ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปร�กษากิตติมศักดิ์ ผู้อํานวยการ
พล.อ.วันชัย เร�องตระกูล พล.อ.อ.สุว�ช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพ�ยร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิร�ชัย ธัญญสิร� พล.อ.ว�นัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกว�ท พล.อ.เสถียร เพ��มทองอินทร์ พล.อ.ว�ทวัส รชตะนันทน์
พล.ต.ชัยพฤกษ� พูนสวัสดิ์
รองผู้อํานวยการ
พ.อ.ณภัทร สุขจ�ตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อํานวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจํากองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปร�กษา เหรัญญิก
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ดํารงศักดิ์ ห้าวเจร�ญ ร.น. พล.อ.อ.ว�นัย เปล่งว�ทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจร�ญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเร�อง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุร�ยฉัตร เผ่าบุญเสร�ม พล.ท.สุรศักดิ์ ศร�ศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.ว�ระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศร�กังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ�เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ว�รศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเตะ
ฝ่ายพ�สูจน์อักษร
พ.อ.หญิง ว�วรรณ วรว�ศิษฏ์ธํารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงช�พ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทว� สุดจ�ตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิร�สรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจํากองบรรณาธิการ
น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปัตพ� ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ พ.ต.หญิง สิร�ณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจ�ตร พวงโต ร.อ.พฤทธิพงศ์ ภูมิจ�ตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.จ�รวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง พัชร� ชาญชัยพ�ช�ต ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ��งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ข�ง พ.ท.หญิง ณิชนันทน์ ทองพูล น.ต.ฐ�ตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.จ�โรตม์ ช�นวัตร ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.ศุภกิจ ภาว�ไล จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ�ผึ้ง ส.อ.หญิง ศิร�พ�มพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ ข่าวสารความมั่นคง เป็นเรื่องที่ดูเหมือนไกลตัว แต่โดยแท้จริงแล้ว มีผลกระทบ ต่ อ ทุ ก คน รวมไปถึ ง ครอบครั ว และองค์ ก รอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ สั ง คมปั จ จุ บั น อยู่ระหว่างการปรับเปลี่ยนเรียนรู้ ที่จะเป็นสังคมไทยในยุคใหม่ การเปิดใจกว้าง ยอมรับความคิดของผู้อื่น และเปิดรับองค์ความรู้ใหม่ ๆ จึงเป็นเรื่องส�าคัญ วารสาร หลักเมืองพยายามเสนอแง่มุมและข้อมูลงานความมั่นคงที่เป็นประโยชน์ไม่หนัก จนเกินไป ทุกท่านได้เรียนรู้และมีความเข้าใจพร้อมกันในเรื่องต่าง ๆ เพื่อจะได้ ร่ ว มกั น ขั บ เคลื่ อ นและสร้ า งกระบวนการมี ส ่ ว นร่ ว มทางสั ง คมให้ ม ากขึ้ น ในการ แต่ ง เติ ม สั ง คมเราให้ มี รู ป แบบเป็ น ที่ ย อมรั บ และใช้ ชี วิ ต อยู ่ ร ่ ว มกั น ควบคู ่ ไ ปกั บ กลไกรัฐที่ก�าลังด�าเนินการอยู่ เดือนกันยายนของทุกปี มีความส�าคัญส�าหรับการรับราชการอย่างมาก เกียรติประวัติ และปูมหลังของข้าราชการทุกท่านที่ได้ทุ่มเทชีวิตกว่า ๓๐ ปี รับใช้ประเทศชาติ จนถึงวาระเกษียณอายุราชการ จึงมีความหมายและมีความส�าคัญยิ่ง ขอถือโอกาส เทิดเกียรตินายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมที่ครบวาระ เกษียณอายุราชการในเดือนกันยายน ๒๕๕๖ ไว้เพื่อจารึกในสังคมและเป็นเกียรติภูมิ ร่วมกัน
๒
ปที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒70 เดือนกันยายน พ.ศ. ๒55๖
๔ เสบียงชีวิต ๖
๓๔
๔
การปฏิบัติภารกิจของ กองทัพไทยเพื่อรองรับ การเป็นประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�างาน พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๓๘
กลาโหมอาเซียน จับมือ องค์กรภาคประชาสังคม บริหารจัดการภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ
๑๒
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�างาน พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัด กระทรวงกลาโหม
๔๐
ดุลยภาพของประเทศ อาเซียนเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ปราบ เรือด�าน�้าซีฮอร์ค
๑๖
๔๓
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�างาน พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัด กระทรวงกลาโหม
การสร้างคุณค่า ในชีวิตหลังเกษียณ
๔๖
๒๐
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�างาน พลเอก ชาญ โกมลหิรัญ เจ้ากรมเสมียนตรา
๑๐
๑๒
๑๖
๒๒
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�างาน พลเอก รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ เจ้ากรม พระธรรมนูญ
๒๔
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�างาน พลอากาศเอก ดิเรก พรหมประยูร ผูอ้ า� นวยการ ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ และ พลังงานทหาร
๒๖
ชุดแผ่นยันต์ ประจ�าศาลาว่าการกลาโหม
Where the cold war lives “North Korea has dashed hopes that it might change.” เกาหลีเหนือได้เป็น ผู้ท�าให้สงครามเย็น ยังไม่จบ
๕๐
หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนทีี่ ๑๔)
๒๒
๒๐
๒๔
๕๔
สงคราม พม่า- อังกฤษ ครัง้ ที่ ๑ พ.ศ.๒๓๖๗
๕๗
อักษรเงียบ (Silent Letters)
๖๐
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ อันตรายจากการแคะหู
๒๘
๓๔
๖๒ จกรรม ๓๘ ประมวลภาพกิ ๖๘
ผลการประชุม IISS Shangri - La Dialogue ครั้งที่ ๑๒
บทสัมภาษณ์พิเศษ นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
โครงการจิตส�านึกรักเมืองไทย ๒๕๕๖ (ปีที่ ๕)
ประมวลภาพกิจกรรม สมาคมภริยาข้าราชการ
๒๘ ๓๐
๗๑ ๔๐
๔๖
๖๘
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง กันยายน ๒55๖
3
เสบียงชีวิต พระครูกิตติปริยัตินิเวศน์
ใ
ปุญฺญญฺเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย ถ้าบุรุษจะพึงท�าบุญ ควรท�าบุญนั้นบ่อย ๆ ควรท�าความพอใจในบุญนั้น การสั่งสมบุญ น�าความสุขมาให้
นฐานะที่ เ ราเกิ ด มาบนผื น แผ่ น ดิ น ไทย อั น มี ส ถาบั น ชาติ ศาสนา พระ มหากษั ต ริ ย ์ เ ปรี ย บเสมื อ นเสาหลั ก ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของคนไทยทุ ก หมู ่ เ หล่ า จึ ง ไม่ มี สิ่ ง ใดที่ จ ะเป็ น เครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ 4
และเป็ น แบบอย่ า งแห่ ง การด� า เนิ น ชี วิ ต อันประเสริฐนี้ไปได้นอกจาก ๓ สถาบันหลักนี้ ซึ่งคงอยู่คู่แผ่นดินไทยมาแต่ครั้งบรรพชนและ ยังคงยั่งยืนต่อไปตราบจนหาที่สุดมิได้ พระพุทธศาสนานั้น จัดเป็นศาสนาประจ�า
ชาติไทยโดยสายเลือดทีม่ กี ารสืบสานการนับถือ และปฏิบตั ติ ามพระสัทธรรมนัน้ ด้วยความเคารพ นอบนบบูชายิง่ ถึงกับต้องเอ่ยว่า พุทธัง สะระณัง คั จ ฉามิ ธั ม มั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ สั ง ฆั ง สะระณัง คัจฉามิ เป็นต้น ซึ่งแปลได้ใจความ พระครูกิตติปริยัตินิเวศน์
ว่าข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่ง จึงมิใช่เรื่องแปลกที่ประชาชน คนไทยล้ ว นแล้ ว แต่ มี จิ ต ใจที่ โ อบอ้ อ มอารี กระท�าการสิ่งใดอันเป็นไปทางกาย วาจา และ จิตใจ ก็ล้วนแต่ประกอบไปด้วยเมตตาธรรม เป็นประการส�าคัญ ชายไทยส่วนหนึ่งมีโอกาส ได้บวชเรียนเพือ่ น้อมน�าค�าสัง่ สอนทางพระพุทธ ศาสนาเป็ น แนวทางแห่ ง การด� า เนิ น ชี วิ ต แม้หญิงไทยส่วนหนึ่งนั้นยังหาโอกาสอันควร ของแต่ละช่วงอายุ ช่วงปีนนั้ ๆ บวชชีพราหมณ์ ถือศีล ปฏิบัติตนได้อย่างงดงามตามรอยบาท แห่งพระบรมศาสดาเช่นกัน สิ่งหนึ่งที่ชาวพุทธเราได้กระท�ากันมาและ คุ้นเคยจนกลายเป็นอุปนิสัยในชีวิตประจ�าวัน โดยตลอดนั่นก็คือ “บุญ” ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าว โดยภาพรวมของค�าว่า “บุญ” นั้นมีที่มา ๒ สถานะด้วยกันกล่าวคือ ๑. บุญ ในฐานะทีเ่ ป็นบุญแท้ ซึง่ หมายถึง ความเป็ น บุ ญ ที่ มี บุ ญ ได้ เ กิ ด มาเป็ น มนุ ษ ย์ ในภพภูมิชาตินี้อันเป็น “ปุพฺเพกตปุญฺญตา” ความเป็นผู้มีบุญมาแต่ชาติปางก่อน เป็นบุญ ติดตัวมาไม่ว่าจะเป็นรูปสมบัติ ปัญญาสมบัติ ทรัพย์สมบัติ และคุณสมบัติอันรวมถึงสังคม วงศ์ ต ระกู ล ญาติ พี่ น ้ อ งด้ ว ย เพี ย งใช้ ค วาม อดทนใช้ความพยายามศึกษาเล่าเรียนสมบัติ เหล่านั้นก็จะเผล็ดผลโดยอัตโนมัติ เล่าเรียน วิชาความใดก็เข้าใจโดยง่ายดุจบัวที่โผล่พ้นน�า้ พร้ อ มที่ จ ะบานเมื่ อ ต้ อ งแสงพระอาทิ ต ย์ ใ น ยามเช้า จะท�างานประกอบอาชีพใดไม่ว่าเป็น ข้าราชการ ไม่ว่าจะเป็นการท�าธุรกิจส่วนตัว ก็ล้วนแต่มีความเป็นปึกแผ่นแน่นหนา มีความ มั่นคงทางการเงินที่มากพอจะกินจะใช้จะจ่าย ได้อีกหลายชั่วคน แม้เข้าร่วมกิจกรรมใด ๆ ในสังคมก็จะได้รับการยอมรับนับถือจากผู้คน ในสังคมนั้น ๆ อย่างสนิทใจ หรือแม้แต่รูปร่าง หน้าตาก็ล้วนแต่จะหาที่ติไม่ได้ มีร่างกายที่ สมประกอบ ผิวพรรณวรรณะล้วนแต่แสดงให้ เห็นถึงความเป็นผู้มีบุญ ๒. บุ ญ ในฐานะที่ เ ป็ น บุ ญ สร้ า ง ซึ่ ง หมายถึงบุญ คือความดีที่อาศัยบุญเก่าติดตัว มาเพียงได้เกิดมาเป็นมนุษย์แต่ชาติปางก่อน เท่านั้นเอง การด�าเนินชีวิตจึงจ�าต้องใช้ความ อดทนใช้ความพยายามมาต่อยอดของความ เป็นผู้มีบุญที่เกิดมาเป็นมนุษย์ในภพภูมิชาติ แม้ร่างกายไม่สมประกอบ ผิวพรรณวรรณะก็ ไม่คอ่ ยมีสง่าราศี มีรอ่ งรอยแห่งความตรากตร�า กับงานในหน้าที่ ปัญญาก็มเี พียงอ่านออกเขียนได้ หรือแม้แต่วงศ์ตระกูลญาติพนี่ อ้ งมีเพียงไม่กคี่ น จะไปขอความช่วยเหลือจากญาติพนี่ อ้ งอย่างเดียว ก็ดูเหมือนจะมีความล�าบากเช่นเดียวกัน จึง จ� า เป็ น ต้ อ งสร้ า งฐานะสร้ า งชี วิ ต ด้ ว ยน�้ า พั ก น�า้ แรงตัวเอง ฝ่าฟันอุปสรรคในชีวติ ต่าง ๆ กว่า จะประสบความส�าเร็จได้ต้องใช้ความพยายาม หลักเมือง กันยายน ๒55๖
เป็นอย่างมาก ชีวติ จึงมากมายด้วยประสบการณ์ แห่งความเข้มแข็ง ดังค�าว่า “นักรบ ย่อมมี บาดแผลเสมอ” และความเป็นผู้มีบุญทั้ง ๒ ประการนี้หาก ตั้งสติให้ ดี จ นสามารถมองให้ เ ห็ น ตั ว ตนของ ตัวเอง “ดูตัวเองออก บอกตัวเองได้ ใช้ตัวเอง เป็น” กระท�าบ�าเพ็ญบุญ คือความดีงามเหล่า นั้นด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ผลที่ปรากฏออกมา นั้นย่อมเป็นไปเพื่อความดีงาม มีประโยชน์ต่อ ตนเอง ครอบครัว สังคมในที่สุด กว่าจะเป็นที่ พึงพอใจของทุกส่วนทีเ่ กีย่ วข้องก็ตอ้ งคิดบ่อย ๆ ท�าบ่อย ๆ ท�าอย่างต่อเนื่องไม่มีหยุดจนเกิด ความเชีย่ วชาญช�านาญการในสาขาวิชาชีพนัน้ ๆ น� า องค์ ค วามรู ้ ที่ มี อ ยู ่ เ พื่ อ การพั ฒ นาตนเอง พัฒนาครอบครัว พัฒนาสังคม การคิดและท�า แบบนีแ้ หละ ทีจ่ ะกลายเป็นพืน้ ฐานให้ตวั เราเอง และผู ้ ค นรอบข้ า งได้ เ รี ย นธรรมะไปโดยที่ ไม่รู้ตัว และสิ่งที่คิด พูด ท�า นั้นก็จะประกอบ เมตตาธรรมเป็นหลัก เข้าใจ เห็นใจ และซาบซึง้ ใจในที่สุด โดยที่ยุคสมัยปัจจุบันที่เป็นกันอยู่นี้ ผู ้ ค นมากมายได้ ข าดหายคุ ณ ธรรมพื้ น ฐาน เหล่านี้ไปกันมาก ต่างคนก็ต่างเพิ่มพูนความ เห็นแก่ตัวมากขึ้นเป็นทวีคูณ หลายคนบางครั้ง ปล่อยให้จิตฝ่ายชั่วนี้มีอ�านาจคอยบงการชีวิต จนน� า พาชี วิ ต ของเราไปประพฤติ ผิ ด คิ ด ชั่ ว ในทางที่เสียหายเป็นภัยต่อสังคม สร้างความ เดื อ ดร้ อ นให้ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ผู ้ ค นในสั ง คมไม่ เ ว้ น แต่ละวัน ความไม่ดีงาม หรือความชั่วร้ายนั้น ย่อม เผล็ดผลเป็นความน่ากลัว น่าสยองขนพอง ไม่ เป็นที่รื่นรมย์ต่อผู้พบปะสนทนาด้วย ย่อมเป็น ที่รังเกียจเดียดฉันท์ ไม่เป็นที่ยอมรับของผู้คน ในสังคม ซึ่งตรงกันข้ามกับผู้มีบุญ ผู้สั่งสมบุญ อันหมายถึงผู้ที่กระท�าแต่คุณความดีย่อมเป็น
ทีร่ กั ของเทวดาและมนุษย์ทงั้ หลาย เมือ่ กระท�า สิ่งใดไม่ว่าจะเป็นทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ ประกอบด้วยเมตตาธรรม สิ่งเหล่านั้นย่อมเป็น เหตุน�าความสุขมาให้เสมอ เพราะไม่ได้เป็น เพื่อการท�าลาย ไม่ได้เป็นไปเพื่อเพิ่มพูนความ เห็ น แก่ ตั ว แต่ เ ป็ น ไปตามหน้ า ที่ เ พื่ อ หน้ า ที่ ไม่ว่าจะเป็นหน้าที่โดยการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือเป็นหน้าที่เพราะจิตวิญญาณที่อยากจะให้ บนพืน้ ฐานแห่งความสุข ดังนั้น จึงควรที่เราจะพร้อมใจกันกระท�า บ�าเพ็ญคุณธรรมความดีในระดับต่าง ๆ กัน ตัง้ แต่ ระดับครอบครัวขึ้นไปจนถึงระดับประเทศชาติ บ้านเมือง ชาวพุทธมากมายที่ถือเอาวันส�าคัญ ทางพระพุ ท ธศาสนานี้ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจ เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการตั้งจิตอธิษฐานเพื่อการ ท� า ดี อ ะไรสั ก สิ่ ง หนึ่ ง เช่ น เดี ย วกั บ พระสงฆ์ ที่ ตัง้ จิตทีจ่ ะอยูจ่ า� พรรษาสถานทีแ่ ห่งใดแห่งหนึง่ มุ่งมั่นตั้งใจอย่างแรงกล้า “เตรียมตัวก่อนตาย เตรียมกายก่อนแต่ง เตรียมน�้าก่อนแล้ง” จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ ช่วยในการเตือนสติให้เราได้รู้จักด�าเนินชีวิต ด้วยความไม่ประมาทด้วยการสั่งสมบุญซึ่ง ที่มาของบุญนั้นก็มีหลากหลายในมิติต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับว่าเรามี “ฉันทะ ความพอใจใฝ่รู้” มากน้อยเพียงใดกับการที่จะพัฒนาตัวเองให้ เกิดดวงปัญญาแห่งความสุขบนรากฐานของ ค�าว่า “สั่งสมบุญ” สืบไป พระครูกิตติปริยัตินิเวศน์ (พระมหานิเวศน์ กิตฺติเชฏฺโฐ) เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดล�าพูน เจ้าอาวาสวัดแม่สารป่าขาม
5
เกียรติประวัติและประสบการณ์การท�างาน
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์ โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๖
“มีวนิ ยั และน�า้ ใจ...ท�าอะไรก็สา� เร็จ”
ค�ากล่าวข้างต้นนี้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ งานของ พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัด กระทรวงกลาโหม คนที่ ๕๓ ของกระทรวง กลาโหม ซึง่ ยึดมัน่ ในการรักษาระเบียบวินยั อัน เป็นอุดมการณ์ส�าคัญยิ่งของความเป็นทหาร อาชีพ ความมีวินัยและน�้าใจของท่านนั้นได้ถูก ถ่ายทอดและซึมซับมาจากความเป็นทหารของ บิดา ซึ่งเป็นครอบครัวของข้าราชการทหาร ท�าให้มคี วามผูกพันกับความเป็นทหารมาตัง้ แต่ เกิด ส่งผลให้ พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน มีบุคลิกภาพของความเป็นชายชาติทหาร มี ความเป็นผูน้ า� มีระเบียบวินยั พร้อมปฏิบตั ติ าม ค�าสัง่ ของผูบ้ งั คับบัญชา จนได้รบั ความไว้วางใจ จากผู้บังคับบัญชาให้ด�ารงต�าแหน่งส�าคัญ ๆ ของกองทัพ และมีความเจริญก้าวหน้าในชีวิต รับราชการมาโดยตลอด
ชัน้ นายพันเหล่าทหารราบ Regimental Officer Advanced Course ณ Infantry Centre Singleton รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๖ ซึ่ ง การเดิ น ทาง ไปศึ ก ษาในครั้ ง นั้ น ได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ เก็บเกี่ยวความรู้เพื่อน�ามาใช้ ในการปฏิบตั ริ าชการและพัฒนากองทัพ ต่อมา ก็ไ ด้เข้ารั บการศึ ก ษาในโรงเรี ย นเสนาธิ ก าร สร้างสมประสบการณ์ สร้างสรรค์ ทหารบก ชุดที่ ๖๒ ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๗ งานเพื่อชาติ หลังจากจบการศึกษาจากโรงเรียนเสนาธิการ การปฏิ บั ติ ร าชการตั้ ง แต่ ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี ทหารบกแล้ ว ท่ า นก็ ก ลั บ มาปฏิ บั ติ ง านด้ ว ย จนกระทั่งรับต�าแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ความมุ ่ ง มั่ น ในหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจน ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๘ ว่าทีร่ อ้ ยตรี ทนงศักดิ์ กระทั่ ง ได้ รั บ ต� า แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ กองพั น ที่ ๓ อภิรักษ์โยธิน ได้จบการศึกษาจากโรงเรียน กรมทหารราบที่ ๗ เสนาธิการจังหวัดทหารบก นายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า รุ ่ น ๒๒ เลื อ ก พิ ษ ณุ โ ลก และรั บ ต� า แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ การ รับราชการเหล่าทหารราบ ได้รับการบรรจุ กรมทหารพรานที่ ๓๕ ปฏิบัติภารกิจในการ เข้ า รั บ ราชการในต� า แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ หมวด ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยตามแนวชายแดน ปืนเล็ก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมผสมที่ ๗ ปกปักรักษาปกป้องอธิปไตย ดูแลพื้นที่พักพิง ปฏิบัติภารกิจในการป้องกันและปราบปราม ชั่วคราวของผู้อพยพจากภัยสงคราม ตลอดจน ผู ้ ก ่ อ การร้ า ยคอมมิ ว นิ ส ต์ ซึ่ ง ในขณะนั้ น ป้องกันและปราบปรามแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็ น ปั ญ หาส� า คั ญ ที่ ก องทั พ ต้ อ งด� า เนิ น การ ซึ่งแพร่ระบาดในพื้นที่ นอกจากนี้ยังมีโอกาส ในการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน หลายครัง้ ต้อง ปฏิ บั ติ ง านในฐานะผู ้ อ� า นวยการโครงการ เสี่ยงอันตรายมีการปะทะกับกลุ่มผู้ก่อการร้าย บ้านเล็กในป่าใหญ่ อ.ปางศิลาทอง จ.ก�าแพงเพชร คอมมิ ว นิ ส ต์ แต่ ก็ ส ามารถปฏิบัติภ ารกิจได้ ซึ่งเป็นโครงการตามพระราชเสาวนีย์สมเด็จ ส� า เร็ จ ลุ ล ่ ว งไปได้ ด ้ ว ยดี โดยปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โครงการนี้ อยู่ในพื้นที่ภาคเหนือเป็นส่วนใหญ่ ท�าหน้าที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าที่เป็นแหล่ง ตั้งแต่หัวหน้าชุดศูนย์ปฏิบัติการพิเศษที่ ๓๑ ต้นน�้าล�าธารที่ส�าคัญให้กลับมามีความสมบูรณ์ จนกระทั่งรับต�าแหน่ง ผู้บังคับการศูนย์ปฏิบัติ ดังเดิม นอกจากนี้ยังสนับสนุนให้ราษฎรมีที่ การพิเศษที่ ๓๑ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ท�ากินเป็นหลักแหล่ง ไม่ทา� ไร่เลือ่ นลอย มีอาชีพ ด้วยความเป็นนายทหารที่รักเรียน มุ่งมั่น มีรายได้เพียงพอต่อการด�ารงชีวิต ศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ จึง เส้ น ทางการรั บ ราชการของท่ า นเจริ ญ ได้ มี โ อกาสสอบคั ด เลื อ กไปศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ก้ า วหน้ า ตามล� า ดั บ ด้ ว ยประสบการณ์ ก าร หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ท�างานที่มากขึ้น ความสามารถที่โดดเด่น จาก ต�าแหน่งผู้บังคับการกรมทหารพรานที่ ๓๕ มาเป็นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๗ จน กระทั่งได้รับความไว้วางใจจากผู้บังคับบัญชา ได้รับมอบหมายภารกิจส�าคัญเพื่อชาติให้รับ ต�าแหน่งส�าคัญในฐานะผู้บังคับการกองก�าลัง ๙๗๒ ไทย/ติมอร์ตะวันออกผลัดที่ ๔ และได้รบั มอบหมายให้เป็นผู้บัญชาการภาคตะวันออก ของกองก� า ลั ง รั ก ษาสั น ติ ภ าพ โดยเดิ น ทาง ไปปฏิบัติภารกิจยังประเทศติมอร์ตะวันออก ปกครองบั ง คั บ บั ญ ชากองก� า ลั ง ทหารจาก ๓ ประเทศ คื อ กองพั น ทหารราบไทย กองพั น ทหารราบเกาหลี ใ ต้ กองพั น ทหาร ราบฟิลิปปินส์ ในภารกิจฟื้นฟูสันติภาพและ ความมั่นคง ปกป้องคุ้มครองเจ้าหน้าที่ องค์กร บริ ห ารชั่ ว คราวของสหประชาชาติ ใ นติ ม อร์ ตะวันออก (United Nations Transitional Administration in East Timor : UNTAET) และปฏิ บั ติ ก ารช่ ว ยเหลื อ ด้ า นมนุ ษ ยธรรม ในติมอร์ตะวันออก ด้วยมาตรการต่าง ๆ ทีจ่ า� เป็น เหมือนกับกองก�าลัง ๙๗๒ ฯ ในผลัดอื่น ๆ แต่ ภารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายเพิ่ ม เติ ม คื อ การ สนับสนุนการเลือกตัง้ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ของประเทศติมอร์ตะวันออกให้เกิดขึ้น อย่ า งสมบู ร ณ์ นอกจากภารกิ จ ด้ า นความ มั่ น คงแล้ ว ในฐานะผู ้ บั ง คั บ การกองก� า ลั ง ๙๗๒ ไทย/ติมอร์ตะวันออกผลัดที่ ๔ ยังได้ น� า เอาแนวทางตามโครงการพระราชด� า ริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปเผยแพร่ ท� า ให้ คุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป็ น อยู ่ ข อง ชาวติ ม อร์ ต ะวั น ออกดี ขึ้ น ถื อ เป็ น การให้ ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรมจนได้รับ เสียงชื่นชมจากนานาประเทศ 7
ภายหลั ง จากการเดิ น ทางปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในติมอร์ตะวันออก ท่านได้เข้ารับต�าแหน่ง ผูบ้ ญ ั ชาการกองพลทหารราบที่ ๔ และในฐานะ ผู้บัญชาการกองก�าลังนเรศวรควบคู่กันไปด้วย โดยมีภารกิจในการควบคุมหน่วยเฉพาะกิจ เพื่อด�าเนินการสกัดกั้นการกระท�าผิดกฎหมาย ในพื้นที่อ�าเภอชายแดนด้านจังหวัดตากและ แม่ฮ่องสอน รักษาอธิปไตย สถาปนาความ มั่ น คงตามแนวชายแดน จั ด ระเบี ย บพื้ น ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ประเทศเพื่ อนบ้ าน เพื่อก่อให้เกิด ความ สงบเรียบร้อย
ภารกิ จ อั น ยิ่ ง ใหญ่ ใ นฐานะแม่ ทั พ ภาคที่ ๓ คนที่ ๓๑
พลโท ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน แม่ทัพภาค ที่ ๓ ขณะนั้นได้รับความไว้วางใจจากผู้บังคับ บัญชาในภารกิจป้องกันประเทศ ดูแลพื้นที่ ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ซึ่งถือได้ว่าเป็นพื้นที่ ยุทธศาสตร์ส�าคัญ ทั้งนี้เพื่อด�ารงไว้ซึ่งความ สงบเรียบร้อย เข้ารับต�าแหน่งตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ ตลอดระยะ เวลาที่ด�ารงต�าแหน่งแม่ทัพภาคที่ ๓ มีการ ปฏิบัติภารกิจส�าคัญต่าง ๆ มากมาย ด้านการ ป้ อ งกั น ชายแดน ก� า กั บ ดู แ ลควบคุ ม บั ง คั บ บัญชาการปฏิบัติของกองก�าลังผาเมือง กอง ก�าลังนเรศวร โดยจะรับผิดชอบภารกิจหลัก คือ การป้องกันชายแดนตามพื้นที่รับผิดชอบ ส่วน อีกภารกิจที่ซ้อนกันอยู่ของหน่วยป้องกันตาม แนวชายแดน คือ ภารกิจด้านยาเสพติดที่ถูก ล�าเลียงเข้ามาในประเทศไทย โดยหน่วยเหล่านี้ จะเข้าไปสกัดกั้นและปราบปราม ภารกิจการ รักษาความมั่นคงภายใน ซึ่งถือเป็นภารกิจที่ ส�าคัญในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศในพื้นที่ภาคเหนือ ๑๗ จังหวัด โดยมีกองอ�านวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักรจังหวัด (กอ.รมน.จังหวัด) ที่มี เจ้าหน้าที่ทหารท�าหน้าที่เป็นรอง ผอ.รมน. จังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดท�าหน้าที่เป็น ผอ.รมน. โดยหากเกิดปัญหาทีก่ ระทบกับความ มั่นคง เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติต่าง ๆ ทหาร จะเข้าไปสนับสนุน และช่วยเหลืออย่างเต็มที่ 8
โดยจะมี ก ารประสานงานกั บ ทางจั ง หวั ด เพื่ อ ปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั น ภารกิ จ การพั ฒ นา ประเทศ ช่วยเหลือประชาชนเมื่อประสบภัย พิบัติ กองทัพภาคที่ ๓ ได้ด�าเนินการโครงการ ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน�้าตามนโยบายของ รัฐบาล ทั้งการจัดหาแหล่งน�้า แหล่งกักเก็บน�้า คลองชลประทาน และการขุดลอกล�าคลองที่ ตื้นเขิน ภารกิจในการกระชับความสัมพันธ์กับ กองทัพของประเทศเพื่อนบ้านทั้งสหภาพพม่า และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้มีการเดินทางเยี่ยมเยียนเพื่อกระชับสัมพันธ์ กันอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีคณะกรรมการชายแดน ส่วนท้องถิ่น เป็นกลไกพัฒนาความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้าน และมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี ที่ผ่านมาก็ได้รับความร่วมมือจาก ประเทศเพื่ อ นบ้ า นในการช่ ว ยกั น ดู แ ลพื้ น ที่ ตามแนวชายแดนแม้กระทั่งช่วยกันป้องกัน และปราบปรามยาเสพติดร่วมกันเป็นอย่างดี
ในช่วงที่สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดขึ้น ในฐานะแม่ทัพ ภาคที่ ๓ ได้จัดส่งก�าลังพลไปสนับสนุนการ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ รั ก ษาความมั่ น คงในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ท่านได้ประกอบพิธีส่งทหาร พร้อมมอบวัตถุมงคล เป็นเหรียญและพระรูป เหมือน รุน่ ป้องกันภัยของหลวงพ่อเกษม เขมโก เสริมสร้างก�าลังใจทหารกล้าทุกนาย พร้อมกับ กล่าวกับทหารที่ลงไปปฏิบัติงานว่า “ทหาร ทุกนายที่จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในครั้งนี้ ถือว่าได้เสียสละเพื่อชาติ และบ้านเมือง ที่จะ ดูแลประชาชน และป้องกันเหตุความไม่สงบ ทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ ทหารทุกนาย เป็นทหารในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดยจะต้องปฏิบตั หิ น้าที่ อย่างจริงจัง ภายใต้พระบารมีของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถทีจ่ ะคุม้ ครองทหารทุกนาย ให้แคล้วคลาดปลอดภัยจากอันตรายทัง้ ปวง” ค�ากล่าวนี้เปรียบเสมือนก�าลังใจที่ยิ่งใหญ่จาก ผู้บังคับบัญชาที่ส่งต่อไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา ด้ ว ยความห่ ว งใย และแสดงความชื่ น ชม ในความเสี ย สละในการท� า หน้ า ที่ ป กป้ อ ง ประเทศในครั้งนี้ จากแม่ทัพภาคที่ ๓ ก้าวสู่ต�าแหน่ง ผู้ช่วย ผู้บัญชาการทหารบก ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น ประเทศไทยต้อง ประสบกั บ มหาอุ ท กภั ย ครั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ ทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่ ข องประเทศ มี ป ระชาชนได้ รั บ ความ เดือดร้อนเป็นจ�านวนมาก และกองทัพก็เป็น หน่ ว ยงานหลั ก ที่ จ ะต้ อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ประชาชนอย่ า งเร่ ง ด่ ว นและทั น ท่ ว งที ซึ่ ง พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ผูช้ ว่ ยผูบ้ ญ ั ชาการ ทหารบก ก็ได้ออกปฏิบัติภารกิจในการตรวจ เยี่ยมการปฏิบัติงานในการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนของหน่วยทหาร พร้อมทั้งได้มอบ สิ่งของบรรเทาทุกข์ให้แก่ประชาชนผู้ได้รับ ความเดือดร้อนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง อี ก ทั้ ง ยั ง ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ด้ า นอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากผู้บังคับบัญชาอีกมากมาย
การปฏิ บั ติ ง านเมื่ อ ด� า รงต� า แหน่ ง ปลัดกระทรวงกลาโหม
พลเอก ทนงศั ก ดิ์ อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� า รง ต�าแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ท่านที่ ๕๓ ของกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ โดยท่านได้มอบนโยบายในการปฏิบัติ งานให้ แ ก่ ก� า ลั ง พลที่ ส� า คั ญ ดั ง นี้ น้ อ มน� า พระราชด�ารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นหลักในการปฏิบัติราชการ พิทักษ์รักษา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เสริมสร้าง ความรักและสามัคคีของคนในชาติ พัฒนา ขีดความสามารถและบทบาทของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เพือ่ เป็นหน่วยงานหลัก ให้แก่กระทรวงกลาโหมเสริมสร้างความร่วมมือ ด้านความมั่นคงกับต่างประเทศ พัฒนาและ ส่งเสริมศักยภาพก�าลังพลให้มีขวัญก�าลังใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตลอดระยะเวลาที่ ท่ า นด� า รงต� า แหน่ ง ปลั ด กระทรวงกลาโหม ท่านได้ปฏิบัติภารกิจเพื่อการพัฒนากองทัพ อย่างแท้จริง 9
กระจกสะท้อนคุณความดี
เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ แ ละเหรี ย ญตรา ที่ได้รับ • เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น ๒ • เหรียญราชการชายแดน • เหรียญจักรมาลา • ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย • ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก • ประถมาภรณ์มงกุฎไทย • ประถมาภรณ์ช้างเผือก • มหาวชิรมงกุฎ • มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
รางวัลแห่งเกียรติยศ
“รางวัลเกียรติยศจักรดาว” ในฐานะศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร ที่ได้ อุทิศก�าลังกาย ก�าลังใจ ในการปฏิบัติงานด้วย ความซื่อสัตย์ ประกอบคุณงามความดี สร้าง ชื่อเสียงให้แก่กองทัพและประเทศชาติ พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน จึงได้รับการคัดเลือก จากมู ล นิ ธิ ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย นเตรี ย มทหาร ให้รับรางวัลเกียรติยศจักรดาว สาขาการทหาร ประจ�าปี ๒๕๕๖ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมาคงเป็นเครือ่ งพิสจู น์ ได้อย่างดียงิ่ ถึงความเป็นนายทหารผูท้ รงคุณค่า ของกองทัพ ผูซ้ งึ่ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ยิ่งชีวิต เป็นแบบอย่างที่ดี ทุ่มเทท�างานด้วย ความเสียสละมุ่งมั่นตั้งใจ เพื่อประโยชน์ของ ประเทศชาติ มี ค วามเป็ น ผู ้ น� า ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ กว้างไกล มีความสุขุมรอบคอบ ปกครองผู้ใต้ บังคับบัญชาด้วยหลักคุณธรรม ท�าให้มีความ เจริญก้าวหน้าในชีวิตการรับราชการจนด�ารง ต�าแหน่ง ปลัดกระทรวงกลาโหม ความดีงาม ของท่านทีไ่ ด้สงั่ สมมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ในการรับราชการรับใช้ชาติ จึงสมควรเป็น อย่างยิ่งที่ท่านจะได้รับความชื่นชมและยกย่อง และเป็นตัวอย่างที่ดีของกองทัพสืบไป
10
สมดังนามโดยตรง “ทนงศักดิ์ สมศักดิศ์ รีแห่งทหารงานชาติชาย จากถิน่ เหนือ “ล�าปาง” สร้างสรรค์คา่ จึงเปีย่ มล้นวินยั ของชายชาญ จปร.ยีส่ บิ สอง ในเหล่าราบ ทะนงในศักดิศ์ รีสดุ ชีวา ณ ชายแดนทหารพรานเคยผ่านศึก เมือ่ “วินยั บวกน�า้ ใจ” มีไมตรี รับรางวัล “จักรดาว” สกาวเด่น บุคลิกทีจ่ ริงจัง และจริงใจ อาทิ เป็น “แม่ทพั ภาคทีส่ าม” มิตรประเทศ ชนกลุม่ น้อย พลอยชืน่ บาน ในฐานะ “ปลัดกระทรวงกลาโหม” ท่านด�ารงเกียรติขจรมิคลอนแคลน
อภิรกั ษ์โยธิน” นี้ มีความหมาย ทัง้ ใจ-กาย องอาจสมราชการ ตามรอยแห่งบิดาผูก้ ล้าหาญ เตรียมทหารสิบเอ็ด ส�าเร็จมา เป็นสุภาพบุรษุ สุดใจกล้า และรักษาเกียรติศกั ดิ์ ใจภักดี ร่วมผนึกสันติภาพติมอร์นี้ จึงเป็นทีศ่ รัทธามายาวไกล เพราะท่านเป็นเช่นดาวสกาวใส จึงยิง่ ใหญ่ในหน้าทีม่ ผี ลงาน ได้รบั ความไว้ใจในทุกด้าน กิจการทหารด้านชายแดน งานถาโถม แต่ใจนีด้ เี หลือแสน “สมาร์ทแมน-ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน”.
ร้อยเอก สุธี สุขสากล อนุศาสนาจารย์ กรมการทหารสื่อสาร ร้อยกรอง มอบให้ในนามข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
11
1เน
เกียรติประวัติและประสบการณ์การท�างาน
พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
พ
ลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ เกิดเมือ่ วั น ที่ ๔ กุ ม ภาพั น ธ์ พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๖ เป็นบุตรของ นาวาโท กวี และนางพยงค์ ห้าวเจริญ ด้านครอบครัวสมรส กับคุณสุรศรี ห้าวเจริญ มีบุตร - ธิดา ๒ คน คือ นางสาวชุติมณฑน์ และนายกรกช ห้าวเจริญ ด้ า นการศึ ก ษา ท่ า นส� า เร็ จ การศึ ก ษา จากโรงเรี ย นเซนต์ ค าเบรี ย ล จากนั้ น เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ที่ โ รงเรี ย นเตรี ย มทหาร เป็ น นั ก เรี ย นเตรี ย มทหาร รุ ่ น ที่ ๑๓ หลั ง จบ การศึกษาที่โรงเรียนเตรียมทหารแล้วได้เข้า รับการศึกษาต่อที่โรงเรียนนายเรือ จังหวัด สมุ ท รปราการ และมี ผ ลการศึ ก ษาดี เ ด่ น จนได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาต่ อ ที่โรงเรียนนายเรือมุรวิกสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี เมื่อกลับมารับราชการที่ประเทศไทย ได้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ ที่ส�าคัญ ตามแนวทางการรับราชการ ดังนี้ - หลักสูตรต้นปืน - หลักสูตรนายทหารพรรคนาวิน - หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือ และหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ ตามล�าดับ ด้านการกีฬา ท่านนับว่าเป็นนักกีฬาที่มี ความสามารถทางด้านกรีฑา ทั้งประเภทลู่และ ประเภทลาน โดยได้รับเหรียญรางวัลในการ แข่งขันหลายระดับทั้งในระดับกีฬาราชนาวี กีฬากองทัพไทย จนถึงกีฬาระดับชาติ โดย เคยได้รบั รางวัลในการแข่งขันกรีฑาชิงชนะเลิศ แห่งประเทศไทยหลายรางวัลด้วยกัน ด้านชีวติ รับราชการ ท่านได้เริม่ รับราชการ ในกองเรือยุทธการ โดยประจ�าการอยูใ่ นเรือรบ ประเภทต่ า ง ๆ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เรื อ ประเภท เรือยนต์เร็วโจมตีอาวุธปล่อยน�าวิถีซึ่งนับเป็น เรื อ ที่ มี ร ะบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด ในยุคนั้น โดยได้รับต�าแหน่งต้นหน และต้นปืน เรื อ หลวงสู ้ ไ พริ น ทร์ และในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๙ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น ผู ้ บั ง คั บ การ เรื อ หลวงวิ ท ยาคม สั งกัด กองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ ด้วยประวัติการรับราชการ ที่โดดเด่นในเรือยนต์เร็วโจมตี ท�าให้ท่านได้รับ ต� า แหน่ ง ส� า คั ญ คื อ ผู ้ บั ญ ชาการกองเรื อ ตรวจอ่ า วในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๔๙ ซึ่ ง เป็ น กองเรื อ ที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ อั น ส� า คั ญ และมี เรือในบังคับบัญชามากที่สุดของกองทัพเรือ
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ในห้ ว งเวลานั้ น โดยอาจกล่ า วได้ ว ่ า มี เ รื อ ในสังกัดของกองเรือตรวจอ่าวปฏิบัติการอยู่ใน ทุกพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบของกองทัพเรือ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ส�าหรับงานด้านฝ่ายอ�านวยการนัน้ ในช่วงหนึง่ ของชีวิตรับราชการท่านได้รับความไว้วางใจ ให้ทา� หน้าทีผ่ ชู้ ว่ ยนายธง ผูบ้ ญ ั ชาการทหารเรือ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ ได้รับมอบหมาย ให้ไปด�ารงต�าแหน่งผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร และ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารเรือไทยประจ�ากรุงปารีส
สาธารณรัฐฝรัง่ เศส เมือ่ เดินทางกลับประเทศไทย ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๔๒ ด้ ว ยความที่ ท ่ า น มีความสามารถทั้งทางด้านยุทธการและเป็น ผูแ้ ตกฉานทางวิชาการ จึงได้รบั ต�าแหน่งส�าคัญ ในส่ ว นบั ญ ชาการและส่ ว นการศึ ก ษาของ กองทั พ เรื อ เรื่ อ ยมา โดยในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๔๗ และปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ ท่านได้รับ มอบภารกิจ ให้เป็นผู้บังคับหมู่เรือฝึกนักเรียน นายเรือ น�านักเรียนนายเรือไปฝึกภาคปฏิบัติ ในทะเลต่ า งประเทศ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น การฝึ ก
13
ที่ส�าคัญที่สุดของนักเรียนนายเรือ โดยท่าน ได้ รั บ มอบหมายหน้ า ที่ เ ดี ย วกั น นี้ ถึ ง ๒ ปี ติดต่อกัน หลังจากนั้นท่านยังได้รับต�าแหน่งที่ส�าคัญ อีกหลายต�าแหน่ง เช่น ผู้บัญชาการสถาบัน วิ ช าการทหารเรื อ ชั้ น สู ง ผู ้ ช ่ ว ยเสนาธิ ก าร ทหารเรื อ รองเสนาธิ ก ารทหารเรื อ และ เสนาธิการทหารเรือ ตามล�าดับ ผลงานที่ภาคภูมิใจเมื่อครั้งด�ารงต�าแหน่ง ผู ้ อ� า นวยการกองตรวจสอบและวิ เ คราะห์ ส� า นั ก งานปลั ด บั ญ ชี ท หารเรื อ ท่ า นได้ รั บ หน้าที่ในการจัดเรียงต้นฉบับ และควบคุม การจัดพิมพ์หนังสือ “เจ้าฟ้าทหารเรือ” ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ได้ ท รง พระราชทานข้อมูลพร้อมภาพประกอบ ส�าหรับ จัดท�าในหนังสือเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
14
พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชนก โดยต้องแปลต้นฉบับจากภาษาเยอรมันโบราณ ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย ความรู ้ ท างภาษา และความรู ้ ทางวิชาการทหารเรือในการแปลเป็นอย่างมาก ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ ท่านได้รับหน้าที่ ผู ้ ค วบคุ ม กระบวนเรื อ แตงโม ซึ่ ง เป็ น เรื อ ที่ แล่นน�าหน้า และท�าหน้าทีป่ อ้ งกันเรือพระทีน่ งั่ สุ พ รรณหงส์ ในกระบวนเรื อ พระราชพิ ธี พยุหยาตราทางชลมารค ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ ขณะที่ท่านด�ารง ต�าแหน่ง เสนาธิการทหารเรือ เป็นช่วงที่หลาย พื้ น ที่ ใ นประเทศไทยเกิ ด มหาอุ ท กภั ย ท่ า น ในฐานะเสนาธิการศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทั พ เรื อ ได้ อ� า นวยการการปฏิ บั ติ ข อง หน่วยงานในกองทัพเรือ ปฏิบัติงานร่วมกับ หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จนท�าให้ กองทั พ เรื อ ได้ รั บ การชื่ น ชมจากประชาชน เป็นอย่างมาก และในปีเดียวกันนี้ท่านยังได้รับ การพิจารณาจากคณะกรรมการของโรงเรียน เซนต์ ค าเบรี ย ล มอบรางวั ล ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น ให้อีกด้วย เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕ ท่านได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้ด�ารงต�าแหน่ง รองปลัดกระทรวง กลาโหม โดยได้รับมอบหมายและก�ากับการ ปฏิบัติราชการของส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ในสายงานด้า นการส่ งก�า ลัง บ� ารุง การเงิน การตรวจสอบภายใน และการสนับสนุน
พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ นับเป็น นายทหารชั้ น ผู ้ ใ หญ่ ข องกระทรวงกลาโหม อีกท่านหนึ่งที่ตลอดทั้งชีวิตรับราชการ ท่านได้ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความมุ่งมั่น วิริยะ อุตสาหะ และสร้ า งสรรค์ ผ ลงานจนเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ มีความเป็ น ผู ้ น� า สู ง มี ร ะเบี ย บวิ นั ย มี น�้ า ใจ เป็ น นั ก กี ฬ า ท่ า นจึ ง นั บ เป็ น บุ ค ลากรที่ ท รง คุณค่าของกระทรวงกลาโหม และประเทศชาติ สมควรที่อนุชนรุ่นหลังได้ยึดถือและประพฤติ ตามเป็นแบบอย่าง อีกทั้งควรแก่การยกย่อง เชิดชูและเก็บไว้ในความทรงจ�าตลอดไป
ผลการเรียน ดีเด่น เห็นประจักษ์ ทั้งต้นหน ผู้การเรือ เหนือทัดเทียม เกียรติประวัติ ผู้น�ากอง เรือตรวจอ่าว ทุกล�าเรือ สันทัด ปฏิบัติการ ผู้ช่วยทูต เชี่ยวชาญ งานวิเทศ ยุทธการ วิชาการ แตกฉานไกล เสนาธิการกิจ สัมฤทธิ์ค่า เรือแตงโม อารักขา คราฝั่งชล ก�ากับงาน ส่งก�าลัง เข้มขลังคิด สนับสนุน หน่วยงาน แลว่านเครือ ฉลามชล ผู้สรรค์สร้าง ทางชีวิต พลเรือเอก ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจริญ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
อีกคือนักกีฬา กรีฑาเยี่ยม ความรู้เปี่ยม ทักษะยอด ตลอดกาล จารเรื่องราว เกียรติภูมิไว้ ให้กล่าวขาน ปกป้องบ้าน น่านน�้า ค�้าแดนไทย ฝรั่งเศส สานสัมพันธ์ อันสดใส น�ามวลหมู่ นายเรือไทย ไปสากล งานพยุหยาตรา สง่าผล รังสรรต้นฉบับ เจ้าฟ้าทหารเรือ ธนกิจ สอบภายใน ใคร่กูลเกื้อ รองปลัดฯ ผู้เอื้อเฟื้อ เพื่อก้าวเดิน ผู้ประดิษฐ์ งานควรค่า น่าสรรเสริญ ผู้ด�าเนิน มรรคา ค่าควรจ�า. 15
1เน
เกียรติประวัติและประสบการณ์การท�างาน
พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม
พ
ลอากาศเอก วิ นั ย เปล่ ง วิ ท ยา เกิดเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๔๙๖ เป็นบุตรของพันเอก เติม และนาง อาภรณ์ เปล่งวิทยา สมรสกับนางนวลอนงค์ เปล่งวิทยา มีบุตร ๑ คนคือ เรืออากาศตรีหญิง วิวัสวัน เปล่งวิทยา ด้านการศึกษา พลอากาศเอก วินยั เปล่งวิทยา ส�าเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอ�านวยศิลป์ เข้ารับ การศึกษาที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๒ และโรงเรียนนายเรืออากาศ รุน่ ที่ ๑๙ เมือ่ จบ การศึกษาแล้วก็ได้บรรจุเข้ารับราชการในต�าแหน่ง ประจ� า โรงเรี ย นการบิ น เป็ น ศิ ษ ย์ ก ารบิ น รุ่น น.๖๐-๑๙-๒ ขณะรับราชการเป็นนักบิน ประจ�ากอง พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา ได้รับการคัดเลือกจากกองทัพอากาศ ไปรับ การฝึกอบรมหลักสูตร F-16 CONVERSION AND INSTRUCTOR และ SPECIALIZED ENGLISH TERMINOLOGY TRAINING ที่ ARIZONA และ TEXAS ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นชุดแรก ของประเทศไทย และศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร ตามแนวทางการรั บ ราชการตามล� า ดั บ ดั ง นี้ โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง, โรงเรียน เสนาธิ ก ารทหารอากาศ, วิ ท ยาลั ย การทั พ อากาศและวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ด้านชีวติ รับราชการ ท่านนับเป็นบุคลากร ด้านการบินที่ทรงคุณค่ายิ่งของกองทัพอากาศ และกระทรวงกลาโหม ท่านมีประสบการณ์ การบิ น ในต� า แหน่ ง นั ก บิ น หน่ ว ยบิ น ขั บ ไล่ โจมตีไอพ่นกับเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ข/ค
ขณะรับราชการเป็นนักบินประจํากอง พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา ได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากกองทั พ อากาศ ไปรั บ การฝ ก อบรม หลักสูตร F-16 CONVERSION AND INSTRUCTOR และ SPECIALIZED ENGLISH TERMINOLOGY TRAINING ที่ ARIZONA และ TEXAS ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า เป็ น ชุ ด แรกของ ประเทศไทย หลักเมือง กันยายน ๒55๖
17
(F-5E/F Tiger II) และผู้บังคับหน่วยบินขับไล่ โจมตีไอพ่นกับเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๙/ก (F-16A/B Fighting Falcon) โดยมีชั่วโมงบิน รวมกว่า ๒,๐๐๐ ชั่วโมง ขณะที่ ง านในด้ า นการบริ ห ารราชการ ท่านได้ดา� รงต�าแหน่งทีส่ า� คัญ ๆ เช่น เสนาธิการ กองบิน ๑ รองผู้บังคับการกองบิน ๑ นาย ทหารฝ่ า ยเสนาธิ ก ารประจ� า ผู ้ บั ญ ชาการ ทหารอากาศ ผู ้ บั ง คั บ การกองบิ น ๗ รอง เจ้ า กรมยุ ท ธการทหารอากาศ เสนาธิ ก าร 18
กรมควบคุมการปฏิบตั กิ ารทางอากาศ เจ้ากรม จเรทหารอากาศ เจ้ากรมควบคุมการปฏิบัติ ทางอากาศ ผู ้ ช ่ ว ยเสนาธิ ก ารทหารอากาศ ฝ่ า ยยุ ท ธการ รองเสนาธิ ก ารทหารอากาศ ผู้บัญชาการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ บั ญ ชาการทหารอากาศ และได้ รั บ พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้า ฯ เป็น รองปลัด กระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ในช่ ว งมหาอุ ท กภั ย ปี ๒๕๕๔ ท่ า นได้ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ผู ้ อ� า นวยการศู น ย์ บ รรเทา สาธารณภัยกองทัพอากาศ ขณะที่ทั่วประเทศ ประสบภัยพิบัติขั้นรุนแรงเป็นเวลานาน ท่าน ได้ด�าเนินการช่วยเหลือประชาชน ตลอดจน ข้ า ราชการทหารอากาศและครอบครั ว ที่ ประสบภัยอย่างเต็มความสามารถจนผ่านพ้น วิกฤติครั้งนั้น ขณะด� า รงต� า แหน่ ง รองปลั ด กระทรวง กลาโหม ท่ า นได้ รั บ ผิ ด ชอบงานในสายงาน ด้านก�าลังพล การสวัสดิการและการสงเคราะห์ การประชาสั ม พั น ธ์ และกิ จ การพลเรื อ น ตลอดระยะเวลาการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ท่ า นได้ แสดงออกถึ ง การเป็ น แบบอย่ า งทหารที่ ดี เป็นผู้ที่เปี่ยมไปด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ทุ่มเท ให้ ค วามส� า คั ญ กั บ งาน โดยให้ ค วามส� า คั ญ ในการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีท่ กุ ระดับ รวมถึง การยึดมั่นปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับอย่าง เคร่งครัดจนเป็นที่เคารพรักของผู้บังคับบัญชา และผูใ้ ต้บงั คับบัญชาโดยทัว่ กัน ท่านจึงนับเป็น บุคลากรที่ทรงคุณค่าของประเทศชาติสมควร ที่ อ นุ ช นรุ ่ น หลั ง ได้ ยึ ด ถื อ และประพฤติ เ ป็ น แบบอย่าง อีกทั้งควรค่าแก่การยกย่องเชิดชู และระลึกไว้ในความทรงจ�าตลอดไป
ยอดนักบินขับไล่ใจฉกาจ บิน F-16 ปกป้องครองนภา บินข้ามน�้าข้ามทะเลนับหมื่นไมล์ ทั้งปกปักตามครรลอง การป้องปราม ยอดนักคิดนักเขียนที่เพียรธรรม พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
แสนองอาจกล้าแกร่ง แห่งเวหา เสืออากาศทัพฟ้า สมญานาม สร้างนภานุภาพเกรียงไกร ในสยาม ป้องฟ้าคราม รักษ์นิเวศ เขตฉมา ทั้งน้อมน�า อุดมการณ์ทหารกล้า ผู้ครองฟ้า ครองตน หนทางธรรม.
19
เกียรติประวัติและประสบการณ์การท�างาน
พลเอก ชาญ โกมลหิรัญ เจ้ากรมเสมียนตรา
๒0
พ
ลเอกชาญ โกมลหิ รั ญ เกิ ด เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ ๒๗ มี น าคม พ.ศ.๒๔๙๖ ที่ จั ง หวั ด ราชบุ รี ส� า เร็ จ การศึ ก ษา ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย จากโรงเรี ย น มารดานุเคราะห์ และเข้ารับการศึกษาที่ โรงเรียน นายสิ บ ทหารบก ได้ รั บ โควตาศึ ก ษาต่ อ ที่ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๖ และส�าเร็จ การศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ ่ น ที่ ๒๗ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ยศเป็ น ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี เหล่าทหารราบ ได้ด�ารงต�าแหน่งทีส่ �าคัญ ได้แก่ ผู ้ บั ง คั บ หมวดเครื่ อ งยิ ง ลู ก ระเบิ ด ขนาด ๖๐ มิ ล ลิ เ มตร กองร้ อ ยอาวุ ธ เบา กองพั น ทหารราบที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๑๙, ผู้บังคับ กองร้อยลาดตระเวนระยะไกลที่ ๙ และส�าเร็จ จากโรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลัก ประจ�า ชุดที่ ๗๐ ในต�าแหน่งนายทหารฝ่าย เสนาธิการ ประจ�ากรมก�าลังพลทหารบก หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ ราชการในกองทั พ บก จนสะสมความรู ้ ค วามสามารถในการเป็ น ทหารอาชีพแล้ว ผู้บังคับบัญชาก็เห็นถึงความ สามารถในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ท างด้ า นฝ่ า ย อ� า นวยการ โดยให้ ม ารั บ ต� า แหน่ ง ที่ ส� า คั ญ ในสั ง กั ด ส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ต� า แหน่ ง ผู ้ อ� า นวยการกองการปกครอง ส�านักงานก�าลังพล กรมเสมียนตรา และในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ มีประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี ให้ นายทหารรับราชการ เมื่อ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๘ ด� า รงต� า แหน่ ง เป็ น ผู ้ อ� า นวยการส� า นั ก งาน ก�าลังพล กรมเสมียนตรา อัตรา พลตรี และ ได้ด�ารงต�าแหน่งที่ส�าคัญในกรมเสมียนตรามา เป็นล�าดับคือ ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา, รอง เจ้ากรมเสมียนตรา และ เจ้ากรมเสมียนตรา เมื่อ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๕ ตราบจนถึงเกษียณ อายุ ร าชการ นั บ ว่ า เป็ น ความภาคภู มิ ใ จที่ ได้รบั ความไว้วางใจจากผูบ้ งั คับบัญชาให้ดา� รง
ต�าแหน่ง เจ้ากรมเสมียนตรา เนื่องจากกรม เสมียนตราเป็นหน่วยงานทีม่ คี วามส�าคัญมาก และเป็นหน่วยงานหลักของกระทรวงกลาโหม ที่ด�าเนินการเกี่ยวกับนโยบายและแผนงาน การก�าลังพล ตลอดจนการด�าเนินการก�าลังพล ทั้ ง ปวงที่ อ ยู ่ ใ นอ� า นาจของปลั ด กระทรวง กลาโหม และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม นอกจากนี้ ยั ง ได้ ป ฏิ บั ติ ร าชการพิ เ ศษเป็ น
รอบคอบ ฉับไว ใจบริการ มืออาชีพ เลิศล�้า ก�าลังพล ผู้น�าหน่วย ทหารราบ ปราบทั่วทิศ นาม พลเอก ชาญ โกมลหิรัญ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ราชองครักษ์เวร และเป็นตุลาการ (ศาลทหาร กรุงเทพ ศาลทหารกลาง ศาลทหารสูงสุด) ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น การปฏิ บั ติ ร าชการที่ มี เ กี ย รติ อย่ า งยิ่ ง โดยได้ รั บ เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ อันทรงเกียรติชั้นสูงสุด คือ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.), ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
รอบคอบ ฉับไว ใจบริการ
น�าหน่วยงาน เสมียนตรา พาเกิดผล เกียรติเลิศล้น ผลงาน การส�าคัญ ผู้รักษ์สิทธิ์ ทหารหาญ สานสุขสันต์ ผู้รังสรรค์ กิจการหลัก พิทักษ์ไทย. ๒1
เกียรติประวัติและประสบการณ์การท�างาน
พลเอก รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ
๒๒
พ
ลเอก รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ เกิด เมื่อวันเสาร์ที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๕ ที่จังหวัดสงขลา ศึกษาระดับประถม ศึ ก ษาในโรงเรี ย นต่ า งจั ง หวั ด หลายจั ง หวั ด ส� า เร็ จ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น จากโรงเรี ย น กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และมัธยมศึกษา ตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เข้ารับ การศึ ก ษาที่ ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ.๒๕๑๒ หลังจากส�าเร็จ การศึ ก ษาปริ ญ ญานิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการที่ กรมพระธรรมนู ญ และได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ยศ เป็ น ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี เหล่ า ทหารพระธรรมนู ญ ต�าแหน่งนายทหารประจ�าโรงเรียนเหล่าทหาร พระธรรมนูญ ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ หลังจากนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ได้เข้ารับการศึกษาหลักสูตร นายทหารพระธรรมนูญชั้นต้น โรงเรียนเหล่า พระธรรมนูญทหารบกสหรัฐอเมริกา ประเทศ สหรัฐอเมริกา และส�าเร็จการศึกษาจากส�านัก อบรมศึ ก ษากฎหมายแห่ ง เนติ บั ณ ฑิ ต ยสภา สมัยที่ ๓๑ เป็นเนติบัณฑิต ในปี พ.ศ.๒๕๒๒ จากนั้นได้รับการปรับย้ายให้ไปด�ารงต�าแหน่ง อัยการผู้ช่วยศาลทหารกรุงเทพ และประจ� า ฝ่ายวิชาการ กองการศาลทหาร กรมพระธรรมนูญ ต่อมาได้รบั ทุนส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้ ไ ปศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโททางกฎหมาย และได้ส�าเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท ทางกฎหมายเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยโฮวาร์ด ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๒๖ ครั้ น กลั บ มาได้ รั บ การปรั บ ย้ า ยให้ เ ข้ า ด� า รง ต� า แหน่ ง หั ว หน้ า แผนกคดี แ พ่ ง และสั ญ ญา กองนิตธิ รรมทหาร กรมพระธรรมนูญ ระหว่างนัน้ ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ - ปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้เข้ารับ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รปฏิ บั ติ ก ารจิ ต วิ ท ยา โรงเรียนปฏิบัติการจิตวิทยา หลักสูตรกิจการ พลเรือน โรงเรียนกิจการพลเรือนของกระทรวง กลาโหม ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า หลั ก สู ต ร นายทหารสัญญาบัตรชั้นสูง รุ่นที่ ๖ โรงเรียน เหล่าทหารพระธรรมนูญ และหลักสูตรนายทหาร พระธรรมนูญชัน้ สูง โรงเรียนเหล่าพระธรรมนูญ ทหารบกสหรัฐอเมริกา ประเทศสหรัฐอเมริกา ตามล�าดับ นับได้ว่าเป็นนายทหารเหล่าทหาร พระธรรมนูญ ทีไ่ ด้พฒ ั นาตนโดยการเข้ารับการ ศึกษาอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ที่มีความส�าคัญ ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการในสายวิทยาการ เหล่ า ทหารพระธรรมนู ญ และสายงานอื่ น ที่ เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติ หน้ า ที่ ใ นต� า แหน่ ง ตุ ล าการพระธรรมนู ญ
ประจ�าส�านักตุลาการทหาร รองผู้อ�านวยการ กองนิติธรรมทหาร กรมพระธรรมนูญ ตุลาการ พระธรรมนูญ ฝ่ายศาลทหารกรุงเทพ และ รองผู ้ อ� า นวยการกองพระธรรมนู ญ ทหาร กรมสารบรรณทหาร และเข้ารับการศึกษา หลั ก สู ต รหลั ก ประจ� า รุ ่ น ที่ ๔๖ วิ ท ยาลั ย การทั พ บก สถาบั น วิ ช าการทหารบกชั้ น สู ง ในปี พ.ศ.๒๕๔๔ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๕ ได้รับ การปรับย้ายให้ด�ารงต�าแหน่ง ผู้อ�านวยการ กองพระธรรมนู ญ กรมสารบรรณทหารบก และผู้อ�านวยการกองนิติธรรมทหาร กรมพระ ธรรมนูญ ตามล�าดับ ต่ อ มาในปี พ.ศ.๒๕๕๑ ได้ รั บ พระบรม ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� า รงต� า แหน่ ง ตุลาการพระธรรมนูญ หัวหน้าคณะฝ่ายศาล ทหารสู ง สุ ด และในปี พ.ศ.๒๕๕๒ ได้ รั บ พระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� า รง ต� า แหน่ ง ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า กรมพระธรรมนู ญ และ เข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รการบริ ห าร กระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ ๑๕ ส�านักงานศาลยุตธิ รรม ต่อมาได้รบั พระบรม ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� า รงต� า แหน่ ง รองเจ้ากรมพระธรรมนูญ ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓ และได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้ า กรม พระธรรมนูญ ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ อั น เป็ น หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การ ศาลทหาร อัยการทหาร ทนายทหาร นายทหาร พระธรรมนูญ การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ราชการในส่วนธุรการและวิชาการที่เกี่ยวกับ กฎหมายและสั ง คมศาสตร์ ซึ่ ง นั บ ได้ ว ่ า เป็นหัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้าน การยุติธรรมทหารระดับสูงสุดของกระทรวง กลาโหมอีกด้วย และสิ่งที่ภาคภูมิใจอย่างยิ่ง คือ การได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชองครักษ์เวร ส�าหรับชีวิตครอบครัว พลเอก รัตนพันธุ์ฯ สมรสกับ นางวันฤดี โรจนะภิรมย์ มีบุตร ๑ คน คือ นายประจักษ์ธรรม โรจนะภิรมย์ พลเอก รัตนพันธุ์ฯ ได้รับราชการในเหล่า ทหารพระธรรมนูญมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน กว่า ๓๙ ปี ท�าให้มีความรักผูกพันต่อเหล่า
ทหารพระธรรมนูญ รวมทั้งอดีตผู้บังคับบัญชา เพื่ อ นร่ ว มงาน และผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ ไ ด้ ร่วมงานอย่างต่อเนื่อง นับได้ว่าเป็นนายทหาร เหล่าทหารพระธรรมนูญ ที่ผา่ นประสบการณ์ ที่ ค รบถ้ ว นตั้ ง แต่ อั ย การทหาร นายทหาร พระธรรมนู ญ และตุ ล าการพระธรรมนู ญ หน่วยขึ้นตรงกองทัพบก หน่วยขึ้นตรงกอง บั ญ ชาการกองทั พ ไทย และหน่ ว ยขึ้ น ตรง กรมพระธรรมนูญ ร่วมการประชุมทางวิชาการ เกี่ยวกับกฎหมายทหารกับต่างประเทศในบาง โอกาส จากประสบการณ์ดังกล่าวนี้ พลเอก รัตนพันธุ์ฯ ได้น�าความรู้และประสบการณ์ที่ ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ถ่ายทอด ประสบการณ์ให้กบั นายทหารในสายวิทยาการ เหล่ า ทหารพระธรรมนู ญ ด้ ว ยการออก ตรวจเยี่ยมเพื่อรับฟังปัญหาข้อขัดข้องเกี่ยวกับ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ร าชการของนายทหาร พระธรรมนูญและอัยการทหารในพื้นที่ต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญของ การปฏิบัติภารกิจของกองทัพในการบังคับใช้ กฎหมาย ในระหว่างเดินทางตรวจเยี่ยมเพื่อ รั บ ฟั ง ปั ญ หาข้ อ ขั ด ข้ อ งเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ หน้ า ที่ ร าชการของนายทหารพระธรรมนู ญ และอัยการทหารในพื้นที่ต่าง ๆ ดังกล่าวนั้น ได้ให้หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบของกรมพระธรรมนูญ จั ด ให้ มี ก ารบรรยายพิ เ ศษในหั ว ข้ อ “การ ด�าเนินคดีปกครอง” และ “กฎการใช้ก�าลัง”
ผูเ้ ชีย่ วชาญ งานกฎหมาย หลากหลายกิจ อ�านวยผล ให้เห็น ความเป็นธรรม นักกฎหมาย เปี่ยมสามารถ องอาจกล้า พลเอก รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ซึ่งหัวข้อดังกล่าวนี้นับว่ามีความส�าคัญอย่างยิ่ง ต่ อ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ของกองทั พ ให้ ส� า เร็ จ ลุล่วงได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากทีก่ ล่าวมาแล้ว พลเอก รัตนพันธุฯ์ ได้ใช้ ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ สั่ ง สมในแต่ ล ะห้ ว งเวลา ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นสายวิ ท ยาการเหล่ า ทหารพระธรรมนูญ และการเป็นผูบ้ งั คับบัญชา มาผสมผสาน ใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ราชการและชีวิตส่วนตัวจนเป็นที่ยอมรับและ ประสบความส�าเร็จตลอดมา และสิ่งหนึ่งที่ พลเอก รัตนพันธุฯ์ ได้ยดึ ถือเป็นพืน้ ฐานส�าคัญ ในการปฏิ บั ติ ต นทั้ ง ในหน้ า ที่ ร าชการและ ชีวิตส่วนตัว คือ การรักษาความเป็นธรรม และยึ ด มั่ น ในความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ความ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัยและความ ถูกต้องดีงาม
หัวหน้าสาย วิทยาการ สานดื่มด�่า เด่นเลิศล�้า กฎหมายทหาร งานชื่นชม ตุลาการ ทหารกล้า พาสุขสม คือเจ้ากรม พระธรรมนูญ ศูนย์เทีย่ งธรรม. ๒3
เกียรติประวัติและประสบการณ์การท�างาน
พลอากาศเอก ดิเรก พรหมประยูร
ผูอ้ า� นวยการศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
พ
ลอากาศเอก ดิเรก พรหมประยูร เกิด เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๖ ที่จังหวัดลพบุรี เป็นบุตรของนาวา อากาศโท จันทร์ พรหมประยูร รับราชการที่ กองบิน ๒ จ.ลพบุรี มารดา นางแสงจันทร์ พรหมประยูร พลอากาศเอก ดิเรก พรหมประยูร ได้ รั บ การศึ ก ษาขั้ น ต้ น ที่ โ รงเรี ย นกองบิ น โคกกะเทียมหลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (ม.ศ.๓) จากโรงเรี ย นวิ นิ ต ศึ ก ษา ลพบุ รี ได้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในโรงเรียน เตรี ย มทหาร เป็ น นั ก เรี ย นเตรี ย มทหาร รุ่นที่ ๑๒ เป็นนักเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ ๑๙ ส�าเร็จการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ทอ.) สาขาวิศวกรรมอากาศยาน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ แล้วเข้ารับการฝึกบิน เป็นศิษย์การบิน รุ่น น.๖๐-๑๙-๒ ท�าการบินกับเครื่องบินไอพ่น เมื่อส�าเร็จการฝึกศึกษาแล้ว ได้รับการบรรจุ เป็นนักบินประจ�ากอง ประเภทนักบินขับไล่ โจมตี ประจ�ากองบิน ๔๑ ฝูงบิน ๔๑๑ จังหวัด เชียงใหม่ การศึกษาหลังจากเข้ารับราชการ เข้ารับการศึกษาหลักสูตรในสายวิทยาการ นั ก บิ น เช่ น หลั ก สู ต รนายทหารยุ ท ธการ ระดับฝูงบิน หลักสูตรนายทหารนิรภัยการบิน หลักสูตรยุทธวิธีการรบ บ.ต่างแบบและการ บินเดินทางต�่า เป็นต้น ศึกษาหลักสูตรหลัก ของกองทัพอากาศ ได้แก่ หลักสูตรนายทหาร ชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ ๔๙ หลักสูตรเสนาธิการกิจ รุ่นที่ ๓๑ หลักสูตรวิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ ๓๐ ได้รับทุน IMET ไปศึกษาหลักสูตร Air Command and Staff Course และ Academic Instructor Course (1988 - 89) ณ Air University, USAF เมือง Montgomery มลรัฐ Alabama ประเทศสหรัฐอเมริกา การ ศึ ก ษาสู ง สุ ด เข้ า รั บ การศึ ก ษาในวิ ท ยาลั ย ป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกัน ราชอาณาจักร รุ่นที่ ๔๗ (พ.ศ.๒๕๔๗ - ๔๘) ประวัติการท�างานและต�าแหน่งราชการ ที่ส�าคัญ ปฏิบตั หิ น้าทีน่ กั บินขับไล่โจมตีกบั เครือ่ งบิน บ.จ.๕ (OV-10C) ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ สนั บ สนุ น กองทัพภาคที่ ๓ และ กอ.รมน.ภาค ๓ บริเวณ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ในการปราบปราม ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์และการบินค้นหา โจมตี/ท�าลายแหล่งผลิตยาเสพติดของกลุ่ม ขุนส่า บริเวณบ้านหินแตก (เทอดไทย) อ�าเภอ แม่จัน จังหวัดเชียงรายและตามแนวชายแดน ๒4
มีชั่วโมงบินทุกประเภทรวม ๓,๔๐๐ ชั่วโมง ซึ่ง เป็นชัว่ โมงบินรบ ๒๒๐ เทีย่ วบิน ๓๖๐ ชัว่ โมงบิน นอกจากนีย้ งั ได้ปฏิบตั ริ าชการสนาม หน่วยบิน ๔๑๕๒ น่าน และหน่วยบินขับไล่โจมตี ๔๑๑๑ พิษณุโลก เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของ หน่วยก�าลังภาคพืน้ บริเวณภูผาจิ ภูหนิ ร่องกล้า เขาค้อ อุ้มผาง ฯลฯ ส�าหรับต�าแหน่งหน้าทีส่ า� คัญคือ ด�ารงต�าแหน่ง อาจารย์ วิ ช าทหารและยุ ท ธวิ ธี โรงเรี ย น เสนาธิการทหารอากาศ นายทหารฝ่ายเสนาธิการ กองยุทธการการรบ กองยุทธการทางอากาศ เป็นรองผู้บังคับการกองบิน ๒๑ อุบลราชธานี รองผู ้ อ� า นวยการกองนโยบายและแผน ผู้อ�านวยการกองฝึกภาคอากาศ กรมยุทธการ ทหารอากาศในปี พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ ไปปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู ้ ช ่ ว ยทู ต ทหารอากาศและ รักษาราชการผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารไทย ประจ�า สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงจาการ์ตา หลังจากนัน้ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็น รองผูบ้ ญั ชาการ โรงเรียนการบินผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการ ทหารอากาศ (พลอากาศตรี ) ผู ้ บั ญ ชาการ กองพลบินที่ ๒ กองบัญชาการยุทธ ทางอากาศ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ (พลอากาศโท) ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพอากาศ (พลอากาศเอก) และเป็นผู้อ�านวยการศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ งานส�าคัญที่เคยได้รับมอบ เช่น เป็นนักบิน ถวายการบินสาธิต บ.แบบ บ.จ.๕ ถวาย พลอากาศเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เป็ น คณะกรรมการ พิจารณาปรับย้ายนายทหารเหล่านักบิน ชัน้ ยศ นาวาอากาศเอก - นาวาอากาศเอก (พิเศษ) เป็นคณะกรรมการเลือกแบบเครื่องบินปฏิบัติ ภารกิ จ ฝนหลวง เป็ น คณะกรรมการจั ด ซื้ อ เครื่องบินฝึกแบบ CT-4E (บ.ฝ.๑๖ก) เป็น คณะกรรมการเจรจาด้ า นการฝึ ก อบรม/ คณะกรรมการบริหารโครงการจัดซือ้ /เตรียมรับ บ.Grippen 39 C/D ด้ า นการฝึ ก อบรม นอกจากนี้ยังปฏิบัติหน้าที่ เป็นผู้อ�านวยการ เดิ น ทางเครื่ อ งบิ น /เฮลิ ค อปเตอร์ พ ระราช พาหนะที่ ก องทั พ อากาศจั ด ถวายพระบรม วงศานุวงศ์ เป็นต้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด คือ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) เมื่อ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) เมื่อ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เหรียญพิทกั ษ์เสรีชนชัน้ ๒ ประเภท ๑ เมือ่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ ได้รับการโปรดเกล้าฯ ในหน้าที่พิเศษ ดังนี้ เป็น ราชองครักษ์เวร ตั้งแต่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๐ - ปัจจุบัน เป็น ราชองครักษ์พิเศษ ตั้งแต่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ เป็นต้นไป
ยอดนักบิน ขับไล่ ใจองอาจ ยุทธการ ทั่วผอง ท้องนภา ขับเคลื่อน อุตสาหกรรม น�าเศรษฐกิจ พลอากาศเอก ดิเรก พรหมประยูร หลักเมือง กันยายน ๒55๖
เป็น ตุลาการศาลทหารสูงสุด ตั้งแต่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ได้ รั บ การพิ จ ารณาจาก คณะกรรมการ อ�านวยการจัดงานนักบริหารดีเด่น ให้เป็นผู้ได้ รับรางวัลเกียรติยศ “นักบริหารดีเด่นแห่งปี ประจ�าปี ๒๕๕๖” จาก ฯพณฯ อ�าพล เสนาณรงค์ องคมนตรี ใน ฐานะที่เป็นผู้ที่ประสบความส� าเร็จในหน้าที่ การงาน ชีวิตครอบครัว และสร้างผลประโยชน์ ตอบแทนคืนสังคม เมื่อ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ ด้านครอบครัว สมรสกับ หม่อมหลวง สิริฉัตร สวัสดิวัตน์ มีบุตร ๑ คน คือ นายณฐพรรษ พรหมประยูร อายุ ๒๑ ปี ปั จ จุ บั น ก� า ลั ง ศึ ก ษาสาขาวิ ช า Tourism and Hospitality Management ชั้นปีที่ ๓ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัย มหิดล (Mahidol University International College : MUIC)
เสืออากาศ ผู้ปกป้อง ครองผืนฟ้า เปี่ยมคุณค่า บริหารเด่น เห็นเพิ่มพูน รังสฤษฎิ์ พลังงานไทย ไม่สิ้นสูญ เรืองจ�ารูญ กิจทหาร สานมั่นคง. ๒5
ชุดแผ่นยันต์ ประจ�าศาลาว่าการกลาโหม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
น
ายทหารชั้ น ผู ้ ใ หญ่ ท ่ า นหนึ่ ง ของ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมซึ่ง เกษี ย ณอายุ ร าชการไปก่ อ นหน้ า นี้ ได้มาพบผู้เขียน ซึ่งหลังจากได้โอภาปราศรัย ถามสารทุกข์สุกดิบกันดีแล้วตามประสาคน ที่สูงวัยด้วยกัน ท่านยังได้เล่าเรื่องแผ่นยันต์ ชุดหนึง่ ทีไ่ ด้ประดิษฐานในศาลาว่าการกลาโหม และกล่าวถึงการประดิษฐานในยุคก่อน พร้อม กั บ พาผู ้ เ ขี ย นไปชมชุ ด แผ่ น ยั น ต์ ดั ง กล่ า ว ที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ ภ ายในห้ อ งสุ ร ศั ก ดิ์ ม นตรี ชั้นสองของศาลาว่าการกลาโหม ๒๖
ปรากฏว่ า ชุ ด แผ่ น ยั น ต์ ดั ง กล่ า วมี จ� า นวน ๔ ผืน ประดิษฐานอยู่บนผนัง ด้านหลังเวที ภายในห้องสุรศักดิ์มนตรี และเมื่อตรวจสอบ แล้ว ปรากฏว่า ชุดแผ่นยันต์ทั้ง ๔ ผืน มีขนาด ใหญ่พอสมควร กว้างประมาณ ๖๐ เซนติเมตร และยาวประมาณ ๙๐ เซนติเมตร ท�าขึ้นจาก หนังกระบือ ลงรักและปิดทองเป็นรูปแบบยันต์ โบราณประกอบอักขระไทยโบราณ มีรูปแบบ เหมือนกันเป็นคู่ ดังปรากฏในภาพ และเมื่อ ศึกษาลงไปในรายละเอียดสามารถอธิบายได้ ดังนี้
ชุดแผ่นยันต์คู่ที่ ๑ บรรจุด้วย • ยั น ต์ ไ ขว้ เ ป็ น รู ป แปดปมหรื อ แปดทิ ศ อยู่กลางผืน เรียกว่า ยันต์แปด มีอักขระไทย โบราณ อ่านว่า อะ ซึง่ มีความหมายว่าแสงสว่าง หรือความเจริญ หรือความสุกใส หรือความ สว่างไสว • ยันต์ไขว้เป็นสี่ปมรวม ๔ ชุด หรือเรียก ว่า ยันต์สี่ อยู่ด้านบนสอง และด้านล่างอีกสอง มีอักขระไทยโบราณ อ่านว่า นะ มะ พะ ทะ เรียงจากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง ซึ่งแปลว่า น�้า ดิน ลม ไฟ หรือธาตุทั้งสี่ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ไม่ ม วลเบารองชุ ด แผ่ น ยั น ต์ นั้ น กั บ ย้ า ยมา ประดิษฐานอยู่บริเวณผนังหลังเวทีของห้อง สุรศักดิ์มนตรี และมีผ้าม่านสีฟ้าอ่อนปิดเอาไว้ ตราบจนปัจจุบันนี้ ผู้เขียนจึงได้ค้นหาในเรื่องสาระส�าคัญของ ยัน ต์ที่สอดคล้ อ งกั บชุ ด แผ่ น ยั น ต์ ทั้ ง ๔ ผื น เพื่อน�ามาประดับเผยแพร่เพื่อความรู้ของท่าน ผู้อ่านและของตนเอง สามารถสรุปได้ ดังนี้ ๏ ความหมายของค�าว่า ยันต มีความ หมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระ หรือรูปภาพที่เขียน สัก หรือแกะสลักลงบน แผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น ถือว่าเป็น ของขลัง ๏ ส่วนประกอบของยันต์โดยย่อ กล่าว คือ เส้นที่ลากอยู่ภายในยันต์ เรียกว่า “กระดูก ยั น ต์ ” และอั ก ขระที่ บ รรจุ ภ ายในยั น ต์ คื อ การเขียนเป็นตัวย่อของพระคาถาแต่ละบท ทั้งนี้ การลงอักขระมักจะไม่ให้ทับกระดูกยันต์ เพราะจะท�าให้ยันต์นั้นใช้ไม่ได้ นอกจากนี้ การ ลงยันต์หรือการเขียนยันต์มักจะมีคาถาหรือ สูตรก�ากับไว้ส�าหรับผู้เขียนยันต์จะต้องภาวนา คาถานั้นไปด้วยพร้อมกับการลงยันต์ ฉะนั้นจึง ต้องใช้สมาธิสูง อีกทั้ง เมื่อมีการลงยันต์เสร็จ แล้วจะต้องมีการปลุกเสกเพื่อท�าให้ยันต์ขลังมี ฤทธานุภาพตามจุดประสงค์ของยันต์นั้น ๏ คติ ข องการเขี ย นยั น ต์ แ ปดหรื อ ยั น ต์ แปดทิศ เพื่อใช้เป็นยันต์ส�าหรับป้องกันและ แก้อาถรรพ์ต่าง ๆ ๏ คติ ข องการเขี ย นยั น ต์ สี่ ทิ ศ มี ค วาม หมายว่าเป็นทวีปทั้งสี่ หรือธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น�้า ลม ไฟ ซึ่งเป็นองค์ประกอบส�าคัญของสรรพสิ่ง ชุดแผ่นยันต์คู่ที่ ๒ บรรจุด้วย ยันต์ไขว้ ส�าหรับ ชุดแผ่นยันต์ทงั้ ๔ ผืน ทีป่ ระดิษฐาน เป็นรูปแปดปมหรือแปดทิศอยูก่ ลางผืน เรียกว่า ในศาลาว่ า การกลาโหมนี้ จึ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า ยันต์แปดมีรูปอุณาโลมหรือเลข ๙ ไทยแบบ เป็นความตั้งใจของบรรพชนที่มุ่งสร้างวัตถุที่มี โบราณ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นชาติ คุณค่าในเชิงจิตวิญญาณที่มุ่งเน้นในการสร้าง มีความหมายว่าความสามัคคีของชนในชาติ ขวัญก�าลังใจของคนในชาติให้ร่วมตระหนักถึง และมีอักขระไทยโบราณ อ่านว่า นะ มะ พะ ความเป็นชาติ เพื่อความเจริญรุ่งเรือง และ ทะ เรียงจากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง บรรจุ เป็นการคุม้ ครองสถานทีก่ บั คุม้ ครองผืนแผ่นดิน อยู่ในรูปยันต์ ซึ่งแปลว่า น�้า ดิน ลม ไฟ หรือ ที่ประกอบด้วยธาตุส�าคัญพื้นฐานทั้งสี่ คือ ดิน ธาตุทั้งสี่ เช่นเดียวกันกับชุดแผ่นยันต์คู่ที่ ๑ น�า้ ลม และไฟ ซึง่ เป็นพืน้ ฐานของชีวติ และเป็น (ยันต์ไตรโลก) พื้นฐานของประเทศชาติ แม้ว่าจะไม่สามารถ ทั้ ง นี้ จากค� า บอกเล่ า ของนายทหารชั้ น พิสูจน์ได้ว่าเป็นการสร้างในยุคสมัยใด หรือมี ผู้ใหญ่ท่านดังกล่าว ทราบว่า ชุดแผ่นยันต์ การสร้างตามพิธีการที่ถูกต้องหรือไม่ หรือเป็น ดั ง กล่ า วเคยประดิ ษ ฐานอยู ่ บ นผนั ง อาคาร เพียงการสร้างในเชิงสัญลักษณ์ก็ตาม หลังห้องสุรศักดิ์มนตรี และอยู่ในที่ดังกล่าว บทพิสูจน์ความตั้งใจของบรรพชนคือ การ นานกว่า ๓๐ ปี เพราะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ กระตุ ้ น ในเรื่ อ งจิ ต ส� า นึ ก ของการอยู ่ ร ่ ว มกั น ท่ า นนั้ น ได้ ย ้ า ยมารั บ ราชการในส� า นั ก งาน ความรัก ความสามัคคี และการปกป้องกันภัย ปลั ด กระทรวงกลาโหมก่ อ นปี พ.ศ.๒๕๒๕ ซึ่งกันและกัน จึงได้ถ่ายทอดออกมาเป็นชุด และพบว่ามีการประดิษฐานอยู่ก่อนหน้านั้น แผ่นยันต์ทั้ง ๔ ผืนนี้ จึงคู่ควรแก่การดูแลรักษา แล้วซึ่งมีลักษณะเก่าคลาคล�่า และต่อมาเมื่อ และเป็นสิ่งที่กระตุ้นจิตส�านึกของก�าลังพลที่ มีการปรับปรุงห้องสุรศักดิ์มนตรี จึงได้น�ามา รับราชการในศาลาว่าการกลาโหมและก�าลังพล ปรับปรุงโดยการลงรักปิดทองใหม่และท�าฐาน ของกระทรวงกลาโหมทุกคนตลอดไป หลักเมือง กันยายน ๒55๖
แผ่นยันต์ทั้ง ๔ ผืน ที่ประดิษฐานใน ศาลาว่าการกลาโหมนี้ จึงสันนิษฐานว่า เป็นความตั้งใจของบรรพชนที่มุ่ง สร้างวัตถุทมี่ คี ณ ุ ค่าในเชิงจิตวิญญาณ ที่มุ่งเน้นในการสร้างขวัญกําลังใจ ของคนในชาติให้ร่วมตระหนักถึง ความเป็นชาติ เพื่อความเจริญรุ่งเรือง และเป็นการคุ้มครองสถานที่กับ คุ้มครองผืนแผ่นดิน
หากท่านสนใจที่จะเยี่ยมชมและสักการะ ชุ ด แผ่ น ยั น ต์ ป ระจ� า ศาลาว่ า การกลาโหม ก็สามารถเข้าชมได้ที่ห้องสุรศักดิ์มนตรี และ ขอความกรุ ณ าเยี่ ย มชมในลั ก ษณะของการ ชมแบบมีจิตส�านึก กล่าวคือ ชมด้วยตา และ ขอความกรุณาอย่าไปสัมผัสโดยไม่จ�าเป็น กับ ขออย่าได้น�าสิ่งใดไปผูกโยงหรือจัดวางให้เกิด ไม่ความงดงาม ทั้งนี้ เพราะจะน�ามาสู่ความ สกปรก หรือเป็นสาเหตุในการเชื้อเชิญแขกที่ ไม่พึงประสงค์ประเภท หนู เข้ามาสร้างความ เสียหายให้แก่ชดุ แผ่นยันต์ได้ ขอให้ตระหนักว่า ควรเก็บรักษาไว้เคียงคู่ศาลาว่าการกลาโหม ต่อไปเถิดครับ
๒7
ผลการประชุม
IISS Shangri - La Dialogue ครั้งที่ ๑๒ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
รั
ฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ได้กรุณา อนุมตั ใิ ห้สา� นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จั ด ผู ้ แ ทนเข้ า ร่ ว มการประชุ ม IISS Shangri - La Dialogue ครั้งที่ ๑๒ เมื่อ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ถึง ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ ณ สาธารณรั ฐ สิ ง คโปร์ โดยปลั ด กระทรวง กลาโหม ได้ ม อบหมาย พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ ผู้อ�านวยการส�านักนโยบายและ แผนกลาโหม เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนเดินทาง ไปเข้าร่วมการประชุมฯ การประชุม IISS Shangri - La Dialogue เป็นเวทีด้านความมั่นคงระดับสูง และมีความ ส� า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในภู มิ ภ าคเอเชี ย - แปซิ ฟ ิ ก โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมฯ ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมผู้บัญชาการ ทหารสูงสุด และบุคคลส�าคัญของประเทศใน ภูมภิ าคเอเชีย - แปซิฟกิ ประมาณ ๓๐ ประเทศ รวมทั้ ง ผู ้ แ ทนจากองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ สถาบันทางวิชาการ และสือ่ มวลชนต่างประเทศ สายงานความมั่นคง การประชุม IISS Shangri - La Dialogue ครั้งที่ ๑๒ มีสาระส�าคัญที่น่าสนใจ ดังนี้ นาย Nguyen Tan Dung นายกรัฐมนตรี เวียดนาม ได้กล่าวปาฐกถา (Keynote Address) ในพิธีเปิด โดยเรียกร้องให้ประเทศในภูมิภาค เอเชี ย - แปซิ ฟ ิ ก เสริ ม สร้ า งความไว้ เ นื้ อ เชื่อใจเชิงยุทธศาสตร์ระหว่างกันให้มากยิ่งขึ้น เนื่ อ งจากเห็ น ว่ า ความตึ ง เครี ย ด และความ ขั ด แย้ ง ทางดิ น แดนระหว่ า งประเทศต่ า ง ๆ ในภูมิภาค เป็นภัยคุกคามส�าคัญต่อความเจริญ รุ่งเรืองของภูมิภาค นาย Chuck Hagel รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง กลาโหมสหรัฐอเมริ กา ได้ก ล่ าวสุน ทรพจน์ ในหั ว ข้ อ “แนวทางการด� า เนิ น การของ สหรั ฐ อเมริ ก า ต่ อ ประเด็ น ความมั่ น คงใน ภูมิภาค” โดยยืนยันว่าสหรัฐอเมริกาจะยังคง ด�าเนินนโยบายการหวนคืนสู่ภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก (U.S. Rebalance Towards the Asia - Pacific) ต่อไป แม้ว่าสหรัฐอเมริกา ก�าลังประสบปัญหาการปรับลดงบประมาณ ทางทหารก็ตาม
๒8
นาย Chuck Hagel ได้กล่าวย�า้ ความส�าคัญ ของความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่าง สหรัฐอเมริกา - ไทย โดยระบุ ถึ ง เอกสาร Joint Vision Statement ที่ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง กลาโหมของทั้งสองประเทศได้ลงนามร่วมกัน เมื่อปีที่แล้ว ว่าถือเป็นเอกสารความร่วมมือ ทางทหารระหว่างทั้งสองประเทศ ฉบับแรก ในรอบ ๕๐ ปี รวมทั้งกล่าวว่าสหรัฐอเมริกา ต้ อ งการจะขยายความร่ ว มมื อ ในลั ก ษณะ ไตรภาคีด้านความมั่นคง (Trilateral Security Cooperation) กั บ ประเทศพั น ธมิ ต รของ สหรัฐอเมริกาในภูมิภาค โดยนอกเหนือจาก กลไกความร่ ว มมื อ ไตรภาคี ที่ มี อ ยู ่ ร ะหว่ า ง สหรั ฐ อเมริ ก า - ญี่ ปุ ่ น - เกาหลี ใ ต้ และ สหรัฐอเมริกา - ญี่ปุ่น - ออสเตรเลีย แล้ว สหรัฐอเมริกาก�าลังพิจารณาโอกาสในการจัด ฝึกร่วมต่าง ๆ กับไทย เช่น การฝึก Jungle Training โดยอาจเปิดโอกาสให้เกาหลีใต้ได้ เข้าร่วมการฝึกกับสหรัฐอเมริกา และไทยด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของเมียนมาร์ นาย Chuck Hagel กล่าวว่าสหรัฐอเมริกามีความประสงค์จะขยาย ความร่วมมือทางทหารกับเมียนมาร์ด้วยความ ระมัดระวัง นอกจากนัน้ สหรัฐอเมริกาประสงค์
จะเชิญรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของ ประเทศสมาชิกอาเซียน เดินทางไปประชุม ร่วมกับสหรัฐอเมริกา ณ มลรัฐฮาวาย ในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ด้วย พลตรีหญิง Yao Yunzhu ผู้อ� านวยการ ศู น ย์ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ท างทหารจี น สหรัฐอเมริกา (Centre for China - U.S. Defence Relation Studies) ได้ตั้งค�าถาม ต่อ นาย Chuck Hagel ว่าจะท�าอย่างไรเพื่อให้ ฝ่ายจีนมั่นใจได้ว่า นโยบาย U.S. Rebalance towards the Asia - Pacific ของสหรัฐอเมริกา ที่ได้ปรับเปลี่ยนอัตราส่วนกองก� าลังทางเรือ ของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟกิ ต่อกอง ก�าลังทางเรือของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทร แอตแลนติก เพิ่มเป็น ๖๐ ต่อ ๔๐ นั้น ไม่ได้ มีเป้าหมายเพื่อสกัดกั้นจีน ซึ่งนาย Chuck Hagel กล่าวถึงประเด็นความสัมพันธ์ระหว่าง สหรัฐอเมริกา - จีน ว่าความร่วมมือระหว่าง สหรัฐอเมริกา - จีน ถือเป็นส่วนส�าคัญส่วน หนึ่งของ นโยบาย U.S. Rebalance towards the Asia - Pacific ของสหรัฐอเมริกา โดย สหรั ฐ อเมริ ก า ให้ ค วามส� า คั ญ ต่ อ การสร้ า ง ความไว้เนือ้ เชือ่ ใจระหว่างกัน ทัง้ นี้ ต่อประเด็น
ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
การประชุม IISS Shangri - La Dialogue ครัง้ ที่ ๑๒ ระหว่าง ๓๑ พฤษภาคม - ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์
ความหวาดระแวงของฝ่ายจีน ต่อนโยบาย U.S. Rebalance towards the Asia - Pacific ของ สหรัฐอเมริกานั้น นาย Chuck Hagel เห็นว่า เป็ น การสะท้ อ นให้ เ ห็ นถึ ง ความจ� า เป็ น และ ความส�าคัญของการพัฒนาความสัมพันธ์ทาง ทหารระหว่างสหรัฐอเมริกา - จีน เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดการประเมินสถานการณ์ไปในทาง ที่ผิด (Miscalculation) หรือเกิดการเข้าใจผิด ในเจตนาที่แท้จริงของอีกฝ่าย ซึ่งเป็นสิ่งที่ฝ่าย สหรัฐอเมริกาพยายามมาโดยตลอด พลโท Qi Jiangua รองประธานกรม เสนาธิการใหญ่ กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน ได้กล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ “แนวโน้มใหม่ ด้านความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก” (New Trends in Asia - Pacific Security) โดยระบุ ว ่ าการเจริ ญ เติบ โตและความเจริญ รุ่งเรืองของจีน ไม่ถือเป็นภัยคุกคามหรือความ ท้าทาย แต่เป็นโอกาสส�าคัญต่อประเทศใน ภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก ซึ่งจีนต้องการจะเป็น แรงขับเคลื่อนการพัฒนาให้เกิดขึ้นในภูมิภาค เอเชีย - แปซิฟิก ทั้งนี้ นโยบายด้านการพัฒนา ของจีนยึดถือแนวทางการด�าเนินการ กล่าว คือ ๑) การพัฒนาประเทศอย่างสันติ ๒) การ พัฒนาอย่างเปิดกว้าง โดยไม่ปิดกั้นประเทศใด ประเทศหนึ่ง ๓) การเสริมสร้างความร่วมมือ ด้ า นความมั่ น คงระหว่ า งประเทศ และ ๔) สนับสนุนการพัฒนาในลักษณะที่ทุกฝ่ายได้ ประโยชน์ (Win - Win Development) นอกจากนี้ ยังมีบุคคลส�าคัญอื่น ๆ ที่ได้ขึ้น กล่าวสุนทรพจน์ในการประชุมฯ อาทิ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหมของญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เป็นต้น
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
๒9
โครงการ
จิตส�านึกรักเมืองไทย ๒๕๕๖ (ปีที่ ๕) เรื่อง พันโทหญิง ณิชนันทน์ ทองพูล
โ
ครงการจิตส�านึกรักเมืองไทยเป็นโครงการ ของส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ด�าเนินงานโดยส�านักงานเลขานุการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม โครงการนี้จัดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ ๕ แล้ว โดยวัตถุประสงค์ ของโครงการ นัน้ ต้องการกระตุน้ สร้างจิตส�านึก และการมีสว่ นร่วมทางสังคม ตลอดจนความรับ ผิดชอบต่อสาธารณะ โดยมุ่งเน้นไปที่เยาวชน ของชาติที่เป็นพลังอันบริสุทธิ์และอนาคตที่ ส�าคัญของสังคมไทย โดยจัดเวทีให้กับเยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศได้ สะท้อนแนวคิดและมุมมองต่อสถานการณ์ทาง 30
สังคมไทยที่มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือเยาวชนในวัยศึกษา อายุตั้งแต่ ๑๖ - ๒๕ ปี ซึ่งเขาเหล่านี้จะเติบโต เป็นพลังส�าคัญของชาติต่อไปในอนาคต โครงการนี้เป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้เยาวชน ได้แสดงออกทางความคิดอย่างสร้างสรรค์ และ ผลิตออกมาเป็นผลงาน ทั้งภาพถ่าย สปอต โทรทัศน์ และบทเพลง การด�าเนินโครงการ ในปี ๕๖ นี้ ได้รับความร่วมมือจากทุกสถาบัน การศึกษาเป็นอย่างดียงิ่ โดยมีเยาวชน ร่วมสมัคร และส่งผลงานจ�านวนมาก ซึง่ การใช้เวลาร่วมกัน ผลิตผลงานของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการนี้
จะส่ ง ผลส� า คั ญ ต่ อ กระบวนการเรี ย นรู ้ แ ละ การตกผลึกทางความคิดร่วมกันของเยาวชน ซึ่งจะซึมลึกติดตัวเข้าไปในส�านึกความรับผิด ชอบของเยาวชนได้เป็นอย่างดี ขณะเดียวกัน ก็ เ ป็ น การเปิ ด รั บฟั ง แนวคิ ด ของเยาวชนต่อ ปัญหาทางสังคมในคราวเดียวกัน ซึ่งจะเป็น ส่วนส�าคัญของการเชื่อมต่อแนวคิดทางสังคม ร่วมกัน จะเห็นได้ว่ากว่าจะได้เป็นผลงานความ ส�าเร็จของน้อง ๆ นั้น ไม่ง่ายเลย และต่อไปนี้ เราจะมาท�าความรู้จักน้อง ๆ กันว่าพวกเค้ามี ความคิด แรงบันดาลใจอะไรทีท่ า� ให้มารังสรรค์ สิ่งดี ๆ เหล่านี้กันค่ะ พันโทหญิง ณิชนันทน์ ทองพูล
วัตถุประสงค์ของโครงการนั้น ต้องการกระตุ้น สร้างจิตสํานึกและ การมีส่วนร่วมทางสังคม ตลอดจน ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ โดยมุ่งเน้นไปที่เยาวชนของชาติที่เป็น พลังอันบริสุทธิ์และอนาคตที่สําคัญ ของสังคมไทย หลักเมือง กันยายน ๒55๖
31
รางวัล ถ่ายภาพขวัญใจมหาชน นางสาวกวิตา วดีเตโชกิจ มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
รางวัล ชนะเลิศสร้างสรรค์บทเพลง นายพชรพล แสงไข วงมาม่าคัพ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
รางวัล ชนะเลิศสปอตโฆษณา Team lucky 17 ร.ร.เพชรพิทยาคม จ.เพชรบูรณ์
“แรงบันดาลใจของหนูคือ ต้องการสื่อถึง เรือ่ งความเมตตาในมุมมองของหนู แล้วสถาบัน ก็ มี ส ่ ว นในการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น คื อ ทางคณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะส่งเสริมด้านความคิดสร้างสรรค์ การมอง ในมุ ม ต่ า ง ส่ ว นครอบครั ว ก็ จ ะสนั บ สนุ น โดยการพาไปที่ ต ่ า ง ๆ ท� า ให้ โ ลกทั ศ น์ ห รื อ มุมมองของหนูกว้างขึน้ หนูคดิ ว่าสังคมต้องการ ความเมตตากรุณากันมากกว่านี้ สิง่ เล็ก ๆ น้อย ๆ เราต้ อ งนึ ก ถึ ง ไม่ อ ยากให้ ม องข้ า ม เพราะ ปัจจุบัน คนเราจะท�ากันแต่เรื่องภาพลักษณ์ ท�าแต่เรื่องใหญ่ ๆ กันค่ะ ” 3๒
เพลงที่แต่งจะมีเนื้อหา อยากจะขอบคุณ สังคมคนที่มีใจโอบอ้อมอารีอยากจะแบ่งปัน เช่น พวกมูลนิธิต่าง ๆ มูลนิธิช่วยเหลือเด็ก ก�าพร้า คุณปวีณาฯ เราอยากจะขอบคุณเค้า ที่เค้าท�าหน้าที่ตรงนี้ และอยากเป็นก�าลังใจให้ ผู้ที่ท�าหน้าที่ดี ๆ ตรงนี้ นอกจากนั้นสถาบันฯ ของผม ยังส่งเสริมสนับสนุน ให้ผมสร้างสรรค์ ผลงานชิ้นนี้เป็นอย่างดี ทั้งให้สถานที่ฝึกซ้อม รวมถึ ง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ผ ม ต้ อ งขอบคุ ณ ท่ า น ที่เป็นพื้นฐานของความคิดแง่คิดดี ๆ ให้กับผม ส่ ว นในอนาคตผมก็ จ ะไม่ ห ยุ ด สร้ า งสรรค์ ผลงานเพลงต่ อ ไป โดยอยากแต่ ง เพลงที่ เกีย่ วกับธรรมมะ แทรกข้อคิดดี ๆ ไปในบทเพลง ด้ ว ยครั บ ขอบคุ ณ กระทรวงกลาโหม ที่ มี โครงการดี ๆ แบบนี้ และให้พื้นที่ทางความคิด ให้แก่นักศึกษาอย่างพวกผมครับ
แรงบั น ดาลใจที่ ผ มท� า สปอตโฆษณาที่ มี แนวคิ ด นี้ เพราะว่ า ปั จ จุ บั น สั ง คมของเรา มีความขัดแย้งเกิดขึ้นมากในบ้านเมืองของเรา ผมอยากให้คนไทยมีความรัก ความสามัคคีกัน ทางโรงเรียนและอาจารย์ก็ส่งเสริมสนับสนุน เป็ น อย่ า งดี ผมและเพื่ อ น ๆ ก็ ช ่ ว ยกั น คิ ด คอนเซ็ปนี้ขึ้นมา ปีนี้เป็นปีแรกที่ส่งมาครับ ผมและเพื่อน ๆ ดีใจมากครับที่ได้รับรางวัล ชนะเลิศครับ
พันโทหญิง ณิชนันทน์ ทองพูล
รางวัล ชนะเลิศประกวดภาพถ่าย กิตติธัช โพธิวิจิตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ภาพทีผ่ มถ่ายมาเป็นภาพกิจกรรมทีเ่ ยาวชน กลุ่มหนึ่งรวมตัวขึ้นไปปล่อยเต่าตนุ ที่เกาะเต่า ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นพื้นเพเดิมของเต่าตนุที่เป็น แหล่ ง แพร่ พั น ธุ ์ ของเต่ า ตนุ ที่ เ ยอะที่ สุ ด ใน ประเทศ ผมจึ ง ถ่ า ยภาพนี้ ม าเพื่ อ ถ่ า ยทอด ถึ ง เยาวชนกลุ ่ ม หนึ่ ง ที่ มี จิ ต ส� า นึ ก ดี ที่ จ ะดู แ ล อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ดูแลเพือ่ นร่วมโลกตัวเล็ก ๆ ของเราซึ่งเป็นสัตว์ที่หายาก ที่มหาวิทยาลัย ของผมมี ช มรมถ่ า ยภาพ ซึ่ ง จะสนั บ สนุ น กิจกรรมครั้งนี้อย่างเต็มที่ โดยปกติของผมแล้ว ผมจะท�ากิจกรรมที่อนุรักษ์ธรรมชาติแบบนี้ อยู่แล้วนะครับ ผมอยู่ชมรมมูลนิธิเพื่อนทะเล มู ล นิ ธิ สื บ นาคะเสถี ย ร เอกโก้ ฟิ ล ์ ม บลั ด ไบเออร์ ยั ง เอ็ ม วอยซ์ ที่ ผ มได้ รั บ รางวั ล นี้ ผมดี ใ จมาก ท� า ให้ ผ มมี แ รงบั น ดาลใจที่ จ ะ ไปต่อยอดงานชิ้นต่อไป ส่วนเงินรางวัลที่ผม ได้ ม า ส่ ว นหนึ่ ง ผมจะไปบริ จ าคให้ มู ล นิ ธิ เพือ่ ช่วยเหลืออนุรกั ษ์ทอ้ งทะเลไทย ผมอยากให้ ทางกระทรวงกลาโหมจัดโครงการนี้ต่อไปครับ เพื่อให้เด็ก ๆ และเยาวชนมีแรงบันดาลในการ น�าเสนอความคิดดี ๆ สู่สังคมต่อไป หลักเมือง กันยายน ๒55๖
สัมภาษณ์ ดร.พีรพัฒน์ วัชรินทรางกูร ผู้อ�านวยการ โรงเรียนเพชรบูรณ์ พิทยาคม “ดีใจที่นักเรียนมาสร้างชื่อเสียง ทาง โรงเรี ย นมี โ ครงการที่ จ ะสนั บ สนุ น ทุ ก กิ จ กรรมของนั ก เรี ย นที่ ส ร้ า งสรรค์ ครู อาจารย์ที่สอนอยู่ใน ๘ กลุ่มสาระ ได้สอด แทรกหลักคิดทั้งหลาย สิ่งที่เป็นนโยบายที่ ส�าคัญของโรงเรียน คือ กิจกรรมใดที่สื่อถึง ความสร้างสรรค์กจิ กรรมใดทีท่ า� ให้นกั เรียน นั้นเกิดทักษะทางความคิด ทางโรงเรียน จะสนับสนุนโดยเราได้มีงบประมาณส�าหรับกิจกรรมนี้ราว ๒ ล้านบาทต่อปี” โรงเรียนยึดหลักพหุปัญญา คือ หลักของตรรกะศิลปะ กีฬา ฯลฯ ทางโรงเรียนเรา เป็นโรงเรียน “Word class standard school” คือ โรงเรียนที่มีปรัชญา อยู่ ๕ เรื่อง ๑. ความเป็นเลิศทางวิชาการ ๒. สื่อสาร ๒ ภาษา ๓. ความคิดสร้างสรรค์ ๔. ผลิตงานทางความคิด ๕. ออกไปรับใช้และตอบแทนสังคม
สัมภาษณ์ อาจารย์ อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง คณะกรรมการฯ สิ่งหนึ่งคือต้องขอขอบคุณที่มี Space ให้ กั บ คนรุ ่ น ใหม่ ที่ ใ ห้ เ ค้ า มี เ วที น� า เสนอ ผลงานการท� า กิ จ กรรมนี้ เ ป็ น อะไรที่ ดี เพราะมี Space ให้กับเด็ก ท�าให้กลาโหม และเด็ ก ได้ ม าใกล้ ชิ ด กั น ท� า ให้ ผู ้ ใ หญ่ มีมุมมองใหม่ ๆ ได้รับทราบว่าเด็กรุ่นใหม่ มี มุ ม มองอย่ า งไร คิ ด อย่ า งไรต่ อ สั ง คม ประเทศชาติถอื ว่ากิจกรรมนีเ้ ป็นนิมติ รหมาย ที่ดีเพราะกิจกรรมนี้ได้จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถือว่าเป็นความจริงใจอย่างหนึ่ง เพราะส่วนมากจะเห็นหน่วยงานรัฐ ท�าโครงการหนึ่ง ๆ แล้วไม่ต่อเนื่อง เหมือนท�าให้หมดงบประมาณไป แต่โครงการนี้ได้จัดมาแล้วถึง ๕ ปี การที่เด็กรุ่นใหม่ท�าผลงานนี้ออกมานั้นมันต้องใช้กระบวนการทางความคิด ตอบโจทย์ ที่ให้มาสังสรรค์เป็นผลงานดี ๆ แบบนี้ครับ 33
การปฏิบัติภารกิจของกองทัพไทย เพือ่ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
34
กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
นั
บจากสิ้ น สุ ด สงครามเย็ น โลกได้ พัฒนาเข้าสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและไม่แน่นอน กระแสโลกาภิ วั ต น์ แ ละความก้ า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีได้น�ามาซึ่งการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ของผู้คน สินค้า และการบริการได้เพิ่มจ�านวน ขึ้นในอัตราที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน เกิดความ เชื่อมโยงอย่างกว้างขวางที่ท� าให้บุคคลหรือ ผู้มีบทบาทที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state actor) ทั้งที่ ประสงค์ดีและร้ายต่างก็มีอิทธิพลมากขึ้นใน การด�าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ทัง้ ในระดับโลก ภูมภิ าค หรือภายในรัฐชาติหนึ่งชาติใด อันส่งผลให้เกิด ความท้าทายต่อความเป็นรัฐชาติ รวมถึงองค์กร ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทีไ่ ด้รบั การกระตุน้ เทคโนโลยีทนั สมัยทีน่ �ามาใช้ ในการแสวงหาแหล่งพลังงานใหม่ และน�ามาซึง่ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ได้ชว่ ยบรรเทาความ ยากจนของประชากรและน�าไปสู่ศูนย์อ�านาจ ใหม่ของโลก หลายชาติพยายามที่จะมีบทบาท มากขึ้ น ทั้ ง ในระดั บ ภู มิ ภ าค และระดั บ โลก ซึง่ ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านีม้ ผี ลต่อชีวติ ความเป็นอยู่ ของประชาชนทั้งในด้านความมั่นคงปลอดภัย และความกินดีอยู่ดี อย่างไรก็ตาม การเร่งใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่เกินสมดุลก็ได้น�ามาซึ่ง ผลการท�าลายสิ่งแวดล้อม และน�าไปสู่ปัญหา การขาดแคลนและแย่งชิงทรัพยากรและแหล่ง พลังงาน รวมทั้งยังเป็นการเร่งให้เกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติที่รุนแรงตามมา และด้วยโลก ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั น อย่ า งไร้ พ รมแดน เหตุ ก ารณ์ ในมุมหนึ่งของโลกย่อมเห็นและรับทราบได้ใน อีกมุมหนึง่ และยิง่ ไปกว่านัน้ ในแต่ละจุดภายใน รัฐชาติหนึ่งยังได้รับผลกระทบจากภาวะและ เหตุการณ์ต่าง ๆ ภายนอกประเทศมากยิ่งขึ้น กระแสโลกาภิ วั ต น์ ท� า ให้ ก ารเชื่ อ มโยง ในมิติต่าง ๆ รวดเร็วขึ้น โลกไซเบอร์มีผลต่อ
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
วัฒนธรรม วิถีชีวิต ทัศนคติ ความเชื่อ ความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล กระบวนการเรียนรู้ และพฤติ ก รรมการบริ โ ภคของประชาชน รวมทั้งท�าให้แนวโน้มของความเสี่ยงต่อความ มั่นคงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่าย ที่เกิดจากการคุกคามทางไซเบอร์มีสูงขึ้น โดย ปัจจุบันหลายประเทศมีความขัดแย้งระหว่าง กันได้มีการพัฒนาความสามารถในการคุกคาม ทางไซเบอร์ เพื่อลดความสามารถของฝ่าย ตรงข้ า ม ทั้ ง ความสามารถโดยทั่ ว ไปของ ประเทศและความสามารถของกองทั พ ซึ่ ง ท� า ให้ ห ลายประเทศให้ ค วามส� า คั ญ ต่ อ การ คุกคามดังกล่าวและพัฒนาวิธีการป้องกันการ คุกคามนี้จากฝ่ายตรงข้ามมากขึ้น ในขอบเขตประเทศเพื่อนบ้าน กระทรวง กลาโหมให้ ค วามส� า คั ญกั บการพั ฒ นาความ สัมพันธ์ในทุกมิติ และทุกระดับเป็นอันดับแรก ไม่ เ พี ย งเพื่ อ เสริ ม สร้ า งรั ก ษาผลประโยชน์ ร่วมกันระหว่างสองฝ่ายแต่เพือ่ ความเจริญและ ความสงบสุขของภูมิภาคโดยรวมด้วย ในแง่ที่ ตัง้ ทางภูมศิ าสตร์ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น สามารถเป็ น ทั้ ง ปั จ จั ย บวก และความท้ า ทาย ท� า ให้ ค วามสั ม พั น ธ์ มี ความละเอี ย ดอ่ อ น และซั บ ซ้ อ น ซึ่ ง หาก สามารถใช้เป็นประโยชน์จากปัจจัยดังกล่าว ในทางสร้างสรรค์ได้ก็จะเป็นการเสริมสร้าง ความแข็งแกร่ง และความเป็นเอกภาพของ ภูมิภาคได้ ประเทศเพื่อนบ้านมีความส�าคัญอย่างมาก ต่ อ การรั ก ษาความมั่ น คงและการพั ฒ นา เศรษฐกิจของไทย ทั้งในบริเวณชายแดนและ ของประเทศโดยรวม ซึ่ ง ความส� า คั ญ นี้ จ ะ เพิม่ ทวีขนึ้ เมือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ กระทรวงกลาโหมด�าเนินนโยบาย ภายใต้เสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง มุ่งเน้นการลดความหวาดระแวงของประเทศ
เพื่อนบ้าน และเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รวมทั้งการส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศ เพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะด้านการทหาร และความ มั่นคง รวมทั้งใช้กลไกที่มีอยู่ เช่น GBC JBC RBC เพื่อคลี่คลายปัญหาขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น ตามแนวชายแดน ดังนั้น กระทรวงกลาโหม จึงก�าหนดแนวนโยบายทางทหารกับประเทศ เพื่อนบ้าน ดังนี้ ๑. การเสริมสร้างความสัมพันธ์ด้านความ มั่นคงร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน ๑.๑ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ กระชับความสัมพันธ์กบั ผูน้ า� ทางทหารระดับสูง ของประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยการด�าเนินงาน ของผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร การแลกเปลี่ยนการ เยือนและการด�าเนินการอืน่ ๆ เพือ่ ให้เกิดความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งกระทรวงกลาโหมในเชิ ง สร้างสรรค์ทเี่ ป็นประโยชน์ทงั้ สองฝ่ายเพือ่ สร้าง บรรยากาศความเป็นมิตร รักษาความเป็นกลาง ลดเงื่ อ นไขและลดโอกาสที่ จ ะน� า ไปสู ่ ค วาม ขัดแย้ง รวมทั้งป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้ง กับประเทศใดก็ตาม ๑.๒ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ จัดการศึกษาอบรมก�าลังพลให้มคี วามรูเ้ กีย่ วกับ การสร้ า งความร่ ว มมื อ ด้ า นความมั่ น คงกั บ นานาประเทศ รูเ้ ท่าทันเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง ของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งมีความรู้เกี่ยวกับ ประเทศเพื่อนบ้านด้วย ๒. การด�าเนินงานการทูตโดยฝ่ายทหาร (Defence Diplomacy) ๒.๑ คณะกรรมการร่ ว มระหว่ า ง กระทรวงกลาโหมหรื อ ฝ่ า ยทหารของไทย กับกระทรวงกลาโหมหรือฝ่ายทหารประเทศ เพื่อนบ้าน รวมทั้งคณะกรรมการร่วมระหว่าง ส่วนราชการต่าง ๆ ของไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน ในทุ ก ระดั บ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ เสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ด้ า นความมั่ น คงให้ เกิดขึ้น ๒.๒ ก�าลังป้องกันชายแดนของกองทัพ จะต้องมีขีดความสามารถในการใช้มาตรการ ทางการทูตโดยฝ่ายทหาร เพื่อไม่ให้เกิดหรือ ลดความขัดแย้งในระดับพื้นที่ ๒.๓ ผู ้ ช ่ ว ยทู ต ฝ่ า ยทหารในบทบาท ด้านการทูตโดยฝ่ายทหาร ในฐานะตัวแทนของ กระทรวงกลาโหม และกองทัพในต่างประเทศ จะต้องมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการ ด้านการข่าว ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้ า นความมั่ น คง และงานด้ า นการทู ต โดย ฝ่ายทหารอื่น ๆ ตามนโยบายการต่างประเทศ และนโยบายด้านความมั่นคงของชาติ ๓. การพัฒนาความร่วมมือกับกระทรวง กลาโหมประเทศเพื่อนบ้าน ในการคุ้มครอง และรักษาผลประโยชน์แห่งชาติร่วมกัน 35
กระทรวงกลาโหมให้ความสําคัญ กับการพัฒนาความสัมพันธ์ในทุกมิติ และทุกระดับเป็นอันดับแรก ไม่เพียง เพื่อเสริมสร้างรักษาผลประโยชน์ ร่วมกันระหว่างสองฝ่ายแต่เพื่อ ความเจริญและความสงบสุข ของภูมิภาคโดยรวม
ตามแนวความคิดการพัฒนาพืน้ ทีข่ า้ มชายแดน (Cross - Border Development) ด้วยก�าลัง ทรัพยากรของกระทรวงกลาโหมที่มีอยู่ เพื่อ สร้างเสริมจิตส�านึกของประชาชนในประเทศ เพื่อนบ้านให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อประเทศไทย และลดเงื่อนไขความขัดแย้ง ตลอดจนสร้าง ความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ ซึง่ จะเป็นผลท�าให้เกิดความ มั่นคงร่วมกันในระยะยาว ๔. ความร่ ว มมื อ กั บ เพื่ อ นบ้ า นในการ ๓.๑ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ แลกเปลี่ยนข่าวกรองเกี่ยวกับความเคลื่อนไหว สร้ า งความร่ ว มมื อ กั บ กระทรวงกลาโหม ของกลุ่มก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ ประเทศเพื่อนบ้าน ในการคุ้มครองและรักษา ลดหรือยุติการช่วยเหลือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์แห่งชาติร่วมกัน กับการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ ๓.๒ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ รวมทั้ ง ท� า ความเข้ า ใจกั บ ประเทศที่ ใ ห้ ก าร ปฏิบัติการร่วมกับกองทัพประเทศเพื่อนบ้าน สนับสนุนกลุ่มก่อการร้ายและอาชญากรรม เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความผู ก พั น ทางผลประโยชน์ ข้ามชาติให้ลดหรือยุติการช่วยเหลือ ร่วมกัน และลดปัญหาความขัดแย้ง และการ ๔.๑ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ กระทบกระทัง่ ระหว่างกองก�าลังของฝ่ายต่าง ๆ ประสานงานด้ า นการข่ า วกั บ เพื่ อ นบ้ า น ที่อาจเกิดขึ้น เพื่ อ ติ ด ตามความเคลื่ อ นไหวของผู ้ ไ ม่ ห วั ง ดี ๓.๓ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ ต่ อ ประเทศไทย กลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยและ ร่ ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ทั้ ง ด้ า นการ อาชญากรรมข้ า มชาติ ทุ ก กลุ ่ ม ที่ มี แ นวโน้ ม ฝึ กร่ วม/ผสมการแลกเปลี่ ยนทางการศึ กษา จะเข้ามาปฏิบัติการในประเทศไทย รวมทั้ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี มี ขี ด ความสามารถในการท� า ความเข้ า ใจ ทางทหาร เพื่ อ ให้ ก ้ า วทั น การเปลี่ ย นแปลง กั บ เพื่ อ นบ้ า นเพื่ อ ลดหรื อ ยุ ติ ก ารช่ ว ยเหลื อ ทางด้านวิทยาการ และเทคโนโลยีทางทหาร กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การก่ อ การร้ า ยและ ตลอดจนให้ ไ ด้ รั บ ทั ก ษะที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ อาชญากรรมข้ามชาติ และช่วยท�าความเข้าใจ ต่อการปฏิบตั ริ ว่ มกันทัง้ ในปัจจุบนั และในอนาคต กับประเทศที่ให้การสนับสนุนกลุ่มก่อการร้าย ๓.๔ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ และอาชญากรรมข้ามชาติ ให้ลดหรือยุติการ สนับสนุนประเทศเพือ่ นบ้านในการพัฒนาประเทศ ช่วยเหลือ 3๖
