชุม ธุรกิจ และคมนาคม ที่ยั่งยืน 6.4.2 ศักยภาพในการพัฒนา ถนนศรีจันทร์ เป็นศูนย์กลางทางพาณิชยกรรมหลักของย่านกลางเมือง โดยปัจจุบนั บริเวณแยกประตูเมืองติดกับ ถนนมิตรภาพเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมใหม่ (NEW CBD) และบริเวณแยกหน้าเมือง กลางเมือง หลังเมืองศูนย์กลาง พาณิชยกรรมปัจจุบัน (EXISTING CBD) ตลอดเส้นทางประกอบไปด้วยห้างสรรพสินค้า สวนสาธารระ ศาลหลักเมือง สถานที่ราชการ โรงเรียน โรงแรม และตึกแถวร้านค้าชุมชน จุดแข็ง (strength) - ถนนศรีจันทร์ มีศูนย์ประชุม โรงแรม ห้างสรรพสินค้า รองรับกลุ่มธุรกิจไมซ์ อยู่เป็นจานวน มากในปัจจุบัน - มีระบบคมนาคมที่ดี และหลากหลาย พร้อมทั้งมีโครงการของรัฐที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่าง รถไฟฟ้า LRT และ BRT - เป็นพื้นที่รวมกิจกรรมทางวัฒนธรรม และประเพณี เช่น สงกรานต์บนถนนข้าวเหนียว , สถานที่ตงั้ ของศาลหลักเมือง เป็นต้น - เป็นเส้นทางที่รัฐมีโครงการพัฒนาอยู่แล้ว เช่น นาสายไฟลงดิน พัฒนา street furniture เป็นต้น โอกาส (opportunity) - รัฐมีนโยบายสนับสนุนให้ขอนแก่น เป้น mice แห่งที่ 5 ทาให้มีโอกาสส่งเสริมธุรกิจไมซ์ การจัดประชุม นิทรรศกาลเพิ่มมากขึ้น - โอกาสจากโครงการด้านคมนาคม เช่น รถไฟฟ้ารางเบา ทาให้สามารถพัฒนาพืน้ ที่ โดยรอบสถานีได้ เนื่องจากเป็นจุดหลักในการรับ-ส่งผูโ้ ดยสาร - โอกาสในการส่งเสริม วัฒนธรรม ประเพณี บนถนนศรีจันทร์ และบริเวณโดยรอบ ศาลหลักเมือง ให้เป็น node การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม - มีโอกาสพัฒนาพืน้ ที่ที่มีอยู่เดิมของรัฐได้หลายพืน้ ที่ เช่น พื้นที่การรถไฟ ราชพัสดุ ธนา รักษ์ เป็นต้น

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 34


จุดอ่อน (weakness) - พื้นที่สีเขียว และแหล่งพักผ่อนเข้าถึงได้ลาบาก - อาคารพาณิชย์ที่มีอยู่ยังใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ - การค้าชุมชนเริ่มซบเซา ภัยคุกคาม (threats) - การเพิ่มความหนาแน่นของพื้นที่ ในอนาคต - การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์อาคาร ทีไ่ ม่สอดคล้องกับแนวความคิดเมืองกระชับ ทาให้ เกิดความหนาแน่นในพื้นที่ๆรัฐไม่ได้ส่งเสริม - ชุมชนเดิมอาจได้รับผลกระทบ จากการพัฒนาที่อยู่อาศัยความหนาแน่นสูง ทาให้การรักษา ประเพณี วัฒนธรมมลดลง เนื่องผู้เข้ามาใหม่ไม่ใช่คนพื้นที่เดิม

ภาพที่ 6-40 ภาพแสดงการใช้ประโยชน์อาคารบริเวณพืน้ ที่ศึกษา ที่มา : ผู้ศึกษา ลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารในบริเวณพื้นที่ศึกษา ส่วนใหญ่เป็นตึกแถวพาณิชยกรรมกึ่งอยู่อาศัย โดย บริเวณแยกประตูเมืองหนาแน่นเบาบาง มีอาคารเซนทรัลเป็นจุดเด่น และเริ่มหนาแน่นขึ้นบริเวณศาลหลักเมือง ไป จนถึงแยกกลางเมืองซึ่งเป็นบริเวณย่านการค้าเก่า ที่มีชุมชนอยู่อาศัยเป็นจานวนมาก ประเภทพาณิชยกรรมที่สังเกตได้ ชัดเจนเป็นการค้าประเภทห้างทอง ธนาคาร IT และความงาม โดยที่มีโรงเรียนขนาดใหญ่ 2 แห่ง คือโรงเรียนฮั้วเคี้ยว และขอนแก่นวิทยายน รวมถึงศาลหลักเมือง และเทศบาลนคร เป็นศูนย์กลางการบริการของย่านนี้ บริเวณรอบนอก ของถนนศรีจันทร์ เป็นที่อยู่อาศัย และชุมชนเดิม รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 35


ภาพที่ 6-41 ภาพแสดงระบบคมนาคม ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-42 ภาพแสดงกรรมสิทธ์ที่ดิน ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 36


ภาพที่ 6-43 ภาพแสดงพืน้ ที่สีเขียวและอาคารไม้เก่าน่าสนใจ ที่มา : จากการารวจและเว็บไซต์ google 6.4.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา เพื่อศึกษาจัดทาแผนพัฒนาทางด้านกายภาพ รองรับการพัฒนาชุมชนย่านพาณิชยกรรมบถนนนศรีจันทร์ ให้ เป็นศูนย์กลางทางด้านการประชุม และธุรกิจของย่าน โดยอาศัยการออกแบบที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมของชุมชนในปัจจุบัน รวมถึงรองรับการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ให้มีการพัฒนาชุมชนอย่าง ยั่งยืน ตามแนวคิด SMART CITY 6.4.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา - เพื่อพัฒนาศูนย์การจัดประชุม นิทรรศการ กลุ่มนักท่องเที่ยว รองรับการเป็น MICE ระดับ นานาชาติ - เพื่อพัฒนาโครงข่ายคมนาคมระหว่างศูนย์พาณิชยกรรมใหม่และศูนย์พาณิชยกรรมเดิม - เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการเดินเท้าภายในย่านศูนย์การประชุม และธุรกิจการค้า - เพื่อพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน รองรับกลุ่ม MICE และชุมชนในพื้นที่เดิม 6.4.5 แนวความคิดหลัก บทบาทย่านถนนศรีจันทร์ในอนาคต ถนนศรีจันทร์ในอนาคตจากโครงการที่รัฐได้มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่าง รถไฟฟ้ารางเบา และโครงการคมนาคมรถด่วน brt ทาให้ย่านถนนศรีจันทร์มีโอกาสพัฒนาเป็นศูนย์กลาง MICE ระดับ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 37


นานาชาติ และศูนย์กลางธุรกิจการค้าของภูมิภาค ทาให้กลุ่มเป้าหมายหลักในอนาคตจะเป็นกลุ่มนักธุรกิจนักท่องเที่ยว ที่จะเข้ามาในพื้นที่เป็นจานวนมาก และทาให้มีสถานที่รองรับการจัดงานประชุม และนิทรรศการ เพิ่มขึ้นเป็ นกิจกรรม หลักที่จะเกิดภายในย่าน ส่งผลต่อเนื่องทาให้เกิดกิจกรรมรองรับกลุ่มเหล่านี้ตามมา คือสถานที่ท่องเที่ยว ช้อปปิ้ง และ แหล่งพักผ่อน ในยามว่าง และนากรอบแนวความคิด smart city มาเป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนาพื้นที่ศึกษา

ภาพที่ 6-44 ภาพแสดงแนวความคิด mice บนพื้นที่ศึกษา ที่มา : ผู้ศึกษา 6.4.5.1 โครงสร้างการเชื่อมโยงและการเชื่อมต่อ (Linkage & Connection)

ภาพที่ 6-45 ภาพแสดงแนวความคิดโครงข่ายการเดินเท้า และการใช้จักรยาน ในพืน้ ที่ศึกษา ทีม่ า : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 38


ภาพที่ 6-46 ภาพแสดงแนวความคิดโครงข่ายสีเขียว ที่มา : ผู้ศกึ ษา

6.4.5.2 กลุ่มกิจกรรม (Social Dynamic)

ภาพที่ 6-47 ภาพแสดงแนวความคิดชื่อมโยงกินกรรมบนพืน้ ที่ศกึ ษา ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 39


6.4.5.3 ลักษณะเฉพาะที่มีเอกลักษณ์ (Identity)

ภาพที่ 6-48 ภาพแสดงเอกลักษณ์และสิ่งปลูกสร้างน่าสนใจในพืน้ ที่ศึกษา ที่มา : เว็บไซต์ google ถนนศรีจันทร์ มีความหลากหลายมากทั้งชาวจีน ชาวาทย ชาวมอญ รวมถึงชาวมุสลิมทาให้สิ่ง ปลูกสร้างต่างๆมีความหลายน่าสนใจและเป็นทีส่ ังเกตของนักท่องเที่ยวผู้มาเยือนผ่านไปมาได้เป็นอย่างดี เช่น สถาปัตยกรรมที่แสดงถึงในอดีตอย่างศาลหลักเมืองไทยผสมจีน อาคารไม้แบบชาวไทยเก่ายุคก่อน โรงเรียนวัฒนธรรม จีน ไปจนถึงอาคารสิ่งปลูกสร้างร่วมสมัย อย่างเซนทรัล โรงแรมพูลแมนเป็นต้น สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตตั้งแต่ยุค สมัยก่อน มาจนถึงปัจจุบัน 6.4.5.4 ลักษณะทางธรรมชาติ (Natural features) ลักษณะทางธรรมชาติของย่านศรีจันทร์ เป็นพืน้ เอียงจากบริเวณแยกกลางเมืองซึ่งเป็นทีส่ ูง ลาด เอียงมายังพื้นที่ตาคื ่ อแยกประตูเมือง ทาให้เวลาอยู่บนแยกกลางเมืองจะทาให้เกิดมุมมองที่มีลักษณะ น่าสนใจ ขณะที่เมือ่มองกลับมาจากแยกประตูเมือง ก็จะเห็นมุมมองของที่ลาดขึ้นเข้าสู้ตัวเมือง เป็นจุด นาสายตาที่ดีเช่นกัน ซึ่งเป็นทิศทางพระอาทิตย์ขึ้นและตก ของในแต่ละช่วงวัน

ภาพที่ 6-49 ภาพแสดงมุมมองลักษณะทางธรรมชาตินา่ สนใจ ที่มา : เว็บไซต์ google

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 40


6.4.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE)

ภาพที่ 6-50 ภาพแสดงโปรแกรมการออกแบบ ที่มา : ผู้ศึกษา 1.ศูนย์ประชุม shopping mall โรงแรม สานักงาน ที่จอดรถ 2.โรงแรม สานักงาน ร้านค้า 3.สานักงานและพาณิชยกรรมค้า ที่อยู่อาศัยขนาดกลาง 4.พืนที่สีเขียวและนันทนาการ 5.ปรับปรุงฟื้นฟูพืทางเดินชุมชนตามแนวรางรถไฟ 6.ปรับปรุงอาคารเก่า ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ส่งเสริมวัฒนธรรม ศาลหลักเมือง 7.โครงการพัฒนากลุ่มร้านค้าพาณิชย์ใหม่ 8.ฟื้นฟูร้านค้าชุมชน ปรับปรุงอาคารเดิมนากลับมาพัฒนาเป็นโครงการร้านค้ารักษารูปแบบอาคารเก่า 9.ทางเดินเท้าลอยฟ้าเชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้า LRT

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 41


6.4.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ยา่ นธุรกิจการค้า (SMART MICE)

ภาพที่ 6-51 ภาพแสดงทัศนียภาพมุมสูงพืน้ ที่ศึกษา ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-52 ภาพแสดงทัศนียภาพบริเวณสะพานลอยทางเชื่อสถานีกับพืน้ ที่ใกล้เคียง ที่มา : ผูศ้ ึกษา

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 42


ภาพที่ 6-53 ภาพแสดงทัศนียภาพบริเวณทางเดินชุมชนริมทางรถไฟสายเก่า ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาพที่ 6-54 ภาพแสดงทัศนียภาพบริเวณรอบศาลหลักเมือง ทีม่ า : ผู้ศึกษา

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 43


ภาพที่ 6-55 ภาพแสดงทัศนียภาพบริเวณย่านการค้าบนถนนศรีจันทร์ แยกหน้าเมือง ที่มา : ผูศ้ ึกษา 6.5

ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ 6.5.1 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะ และย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT)

ภาพที่ 6-56 แสดงผังพืน้ ที่ออกแบบและพัฒนาพืน้ ที่นาร่องในการพัฒนาตลาดกลางเมืองด้วยแนวคิดตลาดอัจฉริยะ ที่มา : ผู้ศึกษา รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 44


แนวคิดการพัฒนาสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาดที่สนับสนุนหลัก ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 3 คือ ชุมชนอัจฉริยะ (smart community) และทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) แนวคิดสนับสนุน ได้แก่ ทฤษฎีข้อที่ 2 คือ การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility) ทฤษฎีข้อที่ 5 คือ เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) และทฤษฎีข้อที่ 6 คือ อาคารอัจฉริยะ (smart building) การวิเคราะห์ด้านการเชื่อมโยงแย่มาก จึงออกแบบลักษณะทางภายภาพ สร้าง connection ที่ดี เดินเท้าได้ สะดวกสบายมากขึ้น ระบบทางสัญจร เวลาการเปิด-ปิดทางเข้าออก และตัวเลือกในการเดินทางในซอยย่อยของตลาด ถนน service ต้องแยกออกมาให้ชัดเจน สามารถบอกเวลาเปิด-ปิด จะยิ่งดี ลักษณะเอกลักษณ์ของตลาดที่ดีเรายังคง เก็บรักษาไว้ ซึ่งนาไปสู่การจัดพื้นที่ให้มีระเบียบมากขึ้น เมืองมีความสะอาด อัตลักษณ์ของตลาดสร้างภาพลักษณ์ ออกมาให้มีความโดดเด่น รูปด้านของตลาดสดเทศบาล 1 ในส่วนของการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีควรเป็นจอ LCD ที่มี สื่อการเรียนรู้น่าดึงดูดการใช้งาน การสร้าง Connection ให้ดีก่อน ทางสัญจรของคนและรถ จุดเปลี่ยนถ่ายหลักๆ และส่งเสริมด้วย Nature feature ถ้าหากพื้นที่จากัดอาจจะส่งเสริมพื้นที่สีเขยวแนวตั้ง ถ้าเป็นถนนคนเดิน ระบบการสัญจรของรถยนต์จะ เปลี่ยนเป็นอย่างไร ติดตั้งเสากั้นถนนให้คนเดิน กั้นรถยนต์ สร้าง linkage ให้เดินเชื่อมโยงกันได้ทั้ง 3 ตลาด โดยมีป้าย รถเมล์ตรงด้านหน้าตลาดสดเทศบาล 3 และหน้าโรงเรียนควรมีการออกแบบที่มีจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง ควรมีเลน สาหรับรถโนสารสาธารณะ ต้องออกแบบเพื่อรองรับได้เป้นอย่างดี เตรียมพื้นที่รองรับ ควรมีที่นั่งรอ กระจายออกมา ด้วย และรูปแบบป้ายรถเมล์ฝั่งตลาดสดเทศบาล3 อาจจะมี 3 ป้าย เป็นแถวเรียงยาวต่อกัน ซึ่งเป็นรถ BRT 2 ป้าย และป้ายรถสองแถว ย่านอนุรักษ์เมืองเก่า จะใช้กฎหมายควบคุมอาคาร ด้านชุมชนเเมืองเก่า บริเวณทางเข้าชุมชนคุ้มพระลับ มี เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญต่อเมืองขอนแก่น ความเป็นมาของชุมชนตั้งแต่ยุคก่อสร้างเมือง และระบบถนน ของเดิมจะจัดการโดยยกระบบทางเท้าให้สาคัญมากขึ้น ผู้ขับขี่ยานพาหนะเคารพต่อคนเดินเท้ามีความระมัดระวังมาก ขึ้น ภายในย่า นอนุ รักษ์ไ ม่ต้องการสร้างอะไรใหม่ แต่เป็นบ้า นเก่าที่มี ระบบทางเท้า ที่ดี ต้นไม้ที่สวยงาม ควบคุ ม สภาพแวดล้อม ควบคุมรูปด้านของอาคารให้คงความเป้นเอกลักษณ์เดิม

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 45


6.5.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพืน้ ที่วางผังออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE)

ภาพที่ 6-57 แสดงผังพืน้ ที่ออกแบบและพัฒนาพืน้ ที่นาร่องในการพัฒนาถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) ที่มา : ผู้ศึกษา - การเติบโตอย่างชาญฉลาด สนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดนิ แบบผสมผสาน ลดการใช้พลังงานในการเดินทาง - การใช้ประโยชน์อาคารแบบกระชับ - สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยาน ยานพาหนะประหยะดพลังงาน ภายในย่านศูนย์ประชุม และย่านถนน ศรีจันทร์ - ฟื้นฟูวิถีชีวิตการค้าชุมชนเดิม บริเวณแยกหน้าเมือง และโดยรอบบริเวณศาลหลักเมือง - การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ฟืน้ ฟูการค้า ให้กลับมาคึกคักโดยการปรับปรุงการใช้อาคารเดิมที่มอี ยู่ และคงความ เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่นนั้ ไว้ - การรักษาพื้นที่สีเขียวเดิมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นทีโ่ ล่งสาธารณะให้มากขึ้น - การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่ง (TOD) พัฒนาเพิ่มความหนาแน่นสูงโดยรอบพืน้ ที่ - อาคารสีเขียวประหยัดพลังงาน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 46


ศูนย์กลางการประชุม ธุรกิจ คมนาคมที่ยั่งยืน (smart mice) โดยการสนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง โดยพื้นที่ศูนย์กลางเมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่างชาญฉลาด มีความกระชับ และมีโครงข่ายของการเป็นพื้นที่ ศูนย์กลางการประชุมที่ชัดเจน เน้นการเดินเท้าและการใช้จักรยาน เชื่อมต่อกับระบบรถโดยทางสาธารณะที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ไปยัง สถานที่การจัดประชุมต่างๆบริเวณกลางเมือง ตลอดจนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้มากขึ้น ใน ศูนย์กลางทางธุรกิจของเมือง อาคารสีเขียวประหยัดพลังงานและการจัดการขยะอย่างยั่งยืนยังควรมีขึ้นโดยมีอาคาร สถานที่ราชการที่ควรเป็นต้นแบบในการพัฒนา 6.6 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Project’ Boundaries)

ภาพที่ 6-58 ผังแสดงขอบเขตโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า ที่มา : ผู้ศึกษา โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า มีโครงการดังนี้ โครงการตลาดกลางเมืองและย่านเมืองเก่าถนนหลังเมือง จะเน้นการพัฒนาตามแนวคิดตลาดฉัจฉริยะและ แนวคิดชุมชนอัจฉริยะ เพื่อเพิ่มศักยภาพของการใช้งาน โดยการพัฒนาปรับปรุงตลาดกลางเมืองได้แก่ ตลาดสด เทศบาล 1 ตลาดสดเทศบาล 3 และตลาดบางลาภู รวมถึงการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางเดินภายในตลาดและทางเท้าของ ถนนหน้าเมือง ถนนกลางเมือง และถนนหลังเมือง สามารถแบ่งระยะเวลาการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาล นคร ขอนแก่น ได้ในระยะ 5 ปี โดยมีช่วงการพัฒนาทั้งหมด 2 ช่วง ได้แก่ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 47


ระยะปีที่ 1-2 (2560-2562) เพื่อรองรับการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อย่างมีอัตลักษณ์ชัดเจนและเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้าง พื้นฐาน โดยแสดงบทบาทของความเป็นศูนย์กลางเมืองด้านตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า - โครงการที่ 1.1 โครงการทางเชื่อมขึ้นศูนย์ ICT ชั้น 2 ของตลาดสดเทศบาล 1 - โครงการที่ 1.2 โครงการจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางด้านหน้าตลาดสดเทศบาล 3 และโรงเรียนกัลยาณ วัตร - โครงการที่ 1.3 โครงการระบบบาบัดน้าเสียในตลาดกลางเมือง - โครงการที่ 1.4 โครงการจัดการขยะในตลาดกลางเมือง ระยะปีที่ 3-5 (2563-2565) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่าของเมืองให้มีความชัดเจนขึ้น ส่งเสริมการเชื่อมต่อ ของชุมชนและเมืองให้สอดคล้องและสามารถเดินทางได้อย่างสะดวกสบาย สร้างภาพลักษณ์แก่ผู้มาเยือน อีกทั้งยัง ส่งเสริมเศรษฐกิจในย่านบนพื้นฐานของชุมชนเก่าและความสร้างสรรค์ของสภาพแวดล้อมเมือง -

โครงการที่ 2.1 โครงการพัฒนาตลาดสดเทศบาล 3 โครงการที่ 2.2 โครงการอนุรักษ์รูปด้านอาคารเก่าบนถนนหลังเมือง โครงการที่ 2.3 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บนทางเท้าบนถนนหลังเมือง โครงการที่ 2.4 โครงการพัฒนาลานด้านหน้าโรงเจฮกเซี่ยงตึ้งเชื่อมต่อกับศูนย์บริการชุมชน โครงการที่ 2.5 โครงการพัฒนาชุมชนคุ้มพระลับ

รายละเอียดของโครงการพัฒนา (Project Description) ระยะปีที่ 1-2 (2560-2562) โครงการที่ 1.1 โครงการทางเชือ่ มขึ้นศูนย์ ICT ชั้น 2 ของตลาดสดเทศบาล 1 ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล กรรมการตลาด หัวหน้าชุมชนโดยรอบตลาดสดเทศบาล 1 เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล หลักการและเหตุผล : พื้นทีบ่ ริเวณศูนย์ ICT ตั้งอยู่บนชัน้ 2 ของตลาดสดเทศบาล 1 ซึ่งมีการสัญจรที่ทบั กับคน เดินตลาด ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องแยกทางสัญจรของนักเรียน / นักศึกษา จากคนเดินตลาดโดยพัฒนาทางขึ้นชั้น 2 จากด้านหน้าตลาดโดยตรง สามารถเดินได้อย่างสะดวกสบาย และเป็นพืน้ ที่พักผ่อนหย่อนใจ วัตถุประสงค์ : เพื่ออานวยความสะดวกด้านระบบทางเดินของนักเรียน / นักศึกษา และห้องกิจกรรมต่างๆ ตาม แนวคิด Smart Community รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 48


ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และนักเรียน / นักศึกษาที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : นักเรียน / นักศึกษาสามารถใช้งานได้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ทางเข้าศูนย์ ICT มีความสะดวกสบายมากขึ้น นักเรียน / นักศึกษาเข้าสามารถมาใช้งานเพิ่มขึ้น ห้องกิจกรรมต่างๆ ที่อยู่ชั้น 2 มีคนเข้ามาใช้งาน กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง สอดคล้องกับการเรียนรู้, สิ่งแวดล้อม และการอานวยความสะดวก

โครงการที่ 1.2 โครงการจุดเปลีย่ นถ่ายการเดินทางด้านหน้าตลาดสดเทศบาล 3 และโรงเรียนกัลยาณวัตร ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล กรรมการตลาด ผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้าชุมชนโดยรอบตลาดสดเทศบาล 3 เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล โรงเรียน สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น หลักการและเหตุผล : พื้นที่บริเวณด้านหน้าตลาดสดเทศบาล 3 และโรงเรียนกัลยาณวัตรมีการจราจรที่หนาแน่น ซึ่งมี รถโดยสาธารณะจานวนมากจอดบนถนนกลางเมืองอย่างไม่เป็นระเบียบ รวมถึงรถจักรยานยนต์ รถสามล้อถีบ เป็นต้น จึงมีการพัฒนาพืน้ ที่บริเวณนี้เป็นจุดศูนย์กลางการเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาศูนย์กลางจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางรถโดยสารสาธารณะ ตามแนวคิด Smart Mobility ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : โรงเรียน นักเรียน ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนทีไ่ ปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : ทุกคนสามารถใช้งานได้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : จุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางที่มปี ระสิทธิภาพ ลดปัญหาการจราจรติดขัด คุณภาพชีวิตของคน เมือง และพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานของเมือง กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน โรงเรียน ประชาชน รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 49


แหล่งงบประมาณ : สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจและที่อยู่อาศัย

โครงการที่ 1.3 โครงการระบบบาบัดน้าเสียในตลาดกลางเมือง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล กรรมการตลาดทั้ง 3 ตลาด หัวหน้าชุมชนโดยรอบตลาด เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล เอกชน หลักการและเหตุผล : พื้นทีบ่ ริเวณตลาดบางลาภู ตลาดสดเทศบาล 1 และตลาดสดเทศบาล 3 เป็นตลาดที่คนภายใน เมืองเข้ามาใช้งานจานวนมาก จึงจาเป็นต้องมีระบบบาบัดน้าเสียภายในตลาดเป็นอย่างดี รวมถึงการนาน้ากลับมาใช้ ใหม่ วัตถุประสงค์ : เพื่อจัดการระบบบาบัดน้าเสียภายในตลาดอย่างถูกสุขอนามัย ไม่ส่งกลิ่นรบกวน ตามแนวคิด Smart Environment ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : พ่อค้าแม่ค้า ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : พ่อค้าแม่ค้าทั้ง 3 ตลาด และกรรมการตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ระบบการบาบัดน้าเสียของตลาดมีมาตรฐานและสามารถใช้นา้ Recycle มาใช้รดน้าต้นไม้ ภายในตลาดได้ กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล กรรมการตลาด ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง ด้านสิง่ แวดล้อม ด้านระบบ หมุนเวียนน้า

โครงการที่ 1.4 โครงการจัดการขยะในตลาดกลางเมือง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล กรรมการตลาดทั้ง 3 ตลาด หัวหน้าชุมชนโดยรอบตลาด เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล เอกชน รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 50


หลักการและเหตุผล : พื้นทีบ่ ริเวณตลาดบางลาภู ตลาดสดเทศบาล 1 และตลาดสดเทศบาล 3 เป็นตลาดที่คนภายใน เมืองเข้ามาใช้งานจานวนมาก จึงจาเป็นต้องมีระบบคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง และลดปริมาณขยะที่เกิดจากร้านค้า ภายในตลาด วัตถุประสงค์ : เพื่อคัดแยกขยะและลดปริมาณขยะตั้งแต่ตน้ ทาง เช่น ร้านค้า ร้านอาหาร ร้านดอกไม้ เป็นต้น ตาม แนวคิด Smart Environment ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : พ่อค้าแม่ค้า ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : พ่อค้าแม่ค้าทั้ง 3 ตลาด และกรรมการตลาด ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ลดปริมาณขยะที่เกิดร้านค้าในตลาด ช่วยแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง สามารถนาขยะ Recycle กลับมาใช้ใหม่ได้ กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล กรรมการตลาด ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง ด้านสิง่ แวดล้อม และระบบ กาจัดขยะของเมือง

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 51


ภาพที่ 6-59 ผังแสดงขอบเขตโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า Phase 1 (ระยะเวลา 1-2 ปี) ที่มา : ผู้ศึกษา ระยะปีที่ 3-5 (2563-2565) โครงการที่ 2.1 โครงการพัฒนาตลาดสดเทศบาล 3 ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล กรรมการตลาด หัวหน้าชุมชนโดยรอบตลาดสดเทศบาล 3 เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล หลักการและเหตุผล : พื้นที่บริเวณตลาดสดเทศบาล 3 ที่มีโครงการสร้างเป็นตลาดสดแห่งใหม่ เพื่อการบริการที่ครบ วงจร มีความทันสมัย เดินทางสะดวกสบาย และเพื่อการปรับปรุงภูมิทัศน์ พักผ่อน ศูนย์นันทนาการ วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาเป็นตลาดค้าส่งเนื้อสดที่ทันสมัย ลดปัญหาการจัดการขยะและน้าเสีย รวมถึงมีพื้นทีบ่ ริการ สาหรับนักเรียนในย่านนั้น ตามแนวคิด Smart Market ระยะเวลาดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : พ่อค้าแม่ค้า ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : ทุกคนสามารถใช้งานได้ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 52


ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ยกระดับคุณภาพตลาดสด คุณภาพชีวติ ของคนเมือง พัฒนาระบบบาบัดน้าเสียและระบบขยะ ของตลาดให้มีประสิทธิภาพ กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียที่ต้องพิจารณา สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง สอดคล้องกับ เศรษฐกิจ, ที่อยู่ อาศัย, สิ่งแวดล้อม และการเดินทางทีส่ ะดวกสบาย โครงการที่ 2.2 โครงการอนุรักษ์รูปด้านอาคารเก่าบนถนนหลังเมือง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น เจ้าของกรรมสิทธิ์ เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เอกชน หลักการและเหตุผล : ย่านถนนหลังเมืองเป็นชุมชนเก่า ซึ่งมีอาคารเรือนไม้เก่าที่ยังคงเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรม และยังคงลักษณะการค้าขายแบบเดิมจนมาถึงปัจจุบัน แสดงถึงวิถีชีวิตของคนรุ่นเก่า ดังนั้นย่านชุมชนเมืองเก่าจึงมี ความสาคัญให้อนุรักษ์สืบต่อไป วัตถุประสงค์ : เพื่ออนุรักษ์อาคารเก่าบนถนนหลังเมือง และควบคุมอาคารทีส่ ร้างขึ้นใหม่ในย่านถนนหลังเมือง ให้ เคารพต่อบริบทของเมืองเก่า ตามแนวคิด Smart Build ระยะเวลาดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : เจ้าของอาคาร ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนทีไ่ ปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : ทุกคนสามารถใช้งานได้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : รูปแบบทางสถาปัตยกรรมเก่าถูกอนุรักษ์ไว้สืบต่อไป ควบคุมอาคารใหม่ให้เคารพต่อเมืองเก่า และส่งเสริมรูปแบบการท่องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง สอดคล้องกับ เศรษฐกิจและที่ อยู่อาศัย รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 53


โครงการที่ 2.3 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บนทางเท้าบนถนนหลังเมือง ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล หัวหน้าชุมชนโดยรอบ เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล หลักการและเหตุผล : ถนนหลังเมืองมีขนาดทางเท้าเล็ก และบางช่วงไม่มีทางเท้า ส่งผลให้คนเดินเท้าไม่ได้รับความ สะดวกสบาย ไม่รองรับคนทัง้ มวล คนที่อยู่อาศัยในย่านนัน้ จึงเลือกใช้รถยนต์ ดังนัน้ การปรับปรุงภูมิทัศน์จะส่งเสริมให้ คนเดินเท้ามากขึ้น ลดการใช้รถยนต์ วัตถุประสงค์ : เพื่อปรับปรุงภูมทิ ัศน์บนทางเท้าให้มีความสวยงาม สะดวกต่อการใช้งานสาหรับคนทั้งมวล ตามแนวคิด Smart Community ระยะเวลาดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : ทุกคนสามารถใช้งานได้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : พัฒนาสภาพภูมิทัศน์บนทางเท้า 2 ข้างทางให้มีความน่าเดิน ส่งเสริมให้เศรษฐกิจในย่านนั้น เติบโตขึ้น คนทั้งมวลสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง สอดคล้องกับ เศรษฐกิจ, ที่อยู่ อาศัย, สิ่งแวดล้อม และการเดินทางทีส่ ะดวกสบาย โครงการที่ 2.4 โครงการพัฒนาลานด้านหน้าโรงเจฮกเซี่ยงตึ้งเชือ่ มต่อกับศูนย์บริการชุมชน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล เจ้าของโรงเจฮกเซี่ยงตึ้ง และหัวหน้าชุมชนคุ้มพระลับ เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล หลักการและเหตุผล : พื้นทีบ่ ริเวณศูนย์ ICT ตั้งอยู่บนชัน้ 2 ของตลาดสดเทศบาล 1 ซึ่งมีการสัญจรที่ทบั กับคน เดินตลาด ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องแยกทางสัญจรของนักเรียน / นักศึกษา จากคนเดินตลาดโดยพัฒนาทางขึ้นชั้น 2 จากด้านหน้าตลาดโดยตรง สามารถเดินได้อย่างสะดวกสบาย และเป็นพืน้ ที่พักผ่อนหย่อนใจ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 54


วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาลานสาธารณะด้านหน้าโรงเจฮกเซี่ยงตึ้ง โดยเชื่อมต่อกับศูนย์บริการชุมชนเพื่อให้คนใน ชุมชนได้เข้ามาใช้งาน วัดศรีนวลและชุมชนคุ้มพระลับ เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อใช้เป็นสถานที่พักผ่อนสาหรับคนใน ชุมชน ตามแนวคิด Smart Community ระยะเวลาดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : เจ้าของโรงเจฮกเซี่ยงตึ้ง ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : ทุกคนสามารถใช้งานได้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ลานด้านหน้าโรงเจฮกเซี่ยงตึ้งเป็นลานสาธารณะที่สาคัญของคนในชุมชน ทาให้ประชาชนทั่วไป สามารถเข้ามาพืน้ ที่สนับสนุนการค้าขายในย่านชุมชน และศูนย์บริการชุมชนที่ให้บริการครบวงจร กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล และเจ้าของโรงเจฮกเซี่ยงตึ้ง ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง ด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และที่อยู่อาศัย โครงการที่ 2.5 โครงการพัฒนาชุมชนคุ้มพระลับ ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล หัวหน้าชุมชนคุ้มพระลับ สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแก่น เจ้าของกรรมสิทธิ์ : เทศบาล เอกชน หลักการและเหตุผล : ชุมชนคุ้มพระลับเป็นชุมชนเก่าทีส่ าคัญของเมืองขอนแก่น ตั้งอยู่บริเวณถนนหลังเมือง ซึ่งวิถี ชีวิตชุมชนเก่ามีเอกลักษณ์ซึ่งแสดงออกผ่านรูปแบบการค้าขายบนเรือนไม้เก่า ดังนัน้ การพัฒนาชุมชนเก่าจึงมี ความสาคัญต่อรูปแบบเมือง วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาชุมชนคุ้มพระลับเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม สนับสนุนวิถีชีวติ คนรุ่นเก่าสู่คนยุคใหม่ ตามแนวคิด Smart Community ระยะเวลาดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ และประชาชนที่ไปใช้บริการ จานวนผู้รับประโยชน์ (มาก/น้อย) : ทุกคนสามารถใช้งานได้

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 55


ผลที่คาดว่าจะได้รับ : วิถีชีวิตคนในชุมชนคุ้มพระลับได้รับการเผยแพร่สู่บุคคลภายนอก กระตุน้ เศรษฐกิจภายในชุมชน และกระจายรายได้สู่คนในชุมชน กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม และกาหนดผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่ต้องพิจารณา : สร้างกระบวนการการมีส่วนรวมของ ภาครัฐ ประชาชน แหล่งงบประมาณ : เทศบาล และชุมชนคุ้มพระลับ ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของเมือง : การทางานให้สอดคล้องกับบทบาทเมือง สอดคล้องกับ เศรษฐกิจ, ที่อยู่ อาศัย, ชุมชนและสิง่ แวดล้อม

ภาพที่ 6-60 ผังแสดงขอบเขตโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า Phase 2 (ระยะเวลา 3-5 ปี) ที่มา : ผู้ศึกษา ในการกาหนดช่วงระยะเวลาการดาเนินการ ทาให้ทราบลาดับการพัฒนาพื้นทีต่ ่างๆ ภายในโครงการ ที่ซึ่งจะ เป็นแนวทางในการกาหนดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในเมือง ตามลาดับเพื่อให้การพัฒนามีความสอดคล้องซึ่ง กันต่อไป โดยแผนงานและโครงการการพัฒนามีรายละเอียดดังการจัดช่วงระยะเวลาในการพัฒนาต่อไปนี้ การจัดช่วงระยะเวลาในการพัฒนากาหนดช่วงระยะเวลาการพัฒนาพื้นที่ออกมาเป็น 2 ระยะคือ ระยะแรก (12 ปี) ระยะกลาง (3-5 ปี) 1) ระยะที่ 1 (1-2 ปี) 2560 - 2562 การพัฒนาโครงการในระยะแรกพิจารณาปัจจัยอันประกอบไปด้วย รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 56


- พัฒนาโครงการที่จาเป็นเร่งด่วนที่ต้องการเร่งก่อสร้างเพื่อรองรับการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานระดับเมือง และท้องถิ่น เช่น โครงการก่อสร้างพื้นทีล่ านจอดรถ โครงการก่อสร้างอาคารพาณิชยกรรมใหม่ - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนการพัฒนาเมืองตามแนวถนนที่จาเป็นในระยะแรก เช่น โครงการ ปรับปรุงพืน้ ถนนสายหลัก โครงการปรับปรุงทางเดินเท้าริมถนน เเละต้นไม้เพื่อเอื้ออานวยความสะดวก แก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ 2) ระยะที่ 2 (3-5 ปี) 2563 – 2565 การพัฒนาโครงการในระยะกลางพิจารณาปัจจัยอันประกอบไปด้วย - พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานต่อเนื่องจากโครงการในระยะแรก เพื่อให้เกิดความเชื่อมต่ออย่างไร้รอยต่อ ของการเดินทาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวเเละสังคม - พัฒนาพื้นทีส่ าธารณะเพื่อการท่องเที่ยว เพิ่มเติมกลุ่มกิจกรรมการท่องเที่ยวใหม่ รวมทั้งปรับปรุงและ แก้ไขภูมิทัศน์ของพื้นที่ท่องเที่ยวให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 1. มาตรการควบคุม (มาตรการทางลบ)

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 57


ภาพที่ 6-61 แสดงมาตรการการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในอนาคต โดยพื้นที่ศึกษาอยู่ในที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่ อาศยหนาแน่นมาก ที่มา : สานักผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต มีข้อค้นพบว่า พืน้ ที่กลางเมืองขอนแก่นบริเวณถนนมิตรภาพเปลี่ยน จากที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเป็นที่ดนิ ประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ทานด้านตะวันออกของ ขอบเขตผังเมืองรวมเปลี่ยนจากที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม เนื่องจากเป็นพืน้ ที่ชุ่มน้า

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 58


กฎกระทรวง พ.ศ. 2557 ในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม และที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทดังต่อไปนี้ - โรงงาน และโรงบาบัดน้าเสียรวมของชุมชน - สถานทีบ่ รรจุก๊าซ (ยกเว้นสถานีบริการ) - สถานที่ใช้เก็บน้ามันเชื้อเพลิง (ยกเว้นสถานีบริการ) - เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู - จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฏหมาย - สุสาน และฌาปนสถาน - สถานบริการ - โรงฆ่าสัตว์ - ไซโลเก็บผลผลิตทางเกษตร - กาจัดมูลฝอย - ซื้อขาย หรือเก็บเศษวัสดุ - สถานบริการ การควบคุมการก่อสร้างอาคาร ในกฎกระทรวง พ.ศ. 2557 สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพนื้ ที่ใช้สอยรวมกัน เกิน 1000 ตรม. ห้ามก่อสร้างอาคารพาณิชย์ประเภทค้าส่งที่มีพนื้ ที่ใช้สอยรวมกัน ตั้งแต่ 300 ตรม. แต่ไม่เกิน 1000 ตรม. เว้นแต่เป็นไปตามข้อกาหนด ที่ดินที่จะก่อสร้างอาคารจะต้องติดถนนสาธารณะขนาด 4 ช่องทาง หรือ ขนาดไม่น้อยกว่า 20 เมตร และจะต้องบรรจบกับถนนสาธารณะที่มีขนาดทางเท่ากันหรือมากกว่า มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ดนิ ที่ติดตัง้ อาคาร มีค่าสูงสุดของอัตราส่วนพืน้ ที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคารต่อพื้นที่ที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารไม่เกิน 1.5 ต่อ 1 มีอัตราส่วนของพื้นทีว่ ่างที่จัดให้เป็นสวน หรือบริเวณปลูกต้นไม้หรือนันทนาการต่อพืน้ ที่ของแปลง ที่ดินที่จะใช้เป็นที่ตั้งอาคาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 มีที่ว่างด้านหน้าอาคารไม่น้อยกว่า 50 เมตร มีที่ว่างด้านหลังและด้านข้างห่างจากที่ดินของคนอืน่ ไม่น้อยกว้า 15 เมตร อาคารที่มีความสูงเกิน 10 เมตรต้องมีระยะห่างจากศูนย์ราชกาล ศาสนสถาน โบราณสถาน หรือ สถานศึกษาไม่น้อยกว่า 500 เมตร มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คน ต่อพื้นที่อาคาร 40 ตรม. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 59


11.

ที่พักขยะมูลฝอย ต้องมีระยะห่างจากที่ดินขิงผู้อื่น หรือถนนสาธารารณะไม่น้อยกว่า 10 เมตร

ที่ว่างรอบอาคาร 70 %

อาคาร 30 %

สวน 20 %

มีที่ว่างด้านข้างและด้านหลังอาคาร ไม่น้อยกว่า 15 เมตร

ที่ว่างด้านหน้าของอาคารต้องห่างจากถนนสาธารณะไม่ น้อยกว่า 50 เมตร

ภาพที่ 6-62 แสดงผังของอาคารที่ก่อสร้าง ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547 ที่มา : ผู้ทาการศึกษา

ภาพที่ 6-63 แสดงรูปตัดของอาคารสูงเกิน 10 เมตร ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2547 ที่มา : ผู้ทาการศึกษา 2. มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน (มาตรการทางบวก) 1. ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน และการใช้พลังงานหมุนเวียน 2. การจูงใจในการดาเนินการด้วยกลไกทางการตลาด 3. การร่วมมือระหว่างภาครัฐกับเอกชน ยกเลิกการใช้วัสดุทไี่ ม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4. กลไกการตอบแทนการประหยัดพลังงานให้แก่ชุมชน 5. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานของเมือง ให้สะดวกสบาย รองรับทุกกิจกรรมที่หลากหลาย 6. การตั้งกองทุนเพื่อวิจัยและพัฒนาการจัดการทรัพยากรขยะและน้าอย่างยั่งยืน 7. ลดการสนับสนุนในภาคธุรกิจทีม่ ีการดาเนินการไม่สอดคล้อง 8. การจัดกิจกรรมใช้รถขนส่งสาธารณะ BRT ไม่เสียค่าบริการ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 60


6.7

การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการพัฒนาย่านเศรษฐกิจ (CBD)

ผังแสดงขอบเขตโครงการพัฒนาแต่ละโครงการที่เป็นส่วนประกอบของแผนแม่บท ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Projects’ boundaries)

ภาพที่ 6-64 ผังแสดงขอบเขตโครงการย่านถนนศรีจันทร์ ที่มา : ผู้ศึกษา โครงการในการพัฒนาย่านกลางเมืองบริเวณถนนศรีจันทร์) โครงการธุรกิจการค้า ย่านถนนศรีจันทร์ เป็นการพัฒนาสามส่วนหลัก ส่วนแรกเน้นการพัฒนาพื้นที่รอบ สถานีขนส่งรถไฟฟ้ารางเบาบริเวณแยกประตูเมือง ในรัศีเดินเท้า 500 เมตร เป็นโครงการพัฒนาของเอกชนส่วนใหญ่ ส่วนที่สอง เป็นโครงการพัฒนารอบศาลหลักเมืองซึ่งมุ่งหมยเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ส่วนที่สาม เป็นการพัฒนา พื้นที่ต่อเนื่องจากศาลหลักเมืองจนถึงแยกกลางเมืองเป็นการพัฒนาโครงการของเอกชน แบ่งเป็น 2 ระยะดาเนินการ ระยะแรกปีที่ 1-3 (2560-2563) เป็นการพัฒนาโดรงการของเอกชน พร้อมทั้งการจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานหลัก -

โครงการที่ 1.1 ศูนย์ประชุม โรงแรม สานักงาน ห้างสรรพสินค้า และที่จอดรถ โครงการที่ 1.2.1 โรงแรม สานักงาน ค้าปลีก โครงการที่ 1.2.2 โรงแรม สานักงาน ค้าปลีก โครงการที่ 1.2.3 โรงแรม สานักงาน ค้าปลีก โครงการที่ 1.3 โรงแรม สานักงาน คอนโดมิเนียมขนาดกลาง รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 61


-

โครงการที่ 1.4 โครงการที่ 1.5 โครงการที่ 1.6 โครงการที่ 1.7 โครงการที่ 1.8 โครงการที่ 1.9

ทางเดินลอยฟ้า (skywalk) เชื่อมต่อสถานี LRT โรงแรม ขนาดกลาง ค้าปลีกชุมชน โรงแรม สานักงาน และค้าปลีกชุมชน ปรับปรุงผื้นผูพาณิชยกรรมชุมชนเดิมคงเอกลักษณ์ของอาคารไม้เดิม ปรับปรุงสถานีขนส่งแห่งที่ 2 ให้เป็น โรงแรม สานักงาน และค้าปลีก

ระยะที่สองปีที่ 4-5 (2564-2565) -

โครงการที่ 2.1 โครงการที่ 2.2 โครงการที่ 2.3 โครงการที่ 2.4

ปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณศาลหลักเมือง ปรับปรุงพัฒนาอาคารไม้เก่าเป็นพิพิธภัณฑ์ ปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะประตูเมือง พัฒนาทางเดินเท้า และทางจักรยานชุมชนริมทางรถไฟ

ภาพที่ 6-65 ผังแสดงระยะเวดาเนินการช่วงแรก(2560-2563) 1-3 ปี ที่มา : ผู้ศึกษา

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 62


ภาพที่ 6-66 ผังแสดงระยะเวดาเนินการช่วงที่สอง(2563-2565) 1-2 ปี ที่มา : ผู้ศึกษา รายละเอียดของโครงการพัฒนา (Project Description) ระยะปีที่ 1-3 (2560-2563) แผนงานที่ 1 : พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งรถไฟฟ้ารางเบา LRT และย่านการค้าถนนศรีจันทร์ โครงการที่ 1.1 ศูนย์ประชุม โรงแรม สานักงาน ห้างสรรพสินค้า และที่จอดรถ ผู้รับผิดชอบ : เทศบาล และภาคเอกชนร่วมกัน วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างศูนย์ประชุมแห่งใหม่ระดับนานาชาติ และพัฒนาพืน้ ที่ให้เหมาะสมสอดคล้องกับนโยบาย ภาครัฐและความคุ้มทุนทางเศรษฐกิจของภาคเอกชน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ทาให้เกิดแหล่งงานเพิ่มมากขึ้น และมีการเดินทางโดยรถสาธารณะเพิ่มมากขึ้น แหล่งงบประมาณ : เทศบาล และภาคเอกชน โครงการที่ 1.2.1, 1.2.2, 1.2.3 โรงแรม สานักงาน ค้าปลีก ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชนร่วมกัน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 63


วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาโครงการที่มีลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน สอดคล้องกัยแนวคิดและนโยบาย จากภาครัฐ และเพิ่มความหนาแน่นบริเวณรอบศูนย์ ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ทาให้เกิดแหล่งงานใหม่เพิ่มมากขึ้น และมีการเดินทางโดยรถสาธารณะเพิ่มมากขึ้น สนับสนุน การเดินเท้าภายในย่าน แหล่งงบประมาณ : ภาคเอกชน โครงการที่ 1.3 โรงแรม สานักงาน คอนโดมิเนียมขนาดกลาง ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ทาให้เกิดแหล่งงาน และที่อยู๋อาศัยรองรับการเพิ่มขึ้นขอประชากรในพืน้ ที่เพิ่มมากขึ้น และมี การเดินทางโดยรถสาธารณะเพิม่ มากขึ้น แหล่งงบประมาณ : เทศบาล และภาคเอกชน โครงการที่ 1.4 ทางเดินลอยฟ้า (skywalk) เชื่อมต่อสถานี LRT ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชน และภาครัฐ ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : การเชื่อมต่อการเดินเท้าภายในย่านสะดวกสบาย ลดการใช้ยานพาหนะส่วนตัว แหล่งงบประมาณ : เทศบาล และภาคเอกชน โครงการที่ 1.5 โรงแรม ขนาดกลาง ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 64


ผลที่คาดว่าจะได้รับ : เพิ่มแหล่งที่อยู๋อาศัยไม่ไกลจากสถานี นักท่องเที่ยวมามากขึ้น แหล่งงบประมาณ : ภาคเอกชน โครงการที่ 1.6 ค้าปลีกชุมชน ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิง้ รองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น แหล่งงบประมาณ : เอกชน โครงการที่ 1.7 โรงแรม สานักงาน และค้าปลีกชุมชน ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชน และภาครัฐดาเนินการร่วมกัน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิง้ รองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น และฟืน้ ฟูการค้าของชุมชน แหล่งงบประมาณ : เอกชน โครงการที่ 1.8 ปรับปรุงผืน้ ผูพาณิชยกรรมชุมชนเดิมคงเอกลักษณ์ของอาคารไม้เดิม ผู้รับผิดชอบ : ภาคเอกชน และภาครัฐดาเนินการร่วมกัน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิง้ รองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น และฟืน้ ฟูการค้าของชุมชน แหล่งงบประมาณ : เอกชน แผนงานที่ 2 : พัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อม พื้นที่สีเขียว และโครงการส่งเสริมทางวัฒนธรรม โครงการที่ 2.1 ปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณศาลหลักเมือง ผู้รับผิดชอบ : ภาครัฐดาเนินการ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 65


ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิง้ รองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น และฟืน้ ฟูการค้าของชุมชน แหล่งงบประมาณ : จากทางภาครัฐ โครงการที่ 2.2 ปรับปรุงพัฒนาอาคารไม้เก่าเป็นพิพธิ ภัณฑ์ ผู้รับผิดชอบ : ภาครัฐดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิง้ รองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น และฟืน้ ฟูการค้าของชุมชน แหล่งงบประมาณ : จากทางภาครัฐ โครงการที่ 2.3 ปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะประตูเมือง ผู้รับผิดชอบ : ภาครัฐดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนโดยรอบพื้นที่ นักท่องเทีย่ ว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิง้ รองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น แหล่งงบประมาณ : จากทางภาครัฐ โครงการที่ 2.4 พัฒนาทางเดินเท้า และทางจักรยานชุมชนริมทางรถไฟ ผู้รับผิดชอบ : ภาครัฐดาเนินการ และภาคเอกชน ระยะเวลาดาเนินการ : 1-2 ปี ผู้รับประโยชน์/ผลกระทบ : ประชาชนในพื้นที่ นักท่องเที่ยว และภาครัฐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แหล่งท่องเที่ยว ช้อปปิ้ง รองรับนักท่องเที่ยว และที่อยู๋อาศัยราคาขนาดประหยัดหรือราคาขนาด กลางเพิ่มมากขึ้น แหล่งงบประมาณ : จากทางภาครัฐ และเอกชน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 6 - 66


บทที่ 7 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่บึงแก่นนคร 7.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบนั ระดับพื้นที่ 7.1.1 ตาแหนํงที่ตั้ง

จังหวัดขอนแกํน มีวัฒนธรรมอีสานมายาวนาน ทั้งสถานที่สาคัญที่ให๎ความรู๎ด๎านศิลปวัฒนธรรมและ การอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อม นั่นคือ "บึงแกํนนคร" ตั้งอยูํในบริบททางทิศใต๎ของเทศบาลนครขอนแกํน เป็นบึง ขนาดใหญํ มีเนื้อที่ 603 ไรํ นอกจากจะเป็นพื้นที่ที่มีสถานที่สาคัญของขอนแกํนแล๎ว บริบทของพื้นที่มีลักษณะ เป็นพื้นที่สีเขียว และเป็นแลํงทํองเที่ยวที่มีความสาคัญลาดับต๎นๆของการทํองเที่ยวในเชิงนิเวศน์ และยังเป็น สถานที่ที่นิยมมาพักผํอนหยํอนใจ และทากิจกรรมนันทนาการของชาวบึงแกํนนคร

ทิศเหนือของพื้นที่ จรดถนนหน้าเมือง19 ตัดกับถนนศรีนวล ทิศใต้ ถนนรอบบึง ทิศตะวันออก ถนนรอบบึง ทิศตะวันตก ถนนหน้าเมือง

ภาพที่ : 7-1 แสดงผังตาแหน่งที่ตั้งบึงแก่นนคร รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 1


7.1.2 การคมนาคมขนสํงและการเข๎าถึง

ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ถนนซอยชุมชน ทางเดินเท๎า จุดจอดรถสาธารณะ จุดจอดจักรยาน

ภาพที่ : 7-2 แสดงเส้นทางการคมนาคม

ภาพที่ : 7-3 แสดงเส้นทางบริการสาธารณะ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 2


7.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ จังหวัดขอนแกํนมีการทาธุรกิจอยูํ จานวนมาก มีทั้งทางด๎านการค๎า การแพทย์ การศึกษานอกโรงเรียน การ ผลิตอุตสาหกรรมการขายสํง ขายปลีก โรงแรมและภัตตาคาร ซึ่งการประกอบอาชีพในยํานบึงแกํนนครสํวนใหญํเป็น การค๎าพาณิช ธุรกิจการค๎าการลงทุนหลักของคนในชุมชน และเนื่องจากประชาชนในชุมชนสํวนใหญํนับถือศาสนา พุทธ และมีสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาหลายแหํง ทาให๎พื้นที่นี้เปรียบเสมือนเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม สํงผลให๎ มีการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นถิ่น 7.1.4 การใช๎ประโยชน์ที่ดนิ

ภาพที่ : 7-4 แสดงเส้นทางบริการสาธารณะ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 3


7.1.5 กลุํมกิจกรรม

ภาพที่ : 7-5 แสดงกลุ่มกิจกรรม 7.1.6 อาคารและพื้นทีว่ ําง

ภาพที่ : 7-5 แสดงกลุ่มกิจกรรม รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 4


7.1.7 พื้นที่สีเขียว

ภาพที่ : 7-6 แสดงลักษณะพื้นที่สีเขียว 7.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS ของพื้นที่บึงแกํนนคร ได๎ทราบถึงรายละเอียดเนื้อหาที่สามารถอธิบายสาระ ในมิติของพื้นที่บึงแกํนนคร ได๎ดั้งนี้ จุดแข็ง พื้นที่บึงแกํนนครเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพและมีกลิ่นอายของวัฒนธรรมความเป็นเมืองเกํา จะต๎องมาเยือนพื้นที่นี้ ที่มีความสาคัญของขอนแกํน ทั้งในเรื่องของระบบนิเวศและการดารงชีวิตที่มีเอกลักษณะ เฉพาะตัว อีกทั้ งบริบ ทโดยรอบเป็น พื้น ที่ส าคัญทางประวัต ติศาสตร์ทาให๎พื้น ที่บึ งแกํน นครเป็น สถานศึกษานอก โรงเรียน ทั้งในเรื่องประวัติศาสตร์ของชุมชน ยํานกวดวิชาหลักของพื้นที่และเป็นพื้นที่ทากิจกรรมของคนรุํนใหมํซึ่ง มี จุดแข็งที่ชัดเจน - เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ - เป็นพื้นที่ที่มีกลิ่นอายของวัฒนธรรมชุมชนเมืองเกํา - เป็นพื้นที่สถานศึกษาของยํานบึงแกํนนคร - เป็นพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว จุดอ่อน ด๎วยสภาพพื้นที่เป็นแหลํงทํองเที่ยว ที่มีนักทํองเที่ยวมาแวะชมอยํางตํอเนื่องจึงทาให๎พื้นที่นี้ขาดการพัฒนา อยํางชัดเจนบริบทโดยรอบของพื้นที่ยังไมํได๎รับการออกแบบเพื่อปรับปรุงทาให๎กิจกรรมขาดความหลากหลายและ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 5


ตํอเนื่อง การทํองเที่ยวในเชิงนิเวศไมํบงชี้หรือตํอเนื่องกับชุมชน พื้นที่สาธารณะที่รองรับการใช๎งานทางระบบนิเวชมี ปริมาณน๎อยจึงทาให๎บริบทของพื้นที่มีจุดอํอนที่ต๎องการการพัฒนาแหลํงทํองเที่ยวและระบบนิเวศที่สมบูรณ์มายิ่งขึ้น - พื้นที่นี้ยังขาดการดูแลและการพัฒนาที่ชัดเจน - กิจกรรมขาดความหลากหลายและตํอเนื่องกับชุมชน - พื้นที่สาธารณะที่รองรับยังมีปริมาณอยูํน๎อย โอกาส พื้นที่วํางมีศักยภาพเหมาะสมแกํการพัฒนาเพิ่มพื้นที่สีเขียวการทํองเที่ยวทางวัฒนธรรมและเป็นสถานศึกษา ตามอัธยาศัยที่เชื่อมตํอกับบริบทรอบข๎างด๎วยการเพิ่มรูปแบบของกิจกรรมและแนวทางใหมํ พื้นที่ สาหรับคนรุํนใหมํ ของชุมชนล๎วนแตํเป็นโอกาสที่สาคัญตํอการพัฒนาและการพัฒนาออกแบบพื้นที่การศึกษาตามโครงการพัฒนาเมือง เพื่อมุํงสูํการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) - เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมกับการพัฒนาให๎เป็นพื้นที่สีเขียวของเมือง - การเพิ่มพื้นที่กลุํมกิจกรรมตามโครงการพัฒนาเมืองสูํชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) - สํงเสริมให๎เป็นแหลํงทางเที่ยวทางระบบนิเวชและวัฒนธรรม ภัยคุกคาม พื้นที่บึงแกํนนครเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางกิจกรรมและเป็นแหลํงเศรษฐกิจหลักที่ชุมชนพึ่งพารายได๎ จากแหลํงทํองเที่ยวและตลาด ทาให๎ความเป็นบึงและลักษณะทางชีวภาพแยํลงด๎วยกิจกรรม ยังสํงผลกระทบในเรื่อง ของมลภาวะ หากพื้นที่บึงแกํนนครยังไมํได๎รับการดูแลอยํางถูกต๎องและได๎มาตรฐาน จะทาให๎พื้นที่นี้เสื่อมสภาพ - ลักษณะทางชีวภาพแยํลงจากการใช๎กิจกรรมของคนในชุมชน - มลภาวะที่แยํลง 7.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่ 7.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา วิสัยทัศน์ในการพัฒนาบึงแกํนนคร ให๎เป็นแลนด์มาร์คสาคัญอีกแหํงหนึ่งของจังหวัดขอนแกํน โดยให๎เป็น จุดเริ่มต๎นศูนย์กลางยํานการศึกษานอกโรงเรียนของเมือง เรียนรู๎ประวัติศาสตร์ของยําน เป็นศูนย์กลางเผยแพรํความรู๎ แกํคนรุํนใหมํ สํงเสริมสิ่งแวดล๎อมอยํางยั่งยืน 7.3.2 เป้าประสงค์ในการพัฒนา เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของบึงแกํนนครให๎เกิดความสวยงาม รํมรื่น และถูกสุขลักษณะอนามัยสํงเสริมสามารถ รองรับการใช๎งานของกิจกรรมได๎หลากหลาย ปรับสภาพแวดล๎อมให๎เหมาแกํการพักผํอน และตอบสนองตํอนโยบาย ของเทศบาล หันให๎คนมาสนใจในเรื่องสุขภาพ และเป็นพื้นที่สํงเสริมศักยภาพของวัยรุํน โดยมุํ งเน๎นการพัฒนาจาก พื้นที่เดิมให๎เป็นสถานศึกษาตามอัธยาศัย เพิ่มศักยภาพของพื้นที่ให๎ดียิ่งขึ้น และเพื่อสร๎างความเข๎าใจและตระหนักถึง ความสาคัญของพื้นที่และคนในชุมชนสามารถเป็นแหลํงเรียนรู๎และเศรษฐกิจใหมํของคนในชุมชน 7.3.3 แนวความคิดหลัก “ พัฒนายํานบึงแกํนนคร และยํานชุมชนบึงแกํนนครสูํ ยํานโรงเรียนนําเดินและการศึกษาตามอัธยาศัย” ( smart education ) สํงเสริมการเรียนรู๎นอกโรงเรียนเชื่อมโยงสถานศึกษา โดยยึดจุด BRT เป็นหลักและ สถานที่สาคัญเพิ่มพื้นที่สีเขียวให๎กับบึงแกํนนคร และเป็นการอนุรักษ์พันธุ์ไม๎พื้นถิ่นให๎อยูํคูํบึงแกํนนคร สํงเสริมให๎เป็น รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 6


สถานที่ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให๎กับนักทํองเที่ยว และทาให๎คนในชุมชน นักทํองเที่ยว และผู๎สนใจเกิดความเข๎าใจวิถี ชีวิตของคนในชุมชน ปรับปรุงภูมิทัศน์ทางการสัญจรหลัก สามารถเชื่อมเป็นโครงขําย Green Network เชื่อมโยง ชุ ม ชน สูํ บึ ง แกํ น นครได๎ โ ดยตรง การเข๎ า ถึ ง พื้ น ที่ มี ค วามเหมาะสม สวยงา ม ชํ ว ยสร๎ า งความประทั บ ใจให๎ แ กํ นักทํองเที่ยว 7.3.4 โปรแกรมการวางผังและออกแบบ

แผนผังหลักการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Illustrative Master Plan)

ผังบริเวณ 1. โฮงมูนมังเมืองขอนแกํน 2. ศูนย์การเรียนรู๎ “ตลาดนัดสีเขียว” 3. ศูนย์การเรียนรู๎ทางกายภาพ 4. วัดพระธาตุพระอารามหลวง 5. ป้ายจุดจอดรถ BRT

6. ถนนกสิกรสาราญเชื่อมถนนหน๎าเมือง 7. พื้นที่สํงเสริมการเรียนรู๎นอกโรงเรียน 8. ศาลเจ๎าพํอมเหศักดิ์ 9. วัดกลาง 10. พื้นที่พิเศษที่ใช๎เป็น โรงละครข๎างถนน

11. ป้ายจุดจอดรถ BRT 12. ศูนย์การเรียนรู๎ทางสิ่งแวดล๎ออม 13. สวนดอกคูณเสียงแคนสวนดอกคูณเสียงแคน 14. พระมหาธาตุแกํนนคร 15.ศาลเจ๎าแมํสองนาง

16.ศาลหลักเมืองเกํรายงานการศึ า กษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 7


7.3.5 ผังการออกแบบพื้นที่

ผังแนวความคิดในการออกแบบ

ผังแนวความคิดโครงข่ายถนน สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา โครงขํายถนนหลัก ถนนสายหลักชุมชน ระบบขนสํงสาธารณะ ระบบขนสํงสาธารณะชุมชน จุดจอดรถระบบขนสํง สาธารณะ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 8


ผังแสดงโครงข่ายถนน สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ถนนซอยชุมชน ทางเดินเท๎า จุดจอดรถสาธารณะ จุดจอดจักรยาน

ผังแสดงการสัญจรนักท่องเที่ยว สรุปผังแนวคิดและแนวทางการพัฒนา เส๎นทางสาธารณะ

เส๎นทางรถแท็กซี/่ นักทํองเที่ยว ทางเดินเท๎าในชุมชน จุดจอดขนสํงสาธารณะ จุดจอดรถสามล๎อ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 9


MASTER PLAN รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 10


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 11


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 12


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 13


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 14


รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 15


7.4 ข๎อเสนอแนะมาตรการควบคุมและสํงเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ

ศูนย์การเรียนรู้ “สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม” "จังหวัดขอนแกํน" มีวัฒนธรรมอีสานมายาวนาน ทั้งสถานทีส่ าคัญที่ให๎ความรู๎ด๎านศิลปวัฒนธรรมและการ อนุรักษ์สิ่งแวดล๎อม นั่นคือ "บึงแกํนนคร" ซึ่งในบริเวณบึงแกํนนครจะมีแหลํงเรียนรู๎ภูมิปัญญาท๎องถิ่นหลายแหํง ได๎แกํ โฮงมูนมังเมืองขอนแกํน ศาลเจ๎าแมํสองนาง ห๎องสมุดเด็กสวนดอกคูน และบริเวณโดยรอบมีวดั หนองแวงพระอาราม หลวง ซึ่งมีพระธาตุแกํนนครอันสวยงามเป็นที่เชิดหน๎าชูตา สถานที่เหลํานี้นอกจากจะเป็นแหลํงวัฒนธรรมและให๎ ความรู๎แล๎ว ยังให๎ประโยชน์แกํผมู๎ าใช๎บริการได๎หลายทาง และใช๎จัดกิจกรรมการเรียนรู๎ตําง ๆเพื่อสืบสานประเพณี ท๎องถิ่น ตลอดทั้งเป็นสถานที่จัดนิทรรศการ แนวทางการศึกษา 1. ประวัติศาสตร์และรํองรอยทางประวัติศาสตร์ทยี่ ังปรากฏให๎เห็น 2. งานสถาปัตยกรรมเกําแกํดั้งเดิมในท๎องถิ่นและสิ่งปลูกสร๎าง 3. ศิลปะ หัตถกรรม ประติมากรรม ภาพวาด รูปปัน้ และแกะสลัก 4. ศาสนารวมถึงพิธีกรรมตําง ๆ ทางศาสนา 5. ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ๎าน ขนบธรรมเนียม และเทศกาลตําง ๆ รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 16


ผังแสดงเส้นทางศูนย์การเรียนรู้ “สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม”

พื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้นอกโรงเรียน กิจกรรมเรียนรู๎นอกห๎องเรียน เป็นกิจกรรมสนับสนุนการจัดการเรียนรู๎ เพื่อให๎นักเรียนได๎มีโอกาส สัมผัสกับแหลํงเรียนรู๎จริง และยังเป็นโอกาสที่นักเรียนได๎ทากิจกรรมรํวมกันนอกโรงเรียน ทาให๎การทากิจกรรมเรียนรู๎ นอกห๎องเรียนเป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ และตอบสนองตํอความสนใจ ความต๎องการของเด็ก function 1. มีที่สาหรับรวมตัวของคนรุํนใหมํ 2. ห๎องแล็ปคอมพิวเตอร์ 3. พื้นที่พิเศษที่ใช๎เป็น โรงละครข๎างถนน สาหรับการแสดงและกราฟิตี้ 4. จัดให๎มีพื้นที่สาหรับถํายทอดงานศิลป์และภูมิปัญญา ของคนรุํนใหมํ 5. community mall

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 17


ผังแสดงพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้นอกโรงเรียน

ศูนย์การเรียนรู้ทางกายภาพ การกีฬา ส่งเสริมสุขภาพของคนรุ่นใหม่ ลานกีฬา ศูนย์การเรียนรู๎ทางกายภาพ การกีฬา สํงเสริมสุขภาพของคนรุํนใหมํ จัดให๎มีความสาคัญตํอ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให๎มีสุขภาพแข็งแรงและสุขภาพใจที่ดี พัฒนาชุมชนให๎มีความเข๎มแข็งสามัคคี เป็น สถานที่ที่ชํวยเสริมสร๎างความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให๎เข๎มแข็ง และกํอให๎เกิดประโยชน์ตํอชาวชุมชนทุกเพศ ทุกวัยซึ่งภายในลานกีฬา ประกอบด๎วย กิจกรรมกลางแจ้ง - สนามกีฬา - สนามเด็กเลํน - ลานผู๎สูงอายุ - ลานเอโรบิค - พื้นที่สาหรับกีฬา Extreme กิจกรรมในร่ม - นวัตกรรมลานออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 18


ผังแสดงเส้นทางศูนย์การเรียนรู้ทางกายภาพ การกีฬา ส่งเสริมสุขภาพของคนรุ่นใหม่

ศูนย์การเรียนรู้ “ตลาดนัดสีเขียว” การศึกษาเกษตรอินทรีย์ (ผักปลอดสาร) ทีไ่ มํมีการใช๎ปยุ๋ เคมี หรือสารเคมีกาจัดศัตรูพืช รวมทั้งฮอร์โมนพืชที่ เป็นสารเคมีที่เป็นพิษ แตํจะมุงํ เน๎นที่การปรับปรุงบารุงดินให๎มีความอุดมสมบูรณ์ โดยการใช๎ปยุ๋ หมัก วํามีระบบการ ผลิตแบบอินทรีย์ทสี่ อดคล๎องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อยํางไร การผลิต - ระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์ - ขั้นตอนการจัดทาฟาร์มอินทรีย์ และศึกษาระบบพืชผักที่เหมาะสมในท๎องถิ่น - สวนผักปลอดสารพิษ - วิธีการกาจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน - การกาจัดแมลงศัตรูพืชวัยเจริญพันธุ์ - ศึกษาระบบนิเวศในแปลงผักเกิดการควบคุมโดยชีววิธที างธรรมชาติ

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 19


7.5 การนาแผนและผังไปปฏิบัติ

ผังแสดงขอบเขตโครงการ (Projects’ boundaries)

5 1

5

5

4

5

3

2

5

3

5 โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร 1. โครงการปรับปรุงเส๎นทางศูนย์การเรียนรู๎ทางกายภาพ การกีฬา ศูนย์การเรียนรู๎ “ตลาดนัดสีเขียว” 2. โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะชุมชน เส๎นทางการศึกษาสิ่งแวดล๎อม 3. โครงการพื้นที่สาธารณะสวนดอกคูณเสียงแคน 4. โครงการปรับปรุงผังแสดงพื้นที่สํงเสริมการเรียนรู๎นอกโรงเรียน 5. โครงการปรับปรุงเส๎นทางศูนย์การเรียนรู๎ “สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม”และเส๎นทางทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 20


รายละเอียดของโครงการพัฒนา (Projects Description) แผนงานที่ 1 การฟื้นฟูย่านบึงแก่นนคร โครงการที่ 1.1 โครงการปรับปรุงศูนย์การเรียนรู้ “ตลาดนัดสีเขียว” ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแกํน หลักการและเหตุผล :

จากโครงการ “ตลาดนัดสีเขียว” หนึ่งในยุทธศาสตร์หลักของการพัฒนา นโยบายการพัฒนาเมืองขอนแกํนไปสูํชุมชนเมืองชาญฉลาด ภายใต๎ชื่อ ยุทธศาสตร์ สังคมของการสร๎างคนรุํนใหมํหัวใจสีเขียว NEW GREEN GENERATION จึงปรับปรุงให๎เป็นศูนย์การเรียนรู๎ “ตลาดนัดสีเขียว” มุํงเน๎นให๎คนหันมาใสํใจสุขภาพของตัวเอง สินค๎าในตลาดจาหนํายผักปลอด สาร อาหารปลอดสาร การศึกษาเกษตรอินทรีย์ (ผักปลอดสาร) ที่ไมํมีการ ใช๎ปุ๋ยเคมี หรือสารเคมีกาจัดศัตรูพืช รวมทั้งฮอร์โมนพืชที่เป็นสารเคมีที่เป็น พิษ แตํจะมุํงเน๎นที่การปรับปรุงบารุงดินให๎มีความอุดมสมบูรณ์ โดยการใช๎ ปุ๋ยหมัก วํามีระบบการผลิตแบบอินทรีย์ที่สอดคล๎องกับมาตรฐานเกษตร อินทรีย์อยํางไร ดังนั้นในการดาเนินงานตามแผนพัฒนาจึงจาเป็นต๎องมี แผนงานที่มาสนับสนุนเพื่อทาการปรับปรุงภูมิทัศน์ของตลาดให๎เกิดความ เป็นระเบียบเรียบร๎อย ได๎ตามาตรฐานที่กาหนด และสามารถใช๎ประโยชน์ ได๎อยํางหลากหลายทั่งในชํวงวันธรรมดา และในชํวงเทศกาล

วัตถุประสงค์ :

เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของตลาดให๎เป็นศูนย์การเรียนรู๎ทางด๎านเกษตร เกิด ความเข๎าใจในการผลิตเกษตรอินทรีย์ และถูกสุขลักษณะอนามัยสํงเสริม สามารถรองรับการใช๎งานของกิจกรรมได๎หลากหลาย

ระยะเวลาในการดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมดาเนินการ :

คณะกรรมการชุมชนและคนในชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

ตลาดมีภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น มุํงเน๎นการให๎ความรู๎ ทักษะ และประสบการณ์ที่ ถูกต๎อง ถูกสุขลักษณะอนามัย มีความสะอาดชํวยลดปัญหาเชื่อโรคจาก มลพิษตํางๆ สุขภาพรํางกายแข็งแรง และสามารถรองรับกับการใช๎งานที่ หลากหลาย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 21


โครงการที่ 1.2 โครงการลานจอดรถ พื้นที่นันทนาการ และลานกีฬาเอ็กตรีม ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแก่น หลักการและเหตุผล :

ปรับเปลี่ยนลานจอดรถเดิมให๎เป็นพื้นที่สีเขียว แล๎วจัดสรรพื้นที่สํวนกลาง สาหรับจอดรถของศูนย์การเรียนรู๎ตลาดนัดสีเขียวและคนที่มาทากิจกรรม ในบึงแกํนนคร จากแผนพัฒนาของเทศบาลให๎คนหันมาใสํใจสุขภาพของ ตัวเอง จึงจาเป็นต๎องมีแผนงานที่มาสนับสนุนหนึ่งในนั้นคือพื้นที่ นันทนาการและลานกีฬา (เอ็กซ์ตรีม) ปรับปรุงพื้นที่ลานกีฬาเดิมเพิ่มพื้นที่ สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อให๎เหมาะสมกับการใช๎งานของกิจกรรม จัดให๎มี ความสาคัญตํอการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให๎มีสุขภาพแข็งแรงและสุขภาพ ใจที่ดี พัฒนาชุมชนให๎มีความเข๎มแข็งสามัคคี เป็นสถานที่ที่ชํวยเสริมสร๎าง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให๎เข๎มแข็ง และกํอให๎เกิดประโยชน์ตํอชาว ชุมชนทุกเพศ ทุกวัยซึ่งภายในลานกีฬา ประกอบด๎วย

กิจกรรมกลางแจ๎ง - สนามกีฬา

- สนามเด็กเลํน

- ลานผู๎สูงอายุ - ลานเอโรบิค - พื้นที่สาหรับกีฬา Extreme กิจกรรมในรํม - นวัตกรรมลานออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ วัตถุประสงค์ :

เพื่อปรับปรุงลานจอดรถเดิม เพิ่มพื้นที่ลานกีฬา หันให๎คนมาสนใจในเรื่อง สุขภาพ และเป็นพื้นที่สํงเสริมศักยภาพของคนรุํนใหมํ

ระยะเวลาในการดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมดาเนินการ :

บริษัทเอกชนและหนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

ชํวยเพิ่มพื้นที่สีเขียวให๎กบั บึงแกํนนคร จัดสรรพื้นที่ให๎เกิดความเหมาะสม ชํวยเพิ่มกิจกรรมให๎กับเด็กวัยรุํนในพื้นที่ คนในชุมชนมีสุขภาพแข็งแรงและ สุขภาพใจที่ดี ชุมชนมีความเข๎มแข็งสามัคคี เป็นสถานที่ที่ชํวยเสริมสร๎าง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให๎เข๎มแข็ง และกํอให๎เกิดประโยชน์ตํอทุกเพศ ทุกวัย

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 22


โครงการที่ 1.3 โครงการพื้นที่สาธารณะ ลานพักผ่อนและพื้นที่ศึกษาระบบนิเวศบึงแก่นนคร ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแกํน หลักการและเหตุผล :

บึงแกํนนครเป็นพื้นที่ที่คนในชุมชนและคนในละแวกใกล๎เคียง ใช๎เป็นพื้นที่ ทากิจกรรมตํางๆ ทั้งกิจกรรมกีฬา สถานที่พักผํอนหยํอนใจ จึงมีความ เหมาะสมที่จะใช๎พื้นที่นี้เป็นสถานที่ทากิจกรรม เป็นสถานที่พักผํอนหยํอน ใจ เป็นศูนย์กลางทางด๎านการศึกษาสิ่งแวดล๎อมโดยเสนอให๎เป็นเส๎นทาง การศึกษาระบบนิเวศของบึง เผยแพรํความรู๎ให๎แกํคนรุํนใหมํ สร๎างจิตสานึก ให๎หันมาดูแลรักษาสิ่งแวดล๎อม ระบบนิเวศของบึงแกํนนครมากขึ้น โดย จัดเป็นนิทรรศการให๎ความรู๎ และระบบนิเวศของบึงแกํนนครเป็นสถานที่ ออกกาลังกายในลักษณะตํางๆ

วัตถุประสงค์ :

เพื่อสร๎างพื้นที่สาหรับคนในพื้นที่ใช๎ทากิจกรรมตํางๆ ศึกษาหาความรู๎เรื่อง สิ่งแวดล๎อม ระบบนิเวศบึงกํนนคร โดยมุํงเน๎นการพัฒนาจากพื้นที่เดิมและ เพิ่มศักยภาพของพื้นที่ให๎ดียิ่งขึ้น และยังคงรักษาพื้นที่สีเขียวเดิมให๎คงอยูํ

ระยะเวลาในการดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมดาเนินการ :

คณะกรรมการชุมชนและคนในชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

ชุมชน บุคคลทั่วไป นักเรียน นักศึกษา และคนรุํนใหมํมีพื้นที่สีเขียวทา กิจกรรมศึกษาหาความรู๎ทางด๎านสิ่งแวดล๎อม ระบบนิเวศของบึงแกํนนคร และพักผํอนอยํางเหมาะสม

โครงการที่ 1.4 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สวนดอกคูนเสียงแคน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแกํน หลักการและเหตุผล :

สวนดอกคูนเสียงแคนเป็นสวนสาธารณะที่มีพันธ์ไม๎หลากหลายชนิดซึ่งหนึ่ง ในนั้นคือต๎นราชพฤกษ์หรือดอกคูน ดอกไม๎ประจาจังหวัดขอนแกํน จาก สภาพปัญหาดินมีความเค็มสํงผลให๎ต๎นไม๎ที่มีอยูํลดน๎อยลง ทางเทศบาลจึงมี นโยบายให๎พัฒนาสวนดอกคูนเสียงแคนโดยเพิ่มพันธ์ไม๎ จัดสวนให๎มีความ รํมรื่น จัดพื้นที่สาหรับศึกษาข๎อมูลพันธ์ไม๎ของบึงแกํนนครและจังหวัด ขอนแกํน เน๎นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อชํวยดูดซับคาร์บอน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 23


วัตถุประสงค์โครงการ : เพิ่มจานวนพันธ์ไม๎ที่มีความรํมรื่น ปรับสภาพแวดล๎อมให๎เหมาแกํการศึกษา หาความรู๎ การพักผํอน และตอบสนองตํอนโยบายของเทศบาล ระยะเวลาในการดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมดาเนินการ : ชาวชุมชนบึงแกํนนคร ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

เพิ่มพื้นที่สีเขียวให๎กับบึงแกํนนคร เป็นพื้นที่สาหรับศึกษาข๎อมูลพันธ์ไม๎ของ บึงแกํนนคร เชื่อมโยงกับพื้นที่ศึกษาสิ่งแวดล๎อมของบึงแกํนนคร และเป็น การอนุรักษ์พันธุ์ไม๎พื้นถิ่นให๎อยูํคูํบึงแกํนนคร

โครงการที่ 1.5 โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะชุมชน ศาสน์สถานและเส้นทางศูนย์การเรียนรู้ “สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม” ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแกํน หลักการและเหตุผล : ยํานบึงแกํนนครเป็นพื้นที่ๆหนึ่ง ที่มีศาสน์สถานทางประวัติศาสตร์อยูํ พอสมควรซึงประกอบไปด๎วย 1. วัดพระธาตุพระอารามหลวง 2. พระ มหาธาตุแกํนนคร 3. วัดกลาง 4. อนุสาวรีย์ พระนครศรีบริรักษ์ 5. ศาลหลักเมืองเกํา 6.ศาลเจ๎าพํอมเหศักดิ์ และ7.ศาลเจ๎าแมํสองนาง ซึ่งล๎วน แตํมีความสาคัญกับคนในชุมชน และยังเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ของคน ในชุมชน ทั้งนี้ในปัจจุบันชุมชนยํานบึงแกํนนครดั้งเดิมถูกลดจานวนลงไป เรื่อยๆ บวกกับการถูกประชากรแฝงกลบกลืนวัฒนธรรมอยํางตํอเนื่องสํงผล ให๎เกิดปัญหาในหลายด๎าน ฉะนั้นเพื่อให๎เกิดการรักษาวิถีชีวิตดั้งเดิมและ ฟื้นฟูศาสน์สถาน จึงจาเป็นที่จะต๎องมีเส๎นทางศูนย์การเรียนรู๎ “สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม”พื้นที่นี้เป็นสถานที่สํวนกลางของคนในชุมชน และ สํงเสริมให๎มีการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อสร๎างความเข๎าใจและตระหนักถึงความสาคัญของสาสน์สถาน และคน ในชุมชนสามารถเป็นแหลํงความรู๎และเศรษฐกิจใหมํของคนในชุมชน ระยะเวลาในการดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมดาเดินการ : ชุมชนยํานบึงแกํนนคร กระทรวงวัฒนธรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ชุมชนมีแหลํงเศรษฐกิจใหมํในรูปแบบที่แตกตํางออกไปจากตลาดแบบเดิม และเป็นสถานที่ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและให๎ความรู๎ทางประวัติศาสตร์กับ นักทํองเที่ยวหรือผู๎ที่มีความสนใจ และทาให๎คนในชุมชน นักทํองเที่ยว และ ผู๎สนใจเกิดความเข๎าใจวิถีชีวิตของคนในชุมชน และเกิดความตะหนักถึง ความสาคัญอีกด๎วย รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 24


แผนงานที่ 2 แผนการสนับสนุนพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้นอกโรงเรียน โครงการที่ 2.1 โครงการปรับปรุงพื้นที่สํงเสริมการเรียนรู๎นอกโรงเรียน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแกํน/เอกชน หลักการและเหตุผล : ในสภาพปัจจุบันเส๎นทางหรือยํานโรงเรียนกวดวิชา หอพัก โรงแรม และ อาคารพาณิชย์ ด๎วยศักยภาพของพื้นที่จึงเสนอแนะให๎เป็น พื้นที่สํงเสริม การเรียนรู๎นอกโรงเรียน กิจกรรมเรียนรู๎นอกห๎องเรียนทั้งเส๎นถนนหน๎าเมือง หรือยํานโรงเรียนกวดวิชา เป็นกิจกรรมสนับสนุนการจัดการเรียนรู๎ เพื่อให๎ นักเรียนได๎มีโอกาสสัมผัสกับแหลํงเรียนรู๎จริง และยังเป็นโอกาสที่นักเรียน ได๎ทากิจกรรมรํวมกันนอกโรงเรียน ทาให๎การทากิจกรรมเรียนรู๎นอก ห๎องเรียนเป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ และตอบสนองตํอความสนใจ ความ ต๎องการของเด็กมีการปรับปรุงทัศนียภาพตลอดเส๎นทางการสัญจรเส๎นหลัก ให๎มีความจดจาและเป็นที่ประทับใจ เกิดความรํมรื่น มีสถานที่สาหรับคนรุํน ใหมํ ซึ่งมีองศ์ประกอบดังตํอไปนี้ 1. มีที่สาหรับรวมตัวของคนรุํนใหมํ 2. ห๎องแล็ปคอมพิวเตอร์ 3. พื้นที่พิเศษที่ใช๎เป็นโรงละครข๎างถนนและงานกราฟิตี้ 4. มีพื้นที่สาหรับถํายทอดงานศิลป์และภูมิปัญญาของคนรุํนใหมํ 5. community mall วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อปรับปรุงพื้นที่ยํานโรงเรียนกวดวิชาและเส๎นทางการสัญจรหลัก ให๎เป็น แลนด์มาร์คสาคัญอีกแหํงหนึ่งของจังหวัดขอนแกํน โดยให๎เป็นจุดเริ่มต๎น ศูนย์กลางยํานการศึกษานอกโรงเรียนตามอัธยาศัยของเมือง เกิดความ ประทับใจ เป็นศูนย์กลางเผยแพรํความรู๎แกํคนรุํนใหมํ สํงเสริมสิ่งแวดล๎อม อยํางยั่งยืน เชื่อมโยงสถานศึกษา โดยยึดจุด BRT เป็นหลักและสถานที่ สาคัญสามารถเชื่อมเป็นโครงขําย Green Network สูํบึงแกํนนครได๎ โดยตรง ระยะเวลาในการดาเนินการ : 3-5 ปี ผู้ร่วมดาเนินการ : สานักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแกํน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 25


ผลที่คาดว่าจะได้ :

เป็นแลนด์มาร์คสาคัญอีกแหํงหนึ่งของจังหวัดขอนแกํน เป็นจุดเริ่มต๎น ศูนย์กลางยํานการศึกษานอกโรงเรียนตามอัธยาศัยของเมือง เกิดความ ประทับใจ เป็นศูนย์กลางเผยแพรํความรู๎แกํคนรุํนใหมํ สํงเสริมสิ่งแวดล๎อม อยํางยั่งยืน ภูมิทัศน์ทางการสัญจรหลักในการเข๎าถึงพื้นที่มีความเหมาะสม สวยงาม ชํวยสร๎างความประทับใจให๎แกํนักทํองเที่ยวและกลุํมคนรุํนใหมํ

โครงการที่ 2.2 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางเท้า และทางจักรยาน ผู้รับผิดชอบ : เทศบาลนครขอนแกํน หลักการและเหตุผล : เนื่องจากสภาพปัญหาในปัจจุบันแนวคิดของการเดินและการใช๎จักรยานก็ เป็นหนึ่งในทางเลือกของการทํองเที่ยว สนับสนุนให๎มีร๎านค๎าที่จุดจอด จักรยาน ซึ่งสามารถดาเนินการได๎ทันที ซึ่งจะชํวยให๎ชุมชนและการ ทํองเที่ยว สามารถที่จะพัฒนาได๎อยํางสอดคล๎อง วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อชํวยลดปัญหาความหนาแนํนของการจราจร สํงเสริมให๎คนในชุมชนเดิน และใช๎จักรยาน แทนการใช๎พาหนะยานยนต์สํวนตัว ลดปริมาณคาร์บอนใน เขตชุมชน เพื่อสร๎างคุณภาพชีวิตที่ดี ระยะเวลาในการดาเนินการ : 1-3 ปี ผู้ร่วมดาเนินการ : สานักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดขอนแกํน ผลที่คาดว่าจะได้ : เป็นยํานโรงเรียนนําเดิน การเข๎าถึงพื้นที่มีความเชื่อมโยงของเส๎นทาง ความสัมพันธุ์ระหวํางชุมชนกับศูนย์การเรียนรู๎มีความตํอเนื่องกัน 1. ช่วงระยะเวลาในการพัฒนา (Development Phasing) โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร Phase 1 ( ระยะเวลา 1-3 ปี )

1

1. โครงการปรับปรุงศูนย์การ เรียนรู๎ “ตลาดนัดสีเขียว”

4

2. โครงการพื้นที่สาธารณะ ลาน พักผํอนและพื้นที่ศึกษาระบบนิเวศ

2

บึงแกํนนคร

3.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สวน ดอกคูนเสียงแคน

3

4.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ทาง

1

เท๎า และทางจักรยาน

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 26

2


โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร Phase 2 ( ระยะเวลา 3-5 ปี )

2 1

2

1. โครงการลานจอดรถ พื้นที่นนั ทนาการ และลาน กีฬาเอ็กตรีม 2. โครงการปรับปรุงพืน้ ทีส่ าธารณะชุมชน ศาสน์

3

สถานและเส๎นทางศูนย์การเรียนรู๎ “สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม”

2

3. โครงการปรับปรุงพืน้ ทีส่ ํงเสริมการเรียนรู๎นอก โรงเรียน

2

2

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 27


ตารางที่ 1 ชํวงระยะเวลาในการพัฒนา (Development Phasing) ระยะเวลา

แผนงานโครงการ

การ

ระยะที่1

ก่อสร้าง 2559

2560

2561

ระยะที่2 2562

2563

2564

ระยะที่3 2565

2566

2567

ระยะที่4 2568

2569

2570

2571

โครงการปรับปรุงศูนย์ การเรียนรู้ “ตลาดนัด สีเขียว”

3ปี

โครงการปรับปรุงภูมิ ทัศน์สวนดอกคูนเสียง แคน

2ปี

โครงการพื้นที่ สาธารณะ ลาน พักผ่อนและพื้นที่

3ปี

ศึกษาระบบนิเวศบึง แก่นนคร โครงการปรับปรุงภูมิ ทัศน์ทางเท้า และทาง จักรยาน

2ปี

โครงการปรับปรุงพื้นที่ สาธารณะชุมชน ศาสน์สถานและ เส้นทางศูนย์การ

3ปี

เรียนรู้ “สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม” โครงการลานจอดรถ พื้นที่นันทนาการ และ ลานกีฬาเอ็กตรีม

4ปี

โครงการปรับปรุงพื้นที่ ส่งเสริมการเรียนรู้นอก โรงเรียน

4ปี

ที่มา : การวิเคราะห์ตามระดับปริมาณงานกํอสร๎าง

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 28


2. มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน

ข้อกาหนดการใช้พื้นที่ ประเภทที่อยู่อาศัย 2.1 พื้นที่ชุมชนริมบึงแกํนนคร - ห๎ามมิให๎กํอสร๎างหรือเพิ่มเติมอาคารที่มีความสูงมากกวํา 6 เมตร หรือสูงกวําศาสน์สถานที่มี ความสาคัญในพื้นที่ - กาหนดการใช๎ประโยชน์ที่ดินให๎เป็นไปในลักษณะที่อยูํอาศัย สอดคล๎องกับขนบธรรมเนียม อัตลักษณ์พื้นถิ่น และการใช๎งานเพื่อสาธารณูปโภคสาธารณูปการ - ห๎ามมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ หรืออัตลักษณ์ของรูปแบบสถาปัตยกรรมเดิมกํอนได๎รับการ อนุญาตจากเทศบาล หรือหนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง 2.2 พื้นที่อัตลักษณ์และศาสน์สถาน - ห๎ามมิให๎กํอสร๎างหรือเพิ่มเติมอาคารที่มีความสูงมากกวํา 6 เมตร หรือสูงกวําศาสน์สถานที่มี ความสาคัญในพื้นที่ - กาหนดให๎มีลักษณะของรูปแบบอาคารให๎เหมาะสมกับสภาพแวดล๎อม รูปแบบอาคารให๎ เป็นแบบที่กาหนด ควบคุมสีของอาคารให๎เหมาะสมกับสภาพแวดล๎อม ไมํเน๎นสีฉูดฉาด

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล๎อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 7 - 29


บทที่ 8 บทสรุป 8.1 สรุปสาระสาคัญของการศึกษา

การออกแบบน าไปสู่ ความ “Smart" ที่ เพิ่ ม ขึ้น ให้แก่เมื องและชุ ม ชน คือ การพั ฒนาภูมิ ทั ศน์ รวมถึง สภาพแวดล้อมของเมืองให้สวยงาม สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบายสอดคล้องกับคนยุคใหม่ตามแนวคิดเมือง อัจฉริยะ และการปรับปรุงสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเตรียมเข้าสู่เมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคตะวันออกฉียง เหนือตามนโยบายพัฒนาประเทศไทย 4.0 จากการศึกษาในเขตเทศบาลนครนครขอนแก่น เพื่อ การพัฒนาภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อม รวมถึงองค์ประกอบ ทางกายภาพของเมืองให้สวยงาม สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบายสอดคล้องกับคนยุคใหม่ตามแนวคิดเมือง อั จ ฉริ ย ะ และการปรั บ ปรุ ง สาธารณู ป โภคพื้ น ฐานเพื่ อ เตรี ย มเข้ า สู่ เ มื อ งศู น ย์ ก ลางทางเศรษฐกิ จ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตามนโยบายพัฒนาประเทศไทย 4.0 ที่มุ่งหมายให้ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคลาดับ 1 ซึ่งมีศักยภาพรองรับ ในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางหลักของภาค เป็นจุดให้บริการเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครและ เชื่อมโยงแนวระเบียงเศรษฐกิจระหว่างภูมิภาครอบข้าง ASEAN 10 ประเทศรวมถึงประเทศจีน ซึ่งเส้นทาง East-

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 8 - 1


West Corridor จะเป็นเส้นทางคมนาคมหลักในอนาคตเพื่อขนส่งสินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่สอด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยัง เวียดนาม โดยมีโครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดินเชื่อมโยงติดต่อในแนวทิศเหนือ-ใต้ ยุทธศาสตร์ของขอนแก่นเป็นศูนย์กลางทางด้านต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ 1. ศูนย์กลางทางด้านระบบการขนส่ง 2. ศูนย์กลางของการศึกษาโดยจังหวัดขอนแก่นมีสถานศึกษาจานวน 1,167 แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มี ด้วยกัน 6 คณะที่โดดเด่น ได้แก่ 1. คณะแพทยศาสตร์ 2. คณะเภสัชศาสตร์ 3. คณะพยาบาลศาสตร์ 4. คณะเทคนิค ทางการแพทย์ 5. คณะสัตว์แพทยศาสตร์ 6. คณะเทคโนโลยีด้านอาหาร 3. ศูนย์กลางทางการแพทย์ และพยาบาล คือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ แ ละคณะแพทย์ศาสตรมหาวิทยาลัย ขอนแก่น 4. ศูนย์กลางของการสัมมนาและแสดงนิทรรศการ เช่น ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก งานไหม นานาชาติ ออกงานแสดงผ้าไหมของท้องถิ่น หอศิลป์ต้นตาลซึ่งมีตลาดนัดบริการด้วย เป็นต้น 5. ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว การบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ลดการปล่ อ ยผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อการนาไปสู่เมืองอัจฉริยะ (smart city) จะถูกดาเนินการให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ความต้องการ ปัญหา ศักยภาพ และจุดยืนที่เมืองขอนแก่นได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่ มีอยู่เดิมให้บูรณาการไปสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อม ซึ่งสะท้อนออกมาเป็น แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมเมืองอัจฉริยะได้หลายแนวทาง โดยได้ศึกษาในบริบทของเมืองที่ แตกต่างกัน เพื่อนาเสนอแผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่เมืองอัจริยะ ได้แก่ 1. ย่านตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (Smart Market & Old Town District) 2. ศูนย์กลางการประชุม ธุรกิจ และคมนาคม (Smart MICE) 3. ศูนย์กลางการศึกษา (Smart Education) 8.2 ข้อจากัดของการศึกษา ข้อจากัดของการศึกษา ด้วยสภาพพื้นที่เทศบาลนครขอนแก่นเป็นพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่แต่เนื่องด้วยข้อจากัดในการสารวจพื้นที่หลายๆด้าน ทาให้ต้องเลือกสารวจเฉพาะจุด ที่ต้องการจะศึกษาเป็นพื้นที่ๆมีความสาคัญลาดับต้นๆ เพื่อที่จะเป็นพื้นที่นาร่องให้กับ พื้นที่อื่นๆที่มีบริบทใกล้เคียงกัน ต่อไป ด้วยข้อจากัดเหล่านี้อาจเป็นผลให้การศึกษาออกแบบมีข้อผิดพลาดตกหล่นในบางประเด็นการพัฒนาในการนา ขอนแก่นไปสู่เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ซึ่งเมืองอัจฉริยะต้องคานึงถึงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมไป พร้อมๆกัน และรองรับการเจริญเติบโตของเมืองในอนาคต จึงทาให้แนวคิดดังกล่าวต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมในประเด็น ที่เกี่ยวข้องในเชิงลึกมากขึ้น

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 8 - 2


8.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาขัน้ ต่อไป การออกแบบและพัฒนาชุมชนเมืองเทศบาลนครขอนแก่นเพื่อมุ่งสู่ smart city ควรพัฒนาโดยคานึงถึงคง ความเป็นเอกลักษณ์ของเมืองเอาไว้ อันได้แก่ ประเพณีวัฒนธรรม รวมถึงพื้นที่ทางธรรมชาติ เช่น บึงแก่นนคร บึงทุ่ง สร้าง และบึงหนองโครตให้มีความเป็นพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ของเมืองเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อนของ ชาวเมืองขอนแก่นอย่างยั่งยืน การเพิ่มพื้นที่ สาธารณะภายในเมืองให้เกิดการใช้พื้นที่เพื่อรองรับการท่องเที่ยวอย่าง สร้างสรรค์สอดคล้องกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนเมืองอย่างนักท่องเที่ยวที่มาประชุม และพื้นที่รองรับกิจกรรมที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต ด้วยคุณ ภาพของจัง หวัดขอนแก่นที่ถูกส่ งเสริมเป็น ศูนย์ กลางการประชุม ธุ รกิจ คมนาคม และการแพทย์ การศึกษา ซึ่งพัฒนาตามแนวทางเมืองอัจฉริยะ เป็นการส่งเสริมให้เมืองขอนแก่นพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สภาพแวดล้อม โดยการศึกษานี้เป็นการเลือกศึกษาพื้นที่นาร่องเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ยังมีพื้นที่อีกหลายแห่งทั้งใน บริบทที่ใกล้เคียงและแตกต่างกัน ทั้ง นี้ผู้ที่ศึกษาในขั้นต่อไป อาจจะเลือกพื้ นที่ศึกษาอื่นๆ เพื่อให้การศึกษาเมือง อัจฉริยะนี้ทาให้ขอนแก่นมุ่งสู่เมืองอัจฉริยะตามเป้าหมายที่วางเอาไว้ โดยที่การพัฒนาจะทาให้เมืองน่าอยู่ และใช้งาน ได้คล่องตัวเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับแนวคิดดังกล่าว และนโยบายจากทางภาครัฐ และส่งเสริมให้พื้นที่ใกล้เคียงได้ พัฒนาตามแนวทางนี้ต่อไป

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 8 - 3


รายการอ้างอิง  เทศบาลนครขอนแก่น. (-). ข้อมูลพื้นฐานของเทศบาล. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.kkmuni.go.th/  ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลนครขอนแก่น. (-). ข้อมูลข่าวสารแนะนาเทศบาล. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จาก เว็บไซต์ http://center.kkmuni.go.th/  ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลนครขอนแก่น. (-). โครงสร้างด้านการบริหาร. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จาก เว็บไซต์ http://center.kkmuni.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=52&Itemid=81  ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลนครขอนแก่น. (-). ลักษณะภูมิประเทศและทิศทาง. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://center.kkmuni.go.th/images/data/data_public/Terrain-data/infa-01.pdf  Realist blog. (-). จับตามองเมืองขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.realist.co.th/blog/จับตามองเมืองขอนแก่น/  ประตูสู่อีสาน. (-). ข้อมูลทั่วไปจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.isangate.com/isan/khonkaen.html  การเคหะแห่งชาติ. (2557).Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.slideshare.net/FURD_RSU/ppt-urbanization  กรมชลประทาน. (2557).ประวัติความเป็นมาของจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 21 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://ridceo.rid.go.th/khonkaen/html/kkj_hist.html  วิกิพีเดีย. (2557).ข้อมูลของจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 21 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดขอนแก่น  BUSINESS EVENTS THAILAND. (2559). เที่ยวบินภายในประเทศจากขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.businesseventsthailand.com/th/mice-destinations/mice-destinations/khonkaen/international-flights-to-khon-kaen/  BUSINESS EVENTS THAILAND. (2559). เที่ยวบินระหว่างประเทศสู่ขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม 2559 จากเว็บไซต์ http://www.businesseventsthailand.com/th/mice-destinations/mice-destinations/khonkaen/domestic-flights-from-khon-kaen/  สื่อไทบ้าน อีสานทีวี. (2558).Khonkaen Mice City. สืบค้นวันที่ 18 เมษายน 2558 จากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=SxY304nVpLE  กรมพัฒนาที่ดิน. (2559).สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2559 จากเว็บไซต์ http://www.ldd.go.th/web_OLP/Lu_58/Lu58_NE/KKN58.htm  Khonkaen Link. (2557). จุดเด่นของจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นวันที่ 20 มกราคม 2557 จากเว็บไซต์ http://forum.khonkaenlink.info/index.php?topic=17215970.0  http://www.ichumphae.com/topic.php?q_id=29550  http://www.dpt.go.th/msnk/?detail=5 รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด บ - 1


      

http://www.oknation.net/blog/smartgrowththailand/2016/01/20/entry-1 http://s1377.photobucket.com/user/Rawipad_Shaiyes/media/_zpsdufzg9gt.png.html https://www.facebook.com/Greenkhonkaen/?fref=photo https://www.facebook.com/KhonKaenTraffic-111247852333702/ https://www.facebook.com/SuchartStudio/?fref=ts https://www.startupbootcamp.org/blog/2014/10/untitled-resource1/ http://unbounce.com/online-marketing/11-marketing-documentaries-that-will-make-you-asmarter-marketer/  Smart Growth Thailand Institute http://www.asiamuseum.co.th  NSTDA  www.nesbdb.go.th

รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด บ - 2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.