Summary workshop IfeS 2017

Page 1

IfeS 2017 INTERNATIONAL FIELD STUDY AT SEMARANG, INDONESIA COLLABORATE WITH INDONESIA JAPAN KOREA AND THAILAND โดย กรวรรณ รุ่งสว่าง 58051208


รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย โครงการ IfeS 2017 (International Field School 2017) ภายใต้หัวข้อ Exploring The Vibrant Urban Kampung ณ เมือง เซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย วันที่ 7-10 สิงหาคม 2560 โดยมีหัวข้อและรายละเอียด ดังนี้ 1. ตาราง Workshop Day 1: Opening and attending lecture from keynote speakers of IFES2017 Day 2: Field Survey ในชุมชน Kauman และ Pecinan Day 3: ICSADU 2017 (International Conference on Sustainable In Architectural Design and Urbanism) Workshop and Presentation Day 4: ทัศนศึกษา Semarang ที่พิพิธภัณฑ์ Lawang Sewu 2. หัวข้อที่จะต้องพิจารณาจดบันทึกความคิดเห็นในแต่ละกิจกรรม ดังนี้ 1) ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการ Workshop และกิจกรรม ที่เข้าร่วม (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) การเปิดงาน IfeS Workshop ที่มหาวิทยาลัย UNDIP มีกิจกรรมเรียนรู้ภาษา Bahasa (Berkenalan) เพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมภาษาซึ่งกันและกัน ในความ คิดเห็นของเราได้มองถึงวัฒนธรรมของอิสลามเปลี่ยนไป หลังจากได้ทาความรู้จัก กับชาวมุสลิมและได้เรียนรู้วัฒนธรรมรู้สึกว่า คนอินโดนีเซียมีความเป็นกันเอง อย่างมากและไม่ถือตัว มีความเป็นเจ้าบ้าน / ต้อนรับขับสู้ และยินดีที่จะพูดกับ คนต่างชาติ การเข้าร่วม Workshop ในครั้งนี้ช่วยให้ทัศนคติของเราที่มีต่อชาว มุสลิมเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง และได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีของอิสลาม

ถ่ายรูปร่วมกับทีมประเทศเกาหลี ณ โรงแรม Aston


เพื่อนในโครงการถ่ายรูปร่วมกันบริเวณตลาดมือสองในย่านเมืองเก่า

ภาพกิจกรรม

เพื่อนในโครงการและอาจารย์ธนะ ถ่ายรูปร่วมกันด้านหน้าอาคารเก่า


รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย Kota Lama เป็นเมืองเก่า ตึกส่วนใหญ่ถูกใช้โดย Dutch government ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็น European style ในปีศตวรรษที่ 16 แต่ ถูกทาลายในปีศตวรรษที่ 18 บางส่วนของเมืองยังคงถูกใช้งานอยู่ ถนนก็ ยังคงเป็นรูปแบบเดิมมีโบสถ์เป็นศูนย์กลาง UNESCO heritage site เข้า มาเพื่ออนุรักษ์อาคารเอาไว้

พื้นที่ศึกษา มี 2 พื้นที่ ดังนี้ ย่าน Kauman ตั้งอยู่ใกล้กับมัสยิด มีซุ้มประตูที่เป็นเอกลักษณ์ มี ลั ก ษณะของสถาปั ต ยกรรม เช่ น มอญ ชวา ยุ โ รป ออกแบบโดย สถาปนิกแยงกี พวกเขาสร้างสถาปัตยกรรมดัตช์เพราะต้องการที่จะ แสดงถึงการมีอานาจในอินโดนีเซีย ย่าน Pecinan เป็นย่านคนจีน มีตลาดท้องถิ่น อาหารอร่อย ปอ เปี๊ยะ (spring roll) เป็นอาหารท้องถิ่นของ Semarang

อาคารทางประวัติศาสตร์ของย่าน และโบสถ์คาทอลิกเก่าแก่ ซึ่งยังคงมีการใข้งานพื้นที่ภายในอาคาร


ร่วมถ่ายรูปกับเด็กในชุมชน เด็กมีความน่ารักและเป็นกันเองมาก

ภาพกิจกรรม

อาจารย์ธนะ อาจารย์ Atiek Budiarto เพื่อนเกาหลี และตัวเองถ่ายรูปกับเด็กที่กาลังเดินไปเรียนอัลกุลอ่าน


รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย งาน ICSADU 2017 International Conference on Sustainability in Architectural Design and Urbanism at Aston hotel Semarang, Indonesia 9th August 2017 แนวคิด Resilient Design and Resilient City toward A Better Living Space

บรรยากาศในงาน ICSADU 2017 มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 100 คน


รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย งาน IfeS 2017 Presentation มีทั้งหมด 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 Riverfront Space in Pecinan Kampung กลุ่มที่ 2 Sustainable Community in Pecinan Kampung กลุ่มที่ 3 Living Environment Improvement in Kampung Kauman (กลุ่มของกรวรรณ) กลุ่มที่ 4 Revitalization Community in Kampung Kauman

สมาชิกในกลุ่มนักเรียนไทย-ญีป่ ุ่น อาจารย์ Atiek Budiarto อาจารย์ Yoshida Tomohiko และอาจารย์ Junne Kikata


การแสดงความสามารถประจาชาติของกลุ่มนักเรียนชายญีป่ ุ่น

ภาพกิจกรรม

อาจารย์ Yoshida Tomohiko ร่วมร้องเพลงประจาชาติกับนักเรียนญี่ปุ่น


นักเรียนไทยร่วมถ่ายภาพกับอาจารย์พร้อมกียรติบัตร

ภาพกิจกรรม

อาจารย์ และเพื่อนในโครงการได้แก่ เกาหลี ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย


พิพิธภัณฑ์ Lawang Sewu ลักษณะอาคารด้านนอก เห็นถึง Arch โค้ง ช่องประตูและหน้าต่างจานวนมาก

ภาพกิจกรรม

ลานโล่งระหว่างอาคารด้านหน้าและด้านหลัง มีต้นไม้ขนาดใหญ่ตรงกลางเป็นจุดหมายตา


รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย 2) ข้อสังเกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกับโครงการ Workshop และกิจกรรมที่เข้าร่วม (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ ประสบการณ์ที่ได้รับจากกิจกรรมครั้งนี้ ข้อเสียหรือปัญหานั้นมีน้อยมาก เช่น การจัดการเวลาของแต่ละกิจกรรมเป็นช่วงสั้นไป ทาให้ผู้เ ข้าร่วมยัง ไม่เข้าใจถึงจุดประสงค์และได้รับความรู้เท่าที่ควร การบรรยายของอาจารย์แต่ละท่านถูกเร่งให้เป็นไปตามกาหนดการจนทาให้ต้องตัดเนื้อหา บางส่วน ออกไป ซึ่งเป็นเนื้อหาในส่วนที่สาคัญด้วย โดยความคิดเห็นส่วนตัวเสนอแนะให้ขยายเวลาของโครงการออกไปจากเดิม 4 วัน เป็น 7 วันเพื่อให้เกิดการ ซึมซับประสบการณ์ให้มากกว่าเดิม อีกทั้งยังเพิ่มเวลาของแต่ละกิจกรรมมากขึ้นด้วย เป็นต้น ในครั้งหน้าถ้าหากคณาจารย์อินโดนีเซียเชิญ อาจารย์และ นักศึกษาไทยเข้าร่วมโครงการ ควรให้นักศึกษาเข้าร่วมอย่างน้อย 2-3 คน เพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรมซึ่งกันและกันอย่างทั่วถึง และ สามารถมีเพื่อนชาติเดียวกันพูดคุยปรึกษาปัญหากันได้ด้วย 3. สรุปประสบการณ์ สิ่งที่ได้เรียนรู้ ภาพรวม และความเห็นโดยรวมของโครงการ Workshop ครั้งนี้ สิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการนี้คือ ด้านวัฒนธรรมอิสลาม ทั้งขนมธรรมเนียมวิธีการปฏิบัติตามวิถีชีวิตท้องถิ่น วัฒนธรรมอาหารที่แตกต่ างจากอาหาร ไทย สิ่งได้เรียนรู้และประทับใจเกี่ยวกับอาหารคือ คนอินโดนีเซียนิยมทานซอสกับอาหารมาก รวมถึงผักดอง น้าพริก กระเทียวเจียว เป็นต้น ด้านสังคม ทั้ง เพื่อนอินโดนีเซีย และชาวบ้านที่อยู่ในชุมชน หลังจากเราได้สัมผัสถึงสังคมของชาวมุสลิมรู้สึกได้ถึงความเป็นมิตรที่ดี ความยิ้มแย้มจ่ มใส การเข้าร่วม โครงการนี้ทาให้เราเปลี่ยนทัศนคติต่อคนอิสลามไปในทิศทางที่ดีขึ้น และด้านกายภาพ ส่วนของการออกแบบผังเมืองของชุมชนในอินโดนีเซีย ซึ่ งมีทั้งผัง แบบ Organic และ Linear ซึ่งสะท้อนถึงวัฒนธรรมการใช้ชีวิตที่แตกต่างกัน สภาพแวดล้อมของเมืองเก่ามีการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมตะวันตกไว้เพื่อเป็น อาคารประวัติศาสตร์และสร้างเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ สร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน รวมถึงตลาดขายของท้องถิ่นที่มีความเป็ นเอกลักษณ์ ดึงดูดนักเที่ยวต่างชาติได้เป็นจานวนมาก


รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.