วารสารหลักเมือง ฉบับที่ 269

Page 1



ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อ�านวยการ

พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพ�ยร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์

พล.ต.ชัยพฤกษ์ พูนสวัสดิ์

รองผู้อ�านวยการ

พ.อ.ณภัทร สุขจิตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส

ผู้ช่วยผู้อ�านวยการ

น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.

กองจัดการ ผู้จัดการ

น.อ.ธวัชชัย รักประยูร

ประจ�ากองจัดการ

น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์

ที่ปรึกษา เหรัญญิก

พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ ร.น. พล.อ.อ.วินัย เปล่งวิทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุริยฉัตร เผ่าบุญเสริม พล.ท.สุรศักดิ์ ศรีศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.วีระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศรีกังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.วีรศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ

พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์

ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า

ฝ่ายกฎหมาย

น.ท.สุรชัย สลามเตะ

ฝ่ายพิสูจน์อักษร

พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธ�ารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ

พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์

รองบรรณาธิการ

พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช

ประจ�ากองบรรณาธิการ

น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปัตพ� ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.จิโรตม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์

น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.พฤทธิพงศ์ ภูมิจิตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ�่งธรรม


บทบรรณาธิการ ต้นเดือนสิงหาคม พสกนิกรชาวไทยต่างปลาบปลืม้ ปีตทิ งั้ แผ่นดิน ทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จออกจากโรงพยาบาล ศิริราชไปประทับ ณ พระต�าหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล เพื่อทรงเปลี่ยนพระอิริยาบถ พสกนิกรชาวไทยต่างร่วมกันถวายพระพรให้ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระพลานามัย แข็งแรงสมบูรณ์ เป็นมิ่งขวัญของคนไทยตราบนานเท่านาน และในวันที่ ๑๒ สิงหาคม เป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งเป็น “ วัน แม่แห่งชาติ” คณะกองบรรณาธิการวารสารหลักเมือง ขอถวายพระพรขอพระองค์ ทรงพระเจริญ และในโอกาสนี้ขอเชิญชวนผู้อ่านทุกท่านร่วมร�าลึกถึงพระคุณของแม่ โดยการมีส่วนร่วมแสดงความกตัญญูกตเวทิตา แด่แม่ในวันดังกล่าว วารสารหลักเมืองได้ทยอยน�าเสนอข้อมูลการด�าเนินงานและการเตรียมความ พร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ในด้านความร่วมมือด้านความมั่นคง โดยมีกระทรวงกลาโหมเป็นหน่วยงาน รับผิดชอบด�าเนินงาน ให้ผู้อ่านได้รับทราบ อย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับสภาพแวดล้อมความมั่นคงของสังคมโลก ให้ผู้อ่านได้ ศึกษาวิเคราะห์และติดตาม เพื่อความเข้าใจและมีส่วนร่วมกันรับผิดชอบ ในการ ท�าให้ประเทศชาติและสังคม มีความมั่นคง ปลอดภัย และสงบสุข มีความเจริญ ก้าวหน้าทัด เทียมอารยประเทศ เพราะงานความมั่ น คงปั จ จุ บัน นี้ มีมิติ ที่ ซ�้ า ซ้ อ น ใกล้ตัวและมีผลกระทบต่อทุกท่านมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ทั้งนี้ท่านสามารถ ติดตามข่าวสารด้านความมั่นคงของได้ใน www.lakmuangonline.com หรือ www.prthaimod.com


ปที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๖9 เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒55๖

แม่แห่งแผ่นดิน

๓๔

เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน การปฏิบัติการใน สามจังหวัดภาคใต้

๑๐

นโยบายรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

๓๘

สตรีผู้ทรงอิทธิพล

๑๔

๔๒

๑๖

๔๖

เครื่องหมายเชิดชูเกียรติ กลาโหม

หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนที​ี่ ๑๓)

ความร่วมมือ ด้านอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศในกรอบอาเซียน

๑๘

สถานการณ์แผ่นดินไหว และผลกระทบที่เกิดขึ้น

ก่อนจะเกิดสงคราม พม่า - อังกฤษ ครัง้ ที่ ๑

๑๔

๑๐

๕๐

ภาษาอังกฤษส�าหรับ นักกฎหมาย English for Lawyer

๑๖

๒๒

๕๔

การปฏิบัติภารกิจ ของกองทัพไทย เพื่อรองรับการเป็น ประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘

๑๘

๒๔

๒๖

๕๖

ด้วยจิตกุศลและ ความเมตตา ปรารถนาดี สู่ความช่วยเหลือที่ยั่งยืน

๒๖

ดุลยภาพทางทหาร ของประเทศอาเซียน รถสะเทินน�้าสะเทินบก เอเอวี-๗

สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “แพทย์ทางเลือก รักษาด้วยการฝังเข็ม”

๓๔

๓๐

๓๐

MEGATRENDS ASIA แนวโน้มอภิมหาเอเชีย

๓๘

๕๘

ประมวลภาพกิจกรรม

๕๔ ๖๓ กิจกรรมสมาคมภริยา

ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม

๔๒

๔๖

ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

3


แม่แห่งแผ่นดิน นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

4

นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา


“คนไทยนี่โชคดีนะ ที่มีในหลวงกับพระราชินีองค์นี้ ท่านท�าให้เมืองไทยเจริญ กลายเป็นยุคทองในเรือ่ งฝีมอื และภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน ก็ไม่รอู้ กี กีช่ าติ ทีเ่ ราจะมี ในหลวงและราชินแี บบนีอ้ กี ท่านถึงพร้อมไปหมด เป็นตัวอย่างที่ดีจริงๆ พวกเรานี่โชคดีมาก ที่เกิดมาในยุคของท่าน”

ารพู ด คุ ย อย่ า งชื่ น ชมและจงรั ก ภั ก ดี ของประชาชนที่มีต่อพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถอย่างนี้ มีมาช้านานหลาย สิบปีแล้วจนกระทั่งปัจจุบัน จากสายตาของ ประชาชนที่มองว่า พระองค์ “ไม่ธรรมดา” นั่ น ก็ เ พราะทรงมี พ ระราชอิ ส ริ ย ยศสู ง ส่ ง น่ า จะเป็ น ชี วิ ต ที่ น ่ า สะดวกสบายอย่ า งที่ สุ ด ทรงถึงพร้อมไปหมดทุกอย่าง แต่ทา� ไมพระองค์ จึงต้องออกไปเยี่ยมเยียนพสกนิกรถึงภายนอก ค�าตอบก็คือ เพราะพวกเขาเดือดร้อนต่างหาก ที่ ท� า ให้ ท รงทนไม่ ไ ด้ ต ้ อ งออกไปช่ ว ยเหลื อ ดังนั้น ทุกวันเฉลิมพระชนมพรรษาประชาชน ใจจดจ่ออยูก่ บั การรับฟังพระราชด�ารัสทีม่ กั เป็น เรื่องช่วยเหลือพี่น้องชาวไร่ชาวนาที่ยากจน ด้อยโอกาส และอยู่ห่างไกลความเจริญ สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีความ รักชาติ และทรงร�าลึกถึงคุณงามความดีของ บรรพบุ รุ ษ เนื่ อ งจากทรงได้ รั บ การปลู ก ฝั ง จากพระบิดามารดา ให้มีความเคารพกตัญญู ต่ อ สมเด็ จ พระบู ร พมหากษั ต ริ ย ์ แ ละรั ก ชาติ จึงท�าให้พระองค์ทรงเป็นนักชาตินิยมอย่าง เข้มแข็ง ในขณะทีท่ รงเป็นพระคูห่ มัน้ พระองค์ ทรงแต่งพระองค์แบบไทย ชาวไทยจึงได้เห็น ภาพพระคู ่ ห มั้ น นุ ่ ง ผ้ า ซิ่ น รั บ เสด็ จ อยู ่ เ สมอ จวบจนได้รบั การสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชินี แห่งประเทศไทย ก็ยังทรงเป็นผู้น�าสตรีไทย ในด้ า นการส่ ง เสริ ม ศิ ลปวัฒนธรรมไทยและ ความรั ก ชาติ อ ย่ า งมั่ น คง หากเราย้ อ นไปดู พระบรมฉายาลักษณ์ครั้งพระองค์ตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเยีย่ มราษฎร ทั่วประเทศครั้งแรกในปี ๒๔๙๘ จะเห็นว่า โปรดทรงผ้าซิ่นแบบไทยเป็นประจ�า แต่ฉลอง พระองค์ แ บบต่ า งๆ กั น ไป เพราะขณะนั้ น ยังไม่มีการออกแบบชุดไทย แม้ผ้าไหมมัดหมี่ ที่โปรดใช้สอยอยู่ในปัจจุบันนี้ ก็เห็นได้ชัดว่า ทรงใช้เป็นเวลานานมาแล้วพระองค์ท่านทรง เริ่ ม ปลู ก ฝั ง ให้ ค นไทย นิ ย มไทยด้ ว ยการน�า ผ้าไหมมาตัดใช้เป็นฉลองพระองค์เป็นตัวอย่าง และพระราชทานเป็ น ของขวั ญ แก่ พ ระราช อาคั น ตุ ก ะอยู ่ เ สมอ พระสิ ริ โ ฉมอั น งดงาม ประกอบกับความเงาแวววาวของผ้าไหมไทย ท�าให้ผ้าไหมไทยเริ่มมีชื่อเสียงไปทั่วโลกตั้งแต่ ปี ๒๕๐๓ ด้วยทรงมีกา� หนดการจะตามเสด็จไป หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ทรงเจริญสัมพันธไมตรีกบั ประเทศต่างๆ ในทวีป ยุโรปและสหรัฐอเมริกา จึงทรงพระราชด�าริ ให้ค้นคว้าและออกแบบชุดไทยขึ้น โดยอาศัย หลักฐานของโบราณผสมผสานกับความต้องการ ชุดไทยไว้ใช้ในโอกาสต่างๆ ท�าให้ได้ชุดไทย ที่สวยงามขึ้นมาถึง ๘ ชุด เรียกว่า ชุดไทย พระราชนิยม ชุดไทยเหล่านัน้ มีชอื่ ตามพระทีน่ งั่ หรื อ พระต� า หนั ก อั น สอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะ เครื่องแต่งกาย ต่อมาสตรีไทยก็แต่งกายตาม แบบชุดไทยพระราชนิยมกันทั่วไป จนในที่สุด ก็กลายเป็นชุดประจ�าชาติตงั้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงชื่นชมศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างยิ่ง ทรง ภูมิพระทัยที่เมืองไทยมีวัฒนธรรมอันรุ่งเรือง มาแต่โบราณกาลมีศิลปวัตถุและโบราณสถาน ที่สมควรอวดชาวโลกอยู่มากมาย ในยามว่าง จากพระราชกรณียกิจ ทรงโปรดทอดพระเนตร ของโบราณ ทั้ ง วั ด วาอาราม ปู ช นี ย สถาน และศิ ล ปวั ต ถุ ที่ ส วยงาม ท� า ให้ ท รงพบว่ า พระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นเรือนไม้สักทองหลัง ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยซึ่งพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยทรงใช้เป็นที่ ประทับอยู่ระยะหนึ่ง เมื่อสิ้นรัชกาลแล้วก็ไม่มี การใช้งานอีกจนช�ารุดทรุดโทรมลง จึงโปรดให้ บูรณะพระทีน่ งั่ วิมานเมฆขึน้ ใหม่ ให้เหมือนสมัย ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

5


เคยทรงใช้ เ ป็ น ที่ ป ระทั บ อยู ่ แล้ ว เปิ ด เป็ น พิพิธภัณฑ์ทรงรื้อและจัดพระที่นั่งวิมานเมฆ ด้วยพระองค์เอง โปรดให้น�าศิลปวัตถุโบราณ ซึ่งถูกฝุ่นจับอยู่เป็นเวลาช้านานมาขัดล้างและ ท�าบัญชีเป็นหลักฐานโดยจัดไว้เป็นหมวดหมู่ ซึ่งท�าให้ทรงพบเพิ่มเติมว่าคนไทยสมัยก่อน มี ฝ ี มื อ ในการประดิ ษ ฐ์ ศิ ล ปวั ต ถุ ไ ด้ ส วยงาม ไม่แพ้ชาติใดๆ ในโลก ทรงตระหนักดีว่า ในยุค โลกาภิวัตน์หรือโลกไร้พรมแดนเช่นในปัจจุบัน การแลกเปลี่ ย นทางวั ฒ นธรรมระหว่ า งชาติ นั บ วั น จะเข้ ม ข้ น ขึ้ น คนไทยจึ ง ต้ อ งร่ ว มมื อ กันทะนุบ�ารุงวัฒนธรรมของเราซึ่งสืบทอดมา แต่อดีตอันยาวนาน มิให้ถูกกลืนไปในกระแส ของวัฒนธรรม ผสมผสานนานาชาติโดยมิเหลือ เอกลักษณ์อันใดไว้เลย พระอั จ ฉริ ย ภาพในสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินนี าถในการใช้ดนตรีและนาฏศิลป์ เป็ น สื่ อ ให้ ค นไทยทุ ก หมู ่ เ หล่ า เกิ ด ความ ภาคภูมใิ จในวัฒนธรรมไทย และมีความสามัคคี เป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น นั้ น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ โดยทั่วไป ทรงสนพระราชหฤทัยในการดนตรี มาตั้ ง แต่ ยั ง ทรงพระเยาว์ ทรงเรี ย นเปี ย โน มาตั้ ง แต่ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา เมื่ อ ตามเสด็ จ พระบิดาไปประทับยังต่างประเทศ ก็ทรงเรียน เปียโนต่ออย่างจริงจังถึงขั้นที่จะเป็นนักแสดง ๖

นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา


เปียโนอาชีพ แต่กส็ นพระราชหฤทัยในดนตรีไทย ด้วย ทรงพระราชสมภพในราชสกุลกิติยากร ซึง่ นอกเหนือจากได้รบั ราชการแผ่นดินทีส่ า� คัญๆ แล้ว เจ้านายในราชสกุลนี้หลายพระองค์ ทรง เป็นอัจฉริยะในทางวัฒนธรรมทั้งของไทยและ วัฒนธรรมตะวันออก โดยเฉพาะด้านภาษา วรรณคดีและดนตรี พลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ พระบิดามีความรัก ในวรรณคดีเป็นอย่างยิ่ง และทรงถ่ายทอด ความรู ้ แ ละความนิ ย มชมชอบนี้ สู ่ พ ระโอรส พระธิ ด า สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเล่าไว้ในหนังสือเรื่อง สมเด็จแม่กับการศึกษา ความว่า “...เมื่อข้าพเจ้าอายุได้ ๖ - ๗ ขวบ สมเด็จ แม่ทรงสอนให้อ่านหนังสือวรรณคดีต่างๆ จ�า ได้ว่าที่ง่ายและสนุกเหมาะส�าหรับการเริ่มต้น ก็คือเรื่องพระอภัยมณี ต่อด้วยเรื่องอื่นๆ ได้แก่ เรื่องอิเหนา และรามเกียรติ์ เป็นต้น เรื่อง อิเหนาเป็นเรื่องที่โปรดมาก ทรงให้ข้าพเจ้า อ่านคัดบทกลอนต่างๆ ให้ท�าให้ข้าพเจ้าท่อง ได้หลายตอน...” “สมเด็จแม่ทรงจ�าเก่งบทเพลงแปลกๆ ที่ ทรงจ�าได้ตั้งแต่ทรงพระเยาว์บทกลอนที่ทรง เล่าว่าเด็จตาท่องให้ฟัง ก็มาสอนเราต่ออีก..” เมื่อโดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ไปทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในภาคต่างๆ ทั่ว ประเทศ ด้วยพระราชอัธยาศัยที่โปรดดนตรี อยู่แล้ว ประกอบกับการที่ได้ทรงพบปะราษฎร อย่างใกล้ชิด ท�าให้ทรงเข้าถึงจิตใจของคนไทย โดยทั่วไปว่า เป็นคนที่รื่นเริงแจ่มใส เจ้าบท เจ้ากลอน และกล่าวได้วา่ รักการร้องร�าท�าเพลง เป็นชีวิตจิตใจ จึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระราชธิดาและข้าราชการบริพาร ตลอดจน ข้ า ราชการในท้ อ งถิ่ น ฝึ ก หั ด การร้ อ งร� า ของ ท้องถิน่ เช่น การเชิง้ ของภาคอีสาน การฟ้อนของ ภาคเหนือ การเต้นรอเง็งและซ�าเป็งของภาคใต้ เพื่ อ แสดง หรื อ เข้ า ร่ ว มในการร้ อ งร�า อย่ า ง เป็นกันเองกับบุคคลในท้องถิน่ ในงานพระราชทาน เลี้ยง หรืองานชุมนุมใหญ่ๆ ที่โปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้จัดขึ้น เช่น การชุมนุมของลูกเสือ ชาวบ้านจากทั่วทั้งภาค ท� าให้ประชาชนใน ท้องถิ่นนั้นมีความภาคภูมิใจในศิลปะพื้นบ้าน ของตน พร้อมกันนั้นก็รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่ง ของชาติบ้านเมือง การแสดงโขน ถื อ ว่ า เป็ น การแสดงของ หลวง เป็นมหรสพส่วนพระองค์ของพระมหา กษั ต ริ ย ์ นอกจากจะมี ไ ว้ เ ป็ น เครื่ อ งส� า ราญ พระราชหฤทัยแล้ว ยังเป็นการบ� ารุงศิลปะ ของชาติให้ยั่งยืนสืบไปด้วย โขนเป็นศิลปะ เก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ประกอบด้วย

“...เมื่อข้าพเจ้าอายุได้ ๖ - ๗ ขวบ สมเด็จแม่ทรงสอนให้อ่านหนังสือ วรรณคดีต่างๆ จ�าได้ว่าที่ง่ายและสนุก เหมาะส�าหรับการเริ่มต้นก็คือเรื่อง พระอภัยมณี ต่อด้วยเรื่องอื่นๆ ได้แก่ เรื่องอิเหนา และรามเกียรติ์ เป็นต้น เรื่องอิเหนาเป็นเรื่องที่โปรดมาก ทรงให้ข้าพเจ้าอ่านคัดบทกลอนต่างๆ ให้ท�าให้ข้าพเจ้าท่องได้หลายตอน...”

7


การแสดงโขน ถือว่าเป็นการแสดง ของหลวง เป็นมหรสพส่วนพระองค์ ของพระมหากษัตริย์ นอกจากจะมีไว้ เป็นเครื่องส�าราญพระราชหฤทัยแล้ว ยังเป็นการบ�ารุงศิลปะของชาติให้ ยั่งยืนสืบไปด้วย 8

นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา


ทรงเป็น “พระราชินี” ผู้ทรงคุณธรรม อันประเสริฐ ด�าเนินพระราชจริยวัตร ตามหลักคุณธรรมของผู้ปกครอง บ้านเมือง เปี่ยมล้นไปด้วย พระมหากรุณาธิคุณต่ออาณา ประชาราษฎร์อย่างหาที่สุดมิได้

การเต้ น การร� า ที่ มี แ บบแผนเป็ น มาตรฐาน ผู ้ แ สดงสวมหั ว โขนที่ มีสีแ ละลัก ษณะเฉพาะ ตัวละคร ยกเว้นตัวละครบางตัวไม่สวมหัวโขน เช่น เทวดา มนุษย์ และฤาษี เป็นต้น เรื่องที่ แสดงคือ รามเกียรติ์ ซึ่งเป็นวรรณคดีที่สืบทอด มาตั้งแต่สมัยอยุธยา คือ รามเกียรติ์ ค�าฉันท์ รามเกี ย รติ์ ค� า พากย์ และบทละครเรื่ อ ง รามเกียรติค์ รั้งกรุงเก่า มาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ มีบทพระราชนิพนธ์หลายฉบับทีน่ ยิ มน�ามาเล่น โขน เช่น บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราช นิ พ นธ์ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลัย บทพากย์และบทร้องพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และบทโขนที่ ก รมศิ ล ปากรปรับ ปรุงขึ้น ใหม่ ตามแนวบทพระราชนิพนธ์ตา่ งๆ ดนตรีประกอบ การแสดงใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็ง หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชปณิธานสืบสายต่องานนาฏศิลป์ ซึ่งนับเนื่องในพระราชกรณียกิจที่ทรงบ�าเพ็ญ มาช้านานคือในการต้อนรับพระราชอาคันตุกะ และประมุ ข ต่ า งประเทศที่ ม าเยื อ นไทย ทั้ ง สองพระองค์มักจะน�าไปทอดพระเนตรการ แสดงนาฏศิลป์ไทยโดยเฉพาะโขน เพื่อแสดง ถึงความเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมอันสูง เด่นของศิลปการแสดงชั้นสูงของไทยให้เป็น ที่ประจักษ์ต่อสายตาชาวต่างประเทศ จึงเห็น ได้ว่าจากการที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ นานั ป การนั้ น เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข แห่ ง อาณา ประชาราษฎร์เป็นประการส�าคัญ แม้วา่ จะต้อง ทรงตรากตร�าพระวรกายสักเพียงใดก็ตาม ก็ มิได้ทรงย่อท้อต่อความยากล� าบากหรือทรง เหน็ ด เหนื่ อ ยแต่ ป ระการใด กล่ า วได้ อ ย่ า ง แท้จริงว่า ทรงปฏิบัติพระองค์เป็นแบบอย่าง ในการยังความเจริญก้าวหน้า และความมั่นคง

มาสู่ประเทศชาติ และทรงเป็น “พระราชินี” ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ด�าเนินพระราช จริ ย วั ต รตามหลั ก คุ ณ ธรรมของผู ้ ป กครอง บ้านเมือง เปี่ยมล้นไปด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ต่ออาณาประชาราษฎร์อย่างหาที่สุดมิได้ ทั้งนี้ ก็เพื่อพสกนิกรที่อาศัยอยู่ใต้ร่มพระบารมีจะได้ ร่มเย็นเป็นสุขทั่วหน้ากัน ถือได้ว่าเป็นบุญกุศล ของผู้ที่ได้เกิดมาบนผืนแผ่นดินไทย ภายใต้ ร่มพระบารมีอย่างแท้จริง

9


นโยบาย

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม นางสาวยิ�งลักษณ์ ชินวัตร

10


หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

11


นโยบายทั่วไป ๑.๑ การปฏิ บั ติ ร าชการให้ ยึดถือกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และค�าสัง่ ทีเ่ กีย่ วข้อง นโยบายและมติ คณะรัฐมนตรี มติสภากลาโหม ยุทธศาสตร์ การป้องกันประเทศ แผนแม่บทการปรับปรุง โครงสร้ า งกระทรวงกลาโหม แผนพั ฒ นา ขีดความสามารถของกระทรวงกลาโหม รวมทัง้ แผนแม่ บ ทหรื อ แผนหลั ก ในการด� า เนิ น การ ด้ า นต่ า งๆ โดยปรั บ ปรุ ง ให้ มี ค วามทั น สมั ย สอดคล้ อ งกั บ ภารกิ จ และสภาพแวดล้ อ ม อยู่เสมอ ๑.๒ ให้ความส�าคัญกับการใช้ศกั ยภาพ ของกระทรวงกลาโหมอย่างเต็มความสามารถ ในการสนับสนุนนโยบายส�าคัญของรัฐบาล ๒. นโยบายเฉพาะ ๒.๑ พิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์อย่างสมพระเกียรติ ทั้งใน ฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศและทรงด�ารงต�าแหน่งจอมทัพไทย เพือ่ ให้สถาบันพระมหากษัตริยค์ งเป็นศูนย์รวม จิตใจที่มั่นคงและยั่งยืนของประชาชนชาวไทย และเป็นสถาบันหลักที่ส�าคัญยิ่งของประเทศ โดยจะต้องด�าเนินการและปฏิบัติงานร่วมกับ ส่วนราชการต่างๆ อย่างเต็มความสามารถ รวมทั้งให้ความส�าคัญกับการสนับสนุนและ เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

1๒

๒.๒ พัฒนาความสัมพันธ์และความ ร่ ว มมื อ ทางทหารกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ประเทศสมาชิกอาเซียน มิตรประเทศ และ องค์การระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี เพื่อจัดระเบียบสภาวะแวดล้อม ด้ า นความมั่ น คง สร้ า งความไว้ เ นื้ อ เชื่ อ ใจ สร้างเสถียรภาพ และสันติภาพร่วมกัน โดยให้ ความส�าคัญในการลดความขัดแย้งกับประเทศ เพื่ อ นบ้ า น การสนั บ สนุ น การรวมตั ว เป็ น ประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน การสนับสนุนภารกิจ

เพือ่ สันติภาพและเพือ่ มนุษยธรรมภายใต้กรอบ ของสหประชาชาติและความร่วมมือในภูมภิ าค การริเริ่มและพัฒนาความร่วมมือทางทหาร ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น รวมทั้งการรักษาความ สมดุลของความสัมพันธ์กบั ประเทศทีม่ บี ทบาท ส�าคัญในภูมิภาค ๒.๓ พั ฒ นาการผนึ ก ก� า ลั ง กั บ ทุ ก ภาคส่วนของสังคมเพื่อการป้องกันประเทศ ด้วยการน�าพลังอ�านาจแห่งชาติทุกด้านมาใช้ สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจเพื่อความมั่นคง ร่ ว มกั บ กระทรวงกลาโหม โดยในยามปกติ กระทรวงกลาโหมจะต้องใช้ทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์สงู สุดต่อประเทศ ด้วยการช่วยพัฒนา พลังอ�านาจแห่งชาติทกุ ด้าน โดยให้ความส�าคัญ กับการสนับสนุนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยเฉพาะการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของคนในชาติ แ ละฟื ้ น ฟู ป ระชาธิ ป ไตย การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด และ การเร่งน�าสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชนกลั บ มาสู ่ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ รวมทั้ ง สนั บ สนุ น การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ การพัฒนา ประเทศเพือ่ ความมัน่ คง การช่วยเหลือประชาชน โดยเฉพาะจากปัญหาภัยพิบัติ โรคระบาดและ โรคติดต่อ การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม การลั ก ลอบเข้ า เมื อ งโดย ผิดกฎหมาย การแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ข้ามชาติต่างๆ โดยเฉพาะการค้าอาวุธ การ ค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ การกระท�าอันเป็น โจรสลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และการ ก่อการร้ายสากล ๒.๔ เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพกองทั พ และระบบการป้องกันประเทศให้มคี วามพร้อม ในการพิทักษ์รักษา เอกราช อธิปไตย ความ มั่นคง และผลประโยชน์แห่งชาติ โดยยึดมั่น ในหลักการการมีก�าลังรบเพื่อป้องกันตนเอง และใช้การปฏิบัติการในลักษณะการรบร่วม


เป็นหลัก ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการ ข่าวให้มีขีดความสามารถในการแจ้งเตือนทาง ยุทธศาสตร์ พัฒนาการส่งก�าลังบ�ารุงร่วมโดย ใช้ประโยชน์จากงานมาตรฐานยุทโธปกรณ์ ทางทหารและศั ก ยภาพด้ า นต่ า งๆ ที่ แ ต่ ล ะ เหล่าทัพมีอยู่ พัฒนาระบบก�าลังส�ารองและ ระบบการระดมสรรพก�าลังเพื่อการทหารให้ สอดคล้องกับความจ�าเป็นทางทหาร รวมทั้ง ให้ความส�าคัญกับการส�ารองอาวุธยุทโธปกรณ์ และพลังงานเพื่อความมั่นคง

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

๒.๕ พัฒนากิจการอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศ โดยบูรณาการขีดความสามารถของ ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จาก ความร่วมมือในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อน�าไปสู่การพึ่งพาตนเองในการผลิตอาวุธ ยุทโธปกรณ์ พัฒนากิจการวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อการป้องกันประเทศให้ทัดเทียม กับประเทศในภูมิภาค และสามารถสนับสนุน การพึ่ ง พาตนเองของอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งใน

และต่ า งประเทศ รวมทั้ ง พั ฒ นาเทคโนโลยี สารสนเทศ การสือ่ สาร และกิจการอวกาศ โดย เน้นให้เกิดการบูรณาการ ความเป็นมาตรฐาน ความมั่ น คงปลอดภั ย ของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารภายในกระทรวง กลาโหม และความสามารถในการรับมือกับ สงครามไซเบอร์ ๒.๖ พั ฒ นากองทั พ ให้ มี โ ครงสร้ า ง ที่เหมาะสม มีก�าลังพลที่มีประสิทธิภาพ โดย พัฒนาระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมให้ สามารถน�ามาใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนา ความรู้ ความสามารถ ความพร้อมทางร่างกาย และจิตใจของก�าลังพล ปรับปรุงสิทธิประโยชน์ และสวั ส ดิ ก ารด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ สร้ า งขวั ญ และก�าลังใจแก่ก�าลังพล รวมทั้งให้ความส�าคัญ กับการสงเคราะห์ทหารผ่านศึกและครอบครัว เพื่อตอบแทนคุณความดี และเป็นการสร้าง ขวั ญ ก� า ลั ง ใจให้ กั บ ก� า ลั ง พลที่ ก� า ลั ง ปฏิ บั ติ หน้าที่ป้องกันประเทศ

13


เครื่องหมายเชิดชูเกียรติกลาโหม พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต

14

พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต


รั

ฐธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๐ บั ญ ญั ติ ใ นเรื่ อ ง บทบาทของทหารว่า “รัฐต้องพิทักษ์ รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอ�านาจรัฐ และต้องจัดให้มกี า� ลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย จ� า เป็ น และ เพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราชอธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์ ข องชาติ และการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขและเพื่อพัฒนาประเทศ” ด้วยบทบาทดังกล่าวจึงถือได้ว่าสังคมไทย และประชาชนชาวไทยได้มอบความไว้วางใจ ให้ทหารเข้ามามีบทบาทส�าคัญในการพิทักษ์ รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิ ป ไตยและบู ร ณภาพแห่ ง เขตอ� า นาจรั ฐ ปกป้ อ งดู แ ลผลประโยชน์ แ ห่ ง ชาติ ด ้ ว ยการ พัฒนาประเทศ จะเห็นได้ว่าทุกๆ สถานการณ์ เมื่ อ ประชาชนได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นจาก กลาโหมขึน้ เพือ่ มอบให้กบั นายทหารสัญญาบัตร เหตุ ก ารณ์ ต ่ างๆ ทหารจะเข้ามามีส่ว นร่ว ม ประจ�าการ สังกัดกระทรวงกลาโหมชัน้ ยศ พันเอก ในการแก้ปัญหา เป็นหน่วยงานแรก ๆ ทั้งการ นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือนพันเอก เข้าไปมีส่วนร่วมในการบรรเทาสาธารณภัย พิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศพิเศษขึน้ ไป และภั ย พิ บั ติ การช่ ว ยเหลื อ ของมนุ ษ ยชาติ หรื อ ตามเงื่ อ นไขที่ ก� า หนด รวมทั้ ง ผู ้ ที่ ท� า การแก้ไขปัญหาของประเทศและการพัฒนา คุณประโยชน์ให้กบั กระทรวงกลาโหม ซึง่ ในทีน่ ี้ ประเทศให้ มี ค วามเจริ ญ แก่ พื้ น ที่ ต ่ า งๆ ทั้ ง หมายถึง บุคคลทัว่ ไป ข้าราชการ ทหาร ต�ารวจ ที่ ยามปกติ และในยามที่ไม่ปกติ เพราะถือว่า ท�าคุณประโยชน์แก่กระทรวงกลาโหม สนับสนุน กิ จ การของกระทรวงกลาโหมจนเป็ น ผลดี เป็นภารกิจส�าคัญของทหารทุกนาย ความเสียสละต่างๆ ดังที่ได้กล่าวข้างต้น ต่อทางราชการ และเป็นผู้ที่มีความประพฤติ ล้วนเป็นสิ่งที่ทุกคนทราบดี ดังนั้นเพื่อเป็นการ เรี ย บร้ อ ยอยู ่ ใ นศี ล ธรรมอั น ดี เลื่ อ มใสและ ตอบแทนคุณงามความดี และความเสียสละ สนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ที่ทหารได้กระท�าด้วยความอดทนเพื่อประเทศ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส�าหรับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติกลาโหม ชาติและพี่น้องประชาชน กระทรวงกลาโหม จึ ง ได้ ก� า หนดให้ มี เ ครื่ อ งหมายเชิ ด ชู เ กี ย รติ มีลักษณะเป็นแหนบคันชีพรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มุ ม ล่ า งมนท� า ด้ ว ยโลหะสี ท อง ขนาดกว้ า ง ๒.๕ เซนติเมตร ยาว ๓ เซนติเมตร พื้นลงยา สีลูกหว้า (สีครามเจือแดง) ขอบสีทองกว้าง ๐.๓ เซนติเมตร มีรูปจักร มีสมอสอดขัดใน วงจักร ด้านซ้ายขวามีรูปปีกนกกางอยู่ภายใต้ รูปพระมหามงกุฎ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบเครื่ อ งหมายเชิ ด ชู เ กี ย รติ กลาโหมสามารถประดั บ เครื่ อ งหมายกั บ เครื่องแต่งกาย ที่สมควรแก่เกียรติ กรณีที่เป็น ข้าราชการทหารให้ประดับเครื่องหมายนี้กับ เครื่องแบบได้ โดยอาศัยกฎกระทรวงฉบับที่ ๒ (พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๖) ออกตามความใน พระราชบัญญัติเครื่องแบบทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๗ ว่าด้วยการใช้เสือ้ ครุย เสือ้ ปริญญา และ เครื่องหมายพิเศษบางอย่าง ทั้งนี้ได้กา� หนดให้ ผู้ที่ได้รับมอบเครื่องหมายเชิดชูเกียรติกลาโหม ประดับเครื่องหมาย ประกอบดังนี้ ๑. เครือ่ งแบบปกติขาว ให้ประดับเครือ่ งหมาย เชิดชูเกียรติกลาโหมที่ปกกระเป๋าเสื้อเบื้องขวา

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ชิ ด กั บ ขอบกระเป๋ า ด้ า นบนใกล้ กั บ กระดุ ม กลางล�าตัวเสือ้ และถ้าเป็นเครือ่ งแบบปกติขาว ที่ ไ ม่ มี ก ระเป๋ า บนให้ ป ระดั บ เครื่ อ งหมาย เชิดชูเกียรติกลาโหมนี้ บริเวณอกเสื้อเบื้องขวา ในแนวเดียวกับกระเป๋าเสื้อบน ๒. เครื่องแบบทหาร ให้ผู้มีสิทธิประดับ สามารถประดั บ เครื่ อ งหมายเชิ ด ชู เ กี ย รติ กลาโหมกั บ เครื่ อ งแบบทุ ก ชนิ ด ยกเว้ น เครือ่ งแบบฝึกและเครือ่ งแบบสนาม โดยประดับ ที่ปกกระเป๋าเสื้อเบื้องขวาชิดกับขอบกระเป๋า ด้านบนใกล้กับกระดุมกลางล� าตัวเสื้อ และ ถ้าเป็นเครื่องแบบที่ไม่มีกระเป๋าบนให้ประดับ เครื่ อ งหมายเชิ ด ชู เ กี ย รติ ก ลาโหมนี้ บ ริ เ วณ อกเสือ้ เบือ้ งขวาในแนวเดียวกับกระเป๋าเสือ้ บน ๓. ชุดสากล (บุรุษ) เสื้อสูท ให้ประดับ เครือ่ งหมายเชิดชูเกียรติกลาโหมทีร่ งั ดุมคอพับ ของเสื้ อ ชั้ น นอกเบื้ อ งซ้ า ย เสื้ อ ซาฟารี แ ละ เสื้ อ พระราชทานให้ ป ระดั บ เครื่ อ งหมาย เชิดชูเกียรติกลาโหมที่อกเสื้อเบื้องซ้ายบริเวณ ปากกระเป๋าเสื้อ ๔. ชุดสุภาพ (สตรี) ให้ประดับเครือ่ งหมาย เชิดชูเกียรติกลาโหมที่อกเสื้อเบื้องซ้าย

พิทักษ์รักษาเอกราชอธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบัน พระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์ของชาติ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อพัฒนาประเทศ 15


ความร่วมมือ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ในกรอบอาเซียน กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม

ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คง อาเซียน” เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของ “ประชาคมอาเซียน” ที่ขณะนี้ทุกผ่าย ก�าลังตื่นตัวอย่างยิ่ง พร้อม ๆ กับจุดหมายการรวมตัวของ ๑๐ ชาติสมาชิกอาเซียนเป็น “ประชาคมอาเซียน” อย่างเต็มรูปแบบ ที่ก�าลังรออยู่ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมากระบวนการท�างานต่าง ๆ ได้เดินหน้าไปด้วยเช่นกัน “กรอบความร่ ว มมื อ ด้ า นอุ ต สาหกรรม ป้องกันประเทศของกลุ่มอาเซียน (Asean Defence Industry Collaboration : ADIC)” เป็นหนึ่งในกรอบความร่วมมือส�าคัญ ของเสา “ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง

1๖

อาเซี ย น)” ประเทศมาเลเซี ย เป็ น ผู ้ เ สนอ แนวคิ ด การจั ด ตั้ ง ASDIC ตั้ ง แต่ ป ี ๒๕๕๒ กรอบความร่วมมือนี้ต้องใช้เวลาราว ๒ ปี ซึ่ง ได้รบั การรับรองจากทีป่ ระชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียน ครั้งที่ ๕ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔ จากนั้นจึงมีการจัดตั้งคณะที่ปรึกษา (Consultative Group) ท�าหน้าทีป่ ระสานงาน เพื่ อ ให้ มี ผ ลในทางปฏิ บั ติ และก� า กั บ ดู แ ล โครงการตามที่ได้ตกลงกันภายใต้ ADIC ADIC มี เ ป้ า หมายมุ ่ ง เสริ ม สร้ า งความ ร่วมมือในด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ในกลุ่มสมาชิกอาเซียนให้มีความพร้อมที่จะ เผชิญภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ โดยความร่วมมือ นี้ จ ะน� า ไปสู ่ ก ารแลกเปลี่ ย นประสบการณ์

องค์ ค วามรู ้ และพั ฒ นาศั ก ยภาพของ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกลุ่มสมาชิก ให้มคี วามแข็งแกร่ง ลดการพึง่ พาจากภายนอก มองภาพรวมของอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศในภูมิภาคอาเซียน พบว่า ส่วนใหญ่ รั ฐ บาลเป็ น ผู ้ ด� า เนิ น การโดยตรงผ่ า นบริ ษั ท ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ โดยในกลุ่มอาเซียนมี ๒ ประเทศ คือ ลาว และบรูไน ที่ไม่มีการผลิต ยุทโธปกรณ์เอง ขณะที่สิงคโปร์เป็นประเทศ ผู้น�าด้านเทคโนโลยี ส่วนเวียดนามและพม่า มีการพึ่งพาตนเองมากที่สุด โดยเฉพาะพม่า สามารถผลิตอาวุธได้เองทั้งๆ ที่ถูกห้ามการ น�าเข้ากว่า ๒ ทศวรรษ กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม


แม้การสร้างความร่วมมือด้าน อุตสาหกรรมป้องกันประเทศในอนาคต จะเน้นความร่วมมือในกลุ่มอาเซียน อย่างเป็นรูปธรรม แต่มองกันว่า อาจเกิดขึน้ ได้ยาก เพราะนโยบายป้องกัน ประเทศของหลายชาติยงั อยูบ่ นพืน้ ฐาน ความไว้วางใจต่อกัน ซึ่งเป็นผลพวง จากช่วงยุคสงครามเย็นที่ผ่านมา

แม้การสร้างความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศในอนาคต จะเน้นความร่วมมือ ในกลุม่ อาเซียนอย่างเป็นรูปธรรม แต่มองกันว่า อาจเกิ ด ขึ้ น ได้ ย าก เพราะนโยบายป้ อ งกั น ประเทศของหลายชาติยังอยู่บนพื้นฐานความ

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ไว้ ว างใจต่ อ กั น ซึ่ ง เป็ น ผลพวงจากช่ ว งยุ ค สงครามเย็นที่ผ่านมา รวมทั้งแนวคิดชาตินิยม จึ ง กล่ า วกั น ว่ า การพั ฒ นาความร่ ว มมื อ นี้ ควรใช้ช่องทางผ่านภาคเอกชนเพื่อเพิ่มการ พึ่งพากันในอาเซียนต่อไปในอนาคต แต่ขณะ เดียวกันรัฐบาลแต่ละประเทศก็ควรสนับสนุน ให้กองทัพของตนน�าขีดความสามารถด้านการ ผลิต อุต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศที่ มีอ ยู ่ มา พัฒนาร่วมกันก่อน แล้วค่อยน�าไปสู่ข้อตกลง การลงทุนร่วมกัน เพื่อลดความเสี่ยงด้านค่า ใช้จ่ายจากการค้นคว้า วิจัย และพัฒนา ความคื บ หน้ า ล่ า สุ ด ของ ADIC ซึ่ ง อยู ่ ระหว่างการพัฒนาของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง นั้น มีสาระที่น่าสนใจ ๓ ประเด็นคือ ๑. เรือ่ งขีดความสามารถ และความต้องการ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของแต่ละ ประเทศสมาชิกอาเซียน พบว่า โดยรวมสมาชิก อาเซี ย นยั ง พั ฒ นาได้ ค ่ อ นข้ า งน้ อ ย มี เ พี ย ง

ประเทศอินโดนีเซีย ที่มีขีดความสามารถสูง และแสดงความพร้อมในความร่วมมือด้านการ ต่อเรือ SSV (Strategic Sealift Vessel) ทั้ง การวิจัย พัฒนาร่วม และการผลิตร่วมกันกับ ชาติสมาชิกที่สนใจ ทั้งยังสนับสนุนให้มีความ ร่วมมือระหว่างชาติสมาชิกกลาโหมอาเซียน ในการผลิตยุทโธปกรณ์ขนาดเล็ก กระสุน และ ดินระเบิด ๒. ร่างข้อก�าหนดและขอบเขตของคณะ ที่ปรึกษา ADIC ที่ประชุมย�้าว่า การเข้าร่วม เป็นคณะที่ปรึกษา ADIC ต้องมาจากความ สมั ค รใจของชาติ ส มาชิ ก โดยความร่ ว มมื อ ในกรอบ ADIC จะด�าเนินการตามโครงการของ ชาติสมาชิกอาเซียนที่เข้าร่วม และการรักษา ความลับหรือข้อมูลของโครงการนั้น ๆ จะถูก รักษาสิทธิการเปิดเผยเฉพาะประเทศเจ้าของ โครงการนั้น ๆ เท่านั้น ไม่สามารถเปิดเผย ต่ อ ชาติ ส มาชิ ก อาเซี ย นที่ เ ข้ า ร่ ว มอื่ น ๆ ได้ ส่วนการรับรองการด�าเนินการและข้อพิจารณา ต่ า ง ๆ ต้ อ งเสนอต่ อ การประชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ อาวุโสกลาโหมอาเซียน (ADSOM) เพื่อรองรับ เท่านั้น ๓. แนวทางความร่วมมือผ่านการจัดตั้ง คณะท� า งาน เสนอโดย กระทรวงกลาโหม มาเลเซี ย เพื่ อ สรรหาขี ด ความสามารถของ อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศที่ ช าติ ส มาชิ ก อาเซี ย นจะสามารถให้ ค วามร่ ว มมื อ กั น ได้ แบ่งเป็น ๖ กลุ่มหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรม อากาศยาน, อุตสาหกรรมทางทะเล, อุตสาหกรรม ยานยนต์, อุ ต สาหกรรมอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ , อุ ต สาหกรรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร และอุ ต สาหกรรมตามความ ต้องการทั่วไป 17


สถานการณ์แผ่นดินไหว และผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม

18

ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม


ถานการณ์แผ่นดินไหว เนื่ อ งจากในช่ ว งหลายทศวรรษที่ ผ่ า นมา ประเทศต่ า ง ๆ ทั่ ว โลกได้ น�าทรัพยากรธรรมชาติจ�านวนมากมาใช้เป็น พลังงานเชื้อเพลิงในการผลิตภาคอุตสาหกรรม และการขนส่ ง ซึ่ ง การเผาผลาญพลั ง งาน ดั ง กล่ า วท� า ให้ เ กิ ด ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ สะสมในชัน้ บรรยากาศในปริมาณมาก ก่อให้เกิด สภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ส่งผลกระทบให้เกิดสภาวะโลกร้อน (Global Warming) และปั ญ หามลภาวะเป็น พิษจน น�ามาซึ่งภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงและ บ่อยครัง้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเกิดแผ่นดินไหว และผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหวมีความ รุนแรงมากยิ่งขึ้นและมีความถี่มากขึ้น ในช่วง หลายปีที่ผ่านมาได้เกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรง ในภู มิ ภ าคเอเซี ย แปซิ ฟ ิ ก หลายครั้ ง ซึ่ ง ใน แต่ละครั้งได้สร้างความเสียหายต่อทรัพย์สิน และชีวติ ของมนุษย์เป็นจ�านวนมาก แผ่นดินไหว เป็ น ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ซึ่ ง เกิ ด จาก การเคลื่ อ นตั ว โดยฉั บ พลั น ของเปลื อ กโลก ส่วนใหญ่แผ่นดินไหวมักเกิดตรงบริเวณขอบของ แผ่นเปลือกโลกเป็นแนวแผ่นดินไหวของโลก การเคลื่อนตัวดังกล่าวเกิดขึ้นเนื่องจากชั้นหิน หลอมละลายที่อยู่ภายใต้เปลือกโลก ได้รับ พลังงานความร้อนจากแกนโลก และลอยตัว ผลักดันให้เปลือกโลกตอนบนขยับอยูต่ ลอดเวลา ท� าให้ เ ปลื อ กโลกแต่ ล ะชิ้น มีก ารเคลื่อนที่ใน หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ทิศทางต่างๆ กัน พร้อมกับสะสมพลังงานไว้ ภายใน บริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกจึงเป็น ส่วนที่ชนกัน เสียดสีกัน หรือแยกจากกัน หาก บริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกใดๆ ผ่านหรือ อยู่ใกล้กับประเทศใด ประเทศนั้นก็จะมีความ เสี่ยงต่อภัยแผ่นดินไหวสูง อาทิประเทศญี่ปุ่น สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และประเทศนิวซีแลนด์ เป็นต้น นอกจากนั้น พลั ง งานที่ ส ะสมอยู ่ ใ นเปลื อ กโลกได้ ถู ก ส่ ง ผ่านไปยังเปลือกโลกพื้นของทวีป ตรงบริเวณ รอยร้าวของหินใต้พื้นโลกหรือที่เรียกว่า “รอย เลื่อน” เมื่อระนาบรอยร้าวที่ประกบกันอยู่ ได้รับแรงอัดมากๆ ก็จะท�าให้รอยเลื่อนมีการ เคลื่อนตัวอย่างฉับพลันเกิดเป็นแผ่นดินไหว ได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้สาเหตุของการเกิด แผ่นดินไหวยังสามารถเกิดได้จากการกระท�า ของมนุ ษ ย์ ได้ แ ก่ การทดลองนิ ว เคลี ย ร์ การทดลองระเบิดปรมาณู การระเบิดพื้ น ที่ เพื่อส�ารวจวางแผนในการก่อสร้างเขื่อน และ น�้ า หนั ก ของน�้ า ในเขื่ อ นหรื อ อ่ า งเก็ บ น�้ า ขนาดใหญ่ การสูบและขุดเจาะทรัพยากรใต้ดนิ (น�้า น�้ามัน และก๊าซธรรมชาติ) และการท�า เหมืองลึก เป็นต้นโดยในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมานี้ ประชาชนได้เริม่ ตระหนักถึงภัยจากแผ่นดินไหว มากขึ้ น ทั้ ง นี้ เ พราะในช่ ว งเวลานี้ ไ ด้ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวที่ รุ น แรงหลายครั้ ง เหตุการณ์ทสี่ า� คัญทีส่ ดุ คือ การเกิดแผ่นดินไหว ขนาดยักษ์ซึ่งมีขนาด (Mw) ถึง ๙.๑ ริกเตอร์ 19


ในทะเลอั น ดามั น ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ซึ่ ง ได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด คลื่ น สึ น ามิ ที่ ส ่ ง ผลกระทบอย่ า ง รุนแรงต่อเมืองต่างๆ ตลอดแนวชายฝั่งของ หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ส่งผลให้มี ผูเ้ สียชีวติ และสูญหายรวมกันถึง ๒๓๐,๐๐๐ คน ส�าหรับประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตและสูญหาย รวมกันทั้งสิ้น ๘,๒๑๒ คน นับได้ว่าเป็นความ สู ญ เสี ย เนื่ อ งจากภั ย ธรรมชาติที่รุน แรงที่สุด ครั้ ง หนึ่ ง ที่ ป ระเทศไทยเคยประสบ และใน ช่ ว งเวลาเดี ย วกั น นี้ มี แ ผ่ น ดิ น ไหวเกิ ด ขึ้ น ใน หลายประเทศทัว่ โลกทีไ่ ด้กอ่ ให้เกิดความเสียหาย อย่างรุนแรง เช่น แผ่นดินไหวขนาด (Mw) ๖.๙ ริกเตอร์ ทีม่ ณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน

ขนาด (Mw) ๖.๘ ริ ก เตอร์ ที่ ส าธารณรั ฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ ซึ่งมี จุดศูนย์กลางห่างจากอ�าเภอแม่สาย จังหวัด เชี ย งราย เพี ย ง ๕๐ กิ โ ลเมตร ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือนและโบราณ สถานในจังหวัดเชียงราย เมื่อตรวจสอบข้อมูล ทางสถิติของภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้น สรุ ป ได้ ว ่ า ในช่ ว งเวลาหลายปี ที่ ผ ่ า นมา ประเทศไทยจั ด ได้ ว ่ า เป็ น ประเทศที่ ป ระสบ กั บ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็ น จ� า นวนมาก ได้ แ ก่ เหตุ ก ารณ์ พิ บั ติ ภั ย คลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ และเหตุการณ์ มหาอุ ท กภั ย ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ เป็ น ต้ น อย่างไรก็ตาม จากสถิติการเกิดแผ่นดินไหว ในปี พ.ศ.๒๕๕๒, แผ่นดินไหวขนาด (Mw) ๗.๑ ในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงที่มีการ ริกเตอร์ ที่สาธารณรัฐเฮติ ในปี พ.ศ.๒๕๕๓, บั น ทึ ก ไว้ ซึ่ ง มี ผ ลกระทบจนประชาชนทั่ ว ไป แผ่นดินไหวขนาด (Mw) ๘.๙ ริกเตอร์ ทีป่ ระเทศ ในหลายพื้ น ที่ ข องประเทศไทยรวมถึ ง พื้ น ที่ ชิลี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓, แผ่นดินไหวขนาด (Mw) กรุงเทพฯ สามารถรับรู้ได้ถึงแรงสั่นสะเทือน ๖.๓ ริกเตอร์ ที่เมืองไคร้ส์ตเชิร์ช ประเทศ ในช่วงปี ๒๕๕๕ คือ เมื่อ ๒๔ มีนาคม เกิด นิ ว ซี แ ลนด์ ใ นปี พ.ศ.๒๕๕๔, แผ่ น ดิ น ไหว แผ่ น ดิ น ไหวบริ เ วณประเทศสาธารณรั ฐ ขนาด (Mw) ๙.๐ ริกเตอร์ ที่บริเวณตอนเหนือ แห่งสหภาพเมียนมาร์ ซึ่งสามารถวัดระดับ ของเกาะฮอนชู (โตโฮกุ) ประเทศญี่ปุ่นในปี ความรุนแรงได้ ๖.๘ ริกเตอร์ อย่างไรก็ตาม พ.ศ.๒๕๕๔ ซึ่งก่อให้เกิดคลื่นสึนามิขนาดยักษ์ จากสถิ ติ ที่ ส� า นั ก เฝ้ า ระวั ง แผ่ น ดิ น ไหว พัดเข้าหาชายฝัง่ สร้างความเสียหายอย่างใหญ่ กรมอุตุนิยมวิทยา บันทึกไว้นั้น ประเทศไทย หลวงแก่ประเทศญี่ปุ่น โดยท�าให้มีผู้เสียชีวิต ยังไม่เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่จนท� าให้ มากกว่า ๑๕,๐๐๐ คน และอาคารบ้านเรือน เกิ ด ความสู ญ เสี ย ทั้ ง ต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น กว่า ๑๒๕,๐๐๐ หลังถูกท�าลาย และแผ่นดินไหว ของประชาชนในวงกว้าง

ตาราง สถิติการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ วันเกิด เหตุการณ์

จุดที่เกิดเหตุแผ่นดินไหว

ขนาด (ริกเตอร์)

ผลกระทบที่เกิดขึ้น

๒๐ ก.พ.๕๕

อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา

๒.๗

รู้สึกได้บริเวณใกล้ศูนย์กลาง และมีความเสียหายเล็กน้อย

๕ มี.ค.๕๕

ตอนเหนือ เกาะสุมาตรา

๕.๒

หลายพื้นที่ใน จ.ภูเก็ต รับรู้ได้ถึง แรงสั่นสะเทือนเล็กน้อย

๑๑ เม.ย.๕๕

ชายฝั่งตะวันตกทางตอนเหนือ ของเกาะสุมาตรา

๘.๖

หลายจังหวัดในภาคใต้ ภาคกลาง และ ภาคอีสาน รับรู้ได้ถึงแรงสั่นสะเทือน รวมทั้ง เกิดคลื่นสึนามิสูง ๓๐ ซม. ที่เกาะเมียง จ.พังงา

๑๖ เม.ย.๕๕

ต.ศรีสุนทร อ.ถลาง จ.ภูเก็ต

๔.๓

หลายพื้นที่ใน จ.ภูเก็ต รับรู้ได้ถึงแรงสั่นสะเทือน และส่งผลให้บ้านเรือนประชาชนที่อาศัยอยู่ใน อ.ถลาง จ.ภูเก็ต ได้รับความเสียหาย (แตกร้าว) จ�านวนหลายหลังคาเรือน รวมทั้ง เกิดอัฟเตอร์ช็อคมากกว่า ๒๖ ครั้ง

๔ มิ.ย.๕๕

อ.เมือง จ.ระนอง

๔.๐

รู้สึกสั่นไหวที่ ต.เขานิเวศน์ และ ต.บางนอน อ.เมืองระนอง จ.ระนอง

๒๓ มิ.ย.๕๕

ตอนเหนือเกาะสุมาตรา

๖.๓

รู้สึกบนอาคารสูงใน จ.ภูเก็ต และ จ.สงขลา

ที่มา: ส�านักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ๒0

ส�านักงานกิจการพลเรือน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม


ช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมาได้เกิดแผ่นดินไหว ที่รุนแรงในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก หลายครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งได้สร้าง ความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิต ของมนุษย์เป็นจ�านวนมากแผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่ง เกิดจากการเคลื่อนตัวโดยฉับพลัน ของเปลือกโลก

ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว ส� า หรั บ การวั ด ขนาดของแผ่ น ดิ น ไหว (Magnitude) ใช้ระบบการวัดได้หลายรูปแบบ แต่ที่เป็นที่นิยมที่สุด คือ มาตราวัดขนาดของ แผ่นดินไหวแบบริกเตอร์ ซึ่งคิดค้นโดย ชาลส์ ฟรานซิส ริกเตอร์ โดยขนาดของแผ่นดินไหว กับผลกระทบที่เกิดขึ้นสามารถสรุปได้ดังนี้ ตาราง ผลกระทบจากขนาดของการเกิดแผ่นดินไหว ขนาด แผ่นดินไหว (ริกเตอร์)

การจัดระดับ

ผลกระทบ

อัตราการเกิดทั่วโลก

๑.๙ ลงไป

ไม่รู้สึก (Micro)

ไม่มี

๘,๐๐๐ ครั้ง/วัน

๒.๐ - ๒.๙

เบามาก (Minor)

คนทั่วไปมักไม่รู้สึก แต่ก็สามารถรู้สึกได้บ้าง และตรวจจับได้ง่าย

๑,๐๐๐ ครั้ง/วัน

๓.๐ - ๓.๙

เบามาก (Minor)

คนส่วนใหญ่รู้สึกได้ และ บางครั้งสามารถสร้างความเสียหายได้บ้าง

๔๙,๐๐๐ ครั้ง/ปี

๔.๐ - ๔.๙

เบา (Light)

ข้าวของในบ้านสั่นไหวชัดเจนสามารถสร้าง ความเสียหายได้

๖,๒๐๐ ครั้ง/ปี

๕.๐ - ๕.๙

ปานกลาง (Moderate)

สร้างความเสียหายยับเยินได้กับสิ่งก่อสร้างที่ไม่ มั่นคง แต่กับสิ่งก่อสร้างที่มั่นคงนั้นไม่มีปัญหา

๘๐๐ ครั้ง/ปี

๖.๐ - ๖.๙

แรง (Strong)

สร้างความเสียหายที่ค่อนข้างรุนแรงได้ในรัศมี ประมาณ ๘๐ กิโลเมตร

๑๒๐ ครั้ง/ปี

๗.๐ - ๗.๙

รุนแรง (Major)

สามารถสร้างความเสียหายรุนแรงในบริเวณ กว้างกว่า

๑๘ ครั้ง/ปี

๘.๐ - ๘.๙

รุนแรงมาก (Great)

สร้างความเสียหายรุนแรงได้ในรัศมีเป็น ร้อยกิโลเมตร

๑ ครั้ง/ปี

๙.๐ - ๙.๙

รุนแรงมาก (Great)

“ล้างผลาญ” ทุกสิ่งทุกอย่างในรัศมีเป็น พันกิโลเมตร

๑ ครั้ง/๒๐ ปี

๑๐.๐ ขึ้นไป

ท�าลายล้าง (Epic)

ไม่เคยเกิด จึงไม่มีบันทึกความเสียหายไว้

ไม่เคยเกิด

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

๒1


๒๒

กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม


การปฏิบัติภารกิจ ของกองทัพไทยเพื่อรองรับ การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม

นั

บจากสิน้ สุดสงครามเย็น โลกได้พฒ ั นา เข้าสูย่ คุ แห่งการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ป็นไป อย่างรวดเร็วและไม่แน่นอน กระแส โลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ได้น�ามาซึ่งการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของผู้คน สินค้าและการบริการได้เพิม่ จ�านวนขึน้ ในอัตรา ที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน เกิดความเชื่อมโยง อย่างกว้างขวางที่ท�าให้บุคคลหรือผู้มีบทบาท ที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state actor) ทั้งที่ประสงค์ดี และร้ายต่างก็มีอิทธิพลมากขึ้นในการด�าเนิน กิจกรรมต่างๆ ทั้งในระดับโลก ภูมิภาค หรือ ภายในรัฐชาติหนึง่ ชาติใด อันส่งผลให้เกิดความ ท้าทายต่อความเป็นรัฐชาติ รวมถึงองค์การ ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ ไ ด้ รั บ การกระตุ ้ น เทคโนโลยี ทั น สมั ย ที่ น� า มาใช้ในการแสวงหาแหล่งพลังงานใหม่ และ น�ามาซึ่งการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ได้ช่วย บรรเทาความยากจนของประชากรและน�าไปสู่ ศูนย์อ�านาจใหม่ของโลก หลายชาติพยายามที่ จะมีบทบาทมากขึ้นทั้งในระดับภูมิภาค และ ระดับโลก ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้มีผลต่อชีวิต ความเป็นอยูข่ องประชาชนทัง้ ในด้านความมัน่ คง ปลอดภัยและความกินดีอยู่ดี อย่างไรก็ตาม การเร่งใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่เกินสมดุลก็ได้ น�ามาซึ่งผลการท�าลายสิ่งแวดล้อม และน�าไปสู่ ปัญหาการขาดแคลนและแย่งชิงทรัพยากรและ แหล่งพลังงาน รวมทั้งยังเป็นการเร่งให้เกิด ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทรี่ นุ แรงตามมา และด้วย โลกที่เชื่อมต่อกันอย่างไร้พรมแดน เหตุการณ์ ในมุมหนึ่งของโลกย่อมเห็นและรับทราบได้ ในอีกมุมหนึ่ง และยิ่งไปกว่านั้นในแต่ละจุด ภายในรั ฐ ชาติ ห นึ่ ง ยั ง ได้ รั บ ผลกระทบจาก ภาวะและเหตุการณ์ต่างๆ ภายนอกประเทศ มากยิ่งขึ้น กระแสโลกาภิวัตน์ท�าให้การเชื่อมโยงใน มิ ติ ต ่ า งๆ รวดเร็ ว ขึ้ น โลกไซเบอร์ มี ผ ลต่ อ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ทัศนคติ ความเชื่อ ความ หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

สัมพันธ์ระหว่างบุคคล กระบวนการเรียนรู้ และพฤติ ก รรมการบริ โ ภคของประชาชน รวมทั้งท�าให้แนวโน้มของความเสี่ยงต่อความ มั่นคงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่าย ที่ เ กิ ด จากการคุ ก คามทางไซเบอร์ มี สู ง ขึ้ น โดยปั จ จุ บั น หลายประเทศมี ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งกั น ได้ มี ก ารพั ฒ นาความสามารถ ในการคุ ก คามทางไซเบอร์ เพื่ อ ลดความ สามารถของฝ่ายตรงข้าม ทั้งความสามารถ โดยทั่วไปของประเทศและความสามารถของ กองทัพ ซึ่งท�าให้หลายประเทศให้ความส�าคัญ ต่อการคุกคามดังกล่าวและพัฒนาวิธกี ารป้องกัน การคุกคามนี้จากฝ่ายตรงข้ามมากขึ้น ในขอบเขตประเทศเพื่อนบ้าน กระทรวง กลาโหมให้ ค วามส� าคั ญกั บการพัฒ นาความ สัมพันธ์ในทุกมิติ และทุกระดับเป็นอันดับแรก ไม่ เ พี ย งเพื่ อ เสริ ม สร้ า งรั ก ษาผลประโยชน์ ร่ ว มกั น ระหว่ า งสองฝ่ า ยแต่ เ พื่ อ ความเจริ ญ และความสงบสุ ข ของภู มิ ภ าคโดยรวมด้ ว ย ในแง่ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ และ วั ฒ นธรรมที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น สามารถเป็ น ทั้ ง ปั จ จั ย บวก และความท้ า ทาย ท� า ให้ ค วาม สั ม พั น ธ์ มี ค วามละเอี ย ดอ่ อ น และซั บ ซ้ อ น ซึ่ ง หากสามารถใช้ เ ป็ น ประโยชน์ จ ากปั จ จั ย ดังกล่าวในทางสร้างสรรค์ได้ก็จะเป็นการเสริม สร้างความแข็งแกร่ง และความเป็นเอกภาพ ของภูมิภาคได้ ประเทศเพื่อนบ้านมีความส�าคัญอย่างมาก ต่ อ การรั ก ษาความมั่ น คงและการพั ฒ นา เศรษฐกิจของไทย ทั้งในบริเวณชายแดนและ ของประเทศโดยรวม ซึ่งความส�าคัญนี้จะเพิ่ม ทวีขนึ้ เมือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ กระทรวงกลาโหมด� า เนิ น นโยบาย ภายใต้เสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง มุ่งเน้นการลดความหวาดระแวงของประเทศ เพื่อนบ้าน และเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รวมทั้งการส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศ เพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะด้านการทหาร และความ ๒3


มั่นคง รวมทั้งใช้กลไกที่มีอยู่ เช่น GBC JBC RBC เพื่อคลี่คลายปัญหาขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น ตามแนวชายแดน ดังนั้น กระทรวงกลาโหม จึงก�าหนดแนวนโยบายทางทหารกับประเทศ เพื่อนบ้าน ดังนี้ ๑. การเสริมสร้างความสัมพันธ์ด้านความ มั่นคงร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน ๑.๑ ต้องมีขีดความสามารถในการ กระชับความสัมพันธ์กับผู้น�าทางทหารระดับ สู ง ของประเทศเพื่ อ นบ้ า น ด้ ว ยการด� า เนิ น งานของผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร การแลกเปลี่ยน การเยือนและการด�าเนินการอื่นๆ เพื่อให้เกิด ความร่วมมือระหว่างกระทรวงกลาโหมในเชิง สร้ า งสรรค์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ทั้ ง สองฝ่ า ยเพื่ อ สร้างบรรยากาศความเป็นมิตร รักษาความ เป็นกลาง ลดเงือ่ นไขและลดโอกาสทีจ่ ะน�าไปสู่ ความขั ด แย้ ง รวมทั้ ง ป้องกัน มิให้เกิด ความ ขัดแย้งกับประเทศใดก็ตาม ๑.๒ ต้องมีขีดความสามารถในการ จั ด การศึ ก ษาอบรมก� า ลั ง พลให้ มี ค วามรู ้ เกี่ ย วกั บ การสร้ า งความร่ ว มมื อ ด้ า นความ มั่นคงกับนานาประเทศ รู้เท่าทันเกี่ยวกับการ เปลีย่ นแปลงของประเทศต่างๆ รวมทัง้ มีความรู้ เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านด้วย ๒. การด�าเนินงานการทูตโดยฝ่ายทหาร (Defence Diplomacy) ๒.๑ คณะกรรมการร่ ว มระหว่ า ง กระทรวงกลาโหมหรื อ ฝ่ า ยทหารของไทย กับกระทรวงกลาโหมหรือฝ่ายทหารประเทศ เพื่อนบ้าน รวมทั้ง คณะกรรมการร่วมระหว่าง ส่ ว นราชการต่ า งๆ ของไทยกั บ ประเทศ เพื่อนบ้านในทุกระดับต้องมีขีดความสามารถ ในการเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง ให้เกิดขึ้น ๒.๒ ก� า ลั ง ป้ อ งกั น ชายแดนของ กองทัพ จะต้องมีขีดความสามารถในการใช้ มาตรการทางการทูตโดยฝ่ายทหาร เพื่อไม่ให้ เกิดหรือลดความขัดแย้งในระดับพื้นที่ ๒4

ตลอดจนสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ซึ่งจะเป็น ผลท�าให้เกิดความมั่นคงร่วมกันในระยะยาว ๔. ความร่ ว มมื อ กั บ เพื่ อ นบ้ า นในการ แลกเปลี่ยนข่าวกรองเกี่ยวกับความเคลื่อนไหว ของกลุ่มก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ ลดหรือยุติการช่วยเหลือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทั้ ง ท� า ความเข้ า ใจกั บ ประเทศที่ ใ ห้ ก าร สนับสนุนกลุ่มก่อการร้ายและอาชญากรรม ข้ า มชาติ ใ ห้ ล ดหรื อ ยุ ติ ก ารช่ ว ยเหลื อ โดย ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการประสานงาน ด้านการข่าวกับเพื่อนบ้าน เพื่อติดตามความ เคลื่ อ นไหวของผู ้ ไ ม่ ห วั ง ดี ต ่ อ ประเทศไทย กลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยและอาชญากรรมข้ า มชาติ ทุ ก กลุ ่ ม ที่ มี แ นวโน้ ม จะเข้ า มาปฏิ บั ติ ก าร ๒.๓ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารในบทบาท ในประเทศไทย รวมทั้ ง มี ขี ด ความสามารถ ด้านการทูตโดยฝ่ายทหาร ในฐานะตัวแทนของ ในการท� า ความเข้ า ใจกั บ เพื่ อ นบ้ า นเพื่ อ ลด กระทรวงกลาโหม และกองทัพในต่างประเทศ หรือยุติการช่วยเหลือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ จะต้องมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการ การก่ อ การร้ า ยและอาชญากรรมข้ า มชาติ ด้ า นการข่ า ว ด้ า นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง และช่วยท�าความเข้าใจกับประเทศที่ให้การ ประเทศ ด้านความมั่นคง และงานด้านการทูต สนับสนุนกลุ่มก่อการร้ายและอาชญากรรม โดยฝ่ายทหารอืน่ ๆ ตามนโยบายการต่างประเทศ ข้ามชาติให้ลดหรือยุติการช่วยเหลือ และนโยบายด้านความมั่นคงของชาติ ๕. ขยายความร่ ว มมื อ กั บ ประเทศ ๓. การพัฒนาความร่วมมือกับกระทรวง เพื่ อ นบ้ า นในการรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ย กลาโหมประเทศเพื่อนบ้าน ในการคุ้มครอง บริ เ วณชายแดน และด� า เนิ นการไม่ให้กลุ่ม และรักษาผลประโยชน์แห่งชาติร่วมกัน บุคคลใดๆ เข้ามาใช้พื้นที่ประเทศไทยในการ ๓.๑ ต้องมีขีดความสามารถในการ สร้างปัญหาให้กับประเทศเพื่อนบ้าน สร้ า งความร่ ว มมื อ กั บ กระทรวงกลาโหม ๖. การเสริมสร้างความมัน่ คงของประชาคม ประเทศเพื่อนบ้าน ในการคุ้มครองและรักษา อาเซียนให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามทุกรูปแบบ ผลประโยชน์แห่งชาติร่วมกัน ๖.๑ ต้องมีขีดความสามารถในการ ๓.๒ ต้องมีขีดความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน ปฏิบัติการร่วมกับกองทัพประเทศเพื่อนบ้าน กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความผู ก พั น ทางผลประโยชน์ รูปแบบใหม่ ร่ ว มกั น และลดปั ญ หาความขั ด แย้ ง และ ๖.๒ ต้องมีขีดความสามารถในการ การกระทบกระทั่งระหว่างกองก�าลังของฝ่าย ใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหาร รวมทั้ง ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ความร่วมมือระหว่างประเทศในการให้ความ ๓.๓ ต้องมีขีดความสามารถในการ ช่ ว ยเหลื อ ทางมนุ ษ ยธรรมและการบรรเทา ร่ ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ทั้ ง ด้ า นการ ภัยพิบัติในกรอบอาเซียน ฝึ กร่ วม/ผสมการแลกเปลี่ยนทางการศึ กษา ๖.๓ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถใน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี การสนับสนุนการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ทางทหาร เพื่ อ ให้ ก ้ า วทั น การเปลี่ ย นแปลง ในกรอบอาเซียน ทางด้านวิทยากร และเทคโนโลยีทางทหาร ๖.๔ ต้องมีขีดความสามารถในการ ตลอดจนให้ ไ ด้ รั บ ทั ก ษะที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ พัฒนาความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกัน ต่ อ การปฏิ บั ติ ร ่ ว มกั น ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และใน ประเทศในกรอบอาเซียน อนาคต ๖.๕ ต้องมีขีดความสามารถในการ ๓.๔ ต้องมีขีดความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านโครงการปฏิสัมพันธ์ สนั บ สนุ น ประเทศเพื่ อ นบ้ า นในการพั ฒ นา ทางทหารระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศตามแนวความคิ ด การพั ฒ นาพื้ น ที่ ๖.๖ ต้องมีขีดความสามารถในการ ข้ามชายแดน (Cross - Border Development) พั ฒ นาความร่ ว มมื อ ด้ า นการสนั บ สนุ น การ ด้ ว ยก� า ลั ง ทรั พ ยากรของกระทรวงกลาโหม ส่งก�าลังบ�ารุงร่วมกันในอาเซียน ที่มีอยู่ เพื่อสร้างเสริมจิตส�านึกของประชาชน ๖.๗ ต้องมีขีดความสามารถในการ ในประเทศเพื่ อ นบ้ า นให้ เ กิ ด ความรู ้ สึ ก ที่ ดี พัฒนาความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล ต่อประเทศไทย และลดเงื่อนไขความขัดแย้ง ในกรอบอาเซียน กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม


๖.๘ ต้องมีขีดความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านการแพทย์ทางทหาร ในกรอบอาเซียน ๖.๙ ต ้ อ ง มี ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ในการพั ฒ นาความร่ ว มมื อ ด้ า นการต่ อ ต้ า น การก่อการร้ายในกรอบอาเซียน ๖.๑๐ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถด้ า น การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการ บรรเทาภัยพิบัติ ๖.๑๑ ต้องมีขีดความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านการปฏิบัติการรักษา สันติภาพ ๖.๑๒ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถใน การพัฒนาความร่วมมือด้านการปฏิบัติการ ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม ๖.๑๓ ต้องมีขีดความสามารถในการ สนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมทั้ง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ด้วย การใช้ศักยภาพที่กระทรวงกลาโหมมีอยู่ ๖.๑๔ หน่ ว ยในกระทรวงกลาโหม ต้ อ งมี ก ารจั ด หน่ ว ยให้ ส ามารถรองรั บ การ ด�าเนินการในกรอบอาเซียนได้อย่างเหมาะสม ๖.๑๕ ก� า ลั ง พลที่ เ กี่ ย วข้ อ งต้ อ งมี ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ ประชาคมอาเซียนที่ถูกต้อง รวมทั้ ง มี ทั ก ษะในการใช้ ภ าษาอั ง กฤษและ ภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนที่จ�าเป็น ๗. เร่งรัดการด� าเนินการในกรอบความ ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อส�ารวจและ จั ด ท� า หลั ก เขตแดนที่ ยังคงมีป ัญ หา เพื่อลด เงื่อนไขและโอกาสที่จะน�าไปสู่ความขัดแย้ง ระหว่างกัน ๗.๑ ต้องมีการวางระบบงานและ เตรียมก�าลังพลให้สามารถรองรับการด�าเนิน งานที่ต้องใช้เวลานานได้อย่างต่อเนื่อง ๗.๒ ก� า ลั ง พลที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะต้ อ ง มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจหลั ก การพื้ น ฐานของ กฎหมายและสนธิ สั ญ ญาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

เขตแดน รวมทั้งผลการด�าเนินการที่ผ่านมา และอุปสรรคในการด�าเนินการที่ส�าคัญ จากนโยบายของรัฐบาลในการเตรียมความ พร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ส่งผลให้กระทรวงกลาโหมต้องปรับ องค์กรเพื่อให้มีความพร้อม ดังนั้น กระทรวง กลาโหมได้ทา� แนวทางปฏิบตั กิ ระทรวงกลาโหม ในการเป็ น ประชาคมอาเซี ย น ปี ๒๕๕๘ รายละเอียดดังนี้ ๑. การพัฒนาด้านก�าลังพล พัฒนาการฝึกและศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาของชาติ ใ นอาเซี ย นของก�า ลั ง พล ในกองทัพให้สามารถบูรณาการองค์ความรู้ ได้ อ ย่ า งประสานสอดคล้ อ งเชื่ อ มโยงซึ่ ง กั น และกั น เช่ น การพั ฒ นารู ป แบบในการฝึก ร่วมผสม หรือการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียน เสนาธิการเหล่าทัพ เพื่อให้รองรับนายทหาร นักเรียนต่างชาติในอาเซียนได้มากขึ้น เป็นต้น ๒. การพัฒนาด้านการจัดท�างบประมาณ ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บั ติ ร าชการ ๔ ปี ของ กระทรวงกลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวง กลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติ ราชการประจ�าปีให้สามารถตอบสนองและ สามารถรองรับต่อภารกิจในความรับผิดชอบ และสนั บ สนุ น การรวมตั ว เป็ น ประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๓. การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ๓.๑ บูรณาการในกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียนที่ได้มีการจัดท�าไว้อยู่แล้ว เช่น การประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดอาเซียน อย่างไม่เป็นทางการ การประชุมผู้บัญชาการ เหล่าทัพอาเซียน การแข่งขันยิงปืนอาเซียน การประชุมเจ้ากรมข่าวทหารอาเซียนอย่าง ไม่เป็นทางการ การประชุมเจ้ากรมยุทธการ ทหารอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ เป็นต้น ๓.๒ ด� า เนิ น การตามเอกสารแนว ความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม

อาเซี ย น (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) และกรอบการประชุม รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอาเซี ย นกั บ รั ฐ มนตรี กลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยการจัดท�าแผนงาน งบประมาณเพื่ อ รองรั บ กิ จ กรรมดั ง กล่ า ว ก�าหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของ กระทรวงกลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวง กลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติ ราชการประจ�าปีของกระทรวงกลาโหมและ หน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๘) ๓.๓ จัดตั้งกลไกในการด�าเนินการ ขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบอาเซียน และ พิจารณาปรับปรุงแก้ไขกลไกหรือกฎระเบียบ ต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้มีความเหมาะสมเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ รวมถึงอาจจัดตั้งหน่วยงานที่ เกี่ยวกับการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ สถาบัน ด้ า นการศึ ก ษาและวิ จั ย งานด้ า นอาเซี ย น เพิ่มเติม หรือมีการปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ ทีล่ า้ สมัยเพือ่ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน เป็นต้น ๓.๔ ปรับปรุงแผนป้องกันประเทศ และภารกิจของกองก�าลังป้องกันชายแดนให้ สอดคล้องกับการเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ด้วยการเตรียมความพร้อมของหน่วย ยุทโธปกรณ์ บุคลากรให้มีความเป็นสากลและ สามารถรองรับการแก้ไขปัญหาร่วมกันของ อาเซียนในภาพรวมได้ ๓.๕ สนับสนุนการเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียนด้วยการใช้ศักยภาพและ ขีดความสามารถที่มีอยู่ของกระทรวงกลาโหม

๒5


๒๖

พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์


ดุลยภาพทางทหารของประเทศเพือ่ นบ้าน

รถสะเทินน�า้ สะเทินบก เอเอวี-๗ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์

น่ ว ยนาวิ ก โยธิ น อิ น โดนี เ ซี ย ประจ� า การด้ ว ยรถสะเทิ น น�้า สะเทิ น บกรุ ่ น แอลวีทีพี-๗เอ๑ (LVTP-7A1) จ�านวน ๑๐ คัน โดยได้รับการช่วยเหลือจากประเทศ เกาหลีใต้ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๒ คาดว่าจะได้รับมอบต่อไปรวมทั้งสิ้น ๓๕ คัน นั บ ว่ า หน่ ว ยนาวิ ก โยธิ น อิ น โดนี เ ซี ย มี ก าร จั ด หน่ ว ยด� า เนิ น กลยุ ท ธ์ ข นาดใหญ่ ร วม ๓ กองพลน้ อ ย ประกอบด้ ว ย กองพลน้ อ ย นาวิกโยธินที่ ๑ (Surabaya), กองพลน้อย นาวิกโยธินที่ ๒ (Jakarta) และกองพลน้อย นาวิกโยธินอิสระที่ ๓ (Lampung) มีหน่วย ด� า เนิ น กลยุ ท ธ์ ข นาดกองพั น นาวิ ก โยธิ น รวมทัง้ สิน้ ๙ กองพัน พร้อมด้วยหน่วยฐานของ กองพลน้อย ประกอบด้วย รถถังเบา ๙๔ คัน, รถเกราะ ๑๙๔ คัน, ปืนใหญ่สนามขนาดเบา ๒๐ กระบอก, และจรวดหลายล�ากล้องขนาด ๑๒๒ มิลลิเมตร รวม ๗ หน่วยยิง นอกจากนี้ ยั ง ได้ ท� า การฝึ ก ผสมกั บ หน่ ว ยนาวิ ก โยธิ น สหรัฐอเมริกา ในรหัสกะรัต (CARAT) ๒๐๑๓ ระหว่างวันที่ ๒๒ - ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ นาวิ ก โยธิ น อิ น โดนี เ ซี ย หน่ ว ยกองพั น ที่ ๖

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

กองพลน้อยนาวิกโยธินที่ ๒ และนาวิกโยธิน สหรัฐอเมริกา หน่วยกองพันสะเทินน�า้ สะเทินบก ที่ ๒ (กองพลนาวิกโยธินที่ ๒) พร้อมด้วยกองพัน ทหารราบนาวิกโยธินที่ ๓-๓ รถสะเทิ น น�้ า สะเทิ น บกแบบ เอเอวี - ๗ (AAV-7) หน่วยนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกาน�าเข้า ประจ� า การทดแทนรถสะเทิ น น�้ า สะเทิ น บก รุ ่ น เก่ า แบบแอลวี ที พี - ๕ (LVTP-5) แม้ ว ่ า ประจ�าการในหน่วยนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา มานานตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๑๕ ประจ�าการทีห่ น่วย กองพั น สะเทิ น น�้ า สะเทิ น บกที่ ๒ (กองพล นาวิกโยธินที่ ๒), กองพันสะเทินน�้าสะเทินบก ที่ ๓ (กองพลนาวิกโยธินที่ ๓) และกองพัน สะเทินน�้าสะเทินบกที่ ๔ (กองพลนาวิกโยธิน ที่ ๔) เพื่ อ ที่ จ ะน� า ทหารนาวิ ก โยธิ น ลงจาก เรือใหญ่เคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่งของฝ่ายข้าศึก อย่ า งรวดเร็ ว (ใช้ ค วามเร็ ว เพื่ อ จะลดความ สูญเสีย) เพื่อที่จะท�าการยึดหัวหาด พร้อมทั้ง มีระบบอาวุธป้องกันตัวที่จะให้ความคุ้มครอง หน่วยนาวิกโยธินภายในตัวรถได้ และท�าการ รุกลึกเข้าไปในดินแดนของฝ่ายข้าศึก

๒7


หน่วยนาวิกโยธินไทยได้ประจ�าการ ด้วยรถสะเทินน�้าสะเทินบกแบบ แอลวีทพ ี -ี ๗ (LVTP-7) ปี พ.ศ.๒๕๑๕ ต่อมาได้ท�าการปรับปรุงให้เป็นรุ่นใหม่ เรียกว่ารุน่ เอเอวีพ-ี ๗เอ๑ (AAVP-7A1) ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ ได้รับมอบเพิ่มเติม อีก ๒ รุ่น คือรุ่นบังคับการ เอเอวีซี๗เอ๑ (AAVC-7A1) และรุ่นกู้ซ่อม เอเอวีอาร์-๗เอ๑

รถสะเทิ น น�้ า สะเทิ น บกเดิ ม มี ชื่ อ เรี ย กว่ า แบบแอลวี ที พี - ๗ (LVTP-7) ท� า การติ ด ตั้ ง ปื น กล เอ็ ม -๘๕ ขนาด ๐.๕ นิ้ ว (๑๒.๗ มิลลิเมตร) และเครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ เอ็มเค.๑๙ ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร ปี พ.ศ.๒๕๒๕ ท�าการปรับปรุงใหม่จากรุ่นแอลวีทีพี-๗เอ๑ (LVTP-7A1) เป็นรุ่นใหม่มีชื่อเรียกว่าเอเอวีพี๗เอ๑ (AAVP-7A1) มีการผลิตออกมาหลายรุ่น ตามภารกิจ ประกอบด้วย รุ่นล�าเลียงพลแบบ ๒8

เอเอวีพ-ี ๗เอ๑ (AAVP-7A1), รุน่ บังคับการแบบ เอเอวีซ-ี ๗เอ๑ (AAVC-7A1) และรุน่ กูซ้ อ่ มแบบ เอเอวีอาร์-๗เอ๑ (AAVR-7A1) มีขอ้ มูลทีส่ �าคัญ คือ น�้าหนัก ๒๙.๑ ตัน ขนาดยาว ๗.๙๔ เมตร กว้าง ๓.๒๗ เมตร สูง ๓.๒๖ เมตร เครื่องยนต์ ดีเซล ดีทรอยท์ ขนาด ๔๐๐ แรงม้า ความเร็ว บนถนน ๗๒ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ความเร็วในน�า้ ๑๓.๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติการไกล ๔๘๐ กิโลเมตร อาวุธหลัก เครื่องยิงลูกระเบิด พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์


รถสะเทินน�้าสะเทินบกรุ่นแอลวีทีพี-๗เอ๑ (LVTP7A1) จ�านวน ๑๐ คัน ได้รับการช่วยเหลือจากประเทศ เกาหลีใต้ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๒ ท�าการ เคลื่อนย้ายทางเรือจากประเทศเกาหลีใต้สู่ประเทศ อินโดนีเซีย

รถสะเทินน�า้ สะเทินบกแบบเอเอวีพ-ี ๗เอ๑ (AAVP7A1) น�้าหนัก ๒๙.๑ ตัน ขนาดยาว ๗.๙๔ เมตร กว้าง ๓.๒๗ เมตร สูง ๓.๒๖ เมตร เครื่องยนต์ ดีเซล ขนาด ๔๐๐ แรงม้า ความเร็วในภูมิประเทศ ๗๒ กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ความเร็วในน�้า ๑๓.๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติการ ๔๘๐ กิโลเมตร และบรรทุกทหารได้ ๒๘ นาย (๓ + ๒๕)

รถสะเทินน�้าสะเทินบกแบบเอเอวี-๗เอ๑ (AAV7A1) ขณะท�าการฝึกได้เคลื่อนที่ขึ้นสู่ชายหาดแล้ว ซึ่งมีความรวดเร็วในการเคลื่อนที่จากเรือใหญ่สู่ชาย ฝั่งทะเลเพื่อให้ทหารราบนาวิกโยธินท�าการด�าเนิน กลยุทธ์เข้าตีที่หมายใหม่ต่อไป

รถสะเทินน�า้ สะเทินบกแบบเอเอวีพ-ี ๗เอ๑ (AAVP7A1) ลงจากเรือใหญ่ท�าการเคลื่อนที่สู่ชายหาดด้วย ความเร็วในน�้า ๑๓.๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

อัตโนมัติ เอ็มเค.๑๙ ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร (ลูกกระสุน ๘๖๔ นัด) อาวุธรอง ปืนกลหนัก ขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร (ลูกกระสุน ๑,๒๐๐ นัด) เกราะหนา ๔๕ มิลลิเมตร และบรรทุกทหาร ได้ ๒๘ นาย (๓ + ๒๕) ปัจจุบันได้ท�าการผลิต รวม ๑,๙๗๒ คัน จากที่ได้ประจ�าการมาเป็นเวลานานหน่วย นาวิ ก โยธิ น สหรั ฐ อเมริ ก า และพั น ธมิ ต รได้ น�าออกปฏิบัติการทางทหารในหลายสมรภูมิ ทั่วโลกที่ส�าคัญคือ สงครามเกาะฟอร์คแลนด์ พ.ศ.๒๕๒๕, สงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๓๔ ยุทธการพายุทะเลทราย กองพัน สะเทินน�้าสะเทินบกที่ ๓ เข้าร่วมปฏิบัติการรุก ทางพืน้ ดินเข้ายึดบริเวณท่าอากาศยานนานาชาติ คูเวต จบภารกิจแล้วเดินทางกลับสู่ที่ตั้งปกติ ที่ ค ่ า ยเพนเดลตั้ น เมื่ อ เดื อ นมี น าคม พ.ศ. ๒๕๓๔, สงครามในโมกาดิซู ประเทศโซมาเลีย พ.ศ.๒๕๓๕ กองพั น สะเทิ น น�้ า สะเทิ น บก ที่ ๓ กองพลนาวิกโยธินที่ ๓ และสงคราม อ่าวเปอร์เซียครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๖ การรบที่ นาซิริยาฮ์ (Nasiriyah) ระหว่างวันที่ ๒๓ ๒๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๖ กองพันสะเทินน�้า สะเทินบกที่ ๒ (กองพลนาวิกโยธินที่ ๒) จ�านวน ๒ กองร้อย ได้ท�าการต่อสูก้ บั กองก�าลังติดอาวุธ ของกองทัพอิรัก หน่วยนาวิกโยธินไทยได้ประจ�าการด้วยรถ สะเทินน�้าสะเทินบกแบบแอลวีทีพี-๗ (LVTP7) ปี พ.ศ.๒๕๑๕ ต่อมาได้ท�าการปรับปรุง ให้ เ ป็ น รุ ่ น ใหม่ เ รี ย กว่ า รุ ่ น เอเอวี พี - ๗เอ๑

(AAVP-7A1) ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ ได้รับมอบ เพิ่มเติมอีก ๒ รุ่น คือรุ่นบังคับการ เอเอวีซี -๗เอ๑ (AAVC-7A1) และรุ่นกู้ซ่อม เอเอวีอาร์ -๗เอ๑ (AAVR-7A1) โดยทั่ ว ไปจะเรี ย กว่ า เอเอวี-๗เอ๑ (AAV-7A1) น�าเข้าประจ�าการ ทีก่ องพันสะเทินน�า้ สะเทินบก กองพลนาวิกโยธิน อ�าเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ท�าการฝึกร่วม ในรหัสกะรัต ๒๐๑๓ ระหว่างวันที่ ๓ - ๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ เป็นการฝึกครั้งที่ ๑๙ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ท�าการฝึก ยกพลขึ้ น บกบริ เ วณหาดยาว อ� า เภอสั ต หี บ จั ง หวั ด ชลบุ รี โดยรถสะเทิ น น�้ า สะเทิ น บก แบบเอเอวี พี - ๗เอ๑ (AAVP-7A1) ร่ ว มกั บ หน่วยนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา เป็นการฝึก ด�าเนินกลยุทธ์ที่ส�าคัญยิ่งของการรบในเชิงรุก ทางยุทธศาสตร์ที่ต้องมีความเข้าใจในยุทธวิธี เป็ น อย่ า งดี แ ละระบบอาวุ ธ ทุ ก ระบบต้ อ งมี ความพร้อมรบสูงสุด นับว่าในภูมิภาคอาเซียน กองทัพทีป่ ระจ�าการด้วยรถสะเทินน�า้ สะเทินบก คืออินโดนีเซีย และไทย

๒9


30

พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ


MEGATRENDS ASIA แนวโน้มอภิมหาเอเชีย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ

ารรวมตั ว กั น เป็ น ประชาคมอาเซี ย น เป็ น การรวมกลุ ่ ม ในเชิ ง ลึ ก ซึ่ ง ต้ อ ง เผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายใหม่ ๆ และ ความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขัน ทางเศรษฐกิจได้กับประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะ ประเทศจีนและประเทศอินเดีย ที่มีอัตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด หาก ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ผมได้ อ ่ า น หนั ง สื อ เล่ ม หนึ่ ง ชื่ อ ว่ า Megatrends Asia ความจริงมีออกมาก่อนนี้หนึ่งเล่มคนเขียนคน เดียวกันชื่อว่า Megatrends 2000 เขียนโดย นาย John Naisbitt ที่น่าสนใจและน่าศึกษา ก็คือว่างานชิ้นนี้มาจากการศึกษาแบบ Future Studies คือ การใช้เครื่องมือในการคาดการณ์ อนาคต ว่าจะเกิดอะไรบ้างในภายภาคหน้า ที่จะหาที่สอนวิชานี้ยากเต็มทีในประเทศไทย เพราะเราคิดสั้นไม่คิดยาว นับเป็นเรื่องใหญ่ ที เ ดี ย ว เพราะหากเรารู ้ อ นาคตว่ า อะไรจะ เกิดขึ้นแล้ว เราก็สามารถวางแผนยุทธศาสตร์ ก� า หนดอนาคตประเทศได้ อ ย่ า งแม่ น ตรง ถู ก ต้ อ งมิ ใ ช่ แ บบคาดเดาเอาตามความรู ้ สึ ก เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลกล้วนแต่ถูก คาดการณ์ อ นาคตมาก่ อ นในหลายๆ เรื่ อ ง หลักคิดของผมก็คือ ใช้สิ่งที่เรียกว่า ปัจจัตตัง ท่านจะต้องเรียนรู้ด้วยตัวเอง คงต้องใช้หลัก

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ในหนังสือเล่มนี้บอกว่า ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และ ๘ ประเทศอาเซียน รวมทั้งประเทศไทยด้วย จะเป็น ผู้ก�าหนดชะตาโลกในอนาคต

กาลามสู ต รที่ ไ ม่ เ ชื่ อ อะไรง่ า ยๆ ไม่ ว ่ า จะไป ฟั ง อาจารย์ บ รรยาย ดู จ ากต�า รานั้ น ต� า รานี้ อย่างที่หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ว่าอย่าเชื่อต�ารา จึงต้องใช้หลัก ปัจจัตตังอย่างที่ผมว่า จากหนังสือเล่มนี้ อาจคาดการณ์ได้ว่า จีน จะเป็นมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจของโลกใน อีก ๑๒ ปีข้างหน้า ซึ่งวันนี้คงเริ่มเห็นภาพที่ ปรากฏชัดขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่มหาอ�านาจทาง เศรษฐกิจของโลกก็เริ่มจางหายไปเรื่อยๆ ทั้ง สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ด้วยที่ผู้เขียนศึกษาและบรรยายทางด้าน ยุทธศาสตร์ คนที่ศึกษายุทธศาสตร์จะเรียกว่า เป็นการใช้ก�าลังอ�านาจของชาติที่เข้มแข็งกว่า ท�าลายชาติที่อ่อนแอกว่า กรณีนี้เป็นการใช้ ก�าลังอ�านาจทางเศรษฐกิจของตัวเองท�าลายชาติ

31


ที่อ่อนแอกว่า เพราะฉะนั้นชาติที่อ่อนแอกว่า ในตอนนั้นก็คือ ๘ เสือ ในหนังสือเล่มนี้บอกว่า ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และ ๘ ประเทศอาเซียน รวมทั้ ง ประเทศไทยด้ ว ย จะเป็ น ผู ้ ก� า หนด ชะตาโลกในอนาคต มาถึงวันนี้ภาพนั้นชัดเจน มากขึ้น โดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาชนจีน นั้นมาแรงและก้าวหน้าล�้าสุดกว่าทุกประเทศ เกาหลีเองแม้จะมาทีหลังแต่ก็มาแรงแซงโค้ง ญีป่ นุ่ ไปแล้ว โดยเฉพาะในเรือ่ งไอที คอมพิวเตอร์ มือถือ และรถยนต์ ในอาเซียนเองก็มีหลาย ประเทศที่ ก ้ า วหน้ า และเริ่ ม ไปไกลกว่ า ไทย หลายประเทศ อาทิ สิงคโปร์ และมาเลเซีย แม้แต่เวียดนามเองก็มาแรง จี น , ธนาคารโลกวิ เ คราะห์ ว ่ า ปี ค.ศ. ๒๐๒๕ จีนจะเป็นมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจ อันดับ ๑ ของโลก ตามด้วยสหรัฐฯ อินเดีย และเยอรมนี หากพิจารณาดู สิ่งที่คาดการณ์นี้ เริ่มเป็นจริง เพราะเศรษฐกิจจีนนับวันมีแต่ จะเข้มแข็งมั่นคง สหรัฐอเมริกาเองยังกังวล ต่อเรื่องนี้อย่างมาก จึงร่วมมือกับสหภาพยุโรป พยายามจะสกัดกั้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของจีนทุกวิถีทางแต่ก็ไร้ผล แม้จะพยายามใช้ มาตรการจัดระเบียบโลกใหม่ (New World Order) เข้ า มากดดั น ในด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม และการค้าเสรี จี น ก็ ต ่ อ สู ้ ไ ม่ ย อมถอยและอ่ อ นข้ อ ทั้ ง เงิ น 3๒

พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ


สกุ ล หยวนของจี น เองก็ ยั ง ไม่ อ ยู ่ ใ นระบบ การเงิ น สากลในช่ ว งนั้ น สหรั ฐ ฯ จึ ง โจมตี เครือข่ายจีน รวมทั้งประเทศที่มีเวลาตรงกับ จีน เช่น ไต้หวัน เกาหลี มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อิ น เดี ย ประเทศที่ ถู ก คาดการณ์ ว ่ า จะ เจริญก้าวหน้า โดยเฉพาะด้าน Software มี ฐานผลิ ต อยู ่ ที่ เ มื อ งบั ง กาลอ อั น เป็ น Call center ของโลก ที่น่าแปลกใจเมื่อ ๓ ปีที่แล้ว ได้มีโอกาสฟังการบรรยายของสถานทูตไทย ในกรุงเดลลี มีข้อมูลว่าตลาดอินเดียส่วนใหญ่ เป็ น ตลาดภายในประเทศ ๘๐ เปอร์ เ ซ็ น ต์ ส่งออกแค่ ๒๐ เปอร์เซ็นต์ และจีนกับอินเดีย มีความเจริญทางเศรษฐกิจมาจาก Network นั่นคือประเทศเครือข่ายความร่วมมือ ส่วนใน ประเทศนั้นเรียกว่า หัวเฉียว (คนจีนโพ้นทะเล) ก็กลับประเทศมาช่วยกันพัฒนา แม้แต่อนิ เดียเอง ท่ า นทู ต ก็ บ อกว่ า จะมี ค นอิ น เดี ย โพ้ น ทะเล กลับมาช่วยพัฒนาประเทศ ๒๙ ล้านคน จึงท�าให้ มีแนวโน้มเป็นมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจโลก ในปี ค.ศ.๒๐๒๕ หรื อ อี ก ๑๒ ปี ข ้ า งหน้ า แต่สิ่งส�าคัญ คือ การที่เศรษฐกิจในประเทศ ต่างๆ ที่เจริญก้าวหน้าขึ้นมานั้น เนื่องมาจาก การขายวั ฒ นธรรม ซึ่ ง แม้ แ ต่ เ กาหลี ญี่ ปุ ่ น ก็มาจากการขายวัฒนธรรมเช่นเดียวกัน จึง หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

น่ากลับมาย้อนดูประเทศไทยว่าวัฒนธรรมไทย ที่ดีงามนั้นได้ถูกท�าลายลงไปทุกวันๆ ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจนั้น ทั้ง จี น และอิ น เดี ย จะมี GDP รวมกั น เกิ น กว่ า ชาติ ส มาชิ ก ของกลุ ่ ม ประเทศอุ ต สาหกรรม ชั้นน�า ๗ ชาติ (G7) โดยเฉพาะตัวเลขที่มีการ คาดการณ์ในปัจจุบันว่าอินเดียจะมีประชากร มากทีส่ ดุ ในโลกในปี ค.ศ.๒๐๕๐ คงต้องติดตาม ดูกันต่อไป ข้ อ ยื น ยั น ของข้ อ มู ล นี้ คื อ นายเจมส์ วูลเฟนซอห์น อดีตประธานธนาคารโลก พูดไว้ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย นิ ว เซาท์ เ วลส์ นครซิ ด นี ย ์ ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ คาดว่าปี ๒๕๗๓ - ๒๕๘๓ จีนจะก้าวข้ามสหรัฐฯ ขึ้นมาเป็นชาติอันดับ ๑ ทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อประเทศ ต่ า งๆ จากการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของ ยักษ์ใหญ่เอเชีย ดังที่สหรัฐฯ และยุโรปเป็น อยู่ขณะนี้ โลกก�าลังจะอยู่ในมือของจีนและ อินเดีย หนังสือเล่มนี้จึงเตือนให้ชาติตะวันตก เร่งเตรียมการรับมือกับอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ในการแผ่ขยายอ�านาจอย่างรวดเร็วจนถึงขั้น เปลี่ยนดุลอ�านาจ ชาติที่ร�่ารวยจะต้องปรับตัว ให้เข้ากับจีนและอินเดีย ก่อนที่ทุกอย่างจะ สายเกินไป แม้แต่โกลด์แมน แซคส์ วาณิชธนกิจ ชื่อดัง ก็คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ.๒๐๕๐ GDP

ข้อยืนยันของข้อมูลนี้คือ นายเจมส์ วูลเฟนซอห์น อดีตประธานธนาคารโลก พูดไว้ที่มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ นครซิดนีย์ ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ คาดว่าปี ๒๕๗๓ - ๒๕๘๓ จีนจะ ก้าวข้ามสหรัฐฯ ขึ้นมาเป็นชาติอันดับ ๑ ทางเศรษฐกิจ

ของจี น จะขยายตั ว จากมู ล ค่ า รวม ๒ ล้ า น ล้านดอลลาร์เป็น ๔๘.๖ ล้านล้านดอลลาร์ GDP ของอินเดียเองในปี พ.ศ.๒๕๕๐ มีไม่ถึง ๑ ล้ า นล้ า นดอลลาร์ แต่ จ ะขยายสู ง ขึ้ น ถึ ง ๒๗ ล้านล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ GDP จะเพิม่ จาก ๑๓ ล้านล้านดอลลาร์ เป็น ๓๗ ล้านล้านดอลลาร์ เท่านัน้ ซึง่ น้อยกว่าจีนถึง ๑๐ ล้านล้านดอลลาร์ ในปี ๒๐๕๐ เศรษฐกิ จ ของจี น และอิ น เดี ย มีแนวโน้มจะขยายตัวถึง ๒๒ เท่า ขณะที่ชาติ G7 มีแนวโน้มขยายตัวเพียง ๒.๕ เท่าเท่านั้น ซึ่งในปัจจุบันทั้งจีนและอินเดีย ต่างก็เข้าไป ลงทุนในแอฟริกาอย่างมาก 33


สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม

Defence Technology Institute (Public Organisation) Ministry of Defence, The Kingdom of Thailand

เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน การปฏิบัติการในสามจังหวัดภาคใต้

นขณะนี้ ปัญหาการก่อความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้มีแนวโน้มรุนแรง และ ขยายขอบเขตความเสียหายมากยิ่งขึ้น ทุกขณะ เพราะมุ่งหวังเพียงจะท�าภารกิจการ แบ่งแยกดินแดนให้ประสบความส�าเร็จโดย เร็วที่สุดเท่านั้น การให้ความส�าคัญในการศึกษาและประยุกต์ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเป็นความจ�าเป็น เร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีด้านการ ข่าว เพื่อแก้ไขปัญหาการก่อความไม่สงบหรือ การก่อการร้าย จะต้องเป็นงานข่าวในเชิงรุก ที่จะช่วยป้องกันความรุนแรงก่อนที่เหตุการณ์ จะเกิดขึ้น และสามารถสร้างสภาวะกดดันให้ กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ ช่วยให้ประชาชน ในพื้นที่ลดความตึงเครียด และลดการสูญเสีย ชีวิตของเจ้าหน้าที่ ในช่วงที่ผ่านมา ฝ่ายเจ้าหน้าที่ใช้มาตรการ ในการตรวจตราและควบคุมการเคลื่อนไหว ของกลุม่ ผูก้ อ่ ความไม่สงบ โดยการตัง้ ด่านตรวจ ซึ่ ง เป็ น ด่ า นถาวร มี ร ะยะเวลาในการตรวจ ๒๔ ชั่วโมง และจุดตรวจ ซึ่งเป็นด่านชั่วคราว ระยะเวลาในการตรวจไม่แน่นอน รวมทัง้ จุดสกัด ที่ใช้ในกรณีเกิดเหตุการณ์เป็นครั้งๆ ไป แต่จากเหตุการณ์ลอบวางระเบิด และลอบ โจมตี ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนสร้างความ สูญเสียอย่างมากต่อชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งๆ ที่ในพื้นที่ มีด่านตรวจ จุดตรวจ และจุดสกัด อยู่มากมาย อันเป็นการสะท้อนให้เห็นจุดอ่อน และช่ อ งโหว่ ใ นการตรวจตราและตรวจจั บ ผู้ก่อความไม่สงบ ท�าให้ไม่สามารถป้องกันและ

34

ติดตามความเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ก่อความไม่ สงบได้ ดังนั้น แนวทางการแก้ไขปัญหา ด้วย เทคโนโลยีประการหนึ่ง คือ การเพิ่มขีดความ สามารถในการตรวจตราและสกัดผู้ก่อความไม่ สงบก่อนลงมือกระท�าการรุนแรง และพยายาม จ�ากัดการเคลื่อนไหวของกลุ่มกองก�าลัง ไม่ ให้ด�าเนินการโดยสะดวก เป็นการเพิ่มความ กดดันแก่กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ เพื่อช่วยลด ความถี่ในการโจมตี ลดความรุนแรงและลด โอกาสของความส�าเร็จในการลงมือ และจะ เป็นช่องทางหนึ่งในการจับกุมผู้ก่อเหตุ ทัง้ นี้ ด่านตรวจ จุดตรวจ และจุดสกัดเหล่านี้ อาจพั ฒ นาได้ โ ดยการเชื่ อ มต่ อ ผ่ า นระบบ โครงข่ า ยสื่ อ สารกั บ ศู น ย์ ค อมพิ ว เตอร์ ก ลาง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ระบบสารสนเทศแบบรวมศู น ย์ ที่สมบูรณ์แบบและครบวงจร สามารถใช้ข้อมูล จากส่วนกลางที่ถูกต้อง ทันสมัย และน่าเชื่อถือ ในการตรวจสอบบุ ค คลและยานพาหนะ ได้อย่างรวดเร็ว ตลอดเวลา อาจมีมาตรฐาน เทคโนโลยี ๓ ประเภทที่มีความเป็นไปได้ที่จะ น�ามาใช้ ได้แก่

การให้ความส�าคัญในการศึกษาและ ประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เป็นความจ�าเป็นเร่งด่วน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเทคโนโลยีด้านการข่าว


๑. ด่านตรวจ เป็นอาคารถาวรหรือตู้คอนเทนเนอร์ ที่มี การติดตั้งอุปกรณ์ทันสมัยด้านความปลอดภัย (Security) อย่างสมบูรณ์ ระยะเวลาในการ ตรวจ ๒๔ ชั่วโมง เป็นระบบด่านตรวจแบบ อัตโนมัติ มีเครื่อง X-RAY Scanner ในการ ตรวจสอบยานพาหนะและระบบตรวจสอบ บุคคลโดยละเอียด เพื่อความปลอดภัยและ ความสะดวกส�าหรับประชาชนมีการเชื่อมต่อ สายสัญญาณใยแก้วน�าแสง (Fiber Optic) เข้าไปในตู้ Container รวมทั้งมีกล้องบันทึก ภาพเหตุการณ์สภาพแวดล้อม และแบบเฉพาะ เจาะจง ๒. จุดตรวจ เป็นรถตู้ Mobile ที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ ทันสมัยด้านระบบความปลอดภัย (Security) อย่างสมบูรณ์แบบ มีเครื่อง X-RAY Scanner ในการตรวจสอบยานพาหนะ และระบบตรวจ สอบบุคคลใช้ระบบการสื่อสารแบบ Wireless ๕.๗ GHz และสามารถเป็น Router ส�าหรับ Wireless LAN ด้วย เป็นระบบด่านตรวจ แบบกึ่งอัตโนมัติ เพื่อความปลอดภัยและความ สะดวกส�าหรับประชาชน รวมทัง้ มีกล้องบันทึก ภาพเหตุการณ์สภาพแวดล้อม และแบบเฉพาะ เจาะจง ๓. จุดสกัด เป็นรถยนต์หรือรถกระบะ ที่มีการติดตั้ง อุ ป กรณ์ ทั น สมั ย ด้ า นระบบความปลอดภั ย Security อย่ า งสมบู ร ณ์ แ บบ ใช้ ใ นกรณี เกิ ด เหตุ ก ารณ์ โดยจะเน้ น การใช้ อุ ป กรณ์ พกพาประจ�าตัวเจ้าหน้าที่เป็นเครื่องมือในการ ตรวจสอบ นอกจากนี้ อาจมีการประยุกต์ใช้ อาร์เอฟ ไอดี (Radio-frequency identification : RFID) ซึ่งเป็นวิธีการในการเก็บข้อมูลหรือระบุข้อมูล

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

แบบอัตโนมัติ โดยท�างานผ่านการรับสัญญาณ จากแท็ก (Tag) เข้าสู่ตัวส่งสัญญาณ ผ่านทาง คลื่นวิทยุ แท็กของอาร์เอฟไอดีโดยปกติจะมี ขนาดเล็กซึ่งสามารถติดตั้งเข้ากับสิ่งของ ยาน พาหนะ และบุคคลได้ ซึ่งเมื่อตัวส่งสัญญาณ (Tag reader) ส่งคลื่นวิทยุไป และพบเจอ แท็กนี้ สัญญาณจะถูกส่งกลับพร้อมกับข้อมูล ที่เก็บไว้ในแท็ก ดังนั้น หากมีการติดตั้งอุปกรณ์ RFID กับ ยานพาหนะทุกคันในพื้นที่ และบันทึกข้อมูล พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ ยานพาหนะนั้ น เช่ น ยี่ ห ้ อ รถ รุ่นของรถ สีรถ ชื่อเจ้าของรถ และที่อยู่ เจ้าของรถ เป็นต้น ไว้ในแท็กของ RFID ที่ติด ตั้งไว้กับตัวยานพาหนะ ซึ่งเมื่อใช้อุปกรณ์ตัว ส่งสัญญาณตรวจสอบในระยะใกล้ ก็จะทราบ ได้อย่างรวดเร็วทันทีว่ายานพาหนะนั้นต้อง สงสัยหรือไม่ เช่น มีการปรับเปลี่ยนแก้ไข ไม่มี ในระบบฐานข้อมูล เป็นรถคันที่ก่อเหตุ หรือ อาจถูกขโมยมา เป็นต้น เพื่อจะได้สกัดกั้นก่อน หรือหลังการลงมือก่อเหตุได้อย่างเป็นระบบ และทันท่วงที ซึ่งข้อดีของการใช้ระบบ RFID คือ ไม่มีขั้นตอนยุ่งยาก หรือสร้างความล�าบาก ให้กับเจ้าของยานพาหนะ เพราะสามารถขับ ผ่านระบบตรวจสอบ RFID ได้อย่างรวดเร็ว ข้อมูลทีไ่ ด้จะมีความถูกต้อง น่าเชือ่ ถือ สามารถ Update ข้อมูลผ่านศูนย์คอมพิวเตอร์กลาง และส่งต่อมายังหน่วยผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ได้ UAV กั บ การปฏิ บั ติ ก ารในสามจั ง หวั ด ภาคใต้ การเดิ น เท้ า ลาดตระเวนมั ก มี ค วามเสี่ ย ง ต่อการถูกลอบโจมตีทุกรูปแบบ ดังนั้น อาจมี การด�าเนินกลยุทธ์เพื่อชิงความได้เปรียบ เช่น การส่งอุปกรณ์เทคโนโลยีชั้นสูง เช่น ยานยนต์ ไร้คนขับ (Unmanned Ground Vehicle : UGV) เพื่อตรวจการณ์ล่วงหน้า โดยเฉพาะใน

พื้นที่เสี่ยงจะช่วยลดความเสี่ยงของทหาร และ ต้องสามารถปฏิบัติได้ทุกเวลาทั้งกลางวันและ กลางคืน โดยไม่ตกเป็นที่สังเกตของฝ่ายตรง ข้าม จึงควรมีการจัดหาและพัฒนาระบบยาน ยนต์ไร้คนขับ โดยเฉพาะหุ่นยนต์เก็บกู้ท�าลาย วัตถุระเบิด ให้มีประสิทธิภาพและมีจ�านวนที่ เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน เพื่อช่วยสร้าง ความปลอดภัยและความมั่นใจต่อเจ้าหน้าที่ และประชาชนในพื้นที่ เทคโนโลยี ห นึ่ ง ที่ มี บ ทบาทส� า คั ญ ต่ อ การ ปฏิบัติภารกิจทางทหารในยุคปัจจุบัน และ สามารถน�ามาประยุกต์ใช้งานในพื้นที่ได้คือ อากาศยานไร้นักบิน (Unmanned Aerial Vehicle : UAV) ซึ่งสามารถน�ามาใช้กับภารกิจ ทางทหารได้อย่างหลากหลาย และอากาศยาน ไร้นักบินยังเป็นปัจจัยหลักในสงครามต่อต้าน การก่ อ การร้ า ยสากล (Global War on Terrorism : GWOT) ที่มีแนวโน้มการน�ามา ใช้งานเพิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยอากาศยาน ไร้นักบินมีหลายประเภท เช่น ๑. อากาศยานไร้นักบินระดับยุทธวิธี ส�าหรับใช้ในภารกิจการข่าวกรอง การเฝ้า ตรวจ การตรวจจับเป้าหมาย และการลาด ตระเวน (ISTAR) โดยอาศัยระบบบังคับบัญชา และควบคุม (C2) ที่มีประสิทธิภาพ สามารถ เชื่ อ มต่ อ ข้ อ มู ล แบบเวลาจริ ง ไปยั ง หน่ ว ย ควบคุมบังคับบัญชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดในการปฏิบัติงาน โดยทั่วไป อากาศยาน ไร้นักบินระดับยุทธวิธี จะมีระยะปฏิบัติการ ๑๐๐ - ๒๐๐ กม. ระยะเวลาปฏิ บั ติ ก าร ๘ - ๑๖ ชม. เพดานบินประมาณ ๑๐,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ ฟุต และระบบการบินขึ้น - ลงจะ ต้องใช้สนามบิน โดยปกติ ระบบอากาศยานไร้นักบินระดับ ยุทธวิธี จะใช้เวลานานกว่าจะพร้อมใช้งาน 35


อากาศยานไร้นักบินระยะใกล้ ได้รับการออกแบบให้มีคุณสมบัติ ในการขึ้นบินและลงโดยไม่ใช้สนามบิน โดยจะอาศัยเครื่องมือ อุปกรณ์พิเศษ แบบต่างๆ ช่วยในการบินขึ้น เช่น การใช้แรงผลักจากกระบอกลม แรงดันจากเครื่องส่งหรือเครื่องดีด ประเภท Pneumatic หรือ Catapult เป็นต้น

