128 ปี กระทรวงกลาโหม

Page 1

ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๑๒๘ ปี กระทรวงกลาโหม... บันทึก ๑๓๑ ปี โรงทหารหน้า

“ทวยราษฎร์รักบาทแม้ ยิ่งด้วยปิตุรงค์”


กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ปี

บันทึก

1


วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฺฒิโย

2


“ขอให้พระมหากษัตริย์เจ้าพร้อมด้วยปวงทหาร จงมีชัยชนะ ยังความเจริญส�ำเร็จในแผ่นดินเทอญ”

3


พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี / รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

พลเอก รุ่งโรจน์ จ�ำรัสโรมรัน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงกลาโหม

พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม

4


พลเอก สายัณห์ คัมภีร์พันธุ์ สมุหราชองครักษ์ พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอก อุดมเดช สีตบุตร ผู้บัญชาการทหารบก พลเรือเอก ไกรสร จันทร์สุวานิชย์ ผู้บัญชาการทหารเรือ

พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง ผู้บัญชาการทหารอากาศ

5


6


ค ำ ป ร า ร ภ ข อ ง ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม

กิจการทหารของชาติไทย ก่อกําเนิดมาพร้อม ๆ กับชาติไทย สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีท่ รงพิจารณาเห็นว่า การป้องกันประเทศและดํารงไว้ซงึ่ อิสรภาพ ตลอดจนบูรณภาพ แห่งชาติไทย ขึ้นอยู่กับกําลังทหารที่จัดระบบให้ทัดเทียมกับอารยประเทศ จึงโปรดเกล้า ฯ ให้รวมทหารบก ทหารเรือ เข้าด้วยกัน โดยตราพระราชบัญญัติจัดตั้งกรมยุทธนาธิการขึ้น เมื่อวันที่ ๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๐ กิจการทหารในยุคนี้ได้มี การเร่งรัดปรับปรุงให้ทนั สมัยตามแบบอย่างอารยประเทศ ต่อมาได้ตราพระราชบัญญัตยิ กฐานะกรมยุทธนาธิการ เป็นกระทรวงยุทธนาธิการ เมื่อวันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๓ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เปลี่ยนกระทรวงยุทธนาธิการเป็น กระทรวงกลาโหม การกําหนดให้วันที่ ๘ เมษายน ของทุกปีเป็นวันที่ระลึกคล้ายวันสถาปนากระทรวงกลาโหมสืบเนื่องมาจาก รัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ประกาศให้ ๘ เมษายน ซึ่งเป็นวันที่ออกประกาศการจัดอัตรากําลังทหาร และตั้งกรมยุทธนาธิการ อันเป็นวันก่อกําเนิดกิจการทหารไทยตามอัตรากําลังแบบใหม่ และยึดถือต่อมาจนถึงปัจจุบัน ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ นี้ เป็นวาระปีที่ ๑๓๑ แห่งการเปิดใช้งานโรงทหารหน้า ซึ่งเป็นการวางรากฐานของที่ตั้งหน่วยและที่ท�ำการ ของทหารไทยแห่งแรกในการก้าวเข้าสู่ยุคสากล เป็นเสมือนการครบรอบ ๑๓๑ ปี ของบ้านหลังแรกของทหารไทย ซึ่งต่อมาโรงทหารหน้า ได้ใช้เป็นที่ท�ำการของกรมยุทธนาธิการ กระทรวงยุทธนาธิการ และเป็นที่ท�ำการของกระทรวงกลาโหมตามล�ำดับตราบจนปัจจุบัน กระทรวงกลาโหม เป็นกลไกหลักส�ำคัญในการรักษาเอกราช บูรณภาพ และความมั่นคงของประเทศชาติ ตลอดจนเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ การรักษาผลประโยชน์ของชาติ และการพัฒนาประเทศเพือ่ ความมัน่ คงอย่างมีประสิทธิภาพเคียงคูเ่ อกราชอธิปไตยของไทย มาโดยตลอด สร้างเกียรติภูมิในการบันทึกประวัติศาสตร์ในเรื่องกิจการทหาร และการด�ำรงเกียรติภูมิของประเทศชาติในหลากหลายมิติทั้ง มิติทางทหาร มิติทางการเมือง มิติทางสังคม และมิติทางศิลปวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม จากการทีป่ ระเทศไทยเป็นส่วนหนึง่ ของสังคมโลกจึงหลีกเลีย่ งไม่ได้ทจี่ ะต้องด�ำเนินบทบาทท่ามกลางความท้าทายของ สภาพแวดล้อมด้านความมัน่ คง และจะต้องด�ำรงศักดิศ์ รีของประเทศได้อย่างภาคภูมใิ นเวทีสากล กระทรวงกลาโหมในฐานะทีเ่ ป็นกลไกหลัก ในการขับเคลือ่ นกิจการด้านความมัน่ คงของชาติ จึงต้องปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ และก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินภารกิจให้พร้อมเผชิญการเปลีย่ นแปลง ความท้าทายในทุกมิติ ซึ่งจะน�ำมาสู่ความสันติสุข ความสงบเรียบร้อยของสังคม และการรักษาเสถียรภาพด้านความมั่นคงที่จะเอื้ออ�ำนวย ต่อการสร้างบรรยากาศทางเศรษฐกิจของประเทศ ในโอกาสที่กระทรวงกลาโหมสามารถสร้างเกียรติภูมิให้ยืนยาวมานานถึง ๑๒๘ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ นี้ กระทรวงกลาโหม จึงได้จดั ท�ำหนังสือ “๑๒๘ ปี กระทรวงกลาโหม...บันทึก ๑๓๑ ปี โรงทหารหน้า” ซึง่ เป็นการบันทึกหน้าประวัตศิ าสตร์ของกิจการทหารไทย เคียงคู่กับโรงทหารหน้าเพื่อสร้างศักยภาพและแสนยานุภาพทางทหารในรอบ ๑๒๘ ปี จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า “หนังสือ ๑๒๘ ปี กระทรวง กลาโหม...บันทึก ๑๓๑ ปี โรงทหารหน้า” จะท�ำให้ผู้อ่านได้รับความรู้ รับทราบ และภาคภูมิใจในข้อมูลทางประวัติศาสตร์เชิงเปรียบเทียบ ระหว่างอดีตกับปัจจุบนั ของกระทรวงกลาโหมและโรงทหารหน้า ทัง้ ในประเด็นของสารัตถะและรูปภาพในสถานทีจ่ ริงระหว่างเวลาทีห่ า่ งกัน นับร้อยปี ซึ่งข้อมูลดังกล่าวนี้จะเป็นข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ให้ประชาชนชาวไทยได้ร่วมกันศึกษาและร่วมกันภาคภูมิใจตลอดไป พลเอก

7

( ศิริชัย ดิษฐกุล ) ปลัดกระทรวงกลาโหม มีนาคม ๒๕๕๘


๑๒๘ ปี กระทรวงกลาโหม… บันทึก ๑๓๑ ปี โรงทหารหน้า พิมพ์ครั้งแรก ISBN เจ้าของผู้พิมพ์ผู้โฆษณา

ประธานที่ปรึกษา คณะที่ปรึกษา บรรณาธิการอ�ำนวยการ

รองบรรณาธิการอ�ำนวยการ

บรรณาธิการข้อมูล บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ

พิสูจน์อักษร ศิลปกรรม อ�ำนวยการผลิต

พิมพ์ท ี่

มีนาคม ๒๕๕๘ / จ�ำนวนพิมพ์ ๕๐๐ เล่ม 978-974-9752-85-2 ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เลขที่ ๗ ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พลเรือเอก ชุมนุม อาจวงษ์ พลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ พันเอก ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ นาวาเอก พรหมเมธ อติแพทย์ นาวาโทหญิง รสสุคนธ์ ทองใบ, นาวาตรี ฐิตพร น้อยรักษ์, ร้อยเอกหญิง ลลิดา ดรุนัยธร, จ่าสิบเอก สมหมาย ภมรนาค, จ่าสิบเอกหญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง, จ่าอากาศเอกหญิง สุพรรัตน์ โรจน์พรหมทอง พันเอกหญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธ�ำรง, พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช รัชติ เกิดโชคงาม ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในศาลาว่าการกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ / โทรสาร ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ www.sopsd.mod.go.th บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จ�ำกัด เลขที่ ๕๕๕ หมู่ ๑๒ ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๗๓๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๑๑ ๗๗๗๘ โทรสาร ๐ ๒๘๑๑ ๗๗๑๕

8


9


10


ภาพผู้บังคับบัญชากรมยุทธนาธิการ บันทึกภาพเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๐ บริเวณด้านในโรงทหารหน้าด้านทิศตะวันตก

11


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า ๒๐

โรงทหารหน้าสง่าล�้ำ ๓๖

น�ำสมัยสยามกาล ๔๔

พระราชทานยุทธนาธิการ ๖๒

อภิบาลถิ่นไผท ๘๐

เกริกไกรมั่นคงรักษ์

12


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า ๙๒

พิทักษาสถาบัน ๑๐๘

สร้างสรรค์มวลกิจ ๑๑๖

สถิตย์สกลสถาน ๑๒๖

สืบสานสู่สากล

13


14


15


กิจการทหารของประเทศไทย

ได้เริม่ ต้น อย่างเป็นระบบในยุคสมัยกรุงสุโขทัยที่มีการจัดกองทัพและจัดอัตราก�ำลังพลอย่างเป็นสัดเป็นส่วน มีการ จัดวางก�ำลังตามหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อป้องกันราชอาณาจักรดังที่ทราบกันดี ในลักษณะของราชธานีและเมือง ลูกหลวง ในเวลาต่อมา เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาได้มีการจัดระเบียบราชการในลักษณะของจตุสดมภ์หรือเวียง วัง คลัง และนา ซึ่งมีกิจการทหารประกอบไว้ในแนวทางการจัดระเบียบราชการดังกล่าวด้วย ต่อมา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการตรากฎหมายตราสามดวงคือ คชสีห์ ราชสีห์ และบัวแก้ว โดยมีการจัดก�ำลังทหารแบ่งออกเป็น ๓ กองทัพ กล่าวคือ

๑)  กองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือ ๒)  กองทัพหัวเมืองฝ่ายใต้ ๓)  กองทัพหัวเมืองชายทะเล

ภายใต้การบังคับบัญชาของ สมุหนายก ภายใต้การบังคับบัญชาของ สมุหพระกลาโหม ภายใต้การบังคับบัญชาของ เจ้าพระยาพระคลัง

16


ครั้ น เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ ขึ้ น เถลิ ง ถวั ล ย์ ร าชสมบั ติ ต ่ อ จาก พระราชบิดา ในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๑๑ ในขณะที่ยังทรงพระเยาว์ กล่าวคือ ทรงมีพระชนมายุเพียง ๑๕ ชันษา จึงได้มีการแต่งตั้งให้ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) สมุหพระกลาโหม (ในขณะนั้น) เป็นผู้ส�ำเร็จ ราชการแผ่นดินแทนพระองค์ จนกว่าพระองค์จะทรงมีพระชนมายุ ๒๐ พรรษา ในขณะที่ยังทรงเป็นยุวกษัตริย์ ผู้ส�ำเร็จราชการคือ เจ้าพระยา ศรีสรุ ยิ วงศ์ จึงได้จดั การศึกษาถวายแด่พระองค์สบื ต่อจากทีส่ มเด็จพระบรม ชนกนาถทรงจัดวางไว้ รวมทัง้ จัดวางแนวทางให้เสด็จพระราชด�ำเนินเยือน ต่างประเทศ ในประเทศใกล้เคียงที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษและฮอลันดา อาทิ สิงคโปร์ ชวา พม่า และอินเดีย ซึ่งการจัดแนวทางการศึกษาในห้วง ดังกล่าว ท�ำให้พระองค์ทรงมีพระราชปณิธานที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้ ก้าวหน้าทัดเทียมกับการเปลีย่ นแปลงในประเทศเพือ่ นบ้านทีไ่ ด้รบั การพัฒนา จากประเทศตะวันตก จึงเป็นมูลเหตุส�ำคัญประการหนึ่งที่ท�ำให้พระองค์ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ทรงมีพระราชด�ำริปฏิรูปประเทศในห้วงเวลาต่อมา (ช่วง บุนนาค) โดยเฉพาะในปีพุทธศักราช ๒๔๑๕ ภายหลังจากเสด็จพระราชด�ำเนินกลับจากประพาส สิงคโปร์ และปัตตาเวีย (กรุงจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย ในอดีต) ได้ทรงน�ำรูปแบบอย่างการทหารที่ชาวยุโรปปฏิบัติ อยู่ในเมืองทั้งสอง มาดัดแปลงแก้ไขให้เหมาะสมกับสยามในเวลานั้น กล่าวคือ ๑. ทหารบก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้รวบรวมหน่วยทหารต่าง ๆ และให้ตั้งเป็นหน่วยทหาร อยู่ในสังกัดของทหารบก รวม ๗ กรม ประกอบด้วย กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ กรมทหาร รักษาพระองค์ กรมทหารล้อมวัง กรมทหารหน้า กรมทหารปืนใหญ่ กรมทหารช้าง และ กรมทหารฝีพาย ๒. ทหารเรือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ปรับเปลีย่ นหน่วยทหารเดิม และให้ตงั้ เป็นหน่วยทหาร อยู่ในสังกัดของทหารเรือ รวม ๒ กรม ประกอบด้วย กรมทหารเรือพระที่นั่งเวสาตรี (ทหารช่างแสงเดิม) และ กรมอรสุมพล (ทหารมารีนเดิม) ทัง้ นี้ หน่วยทหารทัง้ ๙ หน่วยในสังกัด ทหารบกและทหารเรือ ทรงใช้นายทหารต่างประเทศเป็นผูฝ้ กึ โดยมีเจ้านายและข้าราชการซึ่งเป็นผู้ที่ทรงไว้วางพระราชหฤทัยเป็นผู้บังคับบัญชา และขึ้นตรงต่อพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมทั้งปรับปรุงอาวุธยุทธภัณฑ์ให้เหมาะสมกับกาลสมัยตามก�ำลังของประเทศ และ วางระเบียบการแต่งกายทหารให้รัดกุมมากขึ้น

17


พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ครั้นเมื่อ ทรงเจริญพระชันษา ๒๐ พรรษา และทรงกระท�ำ พิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๔๑๖ ท�ำให้ทรงมี พระราชอ�ำนาจโดยสมบูรณ์ไม่ต้องมีผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดิน จึงทรงมี พระราชด�ำริที่จะพัฒนากิจการทหารให้มีความทันสมัยทัดเทียมนานา อารยประเทศ ซึง่ ในปีพทุ ธศักราช ๒๔๒๔ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จดั ระเบียบปกครองในกรมทหารหน้าให้เหมาะสมมากยิง่ ขึน้ พร้อมทัง้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดสร้างที่ท�ำการของทหารขึ้นใหม่ บริเวณนอกรั้วพระบรมมหาราชวัง และอยู่ใกล้กับพระบรมมหาราชวัง เพือ่ ป้องกันเหตุรา้ ยได้ทนั ท่วงที โดยทรงพระราชทานพืน้ ทีห่ มูว่ งั เจ้านาย ถนนหลักเมืองบางส่วนและฉางข้าวหลวงส�ำหรับพระนครเป็นพื้นที่ ส�ำหรับสร้างที่ท�ำการของกรมทหารหน้า

ทั้งนี้ มีค่าก่อสร้างอาคารรวมเป็นเงิน ๗,๐๐๐ ชั่ง หรือ ๕๖๐,๐๐๐ บาท และค่าตกแต่งอีก ๑๒๕ ชั่ง หรือ ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นมูลค่าก่อสร้างและด�ำเนินการทั้งสิ้น ๕๗๐,๐๐๐ บาท ส�ำหรับ การก่อสร้างที่ท�ำการของกรมทหารหน้าแห่งใหม่ เริ่มด�ำเนินการในปีพุทธศักราช ๒๔๒๕ และก่อสร้าง เสร็จในปีพุทธศักราช ๒๕๒๗ และในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๒๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชด�ำเนินมาเปิดที่ท�ำการทหารหน้าแห่งใหม่และพระราชทานนามว่า โรงทหารหน้า (ศาลาว่าการกลาโหม ในปัจจุบัน) นับเนื่องเวลาได้ ๑๓๑ ปีตราบจนปัจจุบัน ต่อมา ในวันที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มพี ระบรมราชโองการประกาศ จั ด การทหาร เพื่ อ สถาปนากรมยุ ท ธนาธิ ก ารขึ้ น ที่บริเวณโรงทหารหน้า จึงนับเป็นจุดเริ่มต้นของการ ด�ำเนินกิจการทหารสมัยใหม่ให้มีความเป็นสากล ทัดเทียมนานาอารยประเทศ และรองรับการเผชิญภัยคุกคามจากประเทศมหาอ�ำนาจในยุคล่าอาณานิคม ในเวลาต่อมา กรมยุทธนาธิการ ได้พัฒนาทั้งในเรื่องของส่วนราชการ โครงสร้าง อ�ำนาจหน้าที่ และภารกิจ อย่างต่อเนื่อง จนเป็นกระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน

18


19


โรงทหารหน้าสง่าล�้ำ 20


21


พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉลองพระองค์เครื่องแบบเต็มยศจอมทัพสยาม

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ ให้จัดสร้างโรงทหารหน้า หรือ ศาลาว่าการกลาโหม เพื่อใช้เป็นสถานที่รองรับการปฏิรูปกิจการทหารสยาม ตามแบบอย่างชาติมหาอ�ำนาจการทหารของชาติตะวันตก และเป็น ที่ท�ำการของกรมทหารหน้า ซึ่งเป็นหน่วยทหารก�ำลังรบหลักในการปกป้องประเทศและรักษาราชบัลลังก์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานที่ดินหลวงเนื้อที่รวม ๑๘ ไร่ ๕๓ ตารางวา ตรงข้ามพระบรมมหาราชวัง บริเวณหมูว่ งั เจ้านายเดิมและฉางหลวงในคราวสงครามเก้าทัพ เพือ่ ใช้สำ� หรับก่อสร้างโรงทหาร พร้อมทัง้ พระราชทานพระราช ทรัพย์จ�ำนวนรวม ๗,๑๒๕ ชั่ง หรือ ๕๗๐,๐๐๐.- บาท ส�ำหรับเป็นค่าก่อสร้างและตกแต่งอาคาร