๕. ขยายความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้าน ในการรักษาความสงบเรียบร้อยบริเวณชายแดน และด�าเนินการไม่ให้กลุ่มบุคคลใด ๆ เข้ามาใช้ พื้ น ที่ ป ระเทศไทยในการสร้ า งปั ญ หาให้ กั บ ประเทศเพื่อนบ้าน ๖. ก า ร เ ส ริ ม ส ร ้ า ง ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ประชาคมอาเซียนให้พร้อมเผชิญภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ ๖.๑ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคง รูปแบบใหม่ ๖.๒ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ ใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหาร รวมทั้ง ความร่วมมือระหว่างประเทศในการให้ความ ช่ ว ยเหลื อ ทางมนุ ษ ยธรรมและการบรรเทา ภัยพิบัติในกรอบอาเซียน ๖.๓ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภ าพใน กรอบอาเซียน ๖.๔ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศในกรอบอาเซียน ๖.๕ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านโครงการปฏิสัมพันธ์ ทางทหารระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ๖.๖ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านการสนับสนุนการส่ง ก�าลังบ�ารุงร่วมกันในอาเซียน กองอาเซียน ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
๖.๗ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล ในกรอบอาเซียน ๖.๘ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านการแพทย์ทางทหาร ในกรอบอาเซียน ๖.๙ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการ ร้ายในกรอบอาเซียน ๖.๑๐ ต้องมีขีดความสามารถด้านการ ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการ บรรเทาภัยพิบัติ ๖.๑๑ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พัฒนาความร่วมมือด้านการปฏิบัติการรักษา สันติภาพ ๖.๑๒ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ พั ฒ นาความร่ ว มมื อ ด้ า นการปฏิ บั ติ ก าร ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม ๖.๑๓ ต้ อ งมี ขี ด ความสามารถในการ สนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมทั้ง ประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น ด้วยการใช้ศักยภาพที่กระทรวงกลาโหมมีอยู่ ๖.๑๔ หน่วยในกระทรวงกลาโหมต้องมี การจัดหน่วยให้สามารถรองรับการด�าเนินการ ในกรอบอาเซียนได้อย่างเหมาะสม ๖.๑๕ ก�าลังพลที่เกี่ยวข้องต้องมีความ รู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนที่ถูกต้อง รวมทั้ง มีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาของ ประเทศสมาชิกอาเซียนที่จ�าเป็น ๗. เร่งรัดการด�าเนินการในกรอบความร่วมมือ กับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อส�ารวจและจัดท�า หลักเขตแดนที่ยังคงมีปัญหา เพื่อลดเงื่อนไข และโอกาสทีจ่ ะน�าไปสูค่ วามขัดแย้งระหว่างกัน ๗.๑ ต้ อ งมี ก ารวางระบบงานและ เตรียมก�าลังพลให้สามารถรองรับการด�าเนินงาน ที่ต้องใช้เวลานานได้อย่างต่อเนื่อง ๗.๒ ก� า ลั ง พลที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะต้ อ งมี ความรูค้ วามเข้าใจหลักการพืน้ ฐานของกฎหมาย และสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้องกับเขตแดน รวมทั้ง ผลการด�าเนินการทีผ่ า่ นมาและอุปสรรคในการ ด�าเนินการที่ส�าคัญ จากนโยบายของรัฐบาลในการเตรียมความ พร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน ปี ๒๕๕๘ ส่งผลให้กระทรวงกลาโหมต้องปรับ องค์กรเพื่อให้มีความพร้อม ดังนั้น กระทรวง กลาโหมได้ทา� แนวทางปฏิบตั กิ ระทรวงกลาโหม ในการเป็ น ประชาคมอาเซี ย น ปี ๒๕๕๘ รายละเอียดดังนี้ ๑. การพัฒนาด้านก�าลังพล พัฒนาการฝึกและศึกษาการใช้ภาษา อั ง กฤษ และภาษาของชาติ ใ นอาเซี ย นของ ก� า ลั ง พลในกองทั พ ให้ ส ามารถบู ร ณาการ องค์ความรูไ้ ด้อย่างประสานสอดคล้องเชือ่ มโยง หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ซึ่งกันและกัน เช่น การพัฒนารูปแบบในการ ฝึกร่วมผสม หรือการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียน เสนาธิการเหล่าทัพ เพื่อให้รองรับนายทหาร นักเรียนต่างชาติในอาเซียนได้มากขึ้น เป็นต้น ๒. การพัฒนาด้านการจัดท�างบประมาณ ปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของ กระทรวงกลาโหม และหน่วยขึ้นตรงกระทรวง กลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติ ราชการประจ�าปีให้สามารถตอบสนองและ สามารถรองรับต่อภารกิจในความรับผิดชอบ และสนั บ สนุ น การรวมตั ว เป็ น ประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๓. การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ๓.๑ บูรณาการในกิจกรรมต่าง ๆ ของ อาเซียนที่ได้มีการจัดท�าไว้อยู่แล้ว เช่น การ ประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดอาเซียนอย่าง ไม่เป็นทางการ การประชุมผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ อาเซียน การแข่งขันยิงปืนอาเซียน การประชุม เจ้ากรมข่าวทหารอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ การประชุ ม เจ้ า กรมยุ ท ธการทหารอาเซี ย น อย่างไม่เป็นทางการ เป็นต้น ๓.๒ ด� า เนิ น การตามเอกสารแนว ความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซี ย น (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) และกรอบการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหม ประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus) ให้เกิดผล เป็นรูปธรรม โดยการจัดท�าแผนงานงบประมาณ เพื่ อ รองรั บ กิ จ กรรมดั ง กล่ า ว ก� า หนดไว้ ใ น แผนปฏิบตั ริ าชการ ๔ ปี ของกระทรวงกลาโหม และหน่วยขึน้ ตรงกระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติราชการประจ� าปี ของกระทรวงกลาโหมและหน่ ว ยขึ้ น ตรง กระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ และ ปี ๒๕๕๘)
กระทรวงกลาโหมดําเนินนโยบาย ภายใต้เสาหลักด้านการเมืองและ ความมั่นคง มุ่งเน้นการลดความ หวาดระแวงของประเทศเพื่อนบ้าน และเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รวมทั้งการส่งเสริมความร่วมมือ กับประเทศเพื่อนบ้าน
๓.๓ จั ด ตั้ ง กลไกในการด� า เนิ น การ ขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบอาเซียน และ พิจารณาปรับปรุงแก้ไขกลไกหรือกฎระเบียบ ต่ า ง ๆ ที่ มีอ ยู ่ แล้ ว ให้ มีค วามเหมาะสมเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพ รวมถึงอาจจัดตั้งหน่วยงาน ที่เกี่ยวกับการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ สถาบัน ด้ า นการศึ ก ษาและวิ จั ย งานด้ า นอาเซี ย น เพิ่มเติม หรือมีการปรับปรุงกฎระเบียบต่าง ๆ ทีล่ า้ สมัยเพือ่ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน เป็นต้น ๓.๔ ปรั บ ปรุ ง แผนป้ อ งกั น ประเทศ และภารกิ จ ของกองก� า ลั ง ป้ อ งกั น ชายแดน ให้สอดคล้องกับการเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ด้วยการเตรียมความพร้อมของ หน่วย ยุทโธปกรณ์ บุคลากรให้มีความเป็น สากลและสามารถรองรั บ การแก้ ไ ขปั ญ หา ร่วมกันของอาเซียนในภาพรวมได้ ๓.๕ สนั บ สนุ น การเป็ น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วั ฒ นธรรมอาเซียนด้วยการใช้ศักยภาพและ ขีดความสามารถทีม่ อี ยูข่ องกระทรวงกลาโหม
37
กลาโหมอาเซียน จับมือ องค์กรภาคประชาสังคม บริหารจัดการภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
ก
ารจั ด การรั บ มื อ กั บ ภั ย พิ บั ติ ท าง ธรรมชาติ ถือเป็นงานด้านความมัน่ คง รูปแบบใหม่ ที่กระทรวงกลาโหมไทย และกลาโหมมิตรประเทศอาเซียนได้ตระหนัก ถึงความส�าคัญที่ชาติสมาชิกอาเซียนจะต้อง ร่วมมือกันบริหารจัดการภาวะวิกฤตจากภัย ธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นให้ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี เพื่ อ ลดผลกระทบทั้ ง ในด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต สังคม และเศรษฐกิจของอาเซียน กระทรวงกลาโหมไทยและกลาโหมอาเซียน ได้ ขั บ เคลื่ อ นความร่ ว มมื อ เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา ภัยพิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม ผ่านกรอบการประชุม และกรอบการเจรจาทีม่ อี ยูร่ ว่ มกัน โดยมีจดุ เริม่ ต้น จากการประชุ ม รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอาเซี ย น (ADMM) ครั้งที่ ๓ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ 38
ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม
กระทรวงกลาโหมไทยและกลาโหม อาเซียน ได้ขับเคลื่อนความร่วมมือ เพื่อแก้ไขปัญหาภัยพิบัติอย่างเป็น รูปธรรม ผ่านกรอบการประชุมและ กรอบการเจรจาที่มีอยู่ร่วมกัน
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ที่ได้มีการรับรองเอกสารแนวความคิด เรื่อง “ความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียนกับ องค์กรภาคประชาสังคม ในด้านความมั่นคง รูปแบบใหม่” (ASEAN Defence and Civil Society Organisations Co-operation on Non - Traditional Security) โดยเห็นชอบ ร่วมกันให้กลาโหมอาเซียนขยายความร่วมมือ กับ องค์ก รภาคประชาสั ง คมในการให้ ค วาม ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการบรรเทา ภัยพิบัติ ความร่วมมือนี้มีความคืบหน้าที่น่าสนใจ คือ มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ความ ร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กับองค์กร ภาคประชาสังคมในด้านความมัน่ คงรูปแบบใหม่” มาแล้วถึง ๓ ครั้ง ครั้ ง ที่ ๑ โดยกระทรวงกลาโหมไทยกั บ กระทรวงกลาโหมมาเลเซีย (๘ - ๙ มิถุนายน ๒๕๕๒) ณ กรุงเทพฯ เพื่อแสวงหากลไกความ ร่วมมือทีแ่ น่นแฟ้นและมีประสิทธิภาพ ระหว่าง กลาโหมอาเซียนกับองค์กรภาคประชาสังคม ในการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและจัดการ ภั ย พิ บั ติ ร ่ ว มกั น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม สร้ า ง เครือข่ายการประสานงาน และการแลกเปลีย่ น ข้อคิดเห็นจากประชาชน เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดทั้งในเวลาปกติ และเมื่อเกิดภัยพิบัติ ครั้ ง ที่ ๒ โดยกระทรวงกลาโหมไทย กระทรวงกลาโหมบรูไน และกระทรวงกลาโหม ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ (๒๘ - ๒๙ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๓) ณ กรุงเทพฯ เน้นความส�าคัญของการประสานงาน ร่วมกันระหว่างกลาโหมอาเซียน กับองค์กร ภาคประชาสั ง คม ในกรอบของ ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response (AADMER) เน้ น ให้ เ กิ ด ความคุ ้ น เคยในการปฏิ บั ติ เพื่ อ ช่วยเหลือและบรรเทาภัยพิบัติที่เกิดขึ้น ครั้งที่ ๓ โดยกระทรวงกลาโหมไทย ส�านัก เลขาธิ ก ารอาเซี ย น และกระทรวงกลาโหม
เวียดนาม (๖ - ๙ สิงหาคม ๒๕๕๔) ณ กรุงเทพฯ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความเข้ า ใจต่ อ บทบาทและ ความรับผิดชอบที่แตกต่างกันของหน่วยงาน ต่าง ๆ ทั้งฝ่ายพลเรือน ทหาร และองค์กร ภาคประชาสังคม ในการร่วมกันจัดการกับ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้น ทั้งนี้กระทรวงกลาโหมไทยอยู่ระหว่างการ พัฒนาคู่มือความร่วมมือระหว่างพลเรือนกับ ทหารด้านการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติ โดยเน้นที่การด�าเนินการ ขององค์ ก รภาคประชาสั ง คม ซึ่ ง ได้ มี ก าร ประชุมฯ ครัง้ ที่ ๑ ไปเมือ่ วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖ ณ กรุงเทพฯ และจะมีการประชุมฯ ครั้งที่ ๒ ใน ห้วงเดือนตุลาคมและเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ กรุงเทพฯ และจะได้น�าคู่มือดังกล่าวไปใช้ ในการฝึกเพื่อทดสอบในปี ๒๕๕๗ ต่อไป 39
ดุลยภาพของประเทศอาเซียน
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ ปราบเรือด�าน�า้ ซีฮอร์ค พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทัพเรือสิงคโปร์ได้จัดซื้อเครื่องบิน เฮลิ ค อปเตอร์ ท างนาวีรุ่น ใหม่ เอส๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) เมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๔๘ จ�านวน ๖ เครื่อง จากประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อประจ�าการ บนเรื อ ฟรี เ กตจรวดน� า วิ ถี ชั้ น ฟอร์ มิ เ ดเบิ้ ล (Formidable) ขนาด ๓,๒๐๐ ตัน ทีป่ ระจ�าการ อยูแ่ ล้วจ�านวน ๖ ล�า ใช้ในภารกิจปราบเรือด�าน�า้ (ASW) ต่ อ ต้ า นเรื อ ผิ ว น�้ า การค้ น หาและ กู้ภัย (SAR) รับมอบเครื่องบินเข้าประจ�าการ ชุดแรกเมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๔ เครือ่ งบิน 40
เฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�า้ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) สามารถติดตั้งตอร์ปิโด รุ่น เอ็มเค.๔๖ (Mk.46) จ�านวน ๒ ลูก ภารกิจ ปราบเรือด�าน�้า (ASW) และจรวดน�าวิถีโจมตี เรือรบขนาดเล็กแบบ เอจีเอ็ม-๑๑๔ เฮลไฟร์ (AGM-114, Hellfire) แต่น�าเข้าประจ�าการ กองทัพอากาศ (RSAF) ฝูงบินที่ ๑๒๓ ฐานทัพ อากาศเซมบาวัง (Sembawang) จากความ ต้องการทางยุทธการทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็นผลให้กองทัพ เรือสิงคโปร์ได้จัดซื้อเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ แบบเอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk)
เพิ่มเติมอีก ๒ เครื่อง เพื่อให้เครื่องบินมีการ หมุนเวียนครบรอบของการปฏิบัติงาน (พร้อม รบ ปฏิบัติงาน และการซ่อมบ�ารุงตามวงรอบ) จะได้รับมอบเข้าประจ�าการในปี พ.ศ.๒๕๕๙ เป็นผลให้กองทัพเรือสิงคโปร์ประจ�าการด้วย เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�้าแบบ ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) รวมทัง้ สิน้ ๘ เครือ่ ง เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ แ บบเอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) ขนาดยาว ๑๙.๗๕ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัดหลัก ๑๖.๓๕ เมตร สูง ๕.๒ เมตร น�้าหนักปกติ ๖,๘๙๕ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
กิโลกรัม (๑๕,๒๐๐ ปอนด์) น�้าหนักบินขึ้น สูงสุด ๙,๙๒๗ กิโลกรัม (๒๑,๘๘๔ ปอนด์) เครือ่ งยนต์เทอร์โบชาร์ฟ ขนาด ๑,๘๙๐ แรงม้า (๒ เครื่อง) ความเร็ว ๑๔๖ กิโลเมตรต่อชั่วโมง พิสัยบินไกล ๘๓๔ กิโลเมตร เพดานบินสูง ๓,๕๘๐ เมตร (๑๒,๐๐๐ ฟุต) ติดตั้งอาวุธทั้ง ปราบเรือด�าน�า้ (ASW) ตอร์ปโิ ดปราบเรือด�าน�า้ รุน่ เอ็มเค.๔๖ (Mk.46) และโจมตีเรือผิวน�้าแบบ เอจีเอ็ม-๑๑๔ เฮลไฟร์ (AGM-114, Hellfire) ตามภารกิ จ และเครื่ อ งบิ น แต่ ล ะแบบติ ด ตั้งระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยทั้งเชิงรุก และเชิงรับ (ALQ-142, AVR-2, APR-39 (V) 2, AAR-47, APS-124, AQS-13F และ ALE-47 ขึ้นกับความต้องการของผู้สั่งซื้อและ นโยบายของประเทศสหรัฐอเมริกา) เครื่องบิน เฮลิ ค อปเตอร์ ป ราบเรื อ ด� า น�้ า เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) น�าเข้าประจ�าการ ครั้งแรกในกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ซึ่งเป็นห้วงของสงครามเย็นระหว่าง สองอภิมหาอ�านาจทางทหารของโลก ต่อมา ได้ประจ�าการอย่างแพร่หลายในกองทัพเรือ พั น ธมิ ต รรวม ๑๑ ประเทศ กองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริ ก าจะเรี ย กว่ า เอสเอช-๖๐บี ซีฮอร์ค (SH-60B, Seahawk) และเครือ่ งบิน เฮลิคอปเตอร์ตระกูลซีฮอร์คส�าหรับรุ่นส่งออก ขายให้มติ รประเทศมีชอื่ เรียกใหม่วา่ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) และรุ่นเอส-๗๐ซี ซีฮอร์ค (S-70C, Seahawk) ต่อมาได้ปรับปรุง เป็นรุน่ ทีท่ นั สมัยมากขึน้ เรียกว่ารุน่ เอ็มเอช-๖๐ อาร์ ซี ฮ อร์ ค (MH-60R, Seahawk) โดย ปรับปรุงด้านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย และมีการประมวลผลที่รวดเร็ว ปัจจุบันนี้ได้ น�าเข้าประจ�าการในกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้พัฒนารุ่นใหม่แบบ เอ็มเอช-๖๐เอส ไนท์ฮอร์ค (MH-60S, Knighthawk) เพื่อจะได้ ประจ�าการทดแทนเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์รุ่น เก่าแบบ ซีเอช-๔๖ ซีไนท์ (CH-46, Sea Knight) แต่ มี รู ป ร่ า งเหมื อ นกั บ เครื่ อ งบิ น ในตระกู ล ซีฮอร์ค แต่จะใช้ในภารกิจขนส่งระหว่างเรือ เป็นหลักพร้อมทั้งติดตั้งอาวุธที่ใช้ปฏิบัติการ บนผิวน�้าเรือพิฆาตกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา สามารถใช้ในภารกิจค้นหาและกู้ภัยในพื้นที่ การรบ (CSAR) และสนับสนุนปฏิบัติการของ หน่วยสงครามพิเศษทางเรือ (SWS) กองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริ ก าน� า เครื่ อ งบิ น เฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�า้ เอสเอช-๖๐ ซีฮอร์ค (SH-60, Seahawk) จ�านวน ๒ เครื่อง ต่อเรือ พิฆาตหนึ่งล�า (หรือต่อเรือลาดตระเวนหนึ่งล�า) เข้าปฏิบัติการทางทหารบริเวณอ่าวเปอร์เซีย ใกล้กบั ช่องแคบฮอร์มซุ (Hormuz) ส่วนทีแ่ คบ ที่สุดมีความกว้าง ๕๔ กิโลเมตร โดยปฏิบัติการ ทางทหารมานานกว่ายีส่ บิ ปีโดยเรือพิฆาตจรวด น�าวิถีชั้นอเลเบอร์คขนาด ๙,๓๐๐ ตัน และ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
กองทัพเรือสิงคโปร์ประจ�าการด้วยเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�้า เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) ฝูงบิน ๑๒๓ ฐานทัพอากาศเซมบาวัง (Sembawang) จ�านวน ๖ เครื่อง เพื่อ ปฏิบตั กิ ารบนเรือฟรีเกตจรวดน�าวิถชี นั้ ฟอร์มเิ ดเบิล (Formidable) ขนาด ๓,๒๐๐ ตัน จ�านวน ๖ ล�า
เครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�า้ เอสเอช-๖๐ ซีฮอร์ค ปฏิบตั ภิ ารกิจในการปราบเรือด�าน�า้ (ASW) ใช้ระบบโซน่าร์แบบชักหย่อน (Dipping Sonar System) ตามมาตรฐานของกองทัพเรือ สหรัฐอเมริกา
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบเอสเอช-๖๐บี ซีฮอร์ค กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาขณะทิ้งตอร์ปิโด เอ็มเค.๔๖ ระยะปฏิบัติการ ๑๑,๐๐๐ เมตร ความลึก ๓๖๕ เมตร ความเร็ว ๗๔ กิโลเมตร ต่อชั่วโมง เพื่อจะใช้ท�าลายเรือด�าน�้าของฝ่ายข้าศึกหลังจากที่ได้ข้อมูลจากระบบโซน่าร์แบบ ชักหย่อน (Dipping Sonar System) 41
เรือลาดตระเวนจรวดน�าวิถชี นั้ ไทคอนเดอร์โรก้า ขนาด ๙,๘๐๐ ตัน มีภัยคุกคามจากเรือด�าน�้า ดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล (Kilo) ขนาด ๒,๓๐๐ ตัน (ที่ผิวน�้า) จ�านวน ๓ ล�า กองทัพเรืออิหร่านที่มี ความทันสมัยมาก แต่กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ปฏิบัติการในภารกิจปราบเรือด�าน�้า (ASW) ที่ มีความก้าวหน้าทั้งทางยุทธวิธีและทางระบบ อาวุธจึงไม่มชี อ่ งว่างให้กองเรือด�าน�า้ ดีเซลไฟฟ้า ของกองทัพเรืออิหร่านเข้าปฏิบัติการได้ กองทั พ เรื อ มี โ ครงการจั ด หาเครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ ป ราบเรื อ ด� า น�้ า รุ ่ น ใหม่ แ บบ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) จาก ประเทศสหรัฐอเมริกาจ�านวน ๖ เครื่อง เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๖ ประจ�าการเมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ จ�านวน ๒ เครื่อง และอีก ๔ เครื่อง เข้าประจ�าการเมือ่ วันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐ เครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�า้ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) จ�านวน ๖ เครือ่ ง ประจ� า การที่ ฝู ง บิ น ๒ หน่ ว ยบิ น เรื อ หลวง ประจ�าการที่ฝูงบิน ๒ หน่วยบินเรือหลวงจักรีนฤเบศร จักรีนฤเบศร มีชื่อเรียกว่าเฮลิคอปเตอร์ปราบ เรือด�าน�้าแบบที่ ๑ (ฮ.ปด.๑) ยังสามารถที่จะ สนับสนุนก�าลังทางเรือ ก�าลังหน่วยนาวิกโยธิน การค้นหาและกู้ภัย (SAR) และการช่วยเหลือ ประชาชนผู้ที่ประสบภัยในทะเล ต่อมาได้รับ อนุ มั ติ ใ ห้ ท� า การปรั บ ปรุ ง ขี ด ความสามารถ ในการปราบเรือด�าน�้า (ASW) ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ เป็นโครงการระยะเวลาสามปีจ�านวน ๓ เครื่อง อุปการณ์หลักที่ติดตั้งส�าคัญคือ ระบบโซน่าร์ แบบชักหย่อน (Dipping Sonar System) พร้ อ มด้ ว ยระบบควบคุ ม และประมวลผล ทางยุทธวิธี (Tactical Navigation Set) เป็นผล ให้เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�้าแบบ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค มีขีดความสามารถในการ ปราบเรือด�าน�า้ ทีส่ มบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ต่อมากองทัพเรือ จัดซื้อเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบเอ็มเอช๖๐ เอส ไนท์ฮอร์ค (MH-60S, Knighthawk) เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk) ขณะปฏิบัติการทางทะเล ในปี พ.ศ.๒๕๕๐ จ�านวน ๒ เครื่อง เป็นรุ่น นับว่าเป็นเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ทางนาวีที่ทันสมัยที่สุดแบบหนึ่งของกองทัพอาเซียน บล๊อคIII ใช้ในภารกิจการล�าเลียงทางยุทธวิธี ส่งก�าลังบ�ารุงทางดิ่งบรรทุกสัมภาระภายในได้ ๕,๕๐๐ ปอนด์ หิ้วสัมภาระใต้ลา� ตัวภายนอก ๙,๐๐๐ ปอนด์ ปฏิบัติการได้ทั้งกลางวันและ กลางคืน ติดตั้งระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย และระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี ซึ่งเป็น ระบบที่ส�าคัญยิ่งของเครื่องบินรบที่ทันสมัย ขนส่ ง ทางเรื อ จากประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ถึงแหลมฉบังเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ประจ�าการฝูงบิน ๒ หน่วยบินเรือหลวง จั ก รี น ฤเบศร ยั ง สามารถที่ จ ะปฏิ บั ติ ก าร บนเรือส่งก�าลังบ�ารุงขนาดใหญ่ เรือหลวงสิมลิ นั มีระวางขับน�้าสูงสุด ๒๒,๐๐๐ ตัน และเรือ ยกพลขึ้ น บกขนาดใหญ่ เรื อ หลวงอ่ า งทอง (ล�าใหม่) มีระวางขับน�้าสูงสุด ๗,๖๐๐ ตัน เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ เอ็มเอช-๖๐เอส ไนท์ฮอร์ค (MH-60S, Knighthawk) สามารถติดตั้ง รอกกู้ภัยแบบติดตั้งภายนอกล�าตัวรับน�้าหนักได้ ๖๐๐ ปอนด์ ใช้ในภารกิจกู้ภัย (SAR) 4๒
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
การสร้างคุณค่า ในชีวิตหลังเกษียณ พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
43
ใ
นทุก ๆ วันที่ ๓๐ กันยายนของทุกปีคือ วั น แห่ ง การอ� า ลาอาลั ย ของผู ้ ที่ ต ้ อ ง เกษียณอายุราชการ ผู้บังคับบัญชา หรือ แม้ ก ระทั่ ง เพื่ อ นร่ ว มงานที่ เ รารั ก จะได้ ก ลั บ ไปพักผ่อนอยู่กับบ้านและครอบครัว ได้ท� า กิจกรรมที่ตัวเองอยากท�า แต่ด้วยเพราะหน้าที่ การงานที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบมี ม ากจนท� า ให้ ไม่มีเวลาไปท�ากิจกรรมดังกล่าว ค�าว่า เกษียณ อายุ ข้าราชการทุกคนจะต้องพบกับค�า ๆ นี้ อย่างเลีย่ งไม่ได้ ก่อนเกษียณหลาย ๆ คนอาจจะ บ่นว่าอยากเกษียณเร็ว ๆ จะได้สบาย เพราะ ขณะรั บ ราชการงานเยอะมากไม่ มี เ วลาว่ า ง เป็ น ของตั ว เอง ต้ อ งเข้ า ประชุ ม บางวั น มี งานด่วนเข้ามา บางครั้งต้องมีการระดมก�าลัง ท�ากิจกรรมต่าง ๆ ไม่มีเวลาไปคิดเรื่องอื่น ๆ แต่กม็ บี างคนทีไ่ ม่อยากให้ถงึ วันเกษียณ เพราะ ยังท�าใจไม่ได้ ไม่รู้ว่าชีวิตหลังเกษียณจะเป็น อย่างไร จะเป็นภาระให้ลูกหลาน ซึ่งต้องคอย เลี้ยงดูรับผิดชอบหรือไม่ การใช้ ชี วิ ต ในแต่ ล ะวั น ของวั ย ที่ เ ริ่ ม หมด เรี่ยวแรงและโรคร้ายเริ่มถามหา ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ถ้าบางคนเตรียมตัวแต่เนิ่น ๆ การใช้ชีวิต หลังเกษียณอายุราชการก็แทบจะไม่ต่างจาก 44
พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
วันเกษียณอายุราชการ เราจะต้อง ถามตัวเองว่าเราจะทําอะไรหลังเกษียณ เราต้องอยู่กับความจริงให้ได้ว่า เราจะทําอะไร งานหลังเกษียณ เป็นเรื่องของการสร้างคุณค่าให้กับ ตัวเอง ทําบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่ต้อง หนักมาก กิจกรรมเหล่านี้จะทําให้เรา รู้สึกดีกับตัวเองมากขึ้น
ก่อนหน้านี้ แต่อยู่ที่วิธีคิด การที่เราเกษียณ หรือใกล้เกษียณ อย่าไปมองว่าหลังจากวันนี้ เราจะกลายเป็นคนแก่ กลายเป็นคนสูงอายุ จริง ๆ แล้วคนอายุ ๖๐ สมัยนี้ยังดูแข็งแรงและ มีคุณค่าต่อสังคม มองในเชิงบวกช่วงเวลานี้ เป็ น ช่ ว งเวลาที่ เ ราจะได้ ห ยุ ด ภาระงาน ได้ ท�างานใหม่หรือท�าอะไรที่อยากท�า ได้มีเวลา อยู่กับครอบครัว อยู่กับตัวเองมากขึ้น ด้วย เหตุนี้จึงขึ้นอยู่กับวิธีคิดว่าเราจะคิดให้มันเป็น บวกอย่างไรบ้าง เมื่ อ ถึ ง วั น เกษี ย ณอายุ ร าชการ เราจะ ต้องถามตัวเองว่าเราจะท�าอะไรหลังเกษียณ เราต้องอยู่กับความจริงให้ได้ว่าเราจะท�าอะไร งานหลังเกษียณเป็นเรื่องของการสร้างคุณค่า ให้กับตัวเอง ท�าบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่ต้อง หนักมาก กิจกรรมเหล่านี้จะท�าให้เรารู้สึกดีกับ ตั ว เองมากขึ้ น หลั ก ง่ า ย ๆ คื อ ต้ อ งเตรี ย ม หาอะไรท�าหลังเกษียณ เช่น เป็นที่ปรึกษา ท�างานบางอย่างที่ไม่ใช่งานประจ�า หรือไม่ก็ ท�างานที่เรารัก บางคนเกษียณไปแล้วกลับไป หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ท�าสวน ท�าไร่ ท�านา ซื้อที่ปลูกต้นไม้ ก็จะ ท� า ให้ เ รามี ง านที่ เ ราท� า ได้ เ กื อ บทุ ก วั น ได้ ออกก�าลังกาย เรื่องที่สอง ที่ต้องดูแลคือเรื่อง ของสุขภาพร่างกาย คนใกล้เกษียณหรือคน ที่ เ กษี ย ณแล้ ว ต้ อ งดู แ ลตั ว เองเรื่ อ งสุ ข ภาพ อย่างน้อยเดือนละครั้ง เพื่อตรวจเช็คร่างกาย เพราะหากเป็นอะไรจะไม่มีใครมาดูแลให้เรา เนื่ อ งจากลู ก หลานไม่ มี เ วลา ดั ง นั้ น เราจึ ง ต้องดูแลตัวเอง เพื่อจะได้ไม่เป็นภาระให้กับ ลูกหลาน ส�าหรับกิจกรรมที่คิดจะท�า ควรมี หลาย ๆ กิจกรรม จะได้ไม่ซ�้าซากจ�าเจจนเกิด ความเบื่อในที่สุด ดังนั้นเราจึงไม่ต้องไปวิตก กังวลมาก ปล่อยวาง และท�าจิตใจให้แจ่มใส อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรให้ลูกหลานนาน ๆ ด้วย ความรู้ ด้วยประสบการณ์ ความคิดที่รอบคอบ กั บ สิ่ ง ที่ ผ ่ า นมาในชี วิ ต ทั้ ง ประสบการณ์ ที่ ป ระสบความส� า เร็ จ และประสบการณ์ ล้มเหลว ซึง่ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ เหล่านี้ ล้วนเป็น บทเรี ย นที่ ท ่ า นสามารถน� า มาบอกกล่ า วกั บ คนรุ่นหลัง ๆ ได้เป็นอย่างดี เพียงแค่นี้ท่าน
ก็จะยังคงมีคุณค่าในสายตาของลูกหลานเสมอ ส�าหรับในส่วนของส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหมในปีนี้ มีผบู้ งั คับบัญชาระดับสูงเกษียณ อายุดว้ ยกันหลายท่าน ทุกท่านล้วนเป็นผูบ้ งั คับ บัญชาที่ทรงคุณค่ามากความสามารถ และเป็น ทีร่ กั ของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ตลอดระยะเวลาของ การปฏิบตั หิ น้าทีช่ ายชาติทหาร ท่านได้เสียสละ เวลา แรงกาย แรงใจ อุทิศตนเพื่อบ้านเมืองมา โดยตลอด วันนี้เมื่อท่านต้องเกษียณจากการ รับราชการไป ชื่อและผลงานของท่าน จะยัง คงอยู่ในใจของพี่น้องส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหมตลอดไป ฉะนั้นจึงขอให้ท่านเกษียณ ไปด้วยความภาคภูมิใจ ทั้งนี้ส� านักงานปลัด กระทรวงกลาโหมได้จัดพิธีประกาศเกียรติคุณ ของผู้รับราชการจนครบอายุราชการ ณ ศาลา ว่ า การกลาโหม เพื่ อ เป็ น การเทิ ด เกี ย รติ ที่ ทุ ก ท่ า นได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ พื่ อ ประเทศชาติ มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยความเสียสละทั้งเวลา และความสุขส่วนตัว 45
Where the cold war lives “North Korea has dashed hopes that it might change.” เกาหลีเหนือได้เป็นผูท้ า� ให้สงครามเย็น ยังไม่จบ From : Air Force Magazine 2013 Writer : Adam J.Hebert ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม 4๖
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ส
งครามเกาหลี ไ ด้ ยุ ติ ล งตามข้ อ ตกลง การหยุดยิงในปี ๑๙๕๓ ซึง่ ก่อนหน้านัน้ ช่วงปี ๑๙๕๐ - ๑๙๕๓ สหรัฐฯ มี ก�าลังทหาร ๑.๘ ล้านคน กว่า ๓๓,๐๐๐ คน ต้องพลีชพี ณ สมรภูมไิ กลบ้านนี้ และในปัจจุบนั สหรัฐฯ ยังคงกองก�าลังทหารจ�านวน ๒๘,๐๐๐ คน ไว้ที่เกาหลีใต้ ซึ่งในจ�านวนนี้เป็นก�าลัง ทางอากาศถึง ๘,๐๐๐ คน ด้วยเหตุผลเพื่อ ปกป้องการปกครองแบบประชาธิปไตยไม่ให้ ถูกคุกคาม รักษาระบบเศรษฐกิจการค้าเสรี และคุ้มครองเกาหลีใต้จากการบุกคุกคามของ เกาหลีเหนือ ซึ่งถือได้ว่าเป็นทั้งเรื่องดีและมี ความจ�าเป็น ส�าหรับสถานการณ์ความมั่นคง บนคาบสมุทรแห่งนี้ คาบสมุทรเกาหลีได้ถูกแบ่งโดยเส้นขนานที่ ๓๘ เป็นเกาหลีเหนือ (The DPRK) ที่ก้าวร้าว รักการเผชิญหน้าแบบดุเดือด ปกครองด้วย หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ระบบคอมมิวนิสต์ และเกาหลีใต้ (The ROK) ของโลกเสรีประชาธิปไตย เศรษฐกิจของเกาหลีเหนืออยูใ่ นสภาพวิกฤต ประชาชนอดอยากหิวโหย แต่กระนัน้ เกาหลีเหนือ ก็ยังต้องเลี้ยงก�าลังทหารไว้มากถึงหนึ่งล้านคน และยิ่ ง กว่ า นั้ น เมื่ อ เกาหลี เ หนื อ ถู ก จั บ และ ตรวจสอบได้ว่ากระท�าการละเมิดในเรื่องการ สร้าง ผลิต พัฒนาและสะสมอาวุธนิวเคลียร์ ในช่วงปี ๒๐๐๖ - ๒๐๐๙ พร้อมกับถูกประณาม และตัดความช่วยเหลือต่าง ๆ จากนานาชาติ เกาหลี เ หนื อ ก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ที ท ่ า ลดละหรื อ กั ง วล ต่อการคว�่าบาตรแต่อย่างใด ในทางตรงข้าม กลับกระท�าในเรือ่ งทีเ่ กินคาดหมายคือ ไม่ยอมรับ ความช่วยเหลือจากต่างชาติเช่นอาหารและ สิ่งจ�าเป็นต่าง ๆ รวมถึงยังเพิ่มการปลุกระดม ความศรัทธามัวเมาของประชาชนให้มีต่อผู้น�า มากยิ่งขึ้น
ท่ า มกลางเรื่ อ งราวมากมายระหว่ า งสอง เกาหลี มีบางเหตุการณ์ที่อยู่ในข่ายที่อันตราย หมิ่ น เหม่ ต ่ อ การเกิ ด สงครามระลอกสอง อย่างเช่น ในปี ๒๐๑๐ เกาหลีเหนือยิงเรือรบ เกาหลีใต้จม จนท�าให้ทหารเรือเกาหลีใต้ต้อง พลีชีพฟรี ๆ ไปถึง ๔๖ คน และในปีถัดมาก็ ยิงปืนใหญ่ถล่มเกาะในเขตเกาหลีใต้จนท�าให้ ทหารเสียชีวิตสองคนและพลเรือนอีกสองคน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ ไม่ได้มีสิ่งบอกเหตุหรือมี การยั่วยุกันมาก่อนเลยของทั้งสองฝ่าย เมื่อคิมน้อยยุคที่สาม Kim Jong Un ขึ้น เป็นผู้น�าคนใหม่ในปลายปี ๒๐๑๑ ทั่วโลก ต่างคาดหวังกันว่าผู้น�าคนใหม่วัยสามสิบต้น ๆ คนนี้ น่าจะพึ่งได้ กล่าวคือลดนโยบายการ ปกครองที่กดขี่และแข็งกร้าวแบบพ่อของเขา พร้ อ มทั้ ง ยอมรั บ บรรทั ด ฐานของนานาชาติ แต่เป็นที่น่าเสียดายที่ผู้น�าคนใหม่กลับท�าให้ 47
ความพยายามใด ๆ ในการปฎิรูป ประเทศของรัฐบาลเกาหลีเหนือ ภาย ใต้การนําของคิมที่สามนี้ ดูเหมือนว่า เป็นเรื่องที่ไร้สาระในความเป็นไปได้ ใน ที่สุดแล้วก็จะนําพาชาติบ้านเมืองของ เขาเองเข้าสู่จุดตกตํ่าและเสื่อมโทรม เต็มไปด้วยปัญหามากมาย
ในเดื อ นธั น วาคม ๒๐๑๒ เกาหลี เ หนื อ ประสบความส�าเร็จในการทดสอบการยิงขีปนาวุธ ระยะไกล และในปีนี้ ๒๐๑๓ นั้นก็ประสบ ผลส�าเร็จในการทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ครั้งที่ สามด้วย จึงท�าให้เกิดความเหิมเกริมประกาศ กร้าวว่า จะยกเลิกข้อตกลงการหยุดยิงของ สงครามเกาหลีปี ๑๙๕๓ คณะผูป้ กครองเกาหลีเหนือ ปกครองประเทศ ด้วยความป่าเถือ่ น กดขีข่ ม่ เหงประชาชนตนเอง ทุกรูปแบบ ประชาชนต้องตกเป็นข้าทาสรับใช้
ความสุขสบายของกลุ่มผู้บริหาร ประเทศคือ คุกที่ใหญ่โตของประชาชน ทุกคนมีการด�าเนิน ชีวติ ทีถ่ กู ก�าหนดและเสีย้ มสอนไว้แล้ว และต้อง ชืน่ ชมสรรเสริญผูน้ า� อยูเ่ สมอ ๆ ไม่ให้ขาด เมื่อเปรียบเทียบกับเกาหลีใต้ สองประเทศ ที่ มี ส ายเลื อ ดเดี ย วกั น นี้ ประชาชนมี ค วาม เป็นอยู่ที่แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน ทั้งที่อยู่ บนผืนแผ่นดินเดียวกัน โดยที่เกาหลีใต้นั้นเริ่ม มีการพัฒนาประเทศอย่างโดดเด่นเมื่อสิ้นสุด สงครามเกาหลี ซึ่งมีสหรัฐฯ ผู้น�าแห่งโลกเสรี
ความหวังต่าง ๆ ทีจ่ ะดีขนึ้ ในเกาหลีเหนือหดหาย ไปหมดสิ้น การคุกคามและยั่วยุของเกาหลีเหนือนั้น เกิดขึ้นพร้อมกันอยู่เสมอ นอกจากนั้นยังหา ประโยชน์เข้าสู่กลุ่มตนเองจากความช่วยเหลือ ของนานาชาติด้วย เหมือน ๆ กับเกลียดตัว กินไข่ และที่น่าวิตกหนักเข้าไปอีกคือ นโยบาย การรวมชาติของเกาหลีเหนือคือ การใช้ก�าลัง ทหารเมื่อถึงคราวจ�าเป็น ซึ่งก็ยากแก่การคาด เดาอีกว่า ความจ�าเป็นของเกาหลีเหนือในเรื่อง นี้อยู่ระดับไหน 48
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ประชาธิปไตยเป็นพันธมิตรที่เข้มแข็ง และ ในปั จ จุ บั น นี้ เ กาหลี ใ ต้ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่สดใสและ แข็งแกร่งเป็นอย่างมากในภูมิภาค สหรั ฐ ฯ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ด้ า นการทหาร เพื่อการป้องกันเกาหลีใต้ จากการบุกรุกเพื่อ ยึดครอง เพื่อการรวมชาติของเกาหลีเหนือ มาตั้ ง แต่ เ ริ่ ม แบ่ ง แยกประเทศ ซึ่ ง แทบไม่ ต้ อ งสงสั ย เลยว่ า ถ้ าไม่ไ ด้รับ การช่ว ยเหลือ หรื อ แสดงที ท ่ า ทางทหารจากสหรั ฐ ฯ นั้ น เกาหลีเหนือต้องบุกเกาหลีใต้อย่างแน่นอน ถึงแม้ว่าขณะนี้กองทัพเกาหลีใต้จะมีขีดความ สามารถที่ทันสมัยก็ตาม ส� า หรั บ ก� า ลั ง ทางอากาศของสหรั ฐ ฯ ใน เกาหลีใต้นั้น ไม่ว่าจะเป็นฝูง A-10s, F-16s, U-2s หรือหน่วยอื่น ๆ ของก�าลังทางอากาศ มี ความพร้อมในการปฏิบัติการที่สูงมาก อีกทั้ง หน่วยต่าง ๆ เหล่านี้ยังได้รับการสนับสนุน ในระบบ Command Control and Intelligence จาก The Air and Space Operations Center ของสหรัฐฯ อีกด้วย ด้วยก�าลังทางทหารจ�านวนมากของสหรัฐฯ ในเกาหลีใต้ และมาจากหลากหลายหน่วย อีก ทั้งมีวงรอบการประจ�าการเพียงหนึ่งปีเท่านั้น ท�าให้ก�าลังทางทหารแต่ละหน่วยต้องมีความ ช�านาญในหน้าที่ของตนเองเป็นอย่างสูง รวม ไปถึงการเสนาธิการด้วย จึงท�าให้การฝึกทาง ทหารในรหัสการฝึกต่าง ๆ ต้องมีความสมจริง และต่อเนื่องอยู่เสมอ เพื่อคงไว้ซึ่งขีดความ สามารถการพร้อมรบ สภาพความเป็นจริงทางภูมิศาสตร์ของการ ตั้งเมืองที่น่ากลัวของเกาหลีใต้เมื่อเกิดสงคราม ใหญ่คือ กรุงโซลนั้นอยู่ห่างเพียงแค่หนึ่งชั่วโมง ของการเดินทางทางรถยนต์เท่านั้นจากเขต ปลอดทหาร และอยู่ในระยะวิถีปืนใหญ่ของ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ไปทางเหนือนัน้ เป็นไปได้ไม่ยากนัก ข้อเท็จจริง อี ก ประการหนึ่ ง ของการมี ก� า ลั ง ทางอากาศ ที่ ไ ด้ เ ปรี ย บคื อ บ.รบ ของทั้ ง สหรั ฐ ฯ และ เกาหลี ใ ต้ ส ามารถวิ่ ง ขึ้ น จากฐานทั พ อากาศ OSAN ในเกาหลี ใ ต้ ไ ปอยู ่ เ หนื อ เปี ย งยาง ศูนย์กลางขั้วอ�านาจรัฐของเกาหลีเหนือภายใน สิบห้านาทีเท่านัน้ หลังจากนัน้ ก�าลังทางอากาศ ที่ เ กรี ย งไกรนี้ สามารถท� า อะไรก็ ไ ด้ ที่ เ ป็ น ยุทธศาสตร์ของเกาหลีเหนือ เนื่องจากพวกเขา ครองฟ้าและห้วงอวกาศได้แล้ว ซึง่ การประเมิน ค่าผลการรบที่ยังไม่ได้รบจาก ทอ.สหรัฐฯ นั้น กล่าวได้อย่างมั่นใจว่า ความพ่ายแพ้จะเป็น ของเกาหลีเหนือทันทีทเี่ กาหลีเหนือเริม่ ท�าการ บุกเกาหลีใต้ ซึ่งการตอกย�้าความเชื่อมั่นอันนี้ จะเห็ น ได้ จ ากรหั ส การฝึ ก ร่ ว มที่ จ ริ ง จั ง ของ ทั้งสองพันธมิตรคือ การฝึก Key Resolve และ Ulchi Freedom Guardian จึงท�าให้ มี ค วามพร้ อ มรบและการเฝ้ า ระวั ง ที่ สู ง มาก เกาหลี เ หนื อ ด้ ว ยเช่ น เดี ย วกั น ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ “They keep this status quo through ไม่ ส ามารถหลี ก เลี่ ย งความโกลาหลในการ their readiness and vigilance” เคลื่อนย้ายทางทหารขนาดใหญ่ หรืออพยพ ความพยายามใด ๆ ในการปฏิรูปประเทศ ของประชาชนในการหนีภัยสงครามได้เลย ของรัฐบาลเกาหลีเหนือ ภายใต้การน� าของ ด้ ว ยความเป็ น จริ ง และโอกาสของการ คิมที่สามนี้ ดูเหมือนว่าเป็นเรื่องที่ไร้สาระใน รุกรานจากเกาหลีเหนือดังกล่าว ทอ.สหรัฐฯ ใน ความเป็นไปได้ ในทีส่ ดุ แล้วก็จะน�าพาชาติบา้ น เกาหลีใต้ได้ศกึ ษายุทธศาสตร์ในการบุกทุกด้าน เมืองของเขาเองเข้าสู่จุดตกต�่าและเสื่อมโทรม ที่เป็นไปได้ของเกาหลีเหนือ พร้อมทั้งกระชับ เต็มไปด้วยปัญหามากมายรวมถึงการละเมิด การท�างานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพกับกอง สิทธิมนุษยชนที่รุนแรง เหมือนผู้น�าประเทศ ก�าลังภาคพื้นและ Air Controllers ส�าหรับ เผด็จการคนอื่น ๆ ทั่วโลก สงครามครั้งใหม่ ทุกขนาดและทุกที่ของสมรภูมิ ของทั้งสองเกาหลี จะก่อให้เกิดสถานการณ์ที่ ในกรณีที่เกิดการบุกของเกาหลีเหนือ ก�าลัง ในภาพรวมเลวร้ายที่สุดในภูมิภาค ทางอากาศของสหรัฐฯ ใน ญี่ปุ่น กวม อลาสกา เป็นการยากที่จะท�านายว่า วิถีทางที่ดีใน หรือที่อื่นใดทั่วโลก สามารถบูรณาการรวม การท�าให้สถานการณ์ในภูมิภาคนี้ ไม่มุ่งไป ก�าลังที่ใหญ่โตขึ้นได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งก�าลัง สู่จุดจบที่เป็นสงครามใหญ่เป็นอย่างไร แต่ ทางอากาศของเกาหลีใต้มี บ.รบ ที่ทันสมัย อย่างไรก็ตาม สันติภาพจะยังคงมีอยูใ่ นภูมภิ าค มากกว่าร้อยเครื่อง เมื่อก�าลังทางอากาศของ นี้ โดยเฉพาะกับเกาหลีใต้ ตราบใดที่ยังมีก�าลัง สองชาติมหามิตรผสมผสานการใช้ก�าลังแล้ว ทางอากาศ (Air Power) ที่เข้มแข็งเป็นพลังที่ สามารถเชื่อมั่นได้ว่า การท�าลายล้างก�าลังทาง น่าเกรงขามค�้ายันไว้ ทหารของเกาหลีเหนือที่บุกลงมาหรือตีโต้กลับ
49
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนทีี่ ๑๔) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
50
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ไ
ม่มีใครใช้หัวคิดเลย ถ้าทุกคนคิดอย่าง เดียวกัน ไม่ใช่สิ่งจ�าเป็นส�าหรับนายทหารฝ่าย เสนาธิการที่ต้องเห็นด้วยกับนายพลแพตตัน ท่านยึดถือความคิดของเบนจามิน แฟรงคลิน (Ben Franklin) ที่ว่าไม่มีใครใช้หัวคิดหรอก ถ้าทุกคนคิดอย่างเดียวกัน นายพลแพตตัน ไม่ต้องการให้นายทหารฝ่ายเสนาธิการตามใจ ท่ า นทุ ก อย่ า ง ท่ า นจะเกรี้ ย วกราดต่ อ นาย ทหารที่มีความเห็นแตกต่างผู้ซึ่งไม่มีเหตุผลที่ หนักแน่นพอส�าหรับความเห็นที่แตกต่าง ผมจ�านายพันเอกที่จองหอง ซึ่งเพิ่งมาจาก หน่วยรักษาดินแดนผู้ไม่ยอมรับแผนการฝึกที่ ฝ่ายเสนาธิการของเราได้จัดเตรียมขึ้น นายพลแพตตั น ได้ พู ด กั บ พั น เอกคนนั้ น “ให้เหตุผลที่คุณยับยั้งแผนการฝึกมาซิ” “ก็เพียงแต่ มันใช้ไม่ได้” “ท� า ไม?” พั น เอกใหม่ ผู ้ นั้ น ไม่ ท ราบว่ า ถ้าท่านนายพลเริ่มต้นด้วยค�าถามง่าย ๆ ว่า “ท�าไม” แล้ว มันก็จะหมายถึงลมพายุก�าลัง เกิดขึ้นแล้ว “แผนนั้นใหญ่โตกว้างขวางเกินไปส�าหรับ เวลาที่มีอยู่น้อยมาก” พันเอกผู้นั้นยังไม่ละ ความอวดดี “ท�าไม?” นายพลแพตตัน ถามขึ้น “ให้เหตุผลกับเราซิ หน่วยนี้จะไม่เล่นเกม ขี่ม้าส่งเมือง สงครามมันอันตรายเกินไปกว่าที่ เราจะมาเล่นเกมขี่ม้าส่งเมือง คนเป็นจ�านวน มากต้องตาย หากพวกเราไม่วางแผนการรบ บนพื้นฐานแห่งข้อเท็จจริง อะไร คือเหตุผลที่ คุณยับยั้งแผนนี้ คุณพันเอก?” “ผมเพียงแต่ไม่คิดว่าจะได้ผล!” นายพลแพตตันอารมณ์เดือดทันที “ตอนนี้ ป ั ญ หาอยู ่ ที่ ตั ว คุ ณ คุ ณ พั น เอก! คุณเพียงไม่คิดว่า! ผมจะต้องไม่มีพวกไร้หัวคิด ในฝ่ายเสนาธิการแห่งนี้ สงครามไม่สามารถ ชนะได้โดยพวกไร้หัวคิด” พั น เอกผู ้ นั้ น เงี ย บ ความอวดดี ไ ด้ เ ตลิ ด ไปแล้ว นายพลแพตตันพูดต่อไป “เราต้ อ งคิ ด ทุ ก วิ น าที นั่ นคือ เหตุผ ลใน การสูดลมหายใจให้ลึก เราต้องน�าออกซิเจน เข้ า สู ่ ส มอง แผนการรบต้ อ งมี พื้ น ฐานจาก ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงทีห่ นักแน่นแน่นอน ถ้าเรา ไม่มีข้อเท็จจริง เราไม่สามารถท�าการตกลงใจ ให้ ดี ไ ด้ เราจะแพ้ ส งคราม และคนของเรา จะถูกฆ่า ทั้ง ๆ ที่ควรมีชีวิตอยู่ นายทหารและ ก�าลังพลทุกคนต้องคิดถึงตัวเอง และต้องคิด ทุกวินาที ผมต้องการให้ท�าตามค�าสั่งของผม หลังจากที่ได้ตกลงใจในแผนนั้นแล้ว แต่ผม จะต้องไม่มีคนรอบ ๆ ข้างที่ “เพียงไม่คิดว่า” พวกเราอาจมีความคิดหลายอย่าง แต่เราจะ ก�าหนดแผนการรบเพียงแผนเดียว และนั่น หลักเมือง กันยายน ๒55๖
51
จะเป็นแผนที่เราต้องใช้ ไม่ใช่เพราะมันเป็น แผนของผม แต่เพราะว่ามันเป็นแผนที่ดีที่สุด ซึ่ ง อยู ่ บ นพื้ น ฐานแห่ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ แ น่ น อน นั่ น คื อ ความมุ ่ ง หมายในการประชุ ม ฝ่ า ย เสนาธิการนี้ เมื่อเราตกลงใจในแผนที่ดีที่สุด ทุก ๆ คนจะต้องรู้ว่ามันเป็นแผนที่ดีที่สุด และ เขาจะต้องรู้ว่าท�าไมมันจึงดีที่สุด” นายพลแพตตัน ลากเสียงช้า ๆ “ไม่มีพื้นที่ส�าหรับใครในสงครามทุกแห่ง ผู้ไม่ใช้ความคิด คุณยังมีปัญหาเกี่ยวกับแผนนี้ ไหม คุณพันเอก?” “ไม่มี ครับผม” พันเอกผู้นั้นตอบ “มีอะไรที่คุณอยากพูดถึงเกี่ยวกับแผนการ นี้อีกไหม?” “ไม่ มี ครั บ ผม” พั น เอกผู ้ นั้ น ตอบโดย ปราศจากความจองหองใด ๆ พันเอกผู้นี้ไม่เข้าร่วมประชุมฝ่ายเสนาธิการ อีกเลย มันง่ายที่จะโต้เถียงกับนายพลแพตตัน แต่ต้องมีเหตุผลที่หนักแน่น ผมจ�าได้ถึงการ ประชุ ม ฝ่ า ยเสนาธิ ก ารครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ ผมถู ก เพ่งเล็งเนื่องจากการตัดสินใจที่ผมได้กระท�าไป ในฐานะนายทหารพระธรรมนูญ ผมตัดสินใจ ฟ้ อ งศาลทหารนายพั น ตรี ค นหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ทหารหลั ก ของกองทั พ บก ผู ้ ซึ่ ง มี ส ่ ว นใน อุบัติเหตุทางรถยนต์บนถนนระหว่างอินดิโอ และปาล์ม สปริงในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย สาเหตุ ของอุบัติเหตุครั้งนี้ คือนายพันตรีคนนี้ขับรถ ขณะเมาสุรา ณ สถานที่ เ กิ ด เหตุ ข องอุ บั ติ เ หตุ ค รั้ ง นี้ พันตรีนายนี้ได้กล่าวหาและพูดหยาบคายต่อ คู่กรณีสุภาพสตรีหลายคนที่อยู่ในรถยนต์ซึ่ง นายพันตรีคนนี้ขับชน อีกกรณีหนึ่งคือ พันตรี ผู้นี้ได้พูดหมิ่นประมาทต่อเจ้าพนักงานจับกุม ของรัฐแคลิฟอร์เนีย เจ้าพนักงานของรัฐเหล่านี้ 5๒
ได้ ร วบรวมค� า ด่ า ทอทั้ ง หมดของพั น ตรี ผู ้ นี้ รวมทั้งตัวนายพันตรีส่งให้กับสารวัตรทหาร ในศูนย์ฝึกการรบแบบทะเลทราย ทั้ง ๆ ที่ พวกเขามีอ�านาจที่ชอบด้วยกฎหมายในการ จั บ กุ ม นายพั น ตรี ยั ด เข้ า คุ ก ในอิ น ดิ โ อ หรื อ ปาล์ม สปริง เช้าวันจันทร์ต่อมา พันตรีผู้นี้ค่อยมีสติขึ้น และท� า งานตามปกติ ใ นหน่ ว ยของเขา เมื่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง ทั้ ง หลายถู ก ส่ ง มาให้ ผ มโดย สารวั ต รทหาร ผมได้ แ นะน� า ว่ า พั น ตรี ผู ้ นี้ ต้ อ งถู ก ส่ ง ขึ้ น ศาลทหารส� า หรั บ การกระท� า ความผิ ด ทางอาญาเนื่ อ งจากขั บ รถขณะที่ มี อาการมึนเมาจากพิษสุรา การตกลงใจครั้งนี้ อาจเป็นเหตุให้ถกู ปรับเป็นเงินหลายร้อยดอลลาร์
ถูกพิพากษาลงโทษจ�าคุก และอาจจะรวมไปถึง การถูกปลดออกจากราชการ ผมได้ถกแถลงถึงการตัดสินใจของผมกับ เสนาธิการ ข้อกล่าวหาดังกล่าวจึงถูกส่งฟ้อง และพันตรีผู้นี้ถูกควบคุมตัว ข้อกล่าวหาถูก ส่งขึ้นไปยังหน่วยเหนือเพื่อท�าการอนุมัติ และ เพื่ อ ด� า เนิ น การต่ อ ไปในการฟ้ อ งศาลทหาร ซึ่งเป็นศาลสูงสุด ข้อโต้แย้งได้เกิดขึ้นทันทีทันควัน และมีการ อ้างเหตุผลหลายประการเพื่อช่วยนายพันตรี ผู ้ นั้ น ขณะนั้ น เป็ น เวลาสองสามเดื อ นภาย หลังกรณีเพิร์ลฮาร์เบอร์ พวกเราอยู่ในภาวะ สงครามแล้ว เราต้องการนายทหารทุกคนเท่า ที่เราสามารถหาได้ พันตรีผู้นี้จบจากโรงเรียน นายร้อยเวสท์พ้อยท์ (West Point) และเป็น นายทหารที่ได้รับการฝึกมาอย่างดี มันไม่ใช่ เรื่องร้ายแรงส�าหรับทหารที่จะดื่มเหล้า ผมจึง ถู ก หลายคนเล่ น งาน ความจริ ง ผู ้ ที่ จ ะเป็ น นายทหารพระธรรมนูญได้นั้นต้องมียศพันเอก ผมเป็นเพียงร้อยโท ผมเด็กเกินไป และได้รับ มอบอ�านาจที่มากเกินไป การโต้เถียงได้มาถึงจุดส�าคัญ เมื่อเอกสาร จากศาลทหารถูกส่งกลับมาพร้อมทัง้ ข้อแนะน�า ว่า ให้ว่ากล่าวตักเตือนพันตรีผู้นี้ หักเงินเดือน และให้กลับไปท�างานที่หน่วยเดิม นายพลแพตตั น ได้ ท บทวนกรณี นี้ ใ นการ ประชุมฝ่ายเสนาธิการ เนื่องจากมันเป็นหัวข้อ ในการถกแถลงประจ� าวันในฝ่ายเสนาธิการ ผมจ�าได้ถึงค�าสรุปของท่าน “ผูห้ มวด การตัดสินใจของคุณท�าให้พวกเรา ต้องอับอายต่อหน่วยเหนือ ไหนลองอธิบายซิวา่ ท�าไมตัดสินใจเช่นนั้น?” ผมตอบค�าถามหลังห้อง นายพลแพตตันสั่ง ให้ผมหยุดตอบและพูดว่า “ออกมาข้างหน้า นี่ผู้หมวด ทุกคนจะได้เห็นชัด ๆ และได้ยิน ถนัดหน่อย” ผมเดินไปข้างหน้าห้อง และหันหน้าสู้กับ นายทหารที่มียศสูงกว่า ทุกคนท� าหน้าแบบ War Faces ทั้งนั้น ผมคิดว่าผมได้เริ่มชี้แจง อย่างช้า ๆ “ผมเห็นด้วยกับค�ากล่าวที่ว่า พันตรีผู้นั้น เป็นนายทหารทีด่ คี นหนึง่ เขาเป็นทีร่ จู้ กั ส�าหรับ พวกเราทุ ก คน ข้ อ เท็ จ จริ ง ก็ คื อ เขาได้ ก ่ อ อุบัติเหตุขึ้น ข้อเท็จจริงคือเขาเมามากจนไม่ สามารถลุกขึ้นยืนได้ ขณะที่เจ้าพนักงานแห่ง มลรัฐแคลิฟอร์เนียบอกให้เขาเดินตามเส้นประ ทีก่ งึ่ กลางถนนหลวง พันตรีผนู้ นั้ ไม่สามารถเดิน ได้แม้แต่ก้าวเดียว ข้อเท็จจริงคือ เจ้าพนักงาน เหล่านั้นส่งเขากลับมาที่ฐานของเราซึ่งไกลถึง เจ็ดสิบไมล์ พันตรีผู้นั้นถูกส่งไปหน่วยสารวัตร ทหารเพราะเราได้มีข้อตกลงกับเจ้าพนักงาน แห่งรัฐแคลิฟอร์เนียว่าเราจะด�าเนินการตาม กฎหมายในข้อหาขับรถขณะทีม่ อี าการมึนเมา” พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
คุณทําถูกแล้ว หน่วยเหนือของเราผิด คุณจงตอบหนังสือแสดงความไม่พอใจ ไปยังหน่วยเหนือ บอกพวกเขาไป ตรง ๆ ว่า เราจะทําอะไรต่อไป ส่งเอกสาร ให้ได้ภายในวันนี้ ผมจะลงนาม และ ดําเนินการต่อเอง
ผมรูด้ ว้ ยสามัญส�านึกว่า ไม่มใี ครเห็นด้วยเลย ผมจึ ง ตั ด สิ น ใจที่ จ ะตอบค� า ถามของนายพล แพตตันตรง ๆ “เพื่ อ เป็ น การตอบค�า ถามเกี่ ย วกั บ ความ อั บ อายที่ มี ต ่ อ หน่ ว ยเหนื อ มั น ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งที่ ควรอั บ อายที่ เ ราปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายทหาร ของเราเอง และปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ แคลิฟอร์เนีย ถ้าสารวัตรทหารของเราไม่ตกลง ทีจ่ ะด�าเนินการตามกฎหมายต่อพันตรีผนู้ นั้ เอง เขาอาจจะต้องอยู่ในคุกที่อินดิโอภายใต้การ
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ฟ้ อ งร้ อ งตามกฎหมายของรั ฐ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย เรามีข้อตกลงกับเจ้าพนักงานกฎหมายแห่งรัฐ แคลิฟอร์เนีย” ผมคาดว่าคงจะมีคนเห็นด้วย และสนับสนุน ผมสักสองสามคนแล้ว ผมจึงโจมตีฝา่ ยเสนาธิการ ทั้งหมดด้วยค�าถาม “มีใครบ้างที่สามารถคาดได้ว่า หลังจาก ด่าทอ และหมิ่นประมาทสุภาพสตรีแล้ว จะ ไม่ โ ดนฟ้ อ งศาลทหารในข้ อ หาประพฤติ ต น ไม่เหมาะสมกับที่เป็นสุภาพบุรุษ นายทหาร มีใครบ้างที่ดื่มเหล้าจนเมาและขับรถชนคนอื่น แล้วคาดว่าตนจะโดนเพียงแค่ตักเตือนที่สถานี ต� า รวจประจ� า ท้ อ งถิ่ น เท่ า นั้ น ? ถ้ า พวกคุ ณ ตอบว่ามีละก็ แล้วแบบอย่างชนิดไหนกันล่ะ ที่คุณต้องการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกคุณ ท�าตาม? คุณจะมีความอับอายแบบไหนต่อรัฐ แคลิฟอร์เนีย?” ผมมองไปที่นายพลแพตตัน ซึ่งก�าลังยืนติด กับหน้าต่างด้านหนึง่ ของห้องประชุม ท่านไม่ได้ เปลี่ยนท่าทางอะไรเลย ขณะที่ผมมองไปเพื่อ ขอการสนับสนุน ผมจึงตัดสินใจที่จะสรุปด้วย ค�าพูดที่เป็นของนายพลแพตตัน “ท่านนายพลแพตตันเคยพูดหลายครั้งว่า ขณะนีเ้ ราอยูใ่ นภาวะสงคราม เราพยายามทีจ่ ะ
สร้างสถานการณ์ในทะเลทรายนี้ให้ใกล้เคียง กับสภาพของสนามรบให้เหมือนจริงที่สุดเท่า ที่จะท�าได้ นายทหารคนใดก็ตามที่ไม่สามารถ ควบคุมการดื่มของตนได้ในแคลิฟอร์เนียก็จะ ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนได้เมื่ออยู่ ในสนามรบ ท่านสุภาพบุรษุ ผมพร้อมทีจ่ ะตอบ ข้อซักถามต่าง ๆ ที่มุ่งจะโจมตีผม เชิญครับ” ผมคาดว่านายพลแพตตันจะให้ผมหยุดพูด แต่ท่านก็เฉยและไม่ได้เคลื่อนที่ไปไหน ยังคง อยู่ที่หน้าต่างนั่น “ผมไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นฐานะล�า บากเลยส� า หรั บ กรณีนี้ ผมอาจจะล�าบากถ้าผมล้มเหลวในการ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะนายทหารพระธรรมนูญ เช่ น เดี ย วกั บ ทุ ก ๆ คนที่ ต ้ อ งล� า บากแน่ ถ ้ า ล้ ม เหลวในหน้ า ที่ ที่ ต ้ อ งปฏิ บั ติ เพื่ อ ชี้ แ จง ข้ อ กล่ า วหาของพวกคุ ณ ที่ ว ่ า ผมท� า รุ น แรง เกินเหตุต่อนายพันตรีผู้นั้น ผมขอชี้แจงว่ามี พยานหลักฐานว่านายพันตรีผู้นั้นได้เปิดเผย ความลับของทางราชการที่ ปาล์ม สปริง เขาบอก ผู้คนในบาร์เครื่องดื่มแห่งหนึ่งในเรื่องจ�านวน ก�าลังพลในทะเลทราย จ�านวนเงินเดือนทัง้ หมด และวันเวลาที่แน่นอนที่เงินจ�านวนนั้นจะถูก ส่งมาจากอินดิโอ เพื่อจะมาแจกจ่ายในหน่วย ของเรา ผมได้ฟ้องเพียงข้อหาเดียวทั้ง ๆ ที่ ผมสามารถฟ้ อ งได้ ห ลายข้ อ หามากกว่ า นั้ น ผมทราบดีว่าผมอาวุโสน้อยเกินไป และผมก็ ทราบดีว่าผมเป็นนายทหารพระธรรมนูญเพียง คนเดียว และในขณะนี้มันไม่ใช่เป็นภารกิจที่ น่ า พอใจนั ก หรอกที่ จ ะฟ้ อ งเพื่อนนายทหาร ด้วยกันด้วยข้อกล่าวหาที่รุนแรง แต่ถ้าหาก พวกเราเกิ ด ความอั บ อายขึ้ น ก็ แ ล้ ว เราจะ อับอายกันไหมถ้าผมไม่ดา� เนินการฟ้องอะไรเลย” ผมมองไปที่ น ายพลแพตตั น เพื่ อ แสดงว่ า ผมได้พูดจบแล้ว ผมยังคงยืนอยู่ต่อหน้าฝ่าย เสนาธิการทั้งหมด จากที่ยืนอยู่ตรงหน้าต่าง นายพลแพตตัน ได้ถามขึ้น “มีใครต้องการถามอะไรจากร้อยโทวิลเลียมสัน ไหม?” ไม่มีใครพูดอะไรออกมา ผมจึงเดินกลับไป ที่หลังห้องตามเดิม ในที่สุดนายพลแพตตัน กล่าวว่า “ผู้หมวดคุณท�าถูกแล้ว หน่วยเหนือของ เราผิด คุณจงตอบหนังสือแสดงความไม่พอใจ ไปยังหน่วยเหนือ บอกพวกเขาไปตรง ๆ ว่า เราจะท�าอะไรต่อไป ส่งเอกสารให้ได้ภายใน วันนี้ ผมจะลงนาม และด�าเนินการต่อเอง” นายพันตรีผู้นั้นถูกย้ายโดยมีค�าสั่งศาลตาม หลังเขาไป ผมไม่ทราบว่าอะไรเกิดขึ้นต่อไปใน ความยากล�าบากของเขา
53
สงคราม พม่า-อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๓๖๗
พ
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ระเจ้าจักกายแมง (พระเจ้าบาจีดอ) ขึน้ ครองราชสมบัตเิ มือ่ วันที่ ๕ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๓๖๒ ต่อจากพระเจ้าปดุง ขณะที่ มีพระชนมายุได้ ๓๕ พรรษา พระองค์ยังคงมี ความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะขยายอาณาเขตมาทางตะวันตก แม่ทพั ใหญ่คอื มหาบัณฑุลา พร้อมด้วยก�าลังทหาร ๖๐,๐๐๐ นายท�าการรุกอย่างรวดเร็ว สามารถ ยึ ด ได้ เ มื อ งมณี ปุ ร ะ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๓๖๒ กองทัพพม่าท�าการรุกล�้าสู่แคว้นคาชา (Cachar) เป็นเขตปกครองของอังกฤษ ซึ่งจะ น�ามาสู่ความขัดแย้งในอนาคต ต่อมาพระองค์ ทรงย้ายเมืองหลวงจากเมืองอมรปุระกลับมา อยู ่ ที่ ก รุ ง อั ง วะ เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๓๖๖............
