คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ค�ำน�ำ กิจกรรม ๕ ส เป็นแนวคิดในการจัดระเบียบในสถานที่ท�ำงาน และมีบทบาทส�ำคัญ ในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รวมถึงการเพิ่มผลผลิต ลดค่าใช้จ่าย และ มีส่วนในการรักษาสภาพแวดล้อม ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม มีนโยบายและให้ความส�ำคัญให้ทุกหน่วยด�ำเนินการ กิจกรรม ๕ ส อย่างต่อเนื่อง มีการก�ำหนดรูปแบบและมาตรฐานในการด�ำเนินการกิจกรรม ๕ ส โดยก�ำหนดให้มีเจ้าภาพในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในด้านการส่งเสริมกิจกรรม การประชาสัมพันธ์ การตรวจสอบ และประเมินผล หนังสือคู่มือการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่จัดพิมพ์ขึ้นนี้ จะเป็นส่วนส�ำคัญในการก�ำหนดแนวทาง รูปแบบ ให้หน่วยขึน้ ตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้ถือปฏิบัติ เป็นไปในแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน อย่างไรก็ตาม สิ่งส�ำคัญในการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ที่นอกจากจะต้องให้ความรู้แก่ ก�ำลังพลแล้ว จะต้องปลูกฝังให้ก�ำลังพลมีจิตส�ำนึกและร่วมมือปฏิบัติอย่างเต็มใจ เพื่อให้เกิด การด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาบุคลากรและหน่วยงานไปสู่การเป็น “หน่วยทหารที่ดี ก�ำลังพล มีประสิทธิภาพ”
สารบัญ ค�ำน�ำ แนวทางการใช้ค่มู ือ ส่วนที่ ๑
: ความเป็นมา : ๕ ส คืออะไร : การบริหาร ๕ ส
ส่วนที่ ๒
: แผนและขั้นตอนการด�ำเนินกิจกรรม : การจัด Big Cleaning Day : การรณรงค์ส่งเสริม
ส่วนที่ ๓
: การตรวจประเมิน : มาตรฐาน ๕ ส ของ สป. : ภาพบรรยากาศ Big Cleaning Day
ส่วนที่ ๔
: ค�ำสั่ง : แผน และแบบฟอร์ม
หน้า
๒ ๓ ๗ ๑๒ ๑๕ ๑๗ ๒๐ ๒๘ ๔๕ ๔๘ ๕๓
แนวทางการใช้ค่มู ือ
วัตถุประสงค์ : คู่มือการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส เล่มนี้ จัดท�ำขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้ คือ ผู้บังคับหน่วย คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการพื้นที่ คณะอนุกรรมการตรวจติดตาม ตลอดจนผู้บังคับบัญชาและก�ำลังพลที่สังกัด สป. ได้ทราบแนวคิด หลักการ วิธีการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ที่ถูกต้อง ชัดเจน คณะผู้จัดท�ำจึงตั้งใจให้ สามารถใช้คู่มือเล่มนี้ได้หลายโอกาส เช่น ๑. ช่วยในการอบรมให้ความรู้ก�ำลังพลของ สป. ๒. คณะอนุกรรมการตรวจประเมินผลใช้เป็นคู่มือในการตรวจ ๓. เป็นคู่มือให้ผู้บังคับบัญชาที่สังกัด สป. ได้เรียนรู้และใช้ ๕ ส เป็นเครื่องมือการบริหาร ๔. เพื่อให้เป็นแนวทางในการพัฒนา ๕ ส ของแต่ละหน่วย ประโยชน์ : คู่มือนี้จะช่วยในการพัฒนากิจกรรม ๕ ส ของแต่ละหน่วยได้เห็นภาพตัวอย่างการด�ำเนินการ ของหน่วย และความคิดทีห่ ลากหลายเกีย่ วกับการท�ำ ๕ ส ทัง้ ของผูบ้ งั คับบัญชาระดับสูง ผูบ้ งั คับหน่วย และก�ำลังพลใน สป. คู่มือนี้จะเกิดประโยชน์สูงสุดก็ต่อเมื่อหน่วยมีความเข้าใจ น�ำไปใช้ และประยุกต์ใช้ให้เหมาะ กับลักษณะงานและภารกิจของหน่วย มาตรฐานที่คณะที่ปรึกษาของ Max Pro Consultant และคณะท�ำงานจัดท�ำคู่มือได้ร่วมกัน ก�ำหนดให้เป็นมาตรฐานขัน้ ต�ำ่ ทีท่ กุ หน่วยของ สป. สามารถด�ำเนินการได้ เช่น บางหน่วยทีม่ กี ารพัฒนา อย่างต่อเนือ่ ง มีการตรวจติดตามสม�ำ่ เสมอ สามารถเลือกใช้แบบตรวจประเมินตามตัวอย่าง แบบตรวจ ๕ ส ขั้นพัฒนา และใช้มาตรฐานของหน่วยเองที่อาจสูงกว่ามาตรฐานที่กำ� หนดในคู่มือนี้ การใช้คู่มือ : แนวทางการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ตามคู่มือนี้ มีสมมติฐานว่า ผู้ใช้คู่มือเห็นคุณค่าของกิจกรรม ๕ ส และสานต่อนโยบายของท่านปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก สิริชัย ธัญญสิริ จึงต้องการน�ำคู่มือนี้ ั นากิจกรรมให้กา้ วหน้า ไปใช้ในการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส อย่างต่อเนือ่ งจนเป็นนิสยั ตลอดจนน�ำไปใช้พฒ จนน�ำมาซึ่งประสิทธิภาพ และความเจริญก้าวหน้าของ สป. การจัดหมวดหมู่ของคู่มือ : เนื้อหาของคู่มือการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ของ สป. แบ่งเป็น ๔ ส่วน ส่วนที่ ๑ เป็นเรื่องของความเป็นมาของการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ของ สป. รวมทั้งความหมายของ ๕ ส และการบริหาร ๕ ส ของ สป. ส่วนที่ ๒ เป็นเรือ่ งของแผนและขัน้ ตอนการด�ำเนินกิจกรรม และกิจกรรมหลักในการด�ำเนินโครงการ ได้แก่ กิจกรรม Big Cleaning Day กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริม ส่วนที่ ๓ การตรวจประเมิน ซึ่งเป็นขั้นตอนส�ำคัญ และมาตรฐานส�ำหรับหน่วยต่าง ๆ ของ สป. เพื่อ เป็นแนวทางพื้นฐานส�ำหรับคณะกรรมการตรวจติดตามประเมินผลต่อไป ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก ประกอบด้วย ค�ำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ แผนและแบบฟอร์มต่าง ๆ
- ความเป็นมา - ๕ ส คืออะไร - การบริหาร ๕ ส
ความเป็นมากิจกรรม ๕ ส ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลเอก สิริชัย
ธัญญสิริ
กิจกรรม ๕ ส ของ สป. เริ่มเมื่อปีงบประมาณ ๒๕๔๘ โดย พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ ปลัดกระทรวงกลาโหม เห็นว่าควรน�ำกิจกรรม ๕ ส มาเป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วย เพื่อการ เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมโดยรวม จึงได้ติดต่อกับ บริษัท แมกซิมัม โปรดักติวิตี้ คอนซัลแตนท์ จ�ำกัด (Max Pro Consultant) ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่อง การเพิม่ ผลผลิตโดยเฉพาะเรือ่ ง ๕ ส เพือ่ ช่วยเสนอแนวทางการด�ำเนินงานกิจกรรม ๕ ส ของ สป. ต่อมา สป. ได้มีค�ำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการด�ำเนินกิจกรรมตามโครงการ ๕ ส เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์อนั จะน�ำไปสูก่ ารปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของ สป. ให้มคี ณ ุ ภาพและ ประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น พร้อมทั้งได้จัดท�ำคู่มือการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ของ สป. เพื่อเป็นแนวทาง ให้ นขต.สป. ปฏิบัติจนถึงปัจจุบัน
2
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
แนวความคิด สให้เกิคืดอขึน้กิจและน� กรรมทีส่ ร้างวินยั ำไปสูก่ ารเพิม่ ประสิทธิภาพ
สะสาง
หมายถึ ง การแยกของที่ จ� ำ เป็ น และ ไม่จ�ำเป็นออกจากกัน ของที่จ�ำเป็น คือของ ที่ ต ้ อ งการใช้ จ ะใช้ บ ่ อ ยหรื อ ไม่ ก็ ต าม ของที่ ไม่จำ� เป็น คือของที่ไม่ต้องการใช้ หรือไม่ใช้แล้ว
หลักการสะสาง ใช้บ่อยๆ ทุกวัน / ทุกสัปดาห์
เก็บไว้ใกล้ตัว หรือ ใกล้บริเวณที่ทำ� งาน
ใช้ในบางครั้ง / นานๆ ครั้ง
เก็บไว้หา่ งกระบวนการ หรือนอกที่ทำ� งาน
ของที่จ�ำเป็น
ของที่ไม่จ�ำเป็น
ไม่ ใช้แล้ว
ขจัดออกไป นอกหน่วยงาน
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
3
สะดวก
หมายถึ ง การจั ด สิ่ ง ของ วั ส ดุ อุปกรณ์ต่างๆ ในที่ท�ำงาน ให้เป็น ระบบระเบี ย บ เพื่ อ ความสะดวก ในการปฏิบัติงาน
หลักของการจัดสะดวก ต้องค�ำนึงถึง ...
ประสิทธิภาพ หมายถึง การจัดเก็บที่สามารถหยิบใช้ได้ทันทีอย่างรวดเร็วไม่ต้องเสียเวลาค้นหา คุณภาพ หมายถึง การจัดเก็บที่ไม่ท�ำให้สิ่งของนั้นๆ เสื่อมสภาพ หรือได้รับความเสียหาย ปลอดภัย หมายถึง การจัดเก็บทีไ่ ม่ทำ� ให้เกิดอุบตั เิ หตุ หรืออันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน
การท�ำ ส “สะดวก”
แยกประเภทหรือหมวดหมู่ที่จะจัดเก็บ ก�ำหนดต�ำแหน่งการจัดวาง มีป้ายบอก มีหมายเลข/รหัส ก�ำกับให้รู้ที่วาง ใช้สีในการแยกหมวดหมู่
สะอาด
หมายถึง การท�ำความสะอาด ปัด กวาด เช็ด ถู เครือ่ งจักร อุปกรณ์ รวมถึง บริเวณพื้นที่ทำ� งาน
การท�ำความสะอาดตามแนว ๕ ส จะแตกต่างจากการท�ำความสะอาดโดยทั่วไป คือ จะเป็นการท�ำความสะอาดอย่างทั่วถึง ทุกจุด ทุกซอก ทุกมุม และขณะท�ำความสะอาด ผู้ท�ำจะต้องตรวจสอบหาความผิดปกติไปด้วย 4
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
การท�ำ ส “สะอาด”
ก�ำหนดพื้นที่รับผิดชอบในการดูแลรักษา ก�ำหนดผู้รับผิดชอบประจ�ำเครื่องมืออุปกรณ์ ท�ำความสะอาดอย่างน้อย ๕ นาที ทุกวัน ขจัดต้นเหตุของความสกปรก
จุดที่มักจะละเลยในการท�ำความสะอาด หลอดไฟ สายไฟ พัดลมดูดอากาศ ซอกมุมอาคาร ถังดับเพลิง
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร ขอบหน้าต่าง ภายในตู้ อุปกรณ์ดับเพลิง
มุมห้อง ผ้าม่าน ขอบประตูด้านในห้อง ห้องเก็บของ
สุขลักษณะ
สุขลักษณะ เป็นเรือ่ งทีม่ งุ่ เน้นพฤติกรรมของคนเป็น หลัก โดยที่ทุกๆ คนจะต้องช่วยกันสร้างที่ท�ำงาน ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี และบรรยากาศน่าท�ำงาน เพื่อสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของทุกคน
ด้วยการรักษาแนวทาง การปฏิบัติ ๓ ส แรก ที่ดีไว้ โดยการสร้างมาตรฐานขึ้นมาเพื่อให้ทุกคนปฏิบัติร่วมกันในแนวทางเดียวกัน และค้นหา สาเหตุต่าง ๆ มาปรับปรุง เพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
5
การท�ำ ส “สุขลักษณะ” ปลูกฝังจิตส�ำนึกรักษามาตรฐาน จัดท�ำแผนงานและตารางเวลา ป้องกันมลพิษที่อาจจะเกิดขึ้น ควบคุมดูแลระบบแสงสว่าง ความชื้นฝุ่นละอองและกลิ่น
สร้างนิสัย
หมายถึง ความเข้าใจในหลักการ มาตรฐาน ของหน่วยงาน เป็นอย่างดี และน�ำไปปฏิบัติจนกลายเป็นการกระท�ำที่เกิดขึ้น เองโดยอัตโนมัติ หรือโดยธรรมชาติ เช่น การแต่งกายเรียบร้อย ตามระเบียบ การช่วยกันรักษาความสะอาด การจัดเก็บเครือ่ งมือ หลังเลิกงาน การประหยัดพลังงาน
แนวทางที่ก่อให้เกิดการสร้างนิสัย ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้น�ำ และเป็นตัวอย่างที่ดีในการท�ำ ๕ ส ทุกคนปฏิบัติ ๔ ส แรกอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรมส่งเสริม ๕ ส สร้างบรรยากาศของการปรับปรุงงาน และสถานที่ทำ� งาน
การท�ำ ส “สร้างนิสัย” ท�ำ ๓ ส แรกวันละ ๕ นาที ปฏิบัติตามระเบียบให้เป็นนิสัย รักษาเวลาในการท�ำงานและตรงเวลานัดหมาย ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด 6
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
การบริหาร ๕ ส
พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รอง ปล.กห. / ประธานด�ำเนินกิจกรรมตามโครงการ ๕ ส ของ สป. ๕ ส ไม่ใช่โครงการหรือกิจกรรมเฉพาะกิจ แต่เป็นพืน้ ฐานของเรือ่ งคุณภาพ ประสิทธิภาพ และการเพิ่มผลผลิต ดังนั้นจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง และถือเป็นความรับผิดชอบของ ผู้บังคับบัญชา และก�ำลังพลทุกระดับ เมื่อผู้บังคับบัญชาสูงสุดก�ำหนดเป็นนโยบายชัดเจนแล้ว ก็จะแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารระดับต่าง ๆ ซึ่งในส่วนของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ก็เช่นกัน ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และจัดรูปแบบการบริหารดังนี้
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
7
๑. คณะกรรมการอ�ำนวยการด�ำเนินการกิจกรรมตามโครงการ ๕ ส ของ สป. โดยมีรองปลัดกระทรวงกลาโหม (สายก�ำลังพล) เป็นประธาน ๒. คณะอนุกรรมการส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส ๓. คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ๕ ส ๔. คณะอนุกรรมการตรวจสอบ และประเมินผลกิจกรรม ๕ ส
คณะกรรมการอ�ำนวยการ ด�ำเนินการกิจกรรม ๕ ส ของ สป.
คณะอนุกรรมการ ส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส
8
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
คณะอนุกรรมการ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ๕ ส
คณะอนุกรรมการตรวจสอบ และประเมินผลกิจกรรม ๕ ส
บทบาทและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส
หน้าที่และบทบาทของ 5 S Facilitator คือ วางแผน
ส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส
ประสานงานและติดตามผล
ประเมินผล
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
9
บริหาร
10
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
- แผนและขั้นตอน การด�ำเนินกิจกรรม - การจัด Big Cleaning Day - การรณรงค์ส่งเสริม
แผนและขั้นตอนการด�ำเนินกิจกรรม
เป้าหมายของกิจกรรม ๕ ส คือ การเพิ่มผลผลิต (Productivity)
ขั้นตอนการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ขั้นเตรียมการ เมื่อเป็นนโยบายของปลัดกระทรวงกลาโหม สิ่งแรกที่จะต้องด�ำเนินการ คือ การท�ำความเข้าใจกับผู้บังคับบัญชาระดับสูงในเรื่อง ๕ ส เพื่อให้ผู้บังคับหน่วยทราบว่ากิจกรรม ๕ ส นั้น เป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อหน่วยงาน เพราะช่วยเพิ่มคุณภาพ ประสิทธิภาพและ 12
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ความปลอดภัยในการท�ำงาน เป็นกิจกรรมทีผ่ บู้ งั คับบัญชาทุกคนต้องมีสว่ นร่วมและให้การสนับสนุน อย่างจริงจังจึงจะประสบความส�ำเร็จ ส�ำหรับ สป. หลังจากปลัดกระทรวงกลาโหมประกาศ นโยบายและแต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส อย่างเป็นทางการแล้ว ก็ได้ จัดบรรยายให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูง คือ ผู้บังคับหน่วยขึ้นตรงทั้งหมดพร้อมกัน รวมทั้งท่าน ปลัดกระทรวงกลาโหมก็ร่วมฟังบรรยายด้วย
ขั้นด�ำเนินการ
การแบ่งพื้นที่และมอบหมายความรับผิดชอบ
การแบ่งพื้นที่ จะต้องครอบคลุมพื้นที่ส่วนกลาง เช่น บันได โถงทางเดิน ห้องน�้ำ สวนหย่อม หรือต้นไม้ เป็นต้น พื้นที่ทั้งหมดของแต่ละหน่วยงานจะต้องได้รับการแบ่งสัน ให้เป็นพื้นที่กิจกรรม ๕ ส โดยไม่มีการยกเว้น
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
13
จัดประชุมก�ำลังพลในพื้นที่
เชิญที่ปรึกษาให้ความรู้
14
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
อบรมให้ความเข้าใจ
ประเมินผลการด�ำเนินกิจกรรม
การจัด Big Cleaning Day Big Cleaning Day หมายถึง การสะสางเอกสารและสิง่ ของทีไ่ ม่ใช้งาน รวมถึงของเสีย สิ่งสกปรก ด้วยการท�ำความสะอาดครั้งใหญ่ ซึ่งควรด�ำเนินการทุกปี ปีละ ๑ ครั้ง โดยก�ำลังพล ทุกคน ตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุด จนถึงข้าราชการระดับล่างสุดของหน่วยงานร่วมกันท�ำความสะอาด หน่วยงานตลอดทั้งวัน โดยหยุดการท�ำงานปกติอื่น ๆ
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
15
เตรียมการก่อนวัน Big Cleaning Day
16
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
การรณรงค์ส่งเสริม การส่งเสริมเพือ่ ให้การด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส เป็นไปด้วยความพร้อมเพรียงต่อเนือ่ ง และพัตนายกระดับความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสถานที่ท�ำงานให้เป็นหน่วยงานชั้นหนึ่ง จ�ำเป็น ที่จะต้องมีการกระตุ้นส่งเสริมและสนับสนุนด้วยวิธีการและเครื่องมือต่างๆ คณะอนุกรรมการ ท�ำหน้าทีส่ ง่ เสริม หรือประชาสัมพันธ์ ต้องเข้าใจเครือ่ งมือต่าง ๆ ทีจ่ ะช่วยให้กจิ กรรม ๕ ส บังเกิดผล เป็นรูปธรรม ซึ่งสามารถแบ่งเครื่องมือการกระตุ้นและรณรงค์ส่งเสริมเป็น ๓ ประเภท คือ
เครื่องมือส่งเสริม ๕ ส (Promotion Tools)
เครื่องมือในการด�ำเนินการ (Implementing Tools)
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
17
เครื่องมือประเมินผลกิจกรรม (Evaluating Tools)
รวมทัง้ ข้อแนะน�ำทีค่ วรได้รบั การแก้ไขปรับปรุง และข้อดีเด่นทีค่ วรยกย่อง บางแห่ง อาจจัดให้มกี ารแข่งขันภายในหน่วย หรือมีใบเตือน เช่นกรมโรงงานอุตสาหกรรม มีการออกใบเตือน โดยระบุชื่อพื้นที่ รายละเอียดและข้อเสนอแนะของ Auditor หรือหัวหน้าพื้นที่ และวันที่ไว้ด้วย หากไม่ปฏิบัติตามการแจ้งเตือนครั้งที่ ๒ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนัก จะเป็นผูล้ งชือ่ ในใบเตือนด้วยตนเองหรือออกเป็นใบสัง่ ให้แก้ไข และมีสำ� เนาให้กรรมการเก็บไว้ติดตาม
18
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
- การตรวจประเมิน - มาตรฐาน ๕ ส ของ สป. - ภาพบรรยากาศ
Big Cleaning Day
การตรวจประเมิน
เพราะถือเป็นเรื่องส�ำคัญที่จะช่วยให้ผู้บังคับบัญชาสามารถผลักดันกิจกรรม ๕ ส ได้ต่อเนื่อง เพื่ อ ให้ เ ห็ น ผลในเรื่ อ งประสิ ท ธิ ภ าพ และคุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานของก� ำ ลั ง พล ช่ ว งแรก ปลัดกระทรวงกลาโหมจึงได้มีค�ำสั่งแต่งตั้งคณะที่ปรึกษา ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้และ ตรวจประเมินพร้อมให้ค�ำแนะน�ำแก่หน่วยต่าง ๆ ของ สป.
วัตถุประสงค์การตรวจ ๑. เพือ่ ปรับปรุงความเป็นระเบียบเรียบร้อยสถานทีท่ ำ� งาน เพิม่ ประสิทธิภาพและสภาพแวดล้อม ที่ดีในการท�ำงาน ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตของก�ำลังพล ๒. เพื่อให้ก�ำลังพลของ สป. เกิดจิตส�ำนึก มีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร และเกิดความ สมัครสมานสามัคคีภายในหน่วยงาน ๓. ให้ค�ำแนะน�ำในการปรับปรุงสถานที่ท�ำงาน สร้างความรู้ความเข้าใจ เทคนิควิธีการลดการ สูญเสียและเพิ่มผลผลิต ตลอดจนเรื่องความปลอดภัยในการท�ำงาน
20
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ประเภทของการตรวจ
คณะที่ปรึกษา และ/หรือคณะอนุกรรมการตรวจติดตามของ สป.
ปัจจัยส�ำคัญของการตรวจประเมินที่ดี
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
21
การก�ำหนดเป้าหมายและวิธีการประเมิน
22
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หลักเกณฑ์การตรวจ
หมวดที่ ๑ การบริหารกิจกรรม ๒๐ คะแนน หมวดที่ ๒ การปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส ของ สป. ๕๐ คะแนน หมวดที่ ๓ การปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากการตรวจประเมินที่ผ่านมา ๒๐ คะแนน หมวดที่ ๔ การเพิ่มผลผลิต ๑๐ คะแนน
แบบประเมินผลการตรวจ การด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ของ สป. รายงานการตรวจ
คะแนน
หมวดที่ ๑ : การบริหารกิจกรรม ๑.๑ การสนับสนุน และการมีส่วนร่วม ของผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ๑.๒ การแต่งตั้งคณะกรรมการ การจัดท�ำแผนงานการ จัดประชุม การรณรงค์ส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส ๑.๓ การตรวจประเมินผลและการ ปรับปรุงภายในหน่วยงาน ภายในพื้นที่
๒๐
หมวดที่ ๒ : การปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส ของ สป.
๕๐
หมวดที่ ๓ : การปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากการประเมิน ครั้งก่อน
๒๐
หมวดที่ ๔ : การเพิ่มผลผลิต
๑๐
รวมคะแนนที่ได้รับ
พื้นที่ตรวจ
๑๐๐
หมวดที่ ๑ การบริหารกิจกรรม ๒๐ คะแนน ๑. การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมของผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ในระดับหน่วย ๑.๑ การมอบนโยบาย ๑ คะแนน ๑.๒ การประชุมในระดับหน่วย ๑ คะแนน ๒. การแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท�ำแผนงานการรณรงค์ส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส ๒.๑ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ๒ คะแนน ๒.๒ มีการจัดท�ำแผน (Action Plan) ๒ คะแนน ๒.๓ มีการแบ่งมอบพื้นที่รับผิดชอบ ๒ คะแนน - ระดับหน่วย - ระดับกอง ๒ คะแนน ๒.๔ การรณรงค์ส่งเสริม ๒ คะแนน คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
23
๓. การตรวจประเมินภายในหน่วยงาน ภายในพื้นที่ ๓.๑ ระดับหน่วย - การตรวจประเมินผล - ข้อเสนอแนะ ๓.๒ ระดับกอง - การตรวจประเมินผล - ข้อเสนอแนะ
๒ ๒
คะแนน คะแนน
๒ ๒
คะแนน คะแนน
๓ ๓ ๖ ๑๐ ๕
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๒
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
๔ ๓ ๔ ๔ ๔ ๓ ๔
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
หมวดที่ ๒ การปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส ๕๐ คะแนน ๑. การปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส ของ สป. (ส�ำนักงาน) - โต๊ะท�ำงาน - เก้าอี้ - ตู้เอกสาร - แฟ้มเอกสาร - อุปกรณ์ส�ำนักงาน (โทรศัพท์, โทรสาร, เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องพิมพ์ดีด) - คอมพิวเตอร์ (พริ้นเตอร์, คีย์บอร์ด, เมาส์, จอ) - ห้องประชุม - มุมรับแขก, มุมพักผ่อน - ห้องเตรียมอาหาร - ห้องน�้ำ - อุปกรณ์ดับเพลิง, ไฟฉุกเฉิน และทางออกฉุกเฉิน - กระดานติดประกาศ - พื้นที่ทั่วไป ๒. การปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส ของ สป. (โรงงาน) ๑. เครื่องจักร ๒. รถยก ๓. งานระหว่างกระบวนการผลิต ๔. น�ำ้ มันเครื่อง ๕. ส่วนประกอบและชิ้นส่วนต่าง ๆ ๖. รถเข็น ๗. โกงดัง คลังพัสดุ 24
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๘. เครื่องมือ และจิกส์ ๙. แม่พิมพ์ ๑๐. ทางเดินในโรงงาน ๑๑. ตู้เก็บของ ๑๒. สถานที่ทำ� งานในโรงงาน
๓ ๓ ๔ ๓ ๓
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
หมวดที่ ๓ การปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากการตรวจประเมินครั้งที่ผ่านมา ๒๐ คะแนน หมวดที่ ๔ การเพิ่มผลผลิต ๑๐ คะแนน
- คุณภาพ - ต้นทุน - ความปลอดภัย - ขวัญและก�ำลังใจ - สิ่งแวดล้อม
๒ ๒ ๒ ๒ ๒
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
ข้อเสนอแนะ จากการตรวจประเมินประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๑ – ๒๙ ก.ค. ๕๖ ๑. สายไฟวางบนพื้ น ควร ใช้รางครอบสายไฟเพื่อ ป้องกันอันตราย
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
25
๒. การจั ด เก็ บ สายไฟฟ้ า ไม่ ค วรพั บ หรื อ หั ก เก็ บ ควรใช้วิธีม้วนเก็บและ ยกให้สูงจากพื้น ๓. ปลั๊กไฟควรจัดเก็บให้ ยกสู ง จากพื้ น เพื่ อ สะดวกในการท�ำความ สะอาด ๔. ตู้เย็นควรสะสางและ ท� ำ ความสะอาดทุ ก วันศุกร์
๕. บนหลั ง ตู ้ ไ ม่ ค วรวาง สิง่ ของใดๆ หากจ�ำเป็น ต้องจัดให้เป็นระเบียบ
26
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๖. เอกสาร หรือข้อความติด ทีผ่ นังห้องควรมีวสั ดุรอง
๗. ใต้โต๊ะท�ำงานไม่ควรน�ำ สิ่งของมาเก็บไว้
๘. จั ด เก็ บ สิ่ ง ของในตู ้ ให้ตรงกับป้ายหน้าตู้
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
27
มาตรฐาน ๕ ส ของ สป. มาตรฐาน ๕ ส ส�ำนักงาน โต๊ะท�ำงาน เก้าอี้ ตู้เอกสาร - ตู้เหล็กบานทึบ ๒ บาน และ ตู้เหล็ก ๔ ลิ้นชัก - ตู้หรือชั้นที่มีบานเป็นกระจก - การก�ำหนดรหัสตู้หรือ ชั้นเก็บเอกสาร อุปกรณ์ส�ำนักงาน (โทรศัพท์, โทรสาร, เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องพิมพ์ดีด ฯลฯ )
คอมพิวเตอร์ ห้องประชุม มุมรับแขก มุมพักผ่อน ห้องเตรียมอาหาร ห้องน�้ำ อุปกรณ์ดับเพลิง, ไฟฉุกเฉิน และทางออกฉุกเฉิน กระดานติดประกาศ พื้นที่ทั่วไป
โต๊ะท�ำงาน - สะอาด ปราศจากฝุ ่ น หรื อ คราบ สกปรก ถ้ามีกระจกต้องใสสะอาด - ใต้กระจกให้มีได้เฉพาะชื่อ หมายเลข โทรศัพท์ แผนผังหน่วยงาน - ขอบโต๊ ะ ด้ า นนอก (ที่ ม องเห็ น ได้ สะดวก) มีป้ายชื่อ-นามสกุล เจ้าของโต๊ะ
28
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
บนโต๊ะ - ในเวลาท� ำ งาน ให้ มี เ อกสาร และ อุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท� ำ งานเท่ า นั้ น จัดวางอย่างเป็นระเบียบ - นอกเวลาท� ำ งาน ให้ เ ก็ บ เอกสาร และอุ ป กรณ์ ส� ำ นั ก งานและของใช้ ทั้ ง ที่ เกี่ ย วกั บ งานและของส่ ว นตั ว ออกให้ ห มด ยกเว้นโทรศัพท์ เครื่องคิดเลข แผ่นรองเขียน ปฏิทินตั้งโต๊ะ ใบรับโทรศัพท์ ชั้นวางเอกสาร เข้า-ออก
ใต้โต๊ะ - ให้มีเฉพาะถังขยะ ๑ ถัง และกระเป๋า เอกสาร จัดวางให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
เก้าอี้ - ต้ อ งอยู ่ ใ นสภาพพร้ อ มที่ จ ะใช้ ง าน ปลอดภัย และมีความสะอาด - เลือ่ นเก็บเก้าอีไ้ ว้ใต้โต๊ะให้เรียบร้อยทุก ครัง้ เมือ่ เลิกใช้งาน หรือลุกออกจากโต๊ะท�ำงาน - ไม่พาดเสื้อคลุมไว้บนพนักเก้าอี้
ไฟฟ้า และแสงสว่าง - ต้ อ งคอยดู แ ลตู ้ ค อนโทรลไฟฟ้ า ให้ สะอาด ห้ามวางสิ่งของในตู้คอนโทรลไฟฟ้า ท�ำความสะอาดหลอดไฟ พัดลม ไม่ให้มีฝุ่น และหยากไย่เกาะ เมื่อมีหลอดไฟเสียให้รีบ แจ้งเปลี่ยนทันที คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
29
การก�ำหนดป้ายรหัสตู้เอกสาร, รหัสชั้นของตู้เอกสาร และป้าย ผู้รับผิดชอบ ๓ ซม.
ป้ายรหัสตู้ - ขนาดกรอบ ๓ x ๓ ซม. - ตัวอักษร Angsana New ขนาด ๗๐
๓ ซม.
A๐๑
ป้ายชื่อผู้รับผิดชอบ - ความยาวของป้ายตามความเหมาะสมของชื่อ - ตัวอักษร Angsana New ขนาด ๔๘
พ.จ.อ.เทวิน หมายถิ่นกลาง ป้ายล�ำดับการขนย้าย - ตัวอักษร Angsana New ขนาด ๓๐ - ตัวเลขไทย Angsana New ขนาด ๒๐๐ ล�ำดับที่ ๑ ได้แก่ เอกสารลับ, Computer, CPU, Printer, Monitor ล�ำดับที่ ๒ ได้แก่ เอกสารทั่วไป, หนังสือทางวิชาการ และเครื่องพิมพ์ดีด ล�ำดับที่ ๓ ได้แก่ โต๊ะ, เก้าอี้ ฯลฯ ๕ ซม.
ขนย้ายล�ำดับ ๕ ซม.
30
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ขนย้ายล�ำดับ
ขนย้ายล�ำดับ
การก�ำหนดป้ายรหัสตู้เอกสาร, รหัสชั้นของตู้เอกสาร
๑๑ ซม.
ป้ายรายชื่อแฟ้มเอกสาร - ตัวอักษร Angsana New ขนาด ๑๖ - ตัวเลขอารบิก Angsana New ขนาด ๑๖
ตู้ A๑ ชั้นที่ ๑ A๑-๐๑-๐๑ A๑-๐๑-๐๒ A๑-๐๑-๐๓ A๑-๐๑-๐๔ A๑-๐๑-๐๕ A๑-๐๑-๐๖ A๑-๐๑-๐๗
ชื่อเอกสาร ............... ............... ............... ............... ............... ...............
๑๗ ซม.
สารบัญแฟ้ม ล�ำดับที่
เลขที่หนังสือ
ชื่อเรื่อง
x
xxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
หมายเหตุ
การจัดแฟ้มเอกสาร (สันแฟ้ม) แฟ้มขนาด ๑ นิ้ว
แฟ้มขนาด ๒ นิ้ว
แฟ้มขนาด ๓ นิ้ว
กตร.สตช.กห.
กตร.สตช.กห.
กตร.สตช.กห.
แผนงาน และ โครงการกิจกรรม ๕ส
ชื่อแฟ้ม เอกสาร
ชื่อแฟ้ม เอกสาร
A ๔ - ๐๑ - ๐๑
A ๔ - ๐๑ - ๐๑
A ๔ - ๐๑ - ๐๑
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
31
การก�ำหนดป้ายรหัสตู้เอกสาร, รหัสชั้นของตู้เอกสาร และป้ายผู้รับผิดชอบ ตู้เอกสารประเภทประตูบานทึบ ๒ บาน ป้ายรหัสตู้ ป้ายรายชื่อ แฟ้มเอกสาร
ป้ายผู้รับผิดชอบ ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
ตู้เอกสารประเภทตู้เอกสาร ๔ ลิ้นชัก ป้ายรหัสตู้ ป้ายรายชื่อ แฟ้มเอกสาร
32
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ป้ายผู้รับผิดชอบ ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
การติดป้ายตู้กระจก ป้ายรหัสตู้
ป้ายผู้รับผิดชอบ
ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
การติดป้ายตู้ ๑๕ ลิ้นชัก ป้ายผู้รับผิดชอบ ป้ายรหัสตู้
ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
33
การติดป้ายต่างๆ บน Printer เครื่องถ่ายเอกสาร และเครื่องพิมพ์ดีด EPSON
ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
ป้ายผู้รับผิดชอบ
X-ROX
ป้ายล�ำดับ การขนย้าย ป้ายผู้รับผิดชอบ
การก�ำหนดป้ายต่างๆ บน Computer และตู้ CPU ป้ายผู้รับผิดชอบ ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
ป้ายผู้รับผิดชอบ
ป้ายผู้รับผิดชอบ
ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
ป้ายล�ำดับ การขนย้าย
34
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ป้ายผู้รับผิดชอบ
การติดป้ายต่าง ๆ บนโต๊ะท�ำงาน ป้ายผู้รับผิดชอบ
ป้ายล�ำดับการขนย้าย
การติดป้ายแสดงแผงสวิตช์-ไฟเพดาน ๑
๒
๓
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
35
อุปกรณ์สำ� นักงาน
(โทรศัพท์, โทรสาร, เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องพิมพ์ดีด) ๑. สะอาด ปราศจากฝุ่น ๒. ก�ำหนดผู้ดูแลรักษาความสะอาด ๓. อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ๔. มีป้ายล�ำดับความเร่งด่วนในการขนย้าย ๕. เมื่อใช้งานเสร็จ ผู้รับผิดชอบตรวจสอบให้ อยู่ในสภาพพร้อมใช้
คอมพิวเตอร์
(พริ้นเตอร์, คีย์บอร์ด, เมาส์, จอ) ๑. สะอาดปราศจากฝุ่น ๒. ก�ำหนดผู้ดูแล รักษาความสะอาด ๓. อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ๔. มีป้ายล�ำดับความเร่งด่วน ๕. เมื่อใช้งานเสร็จ ผู้รับผิดชอบตรวจสอบให้ อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ๖. สายไฟ และสายสัญญาณจัดเก็บให้เรียบร้อย และยกสูง
ห้องประชุม ๑. สะอาด ปราศจากฝุ่น ๒. มี เ ฉพาะสิ่ ง ของ หรื อ อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ การประชุมเท่านั้นจัดเป็นระเบียบ ๓. เลิกใช้งานเก็บอุปกรณ์ หรือสิ่งของในการ ประชุมทุกครั้ง ๔. เก็บโต๊ะและเก้าอี้เมื่อเลิกใช้งาน ๕. เลิกใช้งานปิดไฟ และเครื่องปรับอากาศ 36
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
มุมรับแขก มุมพักผ่อน ๑. มีผู้รับผิดชอบ ๒. ชุดโต๊ะรับแขกสะอาดพร้อมใช้งาน ๓. เลิกใช้งานต้องเก็บแก้ว หรือถ้วยกาแฟ ออกทันที ๔. จัดชุดรับแขกให้พร้อมใช้ เมื่อเลิกใช้งาน ๕. ตูเ้ ย็น (ถ้ามี) ต้องสะอาด สะสางทุกวันศุกร์ ๖. หากมีตู้ หรือชั้นวาง ให้มีแต่สิ่งของจ�ำเป็น จัดให้เป็นระเบียบ
ห้องเตรียมอาหาร ๑. มีผู้รับผิดชอบ ๒. ท� ำ ความสะอาดตู ้ ชั้ น เตรี ย มอาหาร เพื่อความปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ ๓. จัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ถูกสุขลักษณะ และแยกประเภทชัดเจน ๔. ตู้เย็น (ถ้ามี) ต้องสะอาดสะสางทุกวันศุกร์ ๕. ไม่มีกลิ่นอาหาร หรือเครื่องปรุง
ห้องน�้ำ ๑. พื้น ชักโครก บริเวณอ่างล้างหน้าสะอาด แห้ง ไม่มีกลิ่น ๒. พัดลมดูดอากาศท�ำงาน สุขภัณฑ์ต่างๆ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ๓. กระดาษช�ำระ สบู่ สายช�ำระ มีจ�ำนวน เพียงพอพร้อมใช้งาน
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
37
อุปกรณ์ดับเพลิง ไฟฉุกเฉิน และ ทางออกฉุกเฉิน ๑. อยูใ่ นทีเ่ ข้าถึงได้สะดวก และติดตัง้ ในระดับ ที่เหมาะสม ๒. มีสภาพพร้อมใช้งาน ๓. มี ป ้ า ยบอกวิ ธีต รวจสอบและขั้ น ตอน การใช้งาน ๔. ทางออกหนีไฟ ไม่มีสิ่งของวางกีดขวาง ๕. ป้ายบอกทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ หรือจุด ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง มองเห็นชัดเจน
กระดานติดประกาศ ๑. มีผู้รับผิดชอบ ๒. ข้อมูลข่าวสารทันสมัย ๓. ไม่ใช้กระดาษสีสะท้อนแสง พิมพ์ข้อความ เป็นระเบียบ แบ่งหมวดหมู่ ๔. ติดตั้งอยู่ในพื้นที่เหมาะสม สามารถอ่าน ได้ชัดเจน
พื้นที่ทั่วไป ๑. สะอาด ปราศจากฝุ่น ไม่มีคราบสกปรก และหยากไย่ ๒. ดูแลบริเวณซอกมุมอับต่างๆ ให้สะอาด อยู่เสมอ ๓. ผนั ง ที่ เ ป็ น กระจกไม่ ติ ด เอกสาร หรื อ สติกเกอร์อื่นใด นอกจากเครื่องหมายเพื่อ ความปลอดภัย หรือสัญลักษณ์ของหน่วย ๔. ตู้ยา ให้แยกยารับประทานกับยาภายนอก มีป้ายติดชัดเจน ๕. ใต้ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ หน้ า ตู ้ หรื อ แผง ควบคุมไฟฟ้า ไม่ตั้งหรือวางสิ่งของใด 38
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
มาตรฐาน ๕ ส โรงงาน เครื่องจักร รถยก งานระหว่างกระบวนการผลิต น�้ำมันเครื่อง ส่วนประกอบและชิ้นส่วนต่าง ๆ รถเข็น โกดัง คลังพัสดุ เครื่องมือและจิกส์
แม่พิมพ์ ทางเดินในโรงงาน ตู้เก็บของ สถานที่ท�ำงานในโรงงาน อุปกรณ์ดับเพลิง, ไฟฉุกเฉิน และทางออกฉุกเฉิน ส�ำนักงานในโรงงาน
การปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส โรงงาน ของ สป. เครื่องจักร ๑. มีผู้รับผิดชอบ ๒. ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการใช้เครือ่ งจักร ๓. มีวิธีการปรนนิบัติบ�ำรุงรักษาเครื่องจักร ก่อนเริ่มท�ำงานระหว่างท�ำงาน และหลัง เลิกใช้งานอย่างสม�ำ่ เสมอ ๔. ตรวจสอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ๕. มีกำ� หนดระยะเวลาท�ำการตรวจสอบ และ ปรนนิบตั บิ ำ� รุงรักษาติดไว้กบั ตัวเครือ่ งจักร
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
39
รถยก ๑. เจ้าหน้าที่ขับรถยกขับด้วยความเร็วที่ช้า กว่าคนเดิน ๒. หลีกเลี่ยงการออกรถและหยุดรถกะทันหัน ๓. ก�ำหนดตารางเวลาท�ำความสะอาด และ ตรวจสอบอย่างสม�่ำเสมอ ๔. เจ้าหน้าที่ขับรถมีใบอนุญาตขับรถยก ๕. จอดรถในพื้นที่ที่กำ� หนด ๖. ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยการใช้รถยก อย่างชัดเจน
งานระหว่างกระบวนการผลิต ๑. จัดวางในพื้นที่ที่ก�ำหนด ๒. ติดฉลากแต่ละชิน้ งาน เพือ่ ง่ายต่อการแยก ๓. ไม่วางชิ้นงานในช่องทางเดิน ๔. แยกชิ้นงานเสีย หรือไม่ได้คุณภาพออก มีป้ายและที่จัดเก็บชัดเจน
น�ำ้ มันเครื่อง ๑. ติดป้ายบอกชนิดน�้ำมันเครื่อง และจัดวาง ในที่ที่กำ� หนด ๒. รินหรือเทน�้ำมันออกอย่างระมัดระวัง ๓. ถ้ า น�้ ำ มั น เครื่ อ งหกลงพื้ น ควรท� ำ ความ สะอาดทันที โดยใช้ทรายโรยทิ้งไว้แล้ว กวาดออก ๔. ถังแก๊สหรือน�้ำมันไวไฟ ไม่ควรเก็บไว้ใน ทีท่ ำ� งาน หากจ�ำเป็นต้องมีโซ่คล้องหรือทีก่ นั้ ๕. น�ำ้ มันไวไฟ ควรจัดเก็บและใช้โดยพนักงาน ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบเท่านั้น 40
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ส่วนประกอบ และชิ้นส่วนต่างๆ ๑. จัดเก็บหรือวางชิน้ ส่วน และส่วนประกอบ ต่างๆ เป็นระเบียบ ๒. มีผู้รับผิดชอบตู้หรือแผงเครื่องมือ ๓. ไม่ปล่อยให้ชิ้นส่วนเกินจ�ำนวนวางอยู่ ในพื้นที่บริเวณปฏิบัติงาน ๔. ส�ำรองชิน้ ส่วนประกอบต่างๆ ไว้ในจ�ำนวน ต�ำ่ ที่สุด โดยจัดเก็บให้เป็นที่
รถเข็น ๑. เก็บในพื้นที่ที่กำ� หนดเสมอ ๒. หากช�ำรุดหรือเสียหายต้องซ่อมแซมทันที ๓. ไม่วางรถเข็นในบริเวณทางเดินโรงงาน โดยเด็ดขาด ๔. ไม่วางสิง่ ของอืน่ ใดบนรถเข็นโดยเด็ดขาด ๕. ใช้รถเข็นเพือ่ ขนสิง่ ของต่างๆ ในปริมาณ และน�ำ้ หนักที่เหมาะสม
เครื่องมือและจิกส์ ๑. ก�ำหนดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเครื่องมือ ทุกชิ้น ๒. ไม่วางหรือเก็บสิง่ ของในตูเ้ ครือ่ งมือ หรือ ที่แขวน ๓. หลังใช้งานเครื่องมือหรือจิกส์ ท�ำความ สะอาด และเก็บเข้าที่เสมอ ๔. จัดท�ำผังแสดงต�ำแหน่งเครื่องมือและ จิกส์ตา่ งๆ ๕. หากเครื่องมือและจิกส์ต่างๆ เสียหาย ให้รีบแก้ไข หรือส่งซ่อมทันที คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
41
โกดังและคลังสินค้า ๑. ไม่น�ำสิ่งของที่ไม่เกี่ยวข้องมาจัดเก็บ ๒. จัดวางสิ่งของเป็นหมวดหมู่ ไม่ปะปนกัน ๓. ติดป้ายวัสดุอุปกรณ์ทุกอย่าง และสถานที่ หรือจุดเก็บเพื่อง่ายต่อการค้นหา ๔. ไม่นำ� วัสดุไวไฟมาเก็บไว้ในโกดัง ๕. ไม่ ว างสิ่ ง ของบนพื้ น โดยตรง หรื อ วาง ติดผนัง ๖. ดูแล ตรวจสอบวัสดุที่เก็บอย่างสม�่ำเสมอ ๗. เก็บอย่างมีระบบ ๘. แยกสิง่ ของช�ำรุด หรือรอจ�ำหน่าย ไม่ปะปนกัน ๙. มีการจ�ำหน่ายวัสดุ หรือครุภัณฑ์ที่ช�ำรุด เสื่อมสภาพ หรือส่งท�ำลายประจ�ำทุกปี
แม่พิมพ์ ๑. ก�ำหนดที่ส�ำหรับเก็บแม่พิมพ์ ๒. ท�ำป้ายติดทีแ่ ม่พมิ พ์ และเก็บในทีท่ กี่ ำ� หนด ๓. ท�ำความสะอาดก่อน และหลังใช้แม่พิมพ์ และเก็บในที่ที่กำ� หนด ๔. แยกแม่พิมพ์ตามความถี่ในการใช้งาน ๕. ก�ำจัดแม่พิมพ์ที่ไม่จ�ำเป็น
ตู้เก็บของ ๑. ไม่วางสิ่งของต่างๆ หลังตู้เก็บของ ๒. จั ด วางสิ่ ง ของต่ า งๆ ในตู ้ เ ก็ บ ของให้ เป็นระเบียบ ๓. ท�ำความสะอาดตู้เก็บของอยู่เสมอ ๔. ไม่ เ ก็ บ อาหาร หรื อ เครื่ อ งปรุ ง รสไว้ ใ น ตู้เก็บของ
42
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ทางเดินในโรงงาน ๑. ใช้เส้นสีเหลือง หรือขาวก�ำหนดทางเดิน ๒. ห้ า มวางสิ่ ง ของต่ า งๆ บริ เ วณทางเดิ น โดยเด็ดขาด ๓. ห้ามท�ำงานบริเวณทางเดิน หากไม่ได้รับ อนุญาต ๔. ท�ำความสะอาดเส้นทางเดินทุกเดือน ๕. ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านต้ อ งเดิ น ที่ ท างเดิ น ตาม ที่กำ� หนดไว้ ๖. รถยกของวิ่งในเส้นทางเดินเท่านั้น
สถานที่ทำ�งานในโรงงาน
๑. รักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบ เรียบร้อยภายในโรงงาน ๒. ไม่ทิ้งขยะภายในโรงงาน ๓. วางถังขยะแยกเศษ Recycle ไว้ตามจุดต่างๆ ของโรงงาน ๔. ท�ำความสะอาดโรงงานอย่างทัว่ ถึงปีละครัง้ ๕. ไม่วางเครื่องจักรหรือเอกสารที่ไม่ได้ใช้ ภายในบริเวณโรงงาน ๖. ห้ามสูบบุหรี่ในโรงงานโดยเด็ดขาด
อุปกรณ์ดับเพลิง ไฟฉุกเฉิน และ ทางออกฉุกเฉิน ๑. อุปกรณ์ดับเพลิงอยู่ในจุดที่สามารถเข้าถึง ได้สะดวกและตั้งอยู่ในที่เหมาะสม ๒. มีสภาพพร้อมใช้งาน ๓. มีป้ายบอกวิธีตรวจสอบ และขั้นตอนการ ใช้งาน ๔. ทางออกฉุ ก เฉิ น หรื อ บั น ไดหนี ไ ฟไม่ มี สิ่ ง กีดขวาง ๕. ป้ายบอกทางฉุกเฉิน บันไดหนีไฟ หรือจุด ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงชัดเจน มองเห็น ได้ง่าย และมีสภาพที่ดี คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
43
ส�ำนักงานในโรงงาน ปฏิบัติตามมาตรฐาน ๕ ส (สำ�นักงาน) การตรวจสอบและประเมินกิจกรรม ๕ ส ของ สป. แบ่งหน่วยรับตรวจเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. ประเภทส�ำนักงาน จ�ำนวน ๑๘ หน่วย สม., สนผ.กห., ศอพท., สงป.กห., ธน., สสน.สป., อท.ศอพท., พท.ศอพท., ทสอ.กห., กกส. กห., วท.กห., กง.กห., สน.ปล.กห., สนพ.สสน.สป., สยธ.สสน.สป., สลก.สป., ศวพท.วท.กห. และ สตน.กห. ๒. ประเภทส�ำนักงานและโรงงาน จ�ำนวน ๔ หน่วย ศอว.ศอพท., รวท.อท.ศอพท., ศพปน.พท.ศอพท. และ รภท.ศอพท.
เกณฑ์การประเมินผลการตรวจกิจกรรม ๕ ส ของ สป.
คะแนนร้อยละ คะแนนร้อยละ คะแนนร้อยละ คะแนนต�่ำกว่าร้อยละ
44
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๙๑ ๘๑ ๗๑
– – –
๑๐๐ ๙๐ ๘๐ ๗๐
อยู่ในเกณฑ์ อยู่ในเกณฑ์ อยู่ในเกณฑ์ อยู่ในเกณฑ์
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปล.กห. ตรวจเยี่ยมการด�ำเนินกิจกรรม Big Cleaning Day เมื่อ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
45
46
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
- ค�ำสั่ง - แผน และแบบฟอร์ม
48
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
49
๓.๒.๓ รณรงค์ ส่งเสริม และสนับสนุนให้ นขต.สป.พัฒนากิจกรรม ๕ ส ตามนโยบาย ที่ก�ำหนด ๓.๒.๔ จัดท�ำแผนการงบประมาณ เพื่อให้การด�ำเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการ ฯ เพื่อพิจารณาตามความเหมาะสม
๔.๒.๒ จัดท�ำข่าวสารและด�ำเนินการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ๕ ส ของ สป. ทางสื่อต่างๆ ตามความเหมาะสม ๔.๒.๓ ประสานงานกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการด� ำ เนิ น งาน ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม ๕ ส ของ สป. ๔.๒.๔ จัดท�ำแผนการงบประมาณ เพื่อให้การด�ำเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการ ฯ เพื่อ พิจารณาตามความเหมาะสม
50
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
51
52
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
แผนงานการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาพื้นที่ ๕ ส (เพื่อการติดตามและประเมินผล) หน่วย..................................................................................
แผน และแบบฟอร์ม
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
53
แบบประเมินผลการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ของ สป. แบบที่ ๑ 54
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
แบบประเมินผลการด�ำเนินกิจกรรม ๕ ส ของ สป. แบบที่ ๒
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
55
56
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ตัวอย่างแบบตรวจประเมิน ๕ ส (ขั้นพัฒนา) ประเภทส�ำนักงาน
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
57
ตัวอย่างแบบตรวจประเมิน ๕ ส (ขั้นพัฒนา) ประเภทคลังพัสดุ
58
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ตัวอย่างแบบตรวจประเมิน ๕ ส (ขั้นพัฒนา) ประเภทโรงงาน
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
59
60
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
61
เยี่ยมชมโรงทหารหลังแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทย และพิพิธภัณฑปื ์ นใหญ่โบราณ รอบการเยี่ยมชม (ใช้เวลา ๓๐ นาที) รอบแรก ลงทะเบียน ๑๑.๓๐ น. เริ่มเยี่ยมชม ๑๒.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. รอบสอง ลงทะเบียน ๑๘.๓๐ น. เริ่มเยี่ยมชม ๑๙.๐๐ - ๑๙.๓๐ น.
ขอขอบคุณ
คณะอนุกรรมการส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ๕ ส คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลกิจกรรม ๕ ส
จัดทำ�โดย
สำ�นักงานเลขานุการสำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในศาลาว่าการกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ บทพระคาถาของสมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหเถร) ทูลถวายบทพระคาถาประจ�ำโรงทหารหน้า ทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พิมพ์ที่ หจก. อรุณการพิมพ์
๔๕๗/๖ - ๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๖๐๓๓ - ๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๒๑๘๗ - ๘ E-mail: info@aroonkarnpim.co.th www.aroonkarnpim.co.th
ขอขอบคุณ
คณะอนุกรรมการส่งเสริมกิจกรรม ๕ ส คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ๕ ส คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลกิจกรรม ๕ ส
จัดทำ�โดย
สำ�นักงานเลขานุการสำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในศาลาว่าการกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ บทพระคาถาของสมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหเถร) ทูลถวายบทพระคาถาประจ�ำโรงทหารหน้า ทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พิมพ์ที่ หจก. อรุณการพิมพ์
๔๕๗/๖ - ๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๖๐๓๓ - ๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๒๑๘๗ - ๘ E-mail: info@aroonkarnpim.co.th www.aroonkarnpim.co.th
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
คู่มือการดำ�เนินกิจกรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม