ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำานวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพ�ยร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพ��มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์
พล.ต.ชัยพฤกษ� พูนสวัสดิ์
รองผู้อำานวยการ
พ.อ.ณภัทร สุขจิตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อำานวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำากองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปรึกษา เหรัญญิก
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ดำารงศักดิ์ ห้าวเจริญ ร.น. พล.อ.อ.วินัย เปล่งวิทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุริยฉัตร เผ่าบุญเสริม พล.ท.สุรศักดิ์ ศรีศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.วีระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศรีกังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ�เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.วีรศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเตะ
ฝ่ายพ�สูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช พ.อ.หญิง พรพ�มล ร่มตาล
ประจำากองบรรณาธิการ
น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปัตพ� ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.จิโรตม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.หญิง ภัทรภรณ์ ศิริสรณ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.หญิง พุทธพร โอสถหงส์ ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ��งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.พฤทธิพงศ์ ภูมิจิตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพ�ชิต ส.อ.หญิง ศิริพ�มพ์มา กาญจนโรจน์
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำานวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพ�ยร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพ��มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์
พล.ต.ชัยพฤกษ� พูนสวัสดิ์
รองผู้อำานวยการ
พ.อ.ณภัทร สุขจิตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อำานวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำากองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปรึกษา เหรัญญิก
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ดำารงศักดิ์ ห้าวเจริญ ร.น. พล.อ.อ.วินัย เปล่งวิทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุริยฉัตร เผ่าบุญเสริม พล.ท.สุรศักดิ์ ศรีศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.วีระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศรีกังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ�เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.วีรศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเตะ
ฝ่ายพ�สูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช พ.อ.หญิง พรพ�มล ร่มตาล
ประจำากองบรรณาธิการ
น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปัตพ� ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.จิโรตม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.หญิง ภัทรภรณ์ ศิริสรณ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.หญิง พุทธพร โอสถหงส์ ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ��งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.พฤทธิพงศ์ ภูมิจิตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพ�ชิต ส.อ.หญิง ศิริพ�มพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ เนื่ อ งในวโรกาสอั น เป็ น มิ่ ง มงคลวั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพ สมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร วันที่ ๒๘ กรกฎาคม เป็นวันมหาประชาปีติอีก ค�ารบหนึ่งของพสกนิกรชาวไทย พระองค์ทรงมีพระอัจฉริยภาพด้านกิจการทหาร ทรงเป็น “เจ้าฟ้านักบินขับไล่ไอพ่น” พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี สถานการณ์ยาเสพติดยังคงมีความรุนแรง การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขีดความ สามารถในการตรวจจับและสกัดกั้นการลักลอบล�าเลียงยาเสพติด มีความจ�าเป็นยิ่ง ทีจ่ ะกระท�าควบคูก่ บั การสร้างความร่วมมือของประชาชนในทุกภาคส่วน นอกจากนัน้ ได้น�าเสนอสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ในพื้นที่ภาคเหนือ มีข้อมูลที่ส�าคัญต่อการ ก�าหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ วารสารหลักเมืองตระหนักถึงความส�าคัญของการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การให้ความรู้ในการใช้ภาษาอังกฤษมีความส�าคัญ ฉบับนี้ขอน�าเสนอความคิดเห็น ของผู้แทนนายทหารนักเรียนจากส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพ ถึงความจ�าเป็นในการเรียนภาษาอังกฤษบ้างเช่นเคย เพื่อจะเป็นส่วนหนึ่งของการ แลกเปลีย่ นความรูก้ ารเตรียมความพร้อมทีจ่ ะเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนร่วมกัน หากท่าน ผู้อ่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ต้องการจะให้วารสารหลักเมืองน�าเสนอเรื่องใด ส่งผ่านมาทาง หลักเมืองออนไลน์ www.lakmuangonline.com “ทุกความคิดเห็น ของท่าน คือ คุณค่าของวารสารหลักเมือง”
๒
ปที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๖8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒55๖
๔
สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับพระอัจฉริยภาพด้าน กิจการทหาร
๔
๓๐
แผ่นดินไหว
๓๔
ทางออกของประชาธิปไตย ในประเทศไทย
๓๘
๘
๑๐
Operation Thunderbolt : Nethanyahu ปฏิบัติการ สายฟ้าแลบที่ Entebbe
๑๒
หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนทีี่ ๑๒)
ประวัติรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ประวัติรัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงกลาโหม แนวทางปฏิบัติของ กระทรวงกลาโหมในการ รองรับการจัดตัง้ ประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘
๑๖
๔๒ ๔๖ ๑๒
ความเห็นถูก ทีอ่ าจแตกต่าง
๒๐ ๔๙
๑๖
พระเจ้าปดุงกับ พระพุทธศาสนา
สภาวะแวดล้อม ทางยุทธศาสตร์ในพื้นที่ ภาคเหนือปี พ.ศ.๒๕๕๖
๕๒
๒๐
ราชอาณาจักรกัมพูชา กับการรักษาดุลยภาพกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหรัฐอเมริกา
๒๓
๒๓
กระทรวงกลาโหม กับความคืบหน้าการแก้ไข ปัญหาชายแดนภาคใต้
๒๖
๒๖
๓๐
๓๘
๔๒
๑๒๐ ปี เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ บาดแผลลึก ในจิตใจของชาวสยาม
๕๖
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “ มีพงุ (ใหญ่) เสีย่ งโรคร้าย ”
๕๘
ประมวลภาพกิจกรรม
๓๔
๖๓ ๔๙
ดุลยภาพทางทหาร ของประเทศอาเซียน จรวดน�าวิถีโจมตีเรือ แบบฮาร์พูน
๕๒
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๔๖ ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลปการพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
3
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับพระอัจฉริยภาพด้านกิจการทหาร พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ถือได้ว่าเป็น วันมหาประชาปีติอีกค�ารบหนึ่งของพสกนิกร ชาวไทย ทั้งนี้เพราะเป็นวันคล้ายวันพระราช สมภพขององค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชโอรสพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ซึ่ ง พระองค์เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๙๕ ณ พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงพระนามเดิมว่า สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรม จักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธ�ารงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศ วรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรม ขัตติยราชกุมาร เมื่อทรงเจริญวัยพระชนมายุได้ ๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เริ่มถวายอักษรโดยทรงเข้ารับ การศึกษาชั้นอนุบาลที่ ๑ ณ โรงเรียนจิตรลดา ในเดื อ นกั น ยายน ๒๔๙๙ ซึ่ ง ในขณะนั้ น โรงเรียนจิตรลดาแห่งนีย้ งั ตัง้ อยูใ่ นพระราชฐาน ณ พระทีน่ งั่ อุดรภาค พระราชวังดุสติ (ซึง่ ในเวลา 4
ต่อมาโรงเรียนจิตรลดาแห่งนีจ้ งึ ย้ายไปตัง้ อยูใ่ น พระราชฐานสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต) พระองค์ได้ทรงศึกษาอยู่ในโรงเรียนจิตรลดา จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ แล้วจึงเสด็จไป ศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ โรงเรียนคิงส์มีด เมืองซีฟอร์ด แคว้นซัสเซกส์ ประเทศอังกฤษ ในราวเดื อ นมกราคม ๒๕๐๙ หลั ง จากนั้ น เสด็ จ ไปทรงศึ ก ษาต่ อ ที่ โ รงเรี ย นมิ ล ล์ ฟ ิ ล ด์ เมืองสตรีท แคว้นซอมเมอร์เซท เมื่อเดือน กันยายนของปีเดียวกัน ต่ อ มาในเดื อ นสิ ง หาคม ๒๕๑๓ เสด็ จ ด� า เนิ น จากประเทศอั ง กฤษไปทรงศึ ก ษา วิชาทหาร ณ ประเทศออสเตรเลีย โดยใน ชั้ น แรกทรงเข้ า ศึ ก ษาในโรงเรี ย นคิ ง ส์ ส กู ล นครซิ ด นี ย ์ ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นเตรี ย มทหาร ของออสเตรเลีย หลังจากนั้น ทรงเข้าศึกษา ที่วิทยาลัยการทหารดันทรูน (Royal Military College-Duntroon) กรุงแคนแบร์รา ซึ่ง ตามหลักสู ต รแล้ ว จะต้ อ งมี ก ารทดสอบตาม แนวทางการศึกษาของวิทยาลัย โดยพระองค์ ทรงใช้เวลาในการทดสอบและฝึกอย่างหนัก ถึ ง ๕ สั ป ดาห์ หลั ง จากที่ ผ ่ า นการทดสอบ และฝึ ก แล้ ว ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาและทรง
เข้าประจ�าเหล่านักเรียนนายร้อยที่วิทยาลัย การทหารดันทรูน ตั้งแต่ภาคแรกแห่งปีการ ศึกษาพุทธศักราช ๒๕๑๕ จนทรงจบการศึกษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๘ ทั้ ง นี้ ตั้ ง แต่ ยั ง ทรงพระเยาว์ ม า สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงมีพระอุปนิสัยโปรดความมีระเบียบวินัย และความสะอาดเรียบร้อยโดยทัว่ ไป ไม่ทรงนิยม การฝ่าฝืนหรือละเมิดระเบียบข้อบังคับต่างๆ อีกทั้ง ได้ทรงแสดงความสนพระราชหฤทัย ในกิจการเกี่ยวกับกองทัพ และขณะที่ประทับ อยูใ่ นประเทศไทยได้เสด็จพระราชด�าเนินเยีย่ ม ที่ตั้งในกองทหารหน่วยต่างๆ หลายแห่ง โดยที่ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงสนพระราชหฤทั ย ในกิ จ การ ทหารเป็นอย่างมาก และโดยทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�าริว่า การศึกษา วิชาทหารในประเทศออสเตรเลียมีหลักสูตร การสอนกว้างขวางและมีการฝึกเข้มงวด จึงทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส มเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จเข้ารับ การศึกษาที่วิทยาลัยการทหารดันทรูน ทั้งยัง ทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษร พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ศาสตร์ (ด้านการทหาร) จากมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยั ง ทรงสนพระทั ย ในกิ จ การ นิ ว เซาท์ เ วลส์ ประเทศออสเตรเลี ย และ การบิน ทรงเป็น “เจ้าฟ้านักบินขับไล่ไอพ่น” นับเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่ ๒ ของ พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี ทรงท�าการบิน กรุงรัตนโกสินทร์ทที่ รงส�าเร็จการศึกษาวิชาทหาร กับเครือ่ งบินของกองทัพอากาศเกือบทุกรูปแบบ จากต่ า งประเทศ นั บ จาก สมเด็ จ พระบรม และทรงผ่ า นการฝึ ก บิ น หลั ก สู ต รการบิ น โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เฮลิคอปเตอร์ และการฝึกบินเครื่องบินขับไล่ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) สมรรถนะสูง (F-5E) จากประเทศสหรัฐอเมริกา ในการศึกษาทุกระดับชั้น สมเด็จพระบรม ถือได้ว่าทรงเป็นนักบินที่มีพระวิริยอุตสาหะ โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงปฏิบตั ิ และพระปรีชาสามารถด้านการบินอย่างยิ่ง ตามระเบี ย บของสถานศึ ก ษาเช่ น เดี ย วกั บ หลังส�าเร็จการศึกษาแล้ว ได้ทรงน�าความรู้มา นักเรียนทั่วไปโดยไม่มีการแบ่งแยกว่าทรงมี จัดท�าหลักสูตรการฝึกบิน และทรงปฏิบตั หิ น้าที่ พระราชฐานันดรใดเลย และเมื่อทรงเข้าศึกษา ครูการบินให้นกั บินเครือ่ งบินขับไล่แบบ “บข.๑๘” วิชาการทหารซึ่งมีการฝึกอบรมอย่างเข้มงวด (F-5E) หน่วยบินเดโชชัย ๓ และนักบินของ ก็ได้ทรงปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างสมบูรณ์ กองทัพอากาศ โดยทรงตัง้ พระทัยอย่างแน่วแน่ โดยเฉพาะในระหว่างเวลาที่ทรงเข้าศึกษาที่ ว่าจะทรงถ่ายทอดประสบการณ์ที่มีอยู่ให้เกิด โรงเรียนคิงส์สกูล นครซิดนีย์ ทรงได้รับเลือก ประโยชน์ต่อกองทัพอากาศและประเทศชาติ ให้เป็นหัวหน้าบ้านแมคอาเทอร์เฮาส์ และ มากที่สุด นอกจากนี้ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ได้ทรงปฏิบัติพระองค์อย่างดีเด่นโดยเฉพาะ ๒๕๔๗ ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รการบิ น ในกิจกรรมของการฝึกวิชาทหาร ในฐานะนักบินโบอิ้ง ๗๓๗ - ๔๐๐ จากบริษัท ภายหลังจากทีท่ รงส�าเร็จการศึกษาจากต่าง การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) และทรงผ่านการ ประเทศแล้ว ทรงเข้ารับราชการทหาร และ ตรวจสอบจากการขนส่งทางอากาศ กับทรง ทรงศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ได้รับใบอนุญาตนักบินพาณิชย์เอก หลักสูตรหลักประจ�าชุดที่ ๔๖ และหลักสูตร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จากประเทศ วชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเจริญ อังกฤษ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๓ นอกจาก พระราชกรณี ย กิ จ มากมาย เพื่ อ ประโยชน์ นี้ ยังทรงศึกษาหลักสูตรวิชาทหารจากต่าง ของพสกนิ ก รชาวไทย โดยเฉพาะพระราช ประเทศอีกหลายหลักสูตร ตลอดจน หลักสูตร กรณียกิจด้านการทหาร เนื่องด้วยพระองค์ การบินทั้งเครื่องบินปีกหมุน เครื่องบินปีกติด ทรงสนพระราชหฤทัยด้านการทหารมาตั้งแต่ ล�าตัว และเครื่องบินขับไล่ ทรงพระเยาว์ โดยได้ติดตามพระบาทสมเด็จ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๐๘ สมเด็จพระบรม พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ พระราชด� า เนิ น ไปทรง โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงได้รับ เยี่ยมที่ตั้งกองทหารหน่วยต่างๆ อยู่เสมอ และ พระราชทานยศทหาร ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ จากการที่ ไ ด้ ท รงศึ ก ษาหลั ก สู ต รวิ ช าทหาร พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ เป็ น จ� า นวนมาก จึ ง ทรงมี ค วามรู ้ เ ชี่ ย วชาญ พระราชทานยศให้เป็น ร้อยตรี เรือตรี และ อย่างมาก และได้พระราชทานความรู้ ถ่ายทอด เรืออากาศตรี แห่งสามเหล่าทัพ และต่อมา ทักษะให้แก่ทหารหาญทุกเหล่าทัพ ทั้งยังทรง เดือนพฤษภาคม ๒๕๑๔ ทรงพระกรุณาโปรด ด� า เนิ น พระราชจริ ย าวั ต รให้ เ ป็ น แบบอย่ า ง เกล้าฯ พระราชทานเลื่อนยศขึ้นเป็น ร้อยโท เรือโท และเรืออากาศโท ทรงเข้ารับการฝึก ศึกษาตามหลักสูตรโดดร่มภาคพื้นดิน ณ ค่าย นเรศวร และได้รับพระราชทานปีกนักโดดร่ม ชั้น ๑ กิตติมศักดิ์ เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๑๔ ครั้นเมื่อทรงมีพระชนมายุครบ ๒๐ ชันษา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มี พ ระบรม ราชโองการ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ถาปนาขึ้ น เป็ น สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๑๕ ตามจารึกในพระสุพรรณบัฏ ว่า “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตย สมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ สยามมกุฎราชกุมาร” ทั้งทรงเป็นมกุฎราช กุมารพระองค์แรกในสมัยการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยของไทย หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
แก่บรรดานายทหาร ทรงสนพระทัย เอาพระทัยใส่ ในชีวิตความเป็นอยู่ ทุกข์สุข ของผู้ใต้บังคับ บัญชาและยังทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ เป็นทุนการศึกษาแก่บุตรของ ทหาร และยังประโยชน์ให้แก่หน่วยทหารต่างๆ สิ่งเหล่านี้ ได้น�ามาซึ่งความเทิดทูนและความ จงรั ก ภั ก ดี แ ก่ เ หล่ า ทหารที่ มี ต ่ อ พระองค์ ในพระสถานะสยามมกุฎราชกุมารและสถาบัน พระมหากษัตริย์เป็นอย่างยิ่ง ดั ง นั้ น ในวโรกาสอั น เป็ น มิ่ ง มหามงคล วันคล้ายวันพระราชสมภพ กระทรวงกลาโหม และเหล่ า ทหารหาญทุ ก คนจึ ง พร้ อ มใจกั น ถวายพระพรชัยมงคล ขอพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระเจริญ ในระหว่ า งที่ เ สด็ จ กลั บ มาประทั บ อยู ่ ในประเทศไทยในฐานะองค์ พ ระรั ช ทายาท พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จพระราชด�าเนินแทน พระองค์ ใ นพระราชกรณี ย กิ จ ที่ ส�า คั ญ ต่ า งๆ ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนั้นๆ สนอง พระมหากรุณาธิคณ ุ ด้วยความมัน่ พระราชหฤทัย ด้วยความรอบคอบ และด้วยความรับผิดชอบ ส�าเร็จผลดีเสมอ ทรงใช้เวลาในระหว่างหยุดเรียน โดยเสด็จพระราชด�าเนินตามพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ไปทรงเยี่ ย มราษฎรใน จังหวัดต่างๆ และในที่ห่างไกลเนืองๆ ทรง พอพระราชหฤทัยท�าความคุน้ เคยกับประชาชน และข้าราชการในท้องถิ่นนั้นๆ เพื่อทรงทราบ และเข้ า พระราชหฤทั ย ถึ ง ความต้ อ งการ และสถานการณ์อย่างแท้จริง ยังความโสมนัส อย่างยิ่งให้เกิดแก่ข้าราชการและประชาชน ที่ได้เฝ้าฯ รับเสด็จในโอกาสนั้น
5
นอกจากนั้น ยังทรงฝักใฝ่เลื่อมใสในพระ บวรพุทธศาสนา และทรงสนพระราชหฤทัย ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมเป็ น พิ เ ศษ รวมทั้ ง ในการปกครองประเทศให้สงบสุขและความ เจริญรุ่งเรืองอีกด้วย ทรงพยายามหาโอกาส ในวันหยุด เสด็จพระราชด�าเนินไปถวายสักการะ สมเด็จพระสังฆราช และทรงเยี่ยมนมัสการ พระเถระผูใ้ หญ่เพือ่ ทรงสนทนาพระธรรมค�าสัง่ สอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเสด็จ ไปทอดพระเนตรกิจการของศาลสถิตยุติธรรม เพื่อทรงศึกษาเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายใน บางโอกาสด้วย กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ สั ม พั น ธไมตรี กั บ นานา ประเทศ ก็ทรงสนพระราชหฤทัยเป็นอันมาก ดังเป็นที่ปรากฏว่าในพระราชกรณียกิจ หรือ ในงานที่เกี่ยวกับบุคคลส�าคัญชาวต่างประเทศ หรือเกี่ยวกับคณะทูตนานาประเทศ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โดยเสด็จพระราชด�าเนินพร้อมกับพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสมอและคราวเสด็จ พระราชด� า เนิ น ไปทรงเยื อ นประเทศญี่ ปุ ่ น ในฐานะพระราชอาคันตุกะของพระราชวงศ์ ญี่ ปุ ่ น เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๔ ก็ทรงได้รับความส�าเร็จอย่างยิ่ง เพราะ การเสด็ จ พระราชด� า เนิ น ครั้ ง นี้ มี ผ ลในการ กระชับสัมพันธไมตรีระหว่างพระราชวงศ์และ ประชาชนทั้งสองประเทศให้ใกล้ชิดสนิทสนม ยิ่งขึ้น ทรงใช้เวลาส่วนพระองค์ที่เหลือไม่มากนัก จากงานราชการและการศึกษาให้เป็นประโยชน์ เสมอด้วยการทรงงานอดิเรก โดยทรงนิพนธ์ บทกลอนและบริหารพระวรกาย มีทรงวิ่ง หรือ ทรงกีฬาต่างๆ เช่น ทรงฟุตบอลร่วมทีมกับทหาร และข้าราชการ เป็นต้น ๖
ที่ โ รงเรี ย นมิ ล ล์ ฟ ิ ล ด์ แคว้ น ซอมเมอร์ เ ซท ประเทศอังกฤษ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๓ - พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ • ทรงเข้าศึกษาเตรียมทหารที่โรงเรียน คิงส์สกูล เขตพารามัตตา นครซิดนีย์ ประเทศ ออสเตรเลีย • ทรงเข้ า ศึ ก ษาที่ วิ ท ยาลั ย การทหาร ดันทรูน กรุงแคนแบร์รา ประเทศออสเตรเลีย มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ - ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับอุดมศึกษา และทรงได้ รั บ ปริ ญ ญาอั ก ษรศาสตรบั ณ ฑิ ต (การศึกษาด้านการทหาร) คณะการศึกษาด้าน การทหาร มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลล์ ประเทศ ออสเตรเลีย ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ - กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๑ ขณะประทั บ อยู ่ ใ นพระราชฐาน ทรงสน • ทรงเข้ารับการศึกษาทีโ่ รงเรียนเสนาธิการ พระราชหฤทั ย ในความเป็ น อยู ่ ข องต� า รวจ ทหารบก หลักสูตรหลักประจ�าชุดที่ ๕๖ ทีป่ ระจ�ารักษาการณ์ในพระราชฐานและข้าราช กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๗ - ตุลาคม บริพารทั่วไป เสด็จพระราชด�าเนินเยี่ยมเยียน พุทธศักราช ๒๕๓๐ ตรวจตราการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในเขต • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับอุดมศึกษา พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน และพระบรม โดยทรงได้ รั บ ปริ ญ ญานิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาราชวังอยู่เป็นนิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรุงเทพฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ประเทศไทย ราชกุมาร ทรงด�ารงต�าแหน่งเป็นนายกอุปถัมภ์ มกราคม - ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓ และสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสมาคมต่างๆ ตามที่ • ทรงเข้ารับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกัน สมาคมและคณะนั้นๆ กราบบังคมทูลอัญเชิญ ราชอาณาจักรแห่งสหราชอาณาจักร คื อ นายกกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส มาคมจั ก รยานแห่ ง การฝึกอบรมทางการทหาร ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ มกราคม - ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘ สมาชิกกิตติมศักดิ์ • ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก เพิ่ ม เติ ม และทรง ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรม ศึกษาด้านการทหารในประเทศออสเตรเลีย ราชูปถัมภ์ เมือ่ วันที่ ๑๔ กรกฎาคม พุทธศักราช โดยทุนกระทรวงกลาโหม ๒๕๑๒ องค์อปุ ถัมภ์สามัคคีสมาคม ในพระบรม • ทรงประจ� า การ ณ กองปฏิ บั ติ ก าร ราชูปถัมภ์ เมือ่ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พุทธศักราช ทางอากาศพิเศษ ที่นครเพิร์ธ รัฐออสเตรเลีย ๒๕๑๓ สมาชิกกิตติมศักดิ์ราชยานยนต์สมาคม ตะวันตก ประเทศออสเตรเลีย แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ • หลักสูตรวิชาการรบพิเศษการท�าลาย เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๓ และยุทธวิธีการรบนอกแบบ องค์ อุ ป ถั ม ภ์ ลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ • หลักสูตรการค้นหาชั้นสูง ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๓ • หลักสูตรการลาดตระเวนและค้นหา การศึกษา ชั้นสูง พุทธศักราช ๒๔๙๙ - พุทธศักราช ๒๕๐๙ • หลักสูตรส่งทางอากาศ • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับอนุบาลที่ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ - มกราคม พระทีน่ งั่ อุดรภาค พระราชวังดุสติ และโรงเรียน พุทธศักราช ๒๕๓๒ จิตรลดา • ทรงเข้ารับการศึกษาหลักสูตรการฝึก มกราคม - กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๙ บินเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทัว่ ไป แบบ ยู เอช-๑ ของ • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาระดั บ ประถม บริษัทเบลล์ จ�านวนชั่วโมงบิน : ๕๙.๓๖ ชั่วโมง ศึกษาที่โรงเรียนคิงส์มีด เมืองซีฟอร์ด แคว้น • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการ ซัสเซกส์ ประเทศอังกฤษ ฝึกบินเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบ เอ เอช-๑ คอบรา กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๙ - กรกฎาคม ของบริษัท เบลล์ จ�านวนชั่วโมงบิน : ๑ ชั่วโมง พุทธศักราช ๒๕๑๓ กุ มภาพั น ธ์ - พฤษภาคม พุท ธศักราช • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ๒๕๒๓ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
• ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก และทรงศึ ก ษา โครงการช่วยเหลือทางทหารของกองทัพบก สหรัฐอเมริกา ทีฟ่ อร์ดแบรกก์ รัฐนอร์ธแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ตามหลักสูตรดังต่อไปนี้ :• หลักสูตรอาวุธประจ�ากายและเครือ่ งบิน ยิงจรวด • หลักสูตรการปฏิบัติการพิเศษ • หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้าย • หลักสูตรการสงครามแบบกองโจร • หลักสูตรการฝึกการด�ารงชีพ • หลักสูตรทางอากาศ (ทางบกและทางทะเล) มิถุนายน - กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๓ • ทรงเข้าศึกษาหลักสูตรฝึกบินเฮลิคอปเตอร์ ใช้งานทั่วไป แบบ ยู เอช-๑ และ เฮลิคอปเตอร์ ใช้งานทั่วไปแบบ ยู เอช-๑ ของบริษัท เบลล์ จ�านวนชั่วโมงบิน : ๒๔๙.๕๖ ชั่วโมง กันยายน - ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๓ • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการ ฝึกบินเฮลิคอปเตอร์โจมตีติดอาวุธ (แบบ ยู เอช-๑) ของบริษัท เบลล์ ของกองทัพไทย จ�านวนชั่วโมงบิน : ๕๔.๕๐ ชั่วโมง ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๓ - กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๔ • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการ ฝึกบินเครือ่ งบินปีกติดล�าตัวแบบ Siai-Marchetti SF260 MT จ�านวนชัว่ โมงบิน : ๑๗๒.๒๐ ชัว่ โมง มีนาคม - กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ • ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รการฝึ ก บินเครื่องบินปีกติดล�าตัวแบบ Cessna T-37 จ�านวนชั่วโมงบิน : ๒๔๐ ชั่วโมง ตุลาคม - ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ • เสด็จฯ ทอดพระเนตรกิจการทหารและ ต�ารวจที่ประเทศอังกฤษ เบลเยียม สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ สาธารณรัฐ ฝรั่งเศส และออสเตรเลีย ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ - กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖ • ทรงเข้าศึกษาการบินเปลี่ยนแบบเป็น เครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ ๕ (พิเศษ) รุ่นที่ ๘๓ (พุทธศักราช ๒๕๒๖) เอ ที ดับบลิว และ • หลักสูตรเครือ่ งบินขับไล่ชนั้ สูง รุน่ ที่ ๘๓ (พุทธศักราช ๒๕๒๖) เอ วี ดับบลิว ที่ฐานทัพ อากาศวิลเลียมส์ รัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา จ�านวนชั่วโมงบินมากกว่า ๒,๐๐๐ ชั่วโมง การรับราชการ ๙ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ • ทรงเข้ารับราชการทหารเป็นครั้งแรก ในต�าแหน่ง นายทหารประจ�ากรมข่าวทหารบก กระทรวงกลาโหม ๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๑ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง รองผู้บังคับกองพัน ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมทหารราบ ที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๒๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๒๓ • ทรงด� า รงต� า แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ กองพั น ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมทหารราบ ที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ ๑๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๗ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง ผู้บังคับการกรม ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ๓๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง ผู้บัญชาการหน่วย บัญชาการทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๕ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง ผู้บัญชาการหน่วย บัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ส�านักผู้บัญชาการทหารสูงสุด ๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๓๗ • ทรงปฏิบัติหน้าที่ ครูการบินเครื่องบิน ขับไล่แบบเอฟ-๕อี/เอฟ พระยศทางทหาร • พลเอก • พลเรือเอก • พลอากาศเอก พระราชพิ ธี ส ถาปนาพระราชอิ ส ริ ย ยศ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุมาร พระราชพิ ธี ส ถาปนาพระราชอิ ส ริ ย ยศ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุมาร ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา ฉบับ จดหมายเหตุ พ ระราชพิ ธี ส ถาปนาเฉลิ ม พระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พุทธศักราช ๒๕๑๕ เล่ม ๙๗ ตอนที่พิเศษ ๔ กรกฎาคม ๒๕๒๓ ดังนี้ สภาบริหารคณะปฏิวัติได้ประชุมปรึกษา และลงมติ ใ ห้ น� า ความกราบทู ล พระกรุ ณ า ขอพระราชทานโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิม พระนามาภิไธย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า วชิราลงกรณ ซึ่งทรงมีพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษาแล้ว ให้ด�ารงพระราชอิสริยยศ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จึ ง ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มพี ระราชพิธสี ถาปนา เฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ทรงด�ารงพระราชอิสริยยศ เป็น สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ เจ้ า ฟ้ า มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร อนุโลม ตามโบราณขัตติยราชประเพณี พระราชพิธี ในครั้งนี้เรียกว่า “พระราชพิธีสถาปนาเฉลิม พระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร” โปรดเกล้าฯ ให้ก�าหนด พระราชพิธี ๕ ตอน คือ • พระราชพิ ธี จ ารึ ก พระสุ พ รรณบั ฏ และพระราชลั ญ จกร ณ พระอุ โ บสถวั ด
พระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ • พระราชพิ ธี ศ รี สั จ จปานการเสก น�้ า พระพิ พั ฒ น์ สั ต ยา ณ พระอุ โ บสถวั ด พระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง ในวันพุธที่ ๒๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ • พระราชพิธีทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศล ทักษิณานุปทาน ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง ในวันพุธที่ ๒๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ • พระราชพิธสี ถาปนา เฉลิมพระนามาภิไธย ณ พระทีน่ งั่ อนันตสมาคม พระราชวังดุสติ ในวัน พฤหัสบดีที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ • พระราชพิ ธี ถื อ น�้ า พระพิ พั ฒ น์ สั ต ยา ณ พระอุ โ บสถวั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ นอกจากนี้ ยังมีงานซึง่ ต่อเนือ่ งกับพระราชพิธี สถาปนา เฉลิมพระนามาธิไธย สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร อีก ๓ งาน คือ เสด็จบ�าเพ็ญพระราชกุศลทรงบาตรร่วมกับ ประชาชน และพระราชทานพระวโรกาสให้ ประชาชนได้เฝ้าฯ ณ บริเวณท้องสนามหลวง ครั้นเวลาบ่าย ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระบรม วงศานุวงศ์และสมาชิกราชสกุลทุกมหาสาขา เข้ า เฝ้ า ฯ ถวายพระพรชั ย มงคล ณ ศาลา ดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ครั้นเวลาค�่า รัฐบาล ได้จดั งานสโมสรสันนิบาตถวาย ณ ท�าเนียบรัฐบาล ในวันศุกร์ที่ ๒๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรม ราชานุญาตให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร อภิ เ ษกสมรสกั บ หม่อมศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา (พระนามเดิม ในขณะนั้น) ทรงพระมหากรุณาธิคุณประกอบ พิ ธี อ ภิ เ ษกสมรสพระราชทานเมื่ อ วั น เสาร์ ที่ ๑o กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๔ และเมื่อ พระโอรสอันประสูติแต่หม่อมศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา เป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ศรี รั ศ มิ์ พระวรชายา ในสมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เมือ่ วันพุธที่ ๑๕ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๘ 7
8
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ประวัติ วันเข้ารับต�าแหน่ง ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ เกิดวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๑๐ สถานภาพ ประวัติการศึกษา ๒๕๓๓ : Master of Public Admin Kentucky State University, U.S.A. ๒๕๓๑ : ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประวัติการท�างาน ๒๕๔๙ : ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ ป อเรชั่ น จ� า กั ด (มหาชน) ซึ่ ง ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ชั้ น น� า ในประเทศไทยและได้ รั บ การจั ด อันดับจากคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ของตลาดหลักทรัพย์ ให้อยู่ในกลุ่ม “ดีเลิศ” ของบริษัทที่ด� าเนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ภาพลักษณ์และสินค้า ประสบความส�าเร็จ ในการ Re-Branding จากภาพลักษณ์บริษัทเทเลคอม เป็น บริษัทที่ด�าเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อย่างชัดเจน รวมทั้งปรับรูปแบบสินค้าและบริการของบริษัทให้ตรงต่อ ความต้องการของลูกค้าซึ่งสามารถท�าให้ผลประกอบการ ของบริษัทเพิ่มขึ้นถึง ๓๐% อย่างต่อเนื่องทุกปี ประสบ ความส� า เร็ จ ในการสร้ า งวั ฒ นธรรมองค์ ก ร ส่ ง เสริ ม ให้ พนักงานมีพฤติกรรมที่สอดคล้องกับค่านิยม และน�าค่านิยม สูก่ ารปฏิบตั งิ านทุกจุดบริการ การบริหารจัดการ ปรับโครงสร้าง องค์กรให้มีความเหมาะสมต่อการด�าเนินธุรกิจ เกิดความ คล่ อ งตั ว ในการบริ ห ารจั ด การ เปิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลสูงสุดต่อบริษทั ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ ปฏิ บั ติ ง านให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ เช่ น ระบบ SC System (กระบวนการก่อสร้างและต้นทุนการ ก่อสร้าง) กระบวนการ CRM และกระบวนการบริการ ประสบการณอื่ น ๆ : มี ป ระสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ บริ ห าร ทรัพย์สิน และธุรกิจกอล์ฟ ๒๕๔๕ : ประธานกรรมการ บริษัท แอ็ดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ากัด (มหาชน) ๒๕๔๔ : กรรมการผู ้ อ� า นวยการอาวุ โ ส - สายงานการ วางแผนธุรกิจโทรคมนาคมไร้สาย บริษัท แอ็ดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ากัด (มหาชน) ๒๕๔๒ : กรรมการผูอ้ า� นวยการ - สายงานปฏิบตั กิ าร สินค้า และบริการ บริษทั แอ็ดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ากัด (มหาชน) ๒๕๔๐ : Vice President - Shinawatra Directories Production บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส์ จ�ากัด ๒๕๓๘ : General Manager - Shinawatra Directories Production ๒๕๓๗ : บริษัท เรนโบว์ มีเดียส์ จ�ากัด ผู้จัดการทั่วไป หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๒๕๓๖ : บริษทั ชินวัตร ไดเร็คทอรีส่ ์ จ�ากัด Production Director การฝึกอบรมและสัมมนา ๒๕๕๔ : Capital Market Academy (วตท.) รุ่นที่ ๑๒ ๒๕๕๐ : New Culture on Brand ๒๕๔๙ : Executive Committee Program - Director Accreditation Program - Finance for Non - Finance Director- Director Certification Program ๒๕๔๘ : Mastery Development Program : Executive Shared Learning Forum ๒๕๔๗ : Leadership Through TQM ๒๕๔๖ : Continuous Process Quality Improvement for Executive ๒๕๔๕ : Program for Management Development Harvard Business School (USA) : Executive Coaching Program ๒๕๔๔ : The 4 Roles of Leadership : Balanced Scorecard for Executive Program : Broadening the Manager’s skill ๒๕๔๒ : Problem Solving & Decision Making ๒๕๔๐ : Financial Management for Executive Program ๒๕๓๙ : The Managerial Grid ๒๕๓๘ : Financial Management Program : Mini MBA (Chulalongkorn University) ๒๕๓๗ : Leadership Personality in Global Business ๒๕๓๖ : Effective Presentation Skill ๒๕๓๕ : Objective Setting Workshop ๒๕๓๔ : Advanced Marketing
9
พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ประวัติ เกิดวันที่
๘ มกราคม ๒๔๘๐ ครอบครัว บิดา พลโท อรรถ ศศิประภา มารดา นางจ�ารูญ ศศิประภา ภริยา คุณหญิงอรพรรณ ศศิประภา บุตร และ ธิดา ๑. นายปรภฏ ศศิประภา ๒. นางสาวอภิษฎา ศศิประภา ๓. นางสาววลัยพรรณ ศศิประภา ๔. นางสาวจันทิมา ศศิประภา ประวัติการศึกษา มัธยมศึกษา - โรงเรียนเซนต์คาเบรียล พ.ศ.๒๔๙๗ 10
การศึกษาโรงเรียนทหาร - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พ.ศ.๒๕๐๔ - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๔๘ พ.ศ.๒๕๑๒ - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๓๓ พ.ศ.๒๕๓๔ การศึกษาต่างประเทศ - หลักสูตรพลร่มและจู่โจม ณ ฟอร์ดเบนนิ่ง โรงเรียน ทหารราบ กองทัพบก สหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๐๕ - หลักสูตรชัน้ นายพัน เหล่าทหารราบ ณ ฟอร์ดเบนนิง่ โรงเรียนทหารราบ กองทัพบก สหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๑๑ ประวัติการท�างานและ/หรือรับราชการ - ผูบ้ งั คับกองพันที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค์ (๑ ตุลาคม ๒๕๑๔) - รองผู้บังคับการ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค์ (๑๑ มีนาคม ๒๕๑๙)
- เสนาธิการมณฑลทหารบกที่ ๑ (๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๒) - ประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ในพระบรม - เสนาธิการกองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ (๑๗ เมษายน ราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๕๒ - ปัจจุบัน (ครั้งที่ ๓) ๒๕๒๔) - ประธานกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ สหพันธ์กีฬาซีเกมส์ พ.ศ. - รองผู้บัญชาการกองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ - ปัจจุบัน ๒๕๒๖) เกียรติคุณส�าคัญที่เคยได้รับยกย่องปฏิบัติงานด้านสังคม - เสนาธิการกรมการรักษาดินแดน (๑ ตุลาคม ๒๕๒๘) - ได้รบั รางวัลเมขลา สาขาสร้างสรรค์สงั คม ติดต่อกัน ๓ ปี (ปี - ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๓๑) พ.ศ.๒๕๒๙ - ๒๕๓๑) โดยมี ส ่ ว นส� า คั ญ ในการผลิ ต - รองแม่ทัพภาคที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๓๒) รายการวิทยุกระจายเสียง “กองทัพบกพบประชาชน” และ - ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก ฝ่ายข่าว (๑ ตุลาคม ๒๕๓๓) รายการโทรทัศน์ “สนทนาปัญหาบ้านเมือง” - ผูอ้ า� นวยการส�านักนโยบายและแผนกลาโหม (๑ ตุลาคม - ได้รับรางวัลพ่อดีเด่นประจ�าปี พ.ศ.๒๕๓๘ ๒๕๓๖) - ได้รบั รางวัลโล่หพ์ ระราชทาน และเกียรติบตั รเชิดชูเกียรติ - รองปลัดกระทรวงกลาโหม (๑ เมษายน ๒๕๓๙) การอนุรกั ษ์ อาคารศาลาว่าการกลาโหมจาก สมเด็จพระเทพ - ปลัดกระทรวงกลาโหม (๑ ตุลาคม ๒๕๓๙ - ๒๕๔๑) รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เมือ่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๐ - เป็นสมาชิกวุฒิสภา (๒๒ มีนาคม ๒๕๓๙ - ๒๑ มีนาคม - ได้รับรางวัลพระราชทานเสาเสมาธรรมจักรเกียรติคุณ ๒๕๔๓) ผูท้ า� คุณประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนา ประเภทส่งเสริมกิจการ - เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร แบบสัดส่วน (๒ กุมภาพันธ์ คณะสงฆ์ ๒๕๔๑ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม (๑๘ กุมภาพันธ์ - เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๐๙ ๒๕๔๔ - ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕) - จตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๑ - ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ด้านความมั่นคง (๑๑ ตุลาคม - จตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๔ ๒๕๔๕ - ๘ มีนาคม ๒๕๔๘) - ตริตราภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๘ - ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวงกลาโหม (๓๑ มีนาคม - ตริตราภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๒๑ ๒๕๔๘ - ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๙) - ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓ - ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวงกลาโหม (๒๙ มิถุนายน - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๒๘ ๒๕๔๙ - ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙) - ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ - ทีป่ รึกษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม (๑๔ ตุลาคม - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๓๒ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑) - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๓๖ - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (ตั้งแต่ ๙ สิงหาคม - ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.) ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๒๕๕๔) - เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ (บ.ภ.) ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ราชการพิเศษและต�าแหน่งที่ส�าคัญ - ตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.) ๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ - มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เป็นราชองครักษ์เวร เหรียญราชอิสริยาภรณ์ พ.ศ.๒๕๑๒ - ๒๕๓๖ - เหรียญชัยสมรภูมิ (เกาหลี) (๓๑ มกราคม ๒๕๐๗) - มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เป็นราชองครักษ์พเิ ศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น ๕ (๑ กันยายน ๒๕๐๗) รับราชการสนองพระเดชพระคุณ ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๓๖ - ปัจจุบนั - เหรียญราชการชายแดน (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๑๐) - เป็นตุลาการศาลทหารสูงสุด ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๖ - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ ๒ (๒๘ มีนาคม ๒๕๑๕) - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็ก - เหรียญชัยสมรภูมปิ ระดับเปลวระเบิด (๑๕ เมษายน ๒๕๑๕) รักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๒๔ - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ ๑ (๒๗ มีนาคม ๒๕๔๐) - เป็นนายทหารพิเศษประจ�ากองพันที่ ๓ กรมทหารราบ - Labor Medal (เหรียญ ชัน้ ที่ ๒) ของกระทรวงกรรมกร ที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๒๔ แห่งชาติเวียดนามใต้ (๑๔ มกราคม ๒๕๑๕) - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๓๑ รักษา - Armed Forces Medal วน. ชั้น ๑ (๔ มีนาคม ๒๕๑๕) พระองค์ พ.ศ.๒๕๒๕ - Campange Medal (๑ เมษายน ๒๕๑๕) - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๑๑ รักษา - Public Health Medal วน. ชัน้ ๒ (๑๐ มีนาคม ๒๕๑๕) พระองค์ พ.ศ.๒๕๒๖ - Public Works Communication and Transportation - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๒๑ รักษา Medal (ชั้น ๒) (๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕) พระองค์ พ.ศ.๒๕๓๘ - Ethnic Minority Development Medal (ชั้น ๒) - มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ พระราชทานยศเป็น (๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕) พลเรือเอก และพลอากาศเอก กับแต่งตัง้ เป็นนายทหารพิเศษ - Cultural and Education Medal (ชัน้ ๒) จากกระทรวง ประจ�ากรมนักเรียนนายเรือ รักษาพระองค์ และประจ�า ศึกษาธิการเวียดนาม (๑ เมษายน ๒๕๑๕) กรมนักเรียนนายเรืออากาศ รักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๔๐ - เหรียญกล้าหาญเวียดนามระดับ บรอนซ์สตาร์ (๕ เมษายน - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารม้าที่ ๑ รักษาพระองค์ ๒๕๑๕) พ.ศ.๒๕๔๐ - Police Honor Medal ชั้น ๒ จากกรมต�ารวจแห่งชาติ - เป็นนายกสมาคมว่ายน�้าสมัครเล่นแห่งประเทศไทย เวียดนาม (๑๒ เมษายน ๒๕๑๕) พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๔๗ - Staff Service Medal ชัน้ ๑ จากกองบัญชาการทหารสูงสุด - ประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ใน เวียดนาม (๑๒ เมษายน ๒๕๑๕) พระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ (ครั้งที่ ๑) - Civil Actions Medal ชั้น ๑ (๑๕ เมษายน ๒๕๑๕) - เป็นนายกสมาคมยิมนาสติกแห่งประเทศไทย พ.ศ. - Social Warfare Medal ชั้น ๒ (๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๕) ๒๕๔๗ - ๒๕๔๙ - Sports Medal - ประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ใน - Gallantrys Cross With Bronz Star (๕ เมษายน ๒๕๑๕) พระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๒ (ครั้งที่ ๒) - Army Commendation B (๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๕) - ประธานสหพันธ์กีฬาซีเกมส์ พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
11
แนวทางปฏิบตั ขิ องกระทรวงกลาโหม ในการรองรับการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ กองอาเซียน ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
1๒
กองอาเซียน ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ภ
ายหลังจากทีไ่ ด้มกี ารจัดท�ากฎบัตร อาเซี ย นหรื อ ธรรมนู ญ อาเซี ย น ในปี ๒๕๕๑ เพื่อวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสร้ า งองค์ ก ร ซึ่ ง น� า ไปสู ่ ก ารจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ ในทั้ง ๓ เสาหลัก คือ เสาประชาคม การเมื อ งและความมั่ น คง เสาประชาคม เศรษฐกิ จ และเสาประชาคมสั ง คมและ วัฒนธรรม โดยมีเป้าหมายหลักในการรวมตัว ที่ ส� า คั ญ คื อ การสร้ า งประชาคมที่ มี ค วาม แข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือกับ สิ่ ง ท้ า ทายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยมีจดุ มุง่ หมายให้อาเซียนเป็น ประชาคมทีม่ คี วามสุข ประชาชนมีความเป็นอยู่ ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมถึงประชาชน ในอาเซียนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งหากกระทรวงกลาโหมสามารถสนับสนุน ให้ ก ารรวมตั ว เป็ น ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ ประสบความส�าเร็จ โดยเป็นประชาคมที่ มีกฎเกณฑ์และบรรทัดฐาน และการด�าเนินการ ร่ ว มกั น รวมทั้ ง เป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี ค วามเป็ น เอกภาพ สงบสุข และมีความเข้มแข็ง พร้อม ทั้งมีความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหา ความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติแล้ว ผู้ที่จะได้ รับผลประโยชน์โดยตรงก็คอื ประชาชนชาวไทย และประเทศไทยนั่ น เอง และหากมองใน เสาหลัก เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมแล้ว ประเทศไทยถื อ ว่ า ได้ เ ปรี ย บด้า นภูมิศ าสตร์ มากทีส่ ดุ ดังนัน้ จึงยิง่ ส่งผลดีให้กบั ประเทศไทย มีการพัฒนายิ่งขึ้นตามไปอีกด้วย วัตถุประสงค์ ในการด�าเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของกฎบั ต รอาเซี ย น จึ ง มี ค วามจ� า เป็ น ที่ กระทรวงกลาโหม ต้ อ งเร่ ง จั ด ท� า แนวทาง ปฏิบตั ขิ องกระทรวงกลาโหมในการรองรับการ
มีเป้าหมายหลักในการรวมตัว ที่สำาคัญ คือ การสร้างประชาคม ที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้าง โอกาสและรับมือกับสิ่งท้าทายที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
13
จัดตั้งเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบหรือแนวทางในการด�าเนิน งานในเรื่องต่างๆ ซึ่งได้ก�าหนดวัตถุประสงค์ โดยพิ จ ารณาจากประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ข อง กระทรวงกลาโหมในด้านการเสริมสร้างความ ร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน และมิตรประเทศ และนโยบายของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม ไว้ดังนี้ 14
๑. เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่น และลด ความหวาดระแวงระหว่างประเทศในภูมิภาค ๒. เพื่ อ สร้ า งความโปร่ ง ใสในด้ า นการ ป้ อ งกั น ประเทศ อั น จะน�า ไปสู ่ ค วามไว้ เ นื้ อ เชื่อใจระหว่างประเทศ ๓. เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และพัฒนา ความร่วมมือทางทหารกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน มิตรประเทศ และ
องค์กรระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี เพื่อจัดระเบียบสภาวะแวดล้อม สร้างสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง ความ มั่งคั่ง ความก้าวหน้า และความสงบสุขร่วมกัน และเพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการน�าไปสูก่ ารรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ๔. เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งโดยสันติ และลดโอกาสของการใช้ก�าลัง ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง อาทิ ปัญหา ความขัดแย้งเรื่องพรมแดนทั้งทางบกและทาง ทะเล และความขัดแย้งในการอ้างกรรมสิทธิใ์ น พื้นที่ที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ๕. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในภารกิจ ระหว่างประเทศ และการขยายบทบาทในเวที ระดับนานาชาติของกองทัพ อันจะเป็นการ เสริมสร้างเกียรติภูมิของชาติ อาทิ การเข้าไป มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของ สหประชาชาติ การให้ ค วามช่วยเหลือด้า น มนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ และการ รักษาความมั่นคงทางทะเล เป็นต้น เป้าหมายในการด�าเนินการ กระทรวงกลาโหมสามารถปฏิบัติภารกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผนในการ เตรียมการด้านก�าลังพล ยุทโธปกรณ์ งบประมาณ และการบริหารจัดการต่างๆ ได้อย่างสอดคล้อง กับนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และ
กองอาเซียน ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
รองรั บ ในการจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ แนวทางปฏิบัติของกระทรวงกลาโหมใน การรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ มีการด�าเนินการที่ส�าคัญ ๓ ด้าน ดังนี้ ๑. การพัฒนาด้านก�าลังพล พั ฒ นาการฝึ ก และศึ ก ษา การใช้ ภ าษา อั ง กฤษ และภาษาของชาติ ใ นอาเซี ย นของ ก�าลังพลในกองทัพให้สามารถบูรณาการองค์ ความรู้ได้อย่างประสานสอดคล้องเชื่อมโยงซึ่ง กันและกัน เช่น การพัฒนารูปแบบในการฝึก ร่วมผสม หรือการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียน เสนาธิการเหล่าทัพเพื่อให้รองรับนายทหาร นักเรียนต่างชาติในอาเซียนได้มากขึ้น เป็นต้น ๒. การพัฒนาด้านการจัดท�างบประมาณ ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บั ติ ร าชการ ๔ ปี ของ กระทรวงกลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวง กลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติ ราชการประจ�าปีให้สามารถตอบสนองและ สามารถรองรับต่อภารกิจในความรับผิดชอบ และสนับสนุนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๓. การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ๓.๑ บูรณาการในกิจกรรมต่างๆ ของ อาเซียนที่ได้มีการจัดท�าไว้อยู่แล้ว เช่น การ ประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดอาเซียนอย่าง หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ไม่เป็นทางการ การประชุมผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ อาเซียน การแข่งขันยิงปืนอาเซียน การประชุม เจ้ากรมข่าวทหารอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ การประชุ ม เจ้ า กรมยุ ท ธการทหารอาเซี ย น อย่างไม่เป็นทางการ เป็นต้น โดยให้รายงาน ผ่านกองบัญชาการกองทัพไทย และน�าเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เพื่อกรุณา ทราบ ๓.๒ ด� า เนิ น การตามเอกสารแนว ความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซี ย น (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) และกรอบการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหม ประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus) ทั้ง ๙ ฉบับ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยการจัดท�าแผนงาน งบประมาณเพื่อรองรับทั้ง ๙ ด้าน ก�าหนด ไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของกระทรวง กลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติราชการ ประจ�าปีของกระทรวงกลาโหม และหน่วย ขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ และ ปี ๒๕๕๘) ๓.๓ จั ด ตั้ ง กลไกในการด� า เนิ น การ ขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบอาเซียน และ พิจารณาปรับปรุงแก้ไขกลไกหรือกฎระเบียบ ต่ า งๆ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ให้ มี ค วามเหมาะสมเพื่ อ เพิ่มประสิทธิภาพ รวมถึงอาจจัดตั้งหน่วยงาน ที่เกี่ยวกับการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ สถาบัน ด้ า นการศึ ก ษาและวิ จั ย งานด้ า นอาเซี ย น เพิ่มเติม หรือมีการปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ ทีล่ า้ สมัยเพือ่ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน เป็นต้น
กระทรวงกลาโหมสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผน ในการเตรียมการด้านกำาลังพล ยุทโธปกรณ์ งบประมาณ และ การบริหารจัดการต่างๆ ได้อย่าง สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และรองรับในการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
๓.๔ ปรั บ ปรุ ง แผนป้ อ งกั น ประเทศ และภารกิจของกองก�าลังป้องกันชายแดนให้ สอดคล้องกับการเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ด้วยการเตรียมความพร้อมของหน่วย ยุทโธปกรณ์ บุคลากร ให้มีความเป็นสากล และสามารถรองรับการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ของอาเซียนในภาพรวมได้ ๓.๕ สนั บ สนุ น การเป็ น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียนด้วยการใช้ศักยภาพและขีด ความสามารถที่มีอยู่ของกระทรวงกลาโหม
15
สภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ ในพื้นที่ภาคเหนือ ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
1๖
ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
จ
ากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ ภายในประเทศและประเทศรอบบ้าน ในปัจจุบัน ท�าให้หน่วยงานด้านความ มั่นคงมีความจ�าเป็นต้องติดตามสถานการณ์ และตรวจสอบสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ อย่างสม�่ าเสมอ ซึ่งในห้วงกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ทีผ่ า่ นมา คณะข้าราชการของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมได้เดินทางไปตรวจสอบ สภาวะแวดล้ อ มทางยุ ท ธศาสตร์ ใ นพื้ น ที่ ภาคเหนื อ (จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ และ จัง หวัด เชียงราย) โดยได้รับทราบข้อมูลจากหน่วย ในพื้นที่กองก�าลังผาเมือง และหน่วยเรือรักษา ความสงบเรี ย บร้ อ ยตามล� า น�้ า โขง (นรข.) ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และหอการค้าจังหวัด เชี ย งใหม่ รวมถึ ง สภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด เชียงใหม่ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ส�าคัญต่อการก�าหนด ยุทธศาสตร์ของกระทรวงกลาโหม ซึ่งประกอบ ด้วย สถานการณ์ตามแนวชายแดน สถานการณ์ ยาเสพติ ด ตามแนวชายแดน สถานการณ์ ปั ญ หาอาชญากรรมในแม่ น�้ า โขง และการ เตรี ย มการก่ อ นเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น สามารถสรุปได้ดังนี้ สถานการณ์ตามแนวชายแดน อยูใ่ นสภาวะ ปกติ สถานการณ์ ก ารสู ้ ร บในพื้ น ที่ รั ฐ ฉาน ลดน้อยลงตามล�าดับ จากการทีร่ ฐั บาลเมียนมาร์ ด�าเนินการเจรจาเพื่อสร้างความปรองดองกับ กองก�าลังชนกลุ่มน้อย ปัจจุบันปัญหาเขตแดน ราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมี ย นมาร์ ใ นพื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบของกองก� า ลั ง ผาเมื อ งยั ง ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ ความสั ม พั น ธ์ ของทั้ ง สองประเทศ ซึ่ ง กองก� า ลั ง ผาเมื อ ง ได้ผลักดันกองก�าลังของชนกลุ่มน้อยหรือก�าลัง ทหารของรัฐบาลเมียนมาร์ทุกครั้งที่ตรวจพบ การรุกล�้าอธิปไตยของไทย ทั้งนี้ กองก�าลัง ผาเมื อ งพิ จ ารณาว่ า พื้ น ที่ ล ่ อ แหลมต่ อ การ รุ ก ล�้ า อธิ ป ไตยบริ เ วณชายแดน ซึ่ ง อาจเป็ น ปัญหาเรื่องเส้นเขตแดนในอนาคตมี ๓ พื้นที่ ได้แก่ ๑) พืน้ ทีว่ ดั ฟ้าเวียงอินทร์ อ�าเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ ๒) พื้นที่ดอยลาง อ�าเภอ แม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และ ๓) พืน้ ทีส่ า� นักสงฆ์ กู่เต็งนาโย่ง อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
จากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ ภายในประเทศและประเทศรอบบ้าน ในปัจจุบัน ทำาให้หน่วยงานด้านความ มั่นคงมีความจำาเป็นต้องติดตาม สถานการณ์และตรวจสอบสภาวะ แวดล้อมทางยุทธศาสตร์ อย่างสมำ่าเสมอ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
17
สถานการณ์ยาเสพติดตามแนวชายแดน ยังคงมีความรุนแรงอยู่อย่างต่อเนื่อง และในปัจจุบนั การสกัดกัน้ การลักลอบ นำาเข้ายาเสพติดตามแนวชายแดน สามารถดำาเนินการได้เพียง ส่วนน้อยเท่านั้น
18
สถานการณ์ ย าเสพติ ด ตามแนวชายแดน ยั ง คงมี ค วามรุ น แรงอยู ่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ ในปั จ จุ บั น การสกั ด กั้ น การลั ก ลอบน� า เข้ า ยาเสพติด ตามแนวชายแดนสามารถด� าเนิ น การได้เพียงส่วนน้อยเท่านั้น เนื่องจากแนว ชายแดนมีระยะทางยาว และมีช่องทางตาม ธรรมชาติจ�านวนมาก ซึ่งแนวชายแดนในความ รับผิดชอบของกองก�าลังผาเมืองมีทั้งทางบก และทางน�้ า ความยาวรวม ๙๓๓ กิ โ ลเมตร ทั้งนี้ กองก�าลังผาเมืองได้เสนอของบประมาณ จากส� า นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และ ปราบปรามยาเสพติ ด ในการเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการสกั ด กั้ น โดยใช้ เ ทคโนโลยี
ในการตรวจจับ ได้แก่ ๑) การใช้เครือ่ ง X - Ray บริเวณจุดผ่านแดน และ ๒) การใช้เครื่องมือ เฝ้ า ตรวจพื้ น ที่ ร ะยะไกล (Remote Area Monitor : RAM) เพื่อตรวจจับการลักลอบ ล� า เลี ย งยาเสพติ ด ตามช่ อ งทางธรรมชาติ นอกจากนี้ ไทยควรกดดันให้รัฐบาลเมียนมาร์ แก้ไขปัญหายาเสพติดทีม่ แี หล่งผลิตอยูใ่ นพืน้ ที่ ของชนกลุ ่ ม น้ อ ยอย่ า งจริ ง จั ง ในทุ ก เวที ก าร เจรจาตั้งแต่ในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ สถานการณ์ปญ ั หาอาชญากรรมในแม่นา�้ โขง ภายหลังจากมีกลไกความร่วมมือของ ๔ ชาติ ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมี ย นมาร์ และราชอาณาจั ก รไทย ในการป้องกันการก่ออาชญากรรมในแม่น�้าโขง ยังไม่ปรากฏการก่ออาชญากรรมจากกลุ่มกอง ก�าลังติดอาวุธในบริเวณแม่น�้าโขง ทั้งนี้ ในส่วน ของไทยได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและ ปราบปรามการกระท�าผิดในแม่น�้าโขง ดูแล พื้ น ที่ ตั้ ง แต่ ส ามเหลี่ ย มทองค� า จนถึ ง ท่ า เรื อ พาณิชย์เชียงแสน มีศนู ย์บญ ั ชาการอยูท่ ตี่ า� รวจ ภูธรภาค ๕ จังหวัดเชียงใหม่ และมีศูนย์ปฏิบัติ การป้องกันและปราบปรามการกระท�าผิดใน แม่น�้าโขงส่วนหน้าที่ท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน ทั้งนี้ ใช้ก�าลังต�ารวจในการดูแลรับผิดชอบ ส�าหรับการเตรียมการก่อนเข้าสู่ประชาคม อาเซียน กองก�าลังผาเมืองได้ยึดตามแนวทาง การปฏิ บั ติ เ พื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มของ กองทัพบกในการรองรับการจัดตั้งประชาคม ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
อาเซี ย นในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่ ง การเข้ า สู ่ ประชาคมอาเซี ย นจะส่ ง ผลให้ พื้ น ที่ ภ าค เหนือมีพัฒนาการทั้งด้านเศรษฐกิจและการ ท่องเที่ยว โดยสภาหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ เสนอให้ มี ก ารเปิ ด จุ ด ผ่านแดนถาวรเพิ่ม ขึ้น ได้ แ ก่ ๑) จุ ด ผ่ อ นปรนกิ่ ว ผาวอก ๒) จุ ด ผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง และ ๓) จุดผ่อนปรน บ้ า นสั น ต้ น ดู ่ แต่ ส าธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพ เมียนมาร์ยังไม่มีความพร้อม ขณะเดียวกัน กองก�าลังผาเมืองพิจารณาว่าอาจจะน�าไปสู่ ปัญหาความมั่นคงโดยเฉพาะปัญหายาเสพติด ที่จะมีเพิ่มขึ้นตามมา กล่ า วโดยสรุ ป ปั ญ หาตามแนวชายแดน ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด ยั ง คง เป็นปัญหายาเสพติด แม้วา่ การเจรจาเพือ่ สร้าง ความปรองดองระหว่างรัฐบาลเมียนมาร์กับ กองก� า ลั ง ชนกลุ ่ ม น้ อ ยอาจส่ ง ผลดี ต ่ อ การ แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในระยะยาว แต่ ใ น ระยะสั้น สถานการณ์ยาเสพติดยังคงมีความ รุนแรง ซึ่งกองทัพจ�าเป็นต้องพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการตรวจจับการ ลักลอบล�าเลียงยาเสพติดให้ดียิ่งขึ้น นอกจาก นี้ พัฒนาการทั้งด้านเศรษฐกิจและการท่อง เที่ยวในพื้นที่ภาคเหนือจะน�ามาซึ่งปัญหาด้าน ความมั่นคงต่างๆ ซึ่งทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรร่วมกันหารือ โดยไม่มองประเด็นด้านการ เติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว ควรมอง ประเด็นปัญหาความมั่นคงและสังคมจิตวิทยา ที่จะเกิดตามมาควบคู่กันไปด้วย หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
19
ราชอาณาจักรกัมพูชากับการรักษาดุลยภาพ กับสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหรัฐอเมริกา ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ก
ารแข่ ง ขั น เพื่ อ ขยายอิ ท ธิ พ ลของ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และสหรัฐ อเมริ ก าในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เฉี ย งใต้ ท� า ให้ ร าชอาณาจั ก รกั ม พู ช าเป็ น ประเทศหนึง่ ทีใ่ ช้โอกาสนีใ้ นการรักษาดุลยภาพ ระหว่างมหาอ�านาจทั้งสองให้เข้ามามีบทบาท ในราชอาณาจักรกัมพูชาทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านความมั่นคง ส่งผลให้ในห้วงเวลาที่ผ่านมา ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช ามี ศั ก ยภาพเพิ่ ม ขึ้ น ใน ทุกๆ ด้าน ด้ า นเศรษฐกิ จ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช ามี อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอยูท่ รี่ อ้ ยละ ๗.๓ ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ และคาดว่าในปี พ.ศ.๒๕๕๖ จะเติบโตในอัตราใกล้เคียงกัน ซึ่งเป็นอัตรา การเจริญเติบโตที่สูง เมื่อเทียบกับแนวโน้ม การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยมีปัจจัย สนั บ สนุ น จากการลงทุ น จากต่ า งประเทศที่ เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ต่างประเทศ ใช้ ร าชอาณาจั ก รกั ม พู ช าเป็ น ฐานการผลิ ต เพือ่ การส่งออก นอกจากนี้ ราชอาณาจักรกัมพูชา ยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่ส�าคัญที่ดึงดูดการ ลงทุนจากต่างประเทศ คือ น�้ามันและก๊าซ ธรรมชาติ ใ นอ่ า วไทย ซึ่ ง ส� า รวจพบตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๔๘ ๒0
ด้านความมั่นคง ราชอาณาจักรกัมพูชามี งบประมาณเพื่อการพัฒนากองทัพในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จ�านวน ๔๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๔.๔๖ จากปี พ.ศ.๒๕๕๕ และมีงบประมาณรายจ่ายส�าหรับกระทรวง กลาโหมอี ก กว่ า ๒๐๐ ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ซึ่งในห้วงที่ผ่านมา รัฐบาลกัมพูชาได้พัฒนา
กองทัพโดยการจัดซื้ออาวุธอย่างต่อเนื่อง และ การส่งมอบครั้งล่าสุดเมื่อ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นรถถัง จ�านวน ๑๐๐ คัน และ ยานล�าเลียงพลหุ้มเกราะติดปืนกล อีก ๔๐ คัน ที่ซื้อจากสาธารณรัฐยูเครน ส�าหรับปัญหาด้าน ความมั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างไทย - ราชอาณาจักรกัมพูชา ทีส่ า� คัญ คือ
ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ปัญหาเรื่องเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเล โดยเฉพาะปั ญ หาพื้ น ที่ อ ้ า งสิ ท ธิ ทั บ ซ้ อ น ทางทะเลระหว่างไทย - ราชอาณาจักรกัมพูชา พื้ น ที่ ป ระมาณ ๒๖,๐๐๐ ตารางกิ โ ลเมตร ในอ่าวไทย ซึง่ เป็นแหล่งน�า้ มันและก๊าซธรรมชาติ ที่ยังไม่สามารถตกลงได้เกี่ยวกับการแบ่งปัน ผลประโยชน์ระหว่าง ๒ ประเทศ ส่งผลให้ โครงการส�ารวจ ขุดเจาะ และน�าน�้ามันและ ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นบริ เ วณดั ง กล่ า วมาใช้ ข อง ราชอาณาจักรกัมพูชาไม่สามารถด�าเนินการ ได้อย่างเต็มที่ ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็น ประเทศที่ลงทุนในราชอาณาจักรกัมพูชามาก ที่สุดถึง ๙,๑๗๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๓๗ - ๒๕๕๕ และยังมอบความช่วยเหลือ ทั้ ง การให้ เ ปล่ าและการให้เงิน กู้ด อกเบี้ยต�่า เพือ่ น�าไปพัฒนาประเทศและกองทัพ ซึง่ ในช่วง ปี พ.ศ.๒๕๓๕ - ๒๕๕๕ สาธารณรัฐประชาชน จีนได้มอบความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักร กัมพูชาแล้ว รวมทั้งสิ้น ๒,๑๐๐ ล้านเหรียญ สหรัฐฯ นอกจากนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ยังมีบทบาทส�าคัญในการปรับปรุงกองทัพของ ราชอาณาจักรกัมพูชามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ภายหลังจากการรวมกองก�าลัง เขมรแดงเข้ามาไว้ในกองทัพแห่งชาติ ทั้งการ พัฒนาก�าลังพลในกองทัพ และสนับสนุนด้าน อาวุธยุทโธปกรณ์ ในลักษณะขายและให้เปล่า หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
การด�าเนินการทีส่ า� คัญ ได้แก่ ๑) ปี พ.ศ.๒๕๔๒ สาธารณรัฐประชาชนจีนขายรถถัง ๒๕๐ คัน ปืนใหญ่ ๒๓๐ กระบอก และรถบรรทุก ๑๐๐ คัน ๒) ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ขายเรือลาดตระเวนทาง ทะเล จ�านวน ๙ ล�า ๓) ปี พ.ศ.๒๕๕๓ มอบ รถจีป๊ รถบรรทุก และรถพยาบาล รวมจ�านวนกว่า ๒๕๐ คัน พร้อมเครื่องแบบทหารอีก ๕๐,๐๐๐ ชุด แบบให้เปล่า และ ๔) ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ได้ มอบเครื่องแบบทหารเพิ่มอีก ๕๐,๐๐๐ ชุด และขายอาวุธที่ทันสมัยให้ เช่น ขีปนาวุธต่อสู้ อากาศยาน จรวดหลายล�ากล้อง และเครื่อง
ยิงจรวดต่อสู้รถถัง เป็นต้น ส�าหรับในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ราชอาณาจักรกัมพูชามีโครงการจัด ซื้อเฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์แบบ Zhi - 9 จากสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น จ� า นวน ๑๒ ล�า เพื่อเสริมสร้างกองทัพ ซึ่งราชอาณาจักร กัมพูชาได้ตอบแทนสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยการสนับสนุนสาธารณรัฐประชาชนจีนใน เวทีการเมืองระหว่างประเทศ ท่าทีที่ส� าคัญ ได้แก่ การสนับสนุนนโยบายจีนเดียว และการ สนับสนุนสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเด็น ความขัดแย้งในทะเลจีนใต้
๒1
ราชอาณาจักรกัมพูชามุ่งหวัง ที่จะรับความช่วยเหลือสาธารณรัฐ ประชาชนจีนเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรกัมพูชาก็ได้พึ่งพิง สหรัฐอเมริกาด้วยเช่นกัน ซึ่งถือเป็น การรักษาดุลยภาพกับมหาอำานาจ ทั้งสองของราชอาณาจักรกัมพูชา ๒๒
ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ สหรั ฐ อเมริ ก า จากการที่ราชอาณาจักรกัมพูชามีนโยบาย สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดส่งออกสินค้าอันดับ ๑ ที่ จ ะพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศให้ เ จริ ญ ของราชอาณาจักรกัมพูชา สินค้าหลักทีส่ ง่ ออก ก้าวหน้านั้นราชอาณาจักรกัมพูชามุ่งหวังที่จะ ได้แก่ เสื้อผ้า สิ่งทอ และรองเท้า ส�าหรับการ รับความช่วยเหลือสาธารณรัฐประชาชนจีน ลงทุนทีส่ า� คัญของสหรัฐอเมริกา คือ การทีก่ ลุม่ เป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรกัมพูชา บริษัท Chevron ได้รับสัมปทานจากรัฐบาล ก็ ไ ด้ พึ่ ง พิ ง สหรั ฐ อเมริ ก าด้ ว ยเช่ น กั น ซึ่ ง ถื อ ราชอาณาจักรกัมพูชา ในการด�าเนินการส�ารวจ เป็นการรักษาดุลยภาพกับมหาอ�านาจทั้งสอง หาแหล่ ง น�้ า มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ในอ่ า ว ของราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า และในปั จ จุ บั น ไทยเฉพาะที่เป็นเขตแดนของราชอาณาจักร ราชอาณาจักรกัมพูชามีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ กัมพูชา ซึ่งได้ด�าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๘ มาโดยต่อเนื่องและให้ความส�าคัญกับการเพิ่ม เป็นต้นมา คาดว่าจะเริ่มสูบขึ้นมาใช้ประโยชน์ ศักยภาพของกองทัพ ซึง่ จะท�าให้ราชอาณาจักร ได้ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกา กั ม พู ช ามี อ� า นาจในการต่ อ รอง ตลอดจน ยั ง ได้ ส ร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท างทหารกั บ ราช มีพฤติกรรมที่แข็งกร้าวในเวทีระหว่างประเทศ อาณาจั ก รกั ม พู ช านั บ ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๔๙ มากขึ้ น ดั ง นั้ น ในขณะที่ ไ ทยยั ง คงมี ค วาม หลังจากได้หยุดให้ความช่วยเหลือนับตั้งแต่ ขั ด แย้ ง กั บ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าเรื่ อ ง การท�ารัฐประหารโดย ฮุน เซน ในปี พ.ศ. เส้นเขตแดน ทั้งปัญหาอ้างสิทธิ์พื้นที่ทับซ้อน ๒๕๔๐ โดยความสัมพันธ์ทางทหารที่ส� าคัญ ทางทะเล และปัญหากรณีปราสาทพระวิหาร เช่น การฝึกทหารกัมพูชาเพื่อเดินทางไปรักษา ไทยจึ ง ควรที่ จ ะเสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ สันติภาพในแอฟริกาในปี พ.ศ.๒๕๔๙ การ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าในทุ ก มิ ติ ใ ห้ ม ากขึ้ น ส่งมอบรถยนต์บรรทุกทหารจ�านวน ๓๑ คัน เพราะในอนาคตหากมี ค วามขั ด แย้ ง เกิ ด ขึ้ น ในปี พ.ศ.๒๕๕๑ และ การฝึก Co - operation ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันจะช่วยลดความ Afloat Readiness and Training (CARAT) รุนแรงของความขัดแย้งมิให้บานปลายจนยาก ร่วมกับราชอาณาจักรกัมพูชาในปี พ.ศ.๒๕๕๕ ต่อการแก้ไขได้ เป็นต้น ซึง่ ราชอาณาจักรกัมพูชามีทา่ ทียอมรับ ความช่ ว ยเหลื อ ของสหรั ฐ อเมริ ก า แม้ ว ่ า ความช่วยเหลือดังกล่าว จะมีเงื่อนไขที่ราช อาณาจักรกัมพูชาจะต้องส่งเสริมธรรมาภิบาล สร้างประชาธิปไตย และเคารพต่อสิทธิมนุษยชน ราชอาณาจักรกัมพูชาก็ยินดียอมรับเงื่อนไข ดังกล่าว เพื่อแลกกับผลประโยชน์จากสหรัฐ อเมริกา ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
กระทรวงกลาโหมกับความคืบหน้า การแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้
ต
พันตรี สมจิตร พวงโต
ามที่ นางสาวยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร นายกรั ฐ มนตรี มี บั ญ ชาให้ รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นผู้ดูแล รั บ ผิ ด ชอบการประชาสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วกั บ การ แก้ ไ ขปั ญ หาความมั่ น คงจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วย ๑๗ กระทรวง และ ๖๖ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ บู ร ณาการ การประชาสั ม พั น ธ์ ทั้ ง นี้ รั ฐ มนตรี ว ่ า การ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
กระทรวงกลาโหมได้ ป ระชุ ม เพื่ อ ก� า หนด แนวทางการด�าเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ในการแก้ปัญหาและได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารแก้ ป ั ญ หาความมั่ น คง จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสนอแนะและ ให้ ค� า ปรึ ก ษาในการก� า หนดนโยบายและ แนวทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ความคืบหน้าต่างๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ
อย่างต่อเนื่อง อันจะเป็นการสร้างความเข้าใจ ที่ ถู ก ต้ อ งและทั น เหตุ ก ารณ์ ผ ่ า นการแถลง ข่ า วทุ ก วั น ศุ ก ร์ ข องสั ป ดาห์ ทั้ ง นี้ ที่ ผ ่ า นมา ได้ มี ก ารแถลงผลการด� า เนิ น งานด้ า นการ ประชาสัมพันธ์ดังนี้ ๑. มีการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ และ วิทยุกระจายเสียงภาษามลายู ซึ่งเป็นภาษา หลักในวิถีชีวิตประจ�าวันของพี่น้องไทยมุสลิม ๒3
แนวทางการดำาเนินการประชาสัมพันธ์ เชิงรุกในการแก้ปัญหาและได้แต่งตั้ง คณะกรรมการประชาสัมพันธ์การ แก้ปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดน ภาคใต้ เพื่อเสนอแนะและให้คำาปรึกษา ในการกำาหนดนโยบายและแนวทาง ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ความคืบหน้าต่างๆ ให้ประชาชนได้ รับทราบอย่างต่อเนื่อง
๒4
สร้ า งความเข้ า ใจในการปฏิ บั ติ ง านในพื้ น ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยศูนย์อ�านวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้รว่ มกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และภาคประชาสังคม ในพื้นที่ ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เริ่มตั้งแต่วันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๖ โดยสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งภาษา มลายูท�าการส่งกระจายเสียง ๒๔ ชั่วโมง และ ออนไลน์สู่นานาประเทศทาง www.sbpac. com ๒. ส่ ง เสริ มบทบาทองค์ ก รศาสนา โดย การจั ด โครงการส่ ง เสริ ม คนดี มี คุ ณ ธรรมไป ประกอบพิ ธี ฮั จ ญ์ ที่ ป ระเทศซาอุ ดิ อ าระเบี ย ซึ่ ง บุ ค คลเหล่ า นี้ จ ะท� า หน้ า ที่ ตั ว แทนศู น ย์ อ�านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน การสร้างความเข้าใจและช่วยเหลือผู้อื่นสร้าง คุณประโยชน์ให้สังคม นอกจากนี้ประชาชน ร้ อ ยละ ๗๐ เห็ น ด้ ว ยกั บ การสื่ อ สารสร้ า ง ความเข้าใจเรื่องการพูดคุยเพื่อสันติภาพ โดย การสื่ อ สารประชาสั ม พั น ธ์ ผ ่ า นผู ้ น� า ศาสนา ยกตัว อย่ า งเช่ น โครงการสั มมนาเชื่ อ มไทย กับองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) โดยใช้ บทบาทของผูน้ า� ศาสนาในการสร้างความเข้าใจ ให้แก่คณะทูตานุทูตและผู้แทนกลุ่มประเทศ OIC เกีย่ วกับชีวติ ความเป็นอยู่ และสิทธิเสรีภาพ ภายใต้กฎหมายไทย สามารถด�ารงความเป็นมุสลิม อย่างเต็มทีใ่ นทุกด้านโดยสมบูรณ์ ในสังคมไทย
๓. ประชาสั มพั น ธ์ กิ จ กรรมที่ป ระชาชน มีส่วนร่วม เพื่อสร้างความเข้าใจ โดยส่งเสริม และกระตุ้นผู้น�าทางความคิดในสังคม และ ประชาชนทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก อาชี พ เปิด พื้ นที่ พู ด คุย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระบวนการสั น ติ ภ าพ ในทุ ก กลุ่มทุกพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อ แสวงหากระบวนการที่น�าไปสู่การคลี่คลาย ความขั ด แย้ ง การช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาฟื ้ น ฟู จิ ต ใจครอบครั ว ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ โดยการ เยี่ยมเยียนครอบครัว ให้ทุนการศึกษา และ สนั บ สนุ น การเดิ น ทางไปประกอบพิ ธี ฮั จ ญ์ เป็นต้น ๔. ประชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการที่ ส ามารถ สร้างพลังมวลชน เช่น โครงการน�าแสงสว่าง ช่วยเหลือชาวบ้านเหมืองบาลู ต�าบลปะแต อ�าเภอยะหา จังหวัดยะลา หลังจากเรียกร้อง มานานกว่าร้อยปี ขณะนี้สามารถยกระดับการ ศึกษาให้เด็กมีแสงสว่างอ่านหนังสือ สร้างความ พอใจให้แก่คนทั้งหมู่บ้าน ส�าหรับด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินของประชาชน ประกอบด้วย ๑. ด้านการข่าว โดยบูรณาการหน่วยงาน ด้านการข่าวในพื้นที่อย่างเป็นเอกภาพมากขึ้น ท�าให้สามารถก�าหนดบุคคลเป้าหมาย เครือข่าย เชื่อมโยง และโครงสร้างขบวนการอย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น น�าไปสู่การปฏิบัติการทาง พันตรี สมจิตร พวงโต
ยุทธการด้วยการติดตามจับกุม ตรวจค้นได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ๒. ด้ า นการรุ ก ทางการเมื อ ง โดยเสริ ม สร้างความเข้าใจกับเป้าหมาย ๓ กลุ่ม ทั้ง ประชาชนในพืน้ ทีแ่ ละนอกพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน ภาคใต้ เจ้าหน้าทีร่ ฐั และองค์กรระหว่างประเทศ ส่งผลให้ประชาชนเข้าใจนโยบายรัฐ และรับรู้ ความจริงใจของเจ้าหน้าที่ ท�าให้สามารถขจัด เงื่อนไขที่ผู้ก่อเหตุความรุนแรง (ผกร.) น�ามาใช้ เป็ น พลั ง ในการต่ อ สู ้ ม ากขึ้ น ท�า ให้ ป ั จ จุ บั น สถานการณ์มีการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น ตามล�าดับ ประชาชนให้ความร่วมมือแจ้งเบาะแส ที่น�าไปสู่การจับกุมได้มากขึ้น ๓. การจั ด การภั ย แทรกซ้ อ น ได้ แ ก่ ยาเสพติด น�้ามันเถื่อน อิทธิพล ซึ่งเกี่ยวพัน เชื่อมโยงกับการก่อเหตุในพื้นที่ ๔. ด้ า นยุ ท ธการ จากเหตุ ผ ลในข้ อ ๑ - ๓ ยั ง ผลให้ ป ั จ จุ บั น คงเหลื อ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ที่ ยั ง ประกาศใช้ ก ฎหมายที่ เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคง กฎอัยการศึกใน พื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓๓ อ�าเภอ พระราชก� า หนดการบริ ห ารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ๓๒ อ�าเภอ และพระราชบัญญัติการ รักษาความมั่นคง ๕ อ�าเภอ
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๒5
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
จรวดน�าวิถีโจมตีเรือแบบ ฮาร์พูน พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
๒๖
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทั พ เรื อ กลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น ประจ�าการด้วยจรวดน�าวิถี เรือ-สู่-เรือ ที่ ทั น สมั ย แบบฮาร์ พู น (RGM-84: Harpoon) พัฒนาขึ้นโดยกองทัพเรือสหรัฐ อเมริกาในห้วงสงครามเย็นเพื่อใช้ต่อต้านกอง เรือรบสหภาพโซเวียตทีต่ ดิ ตัง้ ระบบจรวดน�าวิถี เรื อ -สู ่ - เรื อ รุ ่ น ใหม่ ที่ ทั น สมั ย กองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริ ก าน� า จรวดน� า วิ ถี แ บบฮาร์ พู น ประจ�าการในกองทัพเรือ ติดตั้งกับเรือรบหลัก ในขณะนั้ น คื อ เรื อ ฟรี เ กตชั้ น น็ อ คซ์ (Knox) เรื อ รบล� า แรกประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๑๒ ระวางขับน�้าขนาด ๔,๒๖๐ ตัน ต่อขึ้นจ�านวน ๔๖ ล�า และเรือฟรีเกตชั้นโอลิเวอร์ฮาซาร์ด เพอรี่ (Oliver Hazard Perry) เรือรบล�าแรก ประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๒๐ ระวางขั บ น�้ า ขนาด ๔,๑๐๐ ตัน ต่อขึ้นจ�านวน ๗๑ ล�า เป็น ผลให้จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูนประจ�าการอย่าง รวดเร็วในกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จรวดน�าวิถี แบบฮาร์พูน (RGM-84) ขนาดยาว ๔.๖ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด ๐.๓๔ เมตร ช่วงปีก ๐.๙๑ เมตร น�้าหนัก ๖๙๑ กิโลกรัม หัวรบ หนัก ๒๒๑ กิโลกรัม น�าวิถีด้วยระบบเรดาร์ ขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงแข็ง ความเร็ว ๘๖๔ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง และมีระยะยิงไกลสุด ๑๒๔ กิโลเมตร ปัจจุบันนี้จรวดน� าวิถีแบบฮาร์พูน ได้รับความนิยมในกองทัพเรือที่เป็นพันธมิตร กั บ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า โดยติ ด ตั้ ง กั บ เรือผิวน�้าประเภทเรือคอร์เวต เรือพิฆาต และ เรือลาดตระเวน ได้น�าจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน ไปติดตั้งกับเครื่องบินของกองบินนาวีสหรัฐ อเมริกา ประกอบด้วย เครื่องบินโจมตี เอ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) เครื่องบินขับไล่ โจมตีแบบ เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ต (F/A-18C/D Hornet) เครือ่ งบินปราบเรือด�าน�า้ เอส-3 ไวกิง้ (S-3 Viking) และเครื่องบินลาดตระเวนทาง ทะเลแบบ พี-3ซี โอไรออน (P-3C Orion)
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ปัจจุบันนี้จรวดนำาวิถีแบบฮาร์พูน ได้รับความนิยมในกองทัพเรือที่เป็น พันธมิตรกับประเทศสหรัฐอเมริกา โดยติดตั้งกับเรือผิวนำ้าประเภท เรือคอร์เวต เรือพิฆาต และ เรือลาดตระเวน
พร้ อ มทั้ ง ได้ น� า ไปติ ด ตั้ ง กั บ กองเรื อ ด� า น�้ า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ข องกองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริกา ต่อมาน�าไปติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่ ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาแบบ เอฟ-16 (F-16) เพื่ อ จะช่ ว ยให้ ส ามารถติ ด ตั้ ง กั บ เครื่องบินรบของสหรัฐอเมริกาได้อย่างแพร่ หลายตามความต้องการของประเทศลูกค้า จรวดน�าวิถีโจมตีเรือแบบฮาร์พูน ได้มีการ ผลิตออกมาหลายรุ่น ที่ส�าคัญคือ รุ่นฮาร์พูน (AGM-84D Harpoon) รุ่นฮาร์พูน บล็อก II (RGM-84L Harpoon Block II) หลายประเทศ ท�าการปรับปรุงรุ่นเก่าให้เป็นรุ่นนี้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และฮาร์พูน บล็อก III (Harpoon Block III) อยู่ในระหว่างการพัฒนา ยอดการ ผลิตจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน รวมทุกรุ่นรวม กว่า ๗,๐๐๐ นัด (ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๔๗) จรวดน�าวิถีท�าลายเรือผิวน�้าแบบฮาร์พูน (AGM-84) น� า ออกปฏิ บั ติ ก ารทางทหารที่ ส�าคัญคือ เรือยนต์เร็วโจมตีกองทัพเรืออิหร่าน ท� า การเข้ า โจมตี เ รื อ ยนต์ เ ร็ ว โจมตี ชั้ น โอซ่ า
๒7
จรวดนำาวิถีทำาลายเรือผิวนำ้า แบบฮาร์พูน (AGM-84) นำาออก ปฏิบัติการทางทหารที่สำาคัญคือ เรือยนต์เร็วโจมตีกองทัพเรืออิหร่าน ทำาการเข้าโจมตีเรือยนต์เร็วโจมตี ชั้นโอซ่า (Osa) ของกองทัพเรืออิรัก จมลงจำานวน ๒ ลำา
(Osa) ของกองทัพเรืออิรัก จมลงจ�านวน ๒ ล�า (โดยหนึ่งล�าถูกยิงด้วยจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน) ปฏิบตั กิ ารทางทหารยุทธการโมร์วาริด (Morvarid) เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๓ และ กองบินนาวีสหรัฐอเมริกาส่งเครื่องบินโจมตี แบบ เอ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) จาก เรือบรรทุกเครื่องบิน ยูเอสเอส ยอร์คทาวน์ ได้ เข้าโจมตีเรือตรวจการณ์ของกองทัพเรือลิเบีย
จมลง ๒ ล�า ด้วยจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน รวม ๒ นัด เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๙ กองทั พ เรื อ สิ ง คโปร์ ป ระจ� า การด้ ว ย จรวดน�าวิถีโจมตีเรือผิวน�้า โดยติดตั้งกับเรือ ฟรีเกตชั้นฟอร์มิเดเบิ้ล (Formidable) ระวาง ขับน�้าขนาด ๓,๒๐๐ ตัน เรือรบล�าแรกชื่อ อาร์เอสเอส ฟอมิเดเบิ้ล (RSS Formidable, No.68) ประจ�าการวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.
จรวดน� า วิ ถี แ บบฮาร์ พู น แบบ เรื อ -สู ่ - เรื อ ขณะที่ พุ ่ ง ออกจากท่ อ ยิ ง ทางด้ า นท้ า ยเรื อ ลาดตระเวนชั้ น ไทคอนเดอร์โรก้า (Ticonderoga) กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน ขนาดยาว ๔.๖ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด ๐.๓๔ เมตร ช่วงปีก ๐.๙๑ เมตร น�้าหนัก ๖๙๑ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๒๒๑ กิโลกรัม น�าวิถีด้วยระบบเรดาร์ ขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงแข็ง ความเร็ว ๘๖๔ กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีระยะยิงไกลสุด ๑๒๔ กิโลเมตร (ขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น) ๒8
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
จรวดน�าวิถแี บบฮาร์พนู ขณะพุง่ ออกจากท่อยิงของเรือรบ อาร์เอสเอส สเทรดฟาสท์ (RSS Steadfast) กองทัพ เรือสิงคโปร์ ขณะท�าการฝึกในรหัส ริมแพ็คซ์ 08 (RIMPAC 08)
จรวดน�าวิถี เรือ-สู-่ เรือ แบบฮาร์พนู ชนิดแปดท่อยิง จะติดตั้งอยู่บริเวณด้านท้ายเรือพิฆาตของกองทัพเรือ สหรัฐอเมริกา จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน มีน�้าหนัก ๖๙๑ กิโลกรัม และหัวรบหนัก ๒๒๑ กิโลกรัม สามารถที่จะ ท�าลายเรือรบได้ทุกแบบของยุคปัจจุบัน
เครื่องบินขับไล่โจมตีทางนาวี เอฟ/เอ-18ดี เฮอร์เน็ต กองทัพอากาศมาเลเซีย ฝูงบินที่ ๑๘ ฐานทัพ อากาศบัตเตอร์เวิร์ธ ติดตั้งจรวดน�าวิถีโจมตีเรือผิวน�้า อากาศ-สู่-เรือ แบบฮาร์พูน ติดตั้งที่บริเวณใต้ปีกของ เครื่องบิน
๒๕๕๐ ติดตัง้ จรวดน�าวิถแี บบฮาร์พนู รวมแปด ท่อยิง จ�านวน ๖ ล�า และเรือคอร์เวตชัน้ วิคทอรี่ (Victory) ขนาด ๕๙๕ ตัน เรือรบล�าแรกชือ่ เรือ อาร์เอสเอส วิคทอรี่ (RSS Victory, No.88) ประจ�าการวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๓ ติดตั้งจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน รวมแปดท่อยิง จ�านวน ๖ ล�า กองทัพอากาศสิงคโปร์ (RSAF) ฝูงบิน ๑๒๑ ฐานทัพอากาศชางฮี มีภารกิจ ลาดตระเวนทางทะเล โดยประจ� า การด้ ว ย เครื่องบินแบบฟอร์คเกอร์ เอฟ-50 เอ็มพีเอ (Fokker F-50 MPA) จ�านวน ๙ เครื่อง ได้รับ การปรับปรุงให้สามารถติดตั้งจรวดน�าวิถีโจมตี เรือผิวน�้าแบบฮาร์พูน (AGM-84 Harpoon) กองทั พ อากาศมาเลเซี ย ประจ� า การด้ ว ย เครื่องบินขับไล่โจมตีทางนาวี เอฟ/เอ-18ดี เฮอร์ เ น็ ต ฝู ง บิ น ที่ ๑๘ ฐานทั พ อากาศ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ขนาด ๒,๙๘๕ ตัน เรือรบล�าแรกประจ�าการ ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ ประจ�าการ ๒ ล�า และกองบิน บัตเตอร์เวิรธ์ (Butterworth) จ�านวน ๘ เครือ่ ง ทหารเรื อ ประจ� า การด้ ว ยเครื่ อ งบิ น แบบ เป็นเครื่องบินชนิดสองที่นั่ง ติดตั้งจรวดน�าวิถี เอฟ-27 (F-27 Mk.200 Maritime) ได้รับ ท�าลายเรือผิวน�า้ แบบฮาร์พนู (ได้รบั จรวดน�าวิถี การปรับปรุงให้สามารถติดตั้งจรวดน�าวิถีแบบ แบบฮาร์พูน รุ่น เอจีเอ็ม-84ดี จ�านวน ๒๕ นัด ฮาร์พนู สังกัดฝูงบิน ๑๐๒ กองบิน ๑ กองทัพเรือ ปี พ.ศ.๒๕๔๒) ได้จัดซื้อรุ่นฮาร์พูน บล็อก II ได้ท�าการยิงทดสอบจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน (RGM-84L Harpoon Block II) จ� า นวน จากเครื่ อ งบิ น แบบ เอฟ-27 เมื่ อ วั น ที่ ๒ นัด ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๗ ทีเ่ กาะกวม สหรัฐอเมริกา กองทัพเรือไทยประจ�าการด้วยจรวดน�าวิถี ผลการยิ ง ประสบความส� า เร็ จ กองทั พ เรื อ แบบฮาร์พนู ติดตัง้ บนเรือคอร์เวต ชัน้ รัตนโกสินทร์ ได้ทา� การยิงจรวดน�าวิถฮี าร์พนู จากเรือรบหลวง เรื อ รบล� า แรกประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๓๙ นเรศวร (หมายเลข ๔๒๑) ร่วมกับกองทัพเรือ ระวางขับน�้าขนาด ๙๖๐ ตัน ประจ�าการ ๒ ล�า สิงคโปร์ ท�าการยิงจากเรือรบชือ่ วิคทอรี่ (หมายเลข เรือฟรีเกตชั้นพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (เรือฟรีเกต ๘๘) ไปยั ง เป้ า ทดสอบ (เป็ น เป้ า ขนาดเล็ ก ชั้นน็อคซ์ ซื้อมาจากกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา) ที่ติดตั้งแผ่นสะท้อนเรดาร์) อยู่ห่างออกไป ๓๓ เรื อ รบล� า แรกประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๓๗ กิโลเมตร เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๒ ระวางขับน�้าขนาด ๔,๒๖๐ ตัน ประจ�าการ ท�าการยิงทดสอบบริเวณอ่าวไทย ผลการยิง ๒ ล�า และเรือฟรีเกตชั้นนเรศวร ระวางขับน�้า จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูนประสบความส�าเร็จ ๒9
30
ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
แผ่นดินไหว ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
จ
ากสภาวะสิ่ ง แวดล้ อ มโลกที่ มี ก าร แผ่นดินไหวนั้นอยู่ใกล้ตัวมากกว่าก่อน ดังนั้น เปลี่ยนแปลงมากขึ้น จึงส่งผลกระทบ ศบภ.สป. จึงได้ด�าเนินการสร้างความตระหนัก ต่ อ การเกิ ด ภั ย ธรรมชาติ ที่ มี ค วามถี่ ให้กับก�าลังพล และประสาน นขต.สป. ในการ เพิ่มขึ้นและทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งมีโอกาส เตรี ย มความพร้ อ มทั้ ง ในเรื่ อ งก� า ลั ง พลและ เกิดขึน้ ได้กบั ทุกประเทศทัว่ โลก ส�าหรับประเทศ ยุทโธปกรณ์ โดยการตรวจสอบดูแลอาคาร ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกนั้น ถูกประเมินว่า สถานที่ในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อลดความเสี่ยง มี ค วามเสี่ ย งต่ อ ภั ย พิ บั ติ จ ากธรรมชาติ แ ละ ต่ อ ความเสี ย หายและความสู ญ เสี ย ของทาง มี โ อกาสได้ รั บ ผลกระทบต่ อ ภั ย พิ บั ติ ม าก ราชการ รวมทั้ ง ตรวจสอบความพร้ อ มของ ที่ สุ ด โดยแผ่ น ดิ น ไหวถื อ เป็ น ภั ย ธรรมชาติ ยุทโธปกรณ์เพื่อให้การปฏิบัติการช่วยเหลือ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงทั้งโดย ประชาชนเมื่อเกิดสถานการณ์แผ่นดินไหวเป็น ทางตรงและทางอ้อมแก่ชวี ติ และทรัพย์สนิ ของ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ลดความสูญเสีย ประชาชนมากที่สุดในภูมิภาคนี้ ซึ่งในอดีตเคย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เชื่อกันว่าประเทศไทยมิได้อยู่ในเขตที่มีความ ดังนั้น การเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ เสี่ยงต่อแผ่นดินไหว เนื่องจากต�าแหน่งที่ตั้ง จากแผ่นดินไหวจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็นและส�าคัญ ของประเทศไทยมิได้อยู่ในบริเวณแนวรอยต่อ อย่างมากโดยเฉพาะการบริหารจัดการสาธารณภัย ของเปลื อ กโลก และไม่ มี บั น ทึ ก การเกิ ด ที่มีประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ ตั้งแต่ขั้น แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ทกี่ อ่ ให้เกิดความเสียหาย การเตรียมการ จนกระทั่งขั้นการบูรณะและ ทีร่ นุ แรง ในยุคปัจจุบนั ประชาชนทัว่ ไปเชือ่ กันว่า ฟื้นฟู ซึ่งจะน�าพาให้ประเทศที่ประสบภัยพิบัติ แผ่ น ดิ น ไหวที่ รุ น แรงไม่ น ่ า จะมี โ อกาสที่ จ ะ กลับเข้าสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว และ เกิดขึน้ ในประเทศไทย และไม่ได้ให้ความส�าคัญ ลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งต่อชีวิตและ ต่อการป้องกันและการเตรียมการต่างๆ เพื่อ ทรัพย์สิน โดยในขั้นการเตรียมการและป้องกัน รองรับภัยพิบัติที่จะเกิดจากแผ่นดินไหว นั้น การพัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า จากสถิ ติ แ ผ่ น ดิ น ไหวที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเท่าที่จะท�าได้เป็น ประเทศไทยที่ผ่านมา แม้ว่าจะยังไม่พบความ สิ่ ง ที่ ต ้ อ งเร่ ง ด� า เนิ น การ ประกอบกั บ การ เสียหายอย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันประชาชน ให้ความรู้กับก�าลังพลภายในหน่วยในเรื่องภัย โดยทั่วไปก็สามารถสัมผัสได้ว่าภัยพิบัติจาก พิบัติต่างๆ รวมทั้งการเตรียมเครื่องมือและ
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
31
การเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ จากแผ่นดินไหวจึงเป็นสิ่งที่จำาเป็น และสำาคัญอย่างมากโดยเฉพาะ การบริหารจัดการสาธารณภัยที่มี ประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ ตั้งแต่ ขั้นการเตรียมการ
3๒
ยุทโธปกรณ์ที่จ�าเป็นในการบรรเทาภัยพิบัติให้ มีอย่างเพียงพอและพร้อมใช้งานอยู่เสมอ เพื่อ ลดโอกาสความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งกับ ชีวิตและทรัพย์สินของก�าลังพลและประชาชน ในพื้ น ที่ ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยลดความตื่ น ตระหนก และความสับสนจากการรับข้อมูลข่าวสารของ ก�าลังพล และประชาชนจากสื่อต่างๆ ค�าแนะน�าในการเตรียมตัวและการปฏิบัติ ตนเมื่อเกิดแผ่นดินไหว วิธีการสังเกต แผ่ น ดิ น ไหวเป็ น ปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ ที่ เ กิ ด จากการเคลื่ อ นตั ว โดยฉั บ พลั น ของ เปลื อ กโลก ท� า ให้ เ กิ ด การสั่ น สะเทื อ นของ พื้นดิน หากมีความรุนแรงมากจะก่อให้เกิด ความเสียหายร้ายแรงต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของมนุษย์ แม้ว่าแผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติ ที่ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดเมื่อใด แต่เรา สามารถสังเกตจากสิ่งรอบตัวที่บ่งบอกว่าจะ เกิดแผ่นดินไหว ได้แก่ น�้าในแม่นา�้ มีสขี นุ่ ระดับ น�้าเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของสัตว์ทั้งหลาย เช่น สุนัข เป็ด ไก่ ตื่นตกใจ หนู งู วิ่งออกจากรู ปลากระโดดขึ้นจากผิวน�้า เป็นต้น การเตรียมตัว ๑. ควรเตรียมเครือ่ งอุปโภคบริโภคทีจ่ า� เป็น ไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เช่น ไฟฉายพร้อมถ่าน ยา สามัญ ประจ�า บ้ า น อาหารส�า เร็ จ รู ป น�้า ดื่ ม เสื้อผ้าส�ารอง และเครื่องนอนสนาม เป็นต้น
๒. ตรวจสภาพความปลอดภัยของอาคาร บ้านเรือน และอุปกรณ์เครื่องใช้ขนาดใหญ่ ควรยึ ด ตรึ ง กั บ ฝาบ้ า น หรื อ เสาโครงสร้ า ง สิง่ ของหนักๆ ควรวางไว้ทตี่ า�่ สุด วางโต๊ะ ตู้ หรือ เตียงนอนให้ห่างจากหน้าต่าง ๓. ซั ก ซ้ อ มความพร้ อ มของสมาชิ ก ใน ครอบครัว ก�าหนดวิธปี ฏิบตั เิ มือ่ เกิดแผ่นดินไหว และจุดนัดพบทีป่ ลอดภัยภายนอกบ้าน รวมทัง้ สอนสมาชิ ก ในครอบครั ว ให้ รู ้ จั ก วิ ธี ตั ด ไฟ ปิดวาล์วน�้า และถังแก๊ส ๔. ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ต้องสร้าง อาคารบ้านเรือนให้เป็นไปตามทีก่ ฎหมายก�าหนด ๕. แนะน�าให้สมาชิกทุกคนเรียนรู้วิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ๖. ควรเตรียมไฟฉาย นกหวีด และติดตั้ง เครื่ อ งดั บ เพลิ ง ไว้ ป ระจ� า จุ ด เสี่ ย งในอาคาร บ้านเรือน ๗. ควรจัดหาเครื่องรับวิทยุที่ใช้ถ่านหรือ แบตเตอรี่ ส�าหรับเปิดฟังข่าวสาร ค�าเตือน ค�าแนะน�า การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว ๑. ควบคุมสติอย่าตื่นตระหนก เปิดวิทยุ ติ ด ตามรั บ ฟั ง ค� า เตื อ น ค� า แนะน� า จากทาง ราชการอย่างต่อเนือ่ ง และปฏิบตั ติ ามค�าแนะน�า อย่างเคร่งครัด อย่าวิ่งเข้าออกบ้าน เพราะอาจ ท�าให้ได้รับบาดเจ็บได้ง่าย ๒. ตรวจสอบและปิดวาล์วน�้า ปิดแก๊ส
ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
และยกสะพานไฟส�าหรับตัดกระแสไฟฟ้าและ ตัดตอนการส่งน�้าเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว ๓. ห้ามใช้เทียน ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ก หรือ สิ่งที่ท�าให้เกิดประกายไฟเพราะอาจมีแก๊สรั่ว และท�าให้ติดไฟได้ ๔. มาตรการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ความปลอดภั ย ๓ ข้อ ได้แก่ ๔.๑ เมือ่ เกิดเหตุแผ่นดินไหวให้หมอบ ลงกับพื้น ๔.๒ ใช้ แ ขนปกป้ อ งศี ร ษะและคอ เพื่อป้องกันสิ่งของหล่นใส่ ๔.๓ ยึดเกาะโต๊ะให้แน่นและเคลือ่ นตัว ไปพร้อมโต๊ะ รอจนความสั่นไหวยุติลง แล้วจึง ออกไปสู่จุดที่ปลอดภัย ๕. ส�าหรับผู้ที่อยู่ในบ้าน ให้ยืนหรือหมอบ อยู่ในส่วนที่โครงสร้างแข็งแรงที่สามารถรับ น�้าหนักได้มาก หรือหลบอยู่ใต้โต๊ะหรือเตียง รวมทัง้ ให้อยูห่ า่ งจากบริเวณทีอ่ าจมีวสั ดุหล่นใส่ หลบลงใต้โต๊ะหรือมุมห้องและให้อยู่ห่างจาก ประตู ระเบียง และหน้าต่าง ๖. ส�าหรับผู้ที่อยู่ในอาคารสูง ถ้าอาคาร หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
การปฏิ บั ติ ต นภายหลั ง เหตุ แ ผ่ น ดิ น ไหว สิ้นสุดลง ๑. ควรตรวจสอบตัวเองและคนรอบข้าง ว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ๒. ปฐมพยาบาลขัน้ ต้นผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บก่อน ๓. ควรรีบออกจากอาคารที่เสียหายทันที เพราะหากเกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวตามมา (After Shock) ซึ่งอาจจะสามารถส่งผลให้อาคารพัง ลงมาได้ ๔. ควรใส่รองเท้าหุ้มส้นเสมอ เพื่อป้องกัน เศษแก้ว วัสดุแหลมคมและสิ่งหักพังทิ่มแทง ๕. ตรวจสอบสายไฟ ท่อน�้า ท่อแก๊ส ถ้า แก๊สรั่วให้ปิดวาล์วถังแก๊ส และยกสะพานไฟ มั่นคงแข็งแรงให้หลบอยู่อาคารนั้น แต่ถ้าเป็น เพื่อป้องกันอัคคีภัย อาคารเก่าหรือรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนได้มาก ๖. ควรตรวจสอบแก๊สรั่วด้วยการดมกลิ่น ให้ออกจากอาคารโดยเร็วที่สุด และภายหลัง เท่านั้น ถ้าได้กลิ่นแก๊ส ให้เปิดประตูหน้าต่าง การสั่นสะเทือนสิ้นสุดให้รีบออกจากอาคาร ทุกบานเพื่อระบายอากาศ และอย่าจุดไม้ขีด เมื่ อ มี ก ารสั่ ง การอพยพจากผู ้ ที่ ค วบคุ ม การ หรือก่อไฟ จนกว่าจะแน่ใจว่าไม่มีแก๊สรั่ว แจ้ ง เตื อ นภั ย ข้ อ ควรระวั ง อย่ า ใช้ ลิ ฟ ท์ โ ดย ๗. เปิดวิทยุติดตามฟังสถานการณ์และ เด็ดขาดและอย่าแย่งกันออกจากอาคารจนเกิด ค� า แนะน� า ฉุ ก เฉิ น รวมทั้ ง ห้ า มใช้ โ ทรศั พ ท์ การชุลมุน ในกรณีที่อยู่ไกลจากทางออกมาก นอกจากในกรณีที่จ�าเป็นจริง ๆ หรือหาทางออกไม่พบให้ปฏิบัติตามมาตรการ ๘. ห้ามเข้าไปในเขตพื้นที่ที่มีความเสี่ยง ปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ๓ ข้อ คือ “หมอบ” หรือมีอาคารพัง “ป้อง” “เกาะ” จนกว่าจะมีผู้เข้าไปช่วยเหลือ ๙. อย่ า สร้ า งข่ า วลื อ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การตื่ น ๗. ส�าหรับผู้ที่อยู่ในที่โล่ง ส�าหรับผู้อยู่ใน ตระหนก ที่โล่งแจ้งให้อยู่ห่างจากอาคาร ก�าแพง ป้าย หมายเหตุ หากประสบเหตุติดต่อขอรับ โฆษณาขนาดใหญ่ ต้ น ไม้ ข นาดใหญ่ และ ความช่ วยเหลือได้ที่สายด่วนนิรภัย ๑๗๘๔ เสาไฟฟ้า ๘. ส�าหรับผู้ที่ก�าลังขับรถอยู่หรืออยู่ในรถ หรื อ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารกระทรวงกลาโหม ให้หยุด และหาที่จอดในที่ปลอดภัย จนกระทั่ง ๐ ๒๖๒๒ ๑๙๗๒ การสั่นสะเทือนสิ้นสุดลง ๙. ส�าหรับผู้ที่อยู่บริเวณชายหาด ให้อยู่ ห่างจากชายฝั่ง หรือหลบขึ้นที่สูง เพราะอาจ เกิดคลื่นสึนามิซัดเข้าหาฝั่งได้ 33
ทางออก ของประชาธิปไตย ในประเทศไทย จุฬาพิช มณีวงศ์
34
จุฬาพิช มณีวงศ์
แ
ม้ประเทศไทยจะปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย หรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาอย่างยาวนานจนถึงปี พ.ศ.๒๔๗๕ จึ ง มาเป็ น ระบอบประชาธิ ป ไตย แต่ ก็ เ ป็ น ลักษณะการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ที่ ย ากจะเปรี ย บกั บ ประเทศใดในโลก เป็ น ประชาธิปไตย ภายใต้สถาบันพระมหากษัตริย์ ที่มีรูปแบบเฉพาะ ซึ่งก็ยากอีกที่จะตอบว่าเป็น สิง่ ทีค่ นในประเทศนีต้ อ้ งการจริงหรือไม่เช่นกัน หากศึกษาประวัติศาสตร์จะพบว่า การปู พื้ น ฐานเพื่ อ ให้ ป ระชาชนคนไทยคุ ้ น เคยกั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยน่ า จะเริ่ ม มาตั้ ง แต่ ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซี่งเป็นช่วงเวลาการปฏิรูปประเทศ ในทุกด้าน แสดงให้เห็นถึงน�้าพระราชหฤทัย อั น กว้ า งขวางของพระองค์ ที่ ท รงมี พ ระราช ประสงค์ที่ต้องการจะพัฒนาบ้านเมือง ตลอด รัชกาลของพระองค์ต้องทรงต่อสู้กับขุนนาง ชั้นผู้ใหญ่ที่มีบทบาทส�าคัญ และกุมอ�านาจจน มิอยากจะให้มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึ ง เป็ น ช่ ว งแห่ ง หั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ อี ก วาระหนึ่ ง ของการเปลี่ยนผ่านที่ส�าคัญยิ่ง การถ่วงดุลของ อ�านาจในห้วงเวลานั้นเป็นพระปรีชาสามารถ ของสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ค� า นึ ง ถึ ง แต่ ประโยชน์สุขของอาณาประชาราษฎร์เป็นที่ตั้ง โดยเห็นได้อย่างชัดเจนที่สุดจากพระราชด�าริ และกุศโลบายในการประกาศเลิกทาส การเลิกทาสนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะ ส�าหรับประเทศไทยที่ไม่ต้องเสียเลือด เสียเนื้อ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเป็ น ไทในตั ว เองหรื อ ให้ ไ ด้ ความเป็นมนุษย์ที่มีศักดิ์ศรีกลับคืนมา เพราะ ผู้เป็นทาสเองย่อมเคยชินกับการมีนายคอย ชี้นิ้วให้ท� าในสิ่งต่างๆ โดยตนเองไม่ต้องคิด อะไร แม้แต่จะคิดท�ามาหากิน ขณะที่นายก็ มีข้าทาสบริวารเป็นเครื่องแสดงอ�านาจบารมี ของตั ว เอง การประกาศเลิ ก ทาสจึ ง เท่ า กั บ เปิดโลกแห่งเสรีภาพทางความคิด และการ กระท�า ลดความเหลื่อมล�้าทางชนชั้น ซึ่งต้อง ใช้เวลาไม่น้อยที่จะท�าให้ทั้งนายและบ่าวรับ สภาพที่เปลี่ยนแปลงได้ การประกาศเลิกทาส จึ ง เป็ น ขั้ น ตอนแรกที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแสดงถึงพระราช ประสงค์ที่จะเห็นราษฎรมีเสรีีภาพปราศจาก การถูกครอบง�าโดยชนชั้นสูงต่อไป ครัน้ ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ ท รงจั ด ตั้ ง ดุ สิ ต ธานี เ ป็ น เมื อ ง จ�าลองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทรงให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นผ่าน หนังสือพิมพ์ และพระองค์เองก็ทรงร่วมแสดง ทัศนะต่อบ้านเมืองอย่างสม�่าเสมอ แม้จะมี ผู ้ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ พ ระองค์ ด ้ ว ยเหตุ ผ ลก็ ท รง รับฟัง มีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทาน หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
รัฐธรรมนูญมาตั้งแต่ในรัชสมัยของพระองค์ แล้ว แต่ก็ล่วงมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การชั่ ง น�้ า หนั ก ระหว่ า งการเปลี่ ย นแปลง การปกครองกับการสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ ป ระชาชนคนไทยเข้ า ใจถึ ง ความเป็ น ประชาธิปไตยเป็นความสมดุลที่ไม่ง่าย และ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ก็ มา ทรงเสียพระราชหฤทัยเมื่อภายหลัง เมื่อคณะ ราษฎรท�าการปฏิวัติรัฐประหารเปลี่ยนแปลง การปกครองในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ด้วยพระองค์มพี ระราชหฤทัยทีจ่ ะพระราชทาน รัฐธรรมนูญให้แก่ประชาชน แต่ไม่ทันการณ์ เสียแล้ว เพราะมีผู้กราบบังคมทูลว่าคนไทย ยั ง ไม่ พ ร้ อ มต่ อ รู ป แบบการปกครองใหม่ นี้ จึ ง มิ ไ ด้ ตั ด สิ น พระทั ย คื น อ� า นาจสู ่ ร าษฎร มีงานวิชาการบางชิ้นระบุว่าประชาธิปไตยเป็น อุดมคติทางสังคมที่ส�าคัญของมนุษย์ อุดมคตินี้ มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย กรี ก โบราณแล้ ว ก็ เ สื่ อ มไป มาเจริญอีกครั้งหนึ่งในประเทศอังกฤษ โดย นักปรัชญาชือ่ จอห์น ล็อค จากนัน้ จึงมีการแก้ไข และพัฒนาต่อๆ กันมาโดยล� าดับ เนื่องจาก ค�าว่าประชาธิปไตยมีความหมายกว้างขวางมาก จึ ง ขึ้ น อยู ่ กั บ มุ ม มองของแต่ ล ะคน เกิ ด การ โต้แย้งเกี่ยวกับความหมายของค�านี้ว่าควรจะ มีลักษณะเช่นไร จึงจะเรียกว่าประชาธิปไตย นักวิชาการกลุม่ ทีเ่ รียกกันว่า นักประชาธิปไตย แบบกระบวนการ (Process democrats) ถือว่าทฤษฎีหรือปรัชญาเกีย่ วกับประชาธิปไตย ไม่ มี ประชาธิ ป ไตยเป็ น เพี ย งการตกลงกั น ของพลเมื อ งว่ า เสี ย งข้ า งมากเป็ น เรื่ อ งที่ ทุกคนจะท�าตาม และในการปกครอง ฝ่าย หนึ่ ง จะไม่ เ ข้ า ไปก้ า วก่ า ยฝ่ า ยอื่ น ๆ ขณะที่ นักประชาธิปไตยแบบหลักการ (Principlc democrats) ถื อ ว่ า แม้ ก ระบวนการของ ประชาธิปไตยจะส�าคัญ แต่ก็ส�าคัญน้อยกว่า เจตนารมณ์ หรือจุดมุง่ หมายของประชาธิปไตย คนกลุ่มนี้มีความคิดหลักว่าปัจเจกชนส�าคัญ กว่าสังคม ปัจเจกชนแต่ละคนเท่าเทียมกัน และมีสิทธิอันละเมิดมิได้บางอย่าง เช่น สิทธิ ในอิสรภาพ พวกเขาจึงมีความคิดว่า การออก กฎหมายละเมิดอิสรภาพของปัจเจกชนไม่ได้ เป็นต้น นักคิดกลุ่มนี้ ใช้ทฤษฎีประชาธิปไตย เป็นตัวน�า แบ่งเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. ประชาธิปไตยแบบคุม้ ครอง (Protective Democracy) เชื่ อ ว่ า คนทุ ก คนมี ธ รรมชาติ แสวงหาความพึ ง พอใจมากที่ สุ ด อย่ า งไม่ มี ขีดจ�ากัด ด้วยเหตุนี้โดยธรรมชาติ สังคมจึงเป็น ที่ ร วมของปั จ เจกชนซึ่ ง แสวงหาอ� า นาจจาก ผู้อื่นอย่างไม่หยุดหย่อน การที่จะไม่ให้สังคม แตกออกเป็นเสี่ยงๆ จึงจ�าเป็นต้องมีกฎหมาย ทั้ ง แพ่ ง และอาญา กฎหมายที่ ดี ที่ สุ ด ได้ แ ก่ กฎหมายที่ก�าหนดสิทธิและหน้าที่ ซึ่งจะท�าให้
การเลิกทาสนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย โดยเฉพาะ สำาหรับประเทศไทยที่ไม่ต้องเสียเลือด เสียเนื้อ เพื่อให้ได้ความเป็นไท ในตัวเองหรือให้ได้ความเป็นมนุษย์ ที่มีศักดิ์ศรีกลับคืนมา เพราะผู้เป็น ทาสเองย่อมเคยชินกับการมีนาย คอยชี้นิ้วให้ทำาในสิ่งต่างๆ โดยตนเอง ไม่ตอ้ งคิดอะไร แม้แต่จะคิดทำามาหากิน
เกิดความสุขมากที่สุดแก่คนจ�านวนมากที่สุด ครอบคลุม ๔ ประการ คือ การยังชีพ ความ สมบูรณ์พนู สุข ความเสมอภาคและความมัน่ คง ๒. ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ บ บ พั ฒ น า ก า ร (Developmental Democracy) มีความคิดเห็น ที่แตกขั้วของนักคิด ๒ คน คือ เบนแธมกับ มิ ล ล์ อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด โดยเบนแธมยอมรั บ ว่าการแข่งขันกันทางการผลิต และความไม่ เท่าเทียมกันเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อทุก คนต้องการกดขีก่ นั ก็ไม่ใช่หน้าทีข่ องสังคมทีจ่ ะ ขจัดการกดขีร่ ะหว่างประชาชนด้วยกัน หากแต่ มีหน้าทีป่ อ้ งกันรัฐบาลมิให้กดขีป่ ระชาชนเท่านัน้ ก็ พ อ หากมิ ล ล์ คิ ด ว่ า หน้ า ที่ ข องสั ง คมมิ ใ ช่ เพียงเพื่อคุ้มครองประชาชนจากการกดขี่ของ รัฐบาลเท่านัน้ แต่ตอ้ งรักษาโอกาสให้ประชาชน ได้พัฒนาตนเองได้ มิลล์ถือว่าประชาธิปไตย มีจุดหมายทางศีลธรรม การพัฒนาตัวบุคคล อย่างกลมกลืนกับการพัฒนาของสังคมส่วนรวม เป็นการพัฒนาที่ดีที่สุด ๓. ประชาธิปไตยแบบสมดุล (Eguillbriam Democracy) มีหลักส�าคัญ ๓ ประการ คือ เป็น พหุนยิ ม คือสังคมประกอบด้วยปัจเจกชนซึง่ จะ ถูกดึงเข้าไปในทิศทางต่างๆ ตามความสนใจ เป็ น ระบบเลื อ กสรร คื อ บทบาทส่ ว นใหญ่ ในกระบวนการทางการเมืองตกอยูแ่ ต่กลุม่ ผูน้ �า
35
ที่ได้รับการเลือกสรรเป็นระบบสมดุล คือถือว่า กระบวนการประชาธิปไตยเป็นกระบวนการ รักษาสมดุลระหว่าง อุปสงค์ อุปทาน ในเรื่อง ของความดีทางการเมือง ๔. ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ บ บ มี ส ่ ว น ร ่ ว ม (Participatory Democracy) เป็นแนวคิด ที่ เ ริ่ ม จากการเคลื่ อ นไหวของนั ก ศึ ก ษาฝ่ า ย ซ้ายใหม่ในปี ค.ศ.๑๙๖๐ และแผ่เข้าไปในหมู่ ผู้ใช้แรงงาน เป็นประชาธิปไตยที่เน้นส� านึก ต่อประชาคมมากกว่าแบบอื่นๆ และเป็นความ คิดที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ยังไม่มีการ ปฏิบัติอย่างแท้จริงทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และในประเทศก�าลังพัฒนา โดยมีขอ้ เสนอแนะ ว่ า หนทางที่ จ ะพั ฒ นาไปสู ่ ป ระชาธิ ป ไตย แบบพลเมืองมีส่วนร่วม จะต้องประกอบด้วย การเปลี่ยนส�านึกของประชาชนจากการเป็น เพียงผู้บริโภคมาเป็นนักแสดงตน และพัฒนา ตนเองต้องท�าโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และ ต้องสัมพันธ์กับประชาคมในบางลักษณะเสมอ และต้องลดความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจให้ มากที่สุด เพราะความไม่เท่าเทียมกันนั้นเอง เป็นที่มาของระบบพรรคการเมือง และระบบ พรรคการเมืองท�าให้พลเมืองเข้าร่วมตัดสิน ปัญหาโดยตรงไม่ได้ ทุกวันนี้ประเทศที่มีการปกครองในระบอบ ที่ เ รี ย กตั ว เองว่ า เป็ น ประชาธิ ป ไตยมิ ไ ด้ มี รูปแบบใดรูปแบบเดียวตายตัว แต่หลักการ 3๖
และหัวใจส�าคัญไม่ต่างกัน ได้แก่ ระบบการ ปกครองที่มีลักษณะประชาชนปกครองตนเอง โดยมี ก ระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ เ ป็ น แก่ น ของ ประชาธิปไตย ซึ่งประชาชนต้องเป็นผู้ควบคุม กระบวนการ ส� า หรั บ ประเทศไทยใช้ ร ะบบ รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ตามแบบประเทศ อังกฤษ ระบบการปกครองแบบรัฐสภา และคณะ รั ฐ มนตรี ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในประเทศอั ง กฤษนี้
เป็ น ระบบที่ แ ยกต� า แหน่ ง ประมุ ข ของรั ฐ กั บ หัวหน้ารัฐบาลออกจากกัน หัวหน้ารัฐบาลคือ นายกรั ฐมนตรี ประมุ ข คื อ พระมหากษัตริย์ ซึ่ ง ไม่ มี อ� า นาจมากอย่ า งประธานาธิ บ ดี ข อง สหรัฐอเมริกา อาจมีอ�านาจบ้างเล็กน้อย เช่น ยุบสภา และให้เลือกตั้งใหม่ แต่งตั้งรัฐมนตรี ออกพระบรมราชโองการหรือประกาศพระบรม ราชโองการ แต่อ�านาจเหล่านี้มักใช้เมื่อนายก รัฐมนตรีขอ ส่วนใหญ่ประมุขของรัฐท�าหน้าที่
จุฬาพิช มณีวงศ์
เป็นสัญลักษณ์ของประเทศเสียมากกว่า เป็นระบบการปกครองที่ดีที่สุดเท่าที่จะคิดได้ อ�านาจทางการเมืองในระบบนีจ้ งึ อยูท่ รี่ ฐั สภา แต่ ก ลั บ มี ผู ้ วิ จ ารณ์ ก ารปกครองระบอบนี้ การทีถ่ อื ว่าอ�านาจนิตบิ ญ ั ญัตเิ ป็นอ�านาจส�าคัญ ไว้อย่างน่าสนใจใน ๓ ประเด็น คือ ที่ สุ ด ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย ประเด็นแรก ประชาธิปไตยเป็นอุดมคติ เพราะเป็นกระบวนการที่ประชาชนเป็นผู้วาง เกินไป เพราะมีหลักการบางอย่างทีเ่ ป็นไปไม่ได้ นโยบาย และปกครองตนเอง อ�านาจบริหาร เช่น ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ การปกครอง และตุ ล าการแม้ ส� า คั ญ แต่ ก็ เ ป็ น การท� า ตาม ตนเองของมนุ ษ ย์ เ หล่ า นี้ เ ป็ น เพี ย งความฝั น กฎหมายเท่ า นั้ น ปั ญ หาของระบบแบบนี้ เท่านั้น ตามความเป็นจริงแล้วคนที่ขาดความรู้ คื อ ความไม่ มั่ น คงจึ ง มั ก มีก ารเปลี่ยนรัฐ บาล ย่อมไม่สามารถปกครองหรือเข้าใจระบบการ บ่ อ ยๆ เพราะเมื่ อ รั ฐ สภาไม่ ไ ว้ ว างใจก็ ต ้ อ ง ปกครองอันซับซ้อนได้ คนที่มีความรู้ต่างหาก เปลี่ยนรัฐบาลหรือยุบสภาและเลือกตั้งใหม่ ที่เป็นผู้ปกครองที่แท้จริง ตั้งรัฐบาลใหม่ และปัญหาความไม่มั่นคงจะ ประเด็ น ที่ ส อง คนส่ ว นใหญ่ มี ส ติ ป ั ญ ญา ยิ่งมากขึ้นเมื่อไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียง ปานกลางเท่านัน้ การปกครองโดยคนส่วนใหญ่ ข้ า งมาก ความแตกแยกในการแสดงความ จะท�าให้เกิดการตัดสินอย่างมีอคติ เพราะสติ คิ ด เห็ น มั ก จะเกิ ด ขึ้ น ในคณะรั ฐ บาลผสม ปัญญาน้อย ไม่ยอมรับสิ่งใหม่ๆ คนที่สูงส่งกว่า เป็นเหตุให้การล้มรัฐบาลเป็นไปได้โดยง่าย จะเดือดร้อน เพราะถูกดึงให้ลงมาอยู่ในระดับ หั ว ใจส� า คั ญ ของการปกครองระบอบ ต�่ากว่าที่เป็นอยู่ ประชาธิ ป ไตยจึ ง อยู ่ ที่ ก ารเลื อ กตั้ ง เพราะ ประเด็นที่สาม ประชาธิปไตยเป็นระบบ ท� า ให้ ป ระชาชนสามารถแสดงเจตจ� า นง การปกครองที่ เ ชื่ อ งช้ า และไร้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเลือกผู้น�าของตนได้ด้วยกระบวนการนี้ เพราะกลไกในการตัดสินปัญหามีหลายขัน้ ตอน ผู้แทนราษฎรเป็นหัวใจส�าคัญของการปกครอง ไม่ ทั น การต่ อ สั ง คมที่ ทุ ก อย่ า งเปลี่ ย นแปลง แบบประชาธิ ป ไตย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น แต่ ล ะสั ง คม รวดเร็ ว เช่ น ในปั จ จุ บั น สั ง คมที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย มีการเลือกผู้แทนราษฎรแตกต่างกันไป แต่ เทคโนโลยี เ ช่ น นี้ ไ ม่ เ หมาะจะใช้ ค นเดิ น ดิ น โดยทั่วไปอาศัยจ� านวนประชากรเป็นเกณฑ์ สามัญมาตัดสินหรือวางนโยบาย ถื อ ว่ า ประชากรทุ ก คนมี สิ ท ธิ เ ท่ า เที ย มกั น จึงไม่ต้องประหลาดใจถ้า ๘๑ ปี ของการมี ในการเลือกตั้งเพื่อให้ได้ผู้แทนของตน ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาของประเทศไทย อัน อย่างไรก็ตามประชาธิปไตย ซึง่ มีผยู้ กย่องว่า น�าต้นแบบมาจากหรือพูดอีกนัยว่า ลอกมาจาก หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ทุกวันนี้ประเทศที่มีการปกครอง ในระบอบที่เรียกตัวเองว่าเป็น ประชาธิปไตยมิได้มีรูปแบบใด รูปแบบเดียวตายตัว แต่หลักการ และหัวใจสำาคัญไม่ต่างกัน ได้แก่ ระบบการปกครองที่มีลักษณะ ประชาชนปกครองตนเอง
ประเทศอังกฤษด้วยลักษณะทางประวัตศิ าสตร์ ที่ มี ค วามละม้ า ยคล้ า ยคลึ ง กั น จะประสบ ความยากล� า บากและไม่ เ คยก้ า วข้ า มผ่ า น ความเป็นประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง นับจาก ที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นต้น มาในปี พ.ศ.๒๔๗๕ ที่ท� าให้ประชาธิปไตย ของประเทศถู ก ท� า ลาย แท้ จ ริ ง คื อ ผู ้ ที่ ก ลั ว การสูญเสียอ�านาจที่ตนเคยพึงมีพึงได้ และไม่มี ความยินดีที่ประชาชนจะปกครองตนเองด้วย ความภาคภูมิใจ 37
Operation Thunderbolt : Nethanyahu ปฎิบตั กิ ารสายฟ้าแลบที่ Entebbe Writer : John T.Correl,Editor Chief of Air Force Magazine From : Air Force Magazine,December 2010 ผู้เรียบเรียง : นาวาเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
“
โชคชะตาของเหล่าตัวประกัน คือการ มาถึงของ C-130 ที่ก�าลังลดระดับ ในยามวิกาล ผ่านม่านเมฆที่มืดครึ้ม ด้วยการปิดไฟเดินอากาศทั้งหมด” เช้าตรู่วันอาทิตย์ที่ ๒๗ มิ.ย.๑๙๗๖ Airbus 300 ของ Air France เทีย่ วบินที่ ๑๓๙ เดินทาง ออกจากกรุง Tel Aviv จุดหมายปลายทางคือ กรุง Paris โดยต้องแวะลงจอดที่กรุง Athens ก่อนส�าหรับผู้โดยสารต่อระยะ ซึ่งสนามบิน Athens นี้ขึ้นชื่อว่าหย่อนยานมากในเรื่องการ รักษาความปลอดภัย ในเวลาการเปลี่ยนถ่าย ผู้โดยสารที่ต่อระยะขึ้นเครื่อง Airbus 300 นั้น ไม่มี จนท.ประจ�าที่จุดตรวจโลหะ และแย่ยิ่ง กว่านั้น จนท.ประจ�าจอ Monitor Display เครื่อง X-ray เองก็ไม่ได้ใส่ใจที่จะดูสิ่งผิดปกติ ต่างๆ เลยแม้แต่น้อย ความยุง่ ยากใจก�าลังจะเกิดขึน้ เมือ่ ผูโ้ ดยสาร ต่อระยะจาก Bahrain จ�านวนสี่คนเป็นหญิง ชายชาวเยอรมันสองคนและที่เหลือเป็นชาย ชาวปาเลสไตน์ ผ่ า นการตรวจของ จนท. รักษาความปลอดภัยขึ้นไปบนเครื่อง Airbus 38
300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ อย่าง ง่ายดาย พร้อมกับอาวุธปืนและลูกระเบิดมือ ทุกอย่างดูเหมือนปกติ Airbus 300 วิ่งขึ้นจาก สนามบิน Athens เวลา ๑๒.๒๐ p.m. ทุ ก อย่ า งเป็ น ตามแผนขั้ น แรกของกลุ ่ ม ผู้ก่อการร้ายสากล เพียงแค่เจ็ดนาทีหลังจาก เครื่องวิ่งขึ้น ผู้ก่อการร้ายสามคนเข้าควบคุม ห้องโดยสารและประกาศว่าเป็นปฏิบัติการ ในนามของกระบวนการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (The Popular for the Liberation of Palestine) ส่วนชายชาวเยอรมันบุกเข้าห้อง บังคับการบิน ใช้อาวุธปืนขู่ Capt.Michel Bacos ให้เปลี่ยนทิศทางบินมุ่งลงใต้ การขาดการติดต่อสื่อสารและเปลี่ยนเส้น ทางบิน ถูกเฝ้าระวังและติดตามจากอิสราเอล อย่างใกล้ชิดเนื่องจากผู้โดยสารส่วนใหญ่เป็น ชาวอิสราเอล Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบิน ที่ ๑๓๙ ถู ก ยกระดั บเป็ น เที่ ย วบิ น พิ เ ศษทั น ที มั น ไปลงจอดเพื่ อ เติ ม น�้ า มั น ที่ สนามบิน Benghazi ในลิเบียถิ่นของ พ.อ. กัดดาฟี่ ผู้น�าลิเบียที่เป็นอริมาแต่ชาติปางก่อน
ของอิส ราเอล มัน วิ่ง ขึ้น อี กครั้ง เวลา ๙.๕๐ p.m. โดยไม่รู้ว่ามีผู้โดยสารหญิงชาวอิสราเอล ที่ปลอมตัวเป็น จนท.แพทย์ฉุกเฉิน หลบหนี ออกมาได้ และต่อมาเธอคือผูใ้ ห้ขอ้ มูลอันส�าคัญ เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการทางทหารของ อิสราเอลเกี่ยวกับการปฏิบัติการของผู้ก่อการ ร้ายกลุ่มนี้ Airbus 300 เดินทางไปลงสนามบินปลาย ทางที่ไม่ได้อยู่ในแผนการบินปกติที่สนามบิน Entebbe ประเทศ Uganda ในวันจันทร์ เวลา ๓.๑๕ a.m. คนบนเครือ่ งทัง้ หมดเมือ่ แยก พวกชัดเจนแล้วประกอบด้วย ลูกเรือ ๑๒ คน ผู้โดยสาร ๒๔๓ คน และผู้ก่อการร้ายอีก ๔ คน ที่สนามบิน Entebbe นี้มีกลุ่มก่อการร้ายแนว หน้าจากกรุง Mogadishu ประเทศ Somalia พร้อม AK-47 ครบมือจ�านวนไม่นอ้ ยกว่า ๖ คน แห่แหนเข้าร่วมสมทบอีก ประมาณเวลาเทีย่ งของวันเดียวกัน ผูโ้ ดยสาร ที่ ถู ก เปลี่ ย นนามเรี ย กขานเป็ น ตั ว ประกั น ถูกย้ายไปควบคุมตัวที่อาคารผู้โดยสารหลังเก่า ทีถ่ กู ทิง้ ร้างไม่ได้ใช้งานมานาน ทหารยูกนั ดาใช้ นาวาเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ปืนจ่อเพื่อควบคุมตัวประกันตลอดเหตุการณ์ ที่ นี่ และนั่ น คื อ การบ่ ง บอกอย่ า งชั ด เจนว่ า ยูกนั ดาไม่เพียงแต่ให้การสนับสนุนเท่านัน้ ยังมี ส่วนร่วมกับการปฏิบตั กิ ารของกลุม่ ก่อการร้าย สากลในครั้งนี้ด้วย การควบคุ ม ตั ว ประกั น ได้ ล ่ ว งเลยมาถึ ง วันอังคารที่ ๒๙ มิ.ย. เวลา ๓.๓๐ p.m. จึงได้ มีประกาศของกลุม่ ก่อการร้ายผ่านวิทยุยกู นั ดา เรียกร้องให้ปล่อยสมาชิกผู้ก่อการร้ายทั้งหมด ๕๓ คน ที่ถูกควบคุมตัวในอิสราเอล ๔๐ คน และที่ เ หลื อ กระจั ด กระจายอยู ่ ใ น West German, Kenya, France และ Switzerland ภายในวันพฤหัสบดีที่ ๑ ก.ค. เวลา ๒.๐๐ p.m. ของอิสราเอล เพื่อแลกกับชีวิตของตัวประกัน ทั้งหมด อิสราเอลเคยเผชิญหน้ากับการก่อการร้าย ลักษณะนี้มาแล้ว โดยมีนโยบายปฏิบัติการ โต้ตอบทุกวิถที างทันทีเพือ่ ช่วยเหลือตัวประกัน มากกว่าที่จะแลกเปลี่ยนตัวประกันกับกลุ่ม ผู้ก่อการร้ายตัวพ่อที่ยากในการจับกุม อย่างไร ก็ตามการแลกเปลี่ยนโดยการยอมปฏิบัติตาม ข้ อ เรี ย กร้ องก็ เ คยเกิ ดขึ้น มาแล้ว อย่างเช่น เหตุการณ์จี้เครื่องบินของสายการบิน EI AI ในปี ๑๙๖๘ ที่ต้องยอมปล่อยผู้ก่อการร้ายถึง ๑๕ คนเพื่อแลกกับตัวประกันทั้งหมด และ อีกเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นกับสายการบิน TWA ใน Damasgus ที่ต้องปล่อยผู้ก่อการร้ายถึง ๕๐ คนเพื่อแลกกับตัวประกันชาวอิสราเอลที่ แม้ว่าจะมีเพียง ๒ คนแต่ก็มีค่าส�าหรับความ เป็นอิสราเอล ผลของการเจรจาต่อรองที่ผ่านมา ก็ไม่ได้ เป็นไปตามข้อเรียกร้องเสมอไป ในปี ๑๙๗๒ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ Hijack ขึ้ น กั บ สายการบิ น Sabena คราวนีล้ บเหลีย่ มถึงในบ้านทีส่ นามบิน Telaviv โดยเรียกร้องให้ปล่อยนักรบเพื่อการ ปลดปล่อยแห่ง Fedayeen จ�านวนมากถึง ๓๑๗ คน ภายใต้การปฏิบัติการอันรวดเร็ว แค่ ๙๐ วิ น าที ทหารอิ ส ราเอลที่ ป ลอมตั ว เป็นช่างเครื่อง สังหารผู้ก่อการร้ายไป ๒ คน อี ก ๑ คนบาดเจ็ บ สาหั ส ผู ้ โ ดยสารที่ เ ป็ น ตัวประกันทั้งหมด ๑๐๑ คนปลอดภัย มีเพียง คนเดียวเท่านั้นที่เสียชีวิตเนื่องจากตื่นตกใจใน เหตุการณ์โดยโดดหนีลงจากเครื่อง ซึ่งทหาร เข้าใจผิดนึกว่าเป็นผู้ก่อการร้ายจึงได้สังหารไป ข้ อ เรี ย กร้ อ งของกลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยที่ Entebbe นี้ สร้ า งความกดดั น แก่ ครม. อิ ส ราเอล เป็ น อย่ า งมาก โดยเฉพาะจาก ครอบครัวของตัวประกันทีต่ อ้ งการให้อสิ ราเอล ยอมตามข้อเรียกร้องโดยทันที ตัวประกันถูกคุมขังในอาคารที่ทรุดโทรม มีสภาพความเป็นอยู่เลวร้ายมาก Idi Amin ผู้น�ายูกันดานั่งเฮลิคอปเตอร์มายังพื้นที่คุมขัง ตัวประกันในช่วงบ่ายวันจันทร์พร้อมกับกล่าวว่า หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
“เวลาวิกฤตของพวกท่านก� าลังจะมาถึง ถ้า อิสราเอลไม่ปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของเรา” และ Amin ยั ง พู ด ย�้ า อย่ า งยะโสว่ า เขาคื อ “His Excellency Field Marshal Doctor Idi Amin Dada” Amin มีอา� นาจปกครองประเทศจากการท�า รัฐประหารในปี ๑๙๗๑ เขาชื่นชอบที่จะคุยโม้ โอ้ อ วดเหมื อ นตั ว ตลกและเดิ น วางท่ า ใน เครื่องแบบหรูหรา ประดับประดาด้วยเหรียญ ตราและแพรแถบที่มอบให้กับตัวเอง เขาเป็น คนทีโ่ หดร้ายมาก มีประชาชนหลายพันคนต้อง เสียชีวิตจากการกดขี่ทารุณของเขา ข้อมูลนี้ ทหารอิสราเอลทราบดีเนือ่ งจากเคยเป็นผูฝ้ กึ สอน การทหารให้แก่ยูกันดาช่วงปี ๑๙๖๓ - ๑๙๗๒ แต่ความสัมพันธ์ต้องแตกหักลงไปเนื่องจาก อิ ส ราเอลปฏิ เ สธให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ การโจมตี เพื่อนบ้านอย่าง Tanzania และ Kenya เมื่อ เขาถูกขัดใจ จึงจ�าเป็นต้องขับไล่ไสส่งอิสราเอล ออกจากยูกันดาไป ย้อนกลับมาที่คุมขังใน Entebbe ในช่วง บ่ายของวันพุธ ผู้ก่อการร้ายได้ยึด Passport และเอกสารอื่นๆ ของตัวประกัน พร้อมทั้ง คัดแยกผู้โดยสารชาวยิวออกมาคุมขังต่างหาก หลั ง จากนั้ น จึ ง ได้ ป ล่ อ ยตั ว ประกั น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ชาวยิวซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นชาวฝรั่งเศสจ�านวน ๔๗ คน เมื่ อ ถึ ง ตอนนี้ Captain Mitchel Bacos ได้ท�าในสิ่งที่น่าชื่นชมของความเป็น Pilot in Command เขาปฏิ เ สธที่ จ ะถู ก ปล่อยตัวและจะขออยู่นานเท่าที่ตัวประกัน คนสุดท้ายจะถูกปล่อยตัวออกไป จิตวิญญาณที่ สูงส่งอันนี้ลูกเรือ Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ ทั้งหมดก็รู้สึกเช่นเดียวกับ กัปตันของพวกเขา เช้าของวันพฤหัสบดี ก่อนถึงเวลาพิพากษา ตัวประกันอีก ๑๐๑ คนถูกปล่อยตัวออกมา คงเหลื อ แต่ ผู ้ ต ้ อ งรอชะตากรรมจากการ ตัดสินใจอย่างเป็นทางการในโค้งสุดท้ายของ รัฐบาลอิสราเอล พวกเขาเหล่านั้นล้วนแต่เป็น ชาวอิสราเอลและลูกเรือทั้งหมดของ Airbus
Captain Mitchel Bacos ได้ทำาใน สิ่งที่น่าชื่นชมของความเป็น Pilot in Command เขาปฏิเสธทีจ่ ะถูกปล่อยตัว และจะขออยู่นานเท่าที่ตัวประกัน คนสุดท้ายจะถูกปล่อยตัวออกไป จิตวิญญาณที่สูงส่งอันนี้ลูกเรือ Airbus 300 ของ Air France เที่ยว บินที่ ๑๓๙ ทั้งหมดก็รู้สึกเช่นเดียวกับ กัปตันของพวกเขา
300 แม้ จ ะดู เ หมื อ นว่ า เวลาเจ้ า ปั ญ หาจะ คื บ คลานเข้ า มาทุ ก ที การปฏิ บั ติ ก ารทหาร อย่างลับสุดยอดของอิสราเอล “Operation Thunderbolt” ต่อภัยคุกคามอันนี้ มันพร้อม จะเกิดขึ้นแล้ว โดยที่กลุ่มผู้ก่อการร้ายจะรู้ตัว ก็ต่อเมื่อมันสายไปเสียแล้ว “Operation Thunderbolt” เป็นการ ปฏิบัติการร่วมของ IDF (Israeli Defence Forces) ระหว่างก�าลังภาคพื้นดินและก�าลัง ทางอากาศโดยใช้ C-130s ส่ ง กองก� า ลั ง เข้ า ปฏิ บั ติ อ ย่ า งฉั บ พลั น โดยมิ ใ ห้ ศั ต รู รู ้ ตั ว ในเวลากลางคืน ข้อมูลการข่าวทางการทหาร ของยู กั น ดาและอาคารสิ่ ง ปลู ก สร้ า งต่ า งๆ อิสราเอลรู้หมดสิ้นเนื่องจากเป็นผู้วางรากฐาน ไว้ ใ ห้ แ ละยั ง เก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ IDF ภาพถ่ า ย ทางอากาศเพื่อการวางแผนเข้าโจมตีปฏิบัติ การที่เป็น Real Time หน่วย Mossad ได้ เช่ า เครื่ อ งบิ น เล็ ก จากกรุ ง ไนโรบี ประเทศ เคนยา แสร้ ง เป็ น ว่ า บ.มี ป ั ญ หาเล็ ก น้ อ ย ขอบินวนรอลงฉุกเฉินที่สนามบิน Entebbe และถ่ายภาพเก็บไว้ทั้งหมด ก�าลังพลร่มจู่โจมภาคพื้นดินส่วนแรก เพื่อ ยึดพืน้ ทีแ่ ละช่วยเหลือตัวประกันนัน้ สามารถที่ จะกระโดดร่มลงพร้อมเรือยางบริเวณทะเลสาบ Victoria ณ จุดที่ใกล้ที่สุดกับอาคารผู้โดยสาร
39
หลังเก่าได้ในกรณีที่ต้องท�า จุดปล่อยทหาร หมวกแดงอิสราเอลนั้น ไม่เป็นปัญหาส�าหรับ Karnaf หรือ Rhinoceros อันเป็นนามเรียก ขานของ C-130 ใน ทอ.อิสราเอล เนือ่ งจากเคย ปฏิบัติภารกิจขนส่งพัสดุในยูกันดาเป็นประจ�า แม้ว่า IAF (Israeli Air Force) จะคุ้นเคย น่านฟ้าของยูกันดาดีแค่ไหนก็ตาม ปัญหาที่ ต้องแก้ร่วมกันของยุทธการและการส่งก�าลัง คือ การเติมเชื้อเพลิงของ 4C-130s ทันทีที่ เสร็จภารกิจ เนื่องจากมันจะมีน�้ามันเหลือบิน ได้เพียงชั่วโมงครึ่งเท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอในการ บินกลับบ้าน แต่ด้วยมิตรภาพทางทหารและ การเจรจาต่อรองบางอย่าง พวกเขาสามารถ ลงเติมน�้ามันได้ที่สนามบิน Nairobi ประเทศ Kenya แผนที่สองของอิสราเอลเกี่ยวกับการ เติมน�้ามันคือปล้นเอาน�้ามันใน Tank Farm ที่ Entebbe แบบดื้อๆ เพียงแต่มันจะเสียเวลา ภาคพื้นมากเกินไป จะกลายเป็นปฏิบัติการ หวานเย็น มีเวลาให้ทหารซื้อไอติมกินในบ้าน ของศัตรู ความปลอดภัยก็เหลือน้อยลงไป แต่ อย่างไรก็ต้องเตรียมไว้ บ่ายของวันพฤหัสบดี มีเวลาเหลือเพียง ๙๐ นาทีก่อนถึงเวลาสุดท้ายคือ ๒.๐๐ p.m. ที่ ผูก้ อ่ การร้ายก�าหนด อิสราเอลประกาศขอเจรจา โดยมีแนวโน้มว่าจะยินยอม หากแต่ขอเจรจา ในเงื่อนไขลวงเพื่อถ่วงเวลาบางประการ ท�าให้ กลุ่มผู้ก่อการร้ายค่อนข้างเชื่อ เนื่องจากการ เรียกร้องที่ผ่านมานั้น พวกเขาผิดหวังน้อยมาก จึงเลื่อนเวลาการสังหารตัวประกันออกไปอีก เป็นวันอาทิตย์ เวลา ๒.๐๐ p.m.ของอิสราเอล เมื่อถึงตอนนี้ IDF ได้ยืนยัน Action Plan : Operation Thunderbolt ต่อ ครม.อิสราเอล เพื่อขอความเห็นชอบ ในระหว่ า งรอการเห็ น ชอบ แผนการที่ ปฏิบัติได้ก่อนยังคงเดินหน้าต่อไป ก�าลังทหาร 40
พลร่มจู่โจมภาคพื้นจ�านวน ๒๙ คน น�าโดย Lt.Col.Jonathan Netanyahu จากหน่วย Special Forces Unit of the Islaeli Army พร้อมในชุดเครื่องแบบทหารบกยูกันดา ต้อง น�าก�าลังทหารไปถึงอาคารท่าอากาศยานเดิม ให้เร็วที่สุด โดยที่จุดปล่อยพวกเขาไม่ว่าจะที่ พื้นหรือจากอากาศนั้นต้องอยู่ห่างจากอาคาร ควบคุ ม ตั ว ประกั น ไปพอสมควร เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เป็นที่สังเกตเห็นทั้งด้วยสายตาและเสียงว่า มีการปฏิบัติการทางทหารเกิดขึ้น ก�าลังของ เขาจะเดินทางไปกับ C-130 ตัวแรกและยังมี ก�าลังทหารพลร่มปฏิบัติการภาคพื้นจ� านวน ๕๒ คน โดยการน� า ของ Brig.Gen.Dan Shomron เดินทางไปด้วย นอกจากนั้นเพื่อการลวงที่แนบเนียนยิ่งขึ้น IDF ได้จัดเตรียมรถ Mercedes ๑ คันและ รถตามขบวนเพื่อคุ้มกันแบบ Land Rover อีก ๒ คัน โดยปลอมแปลงให้เหมือนรถในขบวน ของ Amin ให้มากที่สุด บรรทุกไปกับ C-130 ตัวแรกเช่นกัน เพื่อใช้วิ่งไปยังท่าอากาศยาน เดิม เหมือนปกติที่ Amin เคยใช้เพื่อเข้าไป ตรวจตราในสนามบิน IDF ก�าหนดการซักซ้อมแผนในคืนวันศุกร์ที่ ๒ ก.ค. ทีเ่ มือง Ophir ทางตอนใต้ของคาบสมุทร ไซนาย ดินแดนของอิสราเอล โดยใช้ 5C-130s และ 2Boeing 707s ซึ่งสองตัวหลังจะพลาง การจดทะเบียนเป็น บ.พาณิชย์ของ EI AI โดย มีเส้นทางบินปกติไปยังแอฟริกาใต้ ตัวแรก ท�าหน้าที่เป็น บ.ควบคุมและสั่งการ ตัวที่สอง เป็น บ.พยาบาล และสามารถลงเติมเชื้อเพลิง ที่สนามบิน Nairobi ได้ วันเสาร์ที่ ๓ ก.ค. เวลา ๓.๓๐ p.m. C-130 ตัวแรกเริ่มวิ่งขึ้นและตัวต่อไปตามล� าดับจน ครบตัวที่ห้าที่เป็น บ.ส�ารองเตรียมพร้อมใน อากาศ ในขณะเดียวกันกับที่ ครม.อิสราเอล
ก�าลังพิจารณาการปฏิบัติการ “Operation Thunderbolt” กันอยู่ คล้ายกับว่าอาจจะมี การเรียกก�าลังทางอากาศกลับ C-130 ตั ว แรกมี ก�า ลั ง ทหารพลร่ ม จู ่ โ จม ภาคพื้นจ�านวน ๒๙ คน Mercedes ๑ คัน Land Rover ๒ คัน ภายใต้การน�าของ Lt.Col. Jonathan Netanyahu และก�าลังทหารพลร่ม ปฏิบัติการภาคพื้นจ�านวน ๕๒ คน ทั้งหมดนี้ อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของ Brig.Gen.Dan Shomron, Ground Commander. C-130 ตัวที่สองและสามบรรทุกรถ Jeep ๒ คั น ก� า ลั ง ทหารปกติ / พลร่ ม อี ก จ� า นวน หนึ่งและรถ Jeep สั่งการของ Shomron ๑ คัน C-130 ตัวที่สี่ส�าหรับบรรทุกตัวประกัน และยังมีชุดแพทย์ ชุดเติมเชื้อเพลิงพร้อมรถ Portable Pump Truck ๑ คัน สรุปแล้วมี ก�าลังทหารทั้งสิ้นประมาณ ๑๗๐ คนที่อยู่ภาย ใต้การบังคับบัญชาของ Shomron 4C-130s ปิดไฟเดินอากาศทุกชนิด บินตาม แนวยาวของทะเลแดงที่ความสูง ๒๐๐ ฟุต เพื่อหนีการตรวจจับจากเรดาร์ซาอุดิอาระเบีย และอียิปต์ จนข้ามเข้าสู่น่านฟ้า Ethiopia เมื่อ ปลอดภัยจากการตรวจจับจากเรดาร์แล้ว จึง ไต่ไปที่ความสูง ๒๐,๐๐๐ ฟุตเพื่อประหยัด น�้ามัน เมื่ออยู่เหนือน่านฟ้า Ethiopia แล้ว จึ ง ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ป ฏิ บั ติ ก าร “Operation Thunderbolt” ได้ 4C-130s บินผ่านด้าน ตะวันตกของ Kenya และอยู่เหนือทะเลสาบ วิคตอเรีย ประเทศยูกันดา เวลา ๑๐.๓๐ p.m. เป็นเวลา ๑ ชั่วโมงหลังจากวิ่งขึ้นจากสนามบิน Ophir ทางใต้ สุ ด ของอิ ส ราเอล ซึ่ ง ตอนนี้ พวกเขาอยู่นอกระยะคลื่นวิทยุของประเทศ กลุ่มอาหรับทั้งมวล และเป็นเวลาที่ บ.หัวหน้า หมู ่ ต ้ อ งติ ด ต่ อ กั บ บ.ควบคุ ม และสั่ ง การ Boeing 707 นาวาเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
การตัดสินใจอันเป็นการชักนำาให้ ลูกเรือ Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ อยู่กับผู้โดยสาร จนถึงนาทีสุดท้ายของ Capt.Michel Bacos นั้น ได้รับการตำาหนิด้วย เหตุผลใดไม่ทราบพร้อมกับให้ พักงานเขาจาก Air France
ทุกอย่างเป็นไปด้วยความเรียบร้อย C-130 ตั ว แรกแตะพื้ น ทางวิ่ ง ด้ า นทิ ศ ใต้ ส นามบิ น Entebbe เวลา ๑๑.๐๑ p.m. ของอิสราเอล ซึ่ ง เป็ น เวลาหลั ง เที่ ย งคื น เพี ย งเล็ ก น้ อ ยของ ยูกันดา หอบังคับการบินไม่อาจมองเห็นการ ลงของมันได้ เพราะมันลงมาด้วยความมืดมิด แต่ลูกเรือของ C-130 สามารถสังเกตเห็นและ เข้าใจสภาพอาคารต่างๆ ในสนามบินได้อย่าง ชัดเจน เนื่องจากพวกเขาได้ผ่านการฝึกและ ท�าความเข้าใจกับมันมานานพอสมควร ขณะที่ บ.ขับเคลือ่ นไปด้วยจ�านวนเครือ่ งยนต์ทที่ �างาน อยูน่ อ้ ยทีส่ ดุ เพือ่ ลดความดังของเสียงเครือ่ งยนต์ ก�าลังทหารส่วนหนึ่งกระโดดลงไปประจ�าจุด ของไฟน�าร่องลงสนาม ถ้าศัตรูรู้ตัวและปิด ไฟน�าร่องลงสนาม ในกรณีนี้พวกเขาจะเปิด Portable Emergency Landing Beacons ให้ บ.ที่เหลือสามารถลงสนามได้ Mercedes สีด�าและ Land Rover ๒ คัน ที่ ป ลอมแปลงเหมื อ นรถขบวนของ Amin ขับเคลื่อนไปอย่างช้าๆ พร้อมกับเปิดไฟหน้า มุ่งหน้าสู่อาคารผู้โดยสารหลังเก่า ทหารยาม ใช้ ป ื น ชี้ บั ง คั บ ให้ ห ยุ ด อาจจะเป็ น เพราะ เริ่ ม รู ้ แ ล้ ว ว่ า ไม่ ใ ช่ ร ถของ Amin เนื่ อ งจาก เปลี่ยนเป็นสีขาวแล้ว การยิงปะทะกันเกิดขึ้น ทั น ที ทหารยามระดมยิ ง จากหอบั ง คั บ การบิ น เดิ ม เข้ า ใส่ ท หารพลร่ ม จู ่ โ จมของ Lt.Col.Jonathan Netanyahu ณ จุ ด นี้ ตั ว ประกั น ถู ก ควบคุ ม ตั ว ที่ พื้ น อาคารจาก ผู้ก่อการร้าย ๗ คนและทหารยูกันดาอีกเกือบ โหล ผู้ก่อการร้ายถูกสังหารทันที ๔ คน ส่วน Lt.Col.Jonathan Netanyahu นั้นถูกคม กระสุน AK-47 เข้าที่หน้าอกและเสียชีวิตหลัง จากชุดแพทย์หมดหนทางที่จะช่วยเหลือ หน่วยจู่โจมกระจายก�าลังล้อมรอบอาคาร สังหารผู้ก่อการร้ายที่เหลืออีก ๓ คนได้ ขณะ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ที่ตัวประกันเสียชีวิตไป ๒ คน ๑ คนเสียชีวิต ในช่ว งชุล มุ น และอี ก ๑ คนถู ก ยิ งเนื่ อ งจาก กระโดดออกมาอย่างไม่คาดคิดและอยู่ในแนว ยิงของหน่วยจู่โจม C-130 ตัวทีส่ องลงสนามเวลา ๑๑.๐๖ p.m. และตัวที่สามก็ลงตามมาติดๆ กัน เพียงแต่ว่า ในขณะนั้นไฟน�าร่องของสนามบินปิด จึงต้อง ใช้ Emergency Portable Landing Beacon ที่เตรียมการไว้แล้ว ทหารพลร่มเข้าควบคุม ท่าอากาศยานและหอบังคับการบินแห่งใหม่ ที่มีการต่อต้านน้อยมาก อีกส่วนหนึ่งเข้าโจมตี หน่วยทหารประจ�าสนามบินและท�าลาย บ. Mig จ� า นวน ๘ ล� า ถึ ง ขณะนี้ ยั ง ไม่ มี ก� า ลั ง เสริ ม ของยู กั น ดา ซึ่ ง ขณะนั้ น คาดว่ า อาจจะเกิ ด รัฐประหารในยูกันดา ตัว Amin เองต้องหลบ ซ่อนตัวจนกว่าสถานการณ์จะสงบ C-130 ตัวทีส่ ขี่ บั เคลือ่ นไปยังท่าอากาศยาน ทหารเดิมเพื่อรับตัวประกัน ๑๐๔ คน แต่มี ๑ คนที่หายไป และก่อนหน้านั้นในวันศุกร์ มีหญิงชราวัย ๗๕ ปีถูกน�าส่งเข้ารักษาตัวที่ โรงพยาบาลในกรุ ง Campala เนื่ อ งจากมี ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และเธอ ก็ยังอยู่ที่นั่น ร่างที่ไร้วิญญาณของ Lt.Col. Jonathan Netanyahu และตั ว ประกั น ที่ เสียชีวิตอีก ๒ รายก็เดินทางไปกับล�านี้ด้วย ชุดเติมเชื้อเพลิงของ IAF เตรียมพร้อมที่ ดูดน�้ามันจาก Tank Farm ที่สนามบินอยู่แล้ว แต่เป็นเรือ่ งทีโ่ ชคดีทพี่ วกเขาไม่ตอ้ งท�า เนือ่ งจาก ได้รับค�าสั่งยุทธการจาก บ.ควบคุมและสั่งการ ให้ 4C-130s ลงเติมเชื้อเพลิงได้ที่สนามบิน Nairobi และให้ บ.ที่ บ รรทุ ก ตั ว ประกั น วิ่ ง ขึ้นก่อน ล�าสุดท้ายที่วิ่งขึ้นจากสนามบิน Entebbe เป็นล�าที่สองของแผนปฏิบัติการ ซึ่งวิ่งขึ้นใน วันอาทิตย์ที่ ๔ ก.ค. เวลา ๑๒.๔๐ a.m. ของ
อิสราเอล เป็นเวลาปฏิบตั กิ ารทัง้ หมด ๑ ชัว่ โมง ๓๙ นาทีนับตั้งแต่เวลาลงสนามของ C-130 ล�าแรกที่สนามบิน Entebbe ที่สนามบิน Nairobi มีตัวประกันที่บาดเจ็บ สาหัสถูกน�าส่งโรงพยาบาลในกรุงไนโรบี แต่ก็ ต้องเสียชีวิตในเวลาต่อมา ยอดผู้เสียชีวิตใน ตอนนี้เป็นทหารยูกันดา ๒๐ คน ผู้ก่อการร้าย ๗ คน ตัวประกัน ๓ คนและ Lt.Col.Jonathan Netanyahu หน.ชุดพลร่มจู่โจมจากหน่วย Special Forces Unit of the Israeli Army แต่ Amin ขอเพิ่มยอดขึ้นมาอีก ๔ คนคือเขา สัง่ ประหาร จนท.หอบังคับการบินทัง้ หมด ฐาน ละเลยหน้าที่ ความโหดร้ายของเขายังตามไป คร่าชีวิตตัวประกันที่รักษาตัวในโรงพยาบาล ที่กรุง Entebbe อีก ๑ คน บ.รบของ IAF บิ น คุ ้ มกั น 4C-130s ถึง ฐานทัพอากาศ Tel Nof ทางตอนใต้ของกรุง Tel Aviv เพื่อสรุปผลการปฏิบัติการ หลังจาก นั้นพวกเขาบินไปที่สนามบิน Ben Gurion ในกรุง Tel Aviv ซึ่งการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ รอคอยพวกเขาอยู ่ พร้ อ มกั บ ปฏิ บั ติ ก าร “Operation Thunderbolt” ถูกเปลี่ยนชื่อ เป็น “Operation Nethanyahu” การตั ด สิ น ใจอั น เป็ น การชั ก น� า ให้ ลู ก เรื อ Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ อยู่กับผู้โดยสารจนถึงนาทีสุดท้ายของ Capt.Michel Bacos นั้น ได้รับการต�าหนิ ด้วยเหตุผลใดไม่ทราบพร้อมกับให้พักงานเขา จาก Air France Idi Amin ยั ง เป็ น จอมเผด็ จ การครอง อ�านาจในยูกันดา จนถูกรัฐประหารขับออก จากต�าแหน่งในปี ๑๙๗๙ เขาหนีออกนอก ประเทศผ่านลิเบียไปลี้ภัยในซาอุดิอาระเบีย และเสียชีวิตที่นั่นในปี ๒๐๐๓ ส่วน Brig.Gen. Dan Shomron, Ground Commander of Operation Nethanyahu. ด�ารงต�าแหน่ง IDF Chief of Staff พร้อมกับ Benjamin Nethanyahu น้องชายของ Lt.Col.Jonathan Netanyahu ผู ้ ก ลายเป็ น วี ร บุรุษ ขึ้นครอง ต� า แหน่ ง เป็ น นายกรั ฐ มนตรี อิ ส ราเอลในปี ๑๙๙๖ - ๑๙๙๙ และในปีปัจจุบัน ค.ศ.๒๐๑๓ Benjamin Nethanyahu ก็ยังคงเป็นนายก รัฐมนตรีอยู่ 41
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนทีี่ ๑๒) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ค
นเท่านั้น คือ เครื่องมือหลักในการ ท�าสงคราม นายพลแพตตันย�้าอยู่เสมอว่า “คนเท่านั้น คือ เครื่องมือหลักในการท�า สงคราม” ในการบรรยาย และการประชุมฝ่ายเสนาธิการ ท่านจะพูดว่า “ไอ้การพูดถึงเรื่องสุดยอดแห่งอาวุธ และ สงครามกดปุ่มนั้นมันเป็นเพียงกองขยะกอง หนึ่งเท่านั้น คนเท่านั้น คือ เครื่องมือหลัก
4๒
ในการท�าสงคราม คนต้องขับรถถัง ขับเครือ่ งบิน คลานไปตามขี้โคลน เหนี่ยวไกปืน และกดปุ่ม พวกเราต้องฝึกฝนให้แข็งแรงทั้งร่างกาย และ จิตใจ จงจ�าไว้เสมอว่า คนเท่านั้น คือ เครื่องมือ หลักในการท�าสงคราม” ไม่ เ คยมี น ายพลคนใดเท่ า ที่ ผ มรู ้ จั ก มี ภาพพจน์ที่ชัดเจนในเรื่องสงครามและเรื่อง ความจ�าเป็นในการฝึกเพื่อท�าสงคราม พวกเรา ยิ้มในความคิดง่ายๆ ของท่าน แต่ความคิดของ ท่านก็ดีเยี่ยม
“มันเป็นการดีที่มียุทโธปกรณ์ที่ยอดเยี่ยม” ท่านสาธยายขึ้นและว่าต่อไป “รถถังเป็นอาวุธที่ยิ่งใหญ่ส�าหรับการฆ่า เช่ น เดี ย วกั บ ปื น กล แต่ ค นคื อ กุ ญ แจส� า คั ญ จ�าการปฏิวตั ทิ ฝี่ รัง่ เศสได้ไหม? สงครามคราวนัน้ เอาชนะด้วยไม้กวาด ไม้เท้า และก้อนหินโดย บรรดาผู้หญิงที่เต็มไปด้วยความโกรธแค้น น�า พวกผูช้ ายและผูห้ ญิงทีค่ ดั เลือกอย่างดีแล้วมาซิ พวกเขาจะเอาชนะการสูร้ บได้โดยไม่สนใจเรือ่ ง ใครจะได้เปรียบ หรือพวกเขาจะมียุทโธปกรณ์ พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ชนิดใด พวกเราเอาชนะสงครามปฏิวตั ไิ ด้ไม่ใช่รึ มันเป็นการต่อสู้กับก�าลังทหารที่เหนือกว่ากัน มากนัก จ�าได้ไหมว่าพวกเราได้ใช้อะไรในการรบ ครั้งแรก? พวกเราตัดซุง และกลิง้ มันลงเนินเขา ใส่ ข ้ า ศึ ก ซุ ง ที่ ถู ก กลิ้ ง ลงมานั้ น ไม่ ไ ด้ ฆ ่ า ใคร แต่แน่ละ ที่ มั น ท� า ให้ ท หารฝ่ า ยข้ า ศึ ก แตกกระจาย จนไม่สามารถยิงปืนคาบศิลาได้” ในไม่ ช ้ า นายทหารบางคนที่ อ ่ อ นเพลี ย จะหลับระหว่างการบรรยายอันยาวนานของ นายพลแพตตัน ท่านก็จะเดินไปที่นายทหาร ผู้นั้น และตบที่บ่า “อดนอนมากี่ชั่วโมง?” ถ้านายทหารผู้นั้นรายงานเรื่องเวลาที่น้อย กว่าสีส่ บิ แปดชัว่ โมง นายพลแพตตันจะมีอารมณ์ โมโห เนื่องจากในการรบทหารต้องตื่นให้ได้ อย่างน้อยสี่สิบแปดชั่วโมง ถ้าผู้นั้นมีเหตุผล ที่หนักแน่นในเรื่องการนอนแล้วละก็ นายพล แพตตันจะสั่งให้เขาออกจากห้องไปนอนได้
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
“คุ ณ ให้ ค นดี ๆ ที่ ไ ม่ ก ลั ว ตายแก่ ผ มสั ก สิบคนสิ ผมจะท�าลายกองพลข้าศึกที่มีก�าลัง พลจ� า นวนหมื่ น ให้ ดู แต่ สิ บ คนนั้ น ต้ อ งตื่ น ตลอดเวลา” นายพลแพตตัน ยิ้มพราย พรสวรรค์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดประการหนึ่งของ นายพลแพตตัน คือ ความสามารถในการลด ความหวาดกลัวในจิตใจของก�าลังพล ท่านได้ ลดความกลัวในจิตใจของท่านเอง และมอบ ความสามารถเช่นเดียวกันนัน้ แก่ก�าลังพล ท่าน ได้พจิ ารณาว่าความกลัวเป็นข้าศึกตัวแรกทีต่ อ้ ง ถูกท�าลาย “เผชิญหน้ากับความกลัว แล้วมันจะ หนีหายไป” เป็นหนึ่งในหลักการของท่าน การพูดต่อต้านความกลัวที่มีชื่อเสียงที่สุด ของท่าน ถูกเรียกว่า “เลือด และความกล้า” ในไม่กี่ชั่วโมงหลังจากก�าลังพลใหม่ได้เข้ามา อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลแพตตัน พวกเขาจะได้รบั ฟังการบรรยายเรือ่ งเลือดและ ความกล้า การพูดนีจ้ ะกล่าวแก่กา� ลังพลจ�านวน มากใกล้ กั บ เนิ น เขาแห่ ง หนึ่ ง ในทะเลทราย นายพลแพตตั น จะยื น บนจุ ด สู ง สุ ด ของเนิ น พร้อมด้วยไมโครโฟนบนขาตั้งเท่านั้น ท่านยืน ตัวตรงยิง่ กว่าขาตัง้ ไมโครโฟนเสียอีก นายทหาร ฝ่ายเสนาธิการต้องไปฟังการบรรยายของท่าน ทุกแห่งเพือ่ จะได้คอยสังเกตปฏิกริ ยิ าของก�าลัง พล ผมเสียใจที่ไม่สามารถหาเทปบันทึกเสียง การบรรยายสั่งสอนเหล่านี้ หรือแม้แต่ส�าเนา
ไอ้การพูดถึงเรื่องสุดยอดแห่งอาวุธ และสงครามกดปุ่มนำ้ามันเป็นเพียง กองขยะกองหนึ่งเท่านั้น คนเท่านั้น คือ เครื่องมือหลักในการทำาสงคราม คนต้องขับรถถัง, ขับเครื่องบิน, คลานไปตามขี้โคลน, เหนี่ยวไกปืน และกดปุ่ม
ต้นฉบับตัวจริงของค�าสั่งสอนนี้ได้ แต่ผมได้ฟัง หลายครั้งจนสามารถรายงานจากความทรงจ�า ได้โดยไม่มคี า� ใดตกหล่น เว้นแต่คา� หยาบบางค�า นายพลแพตตัน จะบรรยายว่า “นี่แน่ะพวกเรา! อย่าห่วงเรื่องการหวาด กลัว ทุกคนกลัวทั้งนั้นเมื่อเข้าสนามรบ ไอ้คน ที่บอกตัวเองว่าไม่กลัวนั้นเป็นคนขี้โกหก ผมรู้ ดี! ผมเคยอยู่ในสนามรบ และผมเคยหวาดกลัว มาก่อน มันต้องผิดปกติแน่ส�าหรับคนที่ไม่กลัว ตอนนี้ผมจะบอกพวกคุณละว่า เมื่อไรคุณจึง จะเลิกกลัว เมื่อกระสุนปืนใหญ่นัดแรกตกตูม ลงมา และพอคุณใช้มอื ปาดทีห่ น้าผากพบเลือด ของเพือ่ นทีด่ ที สี่ ดุ ของคุณเปือ้ นเปรอะอยูใ่ นมือ
43
ภายหลังการทำาลายความหวาดกลัว ของกำาลังพล นายพลแพตตันได้ใช้ กลเม็ดทุกอย่างที่มีอยู่ในตำาราเพื่อที่ จะเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อไป ปืนพกด้ามมุก (พวกเรามักจะ เรียกมันว่าสีมุก ไม่เรียกว่าสีงาช้าง) เป็นสัญลักษณ์ในการทำาลาย ความหวาดกลัว และเสริมสร้าง ความเชื่อมั่นในจิตใจของทหาร
ผมมีอยู่ก็มีแต่ปืนพกเปล่า ๆ กับซองปืนเท่านั้น แล้วก็มกี ล้องถ่ายรูปอีกตัวหนึง่ นายทหารระดับ สูงเท่านั้นที่มีปืนพก และได้ฝึกยิงก่อนที่บรรดา ร้อยโทจะได้ยิง เรามีเป้าตาวัวซึ่งมีวงกลมด�า อยู่ตรงกลาง ในไม่ช้าเป้าแบบนี้ก็ถูกเปลี่ยนไป เป็นเป้าหุน่ คนซึง่ อยูใ่ นชุดข้าศึก ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ.๑๙๔๒) เรามีนายทหาร ฝ่ายเสนาธิการจ�านวนสิบสองคน แต่มีปืนพก เพียงหกกระบอก ตอนที่นายพลแพตตัน ก�าลังคุยกับพันเอก เกย์นั้น ผมได้ถ่ายรูปไว้ พันเอกเกย์ถามขึ้นว่า “ท่านนายพล ท่านได้ปนื พกแฟนซีกระบอก นี้จากที่ไหน? “ผมยิ ง นายพลเม็ ก ซิ กั น ตกจากหลั ง ม้ า และยึดมา ตอนที่ผมอยู่กับนายพลเปอร์ชิงใน คุณก็จะเลิกกลัว ในตอนนั้นแหละคุณจะรู้ว่า เม็กซิโก ถามผมสิว่าผมจะใช้มันท�าอะไรต่อ ต้องท�าอะไรต่อไป! คุณจะเผ่นเข้าไปฆ่าไอ้พวก ไป?” “ท่านจะใช้ท�าอะไรล่ะ?” ลูกไม่มีพ่อเหล่านั้น ซึ่งได้ฆ่าเพื่อนคุณก่อน “ผมจะใช้ยิงไอ้ลูกหมารอมเมล (Rommel) ที่พวกมันจะฆ่าคุณ นั่นแหละคือสงครามละ! ไม่ฆ่ามัน มันก็ฆ่าเรา อย่าห่วงเรื่องความกลัว เสร็จแล้วก็จะขว้างใส่หน้ามัน!” เรื่ อ งปื น พกกระบอกนี้ กั บ เรื่ อ งนายพล คุณจะต้องรู้ว่าควรท�าอะไรต่อไป!” พวกเราเรียกการบรรยายนี้ว่า “ค� าสอน เม็กซิกันได้รับการบอกเล่าหลายครั้ง ผมไม่เชื่อ เลือด” แต่ความจริงในเรื่องเลือดและความ เรื่ อ งการยิ ง จนตกหลั ง ม้ า จริ ง ๆ แล้ ว ผมก็ กล้ า นี้ ท� า ให้ ก� า ลั ง พลเข้ า ใจอย่ า งแท้ จ ริ ง ใน ไม่เคยศึกษาเรื่องประสบการณ์ของนายพล เรื่องสงคราม พวกก�าลังพลจะมีความกล้าที่จะ แพตตันในสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ เลยจนกระทัง่ เอาชนะความกลัวได้ ถ้านายพลแพตตันตั้งใจ สงครามโลกครั้งที่สองได้จบลง หลายปีหลัง ที่จะยอมรับความกลัวแล้ว พวกเขาก็อาจจะ สงครามโลกครั้งที่สองผมได้รับการแนะน�าให้ รูจ้ กั กับนายทหารนอกราชการทีเ่ คยเป็นพลขับ กลัวไปด้วย พวกนักข่าวเรียกนายพลแพตตันว่า “ไอ้แก่ รถยนต์คันที่นายพลแพตตันนั่ง และยิงไปที่ บ้าเลือดและบ้าบิน่ ” และเขียนข่าวว่า “มันเป็น นายพลเม็กซิกัน พลขับรถในอดีตผู้นี้ได้เล่าว่า “เราก�าลังนัง่ รถผ่านสิง่ ทีด่ เู หมือนโรงนาเก่า ๆ เลือดเนื้อของก�าลังพลทั้งนั้นที่ท�าให้นายพล แพตตันบ้าบิ่นได้” พวกเราเรียกท่านว่า “จอม ในทะเลทราย ถนนสายนั้นมีสภาพที่แย่มาก บ้าเลือดและบ้าบิ่น” หลายครั้ง แต่นั่นก็เพราะ ส�าหรับรถยนต์ ชายคนหนึ่งขี่ม้าออกจากด้าน การบรรยายของท่านไม่ใช่การสั่งทหารเข้า หลังโรงนาหลังนั้น และเริ่มยิงใส่เรา นายพล สมรภูมิอย่างโง่ๆ ไม่ว่าจะเป็นเวลาใดในแนว แพตตันได้สั่งว่า “หยุดรถ” ผมจึงบังคับให้รถ หน้า นายพลแพตตันจะไปปรากฏตัวต่อหน้า หยุด แต่ก่อนที่รถจะหยุด นายพลแพตตันก็ ก�าลังพลในขณะที่ถูกข้าศึกยิงเข้าใส่เป็นห่าฝน ยิงปืนขณะรถเคลื่อนที่นั่นเอง กระสุนนัดแรก ท่านได้เผชิญความหวาดกลัวเช่นเดียวกันกับที่ ได้ฆ่าชายผู้นี้ เราเห็นภายหลังว่าหมอนั่นเป็น นายพล” ลูกน้องเผชิญอยู่ ปื น พกกระบอกนี้ ส ร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ภายหลังการท�าลายความกลัวของก�าลังพล นายพลแพตตั น ได้ ใ ช้ ก ลเม็ ด ทุ ก อย่ า งที่ มี อ ยู ่ นานาชาติได้ดกี ว่าการชูนวิ้ รูปตัว “วี” ซึง่ หมายถึง ในต�าราเพื่อที่จะเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อไป ชัยชนะของเชอร์ชิลล์ เครื่องหมายสร้างความ ปืนพกด้ามมุก (พวกเรามักจะเรียกมันว่าสีมุก เชื่อมั่นรูปตัว “วี” ของเชอร์ชิลล์ ได้เสื่อมความ ไม่เรียกว่าสีงาช้าง) เป็นสัญลักษณ์ในการท�าลาย หมายไปในระยะเวลาสองสามเดือนเท่านัน้ นับ ความหวาดกลัว และเสริมสร้างความเชื่อมั่น ตั้งแต่ที่ได้เริ่มใช้มา ประชาชนไม่ต้องการคิดถึง ในจิตใจของทหาร ผมจ�าได้ในวันแรกที่ท่าน ความจริงของสงครามที่โหดร้าย เครื่องหมาย พกปืนกระบอกนี้ เพราะผมได้ถ่ายรูปท่านไว้ “วี” ของเชอร์ชิลล์ใช้ในขณะที่ประเทศอังกฤษ ั ลักษณ์ “วี” ขณะ ปืนพกกระบอกนีถ้ กู คาดไว้ทสี่ ะโพกของนายพล ได้ถกู บุกแล้ว เชอร์ชลิ ล์ใช้สญ แพตตัน ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ. ที่ท่านได้กล่าวสุนทรพจน์ที่มีชื่อเสียง “เมื่อ ๑๙๔๒) พวกเราได้รับกระสุนขนาด .๔๕ เพียง ประเทศเราถูกรุกราน เราจะต่อสู้บนชายหาด เล็กน้อยส�าหรับปืนพกอัตโนมัติที่เรามีอยู่ ดัง ทุกแห่ง เราจะรบบนถนนทุกสาย เราจะรบใน นั้นการฝึกยิงที่ ฟอร์ท เบนนิ่ง รัฐจอร์เจีย พวก บ้านทุกหลังและแม้ว่าประเทศชาติของเรานี้ เราจึงมักฝึกด้วยปืนเล็กยาว อาวุธยุทโธปกรณ์ที่ อาจจะด�ารงการสู้รบอยู่ไปอีกเป็นพัน ๆ ปี นั่น 44
ก็จะเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดของพวกเรา” แต่เครื่องหมาย “วี” ที่ใช้สองนิ้วชูขึ้นมา นั้นไม่ได้หมายถึงวิคตอรี่หรือชัยชนะ มันหมาย ถึงความตาย! มันหมายถึงก่อนตายคุณต้อง ฆ่าข้าศึกให้ได้หนึ่งรวมเป็นสอง! เชอร์ชิลล์ใช้ หลักคณิตศาสตร์ง่ายๆ เพื่อพิสูจน์ว่าอังกฤษ สามารถเอาชนะได้ พลเมืองอังกฤษมีมากกว่า พลเมืองเยอรมันเมื่อประเทศอังกฤษถูกรุกราน เยอรมันไม่สามารถเอาชนะได้ หากชาวอังกฤษ ทุ ก คนสามารถฆ่ า เยอรมั น ได้ ห นึ่ ง คนก่ อ นที่ ตัวเองจะตาย ไม่กี่เดือนต่อมา ชาวอังกฤษได้ใช้สัญลักษณ์ “วี” แทนชัยชนะ และลืมไปว่าราคาแห่งชัยชนะ นั้นหมายถึงความตาย นายพลแพตตันไม่ให้ ทหารคนใดลืมราคาแห่งชัยชนะว่ามันคือการ ฆ่าข้าศึก ท่านได้ใช้ทุกวิธีการเพื่อเสริมสร้าง ความเชื่อมั่นแก่ทหารของท่านในการฆ่า ใน ช่วงเวลากลางวันท่านจะขับรถจี๊ปเปิดประทุน ท่ามกลางก�าลังพล ขณะทีท่ า่ นมุง่ ไปยังแนวหน้า นายพลแพตตันไม่ต้องการให้ทหารเห็นท่าน เดินทางกลับไปกองบัญชาการ นายพลแพตตัน ต้ อ งการให้ ก� า ลั ง พลเห็ น ท่ า นมุ่งหน้า เข้า หา ข้าศึก ขณะที่นายพลแพตตันมุ่งไปยังแนวหน้า ระหว่างเวลากลางวันพร้อมกับบรรดาทหารนัน้ ฝ่ายเสนาธิการของท่านจะวางแผนให้เครือ่ งบิน ขนาดเล็กลงจอดบนถนน หรือสนามบินที่อยู่ ใกล้ กั บ แนวหน้ า นั้ น เมื่ อ ถึ ง เวลากลางคื น นายพลแพตตั น จะไปพบนั ก บิ น ที่ เ ครื่ อ งบิ น ขนาดเล็ ก นั้ น และเดิ น ทางกลั บ ไปยั ง กอง บัญชาการของท่านทางอากาศ ดังนั้นก�าลังพล จะไม่เคยเห็นนายพลแพตตัน “ร่นถอย” เลย! ในการท�างาน เราต้องท�า อย่าพูดว่าท�า แล้วจะเกิดผลร้าย ผมไม่ แน่ ใ จว่ า นายพลแพตตันจะเป็นคน แรกหรือไม่ที่ระบุว่า ความล้มเหลวในการพูด สามารถเป็นบ่อเกิดแห่งความฉิบหายทั้งหมด แต่ทา่ นก็ได้ทา� ตามหลักการมากกว่าผูน้ า� คนอืน่ ๆ ท่านได้พูดความจริงขณะที่ผู้น�าทางการเมือง ไม่ต้องการให้มีการพูดความจริง ท่านฝ่าฝืน กฎเกณฑ์ทงั้ หมดทีม่ อี ยูต่ ามแบบธรรมเนียมของ สมัยนัน้ เช่น “อย่าก่อกวน” “อย่าชนกับนักการ เมือง” “ปิดปากให้สนิท แล้วคุณจะไม่มปี ญ ั หา” “อย่าพูด ถ้ามันเป็นการบั่นทอนก�าลังใจ” “ถูก หรือผิดไม่ว่า ยึดศาสนาเป็นหลัก” และ “อย่า พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
แต่เครื่องหมาย “วี” ที่ใช้สองนิ้ว ชูขึ้นมานั้นไม่ได้หมายถึงวิคตอรี่ หรือชัยชนะ มันหมายถึงความตาย! มันหมายถึงว่าก่อนตายคุณต้องฆ่า ข้าศึกให้ได้หนึ่งรวมเป็นสอง! เชอร์ ชิลล์ใช้หลักคณิตศาสตร์ง่ายๆ เพื่อ พิสูจน์ว่าอังกฤษสามารถเอาชนะได้