54
บทความนีก้ ล่าวถึงสงครามใหญ่ของสองอาณาจักร ที่เรียกว่าสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๖๙ (๑๘๒๔ - ๑๘๒๖) ๑. กล่าวทั่วไป เมื่ อ กองทั พ พม่ า ภายใต้ ก ารน� า ทั พ ของ แม่ทัพใหญ่มหาบัณฑุลา (Maha Bandula) เข้าตีแคว้นเบงกอลด้วยกองทหารม้า ๖,๐๐๐ ม้า รบชนะก�าลังทหารอังกฤษและท�าการรุกมาถึง เมืองจิตตะกอง (ปัจจุบนั อยูใ่ นบังกลาเทศ) เป็น เมืองท่าที่ส�าคัญของอังกฤษ (โดยบริษัทอินเดีย ตะวันออกของรัฐบาลอังกฤษ ซึ่งมีนโยบาย เรือ่ งการค้าและท�าสงครามเพือ่ ปกป้องผลประโยชน์ ทางการค้าและการลงทุน) บริเวณอ่าวเบงกอล
เพื่ อ จะท� า การปราบปรามกองก� า ลั ง ยะไข่ ที่ รั ก ชาติ ที่ ห นี ข ้ า มแดนมาจากฝั ่ ง พม่ า เข้ า สู ่ เขตแดนของอินเดีย ท่าเรือที่อ่าวเบงกอลเป็น ดินแดนทีอ่ งั กฤษจะไม่ยอมให้เข้ามาครอบครอง เมื่ อ มี ก ารประท้ ว งและด� า เนิ น การเจรจา ทางการทูตแต่ไม่ประสบผลส�าเร็จ ความขัดแย้ง นี้มีตลอดแนวชายแดนของสองอาณาจักรทั้ง แคว้นอัสสัมและแคว้นยะไข่ทางตอนใต้ เมื่อ วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๓๖๗ ลอร์ด แอมเฮอร์ส (Lord Amherst) ข้าหลวงใหญ่อังกฤษประจ�า อินเดีย จึงได้ประกาศสงครามกับพม่าอย่าง เป็นทางการ อังกฤษได้สง่ ก�าลังทหารจากแคว้น อัสสัม (อยู่ทางตอนเหนือของแคว้นเบงกอล) พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ภาพกราฟิกอาณาจักรพม่าแห่งกรุงอังวะและอาณาจักรข้างเคียง แคว้นอัสสัม (ตามลูกศรชี้) เมื่อกองทัพพม่า เข้ายึดครองเมืองต่าง ๆ บริเวณแคว้นอัสสัม ซึ่งน�ามาสู่ความขัดแย้งกับอังกฤษที่ปกครองอินเดีย
ลงมาช่ ว ยเหลื อ แคว้ น เบงกอลเพื่ อ ที่ จ ะ กดดั น ให้ ก องทั พ พม่ า ต้ อ งถอนตั ว ออกจาก แคว้นเบงกอลของอังกฤษ กลับสู่แคว้นยะไข่ ๒. สงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๖๗ (๑๘๒๔) สถานการณ์ด้านการรบ กองทั พ พม่ า ของแม่ ทั พ มหาบั ณ ฑุ ล า อายุ ๔๒ ปี ต้ อ งถอนก�า ลั ง ทหารออกจาก แคว้ น เบงกอลกลั บ สู ่ แ คว้ น ยะไข่ แต่ ก็ ถู ก กองก�าลังของฝ่ายต่อต้านชาวยะไข่ (กองโจร) ท�าการโจมตีตลอดเส้นทางถอยทัพ จนกองทัพ พม่าได้เดินทัพถอยพ้นเขตแดนแคว้นเบงกอล สู่ยะไข่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๓๖๗ พลเอก เซอร์ อาร์ชบิ ลั ด์ แคมป์เบลล์ (Gen Sir Archibald Campbell) เป็ น แม่ ทั พ ใหญ่ อั ง กฤษ อายุ ๕๕ ปี (รับราชการครั้งแรกเมื่อมีอายุได้ ๑๘ ปี ในปี พ.ศ.๒๒๓๐) พร้อมด้วยแม่ทัพรอง พลจัตวา โจเซฟ มอร์ริสัน (Brig Gen Joseph W. Morrison) อายุ ๔๑ ปี ได้น� ากองทัพ อังกฤษมาทางเรือมีก� าลังพลกว่า ๑๑,๕๐๐ นาย (อังกฤษ ๕,๐๐๐ นาย และทหารอินเดีย หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ที่เรียกว่าทหารชีปอย กว่า ๕,๐๐๐ นาย) ก�าลัง ทหารบกอังกฤษนับมีอาวุธทีท่ นั สมัย เนือ่ งจาก เพิ่งได้รับชัยชนะต่อกองทัพฝรั่งเศสจากการ น� า ทั พ ของจั ก รพรรดิ น โปเลี ย นจากสมรภู มิ การรบในทวีปยุโรปที่โลกรู้จักในชื่อการรบที่ วอเตอร์ ลู (Waterloo) ปั จ จุ บั น นี้ อ ยู ่ ใ น ประเทศเบลเยียม ทั้งปืนใหญ่สนาม (ได้รับการ พัฒนาให้มีความทันสมัยที่สุดในยุคนั้น) และ ปืนเล็กยาวซึ่งมีความทันสมัยมากที่สุดในโลก ของยุคนั้นเช่นกัน ย่อมทันสมัยกว่ากองทัพ ของอาณาจักรบริเวณอุษาคเณย์ ท�าการยกพล ขึ้นบกที่เกาะเนเกร (Nagai Island) บริเวณ ปากน�้าเมืองย่างกุ้ง อย่างรวดเร็วและมีการ ต่อสู้ไม่มากนัก ต่อมาท�าการรบชนะกองทัพ พม่ า ที่ ค ามายุ ท (Kamayut) กองทั พ พม่ า ได้ สู ญ เสี ย ก� า ลั ง ทหารประมาณ ๘๐๐ นาย กองทัพบกอังกฤษมุง่ สูเ่ มืองย่างกุง้ ใกล้กบั เจดีย์
ชเวดากอง (Shwedagon) ประมาณ ๕ ไมล์ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๓๖๗ ก� าลังพลของ กองทัพบกอังกฤษมีปัญหาอย่างมากในปฏิบัติ การทางทหารในฤดูฝน ตลอดจนสภาพของ ป่าที่รกทึบ พร้อมด้วยไข้ป่าและการเคลื่อน ย้ า ยปื น ใหญ่ ส นามก็ ย ากล� า บากส่ ว นมาก ซึ่งมักจะติดหล่ม สถานการณ์ที่ได้บีบบังคับ เป็ น ผลให้ พ ระเจ้ า จั ก กายแมงกษั ต ริ ย ์ พ ม่ า จัดตัง้ กองทัพขึน้ มาใหม่ (กองทัพพม่าจากแคว้น อัสสัม และจากแคว้นเบงกอล) พฤศจิกายน พ.ศ.๒๓๖๗ แม่ทัพใหญ่มหาบัณฑุลามีก�าลัง ทหาร ๓๐,๐๐๐ นาย พร้อมทีจ่ ะท�าการรบใหญ่ ท�าการเข้าตีตรงหน้าของป้อมทหารอังกฤษ ที่ ช เวดากอง แต่ ก็ ต ้ อ งสู ญ เสี ย ก� า ลั ง ทหาร อย่างมากจากการยิงของปืนใหญ่สนามอังกฤษ วั น ที่ ๗ ธั น วาคม พ.ศ.๒๓๖๗ กองทั พ อั ง กฤษภายใต้ ก ารน� า ของ พลเอก เซอร์
ภาพวาดการรบของทหารอังกฤษกับทหารพม่าในสงครามครั้งที่ ๑ บริเวณใกล้กับเมืองร่างกุ้ง เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๓๖๗ 55
พลเอก เซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์ แม่ทัพใหญ่ อังกฤษ อายุ ๕๕ ปี น�ากองทัพอังกฤษมาทางเรือ มีก�าลังพลกว่า ๑๑,๕๐๐ นาย เข้าสู่ปากแม่น�้าอิระวดี ชนะกองทัพพม่าในสงครามพม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ เสียชีวติ เมือ่ วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๓๘๖ ทีเ่ อดินเบอระ มีอายุได้ ๗๔ ปี
อนุสาวรีย์แม่ทัพใหญ่พม่ามหาบัณฑุลา ที่น�ากองทัพเข้าตีแคว้นอัสสัมและแคว้นเบงกอล น�ามาสู่สงครามกับ กองทัพอังกฤษ ระหว่างปี พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๖๙
ดานุบิว (Danubyu ตามลูกศรีชี้) พื้นที่ตั้งรับใหม่ ของกองทัพพม่าริมฝั่งแม่น�้าอิระวดี อยู่ห่างจากเมือง ย่างกุ้ง ๑๐๐ กิโลเมตร เป็นค่ายที่มีก�าแพงที่ท�าด้วย ซุงไม้สักสูง ๓ เมตร 5๖
อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์ มีก�าลังทหารประมาณ ๑๐,๐๐๐ นาย เริ่มเปลี่ยนการด�าเนินกลยุทธ์ จากการตั้งรับสู่การรุกเพื่อเข้าโจมตีค่ายพม่า วันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๓๖๗ ก�าลังทหาร อังกฤษเข้าโจมตีค่ายสุดท้ายของกองทัพพม่า ที่ค่ายโคคิน (Kokine) แตกมีทหารพม่าเหลือ รอดไปได้ ๗,๐๐๐ นาย (จาก ๓๐,๐๐๐ นาย) กองทั พ พม่ า ได้ ถ อยมาท� า การตั้ ง รั บ ใหม่ ที่ ดานุ บิ ว (Danubyu) ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ า อิ ร ะวดี ห่างจากเมืองย่างกุ้ง ๑๐๐ กิโลเมตร ท�าการ รวมพลขึ้นมาใหม่มีก�าลังทหาร ๑๐,๐๐๐ นาย ท�าการตั้งรับใหม่เนื่องจากเป็นค่ายที่มีก�าแพง ที่ท�าด้วยซุงไม้สักสูง ๓ เมตร วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ.๒๓๖๘ ทหารราบ อังกฤษ ๔,๐๐๐ นาย ท�าการเข้าตีค่ายทหาร พม่าที่ดานุบิว ทหารพม่าท�าการตั้งรับอย่าง เหนี ย วแน่ น เป็ น ผลให้ ท หารราบอั ง กฤษ เข้ า ตี ไ ม่ ส� า เร็ จ แม่ ทั พ ใหญ่ ม หาบั ณ ฑุ ล าน� า ทหารท�าการตีโต้ตอบด้วยกองทหารม้าและ
ช้างศึก ๑๗ เชือก แต่ถูกทหาร อังกฤษตอบโต้ด้วยอาวุธใหม่คือ จรวดได้รับความสูญเสียอย่างมาก ได้ถอยทัพกลับเข้าค่ายและไม่ออก ท�าการรบ วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๓๖๘ กองทั พ ใหญ่ ข องพลเอก เซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์ เคลื่อนกองทัพ มาถึงและได้เข้าโจมตีค่ายกองทัพพม่า แม่ทัพ ใหญ่ พ ม่ า มหาบั ณ ฑุ ล าบั ญ ชาการรบในชุ ด เต็มยศมีทหารถือกลดทองตามศักดิ์ และถูก สะเก็ดระเบิดเสียชีวิตในพื้นที่การรบ ในที่สุด กองทัพพม่าก็แตก สงครามยังคงยืดเยือ้ ออกไป อี ก นานถึ ง ๑๐ เดื อ น แต่ ก องทั พ อั ง กฤษ ก็ท�าการรุกได้ช้าเนื่องจากข้อจ�ากัดของสภาพ ภูมิประเทศและสภาพอากาศ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๖๙ ส่วนหน้าของกองทัพอังกฤษก็รุกมาถึง หมูบ่ า้ นยันดาโบ (Yandabo) จะใช้เวลาเดินทัพ อีกประมาณ ๔ วัน ก็จะถึงชานกรุงอังวะ ในทีส่ ดุ กษั ต ริ ย ์ พ ม่ า ก็ ท รงยอมแพ้ แ ละลงนามใน สนธิสัญญายันดาโบ (Treaty of Yandabo) ๓. บทสรุป ราชวงศ์ อ ลองพญายั ง คงมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่จะขยายอาณาเขตให้อาณาจักรพม่ามีขนาด ใหญ่ ได้ขยายไปทางด้านตะวันตกตลอดแนว ชายแดน สถานการณ์เพิ่มความรุนแรงขึ้นเป็น ล� า ดั บจนไม่ ส ามารถที่ จ ะแก้ ไขทางด้า นการ ทูตได้ อังกฤษจึงได้ประกาศสงครามกับพม่า อย่างเป็นทางการ การรบของมหาอ�านาจทาง ทหารในภูมิภาคอุษาคเณย์กับมหาอ�านาจทาง ทหารใหม่ของโลก ที่รู้จักในชื่อสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ จึงได้เริ่มต้นขึ้น พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
อักษรเงียบ (Silent Letters)
ก
พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ารออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษส� า หรั บ คนไทยยั ง ถื อ เป็ น งานส� า คั ญ ส� า หรั บ ครูภาษาอังกฤษที่จะต้องช่วยฝึกฝน และแก้ไขให้เราออกเสียงได้ถูกต้อง ลองมา พิสูจน์นะคะว่าท่านออกเสียงภาษาอังกฤษได้ ถูกต้องแค่ไหน ง่ายมากคะ วิธีการแรก ลอง ออกเสียงนับเลขเป็นภาษาอังกฤษดัง ๆ ซิคะ ถ้ามีเพื่อนฝรั่งก็บอกฝรั่งว่า จะนับเลข ๑ - ๑๐ ให้ฟังนะแล้วบอกหน่อยซิว่าออกเสียงถูกไหม หรือบางท่านจะนึกอยู่ในใจว่าแล้วจะพูดภาษา อังกฤษยังไงให้ฝรัง่ เข้าใจ เราก็ลองพูดแบบนี้ คะ I am going to count one to ten. Please listen carefully and suggest me if I pronounce them incorrectly. เชื่อหรือไม่ว่า คนไทยส่วนใหญ่ออกเสียง ๑ - ๑๐ ไม่ได้ทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เลข ๓ Three, เลข ๕ five เลข ๖ six เลข 7 seven และ เลข ๘ eight อย่างเช่น เลข ๓ Three จะต้องกัดปลายลิ้นไว้ก่อนพ่นลมออก มาเราถึงจะออกเสียง Three ได้ ถ้าไม่แลบ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ลิ้นเราก็จะอ่านเป็น tree ซึ่งมีความหมายว่า ต้นไม้ อีกค�าหนึ่งที่เราอ่านผิดมาก คือ เลข ๕ five เราจะต้องออกเสียง ไฝว โดยใช้ฟัน บนมากดริมฝีปากล่างให้แน่นแล้วพ่นลมออก จากล่องฟัน ส่วนเลข ๖ six นั้นให้เราออก เสียงซือตอนท้ายค�า ไม่ใช่ ซิก แต่เป็น ซิกสึ และเลข ๘ eight หลายคนออกเสี ย งแล้ ว คล้าย ๆ egg ที่แปลว่า ไข่ เราควรออกเสียง เอจทึ คะ ก็ฝึกบ่อย ๆ แล้วกันคะ เดี๋ยวก็เก่ง การฝึ ก การออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษให้ เหมื อ นฝรั่ ง ส� า หรั บ คนไทยนั้ น ค่ อ นข้ า งยาก เพราะเราขี้อาย พอให้ออกเสียงที่จะแลบลิ้น ท� า เสี ย งสู ง เสี ย งต�่ า ก็ จ ะดู ขั ด แย้ ง กั บ บุ ค ลิ ก โดยเฉพาะความเป็นสุภาพสตรี นอกจากนี้ เนื่องจากเราเริ่มเรียนภาษาอังกฤษแบบไม่ได้ ฝึ ก อ่ า นอั ก ษรสั ท ศาสตร์ (International Phonetic Alphabet (IPA)) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ มาตรฐานส�าหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา ทีน่ กั ภาษาศาสตร์ได้ประดิษฐ์สญ ั ลักษณ์เหล่านี้ เพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียง
ของมนุษย์ให้สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทน หน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์ เฉพาะที่ไม่ซ�้ากัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากล นั้นส่วนใหญ่นา� มาจากหรือดัดแปลงจากอักษร โรมัน สัญลักษณ์บางตัวน�ามาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับ อักษรภาษาใดเลย อย่างเช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาไทย หรือภาษาใด ๆ ในโลก ก็จะมีสัญลักษณ์เหล่านี้ก�าหนดเอาไว้ บางทีก็ เขียนกลับหัวกลับหาง เช่น ɐ ɔ ə ɟ ɥ ɯ ɹ ᴚ ʇ ʌ ʍ ʎ (ตัวหนังสือกลับหัวของ a c e f h m r R t v w y) เพื่อใช้เเทนเสียงต่าง ๆ ถ้านักเรียน ภาษาได้ศึกษา IPA อย่างเข้าใจ รับรองว่าการ ออกเสียงจะไม่มผี ดิ พลาดเลย โดยเฉพาะภาษา อังกฤษ เป็นภาษาที่มีปัญหามากในการออก เสียง เลยขอแนะน�าว่า ถ้าหากมีโอกาสได้เรียน การออกเสียงภาษาอังกฤษทีถ่ กู ต้อง แนะน�าให้ เรียนเถอะค่ะ หลักสูตรเดียวเอาอยู่ นอกจากการออกเสียงโดยทั่วไปแล้วค�าใน ภาษาอังกฤษมากกว่า ๖๐% มีตัวอักษรที่ไม่ 57
เชื่อหรือไม่ว่า คนไทยส่วนใหญ่ ออกเสียง ๑-๑๐ ไม่ได้ทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เลข ๓ Three, เลข ๕ five เลข ๖ six เลข ๗ seven และ เลข ๘ eight
58
ออกเสียง หรือ อักษรเงียบ (อังกฤษ : Silent Letters) ท�าให้ยากต่อการอ่านเพราะเราคิด ว่าจะต้องออกเสียงตามอักษรที่เขียนไว้ ดังนั้น ตัวอย่างต่อไปนี้ เป็นตัวอักษรในค�าต่าง ๆ ที่ไม่ ต้องออกเสียง •A • ea- เช่น treadle (เทร็ดเดิล) bread (เบร็ด) thread (เธร็ด) • ค�าที่ลงท้ายด้วย -cally ทั้งหลาย (ซึ่ง al จะไม่ออกเสียง) เช่น technically (เทค-นิค-ลี) logically (ลอ-จิค-ลี) politically (โพ-ลิ-ติค-ลี) •B • -mb เช่ น lamb (แลม) bomb/ bomber (บอม/บอมเมอร์ ) comb (คม) numb (นั ม ) thumb (ธั ม ) tomb (ทู ม ) plumb/plumber พลัม/พลัมเมอร์ • -bt เช่น debt (เด็ท) doubt (เดาท์) subtle (ซัทเทิล) •C • sc- เช่น scissors (ซิสเซอร์ส) science (ไซแอนซ์) scent (เซนท์) muscle (มัสเซิล) • ค�าอื่น ๆ เช่น acquit (อะควิท) acquire (อะไควร์) czar (ซา/ซาร์) yacht (ย็อท/ย้าท) victual (วิทัล ) indict/indictable (อินไดท์/ อินไดเทเบิล) Tucson (ทูซอน) Connecticut (คอนเนทิคัท) •D • -dg- เช่น edge (เอ็จ) bridge (บริจ) ledge (เล็จ)
• -nd- เช่น handkerchief (แฮงเคอชิฟ) handsome (แฮนซั ม ) landscape (แลนสเกป) sandwich (แซนวิช) Windsor (วินเซอร์) รวมทั้ง grand ต่าง ๆ ที่เป็นปู่ย่า ตายาย เช่ น grandma/grandmother grandpa/grandfather grandson/ granddaughter และ Wednesday (เวนสเดย์ ตัว e ก็เงียบด้วย) •E • ส่วนใหญ่ที่ตามท้ายตัวสะกดจะไม่ออก เสียง เช่น fame (เฟม) serve (เซิฟ/เซิร์ฟ) rite (ไรท์) more (มอร์) clue (คลู) vogue (โว้ก) corpse (คอร์พส) • ค�ากริยาหลาย ๆ ค�าที่ลงท้ายด้วย -en พอเติม -ing หรือ -er ตัว e (และตัว n) ก็จะไม่ ออกเสียง เช่น fastening/fastener (ฟาสนิง/ ฟาสเนอร์) whitening/whitener (ไวท์นิง/ ไวท์เนอร์) softening/softener (ซอฟนิง/ ซอฟเนอร์) • F -- halfpenny (เฮพนี) •G • -gn เช่น align (อะไลน์) design (ดีไซน์) gnash (แนช) reign (เรน) champagne (แชม เพน) resign (รีไซน์ แต่ออกเสียงตัว g ใน resignation เรสิกเนชัน) • -gh (ซึ่งจะไม่ออกเสียงทั้ง g และ h) เช่น light (ไลท์) high (ไฮ) eight (เอท) straight (สเตรท) • ค�าอื่น ๆ เช่น diaphragm (ไดอะแฟรม)
พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ฝกออกเสียงดัง ๆ นะคะ และเพื่อความแน่ใจขอให้เข้าไปฝกฝน การออกเสียงเพิ่มเติมเว็บไซต์ ฝกภาษาอังกฤษหรืออาจจะพิมพ์ว่า English Pronunciation
•H • wh- เช่น what (ว็อท) where (แวร์) when (เว็น) whisper (วิสเพอร์) whistle (วิสเซิล) • xh- เช่ น exhaust (เอ็ ก ซอสต์ ) exhibition (เอ็กซิบิชัน) exhibit (เอ็กซิบิท) • h น�าหน้าสระ honor/honour (ออเนอร์) honest (ออเนสต์) hour (อาวร์) heir (แอร์) • ค�าอื่นๆ เช่น ghost (โกสต์) khaki (กากี) rhyme (ไรม์) school (สคูล) Thames (เทมส์) Pooh (พู) • I -- business (บิสเนส) • J -- ไม่มี • K -- kn- เช่น knee (นี) know (โน) knight (ไนท์) knowledge (นอเล็จ) •L • -al- เช่น talk (ทอค) walk (วอค) chalk (ชอค) calf (คาฟ) half (ฮาฟ) psalm (ซาม) calm (คาม) salmon (แซมอน) almond (อามอนด์) • -ol- เช่น folk (โฟค) yolk (โยค) • could/should/would (คู้ด/ชู้ด/วู้ด) • M -- mnemonic (นีโมนิค) grammar (แกรมาร์ ออกเสียงตัว m แค่ตัวเดียว) •N • -mn เช่น autumn (ออทัม) condemn (คอนเด็ม) damn (แดม) hymn (ฮิม) column (คอลัม แต่ออกเสียงตัว n ใน columnist คอลัมนิสต์) • ค�าอื่น ๆ เช่น monsieur (เมอซู) • O -- leopard (เล็ พ เพิ ด ) jeopardy (เจ็พเพอดี) หลักเมือง กันยายน ๒55๖
•P • pn- เช่ น pneumatic (นิ ว แมติ ก ) pneumonia (นิวมอเนีย) • ps- เช่ น psychology (ไซโคโลจี ) pseudo (ซูโด) psalm (ซาม) corps (เอกพจน์ อ่าน โค พหูพจน์อ่าน โคส) • pt- เช่น ptomaine (โทเมน) Ptolemy (โทเลมี) receipt (รีซีท) • pb- เช่ น cupboard (คั บ บอร์ ด ) clapboard (คลับบอร์ด) Campbell (แคมเบล) • ค�าอื่น ๆ เช่น coup (คู) raspberry (ราสเบอรี) • Q -- ไม่มี •R • diarrhea (ไดอะเรีย ออกเสียง r ตัวเดียว) • ใน British English ตัว r ที่อยู่หน้า พยัญชนะหรือสระตัวอื่น จะเป็นอักษรเงียบ เช่น card (ค้าด) fork (ฟ้อค) แต่ใน American English จะออกเสียง (คาร์ด ฟอร์ค) •S • -sl เช่น isle (ไอล์) island ไอแลนด์ aisle (ไอล์ เหมือน isle เลย a ตัวแรกก็เงียบด้วย) • ค� า อื่ น ๆ เช่ น Illinois (เอ็ ล ลิ น อย) bourgeois (เบอร์จัว) viscount (ไวเคานท์) fracas (เฟรคา แต่ค�านี้อเมริกันออกเสียงตัว s ด้วย จะออกเป็น เฟรคัส) debris (เดบรี) apropos (อัพโพรโพ) •T • st- เช่น listen (ลิสซึน) fasten (ฟาส เซน) castle (คาสเซิ ล ) rustle (รั ส เซิ ล ) asthma (แอสมา) Christmas (คริสต์มาส) tsunami (ซูนามิ)
• -et เช่น ballet (บัลเล) buffet (บัฟเฟ) gourmet (อังกฤษ กัวเม อเมริกัน กัวร์เม) • ft- เช่ น soften (ซ็ อ ฟเฟน) often (อ็อฟเฟน แต่ค�านี้ออกเสียงตัว t ด้วยก็ได้ อ็อฟเทน) • rapport (รัพพอร์) • U -- u ทีน่ า� หน้าสระ ไม่ออกเสียง เช่น guard (กาด/การ์ด) guess (เกส) build (บิลท์) guide (ไกด์) four (ฟอ/ฟอร์ เหมือน for) tongue (ทังก์) colleague (คอลลีก) cheque (เช็ค) • V -- ไม่มี •W • wr- เช่น write (ไรท์) wrong (รอง) wrist (ริสต์) • sw- เช่ น sword (ซ้ อ ด) answer (อานเซอร์) • wh- เช่น whore (ฮอร์) whole (โฮล) who (ฮู) • rw- เช่น Norwich (นอริช) Warwick (วอริค) • ค�าอื่น ๆ เช่น two (ทู) Greenwich (กรีนนิช) • X -- faux pas (โฟ พา) Sioux (ซู) • Y -- say (เซ) mayor (เมเออร์/แมร์) • Z -- rendezvous (รอนเดวู) laissez-faire (ลัซเซแฟร์) chez (เช) ฝึ ก ออกเสี ย งดั ง ๆ นะคะและเพื่ อ ความ แน่ใจขอให้เข้าไปฝึกฝนการออกเสียงเพิ่มเติม เว็บไซต์ฝึกภาษาอังกฤษหรืออาจจะพิมพ์ว่า English Pronunciation 59
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
อันตรายจากการแคะหู ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุนส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ค�
าว่า “ขี้” ทุกคนก็ย่อมรู้ว่าเป็นสิ่งที่ ไม่ดีอย่างแน่นอน ไม่ว่าของสิ่งใด ถ้ามี ค�าว่า ขี้ น�าหน้าแล้วมักจะไม่เป็นมงคล เสมอ อย่างอวัยวะในร่างกาย เช่น หัว ตา จมูก ปาก ฟัน ผิวหนัง ถ้าเติม ค�าว่า “ขี้” ลงไปข้าง หน้า เป็นขี้หัว ขี้ตา ขี้มูก ขี้ปาก ขี้ฟัน ขี้ไคล คนก็ไม่อยากแตะต้อง ได้ยินชื่อก็ไม่เสนาะหู ด้วยภาพพจน์เช่นนี้ จึงท�าให้ “ขี้” ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นของดี ดีอย่างวิเศษทีเดียว มีประโยชน์ มากมายแต่ต้องถูกมองเป็นของไม่ดี เป็นที่ น่ารังเกียจไปด้วย สิ่งนั้นคือ “ขี้หู” “ขี้หู” อยู่เกือบนอกสุดของหู ซึ่งมีหน้าที่ ส�าคัญคือ ๑. เป็นยาฆ่าเชื้อ คอยท�าลายแบคทีเรียที่ จะล่วงล�้าเข้าไปในรูหู เพราะถ้ามีการติดเชื้อ ของผนั ง รู หู การอั ก เสบก็ จ ะลามลึ ก เข้ า สู ่ หู ส่วนกลางและส่วนในได้ ๒. คอยป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าหู เช่น แมลง หากจะบินเข้าหูกจ็ ะติดขีห้ ู หรือแม้แต่จะ มีผงหรือฝุ่นละอองเข้าหู ก็จะติดอยู่ที่ขี้หูก่อน
๖0
๓. ท� า หน้ า ที่ ห ล่ อ ลื่ น และเคลื อ บผนั ง หู ให้ ชื้ น อยู ่ เ สมอเพื่ อ ป้ อ งกั น การอั ก เสบ ใน ฤดูหนาวผิวหนังจะเป็นขุยขาว ๆ ซึ่งเกิดเพราะ ความชื้น ในอากาศต�่ า ผิ ว หนั ง จึ ง แห้ ง แตก และคั น อาจต้ อ งทาครี ม แต่ ผิ ว หนั ง ของ รูหูบางกว่ามาก จึงต้องมีน�้ามันคอยเคลือบ อยู่ตลอดเวลา มิฉะนั้นก็จะแตกระแหง เกิด การติดเชื้อตามมาได้ง่ายปกติ ขี้หูคนเราจะมี การสร้างขึ้นตลอดเวลา ขี้หูที่สร้างใหม่จะชื้น พอเก่าแล้วจะแห้ง และด้วยความกระเทือน ของการเคี้ยวอาหาร ขี้หูก็จะหลุดออกมาเอง แล้วก็สร้างขึ้นใหม่ เป็นอย่างนี้อยู่ตลอดเวลา บางคนที่มีการสร้างขี้หูมากกว่าปกติ ยังไม่ทัน แห้งก็สร้างขึ้นใหม่ ท�าให้เกิดอัดกันแน่นขึ้น อาการเช่นนี้แพทย์จะเป็นผู้รักษาให้ พบไม่ บ่อยนัก การอักเสบของหูส่วนนอกส่วนใหญ่เกิด ขึ้นเพราะ ๑. ถ้าเป็นผู้ชาย ก็มักซุกซนเอาของแข็ง แคะหูเอง หรือให้ช่างตัดผมแคะเอาขี้หูออกให้
บอกว่าคัน ๆ พอแคะเสร็จก็ว่าสบายดี ผลคือ เมื่อไม่มีขี้หูก็เกิดเชื้อราขึ้นแทน ๒. ถ้าเป็นเด็กเล็ก ๆ ก็จะเกิดจากความรัก ของคุณแม่ทดี่ แู ลสุขภาพลูกอย่างดีมาก คือเมือ่ เห็นในหูลูกมีขี้หู ก็พยายามเอาออกให้ บางคน ใช้กิ๊บติดผมแคะหู บางคนทันสมัยหน่อยก็ใช้ ไม้พันส�าลีส�าเร็จรูป (ที่ว่าสะอาดบริสุทธิ์แล้ว) แคะ แต่ความจริงเป็นการกระทุ้งขี้หูที่อยู่ตื้น ๆ ให้ลึกเข้าไป รอวันที่จะอักเสบและเป็นหนอง เท่านั้น หรือถ้าเช็ดขี้หูออกได้จนหมด ก็คือ การเช็ดเอายาวิเศษทีช่ ว่ ยป้องกันโรคหู ออกไป นั่นเอง ๓. เด็ ก โตมั ก ชอบใช้ วั ต ถุ เ ท่ า ที่ จ ะหาได้ ไชหู เ ล่ น อาจไชหู ตั ว เอง หรื อ บางครั้ ง ก็ ไ ช หูเพื่อน สนุกดี ผลก็คือ ขี้หูถูกกระทุ้งลึกเข้าไป หนังหูถลอก บางครั้งลึกจนแก้วหูทะลุ (เมื่อ แก้วหูทะลุ การได้ยินเสียงจะเสียไปเพียงเล็ก น้อยเท่านั้น บางคนไม่รู้ตัวว่าแก้วหูตนเองทะลุ ด้วยซ�้า) เมื่อแก้วหูทะลุก็จะเกิดการอักเสบ ของหูส่วนกลางและลามถึงส่วนในได้ง่ายมาก
ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุนส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ธรรมชาติได้สร้างหูไว้ในที่ ๆ ปลอดภัยทีส่ ดุ แล้ว ได้สร้างขบวนการป้องกันอันตรายไว้ให้หลาย อย่าง โดยเฉพาะปราการด่านแรกคือ ขี้หู ซึ่งมี ประโยชน์เหลือหลายดังกล่าวแล้ว แต่ท�าไมเรา จึงไปรังเกียจสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์นกี้ นั หนักหนา จะ ว่าน่าเกลียดก็ไม่ได้มีใครมองเห็น จะว่าหนักหู ก็คิดว่าน�้าหนักคงไม่มีปัญหาแน่ ๆ จะว่าท�าให้ คันหูก็ไม่ใช่ ตรงข้ามจะป้องกันการคันหูให้ ด้วยซ�า้ ปัญหาอันเกิดจากขีห้ ู อาจมีบา้ ง ถ้าหาก มีการสร้างมากเกินขนาดในบางคน จะท�าให้ เกิดการอัดแน่นในรูหู ท�าให้หูอื้อ เมื่อเกิดกรณี เช่นนี้ขอให้นึกถึงแพทย์เป็นอันดับแรก หน้าที่ แคะขี้หูเป็นหน้าที่ของแพทย์ เพราะแพทย์ จะพิจารณาเสียก่อนว่าควรแคะออกหรือไม่ ไม่ใช่ว่ามาจ้างให้แคะก็แคะ หรือถ้าท่านคิดว่า จะท�าความสะอาดหูควรศึกษาให้ถูกต้อง และ ทราบถึงอันตรายจากการแคะหู “อันตรายใช้ไม้ปน่ั หู แคะขีห้ ”ู เสีย่ งหูหนวก แก้วหูทะลุ พบผู้ป่วยหูอื้อเพราะขี้หูอุดตันเหตุ จากใช้คัดตอนบัดขนาดใหญ่ปั่นในรูหู เดือนละ กว่า ๑๐๐ ราย (ข้อมูลการเข้ารับการรักษาจาก กระทรวงสาธารณสุข) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรค หู คอ จมูก เตือน อันตรายการใช้ไม้ปั่นหู แคะขี้หู เสี่ยงหูอักเสบ เรือ้ รัง โดยเฉพาะบริการแคะหูในร้านตัดผมชาย อาจติ ด เชื้ อ จากเครื่ อ งมื อ ที่ ไ ม่ ส ะอาด เสี่ ย ง แก้วหูทะลุ หูหนวกได้ ขี้หูมีประโยชน์ ไม่ใช่ สิ่งสกปรก การใช้ไม้แคะหู ใช้ขนไก่ หรือใช้ ไม้พันส�าลี แคะ ปั่น หรือแหย่เข้าไปในรูหูเพื่อ แก้คัน หรือเพื่อเอาน�้า เอาขี้หูออกมา เป็นสิ่งที่ ไม่ควรท�า เนื่องจากอาจท�าให้ขี้หูเข้าไปอุดตัน ในรูหู หรือเกิดอันตรายต่อผิวหนังในรูหู เสี่ยง ต่อการติดเชือ้ โรค หรือแก้วหูทะลุได้ โดยเฉพาะ การใช้บริการแคะหูในร้านตัดผมชายนั้นไม่ ควรท�าเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากใช้เครื่องมือที่ ไม่สะอาดมาแคะหู จะท�าให้เกิดอันตรายใน ขณะแคะหู และติดเชือ้ จากเครือ่ งมือไม่สะอาด
หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ขี้หูมีประโยชน์ ไม่ใช่สิ่งสกปรก การใช้ไม้แคะหู ใช้ขนไก่ หรือใช้ไม้ พันสําลี แคะ ปั่น หรือแหย่เข้าไป ในรูหูเพื่อแก้คัน หรือเพื่อเอานํ้า เอาขี้หูออกมา เป็นสิ่งที่ไม่ควรทํา
ทัง้ เชือ้ แบคทีเรีย เชือ้ รา หรือหากแคะลึกเกินไป อาจท�าให้แก้วหูทะลุได้ หูของคนเราตามปกติแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ ๑. หูชั้นนอก เริ่มตั้งแต่ใบหู เข้าไปช่องหู และแก้วหู ซึ่งแก้วหูนั้นเป็นเนื้อเยื่อที่มีความ บอบบางมาก หนาประมาณ ๐.๑ มิลลิเมตร ๒. หูชั้นกลาง เป็นส่วนที่อยู่ติดจากแก้วหู มีลักษณะเป็นห้องเล็ก ๆ และมีท่อเชื่อมกับ ทางด้านหลังจมูกเพือ่ ปรับความดันได้ มีกระดูก น�าเสียง ๓ ชิ้น ๓. หู ชั้ น ใน ซึ่ ง อยู ่ ส ่ ว นในสุ ด มี อ วั ย วะ ประสาทสั ม ผั ส ๒ อย่ า งฝั ง อยู ่ ใ นกระดู ก ที่ แข็งแรงมาก คือ อวัยวะท�าหน้าที่รับเสียง และ อวัยวะท�าหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว โดยที่หูชั้นนอกจะมีขี้หู ซึ่งเกิดจากขี้ไคลที่ ผสมกับน�้าที่อยู่ในต่อมที่อยู่ในหู ท�าหน้าที่ดัก ฝุ่นละออง สิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ และมีกลิ่น เฉพาะ ดังนั้นขี้หูจึงไม่ใช่สิ่งสกปรกแต่อย่างใด ไม่จ�าเป็นต้องแคะหรือปั่นออกมาเพราะโดย ธรรมชาติขี้หูจะค่อย ๆ เลื่อนออกมาเอง แต่คน ทั่วไปมักจะเข้าใจผิดว่าขี้หูเป็นสิ่งสกปรกและ พยายามแคะออกเพือ่ ให้หสู ะอาด การท�าความ สะอาดรู หู โ ดยใช้ แ อลกอฮอล์ ชุ บ ไม้ พั น ส� า ลี เพือ่ เช็ดท�าความสะอาดในรูหกู ไ็ ม่ควรท�า เพราะ แอลกอฮอล์ ไ ม่ ไ ด้ ฆ ่ า เชื้ อ โรคเท่ า นั้ น แต่ จ ะ ท�าให้ผิวหนังบริเวณรูหูแห้ง หากแอลกอฮอล์ ไหลเข้าไปถึงบริเวณหูชั้นกลางที่มีแผลถลอก อยู ่ แ ล้ ว ก็ จ ะเกิ ด การระคายเคื อ งและการ อักเสบตามมา ท�าให้เป็นหูน�้าหนวก นอกจากนี้ การใช้ไม้พนั ส�าลีหรือคอดตอนบัด (Cotton bud) เข้าไปเช็ดท�าความสะอาด ภายในรูหู ก็ไม่ควรท�าเช่นกัน เพราะผิวหนัง ในรูหูบางมาก จะท�าให้เป็นแผลถลอกในรูหู เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ พอแผลเริ่มหายมักจะ เกิดอาการคัน และเมื่อมีอาการคัน ก็มักจะใช้ ไม้แคะหูแก้อาการคัน กระท�าวนเวียนกันไป ท�าให้เกิดอาการหูอักเสบเรื้อรัง หรือบางคน ใช้ไม้คอดตอนบัดปัน่ ลึก ก็อาจท�าให้แก้วหูทะลุ มี อ าการปวดในหู ไ ด้ ห ากใช้ ค อดตอนบั ด ที่ มี ขนาดใหญ่ ห รื อ เท่ า กั บ รู หู เข้ า ไปปั ่ น ในรู หู เท่ากับว่าเป็นการดันขี้หูให้ลึกลงไปอีก ท�าให้ กลไกที่ขี้หูจะดันออกมาตามธรรมชาติเสียไป เกิดปัญหาขี้หูอุดตัน การได้ยินเสียงไม่ชัดเจน เหมือนปกติ ต้องมาพบแพทย์ เพื่อหยอดยา
และดูดขี้หูออกมา ซึ่งถ้าผู้ท�าไม่มีความช�านาญ ก็เสี่ยงต่อหูน�้าหนวกได้ ทั้งนี้ วิธีการท�าความสะอาดหูอย่างถูกวิธี และไม่เป็นอันตรายนั้น ขอให้ท�าความสะอาด เฉพาะใบหู และบริเวณปากรูหู โดยใช้ส�าลี หรือผ้าขนหนูนุ่ม ๆ ชุบสบู่หรือน�้า เช็ดเบา ๆ บริเวณใบหู และขณะอาบน�้า สระผม ขอให้ ระวังอย่าให้น�้าเข้าไปในรูหู หากรู้สึกว่ามีน�้า เข้ า หู บ ่ อ ย ควรป้ อ งกั น โดยใช้ ส� า ลี ป ั ้ น เป็ น ก้อนขนาดประมาณหัวแม่มืออุดหูก่อนอาบน�า้ สระผม ในกรณีของเด็กเล็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง ไม่ควรใช้คอดตอนบัดท�าความสะอาด เพราะ เด็กมีรูหูที่ตื้น ก่อนอาบน�้าให้เด็กขอให้ใช้ส�าลี อุดหูเพื่อป้องกันน�้าเข้าหู ถ้าเกิดความผิดปกติ แนะน�าให้ไปพบแพทย์ “สิ่งที่คนเรามองข้ามไปเกี่ยวกับการดูแล สุ ข ภาพหู คื อ ไม่ ค วรฟั ง เพลงเสี ย งดั ง นาน เกินไป จะท�าให้เกิดโรคหูตึงไปจนถึงหูดับถาวร ข้อจ�ากัดในการอยู่ในที่เสียงดังคือ ถ้าอยู่ในที่ ที่มีเสียงดังตั้งแต่ ๘๕ เดซิเบลขึ้นไป ไม่ควร อยู่นานเกินวันละ ๘ ชั่วโมง และต้องมีเครื่อง ป้องกันเสียงสวมครอบหูไว้ด้วย รวมทั้งหาก เกิดอาการเจ็บปวดบริเวณหู หรือได้ยินเสียง ไม่ชัดเจน ไม่ควรซื้อยามาหยอดเอง ขอให้มา พบแพทย์ เพือ่ ตรวจหาสาเหตุและรักษาให้ตรง ตามโรคและถูกวิธี” ขี้หูจ�าเป็นต้องเอาออกหรือไม่ ขี้หูถูกสร้างจากต่อมสร้างขี้หูโดยตรง ซึ่ง มีเฉพาะในช่องหูเท่านั้น ขี้หูมีประโยชน์หลาย อย่ า งคื อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ แ มลงเข้ า ไปท� า ร้ า ย บริเวณแก้วหูได้โดยง่าย และการมีขี้หูในช่องหู จะท�าให้ช่องหูมีความเป็นกรดอ่อน ๆ ซึ่งช่วย ป้องกันการติดเชื้อครับ ดังนั้นจึงไม่แนะน�าให้ แคะหู โดยปกติร่างกายจะมีกลไกก�าจัดขี้หูโดย ธรรมชาติอยูแ่ ล้ว การแคะหูหรือปัน่ หูอาจท�าให้ ร่างกายสร้างขี้หูที่ผิดปกติ และมากกว่าปกติ ขีห้ ใู นภาษาอังกฤษใช้ค�าว่า wax แปลว่า น�้ามัน เคลือบช่องหู ไม่เกี่ยวอะไรกับขี้เลย และไม่ใช่ ของสกปรก จึงไม่ตอ้ งแคะ หรือท�าความสะอาด ช่องหู หากมีปญ ั หาทางด้านหู คอ จมูกสามารถ ปรึกษาและรับการรักษาจากแพทย์เฉพาะทาง ของส� า นั ก งานแพทย์ ส� า นั ก งานสนั บ สนุ น ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทุกวันพุธ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๓๐ น. ๖1
พลเอกหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จทรงเป็นประธานในพิธวี างพานประดับ พุ่มดอกไม้ ณ พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์พระผู้พระราชทาน ก� า เนิ ด โรงเรี ย นนายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า โดยมี พลเอก ยุ ท ธศั ก ดิ์ ศศิ ป ระภา รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การ กระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม รองปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ร่วมรับเสด็จ ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จ.นครนายก เมื่อ ๕ ส.ค.๕๖
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วย ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการเหล่าทัพ บันทึกเทปอาเศียรวาท ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหามหาราชินี ณ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก เมื่อ ๗ ส.ค.๕๖
พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม น�าคณะนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ ผู้แทนเหล่าทัพ และหัวหน้าหน่วยขึ้นตรงของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กระท�าพิธีถวายเครื่องราชสักการะวางพานพุ่มเงิน พานพุ่มทอง ถวายพระพรและถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติต่อหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ณ ห้องพินิตประชานาถ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๘ ส.ค.๕๖ ๖๒
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เดินทางตรวจเยีย่ มกองบัญชาการกองทัพไทย ในฐานะรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวง กลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมคณะ ณ กองบัญชาการกองทัพไทย เมื่อ ๑๔ ส.ค.๕๖
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เดินทางตรวจเยีย่ มกองบัญชาการกองทัพบก ในฐานะรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวง กลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมคณะ ณ กองบัญชาการกองทัพบก เมื่อ ๑๖ ส.ค.๕๖
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เดินทางตรวจเยี่ยมกองบัญชาการกองทัพอากาศ ในฐานะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมคณะ ณ กองบัญชาการกองทัพอากาศ เมื่อ ๑๖ ส.ค.๕๖
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เดินทางตรวจเยีย่ มกองบัญชาการกองทัพเรือ ในฐานะรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวง กลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมคณะ ณ กองบัญชาการกองทัพเรือ เมื่อ ๒๓ ส.ค.๕๖ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
๖3
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๑ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ ศาลาว่าการพระราชวัง ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ ๑๒ ส.ค.๕๖
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม รองปลัดกระทรวงกลาโหม นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมชมการแสดงมหาดุริยางค์ไทย-สากล เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ ศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย เมื่อ ๑๐ ส.ค.๕๖
พลเอก ทนงศั ก ดิ์ อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น ปลั ด กระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด ผ้ า แพรคลุ ม ป้ า ยชื่ อ “กระทรวงกลาโหม” โดยมี รองปลัดกระทรวงกลาโหม นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมพิธี บริเวณด้านหน้ากระทรวงกลาโหม หลังจากนั้น ปลัดกระทรวงกลาโหมเป็นประธานในพิธีเปิด ห้องก�าปั่นภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๕ ส.ค.๕๖ ๖4
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบเครื่อง ราชอิสริยาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) พร้อมทั้งประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ นาย เชียง ชี ฟู (Chiang Chie Foo) ปลัดกระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐสิงคโปร์ ณ ห้องสุรศักดิ์ มนตรี เมื่อ ๒๓ ส.ค.๕๖
พลอากาศเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีวันคล้ายวันสถาปนาโรงงานเภสัชกรรมทหาร ศูนย์การ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ครบรอบปีที่ ๕๐ ณ โรงงานเภสัชกรรมทหาร ถ.กล้วยน�้าไท เมื่อ ๒๑ ส.ค.๕๖
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม (๑) เป็นประธานในการแถลงผลงานของคณะท�างานภายใต้การก�ากับดูแลของ รองปลัดกระทรวงกลาโหม จ�านวน ๘ คณะ โดยมี รองปลัดกระทรวงกลาโหม (๒), (๓) และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ร่วมในการสัมมนาดังกล่าว ณ พัฒนากอล์ฟคลับ แอนด์ รีสอร์ท อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เมื่อ ๑ - ๒ ส.ค.๕๖ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
๖5
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ พลตรี Su Guanghui ผู้ช่วยทูตทหารสาธารณรัฐประชาชนจีนประจ�า ประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�านับและหารือข้อราชการ ณ ห้องสราญรมย์ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๒ ส.ค.๕๖
พลอากาศเอก วินัย เปล่งวิทยา รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการปัจฉิมนิเทศข้าราชการประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ส�าหรับ ผู้เกษียณอายุราชการ และผู้เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุราชการก่อนก�าหนด ณ ห้องราชเสนีพิทักษ์ ชั้น ๑๐ อาคารส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๑๖ ส.ค.๕๖
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ ผู้อ�านวยการส�านักนโยบายและแผนกลาโหม เป็นผู้แทน ปลัดกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ พันโท Yann Dirou ผู้ช่วยทูตทหารฝรั่งเศสประจ�า ประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมอ�าลา ณ ห้องกัลยาณไมตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๔ ส.ค.๕๖ ๖๖
พลตรี ชั ย พฤกษ์ พู น สวั ส ดิ์ เลขานุ ก าร ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมในการ ตั ด สิ น การประกวดตามโครงการจิ ต ส�า นึ ก รักเมืองไทย ประจ�าปี ๒๕๕๖ ตามแผนงาน โครงการสร้างจิตส�านึกในการป้องกันประเทศ และรักษาความมั่นคงของ สป. ณ ห้องประชุม ชัน้ ๑๐ อาคาร สป. (แจ้งวัฒนะ) เมือ่ ๒๕ ส.ค.๕๖
ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดกิจกรรมวันท�าความสะอาดใหญ่ ครั้งที่ ๔ (Big Cleaning Day 4) ณ บริเวณภายในศาลาว่าการกลาโหม และบริเวณรอบศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๑ ส.ค.๕๖
ส�านักนโยบายและแผนกลาโหม จัดการอบรมสัมมนาเรื่อง “สืบรอยวีรกษัตริย์ ฟื้นประวัติพิชัยสงคราม เมืองสยามยามศึก” เพื่อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยน�าข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ไปอบรมสัมมนาและศึกษาดูงานสถานที่ ประวัติศาสตร์ในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา และ จ.กาญจนบุรี เมื่อ ๑๗ - ๑๙ ก.ค.๕๖ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
๖7
บทสัมภาษณ์พิเศษ
นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เรียบเรียงโดย : พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ประวัติของ นางนศพร อภิรักษ์ โยธิน
นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม คู่สมรส เป็นภริยาของ พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ต�าแหน่ง ปลัดกระทรวงกลาโหม ประวัติส่วนตัว - ครอบครัว • เกิ ด วั น ที่ ๒๑ มิ ถุ น ายน ๒๕๑๗ ปัจจุบันอายุ ๓๘ ปี • บิดาชื่อ นายสุรเดช ศีลแดนจันทร์ • มารดาชือ่ นางสุลกั ขณา ศีลแดนจันทร์ การศึกษา • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษสมัยใหม่ (Master of in Modern English Language), (Royal Holloway University of London) • ประกาศนียบัตรชั้นสูงสาขาภาษาอังกฤษ เพื่อหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ (Postgraduate Diploma in English), (Royal Holloway University of London) • ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เกียรตินิยมอันดับ ๒ อาชีพ • อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • เจ้าหน้าที่และผู้ช่วยผู้จัดการส�านักนายกสมาคมโรงเรียนนานาชาติแห่งประเทศไทย ณ สมาคมโรงเรียนนานาชาติแห่งประเทศไทย International Schools Association of Thailand (ISAT) • ครูพิเศษสอนคณะครูชาวต่างชาติ ณ โรงเรียนบางกอกพัฒนา • เป็นผู้ประสานงานและเลขานุการอาจารย์ใหญ่ ด้านกิจกรรมนอกหลักสูตรและ การกีฬา ณ โรงเรียนบางกอกพัฒนา (Bangkok Patana School) • นักแปลอิสระ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ • จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ได้รับพระราชทาน เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ • ตริตาภรณ์มงกุฎไทย ได้รับพระราชทาน เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ ปฏิบัติหน้าที่ • นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๖8
ว
ารสารหลั ก เมื อ งฉบั บ เดื อ นกั น ยายน ๒๕๕๖ นี้ ได้รับเกียรติจาก นางนศพร อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น นายกสมาคมภริ ย า ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมให้สัมภาษณ์กับกองบรรณาธิการวารสาร หลักเมือง ถึงการด�าเนินงานของสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในรอบ ๑ ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ.๒๕๕๖) ซึ่งได้ให้ มุมมองและแง่คิดของการท�างานไว้อย่างน่า สนใจ ถึงการสร้างความร่วมมือและการสร้าง การมีส่วนร่วมกันท�างานเพื่อสังคม กองบรรณาธิการ : ในฐานะนายกสมาคม ภริยาฯ ท่านมีหลักในการบริหารสมาคมภริยาฯ อย่างไร นายกสมาคมภริ ย าฯ : การบริ ห ารงาน ของสมาคมภริย าข้ า ราชการส�า นักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ทีผ่ า่ นมานี้ ยึดถือหลักของธรรมชาติ หรือหลักแห่งความ เป็นจริงในการท�างาน ด้วยการใช้พลังภายใน องค์กรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดก่อน ขณะ เดี ย วกั น ก็ เ สริ ม ความร่ ว มมื อ จากภายนอก ร่วมกันไป เพื่อขับเคลื่อนงานไปสู่เป้าหมายที่ ก�าหนดร่วมกันอย่างเป็นระบบ ด้วยหลักคิด ร่วมกันคือ “เห็นประโยชน์ร่วม คิดร่วม และ ท�าร่วม” ดิฉันให้ความส�าคัญกับพลังความ ร่วมมือภายในองค์กรค่อนข้างมาก ซึ่งประการ แรกที่ส�าคัญคือ ต้องสร้างความเชื่อมั่นและ ศรัทธาของคนในองค์กรก่อนว่าองค์กรของ เราท�าเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งที่เราจะ พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ร่วมกันท�านั้นเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และ ประการต่อไปก็ต้องสนับสนุนส่งเสริมให้เกิด ความร่วมมือกันทั้งกระบวนการคิดร่วมและ ท�าร่วมกัน คิดร่วมกันในเป้าหมายและวิธีการ ท�า เพื่อน�าไปสู่การท�างานร่วมกันด้วยความ เข้าใจ แบ่งมอบงานกันท�าตามความถนัด โดย มีกรอบเวลาที่ก�าหนดร่วมกัน ซึ่งได้รับความ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
ร่วมมือจากสมาชิกของสมาคมภริยาฯ ทุกคน เป็นอย่างดียิ่ง ขณะเดียวกันเราก็ได้ประสาน การท�างานกับองค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ของ สังคมที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด เพื่อเสริมการ ท�างานร่วมกันไป ซึ่งก็ท�าให้งานของสมาคม ภริยาฯ ในทุกภารกิจ เสร็จสิ้นเรียบร้อยไปได้ ด้วยดี ส�าหรับปัญหานั้น ดิฉันมีความเชื่อมั่น ว่า ความร่วมมือกันอย่างจริงใจและการสั่งสม ประสบการณ์การท�างานร่วมกันตลอดระยะ เวลาที่ผ่านมาของการด�าเนินงานของสมาคม ภริยาฯ จะท�าให้สมาคมฯ มีความแข็งแกร่ง ในโครงสร้างและระบบงาน สามารถร่วมกัน ท� า งานจนเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ชั ด และได้ รั บ การ ยอมรับจากสังคมมากขึ้น กองบรรณาธิการ : สมาคมภริยาฯ มีแนว ความคิดในการด�าเนินงานเรื่องการช่วยเหลือ ด้านสวัสดิการของข้าราชการส�านักงานปลัด กระทรวงกลาโหมอย่างไร นายกสมาคมภริยาฯ : การช่วยเหลือด้าน สวั ส ดิ ก ารของข้ า ราชการส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมนั้ น สมาคมภริ ย าฯ ให้ ความส� า คั ญ เป็ น ล� า ดั บ ต้ น ๆ เพราะเราคื อ ครอบครั ว ของข้ า ราชการส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ที่ต้องร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน ปัญหาต่าง ๆ ด้านสวัสดิการของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ก็คือปัญหาที่สมาคมฯ
ต้ อ งน� า มาเป็ น โจทย์ เ พื่ อ การขบคิ ด ร่ ว มกั น เอาใจเขามาใส่ใจเรา เพื่อจะเป็นส่วนหนึ่งของ การเสริมการด� าเนินงานด้านสวัสดิการของ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมที่ท�าอยู่แล้ว มิให้เป็นการก้าวก่ายงานกันหรือเป็นการสร้าง ปั ญหาเพิ่ ม เราใช้ ห ลั ก คิ ด ทางจิตใจในเรื่อง “ความเมตตา ปรารถนาดีต่อกัน” ควบคู่กับ การเข้าถึงและเข้าใจในปัญหาและสิ่งที่จะท�า ร่วมกัน โดยเราไม่ต้องการให้สมาชิกครอบครัว ของเราต้องเผชิญทุกข์เพียงล�าพัง โดยไม่มีคน เข้าใจ การให้กา� ลังใจแก่กนั การมีนา�้ ใจหยิบยืน่ ช่ ว ยเหลื อ กั น แม้ แต่ เ พี ย งเล็ ก น้อย ถือได้ว่า เป็นเรื่องที่สมาคมฯ ให้ความส�าคัญยิ่ง ทั้งนี้ เพื่ อ บรรเทาความทุ ก ข์ ความเดื อ ดร้ อ นที่ มี อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เท่าที่จะท�าได้ก่อน แต่ก็ ไม่สามารถท�าได้อย่างทั่วถึงหรือทุกเรื่องด้วย ข้อจ�ากัดต่าง ๆ ซึง่ ปัญหาต่าง ๆ ต้องคลีค่ ลายด้วย การใช้เวลา สิ่งที่ส�าคัญคือ ทุกครอบครัวต้อง พึ่ ง ตนเองก่ อ นและอยู ่ กั บ ความเป็ น จริ ง บน พื้นฐานของความพอเพียง มีความเข้าใจกัน และให้กา� ลังใจกันและกัน การเสริมการช่วยเหลือ จากภายนอกหรือจากสมาคมฯ ก็จะเป็นการ แสดงให้เห็นว่า ยังมีสมาคมฯ ที่มีความเข้าใจ และพยายามช่วยเหลืออยู่โดยภาพรวมแล้ว อยากบอกแทนสมาคมฯ กับข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมว่า “เราไม่ทิ้งกัน“ ๖9
กองบรรณาธิการ : ท่านมีความประทับใจ หรือความภูมิใจกับการปฏิบัติงานและผลการ ด�าเนินงานของสมาคมภริยาฯ ทีผ่ า่ นมาอย่างไร นายกสมาคมภริ ย าฯ : โดยปกติแ ล้ว จะ ภู มิ ใ จกั บ งานทุ ก งานที่ ท� า แม้ ว ่ า งานนั้ น จะ ส�าเร็จหรือไม่ก็ตาม ถือได้ว่าเราได้พยายาม ท� า ดี ที่ สุ ด แล้ ว อย่ า งน้ อ ยเราก็ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ กั บ สิ่งที่เราท�า และเราก็ได้บทเรียนกับงานที่เรา ท�าแล้วว่า เราต้องพัฒนาการท�างานเพิ่มขึ้น อย่างไร ตลอดระยะเวลา ๑ ปีที่ผ่านมาของ การท� า งานในฐานะนายกสมาคมภริ ย าฯ ร่วมกับสมาชิกสมาคมภริยาฯ ทุกคนนั้น ดิฉัน มีความภูมใิ จยิง่ ทีไ่ ด้รบั การตอบรับ ร่วมมือจาก สมาชิกสมาคมภริยาฯ ทุกคนด้วยความจริงใจ และมีไมตรีจิต รวมทั้งได้รับความเมตตาจาก ปลัดกระทรวงกลาโหมและรองปลัดกระทรวง กลาโหมทุ ก ท่ า น ตลอดทั้ ง ความร่ ว มมื อ จากหั ว หน้ า หน่ ว ยงานสั ง กั ด ส�า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมทุกท่านเป็นอย่างดี ถือว่า เป็นความประทับใจและความภาคภูมิใจยิ่ง ของดิ ฉัน และสมาชิ ก สมาคมภริยาฯ ทุก คน ส�าหรับงานของสมาคมภริยาฯ ที่ได้ด�าเนินการ โดยต้องขอรับการสนับสนุนและความร่วมมือ กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่ส�าคัญคือ งานกาชาด ซึง่ เป็นงานมหากุศล และงานโครงการช่วยเหลือ บุ ต รที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษของก� า ลั ง พล ส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ซึ่ ง ได้ รั บ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมเป็นอย่างดียิ่ง ทั้งสอง งานนี้สมาชิกทุกคนของสมาคมภริยาฯ และ 70
หัวหน้าหน่วยงานต่าง ๆ ของส�านักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ได้มีโอกาสท�างานร่วมกัน อย่างใกล้ชดิ ร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ ห้ขอ้ คิดเห็น ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการด� า เนิ น งานร่ ว มกั น อย่ า งเป็ น ระบบและมี ค วามชั ด เจนในทุ ก ขั้นตอนการด�าเนินงาน ถือเป็นความส�าเร็จที่ คงอยู่ร่วมกันของสมาคมภริยาฯ กับส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม โดยเฉพาะการออก ร้านงานกาชาดของส�านักงานปลัดกระทรวง กลาโหมและสมาคมฯ ที่ดิฉันได้มีโอกาสเป็น ผู้แทนร่วมกับสมาชิกสมาคมภริยาฯ เข้าเฝ้า รั บ เสด็ จ ฯ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ที่ เ สด็ จ ฯ มาทรงเยี่ ย มการด� า เนิ น งานของ ร้านกาชาดของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และสมาคมฯ ยั ง ความปลาบปลื้ ม ใจให้ กั บ สมาชิกสมาคมภริยาฯ และข้าราชการส�านักงาน ปลั ด กระทรวงกลาโหมที่ ส นั บ สนุ น งาน เป็นอย่างยิ่ง ส�าหรับงานโครงการช่วยเหลือ บุ ต รก� า ลั ง พลที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษนั้ น เป็ น การท� า ที่ มี จิ ต กุ ศ ล และความเมตตา ปรารถนาดี ร ่ ว มกั น ของครอบครั ว สมาชิ ก ข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่ตระหนักถึงความเป็นอยู่ของเพื่อนสมาชิก ครอบครัวของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในหลายครอบครั ว ที่ ต ้ อ งเผชิ ญ กั บ ความ ยากล�าบากในการดูแลบุตรทีม่ คี วามต้องการพิเศษ แต่เพียงล� าพัง จึงได้ร่วมกันจัดท� าโครงการ ดังกล่าวขึน้ และเริม่ ปรากฏเป็นรูปธรรมมากขึน้
เมื่อได้ร่วมกันจัดท�าระเบียบการบริหารงาน ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรองรับ การด� า เนิ น งานในระยะยาว อี ก ทั้ ง ร่ ว มกั น จัดหาทุนตั้งต้นและทุนสมทบการด�าเนินงาน จนมีความชัดเจนในวิธีการและการปฏิบัติ ซึ่ง ถือเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่มีความชัดเจนในกุศลจิต และความภาคภูมิใจร่วมกัน ในความพยายาม ที่จะหยิบยื่นช่วยเหลือและให้ก�าลังใจแก่กัน และกัน รวมทั้งเป็นประกายแห่งความหวัง ที่ เ ราจะก้ า วเดิ น ไปด้ ว ยกั น ทั้ ง สุ ข และทุ ก ข์ ร่วมกันตลอดไป พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการ ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในงานวันคล้ายวันสถาปนาสมาคมแม่บ้านทหารบก ครบรอบปีที่ ๓๗ ณ สโมสรทหารบกวิภาวดี โดยมี นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทันตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคม และคณะกรรมการฯ เฝ้ารับเสด็จ เมื่อ ๒ ส.ค.๕๖ นางนศพร อภิรกั ษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม นางสุรศรี ห้าวเจริญ อุปนายกสมาคม และ คณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมงานครบรอบ ๔๕ ปี มูลนิธสิ งเคราะห์ ครอบครัวทหารผ่านศึก ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร เมือ่ ๑๖ ส.ค.๕๖
นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมพิธีการอบรม ผูป้ กครองและผูป้ ระสานงานโครงการช่วยเหลือบุตรทีม่ คี วามต้องการพิเศษ ของส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องราชเสนีพทิ กั ษ์ ชัน้ ๑๐ อาคารส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๑๖ ส.ค.๕๖
นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ตรวจเยี่ยม ศพปน.พท. ศอพท. ชมผลิตภัณฑ์โอทอปการท�าผ้าห่มกันหนาว กลุ่มชุมชนแจ่งหัวริน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่, เยี่ยมชม ชมรมแม่บ้าน ศพปน.พท.ศอพท., เยีย่ มชม พิพธิ ภัณฑ์และศูนย์การเรียนรูด้ า้ นปิโตรเลียม, สักการะอนุสาวรียพ์ ระเจ้าฝางอุดมสิน พระนางสามผิว, พบปะครอบครัวเด็กทีต่ อ้ งการ ความช่วยเหลือของ ศพปน.พท.ศอพท. ณ ศพปน.พท.ศอพท. อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ เมื่อ ๘ - ๙ ส.ค.๕๖ หลักเมือง กันยายน ๒55๖
71
เนือ่ งในวโรกาสมหามงคลทรงพระเจริญพระชนมพรรษา ๘๑ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ๑๒ สิ ง หามหาราชิ นี ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง รั ต นาวดี ทองเล็ก นางสุรศรี ห้าวเจริญ นางนวลอนงค์ เปล่งวิทยา อุปนายกสมาคม และคณะกรรมการสมาคมฯ เข้าร่วม พิธถี วายราชสดุดี ณ แหล่งชุมนุมนายทหารสัญญาบัตร โรงพยาบาลพระมงกุ ฎ เกล้ า และจั ด กิ จ กรรม เลี้ ย งอาหารแก่ ป ระชาชนผู ้ ย ากไร้ ร ่ ว มกั บ สมาคม แม่บ้านทหาร - ต�ารวจ เมื่อ ๘ ส.ค.๕๖
สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มอบโล่ให้กับสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทีใ่ ห้ความร่วมมือสนับสนุนการจัดงานวันแม่แห่งชาติ ประจ�าปี ๒๕๕๖ โดยมีทนั ตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคม เป็นผูร้ บั มอบแทน นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร เมื่อ ๑๒ ส.ค.๕๖
ทันตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนาแม่บา้ นต�ารวจครบรอบ ๒๗ ปี ณ สโมสรต�ารวจ เมื่อ ๑๖ ส.ค.๕๖ 7๒
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม