ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำานวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์
พล.ต.ชัยพฤกษ� พูนสวัสดิ์
รองผู้อำานวยการ
พ.อ.ณภัทร สุขจิตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อำานวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำากองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปรึกษา เหรัญญิก
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ดำารงศักดิ์ ห้าวเจริญ ร.น. พล.อ.อ.วินัย เปล่งวิทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุริยฉัตร เผ่าบุญเสริม พล.ท.สุรศักดิ์ ศรีศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.วีระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศรีกังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ�เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.วีรศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ต.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ต.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช พ.อ.หญิง พรพิมล ร่มตาล
ประจำากองบรรณาธิการ
น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปตพี ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.จิโรตม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.หญิง ภัทรภรณ์ ศิริสรณ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.หญิง พุทธพร โอสถหงส์ ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ�่งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.พฤทธิพงศ์ ภูมิจิตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม จ.ส.อ.หญิง ธิดารัตน์ ทองขจร ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัตเิ ป็นพระมหากษัตริยพ์ ระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ และวันที่ ๙ มิถุนายนของทุกปี พสกนิกรชาวไทยต่างผลิรอยยิ้มบนใบหน้า พร้อม คราบน�้าตาแห่งความสุข เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกสีหบัญชร พสกนิกรจะมาเฝ้ารับเสด็จอย่างพร้อมเพรียงกัน ด้วยความกตัญูกตเวทิตาและ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ไทยของปวงชนชาวไทย “ขอพระองค์ทรงพระเจริญ” หลายคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือ 3G และ 4G เป็นเทคโนโลยีที่มาแรง แต่อย่างไรก็ตาม ได้น�าเสนอถึงการรักษาความปลอดภัยในการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อท่านผู้อ่าน จะได้เป็นความรูไ้ ว้ใช้งานกับโทรศัพท์มอื ถือของแต่ละท่านต่อไป นอกจากนีภ้ ายในเล่ม ยังได้เปิดห้องเรียนติวภาษาอังกฤษให้ส�าหรับผู้ที่มีแผนจะสอบชิงทุนไปต่างประเทศ ติดตามอ่านได้ใน สอบภาษาอังกฤษไปนอก และในช่วงนี้เป็นช่วงหน้าฝนขอให้ ดูแลสุขภาพร่างกายของแต่ละท่าน วารสารหลักเมืองเป็นห่วงทุกๆ ท่าน หากท่าน ผู้อ่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ต้องการจะให้วารสารหลักเมืองน�าเสนอเรื่องใด ส่งผ่านมาทาง หลักเมืองออนไลน์ www.lakmuangonline.com ได้นะครับ
๒
ปที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒66 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕6
๔
๙ มิถุนายน มหาชน แซ่ซ้อง ฉลองเถลิงราชย์
๔
๓๔
พระเจ้าปดุงกับสงคราม ใหญ่ทางด้านตะวันออก
๑๐
๓๘
๑๒
๔๔
เทิดพระเกียรติสมเด็จ พระสังฆบิดรพระชันษา ๑ ศตวรรษ
การเปลี่ยนแปลง การปกครอง ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕
การชี้แจงต่อศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ
หลักการของ นายพลแพตตัน (ตอนทีี่ ๑๐)
๑๔
กองทัพไทย กับการเป็น ประชาคมอาเซียน ในปี ๕๘
๔๘
๑๘
๕๑
การประชุมนานาชาติ เพื่อพัฒนาแนวทาง การปฏิบัติงานร่วมใน การบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างพลเรือน และทหาร
๒๐
การด�าเนินงานด้านระบบ ก๊าซชีวภาพของกรมการ พลังงานทหาร
๒๒
3G และ 4G เทคโนโลยี ใหม่มาแรง
๑๒
๒๐
๑๔
การรักษาความปลอดภัย ในการใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่
๕๓
สอบภาษาอังกฤษไปนอก
๒๒
๒๖
Move That Gas แนะน�าอาวุธเพื่อนบ้าน ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๓๘
๒๙
๕๑
แสนยานุภาพทางทหาร บทสรุปความขัดแย้ง ในคาบสมุทรเกาหลี
การดูแลสุขภาพช่วง หน้าฝน
๔๔ ๕๙ ประมวลภาพกิจกรรม ๖๓
๓๔
๒๖
๒๙
๕๖
๕๖
๔๘ ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลปการพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
3
๙ มิถุนายน มหาชนแซซอง ฉลองเถลิงราชย
แสงทองจับฟากฟาพาสดสวย สยามชนทนถวนลวนชื่นใจ นวกษัตริยครองรัฐวิวัฒนชาติ ศูนยรวมใจ ไทยประชาฝาลําเค็ญ ดั่งสุรียสองสวางกลางโพยม ดั่งหยาดฝนพรมพรางกลางมรรคา ๙ มิถุนา ประชาลวนผาสุก มหาชนปรีดาอุราปอง
เทพอํานวยพรปรากฏฟาสดใส องคหลักชัยเถลิงราชยชาติรมเย็น รวมใจราษฎรเรงรุกผานทุกขเข็ญ รัฐชาติเปนประชารัฐพัฒนา ดั่งแสงโสมสองเวหนจนผืนหลา มวลพฤกษาผลิสะพรั่งดังใจปอง ปติปลุกกลางกมลชนทั้งผอง แซซอ งฉลองเถลิงราชยครองรัฐไทย.
พลตรี ชัยวิทย ชยาภินันท ผูประพันธ
4
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
๙ มิถุนายน มหาชน แซ่ซ้อง ฉลองเถลิงราชย์ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
๕
ใ
นรุ่งอรุณของวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ ถือได้ว่าเป็นวันที่พสกนิกรชาวไทยต่าง ตืน่ ตระหนกระคนกับความเศร้าโศกเสียใจ อย่างยิ่งที่ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งในวันดังกล่าวเป็นวันที่ประชาชนชาวไทย ต้องตกอยู่ในห้วงแห่งความสับสน ขวัญเสีย และเสียใจในเหตุการณ์ที่ต้องสูญเสียองค์พระ ประมุขของประเทศในขณะนั้น เรียกได้ว่าทุก หย่อมหญ้าแห่งราชอาณาจักรอบอวลไปด้วย เสียงร�่ำไห้ และไร้ซึ่งทิศทางแห่งการก้าวเดิน ไปข้างหน้า เสมือนกับว่าประเทศสยามในสมัย นัน้ เป็นรัฐนาวาทีข่ าดหางเสือและเสาใบส�ำคัญ ที่จะท�ำให้แล่นตัดท้องชลาลัยแห่งความทุกข์ ระทมผสมผสานกับความวุ่นวายในขณะนั้น ไปได้ ซึง่ ต่อมาในเวลา ๒๑.๐๐ น.ของวันเดียวกันนี้ รัฐบาลจึงได้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นการด่วน โดยมีวัตถุประสงค์ส�ำคัญ ๒ เรื่อง กล่าวคือ • เรื่องที่หนึ่ง เพื่อแจ้งให้สภาทราบเรื่อง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล • เรื่องที่สอง เพือ่ สรรหาผูส้ บื ราชสมบัติ และในที่ สุ ด ที่ ป ระชุ ม ได้ ล งมติ ถ วายราช สมบั ติ ใ ห้ แ ก่ ส มเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า ภูมิพลอดุลยเดชขึ้นสืบราชสมบัติ โดยด� ำรง พระอิสริยยศเป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราช จักรีวงศ์ตอ่ ไป ทัง้ นี้ เนือ่ งจากในเวลานัน้ ยังมิได้ ทรงผ่ า นพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกนั่ น เอง เหตุ ก ารณ์ ห ลั ง นี้ ไ ด้ ยั ง ความปลาบปลื้ ม ใจ ให้ แ ก่ พ สกนิ ก รชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้มี องค์ พ ระประมุ ข แห่ ง ประเทศพระองค์ ใ หม่ ที่ จ ะเป็ น องค์ ห ลั ก ชั ย ในการขั บ เคลื่ อ น รัฐนาวาให้แล่นฝ่ามรสุมต่างๆ ที่ตกกระทบ ต่อประเทศชาติ ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบจาก การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ก�ำลังทวีความ วุ่นวายอยู่ในขณะนั้น
ซึ่งผู้เขียนใคร่ขอน� ำ รายงานการประชุม รัฐสภา วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ มาเผยแพร่ เนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ กล่าวคือ “...นายวิลาศ โอสถานนท์ ประธานรัฐสภา จึงให้รัฐบาลแถลงเรื่องการสืบราชสันตติวงศ์ ในวาระที่ ๓ ต่อไป การประชุมในระเบียบวาระที่ ๓ รั ฐ บาลแถลงเรื่ อ งการสื บ ราชสั น ตติ ว งศ์ โดยนั ย แห่ ง กฎมนเที ย รบาลว่ า ด้ ว ยการสื บ ราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ และ ขอความเห็นชอบของรัฐสภาตาม มาตรา ๙ แห่ง รั ฐธรรมนู ญ ฯ โดย นายทวี บุ ณ ยเกตุ ผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี แถลงต่อที่ ประชุมรัฐสภาว่า ตามมาตรา ๙ ของรัฐธรรมนูญ ฯ ได้บัญญัติ ว่าการสืบราชสมบัติ ให้เป็นไปโดยนัยแห่งกฎ
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน ชาวสยาม” 6
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
มนเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ซึ่ง ตรงกับมาตรา ๙ ข้อ ๘ โดยนายทวีได้กล่าว ถึงกฎมณเฑียรบาลข้อดังกล่าวให้สมาชิกฟังว่า “ข้อ ๘ ถ้าแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไร้ พระราชโอรสและพระราชนัดดา ท่านก็ให้อญั เชิญ สมเด็จพระอนุชาที่ร่วมพระราชชนนีพระองค์ ที่มีพระชนมายุถัดลงมาจากพระองค์ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ขึ้นทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์” เมื่อมีความชัดเจนเช่นนี้ “รัฐบาลจึงเห็นว่า ผูท้ สี่ มควรจะสืบราชสันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงขอเสนอและขอความ เห็ น ชอบจากรั ฐ สภาตามมาตรา ๙ ของรั ฐ ธรรมนูญฯ ต่อไป” ประธานรั ฐ สภาจึ ง ขอมติ จ ากที่ ป ระชุ ม รัฐสภาว่า “ข้าพเจ้าขอความเห็นของรัฐสภา หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
7
“รัฐบาลจึงเห็นว่าผู้ที่สมควรจะสืบราช สันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงขอเสนอและขอ ความเห็นชอบจากรัฐสภาตามมาตรา ๙ ของรัฐธรรมนูญฯ ต่อไป”
ถ้าท่านผู้ใดเห็นชอบด้วย ขอได้โปรดยืนขึ้น” ผลปรากฏว่า “สมาชิกยืนขึน้ พร้อมเพรียงกัน” เป็นอันว่ารัฐสภาลงมติให้สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครอง ราชย์สืบราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์ สืบต่อจากพระเชษฐาธิราช โดย “มีผู้เห็นชอบ เป็นเอกฉันท์” จากนั้นนายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี จึงขอให้สมาชิกรัฐสภาถวายพระพรชัยขอให้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจงทรงพระเจริญ โดย “ที่ ประชุมได้ยืนขึ้นและเปล่งเสียงไชโย ๓ ครั้ง” ต่ อ มาประธานรั ฐ สภาแจ้ ง ให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบว่า ตามมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑ ของ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๔๘๙ ก�ำหนดให้สมาชิก พฤฒสภาทีม่ อี ายุสงู สุด ๓ คน เป็นคณะผูส้ �ำเร็จ ราชการแทนพระองค์ชั่วคราว ซึง่ ประกอบด้วย พระสุธรรมวินจิ ฉัย เจ้าคุณ นนท์ ร าชสุ วั จ น์ และนายสงวน จู ฑ ะเตมี ย ์ มีอายุสูงตามล�ำดับ และให้ทั้งสามยืนขึ้นแสดง ตัวต่อที่ประชุมรัฐสภา...” แต่เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมพรรษาเพียง ๑๙ พรรษาจึ ง ต้ อ งมี ค ณะผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการแทน พระองค์ ต่อมา รัฐบาลจึงได้แต่งตัง้ คณะผูส้ ำ� เร็จ ราชการแทนพระองค์ปฏิบัติราชการแผ่นดิน แทนพระองค์จนกว่าจะทรงบรรลุนติ ภิ าวะและ 8
ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในโอกาส ต่อไป ซึ่งคณะผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิต ประยูรศักดิ์ กรมขุนชัยนาทนเรนทร และ • พระยามานวราชเสวี ต่อมา ในเดือนสิงหาคม ๒๔๘๙ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินกลับไป ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อีกครั้งหนึ่ง เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัย โลซาน ซึ่งเป็นสถาบันแห่งเดิมที่ทรงศึกษาอยู่ แต่ ท รงเปลี่ ย นแนวการศึ ก ษาใหม่ ใ ห้ เ หมาะ กั บ ที่ จ ะต้ อ งทรงรั บ พระราชภาระในฐานะ
พระประมุขของประเทศ โดยทรงศึกษาวิชา กฎหมายและวิชารัฐศาสตร์แทนวิชาในแผนก วิทยาศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เมื่อทรงบรรลุนิติภาวะแล้ว จึงได้เสด็จนิวัต ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๔๙๓ ซึ่ง รัฐบาลไทยในขณะนั้น จึงได้น้อมเกล้าน้อม กระหม่อม จัดงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ถวาย เมือ่ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ และเฉลิม พระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี นฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ซึ่งในเวลาต่อมา ปวงพสกนิกรชาวไทย จึง พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ได้ถือเอาวันที่ ๕ พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวัน ฉัตรมงคลร�ำลึกเพื่อร่วมร�ำลึกและถวายพระ เกียรติองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน วโรกาสที่ทรงประกอบพิธีบรมราชาภิเษก โดย มีพระราชอ�ำนาจโดยสมบูรณ์ และในวันนั้น ได้ ทรงมีพระปฐมบรมราชโองการ พระราชทาน อารักขาแก่พสกนิกรชาวไทยทั้งหลายว่า “เราจะครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” ส�ำหรับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ของชาติ ไทยแล้ว ได้จารจารึกไว้อย่างชัดเจนว่า วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ เป็นวันที่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลย ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งในวันนั้นเป็นวัน ที่พระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อมพสกนิกร ชาวไทยให้มีความสุขใจ มีหลักชัยในชีวิต จน สามารถบรรเทาทุกข์ให้แห้งเหือดไป วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ วันนั้นคือวันที่ พสกนิกรชาวไทยผลิรอยยิ้มบนใบหน้า จนลบ ร่องรอยแห่งคราบน�ำ้ ตาจนหมดสิน้ ไป พร้อมกับ เปล่ ง เสี ย งที่ ก ลั่ น มาจากก้ น บึ้ ง ของดวงใจ พสกนิกรชาวไทยอย่าพร้อมเพรียงว่า พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จงทรง พระเจริญ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
9
เทิดพระเกียรติสมเด็จสังฆบิดร พระชันษา ๑ ศตวรรษ เรือโท เหมันต สุนทร
ส
มเด็จพระสังฆราช เป็นต�ำแหน่งที่มีมา นานแล้ว ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ดังมี หลั ก ฐานจากศิ ล าจารึ ก ของพ่ อ ขุ น รามค�ำแหงมหาราช ได้จารึกค�ำว่าพระสังฆราช ไว้ด้วย สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นต�ำแหน่งสมณศักดิ์สูงสุดฝ่ายพุทธจักรของ คณะสงฆ์ไทย ทรงเป็นประธานการปกครอง คณะสงฆ์ ต� ำ แหน่ ง นี้ น ่ า จะมี ที่ ม าจากคณะ สงฆ์ไทย น�ำแบบอย่างมาจาก ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช ได้ทรงอัญเชิญ พระเถระผู ้ ใ หญ่ ข องลั ง กา ที่ เ ชี่ ย วชาญใน พระไตรปิฎก เข้าเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่าย 10
เถรวาทในประเทศไทย หากเอ่ยถึงกระทรวงกลาโหม ใครๆ ต้อง นึ ก ถึ ง ภาพอาคารงามสง่ า ของศาลาว่ า การ กลาโหม โดยมีบทคาถา “วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฒ ฺ โิ ย” ค�ำแปล ขอให้พระมหากษัตริย์เจ้าพร้อมด้วยปวง ทหารจงมีชัยชนะ ยังความเจริญให้ส�ำเร็จใน แผ่นดินเทอญ ประดั บ ไว้ ที่ ห น้ า บั น โรงทหารหน้ า มา ตราบจนเป็ น ศาลาว่ า การกลาโหมปั จ จุ บั น ที่ ส มเด็ จ พระอริ ย วงศาคตญาณ สมเด็ จ พระสังฆราช (สา ปุสสเทโว) วัดราชประดิษฐ์
สถิ ต มหาสี ม าราม ทรงผู ก คาถาหน้ า บั น กระทรวงกลาโหม พร้อมทั้งเป็นที่นับถือแก่ข้าราชการทหาร มาจนถึงองค์ปัจจุบัน ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ เป็ น ปี ม หามงคล อีกวาระที่รัฐบาลและพุทธศาสนิกชาวไทยจะ ได้ร่วมกันจัดพิธีบ�ำเพ็ญพระกุศลในโอกาสที่ สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญพระชันษา ๑๐๐ ปี ในวั น ที่ ๓ ตุ ล าคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ นี้ เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่ง ถือได้ว่าทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชที่ทรงมี พระชนมายุ ยื น ยาวที่ สุ ด และทรงด� ำ รง พระเกี ย รติ ย ศเป็ น สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก ที่ ย าวนานยิ่ ง กว่ า ในอดีตถึง ๒๔ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก มี พ ระนามเดิ ม ว่ า เจริญ คชวัตร ประสูติเมื่อวันศุกร์ ที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๕๖ เป็นบุตรคนโตของนาย น้อย คชวัตร และนางกิมน้อย คชวัตร เป็นชาว จังหวัดกาญจนบุรี บรรพชาและอุปสมบท เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว์ ทรงเจ็บป่วย ออดแอดอยู ่ เ สมอ จนกระทั่ ง เรี ย นจบชั้ น ประถมปีที่ ๕ แล้ว พระองค์จึงได้ทรงบรรพชา เป็นสามเณรในปีพุทธศักราช ๒๔๖๙ ขณะมี พระชันษาได้ ๑๔ ปี ที่วัดเทวสังฆาราม โดยมี พระเทพมงคลรังษี (ดี พุทธฺโชติ) เจ้าอาวาสวัด เทวสังฆาราม เป็นพระอุปัชฌาย์และพระครู นิวิฐสมาจาร (เหรียญ สุวณฺณโชติ) เจ้าอาวาส วัดศรีอปุ ลาราม เป็นพระอาจารย์ให้สรณะและ ศีล ภายหลังบรรพชาแล้วได้จ�ำพรรษาอยู่ที่ วัดเทวสังฆาราม ๑ พรรษาและได้มาศึกษา พระธรรมวินัยที่วัดเสน่หา จังหวัดนครปฐม หลังจากนั้น พระเทพมงคลรังษี (ดี พุทธฺโชติ) พระอุปัชฌาย์ได้พาพระองค์ไปยังวัดบวรนิเวศ วิหาร และน�ำพระองค์ขนึ้ เฝ้าถวายตัวต่อสมเด็จ พระวชิรญาณวงศ์ เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร (ต่อมา คือ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวง วชิรญาณวงศ์) เพื่ออยู่ศึกษาพระปริยัติธรรม ในส� ำ นั ก วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร จนกระทั่ ง พระ ชันษาครบอุปสมบท จึงทรงเดินทางกลับไป อุปสมบทที่วัดเทวสังฆาราม เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ ภายหลังจึงได้เดินทางเข้ามาจ�ำพรรษา เรือโท เหมันต สุนทร
สมบั ติ อุ ด มศี ล จารวั ต รสุ น ทร ธรรมยุ ต ติ ก คณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี” ปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ พระองค์ได้รับสถานาขึ้น เป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๑๙ แห่ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ มี พ ระนามตามจารึ ก ใน พระสุพรรณบัฏ ว่า “สมเด็จพระญาณสังวร บรม นริศรธรรมนีติภิบาล อริยวงศาคตญาณวิมล สกลมหาสังฆปริณายก ตรีปฎกปริยัตติธาดา วิสุทธจริยาธิสมบัติ สุวัฑฒนภิธานสงฆวิสุต ปาวจนุ ต ตมพิ ส าร สุ ขุ ม ธรรมวิ ธ านธ� า รง วชิ ร ญาณวงศวิ วั ฒ พุ ท ธบริ ษั ท คารวสถาน วิจติ รปฏิภาณพัฒนคุณ วิบลุ สีลาจารวัตรสุนทร บวรธรรมบพิตร สรรพคณิศรมหาปธานาธิบดี คามวาสี อรัณยวาสี สมเด็จพระสังฆราช” ในปีพ.ศ.๒๕๕๕ เป็นที่น่ายินดีว่า ทรงได้ รับการทูลถวายจากผู้น�าชาวพุทธโลกจาก ๓๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมสุดยอดพุทธศาสนิกชน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เพือ่ ทรง แห่งโลก ณ ประเทศญี่ปุ่น ให้ด�ารงต�าแหน่ง ศึกษาพระธรรมวินยั และพระองค์ทา่ นได้เข้าพิธี “ผู ้ น� า คณะสงฆ์ สู ง สุ ด แห่ ง โลกพระพุ ท ธ อุปสมบทซ�้า เป็นธรรมยุติกนิกาย โดยมีสมเด็จ ศาสนา” ในฐานะที่ ท รงได้ รั บ การเคารพ พระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็น อย่างสูงสุด รวมทัง้ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระอุปัชฌาย์พระองค์ทรงได้รับประทานนาม สกลมหาสังฆปริณายกแห่งประเทศไทย ผู้สอน ฉายาจากสมเด็จพระสังฆราชว่า “สุวฑฺฒโน” พระธรรมค�าสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งมีความหมายว่า “ผู้เจริญดี” ให้ทุกคนปฏิบัติธรรมตั้งอยู่ในพระปัญญาธรรม พระองค์ยังทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอย่าง และพระกรุ ณ าธรรมน� า ไปสู ่ สั น ติ ภ าพและ ต่ อ เนื่ อ ง จนกระทั่ ง สอบได้เปรียญธรรม ๙ ความเจริญรุ่งเรืองมีพระบารมีปกแผ่ไพศาล ประโยค ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๔ เมื่อมีพระ ไปทั่วราชอาณาจักรไทยและทั่วโลก นับเป็น ชันษาได้ ๓๔ ปี พระองค์ได้รับพระราชทาน แบบอย่ า งของสากลโลก ซึ่ ง เป็ น การมอบ สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ (สป.) ต�าแหน่งนี้เป็นครั้งแรกของโลก ในราชทินนามที่ “พระโศภนคณาภรณ์” ต่อ ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ นี้ จึ ง เป็ น ปี ที่ มาได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระ พุทธศาสนิกชนคนไทยทัง้ ปวงจะได้นอ้ มร�าลึกถึง ราชาคณะชั้นราช และชั้นเทพ ในราชทินนาม พระกรุณาคุณในสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ เดิม เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๘ โดยพระองค์ นั้น และร่วมกันปฏิบัติบูชา ถวายเป็นพระกุศล ได้รับเลือกจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรม ให้ทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง เสด็จ หลวงวชิ ร ญาณวงศ์ ใ ห้ เ ป็ น พระอภิ บ าลของ สถิตเป็นโพธิธรรมปกปักษ์รกั ษาพุทธศาสนิกชน พระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล ชาวไทยไปตราบนาน อดุลยเดช ในระหว่างที่ทรงพระผนวชเป็นพระ รัฐบาล ได้ออกแบบตราสัญลักษณ์การฉลอง ภิกษุและเสด็จประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระสังฆราช ไว้ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๙ ต่อมา ในปีเดียวกัน ส�าหรับประชาชนได้เชิญมาประดับเพือ่ เทิดพระ ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม เกียรติตลอดทัง้ ปี ๒๕๕๖ โดยมีรายละเอียดของ ที่ “พระธรรมวราภรณ์ ” โดยราชทิ น นาม ตราสัญลักษณ์ ดังนี้ ทั้ง ๒ ข้างต้นนั้นเป็นราชทินนามที่ตั้งขึ้นใหม่ อักษรพระนาม ญ.ส.ส. ย่อมาจากสมเด็จ ส�าหรับพระราชทานแก่พระองค์เป็นรูปแรก พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกล ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๔ พระองค์ ไ ด้ รั บ การ มหาสังฆปริณายก อักษร ญ. สีฟ้า (ผงคราม) สถาปนาเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้น หมายถึงวันประสูติ คือ วันศุกร์ อักษร ส. สีขาว หิรัญบัฏ ที่ “พระสาสนโสภณ” พระองค์เข้า หมายความว่าทรงบริสทุ ธิว์ เิ ศษ เป็นศรีศภุ มงคล รับต�าแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมตั้งแต่ปี ในพระบวรพุทธศาสนา อักษร ส. สีเหลือง พุทธศักราช ๒๕๐๖ และยังคงด�ารงต�าแหน่ง หมายความว่าทรงเป็นสกลมหาสังฆปริณายก มาจนถึงปัจจุบัน ปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ ได้รับ องค์ประมุขแห่งคณะสงฆ์ พระราชทานสถาปนาสมณศักดิเ์ ป็นสมเด็จพระ อักษรพระนาม ญ.ส.ส. อยู่ภายใต้เศวตฉัตร ราชาคณะมีราชทินนามตามจารึกในสุพรรณบัฏ ๓ ชั้ น อั น เป็ น เครื่ อ งยศสมณศั ก ดิ์ ส� า หรั บ ว่า “สมเด็จพระญาณสังวร บรมนริศรธรรมนีติ สมเด็จพระสังฆราช รูปอักษรพระนามและ สาธก ตรีปฎกปริยัตติธาดา สัปตวิสุทธิจริยา ฉัตรอยู่ภายในมณฑลประภา คือ รัศมีพระเจ้า หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
ขอเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน พร้อมใจกัน ประดับธงตราสัญลักษณ์งานฉลอง พระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ตามอาคารของหน่วยงาน และบ้านเรือนในบริเวณที่เหมาะสม เพื่อเทิดพระเกียรติและถวายเป็น พระกุศล ตั้งแต่บัดนี้ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖
หมายความว่าทรงเป็นผู้ปราศจากมลทิน อัน สืบวงศ์ของพระชินสีห์บรมศาสดา มีรูปช้าง ไอยราวัตชูครอบรัศมีมณฑลอยู่ หมายถึง ทรง ด� า รงต� า แหน่ ง สมเด็ จ พระสั ง ฆราชแห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ และหมายถึงทรงอุบัติในสกุล คชวัตร ใต้รูปช้างไอยราวัต มีเลขมหามงคล ๑๐๐ หมายถึงทรงเจริญพระชันษายืนยาวนาน กว่าสมเด็จพระสังฆราชองค์อนื่ ใดในอดีตทีผ่ า่ น มา ด้านล่างสุดผูกเป็นแพรแถบสีหงชาด (ชมพู) ขอบขลิบทองปลายทั้งสองเป็นช่อกระหนก มี ข้อความอักษรสีทองว่า การฉลอง พระชันษา ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ปลายแพรแถบข้างขวาของ ตราสัญลักษณ์เขียน ๒๔๕๖ เป็นปี พ.ศ.ประสูติ แถบข้ า งซ้ า ยเขี ย นปี ที่ ฉ ลองพระชั น ษาครบ ๑๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม จึ ง ขอเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน พร้อมใจกันประดับธงตรา สัญลักษณ์งานฉลองพระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ตามอาคาร ของหน่ ว ยงานและบ้ า นเรื อ นในบริ เ วณที่ เหมาะสม เพื่อเทิดพระเกียรติและถวายเป็น พระกุศล ตั้งแต่บัดนี้ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ 11
การชี้แจงต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ กรณีราชอาณาจักรกัมพูชาขอให้ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศตีความคำ�พิพากษาคดี ปราสาทพระวิหาร ปี พ.ศ.๒๕๐๕
พ
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
ลอากาศเอก สุ ก� ำ พล สุ ว รรณทั ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยคณะผูแ้ ทนกระทรวงกลาโหม ประกอบด้วย พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัด กระทรวงกลาโหม เจ้ากรมแผนทีท่ หาร เจ้ากรม กิจการชายแดนทหาร และผู้แทนกองทัพบก ได้เดินทางร่วมคณะนายสุรพงษ์ โตวิจกั ษณ์ชยั กุล รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ เข้าร่วมฟังการอธิบายเพิม่ เติม ทางวาจา กรณีราชอาณาจักรกัมพูชาขอให้ ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศตีความค�ำพิพากษา ในคดีปราสาทพระวิหารปี พ.ศ.๒๕๐๕ เมื่อ ๑๕ - ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงเฮก ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ โดยผลการอธิบาย เพิ่มเติมทางวาจา สรุปได้ดังนี้ ฝ่ายราชอาณาจักรกัมพูชาได้ชี้แจงต่อศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อ ๑๕ และ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ เริ่มด้วยการกล่าวน� ำของ นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศกั ม พู ช า ตามด้วยที่ปรึกษากฎหมายชาวต่างประเทศ จ�ำนวน ๓ ท่าน ประกอบด้วย ๑) Sir Franklin Berman ๒) นาย Jean - Marc Sorel และ ๓) นาย Rodman Bundy โดยราชอาณาจักร กั ม พู ช าได้ น� ำ เสนอข้ อ โต้ แ ย้ ง เพื่ อ หั ก ล้ า งค� ำ ให้การของฝ่ายราชอาณาจักรไทย สรุปได้ดังนี้ ๑) ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าได้ น� ำ เสนอ ข้อโต้แย้งและประเด็นหักล้างค�ำให้การเป็น ลายลักษณ์อักษรของฝ่ายไทย โดยพยายาม อธิบายว่าราชอาณาจักรกัมพูชามิได้ขออุทธรณ์ คดีฯ หรือเปลี่ยนแปลงค� ำพิพากษาปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพี ย งแต่ ต ้ อ งการให้ ศ าลยุ ติ ธ รรม ระหว่างประเทศ ชีใ้ ห้ชดั เจนว่าขอบเขตดินแดน ของราชอาณาจักรกัมพูชา และบริเวณใกล้ เคียง (Vicinity) ปราสาททีร่ ะบุในค�ำพิพากษาฯ คืออะไร ๒) ราชอาณาจักรกัมพูชาพยายามแสดง ให้ ศ าลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศเห็ น ว่ า ราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทย มีความเข้าใจต่างกันเกีย่ วกับค�ำพิพากษาฯ และ ได้อธิบายว่า “แผนที่ภาคผนวก ๑” เป็นส่วน
12
ของเหตุผลส�ำคัญที่ไม่อาจแยก (Inseparable) จากค� ำ พิ พ ากษาเดิ ม ได้ ดั ง นั้ น ค� ำ ขอของ ราชอาณาจักรกัมพูชาจึงเข้าเงื่อนไขของการ ขอให้ ศ าลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศตี ค วาม ค�ำพิพากษา ๓) การตี ค วามดั ง กล่ า วจะท� ำ ไม่ ไ ด้ ห าก ไม่อ้างอิง “แผนที่ภาคผนวก ๑” แนบท้าย ค�ำฟ้องของราชอาณาจักรกัมพูชาในคดีเดิม ซึ่งราชอาณาจักรกัมพูชาเห็นว่า ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศได้ยอมรับแล้วว่าเส้นบนแผนที่ ดังกล่าวเป็นเส้นเขตแดนระหว่างราชอาณาจักร กัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึง่ ต่อมาเมือ่ ๑๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ราชอาณาจักรกัมพูชา ได้พยายามยืนยันสถานะและความส�ำคัญของ “แผนที่ภาคผนวก ๑” ในค�ำพิพากษาฯ โดย อ้างว่าศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ ยอมรับเส้นเขตแดนตามแผนที่ ดั ง กล่ า ว และใช้ แ ผนที่ เ ป็ น เหตุ ผ ลส� ำ คั ญ ในการตัดสิน ๔) ราชอาณาจักรกัมพูชาพยายามแสดง ให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเชื่อว่า การ ปฏิบัติตามค�ำพิพากษาของฝ่ายราชอาณาจักร ไทยเมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๐๕ เป็ น การตี ค วาม ค�ำพิพากษาตามความเข้าใจของไทยฝ่ายเดียว โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การล้ อ มรั้ ว ลวดหนาม รอบปราสาทพระวิหารตามมติคณะรัฐมนตรี ของไทย เมื่อ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ซึ่ง
ราชอาณาจักรกัมพูชาไม่ยอมรับ และได้ทำ� การ ประท้วงในหลายโอกาส ๕) ราชอาณาจักรกัมพูชาพยายามชี้แจง และย�้ ำ ต่ อ ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศว่ า ราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย มี ค วามเข้ า ใจต่ า งกั น เกี่ ย วกั บ ค� ำ พิ พ ากษา ปี พ.ศ.๒๕๐๕ เรื่องพื้นที่ใกล้เคียงปราสาท และการถอนทหาร เพื่ อ ให้ ศ าลยุ ติ ธ รรม ระหว่างประเทศ รับพิจารณาตีความตามทีร่ าช อาณาจักรกัมพูชาขอ โดยอ้างว่าราชอาณาจักร กัมพูชามิได้ยอมรับเส้นที่ราชอาณาจักรไทย ใช้ในการถอนทหารหรือเส้นมติคณะรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ ทั้งนี้ นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรี/ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศ กัมพูชา ได้กล่าวแถลงปิดคดี โดยยืนยันว่า การตีความค�ำพิพากษาเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นเพราะ จะเป็นการแก้ปัญหาความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
คณะต่อสู้คดีฯ ได้เตรียมข้อมูล และ เอกสารหักล้างข้อต่อสู้ของฝ่าย ราชอาณาจักรกัมพูชา และนำ�เสนอ ถ้อยแถลงในศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศอย่างตรงประเด็น ส่งผลให้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากประชาชนชาวไทย ของทั้งสองฝ่าย อันจะน�ำไปสู่การอยู่ร่วมกัน ได้อย่างสันติสุข ฝ่ า ยราชอาณาจั ก รไทยโดยนายวี ร ชั ย พลาศรัย เอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮก ในฐานะ ตัวแทนประเทศไทยและคณะทีป่ รึกษากฎหมาย ชาวต่ า งชาติ ข องฝ่ า ยราชอาณาจั ก รไทย ประกอบด้ ว ย ๑) ศาสตราจารย์ James Crawford ชาวอั ง กฤษ ๒) ศาสตราจารย์ Donald McRae ชาวแคนาดา/นิวซีแลนด์ ๓) ศาสตราจารย์ Alain Pellet ชาวฝรั่งเศส และ ๔) นางสาว Alina Miron ชาวโรมาเนีย ผู ้ ช ่ ว ยของศาสตราจารย์ Pellet ได้ ก ล่ า ว ถ้ อ ยแถลงต่ อ ศาลยุ ติ ธรรมระหว่างประเทศ ย�้ ำ ท่ า ที ข องฝ่ า ยราชอาณาจั ก รไทยและ หักล้างค�ำแถลงทางวาจาของฝ่ายราชอาณาจักร กัมพูชา ครั้งที่ ๑ เมื่อ ๑๗ เมษายน และ ครั้งที่ ๒ เมื่อ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖ สรุปได้ดังนี้ ๑) การขอตี ค วามของราชอาณาจั ก ร กั ม พู ช าเป็ น การบิ ด เบื อ นกระบวนการของ ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง เจตจ� ำ นง ของราชอาณาจักรกัมพูชาไม่ใช่การขอตีความ แต่ มี ลั ก ษณะเป็ น การอุ ท ธรณ์ เ พื่ อ ให้ ศ าล ยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินในเรื่องที่เคย ปฏิ เ สธที่ จ ะตั ด สิ น เมื่ อ ๕๐ ปี ที่ แ ล้ ว โดยที่ ค�ำพิพากษาฯ เมื่อปี ๒๕๐๕ ไม่ได้ระบุเรื่อง เส้นเขตแดน ทั้งนี้ แผนที่ภาคผนวก ๑ ที่ราช อาณาจั ก รกั ม พู ช าใช้ อ ้ า งนั้ น ศาลยุ ติ ธ รรม ระหว่างประเทศใช้ประกอบเป็นเหตุผลส่วน หนึ่ ง ในการก� ำ หนดอ� ำ นาจอธิ ป ไตยเหนื อ ปราสาทพระวิหารเท่านั้น ไม่ได้ตัดสินให้เป็น เส้นเขตแดน ๒) พื้ น ที่ ๔.๖ ตารางกิ โ ลเมตร ที่ ร าช อาณาจักรกัมพูชาเรียกร้องเป็นเรื่องที่ไม่เคย ปรากฏในคดีเดิมซึง่ ราชอาณาจักรกัมพูชากล่าว อ้างในครั้งนี้เพราะต้องการน�ำพื้นที่ดังกล่าว ไปใช้ในการขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็น มรดกโลก ๓) พื้ น ที่ ๔.๖ ตารางกิ โ ลเมตร ที่ ร าช อาณาจักรกัมพูชาเรียกร้องในครั้งนี้ มีขนาด กว้างกว่าพื้นที่บริเวณใกล้เคียงของปราสาท (Vicinity) ในค�ำพิพากษาฯ ปี พ.ศ.๒๕๐๕ ที่ ราชอาณาจักรกัมพูชาเคยอ้างสิทธิไว้ในคดีเดิม หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ซึ่งมีขนาด ๐.๓๕ ตารางกิโลเมตร ๔) เส้นตามมติคณะรัฐมนตรีปี พ.ศ.๒๕๐๕ ที่ ร าชอาณาจั ก รไทยใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ต าม ค� ำ พิ พ ากษาฯ สอดคล้ อ งกั บ พื้ น ที่ บ ริ เ วณ ใกล้เคียง (Vicinity) ของปราสาทในค�ำพิพากษาฯ และราชอาณาจักรกัมพูชาไม่เคยทักท้วงว่า ราชอาณาจักรไทยไม่ได้ถอนก�ำลังจากบริเวณ ดังกล่าว ซึ่งแสดงว่าทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกัน จึงไม่มีความจ�ำเป็นต้องตีความ ๕) ราชอาณาจั ก รไทยได้ แ สดงให้ ศ าล ยุติธรรมระหว่างประเทศเห็นถึงความไม่ชอบ มาพากลของเอกสารหลักฐานที่ราชอาณาจักร กัมพูชาน�ำมาใช้ในศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ ครั้งนี้ โดยแผนที่ภาคผนวก ๑ ที่ราชอาณาจักร กัมพูชาใช้อ้างมีด้วยกันหลายชุด และแผนที่ ภาคผนวก ๑ ชุดที่กัมพูชายื่นต่อศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ ในคดีเดิมแตกต่างจากแผนที่ ชุดที่น�ำมาใช้ครั้งนี้ อีกทั้งเส้นบนแผนที่ก็ไม่ สามารถถ่ายทอดลงบนภูมปิ ระเทศจริงได้อย่าง ถูกต้อง นอกจากนัน้ ราชอาณาจักรกัมพูชายังน�ำ แผนทีท่ รี่ าชอาณาจักรไทยเคยน�ำไปยืน่ ต่อศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศในคดีเดิมมาแต่งเติม ๖) ราชอาณาจักรไทยยืนยันว่าได้ปฏิบัติ ตามมาตรการชั่วคราวที่ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศ สั่งเมื่อ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔ แล้ว ซึ่งมีผลบรรลุตามที่ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศต้องการ คือ ไม่มีเหตุปะทะทางอาวุธ ในบริเวณชายแดน และไม่มีการสูญเสียชีวิต นอกจากนั้น ปัจจุบนั ความสัมพันธ์ระหว่างราช อาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชาด�ำเนิน ไปด้ ว ยดี มี ช ่ อ งทางหารื อ เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา ระหว่างกัน รวมถึงประเด็นเรื่องเขตแดนที่ราช อาณาจักรกัมพูชาพยายามขอให้ศาลยุติธรรม ระหว่ า งประเทศตี ค วาม มี ก ลไกการเจรจา ภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการส�ำรวจ และจัดท� ำเขตแดนทางบก พ.ศ.๒๕๔๓ ซึ่ง ทั้งสองฝ่ายควรต้องเจรจากันในกรอบคณะ กรรมาธิการเขตแดนร่วมราชอาณาจักรไทย - ราชอาณาจักรกัมพูชา (Joint Boundary Commission : JBC) ฝ่ายราชอาณาจักรไทย โดยนายวีรชัย พลาศรัย ตัวแทนประเทศไทย ได้แถลงปิดคดี โดยได้ยำ�้ ค�ำขอของราชอาณาจักร
ไทยให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินว่า ค� ำ ฟ้ อ งของราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าไม่ เ ข้ า เงื่อนไขของการขอตีความค�ำพิพากษาฯ ดังนั้น ศาลยุ ติ ธ รรม จึ ง ไม่ มี อ�ำ นาจพิ จ ารณา และ ราชอาณาจักรกัมพูชาไม่มีอ�ำนาจฟ้อง หรือ หากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศรับพิจารณา ค�ำฟ้อง ก็ขอให้ตดั สินว่าไม่มเี หตุผลทีจ่ ะตีความ ค�ำพิพากษาฯ รวมทั้งประกาศว่าค�ำพิพากษาฯ มิได้กำ� หนดเส้นเขตแดนระหว่างราชอาณาจักร ไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา และมิได้ระบุ ขอบเขตบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร นอกจากนั้น ผู้พิพากษาอับดุลคาวิ อะห์เม็ด ยูซฟู ได้ขอให้ราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักร กัมพูชาชี้แจงเพิ่มเติมว่า ทั้งสองฝ่ายมีความ เข้าใจว่า “บริเวณใกล้เคียง (Vicinity)” ของ ปราสาทพระวิหารอยูท่ ใี่ ดโดยอ้างอิงจากแผนที่ ที่เคยเสนอในคดีเดิมหรือแจ้งพิกัดของพื้นที่ ดังกล่าว โดยให้สง่ เอกสารชีแ้ จงเป็นลายลักษณ์ อักษรให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ภายใน ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ และส่งข้อสังเกต เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเกี่ ย วกั บ ค� ำ ตอบของ อีกฝ่ายหนึ่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ภายใน ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ การอธิบายเพิม่ เติมทางวาจาต่อศาลยุตธิ รรม ระหว่ า งประเทศในครั้ ง นี้ คณะต่ อ สู ้ ค ดี ฯ ได้ เตรี ยมข้อมูล และเอกสารหักล้างข้อต่อสู้ ของฝ่ายราชอาณาจักรกัมพูชา และน�ำเสนอ ถ้ อ ยแถลงในศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศ อย่างตรงประเด็น ส่งผลให้ได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดีจากประชาชนชาวไทย 13
กองทัพไทย
กับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๕๘ ร้อยเอกหญิง อัญชลี ชัยชาญกุล
ผู้
น�ำประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามใน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เมื่อ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งมี ผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งกฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนธรรมนูญที่ ก� ำ หนดกรอบด้ า นกฎหมายและโครงสร้ า ง องค์ ก รอาเซี ย น ท� ำ ให้ อ าเซี ย นมี ก ฎกติ ก า ในการท�ำงาน มีสถานะเป็นนิตบิ คุ คลมีประชาชน เป็นศูนย์กลาง และวางรากฐานการรวมตัวเป็น ประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยการเป็นประชาคม อาเซียน (ASEAN-Community) มีเจตจ�ำนง ให้ อ าเซี ย นเป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี สั น ติ สุ ข รั ก ษา สันติภาพ และด�ำรงความเป็นกลาง มีวิธีการ ร่วมแก้ไขข้อพิพาท ลดความขัดแย้งโดยสันติ วิธี และมีเสรีทางการค้า โดยทุกประเทศใน ประชาคมจะให้ความร่วมมือกันและด�ำเนิน กิจกรรมของอาเซียนในทุกรูปแบบ ทั้งระดับ ทวิภาคี อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือน การ แลกเปลี่ยนการฝึกศึกษา หรือการเจรจาหารือ ในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี อาทิ การ ประชุมหรือการสัมมนา รวมทั้งครอบคลุมใน ทุกมิติ อันประกอบไปด้วย การเมือง ความ มั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อ 14
ลดความแตกต่ า งระหว่ า งกั น ในด้ า นต่ า งๆ โดยแบ่งการด�ำเนินงานออกเป็น ๓ เสาหลัก (three-pillars) ได้แก่ ๑) ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ๒) ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic
Community : AEC) และ ๓) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ท� ำ ให้ ประเทศไทยจ� ำ เป็ น ต้ อ งเตรี ย มการรองรั บ ผลกระทบด้านความมั่นคงที่จะเกิดขึ้น ทั้งใน
ร้อยเอกหญิง อัญชลี ชัยชาญกุล
การดำ�เนินการเพื่อรองรับผลกระทบ ที่เกิดขึ้นนั้น จะเห็นได้ว่ารัฐบาล ได้ให้ความสำ�คัญ กับการเป็น ประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยมี นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินการดังกล่าว
รูปแบบที่จะกระทบต่อประเทศไทยโดยตรง และรูปแบบทีจ่ ะกระทบต่ออาเซียนในภาพรวม รวมทั้ ง ผลกระทบต่ อ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ ของโลก อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม่ จ� ำ กั ด อยู ่ เ ฉพาะแต่ ภั ย คุ ก คามรู ป แบบใหม่ เช่ น ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ การก่อการร้าย ยาเสพติด อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น แต่ยังรวมถึง ภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เช่น การขัดแย้งของ เส้นเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเล ซึ่งรวม ถึงประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน และยัง รวมถึงความขัดแย้งที่ประเทศสมาชิกอาเซียน อืน่ ๆ ทีม่ กี บั ประเทศเพือ่ นบ้านด้วย เช่น ปัญหา ทะเลจีนใต้ ซึ่งมาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ และ เวียดนามมีปัญหาอยู่กับจีนในปัจจุบัน โดยใน ระยะเริม่ ต้นของการเป็นประชาคมอาเซียนนัน้ ปัญหาต่างๆ จะเพิม่ ทวีคณ ู ในแนวตัง้ ชัน (Sheer) แบบยกก� ำ ลั ง (Exponential) โดยเฉพาะ ประเทศไทย ทีจ่ ะต้องดูแลเฉพาะปัญหาภายใน ประเทศ เช่น ความแตกแยกของคนในชาติ (Division) ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และปัญหาความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนกับ ประเทศเพื่อนบ้านแล้ว ประเทศไทยยังจะต้อง มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาอื่นๆ ของประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย น ซึ่ ง ต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ร่วมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทัง้ ยังต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหาในภูมิภาค อื่นๆ ในฐานะที่อาเซียนเป็นนิติบุคคล ซึ่งต้อง มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอกอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผลต่อการรวมตัวไม่ได้ส่ง ผลเสียแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น การรวมตัว เป็นเพียงแต่การกระตุน้ ให้ปญ ั หาต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็น จะต้องได้รับการแก้ไขมีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะน�ำไปสู่ความร่วมมือในลักษณะพหุภาคี ที่ จ ะช่ ว ยกั น ในการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ซึง่ หากได้มกี ารเตรียมการแต่เริม่ ต้น และมีการ ประสานงาน รวมทั้งร่วมมือกันในทุกภาคส่วน ของไทย และของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ผลประโยชน์ที่ได้รับก็จะอยู่กับประชาชนของ ประเทศสมาชิกอาเซียน การด� ำ เนิ น การเพื่ อ รองรั บ ผลกระทบที่ เกิดขึน้ นัน้ จะเห็นได้วา่ รัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญ กับการเป็นประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยมีนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการ ด�ำเนินการดังกล่าว ซึง่ น�ำไปสูก่ ารจัดท�ำแผนงาน โครงการ และงบประมาณของหน่วยราชการ ต่างๆ ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานด้าน ความมั่นคงนั้น มีความจ�ำเป็นที่รัฐบาลจะต้อง จัดตั้งหน่วยงานใหม่ๆ ขึ้นมารองรับงานด้าน ภั ย คุ ก คามรู ป แบบใหม่ ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เช่ น หน่ ว ยงานด้ า นการป้ อ งกั น และปราบปราม สิ่ ง เสพติ ด หน่ ว ยป้ อ งกั น ชายฝั ่ ง การจั ด หน่วยบริหารจัดการพืน้ ทีช่ ายแดนแบบรวมการ หน่ ว ยงานด้ า นการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภั ย และภั ย พิ บั ติ ซึ่ ง หน่ ว ยงาน ดังกล่าวต้องมีความเป็นสากลและมีก�ำลังพล รวมถึงยุทโธปกรณ์ที่เพียงพอที่จะปฏิบัติงาน ทั้งในประเทศและนอกประเทศ เช่นเดียวกับกองทัพจ�ำเป็นต้องปรับปรุง โครงสร้ า ง ภารกิ จ และอ� ำ นาจหน้ า ที่ โดยในระยะเริ่ ม ต้ น มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ ง มอบหมายให้ ห น่ ว ยงานสั ง กั ด กระทรวง กลาโหมที่ มี ภ ารกิ จ ในการสนั บ สนุ น รั ฐ บาล เกี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วสนั บ สนุ น หน่ ว ยงานใหม่ ที่ จั ด ตั้ ง โดยต้ อ งให้ ค วามรู ้ การศึกษาอบรมช่ ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น ทั้ ง ก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ เพื่อให้การจัดตั้ง หน่ ว ยงานใหม่ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น มี ค วามพร้ อ มใน ทุกๆ ด้าน โดยภารกิจใหม่ และโครงสร้างใหม่ ของกองทัพนัน้ รัฐบาลต้องลดภาระของกองทัพ ในการด�ำเนินการด้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ที่ ไ ม่ จ� ำ เป็ น ลง รวมทั้ ง ยั ง ต้ อ งให้ เ วลา และ สนับสนุนงบประมาณ รวมทั้งการด�ำเนินการ ทุกด้านในการพัฒนาให้กองทัพเป็นกองทัพที่ ทันสมัย มีความเป็นสากล พร้อมปฏิบัติภารกิจ ในฐานะอาเซียนได้อย่างเต็มภาคภูมิ ซึ่งหาก
สามารถด� ำ เนิ น การได้ แ ล้ ว ก็ จ ะเป็ น พื้ น ฐาน ให้ ป ระเทศไทยสามารถที่ จ ะบริ ห ารจั ด การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และประหยัด งบประมาณการด�ำเนินการในระยะยาว เพื่อรองรับและเตรียมการในทิศทางต่างๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ไป กระทรวงกลาโหม เป็ น หน่วยงานรัฐบาลทีอ่ ยูภ่ ายใต้เสาหลักประชาคม การเมื อ งและความมั่ น คง รวมทั้ ง มี ภ าระ รับผิดชอบในการสนับสนุนเสาหลักเศรษฐกิจ และเสาหลั ก ประชาสั ง คมและวั ฒ นธรรม อี ก ด้ ว ยซึ่ ง การด�ำ เนิ น การในการรองรับการ เป็นประชาคมอาเซียนนั้น กระทรวงกลาโหม ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นได้ จั ดตั้งเวทีในการ ประชุมของฝ่ายทหารขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ เจ้าหน้าที่ในระดับผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบาย และแผนกลาโหม ปลั ด กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้มีโอกาส ในการแลกเปลี่ยนแนวความคิด หารือ และ ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินการของกองทัพ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยได้เริ่มด�ำเนินการ มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ โดยมีการประชุมครั้งที่ ๑ ที่ มาเลเซีย ครั้งที่ ๒ ที่สิงคโปร์ ครั้งที่ ๓ ที่ไทย ครั้งที่ ๔ ที่เวียดนาม ครั้งที่ ๕ ที่อินโดนีเซีย และครั้งที่ ๖ ที่กัมพูชา โดยครั้งที่ ๗ ในปีนี้จะ จัดขึ้นที่บรูไน ซึ่งการด�ำเนินการในปัจจุบันได้ พัฒนาไปสู่การประชุมของรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา อีก ๘ ประเทศ คือ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และ จีน โดยมีกรอบความร่วมมือที่ส�ำคัญ จ�ำนวน ๒ กรอบความร่วมมือ คือ • ความร่ ว มมื อ ในกรอบการประชุ ม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ๑) ความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กั บ องค์ ก รภาคประชาสั ง คมในด้ า นความ มั่ น คงรู ป แบบใหม่ (Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and 15
Civil Society Organisations (CSOs) Cooperation on Non - Traditional Security) (ริเริ่มโดย ไทย) ๒) เอกสารแนวความคิ ด เรื่ อ งการใช้ ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียนใน การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) (ริเริ่มโดย อินโดนีเซีย) ๓) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยความ ร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ใน กรอบอาเซียน (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) (ริเริ่ม โดย มาเลเซีย) ๔) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง เครื อ ข่ า ยศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภ าพ ในกรอบอาเซียน (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers Network) (ริ เ ริ่ ม โดย ไทย/ อินโดนีเซีย) 16
• ความร่ ว มมื อ ในกรอบการประชุ ม รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอาเซี ย นกั บ รั ฐ มนตรี กลาโหมประเทศคู่เจรจา ๑) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้ง คณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงทาง ทะเล (ADMM - Plus: Maritime Security Working Group Concept Paper) (มี มาเลเซียและออสเตรเลีย เป็นประธานร่วม) ๒) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้ง คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการให้ ค วาม ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัย พิบัติ (ADMM - Plus: Concept Paper for the Establishment of an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and
ร้อยเอกหญิง อัญชลี ชัยชาญกุล
Disaster Relief (HADR)) (มี เวียดนามและ จีน เป็นประธานร่วม) ๓) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการปฏิ บั ติ การรักษาสันติภาพ (ADMM - Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) (มี ฟิลิปปินส์ และนิวซีแลนด์ เป็นประธานร่วม) ๔) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการแพทย์ ทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) (มี สิงคโปร์ และญี่ปุ่น เป็นประธานร่วม) ๕) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้ง คณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการ ก่อการร้าย (ADMM - Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group) (มี อินโดนีเซียและสหรัฐฯ เป็นประธานร่วม) นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารประชุ ม ในระดั บ ผู ้ บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด และผู ้ บั ญ ชาการ เหล่าทัพ และหน่วยขึ้นตรงของกองทัพต่างๆ เช่น การประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดแบบ ไม่เป็นทางการ (ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting: ADCFIM) การ ประชุ ม ผู ้ บั ญ ชาการทหารบกอาเซี ย น การ ประชุ ม ผู ้ บั ญ ชาการทหารเรื อ อาเซี ย น การ ประชุมผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน และ การยิงปืนอาเซียน เป็นต้น จากความร่วมมือดังกล่าวข้างต้นจะท�ำให้ แต่ละประเทศได้รับประโยชน์ในการด�ำเนิน การ คือ ในระยะแรกของการเป็นประชาคม อาเซียน คือ ขจัดความไม่ไว้วางใจระหว่างกัน ดังนั้น มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยน การฝึก จึงมีความส� ำคัญอยู่ในระยะเริ่มต้น โดยในระยะต่อไป คือ ลดช่องว่าง และเสริม จุดอ่อนของขีดความสามารถของกองทัพประเทศ ต่างๆ เช่น การสร้างเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการ เพื่ อ สั น ติ ภ าพ เพื่ อ ให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นขี ด ความสามารถของแต่ละประเทศด้านปฏิบตั กิ าร รักษาสันติภาพของทั้ง ๕ ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ รวมทั้งขยายขีดความสามารถให้กับประเทศ ที่ ไ ม่ มี ศู น ย์ ฝ ึ ก ดั ง กล่ า วได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ด ้ ว ย งานด้ า นอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศของ อาเซียน เพื่อให้อาเซียนมียุทโธปกรณ์ที่ผลิต ได้ในภูมิภาคซึ่งท�ำให้มีความเชื่อถือได้ในด้าน ยุทโธปกรณ์ และประหยัดงบประมาณด้านการ ป้องกันประเทศ เป็นต้น แผนงานในระยะยาว ของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน คือ แนวความคิดในการใช้กองก�ำลังจากประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นในด้ า นการช่ ว ยเหลื อ ด้ า น หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
มนุษยธรรมของอาเซียน และการปฏิบัติการ รักษาสันติภาพในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตาม การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วอาเซี ย นไม่ ส ามารถ ด�ำเนินการได้ส�ำเร็จโดยล�ำพัง ดังนั้น การที่ อาเซี ย นมี ก รอบความร่ ว มมื อ ในกรอบการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและรัฐมนตรี กลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus: ADMM-Plus) จะช่วยเสริมสร้างให้กองทัพอาเซียนสามารถที่ จะใช้ประโยชน์จากทรัพยากรบุคคล ขีดความ สามารถด้านยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีจาก ประเทศต่างๆ ได้ รวมทั้งยังเป็นการสร้างความ ไว้เนื้อเชื่อใจของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา อีกทางหนึ่งด้วย การด� ำ เนิ น การข้ า งต้ น ยั ง มี อุ ป สรรคอี ก มากมาย ดังนัน้ รัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียน ควรให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหาต่างๆ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นเป็ น ล� ำ ดั บ แรก โดย เฉพาะความไม่ชดั เจนของเรือ่ งเขตแดน ปัญหา ด้านอื่นๆ กับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นปัจจัย เริ่มต้นของการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ และจะ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการน�ำพาเข้าสู่ความส�ำเร็จ ในระดับอาเซียน และในระดับภูมิภาคต่อไป โดยประเทศไทยนั้น ปัญหาต่างๆ กับประเทศ เพื่อนบ้านที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วนนั้น หากแก้ไขในระดับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ (Track I) แล้วไม่ส�ำเร็จ นักวิชาการต่างๆ (Track II) ของ ประเทศไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน ก็นา่ ทีจ่ ะได้ ร่วมมือกันในการแสดงแนวทางแก้ไขปัญหา ต่างๆ แล้วเสนอข้อมูลให้ Track I ด�ำเนิน การต่อไป ผมมีความคาดหวังว่า ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและจะเกิดเพิ่มมากขึ้นใน อนาคตของประเทศไทย จากการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนจะสร้างนักวิชาการ นักวิจัย พั ฒ นา นั ก วิ ท ยาศาสตร์ นั ก คณิ ต ศาสตร์ ผู้บริหารที่มีความสามารถในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียนและในระดับโลกเกิดขึ้น และหวังว่ากลุ่มบุคคลดังกล่าว จะสร้างความ ส�ำเร็จ ความเจริญรุ่งเรือง ความสงบสุข ให้กับ ประเทศไทย และภูมิภาคอื่นๆ ต่อไป ส�ำหรับ ในครั้งต่อไปนั้นจะได้กล่าวถึงการด�ำเนินการ ของกระทรวงกลาโหม ในการเตรี ย มการ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในเรื่องของ การปรับปรุงยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ ของกระทรวงกลาโหมในการรองรับการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ รวมทั้งแผน ปฏิบัติการ ๓ ปี กระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๖ ๒๕๕๘) ในการเตรียมการเป็นประธานอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เพื่อจัดเตรียมความพร้อมในทุก ด้าน รวมทั้งปัญหาข้อขัดข้องต่างๆ และความ ไม่เข้าใจของหน่วยปฏิบัติที่จะน�ำแผนดังกล่าว ลงสู่ภาคปฏิบัติอีกด้วย
การเป็นประชาคมอาเซียน (ASEANCommunity) มีเจตจำ�นงให้อาเซียน เป็นภูมภิ าคทีม่ สี นั ติสขุ รักษาสันติภาพ และดำ�รงความเป็นกลาง มีวิธีการ ร่วมแก้ไขข้อพิพาท ลดความขัดแย้ง โดยสันติวิธี และมีเสรีทางการค้า โดยทุกประเทศในประชาคมจะให้ ความร่วมมือกันและดำ�เนินกิจกรรม ของอาเซียนในทุกรูปแบบ
17
การประชุมนานาชาติเพือ่ พัฒนาแนวทางการปฏิบตั งิ านร่วม ในการบรรเทาสาธารณภัยระหว่างพลเรือนและทหาร ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
รั
ฐมนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ได้ กรุณาอนุมัติให้จัดการประชุมสัมมนา เชิงปฏิบัติการนานาชาติ เรื่อง “การ พัฒนาแนวทางการบรรเทาสาธารณภัยร่วม ระหว่าง กห. กับองค์กรภาคประชาสังคม” โดยให้ สป. เป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบ ด� ำ เนิ น การจั ด การประชุ ม ฯ ซึ่ ง การประชุ ม สัมมนาเชิงปฏิบัติการนานาชาติฯ ดังกล่าว ประกอบด้ ว ยการประชุ ม ๒ ครั้ ง ดั ง นี้ ครั้งที่ ๑ เป็นการประชุมนานาชาติเพื่อพัฒนา แนวทางการปฏิ บั ติ ง านร่ ว มในการบรรเทา สาธารณภัยระหว่างพลเรือนและทหาร ระยะ เวลา ๑ วัน ซึ่งได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๓๐ เม.ย.๕๖ ณ ศาลาว่าการกลาโหม และครั้งที่ ๒ การ ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการนานาชาติ เรื่อง การพัฒนาแนวทางการบรรเทาสาธารณภัย ร่วม ระหว่าง กห.ไทย กับ กห.อาเซียน และ องค์กรภาคประชาสังคม ระยะเวลา ๓ วัน ซึ่งวางแผนไว้ประมาณปลายปีนี้ การจัดการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ นานาชาติฯ ดังกล่าว จะเป็นการเตรียมความ พร้อมของ กห. ต่อการก้าวสูก่ ารเป็นประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ ซึง่ จะต้องมีการปฏิบตั งิ าน ร่วมกันระหว่างพลเรือนและทหารในหลาย มิติ เพื่อให้เกิดความมั่นคงในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ด้ า นภั ย พิ บั ติ โดยผลที่ จ ะได้ รั บ จากการจั ด การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารนานาชาติฯ นี้ จะน�ำไปสู่การจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติงาน ร่ ว มกั น ระหว่ า งพลเรื อ นและทหารในการ บรรเทาสาธารณภัย โดยมุ่งเน้นที่สาธารณภัย ขนาดใหญ่ทมี่ ผี ลกระทบร้ายแรงอย่างยิง่ ซึง่ จะ ท�ำให้การปฏิบตั ติ ามเอกสารแนวความคิดเรือ่ ง “ความร่วมมือระหว่าง กห.อาเซียน กับองค์กร 18
ภาคประชาสังคม ในด้านความมั่นคงรูปแบบ ใหม่” ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้เสนอ และได้มีการ รับรองในการประชุม รมว.กห.อาเซียน ครัง้ ที่ ๓ เมื่อ ก.พ.๕๒ เกิดผลเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น การประชุมนานาชาติเพื่อพัฒนาแนวทาง การปฏิบัติงานร่วมในการบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างพลเรือนและทหารในวันที่ ๓๐ เม.ย. ๕๖ นี้ ถือเป็นก้าวแรกที่ส�ำคัญในการพัฒนา เครือข่ายความร่วมมือระหว่างพลเรือนและ ทหารซึ่งมีเป้าหมายร่วมกันในการช่วยเหลือ และบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนที่ ประสบภัยให้เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งกับชีวิต และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชนให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด โดยเหตุ ผ ลที่ ว ่ า บทเรี ย นจากมหาอุ ท กภั ย ที่ ประเทศไทยได้รับในปี ๒๕๕๔ ซึ่งสร้างความ สูญเสียอย่างมากให้กับประเทศไทยทั้งในภาค การเกษตร อุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีจังหวัดที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจ�ำนวน ๖๕ จังหวัด และประชาชน ประมาณ ๑๒ ล้านคน ซึ่งธนาคารโลกได้ประเมินความเสีย หายไว้ประมาณ ๑.๔๔ ล้านล้านบาท และจัด ให้เป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายมากที่สุด เป็นอันดับที่สี่ของโลก ท�ำให้ประเทศไทยต้อง ประเมินความพร้อมและประสิทธิภาพในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของทุกภาค ส่วน ซึ่งข้อเท็จจริงที่ทุกฝ่ายเห็นพ้องกันว่าเป็น ปัจจัยหลักที่ส�ำคัญคือ ความมีประสิทธิภาพ ในการท�ำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ ความมี เอกภาพในการบังคับบัญชา และที่ส�ำคัญคือ การประสานงานทัง้ ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน รวมถึงภาคประชาชน ท�ำให้การจัดการภัยพิบตั ิ ขาดประสิทธิภาพ และการช่วยเหลือประชาชน ในพื้นที่ประสบภัยไม่ทั่วถึงและซ�้ำซ้อนกัน
กระทรวงกลาโหมในฐานะหน่วยงานสนับสนุน หลักตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ ตระหนักว่าการพัฒนาความร่วมมือ ระหว่ า งพลเรื อ นกั บ ทหารในการบรรเทา สาธารณภัย จะเป็นการเสริมสร้างประสิทธิภาพ ในการจั ด การสาธารณภั ย ของประเทศไทย จึงได้พิจารณาการจัดการประชุมนานาชาติฯ ในวันนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของ ประเทศไทย ต่อการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบ ใหม่ ด ้ า นภั ย พิ บั ติ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของการจั ด การประชุ ม นานาชาติ ฯ ครั้ ง นี้ คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ ด้านการบรรเทาสาธารณภัยระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่มีที่ ตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งจะน�ำไปสู่การจัดท�ำ คู่มือการปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนและ ทหารในการบรรเทาสาธารณภัยต่อไป ผู้เข้าร่วมการประชุมนานาชาติฯ ประกอบ ด้ ว ย ผู ้ แ ทนหน่ ว ยงานภายใน กห. ผู ้ แ ทน หน่วยงานนอก กห. ผู้แทนภาคเอกชน ผู้แทน องค์กรภาคประชาสังคม และองค์การระหว่าง ประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย และผู้แทน สน.ผชท.ทหารต่างประเทศ/กรุงเทพฯ รวม จ�ำนวนประมาณ ๑๐๐ คน โดยมี ผอ.สนผ.กห.