วอดวายนั่นแหละ ถึงจะไล่ไอ้ตัวร้ายนั่นออกไป จากบ้านได้” ค�าพูดดังกล่าวนี้ไม่ตรงกับที่นายพลแพตตัน ได้พูดนัก ที่ท่านได้พูดจริงๆ น่ะมันหยาบคาย กว่านี้ ! มีคนหัวเราะ และเมื่อเสียงหัวเราะสงบลง นายพลแพตตันจะพูดต่อ “ดูอ่าวเพิร์ล ซิ! ไม่มีใครอยากท�าสงคราม หรอก แต่ตอนนี้คนโง่ๆ ก็รู้ว่ามันก�าลังมาถึง ตัวแล้ว พวกเราปล่อยให้สกั๊งค์มาอยู่ใต้มุข หน้าบ้าน ดังนัน้ เราจึงต้องเผาแหลกที่ อ่าวเพิรล์ ” นายพลแพตตันถูกพิจารณาว่าเป็นทหารที่ พูดพล่อยโดยไม่ไตร่ตรองและหุนหันพลันแล่น เป็นผู้ที่ไม่ต้องการสิ่งใดนอกจากสงคราม แต่ สงครามเป็ น สิ่ งที่ น ายพลแพตตันพยายามที่ จะหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดขึ้น แต่ถ้ามันเป็นความ พูดอะไร ถ้ามันเป็นการยั่วโมโหข้าศึก!” นี้แล้ว เชอร์ชิลล์เท่านั้นที่พูดต่อต้านฮิตเลอร์ จ�าเป็นที่จะต้องเข้าสู่สงครามแล้วละก็ ท่าน เท่าที่จ�าได้ผมไม่เคยเห็นนายพลแพตตัน แต่อ�านาจของเชอร์ชิลล์ก็เกิดไม่ทันเวลาที่จะ ต้องการเข้าและออกให้ไวที่สุดเท่าที่จะท�าได้ พูดโดยใช้โน้ตที่เตรียมมาเลย ท่านไม่ค่อยจะ ป้องกันสงคราม ในการพยายามซื้อสันติภาพ ด้ ว ยการเป็ น ฝ่ า ยชนะ ผมจ� า ค� า กล่ า วของ ใช้ แ ท่ น บรรยายหรื อ โต๊ ะ เพื่ อ เป็ น ที่ ว างโน้ ต ในช่วงชีวติ เรานัน้ เราจะต้องจ่ายราคาของสิง่ นี้ นายพลแพตตันได้เกีย่ วกับการท�าลายพลังเงียบ เมือ่ กรณีวอเตอร์เกทถึงมือพวกนักหนังสือพิมพ์ ขณะที่ท่านพูดกับก�าลังพลในทะเลทราย สิ่งที่ ด้วยชีวิตเด็กหนุ่มที่ดีเยี่ยมเป็นพันๆ คน” ท่านใช้มีเพียงพื้นดินกับไมโครโฟน ชนิดมือถือ ผมจ�าได้ในการประชุมฝ่ายเสนาธิการ พันเอก นอกจากพวกที่เกี่ยวข้องโดยตรงซึ่งถูกจ�าคุก เท่านั้น ท่านไม่ใช้โน้ต ผมจ�าได้ว่าเคยช่วยเขียน อาวุ โ สบางท่ า นแนะน� า ให้ น ายพลแพตตั น ไปแล้ว ยังมีอกี กีร่ อ้ ยคนทีร่ ดู้ ใี นเรือ่ งการกระท�า สุนทรพจน์ให้กับพันเอกอาวุโสหลายท่าน แต่ เพลาๆ การกล่าวถึงนโยบายสงครามของชาติ ที่ผิดกฎหมายแบบนี้ และไม่ยอมพูดอะไรเลย? ไม่เคยเขียนให้นายพลแพตตันเลย ท่านไม่มี ท่านได้ปฏิเสธ ท่านมักจะให้ข้อเท็จจริงเสมอ มั น ง่ า ยมากที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หา วอเตอร์เกท ถ้าไอ้พวกสกั๊งค์จะถูกหยุดยั้งก่อน สุ น ทรพจน์ ที่ เ ตรี ย มการมาก่ อ น และทุ ก สิ่ ง แก่ก�าลังพล และนักหนังสือพิมพ์ ที่ท่านได้พูดไปก็คือความคิดเห็นอย่างจริงใจ ผมระลึกถึงพันเอกท่านหนึ่ง ซึ่งพยายามที่ ที่พวกมันจะขุดรูมาอยู่ใต้มุขหน้าบ้าน ตามข้อเขียนทางประวัติศาสตร์ หลักการ ของท่าน จะช่วย และแนะน�าว่า มันมีข้อดีอยู่ในภาษิต การโจมตีของนายพลแพตตันทีม่ ตี อ่ อุดมคติ ที่ว่า “เห็นสิ่งที่ไม่บาป ได้ยินสิ่งที่ไม่บาป และ ของนายพลแพตตัน ถูกพิสูจน์ว่าถูกต้อง ความเชื่อถือในตัวนายพลแพตตันมีมากขึ้น ผิด ๆ ซึง่ มักจะปิดบังข้อเท็จจริง เป็นเหตุให้พวก พูดสิ่งที่ไม่บาป” และแผ่กระจายไปทั่วโลก ผู้น�าทางการทหาร เราทุกคนเป็นห่วงเมื่อท่านพูดในที่สาธารณะ นายพลแพตตัน บรรยายโต้ตอบทันควัน ท่านไม่เคยลังเลใจที่จะจับปัญหาให้เข้ามาชิด “บาปต้องถูกท�าลายเมื่อมันปรากฏตัวขึ้น จ�านวนมากในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ซึ่ง จมูกและเขย่าจนได้ความจริงออกมา ผมจ�าการ คุณได้ยินแต่ไอ้พวกขี้ขยะทุกวัน แต่ให้ผมบอก ต่อต้านนายพลแพตตันถูกลืม และเสื่อมเสีย พูดของท่านได้ “สงครามนี้เกิดขึ้นเพราะพวก อะไรคุณอย่างนึง มันโง่มากที่จะพูดว่าคุณไม่ ความเชื่อถือในพวกประชาชน ผู้น�าทางศาสนา เราทุกคนนี่แหละ ไม่มีใครพูดต่อต้านฮิตเลอร์ สามารถสู้กับไอ้ตัวสกั๊งค์ระดับมืออาชีพได้ ให้ หลายคนถูกลืมไปจากความทรงจ�า เพราะความ ทุกคนต้องการความสงบในชีวิตของตนเอง ถ้า ผมบอกอะไรคุณสักอย่าง! ถ้าคุณไม่ฆ่าสกั๊งค์ ล้มเหลวในการพูด ขณะที่พวกเขาควรจะพูด มีผู้น�าของประเทศไหนก็ได้ออกโรงพูดต่อต้าน ตั ว แรกที่ ป รากฏตั ว ออกมาละก็ มั น จะมุ ด ข้อเท็จจริง ฮิตเลอร์ เราอาจจะไม่ต้องรบในสงครามบ้าๆ เข้าไปใต้ถุนบ้านคุณ และคุณต้องเผาบ้านจน หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
45
ความเห็นถูก ทีอ่ าจแตกต่าง กองอนุศาสน์ กรมเสมียนตรา
4๖
กองอนุศาสน์ กรมเสมียนตรา
ต่
างคนก็ต่างความเห็น ปัจจุบันมีความ แตกต่ า งด้ า นความเห็ น กั น มากมาย ในสังคม ตั้งแต่เรื่องเล็กๆ ในบ้านไป จนถึงเรือ่ งใหญ่ระดับชาติ แต่ไม่วา่ จะเรือ่ งอะไร เราควรจะมีความเห็นที่ถูกต้องในเรื่องนั้นๆ จึงจะกระท�าสิ่งนั้นได้อย่างถูกต้อง และท�าได้ ส�าเร็จสมบูรณ์ตามความตั้งใจ ความเห็นถูก จึงเป็นสิง่ ส�าคัญเป็นบ่อเกิดของความเจริญเป็น อันดับแรก ในการด�าเนินชีวิตของเรานั้นแต่ละคนต่าง มีแนวทาง หรือเป้าหมายไม่เหมือนกัน ตามจิตใจ ที่ได้รับการปลูกฝังและสั่งสอน มาจากสังคม รอบตัวแต่ในวัยเด็ก ผ่านวันเวลาสะสมเรือ่ ยมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น ท� า ให้ ต ่ า งคนต่ า งมี มุ ม มอง หรือความเห็นแตกต่างกันไป บางคนด�าเนิน ชีวิตได้อย่างมีความสุข บางคนตรงกันข้าม แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงให้ความ เห็นที่ถูกต้องไว้ เพื่อเป็นแนวทางส�าหรับคิด พูด ท�า และตัดสินใจ เพื่อให้พวกเราชาวพุทธ มีหลักยึดเหนี่ยว ในการด� าเนินชีวิตได้อย่าง ถูกต้อง มีความสุข และมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง ความเห็นถูกที่ท่านให้ไว้มีดังนี้ ความเห็นถูก ว่า การให้ มีผลจริง คือ ชีวิต จะเป็นสุขได้ดว้ ยการแบ่งปันกันอย่างเหมาะสม ความเห็นถูก ว่า การสงเคราะห์ มีผลจริง คือ ชีวิตจะเป็นสุขได้ด้วยการช่วยเหลือกัน หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
โดยเฉพาะยามทุกข์ยากล�าบาก ต่างพึ่งพากัน ความเห็นถูก ว่า การยกย่องคนดี มีผลจริง คือ ชีวติ จะเป็นสุขได้ดว้ ยการยกย่องคุณความดี ของกันละกัน เพื่อรักษาและส่งเสริมการท�า ความดีในสังคม ความเห็นถูก ว่า ผลของกรรมดีและกรรมชัว่ มี จ ริ ง คื อ ชี วิ ต จะเป็ น สุ ข ได้ ด ้ ว ยการท�า แต่ สิ่งที่ดี ละเว้นความชั่ว ต่างคนต่างเคารพกัน ไม่เบียดเบียน ไม่อคติ ความเห็นถูก ว่า โลกนี้โลกหน้า มีจริง คือ เมื่อตายไปแล้วตัวเราไม่ได้ดับสูญ แต่ยังต้องไป
ในการดำาเนินชีวิตของเรานั้นแต่ละคน ต่างมีแนวทาง หรือเป้าหมายไม่เหมือนกัน ตามจิตใจที่ได้รับการปลูกฝัง และ สั่งสอน มาจากสังคมรอบตัว แต่ในวัยเด็ก ผ่านวันเวลาสะสม เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
47
เมื่อใดสัมมาทิฏฐิถูกปลูกฝังลงใน จิตใจของบุคคลอย่างมั่นคงแล้วชีวิต ของบุคคลนั้นก็จะบังเกิดแสงเงิน แสงทองขึ้นมา ชีวิตของผู้นั้นย่อม หวังได้ ซึ่งความเจริญรุ่งเรือง ในธรรมไปตลอดชีวิต
48
เกิดใหม่ในภพเบือ้ งหน้า ตามสมควรแก่กรรมที่ ท�าไว้ในปัจจุบัน ความเห็นถูก ว่า มารดามีคุณ คือ มีพระคุณ เพราะเป็นผู้ให้ชีวิต ให้เลือดให้เนื้อ อีกทั้งคอย เลี้ยงดู อบรมสั่งสอนจนเติบโต ความเห็นถูก ว่า บิดามีคุณ คือ มีพระคุณ เพราะเป็นผู้ให้ชีวิต ในท�านองเดียวกับมารดา ความเห็นถูก ว่า โอปปาติกะ มีจริง คือ สัตว์ ที่เกิดผุดขึ้นแล้วโตทันทีมีจริง หมายถึงเหล่า เทวดา และพวกสัตว์ในนรก ในอบายภูมิ ซึ่ง เป็นเครือ่ งยืนยันว่า สวรรค์ ส�าหรับผูท้ ที่ า� ความ ดี และนรก ส�าหรับผู้ที่ท�าความชั่ว มีจริง ความเห็นถูก ว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้รู้ แจ้งโลก พ้นโลกแล้วด้วยพระองค์เอง และทรง สอนให้ผอู้ นื่ พ้นตามได้ มีจริง คือ พระอรหันต์ผทู้ ี่ ปฏิบัติตามค�าสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วพ้นทุกข์ตามได้มีจริง ซึ่งท่านเหล่านั้นล้วน เป็นพยาน ในการตรัสรู้ของพระองค์ และเป็น เครื่ อ งยื น ยั น ว่ า ค� า สอนของพระองค์ ป ฏิ บั ติ ได้จริง มีผลจริง ความเห็นถูกทุกประการข้างต้นนี้ คือความ เป็ น ไปของโลกที่ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรง ค้นพบ แล้วน�ามาตรัสสั่งสอน เพื่อให้ชาวโลก ได้รู้ตาม จะได้ด�าเนินชีวิตในเส้นทางที่ถูกต้อง ปลอดภัย ความเห็นถูกเหล่านี้ เมื่อเข้าไปอยู่
ในใจของผู้ใดอย่างมั่นคงแล้ว ก็จะกลายเป็น สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นถูกในเรื่องของชีวิต ตามความเป็นจริง ส่งผลให้เกิด ความคิดชอบ การกล่าววาจาชอบ การกระท�าชอบ การประกอบ อาชี พ ชอบ ความพยายามชอบ ความมี ส ติ ระมัดระวัง และความตั้งใจมั่นชอบ ยิ่งๆ ขึ้นไป กลายเป็นแนวทางปฏิบัติตามหลัก อริยมรรค มีองค์ ๘ เมื่อใดสัมมาทิฏฐิถูกปลูกฝังลงในจิตใจของ บุคคลอย่างมั่นคงแล้วชีวิตของบุคคลนั้นก็จะ บังเกิดแสงเงินแสงทองขึ้นมา ชีวิตของผู้นั้น ย่ อ มหวั ง ได้ ซึ่ ง ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในธรรม ไปตลอดชีวิตดุจอุปมาที่ว่า แสงเงินแสงทอง จับที่ขอบฟ้าในเวลาใด ย่อมเป็นนิมิตหมายว่า ดวงอาทิตย์กา� ลังจะโผล่พน้ ขอบฟ้าในเวลานัน้ กองอนุศาสน์ กรมเสมียนตรา
พระเจ้าปดุงกับพระพุทธศาสนา
พ
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ระเจ้ า ปดุ ง (อั ง กฤษจะเรี ย กว่ า พระเจ้าโบดอพญา) ได้ครองราชสมบัติ ต่อจากพระเจ้าจิงกูจา ซึ่งเป็นกษัตริย์ ล�าดับที่ ๕ แห่งราชวงศ์อลองพญา เป็นพระ ราชโอรสล�าดับที่ ๕ ของพระเจ้าอลองพญา กษัตริย์พม่าในยุคที่สามที่น�าอาณาจักรสู่ความ ยิง่ ใหญ่ตอ่ จากราชวงศ์ตองอู หากไม่นบั พระเจ้า บุเรงนองแล้ว พระเจ้าปดุงจะเป็นกษัตริย์ที่ ยิ่งใหญ่มากพระองค์หนึ่งของอาณาจักรพม่า ประกอบกับครองราชย์นานถึง ๓๗ ปี จึงมี ผลงานเป็นจ�านวนมากที่ยังคงเหลืออยู่จนถึง ปัจจุบัน............บทความนี้ กล่าวถึงพระเจ้า ปดุงกับพระพุทธศาสนา ๑. กล่าวทั่วไป พระเจ้าปดุง (Bodawpaya) ครองราชสมบัติ ในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ทรงเริ่ ม ขยายดิ น แดน ตีเมืองมณีปุระทางตอนเหนือของพม่าส�าเร็จ และทรงตีเมืองยะไข่ (อาระกัน) ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ อยู่ทางตะวันตกของอาณาจักรพม่า รบชนะสองเมืองใหญ่ในเวลาสามปี อาณาจักร
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
พม่ามีอาณาเขตขนาดใหญ่ขึ้น พระองค์ทรง มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะขยายอาณาจั ก รพม่ า ให้ ยิ่งใหญ่ตามความต้องการของพระราชบิดา และให้ มี เ กี ย รติ ย ศเป็ น มหาราชเหมื อ นเช่ น พระเจ้ า หงสาวดี บุ เ รงนอง แต่ ต ้ อ งพ่ า ยแพ้ ศึกใหญ่ถงึ สองครัง้ ในการเข้าตีอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ.๒๓๒๘ ที่รู้จักในชื่อศึกเก้าทัพซึ่งเป็น ศึกใหญ่ตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และปี พ.ศ. ๒๓๒๙ ที่ รู ้ จั ก ในชื่ อ ศึ ก ท่ า ดิ น แดงและสาม สบ ต่อมาพระองค์จึงให้ความสนใจทางด้าน พระพุทธศาสนา ๒. สร้างพระมหาธาตุ ๒.๑ เจดียเ์ มงกุน (Mingun Pagoda) พระเจ้าปดุงกษัตริย์แห่งราชวงศ์อลองพญา เมื่ อ เข้ า สู ่ วั ย ชรามี ค วามประสงค์ จ ะบ� า เพ็ ญ เป็ น ศาสนู ป ถั ม ภกเพื่ อ ประโยชน์ โ พธิ ญ าณ ให้ จั ด การสร้ า งพระมหาธาตุ ขึ้ น ที่ เ มื อ ง เมงกุล พระเจ้าปดุงทรงมอบราชการแผ่นดิน ให้ พ ระมหาอุ ป ราชาบั ง คั บ บั ญ ชารั ก ษา พระนครแทนพระองค์ แ ล้ ว เสด็ จ ออกไปตั้ ง
หากไม่นับพระเจ้าบุเรงนองแล้ว พระเจ้าปดุงจะเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ มากพระองค์หนึ่งของอาณาจักรพม่า ประกอบกับครองราชย์นานถึง ๓๗ ปี จึงมีผลงานเป็นจำานวนมาก ที่ยังคงเหลืออยู่จนถึงปัจจุบัน
49
ภาพกราฟิกส์ประเทศพม่า เมืองมัณฑะเลย์เป็น ที่ตั้งของวัดมหามุนี ที่ประดิษฐานของพระมหามุนี (Maha Muni Buddha) พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ ขนาดสูง ๑๖ ฟุต ๗ นิ้ว
พลับพลาประทับ ทรงอ�านวยการสร้างพระ มหาธาตุด้วยพระองค์เองที่เมืองเมงกุน ให้ กะเกณฑ์ผู้คนพลเมืองในบรรดาหัวเมืองพม่า รามั ญ และเมื องประเทศราชต่างๆ ที่ขึ้น แก่ พม่ า ในปี พ.ศ.๒๓๕๕ ให้ ผ ลั ด เปลี่ ย นกั น มาท� า การสร้ า งพระมหาธาตุ มี ค นประจ� า ท�างานอยู่นับหมื่นเสมอ เป็นเหตุให้ไพร่บ้าน พลเมืองเดือดร้อนทั่วไปจนพวกมอญ (เรียกว่า มอญใหม่ ) พากั น อพยพมาอยู ่ ใ นเมื อ งไทย ในสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๕๘ อีก คราวหนึ่ง มีจ�านวนกว่า ๔๐,๐๐๐ คน เพราะ ถูกเกณฑ์ไปท�าพระมหาธาตุนั้นเป็นเหตุ เจดีย์ เมงกุ น สร้ า งขึ้ น บริ เ วณชายฝั ่ ง แม่ น�้ า อิ ร ะวดี ต่ อ มามี ชื่ อ เรี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า ปาโดดอจี (Pahtodawgyi) ซึ่งมีความหมายว่าเจดีย์ที่ สร้างไม่เสร็จ เสนาบดี พ ม่ า ปรึ ก ษากั น เห็ น ว่ า ไพร่ บ ้ า น พลเมื อ งเดื อ ดร้ อ นระส�่ า ระสายนั ก เกรงว่ า จะเกิดกบฏขึ้นจึงคิดกลอุบายหาเหตุให้เกิด สงครามขึ้นกับเมืองมณีปุระ ให้พระเจ้าปดุง ต้องไปกังวลเสียด้วยการสงคราม จึงได้งดสร้าง พระมหาธาตุที่เมืองเมงกุน (ใช้เวลาก่อสร้าง นาน ๗ ปี) ดังนั้นพระมหาธาตุนั้นยังค้างอยู่ จนตราบเท่าทุกวันนี้ ต่อมาไม่ช้านักพระเจ้า ปดุงก็ประชวรและสิน้ พระชนม์เมือ่ ปีเถาะ พ.ศ. ๒๓๖๒ พระเจ้าปดุงอยู่ในราชสมบัตินาน ๓๗ ปี ปัจจุบันนี้เจดีย์เมงกุนมีความสูง ๕๐ เมตร ถ้าหากสร้างเสร็จตามแผนจะเป็นเจดีย์ที่ใหญ่ ที่สุดและสูงที่สุดในโลก จะมีความสูง ๑๕๒.๐ เมตร ส�าหรับรอยแตกร้าวตรงกลางฐานเกิด จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในปี พ.ศ.๒๓๘๑ ๒.๒ ระฆังเมงกุน ใกล้กับฐานเจดีย์เมงกุนคือระฆังเมงกุน ที่ พระเจ้าปดุงโปรดฯ ให้สร้างจนส�าเร็จ เพือ่ อุทศิ ถวายแด่มหาเจดีย์เมงกุน เป็นระฆังยักษ์โดย มีเส้นรอบวง ๑๐.๐ เมตร สูง ๓.๗ เมตร และ น�้าหนัก ๘๗ ตัน ปัจจุบันนี้ถือว่ามีขนาดใหญ่ เป็นล�าดับสองของโลกโดยเป็นรองเฉพาะระฆัง แห่งพระราชวังเครมลิน กรุงมอสโค แต่ระฆัง 50
ระฆังเมงกุน ที่พระเจ้าปดุงโปรดฯ ให้สร้างจนส�าเร็จเพื่ออุทิศถวายแด่มหาเจดีย์เมงกุน เป็นระฆังยักษ์โดยมี เส้นรอบวง ๑๐.๐ เมตร สูง ๓.๗ เมตร และน�้าหนัก ๘๗ ตัน
แห่งรัสเซียได้แตกร้าวไปแล้ว ดังนัน้ ระฆังเมงกุน เป็นระฆังยักษ์ที่ยังคงส่งเสียงก้องกังวาน ๒.๓ วั ด มหามุ นี (Maha Muni Temple) พ.ศ.๒๓๒๗ พระเจ้าปดุง ทรงตีได้เมือง ยะไข่และได้อัญเชิญพระมหามัยมุนีโดยล่องมา ตามแม่น�้าอิระวดีมายังเมืองมัณฑะเลย์ อยู่ที่ วัดมหามุนี (หรือวัดยะไข่ Rakhine Pagoda) ไปทางใต้ ป ระมาณ ๓ กิ โ ลเมตร เดิ ม นั้ น พระมหามัยมุนี (Maha Muni Buddha) เป็น พระพุทธรูปทองค�าคู่บ้านคู่เมืองยะไข่ พม่า มีสถานที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับทางพุทธ ศาสนามากมาย แต่มีอยู่ ๕ สิ่งที่เรียกว่าส�าคัญ ยิ่งส�าหรับการแสวงบุญ ประกอบด้วย พระ มหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง กรุงย่างกุ้ง, พระ มหาธาตุ เ จดี ย ์ ช เวสิ ก อง เมื อ งพุ ก าม, พระ มหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) เมือง
หงสาวดี, พระมหาธาตุเจดีย์ไจก์ถิโย (พระธาตุ อิ น ทร์ แขวน) รั ฐ มอญ และพระมหามั ย มุนี เมืองมัณฑะเลย์ ๒.๔ เจดีย์ชเวมอดอ (เจดีย์พระธาตุ มุเตา) พ.ศ.๒๓๓๙ พระเจ้าปดุง ทรงสร้างฉัตร ขึ้นใหม่และเสริมยอดเจดีย์ชเวมอดอ (เจดีย์ พระธาตุ มุ เ ตา) ที่ เ มื อ งหงสาวดี ขึ้ น ไปจน สู ง ถึ ง ๙๐ เมตร เจดี ย ์ ช เวมอดอเป็นเจดีย์ ที่สูงที่สุดของพม่าซึ่งมีความสูง ๑๑๔ เมตร เป็ น เจดี ย ์ แ บบมอญ มี ฉั ต รแบบเรี ย บและ มี อ งค์ ร ะฆั ง ของเจดี ย ์ มี ลั ก ษณะแคบเรี ย ว ภายนอกหุ้มด้วยทอง ๓. การติดต่อกับศรีลังกาและอินเดีย พระเจ้าปดุงติดต่อกับอาณาจักรศรีลังกา ซึ่งเป็นห้วงที่ศาสนาพุทธเสื่อมโทรม พระองค์ ทรงให้ ค วามอุ ป ถั ม ภ์ พ ระสงฆ์ ช าวศรี ลั ง กา พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ที่เดินทางมายังกรุงอมรปุระเมืองหลวงของ อาณาจักรพม่า เพื่อมาศึกษาพระพุทธศาสนา ได้พ�านักอยู่เป็นเวลานาน ๓ ปี จึงได้เดินทาง กลับสู่ศรีลังกา พระสงฆ์รูปนี้เป็นผู้ตั้งนิกาย อมรปุระในศรีลังกา เหมือนเมื่อครั้งศรีลังกา ได้น�านิกายสยามวงศ์ไปจากสยาม อิ น เดี ย มี ส ภาพคล้ า ยกั บ ศรี ลั ง กาคื อ พุ ท ธ ศาสนาเสื่อม พระเจ้าปดุงได้ทรงส่งสมณทูต ไปอินเดีย เพื่อจะไปซ่อมแซมโบสถ์วิหารและ คัดลอกผลงานที่น่าสนใจในทางพุทธศาสนา ๔. บทสรุป พระเจ้าปดุงแห่งอาณาจักรพม่ายุคที่สาม แห่งราชวงศ์อลองพญา ทรงน�ากองทัพพม่า เข้าตีอาณาจักรสยามหลังจากที่ทรงขึ้นครอง ราชย์เพียงสามปีเป็นศึกใหญ่ของอาณาจักร กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่ไม่ประสบความ ส� า เร็ จ จึ ง ได้ ส นพระทั ย ทางด้ า นพระพุ ท ธ พ.ศ.๒๓๓๙ พระเจ้าปดุง ทรงสร้างฉัตรขึ้นใหม่ ศาสนา พระองค์สวรรคตในวัย ๗๕ พรรษา และเสริมยอดเจดีย์ชเวมอดอ (เจดีย์พระธาตุมุเตา) อยู่ในราชสมบัตินาน ๓๗ ปี นับว่าพระองค์ได้ เมืองหงสาวดี สูงถึง ๙๐ เมตร เจดีย์ชเวมอดอเป็น น�าอาณาจักรพม่าในยุคทีส่ ามขึน้ สูอ่ �านาจสูงสุด เจดี ย ์ ที่ สู ง ที่ สุ ด ของพม่ า ซึ่ ง มี ค วามสู ง ๑๑๔ เมตร เป็นสถานที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับทางพุทธศาสนา อีกครั้งหนึ่ง แต่ก็ได้ก่อปัญหาที่จะเกิดขึ้นใน เป็นหนึ่งในห้าที่เรียกว่าส�าคัญยิ่งส�าหรับการแสวงบุญ อนาคตที่เป็นภัยคุกคามต่ออาณาจักรที่มาจาก ของประเทศพม่า ทางทิศตะวันตก
ทรงนำากองทัพพม่าเข้าตี อาณาจักรสยามหลังจากที่ ทรงขึ้นครองราชย์เพียงสามปี เป็นศึกใหญ่ของอาณาจักร กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่ ไม่ประสบความสำาเร็จ จึงได้สนพระทัย ทางด้านพระพุทธศาสนา
ปัจจุบันนี้เจดีย์เมงกุนมีความสูง ๕๐ เมตร หากสร้างเสร็จตามแผนจะเป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดและสูงที่สุดในโลก จะมีความสูง ๑๕๒.๐ เมตร ส�าหรับรอยแตกร้าวตรงกลาง ฐานโดยเกิดจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในปี พ.ศ.๒๓๘๑ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
51
๑๒๐ ปี เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ บาดแผลลึกในจิตใจของชาวสยาม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
5๒
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
วั
นที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๓๖ ถือได้ว่า เป็นเหตุการณ์วิกฤตของสยามประเทศ ต่ อ กรณี ที่ ถู ก ชาติ ต ะวั น ตกซึ่ ง ถื อ เอา ความได้ เ ปรี ย บของแสนยานุ ภ าพทางการ ทหารที่ เ หนื อ กว่ า เข้ า รุ ก รานราชอาณาจั ก ร และหมายย�่ า ยี เ อกราชของราชอาณาจั ก ร สยามเช่นเดียวกันกับประเทศเพื่อนบ้านที่ได้ รับการคุกคามจนสูญสิน้ เอกราชมาก่อนแล้วแต่ เหตุการณ์ในวันนั้นและอีกไม่กี่วันต่อมานับว่า ได้สร้างความกดดันและกระทบกระเทือนต่อ ความรู้สึกของชาวสยามในฐานะผู้ถูกรุกราน เป็นอันมาก และถือเป็นความสุ่มเสี่ยงต่อการ สูญเสียเอกราชอย่างจวนเจียนมากที่สุดครั้ง หนึ่งของประวัติศาสตร์ หากย้อนกลับไปเมื่อ ๑๒๐ ปีก่อน หลาย ท่านคงได้เคยรับทราบถึงกรณีพระยอดเมือง ขวาง เจ้าเมืองค�าม่วน (ปัจจุบันคือ แขวงค�า ม่วน ซึ่งเป็นแขวงหนึ่งตั้งอยู่ทางตอนกลางของ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว) ซึ่งในเวลานั้นอยู่ในอาณาเขตของราช อาณาจักรสยาม ทั้งนี้เนื่องจาก ในวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๔๓๖ ได้เกิดกรณีพิพาทระหว่าง การปั ก ปั น เขตแดนฝั ่ ง ซ้ า ยของแม่ น�้ า โขง ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส โดยฝรั่งเศสต้องการ เมืองค�าม่วน จึงได้ส่งก�าลังทหารเข้ามาบังคับ ให้พระยอดเมืองขวาง เจ้าเมืองค�าม่วนออก จากพื้นที่ แต่พระยอดเมืองขวางไม่ยินยอม จึงตั้งกองก�าลังประจันหน้ากัน และต่อมาเมื่อ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๔๓๖ ได้เกิดเหตุการณ์ การปะทะกันขึ้น ท�าให้มีชาวฝรั่งเศสเสียชีวิต พร้อมกับทหารญวนอาสาประมาณ ๑๒ คน ส�าหรับฝ่ายทหารไทยเสียชีวิต ๖ คน ซึ่งจาก กรณีพิพาทเมืองค�าม่วน จึงท�าให้กงสุลฝรั่งเศส ประจ�ากรุงเทพฯ ไม่พอใจและจะให้ด�าเนินคดี เอาเรื่องให้ถึงที่สุด และอ้างเหตุที่จะต้องน�า เรื อ รบเข้ า มาในพระราชอาณาจั ก รโดยอ้ า ง เหตุผลว่า “เพื่ อ คุ ้ ม ครองผู ้ ค นและทรั พ ย์ สิ น ของ ฝรั่งเศสในสถานการณ์ปัจจุบันที่ไม่แน่นอน” แต่แท้ที่จริงแล้วฝรั่งเศสมีเจตนาจะยึดครอง ดินแดนสยามให้ได้ โดยใช้ข้ออ้างจากกรณี พิพาทเมืองค�าม่วนเป็นเหตุ ! ในวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๓๖ ในห้วง เวลาเย็น เรือรบฝรั่งเศส ๒ ล�า คือ เรือโคแมต (Comete) และเรือแองคองสตังค์ (Inconstang) ได้รุกล�้าสันดอนปากแม่น�้าเจ้าพระยา บริเวณ จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีเรือ เจ.เบ.เซย์ (Jean Baptist Say) เรือสินค้าเป็นเรือน�าร่อง โดยไม่ยอมฟังค� าห้ามปรามและโดยมิได้รับ อนุญาตจากรัฐบาลสยาม ในเวลานัน้ เองหมูป่ นื ที่ประจ�าการ ณ ป้อมพระจุลจอมเกล้า ได้ยิง กระสุนนัดดินออกไป ๓ นัด เป็นการเตือนให้ กลับไปเสีย แต่เรือฝรั่งเศส ยังแล่นเรื่อยเข้ามา หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ปืนป้อมพระจุลจอมเกล้า จึงยิงด้วยกระสุนจริง แต่ข้ามหัวเรือรบฝรั่งเศสไป ซึ่งเรือรบฝรั่งเศส ได้ชักธงรบและระดมยิงป้อมพระจุลจอมเกล้า พร้อมกันทั้ง ๒ ล�าหลังจากนั้น ทั้งสองฝ่ายก็ ต่างระดมยิงโต้ตอบกันอย่างรุนแรง การรบ ได้ด�าเนินไปเป็นเวลาประมาณครึ่งชั่วโมงเศษ จึงยุติลง เพราะความมืดเป็นอุปสรรค ท�าให้ เรือรบฝรั่งเศส ๒ ล�า สามารถตีฝ่าแนวป้องกัน ที่ปากน�้าเจ้าพระยาเข้ามาได้จนถึงกรุงเทพฯ และเทียบท่าอยู่หน้าสถานทูตฝรั่งเศสสมทบ กับเรือลูแตง (Le Lutin) ซึ่งเข้ามาจอดอยู่ หน้ า สถานทู ต ฝรั่ ง เศส ตั้ ง แต่ ป ี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๕ ในลักษณะของการท้าทายและแสดง แสนยานุภาพข่มขวัญรัฐบาลสยาม ส�าหรับเรือ น�าร่องถูกยิงเกยตื้นอยู่ริมฝั่ง หลังจากนัน้ ฝรัง่ เศสได้ยนื่ เงือ่ นไขให้รฐั บาล สยามปฏิบัติตาม โดยอ้างว่าสยามสร้างความ เสียหายให้แก่ชีวิต ทรัพย์สินของฝรั่งเศสจาก เหตุการณ์ปากน�้า (ป้อมพระจุลจอมเกล้า) ซึ่ง มีเงื่อนไข รวม ๖ ข้อ พร้อมส่งเรือจ�านวนกว่า ๑๐ ล�า ปิดอ่าวไทย และให้สยามแจ้งค�าตอบ พร้อมปฏิบัติภายใน ๔๘ ชั่วโมง ดังนี้ ๑. ให้ ส ยามยอมสละกรรมสิ ท ธิ์ ทั้ ง หมด และเคารพสิทธิของญวนและเขมรในดินแดน เหนือฝั่งซ้ายแม่น�้ าโขง รวมทั้งบรรดาเกาะ ทั้งหมด ที่อาจมีขึ้นเมื่อน�้าลด หรือในบรรดาที่ มีมาก่อนแล้วนั้น ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของฝรั่งเศส ๒. สยามจะต้องไม่มีค่ายทหารในเขต ๒๕ กิโลเมตรตลอดแนวแม่น�้ารวมทั้งพระตะบอง และเสียมราฐ สยามจะไม่มีเรือรบไปไว้ หรือ ใช้ดินแดนในทะเลสาป หรือล�าน�้าที่แยกจาก แม่น�้าโขง และให้ถอนกองทหารที่ตั้งมั่นอยู่บน ฝั่งซ้ายแม่น�้าโขง ให้เสร็จสิ้นภายในเวลาไม่เกิน ๑ เดือน ๓. ให้เสียค่าปรับให้แก่ฝรัง่ เศส ในเหตุการณ์ อุ ก ฉกรรจ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ที่ ทุ ่ ง เชี ย งค� า และที่ ค� า
ซึ่งจากกรณีพิพาทเมืองคำาม่วน จึงทำาให้กงสุลฝรั่งเศสประจำากรุงเทพฯ ไม่พอใจและจะให้ดำาเนินคดีเอาเรื่อง ให้ถึงที่สุด และอ้างเหตุที่จะต้องนำา เรือรบเข้ามาในพระราชอาณาจักร โดยอ้างเหตุผลว่า “เพือ่ คุม้ ครองผูค้ น และทรัพย์สนิ ของฝรัง่ เศสในสถานการณ์ ปัจจุบันที่ไม่แน่นอน” แต่แท้ที่จริงแล้ว ฝรั่งเศสมีเจตนาจะยึดครองดินแดน สยามให้ได้ โดยใช้ข้ออ้างจากกรณี พิพาทเมืองคำาม่วนเป็นเหตุ!
ม่วน และทั้งในการที่ได้ท�าอันตรายและความ เสียหายแก่เรือ และพวกกะลาสีเรือฝรั่งเศส ในล�าแม่น�้าเจ้าพระยา ๔. ให้ ล งโทษผู ้ ก ระท� า ผิ ด และเสี ย เงิ น ค่าท�าขวัญให้แก่ครอบครัวผู้ที่ต้องเสียชีวิต ๕. ให้ใช้เงิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ ฟรังก์ เป็นค่าที่ ท�าความเสียหายให้แก่ชนชาติฝรั่งเศส ๖. ให้จ่ายเงินจ�านวน ๓,๐๐๐,๐๐๐ ฟรังก์ ทันที (บันทึกบางเล่มอ้างว่า ๓ ล้านบาท ซึง่ จาก การตรวจสอบแล้วทราบว่าอัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทกับเงินฟรังก์ในเวลานั้น ยังไม่มีการ เทียบค่าอย่างเป็นทางการ แต่มีความใกล้เคียง กันมาก) เพื่อเป็นการมัดจ�าในเรื่องชดใช้เงิน ค่าเสียหายและเงินค่าท�าขวัญรายต่างๆ หรือ ถ้าไม่สามารถ ก็ต้องยอมให้รัฐบาลฝรั่งเศสถือ
เรือโคแมต (Comete) 53
สำาหรับเงินที่สยามต้องจ่ายให้แก่ ฝรั่งเศสในเหตุการณ์นี้มีนำ้าหนักถึง ๒๓ ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับมูลหนี้ จำานวน ๓ ล้านฟรังก์ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ยังมีพระบรมราชโองการ ให้เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ นำาพระราชทรัพย์จำานวนประมาณ ห้าแสนบาทเศษ ซื้อเป็นพันธบัตร ต่างประเทศเพื่อใช้หนี้จนครบจำานวน ให้แก่ฝรั่งเศสอีกด้วย จึงสามารถ ทำาให้สยามรอดพ้นจากการตกเป็น อาณานิคมของฝรั่งเศสได้อีกคราหนึ่ง
54
สิทธิเก็บเงินค่าส่วยสาอากร และสมพัสตร์ใน มณฑลพระตะบองและเสียมราฐ โดยฝรั่งเศส ยังก�าหนดเพิม่ เติมอีกว่าสยามจะต้องช�าระด้วย เงินเหรียญเท่านั้น ไม่รับช�าระเป็นธนบัตร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัด สิ น พระทั ย ยอมท�า ตามเงื่ อ นไขของ ฝรั่ ง เศสเพราะหากไม่ รั บ เงื่ อ นไข ฝรั่ ง เศสก็ สามารถอ้างเหตุรุกรานได้ทันที แต่ปัญหาใหญ่ หลวงที่สยามต้องเผชิญในเหตุการณ์เฉพาะ หน้ า ที่ ส ร้ า งความคั บ ขั น ไม่ น ้ อ ยไปกว่ า การ ตัดสินใจอื่นๆ ก็คือ การหาเงิน ๓ ล้านฟรังก์ จ� า นวนมากนั้ น มาช� า ระให้ ทั น ภายใน ๔๘ ชั่ ว โมง มิ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ยเพราะเป็ น เงิ น จ� า นวน มหาศาล และฝรั่งเศสไม่รับเป็นธนบัตร แต่ รั บ เป็ น เงิ น เหรี ย ญ (Coin) เท่ า นั้ น ซึ่ ง เมื่ อ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ถวาย รายงานจ�านวนเงินในท้องพระคลังหลวงให้ ทรงทราบ ก็ยังไม่เพียงพอกับจ�านวน ๓ ล้าน ฟรังก์ ที่ถูกเรียกร้องตามใจชอบของฝรั่งเศส ทั้งนี้ หากสยามไม่สามารถจ่ายเงินให้ฝรั่งเศส ตามที่เรียกร้องในเวลาก�าหนด ฝรั่งเศสก็จะใช้ เหตุนี้เป็นข้ออ้างในการปิดอ่าวสยาม และเข้า ยึดสยามเป็นอาณานิคมอย่างแน่นอน จึงนับว่า เป็ น ความกดดั น และกระทบกระเทื อ นต่ อ ความรู้สึกของชาวสยามในฐานะผู้ถูกรุกราน เป็ น อั น มาก และถื อ เป็ น ความสุ ่ ม เสี่ ย งต่ อ การสูญเสียเอกราชอย่างจวนเจียนมากที่สุด ครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์
ปัญหานี้ได้สร้างความวิตกกังวลและทุกข์ เทวษในพระราชหฤทั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เป็ น อย่ า งยิ่ ง กล่ า วกั น ว่ า ถึ ง กั บ ท� า ให้ ไ ม่ ท รงเสวยพระ กระยาหารหรื อ พระสุ ธ ารสเลยแม้ แ ต่ น ้ อ ย ขณะที่ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว ทรงก�าสรดพระทัยอยู่นั้น พระบรม วงศ์ชั้นผู้ใหญ่กราบบังคมทูลเรื่อง เงินถุงแดง จ�านวนสามหมื่นชั่งที่พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเก็บสะสมไว้เมื่อครั้งที่ทรง เจริญพระราชพาณิชยกรรมด้วยการค้าส�าเภา กับชาวต่างประเทศ พร้อมทั้งพระราชทานให้ แก่แผ่นดินส�าหรับใช้ในยามทีป่ ระเทศชาติบา้ น เมืองเกิดภาวะคับขัน โดยขอให้ทรงมีพระบรม ราชโองการให้น�าเงินถุงแดงดังกล่าวมาชดใช้ ค่าเสียหายให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่ ง ในตอนแรก พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังไม่มีพระราชประสงค์ ที่ จ ะใช้ เ งิ น ดั ง กล่ า วเพราะทรงตั้ ง พระราช ปณิธานจะให้เก็บไว้เป็นหลักทรัพย์ของแผ่นดิน
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
และให้สืบทอดไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานในอนาคต แต่เมื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยทบทวนอยู่หลาย ครั้ง จนในที่สุดต้องทรงมีพระบรมราชโองการ ทั้ ง ที่ มี พ ระอั ส สุ ช ลนองพระเนตร ให้ น� า เงิ น ถุงแดงมาช�าระเป็นค่าชดใช้ให้แก่ฝรั่งเศสเพื่อ รักษาเอกราชของชาติไว้ให้รอดพ้นจากการตก เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส หลังจากนัน้ เจ้าพนักงานจึงได้ขนเงินเหรียญ จากถุงแดง เงินพดด้วง และเงินสกุลต่างๆ ใส่ รถเที ย มม้ าเคลื่ อนออกจากพระที่นั่งจัก รี มหาปราสาท ผ่านประตูศรีสุนทร ผ่านประตู เทวาภิ ร มย์ ไปยั ง ท่ า ราชวรดิ ฐ เพื่ อ น� า เงิ น เหรียญไปขึ้นเรือลูแตง ส่งให้ฝรั่งเศสทั้งวันทั้ง คืนหลายเทีย่ วเพราะเงินดังกล่าวมีนา�้ หนักมาก ทุกเที่ยวของรถเทียมม้าที่วิ่งผ่าน ก็บังเกิดเป็น มีเสียงการบดเสียดสีกับพื้นอย่างต่อเนื่องดัง “กรอกแกรบๆ” ไม่ขาดสาย ท�าให้ประชาชน ต่างหอบลูกจูงหลานมาเฝ้าดูริมถนนและต่าง ต้องร�่าน�้าตาด้วยความเจ็บช�้าและคับข้องใจ เพราะเสียงบดพื้นแต่ละครั้งคล้ายดังเสียงที่ เชือดเฉือนโสตประสาทและบาดลึกในความ รูส้ กึ ของประชาชนทีเ่ ฝ้าดูความอัปยศผสานกับ น�้าตาที่รินหลั่งอย่างต่อเนื่องเนืองนองเป็นสาย ส�าหรับเงินที่สยามต้องจ่ายให้แก่ฝรั่งเศสใน เหตุการณ์นี้มีน�้าหนักถึง ๒๓ ตัน ซึ่งยังไม่เพียง พอกับมูลหนี้จ�านวน ๓ ล้านฟรังก์ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็ จพระจุล จอมเกล้ าเจ้ าอยู่ หัว ยังมีพระบรมราชโองการให้เสนาบดีกระทรวง พระคลังมหาสมบัติน�าพระราชทรัพย์จ�านวน ประมาณห้าแสนบาทเศษ ซือ้ เป็นพันธบัตรต่าง ประเทศเพือ่ ใช้หนีจ้ นครบจ�านวนให้แก่ฝรัง่ เศส อีกด้วย จึงสามารถท�าให้สยามรอดพ้นจากการ ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสได้อีกคราหนึ่ง แต่ในที่สุด เราก็ต้องสูญเสียดินแดนฝั่งซ้าย แม่นา�้ โขงให้แก่ฝรัง่ เศสจนได้ในอีก ๑๐ ปีตอ่ มา อย่างไรก็ตาม บาดแผลลึกในจิตใจของชาว สยามต่อกรณีเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ จะสร้าง
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ความปวดร้าวมากเพียงใด แต่หากวันนั้นเรา ไม่ มี เ งิ น ถุ ง แดงและไม่ ใ ช่ บุ ร พกษั ต ริ ย ์ ที่ ท รง พระนามว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวแล้ว คงไม่มีใครตอบได้ว่า ในวันนี้ ประเทศสยามหรือประเทศไทยจะหยัดยืนได้ อย่างไรและรักษาความเป็นเอกราชมาได้ตราบ จนวันนี้หรือไม่ หากนับเวลาตั้งแต่เกิด เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ มาจนถึงปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ นี้ นับได้ ๑๒๐ ปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ นี้ ผู้เขียนจึงใคร่ขอย�้าเตือนให้ลูกหลานไทยได้ รับรู้รับทราบถึงความเจ็บช�้าความเสียใจของ บุรพกษัตริย์และบรรพชนไทยต่อเหตุการณ์ ดังกล่าว และขอเรียนว่าประวัติศาสตร์หน้านี้ คือประวัติศาสตร์หน้าส�าคัญที่สยามชนไม่ว่า ในยุคใดก็ตาม ไม่ควรลืม ! และในวาระแห่งการครบรอบ ๑๒๐ ปี ของ เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ผู้เขียนจึงได้ทุ่มเทก�าลัง ความคิด แรงกาย แรงใจ บันทึกประวัติศาสตร์ สยามในห้วงเวลาดังกล่าว โดยถ่ายทอดเป็น บทร้ อ ยกรองออกมาในลั ก ษณะกลอนดอก สร้อย พร้อมทั้งขยายความเหตุการณ์ตามบท ร้อยกรองพร้อมทั้งคัดสรรภาพถ่ายในอดีตที่ สอดคล้องกับเรื่องราวมากที่สุด เพื่อให้ทุกท่าน ได้กรุณารับทราบถึงกรอบแนวพระราชด� าริ และกระบวนวิธีด�าเนินพระราชกรณียกิจของ บุรพกษัตริษแ์ ห่งกรุงรัตนโกสินทร์สามพระองค์ คื อ พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในหนังสือชื่อว่าเกียรติภูมิกระทรวงกลาโหม... ภาคดอกสร้อยรอยต�านาน ซึ่งได้จัดพิมพ์เป็น รูปเล่มแล้ว ทั้งนี้ หนังสือ เกียรติภูมิกระทรวงกลาโหม... ภาค ดอกสร้อยรอยต�านาน เป็นการบรรยาย เพื่อบอกเล่าเส้นทางการเดินทางของเงินถุง แดง จ�านวน ๓๐,๐๐๐ ชั่ง ซึ่งเคลื่อนที่ผ่านกาล
เวลา ผ่านการเปลี่ยนแปลงของราชอาณาจักร สยามในแทบทุ ก บริ บ ท ทั้ ง บริ บ ททางการ เมือง ทางเศรษฐกิจ ทางเทคโนโลยี และทาง สังคมวัฒนธรรมในยุคล่าอาณานิคมของชาติ ตะวันตก ซึ่งเคยมีการบันทึกอย่างเป็นลาย ลั ก ษณ์ อั ก ษร หรื อ เคยมี ก ารบอกเล่ า กั น มา และสอดคล้ อ งกั บ เหตุ ก ารณ์ กั บ หลั ก ฐานที่ น่าเชื่อถือได้ และน�ามาประมวลเป็นเรื่องราว เป็นตอนน�าเสนอทั้งบทร้อยกรองและขยาย ความเป็นร้อยแก้วประกอบรูปภาพให้ท่านได้ รับทราบ และขอมอบให้แด่ท่านผู้อ่านเพื่อเป็น บันทึกประวัตศิ าสตร์บรรณาการ จ�านวน ๑๐๐ เล่ม โดยขอความกรุณาให้ ส�านักงานเลขานุการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นหน่วย แจกจ่าย ซึ่งจะไม่มีการจ�าหน่ายแต่อย่างใด หากท่านผู้สนใจจะเป็นเจ้าของหนังสือเล่มนี้ สามารถติดต่อรับได้ที่ กองบรรณาธิการวารสาร หลักเมือง สิ่งที่ผู้เขียนปรารถนามากที่สุดคือ หมายใจ ไว้ว่าเยาวชนไทยและประชาชนไทยที่ได้อ่าน หนังสือเล่มนี้ จะได้ทราบถึงพระวิริยภาพ พระ ราชปณิธานที่มุ่งมั่น และพระราชวิสัยทัศน์ ใน การปกป้องประเทศอย่างเป็นระบบ ท่ามกลาง มหันตภัยของลัทธิล่าอาณานิคม และพระเสโท พระอั ส สุ ช ล พร้ อ มทั้ ง หยาดเหงื่ อ น�้ า ตา ของบรรพบุรุษสยามทุกท่านที่มีส่วนร่วมใน เหตุการณ์ทั้งหมดทั้งปวงนั้น และขอเรียนส่ง ท้ายให้กรุณาทราบว่าการรักษาประเทศชาติ บ้านเมืองคือ หน้าทีข่ องเราทุกคน ขอให้เริม่ ต้น จากการสร้างจิตส�านึกในความเป็นชาติ และ ค่ อ ยๆ พั ฒ นาไปสู ่ ก ารเรี ย บเรี ย งความคิ ด และปฏิบัติอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลอย่างเป็น รูปธรรม
55
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“มีพุง (ใหญ่) เสี่ยงโรคร้าย” ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พุ
งหนุ่มหรือพุงสาว ชื่อว่าพุง ไม่มีใคร อยากมี นอกจากน่าเกลียดแล้วยัง เป็นสาเหตุโรคร้ายสารพัด ต้องระวัง อย่าให้เกิดพุง พุงหรือค�าเรียกที่เป็น ทางการว่าหน้าท้อง เป็นอวัยวะที่ไม่ได้โชว์ กันบ่อย นอกจากยามทีใ่ ส่บกิ นิ นีต่ วั จิว๋ ภาพของ หน้าท้องที่แบนราบดูเซ็กซี่ของหญิงสาวดึงดูด สายตาได้ทุกเพศไม่เฉพาะหนุ่ม ๆ เช่นเดียวกับ กล้ามท้องสุดเร้าใจของชายหนุ่มก็ยอดนิยม ไม่แพ้กัน หน้ า ท้ อ งที่ ส วยงามนั้ น คนท� า งานหรื อ นักธุรกิจทัง้ หลายไม่มโี อกาสเป็นเจ้าของมากนัก ส่ ว นใหญ่ มั ก จะมี ส ภาพที่ ล�้ า หน้ า หรื อ ย้ อ ย ออกมาเกินหน้าเกินตา ในรายที่รุนแรงก็ก้ม มองไม่เห็นหัวแม่เท้าตนเอง บางคนปลอบใจ ตัวเองว่านี้คือสัญลักษณ์ของผู้ที่มีอันจะกินแต่ ปัจจุบนั มันคือ สัญญาณอันตรายของโรคร้าย มี เกณฑ์ตรวจสอบรอบเอวของคุณว่าอยูใ่ นภาวะ เสีย่ งแค่ไหน รอบเอวคุณผูห้ ญิง ไม่ควรเกิน ๓๓ นิ้วและไม่เกิน ๓๖ นิ้วในผู้ชาย ท�าไมหน้าท้อง ที่แบนราบหรือคอดกิ่วในวัยหนุ่มสาวกลับมา เป็นสภาพแบบทีเ่ ราไม่ชนื่ ชม ส่วนเกินทีเ่ พิม่ ขึน้ มานัน้ รับรองว่าไม่ใช่กล้ามเนือ้ แน่นอน แต่เป็น ไขมันและไขมันล้วนๆ ไขมันหน้าท้องมีอยู่สองประเภทที่เราควร รู้จักเอาไว้ คุณลองเอามือหยิกหน้าท้องคุณดู คุณจับได้แต่ผวิ หนังหรือหนังติดมัน (เหมือนกับ อาหารติดมันที่เราชอบกินทุกวัน) ส่วนไขมัน ที่อยู่ติดผิวหนังและกล้ามเนื้อเราเรียกว่าไขมัน 5๖
ใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Fat) ส่วนนี้เป็น ไขมันที่เรามองเห็นเป็นตัวปกปิด six pack ที่แสนงามของเรา ไขมันชนิดนี้อันตรายต่อ สุขภาพของเราไม่มากนัก แต่อีกตัวสิน่ากลัว ไขมันในช่องท้อง (Visceral Fat) ไขมันตัวนี้ ไม่ ท� า ให้ พุ ง เรายื่ น ออกมาน่ า เกลี ย ด แต่ มั น จะอยู่ระหว่างกล้ามเนื้อท้องกับอวัยวะภายใน ช่องท้องของเรา หากมีมากก็เหมือนเราเอา ไขมั น ไปหุ ้ ม อวั ย วะภายในร่ า งกายของเรา มันน่ากลัวขนาดไหน ความน่ากลัวของไขมัน ในช่องท้องนี้ มันสามารถท�าให้อวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายเกิดการอักเสบในระดับเซลล์ ซึ่งเป็นสาเหตุใหญ่ของโรคอันตรายต่างๆ อาทิ โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เส้นโลหิต ในสมองตีบหรือแตก เป็นเรื่องเร่งด่วนอย่างยิ่ง ส�าหรับคนที่รักสุขภาพและรักคนใกล้ตัวอยาก อยู่กับเขานานๆ การก�าจัดไขมันในพุง (ลดพุง) ควรเป็นวาระส�าคัญส�าหรับคุณ แต่อย่ามองหาสูตรลับสูตรส�าเร็จแบบชั่ว ข้ามคืนในการลดพุง ลดความเสี่ยงจากสารพัด โรคร้ า ย หรื อ ตกเป็ น เหยื่ อ โฆษณาเสี ย เงิ น ซื้ อ อุ ป กรณ์ ส ารพั ด ที่ บ อกว่ า ท� า ให้ พุ ง เรายุ บ ด้ ว ยการท� า เพี ย งไม่ กี่ ที ห รื อ ไม่ กี่ ค รั้ ง ต่ อ วั น แล้วเอานางแบบหน้าท้องสุดสวยกับนายแบบ กล้ามท้องเป็นมัดมาหลอกเราเป็นไปไม่ได้หรอก มีการศึกษาถึงวิธีลดพุงโดยใช้กลุ่มศึกษานับ พั น คน โดยแบ่ ง เป็ น กลุ ่ ม แรกเน้ น ควบคุ ม อาหารอย่ า งเดี ย ว กลุ ่ ม ที่ ส องเพิ่ ม การออก ก�าลังกายเข้าไปด้วย ผลปรากฏว่ากลุม่ ทีค่ วบคุม
อาหารไปพร้อมๆ กับการออกก�าลังกาย สามารถ ลดไขมันหน้าท้องได้ดีกว่ากลุ่มแรก การออกก�าลังกายบางประเภทก็ไม่ใช่ปจั จัย หลักในการลดพุง บางคนวิ่งบนสายพานแบบ หนักหน่วง หรือเล่นเวทยกน�้าหนัก ซิทอัพเป็น ร้อยครั้ง หัวใจเราได้ประโยชน์ กล้ามเนื้อเพิ่ม ขึ้น แต่หน้าท้อง ก็ไม่เรียบเนียนดังใจต้องการ พุงอาจจะยุบไปหน่อย ได้ผลเล็กน้อย อะไรคือ ข้อผิดพลาดตกหล่น การลดไขมันหน้าท้องทั้งไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Fat) และไขมันในช่องท้อง (Visceral Fat) ต้องใช้ความตั้งใจจริง ขอให้ ระลึกไว้เสมอว่ากว่าที่เราจะสะสมไขมันจนได้ พุงใหญ่ขนาดนี้ เราต้องใช้เวลาไม่นอ้ ย และเมือ่ จะขจัดมันออกไปเราก็ต้องใช้เวลาพอสมควร ไม่ใช่ปล่อยให้มันใหญ่ ใช้เวลามาห้าปีแล้วจะ จัดการมันออกไปในเวลา ๕ อาทิตย์คงเป็นไป ได้ยาก ในสภาพพฤติกรรมการกิน การออก ก�าลังกายแบบเดิมๆ เมื่อเข้าใจข้อแรกนี้ เรา ก็จะให้เวลาในการจัดการที่สมเหตุสมผล และ ไม่ใจร้อนต้องการผลลัพธ์เร็วๆ และไม่ทา� ให้เรา ถอดใจไปก่อนจะสัมฤทธิผล วิธีลดพุงยังมีอีกหลายขั้นตอน ตอนแรกนี้ ขอให้ท�าความเข้าใจในอันตรายของไขมัน ที่ เคลือบหน้าท้องของเราไว้ อย่าประมาทสะสม มันจนสร้างปัญหาสุขภาพให้กับเรา นอกจาก จะน่าเกลียดแล้วยังน่ากลัวอีกด้วย เรามาดูวิธี ลดพุงง่ายๆ กันดีกว่า ๑. ขยั บ เขยื้ อ นตั ว ให้ บ ่ อ ยที่ สุ ด อย่ า มั ว นั่งจุ้มปุ้กอยู่บนโซฟาหรือนอนแกร่วบนเตียง เพราะจะท�าให้คุณอึดอัดมากขึ้น การขยับตัว เดินไปเดินมาในบ้านหรือเดินขึ้นลงบันได จะ ช่วยเผาผลาญไขมันได้มากขึ้น ๒. ดื่มชา ค่อยๆ จิบชา ก็พอช่วยได้ เพราะ ในชามีสารที่มีคุณสมบัติในการขับน�้าส่วนเกิน ออกมาจึงช่วยท�าให้กระเพาะหดตัวลง ๓. งดอาหารเค็ ม หรื อ อาหารที่ มี เ กลื อ เกลือท�าให้หน้าท้องคุณป่องได้ เพราะความ เค็มของเกลือจะเป็นตัวกักเก็บน�้าส่วนเกินไว้ จึงท�าให้รู้สึกอึดอัดแถวๆ หน้าท้อง ๔. ทานอาหารมื้อเล็กๆ แบ่งอาหาร ๑ มื้อ เป็น ๒ มื้อ และเน้นอาหารแคลอรี่ต�่าเช่น โย เกิร์ตพร่องไขมัน ผักสด หรือผลไม้ อาจทาน ทุก ๒ - ๓ ชั่วโมง แต่เป็นจานเล็กๆ แทน การลดน�้ า หนั ก อย่ า งแรกต้ อ งท� า ความ เข้าใจว่า ร่างกายของคนเรานั้นต้องการสาร
ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
อย่ามองหาสูตรลับสูตรสำาเร็จ แบบชั่วข้ามคืนในการลดพุง ลดความเสี่ยงจากสารพัดโรคร้าย หรือตกเป็นเหยื่อโฆษณาเสียเงิน ซื้ออุปกรณ์สารพัดที่บอกว่า ทำาให้พุงเรายุบ
อาหารวันละกี่มากน้อย แค่ไหน อย่างไร และ พยายามจั ด สรรให้ ล งตั ว กั บ ความต้ อ งการ ดังกล่าว ประกอบกับใช้เทคนิคทางจิตวิทยา หลอกล่อตัวเองไม่ให้อยากอาหารอีกสักหน่อย แล้วอย่างนี้หุ่นผอมเพรียวจะไปไหน ๑. ใช้จานชามสีเข้ม เนื่องจากภาชนะที่ สีสดใสจะช่วยกระตุน้ ให้เกิดความอยากอาหาร มากขึ้น ดังนั้นเพื่อสกัดความอยากเสียตั้งแต่ ยังไม่เริม่ ลงมือกิน จึงควรจัดอาหารใส่ในภาชนะ สีเข้ม ๒. รั บ ประทานผั ก มากๆ แบ่ ง ส่ ว นการ รั บ ประทานอาหารในแต่ละวัน ของคุณออก เป็น ๔ มื้อ และสามในสี่มื้อนั้นควรเป็นอาหาร ประเภทผักล้วนๆ ๓. ดื่มน�้าเย็นๆ เพราะน�้าเย็นๆ จะช่วยให้ ร่างกายต้องดึงพลังงานความร้อนในตัวออกมา เพื่อปรับอุณหภูมิของน�้าให้เหมาะกับร่างกาย ด้วยเหตุนี้การที่เราได้ดื่มน�้าเย็นๆ ร่างกายจึง ต้องเผาผลาญแคลอรีมากขึ้น ๔. กินแต่อาหารทีไ่ ม่ตดิ มัน อาหารประเภท เนื้อสัตว์ติดมัน หมูสามชั้นทอดกรอบ กุนเชียง กากหมู หรืออาหารที่ทอดด้วยน�า้ มัน ควรจะ งดเว้ น ให้ เ ด็ ด ขาด หากยั ง ไม่ อ ยากสู ญ เสี ย ทรวดทรงองค์เอวอันสวยงามสมส่วน ๕. เลื อ กกิ น ของหวานอย่ า งเหมาะสม ขนมหวานๆ เช่น เค้ก หรือช็อกโกแลตเป็น ของหวานทีอ่ ดุ ม ไปด้วยนม เนย ไข่ และน�า้ ตาล ฉะนั้นหากต้องการลดน�้าหนักก็จงตัดอกตัดใจ เสี ย เถอะ ทางที่ ดี ควรหั น มารั บ ประทาน ลูกพลับ หรืออินทผลัมอบแห้งจะสามารถช่วย
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ป้องกันอาการอยากจากของหวานเหล่านั้นได้ ๖. งดใส่ครีมในกาแฟ แม้ครีมเทียมจะ ท�าให้รสชาติของกาแฟกลมกล่อมขึน้ แต่คดิ ดูสิ ครีมเทียมเพียง ๑ กรัม สามารถให้พลังงาน สูงถึง ๙ แคลอรี่ แล้วกาแฟที่คุณดื่ม ใส่ครีม กี่ช้อนต่อแก้ว? ๗. สลัดน�้าข้น คุณบอกว่ารับประทานแต่ สลัด แล้วท�าไม ท�าไมยังอ้วนอีก ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะน�า้ สลัด ทีค่ ณ ุ เลือกรับประทาน ล้วนเป็น น�้ า สลั ด ข้ น ๆ ที่ อุ ด มไปด้ ว ยครี ม นม และ ไขมันนม ๘. ซดน�้าแกงจืดก่อนอาหาร เป็นความคิด ที่ดีที่จะจัดการกับน�้าแกงจืด หรือไม่ก็ดื่มน�้าสัก แก้วสองแก้วก่อนรับประทานอาหาร เพื่อให้ คุณรู้สึกอิ่มกับอาหารตรงหน้า ๙. เลือกกินข้าวกล้องแทนข้าวขาว ข้าว เป็นอาหารหลักทีเ่ ราต้องรับประทานเกือบทุกมือ้ อยูแ่ ล้ว และถ้าหากได้รบั ประทานข้าวกล้องแทน ข้าวขาว เราก็จะไม่ได้เพียงแค่คาร์โบไฮเดรต เฉยๆ แต่จะได้ทั้งวิตามินและเกลือแร่ต่างๆ มากมายจากเยื่อหุ้มข้าวและจมูกข้าว ๑๐. เลิกนิสัยกินจุบกินจิบ อย่าสร้างความ เคยชินให้กับตัวเองด้วยการกินนั่นกินนี่ไม่เป็น เวล�่าเวลาอยู่เรื่อยไป แต่ควรกินอาหารเป็นมื้อ เป็นคราวเท่านั้นโดยเฉพาะเวลาอยู่หน้าจอทีวี ไม่ควรจะหาขนมกรุบกรอบ เช่น มันฝรั่งทอด ข้ า วเกรี ย บ เพราะจะท� า ให้ กิ น เพลิ น จนลื ม เรื่องอ้วน ๑๑. หาเพือ่ นร่วมลด การลดน�า้ หนักคนเดียว บางครั้งอาจท�าให้รู้สึกท้อแท้ แต่ถ้ามีเพื่อน หั ว อกเดี ย วกั น ที่ มุ ่ ง มั่ น จะรี ด ไขมั น ส่ ว นเกิ น ออกจากชีวิตเหมือนกัน จะช่วยท�าให้มีก�าลังใจ ขึ้นเยอะ ๑๒. ดินเนอร์ใต้แสงเทียน ภายใต้แสงเทียน นอกจากจะช่วยสร้างบรรยากาศให้ดโู รแมนติก ขึน้ แล้ว ท่ามกลางแสงสลัวๆ แบบนัน้ ยังท�าให้ ความอยากอาหารลดน้อยลงด้วย ๑๓. อาหารมื้อเช้า อาหารมื้อไหนๆ ก็ไม่ ส�าคัญเท่ากับมื้อเช้า ทั้งนี้เพราะช่วงเวลาตั้งแต่ ๖ โมงเช้าถึง ๑๐ โมงเช้า เป็นช่วงที่ระบบการ เผาผลาญสารอาหารภายในร่างกายท�างานได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นจึงควรกิน อาหารมื้อเช้าให้เต็มที่ ส่วนมื้อเย็นให้กินแต่ เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ๑๔. ไม่กักตุนอาหารเต็มตู้เย็น ทั้งนี้เพราะ จะท�าให้คุณหาของกินง่ายและสะดวกสบาย เกินไป ยิ่งมีของกินในตู้เย็นมากเท่าไหร่ คุณก็ จะยิ่งกินตามใจปากมากขึ้นเท่านั้น ๑๕. ผลไม้รสเปรี้ยวอมหวาน ผลไม้อย่าง แอปเปิ้ล ส้ม ฝรั่ง กีวี สตรอว์เบอร์รี่ สับปะรด มะม่วง หรือมะเขือเทศ นับเป็นผลไม้ที่เกิดขึ้น มาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รักษาหุ่น อย่างแท้จริง เพราะนอกจากเป็นแหล่งของ
วิ ต ามิ น ซี คุ ณ ภาพสู ง ยั ง แทบไม่ มี แ คลอรี่ ใ น ผลไม้ดังกล่าวอีกด้วย ๑๖. ดื่มตบท้ายด้วยชามะนาว หลังอาหาร แต่ละมื้อควรดื่มชามะนาวตบท้าย จะสามารถ ช่วยชะล้างปากจากอาหารคาว หรืออาหาร มันๆ เลี่ยนๆ ได้ดีกว่าการดื่มน�้าเปล่าธรรมดา และยั ง สามารถช่ ว ยยุ ติ ค วามอยากอาหาร เรื่อยเปื่อยของคุณอย่างได้ผลอีกด้วย ๑๗. ออกก�าลังกาย การออกก�าลังกายเป็น กิจกรรมที่ขาดไม่ได้ส�าหรับผู้ที่ต้องการควบคุม น�้ า หนั ก เพราะการออกก� า ลั ง กายจะท� า ให้ ร่ า งกายสามารถเผาผลาญแคลอรี่ ใ ห้ ก ลาย เป็นพลังงานได้ ซึ่งนอกเหนือจากการเล่นกีฬา แล้ว ก็ควรหมั่นฝึกตนให้เป็นคนชอบเดินชอบ ท�างานบ้าน และชอบขึ้นลงบันได ๑๘. กิจวัตรแรกสุดของทุกๆ วัน หลังจาก ตื่นนอนตอนเช้า กิจวัตรแรกสุดที่ควรท�าทันที ก็ไม่ใช่อะไรอื่น นั่นก็คือ ดื่มน�้าให้มากที่สุด เท่าที่จะสามารถดื่มได้ ทั้งนี้ก็เพื่อกระตุ้นให้ ร่างกายสดชื่นขึ้น และช่วยให้ระบบขับถ่าย ของเสียออกจากร่างกายทั้งหนักเบาท�างานได้ อย่างคล่องตัว ๑๙. ชัง่ น�้าหนักอาทิตย์ละครัง้ เมือ่ ปฏิบตั ไิ ด้ ตามค�าแนะน�าดังกล่าวข้างต้นแล้ว ควรติดตาม ผลการลดหุน่ ด้วยการเปลือยกายส�ารวจตัวเอง หน้ากระจกในห้องน�้าส่วนตัว และชั่งน�้าหนัก อาทิตย์ละครั้งก็พอ ไม่จ�าเป็นต้องชั่งทุกๆ วัน เพราะการท�าเช่นนี้รังแต่จะท�าให้รู้สึกเครียด และคับข้องใจที่น�้าหนักไม่มีการเปลี่ยนแปลง ให้เห็นผลทันตา ๒๐. อย่าลืมให้รางวัลกับตัวเอง หลังจากที่ สามารถขจัดไขมันส่วนเกินในร่างกายให้ลดลง ไปได้ส�าเร็จ (แม้จะลงไปเพียงเล็กน้อยก็ตาม) คุณก็สามารถจะให้รางวัลกับตัวเองด้วยการไป นวดหน้า นวดตัว ขัดผิว และบ�ารุงผิว เพียงแค่นี้คุณก็สามารถมีหุ่นที่สมส่วนเป็น จุดสนใจของใครต่อใครไปอีกหลายคน 57
พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ ร่วมเฝ้ารับเสด็จฯ พลเอกหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินแทนพระองค์ ไปพระราชทานกระบี่ และปริญญาบัตร แก่ผู้ส�าเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า และ โรงเรียนนายร้อยต�ารวจ และพระราชทานกระบี่และเกียรติบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาทางทหารต่างประเทศ ประจ�าปี การศึกษา ๒๕๕๕ ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อ.เมืองนครนายก จ.นครนายก เมื่อ ๑๒ มิ.ย.๕๖
พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในฐานะนายกสภาทหารผ่านศึก เป็นประธานและสักขีพยานกิตติมศักดิ์ใน พิธีลงนามในประกาศความร่วมมือ (Announcement of Cooperation = AOC) โครงการศูนย์ศึกษาเซลล์ต้นก�าเนิด (Stem cell study center) ระหว่าง โรงพยาบาลทหารผ่านศึก องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับ ผู้แทนองค์กรร่วมศึกษาต่างประเทศ โดยมี พลเอก หม่อมหลวงประสบชัย เกษมสันต์ พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก ชัยวัฒน์ สท้อนดี ผู้อ�านวยการ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก และผู้ทรงคุณวุฒิร่วมเป็นสักขีพยาน ณ ห้องประชุม หมายเลข ๑ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษา โรงพยาบาลทหารผ่านศึก เมื่อ ๑๐ พ.ค.๕๖
พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับนาย A.K.Antony รัฐมนตรีว่าการกลาโหมสาธารณรัฐ อินเดีย และน�าตรวจแถวกองทหารเกียรติยศผสมสามเหล่าทัพ ในโอกาสเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของกระทรวงกลาโหม ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๖ มิ.ย.๕๖ 58
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส� านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เฝ้ารับเสด็จ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในการเสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธเี ปิดการแสดงคอนเสิรต์ ทัพฟ้าคูไ่ ทยเพือ่ “ชัยพัฒนา” ครัง้ ที่ ๗ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อ ๑๘ มิ.ย.๕๖
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) พร้อมทั้ง ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ นาวาอากาศเอก แพทริก เจ. เคน (Patrick J. Kane) ผู้ช่วยทูตทหารอากาศสหรัฐอเมริกาประจ�าประเทศไทย ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๔ มิ.ย.๕๖
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
59
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบถุงบ�ารุงขวัญพร้อมเงินให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากการปฏิบัติ หน้าที่ตามแนวชายแดนตามโครงการ “สวัสดีปีใหม่ ร้อยใจไทยแด่ผู้เสียสละ” โดยมี ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ร่วมในพิธี ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อ ๗ มิ.ย.๕๖
พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเตรียมการรองรับ การเปลีย่ นผ่านไปสูร่ ะบบดิจติ อล” ณ สโมสรทหารบก (วิภาวดี) กรุงเทพฯ เมือ่ ๓๐ มิ.ย.๕๖ ซึง่ จัดโดย กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องประชุมพินิตประชานาถ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๙ มิ.ย.๕๖ ซึ่งจัดโดย ส�านักงานเลขานุการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๖0
พลอากาศเอก วิ นั ย เปล่งวิทยา รองปลัด กระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานในการจั ด การสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง “ความร่ ว มมื อ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศระหว่างภาครัฐและเอกชนสู่ประชาคมอาเซียน” ณ ห้อง Sapphire ๑๑๘ - ๑๑๙ อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี เมื่อ ๑๓ มิ.ย.๕๖ ซึ่งจัดโดย ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานเปิดการศึกษาหลักสูตรปฐมนิเทศนายทหารใหม่ของส�านักงานปลัด กระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๑๖ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๔ มิ.ย.๕๖
พลเอก ชาญ โกมลหิรัญ เจ้ากรมเสมียนตรา เป็นประธานในพิธีเปิดการศึกษาหลักสูตรนายสิบชั้นต้น เหล่าสารบรรณของส� านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๒ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๗ มิ.ย.๕๖
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๖1
พลตรี ชั ย พฤกษ์ พู น สวั ส ดิ์ เลขานุ ก ารส� า นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นผูแ้ ทนปลัดกระทรวงกลาโหม น�าแจกันดอกไม้อวยพรเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันเกิด นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ณ ตึกไทยคู่ฟ้า ท�าเนียบรัฐบาล เมื่อ ๒๑ มิ.ย.๕๖
พลโท ณรงค์ อุทะนุต ผู้แทนปลัดกระทรวงกลาโหม วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในนามกระทรวง กลาโหมและส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หน้าตึกรัฐสภา พระราชวังดุสิต เมื่อ ๓๐ พ.ค.๕๖
ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมพิธีเปิดการแข่งขันกีฬากองทัพไทย ครั้งที่ ๖ ประจ�าปี ๒๕๕๖ ณ สนามกีฬากองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต เมื่อ ๕ มิ.ย.๕๖
๖๒
นางนศพร อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น นายกสมาคมภริ ยาข้ า ราชการส�า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่ วมกิ จ กรรม โครงการช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่เป็นผู้พิการหรือมีความผิดปกติ โดยมี พลโท สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง ผู้บัญชาการศูนย์อ�านวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร และคณะฯ ให้การ ต้อนรับ เมื่อ ๒๒ - ๒๓ พ.ค.๕๖
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๖3
นางนศพร อภิรกั ษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมด้วย พลตรี กอบปัญญา วงศ์วิเศษกิจ ผู้อ�านวยการส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุนส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะฯ เข้าตรวจเยี่ยมบุตรข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่เป็นผู้พิการหรือมีความผิดปกติในส่วนส�านักนโยบายและแผนกลาโหม พื้นที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยมี พลอากาศตรี ภานุพงศ์ เสยยงคะ ผู้ช่วยผู้อ�านวยการส�านักนโยบายและแผนกลาโหม และคณะฯ ให้การต้อนรับ เมื่อ ๒๗ มิ.ย.๕๖
๖4
บทบรรณาธิการ เนื่ อ งในวโรกาสอั น เป็ น มิ่ ง มงคลวั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพ สมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร วันที่ ๒๘ กรกฎาคม เป็นวันมหาประชาปีติอีก ค�ารบหนึ่งของพสกนิกรชาวไทย พระองค์ทรงมีพระอัจฉริยภาพด้านกิจการทหาร ทรงเป็น “เจ้าฟ้านักบินขับไล่ไอพ่น” พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี สถานการณ์ยาเสพติดยังคงมีความรุนแรง การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขีดความ สามารถในการตรวจจับและสกัดกั้นการลักลอบล�าเลียงยาเสพติด มีความจ�าเป็นยิ่ง ทีจ่ ะกระท�าควบคูก่ บั การสร้างความร่วมมือของประชาชนในทุกภาคส่วน นอกจากนัน้ ได้น�าเสนอสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ในพื้นที่ภาคเหนือ มีข้อมูลที่ส�าคัญต่อการ ก�าหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ วารสารหลักเมืองตระหนักถึงความส�าคัญของการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การให้ความรู้ในการใช้ภาษาอังกฤษมีความส�าคัญ ฉบับนี้ขอน�าเสนอความคิดเห็น ของผู้แทนนายทหารนักเรียนจากส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพ ถึงความจ�าเป็นในการเรียนภาษาอังกฤษบ้างเช่นเคย เพื่อจะเป็นส่วนหนึ่งของการ แลกเปลีย่ นความรูก้ ารเตรียมความพร้อมทีจ่ ะเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนร่วมกัน หากท่าน ผู้อ่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ต้องการจะให้วารสารหลักเมืองน�าเสนอเรื่องใด ส่งผ่านมาทาง หลักเมืองออนไลน์ www.lakmuangonline.com “ทุกความคิดเห็น ของท่าน คือ คุณค่าของวารสารหลักเมือง”
๒
ปที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๖8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒55๖
๔
สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับพระอัจฉริยภาพด้าน กิจการทหาร
๔
๓๐
แผ่นดินไหว
๓๔
ทางออกของประชาธิปไตย ในประเทศไทย
๓๘
๘
๑๐
Operation Thunderbolt : Nethanyahu ปฏิบัติการ สายฟ้าแลบที่ Entebbe
๑๒
หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนทีี่ ๑๒)
ประวัติรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ประวัติรัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงกลาโหม แนวทางปฏิบัติของ กระทรวงกลาโหมในการ รองรับการจัดตัง้ ประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘
๑๖
๔๒ ๔๖ ๑๒
ความเห็นถูก ทีอ่ าจแตกต่าง
๒๐ ๔๙
๑๖
พระเจ้าปดุงกับ พระพุทธศาสนา
สภาวะแวดล้อม ทางยุทธศาสตร์ในพื้นที่ ภาคเหนือปี พ.ศ.๒๕๕๖
๕๒
๒๐
ราชอาณาจักรกัมพูชา กับการรักษาดุลยภาพกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหรัฐอเมริกา
๒๓
๒๓
กระทรวงกลาโหม กับความคืบหน้าการแก้ไข ปัญหาชายแดนภาคใต้
๒๖
๒๖
๓๐
๓๘
๔๒
๑๒๐ ปี เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ บาดแผลลึก ในจิตใจของชาวสยาม
๕๖
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “ มีพงุ (ใหญ่) เสีย่ งโรคร้าย ”
๕๘
ประมวลภาพกิจกรรม
๓๔
๖๓ ๔๙
ดุลยภาพทางทหาร ของประเทศอาเซียน จรวดน�าวิถีโจมตีเรือ แบบฮาร์พูน
๕๒
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๔๖ ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลปการพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
3
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับพระอัจฉริยภาพด้านกิจการทหาร พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ถือได้ว่าเป็น วันมหาประชาปีติอีกค�ารบหนึ่งของพสกนิกร ชาวไทย ทั้งนี้เพราะเป็นวันคล้ายวันพระราช สมภพขององค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชโอรสพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ซึ่ ง พระองค์เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๙๕ ณ พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงพระนามเดิมว่า สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรม จักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธ�ารงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศ วรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรม ขัตติยราชกุมาร เมื่อทรงเจริญวัยพระชนมายุได้ ๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เริ่มถวายอักษรโดยทรงเข้ารับ การศึกษาชั้นอนุบาลที่ ๑ ณ โรงเรียนจิตรลดา ในเดื อ นกั น ยายน ๒๔๙๙ ซึ่ ง ในขณะนั้ น โรงเรียนจิตรลดาแห่งนีย้ งั ตัง้ อยูใ่ นพระราชฐาน ณ พระทีน่ งั่ อุดรภาค พระราชวังดุสติ (ซึง่ ในเวลา 4
ต่อมาโรงเรียนจิตรลดาแห่งนีจ้ งึ ย้ายไปตัง้ อยูใ่ น พระราชฐานสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต) พระองค์ได้ทรงศึกษาอยู่ในโรงเรียนจิตรลดา จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ แล้วจึงเสด็จไป ศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ โรงเรียนคิงส์มีด เมืองซีฟอร์ด แคว้นซัสเซกส์ ประเทศอังกฤษ ในราวเดื อ นมกราคม ๒๕๐๙ หลั ง จากนั้ น เสด็ จ ไปทรงศึ ก ษาต่ อ ที่ โ รงเรี ย นมิ ล ล์ ฟ ิ ล ด์ เมืองสตรีท แคว้นซอมเมอร์เซท เมื่อเดือน กันยายนของปีเดียวกัน ต่ อ มาในเดื อ นสิ ง หาคม ๒๕๑๓ เสด็ จ ด� า เนิ น จากประเทศอั ง กฤษไปทรงศึ ก ษา วิชาทหาร ณ ประเทศออสเตรเลีย โดยใน ชั้ น แรกทรงเข้ า ศึ ก ษาในโรงเรี ย นคิ ง ส์ ส กู ล นครซิ ด นี ย ์ ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นเตรี ย มทหาร ของออสเตรเลีย หลังจากนั้น ทรงเข้าศึกษา ที่วิทยาลัยการทหารดันทรูน (Royal Military College-Duntroon) กรุงแคนแบร์รา ซึ่ง ตามหลักสู ต รแล้ ว จะต้ อ งมี ก ารทดสอบตาม แนวทางการศึกษาของวิทยาลัย โดยพระองค์ ทรงใช้เวลาในการทดสอบและฝึกอย่างหนัก ถึ ง ๕ สั ป ดาห์ หลั ง จากที่ ผ ่ า นการทดสอบ และฝึ ก แล้ ว ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาและทรง
เข้าประจ�าเหล่านักเรียนนายร้อยที่วิทยาลัย การทหารดันทรูน ตั้งแต่ภาคแรกแห่งปีการ ศึกษาพุทธศักราช ๒๕๑๕ จนทรงจบการศึกษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๘ ทั้ ง นี้ ตั้ ง แต่ ยั ง ทรงพระเยาว์ ม า สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงมีพระอุปนิสัยโปรดความมีระเบียบวินัย และความสะอาดเรียบร้อยโดยทัว่ ไป ไม่ทรงนิยม การฝ่าฝืนหรือละเมิดระเบียบข้อบังคับต่างๆ อีกทั้ง ได้ทรงแสดงความสนพระราชหฤทัย ในกิจการเกี่ยวกับกองทัพ และขณะที่ประทับ อยูใ่ นประเทศไทยได้เสด็จพระราชด�าเนินเยีย่ ม ที่ตั้งในกองทหารหน่วยต่างๆ หลายแห่ง โดยที่ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงสนพระราชหฤทั ย ในกิ จ การ ทหารเป็นอย่างมาก และโดยทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�าริว่า การศึกษา วิชาทหารในประเทศออสเตรเลียมีหลักสูตร การสอนกว้างขวางและมีการฝึกเข้มงวด จึงทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส มเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จเข้ารับ การศึกษาที่วิทยาลัยการทหารดันทรูน ทั้งยัง ทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษร พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ศาสตร์ (ด้านการทหาร) จากมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยั ง ทรงสนพระทั ย ในกิ จ การ นิ ว เซาท์ เ วลส์ ประเทศออสเตรเลี ย และ การบิน ทรงเป็น “เจ้าฟ้านักบินขับไล่ไอพ่น” นับเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่ ๒ ของ พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี ทรงท�าการบิน กรุงรัตนโกสินทร์ทที่ รงส�าเร็จการศึกษาวิชาทหาร กับเครือ่ งบินของกองทัพอากาศเกือบทุกรูปแบบ จากต่ า งประเทศ นั บ จาก สมเด็ จ พระบรม และทรงผ่ า นการฝึ ก บิ น หลั ก สู ต รการบิ น โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เฮลิคอปเตอร์ และการฝึกบินเครื่องบินขับไล่ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) สมรรถนะสูง (F-5E) จากประเทศสหรัฐอเมริกา ในการศึกษาทุกระดับชั้น สมเด็จพระบรม ถือได้ว่าทรงเป็นนักบินที่มีพระวิริยอุตสาหะ โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงปฏิบตั ิ และพระปรีชาสามารถด้านการบินอย่างยิ่ง ตามระเบี ย บของสถานศึ ก ษาเช่ น เดี ย วกั บ หลังส�าเร็จการศึกษาแล้ว ได้ทรงน�าความรู้มา นักเรียนทั่วไปโดยไม่มีการแบ่งแยกว่าทรงมี จัดท�าหลักสูตรการฝึกบิน และทรงปฏิบตั หิ น้าที่ พระราชฐานันดรใดเลย และเมื่อทรงเข้าศึกษา ครูการบินให้นกั บินเครือ่ งบินขับไล่แบบ “บข.๑๘” วิชาการทหารซึ่งมีการฝึกอบรมอย่างเข้มงวด (F-5E) หน่วยบินเดโชชัย ๓ และนักบินของ ก็ได้ทรงปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างสมบูรณ์ กองทัพอากาศ โดยทรงตัง้ พระทัยอย่างแน่วแน่ โดยเฉพาะในระหว่างเวลาที่ทรงเข้าศึกษาที่ ว่าจะทรงถ่ายทอดประสบการณ์ที่มีอยู่ให้เกิด โรงเรียนคิงส์สกูล นครซิดนีย์ ทรงได้รับเลือก ประโยชน์ต่อกองทัพอากาศและประเทศชาติ ให้เป็นหัวหน้าบ้านแมคอาเทอร์เฮาส์ และ มากที่สุด นอกจากนี้ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ได้ทรงปฏิบัติพระองค์อย่างดีเด่นโดยเฉพาะ ๒๕๔๗ ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รการบิ น ในกิจกรรมของการฝึกวิชาทหาร ในฐานะนักบินโบอิ้ง ๗๓๗ - ๔๐๐ จากบริษัท ภายหลังจากทีท่ รงส�าเร็จการศึกษาจากต่าง การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) และทรงผ่านการ ประเทศแล้ว ทรงเข้ารับราชการทหาร และ ตรวจสอบจากการขนส่งทางอากาศ กับทรง ทรงศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ได้รับใบอนุญาตนักบินพาณิชย์เอก หลักสูตรหลักประจ�าชุดที่ ๔๖ และหลักสูตร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จากประเทศ วชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเจริญ อังกฤษ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๓ นอกจาก พระราชกรณี ย กิ จ มากมาย เพื่ อ ประโยชน์ นี้ ยังทรงศึกษาหลักสูตรวิชาทหารจากต่าง ของพสกนิ ก รชาวไทย โดยเฉพาะพระราช ประเทศอีกหลายหลักสูตร ตลอดจน หลักสูตร กรณียกิจด้านการทหาร เนื่องด้วยพระองค์ การบินทั้งเครื่องบินปีกหมุน เครื่องบินปีกติด ทรงสนพระราชหฤทัยด้านการทหารมาตั้งแต่ ล�าตัว และเครื่องบินขับไล่ ทรงพระเยาว์ โดยได้ติดตามพระบาทสมเด็จ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๐๘ สมเด็จพระบรม พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ พระราชด� า เนิ น ไปทรง โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงได้รับ เยี่ยมที่ตั้งกองทหารหน่วยต่างๆ อยู่เสมอ และ พระราชทานยศทหาร ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ จากการที่ ไ ด้ ท รงศึ ก ษาหลั ก สู ต รวิ ช าทหาร พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ เป็ น จ� า นวนมาก จึ ง ทรงมี ค วามรู ้ เ ชี่ ย วชาญ พระราชทานยศให้เป็น ร้อยตรี เรือตรี และ อย่างมาก และได้พระราชทานความรู้ ถ่ายทอด เรืออากาศตรี แห่งสามเหล่าทัพ และต่อมา ทักษะให้แก่ทหารหาญทุกเหล่าทัพ ทั้งยังทรง เดือนพฤษภาคม ๒๕๑๔ ทรงพระกรุณาโปรด ด� า เนิ น พระราชจริ ย าวั ต รให้ เ ป็ น แบบอย่ า ง เกล้าฯ พระราชทานเลื่อนยศขึ้นเป็น ร้อยโท เรือโท และเรืออากาศโท ทรงเข้ารับการฝึก ศึกษาตามหลักสูตรโดดร่มภาคพื้นดิน ณ ค่าย นเรศวร และได้รับพระราชทานปีกนักโดดร่ม ชั้น ๑ กิตติมศักดิ์ เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๑๔ ครั้นเมื่อทรงมีพระชนมายุครบ ๒๐ ชันษา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มี พ ระบรม ราชโองการ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ถาปนาขึ้ น เป็ น สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๑๕ ตามจารึกในพระสุพรรณบัฏ ว่า “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตย สมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ สยามมกุฎราชกุมาร” ทั้งทรงเป็นมกุฎราช กุมารพระองค์แรกในสมัยการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยของไทย หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
แก่บรรดานายทหาร ทรงสนพระทัย เอาพระทัยใส่ ในชีวิตความเป็นอยู่ ทุกข์สุข ของผู้ใต้บังคับ บัญชาและยังทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ เป็นทุนการศึกษาแก่บุตรของ ทหาร และยังประโยชน์ให้แก่หน่วยทหารต่างๆ สิ่งเหล่านี้ ได้น�ามาซึ่งความเทิดทูนและความ จงรั ก ภั ก ดี แ ก่ เ หล่ า ทหารที่ มี ต ่ อ พระองค์ ในพระสถานะสยามมกุฎราชกุมารและสถาบัน พระมหากษัตริย์เป็นอย่างยิ่ง ดั ง นั้ น ในวโรกาสอั น เป็ น มิ่ ง มหามงคล วันคล้ายวันพระราชสมภพ กระทรวงกลาโหม และเหล่ า ทหารหาญทุ ก คนจึ ง พร้ อ มใจกั น ถวายพระพรชัยมงคล ขอพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระเจริญ ในระหว่ า งที่ เ สด็ จ กลั บ มาประทั บ อยู ่ ในประเทศไทยในฐานะองค์ พ ระรั ช ทายาท พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จพระราชด�าเนินแทน พระองค์ ใ นพระราชกรณี ย กิ จ ที่ ส�า คั ญ ต่ า งๆ ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนั้นๆ สนอง พระมหากรุณาธิคณ ุ ด้วยความมัน่ พระราชหฤทัย ด้วยความรอบคอบ และด้วยความรับผิดชอบ ส�าเร็จผลดีเสมอ ทรงใช้เวลาในระหว่างหยุดเรียน โดยเสด็จพระราชด�าเนินตามพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ไปทรงเยี่ ย มราษฎรใน จังหวัดต่างๆ และในที่ห่างไกลเนืองๆ ทรง พอพระราชหฤทัยท�าความคุน้ เคยกับประชาชน และข้าราชการในท้องถิ่นนั้นๆ เพื่อทรงทราบ และเข้ า พระราชหฤทั ย ถึ ง ความต้ อ งการ และสถานการณ์อย่างแท้จริง ยังความโสมนัส อย่างยิ่งให้เกิดแก่ข้าราชการและประชาชน ที่ได้เฝ้าฯ รับเสด็จในโอกาสนั้น
5
นอกจากนั้น ยังทรงฝักใฝ่เลื่อมใสในพระ บวรพุทธศาสนา และทรงสนพระราชหฤทัย ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมเป็ น พิ เ ศษ รวมทั้ ง ในการปกครองประเทศให้สงบสุขและความ เจริญรุ่งเรืองอีกด้วย ทรงพยายามหาโอกาส ในวันหยุด เสด็จพระราชด�าเนินไปถวายสักการะ สมเด็จพระสังฆราช และทรงเยี่ยมนมัสการ พระเถระผูใ้ หญ่เพือ่ ทรงสนทนาพระธรรมค�าสัง่ สอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเสด็จ ไปทอดพระเนตรกิจการของศาลสถิตยุติธรรม เพื่อทรงศึกษาเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายใน บางโอกาสด้วย กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ สั ม พั น ธไมตรี กั บ นานา ประเทศ ก็ทรงสนพระราชหฤทัยเป็นอันมาก ดังเป็นที่ปรากฏว่าในพระราชกรณียกิจ หรือ ในงานที่เกี่ยวกับบุคคลส�าคัญชาวต่างประเทศ หรือเกี่ยวกับคณะทูตนานาประเทศ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โดยเสด็จพระราชด�าเนินพร้อมกับพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสมอและคราวเสด็จ พระราชด� า เนิ น ไปทรงเยื อ นประเทศญี่ ปุ ่ น ในฐานะพระราชอาคันตุกะของพระราชวงศ์ ญี่ ปุ ่ น เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๔ ก็ทรงได้รับความส�าเร็จอย่างยิ่ง เพราะ การเสด็ จ พระราชด� า เนิ น ครั้ ง นี้ มี ผ ลในการ กระชับสัมพันธไมตรีระหว่างพระราชวงศ์และ ประชาชนทั้งสองประเทศให้ใกล้ชิดสนิทสนม ยิ่งขึ้น ทรงใช้เวลาส่วนพระองค์ที่เหลือไม่มากนัก จากงานราชการและการศึกษาให้เป็นประโยชน์ เสมอด้วยการทรงงานอดิเรก โดยทรงนิพนธ์ บทกลอนและบริหารพระวรกาย มีทรงวิ่ง หรือ ทรงกีฬาต่างๆ เช่น ทรงฟุตบอลร่วมทีมกับทหาร และข้าราชการ เป็นต้น ๖
ที่ โ รงเรี ย นมิ ล ล์ ฟ ิ ล ด์ แคว้ น ซอมเมอร์ เ ซท ประเทศอังกฤษ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๓ - พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ • ทรงเข้าศึกษาเตรียมทหารที่โรงเรียน คิงส์สกูล เขตพารามัตตา นครซิดนีย์ ประเทศ ออสเตรเลีย • ทรงเข้ า ศึ ก ษาที่ วิ ท ยาลั ย การทหาร ดันทรูน กรุงแคนแบร์รา ประเทศออสเตรเลีย มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ - ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับอุดมศึกษา และทรงได้ รั บ ปริ ญ ญาอั ก ษรศาสตรบั ณ ฑิ ต (การศึกษาด้านการทหาร) คณะการศึกษาด้าน การทหาร มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลล์ ประเทศ ออสเตรเลีย ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ - กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๑ ขณะประทั บ อยู ่ ใ นพระราชฐาน ทรงสน • ทรงเข้ารับการศึกษาทีโ่ รงเรียนเสนาธิการ พระราชหฤทั ย ในความเป็ น อยู ่ ข องต� า รวจ ทหารบก หลักสูตรหลักประจ�าชุดที่ ๕๖ ทีป่ ระจ�ารักษาการณ์ในพระราชฐานและข้าราช กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๗ - ตุลาคม บริพารทั่วไป เสด็จพระราชด�าเนินเยี่ยมเยียน พุทธศักราช ๒๕๓๐ ตรวจตราการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในเขต • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับอุดมศึกษา พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน และพระบรม โดยทรงได้ รั บ ปริ ญ ญานิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาราชวังอยู่เป็นนิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรุงเทพฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ประเทศไทย ราชกุมาร ทรงด�ารงต�าแหน่งเป็นนายกอุปถัมภ์ มกราคม - ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓ และสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสมาคมต่างๆ ตามที่ • ทรงเข้ารับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกัน สมาคมและคณะนั้นๆ กราบบังคมทูลอัญเชิญ ราชอาณาจักรแห่งสหราชอาณาจักร คื อ นายกกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส มาคมจั ก รยานแห่ ง การฝึกอบรมทางการทหาร ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ มกราคม - ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘ สมาชิกกิตติมศักดิ์ • ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก เพิ่ ม เติ ม และทรง ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรม ศึกษาด้านการทหารในประเทศออสเตรเลีย ราชูปถัมภ์ เมือ่ วันที่ ๑๔ กรกฎาคม พุทธศักราช โดยทุนกระทรวงกลาโหม ๒๕๑๒ องค์อปุ ถัมภ์สามัคคีสมาคม ในพระบรม • ทรงประจ� า การ ณ กองปฏิ บั ติ ก าร ราชูปถัมภ์ เมือ่ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พุทธศักราช ทางอากาศพิเศษ ที่นครเพิร์ธ รัฐออสเตรเลีย ๒๕๑๓ สมาชิกกิตติมศักดิ์ราชยานยนต์สมาคม ตะวันตก ประเทศออสเตรเลีย แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ • หลักสูตรวิชาการรบพิเศษการท�าลาย เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๓ และยุทธวิธีการรบนอกแบบ องค์ อุ ป ถั ม ภ์ ลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ • หลักสูตรการค้นหาชั้นสูง ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๓ • หลักสูตรการลาดตระเวนและค้นหา การศึกษา ชั้นสูง พุทธศักราช ๒๔๙๙ - พุทธศักราช ๒๕๐๙ • หลักสูตรส่งทางอากาศ • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับอนุบาลที่ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ - มกราคม พระทีน่ งั่ อุดรภาค พระราชวังดุสติ และโรงเรียน พุทธศักราช ๒๕๓๒ จิตรลดา • ทรงเข้ารับการศึกษาหลักสูตรการฝึก มกราคม - กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๙ บินเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทัว่ ไป แบบ ยู เอช-๑ ของ • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาระดั บ ประถม บริษัทเบลล์ จ�านวนชั่วโมงบิน : ๕๙.๓๖ ชั่วโมง ศึกษาที่โรงเรียนคิงส์มีด เมืองซีฟอร์ด แคว้น • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการ ซัสเซกส์ ประเทศอังกฤษ ฝึกบินเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบ เอ เอช-๑ คอบรา กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๙ - กรกฎาคม ของบริษัท เบลล์ จ�านวนชั่วโมงบิน : ๑ ชั่วโมง พุทธศักราช ๒๕๑๓ กุ มภาพั น ธ์ - พฤษภาคม พุท ธศักราช • ทรงเข้ารับการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ๒๕๒๓ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
• ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก และทรงศึ ก ษา โครงการช่วยเหลือทางทหารของกองทัพบก สหรัฐอเมริกา ทีฟ่ อร์ดแบรกก์ รัฐนอร์ธแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ตามหลักสูตรดังต่อไปนี้ :• หลักสูตรอาวุธประจ�ากายและเครือ่ งบิน ยิงจรวด • หลักสูตรการปฏิบัติการพิเศษ • หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้าย • หลักสูตรการสงครามแบบกองโจร • หลักสูตรการฝึกการด�ารงชีพ • หลักสูตรทางอากาศ (ทางบกและทางทะเล) มิถุนายน - กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๓ • ทรงเข้าศึกษาหลักสูตรฝึกบินเฮลิคอปเตอร์ ใช้งานทั่วไป แบบ ยู เอช-๑ และ เฮลิคอปเตอร์ ใช้งานทั่วไปแบบ ยู เอช-๑ ของบริษัท เบลล์ จ�านวนชั่วโมงบิน : ๒๔๙.๕๖ ชั่วโมง กันยายน - ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๓ • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการ ฝึกบินเฮลิคอปเตอร์โจมตีติดอาวุธ (แบบ ยู เอช-๑) ของบริษัท เบลล์ ของกองทัพไทย จ�านวนชั่วโมงบิน : ๕๔.๕๐ ชั่วโมง ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๓ - กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๔ • ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการ ฝึกบินเครือ่ งบินปีกติดล�าตัวแบบ Siai-Marchetti SF260 MT จ�านวนชัว่ โมงบิน : ๑๗๒.๒๐ ชัว่ โมง มีนาคม - กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ • ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รการฝึ ก บินเครื่องบินปีกติดล�าตัวแบบ Cessna T-37 จ�านวนชั่วโมงบิน : ๒๔๐ ชั่วโมง ตุลาคม - ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ • เสด็จฯ ทอดพระเนตรกิจการทหารและ ต�ารวจที่ประเทศอังกฤษ เบลเยียม สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ สาธารณรัฐ ฝรั่งเศส และออสเตรเลีย ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ - กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖ • ทรงเข้าศึกษาการบินเปลี่ยนแบบเป็น เครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ ๕ (พิเศษ) รุ่นที่ ๘๓ (พุทธศักราช ๒๕๒๖) เอ ที ดับบลิว และ • หลักสูตรเครือ่ งบินขับไล่ชนั้ สูง รุน่ ที่ ๘๓ (พุทธศักราช ๒๕๒๖) เอ วี ดับบลิว ที่ฐานทัพ อากาศวิลเลียมส์ รัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา จ�านวนชั่วโมงบินมากกว่า ๒,๐๐๐ ชั่วโมง การรับราชการ ๙ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ • ทรงเข้ารับราชการทหารเป็นครั้งแรก ในต�าแหน่ง นายทหารประจ�ากรมข่าวทหารบก กระทรวงกลาโหม ๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๑ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง รองผู้บังคับกองพัน ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมทหารราบ ที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๒๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๒๓ • ทรงด� า รงต� า แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ กองพั น ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมทหารราบ ที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ ๑๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๗ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง ผู้บังคับการกรม ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ๓๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง ผู้บัญชาการหน่วย บัญชาการทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๕ • ทรงด�ารงต�าแหน่ง ผู้บัญชาการหน่วย บัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ส�านักผู้บัญชาการทหารสูงสุด ๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๓๗ • ทรงปฏิบัติหน้าที่ ครูการบินเครื่องบิน ขับไล่แบบเอฟ-๕อี/เอฟ พระยศทางทหาร • พลเอก • พลเรือเอก • พลอากาศเอก พระราชพิ ธี ส ถาปนาพระราชอิ ส ริ ย ยศ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุมาร พระราชพิ ธี ส ถาปนาพระราชอิ ส ริ ย ยศ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุมาร ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา ฉบับ จดหมายเหตุ พ ระราชพิ ธี ส ถาปนาเฉลิ ม พระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พุทธศักราช ๒๕๑๕ เล่ม ๙๗ ตอนที่พิเศษ ๔ กรกฎาคม ๒๕๒๓ ดังนี้ สภาบริหารคณะปฏิวัติได้ประชุมปรึกษา และลงมติ ใ ห้ น� า ความกราบทู ล พระกรุ ณ า ขอพระราชทานโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิม พระนามาภิไธย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า วชิราลงกรณ ซึ่งทรงมีพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษาแล้ว ให้ด�ารงพระราชอิสริยยศ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จึ ง ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มพี ระราชพิธสี ถาปนา เฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ทรงด�ารงพระราชอิสริยยศ เป็น สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ เจ้ า ฟ้ า มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร อนุโลม ตามโบราณขัตติยราชประเพณี พระราชพิธี ในครั้งนี้เรียกว่า “พระราชพิธีสถาปนาเฉลิม พระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร” โปรดเกล้าฯ ให้ก�าหนด พระราชพิธี ๕ ตอน คือ • พระราชพิ ธี จ ารึ ก พระสุ พ รรณบั ฏ และพระราชลั ญ จกร ณ พระอุ โ บสถวั ด
พระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ • พระราชพิ ธี ศ รี สั จ จปานการเสก น�้ า พระพิ พั ฒ น์ สั ต ยา ณ พระอุ โ บสถวั ด พระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง ในวันพุธที่ ๒๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ • พระราชพิธีทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศล ทักษิณานุปทาน ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง ในวันพุธที่ ๒๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ • พระราชพิธสี ถาปนา เฉลิมพระนามาภิไธย ณ พระทีน่ งั่ อนันตสมาคม พระราชวังดุสติ ในวัน พฤหัสบดีที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ • พระราชพิ ธี ถื อ น�้ า พระพิ พั ฒ น์ สั ต ยา ณ พระอุ โ บสถวั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ นอกจากนี้ ยังมีงานซึง่ ต่อเนือ่ งกับพระราชพิธี สถาปนา เฉลิมพระนามาธิไธย สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร อีก ๓ งาน คือ เสด็จบ�าเพ็ญพระราชกุศลทรงบาตรร่วมกับ ประชาชน และพระราชทานพระวโรกาสให้ ประชาชนได้เฝ้าฯ ณ บริเวณท้องสนามหลวง ครั้นเวลาบ่าย ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระบรม วงศานุวงศ์และสมาชิกราชสกุลทุกมหาสาขา เข้ า เฝ้ า ฯ ถวายพระพรชั ย มงคล ณ ศาลา ดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ครั้นเวลาค�่า รัฐบาล ได้จดั งานสโมสรสันนิบาตถวาย ณ ท�าเนียบรัฐบาล ในวันศุกร์ที่ ๒๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรม ราชานุญาตให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร อภิ เ ษกสมรสกั บ หม่อมศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา (พระนามเดิม ในขณะนั้น) ทรงพระมหากรุณาธิคุณประกอบ พิ ธี อ ภิ เ ษกสมรสพระราชทานเมื่ อ วั น เสาร์ ที่ ๑o กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๔ และเมื่อ พระโอรสอันประสูติแต่หม่อมศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา เป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ศรี รั ศ มิ์ พระวรชายา ในสมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เมือ่ วันพุธที่ ๑๕ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๘ 7
8
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ประวัติ วันเข้ารับต�าแหน่ง ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ เกิดวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๑๐ สถานภาพ ประวัติการศึกษา ๒๕๓๓ : Master of Public Admin Kentucky State University, U.S.A. ๒๕๓๑ : ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประวัติการท�างาน ๒๕๔๙ : ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ ป อเรชั่ น จ� า กั ด (มหาชน) ซึ่ ง ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ชั้ น น� า ในประเทศไทยและได้ รั บ การจั ด อันดับจากคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ของตลาดหลักทรัพย์ ให้อยู่ในกลุ่ม “ดีเลิศ” ของบริษัทที่ด� าเนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ภาพลักษณ์และสินค้า ประสบความส�าเร็จ ในการ Re-Branding จากภาพลักษณ์บริษัทเทเลคอม เป็น บริษัทที่ด�าเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อย่างชัดเจน รวมทั้งปรับรูปแบบสินค้าและบริการของบริษัทให้ตรงต่อ ความต้องการของลูกค้าซึ่งสามารถท�าให้ผลประกอบการ ของบริษัทเพิ่มขึ้นถึง ๓๐% อย่างต่อเนื่องทุกปี ประสบ ความส� า เร็ จ ในการสร้ า งวั ฒ นธรรมองค์ ก ร ส่ ง เสริ ม ให้ พนักงานมีพฤติกรรมที่สอดคล้องกับค่านิยม และน�าค่านิยม สูก่ ารปฏิบตั งิ านทุกจุดบริการ การบริหารจัดการ ปรับโครงสร้าง องค์กรให้มีความเหมาะสมต่อการด�าเนินธุรกิจ เกิดความ คล่ อ งตั ว ในการบริ ห ารจั ด การ เปิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลสูงสุดต่อบริษทั ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ ปฏิ บั ติ ง านให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ เช่ น ระบบ SC System (กระบวนการก่อสร้างและต้นทุนการ ก่อสร้าง) กระบวนการ CRM และกระบวนการบริการ ประสบการณอื่ น ๆ : มี ป ระสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ บริ ห าร ทรัพย์สิน และธุรกิจกอล์ฟ ๒๕๔๕ : ประธานกรรมการ บริษัท แอ็ดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ากัด (มหาชน) ๒๕๔๔ : กรรมการผู ้ อ� า นวยการอาวุ โ ส - สายงานการ วางแผนธุรกิจโทรคมนาคมไร้สาย บริษัท แอ็ดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ากัด (มหาชน) ๒๕๔๒ : กรรมการผูอ้ า� นวยการ - สายงานปฏิบตั กิ าร สินค้า และบริการ บริษทั แอ็ดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ากัด (มหาชน) ๒๕๔๐ : Vice President - Shinawatra Directories Production บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส์ จ�ากัด ๒๕๓๘ : General Manager - Shinawatra Directories Production ๒๕๓๗ : บริษัท เรนโบว์ มีเดียส์ จ�ากัด ผู้จัดการทั่วไป หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๒๕๓๖ : บริษทั ชินวัตร ไดเร็คทอรีส่ ์ จ�ากัด Production Director การฝึกอบรมและสัมมนา ๒๕๕๔ : Capital Market Academy (วตท.) รุ่นที่ ๑๒ ๒๕๕๐ : New Culture on Brand ๒๕๔๙ : Executive Committee Program - Director Accreditation Program - Finance for Non - Finance Director- Director Certification Program ๒๕๔๘ : Mastery Development Program : Executive Shared Learning Forum ๒๕๔๗ : Leadership Through TQM ๒๕๔๖ : Continuous Process Quality Improvement for Executive ๒๕๔๕ : Program for Management Development Harvard Business School (USA) : Executive Coaching Program ๒๕๔๔ : The 4 Roles of Leadership : Balanced Scorecard for Executive Program : Broadening the Manager’s skill ๒๕๔๒ : Problem Solving & Decision Making ๒๕๔๐ : Financial Management for Executive Program ๒๕๓๙ : The Managerial Grid ๒๕๓๘ : Financial Management Program : Mini MBA (Chulalongkorn University) ๒๕๓๗ : Leadership Personality in Global Business ๒๕๓๖ : Effective Presentation Skill ๒๕๓๕ : Objective Setting Workshop ๒๕๓๔ : Advanced Marketing
9
พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ประวัติ เกิดวันที่
๘ มกราคม ๒๔๘๐ ครอบครัว บิดา พลโท อรรถ ศศิประภา มารดา นางจ�ารูญ ศศิประภา ภริยา คุณหญิงอรพรรณ ศศิประภา บุตร และ ธิดา ๑. นายปรภฏ ศศิประภา ๒. นางสาวอภิษฎา ศศิประภา ๓. นางสาววลัยพรรณ ศศิประภา ๔. นางสาวจันทิมา ศศิประภา ประวัติการศึกษา มัธยมศึกษา - โรงเรียนเซนต์คาเบรียล พ.ศ.๒๔๙๗ 10
การศึกษาโรงเรียนทหาร - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พ.ศ.๒๕๐๔ - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๔๘ พ.ศ.๒๕๑๒ - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๓๓ พ.ศ.๒๕๓๔ การศึกษาต่างประเทศ - หลักสูตรพลร่มและจู่โจม ณ ฟอร์ดเบนนิ่ง โรงเรียน ทหารราบ กองทัพบก สหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๐๕ - หลักสูตรชัน้ นายพัน เหล่าทหารราบ ณ ฟอร์ดเบนนิง่ โรงเรียนทหารราบ กองทัพบก สหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๑๑ ประวัติการท�างานและ/หรือรับราชการ - ผูบ้ งั คับกองพันที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค์ (๑ ตุลาคม ๒๕๑๔) - รองผู้บังคับการ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค์ (๑๑ มีนาคม ๒๕๑๙)
- เสนาธิการมณฑลทหารบกที่ ๑ (๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๒) - ประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ในพระบรม - เสนาธิการกองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ (๑๗ เมษายน ราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๕๒ - ปัจจุบัน (ครั้งที่ ๓) ๒๕๒๔) - ประธานกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ สหพันธ์กีฬาซีเกมส์ พ.ศ. - รองผู้บัญชาการกองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ - ปัจจุบัน ๒๕๒๖) เกียรติคุณส�าคัญที่เคยได้รับยกย่องปฏิบัติงานด้านสังคม - เสนาธิการกรมการรักษาดินแดน (๑ ตุลาคม ๒๕๒๘) - ได้รบั รางวัลเมขลา สาขาสร้างสรรค์สงั คม ติดต่อกัน ๓ ปี (ปี - ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๓๑) พ.ศ.๒๕๒๙ - ๒๕๓๑) โดยมี ส ่ ว นส� า คั ญ ในการผลิ ต - รองแม่ทัพภาคที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๓๒) รายการวิทยุกระจายเสียง “กองทัพบกพบประชาชน” และ - ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก ฝ่ายข่าว (๑ ตุลาคม ๒๕๓๓) รายการโทรทัศน์ “สนทนาปัญหาบ้านเมือง” - ผูอ้ า� นวยการส�านักนโยบายและแผนกลาโหม (๑ ตุลาคม - ได้รับรางวัลพ่อดีเด่นประจ�าปี พ.ศ.๒๕๓๘ ๒๕๓๖) - ได้รบั รางวัลโล่หพ์ ระราชทาน และเกียรติบตั รเชิดชูเกียรติ - รองปลัดกระทรวงกลาโหม (๑ เมษายน ๒๕๓๙) การอนุรกั ษ์ อาคารศาลาว่าการกลาโหมจาก สมเด็จพระเทพ - ปลัดกระทรวงกลาโหม (๑ ตุลาคม ๒๕๓๙ - ๒๕๔๑) รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เมือ่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๐ - เป็นสมาชิกวุฒิสภา (๒๒ มีนาคม ๒๕๓๙ - ๒๑ มีนาคม - ได้รับรางวัลพระราชทานเสาเสมาธรรมจักรเกียรติคุณ ๒๕๔๓) ผูท้ า� คุณประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนา ประเภทส่งเสริมกิจการ - เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร แบบสัดส่วน (๒ กุมภาพันธ์ คณะสงฆ์ ๒๕๔๑ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม (๑๘ กุมภาพันธ์ - เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๐๙ ๒๕๔๔ - ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕) - จตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๑ - ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ด้านความมั่นคง (๑๑ ตุลาคม - จตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๔ ๒๕๔๕ - ๘ มีนาคม ๒๕๔๘) - ตริตราภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๘ - ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวงกลาโหม (๓๑ มีนาคม - ตริตราภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๒๑ ๒๕๔๘ - ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๙) - ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓ - ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวงกลาโหม (๒๙ มิถุนายน - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๒๘ ๒๕๔๙ - ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙) - ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ - ทีป่ รึกษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม (๑๔ ตุลาคม - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๓๒ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑) - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๓๖ - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (ตั้งแต่ ๙ สิงหาคม - ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.) ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๒๕๕๔) - เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ (บ.ภ.) ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ราชการพิเศษและต�าแหน่งที่ส�าคัญ - ตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.) ๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ - มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เป็นราชองครักษ์เวร เหรียญราชอิสริยาภรณ์ พ.ศ.๒๕๑๒ - ๒๕๓๖ - เหรียญชัยสมรภูมิ (เกาหลี) (๓๑ มกราคม ๒๕๐๗) - มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เป็นราชองครักษ์พเิ ศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น ๕ (๑ กันยายน ๒๕๐๗) รับราชการสนองพระเดชพระคุณ ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๓๖ - ปัจจุบนั - เหรียญราชการชายแดน (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๑๐) - เป็นตุลาการศาลทหารสูงสุด ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๖ - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ ๒ (๒๘ มีนาคม ๒๕๑๕) - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็ก - เหรียญชัยสมรภูมปิ ระดับเปลวระเบิด (๑๕ เมษายน ๒๕๑๕) รักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๒๔ - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ ๑ (๒๗ มีนาคม ๒๕๔๐) - เป็นนายทหารพิเศษประจ�ากองพันที่ ๓ กรมทหารราบ - Labor Medal (เหรียญ ชัน้ ที่ ๒) ของกระทรวงกรรมกร ที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๒๔ แห่งชาติเวียดนามใต้ (๑๔ มกราคม ๒๕๑๕) - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๓๑ รักษา - Armed Forces Medal วน. ชั้น ๑ (๔ มีนาคม ๒๕๑๕) พระองค์ พ.ศ.๒๕๒๕ - Campange Medal (๑ เมษายน ๒๕๑๕) - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๑๑ รักษา - Public Health Medal วน. ชัน้ ๒ (๑๐ มีนาคม ๒๕๑๕) พระองค์ พ.ศ.๒๕๒๖ - Public Works Communication and Transportation - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารราบที่ ๒๑ รักษา Medal (ชั้น ๒) (๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕) พระองค์ พ.ศ.๒๕๓๘ - Ethnic Minority Development Medal (ชั้น ๒) - มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ พระราชทานยศเป็น (๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕) พลเรือเอก และพลอากาศเอก กับแต่งตัง้ เป็นนายทหารพิเศษ - Cultural and Education Medal (ชัน้ ๒) จากกระทรวง ประจ�ากรมนักเรียนนายเรือ รักษาพระองค์ และประจ�า ศึกษาธิการเวียดนาม (๑ เมษายน ๒๕๑๕) กรมนักเรียนนายเรืออากาศ รักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๔๐ - เหรียญกล้าหาญเวียดนามระดับ บรอนซ์สตาร์ (๕ เมษายน - เป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ากรมทหารม้าที่ ๑ รักษาพระองค์ ๒๕๑๕) พ.ศ.๒๕๔๐ - Police Honor Medal ชั้น ๒ จากกรมต�ารวจแห่งชาติ - เป็นนายกสมาคมว่ายน�้าสมัครเล่นแห่งประเทศไทย เวียดนาม (๑๒ เมษายน ๒๕๑๕) พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๔๗ - Staff Service Medal ชัน้ ๑ จากกองบัญชาการทหารสูงสุด - ประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ใน เวียดนาม (๑๒ เมษายน ๒๕๑๕) พระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ (ครั้งที่ ๑) - Civil Actions Medal ชั้น ๑ (๑๕ เมษายน ๒๕๑๕) - เป็นนายกสมาคมยิมนาสติกแห่งประเทศไทย พ.ศ. - Social Warfare Medal ชั้น ๒ (๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๕) ๒๕๔๗ - ๒๕๔๙ - Sports Medal - ประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ใน - Gallantrys Cross With Bronz Star (๕ เมษายน ๒๕๑๕) พระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๒ (ครั้งที่ ๒) - Army Commendation B (๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๕) - ประธานสหพันธ์กีฬาซีเกมส์ พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
11
แนวทางปฏิบตั ขิ องกระทรวงกลาโหม ในการรองรับการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ กองอาเซียน ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
1๒
กองอาเซียน ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ภ
ายหลังจากทีไ่ ด้มกี ารจัดท�ากฎบัตร อาเซี ย นหรื อ ธรรมนู ญ อาเซี ย น ในปี ๒๕๕๑ เพื่อวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสร้ า งองค์ ก ร ซึ่ ง น� า ไปสู ่ ก ารจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ ในทั้ง ๓ เสาหลัก คือ เสาประชาคม การเมื อ งและความมั่ น คง เสาประชาคม เศรษฐกิ จ และเสาประชาคมสั ง คมและ วัฒนธรรม โดยมีเป้าหมายหลักในการรวมตัว ที่ ส� า คั ญ คื อ การสร้ า งประชาคมที่ มี ค วาม แข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือกับ สิ่ ง ท้ า ทายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยมีจดุ มุง่ หมายให้อาเซียนเป็น ประชาคมทีม่ คี วามสุข ประชาชนมีความเป็นอยู่ ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมถึงประชาชน ในอาเซียนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งหากกระทรวงกลาโหมสามารถสนับสนุน ให้ ก ารรวมตั ว เป็ น ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ ประสบความส�าเร็จ โดยเป็นประชาคมที่ มีกฎเกณฑ์และบรรทัดฐาน และการด�าเนินการ ร่ ว มกั น รวมทั้ ง เป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี ค วามเป็ น เอกภาพ สงบสุข และมีความเข้มแข็ง พร้อม ทั้งมีความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหา ความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติแล้ว ผู้ที่จะได้ รับผลประโยชน์โดยตรงก็คอื ประชาชนชาวไทย และประเทศไทยนั่ น เอง และหากมองใน เสาหลัก เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมแล้ว ประเทศไทยถื อ ว่ า ได้ เ ปรี ย บด้า นภูมิศ าสตร์ มากทีส่ ดุ ดังนัน้ จึงยิง่ ส่งผลดีให้กบั ประเทศไทย มีการพัฒนายิ่งขึ้นตามไปอีกด้วย วัตถุประสงค์ ในการด�าเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของกฎบั ต รอาเซี ย น จึ ง มี ค วามจ� า เป็ น ที่ กระทรวงกลาโหม ต้ อ งเร่ ง จั ด ท� า แนวทาง ปฏิบตั ขิ องกระทรวงกลาโหมในการรองรับการ
มีเป้าหมายหลักในการรวมตัว ที่สำาคัญ คือ การสร้างประชาคม ที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้าง โอกาสและรับมือกับสิ่งท้าทายที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
13
จัดตั้งเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบหรือแนวทางในการด�าเนิน งานในเรื่องต่างๆ ซึ่งได้ก�าหนดวัตถุประสงค์ โดยพิ จ ารณาจากประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ข อง กระทรวงกลาโหมในด้านการเสริมสร้างความ ร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน และมิตรประเทศ และนโยบายของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม ไว้ดังนี้ 14
๑. เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่น และลด ความหวาดระแวงระหว่างประเทศในภูมิภาค ๒. เพื่ อ สร้ า งความโปร่ ง ใสในด้ า นการ ป้ อ งกั น ประเทศ อั น จะน�า ไปสู ่ ค วามไว้ เ นื้ อ เชื่อใจระหว่างประเทศ ๓. เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และพัฒนา ความร่วมมือทางทหารกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน มิตรประเทศ และ
องค์กรระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี เพื่อจัดระเบียบสภาวะแวดล้อม สร้างสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง ความ มั่งคั่ง ความก้าวหน้า และความสงบสุขร่วมกัน และเพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการน�าไปสูก่ ารรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ๔. เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งโดยสันติ และลดโอกาสของการใช้ก�าลัง ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง อาทิ ปัญหา ความขัดแย้งเรื่องพรมแดนทั้งทางบกและทาง ทะเล และความขัดแย้งในการอ้างกรรมสิทธิใ์ น พื้นที่ที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ๕. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในภารกิจ ระหว่างประเทศ และการขยายบทบาทในเวที ระดับนานาชาติของกองทัพ อันจะเป็นการ เสริมสร้างเกียรติภูมิของชาติ อาทิ การเข้าไป มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของ สหประชาชาติ การให้ ค วามช่วยเหลือด้า น มนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ และการ รักษาความมั่นคงทางทะเล เป็นต้น เป้าหมายในการด�าเนินการ กระทรวงกลาโหมสามารถปฏิบัติภารกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผนในการ เตรียมการด้านก�าลังพล ยุทโธปกรณ์ งบประมาณ และการบริหารจัดการต่างๆ ได้อย่างสอดคล้อง กับนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และ
กองอาเซียน ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
รองรั บ ในการจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ แนวทางปฏิบัติของกระทรวงกลาโหมใน การรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ มีการด�าเนินการที่ส�าคัญ ๓ ด้าน ดังนี้ ๑. การพัฒนาด้านก�าลังพล พั ฒ นาการฝึ ก และศึ ก ษา การใช้ ภ าษา อั ง กฤษ และภาษาของชาติ ใ นอาเซี ย นของ ก�าลังพลในกองทัพให้สามารถบูรณาการองค์ ความรู้ได้อย่างประสานสอดคล้องเชื่อมโยงซึ่ง กันและกัน เช่น การพัฒนารูปแบบในการฝึก ร่วมผสม หรือการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียน เสนาธิการเหล่าทัพเพื่อให้รองรับนายทหาร นักเรียนต่างชาติในอาเซียนได้มากขึ้น เป็นต้น ๒. การพัฒนาด้านการจัดท�างบประมาณ ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บั ติ ร าชการ ๔ ปี ของ กระทรวงกลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวง กลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติ ราชการประจ�าปีให้สามารถตอบสนองและ สามารถรองรับต่อภารกิจในความรับผิดชอบ และสนับสนุนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๓. การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ๓.๑ บูรณาการในกิจกรรมต่างๆ ของ อาเซียนที่ได้มีการจัดท�าไว้อยู่แล้ว เช่น การ ประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดอาเซียนอย่าง หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ไม่เป็นทางการ การประชุมผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ อาเซียน การแข่งขันยิงปืนอาเซียน การประชุม เจ้ากรมข่าวทหารอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ การประชุ ม เจ้ า กรมยุ ท ธการทหารอาเซี ย น อย่างไม่เป็นทางการ เป็นต้น โดยให้รายงาน ผ่านกองบัญชาการกองทัพไทย และน�าเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เพื่อกรุณา ทราบ ๓.๒ ด� า เนิ น การตามเอกสารแนว ความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซี ย น (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) และกรอบการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหม ประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus) ทั้ง ๙ ฉบับ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยการจัดท�าแผนงาน งบประมาณเพื่อรองรับทั้ง ๙ ด้าน ก�าหนด ไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของกระทรวง กลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติราชการ ประจ�าปีของกระทรวงกลาโหม และหน่วย ขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ และ ปี ๒๕๕๘) ๓.๓ จั ด ตั้ ง กลไกในการด� า เนิ น การ ขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบอาเซียน และ พิจารณาปรับปรุงแก้ไขกลไกหรือกฎระเบียบ ต่ า งๆ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ให้ มี ค วามเหมาะสมเพื่ อ เพิ่มประสิทธิภาพ รวมถึงอาจจัดตั้งหน่วยงาน ที่เกี่ยวกับการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ สถาบัน ด้ า นการศึ ก ษาและวิ จั ย งานด้ า นอาเซี ย น เพิ่มเติม หรือมีการปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ ทีล่ า้ สมัยเพือ่ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน เป็นต้น
กระทรวงกลาโหมสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผน ในการเตรียมการด้านกำาลังพล ยุทโธปกรณ์ งบประมาณ และ การบริหารจัดการต่างๆ ได้อย่าง สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และรองรับในการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
๓.๔ ปรั บ ปรุ ง แผนป้ อ งกั น ประเทศ และภารกิจของกองก�าลังป้องกันชายแดนให้ สอดคล้องกับการเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ด้วยการเตรียมความพร้อมของหน่วย ยุทโธปกรณ์ บุคลากร ให้มีความเป็นสากล และสามารถรองรับการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ของอาเซียนในภาพรวมได้ ๓.๕ สนั บ สนุ น การเป็ น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียนด้วยการใช้ศักยภาพและขีด ความสามารถที่มีอยู่ของกระทรวงกลาโหม
15
สภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ ในพื้นที่ภาคเหนือ ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
1๖
ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
จ
ากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ ภายในประเทศและประเทศรอบบ้าน ในปัจจุบัน ท�าให้หน่วยงานด้านความ มั่นคงมีความจ�าเป็นต้องติดตามสถานการณ์ และตรวจสอบสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ อย่างสม�่ าเสมอ ซึ่งในห้วงกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ทีผ่ า่ นมา คณะข้าราชการของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมได้เดินทางไปตรวจสอบ สภาวะแวดล้ อ มทางยุ ท ธศาสตร์ ใ นพื้ น ที่ ภาคเหนื อ (จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ และ จัง หวัด เชียงราย) โดยได้รับทราบข้อมูลจากหน่วย ในพื้นที่กองก�าลังผาเมือง และหน่วยเรือรักษา ความสงบเรี ย บร้ อ ยตามล� า น�้ า โขง (นรข.) ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และหอการค้าจังหวัด เชี ย งใหม่ รวมถึ ง สภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด เชียงใหม่ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ส�าคัญต่อการก�าหนด ยุทธศาสตร์ของกระทรวงกลาโหม ซึ่งประกอบ ด้วย สถานการณ์ตามแนวชายแดน สถานการณ์ ยาเสพติ ด ตามแนวชายแดน สถานการณ์ ปั ญ หาอาชญากรรมในแม่ น�้ า โขง และการ เตรี ย มการก่ อ นเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น สามารถสรุปได้ดังนี้ สถานการณ์ตามแนวชายแดน อยูใ่ นสภาวะ ปกติ สถานการณ์ ก ารสู ้ ร บในพื้ น ที่ รั ฐ ฉาน ลดน้อยลงตามล�าดับ จากการทีร่ ฐั บาลเมียนมาร์ ด�าเนินการเจรจาเพื่อสร้างความปรองดองกับ กองก�าลังชนกลุ่มน้อย ปัจจุบันปัญหาเขตแดน ราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมี ย นมาร์ ใ นพื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบของกองก� า ลั ง ผาเมื อ งยั ง ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ ความสั ม พั น ธ์ ของทั้ ง สองประเทศ ซึ่ ง กองก� า ลั ง ผาเมื อ ง ได้ผลักดันกองก�าลังของชนกลุ่มน้อยหรือก�าลัง ทหารของรัฐบาลเมียนมาร์ทุกครั้งที่ตรวจพบ การรุกล�้าอธิปไตยของไทย ทั้งนี้ กองก�าลัง ผาเมื อ งพิ จ ารณาว่ า พื้ น ที่ ล ่ อ แหลมต่ อ การ รุ ก ล�้ า อธิ ป ไตยบริ เ วณชายแดน ซึ่ ง อาจเป็ น ปัญหาเรื่องเส้นเขตแดนในอนาคตมี ๓ พื้นที่ ได้แก่ ๑) พืน้ ทีว่ ดั ฟ้าเวียงอินทร์ อ�าเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ ๒) พื้นที่ดอยลาง อ�าเภอ แม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และ ๓) พืน้ ทีส่ า� นักสงฆ์ กู่เต็งนาโย่ง อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
จากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ ภายในประเทศและประเทศรอบบ้าน ในปัจจุบัน ทำาให้หน่วยงานด้านความ มั่นคงมีความจำาเป็นต้องติดตาม สถานการณ์และตรวจสอบสภาวะ แวดล้อมทางยุทธศาสตร์ อย่างสมำ่าเสมอ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
17
สถานการณ์ยาเสพติดตามแนวชายแดน ยังคงมีความรุนแรงอยู่อย่างต่อเนื่อง และในปัจจุบนั การสกัดกัน้ การลักลอบ นำาเข้ายาเสพติดตามแนวชายแดน สามารถดำาเนินการได้เพียง ส่วนน้อยเท่านั้น
18
สถานการณ์ ย าเสพติ ด ตามแนวชายแดน ยั ง คงมี ค วามรุ น แรงอยู ่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ ในปั จ จุ บั น การสกั ด กั้ น การลั ก ลอบน� า เข้ า ยาเสพติด ตามแนวชายแดนสามารถด� าเนิ น การได้เพียงส่วนน้อยเท่านั้น เนื่องจากแนว ชายแดนมีระยะทางยาว และมีช่องทางตาม ธรรมชาติจ�านวนมาก ซึ่งแนวชายแดนในความ รับผิดชอบของกองก�าลังผาเมืองมีทั้งทางบก และทางน�้ า ความยาวรวม ๙๓๓ กิ โ ลเมตร ทั้งนี้ กองก�าลังผาเมืองได้เสนอของบประมาณ จากส� า นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และ ปราบปรามยาเสพติ ด ในการเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการสกั ด กั้ น โดยใช้ เ ทคโนโลยี
ในการตรวจจับ ได้แก่ ๑) การใช้เครือ่ ง X - Ray บริเวณจุดผ่านแดน และ ๒) การใช้เครื่องมือ เฝ้ า ตรวจพื้ น ที่ ร ะยะไกล (Remote Area Monitor : RAM) เพื่อตรวจจับการลักลอบ ล� า เลี ย งยาเสพติ ด ตามช่ อ งทางธรรมชาติ นอกจากนี้ ไทยควรกดดันให้รัฐบาลเมียนมาร์ แก้ไขปัญหายาเสพติดทีม่ แี หล่งผลิตอยูใ่ นพืน้ ที่ ของชนกลุ ่ ม น้ อ ยอย่ า งจริ ง จั ง ในทุ ก เวที ก าร เจรจาตั้งแต่ในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ สถานการณ์ปญ ั หาอาชญากรรมในแม่นา�้ โขง ภายหลังจากมีกลไกความร่วมมือของ ๔ ชาติ ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมี ย นมาร์ และราชอาณาจั ก รไทย ในการป้องกันการก่ออาชญากรรมในแม่น�้าโขง ยังไม่ปรากฏการก่ออาชญากรรมจากกลุ่มกอง ก�าลังติดอาวุธในบริเวณแม่น�้าโขง ทั้งนี้ ในส่วน ของไทยได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและ ปราบปรามการกระท�าผิดในแม่น�้าโขง ดูแล พื้ น ที่ ตั้ ง แต่ ส ามเหลี่ ย มทองค� า จนถึ ง ท่ า เรื อ พาณิชย์เชียงแสน มีศนู ย์บญ ั ชาการอยูท่ ตี่ า� รวจ ภูธรภาค ๕ จังหวัดเชียงใหม่ และมีศูนย์ปฏิบัติ การป้องกันและปราบปรามการกระท�าผิดใน แม่น�้าโขงส่วนหน้าที่ท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน ทั้งนี้ ใช้ก�าลังต�ารวจในการดูแลรับผิดชอบ ส�าหรับการเตรียมการก่อนเข้าสู่ประชาคม อาเซียน กองก�าลังผาเมืองได้ยึดตามแนวทาง การปฏิ บั ติ เ พื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มของ กองทัพบกในการรองรับการจัดตั้งประชาคม ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
อาเซี ย นในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่ ง การเข้ า สู ่ ประชาคมอาเซี ย นจะส่ ง ผลให้ พื้ น ที่ ภ าค เหนือมีพัฒนาการทั้งด้านเศรษฐกิจและการ ท่องเที่ยว โดยสภาหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ เสนอให้ มี ก ารเปิ ด จุ ด ผ่านแดนถาวรเพิ่ม ขึ้น ได้ แ ก่ ๑) จุ ด ผ่ อ นปรนกิ่ ว ผาวอก ๒) จุ ด ผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง และ ๓) จุดผ่อนปรน บ้ า นสั น ต้ น ดู ่ แต่ ส าธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพ เมียนมาร์ยังไม่มีความพร้อม ขณะเดียวกัน กองก�าลังผาเมืองพิจารณาว่าอาจจะน�าไปสู่ ปัญหาความมั่นคงโดยเฉพาะปัญหายาเสพติด ที่จะมีเพิ่มขึ้นตามมา กล่ า วโดยสรุ ป ปั ญ หาตามแนวชายแดน ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด ยั ง คง เป็นปัญหายาเสพติด แม้วา่ การเจรจาเพือ่ สร้าง ความปรองดองระหว่างรัฐบาลเมียนมาร์กับ กองก� า ลั ง ชนกลุ ่ ม น้ อ ยอาจส่ ง ผลดี ต ่ อ การ แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในระยะยาว แต่ ใ น ระยะสั้น สถานการณ์ยาเสพติดยังคงมีความ รุนแรง ซึ่งกองทัพจ�าเป็นต้องพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการตรวจจับการ ลักลอบล�าเลียงยาเสพติดให้ดียิ่งขึ้น นอกจาก นี้ พัฒนาการทั้งด้านเศรษฐกิจและการท่อง เที่ยวในพื้นที่ภาคเหนือจะน�ามาซึ่งปัญหาด้าน ความมั่นคงต่างๆ ซึ่งทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรร่วมกันหารือ โดยไม่มองประเด็นด้านการ เติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว ควรมอง ประเด็นปัญหาความมั่นคงและสังคมจิตวิทยา ที่จะเกิดตามมาควบคู่กันไปด้วย หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
19
ราชอาณาจักรกัมพูชากับการรักษาดุลยภาพ กับสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหรัฐอเมริกา ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ก
ารแข่ ง ขั น เพื่ อ ขยายอิ ท ธิ พ ลของ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และสหรัฐ อเมริ ก าในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เฉี ย งใต้ ท� า ให้ ร าชอาณาจั ก รกั ม พู ช าเป็ น ประเทศหนึง่ ทีใ่ ช้โอกาสนีใ้ นการรักษาดุลยภาพ ระหว่างมหาอ�านาจทั้งสองให้เข้ามามีบทบาท ในราชอาณาจักรกัมพูชาทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านความมั่นคง ส่งผลให้ในห้วงเวลาที่ผ่านมา ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช ามี ศั ก ยภาพเพิ่ ม ขึ้ น ใน ทุกๆ ด้าน ด้ า นเศรษฐกิ จ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช ามี อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอยูท่ รี่ อ้ ยละ ๗.๓ ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ และคาดว่าในปี พ.ศ.๒๕๕๖ จะเติบโตในอัตราใกล้เคียงกัน ซึ่งเป็นอัตรา การเจริญเติบโตที่สูง เมื่อเทียบกับแนวโน้ม การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยมีปัจจัย สนั บ สนุ น จากการลงทุ น จากต่ า งประเทศที่ เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ต่างประเทศ ใช้ ร าชอาณาจั ก รกั ม พู ช าเป็ น ฐานการผลิ ต เพือ่ การส่งออก นอกจากนี้ ราชอาณาจักรกัมพูชา ยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่ส�าคัญที่ดึงดูดการ ลงทุนจากต่างประเทศ คือ น�้ามันและก๊าซ ธรรมชาติ ใ นอ่ า วไทย ซึ่ ง ส� า รวจพบตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๔๘ ๒0
ด้านความมั่นคง ราชอาณาจักรกัมพูชามี งบประมาณเพื่อการพัฒนากองทัพในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จ�านวน ๔๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๔.๔๖ จากปี พ.ศ.๒๕๕๕ และมีงบประมาณรายจ่ายส�าหรับกระทรวง กลาโหมอี ก กว่ า ๒๐๐ ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ซึ่งในห้วงที่ผ่านมา รัฐบาลกัมพูชาได้พัฒนา
กองทัพโดยการจัดซื้ออาวุธอย่างต่อเนื่อง และ การส่งมอบครั้งล่าสุดเมื่อ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นรถถัง จ�านวน ๑๐๐ คัน และ ยานล�าเลียงพลหุ้มเกราะติดปืนกล อีก ๔๐ คัน ที่ซื้อจากสาธารณรัฐยูเครน ส�าหรับปัญหาด้าน ความมั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างไทย - ราชอาณาจักรกัมพูชา ทีส่ า� คัญ คือ
ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ปัญหาเรื่องเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเล โดยเฉพาะปั ญ หาพื้ น ที่ อ ้ า งสิ ท ธิ ทั บ ซ้ อ น ทางทะเลระหว่างไทย - ราชอาณาจักรกัมพูชา พื้ น ที่ ป ระมาณ ๒๖,๐๐๐ ตารางกิ โ ลเมตร ในอ่าวไทย ซึง่ เป็นแหล่งน�า้ มันและก๊าซธรรมชาติ ที่ยังไม่สามารถตกลงได้เกี่ยวกับการแบ่งปัน ผลประโยชน์ระหว่าง ๒ ประเทศ ส่งผลให้ โครงการส�ารวจ ขุดเจาะ และน�าน�้ามันและ ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นบริ เ วณดั ง กล่ า วมาใช้ ข อง ราชอาณาจักรกัมพูชาไม่สามารถด�าเนินการ ได้อย่างเต็มที่ ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็น ประเทศที่ลงทุนในราชอาณาจักรกัมพูชามาก ที่สุดถึง ๙,๑๗๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๓๗ - ๒๕๕๕ และยังมอบความช่วยเหลือ ทั้ ง การให้ เ ปล่ าและการให้เงิน กู้ด อกเบี้ยต�่า เพือ่ น�าไปพัฒนาประเทศและกองทัพ ซึง่ ในช่วง ปี พ.ศ.๒๕๓๕ - ๒๕๕๕ สาธารณรัฐประชาชน จีนได้มอบความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักร กัมพูชาแล้ว รวมทั้งสิ้น ๒,๑๐๐ ล้านเหรียญ สหรัฐฯ นอกจากนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ยังมีบทบาทส�าคัญในการปรับปรุงกองทัพของ ราชอาณาจักรกัมพูชามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ภายหลังจากการรวมกองก�าลัง เขมรแดงเข้ามาไว้ในกองทัพแห่งชาติ ทั้งการ พัฒนาก�าลังพลในกองทัพ และสนับสนุนด้าน อาวุธยุทโธปกรณ์ ในลักษณะขายและให้เปล่า หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
การด�าเนินการทีส่ า� คัญ ได้แก่ ๑) ปี พ.ศ.๒๕๔๒ สาธารณรัฐประชาชนจีนขายรถถัง ๒๕๐ คัน ปืนใหญ่ ๒๓๐ กระบอก และรถบรรทุก ๑๐๐ คัน ๒) ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ขายเรือลาดตระเวนทาง ทะเล จ�านวน ๙ ล�า ๓) ปี พ.ศ.๒๕๕๓ มอบ รถจีป๊ รถบรรทุก และรถพยาบาล รวมจ�านวนกว่า ๒๕๐ คัน พร้อมเครื่องแบบทหารอีก ๕๐,๐๐๐ ชุด แบบให้เปล่า และ ๔) ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ได้ มอบเครื่องแบบทหารเพิ่มอีก ๕๐,๐๐๐ ชุด และขายอาวุธที่ทันสมัยให้ เช่น ขีปนาวุธต่อสู้ อากาศยาน จรวดหลายล�ากล้อง และเครื่อง
ยิงจรวดต่อสู้รถถัง เป็นต้น ส�าหรับในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ราชอาณาจักรกัมพูชามีโครงการจัด ซื้อเฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์แบบ Zhi - 9 จากสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น จ� า นวน ๑๒ ล�า เพื่อเสริมสร้างกองทัพ ซึ่งราชอาณาจักร กัมพูชาได้ตอบแทนสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยการสนับสนุนสาธารณรัฐประชาชนจีนใน เวทีการเมืองระหว่างประเทศ ท่าทีที่ส� าคัญ ได้แก่ การสนับสนุนนโยบายจีนเดียว และการ สนับสนุนสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเด็น ความขัดแย้งในทะเลจีนใต้
๒1
ราชอาณาจักรกัมพูชามุ่งหวัง ที่จะรับความช่วยเหลือสาธารณรัฐ ประชาชนจีนเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรกัมพูชาก็ได้พึ่งพิง สหรัฐอเมริกาด้วยเช่นกัน ซึ่งถือเป็น การรักษาดุลยภาพกับมหาอำานาจ ทั้งสองของราชอาณาจักรกัมพูชา ๒๒
ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ สหรั ฐ อเมริ ก า จากการที่ราชอาณาจักรกัมพูชามีนโยบาย สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดส่งออกสินค้าอันดับ ๑ ที่ จ ะพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศให้ เ จริ ญ ของราชอาณาจักรกัมพูชา สินค้าหลักทีส่ ง่ ออก ก้าวหน้านั้นราชอาณาจักรกัมพูชามุ่งหวังที่จะ ได้แก่ เสื้อผ้า สิ่งทอ และรองเท้า ส�าหรับการ รับความช่วยเหลือสาธารณรัฐประชาชนจีน ลงทุนทีส่ า� คัญของสหรัฐอเมริกา คือ การทีก่ ลุม่ เป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรกัมพูชา บริษัท Chevron ได้รับสัมปทานจากรัฐบาล ก็ ไ ด้ พึ่ ง พิ ง สหรั ฐ อเมริ ก าด้ ว ยเช่ น กั น ซึ่ ง ถื อ ราชอาณาจักรกัมพูชา ในการด�าเนินการส�ารวจ เป็นการรักษาดุลยภาพกับมหาอ�านาจทั้งสอง หาแหล่ ง น�้ า มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ในอ่ า ว ของราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า และในปั จ จุ บั น ไทยเฉพาะที่เป็นเขตแดนของราชอาณาจักร ราชอาณาจักรกัมพูชามีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ กัมพูชา ซึ่งได้ด�าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๘ มาโดยต่อเนื่องและให้ความส�าคัญกับการเพิ่ม เป็นต้นมา คาดว่าจะเริ่มสูบขึ้นมาใช้ประโยชน์ ศักยภาพของกองทัพ ซึง่ จะท�าให้ราชอาณาจักร ได้ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกา กั ม พู ช ามี อ� า นาจในการต่ อ รอง ตลอดจน ยั ง ได้ ส ร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท างทหารกั บ ราช มีพฤติกรรมที่แข็งกร้าวในเวทีระหว่างประเทศ อาณาจั ก รกั ม พู ช านั บ ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๔๙ มากขึ้ น ดั ง นั้ น ในขณะที่ ไ ทยยั ง คงมี ค วาม หลังจากได้หยุดให้ความช่วยเหลือนับตั้งแต่ ขั ด แย้ ง กั บ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าเรื่ อ ง การท�ารัฐประหารโดย ฮุน เซน ในปี พ.ศ. เส้นเขตแดน ทั้งปัญหาอ้างสิทธิ์พื้นที่ทับซ้อน ๒๕๔๐ โดยความสัมพันธ์ทางทหารที่ส� าคัญ ทางทะเล และปัญหากรณีปราสาทพระวิหาร เช่น การฝึกทหารกัมพูชาเพื่อเดินทางไปรักษา ไทยจึ ง ควรที่ จ ะเสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ สันติภาพในแอฟริกาในปี พ.ศ.๒๕๔๙ การ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าในทุ ก มิ ติ ใ ห้ ม ากขึ้ น ส่งมอบรถยนต์บรรทุกทหารจ�านวน ๓๑ คัน เพราะในอนาคตหากมี ค วามขั ด แย้ ง เกิ ด ขึ้ น ในปี พ.ศ.๒๕๕๑ และ การฝึก Co - operation ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันจะช่วยลดความ Afloat Readiness and Training (CARAT) รุนแรงของความขัดแย้งมิให้บานปลายจนยาก ร่วมกับราชอาณาจักรกัมพูชาในปี พ.ศ.๒๕๕๕ ต่อการแก้ไขได้ เป็นต้น ซึง่ ราชอาณาจักรกัมพูชามีทา่ ทียอมรับ ความช่ ว ยเหลื อ ของสหรั ฐ อเมริ ก า แม้ ว ่ า ความช่วยเหลือดังกล่าว จะมีเงื่อนไขที่ราช อาณาจักรกัมพูชาจะต้องส่งเสริมธรรมาภิบาล สร้างประชาธิปไตย และเคารพต่อสิทธิมนุษยชน ราชอาณาจักรกัมพูชาก็ยินดียอมรับเงื่อนไข ดังกล่าว เพื่อแลกกับผลประโยชน์จากสหรัฐ อเมริกา ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
กระทรวงกลาโหมกับความคืบหน้า การแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้
ต
พันตรี สมจิตร พวงโต
ามที่ นางสาวยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร นายกรั ฐ มนตรี มี บั ญ ชาให้ รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นผู้ดูแล รั บ ผิ ด ชอบการประชาสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วกั บ การ แก้ ไ ขปั ญ หาความมั่ น คงจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วย ๑๗ กระทรวง และ ๖๖ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ บู ร ณาการ การประชาสั ม พั น ธ์ ทั้ ง นี้ รั ฐ มนตรี ว ่ า การ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
กระทรวงกลาโหมได้ ป ระชุ ม เพื่ อ ก� า หนด แนวทางการด�าเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ในการแก้ปัญหาและได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารแก้ ป ั ญ หาความมั่ น คง จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสนอแนะและ ให้ ค� า ปรึ ก ษาในการก� า หนดนโยบายและ แนวทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ความคืบหน้าต่างๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ
อย่างต่อเนื่อง อันจะเป็นการสร้างความเข้าใจ ที่ ถู ก ต้ อ งและทั น เหตุ ก ารณ์ ผ ่ า นการแถลง ข่ า วทุ ก วั น ศุ ก ร์ ข องสั ป ดาห์ ทั้ ง นี้ ที่ ผ ่ า นมา ได้ มี ก ารแถลงผลการด� า เนิ น งานด้ า นการ ประชาสัมพันธ์ดังนี้ ๑. มีการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ และ วิทยุกระจายเสียงภาษามลายู ซึ่งเป็นภาษา หลักในวิถีชีวิตประจ�าวันของพี่น้องไทยมุสลิม ๒3
แนวทางการดำาเนินการประชาสัมพันธ์ เชิงรุกในการแก้ปัญหาและได้แต่งตั้ง คณะกรรมการประชาสัมพันธ์การ แก้ปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดน ภาคใต้ เพื่อเสนอแนะและให้คำาปรึกษา ในการกำาหนดนโยบายและแนวทาง ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ความคืบหน้าต่างๆ ให้ประชาชนได้ รับทราบอย่างต่อเนื่อง
๒4
สร้ า งความเข้ า ใจในการปฏิ บั ติ ง านในพื้ น ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยศูนย์อ�านวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้รว่ มกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และภาคประชาสังคม ในพื้นที่ ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เริ่มตั้งแต่วันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๖ โดยสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งภาษา มลายูท�าการส่งกระจายเสียง ๒๔ ชั่วโมง และ ออนไลน์สู่นานาประเทศทาง www.sbpac. com ๒. ส่ ง เสริ มบทบาทองค์ ก รศาสนา โดย การจั ด โครงการส่ ง เสริ ม คนดี มี คุ ณ ธรรมไป ประกอบพิ ธี ฮั จ ญ์ ที่ ป ระเทศซาอุ ดิ อ าระเบี ย ซึ่ ง บุ ค คลเหล่ า นี้ จ ะท� า หน้ า ที่ ตั ว แทนศู น ย์ อ�านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน การสร้างความเข้าใจและช่วยเหลือผู้อื่นสร้าง คุณประโยชน์ให้สังคม นอกจากนี้ประชาชน ร้ อ ยละ ๗๐ เห็ น ด้ ว ยกั บ การสื่ อ สารสร้ า ง ความเข้าใจเรื่องการพูดคุยเพื่อสันติภาพ โดย การสื่ อ สารประชาสั ม พั น ธ์ ผ ่ า นผู ้ น� า ศาสนา ยกตัว อย่ า งเช่ น โครงการสั มมนาเชื่ อ มไทย กับองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) โดยใช้ บทบาทของผูน้ า� ศาสนาในการสร้างความเข้าใจ ให้แก่คณะทูตานุทูตและผู้แทนกลุ่มประเทศ OIC เกีย่ วกับชีวติ ความเป็นอยู่ และสิทธิเสรีภาพ ภายใต้กฎหมายไทย สามารถด�ารงความเป็นมุสลิม อย่างเต็มทีใ่ นทุกด้านโดยสมบูรณ์ ในสังคมไทย
๓. ประชาสั มพั น ธ์ กิ จ กรรมที่ป ระชาชน มีส่วนร่วม เพื่อสร้างความเข้าใจ โดยส่งเสริม และกระตุ้นผู้น�าทางความคิดในสังคม และ ประชาชนทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก อาชี พ เปิด พื้ นที่ พู ด คุย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระบวนการสั น ติ ภ าพ ในทุ ก กลุ่มทุกพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อ แสวงหากระบวนการที่น�าไปสู่การคลี่คลาย ความขั ด แย้ ง การช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาฟื ้ น ฟู จิ ต ใจครอบครั ว ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ โดยการ เยี่ยมเยียนครอบครัว ให้ทุนการศึกษา และ สนั บ สนุ น การเดิ น ทางไปประกอบพิ ธี ฮั จ ญ์ เป็นต้น ๔. ประชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการที่ ส ามารถ สร้างพลังมวลชน เช่น โครงการน�าแสงสว่าง ช่วยเหลือชาวบ้านเหมืองบาลู ต�าบลปะแต อ�าเภอยะหา จังหวัดยะลา หลังจากเรียกร้อง มานานกว่าร้อยปี ขณะนี้สามารถยกระดับการ ศึกษาให้เด็กมีแสงสว่างอ่านหนังสือ สร้างความ พอใจให้แก่คนทั้งหมู่บ้าน ส�าหรับด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินของประชาชน ประกอบด้วย ๑. ด้านการข่าว โดยบูรณาการหน่วยงาน ด้านการข่าวในพื้นที่อย่างเป็นเอกภาพมากขึ้น ท�าให้สามารถก�าหนดบุคคลเป้าหมาย เครือข่าย เชื่อมโยง และโครงสร้างขบวนการอย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น น�าไปสู่การปฏิบัติการทาง พันตรี สมจิตร พวงโต
ยุทธการด้วยการติดตามจับกุม ตรวจค้นได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ๒. ด้ า นการรุ ก ทางการเมื อ ง โดยเสริ ม สร้างความเข้าใจกับเป้าหมาย ๓ กลุ่ม ทั้ง ประชาชนในพืน้ ทีแ่ ละนอกพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน ภาคใต้ เจ้าหน้าทีร่ ฐั และองค์กรระหว่างประเทศ ส่งผลให้ประชาชนเข้าใจนโยบายรัฐ และรับรู้ ความจริงใจของเจ้าหน้าที่ ท�าให้สามารถขจัด เงื่อนไขที่ผู้ก่อเหตุความรุนแรง (ผกร.) น�ามาใช้ เป็ น พลั ง ในการต่ อ สู ้ ม ากขึ้ น ท�า ให้ ป ั จ จุ บั น สถานการณ์มีการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น ตามล�าดับ ประชาชนให้ความร่วมมือแจ้งเบาะแส ที่น�าไปสู่การจับกุมได้มากขึ้น ๓. การจั ด การภั ย แทรกซ้ อ น ได้ แ ก่ ยาเสพติด น�้ามันเถื่อน อิทธิพล ซึ่งเกี่ยวพัน เชื่อมโยงกับการก่อเหตุในพื้นที่ ๔. ด้ า นยุ ท ธการ จากเหตุ ผ ลในข้ อ ๑ - ๓ ยั ง ผลให้ ป ั จ จุ บั น คงเหลื อ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ที่ ยั ง ประกาศใช้ ก ฎหมายที่ เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคง กฎอัยการศึกใน พื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓๓ อ�าเภอ พระราชก� า หนดการบริ ห ารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ๓๒ อ�าเภอ และพระราชบัญญัติการ รักษาความมั่นคง ๕ อ�าเภอ
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๒5
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
จรวดน�าวิถีโจมตีเรือแบบ ฮาร์พูน พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
๒๖
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทั พ เรื อ กลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น ประจ�าการด้วยจรวดน�าวิถี เรือ-สู่-เรือ ที่ ทั น สมั ย แบบฮาร์ พู น (RGM-84: Harpoon) พัฒนาขึ้นโดยกองทัพเรือสหรัฐ อเมริกาในห้วงสงครามเย็นเพื่อใช้ต่อต้านกอง เรือรบสหภาพโซเวียตทีต่ ดิ ตัง้ ระบบจรวดน�าวิถี เรื อ -สู ่ - เรื อ รุ ่ น ใหม่ ที่ ทั น สมั ย กองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริ ก าน� า จรวดน� า วิ ถี แ บบฮาร์ พู น ประจ�าการในกองทัพเรือ ติดตั้งกับเรือรบหลัก ในขณะนั้ น คื อ เรื อ ฟรี เ กตชั้ น น็ อ คซ์ (Knox) เรื อ รบล� า แรกประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๑๒ ระวางขับน�้าขนาด ๔,๒๖๐ ตัน ต่อขึ้นจ�านวน ๔๖ ล�า และเรือฟรีเกตชั้นโอลิเวอร์ฮาซาร์ด เพอรี่ (Oliver Hazard Perry) เรือรบล�าแรก ประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๒๐ ระวางขั บ น�้ า ขนาด ๔,๑๐๐ ตัน ต่อขึ้นจ�านวน ๗๑ ล�า เป็น ผลให้จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูนประจ�าการอย่าง รวดเร็วในกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จรวดน�าวิถี แบบฮาร์พูน (RGM-84) ขนาดยาว ๔.๖ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด ๐.๓๔ เมตร ช่วงปีก ๐.๙๑ เมตร น�้าหนัก ๖๙๑ กิโลกรัม หัวรบ หนัก ๒๒๑ กิโลกรัม น�าวิถีด้วยระบบเรดาร์ ขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงแข็ง ความเร็ว ๘๖๔ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง และมีระยะยิงไกลสุด ๑๒๔ กิโลเมตร ปัจจุบันนี้จรวดน� าวิถีแบบฮาร์พูน ได้รับความนิยมในกองทัพเรือที่เป็นพันธมิตร กั บ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า โดยติ ด ตั้ ง กั บ เรือผิวน�้าประเภทเรือคอร์เวต เรือพิฆาต และ เรือลาดตระเวน ได้น�าจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน ไปติดตั้งกับเครื่องบินของกองบินนาวีสหรัฐ อเมริกา ประกอบด้วย เครื่องบินโจมตี เอ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) เครื่องบินขับไล่ โจมตีแบบ เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ต (F/A-18C/D Hornet) เครือ่ งบินปราบเรือด�าน�า้ เอส-3 ไวกิง้ (S-3 Viking) และเครื่องบินลาดตระเวนทาง ทะเลแบบ พี-3ซี โอไรออน (P-3C Orion)
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ปัจจุบันนี้จรวดนำาวิถีแบบฮาร์พูน ได้รับความนิยมในกองทัพเรือที่เป็น พันธมิตรกับประเทศสหรัฐอเมริกา โดยติดตั้งกับเรือผิวนำ้าประเภท เรือคอร์เวต เรือพิฆาต และ เรือลาดตระเวน
พร้ อ มทั้ ง ได้ น� า ไปติ ด ตั้ ง กั บ กองเรื อ ด� า น�้ า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ข องกองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริกา ต่อมาน�าไปติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่ ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาแบบ เอฟ-16 (F-16) เพื่ อ จะช่ ว ยให้ ส ามารถติ ด ตั้ ง กั บ เครื่องบินรบของสหรัฐอเมริกาได้อย่างแพร่ หลายตามความต้องการของประเทศลูกค้า จรวดน�าวิถีโจมตีเรือแบบฮาร์พูน ได้มีการ ผลิตออกมาหลายรุ่น ที่ส�าคัญคือ รุ่นฮาร์พูน (AGM-84D Harpoon) รุ่นฮาร์พูน บล็อก II (RGM-84L Harpoon Block II) หลายประเทศ ท�าการปรับปรุงรุ่นเก่าให้เป็นรุ่นนี้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และฮาร์พูน บล็อก III (Harpoon Block III) อยู่ในระหว่างการพัฒนา ยอดการ ผลิตจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน รวมทุกรุ่นรวม กว่า ๗,๐๐๐ นัด (ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๔๗) จรวดน�าวิถีท�าลายเรือผิวน�้าแบบฮาร์พูน (AGM-84) น� า ออกปฏิ บั ติ ก ารทางทหารที่ ส�าคัญคือ เรือยนต์เร็วโจมตีกองทัพเรืออิหร่าน ท� า การเข้ า โจมตี เ รื อ ยนต์ เ ร็ ว โจมตี ชั้ น โอซ่ า
๒7
จรวดนำาวิถีทำาลายเรือผิวนำ้า แบบฮาร์พูน (AGM-84) นำาออก ปฏิบัติการทางทหารที่สำาคัญคือ เรือยนต์เร็วโจมตีกองทัพเรืออิหร่าน ทำาการเข้าโจมตีเรือยนต์เร็วโจมตี ชั้นโอซ่า (Osa) ของกองทัพเรืออิรัก จมลงจำานวน ๒ ลำา
(Osa) ของกองทัพเรืออิรัก จมลงจ�านวน ๒ ล�า (โดยหนึ่งล�าถูกยิงด้วยจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน) ปฏิบตั กิ ารทางทหารยุทธการโมร์วาริด (Morvarid) เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๓ และ กองบินนาวีสหรัฐอเมริกาส่งเครื่องบินโจมตี แบบ เอ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) จาก เรือบรรทุกเครื่องบิน ยูเอสเอส ยอร์คทาวน์ ได้ เข้าโจมตีเรือตรวจการณ์ของกองทัพเรือลิเบีย
จมลง ๒ ล�า ด้วยจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน รวม ๒ นัด เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๙ กองทั พ เรื อ สิ ง คโปร์ ป ระจ� า การด้ ว ย จรวดน�าวิถีโจมตีเรือผิวน�้า โดยติดตั้งกับเรือ ฟรีเกตชั้นฟอร์มิเดเบิ้ล (Formidable) ระวาง ขับน�้าขนาด ๓,๒๐๐ ตัน เรือรบล�าแรกชื่อ อาร์เอสเอส ฟอมิเดเบิ้ล (RSS Formidable, No.68) ประจ�าการวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.
จรวดน� า วิ ถี แ บบฮาร์ พู น แบบ เรื อ -สู ่ - เรื อ ขณะที่ พุ ่ ง ออกจากท่ อ ยิ ง ทางด้ า นท้ า ยเรื อ ลาดตระเวนชั้ น ไทคอนเดอร์โรก้า (Ticonderoga) กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน ขนาดยาว ๔.๖ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด ๐.๓๔ เมตร ช่วงปีก ๐.๙๑ เมตร น�้าหนัก ๖๙๑ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๒๒๑ กิโลกรัม น�าวิถีด้วยระบบเรดาร์ ขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงแข็ง ความเร็ว ๘๖๔ กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีระยะยิงไกลสุด ๑๒๔ กิโลเมตร (ขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น) ๒8
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
จรวดน�าวิถแี บบฮาร์พนู ขณะพุง่ ออกจากท่อยิงของเรือรบ อาร์เอสเอส สเทรดฟาสท์ (RSS Steadfast) กองทัพ เรือสิงคโปร์ ขณะท�าการฝึกในรหัส ริมแพ็คซ์ 08 (RIMPAC 08)
จรวดน�าวิถี เรือ-สู-่ เรือ แบบฮาร์พนู ชนิดแปดท่อยิง จะติดตั้งอยู่บริเวณด้านท้ายเรือพิฆาตของกองทัพเรือ สหรัฐอเมริกา จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน มีน�้าหนัก ๖๙๑ กิโลกรัม และหัวรบหนัก ๒๒๑ กิโลกรัม สามารถที่จะ ท�าลายเรือรบได้ทุกแบบของยุคปัจจุบัน
เครื่องบินขับไล่โจมตีทางนาวี เอฟ/เอ-18ดี เฮอร์เน็ต กองทัพอากาศมาเลเซีย ฝูงบินที่ ๑๘ ฐานทัพ อากาศบัตเตอร์เวิร์ธ ติดตั้งจรวดน�าวิถีโจมตีเรือผิวน�้า อากาศ-สู่-เรือ แบบฮาร์พูน ติดตั้งที่บริเวณใต้ปีกของ เครื่องบิน
๒๕๕๐ ติดตัง้ จรวดน�าวิถแี บบฮาร์พนู รวมแปด ท่อยิง จ�านวน ๖ ล�า และเรือคอร์เวตชัน้ วิคทอรี่ (Victory) ขนาด ๕๙๕ ตัน เรือรบล�าแรกชือ่ เรือ อาร์เอสเอส วิคทอรี่ (RSS Victory, No.88) ประจ�าการวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๓ ติดตั้งจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน รวมแปดท่อยิง จ�านวน ๖ ล�า กองทัพอากาศสิงคโปร์ (RSAF) ฝูงบิน ๑๒๑ ฐานทัพอากาศชางฮี มีภารกิจ ลาดตระเวนทางทะเล โดยประจ� า การด้ ว ย เครื่องบินแบบฟอร์คเกอร์ เอฟ-50 เอ็มพีเอ (Fokker F-50 MPA) จ�านวน ๙ เครื่อง ได้รับ การปรับปรุงให้สามารถติดตั้งจรวดน�าวิถีโจมตี เรือผิวน�้าแบบฮาร์พูน (AGM-84 Harpoon) กองทั พ อากาศมาเลเซี ย ประจ� า การด้ ว ย เครื่องบินขับไล่โจมตีทางนาวี เอฟ/เอ-18ดี เฮอร์ เ น็ ต ฝู ง บิ น ที่ ๑๘ ฐานทั พ อากาศ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ขนาด ๒,๙๘๕ ตัน เรือรบล�าแรกประจ�าการ ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ ประจ�าการ ๒ ล�า และกองบิน บัตเตอร์เวิรธ์ (Butterworth) จ�านวน ๘ เครือ่ ง ทหารเรื อ ประจ� า การด้ ว ยเครื่ อ งบิ น แบบ เป็นเครื่องบินชนิดสองที่นั่ง ติดตั้งจรวดน�าวิถี เอฟ-27 (F-27 Mk.200 Maritime) ได้รับ ท�าลายเรือผิวน�า้ แบบฮาร์พนู (ได้รบั จรวดน�าวิถี การปรับปรุงให้สามารถติดตั้งจรวดน�าวิถีแบบ แบบฮาร์พูน รุ่น เอจีเอ็ม-84ดี จ�านวน ๒๕ นัด ฮาร์พนู สังกัดฝูงบิน ๑๐๒ กองบิน ๑ กองทัพเรือ ปี พ.ศ.๒๕๔๒) ได้จัดซื้อรุ่นฮาร์พูน บล็อก II ได้ท�าการยิงทดสอบจรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูน (RGM-84L Harpoon Block II) จ� า นวน จากเครื่ อ งบิ น แบบ เอฟ-27 เมื่ อ วั น ที่ ๒ นัด ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๗ ทีเ่ กาะกวม สหรัฐอเมริกา กองทัพเรือไทยประจ�าการด้วยจรวดน�าวิถี ผลการยิ ง ประสบความส� า เร็ จ กองทั พ เรื อ แบบฮาร์พนู ติดตัง้ บนเรือคอร์เวต ชัน้ รัตนโกสินทร์ ได้ทา� การยิงจรวดน�าวิถฮี าร์พนู จากเรือรบหลวง เรื อ รบล� า แรกประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๓๙ นเรศวร (หมายเลข ๔๒๑) ร่วมกับกองทัพเรือ ระวางขับน�้าขนาด ๙๖๐ ตัน ประจ�าการ ๒ ล�า สิงคโปร์ ท�าการยิงจากเรือรบชือ่ วิคทอรี่ (หมายเลข เรือฟรีเกตชั้นพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (เรือฟรีเกต ๘๘) ไปยั ง เป้ า ทดสอบ (เป็ น เป้ า ขนาดเล็ ก ชั้นน็อคซ์ ซื้อมาจากกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา) ที่ติดตั้งแผ่นสะท้อนเรดาร์) อยู่ห่างออกไป ๓๓ เรื อ รบล� า แรกประจ� า การในปี พ.ศ.๒๕๓๗ กิโลเมตร เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๒ ระวางขับน�้าขนาด ๔,๒๖๐ ตัน ประจ�าการ ท�าการยิงทดสอบบริเวณอ่าวไทย ผลการยิง ๒ ล�า และเรือฟรีเกตชั้นนเรศวร ระวางขับน�้า จรวดน�าวิถีแบบฮาร์พูนประสบความส�าเร็จ ๒9
30
ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
แผ่นดินไหว ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
จ
ากสภาวะสิ่ ง แวดล้ อ มโลกที่ มี ก าร แผ่นดินไหวนั้นอยู่ใกล้ตัวมากกว่าก่อน ดังนั้น เปลี่ยนแปลงมากขึ้น จึงส่งผลกระทบ ศบภ.สป. จึงได้ด�าเนินการสร้างความตระหนัก ต่ อ การเกิ ด ภั ย ธรรมชาติ ที่ มี ค วามถี่ ให้กับก�าลังพล และประสาน นขต.สป. ในการ เพิ่มขึ้นและทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งมีโอกาส เตรี ย มความพร้ อ มทั้ ง ในเรื่ อ งก� า ลั ง พลและ เกิดขึน้ ได้กบั ทุกประเทศทัว่ โลก ส�าหรับประเทศ ยุทโธปกรณ์ โดยการตรวจสอบดูแลอาคาร ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกนั้น ถูกประเมินว่า สถานที่ในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อลดความเสี่ยง มี ค วามเสี่ ย งต่ อ ภั ย พิ บั ติ จ ากธรรมชาติ แ ละ ต่ อ ความเสี ย หายและความสู ญ เสี ย ของทาง มี โ อกาสได้ รั บ ผลกระทบต่ อ ภั ย พิ บั ติ ม าก ราชการ รวมทั้ ง ตรวจสอบความพร้ อ มของ ที่ สุ ด โดยแผ่ น ดิ น ไหวถื อ เป็ น ภั ย ธรรมชาติ ยุทโธปกรณ์เพื่อให้การปฏิบัติการช่วยเหลือ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงทั้งโดย ประชาชนเมื่อเกิดสถานการณ์แผ่นดินไหวเป็น ทางตรงและทางอ้อมแก่ชวี ติ และทรัพย์สนิ ของ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ลดความสูญเสีย ประชาชนมากที่สุดในภูมิภาคนี้ ซึ่งในอดีตเคย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เชื่อกันว่าประเทศไทยมิได้อยู่ในเขตที่มีความ ดังนั้น การเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ เสี่ยงต่อแผ่นดินไหว เนื่องจากต�าแหน่งที่ตั้ง จากแผ่นดินไหวจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็นและส�าคัญ ของประเทศไทยมิได้อยู่ในบริเวณแนวรอยต่อ อย่างมากโดยเฉพาะการบริหารจัดการสาธารณภัย ของเปลื อ กโลก และไม่ มี บั น ทึ ก การเกิ ด ที่มีประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ ตั้งแต่ขั้น แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ทกี่ อ่ ให้เกิดความเสียหาย การเตรียมการ จนกระทั่งขั้นการบูรณะและ ทีร่ นุ แรง ในยุคปัจจุบนั ประชาชนทัว่ ไปเชือ่ กันว่า ฟื้นฟู ซึ่งจะน�าพาให้ประเทศที่ประสบภัยพิบัติ แผ่ น ดิ น ไหวที่ รุ น แรงไม่ น ่ า จะมี โ อกาสที่ จ ะ กลับเข้าสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว และ เกิดขึน้ ในประเทศไทย และไม่ได้ให้ความส�าคัญ ลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งต่อชีวิตและ ต่อการป้องกันและการเตรียมการต่างๆ เพื่อ ทรัพย์สิน โดยในขั้นการเตรียมการและป้องกัน รองรับภัยพิบัติที่จะเกิดจากแผ่นดินไหว นั้น การพัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า จากสถิ ติ แ ผ่ น ดิ น ไหวที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเท่าที่จะท�าได้เป็น ประเทศไทยที่ผ่านมา แม้ว่าจะยังไม่พบความ สิ่ ง ที่ ต ้ อ งเร่ ง ด� า เนิ น การ ประกอบกั บ การ เสียหายอย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันประชาชน ให้ความรู้กับก�าลังพลภายในหน่วยในเรื่องภัย โดยทั่วไปก็สามารถสัมผัสได้ว่าภัยพิบัติจาก พิบัติต่างๆ รวมทั้งการเตรียมเครื่องมือและ
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
31
การเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ จากแผ่นดินไหวจึงเป็นสิ่งที่จำาเป็น และสำาคัญอย่างมากโดยเฉพาะ การบริหารจัดการสาธารณภัยที่มี ประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ ตั้งแต่ ขั้นการเตรียมการ
3๒
ยุทโธปกรณ์ที่จ�าเป็นในการบรรเทาภัยพิบัติให้ มีอย่างเพียงพอและพร้อมใช้งานอยู่เสมอ เพื่อ ลดโอกาสความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งกับ ชีวิตและทรัพย์สินของก�าลังพลและประชาชน ในพื้ น ที่ ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยลดความตื่ น ตระหนก และความสับสนจากการรับข้อมูลข่าวสารของ ก�าลังพล และประชาชนจากสื่อต่างๆ ค�าแนะน�าในการเตรียมตัวและการปฏิบัติ ตนเมื่อเกิดแผ่นดินไหว วิธีการสังเกต แผ่ น ดิ น ไหวเป็ น ปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ ที่ เ กิ ด จากการเคลื่ อ นตั ว โดยฉั บ พลั น ของ เปลื อ กโลก ท� า ให้ เ กิ ด การสั่ น สะเทื อ นของ พื้นดิน หากมีความรุนแรงมากจะก่อให้เกิด ความเสียหายร้ายแรงต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของมนุษย์ แม้ว่าแผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติ ที่ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดเมื่อใด แต่เรา สามารถสังเกตจากสิ่งรอบตัวที่บ่งบอกว่าจะ เกิดแผ่นดินไหว ได้แก่ น�้าในแม่นา�้ มีสขี นุ่ ระดับ น�้าเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของสัตว์ทั้งหลาย เช่น สุนัข เป็ด ไก่ ตื่นตกใจ หนู งู วิ่งออกจากรู ปลากระโดดขึ้นจากผิวน�้า เป็นต้น การเตรียมตัว ๑. ควรเตรียมเครือ่ งอุปโภคบริโภคทีจ่ า� เป็น ไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เช่น ไฟฉายพร้อมถ่าน ยา สามัญ ประจ�า บ้ า น อาหารส�า เร็ จ รู ป น�้า ดื่ ม เสื้อผ้าส�ารอง และเครื่องนอนสนาม เป็นต้น
๒. ตรวจสภาพความปลอดภัยของอาคาร บ้านเรือน และอุปกรณ์เครื่องใช้ขนาดใหญ่ ควรยึ ด ตรึ ง กั บ ฝาบ้ า น หรื อ เสาโครงสร้ า ง สิง่ ของหนักๆ ควรวางไว้ทตี่ า�่ สุด วางโต๊ะ ตู้ หรือ เตียงนอนให้ห่างจากหน้าต่าง ๓. ซั ก ซ้ อ มความพร้ อ มของสมาชิ ก ใน ครอบครัว ก�าหนดวิธปี ฏิบตั เิ มือ่ เกิดแผ่นดินไหว และจุดนัดพบทีป่ ลอดภัยภายนอกบ้าน รวมทัง้ สอนสมาชิ ก ในครอบครั ว ให้ รู ้ จั ก วิ ธี ตั ด ไฟ ปิดวาล์วน�้า และถังแก๊ส ๔. ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ต้องสร้าง อาคารบ้านเรือนให้เป็นไปตามทีก่ ฎหมายก�าหนด ๕. แนะน�าให้สมาชิกทุกคนเรียนรู้วิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ๖. ควรเตรียมไฟฉาย นกหวีด และติดตั้ง เครื่ อ งดั บ เพลิ ง ไว้ ป ระจ� า จุ ด เสี่ ย งในอาคาร บ้านเรือน ๗. ควรจัดหาเครื่องรับวิทยุที่ใช้ถ่านหรือ แบตเตอรี่ ส�าหรับเปิดฟังข่าวสาร ค�าเตือน ค�าแนะน�า การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว ๑. ควบคุมสติอย่าตื่นตระหนก เปิดวิทยุ ติ ด ตามรั บ ฟั ง ค� า เตื อ น ค� า แนะน� า จากทาง ราชการอย่างต่อเนือ่ ง และปฏิบตั ติ ามค�าแนะน�า อย่างเคร่งครัด อย่าวิ่งเข้าออกบ้าน เพราะอาจ ท�าให้ได้รับบาดเจ็บได้ง่าย ๒. ตรวจสอบและปิดวาล์วน�้า ปิดแก๊ส
ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
และยกสะพานไฟส�าหรับตัดกระแสไฟฟ้าและ ตัดตอนการส่งน�้าเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว ๓. ห้ามใช้เทียน ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ก หรือ สิ่งที่ท�าให้เกิดประกายไฟเพราะอาจมีแก๊สรั่ว และท�าให้ติดไฟได้ ๔. มาตรการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ความปลอดภั ย ๓ ข้อ ได้แก่ ๔.๑ เมือ่ เกิดเหตุแผ่นดินไหวให้หมอบ ลงกับพื้น ๔.๒ ใช้ แ ขนปกป้ อ งศี ร ษะและคอ เพื่อป้องกันสิ่งของหล่นใส่ ๔.๓ ยึดเกาะโต๊ะให้แน่นและเคลือ่ นตัว ไปพร้อมโต๊ะ รอจนความสั่นไหวยุติลง แล้วจึง ออกไปสู่จุดที่ปลอดภัย ๕. ส�าหรับผู้ที่อยู่ในบ้าน ให้ยืนหรือหมอบ อยู่ในส่วนที่โครงสร้างแข็งแรงที่สามารถรับ น�้าหนักได้มาก หรือหลบอยู่ใต้โต๊ะหรือเตียง รวมทัง้ ให้อยูห่ า่ งจากบริเวณทีอ่ าจมีวสั ดุหล่นใส่ หลบลงใต้โต๊ะหรือมุมห้องและให้อยู่ห่างจาก ประตู ระเบียง และหน้าต่าง ๖. ส�าหรับผู้ที่อยู่ในอาคารสูง ถ้าอาคาร หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
การปฏิ บั ติ ต นภายหลั ง เหตุ แ ผ่ น ดิ น ไหว สิ้นสุดลง ๑. ควรตรวจสอบตัวเองและคนรอบข้าง ว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ๒. ปฐมพยาบาลขัน้ ต้นผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บก่อน ๓. ควรรีบออกจากอาคารที่เสียหายทันที เพราะหากเกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวตามมา (After Shock) ซึ่งอาจจะสามารถส่งผลให้อาคารพัง ลงมาได้ ๔. ควรใส่รองเท้าหุ้มส้นเสมอ เพื่อป้องกัน เศษแก้ว วัสดุแหลมคมและสิ่งหักพังทิ่มแทง ๕. ตรวจสอบสายไฟ ท่อน�้า ท่อแก๊ส ถ้า แก๊สรั่วให้ปิดวาล์วถังแก๊ส และยกสะพานไฟ มั่นคงแข็งแรงให้หลบอยู่อาคารนั้น แต่ถ้าเป็น เพื่อป้องกันอัคคีภัย อาคารเก่าหรือรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนได้มาก ๖. ควรตรวจสอบแก๊สรั่วด้วยการดมกลิ่น ให้ออกจากอาคารโดยเร็วที่สุด และภายหลัง เท่านั้น ถ้าได้กลิ่นแก๊ส ให้เปิดประตูหน้าต่าง การสั่นสะเทือนสิ้นสุดให้รีบออกจากอาคาร ทุกบานเพื่อระบายอากาศ และอย่าจุดไม้ขีด เมื่ อ มี ก ารสั่ ง การอพยพจากผู ้ ที่ ค วบคุ ม การ หรือก่อไฟ จนกว่าจะแน่ใจว่าไม่มีแก๊สรั่ว แจ้ ง เตื อ นภั ย ข้ อ ควรระวั ง อย่ า ใช้ ลิ ฟ ท์ โ ดย ๗. เปิดวิทยุติดตามฟังสถานการณ์และ เด็ดขาดและอย่าแย่งกันออกจากอาคารจนเกิด ค� า แนะน� า ฉุ ก เฉิ น รวมทั้ ง ห้ า มใช้ โ ทรศั พ ท์ การชุลมุน ในกรณีที่อยู่ไกลจากทางออกมาก นอกจากในกรณีที่จ�าเป็นจริง ๆ หรือหาทางออกไม่พบให้ปฏิบัติตามมาตรการ ๘. ห้ามเข้าไปในเขตพื้นที่ที่มีความเสี่ยง ปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ๓ ข้อ คือ “หมอบ” หรือมีอาคารพัง “ป้อง” “เกาะ” จนกว่าจะมีผู้เข้าไปช่วยเหลือ ๙. อย่ า สร้ า งข่ า วลื อ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การตื่ น ๗. ส�าหรับผู้ที่อยู่ในที่โล่ง ส�าหรับผู้อยู่ใน ตระหนก ที่โล่งแจ้งให้อยู่ห่างจากอาคาร ก�าแพง ป้าย หมายเหตุ หากประสบเหตุติดต่อขอรับ โฆษณาขนาดใหญ่ ต้ น ไม้ ข นาดใหญ่ และ ความช่ วยเหลือได้ที่สายด่วนนิรภัย ๑๗๘๔ เสาไฟฟ้า ๘. ส�าหรับผู้ที่ก�าลังขับรถอยู่หรืออยู่ในรถ หรื อ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารกระทรวงกลาโหม ให้หยุด และหาที่จอดในที่ปลอดภัย จนกระทั่ง ๐ ๒๖๒๒ ๑๙๗๒ การสั่นสะเทือนสิ้นสุดลง ๙. ส�าหรับผู้ที่อยู่บริเวณชายหาด ให้อยู่ ห่างจากชายฝั่ง หรือหลบขึ้นที่สูง เพราะอาจ เกิดคลื่นสึนามิซัดเข้าหาฝั่งได้ 33
ทางออก ของประชาธิปไตย ในประเทศไทย จุฬาพิช มณีวงศ์
34
จุฬาพิช มณีวงศ์
แ
ม้ประเทศไทยจะปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย หรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาอย่างยาวนานจนถึงปี พ.ศ.๒๔๗๕ จึ ง มาเป็ น ระบอบประชาธิ ป ไตย แต่ ก็ เ ป็ น ลักษณะการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ที่ ย ากจะเปรี ย บกั บ ประเทศใดในโลก เป็ น ประชาธิปไตย ภายใต้สถาบันพระมหากษัตริย์ ที่มีรูปแบบเฉพาะ ซึ่งก็ยากอีกที่จะตอบว่าเป็น สิง่ ทีค่ นในประเทศนีต้ อ้ งการจริงหรือไม่เช่นกัน หากศึกษาประวัติศาสตร์จะพบว่า การปู พื้ น ฐานเพื่ อ ให้ ป ระชาชนคนไทยคุ ้ น เคยกั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยน่ า จะเริ่ ม มาตั้ ง แต่ ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซี่งเป็นช่วงเวลาการปฏิรูปประเทศ ในทุกด้าน แสดงให้เห็นถึงน�้าพระราชหฤทัย อั น กว้ า งขวางของพระองค์ ที่ ท รงมี พ ระราช ประสงค์ที่ต้องการจะพัฒนาบ้านเมือง ตลอด รัชกาลของพระองค์ต้องทรงต่อสู้กับขุนนาง ชั้นผู้ใหญ่ที่มีบทบาทส�าคัญ และกุมอ�านาจจน มิอยากจะให้มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึ ง เป็ น ช่ ว งแห่ ง หั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ อี ก วาระหนึ่ ง ของการเปลี่ยนผ่านที่ส�าคัญยิ่ง การถ่วงดุลของ อ�านาจในห้วงเวลานั้นเป็นพระปรีชาสามารถ ของสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ค� า นึ ง ถึ ง แต่ ประโยชน์สุขของอาณาประชาราษฎร์เป็นที่ตั้ง โดยเห็นได้อย่างชัดเจนที่สุดจากพระราชด�าริ และกุศโลบายในการประกาศเลิกทาส การเลิกทาสนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะ ส�าหรับประเทศไทยที่ไม่ต้องเสียเลือด เสียเนื้อ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเป็ น ไทในตั ว เองหรื อ ให้ ไ ด้ ความเป็นมนุษย์ที่มีศักดิ์ศรีกลับคืนมา เพราะ ผู้เป็นทาสเองย่อมเคยชินกับการมีนายคอย ชี้นิ้วให้ท� าในสิ่งต่างๆ โดยตนเองไม่ต้องคิด อะไร แม้แต่จะคิดท�ามาหากิน ขณะที่นายก็ มีข้าทาสบริวารเป็นเครื่องแสดงอ�านาจบารมี ของตั ว เอง การประกาศเลิ ก ทาสจึ ง เท่ า กั บ เปิดโลกแห่งเสรีภาพทางความคิด และการ กระท�า ลดความเหลื่อมล�้าทางชนชั้น ซึ่งต้อง ใช้เวลาไม่น้อยที่จะท�าให้ทั้งนายและบ่าวรับ สภาพที่เปลี่ยนแปลงได้ การประกาศเลิกทาส จึ ง เป็ น ขั้ น ตอนแรกที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแสดงถึงพระราช ประสงค์ที่จะเห็นราษฎรมีเสรีีภาพปราศจาก การถูกครอบง�าโดยชนชั้นสูงต่อไป ครัน้ ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ ท รงจั ด ตั้ ง ดุ สิ ต ธานี เ ป็ น เมื อ ง จ�าลองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทรงให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นผ่าน หนังสือพิมพ์ และพระองค์เองก็ทรงร่วมแสดง ทัศนะต่อบ้านเมืองอย่างสม�่าเสมอ แม้จะมี ผู ้ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ พ ระองค์ ด ้ ว ยเหตุ ผ ลก็ ท รง รับฟัง มีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทาน หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
รัฐธรรมนูญมาตั้งแต่ในรัชสมัยของพระองค์ แล้ว แต่ก็ล่วงมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การชั่ ง น�้ า หนั ก ระหว่ า งการเปลี่ ย นแปลง การปกครองกับการสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ ป ระชาชนคนไทยเข้ า ใจถึ ง ความเป็ น ประชาธิปไตยเป็นความสมดุลที่ไม่ง่าย และ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ก็ มา ทรงเสียพระราชหฤทัยเมื่อภายหลัง เมื่อคณะ ราษฎรท�าการปฏิวัติรัฐประหารเปลี่ยนแปลง การปกครองในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ด้วยพระองค์มพี ระราชหฤทัยทีจ่ ะพระราชทาน รัฐธรรมนูญให้แก่ประชาชน แต่ไม่ทันการณ์ เสียแล้ว เพราะมีผู้กราบบังคมทูลว่าคนไทย ยั ง ไม่ พ ร้ อ มต่ อ รู ป แบบการปกครองใหม่ นี้ จึ ง มิ ไ ด้ ตั ด สิ น พระทั ย คื น อ� า นาจสู ่ ร าษฎร มีงานวิชาการบางชิ้นระบุว่าประชาธิปไตยเป็น อุดมคติทางสังคมที่ส�าคัญของมนุษย์ อุดมคตินี้ มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย กรี ก โบราณแล้ ว ก็ เ สื่ อ มไป มาเจริญอีกครั้งหนึ่งในประเทศอังกฤษ โดย นักปรัชญาชือ่ จอห์น ล็อค จากนัน้ จึงมีการแก้ไข และพัฒนาต่อๆ กันมาโดยล� าดับ เนื่องจาก ค�าว่าประชาธิปไตยมีความหมายกว้างขวางมาก จึ ง ขึ้ น อยู ่ กั บ มุ ม มองของแต่ ล ะคน เกิ ด การ โต้แย้งเกี่ยวกับความหมายของค�านี้ว่าควรจะ มีลักษณะเช่นไร จึงจะเรียกว่าประชาธิปไตย นักวิชาการกลุม่ ทีเ่ รียกกันว่า นักประชาธิปไตย แบบกระบวนการ (Process democrats) ถือว่าทฤษฎีหรือปรัชญาเกีย่ วกับประชาธิปไตย ไม่ มี ประชาธิ ป ไตยเป็ น เพี ย งการตกลงกั น ของพลเมื อ งว่ า เสี ย งข้ า งมากเป็ น เรื่ อ งที่ ทุกคนจะท�าตาม และในการปกครอง ฝ่าย หนึ่ ง จะไม่ เ ข้ า ไปก้ า วก่ า ยฝ่ า ยอื่ น ๆ ขณะที่ นักประชาธิปไตยแบบหลักการ (Principlc democrats) ถื อ ว่ า แม้ ก ระบวนการของ ประชาธิปไตยจะส�าคัญ แต่ก็ส�าคัญน้อยกว่า เจตนารมณ์ หรือจุดมุง่ หมายของประชาธิปไตย คนกลุ่มนี้มีความคิดหลักว่าปัจเจกชนส�าคัญ กว่าสังคม ปัจเจกชนแต่ละคนเท่าเทียมกัน และมีสิทธิอันละเมิดมิได้บางอย่าง เช่น สิทธิ ในอิสรภาพ พวกเขาจึงมีความคิดว่า การออก กฎหมายละเมิดอิสรภาพของปัจเจกชนไม่ได้ เป็นต้น นักคิดกลุ่มนี้ ใช้ทฤษฎีประชาธิปไตย เป็นตัวน�า แบ่งเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. ประชาธิปไตยแบบคุม้ ครอง (Protective Democracy) เชื่ อ ว่ า คนทุ ก คนมี ธ รรมชาติ แสวงหาความพึ ง พอใจมากที่ สุ ด อย่ า งไม่ มี ขีดจ�ากัด ด้วยเหตุนี้โดยธรรมชาติ สังคมจึงเป็น ที่ ร วมของปั จ เจกชนซึ่ ง แสวงหาอ� า นาจจาก ผู้อื่นอย่างไม่หยุดหย่อน การที่จะไม่ให้สังคม แตกออกเป็นเสี่ยงๆ จึงจ�าเป็นต้องมีกฎหมาย ทั้ ง แพ่ ง และอาญา กฎหมายที่ ดี ที่ สุ ด ได้ แ ก่ กฎหมายที่ก�าหนดสิทธิและหน้าที่ ซึ่งจะท�าให้
การเลิกทาสนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย โดยเฉพาะ สำาหรับประเทศไทยที่ไม่ต้องเสียเลือด เสียเนื้อ เพื่อให้ได้ความเป็นไท ในตัวเองหรือให้ได้ความเป็นมนุษย์ ที่มีศักดิ์ศรีกลับคืนมา เพราะผู้เป็น ทาสเองย่อมเคยชินกับการมีนาย คอยชี้นิ้วให้ทำาในสิ่งต่างๆ โดยตนเอง ไม่ตอ้ งคิดอะไร แม้แต่จะคิดทำามาหากิน
เกิดความสุขมากที่สุดแก่คนจ�านวนมากที่สุด ครอบคลุม ๔ ประการ คือ การยังชีพ ความ สมบูรณ์พนู สุข ความเสมอภาคและความมัน่ คง ๒. ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ บ บ พั ฒ น า ก า ร (Developmental Democracy) มีความคิดเห็น ที่แตกขั้วของนักคิด ๒ คน คือ เบนแธมกับ มิ ล ล์ อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด โดยเบนแธมยอมรั บ ว่าการแข่งขันกันทางการผลิต และความไม่ เท่าเทียมกันเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อทุก คนต้องการกดขีก่ นั ก็ไม่ใช่หน้าทีข่ องสังคมทีจ่ ะ ขจัดการกดขีร่ ะหว่างประชาชนด้วยกัน หากแต่ มีหน้าทีป่ อ้ งกันรัฐบาลมิให้กดขีป่ ระชาชนเท่านัน้ ก็ พ อ หากมิ ล ล์ คิ ด ว่ า หน้ า ที่ ข องสั ง คมมิ ใ ช่ เพียงเพื่อคุ้มครองประชาชนจากการกดขี่ของ รัฐบาลเท่านัน้ แต่ตอ้ งรักษาโอกาสให้ประชาชน ได้พัฒนาตนเองได้ มิลล์ถือว่าประชาธิปไตย มีจุดหมายทางศีลธรรม การพัฒนาตัวบุคคล อย่างกลมกลืนกับการพัฒนาของสังคมส่วนรวม เป็นการพัฒนาที่ดีที่สุด ๓. ประชาธิปไตยแบบสมดุล (Eguillbriam Democracy) มีหลักส�าคัญ ๓ ประการ คือ เป็น พหุนยิ ม คือสังคมประกอบด้วยปัจเจกชนซึง่ จะ ถูกดึงเข้าไปในทิศทางต่างๆ ตามความสนใจ เป็ น ระบบเลื อ กสรร คื อ บทบาทส่ ว นใหญ่ ในกระบวนการทางการเมืองตกอยูแ่ ต่กลุม่ ผูน้ �า
35
ที่ได้รับการเลือกสรรเป็นระบบสมดุล คือถือว่า กระบวนการประชาธิปไตยเป็นกระบวนการ รักษาสมดุลระหว่าง อุปสงค์ อุปทาน ในเรื่อง ของความดีทางการเมือง ๔. ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ บ บ มี ส ่ ว น ร ่ ว ม (Participatory Democracy) เป็นแนวคิด ที่ เ ริ่ ม จากการเคลื่ อ นไหวของนั ก ศึ ก ษาฝ่ า ย ซ้ายใหม่ในปี ค.ศ.๑๙๖๐ และแผ่เข้าไปในหมู่ ผู้ใช้แรงงาน เป็นประชาธิปไตยที่เน้นส� านึก ต่อประชาคมมากกว่าแบบอื่นๆ และเป็นความ คิดที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ยังไม่มีการ ปฏิบัติอย่างแท้จริงทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และในประเทศก�าลังพัฒนา โดยมีขอ้ เสนอแนะ ว่ า หนทางที่ จ ะพั ฒ นาไปสู ่ ป ระชาธิ ป ไตย แบบพลเมืองมีส่วนร่วม จะต้องประกอบด้วย การเปลี่ยนส�านึกของประชาชนจากการเป็น เพียงผู้บริโภคมาเป็นนักแสดงตน และพัฒนา ตนเองต้องท�าโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และ ต้องสัมพันธ์กับประชาคมในบางลักษณะเสมอ และต้องลดความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจให้ มากที่สุด เพราะความไม่เท่าเทียมกันนั้นเอง เป็นที่มาของระบบพรรคการเมือง และระบบ พรรคการเมืองท�าให้พลเมืองเข้าร่วมตัดสิน ปัญหาโดยตรงไม่ได้ ทุกวันนี้ประเทศที่มีการปกครองในระบอบ ที่ เ รี ย กตั ว เองว่ า เป็ น ประชาธิ ป ไตยมิ ไ ด้ มี รูปแบบใดรูปแบบเดียวตายตัว แต่หลักการ 3๖
และหัวใจส�าคัญไม่ต่างกัน ได้แก่ ระบบการ ปกครองที่มีลักษณะประชาชนปกครองตนเอง โดยมี ก ระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ เ ป็ น แก่ น ของ ประชาธิปไตย ซึ่งประชาชนต้องเป็นผู้ควบคุม กระบวนการ ส� า หรั บ ประเทศไทยใช้ ร ะบบ รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ตามแบบประเทศ อังกฤษ ระบบการปกครองแบบรัฐสภา และคณะ รั ฐ มนตรี ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในประเทศอั ง กฤษนี้
เป็ น ระบบที่ แ ยกต� า แหน่ ง ประมุ ข ของรั ฐ กั บ หัวหน้ารัฐบาลออกจากกัน หัวหน้ารัฐบาลคือ นายกรั ฐมนตรี ประมุ ข คื อ พระมหากษัตริย์ ซึ่ ง ไม่ มี อ� า นาจมากอย่ า งประธานาธิ บ ดี ข อง สหรัฐอเมริกา อาจมีอ�านาจบ้างเล็กน้อย เช่น ยุบสภา และให้เลือกตั้งใหม่ แต่งตั้งรัฐมนตรี ออกพระบรมราชโองการหรือประกาศพระบรม ราชโองการ แต่อ�านาจเหล่านี้มักใช้เมื่อนายก รัฐมนตรีขอ ส่วนใหญ่ประมุขของรัฐท�าหน้าที่
จุฬาพิช มณีวงศ์
เป็นสัญลักษณ์ของประเทศเสียมากกว่า เป็นระบบการปกครองที่ดีที่สุดเท่าที่จะคิดได้ อ�านาจทางการเมืองในระบบนีจ้ งึ อยูท่ รี่ ฐั สภา แต่ ก ลั บ มี ผู ้ วิ จ ารณ์ ก ารปกครองระบอบนี้ การทีถ่ อื ว่าอ�านาจนิตบิ ญ ั ญัตเิ ป็นอ�านาจส�าคัญ ไว้อย่างน่าสนใจใน ๓ ประเด็น คือ ที่ สุ ด ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย ประเด็นแรก ประชาธิปไตยเป็นอุดมคติ เพราะเป็นกระบวนการที่ประชาชนเป็นผู้วาง เกินไป เพราะมีหลักการบางอย่างทีเ่ ป็นไปไม่ได้ นโยบาย และปกครองตนเอง อ�านาจบริหาร เช่น ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ การปกครอง และตุ ล าการแม้ ส� า คั ญ แต่ ก็ เ ป็ น การท� า ตาม ตนเองของมนุ ษ ย์ เ หล่ า นี้ เ ป็ น เพี ย งความฝั น กฎหมายเท่ า นั้ น ปั ญ หาของระบบแบบนี้ เท่านั้น ตามความเป็นจริงแล้วคนที่ขาดความรู้ คื อ ความไม่ มั่ น คงจึ ง มั ก มีก ารเปลี่ยนรัฐ บาล ย่อมไม่สามารถปกครองหรือเข้าใจระบบการ บ่ อ ยๆ เพราะเมื่ อ รั ฐ สภาไม่ ไ ว้ ว างใจก็ ต ้ อ ง ปกครองอันซับซ้อนได้ คนที่มีความรู้ต่างหาก เปลี่ยนรัฐบาลหรือยุบสภาและเลือกตั้งใหม่ ที่เป็นผู้ปกครองที่แท้จริง ตั้งรัฐบาลใหม่ และปัญหาความไม่มั่นคงจะ ประเด็ น ที่ ส อง คนส่ ว นใหญ่ มี ส ติ ป ั ญ ญา ยิ่งมากขึ้นเมื่อไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียง ปานกลางเท่านัน้ การปกครองโดยคนส่วนใหญ่ ข้ า งมาก ความแตกแยกในการแสดงความ จะท�าให้เกิดการตัดสินอย่างมีอคติ เพราะสติ คิ ด เห็ น มั ก จะเกิ ด ขึ้ น ในคณะรั ฐ บาลผสม ปัญญาน้อย ไม่ยอมรับสิ่งใหม่ๆ คนที่สูงส่งกว่า เป็นเหตุให้การล้มรัฐบาลเป็นไปได้โดยง่าย จะเดือดร้อน เพราะถูกดึงให้ลงมาอยู่ในระดับ หั ว ใจส� า คั ญ ของการปกครองระบอบ ต�่ากว่าที่เป็นอยู่ ประชาธิ ป ไตยจึ ง อยู ่ ที่ ก ารเลื อ กตั้ ง เพราะ ประเด็นที่สาม ประชาธิปไตยเป็นระบบ ท� า ให้ ป ระชาชนสามารถแสดงเจตจ� า นง การปกครองที่ เ ชื่ อ งช้ า และไร้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเลือกผู้น�าของตนได้ด้วยกระบวนการนี้ เพราะกลไกในการตัดสินปัญหามีหลายขัน้ ตอน ผู้แทนราษฎรเป็นหัวใจส�าคัญของการปกครอง ไม่ ทั น การต่ อ สั ง คมที่ ทุ ก อย่ า งเปลี่ ย นแปลง แบบประชาธิ ป ไตย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น แต่ ล ะสั ง คม รวดเร็ ว เช่ น ในปั จ จุ บั น สั ง คมที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย มีการเลือกผู้แทนราษฎรแตกต่างกันไป แต่ เทคโนโลยี เ ช่ น นี้ ไ ม่ เ หมาะจะใช้ ค นเดิ น ดิ น โดยทั่วไปอาศัยจ� านวนประชากรเป็นเกณฑ์ สามัญมาตัดสินหรือวางนโยบาย ถื อ ว่ า ประชากรทุ ก คนมี สิ ท ธิ เ ท่ า เที ย มกั น จึงไม่ต้องประหลาดใจถ้า ๘๑ ปี ของการมี ในการเลือกตั้งเพื่อให้ได้ผู้แทนของตน ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาของประเทศไทย อัน อย่างไรก็ตามประชาธิปไตย ซึง่ มีผยู้ กย่องว่า น�าต้นแบบมาจากหรือพูดอีกนัยว่า ลอกมาจาก หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ทุกวันนี้ประเทศที่มีการปกครอง ในระบอบที่เรียกตัวเองว่าเป็น ประชาธิปไตยมิได้มีรูปแบบใด รูปแบบเดียวตายตัว แต่หลักการ และหัวใจสำาคัญไม่ต่างกัน ได้แก่ ระบบการปกครองที่มีลักษณะ ประชาชนปกครองตนเอง
ประเทศอังกฤษด้วยลักษณะทางประวัตศิ าสตร์ ที่ มี ค วามละม้ า ยคล้ า ยคลึ ง กั น จะประสบ ความยากล� า บากและไม่ เ คยก้ า วข้ า มผ่ า น ความเป็นประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง นับจาก ที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นต้น มาในปี พ.ศ.๒๔๗๕ ที่ท� าให้ประชาธิปไตย ของประเทศถู ก ท� า ลาย แท้ จ ริ ง คื อ ผู ้ ที่ ก ลั ว การสูญเสียอ�านาจที่ตนเคยพึงมีพึงได้ และไม่มี ความยินดีที่ประชาชนจะปกครองตนเองด้วย ความภาคภูมิใจ 37
Operation Thunderbolt : Nethanyahu ปฎิบตั กิ ารสายฟ้าแลบที่ Entebbe Writer : John T.Correl,Editor Chief of Air Force Magazine From : Air Force Magazine,December 2010 ผู้เรียบเรียง : นาวาเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
“
โชคชะตาของเหล่าตัวประกัน คือการ มาถึงของ C-130 ที่ก�าลังลดระดับ ในยามวิกาล ผ่านม่านเมฆที่มืดครึ้ม ด้วยการปิดไฟเดินอากาศทั้งหมด” เช้าตรู่วันอาทิตย์ที่ ๒๗ มิ.ย.๑๙๗๖ Airbus 300 ของ Air France เทีย่ วบินที่ ๑๓๙ เดินทาง ออกจากกรุง Tel Aviv จุดหมายปลายทางคือ กรุง Paris โดยต้องแวะลงจอดที่กรุง Athens ก่อนส�าหรับผู้โดยสารต่อระยะ ซึ่งสนามบิน Athens นี้ขึ้นชื่อว่าหย่อนยานมากในเรื่องการ รักษาความปลอดภัย ในเวลาการเปลี่ยนถ่าย ผู้โดยสารที่ต่อระยะขึ้นเครื่อง Airbus 300 นั้น ไม่มี จนท.ประจ�าที่จุดตรวจโลหะ และแย่ยิ่ง กว่านั้น จนท.ประจ�าจอ Monitor Display เครื่อง X-ray เองก็ไม่ได้ใส่ใจที่จะดูสิ่งผิดปกติ ต่างๆ เลยแม้แต่น้อย ความยุง่ ยากใจก�าลังจะเกิดขึน้ เมือ่ ผูโ้ ดยสาร ต่อระยะจาก Bahrain จ�านวนสี่คนเป็นหญิง ชายชาวเยอรมันสองคนและที่เหลือเป็นชาย ชาวปาเลสไตน์ ผ่ า นการตรวจของ จนท. รักษาความปลอดภัยขึ้นไปบนเครื่อง Airbus 38
300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ อย่าง ง่ายดาย พร้อมกับอาวุธปืนและลูกระเบิดมือ ทุกอย่างดูเหมือนปกติ Airbus 300 วิ่งขึ้นจาก สนามบิน Athens เวลา ๑๒.๒๐ p.m. ทุ ก อย่ า งเป็ น ตามแผนขั้ น แรกของกลุ ่ ม ผู้ก่อการร้ายสากล เพียงแค่เจ็ดนาทีหลังจาก เครื่องวิ่งขึ้น ผู้ก่อการร้ายสามคนเข้าควบคุม ห้องโดยสารและประกาศว่าเป็นปฏิบัติการ ในนามของกระบวนการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (The Popular for the Liberation of Palestine) ส่วนชายชาวเยอรมันบุกเข้าห้อง บังคับการบิน ใช้อาวุธปืนขู่ Capt.Michel Bacos ให้เปลี่ยนทิศทางบินมุ่งลงใต้ การขาดการติดต่อสื่อสารและเปลี่ยนเส้น ทางบิน ถูกเฝ้าระวังและติดตามจากอิสราเอล อย่างใกล้ชิดเนื่องจากผู้โดยสารส่วนใหญ่เป็น ชาวอิสราเอล Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบิน ที่ ๑๓๙ ถู ก ยกระดั บเป็ น เที่ ย วบิ น พิ เ ศษทั น ที มั น ไปลงจอดเพื่ อ เติ ม น�้ า มั น ที่ สนามบิน Benghazi ในลิเบียถิ่นของ พ.อ. กัดดาฟี่ ผู้น�าลิเบียที่เป็นอริมาแต่ชาติปางก่อน
ของอิส ราเอล มัน วิ่ง ขึ้น อี กครั้ง เวลา ๙.๕๐ p.m. โดยไม่รู้ว่ามีผู้โดยสารหญิงชาวอิสราเอล ที่ปลอมตัวเป็น จนท.แพทย์ฉุกเฉิน หลบหนี ออกมาได้ และต่อมาเธอคือผูใ้ ห้ขอ้ มูลอันส�าคัญ เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการทางทหารของ อิสราเอลเกี่ยวกับการปฏิบัติการของผู้ก่อการ ร้ายกลุ่มนี้ Airbus 300 เดินทางไปลงสนามบินปลาย ทางที่ไม่ได้อยู่ในแผนการบินปกติที่สนามบิน Entebbe ประเทศ Uganda ในวันจันทร์ เวลา ๓.๑๕ a.m. คนบนเครือ่ งทัง้ หมดเมือ่ แยก พวกชัดเจนแล้วประกอบด้วย ลูกเรือ ๑๒ คน ผู้โดยสาร ๒๔๓ คน และผู้ก่อการร้ายอีก ๔ คน ที่สนามบิน Entebbe นี้มีกลุ่มก่อการร้ายแนว หน้าจากกรุง Mogadishu ประเทศ Somalia พร้อม AK-47 ครบมือจ�านวนไม่นอ้ ยกว่า ๖ คน แห่แหนเข้าร่วมสมทบอีก ประมาณเวลาเทีย่ งของวันเดียวกัน ผูโ้ ดยสาร ที่ ถู ก เปลี่ ย นนามเรี ย กขานเป็ น ตั ว ประกั น ถูกย้ายไปควบคุมตัวที่อาคารผู้โดยสารหลังเก่า ทีถ่ กู ทิง้ ร้างไม่ได้ใช้งานมานาน ทหารยูกนั ดาใช้ นาวาเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ปืนจ่อเพื่อควบคุมตัวประกันตลอดเหตุการณ์ ที่ นี่ และนั่ น คื อ การบ่ ง บอกอย่ า งชั ด เจนว่ า ยูกนั ดาไม่เพียงแต่ให้การสนับสนุนเท่านัน้ ยังมี ส่วนร่วมกับการปฏิบตั กิ ารของกลุม่ ก่อการร้าย สากลในครั้งนี้ด้วย การควบคุ ม ตั ว ประกั น ได้ ล ่ ว งเลยมาถึ ง วันอังคารที่ ๒๙ มิ.ย. เวลา ๓.๓๐ p.m. จึงได้ มีประกาศของกลุม่ ก่อการร้ายผ่านวิทยุยกู นั ดา เรียกร้องให้ปล่อยสมาชิกผู้ก่อการร้ายทั้งหมด ๕๓ คน ที่ถูกควบคุมตัวในอิสราเอล ๔๐ คน และที่ เ หลื อ กระจั ด กระจายอยู ่ ใ น West German, Kenya, France และ Switzerland ภายในวันพฤหัสบดีที่ ๑ ก.ค. เวลา ๒.๐๐ p.m. ของอิสราเอล เพื่อแลกกับชีวิตของตัวประกัน ทั้งหมด อิสราเอลเคยเผชิญหน้ากับการก่อการร้าย ลักษณะนี้มาแล้ว โดยมีนโยบายปฏิบัติการ โต้ตอบทุกวิถที างทันทีเพือ่ ช่วยเหลือตัวประกัน มากกว่าที่จะแลกเปลี่ยนตัวประกันกับกลุ่ม ผู้ก่อการร้ายตัวพ่อที่ยากในการจับกุม อย่างไร ก็ตามการแลกเปลี่ยนโดยการยอมปฏิบัติตาม ข้ อ เรี ย กร้ องก็ เ คยเกิ ดขึ้น มาแล้ว อย่างเช่น เหตุการณ์จี้เครื่องบินของสายการบิน EI AI ในปี ๑๙๖๘ ที่ต้องยอมปล่อยผู้ก่อการร้ายถึง ๑๕ คนเพื่อแลกกับตัวประกันทั้งหมด และ อีกเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นกับสายการบิน TWA ใน Damasgus ที่ต้องปล่อยผู้ก่อการร้ายถึง ๕๐ คนเพื่อแลกกับตัวประกันชาวอิสราเอลที่ แม้ว่าจะมีเพียง ๒ คนแต่ก็มีค่าส�าหรับความ เป็นอิสราเอล ผลของการเจรจาต่อรองที่ผ่านมา ก็ไม่ได้ เป็นไปตามข้อเรียกร้องเสมอไป ในปี ๑๙๗๒ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ Hijack ขึ้ น กั บ สายการบิ น Sabena คราวนีล้ บเหลีย่ มถึงในบ้านทีส่ นามบิน Telaviv โดยเรียกร้องให้ปล่อยนักรบเพื่อการ ปลดปล่อยแห่ง Fedayeen จ�านวนมากถึง ๓๑๗ คน ภายใต้การปฏิบัติการอันรวดเร็ว แค่ ๙๐ วิ น าที ทหารอิ ส ราเอลที่ ป ลอมตั ว เป็นช่างเครื่อง สังหารผู้ก่อการร้ายไป ๒ คน อี ก ๑ คนบาดเจ็ บ สาหั ส ผู ้ โ ดยสารที่ เ ป็ น ตัวประกันทั้งหมด ๑๐๑ คนปลอดภัย มีเพียง คนเดียวเท่านั้นที่เสียชีวิตเนื่องจากตื่นตกใจใน เหตุการณ์โดยโดดหนีลงจากเครื่อง ซึ่งทหาร เข้าใจผิดนึกว่าเป็นผู้ก่อการร้ายจึงได้สังหารไป ข้ อ เรี ย กร้ อ งของกลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยที่ Entebbe นี้ สร้ า งความกดดั น แก่ ครม. อิ ส ราเอล เป็ น อย่ า งมาก โดยเฉพาะจาก ครอบครัวของตัวประกันทีต่ อ้ งการให้อสิ ราเอล ยอมตามข้อเรียกร้องโดยทันที ตัวประกันถูกคุมขังในอาคารที่ทรุดโทรม มีสภาพความเป็นอยู่เลวร้ายมาก Idi Amin ผู้น�ายูกันดานั่งเฮลิคอปเตอร์มายังพื้นที่คุมขัง ตัวประกันในช่วงบ่ายวันจันทร์พร้อมกับกล่าวว่า หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
“เวลาวิกฤตของพวกท่านก� าลังจะมาถึง ถ้า อิสราเอลไม่ปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของเรา” และ Amin ยั ง พู ด ย�้ า อย่ า งยะโสว่ า เขาคื อ “His Excellency Field Marshal Doctor Idi Amin Dada” Amin มีอา� นาจปกครองประเทศจากการท�า รัฐประหารในปี ๑๙๗๑ เขาชื่นชอบที่จะคุยโม้ โอ้ อ วดเหมื อ นตั ว ตลกและเดิ น วางท่ า ใน เครื่องแบบหรูหรา ประดับประดาด้วยเหรียญ ตราและแพรแถบที่มอบให้กับตัวเอง เขาเป็น คนทีโ่ หดร้ายมาก มีประชาชนหลายพันคนต้อง เสียชีวิตจากการกดขี่ทารุณของเขา ข้อมูลนี้ ทหารอิสราเอลทราบดีเนือ่ งจากเคยเป็นผูฝ้ กึ สอน การทหารให้แก่ยูกันดาช่วงปี ๑๙๖๓ - ๑๙๗๒ แต่ความสัมพันธ์ต้องแตกหักลงไปเนื่องจาก อิ ส ราเอลปฏิ เ สธให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ การโจมตี เพื่อนบ้านอย่าง Tanzania และ Kenya เมื่อ เขาถูกขัดใจ จึงจ�าเป็นต้องขับไล่ไสส่งอิสราเอล ออกจากยูกันดาไป ย้อนกลับมาที่คุมขังใน Entebbe ในช่วง บ่ายของวันพุธ ผู้ก่อการร้ายได้ยึด Passport และเอกสารอื่นๆ ของตัวประกัน พร้อมทั้ง คัดแยกผู้โดยสารชาวยิวออกมาคุมขังต่างหาก หลั ง จากนั้ น จึ ง ได้ ป ล่ อ ยตั ว ประกั น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ชาวยิวซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นชาวฝรั่งเศสจ�านวน ๔๗ คน เมื่ อ ถึ ง ตอนนี้ Captain Mitchel Bacos ได้ท�าในสิ่งที่น่าชื่นชมของความเป็น Pilot in Command เขาปฏิ เ สธที่ จ ะถู ก ปล่อยตัวและจะขออยู่นานเท่าที่ตัวประกัน คนสุดท้ายจะถูกปล่อยตัวออกไป จิตวิญญาณที่ สูงส่งอันนี้ลูกเรือ Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ ทั้งหมดก็รู้สึกเช่นเดียวกับ กัปตันของพวกเขา เช้าของวันพฤหัสบดี ก่อนถึงเวลาพิพากษา ตัวประกันอีก ๑๐๑ คนถูกปล่อยตัวออกมา คงเหลื อ แต่ ผู ้ ต ้ อ งรอชะตากรรมจากการ ตัดสินใจอย่างเป็นทางการในโค้งสุดท้ายของ รัฐบาลอิสราเอล พวกเขาเหล่านั้นล้วนแต่เป็น ชาวอิสราเอลและลูกเรือทั้งหมดของ Airbus
Captain Mitchel Bacos ได้ทำาใน สิ่งที่น่าชื่นชมของความเป็น Pilot in Command เขาปฏิเสธทีจ่ ะถูกปล่อยตัว และจะขออยู่นานเท่าที่ตัวประกัน คนสุดท้ายจะถูกปล่อยตัวออกไป จิตวิญญาณที่สูงส่งอันนี้ลูกเรือ Airbus 300 ของ Air France เที่ยว บินที่ ๑๓๙ ทั้งหมดก็รู้สึกเช่นเดียวกับ กัปตันของพวกเขา
300 แม้ จ ะดู เ หมื อ นว่ า เวลาเจ้ า ปั ญ หาจะ คื บ คลานเข้ า มาทุ ก ที การปฏิ บั ติ ก ารทหาร อย่างลับสุดยอดของอิสราเอล “Operation Thunderbolt” ต่อภัยคุกคามอันนี้ มันพร้อม จะเกิดขึ้นแล้ว โดยที่กลุ่มผู้ก่อการร้ายจะรู้ตัว ก็ต่อเมื่อมันสายไปเสียแล้ว “Operation Thunderbolt” เป็นการ ปฏิบัติการร่วมของ IDF (Israeli Defence Forces) ระหว่างก�าลังภาคพื้นดินและก�าลัง ทางอากาศโดยใช้ C-130s ส่ ง กองก� า ลั ง เข้ า ปฏิ บั ติ อ ย่ า งฉั บ พลั น โดยมิ ใ ห้ ศั ต รู รู ้ ตั ว ในเวลากลางคืน ข้อมูลการข่าวทางการทหาร ของยู กั น ดาและอาคารสิ่ ง ปลู ก สร้ า งต่ า งๆ อิสราเอลรู้หมดสิ้นเนื่องจากเป็นผู้วางรากฐาน ไว้ ใ ห้ แ ละยั ง เก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ IDF ภาพถ่ า ย ทางอากาศเพื่อการวางแผนเข้าโจมตีปฏิบัติ การที่เป็น Real Time หน่วย Mossad ได้ เช่ า เครื่ อ งบิ น เล็ ก จากกรุ ง ไนโรบี ประเทศ เคนยา แสร้ ง เป็ น ว่ า บ.มี ป ั ญ หาเล็ ก น้ อ ย ขอบินวนรอลงฉุกเฉินที่สนามบิน Entebbe และถ่ายภาพเก็บไว้ทั้งหมด ก�าลังพลร่มจู่โจมภาคพื้นดินส่วนแรก เพื่อ ยึดพืน้ ทีแ่ ละช่วยเหลือตัวประกันนัน้ สามารถที่ จะกระโดดร่มลงพร้อมเรือยางบริเวณทะเลสาบ Victoria ณ จุดที่ใกล้ที่สุดกับอาคารผู้โดยสาร
39
หลังเก่าได้ในกรณีที่ต้องท�า จุดปล่อยทหาร หมวกแดงอิสราเอลนั้น ไม่เป็นปัญหาส�าหรับ Karnaf หรือ Rhinoceros อันเป็นนามเรียก ขานของ C-130 ใน ทอ.อิสราเอล เนือ่ งจากเคย ปฏิบัติภารกิจขนส่งพัสดุในยูกันดาเป็นประจ�า แม้ว่า IAF (Israeli Air Force) จะคุ้นเคย น่านฟ้าของยูกันดาดีแค่ไหนก็ตาม ปัญหาที่ ต้องแก้ร่วมกันของยุทธการและการส่งก�าลัง คือ การเติมเชื้อเพลิงของ 4C-130s ทันทีที่ เสร็จภารกิจ เนื่องจากมันจะมีน�้ามันเหลือบิน ได้เพียงชั่วโมงครึ่งเท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอในการ บินกลับบ้าน แต่ด้วยมิตรภาพทางทหารและ การเจรจาต่อรองบางอย่าง พวกเขาสามารถ ลงเติมน�้ามันได้ที่สนามบิน Nairobi ประเทศ Kenya แผนที่สองของอิสราเอลเกี่ยวกับการ เติมน�้ามันคือปล้นเอาน�้ามันใน Tank Farm ที่ Entebbe แบบดื้อๆ เพียงแต่มันจะเสียเวลา ภาคพื้นมากเกินไป จะกลายเป็นปฏิบัติการ หวานเย็น มีเวลาให้ทหารซื้อไอติมกินในบ้าน ของศัตรู ความปลอดภัยก็เหลือน้อยลงไป แต่ อย่างไรก็ต้องเตรียมไว้ บ่ายของวันพฤหัสบดี มีเวลาเหลือเพียง ๙๐ นาทีก่อนถึงเวลาสุดท้ายคือ ๒.๐๐ p.m. ที่ ผูก้ อ่ การร้ายก�าหนด อิสราเอลประกาศขอเจรจา โดยมีแนวโน้มว่าจะยินยอม หากแต่ขอเจรจา ในเงื่อนไขลวงเพื่อถ่วงเวลาบางประการ ท�าให้ กลุ่มผู้ก่อการร้ายค่อนข้างเชื่อ เนื่องจากการ เรียกร้องที่ผ่านมานั้น พวกเขาผิดหวังน้อยมาก จึงเลื่อนเวลาการสังหารตัวประกันออกไปอีก เป็นวันอาทิตย์ เวลา ๒.๐๐ p.m.ของอิสราเอล เมื่อถึงตอนนี้ IDF ได้ยืนยัน Action Plan : Operation Thunderbolt ต่อ ครม.อิสราเอล เพื่อขอความเห็นชอบ ในระหว่ า งรอการเห็ น ชอบ แผนการที่ ปฏิบัติได้ก่อนยังคงเดินหน้าต่อไป ก�าลังทหาร 40
พลร่มจู่โจมภาคพื้นจ�านวน ๒๙ คน น�าโดย Lt.Col.Jonathan Netanyahu จากหน่วย Special Forces Unit of the Islaeli Army พร้อมในชุดเครื่องแบบทหารบกยูกันดา ต้อง น�าก�าลังทหารไปถึงอาคารท่าอากาศยานเดิม ให้เร็วที่สุด โดยที่จุดปล่อยพวกเขาไม่ว่าจะที่ พื้นหรือจากอากาศนั้นต้องอยู่ห่างจากอาคาร ควบคุ ม ตั ว ประกั น ไปพอสมควร เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เป็นที่สังเกตเห็นทั้งด้วยสายตาและเสียงว่า มีการปฏิบัติการทางทหารเกิดขึ้น ก�าลังของ เขาจะเดินทางไปกับ C-130 ตัวแรกและยังมี ก�าลังทหารพลร่มปฏิบัติการภาคพื้นจ� านวน ๕๒ คน โดยการน� า ของ Brig.Gen.Dan Shomron เดินทางไปด้วย นอกจากนั้นเพื่อการลวงที่แนบเนียนยิ่งขึ้น IDF ได้จัดเตรียมรถ Mercedes ๑ คันและ รถตามขบวนเพื่อคุ้มกันแบบ Land Rover อีก ๒ คัน โดยปลอมแปลงให้เหมือนรถในขบวน ของ Amin ให้มากที่สุด บรรทุกไปกับ C-130 ตัวแรกเช่นกัน เพื่อใช้วิ่งไปยังท่าอากาศยาน เดิม เหมือนปกติที่ Amin เคยใช้เพื่อเข้าไป ตรวจตราในสนามบิน IDF ก�าหนดการซักซ้อมแผนในคืนวันศุกร์ที่ ๒ ก.ค. ทีเ่ มือง Ophir ทางตอนใต้ของคาบสมุทร ไซนาย ดินแดนของอิสราเอล โดยใช้ 5C-130s และ 2Boeing 707s ซึ่งสองตัวหลังจะพลาง การจดทะเบียนเป็น บ.พาณิชย์ของ EI AI โดย มีเส้นทางบินปกติไปยังแอฟริกาใต้ ตัวแรก ท�าหน้าที่เป็น บ.ควบคุมและสั่งการ ตัวที่สอง เป็น บ.พยาบาล และสามารถลงเติมเชื้อเพลิง ที่สนามบิน Nairobi ได้ วันเสาร์ที่ ๓ ก.ค. เวลา ๓.๓๐ p.m. C-130 ตัวแรกเริ่มวิ่งขึ้นและตัวต่อไปตามล� าดับจน ครบตัวที่ห้าที่เป็น บ.ส�ารองเตรียมพร้อมใน อากาศ ในขณะเดียวกันกับที่ ครม.อิสราเอล
ก�าลังพิจารณาการปฏิบัติการ “Operation Thunderbolt” กันอยู่ คล้ายกับว่าอาจจะมี การเรียกก�าลังทางอากาศกลับ C-130 ตั ว แรกมี ก�า ลั ง ทหารพลร่ ม จู ่ โ จม ภาคพื้นจ�านวน ๒๙ คน Mercedes ๑ คัน Land Rover ๒ คัน ภายใต้การน�าของ Lt.Col. Jonathan Netanyahu และก�าลังทหารพลร่ม ปฏิบัติการภาคพื้นจ�านวน ๕๒ คน ทั้งหมดนี้ อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของ Brig.Gen.Dan Shomron, Ground Commander. C-130 ตัวที่สองและสามบรรทุกรถ Jeep ๒ คั น ก� า ลั ง ทหารปกติ / พลร่ ม อี ก จ� า นวน หนึ่งและรถ Jeep สั่งการของ Shomron ๑ คัน C-130 ตัวที่สี่ส�าหรับบรรทุกตัวประกัน และยังมีชุดแพทย์ ชุดเติมเชื้อเพลิงพร้อมรถ Portable Pump Truck ๑ คัน สรุปแล้วมี ก�าลังทหารทั้งสิ้นประมาณ ๑๗๐ คนที่อยู่ภาย ใต้การบังคับบัญชาของ Shomron 4C-130s ปิดไฟเดินอากาศทุกชนิด บินตาม แนวยาวของทะเลแดงที่ความสูง ๒๐๐ ฟุต เพื่อหนีการตรวจจับจากเรดาร์ซาอุดิอาระเบีย และอียิปต์ จนข้ามเข้าสู่น่านฟ้า Ethiopia เมื่อ ปลอดภัยจากการตรวจจับจากเรดาร์แล้ว จึง ไต่ไปที่ความสูง ๒๐,๐๐๐ ฟุตเพื่อประหยัด น�้ามัน เมื่ออยู่เหนือน่านฟ้า Ethiopia แล้ว จึ ง ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ป ฏิ บั ติ ก าร “Operation Thunderbolt” ได้ 4C-130s บินผ่านด้าน ตะวันตกของ Kenya และอยู่เหนือทะเลสาบ วิคตอเรีย ประเทศยูกันดา เวลา ๑๐.๓๐ p.m. เป็นเวลา ๑ ชั่วโมงหลังจากวิ่งขึ้นจากสนามบิน Ophir ทางใต้ สุ ด ของอิ ส ราเอล ซึ่ ง ตอนนี้ พวกเขาอยู่นอกระยะคลื่นวิทยุของประเทศ กลุ่มอาหรับทั้งมวล และเป็นเวลาที่ บ.หัวหน้า หมู ่ ต ้ อ งติ ด ต่ อ กั บ บ.ควบคุ ม และสั่ ง การ Boeing 707 นาวาเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
การตัดสินใจอันเป็นการชักนำาให้ ลูกเรือ Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ อยู่กับผู้โดยสาร จนถึงนาทีสุดท้ายของ Capt.Michel Bacos นั้น ได้รับการตำาหนิด้วย เหตุผลใดไม่ทราบพร้อมกับให้ พักงานเขาจาก Air France
ทุกอย่างเป็นไปด้วยความเรียบร้อย C-130 ตั ว แรกแตะพื้ น ทางวิ่ ง ด้ า นทิ ศ ใต้ ส นามบิ น Entebbe เวลา ๑๑.๐๑ p.m. ของอิสราเอล ซึ่ ง เป็ น เวลาหลั ง เที่ ย งคื น เพี ย งเล็ ก น้ อ ยของ ยูกันดา หอบังคับการบินไม่อาจมองเห็นการ ลงของมันได้ เพราะมันลงมาด้วยความมืดมิด แต่ลูกเรือของ C-130 สามารถสังเกตเห็นและ เข้าใจสภาพอาคารต่างๆ ในสนามบินได้อย่าง ชัดเจน เนื่องจากพวกเขาได้ผ่านการฝึกและ ท�าความเข้าใจกับมันมานานพอสมควร ขณะที่ บ.ขับเคลือ่ นไปด้วยจ�านวนเครือ่ งยนต์ทที่ �างาน อยูน่ อ้ ยทีส่ ดุ เพือ่ ลดความดังของเสียงเครือ่ งยนต์ ก�าลังทหารส่วนหนึ่งกระโดดลงไปประจ�าจุด ของไฟน�าร่องลงสนาม ถ้าศัตรูรู้ตัวและปิด ไฟน�าร่องลงสนาม ในกรณีนี้พวกเขาจะเปิด Portable Emergency Landing Beacons ให้ บ.ที่เหลือสามารถลงสนามได้ Mercedes สีด�าและ Land Rover ๒ คัน ที่ ป ลอมแปลงเหมื อ นรถขบวนของ Amin ขับเคลื่อนไปอย่างช้าๆ พร้อมกับเปิดไฟหน้า มุ่งหน้าสู่อาคารผู้โดยสารหลังเก่า ทหารยาม ใช้ ป ื น ชี้ บั ง คั บ ให้ ห ยุ ด อาจจะเป็ น เพราะ เริ่ ม รู ้ แ ล้ ว ว่ า ไม่ ใ ช่ ร ถของ Amin เนื่ อ งจาก เปลี่ยนเป็นสีขาวแล้ว การยิงปะทะกันเกิดขึ้น ทั น ที ทหารยามระดมยิ ง จากหอบั ง คั บ การบิ น เดิ ม เข้ า ใส่ ท หารพลร่ ม จู ่ โ จมของ Lt.Col.Jonathan Netanyahu ณ จุ ด นี้ ตั ว ประกั น ถู ก ควบคุ ม ตั ว ที่ พื้ น อาคารจาก ผู้ก่อการร้าย ๗ คนและทหารยูกันดาอีกเกือบ โหล ผู้ก่อการร้ายถูกสังหารทันที ๔ คน ส่วน Lt.Col.Jonathan Netanyahu นั้นถูกคม กระสุน AK-47 เข้าที่หน้าอกและเสียชีวิตหลัง จากชุดแพทย์หมดหนทางที่จะช่วยเหลือ หน่วยจู่โจมกระจายก�าลังล้อมรอบอาคาร สังหารผู้ก่อการร้ายที่เหลืออีก ๓ คนได้ ขณะ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ที่ตัวประกันเสียชีวิตไป ๒ คน ๑ คนเสียชีวิต ในช่ว งชุล มุ น และอี ก ๑ คนถู ก ยิ งเนื่ อ งจาก กระโดดออกมาอย่างไม่คาดคิดและอยู่ในแนว ยิงของหน่วยจู่โจม C-130 ตัวทีส่ องลงสนามเวลา ๑๑.๐๖ p.m. และตัวที่สามก็ลงตามมาติดๆ กัน เพียงแต่ว่า ในขณะนั้นไฟน�าร่องของสนามบินปิด จึงต้อง ใช้ Emergency Portable Landing Beacon ที่เตรียมการไว้แล้ว ทหารพลร่มเข้าควบคุม ท่าอากาศยานและหอบังคับการบินแห่งใหม่ ที่มีการต่อต้านน้อยมาก อีกส่วนหนึ่งเข้าโจมตี หน่วยทหารประจ�าสนามบินและท�าลาย บ. Mig จ� า นวน ๘ ล� า ถึ ง ขณะนี้ ยั ง ไม่ มี ก� า ลั ง เสริ ม ของยู กั น ดา ซึ่ ง ขณะนั้ น คาดว่ า อาจจะเกิ ด รัฐประหารในยูกันดา ตัว Amin เองต้องหลบ ซ่อนตัวจนกว่าสถานการณ์จะสงบ C-130 ตัวทีส่ ขี่ บั เคลือ่ นไปยังท่าอากาศยาน ทหารเดิมเพื่อรับตัวประกัน ๑๐๔ คน แต่มี ๑ คนที่หายไป และก่อนหน้านั้นในวันศุกร์ มีหญิงชราวัย ๗๕ ปีถูกน�าส่งเข้ารักษาตัวที่ โรงพยาบาลในกรุ ง Campala เนื่ อ งจากมี ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และเธอ ก็ยังอยู่ที่นั่น ร่างที่ไร้วิญญาณของ Lt.Col. Jonathan Netanyahu และตั ว ประกั น ที่ เสียชีวิตอีก ๒ รายก็เดินทางไปกับล�านี้ด้วย ชุดเติมเชื้อเพลิงของ IAF เตรียมพร้อมที่ ดูดน�้ามันจาก Tank Farm ที่สนามบินอยู่แล้ว แต่เป็นเรือ่ งทีโ่ ชคดีทพี่ วกเขาไม่ตอ้ งท�า เนือ่ งจาก ได้รับค�าสั่งยุทธการจาก บ.ควบคุมและสั่งการ ให้ 4C-130s ลงเติมเชื้อเพลิงได้ที่สนามบิน Nairobi และให้ บ.ที่ บ รรทุ ก ตั ว ประกั น วิ่ ง ขึ้นก่อน ล�าสุดท้ายที่วิ่งขึ้นจากสนามบิน Entebbe เป็นล�าที่สองของแผนปฏิบัติการ ซึ่งวิ่งขึ้นใน วันอาทิตย์ที่ ๔ ก.ค. เวลา ๑๒.๔๐ a.m. ของ
อิสราเอล เป็นเวลาปฏิบตั กิ ารทัง้ หมด ๑ ชัว่ โมง ๓๙ นาทีนับตั้งแต่เวลาลงสนามของ C-130 ล�าแรกที่สนามบิน Entebbe ที่สนามบิน Nairobi มีตัวประกันที่บาดเจ็บ สาหัสถูกน�าส่งโรงพยาบาลในกรุงไนโรบี แต่ก็ ต้องเสียชีวิตในเวลาต่อมา ยอดผู้เสียชีวิตใน ตอนนี้เป็นทหารยูกันดา ๒๐ คน ผู้ก่อการร้าย ๗ คน ตัวประกัน ๓ คนและ Lt.Col.Jonathan Netanyahu หน.ชุดพลร่มจู่โจมจากหน่วย Special Forces Unit of the Israeli Army แต่ Amin ขอเพิ่มยอดขึ้นมาอีก ๔ คนคือเขา สัง่ ประหาร จนท.หอบังคับการบินทัง้ หมด ฐาน ละเลยหน้าที่ ความโหดร้ายของเขายังตามไป คร่าชีวิตตัวประกันที่รักษาตัวในโรงพยาบาล ที่กรุง Entebbe อีก ๑ คน บ.รบของ IAF บิ น คุ ้ มกั น 4C-130s ถึง ฐานทัพอากาศ Tel Nof ทางตอนใต้ของกรุง Tel Aviv เพื่อสรุปผลการปฏิบัติการ หลังจาก นั้นพวกเขาบินไปที่สนามบิน Ben Gurion ในกรุง Tel Aviv ซึ่งการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ รอคอยพวกเขาอยู ่ พร้ อ มกั บ ปฏิ บั ติ ก าร “Operation Thunderbolt” ถูกเปลี่ยนชื่อ เป็น “Operation Nethanyahu” การตั ด สิ น ใจอั น เป็ น การชั ก น� า ให้ ลู ก เรื อ Airbus 300 ของ Air France เที่ยวบินที่ ๑๓๙ อยู่กับผู้โดยสารจนถึงนาทีสุดท้ายของ Capt.Michel Bacos นั้น ได้รับการต�าหนิ ด้วยเหตุผลใดไม่ทราบพร้อมกับให้พักงานเขา จาก Air France Idi Amin ยั ง เป็ น จอมเผด็ จ การครอง อ�านาจในยูกันดา จนถูกรัฐประหารขับออก จากต�าแหน่งในปี ๑๙๗๙ เขาหนีออกนอก ประเทศผ่านลิเบียไปลี้ภัยในซาอุดิอาระเบีย และเสียชีวิตที่นั่นในปี ๒๐๐๓ ส่วน Brig.Gen. Dan Shomron, Ground Commander of Operation Nethanyahu. ด�ารงต�าแหน่ง IDF Chief of Staff พร้อมกับ Benjamin Nethanyahu น้องชายของ Lt.Col.Jonathan Netanyahu ผู ้ ก ลายเป็ น วี ร บุรุษ ขึ้นครอง ต� า แหน่ ง เป็ น นายกรั ฐ มนตรี อิ ส ราเอลในปี ๑๙๙๖ - ๑๙๙๙ และในปีปัจจุบัน ค.ศ.๒๐๑๓ Benjamin Nethanyahu ก็ยังคงเป็นนายก รัฐมนตรีอยู่ 41
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนทีี่ ๑๒) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ค
นเท่านั้น คือ เครื่องมือหลักในการ ท�าสงคราม นายพลแพตตันย�้าอยู่เสมอว่า “คนเท่านั้น คือ เครื่องมือหลักในการท�า สงคราม” ในการบรรยาย และการประชุมฝ่ายเสนาธิการ ท่านจะพูดว่า “ไอ้การพูดถึงเรื่องสุดยอดแห่งอาวุธ และ สงครามกดปุ่มนั้นมันเป็นเพียงกองขยะกอง หนึ่งเท่านั้น คนเท่านั้น คือ เครื่องมือหลัก
4๒
ในการท�าสงคราม คนต้องขับรถถัง ขับเครือ่ งบิน คลานไปตามขี้โคลน เหนี่ยวไกปืน และกดปุ่ม พวกเราต้องฝึกฝนให้แข็งแรงทั้งร่างกาย และ จิตใจ จงจ�าไว้เสมอว่า คนเท่านั้น คือ เครื่องมือ หลักในการท�าสงคราม” ไม่ เ คยมี น ายพลคนใดเท่ า ที่ ผ มรู ้ จั ก มี ภาพพจน์ที่ชัดเจนในเรื่องสงครามและเรื่อง ความจ�าเป็นในการฝึกเพื่อท�าสงคราม พวกเรา ยิ้มในความคิดง่ายๆ ของท่าน แต่ความคิดของ ท่านก็ดีเยี่ยม
“มันเป็นการดีที่มียุทโธปกรณ์ที่ยอดเยี่ยม” ท่านสาธยายขึ้นและว่าต่อไป “รถถังเป็นอาวุธที่ยิ่งใหญ่ส�าหรับการฆ่า เช่ น เดี ย วกั บ ปื น กล แต่ ค นคื อ กุ ญ แจส� า คั ญ จ�าการปฏิวตั ทิ ฝี่ รัง่ เศสได้ไหม? สงครามคราวนัน้ เอาชนะด้วยไม้กวาด ไม้เท้า และก้อนหินโดย บรรดาผู้หญิงที่เต็มไปด้วยความโกรธแค้น น�า พวกผูช้ ายและผูห้ ญิงทีค่ ดั เลือกอย่างดีแล้วมาซิ พวกเขาจะเอาชนะการสูร้ บได้โดยไม่สนใจเรือ่ ง ใครจะได้เปรียบ หรือพวกเขาจะมียุทโธปกรณ์ พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ชนิดใด พวกเราเอาชนะสงครามปฏิวตั ไิ ด้ไม่ใช่รึ มันเป็นการต่อสู้กับก�าลังทหารที่เหนือกว่ากัน มากนัก จ�าได้ไหมว่าพวกเราได้ใช้อะไรในการรบ ครั้งแรก? พวกเราตัดซุง และกลิง้ มันลงเนินเขา ใส่ ข ้ า ศึ ก ซุ ง ที่ ถู ก กลิ้ ง ลงมานั้ น ไม่ ไ ด้ ฆ ่ า ใคร แต่แน่ละ ที่ มั น ท� า ให้ ท หารฝ่ า ยข้ า ศึ ก แตกกระจาย จนไม่สามารถยิงปืนคาบศิลาได้” ในไม่ ช ้ า นายทหารบางคนที่ อ ่ อ นเพลี ย จะหลับระหว่างการบรรยายอันยาวนานของ นายพลแพตตัน ท่านก็จะเดินไปที่นายทหาร ผู้นั้น และตบที่บ่า “อดนอนมากี่ชั่วโมง?” ถ้านายทหารผู้นั้นรายงานเรื่องเวลาที่น้อย กว่าสีส่ บิ แปดชัว่ โมง นายพลแพตตันจะมีอารมณ์ โมโห เนื่องจากในการรบทหารต้องตื่นให้ได้ อย่างน้อยสี่สิบแปดชั่วโมง ถ้าผู้นั้นมีเหตุผล ที่หนักแน่นในเรื่องการนอนแล้วละก็ นายพล แพตตันจะสั่งให้เขาออกจากห้องไปนอนได้
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
“คุ ณ ให้ ค นดี ๆ ที่ ไ ม่ ก ลั ว ตายแก่ ผ มสั ก สิบคนสิ ผมจะท�าลายกองพลข้าศึกที่มีก�าลัง พลจ� า นวนหมื่ น ให้ ดู แต่ สิ บ คนนั้ น ต้ อ งตื่ น ตลอดเวลา” นายพลแพตตัน ยิ้มพราย พรสวรรค์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดประการหนึ่งของ นายพลแพตตัน คือ ความสามารถในการลด ความหวาดกลัวในจิตใจของก�าลังพล ท่านได้ ลดความกลัวในจิตใจของท่านเอง และมอบ ความสามารถเช่นเดียวกันนัน้ แก่ก�าลังพล ท่าน ได้พจิ ารณาว่าความกลัวเป็นข้าศึกตัวแรกทีต่ อ้ ง ถูกท�าลาย “เผชิญหน้ากับความกลัว แล้วมันจะ หนีหายไป” เป็นหนึ่งในหลักการของท่าน การพูดต่อต้านความกลัวที่มีชื่อเสียงที่สุด ของท่าน ถูกเรียกว่า “เลือด และความกล้า” ในไม่กี่ชั่วโมงหลังจากก�าลังพลใหม่ได้เข้ามา อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลแพตตัน พวกเขาจะได้รบั ฟังการบรรยายเรือ่ งเลือดและ ความกล้า การพูดนีจ้ ะกล่าวแก่กา� ลังพลจ�านวน มากใกล้ กั บ เนิ น เขาแห่ ง หนึ่ ง ในทะเลทราย นายพลแพตตั น จะยื น บนจุ ด สู ง สุ ด ของเนิ น พร้อมด้วยไมโครโฟนบนขาตั้งเท่านั้น ท่านยืน ตัวตรงยิง่ กว่าขาตัง้ ไมโครโฟนเสียอีก นายทหาร ฝ่ายเสนาธิการต้องไปฟังการบรรยายของท่าน ทุกแห่งเพือ่ จะได้คอยสังเกตปฏิกริ ยิ าของก�าลัง พล ผมเสียใจที่ไม่สามารถหาเทปบันทึกเสียง การบรรยายสั่งสอนเหล่านี้ หรือแม้แต่ส�าเนา
ไอ้การพูดถึงเรื่องสุดยอดแห่งอาวุธ และสงครามกดปุ่มนำ้ามันเป็นเพียง กองขยะกองหนึ่งเท่านั้น คนเท่านั้น คือ เครื่องมือหลักในการทำาสงคราม คนต้องขับรถถัง, ขับเครื่องบิน, คลานไปตามขี้โคลน, เหนี่ยวไกปืน และกดปุ่ม
ต้นฉบับตัวจริงของค�าสั่งสอนนี้ได้ แต่ผมได้ฟัง หลายครั้งจนสามารถรายงานจากความทรงจ�า ได้โดยไม่มคี า� ใดตกหล่น เว้นแต่คา� หยาบบางค�า นายพลแพตตัน จะบรรยายว่า “นี่แน่ะพวกเรา! อย่าห่วงเรื่องการหวาด กลัว ทุกคนกลัวทั้งนั้นเมื่อเข้าสนามรบ ไอ้คน ที่บอกตัวเองว่าไม่กลัวนั้นเป็นคนขี้โกหก ผมรู้ ดี! ผมเคยอยู่ในสนามรบ และผมเคยหวาดกลัว มาก่อน มันต้องผิดปกติแน่ส�าหรับคนที่ไม่กลัว ตอนนี้ผมจะบอกพวกคุณละว่า เมื่อไรคุณจึง จะเลิกกลัว เมื่อกระสุนปืนใหญ่นัดแรกตกตูม ลงมา และพอคุณใช้มอื ปาดทีห่ น้าผากพบเลือด ของเพือ่ นทีด่ ที สี่ ดุ ของคุณเปือ้ นเปรอะอยูใ่ นมือ
43
ภายหลังการทำาลายความหวาดกลัว ของกำาลังพล นายพลแพตตันได้ใช้ กลเม็ดทุกอย่างที่มีอยู่ในตำาราเพื่อที่ จะเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อไป ปืนพกด้ามมุก (พวกเรามักจะ เรียกมันว่าสีมุก ไม่เรียกว่าสีงาช้าง) เป็นสัญลักษณ์ในการทำาลาย ความหวาดกลัว และเสริมสร้าง ความเชื่อมั่นในจิตใจของทหาร
ผมมีอยู่ก็มีแต่ปืนพกเปล่า ๆ กับซองปืนเท่านั้น แล้วก็มกี ล้องถ่ายรูปอีกตัวหนึง่ นายทหารระดับ สูงเท่านั้นที่มีปืนพก และได้ฝึกยิงก่อนที่บรรดา ร้อยโทจะได้ยิง เรามีเป้าตาวัวซึ่งมีวงกลมด�า อยู่ตรงกลาง ในไม่ช้าเป้าแบบนี้ก็ถูกเปลี่ยนไป เป็นเป้าหุน่ คนซึง่ อยูใ่ นชุดข้าศึก ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ.๑๙๔๒) เรามีนายทหาร ฝ่ายเสนาธิการจ�านวนสิบสองคน แต่มีปืนพก เพียงหกกระบอก ตอนที่นายพลแพตตัน ก�าลังคุยกับพันเอก เกย์นั้น ผมได้ถ่ายรูปไว้ พันเอกเกย์ถามขึ้นว่า “ท่านนายพล ท่านได้ปนื พกแฟนซีกระบอก นี้จากที่ไหน? “ผมยิ ง นายพลเม็ ก ซิ กั น ตกจากหลั ง ม้ า และยึดมา ตอนที่ผมอยู่กับนายพลเปอร์ชิงใน คุณก็จะเลิกกลัว ในตอนนั้นแหละคุณจะรู้ว่า เม็กซิโก ถามผมสิว่าผมจะใช้มันท�าอะไรต่อ ต้องท�าอะไรต่อไป! คุณจะเผ่นเข้าไปฆ่าไอ้พวก ไป?” “ท่านจะใช้ท�าอะไรล่ะ?” ลูกไม่มีพ่อเหล่านั้น ซึ่งได้ฆ่าเพื่อนคุณก่อน “ผมจะใช้ยิงไอ้ลูกหมารอมเมล (Rommel) ที่พวกมันจะฆ่าคุณ นั่นแหละคือสงครามละ! ไม่ฆ่ามัน มันก็ฆ่าเรา อย่าห่วงเรื่องความกลัว เสร็จแล้วก็จะขว้างใส่หน้ามัน!” เรื่ อ งปื น พกกระบอกนี้ กั บ เรื่ อ งนายพล คุณจะต้องรู้ว่าควรท�าอะไรต่อไป!” พวกเราเรียกการบรรยายนี้ว่า “ค� าสอน เม็กซิกันได้รับการบอกเล่าหลายครั้ง ผมไม่เชื่อ เลือด” แต่ความจริงในเรื่องเลือดและความ เรื่ อ งการยิ ง จนตกหลั ง ม้ า จริ ง ๆ แล้ ว ผมก็ กล้ า นี้ ท� า ให้ ก� า ลั ง พลเข้ า ใจอย่ า งแท้ จ ริ ง ใน ไม่เคยศึกษาเรื่องประสบการณ์ของนายพล เรื่องสงคราม พวกก�าลังพลจะมีความกล้าที่จะ แพตตันในสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ เลยจนกระทัง่ เอาชนะความกลัวได้ ถ้านายพลแพตตันตั้งใจ สงครามโลกครั้งที่สองได้จบลง หลายปีหลัง ที่จะยอมรับความกลัวแล้ว พวกเขาก็อาจจะ สงครามโลกครั้งที่สองผมได้รับการแนะน�าให้ รูจ้ กั กับนายทหารนอกราชการทีเ่ คยเป็นพลขับ กลัวไปด้วย พวกนักข่าวเรียกนายพลแพตตันว่า “ไอ้แก่ รถยนต์คันที่นายพลแพตตันนั่ง และยิงไปที่ บ้าเลือดและบ้าบิน่ ” และเขียนข่าวว่า “มันเป็น นายพลเม็กซิกัน พลขับรถในอดีตผู้นี้ได้เล่าว่า “เราก�าลังนัง่ รถผ่านสิง่ ทีด่ เู หมือนโรงนาเก่า ๆ เลือดเนื้อของก�าลังพลทั้งนั้นที่ท�าให้นายพล แพตตันบ้าบิ่นได้” พวกเราเรียกท่านว่า “จอม ในทะเลทราย ถนนสายนั้นมีสภาพที่แย่มาก บ้าเลือดและบ้าบิ่น” หลายครั้ง แต่นั่นก็เพราะ ส�าหรับรถยนต์ ชายคนหนึ่งขี่ม้าออกจากด้าน การบรรยายของท่านไม่ใช่การสั่งทหารเข้า หลังโรงนาหลังนั้น และเริ่มยิงใส่เรา นายพล สมรภูมิอย่างโง่ๆ ไม่ว่าจะเป็นเวลาใดในแนว แพตตันได้สั่งว่า “หยุดรถ” ผมจึงบังคับให้รถ หน้า นายพลแพตตันจะไปปรากฏตัวต่อหน้า หยุด แต่ก่อนที่รถจะหยุด นายพลแพตตันก็ ก�าลังพลในขณะที่ถูกข้าศึกยิงเข้าใส่เป็นห่าฝน ยิงปืนขณะรถเคลื่อนที่นั่นเอง กระสุนนัดแรก ท่านได้เผชิญความหวาดกลัวเช่นเดียวกันกับที่ ได้ฆ่าชายผู้นี้ เราเห็นภายหลังว่าหมอนั่นเป็น นายพล” ลูกน้องเผชิญอยู่ ปื น พกกระบอกนี้ ส ร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ภายหลังการท�าลายความกลัวของก�าลังพล นายพลแพตตั น ได้ ใ ช้ ก ลเม็ ด ทุ ก อย่ า งที่ มี อ ยู ่ นานาชาติได้ดกี ว่าการชูนวิ้ รูปตัว “วี” ซึง่ หมายถึง ในต�าราเพื่อที่จะเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อไป ชัยชนะของเชอร์ชิลล์ เครื่องหมายสร้างความ ปืนพกด้ามมุก (พวกเรามักจะเรียกมันว่าสีมุก เชื่อมั่นรูปตัว “วี” ของเชอร์ชิลล์ ได้เสื่อมความ ไม่เรียกว่าสีงาช้าง) เป็นสัญลักษณ์ในการท�าลาย หมายไปในระยะเวลาสองสามเดือนเท่านัน้ นับ ความหวาดกลัว และเสริมสร้างความเชื่อมั่น ตั้งแต่ที่ได้เริ่มใช้มา ประชาชนไม่ต้องการคิดถึง ในจิตใจของทหาร ผมจ�าได้ในวันแรกที่ท่าน ความจริงของสงครามที่โหดร้าย เครื่องหมาย พกปืนกระบอกนี้ เพราะผมได้ถ่ายรูปท่านไว้ “วี” ของเชอร์ชิลล์ใช้ในขณะที่ประเทศอังกฤษ ั ลักษณ์ “วี” ขณะ ปืนพกกระบอกนีถ้ กู คาดไว้ทสี่ ะโพกของนายพล ได้ถกู บุกแล้ว เชอร์ชลิ ล์ใช้สญ แพตตัน ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ. ที่ท่านได้กล่าวสุนทรพจน์ที่มีชื่อเสียง “เมื่อ ๑๙๔๒) พวกเราได้รับกระสุนขนาด .๔๕ เพียง ประเทศเราถูกรุกราน เราจะต่อสู้บนชายหาด เล็กน้อยส�าหรับปืนพกอัตโนมัติที่เรามีอยู่ ดัง ทุกแห่ง เราจะรบบนถนนทุกสาย เราจะรบใน นั้นการฝึกยิงที่ ฟอร์ท เบนนิ่ง รัฐจอร์เจีย พวก บ้านทุกหลังและแม้ว่าประเทศชาติของเรานี้ เราจึงมักฝึกด้วยปืนเล็กยาว อาวุธยุทโธปกรณ์ที่ อาจจะด�ารงการสู้รบอยู่ไปอีกเป็นพัน ๆ ปี นั่น 44
ก็จะเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดของพวกเรา” แต่เครื่องหมาย “วี” ที่ใช้สองนิ้วชูขึ้นมา นั้นไม่ได้หมายถึงวิคตอรี่หรือชัยชนะ มันหมาย ถึงความตาย! มันหมายถึงก่อนตายคุณต้อง ฆ่าข้าศึกให้ได้หนึ่งรวมเป็นสอง! เชอร์ชิลล์ใช้ หลักคณิตศาสตร์ง่ายๆ เพื่อพิสูจน์ว่าอังกฤษ สามารถเอาชนะได้ พลเมืองอังกฤษมีมากกว่า พลเมืองเยอรมันเมื่อประเทศอังกฤษถูกรุกราน เยอรมันไม่สามารถเอาชนะได้ หากชาวอังกฤษ ทุ ก คนสามารถฆ่ า เยอรมั น ได้ ห นึ่ ง คนก่ อ นที่ ตัวเองจะตาย ไม่กี่เดือนต่อมา ชาวอังกฤษได้ใช้สัญลักษณ์ “วี” แทนชัยชนะ และลืมไปว่าราคาแห่งชัยชนะ นั้นหมายถึงความตาย นายพลแพตตันไม่ให้ ทหารคนใดลืมราคาแห่งชัยชนะว่ามันคือการ ฆ่าข้าศึก ท่านได้ใช้ทุกวิธีการเพื่อเสริมสร้าง ความเชื่อมั่นแก่ทหารของท่านในการฆ่า ใน ช่วงเวลากลางวันท่านจะขับรถจี๊ปเปิดประทุน ท่ามกลางก�าลังพล ขณะทีท่ า่ นมุง่ ไปยังแนวหน้า นายพลแพตตันไม่ต้องการให้ทหารเห็นท่าน เดินทางกลับไปกองบัญชาการ นายพลแพตตัน ต้ อ งการให้ ก� า ลั ง พลเห็ น ท่ า นมุ่งหน้า เข้า หา ข้าศึก ขณะที่นายพลแพตตันมุ่งไปยังแนวหน้า ระหว่างเวลากลางวันพร้อมกับบรรดาทหารนัน้ ฝ่ายเสนาธิการของท่านจะวางแผนให้เครือ่ งบิน ขนาดเล็กลงจอดบนถนน หรือสนามบินที่อยู่ ใกล้ กั บ แนวหน้ า นั้ น เมื่ อ ถึ ง เวลากลางคื น นายพลแพตตั น จะไปพบนั ก บิ น ที่ เ ครื่ อ งบิ น ขนาดเล็ ก นั้ น และเดิ น ทางกลั บ ไปยั ง กอง บัญชาการของท่านทางอากาศ ดังนั้นก�าลังพล จะไม่เคยเห็นนายพลแพตตัน “ร่นถอย” เลย! ในการท�างาน เราต้องท�า อย่าพูดว่าท�า แล้วจะเกิดผลร้าย ผมไม่ แน่ ใ จว่ า นายพลแพตตันจะเป็นคน แรกหรือไม่ที่ระบุว่า ความล้มเหลวในการพูด สามารถเป็นบ่อเกิดแห่งความฉิบหายทั้งหมด แต่ทา่ นก็ได้ทา� ตามหลักการมากกว่าผูน้ า� คนอืน่ ๆ ท่านได้พูดความจริงขณะที่ผู้น�าทางการเมือง ไม่ต้องการให้มีการพูดความจริง ท่านฝ่าฝืน กฎเกณฑ์ทงั้ หมดทีม่ อี ยูต่ ามแบบธรรมเนียมของ สมัยนัน้ เช่น “อย่าก่อกวน” “อย่าชนกับนักการ เมือง” “ปิดปากให้สนิท แล้วคุณจะไม่มปี ญ ั หา” “อย่าพูด ถ้ามันเป็นการบั่นทอนก�าลังใจ” “ถูก หรือผิดไม่ว่า ยึดศาสนาเป็นหลัก” และ “อย่า พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
แต่เครื่องหมาย “วี” ที่ใช้สองนิ้ว ชูขึ้นมานั้นไม่ได้หมายถึงวิคตอรี่ หรือชัยชนะ มันหมายถึงความตาย! มันหมายถึงว่าก่อนตายคุณต้องฆ่า ข้าศึกให้ได้หนึ่งรวมเป็นสอง! เชอร์ ชิลล์ใช้หลักคณิตศาสตร์ง่ายๆ เพื่อ พิสูจน์ว่าอังกฤษสามารถเอาชนะได้
วอดวายนั่นแหละ ถึงจะไล่ไอ้ตัวร้ายนั่นออกไป จากบ้านได้” ค�าพูดดังกล่าวนี้ไม่ตรงกับที่นายพลแพตตัน ได้พูดนัก ที่ท่านได้พูดจริงๆ น่ะมันหยาบคาย กว่านี้ ! มีคนหัวเราะ และเมื่อเสียงหัวเราะสงบลง นายพลแพตตันจะพูดต่อ “ดูอ่าวเพิร์ล ซิ! ไม่มีใครอยากท�าสงคราม หรอก แต่ตอนนี้คนโง่ๆ ก็รู้ว่ามันก�าลังมาถึง ตัวแล้ว พวกเราปล่อยให้สกั๊งค์มาอยู่ใต้มุข หน้าบ้าน ดังนัน้ เราจึงต้องเผาแหลกที่ อ่าวเพิรล์ ” นายพลแพตตันถูกพิจารณาว่าเป็นทหารที่ พูดพล่อยโดยไม่ไตร่ตรองและหุนหันพลันแล่น เป็นผู้ที่ไม่ต้องการสิ่งใดนอกจากสงคราม แต่ สงครามเป็ น สิ่ งที่ น ายพลแพตตันพยายามที่ จะหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดขึ้น แต่ถ้ามันเป็นความ พูดอะไร ถ้ามันเป็นการยั่วโมโหข้าศึก!” นี้แล้ว เชอร์ชิลล์เท่านั้นที่พูดต่อต้านฮิตเลอร์ จ�าเป็นที่จะต้องเข้าสู่สงครามแล้วละก็ ท่าน เท่าที่จ�าได้ผมไม่เคยเห็นนายพลแพตตัน แต่อ�านาจของเชอร์ชิลล์ก็เกิดไม่ทันเวลาที่จะ ต้องการเข้าและออกให้ไวที่สุดเท่าที่จะท�าได้ พูดโดยใช้โน้ตที่เตรียมมาเลย ท่านไม่ค่อยจะ ป้องกันสงคราม ในการพยายามซื้อสันติภาพ ด้ ว ยการเป็ น ฝ่ า ยชนะ ผมจ� า ค� า กล่ า วของ ใช้ แ ท่ น บรรยายหรื อ โต๊ ะ เพื่ อ เป็ น ที่ ว างโน้ ต ในช่วงชีวติ เรานัน้ เราจะต้องจ่ายราคาของสิง่ นี้ นายพลแพตตันได้เกีย่ วกับการท�าลายพลังเงียบ เมือ่ กรณีวอเตอร์เกทถึงมือพวกนักหนังสือพิมพ์ ขณะที่ท่านพูดกับก�าลังพลในทะเลทราย สิ่งที่ ด้วยชีวิตเด็กหนุ่มที่ดีเยี่ยมเป็นพันๆ คน” ท่านใช้มีเพียงพื้นดินกับไมโครโฟน ชนิดมือถือ ผมจ�าได้ในการประชุมฝ่ายเสนาธิการ พันเอก นอกจากพวกที่เกี่ยวข้องโดยตรงซึ่งถูกจ�าคุก เท่านั้น ท่านไม่ใช้โน้ต ผมจ�าได้ว่าเคยช่วยเขียน อาวุ โ สบางท่ า นแนะน� า ให้ น ายพลแพตตั น ไปแล้ว ยังมีอกี กีร่ อ้ ยคนทีร่ ดู้ ใี นเรือ่ งการกระท�า สุนทรพจน์ให้กับพันเอกอาวุโสหลายท่าน แต่ เพลาๆ การกล่าวถึงนโยบายสงครามของชาติ ที่ผิดกฎหมายแบบนี้ และไม่ยอมพูดอะไรเลย? ไม่เคยเขียนให้นายพลแพตตันเลย ท่านไม่มี ท่านได้ปฏิเสธ ท่านมักจะให้ข้อเท็จจริงเสมอ มั น ง่ า ยมากที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หา วอเตอร์เกท ถ้าไอ้พวกสกั๊งค์จะถูกหยุดยั้งก่อน สุ น ทรพจน์ ที่ เ ตรี ย มการมาก่ อ น และทุ ก สิ่ ง แก่ก�าลังพล และนักหนังสือพิมพ์ ที่ท่านได้พูดไปก็คือความคิดเห็นอย่างจริงใจ ผมระลึกถึงพันเอกท่านหนึ่ง ซึ่งพยายามที่ ที่พวกมันจะขุดรูมาอยู่ใต้มุขหน้าบ้าน ตามข้อเขียนทางประวัติศาสตร์ หลักการ ของท่าน จะช่วย และแนะน�าว่า มันมีข้อดีอยู่ในภาษิต การโจมตีของนายพลแพตตันทีม่ ตี อ่ อุดมคติ ที่ว่า “เห็นสิ่งที่ไม่บาป ได้ยินสิ่งที่ไม่บาป และ ของนายพลแพตตัน ถูกพิสูจน์ว่าถูกต้อง ความเชื่อถือในตัวนายพลแพตตันมีมากขึ้น ผิด ๆ ซึง่ มักจะปิดบังข้อเท็จจริง เป็นเหตุให้พวก พูดสิ่งที่ไม่บาป” และแผ่กระจายไปทั่วโลก ผู้น�าทางการทหาร เราทุกคนเป็นห่วงเมื่อท่านพูดในที่สาธารณะ นายพลแพตตัน บรรยายโต้ตอบทันควัน ท่านไม่เคยลังเลใจที่จะจับปัญหาให้เข้ามาชิด “บาปต้องถูกท�าลายเมื่อมันปรากฏตัวขึ้น จ�านวนมากในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ซึ่ง จมูกและเขย่าจนได้ความจริงออกมา ผมจ�าการ คุณได้ยินแต่ไอ้พวกขี้ขยะทุกวัน แต่ให้ผมบอก ต่อต้านนายพลแพตตันถูกลืม และเสื่อมเสีย พูดของท่านได้ “สงครามนี้เกิดขึ้นเพราะพวก อะไรคุณอย่างนึง มันโง่มากที่จะพูดว่าคุณไม่ ความเชื่อถือในพวกประชาชน ผู้น�าทางศาสนา เราทุกคนนี่แหละ ไม่มีใครพูดต่อต้านฮิตเลอร์ สามารถสู้กับไอ้ตัวสกั๊งค์ระดับมืออาชีพได้ ให้ หลายคนถูกลืมไปจากความทรงจ�า เพราะความ ทุกคนต้องการความสงบในชีวิตของตนเอง ถ้า ผมบอกอะไรคุณสักอย่าง! ถ้าคุณไม่ฆ่าสกั๊งค์ ล้มเหลวในการพูด ขณะที่พวกเขาควรจะพูด มีผู้น�าของประเทศไหนก็ได้ออกโรงพูดต่อต้าน ตั ว แรกที่ ป รากฏตั ว ออกมาละก็ มั น จะมุ ด ข้อเท็จจริง ฮิตเลอร์ เราอาจจะไม่ต้องรบในสงครามบ้าๆ เข้าไปใต้ถุนบ้านคุณ และคุณต้องเผาบ้านจน หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
45
ความเห็นถูก ทีอ่ าจแตกต่าง กองอนุศาสน์ กรมเสมียนตรา
4๖
กองอนุศาสน์ กรมเสมียนตรา
ต่
างคนก็ต่างความเห็น ปัจจุบันมีความ แตกต่ า งด้ า นความเห็ น กั น มากมาย ในสังคม ตั้งแต่เรื่องเล็กๆ ในบ้านไป จนถึงเรือ่ งใหญ่ระดับชาติ แต่ไม่วา่ จะเรือ่ งอะไร เราควรจะมีความเห็นที่ถูกต้องในเรื่องนั้นๆ จึงจะกระท�าสิ่งนั้นได้อย่างถูกต้อง และท�าได้ ส�าเร็จสมบูรณ์ตามความตั้งใจ ความเห็นถูก จึงเป็นสิง่ ส�าคัญเป็นบ่อเกิดของความเจริญเป็น อันดับแรก ในการด�าเนินชีวิตของเรานั้นแต่ละคนต่าง มีแนวทาง หรือเป้าหมายไม่เหมือนกัน ตามจิตใจ ที่ได้รับการปลูกฝังและสั่งสอน มาจากสังคม รอบตัวแต่ในวัยเด็ก ผ่านวันเวลาสะสมเรือ่ ยมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น ท� า ให้ ต ่ า งคนต่ า งมี มุ ม มอง หรือความเห็นแตกต่างกันไป บางคนด�าเนิน ชีวิตได้อย่างมีความสุข บางคนตรงกันข้าม แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงให้ความ เห็นที่ถูกต้องไว้ เพื่อเป็นแนวทางส�าหรับคิด พูด ท�า และตัดสินใจ เพื่อให้พวกเราชาวพุทธ มีหลักยึดเหนี่ยว ในการด� าเนินชีวิตได้อย่าง ถูกต้อง มีความสุข และมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง ความเห็นถูกที่ท่านให้ไว้มีดังนี้ ความเห็นถูก ว่า การให้ มีผลจริง คือ ชีวิต จะเป็นสุขได้ดว้ ยการแบ่งปันกันอย่างเหมาะสม ความเห็นถูก ว่า การสงเคราะห์ มีผลจริง คือ ชีวิตจะเป็นสุขได้ด้วยการช่วยเหลือกัน หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
โดยเฉพาะยามทุกข์ยากล�าบาก ต่างพึ่งพากัน ความเห็นถูก ว่า การยกย่องคนดี มีผลจริง คือ ชีวติ จะเป็นสุขได้ดว้ ยการยกย่องคุณความดี ของกันละกัน เพื่อรักษาและส่งเสริมการท�า ความดีในสังคม ความเห็นถูก ว่า ผลของกรรมดีและกรรมชัว่ มี จ ริ ง คื อ ชี วิ ต จะเป็ น สุ ข ได้ ด ้ ว ยการท�า แต่ สิ่งที่ดี ละเว้นความชั่ว ต่างคนต่างเคารพกัน ไม่เบียดเบียน ไม่อคติ ความเห็นถูก ว่า โลกนี้โลกหน้า มีจริง คือ เมื่อตายไปแล้วตัวเราไม่ได้ดับสูญ แต่ยังต้องไป
ในการดำาเนินชีวิตของเรานั้นแต่ละคน ต่างมีแนวทาง หรือเป้าหมายไม่เหมือนกัน ตามจิตใจที่ได้รับการปลูกฝัง และ สั่งสอน มาจากสังคมรอบตัว แต่ในวัยเด็ก ผ่านวันเวลาสะสม เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
47
เมื่อใดสัมมาทิฏฐิถูกปลูกฝังลงใน จิตใจของบุคคลอย่างมั่นคงแล้วชีวิต ของบุคคลนั้นก็จะบังเกิดแสงเงิน แสงทองขึ้นมา ชีวิตของผู้นั้นย่อม หวังได้ ซึ่งความเจริญรุ่งเรือง ในธรรมไปตลอดชีวิต
48
เกิดใหม่ในภพเบือ้ งหน้า ตามสมควรแก่กรรมที่ ท�าไว้ในปัจจุบัน ความเห็นถูก ว่า มารดามีคุณ คือ มีพระคุณ เพราะเป็นผู้ให้ชีวิต ให้เลือดให้เนื้อ อีกทั้งคอย เลี้ยงดู อบรมสั่งสอนจนเติบโต ความเห็นถูก ว่า บิดามีคุณ คือ มีพระคุณ เพราะเป็นผู้ให้ชีวิต ในท�านองเดียวกับมารดา ความเห็นถูก ว่า โอปปาติกะ มีจริง คือ สัตว์ ที่เกิดผุดขึ้นแล้วโตทันทีมีจริง หมายถึงเหล่า เทวดา และพวกสัตว์ในนรก ในอบายภูมิ ซึ่ง เป็นเครือ่ งยืนยันว่า สวรรค์ ส�าหรับผูท้ ที่ า� ความ ดี และนรก ส�าหรับผู้ที่ท�าความชั่ว มีจริง ความเห็นถูก ว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้รู้ แจ้งโลก พ้นโลกแล้วด้วยพระองค์เอง และทรง สอนให้ผอู้ นื่ พ้นตามได้ มีจริง คือ พระอรหันต์ผทู้ ี่ ปฏิบัติตามค�าสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วพ้นทุกข์ตามได้มีจริง ซึ่งท่านเหล่านั้นล้วน เป็นพยาน ในการตรัสรู้ของพระองค์ และเป็น เครื่ อ งยื น ยั น ว่ า ค� า สอนของพระองค์ ป ฏิ บั ติ ได้จริง มีผลจริง ความเห็นถูกทุกประการข้างต้นนี้ คือความ เป็ น ไปของโลกที่ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรง ค้นพบ แล้วน�ามาตรัสสั่งสอน เพื่อให้ชาวโลก ได้รู้ตาม จะได้ด�าเนินชีวิตในเส้นทางที่ถูกต้อง ปลอดภัย ความเห็นถูกเหล่านี้ เมื่อเข้าไปอยู่
ในใจของผู้ใดอย่างมั่นคงแล้ว ก็จะกลายเป็น สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นถูกในเรื่องของชีวิต ตามความเป็นจริง ส่งผลให้เกิด ความคิดชอบ การกล่าววาจาชอบ การกระท�าชอบ การประกอบ อาชี พ ชอบ ความพยายามชอบ ความมี ส ติ ระมัดระวัง และความตั้งใจมั่นชอบ ยิ่งๆ ขึ้นไป กลายเป็นแนวทางปฏิบัติตามหลัก อริยมรรค มีองค์ ๘ เมื่อใดสัมมาทิฏฐิถูกปลูกฝังลงในจิตใจของ บุคคลอย่างมั่นคงแล้วชีวิตของบุคคลนั้นก็จะ บังเกิดแสงเงินแสงทองขึ้นมา ชีวิตของผู้นั้น ย่ อ มหวั ง ได้ ซึ่ ง ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในธรรม ไปตลอดชีวิตดุจอุปมาที่ว่า แสงเงินแสงทอง จับที่ขอบฟ้าในเวลาใด ย่อมเป็นนิมิตหมายว่า ดวงอาทิตย์กา� ลังจะโผล่พน้ ขอบฟ้าในเวลานัน้ กองอนุศาสน์ กรมเสมียนตรา
พระเจ้าปดุงกับพระพุทธศาสนา
พ
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ระเจ้ า ปดุ ง (อั ง กฤษจะเรี ย กว่ า พระเจ้าโบดอพญา) ได้ครองราชสมบัติ ต่อจากพระเจ้าจิงกูจา ซึ่งเป็นกษัตริย์ ล�าดับที่ ๕ แห่งราชวงศ์อลองพญา เป็นพระ ราชโอรสล�าดับที่ ๕ ของพระเจ้าอลองพญา กษัตริย์พม่าในยุคที่สามที่น�าอาณาจักรสู่ความ ยิง่ ใหญ่ตอ่ จากราชวงศ์ตองอู หากไม่นบั พระเจ้า บุเรงนองแล้ว พระเจ้าปดุงจะเป็นกษัตริย์ที่ ยิ่งใหญ่มากพระองค์หนึ่งของอาณาจักรพม่า ประกอบกับครองราชย์นานถึง ๓๗ ปี จึงมี ผลงานเป็นจ�านวนมากที่ยังคงเหลืออยู่จนถึง ปัจจุบัน............บทความนี้ กล่าวถึงพระเจ้า ปดุงกับพระพุทธศาสนา ๑. กล่าวทั่วไป พระเจ้าปดุง (Bodawpaya) ครองราชสมบัติ ในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ทรงเริ่ ม ขยายดิ น แดน ตีเมืองมณีปุระทางตอนเหนือของพม่าส�าเร็จ และทรงตีเมืองยะไข่ (อาระกัน) ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ อยู่ทางตะวันตกของอาณาจักรพม่า รบชนะสองเมืองใหญ่ในเวลาสามปี อาณาจักร
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
พม่ามีอาณาเขตขนาดใหญ่ขึ้น พระองค์ทรง มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะขยายอาณาจั ก รพม่ า ให้ ยิ่งใหญ่ตามความต้องการของพระราชบิดา และให้ มี เ กี ย รติ ย ศเป็ น มหาราชเหมื อ นเช่ น พระเจ้ า หงสาวดี บุ เ รงนอง แต่ ต ้ อ งพ่ า ยแพ้ ศึกใหญ่ถงึ สองครัง้ ในการเข้าตีอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ.๒๓๒๘ ที่รู้จักในชื่อศึกเก้าทัพซึ่งเป็น ศึกใหญ่ตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และปี พ.ศ. ๒๓๒๙ ที่ รู ้ จั ก ในชื่ อ ศึ ก ท่ า ดิ น แดงและสาม สบ ต่อมาพระองค์จึงให้ความสนใจทางด้าน พระพุทธศาสนา ๒. สร้างพระมหาธาตุ ๒.๑ เจดียเ์ มงกุน (Mingun Pagoda) พระเจ้าปดุงกษัตริย์แห่งราชวงศ์อลองพญา เมื่ อ เข้ า สู ่ วั ย ชรามี ค วามประสงค์ จ ะบ� า เพ็ ญ เป็ น ศาสนู ป ถั ม ภกเพื่ อ ประโยชน์ โ พธิ ญ าณ ให้ จั ด การสร้ า งพระมหาธาตุ ขึ้ น ที่ เ มื อ ง เมงกุล พระเจ้าปดุงทรงมอบราชการแผ่นดิน ให้ พ ระมหาอุ ป ราชาบั ง คั บ บั ญ ชารั ก ษา พระนครแทนพระองค์ แ ล้ ว เสด็ จ ออกไปตั้ ง
หากไม่นับพระเจ้าบุเรงนองแล้ว พระเจ้าปดุงจะเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ มากพระองค์หนึ่งของอาณาจักรพม่า ประกอบกับครองราชย์นานถึง ๓๗ ปี จึงมีผลงานเป็นจำานวนมาก ที่ยังคงเหลืออยู่จนถึงปัจจุบัน
49
ภาพกราฟิกส์ประเทศพม่า เมืองมัณฑะเลย์เป็น ที่ตั้งของวัดมหามุนี ที่ประดิษฐานของพระมหามุนี (Maha Muni Buddha) พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ ขนาดสูง ๑๖ ฟุต ๗ นิ้ว
พลับพลาประทับ ทรงอ�านวยการสร้างพระ มหาธาตุด้วยพระองค์เองที่เมืองเมงกุน ให้ กะเกณฑ์ผู้คนพลเมืองในบรรดาหัวเมืองพม่า รามั ญ และเมื องประเทศราชต่างๆ ที่ขึ้น แก่ พม่ า ในปี พ.ศ.๒๓๕๕ ให้ ผ ลั ด เปลี่ ย นกั น มาท� า การสร้ า งพระมหาธาตุ มี ค นประจ� า ท�างานอยู่นับหมื่นเสมอ เป็นเหตุให้ไพร่บ้าน พลเมืองเดือดร้อนทั่วไปจนพวกมอญ (เรียกว่า มอญใหม่ ) พากั น อพยพมาอยู ่ ใ นเมื อ งไทย ในสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๕๘ อีก คราวหนึ่ง มีจ�านวนกว่า ๔๐,๐๐๐ คน เพราะ ถูกเกณฑ์ไปท�าพระมหาธาตุนั้นเป็นเหตุ เจดีย์ เมงกุ น สร้ า งขึ้ น บริ เ วณชายฝั ่ ง แม่ น�้ า อิ ร ะวดี ต่ อ มามี ชื่ อ เรี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า ปาโดดอจี (Pahtodawgyi) ซึ่งมีความหมายว่าเจดีย์ที่ สร้างไม่เสร็จ เสนาบดี พ ม่ า ปรึ ก ษากั น เห็ น ว่ า ไพร่ บ ้ า น พลเมื อ งเดื อ ดร้ อ นระส�่ า ระสายนั ก เกรงว่ า จะเกิดกบฏขึ้นจึงคิดกลอุบายหาเหตุให้เกิด สงครามขึ้นกับเมืองมณีปุระ ให้พระเจ้าปดุง ต้องไปกังวลเสียด้วยการสงคราม จึงได้งดสร้าง พระมหาธาตุที่เมืองเมงกุน (ใช้เวลาก่อสร้าง นาน ๗ ปี) ดังนั้นพระมหาธาตุนั้นยังค้างอยู่ จนตราบเท่าทุกวันนี้ ต่อมาไม่ช้านักพระเจ้า ปดุงก็ประชวรและสิน้ พระชนม์เมือ่ ปีเถาะ พ.ศ. ๒๓๖๒ พระเจ้าปดุงอยู่ในราชสมบัตินาน ๓๗ ปี ปัจจุบันนี้เจดีย์เมงกุนมีความสูง ๕๐ เมตร ถ้าหากสร้างเสร็จตามแผนจะเป็นเจดีย์ที่ใหญ่ ที่สุดและสูงที่สุดในโลก จะมีความสูง ๑๕๒.๐ เมตร ส�าหรับรอยแตกร้าวตรงกลางฐานเกิด จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในปี พ.ศ.๒๓๘๑ ๒.๒ ระฆังเมงกุน ใกล้กับฐานเจดีย์เมงกุนคือระฆังเมงกุน ที่ พระเจ้าปดุงโปรดฯ ให้สร้างจนส�าเร็จ เพือ่ อุทศิ ถวายแด่มหาเจดีย์เมงกุน เป็นระฆังยักษ์โดย มีเส้นรอบวง ๑๐.๐ เมตร สูง ๓.๗ เมตร และ น�้าหนัก ๘๗ ตัน ปัจจุบันนี้ถือว่ามีขนาดใหญ่ เป็นล�าดับสองของโลกโดยเป็นรองเฉพาะระฆัง แห่งพระราชวังเครมลิน กรุงมอสโค แต่ระฆัง 50
ระฆังเมงกุน ที่พระเจ้าปดุงโปรดฯ ให้สร้างจนส�าเร็จเพื่ออุทิศถวายแด่มหาเจดีย์เมงกุน เป็นระฆังยักษ์โดยมี เส้นรอบวง ๑๐.๐ เมตร สูง ๓.๗ เมตร และน�้าหนัก ๘๗ ตัน
แห่งรัสเซียได้แตกร้าวไปแล้ว ดังนัน้ ระฆังเมงกุน เป็นระฆังยักษ์ที่ยังคงส่งเสียงก้องกังวาน ๒.๓ วั ด มหามุ นี (Maha Muni Temple) พ.ศ.๒๓๒๗ พระเจ้าปดุง ทรงตีได้เมือง ยะไข่และได้อัญเชิญพระมหามัยมุนีโดยล่องมา ตามแม่น�้าอิระวดีมายังเมืองมัณฑะเลย์ อยู่ที่ วัดมหามุนี (หรือวัดยะไข่ Rakhine Pagoda) ไปทางใต้ ป ระมาณ ๓ กิ โ ลเมตร เดิ ม นั้ น พระมหามัยมุนี (Maha Muni Buddha) เป็น พระพุทธรูปทองค�าคู่บ้านคู่เมืองยะไข่ พม่า มีสถานที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับทางพุทธ ศาสนามากมาย แต่มีอยู่ ๕ สิ่งที่เรียกว่าส�าคัญ ยิ่งส�าหรับการแสวงบุญ ประกอบด้วย พระ มหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง กรุงย่างกุ้ง, พระ มหาธาตุ เ จดี ย ์ ช เวสิ ก อง เมื อ งพุ ก าม, พระ มหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) เมือง
หงสาวดี, พระมหาธาตุเจดีย์ไจก์ถิโย (พระธาตุ อิ น ทร์ แขวน) รั ฐ มอญ และพระมหามั ย มุนี เมืองมัณฑะเลย์ ๒.๔ เจดีย์ชเวมอดอ (เจดีย์พระธาตุ มุเตา) พ.ศ.๒๓๓๙ พระเจ้าปดุง ทรงสร้างฉัตร ขึ้นใหม่และเสริมยอดเจดีย์ชเวมอดอ (เจดีย์ พระธาตุ มุ เ ตา) ที่ เ มื อ งหงสาวดี ขึ้ น ไปจน สู ง ถึ ง ๙๐ เมตร เจดี ย ์ ช เวมอดอเป็นเจดีย์ ที่สูงที่สุดของพม่าซึ่งมีความสูง ๑๑๔ เมตร เป็ น เจดี ย ์ แ บบมอญ มี ฉั ต รแบบเรี ย บและ มี อ งค์ ร ะฆั ง ของเจดี ย ์ มี ลั ก ษณะแคบเรี ย ว ภายนอกหุ้มด้วยทอง ๓. การติดต่อกับศรีลังกาและอินเดีย พระเจ้าปดุงติดต่อกับอาณาจักรศรีลังกา ซึ่งเป็นห้วงที่ศาสนาพุทธเสื่อมโทรม พระองค์ ทรงให้ ค วามอุ ป ถั ม ภ์ พ ระสงฆ์ ช าวศรี ลั ง กา พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ที่เดินทางมายังกรุงอมรปุระเมืองหลวงของ อาณาจักรพม่า เพื่อมาศึกษาพระพุทธศาสนา ได้พ�านักอยู่เป็นเวลานาน ๓ ปี จึงได้เดินทาง กลับสู่ศรีลังกา พระสงฆ์รูปนี้เป็นผู้ตั้งนิกาย อมรปุระในศรีลังกา เหมือนเมื่อครั้งศรีลังกา ได้น�านิกายสยามวงศ์ไปจากสยาม อิ น เดี ย มี ส ภาพคล้ า ยกั บ ศรี ลั ง กาคื อ พุ ท ธ ศาสนาเสื่อม พระเจ้าปดุงได้ทรงส่งสมณทูต ไปอินเดีย เพื่อจะไปซ่อมแซมโบสถ์วิหารและ คัดลอกผลงานที่น่าสนใจในทางพุทธศาสนา ๔. บทสรุป พระเจ้าปดุงแห่งอาณาจักรพม่ายุคที่สาม แห่งราชวงศ์อลองพญา ทรงน�ากองทัพพม่า เข้าตีอาณาจักรสยามหลังจากที่ทรงขึ้นครอง ราชย์เพียงสามปีเป็นศึกใหญ่ของอาณาจักร กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่ไม่ประสบความ ส� า เร็ จ จึ ง ได้ ส นพระทั ย ทางด้ า นพระพุ ท ธ พ.ศ.๒๓๓๙ พระเจ้าปดุง ทรงสร้างฉัตรขึ้นใหม่ ศาสนา พระองค์สวรรคตในวัย ๗๕ พรรษา และเสริมยอดเจดีย์ชเวมอดอ (เจดีย์พระธาตุมุเตา) อยู่ในราชสมบัตินาน ๓๗ ปี นับว่าพระองค์ได้ เมืองหงสาวดี สูงถึง ๙๐ เมตร เจดีย์ชเวมอดอเป็น น�าอาณาจักรพม่าในยุคทีส่ ามขึน้ สูอ่ �านาจสูงสุด เจดี ย ์ ที่ สู ง ที่ สุ ด ของพม่ า ซึ่ ง มี ค วามสู ง ๑๑๔ เมตร เป็นสถานที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับทางพุทธศาสนา อีกครั้งหนึ่ง แต่ก็ได้ก่อปัญหาที่จะเกิดขึ้นใน เป็นหนึ่งในห้าที่เรียกว่าส�าคัญยิ่งส�าหรับการแสวงบุญ อนาคตที่เป็นภัยคุกคามต่ออาณาจักรที่มาจาก ของประเทศพม่า ทางทิศตะวันตก
ทรงนำากองทัพพม่าเข้าตี อาณาจักรสยามหลังจากที่ ทรงขึ้นครองราชย์เพียงสามปี เป็นศึกใหญ่ของอาณาจักร กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่ ไม่ประสบความสำาเร็จ จึงได้สนพระทัย ทางด้านพระพุทธศาสนา
ปัจจุบันนี้เจดีย์เมงกุนมีความสูง ๕๐ เมตร หากสร้างเสร็จตามแผนจะเป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดและสูงที่สุดในโลก จะมีความสูง ๑๕๒.๐ เมตร ส�าหรับรอยแตกร้าวตรงกลาง ฐานโดยเกิดจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในปี พ.ศ.๒๓๘๑ หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
51
๑๒๐ ปี เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ บาดแผลลึกในจิตใจของชาวสยาม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
5๒
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
วั
นที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๓๖ ถือได้ว่า เป็นเหตุการณ์วิกฤตของสยามประเทศ ต่ อ กรณี ที่ ถู ก ชาติ ต ะวั น ตกซึ่ ง ถื อ เอา ความได้ เ ปรี ย บของแสนยานุ ภ าพทางการ ทหารที่ เ หนื อ กว่ า เข้ า รุ ก รานราชอาณาจั ก ร และหมายย�่ า ยี เ อกราชของราชอาณาจั ก ร สยามเช่นเดียวกันกับประเทศเพื่อนบ้านที่ได้ รับการคุกคามจนสูญสิน้ เอกราชมาก่อนแล้วแต่ เหตุการณ์ในวันนั้นและอีกไม่กี่วันต่อมานับว่า ได้สร้างความกดดันและกระทบกระเทือนต่อ ความรู้สึกของชาวสยามในฐานะผู้ถูกรุกราน เป็นอันมาก และถือเป็นความสุ่มเสี่ยงต่อการ สูญเสียเอกราชอย่างจวนเจียนมากที่สุดครั้ง หนึ่งของประวัติศาสตร์ หากย้อนกลับไปเมื่อ ๑๒๐ ปีก่อน หลาย ท่านคงได้เคยรับทราบถึงกรณีพระยอดเมือง ขวาง เจ้าเมืองค�าม่วน (ปัจจุบันคือ แขวงค�า ม่วน ซึ่งเป็นแขวงหนึ่งตั้งอยู่ทางตอนกลางของ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว) ซึ่งในเวลานั้นอยู่ในอาณาเขตของราช อาณาจักรสยาม ทั้งนี้เนื่องจาก ในวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๔๓๖ ได้เกิดกรณีพิพาทระหว่าง การปั ก ปั น เขตแดนฝั ่ ง ซ้ า ยของแม่ น�้ า โขง ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส โดยฝรั่งเศสต้องการ เมืองค�าม่วน จึงได้ส่งก�าลังทหารเข้ามาบังคับ ให้พระยอดเมืองขวาง เจ้าเมืองค�าม่วนออก จากพื้นที่ แต่พระยอดเมืองขวางไม่ยินยอม จึงตั้งกองก�าลังประจันหน้ากัน และต่อมาเมื่อ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๔๓๖ ได้เกิดเหตุการณ์ การปะทะกันขึ้น ท�าให้มีชาวฝรั่งเศสเสียชีวิต พร้อมกับทหารญวนอาสาประมาณ ๑๒ คน ส�าหรับฝ่ายทหารไทยเสียชีวิต ๖ คน ซึ่งจาก กรณีพิพาทเมืองค�าม่วน จึงท�าให้กงสุลฝรั่งเศส ประจ�ากรุงเทพฯ ไม่พอใจและจะให้ด�าเนินคดี เอาเรื่องให้ถึงที่สุด และอ้างเหตุที่จะต้องน�า เรื อ รบเข้ า มาในพระราชอาณาจั ก รโดยอ้ า ง เหตุผลว่า “เพื่ อ คุ ้ ม ครองผู ้ ค นและทรั พ ย์ สิ น ของ ฝรั่งเศสในสถานการณ์ปัจจุบันที่ไม่แน่นอน” แต่แท้ที่จริงแล้วฝรั่งเศสมีเจตนาจะยึดครอง ดินแดนสยามให้ได้ โดยใช้ข้ออ้างจากกรณี พิพาทเมืองค�าม่วนเป็นเหตุ ! ในวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๓๖ ในห้วง เวลาเย็น เรือรบฝรั่งเศส ๒ ล�า คือ เรือโคแมต (Comete) และเรือแองคองสตังค์ (Inconstang) ได้รุกล�้าสันดอนปากแม่น�้าเจ้าพระยา บริเวณ จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีเรือ เจ.เบ.เซย์ (Jean Baptist Say) เรือสินค้าเป็นเรือน�าร่อง โดยไม่ยอมฟังค� าห้ามปรามและโดยมิได้รับ อนุญาตจากรัฐบาลสยาม ในเวลานัน้ เองหมูป่ นื ที่ประจ�าการ ณ ป้อมพระจุลจอมเกล้า ได้ยิง กระสุนนัดดินออกไป ๓ นัด เป็นการเตือนให้ กลับไปเสีย แต่เรือฝรั่งเศส ยังแล่นเรื่อยเข้ามา หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ปืนป้อมพระจุลจอมเกล้า จึงยิงด้วยกระสุนจริง แต่ข้ามหัวเรือรบฝรั่งเศสไป ซึ่งเรือรบฝรั่งเศส ได้ชักธงรบและระดมยิงป้อมพระจุลจอมเกล้า พร้อมกันทั้ง ๒ ล�าหลังจากนั้น ทั้งสองฝ่ายก็ ต่างระดมยิงโต้ตอบกันอย่างรุนแรง การรบ ได้ด�าเนินไปเป็นเวลาประมาณครึ่งชั่วโมงเศษ จึงยุติลง เพราะความมืดเป็นอุปสรรค ท�าให้ เรือรบฝรั่งเศส ๒ ล�า สามารถตีฝ่าแนวป้องกัน ที่ปากน�้าเจ้าพระยาเข้ามาได้จนถึงกรุงเทพฯ และเทียบท่าอยู่หน้าสถานทูตฝรั่งเศสสมทบ กับเรือลูแตง (Le Lutin) ซึ่งเข้ามาจอดอยู่ หน้ า สถานทู ต ฝรั่ ง เศส ตั้ ง แต่ ป ี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๕ ในลักษณะของการท้าทายและแสดง แสนยานุภาพข่มขวัญรัฐบาลสยาม ส�าหรับเรือ น�าร่องถูกยิงเกยตื้นอยู่ริมฝั่ง หลังจากนัน้ ฝรัง่ เศสได้ยนื่ เงือ่ นไขให้รฐั บาล สยามปฏิบัติตาม โดยอ้างว่าสยามสร้างความ เสียหายให้แก่ชีวิต ทรัพย์สินของฝรั่งเศสจาก เหตุการณ์ปากน�้า (ป้อมพระจุลจอมเกล้า) ซึ่ง มีเงื่อนไข รวม ๖ ข้อ พร้อมส่งเรือจ�านวนกว่า ๑๐ ล�า ปิดอ่าวไทย และให้สยามแจ้งค�าตอบ พร้อมปฏิบัติภายใน ๔๘ ชั่วโมง ดังนี้ ๑. ให้ ส ยามยอมสละกรรมสิ ท ธิ์ ทั้ ง หมด และเคารพสิทธิของญวนและเขมรในดินแดน เหนือฝั่งซ้ายแม่น�้ าโขง รวมทั้งบรรดาเกาะ ทั้งหมด ที่อาจมีขึ้นเมื่อน�้าลด หรือในบรรดาที่ มีมาก่อนแล้วนั้น ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของฝรั่งเศส ๒. สยามจะต้องไม่มีค่ายทหารในเขต ๒๕ กิโลเมตรตลอดแนวแม่น�้ารวมทั้งพระตะบอง และเสียมราฐ สยามจะไม่มีเรือรบไปไว้ หรือ ใช้ดินแดนในทะเลสาป หรือล�าน�้าที่แยกจาก แม่น�้าโขง และให้ถอนกองทหารที่ตั้งมั่นอยู่บน ฝั่งซ้ายแม่น�้าโขง ให้เสร็จสิ้นภายในเวลาไม่เกิน ๑ เดือน ๓. ให้เสียค่าปรับให้แก่ฝรัง่ เศส ในเหตุการณ์ อุ ก ฉกรรจ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ที่ ทุ ่ ง เชี ย งค� า และที่ ค� า
ซึ่งจากกรณีพิพาทเมืองคำาม่วน จึงทำาให้กงสุลฝรั่งเศสประจำากรุงเทพฯ ไม่พอใจและจะให้ดำาเนินคดีเอาเรื่อง ให้ถึงที่สุด และอ้างเหตุที่จะต้องนำา เรือรบเข้ามาในพระราชอาณาจักร โดยอ้างเหตุผลว่า “เพือ่ คุม้ ครองผูค้ น และทรัพย์สนิ ของฝรัง่ เศสในสถานการณ์ ปัจจุบันที่ไม่แน่นอน” แต่แท้ที่จริงแล้ว ฝรั่งเศสมีเจตนาจะยึดครองดินแดน สยามให้ได้ โดยใช้ข้ออ้างจากกรณี พิพาทเมืองคำาม่วนเป็นเหตุ!
ม่วน และทั้งในการที่ได้ท�าอันตรายและความ เสียหายแก่เรือ และพวกกะลาสีเรือฝรั่งเศส ในล�าแม่น�้าเจ้าพระยา ๔. ให้ ล งโทษผู ้ ก ระท� า ผิ ด และเสี ย เงิ น ค่าท�าขวัญให้แก่ครอบครัวผู้ที่ต้องเสียชีวิต ๕. ให้ใช้เงิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ ฟรังก์ เป็นค่าที่ ท�าความเสียหายให้แก่ชนชาติฝรั่งเศส ๖. ให้จ่ายเงินจ�านวน ๓,๐๐๐,๐๐๐ ฟรังก์ ทันที (บันทึกบางเล่มอ้างว่า ๓ ล้านบาท ซึง่ จาก การตรวจสอบแล้วทราบว่าอัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทกับเงินฟรังก์ในเวลานั้น ยังไม่มีการ เทียบค่าอย่างเป็นทางการ แต่มีความใกล้เคียง กันมาก) เพื่อเป็นการมัดจ�าในเรื่องชดใช้เงิน ค่าเสียหายและเงินค่าท�าขวัญรายต่างๆ หรือ ถ้าไม่สามารถ ก็ต้องยอมให้รัฐบาลฝรั่งเศสถือ
เรือโคแมต (Comete) 53
สำาหรับเงินที่สยามต้องจ่ายให้แก่ ฝรั่งเศสในเหตุการณ์นี้มีนำ้าหนักถึง ๒๓ ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับมูลหนี้ จำานวน ๓ ล้านฟรังก์ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ยังมีพระบรมราชโองการ ให้เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ นำาพระราชทรัพย์จำานวนประมาณ ห้าแสนบาทเศษ ซื้อเป็นพันธบัตร ต่างประเทศเพื่อใช้หนี้จนครบจำานวน ให้แก่ฝรั่งเศสอีกด้วย จึงสามารถ ทำาให้สยามรอดพ้นจากการตกเป็น อาณานิคมของฝรั่งเศสได้อีกคราหนึ่ง
54
สิทธิเก็บเงินค่าส่วยสาอากร และสมพัสตร์ใน มณฑลพระตะบองและเสียมราฐ โดยฝรั่งเศส ยังก�าหนดเพิม่ เติมอีกว่าสยามจะต้องช�าระด้วย เงินเหรียญเท่านั้น ไม่รับช�าระเป็นธนบัตร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัด สิ น พระทั ย ยอมท�า ตามเงื่ อ นไขของ ฝรั่ ง เศสเพราะหากไม่ รั บ เงื่ อ นไข ฝรั่ ง เศสก็ สามารถอ้างเหตุรุกรานได้ทันที แต่ปัญหาใหญ่ หลวงที่สยามต้องเผชิญในเหตุการณ์เฉพาะ หน้ า ที่ ส ร้ า งความคั บ ขั น ไม่ น ้ อ ยไปกว่ า การ ตัดสินใจอื่นๆ ก็คือ การหาเงิน ๓ ล้านฟรังก์ จ� า นวนมากนั้ น มาช� า ระให้ ทั น ภายใน ๔๘ ชั่ ว โมง มิ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ยเพราะเป็ น เงิ น จ� า นวน มหาศาล และฝรั่งเศสไม่รับเป็นธนบัตร แต่ รั บ เป็ น เงิ น เหรี ย ญ (Coin) เท่ า นั้ น ซึ่ ง เมื่ อ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ถวาย รายงานจ�านวนเงินในท้องพระคลังหลวงให้ ทรงทราบ ก็ยังไม่เพียงพอกับจ�านวน ๓ ล้าน ฟรังก์ ที่ถูกเรียกร้องตามใจชอบของฝรั่งเศส ทั้งนี้ หากสยามไม่สามารถจ่ายเงินให้ฝรั่งเศส ตามที่เรียกร้องในเวลาก�าหนด ฝรั่งเศสก็จะใช้ เหตุนี้เป็นข้ออ้างในการปิดอ่าวสยาม และเข้า ยึดสยามเป็นอาณานิคมอย่างแน่นอน จึงนับว่า เป็ น ความกดดั น และกระทบกระเทื อ นต่ อ ความรู้สึกของชาวสยามในฐานะผู้ถูกรุกราน เป็ น อั น มาก และถื อ เป็ น ความสุ ่ ม เสี่ ย งต่ อ การสูญเสียเอกราชอย่างจวนเจียนมากที่สุด ครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์
ปัญหานี้ได้สร้างความวิตกกังวลและทุกข์ เทวษในพระราชหฤทั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เป็ น อย่ า งยิ่ ง กล่ า วกั น ว่ า ถึ ง กั บ ท� า ให้ ไ ม่ ท รงเสวยพระ กระยาหารหรื อ พระสุ ธ ารสเลยแม้ แ ต่ น ้ อ ย ขณะที่ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว ทรงก�าสรดพระทัยอยู่นั้น พระบรม วงศ์ชั้นผู้ใหญ่กราบบังคมทูลเรื่อง เงินถุงแดง จ�านวนสามหมื่นชั่งที่พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเก็บสะสมไว้เมื่อครั้งที่ทรง เจริญพระราชพาณิชยกรรมด้วยการค้าส�าเภา กับชาวต่างประเทศ พร้อมทั้งพระราชทานให้ แก่แผ่นดินส�าหรับใช้ในยามทีป่ ระเทศชาติบา้ น เมืองเกิดภาวะคับขัน โดยขอให้ทรงมีพระบรม ราชโองการให้น�าเงินถุงแดงดังกล่าวมาชดใช้ ค่าเสียหายให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่ ง ในตอนแรก พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังไม่มีพระราชประสงค์ ที่ จ ะใช้ เ งิ น ดั ง กล่ า วเพราะทรงตั้ ง พระราช ปณิธานจะให้เก็บไว้เป็นหลักทรัพย์ของแผ่นดิน
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
และให้สืบทอดไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานในอนาคต แต่เมื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยทบทวนอยู่หลาย ครั้ง จนในที่สุดต้องทรงมีพระบรมราชโองการ ทั้ ง ที่ มี พ ระอั ส สุ ช ลนองพระเนตร ให้ น� า เงิ น ถุงแดงมาช�าระเป็นค่าชดใช้ให้แก่ฝรั่งเศสเพื่อ รักษาเอกราชของชาติไว้ให้รอดพ้นจากการตก เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส หลังจากนัน้ เจ้าพนักงานจึงได้ขนเงินเหรียญ จากถุงแดง เงินพดด้วง และเงินสกุลต่างๆ ใส่ รถเที ย มม้ าเคลื่ อนออกจากพระที่นั่งจัก รี มหาปราสาท ผ่านประตูศรีสุนทร ผ่านประตู เทวาภิ ร มย์ ไปยั ง ท่ า ราชวรดิ ฐ เพื่ อ น� า เงิ น เหรียญไปขึ้นเรือลูแตง ส่งให้ฝรั่งเศสทั้งวันทั้ง คืนหลายเทีย่ วเพราะเงินดังกล่าวมีนา�้ หนักมาก ทุกเที่ยวของรถเทียมม้าที่วิ่งผ่าน ก็บังเกิดเป็น มีเสียงการบดเสียดสีกับพื้นอย่างต่อเนื่องดัง “กรอกแกรบๆ” ไม่ขาดสาย ท�าให้ประชาชน ต่างหอบลูกจูงหลานมาเฝ้าดูริมถนนและต่าง ต้องร�่าน�้าตาด้วยความเจ็บช�้าและคับข้องใจ เพราะเสียงบดพื้นแต่ละครั้งคล้ายดังเสียงที่ เชือดเฉือนโสตประสาทและบาดลึกในความ รูส้ กึ ของประชาชนทีเ่ ฝ้าดูความอัปยศผสานกับ น�้าตาที่รินหลั่งอย่างต่อเนื่องเนืองนองเป็นสาย ส�าหรับเงินที่สยามต้องจ่ายให้แก่ฝรั่งเศสใน เหตุการณ์นี้มีน�้าหนักถึง ๒๓ ตัน ซึ่งยังไม่เพียง พอกับมูลหนี้จ�านวน ๓ ล้านฟรังก์ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็ จพระจุล จอมเกล้ าเจ้ าอยู่ หัว ยังมีพระบรมราชโองการให้เสนาบดีกระทรวง พระคลังมหาสมบัติน�าพระราชทรัพย์จ�านวน ประมาณห้าแสนบาทเศษ ซือ้ เป็นพันธบัตรต่าง ประเทศเพือ่ ใช้หนีจ้ นครบจ�านวนให้แก่ฝรัง่ เศส อีกด้วย จึงสามารถท�าให้สยามรอดพ้นจากการ ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสได้อีกคราหนึ่ง แต่ในที่สุด เราก็ต้องสูญเสียดินแดนฝั่งซ้าย แม่นา�้ โขงให้แก่ฝรัง่ เศสจนได้ในอีก ๑๐ ปีตอ่ มา อย่างไรก็ตาม บาดแผลลึกในจิตใจของชาว สยามต่อกรณีเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ จะสร้าง
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ความปวดร้าวมากเพียงใด แต่หากวันนั้นเรา ไม่ มี เ งิ น ถุ ง แดงและไม่ ใ ช่ บุ ร พกษั ต ริ ย ์ ที่ ท รง พระนามว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวแล้ว คงไม่มีใครตอบได้ว่า ในวันนี้ ประเทศสยามหรือประเทศไทยจะหยัดยืนได้ อย่างไรและรักษาความเป็นเอกราชมาได้ตราบ จนวันนี้หรือไม่ หากนับเวลาตั้งแต่เกิด เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ มาจนถึงปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ นี้ นับได้ ๑๒๐ ปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ นี้ ผู้เขียนจึงใคร่ขอย�้าเตือนให้ลูกหลานไทยได้ รับรู้รับทราบถึงความเจ็บช�้าความเสียใจของ บุรพกษัตริย์และบรรพชนไทยต่อเหตุการณ์ ดังกล่าว และขอเรียนว่าประวัติศาสตร์หน้านี้ คือประวัติศาสตร์หน้าส�าคัญที่สยามชนไม่ว่า ในยุคใดก็ตาม ไม่ควรลืม ! และในวาระแห่งการครบรอบ ๑๒๐ ปี ของ เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ผู้เขียนจึงได้ทุ่มเทก�าลัง ความคิด แรงกาย แรงใจ บันทึกประวัติศาสตร์ สยามในห้วงเวลาดังกล่าว โดยถ่ายทอดเป็น บทร้ อ ยกรองออกมาในลั ก ษณะกลอนดอก สร้อย พร้อมทั้งขยายความเหตุการณ์ตามบท ร้อยกรองพร้อมทั้งคัดสรรภาพถ่ายในอดีตที่ สอดคล้องกับเรื่องราวมากที่สุด เพื่อให้ทุกท่าน ได้กรุณารับทราบถึงกรอบแนวพระราชด� าริ และกระบวนวิธีด�าเนินพระราชกรณียกิจของ บุรพกษัตริษแ์ ห่งกรุงรัตนโกสินทร์สามพระองค์ คื อ พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในหนังสือชื่อว่าเกียรติภูมิกระทรวงกลาโหม... ภาคดอกสร้อยรอยต�านาน ซึ่งได้จัดพิมพ์เป็น รูปเล่มแล้ว ทั้งนี้ หนังสือ เกียรติภูมิกระทรวงกลาโหม... ภาค ดอกสร้อยรอยต�านาน เป็นการบรรยาย เพื่อบอกเล่าเส้นทางการเดินทางของเงินถุง แดง จ�านวน ๓๐,๐๐๐ ชั่ง ซึ่งเคลื่อนที่ผ่านกาล
เวลา ผ่านการเปลี่ยนแปลงของราชอาณาจักร สยามในแทบทุ ก บริ บ ท ทั้ ง บริ บ ททางการ เมือง ทางเศรษฐกิจ ทางเทคโนโลยี และทาง สังคมวัฒนธรรมในยุคล่าอาณานิคมของชาติ ตะวันตก ซึ่งเคยมีการบันทึกอย่างเป็นลาย ลั ก ษณ์ อั ก ษร หรื อ เคยมี ก ารบอกเล่ า กั น มา และสอดคล้ อ งกั บ เหตุ ก ารณ์ กั บ หลั ก ฐานที่ น่าเชื่อถือได้ และน�ามาประมวลเป็นเรื่องราว เป็นตอนน�าเสนอทั้งบทร้อยกรองและขยาย ความเป็นร้อยแก้วประกอบรูปภาพให้ท่านได้ รับทราบ และขอมอบให้แด่ท่านผู้อ่านเพื่อเป็น บันทึกประวัตศิ าสตร์บรรณาการ จ�านวน ๑๐๐ เล่ม โดยขอความกรุณาให้ ส�านักงานเลขานุการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นหน่วย แจกจ่าย ซึ่งจะไม่มีการจ�าหน่ายแต่อย่างใด หากท่านผู้สนใจจะเป็นเจ้าของหนังสือเล่มนี้ สามารถติดต่อรับได้ที่ กองบรรณาธิการวารสาร หลักเมือง สิ่งที่ผู้เขียนปรารถนามากที่สุดคือ หมายใจ ไว้ว่าเยาวชนไทยและประชาชนไทยที่ได้อ่าน หนังสือเล่มนี้ จะได้ทราบถึงพระวิริยภาพ พระ ราชปณิธานที่มุ่งมั่น และพระราชวิสัยทัศน์ ใน การปกป้องประเทศอย่างเป็นระบบ ท่ามกลาง มหันตภัยของลัทธิล่าอาณานิคม และพระเสโท พระอั ส สุ ช ล พร้ อ มทั้ ง หยาดเหงื่ อ น�้ า ตา ของบรรพบุรุษสยามทุกท่านที่มีส่วนร่วมใน เหตุการณ์ทั้งหมดทั้งปวงนั้น และขอเรียนส่ง ท้ายให้กรุณาทราบว่าการรักษาประเทศชาติ บ้านเมืองคือ หน้าทีข่ องเราทุกคน ขอให้เริม่ ต้น จากการสร้างจิตส�านึกในความเป็นชาติ และ ค่ อ ยๆ พั ฒ นาไปสู ่ ก ารเรี ย บเรี ย งความคิ ด และปฏิบัติอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลอย่างเป็น รูปธรรม
55
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“มีพุง (ใหญ่) เสี่ยงโรคร้าย” ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พุ
งหนุ่มหรือพุงสาว ชื่อว่าพุง ไม่มีใคร อยากมี นอกจากน่าเกลียดแล้วยัง เป็นสาเหตุโรคร้ายสารพัด ต้องระวัง อย่าให้เกิดพุง พุงหรือค�าเรียกที่เป็น ทางการว่าหน้าท้อง เป็นอวัยวะที่ไม่ได้โชว์ กันบ่อย นอกจากยามทีใ่ ส่บกิ นิ นีต่ วั จิว๋ ภาพของ หน้าท้องที่แบนราบดูเซ็กซี่ของหญิงสาวดึงดูด สายตาได้ทุกเพศไม่เฉพาะหนุ่ม ๆ เช่นเดียวกับ กล้ามท้องสุดเร้าใจของชายหนุ่มก็ยอดนิยม ไม่แพ้กัน หน้ า ท้ อ งที่ ส วยงามนั้ น คนท� า งานหรื อ นักธุรกิจทัง้ หลายไม่มโี อกาสเป็นเจ้าของมากนัก ส่ ว นใหญ่ มั ก จะมี ส ภาพที่ ล�้ า หน้ า หรื อ ย้ อ ย ออกมาเกินหน้าเกินตา ในรายที่รุนแรงก็ก้ม มองไม่เห็นหัวแม่เท้าตนเอง บางคนปลอบใจ ตัวเองว่านี้คือสัญลักษณ์ของผู้ที่มีอันจะกินแต่ ปัจจุบนั มันคือ สัญญาณอันตรายของโรคร้าย มี เกณฑ์ตรวจสอบรอบเอวของคุณว่าอยูใ่ นภาวะ เสีย่ งแค่ไหน รอบเอวคุณผูห้ ญิง ไม่ควรเกิน ๓๓ นิ้วและไม่เกิน ๓๖ นิ้วในผู้ชาย ท�าไมหน้าท้อง ที่แบนราบหรือคอดกิ่วในวัยหนุ่มสาวกลับมา เป็นสภาพแบบทีเ่ ราไม่ชนื่ ชม ส่วนเกินทีเ่ พิม่ ขึน้ มานัน้ รับรองว่าไม่ใช่กล้ามเนือ้ แน่นอน แต่เป็น ไขมันและไขมันล้วนๆ ไขมันหน้าท้องมีอยู่สองประเภทที่เราควร รู้จักเอาไว้ คุณลองเอามือหยิกหน้าท้องคุณดู คุณจับได้แต่ผวิ หนังหรือหนังติดมัน (เหมือนกับ อาหารติดมันที่เราชอบกินทุกวัน) ส่วนไขมัน ที่อยู่ติดผิวหนังและกล้ามเนื้อเราเรียกว่าไขมัน 5๖
ใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Fat) ส่วนนี้เป็น ไขมันที่เรามองเห็นเป็นตัวปกปิด six pack ที่แสนงามของเรา ไขมันชนิดนี้อันตรายต่อ สุขภาพของเราไม่มากนัก แต่อีกตัวสิน่ากลัว ไขมันในช่องท้อง (Visceral Fat) ไขมันตัวนี้ ไม่ ท� า ให้ พุ ง เรายื่ น ออกมาน่ า เกลี ย ด แต่ มั น จะอยู่ระหว่างกล้ามเนื้อท้องกับอวัยวะภายใน ช่องท้องของเรา หากมีมากก็เหมือนเราเอา ไขมั น ไปหุ ้ ม อวั ย วะภายในร่ า งกายของเรา มันน่ากลัวขนาดไหน ความน่ากลัวของไขมัน ในช่องท้องนี้ มันสามารถท�าให้อวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายเกิดการอักเสบในระดับเซลล์ ซึ่งเป็นสาเหตุใหญ่ของโรคอันตรายต่างๆ อาทิ โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เส้นโลหิต ในสมองตีบหรือแตก เป็นเรื่องเร่งด่วนอย่างยิ่ง ส�าหรับคนที่รักสุขภาพและรักคนใกล้ตัวอยาก อยู่กับเขานานๆ การก�าจัดไขมันในพุง (ลดพุง) ควรเป็นวาระส�าคัญส�าหรับคุณ แต่อย่ามองหาสูตรลับสูตรส�าเร็จแบบชั่ว ข้ามคืนในการลดพุง ลดความเสี่ยงจากสารพัด โรคร้ า ย หรื อ ตกเป็ น เหยื่ อ โฆษณาเสี ย เงิ น ซื้ อ อุ ป กรณ์ ส ารพั ด ที่ บ อกว่ า ท� า ให้ พุ ง เรายุ บ ด้ ว ยการท� า เพี ย งไม่ กี่ ที ห รื อ ไม่ กี่ ค รั้ ง ต่ อ วั น แล้วเอานางแบบหน้าท้องสุดสวยกับนายแบบ กล้ามท้องเป็นมัดมาหลอกเราเป็นไปไม่ได้หรอก มีการศึกษาถึงวิธีลดพุงโดยใช้กลุ่มศึกษานับ พั น คน โดยแบ่ ง เป็ น กลุ ่ ม แรกเน้ น ควบคุ ม อาหารอย่ า งเดี ย ว กลุ ่ ม ที่ ส องเพิ่ ม การออก ก�าลังกายเข้าไปด้วย ผลปรากฏว่ากลุม่ ทีค่ วบคุม
อาหารไปพร้อมๆ กับการออกก�าลังกาย สามารถ ลดไขมันหน้าท้องได้ดีกว่ากลุ่มแรก การออกก�าลังกายบางประเภทก็ไม่ใช่ปจั จัย หลักในการลดพุง บางคนวิ่งบนสายพานแบบ หนักหน่วง หรือเล่นเวทยกน�้าหนัก ซิทอัพเป็น ร้อยครั้ง หัวใจเราได้ประโยชน์ กล้ามเนื้อเพิ่ม ขึ้น แต่หน้าท้อง ก็ไม่เรียบเนียนดังใจต้องการ พุงอาจจะยุบไปหน่อย ได้ผลเล็กน้อย อะไรคือ ข้อผิดพลาดตกหล่น การลดไขมันหน้าท้องทั้งไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Fat) และไขมันในช่องท้อง (Visceral Fat) ต้องใช้ความตั้งใจจริง ขอให้ ระลึกไว้เสมอว่ากว่าที่เราจะสะสมไขมันจนได้ พุงใหญ่ขนาดนี้ เราต้องใช้เวลาไม่นอ้ ย และเมือ่ จะขจัดมันออกไปเราก็ต้องใช้เวลาพอสมควร ไม่ใช่ปล่อยให้มันใหญ่ ใช้เวลามาห้าปีแล้วจะ จัดการมันออกไปในเวลา ๕ อาทิตย์คงเป็นไป ได้ยาก ในสภาพพฤติกรรมการกิน การออก ก�าลังกายแบบเดิมๆ เมื่อเข้าใจข้อแรกนี้ เรา ก็จะให้เวลาในการจัดการที่สมเหตุสมผล และ ไม่ใจร้อนต้องการผลลัพธ์เร็วๆ และไม่ทา� ให้เรา ถอดใจไปก่อนจะสัมฤทธิผล วิธีลดพุงยังมีอีกหลายขั้นตอน ตอนแรกนี้ ขอให้ท�าความเข้าใจในอันตรายของไขมัน ที่ เคลือบหน้าท้องของเราไว้ อย่าประมาทสะสม มันจนสร้างปัญหาสุขภาพให้กับเรา นอกจาก จะน่าเกลียดแล้วยังน่ากลัวอีกด้วย เรามาดูวิธี ลดพุงง่ายๆ กันดีกว่า ๑. ขยั บ เขยื้ อ นตั ว ให้ บ ่ อ ยที่ สุ ด อย่ า มั ว นั่งจุ้มปุ้กอยู่บนโซฟาหรือนอนแกร่วบนเตียง เพราะจะท�าให้คุณอึดอัดมากขึ้น การขยับตัว เดินไปเดินมาในบ้านหรือเดินขึ้นลงบันได จะ ช่วยเผาผลาญไขมันได้มากขึ้น ๒. ดื่มชา ค่อยๆ จิบชา ก็พอช่วยได้ เพราะ ในชามีสารที่มีคุณสมบัติในการขับน�้าส่วนเกิน ออกมาจึงช่วยท�าให้กระเพาะหดตัวลง ๓. งดอาหารเค็ ม หรื อ อาหารที่ มี เ กลื อ เกลือท�าให้หน้าท้องคุณป่องได้ เพราะความ เค็มของเกลือจะเป็นตัวกักเก็บน�้าส่วนเกินไว้ จึงท�าให้รู้สึกอึดอัดแถวๆ หน้าท้อง ๔. ทานอาหารมื้อเล็กๆ แบ่งอาหาร ๑ มื้อ เป็น ๒ มื้อ และเน้นอาหารแคลอรี่ต�่าเช่น โย เกิร์ตพร่องไขมัน ผักสด หรือผลไม้ อาจทาน ทุก ๒ - ๓ ชั่วโมง แต่เป็นจานเล็กๆ แทน การลดน�้ า หนั ก อย่ า งแรกต้ อ งท� า ความ เข้าใจว่า ร่างกายของคนเรานั้นต้องการสาร
ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
อย่ามองหาสูตรลับสูตรสำาเร็จ แบบชั่วข้ามคืนในการลดพุง ลดความเสี่ยงจากสารพัดโรคร้าย หรือตกเป็นเหยื่อโฆษณาเสียเงิน ซื้ออุปกรณ์สารพัดที่บอกว่า ทำาให้พุงเรายุบ
อาหารวันละกี่มากน้อย แค่ไหน อย่างไร และ พยายามจั ด สรรให้ ล งตั ว กั บ ความต้ อ งการ ดังกล่าว ประกอบกับใช้เทคนิคทางจิตวิทยา หลอกล่อตัวเองไม่ให้อยากอาหารอีกสักหน่อย แล้วอย่างนี้หุ่นผอมเพรียวจะไปไหน ๑. ใช้จานชามสีเข้ม เนื่องจากภาชนะที่ สีสดใสจะช่วยกระตุน้ ให้เกิดความอยากอาหาร มากขึ้น ดังนั้นเพื่อสกัดความอยากเสียตั้งแต่ ยังไม่เริม่ ลงมือกิน จึงควรจัดอาหารใส่ในภาชนะ สีเข้ม ๒. รั บ ประทานผั ก มากๆ แบ่ ง ส่ ว นการ รั บ ประทานอาหารในแต่ละวัน ของคุณออก เป็น ๔ มื้อ และสามในสี่มื้อนั้นควรเป็นอาหาร ประเภทผักล้วนๆ ๓. ดื่มน�้าเย็นๆ เพราะน�้าเย็นๆ จะช่วยให้ ร่างกายต้องดึงพลังงานความร้อนในตัวออกมา เพื่อปรับอุณหภูมิของน�้าให้เหมาะกับร่างกาย ด้วยเหตุนี้การที่เราได้ดื่มน�้าเย็นๆ ร่างกายจึง ต้องเผาผลาญแคลอรีมากขึ้น ๔. กินแต่อาหารทีไ่ ม่ตดิ มัน อาหารประเภท เนื้อสัตว์ติดมัน หมูสามชั้นทอดกรอบ กุนเชียง กากหมู หรืออาหารที่ทอดด้วยน�า้ มัน ควรจะ งดเว้ น ให้ เ ด็ ด ขาด หากยั ง ไม่ อ ยากสู ญ เสี ย ทรวดทรงองค์เอวอันสวยงามสมส่วน ๕. เลื อ กกิ น ของหวานอย่ า งเหมาะสม ขนมหวานๆ เช่น เค้ก หรือช็อกโกแลตเป็น ของหวานทีอ่ ดุ ม ไปด้วยนม เนย ไข่ และน�า้ ตาล ฉะนั้นหากต้องการลดน�้าหนักก็จงตัดอกตัดใจ เสี ย เถอะ ทางที่ ดี ควรหั น มารั บ ประทาน ลูกพลับ หรืออินทผลัมอบแห้งจะสามารถช่วย
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
ป้องกันอาการอยากจากของหวานเหล่านั้นได้ ๖. งดใส่ครีมในกาแฟ แม้ครีมเทียมจะ ท�าให้รสชาติของกาแฟกลมกล่อมขึน้ แต่คดิ ดูสิ ครีมเทียมเพียง ๑ กรัม สามารถให้พลังงาน สูงถึง ๙ แคลอรี่ แล้วกาแฟที่คุณดื่ม ใส่ครีม กี่ช้อนต่อแก้ว? ๗. สลัดน�้าข้น คุณบอกว่ารับประทานแต่ สลัด แล้วท�าไม ท�าไมยังอ้วนอีก ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะน�า้ สลัด ทีค่ ณ ุ เลือกรับประทาน ล้วนเป็น น�้ า สลั ด ข้ น ๆ ที่ อุ ด มไปด้ ว ยครี ม นม และ ไขมันนม ๘. ซดน�้าแกงจืดก่อนอาหาร เป็นความคิด ที่ดีที่จะจัดการกับน�้าแกงจืด หรือไม่ก็ดื่มน�้าสัก แก้วสองแก้วก่อนรับประทานอาหาร เพื่อให้ คุณรู้สึกอิ่มกับอาหารตรงหน้า ๙. เลือกกินข้าวกล้องแทนข้าวขาว ข้าว เป็นอาหารหลักทีเ่ ราต้องรับประทานเกือบทุกมือ้ อยูแ่ ล้ว และถ้าหากได้รบั ประทานข้าวกล้องแทน ข้าวขาว เราก็จะไม่ได้เพียงแค่คาร์โบไฮเดรต เฉยๆ แต่จะได้ทั้งวิตามินและเกลือแร่ต่างๆ มากมายจากเยื่อหุ้มข้าวและจมูกข้าว ๑๐. เลิกนิสัยกินจุบกินจิบ อย่าสร้างความ เคยชินให้กับตัวเองด้วยการกินนั่นกินนี่ไม่เป็น เวล�่าเวลาอยู่เรื่อยไป แต่ควรกินอาหารเป็นมื้อ เป็นคราวเท่านั้นโดยเฉพาะเวลาอยู่หน้าจอทีวี ไม่ควรจะหาขนมกรุบกรอบ เช่น มันฝรั่งทอด ข้ า วเกรี ย บ เพราะจะท� า ให้ กิ น เพลิ น จนลื ม เรื่องอ้วน ๑๑. หาเพือ่ นร่วมลด การลดน�า้ หนักคนเดียว บางครั้งอาจท�าให้รู้สึกท้อแท้ แต่ถ้ามีเพื่อน หั ว อกเดี ย วกั น ที่ มุ ่ ง มั่ น จะรี ด ไขมั น ส่ ว นเกิ น ออกจากชีวิตเหมือนกัน จะช่วยท�าให้มีก�าลังใจ ขึ้นเยอะ ๑๒. ดินเนอร์ใต้แสงเทียน ภายใต้แสงเทียน นอกจากจะช่วยสร้างบรรยากาศให้ดโู รแมนติก ขึน้ แล้ว ท่ามกลางแสงสลัวๆ แบบนัน้ ยังท�าให้ ความอยากอาหารลดน้อยลงด้วย ๑๓. อาหารมื้อเช้า อาหารมื้อไหนๆ ก็ไม่ ส�าคัญเท่ากับมื้อเช้า ทั้งนี้เพราะช่วงเวลาตั้งแต่ ๖ โมงเช้าถึง ๑๐ โมงเช้า เป็นช่วงที่ระบบการ เผาผลาญสารอาหารภายในร่างกายท�างานได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นจึงควรกิน อาหารมื้อเช้าให้เต็มที่ ส่วนมื้อเย็นให้กินแต่ เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ๑๔. ไม่กักตุนอาหารเต็มตู้เย็น ทั้งนี้เพราะ จะท�าให้คุณหาของกินง่ายและสะดวกสบาย เกินไป ยิ่งมีของกินในตู้เย็นมากเท่าไหร่ คุณก็ จะยิ่งกินตามใจปากมากขึ้นเท่านั้น ๑๕. ผลไม้รสเปรี้ยวอมหวาน ผลไม้อย่าง แอปเปิ้ล ส้ม ฝรั่ง กีวี สตรอว์เบอร์รี่ สับปะรด มะม่วง หรือมะเขือเทศ นับเป็นผลไม้ที่เกิดขึ้น มาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รักษาหุ่น อย่างแท้จริง เพราะนอกจากเป็นแหล่งของ
วิ ต ามิ น ซี คุ ณ ภาพสู ง ยั ง แทบไม่ มี แ คลอรี่ ใ น ผลไม้ดังกล่าวอีกด้วย ๑๖. ดื่มตบท้ายด้วยชามะนาว หลังอาหาร แต่ละมื้อควรดื่มชามะนาวตบท้าย จะสามารถ ช่วยชะล้างปากจากอาหารคาว หรืออาหาร มันๆ เลี่ยนๆ ได้ดีกว่าการดื่มน�้าเปล่าธรรมดา และยั ง สามารถช่ ว ยยุ ติ ค วามอยากอาหาร เรื่อยเปื่อยของคุณอย่างได้ผลอีกด้วย ๑๗. ออกก�าลังกาย การออกก�าลังกายเป็น กิจกรรมที่ขาดไม่ได้ส�าหรับผู้ที่ต้องการควบคุม น�้ า หนั ก เพราะการออกก� า ลั ง กายจะท� า ให้ ร่ า งกายสามารถเผาผลาญแคลอรี่ ใ ห้ ก ลาย เป็นพลังงานได้ ซึ่งนอกเหนือจากการเล่นกีฬา แล้ว ก็ควรหมั่นฝึกตนให้เป็นคนชอบเดินชอบ ท�างานบ้าน และชอบขึ้นลงบันได ๑๘. กิจวัตรแรกสุดของทุกๆ วัน หลังจาก ตื่นนอนตอนเช้า กิจวัตรแรกสุดที่ควรท�าทันที ก็ไม่ใช่อะไรอื่น นั่นก็คือ ดื่มน�้าให้มากที่สุด เท่าที่จะสามารถดื่มได้ ทั้งนี้ก็เพื่อกระตุ้นให้ ร่างกายสดชื่นขึ้น และช่วยให้ระบบขับถ่าย ของเสียออกจากร่างกายทั้งหนักเบาท�างานได้ อย่างคล่องตัว ๑๙. ชัง่ น�้าหนักอาทิตย์ละครัง้ เมือ่ ปฏิบตั ไิ ด้ ตามค�าแนะน�าดังกล่าวข้างต้นแล้ว ควรติดตาม ผลการลดหุน่ ด้วยการเปลือยกายส�ารวจตัวเอง หน้ากระจกในห้องน�้าส่วนตัว และชั่งน�้าหนัก อาทิตย์ละครั้งก็พอ ไม่จ�าเป็นต้องชั่งทุกๆ วัน เพราะการท�าเช่นนี้รังแต่จะท�าให้รู้สึกเครียด และคับข้องใจที่น�้าหนักไม่มีการเปลี่ยนแปลง ให้เห็นผลทันตา ๒๐. อย่าลืมให้รางวัลกับตัวเอง หลังจากที่ สามารถขจัดไขมันส่วนเกินในร่างกายให้ลดลง ไปได้ส�าเร็จ (แม้จะลงไปเพียงเล็กน้อยก็ตาม) คุณก็สามารถจะให้รางวัลกับตัวเองด้วยการไป นวดหน้า นวดตัว ขัดผิว และบ�ารุงผิว เพียงแค่นี้คุณก็สามารถมีหุ่นที่สมส่วนเป็น จุดสนใจของใครต่อใครไปอีกหลายคน 57
พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ ร่วมเฝ้ารับเสด็จฯ พลเอกหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินแทนพระองค์ ไปพระราชทานกระบี่ และปริญญาบัตร แก่ผู้ส�าเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า และ โรงเรียนนายร้อยต�ารวจ และพระราชทานกระบี่และเกียรติบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาทางทหารต่างประเทศ ประจ�าปี การศึกษา ๒๕๕๕ ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อ.เมืองนครนายก จ.นครนายก เมื่อ ๑๒ มิ.ย.๕๖
พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในฐานะนายกสภาทหารผ่านศึก เป็นประธานและสักขีพยานกิตติมศักดิ์ใน พิธีลงนามในประกาศความร่วมมือ (Announcement of Cooperation = AOC) โครงการศูนย์ศึกษาเซลล์ต้นก�าเนิด (Stem cell study center) ระหว่าง โรงพยาบาลทหารผ่านศึก องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับ ผู้แทนองค์กรร่วมศึกษาต่างประเทศ โดยมี พลเอก หม่อมหลวงประสบชัย เกษมสันต์ พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก ชัยวัฒน์ สท้อนดี ผู้อ�านวยการ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก และผู้ทรงคุณวุฒิร่วมเป็นสักขีพยาน ณ ห้องประชุม หมายเลข ๑ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษา โรงพยาบาลทหารผ่านศึก เมื่อ ๑๐ พ.ค.๕๖
พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับนาย A.K.Antony รัฐมนตรีว่าการกลาโหมสาธารณรัฐ อินเดีย และน�าตรวจแถวกองทหารเกียรติยศผสมสามเหล่าทัพ ในโอกาสเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของกระทรวงกลาโหม ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๖ มิ.ย.๕๖ 58
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส� านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เฝ้ารับเสด็จ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในการเสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธเี ปิดการแสดงคอนเสิรต์ ทัพฟ้าคูไ่ ทยเพือ่ “ชัยพัฒนา” ครัง้ ที่ ๗ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อ ๑๘ มิ.ย.๕๖
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) พร้อมทั้ง ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ นาวาอากาศเอก แพทริก เจ. เคน (Patrick J. Kane) ผู้ช่วยทูตทหารอากาศสหรัฐอเมริกาประจ�าประเทศไทย ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๔ มิ.ย.๕๖
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
59
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบถุงบ�ารุงขวัญพร้อมเงินให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากการปฏิบัติ หน้าที่ตามแนวชายแดนตามโครงการ “สวัสดีปีใหม่ ร้อยใจไทยแด่ผู้เสียสละ” โดยมี ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ร่วมในพิธี ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อ ๗ มิ.ย.๕๖
พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเตรียมการรองรับ การเปลีย่ นผ่านไปสูร่ ะบบดิจติ อล” ณ สโมสรทหารบก (วิภาวดี) กรุงเทพฯ เมือ่ ๓๐ มิ.ย.๕๖ ซึง่ จัดโดย กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องประชุมพินิตประชานาถ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๙ มิ.ย.๕๖ ซึ่งจัดโดย ส�านักงานเลขานุการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๖0
พลอากาศเอก วิ นั ย เปล่งวิทยา รองปลัด กระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานในการจั ด การสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง “ความร่ ว มมื อ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศระหว่างภาครัฐและเอกชนสู่ประชาคมอาเซียน” ณ ห้อง Sapphire ๑๑๘ - ๑๑๙ อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี เมื่อ ๑๓ มิ.ย.๕๖ ซึ่งจัดโดย ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานเปิดการศึกษาหลักสูตรปฐมนิเทศนายทหารใหม่ของส�านักงานปลัด กระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๑๖ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๔ มิ.ย.๕๖
พลเอก ชาญ โกมลหิรัญ เจ้ากรมเสมียนตรา เป็นประธานในพิธีเปิดการศึกษาหลักสูตรนายสิบชั้นต้น เหล่าสารบรรณของส� านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๒ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๗ มิ.ย.๕๖
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๖1
พลตรี ชั ย พฤกษ์ พู น สวั ส ดิ์ เลขานุ ก ารส� า นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นผูแ้ ทนปลัดกระทรวงกลาโหม น�าแจกันดอกไม้อวยพรเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันเกิด นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ณ ตึกไทยคู่ฟ้า ท�าเนียบรัฐบาล เมื่อ ๒๑ มิ.ย.๕๖
พลโท ณรงค์ อุทะนุต ผู้แทนปลัดกระทรวงกลาโหม วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในนามกระทรวง กลาโหมและส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หน้าตึกรัฐสภา พระราชวังดุสิต เมื่อ ๓๐ พ.ค.๕๖
ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมพิธีเปิดการแข่งขันกีฬากองทัพไทย ครั้งที่ ๖ ประจ�าปี ๒๕๕๖ ณ สนามกีฬากองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต เมื่อ ๕ มิ.ย.๕๖
๖๒
นางนศพร อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น นายกสมาคมภริ ยาข้ า ราชการส�า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่ วมกิ จ กรรม โครงการช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่เป็นผู้พิการหรือมีความผิดปกติ โดยมี พลโท สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง ผู้บัญชาการศูนย์อ�านวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร และคณะฯ ให้การ ต้อนรับ เมื่อ ๒๒ - ๒๓ พ.ค.๕๖
หลักเมือง กรกฎาคม ๒55๖
๖3
นางนศพร อภิรกั ษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมด้วย พลตรี กอบปัญญา วงศ์วิเศษกิจ ผู้อ�านวยการส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุนส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะฯ เข้าตรวจเยี่ยมบุตรข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่เป็นผู้พิการหรือมีความผิดปกติในส่วนส�านักนโยบายและแผนกลาโหม พื้นที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยมี พลอากาศตรี ภานุพงศ์ เสยยงคะ ผู้ช่วยผู้อ�านวยการส�านักนโยบายและแผนกลาโหม และคณะฯ ให้การต้อนรับ เมื่อ ๒๗ มิ.ย.๕๖
๖4