รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริงของโครงการ IfeS 2017 ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย
โดย กรวรรณ รุ่งสว่าง รหัสนักศึกษา 58051208
หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง ภาควิชาการออกแบบและวางแผนชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2559
รายงานสรุปบันทึกประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสถานที่จริงของโครงการ IfeS 2017 โครงการ IfeS 2017 (International Field School 2017) ภายใต้หัวข้อ Exploring The Vibrant Urban Kampung ณ เมืองเซมารัง ประเทศอินโดนีเซีย วันที่ 7-10 สิงหาคม 2560 โดยมีหัวข้อและรายละเอียด ดังนี้ 1. ตาราง Workshop Day 1: Opening and attending lecture from keynote speakers of IFES2017 Day 2: Field Survey ในชุมชน Kauman และ Pecinan Day 3: ICSADU 2017 (International Conference on Sustainable In Architectural Design and Urbanism) Workshop and Presentation Day 4: ทัศนศึกษา Semarang ที่พิพิธภัณฑ์ Lawang Sewu
2. หัวข้อที่จะต้องพิจารณาจดบันทึกความคิดเห็นในแต่ละกิจกรรม ดังนี้ 1) ประสบการณ์ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการ Workshop และกิจกรรมที่เข้าร่วม (ข้อดี /สิ่งที่ควรนามาใช้ประโยชน์ /มุมมองในด้านบวก) กิจกรรมวันที่ 1 (07 AUG 2017) การเปิดงาน IfeS Workshop ที่มหาวิทยาลัย UNDIP มีกิจกรรมเรียนรู้ภาษา Bahasa (Berkenalan) เพื่อ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมภาษาซึ่งกันและกัน คาศัพท์ที่ได้เรียนรู้ได้แก่ Mahasiswa (College Student), Arsitek (Architect), Lima (5), Waktu (Time) ประโยคที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน ได้แก่ Nama saya Kathy (My name is Kathy), Apa Kabar? (How are you?), Baik อ่านว่า ไบ๊ (Good), Bagaimana dengan anda? (How about you?), Maat (Soory), Permisi (Excuse me), Saya tidak mengerti (I don’t understand), Saya harus segera pergi (I must to go), Tidak apa-apa (No problem), Sama Sama (ก็ดี), Selamat tinggal (Good Bye), Ya (Yes), Dida (No) สรรพนามบุคคล ได้แก่ Pipa (Mr.), EPu (Ms.) และการกล่าวสวัสดีของชาวอินโนเซียแต่ละช่วงเวลามีความแตกต่างกันคือ Selamat Pagi (sunrise until about 11 AM), Selamat Siang (11 AM to 2 PM), Selamat Sore (2 PM until sunset), Selamat Malam (night only), Selamat Petang (Good evening) โดยประสบการณ์ที่ดีซึ่งได้เรียนรู้คือ วัฒนธรรมอิสลาม ย่าน ชุมชนตามวิถีชีวิตคนอินโดนีเซีย ในความคิดเห็นของเราได้มองถึงวัฒนธรรมของอิสลามเปลี่ยนไป หลังจากได้ทาความรู้จักกับชาวมุสลิมและได้เรียนรู้ วัฒนธรรมรู้สึกว่า คนอินโดนีเซียมีความเป็นกันเองอย่างมากและไม่ถือตัว มีความเป็นเจ้าบ้าน / ต้อนรับขับสู้ และยินดีที่จะพูด กับคนต่างชาติ ซึ่งในตอนแรกในความคิดส่วนตัวคิดว่าคนในชุมชนเป็นคนไม่ดี แต่ปรากฏว่าพวกเขาเป็นคนที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี ยิ้มแย้มให้เราตลอดการเดินทาง ซึ่งเป็นมุมมองในด้านบวกของเราต่อ วิถีชีวิตของคนมุสลิม การเข้าร่วม Workshop ในครั้งนี้ ช่วยให้ทัศนคติของเราที่มีต่อชาวมุสลิมเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง และได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีของอิสลามด้วย