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
เป็นประธานพิธีเปิด และพิธีปิดการประชุม นานาชาติฯ การบรรยายเรื่อง “การจัดการสาธารณภัย: การประสานงานและการปฏิ บั ติ ง านร่ ว ม ระหว่างพลเรือนกับทหาร” โดย คุณลุค สตีเวนส์ ผู ้ ป ระสานงานแห่ ง องค์ ก ารสหประชาชาติ ประจ�ำประเทศไทย คุณเซบาสเตียน โรดส์ แสตมปา เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานระหว่างพลเรือน กับทหารในภูมภิ าคขององค์การสหประชาชาติ และ พล.จ.พาเมลา มิลิแกน ผู้อ� ำนวยการ ศูนย์เพื่อความเป็นเลิศด้านการช่วยเหลือทาง มนุษยธรรมและการจัดการสาธารณภัย สรุป สาระส�ำคัญได้ดังนี้ ๑) การประสานงานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คื อ หั ว ใจของความส� ำ เร็ จ ในการตอบโต้ ต ่ อ สาธารณภั ย และการเตรี ย มพร้ อ มที่ ดี เ ป็ น ปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการลดผลกระทบทีอ่ าจจะเกิด ขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ๒) ความส�ำคัญของการประสานงานที่ดี ระหว่างพลเรือนกับทหาร เป็นการเพิม่ บทบาท ของทหารในการตอบโต้ต่อสาธารณภัย และ การลดช่องว่างในการปฏิบัติการ ๓) ความท้าทายในการประสานงานระหว่าง พลเรือนกับทหาร ได้แก่ ทักษะหรือขีดความ สามารถในการประสานงาน ความเข้ า ใจที่ ตรงกันและร่วมกัน ความซ�้ำซ้อนในการปฏิบัติ และการมุ่งเน้นผลงานขององค์กรมากกว่าการ จัดการสาธารณภัยในภาพรวม ๔) หลักการปฏิบัติในการช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมและการบรรเทาสาธารณภัย ที่ สองฝ่ายควรยึดถือและปฏิบัติ ได้แก่ ต้องมี มนุษยธรรม ต้องเป็นกลาง และต้องปราศจาก อคติ ๕) บทเรี ย นที่ ไ ด้ รั บ จากการปฏิ บั ติ ง าน ร่ ว มระหว่ า งพลเรื อ นกั บ ทหารของกองทั พ สหรัฐอเมริกาในการบรรเทาสาธารณภัยกรณี เฮอริ เ คนแซนดี้ และกรณี แ ผ่ น ดิ น ไหวและ สึ น ามิ ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น ได้ แ ก่ การฝึ ก ซ้ อ ม ร่วมกันระหว่างพลเรือนกับทหารยังไม่ดีพอ การแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างกันยังไม่ตอ่ เนือ่ ง หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
เพราะผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านขาดความตระหนั ก ใน สถานการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้น ปัญหาเรื่อง การจัดการสารสนเทศ และการให้ความส�ำคัญ ในการแสดงภาพสถานการณ์ ร ่ ว มระหว่ า ง พลเรือนกับทหาร เป็นต้น ๖) กองทัพสหรัฐอเมริกาจะใช้กำ� ลังทหาร ในการปฏิบัติการช่วยเหลือทางมนุษยธรรม และการบรรเทาสาธารณภั ย ในกรณี ต ่ า งๆ ดังนี้ ๑) เมื่อมีความจ�ำเป็นต้องใช้ขีดความ สามารถและการบริ ก ารที่ เ จาะจง ๒) เมื่ อ จ�ำเป็นต้องเพิ่มขีดความสามารถในการตอบโต้ ต่อสาธารณภัย และ ๓) เมื่อหน่วยงานภาค พลเรือนขอรับการสนับสนุน โดยมีเงื่อนไขที่ ส�ำคัญดังนี้ ๑) จะต้องระบุภารกิจที่ชัดเจน ๒) ภารกิจทีไ่ ด้รบั ต้องมีระยะเวลาสัน้ และ ๓) การ รับภารกิจเพิ่มเติมระหว่างเข้าปฏิบัติงานนั้น ควรมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ ๗) แนวความคิดร่วมกันที่ส�ำคัญระหว่าง พลเรือนกับทหารในการบรรเทาสาธารณภัย คือการแบ่งปันข้อมูล และความพยายามใน การรักษาสมดุลระหว่างการควบคุมและบังคับ บัญชา กับการปฏิบัติงานร่วมกันและความ เห็นพ้องร่วมกัน การบรรยาย เรื่อง ขีดความสามารถและ ศักยภาพขององค์กรภาคประชาสังคม สรุปได้ ดังนี้ ๑) ผู ้ แ ทนองค์ ก รภาคประชาสั ง คมที่ ไ ด้ แลกเปลีย่ นข้อมูล ประสบการณ์ และความคิดเห็น มีดังนี้ ๑.๑) ผู ้ แ ทนหน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ ได้แก่ กฟน., กฟภ., กฟผ., กปน., กปภ. และ การท่าเรือกรุงเทพฯ ๑.๒) ผู ้ แ ทนบริ ษั ท เอกชน ได้ แ ก่ บมจ.ปูนซีเมนต์ไทย บมจ.ปตท. บมจ.เครือ เจริญโภคภัณฑ์ และ บมจ.ทีโอที จ�ำกัด ๑.๓) ผู ้ แ ทนสื่ อ สารมวลชน คื อ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ แห่งประเทศไทย (TPBS) ๑.๔) ผู้แทนมูลนิธิสาธารณกุศลและ สถาบันด้านบรรเทาสาธารณภัย ได้แก่ มูลนิธิ
ราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธกิ ระจกเงา มูลนิธสิ นั ติชน สภากาชาดไทย มูลนิธิ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัน สถาบัน การแพทย์ ฉุ ก เฉิ น และมู ล นิ ธิ ค าทอลิ ก สงเคราะห์ผู้ประสบภัยและผู้ลี้ภัย ๑.๕) ผูแ้ ทนองค์การระหว่างประเทศ ได้ แ ก่ กองทุ น เพื่ อ เด็ ก แห่ ง สหประชาชาติ องค์ ก ารอนามั ย โลก ส� ำ นั ก งานเพื่ อ การ ประสานงานกิ จ การทางมนุ ษ ยธรรมแห่ ง องค์การสหประชาชาติ สหพันธ์กาชาดและ สภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ องค์กร พิทักษ์สัตว์แห่งโลก และสภากาชาดสากล ๒) องค์กรต่างๆ ได้กล่าวถึงประสบการณ์ ในการช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยจาก สาธารณภัยต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและต่าง ประเทศตามศักยภาพและขีดความสามารถ ขององค์กร โดยทุกองค์กรเห็นความส� ำคัญ ของการจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติงานร่วมใน การบรรเทาสาธารณภัยระหว่างพลเรือนกับ ทหาร และมี ค วามยิ น ดี ที่ จ ะสนั บ สนุ น กห. ในการจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติงานดังกล่าว นอกจากนี้ยังเน้นย�้ำถึงการส่งเสริมความรู้ให้ กั บ ประชาชน และพั ฒ นาให้ ชุ ม ชนมี ค วาม เข้ ม แข็ ง และพร้ อ มรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ สาธารณภัยต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในพืน้ ทีท่ ตี่ นเอง อยู่อาศัย ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนึ่งในการลดความ สูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชนได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ กห. ได้ ข อเชิ ญ ชวนผู ้ แ ทน องค์กรต่างๆ เข้าร่วมการประชุมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการนานาชาติฯ ในช่วงปลายปีนี้ และ ร่วมเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างคู่มือการ ปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนกับทหารใน การบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งได้แจกไปในการ ประชุมด้วย โดยทั้งนี้องค์กรที่สนใจสามารถ ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่าง พลเรือนและทหารได้ทางเว็บไซต์ www.mod. go.th/civ-mil/ 19
การดำ�เนินงาน
ด้านระบบก๊าซชีวภาพ ของกรมการพลังงานทหาร กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
ก๊
าซชี ว ภาพ (Biogas) คื อ ก๊ า ซ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการหมั ก ย่ อ ยสลาย ของสารอินทรีย์ด้วยวิธีทางชีววิทยา (Biological Treatment) ภายใต้ ส ภาวะ ไร้ อ ากาศ (Anaerobic Condition) องค์ ประกอบหลั ก ของก๊ า ซชี ว ภาพโดยทั่ ว ไปจะ ได้แก่ ก๊าซมีเทน (CH4) ประมาณ ๖๐-๗๐ % ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ (CO 2) ประมาณ ๒๘-๓๘ % และก๊าซอื่นๆ ประมาณ ๒ % เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไนโตรเจน (N2) และ ไอน�ำ้ เป็นต้น เนือ่ งจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นก๊าซที่คงตัวและไม่ติดไฟ ดังนั้นคุณสมบัติ ของก๊าซชีวภาพที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้จึงขึ้นอยู่ กับปริมาณของก๊าซมีเทน ก๊าซชีวภาพเกิดจาก กระบวนการการย่อยสลายของวัสดุอินทรีย์ ทั้งจากพืช สัตว์ หรือแม้แต่ของเสียจากสัตว์ รวมถึ ง ขยะมู ล ฝอยที่ เ ป็ น ขยะอิ น ทรี ย ์ โดย กระบวนการย่ อ ยสลายทั้ ง หมดเกิ ด ขึ้ น จาก การท�ำงานของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ในสภาวะ ที่ไร้อากาศ ก๊าซชีวภาพสามารถเกิดขึ้นได้เอง ตามธรรมชาติ ถ ้ า มี ส ภาพที่ เ หมาะสม หรื อ เกิดขึน้ ในระบบผลิตก๊าซ กล่าวคือเมือ่ ไหร่กต็ าม ที่มีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นเวลานานก็จะ เกิดก๊าซชีวภาพ การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ เป็น หนึ่ ง ในเทคโนโลยี ด ้ า นพลั ง งานทดแทนที่ มี ศักยภาพสูง โดยเฉพาะในประเทศไทยที่เป็น ประเทศเกษตรกรรม ซึ่งสามารถด�ำเนินการ ได้ในแหล่งชุมชนที่มีของเสียจากการเกษตร หรือขยะอินทรีย์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ ก๊าซชีวภาพคือพลังงานความร้อนที่ใช้ในการ หุงต้มหรือใช้เป็นแสงสว่าง รวมทั้งช่วยคัดแยก ขยะอินทรีย์ออกจากขยะอนินทรีย์ ท�ำให้ง่าย
20
ต่อการขนย้ายและการท�ำลาย และเป็นการ ใช้ประโยชนจากของเสียในชุมชนด้วยการช่วย ลดปัญหามลพิษจากกลิ่น และช่วยลดการเกิด ภาวะโลกร้อนจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ ที่ท�ำให้เกิดก๊าซมีเทนสะสมในชั้นบรรยากาศ ดั ง นั้ น การผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพจากขยะอิ น ทรี ย ์ จึงเหมาะสมส�ำหรับน�ำมาใช้งานในหน่วยงาน ราชการหรือชุมชน เพือ่ เป็นแหล่งผลิตพลังงาน ความร้อนส�ำหรับทดแทนเชือ้ เพลิงจากฟอสซิล ซึ่งมีจ�ำนวนลดน้อยลงทุกวัน ซึ่งนโยบายด้าน พลังงานทดแทนของรัฐบาลยุคปัจจุบันมีการ ส่งเสริมการผลิต การใช้ ตลอดจนการวิจัยและ พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดยตั้งเป้าหมายให้สามารถทดแทนเชื้อเพลิง ฟอสซิลได้อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ภายใน ๑๐ ปี กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้ อ งกั น ประเทศและพลั ง งานทหาร เป็ น หน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม มีบทบาท ในภารกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับด้านพลังงานในรูปแบบ ต่างๆ ของกระทรวงกลาโหม ส�ำหรับงานด้าน พลั ง งานทดแทน กรมการพลั ง งานทหารฯ มีหน้าทีใ่ นการด�ำเนินการวิจยั พัฒนา เสนอแนะ ติ ด ตามเทคโนโลยี ประสานความร่ ว มมื อ ทัง้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพือ่ น�ำพลังงาน ทดแทนมาใช้ประโยชน์ในราชการทหารและ
อื่นๆ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของพลังงาน ทดแทน โดยเฉพาะด้านก๊าซชีวภาพซึ่งจะเป็น แหล่งพลังงานส�ำคัญให้กบั กองทัพและประเทศ ในอนาคต จึงได้ออกแบบและผลิตระบบผลิต ก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ขนาด ๒,๐๐๐ ลิตร โดยสามารถติดตั้งใช้งานได้ภายในชุมชน หรื อ ในหน่ ว ยทหารที่ มี ข ยะอิ น ทรี ย ์ ซึ่ ง เป็ น วัตถุดิบในการผลิตก๊าซชีวภาพ ระบบผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพจากขยะอิ น ทรี ย ์ ที่ กรมการพลังงานทหารฯ ถูกออกแบบให้ มีปริมาตรความจุของถังหมัก ขนาด ๒,๐๐๐ ลิตร ตัวถังหมักท�ำจากวัสดุที่มีความเหนียว และยืดหยุ่น ทนต่อสารเคมี และมีโครงเหล็ก รัดตัวถังหมักโดยรอบส�ำหรับช่วยคงรูปตัวถัง หมัก เมื่อมีการขยายตัวของถังขณะมีการเกิด
กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
ก๊าซชีวภาพขึ้นภายใน องค์ ป ระกอบหลั ก ของระบบผลิ ต ก๊ า ซ ชีวภาพจากขยะอินทรีย์ ประกอบด้วย ๑) หัวเตาก๊าซชีวภาพ ท�ำหน้าที่ น�ำก๊าซ ชีวภาพไปใช้งานในการหุงต้ม ๒) ถังเก็บก๊าซ ท�ำหน้าที่ เก็บก๊าซชีวภาพ ทีถ่ กู ผลิตขึน้ ภายในถังหมักโดยมีปริมาตรความ จุ ๑๕๐ ลิตร เก็บก๊าซด้วยวิธีการแทนที่น�้ำ โดย ปริมาณน�้ำที่เติมควรรักษาระดับให้คงที่ตาม เส้นสีแดงที่แสดงไว้ที่ข้างถัง ๓) ถังดักน�้ำ ท�ำหน้าที่ ดักน�้ำที่มากับก๊าซ ในท่อส่งก๊าซจากถังเก็บก๊าซชีวภาพ เพื่อให้ ก๊าซไหลไปยังหัวเตาได้สะดวก ๔) ถังหมักก๊าซชีวภาพ ท�ำหน้าที่ หมัก เศษอาหารเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ๕) ถั ง จ่ า ยก๊ า ซชี ว ภาพ ท� ำ หน้ า ที่ เก็บกักก๊าซชีวภาพและจ่ายก๊าซมาสู่หัวเตา เพื่อใช้งาน ๖) ปั๊มอัดก๊าซชีวภาพ ท�ำหน้าที่ อัดก๊าซ ชีวภาพที่ได้จากการหมักอัดเข้าสู่ถังจ่ายก๊าซ ชีวภาพ ปี ๒๕๕๕ กรมการพลังงานทหารฯ ได้ผลิต และติดตัง้ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพขนาด ๒,๐๐๐ ลิตรดังกล่าว สนับสนุนให้กับหน่วยทหารใน พื้นที่ กองทัพภาคที่ ๑, กองทัพภาคที่ ๓ และ สถาบันการศึกษา (วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร) แล้วจ�ำนวน ๓๕ ระบบ จากการประเมินผลการใช้งานระบบผลิตก๊าซ ชีวภาพฯ ดังกล่าวจากหน่วยทหารและสถาบัน การศึกษาพบว่าระบบผลิตก๊าซชีวภาพสามารถ ใช้งานได้ดีท�ำให้ประหยัดค่าเชื้อเพลิงในการ หุงต้มได้ส่วนหนึ่ง จากความส�ำเร็จที่ด�ำเนินการในปี ๒๕๕๕ กรมการพลังงานทหารฯ จะท�ำการผลิตและ ติดตั้งระบบผลิตก๊าซชีวภาพขนาด ๒,๐๐๐ ลิ ต ร สนั บ สนุ น ให้ กั บ หน่ ว ยทหารในพื้ น ที่
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
กองทัพภาคที่ ๒ อีกจ�ำนวน ๓๕ ระบบ ใน ปี ง บประมาณ ๕๖ นอกจากนี้ ยั ง ได้ จั ด ท� ำ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (โดยกรมการพลังงาน ทหารฯ) และจังหวัดนครนายก เพื่อร่วมมือ สนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ในการน� ำ พลั ง งาน ทดแทนก๊ า ซชี ว ภาพมาใช้ ป ระโยชน์ โดย กรมการพลังงานทหารฯ จะสนับสนุนในการ ประกอบ ผลิต ติดตั้ง และพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยีของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ รวมทั้ ง การสนั บ สนุ น การฝึ ก อบรมบุ ค ลากร ให้มีความรู้ความช�ำนาญสามารถผลิตและน�ำ พลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพมาใช้ประโยชน์ ได้ดี การจัด ท� ำ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ฯ ดั ง กล่ า วนอกจากจะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ สนั บ สนุ น ให้ จั ง หวั ด นครนายกเป็ น ต้ น แบบ จังหวัดอัจฉริยะตามนโยบายของรัฐบาลแล้ว
ยั ง เป็ น การแสดงเจตนารมณ์ ร ่ ว มกั น ในการ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ห น่ ว ยทหารรวมทั้ ง ประชาชนได้ มี ค วามรู ้ เ รื่ อ งพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพและสามารถผลิตก๊าซชีวภาพมา ใช้ในการหุงต้มอาหารได้เอง ซึ่งเป็นการพัฒนา คุณภาพชีวติ ขัน้ พืน้ ฐานพร้อมกับการมีพลังงาน ใช้ อ ย่ า งพอเพี ย งและยั่ ง ยื น ร่ ว มกั น ระหว่ า ง ทหาร ภาครัฐ และประชาชน
21
Move That Gas
ภารกิจการส่งกำาลังบำารุงนำ้ามันที่ท้าทายที่สุด ภารกิจหนึ่งในโลก “กองทัพสหรัฐฯ มีความต้องการนำ้ามันเชื้อเพลิง มากถึง ๔๖,๐๐๐ ล้านแกลลอนต่อปี ใครคือ ผู้รับผิดชอบเรื่องยิ่งใหญ่อันนี้” “หน่วยสนับสนุนการรบหรือทหารส่งกำาลังบำารุง พวกเขาจะทำาทุกวิถีทางที่จะสนับสนุนภารกิจ ทางยุทธการให้บรรลุภารกิจ” จาก : Air Force Magazine, September 2010 ผู้เขียน : Otto Kreisher ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
๒๒
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ก่
อนที่ น�้ า มั น จะไหลเข้ า สู ่ ถั ง เชื้ อ เพลิ ง ของเครื่องบินของ ทอ.สหรัฐฯ ทั้งจาก การบริการของภาคพืน้ หรือจากเครือ่ งบิน เติมเชื้อเพลิงกลางอากาศนั้น กระบวนการ เกิดขึ้นเหล่านี้เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและบางครั้ง ก็แฝงไปด้วยอันตราย ระบบการจัดหาน�้ามัน เพื่อป้อนให้กองก�าลัง ทอ.สหรัฐฯ ทั่วโลกนั้น มี ห น่ ว ยงานที่ เ ป็ น ตั ว แทนของกองทั พ และ ท� า หน้ า ที่ บั ง คั บ บั ญ ชาเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารจั ด การ โดยมี ก� า ลั ง พลปฏิ บั ติ ง านมาจากอย่ า งน้ อ ย สามเหล่าทัพ โดยประสานงานกับบริษทั คูส่ ญ ั ญา ในการจัดหาน�้ามันที่มีอยู่ทั่วโลกในทุกระดับ ของการจัดหา และทุกแห่งหนทีใ่ กล้ทสี่ ดุ ส�าหรับ การขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นระบบท่อบนดินและ ใต้ดิน, เรือน�้ามัน, รถไฟ, รถบรรทุก, เครื่องบิน หรือแม้กระทั่งเฮลิคอปเตอร์ ความท้าทายของธุรกิจอันนี้มาจากความ ใหญ่โตและกว้างขวางของธุรกรรมในตัวมันเอง กลาโหมสหรัฐฯ เป็นลูกค้าน�้ามันรายใหญ่ที่สุด ในโลกแต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น ทุกปีจะต้องมี ค่าใช้จ่ายเป็นจ�านวน ๒๐๐,๐๐๐ ล้านเหรียญ ส�าหรับน�้ามัน ๔๖,๐๐๐ ล้านแกลลอน เพื่อ หล่อเลี้ยงกองก�าลังสหรัฐฯ ทั่วโลก ส�าหรับ ทอ.สหรั ฐ ฯ มี ป ริ ม าณการใช้ ม ากถึ ง ๕๒ เปอร์ เ ซ็ น ต์ หรื อ ประมาณ ๒๔,๐๐๐ ล้ า น แกลลอนต่อปี ภาระอันหนักหน่วงทั้งหมดนี้ ตกอยู่ที่ศูนย์บัญชาการกลางสหรัฐฯ (The US Central Command : USCC) ซึ่งต้องดูแล กองก� า ลั ง ของสหรั ฐ ฯทั้งหมดรวมถึงบริเวณ ที่มีความขัดแย้งใหญ่ๆ สองแห่งคืออิรักและ อัฟกานิสถาน โดยเฉพาะในอัฟกานิสถานนั้น การขนส่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยความยากล� า บากและ อันตราย ซึ่งก็จะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้กับ ทหารอเมริกันด้วย ในย่านแปซิฟิคที่เวิ้งว้าง หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
และกว้างใหญ่นั้นอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ โดยตรงของศูนย์บัญชาการภาคพื้นแปซิฟิค (PCAF) ส่วนศูนย์บัญชาการ ทอ.สหรัฐฯ ใน สมรภู มิ อิ รั ก และอั ฟ กานิ ส ถานนั้ น มี ป ริ ม าณ การใช้น�้ามันทุกประเภทรวมกันเป็นครึ่งหนึ่ง ของที่ ทอ.สหรัฐฯ ใช้ทั้งหมดหรือเป็นจ�านวน ๑๒,๐๐๐ ล้านแกลลอนต่อปี บุคคลที่เป็นตัวจักรส�าคัญในภารกิจเหล่านี้ คือ นักส่งก�าลังบ�ารุงชั้นยอดเพียงแค่ไม่กี่พัน คนของ ทอ.สหรัฐฯ และพลเรือนรวมกัน เขา เหล่านี้มีความช�านาญเป็นอย่างยิ่งในการคิด ค�านวณความต้องการและวิธีการในการขนส่ง POL (Petroleum, Oil and Lubricants) เพือ่ ให้ถงึ ทีห่ มายทันความต้องการทางยุทธการ ทั้ ง สามมิ ติ ห ลั ก ของการส่ ง ก� า ลั ง บ� า รุ ง คื อ
เพียงพอ, ทันเวลา และต่อเนื่อง โดยที่พวกเขา มี ค วามมั่ น ใจว่ า การจั ด ส่ ง POL ให้แก่กอง ก�าลังสหรัฐฯ แม้ว่าบางครั้งต้องข้ามแปซิฟิค ก็ตาม จะต้องไม่มีการรั่วไหล, ปนเปื้อนหรือ ขาดแคลนเป็นอันขาด โดยเฉพาะประการหลัง นี้เป็นเรื่องที่ท้าทายแบบสุดๆ ในอัฟกานิสถาน เนื่องจากความโหดร้ายแสนจะทุรกันดารของ ภูมิประเทศ ความหนาวเหน็บของภูมิอากาศ กระแสลมที่ แ รงและเย็ น อย่ า งเจ็ บ แสบและ การลอบโจมตีอย่างอ�ามหิตของนักรบตาลีบัน หรือ Al-Queda ประกอบกับระบบโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศนี้อยู่ในระดับที่มีเหมือน กั บ ไม่ มี แต่ ก็ ไ ม่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ หลั ก ความ พยายามของพวกเขาที่มีอยู่สูงมากพอๆ กับ หลักความสามารถของพวกเขา และที่นี่การ ส่งน�า้ มันจ�านวนมากจากอีกประเทศหนึง่ เข้ามา ในอัฟกานิสถานนั้น ส่วนใหญ่จะใช้วิธี GLOCS (Ground Lines of Communication System) ซึ่งมีความเสี่ยงน้อยที่สุด อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออก สู่ทะเล การส่งก�าลังบ�ารุงเกือบทุกอย่างเริ่มต้น ที่เมืองท่าที่การาจีของปากีสถาน ปลายทาง หลั ก ของสหรั ฐ ฯ ในเรื่ อ งก� า ลั ง บ� า รุ ง นั้ น คื อ เมือง Kandahar ซึง่ อยูห่ า่ งออกไป ๕๕๐ ไมล์โดย
๒3
ใช้เวลาในการเดินทางเหมือนไปอีกซีกโลกหนึง่ ประมาณสองสัปดาห์ และอีกที่หนึ่งคือฐานทัพ อากาศ Bagram อันเป็นที่มั่นของ ทอ.สหรัฐฯ ที่ใหญ่ที่สุดในอัฟกานิสถาน ซึ่งก็อยู่ห่างออก ไปทางเหนือ ๓๐๐ ไมล์ เส้นทางที่ไม่ยาวไกล และมีจดุ ต่อระยะการขนถ่าย แม้วา่ จะเต็มไปด้วย ความยากล�ำบากและอันตรายจากธรรมชาติ ของภูมิประเทศที่มหาโหดโดยเฉพาะบริเวณ ช่องแคบไคเบอร์หรือแม้กระทั่งจากภูมิอากาศ ก็ตาม แต่กไ็ ม่นา่ กลัวหรือเป็นปัญหามากเท่ากับ ที่ต้องเดินทางผ่านเขตอิทธิพลของตาลีบันและ Al-Queda เป็นเรื่องที่เกินกว่าจะเชื่อว่าในการ เดินทางเพื่อการส่งก�ำลังบ�ำรุงในแต่ละวันนั้น ต้องพบกับเรื่องราวมากมายตั้งแต่ แพหิมะ จ�ำนวนมาก ห่าฝนที่โหมกระหน�่ำ น�้ำท่วมที่ เอ่อล้นทะลัก ทะเลทรายที่แห้งแล้ง กระแส ลมแรงจนเนื้อตัวแทบฉีกขาด อากาศอันหนาว เหน็บ พื้นถนนที่ขรุขระและเต็มไปด้วยหินแข็ง ขอบเหวที่ลึกและชัน ซึ่งเป็นเรื่องที่สุดๆ กันทั้ง นั้น นอกจากนั้นอุปสรรคที่ต้องตื่นตัวระวังกัน ตลอดเวลาคือกับระเบิด (IED : Impovised Explosive Device) และการถูกลอบโจมตี จากกองโจรที่ห่มขาวเคราดกด�ำใช้ปืนไรเฟิล ตัง้ แต่สมัยสงครามต่อต้านการรุกรานของโซเวียต เรือ่ งเหลือเชือ่ เหล่านีท้ ำ� ให้ขบวนรถบรรทุกพัสดุ ส่งก�ำลังบ�ำรุงต้องหยุดเพื่อหลบภัยธรรมชาติ หรื อ ซ่ อ มกั น อยู ่ บ ่ อ ยๆ และหลายครั้ ง ก็ เ กิ ด การปะทะกันซึ่งหน้าก็มี ซึ่งการสูญเสียชีวิต ของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นคนปากีสถานหรืออัฟกัน ในท้ อ งถิ่ น ในกรณี นี้ ตามสถิ ติ ที่ ร วบรวม ตั้งแต่ปี ๒๐๐๓ จะมีการเสียชีวิตหนึ่งคนของ ทุกขบวนคาราวานรถบรรทุกน�้ำมัน ๒๔ คัน 24
พร้อมกันนั้นบริษัทคู่สัญญาการส่งก�ำลังบ�ำรุง ของสหรัฐฯ ไม่วา่ จะเป็นบริษทั ของชาวปากีสถาน หรื อ ชาวอั ฟ กั น จะต้ อ งจ่ า ยค่ า คุ ้ ม ครองปี ล ะ หลายล้ า นเหรี ย ญให้ แ ก่ ก ลุ ่ ม กองโจรอั ฟ กั น หรื อ อาจจะเป็ น ตาลี บั น เองก็ เ ป็ น ไปได้ เ พื่ อ รับประกันความปลอดภัยในเส้นทาง ซึ่งค่า ใช้ จ ่ า ยนี้ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ต ้ น ทุ น โดยตรงของบริ ษั ท แต่อย่างใด จากปัญหามากมายของการส่งก�ำลังบ�ำรุง จากเมืองท่าการาจี สหรัฐฯ จึงได้ลงทุนเสริมการ ส่งก�ำลังบ�ำรุงใหม่โดยมาจากประเทศในเอเชีย กลางที่เมือง Manas ประเทศ Kyrgyzstan ทางตอนเหนือของปากีสถานทั้งทางรถไฟและ เครื่องบิน แต่ปัญหาก็มีอยู่บ้างจากการต่อต้าน
หรือข่มขู่จากกลุ่มการเมืองที่ไม่ลงรอยกันใน Kyrgyzstan และความไม่พอใจของรัสเซียที่ สหรัฐฯเข้ามาเพ่นพ่านในเขตอิทธิพลของตน ในการนีท้ ำ� ให้สหรัฐฯ ต้องมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ มา ปีละ ๑๐๐ ล้านเหรียญเป็นค่าเช่าศูนย์ส่งก�ำลัง บ� ำ รุ ง และจั ด หาน�้ ำ มั น ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานของ รัฐบาล Kyrgyzstan ที่มาจากการปฏิวัติยึด อ�ำนาจเมื่อเดือน เม.ย.๒๐๑๐ โดยรัฐบาลได้ จัดตั้งขึ้นมาเพื่อดูแลเรื่องนี้โดยเฉพาะ เพือ่ ไม่ให้ขาดความต่อเนือ่ งของ POL หน่วย ส่งก�ำลังบ�ำรุงกลาโหมสหรัฐฯ (DLA : Defense Logistics Agency) ท�ำข้อตกลงรับประกันการ ได้รับน�้ำมันล่วงหน้าจากโรงกลั่นถึงสามเดือน รวมถึ ง ธุ ร กิ จ น�้ ำ มั น ด้ า นอื่ น ที่ น อกเหนื อ จาก นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
โรงกลั่นน�้ำมัน ส�ำหรับการคิดค่าใช้จ่ายน�้ำมัน ของ ทอ.สหรัฐฯ นั้นจะเริ่มขึ้นทันทีที่เติมน�ำ้ มัน ให้กบั เครือ่ งบินของ ทอ.สหรัฐฯ ด้วยระบบการ คืนเงินอัตโนมัติผ่านบัตร AIR Card (Aviation into Plane Reimbursement) ศูนย์บัญชาการภาคพื้นแปซิฟิค (PCAF) มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ งการส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง น�้ำมันในภาคพื้นแปซิฟิคทั้งหมดโดยมีฐานทัพ สหรัฐฯอยู่ ๑๐ ฐานใหญ่ๆ กระจายกันอยู่ใน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น เกาะเวค ฮาวาย อลาสกา และกวมซึ่งเป็นฐานปฏิบัติการส่งก�ำลังบ�ำรุงที่ ใหญ่ที่สุด สามารถส�ำรองน�้ำมันได้มากถึง ๖๖ ล้านแกลลอน จากบางส่วนของความยากล�ำบากของการ ส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง เรื่ อ งน�้ ำ มั น ของสหรั ฐ ฯ ใน
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
อัฟกานิสถานแต่เพียงเรื่องเดียวนี้ โดยที่ยังไม่ ได้นำ� งานด้านอืน่ ของการส่งก�ำลังบ�ำรุงทีต่ อ้ งใช้ ความบากบั่นพยายามอย่างที่สุดไม่แพ้กันมา เผยแพร่ให้เป็นที่รับทราบกัน จะเห็นว่าการ ยุทธการและการส่งก�ำลังบ�ำรุงเป็นเรื่องที่ต้อง อยู ่ คู ่ กั น ไปตลอด นั ก ส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง ชั้ น ดี จึ ง ควรต้องมีความรู้ในการส่งก�ำลังบ�ำรุงให้มาก และมีความอดทนเป็นเลิศเนื่องจากต้องอยู่ใน สถานการณ์หรือสถานภาพทีเ่ ลือกไม่ได้ โดยเฉพาะ ในยามสงคราม พลังอ�ำนาจแห่งชาติในทุกด้าน จะเป็นประโยชน์และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ก็ ต ่ อ เมื่ อ มี กิ จ กรรมของการส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง ที่ หลักแหลมชาญฉลาดและไว้ใจได้เท่านั้น
บุคคลที่เป็นตัวจักรสำ�คัญในภารกิจ เหล่านี้คือ นักส่งกำ�ลังบำ�รุงชั้นยอด เพียงแค่ไม่กี่พันคนของ ทอ.สหรัฐฯ และพลเรือนรวมกัน เขาเหล่านี้มี ความชำ�นาญเป็นอย่างยิ่งในการคิด คำ�นวณความต้องการและวิธีการใน การขนส่ง POL (Petroleum,Oil and Lubricants) เพื่อให้ถึงที่หมาย ทันความต้องการทางยุทธการ
25
แนะนำ�อาวุธเพื่อนบ้าน ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทัพบกสิงคโปร์ออกแบบวิจัยพัฒนา ปืนเล็กยาวรุน่ ใหม่ เพือ่ จะน�ำเข้าประจ�ำ การแทนปืนเล็กยาวรุน่ เก่าแบบ เอ็ม-16 เอส 1 (M-16S1) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ประจ�ำ การมาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๑๖ (ซื้อลิขสิทธิ์มา ท�ำการผลิตภายในประเทศสิงคโปร์ รุน่ เอ็ม-16 เอ 1 จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ กระบอก เป็นรุ่นที่ กองทัพบกสหรัฐอเมริกาน�ำเข้าประจ�ำการใน กองทัพบกของหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ พร้อมทั้ง น�ำเข้าปฏิบตั กิ ารทางทหารในสงครามเวียดนาม ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๐๘-๒๕๑๘ เป็นเวลานาน ๑๐ ปี ทหารสหรัฐอเมริกาปฏิบตั กิ ารในสงครามเวียดนาม มีก�ำลังพลมากที่สุดรวม ๕๓๖,๑๐๐ คน และ ประเทศพันธมิตรหลักของสหรัฐอเมริการวม 26
๔ ประเทศ คื อ ออสเตรเลี ย , นิ ว ซี แ ลนด์ , เกาหลีใต้ และไทย ต่อมาน�ำเข้าประจ�ำการใน กองทัพจึงได้แพร่หลายอย่างรวดเร็วในกองทัพ พันธมิตรของสหรัฐอเมริกา) เป็นผลให้โรงงาน ของประเทศสิ ง คโปร์ มี ป ระสบการณ์ ใ นการ ผลิตปืนเล็กยาวพร้อมทัง้ มีความรูท้ กุ ด้านในการ ผลิตปืนเล็กยาวแบบ เอ็ม-16 เอส 1 การผลิต ชิ้นส่วนอะไหล่ การทดสอบขีดความสามารถ ของปืน และการควบคุมมาตรฐาน รวมทั้งการ ผลิตลูกกระสุนปืนเล็กยาว ขนาด ๕.๕๖ x ๔๕ มิลลิเมตร (ตามมาตรฐานนาโต้) เริม่ ต้นโครงการ วิ จั ย และพั ฒ นาขึ้ น ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ สร้ า ง ปืนเล็กยาวต้นแบบ พร้อมทั้งได้ท�ำการทดสอบ ขีดความสามารถทั้งทางด้านเทคนิคและทาง
ด้านยุทธวิธโี ดยบริษทั ซีไอเอส (CIS: Chartered Industries of Singapore จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ปัจจุบนั เปลีย่ นชือ่ เป็นบริษทั ST Kinetics ในปี พ.ศ.๒๕๔๓) มีชื่อเรียกปืนเล็กยาวรุ่นใหม่ ว่าแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21: Singapore Assault Rifle 21st) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 (SAR 21) เป็นปืน แบบบู ล ล์ พั พ (bull-pup) หมายถึงปืนที่มี ชุดพานท้ายปืนประกอบติดโดยตรงกับโครงปืน และปืนจะจัดวางอยู่ที่หน้าช่องบรรจุลูกปืน (เป็นแนวคิดออกแบบปืนเล็กยาวใหม่ ปัจจุบนั นี้ มีปืนเล็กยาวแบบบูลล์พัพที่น�ำเข้าประจ�ำการ ประกอบด้วยแบบ ฟามาส ของกองทัพฝรัง่ เศส, แบบแอล 85 เอ 2 กองทัพอังกฤษ และแบบ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ปืนเล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21: Singapore Assault Rifle 21st) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร แสดงในงานนิทรรศการ ยุทโธปกรณ์ป้องกันประเทศในระดับภูมิภาค และในระดับโลก ประเทศไทยน�ามาแสดงใน งานนิทรรศการป้องกันประเทศ (Defense & Security) เป็นประจ�าทุกครั้ง สไตเออร์ เอยูจี กองทัพออสเตรีย เป็นปืนที่มี ความยาวสั้นกว่าปืนเล็กยาวแบบเก่าดังนั้น สามารถใช้ปฏิบัติการในพื้นที่จ�ากัดได้ และ มีความสะดวกในการยิงภายใต้สิ่งปลูกสร้าง หรื อ ภายในอาคาร) ได้ น� า เข้ า ประจ� า การ ในกองทัพบกสิงคโปร์ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ เป็น ปืนเล็กยาวที่เทียบได้กับปืนเล็กยาวรุ่นเอ็ม-16 เอ 2 ของกองทั พ บกสหรั ฐ อเมริ ก า ต่ อ มา ได้ประจ�าการในกองทัพเรือและกองทัพอากาศ สิ ง คโปร์ จึ ง เป็ น ปื น เล็ ก ยาวมาตรฐานของ กองทัพสิงคโปร์ ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 หนัก ๓.๘๒ กิโลกรัม ขนาดยาว ๘๐๕ มิลลิเมตร ล�ากล้องยาว ๕๐๘
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
๒7
มิลลิเมตร อัตราการยิง ๔๕๐-๖๕๐ นัดต่อ นาที ความเร็วลูกกระสุน ๙๗๐ เมตรต่อวินาที (M-193) ระยะยิงหวังผล ๔๖๐ เมตร (M 193) ป้ อ นกระสุ น ด้ ว ยซองกระสุ น ชนิ ด ๓๐ นั ด บริษัทผู้ผลิตอาวุธน�ำปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 (SAR 21) แสดงในงานนิทรรศการยุทโธปกรณ์ ป้ อ งกั น ประเทศในระดั บ ภู มิ ภ าคและใน ระดั บ โลก ส� ำ หรั บ ประเทศไทยน� ำ มาแสดง ในงานนิทรรศการป้องกันประเทศ (Defense & Security) เป็นประจ�ำทุกครัง้ และทีศ่ นู ย์การ ทหารราบ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ปืนเล็กยาวแบบเอสเออาร์ 21 (SAR 21) มีการ
ผลิตออกมารวม ๘ รุน่ ทีส่ ำ� คัญคือรุน่ ปืนกลเบา (LMG) ท�ำการตั้งยิงบนขนทราย, รุ่นติดตั้ง เครือ่ งยิงลูกระเบิดขนาด ๔๐ มิลลิเมตร น�้ำหนัก ๕.๓ กิโลกรัม และรุ่นคาร์ไบ ขนาดยาว ๖๔๐ มิลลิเมตร น�ำ้ หนัก ๓.๐ กิโลกรัม ปัจจุบนั มียอด ผลิตกว่า ๑๕๐,๐๐๐ กระบอก กองทัพสิงคโปร์มที หารประจ�ำการ ๗๑,๐๐๐ คน และก�ำลังส�ำรอง ๓๕๐,๐๐๐ คน กองทัพบก สิงคโปร์มีกำ� ลังทหารประจ�ำการ ๓๕,๐๐๐ คน และก�ำลังส�ำรอง ๓๐๐,๐๐๐ คน จัดก�ำลังรบ เป็น ๓ กองพลผสม นอกจากนี้ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 ยังสามารถทีจ่ ะติดตัง้ อุปกรณ์เสริม เพื่อจะเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน ให้การยิงมีความแม่นย�ำมากที่สุด นอกจากนี้ กองทัพบกสิงคโปร์ยงั ได้นำ� กองพันด�ำเนินกลยุทธ เข้าร่วมท�ำการฝึกกับกองพันด� ำเนินกลยุทธ
กั บ ประเทศพั น ธมิ ต ร (พื้ น ที่ ฝ ึ ก และการยิ ง ด้วยลูกกระสุนจริง) ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา (การฝึกภาคสนามของกองพันทหารราบ รหัส Tiger Balm กับกองพลทหารราบที่ ๒๕ มลรัฐ ฮาวาย), นิวซีแลนด์ (การฝึกภาคสนามของ กองพันทหารปืนใหญ่ รหัส Thunder Warrior ค่ายไวโอรู เกาะเหนือ มีสนามฝึกทางทหาร ขนาดใหญ่), ออสเตรเลีย (การฝึกภาคสนาม ของกองพันรถถัง รหัส Matilda เมืองดาร์วิน), อิ น เดี ย (การฝึ ก ภาคสนามของกองพันยาน เกราะ รหัส Bold Kurukshetra) และไทย (การ ฝึกภาคสนามกองพันยานเกราะ รหัส Kocha Singa จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดปราจีนบุรี) เป็นผลให้ปนื เล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร เป็นอาวุธประจ�ำตัวของทหาร สิงคโปร์ได้รับการยอมรับเพิ่มมากขึ้น เทียบได้ กั บ ปื น เล็ ก ยาวที่ ป ระจ� ำ ตั ว ของทหารของ กองทัพบกประเทศพันธมิตร สิงคโปร์ได้ส่งออกให้กับกองทัพพันธมิตรที่ สนใจรวม ๕ ประเทศ ประเทศในอาเซียนที่น�ำ เข้าประจ�ำการคือ บรูไน และอินโดนีเซีย (หน่วย รบพิเศษของกองทัพอากาศ)
ปืนเล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ออกแบบและท�ำการ ผลิตจากประเทศสิงคโปร์
ทหารราบสิงคโปร์พร้อมด้วยปืนเล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร เป็นอาวุธประจ�ำกายของกองทัพสิงคโปร์ และหน่วยงานด้านความมั่นคงของประเทศ 28
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม
Defence Technology Institute (Public Organisation) Ministry of Defence, The Kingdom of Thailand
แสนยานุภาพทางทหาร บทสรุปความขัดแย้ง ในคาบสมุทรเกาหลี สถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
ผ่
านไปแล้ ว เป็ น เวลาเกื อ บ ๖๐ ปี ที่ สงครามเกาหลียุติลงในปี ค.ศ.๑๙๕๓ แต่ความตึงเครียดระหว่างสองประเทศ ยังคงคุกรุน่ อยูต่ ลอดเวลา อยูใ่ นเกณฑ์ลอ่ แหลม ที่ พ ร้ อ มจะลุ ก ลามขยายวงกว้ า งกลายเป็ น สงครามหลายครั้ง ดังเช่น เหตุการณ์ส�าคัญที่ เกาหลีเหนือได้ยงิ ปืนใหญ่โจมตีพนื้ ทีใ่ นเกาหลีใต้ และต่อมาในปี ค.ศ.๒๐๑๐ เรือรบ Cheonan ของเกาหลีใต้ได้ถูกจมลงด้วยตอร์ปิโด ดึงชีวิต ลูกเรือไปกว่า ๔๐ คน ลงสูก่ น้ ทะเล สถานการณ์ ได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เมื่อเกาหลีเหนือ ได้ทา� การยิงทดสอบขีปนาวุธข้ามทวีป และล่าสุด เกาหลีเหนือได้ประกาศสงครามกับเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา พร้อมกับขู่โจมตีฐานทัพ สหรัฐอเมริกา ที่ตั้งอยู่ในคาบสมุทรเกาหลีและ ญี่ปุ่น กลายเป็นกลิ่นอายของสงครามเกาหลี ครั้งใหม่ที่ก่อตัวขึ้น เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ เป็นสองประเทศมีขุมก�าลังอ�านาจทางทหารที่ เข้มแข็ง มียุทโธปกรณ์ที่มีแสนยานุภาพสูงเป็น จ�านวนมาก และทั้งสองประเทศต่างได้รับการ หนุนหลังจากประเทศมหาอ�านาจทางทหาร และทางเศรษฐกิจ ดังนัน้ การยัว่ ยุทางการเมือง และการข่มขูท่ างทหารของเกาหลีเหนือ ทีส่ ง่ ผล ให้กองทัพสหรัฐอเมริกาได้ปรับแนวตั้งรับและ เพิ่ ม ระดั บ ความพร้ อ มรั บ มื อ ภั ย คุ ก คามจาก เกาหลีเหนือในครั้งนี้ ภายใต้สถานการณ์ที่ถูก ปกคลุ ม ไปด้ ว ยหมอกของสงครามที่ ย ากต่ อ การคาดการณ์ว่าอะไรจะเกิดขึ้นต่อไป แต่การ วิเคราะห์สถานภาพทั่วไปด้านก�าลังรบและ แผนการปฏิบัติ (OPLAN) ระหว่างกองทัพ เกาหลีเหนือและก�าลังผสมระหว่างเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา อาจจะพอเป็นเครื่องมือใน การประมาณการในเบื้องต้นของผลลัพธ์ที่จะ ตามมาได้ ภายหลังจากสงครามเกาหลีได้ยตุ ลิ ง ทัง้ สอง ประเทศถู ก กั้ น ด้ ว ยเขตปลอดทหารหรื อ Demilitarised Zone (DMZ) ท�าหน้าที่เป็น เส้นแบ่งเขตแดน มีความยาว ๒๕๐ กิโลเมตร หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
ผู้น�าเกาหลีเหนือ นาย คิม จ็อง อึน ภาพ ส�านักข่าว Reuters ที่ เ กื อ บจะทอดยาวจากทิ ศ ตะวั น ออกไปยั ง เช่น การแสดงความเข้มแข็งเพื่อชูภาพลักษณ์ ทิศตะวันตกคูไ่ ปตามเส้นขนานที่ ๓๘ ด้วยความ และอ�านาจของผู้น�าของประเทศ และเพื่อเป็น กว้าง ๔ กิโลเมตรเท่านัน้ มีระยะห่างจากกรุงโซล การตอบโต้ต่อแรงกดดันและการคว�่าบาตร ลงมาทางใต้เพียง ๔๐ กิโลเมตร และห่างจาก ของสหประชาชาติ หรือเป็นความเกรงกลัวต่อ กรุงเปียงยาง ๑๒๕ กิโลเมตร ขึ้นไปทางตอน แสนยานุภาพทางทหารทีไ่ ด้ถกู ถ่ายทอดออกไป เหนือ ความขัดแย้งของทั้งสองประเทศได้ส่ง ในระหว่ า งการฝึ ก ผสมของเกาหลี ใ ต้ แ ละ ผลกระทบทั้งด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามทั้งเกาหลีใต้และ ในภูมิภาค เนื่องจากเกาหลีเหนือที่ไม่เพียง สหรัฐอเมริกาก็ไม่สามารถนิ่งนอนใจเพิกเฉย จะเป็นประเทศที่มีกองทัพใหญ่เป็นอันดับที่ ๕ ต่อท่าทีของผู้น�าเกาหลีเหนือวัยเยาว์คนนี้ได้ ของโลกแล้ว ยังเป็นประเทศที่มีอาวุธน�าวิถี กองทัพเกาหลีเหนือมีกา� ลังพลในประจ�าการ ระยะไกล และได้แสดงท่าทีคกุ คามประเทศอืน่ ๆ โดยประมาณกว่า ๑.๒ ล้านคน และก�าลังส�ารอง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ถึ ง แม้ ว ่ า การแสดงท่ า ที ข อง อีก ๔.๗ ล้านคน สมศักดิ์ศรีการเป็นหนึ่งใน เกาหลี เ หนื อ จะเป็ น เพี ย งการแสดงอ� า นาจ ประเทศมหาอ�านาจทางทหารของภูมิภาค ซึ่ง ของผู้น�าในแต่ละยุค เพื่อหวังผลทางการเมือง ในด้านของจ�านวนก�าลังพลแล้ว เกาหลีเหนือ ภายในประเทศและเพื่อเป็นเครื่องมือในการ มีความเหนือกว่าเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา ต่อรองกับสหประชาชาติ ดังเช่นทีป่ รากฏให้เห็น รวมกันในอัตราส่วนทีส่ งู กว่า แต่ทางฝ่ายเกาหลีใต้ ที่ผ่านมาในยุคของประธานาธิบดี คิม จ็อง อิล ถึ ง แม้ จ ะมี ข ้ อ ด้ อ ยในด้ า นของก� า ลั ง พลและ ผูเ้ ป็นบิดาของ นาย คิม จ็อง อึน ผูด้ า� รงต�าแหน่ง ต�าแหน่งที่ตั้งของเมืองหลวงซึ่งใกล้กับบริเวณ ประธานาธิบดีเกาหลีคนปัจจุบัน ด้วยวัยเพียง เขต DMZ แต่ด้วยความมั่งคั่งและเสถียรภาพ ๒๘ ปี ซึ่งหลายฝ่ายมองว่าการแสดงท่าทีขมขู่ ของระบบเศรษฐกิจ ประกอบกับความเจริญ ยั่วยุของเกาหลีเหนือ เกิดขึ้นจากหลายปัจจัย ก้ า วหน้ า ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ๒9
ผนวกกับโครงสร้างพื้นฐานของอุตสาหกรรมที่ สมบูรณ์ สามารถผลิตยุทโธปกรณ์ที่มีความทัน สมัย อีกทั้งยังมีกองทัพสหรัฐอเมริกาที่ยืนยัน ในการให้การสนับสนุน และพร้อมท�ำการยับยัง้ การโจมตีจากเกาหลีเหนือและท�ำการตอบโต้ วิเคราะห์ก�ำลังรบ ก�ำลังทางบก ประเทศเกาหลีเหนือ มีก�ำลังพลกว่า ๑.๒ ล้านคน ซึง่ มากกว่าเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา รวมกัน ที่มีก�ำลังผสมอยู่ราว ๘ แสนคน อีกทั้ง เกาหลีเหนือมีการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับ กับหลักนิยมในการรบด้วยวิธีรุก การจัดก�ำลัง และต�ำแหน่งฐานที่มั่นจะกระจายอยู่ตามแนว เขตปลอดทหาร พร้อมที่จะท�ำการรุกล�้ำเข้า โจมตีเกาหลีใต้ ยุทโธปกรณ์หลักของก�ำลังทาง บก ประกอบไปด้วย รถถังหลัก รถยานเกราะ ปืนใหญ่จรวดหลายล�ำกล้อง และอาวุธต่อสู้ อากาศยาน รถถังเป็นยุทโธปกรณ์ที่สามารถเข้าประชิด และท�ำลายข้าศึก โดยใช้อำ� นาจการยิง เกาหลีเหนือ มีรถถังหลักโดยประมาณกว่า ๓,๙๐๐ คัน๑ ซึ่ง มากกว่าเกาหลีใต้ทมี่ อี ยูร่ าว ๒,๔๐๐ คัน ซึง่ หาก จะเปรียบเทียบกันเชิงตัวเลขแล้วเกาหลีเหนือ มีความได้เปรียบในด้านของจ�ำนวน อย่างไร ก็ตาม สองในสามของรถถังของเกาหลีเหนือ เป็นรถถังแบบ T-55 T-59 และ T-62 ซึง่ ผลิตใน ช่วงยุคปี ค.ศ.๑๙๖๐ ส่วนรถถังรุน่ ใหม่ทผี่ ลิตขึน้ ในช่วงยุคปี ค.ศ.๑๙๘๐ คือ Chonma-Ho (Pegasus) ขนาด ๔๐ ตัน มีอาวุธหลักเป็นปืน ขนาด ๑๑๕ มิลลิเมตร คาดว่ามีจ�ำนวนราว ๑,๒๐๐ คัน และในปี ค.ศ.๒๐๑๐ เกาหลีเหนือ
ได้เผยแพร่ภาพรถถังหลักรุน่ ใหม่คอื PokpungHo (Storm) มีอาวุธหลักเป็นปืนขนาด ๑๒๕ มิลลิเมตร ซึง่ ทางการเกาหลีใต้ได้วเิ คราะห์วา่ รถถัง ดังกล่าวเป็นการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีมาจาก รถ T-62 และ T-72 ของโซเวียตและจีน อย่างไรก็ตาม หัวใจส�ำคัญของการรบด้วย รถถังไม่ได้ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนเท่านั้น แต่ขึ้นอยู่ กับอานุภาพในการท�ำลาย ระบบควบคุมการยิง การค้นหาเป้าหมาย ความแม่นย�ำ ระยะยิงและ ความสามารถในการอยู่รอดในสนามรบ เกาหลีใต้มีรถถังหลังแบบ K1 ผลิตขึ้นใน ปี ค.ศ.๑๙๘๗ และรุ่น K1A1 ที่พัฒนาต่อยอด จากรุ่น K1 ในปี ๒๐๐๑ ทั้งสองรุ่นเป็นรถถังที่ มีพื้นฐานของเทคโนโลยีมาจากรถถังในตระกูล M1 ของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ซึ่งเกาหลีใต้ มีรถถังหลักรวมกันแล้วประมาณ ๒,๔๐๐ คัน มีราคาเฉลีย่ คันละประมาณ ๒.๕ - ๔ ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา มีอาวุธหลักเป็นปืนขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร ในรุน่ K1 และขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร ในรุ่น K1A1 ได้รับการติดตั้งด้วยระบบควบคุม การยิงอัตโนมัติ Thermal และ Laser Range Finder ยุ ท โธปกรณ์ ห นึ่ ง ที่ เ กาหลี เ หนื อ จะใช้ ใ น การเปิดฉากโจมตีเกาหลีใต้คือ ยุทโธปกรณ์ ประเภทปืนใหญ่สนาม ที่ได้เคยใช้ยิงถล่มเกาะ Yeonpyeong ของเกาหลีใต้มาแล้ว ในปี ค.ศ. ๒๐๑๐ รวมไปถึงระบบจรวดหลายล�ำกล้อง ซึง่ ปืนใหญ่ทมี่ ปี ระจ�ำการในกองทัพเกาหลีเหนือที่ ได้แก่ ปืนใหญ่อัตตาจรแบบ M1978 Koksan ขนาด ๑๗๐๒ มิลลิเมตร M1992 ขนาด ๑๓๐๓ มิลลิเมตร และ M1989 ขนาด ๑๗๐ มิลลิเมตร
รถถัง Pokpung-Ho ๑ ๒ ๓
30
รถถัง K1 ภาพ globalmilitaryreview.blogspot.com ระยะยิงได้ถูกประมาณการไว้อยู่ที่ระหว่าง ๔๐ - ๖๐ กิโลเมตร จรวดหลายล� ำ กล้ อ งเป็ น ยุ ท โธปกรณ์ อี ก ประเภทที่เกาหลีเหนือมีอยู่ในปริมาณมาก คือ จรวด M1991 ขนาด ๒๔๐ มม. โดยหนึ่งรถยิง มีทอ่ ยิงจ�ำนวน ๒๒ ล�ำกล้อง ในขณะที่ M1985 หนึง่ รถยิงมีทอ่ ยิงจ�ำนวน ๑๒ ล�ำกล้อง เกาหลีเหนือ ยังมีจรวดหลายล�ำกล้องขนาด ๑๒๒ มม. อีกเป็น จ�ำนวนมาก โดยในภาพรวมแล้ว เกาหลีเหนือมี ปืนใหญ่และจรวดหลายล�ำกล้องรวมกันแล้ว ประมาณ ๒๑,๐๐๐ ระบบ มีภูเขาและเนินเขา เป็นแนวก�ำบังตามธรรมชาติคอยท�ำหน้าที่เป็น เกราะป้องกัน ปืนใหญ่บางส่วนได้ถูกวางฐาน ยิงไว้ในอุโมงค์ใต้ดนิ ทีถ่ กู สร้างขึน้ มาเพือ่ ป้องกัน การโจมตีจากทางอากาศ ถึงแม้อาวุธเหล่านีจ้ ะ เป็นมรดกตกทอดมาจากยุคสงครามเย็นก็ตาม แต่ยงั คงมีอานุภาพในการท�ำลาย ซึง่ สองในสาม ของจ�ำนวนปืนใหญ่ทงั้ หมดได้หนั ปากกระบอก ไปยังทิศทางที่ตั้งของกรุงโซลที่อยู่ห่างออกไป เพียงแค่ ๔๐ กิโลเมตรเท่านั้น
K9 Thunder เช่ น เดี ย วกั บ เกาหลี เ หนื อ ยุ ท โธปกรณ์ ประเภทปืนใหญ่สนามของเกาหลีใต้ ประกอบ ไปด้วยปืนใหญ่และจรวดหลายล�ำกล้อง ได้แก่ ปืนใหญ่สนามแบบ K9 Thunder ที่เกาหลีใต้ ผลิตขึ้นเองในประเทศ เป็นปืนใหญ่ที่ถูกใช้ใน การยิงตอบโต้เกาหลีเหนือเมื่อครั้งเหตุการณ์ที่ เกาะ Yeonpyeong รวมทัง้ จรวดหลายล�ำกล้อง แบบ M270A1 MRLS ทีส่ ามารถยิงจรวดน�ำวิถี ด้วย GPS/INS และจรวดหลายล�ำกล้องแบบ ATACMS ที่มีระยะยิงไกลถึง ๓๐๐ กิโลเมตร
http://www.defensenews.com/article/20100817/DEFSECT02/8170304/S-Korea-Studies-North-s-New-Battle-Tank http://www.military-today.com/artillery/m1992.htm http://www.military-today.com/artillery/m1989.htm สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
รวมทั้งจรวดหลายล� ำกล้องระยะกลางแบบ M-136 Kooryong MRLS ก�ำลังทางน�้ำ เกาหลีเหนือมีเรือด�ำน�้ำราว ๙๐ ล�ำ ที่ต่อ ในประเทศและที่ผลิตในโซเวียตและจีน โดย ชั้น Romeo-class Submarine ถูกผลิตขึ้นใน ช่วงยุคปี ค.ศ.๑๙๕๐ และชั้น Sang-O-class ผลิ ต ขึ้ น ในปี ค.ศ.๑๙๙๑ ส� ำหรับเรือผิวน�้ ำ ประกอบไปด้วยเรือชัน้ Frigates และ Corvettes รวมแล้วราว ๑๐ ล�ำ โดยชัน้ Najin-class frigate สร้างขึ้นในระหว่างปี ค.ศ.๑๙๗๑ - ๑๙๗๙ และ Krivak-class frigate ผลิตขึ้นโดยโซเวียต ในปี ค.ศ.๑๙๖๐ รวมกับเรือตอร์ปิโดอีกราว ๒๐๐ ล�ำ ซึ่งในภาพรวมแล้วก�ำลังทางน�้ำของ เกาหลีเหนืออยูใ่ นสภาพเดียวกับกองทัพบกคือ เป็นยุทโธปกรณ์ที่ล้าสมัย ระบบ Sensor และ ระบบอาวุธที่มีประสิทธิภาพต�่ำ โดยเฉพาะ ในด้ า นของพิ สั ย การโจมตี อย่ า งไรก็ ต าม เกาหลีเหนือยังคงมียุทธวิธีสงครามนอกแบบ ด้วยการใช้ทนุ่ ระเบิดและตอร์ปโิ ด เป็นเครือ่ งมือ ในการป้องกันการรุกล�้ำทางทะเล ทางด้านของก�ำลังรบทางทะเลนัน้ เกาหลีใต้ มีความได้เปรียบเกาหลีเหนือเป็นอย่างมาก ในด้ า นของความทั น สมั ย อั น เนื่ อ งมาจาก การเข้าถึงเทคโนโลยีด้านระบบอาวุธ ระบบ ตรวจการณ์ และระบบควบคุมการรบ ผนวกกับ การเป็นประเทศอุตสาหกรรมต่อเรือที่มีความ เข้มแข็ง ส่งผลให้เกาหลีใต้มีเรือรบที่ทันสมัย เช่น เรือรบ King Sejong the Great class ทีไ่ ด้รบั การติดตัง้ ด้วยระบบอ�ำนวยการรบ Aegis มีระบบเรดาร์ที่มีประสิทธิภาพสูงแบบ AN/ SPY-1D แนวทางการพัฒนาได้รับมาจากเรือ พิฆาตชั้น Arleigh Burke ของสหรัฐอเมริกา มีจรวดต่อสู้เรือแบบ SSM-700K Hae Sung
เนื่องจากเกาหลีเหนือที่ไม่เพียงจะเป็น ประเทศทีม่ กี องทัพใหญ่เป็นอันดับที่ ๕ ของโลกแล้ว ยังเป็นประเทศที่มี อาวุธนำ�วิถีระยะไกล และได้แสดง ท่าทีคุกคามประเทศอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง Northrop Grumman B-2 Spirit
และจรวดโจมตีภาคพื้นดินแบบ Hyunmoo III มีระยะยิงไกลสูงสุดถึง ๑,๕๐๐ กิโลเมตร ก�ำลังทางอากาศ ทางด้ า นนภานุ ภ าพของเกาหลี เ หนื อ นั้ น ถื อ ได้ ว ่ า ค่ อ นข้ า งล้ า หลั ง สองในสามของ เครือ่ งบินรบ เป็นเครือ่ งบินสัญชาติรสั เซียและจีน ผลิตระหว่างปี ค.ศ.๑๙๕๐ - ๑๙๖๐ โดยจะมีเพียง เครือ่ งบินรบแบบ MIG-29 จ�ำนวน ๓๐ - ๔๐ ล�ำ ที่จัดเป็นเครื่องบินประเภท 4th Generation และ เครื่องบินรบแบบ Su-25 จ�ำนวน ๓๕ ล�ำ ทีอ่ ยูใ่ นสภาพพร้อมปฏิบตั กิ าร ระบบเอวิโอนิกส์ และระบบอาวุธ ขาดความทันสมัย อยู่ในภาวะ ขาดแคลนเชือ้ เพลิง ส่งผลให้นกั บินไม่ได้ท�ำการ ฝึกบินเป็นประจ�ำ อากาศยานแบบอื่นๆ ที่อยู่ ในประจ�ำการ ได้แก่ MiG-21 Su-7 MiG-19 MiG-17 และ MiG-15 ส่วนใหญ่เป็นเครือ่ งบินที่ มีสมรรถนะต�ำ่ และมีเทคโนโลยีทลี่ า้ หลัง ท�ำการ บินได้เฉพาะในเวลากลางวัน และสภาพอากาศ เอื้ออ�ำนวยเท่านั้น๔ หากท�ำการเปรียบเทียบกับเครือ่ งบินรบของ เกาหลีเหนือกับเครื่องบินรบของเกาหลีใต้และ
เรือ King Sejong the Great class destroyer ๔ ๕
สหรัฐอเมริกา อย่าง F-15 F-16 และ F-22 ที่มี ความทันสมัยสูงสุด รวมถึงประสบการณ์นกั บิน ระบบส่งก�ำลังบ�ำรุง ระบบเรดาร์ เครื่องยนต์ อาวุธ แล้ ว เครื่อ งบิ น ของทางเกาหลีใต้และ สหรัฐอเมริกา มีความเหนือกว่ามาก ถึงแม้ จ� ำ นวนเครื่ อ งบิ น รบของเกาหลี เ หนื อ จะอยู ่ ประมาณ ๗๐๐ ล�ำ เมื่อเทียบกับ ๕๐๐ ล�ำ ที่ ประจ�ำการอยู่ในกองทัพอากาศเกาหลีใต้และ สหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ ง จะเป็ น ตั ว ตั ด สิ น ระหว่ า ง ชัยชนะกับความพ่ายแพ้ เครือ่ งบินรบของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา และเกาหลี ใ ต้ ป ระกอบไปด้ ว ยเครื่ อ งบิ น รบ ในยุคที่ ๔ และยุคที่ ๕ อย่าง F-16 และ F-22 ที่มีระบบเรดาร์ที่สามารถค้นหาและติดตาม เป้าหมายได้จากระยะที่ไกลกว่า รวมทั้งเป็น เครือ่ งบินที่ยากต่อการตรวจจับด้วยเรดาร์ของ ข้าศึก สามารถยิงโจมตีเป้าหมายได้จากระยะ ที่ไกล ได้อย่างแม่นย�ำ นักบินผ่านการฝึกฝน อบรมมาเป็นอย่างดี มีประสบการณ์จากการ ปฏิบัติการจริงมาแล้ว จึงสามารถประมาณ การณ์ได้วา่ ทางฝ่ายเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา จะเป็นผู้ครอบครองน่านฟ้าโดยสิ้นเชิง และ จากประวัติศาสตร์ของสงครามที่ผ่านมา การ สูญเสียการครองอากาศโดยสิน้ เชิงน�ำมาสูค่ วาม พ่ายแพ้ ถึงแม้ว่าเกาหลีเหนือจะเตรียมการรับมือ กับแสนยานุภาพทางอากาศของเกาหลีใต้และ สหรัฐอเมริกา ด้วยการวางก�ำลังการป้องกัน ภัยทางอากาศ ด้วยเรดาร์ค้นหาเป้าหมายแบบ 30N6E และ MR-104 Rys และ ปืนต่อสู้ อากาศยานแบบ ZPu-2 และ ZPU-4 ที่มี ขนาด ๑๔.๕ มิลลิเมตร ปืน M-1939 ขนาด ๓๗ มิลลิเมตร และ S-60 ขนาด ๕๗ มิลลิเมตร ปืน M-1992 SPAAG และจรวดต่อสูอ้ ากาศยาน อาทิ SA-2 และ SA-3 รวมถึ ง จรวดต่ อ สู ้ อากาศยานแบบประทับบ่า๕ (MANPAD) SA-7b และ SA-16 ก็ยงั คงไม่เพียงพอต่อการรับมือกับ จรวดร่อน และอาวุธน�ำวิถแี บบพืน้ สูพ่ นื้ และพืน้ สูอ่ ากาศ ของสหรัฐอเมริกา ทีม่ คี วามแม่นย�ำสูง นอกจากนีส้ หรัฐอเมริกายังมีเครือ่ งบิน B-2 และ
http://atimes.com/atimes/Korea/DI19Dg01.html http://www.militaryphotos.net/forums/showthread.php?128528-Bluffer-s-guide-Fortress-North-Korea
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
31
ซึ่งโดยรวมแล้วเทคโนโลยีเหล่านี้จะเป็นส่วน ส�ำคัญในการแจ้งเตือนล่วงหน้า เพือ่ เตรียมการ รับมือและตอบโต้ นอกจากนัน้ แล้วสหรัฐอเมริกายังมีทรัพยากร ด้ า นการข่ า วที่ ส� ำ คั ญ ที่ ค อยใช้ ใ นการจั บ ตา ความเคลื่อนไหวภายในประเทศเกาหลีเหนือ อาทิ เครื่องบินลาดตระเวน U2 ที่มีเพดานบิน สูงกว่า ๗ หมื่นฟุต และอากาศยานไร้นักบิน Global Hawk ที่จะเข้ามาแทนที่ U2 หลังจาก ที่ จ ะถู ก ปลดประจ� ำ การในปี ค.ศ.๒๐๒๐ เครือ่ งบิน U2 จ�ำนวน ๓ ล�ำได้ถกู เปิดเผยว่าบิน จอดอยู่ในฐานทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในเมือง Osan Air Base ห่างจากพรมแดนเกาหลีเหนือ เพียง ๘๐ กิโลเมตร กองทัพอากาศเกาหลีเหนือ ยุ ท โธปกรณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการยิ ง ต่ อ สู ้ ขี ป นาวุ ธ F-22๖ ที่สามารถบินฝ่าเครือข่ายระบบป้องกัน และเทคโนโลยี ใ นการน� ำ ขี ป นาวุ ธ กลั บ สู ่ ชั้ น ควบคู่ไปกับเครือข่ายระบบป้องกันขีปนาวุธ ภัยทางอากาศ ที่ติดตั้งด้วยจรวดต่อต้านเรดาร์ บรรยากาศโลก และยังขาดความแม่นย�ำพอ Aegis ได้แก่ จรวด RIM-161 (SM-3) ซึ่งเป็น (Anti Radiation Missile) และลูกระเบิดน�ำวิถี ในการโจมตีเป้าหมายได้ ระบบต่อต้านขีปนาวุธทางทะเล และระบบต่อสู้ (Guided Bomb) ส�ำหรับเครื่องบินทิ้งระเบิด ระบบต่อต้านขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ขีปนาวุธภาคพื้นดินด้วยระบบจรวด Patriot แบบ B-2 สามารถบินทีร่ ะดับความสูง ๕๐,๐๐๐ และเกาหลีใต้ PAC-3 และ Terminal High Altitude Area ฟุต มีระยะปฏิบัติการ ๖,๐๐๐ ไมล์ ซึ่งกองทัพ เพื่อเป็นการเตรียมการรับมือกับขีปนาวุธ Defense หรื อ THAAD ของกองทั พ บก อากาศสหรัฐอเมริกามีประจ�ำการอยู่จ�ำนวน ของเกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกาได้เคลื่อนย้าย สหรัฐอเมริกา ทีม่ รี ะยะท�ำการที่ ๒๐๐ กิโลเมตร ๒๑ ล�ำ รวมถึงอากาศยานไร้นักบินแบบต่างๆ ระบบเรดาร์ Sea-Based X-Band Radar ซึ่งพอจะยับยั้งการโจมตีจากขีปนาวุธระยะสั้น ไม่ว่าจะเป็น Global Hawk หรือ Reaper ที่ (SBX) และ SPACE BASED INFRARED ของเกาหลีเหนือที่เข้ามาในรัศมีท�ำการได้ พร้อมที่จะถูกเรียกเข้าปฏิบัติการ SYSTEMS ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบต่อต้าน แผนปฏิ บั ติ ก าร (Operation Plan : ขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ ขีปนาวุธที่ระดับ Midcourse ระบบเรดาร์ OPLAN)๘ ขีปนาวุธเป็นยุทโธปกรณ์ทผี่ นู้ �ำเกาหลีเหนือ SBX มีระยะปฏิบัติการที่ ๒,๐๐๐ กิโลเมตร เกาหลี เ หนื อ วางที่ ตั้ ง ของฐานทั พ อากาศ ได้ใช้เป็นอาวุธในการป้องปรามการโจมตีและ ท�ำงานในย่านความถี่ X-band พัฒนามาจาก และต�ำแหน่งที่ตั้งของปืนใหญ่และจรวดหลาย เป็นเครื่องมือในการเจรจาต่อรองทางการทูต เทคโนโลยีเรดาร์ประเภท AESA ที่ใช้ในระบบ ล�ำกล้องตามแนว DMZ หรืออยู่ภายในรัศมี ที่ผ่านมาผู้น�ำเกาหลีเหนือได้ขู่ที่จะยิงถล่มกรุง Aegis มีระวางขับที่ ๕ หมื่น ตัน การเป็นแท่น ๑๐๐ กิโลเมตรจาก DMZ ซึ่งหากเกาหลีเหนือ โซลและฐานทัพสหรัฐอเมริกาในญี่ปุ่นให้กลาย เรดาร์ทางทะเลเป็นข้อได้เปรียบที่ท�ำให้ SBX เป็นฝ่ายที่เริ่มโจมตีก่อน จะเปิดฉากโจมตีด้วย เป็นทะเลเพลิง ด้วยขีปนาวุธ Taepodong2 มีความคล่องตัวและมีความยืดหยุ่น สามารถ ปืนใหญ่และจรวดหลายล�ำกล้อง ยิงถล่มเข้าใส่ ซึ่งมีระยะยิง ๓,๕๐๐ - ๔,๓๐๐ กิโลเมตร เคลื่อนที่ไปยังบริเวณพื้นที่เฝ้าระวัง เพื่อเพิ่ม เป้าหมายและฐานที่มั่นส�ำคัญในฝั่งเกาหลีใต้ ขีปนาวุธ Taepodong1 มีระยะยิง ๒,๘๐๐ ประสิทธิภาพการตรวจการณ์ นอกจากนัน้ แล้ว ที่อยู่ภายในรัศมีระยะยิง ซึ่งรวมถึงกรุงโซล กิโลเมตร ขีปนาวุธ Nodong มีระยะยิง ๑,๓๐๐ สหรัฐอเมริกายังมีทรัพยากรด้านการตรวจการณ์ อย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็น กิโลเมตร และจรวด Scud ที่มีระยะยิง ๕๕๐ และเฝ้าระวังทั้งในด้าน SINGINT COMINT ภูเขาทอดยาวจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก และ IMINT ที่อยู่ในรูปแบบของ ด้วยเครื่องบิน ของแนว DMZ ท�ำหน้าที่เป็นสิ่งกีดขวางตาม RC-12X Guardrail รวมถึงดาวเทียมทางทหาร ธรรมชาติ ส่งผลท�ำให้การเข้าโจมตีดว้ ยทหารม้า ที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าไม่ ไ ด้ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณะ รถถั ง และทหารราบยานเกราะเป็ น ไปด้ ว ย อีกด้วย ทั้งหมดนี้ได้ถูกน�ำมาใช้ในการเฝ้าดู ความยากล�ำบาก ช่องทางที่ก�ำลังรบประเภท ความเคลือ่ นไหวของก�ำลังรบในฝัง่ เกาหลีเหนือ ยานเกราะจะสามารถเคลือ่ นก�ำลังข้ามเส้น DMZ ได้คอื ทางด้านทิศตะวันออกใกล้ชายฝัง่ สองช่อง ทางคือ Chorwon และ Munsan ซึ่งความ พยายามในการฝ่ า แนวป้ อ งกั น ชั้ น นอกของ เกาหลีใต้ จะน�ำความเสียหายอย่างหนักให้กับ กิโลเมตร จรวดและขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ ก�ำลังรบทางบกที่เข้าโจมตีในระลอกแรกเป็น ส่วนใหญ่ถกู พัฒนามาจากจรวด Scud ถึงแม้วา่ อย่างมาก จากแนวรับของเกาหลีใต้ด้วยอาวุธ เกาหลีเหนือจะสามารถพัฒนาจรวดพิสัยไกล ต่อสู้รถถัง กับระเบิด และการโจมตีทางอากาศ ได้ แ ต่ ยั ง คงขาดองค์ ค วามรู ้ แ ละเทคโนโลยี อย่างต่อเนื่อง และถึงแม้ว่าจ� ำนวนก�ำลังรบ ในการพัฒนาหัวรบนิวเคลียร์ให้มีขนาดเล็ก RC-12X Guardrail ทีเ่ หนือกว่าด้วยจ�ำนวนยุทโธปกรณ์ทางบกของ ๖ ๗ ๘
32
http://www.ausairpower.net/APA-2009-02.html http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-20830605 Center For Strategic & International Studies สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
ฝ่ายเกาหลีเหนือเพียงพอที่จะฝ่าแนวป้องกัน ชั้นแรกของเกาหลีใต้ผ่านไปได้ แต่ก็จะถูกตรึง ก�ำลังไว้เมือ่ ต้องเผชิญกับแนวรับชัน้ ในทีม่ คี วาม แข็งแกร่งยิ่งขึ้น นอกจากนั้นด้วยเทคโนโลยีด้านการข่าวที่ ทันสมัยของสหรัฐอเมริกาทีใ่ ช้ในการจับตาเฝ้าดู ความเคลื่อนไหวของกองทัพเกาหลีเหนืออยู่ ทุกฝีก้าว เพียงพอที่จะส่งสัญญาณแจ้งเตือน ล่วงหน้า เพือ่ ท�ำการส่งก�ำลังทางอากาศเข้าโจมตี แนวรุกภาคพื้นดินของเกาหลีเหนือ และสหรัฐ อเมริกาจะท�ำการโจมตีตอบโต้กลับจากทางน�ำ้ และทางอากาศ ด้วยจรวดร่อน ตามด้วยการ ผนึกก�ำลังของเครือ่ งบินรบในยุคที่ ๔ และยุคที่ ๕ อย่าง F-16 และ F-22 ซึ่งเพียงพอในการชะลอ และยับยั้งแนวรุกของเกาหลีเหนือให้ถอยร่น กลับไปได้ และในขณะเดียวกันสหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้จะเริ่มท�ำการโจมตีระบบป้องกัน ภัยทางอากาศภายในเขตเกาหลีเหนือ และ เมื่อก�ำลังสนับสนุนทางบก ทางทะเล และทาง อากาศที่ประจ�ำการอยู่ในฐานทัพที่ประเทศ ญี่ปุ่น และฮาวาย ได้เดินทางมาถึง จะสามารถ ผลักดันก�ำลังของเกาหลีเหนือให้ถอยเข้าไป หลังเขต DMZ โดยแสนยานุภาพของก�ำลัง ทางอากาศสหรัฐอเมริกาทีส่ ามารถครอบครอง น่านฟ้า จะท�ำการโจมตีฐานเส้นทางการส่ง ก�ำลังบ�ำรุง ทีม่ นั่ และโครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ �ำคัญ ภายในเขตของเกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกาเองได้ตระหนักถึงขีดความ สามารถที่เหนือกว่าเกาหลีเหนือและมีข้อมูล เพียงพอที่จะเป็นฝ่ายเปิดฉากเริ่มโจมตีก่อน แต่ถงึ แม้วา่ เกาหลีเหนือจะมีเทคโนโลยีทลี่ า้ หลัง ก็ยังคงมีแสนยานุภาพเพียงพอที่จะสามารถ สร้างความเสียหายให้กบั ก�ำลังรบของสหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการรบ ภาคพืน้ ดิน ทัง้ ทีเ่ ป็นการรบตามแบบและการรบ นอกแบบ ทีป่ ระกอบไปด้วยหน่วยรบพิเศษ การ ใช้อาวุธ เคมี ชีวภาพ วัตถุกัมมันตรังสี (CBRN) และสงครามไซเบอร์ (Cyberwarfare) ถึงแม้ การเป็นฝ่ายโจมตีเกาหลีเหนือก่อนจะสามารถ ท�ำได้อย่างรวดเร็วจากก�ำลังทางอากาศและ การโจมตีระยะไกลทางเรือ แต่การรบเพื่อที่จะ ได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาดและแตกหักนั้นจะต้อง เกิดขึ้นด้วยการรบทางพื้นดินเท่านั้น ซึ่งการ ฝ่าแนว DMZ ผ่านเข้าไปยังพื้นที่เกาหลีเหนือ ถูกขวางกั้นด้วยสิ่งกีดขวางทางธรรมชาติ และ แนวป้องกันของกองทัพเกาหลีเหนือ ซึ่งต้อง สูญเสียเวลาและทรัพยากรอย่างมหาศาล ในมิติ ของการยกพลขึ้นบกของกองก�ำลังนาวิกโยธิน สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญกับการป้องกันของ เรือตอร์ปิโดและทุ่นระเบิด และจรวดต่อสู้เรือ ที่เกาหลีเหนือได้เตรียมไว้ ปัจจัยอืน่ ๆ ทีจ่ ะเป็นอุปสรรคต่อการเป็นฝ่าย เปิดฉากการโจมตีก่อนของสหรัฐอเมริกาคือ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
หนทางในการป้องกันไม่ให้ความขัดแย้ง ครั้งนี้น�ำไปสู่สงครามเกาหลีครั้งที่สอง คือ การเชื่อมช่องทางการสื่อสาร ทีถ่ กู ตัดขาดและการเปิดโต๊ะเจรจา ที่จะสามารถลดความตึงเครียด ในภูมิภาค
ฐานทัพเกาหลีใต้ ภาพ Globalsecurity การปฏิ บั ติ ก ารทางทหารที่ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น อยู ่ ในประเทศอั ฟ กานิ ส ถาน ซึ่ ง อยู ่ ใ นระหว่ า ง การเคลื่อนย้ายถอนก�ำลังกลับสหรัฐอเมริกา โดยการปฏิบตั กิ ารจะสิน้ สุดลงในปี ค.ศ.๒๐๑๔ ซึง่ การปฏิบตั กิ ารนีก้ นิ เวลายาวนานมาแล้วกว่า ๑๐ ปี และต้องสูญเสียก�ำลังพลไปแล้วกว่า ๒,๐๐๐ คน และบาดเจ็บกว่า ๑๘,๐๐๐ คน นอกจากนั้ น รั ฐ บาลสหรั ฐ อเมริ ก าเองก� ำ ลั ง ประสบปัญหากับภาวะทางเศรษฐกิจ ซึ่งการ เปิดฉากรบในสมรภูมิเกาหลีครั้งใหม่ย่อมใช้ เวลานาน อีกทั้งการรบในครั้งนี้จะน� ำความ สูญเสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก เกินกว่าที่สังคม อเมริกันจะยอมรับได้ ถึงแม้ว่าประธานาธิบดี บารัค โอบามา พร้อมที่จะใช้ก�ำลังทางทหาร แต่จะเลือกใช้ก�ำลังทางทหารในกรณีที่ความ เสี่ยงและความสูญเสียอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เมื่ อ แลกกั บ ผลลั พ ธ์ แ ละประโยชน์ ท างด้ า น ความมั่นคงของประเทศที่จะได้รับ ทางด้านผู้น�ำเกาหลีเหนือนั้น ถึงแม้จะต้อง รับสืบทอดอ�ำนาจต่อจากประธานาธิบดีคนก่อน ด้วยวัยเพียง ๒๘ ปี เท่านั้น แต่คณะที่ปรึกษา ที่ อ ยู ่ เ บื้ อ งหลั ง ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น ผู ้ มี คุ ณ วุ ฒิ และประสบการณ์ในการเดินหมากทางการเมือง และการทหารทั้ ง ภายในและต่ า งประเทศ มีไหวพริบในการชิงความได้เปรียบในการเจรจา ต่อรอง และบุคคลเหล่านี้ตระหนักดีถึงผลเสีย ที่จะตามมาหากสงครามเกิดขึ้น ซึ่งที่ผ่านมา ในอดีต พวกเขาเหล่านี้ได้เลือกที่จะไม่แก้ไข ปัญหาด้วยการใช้กำ� ลังทางทหาร และตระหนัก ดีว่าเมื่อไหร่ ควรจะหยุดการยั่วยุและปล่อยให้ สถานการณ์คลี่คลายเมื่อเวลาผ่านไป สรุป โอกาสทีส่ งครามเกาหลีครัง้ ทีส่ องจะเกิดขึน้ นัน้ มีโอกาสเกิดขึน้ ได้ยาก อาจจะมีการยิงต่อสูห้ รือ ยิงข่มขู่กันในบางจุด เนื่องจากไม่ว่าฝ่ายใดจะ เป็นฝ่ายที่เริ่มต้นเปิดฉากโจมตีก่อนก็ตาม ทั้ง ฝ่ายรุกและฝ่ายรับต่างย่อมได้รับความสูญเสีย ทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ เป็นมูลค่ามหาศาล บ้านเมือง ต้องใช้เวลาอีกนานนับทศวรรษในการรื้อฟื้น ประเทศและสภาพจิตใจของคนทั้งสองฝ่าย ไม่นบั ถึงผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคมของประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ เป็นความ เสี่ยงที่สูงเกินผู้น�ำทั้งสองฝ่ายจะกล้าจุดชนวน สงครามเกาหลีครั้งที่สอง อีกทั้งเกาหลีเหนือ และสหรัฐอเมริกาไม่อยู่ในสถานภาพในการ ท�ำสงครามขนาดใหญ่ ณ เวลานี้ ด้วยข้อจ�ำกัด หลายประการ ยกตัวอย่าง เช่น เกาหลีเหนือเอง อยู่ในภาวะที่ถูกคว�่ำบาตรทางเศรษฐกิจ อยู่ใน ภาวะขาดแคลนอาหาร ยา และเชือ้ เพลิง ทางด้าน สหรัฐอเมริกาเองก�ำลังอยู่ในช่วงของการฟื้นฟู ระบบเศรษฐกิจและการปฏิบัติการทางทหาร ในอัฟกานิสถานที่ก�ำลังด�ำเนินอยู่ อย่างไรก็ตามถึงแม้วา่ จะไม่มฝี า่ ยใดฝ่ายหนึง่ ที่พร้อมจะท�ำสงครามในสถานการณ์ในขณะนี้ แต่การแสดงแสนยานุภาพทางทหารเพือ่ ข่มขูก่ นั อาจจะน� ำ ไปสู ่ ส งครามในอนาคตได้ ดั ง นั้ น หนทางในการป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งครั้งนี้ น�ำไปสู่สงครามเกาหลีครั้งที่สอง คือ การเชื่อม ช่องทางการสือ่ สารทีถ่ กู ตัดขาดและการเปิดโต๊ะ เจรจา ทีจ่ ะสามารถลดความตึงเครียดในภูมภิ าค โดยหาแนวทางที่ไม่ใช้การใช้ก�ำลังทางทหาร และชะลอหรือยับยัง้ โครงการพัฒนาเทคโนโลยี นิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือในอนาคต ความขัดแย้งในครั้งนี้ ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า เทคโนโลยีทางทหารของเกาหลีใต้และสหรัฐ อเมริกาทีม่ คี วามพร้อมและความทันสมัย ช่วยเสริม ข้อด้อยในด้านของจ�ำนวน โดยเทคโนโลยีได้เข้า มามีส่วนช่วยในการยกระดับขีดความสามารถ โดยเฉพาะในด้านของ ความแม่นย�ำของระบบ อาวุธ ระยะค้นหาตรวจการณ์และค้นหาเป้าหมาย ของระบบ Sensor ต่างๆ ระบบควบคุมบังคับบัญชา C4ISR ทีช่ ว่ ยเพิม่ ความตระหนักรูใ้ นสถานการณ์ ที่ตรงกันในทุกระดับ สิ่งเหล่านี้เปรียบได้กับ ตัวทวีคณ ู ขีดความสามารถของก�ำลังรบ ก�ำลังรบ ทางบกอาจจะหั ก ล้ า งกั น ระหว่ า งจ� ำ นวนที่ มากกว่ากับเทคโนโลยีที่ดีกว่า 33
พระเจ้าปดุงกับสงครามใหญ่ ทางด้านตะวันออก พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
34
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
พ
ระเจ้าปดุงได้ครองราชสมบัติต่อจาก พระเจ้ า จิ ง กู จ า (พระเจ้ า สิ งู พ.ศ. ๒๓๑๙-๒๓๒๕) เป็นกษัตริย์ล� ำดับ ที่ ๕ แห่งราชวงศ์อลองพญา เป็นห้วงเวลาที่ อาณาจักรพม่ามีความวุ่นวายภายในราชส�ำนัก ซึ่งจะมีผลส�ำคัญต่ออาณาจักรมีดินแดนขนาด ใหญ่ จะส่งผลต่อเมืองขึ้นของอาณาจักรซึ่ง ต่างก็ต้องการเป็นอิสระและแยกตัวมาจากกรุง อังวะ..........บทความนี้ กล่าวถึงพระเจ้าปดุงกับ การท�ำสงครามใหญ่ทางด้านตะวันออก ๑. กล่าวทั่วไป พระเจ้ า ปดุ ง (Bodawpaya) เป็ น พระ
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ราชโอรสล�ำดับที่ ๕ ของพระเจ้าอลองพญา ครองราชสมบัติในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ด้วยการ ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ พระองค์โปรด ให้ย้ายพระราชวังและให้สร้างเมืองหลวงใหม่ ที่เมืองอมรปุระ (Amarapura) ทางตอนเหนือ ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เหนือกรุงอังวะเดิม ได้น�ำไม้สักของพระราชวังกรุงอังวะ จ�ำนวน ๑,๒๐๘ ต้น มาสร้างสะพานอูเป็ง (U Bein Bridge) ปัจจุบันเป็นสะพานไม้สักที่ยาวที่สุด ในโลก (๒ กิโลเมตร) ใช้ทอดข้ามทะเลสาบ ตองตะมาน พระองค์ทรงเริ่มขยายดินแดนเพื่อแสดงถึง
อ�ำนาจให้อาณาจักรที่เป็นเมืองขึ้นไม่คิดแยก ดิ น แดน ทรงตี เ มื อ งมณี ปุ ร ะทางตอนเหนื อ ของพม่าส�ำเร็จและทรงตีเมืองยะไข่ (อาระกัน) ในปี พ.ศ.๒๓๒๗ อยูท่ างตะวันตกของอาณาจักร พม่า การท�ำสงครามที่รบชนะสองเมืองใหญ่ ในเวลาประมาณสามปีเป็นผลให้อาณาจักร พม่ามีอาณาเขตขนาดใหญ่ขึ้นพร้อมด้วยก�ำลัง ทหารและอาวุธ แต่พระเจ้าปดุงนั้นเข้มแข็ง ในการศึกยิ่งกว่าบรรดาราชวงศ์ของพระเจ้า อลองพญาองค์ อื่ น ๆ พระองค์ ท รงมี ค วาม มุ่งมั่นที่จะขยายอาณาจักรพม่าให้ยิ่งใหญ่ตาม ความต้ อ งการของพระราชบิ ด าคื อ พระเจ้ า 35
เมืองเมาะตะมะ (ตามลูกศรชี้ด้านบนซ้าย) พื้นที่ประชุมพลของกองทัพ พม่าก่อนที่จะเดินทัพเข้าสู่เขตแดนของสยาม จะมุ่งสู่ด่านเจดีย์สามองค์และ สู่เมืองกาญจนบุรี
อลองพญาปฐมกษั ต ริ ย ์ และให้ มี เ กี ย รติ ย ศ เป็ น มหาราชเหมื อ นเช่ น พระเจ้ า หงสาวดี บุเรงนอง แห่งราชวงศ์ตองอูในอดีต ๒. สงครามใหญ่ทางด้านตะวันออก ๒.๑ ศึกเก้าทัพ พ.ศ.๒๓๒๘ เมื่ออาณาจักรมีความเข้มแข็งพระเจ้าปดุง ทรงเตรียมกองทัพที่มีก�ำลังทหาร ๑๔๔,๐๐๐ คน เข้าตีอาณาจักรสยามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ เ สด็ จ จากเมื อ งอมรปุ ร ะมายั ง เมื อ ง เมาะตะมะเป็นที่ตั้งประชุมทัพ แล้วทรงทราบ ว่าการเตรียมเสบียงอาหารและอาวุธเพื่อท�ำ สงครามใหญ่ยังไม่พร้อม พระองค์ทรงพิโรธ มากจึงสั่งประหารชีวิตแม่ทัพที่รับผิดชอบคือ แมงยี แ มงข่ อ งกยอ พร้ อ มทั้ ง แต่ ง ตั้ ง ให้ เ กง หวุ่นแมงยีมหาสีหะอัครเสนาเป็นแม่ทัพแทน (กองทัพที่ ๑) ซึ่งปัญหานี้จะเป็นปัญหาใหญ่ ในการท�ำสงครามต่อไปในอนาคต พระองค์ก็ยังคงมุ่งมั่นท�ำสงครามใหญ่ใน ปี พ.ศ.๒๓๒๘ ชาวสยามเรียกว่าศึกเก้าทัพ เคลื่อนพลออกจากเมืองเมาะตะมะ ประกอบ ก�ำลังทหารเป็นเก้ากองทัพ ท�ำการรุกในห้า ทิศทาง ตั้งแต่จากทางด้านเหนือคือด่านเมือง แหงเข้าตีเมืองเชียงแสน ด่านแม่ละเมาเข้าตี เมืองตาก ลงมาถึงใต้สุดรวมพลที่เมืองมะริด 36
พื้นที่การรบหลักในสงครามเก้าทัพคือทุ่งลาดหญ้า เมืองกาญจนบุรี (ตามลูกศรชี้ ด้านล่างขวามือ)
เข้าตีเมืองคลองวาฬและกองทัพเรือเข้าตีเมือง ตะกั่วป่า เมืองตะกั่วทุ่ง และเมืองถลาง ให้ทุก กองทัพพม่าเข้าตีถงึ เมืองหลวงของสยามพร้อม กันในเดือนอ้าย พ.ศ.๒๓๒๘ ทิศทางเข้าตีหลัก ใช้เส้นทางเดินทัพผ่านด่านเจดีย์สามองค์ (รวม ห้ากองทัพ) มุ่งสู่ทุ่งลาดหญ้า
ภาพมุ ม สู ง เส้ น ทางเดิ น ทั พ ของพม่ า จากเมื อ ง เมาะตะมะ เข้าสูอ่ าณาจักรสยาม ปี พ.ศ.๒๓๒๘ ทิศทาง เข้าตีหลักใช้เส้นทางเดินทัพผ่านด่านเจดีย์สามองค์ มุ่งสู่ทุ่งลาดหญ้า
สยามท� ำ การตั้ ง รั บ ด้ ว ยก� ำ ลั ง ทหาร ๗๐,๐๐๐ นาย จัดก�ำลังเป็นสี่กองทัพพื้นที่ ตั้งรับหลักที่เมืองกาญจนบุรี ของกองทัพที่ ๒ ก�ำลังทหาร ๓๐,๐๐๐ คน โดยมีกรมพระราชวัง บวรมหาสุ ร สิ ง หนาทเป็ น จอมทั พ ท� ำ การ ตั้งรับกองทัพหลวงของพระเจ้าปดุง (กองทัพ ที่ ๘) ก�ำลังทหาร ๕๐,๐๐๐ คน พร้อมด้วย กองทัพหนุนอีกสี่กองทัพ (กองทัพที่ ๔ ทหาร ๑๑,๐๐๐ นาย, กองทัพที่ ๕ ทหาร ๕,๐๐๐ นาย, กองทัพที่ ๖ ทหาร ๑๒,๐๐๐ นาย และ กองทัพที่ ๗ ทหาร ๑๑,๐๐๐ นาย) ก�ำลังทหาร รวม ๘๗,๙๐๐ นาย เป็นการรบครั้งใหญ่ที่สุด ของยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น การด�ำเนิน กลยุทธทั้งทหารราบ ทหารปืนใหญ่และทหาร ม้า พร้อมทั้งใช้ภูมิประเทศให้ได้เปรียบในการ ด�ำเนินกลยุทธ (เรียกว่าการรบที่ทุ่งลาดหญ้า เป็นพื้นที่การรบหลักของทั้งสองกองทัพ) โดย กองทัพพม่าส่วนใหญ่ตอ้ งค้างอยูบ่ นเขาบรรทัด ไม่สามารถใช้กำ� ลังทหารทีม่ ากกว่าให้เกิดความ ได้เปรียบในสนามรบ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๓๒๘ กองทัพสยามก็เข้าตีค่ายกองทัพ พม่าทุกค่าย พร้อมทั้งใช้ปืนใหญ่ระดมยิงค่าย ทหารพม่าตั้งแต่เช้าถึงค�่ ำผลการรบกองทัพ สยามเป็ น ฝ่ า ยชนะในทุ ก พื้ น ที่ ก ารรบ ครั้ น พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
กองทัพใหญ่ทง้ั สองกองทัพต้องดำ�เนิน กลยุทธเพื่อให้ได้รับชัยชนะในการรบ ซึง่ หมายถึงความอยูร่ อดของอาณาจักร สยามและความยิง่ ใหญ่ของราชวงศ์ อลองพญาแห่งพม่า
พระเจ้าปดุงทรงทราบว่ากองทัพหน้าแตกแล้ว เห็นว่าจะท�ำสงครามต่อไปคงไม่สำ� เร็จ ประกอบ กับกองทัพที่เดินทัพมาทางด่านเจดีย์สามองค์ (คือกองทัพที่ ๔, กองทัพที่ ๕, กองทัพที่ ๖ และกองทัพที่ ๗) เกิดการขัดสนเสบียงอาหาร และทหารเจ็ บ ป่ ว ยเสี ยชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก ในที่ สุ ด กองทั พ พม่ า ก็ ถ อนตั ว ออกจากพื้ น ที่
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
การรบกลับไปยังเมืองเมาะตะมะ ฝ่ายพม่า สูญเสียก�ำลังทหารเป็นจ�ำนวนมากและถูกจับ เป็นเชลยศึก ๖,๐๐๐ คน ฝ่ายสยามเกิดวีรกรรม ในสนามรบหลายพื้ น ที่ ก ารรบดั ง ปรากฏอยู ่ ในประวัติศาสตร์ไทย ๒.๒ ศึกท่าดินแดงและสามสบ พ.ศ. ๒๓๒๙
พระเจ้าปดุงไม่เคยพ่ายแพ้สงครามจึงได้จัด กองทัพขึ้นมาใหม่ และเข้าตีอาณาจักรสยาม ในทิศทางเดียวเพื่อแก้ไขความบกพร่องในครั้ง ที่แล้ว ให้พระมหาอุปราชาราชบุตรพระองค์โต คุมพล ๕๐,๐๐๐ คน เข้ามาเตรียมการล่วงหน้า จะจัดวางเสบียงอาหารส�ำหรับกองทัพ กองทัพ หน้าใช้เส้นทางเดินทัพสู่ด่านเจดีย์สามองค์ มี ก� ำ ลั ง พล ๓๐,๐๐๐ คน มาตั้ ง มั่ น อยู ่ ที่ ท่ า ดิ น แดงและสามสบ พระมหาอุ ป ราชา น�ำกองทัพติดตามมีก�ำลังทหาร ๒๐,๐๐๐ คน ตั้ ง ค่ า ยอยู ่ ที่ ริ ม ล� ำ น�้ ำ แม่ ก ษั ต ริ ย ์ ใกล้ กั บ ด่านเจดีย์สามองค์ กองทัพสยามจัดก�ำลังเป็นสองกองทัพใหญ่ โดย กองทัพที่ ๑ กรมพระราชวังบวรมหาสุร สิงหนาท เป็นจอมทัพ ก�ำลังทหาร ๓๐,๐๐๐ คน และกองทัพที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงเป็นจอมทัพก�ำลังทหาร ๓๐,๐๐๐ คน เคลื่อนทัพไปทางแม่น�้ำไทรโยค เพื่อจะท�ำการรบที่แนวชายแดน ตั้งกองทัพที่ ท่าขนุน ถึงวันพุธ เดือน ๔ ขึ้น ๕ ค�่ำ กองทัพ วังหน้าเข้าตีค่ายที่สามสบ และกองทัพหลวง เข้าตีคา่ ยพม่าทีท่ า่ ดินแดงท�ำการรบนาน ๓ วัน กองทัพพม่าก็แตกและทิ้งค่าย กองทัพสยาม ไล่ติดตามพม่าไปจนถึงค่ายพระมหาอุปราชา ที่ล�ำน�้ำแม่กษัตริย์ เมื่อทราบว่ากองทัพหน้า แตกก็รีบถอนกองทัพกลับสู่พม่า ๓. บทสรุป พระเจ้าปดุงแห่งอาณาจักรพม่ายุคที่สาม แห่งราชวงศ์อลองพญา ทรงน�ำกองทัพพม่า เข้าตีอาณาจักรสยามหลังจากทีท่ รงขึน้ ครองราชย์ เพี ย งสามปี เ ป็ น ศึ ก ใหญ่ ข องอาณาจั ก รกรุ ง รัตนโกสินทร์ตอนต้น สนามรบหลักอยู่ที่ทุ่ง ลาดหญ้าเมืองกาญจนบุรี กองทัพพม่าต้อง เดิ น ทั พ ข้ า มภู เ ขาสู ง ที่ เ ป็ น แนวแบ่ ง ดิ น แดน ของสองอาณาจักร กองทัพใหญ่ทงั้ สองกองทัพ ต้องด�ำเนินกลยุทธเพื่อให้ได้รับชัยชนะในการ รบ ซึ่งหมายถึงความอยู่รอดของอาณาจักร สยามและความยิ่งใหญ่ของราชวงศ์อลองพญา แห่งพม่า 37
การเปลีย่ นแปลง การปกครอง จุฬาพิช มณีวงศ์
38
จุฬาพิช มณีวงศ์
๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
39
ก็ เ คยมี ก ารคั ด ง้ า งกั น หลายครั้ ง ด้ ว ยเหตุ นี้ ตลอดรัชกาล จึงทรงวางรากฐานในการสนับสนุน การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน และ การศึ ก ษา อั น ถื อ เป็ น รากฐานแนวคิ ด แบบ ประชาธิปไตย มีรับสั่งว่า “ฉั น จะให้ ลู ก วชิ ร าวุ ธ มอบของขวั ญ แก่ พลเมืองในทันทีที่ขึ้นสู่ราชบัลลังก์ในต�ำแหน่ง กษั ต ริ ย ์ กล่ า วคื อ ฉั น จะให้ ป าลี เ มนต์ แ ละ คอนสติติวชั่น” ค รั้ น พ อ ถึ ง รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ก็ยงั ไม่ทรงพระราชทาน รัฐธรรมนูญให้แก่ปวงชน แม้ในพระราชหฤทัย ทรงปรารถนาจะท�ำเช่นนั้น โดยทดลองเมือง สมบัติ ดุสิตธานีขึ้นในบริเวณวังพญาไท จ�ำลอง รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยขึ้น โดยโปรดให้มีธรรมนูญการปกครอง ลักษณะ นั ค ราภิ บ าล ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ นรั ฐ ธรรมนู ญ ของเมือง มีพรรคการเมือง ๒ พรรค มีการออก หนังสือพิมพ์เพือ่ ปลูกฝังหรือฝึกหัดการปกครอง ระบบรัฐสภา หากไม่สามารถท�ำให้ผู้ที่คิดร้าย เปลี่ ย นความตั้ ง ใจที่ จ ะยุ ติ ก ารเคลื่ อ นไหวที่ จะน�ำไปสู่การล้มล้างราชบัลลังก์ เดชะบุญที่ ผูก้ อ่ การเกิดความขัดแย้งกันเองเสียก่อน ท�ำให้ ถูกจับกุมในข้อหากบฏ เรียกว่า กบฏ ร.ศ.๑๓๐ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ลดหย่อนผ่อนโทษให้มเี พียง จ�ำคุกตลอดชีวิตเท่านั้น สยามประเทศในขณะนั้น มีแต่ข่าวลือเรื่อง ราวต่างๆ อันไม่เป็นมงคลต่อบ้านเมืองแม้แต่ ข่าวลือมีบคุ คลทีจ่ ะก่อการปฏิวตั ลิ ม้ ราชบัลลังก์ ท�ำให้อยู่กันอย่างหวาดระแวง ขณะที่มัวแต่ไป หวาดระแวงพระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งภายหลัง เสียพระทัยตัดสินใจถวายบังคมลาออกจาก ต�ำแหน่งเสนาบดี หากในทีส่ ดุ ผูก้ อ่ การกลับเป็น คนที่เรียกตนเองว่า คณะราษฎรซึ่งประกอบ ากศึกษาประวัตศิ าสตร์กอ่ นเหตุการณ์ พระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียว แต่ควร ด้วยกลุม่ คนจากข้าราชการทหาร และพลเรือน วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ยาก มีการปกครองแบบคาบิเนต (Cabinet) และ อันหลากหลายมีแนวความคิดทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง ทีจ่ ะปฏิเสธได้เลยว่า เค้าลางแห่งความ มีรัฐธรรมนูญ แต่ในบันทึกเห็นว่ายังไม่ถึงเวลา การปกครองมาเป็ น ประชาธิ ป ไตยแทนโดย ยุ่งยากได้เริ่มมาเป็นระยะเวลาหนึ่งซึ่งยาวนาน ที่ จ ะมี ก ารเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปเพราะประชาชน วางแผนในตอนเช้าตรู่ของวันที่ ๒๔ มิถุนายน พอจะสุ ก งอมจนกลายเป็ น ที่ ม าของการ ยังไม่พร้อม เป็นวันปฏิบตั ิการปฏิวัติ ตามเป้าหมายที่วางไว้ เปลีย่ นแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ ต้องจับกุมผูส้ ำ� เร็จราชการพระนคร พระเจ้า มาสูป่ ระชาธิปไตย (แห่งความลุม่ ๆ ดอนๆ แบบ มิได้ทรงลงโทษผูถ้ วายบันทึกความเห็นดังกล่าว พี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ไทยไทย) แต่ ป ระการใด ทรงมี น�้ ำ พระทั ย กว้ า งขวาง และพระบรมวงศานุวงศ์ เสนาบดีและปลัด นั บ ตั้ ง แต่ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ และเห็นเจตนาดีตอ่ บ้านเมือง แม้วา่ ในขณะนัน้ ทูลฉลอง กระทรวงต่างๆ ผู้บัญชาการที่ส�ำคัญ) จุลจอมเกล้า ซึง่ พระองค์กท็ รงมีพระราชหฤหัย พระองค์ทรงมีพระราชอ�ำนาจที่จะทรงลงโทษ คณะราษฎรวางแผนอย่างแยบยล เพือ่ ไม่ให้ กว้างขวาง และสนับสนุนให้บรรดาเชือ้ พระองค์ คณะบุคคลที่กระท�ำการเข้าขั้นเป็นกบฏต่อ เกิดความคลางแคลงใจ จึงจัดให้มกี ารฝึกยุทธวิธี และข้ า ราชการเดิ น ทางไปศึ ก ษาวิ ท ยาการ แผ่นดิน แผนใหม่ โดยการใช้ ก� ำ ลั ง จากหน่ ว ยต่ า งๆ ในประเทศตะวันตก กระทั่งในปี พ.ศ.๒๔๒๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เข้ามาท�ำการฝึกยุทธวิธีแผนใหม่ และมีการ ภายหลังทรงครองราชย์ได้ ๑๘ ปี ได้มีขุนนาง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชด�ำริลึกซึ้ง ประชุ ม ตั ว แทนทหารกรมกองต่ า งๆ อย่ า ง คนหนึ่ ง ซึ่ ง กลั บ จากการศึ ก ษาในประเทศ ก้าวไกล ทันสมัย ในยุคของพระองค์เองเป็น พร้ อ มเพรี ย ง ท� ำ ให้ ไ ม่ มี ใ ครสงสั ย พอใกล้ ทางยุโรปได้ยื่นบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ช่วงเวลาที่ต้องทรงต่อสู้กับขุนนางที่มีแนวคิด เวลานัดหมาย กลุ่มคณะราษฎรก็ส่งสายลับ ในลักษณะให้ประเทศเปลีย่ นแปลงการปกครอง เชิงอนุรกั ษ์อยูต่ ลอดเวลา แม้แต่สมเด็จเจ้าพระยา เกาะติดตามประกบเจ้านาย เสนาบดี และ เพื่อไม่ให้อ� ำนาจปกครองประเทศตกอยู่แต่ มหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผูส้ ำ� เร็จราชการ เชื้อพระองค์คนส�ำคัญ เช้าตรู่เวลา ๐๕.๐๐ น.
ห
40
จุฬาพิช มณีวงศ์
สยามประเทศในขณะนั้น มีแต่ข่าวลือ เรื่องราวต่างๆ อันไม่เป็นมงคล ต่อบ้านเมืองแม้แต่ข่าวลือมีบุคคล ที่จะก่อการปฏิวัติสมราชบัลลังก์ ทำ�ให้อยู่กันอย่างหวาดระแวง
ผู้มีรายชื่อจะถูกจับกุมมาควบคุมตัวที่พระที่นั่ง อนันตสมาคม ต่อมาในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ทุกอย่างเป็นไปตามแผนทุกประการ กองก�ำลัง ต่ า งๆ พร้ อ มอาวุ ธ หนั ก เบา มุ ่ ง ตรงสู ่ ล าน พระบรมรูปทรงม้าโดยพร้อมเพรียง พระยา พหลพลพยุ ห เสนาเป็ น หั ว หน้ า คณะปฏิ วั ติ ทหารอีกกลุม่ หนึง่ เข้าล้อมวังบางขุนพรหม และ ทูลเชิญเจ้ า ฟ้ า กรมพระนครสวรรค์ ว รพิ นิ ต เสด็จไปที่พระที่นั่งอนันตสมาคม มี เ พี ย งกรมพระก� ำ แพงเพชรอั ค รโยธิ น เสนาบดี ก ระทรวงพาณิ ช ย์ ค มนาคมที่ ท รง มี พ ระสติ มั่ น คงหลบหนี เ สด็ จ ไปโดยรถไฟ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พระราชวังไกลกังวล หลังควบคุมสถานการณ์ในพระนครเป็นที่ เรียบร้อย คณะราษฎรได้มอบหมายให้นาวาตรี หลวงศุ ภ ชลาศั ย ผู ้ บั งคับการเรือรบสุโขทัย หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
เดินทางอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวกลับคืนพระนคร โดยยื่นค�ำขาดให้ ทรงตอบภายใน ๑ ชั่วนาฬิกา มิฉะนั้นจะถูกตั้ง ข้อหาเป็นผู้ทรยศต่อชาติ และจะได้แต่งตั้ง กษัตริยพ์ ระองค์อนื่ เป็นกษัตริยภ์ ายใต้รฐั ธรรมนูญ ต่อไป ในตอนแรกนั้น บรรดาคณะราษฎรมีท่าที แข็งกร้าวต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า อยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์มาก จนกระทั่ง ทรงมีพระราชสาส์นตอบใจความตอนหนึ่งว่า “ข้ า พเจ้ า เห็ น แก่ ค วามเรี ย บร้ อ ยของ อาณาประชาราษฎร์ ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อ กั น และความจริ ง ข้ า พเจ้ า ก็ คิ ด อยู ่ แ ล้ ว ที่ จ ะ เปลี่ยนแปลงในท�ำนองนี้ คือมีพระเจ้าแผ่นดิน ปกครองตามรั ฐ ธรรมนู ญ จึ ง ยอมรั บ ที่ จ ะ ช่วยเป็นตัวเชิด เพือ่ คุม้ ครองโครงการตัง้ รัฐบาล ให้เป็นรูปตามวิธีเปลี่ยนแปลงตั้งรัฐธรรมนูญ โดยสะดวก”
รถไฟพระที่นั่งเสด็จจากหัวหิน เมื่อเวลา ๐๙.๔๕ น. ในวันที่ ๒๖ มิถนุ ายน ถึงสถานีรถไฟ สวนจิตรลดา เมือ่ เวลา ๒๔.๓๐ น. ก่อนประทับ รถยนต์พระที่นั่งพร้อมด้วยพระบรมราชินีนาถ ภายใต้การอารักขาอย่างแข็งขันของทหารคณะ ราษฎรกลับวังศุโขทัย ต่อมาเกิดความเคลื่อนไหวขึ้น ท�ำให้คณะ ราษฎรวิ ต กว่ า กรมพระนครสวรรค์ ว รพิ นิ ต ซึ่ ง ทรงเป็ น ที่ เ คารพแห่ ง พระบรมราชวงศ์ ข้ า ราชการทหาร ต� ำ รวจ และประชาชน จ�ำนวนมาก หากพระองค์ยังทรงประทับอยู่ใน ราชอาณาจักร จะเป็นเงื่อนไขในการปฏิรูป สายระบอบประชาธิปไตย น� ำไปสู่การต่อสู้ ที่ถึงขั้นรุนแรงได้ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต จึงเสด็จออกจากประเทศไทยไป ในระยะแรก เสด็จไปพ�ำนักทีป่ นี งั ประเทศมาเลเซีย จากนัน้ เสด็จไปประทับทีเ่ กาะบันดง ประเทศอินโดนีเซีย และไม่ได้กลับประเทศไทยอีกเลย 41
กฎหมายสูงสุด ที่ถูกฉีกทิ้งไม่รู้กี่ฉบับ แต่ถึง คราวแก้ไขกลับเต็มไปด้วย การต่อต้าน เพียงเพราะไม่ต้องการ ให้อ�ำ นาจของตนสูญเสียไป มีเพียงพระมหากษัตริย์เท่านั้น ที่มิเคยปรารถนาจะครอบครอง อำ�นาจเพราะพระองค์จึงครองใจ ประชาชนคนไทยทั้งมวล
หลังเปลีย่ นแปลงการปกครองเป็นผลส�ำเร็จ คณะราษฎรได้ด�ำเนินการให้มีการประกาศใช้ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ในธรรมนูญ การปกครองฉบับนี้ ก�ำหนดให้พระมหากษัตริย์ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีสภาผู้แทนราษฎรเป็น องค์ ก รนิ ติ บั ญ ญั ติ มี ค ณะกรรมการราษฎร หรือคณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหาร และศาล เป็นผู้ใช้อำ� นาจตุลาการ หัวหน้าคณะราษฎรได้แต่งตั้งผู้แทนราษฎร ๗๐ คน เพือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นสภาผูแ้ ทนราษฎร ชัว่ คราวและสภาผูแ้ ทนฯ ได้มมี ติให้พระยามโน ปกรณ์นติ ธิ าดา ขึน้ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี คนแรกของเมืองไทย มีคณะรัฐมนตรี ๑๙ คน ส่วนใหญ่เป็นบุคคลในคณะราษฎรนั่นเอง สถานการณ์การเมืองในช่วงนั้น เต็มไปด้วย ความสับสนวุ่นวาย เกิดการกบฏก่อให้เกิด ปัญหา แม้จะมีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ ก็หา ได้เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงไม่ พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนัก ถึงสถานการณ์ดังกล่าวมีแต่จะน�ำไปสู่ความ แตกแยก และต่อสู้อย่างรุนแรง เพราะรัฐบาล เสนอให้มีการเสนอ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลพิเศษ ที่จะจัดการกับพวกกบฏอย่างเฉียบขาด อันจะ น�ำไปสู่การประหารชีวิตอย่าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่ง 42
เป็นสิง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั มิ ป รารถนาให้ บั ง เกิ ด ขึ้ น ทรงยอมเสี ย สละ พระราชอ�ำนาจ เพื่อไม่ให้เสียเลือดเนื้อ แต่เมื่อ ต้องทรงลงพระปรมาภิไธย ร่างกฎหมายฉบับนี้ ก็ จ ะผ่ า นความเห็ น ชอบในโอกาสต่ อ ไปโดย ไม่ชักช้า พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเลีย่ งด้วยการเสด็จประพาสต่างประเทศ โดย ทรงอ้างเหตุผลเสด็จไปทรงรักษาดวงพระเนตร ในประเทศยุ โ รปและอเมริ ก า ในวั น ที่ ๑๒ มกราคม ๒๔๗๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระบรมราชินี พร้อมด้วย พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารจ�ำนวนหนึง่ จึ ง เสด็ จ ออกจากพระนครโดยประทั บ เรื อ และเดิ น ทางไปประทั บ ที่ ช นบทในประเทศ อังกฤษ รัฐบาลพระยาพหลฯ พยายามติดต่อเพื่อ อัญเชิญพระองค์เสด็จนิวตั สิ พู่ ระนครหลายครัง้ แต่ไม่เป็นผล จนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั พระราชทานโทรเลขถึงสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ สรุปข้อความว่า ความเห็นของพระองค์กบั รัฐบาลขัดกัน ธรรมดา ประเทศที่ มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ขั ด กั บ รั ฐ บาล และสภาผู ้ แ ทนฯ ย่ อ มไม่ เ ป็ น ผลดี จึ ง มี
พระราชประสงค์สละพระราชสมบัติ และได้ โปรดเกล้าฯ ส่งพระราชหัตถเลขามาทางไปรษณีย์ รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา มีหน้าที่ กราบทูลไปยังผู้ส�ำเร็จราชการ เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๔๗๗ พยายามที่จะเปลี่ยนพระทัย พระองค์ แต่ ไ ม่ ส� ำ เร็ จ เพราะทรงเห็ น ว่ า ไม่สามารถที่จะทรงปฏิบัติตามความประสงค์ ของรั ฐ บาลได้ ในที่ สุ ด จึ ง ทรงพระราชทาน พระราชหั ต ถเลขา ทรงสละราชสมบั ติ โ ดย เด็ดขาด ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ มีขอ้ ความที่ บ่งบอกถึงพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างชัดเจนตอนหนึ่งว่า “ข้าพเจ้าเห็นว่ารัฐบาล และพวกพ้องใช้วิธี การปกครอง ซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักการของ เสรีภาพในตัวบุคคล และหลักความยุติธรรม ตามความเข้ า ใจและยึ ด ถื อ ของข้ า พเจ้ า ไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผู้ใด คณะใด ใช้วิธี ปกครองอย่างนัน้ ในนามข้าพเจ้าต่อไปได้ ข้าพเจ้า มี ค วามเต็ ม ใจที่ จ ะสละอ� ำ นาจอั น เป็ น ของ ข้าพเจ้าอยู่เดิมให้แก่ราษฎรทั่วไป แต่ข้าพเจ้า ไม่ ยิ น ยอมยกอ� ำ นาจทั้ ง หลายของข้ า พเจ้ า ให้แก่ผู้ใด คณะใด โดยเฉพาะเพื่อใช้อ�ำนาจ โดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของ ประชาราษฎร์” จุฬาพิช มณีวงศ์
ต่อมาสภาผู้แทนฯ ได้ประชุมกันในวันที่ ๗ มีนาคม ๒๔๗๗ เพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบใน การที่รัฐบาลเสนอ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อานันทมหิดล ขึ้นทรงเถลิงถวัลยราชสมบัติต่อ โดยสภาผู้แทนฯ มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบ ด้วยกับรัฐบาล ทั้งหมดนี้ย่อมเป็นบทพิสูจน์ได้ว่า ตลอด ๘๐ ปีทผี่ า่ นมา การเปลีย่ นผ่านพระราชอ�ำนาจ ของพระมหากษัตริย์มาสู่สถาบันทางการเมือง รู ป แบบไม่ ไ ด้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปจากที่ เคยเป็ น อ� ำ นาจมิ ไ ด้ ต กมาสู ่ ประชาชนตาม พระราชประสงค์ อ ย่ า งแท้ จ ริง รัฐธรรมนูญ เป็ น กฎหมายสู ง สุ ด แต่ ถึ ง คราวแก้ ไ ขกลั บ เต็มไปด้วยการต่อต้าน เพียงเพราะไม่ต้องการ ให้อ�ำนาจของตนสูญเสียไป มีเพียงพระมหา กษัตริยเ์ ท่านัน้ ทีม่ เิ คยปรารถนาจะครอบครอง อ�ำนาจเพราะพระองค์จึงครองใจประชาชน คนไทยทั้งมวล
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
43
หลักการของ นายพลแพตตั น (ตอนทีี่ ๑๑) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
44
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ไม่ใช่ทกุ คนหรอกทีส่ ามารถเป็นทหารได้ การเป็นทหาร คือ อาชีพทีส่ งู สุดแห่งชีวติ เมื่อคุณค้นพบบุคคลผู้กลัวบาป จงนำ�เขาออกไปจากหน่วยรบให้เร็ว ที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ ถ้าคุณไม่นำ� เขาออกไป เขาอาจจะเป็นต้นเหตุ ให้คนอื่นอีกหลายคนต้องตาย
น
ายพลแพตตันไม่มคี ำ� พูดทีด่ งี ามส�ำหรับ ผู ้ ที่ ไ ม่ ย อมเผชิ ญ หน้ า กั บ ความตาย ท่านมีแต่ค�ำพูดที่หยาบคาย ส�ำหรับ บรรดาผู ้ น� ำ ศาสนาซึ่ ง ต่ อ ต้ า นประสิ ท ธิ ภ าพ ของกองทัพโดยเทศน์ว่า “เจ้าจะต้องไม่ฆ่าใคร” นายพลแพตตันเรียกบุคคลประเภทนี้ว่า “นักบวชฆาตกร”! ท่านให้ความเห็นว่า “นักบวชฆาตกรเหล่านี้ จะเดินทางไปทั่ว แล้วก็เทีย่ วพูดว่าไบเบิล้ สอนให้มนุษย์อย่าฆ่า คน ค�ำสอนแบบนีจ้ ะเป็นเหตุให้ทหารดีๆ ต้อง ตายเป็นพันๆ คนเลยทีเดียว ไอ้พวกนักบวช ฆาตกรริย�ำเหล่านี้น่ะมีน้อยคนที่จะมีความรู้ จริงในคัมภีร์ไบเบิ้ล พวกนี้รู้นิดเดียวเกี่ยวกับ วิธีการท�ำงานของพระเจ้า พวกเขาควรอ่าน ไบเบิ้ลให้ครบถ้วน ไม่ใช่อ่านเฉพาะบทที่ พวกตนชอบเท่านัน้ ! พระเจ้าไม่เคยลังเลทีจ่ ะ ฆ่าคน พระไม่ลังเลที่จะฆ่า เมื่อมีมนุษย์หรือ ชนเผ่าใดก็ตามทีจ่ ำ� เป็นต้องถูกลงโทษ พระเจ้า ช่วยเดวิด (David) ฆ่าโกไลแอธ (Goliath) (เดวิด คือ กษัตริย์อิสราเอลโบราณขณะอายุ ยังน้อยได้สงั หารโกไลแอธอัศวินซึง่ เป็นนักรบ ผู้กล้าหาญ เรื่องราวถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์ คริสต์ศาสนา) เป็นไง เรื่องโนอาห์ (Noah) และเรือยักษ์ของเขา? ประชาชนที่เหลือบน พื้นดินทั้งหมดตายจากน�้ำท่วมโลก! พระเจ้า รับค�ำต�ำหนิจากการฆาตกรรมครั้งมโหฬารนี้ แล้ ว เป็ น ยั ง ไงในเรื่ อ งทะเลแดงที่ เ ปิ ด ช่ อ ง ออกมาพอที่จะให้ชนชาติหนึ่งหนีภัยไป และ อีกชนชาติ ห นึ่ง ต้ องตาย อย่ามาคุยกับผม ในเรือ่ งทีว่ า่ พระเจ้าไม่อนุญาตให้มนุษย์ฆา่ คน สงคราม หมายถึง เราต้องฆ่าคน นัน่ เป็นเรือ่ ง ที่ต้องเป็นไปอย่างนั้น มันเป็นบาปหากไม่ฆ่า คน ถ้าพวกเราท�ำงานอยูข่ า้ งเดียวกับพระเจ้า มันไม่มีหนทางอื่นที่จะชนะได้ สงครามต้อง หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ชนะได้ด้วยค�ำสาปของพระเจ้า พระองค์มี ส่วนร่วมในสงครามทุกๆ ครัง้ ! ยิง่ เราสามารถ ฆ่าข้าศึกได้รวดเร็วเท่าไร เราก็จะสามารถ กลับบ้าน และกลับไปฟังนักบวชฆาตกร ทีจ่ ะ บอกเราว่าพวกเราได้ทำ� ความผิดได้เร็วเท่านัน้ ถ้าพวกเราไม่ชนะได้ พวกนักบวชโง่ๆ เหล่านัน้ ก็จะถูกยิงอยูด่ ที มี่ วั แต่ยนื เทศน์อยูเ่ ฉยๆ ภารกิจ ของเราคือต้องฆ่าข้าศึกก่อนที่พวกเราจะถูก ข้าศึกฆ่า” นายพลแพตตั น จะไม่ ห ยาบคายกั บ กลุ ่ ม บุคคลที่ ก ลั ว บาปเหมื อ นกั บ ที่ ท�ำ ต่ อ นั ก บวช ฆาตกร ท่านได้ยอมรับกฎหมายทีไ่ ด้อนุญาตให้ ผู้บังคับบัญชาปฏิเสธการสู้รบได้หากจะมีการ ฆ่ากันเกิดขึน้ นายพลแพตตันได้ให้ความเห็นว่า “ไม่ใช่ทุกคนหรอกที่สามารถเป็นทหารได้ การเป็นทหาร คือ อาชีพทีส่ งู สุดแห่งชีวติ เมือ่ คุณค้นพบบุคคลผู้กลัวบาป จงน�ำเขาออกไป จากหน่วยรบให้เร็วทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเร็วได้ ถ้าคุณ ไม่นำ� เขาออกไป เขาอาจจะเป็นต้นเหตุให้คน อื่นอีกหลายคนต้องตาย จะไม่มีการลังเลใจ ใดๆ เมื่อเวลาจะต้องเหนี่ยวไกฆ่าคน ให้พวก ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและพวกเนื้ อ ทองเหล่ า นั้ น กลับไปใช้ชีวิตพลเรือนตามเดิมเถอะ หรือไม่ ก็ส่งไปในที่ที่พวกเขาเป็นเหตุให้หน่วยทหาร ฝ่ายเดียวกันต้องเสียชีวิต” แม้วา่ นายพลแพตตันจะวิจารณ์พวกเนือ้ ทอง และพวกรั ก ความสงบ แต่ ท ่ า นก็ ไ ม่ จั ด พวก พระอยู ่ ใ นประเภทพวกเดี ย วกั บ “นั ก บวช ฆาตกรงีเ่ ง่า” ท่านได้เชิญพระจากเมืองใกล้เคียง มาแวะเยี่ยมค่ายของเราในวันอาทิตย์เพื่อร่วม ท�ำกิจกรรมทางศาสนาร่วมกับอนุศาสนาจารย์ ของกองทัพบก มีหลายคนกล่าวหานายพลแพตตันว่ารัก การท�ำสงคราม เป็นความจริงทีบ่ ทในภาพยนตร์ ให้นายพลแพตตันพูดว่า “ข้าพเจ้ารักการ
สงคราม!” นายพลแพตตันไม่ได้รักสงคราม แต่ทานกล้าพอที่จะเผชิญหน้ากับสัจธรรมที่ว่า สงครามไม่ว่าจะเกิดขึ้น ณ ที่ใดมันก็หมายถึง การฆ่าคน นายพลแพตตันเกลียดสงครามมากกว่า “นักบวชฆาตกร” ที่ต�ำหนิ ท่านยกค�ำกล่าว จากไบเบิ้ลบ่อยๆ โดยพูดว่า “สงคราม และ ข่าวเล่าลือเกีย่ วกับสงครามจะเกิดขึน้ อยูเ่ สมอ” นายพลแพตตันเกลียดผู้น�ำทางการทหาร และผู้น�ำทางการเมืองที่ชอบถ่วงเวลา, คอย รวบรวมก� ำ ลั ง พล, รอความมั่ น คงแข็ ง แรง, ชอบตั้งรับในแผ่นดินของตน, ขุดหลุมบุคคล หรืออนุญาตให้ทำ� การใดๆ เพือ่ ทีจ่ ะยืดสงคราม ออกไปโดยปราศจากความคิดที่ว่าทหารของ ทั้งสองฝ่ายต้องตายไปจากการถ่วงเวลานั้นๆ ส�ำหรับคนบางคน สงครามเป็นเกมการเมือง มันจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องให้บรรดานายพลในกองทัพ และผู้น�ำทางการเมืองมีความสุข ทั้งๆ ที่ต้อง สูญเสียชีวติ คนไปอย่างไร้คา่ คนอังกฤษคนหนึง่ ชื่อนายพล Essame ได้กล่าวว่า “จ� ำ นวนสี่ ค รั้ ง ตั้ ง แต่ ก ารรบแตกหั ก ที่ Avranches นายพลแพตตั น และ กองทัพบกของเขาได้ให้โอกาสแก่ไอเซนเฮาร์ (Eisenhower) ซึ่งเป็นการดีที่จะพิสูจน์ถึง การตัดสินใจทีเ่ ด็ดขาด, เพือ่ ย่นเวลาสงคราม, รักษาชีวิตคนเป็นพันๆ คน และท�ำให้ยุโรป ตะวั น ตกมี ท ่ า ที ท างด้ า นยุ ท ธศาสตร์ดีกว่า ที่มันควรจะเป็นนานถึงยี่สิบห้าปีต่อมา” มันง่ายทีจ่ ะคิดว่า สงครามคือ การร่างหนังสือ, การฝึก, การสร้างเครือ่ งบิน, การเคลือ่ นก�ำลังพล และอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ , และแม้แต่เป็นการ ช่วยการเศรษฐกิจ มันง่ายมากที่จะลืมไปว่า ประสิทธิภาพของกองทัพคือการฆ่าข้าศึก จับให้ถึงลูกถึงคน หลักการเบื้องต้นของนายพลแพตตันคือ 45
จำ�ไว้ สงครามเอาชนะได้ดว้ ยการฆ่าคน ยิ่งฆ่าได้มากเท่าไรเราจะพ้นจาก สงครามได้เร็วเท่านั้น สงคราม ไม่สามารถเอาชนะได้หากมัวแต่ ยึดพื้นที่ตั้งรับ ให้ข้าศึกมีพื้นที่ ที่มันต้องการเถอะ ถ้าเราสามารถ ให้มันมาอยู่ในตำ�แหน่งที่เรา สามารถฆ่ามันได้!
“จั บ ให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คน” นี่ คื อ หลั ก การง่ า ยๆ อันหนึ่ง แต่ก็มีผู้เชี่ยวชาญทางการบริหาร หรือ ผู้บังคับหน่วยทหารน้อยคนที่จะเข้าใจในความ ส�ำคัญของมัน ค�ำพูดของนายพลแพตตันเป็นค�ำพูดทื่อๆ “พวกเราอยู่ในภาวะสงคราม พวกเราจะ เอาชนะได้ก็ด้วยการฆ่าคน มันง่ายกว่าที่จะ ฆ่าคนขณะทีค่ ณ ุ สามารถเห็นสิง่ ทีค่ ณ ุ ยิงใส่อยู ่ แน่ ล ะเครื่ อ งบิ น และปื น ใหญ่ ส ามารถยิ ง กระสุนไปตกในเขตข้าศึกได้ แต่มันไม่ได้ผลดี นักในการสังหารผูค้ น คนทีเ่ ป็นทหารน้อยคน นักที่จะหวาดกลัวความตาย! พวกเราต้อง ไปในแถวหน้าซึ่งเป็นสถานที่ที่เราสามารถ
46
มองเห็นข้าศึก เราจะให้ข้าศึกรู้ว่าพวกเรา ไม่กลัว เราจะให้พวกมันรูว้ า่ เราก�ำลังจะมุง่ หน้า เข้าหา ด้วยเหตุผลประการเดียวคือ ฆ่าคน ถ้า เราเข้าจับข้าศึกให้ถึงลูกถึงคน พวกมันก็จะ ยิงเข้าใส่เราต่อไป แต่พวกเราจะด�ำรงการ เคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วจนพวกมันยิงเราไม่ถกู ขณะที่เราท�ำให้พวกมันสนใจอยู่นั้น พวกมัน จะยิงมายังสถานทีท่ เี่ ราเคยวางตัว แล้วเราจะ อ้อมไปด้านหลังพร้อมกับรถถังของเราและ ยึดเชือ้ เพลิง, อาหาร และยุทโธปกรณ์ทงั้ หมด ของมัน เราจะฆ่าทุกคนทีเ่ ข้ามาในทางของเรา” นายพลแพตตันจะหยุดชั่วครู่แล้วพูดว่า “เราจะจับแม้แต่ผู้หญิงทั้งหมดของมัน” ท่านได้พูดด้วยภาษาที่ทหารเข้าใจกัน “เราจะด�ำรงการเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความรวดเร็ว เสมอ เราจะไม่ขุดหลุมบุคคลเพื่อการซ่อนตัว เมือ่ คุณขุดหลุมบุคคลก็เท่ากับว่าคุณก�ำลังขุด หลุมฝังศพ! ขณะที่คุณอยู่ในหลุมบุคคลและ ยิงไปทีข่ า้ ศึก ข้าศึกจะรูท้ อี่ ยูท่ แี่ ท้จริงของคุณ ไม่ช้าก็เร็ว มันจะเห็นคุณได้อย่างชัดเจน และ คุณจะถูกฆ่า เคลื่อนที่อยู่เสมอคุณจะพ้นจาก ปืนของข้าศึก” นายพลแพตตันจะจบด้วยค�ำพูดธรรมดา “จ�ำไว้ สงครามเอาชนะได้ด้วยการฆ่าคน ยิ่งฆ่าได้มากเท่าไรเราจะพ้นจากสงครามได้ เร็วเท่านั้น สงครามไม่สามารถเอาชนะได้ หากมั ว แต่ ยึ ด พื้ น ที่ ตั้ ง รั บ ให้ ข ้ า ศึ ก มี พื้ น ที่ ทีม่ นั ต้องการเถอะ ถ้าเราสามารถให้มนั มาอยู่ ในต�ำแหน่งที่เราสามารถฆ่ามันได้!” ในสงครามโลกครั้งที่ ๒ นายพลแพตตัน พยายามทีจ่ ะสูร้ บสงครามโดยใช้หลักการตัง้ รับ
มีนายพลไม่กคี่ นทีใ่ ช้หลักการแห่งความรวดเร็ว นายพลส่วนใหญ่ใช้หลักการยึดพื้นที่ นายพล แพตตันต้องการพืน้ ทีท่ ที่ า่ นสามารถฆ่าข้าศึกได้ พืน้ ทีห่ ลายแห่งถูกยึดเพือ่ ความมุง่ หมายในการ ตั้ ง รั บ นายพลแพตตั น ไม่ เ ชื่ อ ถื อ การตั้ ง รั บ ทฤษฎีของท่านคือ ถ้าหากข้าศึกยังอยู่ภายใต้ การโจมตีอยู่อย่างสม�่ำเสมอแล้วละก็ มันไม่มี ความจ�ำเป็นเลยที่จะต้องตั้งรับ ในประเทศเวียดนามพวกเราไม่เคย “จับข้าศึก ให้ถึงลูกถึงคน” เลย พวกเราไม่รู้ด้วยซ�้ำว่า ท�ำไมเราถึงต้องไปอยู่ที่เวียดนาม เป้าหมาย ไม่ใช่เพื่อการฆ่าคน เราไม่ได้อยู่ในสงคราม เพื่ อ การฆ่ า คน! ผมจ� ำ ค� ำ พู ด ตอนงานเลี้ ย ง กลางวันได้ ผู้พูดเป็นเจ้าหน้าที่รัฐบาลระดับสูง ได้กล่าวว่าสงครามย่อยๆ ทีเ่ กิดขึน้ บางแห่งในที่ ที่ห่างไกลเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจสหรัฐฯ การสงครามเพือ่ เศรษฐกิจจะต้องเป็นเหตุผล ให้นายพลแพตตันระเบิดอารมณ์แน่ๆ “ใครเคยได้ยินบ้างว่าการรบในสงคราม เป็นการช่วยเศรษฐกิจของชาติ? นรกแท้ๆ! สงครามคือการฆ่าคน ไอ้การทีพ่ ยายามพูดว่า มันเป็นสงครามย่อยๆ ก็เหมือนกับว่าก�ำลัง พยายามพูดว่าผู้หญิงคนหนึ่งมีครรภ์ย่อยๆ! ใครจะไปมีก�ำลังใจไปบอกทหารของตนว่า ก�ำลังจะตายเพื่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ?” การจั บ ปั ญ หาให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คน และแก้ ไ ข โดยเร็วนั้นมีประโยชน์เหมาะสมที่จะปฏิบัติได้ ในหลายสถานการณ์เมื่อถึงคราวจ�ำเป็น การ กวดขันวิ นั ย เด็ ก ๆ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้การปฏิบัติ ฉั บ พลั น เหมื อ นกั บ การเผชิ ญ หน้ า กั บ ข้ า ศึ ก อันนี้ก็เฉพาะเด็กที่ควรจะต้องถูกกวดขัน พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ในขณะนั้ น จะยิ ง ในที่ ที่ เ ราเคยวางตั ว อยู ่ เมื่อข้าศึกก�ำลังยิงไปในที่ที่เราเคยอยู่ เราจะ สามารถรู้อย่างแน่นอนว่า พวกมันยิงมาจาก ทางไหน เราจะเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วและ ท�ำลายข้าศึกในสถานที่ที่พวกเราสามารถฆ่า พวกมันได้โดยง่าย” “อย่าให้ฆ่าศึกเลือกพื้นที่การรบ เราจะรบ ในสถานที่ที่เราต้องการรบ ไม่ใช่ในที่ที่ข้าศึก ต้องการ เราจะรักษาความได้เปรียบในการ เลือกพื้นที่เสมอ” หลักการนี้จะกล่าวต่อไปในบทที่ว่าด้วยกฎ ในการเอาชนะ นายพลแพตตันไม่เคยรบทัง้ วัน ทั้งคืนโดยใช้แค่ยิงปืนใหญ่อยู่กับที่ นายพลแพตตันไม่ตอ้ งการทีจ่ ะท�ำลายสะพาน หรื อ สถานที่ ใ ดเพราะจะต้ อ งสร้ า งใหม่ เ มื่ อ ต้องการบุกอย่างรวดเร็ว มอนต์โกเมอรีมักจะ บ่อยครัง้ เหลือเกินทีแ่ ม่จะพูดว่า “ลูกไม่เชือ่ เป็นนายพลที่ไม่ธรรมดา เขาท�ำการสู้รบได้ รวบรวมก�ำลัง, สะสมความเข้มแข็ง และรอคอย ฟังอีกแล้ว! รอให้พอ่ กลับบ้านก่อนเถอะพ่อจะ ไม่ ดี นั ก แต่ เ ขาเป็ น นายพลที่ เ ก่ ง ที่ สุ ด ใน การเพิ่มเติมก�ำลัง! ทั้งหมดนั้นจะท�ำให้นายพล ท�ำโทษลูก” เมือ่ ผูท้ เี่ ป็นพ่อเหนือ่ ยอ่อนกลับมา เรื่องการไล่ติดตาม ในช่วงปีนั้นๆ ถ้า มอนตี้ แพตตันประกาศว่า ถึงบ้านเขาก็อาจจะพูดว่า “ท�ำไมเราไม่คอย (Monty) (นายพล มอนต์โกเมอรี กองทัพ “ไปลงนรกเถอะ ที่จะมัวแต่รวบรวมก�ำลัง ตอนเช้าล่ะ ลูกหลับแล้ว ปลุกขึ้นมาท�ำไมอีก อังกฤษ - Montgomery) เก่งในเรื่องการไล่ อยู่ เราจะรวบรวมก�ำลังขณะทีเ่ ราเคลือ่ นทีใ่ ห้ คอยจนกว่าที่ลูกจะท�ำผิดอีกครั้งดีกว่า!” ติดตามเท่ากับที่เก่งในเรื่องการสู้รบแล้วละก็ เป็นเรื่องของผู้หญิง และเด็กที่จะสะสมความ บ่ อ ยมากที่ ถ ่ ว งเวลาเป็ น การมอบโอกาส เขาจะได้ เ ป็ น หนึ่ ง ในจ� ำ นวนจอมทั พ ผู ้ ใ หญ่ เข้มแข็ง เมื่อจัดการกับข้าศึกขณะเคลื่อนที่ ให้แก่เด็กทีจ่ ะเริม่ การ “เล่นงาน” จนกระทัง่ เขา (GREAT CAPTAIN) ทีเดียว ก็เท่ากับเราบังคับให้ขา้ ศึกต้องเคลือ่ นทีด่ ว้ ย” สามารถท�ำให้พ่อแม่ยอมแพ้ได้ เด็กที่ถูกจับให้ นายพลแพตตั น ไม่ เ คยสู ้ ร บในสงคราม ผู้น�ำทางทหาร และผู้น� ำทางการบริหาร ชิดจมูก และถูกตีในกางเกงจะพอใจที่พ่อแม่ เหมือนกันกับที่เชอร์ชิลล์ และมอนต์โกเมอรี สูร้ บในสงครามของเขาบนหลักแห่งการยึดพืน้ ที่ ก�ำลังสอนถึงวิธีซึ่งท�ำให้จิตใจควบคุมร่างกาย เคยท�ำ นายพลแพตตันจะพูดว่า น้อยคนทีจ่ ะเข้าใจหลักการของนายพลแพตตัน ผู ้ ที่ ก ลั ว การปลด และการตายนั้ น จะ “มั น เป็ น การสู ญ เสี ย เด็ ก หนุ ่ ม ไปโดย ที่ว่า “จับข้าศึกให้ได้ถึงลูกถึงคน แล้วจัดการ สามารถใช้หลักการนีไ้ ด้มากทีจ่ ะปลดการจูโ่ จม เปล่าประโยชน์ที่จะยึดพื้นที่อยู่และคอยดูว่า ทั น ที ” พวกเราไม่กี่คนที่กล้าเผชิญหน้ากับ เข้ า หาตั ว เหมื อ นกั บ การโจมตี จ ากข้ า ศึ ก ใครจะยิงปืนใหญ่ได้มากกว่ากัน มันหมายถึง สั จ ธรรมที่ ว ่ า ทุ ก วั น แห่ ง การมี ชี วิ ต คื อ การ มีน้อยคนที่จะใช้ความพยายามที่จะใช้วิธีจับ การสู ญ เสี ย คนเป็ น จ� ำ นวนมากที่ จ ะมั ว ยึ ด เข้าใกล้วันตายอีกวันหนึ่ง ให้ถึงลูกถึงคนในการปลดพวกเราจ�ำนวนมาก พืน้ ทีอ่ ยูแ่ ล้วรอให้ขา้ ศึกเข้าโจมตี เราจะด�ำรง ไม่ยึดหลักที่ว่า ทุกๆ วันแห่งการมีชีวิต คือ การ การเคลือ่ นทีอ่ ย่างรวดเร็ว และข้าศึกจะยิงเรา เข้าไปใกล้วันปลดอีกวันหนึ่งเช่นเดียวกันกับ ในที่ที่เราเคยวางตัวอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ที่เราอยู่ การเข้าไปใกล้วนั ตายอีกวันหนึง่ ความล้มเหลว ในการจั บ ให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คนในเรื่ อ งความตาย ให้เป็นเหตุให้พวกเรามีชีวิตในช่วงท้ายของ วัยไม่กี่ปีนั้นด้วยความหวาดกลัวอย่างถาวร เมื่อคาดว่าชีวิตจะสิ้นสุดในสองสามปี ข้าศึก (ความตาย) ก็ อ าจจะเข้ า มาควบคุ ม ชี วิ ต โดยสิน้ เชิง ถ้าความตายไม่ถกู จับให้ถงึ ลูกถึงคน พวกเราก็อาจจะอยู่ใน “หลุมบุคคล” แห่ง ความตกต�ำ่ ซึ่งเป็นที่ที่เราไม่สามารถหนีพ้น หลักการของนายพลแพตตันง่ายทีจ่ ะพูดถึง แต่ยากที่จะน�ำไปใช้ หน่วยงานหลายหน่วย ไม่ เ คยจั บ ข้ า ศึ ก (ปั ญ หา) ให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คน อย่างแท้จริง องค์การของรัฐบาลหลายแห่ง ไม่จับภารกิจให้ชัดแจ้ง และแก้ปัญหาโดยทันที ผมไม่แน่ใจว่า เชอร์ชลิ ล์ เคยยึดความส�ำคัญ ของความรวดเร็วในการเอาชนะสงครามหรือไม่ แต่นายแพทย์ประจ�ำตัวเชอร์ชิลล์ไม่เข้าใจใน ความส�ำคัญของหลักการของนายพลแพตตัน เพราะเขียนในหนังสือของเขาว่า “แพตตัน” หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
47
3G และ 4G เทคโนโลยีใหม่มาแรง กองประชาสัมพันธ์ ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
48
กองประชาสัมพันธ์ ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เ
มื่อก่อนเราใช้โทรศัพท์เป็นโทรศัพท์ คือใช้ โทรได้อย่างเดียว นั้นเรียกว่ายุค 1G พอ ยุค 2G โทรศัพท์ก็สามารถถ่ายรูปได้ ส่ง ข้อความได้ ส่งอีเมล์ได้ แต่ยังติดขัดอยู่ในเรื่อง ของสัญญาณติดๆ ขัดๆ เวลาเคลื่อนไหว ส่วน 3G จริงๆ แล้วก็คือระบบโทรศัพท์ที่พัฒนาอีก ขั้นหนึ่งให้มีการเชื่อมต่อตลอดเวลา ในเรื่อง ของข้อมูล เพราะฉะนั้นในด้านการเชื่อมต่อ ข้อมูลจะดีกว่า อีกทัง้ ยังไม่ได้คดิ ราคาตามเวลา การใช้ แต่จะคิดตามอัตราการโหลดข้อมูล และ มีความเร็วในการใช้งานที่มากขึ้น เพราะฉะนั้น โทรศัพท์ในยุค 3G จึงไม่ใช่แค่เพียงโทรศัพท์อกี ต่อไป 3G ท�าให้การพูดคุยสามารถเห็นหน้า กันได้ หรือไม่ว่าจะเป็นเรื่องของซอฟต์แวร์ก็ จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในโทรศัพท์ ก็คือ อี ก สั ก หน่ อ ยโทรศั พ ท์ อาจจะส่งสัญญาณให้ ควบคุมสิ่งของที่บ้าน เช่น ส่งให้เปิดปิดตู้เย็น เปิดปิดหม้อหุงข้าว เป็นต้น หรือข้อมูลอะไร ต่างๆ ที่มีพื้นที่การเก็บข้อมูลมากๆ 3G ก็จะให้ ประโยชน์เหล่านี้นั้นเอง อย่างเช่น แผนที่เราก็ สามารถดาวน์โหลดได้จากอินเตอร์เน็ตเข้ามาที่ โทรศัพท์โดยผ่านระบบ 3G นี้ได้เลย ค� า ว่ า 3G ในเรื่ อ งของโทรศั พ ท์ ก็ คื อ มาตรฐานการพัฒนาซึ่งแบ่งเป็นยุคๆ ตั้งแต่ยุค 1G ที่โทรศัพท์เป็นแบบเซลลูลาร์อันใหญ่ๆ ใช้สัญญาณอนาล็อก หรือสัญญาณคลื่นวิทยุ ซึ่งเกิดในปี ๑๙๘๑ ยุคต่อมาคือ 2G เริ่มในปี ๑๙๙๒ โดยใช้ระบบดิจติ อล คือการน�าสัญญาณ เสี ย งมาบี บ อั ด ให้ เ ล็ ก ลงจนเป็ น สั ญ ญาณ อิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาในปี ๒๐๐๑ ก็เริ่มมีการ ใช้โทรศัพท์ 3G ที่ญี่ปุ่นเป็นที่แรกที่น�าระบบ 3G เข้ามาใช้จนถึงทุกวันนี้ จุดเด่นของ 3G คือ รับส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น ส่วนจุดอ่อนของ 3G คือ การเปลี่ยนจาก 2G ปัจจุบันในประเทศไทยเรา นั้นน่าจะเรียกว่าระบบ 2.9G คือจากระบบ 2G เป็น 2.5G จนมาเป็น 2.9G เช่น สามารถถ่าย
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
ภาพแล้วก็อัพเดทขึ้น Facebook ได้เลย แต่ก็ ยังต้องคอยอยู่ดี แต่ถ้าเป็น 3G แล้วก็จะเร็วขึ้น นั่นเอง เพราะฉะนั้นก็เลยถือว่ามันไม่ได้ตอบ สนองโจทย์ทั้งหมด เพราะถ้าจะพัฒนาระบบ ทั้งหมดให้เป็น 3G ต้องใช้งบลงทุนมากมาย มหาศาล แต่สิ่งที่ได้มาบางทีอาจจะไม่คุ้มกับ การใช้งานจริง ในส่วนของประเทศที่ใช้ 3G มานานแล้ว เขามองว่าจะเปลี่ยนเป็นระบบ 4G กันแล้ว 4G เป็นเหมือนการสร้างมาตรฐาน อุตสาหกรรมขึ้นไปเรื่อยๆ ทุกๆ ๑๐ ปี 4G มีลักษณะแตกต่างจาก 3G คือ ในเรื่อง ของการเชื่ อ มต่ อ แบบเคลื่ อ นไหวไร้ ร อยต่ อ 4G เป็ น เครื อ ข่ า ยไร้ ส ายความเร็ ว สู ง ชนิ ด พิเศษ หรือเป็นเส้นทางด่วนส�าหรับข้อมูลที่ ไม่ต้องอาศัยการลากสายเคเบิล โดยระบบ ใหม่นี้จะสามารถใช้งานได้แบบไร้สาย รวมถึง คุณสมบัติการเชื่อมต่อเสมือนจริงในรูปแบบ สามมิติ (three-dimensional) ระหว่างผู้ใช้ โทรศัพท์ด้วยกันเอง นอกจากนั้น สถานีฐาน ซึ่งท�าหน้าที่ในการส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์
ด้วยความเร็วของ 4G ที่เร็วแรงกว่า 3G นี้ การให้บริการ 4G ผ่าน Wifi Adaptor จะทำาให้เพิ่มโอกาสในการ เข้าถึง Internet ได้อย่างง่ายดาย และ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
49
เคลื่อนที่จากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง และมีต้นทุนการติดตั้งที่แพงลิ่ว ในขณะนี้จะ มีให้เห็นกันอย่างแพร่หลายเช่นเดียวกับหลอด ไฟฟ้าตามบ้านเลยทีเดียว ส�ำหรับ 4G จะสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบ ไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่มขึ้นถึง ๑๐๐ เมกะไบต์ต่อวินาที ซึ่งห่างจากความเร็วของ ชุดอุปกรณ์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ที่ระดับ ๑๐ กิโลบิตต่อวินาที นอกจากนี้ การพัฒนาต่างๆ ที่ระบบ 3G รองรับ ระบบ 4G ก็จะรองรับ ในเวอร์ ชั่ น ที่ สู ง กว่ า อย่ า งเช่ น การใช้ ง าน มัลติมีเดียที่ดีขึ้น การรับส่งข้อมูลในรูปแบบ ภาพเคลื่อนไหวที่ไหลลื่นกว่า การเข้าถึงข้อมูล ที่เป็นสากลและความสามารถในการเชื่อมต่อ กับอุปกรณ์รูปแบบต่างๆ ได้ ผู้ที่อยู่ในแวดวง การอุตสาหกรรมต่างยังลังเลที่จะคาดการณ์
ทิศทางทีเ่ ทคโนโลยีในอนาคตอันใกล้จะเป็นไป แต่กค็ าดว่าการพัฒนาของระบบ 4G ได้รวมเอา ความสามารถในการค้นหาสัญญาณเครือข่าย ได้ทั่วโลกเข้าไว้ด้วย ระบบ 4G อาจจะเชื่อม ต่ อ โลกทั้ ง ใบและสามารถกระท�ำ ได้ ใ นทุ ก ที่ ไม่ว่าจะอยู่บนหรือแม้จะอยู่เหนือพื้นผิวของ โลกได้อย่างแท้จริง เทคโนโลยี LTE หรือ Long Term Evolution เป็ น ชื่ อ เรี ย กที่ รู ้ จั ก กั น ว่ า 4G (โทรศั พ ท์ ยุ ค ที่ ๔) เป็นเทคโนโลยีอนาคต ที่ต่อยอดจาก ๔ ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ส ามารถตอบสนองการ ใช้งานบรอดแบนด์ ไ ร้ ส ายความเร็ ว สู ง โดย ท�ำความเร็วตั้งแต่ 100 Mbps - 1024 Mbps (1 Gbps) เลยทีเดียว เร็วกว่า 3G เดิมถึง ๗ เท่า ด้วยความเร็วของ 4G ที่เร็วแรงกว่า 3G นี้ การให้บริการ 4G ผ่าน Wifi Adaptor จะ
ท�ำให้เพิ่มโอกาสในการเข้าถึง Internet ได้ อย่างง่ายดาย และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพียงมี Aircard 4G และ Wifi Adaptor เมื่อเชื่อม ต่อแล้ว สามารถแชร์สัญญาณ 4G เพื่อให้ใช้ พร้อมกันกับอุปกรณ์ที่รองรับสัญญาณ Wifi ได้ อย่างสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เสมือนกับถนนที่ มีขนาดใหญ่ยิ่งขึ้น ก็สามารถที่จะรองรับรถได้ มากขึ้น และวิ่งเร็วได้มากขึ้นด้วย นอกจากนี้ 4G ยั ง สามารถส่ ง ไฟล์ วี ดี โ อ ความละเอียดสูง และการถ่ายทอดสดแบบ Live Broadcast แบบ Realtime การประชุม ทางไกลแบบ Interactive ที่สามารถโต้ตอบ แบบทันที บริการ cloud service สนับสนุน การเรียนผ่านทาง e-learning, การรักษาโรค ทางไกล (Telemedicine) และรวมไปถึงการ ชมภาพยนตร์ความละเอียดสูงบนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ซึง่ เหมาะส�ำหรับการท�ำธุรกิจด้าน มัลติมีเดียและวีดีโอออนไลน์ในอนาคต ต่างประเทศที่ทดสอบ 4G แล้วส่วนใหญ่อยู่ ในแถบทวีปยุโรป เช่น สวีเดน (ประเทศแรก ของโลกที่ทดสอบ 4G) ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ โปแลนด์ จีนก็เริ่มทดสอบแล้วเมื่อปี ๒๕๕๔ สิงคโปร์ก็ก�ำลังท�ำอยู่
ที่มาข้อมูล : http://www.dmc.tv 50
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
การรักษาความปลอดภัย ในการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่
แผนกเผยแพร่ กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
51
ก
ารปกป้องมือถือของคุณจากภัยตามมา จากการท�าโทรศัพท์หาย หรือถูกขโมย นัน้ ไม่ใช่เรือ่ งยาก เพียงแค่อาศัยวินยั ใน การใช้งานและความระมัดระวังนิดหน่อย ข้อพึง ปฏิบัติต่อไปนี้จะช่วยรักษาข้อมูลในโทรศัพท์ มือถือของคุณให้ปลอดภัยเสมอ ๑. สิ่งบอกเหตุ หรือข้อสังเกต โทรศัพท์ ถูกดักฟัง ๑.๑ มีขอ้ ความแปลกๆ กรณีทไี่ ม่ทราบ ที่มา หรือไม่สามารถพิสูจน์ตัวตนได้ ๑.๒ สังเกตการณ์ใช้งาน SMS ว่ามี ปริมาณการใช้มากกว่าปกติหรือไม่ และ/หรือมี การเรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายในการส่ง SMS มาก ผิดปกติ ๑.๓ หมัน่ สังเกตเสียงทีแ่ ทรกเข้ามาใน โทรศัพท์ หากเกิดขึน้ อยูบ่ อ่ ยๆ เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ ปกติ กับการใช้งานประจ�า อาจเป็นไปได้ที่โทรศัพท์
๕๒
ถู ก ดั ก ฟั ง แต่ ทั้ ง นี้ ผู ้ ใ ช้ เ ครื่ อ งต้ อ งเปิ ด สาย เรียกซ้อน (Function Call Waiting) ไว้ด้วย ๒. วิธีการหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกดักฟัง ๒.๑ ห้ามให้ผู้อื่นใช้หรือยืมโทรศัพท์ เพราะอาจเปิดโอกาสให้ถกู ตรวจสอบหมายเลข IMEI (เป็นหมายเลข ๑๕ หลักประจ�าแต่ละ เครื่ อ ง) จากนั้ น ผู ้ ดั ก ฟั ง จะสามารถติ ด ตั้ ง โปรแกรมดักฟังลงบนเครื่องเป้าหมายได้ ๒.๒ ในการซ่อมโทรศัพท์ ควรหาร้าน ซ่อมที่ไว้ใจได้ เนื่องจากร้านซ่อมโดยทั่วๆ ไป สามารถติดตั้ง และใช้งานโปรแกรมดักฟังได้ ๒.๓ หลีกเลี่ยงการพูดข้อความที่มีชั้น ความลับทางโทรศัพท์ ๒.๔ ไม่ น� า โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ เ ข้ า ใน ห้องประชุมที่มีวาระการประชุมส�าคัญหรือมี ชั้นความลับ แม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไม่ก็ตาม ผู้ดักฟังก็สามารถสั่งเปิดระบบการดักฟังได้ จากเครื่องควบคุมไปยังเครื่องเป้าหมาย ๒.๕ ตัดสัญญาณการใช้โทรศัพท์ เพื่อ ความปลอดภัยในการถูกดักฟัง ผูท้ อี่ ยูใ่ นบริเวณ ที่ ถู ก ควบคุ ม โดยการตั ด สั ญ ญาณโทรศั พ ท์ ด้วยเครื่องตัดสัญญาณโทรศัพท์จะไม่สามารถ โทรเข้า หรือโทรออกได้ ๒.๖ อาจใช้อุปกรณ์ประเภท Voice Scamble ท�าการเปลี่ยนเสียงโทรศัพท์ต้นทาง และเข้ า รหั ส ในการจั ด ส่ ง ข้ อ ความเสี ย งไป ยั ง เครื่ อ งปลายทาง วิ ธี ก ารนี้ เ ครื่ อ งต้ น ทาง กับเครื่องปลายทางต้องมีเครื่องส่งรหัส และ ถอดรหัส ท�าให้เสียค่าใช้จ่ายสูง
๒.๗ การโอนสายเลขหมายโทรศัพท์ ในกรณีทรี่ วู้ า่ ถูกดักฟัง หรือถูกติดตาม เพือ่ หลอก ผูต้ ดิ ตามไม่ให้รทู้ อี่ ยูจ่ ริงของผูใ้ ช้โทรศัพท์ กรณีนี้ จะต้องไม่ใช้หมายเลขโทรศัพท์ทอี่ ยูใ่ นเครือข่าย เดียวกัน ๓. วิธีการป้องกันการถูกดักฟัง ๓.๑ ให้ใช้โทรศัพท์เข้ารหัส โดยก�าหนด ผูใ้ ช้เฉพาะผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ สูงเท่านัน้ เนือ่ งจาก มีราคาสูงมากต่อเครือ่ ง การเข้ารหัสจะสามารถ ใช้ได้กบั เครือ่ งทีเ่ ข้ารหัสด้วยกันเท่านัน้ หากติดต่อ สื่อสารกับโทรศัพท์ธรรมดา ก็จะไม่สามารถ รักษาความลับได้ ๓.๒ ติ ด ตั้ ง โปรแกรมป้ อ งกั น ไวรั ส และโปรแกรมเข้ารหัส เพื่อให้สามารถป้องกัน ข้อมูลจากการติดไวรัส จากการใช้โทรศัพท์เข้า Internet และให้สามารถสื่อสารถึงกันได้โดย ปลอดภัย แต่วิธีการนี้อาจมีการใช้งานที่ยุ่งยาก สลับซับซ้อน ยากต่อการใช้งาน ๓.๓ ติดตัง้ เครือ่ งแม่ขา่ ย (Server) และ โปรแกรมเข้ารหัสโดยเครื่องแม่ข่าย จะท�าให้ สามารถควบคุมการเข้ารหัสได้เอง ซึง่ ปลอดภัย ทั้งการใช้งานข้อมูลเสียง ข้อความตัวอักษร ข้อความภาพ และยังสามารถใช้โปรแกรม รับ-ส่ง ข้อมูลต่างๆ ในโทรศัพท์เคลือ่ นที่ รวมทัง้ ใช้งาน อินเตอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย
แผนกเผยแพร่ กองประชาสัมพันธ์ ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
สอบภาษาอังกฤษไปนอก พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ก
ารได้รับทุนไปศึกษาต่อในต่างประเทศ นัน้ เป็นสิง่ ทีห่ ลายคนปรารถนา เพราะ นอกจากจะประหยัดเงินแล้ว ยังเป็นการ ได้ไปเปิดหู เปิดตา เปิดโลกทัศน์ให้เราได้เรียนรูท้ งั้ ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ ทีม่ คี วามหลากหลาย มากมาย ยิง่ สมัยก่อนแล้ว การได้รับทุนไปเรียนต่อในต่างประเทศถือเป็น เกี ย รติ ป ระวั ติ แ ก่ ค รอบครั ว พ่ อ แม่ จ ะรู ้ สึ ก ปลาบปลื้มและภูมิใจในความสามารถของลูก มากที่ ส ามารถสอบชิ งทุนไปเรียนต่อในต่าง ประเทศ คุณแม่ของผู้เขียนก็เป็นหนึ่งในนั้น ที่ตื่นเต้นมากที่ลูกได้ไปเมืองนอก ถึงขนาด ชักชวนญาติพนี่ อ้ งไปส่งทีส่ นามบินกันเยอะเลย สมัยนั้นมีพวงมาลัยคล้องคอเหมือนนักร้องมา ให้ดว้ ย เล่นเอาสนามบินคึกคักเป็นพิเศษ ทัง้ ทีม่ ี ผูโ้ ดยสารเดินทางเพียงไม่กคี่ น ยิง่ ได้รบั จดหมาย ของลูกส่งมาบอกคิดถึงและส่งรูปถ่ายสถานที่ แปลก ไปลุยหิมะ หรือแต่งตัวเท่ห์ๆ ส่งมาให้ แม่แล้ว แม่กน็ า� ไปอวดให้เพือ่ นๆ เล่าเรือ่ งต่างๆ ที่ลูกเขียนมาให้เพื่อนๆ ฟังยังกะไปเองเลย ทีเดียว พอกลับมาถึงเมืองไทย มีของฝากจาก เมืองนอกที่บ้านเราไม่มีมาฝากด้วยแล้วละก็ ยิง่ ภูมใิ จในตัวลูกเพิม่ ขึน้ เป็นทวีคณ ู แล้วคุณละ อยากไปเมืองนอกไหม ไปแบบไม่ต้องควักเงิน ส่วนตัวนะ แล้วถ้าไป อยากไปประเทศไหน มากที่สุด ผู้เขียนเดาได้เลยว่าหนึ่งในประเทศ ที่อยากไปมากที่สุดคือประเทศสหรัฐอเมริกา อย่างแน่นอน เพราะประเทศสหรัฐอเมริกา ถือได้ว่าเป็นแหล่งศูนย์กลางการค้าที่ส�าคัญ ที่สุดในโลกและมีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง ท�าให้เป็นประเทศที่ติดอันดับประเทศน่าเที่ยว ที่สุดในโลก ส� า หรั บ ข้ า ราชการทหารแล้ ว เรามี ทุ น การศึ ก ษาในต่ า งประเทศหลายโครงการที่ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
เปิ ด โอกาสให้ ท หารไทยได้ ไ ปแลกเปลี่ ย น ความรู้และประสบการณ์ร่วมกับมิตรประเทศ เช่น โครงการศึกษาของเครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศมาเลเซีย ประเทศบรูไน สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ประเทศเยอรมัน ประเทศอิตาลี และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น โดยเฉพาะหลักสูตร ทางทหารของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ในโครงการทุน IMET (International Military Education and Training) นัน้ ผูส้ มัครขอรับทุน การศึกษาจะต้องผ่านการสอบวัดระดับภาษา อังกฤษแบบ ECL (English Comprehension Level Test) ซึ่ ง เป็ น ข้ อ สอบมาตรฐานที่ มุง่ วัดความสามารถทางภาษาในการฟังและการ อ่านภาษาอังกฤษ โดยข้อสอบภาษาอังกฤษ แบบ ECL นั้นพัฒนาและปรับปรุงโดยสถาบัน ภาษาของกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ อเมริ ก า DLIELC (Defense Language Institute English Language Center) การคัดเลือก ผูส้ มัครขอรับทุน ส่วนใหญ่จะมีการสอบ ๒ ครัง้ คื อ การสอบคั ด เลื อ กรอบแรกจะเป็ น การ คั ด เลื อ กผ่ า นศู น ย์ ภ าษาของแต่ ล ะเหล่ า ทั พ เพื่อคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนภาษาอังกฤษ ๘๐ คะแนนขึ้ น ไป จากนั้ น จะท� า การทดสอบ คัดเลือกขั้นสุดท้ายที่ส�านักงานคณะที่ปรึกษา ทางทหารสหรัฐอเมริกาประจ�าประเทศไทย JUSMAGTHAI (Joint United States Military Advisory Group Thailand) บางครัง้ ก็มีการน�าข้อสอบแบบ ECL มาใช้ในการสอบ คัดเลือกไปประเทศอื่นๆ ด้วย ข้อสอบภาษาอั งกฤษแบบ ECL จะเป็ น ข้อสอบแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก ประกอบ ด้วยข้อสอบ จ�านวน ๑๐๐ หรือ ๑๒๐ ข้อ ขึ้น อยู่กับแบบทดสอบ ซึ่งส่วนมากจะเป็น ๑๐๐ ข้อ ข้อสอบแบ่งเป็น ๒ ตอน ได้แก่ การฟัง การ
อ่าน ในส่วนการฟัง (Listening) จะมีประมาณ ๖๐ ถึง ๗๐ ข้อ โดยข้อสอบการฟังจะก�าหนด ให้ฟังเพียง ๑ ครั้ง บริบทของข้อสอบจะเป็น บทพูดคนเดียวสัน้ ๆ และบทสนทนาสัน้ ๆ พร้อม ค�าถามให้ผู้สอบเลือกค�าตอบตามตัวเลือก ใน แบบทดสอบ ใช้ เ วลาท� า ข้ อ สอบในการฟั ง ทั้งสิ้นประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที ส่วนใหญ่ ข้ อ สอบมั ก จะถามเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะค� า ศั พ ท์ ส�านวน ค�าแสลง ค�าที่มีความหมายเหมือนกัน ค�าตรงข้าม ค�าพ้องเสียง เช่น ๑. ค� า ที่ ค ว า ม ห ม า ย เ ห มื อ น กั น (Synonyms) เช่น - buy and purchase (ซื้อ) - chair and seat (ที่นั่ง) - quickly and rapidly (เร็ว) - long and extended (ยาว) - cat and feline (แมว) - baby and infant (เด็กทารก) ๒. ค�าตรงข้าม (Antonym) เช่น - hot (ร้อน) and cold (เย็น) - up (ขึ้น) and down (ลง) - short (สั้น) and tall (ยาว) ๓. ค�าพ้องเสียง (Homonyms) เช่น - male (ผู้ชาย) mail (จดหมาย) - Soul (วิญญาณ) Sole (ฝ่าเท้า) ๔. ค�าแสลง และส�านวนต่างๆ เช่น - hit the sack แปลว่า เข้านอน - burn the midnight oil แปลว่า ท�างานดึกดื่น - put aside แปลว่า ออมเงิน - hit the road แปลว่า ไปกันเถอะ ในส่วนการอ่าน (Reading) นั้นจะเป็นการ ทดสอบหลักไวยากรณ์ ค�าศัพท์ ส�านวนภาษา อั ง กฤษและบทความสั้ น ๆ เพื่ อ หาใจความ ส�าคัญ ขั้นตอนการอ่านจะสอบหลังการฟังโดย ๕3
มีประมาณ ๓๐ ถึง ๔๐ ข้อของข้อสอบทั้งหมด ประชาชนทุ ก ชนชั้ น ต่ า งพากั น บ่ น โดยมีข้อให้เลือก ๔ ข้อ ใช้เวลาประมาณ ๓๐ เกี่ยวกับค่าครองชีพที่สูงขึ้น นาที ๒. With reference to (ตามอ้างถึง.....) ว่าไปแล้วข้อสอบแบบ ECL จะใช้ในการ - With reference to your letter ประเมิ น ขี ด ความสามารถในการใช้ ภ าษา dated May 24th 2012, I had no objection. อ้ า งถึ ง หนั ง สื อ ลงวั น ที่ ๒๔ พ.ค. อั ง กฤษแบบอเมริ กั น ของผู ้ ที่ เ คยผ่ า นการ เรี ย นหลั ก สู ต รภาษาอั ง กฤษแบบอเมริ กั น ๒๕๕๕ ผมไม่มีข้อคัดค้านใดๆ ๓. For the sake of (เพื่อเห็นแก่....) (American language Course) ที่ได้เรียน - We devote our lives for the sake ตัง้ แต่ตำ� ราเล่ม ๑ ถึงเล่มที่ ๓๔ เพราะมีค�ำศัพท์ ส�ำนวน ค�ำแสลงต่างๆ และไวยากรณ์ต่างๆ น�ำ of our country. พวกเรายอมเสียสละชีวติ เพือ่ ประเทศ มาสอนไว้ในหนังสือ หรือนักเรียนที่มีพื้นฐาน ความรู้ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน แต่ที่ผ่านมา ชาติ ๔. Owing to ... (เนื่องจาก....) พบว่า ผู้สอบส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม - Owing to Susie’s unaccepted เรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน และ ไม่ได้ทบทวนหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและ behavior, she was finally fired. เนือ่ งจากพฤติกรรมทีร่ บั ไม่ได้ของซูซี่ ค�ำศัพท์มานานแล้ว ท�ำให้ผลคะแนนไม่สามารถ ผ่ า นเกณฑ์ ร ้ อ ยละ ๘๐ สั ก ที ที่ พู ด แบบนี้ หล่อนเลยถูกไล่ออก ๕. Either…….or (ไม่สงิ่ หนึง่ ...ก็สงิ่ หนึง่ ; ไม่ได้หมายความว่า เราจะพัฒนาความรูใ้ นการ ใช้ภาษาอังกฤษให้ดีไม่ได้นะคะ เพียงต้องการ ไม่...ก็...) - Either you or I have to stay in จะเรียนให้ทราบว่า หากผู้อ่านมีแผนที่จะสอบ ข้อสอบภาษาอังกฤษแบบ ECL ก็ขอให้ทบทวน this room. ไม่คุณหรือฉันต้องอยู่ห้องนี้ หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษบ่อยๆ แต่เนิ่นๆ ๖. Neither……nor (ไม่ทั้งสองอย่าง; อยากน้อยไม่ต�่ำน้อยกว่า ๓ เดือน หรือจะเริ่ม ไม่ทั้ง...และ...) เรียนจากค�ำแนะน�ำข้างล่างนี้ก็ได้คะ - That old man is neither deaf หลั ก เมื อ งฉบั บ นี้ เ ราจะเปิ ด ห้ อ งเรี ย นติ ว ภาษาอั ง กฤษให้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ มี แ ผนจะสอบ nor dumb. ชายชราไม่ได้หูหนวกและเป็นใบ้ ชิงทุนไปต่างประเทศกันค่ะ โดยได้น�ำเนื้อหา ๗. Not only……but also (ไม่เพียง จากหนังสือ Brighter English ที่เขียนโดย นาวาอากาศเอก บุญทรง สุวัตถี อาจารย์ที่ แต่...ซ�้ำยัง...อีกด้วย) - She is not only beautiful but ผู้เขียนเคารพมากมาน�ำเสนอ ขอแนะน�ำว่า หนังสือเล่มนี้มีประโยชน์มากส�ำหรับผู้ที่เตรียม also very polite. ไม่เพียงแต่เธอจะสวยแล้วยังสุภาพ ตัวสอบแบบ ECL เรามาอ่านส�ำนวนที่นิยมใช้ ในชีวิตประจ�ำวันที่มักจะออกสอบ ดังต่อไปนี้ มากอีกด้วย ๘. The more….the more (ยิง่ ...ก็ยงิ่ ...) ๑. AII walks of life (ทุกชนชั้น) - The more they study, the more - People from all walks of life are complaining about the high cost of living. they know about scientific facts.
54
ยิง่ พวกเขาเรียนมากเท่าไหร่ พวกเขา ก็ยงิ่ เข้าใจความจริงเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์มากขึน้ ๙. In spite of (ทั้งๆ ที่....) - In spite of his sickness, he goes to school regularly. ทั้งที่เขาป่วย เขายังไปโรงเรียนเป็น ประจ�ำ ๑๐. As….as (พอๆ กับ....) - My house is as big as yours. บ้านฉันใหญ่เท่าบ้านของคุณ ๑๑. In addition to (นอกเหนือไปจาก) - In addition to English, I can also speak French. นอกจากภาษาอังกฤษ ฉันสามารถพูด ภาษาฝรั่งเศสได้ด้วย ๑๒. In regard to (เกี่ยวกับ....) - I don’t have any idea in regard to that political policy. ฉันไม่มีความรู้เกี่ยวกับนโยบายทาง การเมืองนั้นเลย ๑๓. On account of (เนื่องจาก, เพราะ เหตุว่า....) - On account of Henry’s bad health, he can’t be a pilot. เนื่องจากสุขภาพที่ไม่ดีของเฮนรี่ เขา จึงไม่ได้เป็นนักบิน ๑๔. Notwithstanding (ทั้งๆ ที่......) - Notwithstanding his illness, he works without complaining. ทั้ง ๆ ที่เขาป่วย เขายังไปท�ำงานโดย ไม่บ่นเลย ๑๕. By means of (โดยวิธี...) - They won the match by means of trickery. พวกเขาชนะการแข่งขันด้วยการใช้ เล่ห์เหลี่ยม ๑๖. Due to (เนื่องจาก....) - Due to his selfishness, l don’t want to get in touch with him. ด้วยความเห็นแก่ตัวของเขา ฉันเลยไม่ อยากติดต่อกับเขาอีก ๑๗. As a matter of fact (แท้ทจี่ ริงแล้ว...) - As a matter of fact Lt. Mana is very kind to me. แท้จริงแล้วผู้หมวดมานะ เขาดีกับ ผมมาก ๑๘. Whether….or (ไม่วา่ ...หรือ....) - I don’t mind whether they wiII go there or stay here or not. ผมไม่รังเกียจว่าพวกเขาจะไปหรือ จะอยู่ที่นี้หรือไม่ ๑๙. As soon as (ทันทีท.ี่ ..) - As soon as the rain stopped, พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
the boys ran out of the class. ทันทีที่ฝนหยุดตก เด็กๆ ผู้ชายก็วิ่ง ออกมาจากห้องเรียน ๒๐. As well as (ดีพอๆ กับ.....) - He can speak English as well as I do. เขาสามารถพู ด ภาษาอั ง กฤษได้ ดี พอๆ กันฉัน ๒๑. In order that (เพือ่ ว่า...) - Major Sitthi took herbal medicine in order that he might get well. พันตรี สิทธิกินยาสมุนไพรเพื่อท�ำให้ เขามีอาการดีขึ้น ๒๒. In order to (เพือ่ ทีจ่ ะ...) - In order to win the race, you should follow my advice. เพื่อที่จะให้ชนะการแข่งขัน คุณควร ท�ำตามค�ำแนะน�ำของฉัน ๒๓. On condition that (ถ้าหากว่า...) - I will forgive you on condition that you return my money to me now. ฉันจะยกโทษให้คณ ุ หากคุณคืนเงินให้ ฉันเดี๋ยวนี้ ๒๔. So that (ดังนัน้ , เพือ่ ว่า) - He is trying to collect money so that he may be able to buy a new car. เขาพยายามเก็บเงินเพื่อที่ว่าเขาอาจ จะสามารถซื้อรถยนต์คันใหม่ ๒๕. So…..that (มากจนกระทัง่ ....) - She is so fat that she can’t enter this narrow door. หล่อนอ้วนเกินไปจนไม่สามารถเข้า ประตูที่แคบนี้ได้ ๒๖. Too …..to (มากเกินกว่าทีจ่ ะ) - Today it’s too cold to go swimming. วันนีอ้ ากาศหนาวเกินไปทีจ่ ะไปว่ายน�ำ้ ๒๗. Inasmuch as (เพราะเหตุที่, ใน ฐานะที่...) หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
- Inasmuch as you are an officer, you should respect the military law. ในฐานะทีค่ ณ ุ เป็นนายทหาร คุณควร เคารพกฎหมายทหาร ๒๘. Provided that (ถ้าหากว่า...) - I will lend you some money provided that you promise to return it within two days. ผมจะให้คณ ุ ยืมเงินหากคุณสัญญาว่า จะคืนภายในสองวัน ๒๙. According to (ตาม...) - According to the school regulation, you aren’t allowed to smoke in this room. ตามระเบียบของโรงเรียน คุณไม่ได้ รับอนุญาตให้สูบบุหรี่ในห้องนี้ ๓๐. Look forward to (รอหวังทีจ่ ะได้...) - I am looking forward to receiving your reply as soon as possible. ผมรอคอยทีจ่ ะได้รบั การตอบจากคุณ เร็วเท่าที่เป็นไปได้ ๓๑. On behalf of (ในนามของ...) - On behalf of all Thai officers in my unit, I wish to extend a most cordial welcome to all of you. ในนามของนายทหารไทยในหน่วยผม ผมขอต้อนรับทุกท่านด้วยความยินดีเป็นที่สุด ๓๒. In connection with (อันเนือ่ งมาจาก) - In connection with my new assignment, I have to travel a lot. สืบเนื่องจากงานใหม่ของผม ผมต้อง เดินทางเยอะมาก ๓๓. In terms of (ถ้ า พิ จ ารณาใน แง่..............., หรือในด้าน.....................) - In terms of military rule and regulations, all lower rank officers have to pay respect and obey the higher rank officers.
ถ้าพิจารณาในแง่ของกฎและระเบียบ ทหารแล้ว ทหารอาวุโสน้อยต้องแสดงความ เคารพทหารและเชื่อฟังทหารที่อาวุโสกว่า ๓๔. In consequence of (อันเนือ่ งมา จาก........) - In consequence of his dishonesty I trusted him no more. ด้วยความไม่ซื่อสัตย์ของเขา ฉันไม่ เชื่อใจเขาอีกแล้ว ๓๕. In case of (ในกรณีท.ี่ ...., ถ้าหากว่า.....) - In case of emergency, pull this string. ในกรณีฉุกเฉิน ดึงเชือกนี้ ๓๖. Over and over (ซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ อีก.....) - He told me the same story over and over. เขาเล่าเรื่องซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า ๓๗. In favour of (เพือ่ เห็นแก่....) - King Henry abdicated his throne in favour of his eldest son. กษัตริยเ์ ฮนรีท่ รงสละราชบัลลังก์เพือ่ พระราชบุตรองค์แรก ๓๘. In honour of (เพือ่ เป็นเกียรติแก่....) - The party was set up in honour of Group Captain Vichaiyuth, our new director. งานเลี้ ย งจั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ แ ก่ นาวาอากาศเอก วิชยั ยุทธ ผูอ้ ำ� นวยการคนใหม่ ๓๙. In comparison to (เมื่อเทียบกัน ดูแล้ว) - In comparison to Donmuang airport, the Korat Airfield is very small. เมื่อเทียบกับสนามบินดอนเมืองแล้ว สนามบินโคราชเล็กมาก ๔๐. Instead of (แทนทีจ่ ะ....) - Instead of going to Penang by plane, they go by car. แทนที่จะนั่งเครื่องบินไปปีนัง พวก เขานั่งรถยนต์แทน นอกจากจะเข้าใจความหมายของค�ำแล้ว นะคะ เราจะต้องเข้าใจหลักไวยากรณ์ภาษา อังกฤษด้วยว่า ค�ำนี้ใช้กับค�ำนาม หรือกริยาที่ เติม ing หรือตามด้วยประโยค หากต้องการ ทราบค�ำอธิบายเพิ่มเติม แวะมาปรึกษาได้ที่ ศูนย์ภาษาต่างประเทศ กรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีกลาโหม หรืออีเมล์ wandeedrdo@ yahoo.com
55
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“การดูแลสุขภาพช่วงหน้าฝน” ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ข
ณะนี้บ้านเมืองเราหลายจังหวัดมีฝน ตกหนัก มีน�้ำท่วมหลายพื้นที่ สิ่งที่เรา ควรจะค�ำนึงถึงในขณะทีน่ ำ�้ ท่วม นอกจาก จะเอาตัวเองให้รอดปลอดภัยจากการจมน�ำ้ ตาย แล้ว ยังค�ำนึงถึงโรคต่างๆ ทีจ่ ะมาเยีย่ มเยียนกัน เป็นประจ�ำ และปัจจุบนั ก็เยอะเสียด้วย เราเอง ก็ควรจะรู้ไว้บ้างว่ามีโรคอะไร ที่เราหรือญาติ ของเราอยู่ในสภาวะที่เสี่ยง โรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) โรคเลปโตสไปโรซิส หรือทีค่ นุ้ เคยในชือ่ โรค ฉี่หนู โรคนี้ไม่ใช่โรคใหม่ เป็นโรคที่พบในสัตว์ หลายชนิด โดยเฉพาะ หนู วัว ควาย หมู โดย เชื้อโรคของสัตว์ จะปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม พบเชื้อมากในแหล่งน�้ำที่มีสัตว์อาศัยอยู่ใกล้ เคียง หากคนติดเชื้อและเป็นโรคนี้แล้วไม่ได้ รับการรักษาอย่างถูกต้องทันท่วงที ผู้ป่วยอาจ เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
สาเหตุของการแพร่ระบาด โรคเลปโตสไปโรซิส เป็นโรคติดต่อที่พบ ได้ตลอดปี แต่พบมากในฤดูฝน เกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย ชื่อว่า เลปโตสไปร่า (Leptospira) มีรูปร่างเป็นเส้นเกลียวบาง ปลายแหลมเล็กงอ คล้ายตะขอ เมื่อเคลื่อนไหวจะมีลักษณะคล้าย เกลียวสว่าน สามารถชอนไชผิวหนังที่เปื่อยยุ่ย รอยถลอก หรือบาดแผลของคนได้ เชือ้ นีม้ อี ยูใ่ น สัตว์หลายชนิด และหนูเป็นตัวแพร่โรคทีส่ ำ� คัญ โดยจะมีเชื้อนี้อยู่ในไตของหนู เชื้อจะถ่ายออก มากับปัสสาวะและปนเปื้อนอยู่ในน�ำ้ ดินโคลน ที่ชื้นแฉะ หนองบึง หรือในนาข้าว เมื่อคนไป สัมผัสแหล่งปนเปื้อนเชื้อโรคเหล่านี้ เชื้อจะเข้า สู่ร่างกาย ซึ่งตามปกติจะติดต่อได้ ๒ ทางคือ - ทางผิวหนัง เช่น เข้าทางบาดแผล รอยขีด ข่วน หรือผิวหนังที่แช่น�้ำนานๆ - ทางเยื่ออ่อนตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น เยื่อบุภายในปาก เยื่อบุตา เยื่อบุจมูก เมื่อ สัมผัสกับน�้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค นอกจากที่กล่าวมาแล้ว กิจกรรมบางอย่าง ในชีวติ ประจ�ำวันจะเพิม่ ความเสีย่ งทีจ่ ะเป็นโรค นี้ เช่น การเดินเท้าเปล่าบริเวณคอกสัตว์ การ ว่ายน�ำ้ หรือด�ำน�ำ้ ตามคลอง หนอง บึง การไถนา 56
ด�ำนา เดินลุยน�้ำ การทอดแห จับปลา โดยไม่มี วิธีป้องกัน การฆ่าช�ำแหละสัตว์โดยไม่ใส่ถุงมือ รวมถึงการกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงไม่สุก หรือกินผัก สดที่ไม่ได้ล้างให้สะอาด ฯลฯ เหล่านี้ก็ท�ำให้มี โอกาสติดเชื้อโรคเลปโตสไปโรซิสได้ ลักษณะอาการ ผูท้ เี่ ป็นโรคเลปโตสไปโรซิสส่วนใหญ่ จะเกิด อาการหลังจากได้รับเชื้อแล้วประมาณ ๕ - ๑๔ วัน เริ่มด้วยมีอาการไข้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อบริเวณขาและน่องอย่างรุนแรง บางคนอาจมีอาการเลือดออกใต้เยือ่ บุตา เลือด ออกเป็นจุดตามเพดานปากหรือไอเป็นเลือดได้ ผูป้ ว่ ยแต่ละคนอาจมีอาการของโรคไม่เหมือนกัน บางคนอาจมีอาการท้องเสีย บางคนมีไข้เพียง เล็กน้อย หรือมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ท�ำให้ คิดว่าเป็นโรคอื่นและไม่รีบรักษา จนอาการ หนักซึ่งอาจมีอาการไตวายและเสียชีวิตได้ การรักษา หากสังสัยว่าจะเป็นโรคนี้ คือ มีอาการปวด ศีรษะเฉียบพลัน มีไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อโดย เฉพาะที่น่องอย่างรุนแรง ตาแดง ซึ่งเกิดขึ้นใน ช่วง ๕ - ๑๔ วัน หลังสัมผัสน�ำ้ หรือสัตว์ที่อาจ เป็นโรค ให้รีบไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจ รักษา เพื่อลดความรุนแรงของโรค กลุ่มที่เสี่ยงต่อโรค กลุม่ อาชีพทีเ่ สีย่ ง เช่น ชาวนา คนงานไร่ออ้ ย คนงานเหมืองแร่ คนงานโรงงานฆ่าสัตว์ คนที่มี อาชีพหาปลา หรือผูท้ มี่ โี อกาสสัมผัสน�้ำหรือแช่ อยู่ในน�ำ้ นานๆ การป้องกันและควบคุมโรค วิธีการป้องกันโรคเลปโตสไปโรซิสนี้ท�ำได้ ไม่ยาก หากรู้จักระมัดระวังรักษาความสะอาด บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ตลอดจนอาหารการกิน และรูจ้ กั วิธปี อ้ งกันตัว เช่น สวมอุปกรณ์ปอ้ งกัน เช่น รองเท้าบูท ถุงมือ ขณะท� ำงานที่ต้อง สัมผัสน�้ำ หลีกเลี่ยงการกินอาหารดิบ ต้องกิน อาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และดื่มน�ำ้ ที่สะอาดหรือ ต้มสุก รวมทั้งควรเก็บภาชนะให้มิดชิด ผักที่ใช้ ประกอบอาหาร ควรล้างให้สะอาดทีส่ ดุ เพราะ อาจมีปัสสาวะสัตว์ปนเปื้อนอยู่ได้ ก� ำ จั ด และควบคุ ม หนู ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง โรค ส�ำคัญโดยการก�ำจัดเศษอาหารอย่างถูกวิธี เก็บ ขยะในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด ท�ำความสะอาด คอกเลี้ยงสัตว์อย่างสม�ำ่ เสมอ โรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever) โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัส และก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญอยู่ในขณะนี้
เพราะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่เป็นจ�ำนวนมาก หากไม่ได้รบั ความรู้ หรือการดูแลรักษาทีถ่ กู ต้อง ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้น จึงควร รู ้ จั ก โรคไข้ เ ลื อ ดออกและพาหะน� ำ โรคนี้ เพื่อเตรียมที่จะป้องกันไม่ให้โรคไข้เลือดออก แพร่ระบาดมาสู่บุคคลใกล้ชิดได้ สาเหตุและการแพร่ระบาด โรคไข้ เ ลื อ ดออก เป็ น โรคที่ เ กิ ด จากการ ติดเชื้อไวรัส โดยมียุงลายเป็นพาหะน�ำโรคนี้ มาสู่คน เชื้อไวรัสที่ก่อโรค คือ เชื้อไวรัสเด็งกี ไข้เลือดออกพบมากในประเทศเขตร้อน เช่น เวียดนาม กัมพูชา ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ โรคไข้เลือดออกเป็นโรคทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ ตลอดทั้งปี แต่มักจะระบาดมากในช่วงหน้าฝน เพราะยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะของโรคมีจ�ำนวน ชุกชุม ยุงลายตัวเมียจะวางไข่ในภาชนะทีม่ นี ำ�้ ขัง เมื่อยุงไปกัดคนป่วยที่มีเชื้อไวรัสไข้เลือดออก อยู่ในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเข้าไปสู่ต่อม น�้ำลายของยุง และพร้อมที่จะแพร่เชื้อสู่คนที่ ถูกกัดต่อไป เชื้อไวรัสไข้เลือดออกนี้จะอยู่ใน ตัวยุงลายได้ตลอดชีวติ ของยุงประมาณ ๑ เดือน ลักษณะอาการ เมื่อยุงลายที่มีเชื้อไวรัสไข้เลือดออกไปกัด คน เชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายจะใช้เวลาฟักตัว ประมาณ ๕ - ๘ วัน ผู้ที่ได้รับเชื้อจะรู้สึกปวด หัว มีไข้สูง ประมาณ ๒ - ๗ วัน ปวดเมื่อยเนื้อ ตัว มีจดุ แดง เนือ่ งจากอาการทัว่ ๆ ไป คล้ายกับ เป็นหวัด เมือ่ เด็กมีอาการเช่นนี้ พ่อแม่จงึ มักคิด ว่าเป็นไข้หวัดธรรมดาจนปล่อยให้อาการรุนแรง แต่สิ่งที่แตกต่างจากไข้หวัดก็คือ จะไม่ไอ ไม่มี น�้ำมูกเหมือนหวัด บางคนที่อาการรุนแรงมัก มีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย อาจมีเลือด ก�ำเดาหรือเลือดออกตามไรฟัน มีอาการตับโต เมื่อกดจะเจ็บ จนถึงมีอาการช็อกเนื่องจากมี การไหลเวียนของเลือดล้มเหลว อาการช็อกมักเกิดขึ้นพร้อมกับไข้จะลดลง อย่างรวดเร็ว ผูป้ ว่ ยจะมีอาการแย่ลง มือเท้าเย็น ความดันโลหิตเปลี่ยน ตัวเย็น ขอบปากเขียว และอาจเสียชีวิตได้ภายใน ๑๒ - ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้น ไม่ควรปล่อยให้โรคไข้เลือดออกรุนแรง จนถึงขั้นช็อก การรักษา หลักการรักษาไข้เลือดออกคือ การรักษา ให้ทุเลาอาการและการป้องกันการช็อก เมื่อ เด็กมีไข้สูงจะต้องป้องกันไม่ให้มีอาการชักจาก ไข้ ด้วยการเช็ดตัวและให้ยาลดไข้ ไม่ควรใช้ ยาจ�ำพวกแอสไพรินเพราะจะท�ำให้เกล็ดเลือด
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เสียการท�ำงาน จะระคายเคืองกระเพาะอาหาร และท�ำให้เลือดออกง่าย ควรให้ยาลดไข้จ�ำพวก พาราเซตามอลจะปลอดภัยกว่า รวมทั้งการให้ น�้ำเพื่อชดเชยน�้ำที่ร่างกายเสียไปแก่ผู้ป่วย เช่น น�้ำเปล่า น�้ำผลไม้ น�้ำเกลือแร่ โอ.อาร์.เอส โดย ดื่มครั้งละน้อยแต่บ่อยๆ และควรกินอาหาร อ่อนๆ เช่น โจ๊ก หรือข้าวต้ม เป็นต้น กลุ่มที่เสี่ยงต่อโรค โรคไข้เลือดออกมักพบในเด็ก โดยสามารถ เกิดกับเด็กช่วงอายุตั้งแต่ ๔ เดือน จนถึงวัย รุ่น ส�ำหรับเด็กโต และผู้ใหญ่ส่วนมาก จะมี ภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้แล้ว แต่ก็สามารถเป็นโรค ไข้ เ ลื อ ดออกได้ ถ ้ า ถู ก ยุ ง ลายที่ มี เ ชื้ อ ไวรั ส ไข้เลือดออกกัด การป้องกันและควบคุม การป้องกันโรคไข้เลือดออกทีด่ ที สี่ ดุ คือ การ ก�ำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะน�ำ โรคนี้ โดยก�ำจัดลูกน�้ำในภาชนะต่างๆ ที่มีน�้ำ ขัง ด้วยการปิดฝาภาชนะ เก็บน�้ำให้มิดชิด เช่น โอ่ง ถังเก็บน�ำ้ หมัน่ เปลีย่ น หรือทิง้ น�ำ้ ในภาชนะ บรรจุนำ�้ และภาชนะทีม่ นี ำ�้ ขัง เพือ่ ป้องกันยุงมา วางไข่ เช่น แจกัน จานรองกระถางต้นไม้ ถ้วย หรือขาตู้กับข้าว เก็บท�ำลายเศษวัสดุ เช่น ขวด กระป๋อง ฯลฯ เพื่อไม่ให้รองรับน�ำ้ ได้ ตัดต้นไม้ ที่รกครึ้ม เพื่อให้มีแสงสว่างและอากาศถ่ายเท ได้ดี และการเลี้ยงปลากินลูกน�ำ้ ไว้ในโอ่ง หรือ บ่อที่ใส่น�้ำใช้ นอกจากท�ำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลายแล้ว จะต้องป้องกันตัวเองไม่ให้ยุงลาย กัด ด้วยการดูแลหน้าต่าง ประตู ช่องลม ไม่ให้ ยุ ง เข้ า จั ด ข้ า วของในบ้ า นไม่ ใ ห้ ก องสุ ม กั น รวมถึงเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ก�ำจัดยุงและทายา กันยุงให้ถูกต้อง โรคที่ เ กิ ด จากระบบทางเดิ น อาหาร (Gastrointestinal illness) โดยเฉพาะ Norwalk virus ซึง่ จะเป็นสาเหตุ ของการติ ด เชื้ อ ในระบบทางเดิ น อาหารอี ก อย่างหนึ่งเหมือนกัน ซึ่งอาการของโรค มักจะ ท้องเสีย ท�ำให้ร่างกายสูญเสียน�้ำและเกลือแร่ การป้ อ งกั น โรคที่ เ กี่ ย วกั บ ทางเดิ น อาหาร
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ก็คือระวังเกี่ยวกับอาหารการกิน ทั้งนี้รวมทั้ง น�้ำดื่มซึ่งอาการส่วนใหญ่ก็จะมีอาการท้องเสีย ร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียน พร้อมทั้งมีไข้ ร่วมด้วย สาเหตุมาจากรับประทานอาหารที่ไม่ ถูกสุขลักษณะ และปัญหาเรื่องน�ำ้ ไม่สะอาดก็ สัมพันธ์โดยตรงกับโรคนี้ เมื่อไรจึงจะเรียกท้องร่วง หมายถึง การที่ ถ่ายอุจจาระเหลว หรือเป็นน�้ำมากกว่า ๓ ครั้ง ต่อวัน โดยทั่วไปอาการท้องร่วงมักหายได้เอง ใน ๒ - ๓ วันโดยทีไ่ ม่ตอ้ งรักษา ถ้าเป็นนานกว่า นัน้ ต้องมีปญ ั หาอืน่ ท้องร่วงท�ำให้เกิดผลเสียคือ ร่างกายขาดน�ำ้ ซึ่งถ้าเป็นมากอาจจะอันตราย ถึงกับเสียชีวิตได้ สาเหตุที่พบบ่อยๆ คือ การติ ด เชื้ อ แบคที เ รี ย ซึ่ ง เกิ ด จากการ รับประทานอาหาร และน�ำ้ ทีไ่ ม่สะอาด ได้แก่ เชือ้ บิดไม่มตี วั Shigella, ไข้ไทฟอยด์ Salmonella เป็นต้น การติดเชื้อไวรัส ได้แก่ Rota virus, Norwalk virus การติดเชื้อพยาธิ เช่น Giardia lamblia, Entamoeba histolytica จากการ แพ้ อ าหาร จากนม และจากยา เช่ น ยา ลดความดัน ยาปฏิชีวนะ ยาระบาย โรคล�ำไส้ มีการอักเสบ อาการของโรคท้องร่วง ผูป้ ว่ ยโรคท้องร่วงจะมีอาการ แน่นท้อง ปวด ท้อง คลืน่ ไส้อาเจียน และถ่ายบ่อย โรคท้องร่วง ถ้าเป็นนานกว่า ๓ สัปดาห์เรียกเรื้อรัง ถ้าหาย ภายใน ๓ สัปดาห์ เรียกท้องร่วงเฉียบพลัน โดย มากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัส โรคท้องร่วงในเด็ก สาเหตุ ข องโรคท้ อ งร่ ว งในเด็ ก ที่ พ บบ่ อ ย ได้แก่ การติดเชื้อไวรัส Rotavirus ซึ่งใช้เวลา ๕ - ๘ วันจึงหาย นอกจากนั้นยังเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย จากยา เป็นต้น การให้ยาจะให้ เหมือนผูใ้ หญ่ไม่ได้ เด็กทีถ่ า่ ยเหลว ๑ วันก็ท�ำให้ เกิดการขาดน�้ำได้ ควรพาเด็กพบแพทย์เมื่อมีอาการดังต่อ ไปนี้ อุจจาระมีมกู ปนเลือด ไข้มากกว่า ๓๘ องศา
อาการไม่ดีขึ้นใน ๒๔ ชั่วโมง มีอาการขาดน�้ำ อาการขาดน�ำ้ มีอะไรบ้าง หิ ว น�้ ำ บ่ อ ย ปั ส สาวะลดลง ผิ ว หนั ง แห้ ง อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ ในเด็กอาจจะสังเกตอาการขาดน�้ำได้จาก ปากและลิ้นแห้ง ไม่มีน�้ำตาเวลาร้องไห้ ไม่มี ปัสสาวะมากกว่า ๓ ชัว่ โมง แก้มตอบ ท้องแฟบ ตากลวง ไข้สงู ร้องกวน ผิวแห้ง ถ้าหากมีอาการ ของการขาดน�้ำควรพบแพทย์ทันที เมื่อไรควรไปพบแพทย์ เมือ่ มีอาการท้องร่วงนานเกิน ๓ วัน มีอาการ ปวดท้องอย่างมาก มีไข้มากกว่า ๓๘.๕ องศา มี เลือดในอุจจาระ หรืออุจจาระด�ำ มีอาการขาดน�ำ้ การรักษา หลักการรักษาคือป้องกันการขาดน�้ ำโดย การได้รับ ORS วิธีการเตรียม เตรียมน�้ำต้มสุก ๑ ขวด เทน�้ำต้มสุกลงในแก้ว ๑ แก้ว เติมผง เกลือแร่ ORS ลงในแก้ว คนจนละลาย เทน�้ำที่ ละลายเกลือแร่ลงในขวด ดืม่ ตามฉลากข้างซอง ก�ำหนด ยาทีท่ �ำให้หยุดถ่ายไม่แนะน�ำเนือ่ งจาก ท�ำให้หายช้า โรคที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบทางเดิ น หายใจ (Respiratory tract infection) โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ มีตั้งแต่ การแพ้ การติดเชื้อของแบคทีเรีย ไวรัส หรือ แม้กระทั่งเชื้อรา ก็เป็นปัญหาของระบบโรคนี้ สาเหตุอีกอย่างหนึ่ง คือ การที่สภาวะแวดล้อม ที่อากาศมีความชื้นสูง ก็เป็นเหตุผลอย่างดี ส�ำหรับการเจริญเติบโตของเชื้อโรคที่กล่าวถึง การดู แ ลสุ ข อนามั ย ส่ ว นตั ว และที่ อ ยู ่ อ าศั ย น่าจะเป็นการป้องกันที่ดีที่สุด ไข้หวัด เป็นการติดเชื้อของจมูก และคอ บางครั้ ง เรี ย ก Upper respiratory tract infection URI เกิดจากเชือ้ ไวรัสซึง่ รวมเรียกว่า Coryza viruses ประกอบด้วย Rhino-viruses เป็นส�ำคัญ เชื้อชนิดอื่นๆ มี Adenoviruses, Respiratory syncytial virus เมื่อเชื้อเข้าสู่ จมูก และคอจะท�ำให้เยื่อจมูกบวม และแดง มี การหลั่งของเมือกออกมา แม้ว่าจะเป็นโรคที่ หายเองใน ๑ สัปดาห์ แต่เป็นโรคที่น�ำผู้ป่วยไป พบแพทย์มากทีส่ ดุ โดยเฉลีย่ เด็กจะเป็นไข้หวัด ๖ - ๑๒ ครั้งต่อปี ผู้ใหญ่จะเป็น ๒ - ๔ ครั้ง หญิงเป็นบ่อยกว่าผูช้ ายเนือ่ งจากใกล้ชดิ กับเด็ก คนสูงอายุอาจจะเป็นปีละครั้ง อาการ ผู้ใหญ่มีอาการจาม และน�้ ำมูกไหลจะน�ำ มาก่อน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะเล็กน้อย แต่มัก ไม่ค่อยมีไข้ เชื้อจะออกจากทางเดินหายใจของ ผูป้ ว่ ย ๒ - ๓ ชั่วโมงและหมดใน ๒ สัปดาห์ บาง รายอาจมีอาการปวดหู เยือ่ แก้วหูมเี ลือดคัง่ บาง รายเยื่อบุตาอักเสบ เจ็บคอกลืนล�ำบาก โรคมัก เป็นไม่เกิน ๒ - ๕ วัน แต่อาจมีนำ�้ มูกไหลนานถึง ๒ สัปดาห์ ในเด็กอาจจะรุนแรง และมักมีการ แพร่ไปเป็นหลอดลมอักเสบ ปอดบวม เป็นต้น 57
การติดต่อ โรคนี้ มั ก จะระบาดฤดู ห นาวเนื่ อ งจาก ความชื้นต�่ำและอากาศเย็น เราสามารถติดต่อ จากน�้ำลาย และเสมหะผู้ป่วย นอกจากนั้น มือที่เปื้อนเชื้อโรค ก็สามารถท�ำให้เกิดโรคได้ โดยผ่านทางจมูกและตา ผู้ป่วยสามารถแพร่ เชื้อได้ก่อนเกิดอาการและ ๑ - ๒ วันหลังเกิด อาการ ผู้ที่มีโอกาสเป็นไข้หวัดง่ายคือ เด็กอายุ น้อยกว่า ๒ ปี เด็กที่ขาดอาหาร เด็กที่เลี้ยงใน สถานเลี้ยงเด็ก การรักษา ไม่ มี ย ารั ก ษาเฉพาะ ถ้ า มี ไ ข้ ใ ห้ ย าลดไข้ paracetamol หรือ brufen ห้ามให้ aspirin ให้ พัก และดื่มน�ำ้ มากๆ ให้บ้วนปากด้วยน�้ำเกลือ เมื่อไรจะหาย โดยทั่วไปจะเป็นมาก ๒ - ๔ วัน หลังจากนั้นจะดีขึ้น โรคแทรกซ้อนที่สำ� คัญคือ หูชั้นกลางอักเสบ ต้องได้รับยาปฏิชีวนะรักษา จะป้องกันการติดเชื้อหวัดได้อย่างไร เป็นการยากที่จะป้องกันการติดเชื้อหวัด และยังไม่มีวัคซีนที่ป้องกันไข้หวัด ดังนั้นการ ดูแลสุขภาพตัวเองเป็นสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ หลีกเลีย่ ง ที่ชุมชน เช่น โรงภาพยนตร์ ภัตตาคาร ในช่วง การระบาด ไอหรือจามให้ใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือ ทิชชู่ปิดปาก ให้ล้างมือบ่อยๆ ไม่เอามือเข้า ปากหรือขยีต้ าเพราะอาจน�ำเชือ้ เข้าสูร่ า่ งกายได้ อย่าอยู่ใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นหวัดเป็นเวลานาน โรคตาแดง (Conjunctivitis) เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุตา จากการ ติดเชื้อไวรัส เป็นกลุ่มอาดิโนไวรัส ส่วนใหญ่จะ ติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสน�้ำตาของผู้ป่วย ทีต่ ดิ มากับนิว้ มือ และแพร่จากนิว้ มือมาติดทีต่ า โดยตรง ไม่ตดิ ต่อทางการสบสายตา ทางอากาศ หรือทางรับประทานอาหารร่วมกัน อาการเกิด ได้ภายใน ๑ - ๒ วัน ระยะการติดต่อไปยังผู้อื่น ประมาณ ๑๔ วัน การติดต่อ จะติดต่อกันง่ายมากโดยการคลุกคลีใกล้ชิด หรือสัมผัสกับผู้ป่วยโรคตาแดง ใช้เสื้อผ้า หรือ สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย ปล่อยให้ฝุ่นละออง หรือ น�้ ำ สกปรกเข้ า ตา ปล่ อ ยให้ แ มลงหวี่ หรื อ แมลงวันตอมตา การไม่รักษาความสะอาดของ ร่างกาย โดยเฉพาะมือและใบหน้า อาการ ผูท้ ไี่ ด้รบั เชือ้ ไวรัส จะมีอาการตาแดง เคืองตา ตาขาวจะมีสีแดงเรื่อๆ น�้ำตาไหล เจ็บตา มัก จะมีขตี้ ามากร่วมด้วยจากการติดเชือ้ แบคทีเรีย มาพร้อมกัน ต่อมน�ำ้ เหลืองหลังหูมักเจ็บ และ บวม มักเป็นที่ตาข้างใดข้างหนึ่งก่อน แล้วจะ ติดต่อมายังตาอีกข้างได้ ถ้าไม่ระวังให้ดี ถ้า ระมัดระวังไม่ให้น�้ำตาข้างที่ติดเชื้อไวรัส มา ถูกตาข้างที่ดี จะไม่เป็นตาแดง แต่ส่วนใหญ่ มักเป็นไปอีกข้างอย่างรวดเร็ว ระยะเวลาของ โรคจะเป็นประมาณ ๕ - ๑๔ วัน ถ้าไม่มีโรค แทรกซ้อนอย่างอื่น 58
โรคแทรกซ้อน มีอาการเคืองตามาก ลืมตาไม่ค่อยได้ มักมี อาการกระจกตาอักเสบแทรกซ้อน ซึ่งจะดีขึ้น ได้ประมาณ ๓ สัปดาห์ หรือบางรายเป็น ๑ - ๒ เดือน ท�ำให้ตามัวพร่าอยู่เป็นเวลานาน การรักษา รักษาตามลักษณะอาการของโรค เนื่องจาก เป็นเชือ้ ไวรัสยังไม่มยี าฆ่าเชือ้ ไวรัสนีโ้ ดยตรง ถ้า มีขี้ตามากก็หยอดยาปฏิชีวนะสาร มีไข้ เจ็บคอ ก็ใช้ยาแก้อกั เสบร่วมด้วยกับยาลดไข้ ยาลดปวด พยายามรั ก ษาสุ ข ภาพ พั ก ผ่ อ นให้ ม ากๆ โดยเฉพาะการใช้ ส ายตาในช่ ว งที่ มี อ าการ ตาแดงอย่างรุนแรง ไม่ควรท�ำงานดึก ควรนอน ให้เพียงพอ ไม่จำ� เป็นต้องปิดตาไว้ตลอด ยกเว้น มีกระจกตาอักเสบ เคืองตามาก จึงปิดตาเป็น ครั้งคราว ไม่ควรให้เชื้อไวรัสแพร่กระจาย ควร งดการใช้ผา้ เช็ดหน้าร่วมกัน ทุกครัง้ ทีจ่ บั ตาควร ล้างมือให้สะอาด ผูป้ ว่ ยไม่ควรลงเล่นน�้ำในสระ จะแพร่กระจายเชื้อไวรัสไปในน�้ำได้ การป้องกัน ล้างมือด้วยน�ำ้ และสบูใ่ ห้สะอาดอยูเ่ สมอ ไม่ คลุกคลีใกล้ชิด หรือใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย ถ้า มีฝุ่นละออง หรือน�้ำสกปรกเข้าตา ควรล้างตา ด้วยน�ำ้ สะอาดทันที อย่าปล่อยให้แมลงหวี่ หรือ แมลงวันตอมตา หมั่นดูแลรักษาความสะอาด ของร่างกาย สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น เสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน ให้สะอาด อยู่เสมอ ผู้ป่วยโรคตาแดงควรหยุดเรียนหรือ หยุดงานรักษาตัวอยู่ที่บ้าน เพื่อป้องกันไม่ให้ โรคตาแดงลุกลาม หรือติดต่อสู่คนอื่น น�ำ้ กัดเท้า (Athlete’s Foot) แม้ว่าจะกันฝนได้ แต่กันไม่ให้เท้าเปียกน�ำ้ ไม่ได้ ถ้าฝนตกหนัก ต้องเดินย�่ ำน�้ำสกปรก ตามพื้นถนนไปท�ำงานหรือกลับบ้านติดต่อกัน หลายวันในช่วงหน้าฝน นอกจากเท้าจะชืน้ หรือ เปื่อยแล้ว ยังอาจจะติดเชื้อโรค ซึ่งปะปนอยู่ใน น�้ำสกปรกได้ ถ้าจ�ำเป็นต้องย�่ำน�ำ้ หลังจากเข้า บ้านแล้วควรรีบล้างเท้าท�ำความสะอาด แล้ว เช็ดให้แห้งโดยเฉพาะตามซอกนิว้ เท้า หากเท้ามี บาดแผล ควรชะล้างด้วยน�้ำยาฆ่าเชือ้ ก็จะช่วย ป้องกันโรคน�ำ้ กัดเท้าได้ โรคน�้ำกัดเท้าในระยะ แรกนี้ ยังไม่มีเชื้อรา เป็นเพียงอาการระคาย เคืองจากความเปียกชื้น และสิ่งสกปรกในน�้ำ ท�ำให้เท้าเปื่อย ลอก แดง คันและแสบ การรักษา ในระยะนี้ ค วรใช้ ย าทาสเตี ย รอยด์ อ ่ อ นๆ ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ยาฆ่าเชื้อรา ซึ่งจะท�ำให้เกิด อาการระคายเคืองและแสบมากขึ้น ถ้าผิวเปือ่ ยเป็นแผล เมือ่ สัมผัสกับสิง่ สกปรก ทีเ่ จือปนอยูใ่ นน�ำ้ จะเกิดการติดเชือ้ ได้งา่ ย เมือ่ มี การติดเชือ้ แบคทีเรีย จะท�ำให้เกิดอาการอักเสบ บวมแดง เป็นหนองและปวด ต้องให้การรักษา โดยการรับประทานยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการ ชะล้างบริเวณแผลด้วยน�ำ้ ยาฆ่าเชือ้ เช่น น�ำ้ ด่าง
ทับทิม แล้วทาด้วยยาฆ่าเชื้อ หรือยาปฏิชีวนะ โรคน�้ำกัดเท้า ในระยะแรกเป็นแค่ผิวแดง ลอกจากการระคายเคือง เมื่อผิวลอกเปื่อย และชื้นอยู่นาน จะมีการติดเชื้อรา โรคเชื้อรา ที่ซอกเท้า อาจเกิดขึ้นหลังจากน�้ำกัดเท้าอยู่ บ่อยๆ เป็นเวลานาน เชื้อราจะเข้าไปฝังตัวอยู่ ในผิวหนัง เมือ่ เป็นเชือ้ ราแล้วจะหายยาก ถึงแม้ จะใช้ยาทาจนดูเหมือนหายดี แต่มักจะมีเชื้อ หลงเหลืออยู่ เมื่อเท้าอับชื้นขึ้นเมื่อใด ก็จะ เกิดเชื้อราลุกลามขึ้นมาใหม่ ท�ำให้เกิดอาการ เป็นๆ หายๆ เป็นประจ�ำ ไม่หายขาด การดูแล ป้องกันโรคเชือ้ ราทีเ่ ท้าไม่ให้กลับเป็นซ�ำ้ อีกจึงมี ความส�ำคัญ การรักษาความสะอาดให้เท้าแห้ง อยู่เสมอโดยการล้างน�้ำฟอกสบู่ และเช็ดเท้า ให้แห้ง โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษที่บริเวณ ซอกนิ้วเท้า เมื่อเช็ดให้แห้งแล้ว ให้ทายารักษา โรคเชื้อรา แต่ถ้ามีอาการรุนแรงและเรื้อรัง ทายาไม่ได้ผล อาจต้องพบแพทย์ ไม่ควรซื้อยา รับประทานเองซึง่ อาจจะมีผลข้างเคียงต่อตับไต และควรรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรหยุดใช้ยา เองแม้ว่าจะดีขึ้น การหยุดยาเร็วเกินไปขณะที่ เชื้อยังไม่หมด มีโอกาสกลับเป็นซ�้ำอีกได้ง่าย
อันตรายจากสัตว์มีพิษ และอุบัติเหตุ เมื่อมีฝนตกหรือน�้ำท่วม สัตว์ต่างๆ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง สัตว์เหล่านี้จะหนีน�้ำมาหาที่ แห้งๆ เพื่อหลบอาศัย โชคไม่ดีที่บริเวณบ้าน ของเราก็เป็นที่หลบพักผ่อนอย่างดี เมื่อเราไป เหยียบหรือท�ำให้มันตกใจ สัตว์มีพิษเหล่านี้ก็ จะกัดเอา และที่มองข้ามไม่ได้ คือ อันตราย จากอุบัติเหตุ เช่น การลื่นหกล้ม และไฟฟ้ารั่ว จากปลัก๊ ไฟฟ้าทีอ่ ยูต่ �่ำน�ำ้ ท่วมถึง หรือติดตัง้ ไม่ดี ไม่มีสายดิน ก็จะท�ำให้ไฟฟ้าดูด ซึ่งอาจท�ำให้ เสียชีวิตได้ จากตัวอย่างที่พอจะเตือนให้ระวังทั้งผู้ที่ อยู่ในที่สูง หรือพื้นที่ลุ่มต่างก็มีความเสี่ยงใน การเกิดโรคที่เราคาดไม่ถึงเหมือนกัน อย่างไร ป้องกันเอาไว้มนั ก็ไม่ได้เสียหายอะไร..... ใช่ไหม ละครับ
สำ�นักงานแพทย์ สำ�นักงานสนับสนุน สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม เข้าร่วมการประชุม ไทย-กัมพูชา ครั้งที่ ๙ โดยต้อนรับ และรับรอง พลเอก เตีย บันห์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกลาโหมราชอาณาจักรกัมพูชา ในฐานะแขกของกระทรวง กลาโหม ณ อุทยานกอล์ฟวังจันทร์ จ.ระยอง เมือ่ ๑๕ - ๑๗ พ.ค.๕๖
พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เดินทางไปตรวจเยี่ยมและพบปะภาคประชาชนวิทยุเครื่องแดง (ศูนย์มณโฑ) และส�ำนักงานสงเคราะห์ทหารผ่านศึกเขตสงขลา ณ สโมสร มณฑลทหารบกที่ ๔๒ ค่ายเสนาณรงค์ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เมื่อ ๒๑ - ๒๒ พ.ค.๕๖
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
59
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย นางนศพร อภิรกั ษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมภริยา ร่วมถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในงาน สโมสรสันนิบาต โดยมี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี น�ำกล่าวถวายราชสดุดี และถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราช พิธีฉัตรมงคล ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๕ พ.ค.๕๖
60
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน ในกิจกรรมปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ พื้นที่ กองทหารสารวัตร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและอาคารส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) เมื่อ ๒๓ พ.ค.๕๖
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
61
พลตรี Su Guanghui ผชท.ทหาร สาธารณรัฐประชาชนจีน/กรุงเทพฯ เข้าเยี่ยมค�ำนับ พลเอก หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เพือ่ มอบหนังสือจากหน่วยงานบริหารของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเพือ่ การป้องกันประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน เกี่ยวกับความร่วมมือด้านการทหารระหว่างรัฐบาลของทั้งสองประเทศ ณ ห้องสราญรมย์ เมื่อ ๒ พ.ค.๕๖
พลเรือเอก ด�ำรงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในงานวันคล้ายวันสถาปนา ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี เมื่อ ๙ พ.ค.๕๖
พลเอก รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ เป็นประธานในพิธีเปิดการบรรยายเผยแพร่ความรู้ เรื่อง “การคุ้มครองพยาน ในคดีอาญาของกระทรวงกลาโหม” ณ ห้องราชเสนีพิทักษ์ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๒๐ พ.ค.๕๖ โดยมี พลโท ศานิต สร้างสมวงษ์ อดีตหัวหน้าส�ำนักตุลาการทหาร และนายไพฑูลย์ สว่างกมล รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เป็นวิทยากร และมี พันเอก วิทยา พ่วงพันธุ์งาม ผู้อ�ำนวยการคุ้มครองพยาน กรมพระธรรมนูญ เป็นผู้ด�ำเนินการบรรยาย
62
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และนางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานเลี้ยงขอบคุณ เจ้ า หน้ า ที่ แ ละผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งในการออกร้ า นงานกาชาด ปี ๒๕๕๖ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและสมาคม ภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้อง ประชุมพินิตประชานาถ เมื่อ ๓ พ.ค.๕๖
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
63
ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการฯ ร่วมงานวันคล้าย วันสถาปนาครบ ๘ ปี ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๙ พ.ค.๕๖
นางสุรศรี ห้าวเจริญ อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการฯ ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา สมาคมภริยาทหารเรือ ครบ ๓๘ ปี ณ ห้องเจ้าพระยา หอประชุมกองทัพเรือ เมื่อ ๑๕ พ.ค.๕๖
64
“ ฯ กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปนุ ํ ฯ ” บุคคลพึงท�ำความดีอยู่ร�่ำไป พุทธโอวาทขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฝากเป็นแนวทางปฏิบตั ถิ งึ ก�ำลังพลในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดย พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕๖
วารสารหลักเมืองออนไลน์
http://www.lakmuangonline.com ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สำ � นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
บันทึกภาพเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๖๗ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖
www.lakmuangonline.com
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำานวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์
พล.ต.ชัยพฤกษ� พูนสวัสดิ์
รองผู้อำานวยการ
พ.อ.ณภัทร สุขจิตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อำานวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำากองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปรึกษา เหรัญญิก
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ดำารงศักดิ์ ห้าวเจริญ ร.น. พล.อ.อ.วินัย เปล่งวิทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุริยฉัตร เผ่าบุญเสริม พล.ท.สุรศักดิ์ ศรีศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.วีระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศรีกังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ�เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.วีรศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ต.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ต.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช พ.อ.หญิง พรพิมล ร่มตาล
ประจำากองบรรณาธิการ
น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปตพี ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.จิโรตม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.หญิง ภัทรภรณ์ ศิริสรณ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.หญิง พุทธพร โอสถหงส์ ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ�่งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.พฤทธิพงศ์ ภูมิจิตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม จ.ส.อ.หญิง ธิดารัตน์ ทองขจร ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัตเิ ป็นพระมหากษัตริยพ์ ระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ และวันที่ ๙ มิถุนายนของทุกปี พสกนิกรชาวไทยต่างผลิรอยยิ้มบนใบหน้า พร้อม คราบน�้าตาแห่งความสุข เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกสีหบัญชร พสกนิกรจะมาเฝ้ารับเสด็จอย่างพร้อมเพรียงกัน ด้วยความกตัญูกตเวทิตาและ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ไทยของปวงชนชาวไทย “ขอพระองค์ทรงพระเจริญ” หลายคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือ 3G และ 4G เป็นเทคโนโลยีที่มาแรง แต่อย่างไรก็ตาม ได้น�าเสนอถึงการรักษาความปลอดภัยในการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อท่านผู้อ่าน จะได้เป็นความรูไ้ ว้ใช้งานกับโทรศัพท์มอื ถือของแต่ละท่านต่อไป นอกจากนีภ้ ายในเล่ม ยังได้เปิดห้องเรียนติวภาษาอังกฤษให้ส�าหรับผู้ที่มีแผนจะสอบชิงทุนไปต่างประเทศ ติดตามอ่านได้ใน สอบภาษาอังกฤษไปนอก และในช่วงนี้เป็นช่วงหน้าฝนขอให้ ดูแลสุขภาพร่างกายของแต่ละท่าน วารสารหลักเมืองเป็นห่วงทุกๆ ท่าน หากท่าน ผู้อ่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ต้องการจะให้วารสารหลักเมืองน�าเสนอเรื่องใด ส่งผ่านมาทาง หลักเมืองออนไลน์ www.lakmuangonline.com ได้นะครับ
๒
ปที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒66 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕6
๔
๙ มิถุนายน มหาชน แซ่ซ้อง ฉลองเถลิงราชย์
๔
๓๔
พระเจ้าปดุงกับสงคราม ใหญ่ทางด้านตะวันออก
๑๐
๓๘
๑๒
๔๔
เทิดพระเกียรติสมเด็จ พระสังฆบิดรพระชันษา ๑ ศตวรรษ
การเปลี่ยนแปลง การปกครอง ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕
การชี้แจงต่อศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ
หลักการของ นายพลแพตตัน (ตอนทีี่ ๑๐)
๑๔
กองทัพไทย กับการเป็น ประชาคมอาเซียน ในปี ๕๘
๔๘
๑๘
๕๑
การประชุมนานาชาติ เพื่อพัฒนาแนวทาง การปฏิบัติงานร่วมใน การบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างพลเรือน และทหาร
๒๐
การด�าเนินงานด้านระบบ ก๊าซชีวภาพของกรมการ พลังงานทหาร
๒๒
3G และ 4G เทคโนโลยี ใหม่มาแรง
๑๒
๒๐
๑๔
การรักษาความปลอดภัย ในการใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่
๕๓
สอบภาษาอังกฤษไปนอก
๒๒
๒๖
Move That Gas แนะน�าอาวุธเพื่อนบ้าน ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๓๘
๒๙
๕๑
แสนยานุภาพทางทหาร บทสรุปความขัดแย้ง ในคาบสมุทรเกาหลี
การดูแลสุขภาพช่วง หน้าฝน
๔๔ ๕๙ ประมวลภาพกิจกรรม ๖๓
๓๔
๒๖
๒๙
๕๖
๕๖
๔๘ ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลปการพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
3
๙ มิถุนายน มหาชนแซซอง ฉลองเถลิงราชย
แสงทองจับฟากฟาพาสดสวย สยามชนทนถวนลวนชื่นใจ นวกษัตริยครองรัฐวิวัฒนชาติ ศูนยรวมใจ ไทยประชาฝาลําเค็ญ ดั่งสุรียสองสวางกลางโพยม ดั่งหยาดฝนพรมพรางกลางมรรคา ๙ มิถุนา ประชาลวนผาสุก มหาชนปรีดาอุราปอง
เทพอํานวยพรปรากฏฟาสดใส องคหลักชัยเถลิงราชยชาติรมเย็น รวมใจราษฎรเรงรุกผานทุกขเข็ญ รัฐชาติเปนประชารัฐพัฒนา ดั่งแสงโสมสองเวหนจนผืนหลา มวลพฤกษาผลิสะพรั่งดังใจปอง ปติปลุกกลางกมลชนทั้งผอง แซซอ งฉลองเถลิงราชยครองรัฐไทย.
พลตรี ชัยวิทย ชยาภินันท ผูประพันธ
4
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
๙ มิถุนายน มหาชน แซ่ซ้อง ฉลองเถลิงราชย์ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
๕
ใ
นรุ่งอรุณของวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ ถือได้ว่าเป็นวันที่พสกนิกรชาวไทยต่าง ตืน่ ตระหนกระคนกับความเศร้าโศกเสียใจ อย่างยิ่งที่ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งในวันดังกล่าวเป็นวันที่ประชาชนชาวไทย ต้องตกอยู่ในห้วงแห่งความสับสน ขวัญเสีย และเสียใจในเหตุการณ์ที่ต้องสูญเสียองค์พระ ประมุขของประเทศในขณะนั้น เรียกได้ว่าทุก หย่อมหญ้าแห่งราชอาณาจักรอบอวลไปด้วย เสียงร�่ำไห้ และไร้ซึ่งทิศทางแห่งการก้าวเดิน ไปข้างหน้า เสมือนกับว่าประเทศสยามในสมัย นัน้ เป็นรัฐนาวาทีข่ าดหางเสือและเสาใบส�ำคัญ ที่จะท�ำให้แล่นตัดท้องชลาลัยแห่งความทุกข์ ระทมผสมผสานกับความวุ่นวายในขณะนั้น ไปได้ ซึง่ ต่อมาในเวลา ๒๑.๐๐ น.ของวันเดียวกันนี้ รัฐบาลจึงได้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นการด่วน โดยมีวัตถุประสงค์ส�ำคัญ ๒ เรื่อง กล่าวคือ • เรื่องที่หนึ่ง เพื่อแจ้งให้สภาทราบเรื่อง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล • เรื่องที่สอง เพือ่ สรรหาผูส้ บื ราชสมบัติ และในที่ สุ ด ที่ ป ระชุ ม ได้ ล งมติ ถ วายราช สมบั ติ ใ ห้ แ ก่ ส มเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า ภูมิพลอดุลยเดชขึ้นสืบราชสมบัติ โดยด� ำรง พระอิสริยยศเป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราช จักรีวงศ์ตอ่ ไป ทัง้ นี้ เนือ่ งจากในเวลานัน้ ยังมิได้ ทรงผ่ า นพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกนั่ น เอง เหตุ ก ารณ์ ห ลั ง นี้ ไ ด้ ยั ง ความปลาบปลื้ ม ใจ ให้ แ ก่ พ สกนิ ก รชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้มี องค์ พ ระประมุ ข แห่ ง ประเทศพระองค์ ใ หม่ ที่ จ ะเป็ น องค์ ห ลั ก ชั ย ในการขั บ เคลื่ อ น รัฐนาวาให้แล่นฝ่ามรสุมต่างๆ ที่ตกกระทบ ต่อประเทศชาติ ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบจาก การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ก�ำลังทวีความ วุ่นวายอยู่ในขณะนั้น
ซึ่งผู้เขียนใคร่ขอน� ำ รายงานการประชุม รัฐสภา วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ มาเผยแพร่ เนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ กล่าวคือ “...นายวิลาศ โอสถานนท์ ประธานรัฐสภา จึงให้รัฐบาลแถลงเรื่องการสืบราชสันตติวงศ์ ในวาระที่ ๓ ต่อไป การประชุมในระเบียบวาระที่ ๓ รั ฐ บาลแถลงเรื่ อ งการสื บ ราชสั น ตติ ว งศ์ โดยนั ย แห่ ง กฎมนเที ย รบาลว่ า ด้ ว ยการสื บ ราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ และ ขอความเห็นชอบของรัฐสภาตาม มาตรา ๙ แห่ง รั ฐธรรมนู ญ ฯ โดย นายทวี บุ ณ ยเกตุ ผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี แถลงต่อที่ ประชุมรัฐสภาว่า ตามมาตรา ๙ ของรัฐธรรมนูญ ฯ ได้บัญญัติ ว่าการสืบราชสมบัติ ให้เป็นไปโดยนัยแห่งกฎ
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน ชาวสยาม” 6
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
มนเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ซึ่ง ตรงกับมาตรา ๙ ข้อ ๘ โดยนายทวีได้กล่าว ถึงกฎมณเฑียรบาลข้อดังกล่าวให้สมาชิกฟังว่า “ข้อ ๘ ถ้าแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไร้ พระราชโอรสและพระราชนัดดา ท่านก็ให้อญั เชิญ สมเด็จพระอนุชาที่ร่วมพระราชชนนีพระองค์ ที่มีพระชนมายุถัดลงมาจากพระองค์ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ขึ้นทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์” เมื่อมีความชัดเจนเช่นนี้ “รัฐบาลจึงเห็นว่า ผูท้ สี่ มควรจะสืบราชสันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงขอเสนอและขอความ เห็ น ชอบจากรั ฐ สภาตามมาตรา ๙ ของรั ฐ ธรรมนูญฯ ต่อไป” ประธานรั ฐ สภาจึ ง ขอมติ จ ากที่ ป ระชุ ม รัฐสภาว่า “ข้าพเจ้าขอความเห็นของรัฐสภา หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
7
“รัฐบาลจึงเห็นว่าผู้ที่สมควรจะสืบราช สันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงขอเสนอและขอ ความเห็นชอบจากรัฐสภาตามมาตรา ๙ ของรัฐธรรมนูญฯ ต่อไป”
ถ้าท่านผู้ใดเห็นชอบด้วย ขอได้โปรดยืนขึ้น” ผลปรากฏว่า “สมาชิกยืนขึน้ พร้อมเพรียงกัน” เป็นอันว่ารัฐสภาลงมติให้สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครอง ราชย์สืบราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์ สืบต่อจากพระเชษฐาธิราช โดย “มีผู้เห็นชอบ เป็นเอกฉันท์” จากนั้นนายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี จึงขอให้สมาชิกรัฐสภาถวายพระพรชัยขอให้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจงทรงพระเจริญ โดย “ที่ ประชุมได้ยืนขึ้นและเปล่งเสียงไชโย ๓ ครั้ง” ต่ อ มาประธานรั ฐ สภาแจ้ ง ให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบว่า ตามมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑ ของ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๔๘๙ ก�ำหนดให้สมาชิก พฤฒสภาทีม่ อี ายุสงู สุด ๓ คน เป็นคณะผูส้ �ำเร็จ ราชการแทนพระองค์ชั่วคราว ซึง่ ประกอบด้วย พระสุธรรมวินจิ ฉัย เจ้าคุณ นนท์ ร าชสุ วั จ น์ และนายสงวน จู ฑ ะเตมี ย ์ มีอายุสูงตามล�ำดับ และให้ทั้งสามยืนขึ้นแสดง ตัวต่อที่ประชุมรัฐสภา...” แต่เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมพรรษาเพียง ๑๙ พรรษาจึ ง ต้ อ งมี ค ณะผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการแทน พระองค์ ต่อมา รัฐบาลจึงได้แต่งตัง้ คณะผูส้ ำ� เร็จ ราชการแทนพระองค์ปฏิบัติราชการแผ่นดิน แทนพระองค์จนกว่าจะทรงบรรลุนติ ภิ าวะและ 8
ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในโอกาส ต่อไป ซึ่งคณะผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิต ประยูรศักดิ์ กรมขุนชัยนาทนเรนทร และ • พระยามานวราชเสวี ต่อมา ในเดือนสิงหาคม ๒๔๘๙ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินกลับไป ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อีกครั้งหนึ่ง เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัย โลซาน ซึ่งเป็นสถาบันแห่งเดิมที่ทรงศึกษาอยู่ แต่ ท รงเปลี่ ย นแนวการศึ ก ษาใหม่ ใ ห้ เ หมาะ กั บ ที่ จ ะต้ อ งทรงรั บ พระราชภาระในฐานะ
พระประมุขของประเทศ โดยทรงศึกษาวิชา กฎหมายและวิชารัฐศาสตร์แทนวิชาในแผนก วิทยาศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เมื่อทรงบรรลุนิติภาวะแล้ว จึงได้เสด็จนิวัต ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๔๙๓ ซึ่ง รัฐบาลไทยในขณะนั้น จึงได้น้อมเกล้าน้อม กระหม่อม จัดงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ถวาย เมือ่ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ และเฉลิม พระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี นฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ซึ่งในเวลาต่อมา ปวงพสกนิกรชาวไทย จึง พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ได้ถือเอาวันที่ ๕ พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวัน ฉัตรมงคลร�ำลึกเพื่อร่วมร�ำลึกและถวายพระ เกียรติองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน วโรกาสที่ทรงประกอบพิธีบรมราชาภิเษก โดย มีพระราชอ�ำนาจโดยสมบูรณ์ และในวันนั้น ได้ ทรงมีพระปฐมบรมราชโองการ พระราชทาน อารักขาแก่พสกนิกรชาวไทยทั้งหลายว่า “เราจะครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” ส�ำหรับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ของชาติ ไทยแล้ว ได้จารจารึกไว้อย่างชัดเจนว่า วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ เป็นวันที่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลย ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งในวันนั้นเป็นวัน ที่พระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อมพสกนิกร ชาวไทยให้มีความสุขใจ มีหลักชัยในชีวิต จน สามารถบรรเทาทุกข์ให้แห้งเหือดไป วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ วันนั้นคือวันที่ พสกนิกรชาวไทยผลิรอยยิ้มบนใบหน้า จนลบ ร่องรอยแห่งคราบน�ำ้ ตาจนหมดสิน้ ไป พร้อมกับ เปล่ ง เสี ย งที่ ก ลั่ น มาจากก้ น บึ้ ง ของดวงใจ พสกนิกรชาวไทยอย่าพร้อมเพรียงว่า พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จงทรง พระเจริญ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
9
เทิดพระเกียรติสมเด็จสังฆบิดร พระชันษา ๑ ศตวรรษ เรือโท เหมันต สุนทร
ส
มเด็จพระสังฆราช เป็นต�ำแหน่งที่มีมา นานแล้ว ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ดังมี หลั ก ฐานจากศิ ล าจารึ ก ของพ่ อ ขุ น รามค�ำแหงมหาราช ได้จารึกค�ำว่าพระสังฆราช ไว้ด้วย สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นต�ำแหน่งสมณศักดิ์สูงสุดฝ่ายพุทธจักรของ คณะสงฆ์ไทย ทรงเป็นประธานการปกครอง คณะสงฆ์ ต� ำ แหน่ ง นี้ น ่ า จะมี ที่ ม าจากคณะ สงฆ์ไทย น�ำแบบอย่างมาจาก ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช ได้ทรงอัญเชิญ พระเถระผู ้ ใ หญ่ ข องลั ง กา ที่ เ ชี่ ย วชาญใน พระไตรปิฎก เข้าเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่าย 10
เถรวาทในประเทศไทย หากเอ่ยถึงกระทรวงกลาโหม ใครๆ ต้อง นึ ก ถึ ง ภาพอาคารงามสง่ า ของศาลาว่ า การ กลาโหม โดยมีบทคาถา “วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฒ ฺ โิ ย” ค�ำแปล ขอให้พระมหากษัตริย์เจ้าพร้อมด้วยปวง ทหารจงมีชัยชนะ ยังความเจริญให้ส�ำเร็จใน แผ่นดินเทอญ ประดั บ ไว้ ที่ ห น้ า บั น โรงทหารหน้ า มา ตราบจนเป็ น ศาลาว่ า การกลาโหมปั จ จุ บั น ที่ ส มเด็ จ พระอริ ย วงศาคตญาณ สมเด็ จ พระสังฆราช (สา ปุสสเทโว) วัดราชประดิษฐ์
สถิ ต มหาสี ม าราม ทรงผู ก คาถาหน้ า บั น กระทรวงกลาโหม พร้อมทั้งเป็นที่นับถือแก่ข้าราชการทหาร มาจนถึงองค์ปัจจุบัน ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ เป็ น ปี ม หามงคล อีกวาระที่รัฐบาลและพุทธศาสนิกชาวไทยจะ ได้ร่วมกันจัดพิธีบ�ำเพ็ญพระกุศลในโอกาสที่ สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญพระชันษา ๑๐๐ ปี ในวั น ที่ ๓ ตุ ล าคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ นี้ เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่ง ถือได้ว่าทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชที่ทรงมี พระชนมายุ ยื น ยาวที่ สุ ด และทรงด� ำ รง พระเกี ย รติ ย ศเป็ น สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก ที่ ย าวนานยิ่ ง กว่ า ในอดีตถึง ๒๔ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก มี พ ระนามเดิ ม ว่ า เจริญ คชวัตร ประสูติเมื่อวันศุกร์ ที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๕๖ เป็นบุตรคนโตของนาย น้อย คชวัตร และนางกิมน้อย คชวัตร เป็นชาว จังหวัดกาญจนบุรี บรรพชาและอุปสมบท เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว์ ทรงเจ็บป่วย ออดแอดอยู ่ เ สมอ จนกระทั่ ง เรี ย นจบชั้ น ประถมปีที่ ๕ แล้ว พระองค์จึงได้ทรงบรรพชา เป็นสามเณรในปีพุทธศักราช ๒๔๖๙ ขณะมี พระชันษาได้ ๑๔ ปี ที่วัดเทวสังฆาราม โดยมี พระเทพมงคลรังษี (ดี พุทธฺโชติ) เจ้าอาวาสวัด เทวสังฆาราม เป็นพระอุปัชฌาย์และพระครู นิวิฐสมาจาร (เหรียญ สุวณฺณโชติ) เจ้าอาวาส วัดศรีอปุ ลาราม เป็นพระอาจารย์ให้สรณะและ ศีล ภายหลังบรรพชาแล้วได้จ�ำพรรษาอยู่ที่ วัดเทวสังฆาราม ๑ พรรษาและได้มาศึกษา พระธรรมวินัยที่วัดเสน่หา จังหวัดนครปฐม หลังจากนั้น พระเทพมงคลรังษี (ดี พุทธฺโชติ) พระอุปัชฌาย์ได้พาพระองค์ไปยังวัดบวรนิเวศ วิหาร และน�ำพระองค์ขนึ้ เฝ้าถวายตัวต่อสมเด็จ พระวชิรญาณวงศ์ เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร (ต่อมา คือ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวง วชิรญาณวงศ์) เพื่ออยู่ศึกษาพระปริยัติธรรม ในส� ำ นั ก วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร จนกระทั่ ง พระ ชันษาครบอุปสมบท จึงทรงเดินทางกลับไป อุปสมบทที่วัดเทวสังฆาราม เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ ภายหลังจึงได้เดินทางเข้ามาจ�ำพรรษา เรือโท เหมันต สุนทร
สมบั ติ อุ ด มศี ล จารวั ต รสุ น ทร ธรรมยุ ต ติ ก คณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี” ปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ พระองค์ได้รับสถานาขึ้น เป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๑๙ แห่ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ มี พ ระนามตามจารึ ก ใน พระสุพรรณบัฏ ว่า “สมเด็จพระญาณสังวร บรม นริศรธรรมนีติภิบาล อริยวงศาคตญาณวิมล สกลมหาสังฆปริณายก ตรีปฎกปริยัตติธาดา วิสุทธจริยาธิสมบัติ สุวัฑฒนภิธานสงฆวิสุต ปาวจนุ ต ตมพิ ส าร สุ ขุ ม ธรรมวิ ธ านธ� า รง วชิ ร ญาณวงศวิ วั ฒ พุ ท ธบริ ษั ท คารวสถาน วิจติ รปฏิภาณพัฒนคุณ วิบลุ สีลาจารวัตรสุนทร บวรธรรมบพิตร สรรพคณิศรมหาปธานาธิบดี คามวาสี อรัณยวาสี สมเด็จพระสังฆราช” ในปีพ.ศ.๒๕๕๕ เป็นที่น่ายินดีว่า ทรงได้ รับการทูลถวายจากผู้น�าชาวพุทธโลกจาก ๓๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมสุดยอดพุทธศาสนิกชน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เพือ่ ทรง แห่งโลก ณ ประเทศญี่ปุ่น ให้ด�ารงต�าแหน่ง ศึกษาพระธรรมวินยั และพระองค์ทา่ นได้เข้าพิธี “ผู ้ น� า คณะสงฆ์ สู ง สุ ด แห่ ง โลกพระพุ ท ธ อุปสมบทซ�้า เป็นธรรมยุติกนิกาย โดยมีสมเด็จ ศาสนา” ในฐานะที่ ท รงได้ รั บ การเคารพ พระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็น อย่างสูงสุด รวมทัง้ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระอุปัชฌาย์พระองค์ทรงได้รับประทานนาม สกลมหาสังฆปริณายกแห่งประเทศไทย ผู้สอน ฉายาจากสมเด็จพระสังฆราชว่า “สุวฑฺฒโน” พระธรรมค�าสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งมีความหมายว่า “ผู้เจริญดี” ให้ทุกคนปฏิบัติธรรมตั้งอยู่ในพระปัญญาธรรม พระองค์ยังทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอย่าง และพระกรุ ณ าธรรมน� า ไปสู ่ สั น ติ ภ าพและ ต่ อ เนื่ อ ง จนกระทั่ ง สอบได้เปรียญธรรม ๙ ความเจริญรุ่งเรืองมีพระบารมีปกแผ่ไพศาล ประโยค ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๔ เมื่อมีพระ ไปทั่วราชอาณาจักรไทยและทั่วโลก นับเป็น ชันษาได้ ๓๔ ปี พระองค์ได้รับพระราชทาน แบบอย่ า งของสากลโลก ซึ่ ง เป็ น การมอบ สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ (สป.) ต�าแหน่งนี้เป็นครั้งแรกของโลก ในราชทินนามที่ “พระโศภนคณาภรณ์” ต่อ ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ นี้ จึ ง เป็ น ปี ที่ มาได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระ พุทธศาสนิกชนคนไทยทัง้ ปวงจะได้นอ้ มร�าลึกถึง ราชาคณะชั้นราช และชั้นเทพ ในราชทินนาม พระกรุณาคุณในสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ เดิม เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๘ โดยพระองค์ นั้น และร่วมกันปฏิบัติบูชา ถวายเป็นพระกุศล ได้รับเลือกจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรม ให้ทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง เสด็จ หลวงวชิ ร ญาณวงศ์ ใ ห้ เ ป็ น พระอภิ บ าลของ สถิตเป็นโพธิธรรมปกปักษ์รกั ษาพุทธศาสนิกชน พระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล ชาวไทยไปตราบนาน อดุลยเดช ในระหว่างที่ทรงพระผนวชเป็นพระ รัฐบาล ได้ออกแบบตราสัญลักษณ์การฉลอง ภิกษุและเสด็จประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระสังฆราช ไว้ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๙ ต่อมา ในปีเดียวกัน ส�าหรับประชาชนได้เชิญมาประดับเพือ่ เทิดพระ ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม เกียรติตลอดทัง้ ปี ๒๕๕๖ โดยมีรายละเอียดของ ที่ “พระธรรมวราภรณ์ ” โดยราชทิ น นาม ตราสัญลักษณ์ ดังนี้ ทั้ง ๒ ข้างต้นนั้นเป็นราชทินนามที่ตั้งขึ้นใหม่ อักษรพระนาม ญ.ส.ส. ย่อมาจากสมเด็จ ส�าหรับพระราชทานแก่พระองค์เป็นรูปแรก พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกล ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๔ พระองค์ ไ ด้ รั บ การ มหาสังฆปริณายก อักษร ญ. สีฟ้า (ผงคราม) สถาปนาเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้น หมายถึงวันประสูติ คือ วันศุกร์ อักษร ส. สีขาว หิรัญบัฏ ที่ “พระสาสนโสภณ” พระองค์เข้า หมายความว่าทรงบริสทุ ธิว์ เิ ศษ เป็นศรีศภุ มงคล รับต�าแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมตั้งแต่ปี ในพระบวรพุทธศาสนา อักษร ส. สีเหลือง พุทธศักราช ๒๕๐๖ และยังคงด�ารงต�าแหน่ง หมายความว่าทรงเป็นสกลมหาสังฆปริณายก มาจนถึงปัจจุบัน ปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ ได้รับ องค์ประมุขแห่งคณะสงฆ์ พระราชทานสถาปนาสมณศักดิเ์ ป็นสมเด็จพระ อักษรพระนาม ญ.ส.ส. อยู่ภายใต้เศวตฉัตร ราชาคณะมีราชทินนามตามจารึกในสุพรรณบัฏ ๓ ชั้ น อั น เป็ น เครื่ อ งยศสมณศั ก ดิ์ ส� า หรั บ ว่า “สมเด็จพระญาณสังวร บรมนริศรธรรมนีติ สมเด็จพระสังฆราช รูปอักษรพระนามและ สาธก ตรีปฎกปริยัตติธาดา สัปตวิสุทธิจริยา ฉัตรอยู่ภายในมณฑลประภา คือ รัศมีพระเจ้า หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
ขอเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน พร้อมใจกัน ประดับธงตราสัญลักษณ์งานฉลอง พระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ตามอาคารของหน่วยงาน และบ้านเรือนในบริเวณที่เหมาะสม เพื่อเทิดพระเกียรติและถวายเป็น พระกุศล ตั้งแต่บัดนี้ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖
หมายความว่าทรงเป็นผู้ปราศจากมลทิน อัน สืบวงศ์ของพระชินสีห์บรมศาสดา มีรูปช้าง ไอยราวัตชูครอบรัศมีมณฑลอยู่ หมายถึง ทรง ด� า รงต� า แหน่ ง สมเด็ จ พระสั ง ฆราชแห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ และหมายถึงทรงอุบัติในสกุล คชวัตร ใต้รูปช้างไอยราวัต มีเลขมหามงคล ๑๐๐ หมายถึงทรงเจริญพระชันษายืนยาวนาน กว่าสมเด็จพระสังฆราชองค์อนื่ ใดในอดีตทีผ่ า่ น มา ด้านล่างสุดผูกเป็นแพรแถบสีหงชาด (ชมพู) ขอบขลิบทองปลายทั้งสองเป็นช่อกระหนก มี ข้อความอักษรสีทองว่า การฉลอง พระชันษา ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ปลายแพรแถบข้างขวาของ ตราสัญลักษณ์เขียน ๒๔๕๖ เป็นปี พ.ศ.ประสูติ แถบข้ า งซ้ า ยเขี ย นปี ที่ ฉ ลองพระชั น ษาครบ ๑๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม จึ ง ขอเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน พร้อมใจกันประดับธงตรา สัญลักษณ์งานฉลองพระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ตามอาคาร ของหน่ ว ยงานและบ้ า นเรื อ นในบริ เ วณที่ เหมาะสม เพื่อเทิดพระเกียรติและถวายเป็น พระกุศล ตั้งแต่บัดนี้ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ 11
การชี้แจงต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ กรณีราชอาณาจักรกัมพูชาขอให้ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศตีความคำ�พิพากษาคดี ปราสาทพระวิหาร ปี พ.ศ.๒๕๐๕
พ
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
ลอากาศเอก สุ ก� ำ พล สุ ว รรณทั ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยคณะผูแ้ ทนกระทรวงกลาโหม ประกอบด้วย พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัด กระทรวงกลาโหม เจ้ากรมแผนทีท่ หาร เจ้ากรม กิจการชายแดนทหาร และผู้แทนกองทัพบก ได้เดินทางร่วมคณะนายสุรพงษ์ โตวิจกั ษณ์ชยั กุล รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ เข้าร่วมฟังการอธิบายเพิม่ เติม ทางวาจา กรณีราชอาณาจักรกัมพูชาขอให้ ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศตีความค�ำพิพากษา ในคดีปราสาทพระวิหารปี พ.ศ.๒๕๐๕ เมื่อ ๑๕ - ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงเฮก ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ โดยผลการอธิบาย เพิ่มเติมทางวาจา สรุปได้ดังนี้ ฝ่ายราชอาณาจักรกัมพูชาได้ชี้แจงต่อศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อ ๑๕ และ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ เริ่มด้วยการกล่าวน� ำของ นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศกั ม พู ช า ตามด้วยที่ปรึกษากฎหมายชาวต่างประเทศ จ�ำนวน ๓ ท่าน ประกอบด้วย ๑) Sir Franklin Berman ๒) นาย Jean - Marc Sorel และ ๓) นาย Rodman Bundy โดยราชอาณาจักร กั ม พู ช าได้ น� ำ เสนอข้ อ โต้ แ ย้ ง เพื่ อ หั ก ล้ า งค� ำ ให้การของฝ่ายราชอาณาจักรไทย สรุปได้ดังนี้ ๑) ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าได้ น� ำ เสนอ ข้อโต้แย้งและประเด็นหักล้างค�ำให้การเป็น ลายลักษณ์อักษรของฝ่ายไทย โดยพยายาม อธิบายว่าราชอาณาจักรกัมพูชามิได้ขออุทธรณ์ คดีฯ หรือเปลี่ยนแปลงค� ำพิพากษาปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพี ย งแต่ ต ้ อ งการให้ ศ าลยุ ติ ธ รรม ระหว่างประเทศ ชีใ้ ห้ชดั เจนว่าขอบเขตดินแดน ของราชอาณาจักรกัมพูชา และบริเวณใกล้ เคียง (Vicinity) ปราสาททีร่ ะบุในค�ำพิพากษาฯ คืออะไร ๒) ราชอาณาจักรกัมพูชาพยายามแสดง ให้ ศ าลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศเห็ น ว่ า ราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทย มีความเข้าใจต่างกันเกีย่ วกับค�ำพิพากษาฯ และ ได้อธิบายว่า “แผนที่ภาคผนวก ๑” เป็นส่วน
12
ของเหตุผลส�ำคัญที่ไม่อาจแยก (Inseparable) จากค� ำ พิ พ ากษาเดิ ม ได้ ดั ง นั้ น ค� ำ ขอของ ราชอาณาจักรกัมพูชาจึงเข้าเงื่อนไขของการ ขอให้ ศ าลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศตี ค วาม ค�ำพิพากษา ๓) การตี ค วามดั ง กล่ า วจะท� ำ ไม่ ไ ด้ ห าก ไม่อ้างอิง “แผนที่ภาคผนวก ๑” แนบท้าย ค�ำฟ้องของราชอาณาจักรกัมพูชาในคดีเดิม ซึ่งราชอาณาจักรกัมพูชาเห็นว่า ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศได้ยอมรับแล้วว่าเส้นบนแผนที่ ดังกล่าวเป็นเส้นเขตแดนระหว่างราชอาณาจักร กัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึง่ ต่อมาเมือ่ ๑๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ราชอาณาจักรกัมพูชา ได้พยายามยืนยันสถานะและความส�ำคัญของ “แผนที่ภาคผนวก ๑” ในค�ำพิพากษาฯ โดย อ้างว่าศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ ยอมรับเส้นเขตแดนตามแผนที่ ดั ง กล่ า ว และใช้ แ ผนที่ เ ป็ น เหตุ ผ ลส� ำ คั ญ ในการตัดสิน ๔) ราชอาณาจักรกัมพูชาพยายามแสดง ให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเชื่อว่า การ ปฏิบัติตามค�ำพิพากษาของฝ่ายราชอาณาจักร ไทยเมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๐๕ เป็ น การตี ค วาม ค�ำพิพากษาตามความเข้าใจของไทยฝ่ายเดียว โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การล้ อ มรั้ ว ลวดหนาม รอบปราสาทพระวิหารตามมติคณะรัฐมนตรี ของไทย เมื่อ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ซึ่ง
ราชอาณาจักรกัมพูชาไม่ยอมรับ และได้ทำ� การ ประท้วงในหลายโอกาส ๕) ราชอาณาจักรกัมพูชาพยายามชี้แจง และย�้ ำ ต่ อ ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศว่ า ราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย มี ค วามเข้ า ใจต่ า งกั น เกี่ ย วกั บ ค� ำ พิ พ ากษา ปี พ.ศ.๒๕๐๕ เรื่องพื้นที่ใกล้เคียงปราสาท และการถอนทหาร เพื่ อ ให้ ศ าลยุ ติ ธ รรม ระหว่างประเทศ รับพิจารณาตีความตามทีร่ าช อาณาจักรกัมพูชาขอ โดยอ้างว่าราชอาณาจักร กัมพูชามิได้ยอมรับเส้นที่ราชอาณาจักรไทย ใช้ในการถอนทหารหรือเส้นมติคณะรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ ทั้งนี้ นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรี/ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศ กัมพูชา ได้กล่าวแถลงปิดคดี โดยยืนยันว่า การตีความค�ำพิพากษาเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นเพราะ จะเป็นการแก้ปัญหาความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
คณะต่อสู้คดีฯ ได้เตรียมข้อมูล และ เอกสารหักล้างข้อต่อสู้ของฝ่าย ราชอาณาจักรกัมพูชา และนำ�เสนอ ถ้อยแถลงในศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศอย่างตรงประเด็น ส่งผลให้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากประชาชนชาวไทย ของทั้งสองฝ่าย อันจะน�ำไปสู่การอยู่ร่วมกัน ได้อย่างสันติสุข ฝ่ า ยราชอาณาจั ก รไทยโดยนายวี ร ชั ย พลาศรัย เอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮก ในฐานะ ตัวแทนประเทศไทยและคณะทีป่ รึกษากฎหมาย ชาวต่ า งชาติ ข องฝ่ า ยราชอาณาจั ก รไทย ประกอบด้ ว ย ๑) ศาสตราจารย์ James Crawford ชาวอั ง กฤษ ๒) ศาสตราจารย์ Donald McRae ชาวแคนาดา/นิวซีแลนด์ ๓) ศาสตราจารย์ Alain Pellet ชาวฝรั่งเศส และ ๔) นางสาว Alina Miron ชาวโรมาเนีย ผู ้ ช ่ ว ยของศาสตราจารย์ Pellet ได้ ก ล่ า ว ถ้ อ ยแถลงต่ อ ศาลยุ ติ ธรรมระหว่างประเทศ ย�้ ำ ท่ า ที ข องฝ่ า ยราชอาณาจั ก รไทยและ หักล้างค�ำแถลงทางวาจาของฝ่ายราชอาณาจักร กัมพูชา ครั้งที่ ๑ เมื่อ ๑๗ เมษายน และ ครั้งที่ ๒ เมื่อ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖ สรุปได้ดังนี้ ๑) การขอตี ค วามของราชอาณาจั ก ร กั ม พู ช าเป็ น การบิ ด เบื อ นกระบวนการของ ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง เจตจ� ำ นง ของราชอาณาจักรกัมพูชาไม่ใช่การขอตีความ แต่ มี ลั ก ษณะเป็ น การอุ ท ธรณ์ เ พื่ อ ให้ ศ าล ยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินในเรื่องที่เคย ปฏิ เ สธที่ จ ะตั ด สิ น เมื่ อ ๕๐ ปี ที่ แ ล้ ว โดยที่ ค�ำพิพากษาฯ เมื่อปี ๒๕๐๕ ไม่ได้ระบุเรื่อง เส้นเขตแดน ทั้งนี้ แผนที่ภาคผนวก ๑ ที่ราช อาณาจั ก รกั ม พู ช าใช้ อ ้ า งนั้ น ศาลยุ ติ ธ รรม ระหว่างประเทศใช้ประกอบเป็นเหตุผลส่วน หนึ่ ง ในการก� ำ หนดอ� ำ นาจอธิ ป ไตยเหนื อ ปราสาทพระวิหารเท่านั้น ไม่ได้ตัดสินให้เป็น เส้นเขตแดน ๒) พื้ น ที่ ๔.๖ ตารางกิ โ ลเมตร ที่ ร าช อาณาจักรกัมพูชาเรียกร้องเป็นเรื่องที่ไม่เคย ปรากฏในคดีเดิมซึง่ ราชอาณาจักรกัมพูชากล่าว อ้างในครั้งนี้เพราะต้องการน�ำพื้นที่ดังกล่าว ไปใช้ในการขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็น มรดกโลก ๓) พื้ น ที่ ๔.๖ ตารางกิ โ ลเมตร ที่ ร าช อาณาจักรกัมพูชาเรียกร้องในครั้งนี้ มีขนาด กว้างกว่าพื้นที่บริเวณใกล้เคียงของปราสาท (Vicinity) ในค�ำพิพากษาฯ ปี พ.ศ.๒๕๐๕ ที่ ราชอาณาจักรกัมพูชาเคยอ้างสิทธิไว้ในคดีเดิม หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ซึ่งมีขนาด ๐.๓๕ ตารางกิโลเมตร ๔) เส้นตามมติคณะรัฐมนตรีปี พ.ศ.๒๕๐๕ ที่ ร าชอาณาจั ก รไทยใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ต าม ค� ำ พิ พ ากษาฯ สอดคล้ อ งกั บ พื้ น ที่ บ ริ เ วณ ใกล้เคียง (Vicinity) ของปราสาทในค�ำพิพากษาฯ และราชอาณาจักรกัมพูชาไม่เคยทักท้วงว่า ราชอาณาจักรไทยไม่ได้ถอนก�ำลังจากบริเวณ ดังกล่าว ซึ่งแสดงว่าทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกัน จึงไม่มีความจ�ำเป็นต้องตีความ ๕) ราชอาณาจั ก รไทยได้ แ สดงให้ ศ าล ยุติธรรมระหว่างประเทศเห็นถึงความไม่ชอบ มาพากลของเอกสารหลักฐานที่ราชอาณาจักร กัมพูชาน�ำมาใช้ในศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ ครั้งนี้ โดยแผนที่ภาคผนวก ๑ ที่ราชอาณาจักร กัมพูชาใช้อ้างมีด้วยกันหลายชุด และแผนที่ ภาคผนวก ๑ ชุดที่กัมพูชายื่นต่อศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ ในคดีเดิมแตกต่างจากแผนที่ ชุดที่น�ำมาใช้ครั้งนี้ อีกทั้งเส้นบนแผนที่ก็ไม่ สามารถถ่ายทอดลงบนภูมปิ ระเทศจริงได้อย่าง ถูกต้อง นอกจากนัน้ ราชอาณาจักรกัมพูชายังน�ำ แผนทีท่ รี่ าชอาณาจักรไทยเคยน�ำไปยืน่ ต่อศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศในคดีเดิมมาแต่งเติม ๖) ราชอาณาจักรไทยยืนยันว่าได้ปฏิบัติ ตามมาตรการชั่วคราวที่ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศ สั่งเมื่อ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔ แล้ว ซึ่งมีผลบรรลุตามที่ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศต้องการ คือ ไม่มีเหตุปะทะทางอาวุธ ในบริเวณชายแดน และไม่มีการสูญเสียชีวิต นอกจากนั้น ปัจจุบนั ความสัมพันธ์ระหว่างราช อาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชาด�ำเนิน ไปด้ ว ยดี มี ช ่ อ งทางหารื อ เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา ระหว่างกัน รวมถึงประเด็นเรื่องเขตแดนที่ราช อาณาจักรกัมพูชาพยายามขอให้ศาลยุติธรรม ระหว่ า งประเทศตี ค วาม มี ก ลไกการเจรจา ภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการส�ำรวจ และจัดท� ำเขตแดนทางบก พ.ศ.๒๕๔๓ ซึ่ง ทั้งสองฝ่ายควรต้องเจรจากันในกรอบคณะ กรรมาธิการเขตแดนร่วมราชอาณาจักรไทย - ราชอาณาจักรกัมพูชา (Joint Boundary Commission : JBC) ฝ่ายราชอาณาจักรไทย โดยนายวีรชัย พลาศรัย ตัวแทนประเทศไทย ได้แถลงปิดคดี โดยได้ยำ�้ ค�ำขอของราชอาณาจักร
ไทยให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินว่า ค� ำ ฟ้ อ งของราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าไม่ เ ข้ า เงื่อนไขของการขอตีความค�ำพิพากษาฯ ดังนั้น ศาลยุ ติ ธ รรม จึ ง ไม่ มี อ�ำ นาจพิ จ ารณา และ ราชอาณาจักรกัมพูชาไม่มีอ�ำนาจฟ้อง หรือ หากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศรับพิจารณา ค�ำฟ้อง ก็ขอให้ตดั สินว่าไม่มเี หตุผลทีจ่ ะตีความ ค�ำพิพากษาฯ รวมทั้งประกาศว่าค�ำพิพากษาฯ มิได้กำ� หนดเส้นเขตแดนระหว่างราชอาณาจักร ไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา และมิได้ระบุ ขอบเขตบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร นอกจากนั้น ผู้พิพากษาอับดุลคาวิ อะห์เม็ด ยูซฟู ได้ขอให้ราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักร กัมพูชาชี้แจงเพิ่มเติมว่า ทั้งสองฝ่ายมีความ เข้าใจว่า “บริเวณใกล้เคียง (Vicinity)” ของ ปราสาทพระวิหารอยูท่ ใี่ ดโดยอ้างอิงจากแผนที่ ที่เคยเสนอในคดีเดิมหรือแจ้งพิกัดของพื้นที่ ดังกล่าว โดยให้สง่ เอกสารชีแ้ จงเป็นลายลักษณ์ อักษรให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ภายใน ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ และส่งข้อสังเกต เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเกี่ ย วกั บ ค� ำ ตอบของ อีกฝ่ายหนึ่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ภายใน ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ การอธิบายเพิม่ เติมทางวาจาต่อศาลยุตธิ รรม ระหว่ า งประเทศในครั้ ง นี้ คณะต่ อ สู ้ ค ดี ฯ ได้ เตรี ยมข้อมูล และเอกสารหักล้างข้อต่อสู้ ของฝ่ายราชอาณาจักรกัมพูชา และน�ำเสนอ ถ้ อ ยแถลงในศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศ อย่างตรงประเด็น ส่งผลให้ได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดีจากประชาชนชาวไทย 13
กองทัพไทย
กับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๕๘ ร้อยเอกหญิง อัญชลี ชัยชาญกุล
ผู้
น�ำประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามใน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เมื่อ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งมี ผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งกฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนธรรมนูญที่ ก� ำ หนดกรอบด้ า นกฎหมายและโครงสร้ า ง องค์ ก รอาเซี ย น ท� ำ ให้ อ าเซี ย นมี ก ฎกติ ก า ในการท�ำงาน มีสถานะเป็นนิตบิ คุ คลมีประชาชน เป็นศูนย์กลาง และวางรากฐานการรวมตัวเป็น ประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยการเป็นประชาคม อาเซียน (ASEAN-Community) มีเจตจ�ำนง ให้ อ าเซี ย นเป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี สั น ติ สุ ข รั ก ษา สันติภาพ และด�ำรงความเป็นกลาง มีวิธีการ ร่วมแก้ไขข้อพิพาท ลดความขัดแย้งโดยสันติ วิธี และมีเสรีทางการค้า โดยทุกประเทศใน ประชาคมจะให้ความร่วมมือกันและด�ำเนิน กิจกรรมของอาเซียนในทุกรูปแบบ ทั้งระดับ ทวิภาคี อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือน การ แลกเปลี่ยนการฝึกศึกษา หรือการเจรจาหารือ ในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี อาทิ การ ประชุมหรือการสัมมนา รวมทั้งครอบคลุมใน ทุกมิติ อันประกอบไปด้วย การเมือง ความ มั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อ 14
ลดความแตกต่ า งระหว่ า งกั น ในด้ า นต่ า งๆ โดยแบ่งการด�ำเนินงานออกเป็น ๓ เสาหลัก (three-pillars) ได้แก่ ๑) ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) ๒) ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic
Community : AEC) และ ๓) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ท� ำ ให้ ประเทศไทยจ� ำ เป็ น ต้ อ งเตรี ย มการรองรั บ ผลกระทบด้านความมั่นคงที่จะเกิดขึ้น ทั้งใน
ร้อยเอกหญิง อัญชลี ชัยชาญกุล
การดำ�เนินการเพื่อรองรับผลกระทบ ที่เกิดขึ้นนั้น จะเห็นได้ว่ารัฐบาล ได้ให้ความสำ�คัญ กับการเป็น ประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยมี นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินการดังกล่าว
รูปแบบที่จะกระทบต่อประเทศไทยโดยตรง และรูปแบบทีจ่ ะกระทบต่ออาเซียนในภาพรวม รวมทั้ ง ผลกระทบต่ อ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ ของโลก อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม่ จ� ำ กั ด อยู ่ เ ฉพาะแต่ ภั ย คุ ก คามรู ป แบบใหม่ เช่ น ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ การก่อการร้าย ยาเสพติด อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น แต่ยังรวมถึง ภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เช่น การขัดแย้งของ เส้นเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเล ซึ่งรวม ถึงประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน และยัง รวมถึงความขัดแย้งที่ประเทศสมาชิกอาเซียน อืน่ ๆ ทีม่ กี บั ประเทศเพือ่ นบ้านด้วย เช่น ปัญหา ทะเลจีนใต้ ซึ่งมาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ และ เวียดนามมีปัญหาอยู่กับจีนในปัจจุบัน โดยใน ระยะเริม่ ต้นของการเป็นประชาคมอาเซียนนัน้ ปัญหาต่างๆ จะเพิม่ ทวีคณ ู ในแนวตัง้ ชัน (Sheer) แบบยกก� ำ ลั ง (Exponential) โดยเฉพาะ ประเทศไทย ทีจ่ ะต้องดูแลเฉพาะปัญหาภายใน ประเทศ เช่น ความแตกแยกของคนในชาติ (Division) ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และปัญหาความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนกับ ประเทศเพื่อนบ้านแล้ว ประเทศไทยยังจะต้อง มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาอื่นๆ ของประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย น ซึ่ ง ต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ร่วมกันในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทัง้ ยังต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหาในภูมิภาค อื่นๆ ในฐานะที่อาเซียนเป็นนิติบุคคล ซึ่งต้อง มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอกอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผลต่อการรวมตัวไม่ได้ส่ง ผลเสียแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น การรวมตัว เป็นเพียงแต่การกระตุน้ ให้ปญ ั หาต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็น จะต้องได้รับการแก้ไขมีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะน�ำไปสู่ความร่วมมือในลักษณะพหุภาคี ที่ จ ะช่ ว ยกั น ในการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ซึง่ หากได้มกี ารเตรียมการแต่เริม่ ต้น และมีการ ประสานงาน รวมทั้งร่วมมือกันในทุกภาคส่วน ของไทย และของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ผลประโยชน์ที่ได้รับก็จะอยู่กับประชาชนของ ประเทศสมาชิกอาเซียน การด� ำ เนิ น การเพื่ อ รองรั บ ผลกระทบที่ เกิดขึน้ นัน้ จะเห็นได้วา่ รัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญ กับการเป็นประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยมีนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการ ด�ำเนินการดังกล่าว ซึง่ น�ำไปสูก่ ารจัดท�ำแผนงาน โครงการ และงบประมาณของหน่วยราชการ ต่างๆ ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานด้าน ความมั่นคงนั้น มีความจ�ำเป็นที่รัฐบาลจะต้อง จัดตั้งหน่วยงานใหม่ๆ ขึ้นมารองรับงานด้าน ภั ย คุ ก คามรู ป แบบใหม่ ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เช่ น หน่ ว ยงานด้ า นการป้ อ งกั น และปราบปราม สิ่ ง เสพติ ด หน่ ว ยป้ อ งกั น ชายฝั ่ ง การจั ด หน่วยบริหารจัดการพืน้ ทีช่ ายแดนแบบรวมการ หน่ ว ยงานด้ า นการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภั ย และภั ย พิ บั ติ ซึ่ ง หน่ ว ยงาน ดังกล่าวต้องมีความเป็นสากลและมีก�ำลังพล รวมถึงยุทโธปกรณ์ที่เพียงพอที่จะปฏิบัติงาน ทั้งในประเทศและนอกประเทศ เช่นเดียวกับกองทัพจ�ำเป็นต้องปรับปรุง โครงสร้ า ง ภารกิ จ และอ� ำ นาจหน้ า ที่ โดยในระยะเริ่ ม ต้ น มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ ง มอบหมายให้ ห น่ ว ยงานสั ง กั ด กระทรวง กลาโหมที่ มี ภ ารกิ จ ในการสนั บ สนุ น รั ฐ บาล เกี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วสนั บ สนุ น หน่ ว ยงานใหม่ ที่ จั ด ตั้ ง โดยต้ อ งให้ ค วามรู ้ การศึกษาอบรมช่ ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น ทั้ ง ก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ เพื่อให้การจัดตั้ง หน่ ว ยงานใหม่ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น มี ค วามพร้ อ มใน ทุกๆ ด้าน โดยภารกิจใหม่ และโครงสร้างใหม่ ของกองทัพนัน้ รัฐบาลต้องลดภาระของกองทัพ ในการด�ำเนินการด้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ที่ ไ ม่ จ� ำ เป็ น ลง รวมทั้ ง ยั ง ต้ อ งให้ เ วลา และ สนับสนุนงบประมาณ รวมทั้งการด�ำเนินการ ทุกด้านในการพัฒนาให้กองทัพเป็นกองทัพที่ ทันสมัย มีความเป็นสากล พร้อมปฏิบัติภารกิจ ในฐานะอาเซียนได้อย่างเต็มภาคภูมิ ซึ่งหาก
สามารถด� ำ เนิ น การได้ แ ล้ ว ก็ จ ะเป็ น พื้ น ฐาน ให้ ป ระเทศไทยสามารถที่ จ ะบริ ห ารจั ด การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และประหยัด งบประมาณการด�ำเนินการในระยะยาว เพื่อรองรับและเตรียมการในทิศทางต่างๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ไป กระทรวงกลาโหม เป็ น หน่วยงานรัฐบาลทีอ่ ยูภ่ ายใต้เสาหลักประชาคม การเมื อ งและความมั่ น คง รวมทั้ ง มี ภ าระ รับผิดชอบในการสนับสนุนเสาหลักเศรษฐกิจ และเสาหลั ก ประชาสั ง คมและวั ฒ นธรรม อี ก ด้ ว ยซึ่ ง การด�ำ เนิ น การในการรองรับการ เป็นประชาคมอาเซียนนั้น กระทรวงกลาโหม ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นได้ จั ดตั้งเวทีในการ ประชุมของฝ่ายทหารขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ เจ้าหน้าที่ในระดับผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบาย และแผนกลาโหม ปลั ด กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้มีโอกาส ในการแลกเปลี่ยนแนวความคิด หารือ และ ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินการของกองทัพ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยได้เริ่มด�ำเนินการ มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ โดยมีการประชุมครั้งที่ ๑ ที่ มาเลเซีย ครั้งที่ ๒ ที่สิงคโปร์ ครั้งที่ ๓ ที่ไทย ครั้งที่ ๔ ที่เวียดนาม ครั้งที่ ๕ ที่อินโดนีเซีย และครั้งที่ ๖ ที่กัมพูชา โดยครั้งที่ ๗ ในปีนี้จะ จัดขึ้นที่บรูไน ซึ่งการด�ำเนินการในปัจจุบันได้ พัฒนาไปสู่การประชุมของรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา อีก ๘ ประเทศ คือ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และ จีน โดยมีกรอบความร่วมมือที่ส�ำคัญ จ�ำนวน ๒ กรอบความร่วมมือ คือ • ความร่ ว มมื อ ในกรอบการประชุ ม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ๑) ความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กั บ องค์ ก รภาคประชาสั ง คมในด้ า นความ มั่ น คงรู ป แบบใหม่ (Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and 15
Civil Society Organisations (CSOs) Cooperation on Non - Traditional Security) (ริเริ่มโดย ไทย) ๒) เอกสารแนวความคิ ด เรื่ อ งการใช้ ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียนใน การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) (ริเริ่มโดย อินโดนีเซีย) ๓) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยความ ร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ใน กรอบอาเซียน (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) (ริเริ่ม โดย มาเลเซีย) ๔) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง เครื อ ข่ า ยศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภ าพ ในกรอบอาเซียน (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers Network) (ริ เ ริ่ ม โดย ไทย/ อินโดนีเซีย) 16
• ความร่ ว มมื อ ในกรอบการประชุ ม รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอาเซี ย นกั บ รั ฐ มนตรี กลาโหมประเทศคู่เจรจา ๑) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้ง คณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงทาง ทะเล (ADMM - Plus: Maritime Security Working Group Concept Paper) (มี มาเลเซียและออสเตรเลีย เป็นประธานร่วม) ๒) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้ง คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการให้ ค วาม ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัย พิบัติ (ADMM - Plus: Concept Paper for the Establishment of an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and
ร้อยเอกหญิง อัญชลี ชัยชาญกุล
Disaster Relief (HADR)) (มี เวียดนามและ จีน เป็นประธานร่วม) ๓) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการปฏิ บั ติ การรักษาสันติภาพ (ADMM - Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) (มี ฟิลิปปินส์ และนิวซีแลนด์ เป็นประธานร่วม) ๔) เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการแพทย์ ทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) (มี สิงคโปร์ และญี่ปุ่น เป็นประธานร่วม) ๕) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้ง คณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการ ก่อการร้าย (ADMM - Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group) (มี อินโดนีเซียและสหรัฐฯ เป็นประธานร่วม) นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารประชุ ม ในระดั บ ผู ้ บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด และผู ้ บั ญ ชาการ เหล่าทัพ และหน่วยขึ้นตรงของกองทัพต่างๆ เช่น การประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดแบบ ไม่เป็นทางการ (ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting: ADCFIM) การ ประชุ ม ผู ้ บั ญ ชาการทหารบกอาเซี ย น การ ประชุ ม ผู ้ บั ญ ชาการทหารเรื อ อาเซี ย น การ ประชุมผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน และ การยิงปืนอาเซียน เป็นต้น จากความร่วมมือดังกล่าวข้างต้นจะท�ำให้ แต่ละประเทศได้รับประโยชน์ในการด�ำเนิน การ คือ ในระยะแรกของการเป็นประชาคม อาเซียน คือ ขจัดความไม่ไว้วางใจระหว่างกัน ดังนั้น มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยน การฝึก จึงมีความส� ำคัญอยู่ในระยะเริ่มต้น โดยในระยะต่อไป คือ ลดช่องว่าง และเสริม จุดอ่อนของขีดความสามารถของกองทัพประเทศ ต่างๆ เช่น การสร้างเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการ เพื่ อ สั น ติ ภ าพ เพื่ อ ให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นขี ด ความสามารถของแต่ละประเทศด้านปฏิบตั กิ าร รักษาสันติภาพของทั้ง ๕ ประเทศ คือ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ รวมทั้งขยายขีดความสามารถให้กับประเทศ ที่ ไ ม่ มี ศู น ย์ ฝ ึ ก ดั ง กล่ า วได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ด ้ ว ย งานด้ า นอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศของ อาเซียน เพื่อให้อาเซียนมียุทโธปกรณ์ที่ผลิต ได้ในภูมิภาคซึ่งท�ำให้มีความเชื่อถือได้ในด้าน ยุทโธปกรณ์ และประหยัดงบประมาณด้านการ ป้องกันประเทศ เป็นต้น แผนงานในระยะยาว ของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน คือ แนวความคิดในการใช้กองก�ำลังจากประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นในด้ า นการช่ ว ยเหลื อ ด้ า น หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
มนุษยธรรมของอาเซียน และการปฏิบัติการ รักษาสันติภาพในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตาม การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วอาเซี ย นไม่ ส ามารถ ด�ำเนินการได้ส�ำเร็จโดยล�ำพัง ดังนั้น การที่ อาเซี ย นมี ก รอบความร่ ว มมื อ ในกรอบการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและรัฐมนตรี กลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus: ADMM-Plus) จะช่วยเสริมสร้างให้กองทัพอาเซียนสามารถที่ จะใช้ประโยชน์จากทรัพยากรบุคคล ขีดความ สามารถด้านยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีจาก ประเทศต่างๆ ได้ รวมทั้งยังเป็นการสร้างความ ไว้เนื้อเชื่อใจของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา อีกทางหนึ่งด้วย การด� ำ เนิ น การข้ า งต้ น ยั ง มี อุ ป สรรคอี ก มากมาย ดังนัน้ รัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียน ควรให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหาต่างๆ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นเป็ น ล� ำ ดั บ แรก โดย เฉพาะความไม่ชดั เจนของเรือ่ งเขตแดน ปัญหา ด้านอื่นๆ กับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นปัจจัย เริ่มต้นของการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ และจะ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการน�ำพาเข้าสู่ความส�ำเร็จ ในระดับอาเซียน และในระดับภูมิภาคต่อไป โดยประเทศไทยนั้น ปัญหาต่างๆ กับประเทศ เพื่อนบ้านที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วนนั้น หากแก้ไขในระดับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ (Track I) แล้วไม่ส�ำเร็จ นักวิชาการต่างๆ (Track II) ของ ประเทศไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน ก็นา่ ทีจ่ ะได้ ร่วมมือกันในการแสดงแนวทางแก้ไขปัญหา ต่างๆ แล้วเสนอข้อมูลให้ Track I ด�ำเนิน การต่อไป ผมมีความคาดหวังว่า ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและจะเกิดเพิ่มมากขึ้นใน อนาคตของประเทศไทย จากการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนจะสร้างนักวิชาการ นักวิจัย พั ฒ นา นั ก วิ ท ยาศาสตร์ นั ก คณิ ต ศาสตร์ ผู้บริหารที่มีความสามารถในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียนและในระดับโลกเกิดขึ้น และหวังว่ากลุ่มบุคคลดังกล่าว จะสร้างความ ส�ำเร็จ ความเจริญรุ่งเรือง ความสงบสุข ให้กับ ประเทศไทย และภูมิภาคอื่นๆ ต่อไป ส�ำหรับ ในครั้งต่อไปนั้นจะได้กล่าวถึงการด�ำเนินการ ของกระทรวงกลาโหม ในการเตรี ย มการ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในเรื่องของ การปรับปรุงยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ ของกระทรวงกลาโหมในการรองรับการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ รวมทั้งแผน ปฏิบัติการ ๓ ปี กระทรวงกลาโหม (ปี ๒๕๕๖ ๒๕๕๘) ในการเตรียมการเป็นประธานอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เพื่อจัดเตรียมความพร้อมในทุก ด้าน รวมทั้งปัญหาข้อขัดข้องต่างๆ และความ ไม่เข้าใจของหน่วยปฏิบัติที่จะน�ำแผนดังกล่าว ลงสู่ภาคปฏิบัติอีกด้วย
การเป็นประชาคมอาเซียน (ASEANCommunity) มีเจตจำ�นงให้อาเซียน เป็นภูมภิ าคทีม่ สี นั ติสขุ รักษาสันติภาพ และดำ�รงความเป็นกลาง มีวิธีการ ร่วมแก้ไขข้อพิพาท ลดความขัดแย้ง โดยสันติวิธี และมีเสรีทางการค้า โดยทุกประเทศในประชาคมจะให้ ความร่วมมือกันและดำ�เนินกิจกรรม ของอาเซียนในทุกรูปแบบ
17
การประชุมนานาชาติเพือ่ พัฒนาแนวทางการปฏิบตั งิ านร่วม ในการบรรเทาสาธารณภัยระหว่างพลเรือนและทหาร ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
รั
ฐมนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ได้ กรุณาอนุมัติให้จัดการประชุมสัมมนา เชิงปฏิบัติการนานาชาติ เรื่อง “การ พัฒนาแนวทางการบรรเทาสาธารณภัยร่วม ระหว่าง กห. กับองค์กรภาคประชาสังคม” โดยให้ สป. เป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบ ด� ำ เนิ น การจั ด การประชุ ม ฯ ซึ่ ง การประชุ ม สัมมนาเชิงปฏิบัติการนานาชาติฯ ดังกล่าว ประกอบด้ ว ยการประชุ ม ๒ ครั้ ง ดั ง นี้ ครั้งที่ ๑ เป็นการประชุมนานาชาติเพื่อพัฒนา แนวทางการปฏิ บั ติ ง านร่ ว มในการบรรเทา สาธารณภัยระหว่างพลเรือนและทหาร ระยะ เวลา ๑ วัน ซึ่งได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๓๐ เม.ย.๕๖ ณ ศาลาว่าการกลาโหม และครั้งที่ ๒ การ ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการนานาชาติ เรื่อง การพัฒนาแนวทางการบรรเทาสาธารณภัย ร่วม ระหว่าง กห.ไทย กับ กห.อาเซียน และ องค์กรภาคประชาสังคม ระยะเวลา ๓ วัน ซึ่งวางแผนไว้ประมาณปลายปีนี้ การจัดการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ นานาชาติฯ ดังกล่าว จะเป็นการเตรียมความ พร้อมของ กห. ต่อการก้าวสูก่ ารเป็นประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ ซึง่ จะต้องมีการปฏิบตั งิ าน ร่วมกันระหว่างพลเรือนและทหารในหลาย มิติ เพื่อให้เกิดความมั่นคงในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ด้ า นภั ย พิ บั ติ โดยผลที่ จ ะได้ รั บ จากการจั ด การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารนานาชาติฯ นี้ จะน�ำไปสู่การจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติงาน ร่ ว มกั น ระหว่ า งพลเรื อ นและทหารในการ บรรเทาสาธารณภัย โดยมุ่งเน้นที่สาธารณภัย ขนาดใหญ่ทมี่ ผี ลกระทบร้ายแรงอย่างยิง่ ซึง่ จะ ท�ำให้การปฏิบตั ติ ามเอกสารแนวความคิดเรือ่ ง “ความร่วมมือระหว่าง กห.อาเซียน กับองค์กร 18
ภาคประชาสังคม ในด้านความมั่นคงรูปแบบ ใหม่” ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้เสนอ และได้มีการ รับรองในการประชุม รมว.กห.อาเซียน ครัง้ ที่ ๓ เมื่อ ก.พ.๕๒ เกิดผลเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น การประชุมนานาชาติเพื่อพัฒนาแนวทาง การปฏิบัติงานร่วมในการบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างพลเรือนและทหารในวันที่ ๓๐ เม.ย. ๕๖ นี้ ถือเป็นก้าวแรกที่ส�ำคัญในการพัฒนา เครือข่ายความร่วมมือระหว่างพลเรือนและ ทหารซึ่งมีเป้าหมายร่วมกันในการช่วยเหลือ และบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนที่ ประสบภัยให้เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งกับชีวิต และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชนให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด โดยเหตุ ผ ลที่ ว ่ า บทเรี ย นจากมหาอุ ท กภั ย ที่ ประเทศไทยได้รับในปี ๒๕๕๔ ซึ่งสร้างความ สูญเสียอย่างมากให้กับประเทศไทยทั้งในภาค การเกษตร อุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีจังหวัดที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจ�ำนวน ๖๕ จังหวัด และประชาชน ประมาณ ๑๒ ล้านคน ซึ่งธนาคารโลกได้ประเมินความเสีย หายไว้ประมาณ ๑.๔๔ ล้านล้านบาท และจัด ให้เป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายมากที่สุด เป็นอันดับที่สี่ของโลก ท�ำให้ประเทศไทยต้อง ประเมินความพร้อมและประสิทธิภาพในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของทุกภาค ส่วน ซึ่งข้อเท็จจริงที่ทุกฝ่ายเห็นพ้องกันว่าเป็น ปัจจัยหลักที่ส�ำคัญคือ ความมีประสิทธิภาพ ในการท�ำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ ความมี เอกภาพในการบังคับบัญชา และที่ส�ำคัญคือ การประสานงานทัง้ ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน รวมถึงภาคประชาชน ท�ำให้การจัดการภัยพิบตั ิ ขาดประสิทธิภาพ และการช่วยเหลือประชาชน ในพื้นที่ประสบภัยไม่ทั่วถึงและซ�้ำซ้อนกัน
กระทรวงกลาโหมในฐานะหน่วยงานสนับสนุน หลักตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ ตระหนักว่าการพัฒนาความร่วมมือ ระหว่ า งพลเรื อ นกั บ ทหารในการบรรเทา สาธารณภัย จะเป็นการเสริมสร้างประสิทธิภาพ ในการจั ด การสาธารณภั ย ของประเทศไทย จึงได้พิจารณาการจัดการประชุมนานาชาติฯ ในวันนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของ ประเทศไทย ต่อการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบ ใหม่ ด ้ า นภั ย พิ บั ติ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของการจั ด การประชุ ม นานาชาติ ฯ ครั้ ง นี้ คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ ด้านการบรรเทาสาธารณภัยระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่มีที่ ตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งจะน�ำไปสู่การจัดท�ำ คู่มือการปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนและ ทหารในการบรรเทาสาธารณภัยต่อไป ผู้เข้าร่วมการประชุมนานาชาติฯ ประกอบ ด้ ว ย ผู ้ แ ทนหน่ ว ยงานภายใน กห. ผู ้ แ ทน หน่วยงานนอก กห. ผู้แทนภาคเอกชน ผู้แทน องค์กรภาคประชาสังคม และองค์การระหว่าง ประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย และผู้แทน สน.ผชท.ทหารต่างประเทศ/กรุงเทพฯ รวม จ�ำนวนประมาณ ๑๐๐ คน โดยมี ผอ.สนผ.กห.
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
เป็นประธานพิธีเปิด และพิธีปิดการประชุม นานาชาติฯ การบรรยายเรื่อง “การจัดการสาธารณภัย: การประสานงานและการปฏิ บั ติ ง านร่ ว ม ระหว่างพลเรือนกับทหาร” โดย คุณลุค สตีเวนส์ ผู ้ ป ระสานงานแห่ ง องค์ ก ารสหประชาชาติ ประจ�ำประเทศไทย คุณเซบาสเตียน โรดส์ แสตมปา เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานระหว่างพลเรือน กับทหารในภูมภิ าคขององค์การสหประชาชาติ และ พล.จ.พาเมลา มิลิแกน ผู้อ� ำนวยการ ศูนย์เพื่อความเป็นเลิศด้านการช่วยเหลือทาง มนุษยธรรมและการจัดการสาธารณภัย สรุป สาระส�ำคัญได้ดังนี้ ๑) การประสานงานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คื อ หั ว ใจของความส� ำ เร็ จ ในการตอบโต้ ต ่ อ สาธารณภั ย และการเตรี ย มพร้ อ มที่ ดี เ ป็ น ปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการลดผลกระทบทีอ่ าจจะเกิด ขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ๒) ความส�ำคัญของการประสานงานที่ดี ระหว่างพลเรือนกับทหาร เป็นการเพิม่ บทบาท ของทหารในการตอบโต้ต่อสาธารณภัย และ การลดช่องว่างในการปฏิบัติการ ๓) ความท้าทายในการประสานงานระหว่าง พลเรือนกับทหาร ได้แก่ ทักษะหรือขีดความ สามารถในการประสานงาน ความเข้ า ใจที่ ตรงกันและร่วมกัน ความซ�้ำซ้อนในการปฏิบัติ และการมุ่งเน้นผลงานขององค์กรมากกว่าการ จัดการสาธารณภัยในภาพรวม ๔) หลักการปฏิบัติในการช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมและการบรรเทาสาธารณภัย ที่ สองฝ่ายควรยึดถือและปฏิบัติ ได้แก่ ต้องมี มนุษยธรรม ต้องเป็นกลาง และต้องปราศจาก อคติ ๕) บทเรี ย นที่ ไ ด้ รั บ จากการปฏิ บั ติ ง าน ร่ ว มระหว่ า งพลเรื อ นกั บ ทหารของกองทั พ สหรัฐอเมริกาในการบรรเทาสาธารณภัยกรณี เฮอริ เ คนแซนดี้ และกรณี แ ผ่ น ดิ น ไหวและ สึ น ามิ ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น ได้ แ ก่ การฝึ ก ซ้ อ ม ร่วมกันระหว่างพลเรือนกับทหารยังไม่ดีพอ การแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างกันยังไม่ตอ่ เนือ่ ง หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
เพราะผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านขาดความตระหนั ก ใน สถานการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้น ปัญหาเรื่อง การจัดการสารสนเทศ และการให้ความส�ำคัญ ในการแสดงภาพสถานการณ์ ร ่ ว มระหว่ า ง พลเรือนกับทหาร เป็นต้น ๖) กองทัพสหรัฐอเมริกาจะใช้กำ� ลังทหาร ในการปฏิบัติการช่วยเหลือทางมนุษยธรรม และการบรรเทาสาธารณภั ย ในกรณี ต ่ า งๆ ดังนี้ ๑) เมื่อมีความจ�ำเป็นต้องใช้ขีดความ สามารถและการบริ ก ารที่ เ จาะจง ๒) เมื่ อ จ�ำเป็นต้องเพิ่มขีดความสามารถในการตอบโต้ ต่อสาธารณภัย และ ๓) เมื่อหน่วยงานภาค พลเรือนขอรับการสนับสนุน โดยมีเงื่อนไขที่ ส�ำคัญดังนี้ ๑) จะต้องระบุภารกิจที่ชัดเจน ๒) ภารกิจทีไ่ ด้รบั ต้องมีระยะเวลาสัน้ และ ๓) การ รับภารกิจเพิ่มเติมระหว่างเข้าปฏิบัติงานนั้น ควรมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ ๗) แนวความคิดร่วมกันที่ส�ำคัญระหว่าง พลเรือนกับทหารในการบรรเทาสาธารณภัย คือการแบ่งปันข้อมูล และความพยายามใน การรักษาสมดุลระหว่างการควบคุมและบังคับ บัญชา กับการปฏิบัติงานร่วมกันและความ เห็นพ้องร่วมกัน การบรรยาย เรื่อง ขีดความสามารถและ ศักยภาพขององค์กรภาคประชาสังคม สรุปได้ ดังนี้ ๑) ผู ้ แ ทนองค์ ก รภาคประชาสั ง คมที่ ไ ด้ แลกเปลีย่ นข้อมูล ประสบการณ์ และความคิดเห็น มีดังนี้ ๑.๑) ผู ้ แ ทนหน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ ได้แก่ กฟน., กฟภ., กฟผ., กปน., กปภ. และ การท่าเรือกรุงเทพฯ ๑.๒) ผู ้ แ ทนบริ ษั ท เอกชน ได้ แ ก่ บมจ.ปูนซีเมนต์ไทย บมจ.ปตท. บมจ.เครือ เจริญโภคภัณฑ์ และ บมจ.ทีโอที จ�ำกัด ๑.๓) ผู ้ แ ทนสื่ อ สารมวลชน คื อ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ แห่งประเทศไทย (TPBS) ๑.๔) ผู้แทนมูลนิธิสาธารณกุศลและ สถาบันด้านบรรเทาสาธารณภัย ได้แก่ มูลนิธิ
ราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธกิ ระจกเงา มูลนิธสิ นั ติชน สภากาชาดไทย มูลนิธิ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัน สถาบัน การแพทย์ ฉุ ก เฉิ น และมู ล นิ ธิ ค าทอลิ ก สงเคราะห์ผู้ประสบภัยและผู้ลี้ภัย ๑.๕) ผูแ้ ทนองค์การระหว่างประเทศ ได้ แ ก่ กองทุ น เพื่ อ เด็ ก แห่ ง สหประชาชาติ องค์ ก ารอนามั ย โลก ส� ำ นั ก งานเพื่ อ การ ประสานงานกิ จ การทางมนุ ษ ยธรรมแห่ ง องค์การสหประชาชาติ สหพันธ์กาชาดและ สภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ องค์กร พิทักษ์สัตว์แห่งโลก และสภากาชาดสากล ๒) องค์กรต่างๆ ได้กล่าวถึงประสบการณ์ ในการช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยจาก สาธารณภัยต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและต่าง ประเทศตามศักยภาพและขีดความสามารถ ขององค์กร โดยทุกองค์กรเห็นความส� ำคัญ ของการจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติงานร่วมใน การบรรเทาสาธารณภัยระหว่างพลเรือนกับ ทหาร และมี ค วามยิ น ดี ที่ จ ะสนั บ สนุ น กห. ในการจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติงานดังกล่าว นอกจากนี้ยังเน้นย�้ำถึงการส่งเสริมความรู้ให้ กั บ ประชาชน และพั ฒ นาให้ ชุ ม ชนมี ค วาม เข้ ม แข็ ง และพร้ อ มรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ สาธารณภัยต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในพืน้ ทีท่ ตี่ นเอง อยู่อาศัย ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนึ่งในการลดความ สูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชนได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ กห. ได้ ข อเชิ ญ ชวนผู ้ แ ทน องค์กรต่างๆ เข้าร่วมการประชุมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการนานาชาติฯ ในช่วงปลายปีนี้ และ ร่วมเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างคู่มือการ ปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนกับทหารใน การบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งได้แจกไปในการ ประชุมด้วย โดยทั้งนี้องค์กรที่สนใจสามารถ ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่าง พลเรือนและทหารได้ทางเว็บไซต์ www.mod. go.th/civ-mil/ 19
การดำ�เนินงาน
ด้านระบบก๊าซชีวภาพ ของกรมการพลังงานทหาร กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
ก๊
าซชี ว ภาพ (Biogas) คื อ ก๊ า ซ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการหมั ก ย่ อ ยสลาย ของสารอินทรีย์ด้วยวิธีทางชีววิทยา (Biological Treatment) ภายใต้ ส ภาวะ ไร้ อ ากาศ (Anaerobic Condition) องค์ ประกอบหลั ก ของก๊ า ซชี ว ภาพโดยทั่ ว ไปจะ ได้แก่ ก๊าซมีเทน (CH4) ประมาณ ๖๐-๗๐ % ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ (CO 2) ประมาณ ๒๘-๓๘ % และก๊าซอื่นๆ ประมาณ ๒ % เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไนโตรเจน (N2) และ ไอน�ำ้ เป็นต้น เนือ่ งจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นก๊าซที่คงตัวและไม่ติดไฟ ดังนั้นคุณสมบัติ ของก๊าซชีวภาพที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้จึงขึ้นอยู่ กับปริมาณของก๊าซมีเทน ก๊าซชีวภาพเกิดจาก กระบวนการการย่อยสลายของวัสดุอินทรีย์ ทั้งจากพืช สัตว์ หรือแม้แต่ของเสียจากสัตว์ รวมถึ ง ขยะมู ล ฝอยที่ เ ป็ น ขยะอิ น ทรี ย ์ โดย กระบวนการย่ อ ยสลายทั้ ง หมดเกิ ด ขึ้ น จาก การท�ำงานของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ในสภาวะ ที่ไร้อากาศ ก๊าซชีวภาพสามารถเกิดขึ้นได้เอง ตามธรรมชาติ ถ ้ า มี ส ภาพที่ เ หมาะสม หรื อ เกิดขึน้ ในระบบผลิตก๊าซ กล่าวคือเมือ่ ไหร่กต็ าม ที่มีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นเวลานานก็จะ เกิดก๊าซชีวภาพ การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ เป็น หนึ่ ง ในเทคโนโลยี ด ้ า นพลั ง งานทดแทนที่ มี ศักยภาพสูง โดยเฉพาะในประเทศไทยที่เป็น ประเทศเกษตรกรรม ซึ่งสามารถด�ำเนินการ ได้ในแหล่งชุมชนที่มีของเสียจากการเกษตร หรือขยะอินทรีย์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ ก๊าซชีวภาพคือพลังงานความร้อนที่ใช้ในการ หุงต้มหรือใช้เป็นแสงสว่าง รวมทั้งช่วยคัดแยก ขยะอินทรีย์ออกจากขยะอนินทรีย์ ท�ำให้ง่าย
20
ต่อการขนย้ายและการท�ำลาย และเป็นการ ใช้ประโยชนจากของเสียในชุมชนด้วยการช่วย ลดปัญหามลพิษจากกลิ่น และช่วยลดการเกิด ภาวะโลกร้อนจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ ที่ท�ำให้เกิดก๊าซมีเทนสะสมในชั้นบรรยากาศ ดั ง นั้ น การผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพจากขยะอิ น ทรี ย ์ จึงเหมาะสมส�ำหรับน�ำมาใช้งานในหน่วยงาน ราชการหรือชุมชน เพือ่ เป็นแหล่งผลิตพลังงาน ความร้อนส�ำหรับทดแทนเชือ้ เพลิงจากฟอสซิล ซึ่งมีจ�ำนวนลดน้อยลงทุกวัน ซึ่งนโยบายด้าน พลังงานทดแทนของรัฐบาลยุคปัจจุบันมีการ ส่งเสริมการผลิต การใช้ ตลอดจนการวิจัยและ พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดยตั้งเป้าหมายให้สามารถทดแทนเชื้อเพลิง ฟอสซิลได้อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ภายใน ๑๐ ปี กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้ อ งกั น ประเทศและพลั ง งานทหาร เป็ น หน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม มีบทบาท ในภารกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับด้านพลังงานในรูปแบบ ต่างๆ ของกระทรวงกลาโหม ส�ำหรับงานด้าน พลั ง งานทดแทน กรมการพลั ง งานทหารฯ มีหน้าทีใ่ นการด�ำเนินการวิจยั พัฒนา เสนอแนะ ติ ด ตามเทคโนโลยี ประสานความร่ ว มมื อ ทัง้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพือ่ น�ำพลังงาน ทดแทนมาใช้ประโยชน์ในราชการทหารและ
อื่นๆ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของพลังงาน ทดแทน โดยเฉพาะด้านก๊าซชีวภาพซึ่งจะเป็น แหล่งพลังงานส�ำคัญให้กบั กองทัพและประเทศ ในอนาคต จึงได้ออกแบบและผลิตระบบผลิต ก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ขนาด ๒,๐๐๐ ลิตร โดยสามารถติดตั้งใช้งานได้ภายในชุมชน หรื อ ในหน่ ว ยทหารที่ มี ข ยะอิ น ทรี ย ์ ซึ่ ง เป็ น วัตถุดิบในการผลิตก๊าซชีวภาพ ระบบผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพจากขยะอิ น ทรี ย ์ ที่ กรมการพลังงานทหารฯ ถูกออกแบบให้ มีปริมาตรความจุของถังหมัก ขนาด ๒,๐๐๐ ลิตร ตัวถังหมักท�ำจากวัสดุที่มีความเหนียว และยืดหยุ่น ทนต่อสารเคมี และมีโครงเหล็ก รัดตัวถังหมักโดยรอบส�ำหรับช่วยคงรูปตัวถัง หมัก เมื่อมีการขยายตัวของถังขณะมีการเกิด
กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
ก๊าซชีวภาพขึ้นภายใน องค์ ป ระกอบหลั ก ของระบบผลิ ต ก๊ า ซ ชีวภาพจากขยะอินทรีย์ ประกอบด้วย ๑) หัวเตาก๊าซชีวภาพ ท�ำหน้าที่ น�ำก๊าซ ชีวภาพไปใช้งานในการหุงต้ม ๒) ถังเก็บก๊าซ ท�ำหน้าที่ เก็บก๊าซชีวภาพ ทีถ่ กู ผลิตขึน้ ภายในถังหมักโดยมีปริมาตรความ จุ ๑๕๐ ลิตร เก็บก๊าซด้วยวิธีการแทนที่น�้ำ โดย ปริมาณน�้ำที่เติมควรรักษาระดับให้คงที่ตาม เส้นสีแดงที่แสดงไว้ที่ข้างถัง ๓) ถังดักน�้ำ ท�ำหน้าที่ ดักน�้ำที่มากับก๊าซ ในท่อส่งก๊าซจากถังเก็บก๊าซชีวภาพ เพื่อให้ ก๊าซไหลไปยังหัวเตาได้สะดวก ๔) ถังหมักก๊าซชีวภาพ ท�ำหน้าที่ หมัก เศษอาหารเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ๕) ถั ง จ่ า ยก๊ า ซชี ว ภาพ ท� ำ หน้ า ที่ เก็บกักก๊าซชีวภาพและจ่ายก๊าซมาสู่หัวเตา เพื่อใช้งาน ๖) ปั๊มอัดก๊าซชีวภาพ ท�ำหน้าที่ อัดก๊าซ ชีวภาพที่ได้จากการหมักอัดเข้าสู่ถังจ่ายก๊าซ ชีวภาพ ปี ๒๕๕๕ กรมการพลังงานทหารฯ ได้ผลิต และติดตัง้ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพขนาด ๒,๐๐๐ ลิตรดังกล่าว สนับสนุนให้กับหน่วยทหารใน พื้นที่ กองทัพภาคที่ ๑, กองทัพภาคที่ ๓ และ สถาบันการศึกษา (วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร) แล้วจ�ำนวน ๓๕ ระบบ จากการประเมินผลการใช้งานระบบผลิตก๊าซ ชีวภาพฯ ดังกล่าวจากหน่วยทหารและสถาบัน การศึกษาพบว่าระบบผลิตก๊าซชีวภาพสามารถ ใช้งานได้ดีท�ำให้ประหยัดค่าเชื้อเพลิงในการ หุงต้มได้ส่วนหนึ่ง จากความส�ำเร็จที่ด�ำเนินการในปี ๒๕๕๕ กรมการพลังงานทหารฯ จะท�ำการผลิตและ ติดตั้งระบบผลิตก๊าซชีวภาพขนาด ๒,๐๐๐ ลิ ต ร สนั บ สนุ น ให้ กั บ หน่ ว ยทหารในพื้ น ที่
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
กองทัพภาคที่ ๒ อีกจ�ำนวน ๓๕ ระบบ ใน ปี ง บประมาณ ๕๖ นอกจากนี้ ยั ง ได้ จั ด ท� ำ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (โดยกรมการพลังงาน ทหารฯ) และจังหวัดนครนายก เพื่อร่วมมือ สนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ในการน� ำ พลั ง งาน ทดแทนก๊ า ซชี ว ภาพมาใช้ ป ระโยชน์ โดย กรมการพลังงานทหารฯ จะสนับสนุนในการ ประกอบ ผลิต ติดตั้ง และพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยีของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ รวมทั้ ง การสนั บ สนุ น การฝึ ก อบรมบุ ค ลากร ให้มีความรู้ความช�ำนาญสามารถผลิตและน�ำ พลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพมาใช้ประโยชน์ ได้ดี การจัด ท� ำ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ฯ ดั ง กล่ า วนอกจากจะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ สนั บ สนุ น ให้ จั ง หวั ด นครนายกเป็ น ต้ น แบบ จังหวัดอัจฉริยะตามนโยบายของรัฐบาลแล้ว
ยั ง เป็ น การแสดงเจตนารมณ์ ร ่ ว มกั น ในการ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ห น่ ว ยทหารรวมทั้ ง ประชาชนได้ มี ค วามรู ้ เ รื่ อ งพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพและสามารถผลิตก๊าซชีวภาพมา ใช้ในการหุงต้มอาหารได้เอง ซึ่งเป็นการพัฒนา คุณภาพชีวติ ขัน้ พืน้ ฐานพร้อมกับการมีพลังงาน ใช้ อ ย่ า งพอเพี ย งและยั่ ง ยื น ร่ ว มกั น ระหว่ า ง ทหาร ภาครัฐ และประชาชน
21
Move That Gas
ภารกิจการส่งกำาลังบำารุงนำ้ามันที่ท้าทายที่สุด ภารกิจหนึ่งในโลก “กองทัพสหรัฐฯ มีความต้องการนำ้ามันเชื้อเพลิง มากถึง ๔๖,๐๐๐ ล้านแกลลอนต่อปี ใครคือ ผู้รับผิดชอบเรื่องยิ่งใหญ่อันนี้” “หน่วยสนับสนุนการรบหรือทหารส่งกำาลังบำารุง พวกเขาจะทำาทุกวิถีทางที่จะสนับสนุนภารกิจ ทางยุทธการให้บรรลุภารกิจ” จาก : Air Force Magazine, September 2010 ผู้เขียน : Otto Kreisher ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
๒๒
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ก่
อนที่ น�้ า มั น จะไหลเข้ า สู ่ ถั ง เชื้ อ เพลิ ง ของเครื่องบินของ ทอ.สหรัฐฯ ทั้งจาก การบริการของภาคพืน้ หรือจากเครือ่ งบิน เติมเชื้อเพลิงกลางอากาศนั้น กระบวนการ เกิดขึ้นเหล่านี้เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและบางครั้ง ก็แฝงไปด้วยอันตราย ระบบการจัดหาน�้ามัน เพื่อป้อนให้กองก�าลัง ทอ.สหรัฐฯ ทั่วโลกนั้น มี ห น่ ว ยงานที่ เ ป็ น ตั ว แทนของกองทั พ และ ท� า หน้ า ที่ บั ง คั บ บั ญ ชาเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารจั ด การ โดยมี ก� า ลั ง พลปฏิ บั ติ ง านมาจากอย่ า งน้ อ ย สามเหล่าทัพ โดยประสานงานกับบริษทั คูส่ ญ ั ญา ในการจัดหาน�้ามันที่มีอยู่ทั่วโลกในทุกระดับ ของการจัดหา และทุกแห่งหนทีใ่ กล้ทสี่ ดุ ส�าหรับ การขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นระบบท่อบนดินและ ใต้ดิน, เรือน�้ามัน, รถไฟ, รถบรรทุก, เครื่องบิน หรือแม้กระทั่งเฮลิคอปเตอร์ ความท้าทายของธุรกิจอันนี้มาจากความ ใหญ่โตและกว้างขวางของธุรกรรมในตัวมันเอง กลาโหมสหรัฐฯ เป็นลูกค้าน�้ามันรายใหญ่ที่สุด ในโลกแต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น ทุกปีจะต้องมี ค่าใช้จ่ายเป็นจ�านวน ๒๐๐,๐๐๐ ล้านเหรียญ ส�าหรับน�้ามัน ๔๖,๐๐๐ ล้านแกลลอน เพื่อ หล่อเลี้ยงกองก�าลังสหรัฐฯ ทั่วโลก ส�าหรับ ทอ.สหรั ฐ ฯ มี ป ริ ม าณการใช้ ม ากถึ ง ๕๒ เปอร์ เ ซ็ น ต์ หรื อ ประมาณ ๒๔,๐๐๐ ล้ า น แกลลอนต่อปี ภาระอันหนักหน่วงทั้งหมดนี้ ตกอยู่ที่ศูนย์บัญชาการกลางสหรัฐฯ (The US Central Command : USCC) ซึ่งต้องดูแล กองก� า ลั ง ของสหรั ฐ ฯทั้งหมดรวมถึงบริเวณ ที่มีความขัดแย้งใหญ่ๆ สองแห่งคืออิรักและ อัฟกานิสถาน โดยเฉพาะในอัฟกานิสถานนั้น การขนส่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยความยากล� า บากและ อันตราย ซึ่งก็จะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้กับ ทหารอเมริกันด้วย ในย่านแปซิฟิคที่เวิ้งว้าง หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
และกว้างใหญ่นั้นอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ โดยตรงของศูนย์บัญชาการภาคพื้นแปซิฟิค (PCAF) ส่วนศูนย์บัญชาการ ทอ.สหรัฐฯ ใน สมรภู มิ อิ รั ก และอั ฟ กานิ ส ถานนั้ น มี ป ริ ม าณ การใช้น�้ามันทุกประเภทรวมกันเป็นครึ่งหนึ่ง ของที่ ทอ.สหรัฐฯ ใช้ทั้งหมดหรือเป็นจ�านวน ๑๒,๐๐๐ ล้านแกลลอนต่อปี บุคคลที่เป็นตัวจักรส�าคัญในภารกิจเหล่านี้ คือ นักส่งก�าลังบ�ารุงชั้นยอดเพียงแค่ไม่กี่พัน คนของ ทอ.สหรัฐฯ และพลเรือนรวมกัน เขา เหล่านี้มีความช�านาญเป็นอย่างยิ่งในการคิด ค�านวณความต้องการและวิธีการในการขนส่ง POL (Petroleum, Oil and Lubricants) เพือ่ ให้ถงึ ทีห่ มายทันความต้องการทางยุทธการ ทั้ ง สามมิ ติ ห ลั ก ของการส่ ง ก� า ลั ง บ� า รุ ง คื อ
เพียงพอ, ทันเวลา และต่อเนื่อง โดยที่พวกเขา มี ค วามมั่ น ใจว่ า การจั ด ส่ ง POL ให้แก่กอง ก�าลังสหรัฐฯ แม้ว่าบางครั้งต้องข้ามแปซิฟิค ก็ตาม จะต้องไม่มีการรั่วไหล, ปนเปื้อนหรือ ขาดแคลนเป็นอันขาด โดยเฉพาะประการหลัง นี้เป็นเรื่องที่ท้าทายแบบสุดๆ ในอัฟกานิสถาน เนื่องจากความโหดร้ายแสนจะทุรกันดารของ ภูมิประเทศ ความหนาวเหน็บของภูมิอากาศ กระแสลมที่ แ รงและเย็ น อย่ า งเจ็ บ แสบและ การลอบโจมตีอย่างอ�ามหิตของนักรบตาลีบัน หรือ Al-Queda ประกอบกับระบบโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศนี้อยู่ในระดับที่มีเหมือน กั บ ไม่ มี แต่ ก็ ไ ม่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ หลั ก ความ พยายามของพวกเขาที่มีอยู่สูงมากพอๆ กับ หลักความสามารถของพวกเขา และที่นี่การ ส่งน�า้ มันจ�านวนมากจากอีกประเทศหนึง่ เข้ามา ในอัฟกานิสถานนั้น ส่วนใหญ่จะใช้วิธี GLOCS (Ground Lines of Communication System) ซึ่งมีความเสี่ยงน้อยที่สุด อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออก สู่ทะเล การส่งก�าลังบ�ารุงเกือบทุกอย่างเริ่มต้น ที่เมืองท่าที่การาจีของปากีสถาน ปลายทาง หลั ก ของสหรั ฐ ฯ ในเรื่ อ งก� า ลั ง บ� า รุ ง นั้ น คื อ เมือง Kandahar ซึง่ อยูห่ า่ งออกไป ๕๕๐ ไมล์โดย
๒3
ใช้เวลาในการเดินทางเหมือนไปอีกซีกโลกหนึง่ ประมาณสองสัปดาห์ และอีกที่หนึ่งคือฐานทัพ อากาศ Bagram อันเป็นที่มั่นของ ทอ.สหรัฐฯ ที่ใหญ่ที่สุดในอัฟกานิสถาน ซึ่งก็อยู่ห่างออก ไปทางเหนือ ๓๐๐ ไมล์ เส้นทางที่ไม่ยาวไกล และมีจดุ ต่อระยะการขนถ่าย แม้วา่ จะเต็มไปด้วย ความยากล�ำบากและอันตรายจากธรรมชาติ ของภูมิประเทศที่มหาโหดโดยเฉพาะบริเวณ ช่องแคบไคเบอร์หรือแม้กระทั่งจากภูมิอากาศ ก็ตาม แต่กไ็ ม่นา่ กลัวหรือเป็นปัญหามากเท่ากับ ที่ต้องเดินทางผ่านเขตอิทธิพลของตาลีบันและ Al-Queda เป็นเรื่องที่เกินกว่าจะเชื่อว่าในการ เดินทางเพื่อการส่งก�ำลังบ�ำรุงในแต่ละวันนั้น ต้องพบกับเรื่องราวมากมายตั้งแต่ แพหิมะ จ�ำนวนมาก ห่าฝนที่โหมกระหน�่ำ น�้ำท่วมที่ เอ่อล้นทะลัก ทะเลทรายที่แห้งแล้ง กระแส ลมแรงจนเนื้อตัวแทบฉีกขาด อากาศอันหนาว เหน็บ พื้นถนนที่ขรุขระและเต็มไปด้วยหินแข็ง ขอบเหวที่ลึกและชัน ซึ่งเป็นเรื่องที่สุดๆ กันทั้ง นั้น นอกจากนั้นอุปสรรคที่ต้องตื่นตัวระวังกัน ตลอดเวลาคือกับระเบิด (IED : Impovised Explosive Device) และการถูกลอบโจมตี จากกองโจรที่ห่มขาวเคราดกด�ำใช้ปืนไรเฟิล ตัง้ แต่สมัยสงครามต่อต้านการรุกรานของโซเวียต เรือ่ งเหลือเชือ่ เหล่านีท้ ำ� ให้ขบวนรถบรรทุกพัสดุ ส่งก�ำลังบ�ำรุงต้องหยุดเพื่อหลบภัยธรรมชาติ หรื อ ซ่ อ มกั น อยู ่ บ ่ อ ยๆ และหลายครั้ ง ก็ เ กิ ด การปะทะกันซึ่งหน้าก็มี ซึ่งการสูญเสียชีวิต ของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นคนปากีสถานหรืออัฟกัน ในท้ อ งถิ่ น ในกรณี นี้ ตามสถิ ติ ที่ ร วบรวม ตั้งแต่ปี ๒๐๐๓ จะมีการเสียชีวิตหนึ่งคนของ ทุกขบวนคาราวานรถบรรทุกน�้ำมัน ๒๔ คัน 24
พร้อมกันนั้นบริษัทคู่สัญญาการส่งก�ำลังบ�ำรุง ของสหรัฐฯ ไม่วา่ จะเป็นบริษทั ของชาวปากีสถาน หรื อ ชาวอั ฟ กั น จะต้ อ งจ่ า ยค่ า คุ ้ ม ครองปี ล ะ หลายล้ า นเหรี ย ญให้ แ ก่ ก ลุ ่ ม กองโจรอั ฟ กั น หรื อ อาจจะเป็ น ตาลี บั น เองก็ เ ป็ น ไปได้ เ พื่ อ รับประกันความปลอดภัยในเส้นทาง ซึ่งค่า ใช้ จ ่ า ยนี้ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ต ้ น ทุ น โดยตรงของบริ ษั ท แต่อย่างใด จากปัญหามากมายของการส่งก�ำลังบ�ำรุง จากเมืองท่าการาจี สหรัฐฯ จึงได้ลงทุนเสริมการ ส่งก�ำลังบ�ำรุงใหม่โดยมาจากประเทศในเอเชีย กลางที่เมือง Manas ประเทศ Kyrgyzstan ทางตอนเหนือของปากีสถานทั้งทางรถไฟและ เครื่องบิน แต่ปัญหาก็มีอยู่บ้างจากการต่อต้าน
หรือข่มขู่จากกลุ่มการเมืองที่ไม่ลงรอยกันใน Kyrgyzstan และความไม่พอใจของรัสเซียที่ สหรัฐฯเข้ามาเพ่นพ่านในเขตอิทธิพลของตน ในการนีท้ ำ� ให้สหรัฐฯ ต้องมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ มา ปีละ ๑๐๐ ล้านเหรียญเป็นค่าเช่าศูนย์ส่งก�ำลัง บ� ำ รุ ง และจั ด หาน�้ ำ มั น ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานของ รัฐบาล Kyrgyzstan ที่มาจากการปฏิวัติยึด อ�ำนาจเมื่อเดือน เม.ย.๒๐๑๐ โดยรัฐบาลได้ จัดตั้งขึ้นมาเพื่อดูแลเรื่องนี้โดยเฉพาะ เพือ่ ไม่ให้ขาดความต่อเนือ่ งของ POL หน่วย ส่งก�ำลังบ�ำรุงกลาโหมสหรัฐฯ (DLA : Defense Logistics Agency) ท�ำข้อตกลงรับประกันการ ได้รับน�้ำมันล่วงหน้าจากโรงกลั่นถึงสามเดือน รวมถึ ง ธุ ร กิ จ น�้ ำ มั น ด้ า นอื่ น ที่ น อกเหนื อ จาก นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
โรงกลั่นน�้ำมัน ส�ำหรับการคิดค่าใช้จ่ายน�้ำมัน ของ ทอ.สหรัฐฯ นั้นจะเริ่มขึ้นทันทีที่เติมน�ำ้ มัน ให้กบั เครือ่ งบินของ ทอ.สหรัฐฯ ด้วยระบบการ คืนเงินอัตโนมัติผ่านบัตร AIR Card (Aviation into Plane Reimbursement) ศูนย์บัญชาการภาคพื้นแปซิฟิค (PCAF) มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ งการส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง น�้ำมันในภาคพื้นแปซิฟิคทั้งหมดโดยมีฐานทัพ สหรัฐฯอยู่ ๑๐ ฐานใหญ่ๆ กระจายกันอยู่ใน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น เกาะเวค ฮาวาย อลาสกา และกวมซึ่งเป็นฐานปฏิบัติการส่งก�ำลังบ�ำรุงที่ ใหญ่ที่สุด สามารถส�ำรองน�้ำมันได้มากถึง ๖๖ ล้านแกลลอน จากบางส่วนของความยากล�ำบากของการ ส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง เรื่ อ งน�้ ำ มั น ของสหรั ฐ ฯ ใน
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
อัฟกานิสถานแต่เพียงเรื่องเดียวนี้ โดยที่ยังไม่ ได้นำ� งานด้านอืน่ ของการส่งก�ำลังบ�ำรุงทีต่ อ้ งใช้ ความบากบั่นพยายามอย่างที่สุดไม่แพ้กันมา เผยแพร่ให้เป็นที่รับทราบกัน จะเห็นว่าการ ยุทธการและการส่งก�ำลังบ�ำรุงเป็นเรื่องที่ต้อง อยู ่ คู ่ กั น ไปตลอด นั ก ส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง ชั้ น ดี จึ ง ควรต้องมีความรู้ในการส่งก�ำลังบ�ำรุงให้มาก และมีความอดทนเป็นเลิศเนื่องจากต้องอยู่ใน สถานการณ์หรือสถานภาพทีเ่ ลือกไม่ได้ โดยเฉพาะ ในยามสงคราม พลังอ�ำนาจแห่งชาติในทุกด้าน จะเป็นประโยชน์และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ก็ ต ่ อ เมื่ อ มี กิ จ กรรมของการส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง ที่ หลักแหลมชาญฉลาดและไว้ใจได้เท่านั้น
บุคคลที่เป็นตัวจักรสำ�คัญในภารกิจ เหล่านี้คือ นักส่งกำ�ลังบำ�รุงชั้นยอด เพียงแค่ไม่กี่พันคนของ ทอ.สหรัฐฯ และพลเรือนรวมกัน เขาเหล่านี้มี ความชำ�นาญเป็นอย่างยิ่งในการคิด คำ�นวณความต้องการและวิธีการใน การขนส่ง POL (Petroleum,Oil and Lubricants) เพื่อให้ถึงที่หมาย ทันความต้องการทางยุทธการ
25
แนะนำ�อาวุธเพื่อนบ้าน ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทัพบกสิงคโปร์ออกแบบวิจัยพัฒนา ปืนเล็กยาวรุน่ ใหม่ เพือ่ จะน�ำเข้าประจ�ำ การแทนปืนเล็กยาวรุน่ เก่าแบบ เอ็ม-16 เอส 1 (M-16S1) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ประจ�ำ การมาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๑๖ (ซื้อลิขสิทธิ์มา ท�ำการผลิตภายในประเทศสิงคโปร์ รุน่ เอ็ม-16 เอ 1 จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ กระบอก เป็นรุ่นที่ กองทัพบกสหรัฐอเมริกาน�ำเข้าประจ�ำการใน กองทัพบกของหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ พร้อมทั้ง น�ำเข้าปฏิบตั กิ ารทางทหารในสงครามเวียดนาม ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๐๘-๒๕๑๘ เป็นเวลานาน ๑๐ ปี ทหารสหรัฐอเมริกาปฏิบตั กิ ารในสงครามเวียดนาม มีก�ำลังพลมากที่สุดรวม ๕๓๖,๑๐๐ คน และ ประเทศพันธมิตรหลักของสหรัฐอเมริการวม 26
๔ ประเทศ คื อ ออสเตรเลี ย , นิ ว ซี แ ลนด์ , เกาหลีใต้ และไทย ต่อมาน�ำเข้าประจ�ำการใน กองทัพจึงได้แพร่หลายอย่างรวดเร็วในกองทัพ พันธมิตรของสหรัฐอเมริกา) เป็นผลให้โรงงาน ของประเทศสิ ง คโปร์ มี ป ระสบการณ์ ใ นการ ผลิตปืนเล็กยาวพร้อมทัง้ มีความรูท้ กุ ด้านในการ ผลิตปืนเล็กยาวแบบ เอ็ม-16 เอส 1 การผลิต ชิ้นส่วนอะไหล่ การทดสอบขีดความสามารถ ของปืน และการควบคุมมาตรฐาน รวมทั้งการ ผลิตลูกกระสุนปืนเล็กยาว ขนาด ๕.๕๖ x ๔๕ มิลลิเมตร (ตามมาตรฐานนาโต้) เริม่ ต้นโครงการ วิ จั ย และพั ฒ นาขึ้ น ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ สร้ า ง ปืนเล็กยาวต้นแบบ พร้อมทั้งได้ท�ำการทดสอบ ขีดความสามารถทั้งทางด้านเทคนิคและทาง
ด้านยุทธวิธโี ดยบริษทั ซีไอเอส (CIS: Chartered Industries of Singapore จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ปัจจุบนั เปลีย่ นชือ่ เป็นบริษทั ST Kinetics ในปี พ.ศ.๒๕๔๓) มีชื่อเรียกปืนเล็กยาวรุ่นใหม่ ว่าแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21: Singapore Assault Rifle 21st) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 (SAR 21) เป็นปืน แบบบู ล ล์ พั พ (bull-pup) หมายถึงปืนที่มี ชุดพานท้ายปืนประกอบติดโดยตรงกับโครงปืน และปืนจะจัดวางอยู่ที่หน้าช่องบรรจุลูกปืน (เป็นแนวคิดออกแบบปืนเล็กยาวใหม่ ปัจจุบนั นี้ มีปืนเล็กยาวแบบบูลล์พัพที่น�ำเข้าประจ�ำการ ประกอบด้วยแบบ ฟามาส ของกองทัพฝรัง่ เศส, แบบแอล 85 เอ 2 กองทัพอังกฤษ และแบบ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
ปืนเล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21: Singapore Assault Rifle 21st) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร แสดงในงานนิทรรศการ ยุทโธปกรณ์ป้องกันประเทศในระดับภูมิภาค และในระดับโลก ประเทศไทยน�ามาแสดงใน งานนิทรรศการป้องกันประเทศ (Defense & Security) เป็นประจ�าทุกครั้ง สไตเออร์ เอยูจี กองทัพออสเตรีย เป็นปืนที่มี ความยาวสั้นกว่าปืนเล็กยาวแบบเก่าดังนั้น สามารถใช้ปฏิบัติการในพื้นที่จ�ากัดได้ และ มีความสะดวกในการยิงภายใต้สิ่งปลูกสร้าง หรื อ ภายในอาคาร) ได้ น� า เข้ า ประจ� า การ ในกองทัพบกสิงคโปร์ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ เป็น ปืนเล็กยาวที่เทียบได้กับปืนเล็กยาวรุ่นเอ็ม-16 เอ 2 ของกองทั พ บกสหรั ฐ อเมริ ก า ต่ อ มา ได้ประจ�าการในกองทัพเรือและกองทัพอากาศ สิ ง คโปร์ จึ ง เป็ น ปื น เล็ ก ยาวมาตรฐานของ กองทัพสิงคโปร์ ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 หนัก ๓.๘๒ กิโลกรัม ขนาดยาว ๘๐๕ มิลลิเมตร ล�ากล้องยาว ๕๐๘
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
๒7
มิลลิเมตร อัตราการยิง ๔๕๐-๖๕๐ นัดต่อ นาที ความเร็วลูกกระสุน ๙๗๐ เมตรต่อวินาที (M-193) ระยะยิงหวังผล ๔๖๐ เมตร (M 193) ป้ อ นกระสุ น ด้ ว ยซองกระสุ น ชนิ ด ๓๐ นั ด บริษัทผู้ผลิตอาวุธน�ำปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 (SAR 21) แสดงในงานนิทรรศการยุทโธปกรณ์ ป้ อ งกั น ประเทศในระดั บ ภู มิ ภ าคและใน ระดั บ โลก ส� ำ หรั บ ประเทศไทยน� ำ มาแสดง ในงานนิทรรศการป้องกันประเทศ (Defense & Security) เป็นประจ�ำทุกครัง้ และทีศ่ นู ย์การ ทหารราบ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ปืนเล็กยาวแบบเอสเออาร์ 21 (SAR 21) มีการ
ผลิตออกมารวม ๘ รุน่ ทีส่ ำ� คัญคือรุน่ ปืนกลเบา (LMG) ท�ำการตั้งยิงบนขนทราย, รุ่นติดตั้ง เครือ่ งยิงลูกระเบิดขนาด ๔๐ มิลลิเมตร น�้ำหนัก ๕.๓ กิโลกรัม และรุ่นคาร์ไบ ขนาดยาว ๖๔๐ มิลลิเมตร น�ำ้ หนัก ๓.๐ กิโลกรัม ปัจจุบนั มียอด ผลิตกว่า ๑๕๐,๐๐๐ กระบอก กองทัพสิงคโปร์มที หารประจ�ำการ ๗๑,๐๐๐ คน และก�ำลังส�ำรอง ๓๕๐,๐๐๐ คน กองทัพบก สิงคโปร์มีกำ� ลังทหารประจ�ำการ ๓๕,๐๐๐ คน และก�ำลังส�ำรอง ๓๐๐,๐๐๐ คน จัดก�ำลังรบ เป็น ๓ กองพลผสม นอกจากนี้ปืนเล็กยาว เอสเออาร์ 21 ยังสามารถทีจ่ ะติดตัง้ อุปกรณ์เสริม เพื่อจะเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน ให้การยิงมีความแม่นย�ำมากที่สุด นอกจากนี้ กองทัพบกสิงคโปร์ยงั ได้นำ� กองพันด�ำเนินกลยุทธ เข้าร่วมท�ำการฝึกกับกองพันด� ำเนินกลยุทธ
กั บ ประเทศพั น ธมิ ต ร (พื้ น ที่ ฝ ึ ก และการยิ ง ด้วยลูกกระสุนจริง) ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา (การฝึกภาคสนามของกองพันทหารราบ รหัส Tiger Balm กับกองพลทหารราบที่ ๒๕ มลรัฐ ฮาวาย), นิวซีแลนด์ (การฝึกภาคสนามของ กองพันทหารปืนใหญ่ รหัส Thunder Warrior ค่ายไวโอรู เกาะเหนือ มีสนามฝึกทางทหาร ขนาดใหญ่), ออสเตรเลีย (การฝึกภาคสนาม ของกองพันรถถัง รหัส Matilda เมืองดาร์วิน), อิ น เดี ย (การฝึ ก ภาคสนามของกองพันยาน เกราะ รหัส Bold Kurukshetra) และไทย (การ ฝึกภาคสนามกองพันยานเกราะ รหัส Kocha Singa จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดปราจีนบุรี) เป็นผลให้ปนื เล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร เป็นอาวุธประจ�ำตัวของทหาร สิงคโปร์ได้รับการยอมรับเพิ่มมากขึ้น เทียบได้ กั บ ปื น เล็ ก ยาวที่ ป ระจ� ำ ตั ว ของทหารของ กองทัพบกประเทศพันธมิตร สิงคโปร์ได้ส่งออกให้กับกองทัพพันธมิตรที่ สนใจรวม ๕ ประเทศ ประเทศในอาเซียนที่น�ำ เข้าประจ�ำการคือ บรูไน และอินโดนีเซีย (หน่วย รบพิเศษของกองทัพอากาศ)
ปืนเล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ออกแบบและท�ำการ ผลิตจากประเทศสิงคโปร์
ทหารราบสิงคโปร์พร้อมด้วยปืนเล็กยาวแบบ เอสเออาร์ 21 (SAR 21) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร เป็นอาวุธประจ�ำกายของกองทัพสิงคโปร์ และหน่วยงานด้านความมั่นคงของประเทศ 28
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม
Defence Technology Institute (Public Organisation) Ministry of Defence, The Kingdom of Thailand
แสนยานุภาพทางทหาร บทสรุปความขัดแย้ง ในคาบสมุทรเกาหลี สถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
ผ่
านไปแล้ ว เป็ น เวลาเกื อ บ ๖๐ ปี ที่ สงครามเกาหลียุติลงในปี ค.ศ.๑๙๕๓ แต่ความตึงเครียดระหว่างสองประเทศ ยังคงคุกรุน่ อยูต่ ลอดเวลา อยูใ่ นเกณฑ์ลอ่ แหลม ที่ พ ร้ อ มจะลุ ก ลามขยายวงกว้ า งกลายเป็ น สงครามหลายครั้ง ดังเช่น เหตุการณ์ส�าคัญที่ เกาหลีเหนือได้ยงิ ปืนใหญ่โจมตีพนื้ ทีใ่ นเกาหลีใต้ และต่อมาในปี ค.ศ.๒๐๑๐ เรือรบ Cheonan ของเกาหลีใต้ได้ถูกจมลงด้วยตอร์ปิโด ดึงชีวิต ลูกเรือไปกว่า ๔๐ คน ลงสูก่ น้ ทะเล สถานการณ์ ได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เมื่อเกาหลีเหนือ ได้ทา� การยิงทดสอบขีปนาวุธข้ามทวีป และล่าสุด เกาหลีเหนือได้ประกาศสงครามกับเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา พร้อมกับขู่โจมตีฐานทัพ สหรัฐอเมริกา ที่ตั้งอยู่ในคาบสมุทรเกาหลีและ ญี่ปุ่น กลายเป็นกลิ่นอายของสงครามเกาหลี ครั้งใหม่ที่ก่อตัวขึ้น เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ เป็นสองประเทศมีขุมก�าลังอ�านาจทางทหารที่ เข้มแข็ง มียุทโธปกรณ์ที่มีแสนยานุภาพสูงเป็น จ�านวนมาก และทั้งสองประเทศต่างได้รับการ หนุนหลังจากประเทศมหาอ�านาจทางทหาร และทางเศรษฐกิจ ดังนัน้ การยัว่ ยุทางการเมือง และการข่มขูท่ างทหารของเกาหลีเหนือ ทีส่ ง่ ผล ให้กองทัพสหรัฐอเมริกาได้ปรับแนวตั้งรับและ เพิ่ ม ระดั บ ความพร้ อ มรั บ มื อ ภั ย คุ ก คามจาก เกาหลีเหนือในครั้งนี้ ภายใต้สถานการณ์ที่ถูก ปกคลุ ม ไปด้ ว ยหมอกของสงครามที่ ย ากต่ อ การคาดการณ์ว่าอะไรจะเกิดขึ้นต่อไป แต่การ วิเคราะห์สถานภาพทั่วไปด้านก�าลังรบและ แผนการปฏิบัติ (OPLAN) ระหว่างกองทัพ เกาหลีเหนือและก�าลังผสมระหว่างเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา อาจจะพอเป็นเครื่องมือใน การประมาณการในเบื้องต้นของผลลัพธ์ที่จะ ตามมาได้ ภายหลังจากสงครามเกาหลีได้ยตุ ลิ ง ทัง้ สอง ประเทศถู ก กั้ น ด้ ว ยเขตปลอดทหารหรื อ Demilitarised Zone (DMZ) ท�าหน้าที่เป็น เส้นแบ่งเขตแดน มีความยาว ๒๕๐ กิโลเมตร หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
ผู้น�าเกาหลีเหนือ นาย คิม จ็อง อึน ภาพ ส�านักข่าว Reuters ที่ เ กื อ บจะทอดยาวจากทิ ศ ตะวั น ออกไปยั ง เช่น การแสดงความเข้มแข็งเพื่อชูภาพลักษณ์ ทิศตะวันตกคูไ่ ปตามเส้นขนานที่ ๓๘ ด้วยความ และอ�านาจของผู้น�าของประเทศ และเพื่อเป็น กว้าง ๔ กิโลเมตรเท่านัน้ มีระยะห่างจากกรุงโซล การตอบโต้ต่อแรงกดดันและการคว�่าบาตร ลงมาทางใต้เพียง ๔๐ กิโลเมตร และห่างจาก ของสหประชาชาติ หรือเป็นความเกรงกลัวต่อ กรุงเปียงยาง ๑๒๕ กิโลเมตร ขึ้นไปทางตอน แสนยานุภาพทางทหารทีไ่ ด้ถกู ถ่ายทอดออกไป เหนือ ความขัดแย้งของทั้งสองประเทศได้ส่ง ในระหว่ า งการฝึ ก ผสมของเกาหลี ใ ต้ แ ละ ผลกระทบทั้งด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามทั้งเกาหลีใต้และ ในภูมิภาค เนื่องจากเกาหลีเหนือที่ไม่เพียง สหรัฐอเมริกาก็ไม่สามารถนิ่งนอนใจเพิกเฉย จะเป็นประเทศที่มีกองทัพใหญ่เป็นอันดับที่ ๕ ต่อท่าทีของผู้น�าเกาหลีเหนือวัยเยาว์คนนี้ได้ ของโลกแล้ว ยังเป็นประเทศที่มีอาวุธน�าวิถี กองทัพเกาหลีเหนือมีกา� ลังพลในประจ�าการ ระยะไกล และได้แสดงท่าทีคกุ คามประเทศอืน่ ๆ โดยประมาณกว่า ๑.๒ ล้านคน และก�าลังส�ารอง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ถึ ง แม้ ว ่ า การแสดงท่ า ที ข อง อีก ๔.๗ ล้านคน สมศักดิ์ศรีการเป็นหนึ่งใน เกาหลี เ หนื อ จะเป็ น เพี ย งการแสดงอ� า นาจ ประเทศมหาอ�านาจทางทหารของภูมิภาค ซึ่ง ของผู้น�าในแต่ละยุค เพื่อหวังผลทางการเมือง ในด้านของจ�านวนก�าลังพลแล้ว เกาหลีเหนือ ภายในประเทศและเพื่อเป็นเครื่องมือในการ มีความเหนือกว่าเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา ต่อรองกับสหประชาชาติ ดังเช่นทีป่ รากฏให้เห็น รวมกันในอัตราส่วนทีส่ งู กว่า แต่ทางฝ่ายเกาหลีใต้ ที่ผ่านมาในยุคของประธานาธิบดี คิม จ็อง อิล ถึ ง แม้ จ ะมี ข ้ อ ด้ อ ยในด้ า นของก� า ลั ง พลและ ผูเ้ ป็นบิดาของ นาย คิม จ็อง อึน ผูด้ า� รงต�าแหน่ง ต�าแหน่งที่ตั้งของเมืองหลวงซึ่งใกล้กับบริเวณ ประธานาธิบดีเกาหลีคนปัจจุบัน ด้วยวัยเพียง เขต DMZ แต่ด้วยความมั่งคั่งและเสถียรภาพ ๒๘ ปี ซึ่งหลายฝ่ายมองว่าการแสดงท่าทีขมขู่ ของระบบเศรษฐกิจ ประกอบกับความเจริญ ยั่วยุของเกาหลีเหนือ เกิดขึ้นจากหลายปัจจัย ก้ า วหน้ า ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ๒9
ผนวกกับโครงสร้างพื้นฐานของอุตสาหกรรมที่ สมบูรณ์ สามารถผลิตยุทโธปกรณ์ที่มีความทัน สมัย อีกทั้งยังมีกองทัพสหรัฐอเมริกาที่ยืนยัน ในการให้การสนับสนุน และพร้อมท�ำการยับยัง้ การโจมตีจากเกาหลีเหนือและท�ำการตอบโต้ วิเคราะห์ก�ำลังรบ ก�ำลังทางบก ประเทศเกาหลีเหนือ มีก�ำลังพลกว่า ๑.๒ ล้านคน ซึง่ มากกว่าเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา รวมกัน ที่มีก�ำลังผสมอยู่ราว ๘ แสนคน อีกทั้ง เกาหลีเหนือมีการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับ กับหลักนิยมในการรบด้วยวิธีรุก การจัดก�ำลัง และต�ำแหน่งฐานที่มั่นจะกระจายอยู่ตามแนว เขตปลอดทหาร พร้อมที่จะท�ำการรุกล�้ำเข้า โจมตีเกาหลีใต้ ยุทโธปกรณ์หลักของก�ำลังทาง บก ประกอบไปด้วย รถถังหลัก รถยานเกราะ ปืนใหญ่จรวดหลายล�ำกล้อง และอาวุธต่อสู้ อากาศยาน รถถังเป็นยุทโธปกรณ์ที่สามารถเข้าประชิด และท�ำลายข้าศึก โดยใช้อำ� นาจการยิง เกาหลีเหนือ มีรถถังหลักโดยประมาณกว่า ๓,๙๐๐ คัน๑ ซึ่ง มากกว่าเกาหลีใต้ทมี่ อี ยูร่ าว ๒,๔๐๐ คัน ซึง่ หาก จะเปรียบเทียบกันเชิงตัวเลขแล้วเกาหลีเหนือ มีความได้เปรียบในด้านของจ�ำนวน อย่างไร ก็ตาม สองในสามของรถถังของเกาหลีเหนือ เป็นรถถังแบบ T-55 T-59 และ T-62 ซึง่ ผลิตใน ช่วงยุคปี ค.ศ.๑๙๖๐ ส่วนรถถังรุน่ ใหม่ทผี่ ลิตขึน้ ในช่วงยุคปี ค.ศ.๑๙๘๐ คือ Chonma-Ho (Pegasus) ขนาด ๔๐ ตัน มีอาวุธหลักเป็นปืน ขนาด ๑๑๕ มิลลิเมตร คาดว่ามีจ�ำนวนราว ๑,๒๐๐ คัน และในปี ค.ศ.๒๐๑๐ เกาหลีเหนือ
ได้เผยแพร่ภาพรถถังหลักรุน่ ใหม่คอื PokpungHo (Storm) มีอาวุธหลักเป็นปืนขนาด ๑๒๕ มิลลิเมตร ซึง่ ทางการเกาหลีใต้ได้วเิ คราะห์วา่ รถถัง ดังกล่าวเป็นการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีมาจาก รถ T-62 และ T-72 ของโซเวียตและจีน อย่างไรก็ตาม หัวใจส�ำคัญของการรบด้วย รถถังไม่ได้ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนเท่านั้น แต่ขึ้นอยู่ กับอานุภาพในการท�ำลาย ระบบควบคุมการยิง การค้นหาเป้าหมาย ความแม่นย�ำ ระยะยิงและ ความสามารถในการอยู่รอดในสนามรบ เกาหลีใต้มีรถถังหลังแบบ K1 ผลิตขึ้นใน ปี ค.ศ.๑๙๘๗ และรุ่น K1A1 ที่พัฒนาต่อยอด จากรุ่น K1 ในปี ๒๐๐๑ ทั้งสองรุ่นเป็นรถถังที่ มีพื้นฐานของเทคโนโลยีมาจากรถถังในตระกูล M1 ของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ซึ่งเกาหลีใต้ มีรถถังหลักรวมกันแล้วประมาณ ๒,๔๐๐ คัน มีราคาเฉลีย่ คันละประมาณ ๒.๕ - ๔ ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา มีอาวุธหลักเป็นปืนขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร ในรุน่ K1 และขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร ในรุ่น K1A1 ได้รับการติดตั้งด้วยระบบควบคุม การยิงอัตโนมัติ Thermal และ Laser Range Finder ยุ ท โธปกรณ์ ห นึ่ ง ที่ เ กาหลี เ หนื อ จะใช้ ใ น การเปิดฉากโจมตีเกาหลีใต้คือ ยุทโธปกรณ์ ประเภทปืนใหญ่สนาม ที่ได้เคยใช้ยิงถล่มเกาะ Yeonpyeong ของเกาหลีใต้มาแล้ว ในปี ค.ศ. ๒๐๑๐ รวมไปถึงระบบจรวดหลายล�ำกล้อง ซึง่ ปืนใหญ่ทมี่ ปี ระจ�ำการในกองทัพเกาหลีเหนือที่ ได้แก่ ปืนใหญ่อัตตาจรแบบ M1978 Koksan ขนาด ๑๗๐๒ มิลลิเมตร M1992 ขนาด ๑๓๐๓ มิลลิเมตร และ M1989 ขนาด ๑๗๐ มิลลิเมตร
รถถัง Pokpung-Ho ๑ ๒ ๓
30
รถถัง K1 ภาพ globalmilitaryreview.blogspot.com ระยะยิงได้ถูกประมาณการไว้อยู่ที่ระหว่าง ๔๐ - ๖๐ กิโลเมตร จรวดหลายล� ำ กล้ อ งเป็ น ยุ ท โธปกรณ์ อี ก ประเภทที่เกาหลีเหนือมีอยู่ในปริมาณมาก คือ จรวด M1991 ขนาด ๒๔๐ มม. โดยหนึ่งรถยิง มีทอ่ ยิงจ�ำนวน ๒๒ ล�ำกล้อง ในขณะที่ M1985 หนึง่ รถยิงมีทอ่ ยิงจ�ำนวน ๑๒ ล�ำกล้อง เกาหลีเหนือ ยังมีจรวดหลายล�ำกล้องขนาด ๑๒๒ มม. อีกเป็น จ�ำนวนมาก โดยในภาพรวมแล้ว เกาหลีเหนือมี ปืนใหญ่และจรวดหลายล�ำกล้องรวมกันแล้ว ประมาณ ๒๑,๐๐๐ ระบบ มีภูเขาและเนินเขา เป็นแนวก�ำบังตามธรรมชาติคอยท�ำหน้าที่เป็น เกราะป้องกัน ปืนใหญ่บางส่วนได้ถูกวางฐาน ยิงไว้ในอุโมงค์ใต้ดนิ ทีถ่ กู สร้างขึน้ มาเพือ่ ป้องกัน การโจมตีจากทางอากาศ ถึงแม้อาวุธเหล่านีจ้ ะ เป็นมรดกตกทอดมาจากยุคสงครามเย็นก็ตาม แต่ยงั คงมีอานุภาพในการท�ำลาย ซึง่ สองในสาม ของจ�ำนวนปืนใหญ่ทงั้ หมดได้หนั ปากกระบอก ไปยังทิศทางที่ตั้งของกรุงโซลที่อยู่ห่างออกไป เพียงแค่ ๔๐ กิโลเมตรเท่านั้น
K9 Thunder เช่ น เดี ย วกั บ เกาหลี เ หนื อ ยุ ท โธปกรณ์ ประเภทปืนใหญ่สนามของเกาหลีใต้ ประกอบ ไปด้วยปืนใหญ่และจรวดหลายล�ำกล้อง ได้แก่ ปืนใหญ่สนามแบบ K9 Thunder ที่เกาหลีใต้ ผลิตขึ้นเองในประเทศ เป็นปืนใหญ่ที่ถูกใช้ใน การยิงตอบโต้เกาหลีเหนือเมื่อครั้งเหตุการณ์ที่ เกาะ Yeonpyeong รวมทัง้ จรวดหลายล�ำกล้อง แบบ M270A1 MRLS ทีส่ ามารถยิงจรวดน�ำวิถี ด้วย GPS/INS และจรวดหลายล�ำกล้องแบบ ATACMS ที่มีระยะยิงไกลถึง ๓๐๐ กิโลเมตร
http://www.defensenews.com/article/20100817/DEFSECT02/8170304/S-Korea-Studies-North-s-New-Battle-Tank http://www.military-today.com/artillery/m1992.htm http://www.military-today.com/artillery/m1989.htm สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
รวมทั้งจรวดหลายล� ำกล้องระยะกลางแบบ M-136 Kooryong MRLS ก�ำลังทางน�้ำ เกาหลีเหนือมีเรือด�ำน�้ำราว ๙๐ ล�ำ ที่ต่อ ในประเทศและที่ผลิตในโซเวียตและจีน โดย ชั้น Romeo-class Submarine ถูกผลิตขึ้นใน ช่วงยุคปี ค.ศ.๑๙๕๐ และชั้น Sang-O-class ผลิ ต ขึ้ น ในปี ค.ศ.๑๙๙๑ ส� ำหรับเรือผิวน�้ ำ ประกอบไปด้วยเรือชัน้ Frigates และ Corvettes รวมแล้วราว ๑๐ ล�ำ โดยชัน้ Najin-class frigate สร้างขึ้นในระหว่างปี ค.ศ.๑๙๗๑ - ๑๙๗๙ และ Krivak-class frigate ผลิตขึ้นโดยโซเวียต ในปี ค.ศ.๑๙๖๐ รวมกับเรือตอร์ปิโดอีกราว ๒๐๐ ล�ำ ซึ่งในภาพรวมแล้วก�ำลังทางน�้ำของ เกาหลีเหนืออยูใ่ นสภาพเดียวกับกองทัพบกคือ เป็นยุทโธปกรณ์ที่ล้าสมัย ระบบ Sensor และ ระบบอาวุธที่มีประสิทธิภาพต�่ำ โดยเฉพาะ ในด้ า นของพิ สั ย การโจมตี อย่ า งไรก็ ต าม เกาหลีเหนือยังคงมียุทธวิธีสงครามนอกแบบ ด้วยการใช้ทนุ่ ระเบิดและตอร์ปโิ ด เป็นเครือ่ งมือ ในการป้องกันการรุกล�้ำทางทะเล ทางด้านของก�ำลังรบทางทะเลนัน้ เกาหลีใต้ มีความได้เปรียบเกาหลีเหนือเป็นอย่างมาก ในด้ า นของความทั น สมั ย อั น เนื่ อ งมาจาก การเข้าถึงเทคโนโลยีด้านระบบอาวุธ ระบบ ตรวจการณ์ และระบบควบคุมการรบ ผนวกกับ การเป็นประเทศอุตสาหกรรมต่อเรือที่มีความ เข้มแข็ง ส่งผลให้เกาหลีใต้มีเรือรบที่ทันสมัย เช่น เรือรบ King Sejong the Great class ทีไ่ ด้รบั การติดตัง้ ด้วยระบบอ�ำนวยการรบ Aegis มีระบบเรดาร์ที่มีประสิทธิภาพสูงแบบ AN/ SPY-1D แนวทางการพัฒนาได้รับมาจากเรือ พิฆาตชั้น Arleigh Burke ของสหรัฐอเมริกา มีจรวดต่อสู้เรือแบบ SSM-700K Hae Sung
เนื่องจากเกาหลีเหนือที่ไม่เพียงจะเป็น ประเทศทีม่ กี องทัพใหญ่เป็นอันดับที่ ๕ ของโลกแล้ว ยังเป็นประเทศที่มี อาวุธนำ�วิถีระยะไกล และได้แสดง ท่าทีคุกคามประเทศอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง Northrop Grumman B-2 Spirit
และจรวดโจมตีภาคพื้นดินแบบ Hyunmoo III มีระยะยิงไกลสูงสุดถึง ๑,๕๐๐ กิโลเมตร ก�ำลังทางอากาศ ทางด้ า นนภานุ ภ าพของเกาหลี เ หนื อ นั้ น ถื อ ได้ ว ่ า ค่ อ นข้ า งล้ า หลั ง สองในสามของ เครือ่ งบินรบ เป็นเครือ่ งบินสัญชาติรสั เซียและจีน ผลิตระหว่างปี ค.ศ.๑๙๕๐ - ๑๙๖๐ โดยจะมีเพียง เครือ่ งบินรบแบบ MIG-29 จ�ำนวน ๓๐ - ๔๐ ล�ำ ที่จัดเป็นเครื่องบินประเภท 4th Generation และ เครื่องบินรบแบบ Su-25 จ�ำนวน ๓๕ ล�ำ ทีอ่ ยูใ่ นสภาพพร้อมปฏิบตั กิ าร ระบบเอวิโอนิกส์ และระบบอาวุธ ขาดความทันสมัย อยู่ในภาวะ ขาดแคลนเชือ้ เพลิง ส่งผลให้นกั บินไม่ได้ท�ำการ ฝึกบินเป็นประจ�ำ อากาศยานแบบอื่นๆ ที่อยู่ ในประจ�ำการ ได้แก่ MiG-21 Su-7 MiG-19 MiG-17 และ MiG-15 ส่วนใหญ่เป็นเครือ่ งบินที่ มีสมรรถนะต�ำ่ และมีเทคโนโลยีทลี่ า้ หลัง ท�ำการ บินได้เฉพาะในเวลากลางวัน และสภาพอากาศ เอื้ออ�ำนวยเท่านั้น๔ หากท�ำการเปรียบเทียบกับเครือ่ งบินรบของ เกาหลีเหนือกับเครื่องบินรบของเกาหลีใต้และ
เรือ King Sejong the Great class destroyer ๔ ๕
สหรัฐอเมริกา อย่าง F-15 F-16 และ F-22 ที่มี ความทันสมัยสูงสุด รวมถึงประสบการณ์นกั บิน ระบบส่งก�ำลังบ�ำรุง ระบบเรดาร์ เครื่องยนต์ อาวุธ แล้ ว เครื่อ งบิ น ของทางเกาหลีใต้และ สหรัฐอเมริกา มีความเหนือกว่ามาก ถึงแม้ จ� ำ นวนเครื่ อ งบิ น รบของเกาหลี เ หนื อ จะอยู ่ ประมาณ ๗๐๐ ล�ำ เมื่อเทียบกับ ๕๐๐ ล�ำ ที่ ประจ�ำการอยู่ในกองทัพอากาศเกาหลีใต้และ สหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ ง จะเป็ น ตั ว ตั ด สิ น ระหว่ า ง ชัยชนะกับความพ่ายแพ้ เครือ่ งบินรบของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา และเกาหลี ใ ต้ ป ระกอบไปด้ ว ยเครื่ อ งบิ น รบ ในยุคที่ ๔ และยุคที่ ๕ อย่าง F-16 และ F-22 ที่มีระบบเรดาร์ที่สามารถค้นหาและติดตาม เป้าหมายได้จากระยะที่ไกลกว่า รวมทั้งเป็น เครือ่ งบินที่ยากต่อการตรวจจับด้วยเรดาร์ของ ข้าศึก สามารถยิงโจมตีเป้าหมายได้จากระยะ ที่ไกล ได้อย่างแม่นย�ำ นักบินผ่านการฝึกฝน อบรมมาเป็นอย่างดี มีประสบการณ์จากการ ปฏิบัติการจริงมาแล้ว จึงสามารถประมาณ การณ์ได้วา่ ทางฝ่ายเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา จะเป็นผู้ครอบครองน่านฟ้าโดยสิ้นเชิง และ จากประวัติศาสตร์ของสงครามที่ผ่านมา การ สูญเสียการครองอากาศโดยสิน้ เชิงน�ำมาสูค่ วาม พ่ายแพ้ ถึงแม้ว่าเกาหลีเหนือจะเตรียมการรับมือ กับแสนยานุภาพทางอากาศของเกาหลีใต้และ สหรัฐอเมริกา ด้วยการวางก�ำลังการป้องกัน ภัยทางอากาศ ด้วยเรดาร์ค้นหาเป้าหมายแบบ 30N6E และ MR-104 Rys และ ปืนต่อสู้ อากาศยานแบบ ZPu-2 และ ZPU-4 ที่มี ขนาด ๑๔.๕ มิลลิเมตร ปืน M-1939 ขนาด ๓๗ มิลลิเมตร และ S-60 ขนาด ๕๗ มิลลิเมตร ปืน M-1992 SPAAG และจรวดต่อสูอ้ ากาศยาน อาทิ SA-2 และ SA-3 รวมถึ ง จรวดต่ อ สู ้ อากาศยานแบบประทับบ่า๕ (MANPAD) SA-7b และ SA-16 ก็ยงั คงไม่เพียงพอต่อการรับมือกับ จรวดร่อน และอาวุธน�ำวิถแี บบพืน้ สูพ่ นื้ และพืน้ สูอ่ ากาศ ของสหรัฐอเมริกา ทีม่ คี วามแม่นย�ำสูง นอกจากนีส้ หรัฐอเมริกายังมีเครือ่ งบิน B-2 และ
http://atimes.com/atimes/Korea/DI19Dg01.html http://www.militaryphotos.net/forums/showthread.php?128528-Bluffer-s-guide-Fortress-North-Korea
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
31
ซึ่งโดยรวมแล้วเทคโนโลยีเหล่านี้จะเป็นส่วน ส�ำคัญในการแจ้งเตือนล่วงหน้า เพือ่ เตรียมการ รับมือและตอบโต้ นอกจากนัน้ แล้วสหรัฐอเมริกายังมีทรัพยากร ด้ า นการข่ า วที่ ส� ำ คั ญ ที่ ค อยใช้ ใ นการจั บ ตา ความเคลื่อนไหวภายในประเทศเกาหลีเหนือ อาทิ เครื่องบินลาดตระเวน U2 ที่มีเพดานบิน สูงกว่า ๗ หมื่นฟุต และอากาศยานไร้นักบิน Global Hawk ที่จะเข้ามาแทนที่ U2 หลังจาก ที่ จ ะถู ก ปลดประจ� ำ การในปี ค.ศ.๒๐๒๐ เครือ่ งบิน U2 จ�ำนวน ๓ ล�ำได้ถกู เปิดเผยว่าบิน จอดอยู่ในฐานทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในเมือง Osan Air Base ห่างจากพรมแดนเกาหลีเหนือ เพียง ๘๐ กิโลเมตร กองทัพอากาศเกาหลีเหนือ ยุ ท โธปกรณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการยิ ง ต่ อ สู ้ ขี ป นาวุ ธ F-22๖ ที่สามารถบินฝ่าเครือข่ายระบบป้องกัน และเทคโนโลยี ใ นการน� ำ ขี ป นาวุ ธ กลั บ สู ่ ชั้ น ควบคู่ไปกับเครือข่ายระบบป้องกันขีปนาวุธ ภัยทางอากาศ ที่ติดตั้งด้วยจรวดต่อต้านเรดาร์ บรรยากาศโลก และยังขาดความแม่นย�ำพอ Aegis ได้แก่ จรวด RIM-161 (SM-3) ซึ่งเป็น (Anti Radiation Missile) และลูกระเบิดน�ำวิถี ในการโจมตีเป้าหมายได้ ระบบต่อต้านขีปนาวุธทางทะเล และระบบต่อสู้ (Guided Bomb) ส�ำหรับเครื่องบินทิ้งระเบิด ระบบต่อต้านขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ขีปนาวุธภาคพื้นดินด้วยระบบจรวด Patriot แบบ B-2 สามารถบินทีร่ ะดับความสูง ๕๐,๐๐๐ และเกาหลีใต้ PAC-3 และ Terminal High Altitude Area ฟุต มีระยะปฏิบัติการ ๖,๐๐๐ ไมล์ ซึ่งกองทัพ เพื่อเป็นการเตรียมการรับมือกับขีปนาวุธ Defense หรื อ THAAD ของกองทั พ บก อากาศสหรัฐอเมริกามีประจ�ำการอยู่จ�ำนวน ของเกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกาได้เคลื่อนย้าย สหรัฐอเมริกา ทีม่ รี ะยะท�ำการที่ ๒๐๐ กิโลเมตร ๒๑ ล�ำ รวมถึงอากาศยานไร้นักบินแบบต่างๆ ระบบเรดาร์ Sea-Based X-Band Radar ซึ่งพอจะยับยั้งการโจมตีจากขีปนาวุธระยะสั้น ไม่ว่าจะเป็น Global Hawk หรือ Reaper ที่ (SBX) และ SPACE BASED INFRARED ของเกาหลีเหนือที่เข้ามาในรัศมีท�ำการได้ พร้อมที่จะถูกเรียกเข้าปฏิบัติการ SYSTEMS ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบต่อต้าน แผนปฏิ บั ติ ก าร (Operation Plan : ขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ ขีปนาวุธที่ระดับ Midcourse ระบบเรดาร์ OPLAN)๘ ขีปนาวุธเป็นยุทโธปกรณ์ทผี่ นู้ �ำเกาหลีเหนือ SBX มีระยะปฏิบัติการที่ ๒,๐๐๐ กิโลเมตร เกาหลี เ หนื อ วางที่ ตั้ ง ของฐานทั พ อากาศ ได้ใช้เป็นอาวุธในการป้องปรามการโจมตีและ ท�ำงานในย่านความถี่ X-band พัฒนามาจาก และต�ำแหน่งที่ตั้งของปืนใหญ่และจรวดหลาย เป็นเครื่องมือในการเจรจาต่อรองทางการทูต เทคโนโลยีเรดาร์ประเภท AESA ที่ใช้ในระบบ ล�ำกล้องตามแนว DMZ หรืออยู่ภายในรัศมี ที่ผ่านมาผู้น�ำเกาหลีเหนือได้ขู่ที่จะยิงถล่มกรุง Aegis มีระวางขับที่ ๕ หมื่น ตัน การเป็นแท่น ๑๐๐ กิโลเมตรจาก DMZ ซึ่งหากเกาหลีเหนือ โซลและฐานทัพสหรัฐอเมริกาในญี่ปุ่นให้กลาย เรดาร์ทางทะเลเป็นข้อได้เปรียบที่ท�ำให้ SBX เป็นฝ่ายที่เริ่มโจมตีก่อน จะเปิดฉากโจมตีด้วย เป็นทะเลเพลิง ด้วยขีปนาวุธ Taepodong2 มีความคล่องตัวและมีความยืดหยุ่น สามารถ ปืนใหญ่และจรวดหลายล�ำกล้อง ยิงถล่มเข้าใส่ ซึ่งมีระยะยิง ๓,๕๐๐ - ๔,๓๐๐ กิโลเมตร เคลื่อนที่ไปยังบริเวณพื้นที่เฝ้าระวัง เพื่อเพิ่ม เป้าหมายและฐานที่มั่นส�ำคัญในฝั่งเกาหลีใต้ ขีปนาวุธ Taepodong1 มีระยะยิง ๒,๘๐๐ ประสิทธิภาพการตรวจการณ์ นอกจากนัน้ แล้ว ที่อยู่ภายในรัศมีระยะยิง ซึ่งรวมถึงกรุงโซล กิโลเมตร ขีปนาวุธ Nodong มีระยะยิง ๑,๓๐๐ สหรัฐอเมริกายังมีทรัพยากรด้านการตรวจการณ์ อย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็น กิโลเมตร และจรวด Scud ที่มีระยะยิง ๕๕๐ และเฝ้าระวังทั้งในด้าน SINGINT COMINT ภูเขาทอดยาวจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก และ IMINT ที่อยู่ในรูปแบบของ ด้วยเครื่องบิน ของแนว DMZ ท�ำหน้าที่เป็นสิ่งกีดขวางตาม RC-12X Guardrail รวมถึงดาวเทียมทางทหาร ธรรมชาติ ส่งผลท�ำให้การเข้าโจมตีดว้ ยทหารม้า ที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าไม่ ไ ด้ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณะ รถถั ง และทหารราบยานเกราะเป็ น ไปด้ ว ย อีกด้วย ทั้งหมดนี้ได้ถูกน�ำมาใช้ในการเฝ้าดู ความยากล�ำบาก ช่องทางที่ก�ำลังรบประเภท ความเคลือ่ นไหวของก�ำลังรบในฝัง่ เกาหลีเหนือ ยานเกราะจะสามารถเคลือ่ นก�ำลังข้ามเส้น DMZ ได้คอื ทางด้านทิศตะวันออกใกล้ชายฝัง่ สองช่อง ทางคือ Chorwon และ Munsan ซึ่งความ พยายามในการฝ่ า แนวป้ อ งกั น ชั้ น นอกของ เกาหลีใต้ จะน�ำความเสียหายอย่างหนักให้กับ กิโลเมตร จรวดและขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ ก�ำลังรบทางบกที่เข้าโจมตีในระลอกแรกเป็น ส่วนใหญ่ถกู พัฒนามาจากจรวด Scud ถึงแม้วา่ อย่างมาก จากแนวรับของเกาหลีใต้ด้วยอาวุธ เกาหลีเหนือจะสามารถพัฒนาจรวดพิสัยไกล ต่อสู้รถถัง กับระเบิด และการโจมตีทางอากาศ ได้ แ ต่ ยั ง คงขาดองค์ ค วามรู ้ แ ละเทคโนโลยี อย่างต่อเนื่อง และถึงแม้ว่าจ� ำนวนก�ำลังรบ ในการพัฒนาหัวรบนิวเคลียร์ให้มีขนาดเล็ก RC-12X Guardrail ทีเ่ หนือกว่าด้วยจ�ำนวนยุทโธปกรณ์ทางบกของ ๖ ๗ ๘
32
http://www.ausairpower.net/APA-2009-02.html http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-20830605 Center For Strategic & International Studies สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
ฝ่ายเกาหลีเหนือเพียงพอที่จะฝ่าแนวป้องกัน ชั้นแรกของเกาหลีใต้ผ่านไปได้ แต่ก็จะถูกตรึง ก�ำลังไว้เมือ่ ต้องเผชิญกับแนวรับชัน้ ในทีม่ คี วาม แข็งแกร่งยิ่งขึ้น นอกจากนั้นด้วยเทคโนโลยีด้านการข่าวที่ ทันสมัยของสหรัฐอเมริกาทีใ่ ช้ในการจับตาเฝ้าดู ความเคลื่อนไหวของกองทัพเกาหลีเหนืออยู่ ทุกฝีก้าว เพียงพอที่จะส่งสัญญาณแจ้งเตือน ล่วงหน้า เพือ่ ท�ำการส่งก�ำลังทางอากาศเข้าโจมตี แนวรุกภาคพื้นดินของเกาหลีเหนือ และสหรัฐ อเมริกาจะท�ำการโจมตีตอบโต้กลับจากทางน�ำ้ และทางอากาศ ด้วยจรวดร่อน ตามด้วยการ ผนึกก�ำลังของเครือ่ งบินรบในยุคที่ ๔ และยุคที่ ๕ อย่าง F-16 และ F-22 ซึ่งเพียงพอในการชะลอ และยับยั้งแนวรุกของเกาหลีเหนือให้ถอยร่น กลับไปได้ และในขณะเดียวกันสหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้จะเริ่มท�ำการโจมตีระบบป้องกัน ภัยทางอากาศภายในเขตเกาหลีเหนือ และ เมื่อก�ำลังสนับสนุนทางบก ทางทะเล และทาง อากาศที่ประจ�ำการอยู่ในฐานทัพที่ประเทศ ญี่ปุ่น และฮาวาย ได้เดินทางมาถึง จะสามารถ ผลักดันก�ำลังของเกาหลีเหนือให้ถอยเข้าไป หลังเขต DMZ โดยแสนยานุภาพของก�ำลัง ทางอากาศสหรัฐอเมริกาทีส่ ามารถครอบครอง น่านฟ้า จะท�ำการโจมตีฐานเส้นทางการส่ง ก�ำลังบ�ำรุง ทีม่ นั่ และโครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ �ำคัญ ภายในเขตของเกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกาเองได้ตระหนักถึงขีดความ สามารถที่เหนือกว่าเกาหลีเหนือและมีข้อมูล เพียงพอที่จะเป็นฝ่ายเปิดฉากเริ่มโจมตีก่อน แต่ถงึ แม้วา่ เกาหลีเหนือจะมีเทคโนโลยีทลี่ า้ หลัง ก็ยังคงมีแสนยานุภาพเพียงพอที่จะสามารถ สร้างความเสียหายให้กบั ก�ำลังรบของสหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการรบ ภาคพืน้ ดิน ทัง้ ทีเ่ ป็นการรบตามแบบและการรบ นอกแบบ ทีป่ ระกอบไปด้วยหน่วยรบพิเศษ การ ใช้อาวุธ เคมี ชีวภาพ วัตถุกัมมันตรังสี (CBRN) และสงครามไซเบอร์ (Cyberwarfare) ถึงแม้ การเป็นฝ่ายโจมตีเกาหลีเหนือก่อนจะสามารถ ท�ำได้อย่างรวดเร็วจากก�ำลังทางอากาศและ การโจมตีระยะไกลทางเรือ แต่การรบเพื่อที่จะ ได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาดและแตกหักนั้นจะต้อง เกิดขึ้นด้วยการรบทางพื้นดินเท่านั้น ซึ่งการ ฝ่าแนว DMZ ผ่านเข้าไปยังพื้นที่เกาหลีเหนือ ถูกขวางกั้นด้วยสิ่งกีดขวางทางธรรมชาติ และ แนวป้องกันของกองทัพเกาหลีเหนือ ซึ่งต้อง สูญเสียเวลาและทรัพยากรอย่างมหาศาล ในมิติ ของการยกพลขึ้นบกของกองก�ำลังนาวิกโยธิน สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญกับการป้องกันของ เรือตอร์ปิโดและทุ่นระเบิด และจรวดต่อสู้เรือ ที่เกาหลีเหนือได้เตรียมไว้ ปัจจัยอืน่ ๆ ทีจ่ ะเป็นอุปสรรคต่อการเป็นฝ่าย เปิดฉากการโจมตีก่อนของสหรัฐอเมริกาคือ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
หนทางในการป้องกันไม่ให้ความขัดแย้ง ครั้งนี้น�ำไปสู่สงครามเกาหลีครั้งที่สอง คือ การเชื่อมช่องทางการสื่อสาร ทีถ่ กู ตัดขาดและการเปิดโต๊ะเจรจา ที่จะสามารถลดความตึงเครียด ในภูมิภาค
ฐานทัพเกาหลีใต้ ภาพ Globalsecurity การปฏิ บั ติ ก ารทางทหารที่ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น อยู ่ ในประเทศอั ฟ กานิ ส ถาน ซึ่ ง อยู ่ ใ นระหว่ า ง การเคลื่อนย้ายถอนก�ำลังกลับสหรัฐอเมริกา โดยการปฏิบตั กิ ารจะสิน้ สุดลงในปี ค.ศ.๒๐๑๔ ซึง่ การปฏิบตั กิ ารนีก้ นิ เวลายาวนานมาแล้วกว่า ๑๐ ปี และต้องสูญเสียก�ำลังพลไปแล้วกว่า ๒,๐๐๐ คน และบาดเจ็บกว่า ๑๘,๐๐๐ คน นอกจากนั้ น รั ฐ บาลสหรั ฐ อเมริ ก าเองก� ำ ลั ง ประสบปัญหากับภาวะทางเศรษฐกิจ ซึ่งการ เปิดฉากรบในสมรภูมิเกาหลีครั้งใหม่ย่อมใช้ เวลานาน อีกทั้งการรบในครั้งนี้จะน� ำความ สูญเสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก เกินกว่าที่สังคม อเมริกันจะยอมรับได้ ถึงแม้ว่าประธานาธิบดี บารัค โอบามา พร้อมที่จะใช้ก�ำลังทางทหาร แต่จะเลือกใช้ก�ำลังทางทหารในกรณีที่ความ เสี่ยงและความสูญเสียอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เมื่ อ แลกกั บ ผลลั พ ธ์ แ ละประโยชน์ ท างด้ า น ความมั่นคงของประเทศที่จะได้รับ ทางด้านผู้น�ำเกาหลีเหนือนั้น ถึงแม้จะต้อง รับสืบทอดอ�ำนาจต่อจากประธานาธิบดีคนก่อน ด้วยวัยเพียง ๒๘ ปี เท่านั้น แต่คณะที่ปรึกษา ที่ อ ยู ่ เ บื้ อ งหลั ง ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น ผู ้ มี คุ ณ วุ ฒิ และประสบการณ์ในการเดินหมากทางการเมือง และการทหารทั้ ง ภายในและต่ า งประเทศ มีไหวพริบในการชิงความได้เปรียบในการเจรจา ต่อรอง และบุคคลเหล่านี้ตระหนักดีถึงผลเสีย ที่จะตามมาหากสงครามเกิดขึ้น ซึ่งที่ผ่านมา ในอดีต พวกเขาเหล่านี้ได้เลือกที่จะไม่แก้ไข ปัญหาด้วยการใช้กำ� ลังทางทหาร และตระหนัก ดีว่าเมื่อไหร่ ควรจะหยุดการยั่วยุและปล่อยให้ สถานการณ์คลี่คลายเมื่อเวลาผ่านไป สรุป โอกาสทีส่ งครามเกาหลีครัง้ ทีส่ องจะเกิดขึน้ นัน้ มีโอกาสเกิดขึน้ ได้ยาก อาจจะมีการยิงต่อสูห้ รือ ยิงข่มขู่กันในบางจุด เนื่องจากไม่ว่าฝ่ายใดจะ เป็นฝ่ายที่เริ่มต้นเปิดฉากโจมตีก่อนก็ตาม ทั้ง ฝ่ายรุกและฝ่ายรับต่างย่อมได้รับความสูญเสีย ทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ เป็นมูลค่ามหาศาล บ้านเมือง ต้องใช้เวลาอีกนานนับทศวรรษในการรื้อฟื้น ประเทศและสภาพจิตใจของคนทั้งสองฝ่าย ไม่นบั ถึงผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคมของประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ เป็นความ เสี่ยงที่สูงเกินผู้น�ำทั้งสองฝ่ายจะกล้าจุดชนวน สงครามเกาหลีครั้งที่สอง อีกทั้งเกาหลีเหนือ และสหรัฐอเมริกาไม่อยู่ในสถานภาพในการ ท�ำสงครามขนาดใหญ่ ณ เวลานี้ ด้วยข้อจ�ำกัด หลายประการ ยกตัวอย่าง เช่น เกาหลีเหนือเอง อยู่ในภาวะที่ถูกคว�่ำบาตรทางเศรษฐกิจ อยู่ใน ภาวะขาดแคลนอาหาร ยา และเชือ้ เพลิง ทางด้าน สหรัฐอเมริกาเองก�ำลังอยู่ในช่วงของการฟื้นฟู ระบบเศรษฐกิจและการปฏิบัติการทางทหาร ในอัฟกานิสถานที่ก�ำลังด�ำเนินอยู่ อย่างไรก็ตามถึงแม้วา่ จะไม่มฝี า่ ยใดฝ่ายหนึง่ ที่พร้อมจะท�ำสงครามในสถานการณ์ในขณะนี้ แต่การแสดงแสนยานุภาพทางทหารเพือ่ ข่มขูก่ นั อาจจะน� ำ ไปสู ่ ส งครามในอนาคตได้ ดั ง นั้ น หนทางในการป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งครั้งนี้ น�ำไปสู่สงครามเกาหลีครั้งที่สอง คือ การเชื่อม ช่องทางการสือ่ สารทีถ่ กู ตัดขาดและการเปิดโต๊ะ เจรจา ทีจ่ ะสามารถลดความตึงเครียดในภูมภิ าค โดยหาแนวทางที่ไม่ใช้การใช้ก�ำลังทางทหาร และชะลอหรือยับยัง้ โครงการพัฒนาเทคโนโลยี นิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือในอนาคต ความขัดแย้งในครั้งนี้ ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า เทคโนโลยีทางทหารของเกาหลีใต้และสหรัฐ อเมริกาทีม่ คี วามพร้อมและความทันสมัย ช่วยเสริม ข้อด้อยในด้านของจ�ำนวน โดยเทคโนโลยีได้เข้า มามีส่วนช่วยในการยกระดับขีดความสามารถ โดยเฉพาะในด้านของ ความแม่นย�ำของระบบ อาวุธ ระยะค้นหาตรวจการณ์และค้นหาเป้าหมาย ของระบบ Sensor ต่างๆ ระบบควบคุมบังคับบัญชา C4ISR ทีช่ ว่ ยเพิม่ ความตระหนักรูใ้ นสถานการณ์ ที่ตรงกันในทุกระดับ สิ่งเหล่านี้เปรียบได้กับ ตัวทวีคณ ู ขีดความสามารถของก�ำลังรบ ก�ำลังรบ ทางบกอาจจะหั ก ล้ า งกั น ระหว่ า งจ� ำ นวนที่ มากกว่ากับเทคโนโลยีที่ดีกว่า 33
พระเจ้าปดุงกับสงครามใหญ่ ทางด้านตะวันออก พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
34
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
พ
ระเจ้าปดุงได้ครองราชสมบัติต่อจาก พระเจ้ า จิ ง กู จ า (พระเจ้ า สิ งู พ.ศ. ๒๓๑๙-๒๓๒๕) เป็นกษัตริย์ล� ำดับ ที่ ๕ แห่งราชวงศ์อลองพญา เป็นห้วงเวลาที่ อาณาจักรพม่ามีความวุ่นวายภายในราชส�ำนัก ซึ่งจะมีผลส�ำคัญต่ออาณาจักรมีดินแดนขนาด ใหญ่ จะส่งผลต่อเมืองขึ้นของอาณาจักรซึ่ง ต่างก็ต้องการเป็นอิสระและแยกตัวมาจากกรุง อังวะ..........บทความนี้ กล่าวถึงพระเจ้าปดุงกับ การท�ำสงครามใหญ่ทางด้านตะวันออก ๑. กล่าวทั่วไป พระเจ้ า ปดุ ง (Bodawpaya) เป็ น พระ
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ราชโอรสล�ำดับที่ ๕ ของพระเจ้าอลองพญา ครองราชสมบัติในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ด้วยการ ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ พระองค์โปรด ให้ย้ายพระราชวังและให้สร้างเมืองหลวงใหม่ ที่เมืองอมรปุระ (Amarapura) ทางตอนเหนือ ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เหนือกรุงอังวะเดิม ได้น�ำไม้สักของพระราชวังกรุงอังวะ จ�ำนวน ๑,๒๐๘ ต้น มาสร้างสะพานอูเป็ง (U Bein Bridge) ปัจจุบันเป็นสะพานไม้สักที่ยาวที่สุด ในโลก (๒ กิโลเมตร) ใช้ทอดข้ามทะเลสาบ ตองตะมาน พระองค์ทรงเริ่มขยายดินแดนเพื่อแสดงถึง
อ�ำนาจให้อาณาจักรที่เป็นเมืองขึ้นไม่คิดแยก ดิ น แดน ทรงตี เ มื อ งมณี ปุ ร ะทางตอนเหนื อ ของพม่าส�ำเร็จและทรงตีเมืองยะไข่ (อาระกัน) ในปี พ.ศ.๒๓๒๗ อยูท่ างตะวันตกของอาณาจักร พม่า การท�ำสงครามที่รบชนะสองเมืองใหญ่ ในเวลาประมาณสามปีเป็นผลให้อาณาจักร พม่ามีอาณาเขตขนาดใหญ่ขึ้นพร้อมด้วยก�ำลัง ทหารและอาวุธ แต่พระเจ้าปดุงนั้นเข้มแข็ง ในการศึกยิ่งกว่าบรรดาราชวงศ์ของพระเจ้า อลองพญาองค์ อื่ น ๆ พระองค์ ท รงมี ค วาม มุ่งมั่นที่จะขยายอาณาจักรพม่าให้ยิ่งใหญ่ตาม ความต้ อ งการของพระราชบิ ด าคื อ พระเจ้ า 35
เมืองเมาะตะมะ (ตามลูกศรชี้ด้านบนซ้าย) พื้นที่ประชุมพลของกองทัพ พม่าก่อนที่จะเดินทัพเข้าสู่เขตแดนของสยาม จะมุ่งสู่ด่านเจดีย์สามองค์และ สู่เมืองกาญจนบุรี
อลองพญาปฐมกษั ต ริ ย ์ และให้ มี เ กี ย รติ ย ศ เป็ น มหาราชเหมื อ นเช่ น พระเจ้ า หงสาวดี บุเรงนอง แห่งราชวงศ์ตองอูในอดีต ๒. สงครามใหญ่ทางด้านตะวันออก ๒.๑ ศึกเก้าทัพ พ.ศ.๒๓๒๘ เมื่ออาณาจักรมีความเข้มแข็งพระเจ้าปดุง ทรงเตรียมกองทัพที่มีก�ำลังทหาร ๑๔๔,๐๐๐ คน เข้าตีอาณาจักรสยามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ เ สด็ จ จากเมื อ งอมรปุ ร ะมายั ง เมื อ ง เมาะตะมะเป็นที่ตั้งประชุมทัพ แล้วทรงทราบ ว่าการเตรียมเสบียงอาหารและอาวุธเพื่อท�ำ สงครามใหญ่ยังไม่พร้อม พระองค์ทรงพิโรธ มากจึงสั่งประหารชีวิตแม่ทัพที่รับผิดชอบคือ แมงยี แ มงข่ อ งกยอ พร้ อ มทั้ ง แต่ ง ตั้ ง ให้ เ กง หวุ่นแมงยีมหาสีหะอัครเสนาเป็นแม่ทัพแทน (กองทัพที่ ๑) ซึ่งปัญหานี้จะเป็นปัญหาใหญ่ ในการท�ำสงครามต่อไปในอนาคต พระองค์ก็ยังคงมุ่งมั่นท�ำสงครามใหญ่ใน ปี พ.ศ.๒๓๒๘ ชาวสยามเรียกว่าศึกเก้าทัพ เคลื่อนพลออกจากเมืองเมาะตะมะ ประกอบ ก�ำลังทหารเป็นเก้ากองทัพ ท�ำการรุกในห้า ทิศทาง ตั้งแต่จากทางด้านเหนือคือด่านเมือง แหงเข้าตีเมืองเชียงแสน ด่านแม่ละเมาเข้าตี เมืองตาก ลงมาถึงใต้สุดรวมพลที่เมืองมะริด 36
พื้นที่การรบหลักในสงครามเก้าทัพคือทุ่งลาดหญ้า เมืองกาญจนบุรี (ตามลูกศรชี้ ด้านล่างขวามือ)
เข้าตีเมืองคลองวาฬและกองทัพเรือเข้าตีเมือง ตะกั่วป่า เมืองตะกั่วทุ่ง และเมืองถลาง ให้ทุก กองทัพพม่าเข้าตีถงึ เมืองหลวงของสยามพร้อม กันในเดือนอ้าย พ.ศ.๒๓๒๘ ทิศทางเข้าตีหลัก ใช้เส้นทางเดินทัพผ่านด่านเจดีย์สามองค์ (รวม ห้ากองทัพ) มุ่งสู่ทุ่งลาดหญ้า
ภาพมุ ม สู ง เส้ น ทางเดิ น ทั พ ของพม่ า จากเมื อ ง เมาะตะมะ เข้าสูอ่ าณาจักรสยาม ปี พ.ศ.๒๓๒๘ ทิศทาง เข้าตีหลักใช้เส้นทางเดินทัพผ่านด่านเจดีย์สามองค์ มุ่งสู่ทุ่งลาดหญ้า
สยามท� ำ การตั้ ง รั บ ด้ ว ยก� ำ ลั ง ทหาร ๗๐,๐๐๐ นาย จัดก�ำลังเป็นสี่กองทัพพื้นที่ ตั้งรับหลักที่เมืองกาญจนบุรี ของกองทัพที่ ๒ ก�ำลังทหาร ๓๐,๐๐๐ คน โดยมีกรมพระราชวัง บวรมหาสุ ร สิ ง หนาทเป็ น จอมทั พ ท� ำ การ ตั้งรับกองทัพหลวงของพระเจ้าปดุง (กองทัพ ที่ ๘) ก�ำลังทหาร ๕๐,๐๐๐ คน พร้อมด้วย กองทัพหนุนอีกสี่กองทัพ (กองทัพที่ ๔ ทหาร ๑๑,๐๐๐ นาย, กองทัพที่ ๕ ทหาร ๕,๐๐๐ นาย, กองทัพที่ ๖ ทหาร ๑๒,๐๐๐ นาย และ กองทัพที่ ๗ ทหาร ๑๑,๐๐๐ นาย) ก�ำลังทหาร รวม ๘๗,๙๐๐ นาย เป็นการรบครั้งใหญ่ที่สุด ของยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น การด�ำเนิน กลยุทธทั้งทหารราบ ทหารปืนใหญ่และทหาร ม้า พร้อมทั้งใช้ภูมิประเทศให้ได้เปรียบในการ ด�ำเนินกลยุทธ (เรียกว่าการรบที่ทุ่งลาดหญ้า เป็นพื้นที่การรบหลักของทั้งสองกองทัพ) โดย กองทัพพม่าส่วนใหญ่ตอ้ งค้างอยูบ่ นเขาบรรทัด ไม่สามารถใช้กำ� ลังทหารทีม่ ากกว่าให้เกิดความ ได้เปรียบในสนามรบ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๓๒๘ กองทัพสยามก็เข้าตีค่ายกองทัพ พม่าทุกค่าย พร้อมทั้งใช้ปืนใหญ่ระดมยิงค่าย ทหารพม่าตั้งแต่เช้าถึงค�่ ำผลการรบกองทัพ สยามเป็ น ฝ่ า ยชนะในทุ ก พื้ น ที่ ก ารรบ ครั้ น พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
กองทัพใหญ่ทง้ั สองกองทัพต้องดำ�เนิน กลยุทธเพื่อให้ได้รับชัยชนะในการรบ ซึง่ หมายถึงความอยูร่ อดของอาณาจักร สยามและความยิง่ ใหญ่ของราชวงศ์ อลองพญาแห่งพม่า
พระเจ้าปดุงทรงทราบว่ากองทัพหน้าแตกแล้ว เห็นว่าจะท�ำสงครามต่อไปคงไม่สำ� เร็จ ประกอบ กับกองทัพที่เดินทัพมาทางด่านเจดีย์สามองค์ (คือกองทัพที่ ๔, กองทัพที่ ๕, กองทัพที่ ๖ และกองทัพที่ ๗) เกิดการขัดสนเสบียงอาหาร และทหารเจ็ บ ป่ ว ยเสี ยชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก ในที่ สุ ด กองทั พ พม่ า ก็ ถ อนตั ว ออกจากพื้ น ที่
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
การรบกลับไปยังเมืองเมาะตะมะ ฝ่ายพม่า สูญเสียก�ำลังทหารเป็นจ�ำนวนมากและถูกจับ เป็นเชลยศึก ๖,๐๐๐ คน ฝ่ายสยามเกิดวีรกรรม ในสนามรบหลายพื้ น ที่ ก ารรบดั ง ปรากฏอยู ่ ในประวัติศาสตร์ไทย ๒.๒ ศึกท่าดินแดงและสามสบ พ.ศ. ๒๓๒๙
พระเจ้าปดุงไม่เคยพ่ายแพ้สงครามจึงได้จัด กองทัพขึ้นมาใหม่ และเข้าตีอาณาจักรสยาม ในทิศทางเดียวเพื่อแก้ไขความบกพร่องในครั้ง ที่แล้ว ให้พระมหาอุปราชาราชบุตรพระองค์โต คุมพล ๕๐,๐๐๐ คน เข้ามาเตรียมการล่วงหน้า จะจัดวางเสบียงอาหารส�ำหรับกองทัพ กองทัพ หน้าใช้เส้นทางเดินทัพสู่ด่านเจดีย์สามองค์ มี ก� ำ ลั ง พล ๓๐,๐๐๐ คน มาตั้ ง มั่ น อยู ่ ที่ ท่ า ดิ น แดงและสามสบ พระมหาอุ ป ราชา น�ำกองทัพติดตามมีก�ำลังทหาร ๒๐,๐๐๐ คน ตั้ ง ค่ า ยอยู ่ ที่ ริ ม ล� ำ น�้ ำ แม่ ก ษั ต ริ ย ์ ใกล้ กั บ ด่านเจดีย์สามองค์ กองทัพสยามจัดก�ำลังเป็นสองกองทัพใหญ่ โดย กองทัพที่ ๑ กรมพระราชวังบวรมหาสุร สิงหนาท เป็นจอมทัพ ก�ำลังทหาร ๓๐,๐๐๐ คน และกองทัพที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงเป็นจอมทัพก�ำลังทหาร ๓๐,๐๐๐ คน เคลื่อนทัพไปทางแม่น�้ำไทรโยค เพื่อจะท�ำการรบที่แนวชายแดน ตั้งกองทัพที่ ท่าขนุน ถึงวันพุธ เดือน ๔ ขึ้น ๕ ค�่ำ กองทัพ วังหน้าเข้าตีค่ายที่สามสบ และกองทัพหลวง เข้าตีคา่ ยพม่าทีท่ า่ ดินแดงท�ำการรบนาน ๓ วัน กองทัพพม่าก็แตกและทิ้งค่าย กองทัพสยาม ไล่ติดตามพม่าไปจนถึงค่ายพระมหาอุปราชา ที่ล�ำน�้ำแม่กษัตริย์ เมื่อทราบว่ากองทัพหน้า แตกก็รีบถอนกองทัพกลับสู่พม่า ๓. บทสรุป พระเจ้าปดุงแห่งอาณาจักรพม่ายุคที่สาม แห่งราชวงศ์อลองพญา ทรงน�ำกองทัพพม่า เข้าตีอาณาจักรสยามหลังจากทีท่ รงขึน้ ครองราชย์ เพี ย งสามปี เ ป็ น ศึ ก ใหญ่ ข องอาณาจั ก รกรุ ง รัตนโกสินทร์ตอนต้น สนามรบหลักอยู่ที่ทุ่ง ลาดหญ้าเมืองกาญจนบุรี กองทัพพม่าต้อง เดิ น ทั พ ข้ า มภู เ ขาสู ง ที่ เ ป็ น แนวแบ่ ง ดิ น แดน ของสองอาณาจักร กองทัพใหญ่ทงั้ สองกองทัพ ต้องด�ำเนินกลยุทธเพื่อให้ได้รับชัยชนะในการ รบ ซึ่งหมายถึงความอยู่รอดของอาณาจักร สยามและความยิ่งใหญ่ของราชวงศ์อลองพญา แห่งพม่า 37
การเปลีย่ นแปลง การปกครอง จุฬาพิช มณีวงศ์
38
จุฬาพิช มณีวงศ์
๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
39
ก็ เ คยมี ก ารคั ด ง้ า งกั น หลายครั้ ง ด้ ว ยเหตุ นี้ ตลอดรัชกาล จึงทรงวางรากฐานในการสนับสนุน การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน และ การศึ ก ษา อั น ถื อ เป็ น รากฐานแนวคิ ด แบบ ประชาธิปไตย มีรับสั่งว่า “ฉั น จะให้ ลู ก วชิ ร าวุ ธ มอบของขวั ญ แก่ พลเมืองในทันทีที่ขึ้นสู่ราชบัลลังก์ในต�ำแหน่ง กษั ต ริ ย ์ กล่ า วคื อ ฉั น จะให้ ป าลี เ มนต์ แ ละ คอนสติติวชั่น” ค รั้ น พ อ ถึ ง รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ก็ยงั ไม่ทรงพระราชทาน รัฐธรรมนูญให้แก่ปวงชน แม้ในพระราชหฤทัย ทรงปรารถนาจะท�ำเช่นนั้น โดยทดลองเมือง สมบัติ ดุสิตธานีขึ้นในบริเวณวังพญาไท จ�ำลอง รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยขึ้น โดยโปรดให้มีธรรมนูญการปกครอง ลักษณะ นั ค ราภิ บ าล ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ นรั ฐ ธรรมนู ญ ของเมือง มีพรรคการเมือง ๒ พรรค มีการออก หนังสือพิมพ์เพือ่ ปลูกฝังหรือฝึกหัดการปกครอง ระบบรัฐสภา หากไม่สามารถท�ำให้ผู้ที่คิดร้าย เปลี่ ย นความตั้ ง ใจที่ จ ะยุ ติ ก ารเคลื่ อ นไหวที่ จะน�ำไปสู่การล้มล้างราชบัลลังก์ เดชะบุญที่ ผูก้ อ่ การเกิดความขัดแย้งกันเองเสียก่อน ท�ำให้ ถูกจับกุมในข้อหากบฏ เรียกว่า กบฏ ร.ศ.๑๓๐ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ลดหย่อนผ่อนโทษให้มเี พียง จ�ำคุกตลอดชีวิตเท่านั้น สยามประเทศในขณะนั้น มีแต่ข่าวลือเรื่อง ราวต่างๆ อันไม่เป็นมงคลต่อบ้านเมืองแม้แต่ ข่าวลือมีบคุ คลทีจ่ ะก่อการปฏิวตั ลิ ม้ ราชบัลลังก์ ท�ำให้อยู่กันอย่างหวาดระแวง ขณะที่มัวแต่ไป หวาดระแวงพระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งภายหลัง เสียพระทัยตัดสินใจถวายบังคมลาออกจาก ต�ำแหน่งเสนาบดี หากในทีส่ ดุ ผูก้ อ่ การกลับเป็น คนที่เรียกตนเองว่า คณะราษฎรซึ่งประกอบ ากศึกษาประวัตศิ าสตร์กอ่ นเหตุการณ์ พระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียว แต่ควร ด้วยกลุม่ คนจากข้าราชการทหาร และพลเรือน วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ยาก มีการปกครองแบบคาบิเนต (Cabinet) และ อันหลากหลายมีแนวความคิดทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง ทีจ่ ะปฏิเสธได้เลยว่า เค้าลางแห่งความ มีรัฐธรรมนูญ แต่ในบันทึกเห็นว่ายังไม่ถึงเวลา การปกครองมาเป็ น ประชาธิ ป ไตยแทนโดย ยุ่งยากได้เริ่มมาเป็นระยะเวลาหนึ่งซึ่งยาวนาน ที่ จ ะมี ก ารเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปเพราะประชาชน วางแผนในตอนเช้าตรู่ของวันที่ ๒๔ มิถุนายน พอจะสุ ก งอมจนกลายเป็ น ที่ ม าของการ ยังไม่พร้อม เป็นวันปฏิบตั ิการปฏิวัติ ตามเป้าหมายที่วางไว้ เปลีย่ นแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ ต้องจับกุมผูส้ ำ� เร็จราชการพระนคร พระเจ้า มาสูป่ ระชาธิปไตย (แห่งความลุม่ ๆ ดอนๆ แบบ มิได้ทรงลงโทษผูถ้ วายบันทึกความเห็นดังกล่าว พี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ไทยไทย) แต่ ป ระการใด ทรงมี น�้ ำ พระทั ย กว้ า งขวาง และพระบรมวงศานุวงศ์ เสนาบดีและปลัด นั บ ตั้ ง แต่ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ และเห็นเจตนาดีตอ่ บ้านเมือง แม้วา่ ในขณะนัน้ ทูลฉลอง กระทรวงต่างๆ ผู้บัญชาการที่ส�ำคัญ) จุลจอมเกล้า ซึง่ พระองค์กท็ รงมีพระราชหฤหัย พระองค์ทรงมีพระราชอ�ำนาจที่จะทรงลงโทษ คณะราษฎรวางแผนอย่างแยบยล เพือ่ ไม่ให้ กว้างขวาง และสนับสนุนให้บรรดาเชือ้ พระองค์ คณะบุคคลที่กระท�ำการเข้าขั้นเป็นกบฏต่อ เกิดความคลางแคลงใจ จึงจัดให้มกี ารฝึกยุทธวิธี และข้ า ราชการเดิ น ทางไปศึ ก ษาวิ ท ยาการ แผ่นดิน แผนใหม่ โดยการใช้ ก� ำ ลั ง จากหน่ ว ยต่ า งๆ ในประเทศตะวันตก กระทั่งในปี พ.ศ.๒๔๒๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เข้ามาท�ำการฝึกยุทธวิธีแผนใหม่ และมีการ ภายหลังทรงครองราชย์ได้ ๑๘ ปี ได้มีขุนนาง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชด�ำริลึกซึ้ง ประชุ ม ตั ว แทนทหารกรมกองต่ า งๆ อย่ า ง คนหนึ่ ง ซึ่ ง กลั บ จากการศึ ก ษาในประเทศ ก้าวไกล ทันสมัย ในยุคของพระองค์เองเป็น พร้ อ มเพรี ย ง ท� ำ ให้ ไ ม่ มี ใ ครสงสั ย พอใกล้ ทางยุโรปได้ยื่นบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ช่วงเวลาที่ต้องทรงต่อสู้กับขุนนางที่มีแนวคิด เวลานัดหมาย กลุ่มคณะราษฎรก็ส่งสายลับ ในลักษณะให้ประเทศเปลีย่ นแปลงการปกครอง เชิงอนุรกั ษ์อยูต่ ลอดเวลา แม้แต่สมเด็จเจ้าพระยา เกาะติดตามประกบเจ้านาย เสนาบดี และ เพื่อไม่ให้อ� ำนาจปกครองประเทศตกอยู่แต่ มหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผูส้ ำ� เร็จราชการ เชื้อพระองค์คนส�ำคัญ เช้าตรู่เวลา ๐๕.๐๐ น.
ห
40
จุฬาพิช มณีวงศ์
สยามประเทศในขณะนั้น มีแต่ข่าวลือ เรื่องราวต่างๆ อันไม่เป็นมงคล ต่อบ้านเมืองแม้แต่ข่าวลือมีบุคคล ที่จะก่อการปฏิวัติสมราชบัลลังก์ ทำ�ให้อยู่กันอย่างหวาดระแวง
ผู้มีรายชื่อจะถูกจับกุมมาควบคุมตัวที่พระที่นั่ง อนันตสมาคม ต่อมาในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ทุกอย่างเป็นไปตามแผนทุกประการ กองก�ำลัง ต่ า งๆ พร้ อ มอาวุ ธ หนั ก เบา มุ ่ ง ตรงสู ่ ล าน พระบรมรูปทรงม้าโดยพร้อมเพรียง พระยา พหลพลพยุ ห เสนาเป็ น หั ว หน้ า คณะปฏิ วั ติ ทหารอีกกลุม่ หนึง่ เข้าล้อมวังบางขุนพรหม และ ทูลเชิญเจ้ า ฟ้ า กรมพระนครสวรรค์ ว รพิ นิ ต เสด็จไปที่พระที่นั่งอนันตสมาคม มี เ พี ย งกรมพระก� ำ แพงเพชรอั ค รโยธิ น เสนาบดี ก ระทรวงพาณิ ช ย์ ค มนาคมที่ ท รง มี พ ระสติ มั่ น คงหลบหนี เ สด็ จ ไปโดยรถไฟ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พระราชวังไกลกังวล หลังควบคุมสถานการณ์ในพระนครเป็นที่ เรียบร้อย คณะราษฎรได้มอบหมายให้นาวาตรี หลวงศุ ภ ชลาศั ย ผู ้ บั งคับการเรือรบสุโขทัย หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
เดินทางอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวกลับคืนพระนคร โดยยื่นค�ำขาดให้ ทรงตอบภายใน ๑ ชั่วนาฬิกา มิฉะนั้นจะถูกตั้ง ข้อหาเป็นผู้ทรยศต่อชาติ และจะได้แต่งตั้ง กษัตริยพ์ ระองค์อนื่ เป็นกษัตริยภ์ ายใต้รฐั ธรรมนูญ ต่อไป ในตอนแรกนั้น บรรดาคณะราษฎรมีท่าที แข็งกร้าวต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า อยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์มาก จนกระทั่ง ทรงมีพระราชสาส์นตอบใจความตอนหนึ่งว่า “ข้ า พเจ้ า เห็ น แก่ ค วามเรี ย บร้ อ ยของ อาณาประชาราษฎร์ ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อ กั น และความจริ ง ข้ า พเจ้ า ก็ คิ ด อยู ่ แ ล้ ว ที่ จ ะ เปลี่ยนแปลงในท�ำนองนี้ คือมีพระเจ้าแผ่นดิน ปกครองตามรั ฐ ธรรมนู ญ จึ ง ยอมรั บ ที่ จ ะ ช่วยเป็นตัวเชิด เพือ่ คุม้ ครองโครงการตัง้ รัฐบาล ให้เป็นรูปตามวิธีเปลี่ยนแปลงตั้งรัฐธรรมนูญ โดยสะดวก”
รถไฟพระที่นั่งเสด็จจากหัวหิน เมื่อเวลา ๐๙.๔๕ น. ในวันที่ ๒๖ มิถนุ ายน ถึงสถานีรถไฟ สวนจิตรลดา เมือ่ เวลา ๒๔.๓๐ น. ก่อนประทับ รถยนต์พระที่นั่งพร้อมด้วยพระบรมราชินีนาถ ภายใต้การอารักขาอย่างแข็งขันของทหารคณะ ราษฎรกลับวังศุโขทัย ต่อมาเกิดความเคลื่อนไหวขึ้น ท�ำให้คณะ ราษฎรวิ ต กว่ า กรมพระนครสวรรค์ ว รพิ นิ ต ซึ่ ง ทรงเป็ น ที่ เ คารพแห่ ง พระบรมราชวงศ์ ข้ า ราชการทหาร ต� ำ รวจ และประชาชน จ�ำนวนมาก หากพระองค์ยังทรงประทับอยู่ใน ราชอาณาจักร จะเป็นเงื่อนไขในการปฏิรูป สายระบอบประชาธิปไตย น� ำไปสู่การต่อสู้ ที่ถึงขั้นรุนแรงได้ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต จึงเสด็จออกจากประเทศไทยไป ในระยะแรก เสด็จไปพ�ำนักทีป่ นี งั ประเทศมาเลเซีย จากนัน้ เสด็จไปประทับทีเ่ กาะบันดง ประเทศอินโดนีเซีย และไม่ได้กลับประเทศไทยอีกเลย 41
กฎหมายสูงสุด ที่ถูกฉีกทิ้งไม่รู้กี่ฉบับ แต่ถึง คราวแก้ไขกลับเต็มไปด้วย การต่อต้าน เพียงเพราะไม่ต้องการ ให้อ�ำ นาจของตนสูญเสียไป มีเพียงพระมหากษัตริย์เท่านั้น ที่มิเคยปรารถนาจะครอบครอง อำ�นาจเพราะพระองค์จึงครองใจ ประชาชนคนไทยทั้งมวล
หลังเปลีย่ นแปลงการปกครองเป็นผลส�ำเร็จ คณะราษฎรได้ด�ำเนินการให้มีการประกาศใช้ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ในธรรมนูญ การปกครองฉบับนี้ ก�ำหนดให้พระมหากษัตริย์ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีสภาผู้แทนราษฎรเป็น องค์ ก รนิ ติ บั ญ ญั ติ มี ค ณะกรรมการราษฎร หรือคณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหาร และศาล เป็นผู้ใช้อำ� นาจตุลาการ หัวหน้าคณะราษฎรได้แต่งตั้งผู้แทนราษฎร ๗๐ คน เพือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นสภาผูแ้ ทนราษฎร ชัว่ คราวและสภาผูแ้ ทนฯ ได้มมี ติให้พระยามโน ปกรณ์นติ ธิ าดา ขึน้ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี คนแรกของเมืองไทย มีคณะรัฐมนตรี ๑๙ คน ส่วนใหญ่เป็นบุคคลในคณะราษฎรนั่นเอง สถานการณ์การเมืองในช่วงนั้น เต็มไปด้วย ความสับสนวุ่นวาย เกิดการกบฏก่อให้เกิด ปัญหา แม้จะมีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ ก็หา ได้เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงไม่ พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนัก ถึงสถานการณ์ดังกล่าวมีแต่จะน�ำไปสู่ความ แตกแยก และต่อสู้อย่างรุนแรง เพราะรัฐบาล เสนอให้มีการเสนอ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลพิเศษ ที่จะจัดการกับพวกกบฏอย่างเฉียบขาด อันจะ น�ำไปสู่การประหารชีวิตอย่าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่ง 42
เป็นสิง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั มิ ป รารถนาให้ บั ง เกิ ด ขึ้ น ทรงยอมเสี ย สละ พระราชอ�ำนาจ เพื่อไม่ให้เสียเลือดเนื้อ แต่เมื่อ ต้องทรงลงพระปรมาภิไธย ร่างกฎหมายฉบับนี้ ก็ จ ะผ่ า นความเห็ น ชอบในโอกาสต่ อ ไปโดย ไม่ชักช้า พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเลีย่ งด้วยการเสด็จประพาสต่างประเทศ โดย ทรงอ้างเหตุผลเสด็จไปทรงรักษาดวงพระเนตร ในประเทศยุ โ รปและอเมริ ก า ในวั น ที่ ๑๒ มกราคม ๒๔๗๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระบรมราชินี พร้อมด้วย พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารจ�ำนวนหนึง่ จึ ง เสด็ จ ออกจากพระนครโดยประทั บ เรื อ และเดิ น ทางไปประทั บ ที่ ช นบทในประเทศ อังกฤษ รัฐบาลพระยาพหลฯ พยายามติดต่อเพื่อ อัญเชิญพระองค์เสด็จนิวตั สิ พู่ ระนครหลายครัง้ แต่ไม่เป็นผล จนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั พระราชทานโทรเลขถึงสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ สรุปข้อความว่า ความเห็นของพระองค์กบั รัฐบาลขัดกัน ธรรมดา ประเทศที่ มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ขั ด กั บ รั ฐ บาล และสภาผู ้ แ ทนฯ ย่ อ มไม่ เ ป็ น ผลดี จึ ง มี
พระราชประสงค์สละพระราชสมบัติ และได้ โปรดเกล้าฯ ส่งพระราชหัตถเลขามาทางไปรษณีย์ รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา มีหน้าที่ กราบทูลไปยังผู้ส�ำเร็จราชการ เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๔๗๗ พยายามที่จะเปลี่ยนพระทัย พระองค์ แต่ ไ ม่ ส� ำ เร็ จ เพราะทรงเห็ น ว่ า ไม่สามารถที่จะทรงปฏิบัติตามความประสงค์ ของรั ฐ บาลได้ ในที่ สุ ด จึ ง ทรงพระราชทาน พระราชหั ต ถเลขา ทรงสละราชสมบั ติ โ ดย เด็ดขาด ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ มีขอ้ ความที่ บ่งบอกถึงพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างชัดเจนตอนหนึ่งว่า “ข้าพเจ้าเห็นว่ารัฐบาล และพวกพ้องใช้วิธี การปกครอง ซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักการของ เสรีภาพในตัวบุคคล และหลักความยุติธรรม ตามความเข้ า ใจและยึ ด ถื อ ของข้ า พเจ้ า ไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผู้ใด คณะใด ใช้วิธี ปกครองอย่างนัน้ ในนามข้าพเจ้าต่อไปได้ ข้าพเจ้า มี ค วามเต็ ม ใจที่ จ ะสละอ� ำ นาจอั น เป็ น ของ ข้าพเจ้าอยู่เดิมให้แก่ราษฎรทั่วไป แต่ข้าพเจ้า ไม่ ยิ น ยอมยกอ� ำ นาจทั้ ง หลายของข้ า พเจ้ า ให้แก่ผู้ใด คณะใด โดยเฉพาะเพื่อใช้อ�ำนาจ โดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของ ประชาราษฎร์” จุฬาพิช มณีวงศ์
ต่อมาสภาผู้แทนฯ ได้ประชุมกันในวันที่ ๗ มีนาคม ๒๔๗๗ เพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบใน การที่รัฐบาลเสนอ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อานันทมหิดล ขึ้นทรงเถลิงถวัลยราชสมบัติต่อ โดยสภาผู้แทนฯ มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบ ด้วยกับรัฐบาล ทั้งหมดนี้ย่อมเป็นบทพิสูจน์ได้ว่า ตลอด ๘๐ ปีทผี่ า่ นมา การเปลีย่ นผ่านพระราชอ�ำนาจ ของพระมหากษัตริย์มาสู่สถาบันทางการเมือง รู ป แบบไม่ ไ ด้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปจากที่ เคยเป็ น อ� ำ นาจมิ ไ ด้ ต กมาสู ่ ประชาชนตาม พระราชประสงค์ อ ย่ า งแท้ จ ริง รัฐธรรมนูญ เป็ น กฎหมายสู ง สุ ด แต่ ถึ ง คราวแก้ ไ ขกลั บ เต็มไปด้วยการต่อต้าน เพียงเพราะไม่ต้องการ ให้อ�ำนาจของตนสูญเสียไป มีเพียงพระมหา กษัตริยเ์ ท่านัน้ ทีม่ เิ คยปรารถนาจะครอบครอง อ�ำนาจเพราะพระองค์จึงครองใจประชาชน คนไทยทั้งมวล
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
43
หลักการของ นายพลแพตตั น (ตอนทีี่ ๑๑) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
44
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ไม่ใช่ทกุ คนหรอกทีส่ ามารถเป็นทหารได้ การเป็นทหาร คือ อาชีพทีส่ งู สุดแห่งชีวติ เมื่อคุณค้นพบบุคคลผู้กลัวบาป จงนำ�เขาออกไปจากหน่วยรบให้เร็ว ที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ ถ้าคุณไม่นำ� เขาออกไป เขาอาจจะเป็นต้นเหตุ ให้คนอื่นอีกหลายคนต้องตาย
น
ายพลแพตตันไม่มคี ำ� พูดทีด่ งี ามส�ำหรับ ผู ้ ที่ ไ ม่ ย อมเผชิ ญ หน้ า กั บ ความตาย ท่านมีแต่ค�ำพูดที่หยาบคาย ส�ำหรับ บรรดาผู ้ น� ำ ศาสนาซึ่ ง ต่ อ ต้ า นประสิ ท ธิ ภ าพ ของกองทัพโดยเทศน์ว่า “เจ้าจะต้องไม่ฆ่าใคร” นายพลแพตตันเรียกบุคคลประเภทนี้ว่า “นักบวชฆาตกร”! ท่านให้ความเห็นว่า “นักบวชฆาตกรเหล่านี้ จะเดินทางไปทั่ว แล้วก็เทีย่ วพูดว่าไบเบิล้ สอนให้มนุษย์อย่าฆ่า คน ค�ำสอนแบบนีจ้ ะเป็นเหตุให้ทหารดีๆ ต้อง ตายเป็นพันๆ คนเลยทีเดียว ไอ้พวกนักบวช ฆาตกรริย�ำเหล่านี้น่ะมีน้อยคนที่จะมีความรู้ จริงในคัมภีร์ไบเบิ้ล พวกนี้รู้นิดเดียวเกี่ยวกับ วิธีการท�ำงานของพระเจ้า พวกเขาควรอ่าน ไบเบิ้ลให้ครบถ้วน ไม่ใช่อ่านเฉพาะบทที่ พวกตนชอบเท่านัน้ ! พระเจ้าไม่เคยลังเลทีจ่ ะ ฆ่าคน พระไม่ลังเลที่จะฆ่า เมื่อมีมนุษย์หรือ ชนเผ่าใดก็ตามทีจ่ ำ� เป็นต้องถูกลงโทษ พระเจ้า ช่วยเดวิด (David) ฆ่าโกไลแอธ (Goliath) (เดวิด คือ กษัตริย์อิสราเอลโบราณขณะอายุ ยังน้อยได้สงั หารโกไลแอธอัศวินซึง่ เป็นนักรบ ผู้กล้าหาญ เรื่องราวถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์ คริสต์ศาสนา) เป็นไง เรื่องโนอาห์ (Noah) และเรือยักษ์ของเขา? ประชาชนที่เหลือบน พื้นดินทั้งหมดตายจากน�้ำท่วมโลก! พระเจ้า รับค�ำต�ำหนิจากการฆาตกรรมครั้งมโหฬารนี้ แล้ ว เป็ น ยั ง ไงในเรื่ อ งทะเลแดงที่ เ ปิ ด ช่ อ ง ออกมาพอที่จะให้ชนชาติหนึ่งหนีภัยไป และ อีกชนชาติ ห นึ่ง ต้ องตาย อย่ามาคุยกับผม ในเรือ่ งทีว่ า่ พระเจ้าไม่อนุญาตให้มนุษย์ฆา่ คน สงคราม หมายถึง เราต้องฆ่าคน นัน่ เป็นเรือ่ ง ที่ต้องเป็นไปอย่างนั้น มันเป็นบาปหากไม่ฆ่า คน ถ้าพวกเราท�ำงานอยูข่ า้ งเดียวกับพระเจ้า มันไม่มีหนทางอื่นที่จะชนะได้ สงครามต้อง หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ชนะได้ด้วยค�ำสาปของพระเจ้า พระองค์มี ส่วนร่วมในสงครามทุกๆ ครัง้ ! ยิง่ เราสามารถ ฆ่าข้าศึกได้รวดเร็วเท่าไร เราก็จะสามารถ กลับบ้าน และกลับไปฟังนักบวชฆาตกร ทีจ่ ะ บอกเราว่าพวกเราได้ทำ� ความผิดได้เร็วเท่านัน้ ถ้าพวกเราไม่ชนะได้ พวกนักบวชโง่ๆ เหล่านัน้ ก็จะถูกยิงอยูด่ ที มี่ วั แต่ยนื เทศน์อยูเ่ ฉยๆ ภารกิจ ของเราคือต้องฆ่าข้าศึกก่อนที่พวกเราจะถูก ข้าศึกฆ่า” นายพลแพตตั น จะไม่ ห ยาบคายกั บ กลุ ่ ม บุคคลที่ ก ลั ว บาปเหมื อ นกั บ ที่ ท�ำ ต่ อ นั ก บวช ฆาตกร ท่านได้ยอมรับกฎหมายทีไ่ ด้อนุญาตให้ ผู้บังคับบัญชาปฏิเสธการสู้รบได้หากจะมีการ ฆ่ากันเกิดขึน้ นายพลแพตตันได้ให้ความเห็นว่า “ไม่ใช่ทุกคนหรอกที่สามารถเป็นทหารได้ การเป็นทหาร คือ อาชีพทีส่ งู สุดแห่งชีวติ เมือ่ คุณค้นพบบุคคลผู้กลัวบาป จงน�ำเขาออกไป จากหน่วยรบให้เร็วทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเร็วได้ ถ้าคุณ ไม่นำ� เขาออกไป เขาอาจจะเป็นต้นเหตุให้คน อื่นอีกหลายคนต้องตาย จะไม่มีการลังเลใจ ใดๆ เมื่อเวลาจะต้องเหนี่ยวไกฆ่าคน ให้พวก ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและพวกเนื้ อ ทองเหล่ า นั้ น กลับไปใช้ชีวิตพลเรือนตามเดิมเถอะ หรือไม่ ก็ส่งไปในที่ที่พวกเขาเป็นเหตุให้หน่วยทหาร ฝ่ายเดียวกันต้องเสียชีวิต” แม้วา่ นายพลแพตตันจะวิจารณ์พวกเนือ้ ทอง และพวกรั ก ความสงบ แต่ ท ่ า นก็ ไ ม่ จั ด พวก พระอยู ่ ใ นประเภทพวกเดี ย วกั บ “นั ก บวช ฆาตกรงีเ่ ง่า” ท่านได้เชิญพระจากเมืองใกล้เคียง มาแวะเยี่ยมค่ายของเราในวันอาทิตย์เพื่อร่วม ท�ำกิจกรรมทางศาสนาร่วมกับอนุศาสนาจารย์ ของกองทัพบก มีหลายคนกล่าวหานายพลแพตตันว่ารัก การท�ำสงคราม เป็นความจริงทีบ่ ทในภาพยนตร์ ให้นายพลแพตตันพูดว่า “ข้าพเจ้ารักการ
สงคราม!” นายพลแพตตันไม่ได้รักสงคราม แต่ทานกล้าพอที่จะเผชิญหน้ากับสัจธรรมที่ว่า สงครามไม่ว่าจะเกิดขึ้น ณ ที่ใดมันก็หมายถึง การฆ่าคน นายพลแพตตันเกลียดสงครามมากกว่า “นักบวชฆาตกร” ที่ต�ำหนิ ท่านยกค�ำกล่าว จากไบเบิ้ลบ่อยๆ โดยพูดว่า “สงคราม และ ข่าวเล่าลือเกีย่ วกับสงครามจะเกิดขึน้ อยูเ่ สมอ” นายพลแพตตันเกลียดผู้น�ำทางการทหาร และผู้น�ำทางการเมืองที่ชอบถ่วงเวลา, คอย รวบรวมก� ำ ลั ง พล, รอความมั่ น คงแข็ ง แรง, ชอบตั้งรับในแผ่นดินของตน, ขุดหลุมบุคคล หรืออนุญาตให้ทำ� การใดๆ เพือ่ ทีจ่ ะยืดสงคราม ออกไปโดยปราศจากความคิดที่ว่าทหารของ ทั้งสองฝ่ายต้องตายไปจากการถ่วงเวลานั้นๆ ส�ำหรับคนบางคน สงครามเป็นเกมการเมือง มันจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องให้บรรดานายพลในกองทัพ และผู้น�ำทางการเมืองมีความสุข ทั้งๆ ที่ต้อง สูญเสียชีวติ คนไปอย่างไร้คา่ คนอังกฤษคนหนึง่ ชื่อนายพล Essame ได้กล่าวว่า “จ� ำ นวนสี่ ค รั้ ง ตั้ ง แต่ ก ารรบแตกหั ก ที่ Avranches นายพลแพตตั น และ กองทัพบกของเขาได้ให้โอกาสแก่ไอเซนเฮาร์ (Eisenhower) ซึ่งเป็นการดีที่จะพิสูจน์ถึง การตัดสินใจทีเ่ ด็ดขาด, เพือ่ ย่นเวลาสงคราม, รักษาชีวิตคนเป็นพันๆ คน และท�ำให้ยุโรป ตะวั น ตกมี ท ่ า ที ท างด้ า นยุ ท ธศาสตร์ดีกว่า ที่มันควรจะเป็นนานถึงยี่สิบห้าปีต่อมา” มันง่ายทีจ่ ะคิดว่า สงครามคือ การร่างหนังสือ, การฝึก, การสร้างเครือ่ งบิน, การเคลือ่ นก�ำลังพล และอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ , และแม้แต่เป็นการ ช่วยการเศรษฐกิจ มันง่ายมากที่จะลืมไปว่า ประสิทธิภาพของกองทัพคือการฆ่าข้าศึก จับให้ถึงลูกถึงคน หลักการเบื้องต้นของนายพลแพตตันคือ 45
จำ�ไว้ สงครามเอาชนะได้ดว้ ยการฆ่าคน ยิ่งฆ่าได้มากเท่าไรเราจะพ้นจาก สงครามได้เร็วเท่านั้น สงคราม ไม่สามารถเอาชนะได้หากมัวแต่ ยึดพื้นที่ตั้งรับ ให้ข้าศึกมีพื้นที่ ที่มันต้องการเถอะ ถ้าเราสามารถ ให้มันมาอยู่ในตำ�แหน่งที่เรา สามารถฆ่ามันได้!
“จั บ ให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คน” นี่ คื อ หลั ก การง่ า ยๆ อันหนึ่ง แต่ก็มีผู้เชี่ยวชาญทางการบริหาร หรือ ผู้บังคับหน่วยทหารน้อยคนที่จะเข้าใจในความ ส�ำคัญของมัน ค�ำพูดของนายพลแพตตันเป็นค�ำพูดทื่อๆ “พวกเราอยู่ในภาวะสงคราม พวกเราจะ เอาชนะได้ก็ด้วยการฆ่าคน มันง่ายกว่าที่จะ ฆ่าคนขณะทีค่ ณ ุ สามารถเห็นสิง่ ทีค่ ณ ุ ยิงใส่อยู ่ แน่ ล ะเครื่ อ งบิ น และปื น ใหญ่ ส ามารถยิ ง กระสุนไปตกในเขตข้าศึกได้ แต่มันไม่ได้ผลดี นักในการสังหารผูค้ น คนทีเ่ ป็นทหารน้อยคน นักที่จะหวาดกลัวความตาย! พวกเราต้อง ไปในแถวหน้าซึ่งเป็นสถานที่ที่เราสามารถ
46
มองเห็นข้าศึก เราจะให้ข้าศึกรู้ว่าพวกเรา ไม่กลัว เราจะให้พวกมันรูว้ า่ เราก�ำลังจะมุง่ หน้า เข้าหา ด้วยเหตุผลประการเดียวคือ ฆ่าคน ถ้า เราเข้าจับข้าศึกให้ถึงลูกถึงคน พวกมันก็จะ ยิงเข้าใส่เราต่อไป แต่พวกเราจะด�ำรงการ เคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วจนพวกมันยิงเราไม่ถกู ขณะที่เราท�ำให้พวกมันสนใจอยู่นั้น พวกมัน จะยิงมายังสถานทีท่ เี่ ราเคยวางตัว แล้วเราจะ อ้อมไปด้านหลังพร้อมกับรถถังของเราและ ยึดเชือ้ เพลิง, อาหาร และยุทโธปกรณ์ทงั้ หมด ของมัน เราจะฆ่าทุกคนทีเ่ ข้ามาในทางของเรา” นายพลแพตตันจะหยุดชั่วครู่แล้วพูดว่า “เราจะจับแม้แต่ผู้หญิงทั้งหมดของมัน” ท่านได้พูดด้วยภาษาที่ทหารเข้าใจกัน “เราจะด�ำรงการเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความรวดเร็ว เสมอ เราจะไม่ขุดหลุมบุคคลเพื่อการซ่อนตัว เมือ่ คุณขุดหลุมบุคคลก็เท่ากับว่าคุณก�ำลังขุด หลุมฝังศพ! ขณะที่คุณอยู่ในหลุมบุคคลและ ยิงไปทีข่ า้ ศึก ข้าศึกจะรูท้ อี่ ยูท่ แี่ ท้จริงของคุณ ไม่ช้าก็เร็ว มันจะเห็นคุณได้อย่างชัดเจน และ คุณจะถูกฆ่า เคลื่อนที่อยู่เสมอคุณจะพ้นจาก ปืนของข้าศึก” นายพลแพตตันจะจบด้วยค�ำพูดธรรมดา “จ�ำไว้ สงครามเอาชนะได้ด้วยการฆ่าคน ยิ่งฆ่าได้มากเท่าไรเราจะพ้นจากสงครามได้ เร็วเท่านั้น สงครามไม่สามารถเอาชนะได้ หากมั ว แต่ ยึ ด พื้ น ที่ ตั้ ง รั บ ให้ ข ้ า ศึ ก มี พื้ น ที่ ทีม่ นั ต้องการเถอะ ถ้าเราสามารถให้มนั มาอยู่ ในต�ำแหน่งที่เราสามารถฆ่ามันได้!” ในสงครามโลกครั้งที่ ๒ นายพลแพตตัน พยายามทีจ่ ะสูร้ บสงครามโดยใช้หลักการตัง้ รับ
มีนายพลไม่กคี่ นทีใ่ ช้หลักการแห่งความรวดเร็ว นายพลส่วนใหญ่ใช้หลักการยึดพื้นที่ นายพล แพตตันต้องการพืน้ ทีท่ ที่ า่ นสามารถฆ่าข้าศึกได้ พืน้ ทีห่ ลายแห่งถูกยึดเพือ่ ความมุง่ หมายในการ ตั้ ง รั บ นายพลแพตตั น ไม่ เ ชื่ อ ถื อ การตั้ ง รั บ ทฤษฎีของท่านคือ ถ้าหากข้าศึกยังอยู่ภายใต้ การโจมตีอยู่อย่างสม�่ำเสมอแล้วละก็ มันไม่มี ความจ�ำเป็นเลยที่จะต้องตั้งรับ ในประเทศเวียดนามพวกเราไม่เคย “จับข้าศึก ให้ถึงลูกถึงคน” เลย พวกเราไม่รู้ด้วยซ�้ำว่า ท�ำไมเราถึงต้องไปอยู่ที่เวียดนาม เป้าหมาย ไม่ใช่เพื่อการฆ่าคน เราไม่ได้อยู่ในสงคราม เพื่ อ การฆ่ า คน! ผมจ� ำ ค� ำ พู ด ตอนงานเลี้ ย ง กลางวันได้ ผู้พูดเป็นเจ้าหน้าที่รัฐบาลระดับสูง ได้กล่าวว่าสงครามย่อยๆ ทีเ่ กิดขึน้ บางแห่งในที่ ที่ห่างไกลเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจสหรัฐฯ การสงครามเพือ่ เศรษฐกิจจะต้องเป็นเหตุผล ให้นายพลแพตตันระเบิดอารมณ์แน่ๆ “ใครเคยได้ยินบ้างว่าการรบในสงคราม เป็นการช่วยเศรษฐกิจของชาติ? นรกแท้ๆ! สงครามคือการฆ่าคน ไอ้การทีพ่ ยายามพูดว่า มันเป็นสงครามย่อยๆ ก็เหมือนกับว่าก�ำลัง พยายามพูดว่าผู้หญิงคนหนึ่งมีครรภ์ย่อยๆ! ใครจะไปมีก�ำลังใจไปบอกทหารของตนว่า ก�ำลังจะตายเพื่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ?” การจั บ ปั ญ หาให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คน และแก้ ไ ข โดยเร็วนั้นมีประโยชน์เหมาะสมที่จะปฏิบัติได้ ในหลายสถานการณ์เมื่อถึงคราวจ�ำเป็น การ กวดขันวิ นั ย เด็ ก ๆ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้การปฏิบัติ ฉั บ พลั น เหมื อ นกั บ การเผชิ ญ หน้ า กั บ ข้ า ศึ ก อันนี้ก็เฉพาะเด็กที่ควรจะต้องถูกกวดขัน พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ในขณะนั้ น จะยิ ง ในที่ ที่ เ ราเคยวางตั ว อยู ่ เมื่อข้าศึกก�ำลังยิงไปในที่ที่เราเคยอยู่ เราจะ สามารถรู้อย่างแน่นอนว่า พวกมันยิงมาจาก ทางไหน เราจะเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วและ ท�ำลายข้าศึกในสถานที่ที่พวกเราสามารถฆ่า พวกมันได้โดยง่าย” “อย่าให้ฆ่าศึกเลือกพื้นที่การรบ เราจะรบ ในสถานที่ที่เราต้องการรบ ไม่ใช่ในที่ที่ข้าศึก ต้องการ เราจะรักษาความได้เปรียบในการ เลือกพื้นที่เสมอ” หลักการนี้จะกล่าวต่อไปในบทที่ว่าด้วยกฎ ในการเอาชนะ นายพลแพตตันไม่เคยรบทัง้ วัน ทั้งคืนโดยใช้แค่ยิงปืนใหญ่อยู่กับที่ นายพลแพตตันไม่ตอ้ งการทีจ่ ะท�ำลายสะพาน หรื อ สถานที่ ใ ดเพราะจะต้ อ งสร้ า งใหม่ เ มื่ อ ต้องการบุกอย่างรวดเร็ว มอนต์โกเมอรีมักจะ บ่อยครัง้ เหลือเกินทีแ่ ม่จะพูดว่า “ลูกไม่เชือ่ เป็นนายพลที่ไม่ธรรมดา เขาท�ำการสู้รบได้ รวบรวมก�ำลัง, สะสมความเข้มแข็ง และรอคอย ฟังอีกแล้ว! รอให้พอ่ กลับบ้านก่อนเถอะพ่อจะ ไม่ ดี นั ก แต่ เ ขาเป็ น นายพลที่ เ ก่ ง ที่ สุ ด ใน การเพิ่มเติมก�ำลัง! ทั้งหมดนั้นจะท�ำให้นายพล ท�ำโทษลูก” เมือ่ ผูท้ เี่ ป็นพ่อเหนือ่ ยอ่อนกลับมา เรื่องการไล่ติดตาม ในช่วงปีนั้นๆ ถ้า มอนตี้ แพตตันประกาศว่า ถึงบ้านเขาก็อาจจะพูดว่า “ท�ำไมเราไม่คอย (Monty) (นายพล มอนต์โกเมอรี กองทัพ “ไปลงนรกเถอะ ที่จะมัวแต่รวบรวมก�ำลัง ตอนเช้าล่ะ ลูกหลับแล้ว ปลุกขึ้นมาท�ำไมอีก อังกฤษ - Montgomery) เก่งในเรื่องการไล่ อยู่ เราจะรวบรวมก�ำลังขณะทีเ่ ราเคลือ่ นทีใ่ ห้ คอยจนกว่าที่ลูกจะท�ำผิดอีกครั้งดีกว่า!” ติดตามเท่ากับที่เก่งในเรื่องการสู้รบแล้วละก็ เป็นเรื่องของผู้หญิง และเด็กที่จะสะสมความ บ่ อ ยมากที่ ถ ่ ว งเวลาเป็ น การมอบโอกาส เขาจะได้ เ ป็ น หนึ่ ง ในจ� ำ นวนจอมทั พ ผู ้ ใ หญ่ เข้มแข็ง เมื่อจัดการกับข้าศึกขณะเคลื่อนที่ ให้แก่เด็กทีจ่ ะเริม่ การ “เล่นงาน” จนกระทัง่ เขา (GREAT CAPTAIN) ทีเดียว ก็เท่ากับเราบังคับให้ขา้ ศึกต้องเคลือ่ นทีด่ ว้ ย” สามารถท�ำให้พ่อแม่ยอมแพ้ได้ เด็กที่ถูกจับให้ นายพลแพตตั น ไม่ เ คยสู ้ ร บในสงคราม ผู้น�ำทางทหาร และผู้น� ำทางการบริหาร ชิดจมูก และถูกตีในกางเกงจะพอใจที่พ่อแม่ เหมือนกันกับที่เชอร์ชิลล์ และมอนต์โกเมอรี สูร้ บในสงครามของเขาบนหลักแห่งการยึดพืน้ ที่ ก�ำลังสอนถึงวิธีซึ่งท�ำให้จิตใจควบคุมร่างกาย เคยท�ำ นายพลแพตตันจะพูดว่า น้อยคนทีจ่ ะเข้าใจหลักการของนายพลแพตตัน ผู ้ ที่ ก ลั ว การปลด และการตายนั้ น จะ “มั น เป็ น การสู ญ เสี ย เด็ ก หนุ ่ ม ไปโดย ที่ว่า “จับข้าศึกให้ได้ถึงลูกถึงคน แล้วจัดการ สามารถใช้หลักการนีไ้ ด้มากทีจ่ ะปลดการจูโ่ จม เปล่าประโยชน์ที่จะยึดพื้นที่อยู่และคอยดูว่า ทั น ที ” พวกเราไม่กี่คนที่กล้าเผชิญหน้ากับ เข้ า หาตั ว เหมื อ นกั บ การโจมตี จ ากข้ า ศึ ก ใครจะยิงปืนใหญ่ได้มากกว่ากัน มันหมายถึง สั จ ธรรมที่ ว ่ า ทุ ก วั น แห่ ง การมี ชี วิ ต คื อ การ มีน้อยคนที่จะใช้ความพยายามที่จะใช้วิธีจับ การสู ญ เสี ย คนเป็ น จ� ำ นวนมากที่ จ ะมั ว ยึ ด เข้าใกล้วันตายอีกวันหนึ่ง ให้ถึงลูกถึงคนในการปลดพวกเราจ�ำนวนมาก พืน้ ทีอ่ ยูแ่ ล้วรอให้ขา้ ศึกเข้าโจมตี เราจะด�ำรง ไม่ยึดหลักที่ว่า ทุกๆ วันแห่งการมีชีวิต คือ การ การเคลือ่ นทีอ่ ย่างรวดเร็ว และข้าศึกจะยิงเรา เข้าไปใกล้วันปลดอีกวันหนึ่งเช่นเดียวกันกับ ในที่ที่เราเคยวางตัวอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ที่เราอยู่ การเข้าไปใกล้วนั ตายอีกวันหนึง่ ความล้มเหลว ในการจั บ ให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คนในเรื่ อ งความตาย ให้เป็นเหตุให้พวกเรามีชีวิตในช่วงท้ายของ วัยไม่กี่ปีนั้นด้วยความหวาดกลัวอย่างถาวร เมื่อคาดว่าชีวิตจะสิ้นสุดในสองสามปี ข้าศึก (ความตาย) ก็ อ าจจะเข้ า มาควบคุ ม ชี วิ ต โดยสิน้ เชิง ถ้าความตายไม่ถกู จับให้ถงึ ลูกถึงคน พวกเราก็อาจจะอยู่ใน “หลุมบุคคล” แห่ง ความตกต�ำ่ ซึ่งเป็นที่ที่เราไม่สามารถหนีพ้น หลักการของนายพลแพตตันง่ายทีจ่ ะพูดถึง แต่ยากที่จะน�ำไปใช้ หน่วยงานหลายหน่วย ไม่ เ คยจั บ ข้ า ศึ ก (ปั ญ หา) ให้ ถึ ง ลู ก ถึ ง คน อย่างแท้จริง องค์การของรัฐบาลหลายแห่ง ไม่จับภารกิจให้ชัดแจ้ง และแก้ปัญหาโดยทันที ผมไม่แน่ใจว่า เชอร์ชลิ ล์ เคยยึดความส�ำคัญ ของความรวดเร็วในการเอาชนะสงครามหรือไม่ แต่นายแพทย์ประจ�ำตัวเชอร์ชิลล์ไม่เข้าใจใน ความส�ำคัญของหลักการของนายพลแพตตัน เพราะเขียนในหนังสือของเขาว่า “แพตตัน” หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
47
3G และ 4G เทคโนโลยีใหม่มาแรง กองประชาสัมพันธ์ ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
48
กองประชาสัมพันธ์ ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เ
มื่อก่อนเราใช้โทรศัพท์เป็นโทรศัพท์ คือใช้ โทรได้อย่างเดียว นั้นเรียกว่ายุค 1G พอ ยุค 2G โทรศัพท์ก็สามารถถ่ายรูปได้ ส่ง ข้อความได้ ส่งอีเมล์ได้ แต่ยังติดขัดอยู่ในเรื่อง ของสัญญาณติดๆ ขัดๆ เวลาเคลื่อนไหว ส่วน 3G จริงๆ แล้วก็คือระบบโทรศัพท์ที่พัฒนาอีก ขั้นหนึ่งให้มีการเชื่อมต่อตลอดเวลา ในเรื่อง ของข้อมูล เพราะฉะนั้นในด้านการเชื่อมต่อ ข้อมูลจะดีกว่า อีกทัง้ ยังไม่ได้คดิ ราคาตามเวลา การใช้ แต่จะคิดตามอัตราการโหลดข้อมูล และ มีความเร็วในการใช้งานที่มากขึ้น เพราะฉะนั้น โทรศัพท์ในยุค 3G จึงไม่ใช่แค่เพียงโทรศัพท์อกี ต่อไป 3G ท�าให้การพูดคุยสามารถเห็นหน้า กันได้ หรือไม่ว่าจะเป็นเรื่องของซอฟต์แวร์ก็ จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในโทรศัพท์ ก็คือ อี ก สั ก หน่ อ ยโทรศั พ ท์ อาจจะส่งสัญญาณให้ ควบคุมสิ่งของที่บ้าน เช่น ส่งให้เปิดปิดตู้เย็น เปิดปิดหม้อหุงข้าว เป็นต้น หรือข้อมูลอะไร ต่างๆ ที่มีพื้นที่การเก็บข้อมูลมากๆ 3G ก็จะให้ ประโยชน์เหล่านี้นั้นเอง อย่างเช่น แผนที่เราก็ สามารถดาวน์โหลดได้จากอินเตอร์เน็ตเข้ามาที่ โทรศัพท์โดยผ่านระบบ 3G นี้ได้เลย ค� า ว่ า 3G ในเรื่ อ งของโทรศั พ ท์ ก็ คื อ มาตรฐานการพัฒนาซึ่งแบ่งเป็นยุคๆ ตั้งแต่ยุค 1G ที่โทรศัพท์เป็นแบบเซลลูลาร์อันใหญ่ๆ ใช้สัญญาณอนาล็อก หรือสัญญาณคลื่นวิทยุ ซึ่งเกิดในปี ๑๙๘๑ ยุคต่อมาคือ 2G เริ่มในปี ๑๙๙๒ โดยใช้ระบบดิจติ อล คือการน�าสัญญาณ เสี ย งมาบี บ อั ด ให้ เ ล็ ก ลงจนเป็ น สั ญ ญาณ อิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาในปี ๒๐๐๑ ก็เริ่มมีการ ใช้โทรศัพท์ 3G ที่ญี่ปุ่นเป็นที่แรกที่น�าระบบ 3G เข้ามาใช้จนถึงทุกวันนี้ จุดเด่นของ 3G คือ รับส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น ส่วนจุดอ่อนของ 3G คือ การเปลี่ยนจาก 2G ปัจจุบันในประเทศไทยเรา นั้นน่าจะเรียกว่าระบบ 2.9G คือจากระบบ 2G เป็น 2.5G จนมาเป็น 2.9G เช่น สามารถถ่าย
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
ภาพแล้วก็อัพเดทขึ้น Facebook ได้เลย แต่ก็ ยังต้องคอยอยู่ดี แต่ถ้าเป็น 3G แล้วก็จะเร็วขึ้น นั่นเอง เพราะฉะนั้นก็เลยถือว่ามันไม่ได้ตอบ สนองโจทย์ทั้งหมด เพราะถ้าจะพัฒนาระบบ ทั้งหมดให้เป็น 3G ต้องใช้งบลงทุนมากมาย มหาศาล แต่สิ่งที่ได้มาบางทีอาจจะไม่คุ้มกับ การใช้งานจริง ในส่วนของประเทศที่ใช้ 3G มานานแล้ว เขามองว่าจะเปลี่ยนเป็นระบบ 4G กันแล้ว 4G เป็นเหมือนการสร้างมาตรฐาน อุตสาหกรรมขึ้นไปเรื่อยๆ ทุกๆ ๑๐ ปี 4G มีลักษณะแตกต่างจาก 3G คือ ในเรื่อง ของการเชื่ อ มต่ อ แบบเคลื่ อ นไหวไร้ ร อยต่ อ 4G เป็ น เครื อ ข่ า ยไร้ ส ายความเร็ ว สู ง ชนิ ด พิเศษ หรือเป็นเส้นทางด่วนส�าหรับข้อมูลที่ ไม่ต้องอาศัยการลากสายเคเบิล โดยระบบ ใหม่นี้จะสามารถใช้งานได้แบบไร้สาย รวมถึง คุณสมบัติการเชื่อมต่อเสมือนจริงในรูปแบบ สามมิติ (three-dimensional) ระหว่างผู้ใช้ โทรศัพท์ด้วยกันเอง นอกจากนั้น สถานีฐาน ซึ่งท�าหน้าที่ในการส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์
ด้วยความเร็วของ 4G ที่เร็วแรงกว่า 3G นี้ การให้บริการ 4G ผ่าน Wifi Adaptor จะทำาให้เพิ่มโอกาสในการ เข้าถึง Internet ได้อย่างง่ายดาย และ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
49
เคลื่อนที่จากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง และมีต้นทุนการติดตั้งที่แพงลิ่ว ในขณะนี้จะ มีให้เห็นกันอย่างแพร่หลายเช่นเดียวกับหลอด ไฟฟ้าตามบ้านเลยทีเดียว ส�ำหรับ 4G จะสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบ ไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่มขึ้นถึง ๑๐๐ เมกะไบต์ต่อวินาที ซึ่งห่างจากความเร็วของ ชุดอุปกรณ์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ที่ระดับ ๑๐ กิโลบิตต่อวินาที นอกจากนี้ การพัฒนาต่างๆ ที่ระบบ 3G รองรับ ระบบ 4G ก็จะรองรับ ในเวอร์ ชั่ น ที่ สู ง กว่ า อย่ า งเช่ น การใช้ ง าน มัลติมีเดียที่ดีขึ้น การรับส่งข้อมูลในรูปแบบ ภาพเคลื่อนไหวที่ไหลลื่นกว่า การเข้าถึงข้อมูล ที่เป็นสากลและความสามารถในการเชื่อมต่อ กับอุปกรณ์รูปแบบต่างๆ ได้ ผู้ที่อยู่ในแวดวง การอุตสาหกรรมต่างยังลังเลที่จะคาดการณ์
ทิศทางทีเ่ ทคโนโลยีในอนาคตอันใกล้จะเป็นไป แต่กค็ าดว่าการพัฒนาของระบบ 4G ได้รวมเอา ความสามารถในการค้นหาสัญญาณเครือข่าย ได้ทั่วโลกเข้าไว้ด้วย ระบบ 4G อาจจะเชื่อม ต่ อ โลกทั้ ง ใบและสามารถกระท�ำ ได้ ใ นทุ ก ที่ ไม่ว่าจะอยู่บนหรือแม้จะอยู่เหนือพื้นผิวของ โลกได้อย่างแท้จริง เทคโนโลยี LTE หรือ Long Term Evolution เป็ น ชื่ อ เรี ย กที่ รู ้ จั ก กั น ว่ า 4G (โทรศั พ ท์ ยุ ค ที่ ๔) เป็นเทคโนโลยีอนาคต ที่ต่อยอดจาก ๔ ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ส ามารถตอบสนองการ ใช้งานบรอดแบนด์ ไ ร้ ส ายความเร็ ว สู ง โดย ท�ำความเร็วตั้งแต่ 100 Mbps - 1024 Mbps (1 Gbps) เลยทีเดียว เร็วกว่า 3G เดิมถึง ๗ เท่า ด้วยความเร็วของ 4G ที่เร็วแรงกว่า 3G นี้ การให้บริการ 4G ผ่าน Wifi Adaptor จะ
ท�ำให้เพิ่มโอกาสในการเข้าถึง Internet ได้ อย่างง่ายดาย และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพียงมี Aircard 4G และ Wifi Adaptor เมื่อเชื่อม ต่อแล้ว สามารถแชร์สัญญาณ 4G เพื่อให้ใช้ พร้อมกันกับอุปกรณ์ที่รองรับสัญญาณ Wifi ได้ อย่างสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เสมือนกับถนนที่ มีขนาดใหญ่ยิ่งขึ้น ก็สามารถที่จะรองรับรถได้ มากขึ้น และวิ่งเร็วได้มากขึ้นด้วย นอกจากนี้ 4G ยั ง สามารถส่ ง ไฟล์ วี ดี โ อ ความละเอียดสูง และการถ่ายทอดสดแบบ Live Broadcast แบบ Realtime การประชุม ทางไกลแบบ Interactive ที่สามารถโต้ตอบ แบบทันที บริการ cloud service สนับสนุน การเรียนผ่านทาง e-learning, การรักษาโรค ทางไกล (Telemedicine) และรวมไปถึงการ ชมภาพยนตร์ความละเอียดสูงบนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ซึง่ เหมาะส�ำหรับการท�ำธุรกิจด้าน มัลติมีเดียและวีดีโอออนไลน์ในอนาคต ต่างประเทศที่ทดสอบ 4G แล้วส่วนใหญ่อยู่ ในแถบทวีปยุโรป เช่น สวีเดน (ประเทศแรก ของโลกที่ทดสอบ 4G) ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ โปแลนด์ จีนก็เริ่มทดสอบแล้วเมื่อปี ๒๕๕๔ สิงคโปร์ก็ก�ำลังท�ำอยู่
ที่มาข้อมูล : http://www.dmc.tv 50
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
การรักษาความปลอดภัย ในการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่
แผนกเผยแพร่ กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
51
ก
ารปกป้องมือถือของคุณจากภัยตามมา จากการท�าโทรศัพท์หาย หรือถูกขโมย นัน้ ไม่ใช่เรือ่ งยาก เพียงแค่อาศัยวินยั ใน การใช้งานและความระมัดระวังนิดหน่อย ข้อพึง ปฏิบัติต่อไปนี้จะช่วยรักษาข้อมูลในโทรศัพท์ มือถือของคุณให้ปลอดภัยเสมอ ๑. สิ่งบอกเหตุ หรือข้อสังเกต โทรศัพท์ ถูกดักฟัง ๑.๑ มีขอ้ ความแปลกๆ กรณีทไี่ ม่ทราบ ที่มา หรือไม่สามารถพิสูจน์ตัวตนได้ ๑.๒ สังเกตการณ์ใช้งาน SMS ว่ามี ปริมาณการใช้มากกว่าปกติหรือไม่ และ/หรือมี การเรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายในการส่ง SMS มาก ผิดปกติ ๑.๓ หมัน่ สังเกตเสียงทีแ่ ทรกเข้ามาใน โทรศัพท์ หากเกิดขึน้ อยูบ่ อ่ ยๆ เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ ปกติ กับการใช้งานประจ�า อาจเป็นไปได้ที่โทรศัพท์
๕๒
ถู ก ดั ก ฟั ง แต่ ทั้ ง นี้ ผู ้ ใ ช้ เ ครื่ อ งต้ อ งเปิ ด สาย เรียกซ้อน (Function Call Waiting) ไว้ด้วย ๒. วิธีการหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกดักฟัง ๒.๑ ห้ามให้ผู้อื่นใช้หรือยืมโทรศัพท์ เพราะอาจเปิดโอกาสให้ถกู ตรวจสอบหมายเลข IMEI (เป็นหมายเลข ๑๕ หลักประจ�าแต่ละ เครื่ อ ง) จากนั้ น ผู ้ ดั ก ฟั ง จะสามารถติ ด ตั้ ง โปรแกรมดักฟังลงบนเครื่องเป้าหมายได้ ๒.๒ ในการซ่อมโทรศัพท์ ควรหาร้าน ซ่อมที่ไว้ใจได้ เนื่องจากร้านซ่อมโดยทั่วๆ ไป สามารถติดตั้ง และใช้งานโปรแกรมดักฟังได้ ๒.๓ หลีกเลี่ยงการพูดข้อความที่มีชั้น ความลับทางโทรศัพท์ ๒.๔ ไม่ น� า โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ เ ข้ า ใน ห้องประชุมที่มีวาระการประชุมส�าคัญหรือมี ชั้นความลับ แม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไม่ก็ตาม ผู้ดักฟังก็สามารถสั่งเปิดระบบการดักฟังได้ จากเครื่องควบคุมไปยังเครื่องเป้าหมาย ๒.๕ ตัดสัญญาณการใช้โทรศัพท์ เพื่อ ความปลอดภัยในการถูกดักฟัง ผูท้ อี่ ยูใ่ นบริเวณ ที่ ถู ก ควบคุ ม โดยการตั ด สั ญ ญาณโทรศั พ ท์ ด้วยเครื่องตัดสัญญาณโทรศัพท์จะไม่สามารถ โทรเข้า หรือโทรออกได้ ๒.๖ อาจใช้อุปกรณ์ประเภท Voice Scamble ท�าการเปลี่ยนเสียงโทรศัพท์ต้นทาง และเข้ า รหั ส ในการจั ด ส่ ง ข้ อ ความเสี ย งไป ยั ง เครื่ อ งปลายทาง วิ ธี ก ารนี้ เ ครื่ อ งต้ น ทาง กับเครื่องปลายทางต้องมีเครื่องส่งรหัส และ ถอดรหัส ท�าให้เสียค่าใช้จ่ายสูง
๒.๗ การโอนสายเลขหมายโทรศัพท์ ในกรณีทรี่ วู้ า่ ถูกดักฟัง หรือถูกติดตาม เพือ่ หลอก ผูต้ ดิ ตามไม่ให้รทู้ อี่ ยูจ่ ริงของผูใ้ ช้โทรศัพท์ กรณีนี้ จะต้องไม่ใช้หมายเลขโทรศัพท์ทอี่ ยูใ่ นเครือข่าย เดียวกัน ๓. วิธีการป้องกันการถูกดักฟัง ๓.๑ ให้ใช้โทรศัพท์เข้ารหัส โดยก�าหนด ผูใ้ ช้เฉพาะผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ สูงเท่านัน้ เนือ่ งจาก มีราคาสูงมากต่อเครือ่ ง การเข้ารหัสจะสามารถ ใช้ได้กบั เครือ่ งทีเ่ ข้ารหัสด้วยกันเท่านัน้ หากติดต่อ สื่อสารกับโทรศัพท์ธรรมดา ก็จะไม่สามารถ รักษาความลับได้ ๓.๒ ติ ด ตั้ ง โปรแกรมป้ อ งกั น ไวรั ส และโปรแกรมเข้ารหัส เพื่อให้สามารถป้องกัน ข้อมูลจากการติดไวรัส จากการใช้โทรศัพท์เข้า Internet และให้สามารถสื่อสารถึงกันได้โดย ปลอดภัย แต่วิธีการนี้อาจมีการใช้งานที่ยุ่งยาก สลับซับซ้อน ยากต่อการใช้งาน ๓.๓ ติดตัง้ เครือ่ งแม่ขา่ ย (Server) และ โปรแกรมเข้ารหัสโดยเครื่องแม่ข่าย จะท�าให้ สามารถควบคุมการเข้ารหัสได้เอง ซึง่ ปลอดภัย ทั้งการใช้งานข้อมูลเสียง ข้อความตัวอักษร ข้อความภาพ และยังสามารถใช้โปรแกรม รับ-ส่ง ข้อมูลต่างๆ ในโทรศัพท์เคลือ่ นที่ รวมทัง้ ใช้งาน อินเตอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย
แผนกเผยแพร่ กองประชาสัมพันธ์ ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
สอบภาษาอังกฤษไปนอก พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ก
ารได้รับทุนไปศึกษาต่อในต่างประเทศ นัน้ เป็นสิง่ ทีห่ ลายคนปรารถนา เพราะ นอกจากจะประหยัดเงินแล้ว ยังเป็นการ ได้ไปเปิดหู เปิดตา เปิดโลกทัศน์ให้เราได้เรียนรูท้ งั้ ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ ทีม่ คี วามหลากหลาย มากมาย ยิง่ สมัยก่อนแล้ว การได้รับทุนไปเรียนต่อในต่างประเทศถือเป็น เกี ย รติ ป ระวั ติ แ ก่ ค รอบครั ว พ่ อ แม่ จ ะรู ้ สึ ก ปลาบปลื้มและภูมิใจในความสามารถของลูก มากที่ ส ามารถสอบชิ งทุนไปเรียนต่อในต่าง ประเทศ คุณแม่ของผู้เขียนก็เป็นหนึ่งในนั้น ที่ตื่นเต้นมากที่ลูกได้ไปเมืองนอก ถึงขนาด ชักชวนญาติพนี่ อ้ งไปส่งทีส่ นามบินกันเยอะเลย สมัยนั้นมีพวงมาลัยคล้องคอเหมือนนักร้องมา ให้ดว้ ย เล่นเอาสนามบินคึกคักเป็นพิเศษ ทัง้ ทีม่ ี ผูโ้ ดยสารเดินทางเพียงไม่กคี่ น ยิง่ ได้รบั จดหมาย ของลูกส่งมาบอกคิดถึงและส่งรูปถ่ายสถานที่ แปลก ไปลุยหิมะ หรือแต่งตัวเท่ห์ๆ ส่งมาให้ แม่แล้ว แม่กน็ า� ไปอวดให้เพือ่ นๆ เล่าเรือ่ งต่างๆ ที่ลูกเขียนมาให้เพื่อนๆ ฟังยังกะไปเองเลย ทีเดียว พอกลับมาถึงเมืองไทย มีของฝากจาก เมืองนอกที่บ้านเราไม่มีมาฝากด้วยแล้วละก็ ยิง่ ภูมใิ จในตัวลูกเพิม่ ขึน้ เป็นทวีคณ ู แล้วคุณละ อยากไปเมืองนอกไหม ไปแบบไม่ต้องควักเงิน ส่วนตัวนะ แล้วถ้าไป อยากไปประเทศไหน มากที่สุด ผู้เขียนเดาได้เลยว่าหนึ่งในประเทศ ที่อยากไปมากที่สุดคือประเทศสหรัฐอเมริกา อย่างแน่นอน เพราะประเทศสหรัฐอเมริกา ถือได้ว่าเป็นแหล่งศูนย์กลางการค้าที่ส�าคัญ ที่สุดในโลกและมีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง ท�าให้เป็นประเทศที่ติดอันดับประเทศน่าเที่ยว ที่สุดในโลก ส� า หรั บ ข้ า ราชการทหารแล้ ว เรามี ทุ น การศึ ก ษาในต่ า งประเทศหลายโครงการที่ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕6
เปิ ด โอกาสให้ ท หารไทยได้ ไ ปแลกเปลี่ ย น ความรู้และประสบการณ์ร่วมกับมิตรประเทศ เช่น โครงการศึกษาของเครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศมาเลเซีย ประเทศบรูไน สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ประเทศเยอรมัน ประเทศอิตาลี และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น โดยเฉพาะหลักสูตร ทางทหารของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ในโครงการทุน IMET (International Military Education and Training) นัน้ ผูส้ มัครขอรับทุน การศึกษาจะต้องผ่านการสอบวัดระดับภาษา อังกฤษแบบ ECL (English Comprehension Level Test) ซึ่ ง เป็ น ข้ อ สอบมาตรฐานที่ มุง่ วัดความสามารถทางภาษาในการฟังและการ อ่านภาษาอังกฤษ โดยข้อสอบภาษาอังกฤษ แบบ ECL นั้นพัฒนาและปรับปรุงโดยสถาบัน ภาษาของกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ อเมริ ก า DLIELC (Defense Language Institute English Language Center) การคัดเลือก ผูส้ มัครขอรับทุน ส่วนใหญ่จะมีการสอบ ๒ ครัง้ คื อ การสอบคั ด เลื อ กรอบแรกจะเป็ น การ คั ด เลื อ กผ่ า นศู น ย์ ภ าษาของแต่ ล ะเหล่ า ทั พ เพื่อคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนภาษาอังกฤษ ๘๐ คะแนนขึ้ น ไป จากนั้ น จะท� า การทดสอบ คัดเลือกขั้นสุดท้ายที่ส�านักงานคณะที่ปรึกษา ทางทหารสหรัฐอเมริกาประจ�าประเทศไทย JUSMAGTHAI (Joint United States Military Advisory Group Thailand) บางครัง้ ก็มีการน�าข้อสอบแบบ ECL มาใช้ในการสอบ คัดเลือกไปประเทศอื่นๆ ด้วย ข้อสอบภาษาอั งกฤษแบบ ECL จะเป็ น ข้อสอบแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก ประกอบ ด้วยข้อสอบ จ�านวน ๑๐๐ หรือ ๑๒๐ ข้อ ขึ้น อยู่กับแบบทดสอบ ซึ่งส่วนมากจะเป็น ๑๐๐ ข้อ ข้อสอบแบ่งเป็น ๒ ตอน ได้แก่ การฟัง การ
อ่าน ในส่วนการฟัง (Listening) จะมีประมาณ ๖๐ ถึง ๗๐ ข้อ โดยข้อสอบการฟังจะก�าหนด ให้ฟังเพียง ๑ ครั้ง บริบทของข้อสอบจะเป็น บทพูดคนเดียวสัน้ ๆ และบทสนทนาสัน้ ๆ พร้อม ค�าถามให้ผู้สอบเลือกค�าตอบตามตัวเลือก ใน แบบทดสอบ ใช้ เ วลาท� า ข้ อ สอบในการฟั ง ทั้งสิ้นประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที ส่วนใหญ่ ข้ อ สอบมั ก จะถามเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะค� า ศั พ ท์ ส�านวน ค�าแสลง ค�าที่มีความหมายเหมือนกัน ค�าตรงข้าม ค�าพ้องเสียง เช่น ๑. ค� า ที่ ค ว า ม ห ม า ย เ ห มื อ น กั น (Synonyms) เช่น - buy and purchase (ซื้อ) - chair and seat (ที่นั่ง) - quickly and rapidly (เร็ว) - long and extended (ยาว) - cat and feline (แมว) - baby and infant (เด็กทารก) ๒. ค�าตรงข้าม (Antonym) เช่น - hot (ร้อน) and cold (เย็น) - up (ขึ้น) and down (ลง) - short (สั้น) and tall (ยาว) ๓. ค�าพ้องเสียง (Homonyms) เช่น - male (ผู้ชาย) mail (จดหมาย) - Soul (วิญญาณ) Sole (ฝ่าเท้า) ๔. ค�าแสลง และส�านวนต่างๆ เช่น - hit the sack แปลว่า เข้านอน - burn the midnight oil แปลว่า ท�างานดึกดื่น - put aside แปลว่า ออมเงิน - hit the road แปลว่า ไปกันเถอะ ในส่วนการอ่าน (Reading) นั้นจะเป็นการ ทดสอบหลักไวยากรณ์ ค�าศัพท์ ส�านวนภาษา อั ง กฤษและบทความสั้ น ๆ เพื่ อ หาใจความ ส�าคัญ ขั้นตอนการอ่านจะสอบหลังการฟังโดย ๕3
มีประมาณ ๓๐ ถึง ๔๐ ข้อของข้อสอบทั้งหมด ประชาชนทุ ก ชนชั้ น ต่ า งพากั น บ่ น โดยมีข้อให้เลือก ๔ ข้อ ใช้เวลาประมาณ ๓๐ เกี่ยวกับค่าครองชีพที่สูงขึ้น นาที ๒. With reference to (ตามอ้างถึง.....) ว่าไปแล้วข้อสอบแบบ ECL จะใช้ในการ - With reference to your letter ประเมิ น ขี ด ความสามารถในการใช้ ภ าษา dated May 24th 2012, I had no objection. อ้ า งถึ ง หนั ง สื อ ลงวั น ที่ ๒๔ พ.ค. อั ง กฤษแบบอเมริ กั น ของผู ้ ที่ เ คยผ่ า นการ เรี ย นหลั ก สู ต รภาษาอั ง กฤษแบบอเมริ กั น ๒๕๕๕ ผมไม่มีข้อคัดค้านใดๆ ๓. For the sake of (เพื่อเห็นแก่....) (American language Course) ที่ได้เรียน - We devote our lives for the sake ตัง้ แต่ตำ� ราเล่ม ๑ ถึงเล่มที่ ๓๔ เพราะมีค�ำศัพท์ ส�ำนวน ค�ำแสลงต่างๆ และไวยากรณ์ต่างๆ น�ำ of our country. พวกเรายอมเสียสละชีวติ เพือ่ ประเทศ มาสอนไว้ในหนังสือ หรือนักเรียนที่มีพื้นฐาน ความรู้ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน แต่ที่ผ่านมา ชาติ ๔. Owing to ... (เนื่องจาก....) พบว่า ผู้สอบส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม - Owing to Susie’s unaccepted เรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน และ ไม่ได้ทบทวนหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและ behavior, she was finally fired. เนือ่ งจากพฤติกรรมทีร่ บั ไม่ได้ของซูซี่ ค�ำศัพท์มานานแล้ว ท�ำให้ผลคะแนนไม่สามารถ ผ่ า นเกณฑ์ ร ้ อ ยละ ๘๐ สั ก ที ที่ พู ด แบบนี้ หล่อนเลยถูกไล่ออก ๕. Either…….or (ไม่สงิ่ หนึง่ ...ก็สงิ่ หนึง่ ; ไม่ได้หมายความว่า เราจะพัฒนาความรูใ้ นการ ใช้ภาษาอังกฤษให้ดีไม่ได้นะคะ เพียงต้องการ ไม่...ก็...) - Either you or I have to stay in จะเรียนให้ทราบว่า หากผู้อ่านมีแผนที่จะสอบ ข้อสอบภาษาอังกฤษแบบ ECL ก็ขอให้ทบทวน this room. ไม่คุณหรือฉันต้องอยู่ห้องนี้ หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษบ่อยๆ แต่เนิ่นๆ ๖. Neither……nor (ไม่ทั้งสองอย่าง; อยากน้อยไม่ต�่ำน้อยกว่า ๓ เดือน หรือจะเริ่ม ไม่ทั้ง...และ...) เรียนจากค�ำแนะน�ำข้างล่างนี้ก็ได้คะ - That old man is neither deaf หลั ก เมื อ งฉบั บ นี้ เ ราจะเปิ ด ห้ อ งเรี ย นติ ว ภาษาอั ง กฤษให้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ มี แ ผนจะสอบ nor dumb. ชายชราไม่ได้หูหนวกและเป็นใบ้ ชิงทุนไปต่างประเทศกันค่ะ โดยได้น�ำเนื้อหา ๗. Not only……but also (ไม่เพียง จากหนังสือ Brighter English ที่เขียนโดย นาวาอากาศเอก บุญทรง สุวัตถี อาจารย์ที่ แต่...ซ�้ำยัง...อีกด้วย) - She is not only beautiful but ผู้เขียนเคารพมากมาน�ำเสนอ ขอแนะน�ำว่า หนังสือเล่มนี้มีประโยชน์มากส�ำหรับผู้ที่เตรียม also very polite. ไม่เพียงแต่เธอจะสวยแล้วยังสุภาพ ตัวสอบแบบ ECL เรามาอ่านส�ำนวนที่นิยมใช้ ในชีวิตประจ�ำวันที่มักจะออกสอบ ดังต่อไปนี้ มากอีกด้วย ๘. The more….the more (ยิง่ ...ก็ยงิ่ ...) ๑. AII walks of life (ทุกชนชั้น) - The more they study, the more - People from all walks of life are complaining about the high cost of living. they know about scientific facts.
54
ยิง่ พวกเขาเรียนมากเท่าไหร่ พวกเขา ก็ยงิ่ เข้าใจความจริงเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์มากขึน้ ๙. In spite of (ทั้งๆ ที่....) - In spite of his sickness, he goes to school regularly. ทั้งที่เขาป่วย เขายังไปโรงเรียนเป็น ประจ�ำ ๑๐. As….as (พอๆ กับ....) - My house is as big as yours. บ้านฉันใหญ่เท่าบ้านของคุณ ๑๑. In addition to (นอกเหนือไปจาก) - In addition to English, I can also speak French. นอกจากภาษาอังกฤษ ฉันสามารถพูด ภาษาฝรั่งเศสได้ด้วย ๑๒. In regard to (เกี่ยวกับ....) - I don’t have any idea in regard to that political policy. ฉันไม่มีความรู้เกี่ยวกับนโยบายทาง การเมืองนั้นเลย ๑๓. On account of (เนื่องจาก, เพราะ เหตุว่า....) - On account of Henry’s bad health, he can’t be a pilot. เนื่องจากสุขภาพที่ไม่ดีของเฮนรี่ เขา จึงไม่ได้เป็นนักบิน ๑๔. Notwithstanding (ทั้งๆ ที่......) - Notwithstanding his illness, he works without complaining. ทั้ง ๆ ที่เขาป่วย เขายังไปท�ำงานโดย ไม่บ่นเลย ๑๕. By means of (โดยวิธี...) - They won the match by means of trickery. พวกเขาชนะการแข่งขันด้วยการใช้ เล่ห์เหลี่ยม ๑๖. Due to (เนื่องจาก....) - Due to his selfishness, l don’t want to get in touch with him. ด้วยความเห็นแก่ตัวของเขา ฉันเลยไม่ อยากติดต่อกับเขาอีก ๑๗. As a matter of fact (แท้ทจี่ ริงแล้ว...) - As a matter of fact Lt. Mana is very kind to me. แท้จริงแล้วผู้หมวดมานะ เขาดีกับ ผมมาก ๑๘. Whether….or (ไม่วา่ ...หรือ....) - I don’t mind whether they wiII go there or stay here or not. ผมไม่รังเกียจว่าพวกเขาจะไปหรือ จะอยู่ที่นี้หรือไม่ ๑๙. As soon as (ทันทีท.ี่ ..) - As soon as the rain stopped, พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
the boys ran out of the class. ทันทีที่ฝนหยุดตก เด็กๆ ผู้ชายก็วิ่ง ออกมาจากห้องเรียน ๒๐. As well as (ดีพอๆ กับ.....) - He can speak English as well as I do. เขาสามารถพู ด ภาษาอั ง กฤษได้ ดี พอๆ กันฉัน ๒๑. In order that (เพือ่ ว่า...) - Major Sitthi took herbal medicine in order that he might get well. พันตรี สิทธิกินยาสมุนไพรเพื่อท�ำให้ เขามีอาการดีขึ้น ๒๒. In order to (เพือ่ ทีจ่ ะ...) - In order to win the race, you should follow my advice. เพื่อที่จะให้ชนะการแข่งขัน คุณควร ท�ำตามค�ำแนะน�ำของฉัน ๒๓. On condition that (ถ้าหากว่า...) - I will forgive you on condition that you return my money to me now. ฉันจะยกโทษให้คณ ุ หากคุณคืนเงินให้ ฉันเดี๋ยวนี้ ๒๔. So that (ดังนัน้ , เพือ่ ว่า) - He is trying to collect money so that he may be able to buy a new car. เขาพยายามเก็บเงินเพื่อที่ว่าเขาอาจ จะสามารถซื้อรถยนต์คันใหม่ ๒๕. So…..that (มากจนกระทัง่ ....) - She is so fat that she can’t enter this narrow door. หล่อนอ้วนเกินไปจนไม่สามารถเข้า ประตูที่แคบนี้ได้ ๒๖. Too …..to (มากเกินกว่าทีจ่ ะ) - Today it’s too cold to go swimming. วันนีอ้ ากาศหนาวเกินไปทีจ่ ะไปว่ายน�ำ้ ๒๗. Inasmuch as (เพราะเหตุที่, ใน ฐานะที่...) หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
- Inasmuch as you are an officer, you should respect the military law. ในฐานะทีค่ ณ ุ เป็นนายทหาร คุณควร เคารพกฎหมายทหาร ๒๘. Provided that (ถ้าหากว่า...) - I will lend you some money provided that you promise to return it within two days. ผมจะให้คณ ุ ยืมเงินหากคุณสัญญาว่า จะคืนภายในสองวัน ๒๙. According to (ตาม...) - According to the school regulation, you aren’t allowed to smoke in this room. ตามระเบียบของโรงเรียน คุณไม่ได้ รับอนุญาตให้สูบบุหรี่ในห้องนี้ ๓๐. Look forward to (รอหวังทีจ่ ะได้...) - I am looking forward to receiving your reply as soon as possible. ผมรอคอยทีจ่ ะได้รบั การตอบจากคุณ เร็วเท่าที่เป็นไปได้ ๓๑. On behalf of (ในนามของ...) - On behalf of all Thai officers in my unit, I wish to extend a most cordial welcome to all of you. ในนามของนายทหารไทยในหน่วยผม ผมขอต้อนรับทุกท่านด้วยความยินดีเป็นที่สุด ๓๒. In connection with (อันเนือ่ งมาจาก) - In connection with my new assignment, I have to travel a lot. สืบเนื่องจากงานใหม่ของผม ผมต้อง เดินทางเยอะมาก ๓๓. In terms of (ถ้ า พิ จ ารณาใน แง่..............., หรือในด้าน.....................) - In terms of military rule and regulations, all lower rank officers have to pay respect and obey the higher rank officers.
ถ้าพิจารณาในแง่ของกฎและระเบียบ ทหารแล้ว ทหารอาวุโสน้อยต้องแสดงความ เคารพทหารและเชื่อฟังทหารที่อาวุโสกว่า ๓๔. In consequence of (อันเนือ่ งมา จาก........) - In consequence of his dishonesty I trusted him no more. ด้วยความไม่ซื่อสัตย์ของเขา ฉันไม่ เชื่อใจเขาอีกแล้ว ๓๕. In case of (ในกรณีท.ี่ ...., ถ้าหากว่า.....) - In case of emergency, pull this string. ในกรณีฉุกเฉิน ดึงเชือกนี้ ๓๖. Over and over (ซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ อีก.....) - He told me the same story over and over. เขาเล่าเรื่องซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า ๓๗. In favour of (เพือ่ เห็นแก่....) - King Henry abdicated his throne in favour of his eldest son. กษัตริยเ์ ฮนรีท่ รงสละราชบัลลังก์เพือ่ พระราชบุตรองค์แรก ๓๘. In honour of (เพือ่ เป็นเกียรติแก่....) - The party was set up in honour of Group Captain Vichaiyuth, our new director. งานเลี้ ย งจั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ แ ก่ นาวาอากาศเอก วิชยั ยุทธ ผูอ้ ำ� นวยการคนใหม่ ๓๙. In comparison to (เมื่อเทียบกัน ดูแล้ว) - In comparison to Donmuang airport, the Korat Airfield is very small. เมื่อเทียบกับสนามบินดอนเมืองแล้ว สนามบินโคราชเล็กมาก ๔๐. Instead of (แทนทีจ่ ะ....) - Instead of going to Penang by plane, they go by car. แทนที่จะนั่งเครื่องบินไปปีนัง พวก เขานั่งรถยนต์แทน นอกจากจะเข้าใจความหมายของค�ำแล้ว นะคะ เราจะต้องเข้าใจหลักไวยากรณ์ภาษา อังกฤษด้วยว่า ค�ำนี้ใช้กับค�ำนาม หรือกริยาที่ เติม ing หรือตามด้วยประโยค หากต้องการ ทราบค�ำอธิบายเพิ่มเติม แวะมาปรึกษาได้ที่ ศูนย์ภาษาต่างประเทศ กรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีกลาโหม หรืออีเมล์ wandeedrdo@ yahoo.com
55
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“การดูแลสุขภาพช่วงหน้าฝน” ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ข
ณะนี้บ้านเมืองเราหลายจังหวัดมีฝน ตกหนัก มีน�้ำท่วมหลายพื้นที่ สิ่งที่เรา ควรจะค�ำนึงถึงในขณะทีน่ ำ�้ ท่วม นอกจาก จะเอาตัวเองให้รอดปลอดภัยจากการจมน�ำ้ ตาย แล้ว ยังค�ำนึงถึงโรคต่างๆ ทีจ่ ะมาเยีย่ มเยียนกัน เป็นประจ�ำ และปัจจุบนั ก็เยอะเสียด้วย เราเอง ก็ควรจะรู้ไว้บ้างว่ามีโรคอะไร ที่เราหรือญาติ ของเราอยู่ในสภาวะที่เสี่ยง โรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) โรคเลปโตสไปโรซิส หรือทีค่ นุ้ เคยในชือ่ โรค ฉี่หนู โรคนี้ไม่ใช่โรคใหม่ เป็นโรคที่พบในสัตว์ หลายชนิด โดยเฉพาะ หนู วัว ควาย หมู โดย เชื้อโรคของสัตว์ จะปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม พบเชื้อมากในแหล่งน�้ำที่มีสัตว์อาศัยอยู่ใกล้ เคียง หากคนติดเชื้อและเป็นโรคนี้แล้วไม่ได้ รับการรักษาอย่างถูกต้องทันท่วงที ผู้ป่วยอาจ เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
สาเหตุของการแพร่ระบาด โรคเลปโตสไปโรซิส เป็นโรคติดต่อที่พบ ได้ตลอดปี แต่พบมากในฤดูฝน เกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย ชื่อว่า เลปโตสไปร่า (Leptospira) มีรูปร่างเป็นเส้นเกลียวบาง ปลายแหลมเล็กงอ คล้ายตะขอ เมื่อเคลื่อนไหวจะมีลักษณะคล้าย เกลียวสว่าน สามารถชอนไชผิวหนังที่เปื่อยยุ่ย รอยถลอก หรือบาดแผลของคนได้ เชือ้ นีม้ อี ยูใ่ น สัตว์หลายชนิด และหนูเป็นตัวแพร่โรคทีส่ ำ� คัญ โดยจะมีเชื้อนี้อยู่ในไตของหนู เชื้อจะถ่ายออก มากับปัสสาวะและปนเปื้อนอยู่ในน�ำ้ ดินโคลน ที่ชื้นแฉะ หนองบึง หรือในนาข้าว เมื่อคนไป สัมผัสแหล่งปนเปื้อนเชื้อโรคเหล่านี้ เชื้อจะเข้า สู่ร่างกาย ซึ่งตามปกติจะติดต่อได้ ๒ ทางคือ - ทางผิวหนัง เช่น เข้าทางบาดแผล รอยขีด ข่วน หรือผิวหนังที่แช่น�้ำนานๆ - ทางเยื่ออ่อนตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น เยื่อบุภายในปาก เยื่อบุตา เยื่อบุจมูก เมื่อ สัมผัสกับน�้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค นอกจากที่กล่าวมาแล้ว กิจกรรมบางอย่าง ในชีวติ ประจ�ำวันจะเพิม่ ความเสีย่ งทีจ่ ะเป็นโรค นี้ เช่น การเดินเท้าเปล่าบริเวณคอกสัตว์ การ ว่ายน�ำ้ หรือด�ำน�ำ้ ตามคลอง หนอง บึง การไถนา 56
ด�ำนา เดินลุยน�้ำ การทอดแห จับปลา โดยไม่มี วิธีป้องกัน การฆ่าช�ำแหละสัตว์โดยไม่ใส่ถุงมือ รวมถึงการกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงไม่สุก หรือกินผัก สดที่ไม่ได้ล้างให้สะอาด ฯลฯ เหล่านี้ก็ท�ำให้มี โอกาสติดเชื้อโรคเลปโตสไปโรซิสได้ ลักษณะอาการ ผูท้ เี่ ป็นโรคเลปโตสไปโรซิสส่วนใหญ่ จะเกิด อาการหลังจากได้รับเชื้อแล้วประมาณ ๕ - ๑๔ วัน เริ่มด้วยมีอาการไข้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อบริเวณขาและน่องอย่างรุนแรง บางคนอาจมีอาการเลือดออกใต้เยือ่ บุตา เลือด ออกเป็นจุดตามเพดานปากหรือไอเป็นเลือดได้ ผูป้ ว่ ยแต่ละคนอาจมีอาการของโรคไม่เหมือนกัน บางคนอาจมีอาการท้องเสีย บางคนมีไข้เพียง เล็กน้อย หรือมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ท�ำให้ คิดว่าเป็นโรคอื่นและไม่รีบรักษา จนอาการ หนักซึ่งอาจมีอาการไตวายและเสียชีวิตได้ การรักษา หากสังสัยว่าจะเป็นโรคนี้ คือ มีอาการปวด ศีรษะเฉียบพลัน มีไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อโดย เฉพาะที่น่องอย่างรุนแรง ตาแดง ซึ่งเกิดขึ้นใน ช่วง ๕ - ๑๔ วัน หลังสัมผัสน�ำ้ หรือสัตว์ที่อาจ เป็นโรค ให้รีบไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจ รักษา เพื่อลดความรุนแรงของโรค กลุ่มที่เสี่ยงต่อโรค กลุม่ อาชีพทีเ่ สีย่ ง เช่น ชาวนา คนงานไร่ออ้ ย คนงานเหมืองแร่ คนงานโรงงานฆ่าสัตว์ คนที่มี อาชีพหาปลา หรือผูท้ มี่ โี อกาสสัมผัสน�้ำหรือแช่ อยู่ในน�ำ้ นานๆ การป้องกันและควบคุมโรค วิธีการป้องกันโรคเลปโตสไปโรซิสนี้ท�ำได้ ไม่ยาก หากรู้จักระมัดระวังรักษาความสะอาด บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ตลอดจนอาหารการกิน และรูจ้ กั วิธปี อ้ งกันตัว เช่น สวมอุปกรณ์ปอ้ งกัน เช่น รองเท้าบูท ถุงมือ ขณะท� ำงานที่ต้อง สัมผัสน�้ำ หลีกเลี่ยงการกินอาหารดิบ ต้องกิน อาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และดื่มน�ำ้ ที่สะอาดหรือ ต้มสุก รวมทั้งควรเก็บภาชนะให้มิดชิด ผักที่ใช้ ประกอบอาหาร ควรล้างให้สะอาดทีส่ ดุ เพราะ อาจมีปัสสาวะสัตว์ปนเปื้อนอยู่ได้ ก� ำ จั ด และควบคุ ม หนู ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง โรค ส�ำคัญโดยการก�ำจัดเศษอาหารอย่างถูกวิธี เก็บ ขยะในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด ท�ำความสะอาด คอกเลี้ยงสัตว์อย่างสม�ำ่ เสมอ โรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever) โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัส และก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญอยู่ในขณะนี้
เพราะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่เป็นจ�ำนวนมาก หากไม่ได้รบั ความรู้ หรือการดูแลรักษาทีถ่ กู ต้อง ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้น จึงควร รู ้ จั ก โรคไข้ เ ลื อ ดออกและพาหะน� ำ โรคนี้ เพื่อเตรียมที่จะป้องกันไม่ให้โรคไข้เลือดออก แพร่ระบาดมาสู่บุคคลใกล้ชิดได้ สาเหตุและการแพร่ระบาด โรคไข้ เ ลื อ ดออก เป็ น โรคที่ เ กิ ด จากการ ติดเชื้อไวรัส โดยมียุงลายเป็นพาหะน�ำโรคนี้ มาสู่คน เชื้อไวรัสที่ก่อโรค คือ เชื้อไวรัสเด็งกี ไข้เลือดออกพบมากในประเทศเขตร้อน เช่น เวียดนาม กัมพูชา ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ โรคไข้เลือดออกเป็นโรคทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ ตลอดทั้งปี แต่มักจะระบาดมากในช่วงหน้าฝน เพราะยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะของโรคมีจ�ำนวน ชุกชุม ยุงลายตัวเมียจะวางไข่ในภาชนะทีม่ นี ำ�้ ขัง เมื่อยุงไปกัดคนป่วยที่มีเชื้อไวรัสไข้เลือดออก อยู่ในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเข้าไปสู่ต่อม น�้ำลายของยุง และพร้อมที่จะแพร่เชื้อสู่คนที่ ถูกกัดต่อไป เชื้อไวรัสไข้เลือดออกนี้จะอยู่ใน ตัวยุงลายได้ตลอดชีวติ ของยุงประมาณ ๑ เดือน ลักษณะอาการ เมื่อยุงลายที่มีเชื้อไวรัสไข้เลือดออกไปกัด คน เชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายจะใช้เวลาฟักตัว ประมาณ ๕ - ๘ วัน ผู้ที่ได้รับเชื้อจะรู้สึกปวด หัว มีไข้สูง ประมาณ ๒ - ๗ วัน ปวดเมื่อยเนื้อ ตัว มีจดุ แดง เนือ่ งจากอาการทัว่ ๆ ไป คล้ายกับ เป็นหวัด เมือ่ เด็กมีอาการเช่นนี้ พ่อแม่จงึ มักคิด ว่าเป็นไข้หวัดธรรมดาจนปล่อยให้อาการรุนแรง แต่สิ่งที่แตกต่างจากไข้หวัดก็คือ จะไม่ไอ ไม่มี น�้ำมูกเหมือนหวัด บางคนที่อาการรุนแรงมัก มีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย อาจมีเลือด ก�ำเดาหรือเลือดออกตามไรฟัน มีอาการตับโต เมื่อกดจะเจ็บ จนถึงมีอาการช็อกเนื่องจากมี การไหลเวียนของเลือดล้มเหลว อาการช็อกมักเกิดขึ้นพร้อมกับไข้จะลดลง อย่างรวดเร็ว ผูป้ ว่ ยจะมีอาการแย่ลง มือเท้าเย็น ความดันโลหิตเปลี่ยน ตัวเย็น ขอบปากเขียว และอาจเสียชีวิตได้ภายใน ๑๒ - ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้น ไม่ควรปล่อยให้โรคไข้เลือดออกรุนแรง จนถึงขั้นช็อก การรักษา หลักการรักษาไข้เลือดออกคือ การรักษา ให้ทุเลาอาการและการป้องกันการช็อก เมื่อ เด็กมีไข้สูงจะต้องป้องกันไม่ให้มีอาการชักจาก ไข้ ด้วยการเช็ดตัวและให้ยาลดไข้ ไม่ควรใช้ ยาจ�ำพวกแอสไพรินเพราะจะท�ำให้เกล็ดเลือด
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เสียการท�ำงาน จะระคายเคืองกระเพาะอาหาร และท�ำให้เลือดออกง่าย ควรให้ยาลดไข้จ�ำพวก พาราเซตามอลจะปลอดภัยกว่า รวมทั้งการให้ น�้ำเพื่อชดเชยน�้ำที่ร่างกายเสียไปแก่ผู้ป่วย เช่น น�้ำเปล่า น�้ำผลไม้ น�้ำเกลือแร่ โอ.อาร์.เอส โดย ดื่มครั้งละน้อยแต่บ่อยๆ และควรกินอาหาร อ่อนๆ เช่น โจ๊ก หรือข้าวต้ม เป็นต้น กลุ่มที่เสี่ยงต่อโรค โรคไข้เลือดออกมักพบในเด็ก โดยสามารถ เกิดกับเด็กช่วงอายุตั้งแต่ ๔ เดือน จนถึงวัย รุ่น ส�ำหรับเด็กโต และผู้ใหญ่ส่วนมาก จะมี ภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้แล้ว แต่ก็สามารถเป็นโรค ไข้ เ ลื อ ดออกได้ ถ ้ า ถู ก ยุ ง ลายที่ มี เ ชื้ อ ไวรั ส ไข้เลือดออกกัด การป้องกันและควบคุม การป้องกันโรคไข้เลือดออกทีด่ ที สี่ ดุ คือ การ ก�ำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะน�ำ โรคนี้ โดยก�ำจัดลูกน�้ำในภาชนะต่างๆ ที่มีน�้ำ ขัง ด้วยการปิดฝาภาชนะ เก็บน�้ำให้มิดชิด เช่น โอ่ง ถังเก็บน�ำ้ หมัน่ เปลีย่ น หรือทิง้ น�ำ้ ในภาชนะ บรรจุนำ�้ และภาชนะทีม่ นี ำ�้ ขัง เพือ่ ป้องกันยุงมา วางไข่ เช่น แจกัน จานรองกระถางต้นไม้ ถ้วย หรือขาตู้กับข้าว เก็บท�ำลายเศษวัสดุ เช่น ขวด กระป๋อง ฯลฯ เพื่อไม่ให้รองรับน�ำ้ ได้ ตัดต้นไม้ ที่รกครึ้ม เพื่อให้มีแสงสว่างและอากาศถ่ายเท ได้ดี และการเลี้ยงปลากินลูกน�ำ้ ไว้ในโอ่ง หรือ บ่อที่ใส่น�้ำใช้ นอกจากท�ำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลายแล้ว จะต้องป้องกันตัวเองไม่ให้ยุงลาย กัด ด้วยการดูแลหน้าต่าง ประตู ช่องลม ไม่ให้ ยุ ง เข้ า จั ด ข้ า วของในบ้ า นไม่ ใ ห้ ก องสุ ม กั น รวมถึงเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ก�ำจัดยุงและทายา กันยุงให้ถูกต้อง โรคที่ เ กิ ด จากระบบทางเดิ น อาหาร (Gastrointestinal illness) โดยเฉพาะ Norwalk virus ซึง่ จะเป็นสาเหตุ ของการติ ด เชื้ อ ในระบบทางเดิ น อาหารอี ก อย่างหนึ่งเหมือนกัน ซึ่งอาการของโรค มักจะ ท้องเสีย ท�ำให้ร่างกายสูญเสียน�้ำและเกลือแร่ การป้ อ งกั น โรคที่ เ กี่ ย วกั บ ทางเดิ น อาหาร
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
ก็คือระวังเกี่ยวกับอาหารการกิน ทั้งนี้รวมทั้ง น�้ำดื่มซึ่งอาการส่วนใหญ่ก็จะมีอาการท้องเสีย ร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียน พร้อมทั้งมีไข้ ร่วมด้วย สาเหตุมาจากรับประทานอาหารที่ไม่ ถูกสุขลักษณะ และปัญหาเรื่องน�ำ้ ไม่สะอาดก็ สัมพันธ์โดยตรงกับโรคนี้ เมื่อไรจึงจะเรียกท้องร่วง หมายถึง การที่ ถ่ายอุจจาระเหลว หรือเป็นน�้ำมากกว่า ๓ ครั้ง ต่อวัน โดยทั่วไปอาการท้องร่วงมักหายได้เอง ใน ๒ - ๓ วันโดยทีไ่ ม่ตอ้ งรักษา ถ้าเป็นนานกว่า นัน้ ต้องมีปญ ั หาอืน่ ท้องร่วงท�ำให้เกิดผลเสียคือ ร่างกายขาดน�ำ้ ซึ่งถ้าเป็นมากอาจจะอันตราย ถึงกับเสียชีวิตได้ สาเหตุที่พบบ่อยๆ คือ การติ ด เชื้ อ แบคที เ รี ย ซึ่ ง เกิ ด จากการ รับประทานอาหาร และน�ำ้ ทีไ่ ม่สะอาด ได้แก่ เชือ้ บิดไม่มตี วั Shigella, ไข้ไทฟอยด์ Salmonella เป็นต้น การติดเชื้อไวรัส ได้แก่ Rota virus, Norwalk virus การติดเชื้อพยาธิ เช่น Giardia lamblia, Entamoeba histolytica จากการ แพ้ อ าหาร จากนม และจากยา เช่ น ยา ลดความดัน ยาปฏิชีวนะ ยาระบาย โรคล�ำไส้ มีการอักเสบ อาการของโรคท้องร่วง ผูป้ ว่ ยโรคท้องร่วงจะมีอาการ แน่นท้อง ปวด ท้อง คลืน่ ไส้อาเจียน และถ่ายบ่อย โรคท้องร่วง ถ้าเป็นนานกว่า ๓ สัปดาห์เรียกเรื้อรัง ถ้าหาย ภายใน ๓ สัปดาห์ เรียกท้องร่วงเฉียบพลัน โดย มากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัส โรคท้องร่วงในเด็ก สาเหตุ ข องโรคท้ อ งร่ ว งในเด็ ก ที่ พ บบ่ อ ย ได้แก่ การติดเชื้อไวรัส Rotavirus ซึ่งใช้เวลา ๕ - ๘ วันจึงหาย นอกจากนั้นยังเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย จากยา เป็นต้น การให้ยาจะให้ เหมือนผูใ้ หญ่ไม่ได้ เด็กทีถ่ า่ ยเหลว ๑ วันก็ท�ำให้ เกิดการขาดน�้ำได้ ควรพาเด็กพบแพทย์เมื่อมีอาการดังต่อ ไปนี้ อุจจาระมีมกู ปนเลือด ไข้มากกว่า ๓๘ องศา
อาการไม่ดีขึ้นใน ๒๔ ชั่วโมง มีอาการขาดน�้ำ อาการขาดน�ำ้ มีอะไรบ้าง หิ ว น�้ ำ บ่ อ ย ปั ส สาวะลดลง ผิ ว หนั ง แห้ ง อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ ในเด็กอาจจะสังเกตอาการขาดน�้ำได้จาก ปากและลิ้นแห้ง ไม่มีน�้ำตาเวลาร้องไห้ ไม่มี ปัสสาวะมากกว่า ๓ ชัว่ โมง แก้มตอบ ท้องแฟบ ตากลวง ไข้สงู ร้องกวน ผิวแห้ง ถ้าหากมีอาการ ของการขาดน�้ำควรพบแพทย์ทันที เมื่อไรควรไปพบแพทย์ เมือ่ มีอาการท้องร่วงนานเกิน ๓ วัน มีอาการ ปวดท้องอย่างมาก มีไข้มากกว่า ๓๘.๕ องศา มี เลือดในอุจจาระ หรืออุจจาระด�ำ มีอาการขาดน�ำ้ การรักษา หลักการรักษาคือป้องกันการขาดน�้ ำโดย การได้รับ ORS วิธีการเตรียม เตรียมน�้ำต้มสุก ๑ ขวด เทน�้ำต้มสุกลงในแก้ว ๑ แก้ว เติมผง เกลือแร่ ORS ลงในแก้ว คนจนละลาย เทน�้ำที่ ละลายเกลือแร่ลงในขวด ดืม่ ตามฉลากข้างซอง ก�ำหนด ยาทีท่ �ำให้หยุดถ่ายไม่แนะน�ำเนือ่ งจาก ท�ำให้หายช้า โรคที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบทางเดิ น หายใจ (Respiratory tract infection) โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ มีตั้งแต่ การแพ้ การติดเชื้อของแบคทีเรีย ไวรัส หรือ แม้กระทั่งเชื้อรา ก็เป็นปัญหาของระบบโรคนี้ สาเหตุอีกอย่างหนึ่ง คือ การที่สภาวะแวดล้อม ที่อากาศมีความชื้นสูง ก็เป็นเหตุผลอย่างดี ส�ำหรับการเจริญเติบโตของเชื้อโรคที่กล่าวถึง การดู แ ลสุ ข อนามั ย ส่ ว นตั ว และที่ อ ยู ่ อ าศั ย น่าจะเป็นการป้องกันที่ดีที่สุด ไข้หวัด เป็นการติดเชื้อของจมูก และคอ บางครั้ ง เรี ย ก Upper respiratory tract infection URI เกิดจากเชือ้ ไวรัสซึง่ รวมเรียกว่า Coryza viruses ประกอบด้วย Rhino-viruses เป็นส�ำคัญ เชื้อชนิดอื่นๆ มี Adenoviruses, Respiratory syncytial virus เมื่อเชื้อเข้าสู่ จมูก และคอจะท�ำให้เยื่อจมูกบวม และแดง มี การหลั่งของเมือกออกมา แม้ว่าจะเป็นโรคที่ หายเองใน ๑ สัปดาห์ แต่เป็นโรคที่น�ำผู้ป่วยไป พบแพทย์มากทีส่ ดุ โดยเฉลีย่ เด็กจะเป็นไข้หวัด ๖ - ๑๒ ครั้งต่อปี ผู้ใหญ่จะเป็น ๒ - ๔ ครั้ง หญิงเป็นบ่อยกว่าผูช้ ายเนือ่ งจากใกล้ชดิ กับเด็ก คนสูงอายุอาจจะเป็นปีละครั้ง อาการ ผู้ใหญ่มีอาการจาม และน�้ ำมูกไหลจะน�ำ มาก่อน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะเล็กน้อย แต่มัก ไม่ค่อยมีไข้ เชื้อจะออกจากทางเดินหายใจของ ผูป้ ว่ ย ๒ - ๓ ชั่วโมงและหมดใน ๒ สัปดาห์ บาง รายอาจมีอาการปวดหู เยือ่ แก้วหูมเี ลือดคัง่ บาง รายเยื่อบุตาอักเสบ เจ็บคอกลืนล�ำบาก โรคมัก เป็นไม่เกิน ๒ - ๕ วัน แต่อาจมีนำ�้ มูกไหลนานถึง ๒ สัปดาห์ ในเด็กอาจจะรุนแรง และมักมีการ แพร่ไปเป็นหลอดลมอักเสบ ปอดบวม เป็นต้น 57
การติดต่อ โรคนี้ มั ก จะระบาดฤดู ห นาวเนื่ อ งจาก ความชื้นต�่ำและอากาศเย็น เราสามารถติดต่อ จากน�้ำลาย และเสมหะผู้ป่วย นอกจากนั้น มือที่เปื้อนเชื้อโรค ก็สามารถท�ำให้เกิดโรคได้ โดยผ่านทางจมูกและตา ผู้ป่วยสามารถแพร่ เชื้อได้ก่อนเกิดอาการและ ๑ - ๒ วันหลังเกิด อาการ ผู้ที่มีโอกาสเป็นไข้หวัดง่ายคือ เด็กอายุ น้อยกว่า ๒ ปี เด็กที่ขาดอาหาร เด็กที่เลี้ยงใน สถานเลี้ยงเด็ก การรักษา ไม่ มี ย ารั ก ษาเฉพาะ ถ้ า มี ไ ข้ ใ ห้ ย าลดไข้ paracetamol หรือ brufen ห้ามให้ aspirin ให้ พัก และดื่มน�ำ้ มากๆ ให้บ้วนปากด้วยน�้ำเกลือ เมื่อไรจะหาย โดยทั่วไปจะเป็นมาก ๒ - ๔ วัน หลังจากนั้นจะดีขึ้น โรคแทรกซ้อนที่สำ� คัญคือ หูชั้นกลางอักเสบ ต้องได้รับยาปฏิชีวนะรักษา จะป้องกันการติดเชื้อหวัดได้อย่างไร เป็นการยากที่จะป้องกันการติดเชื้อหวัด และยังไม่มีวัคซีนที่ป้องกันไข้หวัด ดังนั้นการ ดูแลสุขภาพตัวเองเป็นสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ หลีกเลีย่ ง ที่ชุมชน เช่น โรงภาพยนตร์ ภัตตาคาร ในช่วง การระบาด ไอหรือจามให้ใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือ ทิชชู่ปิดปาก ให้ล้างมือบ่อยๆ ไม่เอามือเข้า ปากหรือขยีต้ าเพราะอาจน�ำเชือ้ เข้าสูร่ า่ งกายได้ อย่าอยู่ใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นหวัดเป็นเวลานาน โรคตาแดง (Conjunctivitis) เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุตา จากการ ติดเชื้อไวรัส เป็นกลุ่มอาดิโนไวรัส ส่วนใหญ่จะ ติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสน�้ำตาของผู้ป่วย ทีต่ ดิ มากับนิว้ มือ และแพร่จากนิว้ มือมาติดทีต่ า โดยตรง ไม่ตดิ ต่อทางการสบสายตา ทางอากาศ หรือทางรับประทานอาหารร่วมกัน อาการเกิด ได้ภายใน ๑ - ๒ วัน ระยะการติดต่อไปยังผู้อื่น ประมาณ ๑๔ วัน การติดต่อ จะติดต่อกันง่ายมากโดยการคลุกคลีใกล้ชิด หรือสัมผัสกับผู้ป่วยโรคตาแดง ใช้เสื้อผ้า หรือ สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย ปล่อยให้ฝุ่นละออง หรือ น�้ ำ สกปรกเข้ า ตา ปล่ อ ยให้ แ มลงหวี่ หรื อ แมลงวันตอมตา การไม่รักษาความสะอาดของ ร่างกาย โดยเฉพาะมือและใบหน้า อาการ ผูท้ ไี่ ด้รบั เชือ้ ไวรัส จะมีอาการตาแดง เคืองตา ตาขาวจะมีสีแดงเรื่อๆ น�้ำตาไหล เจ็บตา มัก จะมีขตี้ ามากร่วมด้วยจากการติดเชือ้ แบคทีเรีย มาพร้อมกัน ต่อมน�ำ้ เหลืองหลังหูมักเจ็บ และ บวม มักเป็นที่ตาข้างใดข้างหนึ่งก่อน แล้วจะ ติดต่อมายังตาอีกข้างได้ ถ้าไม่ระวังให้ดี ถ้า ระมัดระวังไม่ให้น�้ำตาข้างที่ติดเชื้อไวรัส มา ถูกตาข้างที่ดี จะไม่เป็นตาแดง แต่ส่วนใหญ่ มักเป็นไปอีกข้างอย่างรวดเร็ว ระยะเวลาของ โรคจะเป็นประมาณ ๕ - ๑๔ วัน ถ้าไม่มีโรค แทรกซ้อนอย่างอื่น 58
โรคแทรกซ้อน มีอาการเคืองตามาก ลืมตาไม่ค่อยได้ มักมี อาการกระจกตาอักเสบแทรกซ้อน ซึ่งจะดีขึ้น ได้ประมาณ ๓ สัปดาห์ หรือบางรายเป็น ๑ - ๒ เดือน ท�ำให้ตามัวพร่าอยู่เป็นเวลานาน การรักษา รักษาตามลักษณะอาการของโรค เนื่องจาก เป็นเชือ้ ไวรัสยังไม่มยี าฆ่าเชือ้ ไวรัสนีโ้ ดยตรง ถ้า มีขี้ตามากก็หยอดยาปฏิชีวนะสาร มีไข้ เจ็บคอ ก็ใช้ยาแก้อกั เสบร่วมด้วยกับยาลดไข้ ยาลดปวด พยายามรั ก ษาสุ ข ภาพ พั ก ผ่ อ นให้ ม ากๆ โดยเฉพาะการใช้ ส ายตาในช่ ว งที่ มี อ าการ ตาแดงอย่างรุนแรง ไม่ควรท�ำงานดึก ควรนอน ให้เพียงพอ ไม่จำ� เป็นต้องปิดตาไว้ตลอด ยกเว้น มีกระจกตาอักเสบ เคืองตามาก จึงปิดตาเป็น ครั้งคราว ไม่ควรให้เชื้อไวรัสแพร่กระจาย ควร งดการใช้ผา้ เช็ดหน้าร่วมกัน ทุกครัง้ ทีจ่ บั ตาควร ล้างมือให้สะอาด ผูป้ ว่ ยไม่ควรลงเล่นน�้ำในสระ จะแพร่กระจายเชื้อไวรัสไปในน�้ำได้ การป้องกัน ล้างมือด้วยน�ำ้ และสบูใ่ ห้สะอาดอยูเ่ สมอ ไม่ คลุกคลีใกล้ชิด หรือใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย ถ้า มีฝุ่นละออง หรือน�้ำสกปรกเข้าตา ควรล้างตา ด้วยน�ำ้ สะอาดทันที อย่าปล่อยให้แมลงหวี่ หรือ แมลงวันตอมตา หมั่นดูแลรักษาความสะอาด ของร่างกาย สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น เสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน ให้สะอาด อยู่เสมอ ผู้ป่วยโรคตาแดงควรหยุดเรียนหรือ หยุดงานรักษาตัวอยู่ที่บ้าน เพื่อป้องกันไม่ให้ โรคตาแดงลุกลาม หรือติดต่อสู่คนอื่น น�ำ้ กัดเท้า (Athlete’s Foot) แม้ว่าจะกันฝนได้ แต่กันไม่ให้เท้าเปียกน�ำ้ ไม่ได้ ถ้าฝนตกหนัก ต้องเดินย�่ ำน�้ำสกปรก ตามพื้นถนนไปท�ำงานหรือกลับบ้านติดต่อกัน หลายวันในช่วงหน้าฝน นอกจากเท้าจะชืน้ หรือ เปื่อยแล้ว ยังอาจจะติดเชื้อโรค ซึ่งปะปนอยู่ใน น�้ำสกปรกได้ ถ้าจ�ำเป็นต้องย�่ำน�ำ้ หลังจากเข้า บ้านแล้วควรรีบล้างเท้าท�ำความสะอาด แล้ว เช็ดให้แห้งโดยเฉพาะตามซอกนิว้ เท้า หากเท้ามี บาดแผล ควรชะล้างด้วยน�้ำยาฆ่าเชือ้ ก็จะช่วย ป้องกันโรคน�ำ้ กัดเท้าได้ โรคน�้ำกัดเท้าในระยะ แรกนี้ ยังไม่มีเชื้อรา เป็นเพียงอาการระคาย เคืองจากความเปียกชื้น และสิ่งสกปรกในน�้ำ ท�ำให้เท้าเปื่อย ลอก แดง คันและแสบ การรักษา ในระยะนี้ ค วรใช้ ย าทาสเตี ย รอยด์ อ ่ อ นๆ ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ยาฆ่าเชื้อรา ซึ่งจะท�ำให้เกิด อาการระคายเคืองและแสบมากขึ้น ถ้าผิวเปือ่ ยเป็นแผล เมือ่ สัมผัสกับสิง่ สกปรก ทีเ่ จือปนอยูใ่ นน�ำ้ จะเกิดการติดเชือ้ ได้งา่ ย เมือ่ มี การติดเชือ้ แบคทีเรีย จะท�ำให้เกิดอาการอักเสบ บวมแดง เป็นหนองและปวด ต้องให้การรักษา โดยการรับประทานยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการ ชะล้างบริเวณแผลด้วยน�ำ้ ยาฆ่าเชือ้ เช่น น�ำ้ ด่าง
ทับทิม แล้วทาด้วยยาฆ่าเชื้อ หรือยาปฏิชีวนะ โรคน�้ำกัดเท้า ในระยะแรกเป็นแค่ผิวแดง ลอกจากการระคายเคือง เมื่อผิวลอกเปื่อย และชื้นอยู่นาน จะมีการติดเชื้อรา โรคเชื้อรา ที่ซอกเท้า อาจเกิดขึ้นหลังจากน�้ำกัดเท้าอยู่ บ่อยๆ เป็นเวลานาน เชื้อราจะเข้าไปฝังตัวอยู่ ในผิวหนัง เมือ่ เป็นเชือ้ ราแล้วจะหายยาก ถึงแม้ จะใช้ยาทาจนดูเหมือนหายดี แต่มักจะมีเชื้อ หลงเหลืออยู่ เมื่อเท้าอับชื้นขึ้นเมื่อใด ก็จะ เกิดเชื้อราลุกลามขึ้นมาใหม่ ท�ำให้เกิดอาการ เป็นๆ หายๆ เป็นประจ�ำ ไม่หายขาด การดูแล ป้องกันโรคเชือ้ ราทีเ่ ท้าไม่ให้กลับเป็นซ�ำ้ อีกจึงมี ความส�ำคัญ การรักษาความสะอาดให้เท้าแห้ง อยู่เสมอโดยการล้างน�้ำฟอกสบู่ และเช็ดเท้า ให้แห้ง โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษที่บริเวณ ซอกนิ้วเท้า เมื่อเช็ดให้แห้งแล้ว ให้ทายารักษา โรคเชื้อรา แต่ถ้ามีอาการรุนแรงและเรื้อรัง ทายาไม่ได้ผล อาจต้องพบแพทย์ ไม่ควรซื้อยา รับประทานเองซึง่ อาจจะมีผลข้างเคียงต่อตับไต และควรรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรหยุดใช้ยา เองแม้ว่าจะดีขึ้น การหยุดยาเร็วเกินไปขณะที่ เชื้อยังไม่หมด มีโอกาสกลับเป็นซ�้ำอีกได้ง่าย
อันตรายจากสัตว์มีพิษ และอุบัติเหตุ เมื่อมีฝนตกหรือน�้ำท่วม สัตว์ต่างๆ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง สัตว์เหล่านี้จะหนีน�้ำมาหาที่ แห้งๆ เพื่อหลบอาศัย โชคไม่ดีที่บริเวณบ้าน ของเราก็เป็นที่หลบพักผ่อนอย่างดี เมื่อเราไป เหยียบหรือท�ำให้มันตกใจ สัตว์มีพิษเหล่านี้ก็ จะกัดเอา และที่มองข้ามไม่ได้ คือ อันตราย จากอุบัติเหตุ เช่น การลื่นหกล้ม และไฟฟ้ารั่ว จากปลัก๊ ไฟฟ้าทีอ่ ยูต่ �่ำน�ำ้ ท่วมถึง หรือติดตัง้ ไม่ดี ไม่มีสายดิน ก็จะท�ำให้ไฟฟ้าดูด ซึ่งอาจท�ำให้ เสียชีวิตได้ จากตัวอย่างที่พอจะเตือนให้ระวังทั้งผู้ที่ อยู่ในที่สูง หรือพื้นที่ลุ่มต่างก็มีความเสี่ยงใน การเกิดโรคที่เราคาดไม่ถึงเหมือนกัน อย่างไร ป้องกันเอาไว้มนั ก็ไม่ได้เสียหายอะไร..... ใช่ไหม ละครับ
สำ�นักงานแพทย์ สำ�นักงานสนับสนุน สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม เข้าร่วมการประชุม ไทย-กัมพูชา ครั้งที่ ๙ โดยต้อนรับ และรับรอง พลเอก เตีย บันห์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกลาโหมราชอาณาจักรกัมพูชา ในฐานะแขกของกระทรวง กลาโหม ณ อุทยานกอล์ฟวังจันทร์ จ.ระยอง เมือ่ ๑๕ - ๑๗ พ.ค.๕๖
พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เดินทางไปตรวจเยี่ยมและพบปะภาคประชาชนวิทยุเครื่องแดง (ศูนย์มณโฑ) และส�ำนักงานสงเคราะห์ทหารผ่านศึกเขตสงขลา ณ สโมสร มณฑลทหารบกที่ ๔๒ ค่ายเสนาณรงค์ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เมื่อ ๒๑ - ๒๒ พ.ค.๕๖
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
59
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย นางนศพร อภิรกั ษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมภริยา ร่วมถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในงาน สโมสรสันนิบาต โดยมี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี น�ำกล่าวถวายราชสดุดี และถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราช พิธีฉัตรมงคล ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๕ พ.ค.๕๖
60
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน ในกิจกรรมปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ พื้นที่ กองทหารสารวัตร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและอาคารส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) เมื่อ ๒๓ พ.ค.๕๖
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
61
พลตรี Su Guanghui ผชท.ทหาร สาธารณรัฐประชาชนจีน/กรุงเทพฯ เข้าเยี่ยมค�ำนับ พลเอก หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เพือ่ มอบหนังสือจากหน่วยงานบริหารของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเพือ่ การป้องกันประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน เกี่ยวกับความร่วมมือด้านการทหารระหว่างรัฐบาลของทั้งสองประเทศ ณ ห้องสราญรมย์ เมื่อ ๒ พ.ค.๕๖
พลเรือเอก ด�ำรงศักดิ์ ห้าวเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในงานวันคล้ายวันสถาปนา ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี เมื่อ ๙ พ.ค.๕๖
พลเอก รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ เป็นประธานในพิธีเปิดการบรรยายเผยแพร่ความรู้ เรื่อง “การคุ้มครองพยาน ในคดีอาญาของกระทรวงกลาโหม” ณ ห้องราชเสนีพิทักษ์ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๒๐ พ.ค.๕๖ โดยมี พลโท ศานิต สร้างสมวงษ์ อดีตหัวหน้าส�ำนักตุลาการทหาร และนายไพฑูลย์ สว่างกมล รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เป็นวิทยากร และมี พันเอก วิทยา พ่วงพันธุ์งาม ผู้อ�ำนวยการคุ้มครองพยาน กรมพระธรรมนูญ เป็นผู้ด�ำเนินการบรรยาย
62
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และนางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานเลี้ยงขอบคุณ เจ้ า หน้ า ที่ แ ละผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งในการออกร้ า นงานกาชาด ปี ๒๕๕๖ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและสมาคม ภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้อง ประชุมพินิตประชานาถ เมื่อ ๓ พ.ค.๕๖
หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๖
63
ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการฯ ร่วมงานวันคล้าย วันสถาปนาครบ ๘ ปี ส�านักงานแพทย์ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๙ พ.ค.๕๖
นางสุรศรี ห้าวเจริญ อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการฯ ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา สมาคมภริยาทหารเรือ ครบ ๓๘ ปี ณ ห้องเจ้าพระยา หอประชุมกองทัพเรือ เมื่อ ๑๕ พ.ค.๕๖
64