22 22


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพโฉนดที่ดินพระราชทานเพื่อกิจการทหาร

23 23


ภาพพระบรมมหาราชวัง ในปีพุทธศักราช ๒๔๐๖ เมื่อแรกสร้างถนนบ�ำรุงเมือง สังเกตด้านขวาของภาพคือหมู่วังเจ้านาย และด้านซ้ายคือเจดีย์แถวหน้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

ภาพพระบรมมหาราชวัง ในปัจจุบัน สังเกตเจดีย์แถวหน้า วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตรงข้ามศาลาว่าการกลาโหม

24 24


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพถนนกัลยาณไมตรี ในปัจจุบัน หรือ ถนนบ�ำรุงเมืองเดิม (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

ภาพถนนบ�ำรุงเมือง ปัจจุบันเริ่มต้นที่เชิงสะพานช้างโรงสี (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

25 25


ภาพหมู่วังเจ้านายริมถนนหน้าจักรวรรดิ์ (ถนนสนามไชย ในปัจจุบัน) โดยแนวเสาเรียง คือ หัวถนนบ�ำรุงเมืองเดิม บริเวณป้อมสัญจรใจวิง (ลูกศรชี้)

ภาพป้อมสัญจรใจวิง ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

26 26


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพถนนบ�ำรุงเมือง ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๓๗ (ถ่ายจากสะพานช้างโรงสี)

ภาพถนนบ�ำรุงเมือง ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๓๗ (ถ่ายจากอาคารโรงทหารหน้า)

ภาพถนนบ�ำรุงเมืองในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

27 27


ภาพหมู่วังเจ้านายอีกมุมหนึ่ง สังเกตแนวเสาเรียงที่ปักคือ แนวเขตถนนบ�ำรุงเมือง (หัวถนนเดิม) ปัจจุบันคือ ถนน กัลยาณไมตรี สันนิษฐานว่า ภาพนี้ถ่ายมุมสูงจากหอ นาฬิกาพระที่นั่งภูวดลทัศไนย ในพระบรมมหาราชวัง

ภาพหอนาฬิกาพระที่นั่งภูวดลทัศไนย (สร้างในรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ ต่อมาได้รื้อลงในรัชสมัยรัชกาลที่ ๕)

28 28


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพพระบรมมหาราชวังและศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗) ซึ่งตั้งตระหง่านเคียงข้างสร้างประวัติศาสตร์ชาติไทย

29 29


ภาพพระบรมมหาราชวังและศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗) ซึ่งตั้งตระหง่านเคียงข้างสร้างประวัติศาสตร์ชาติไทย

30 30


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพอาคารโรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหมในยุคแรกประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๒๙

อาคารโรงทหารหน้ามีลักษณะเป็นอาคารที่เรียบง่าย พร้อมมูลไปด้วยประโยชน์ใช้สอย แต่มีความงดงามตามคติเรียบง่าย ทีส่ งู ศักดิ์ (Noble simplicity) ของแนวการออกแบบตามรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิค เชิงศิลปะแบบพาลลาเดียน (Palladianism) มีลักษณะเป็นอาคารสูง ๓ ชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแคบยาว ๔ หลังต่อกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมเกือบเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสล้อมรอบสนาม ขนาดใหญ่ที่มีอยู่ภายใน โดยสีของอาคารเป็นสีไข่ไก่คั่นด้วยขอบเสาที่มีสีขาว โดยเฉพาะอาคารในภาพรวมมีขนาดใหญ่คือ กว้าง ๓ เส้น ๑๐ วา และ ยาว ๕ เส้น

31 31


จุดเด่นทางสถาปัตยกรรมอยู่ที่มุขกลาง ด้ า นหน้ า อาคารที่ มี ห ลั ง คาจั่ ว แบบวิ ห ารกรี ก โดยบริเวณใต้จั่วจัดท�ำเป็นโครงสร้างคานโค้งครึ่ง วงกลมต่อเนื่อง ๕ ช่วง และชั้นล่างเป็นเสาลอยตัว หน้าตัดกลมขนาดใหญ่สูง ๒ ชั้น ตั้งอยู่บนฐานเสา สูง ๖ ต้น ในระบบดอริค (Doric) ก่อขึ้นมารับมุข โครงสร้างคานโค้งของชัน้ ทีส่ ามทีย่ นื่ มาจากแนวตึก ภาพอาคารโรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหม ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๔๐

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ปีพุทธศักราช ๒๔๖๐ (ปีแรกของการจัดท�ำพิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่กลางแจ้ง)

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ปีพุทธศักราช ๒๔๖๖

32 32


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ปีพุทธศักราช ๒๔๘๙

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๓ ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๘

33 33


แม้ว่า ระยะเวลาจะเปลี่ยนผ่านนานถึง ๑๓๐ ปี ศาลาว่าการกลาโหม ก็ได้มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องโดยยัง คงรูปแบบของสถาปัตยกรรมในลักษณะเดิมอย่างเคร่งครัด หากจะมีการปรับเปลีย่ นบ้างก็กระท�ำเพียงในรายละเอียดบาง รายการให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๖

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๒

34 34


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพหน้าบันอาคารศาลาว่าการกลาโหม

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

35 35


นำ�สมัยสยามกาล 36


37


ภาพอาคารโรงทหารหน้าหรือศาลายุทธนาธิการ ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๓๐

าคารโรงทหารหน้านอกจากเป็นอาคารที่มีขนาดใหญ่แล้วยังมีประโยชน์ใช้สอยทางทหารมากมายเพราะเป็นทั้งที่ท�ำการ เป็นที่ฝึกฝนทหาร เป็นที่พักทหาร และมีการน�ำช้าง ม้า ส�ำหรับใช้ในการศึก และม้าประจ�ำรถพระที่นั่งมาเลี้ยงในพื้นที่ด้วย จึงมีระบบ การบริหารจัดการด้านสาธารณสุขไว้อย่างชัดเจนในลักษณะเป็นพื้นที่ (zone) และมีการก�ำกับดูแลอย่างชัดเจน

38 38


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

39 39


จัดได้ว่า โรงทหารหน้า เป็นที่ตั้งของหน่วยทหารที่มี ความสมบูรณ์สามารถทรงชีพและมีระบบสาธารณูปโภคพร้อมมูล กล่าวคือมีระบบไฟฟ้า โดยเฉพาะมีระบบการผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้ในอาคารและมีไฟแสงสว่างรอบอาคาร ที่ส�ำคัญกว่านั้นคือใน วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๔๒๗ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เปิดการใช้ไฟฟ้า อย่างเป็นทางการพร้อมส่งกระแสไฟฟ้าไปยังพระบรมมหาราชวัง จนสร้างความสว่างไสวทั่วพระบรมมหาราชวังนับเป็นสิ่งแปลก ใหม่ในสยามเป็นครั้งแรก เรียกว่าเป็นนวัตกรรมที่ส�ำคัญของ ประเทศในยุคนั้น

ภาพเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ายุคแรกของโรงทหารหน้า และเป็นยุคแรกของประเทศ

ภาพถังเก็บน�้ำสะอาดที่ผ่านกระบวนการกรอง ตั้งอยู่บริเวณชั้น ๓ ของอาคารด้านทิศใต้

ส�ำหรับระบบการประปาอย่างมาตรฐานก็มขี นึ้ ครัง้ แรกด้วยการสูบน�ำ้ จากคลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) บริเวณสะพานช้าง โรงสีเข้าสู่ระบบกรองน�้ำหรือระบบประปาที่มาตรฐานจนเป็นน�้ำสะอาดและปลอดภัย จึงใช้เครื่องสูบน�้ำเพื่อสูบน�้ำไปใส่ถังเก็บน�้ำชั้นบน บริเวณชั้นสามของอาคารด้านทิศใต้หัวมุม ก่อนส่งผ่านระบบท่อส่งน�้ำ (Pipeline) เป็นท่อแป๊บเหล็กขนาด ๘ นิ้ว ฝังอยู่ตามฝาผนัง ทั้ง ๓ ชั้น พร้อมเปิดใช้น�้ำประปาได้ทั่วโรงทหารหน้าทุกชั้น

40 40


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

นอกจากนี้ ยังมีการติดตั้งระบบ โทรศัพท์เพื่อท�ำการติดต่อสื่อสารระหว่าง หน่วยทหารส�ำคัญในการแจ้งข่าวสารความ มั่นคงให้แก่หน่วยทหาร เพื่อการเตรียม ความพร้ อ มในการป้ อ งกั น ประเทศ และ ท�ำการติดตั้งระบบโทรศัพท์ใช้ที่โรงทหาร หน้า ในปีพุทธศักราช ๒๔๒๘ ซึ่งเป็นการ พั ฒ นาจากระบบโทรศั พ ท์ เ ดิ ม ที่ ก รมพระ กลาโหมได้สร้างไว้ ตั้งแต่ ปีพุทธศักราช ๒๔๑๘ เพื่อแจ้งข่าวเกี่ยวกับการผ่านเข้า ออกปากแม่น�้ำเจ้าพระยา ของเรือกลไฟ

ภาพเครื่องโทรศัพท์ ที่ผู้บังคับบัญชาใช้ติดต่อราชการ

ภาพเครื่องโทรศัพท์ ที่ใช้ติดต่อกับสถานีทหารต่างๆ

ภาพอาคารกรมพระกลาโหม บริเวณด้านหลังพระราชวังสราญรมย์ ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๑๘

41 41


42


43


พระราชทานยุทธนาธิการ 44


45


วั

นที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ประกาศพระบรมราชโองการ ใช้ชื่อว่า ประกาศจั ด การทหาร สถาปนากรมยุ ท ธนาธิ ก ารเพื่ อ รวมกรมทหารบก และกรมทหารเรือไว้ด้วยกัน โดยให้มีผู้บังคับบัญชาการทั่วไปในกรมทหาร เรียกว่า คอมมานเดออินชิฟ (Commander In Chief) เป็นผู้บังคับบัญชา กับโปรดเกล้า ฯ ให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยาม มกุฎราชกุมาร ทรงด�ำรงต�ำแหน่งนี้เพื่อให้ถูกต้องตามโบราณราชประเพณี แต่เนื่องจากยังทรงพระเยาว์คือ มีพระชันษาเพียง ๙ พรรษา จึงได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้า ภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงเป็นผู้รักษาการแทน ผูบ้ ญ ั ชาการทัว่ ไปในกรมทหาร ซึง่ ทีท่ ำ� การอยูท่ โี่ รงทหารหน้า นับเป็นก้าวแรก และก้าวส�ำคัญของการด�ำเนินกิจการทหารให้มคี วามเป็นสากลทัดเทียมนานา อารยประเทศ และรองรับการเผชิญภัยคุกคามจากประเทศมหาอ�ำนาจในยุค ล่าอาณานิคม พระฉายาลักษณ์นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้รักษาการแทนผู้บัญชาการทั่วไปในกรมทหาร

พระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ผู้บังคับบัญชาการทั่วไปในกรมทหาร

46 46


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพแถวทหารกรมยุทธนาธิการ รอรับผู้บังคับบัญชาภายในโรงทหารหน้า ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๓๒

ในปีพุทธศักราช ๒๔๓๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ยกฐานะกรมยุทธนาธิการขึ้นเป็น กระทรวงยุทธนาธิการ (Ministry of War and Marine) โดยแบ่งส่วนราชการออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายพลเรือน ท�ำหน้าที่ด้านธุรการ การบริหารและ การส่งก�ำลังบ�ำรุง และ ฝ่ายทหาร ท�ำหน้าทีเ่ ป็นส่วนก�ำลังรบโดยกรมทหารบกและกรมทหารเรือ ทัง้ นี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงด�ำรงพระราชสถานะเป็น จอมทัพ

ภาพภายในอาคารศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

47 47


ภาพผู้บังคับบัญชา กระทรวงยุทธนาธิการ บันทึกภาพเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๓ บริเวณด้านในศาลายุทธนาธิการด้านทิศตะวันตก

ปีพุทธศักราช ๒๔๓๕ เป็นการปฏิรูประบบราชการเป็นครั้งแรก โดยจัดตั้งกระทรวงขึ้นใหม่ตามภารกิจเพื่อให้เกิดการ รวมศูนย์งาน แบ่งออกเป็น ๑๒ กระทรวง ซึง่ มีทงั้ กระทรวงกลาโหมและกระทรวงยุทธนาธิการ และในปีเดียวกันนีไ้ ด้ลดฐานะกระทรวง ยุทธนาธิการลงเป็นกรมยุทธนาธิการ ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่ไม่สังกัดกระทรวงใดโดยท�ำหน้าที่เป็นองค์กรฝ่ายทหารที่ท�ำหน้าที่ป้องกัน ประเทศ

ภาพแผนที่พระนคร ปีพุทธศักราช ๒๔๓๖ (กรมยุทธนาธิการอยู่ในวงสีแดง) ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหมด้านทิศตะวันตกในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

48 48


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

พระฉายาลักษณ์ นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช เสนาบดีว่าการยุทธนาธิการ ฉายภาพกับก�ำลังพลในศาลายุทธนาธิการ

พระฉายาลักษณ์นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช เสนาบดีว่าการยุทธนาธิการ ปีพุทธศักราช ๒๔๓๕

ภาพบริเวณด้านหลังกระทรวงกลาโหม ตามแนว ถนนบ�ำรุงเมือง ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๓๖ สังเกตหอนาฬิกาและหอคอยของโรงทหารหน้า

49 49


ภาพก�ำลังพลกระทรวงกลาโหมในพระราชพิธี รัชดาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๓๖

50 50


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ปีพุทธศักราช ๒๔๓๗ ได้มีการจัดปันหน้าที่ระหว่างกระทรวงกลาโหม ให้รับผิดชอบราชการทหาร และกระทรวงมหาดไทยให้รับผิดชอบราชการที่เกี่ยว กับพลเรือน จึงมีการโอนกรมยุทธนาธิการมาขึ้นสังกัดกระทรวงกลาโหม โดยให้ กรมยุทธนาธิการ ก�ำกับดูแลกิจการทหารบก และกรมทหารเรือ ก�ำกับดูแลกิจการ ทหารเรือ

พระฉายาลักษณ์ จอมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เสนาบดีกระทรวงกลาโหม

ภาพทหารในสังกัดกระทรวงกลาโหม

51 51


ภาพทหารในสังกัดกระทรวงกลาโหม

52 52


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพทหารในสังกัดกระทรวงกลาโหมและยุทโธปกรณ์

53 53


ภาพทหารเหล่าทหารปืนใหญ่ในสังกัดกระทรวงกลาโหมและยุทโธปกรณ์

54 54


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพตราประจ�ำพระองค์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ

พระฉายาลักษณ์ จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ุ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงการทหารเรือ (ภายหลังยกฐานะกรมทหารเรือ ขึ้นเป็นกระทรวงทหารเรือ ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๓)

ปีพุทธศักราช ๒๔๕๓ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการยกฐานะกรมยุทธนาธิการ ขึ้นเป็น กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่ดูแลการปกครองเฉพาะ กิ จ การทหารบก พร้ อ มกั บ ยกฐานะกรมทหารเรื อ ขึ้ น เป็ น กระทรวงทหารเรื อ มี ห น้ า ที่ ดู แ ลการปกครองเฉพาะกิ จ การ ทหารเรือ

55 55


ปีพุทธศักราช ๒๔๗๔ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการรวม กระทรวงทหารเรือกับกระทรวงทหารบก เข้าเป็นกระทรวงเดียวกัน ภายใต้นาม กระทรวงกลาโหม พระฉายาลักษณ์ นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร เสนาบดีกระทรวงกลาโหม (ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๔ ภายหลังรวมกระทรวงทหารบก และกระทรวงทหารเรือ เป็น กระทรวงกลาโหม)

ภาพการจัดก�ำลังทหารกระทรวงกลาโหม ในพระราชพิธีฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ วันที่ ๖ เมษายน ๒๔๗๕

56 56


ปี

บันทึก

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม (ทิศตะวันออก) ปีพุทธศักราช ๒๔๘๙

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม (ทิศตะวันออก) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๔

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม (ทิศตะวันออก) ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

57 57


ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม (ทิศตะวันออก) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม (ทิศตะวันออก) ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

58 58


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ ได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบป้องกันราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๖ เป็นเสมือนกฎหมายแม่บทของกระทรวงกลาโหมและกิจการทหารไทย ซึง่ ในเวลาต่อมาได้มกี ารพัฒนาจนมาเป็น พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหม (ทิศตะวันออก) และกรมแผนที่ทหาร

59 59


60


61


อภิบาลถิ่นไผท 62


63


ภาพด้านหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหม ปีพุทธศักราช ๒๕๒๒

ภาพด้านหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

ลอดระยะเวลา ๑๓๐ ปี โรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหม ได้มีบทบาทส�ำคัญในการพิทักษ์รักษาปกป้องเอกราช ของชาติ การรักษาบูรณภาพแห่งดินแดน การรักษาบูรณภาพแห่งเขตอ�ำนาจรัฐ และการเข้าร่วมสมรภูมสิ งครามทีส่ ำ� คัญสร้างเกียรติภมู ิ ให้แก่ประเทศมาหลายยุคหลายสมัย นับเป็นการจารึกวีรกรรมของทหารหาญในหน้าประวัติศาสตร์ของชาติไทย

64 64


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพธงชัยเฉลิมพลพระราชทานในสงครามโลกครั้งที่ ๑

พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดี ประดับธงชัยเฉลิมพล ให้เป็นเกียรติแก่กองทหารอาสา ณ พระที่นั่งชุมสาย ภายในศาลาว่าการกลาโหม

ภาพแถวทหารอาสาร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ สวนสนามฉลองชัยชนะผ่านประตูชัย ประเทศฝรั่งเศส

ภายหลังจากที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัดสินพระราชหฤทัยน�ำประเทศไทยเข้าร่วมสงครามโลก ครั้งที่ ๑ โดยประกาศสงครามกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะ และในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๔๖๑ ทหารอาสาร่วมรบในสงครามโลก ครั้งที่ ๑ ได้รวมพลและบันทึกภาพ ภายในศาลาว่าการกลาโหม ก่อนเข้าร่วมกระท�ำพิธีสาบานตนต่อธงชัยเฉลิมพล ณ บริเวณหน้า วังสราญรมย์ และเข้าร่วมสมรภูมิในยุโรป ต่อมาเมื่อเสร็จสิ้นราชการสงครามแล้ว ในวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๔๖๒ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ประดับธงชัยเฉลิมพล ให้เป็นเกียรติแก่กองทหารอาสา ณ พระที่นั่งชุมสาย ภายในศาลาว่าการกลาโหม

65 65


ภาพทหารอาสาร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ รวมพลและบันทึกภาพ เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๔๖๑ ณ บริเวณสนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม

66 66


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพภายในศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

67 67


ระหว่างวันที่ ๗ ถึง ๒๙ มกราคม ๒๔๘๔ รัฐบาลไทยประกาศสงครามกับฝรั่งเศส และเกิดการต่อสู้หลายพื้นที่ทั้งทางบก ด้านทิศตะวันออก และทางทะเลคือยุทธนาวีที่เกาะช้าง จนในที่สุด ญี่ปุ่นได้เสนอตัวไกล่เกลี่ยให้ไทยกับฝรั่งเศสเลิกรบกันและเข้าสู่ กระบวนการเจรจาสันติภาพ ซึ่งผลการเจรจา ไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสรวม ๔ จังหวัด คือ นครจ�ำปาศักดิ์ ลานช้าง พิบูลสงคราม (เสียมราฐ) และพระตะบอง ทั้งนี้ ในวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๔๘๔ รัฐบาลไทยจัดให้มีการสวนสนามทหาร ๓ เหล่าทัพ เพื่อเป็นการ ฉลองชัยชนะในสงครามอินโดจีนที่จังหวัดพระนคร

ภาพพื้นที่ ๔ จังหวัด ที่ได้รับคืนจากฝรั่งเศส ภาพทหารไทยอัญเชิญธงชาติ ขึ้นสู่ยอดเสา ในพื้นที่มณฑลบูรพา ที่สามารถยึดคืนได้จากฝรั่งเศส

วีรกรรมการรบของทหารไทยในสงครามอินโดจีน ปีพุทธศักราช ๒๔๘๔

68 68


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ อนุสรณ์แห่งชัยชนะของทหารไทยในสงครามอินโดจีน

ภาพพิธีสวนสนามประกาศชัยชนะของทหารไทยในสงครามอินโดจีน เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๔๘๔

69 69


พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และสมเด็จพระอนุชาธิราช ฯ ฉลองพระองค์ในเครื่องแบบนายร้อยเทคนิคทหารบกในห้วงสงครามมหาเอเชียบูรพา

ภาพภารกิจทหารไทยในสงครามมหาเอเชียบูรพา

ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๘๔ - ๒๔๘๘ ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะสงครามมหาเอเชียบูรพาหรือสงครามโลกครั้งที่ ๒ ซึ่งทหารไทยก็สามารถควบคุมสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศได้ แม้ว่าจะต้องได้รับผลกระทบจากสงครามบ้างในบางพื้นที่ จนใน ที่สุด กองทัพญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้สงคราม เมื่อวันที่ ๒ กันยายน ๒๔๘๘

70 70


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ - ๒๔๙๗ รัฐบาล ไทยได้ตัดสินใจส่งก�ำลังทหาร ๑ กรมผสม มีก�ำลังพลประมาณ ๔,๐๐๐ คน ร่วมรบกับสหประชาชาติในกรณีความไม่สงบ บริเวณคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งผลจากสงครามท�ำให้ประเทศไทยได้ แสดงให้เป็นทีป่ ระจักษ์แก่ชาวโลกว่าในฐานะทีเ่ ป็นประเทศสมาชิก สหประชาชาติ โดยด�ำรงความมุ่งหมายของสหประชาชาติในการ ธ�ำรงไว้ซึ่งสันติภาพ ความมั่นคงระหว่างประเทศ และเพื่อปราบ ปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดต่อสันติภาพ ภาพประดับเหรียญกล้าหาญบนธงชัยเฉลิมพลในสงครามเกาหลี

ภาพทหารไทยสวนสนาม ในกรมผสมสหประชาชาติในสงครามเกาหลี

71 71


ภาพการปฏิบัติภารกิจของทหารไทยในสงครามเกาหลี

อนุสาวรีย์เชิดชูวีรกรรมทหารไทย ที่ต�ำบลอุนชอน จังหวัดโปวอน มณฑลเกียงกี สาธารณรัฐเกาหลี

72 72


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ระหว่า งปีพุทธศัก ราช ๒๕๐๗ - ๒๕๑๖ รั ฐ บาลไทยได้ ตั ด สิ น ใจส่ ง ก� ำ ลั ง ร่ ว มรบฝ่ า ยโลกเสรี ในสงครามเวียดนาม โดยส่งหน่วยทหารที่สร้างชื่อเสียง ให้แก่ประเทศคือหน่วยจงอางศึก และหน่วยกองพลเสือด�ำ จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาได้ถอนทหารออกไปจนหมดสิ้น ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๖

ภาพพิธีส่งกองก�ำลังทหารไทย เข้าร่วมรบในสงครามเวียดนาม ณ สนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม

73 73


ภาพการปฏิบัติภารกิจของทหารไทยในสงครามเวียดนาม

74 74


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพพิธีประดับเหรียญชัยสมรภูมิกรณีสงครามเวียดนามแก่ทหารและทายาทของผู้ที่เสียชีวิต ปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ ณ สนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม

ภาพภูมิทัศน์ภายในศาลาว่าการกลาโหมปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

75 75


ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๐๘ - ๒๕๒๕ กระทรวงกลาโหมได้จัดก�ำลังทหารเข้าปฏิบัติการปราบปรามผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์ จนกระทั่งปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ มีการเจรจาระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยกับรัฐบาลไทย โดยใช้การเมือง น�ำการทหาร มุ่งเน้นขจัดความไม่เป็นธรรมในสังคม จนยุติการต่อสู้ด้วยอาวุธและหันมาด�ำเนินการในระบบรัฐสภา

ภาพการปฏิบัติภารกิจของทหารไทย ในปฏิบัติการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์

76 76


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

เหตุการณ์รนุ แรงในจังหวัดชายแดนใต้เริม่ เกิดขึน้ อีกครัง้ ในเดือนมกราคม ๒๕๔๗ และลุกลามขยายเรื่อยมาจนปัจจุบัน ทั้ ง ยั ง ขยายผลไปสู่ป ระชาชนผู้บ ริสุท ธิ์ ซึ่งกระทรวงกลาโหม ได้พยายามหาวิธคี ลีค่ ลายสถานการณ์และส่งก�ำลังทหารเข้าปฏิบตั ิ การรักษาความสงบในพืน้ ทีแ่ ละรักษาบูรณภาพแห่งเขตอ�ำนาจรัฐ อย่างต่อเนื่อง

ภาพการปฏิบัติภารกิจของทหารไทย ในปฏิบัติการในจังหวัดชายแดนใต้

77 77


78


79


เกริกไกรมั่นคงรักษ์ 80


81


อกจากภารกิจการปกป้องอธิปไตยและรักษาเอกราชของชาติแล้ว งานการรักษาความมั่นคงของชาติก็เป็นอีกภารกิจ หนึ่งที่กระทรวงกลาโหมและทหารไทยปฏิบัติบำ� เพ็ญอยู่อย่างต่อเนื่อง พร้อมกับเผชิญวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ที่ถาโถมเข้ามาในประเทศ จึงอาจกล่าวได้ว่า กระทรวงกลาโหม คือ เสาหลักแห่งความมั่นคงของชาติ ในเดือนมิถนุ ายน ๒๔๓๒ ได้เกิดเหตุการณ์กบฏอัง้ ยี่ ซึง่ เป็นการก่อความไม่สงบระหว่างกรรมกรชาวจีนโดยมีสาเหตุมาจาก การแย่งงานกันท�ำ ซึ่งความรุนแรงเกิดขึ้นที่บริเวณริมถนนเจริญกรุงใกล้กับวัดยานนาวา เนื่องจากเหตุการณ์ในครั้งนั้นกรมนครบาล ไม่สามารถระงับเหตุได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้กรมยุทธนาธิการจัดก�ำลังทหาร เข้าปราบปรามพวกอั้งยี่และควบคุมสถานการณ์แทน โดยในวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๔๓๒ ฝ่ายทหารด�ำเนินการปราบอั้งยี่ดังกล่าว ได้ส�ำเร็จ สามารถควบคุมสถานการณ์รักษาความสงบไว้ได้ ภาพอั้งยี่บางส่วน ที่ถูกควบคุมตัวที่ตะรางกลาโหม

ภาพก�ำลังพลกรมยุทธนาธิการบนรถราง เพื่อเข้าปฏิบัติการปราบอั้งยี่

วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๔๘๓ ขบวนการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรัง่ เศส ประกอบด้วย ยุวชนทหาร ยุวนารี และประชาชนผู้รักชาติก็รวมตัวกันใช้ชื่อ “เลือดไทย” ประมาณหมื่นคน ได้เคลื่อนที่มาหยุดชุมนุมกันที่หน้าศาลาว่าการ กลาโหม โดยมีเจตนาเดียวกันที่จะแสดงพลังของประชาชนเพื่อสนับสนุนให้ รัฐบาลใช้ก�ำลังทหารเข้าต่อสู้กับฝรั่งเศสเพื่อเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ต่อกรณีเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ จนน�ำมาสู่สงครามอินโดจีน และได้คืนพื้นที่จาก ฝรั่งเศสรวม ๔ จังหวัดในที่สุด

82 82


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพคณะยุวชนทหาร ยุวนารี และประชาชน เดินทางมาชุมนุมที่หน้าศาลาว่าการกลาโหม เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๔๘๓

ภาพนายพลตรีหลวงพิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับคณะเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส

83 83


ภาพคณะทหารและคณะเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ร่วมกันกล่าวปฏิญาณตนหน้าวัดพระศรีรัตนศาสดารามที่บริเวณสนามหญ้าหน้าศาลาว่าการกลาโหม

84 84


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพตราและคาถาประจ�ำโรงทหารหน้า

85 85


ภาพห้องปฏิบัติราชการ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

ภาพห้องปฏิบัติราชการและการประชุมที่ส�ำคัญของคณะที่ปรึกษาทางทหาร

ภาพห้องรับรองแขกในราชการทหาร

ศาลาว่าการกลาโหม ยังมีการใช้ประโยชน์อีกมากมาย อาทิ เป็นสถานที่ปฏิบัติราชการของผู้บังคับบัญชาระดับสูง ของกระทรวงกลาโหม เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ริ าชการของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม นอกจากนี้ ในอดีตเคยเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ริ าชการ ของกองบัญชาการทหารสูงสุดและกองทัพบก รวมทั้ง เคยเป็นสถานศึกษาที่ส�ำคัญของทหารคือวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรและ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก

86 86


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลก ประชานาถ ขณะด�ำรงต�ำแหน่งเสนาธิการ ทหารบก ฉายภาพกับเหล่านายทหาร ที่ปฏิบัติราชการในศาลาว่าการกลาโหม

ภาพจอมพล ป.พิบูลสงคราม กับคณะนักเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๒๖ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๖

87 87


ภาพอาคารกองบัญชาการทหารสูงสุด (เดิม) ถนนราชินี ริมคลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ ภาพห้องประชุมกองบัญชาการทหารสูงสุด (เดิม)

ภาพส่วนราชการบางส่วนของกองทัพบกที่เคยมีที่ตั้งในศาลาว่าการกลาโหม

88 88


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพห้องประชุมสภากลาโหมในอดีต

ภาพห้องประชุมสภากลาโหมในปัจจุบัน

นอกจากนี้ ศาลาว่าการกลาโหม ได้เคยใช้เป็นทีป่ ระชุมอันส�ำคัญต่อความมัน่ คงของชาติ อันประกอบด้วย การประชุมก�ำหนด ยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนที่สำ� คัญของทางทหาร การประชุมสภาเกี่ยวกับการป้องกันราชอาณาจักร การประชุมสภากลาโหม และ การประชุมทีส่ ำ� คัญอืน่ ๆ ตลอดจนใช้เป็นทีป่ ระชุม เสวนา และระดมความคิด เพือ่ การปฏิรปู ประเทศในปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๗ อันน�ำมา สู่การขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน

89 89


90


91


92


พิทักษาสถาบัน 93


ารกิจกระทรวงกลาโหมและทหารไทยในการพิทกั ษ์รกั ษา ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ ถวายพระเกียรติ และสนับสนุน ภารกิจของสถาบันพระมหากษัตริย์ ถือว่าเป็นภารกิจทีส่ ำ� คัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าภารกิจการปกป้องอธิปไตย รักษาเอกราชของชาติ และ งานการรักษาความมัน่ คงของชาติ ทัง้ ยังเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริยแ์ ละถือเป็นเกียรติ เป็นความ ภาคภูมิใจของทหารหาญทุกคน

ภาพการจัดแสดงสัญลักษณ์ทางการทหารในการถวายพระเกียรติ เนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๔๓๖ กระทรวงกลาโหมได้ร่วมเฉลิม พระเกียรติในพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ด้วยการร่วมประดับประดาอาคารและจัดซุ้มด้านหน้าอาคารศาลา ยุ ท ธนาธิ ก ารเพื่ อ เป็ น การจั ด แสดงสั ญ ลั ก ษณ์ ท างการทหารในการถวาย พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาพการจัดแสดงสัญลักษณ์ทางการทหาร (องค์คชสีห์) ในการถวายพระเกียรติเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

94 94


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๓๖ มีการจัดพระราชพิธี รัชดาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องใน พระบรมราชวโรกาสที่ทรงครองราชสมบัติ ๒๕ ปี ซึ่งกระทรวง กลาโหมและกรมยุทธนาธิการได้รว่ มในพระราชพิธดี ว้ ยการจัดการ สวนสนามและแสดงแสนยานุภาพที่บริเวณมณฑลพิธีท้องทุ่ง พระเมรุ (ท้องสนามหลวง) และหน้าศาลายุทธนาธิการ

ภาพการสวนสนามและแสดงแสนยานุภาพ ที่บริเวณท้องสนามหลวง เนื่องในพระราชพิธีรัชดาภิเษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ภาพการสวนสนามและแสดงแสนยานุภาพทีบ่ ริเวณท้องสนามหลวง เนือ่ งในพระราชพิธรี ชั ดาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั

95 95


ภาพการสวนสนามและแสดงแสนยานุภาพที่บริเวณหน้าศาลายุทธนาธิการ เนื่องในพระราชพิธีรัชดาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

96 96


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

กระทรวงกลาโหมและกรมยุทธนาธิการ ได้มีการจัดพระราช พิธีสมโภช การจัดซุ้มบริเวณถนนราชด�ำเนิน และการตกแต่งประดับ ประดาอาคารศาลายุทธนาธิการ เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติเมื่อเสด็จ พระราชด�ำเนินกลับจากการประพาสยุโรปทั้งสองครั้ง ในวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๔๔๐ และวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๕๐ ภาพการตกแต่งประดับประดาด้านหน้าอาคารศาลายุทธนาธิการ เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติเมื่อเสด็จพระราชด�ำเนิน กลับจากการประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๔๔๐

97 97


ภาพการจัดซุ้มเฉลิมพระเกียรติบริเวณถนนราชด�ำเนิน เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติเมื่อเสด็จพระราชด�ำเนินกลับจากการประพาสยุโรป ครั้งที่สอง เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๕๐

98 98


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๔๔๖ กระทรวงกลาโหมได้ประกอบพิธีถวายพระคทาแด่ จอมพล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกับจัดพิธีรับเสด็จพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในศาลายุทธนาธิการ

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถือพระคทา

ภาพการเตรียมการรับเสด็จในพิธีถวายพระคทาแด่จอมพล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

99 99


วันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๔๕๔ กระทรวง กลาโหมและก� ำ ลั ง พลได้ ร ่ ว มในพระราชพิ ธี ถวายพระเพลิ ง พระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โดยจัดก�ำลังพลเข้าร่วม ในขบวนอัญเชิญพระโกศพระบรมศพจากพระบรม มหาราชวังขึ้นสู่พระเมรุมาศ ณ ทุ่งพระเมรุ และจัดก�ำลังเข้ารักษาการในระหว่างประกอบ พระราชพิธี ภาพขบวนอัญเชิญพระโกศพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

100 100


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๔๕๔ เป็นวันที่ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั ซึง่ ในพระราชพิธไี ด้เชิญเจ้านายชัน้ สูงจากยุโรปเสด็จมาร่วมพระราชพิธี ณ พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท และจัดให้มกี ารเฉลิมฉลอง ซึ่งกระทรวงกลาโหมได้ถวายพระเกียรติในพระราชพิธีและจัดการแสดงต�ำนานเสือป่าบริเวณด้านหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหม

พระฉายาลักษณ์เจ้านายชั้นสูงจากยุโรป เสด็จมาร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช

ก�ำลังพลกระทรวงกลาโหมและกระทรวงทหารเรือร่วมขบวน และการแสดงต�ำนานเสือป่า พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

101 101


ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๕๗ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาทอด พระเนตรและพระราชทานรางวัลแก่นักกีฬาผู้ชนะเลิศการ แข่ ง ขั น กี ฬ าภายในศาลาว่ า การกลาโหม โดยประทั บ ณ พระทีน่ งั่ ชุมสาย บริเวณสนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม บริเวณใกล้บันไดทางขึ้นลงด้านหลังมุขกลาง พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินมาทอดพระเนตร และพระราชทานรางวัล แก่นักกีฬาผู้ชนะเลิศการแข่งขันกีฬาภายในศาลาว่าการกลาโหม

ภาพภายในศาลาว่าการกลาโหม บริเวณด้านหลังมุขกลาง ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

102 102


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

เดือนตุลาคม ๒๔๗๔ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ร�ำไพพรรณี เสด็จพระราชด�ำเนินมาตรวจแถวและเสวยพระกระยาหารค�ำ่ ณ ศาลาว่าการกลาโหม ในโอกาสเสด็จนิวัตพระนคร

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉายภาพพระบรมวงศานุวงศ์และคณะนายทหาร ณ ศาลาว่าการกลาโหม

103 103


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินในการพระราชทานกระบีแ่ ละพระราชทานปริญญาบัตรแก่ นายทหารผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และโรงเรียนนายเรืออากาศ ณ พระที่นั่งชุมสาย บริเวณสนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม ระหว่างปีพทุ ธศักราช ๒๕๐๐ จนถึงปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๙ ก่อนเปลีย่ นไปประกอบพิธี ณ หอประชุมใหญ่สวนอัมพร

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชด�ำเนินในการพระราชทานกระบี่ และพระราชทานปริญญาบัตรแก่นายทหารผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และโรงเรียนนายเรืออากาศ ณ พระที่นั่งชุมสาย บริเวณสนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม

104 104


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินในการพระราชทานปริญญาบัตร วุฒบิ ตั ร ประกาศนียบัตร และเข็มวิทยฐานะ แก่ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยเสนาธิการทหาร วิทยาลัยการ ทัพบก วิทยาลัยการทัพเรือ วิทยาลัยการทัพอากาศ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ และโรงเรียนเสนาธิการ ทหารอากาศ ณ ห้องประชุมกองบัญชาการทหารสูงสุด ในศาลาว่าการกลาโหม ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๙๙ จนถึงปีพุทธศักราช ๒๕๑๑ ก่อนเปลี่ยนไปประกอบพิธี ณ ห้องประชุมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ถนนวิภาวดีรังสิต และห้องประชุมใหญ่สวนอัมพร ตามล�ำดับ

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินในการพระราชทานปริญญาบัตร และเข็มวิทยฐานะแก่ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยเสนาธิการทหาร และโรงเรียนเสนาธิการเหล่าทัพ ณ ห้องประชุมกองบัญชาการทหารสูงสุด ในศาลาว่าการกลาโหม

105 105


106


107


สร้างสรรค์มวลกิจ 108


109


นห้วงแรกของการสร้างอาคารโรงทหาร หน้า บริเวณอาคารด้านทิศใต้สดุ อาคารก่อนถึงสะพาน ช้างโรงสี ทีช่ นั้ ๕ หรือชัน้ บนสุดมีหอ้ งยามรักษาการณ์ ซึ่งชั้นต�่ำลงมาหรือชั้น ๔ ได้ท�ำเป็นหอนาฬิการูปร่าง สีเ่ หลีย่ ม และสร้างให้มหี น้าปัดนาฬิกาสองด้าน เพือ่ ให้ ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาได้รับทราบเวลา จึงถือว่า เป็นการบริการประชาชนและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ ราษฎรสยามในยุคนั้น ภาพหอนาฬิกาและหอคอยของโรงทหารหน้า

หอคอยในยุคต่อมา (ปลายรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)

ภาพอาคารศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗) บริเวณที่เคยก่อสร้างเป็นหอคอย

ในเวลาต่อมา มีการปรับปรุงอาคารให้มีลักษณะทรงกระบอกและมีกันสาดในชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ ท�ำให้สามารถตรวจการณ์ ได้ทั้งสองชั้นและติดตั้งล�ำโพงเพื่อกระจายเสียงต่อสาธารณชนก่อนที่จะรื้อถอนออก ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๐

110 110


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพอาคารโรงทหารหน้าในยุคแรกมีการปักเสาไฟฟ้านอกอาคาร เพื่อให้บริการแก่สาธารณะ (ตามลูกศรชี้)

จากการที่โรงทหารหน้าท�ำการติดตั้ง ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร มีการบันทึกว่าติดตั้ง บริเ วณมุมอาคารและประตูท างเข้าออก โดย เฉพาะบริเวณถนนสนามไชย ถนนกัลยาณไมตรี และถนนหลักเมืองมีการติดตัง้ โคมไฟแสงสว่างขึน้ หลายจุดเพือ่ ประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัย และยังเป็นการให้บริการแสงสว่างแก่ประชาชน ผู้สัญจรไปมาอีกด้วย

ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๖๐ พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ ให้จัดท�ำพิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณ ที่หน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหม ซึ่งเป็นการจัด แสดงปืนใหญ่โบราณเพือ่ ให้ประชาชนทีส่ นใจได้เห็น และภาคภูมใิ จในแสนยานุภาพทางทหารในอดีต ใน ปัจจุบันมีปืนใหญ่โบราณประดิษฐานที่สนามหญ้า หน้าศาลาว่าการกลาโหม รวมทัง้ สิน้ ๔๐ กระบอก และในปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้เปิดให้ประชาชน เข้าชมพิพิธภัณฑ์ ฯ เป็นครั้งแรก

ภาพการจัดวางปืนใหญ่ครั้งแรกในปีพุทธศักราช ๒๔๖๐

111 111


ภาพการจัดวางพิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณในปัจจุบัน

112 112


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

หลังจากนัน้ ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ จัดสร้างศาลาทรงกลมภายในลักษณะโปร่งมีเสาข้างใน ๘ เสา จ�ำนวน ๒ หลัง ประกอบภายในสนามด้านหน้า ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๖๕ เรียกว่า ศาลากระโจมแตร โดยให้เป็นที่ฝึกซ้อมบรรเลงแตรฝรั่งหรือ วงโยธวาทิต (Military Band) ซึ่งมีการบันทึกว่าเมื่อมีการฝึกซ้อมบรรเลงแตรฝรั่ง จะมีประชาชนมาชมและฟังกันทุกคราวไป

ภาพศาลากระโจมแตรบริเวณหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหม ในปีพุทธศักราช ๒๔๖๖

ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ กระทรวงกลาโหมได้ จั ด สร้ า งน�้ ำ พุ ๒ แห่ง บริเวณที่เคยใช้สร้างศาลา กระโจมแตรในอดี ต เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ภูมิทัศน์และให้บริการแก่สาธารณชน ที่ ส ามารถชมความงดงามของน�้ ำ พุ บริ เ วณหน้ า อาคารศาลาว่ า การ กลาโหมได้ทุกวัน ภาพน�้ำพุหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

113 113


นอกจากนี้ สะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) ด้านหลังอาคารโรงทหารหน้าด้านทิศตะวันออก ในยุคแรกได้สร้าง เป็นลักษณะสะพานหกส�ำหรับให้ทหารข้าม (ซึ่งในกรณีที่มีเรือแล่นผ่านก็จะยกสะพานตอนกลางคลองขึ้น) โดยในยุคนั้นก็เปิดโอกาส ให้ประชาชนใช้สัญจร รวมถึงให้รถรางสายแรกของประเทศ คือ สายกระทรวงกลาโหม-บางคอแหลมแล่นผ่านสะพานอีกด้วย ต่อมา ได้รื้อสะพานหกและสร้างใหม่เป็นสะพานคอนกรีตก็ยังคงให้รถรางแล่นผ่าน จนเมื่อยกเลิกรถรางจึงได้ปรับปรุงสะพานให้ประชาชนใช้ สัญจร และยังคงใช้อย่างต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน

ภาพสะพานหกหลังอาคารโรงทหารหน้าในปีพุทธศักราช ๒๔๓๑

ภาพรถรางก�ำลังแล่นผ่านสะพานหก (เดิม)

ภาพรถรางก�ำลังแล่นผ่านสะพานหก (คอนกรีต)

114 114


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพด้านหลังอาคารศาลาว่าการกลาโหมและสะพานหกในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

ภาพน�้ำพุหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗)

115 115


สถิตย์สกลสถาน 116 116


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

117 117


าคารหรือสถานที่ทุกแห่ง มักจะมี สิ่งอันเป็นมงคลซึ่งเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของ ก� ำ ลั ง พลที่ ป ฏิ บั ติ ง านหรื อ พ� ำ นั ก อาศั ย ในพื้ น ที่ แห่งนั้น ซึ่งอาคารศาลาว่าการกลาโหมก็เป็นอีก สถานที่หนึ่งที่มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจหลายสิ่งด้วยกัน ประกอบด้วย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ สัญลักษณ์ส�ำคัญ และ สิ่งที่ก�ำลังพลให้การนับถือบูชา

ภาพหน้าบันศาลาว่าการกลาโหม

118 118


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพเขียนกระบวนทัพทางสถลมารค ประดับที่ห้องอารักขเทวสถาน

ภาพอารักขเทวา ภายในศาลาว่าการกลาโหม

ห้องอารักขเทวสถาน เดิมทีเป็นห้องคลังครุภณ ั ฑ์และยุทธภัณฑ์ของหน่วยทหารมาตัง้ แต่สมัยเริม่ ตัง้ โรงทหารหน้า ซึง่ ภายใน ปรากฏต้นเสาไม้สักทรงกลมกลางห้อง โดยในปีพุทธศักราช ๒๕๐๘ ได้เกิดเหตุการณ์ประหลาด ปรากฏว่า มีน�้ำมันไหลออกจาก เสาไม้สักบริเวณหัวเสาด้านบนสุด ก�ำลังพลที่มีความเลื่อมใสศรัทธาจึงน�ำผ้าสีมงคลมาผูกและปิดทองโดยรอบเสา พร้อมทั้งกราบไหว้ อธิษฐานและมักประสบความส�ำเร็จตามความปรารถนาทีไ่ ด้อธิษฐานไว้ จึงท�ำให้หอ้ งอารักขเทวสถานได้รบั การกล่าวขานและนับถือว่า เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งในศาลาว่าการกลาโหม

119 119


ภาพศาลเจ้าพ่อหอกลองภายในศาลาว่าการกลาโหม

ภาพเจ้าพ่อหอกลองหรือเจ้าพระยาสีห์สุรศักดิ์ (จัน)

ภาพหอกลองเดิม (บริเวณสวนเจ้าเชตุ) ภาพศาลหอกลองจ�ำลองในปัจจุบัน

เจ้าพ่อหอกลองหรือเจ้าพระยาสีหส์ รุ ศักดิ์ (จัน) ทหารเอกในพระเจ้ากรุงธนบุรมี คี วามเชีย่ วชาญ ในทางหอก และชอบให้ทหารตีกลองศึกในเวลาออก รบ จึงท�ำให้ทหารทัง้ หลายในสังกัด ต่างพร้อมใจกัน ตั้งชื่อว่า “เจ้าพ่อหอกลอง”

120 120


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการน�ำกลองประจ�ำพระนครจ�ำนวน ๓ ใบ จากหอกลองที่บริเวณ สวนเจ้าเชตุ มาเก็บรักษาไว้ที่ชั้น ๔ ของอาคารศาลาว่าการกลาโหมทางทิศตะวันออก ต่อมาได้น�ำกลองดังกล่าวไปเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ซึ่งในกระทรวงกลาโหมก็ยังคงตั้งศาลเจ้าพ่อหอกลองไว้บริเวณอาคารด้านทิศตะวันออกเพื่อให้ ก�ำลังพลสักการะเรื่อยมา สิ่งที่สถิตคู่กับโรงทหารหน้ามาตั้งแต่อดีตอีกสิ่งหนึ่งซึ่งผู้คนจ�ำนวนน้อยที่จะทราบคือ แผ่นยันต์ประจ�ำอาคารโรงทหารหน้า มีลกั ษณะเป็นแผ่นหนังสีดำ� ประดับลวดลายสีทองเป็นภาพยันต์และอักขระโบราณ โดยในอดีตแผ่นยันต์ดงั กล่าวได้ประดับติดกับอาคาร ทางด้านทิศตะวันตกระหว่างช่องหน้าต่าง ต่อมาเมื่อมีการปรับปรุงอาคารจึงเคลื่อนย้ายมาประดับไว้ในห้องประชุมสุรศักดิ์มนตรี

ภาพท้าวเวสสุวัณณ์และวิมานบนดาดฟ้า อาคารศาลาว่าการกลาโหมด้านทิศตะวันออก

ท้าวเวสสุวัณณ์ เป็นหนึ่งในบรรดาท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่ สถิตอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ถือเป็นท้าวจตุโลกบาลที่ ทรงฤทธานุภาพมากที่สุด ซึ่งในปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ กระทรวง กลาโหมได้จัดท�ำพิธีอัญเชิญท้าวเวสสุวัณณ์ประดิษฐานที่วิมาน บริเวณดาดฟ้าชัน้ บนของอาคารศาลาว่าการกลาโหมด้านทิศตะวัน ออก เพื่อความเป็นสิริมงคลกับประเทศและกระทรวงกลาโหม

ภาพแผ่นยันต์ประจ�ำกระทรวงกลาโหม

121 121


ภาพวิมานท้าวเวสสุวัณณ์ ประดิษฐานบริเวณดาดฟ้าชั้นบนของอาคารศาลาว่าการกลาโหมด้านทิศตะวันออก

เนือ่ งจากอาคารโรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการ กลาโหมเป็นอาคารพระราชทานของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในอาคารจึงได้มีการ ประดิษฐานพระราชอนุสรณ์ของพระองค์ทา่ นให้กำ� ลังพล ได้ร่วมสักการะรวม ๓ สิ่งบริเวณห้องประชุมภาณุรังษี กล่าวคือ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์หนิ อ่อน ลักษณะรูป แกะสลักนูนต�ำ่ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์และพระบรม รูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์และพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บริเวณหน้าห้องประชุมภาณุรังษี

122 122


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์หินอ่อน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในห้องประชุมภาณุรังษี พระรูปหินอ่อนแกะสลักลอยองค์ ของจอมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ภายในห้องประชุมภาณุรังษี

พระรูปหินอ่อนแกะสลักลอยองค์ ของจอมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประดิษฐาน ณ บริเวณภายในห้องประชุมภาณุรังษี ซึ่งพระองค์มีคุณูปการแก่กิจการทหารไทยในยุค เริ่มแรก และทรงขับเคลื่อนให้กระทรวงกลาโหม และกิจการทหารบก ทหารเรือ มีทิศทางที่แน่ชัดและก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง

123 123


พระบวรฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในส�ำนักงานผู้บังคับบัญชา กรมเสมียนตรา

พระบวรฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว บนผนังภายในส�ำนักงานผู้บังคับบัญชา กรมเสมียนตรา

พระบวรฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประดิษฐาน ณ ส�ำนักงานผู้บังคับบัญชา กรมเสมียนตรา ซึ่งเป็นพระบวรฉายาสาทิสลักษณ์ที่จัดท�ำขึ้นเป็นภาพที่สอง โดยที่พระบวรฉายาสาทิสลักษณ์ภาพเดิมได้รับพระราชทานจากพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่อมาได้ช�ำรุดและสูญหายจึงได้จัดท�ำขึ้นมาใหม่ พร้อมทั้งมีการปรับภูมิทัศน์เพื่อให้สวยงามและ สมพระเกียรติ

124 124


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพรูปหล่อโลหะทองเหลืองรมด�ำและภาพวาดเหมือน จอมพล มหาอ�ำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) หน้าห้องประชุมสุรศักดิ์มนตรี

รูปหล่อโลหะทองเหลืองรมด�ำครึ่งตัว และภาพวาดเหมือนของ จอมพล มหาอ�ำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) ประดิษฐาน ณ หน้าห้องประชุมสุรศักดิ์มนตรี ท่านผู้นี้ถือได้ว่าเป็นอริยบุคคลผู้ควบคุมการก่อสร้างโรงทหารหน้าหรือ ศาลาว่าการกลาโหม ผู้มีคุณูปการแก่กิจการทหารยุคใหม่ ผู้ริเริ่มการผลิตและใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย และอดีตแม่ทัพผู้มีความสามารถ ในการยุทธ์หลายสมรภูมิ

125 125


126


สืบสานสู่สากล 127


าคารศาลาว่าการกลาโหม นอกจากจะใช้เป็นที่ ปฏิบตั ริ าชการทางทหารแล้ว ยังใช้ประโยชน์สำ� หรับผูบ้ งั คับบัญชา ระดับสูงทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบันในการพบปะ รับรองผู้แทนมิตร ประเทศทั้งในราชการทหารและการพัฒนาสัมพันธ์ทางด้านความ มั่นคงระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยุคเริ่มต้นของสงคราม เย็นเป็นต้นมา ซึ่งมีการบันทึกไว้ว่า มีการใช้พื้นที่ภายในศาลาว่าการ กลาโหมประกอบพิธีเลี้ยงสังสรรค์เจ้าหน้าที่ไทย - อเมริกัน เนื่อง ในวาระครบรอบ ๕ ปี แห่งสนธิสัญญาว่าด้วยการช่วยเหลือ ทางการทหารระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๔๙๘

ภาพพิธีเลี้ยงสังสรรค์เจ้าหน้าที่ไทย - อเมริกัน ณ บริเวณสนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม

หลังจากนั้น ได้ใช้เป็นที่ประชุม เป็นที่พบปะ เยี่ยมค�ำนับ และเยี่ยมคารวะของผู้น�ำระดับสูงทางทหาร และระดับเจ้าหน้าที่ที่ ปฏิบัติหน้าที่ความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงระดับประเทศทั้งในระดับพหุภาคี หรือระดับทวิภาคี อันเป็นการพัฒนาให้กระทรวงกลาโหม และกิจการทหารไทยสามารถพัฒนาไปสู่ความยอมรับของนานาประเทศในเวทีสากลอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี

ภาพการให้การต้อนรับผู้น�ำระดับสูงของมิตรประเทศในฐานะแขกของกระทรวงกลาโหม

128 128


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ภาพการให้การต้อนรับผู้น�ำระดับสูงของ มิตรประเทศในฐานะแขกของกระทรวงกลาโหม

129 129


ประวัติโรงทหารหน้า (ศาลาว่าการกลาโหม) ๑. รูปแบบและศิลปะของอาคารโรงทหารหน้า

อาคารโรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหมมีลักษณะเป็นอาคารขนาดสูง ๓ ชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแคบยาว ๔ หลัง ต่อกันเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มเกือบเป็นสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ล้อมรอบสนามขนาดใหญ่ทมี่ อี ยูภ่ ายใน โดยทาสีของอาคารเป็นสีไข่ไก่คนั่ ด้วยขอบเสาที่ มีสีขาว มีลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก (Classicism) ในรูปแบบของสถาปนิกแอนเดรีย พาลลาดิโอ ที่เรียกว่า ศิลปะแบบ พาลลาเดียน (Palladianism) ที่มีความชัดเจนมากคือ มีลักษณะผังรูปแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสล้อมรอบสนามไว้ภายใน ทั้งนี้เพราะท�ำให้ อาคารสามารถรับแสงสว่างได้ดี

130 130


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ด้านหน้าอาคารมีประตูเข้าออก ๒ ประตู อยูด่ า้ นทิศตะวันตกตรงข้ามพระบรมมหาราชวังบริเวณประตูสวัสดิโสภา หลังคา อาคารแถวเป็นทรงปั้นหยาไม่ยกสูง ชายคากุดแบบอาคารในยุโรปลักษณะของตัวอาคารแต่ละหลังมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแคบยาว แบบห้องแถวก่ออิฐฉาบปูนเรียบมีชอ่ งหน้าต่างในช่องผนังทุกช่อง คัน่ ด้วยเสาอิงปูนปัน้ นูนต�ำ่ คาดเป็นแนวปล้องเลียนแบบการก่อด้วย อิฐ (Rustication) มีระเบียงตั้งอยู่ติดกับตัวอาคารส�ำหรับใช้เป็นทางเดินเชื่อมอาคารทั้งสี่เข้าด้วยกัน ภายนอกอาคารมีการเจาะช่อง หน้าต่างมีขนาดแตกต่างกันในแต่ละชั้น

โดยชั้นที่สองมีช่องหน้าต่างใหญ่ที่สุด ซึ่งบานหน้าต่างเป็นไม้กรุลูกฟักเรียบแบบบานละ มีซุ้มหน้าต่างเป็นปูนปั้นเรียบ ในลักษณะที่แตกต่างกันตามแบบโครงสร้างสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก กล่าวคือ ชั้นล่าง ซุ้มเหนือหน้าต่างมีลวดลายเป็นก้อนก่อของทับหลังแบบโค้งแบน (Flat arch) ชั้นที่สอง ซุ้มเหนือหน้าต่างมีลวดลายเป็นซุ้มคานเครื่องบน (Architrave) ชั้นบนสุด ซุ้มเหนือหน้าต่างมีลวดลายเป็นซุ้มหน้าบันโค้งเสี้ยววงกลม (Segmental arch)

131 131


ส�ำหรับจุดเด่นทางสถาปัตยกรรมอยู่ที่มุขกลางด้านหน้าอาคาร จึงนับเป็นการออกแบบที่ลงตัวกับความเป็นที่ตั้งทางทหาร ซึ่งจะต้องมีความอลังการ ดูสงบ น่าเกรงขาม และบ่งบอกถึงศักยภาพในการปกป้องประเทศชาติ และผสมผสานได้อย่างเหมาะสมกับ ประโยชน์ใช้สอย ที่ส�ำคัญที่สุดคือ มีความสมดุลในทางสถาปัตยกรรม กล่าวคือ ๑.๑  อาคารมุขกลาง มีลักษณะเป็นอาคารผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส�ำหรับใช้เป็นส่วนบังคับบัญชา มีประตูทางเข้าออก ขนาดใหญ่วางขนาบด้านซ้ายและขวา ส่วนหน้าแคบยาวเป็นระเบียงประดับเสารายส่วนกลางเป็นโถงใหญ่ยาว ๕ ช่วงเสาส่วนท้าย เป็นโถงบันได นอกจากนี้ ยังมีปีกต่อออกไปอีก ๒ ข้างที่ส่วนท้ายอาคาร สามารถแบ่งออกเป็นห้องขนาดเล็กได้อีกข้างละ ๓ ห้อง เมื่อมองในภาพรวมแล้ว มีผังเป็นรูปตัว T หันส่วนบนเข้าข้างในอาคาร ๑.๒  หลังคาจั่วแบบวิหารกรีก โดยเฉพาะหน้าจั่วนี้มีบัวปูนปั้นยื่นออกมาเป็นไขรา (หมายถึง ส่วนของหลังคาที่ยื่น จากฝาหรือจั่วออกไป) ที่รับด้วยเต้าสั้น ๆ แบบสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก และบริเวณใต้จั่วจัดท�ำเป็นโครงสร้างคานโค้งครึ่งวงกลม ต่อเนื่อง ๕ ช่วง

132 132


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๑.๓  ชั้นล่าง เป็นเสาลอยตัวหน้าตัดกลมขนาดใหญ่สูง ๒ ชั้น ตั้งอยู่บนฐานเสาสูง ๖ ต้น ในระบบดอริค (Doric) ก่อขึ้นมารับมุขโครงสร้าง คานโค้งของชั้นที่สามที่ยื่นมาจากแนวตึก สรุปโดยภาพรวม อาคารโรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหม เป็นอาคารที่ก่อสร้างในลักษณะเรียบง่าย แต่สวยงามตามคติเรียบง่ายที่ สูงศักดิ์ (Noble simplicity) สอดรับกับแนวทางการออกแบบตามรูปแบบ สถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก จึงถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่มีความลงตัวเชิง ศิลปะและมีความสวยงามไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าอาคารสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก ในยุโรป

๒. ที่ดินที่ใช้สร้างอาคาร ที่ดินส�ำหรับใช้สร้างโรงทหารหน้านั้น เดิมที่เคยใช้เป็นฉางข้าว หลวง (สถานที่ส�ำหรับใช้ในการเก็บข้าวเปลือกและข้าวสารที่เรียกเก็บจาก ราษฎรเพื่อใช้สำ� หรับเป็นอาหารส�ำรองสงครามให้แก่ทหารและข้าราชการบาง หน่วย) และมีพื้นที่บางส่วนเคยเป็นวังของเจ้านายชั้นสูงมาก่อน กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้เคยทรง พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดสร้างหมู่วังเจ้านายถนนหลักเมือง หน้าพระบรม มหาราชวังบริเวณใกล้ศาลหลักเมืองจ�ำนวน ๖ วัง เพือ่ ใช้สำ� หรับเป็นทีป่ ระทับ ของพระเจ้าลูกยาเธอ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการสร้างฉางข้าว หลวงส�ำหรับพระนครขึน้ บริเวณท้ายถนนหลักเมืองใกล้คลองคูเมืองเดิม (คลอง หลอด) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั หมูว่ งั เจ้านายถนนหลักเมืองกลายเป็นทีร่ กร้างและไม่มเี จ้านาย พระองค์ใดมาประทับอยู่ จึงใช้พื้นที่บางส่วนจัดท�ำเป็นฉางข้าวหลวงบริเวณริมถนนราชินี ซึ่งในระหว่างนั้นกรมทหารหน้าเดิมที่เคยตั้ง อยูใ่ นพระบรมมหาราชวัง เกิดคับแคบและต้องใช้พนื้ ทีใ่ นการเก็บรักษาเครือ่ งกระสุนและดินปืน ท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย กอปรกับในปี

133 133


พ.ศ.๒๔๒๔ ได้มกี ารจัดพระราชพิธสี มโภชพระนครครบ ๑๐๐ ปี พระราชพิธถี วายพระเพลิงพระศพ สมเด็จพระนางเจ้าสุนนั ทา กุมารีรัตน์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชร รัตน์ ซึง่ จัดให้มกี ารแสดงมหกรรมแห่งชาติ ณ ทุง่ พระเมรุ (ท้อง สนามหลวง) ซึ่งงานส�ำคัญทั้ง ๓ งานนี้จ�ำเป็นต้องใช้ก�ำลังพล ทหารมาปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ยธา รักษาการณ์ และเวรยามจ�ำนวนมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้รับสมัครคนเข้ารับราชการ ทหารในกรมทหารหน้าอีก ๕,๐๐๐ นาย ซึ่งการใช้ก�ำลังพล จ�ำนวนมากเช่นนี้ ท�ำให้ประสบปัญหาในเรื่องการพักแรมของ ทหารที่มีจ�ำนวนจ�ำกัด ทหารเหล่านั้นจึงต้องกระจัดกระจายไป พักอาศัยตามพระอารามหลวง อาทิ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดราชบูรณะ และที่พักชั่วคราวที่ต�ำบลปทุมวัน จึงทรงมีแนว พระราชด�ำริในการจัดสร้างทีพ่ กั ถาวรโดยควรทีจ่ ะตัง้ กรมทหารหน้าขึน้ นอกรัว้ พระบรมมหาราชวัง และอยูใ่ กล้กบั พระบรมมหาราชวังเพือ่ ป้องกันเหตุร้ายได้ทันท่วงทีจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่วังของอดีตพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช รวม ๓ วัง คือ วังที่ ๒ และวังที่ ๖ ของ ของพระองค์เจ้าทับทิม กับวังที่ ๔ ของพระองค์เจ้าคัมธรสรวมทั้ง ฉางข้าวหลวงส�ำหรับพระนครเป็นพื้นที่ส�ำหรับสร้างโรงทหารหน้า

134 134


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ทั้งยัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานที่ดินตามหนังสือส�ำคัญส�ำหรับที่หลวง ฉบับที่ ๖๑/๒๔๗๘ ที่ดินเลขที่ ๓๕ ระวาง ๑ต ๑ฏ ๒ มีเนื้อที่รวม ๑๘ ไร่ ๕๓ ตารางวา เพื่อ ให้สร้างโรงทหารหน้าส�ำหรับด�ำเนินกิจการของทหาร เมื่อเป็นเช่นนี้ กระทรวงกลาโหมจึงเป็นส่วนราชการเดียวที่มีกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดิน ของกระทรวงเอง ในขณะที่ส่วนราชการอื่นต่างใช้ประโยชน์จากที่ดินที่ราชพัสดุโดยมีกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เป็นส่วนราชการที่ดูแลการใช้ประโยชน์ของที่ดินส�ำหรับส่วนราชการต่าง ๆ นั้น

๓. พระราชประสงค์ในการจัดสร้างอาคาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดสร้างอาคาร โรงทหารหน้า หรือ ศาลาว่าการกลาโหม เพื่อภารกิจทางทหาร ดังนี้ ๑)  เพื่อใช้เป็นสถานที่รองรับการปฏิรูปกิจการทหารสยาม ตามแบบอย่างชาติมหาอ�ำนาจการทหารของชาติตะวันตก ๒)  เพือ่ ใช้เป็นสถานทีแ่ สดงพระบรมเดชานุภาพจอมทัพไทย ให้ปรากฏแก่สายตาชาวไทยและชาวต่างประเทศในขณะนัน้ ๓)  เพื่อใช้เป็นสถานที่ท�ำการของกิจการทหารและเป็นอาคารพระราชมรดกการทหารในการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ และราชบัลลังก์สืบต่อไปในอนาคต ๔)  เพื่อใช้เป็นสถานที่ท�ำการของกรมทหารหน้า ตามค�ำกราบบังคมทูลขอพระราชทานโดย นายพันเอก เจ้าหมื่น ไวยวรนารถ (เจิม แสง-ชูโต) ผู้บังคับการกรมทหารหน้าในขณะนั้น

๔. บันทึกประวัติการสร้างโรงทหารหน้า มีการรวบรวมข้อมูลตีพมิ พ์ในหนังสือประวัตขิ องจอมพล และมหาอ�ำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิม์ นตรี (เจิม แสง - ชูโต) รวบรวมเมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๐๔ โดยมีการบันทึกไว้ในไดอารีที่มีเนื้อความที่เกี่ยวข้องกับสร้างโรงทหารหน้า ดังนี้ สร้างโรงทหารหน้า (กระทรวงกลาโหม) เมื่อทหารสมัครกลับเข้ามารับราชการตามเดิมมีจ�ำนวนมากแต่ที่พักอาศัยจะควบคุมทหารให้อยู่ได้เป็นปกติเรียบร้อยนั้น หายาก เจ้าหมื่นไวยวรนารถ ผู้บังคับการทหารหน้า จึงคิดเห็นว่าถ้าจะควบคุมและเลี้ยงดูทหารมากมายดังนี้จ�ำต้องท�ำที่อยู่ให้แข็งแรง

135 135


มิดชิดพวกทหารจะได้อยู่ในความปกครองควบคุมให้เป็นระเบียบเรียบร้อยได้ จึงได้เที่ยวตรวจตราดูท�ำเลที่ทางว่าจะมีที่ใดซึ่งสมควรจะ สร้างเป็นโรงทหารหน้าต่อไปได้บ้างจึงเห็นที่ฉางหลวงเก่าส�ำหรับเก็บข้าวเมื่อขณะเกิดทัพศึกมีอยู่ ๗ ฉางแต่ทว่าปรักหักพักทั้งไม้ก็ ผุหมดแล้ว พื้นก็หามีไม่ ต้นไม้และเถาวัลย์ขึ้นปกคลุมจนมิดฉางหมดทั้งรอบบริเวณที่นั้นก็มีวังเจ้านายอยู่หลายกรมแต่วังเหล่านั้นก็ ทรุดโทรมหมดแล้วทุก ๆ แห่งในเขตเหล่านี้มีบริเวณจดไปถึงศาลเจ้าหลักเมือง จนถึงสะพานช้างโรงสี (การที่เรียกสะพานช้างโรงสี ก็เพราะหมายความว่า ทีต่ รงนัน้ เป็นฉางหลวงส�ำหรับพระนครและมีโรงสีขา้ วอยูด่ ว้ ย) ทีน่ ตี่ งั้ เป็นกรมยุทธนาธิการและทีว่ า่ การกระทรวง กลาโหมอยู่ในเวลานี้ เนื้อที่ทั้งหมดยาว ๕ เส้น กว้าง ๓ เส้น ๑๐ วา เห็นว่า เป็นที่เหมาะส�ำหรับจะตั้งเป็นโรงทหารหน้าได้จึงให้ช่าง ถ่ายรูปฉางข้าวหลวง และวังที่ทรุดโทรมทุกๆ แห่งกะสะเก็ดแผนที่ด้วยเส้นดินสอตามที่เจ้าหมื่นไวยวรนารถต้องการและคิดว่าจะท�ำ โรงทหารหน้าที่ทหารอยู่ได้ ๔ หมู่ เป็นกองทัพน้อย ๆ เพื่อจะได้รักษาความสงบในพระนคร จึงเรียกตัวนายกราซีซึ่งเป็นนายช่างรับ เหมาในการก่อสร้างทั้งชั้นให้มาหาเจ้าหมื่นไวยวรนารถจึงชี้แจงให้นายกราซีเข้าใจความประสงค์ทุกประการ และสั่งให้นายกราซีท�ำ แปลนตึกมา ๒ ชนิด แปลน ๑ เป็นตึก ๒ ชั้น อีกแปลน ๑ เป็นตึก ๓ ชั้นทั้งให้งบประมาณการที่จะก่อรากท�ำให้แน่นหนาใช้เป็นตึก หลาย ๆ ชัน้ ได้ดว้ ยนายกราซีได้ทำ� แปลนและเขียนรายการพร้อมทัง้ งบประมาณการก่อสร้างมายืน่ ให้ผบู้ งั คับการตามค�ำสัง่ ทุกประการ เจ้าหมืน่ ไวยวรนารถได้นำ� แปลนตึก ๒ ชัน้ พร้อมทัง้ รูปฉายฉางข้าวกับราคางบประมาณของตึกประมาณ ๕,๐๐๐ ชัง่ (๔๐๐,๐๐๐ บาท) น�ำขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวายก่อนแลได้กราบบังคมทูลชี้แจงความตามเหตุที่จ�ำเป็นทุก ๆ อย่างเมื่อได้ทรงทอดพระเนตรแบบแปลนนั้น ตลอดแล้วจึงมีพระราชกระแสรับสั่งแก่ เจ้าหมื่นไวยวรนารถว่า

136 136


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

“เวลานี้เงินของแผ่นดินก็ได้น้อยแต่ทว่าเป็นความจ�ำเป็นจริงแล้ว ข้าก็จะยอมตามความคิดของเจ้าให้เจ้าจัดแจง ท�ำสัญญากับนายกราซีเสีย เพือ่ จะได้ลงมือท�ำทีเดียวแต่ขา้ จะต้องเอารูปถ่ายฉางข้าวและวังเจ้านายทีท่ รุดโทรมนีไ้ ว้กอ่ น เพือ่ จะได้ ปรึกษาหารือกับกรมสมเด็จท่านดูด้วยถ้าเผื่อว่าท่านทรงขัดขวางไม่ทรงยินยอมและเห็นชอบด้วยแล้วจะได้เอารูปถ่ายนี้ถวาย ให้ทอดพระเนตรและทูลชี้แจงให้เข้าพระทัย” อยู่มาอีกไม่กี่วันเจ้าหมื่นไวยวรนารถก็น�ำแปลนตึก ๓ ชั้น และงบประมาณเข้าไปอีกเพื่อทูลเกล้าฯถวายเมื่อพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรเห็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถถือแปลนเข้าไปก็มีพระราชด�ำรัสรับสั่งถามว่า “นั้นเจ้าเอาแปลนอะไร มาอีกละ” เจ้าหมื่นไวยวรนารถคลี่เอาแปลนตึก ๓ ชั้นให้ทอดพระเนตร และกราบบังคมทูลพระกรุณาว่า “ทีซ่ งึ่ อยูใ่ นพระนครกว้างใหญ่เท่าทีก่ ะมานีห้ ายากเมือ่ บ้านเมืองเจริญขึน้ แล้วทีด่ นิ ก็จะมีราคาสูงขึน้ อีกมาก ข้าพระพุทธเจ้า มีความเสียดายยิง่ นักทัง้ ทีน่ กี้ เ็ ป็นทีใ่ นก�ำแพงพระนครด้วย ข้าพระพุทธเจ้าจึงได้สงั่ ให้นายกราซีเขียนแบบแปลนเป็นตึก ๓ ชัน้ ขึน้ หวังว่า จะบรรจุทหารให้มากขึ้นให้เต็มพร้อมมูลเป็นกองทัพน้อย ๆ อยู่ในแห่งเดียวกันอนึ่งในงบประมาณฉบับแรกนั้นข้าพระพุทธเจ้าได้สั่ง นายกราซีกะประมาณการก่อรากให้มั่นคงแข็งแรงทานน�้ำหนักตึกได้ตั้งแต่ ๓ ถึง ๔ ชั้น แม้นว่าถ้าจะเติมขึ้นอีกชั้นหนึ่งเงินที่จะต้อง เพิ่มขึ้นก็ไม่มากมายเท่าใดนักข้าพระพุทธเจ้ามีความเห็นว่าจะท�ำเป็นสามชั้นเสียทีเดียวจะดีกว่า” เมื่อเจ้าหมื่นไวยวรนารถได้กราบ บังคมทูลชี้แจงเรื่องราวครบถ้วนทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงทอดพระเนตรงบประมาณ และแปลนที่ได้สะเก็ดมาแล้วจึงมี พระราชด�ำรัสตอบว่า “ตามข้อความที่เจ้าชี้แจงมานั้นข้าก็มีความเห็นชอบทุกประการเพราะฉะนั้นข้าจ�ำเป็นที่จะต้องช่วยเจ้าให้ ส�ำเร็จตามความคิดอันนี้ดีละเป็นอันตกลงกันตามความของเจ้าทุกประการ”

๕. การด�ำเนินงานก่อสร้างอาคาร ในปี พ.ศ.๒๔๒๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้นายพันเอก เจ้าหมื่น ไวยวรนาถ (เจิม แสง-ชูโต) ผูบ้ งั คับการกรมทหารหน้า เป็นแม่กองการก่อสร้างโรงทหารหน้า และให้ นายพันเอก พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ ชุมสาย วิศวกรทุนพระราชทาน ฯ เป็นผูช้ ว่ ยแม่กองการก่อสร้าง ในการนีท้ รงมีพระราชวินจิ ฉัยและพระบรมราชานุญาตให้กอ่ สร้างโรง ทหารหน้าตามแบบแปลนที่ นายโจอาคิโน โจอาคิมกราซซี (Giochino Joachim Grassi) สถาปนิกและวิศวกรช่างรับเหมาก่อสร้าง ชาวอิตาเลียน เป็นผู้ออกแบบ (นายโจอาคิม กราซี เดินทางเข้ามาในประเทศสยาม ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๑๓ – ๒๔๓๖ ด้วยการเปิด บริษัท RASSIBROTHER and CO. ร่วมกับน้องชายคือ นาย Antonio Grassi ซึ่งนาย โจอาคิม กราซี ประกอบธุรกิจการค้าหลาย ประเภท ผลงานการออกแบบและก่อสร้างของบริษัทแห่งนี้ในประเทศสยามยุคนั้น อาทิการสร้างวังบูรพาภิรมย์ วัดนิเวศธรรมประวัติ

137 137


พระราชวังบางปะอินศาลสถิตยุติธรรม บ้านพระยาราชานุประพันธ์ ริมคลองบางกอกใหญ่ ตึกในโรงเรียนอัสสัมชัญ ตึกวิคตอเรีย ตึกเสาวภาคย์ในโรงพยาบาลศิริราช และการขุคคลองรังสิตประยุรศักดิ์ ร่วมกับพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์) โดยมีมูลค่าก่อสร้าง อาคารรวมเป็นเงิน ๗,๐๐๐ ชั่ง หรือ ๕๖๐,๐๐๐ บาท และค่าตกแต่งอีก ๑๒๕ ชั่ง หรือ ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นมูลค่า ก่อสร้างและด�ำเนินการทั้งสิ้น ๕๗๐,๐๐๐ บาท

นายพันเอก พระยาสุรศักดิ์มนตรี

พันเอก พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ ชุมสาย

นาย โจอาคิโน โจอาคิม กราซซี

จากการพิจารณาในเบือ้ งต้น พบว่า พืน้ ดินบริเวณทีจ่ ะใช้กอ่ สร้างอาคารมีลกั ษณะร่วนซุย และการทีส่ ร้างอาคารขนาดใหญ่ มากจ�ำเป็นต้องรับน�้ำหนักอาคารจ�ำนวนมาก อาจท�ำให้อาคารทรุดตัวได้ จึงต้องมีการท�ำงานฐานรากให้แข็งแรงและมั่นคง จึงก�ำหนด ให้มีการจัดวางแพซุงเพื่อรองรับน�้ำหนักอาคาร โดยการขุดเจาะพื้นดินและวางซุงขนาดใหญ่เรียงต่อกันเป็นแพสลับกัน ๓ ชั้นก่อน ที่จะกลบและสร้างอาคาร ในการด�ำเนินการก่อสร้างแรงงานก่อสร้างส่วนใหญ่เป็นชาวจีน วัสดุกอ่ สร้างโดยทัว่ ไปใช้วสั ดุภายในราชอาณาจักรสยาม ในขณะนั้น อาทิ ไม้สัก อิฐ กระเบื้องดินเผารากกาบกล้วย ทราย ปูนซีเมนต์ ดินเหนียว ปูนขาว และต้นอ้อย

138 138


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ส�ำหรับพิธีวางศิลาฤกษ์ สันนิษฐานว่า จัดพิธีเช่นเดียวกับการก่อสร้างอาคารส�ำคัญในสมัยนั้นและพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชด�ำเนินมาเป็นองค์ประธานพิธวี างศิลาฤกษ์ซงึ่ จากลักษณะโรงทหารหน้าสันนิษฐานว่าการวาง ศิลาฤกษ์อยู่ ณ บริเวณตึกกลางของโรงทหารหน้าในขณะนั้น โดยเริ่มด�ำเนินการก่อสร้างในปี พ.ศ.๒๔๒๕ และก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ.๒๔๒๗ ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างรวมประมาณ ๒ ปี

๖. การจัดสรรการใช้ประโยชน์อาคาร ในยุคแรกได้มีการจัดสรรพื้นที่อาคารโรงทหารหน้า เพื่อการใช้สอย สรุปดังนี้ ๑)  ชั้นล่าง จัดแบ่งไว้ ดังนี้ ตึกกลาง ใช้เป็นพื้นที่ฝึกหัดฟันดาบ อาคารด้านทิศเหนือ ติดกับถนนหลักเมืองมี ๒ แถวซ้อนกัน ๒ แถว กล่าวคือ แถวนอก (อาคาร ๒ ชั้น) เป็นโรงพักม้าและฝึกม้า แถวใน (อาคาร ๓ ชั้น) เป็นที่พักทหารปืนใหญ่ โรงพยาบาลทหาร คลังเก็บยุทธภัณฑ์และครุภัณฑ์ ต่อออกไป อาคารด้านทิศใต้ ฝัง่ ตรงกับทางออกเป็นโรงอาบน�ำ้ – ซักผ้าของทหาร โรงงานของทหารช่าง บ่อหัดว่ายน�ำ้ ที่ตั้งเครื่องสูบน�้ำ และหอนาฬิกา และตึกชั้นเดียวด้านถนนราชินี เป็นฉางข้าวและโรงครัวทหาร

139 139


๒)  ชั้นที่ ๒ จัดแบ่งไว้ ดังนี้ ตึกกลาง เป็นห้องประชุมนายทหาร อาคารด้านทิศเหนือ เป็นที่ประชุมอบรมทหารและเป็นที่พักของทหารม้า อาคารด้านทิศใต้ เป็นที่ประชุมอบรมทหาร อาคารด้านทิศใต้ฝั่งตะวันออก เป็นที่เก็บยุทธภัณฑ์ ๓)  ชั้นที่ ๓ จัดแบ่งไว้ ดังนี้ ตึกกลาง เป็นที่เก็บสรรพาวุธ และเป็นพิพิธภัณฑ์ส�ำหรับเครื่องทหารต่าง ๆ อาคารด้านทิศเหนือ เป็นที่อยู่ของนายทหารและพลทหาร อาคารด้านทิศใต้ฝั่งตะวันออก เป็นที่ตั้งถังเหล็กขนาดใหญ่ส�ำหรับเก็บน�้ำใส

การใช้ประโยชน์อาคารโรงทหารหน้า ๑)  อาคารโรงทหารใหญ่ (มุขกลาง) ชั้นล่าง เป็นที่ฝึกหัดการฟันดาบชั้นกลางเป็นที่ประชุมนายทหาร ชั้นบนเป็นที่เก็บ สรรพศัสตราวุธและเป็นพิพิธภัณฑ์ส�ำหรับเครื่องทหารและยังมีประตูใหญ่สองข้าง มีห้องทหารคอยเหตุ และรักษายามทั้งสองข้างด้าน หน้าชั้นล่างเป็นคลังเก็บเครื่องครุภัณฑ์และยุทธอาภรณ์

140 140


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๒)  อาคารด้านขวา (ทิศเหนือ) ชั้นล่างเก็บปืนใหญ่ ชั้นบนเป็นที่อยู่ของทหารปืนใหญ่โรงช้างนั้นเดิมเป็นโรงม้าหลวง ชั้นนอกชั้นเดียวครั้นจะรื้อท�ำใหม่ทั้งหมดก็จะเปลืองพระราชทรัพย์มากไป จึงให้แก้ไขโรงม้าเก่าให้เป็น ๒ ชั้นขึ้น ชั้นล่างให้ม้าอยู่ ชั้นบนให้ทหารม้าอาศัย ๓)  อาคารโรงใหญ่ข้างขวา (ทิศเหนือ) แบ่งเป็นห้องนายแพทย์ทหารและโรงพยาบาลทหารถัดโรงใหญ่นั้นเป็นโรง ฝึกหัดม้า เพราะในเวลานั้นก็ได้สั่งม้าเทศ ซึ่งได้หัดแล้วบ้างยังบ้าง ม้ามาจากเกาะออสเตรเลียมีจ�ำนวน ๓๕๐ ม้าเศษ ทั้งมีนายอัศว แพทย์, ผู้ฝึกหัดม้าและช่างท�ำรองเท้าม้าเข้ามาอยู่ด้วยพร้อมโรงใหญ่ช้ันล่างท�ำเป็นโรงไว้ม้าและรถพระที่นั่งส�ำหรับเมื่อมีการจะเสด็จ พระราชด�ำเนินโดยด่วนในที่ใด ๆ ก็ทรงรถพระที่นั่งและม้าเทศเหล่านี้ ๔)  อาคารด้านซ้าย (ทิศใต้) ต่อจากโรงทหารใหญ่ถึงหอนาฬิกาทีห่ อนั้นเป็น ที่เก็บเครื่องสนามและเครื่องยุทธภัณฑ์ต่าง ๆ ชั้นล่างเป็นที่ส�ำหรับสูบน�้ำขึ้นบนถังสูง และ เป็นโรงงานทหารช่างต่าง ๆ ทีห่ อนาฬิกาชัน้ ๓ เป็นถังเหล็กใหญ่สำ� หรับเก็บน�ำ้ ใสและเปิด ใช้น�้ำนี้ได้ทั่วโรงทหารทั้ง ๓ ชั้น เพราะมีแป๊บฝังอยู่ตามฝาผนังทั้ง ๓ ชั้นบันไดใหญ่ทุก ๆ บันไดท�ำห้องส�ำหรับถ่ายปัสสาวะ บันไดละ ๒ ห้องทุก ๆ ชั้นและมีท่อน�้ำไหลมาส�ำหรับ ชะล้างไม่ให้มีกลิ่นเหม็นด้วยที่ตามมุมสนามหญ้าส�ำหรับฝึกหัดทหารนั้น มีที่ส�ำหรับถ่าย ปัสสาวะทุกสี่มุม ๆ หนึ่งมีที่ถ่ายส�ำหรับ ๔ คน กับให้ตั้งโรงสูบน�้ำขึ้นที่ท่าช้างมีเครื่องสูบ น�้ำด้วยสะตรีมประจ�ำอยู่สองเครื่อง ถ้าถึงฤดูน�้ำเค็มก็สูบน�้ำขึ้นเวลาน�้ำลงงวดน�้ำที่สูบมา นี้ไหลมาตามท่อต่าง ๆ ซึ่งมีขนาดกว้าง ๘ นิ้ว ๕)  ริมถนนใหญ่รอบโรงทหารได้ปลูกกอไม้ไผ่สีสุกทั้ง ๓ ด้านเพื่อป้องกัน แสงแดดที่จะส่องเข้ามาถึงเฉลียงรอบโรงทหารชั้นใน กับบริเวณโรงทหารนั้นมีสระอาบน�้ำ ส�ำหรับทหารอาบน�้ำและหัดว่ายน�้ำหนึ่งสระ ๖)  ต่อสระมามีฉางส�ำหรับเก็บข้าวสาร (ด้านทิศตะวันออก) ท�ำไว้เป็นห้อง ๆ เพื่อข้าวสารเก่าแล้วก็ใช้ไปเสียก่อนเอา ข้าวสารใหม่เพิ่มเติมเข้ามาเก็บไว้ผลัดเปลี่ยนเวียนกันไปเช่นนี้เสมอ ฉางข้าวนี้คิดท�ำขึ้นก็เพื่อที่จะท�ำไว้แทนฉางข้าวเก่าในพระนครซึ่ง ได้รื้อออกเสียนั้น ๗)  ต่อห้องเก็บเข้าไปอีกหลังหนึ่ง ก็เป็นครัวใหญ่ส�ำหรับท�ำอาหารเลี้ยงทหารทั่วไป ๘)  ใต้ครัวลงไปอีกขุดเป็นบ่อลึกก่อเป็นสามห้อง ชั้นล่างเป็นโพรงเพื่อเก็บน�้ำที่กรองใสแล้ว ส�ำหรับสูบขึ้นถังดังกล่าว มาแล้วส่วนที่แบ่งเป็นสามห้องนั้นชั้นล่างที่สุดใช้อิฐย่อยก้อนเล็ก ๆ โรยรองเป็นพื้นเสียชั้นหนึ่งก่อนแล้วเอาเศษผงถ่านย่อย ๆ โรยทับ เป็นชั้นที่ ๒ ชั้นที่ ๓ ใช้เม็ดทรายหยาบโรยทับถ่าน ชั้นที่ ๔ ทรายบางพูดอย่างเมล็ดละเอียดโรยทับไว้ข้างบนหนามากเมื่อสูบน�้ำขึ้นที่ ท่าช้างแล้วน�้ำก็ไหลผ่านมาในห้องกรองนี้ก่อนจนเป็นน�้ำใสแล้วก็สูบขึ้นสู่ถังสูงนั้น

141 141


๙)  ชั้นที่ ๔ (อาคารด้านทิศใต้) เป็นหอนาฬิกามีหน้าปัดนาฬิกาสองทาง การที่ท�ำนาฬิกาขึ้นนี้เพราะมีความประสงค์ จะให้เป็นการทานแก่มหาชนซึ่งสัญจรไปมาให้รู้เวลาได้ทั่วถึงกัน ๑๐)  ชั้นที่ ๕ (อาคารด้านทิศใต้) เป็นที่ทหารยามรักษาเหตุการณ์กับมีเครื่องโทรศัพท์พร้อมเครื่องฉายไฟฟ้า อยู่บนนั้นด้วย

๗. เสด็จพระราชด�ำเนินเปิดโรงทหารหน้าและพระราชทานนาม ในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๒๗ เวลา ๑๑.๐๐ นาฬิกา เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จ พระราชด�ำเนินมาทรงกระท�ำพระราชพิธีเป็นปฐมฤกษ์ในการเปิดโรงทหารหน้า และตามมหาพิชัยฤกษ์โดยทรงประทับรถพระที่นั่ง ทอดพระเนตรอาคารใหม่ และชมการประลองยุทธ์ของทหารพร้อมพระราชทานนามอาคารว่า โรงทหารหน้า เพือ่ เป็นสิรมิ งคลให้แก่มวลหมู่ ทหาร ท�ำให้ทหารไทยมีที่ท�ำการใหม่ที่เป็นมาตรฐาน ส�ำหรับนามอาคารนั้นมีการบันทึกสรุปเรื่องราวไว้ กล่าวคือ ในกลางปี พ.ศ.๒๔๒๗ เมื่อการก่อสร้างใกล้เสร็จเรียบร้อย นายพันเอก เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ได้ท�ำหนังสือทูลเกล้า ฯ ถวายเพื่อขอพระราชทานที่ตั้งหน่วยทหารแห่งใหม่นี้เพื่อประดับที่หน้ามุข พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงมีพระราชหัตถเลขาตอบ นายพันเอกเจ้าหมื่นไวยวรนาถ ความบาง ตอนว่า “...อย่าให้ชื่อพิศดารอย่างไรเลย ให้ใช้นามว่า โรงทหารหน้า เท่านั้นและให้มีศักราชที่สร้างขึ้นไว้ด้วย...” ต่อจากนั้น ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ นายพันเอก เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ไปเฝ้า สมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราช ประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรมหาวิหาร น�ำกระแสพระราชด�ำริทตี่ อ้ งพระราชประสงค์คาถาส�ำหรับประจ�ำตรากรมทหารหน้าอีกด้วย

๘. ตราและคาถาประจ�ำโรงทหารหน้า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานตราประจ�ำโรงทหารหน้า เป็นรูป จุลมงกุฎบนหมอนแพรภายใต้รัศมีเปล่งรองรับด้วยช้างสามเศียรยืนบนแท่นสอดในจักร ขนาบด้วยคชสีห์และราชสีห์เชิญพระนพปฎล มหาเศวตฉัตรด้านขวาและด้านซ้าย เหนือชายแพรทาสีม่วงคราม มีอักษรบาลีซึ่งเป็นคาถาประจ�ำอาคารว่า วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฺฒิโย ประดับด้วยช่อดอกไม้ โดยมีรายละเอียดและความหมาย ดังนี้

142 142


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๑)  ตราจุลมงกุฎบนหมอนแพรปิดทอง หมายถึง ศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและ พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ และเป็นพิจติ รเลขาประจ�ำรัชกาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทัง้ นีเ้ พราะ พระนามาภิไธย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น คือ “จุฬาลงกรณ์” ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ (พระเกี้ยว) ซึ่งต่อมาได้อัญเชิญตราจุลมงกุฎบนหมอนแพรปิดทองขึ้นเป็นพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์ ๒)  รัศมีเปล่งเหนือจุลมงกุฎ หมายถึง พระบรมเดชานุภาพทีแ่ ผ่ไกลไปทัว่ ทุกทิศในคติการปกครองแบบราชาธิปไตย ๓)  ช้างสามเศียรยืนแท่นในกรอบ หมายถึง ตราสัญลักษณ์ของสยามประเทศ ๔)  จักร หมายถึง ราชวงศ์จักรี ซึ่งถือคติว่า จักรของราชวงศ์จักรีเป็นจักรของพระนารายณ์ที่ต้องเวียนในลักษณะ ทักขิณาวัฏ คือ เวียนตามเข็มนาฬิกาโดยให้คมจักรเป็นตัวน�ำทิศทาง ๕)  คชสีห์เชิญพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร หมายถึง กลาโหมซึ่งเป็นใหญ่ฝ่ายทหาร ๖)  ราชสีห์เชิญพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร หมายถึง มหาดไทยซึ่งเป็นใหญ่ฝ่ายพลเรือน ๗)  พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร (ฉัตร ๙ ชัน้ ) หมายถึง ฉัตรส�ำหรับพระมหากษัตริยท์ ที่ รงรับพระราชพิธบี รมราชภิเษก ตามโบราณราชประเพณี ๘)  ชายแพรทาสีม่วงคราม หมายถึงสายสะพายเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ซึ่งมีนัยว่าพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบ�ำรุงถึงสกุลวงศ์ ผู้มีบ�ำเหน็จความชอบในบ้านเมืองให้สามัคคีช่วยกันในบ้านเมือง

143 143


๙)  ช่อดอกไม้ หมายถึง ความรุ่งเรืองงอกงาม ซึ่งสัญลักษณ์นี้ปรากฏในสายสร้อยปฐมจุลจอมเกล้า ห้อยดวงตรา จุลจอมเกล้าซึง่ แตกต่างกันตรงทีส่ ายสร้อยไม่ประดับจักร จึงสันนิษฐานไว้วา่ ตราสัญลักษณ์นปี้ ระดิษฐ์ขนึ้ เพือ่ หน่วยทหารในฐานะเป็น หน่วยงานที่พิทักษ์รักษาราชวงศ์จักรี ส�ำหรับคาถาประจ�ำอาคาร เป็นข้อความภาษาบาลีว่า วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฺฒิโย มีความหมายว่า ขอให้ กองทหารจงยังพระราชาให้มีชัยชนะ แล้วยังความเจริญให้ส�ำเร็จในแผ่นดิน ซึ่งเป็นคาถาที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงคัดเลือกจากคาถา ๑ ในจ�ำนวน ๔ บท ที่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทว) วัดราชประดิษฐ์สถิต มหาสีมารามราชวรมหาวิหาร ทรงผูกถวายให้เจ้าหมื่นไวยวรนาถน�ำขึ้นกราบบังคมทูลถวายเพื่อทรงเลือก

๙. ความทันสมัยของอาคารโรงทหารหน้า อาคารโรงทหารหน้าถือว่าเป็นอาคารทีม่ คี วามทันสมัยมากในยุคนัน้ เพราะเป็นอาคารทีม่ สี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน ประกอบด้วย ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ และบริการสาธารณะดังนี้ ๑)  มีระบบไฟฟ้าใช้เป็นครั้งแรกในประเทศ โรงทหารหน้าเป็นอาคารแรกของประเทศที่มีการผลิตไฟฟ้าและใช้ไฟฟ้า ได้เองโดยมีการติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเป็นเครื่องแรกและเป็นครั้งแรกในสยามโดย นายพันเอก พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บังคับการกรมทหารหน้าในขณะนั้น ได้ใคร่ครวญแล้วเกรงว่าในกรณีที่จัดงานกลางคืน ณ พระที่นั่งจักรีมหา ปราสาทต้องมีการจุดเทียนไขพร้อม ๆ กันเป็นร้อยเล่ม และต้องใช้คนมากมายปีนป่ายอาคารเพื่อติดเทียนไข แม้ต่อมาจะเปลี่ยนมาใช้ โคมน�้ำมันก็ตาม อาจเกิดเพลิงได้ ซึ่งทุกมุมห้องจะต้องมีถังปูน ถังน�้ำดักเอาไว้ท�ำให้เกิดความยุ่งยากและไม่ปลอดภัย กอปรกับ ท่านเองได้เคยเป็นอุปทูตได้เดินทางไปกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส กับเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ ได้พบเห็นกรุงปารีสสว่างไสวไปด้วย ไฟฟ้า ต่อเมือ่ กลับมายังสยามจึงคิดว่าสยามน่าจะมีไฟฟ้าใช้แบบ เดียวกับอารยประเทศ นายพันเอก พระยาสุรศักดิ์มนตรี จึงได้ลงทุนซื้อ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ามาทดลองใช้ ณ โรงทหารหน้า เป็นครั้งแรก และได้เปิดการใช้ไฟฟ้าอย่างเป็นทางการในวันที่ ๒๐ กันยายน

144 144


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๒๔๒๗ อันเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นการสร้างความแปลกใหม่ให้แก่สยาม นับเป็นนวัตกรรมที่ส�ำคัญของประเทศในยุคนั้น ต่อมา โรงทหารหน้า มีการติดตั้งโคมไฟแสงสว่างภายในอาคาร มีการบันทึกว่าติดตั้งบริเวณมุมอาคารและประตูทางเข้า ออก เพือ่ ใช้ประโยชน์ของแสงสว่างในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ วรยามภายในโรงทหารหน้าและทุกมุมด้านนอกของอาคาร บริเวณถนนสนามไชย ถนนกัลยาณไมตรี และ ถนนหลักเมือง ก็ได้มีการติดตั้งโคมไฟแสงสว่างขึ้นหลายจุดเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัย และยัง เป็นการให้บริการแสงสว่างแก่ประชาชนผู้สัญจรไปมาด้วย ๒)  ระบบโทรศัพท์ในโรงทหารหน้า ประเทศสยามเริม่ ต้นมีการใช้โทรศัพท์ในครัง้ แรกในปี พ.ศ. ๒๔๒๔ ติดตัง้ ทีก่ รุงเทพฯเครือ่ งหนึง่ กับทีป่ ากน�ำ้ (จังหวัด สมุทรปราการ) อีกเครื่องหนึ่ง ใช้ประโยชน์จากสายโทรเลขระหว่าง กรุงเทพฯ กับปากน�้ำ (ซึ่งกรมกลาโหมได้สร้างไว้ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๔๑๘ เพื่อแจ้งข่าวเกี่ยวกับการผ่านเข้าออกปากแม่น�้ำเจ้าพระยา ของเรือกลไฟ) จึงได้มกี ารขยายผลมาใช้ประโยชน์ในการแจ้ง ข่าวสารความมั่นคงให้แก่หน่วยทหาร เพื่อการเตรียมความ พร้อมในการป้องกันประเทศและท�ำการติดตัง้ ระบบโทรศัพท์ใช้ ทีโ่ รงทหารหน้าในปี พ.ศ.๒๔๒๘ โดยใช้ประโยชน์จากระบบ ไฟฟ้าของโรงทหารหน้าโดยเฉพาะ ด้านมุมท้ายสุดของอาคาร บริเวณทิศใต้ใกล้สะพานช้างโรงสี บริเวณชั้นที่ห้าของอาคาร เป็นที่ตั้งของทหารยามรักษาเหตุการณ์จึงมีการติดตั้งเครื่อง โทรศัพท์พร้อมเครื่องฉายไฟฟ้าอยู่ด้านบนเพือ่ ใช้ประโยชน์ใน ยามฉุกเฉิน ๓)  ระบบประปาในโรงทหารหน้า โรงทหารหน้า มีการจัดท�ำระบบผลิตน�้ำประปาใช้เอง ด้วยกรรมวิธีที่เป็นมาตรฐาน กล่าวคือ ๓.๑) มีการขุดเป็นบ่อลึกแบ่งออกเป็น ๓ ห้องบริเวณใต้ห้องครัว (ริมถนนกัลยาณไมตรี ข้างสะพานช้างโรงสี (ปัจจุบันคือบริเวณธนาคารทหารไทย สาขากระทรวงกลาโหม) ๓.๒) โดยแต่ละบ่อจัดท�ำเป็นโพรงน�้ำด้านล่างสุดเชื่อมถึงกันตั้งแต่บ่อที่ ๑ ถึง บ่อที่ ๓

145 145


๓.๓) มีการจัดท�ำระบบกรองน�้ำแต่ละบ่อ โดยการวางชั้นกรองจากล่างขึ้นบน คือ ๓.๓.๑) ชั้นที่หนึ่งหรือชั้นล่างสุด ใช้อิฐย่อยก้อนเล็ก ๆ โรยรองเป็นพื้น ๓.๓.๒) ชั้นที่สองเหนือขึ้นมา ใช้เศษผงถ่านย่อย ๆ โรยทับชั้นล่างสุด ๓.๓.๓) ชั้นที่สาม ใช้เม็ดทรายหยาบโรยทับถ่านของชั้นที่สอง ๓.๓.๔) ชั้นที่สี่หรือชั้นบนสุด ใช้ทรายเมล็ดละเอียด (จากต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ซึ่งเป็นทรายคุณภาพดี) โรยทับอย่างหนาแน่นไว้ข้างบน ๓.๔) จัดเครื่องสูบน�้ำจากคลองคูเมืองเดิมบริเวณเชิงสะพานช้างโรงสี มาถ่ายลงชั้นบนของบ่อที่หนึ่ง เมื่อน�้ำ คลองผ่านระบบกรองแล้วก็จะไหลผ่านโพรงเชือ่ มไปยังบ่อทีส่ องและสาม ในลักษณะเดียวกันจนเป็นน�ำ้ สะอาดและปลอดภัยจึงใช้เครือ่ ง สูบน�้ำเพื่อสูบน�้ำไปใส่ถังเก็บน�้ำชั้นบนบริเวณชั้นสามของอาคารด้านทิศใต้หัวมุมใกล้สะพานช้างโรงสี

๓.๕) เมื่อผลิตน�้ำสะอาดได้แล้วมีการสูบขึ้นพักไว้ในถังเหล็กขนาดใหญ่บริเวณชั้นสาม และมีการวางระบบท่อ ส่งน�้ำ (Pipeline) เป็นท่อแป๊บฝังอยู่ตามฝาผนังทั้ง ๓ ชั้นซึ่งสามารถเปิดใช้น�้ำประปาได้ทั่วโรงทหารหน้าทุกชั้นโดยเฉพาะ บันไดใหญ่ ทุกแห่ง ได้จัดท�ำห้องสุขาส�ำหรับถ่ายปัสสาวะ บันไดละ ๒ ห้อง ทุก ๆ ชั้นจึงได้ท�ำเป็นท่อน�้ำไหลมาส�ำหรับชะล้าง เพื่อไม่ให้เกิดกลิ่น ที่ไม่พึงประสงค์

146 146


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๔) การบริการสาธารณะ ๔.๑) การให้ บ ริ ก ารแสงสว่ า งแก่ ป ระชาชนผู ้ สั ญ จรผ่ า นอาคารโรงทหารหน้ า บริ เ วณถนนสนามไชย ถนนกัลยาณไมตรี และ ถนนหลักเมือง ๔.๒) ด้านทิศใต้สุดอาคารก่อนถึงสะพานช้างโรงสี บริเวณชั้นที่ ๕ หรือชั้นบนสุดมีห้องยามรักษาการณ์ ซึ่งต�่ำลงมาหรือชั้น ๔ ได้ท�ำเป็นหอนาฬิการูปร่างสี่เหลี่ยม และมีหน้าปัดนาฬิกาสองด้านคือ ด้านที่หนึ่ง หันหาคลองคูเมืองเดิมหรือ คลองหลอด และด้านที่สอง หันเข้าหาถนนกัลยาณไมตรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาได้รับทราบเวลา ซึ่ง ในสมัยนั้นยังไม่มีนาฬิกาข้อมือ มีแต่นาฬิกาพกที่มีสายห้อยนาฬิกาน�ำเข้าจากต่างประเทศ และมีราคาสูงมาก จะมีผู้ใช้ก็คือ เจ้านาย ข้าราชการระดับสูง และคหบดีเท่านั้น ระดับประชาชนธรรมดายากที่จะเป็นเจ้าของ ดังนั้น การที่โรงทหารหน้า เปิดโอกาสให้ประชาชน ได้ทราบเวลาโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย จึงถือว่าเป็นการบริการประชาชนและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ราษฎรสยามในยุคนั้น

๑๐. หอคอยของโรงทหารหน้า ในเวลาต่อมา หอนาฬิกาได้ถกู รือ้ ออก เนือ่ งจาก การสร้างหอคอยเป็นทรงสีเ่ หลีย่ มและมีการติดตัง้ นาฬิกาในชัน้ ที่ ๔ ท�ำให้ เกิดผลเสียต่อตัวอาคาร เพราะต้องรับแรงต้านจากลมและฝนท�ำให้อาคารทรุดโทรมอย่างรวดเร็ว ประกอบกับความไม่คงทนของนาฬิกา ทีป่ ระสบปัญหาขัดข้องเป็นประจ�ำและการแพร่หลายของนาฬิกาพกทีม่ มี ากขึน้ รวมทัง้ มีวทิ ยุกระจายเสียงทีบ่ อกเวลา สามารถรับฟังได้ ทุกที่ จึงมีแนวความคิดที่จะปรับปรุงอาคารชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ (บริเวณหอคอย) ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั จึงได้มกี ารปรับแต่งหอคอยให้มลี กั ษณะทรงกระบอกและมีกนั สาดในชัน้ ที่ ๔ และชัน้ ที่ ๕ ท�ำให้สามารถตรวจการณ์ได้ทงั้ สอง ชั้นและติดตั้งล�ำโพงเพื่อกระจายเสียงต่อสาธารณชนได้ เนือ่ งจากในยุคต่อมา ทางราชการมีความจ�ำเป็นต้องใช้พน้ื ทีบ่ ริเวณหอกลอง (บริเวณสวนเจ้าเชตุ) เพือ่ ตัดถนนสนามไชย และหมดความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องใช้การตีกลองบอกสัญญาณ ของกลอง ๓ ใบ คือ กลองย�ำ่ พระสุรยี ศ์ รี กลองอัคคีพนิ าศ และกลองพิฆาต ไพรี ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้น�ำกลองทั้งสามใบมาเก็บรักษาบริเวณ ชั้น ๔ ของอาคารศาลาว่าการกลาโหม ก่อนย้ายไปตั้งที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในที่สุด ในปี พ.ศ.๒๕๐๐ อาคารศาลาว่าการกลาโหมเกิดรอยแตกร้าว เนื่องเพราะการสร้างหอคอยชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ ในอดีตท�ำให้อาคารชั้นล่างต้องรับน�้ำหนักมากและมีการรั่วซึมของน�้ำที่เกิดจากฝนซัดสาดเป็นประจ�ำ เมื่อมีการก่อสร้างอาคาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ประกอบกับเกิดความทรุดโทรมของหอคอย จึงได้รื้อถอนหอคอยออกและปรับให้คงเหลือเพียง ๓ ชั้น กับมุงหลังคาชั้นสามปิดทั้งหมด จึงท�ำให้ไม่มีหอคอยมาจนถึงปัจจุบัน

147 147


๑๑. ภูมิทัศน์หน้าศาลาว่าการกลาโหม โรงทหารหน้าได้มีก ารปรับภูมิทัศน์เ พื่อความเหมาะสมกับการใช้งานและมีห ลักคิดที่แตกต่างกันไป รวมแล้วถึง ๔ รัชสมัย กล่าวคือ ๑) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑.๑) จัดสร้างสัญลักษณ์ประจ�ำโรงทหารหน้า ซึ่งเป็นประติมากรรมปูนปั้นนูนต�่ำตราแผ่นดินและพระจุลมงกุฎ (พระเกี้ยว) พร้อมคาถาบาลี ประดิษฐานที่หน้าจั่วอาคารมุขกลางที่สื่อความหมายถึงพระบรมเดชานุภาพองค์จอมทัพไทยที่ทรง พระราชทานก�ำเนิดสถานทีแ่ ห่งนีใ้ ห้เป็นอาคารพระราชมรดกการทางทหารเพือ่ ความเจริญและความมัน่ คงแห่งชาติสบื ต่อไปในอนาคต รายละเอียดดังกล่าวมาแล้ว ๑.๒) จัดสร้างรูปปูนปั้นหน้าซุ้มประตูทางเข้า – ออก โดยการปั้นในลักษณะปูนปั้นนูนต�่ำเป็นรูปหน้าทหารสวม หมวกแบบยุโรป และรูปปูนปั้นนูนสูงในส่วนหน้าองค์คชสีห์ ๒ องค์ ขนาบข้างอยู่เหนือซุ้มประตูทางเข้า – ออกด้านถนนสนามไชย

148 148


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๑.๓) จัดสร้างศาลาทรงกลมประกอบภายในสนามด้านหน้า โดยการสร้างศาลาทรงกลมภายในลักษณะโปร่งมีเสาข้างใน ๘ เสา โดยให้เป็น ที่ฝึกซ้อมและบรรเลงแตรฝรั่งหรือวงโยธวาทิต (Military Band) ซึ่งลักษณะ เช่นเดียวกันนี้ ได้จัดท�ำที่พระราชวังสราญรมย์โดยสร้างเป็นศาลา ๘ เหลี่ยม ใช้ ส�ำหรับเป็นที่ฝึกซ้อมและบรรเลงแตรฝรั่ง และในระหว่างที่ซ้อมเพลงนั้น มักจะมี ประชาชนมาร่วมฟังการซ้อมเพลงเป็นประจ�ำ ซึ่งในสมัยดังกล่าวมีเพลงที่ได้รับ ความนิยมในการซ้อมเพลงมากที่สุดคือ เพลง Marching Through Georgia หรือมีการแปลงเพลงใส่เนื้อร้องเป็นภาษาไทยใช้ชื่อว่า เพลงคุณหลวง ๒) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๒.๑) จัดท�ำโคลงพระราชนิพนธ์สยามานุสติเหนือซุ้มประตู ทางเข้า – ออก เพื่อให้ก�ำลังพลอ่านให้ขึ้นใจ ซึ่งเป็นการปลุกจิตส�ำนึกความรัก ชาติเมื่อครั้งสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ ๒.๒) จัดท�ำพิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณ โดยพิจารณาจัดท�ำ ตามรูปแบบที่มีการจัดวางปืนใหญ่โบราณ ณ โรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์ เฮิร์สต์ (Sandhurst Military Academy) ประเทศอังกฤษ โดยจัดภูมิทัศน์ครั้ง แรกในปี พ.ศ.๒๔๖๐ หลังจากนั้นปรับปรุงการจัดวางปืนใหญ่อีก ๑ ครั้งในปี พ.ศ.๒๔๖๔ ๒.๓) ฝังปากกระบอกปืนใหญ่โบราณ โดยฝังปากกระบอก ปืนใหญ่บริเวณด้านหน้าประตูทางเข้า – ออก ข้างละ ๒ กระบอก รวมจ�ำนวน ๔ กระบอก โดยกระท�ำในลักษณะเช่น เดียวกันกับภูมิทัศน์รอบอนุสาวรีย์ ประชาธิปไตย ๓) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล โดยการ ปรับปรุงตามนโยบายรัฐบาลในสมัยนั้น ดังนี้ ๓.๑) ต่อเติมมุขหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหมพร้อมโคลง สยามานุสติประกอบรายละเอียดดังกล่าวมาแล้ว

149 149


๓.๒) ปรับปรุงจัดวางปืนใหญ่ไทยโบราณ ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๑ – ๒๔๘๓ เพื่อความให้เกิดความสวยงาม โดยคงรูปแบบของพิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณกลางแจ้ง ๔) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในวาระต่าง ๆ มีนโยบายให้ด�ำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ด้านหน้าศาลาว่าการกลาโหม ดังนี้ ๔.๑) จัดสร้างเสาธงชาติเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ๔.๒) ปรับปรุงการจัดวางปืนใหญ่ไทยโบราณ เพือ่ ความเหมาะสมและสนับสนุนการท่องเทีย่ วรอบเกาะรัตนโกสินทร์ โดยมีการปรับปรุงการจัดวางรวม ๓ ครั้ง กล่าวคือ ปี พ.ศ.๒๕๓๗, พ.ศ.๒๕๓๗ – ๒๕๓๙ และ พ.ศ.๒๕๔๗ ตามล�ำดับ โดยมีการจัดวางปืนใหญ่ในปัจจุบนั ทัง้ สิน้ ๔๐ กระบอก และมีการวางแผนจะน�ำปืนใหญ่ชอื่ ว่า พระมหาฤกษ์ กับพระมหาไชย จากศูนย์ การทหารปืนใหญ่ มาจัดวางไว้ด้วย ซึ่งจะท�ำให้ปืนใหญ่โบราณหน้าศาลาว่าการกลาโหมจะมีทั้งสิ้น ๔๒ กระบอก ๔.๓) จัดสร้างและจัดวางรูปหล่อโลหะลอยองค์พระยาคชสีห์ โดยจัด สร้างเป็นรูปหล่อสัมฤทธิพ์ ญาคชสีห์ ๒ องค์ คือ พญาคชสีหร์ าชเสนีพทิ กั ษ์ และพญาคชสีห์ สยามปฐพีพิทักษ์ บริเวณก่อนถึงประตูทางเข้า - ออก ทิศเหนือและทิศใต้ตามล�ำดับ ๔.๔) ปรับปรุงเสาธงชาติหน้าศาลาว่าการกลาโหม ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่อให้เกิดความทันสมัย สวยงาม และโดดเด่น บ่งบอกถึงความสง่างามของศาลาว่าการ กลาโหม

๑๒. เกียรติประวัติของโรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหม นั บ แต่ วั น ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๒๗ ซึ่ ง เป็ น วั น มิ่ ง มหามงคลที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงกระท�ำพระราชพิธีเป็นปฐมฤกษ์ในการเปิดโรงทหารหน้า พร้อมพระราชทานนามอาคารว่า โรงทหารหน้า เพือ่ เป็นสิรมิ งคลให้แก่มวลหมูท่ หาร จึงเป็นเสมือนการวางรากฐานของการมีทที่ ำ� การแห่งแรกหรือเป็นเสมือนบ้านหลังแรกของทหารไทย ในยุคของการปรับปรุงกิจการทหารไทยไปสู่กิจการทหารยุคสากลที่เป็นมาตรฐาน หลังจากวันนัน้ มา โรงทหารหน้าได้เป็นสถานทีส่ ำ� คัญในการรองรับการปรับปรุงและเปลีย่ นแปลงสถานะของหน่วยทหารไทย ตั้งแต่ กรมทหารหน้า กรมยุทธนาธิการ กระทรวงยุทธนาธิการและกระทรวงกลาโหมตราบจนปัจจุบัน นับเป็นเวลาได้ ๑๓๐ ปี (พ.ศ.๒๕๕๗)

150 150


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

โรงทหารหน้า คือสถานที่ส�ำคัญที่เคยสร้างประวัติศาสตร์ให้แก่กิจการทหาร สังคมไทย และประเทศชาติ ในหลายมิติ กล่าวคือ มิติทางทหาร กล่าวได้ว่า โรงทหารหน้าคือ แม่บทในการปฏิรูปกิจการทหารไทยที่เป็นรูปธรรมเพราะน�ำมาสู่การเริ่มต้น จัดรูปแบบกิจการทหารไทยและมีกระบวนการพัฒนามาเป็นระยะ ๆ ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ จนเกิด เป็นกระทรวงกลาโหมที่ปรากฏในปัจจุบัน ซึ่งเป็นกลไกหลักส�ำคัญในการพิทักษ์รักษาเอกราช บูรณภาพ และความมั่นคงของประเทศ ชาติ ตลอดจนพิทกั ษ์รกั ษาเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และรักษาผลประโยชน์ของชาติอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ เหตุการณ์สำ� คัญเคย จารึกไว้เกี่ยวกับกิจการทหารที่ศาลาว่าการกลาโหม ดังนี้ ๑) วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๐ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัดสินพระราชหฤทัยน�ำประเทศไทย เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ ๑ โดยประกาศสงครามกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะ ซึ่งในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๔๖๑ ทหารอาสาร่วม รบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ได้รวมพลและบันทึกภาพ ณ สนามหญ้าภายในศาลาว่าการกลาโหม ก่อนเข้าร่วมกระท�ำพิธีสาบานตน ต่อธงไชยเฉลิมพล ณ บริเวณหน้าวังสราญรมย์ ๒) วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๑๒ ประกอบพิธีสวนสนามอ�ำลาผู้บังคับบัญชาเพื่อไปปฏิบัติราชการในสงครามเวียดนาม และในปลายปี พ.ศ.๒๕๑๒ ประกอบพิธีประดับเหรียญชัยสมรภูมิกรณีสงครามเวียดนามแก่ทหารและทายาทของผู้ที่เสียชีวิต ๓) พระราชพิธีถวายพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ดังนี้ ๓.๑) วันเสาร์ที่ ๙ เมษายน ๒๔๓๐ รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในพิธีถือน�้ำพระพิพัฒน์ สัตยา ๓.๒) วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๓๖ รับเสด็จ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในพระราชพิ ธี รัชดาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๓.๓) วันที่ ๕ มกราคม ๒๔๔๐ รับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระราชพิธีสมโภช เมื่อเสด็จพระราชด�ำเนินกลับจากการประพาสยุโรปคราวแรก ๓.๔) วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๔๔๖ รับ เสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในพิธีถวายพระ คทาจอมพลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการ บันทึกไว้ว่า

151 151


“ผู้บัญชาการกรมทหารพร้อมด้วยข้าราชการในกรมยุทธนาธิการเตรียมรับ การตรวจแถวจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ สนามหญ้า ภายในศาลายุทธนาธิการภายหลังที่กรมทหารบกทูลเกล้าฯ ถวายพระคทาจอมพล” ๓.๕) ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินมาพระราชทาน ธงชัยเฉลิมพล ณ สนามหญ้าภายในศาลายุทธนาธิการ นอกจากนี้ ยังใช้อาคารโรงทหารหน้าเป็นที่ท�ำการ ของหน่วยส�ำคัญของประเทศมาหลายยุคหลายสมัย ประกอบ ด้วย กองบัญชาการทหารบก กองบัญชาการทหารสูงสุด โรงเรียน เสนาธิการทหารบก วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รวมทั้ง ใช้ เป็นสถานที่ในการพระราชทานกระบี่และพระราชทานปริญญา บัตรแก่นายทหารผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือและโรงเรียนนายเรืออากาศ รวมถึง วุฒิบัตรโรงเรียนเสนาธิการทหารบกหลายรุ่นอีกด้วย มิติทางการเมือง โรงทหารหน้า เคยด�ำรงสภาพเป็นสถานที่ในการก�ำหนด บทบาทท่าทีในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา ทราบว่า ศาลาว่าการกลาโหมเคยใช้เป็นสถานที่ ในการรักษาความมัน่ คงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และก�ำหนดบทบาทท่าทีทางการ เมืองการปกครองของไทย โดยมีการบันทึกเหตุการณ์ส�ำคัญในหน้าประวัติศาสตร์ดังนี้ ๑) วันที่ ๒๖ มิถนุ ายน ๒๔๗๕ คณะราษฎรได้นำ� พระราชบัญญัตธิ รรมนูญ การปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ (ถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรก แห่งราชอาณาจักรสยาม) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย มาเก็บรักษาไว้ทศี่ าลาว่าการกลาโหม จนกระทัง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๒๖ กระทรวงกลาโหม โดย พลเอก ทวนทอง สุวรรณทัต ปลัดกระทรวงกลาโหม ได้น�ำพระราชบัญญัติ ฯ ฉบับ ดังกล่าวไปมอบให้กับ พลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธานรัฐสภา เพื่อน�ำไปเก็บรักษาที่ รัฐสภา

152 152


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

๒) วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๔๘๓ นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ได้ ใ ช้ สนามหญ้าหน้าศาลาว่าการกลาโหมเป็นทีใ่ ห้การ ต้อนรับคณะยุวชนทหาร ยุวนารี และประชาชนต่อ กรณีการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ๓) วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ พลโท ผิน ชุณหะวัน (ยศในขณะนั้น) เป็นหัวหน้าคณะรัฐประหาร ได้ใช้อาคารศาลา ว่าการกลาโหมเป็นทีท่ ำ� การประชุมวางแผน เพือ่ เตรียมยึดอ�ำนาจจากรัฐบาลทีม่ ี พลเรือตรี ถวัลย์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสืบอ�ำนาจต่อจากรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์ ไม่สามารถจัดการกับปัญหาความขัดแย้งกันในชาติได้ อันมีสาเหตุหลักจากเหตุการณ์ สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล ประกอบกับมีการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในวงราชการและประเทศก�ำลังประสบปัญหา เศรษฐกิจ ๔) เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๑๔ จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ท�ำการปฏิวัติยึดอ�ำนาจการบริหารราชการแผ่นดิน และ ได้ใช้ร่วมประชุม ณ ห้องประชุมกระทรวงกลาโหม (ห้องท�ำงานของ พลเอก จิตติ นาวีเสถียร ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารสูงสุด) เป็นห้อง ประชุมและเป็นกองบัญชาการของคณะปฏิวัติ เพื่อการปฏิบัติงานในฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติ ให้ด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ตามนโยบายของคณะปฏิวัติ มิตทิ างสังคม โรงทหารหน้า เคยปฏิบตั ภิ ารกิจเป็นสถานทีใ่ นการร่วมรักษาความปลอดภัยและรักษาความสงบของสังคม เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนหลายประการ ดังนี้ ๑) การใช้ก�ำลังทหารในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบในพระนคร (กรณีปราบกบฏอั้งยี่) มีการบันทึกว่า ในเดือน มิถุนายน ๒๔๓๒ เกิดความไม่สงบในพระนคร บริเวณโรงสีปล่องเหลี่ยม บางรัก ระหว่างกรรมกรชาวจีนเชื้อสายฮกเกี้ยนกับ กรรมกรชาวจีนเชื้อสายแต้จิ๋วโดยมีสาเหตุมาจากการแย่งงานกันท�ำซึ่งความรุนแรงเกิดขึ้นที่บริเวณริมถนนเจริญกรุง ๒ ข้าง ใกล้กับ วัดยานนาวา ในครั้งนั้น กระทรวงนครบาลไม่สามารถระงับเหตุได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ฯ ให้ นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ เตรียมการจัดก�ำลังทหาร เข้าปราบปรามพวกอั้งยี่และควบคุมสถานการณ์แทน โดยในวันพฤหัสบดีที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๔๓๒ ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ โปรดให้มีการใช้ตึกกลางของศาลายุทธนาธิการเป็นกองบัญชาการปราบอั้งยี่ โดยทูลเชิญ นายพลโท สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมขุนนริศรานุวตั ติวงศ์ เจ้าพนักงานใหญ่ใช้จา่ ย ในฐานะเจ้ากรมยุทธนาธิการ นายพลตรี สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นด�ำรงราชานุภาพ ผู้ช่วยบัญชาการทหารบก และนายพลเรือจัตวา พระยาชลยุทธโยธิน รักษาราชการแทนผู้ช่วยบัญชาการ

153 153


ทหารเรือ มาประชุมปรึกษาการปราบอัง้ ยีค่ รัง้ นี้ ผลการประชุมได้จดั ก�ำลังทหารบกขึน้ รถรางไฟฟ้าสายหลักเมือง – ถนนตก ไปทีบ่ ริเวณ ใกล้ทเี่ กิดเหตุ และจัดก�ำลังทหารเรือ ลงเรือล่องตามแม่นำ้� เจ้าพระยาจากกรมทหารเรือขึน้ บุกด้านใต้บริเวณนีเ้ กิดเหตุอกี หนึง่ กองก�ำลัง ในวันศุกร์ที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๔๓๒ เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา จึงด�ำเนินการตามแผน ฯ ปรากฏผลว่า ทหารด�ำเนินการ ปราบอั้งยี่ดังกล่าวได้ส�ำเร็จ และสามารถควบคุมตัวผู้ก่อความไม่สงบได้ราว ๘๐๐ คน มีจ�ำนวนอั้งยี่เสียชีวิตราว ๑๐ คน และบาด เจ็บราว ๒๐ คน และน�ำตัวมาคุมขังที่ตะรางกลาโหม ก่อนส่งให้กระทรวงนครบาลน�ำตัวไปด�ำเนินการตามคดีต่อไป

๒) เรือนจ�ำทหารโรงทหารหน้า หรือ ตะรางกลาโหม ได้เคยใช้ประโยชน์ในการคุมขังนักโทษความมั่นคงแห่งชาติมา หลายครัง้ อาทิ กรณีเกิดการกบฏของอัง้ ยี่ ในพระนคร เมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๓๒ กรณีการกบฏของเงีย้ วทีจ่ งั หวัดแพร่ เมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๔๕ และกบฏ ร.ศ.๑๓๐ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๕๕ ซึ่งในแต่ละเหตุการณ์ได้สร้างความมั่นใจให้สังคมสยามในขณะนั้นเป็น อย่างยิ่ง มิตทิ างศิลปวัฒนธรรม โรงทหารหน้า เคยใช้ประโยชน์เป็นสถานที่ในการแสดงคีตศิลป์ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการแสดงเพื่อซ้อมวงแตรฝรั่งและ เปิดโอกาสให้ประชาชนได้รับฟังบริเวณหน้าอาคาร ศาลาว่าการกลาโหมดังกล่าวมาแล้วข้างต้น แต่มี เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ทางคีตศิลป์ที่ส�ำคัญของ ประเทศและต่อมาได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย

154 154


ปี

บันทึก

กระทรวงกลาโหม... ปี โรงทหารหน้า

ไปทัว่ ประเทศคือเหตุการณ์ถวายการแสดงเพลงไทยเดิมทีช่ อื่ ว่า เขมรไทรโยค หน้าพระทีน่ งั่ ในงานพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๔๓๑ ณ ศาลายุทธนาธิการ ซึ่งเป็นการแสดงครั้งแรกในประเทศ ทั้งนี้ เพลงเขมรไทรโยค เป็นพระนิพนธ์ใน นายพลโท สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจิตร เจริญ กรมขุนนริศรานุวัตติวงศ์ โดยได้เค้ามาจาก เพลงเขมรกล่อมลูก ซึ่งบรรยายถึงความ งดงามของธรรมชาติ เมือ่ ครัง้ ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั คราวเสด็จ พระราชด�ำเนินประพาสน�้ำตกไทรโยคจังหวัดกาญจนบุรี นอกจากนี้ โรงทหารหน้าหรือศาลาว่าการกลาโหม ยังมีภารกิจและการด�ำเนินการที่ เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนอยู่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถน�ำมาน�ำเสนอ ได้ทั้งหมด โดยที่สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้คือเกียรติภูมิของโรงทหารหน้าในรอบ ๑๓ ทศวรรษ หรือ ๑๓๐ ปี ที่ผ่านมา จึงเป็นความภาคภูมิใจของทหารไทยทุกนาย และพี่น้องประชาชน ชาวไทยทุกคน ที่จะได้ร่วมกันจารึกไว้ให้ปรากฏเกียรติในแผ่นดินสยามประเทศแห่งนี้

155 155


เนื้อหาสาระที่น�ำเสนอในหนังสือเล่มนี้ เป็นข้อคิดเห็นจากการรวบรวมข้อมูลและเรียบเรียง ออกมาเป็นผลงานของคณะผู้จัดท�ำ โดยมีเจตนาเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่าน มิได้เป็นข้อยุติหรือ มีผลผูกพันกับทางราชการแต่อย่างใด หากมีขอ้ แนะน�ำเพิม่ เติม ติชม หรือมีขอ้ มูลอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ คณะผู้จัดท�ำขอน้อมรับไว้ด้วยความยินดี โดยท่านสามารถส่งมาได้ที่ กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงาน เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เพือ่ ที่จะได้น�ำไปพัฒนาปรับปรุงให้สมบูรณ์และดียิ่ง ๆ ขึ้น ในโอกาสต่อไป ขอขอบพระคุณ

156


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.