KORAWAN RUNGSAWANG
2
จากนั้นกลุ่มนักเรียนที่เข้าโครงการรับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน และแจกอุปกรณ์ให้ผู้เข้าร่วม ได้แก่ ถุงผ้า ป้าย ชื่อคล้องคอ สมุด Sketch ปากกา เสื้อยืดและหมวก IfeS และเสื้อคลุมของ UNDIP หลังจากนั้นถ่ายภาพหมู่ร่วมกันที่ด้านหน้า คณะ และอาคารภายในมหาวิทยาลัย อาจารย์อินโดนีเซียได้พาเยี่ยมชมพื้นที่รอบๆ มหาวิทยาลัยซึ่งมีพื้นที่พักผ่อนริมน้า สาหรับนักศึกษาเป็นที่สั งสรรค์และพูดคุยกันเพื่อให้เกิดมิตรภาพแก่กัน อีกทั้งโดยรอบมหาวิทยาลัยมีการพัฒนาพื้นที่เพื่อ การศึกษา เช่น อาคารที่มีห้องทดลองขนาดใหญ่ อาคารห้องสมุดขนาดใหญ่ เป็นต้น
ภาพที่ 1 บรรยากาศในห้องประชุมที่มหาวิทยาลัย UNDIP
ภาพที่ 2 สิ่งของและอุปกรณ์ที่ได้รบั จากโครงการ IfeS 2017 ช่วงเย็นรับประทานอาหารร่วมกันใน Welcome Party มีการแสดงราของอินโดนีเซีย หลังรับประทานอาหาร เรียบร้อยจึงเดินเล่นรอบโรงแรม Aston ซึ่งเป็นย่านเมืองเก่า มีอาคารทางประวัติศาสตร์ โบสถ์ขนาดใหญ่ และพื้นที่พักผ่อน ของคนในเมือง ทางรัฐบาลมีแผนเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณนี้ให้เป็นย่านการค้าโดยใช้อาคารเก่ามีการปรับปรุงและฟื้นฟูสภาพ อาคารเพื่อการใช้งานพื้นที่ด้านใน จึงเกิดเป็นร้านอาหารร้านกาแฟ ที่มีการตกแต่งร้านแบบตะวันตกซึ่งมี ความเป็นเอกลักษณ์ อย่างมาก ประสบการณ์ที่ได้รับหลังจากเดินอยู่ในย่านเมืองเก่าก็คือ การใช้งานพื้นที่ในย่านของคนในชุมชนเพื่อการพักผ่อน และการเลือกซื้อสินค้า ซึ่งมีความสาคัญเพราะเป็นสิ่งกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนเป็นอย่างดี
KORAWAN RUNGSAWANG
3
ภาพที่ 3 ถ่ายรูปร่วมกับทีมประเทศเกาหลี ณ โรงแรม Aston ประสบการณ์ที่ได้ร่วมกิจกรรมจากคนเกาหลีคือ ความมีมิตรภาพที่ดีต่อกัน เพื่อนทั้งสองคนชื่อ จองแฮ และยอรีออง เป็นเพื่อนที่ดีต่อเรามากเนื่องจากเราได้รู้จักเขาทั้งสองเป็นคนแรก เราจึงสนิทกันและนั่งอยู่ใกล้กันตลอด ช่วงที่ ทากิจกรรม ถึงแม้ว่าเราทั้ง 3 คนจะแยกกันคนละกลุ่มแต่เขาก็ยังเดินมาถามถึงกลุ่มของเราด้วย ในวันที่มีประชุม ICSADU 2017 คนเกาหลี ทั้งสองได้รับเกียรติให้นาเสนอโครงการของเขาสู่ผู้ฟังมากมาย เราในฐานะเพื่อนจึงให้กาลังเขาทั้งสองคนให้ทาอย่างเต็มที่ และ สุดท้ายเขาทั้งสองคนก็สามารถนาเสนอผลงานผ่านไปด้วยดี ส่วนอาจารย์ Saehoon Kim เขาเป็นอาจารย์ที่เก่งและมี ความสามารถมากคนหนึ่งจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย Harvard และสอนภาควิชา Urban Design ที่มหาวิทยาลัยโซล ช่วงที่ทา กิจกรรม Workshop เขาให้ความรู้แก่กลุ่มเราด้วยในเชิงของการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน เราจึงประทับใจเขามาก
ภาพที่ 4 เพื่อนในโครงการถ่ายรูปร่วมกันบริเวณตลาดมือสองในย่านเมืองเก่า
KORAWAN RUNGSAWANG
4
ภาพที่ 5 บรรยากาศในย่านเมืองเก่า อาคารมีรูปแบบสถาปัตยกรรม Dutch
ภาพที่ 6 เพื่อนในโครงการและอาจารย์ธนะ ถ่ายรูปร่วมกันด้านหน้าอาคารเก่า
ภาพที่ 7 การใช้พื้นที่สาธารณะของคนในชุมชน KORAWAN RUNGSAWANG
5
คนอิ น โดนี เ ซี ย ใช้ เ วลาว่ า งในวั น อาทิ ต ย์ ช่ว งค่ ามานั่ งพั ก ผ่ อ น ถ่ า ยรู ป และเดิ น ซื้ อ ของในตลาดมื อ สองบริ เ วณ สวนสาธารณะขนาดเล็กด้านข้างโบสถ์เก่าแก่ของย่าน อีกทั้งยังมีงานแสดงดนตรีพื้นถิ่นด้วยจึงสร้างบรรยากาศให้บริเวณนั้นมี ชีวิตชีวา ซึ่งทาให้เราได้เรียนรู้วัฒนธรรมดนตรีอินโดนีเซียด้วย
ภาพที่ 8 การแสดงดนตรีพื้นถิ่นของชาวอินโดนีเซีย
ภาพที่ 9 อาคารทางประวัติศาสตร์ของย่าน และโบสถ์คาทอลิกเก่าแก่ ซึ่งยังคงมีการใข้งานพื้นที่ภายในอาคาร
KORAWAN RUNGSAWANG
6
กิจกรรมวันที่ 2 (08 AUG 2017) หัวข้อบรรยายมีรายละเอียดดังนี้ 1. Kota Lama (By Dr. Titin Woro M.) Kota Lama เป็นเมืองเก่า ตึกส่วนใหญ่ถูกใช้โดย Dutch government ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็น European style ในปีศตวรรษที่ 16 แต่ถูกทาลายในปีศตวรรษที่ 18 บางส่วนของเมืองยังคงถูกใช้งานอยู่ ถนนก็ยังคงเป็นรูปแบบเดิม มี โบสถ์เป็นศูนย์กลาง UNESCO heritage site เข้ามาเพื่ออนุรักษ์อาคารเอาไว้ หมู่บ้านอยู่มากมาย Kampong คือ สลัม ที่อยู่อาศัยแออัด ไม่มีการวางผังชุมชน อาคารบ้านเรือนที่สร้างผิดกฎหมาย สภาพแวดล้อมเป็นที่อยู่อาศัย มีความหนาแน่นสูงและคนส่วนใหญ่มีรายได้ปานกลางถึงต่า อีกทั้งยังขาดแคลนสาธารณูปโภคที่ ดี เศรษฐกิจในสลัมเกิดจากกลุ่มผู้อพยพรุ่นแรกซึ่งอยู่ใน downtown อาคารเก่ามีมาตั้งแต่สมัยดัตช์ ลักษณะทางสังคมมีผู้ใหญ่บ้าน สถานะทางสังคมค่อนข้างเป็นแบบลาดับชั้น มีการทางานฝีมือจากหนัง ผ้าบาติก เชื้อ ชาติ มีคนจีน คนอินเดีย สิ่งที่มีความสาคัญ คือ กล้วย ย่าน Kauman ตั้งอยู่ใกล้กับมัสยิด มีซุ้มประตูที่เป็นเอกลักษณ์ มีลักษณะของสถาปัตยกรรม เช่น มอญ ชวา ยุโรป ออกแบบโดย สถาปนิกแยงกี พวกเขาสร้างสถาปัตยกรรมดัตช์เพราะต้องการที่จะแสดงถึงการมีอานาจในอินโดนีเซีย ย่าน Pecinan เป็นย่านคนจีน มีตลาดท้องถิ่น อาหารอร่อย ปอเปี๊ยะ (spring roll) เป็นอาหารท้องถิ่นของ Semarang 2. The Indonesia-Netherlands Water Challenge (INWC) 2016 --- Blue water city (By Ir. Budi Soedarwanto) Econnected City คือพื้นที่ริมน้า เพื่อเชื่อมระหว่างชุมชน ย่านเศรษฐกิจเก่าอยู่โดยรอบมากมาย แม่น้าสายหลัก ไหลผ่าน พื้นที่ริมแม่น้ามีปัญหาเรื่องความสกปรก แม่น้าขาดการใส่ใจจากคนในชุมชน และชุมชนแห่งนี้เป็นพื้นที่รองรับน้า สะพานข้ามแม่น้ามีความสาคัญกับเมืองมาก ระบบการคมนาคม เส้นทางถนนเป็นแบบ one way โอกาสในการพัฒนา คือ 1. การเชื่อมโยง ชุมชนโดยรอบกับสภาพแวดล้อม 2. พัฒนาด้วยการท่องเที่ยว 3. เป็นศูนย์กลางกิจกรรม 4. จัดการระบบของธุรกิจให้มีการจัดการที่ดี 5. ปรับปรุงสภาพของน้า ปัญหา เกิดจากน้าท่วมทุกปี เพราะถนนที่ตัดผ่านแม่น้าทาให้น้าไหลผ่านยาก วิธีการพัฒนา คือ สร้างเขื่อนกั้นน้า เพิ่มพื้นที่ดูดซับน้า การปรับปรุงน้าด้วยคาร์บอน
KORAWAN RUNGSAWANG
7
ภาพที่ 10 บรรยากาศในห้องประชุมวันที่ 2 ของการเข้าร่วมโครงการ
3. A Drawing Sketch Exercise by BUDI (By Ir. Widya Wijayanti) ฝึกวาดรูปเชิงสถาปัตย์ มีโครงการ Kampung to Kampung Programme--Semarang Sketch walk มีการวาด Illustrates uniqueness complexity and character of the urban village
ภาพที่ 11 กิจกรรมเรียนรู้การสเก็ทภาพอาคารในชุมชน
KORAWAN RUNGSAWANG
8
ภาพที่ 12 ผลงานการฝึกสเก็ทภาพในห้องประชุม ผู้สอนให้ทุกคนวาดภาพสิ่งที่อยู่ดา้ นหน้า 4. Semarang urban heritage (By Dr. Ir. Atiek Budiarto) Mantap หมายถึง สิ่งที่ดี เมืองเซมารังเป็นเมืองขนาดใหญ่ของอินโดนีเซีย ชาวดัตช์เข้ามายึดครอง เซมารัง หมายถึง เส้ น สายของต้ นมะขาม ประชากร 1.7 ล้า นคน พื้ น ที่ 370 ตารางกิโ ลเมตร อิ ท ธิพ ลของอิ ส ลามเข้ า มาในอิ น โดนี เ ซี ย มี วัฒนธรรมของญี่ปุ่น จีน และดัตช์ ทั้ง 3 เชื้อชาติ หลังจากดัตช์ออกไปเมืองนีถ้ ูกปกครองโดย Mataram แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานของเชื้อชาติต่างๆ ศูนย์กลางของเมืองเซมารังมีลักษณะของสถาปัตย์ยุโรป จีน ญี่ปุ่น โดยมี แม่น้าเข้ามาเป็นเส้นแบ่งระหว่างเมือง การตั้งถิ่นฐานของชนชาติญี่ปุ่นอยู่ในพื้นที่ที่แยกออกจากดัตช์ ญี่ปุ่นเข้ามาหลังดัตช์ ถนนและทางรถไฟในเมืองถูกสร้างโดยชาวดัตช์ ซึ่งสามารถกาหนดขอบเขต (Corridor) ของเมืองด้วย มีชุมชนที่ได้รับการ อนุรักษ์ให้เป็นชุมชนมรดกชาติอยู่ 12 ชุมชน ชุมชน Palangi (Rainbow) มีการเปลี่ยนแปลงสีของอาคารในชุมชน ชุมชนมี ความหนาแน่นสูง รูปแบบเมืองเติบโตแบบเครือข่ายกิ่งไม้ ไปตามภูมิประเทศไม่มีการออกแบบ การออกแบบเมืองให้เป็นเมือง วัฒนธรรม เริ่มจากเพิ่มพื้นที่เปิดโล่งแก่ชุมชนเมือง และการปฏิรูปที่ดินเพื่อเพิ่มพื้นที่สาธารณะ แต่หลังจากนั้นก็พัฒนาเมือง เป็นย่านธุรกิจและการค้า นักธุรกิจเข้ามาทาธุรกิจในเมืองมากขึ้น จึงทาให้เกิดการป้องกันนักลงทุนต่างชาติมากขึ้นเพื่อไม่ให้เข้ามาทาลายเมือง มีการพัฒนาอาคารเก่าเพื่อใช้ในการศึกษาด้วย เพิ่มพื้นที่สาหรับการเฉลิมฉลองและการพักผ่อน การปรับปรุงอาคารเพื่ออยู่ อาศัย บางอาคารถูกแบ่งเป็นหลายห้องอยู่รวมกันเป็น 100 ครอบครัว KORAWAN RUNGSAWANG
9
เศรษฐกิ จ มี ก ารเติ บ โตรอบๆ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ตามถนนสายหลั ก และการเชื่ อ มต่ อ การค้ า ท้ อ งถิ่ น สู่ บ้ า นที่ มี ก ารท า อุตสาหกรรมครัวเรือนภายในตลาดท้องถิ่นในชุมชน ด้านวัฒนธรรม มีการเรียนทางศาสนา และการอนุรักษ์วัฒนธรรม กิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน คือ ถนนคนเดิน มีการแสดงประติมากรรมมาแสดงระหว่างทาง สร้างโครงสร้างไม้ไผ่ และ ขึงผ้าหลากสีเพื่อเพิ่มสีสัน ถนนแคบๆที่อยู่ในชุมชน Gang หมายถึงซอยเล็กๆ ถนนไม่ค่อยดีเท่าไร คนในชุมชนสร้างโคมลอย คล้ายของจีนเพื่อให้รู้สึกว่าอยู่ในชุมชนจีน VOC คือ Indian company ตั้งถิ่นฐานโดยเข้ามาทาลาย Asian port ของเดิม ถนนภายในชุมชนค่อนข้างแคบมาก อาคารที่พักอาศัยเป็นบ้านแถวและไม่มีพื้นที่ระหว่างอาคารเลย วัดที่ตั้งอยู่ในย่านวัฒนธรรมจีน มีรูปแบบสถาปัตยกรรมทาง Neo-Classic ด้วย Intangible Peranakan Heritage เพื่อให้รางวัลคนที่ดูแลชุมชนในย่านคนจีน บ้านต่างๆ มีการผลิตอุตสาหกรรม ครัวเรือน มีการทากิจกรรมการมีส่วนร่วมระหว่างคนในชุมชนกับนักพัฒนาเมืองเพื่อให้เกิดกิจกรรมในชุมชนเมืองนั้น night market คนในชุมชนนาสินค้ามาขาย
ภาพที่ 13 บรรยายประวัติศาสตร์ของเมืองเซมารัง โดยอาจารย์ Atiek Budiarto ประจามหาวิทยาลัย Diponegoro
เดินทางสู่ชุมชน Kauman เดินสารวจชุมชนมุสลิม
ภาพที่ 14 มัสยิดขนาดใหญ่ของชุมชนโดยรอบ KORAWAN RUNGSAWANG
10
ภาพที่ 15 รูปแบบสถาปัตยกรรมดัตช์ มีประตูทั้งหมด 3 ประตู เพื่อการใช้งานแบบ Flexible Space
ภาพที่ 16 ร่วมถ่ายรูปกับเด็กในชุมชน เด็กมีความน่ารักและเป็นกันเองมาก
ภาพที่ 17 อาจารย์ธนะ อาจารย์ Atiek Budiarto เพื่อนเกาหลี และตัวเองถ่ายรูปกับเด็กที่กาลังเดินไปเรียนอัลกุลอ่าน
KORAWAN RUNGSAWANG
11
หลังจากนั้นเดินทางไปสู่ชุมชน Pecinan เดินสารวจชุมชนจีน
ภาพที่ 18 พูดคุยและเรียนรู้วัฒนธรรมของชาวจีนจากคนที่เฝ้าอยู่ในวัดจีน
ภาพที่ 19 วัดจีนตั้งอยู่ปลายถนนของชุมชน ซึ่งชุมชนมีการจัดวางผังแบบ Linear Plan
ภาพที่ 20 ลักษณะอาคารบ้านเรือนในชุมชน Pecinan มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบจีนและดัตช์
KORAWAN RUNGSAWANG
12
ภาพที่ 21 สภาพแวดล้อมของแม่น้า Semarang ที่ไหลผ่านชุมชนนี้ มีความสกปรกและไม่นา่ ใช้งาน
กิจกรรมวันที่ 3 (09 AUG 2017) ช่วงเช้าเข้าร่วมงาน ICSADU 2017 International Conference on Sustainability in Architectural Design and Urbanism at Aston hotel Semarang, Indonesia 9th August 2017 แนวคิด Resilient Design and Resilient City toward A Better Living Space
ภาพที่ 22 บรรยากาศในงาน ICSADU 2017 มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 100 คน
KORAWAN RUNGSAWANG
13
ภาพที่ 23 ถ่ายภาพหมู่ร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมงาน ICSADU 2017 และนักเรียนโครงการ IfeS 2017
ช่วงบ่ายเข้าร่วมงาน IfeS 2017 Presentation มีทั้งหมด 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 Riverfront Space in Pecinan Kampung กลุ่มที่ 2 Sustainable Community in Pecinan Kampung กลุ่มที่ 3 Living Environment Improvement in Kampung Kauman (กลุ่มของกรวรรณ) กลุ่มที่ 4 Revitalization Community in Kampung Kauman
ภาพที่ 24 การนาเสนอผลงานระหว่างนักเรียนไทยและญี่ปุ่น
KORAWAN RUNGSAWANG
14
ภาพที่ 25 สมาชิกในกลุ่มนักเรียนไทย-ญี่ปุ่น อาจารย์ Atiek Budiarto อาจารย์ Yoshida Tomohiko และอาจารย์ Junne Kikata ช่วงเย็นเข้าร่วมกิจกรรมแสดงความสามารถแต่ละประเทศ โดยทางทีมประเทศไทย กรวรรณ และอาจารย์ธนะ ร่วมกันแสดงการละเล่นพื้นบ้านของไทย คือ มอญซ่อนผ้า เพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมด้วย
ภาพที่ 26 การแสดงความสามารถประจาชาติของกลุม่ นักเรียนชายญี่ปุ่น
ภาพที่ 27 อาจารย์ Yoshida Tomohiko ร่วมร้องเพลงประจาชาติกับนักเรียนญี่ปุ่น
KORAWAN RUNGSAWANG
15
มอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคน
ภาพที่ 28 นักเรียนไทยร่วมถ่ายภาพกับอาจารย์พร้อมกียรติบัตร
ภาพที่ 29 อาจารย์ และเพื่อนในโครงการได้แก่ เกาหลี ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย กิจกรรมวันที่ 4 (10 AUG 2017) พิพิธภัณฑ์ Lawang Sewu
ภาพที่ 30 ลักษณะอาคารด้านนอก เห็นถึง Arch โค้ง ช่องประตูและหน้าต่างจานวนมาก KORAWAN RUNGSAWANG
16
ภาพที่ 31 โถงบันไดกลางอาคาร มีความ Grand และสามารถมองไปได้หลายทิศทาง
ภาพที่ 32 โถงบันไดของอาคารด้านหลัง มองเห็นทางเดินตรงกลางและแยกไปตามห้องต่างๆ
ภาพที่ 33 พื้นที่ใต้หลังคา เป็นพื้นที่กว้างขวาง คาดว่าในอดีตใช้เป็นลานกีฬา
KORAWAN RUNGSAWANG
17
ภาพที่ 34 ลานโล่งระหว่างอาคารด้านหน้าและด้านหลัง มีต้นไม้ขนาดใหญ่ตรงกลางเป็นจุดหมายตา
ภาพที่ 35 ทางเดินด้านนอกอาคาร มีพื้นที่ร่มเงาสาหรับนั่งพักผ่อนใต้ต้นไม้ ทางพิพิธภัณฑ์ยังคงเก็บและอนุรักษ์ลักษณะ สถาปัตยกรรมเดิมเอาไว้
ภาพที่ 36 ขนม Wingo Babad เป็นขนมที่มีชื่อเสียงของเมืองเซมารัง รสชาติคล้ายขนมบ้าบิ่นเมืองไทย
KORAWAN RUNGSAWANG
18
2) ข้อสังเกตและข้อควรระมัดระวังในการดาเนินโครงการที่คล้ายคลึงกับ โครงการ Workshop และกิจกรรมที่เข้าร่วม (ข้อเสีย / ปัญหา / สิ่งที่ไม่ควรนามาใช้อีก /มุมมองในด้านลบ) ประสบการณ์ที่ได้รับจากกิจกรรมครั้งนี้ ข้อเสียหรือปัญหานั้นมีน้อยมาก เช่น การจัดการเวลาของแต่ละกิจกรรมเป็น ช่วงสั้นไป ทาให้ผู้เข้าร่วมยังไม่เข้าใจถึงจุดประสงค์และได้รับความรู้เท่าที่ควร การบรรยายของอาจารย์แต่ละท่านถูกเร่งให้ เป็นไปตามกาหนดการจนทาให้ต้องตัดเนื้ อหาบางส่วนออกไป ซึ่งเป็นเนื้อหาในส่วนที่สาคัญด้วย โดยความคิดเห็นส่วนตัว เสนอแนะให้ขยายเวลาของโครงการออกไปจากเดิม 4 วัน เป็น 7 วันเพื่อให้เกิดการซึมซับประสบการณ์ให้มากกว่าเดิม อีกทั้ง ยังเพิ่มเวลาของแต่ละกิจกรรมมากขึ้นด้วย เป็นต้น ในครั้งหน้าถ้าหากคณาจารย์อินโดนีเซียเชิญอาจารย์และนักศึกษาไทยเข้า ร่วมโครงการ ควรให้นักศึกษาเข้าร่วมอย่างน้อย 2-3 คน เพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒ นธรรมซึ่งกันและกันอย่าง ทั่วถึง และสามารถมีเพื่อนชาติเดียวกันพูดคุยปรึกษาปัญหากันได้ด้วย 3. สรุปประสบการณ์ สิ่งที่ได้เรียนรู้ ภาพรวม และความเห็นโดยรวมของโครงการ Workshop ครั้งนี้ สิ่ งที่ ไ ด้ เ รี ย นรู้ จ ากโครงการนี้ คื อ ด้ า นวั ฒ นธรรมอิ ส ลาม ทั้ ง ขนมธรรมเนี ย มวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ต ามวิ ถี ชีวิ ต ท้ อ งถิ่ น วัฒนธรรมอาหารที่แตกต่างจากอาหารไทย สิ่งได้เรียนรู้ และประทับใจเกี่ยวกับอาหารคือ คนอินโดนีเซียนิยมทานซอสกับ อาหารมาก รวมถึงผักดอง น้าพริก กระเทียวเจียว เป็นต้น ด้านสังคม ทั้งเพื่อนอินโดนีเซีย และชาวบ้านที่อยู่ในชุมชน หลังจาก เราได้สัมผัสถึงสังคมของชาวมุสลิมรู้สึ กได้ถึงความเป็นมิตรที่ดี ความยิ้มแย้มจ่มใส การเข้าร่วมโครงการนี้ทาให้เราเปลี่ยน ทัศนคติต่อคนอิสลามไปในทิศทางที่ดีขึ้น และด้านกายภาพ ส่วนของการออกแบบผังเมืองของชุมชนในอินโดนีเซีย ซึ่งมีทั้งผัง แบบ Organic และ Linear ซึ่งสะท้อนถึงวัฒนธรรมการใช้ชีวิตที่แตกต่างกัน สภาพแวดล้อมของเมืองเก่ามีการอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมตะวันตกไว้เพื่อเป็นอาคารประวัติศาสตร์และสร้างเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ สร้างรายได้ให้แก่คนใน ชุมชน รวมถึงตลาดขายของท้องถิ่นที่มีความเป็นเอกลักษณ์ ดึงดูดนักเที่ยวต่างชาติได้เป็นจานวนมาก จากการเรียนรู้ในช่วงทางานกลุ่มกับเพื่อนต่างชาติ และอาจารย์ต่างมหาวิทยาลัย ได้ระดมความคิดร่วมกัน เราได้รับ กระบวนการทางานที่แตกต่างจากมหาวิทยาลัยของเรา จึงเกิดเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนามาปรับใช้กับนักศึกษาไทยได้ นั่นคือ การนาเสนอแนวคิดออกแบบชุมชนเมืองให้มีชีวิตชีวาด้วยการวาดรูปแสดงถึงแนวคิดที่สร้างสรรค์ ซึ่งไม่จาเป็ นต้องวาดให้สวย แต่สามารถสื่อสารกับคนทั่วไปได้ ซึ่งเป็นกระบวนการทางานที่ง่ายและรวดเร็วในเวลาที่จากัด ถึงแม้ว่าช่ วงทางานกลุ่มเราจะ เป็นคนเดียวที่มี Laptop แต่อาจารย์ญี่ปุ่นเขาก็พยายามช่วยปรับและแก้ไขสไลด์นาเสนอด้วย และนักศึกษาญี่ปุ่น (Junne Kikata) ก็ระดมความคิดร่วมกัน ผลงานออกมาเป็นภาพวาดแนวคิดการปรับปรุงและพัฒนาชุมชน สาหรับโครงการ International Workshop มีความสาคัญต่อความร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยเป็นอย่างมาก ในปีนี้มี ทัง้ มหาวิทยาลัยจากเกาหลี ญี่ป่นุ ไทย อินโดนีเซีย จึงอยากให้ขยายเครือข่ายออกไปยังหลายๆ ประเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ประสบการณ์ร่วมกันจากคณาจารย์และนักศึกษาจากหลากหลายประเทศ ซึ่งส่งผลต่อมิตรภาพที่ดีต่อกัน เพราะหลังจากจบ โครงการนี้ไป ผู้ที่เข้าร่วมโครงการก็ยังคงติดต่อ พูดคุยซึ่งกันและกัน สามารถปรึกษาปัญหาด้านการเรียนหรือการทางานใน อนาคตด้วย เนื่องจากทุกคนเรียนในสายวิชาชีพผังเมือง เป็นต้น ในความคิดเห็นของเราโครงการ IfeS ควรจัดเวียนไปใน หลากหลายประเทศ โดยประเทศที่เป็นสมาชิกของโครงการนี้สามารถจัดโครงการ International Workshop ในประเทศของ ตนเองได้ ทาให้เกิดการเรียนรู้วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ สังคม กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางาน และการออกแบบวาง ผังชุมชนเมือง เป็นต้น
KORAWAN RUNGSAWANG
19
ประวัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ชื่อ-สกุล
กรวรรณ รุ่งสว่าง
วัน เดือน ปีเกิด
วันจันทร์ที่ 24 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2536
สถานที่เกิด
กรุงเทพมหานคร
สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 73/1 ซอยวัดราชสิทธาราม ถนนอิสรภาพ แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 เบอร์โทรศัพท์
+66 847178657
อีเมล์
rungsawang_k@silpakorn.edu
ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2554
วิทยาศาสตรบัณฑิต (สถาปัตยกรรม) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกียรตินยิ ม อันดับ 2
พ.ศ. 2558
การออกแบบชุมชนเมือง แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต (กาลังศึกษา) หัวข้อวิทยานิพนธ์ เรื่อง แนวคิดและองค์ประกอบของชุมชนเมืองสร้างสรรค์ตามลักษณะท้องถิ่นในประเทศไทย
รางวัลที่ได้รับ ทุนอุดหนุนการทาวิทยานิพนธ์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากเงินงบประมาณแผ่นดิน (หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป) ของ บัณฑิตวิทยาลัย ประจาปีงบประมาณ 2560 การเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมสัมมนากับนักศึกษาแลกเปลีย่ นจากประเทศอินโดนีเซีย ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยวิจัยของโครงการแผนพัฒนาชุมชนแออัดจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี และกาญจนบุรี กับ การเคหะแห่งชาติ ผลงานการออกแบบชุมชนเมืองขอนแก่น ขณะศึกษาปริญญาโท ปีการศึกษาที่ 1 การลงสารวจพื้นที่ริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาในโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติร่วมกับ มหาวิทยาลัยรังสิต ความสามารถทางภาษาอังกฤษ : (0-10) 9 scores in Reading
6 scores in Writing
9 scores in Speaking
8 scores in Communication/Presentation
KORAWAN RUNGSAWANG
20
ภาคผนวก
KORAWAN RUNGSAWANG
21
Statement of Intention Objective 1. To learn the urban planning of the beautiful and different between Semarang city, Indonesia and Bangkok city, Thailand. 2. To open up Indonesian culture and way of life, especially how to live in Islamic religion. This knowledge can be applied to urban design in Thailand. 3. To exchange knowledge between Thailand and Indonesia in dimension of Urban Planning and Urban design. 4. For a meeting between a student and professor between Thai people and Indonesian. Goal Learning to exchange cultures with each other. It led to the creation of a network of Urban Planning and Urban design in Asia to be closer. For the sake of future work. Unique Performance Self-confidence. There is a need to get something new. Have a good relationship. Enjoy the new experience. Have curiosity. Openness to the other ideas. Ambitious behavior. Kindness and help another person. Benefits of join in this event and give to another department First thing I should do telling how benefit from this event is, I would like to absorb the professional architect and urban planner experiences from the real meeting, activity, and real moment for being the urban designer in future. So I need to know and prove myself that how much did I learn from faculty of architecture in field of urban design for performance when I will work in real life. And when I have join in event with Indonesia student.
KORAWAN RUNGSAWANG
22
KORAWAN RUNGSAWANG
23
การนาเสนอโครงการ Living Environment Improvement in Kampung Kauman ของนักศึกษาไทยและญี่ปุ่น
KORAWAN RUNGSAWANG
24
KORAWAN RUNGSAWANG
25
KORAWAN RUNGSAWANG
26
KORAWAN RUNGSAWANG
27
KORAWAN RUNGSAWANG
28
KORAWAN RUNGSAWANG
29
KORAWAN RUNGSAWANG
30
KORAWAN RUNGSAWANG
31
KORAWAN RUNGSAWANG
32
KORAWAN RUNGSAWANG
33