Design guidelines 2016 khonkaen

Page 1


คำนำ จังหวัดขอนแก่น คือ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การ บริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล”โดยมีเป้าประสงค์ของจังหวัด (Goals) ในประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีความ เข้มแข็ง สังคมสันติสุขและอยู่กันอย่างเอื้ออาทรและประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืนเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม แนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่จึง มีเนื้อหาเกี่ยวกับ แนวทางการพัฒนาพื้นที่เ ทศบาลเมื อ ง ขอนแก่นให้เป็นไปตามเป้าหมายให้เป็นเมือง Low carbon ที่ตั้งไว้ ซึ่งได้แก่ โครงการปรับปรุงพื้นที่ถนนสาย หลัก การทาให้พื้นที่มีความเป็นระเบียบ ปรับปรุงพัฒนาสิ่งแวดล้อมพื้นที่ต่างๆให้เกิดกรเชื่อมโยง และปรับปรุง พื้นที่ให้เหมาะสมแก่การใช้งานทั้งของคนเดินเท้าและผู้ใช้รถ เพื่อให้ภูมิทัศน์ทัศนียภาพของเมืองมีสภาพที่ดีขึ้น มีความเป็นย่านที่กระชับและเด่นชัดยิ่งขึ้น โดยแนวทางการออกแบบเหล่ า นี้ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความ สะดวกสบายในการสัญจร ทางเดินเท้าริมถนนและถนนสายหลักของชุมชน ควบคู่ไปกับผิวจราจรทาง มีร่มเงา ต้นไม้และกลุ่มหิน ตลอดเส้นทาง รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงและก่อสร้างพื้นที่ลาดจอดรถยนต์ใหม่ เกิดความ เชื่อมโยงของเส้นทางถนน Green Corridor จากศูนย์กลางเมืองไปยังพื้นที่ต่างๆ ช่วยปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ บริเวณริมถนน บึงแก่นนคร และย่านมหาลัย เพื่อนาไปสู่เมืองคาร์บอนต่า หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงายฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา

Design Guidelines: 2


สำรบัญ หน้า ความเป็นมาของโครงการ

4

ปัญหาของพื้นที่โครงการ

5

แนวความคิดในการปรับปรุงพื้นที่บริเวณสี่แยกถนนศรีจันทร์ตัดกับถนนกลางเมือง

6

การกาหนดแนวทางการควบคุมในการออกแบบ DESIGN GUIDELINES

9

Design Guidelines: 3


ควำมเป็นมำของโครงกำร จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง ที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่านไปสู่ประตู อินโดจีน โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการคมนาคม ระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี ความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการ คมนาคมขนส่งของภาคอีสานสามารถเชื่อมโยง ออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงาน ราชการส่วนกลางภูมิภาคซึ่งเป็นเครื่องมือที่สาคัญ ในการให้บริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุด ที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 (ถนนสาย เศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก ; EWEC) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 445 กิโลเมตร

บริเวณถนนศรีจันทร์ที่เป็นศูนย์รวมกิจกรรม ของขอนแก่นที่สาคัญทั้ง สถานศึกษา ระบบขนส่ง คมนาคม ตลาดสด ทาให้มีผู้ใช้งานหลากหลายกลุ่ม ทุกเพศทุกวัย นักเรียน พ่อค้า แม่ค้า และผู้สัญจรไป มา จึงต้องการการออกแบบที่ดีเพื่อรองรับการใช้ งานในอนาคต บริเวณสี่แยกศริจันทร์ตัดกับถนนกลางเมือง มี ผู้คนพลุกพล่าน และการสัญจรที่หนาแน่นในชั่วโมง เร่งด่วน จึงต้องมีการออกแบบเพื่อรองรับกับ กิจกรรม เพื่อให้เกิดความปลอดภัย การเชื่อมโยง ระหว่างพืน้ ที่ การใช้ประโยชน์พื้นที่ และมุมมอง ภาพลักษณ์ที่ส่งเสริมกกับนโยบายขอนแก่น รวมถึง ความสะดวกสบายกับผู้ที่มาใช้งานในพื้นที่ได้ดี

ยิ่งขึ้นในอนาคต

ไปศูนย์ราการ

ไปบึงแก่นนคร

บริเวณโดยรอบพื้นที่แยกศรีจันทร์-กลางเมือง

บริเวณแยกศรีจันทร์ตัดกับถนนกลางเมือง

บริเวณตลาดสด และโรงเรียน Design Guidelines: 4


ปัญหำของพื้นที่โครงกำร พื้นที่บริเวณสี่แยกศรีจันทร์กับถนนกลาง เมืองเป็นจุดที่มีการสัญจรคับคั่ง และมีกิจกรรมที่ เชื่อมโยงระหว่างสี่แยกมากมายหลายทาให้ผู้ใช้ที่ ผ่านข้ามไปมาระหว่างพื้นที่โดยรอบแยกนี้มีเป็น จานวนมาก และหลายหลายช่วงอายุ พร้อมกับใน อนาคตจะมีรถไฟฟ้ารางเบาผ่านบริเวณแยกนี้อีก ด้วย ส่งผลให้เกิดผลกระทบกับประชาชนคนเดิน เท้ากับการคมนาคม จึงควรที่จะมีการออกแบบ รองรับและแก้ไขเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี เหมาะสมกับการใช้งานที่หลากหลายดังกล่าว ดังต่อไปนี้

1. ปัญหาการสัญจรของผู้คนตัดกับการสัญจรของ รถไฟฟ้า และรถยนต์ เนื่องจากมีกิจกรรมต่างๆ ที่ จาเป็นต้องอาศัยการเดินข้ามถนน เพื่อไปประกอบ กิจกรรมนั้นๆ แต่ทางข้ามนั้นมีความเสี่ยงในการ เกิดอุบัติเหตุ

2. ปัญหาการใช้งานทางเท้าและพื้นที่สาธารณะริม ทาง ซึ่งสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออานวยกับคนเดินเท้า และการใช้จักรยานในปัจจุบัน

3. การรับรู้และเข้าถึงพื้นที่ เนื่องจากปัจจุบัน บริเวณสี่แยกไม่มีเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทาให้ผู้ที่ สัญจรผ่านไปมาไม่สามารถรับรู้ขอบเขตพื้นที่ และ ทิศทาง รวมถึงพื้นที่ๆมีกิจกรรมต่อเนื่องถึงกันได้ อย่างชัดเจน

4. การต่อเติมหรือก่อสร้างอาคารใหม่ในแนวถนน ศรีจันทร์ จะทาให้สูญเสียเส้นแกน และแนว street wall ของถนน

5. ปัญหาความไม่เป็นระเบียบของพื้นที่ Design Guidelines: 5


แนวควำมคิดในกำรปรับปรุงพื้นที่บริเวณสี่แยก ถนนศรีจันทร์ตัดกับถนนกลำงเมือง การปรับปรุงพื้นที่บริเวณสี่แยกถนนศรี จันทร์ตัดกับถนนกลางเมืองมีแนวคิดในการ ปรับปรุงคือ การให้ความสาคัญกับคนเดินเท้าและ การใช้รถโดยสารสาธารณะ ให้มีความสะดวกสบาย ปลอดภัยทั้งในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงสุขภาพ ปรับปรุงทางเดินเท้า เพิ่มทางจักรยาน

ของคนเดินเท้าด้วย และสร้างจุดหมายตาที่แสดง ถึงเอกลักษณ์ความเป็นเมืองจอนแก่น มีการ ปรับปรุงทางเท้าให้สามารถใช้งานได้ดีมากขึ้น และ เพิ่มพื้นที่โล่งสาธารณะบริเวณสี่แยกให้สามารถใข้ ทากิจกรรมสาธารณะ เข้าถึงได้อย่างสะดวกสบาย และมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น จากแนวคิดในการปรับปรุงข้างต้นได้ จาลองภาพและบรรยากาศในอนาคต ดังนี้

ปรับปรุงพื้นที่บริเวณหัวมุมถนน เพิ่มพื้นที่ออกกาลังกาย เส้ น ทางรถราง สร้างจุดหมายตา

เส้นทำงรถรำงลอดใต้ถนนศรีจันทร์ตัดกับถนนกลำงเมือง

Design Guidelines: 6


กำรปรับปรุงทำงเดินเท้ำย่ำนตลำดกลำงเมือง

กำรปรับปรุงทำงจักรยำน ทำงเดินเท้ำ และแนว ต้นไม้ ก่อนปรับปรุง

หลังปรับปรุง

ก่อนปรับปรุง

กำรปรับปรุงถนนศรีจันทร์เพิ่มเส้นทำงรถรำง ก่อนปรับปรุง

หลังปรับปรุง หลังปรับปรุง

Design Guidelines: 7


นอกจากแนวความคิดและภาพจาลอง ข้างต้นแล้ว การกาหนดมาตรการควบคุมในผัง ข้างต้นสามารถกาหนดคร่าวๆได้ดังนี้ ส่วน รายละเอียดของ Design Guidelines ได้นาเสนอ ในส่วนต่อไป 1. การก่อสร้างอาคารใหม่หรือต่อเติมอาคาร ห้าม ต่อเติมเกินอาคารที่มีอยู่แล้ว 2. บริเวณด้านหน้าของอาคารต้องสามารถใช้ให้ เป็นพื้นที่สาธารณะได้ 3. พื้นที่บริเวณหัวมุมถนน ให้เปิดเป็นพื้นที่ สาธารณะให้คนสัญจรไปมาได้ 4. สร้างแลนด์มาร์กใหม่ เพื่อให้เป็นจุดหมายตา 5. เส้นทางเดินรถราง และสถานีราง ให้เป็นไปตาม บริบทโดยรอบของพื้นที่นั้นๆ 6. ให้แยกทางเดินเท้ากับถนนด้วยพุ่มไม้ 7. ต้นไม่ใหญ่ที่จะปลูกบริเวณนี้ ให้ปลูกเป็นต้นคูณ เพื่อเป็นการส่งเสริมต้นไม้ประจาจังหวัด

7 6

3

1 2

4

5 Design Guidelines: 8


DESIGN GUIDELINES

ประเด็น: การปรับปรุงภูมิทัศน์

การออกแบบมาตรการในการควบคุม ปรับปรุงพื้นที่บริเวณสี่แยกถนนศรีจันทร์ตัดกับ ถนนกลางเมือง เป็นการกาหนดกรอบแนวทางใน การพัฒนาพืน้ ที่ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบันและป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่ง ส่งผลต่อเมืองหรือพื้นที่บริเวณสี่แยกถนนศรีจันทร์ ตัดกับถนนกลางเมืองนี้ โดยมีความมุ่งหมายและ วัตถุประสงค์ในการออกมาตรการควบคุมดังนี้

หัวข้ออภิปรำย: การปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมืองให้ มีความสวยงาม น่ามองและเป็นที่ประทับใจแก่ นักท่องเที่ยว เหมาะสมกับการเดินเท้าและปั่น จักรยาน ซึ่งคานึงถึงความปลอดภัยและความ สะดวกสบาย เป็นต้น

Goal: ความมุ่งหมาย

หลักกำร / แนวทำง 1. ลานโล่งสาธารณะ เพื่อส่งเสริมให้คนมาใช้งาน มากขึ้น และลานสาธารณะนี้ต้องประกอบด้วย เก้าอี้ริมทาง ที่กลมกลืนไปกับเมือง

เพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณสี่แยกถนนศรี จันทร์ตัดกับถนนกลางเมืองเป็นศูนย์กลางทาง ธุรกิจ Objective: วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่มีลักษณะเฉพาะตัว ให้ดึงดูดการใช้งานเพื่อการค้าพาณิชยกรรม มากขึ้น 2. เพื่อจัดระบบการสัญจรของทางเดินเท้า ทาง จักรยาน ช่องสัญจรของรถโดยสารสาธารณะ และรถยนต์ ให้เป็นระเบียบ วัตถุประสงค์ดังกล่าวเป็นหลักในการ กาหนดภาพรวมของพื้นที่ โดยจะเน้นการสัญจร การเดิน รถยนต์และการปรับปรุงพื้นทีสาธารณะ เป็นสาคัญ ซึ่งแต่ละวัตถุประสงค์มีประเด็นที่จะ นาเสนอดังต่อไปนี้

หมายเหตุ ภาพจาก http://www.b3designers.co.uk/blog/tag/dillerscofidio-renfro/

2. การสร้างร่มเงาแก่คนเดินเท้า เช่น การปลูก ต้นไม้ 2 ข้าง เพิ่มทัศนียภาพที่ดีให้แก่เมืองและ ผู้ใช้งานสามารถเดินได้ตลอดทั้งวัน

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่มี ลักษณะเฉพาะตัวให้ดึงดูดการใช้งานเพื่อการค้า พาณิชยกรรมมากขึ้น Design Guidelines: 9


หมายเหตุ ภาพจาก Khon Kaen Let's Go Together Facebook Fan page

ประเด็น: ความสะดวกสบาย หัวข้ออภิปรำย: การออกแบบพื้นที่เพื่อเพิ่มความ สะดวกสบายแก่ผู้ใช้งาน ได้แก่ เก้าอี้นั่งริมทาง จุด สร้างร่มเงาแก่ผู้สัญจร ทางเท้าที่อานวยความ สะดวกแก่คนทั้งมวล (Universal Design) เช่น ทางลาดและแผ่นพื้นนาทางหรือแผ่นพื้นเตือนภัย สาหรับคนตาบอด (Warning block) รวมถึงป้าย บอกสถานที่สาคัญภายในเมือง เป็นต้น หลักกำร / แนวทำง 1. พื้นที่นั่งสาธารณะ ใกล้กับร้านอาหารริมทางเท้า หรือรถเข็นขายของกินทั่วไป ช่วยให้คนเดินเท้า อยากเข้าไปนั่งมากขึ้น จึงเอื้อประโยชน์ต่อคน เดินเท้าสามารถมานั่งกินได้

2. ทางที่อานวยความสะดวกแก่คนทั้งมวล (Universal Design) เช่น ทางลาด

Design Guidelines: 10


ประเด็น: ความปลอดภัย หัวข้ออภิปรำย: ออกแบบสภาพแวดล้อมของเมือง เพื่อความปลอดภัยแก่ผู้ใช้งานตลอดทั้งวัน ซึ่งความ ปลอดภัยมี 2 ประเภท คือ ความปลอดภัยต่อชีวิต และทรัพย์สิน เช่น พื้นลื่น รวมถึงในเวลากลางวันมี ป้ายบอกทางที่ชัดเจน เวลากลางคืนมีไฟส่องสว่าง ตลอดทางทั่วถึงทุกพื้นที่ บริเวณสี่แยกมีทางม้า ลายเพื่อสร้างความปลอดภัยแก่ผู้เดินเท้าและผู้ขับ ขี่รถยนต์ และความปลอดภัยต่อสุขภาพ เช่น คน เดินเท้าจะไม่เดินตากแดด

หมายเหตุ ภาพจาก http://www.archdaily.com/282842/perk-parkthomas-balsley-asociates

หลักกำร / แนวทำง 1. ควรมีแนวต้นไม้หรือพุ่มไม้ริมทางเท้าเพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยของคนเดินเท้ากับรถยนต์สัญจร บนถนน โดยแบ่งเป็น ทางเท้า ทางจักรยาน แนวพุ่มไม้ และทางสัญจรรถยนต์

หมายเหตุ ภาพจาก http://www.archiexpo.com/prod/blux/gardenbollard-lights-4061-782838.html

3. วัสดุพื้นผิวของพื้น เช่น พื้นผิวเรียบแต่ไม่ลื่น เช่น หินทรายล้าง หรือแผ่นพื้นหินแกรนิตแบบ ด้านจะมีความเรียบแต่ไม่ลื่น ไม่ควรเป็นพื้นขัด มันหรือหินแกรนิต โดยจะถูกใช้ในบริเวณพื้นที่ โล่งสาธารณะ โดยเฉพาะคนแก่และคนพิการ

2. ไฟส่องสว่างที่เหมาะสมบนทางเท้า เช่น เสาไฟ ริมทาง ไฟส่องทางเดินเพื่อเพิ่มความปลอดภัย และไฟบนพื้นที่กลมกลืนกับแผ่นพื้น

Design Guidelines: 11


4. พื้นที่บริเวณสี่แยกและทางข้ามไปยังจุดสาคัญ ควรมีทางม้าลายที่ปรับระดับทางเท้าหรือ ปรับระดับพื้นของถนนทางแยกให้อยู่ระดับ เดียวกัน โดยการยกฝั่งใดฝั่งหนึ่ง นั่นคือ การ ยกระดับของถนนขึ้นไปหรือลดระดับทางเท้า ลงมาเป็นทางลาดก็เป็นไปได้ เพราะ ไม่ควร ทาเป็น 2 ระดับที่แตกต่างกัน และทางข้าม ของจักรยานด้วยโดยคู่ขนานกับทางม้าลาย

อยู่ในพื้นที่เปิดโล่งเพื่อให้คนสามารถเห็นได้จาก ระยะไกล หลักกำร / แนวทำง 1. การศึกษาอัตลักษณ์และลักษณะเด่นของเมือง มาใช้เป็นจุดหมายตา ซึ่งคนทั่วไปสามารถรับรู้ ได้ทาให้สิ่งนั้นเกิดความสาคัญและจดจาได้

หมายเหตุภาพจาก http://student.nu.ac.th/Mayspeedpatcha/KhonKaen/Blog%20Posts/n ew-post-3.html

2. ตาแหน่งที่ตั้งของจุดหมายตาที่อยู่ในระยะที่ สามารถมองเห็นได้ชัดเจนจากสถานที่ต่างๆ ภายในเมือง เช่น พื้นที่เปิดโล่งกลางเมือง และ บริเวณสี่แยกของเมืองซึ่งมีคนเดินสัญจร โดย พื้นที่นั้นสามารถใช้งานกิจกรรมสาธารณะได้ เช่น ประชุม ปราศัย และพักผ่อน เป็นต้น

ประเด็น: จุดหมายตาที่สะท้อนความเป็นเมือง หัวข้ออภิปรำย: จุดหมายตาภายในเมืองที่สะท้อน ความเป็นตัวตนทาให้คนสามารถจดจาได้และรับรู้ ได้ถึงจุดหมายตาที่สะท้อนความเป็นชนบท หรือ อัตลักษณ์ของเมืองได้อย่างชัดเจน เช่น ไดโนเสาร์ แคน เป็นต้น รวมถึงสถานที่ตั้งของจุดหมายตาควร Design Guidelines: 12


วัตถุประสงค์ข้อที่ 2. เพื่อจัดระบบทางเดินเท้า ทางจักรยาน ช่องสัญจรของรถโดยสารสาธารณะ และรถยนต์ ประเด็น: ความเป็นมิตรกับคนเดินเท้า หัวข้ออภิปรำย: การปรับปรุงพื้นที่บนถนนศรี จันทร์ (ถนนข้าวเหนียว) ให้มีความสวยงาม น่าเดิน สามารถใช้ทากิจกรรมต่างๆ อย่างเหมาะสม รวมถึง งานสาคัญ เช่น ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งต้องมี ทางเดินเท้าที่ร่มรื่น น่าใช้งาน หลักกำร / แนวทำง 1. ทางเท้าที่สวยงามน่าเดิน วัสดุของพื้นที่ผิวที่ แตกต่างจากถนน และเพิ่มบรรยากาศที่ร่มรื่น ด้วยไม้พุ่มเตี้ย ต้นไม้สูงริมทางเดินเท้า

หมายเหตุ ภาพจาก http://www.archiexpo.com/prod/area/product50642-260362.html

ประเด็น: ความเป็นระเบียบ หัวข้ออภิปรำย: พืน้ ที่ออกแบบอยู่ในบริเวณกลาง เมืองซึ่งมีผู้ใช้งานเป็นจานวนมาก ทางเท้ามี ความสาคัญอย่างมากสามารถเดินได้อย่างไหลลื่น โดยการจัดระเบียบอุปกรณ์ประดับถนน (Street Furniture) เช่น การปลูกต้น การตั้งตู้โทรศัพท์ และการวางม้านั่ง รวมถึงป้ายโฆษณาให้อยู่ในแนว เดียวกัน หลักกำร / แนวทำง 1. การจัดระเบียบอุปกรณ์ประดับถนน Furniture) ให้อยู่ในแนวเดียวกัน

(Street

2. ตะแกรงเหล็กปิดโคนต้นไม้ (Grating) คนยัง สามารถเดินผ่านได้อย่างสะดวกสบาย เดินได้ เข้าถึงต้นไม้มากขึ้น ขยายทางเท้าให้กว้างขึ้น และเพิ่มการดูดซับของน้า

Design Guidelines: 13


2. ทางเท้าสามารถเดินได้อย่างไหลลื่น

2. ช่องทางรถรางสาธารณะ รางของรถรางอยู่ บริเวณกึ่งกลางของถนน และพื้นของช่องราง ควรเพิ่มพื้นที่สีเขียวบนเส้นทางสัญจร สาธารณะ เช่น การปลูกหญ้า (Grass Block) บนรางของรถรางเพื่อลดความแข็งของถนน

ประเด็น: ความเหมาะสมของช่องทางรถโดยสาร หัวข้ออภิปรำย: การสัญจรของรถโดยสาร สาธารณะในเมืองที่มีการจราจรแน่น ควรจัด ช่องทางพิเศษสาหรับรถโดยสารเพื่อความสะดวก และรวดเร็วมากขึ้น และรางรถไฟปลูกหญ้าเพื่อให้ สภาพแวดล้อมของเมืองที่สวยงาม หลักกำร / แนวทำง 1. ช่องทางรถโดยสารมีสีที่พิเศษทางสีของช่องทาง สัญจรของรถยนต์

Design Guidelines: 14



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.