เช่น ประมาณ ๓๐ นาที เช่นเดียวกับเครื่องบิน ที่ ต ้ อ งการเวลาในการเตรี ย มขึ้ น บิ น ท� า ให้ บางครั้ ง ไม่ ส ามารถสนั บ สนุ น การใช้ ง าน ทางยุทธวิธีได้ จึงต้องพึ่งเทคโนโลยีให้ใช้งาน ได้เร็วขึ้น และอีกทางออกหนึ่งของปัญหานี้ คือ ต้องขึ้นบินผลัดเปลี่ยนเวียนกัน เพื่อให้ มีอากาศยานไร้นักบินลอยตัวอยู่บนท้องฟ้า ตลอดเวลา ๒๔ ชม. ซึ่งจะต้องมีอากาศยาน ไร้นักบินจ� านวนมากพอจึงจะท� าได้ เพื่อให้ ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถติดตามความเคลือ่ นไหว และสถานการณ์ ไ ด้ ติ ด เวลาทั น ที ที่ เ กิ ด สถานการณ์ และสามารถใช้งานทางยุทธวิธี ได้อย่างทันท่วงที ๒. อากาศยานไร้นักบินระยะใกล้ นอกจากอากาศยานไร้นักบินระดับยุทธวิธี ที่ต้องใช้สนามบินแล้ว อากาศยานไร้นักบิน ระยะใกล้ ที่มีข้อดีในด้านความสะดวกในการ เคลื่อนย้าย มีความคล่องตัวและปฏิบัติภารกิจ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว สามารถใช้ เ ครื่ อ งมื อ หรื อ อุปกรณ์พิเศษช่วยในการบินขึ้นและลง ก็อาจ จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น�ามาใช้ได้ ซึ่งโดย ปกติ อากาศยานไร้นักบินระยะใกล้ จะมีระยะ ปฏิบัติการ ๖๐ - ๑๐๐ กม. ระยะเวลาปฏิบัติ การ ๖ - ๑๐ ชม. และเพดานบินประมาณ ๖,๐๐๐ - ๑๒,๐๐๐ ฟุต อากาศยานไร้นักบินระยะใกล้ ได้รับการ ออกแบบให้มีคุณสมบัติในการขึ้นบินและลง โดยไม่ ใ ช้ ส นามบิ น โดยจะอาศั ย เครื่ อ งมื อ อุปกรณ์พเิ ศษแบบต่างๆ ช่วยในการบินขึน้ เช่น การใช้แรงผลักจากกระบอกลม แรงดันจาก เครื่องส่งหรือเครื่องดีด ประเภท Pneumatic หรือ Catapult เป็นต้น ในการส่งอากาศยาน ไร้นักบินด้วยความเร็วที่เพียงพอเพื่อบินขึ้น และอุปกรณ์ช่วยเหลือแบบต่างๆ ในการบิน ลงจอด เช่น ตาข่าย ร่ม หรือสายเกี่ยว เป็นต้น ท�าให้สามารถลงจอดในป่าได้ 3๖

๓. อากาศยานไร้นักบินขนาดเล็ก เป็นอากาศยานไร้นักบินที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้เป็นอากาศยานไร้นักบินขนาดพกพา ให้ มี น�้ า หนั ก เบากะทั ด รั ด สามารถถอดชิ้ น ส่วนหรือพับเก็บในกระเป๋า และด้วยขนาดที่ เล็กของอากาศยานไร้นักบินประเภทนี้ ท�าให้ สามารถพกพาเข้ า ไปในพื้ น ที่ ต ่ า งๆ ได้ โ ดย สะดวก และเมื่อบินขึ้นก็จะถูกตรวจจับได้ยาก อากาศยานไร้นักบินขนาดเล็กจะช่วยแก้ไข ปั ญ หาข้ อ จ� า กั ด ต่ า งๆ ในเรื่ อ งขนาดและ น�้าหนัก ซึ่ ง โดยทั่ ว ไป อากาศยานไร้นักบิน ขนาดเล็ ก จะมี ร ะยะปฏิ บั ติ ก าร ๑๐ กม. ระยะเวลาปฏิบัติการ ๑ - ๒ ชม. เพดานบิน ประมาณ ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ ฟุต และใช้ขว้างส่งขึน้ ด้วยมือ (Hand-Launched) ในการบินขึ้น อากาศยานไร้นกั บินขนาดเล็กเป็นยุทโธปกรณ์ ที่ใช้ในการตรวจการณ์ทางอากาศ เพื่อให้ได้ ภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่งของพื้นที่ปฏิบัติ การในระยะจ�ากัด โดยสามารถท�าการปฏิบัติ การได้ ทั้ ง กลางวั น และกลางคืน ในปัจจุบัน อากาศยานไร้ นั ก บิ น ขนาดเล็ ก ถู ก ใช้ ง าน อย่ า งแพร่ ห ลายในภารกิ จ ต่ า งๆ เช่ น การ ลาดตระเวนสอดแนม การลาดตระเวนส่วนหน้า การติดตามยานพาหนะและบุคคลต้องสงสัย การค้ น หาและกู ้ ภั ย การคุ ้ ม ครองก� า ลั ง รบ การรั ก ษาความปลอดภั ย ให้ กับ ยานพาหนะ การค้นหาเป้าหมายทางยุทธวิธี การประเมิน จุฬาพิช มณีวงศ์


ความเสี ย หายจากการโจมตี การต่ อ ต้ า น การก่อการร้าย และการตรวจตรา ตรวจสอบ สถานที่ ก่อเหตุความไม่สงบก่อนทีจ่ ะเคลือ่ นย้าย ก�าลังเจ้าหน้าที่เข้าสู่พื้นที่ เป็นต้น การป้องกันการโจมตีด้วยระเบิดในสาม จังหวัดภาคใต้ ปัจจุบันเหตุวางระเบิดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ โดยมุ่งหวังที่จะ โจมตี เ จ้ า หน้ า ที่ ร วมถึ ง บ้ า นเรื อ นประชาชน ทั้งนี้ ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีหลายประเภท ที่ ส ามารถช่ ว ยป้ อ งกั น หรื อ รั บ มื อ กั บ ระเบิ ด ชนิดต่าง ๆ ได้เช่น ๑. หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด ปั จ จุ บั น การเก็ บ กู ้ วั ต ถุ ร ะเบิ ด หรื อ การ ตรวจสอบวัตถุตอ้ งสงสัยในพืน้ ทีจ่ ะใช้เจ้าหน้าที่ เก็ บ กู ้ วั ต ถุ ร ะเบิ ด (Explosive Ordnance Disposal: EOD) เข้าตรวจสอบหรือเก็บกู้ วัตถุระเบิด ซึ่งเป็นงานที่เสี่ยงภัยเป็นอย่างมาก และหลายครั้งผู้ก่อความไม่สงบมักจะใช้การ วางระเบิดปลอมหรือระเบิดลูกเล็กเพื่อล่อให้ เจ้าหน้าทีเ่ ข้ามาตรวจสอบ ก่อนทีจ่ ะกดระเบิด ลูกที่ใหญ่กว่าเพื่อสังหารเจ้าหน้าที่ ปัจจุบันเทคโนโลยีหุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด มีการพัฒนาไปมาก และสามารถปฏิบัติงาน แทนมนุษย์ได้ผลดีในระดับหนึ่ง โดยหุ่นยนต์ สามารถเข้าพื้นที่เพื่อตรวจสอบและท� าลาย วงจรจุดระเบิดได้จากการควบคุมระยะไกล และโดยเฉพาะอย่างยิง่ การวางระเบิดในภาคใต้

(ไม่นับการวางระเบิดใต้ถนน) มักจะกระท� า ในพื้นที่ที่ค่อนข้างเปิดโล่ง การเคลื่อนที่ของ หุ่นยนต์จึงเป็นไปได้อย่างสะดวก และที่ส�าคัญ การใช้หุ่นยนต์สามารถลดความศูนย์เสียของ เจ้าหน้าที่ได้อย่างมาก ๒. ยานเกราะ การลาดตระเวนโดยใช้ยานเกราะ โดยเฉพาะ ยานเกราะล้อยางจะช่วยสร้างความปลอดภัย อย่างมากต่อเจ้าหน้าที่ เพราะเป็นยุทโธปกรณ์ ที่ ส� า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ส� า หรั บ การรบภาคพื้ น ดิ น ช่วยให้สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัวและ รวดเร็ว และตอบสนองต่อภัยคุกคามที่หลาก หลาย สามารถช่วยปกป้องเจ้าหน้าที่ ทั้งจาก อาวุ ธ หนั ก และอาวุ ธ เบา เช่ น จรวด RPG ระเบิดแสวงเครื่อง (IED) เกราะสุนเจาะเกราะ และปืนต่อสู้รถถัง เป็นต้น รถในลักษณะนี้อาจจะเป็นการน�ารถใช้งาน ทั่วไป รถของพลเรือน หรือรถทางทหารที่ปกติ ไม่มกี ารติดเกราะป้องกัน มาท�าการเสริมเกราะ ป้องกันตามจุดที่ต้องการ ยานเกราะแบบนี้ สามารถดัดแปลงได้ง่าย ราคาไม่แพงทั้งราคา ในการจัดหาและการซ่อมบ�ารุงเพราะอาจใช้ รถที่ใช้งานทั่วไปมาดัดแปลง การใช้งานง่าย

แต่ก็มีข้อเสียคือ ถ้าท�าการดัดแปลงรถที่ไม่ได้ ถู ก ออกแบบมาส� า หรั บ การปฏิ บั ติ ก าร ทางทหาร อาจท�าให้ตัวรถไม่มีประสิทธิภาพ เพี ย งพอในการแบกน�้ า หนั ก เกราะที่เพิ่มขึ้น การขั บ เคลื่ อ นไปในภู มิ ป ระเทศอาจท� า ได้ ไม่ ดี นั ก เนื่ อ งจากสมรรถนะของเครื่ อ งยนต์ ไม่เพียงพอ หรือในอีกลักษณะหนึ่งอาจใช้ยานเกราะ ที่ อ อกแบบมาเฉพาะส� า หรั บ การปฏิ บั ติ ง าน ในเมือง ซึ่งมีน�้าหนักเบากว่าและอาจไม่จ�าเป็น ต้ อ งมี อ�า นาจการยิ ง สู ง แต่ มี ค วามคล่ อ งตั ว สามารถป้องกันชีวิตของก�าลังพลจากการลอบ โจมตีได้ ๓. เครื่องตรวจจับวัตถุระเบิด หลังจากที่เครื่องมือตรวจมวลสาร GT-200 ถูกสั่งระงับการใช้งานเนื่องจากผลการทดสอบ ได้ยืนยันว่าเครื่องมือไม่มีประสิทธิภาพ การ ใช้งานเครื่องมือตรวจจับวัตถุระเบิดก็ลดลง แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่มีเทคโนโลยีใดที่มีความ สามารถเพี ย งพอที่ จ ะตรวจจั บ วั ต ถุ ร ะเบิ ด ได้ ห ลายกิ โ ลเมตรอย่ า งที่ ผู ้ ผ ลิ ต GT-200 เคยกล่าวอ้าง การจัดหาเครือ่ งมือตรวจจับวัตถุ ระเบิดระยะใกล้ทมี่ ปี ระสิทธิภาพและได้รบั การ ยอมรับได้ก็เป็นสิ่งจ� าเป็นที่จ�าช่วยลดความ สูญเสียของเจ้าหน้าที่ได้ เครื่องตรวจจับวัตถุระเบิดที่ใช้งานได้จริง ในปัจจุบนั มักจะใช้การตรวจจับการระเหยของ อนุภาคของสารระเบิดเพื่อตรวจสอบว่ามีวัตถุ ระเบิดหรือไม่ หรือใช้หลักการ ซึ่งถือได้ว่าเป็น อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพทีได้รับการยอมรับ แล้วว่าใช้งานได้จริง

บทความจากสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

37


สตรีผู้ทรงอิทธิพล จุฬาพิช มณีวงศ์

นิ

ตยสารใหม่ของสหรัฐฯ ได้จัดอันดับ บุ ค คลผู ้ ท รงอิ ท ธิ พ ลที่ สุ ด ในโลก ๑๐๐ คน ปรากฏชือ่ ทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ คือ มาลาลา ยูซาฟไซ เด็กหญิงวัย ๑๕ ชาวปากีสถาน ผูเ้ คลือ่ นไหวเพือ่ เรียกร้องโอกาสทางการศึกษา แก่เยาวชนในประเทศ และรอดชีวิตจากการ ถู ก ลอบสั ง หารจากกลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยตาลี บั น เมื่อปี ๒๕๕๕ เป็นที่น่าสังเกตในบรรดา ๑๐๐ ชื่อ ที่ถูก จัดอันดับเป็นผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกแห่งปี มี สุ ภ าพสตรี ที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจอย่ า งมาก นอกจากสาวน้อยมหัศจรรย์มาลาลาแล้ว ยัง มีชื่อของเจนนิเฟอร์ จอว์เรนซ์ นักแสดงสาว เจ้าของรางวัลออสการ์สาขานักแสดงน�าหญิง ยอดเยี่ยมประจ�าปีนี้ แคทเธอรีน ดัสเชสแห่ง 38

จุฬาพิช มณีวงศ์


สหประชาชาติถึงกับยกย่องสตรี ผู้ทรงอิทธิพลแห่งปี คือ มาลาลา ยูซาฟไซ โดยจัดให้มีงานสถาปนา วันมาลาลาเดย์ ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยถือเอาวันครบรอบวันเกิดปีที่ ๑๖ ของเด็กหญิงซึ่งตรงกับ วันที่ ๑๒ กรกฎาคม

เคมบริดจ์ มิเชล โอบามา สตรีหมายเลขหนึ่ง ของสหรัฐ เผิง ลี่หยวน สตรีหมายเลขหนึ่งของ จีน ออง ซาน ซูจี ผู้น�าพรรคฝ่ายค้านของพม่า ประธานาธิบดีหญิง ปาร์คกึนเฮ ของเกาหลีใต้ สหประชาชาติ ถึ ง กั บ ยกย่ อ งสตรี ผู ้ ท รง อิทธิพลแห่งปี คือ มาลาลา ยูซาฟไซ โดยจัดให้ มีงานสถาปนาวันมาลาลาเดย์ ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยถือเอาวันครบรอบวันเกิดปีที่ ๑๖ ของ เด็กหญิงซึง่ ตรงกับวันที่ ๑๒ กรกฎาคม เป็นการ ให้เกียรติพร้อมกับเชิญมาลาลากล่าวสุนทรพจน์ ต่อหน้านายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ และผู้น�าเยาวชนเกือบ ๑,๐๐๐ คน จาก ๑๐๐ ประเทศทั่วโลก ถือเป็นการร่วมประชุมสมัชชา เยาวชนโลก ครั้งที่ ๑ ไปในตัวอีกต่างหาก สุนทรพจน์ของเด็กหญิงวัย ๑๖ เรียกความ ประทับใจและความทึ่งในสติปัญญาที่แม้แต่ ผูใ้ หญ่หลายคนยังคิดไม่ได้ โดยมาลาลาได้เรียก ร้องให้ทุกคนลุกขึ้นมาจับหนังสือและปากกา ซึ่ ง ถื อ เป็ น อาวุ ธ ที่ ท รงอานุ ภ าพของเด็ ก และ เยาวชน เพื่อเปลี่ยนแปลงโลกใบนี้ เพราะเชื่อ ว่ามีแต่การศึกษาเท่านั้นที่เป็นหนทางในการ แก้ปัญหาที่โลกเผชิญอยู่ ถือเป็นเรื่องส�าคัญ ล�าดับแรกที่จะน�าไปสู่การแก้ปัญหา นอกจาก นั้นยังเรียกร้องให้ผนู้ �าทุกประเทศให้การศึกษา แก่เด็กทุกคนในแต่ละประเทศโดยไม่คิดมูลค่า เด็กหญิงมาลาลา ซึง่ ปรากฏในทีส่ าธารณชน เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ถูกยิงเมื่อเดือนตุลาคม ปีที่แล้ว ยืนยันว่า มาลาลาเดย์ไม่ได้เป็นวัน ของเธอ หากแต่เป็นวันส�าหรับสตรี เด็กหญิง และเด็กชายทุกคนบนโลกใบนี้ที่พร้อมจะเปล่ง เสียงเพื่อเรียกร้องสิทธิของตนออกมา เธอยัง ได้พูดถึงเหตุการณ์ที่ถูกจ่อยิงหัวโดยตาลีบันว่า ผู ้ ก ่ อ การร้ า ยคิ ด ผิ ด ที่ เ ชื่ อ ว่ า กระสุ น จะหยุ ด มนุษย์ได้ เพราะในท่ามกลางความเงียบยังจะมี เสียงอีกนับพัน นับหมื่นเสียง ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยน หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

จุดมุ่งหมายและความทะเยอทะยานได้ ยกเว้น ความอ่อนแอ ความกลัว และการช่วยเหลือ ตั ว เองที่ ต ายจากไปพร้ อ มการเกิ ด ใหม่ ข อง ความเข้มแข็ง พลังและความกล้าหาญ มาลาลายั ง กล่ า วด้ ว ยว่ า เธอได้ มี โ อกาส เรียนรู้ถึงความสงบสันติและการให้ความรู้ต่อ ผู้คนด้วยการศึกษาคนอย่าง มหาตมะ คานธี ผู ้ น� า การกู ้ อิ ส รภาพของอิ น เดี ย และผู ้ น� า ที่ ยิง่ ใหญ่ของโลกคนอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นพระศาสดา โมฮัมหมัด พระเยซูคริสต์ พระพุทธเจ้า รวมถึง มรดกทีม่ าร์ตนิ ลูเธอร์คงิ และเนสัน แมนเดลลา ทิ้งเอาไว้ให้มนุษยชาติ ขณะเดียวกัน เด็กหญิงตัวน้อยที่ใจยิ่งใหญ่ ผู้นี้ยังสร้างความประทับใจกับค�ากล่าวที่ว่า เธอไม่ ไ ด้ ม าเพ้ อ พู ด ให้ เ กิ ด การแก้ แ ค้ น ต่ อ ตาลีบัน หรือกลุ่มก่อการร้ายใดๆ และไม่ได้

รู้สึกเกลียดหรือต่อต้านใครผู้หนึ่งผู้ใด แม้แต่ ตาลีบันคนที่ยิงเธอ และถ้าเธอมีปืนอยู่ในมือ และเขาอยู่เบื้องหน้า เธอก็จะไม่ยิงเขาอย่าง เด็ดขาด การที่เธอรณรงค์เพื่อการศึกษาของ เด็กหญิงมาก่อนหน้านี้ เพราะเห็นว่าเด็กหญิง เหล่านั้นคือผู้ทุกข์ทรมานจากการใช้การศึกษา มากที่สุดนั่นเอง ภาพของ มาลาลา ยูซาฟไซ กลายเป็นโมเดล น้อยของอีกหลายประเทศที่จะต้องลุกขึ้นมา ฝังแนวคิดอันงดงามให้แก่สตรีตั้งแต่เยาว์วัย อาจไม่ต้องถึงขั้นได้รับการยกย่องให้เป็นสตรี ผู้ทรงอิทธิพลของโลก แต่ให้เป็นสตรีที่รู้จัก คิดเป็นและน�าศักยภาพที่ตนมีอยู่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อผู้ด้อยโอกาส รั ฐ บาลคุ ณ ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร ก� า ลั ง จะ บริหารประเทศครบ ๒ ปี ในเดือนสิงหาคมศกนี้

39


นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ยังยืนยันว่า การเข้ามาท�างานเป็นรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหมนั้น จะเป็นโอกาส หนึ่งที่จะได้ท�างาน และมีความเข้าใจ ภารกิจของกองทัพมากขึ้น

40

แล้ ว นั บ เป็ น รั ฐ บาลที่ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ ต่ อ การ พัฒนาศักยภาพของสตรีอย่างมาก ดังจะเห็น ได้จากเวทีต่างประเทศที่นายกรัฐมนตรีของ ไทยมีโอกาสเดินทางไปเยือนต่างแสดงความ ชื่นชมนโยบายของรัฐบาลไทยในด้านนี้เป็น อย่างมาก โดยเฉพาะในความก้าวหน้าเกี่ยวกับ นโยบายกองทุ น พั ฒ นาบทบาทสตรี ที่ เ ป็ น ผลงานชิ้นโบแดงของรัฐบาลนี้ คุ ณ ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร ซึ่ ง ได้ ส ร้ า งหน้ า ประวัติศาสตร์ในฐานะนายกรัฐมนตรีหญิงคน แรกของประเทศ กล่าวว่า พลังสตรีเป็นพลังที่ ยิ่งใหญ่ ทั้งในบทบาทของผู้ท�างานหาเงินเพื่อ มาเลีย้ งครอบครัวแล้ว ยังท�าหน้าทีเ่ ป็นแม่บา้ น เป็นแม่ของลูก และภรรยาของสามี ผู้หญิงจึงมี ความอดทนสูง แม้จะไม่ได้มีร่างกายที่แข็งแรง

เท่าผู้ชาย แต่จิตใจของผู้หญิงไม่ได้น้อยไปกว่า ผู้ชายเลย พลังของสตรียิ่งใหญ่แค่ไหน ขอให้ ลองคิดดูได้ว่าสตรีรวมกันเท่ากับครึ่งหนึ่งของ ประชากรประเทศไทย หากผู้หญิงได้รับโอกาส และสิทธิเท่าเทียมกันก็จะท� าให้เกิดพลังกับ ประเทศชาติและบ้านเมืองได้ อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีให้ทัศนะว่า ปัญหาการพัฒนาบทบาทสตรีมีอยู่ ๓ ส่วน คื อ ส่ ว นแรก กลุ ่ ม สตรี ที่ ถู ก กดขี่ ข ่ ม เหง ทางเพศ และการใช้ความรุนแรง เป็นกลุ่มที่ พวกเราต้องช่วยกันให้กลับมามีสิทธิเสรีภาพ เหมื อ นคนอื่ น ๆ ทั่ ว ไปในสั ง คมได้ อ ย่ า ง สมศั ก ดิ์ ศ รี ข องความเป็ น มนุ ษ ย์ เป็ น เรื่ อ ง ของข้ อ กฎหมายที่ จ ะต้ อ งป้ อ งกั น และดู แ ล ช่ ว ยเหลื อ สตรี ก ลุ ่ มนี้ กลุ ่ มที่ ๒ คือ สตรีที่ ต้องการเรียนรู้ ต้องการเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพี ย งแค่ ยื่ น โอกาสในการที่ จ ะพั ฒ นาเพื่ อ ให้ได้เรียนรู้และเปิดโอกาสในการหารายได้ เพื่อจุนเจือดูแลครอบครัว และเลี้ยงลูกให้เป็น บุ ค ลากรที่ ดี ต ่ อ ไป เป็ น เรื่ อ งที่ จ ะต้ อ งให้ ภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ มาแลกเปลี่ยน ในการพัฒนาสตรีกลุ่มนี้ ส่ ว นกลุ ่ ม สุ ด ท้ า ยคื อ กลุ ่ ม สตรี ที่ มี ก� า ลั ง มีความสามารถ เพียงแต่ขอโอกาสในการเข้า มามี บ ทบาทไม่ ว ่ า จะเป็ น บทบาททางสั ง คม บทบาทผู้น�าชุมชนหรือบทบาททางการเมือง เหมือนอย่างที่นายกรัฐมนตรีได้รับโอกาสจาก พี่น้องประชาชนให้มาท�างานรับใช้ ซึ่งเชื่อว่า ผู้หญิงก็อยากจะเห็นการพัฒนาผู้หญิงเก่งของ ไทยให้เป็นผู้น�า ในส่วนนี้เราจะต้องร่วมกันใน การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพของผู้หญิงให้ เป็นที่ยอมรับของประเทศได้ และสามารถมี ชื่อเสียงเทียบกับนานาประเทศได้ ด้วยความตั้งใจที่จะพัฒนาสตรีให้มีความ เข้ ม แข็ ง และมี ส ่ ว นช่ ว ยเสริ ม ในการพั ฒ นา เศรษฐกิจไทย รัฐบาลจึงได้จดั ตัง้ กองทุนพัฒนา บทบาทสตรีขนึ้ มา อยูภ่ ายใต้การดูแลของส�านัก นายกรัฐมนตรี เพือ่ ให้เกิดการบูรณาการกองทุน สตรีทมี่ อี ยูท่ งั้ หมด จาก ๔ กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คง ของมนุ ษ ย์ และกระทรวงสาธารณสุ ข แต่ จะท�าให้มาช่วยกันเสริมสร้างศักยภาพและ การพั ฒ นาสตรี ทุ ก คนในประเทศไทยอย่ า ง เท่ า เที ย มกั น โดยท� า ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ มี แ หล่ ง เงิ น ทุ น ในการส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาสตรี โดยมี ก ารจั ด ตั้ ง กรรมการดู แ ล เรียกว่าคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาท สตรีแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมั่นว่าถ้าทุกคนร่วมกัน ท�างานอย่างเข้มแข็งจะท�าให้สตรีไทยมีบทบาท และกลับมายืนหยัดต่อสู้ได้อย่างสมศักดิ์ศรี ในฐานะนายกรั ฐ มนตรี ห ญิ ง คนแรกของ ประเทศไทย ที่สามารถฝ่าวิกฤตการณ์มหา จุฬาพิช มณีวงศ์


อุทกภัยครั้งร้ายแรงที่สุดของประเทศ จนย่าง เข้าสู่ปีที่ ๓ และสร้างหน้าประวัติศาสตร์อีก ครั้งด้วยการปรับคณะรัฐมนตรี เป็นครั้งที่ ๕ ท� า ให้ ป ระเทศไทยได้ ชื่ อ ว่ า มี น ายกรั ฐ มนตรี และรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหมเป็ น สุภาพสตรีครั้งแรก ซึ่งกลายเป็นที่จับตามอง เป็นอย่างมาก จึงไม่แปลกในวันที่เข้ารับต�าแหน่งรัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงกลาโหมของคุ ณ ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชินวัตร จะมีสื่อมวลชนต่างประเทศให้ความ สนใจมารายงานข่าวกันเป็นจ�านวนมากเช่น เดี ย วกั น โดยคุ ณ ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร นายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ได้ ก ล่ า วถึ ง การเป็ น สตรี ที่ ม าด� า รงต� า แหน่ ง รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ซึ่ ง ต้ อ ง ก�ากับดูแลการท�างานของผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ และทหารทัว่ ประเทศว่า รัฐบาลให้ความส�าคัญ อย่างสูงสุดต่อการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และประชาชน เป็นหลัก การด�าเนินงานของกระทรวงกลาโหม ก็ ค งจะต้ อ งยึ ด หลั ก การเหล่ า นี้ โดยถื อ ว่ า กระทรวงกลาโหมเป็นหน่วยงานที่ดูแลเรื่อง ความมั่ น คง เป็ น เสาหลั ก ใหญ่ ใ นการค�้า จุ น สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การป้องกันประชาธิปไตย เพื่อความผาสุกของ ประชาชน โดยยืนยันว่าจะปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความมุ่งมั่นอย่างเต็มศักยภาพ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง กลาโหม ยังยืนยันว่า การเข้ามาท�างานเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมนั้น จะเป็น โอกาสหนึ่งที่จะได้ท�างาน และมีความเข้าใจ ภารกิจของกองทัพมากขึ้น โดย ๒ ปีที่ผ่านมา ได้ มี โ อกาสท� า งานร่ ว มกั บ ผบ.เหล่ า ทั พ ทุกคนอยากเห็นประเทศเดินไปข้างหน้า ซึ่ง ๒ ปีที่ผ่านมา เราท�างานอย่างให้เกียรติซึ่งกัน และกัน จึงเชื่อว่ากองทัพจะให้โอกาสในการ ท�างานร่วมกัน การมีนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม เป็นคนเดียวกันอาจเป็น เรื่องที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในหลายรัฐบาลของ ไทย แต่การมีนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหมเป็นสตรี เพิ่งมีเป็นครั้งแรก และหาก จะมีคนมองว่า สิ่งนี้เป็นเครื่องแสดงถึงการ เป็นสตรีผู้ทรงอิทธิพลยิ่ง ก็คงไม่ใช่ค�ากล่าวที่ ไกลเกินไป เวลาเท่านั้น จะเป็นบทพิสูจน์ว่า ความอ่อนแอสามารถละลายความแข็งแกร่ง ได้สักเพียงใด เป็นงานทีท่ า้ ทายอีกย่างก้าวของ คุณยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ซึ่งก�าลังถูกจัดอันดับเป็นหนึ่งในผู้น�า ระดับโลกรุ่นใหม่ที่ได้รับการจับจ้อง ๑ สิงหาคม วันสตรีไทย ร่วมภาคภูมิใจกับ ศักยภาพของผู้หญิงไทยทุกคน หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

41


หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนที​ี่ ๑๓) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา

4๒

พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


พูดคุยกับก�าลังพล เรื่องราวของนายพลแพตตันที่ได้พูดคุยกับ ก�าลังพลมีมากมายหลายเรื่อง หลายๆ เรื่อง เป็นความจริง อีกหลายเรื่องเป็นต�านาน เรื่อง ที่ ไ ม่ น ่ า เชื่ อ ที่ สุ ด มั ก จะเป็ น ความจริ ง ผมจ� า เหตุการณ์ในศูนย์ฝึกการรบแบบทะเลทรายได้ คือในบ่ายวันหนึ่งนายพลแพตตันได้พบชาย คนหนึ่งก�าลังอยู่บนเสาโทรศัพท์ใกล้กับแคมป์ ของเรา เขาแต่งเครื่องแบบไม่ถูกต้อง เขาสวม หมวกส่ ว นตั ว ที่ มี ป ี ก กว้ า งใหญ่ จริ ง ๆ แล้ ว พวกเราทุกคนควรสวมหมวกรองใน นายพล แพตตั น สั่ ง ให้ ช ายผู ้ นี้ ป ี น ลงมา เขาทั ก ทาย ด้ ว ยถ้ อ ยค� า สั้ น ๆ แล้ ว ท� า งานต่ อ อี ก ครั้ ง ที่ นายพลแพตตันสั่งให้ปีนลงมา เขาก็ยังเชื่อม สายโทรศัพท์ต่อไป และไม่ตอบค�าถามของ นายพลแพตตัน นายพลแพตตัน ตะโกนขึ้น “ลงมาจากเสานั่นเดี๋ยวนี้! ผมคือนายพล แพตตัน และผมสั่งให้คุณลงมา” “ผมไม่รับรู้ปัญหาของท่านและผมไม่สน ว่าท่านจะเป็นใครหรอก แต่ผมไม่สามารถเสีย เวลาลงไปข้างล่างได้ ผมมีงานต้องท�า” “คุณจะลงมา หรือจะให้ผมยิงคุณร่วงลง มา คุณขัดค�าสั่ง และในฐานะที่ผมเป็นผู้บังคับ บัญชาชั้นสูงของคุณ ผมมีสิทธิยิงคุณ” “ถ้าท่านยิงผมตกจากเสาท่านก็ต้องเข้าคุก หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ในข้อหาฆ่าคนตาย คนเดียวที่สามารถสั่งผม ให้ลงจากเสาได้ คื อ ผู ้ บัง คั บตอนโทรศั พ ท์ ของผม เขาอาจจะยิงผมก็ได้ถา้ ผมไม่ทา� งานนี!้ ” “คุ ณ อยู ่ ก องร้ อ ยโทรศั พ ท์ รึ ? ” นายพล แพตตันได้ถามขึ้น “ถูกต้อง! มีนายพลบ้าๆ บางคนก�าลังจะมา ที่นี่พร้อมกับกองทัพบกขนาดใหญ่ พวกเขา ต้องการโทรศัพท์เป็นร้อยๆ สาย ผมว่าท่าน ไปท�างานของท่านเถอะ ผมจะได้เชื่อมสายนี้ ให้เสร็จๆ เสียที” นายพลแพตตันยิ้มขึ้น “ท�างานของคุณต่อไปเถอะ ผมคิดว่าคุณ เป็ น ทหารใต้ บั ง คั บ บั ญ ชาของผม กางเกง ขาสั้นสีน�้าตาลที่เข้ากับเสื้อเชิ้ตนั่นท�าให้ผมงง เชื่ อ มสายนั่ น ให้ เ สร็ จ เถอะ ผมนี่ แ หละคื อ นายพลบ้ า ๆ คนนั้ น ละ คนที่ ผู ้ บั ง คั บ ตอน ของคุณพยายามหลีกเลี่ยงอยู่ไงล่ะ!” เช้าวันหนึ่งผมนั่งรถไปกับนายพลแพตตัน ในทะเลทราย เราอยูห่ า่ งจากฐานทีต่ งั้ ประมาณ สามสิบไมล์ นายพลแพตตันได้สา� รวจพืน้ ทีด่ ว้ ย กล้องส่องสองตาของท่าน เฝ้ามองการเคลือ่ นที่ ของรถถั ง และหน่ ว ยส่ ง ก� า ลั ง บ� า รุ ง ท่ า นได้ เพ่ ง เล็ ง ไปที่ ร ถยนต์ บ รรทุ ก คั น หนึ่ ง บนถนน ลาดยางที่อยู่ห่างออกไปหลายไมล์ การด�าเนิน กลยุ ท ธ์ ใ นทะเลทรายนั้ น ยานพาหนะทุ ก ชนิดของกองทัพไม่ได้รับการอนุญาตให้วิ่งบน

ท�างานของคุณต่อไปเถอะ ผมคิดว่า คุณเป็นทหารใต้บังคับบัญชาของผม กางเกงขาสั้นสีน�้าตาลที่เข้ากับเสื้อเชิ้ต นัน่ ท�าให้ผมงง เชือ่ มสายนัน่ ให้เสร็จเถอะ ผมนี่แหละคือ นายพลบ้าๆ คนนั้นละ คนที่ผู้บังคับตอนของคุณพยายาม หลีกเลี่ยงอยู่ไงล่ะ! 43


นายพลแพตตันให้นายสิบคนนี้ดื่มน�้า จากกระติกของท่านและแสดงความพอใจ ต่อนายสิบนายนีท้ ตี่ อ้ งการรักษารถยนต์ บรรทุกของกองทัพบกมากกว่าที่จะ เชื่อผู้บังคับบัญชาของเขา 44

ถนน ยานพาหนะทุกคันต้องวิ่งบนทะเลทราย แม้ว่าจะอยู่ห่างถึงสิบไมล์ นายพลแพตตันก็ยัง สั่งให้พลขับขับตามรถบรรทุกคันนั้นซึ่งก�าลัง วิ่งอย่างช้าๆ เมื่อเราตามทันรถยนต์บรรทุก คั น นั้ น นายพลแพตตั น ได้ โ บกมื อ ให้ พ ลขั บ รถยนต์บรรทุกนั้นบังคับรถให้จอดข้างทาง “มีปัญหาอะไรรึ ทหาร! ขับบนทะเลทราย ไม่ได้หรือไง? ก็รู้อยู่นี่ว่ารถยนต์ทหารไม่ได้ รับอนุญาตให้วิ่งบนถนนระหว่างการด�าเนิน กลยุทธ์”

นายพลแพตตันพร้อมที่จะเข้าโจมตี “ท่านนายพล ผมสามารถอยู่ในทะเลทราย ได้ แต่ ร ถคั น นี้ สิ ที่ อ ยู ่ ไ ม่ ไ ด้ ! ผมพยายามที่ จะรักษาชุดเกียร์โดยการโขยกเขยกกลับไป ฐานที่ตั้ง ท่านถามผมว่ามีปัญหาอะไรใช่ไหม? ผมจะบอกท่าน ท่านพยายามบอกให้ก�าลังพล และยุ ท โธปกรณ์ ใ ช้ เ ส้ น ทางในทะเลทราย ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาของผมก็ พ ยายามเอาใจท่ า น แต่ถ้าเราสูญเสียรถยนต์บรรทุกไปอีกเรื่อยๆ เราจะไม่มียานพาหนะที่จะใช้บรรทุกอาหาร จากอินดิโอ และเราจะต้องขนส่งโดยการหิ้ว มาในตะกร้า!” “คุ ณ ยั ง มี ป ั ญ หาเรื่ อ งชิ้ น ส่ ว นซ่ อ มรึ ? ” นายพลแพตตันได้ถามขึ้น “ก็เหมือนเคย เราไม่สามารถซ่อมรถได้ ถ้า ขาดชิ้นส่วนซ่อม” “คิดว่ามีปัญหาอะไรกับไอ้ชุดเกียร์นี้ล่ะ?” “ท่านนายพล พวกเขาไม่ได้สร้างเกียร์นี่ เพื่อใช้งานท่ามกลางความร้อนของทะเลทราย บางครัง้ ต้องใส่นา�้ ยาท�าความเย็นผสมกับน�า้ มัน เครื่อง ไม่งั้นเราก็เคลื่อนที่ไปไหนไม่ได้” นายพลแพตตันให้ชี้จุดที่เป็นปัญหา ทั้งคู่ คือนายพลแพตตัน และนายสิบแห่งกองทัพบก ต่ า งก็ คู ้ เ ข่ า และก้ ม ดู ใ ต้ ท ้ อ งรถยนต์ บ รรทุ ก นายสิบคนนั้นชี้ให้ดูน�้ามันเกียร์ที่ก�าลังหยดอยู่ ก่อนทีเ่ ราจากมา นายพลแพตตันให้นายสิบ คนนี้ ดื่ ม น�้ า จากกระติ ก ของท่ า นและแสดง พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


ความพอใจต่อนายสิบนายนี้ที่ต้องการรักษา รถยนต์บรรทุกของกองทัพบกมากกว่าทีจ่ ะเชือ่ ผู้บังคับบัญชาของเขา นายพลแพตตันบอกให้ นายสิบผู้นี้เขียนรายงานปัญหาที่เกิดจากความ ร้อน ขณะที่เราก�าลังแสดงความคิดเห็นกันนั้น นายพลแพตตันได้กล่าวว่า “นายสิบคนนี้เป็นทหารที่โคตรดีจริงๆ” นายสิบคนนี้มีความภาคภูมิใจมาก นายพล แพตตั น สั่ ง ให้ ผ มติ ด ตามปั ญ หาเรื่ อ งเกี ย ร์ นี้ ด้วยการท�าเอกสารรายงานไปยังวอชิงตันและ โรงงานผู้ผลิต พวกผู้หญิงก็ไม่ได้รับการยกเว้นจากความ ขี้โมโหของนายพลแพตตัน แม้ว่าพวกเธอจะ

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ไม่ได้ท�างานอยู่ในกองทัพบก นายพลแพตตัน เห็ น รถยางแบนคั น หนึ่ ง ขณะนั้ น เราก� า ลั ง อยู ่ บ นถนนหลวงจะกลั บ ไปยั ง ฐานที่ ตั้ ง หลั ง จากอยู ่ ใ นทะเลทรายซะหลายวั น รถคั น ที่ ยางแบนอยู ่ นั้ น มี ป ้ า ยทะเบี ย นรั ฐ จอร์ เ จี ย ทหารในเครื่องแบบคนหนึ่งก�าลังช่วยผู้หญิง เปลี่ยนยางอยู่ ผู้หญิงคนนั้นสวมกางเกงขาสั้น ที่สั้นเอามากๆ ขณะที่ผู้หญิงในปี พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ.๑๙๔๒) นั้นโดยทั่วไปไม่ค่อยสวมกางเกง ขาสั้นนัก นายพลแพตตันเลยนึกทันทีว่าผู้หญิง คนนี้คงเป็นพวกที่ถูกเรียกว่า “อีตัวจับทหาร” นายพลแพตตั น หยุ ด รถ และคิ ด ว่ า ต้ อ งไล่ ให้ทหารผู้นั้นกลับไปท�างานตามหน้าที่ “ทหาร ท�าไมถึงละทิง้ หน้าทีเ่ พือ่ มาช่วยอีตวั จับทหารนี้อยู่เล่า?” นายพลแพตตันได้สั่งขึ้น “ผมไม่มภี าระหน้าทีอ่ ะไรจนกระทัง่ อีกสาม วันข้างหน้า และผู้หญิงคนนี้ก็ไม่ใช่อีตัวไล่จับ ทหาร เธอเป็นภรรยาของผม!” นายพลแพตตั น ขอโทษและแสดงความ เสียใจ เราอยู่กับคนทั้งสองจนกระทั่งเปลี่ยน ยางเสร็จและเคลื่อนที่ออกไปตามถนนหลวง ในการประชุมฝ่ายเสนาธิการ นายพลแพตตัน จะแนะน�าว่า “จงพูดคุยกับก�าลังพลให้สม�า่ เสมอ! พวกเขา รู้เรื่องสงครามดีกว่าคนอื่น ให้พวกเขาบอก ถึงความยากล�าบากที่ก�าลังประสบอยู่ ท�าให้ แน่ใจว่าพวกเขารู้ว่าเราก�าลังท�าทุกสิ่งทุกอย่าง เพือ่ ช่วยเหลือพวกเขา ทหารต้องเอาชนะสงคราม

พวกเราเองไม่สามารถท� าได้ คุยกับพวกเขา พวกเขาจะไม่ เ ชื่ อ ถื อ คุ ณ ถ้ า คุ ณ ไม่ เ ชื่ อ ถื อ พวกเขา” นายพลแพตตันเดินกลับไปกลับมาโดยไม่ พูดอะไร ท่านทราบดีว่าการเดินเงียบๆ สักพัก ต่อหน้าฝ่ายเสนาธิการนัน้ มีผลกระทบทีร่ นุ แรง ท่านจบด้วยการพูดว่า “จงจ�าไว้เสมอ เวลาที่พูดคุยกับก�าลังพลนั้น สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือ ตั้งใจฟัง!” นายพลแพตตันมีความห่วงใยทหารทุกคน ไม่ว่าจะมียศชั้นใด ท่านพูดคุยกับทหารทุกคน ท่ า นจะสั ม ผั ส มื อ กั บ ทหารหรื อ ไม่ ก็ ต บหลั ง ตบไหล่ ไม่ มี ใ ครสกปรก หรื อ เลอะเทอะ เปรอะเปือ้ นจนนายพลแพตตันไม่ยอมจับมือด้วย การวันทยหัตถ์ตามแบบธรรมเนียมทหารนั้น เป็นสิ่งที่ก�าลังพลต้องกระท�าต่อบรรดานาย ทหาร นายพลแพตตั น ไม่ ลั ง เลใจเลยที่ จ ะ ท�าความเคารพพวกทหาร ก่อนที่พวกเขาจะ ท�าความเคารพท่าน ถ้าบุคคลผู้นั้นสมควรที่จะ ได้รบั ความเคารพ นายพลแพตตันจะท�าท่าตรง และท�าความเคารพเขาผู้นั้นที่ท�างานของตน ได้ ดี เมื่ อ เราอยู ่ ท ่ า มกลางฝุ ่ น ที่ ค ละคลุ ้ ง ใน ทะเลทราย การท�าความเคารพไม่ใช่สิ่งจ�าเป็น ผมเคยเห็นทหารพยายามที่จะตั้งแถว และ แสดงความเคารพนายพลแพตตัน ขณะที่ท่าน ขับรถผ่านพื้นที่ของพวกเขา นายพลแพตตั น ไม่ ต ้ อ งการให้ ก� า ลั ง พล ตั้ ง แถวแบบโง่ ๆ หรื อ จั ด ตั้ ง ขบวนแบบไม่ มี สาระอย่างนัน้ ทีจ่ า� ได้ นายพลแพตตันไม่เคยให้ ก�าลังพลเดินพาเหรด หรือสวนสนามใดๆ เลย เป็นบางเวลาที่คุณค่าในการฝึกแถวสวนสนาม เป็นสิ่งจ�าเป็น แต่นั่นไม่ใช่ส�าหรับหน่วยรถถัง การประชุมทุกครั้งที่มีก�าลังพลจ�านวนมากๆ ทหารจะตัง้ แถวต่อหน้านายพลแพตตัน ท่านจะ ยืนหน้าแถว และพูดคุยกับพวกทหารเกี่ยวกับ ความมุ่งหมายของแผนการฝึก ผมจ�าพันเอกท่านหนึ่งได้ เขาต้องการจัดให้ มีการฝึกแสดงท่าอาวุธประกอบดนตรีขึ้น และ ให้มีการแข่งขันกันระหว่างหน่วยต่างๆ เพื่อหา หน่ ว ยทหารที่ แ สดงดี ที่ สุ ด นายพลแพตตั น ปฏิเสธข้อเสนอแนะนั้นและกล่าวว่า “การฝึ ก แบบนั้ น เหมาะในยามสงบ ขณะที่ ท หารไม่ ค ่ อ ยมี อ ะไรท� า พวกเรา มีสงครามที่ต้องการชนะ ผมไม่ต้องการให้ใคร ใช้ปืนเล็กยาวเหมือนกับว่าเป็นของเด็กเล่น ผมต้องการให้ทุกคนใช้ปืนเล็กยาวด้วยความ มุ่งมั่นในการฆ่า!”

45


4๖

พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์


ก่อนจะเกิดสงคราม พม่า - อังกฤษ ครัง้ ที่ ๑ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์

ระเจ้าปดุงเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่มาก พระองค์ ห นึ่ ง ของอาณาจั ก รพม่ า ทรงครองราชย์ น าน ๓๗ ปี จึ ง มี ประวั ติ ศ าสตร์ ร ่ ว มกั บ อาณาจั ก รสยามแห่ ง กรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่ตอนปลายอยุธยาตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๓๐๓ โดยฝ่ายพม่าเป็นฝ่ายยกกองทัพ เข้าตีสยามทางด่านสิงขร และตีกรุงศรีอยุธยา แตกในปี พ.ศ.๒๓๑๐ จนถึงอาณาจักรสยาม แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นหลายห้วงระยะ เวลา........บทความนี้ กล่าวถึงสถานการณ์ ก่อนที่จะเกิดสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๓๖๗ ๑. กล่าวทั่วไป พระเจ้าปดุง (พระเจ้าโบดอว์พญา) ทรง ครองราชสมบัติระหว่างปี พ.ศ.๒๓๒๕-๒๓๖๒ เป็ น ระยะเวลานาน ๓๗ ปี สวรรคตขณะ ที่มีพระชนมายุ ๗๕ พรรษา ทรงเริ่มขยาย ดินแดนสู่เมืองยะไข่ (อาระกัน) ในปี พ.ศ.

๒๓๒๗ อยู่ทางตะวันตกของอาณาจักรพม่า เป็นผลให้อาณาจักรพม่ามีอาณาเขตขนาดใหญ่ ขึ้น มีเขตแดนของอาณาจักรติดต่อกับอังกฤษ (อิ น เดี ย ) มหาอ� า นาจทางทหารแห่ ง ยุ โ รป ในยุคนั้น พระเจ้าจักกายแมง (หรือพระเจ้า บาจีดอ) เป็นกษัตริย์ล�าดับต่อมา ทรงขึ้นครอง ราชย์เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๖๒ เป็น กษัตริย์พม่าล�าดับที่ ๖ แห่งราชวงศ์อลองพญา ขณะที่มีพระชนม์ ๓๕ พรรษา พระองค์เป็น พระราชนัดดาของพระเจ้าปดุง ทรงเติบโตกับ พระอัยกาที่ทรงเข้มงวดและมีพระอัธยาศัยดี แต่อ่อนแอ พระองค์ทรงย้ายเมืองหลวงกลับ มายังกรุงอังวะในปี พ.ศ.๒๓๖๖ พระองค์มี นโยบายขยายดินแดนสู่แคว้นอัสสัม (Assam) และมณี ปุร ะ (Manipur) ปั จจุบันนี้ทั้งสอง แคว้นอยู่ในเขตประเทศอินเดีย ซึ่งในอนาคต จะน�ามาสู่สงครามใหญ่กับอังกฤษ

ภาพกราฟิกอาณาจักรพม่าที่ขยายดินแดนสู่ทางด้านตะวันตก เป็นผลให้มีเขตแดนติดต่อกับดินแดนที่อยู่ ใต้ปกครองของอังกฤษ เมืองจิตตะกอง (ตามลูกศรชี้) ที่ชาวเมืองยะไข่มักจะอพยพหนีภัยสงครามจากพม่า จึงน�า มาสู่ความขัดแย้งตามแนวชายแดนซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามของสองอาณาจักร หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

47


ภาพกราฟิกอาณาจักรพม่าที่ขยายดินแดนสู่ทางด้านตะวันตก น�ากองทัพโดยแม่ทัพใหญ่คือมหาบัณฑุละ (Maha Bandula) สามารถเข้ายึดมณีปุระได้เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๓๖๒ แคว้นมณีปุระ (ตามลูกศรชี้)

เซอร์ อาร์ชีบัลด์ แคมป์เบล (Sir Archibald Campbell) ได้น�ากองทัพอังกฤษเข้าโจมตีพม่า ที่รู้จักในชื่อ สงครามพม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๓๖๗ (มีชีวิตอยู่ระหว่างปี พ.ศ. ๒๓๑๒ - ๒๓๘๖ รวมอายุ ๗๔ ปี มียศเป็นพลเอก) 48

๒. สาเหตุความขัดแย้ง เมื่ออาณาจักรพม่าได้รวมอาณาจักรยะไข่ (อาระกัน) ไว้ในอาณาจักร แต่พม่าก็ไม่สามารถ ที่จะปกครองได้อย่างสงบ ชาวยะไข่ (อาระกัน) มักจะก่อกบฏต่อพม่า เจ้าเมืองยะไข่ (อุปราช พม่า) จะใช้ก�าลังทหารปราบพวกกบฏอย่าง รุนแรง เป็นผลให้ชาวยะไข่ (อาระกัน) นับพัน จะหลบหนีไปยังเมืองจิตตะกอง (Chittagong) โดยกองทหารพม่ า จะไล่ ติ ด ตามชาวยะไข่ (อาระกัน) ที่ลี้ภัยสงครามเข้าไปในเขตแดน ของอั ง กฤษ ตอนแรกไม่ มี ท ่ า ที จ ะขยายตั ว จากกองก�าลังทหารอังกฤษในแคว้นเบงกอล (Bengal) เนื่องจากอังกฤษก็ไม่พอใจพวกกบฏ ยะไข่ (อาระกัน) พ.ศ.๒๓๓๓ พระเจ้ า ปดุ ง ทรงเกณฑ์ ค น เข้ า ไปสร้ า งพระเจดี ย ์ เป็ น ผลให้ ช าวยะไข่ (อาระกั น ) ก่ อ กบฏขึ้ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง และได้ อพยพสู่เมืองจิตตะกองซึ่งอยู่ใต้การปกครอง ของอังกฤษ กองทัพได้ไล่ติดตามกลุ่มอพยพนี้ (หรือฝ่ายกบฏ) เกิดขึ้นในปี พ.ศ.๒๓๓๗ และ ในปี พ.ศ.๒๓๔๑ อีกครั้งหนึ่ง ทางฝ่ายอังกฤษ พยายามที่จะไม่ให้เกิดเป็นข้อพิพาทระหว่าง สองอาณาจักรคืออังกฤษและพม่า เนื่องจาก อั ง กฤษยั ง ไม่ พ ร้ อ มรบ (กลั ว ว่ า ฝรั่ ง เศสจะ ให้การสนับสนุนฝ่ายพม่า และยังมีความขัดแย้ง ในทวี ป ยุ โ รป) ฝ่ า ยอั ง กฤษจึ ง ได้ ส ่ ง พั น เอก อาร์สกิน (Colonel Erskine) เข้าไปที่เมือง จิ ต ตะกองเพื่ อ จะจั ด การกั บ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น พันเอก อาร์สกิน ได้เสนอแนะต่อ เซอร์ จอห์น ชอร์ (Sir John Shore) ข้าหลวงใหญ่ว่าควรจะ แก้ปัญหาโดยตรงกับทางฝ่ายราชส�านักพม่า ขณะที่ฝ่ายข้าหลวงใหญ่เกิดเกรงอิทธิพลของ ฝรั่งเศสในพม่า และได้ส่งกัปตันไมเคิล ซีมส์ (Captain Michael Symes) ไปเป็นทูตเจรจา กับทางราชส�านักพม่าในปี พ.ศ.๒๓๓๘ และ ได้รับพระราชสาส์นตอบมีใจความว่า พระเจ้า ปดุงทรงตกลงที่จะยอมให้ตัวแทนของบริษัท อี ส ต์ อิ น เดี ย เข้ า มาอยู ่ ที่ เ มื อ งร่ า งกุ ้ ง ได้ ทรง ตกลงที่จะให้มีการจัดการเรื่องพรมแดนใหม่ จึงเป็นความส�าเร็จของคณะทูตอังกฤษ ต่อมา บริ ษั ท อี ส ต์ อิ น เดี ย ได้ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ กั ป ตั น ฮิ ร าม ค็อก เป็นตัวแทนประจ�าอยูท่ เี่ มืองร่างกุง้ ต่อมา

พระองค์ทรงย้ายเมืองหลวงกลับมายัง กรุงอังวะในปี พ.ศ.๒๓๖๖ พระองค์มี นโยบายขยายดินแดนสู่แคว้นอัสสัม (Assam) และมณีปุระ (Manipur) ปัจจุบนั นีท้ ง้ั สองแคว้นอยูใ่ นเขตประเทศ อินเดีย ซึ่งในอนาคตจะน�ามาสู่ สงครามใหญ่กับอังกฤษ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์


อังกฤษยังเป็นมหาอ�านาจทางทหาร ในยุโรปและก�าลังขัดแย้งกับฝรั่งเศส ในหลายภูมิภาคของโลกรวมทั้งใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งสอง ประเทศมหาอ�านาจทางทหารแห่งยุโรป ต่างก็ได้ขยายอิทธิพลสู่เอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้โดยการควบคุมท่าเรือ ทางทะเลที่ส�าคัญยิ่ง และการควบคุม ทรัพยากรธรรมชาติที่ยุโรปไม่มี และมีผลต่อการค้าระหว่างประเทศ

ภาพวาดแม่ทัพใหญ่พม่าคือมหาบัณฑุละ (Maha Bandula) ที่เข้ายึดมณีปุระได้เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๓๖๒ ชาวสยามรู้จักชื่อแม่ทัพใหญ่พม่าที่มียศชั้นมหาอีกหนึ่งท่านคือมหาสีหะสุระ ในสมัยของพระเจ้ามังระ

ลอร์ด เวลเลสเลย์ (Lord Wellesley) เป็น ข้าหลวงใหญ่ประจ�าอินเดียคนใหม่ระหว่างปี พ.ศ.๒๓๔๑ - ๒๓๔๘ (มีชีวิตอยู่ระหว่างปี พ.ศ.๒๓๐๓ - ๒๓๘๕ อายุ ๘๒ ปี) อังกฤษ ยังคงด�าเนินนโยบายด้านการค้ากับพม่าต่อไป พ.ศ.๒๓๔๕ กัปตันไมเคิล ซีมส์ เป็นทูต อังกฤษประจ�าเมืองอมรปุระ และได้เกิดกบฏ ที่ เ มื องยะไข่ โ ดยฝ่ ายกบฏมีผู้น� าชื่อชิน พยัญ (Chin Byan) ลี้ ภั ย อยู ่ ใ นเขตของอั ง กฤษ น�าก�าลังข้ามพรมแดนเข้าโจมตีและยึดได้เมือง ยะไข่ ข้าหลวงใหญ่องั กฤษได้สง่ ทูตไปเจรจากับ พม่าเป็นครั้งที่ ๓ ว่าอังกฤษวางตัวเป็นกลาง เพื่ อ มิ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หาขั ด แย้ ง กั บ พม่ า และมิ ไ ด้ รู้เห็นกับฝ่ายกบฏยะไข่ และได้สั่งปิดพรมแดน เพื่อป้องกันมิได้พวกยะไข่อพยพเข้ามาอยู่ใน หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

เขตของอังกฤษ กองทัพพม่าโจมตีเมืองยะไข่ หัวหน้ากบฏได้หลบหนีเข้าไปในเขตแดนเมือง จิ ต ตะกองซึ่ ง อยู ่ ใ นเขตปกครองของอั ง กฤษ ต่ อ มาชิ น พยั ญ ผู ้ น� า กลุ ่ ม กบฏยะไข่ เ สี ย ชี วิ ต ในเดือนมกราคม พ.ศ.๒๓๕๘ จึงเป็นสาเหตุ ที่ความสัมพันธภาพระหว่างพม่ากับอังกฤษ ในแคว้นเบงกอลตึงเครียดเกิดขึ้น ๓. ก่อนจะเกิดสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๓๖๒ พระเจ้าจักกายแมงมีนโยบายที่ จะเข้ายึดครองแคว้นมณีปุระ ซึ่งมีแม่ทัพใหญ่ คือมหาบัณฑุละ (Maha Bandula) สามารถ เข้ายึดมณีปุระได้เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๓๖๒ โดยอ้างว่าเจ้าเมืองไม่ได้มาเข้าเฝ้าพระองค์ ในงานพระบรมราชาภิเษก เจ้าผู้ครองแคว้น

มณีปรุ ะจึงหนีเข้าไปในแคว้นคาซาร์ (Cachar) และขับไล่เจ้าผู้ครองแคว้นออกไป เจ้าผู้ครอง แคว้นคาซาร์จึงหนีเข้าไปในแคว้นจันทร์เตีย (Jaintia) และได้ขอความช่วยเหลือจากอังกฤษ เป็ น ผลให้ อั ง กฤษผนวกแคว้ น คาซาร์ แ ละ จันทร์เตียในปี พ.ศ.๒๓๖๓ พระเจ้าจักกายแมงให้แม่ทพั ใหญ่มหาบัณฑุละ (Maha Bandula) อายุ ๓๗ ปี น�ากองทัพพม่า ๒๐,๐๐๐ คน เข้าโจมตีแคว้นอัสสัมเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๓๖๔ สามารถจะยึดครอง ได้ ส� า เร็ จ เมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม พ.ศ.๒๓๖๕ นับว่าเป็นแม่ทัพใหญ่ที่โด่งดังมากที่สุดของ กองทัพพม่า ต่อมาเกิดความตึงเครียดตามแนว ชายแดนบริเวณเมืองยะไข่ กองทัพพม่าเข้าตี เมืองจิตตะกองและแคว้นคาซาร์ แต่พ่ายแพ้ ต่อกองทัพอังกฤษจึงต้องถอยมาทีเ่ มืองมณีปรุ ะ ในที่ สุ ด อั ง กฤษจึ ง ประกาศสงครามกั บ พม่ า เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๓๖๖ โดยลอร์ด แอมเฮอร์ส (Lord Amherst) ข้าหลวงใหญ่ อังกฤษประจ�าอินเดีย ๔. บทสรุป พระเจ้ า จั ก กายแมงขึ้ น ครองราชสมบั ติ ต่อจากพระเจ้าปดุง แต่พระองค์ยังคงมีความ ต้องการที่จะขยายดินแดนมาทางตะวันตกสู่ แคว้นมณีปรุ ะและแคว้นอัสสัม จึงมีโอกาสทีจ่ ะ ต้องท�าสงครามใหญ่กับอังกฤษที่เข้าปกครอง อินเดีย ขณะนั้นอังกฤษยังเป็นมหาอ�านาจทาง ทหารในยุโรปและก�าลังขัดแย้งกับฝรั่งเศสใน หลายภูมิภาคของโลกรวมทั้งในเอเชียตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ทั้ ง สองประเทศมหาอ� า นาจ ทางทหารแห่ ง ยุ โ รปต่ า งก็ ไ ด้ ข ยายอิ ท ธิ พ ล สู ่ เ อเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โ ดยการควบคุ ม ท่าเรือทางทะเลที่ส�าคัญยิ่ง และการควบคุม ทรัพยากรธรรมชาติที่ยุโรปไม่มีและมีผลต่อ การค้าระหว่างประเทศ 49


ภาษาอังกฤษส�าหรับนักกฎหมาย English for Lawyer พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ

ก่

อนอื่ น ขอขอบคุ ณ โรงเรี ย นเหล่ า พระธรรมนูญ กรมพระธรรมนูญ ที่ได้ เชิญผู้เขียนไปเป็นวิทยากรสอนภาษา อั ง กฤษให้ แ ก่ น ายทหารนั ก เรี ย น หลั ก สู ต ร นายทหารสัญญาบัตรชั้นต้น รุ่นที่ ๓๗ เหล่า พระธรรมนูญ ในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม ทีผ่ า่ นมา ทุกครัง้ ทีจ่ ะไปสอนนักเรียนในเหล่าใด ก็ตาม ผู้เขียนพยายามหาเนื้อหาที่สอดคล้อง กับภารกิจของนายทหารนักเรียนเหล่านั้นๆ เช่น แพทย์ พยาบาล การเงิน การข่าว เพื่อจะ ท�าให้การเรียนการสอนน่าสนใจมากยิง่ ขึน้ และ ในหลายครัง้ ก็ได้รบั ความรูเ้ พิม่ เติมจากนักเรียน อี กด้ ว ย ซึ่ ง ถึ ง แม้ ว ่ าเขาอาจจะไม่เก่งภาษา อังกฤษ แต่ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับอาชีพของ เขาท�าให้นกั เรียนหลายคน สามารถเรียนรูแ้ ละ เข้าใจเนื้อหาได้เป็นอย่างดี แถมยังสามารถ 50

สอนครูได้ด้วยซ�้าไป เช่นเดียวกับการไปสอน นายทหารนักเรียนเหล่าพระธรรมนูญ ท�าให้ ผู้เขียนได้เรียนรู้ค�าศัพท์ ส�านวนและความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายมากมาย เช่นเรื่องเกี่ยวกับ Military law (กฎหมายทหาร), Military justice (กระบวนยุติธรรมทางทหาร), Laws of Armed Conflicts (ปัญหาความขัดแย้ง เรื่ อ งการใช้ ก� า ลั ง ทหาร และสนธิ สั ญ ญา ต่างๆ), military discipline (วินัยทหาร), General orders (ค�าสั่งทั่วไป) และ Absence without leave (ขาดงานโดยไม่ได้รับการ อนุมัติ) เป็นต้น แต่ก่อนที่จะเล่าบรรยากาศ ในการสอน ผู้เขียนขออธิบายหน้าที่หลักของ นายทหารพระธรรมนูญให้ผู้อ่านที่อาจจะไม่ใช่ เป็นข้าราชการทหารได้ทราบว่า นายทหาร พระธรรมนูญมีหน้าที่อะไรบ้างดังนี้

๑. สื บ สวนสอบสวนคดี อ าญา คดี ท าง ปกครอง และคดีทางวินัย ๒. เป็นที่ปรึกษากฎหมาย พิจารณาและ เสนอความเห็นทางกฎหมายแก่ผู้บังคับบัญชา ๓. ตรวจร่ า งสั ญ ญาต่ า งๆ ของราชการ ทหาร เช่น สัญญาจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาบรรจุ เข้ารับราชการ ฯลฯ ๔. ร่ ว มฟั ง การสอบสวนกั บ พนั ก งาน สอบสวนในกรณีที่ทหารเป็นผู้เสียหาย หรือ ตกเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญา ๕. เป็ น ผู ้ แ ทนคดี ข องกองทั พ บก หรื อ กระทรวงกลาโหม ในการแจ้งความ ร้องทุกข์ คดีอาญา หรือด�าเนินคดีหรือต่อสู้คดีทางแพ่ง ๖. การยกร่างกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ค�าสั่งที่เกี่ยวข้องกับหน่วยทหารนั้น ๗. เป็นครู อาจารย์ สอนวิชากฎหมาย พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ


ในโรงเรี ย นทหาร หรื อ อบรมก� า ลั ง พล ในเรื่องกฎหมายทหารต่างๆ เช่น กฎหมาย สงคราม กฎการใช้ก�าลัง และกฎหมายอื่นๆ โดยทั่วไป ๘. หน้าที่อื่นๆ เช่น การไปปฏิบัติหน้าที่ ในกองก�าลังต่างๆ ในต่างประเทศ การเข้าร่วม ประชุมสัมมนาหรืออบรมตามหลักสูตรต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ เรากลับมาเล่าต่อถึงบรรยากาศในการเรียน กัน รูปแบบในการสอนนักเรียนในวัยนี้ จะเน้น ในเรื่ อ งวิ ธี ก ารสื่ อ สาร (Communicative approach) มากกว่ า การใช้ ก ฎไวยากรณ์ (Grammatical rule) โดยให้ผเู้ รียนฝึกวิเคราะห์ สถานการณ์ ต ่ า งๆ และแสดงความคิ ด เห็ น เน้นการท�างานเป็นกลุ่มให้ผู้เรียนมีอิสระใน ความคิดและจินตนาการ รวมทั้งส่งเสริมให้ นักเรียนกล้าพูด กล้าแสดงออก ซึ่งส�าหรับ ผู้เขียนในฐานะผู้สอนก็รู้สึกประทับใจนักเรียน มาก ที่ นั ก เรี ย นมี ค วามตั้ ง ใจและใส่ ใ จใน กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอย่างดี คราวนี้ เราลองมาอ่ า นความคิ ด เห็ น ของผู ้ แ ทน นายทหารนั ก เรี ย นจากส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย

กระทรวงกลาโหม ทีไ่ ด้ตระหนักถึงความส�าคัญ ของภาษาอังกฤษจึงได้ให้นายทหารนักเรียนได้ เรียนรู้จากอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการ สอนภาษาอังกฤษ อาจารย์เป็นยิ่งกว่าอาจารย์ เพราะสามารถสอนนักเรียนผูท้ ไี่ ม่มคี วามสนใจ ในภาษาอังกฤษให้สนุกสนาน มีความเข้าใจ และกระตุ้นให้ผมอยากเรียนภาษาอังกฤษมาก

เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคม อาเซียนแล้ว กระทรวงกลาโหม ย่อมจะต้องมีการท�าสัญญาต่างๆ ร่วมกับประเทศในกลุม่ สมาชิกมากยิง่ ขึน้ และภาษาที่จะใช้ในการท�าสัญญานั้น ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ

ยิ่งขึ้น เหมือนที่สุภาษิตกล่าวว่า The more you read and practice, the more you know.” ๒. กองบัญชาการกองทัพไทย ร้อยโทหญิง อุรจั ฉัท นาอุดม หน่วยบัญชาการ ทหารพัฒนา “ในปัจจุบันกองบัญชาการกองทัพไทยได้ มี ก ารจั ด ฝึ ก ร่ ว มทางทหารมากมายกั บ มิ ต ร ประเทศ เช่น การฝึกร่วมผสม คอบร้าโกลด์ กั บ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า หรื อ การฝึ ก ทาง ทหารอื่นๆ ซึ่งในการฝึกดังกล่าวจะมีผู้รับการ

ฝึกและเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นชาวต่างชาติมาร่วม ในการฝึกเป็นจ�านวนมาก โดยภาษาทีใ่ ช้ในการ สื่อสารระหว่างการฝึกจะใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่ง ในการฝึกดังกล่าว นายทหารพระธรรมนูญจะ เป็นผู้หนึ่งที่จะถูกส่งให้ไปฝึกร่วมเช่นกันด้วย ดังนั้น ในปัจจุบัน นายทหารพระธรรมนูญ ที่ สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย จึงต้องมีการ พัฒนาด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก และยิ่ง การได้มาเรียนภาษาอังกฤษในหลักสูตร นาย ทหารสัญญาบัตรชั้นต้น รุ่นที่ ๓๗ แม้เป็นช่วง เวลาสัน้ ๆ แต่ทา� ให้ดฉิ นั เชือ่ ว่าจะต้องเร่งพัฒนา ตนเองให้มีความช�านาญด้านภาษาอังกฤษให้ มากกว่านี้ พันเอกหญิง วันดีฯ พูดถูกว่า เรายัง อายุน้อย โอกาสและความก้าวหน้าของเรา มีอีกมาย ถ้าไม่คิดจะเรียนรู้ตั้งแต่วันนี้ แล้ว เมื่อไหร่ละเราจะเก่งเสียที”

และเหล่าทัพ บ้างว่า คิดอย่างไรกับการเรียน ภาษาอังกฤษครั้งนี้ ๑. ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร้อยตรี พรรณฤทธิ์ วิเชียรสรรค์ ประจ�า แผนกวินิจฉัย กองนิติธรรมทหาร กรมพระ ธรรมนูญ กระทรวงกลาโหม “เนื่ อ งจากหน้ า ที่ ห ลั ก ของผม คื อ การ ตรวจร่างสัญญาของกระทรวงกลาโหม ดังนั้น เมื่ อ ประเทศไทยเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น แล้ว กระทรวงกลาโหมย่อมจะต้องมีการท�า สัญญาต่างๆ ร่วมกับประเทศในกลุ่มสมาชิก มากยิ่งขึ้น และภาษาที่จะใช้ในการท�าสัญญา นั้นส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ ดังนั้นผมขอ ขอบพระคุณผู้บริหารของกรมพระธรรมนูญ หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

51


ยิง่ กฎหมายสากลจ�าเป็นจะต้องเรียนรู้ ทางด้านการกฎหมายแล้ว ภาษาอังกฤษ ทีใ่ ช้ในการติดต่อประสานงานก็มคี วาม ซับซ้อนเช่นกัน

แรกที่ผมเรียนภาษาอังกฤษก็เกร็งมาก เพราะ ทิ้ ง ภาษาอั ง กฤษมานานมาก พออ่ า นได้ แ ต่ ฟังจับใจความไม่ได้เลย อาจารย์จะใช้วิธีสอน ค�าศัพท์และส�านวนก่อนถึงจะเล่าเนือ้ หาทัง้ เรือ่ ง อาจารย์บอกว่า ต้องเปิดใจรับฟัง มากกว่า ตัง้ รับฟัง หลังๆ ผมก็เข้าใจมากยิง่ ขึน้ เวลาว่างๆ ผมก็เผลอหยิบเอกสารภาษาอังกฤษมาอ่าน ท�าให้เพื่อนล้อผมว่า ผมคงจะพูดได้ดีเพราะ ไม่ อ าย และมี ก ารฝึ ก ฝนบ่ อ ยๆ ในอนาคต ผมเชือ่ ว่าในฐานะนายทหารเหล่าพระธรรมนูญ ของหน่ว ยจะต้ อ งมี โ อกาสได้ ไ ปศึ ก ษาดู ง าน หรือมีส่วนในการตรวจร่างสัญญาที่เป็นภาษา อังกฤษกับเขาบ้าง และผมจะท�าให้ดีที่สุด” ๔. กองทัพเรือ เรือตรี สมศักดิ์ ไชโย รักษาการนายทหาร พระธรรมนูญ กรมพลาธิการ ทหารเรือ

พยายามศึกษาความรูเ้ พิม่ ขึน้ และหากมีลกู ก็จะ ให้ลูกเรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่เล็กๆ” ๕. กองทัพอากาศ เรื อ อากาศตรี ชานุ วั ฒ น์ แสงสุ ว รรณ นายทหารพระธรรมนูญ กรมช่างโยธาทหารอากาศ

๓. กองทัพบก ร้อยตรี ทินกร บุญชัยยิ่ง จ่าศาล จังหวัด ทหารบกปัตตานี

“ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ เป็นปีที่ชาวไทยจะต้อง เข้าร่วมประชาคมอาเซียนอย่างไม่มีข้อยกเว้น ภาษาอังกฤษเป็นกุญแจดอกส�าคัญที่จะเปิด ประตูไปสู่อาชีพการงานที่ก้าวหน้าและการ คบค้ า สมาคมกั บ เพื่ อ นบ้ า นในประชาคม อาเซียน จากการที่ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ ในชั้ น เรี ย น หลั ก สู ต รนายทหารสั ญ ญาบั ต ร ชั้นต้น รุ่นที่ ๓๗ เหล่าทหารพระธรรมนูญ ท�าให้ได้ตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่าภาษาอังกฤษ มีความจ�าเป็นและส�าคัญ ซึ่งการพัฒนาทักษะ ทางภาษา สามารถพัฒนาได้ ถ้าต้องการพัฒนา “กองทั พ เรื อ เป็ น หน่ ว ยงานของรั ฐ อาชีพของพวกเราเหล่าทหารพระธรรมนูญ หน่ ว ยหนึ่ ง ที่ มี ห น้ า ที่ ป กป้ อ งอธิ ป ไตยและ จัดอยู่ในระดับที่ค่อนข้างน่าเชื่อถือและเป็นที่ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ในการปฏิบัติ คาดหวั ง สู ง จากผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ในส่ ว นของ หน้าทีร่ าชการทหารต้องมีตดิ ต่อสือ่ สารกับมิตร กองทัพอากาศที่มีองค์ประกอบที่ส�าคัญยิ่ง คือ ประเทศเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างกันใน เครื่องบิน เครื่องบินซึ่งเป็นสิ่งที่ยังต้องพึ่งพา ด้านต่างๆ มากมาย ภาษาซึ่งนับว่ามีบทบาท เทคโนโลยี จ ากต่ า งประเทศ ภาษาอั ง กฤษ ส�าคัญน�า ไปสู ่ ผ ลสั มฤทธิ์ ข องการปฏิ บัติ ง าน จึ ง เป็ น ภาษากลาง และเป็ น สากล ซึ่ ง เป็ น ในการสร้างความเข้าใจกับมิตรประเทศที่มี เครื่ อ งมื อ อั น ดั บ แรกในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร “อาชี พ ทหารเป็ น อาชี พ ที่ มี เ กี ย รติ ในปี ปฏิสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะกฎหมายทางทะเล เกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารต่างๆ เกีย่ วกับเครือ่ งบิน ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะเข้ า ร่ ว มประชาคม ก็ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ซั บ ซ้ อ นและละเอี ย ดอ่ อ น ยิ่ ง และการเดิ น อากาศ ทหารอากาศไม่ ว ่ า จะ อาเซียนและจะมีความร่วมมือทางด้านต่างๆ กฎหมายสากลจ�าเป็นจะต้องเรียนรู้ทางด้าน เป็นนักบิน วิศวกร ช่างเครื่อง นายทหารพระ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องตลาดแรงงาน ด้านการค้า การกฎหมายแล้ว ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการ ธรรมนูญ และส่วนสนับสนุนต่างๆ จึงจ�าเป็น เป็นต้น ซึ่งภาษาอังกฤษถือเป็นภาษาสากลที่ ติดต่อประสานงานก็มีความซับซ้อนเช่นกัน ต้องรู้จริงในเรื่องภาษาอังกฤษอย่างหลีกเลี่ยง มีความจ�าเป็นเป็นอย่างมาก และอาชีพต่างๆ ผมได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษาหลักสูตรนาย ไม่ ไ ด้ ถึ ง แม้ ภ าษาอั ง กฤษจะไม่ ใ ช่ ภ าษา ก็จะมีการแข่งขันที่สูงขึ้น แต่ทหารเราคงไม่ ทหารสัญญาบัตรชัน้ ต้น รุน่ ที่ ๓๗ ของกรมพระ บรรพบุรุษของเรา แต่ถ้าเราตั้งใจศึกษาและ จ�าเป็นต้องไปแข่งขันใดๆ กับนานาประเทศ ธรรมนูญ ท�าให้ผมอยากเรียนภาษาอังกฤษมาก ฝึกฝน ภาษาอังกฤษก็คงไม่ยากเกินจะเรียนรู้ เพราะภารกิจหลักของทหารคือการป้องกัน และคิดไปว่า หากเราจะต้องไปพิจารณาคดี ให้เกิดความช�านาญได้ในที่สุด” ประเทศ แต่ ถึ ง อย่ า งไรในปั จ จุ บั น บุ ค ลากร ทางกฎหมายทางทะเลกับชาวต่างชาติแล้ว เรา ของกองทั พ บกรวมทั้ ง ตั ว ผมก็ ไ ม่ ส ามารถ จะท�าอย่างไร ยิ่งประเทศไทยจะเข้าสู่การเป็น ปฏิเสธภาษาอังกฤษได้ เพราะเราต้องมีการ ประชาคมอาเซียนด้วยแล้ว ภาษาอังกฤษจึง ฝึกร่วมกับกองทัพของต่างประเทศ และชั่วโมง มีความส�าคัญเป็นอย่างมาก ผมคิดว่าจะต้อง 5๒

พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ


ค�าศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับกฎหมาย Review การตรวจสอบทบทวน ค�าพิพากษาของศาลล่าง โดยศาลสูง Free Speech เสรีภาพในการพูดและแสดง ความคิดเห็นทีไ่ ด้รบั การ รับรองตามรัฐธรรมนูญ ของสหรัฐอเมริกาฉบับแก้ไข เพิ่มเติมครั้งที่หนึ่ง Lawsuit การฟ้องร้องด�าเนินคดีแพ่ง Judgment ค� า พิ พ ากษาวิ นิ จ ฉั ย ประเด็นข้อพิพาททีค่ ค่ ู วาม กล่าวอ้าง Majority เสียงข้างมาก Ruling ค� า วิ นิ จ ฉั ย ตี ค ว า ม บทบัญญัติของกฎหมาย หรือระเบียบต่างๆ Reverse การกลั บ ค� า พิ พ ากษา ของศาลล่าง Good Faith โดยสุจริต Actionable กรณีที่อาจถูกฟ้องร้อง ด�าเนินคดีได้ Ground มู ล คดี ที่ อ าจน� า ไปฟ้ อ ง เป็นคดีแพ่งได้ Defamation การหมิน่ ประมาทอันเป็น เหตุให้บคุ คลอืน่ เสือ่ มเสีย ชื่อเสียง Litigation กระบวนการต่อสูค้ ดีแพ่ง Tort การฝ่าฝืนต่อหน้าที่ซึ่ง ก�าหนดโดยกฎหมายหรือ โดยประการอื่นส�าหรับ บุ ค คลทุ ก คนในส่ ว นที่ เกีย่ วกับความสัมพันธ์ทมี่ ี ต่อกันในกิจการอย่างหนึง่ อย่างใด Liability หนี้ ห รื อ ความรั บ ผิ ด ที่ ผูกพันตามกฎหมาย Defendant จ� า เลยในคดี แ พ่ ง และ คดีอาญา Deposition ค�าเบิกความของพยาน เป็ น หนั ง สื อ ตามที่ ไ ด้ เบิกความภายใต้คา� สาบาน นอกศาล ตามปกติมกั จะ ท�าในส�านักงานทนายความ Plaintiff โจทก์ Trial การพิจารณาพิพากษาคดี Arrest การจับกุมโดยผูม้ อี า� นาจ ตามกฎหมาย Copyright ลิขสิทธิ์ Act พระราชบัญญัติ Charge กระท�าผิดกฎหมายอาญา Testify เบิกความเป็นพยาน หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

Prosecution การด�าเนินคดีอาญา Unconstitutional ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ Fair Use การทีก่ ฎหมายอนุญาตให้ ผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ สามารถใช้งานอันมีลขิ สิทธิ์ ได้โดยไม่ผิดกฎหมาย Offence การกระท�าผิดกฎหมาย อาญา ฐานความผิด Legitimate ชอบด้วยกฎหมาย Provision บทบัญญัติของกฎหมาย Liberty Freedom อิสรภาพจากการถูกจ�ากัด ต่างๆ เว้นแต่เป็นข้อจ�ากัด ที่ ถู ก ก� า หนดโดยชอบ ด้ ว ยกฎหมายและเป็ น กรณีทจี่ า� เป็นเพือ่ คุม้ ครอง สิทธิเสรีภาพของบุคคลอืน่ Execute การประหารชีวิต Exercise การใช้สิทธิ Freedom เสรีภาพของบุคคลที่จะ of religion เชื่อหรือปฏิบัติพิธีกรรม ตามความเชื่อของตนซึ่ง ได้รบั ความคุม้ ครองตาม รัฐธรรมนูญ Fine ก า ร ล ง โ ท ษ บุ ค ค ล ที่ กระท� า ความผิ ด อาญา ด้ ว ยการสั่ ง ให้ จ ่ า ยเงิ น ตามจ�านวนที่ก�าหนด Imprison การจ�าคุก Valid มีอ�านาจกระท�าได้โดย ชอบด้วยกฎหมาย Infringe การละเมิ ด สิ ท ธิ ห รื อ บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย Advocacy เรี ย กร้ อ งให้ ส นั บ สนุ น ต่อสาธารณะ Penalty การลงโทษตามกฎหมาย Obscene มีลกั ษณะลามกอนาจาร Compensate การให้คา่ สินไหมทดแทน ความเสียหายแก่ผเ้ ู สียหาย เพื่อที่จะท�าให้ผู้เสียหาย กลั บ คื น สู ่ ส ถานะเดิ ม ขณะที่เกิดเหตุขึ้น Reformation แนวคิดทฤษฎีทางกฎหมาย อาญาทีป่ ระสงค์จะลงโทษ ผูก้ ระท�าความผิดเพือ่ แก้ไข ฟื้นฟูผู้กระท�าความผิด อาญาให้กลายเป็นคนดี Retribution แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี ท า ง กฎหมายอาญาทีป่ ระสงค์ จ ะ ล ง โ ท ษ ผู ้ ก ร ะ ท� า ความผิ ด เพื่ อ เป็ น การ แก้แค้นที่ผู้นั้นได้กระท�า ความผิดอาญาจนท�าให้

ประชาชนและสั ง คม ได้รับความเสียหาย Deterrence แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี ท า ง กฎหมายอาญาทีป่ ระสงค์ จ ะ ล ง โ ท ษ ผู ้ ก ร ะ ท� า ความผิดเพื่อป้องปราม บุ ค คลอื่ น มิ ใ ห้ ก ระท� า ความผิดเช่นเดียวกันอีก Rehabilitation แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี ท า ง กฎหมายอาญาทีป่ ระสงค์ จะลงโทษผูก้ ระท�าความผิด เพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�า ความผิ ด ให้ ก ลายเป็ น สมาชิกที่ดีและมีคุณค่า ของสังคม Criminologist นักอาชญาวิทยา Engage ลงมือหรือเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมอันใดอันหนึ่ง Inmate นักโทษที่ถูกจ�าคุก ตัวอย่างบทสนทนาของทนายความ (Ask for Lawyer) Edward: Hello, I’m here for a consultation regarding civil law. (สวัสดีครับ ผมต้องการมาปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแพ่ง) Lawyer: Yes, please. (ได้ครับ) Edward: My neighbors are causing me to lose sleep. They are always singing and dancing late into the night. (คือว่า เพือ่ นบ้านของผมสร้างความ ร�าคาญจนผมนอนไม่หลับ พวกเขาร้องเพลง และเต้นร�ากันดึกๆ ดื่นๆ เมื่อคืน) Lawyer: Oh, I see. For a case like this, we’ll arrange for a lawyer to go visiting your neighbor with you. (ได้ครับ ในกรณีนี้ เราจะจัดทนายความไปคุยกับเพื่อน บ้านของคุณ) Edward: I spoke to them several times before. I don’t think having a lawyer present is going to help. (ผม คุยกับเขาหลายครั้งแล้ว ผมไม่คิดว่าการส่ง ทนายความไปจะช่วยอะไรได้) Lawyer: In that case, we’ll contact the police. If they find enough evidence, they’ll force your neighbors to comply. (ในกรณีนี้ เราจะติดต่อไปทีต่ า� รวจ หากพบว่ามีหลักฐานเพียงพอ ต�ารวจก็จะบังคับ ให้เพื่อนบ้านปฏิบัติตาม) Edward: That’s good. I hope I can have some peaceful nights in the future. (ดีเลย ผมหวังว่า ผมจะได้มีคืนที่สงบๆ บ้างในอนาคต) 53


สาระน่ารู้ทางการแพทย์

“แพทย์ทางเลือก รักษาด้วยการฝังเข็ม”

ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ารฝั ง เข็ ม เป็ น การแพทย์ทางเลือก แขนงหนึ่ ง โดยการฝั ง เข็ ม เข้ า ไปยัง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การฝังเข็ม สามารถระงับอาการเจ็บปวด ช่วยเรื่องภาวะ มีบุตรยาก ป้องกันโรคบางชนิด รวมถึงเสริม สุขภาพ การฝังเข็มเป็นแขนงหนึง่ ของการแพทย์ แผนจีน ซึ่งสามารถสืบย้อนประวัติได้ยาวนาน หลายพั น ปี และยั ง มี รู ป แบบที่ แ ตกต่ า งกั น มากมาย การฝังเข็มเป็นการใช้เข็มปักลงไปตามจุด ต่างๆ บนร่างกายของทั้งมนุษย์และสัตว์ ตาม จุดส�าคัญๆ ที่มีการบันทึกไว้ตั้งแต่โบราณมา แล้วว่า มีความส�าคัญและสัมพันธ์กับอวัยวะ ต่างๆ ในร่างกาย จุดฝังเข็มบนร่างกายมนุษย์ มีอยู่หลายร้อยจุด แต่จุดที่มีการบันทึกไว้อย่าง ชัดเจน ในเอกสารต�าราแพทย์จีนโบราณและ ในเอกสารอ้ า งอิ ง ขององค์ ก ารอนามั ย โลก (WHO) จะมีอยู่จ� านวน ๓๔๙ จุด บนเส้น ลมปราณ (meridian) หลักๆ ๑๒ เส้นหลักและ อีก ๒ เส้นรอง จ�านวนเส้นลมปราณในร่างกาย แต่ละข้าง (ขวา - ซ้าย) มี ๑๒ เส้น โดยแบ่ง เป็นส่วนของแขน ๖ เส้น และส่วนของขาอีก ๖ เส้น (ส่วนอีก ๒ เส้นรองจะอยู่ตรงกลางหลัง 54

และตรงกลางหน้าท้อง) ในส่วนของแขน ๖ เส้น ก็ จ ะจั บ คู ่ กั น เองเป็ น ๓ คู ่ เช่ น เดี ย วกั บ ขาก็จะจับคู่กันเองเป็น ๓ คู่ แต่ละเส้นจะมี ชื่ อ เรี ย กและหน้ า ที่ ข องมั น อย่ า งชั ด เจน ขอยกตั ว อย่ า ง ๒ เส้ น ใน ๖ เส้ น บนแขน เส้นของปอดและล�าไส้ใหญ่ โดยเส้นของปอด จะสิน้ สุดทีข่ า้ งหัวนิว้ โป้ง ส่วนเส้นของล�าไส้ใหญ่ จะเริ่มบริเวณด้านข้างปลายนิ้วชี้ทั้ง ๒ เส้น นี้คือเส้นของปอดและล�าไส้ใหญ่จะสัมพันธ์กัน แบบภายนอกและภายใน เป็นแบบ External & Internal relationship เส้นของปอดมีชื่อ เรียกว่า เส้นไท่อนิ ปอด (Taiyin lung meridian) เส้นของล�าไส้ใหญ่มีชื่อเรียกว่า เส้นหยางหมิง ล� า ไส้ ใ หญ่ (Yangming large intestine meridian) ในเส้นลมปราณแต่ละเส้น จะมี จุดฝังเข็ม (Acupunture points) หลายจุด จ�านวนแตกต่างกันไปมากบ้าง น้อยบ้าง เช่น บนเส้นไท่อินปอดจะมีอยู่ ๑๑ จุด บนเส้น หยางหมิงล�าไส้ใหญ่จะมีอยู่ ๒๐ จุด แต่ละจุด ก็ จ ะมี ชื่ อ เรี ย กของตั ว เองทุ ก จุ ด ชื่ อ ของจุ ด จะแตกต่ า งกั น ออกไป และทุ ก ชื่ อ ก็ จ ะมี ความหมายของตั ว เอง ชื่ อ ทั้ ง หมดเป็ น ชื่ อ ในภาษาจี น กลาง เช่ น จุ ด ที่ บริ เ วณด้ า นข้ า ง

ปลายนิ้วโป้งของเส้นไท่อินปอด มีชื่อเรียกว่า จุดเซ่าซาง (Shao Shang) หรือจุดแรกของ เส้นหยางหมิงล�าไส้ใหญ่ ที่ปลายนิ้วชี้ด้านข้าง มีชื่อว่าจุดซางหยาง (Shang Yang) ส�าหรับ คนต่างชาติการจะไปจ�าชื่อจุดฝังเข็มนับร้อย จุดเป็นชื่อจีนกลางเป็นเรื่องยาก ทางองค์การ อนามั ย โลกจึ ง ก� า หนดรหั ส ขึ้ น มาแทนชื่ อ จุดเหล่านั้น เช่นจุดเซ่าซางมีรหัสเป็น LU-11 จุดซางหยางมีรหัสเป็น LI-1 เป็นต้น การฝั ง เข็ ม เป็ น การรั ก ษาแบบทางเลื อ ก ที่ใช้ธรรมชาติของร่างกายรักษาโรคต่างๆ ด้วย การไปกระตุ้นจุดที่เกิดอาการผิดปกติ ช่วย ให้ร่างกายเกิดกระบวนการรักษาด้วยตัวเอง “การฝังเข็มตามทฤษฎีของจีนเขาอธิบายว่า การเจ็ บ ป่ ว ยเกิ ด จากการเดิ น ของลมปราณ เกิดการติดขัด ท�าให้เกิดการคั่ง การปวดต่างๆ เกิดขึน้ ไม่เหมือนกับทฤษฎีแพทย์แผนปัจจุบนั จะมีเรือ่ งของลมปราณซึง่ เดินผ่านเส้นลมปราณ ต่างๆ ในร่างกายเรา แล้วก็ต่อเนื่องตลอดเวลา ถ้าเกิดอุบตั เิ หตุ หรือเกิดโรคภัยไข้เจ็บจากเรือ่ ง ของความร้อน ความเย็น เชือ้ โรคต่างๆ ก็จะเกิด การติดขัดของลมปราณ และเกิดเป็นความเจ็บ ป่วยไม่สบายต่างๆ เกิดขึน้ จะเป็นเรือ่ งของปวด

ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


เรื่องของบวม เรื่องของการคั่งต่างๆ พวกนี้ ก็ เกิดเป็นอาการต่างๆ ของโรคขึ้นมา โดยรวมๆ เขาบอกว่าการฝังเข็มก็จะไปช่วยทะลุทะลวง การอุดตัน หรือการระบายส่วนเกินส่วนคั่ง ที่มีอยู่ ท�าให้การไหลเวียนของลมปราณเป็น ปกติ ก็ท�าให้โรคภัยไข้เจ็บ การเจ็บป่วย หรือ การปวดนั้นหายไป อันนี้อธิบายแบบกว้างๆ ทีนี้มีแพทย์จากตะวันตกจ�านวนมาก ได้ไป ศึกษาเรือ่ งการฝังเข็มของจีน พยายามมาเข้าใจ ว่าพูดแบบนัน้ เรือ่ งทฤษฎีลมปราณเป็นเหมือน จินตนาการที่สัมผัสไม่ค่อยได้ ก็พยายามที่จะ มาอธิบายด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ที่เรา เรี ย นรู ้ ม าแล้ ว มองเห็ น แล้ ว เป็ น เรื่ อ งของ อนาโตมี กายวิ ภ าคศาสตร์ เป็ น เรื่ อ งของ ฟิสิโอโลจี หรือระบบสรีรวิทยาที่เราเรียนมา และพิสูจน์ได้ ก็มีความสัมพันธ์กัน ยกตัวอย่าง เช่น จุดฝังเข็มส่วนใหญ่ที่ท�างานได้ผล ก็จะ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ แถบของผิ ว หนั ง หรื อ กล้ า มเนื้ อ ที่ ถู ก หล่ อ เลี้ ย ง หรื อ ท� า งานโดย ประสาทแต่ละเส้น ก็จะมีแถบของบริเวณที่ ถูกเลี้ยงด้วยประสาทส่วนนี้ แล้วพอเรากระตุ้น ที่ ส ่ ว นปลายนั้ น ก็ มี ผ ลต่ อ ไขสั น หลั ง บริ เ วณ ที่สัมพันธ์กัน และมีผลต่อการรักษา ซึ่งก็ศึกษา อย่างนี้จ�านวนมาก และเชื่อว่าน่าจะมีความ สัมพันธ์นี้อยู่ เป็นวิทยาศาสตร์” ในขณะที่ อี ก ด้ า นหนึ่ ง มี ก ารศึ ก ษาโดย ทดลองฝั ง เข็ ม กั บ กระต่ า ย ให้ ท นต่ อ ความ เจ็บปวดได้ดีขึ้น แล้วถ่ายเลือดไปให้กระต่าย อี ก ตั ว ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การฝั ง เข็ ม กระต่ า ยอี ก ตั ว ก็จะทนต่อความเจ็บปวดได้ดีขึ้นเช่นเดียวกัน เป็นการแสดงให้เห็นว่ามีสารบางอย่างหลั่ง ออกมาจากสมองของกระต่ า ยที่ ไ ด้ รั บ การ กระตุ้นด้วยการฝังเข็ม ดังนั้นเมื่อถ่ายเลือดไป ให้กระต่ายอีกตัวซึ่งไม่ได้ฝังเข็ม จึงมีฤทธิ์ของ ฮอร์โมนจากกระต่ายตัวแรกไปยังกระต่ายตัว ที่สอง นี่คือหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ยืนยัน ว่าการฝังเข็มช่วยให้สมองหลั่งสารบางอย่าง ออกมาในการแก้ปวด คลายความตึงเครียด ของกล้ามเนื้อ และจิตใจได้ จึงน�ามาช่วยใน การรั ก ษาโรคได้ มี ข ้ อ มู ล ทางวิ ท ยาศาสตร์ การแพทย์สรุปได้ว่า การฝังเข็มสามารถรักษา โรคโดยอาศัยกลไกส�าคัญคือ ปรับการท�างาน ของอวัยวะต่างๆ ให้อยู่ในสภาพสมดุล ยับยั้ง ความเจ็ บ ปวด ปรั บ การท� า งานของระบบ ภูมิคุ้มกัน ช่วยให้กล้ามเนื้อที่หดเกร็งคลายตัว และกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ทั้งบริเวณ เฉพาะจุด และทั่วร่างกาย “ในเข็มนั้นไม่มียา แต่วิธีการที่น�าเข็มไป ปักในจุดต่างๆ ท�าให้เกิดยา หรือเกิดผลต่อ ระบบประสาท ท�าให้เกิดการรักษาได้ ท�าให้ หายปวด ท�าให้ชาได้ ท�าให้ลดการบวม ท�าให้ ไตท�างานดีขึ้น ตับท�างานดีขึ้น ลดอาการใจสั่น ลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ การสะอึก เป็นต้น หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

หรือแม้แต่คนเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ฝังเข็ม แล้วสามารถท�าให้หายเร็วขึ้น ถ้าหากว่าเป็น ในระยะเริ่มต้น” อย่างไรก็ตาม การฝังเข็มมิใช่ “ยาวิเศษ” ที่สามารถรักษาได้ทุกโรค ถ้าเป็น โรคที่มีพยาธิสภาพของอวัยวะเสียหายรุนแรง เป็ น เรื้ อ รั ง มานาน ผู ้ สู ง อายุ ที่ อ วั ย วะต่ า งๆ ของร่างกายเสื่อมสภาพมาก ไม่ว่าจะฝังเข็ม กระตุ้นอย่างไร ร่างกายก็อาจจะไม่ตอบสนอง จึงเป็นไปได้ว่าการรักษาจะไม่ได้ผลดีตามที่ คาดไว้ ซึ่งตัวอย่างผู้ป่วยกรณีเช่นนี้ พบได้ อยู ่ เ สมอๆ และในบางกรณี ที่ ผ ลการรั ก ษา ไม่ดีขึ้นจนถึงระดับที่น่าพอใจ ก็จ�าเป็นต้อง รักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การผ่าตัด เป็นต้น “โรคที่เรารักษาหลักๆ ก็เป็นเรื่องเกี่ยวกับการ ปวด การอักเสบของพวกเอ็น ของกล้ามเนื้อ ของข้อต่างๆ พวกนี้ ในระยะที่ยังไม่เสียรูปร่าง มากเกิน ไป บางที ก ารฝั ง เข็ มช่ ว ยได้ ท� า ให้ คนไข้ไม่ต้องผ่าตัดก็มี หรือแม้แต่รายที่บางที ผ่าตัด ไปแล้ ว โรคบางอย่ า งหมอก็ แนะน�า ให้ ผ่าตัด ผ่าตัดไปแล้วก็ยังไม่หาย บางทีก็มีคน มาฝังเข็มเพื่อจะแก้ไขความตึง ความผิดปกติ ก็ ช ่ ว ยผ่ อ นคลายให้ ดี ขึ้ น ได้ หรื อ แม้ แ ต่ โ รค ที่ ผ ่ า นมาแต่ ก ่ อ นเรามั ก จะรั ก ษาด้ ว ยยา เพียงอย่างเดียว เช่นพวกไมเกรน ก็กินยากัน ยืดยาวนานเป็นปีๆ น่าเบือ่ หน่าย เดีย๋ วนีเ้ รามีวธิ ี การฝังเข็มที่ช่วย และบางคนก็ฝังเพียง ๒ - ๓ ครั้งก็หายดีมากๆ คือบางทีก็กินยามาหลายปี แล้วก็เป็นอยูอ่ ย่างนัน้ แต่พอเราฝังเข็ม แนะน�า การบริหารให้ถูกต้อง นั่งให้ถูกต้อง การปวด ก็หายไป” ฝังเข็มรักษาโรค โรคที่สามารถรักษาได้ด้วยการฝังเข็ม ได้แก่ • ปวดหลัง ปวดคอ ปวดไหล่ ปวดเข่า ปวดไมเกรน ปวดศีรษะ ปวดประจ�าเดือน • อัมพฤกษ์ อัมพาต • โรคทางหู เช่น มีเสียงดังผิดปกติในหู หูดบั

การฝังเข็มเป็นการใช้เข็มปักลงไป ตามจุดต่างๆ บนร่างกายของทัง้ มนุษย์ และสัตว์ ตามจุดส�าคัญๆ ทีม่ กี ารบันทึก ไว้ตงั้ แต่โบราณมาแล้วว่า มีความส�าคัญ และสัมพันธ์กับอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย

• โรคภูมิแพ้ หวัดเรื้อรัง และหอบหืด • โรคเครี ย ด นอนไม่ ห ลั บ วิ ต กกั ง วล ซึมเศร้า • โรคทางผิวหนัง เช่น สิว ฝ้า ผมร่วง งูสวัด ผื่นต่างๆ • โรคพาร์กินสัน • โรคระบบทางเดินอาหารและล�าไส้ เช่น ท้องผูก ท้องเดิน ริดสีดวงทวาร สะอึก ปวดท้อง เรื้อรัง • โรคความดันโลหิตสูง และความดัน โลหิตต�่า • ลดความอ้วน และเพิม่ น�า้ หนักในคนผอม • เลิกยาเสพติด เช่น สุรา บุหรี่ ยาเสพติด • เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ วัยทองทั้ง หญิงและชาย • โรคอื่ น ๆ ซึ่ ง แพทย์ จ ะพิ จ ารณาเป็ น รายๆ ไป “ฝังเข็ม” จึงจัดว่าเป็นวิธีธรรมชาติบ�าบัด การแพทย์ทางเลือก (Altemative medicine) ที่เน้นการบ�าบัดรักษาโดยวิธีที่เป็นธรรมชาติ โดยความเชื่อที่ว่า ร่ายกายมีความสามารถใน การบ�าบัดรักษาตนเอง ปรัชญาของธรรมชาติ บ�าบัดนิยมในการรักษาโดยวิธี Holistic health คือ ลดการใช้วิธีผ่าตัด ฉีดยา ทานยา ในการ รักษาโรค

55


ด้วยจิตกุศลและความเมตตา ปรารถนาดี สูค่ วามช่วยเหลือทีย่ งั่ ยืน

พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์

านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (สป.) หน่ ว ยงานนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ความมั่นคง โดยการบริหารงานของ พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวง กลาโหม ได้ให้ความส�าคัญกับงานด้านก�าลังพล ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญยิ่งในการขับเคลื่อนองค์กร โดยมี น โยบายให้ ป รั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบ งานก�าลังพลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ยึดถือ การปกครองบั ง คั บ บั ญ ชา และการบริ ห าร จัดการก�าลังพลด้วยความยุติธรรม มีคุณธรรม ดูแลสิทธิกา� ลังพล และสวัสดิการของข้าราชการ ในทุกระดับชั้น โดยเฉพาะข้าราชการชั้นผู้น้อย ให้ มี ข วั ญ ก� า ลั ง ใจและคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ซึง่ หน่วยงานต่างๆ ของ สป. ได้รว่ มกันขับเคลือ่ น งานตามนโยบายให้มีผลทางการปฏิบัติที่เป็น รู ป ธรรมคื บ หน้ า ไปตามล� า ดั บ โดยเฉพาะ 5๖

พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์


ความร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วน ด้วยจิตกุศลและมีความเมตตา ปรารถนาดีต่อกันระหว่างเพื่อนมนุษย์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสดังกล่าว สามารถ ก้าวเดินไปสู่วิถีชีวิตที่มีคุณภาพ ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกัน

การดูแลสวัสดิการของข้าราชการชั้นผู้น้อย ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนการด�าเนินงานจากสมาคม ภริ ย าข้ า ราชการส� า นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม ควบคู่กันไปอย่างเป็นรูปธรรม สมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ได้ให้ความส�าคัญในการให้ ความช่วยเหลือและสงเคราะห์แก่เด็กพิการ ด้วยปัจจัยต่าง ๆ จึงได้ด�าเนินการจัดกิจกรรม ทีก่ ระท�ากันมาอย่างต่อเนือ่ งในทุกปี โดยเฉพาะ การด�าเนินงานของสมาคมฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ด้วยการน�าของ นางนศพร อภิรกั ษ์โยธิน นายก สมาคมฯ ท่านอุปนายกสมาคมฯ และคณะ กรรมการมีความมุ่งมั่นในการช่วยเหลือดูแล สวัสดิการของครอบครัวข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (สป.) โดยเฉพาะอย่างยิง่ บุตรของข้าราชการ สป. ที่มีความพิการ ซึ่ง ครอบครัวต้องประสบกับปัญหาในเรื่องภาระ ในด้านค่าใช้จ่ายและการดูแลบุตรที่จะต้องให้ ความใส่ใจเป็นอย่างยิง่ ด้วยเหตุนเี้ อง สมาคมฯ จึงได้ริเริ่มที่จะจัดท�าโครงการช่วยเหลือบุตรที่ มีความต้องการพิเศษของก�าลังพล ส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม โดยร่วมกับ สป. ส�ารวจ

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

ก�าลังพลทีป่ ระสบกับปัญหาดังกล่าว พบว่า สป. มียอดผู้พิการจ�านวน ๓๘ คน ทางสมาคมฯ จึง ได้นา� คณะกรรมการสมาคมฯ เข้าไปเยีย่ มเยียน บุตรที่มีความพิการของข้าราชการ สป. ทั้งใน เขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและในส่วน ภูมิภาค โดยได้รับความกรุณาจาก ปล.กห. และ รอง ปล.กห. ที่ได้ให้การสนับสนุน อ�านวย ความสะดวกในการจัดคณะแพทย์และพยาบาล จากส� า นั ก งานแพทย์ ร ่ ว มคณะเดิ น ทางเพื่ อ ตรวจรักษาให้ค�าแนะน�าและประสานงานใน ด้านต่างๆ สมาคมฯ ได้ชว่ ยเหลือทุนทรัพย์และ ปัจจัยที่จ�าเป็นส�าหรับความต้องการของแต่ละ ครอบครัว เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระและปัญหา ในการดูแลขั้นต้น ตลอดทั้งช่วยเหลือด้วยการ สนับสนุนและอ�านวยความสะดวกให้ผู้พิการ เข้าสู่การรักษาพยาบาลจากโรงพยาบาลทั้ง ภาครัฐ และภาคเอกชนอย่างทั่วถึง รวมทั้งจะ สนับสนุนการจัดการอบรมผูป้ ระสานงานพร้อม ด้วยพ่อแม่ ผูป้ กครองทีต่ อ้ งดูแลบุตรเหล่านีเ้ พือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนต่อไป ทัง้ นี้ เพือ่ ความต่อเนือ่ ง และความยัง่ ยืนของการช่วยเหลือในการด�าเนิน โครงการดังกล่าว จึงได้ประสานกับ สป. ในการ จัดท�าระเบียบ สป. ว่าด้วยกองทุนเพื่อการช่วย เหลือบุตรที่มีความต้องการพิเศษของก�าลังพล ใน สป. พร้อมกันนี้ สมาคมฯ ได้มอบเงินให้ สป. จ�านวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท เพือ่ เป็นทุนประเดิม สนับสนุนเงินกองทุนดังกล่าว ซึ่งการให้ความ ร่ ว มมื อ อย่ า งเต็ ม ที่ แ ละการสนั บ สนุ น อย่ า ง เต็มใจจากทุกฝ่าย นับเป็นก�าลังใจแก่ครอบครัว ที่มีบุตรที่มีความต้องการพิเศษ และเป็นอีก ก้าวหนึง่ ของความร่วมมือร่วมใจจากทุกๆ ฝ่ายที่ มุ ่ ง ให้ ก� า ลั ง พลสั ง กั ด สป. มี ส วั ส ดิ ก ารและ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และก่อให้เกิดการช่วยเหลือ บุตรของก�าลังพลอย่างเป็นรูปธรรมในระยะยาว ต่อไป โดยสมาคมฯ ได้ขอความอนุเคราะห์ สป. ได้แต่งตั้ง "ผู้ประสานงาน" ในแต่ละหน่วยงาน เพือ่ สานการท�างานร่วมกันให้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง ร่วมกับสมาคมฯ และหน่วยงานอื่นต่อไป ทั้งนี้ หากความร่วมมือกันภายใน สป. และสมาคมฯ

เกิดขึน้ เป็นรูปธรรม ยังสามารถขยายไปสูค่ วาม ร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการดูแลผู้ที่มีความพิการ อันได้แก่ มูลนิธิ อนุเคราะห์ของคนพิการในพระราชูปถัมภ์ฯ มู ล นิ ธิ พั ฒ นาคนพิ ก ารไทย มู ล นิ ธิ ส ถาบั น แสงสว่ า ง มู ล นิ ธิ ม หาไถ่ เ พื่ อ การพั ฒ นา คนพิการ สถาบันราชานุกูล ศูนย์สิรินธรเพื่อ การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ สภาสั ง คมสงเคราะห์ แ ห่ ง ประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ เป็นต้น รวมทัง้ โรงพยาบาล ต่าง ๆ ในการสนับสนุน และส่งเสริมการท�างาน ร่วมกันมากขึ้น เพื่อให้บุตรของข้าราชการ สป. ที่มีความพิการ เข้าถึงระบบการสงเคราะห์ และพัฒนาโดยภาครัฐ และการสนับสนุนจาก หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง ทั้งใน ด้านการเสริมสร้างสุขภาพ การจัดการศึกษา การส่ ง เสริ ม อาชี พ และการมี ง านท� า การ จั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ มศั ก ยภาพ การประสาน คุ้มครองสิทธิ และสนับสนุนให้ได้รับสวัสดิการ ต่างๆ การพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม การ ส่ ง เสริ ม เจตคติ ที่ ส ร้ า งสรรค์ ข องสั ง คมต่ อ กลุ่มเป้าหมายในทุกมิติและเป็นแหล่งเรียนรู้ ชุมชน เป็นต้น อีกทัง้ ร่วมกันสร้างความตระหนัก ให้ ทุ ก ฝ่ า ยได้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของผู ้ ด ้ อ ยโอกาส และผู ้ พิ ก าร ได้ ค� า นึ ง ถึ ง สิ ท ธิ แ ละโอกาส การพัฒนาอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เพราะ ปัจจุบนั ยังมีผพู้ กิ ารอีกจ�านวนมากทีย่ งั ไม่ได้รบั โอกาสการพัฒนาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและคนรอบข้าง ของเขาเหล่านั้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งความ ส� า เร็ จ จะมี ขึ้ น ได้ นั้ น ก็ ม าจากความร่ ว มมื อ ร่วมใจของทุกภาคส่วน ด้วยจิตกุศลและมีความ เมตตา ปรารถนาดีต่อกันระหว่างเพื่อนมนุษย์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ผู ้ พิ ก าร และ ผู้ด้อยโอกาสดังกล่าว สามารถก้าวเดินไปสู่ วิ ถี ชี วิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพร่ ว มกั บ สั ง คมได้ อ ย่ า งมี ความสุข มีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกัน 57


นางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เข้าร่วม พิ ธี ส วนสนามกองทหารเกี ย รติ ย ศในการ เข้ า รั บ ต� า แหน่ ง รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง กลาโหม โดยมี พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยผูบ้ ญ ั ชาการทหารสูงสุด ผูบ้ ญ ั ชาการ เหล่าทัพ และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ร่วมใน พิ ธี ต ้ อ นรั บ ณ ศาลาว่ า การกลาโหม เมื่ อ ๑๑ ก.ค.๕๖

พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ประกอบพิธีสักการะศาลหลักเมืองและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาลาว่าการ กลาโหม ในโอกาสเข้ารับต�าแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหม เมื่อ ๕ ก.ค.๕๖

พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะนายทหารชัน้ ผูใ้ หญ่ ร่วมให้การต้อนรับ และแสดงความยินดีกบั พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในโอกาสเข้ารับต�าแหน่งใหม่ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๕ ก.ค.๕๖

58


พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ร่วมในงานพิธีเทิดเกียรติ พลเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม ณ ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑ ก.ค.๕๖

พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน ในพิ ธี วั น คล้ ำ ยวั น สถำปนำ ส� ำ นั ก งำนสนั บ สนุ น ส� ำ นั ก งำนปลั ด กระทรวงกลำโหม ครบ ๔ ปี และส�ำนักโยธำธิกำร ส�ำนักงำนสนับสนุน ส�ำนักงำนปลัดกระทรวงกลำโหม ครบ ๒๓ ปี ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๖ อาคารส�านักโยธาธิการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ถ.ประชาชื่น เมื่อ ๑ ก.ค.๕๖ พลอากาศเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธมี อบทุนกำรศึกษำ ในประเทศส�ำหรับข้ำรำชกำรส�ำนักงำนปลัดกระทรวงกลำโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิม์ นตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๙ ก.ค.๕๖

หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

59


พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม น�าคณะผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ ผู้อ�านวยการองค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก และผูอ้ า� นวยการสถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ (องค์การมหาชน) ท�าการชี้แจงงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ ๕๗ ของกระทรวงกลาโหม ต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ ๕๗ สภาผูแ้ ทนราษฎร ณ ห้องประชุมงบประมาณ ชั้น ๓ อาคารรัฐสภา ๓ เมื่อ ๑๕ ก.ค.๕๖ พลเรือเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่อง การจัดการป้องกันและการปราบปราม ทุจริตในกรอบกลาโหม ซึ่งจัดโดย กรมเสมียนตรา เมื่อ ๔ ก.ค.๕๖ ณ ห้องพินิตประชานาถ

พลอากาศเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานเปิดการใช้บริการ ตูอ้ ตั โนมัติ TMB เมือ่ ๙ ก.ค.๕๖ ณ ศาลาว่าการกลาโหม

๖0


พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัด กระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด โครงการจิตส�านึกรักเมืองไทย ประจ�าปี ๒๕๕๖ ณ ห้ อ ง Auditorium หอศิ ล ปวั ฒ นธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร เมื่อ ๒๗ มิ.ย.๕๖

พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม รับมอบเครือ่ งมือแพทย์ จากคณะนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุน่ ที่ ๕๕ ประจ�าปี ๒๕๕๕ ประกอบด้วยเครือ่ งทดสอบสมรรถภาพการท�างานของหัวใจ และเครือ่ งตรวจคลืน่ ไฟฟ้า เมือ่ ๓ ก.ค.๕๖ ณ ศาลาว่าการกลาโหม

พลอากาศเอก วินยั เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีปิดการศึกษาหลักสูตรปฐมนิเทศนายทหารใหม่ของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๑๖ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิม์ นตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมือ่ ๙ ก.ค.๕๖ หลักเมือง สิงหาคม ๒55๖

๖1


พลเอก ชาญ โกมลหิรัญ เจ้ากรมเสมียนตรา เป็นประธานในพิธีปิดการอบรมเพื่อการเป็น พิธีกรทางพระพุทธศาสนาส�าหรับนายทหาร ชั้นสัญญาบัตร สังกัดส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหม รุน่ ที่ ๒ ณ ห้องประชุมกรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกลาโหม ๕ ชัน้ ๔ อาคารส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมือ่ ๑ ก.ค.๕๖ พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ ผู้อ�านวยการส�านักนโยบายและแผนกลาโหม เป็นผู้แทน ปลัดกระทรวงกลาโหม รับการเข้าเยีย่ มอ�าลาของ พันเอก Janusz JESIONOWSKI ผชท. ทหาร สาธารณรัฐโปแลนด์/กรุงเทพฯ ณ ห้องสราญรมย์ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๐ ก.ค.๕๖

พลตรี ชั ย พฤกษ์ พู น สวั ส ดิ์ เลขานุ ก าร ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ผู้ประสาน เครือข่ายสื่อมวลชน เพื่อความมั่งคงระดับ ผู้บริหาร ณ สามพราน ริเวอร์ไซด์ เมื่อ ๒๘ มิ.ย.๕๖

๖๒


พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงบั น ทึ ก แถบวี ดิ ทั ศ น์ อ าศิ ร พาท ถวายพระพรชั ย มงคล สมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ประกอบด้วย สมาคมภริยาข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม สมาคมแม่บา้ นกองบัญชาการกองทัพไทย สมาคม แม่บ้านทหารบก สมาคมภริยาทหารเรือ สมาคมแม่บ้านทหารอากาศ และสมาคมแม่บ้านต�ารวจ เมื่อวันที่ ๑๗ ก.ค.๕๖ ณ สถานีวิทยุโทรทัศน์ กองทัพบก

นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ เฝ้ารับเสด็จฯ พระเจ้า วรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลึ พระวรราชาทินดั ดามาตุ เนือ่ งในวโรกาส คล้ายวันประสูติ ๑๓ ก.ค.๕๖ ณ อาคารใหม่สวนอัมพรเมื่อ ๑๒ ก.ค.๕๖ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕6

63


นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการฯ ไปตรวจเยื่ยมศูนย์พัฒนา ความรู้ (ประชาชื่น) ณ ส�านักโยธาธิการ ส�านักงานสนับสนุนส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑ ก.ค.๕๖

คณะกรรมการสมาคมภริ ย าข้ า ราชการ ส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ร่ ว มพิ ธี บวงสรวง พญาคชสีห์ ณ หน้าอาคารส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมือ่ ๙ ก.ค.๕๖ ๖4




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.