ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปร�กษากิตติมศักดิ์ ผู้อ�านวยการ
พล.อ.วันชัย เร�องตระกูล พล.อ.อ.สุว�ช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพ�ยร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิร�ชัย ธัญญสิร� พล.อ.ว�นัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกว�ท พล.อ.เสถียร เพ��มทองอินทร์ พล.อ.ว�ทวัส รชตะนันทน์
พล.ต.ชัยพฤกษ� พูนสวัสดิ์
รองผู้อ�านวยการ
พ.อ.ณภัทร สุขจ�ตต์ พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อ�านวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจ�ากองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปร�กษา เหรัญญิก
พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ พล.ร.อ.ด�ารงศักดิ์ ห้าวเจร�ญ ร.น. พล.อ.อ.ว�นัย เปล่งว�ทยา พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจร�ญ พล.อ.ชาญ โกมลหิรัญ พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเร�อง พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร พล.อ.รัตนพันธุ์ โรจนะภิรมย์ พล.ท.สุร�ยฉัตร เผ่าบุญเสร�ม พล.ท.สุรศักดิ์ ศร�ศักดิ์ พล.ท.ประพันธ์ พุทธานุ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.อ.ท.ว�ระศักดิ์ สิตานนท์ พล.ท.อภิกิตต์ ศร�กังวาล พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์ พล.ท.กิติกร ธรรมนิยาย พล.ท.พัชราวุธ วงษ�เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ว�รศักดิ์ มูลกัน พล.ต.กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ต.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเตะ
ฝ่ายพ�สูจน์อักษร
พ.อ.หญิง ว�วรรณ วรว�ศิษฏ์ธ�ารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ต.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงช�พ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทว� สุดจ�ตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิร�สรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช พ.อ.หญิง พรพ�มล ร่มตาล
ประจ�ากองบรรณาธิการ น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปัตพ� ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ น.ต.ฐ�ตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.จ�โรตม์ ช�นวัตร ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.จ�รวัฒน์ ถนอมธรรม ส.อ.ธีระยุทธ ขอพ��งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ข�ง พ.ต.หญิง สิร�ณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจ�ตร พวงโต ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.หญิง ภัทรภรณ์ ศิร�สรณ์ ร.อ.หญิง อัญชลี ชัยชาญกุล ร.ต.หญิง พุทธพร โอสถหงส์ จ.ส.อ.หญิง ธิดารัตน์ ทองขจร ส.อ.หญิง ศิร�พ�มพ์มา กาญจนโรจน์
พระบารมี ปกไกลไปทั่วหล้า ครองแผ่นดินประโยชน์สุข ทุกคืนวัน พระโอวาท เตือนไทยให้สติ พระเมตตา หลั่งท้นฟ้าสุธาธาร
2
๕ พฤษภา บรมราชาภิเษกสรร พระจ�ำนรรจ์ ปฐมบรมราชโองการ พระด�ำริ น�ำไทยสบพบสุขสานติ์ ราษฎร์ขับขาน ขอพระองค์ ทรงพระเจริญ
ปที่ 22 ฉบับที่ 2๖๖ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 255๖
๔
พระผู้ทรงเป็นมิ่งขวัญ
๔
๓๐
เครื่องยิงลูกระเบิด อัตโนมัติ ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร
๗
พุทธสังเวชนียสถาน เนื่องด้วยวันวิสาขบูชา
๓๕
๑๑
เมื่อราชวงศ์อลองพญา เปลี่ยนแผ่นดินใหม่
ข้อกฎหมายและข้อควร ระวังที่ส�าคัญเกี่ยวกับ การแก้ไขปัญหาในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้
๓๘
เทคโนโลยีน�าวิถี ก้าวต่อไปของ สทป.
๑๕
๔๐
พิธีแสดงความยินดีแก่ นายทหารประทวนที่ได้ เลื่อนฐานะเป็น นายทหารสัญญาบัตรของ กระทรวงกลาโหม
๑๗
กรณีศึกษาจากคดี ปราสาทพระวิหาร
ดูเอต์ เจ้าต�านาน The Command of the Air
๔๔
หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนทีี่ ๑๐)
๗
๑๑
๑๕
๒๐
ข้อมูลประชาสัมพันธ์ โครงการจัดสร้าง พระยอดธง ของส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๒๒
บันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือด้านพลังงานทดแทน ระหว่างกระทรวงพลังงาน และกระทรวงกลาโหม
ร่าง พ.ร.บ.กองทุน บ�าเหน็จบ�านาญ ข้าราชการ (ฉบับใหม่)
๕๖
การประสานราชการ กับสาธารณรัฐประชาชนจีน
๑๗
๒๐
๒๒ ๕๘ แนวโน้มภัยคุกคามระบบ ๓๐
๒๕
รักษาความปลอดภัย คอมพิวเตอร์ปี ๒๕๕๖
๖๐
อักษรยาวี ภาษามลายูถิ่น
๒๕
การเสียดินแดนของไทย ในยุคล่าอาณานิคมของ ประเทศมหาอ�านาจตะวันตก
๖๒
น�้า กับความสมดุล
๒๘
๒๘
อิทธิพลของสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม และ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
๕๐
๔๐ ๓๘
๖๕
ประมวลภาพกิจกรรม
๖๒ ๗๑
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลปการพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง พฤษภาคม 255๖
3
ภาพจากนิตยสารดิฉัน 4
นาวาอากาศเอกหญิงกาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
พระผู้ทรงเป็นมิ่งขวัญ ของชาวไทย
นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
พ
ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ล อดุลยเดชทรงเป็นพระมหากษัตริยท์ ี่ ทรงเป็นมิง่ ขวัญของปวงชนชาวไทย ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อประเทศชาติมา นานนับเวลาหกสิบกว่าปีแห่งการครองราชย์ พระราชกรณียกิจต่างๆ เป็นเพื่อประโยชน์สุข ของพสกนิกรในทุกๆ ด้าน ทรงเป็นเสมือนพลัง แห่งแผ่นดินดังพระนามแห่งพระองค์ พระนาม “ภูมิพลอดุลเดช” นั้น สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้รบั พระราชทาน ทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ โดยทรงก� ำ กั บ ตั ว สะกดเป็ น อั ก ษรโรมั น ว่ า “Bhumibala Aduladeja” ท�ำให้ทรงเข้า พระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรส ว่ า “ภู มิ บ าล” ในระยะแรกพระนามของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสะกดเป็นภาษา ไทยว่า “ภูมิพลอดุลเดช” ต่อมาได้ทรงเขียน ว่า “ภูมิพลอดุลยเดช” โดยทรงเขียนทั้งสอง แบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลัง ซึ่งมีตัว “ย” สะกดตราบปัจจุบัน ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า “แผ่นดิน” และ พล หมายความ ว่า “พลัง” รวมกันแล้วหมายถึง “พลังแห่ง แผ่นดิน” อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า “ไม่อาจเทียบได้” และ เดช หมายความว่า “อ�ำนาจ” รวมกันแล้วหมายถึง “ผู้มีอ�ำนาจที่ ไม่อาจเทียบได้”
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีห้อง ทรงงานอยู ่ ใ กล้ ห ้ อ งพระบรรทม บนชั้ น ๘ พระต�ำหนักจิตรลดาฯ เป็นห้องเล็กๆ ขนาด ๓x๔ เมตร ภายในห้องมีวทิ ยุ โทรทัศน์ โทรสาร โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เทเล็กซ์ เครื่องบันทึก เสียง เครื่องพยากรณ์อากาศ แผนที่ และอื่นๆ แสดงถึงพื้นที่หมู่บ้าน แม่น�้ำ ภูเขา และป่า อย่างละเอียด สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ไม่มีห้องทรงงานเป็นส่วนพระองค์ เหมื อ นเช่ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว สมเด็จพระนางเจ้าฯ จะโปรดทรงงานในห้องที่ พระองค์ทา่ นประทับ หากประทับตรงไหนก็จะ ทรงงานตรงนั้น บางทีก็ทรงงานในห้องบรรทม สมเด็จพระนางเจ้าฯ จะเหมือนในหลวงตรง ที่เวลาทรงงานเป็นการส่วนพระองค์ ไม่โปรด นั่งเก้าอี้เลย ไม่ว่าจะในโอกาสใดก็ตาม แต่จะ ประทับกับพื้น เพราะทรงวางสิ่งของต่างๆ ได้ สะดวก เวลาทรงหาข้อมูลหรือรับสั่งกับผู้เข้า ถวายรายงานเป็นการส่วนพระองค์ จะทรงถนัด กว่าประทับบนพระเก้าอี้ เวลาทรงงานโปรดให้ มีเสียงเพลงเบาๆ จากเครื่องเล่นด้วย เมื่อตื่น บรรทม ทรงโปรดทอดพระเนตร หนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น ทั้ ง ไทย-เทศทุ ก ฉบั บ มากกว่ า ทรงโปรดนิ ต ยสารทั้ ง รายสั ป ดาห์ รายปั ก ษ์ รายเดื อ น ทรงโปรดข่ า วความ
พระองค์ ไม่โปรดนั่งเก้าอี้เลย ไม่ว่าจะในโอกาสใดก็ตาม แต่จะประทับกับพื้น เพราะ ทรงวางสิ่งของต่างๆ ได้สะดวก เวลาทรงหาข้อมูลหรือรับสั่งกับผู้เข้า ถวายรายงานเป็นการส่วนพระองค์ จะทรงถนัดกว่าประทับบนพระเก้าอี้ เวลาทรงงานโปรดให้มีเสียงเพลงเบาๆ จากเครื่องเล่นด้วย
เดือดร้อน การตกทุกข์ได้ยากของพสกนิกร เพื่อหาทางช่วยเหลือขจัดปัดเป่า ทรงโปรด นวนิยายด้วย นวนิยายนั้น หากทรงมีภารกิจ มากจะโปรดให้นางสนองพระโอษฐ์หรือคุณ ข้าหลวงอ่านบันทึกใส่เทป แล้วทรงเปิดฟัง ด้วยพระองค์เอง นิตยสารจะทรงอ่านอีกครั้ง ในเวลาดึกสงัดก่อนเข้าบรรทม เป็นนิตยสาร ต่ า งประเทศที่ ท รงอ่ า นประจ� ำ มี ๕ ฉบั บ คื อ ไทม์ นิ ว สวี ก เอเชี ย วี ก ฟาร์ อี ส เทิ ร ์ น อีโคโนมิกรีวิว กับนิตยสารปารีมัชของฝรั่งเศส เวิลด์วอทช์ เป็นนิตยสารออกใหม่ ออกมา 5
สนเท่ห์ พระองค์จึงเสด็จน� ำไปดู ความจริง จึงประจักษ์แก่สายตาทุกคน บนโต๊ะขัดมัน ปลาบตั ว หนึ่ ง ในห้ อ งนั้ น มี หุ ่ น จ� ำ ลองเรื อ รบ หลวงศรีอยุธยาวางอยู่ ถัดไปเป็นภาพถ่ายเมฆ งดงาม ความมันบนพื้นโต๊ะท�ำให้เกิดเงาเรือรบ จ�ำลอง ท�ำให้ดูเหมือนเรือจอดอยู่ในน�้ำ ทุกคน จึงเข้าใจและพากันยอมรับนับถือพระปรีชา สามารถในการฉายภาพท�ำนอง Top Table นี้ ของพระองค์เป็นอย่างยิ่ง.
จับประเด็นเรื่องลุ่มลึกหลากหลายที่เกิดขึ้น ในส่วนต่างๆ ของโลก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงสนพระทัยอ่านข่าวสาร การเมือง เรื่องเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหา สิ่ ง แวดล้ อ ม แต่ พ ระองค์ ท ่ า นไม่ โ ปรดอ่ า น นิตยสารประเภทแฟชั่น ความงาม กล้ อ งถ่ า ยรู ป ส่ ว นพระองค์ ใ นพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว กล้ อ งแรกคื อ กล้ อ ง “คอนแท็กซ์ทู” ผลิตจากเยอรมนี เป็นกล้อง ที่ ใ ช้ ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ครั้ ง ยั ง ทรงเป็ น พระอนุ ช า ทรงวิ่ ง ตามพระเชษฐา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล กล้องนี้เป็นกล้อง เดียวกับทีใ่ นหลวงทรงฉายสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ แรกครัง้ ยังทรงมีฐานันดรศักดิ์ เป็ น ม.ร.ว.สิ ริ กิ ติ์ กิ ติยากร ในวันพระราช พิธีอภิเษกสมรส ณ วังสระปทุม กรุงเทพฯ เมื่อ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ต่อมา ทรงเปลี่ยนไปใช้กล้องในตระกูล “แคนนอน EOS” เริ่มที่ EOS 100 แล้วเปลี่ยนเป็น EOS 100 F ที่มีน�้ำหนักเพียง ๕๑๐ กรัม และต่อมา ทรงเปลี่ยนกล้องอีกหลายครั้งในทุกครั้งที่มี รุ่นใหม่ออกสู่ตลาดตามลักษณะที่เหมาะสม โดยยั ง คงทรงกล้ อ งในตระกู ล “แคนนอน EOS” เนื่องเพราะมีน�้ำหนักเบา สะดวกต่อ การพกพา ในหลวงทรงใช้เลนส์ตัวเดียวมาโดย ตลอด ไม่เปลี่ยนเลย คือ เลนส์ ๒๘-๑๐๕ mm คราวเสด็จพระราชด�ำเนินกฐินพระราชทาน 6
ทางชลมารค เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ ทรง ประทับเรือพระที่นั่ง “นารายณ์ทรงสุบรรณ” ล่องเลียบล�ำน�้ำเจ้าพระยา คราวนั้นในหลวง ทรงพกพากล้องเล็กพิเศษ เลนส์ “คาร์ลไซด์” ทรงเหลือบพระพักตร์เพียงเล็กน้อย ไม่ต้องยก กล้องมาที่พระเนตรก็ทรงมีพระปรีชาสามารถ กดชั ต เตอร์ ไ ด้ เ ลย ครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว อานั น ทมหิ ด ลยั ง ทรง พระชนมชีพอยู่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปั จ จุ บั น ซึ่ ง ขณะนั้ น ทรงมี ฐ านะเป็ น สมเด็จพระอนุชา ได้น�ำภาพถ่ายรูปเรือรบล�ำ หนึ่งให้ข้าราชบริพารใกล้ชิดดู แล้วตรัสถาม ว่า มีผู้ใดทราบบ้างว่าเป็นเรืออะไรและถ่าย ที่ไหน ทุกคนในที่นั้นนิ่งอึ้ง เว้นแต่นายทหาร ผู ้ ห นึ่ ง ทู ล ตอบได้ ทั น ที ว ่ า เป็ น เรื อ รบหลวง ศรีอยุธยา ซึ่งพระองค์ท่านรับสั่งว่าถูก แต่ สถานที่ที่พระองค์ทรงฉายภาพนี้มีแต่น�้ำกับ ฟ้าซึ่งมีเมฆสีขาวงดงามเท่านั้น ภูมิประเทศใน ภาพนั้นท�ำให้เป็นที่ฉงนสนเท่ห์แก่ทุกคนใน ที่นั้นว่า พระองค์ทรงฉายภาพนั้นได้อย่างไร จากภูมิประเทศในภาพนั้นคาดกันว่า ทรงถ่าย ขณะเรืออยู่ในทะเลแต่พระองค์ก็ไม่เคยเสด็จฯ ทางเรือครั้งใดที่มีเรือศรีอยุธยาโดยเสด็จด้วย ในที่สุดทุกคนยอมจ�ำนน พระองค์ท่านจึงตรัส ว่า “ถ่ายในห้องนี่เอง” พร้อมกับชี้พระหัตถ์ ไปยังห้องเครื่องเล่น ทุกคนในที่นั้นยังมีสีหน้า
ในครั้ ง หนึ่ ง บรรณาธิ ก ารนิ ต ยสาร Look ได้สั่งนาย GEREON ZIMMERMAN ซึ่งมา ถวายสัมภาษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่า “เหนือสิ่งอื่นใดทั้งหมด อย่าลืมกราบทูล ถามเรื่ องแซ็ก โซโฟนทองค�ำ ด้วยนะว่ามัน อย่างไรกันแน่ ราคาโดยประมาณสักเท่าใด ท�ำที่สวิตเซอร์แลนด์ หรือที่ไหน” และเมื่อ ได้มานั่งอยู่ต่อหน้าพระพักตร์ในวังสวนจิตรฯ แล้ว นายซิมเมอร์แมน พยายามเลียบเคียง อยู่นาน ก็ยังไม่ได้จังหวะเหมาะที่จะทูลถาม เรื่ อ งที่ บ รรณาธิ ก ารอยากให้ ถ าม ในที่ สุ ด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้รับสั่งขึ้นมา เองว่า “หนังสือพิมพ์ที่อเมริกาพากันลงว่า เป็ น กษั ต ริ ย ์ ที่ ค ลั่ ง ดนตรี . ..ซึ่ ง ก็ ไ ม่ ว ่ า อะไร แต่ ที่ ไ ปลงจนเลยเถิ ด กั น ไปว่ า แซ็ ก โซโฟน ที่เป่าอยู่เป็นประจ� ำนี้เป็นแซ็กโซโฟนที่ท� ำ ด้วยทองค�ำเนื้อแท้บริสุทธิ์ อันนี้ไม่จริงเลย สมมติว่าจริงก็จะหนักมาก ยกไม่ไหวหรอก บางฉบับก็เขียนว่าชอบขับรถซิ่ง ก็เอาเถอะ ยอมให้ไม่ถือสาหรอก แต่ไม่เชื่อว่าเรื่องพวก นี้จะเป็นการสร้างสรรค์ หรือเป็นประโยชน์ อั น ใดแก่ ป ระเทศไทยและสหรั ฐ อเมริ ก า” พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ รั บ สั่ ง เมื่ อ ผู ้ แ ทนของนิ ต ยสาร Look และช่ า งภาพ กราบทูลลาว่า “ฉันเป็นกษัตริยท์ ไี่ ด้รบั เลือกตัง้ ขึ้นมา ถ้าประชาชนเขาไม่ต้องการฉัน เขาก็ ไล่ฉันออกก็ได้จริงไหม? แล้วฉันก็กลายเป็น คนว่างงาน” นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
พุทธสังเวชนียสถาน เนื่องด้วยวันวิสาขบูชา นาวาโทหญิง รสสุคนธ์ ทองใบ
วั
นวิ ส าขบู ช า ได้ รั บ การยกย่ อ งจาก พุทธศาสนิกชนทัว่ โลกให้เป็นวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนาสากล เนื่องจาก เป็นวันที่บังเกิดเหตุการณ์ส�ำคัญ ๓ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้าและจุดเริ่มต้นของ ศาสนาพุทธ ซึ่งเหตุการณ์ทั้งหมดได้เกิดขึ้น เมื่ อ ๒,๕๐๐ กว่ า ปี ก ่ อ น ณ ดิ น แดนชมพู ทวีปในสมัยพุทธกาล โดยเหตุการณ์แรก เมื่อ ๘๐ ปีก่อนพุทธศักราช เป็น “วันประสูติของ เจ้าชายสิทธัตถะ” ณ ใต้ร่มสาละพฤกษ์ ใน พระราชอุทยานลุมพินีวัน (อยู่ในเขตประเทศ เนปาลในปัจจุบัน) และเหตุการณ์ต่อมา เมื่อ ๔๕ ปีก่อนพุทธศักราช เป็น “วันที่เจ้าชาย สิทธัตถะได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ ตรัสรู้ เป็ น องค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ” ณ ใต้ร่มโพธิ์พฤกษ์ ริมฝั่งแม่น�้ำเนรัญชรา ต�ำบล อุรเุ วลาเสนานิคม (อยูใ่ นเขตประเทศอินเดียใน ปัจจุบัน) และเหตุการณ์สุดท้าย เมื่อ ๑ ปีก่อน พุทธศักราช เป็น “วันเสด็จดับขันธปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า” ณ ใต้ ร่มสาละพฤกษ์ ในสาลวโนทยาน พระราชอุทยาน ของเจ้ า มั ล ละ เมื อ งกุ สิ น ารา (อยู ่ ใ นเขต ประเทศอิ น เดี ย ในปั จ จุ บั น ) โดยเหตุ ก ารณ์ ทั้ ง หมดล้ ว นเกิ ด ตรงกั บ วั น เพ็ ญ เดื อ น ๖ หรือเดือนวิสาขะนี้ทั้งสิ้น ชาวพุทธจึงนับถือว่า วันเพ็ญ เดือน ๖ เป็นวันที่รวมวันคล้ายวันเกิด
ชาวพุทธจึงนับถือว่า วันเพ็ญ เดือน ๖ เป็นวันที่รวมวันคล้ายวันเกิด เหตุการณ์ส�ำคัญๆ ของพระพุทธเจ้า ไว้มากที่สุด และได้นิยมประกอบพิธี บ�ำเพ็ญบุญกุศลและประกอบพิธี พุทธบูชาต่างๆ เพื่อเป็นการถวาย สักการะร�ำลึกถึงแด่องค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสืบมาจนปัจจุบัน หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
เหตุการณ์ส�ำคัญๆ ของพระพุทธเจ้าไว้มาก ที่สุด และได้นิยมประกอบพิธีบ�ำเพ็ญบุญกุศล และประกอบพิธีพุทธบูชาต่างๆ เพื่อเป็นการ ถวายสักการะร�ำลึกถึงแด่องค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าสืบมาจนปัจจุบัน ทั้งนี้ ที่ประชุม ใหญ่ ส มั ช ชาสหประชาชาติ ไ ด้ ป ระกาศให้ วันวิสาขบูชาเป็น “วันส�ำคัญสากลนานาชาติ (International Day)” หรื อ “วั น ส� ำ คั ญ ของโลก” ตามค�ำประกาศของที่ประชุมใหญ่ สมัชชาสหประชาชาติ ครั้งที่ ๕๔ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ พุทธสังเวชนียสถานเนื่องด้วยวันวิสาขบูชา ลุมพินีวัน เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชาย สิ ท ธั ต ถะ ผู ้ ซึ่ ง ต่ อ มาตรั ส รู ้ เ ป็ น พระบรม ศาสดาสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ตั้ ง อยู ่ ที่ อ� ำ เภอ ไภรวา แคว้นอูธ ประเทศเนปาล เป็นพุทธ สั ง เวชนี ย สถาน ๔ ต� ำ บลเพี ย งแห่ ง เดี ย ว ที่ อ ยู ่ น อกประเทศอิ น เดี ย ตั ว ลุ ม พิ นี วั น อยู ่ ใกล้ กั บ ชายแดนประเทศอิ น เดี ย ตอนเหนื อ ห่างจากสิทธารถนคร (หรือ นครเทวทหะ) ทางทิศตะวันตกประมาณ ๒๒ กิโลเมตร และ ห่างจากเมืองติเลาราโกต (หรือ นครกบิลพัสดุ์) ทางทิศตะวันออก ๒๒ กิโลเมตร ซึ่งถูกต้อง ตามต�ำราพระพุทธศาสนาที่กล่าวว่า ลุมพินีวัน สถานที่ประสูติ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์ และเมืองเทวทหะ ปัจจุบัน ลุมพินีวันได้รับ การยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดก โลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ลุมพินีวันหลังพุทธปรินิพพาน หลั ง พุ ท ธปริ นิ พ พาน กษั ต ริ ย ์ ซึ่ ง ได้ รั บ ส่ ว นแบ่ ง แห่ ง พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ได้ น� ำ พระบรมสารีรกิ ธาตุมาบรรจุไว้ในสถูปแห่งหนึง่ ไม่ไกลจากลุมพินีวันนัก จวบจนพุทธศักราชได้ ๒๙๔ ปี พระเจ้าอโศกมหาราชได้เสด็จนมัสการ พุทธสังเวชนียสถานทัว่ ทัง้ ชมพูทวีป พร้อมด้วย พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ (หรือพระอุปคุต) ได้เสด็จมานมัสการ ณ ลุมพินนี ี้ พระองค์โปรดฯ ให้พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระน�ำทางและชี้จุด ทีเ่ จ้าชายสิทธัตถะประสูติ แล้วทรงสร้างอาราม พระเจดีย์และเสาศิลาจารึกไว้เป็นสัญลักษณ์ ว่า ลุมพินีวันนี้มีความส�ำคัญอย่างไร ซึ่งเสา ศิ ล าหิ น ทรายของพระเจ้ า อโศกยั ง คงตั้ ง อยู ่ ณ ที่เดิมจนถึงปัจจุบัน
เสาพระเจ้าอโศกมหาราช เครื่องหมายสถาน ที่พระพุทธเจ้าประสูติ ณ ลุมพินีวัน ประเทศ เนปาล
สระสรงสนาน และ มหามายาเทวี วิ ห าร หลังการบูรณะ จุ ด แสวงบุ ญ และสภาพของลุ ม พิ นี วั น ใน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ลุมพินีวันได้รับการบูรณะและมี ถาวรวั ต ถุ ส� ำ คั ญ ที่ ช าวพุ ท ธนิ ย มไปสั ก การะ คือ “เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช” ที่ระบุ ว่า สถานที่นี้เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชาย สิทธัตถะ นอกจากนี้ ยังมี “วิหารมายาเทวี” ภายในประดิษฐานภาพหินแกะสลักพระรูป พระนางสิรมิ หามายาประสูตพิ ระราชโอรส โดย 7
ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ภายในปริมณฑลลุมพินีวัน
รอยพระพุ ท ธบาทหิ น สลั ก ภายในวิ ห าร มหามายาเทวี (ใหม่)
พุทธคยา นับเป็นพุทธสังเวชนียสถาน ที่สำ� คัญที่สุดและเป็นสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของชาวพุทธทั่วโลก เพราะเป็นจุดเริ่มต้นของ พระพุทธศาสนา โดยเป็นสถานที่ ที่เจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้พระอนุตตร สัมมาสัมโพธิญาณ เป็นสมเด็จ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า 8
เป็นวิหารเก่ามีอายุร่วมสมัยกับเสาหินพระเจ้า อโศก ปัจจุบนั ทางการเนปาลได้สร้างวิหารใหม่ ทับวิหารมายาเทวีหลังเก่า และได้ขุดค้นพบ ศิลาจารึกรูปคล้ายรอยเท้า สันนิษฐานว่าเป็น จารึกรอยเท้าก้าวที่เจ็ดของเจ้าชายสิทธัตถะ ที่ทรงด�ำเนินได้เจ็ดก้าวในวันประสูติ ลุ ม พิ นี วั น ได้ รั บ การพั ฒ นาจากชาวพุ ท ธ ทั่ ว โลก โดยเฉพาะจากโครงการฟื ้ น ฟู พุ ท ธสถานลุ ม พิ นี วั น ให้ เ ป็ น “พุ ท ธอุ ท ยาน ทางประวัติศาสตร์ของโลก” ซึ่งเป็นด�ำริของ ฯพณฯ อู ถั่น ชาวพุทธพม่า ในสมัยที่ด�ำรง ต� ำ แหน่ ง เลขาธิ ก ารองค์ ก ารสหประชาชาติ ท่านตั้งใจเริ่มโครงการฟื้นฟูให้ลุมพินีวันเป็น ศูนย์รวมจิตใจชาวพุทธ โดยแบ่งพื้นที่ส�ำหรับ ปลูกป่าและสร้างวัดพุทธนานาชาติจากทั่วโลก กว่า ๔๑ ประเทศ โดยโบราณสถานลุมพินีวัน ตั้งอยู่ทางด้านใต้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ลุมพินีวันได้รับการขึ้น ทะเบียนให้เป็นมรดกโลก ภายใต้ชื่อ “ลุมพินี
สถานที่ ป ระสู ติ ข องพระพุ ท ธเจ้ า ” ในการ ประชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครัง้ ที่ ๒๑ ทีเ่ มืองนาโปลี ประเทศอิตาลี อีกด้วย พุ ท ธคยา นับเป็นพุทธสังเวชนียสถานที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด และเป็ น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ สุ ด ของชาวพุทธทั่วโลกเพราะเป็นจุดเริ่มต้นของ พระพุทธศาสนา โดยเป็นสถานที่ที่เจ้าชาย สิทธัตถะตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า นับเป็นเวลากว่า ๒,๕๐๐ ปีที่สถานที่แห่งนี้ เป็นศูนย์รวมของจุดหมายในการแสวงบุญของ ชาวพุทธผู้มีศรัทธาทั่วโลก พุทธคยามีชื่อเรียก อีกชื่อว่า วัดมหาโพธิ์ (Mahabodhi Temple) ตั้งอยู่ที่จังหวัดคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ห่างจากริมฝั่งแม่น�้ ำเนรัญชรา ๓๕๐ เมตร ในอดี ต ต�ำ บลที่ ตั้ ง พุ ท ธคยามี ชื่อว่า อุรุเวลา เสนานิคม ต่อมาเพี้ยนเป็น อุเรล ปัจจุบันอยู่ ในความดูแลของคณะกรรมการร่วมพุทธ-ฮินดู และได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้ นาวาโทนหญิง รสสุคนธ์ ทองใบ
เป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ พุทธคยาหลังพุทธปรินิพพาน บริเวณกลุ่มพุทธสถานพุทธคยา อันเป็น อนุ ส รณี ย สถาน ระลึ ก ถึ ง การตรั ส รู ้ ข อง พระพุ ท ธองค์ นั้ น เริ่ ม สร้ า งขึ้ น ตั้ ง แต่ ส มั ย พระเจ้าอโศกมหาราช และสร้างต่อเติมเรือ่ ยมา โดยกษัตริยช์ าวพุทธในอินเดียพระองค์ตอ่ ๆ มา จนกระทั่งกองทัพมุสลิมบุกเข้าโจมตีอินเดีย พุทธคยาจึงถูกปล่อยให้รกร้างไม่มีผู้ดูแล
จุ ด แสวงบุ ญ และสภาพของพุ ท ธคยาใน ปัจจุบัน พุทธคยาได้รับการบูรณะและมีถาวรวัตถุ ที่ ส� ำ คั ญ ๆ ที่ ช าวพุ ท ธนิ ย มไปสั ก การะ คื อ “พระมหาโพธิเจดีย์” อนุสรณ์สถานแห่งการ ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีลักษณะเป็น เจดีย์ ๔ เหลีย่ ม สูง ๑๗๐ ฟุต วัดโดยรอบฐานได้ ๑๒๑.๒๙ เมตร ภายในประดิษฐาน “พระพุทธ เมตตา” พระพุทธรูปปางมารวิชัยแบบศิลปะ ปาละ เป็นที่เคารพศรัทธาของชาวพุทธทั่วโลก “พระแท่นวัชรอาสน” แปลว่า พระแท่นมหาบุรษุ ใจเพชร สร้ า งด้ ว ยวั ส ดุ หิ น ทรายเป็ น รู ป หัวเพชรสี่เหลี่ยม ประดิษฐานอยู่ภายใต้ต้น พระศรี ม หาโพธิ์ เป็ น พระแท่ น จ� ำ ลองขึ้ น ทั บ พระแท่ น เดิ ม เพื่ อ เป็นหลักฐานยืนยันว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ณ จุดนี้ ปัจจุบัน ประชาชนและรัฐบาลประเทศศรีลังกาได้อุทิศ สร้างก�ำแพงแก้ว ท�ำด้วยทองค�ำแท้ ประดิษฐาน รอบต้นพระศรีมหาโพธิแ์ ละพระแท่นวัชรอาสน นอกจากนี้ บริ เ วณพุ ท ธคยาและโดยรอบ ยังมีสถานที่ส�ำคัญมากมาย เช่น กลุ่มพระเจดีย์ เสวยวิมุตติสุข สระมุจลินทร์ บ้านนางสุชาดา ถ�้ำดงคสิริ (สถานที่เจ้าชายสิทธัตถะบ�ำเพ็ญ ทุกกรกิริยา) วัดพุทธนานาชาติ เป็นต้น ต่อมา ที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกได้ พิจารณาให้พุทธคยาเป็นมรดกโลก และได้รบั หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
พระพุ ท ธรู ป “พระพุ ท ธเมตตา” ในมหาโพธิ เ จดี ย ์ สร้ า งในสมั ย ปาละด้ ว ยหิน แกรนิ ตสี ด�ำ มีอายุกว่า ๑,๔๐๐ ปี การขึน้ ทะเบียนในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ปัจจุบนั พุทธคยา นั บ ได้ ว ่ า เป็ น หนึ่ ง ในจุ ด หมายปลายทาง ที่ส�ำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลก โดยแต่ละปีจะมีผู้แสวงบุญนับล้านคนเดินทาง มานมัสการมหาพุทธสถานแห่งนี้ ในฐานะที่ เป็นสังเวชนียสถานศักดิ์สิทธิ์และส�ำคัญที่สุด ของชาวพุทธ สถานที่อันเป็นจุดเริ่มต้นแห่ง พระพุทธศาสนา และสถานทีต่ รัสรูพ้ ระอนุตตร สัมมาสัมโพธิญาณแห่งองค์สมเด็จพระบรม ศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระบรมมหาศาสดา ของชาวพุทธทั้งมวล กุสินารา สถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ ที่ต�ำบล มถากัวร์ อ�ำเภอกุสินคร ในเขตจังหวัด เดวเย หรือ เทวริยา รัฐอุตรประเทศ ประเทศ อินเดีย มหาปริ นิ พ พานวิ ห าร ภายในสาล วโนทยาน สถานทีป่ รินพิ พานของพระพุทธองค์ อยู่ในพระราชอุทยานของเจ้ามัลละฝ่ายเหนือ แห่งกุสินารา ซึ่งในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เรียกว่า สาลวโนทยาน แปลว่า สวนป่าไม้
ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสน พุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
มหาปรินิพพานวิหาร ภายในสาลวโนทยาน 9
ปัจจุบันชาวพุทธทั่วโลกได้มาก่อสร้าง วัดไว้มากมาย โดยมีวัดของไทย ด้วย ชื่อ วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ ปัจจุบันชาวไทยที่มาสักการะ ณ กุสินารา นิยมมาพักที่นี่ ในส่วน พุทธสถานโบราณลุมพินีนั้น ปัจจุบันได้รับการบูรณะซ่อมแซม เป็นอย่างดีจากรัฐบาลอินเดีย โดยรอบมีสภาพเป็นสวนป่าสาละ ร่มรื่นเหมือนครั้งพุทธกาล ชวนให้เจริญศรัทธาแก่ผู้มา สักการะตลอดมาจนปัจจุบัน สาละ ตั้งอยู่ใกล้ฝั่งแม่น�้ำหิรัญญวดี หลังการ ปรินิพพานของพระพุทธองค์แล้ว กษัตริย์แห่ง มัลละได้ประดิษฐานพระพุทธสรีระไว้ ณ เมือง กุสนิ ารา เป็นเวลากว่า ๗ วัน ก่อนทีจ่ ะประกอบ พิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ มกุฏพันธน เจดีย์ ในวันที่ ๘ แห่งพุทธปรินิพพาน การที่พระพุทธองค์ทรงเลือกเมืองกุสินารา อันเป็นเมืองเล็กแห่งนี้เป็นสถานที่ปรินิพพาน มีหลายสาเหตุ แต่สาเหตุส�ำคัญ คือ ทรงทราบ ดีว่าเมื่อพระองค์ปรินิพพานไปแล้ว พระสรีระ และพระบรมสารีริกธาตุของพระองค์จักถูก แว่นแคว้นต่างๆ แย่งชิงไปท�ำการบูชา หาก พระองค์ปรินิพพานในเมืองใหญ่ เมืองใหญ่ เหล่ า นั้ น อาจไม่ แ บ่ ง พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ใ ห้ เมืองเล็กๆ เช่น เมืองกุสินารา เป็นต้น ซึ่งก็เป็น ความจริงเพราะหลังพระพุทธองค์ปรินิพพาน เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ก็ได้ยกกองทัพหลวง ของตนมาล้ อ มเมื อ งกุ สิ น าราเพื่ อ จะแย่ ง ชิ ง พระบรมสารีริกธาตุ แต่ด้วยความที่กุสินารา
10
สถานที่ประดิษฐานพระพุทธสรีระพระพุทธเจ้าเป็นเวลา ๗ วันก่อนอัญเชิญไปถวายพระเพลิง พระบรมศพ เป็นเมืองเล็ก จึงต้องยอมระงับศึกโดยแบ่ง พระบรมสารีริกธาตุให้ทุกเมืองโดยไม่ต้องเกิด สงคราม กุสินาราหลังพุทธปรินิพพาน หลั ง พระพุ ท ธองค์ ป ริ นิ พ พานแล้ ว เมื อ ง กุสินารากลายเป็นเมืองส�ำคัญศูนย์กลางแห่ง การสั ก การบู ช าของพุ ท ธศาสนิ ก ชน เหล่ า มัลลกษัตริยไ์ ด้สร้างเจดียแ์ ละวิหารเป็นจ�ำนวน มากไว้รอบๆ มหาปรินพิ านสถูป อันเป็นสถานที่ บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ข องพระพุ ท ธเจ้ า มหาสถูปนีไ้ ด้กลายเป็นศูนย์กลางของปูชนียสถาน อื่นๆ ที่สร้างขึ้นมาภายหลังในบริเวณนั้น จุนทสถูป บนทีต่ งั้ ของบ้านนายจุนทะ อันเป็น สถานที่พระพุทธเจ้าเสวยพระกระยาหารมื้อ สุดท้ายก่อนปรินิพพาน
จุดแสวงบุญและสภาพของกุสนิ าราในปัจจุบนั ปั จ จุ บั น กุ สิ น าราได้ รั บ การบู ร ณะ และมี ปูชนียวัตถุส�ำคัญๆ ที่ชาวพุทธนิยมไปสักการะ คือ “สถูปปรินพิ พาน” เป็นสถูปแบบทรงโอคว�ำ่ เป็นที่ทรงพระราชนิยมในสมัยพระเจ้าอโศก มหาราช สร้างโดยพระเจ้าอโศกมหาราช บนสถูป มี ย อดมน มี ฉั ต รสามชั้ น “มหาปริ นิ พ พาน วิหาร” ตั้งอยู่ด้านหน้าในฐานเดียวกันกับสถูป ปรินิพพาน ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป ปางเสด็จดับขันธปรินิพพาน (คือ พระพุทธรูป นอนบรรทมตะแคงเบื้ อ งขวา) ศิ ล ปะมถุ ร า มีอายุกว่า ๑,๕๐๐ ปี ในจารึกระบุผู้สร้างคือ หริพละสวามี โดยนายช่างชื่อ ทินะ ชาวเมือง มถุรา ในปัจจุบันพระพุทธรูปองค์นี้ถือได้ว่า เป็นจุดหมายส�ำคัญที่ชาวพุทธจะมาสักการะ เพราะเป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธลักษณะอันพิเศษ คือเหมือนคนนอนหลับธรรมดา แสดงให้เห็นว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จดับขันธปรินพิ พานจากไป อย่างผู้หมดกังวลในโลกทั้งปวง “มกุฏพันธน เจดี ย ์ ” อยู ่ ห ่ า งจากปริ นิ พ พานสถู ป ไปทาง ทิศตะวันออก ๑ กิโลเมตร ชาวท้องถิ่นเรียก รั ม ภาร์ ส ถู ป เป็ น สถานที่ ถ วายพระเพลิ ง พระพุทธสรีระ มีสภาพเป็นเนินดินก่อด้วยอิฐ ขนาดใหญ่ ปัจจุบนั รัฐบาลอินเดียได้เข้ามาบูรณะ ซ่อมแซมไว้อย่างดี ปัจจุบันชาวพุทธทั่วโลกได้มาก่อสร้างวัดไว้ มากมาย โดยมีวดั ของไทยด้วย ชือ่ วัดไทยกุสนิ ารา เฉลิมราชย์ ปัจจุบนั ชาวไทยทีม่ าสักการะ ณ กุสิ นารา นิยมมาพักที่นี่ ในส่วนพุทธสถานโบราณ ลุมพินีนั้น ปัจจุบันได้รับการบูรณะซ่อมแซม เป็นอย่างดีจากรัฐบาลอินเดีย โดยรอบมีสภาพ เป็นสวนป่าสาละร่มรื่นเหมือนครั้งพุทธกาล ชวนให้เจริญศรัทธาแก่ผู้มาสักการะตลอดมา จนปัจจุบัน นาวาโทนหญิง รสสุคนธ์ ทองใบ
ข้อกฎหมายและข้อควรระวังที่สำ� คัญ
เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
11
๑. การที่ทหารไปปฏิบัติหน้าที่แก้ไขปัญหา ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น เป็นการ ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยภายใน ประเทศหรือการท�ำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) เพือ่ ให้ประชาชนในพืน้ ที่ มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินกับการ ใช้ชีวิตอย่างปกติสุข มิใช่การรบหรือสงคราม แต่ อ ย่ า งใด ดั ง นั้ น การฝึกอบรมให้ความรู้ แก่ ก� ำ ลั ง พลทหารเกี่ ย วกั บ การใช้ ก� ำ ลั ง หรื อ อาวุ ธ ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นพื้ น ที่ ดั ง กล่ า ว จึ ง เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ และจ� ำ เป็ น เป็ น อย่ า งยิ่ ง เพราะการใช้ก�ำลังและอาวุธท�ำหน้าที่บังคับ ใช้กฎหมายแตกต่างจากการใช้กำ� ลังและอาวุธ ในการท�ำการรบหรือการสงครามซึ่งก�ำลังพล ทหารส่วนใหญ่ได้รบั การฝึกอบรมเป็นประจ�ำที่ เน้นเฉพาะเพื่อการรบหรือการสงครามในการ ป้องกันประเทศเป็นหลัก สามารถสรุปในส่วนที่
การยิงอยู่ภายใต้หลักกฎหมายการ ป้องกันตนเองทั่วไปที่ไม่สามารถยิง ผู้ใดทางด้านหลังหรือยิงกราดหลาย สิบนัดได้โดยไม่มีความจ�ำเป็น มีการชันสูตรพลิกศพ มีการไต่สวน สาเหตุการตายโดยศาล ฯลฯ ซึ่งการ ท�ำการรบหรือการสงครามไม่อยู่ ภายใต้หลักเกณฑ์ดังกล่าวแต่อย่างใด 12
ส�ำคัญของการท�ำหน้าทีบ่ งั คับใช้กฎหมายได้วา่ หากสถานการณ์เอือ้ อ�ำนวยจะต้องมีการแสดงตน การเตือนด้ ว ยวาจา การยิ ง เตื อ นในทิ ศ ทาง ที่ปลอดภัย การยิงอยู่ภายใต้หลักกฎหมาย การป้องกันตนเองทั่วไปที่ไม่สามารถยิงผู้ใด ทางด้านหลังหรือยิงกราดหลายสิบนัดได้โดย ไม่มีความจ�ำเป็น มีการชันสูตรพลิกศพ มีการ ไต่สวนสาเหตุการตายโดยศาล ฯลฯ ซึ่งการ ท�ำการรบหรือการสงครามไม่อยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ ดังกล่าวแต่อย่างใด หากก�ำลังพลทหารไม่มี ความรู้ค วามเข้ า ใจดี พ อในการใช้ ก� ำ ลั ง และ อาวุ ธ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น อาจปฏิ บั ติ ผิ ด พลาด จนท�ำให้ ตั ว ก�ำ ลัง พลเองถู ก ด�ำ เนิ น คดี อ าญา และแพ่งรวมทั้งทัณฑ์ทางวินัยได้ และอาจมี ผลกระทบต่อภาพพจน์และภาพลักษณ์ของ หน่วยได้ ตลอดจนเป็นการเพิ่มปัญหาแทนที่ จะเป็นการแก้ ป ั ญ หาหรื อ ลดปั ญ หาในพื้ น ที่ สิง่ ส�ำคัญอีกเรือ่ งหนึง่ คือ ก�ำลังพลทุกระดับชัน้ พึงระมัดระวังไม่กล่าวหรือใช้ค�ำว่า “การรบ หรื อ การสงคราม”เกี่ ย วกั บ พื้ น ที่ ใ นจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้อย่างเด็ดขาด รวมทัง้ ค�ำอืน่ ด้วย ทั้งโดยตรง เปรียบเปรย หรือเปรียบเทียบ อาทิ “พื้นที่การรบ/การสงคราม” “วาดภาพการ รบ” “รบกันมาหลายสิบปี” หรือ “แผนการ รบ/การสงคราม” เป็นต้น รวมทั้งไม่มีการ แจกจ่ายเอกสาร หนังสือ ภาพโปสเตอร์ และ บรรยายหรือฝึกอบรมเกีย่ วกับกฎหมายว่าด้วย การขัดกันด้วยอาวุธ (กฎหมายสงคราม) ให้กับ ก�ำลังพลหรือหน่วยในพื้นที่ด้วย เพราะอาจก่อ พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์
เหตุการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้มิได้เป็นการขัดกันด้วยอาวุธ ภายในประเทศ (Internal Armed Conflict) หรือการขัดกันด้วย อาวุธที่มิใช่ระหว่างประเทศ (Non International Armed Conflict) แต่อย่างใด ปัจจุบันมีความพยายาม อย่างจงใจเพื่อผลประโยชน์บาง ประการหรือเข้าใจคลาดเคลื่อนโดย องค์การระหว่างประเทศหรือองค์การ พัฒนาเอกชน (Non-Governmental Organisation)
จัดก�ำลังเจ้าหน้าที่ไปรักษาความสงบเรียบร้อย หรื อ บั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายอั น เนื่ อ งมาจากการ กระท�ำผิดกฎหมายบ้านเมือง โดยอยู่ภายใต้ กฎหมายอาญาภายในประเทศ (Domestic Criminal Law) เพื่ อ ให้ ก ลั บ สู ่ ส ภาวะปกติ แต่ควรทราบความหมายของการขัดกันด้วย อาวุธภายในประเทศซึ่งสรุปได้ว่า “เป็นการ ต่อสู้ภายในรัฐ ระหว่างกองก�ำลังของรัฐบาล กั บ กองก� ำ ลั ง ต่ อ ต้ า นรั ฐ บาล หรื อ การต่ อ สู ้ ระหว่างกลุ่มก�ำลังต่างๆ ในดินแดนที่ยังไม่มี การจัดตั้งรัฐบาล” ตัวอย่าง เช่น การต่อสู้ ระหว่างกองก�ำลังของรัฐบาลอินโดนีเซียกับกอง ก�ำลังแบ่งแยกดินแดนอาเจะห์ กองก�ำลังรัฐบาล ศรีลังกากับกองก�ำลังทมิฬ ไทเกอร์ อีแลม กอง ก�ำลังรัฐบาลฟิลิปปินส์กับแนวร่วมปลดปล่อย มุสลิมโมโร หรือระหว่างกลุ่มขุนศึกต่างๆ ใน โซมาเลียเพื่อแย่งชิงอ�ำนาจจัดตั้งรัฐบาล โดยมี องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ดั ง นี้ ๑.) มี ก ารจั ด ตั้ ง ให้เกิดผลกระทบที่ส�ำคัญตามมาสองประการ องค์กรหรือกองก�ำลัง ๒.) มีการบังคับบัญชา ประการแรก คือ ก�ำลังพลทหารเข้าใจผิดคิดว่า องค์กรหรือกองก�ำลัง ๓.) มีการควบคุมพื้นที่ เป็นการรบหรือการสงคราม ท�ำให้การใช้ก�ำลัง โดยองค์ ก รหรื อ กองก� ำ ลั ง ที่ ก องก� ำ ลั ง ของ และอาวุธเป็นไปในลักษณะการรบหรือการ ฝ่ายรัฐบาลไม่อาจเข้าไปควบคุมได้เลย และ สงคราม ซึ่ ง อาจผิ ด พลาดแล้ ว มี ผ ลเสี ย หาย ๔.) มีการปฏิบัติการ (โจมตี) อย่างต่อเนื่อง ตามมา ตามที่กล่าวแล้วข้างต้น ประการต่อมา และพร้อมเพรียง โดยองค์กรหรือกองก�ำลัง ฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ไม่หวังดีต่อประเทศชาติ ซึ่ ง มี ผ ลกระทบที่ ส ามารถสรุ ป จากแนว ฝ่ายที่ก่อเหตุร้าย หรือฝ่ายที่ก่อความไม่สงบ ปฏิบัติระหว่างประเทศที่ผ่านมาได้ ดังนี้ ๑.) อาจน�ำไปกล่าวอ้างเพือ่ ประโยชน์ของฝ่ายตนว่า องค์การระหว่างประเทศเข้ามาตรวจสอบและ เมื่อฝ่ายรัฐกล่าวหรือใช้ค�ำว่าเป็นการรบหรือ แทรกแซง ๒.) ประชาคมโลกให้ความสนใจและ การสงคราม ดังนัน้ หากเจ้าหน้าทีข่ องรัฐจับกุม ติดตาม และ ๓.) แนวโน้มอาจต้องนิรโทษกรรม ตัวผู้ก่อเหตุร้าย ผู้ก่อความไม่สงบ ผู้ที่ถกู จับกุม กลุ่มก�ำลังต่อต้านรัฐบาล จึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ ตั ว ดั ง กล่ า วมี ส ถานะเป็ น เชลยศึ ก ภายใต้ หน่วยงานของรัฐทุกระดับจะต้องระมัดระวัง กฎหมายระหว่างประเทศ (อนุสัญญาเจนีวา) ทั้งระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ ยุทธวิธี และการ ฝ่ายรัฐไม่สามารถด�ำเนินคดีอาญาใดๆ ต่อผู้ถูก ด�ำเนินกลยุทธ์ มิให้องค์ประกอบของการขัด จับกุมได้ ฝ่ายรัฐกระท�ำได้เพียงควบคุมตัวไว้ กันด้วยอาวุธภายในประเทศเกิดขึ้นครบถ้วน เพื่อไม่ให้สามารถท� ำการสู้รบได้ เมื่อสภาพ ความขัดแย้งสิ้นสุดลง ต้องปล่อยตัวหรือส่งตัว กลับภูมิล�ำเนาต่อไป ๒. เหตุ ก ารณ์ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ มิ ไ ด้ เ ป็ น การขั ด กั น ด้ ว ยอาวุ ธ ภายใน ประเทศ (Internal Armed Conflict) หรือ การขั ด กั น ด้ ว ยอาวุ ธ ที่ มิ ใ ช่ ร ะหว่ า งประเทศ (Non International Armed Conflict) แต่ อย่างใด ปัจจุบันมีความพยายามอย่างจงใจ เพื่ อ ผลประโยชน์ บ างประการหรื อ เข้ า ใจ คลาดเคลื่อนโดยองค์การระหว่างประเทศหรือ องค์การพัฒนาเอกชน (Non-Governmental Organisation) ทั้งในประเทศและระหว่าง ประเทศว่า เหตุการณ์ในพื้นที่เป็นการขัดกัน ด้วยอาวุธภายในประเทศ ซึง่ ทีจ่ ริงแล้วสามารถ ยื น ยั น ภายใต้ ห ลั ก กฎหมายภายในประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศได้ว่า เหตุการณ์ ในพื้ น ที่ ดั ง กล่ า วนั้ น มิ ไ ด้ เ ป็ น การขั ด กั น ด้ ว ยอาวุ ธ ภายในประเทศ แต่ เ ป็ น การที่ รั ฐ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
เพราะหากองค์ประกอบดังกล่าวเกิดขึ้นครบ ถ้วนจะมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความมัน่ คง ของชาติ นอกจากนัน้ หากต่อไปกลุม่ บุคคลของ อีกฝ่ายมีการแต่งเครือ่ งแบบหรือเครือ่ งหมายที่ เห็นได้ชัดเจนกับการถืออาวุธโดยเปิดเผย อาจ ได้รบั สถานะบางประการตามกฎหมายระหว่าง ประเทศที่จะเป็นปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนิน คดีบุคคลดังกล่าว อีกประการหนึ่งที่ส�ำคัญที่ หน่วยงานของรัฐต้องระมัดระวังมิให้เข้าทาง หรือเป็นประโยชน์ต่ออีกฝ่าย คือ เจ้าหน้าที่ ของรัฐต้องไม่เผยแพร่ แสดง หรือเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับการจัดตั้ง และ/หรือการบังคับบัญชา ขององค์ ก รหรื อ กองก� ำ ลั ง ต่ อ สาธารณชน บุคคลภายนอก หรือสื่อมวลชน เพราะการเผย แพร่หรือเปิดเผยอาจเท่ากับเป็นการยอมรับ องค์ประกอบของการขัดกันด้วยอาวุธภายใน ประเทศว่า มีการจัดตัง้ และ/หรือการบังคับบัญชา โดยปริ ย ายหรื อ โดยไม่ รู ้ ตั ว แล้ ว ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเสี ย ต่ อ ประเทศชาติ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ สามารถรวบรวมข่าวสารหรือข้อมูลเกี่ยวกับ อีกฝ่ายได้ แล้วน�ำมาด�ำเนินกรรมวิธีในส่วน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ป ฏิ บั ติ ร าชการ เป็นการภายในเท่านั้น ไม่ควรน�ำไปเผยแพร่ แสดง หรือเปิดเผยตามที่กล่าวข้างต้นอย่าง เด็ดขาด
13
๓. การให้สัมภาษณ์ การแถลงข่าว การ เข้ า ร่ ว มสั ม มนา เสวนา หรื อ ประชุ ม และ การบรรยายโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวกับ เหตุ ก ารณ์ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ จะต้องระมัดระวังเช่นกัน นอกจากเพือ่ ไม่ให้เกิด ผลเสี ย ต่ อ ประเทศชาติดังกล่าวข้างต้นแล้ว เนื่องจากเป็นเรื่องที่องค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ องค์การความ ร่วมมือมุสลิม (Organisation of Islamic Cooperation : OIC) และองค์การเอกชน พัฒนาระหว่างประเทศ เช่น Human Rights 14
ทั้งในส่วนกลางและในพื้นที่ควรมีการแต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ประสานงาน (Liaison Officer) ที่ มี ค วามรู ้ ภ าษาอั ง กฤษและมนุ ษ ยสั ม พั น ธ์ เป็นอย่างดีในการติดต่อ ประสานงาน หรือ ให้ ข ้ อ มู ล ที่ ค รบถ้ ว นและถู ก ต้องแก่องค์การ ระหว่างประเทศ องค์กรเอกชนพัฒนาระหว่าง ประเทศ ทั้งที่มีที่ตั้งในต่างประเทศ กรุงเทพ และในพื้นที่ ซึ่งจะมีส่วนส�ำคัญช่วยในการแก้ ปัญหาและเสริมภาพลักษณ์และภาพพจน์ของ ประเทศชาติและหน่วยงานของรัฐ เพราะการที่ องค์การดังกล่าวได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องและไม่ ครบถ้วน แล้วน�ำไปเสนอทั้งภายในประเทศ และระหว่างประเทศ ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงาน ของรัฐควรรวบรวมข้อมูลว่า ปัจจุบนั มีองค์การ ระหว่างประเทศหรือองค์การพัฒนาเอกชน จ�ำนวนเท่าไรที่มีที่ตั้งหรือด�ำเนินกิจกรรมใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งท่าที เพื่อ ประโยชน์ในการประสานงานและชี้แจง กับให้ ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน Watch องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty สรุ ป การแก้ ไ ขปั ญ หาในพื้ น ที่ จั ง หวั ด International) คณะกรรมการกาชาดระหว่าง ชายแดนภาคใต้นั้นมีประเด็นข้อกฎหมายทั้ง ประเทศหรือกาชาดสากล (International กฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่าง Committee of the Red Cross) สนใจและ ประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อควรระวังที่ จับตามองเป็นพิเศษ ดังนั้น เจ้าหน้าที่ของรัฐ ส�ำคัญ จึงเป็นสิง่ ทีจ่ �ำเป็นอย่างยิง่ ทีก่ �ำลังพลทุก ทุกระดับที่จะให้สัมภาษณ์ แถลงข่าว เข้าร่วม ระดับตั้งแต่ยุทธศาสตร์ ยุทธการ ยุทธวิธี และ สัมมนา เสวนา หรือประชุม และบรรยาย จะ การด�ำเนินกลยุทธ์ ควรจะมีความรู้ความเข้าใจ ต้องมีขอ้ มูลและข้อควรระวังทีค่ รบถ้วนถูกต้อง ในส่วนที่เกี่ยวข้องแล้วน�ำไปปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อไม่ไปกระท�ำการใดให้เกิดผลกระทบต่อ เพื่ อ เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในการแก้ ป ั ญ หาหรื อ ประเทศชาติในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัด บรรเทาปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ชายแดนภาคใต้ นอกจากนั้นหน่วยงานของรัฐ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์
พิธีแสดงความยินดีแก่
นายทหารประทวนที่ได้เลื่อนฐานะเป็น นายทหารสัญญาบัตรของกระทรวงกลาโหม พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
ส
ภาพแวดล้ อ มด้ า นความมั่ น คงของ สังคมโลกในปัจจุบัน ส่งผลให้กิจการ ทหารต้องปรับเปลี่ยนนโยบายและ โครงสร้างหน่วยงาน เพือ่ ให้เกิดความเหมาะสม รองรั บ กั บ ภารกิ จ ทางทหารที่ ห ลากหลาย ขึ้น การพัฒนาขีดความสามารถก�ำลังรบและ ประสิทธิภาพของยุทโธปกรณ์ให้มีความพร้อม อยู่เสมอ จึงมีความจ�ำเป็นยิ่ง พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม ได้ ก� ำ หนดนโยบายในการปรั บ โครงสร้ า งกองทั พ มี ใ ห้ มี ค วามเหมาะสม กะทั ด รั ด ทั น สมั ย มี ค วามสมดุ ล ระหว่ า ง หน่วยปฏิบตั กิ บั หน่วยควบคุมการบังคับบัญชา เพื่อให้มีความพร้อมรองรับภารกิจและสภาพ แวดล้อม ภัยคุกคาม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยหากมีความจ�ำเป็นต้องขยายหน่วยหรือจัด ตั้งหน่วยใหม่จะต้องมีเหตุผลที่รองรับชัดเจน หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
การปรับปรุงโครงสร้างกองทัพ ต้องน�ำไป สู่การสร้างความกะทัดรัด เหมาะสม ได้สมดุล ระหว่างส่วนต่างๆ ทั้งส่วนบังคับบัญชา ส่วน ก�ำลังรบ ส่วนสนับสนุนการรบ ส่วนสนับสนุน การช่วยรบและส่วนที่เหลืออื่นๆ ให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ นอกจากนี้ในด้านก�ำลังพล รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญ ของข้ า ราชการทหารมี ภ ารกิ จ ในด้ า นการ รักษาความมั่นคงของชาติ มีบทบาทส�ำคัญนับ แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในการสร้างความเป็น ปึกแผ่นให้กับชาติ ปกป้องและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ รักษาอธิปไตย และผลประโยชน์ แห่งชาติ รวมทั้งการพัฒนาประเทศและการ แก้ปัญหาส�ำคัญของชาติ โดยเฉพาะนายทหาร ประทวนถือเป็นก�ำลังหลักของกองทัพ ทีป่ ฏิบตั ิ หน้าที่ด้วยความเสียสละมาตลอดชีวิตการรับ
นายทหารประทวนถือเป็น ก�ำลังหลักส�ำคัญยิ่งของกองทัพ ที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละ มาตลอดชีวิตการรับราชการ 15
ขอแสดงความยินดีกับนายทหารใหม่ ทุกท่าน และภาคภูมิใจกับครอบครัว ญาติพี่น้องทั้งที่อยู่ในที่นี้ และที่ไม่ได้ มาร่วมในพิธีอันมีเกียรตินี้ และขอขอบคุณรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ผู้บังคับบัญชา ทุกระดับที่ได้สร้างโอกาสแก่ก�ำลังพล ชั้นผู้น้อย หากมีนโยบายอื่นที่เป็น การพัฒนารักษาขวัญของก�ำลังพล ราชการ ด้วยเหตุนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง แล้ว ดิฉันยินดีที่จะให้การสนับสนุน กลาโหม จึงได้ให้ความส� ำคัญในการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต และสวั ส ดิ ภ าพของนายทหาร ประทวน โดยให้ตอบแทนคุณความดีเพื่อเป็น เกียรติแก่ข้าราชการทหารผู้เสียสละ ด้วยการ เลื่อนฐานะจากนายทหารประทวนเป็นนาย ทหารสัญญาบัตรก่อนทีจ่ ะเกษียณอายุราชการ ทั้ ง นี้ น ายทหารประทวนดั ง กล่ า วจะต้ อ งมี คุณสมบัติโดย เป็นนายทหารประทวนซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่งหลัก ยศจ่าสิบเอก พันจ่าเอก พันจ่า อากาศเอกที่มีอัตราเงินเดือน จ่าสิบเอกพิเศษ พันจ่าเอกพิเศษ และพันจ่าอากาศเอกพิเศษ ที่มีอายุ ๕๕ ปี ขึ้นไป กระทรวงกลาโหม ได้ก� ำ หนดกระท� ำพิธี แสดงความยินดีแก่นายทหารชั้นประทวนของ ทั้ง ๓ เหล่าทัพ ที่ได้รับการเลื่อนฐานะเป็น นายทหารสัญญาบัตร จ�ำนวนทั้งสิ้น ๒,๕๙๕ นาย ประกอบด้วย ส�ำนักงานรัฐมนตรี ๑ นาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๒๖ นาย กอง บัญชาการกองทัพไทย ๓๔๑ นาย กองทัพบก ๑,๒๔๙ นาย กองทัพเรือ ๓๑๙ นาย และ กองทัพอากาศ ๖๕๙ นาย เมื่อวันจันทร์ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๗.๓๐ นาฬิกา ณ ศาลา ว่าการกลาโหม โดย นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี และได้ให้ โอวาทแก่นายทหารใหม่ ดังนี้ 16
ว่าการกระทรวงกลาโหมได้วางนโยบายให้นาย ทหารประทวน ที่อายุ ๕๕ ปีขึ้นไป ได้เลื่อน ฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร เพื่อตอบแทน คุณความดีในการท�ำงาน จึงเป็นการสร้างขวัญ และก�ำลังใจแก่ก�ำลังพลชั้นผู้น้อย อันจะส่งผล ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านในภาพรวมของกระทรวง กลาโหมมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเป็นแนว นโยบายของรัฐบาล ที่ต้องการให้ข้าราชการมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงขอให้กระทรวงกลาโหม รั ก ษาและพั ฒ นานโยบายดั ง กล่ า วให้ ยั่ ง ยื น ยิ่งๆ ขึ้นไป ขอแสดงความยินดีกับนายทหารใหม่ทุก ท่าน และภาคภูมใิ จกับครอบครัว ญาติพนี่ อ้ งทัง้ ทีอ่ ยูใ่ นทีน่ ี้ และทีไ่ ม่ได้มาร่วมในพิธอี นั มีเกียรติ นี้ และขอขอบคุณรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาทุ ก ระดั บ ที่ ไ ด้ ส ร้ า ง โอกาสแก่ก�ำลังพลชั้นผู้น้อย หากมีนโยบายอื่น ที่เป็นการพัฒนารักษาขวัญของก�ำลังพลแล้ว ดิฉันยินดีที่จะให้การสนับสนุน...” ส�ำหรับนายทหารใหม่ได้กล่าวถึงความรู้สึก “...กระทรวงกลาโหม ถือว่าเป็นหน่วยงาน ที่มีความส�ำคัญ และเป็นหลักในงานด้านความ ที่ได้รับโอกาสในครั้งนี้ว่า การรับราชการทหาร มั่นคง หลายครั้งเมื่อมีเหตุการณ์ไม่ปกติ หรือ นั้น สิ่งที่มุ่งหวังสูงสุดในอาชีพนี้ คือการได้มี มีภัยพิบัติร้ายแรง ก�ำลังทหารจะเป็นหน่วย ความเจริญก้าวหน้าตามแนวทางรับราชการ งานแรกๆ ที่เข้าไปแก้ไขปัญหาให้กับบ้านเมือง เป็นนายทหารสัญญาบัตร ดังนั้นสิ่งที่ก�ำลังพล เช่น เมื่อคราวมหาอุทกภัยครั้งที่ผ่านมา ก�ำลัง ชั้นผู้น้อยได้รับในวันนี้ จึงนับเป็นความซาบซึ้ง ทหารได้เข้าให้ความช่วยเหลือและบรรเทา ในความกรุณาของผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ทุกข์ของประชาชน จนกระทั่งเมื่อสถานการณ์ ที่ ไ ด้ เ ติ ม เต็ ม ความฝั น ให้ แ ก่ พ วกเขา และ คลี่ ค ลายก� ำ ลั ง ทหารจะเข้ า ฟื ้ น ฟู บ ้ า นเรื อ น ครอบครัว ได้ภาคภูมิใจในวิชาชีพทหารที่พวก ราษฎร ถนนหนทางเพื่ออ�ำนวยความสะดวก เขารัก นอกจากนี้ยังรู้สึกปลื้มใจเป็นที่สุดที่ ให้กบั ประชาชน ภาพเหตุการณ์เหล่านีย้ งั อยูใ่ น นายกรัฐมนตรีได้ให้เกียรติมาเป็นประธานใน ความทรงจ�ำของประชาชนเสมอมา ดังนัน้ ชีวติ พิธีแสดงความยินดีในครั้งนี้ ทั้งยังให้ค�ำมั่นร่วม ทหารจึงมีความแตกต่างจากคนอืน่ ๆ ทีบ่ คุ ลากร กัน ณ ศาลาว่าการกลาโหมแห่งนีว้ า่ พวกเขาจะ ในกองทั พ นอกจากจะต้ อ งเป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ ตัง้ ใจปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะนายทหารสัญญาบัตร ความสามารถ มีประสบการณ์แล้ว สิ่งที่ส�ำคัญ อย่ า งเต็ ม ขี ด ความสามารถ ตลอดเวลารั บ ยิง่ กว่าคือ เป็นผูม้ อี ดุ มการณ์และความเสียสละ ราชการที่ ยั ง คงเหลื อ อยู ่ เพื่ อ สถาบั น ชาติ เพื่อความสงบสุขของบ้านเมือง การที่รัฐมนตรี ศาสนา และพระมหากษัตริย์ พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
กรณีศึกษาจากคดีปราสาทพระวิหาร จุฬาพิช มณีวงศ์
เ
มือ่ ตอนทีเ่ จ้านโรดมสีหนุเสด็จสูส่ วรรคาลัย คนไทยจ�านวนไม่นอ้ ยหวนค�านึงถึงผลงาน ชิ้นโบแดง ที่พระองค์ฝากทิ้งไว้เป็นความ ทรงจ�ามิรู้ลืม คือ การน�าปราสาทพระวิหาร มากลายเป็นกรณีพิพาทระหว่างไทย-กัมพูชา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๒ และแม้ว่าคนไทยที่อยู่ใน ช่วงเหตุการณ์ดงั กล่าวจะร�าลึกถึงความปวดร้าว จากการแพ้คดีได้เป็นอย่างดี แต่เราก็คงไม่คดิ ว่า ๕๑ ปีพ้นผ่าน เรื่องที่ควรยุติกลับถูกพลิกฟื้น มาให้ศาลโลก ต้องตัดสินอีก หากศึกษาประวัตศิ าสตร์ระหว่างไทย – พม่า และไทย – กัมพูชา เป็นที่น่าคิดว่า แม้ไทยกับ พม่า จะใช้เวลาสู้รบกันมาแบบไม่เคยว่างเว้น
หลักเมือง พฤษภาคม 255๖
จนในอดีตของทั้งสองประเทศไม่น่าจะมีเวลา เป็นมิตรพูดจาดีต่อกันได้เลย แต่ความรู้สึกที่ คนไทยมีต่อพม่ากลับหาได้รุนแรงเหมือนกับ ที่มีต่อกัมพูชาไม่ ความฝังใจกับประวัติศาสตร์ หลายยุคหลายสมัย ทัง้ จากสมัยอยุธยา ในแผ่นดิน สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช และในสมั ย รัตนโกสินทร์ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้า เจ้าอยู่หัว ท�าให้ความรู้สึกที่คนไทยส่วนใหญ่ มีความรู้สึกไปในทางลบต่อกัมพูชาตลอดมา จนถึงการต่อสูค้ ดีปราสาทพระวิหาร ความรูส้ กึ ไม่ไว้วางใจถูกพัฒนาการมาเป็นล�าดับ ปราสาทพระวิหารถูกค้นพบโดย พระเจ้า บรมวงศ์ เ ธอ กรมหลวงสรรพสิ ท ธิ ป ระสงค์ ในปี พ.ศ.๒๔๔๒ ก่อนหน้าการลงนามจัดท�า อนุสัญญาก�าหนดเขตแดนระหว่างสยาม และ อินโดจีนที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ซึ่งมีขึ้น ในอีกราว ๕ ปีหลังจากนั้น เพื่ อ ให้ มี ก ารปั ก ปั น เขตแดนระหว่ า งกั น ตามอนุสัญญาดังกล่าว ที่รวมทั้งพื้นที่บริเวณ ที่ตั้งของเขาพระวิหารและปราสาทพระวิหาร ด้วย คณะกรรมการผสมชุดนี้ท�างานตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๔๗ เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๔๕๐ จึง ยุบเลิกไปโดยมีการจัดท�าแผนที่ในมาตราส่วน ๑ ต่อ ๒๐๐,๐๐๐ จ�านวน ๑๑ ระวาง ส่งมอบให้ ไทยโดยไม่มกี ารรับรองใดๆ จากคณะกรรมการ ปักปันเขตแดน ต่อมากัมพูชาได้เอกราชพ้นจากการเป็น อาณานิคมของฝรั่งเศสในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ และ มีปัญหาขัดแย้งเรื่องดินแดนกับไทยอยู่ไม่น้อย
ปราสาทพระวิหารถูกค้นพบโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง สรรพสิทธิประสงค์ ในปี พ.ศ.๒๔๔๒ ก่อนหน้าการลงนามจัดท�าอนุสัญญา ก�าหนดเขตแดนระหว่างสยาม และ อินโดจีนที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ซึ่งมีขึ้นในอีกราว ๕ ปีหลังจากนั้น
ทั้งที่ก่อนหน้าและหลังได้รับเอกราช ปี ๒๕๐๑ กัมพูชาตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทยเป็น ระยะเวลาสั้นๆ เพียงไม่กี่เดือน ก่อนที่จะปรับ ความสัมพันธ์สู่ระดับปกติในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ๒๕๐๒ จากนั้นในเดือนตุลาคม ๒๕๐๒ กัมพูชายื่น ฟ้องไทยต่อศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศในคดี ปราสาทพระวิหาร ในวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๐๕ ศาลมีค�า พิ พ ากษาตั ด สิ น ให้ อ ธิ ป ไตยเหนื อ ปราสาท พระวิหารเป็นของกัมพูชา และให้ไทยถอน ก� า ลั ง ทหารและต� า รวจออกจากพื้ น ที่ ตั ว ปราสาท และให้คืนโบราณวัตถุอันอาจน�าออก 17
มาจากตัวปราสาทให้แก่กัมพูชา รัฐบาลไทย แถลงแสดงความไม่เห็นด้วยกับค� ำพิพากษา แต่ พ ร้ อ มปฏิ บั ติ ต ามในฐานะสมาชิ ก ของ สหประชาชาติ ในวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ม ติ ใ ห้ ด� ำ เนิ น การตามค� ำ พิพากษา ในวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๐๖ สมเด็จพระ นโรดมสีหนุ เสด็จเยือนปราสาทพระวิหารใน
พิธีเข้าครอบครองอย่างเป็นทางการ หลังจากนั้นเป็นต้นมา มิได้มีการด�ำเนิน การใดๆ กับคดีปราสาทพระวิหารเลย แม้จะ เป็นเรื่องที่ค้างคาใจคนไทยตลอดมา แต่ก็มิได้ มีความขัดแย้งรุนแรงใดใด พี่น้องชาวไทยและ กัมพูชาต่างก็ไปมาหาสู่กันอย่างสันติ จนถึง การประชุมรัฐมนตรีรว่ มระหว่างไทย – กัมพูชา ระหว่างวันที่ ๓๐ พฤษภาคม – ๑ มิถุนายน ๒๕๔๖ ทั้ง ๒ ฝ่าย ยังตกลงกันที่จะร่วมกัน พัฒนาและบูรณปฏิสังขรณ์พื้นที่เขาพระวิหาร และตัวปราสาทร่วมกัน แต่ ทั้ ง หมดได้ เ ริ่ ม เปลี่ ย นแปลงไปอย่ า ง สิ้นเชิงก็ต่อเมื่อกัมพูชาตัดสินใจยื่นค�ำร้องขอ ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เพียงฝ่ายเดียว เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๙ ซึ่งไทยคัดค้านอย่างเต็มที่ เนื่องจากแผนขึ้น ทะเบียนดังกล่าวกัมพูชาได้เสนอแผนพัฒนา พื้นที่โดยรอบตัวปราสาทซึ่งเป็นดินแดนของ
ในส่วนของไทยได้ยื่นข้อสังเกตการณ์ เป็นลายลักษณ์อักษรต่อศาลไป เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ สาระส�ำคัญระบุว่า ศาลไม่มีอ�ำนาจ พิจารณาการตีความตามค�ำร้อง และกัมพูชาไม่มีสิทธิและอ�ำนาจใน การยื่นค�ำร้อง เนื่องจากสาระส�ำคัญ ของค�ำร้องเน้นการให้พิพากษากรณี ที่เกิดขึ้นใหม่ ไม่ใช่กรณีพิพาทตาม ค�ำพิพากษาเดิมซึ่งไม่เคยเกิดขึ้น 18
ไทยรวมอยู่ด้วย การคัดค้านอย่างต่อเนื่องของไทยน�ำมาซึ่ง การปรั บ เปลี่ ย นท่ า ที ข องกั ม พู ช าและขอขึ้ น ทะเบียนเฉพาะตัวปราสาทเป็นผลส�ำเร็จ เมื่อ
อาเซียนเข้าไปในพื้นที่เขตปลอดทหารชั่วคราว ดังกล่าวด้วย ในส่วนของไทยได้ยื่นข้อสังเกตการณ์เป็น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรต่ อ ศาลไปเมื่ อ วั น ที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ สาระส�ำคัญระบุว่า ศาล ไม่มีอ�ำนาจพิจารณาการตีความตามค� ำร้อง และกั ม พู ช าไม่ มี สิ ท ธิ แ ละอ� ำ นาจในการยื่ น ค�ำร้อง เนือ่ งจากสาระส�ำคัญของค�ำร้องเน้นการ ให้พพิ ากษากรณีทเี่ กิดขึน้ ใหม่ ไม่ใช่กรณีพพิ าท ตามค�ำพิพากษาเดิมซึ่งไม่เคยเกิดขึ้น กรณีที่เกิดขึ้นเป็นกรณีพิพาทใหม่ ที่เกี่ยว วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เนื่องกับเนื้อที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร ซึ่งไทย ระหว่ า งนั้ น ไทยกั บ กั ม พู ช ากลั บ มี ค วาม ถือว่าเป็นดินแดนไทยมาโดยตลอด และกัมพูชา ตึงเครียดขึ้นตามแนวชายแดนจนถึงขั้นปะทะ ไม่เคยคัดค้านจนกระทัง่ จ�ำเป็นต้องขึน้ ทะเบียน กันถึง ๓ ครั้ง คือ ระหว่าง กรกฎาคม – ตุลาคม โลกความขัดแย้งจึงเกิดขึ้น ๒๕๕๑ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๒ และระหว่าง วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๕ กัมพูชายื่นค�ำร้อง ๔ – ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ท�ำให้คณะมนตรี ต่อศาลตอบสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับข้อสังเกตของ ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติต้องจัดประชุม ฝ่ายไทย เพื่ อ ให้ คู ่ ก รณี ยุ ติ ก ารปะทะกั น และน� ำ ไปสู ่ วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ ไทยยื่นอธิบาย การน�ำคดีทเี่ กีย่ วเนือ่ งกับปราสาทพระวิหารขึน้ เพิม่ เติมเป็นลายลักษณ์อกั ษรต่อศาลเพือ่ ขยาย สู่การพิจารณาของศาลโลกอีกครั้ง ความและแสดงหลักฐานเอกสารเพิ่มเติมตาม กัมพูชายื่นค�ำร้องถึงศาลโลกเมื่อวันที่ ๒๘ แนวทางคัดค้านการตีความดังกล่าว เมษายน ๒๕๕๔ ขอให้ศาลโลกด� ำเนินการ ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศก�ำหนดเมือ่ วัน ๒ ประการ ประการแรก ขอให้ศาลตีความ ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ให้มกี ารนัง่ พิจารณา ค� ำพิพากษาของศาลในวั น ที่ ๑๕ มิ ถุ น ายน ค�ำแถลงด้วยวาจาของทั้ง ๒ ฝ่าย ระหว่างวันที่ ๒๕๐๕ คือ ศาลวินิจฉัยว่าไทยไม่ได้ถอนออก ๑๕ – ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖ ภาพประวัติศาสตร์ ไปจากพื้นที่ใกล้เคียงตัวปราสาทที่ถูกก�ำหนด เมื่อ ๕๑ ปีก่อน จึงเกิดขึ้นอีกครั้งในโอกาสครบ ตามแผนที่ ๑ : ๒๐๐,๐๐๐ หรือแผนที่ ใน ภาคผนวก ๑ แนบท้ายค�ำพิพากษาปี ๒๕๐๕ ประการทีส่ อง กัมพูชาขอให้ออกมาตรการเพือ่ คุม้ ครองชัว่ คราวอันเป็นทีม่ าของค�ำสัง่ ศาลโลก เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ให้กำ� หนดเขต ปลอดทหารชั่วคราว และให้ทั้งสองฝ่ายถอน ก�ำลังทหารออกจากพืน้ ทีท่ กี่ ำ� หนดและมาตรการ อืน่ ๆ ทีร่ วมทัง้ การเปิดทางให้ผสู้ งั เกตการณ์จาก
การขึ้นกล่าวถ้อยแถลงต่อศาลด้วย วาจาในคดีปราสาทพระวิหารครั้งนี้ ยังเป็นครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดสด และมีล่ามแปลเป็นภาษาไทย ผ่านสถานีโทรทัศน์ช่อง ๑๑ สถานี วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุสราญรมย์ เผยแพร่ ให้ประชาชนไทยรับทราบโดยทั่วกัน
รอบการก่อตั้งศาลโลกครบ ๑๐๐ ปีพอดี โดย ทั้งไทยและกัมพูชาต่างท�ำหน้าที่ของตนเอง อย่างสมศักดิศ์ รี ท่ามกลางองค์คณะผูพ้ พิ ากษา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศทั้ง ๑๗ คน โดย มี นายปีเตอร์ ทอมกา ประธานศาลโลก เป็น หัวหน้าคณะ ทีมกัมพูชา ประกอบด้วย นาย ฮอน� ำ ฮง รองนายกรั ฐ มนตรี และรั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาเป็น หัวหน้าคณะ ทีมทนายต่างชาติทตี่ งั้ ขึน้ ประกอบ ด้วย ศาสตราจารย์ มาร์ค ซอเรล ชาวฝรั่งเศส เซอร์แฟรงคลิน เบอร์แมน ชาวอังกฤษ และ นายร็อดแมน บุนดี ชาวอเมริกา ขณะทีฝ่ า่ ยไทย รั ฐ บาลของนายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ ได้ มี มติเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ตั้งคณะ ท� ำ งานประกอบด้ ว ย นายวี ร ชั ย พลาศรั ย เอกอัครราชทูตไทยประจ�ำเนเธอร์แลนด์ เป็น
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
ตัวแทน นายวรเดช วีระเวคิน อธิบดีกรมสนธิ สัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ เป็นรองตัวแทน ส่วนทีป่ รึกษากฎหมายชาวต่าง ประเทศ ๓ คน ประกอบด้วย ศ. อแลง แปลเลต์ ชาวฝรั่งเศส ศ. โดนัลด์ แมคเรย์ ชาวแคนนาดา และ ศ. เจฟรี ครอว์ฟอร์ด ชาวออสเตรเลีย
นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการโดยต�ำแหน่ง ได้ แ ก่ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการต่ า ง ประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อัยการสูงสุด ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก เจ้ากรมแผนทีท่ หาร และ ผู้อ�ำนวยการกองเขตแดน รวมทั้งยังมีคณะ ท�ำงานของกระทรวงการต่างประเทศอีก ๕ ชุด ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายอีก ๓๔ คน เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลเป็นรัฐบาลของนางสาว
ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ไม่ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงผูร้ บั ผิดชอบในคดีป ราสาทพระวิ ห ารแต่ อ ย่ า งใด เพียงแต่มีการตั้งคณะที่ปรึกษากฎหมายชุด เล็กเพื่อให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับข้อกฎหมายแก่ นายกรัฐมนตรี ได้แก่ ศ.พนัส ทัศนียานนท์ อดี ต คณบดี ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ศ.จตุรนต์ ถิระวัฒน์ คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ นายชู เ กี ย รติ รั ต นชั ย ชาญ รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการ กฤษฎีกา และนายวิรัช ชินวินิจกุล เลขาธิการ ส�ำนักงานศาลยุติธรรม นอกจากนี้ยังได้แต่งตั้งคณะเผยแพร่ข้อมูล และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการต่อสู้คดีปราสาท พระวิหาร ประกอบด้วย นายณัฐวุฒิ โพธิสาโร รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เป็นหัวหน้า คณะ ในส่วนของกระทรวงการต่างประเทศ และ พลโท ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ เจ้ากรม ยุทธการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย เป็น หัวหน้าคณะในส่วนของกระทรวงกลาโหม การขึ้นกล่าวถ้อยแถลงต่อศาลด้วยวาจาใน คดีปราสาทพระวิหารครั้งนี้ ยังเป็นครั้งแรกที่ มีการถ่ายทอดสดและมีลา่ มแปลเป็นภาษาไทย ผ่านสถานีโทรทัศน์ชอ่ ง ๑๑ สถานีวทิ ยุกระจาย เสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวทิ ยุสราญรมย์ เผยแพร่ให้ประชาชนไทยรับทราบโดยทั่วกัน ตามก�ำหนดเวลาอีก ๖ เดือนข้างหน้า ศาล ยุตธิ รรมระหว่างประเทศจะตัดสินคดี ซึง่ จะเป็น ข้อยุติอย่างไร ขณะนี้ยังต้องเฝ้ารอคอย ปัญหา คือทั้ง ๒ ประเทศต่างยึดแผนที่คนละฉบับ ระหว่างแผนที่ ๑ : ๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชา กับ แผนที่ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง L7017/L7018 ที่ ไทยยึดถือ ฉบับไหนจะได้รับการฟันธง
19
พระยอดธง ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ใ
นวโรกกาสอภิ ลั ก ขิ ต สสมั ย แห่ ง ปี ม หา มงคล ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา ๘๑ พรรษา ในปีพุทธศักกราช ๒๕๕๖ พลเอก ทนงศักดิ์ อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น ปลั ด กระทรวงกลาโหม จึ งมี ด�ำริให้จัดสร้างพระยอดธงขึ้น เพื่อถวายเป็น พระราชกุ ศ ล และเป็ น ที่ ร ะลึ ก ในวาระมหา มงคลพิ ธี ฉ ลองและเชิ ญ ธงชาติ ก ระทรวง กลาโหมขึ้นสู่ยอดเสา หลังจากที่ได้ดำ� เนินการ บูรณะซ่อมแซมขึน้ ใหม่ ในวันคล้ายวันสถาปนา กระทรวงกลาโหม ครบ ๑๒๖ ปี ๘ เมษายน ๒๕๕๖ พระยอดธง คื อ พระพุ ท ธรู ป ที่ ส ร้ า งขึ้ น ประดิ ษ ฐานไว้ บ นยอดธงประจ� ำ กองทหาร มีปรากฏเป็นหลักฐานว่า ในการท�ำศึกสงคราม แต่ ค รั้ ง โบราณกาลมา กองทั พ จะอาราธนา พระพุ ท ธรู ป ลอยองค์ ม าประดิ ษ ฐานไว้ บ น 20
พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
ยอดธงประจ�ำทัพ ซึง่ เรียกกันว่า “พระยอดธง” หรือ “พระชัยยอดธง” เพื่อคุ้มครองกองทัพ ให้ปลอดภัยจากภยันตราย เป็นขวัญกําลังใจ ให้กับไพร่พล และเป็นสัญลักษณ์ ในการน�ำ มาซึ่ ง ชั ย ชนะในการศึ ก สงคราม ต่ อ มาใน ยุ ค ปั จ จุ บั น องค์ พ ระมหากษัตริย์ผู้ทรงด� ำรง ต�ำแหน่งจอมทัพไทย ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ธงชัยเฉลิมพลประจ�ำกองทหาร พระราชทาน ให้แก่หน่วยทหาร โดยทรงประกอบพิธีสำ� คัญ ทางศาสนาและพระราชพิ ธี ต รึ ง หมุ ด ธงชั ย เฉลิมพล ในพระอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม ส่วนบนยอดของธงชัยเฉลิมพล จะทรงบรรจุ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
พระพุทธรูป “พระยอดธง” ประดิษฐานไว้บน ส่ ว นยอดของธงชั ย เฉลิ ม พล ด้ ว ยตระหนั ก ในความส�ำคัญทางคุณค่าและประวัติศาสตร์ ความเป็ น มาของพระยอดธง ที่ มี ค วาม เกี่ ย วข้ อ งกั บ กองทั พ และการศึ ก สงคราม ดังกล่าวในข้างต้น ดังนั้นในวาระมหามงคล พิธีฉลองและเชิญธงชาติกกระทรวงกลาโหม ขึ้ น สู ่ ย อดเสา เนื่ อ งในโอกาสวั น คล้ า ยวั น สถาปนากระทรวงกลาโหม ครบ ๑๒๖ ปี วันที่ ๘ เม.ย. ๕๖ ปลัดกระทรวงกลาโหม จึ ง มี ด� ำ ริ ใ ห้ จั ด สร้ า งพระยอดธงขึ้ น เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลและเป็ น ที่ ร ะลึ ก ใน คราวเดี ย วกั น พร้ อ มกั บ จะได้ ด� ำ เนิ น การ แจกจ่ า ยวั ต ถุ ม งคล พระยอดธงดั ง กล่ า ว ให้ข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานราชการ ในสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ไว้ เ ป็ น ที่ ร ะลึ ก และสั ก การบู ช าต่ อ ไป ทั้ ง นี้
ก� ำ หนดการจั ด งานประกอบพิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษก พระยอดธง ในวันศุกร์ที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๐.๒๙ น. ณ มณฑลพิธลี าน อเนกประสงค์ ภายในศาลาว่าการกลาโหม โดยมี พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็ น ประธาน ในโอกาสมหามงคลนี้ จึ ง ขอ เชิญชวนข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม และผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาได้ ร ่ ว มงานพิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษก และ อนุโมทนาบุญโดยพร้อมเพรียงกัน
21
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านพลังงานทดแทน
ระหว่างกระทรวงพลังงาน และกระทรวงกลาโหม พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
22
พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
23
น
างสาวยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร นายก รั ฐ มนตรี ร่ ว มเป็ น ประธานในพิ ธี ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงระหว่ า ง กระทรวงกลาโหมและกระทรวงพลั ง งาน เกี่ยวกับการด�ำเนินการด้านพลังงานทดแทน ในหน่วยทหาร โดยมี พลอากาศเอก สุกําพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นตัวแทนกระทรวงกลาโหม และ นายพงษ์ศกั ดิ์ รั ก ตพงศ์ ไ พศาล รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง พลั ง งาน เป็ น ตั ว แทนกระทรวงพลั ง งาน ณ ห้องสีม่วง ตึกไทยคู่ฟ้า ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๖ กระทรวงพลังงานและกระทรวงกลาโหมได้ ร่วมกันส่งเสริมสนับสนุนวิจัยและพัฒนาด้าน การพลังงานทุกรูปแบบ รวมทั้งการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพและการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร เพื่อให้ความรู้และสร้างจิตส�ำนึกด้าน พลั ง งานตลอดจนการพั ฒ นาบุ ค ลากรด้ า น พลังงานของทั้ง ๒ ฝ่าย และด้วยความส�ำคัญ ของการอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงกลาโหมและ กระทรวงพลังงานจึงได้จัดท�ำบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างกระทรวง กลาโหมกับกระทรวงพลังงาน เกี่ยวกับการ ด�ำเนินการด้านพลังงานทดแทนในหน่วยทหาร เพือ่ ร่วมมือสนับสนุนกิจการด้านพลังงานซึง่ กัน และกันรวม ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการ พลังงานในกิจการทหาร คือ การสนับสนุน การบริหารจัดการด้านพลังงานของกระทรวง กลาโหมและให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการจั ด ท� ำ 24
แผนการส�ำรองพลังงานทุกรูปแบบ เพื่อใช้ใน ยามฉุกเฉินให้กับกระทรวงกลาโหม ด้านการส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน มีการผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลังงานทดแทน อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวลในพื้นที่ที่มี ความพร้อมและมีศกั ยภาพ รวมทัง้ การส่งเสริม การอนุรกั ษ์พลังงานเพือ่ เป็นโครงการต้นแบบใน การส่งเสริมสวัสดิการในชุมชนทหาร และน�ำไปสู่ ชุมชนประหยัดพลังงานหมูบ่ า้ นสีเขียวทีย่ งั่ ยืนต่อ ไป นอกจากนีย้ งั มีการส่งเสริมสนับสนุนการใช้ หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงานเป็นองค์กรน�ำร่อง ในการเปลีย่ นมาใช้หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน โดยกระทรวงพลังงานจะส่งเสริมสนับสนุนให้ กระทรวงกลาโหมเป็นองค์กรน�ำร่องในการ เปลี่ยนมาใช้หลอดไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงตาม นโยบายของรัฐบาล อาทิ หลอด LED การส่งเสริม สนับสนุนและวิจยั พัฒนา หญ้าเนเปียร์ เพือ่ ใช้ ประโยชน์ในด้านพลังงานโดยใช้พนื้ ทีใ่ นความรับ ผิดชอบของกระทรวงกลาโหม ด้านความร่วมมือในงานพัฒนาโครงการ สร้างพื้นฐานด้านพลังงานและการส� ำรวจ รวมทั้งผลิตทรัพยากรพลังงาน อาทิ คลังเก็บ น�ำ้ มัน โรงกลัน่ น�ำ้ มัน และท่อส่งน�ำ้ มัน สนับสนุน ส่งเสริมการส�ำรวจ และผลิตปิโตรเลียม เพื่อ ความมั่นคง รวมทั้งประเมินความเป็นไปได้ ในการผลิตก๊าซมีเทนจากชั้นถ่านหินในแอ่ง ฝาง และแอ่งอื่นๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ กระทรวงกลาโหม รวมถึงการเพิม่ ประสิทธิภาพ และก�ำลังผลิตของโรงกลั่นน�้ำมันฝาง
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม สนับสนุนการรณรงค์ประหยัด พลังงานตามนโยบายรัฐบาล และขอเชิญชวนประชาชนร่วมกัน ตระหนักถึงปัญหาพลังงานของชาติ พร้อมทั้งมีส่วนร่วมกันสร้างจิตส�ำนึก และลงมือปฏิบัติในการประหยัด พลังงานทุกประเภทอย่างจริงจัง ตั้งแต่วันนี้เพื่ออนาคตของชาติร่วมกัน
และสุดท้ายด้านการเผยแพร่ข้อมูลความรู้ ด้านพลังงานและการฝึกอบรม ส่งเสริมการ สื่อสารเผยแพร่ข้อมูลความรู้พลังงานร่วมกับ กระทรวงกลาโหม ในการฝึกอบรมให้ความรู้ และพัฒนาบุคลากร ด้านพลังงานของทั้ง ๒ ฝ่ายสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และสาธิตด้านพลังงานในพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ของกระทรวงกลาโหมทั่วประเทศ ดั ง นั้ น ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม สนับสนุนการรณรงค์ประหยัดพลังงานตาม นโยบายรัฐบาล และขอเชิญชวนประชาชน ร่ ว มกั น ตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาพลั ง งานของชาติ พร้ อ มทั้ ง มี ส ่ ว นร่ ว มกั น สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และ ลงมื อ ปฏิ บั ติ ใ นการประหยั ด พลั ง งานทุ ก ประเภทอย่ า งจริ ง จั ง ตั้ ง แต่ วั น นี้ เ พื่ อ อนาคต ของชาติร่วมกัน พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต
การเสียดินแดนของไทย
ในยุคล่าอาณานิคมของประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก กรมยุทธการทหารบก
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
25
อั
งกฤษและฝรั่งเศส เป็นคู่แข่งกันใน การแสวงหาอาณานิ ค มในภู มิ ภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้เข้ามา แผ่ขยายอิทธิพลสูงสุดในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ส�าหรับประเทศไทยนั้น ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศส ต่างเป็นคู่แข่งเข้าแทรกแซงไทยเพื่อแสวงหา ผลประโยชน์ทางการเมืองและเศรษฐกิจจาก ไทย โดยต้องการผนวกดินแดนของไทยเข้ากับ อาณานิคมของตน ท�าให้ไทยต้องเสียดินแดน บางส่วนให้แก่ประเทศมหาอ�านาจตะวันตกทัง้ สอง เป็นพื้นที่มหาศาลในช่วงสมัยรัชกาลที่ ๔ และ รั ช กาลที่ ๕ อย่ า งไรก็ ต ามไทยยั ง สามารถ รั ก ษาพื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ ไ ว้ ไ ด้ อั น เป็ น ลั ก ษณะ ของการด�าเนินนโยบายแบบลู่ตามลม ยอม ประนีประนอมโอนอ่อนผ่อนปรนตามความ ต้ อ งการของอั ง กฤษและฝรั่ ง เศสเพื่ อ รั ก ษา ประโยชน์ส่วนใหญ่ คือ เอกราชของชาติ การด�าเนินนโยบายต่างประเทศของไทยสมัย รัชกาลที่ ๔ นัน้ ไทยจ�าเป็นต้องให้ความส�าคัญ แก่องั กฤษ เนือ่ งจากอังกฤษได้ชยั ชนะเหนือจีน อิ น เดี ย พม่ า และได้ ค รอบครองส่ ว นหนึ่ ง ของมลายู ดังนั้นรัชกาลที่ ๔ จึงด�าเนินนโยบาย ต่างประเทศแบบใหม่ที่ไม่รังเกียจการติดต่อ กับชาวตะวันตก โดยท�าสนธิสัญญากับอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๘ ที่เรียกว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง
2๖
สนธิสัญญาฉบับนี้ท�าให้ความสัมพันธ์ระหว่าง ไทยกับอังกฤษดีขึ้นภายหลังที่เกิดตึงเครียด ในปลายสมั ย รั ช กาลที่ ๓ จนอั ง กฤษเกื อ บ ตัดสินใจใช้นโยบาย “เรือปืน” ส่งเรือรบเข้า มาบี บ บั ง คั บ ให้ ไ ทยเปิ ด ประเทศยอมเจรจา ท�าสัญญากับอังกฤษ อย่างไรก็ตามการที่ไทย ยอมเปิดประเทศกับอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ ๔ นัน้ ท�าให้ไทยต้องสูญเสียผลประโยชน์ทางการค้า และเสี ย เอกราชทางการศาล แต่ ก็ ช ่ ว ยให้ ไทยพ้นจากการใช้นโยบาย “เรือปืน” ของ อังกฤษได้ ทั้งนี้ รัชกาลที่ ๔ ทรงเห็นตัวอย่าง จากการที่อังกฤษใช้ก�าลังจัดการกับประเทศ ต่างๆ ดังเช่น จีน ซึ่งเป็นประเทศที่ยิ่งใหญ่ ก็ยังไม่สามารถต้านทานกองทัพเรืออังกฤษได้ การเจรจาทางการทูต โดยยอมโอนอ่อนท�า ตามประสงค์ของประเทศมหาอ�านาจตะวันตก จึงเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ และหลังจากที่ไทย ท�าสัญญาทางไมตรีและการค้ากับอังกฤษแล้ว ไทยได้ท�าสัญญากับประเทศต่างๆ ในยุโรป และอเมริ ก า โดยใช้ สั ญ ญาที่ ท� า กั บ อั ง กฤษ พ.ศ. ๒๓๙๘ เป็นหลัก ซึ่งเป็นผลดีต่อความ มั่นคงของประเทศไทยเพราะยังมีความหวังว่า หากอั ง กฤษจะคิ ด สร้ า งอิ ท ธิ พ ลในไทยโดย ประการใดๆ แล้ ว อั ง กฤษจะต้ อ งเกรงใจ ประเทศมหาอ�านาจตะวันตกอื่นๆ ที่เข้ามามี ผลประโยชน์ในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ฝรั่งเศสซึ่งไทยหวังที่จะให้ถ่วงดุลกับอังกฤษ ก็ปรากฏว่าฝรั่งเศสกลับพยายามสร้างอิทธิพล และใช้ อ� า นาจช่ ว งชิ ง ดิ น แดนเขมรไปจาก ไทย ท�าให้ไทยต้องเสียดินแดนเขมรส่วนใหญ่ ให้ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ.๒๔๑๐ เมือ่ เกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) ที่ฝรั่งเศสส่งเรือรบมาปิดอ่าวไทยและบังคับให้ ไทยยกดินแดนฝัง่ ซ้ายของแม่นา�้ โขง และเข้ายึด เมืองจันทบุรีเป็นข้อต่อรอง เพื่อแลกกับการ ปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของฝรั่งเศสอย่างครบ ถ้วนนั้น ไทยได้ติดต่อขอความช่วยเหลือจาก อังกฤษ แต่กไ็ ม่เป็นผล จึงท�าให้ไทยต้องมองหา มหาอ�านาจอื่นที่จะให้ความช่วยเหลือในการ
ยุ ติ ก ารคุ ก คามของฝรั่ ง เศส รั ส เซี ย ซึ่ ง เป็ น มหาอ�านาจหนึ่ง ในขณะนั้น ก็มิได้แสดงท่าที เข้าข้างฝ่ายไทย อย่างไรก็ตามไทยยังถือว่า รัสเซียเป็นมหาอ�านาจยุโรปที่เป็นมิตรประเทศ กับไทยมากที่สุด เพราะรัสเซียไม่มีนโยบาย แสวงหาอาณานิ ค ม หรื อ หาผลประโยชน์ ในภูมิภาคนี้ รัชกาลที่ ๕ ทรงวางแผนเสด็จ ประพาสยุ โ รปใน พ.ศ. ๒๔๓๖ เพื่ อ สร้ า ง สัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอ�านาจตะวันตก ทั้งหลาย และแก้ไขปัญหาทางการเมืองที่เกิด จากภัยคุกคามของฝรัง่ เศสในไทย แต่เนือ่ งจาก รัชกาลที่ ๕ ทรงพระประชวร และสถานการณ์ ภายในประเทศยังตึงเครียด จึงเลื่อนแผนการ เสด็จประพาสยุโรปออกไป
จากข้อตกลงระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๓๙ ที่ให้ไทยเป็นรัฐกันกระทบระหว่าง อาณานิคมของอังกฤษและของฝรั่งเศส โดย ประเทศทั้งสองตกลงรับประกันเอกราชของ กรมยุทธการทหารบก
การที่ประเทศไทยด�ำรงความเป็น เอกราชไว้ได้ ก็ด้วยพระปรีชาสามารถ ขององค์พระมหากษัตริย์ไทย คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าอยู่หัว ที่ทรงด�ำเนิน นโยบายผ่อนปรนทางการทูต ยอม เสียสละประโยชน์ส่วนน้อยเพื่อรักษา ประโยชน์ส่วนใหญ่
ไทยแต่ เ ฉพาะบริ เ วณลุ ่ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา เพชรบุรี แม่กลอง ท่าจีน และบางปะกงนั้น จะเห็นว่าประเทศทัง้ สองมิได้รบั ประกันเอกราช ในพื้ น ที่ ทั้ ง หมดของไทย จึงท� ำ ให้พื้นที่ส่วน อื่ น ๆ ของไทยมิ ไ ด้ รั บ การค�้ ำ ประกั น ความ มั่ น คงปลอดภั ย นอกจากนี้ จากหลั ก ฐาน แผนที่ “The Century Atlas. India, East, Including Burma, Siam and French Indo – China (Copyright, 1897, by the Century Co., New York.)” ซึ่งพิมพ์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ถื อ เป็ น หลั ก ฐานส� ำ คั ญ ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตกทั้งสองมีความ ต้ อ งการจะเข้ า มามี อิ ท ธิ พ ลในดิ น แดนไทย ทางด้ า นตะวั น ออก ด้ า นเหนื อ และด้ า นใต้ ของไทย ดังปรากฏเส้นก�ำหนดเขตอิทธิพลใน ดินแดนไทยที่แสดงในแผนที่ดังกล่าว ซึ่งระบุ ค�ำว่า British Sphere และ French Sphere พร้ อ มทั้ ง ปรากฏข้ อ ความประกอบแผนที่ ว่า “Bounderies of French and British military occupation of Siam (agreement of 1896)” ภายใต้ขอ้ ตกลงระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๓๙
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
การเสด็จประพาสยุโรปของรัชกาลที่ ๕ ใน พ.ศ.๒๔๔๐ ได้สง่ ผลดีในการเจริญสัมพันธไมตรี กับประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการต้อนรับอย่างสมพระเกียรติของ ซาร์นิโคลัสที่ ๒ (เมื่อครั้งเป็นมกุฎราชกุมาร รัสเซีย เคยเสด็จเยือนไทย เมือ่ พ.ศ.๒๔๓๓) ได้ ท�ำให้ฐานะทางการเมืองของไทยส�ำคัญขึ้นใน สายตาของอังกฤษและฝรั่งเศส นอกจากนี้ยัง ได้มีโอกาสเจรจาเรื่องเกี่ยวกับปัญหาระหว่าง ไทยกับมหาอ�ำนาจยุโรปอืน่ ๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ ปัญหาทางการเมืองกับฝรัง่ เศสในเหตุการณ์ที่ สืบเนือ่ งจากวิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ทีฝ่ รัง่ เศสยัง คงยึดจันทบุรอี ยู่ ไทยจึงต้องการทีจ่ ะให้รสั เซีย ช่วยไทยแก้ไขปัญหาการเมืองกับฝรัง่ เศสเพราะ ขณะนัน้ รัสเซียเป็นมหาอ�ำนาจใหญ่ มีกำ� ลังมาก และฝรัง่ เศสเองในขณะนัน้ เป็นมิตรประเทศอยู่ กับรัสเซียโดยได้มีการท�ำสนธิสัญญาผูกมัดกัน ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๔๓๖ เมือ่ รัชกาลที่ ๕ เสด็จกลับ ประเทศไทยแล้ว ฝรั่งเศสได้ลดการคุกคามลง แต่กระนัน้ การเจรจาแก้ไขปัญหายังมิได้คบื หน้า ไป ฝรัง่ เศสยังไม่ยอมถอนทหารจากเมืองจันทบุรี ในที่สุดไทยต้องท�ำสัญญากับฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๖ ยกดินแดนฝัง่ ขวาแม่นำ�้ โขงตรงข้ามกับ เมืองหลวงพระบางให้ฝรั่งเศส ฝรั่งเศสจึงยอม ถอนทหารออกไปจากเมืองจันทบุรีแต่ก็ยังไป ยึดเมืองตราดไว้แทน ไทยจึงต้องท�ำสัญญากับ ฝรัง่ เศสอีกเมือ่ พ.ศ.๒๔๔๙ เพือ่ ให้ฝรัง่ เศสออก จากเมืองตราด ท�ำให้ไทยต้องเสียเขมรส่วนใน หรือหรือมณฑลบูรพา ซึ่งได้แก่ พระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณให้แก่ฝรัง่ เศส ฝรัง่ เศส จึงยอมคืนเมืองตราดและเกาะต่างๆ ให้แก่ไทย หลังจากนั้น ๒ ปี ไทยยังต้องเสียดินแดน ใน หัวเมืองมลายูของไทยให้อังกฤษ อันได้แก่ รัฐ ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๑ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการผ่อนปรนใน เรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของคนในบังคับ อังกฤษ รวมทั้งความต้องการของไทยที่จะขอ ยกเลิกปฏิญญาลับ พ.ศ.๒๔๔๐ ซึ่งไทยเป็น ฝ่ายเสียเปรียบ ตลอดจนการสร้างทางรถไฟ สายใต้ เป็นต้น กล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับ ประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตกทั้งสอง ในสมัย
รัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕ ได้สะท้อนให้เห็น นโยบายของไทยที่ยอมโอนอ่อนผ่อนตาม และ ยอมเสียดินแดนส่วนน้อยเพื่อรักษาดินแดน ส่วนใหญ่ไว้ ทั้งนี้ เพราะไทยเป็นประเทศเล็ก มีก�ำลังน้อย ท่ามกลางประเทศเพื่อนบ้านที่ถูก ยึดครองไปจนหมด ไทยจึงไม่อาจต่อรองด้วย ก�ำลังกับชาติมหาอ�ำนาจ แต่จะต้องพยายาม แก้ปัญหาโดยใช้ “กลยุทธ์ทางการทูต” ใน การรักษาอ�ำนาจอธิปไตยที่ก�ำลังถูกคุกคาม จากประเทศมหาอ� ำนาจตะวันตก ที่เห็นได้ ชัดคือความสัมพันธ์ที่เกิดจากมิตรไมตรีของ องค์ประมุขของไทยและของรัสเซีย ได้ช่วยให้ ไทยสามารถด�ำเนินนโยบายถ่วงดุลอ�ำนาจกับ อังกฤษและฝรัง่ เศส เพือ่ รักษาอธิปไตยของไทย ไว้ตามแนวสันติวิธี สรุปการเสียดินแดนของไทยให้แก่ฝรั่งเศส ๕ ครั้ง และอังกฤษ ๒ ครั้ง ดังนี้ - เสียดินแดนเขมรส่วนนอกให้ฝรัง่ เศส พ.ศ. ๒๔๑๐ เนื้อที่ประมาณ ๑๒๔,๐๐๐ ตาราง กิโลเมตร - เสียแคว้นสิบสองจุไทให้ฝรั่งเศส พ.ศ. ๒๔๓๑ เนื้ อ ที่ ป ระมาณ ๘๗,๐๐๐ ตาราง กิโลเมตร - เสี ย ดิ น แดนฝั ่ ง ตะวั น ออกของแม่ น�้ ำ สาละวินให้อังกฤษ พ.ศ.๒๔๓๕ เนื้อที่ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร - เสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขงให้ฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๓๖ เนื้อที่ประมาณ ๑๔๓,๐๐๐ ตาราง กิโลเมตร - เสี ย ดิ น แดนฝั ่ ง ขวาของแม่ น�้ ำ โขงให้ ฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๔๖ เนื้อที่ประมาณ ๖๒,๕๐๐ ตารางกิโลเมตร - เสียดินแดนเขมรส่วนใน (มณฑลบูรพา) ให้ ฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๔๙ เนื้อที่ประมาณ ๕๑,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร - เสียดินแดนรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิ ส ให้ อั ง กฤษ พ.ศ.๒๔๕๑ เนื้ อ ที่ ประมาณ ๘๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่รอดพ้นจากการ ตกเป็นเมืองขึน้ ของประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก ในยุคล่าอาณานิคม ไทยจ� ำต้องเสียดินแดน เพื่อรักษาเอกราชของชาติเอาไว้ ซึ่งในยุคนั้น เป็ น การยากที่ จ ะรั ก ษาเอกราชไว้ได้ การที่ ประเทศไทยด�ำรงความเป็นเอกราชไว้ได้ ก็ดว้ ย พระปรีชาสามารถขององค์พระมหากษัตริยไ์ ทย คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว ที่ ทรงด�ำเนินนโยบายผ่อนปรนทางการทูต ยอม เสียสละประโยชน์สว่ นน้อยเพือ่ รักษาประโยชน์ ส่วนใหญ่ คือ เอกราชของชาติ ซึง่ ผองเราชาวไทย ทุกคนต่างส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระองค์ท่านทั้งสองอย่างหาที่สุดมิได้ 27
อิทธิพลของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีน ในราชอาณาจักร กัมพูชาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ค
วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาวและ ราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นความสัมพันธ์พิเศษ จากประวัติศาสตร์ในการสู้รบเพื่อเรียกร้อง เอกราชจากสาธารณรัฐฝรัง่ เศส ทัง้ นีส้ าธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนามได้มบี ทบาทในการเป็นผูน้ ำ� ทัง้ ในด้านอุดมการณ์และการต่อสู้ มีสว่ นส�ำคัญ ที่ท�ำให้พรรคคอมมิวนิสต์ลาวได้รับชัยชนะเมื่อ ปลายปี ๑๘ และกองก�ำลังเวียดมินห์ได้ร่วมสู้ รบกับชาวกัมพูชาและพรรคปฏิวัติประชาชน เขมรในการเรียกร้องเอกราชจากสาธารณรัฐ ฝรั่งเศส รวมทั้งการต่อสู้ระหว่างสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนามกับสหรัฐอเมริกา ที่จะมี
28
ความยืดเยื้อและยากล�ำบากมากกว่านี้หาก สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามไม่ได้ใช้ดนิ แดน ของสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชน ลาว (เส้นทางโฮจิมินห์) เป็นเส้นทางส่งก�ำลัง สนับสนุนในการรบในเวียดนามใต้ รวมทั้งใช้ ดินแดนของราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นที่หลบ ซ่อนในการท�ำสงครามกองโจรกับสหรัฐอเมริกา โดยสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามยังมีอทิ ธิพล อย่างมาก ทั้ ง ทางด้ า นการเมื อ ง เศรษฐกิ จ การทหาร และสังคมจิตวิทยาต่อสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวและราชอาณาจักร กัมพูชาในขณะเดียวกันสาธารณรัฐประชาชน จีน ได้เป็ น คู ่ แ ข่ ง แผ่ ข ยายอิ ท ธิ พ ลเข้ า มาใน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและ ราชอาณาจักรกัมพูชา รวมทั้งให้ความส�ำคัญ เป็นพิเศษด้วยการด�ำเนินนโยบาย/ยุทธศาสตร์ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาความสัมพันธ์ในรูปแบบ หุ้นส่วน ทั้งการเมือง การทหาร การทูตเชิง เศรษฐกิจ เพื่อขยายตลาดการค้า และแหล่ง พลั ง งานอี ก ทั้ ง ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทุ ก ด้ า น โดยเฉพาะด้ า นการทหารเพื่ อ ตอบสนอง ผลประโยชน์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความส�ำคัญของราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ปัจจุบันราชอาณาจักรกัมพูชาและสาธารณ รัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวก�ำลังเป็นพื้นที่ ที่มีความส�ำคัญทางด้านยุทธศาสตร์แห่งหนึ่ง ในภู มิ ภ าคเอเชี ย เนื่ อ งจากสภาพที่ ตั้ ง ทาง ภู มิ ศ าสตร์ มี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศที่ เ ป็ น ตลาดขนาดใหญ่ และมีทรัพยากรธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ที่ยังไม่มีการน�ำมาใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่กระตุ้นให้นักลงทุนจาก ประเทศต่างๆ เข้าไปลงทุนในราชอาณาจักร กั ม พู ช าและสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาวกั น มากขึ้ น โดยเฉพาะการ เข้าไปขยายอิทธิพลในราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งต่างเป็นประเทศใน ภูมิภาคเอเชียที่ก�ำลังมีอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว โดยทั้งสองประเทศ ต่างมุง่ ทีจ่ ะเข้าไปขยายอิทธิพลในด้านต่างๆเช่น ทรัพยากรทางธรรมชาติ และพลังงาน เป็นต้น ในขณะทีร่ าชอาณาจักรกัมพูชาและสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาวได้รบั ผลประโยชน์ อย่ า งมากมายด้ ว ยการสร้ า งสมดุ ล จากการ เข้ามาแข่งขันอิทธิพลของประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งสองนี้ การด�ำเนินนโยบายของสาธารณรัฐสังคม นิยมเวียดนามต่อราชอาณาจักรกัมพูชาและ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนามยั ง คงให้ ความส�ำคัญในล�ำดับแรกกับการด�ำเนินความ สัมพันธ์กบั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวและราชอาณาจักรกัมพูชา โดยสาธารณรัฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาวเป็ น ประเทศที่ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามให้ความส�ำคัญ เป็นอย่างมากในการรักษาและพัฒนาความ สัมพันธ์พิเศษโดยมีการแลกเปลี่ยนการเยือน ในทุกระดับ ทั้งในระดับผู้น� ำและเจ้าหน้าที่ ระดับสูงของพรรคและรัฐบาลจ�ำนวนมากอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ ยังมีการพัฒนาความร่วมมือ ระหว่างกันเพิ่มเติมอยู่เสมอ เช่น ความร่วมมือ ด้านกระบวนการยุติธรรม การต่อต้านการค้า และการสกั ด กั้ น การส่ ง ผ่ า นยาเสพติ ด ตาม แนวชายแดน การฝึกอบรมด้านการทหาร ในหลักสูตรต่างๆ การร่วมทุนด้านการบิน การพัฒนาไฟฟ้าพลังน�้ำ เป็นต้น ในส่วนราช อาณาจักรกัมพูชาเป็นประเทศที่สาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนามให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษ ในฐานะเพื่ อ นบ้ า นที่ ดี โ ดยผู ้ น� ำ สาธารณรั ฐ สังคมนิยมเวียดนามได้เน้นย�้ำความส�ำคัญดัง กล่าวระหว่างการเยือนราชอาณาจักรกัมพูชา ในหลายโอกาส ทั้งสองประเทศยังคงมีการ แลกเปลี่ยนการเยือนของผู้น�ำทั้งฝ่ายการเมือง และการทหารในระดับต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามยังคงมีอิทธิพล ทางการเมืองในราชอาณาจักรกัมพูชาด้วยการ รักษาความสัมพันธ์ใกล้ชดิ กับผูน้ ำ� ทางการเมือง ในราชอาณาจักรกัมพูชา หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
การด� ำ เนิ น นโยบายของสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ต่ อ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าและ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐประชาชนจีนมุ่งเน้นการพัฒนา ความสัมพันธ์ในรูปแบบหุ้นส่วนกับประเทศ ต่างๆ ในเอเชียทั้งทางการเมืองและการทหาร รวมทั้งด�ำเนิ น นโยบายการทู ต เชิ ง เศรษฐกิ จ เพื่ อ ขยายตลาดการค้ า และแหล่ ง พลั ง งาน สาธารณรัฐประชาชนจีนให้ความส�ำคัญเป็น พิเศษกับราชอาณาจักรกัมพูชาและสาธารณรัฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาวส� ำ หรั บ ราช อาณาจั ก รกั ม พู ช าสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ได้เข้าให้ความช่วยเหลือทุกด้าน โดยเฉพาะ ด้านการทหารสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ให้ ความช่วยเหลือทางทหารจ�ำนวนมากรวมถึง การสนับสนุนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเรือเร็ว โจมตีและเรือขนส่งรวม ๙ ล�ำ และช่วยเหลือ ราชอาณาจักรกัมพูชาในการสร้างฐานทัพเรือ บริเวณอุทยานแห่งชาติเรียม กรุงพระสีหนุ รวม มูลค่าความช่วยเหลือทัง้ หมดไม่ต�่ำกว่า ๖๐ ล้าน เหรียญสหรัฐ ส่วนสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ได้ เข้ า มี บ ทบาทด้ า นเศรษฐกิ จ ในสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวค่อนข้างมาก มีการ เช่าที่ดินระยะยาวในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวเพื่อจัดท�ำเขตเศรษฐกิจพิเศษ ส�ำหรับชาวสาธารณรัฐประชาชนจีนในด้านการ ทหาร สาธารณรัฐประชาชนจีนให้ความช่วย เหลือที่มุ่งเน้นที่อุปกรณ์ช่วยรบและอุปกรณ์ การแพทย์ รวมถึงการฝึกอบรมทางทหาร อิทธิพลของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า และสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวเริ่มถดถอย เช่น เรื่ อ งปั ญ หาทะเลจี น ใต้ ก รณี ก ารไม่ ส ามารถ ออกแถลงการณ์ ร ่ ว มได้ ใ นการประชุ ม รั ฐ มนตรี ต ่ า งประเทศอาเซี ย น ครั้ ง ที่ ๔๕
ที่ ก รุ ง พนมเปญ และการต่ อ ต้ า นโครงการ ลงทุ น ของสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม ในสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว เนื่ อ งจากท� ำ ลายทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็นการแสดงออกของประชาชน สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาวที่ ไม่ พ อใจอิ ท ธิ พ ลของสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย ม เวียดนาม ในขณะที่อิทธิพลของสาธารณรัฐ ประชาชนจี น ต่ อ ราชอาณาจั กรกัมพูชาและ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ ความสัมพันธ์พิเศษระหว่างสาธารณรัฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนามราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว นี้ไม่แสดงให้เห็นว่าเป็นภัยคุกคามต่อความ มั่นคงเหมือนกับยุคสงครามเย็นที่สาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนามถูกมองว่าเป็นตัวแทนของ สหภาพโซเวี ย ตในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ดังนั้น ไทยจึงควรใช้เวทีทวิภาคี และพหุภาคี ในการสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงใน ภูมิภาคแทนการแข่งขันและสร้างทัศนคติที่ดี ต่อประเทศเพือ่ นบ้านเพือ่ ลดความหวาดระแวง รวมทั้ ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ ทั้ ง กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย ม เวียดนามในการพัฒนาประเทศเพื่อนบ้าน 29
ดุลยภาพทางทหารของประเทศอาเซียน
เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
30
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร ป้อนกระสุนด้วยกล่อง กระสุน (ชนิด ๑๖ นัด, ชนิด ๓๒ นัด และชนิด ๔๘ นัด) มีรัศมีระเบิดระยะ ๑๕ เมตร รัศมี สังหารระยะ ๕ เมตร และรัศมีบาดเจ็บ ๑๐ เมตร หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
31
ลูกกระสุนที่ส�ำคัญมี ๒ ชนิด คือ ลูกกระสุนระเบิดแรงสูง (HE : M-384) มีรัศมีระเบิดระยะ ๑๕ เมตร (รัศมีสังหารระยะ ๕ เมตร และรัศมีบาดเจ็บ ๑๐ เมตร) และ ลูกกระสุนระเบิดแรงสูง (HEDP : M-430) เจาะเกราะได้หนา ๒ นิ้ว (เพื่อยิงท�ำลายยานยนต์เบา) มีรัศมีระเบิด ๑๕ เมตร
เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล (CIS 40 AGL) ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร (ลูกศรชี้) ติดตั้งกับรถล�ำเลียงพลแบบไบโอนิกซ์-๔๐/๕๐ โดยติดตั้งคู่กับปืนกลหนักขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร กองทัพบกสิงคโปร์ประจ�ำการ ๓๐๐ คัน
ก
องทัพบกสิงคโปร์ออกแบบเครื่องยิง ลู ก ระเบิ ด อั ต โนมั ติ ข นาด ๔๐ มิลลิเมตร ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ สร้าง เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติต้นแบบพร้อมทั้ง ท� ำ การทดสอบขี ด ความสามารถ ผลิ ต โดย บริษัท ชาร์เตอร์มีชื่อเรียกว่า ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล (CIS 40 AGL) ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร น�ำเข้าประจ�ำการในกองทัพบกสิงคโปร์ในปี พ.ศ.๒๕๓๔ เครื่องยิงลูกระเบิดหนัก ๓๓.๐ กิ โ ลกรั ม ลู ก กระสุ น หนั ก ๐.๓๔ กิ โ ลกรั ม ล�ำกล้องปืนหนัก ๒.๖ กิโลกรัม เครือ่ งยิงยาว ๙๖๖ มิลลิเมตร ล�ำกล้องยาว ๓๕๐ มิลลิเมตร (๒๔ เกลียวเวียนขวา) อัตราการยิง ๓๕๐-๕๐๐ นัด ต่อนาที ความเร็วลูกกระสุน ๒๔๒ เมตรต่อ วินาที ระยะยิงหวังผล ๑,๕๐๐ เมตร ระยะยิง 32
ไกลสุด ๒,๒๐๐ เมตร ป้อนกระสุนด้วยกล่อง กระสุน (ชนิด ๑๖ นัด, ชนิด ๓๒ นัด และ ชนิด ๔๘ นัด) อัตรากระสุนมูลฐาน ๙๖๐ นัด ต่อกระบอก เนื่องจากเป็นอาวุธที่มีน�้ำหนัก มากไม่เหมาะที่ทหารราบจะน�ำเข้าปฏิบัติการ ทางทหารท�ำการตั้งยิงบนพื้นดิน (ขาหยั่งชนิด สามขา M-3) น�ำไปติดตั้งกับรถรบทั้งประเภท ยานยนต์ล้อและยานยนต์สายพาน (เป็นอาวุธ ยิงสนับสนุนของหน่วยทหารราบ หรืออาวุธ ประจ�ำหน่วย) ลูกกระสุนที่ส�ำคัญมี ๒ ชนิด คือ ลูกกระสุนระเบิดแรงสูง (HE : M-384) มี รัศมีระเบิดระยะ ๑๕ เมตร (รัศมีสังหารระยะ ๕ เมตร และรัศมีบาดเจ็บ ๑๐ เมตร) และลูก กระสุนระเบิดแรงสูง (HEDP : M-430) เจาะ เกราะได้หนา ๒ นิ้ว (เพื่อยิงท�ำลายยานยนต์
เบา) มีรัศมีระเบิด ๑๕ เมตร ผู้ผลิตอาวุธน�ำ เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติแบบ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล (CIS 40 AGL) ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร แสดง ในงานนิทรรศการยุทโธปกรณ์ป้องกันประเทศ ทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับโลก ส�ำหรับ ประเทศไทยน� ำ มาแสดงในงานนิ ท รรศการ ป้องกันประเทศ (Defense & Security) เป็น ประจ�ำทุกครัง้ และทีศ่ นู ย์การทหารราบ อ�ำเภอ ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กองทัพบกสิงคโปร์น�ำเครื่องยิงลูกระเบิด อัตโนมัติแบบซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล (CIS 40 AGL) ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร ติดตั้งกับรถรบ ทหารราบรุน่ ไบโอนิกซ์-๒๕ ใช้ในภารกิจล�ำเลียงพล เรียกว่า ไบโอนิกซ์-๔๐/๕๐ โดยติดตั้งคู่กับ ปืนกลหนักขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร เพือ่ ให้มอี ำ� นาจ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
การยิงสูงสุดระหว่างอาวุธวิถีราบและอาวุธวิถี โค้ง รถรบทหารราบ มีน�้ำหนักพร้อมรบ ๒๓ ตัน เครื่องยนต์ ดีเซล ก�ำลังขนาด ๔๗๕ แรงม้า ความเร็ว ๗๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติ การไกล ๔๐๐ กิโลเมตร พลประจ�ำรถ ๓ นาย (พลประจ�ำรถ ๒ นาย อยู่ที่ป้อมปืน และพลขับ ๑ นาย พร้อมทั้งบรรทุกทหารราบได้ ๙ นาย) กองทัพบกสิงคโปร์น�ำเข้าประจ�ำการ ๓๐๐ คัน (หรือเครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติแบบซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร รวม ๓๐๐ เครื่องยิง) ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๐ นับว่าเครื่องยิง ลูกระเบิดอัตโนมัติ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร เป็นอาวุธยิงสนับสนุนทหารราบ ที่ติดตั้งบนยานรบทั้งประเภทล้อและประเภท สายพานที่ได้รับความนิยมแพร่หลายมาก กองทัพบกสิงคโปร์ประจ�ำการด้วยรถเกราะ ล้อยางรุน่ ใหม่แบบเทอร์เร็กซ์ เอวี-๘๑ (Terrex AV-81) ชนิด ๘x๘ ล้อ ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ น�ำ เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติแบบซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล (CIS 40 AGL) ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร ติดตั้งกับรถเกราะล้อยาง (ลูกกระสุน ๖๐ นัด) ร่วมกับปืนกลขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร (ลูก กระสุน ๒๕๐ นัด) ใช้ในภารกิจล�ำเลียงพล รถขนาดยาว ๗.๐ เมตร กว้าง ๒.๗ เมตร สูง ๒.๑ เมตร น�ำ้ หนักพร้อมรบ ๒๕ ตัน เครือ่ งยนต์ ดีเซล แคเทอร์พิลลาร์ ซี-๙ ก�ำลังขนาด ๔๐๐ แรงม้า ความเร็ว ๑๑๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความเร็วในน�้ำ ๑๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะ ปฏิบัติการ ๘๐๐ กิโลเมตร พลประจ�ำรถ ๒ นาย (บรรทุกทหารราบได้ ๑๒ นาย) สามารถ
กองทัพอินโดนีเซียจัดซื้อเครื่องยิง ลูกระเบิดอัตโนมัติแบบ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร โดย การซื้อลิขสิทธิ์เพื่อท�ำการผลิตภายใน ประเทศโดย พีที พินดาด (PT Pindad) เมืองบันดุง ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ มีชื่อเรียกใหม่ว่าเอสพีจี-๓ (SPG-3) เพื่อประจ�ำการในกองทัพ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
จะท�ำการเคลื่อนย้ายทางอากาศด้วยเครื่องบิน ขนส่งทางทหาร ซี-๑๓๐ เฮอร์คิวลิส กองทัพบกสิงคโปร์น�ำเข้าประจ�ำการ ๑๓๕ คัน (หรือเครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติซีไอเอส ๔๐ เอจีแอลขนาด ๔๐ มิลลิเมตร รวม ๑๓๕ เครือ่ งยิง) เพือ่ ประจ�ำการทดแทนรถเกราะชนิด ล้อยางรุ่นเก่า ๔x๔ ล้อ แบบ วี-๒๐๐ (V-200) จ�ำนวน ๒๐๐ คัน ที่ประจ�ำการมานานกว่า ๓๐ ปี ประจ�ำการตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๓ รวม ๒ กองพัน (กองพันที่หนึ่งเป็นกองพันฝึก และกองพันที่สอง เป็นกองพันด�ำเนินกลยุทธ) กองทั พ สิ ง คโปร์ ไ ด้ น� ำ รถเกราะล้ อ ยางแบบ เทอร์เร็กซ์ เอวี-๘๑ เข้าร่วมท�ำการฝึกในรหัส คชสีห์ ๒๐๑๒ ร่วมกับกองทัพบกไทย (กองพล ทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์) จ�ำนวน ๑๔ คัน พร้อมด้วยทหารราบ ๑๘๐ นาย ระหว่างวันที่ ๒๑ มีนาคม – วันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ โดย บริเวณพืน้ ทีจ่ งั หวัดปราจีนบุรี และจังหวัด สระแก้ว การฝึกภาคสนามมีการยิงด้วยกระสุน จริง (LFX) ระหว่างวันที่ ๒๗ มีนาคม - วันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ พื้นที่ฝึกบริเวณ อ�ำเภอ วัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ก อ ง ทั พ อิ น โ ด นี เ ซี ย จั ด ซื้ อ เ ค รื่ อ ง ยิ ง ลูกระเบิดอัตโนมัติแบบ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิ ล ลิ เ มตร โดยการซื้ อ ลิ ข สิ ท ธิ์ เพือ่ ท�ำการผลิตภายในประเทศโดย พีที พินดาด (PT Pindad) เมืองบันดุง ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ มี ชื่ อ เรี ย กใหม่ ว ่ า เอสพี จี - ๓ (SPG-3) เพื่ อ ประจ� ำ การในกองทั พ ต่ อ มากองทั พ บก อิ น โดนี เ ซี ย ได้ ป ระจ� ำ การด้ ว ยรถเกราะ ล้อยางรุ่นใหม่แบบ เอพีเอส-๓ (APS-3 Anoa) ชนิด ๖x๖ ล้อ ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ มีอาวุธหลัก คือ เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติแบบ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร เพื่อเพิ่ม อ�ำนาจการยิงให้มากยิ่งขึ้น เป็นรถรบขนาด ๑๔.๐ ตัน เครื่องยนต์ดีเซล เรโนลท์ ขนาด ๓๒๐ แรงม้า ความเร็ว ๙๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติการ ๖๐๐ กิโลเมตร บรรทุกทหาร ๑๓ นาย (ประจ�ำรถ ๓ นาย และทหารราบ ๑๐ นาย) ประจ�ำการ ๑๕๔ คัน กองทัพบก อิ น โดนี เ ซี ย ได้ น� ำ ปฏิ บั ติ ก ารทางทหารของ กองพันยานเกราะ พร้อมด้วยรถเกราะล้อยาง แบบวีเอบี (VAB) จ�ำนวน ๑๒ คัน เมื่อวันที่ ๑๗ กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ ก� ำ ลั ง ทหาร ทั้งสิ้น ๘๕๐ นาย พื้นที่ปฏิบัติการทางตอนใต้ ประเทศเลบานอนร่วมกับกองก�ำลังสันติภาพ สหประชาชาติ (UNIFIL) ต่อมาน�ำรถเกราะ ล้อยางรุ่นใหม่แบบ เอพีเอส-๓ (APS-3 Anoa) ชนิด ๖x๖ ล้อ จ�ำนวน ๑๓ คัน เข้าทดแทน รถเกราะล้อยางรุ่นเก่าแบบวีเอบี (VAB) เมื่อ วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ ที่ประเทศ เลบานอน ปัจจุบันมียอดการผลิตรถเกราะ ล้อยางแบบ เอพีเอส-๓ รวมทั้งสิ้น ๒๘๕ คัน
สิงคโปร์ ได้ส่งออกเครื่องยิงลูกระเบิด อัตโนมัติแบบ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร ให้กับ มิตรประเทศที่ส�ำคัญคือ ฟิลิปปินส์ (หน่วยนาวิกโยธินติดตั้งบนยานยนต์) ปาปัวนิวกินี ศรีลังกา โซโลมอน และ ไทย (ติดตั้งบนรถฮัมวี) มียอดผลิต กว่า ๑๐,๐๐๐ เครื่องยิง พร้อมทั้ง ได้ผลิตลูกกระสุนเครื่องยิงลูกระเบิด อัตโนมัติแบบขนาด ๔๐ มิลลิเมตร รุ่นระเบิดแรงสูง (HEDP) ให้กับ กองทัพอังกฤษในสัญญามูลค่า ๓๑.๑ ล้านเหรียญสหรัฐ ใช้กับ เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติขนาด ๔๐ มิลลิเมตร
สิ ง คโปร์ ไ ด้ ส ่ ง ออกเครื่ อ งยิ ง ลู ก ระเบิ ด อัตโนมัติแบบ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิ ล ลิ เ มตร ให้ กั บ มิ ต รประเทศที่ ส�ำ คั ญ คือ ฟิ ลิปปิน ส์ (หน่วยนาวิกโยธินติดตั้งบน ยานยนต์) ปาปัวนิวกินี ศรีลงั กา โซโลมอน และ ไทย (ติดตัง้ บนรถฮัมวี) มียอดผลิตกว่า ๑๐,๐๐๐ เครื่องยิง พร้อมทั้งได้ผลิตลูกกระสุนเครื่องยิง ลูกระเบิดอัตโนมัติแบบขนาด ๔๐ มิลลิเมตร รุ่นระเบิดแรงสูง (HEDP) ให้กับกองทัพอังกฤษ ในสั ญ ญามู ล ค่ า ๓๑.๑ ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ใช้กับเครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติขนาด ๔๐ มิ ล ลิ เ มตร ผลิ ต จากประเทศเยอรมั น น� ำ ไป ติดตั้งบนรถยนต์แลนด์โรเวอร์ (Land Rover) เพื่อใช้ยิงสนับสนุนทหารราบที่เข้าปฏิบัติการ ในพื้นที่การรบ นับว่าทางด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศของสิงคโปร์ ผลิตเครื่องยิง ลูกระเบิดอัตโนมัติ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิ ล ลิ เ มตร รวมทั้ ง ระบบประกอบด้ ว ย เครื่องยิงและลูกกระสุน น�ำเข้าประจ�ำการใน กองทัพและได้ส่งออกขายให้กับมิตรประเทศที่ สนใจจึงมีความก้าวหน้าอย่างมากทั้งในระดับ ภูมิภาคและในระดับทวีป 33
เครื่ อ งยิ ง ลู ก ระเบิ ด อั ต โนมั ติ ซี ไ อเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร กองทัพบก อินโดนีเซีย ซื้อลิขสิทธิ์เพื่อท�ำการผลิตภายใน ประเทศโดย พีที พินดาด (PT Pindad) เมือง บันดุง ปี พ.ศ.๒๕๓๗ มีชอื่ เรียกใหม่วา่ เอสพีจ-ี ๓ (SPG-3) หนัก ๓๓.๐ กิโลกรัม ลูกกระสุนหนัก ๐.๓๔ กิโลกรัม ล�ำกล้องปืนหนัก ๒.๖ กิโลกรัม เครือ่ งยิงยาว ๙๖๖ มิลลิเมตร และล�ำกล้องยาว ๓๕๐ มิลลิเมตร
เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ ซีไอเอส ๔๐ เอจีแอล ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร กองทัพบกไทยติดตั้งบนรถฮัมวี เครื่องยิงหนัก ๓๓.๐ กิโลกรัม ล�ำกล้องยาว ๓๕๐ มิลลิเมตร อัตราการยิง ๓๕๐-๕๐๐ นัดต่อนาที ความเร็วลูกกระสุน ๒๔๒ เมตรต่อวินาที ระยะยิงหวังผล ๑,๕๐๐ เมตร และระยะยิงไกลสุด ๒,๒๐๐ เมตร 34
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
เมื่อราชวงศ์อลองพญาเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
พ
ระเจ้ า จิ ง กู จ าได้ ค รองราชสมบั ติ ต่ อ จากพระราชบิ ด าคื อ พระเจ้ า มังระ เป็นกษัตริย์ล�ำดับที่ ๔ แห่ง ราชวงศ์อลองพญา เป็นห้วงเวลาที่อาณาจักรมี ความวุน่ วายเป็นผลมาจากอาณาจักรมีดนิ แดน ขนาดใหญ่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในราชส�ำนัก หัวเมืองต่างๆ จะเกิดความวุน่ วายติดตามมา จะ ส่งผลต่อเมืองขึน้ ของอาณาจักรในหลายด้านซึง่ ต่างก็ต้องการเป็นอิสระและแยกตัวมาจากกรุง อังวะ... บทความนี้ กล่าวถึงราชวงศ์อลองพญา เปลี่ยนแผ่นดินใหม่สู่ยุคของพระเจ้าปดุง ๑. กล่าวทั่วไป ความวุ่นวายในราชส�ำนักกรุงอังวะเป็น ผลให้ พ ระเจ้ า จิ ง กู จ าต้องสิ้นพระชนม์ในวัย หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
พระมหามัยมุนี พระคู่บ้านคู่เมืองยะไข่ สร้างมาจากทองสัมฤทธิ์ สูง ๑๒ ฟุต ๗ นิ้ว น�้ำหนัก ๖.๕ ตัน ท�ำการเคลื่อน ย้ายมาทางแม่น�้ำอิระวดี มายัง กรุงอมรปุระ ปี พ.ศ.๒๓๒๗ ปัจจุบันอยู่ที่เมืองมัณฑเลย์ ๒๕ พรรษา หลังจากทีพ่ ระองค์ครองราชสมบัติ นาน ๖ ปี (ครองราชย์ปี พ.ศ.๒๓๑๙ - พ.ศ. ๒๓๒๕) เป็นระยะเวลาไม่นานนัก เป็นผลให้ เจ้าชายปดุง (มังเวงตะแคงปดุง) ได้ขนึ้ ครองราช สมบัติในเวลาต่อมา เป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์ อลองพญา ล�ำที่ ๕ (พระเจ้าอลองพญาหรือ พระเจ้าอองไจยะ พ.ศ.๒๒๙๕-๒๓๐๓, พระเจ้า มังลอกหรือพระเจ้านองดอร์คยี พ.ศ.๒๓๐๓๒๓๐๖, พระเจ้ามังระหรือพระเจ้าสินพยูชิน พ.ศ.๒๓๐๖-๒๓๑๙, พระเจ้ า จิ ง กู จ าหรื อ พระเจ้าสิงคู พ.ศ.๒๓๑๙-๒๓๒๕ และพระ เจ้าปดุง) การแย่งชิงราชบัลลังก์ในกรุงอังวะ เป็ น ผลให้ หั ว เมื อ งขึ้ น ต่ า งๆ ของกรุ ง อั ง วะ ได้ถือโอกาสแข็งเมือง
๒. พระเจ้าปดุงขึ้นครองราชย์ ๒.๑ พระเจ้าปดุง พระเจ้าปดุงเป็นพระราชโอรสของ พระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ อลองพญา อาณาจักรพม่าในยุคที่สาม ขึ้น ครองราชสมบัติในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ในวัย ๓๘ พรรษา ทรงพระนามว่ า ปโดเมง (หมายถึ ง พระราชาจากเมืองปโดง) และมีพระนามที่ เรียกขานในพม่าคือโบดอพญา (Bodawpaya) พระองค์ทรงมีความเข้มแข็งในการรบมากกว่า เชือ้ พระวงศ์อนื่ ๆ ในราชวงศ์อลองพญา จึงเป็น ภารกิจที่ส�ำคัญยิ่งที่จะต้องรวบรวมอาณาจักร พม่าให้กลับมาเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหนึ่ง 35
พระมหามัยมุนี (มีความหมายว่าพระผูเ้ ป็นที่ เคารพสูงสุด หรือผูร้ อู้ นั ประเสริฐสุด) สร้างขึน้ ใน สมัยพระเจ้าจันทสุรยิ ะ(King Chandrasurya) กษัตริย์แห่งยะไข่ เมื่อปี พ.ศ.689
36
พลโท ทรงพล ไพนุพงศ์
กองทัพพม่าตีเมืองยะไข่ (อาระกัน) อยู่ทาง ตะวันตกของอาณาจักรพม่า เมืองที่มีแนวเขา อะระกันโย มาเป็นแนวก�ำแพงธรรมชาติ (ตาม ลูกศรชี้ ด้านซ้ายมือ) มีปอ้ มค่ายทีแ่ ข็งแรง เมือง ตั้งอยู่ที่ปากแม่นำ�้ กาลาดานและแม่นำ�้ สัดจาโร (อัคยับ) มีความเชี่ยวชาญทางการเดินเรือเป็น เมืองที่มีความรุ่งเรืองมาก่อนในอดีต กรุงอังวะ (ลูกศรชี้ ทางด้านขวามือ) ศูนย์กลางอ�ำนาจของ อาณาจักรพม่าในอดีต
๒.๒ การขยายดินแดน พระเจ้าปดุงขึ้นครองราชสมบัติใน ปี พ.ศ.๒๓๒๕ ด้วยการปราบดาภิเษกขึ้นเป็น กษัตริย์ ตรงกับอาณาจักรสยามได้สถาปนากรุง รัตนโกสินทร์ตอ่ จากกรุงธนบุรี พระองค์ทรงยก กองทัพไปโจมตีหัวเมืองต่างๆ ที่แข็งเมืองได้ จนหมดสิ้น ทรงโปรดฯ ให้สร้างราชธานีแห่ง ใหม่มชี อื่ ว่า กรุงอมรปุระ (ตัง้ อยูเ่ หนือกรุงอังวะ) ต่อมาพระองค์ทรงเริ่มขยายดินแดนเพื่อแสดง ถึงอ�ำนาจ ให้อาณาจักรที่เป็นเมืองขึ้นไม่คิด แยกดินแดน ทรงเข้าตีเมืองมณีปุระทางตอน เหนื อ ของพม่ า ส� ำ เร็ จ และทรงตี เ มื อ งยะไข่ (อาระกัน) ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของอาณาจักร พม่า (เมืองที่มีแนวเขาอะระกันโย มาเป็นแนว ก�ำแพงธรรมชาติ และมีป้อมค่ายที่แข็งแรง เมืองตั้งอยู่ที่ปากแม่น�้ำกาลาดานและแม่น�้ำ สัดจาโร (อัคยับ) มีความเชี่ยวชาญทางการ เดินเรือ เป็นเมืองที่มีความรุ่งเรืองมาก่อนใน อดีตและเป็นเมืองที่ยากจะเข้าตีได้) ในอดีตมี กษัตริย์พม่าหลายพระองค์ทรงพยายามตีเมือง หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
กลับมายังพม่า พระมหามัยมุนี (มีความหมาย ว่าพระผูเ้ ป็นทีเ่ คารพสูงสุด หรือผูร้ อู้ นั ประเสริฐ สุด) สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าจันทสุริยะ (King Chandrasuriya) กษัตริย์แห่งยะไข่ เมื่อปี พ.ศ.๖๘๙ ท�ำมาจากทองสัมฤทธิ์ สูง ๑๒ ฟุต ๗ นิ้ว น�้ำหนัก ๖.๕ ตัน ท�ำการเคลื่อนย้ายโดย น�ำมาทางแม่น�้ำอิระวดีซึ่งบรรทุกโดยแพมายัง กรุงอมรปุระซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักร พม่าในปี พ.ศ.๒๓๒๗ นับเป็นความก้าวหน้า ทางด้านวิศวกรรมในยุคนั้น ต่อมาได้กลายเป็น พระคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของพม่า (ปัจจุบนั เป็นหนึง่ ใน ห้าแห่งเบญจมหาบูชาสถาน มีความส�ำคัญทีส่ ดุ ของประเทศพม่า องค์พระมหามัยมุนีมีการปิด ยะไข่หลายครั้งแต่ก็ไม่ประสบความส�ำเร็จ ซึ่ง ทองค�ำเปลวที่ปิดทับซ้อนกันนับหลายพันชิ้น ประกอบด้วย พระเจ้าตะเบงชะเวตี้, พระเจ้า ตลอดระยะเวลานานกว่าศตวรรษ ซ�้ำแล้วซ�้ำ บุเรงนอง, พระเจ้าอลองพญา และพระเจ้า อีก จนเกิดเป็นรอยย่นตะปุ่มตะป�่ำไปทั้งองค์ มังระ พระเจ้าปดุงได้ส่งกองทัพพม่าทั้งทางบก เป็นผลให้พระมหามัยมุนีมีอีกนามหนึ่งว่าพระ (รวมสามกองทั พ ) และก� ำ ลั ง ทางเรื อ จึ ง เนื้อนิ่ม) ปัจจุบันนี้พระมหามัยมุนีประดิษฐาน สามารถเข้ายึดเมืองยะไข่ไว้ได้ส�ำเร็จ พร้อมทั้ง อยู่ที่วัดพระมหามัยมุนี เมืองมัณฑะเลย์ ๓. บทสรุป กวาดต้อนชาวเมืองยะไข่มายังอาณาจักรพม่า อาณาจักรพม่าในยุคที่สามแห่งราชวงศ์ กว่า ๒๐,๐๐๐ คน (ทั้งราชวงศ์และประชาชน ซึ่งเป็นประเพณีของอาณาจักรที่ชนะสงคราม อลองพญา เมื่ อ ปฐมกษั ต ริ ย ์ สิ้ น พระชนม์ จะได้เพิ่มจ�ำนวนประชากรและเป็นการลดขีด อย่างคาดไม่ถึงครั้งที่ทรงยกกองทัพเข้าตีกรุง ความสามารถของอาณาจักรที่แพ้สงครามให้มี ศรีอยุธยา ปี พ.ศ.๒๓๐๓ จนสามารถล้อมกรุง ก�ำลังทหารอย่างจ�ำกัด) การรุกรานเมืองยะไข่ ศรีอยุธยาได้ ที่ชาวสยามรู้จักในชื่อศึกอลอง ของราชวงศ์อลองพญาในครั้งนี้เป็นผลให้พม่า พญา เป็ น ผลให้ เ กิ ด การแย่ ง ชิ ง ราชบั ล ลั ง ก์ ต้องท�ำการรบกับอังกฤษ ซึ่งเป็นมหาอ�ำนาจ จากพระราชโอรสหลายพระองค์ พร้อมทั้งภัย ทางทหารใหม่แห่งยุโรปที่ปกครองอินเดีย การ คุกคามจากภายนอกอาณาจักรและจากเมือง ท�ำสงครามที่รบชนะสองเมืองใหญ่เป็นผลให้ ขึ้นของอาณาจักร ผู้ที่ได้ครองราชบัลลังก์ต่อ อาณาจักรพม่า มีขนาดใหญ่ขึ้นพรั่งพร้อมด้วย มาไม่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง พอจึ ง เกิ ด การแย่ ง ชิ ง ราชสมบัติขึ้นบ่อยครั้งมีผลกระทบต่อราชวงศ์ ก�ำลังทหารและอาวุธ พระเจ้าปดุงได้อญ ั เชิญพระมหามัยมุนี (เป็น อลองพญาทั้งทางตรงและทางอ้อม พระพุทธรูปทองค�ำ) พระคู่บ้านคู่เมืองยะไข่ 37
สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม
Defence Technology Institute (Public Organisation) Ministry of Defence, The Kingdom of Thailand
เทคโนโลยีน�าวิถี ก้าวต่อไปของ สทป. สถาบันเทคโนโลยีปอ งกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
38
สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
จ
รวดเป็ น อาวุ ธ ที่ มี อ านุ ภ าพร้ า ยแรง สามารถท�ำลายเป้าหมายได้จากระยะ ไกล และเป็นเทคโนโลยีที่มีเพียงไม่กี่ ประเทศที่มีเทคโนโลยีนี้ ซึ่งสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทป. ก� ำ ลั ง มุ ่ ง มั่ น ในการวิ จั ย และพั ฒ นา โดยได้ รับความช่วยเหลือจากมิตรประเทศที่พร้อม ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ใ ห้ กั บ ประเทศไทย จน กลายมาเป็นจรวดหลายล�ำกล้องแบบ DTI-1 ซึ่งเป็นต้นแบบจรวดหลายล�ำกล้องแบบแรก ของ สทป. ในการก้าวไปข้างหน้าอีกขั้นหนึ่งนั้น สทป. ก�ำลังอยู่ในระหว่างการท�ำการวิจัยและพัฒนา เพื่ อ ท� ำ ให้ จ รวดหลายล� ำ กล้ อ ง DTI-1 มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น หนึ่งในนั้นคือการพัฒนา ระบบน�ำวิถีเพื่อท�ำให้จรวด DTI-1 มีความ แม่นย�ำขึ้น สามารถท�ำลายเป้าหมายได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น เทคโนโลยี ก ารน� ำ วิ ถี ถื อ เป็ น เทคโนโลยี ขั้นสูงซึ่งประเทศไทยไม่มีเทคโนโลยีนี้ใช้งาน มาก่อน เช่นเดียวกัน ประเทศไทยได้รว่ มมือกับ มิตรประเทศในการพัฒนาเทคโนโลยีนี้ขึ้นมา เพื่อติดตั้งกับจรวดหลายล�ำกล้องแบบ DTI-1 ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศไทยมีเทคโนโลยีนี้เป็น ของตนเอง และสามารถพัฒนาไปสู่ต้นแบบ ระบบอาวุธแบบอื่นๆ ได้ต่อไป เทคโนโลยีน�ำวิถีมีหลายแบบ เช่น ๑. การน�ำวิถีด้วยเส้นลวด ซึ่งส่วนมากจะ ใช้กับจรวดขนาดเล็ก เช่น จรวดต่อสู้รถถัง หรือตอร์ปิโดว์ โดยการน�ำวิถีแบบนี้จะใช้การ ลากสายสัญญาณที่มีความยาวหลายกิโลเมตร ระหว่างตัวลูกจรวดและเครื่องยิง โดยเครื่อง ยิ ง จะส่ ง สั ญ ญาณเพื่ อ ปรั บ ทิ ศ ทางไปตาม สายสั ญ ญาณนั้ น จนกว่ า ตั ว จรวดจะชนเป้ า เทคโนโลยีนี้มีข้อดีคือการส่งสัญญาณค่อนข้าง แม่นย�ำ แต่กม็ ขี อ้ เสียคือต้องท�ำการบ�ำรุงรักษา สายสัญญาณให้อยู่ในสภาพดีเสมอ และพลยิง ต้องท�ำการเล็งยิงอย่างต่อเนื่องจนกว่าจรวด จะชนเป้า ๒. การน� ำ วิ ถี ด ้ ว ยความร้ อ น ซึ่ ง เป็ น การ ตรวจจับความร้อนจากแหล่งก�ำเนิดความร้อน ของเป้าหมาย เช่น ไอพ่นของเครื่องบิน ไอ เสียของรถยนต์หรือเรือ เป็นต้น โดยระบบน�ำ วิถีแบบนี้จะมีเซ็นเซอร์ตรวจจับรังสีอินฟาเรด ซึ่งเป็นรังสีที่จะแผ่ออกมาเมื่อมีความร้อน และ คอมพิวเตอร์จะท�ำการแยกแยะเป้าหมายเพื่อ เลือกเป้าหมายที่จะน�ำตัวจรวดเข้าสู่เป้าหมาย ที่ ถู ก ต้ อ ง เทคโนโลยี แ บบนี้ มี ข ้ อ ดี คื อ พลยิ ง สามารถยิ ง แล้ ว ถอนตั ว ได้ เ ลย จรวดจะวิ่ ง หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
เข้าหาเป้าหมายด้วยตัวเองโดยไม่ต้องท�ำการ บังคับ แต่ก็มีข้อเสียคือสามารถยิงได้แต่เป้า หมายที่ มี ค วามร้ อ นเท่ า นั้ น ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว การน�ำวิถแี บบนีจ้ ะใช้กบั จรวดต่อสูอ้ ากาศยาน หรือจรวดอากาศสู่อากาศที่ยิงจากเครื่องบิน เพื่อท�ำลายเครื่องบินฝ่ายตรงข้าม ๓. การน�ำวิถีด้วยเลเซอร์ คือการที่พลยิง หรื อ พลชี้ เ ป้ า ท� ำ การฉายแสงเลเซอร์ เ ข้ า ไป ยังเป้าหมาย และลูกจรวดซึ่งติดตั้งเซ็นเซอร์ ตรวจจับแสงเลเซอร์จะค้นหาจุดที่เลเซอร์ตก กระทบและวิ่งเข้าไปหาเป้าหมายโดยอัตโนมัติ เทคโนโลยีนี้มีข้อดีคือมีความแม่นย�ำสูง และ สามารถท�ำการยิงเป้าหมายได้หลายชนิดไม่ ว่าจะเป็นรถถัง อาคาร ที่ตั้งทางทหาร ฐานทัพ หรือแม้แต่อากาศยาน แต่มีข้อเสียคือพลยิง ต้องท�ำการเล็งตลอดเวลา และล�ำแสงเลเซอร์ อาจถูกรบกวนจากสภาพอากาศได้ จรวดที่ใช้ เทคโนโลยีแบบนี้ก็เช่นจรวดอากาศสู่พื้นที่ยิง จากเครื่องบิน จรวดต่อสู้รถถัง หรือจรวดต่อสู้ อากาศยาน เป็นต้น ๔. การน�ำวิถีด้วยดาวเทียมและแรงเฉื่อย โดยเป็นการก�ำหนดเป้าหมายที่จรวดจะเดิน ทางด้วยการอ้างอิงต�ำแหน่งที่ได้จากดาวเทียม ระบุต�ำแหน่ง เพื่อเสริมกับระบบน�ำวิถดี ว้ ยแรง เฉือ่ ยใช้การค�ำนวณเวลาและความเร็วของจรวด เพื่อหาต�ำแหน่งที่จรวดจะวิ่งเข้าชนเป้า การน�ำ วิ ถี แ บบนี้ มี ข ้ อ ได้ เ ปรี ย บตรงที่ ร าคาไม่ แ พง แต่มีประสิทธิภาพพอสมควร แต่ข้อเสียคือ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของดาวเทียมระบุ ต�ำแหน่งเพื่อใช้ในการทหาร ๕. การน�ำวิถีด้วยเรดาร์ เป็นการยิงคลื่น เรดาร์เข้าตกกระทบเป้าหมายเพื่อให้จรวดที่มี เซ็นเซอร์ตรวจจับสัญญาณเรดาร์วงิ่ เข้าหาจุดที่ เรดาร์ตกกระทบและสะท้อนกลับมา นอกจาก นี้ จรวดบางแบบยังมีเรดาร์ตดิ ตัง้ อยูใ่ นตัวจรวด เองเพื่ อ ค้ น หาเป้ า หมายด้ ว ยตั ว เองอี ก ด้ ว ย เทคโนโลยีนมี้ ขี อ้ เสียคือมีราคาแพง และต้องใช้ การพัฒนาที่มีพื้นฐานจากเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ มีข้อดีคือมีความแม่นย�ำสูง ตัวอย่างของจรวด แบบนี้เช่นจรวดต่อสู้อากาศยาน หรือจรวด อากาศสู่อากาศที่ยิงจากเครื่องบินเพื่อท�ำลาย เครื่องบินฝ่ายตรงข้าม ทั้งหมดนี้คือตัวอย่างของเทคโนโลยีการน�ำ วิถี ซึง่ สทป. ก�ำลังพัฒนาเพือ่ ท�ำให้ประเทศไทย มีเทคโนโลยีนี้ไว้ใช้งานเอง และจะท� ำให้เรา มีความสามารถในการผลิตยุทโธปกรณ์ด้วย ตนเอง และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เหล่ า นี้ ไ ปยั ง ภาคอุ ต สาหกรรมของไทยที่ เกี่ยวข้องได้อีกด้วย 39
ดูเอต์ : Douhet
เจ้าต�ำนาน The Command of the Air : บัญชาสวรรค์
เรือ่ งราวของผูเ้ ป็นต้นต�ำราแห่งแนวความคิดหรือทฤษฎีเกีย่ วกับนภานุภาพของ ก�ำลังทางอากาศ ก�ำลังถูกหยิบยกขึน้ มาถกเถียงกันใหม่ เรียบเรียงจาก : Air Force Magazine, April 2011 By Robert S.Dudney ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ใ
นปี ๑๙๑๑ อิ ต าลี เ ข้ า สู ่ ส งครามกั บ จักรวรรดิอ์ อตโตมานทีก่ �ำลังล่มสลาย เป้า หมายคือการยึดครองลิเบียซึ่งในขณะนั้น เป็นจังหวัดหนึ่งของตุรกี สงครามครั้งนี้เป็น จุดเริ่มต้นของแนวความคิดและการให้ความ ส� ำ คั ญ ของก� ำ ลั ง ทางอากาศทั่ ว โลกในเวลา ต่อมา จากข้อเท็จจริงที่ว่ากองทัพอิตาลีในช่วง เข้าสู่สงครามนั้นยังอยู่ในสภาพที่ไม่แข็งแกร่ง มากนั ก มี เ ครื่ อ งบิ น อยู ่ เ พี ย งแค่ เ ก้ า ล� ำ แต่ อย่างไรก็ตามสงครามครั้งนี้ก็เป็นต้นแบบของ การใช้ก�ำลังทางอากาศ เช่นการลาดตระเวน ทางอากาศและการโจมตีทิ้งระเบิดของก� ำลัง ทางอากาศ ผลจากสงครามในอดีตครั้งนี้ของ อิตาลี มีผลท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตที่ ค่อนข้างลุ่มๆ ดอนๆ ในกองทัพของอดีตทหาร ปืนใหญ่แห่งกองทัพอิตาลีผู้หนึ่ง ซึ่งสงครามใน ลิเบียนีเ้ องท�ำให้กองทัพอิตาลีมคี วามเชือ่ มัน่ ใน การประกอบก�ำลังของก�ำลังทางอากาศ และ เป็นจุดเริ่มต้นของผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่ง แนวความคิดของก�ำลังทางอากาศ และเป็น ที่ยอมรับของ ทอ.ทั่วโลกในเวลาต่อมา นาย 40
ทหารปืนใหญ่ผู้นั้นคือ Douhet นายทหาร ปืนใหญ่ทไี่ ด้รบั มอบหมายให้บงั คับบัญชาก�ำลัง ทางอากาศของอิตาลีในครั้งนั้น ความคิดเห็นที่ขัดแย้งเกี่ยวกับแนวความ คิดของ Douhet ในเรื่องของก�ำลังทางอากาศ นัน้ เป็นประเด็นทีถ่ กเถียงกันอยูห่ ลายทศวรรษ แม้ว่าเขาจะเสียชีวิตไปแล้วตั้งแต่ปี ๑๙๓๐ ตัว เขาเองต่างถูกเรียกขานกันในหลายสมญานาม ทั้งที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับนภานุภาพ ทางอากาศตั้งแต่ถูกเรียกว่า โหร, นักทฤษฎี, ผู้มีวิสัยทัศน์และหมอผู้ใช้ความศรัทธาและ เชื่อมั่นแห่งศาสนาในการเยียวยาโรคภัยไข้เจ็บ ให้หายขาด หรือแม้กระทั่งจอมลวงโลก แต่ที่ โดดเด่นที่สุดคือเขาถูกยกย่องว่าเป็นบิดาของ ก�ำลังทางอากาศ ผู้ที่มองเห็นความส�ำคัญแห่ง ศักยภาพทางยุทธศาสตร์ของก�ำลังทางอากาศ ชื่อเสียงของเขาเป็นที่ยอมรับจากงานเขียนใน ปี ๑๙๒๑ ซึง่ ได้วเิ คราะห์ครอบคลุมถึงเรือ่ งของ ก�ำลังทางอากาศ ซึ่งหนังสือที่โด่งดังเล่มนั้นคือ บัญชาสวรรค์หรือ The Command of the Air โดยบทสรุปในตอนท้ายของหนังสือเล่มนี้ เขาได้ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดของก�ำลัง
ทางอากาศ ถึงขีดความสามารถในการท�ำลาย ล้างอย่างมหาศาลทัง้ ชีวติ และสิง่ ปลูกสร้างของ มนุษย์ รวมถึงได้กล่าวอย่างชัดแจ้งแบบสุดขั้ว ในความเชื่อมั่นของก�ำลังทางอากาศว่า ก�ำลัง ทางอากาศแต่เพียงล�ำพังก็เพียงพอแล้วที่จะ สามารถเอาชนะสงครามได้ Douhet เกิดเมือ่ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๑๘๖๙ ที่เมือง Carseta ใกล้กับเมือง Naple ประเทศ อิตาลี ในครอบครัวทีเ่ ป็นทหารมาหลายรุน่ เขา เป็นคนทีม่ ไี หวพริบสติปญ ั ญาดี ผลการเรียนอยู่ ในอันดับที่หนึ่งของโรงเรียนนายร้อย Genoa Military Academy เขาเริ่มรับราชการเป็น นายทหารปืนใหญ่ในกองทัพบกอิตาลีเมื่ออายุ ๑๙ ปี พร้อมทั้งพากเพียรศึกษาความรู้เพิ่มเติม ทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมต่อที่เมือง Turin และในปี ๑๙๐๐ เมื่อเขามียศร้อยเอก เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นฝ่ายเสนาธิการทั่วไปซึ่ง ท�ำให้เขาต้องมุ่งมั่นการศึกษาและได้รับความรู้ มากมายเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งยนต์ ก ลไกต่ า งๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ความสนใจแบบสุ ด ๆ ในเรื่องของเครื่องบินในช่วงที่เริ่มมีการเข้ามา ประจ�ำการของเครื่องบินในกองทัพอิตาลี
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ปี ๑๙๐๕ อิตาลีได้สร้างโพยมยานที่เบากว่า อากาศขึน้ เป็นครัง้ แรก ยิง่ ตอกย�ำ้ ความชืน่ ชอบ ของเขาต่ อ อากาศยานมากขึ้ น ไปอี ก เขา หมกมุ่นและจมปลักอยู่กับการศึกษาเรียนรู้ เทคโนโลยีด้านการบินและอากาศยานอย่าง เต็ ม ที่ พ ร้ อ มทั้ ง ติ ด ตามวิ วั ฒ นาการด้ า นนี้ ใ น ทุกหนแห่งที่มีการแสดงเกี่ยวกับอากาศยาน และสิ่งที่ท�ำให้เขาต้องหลงใหลมากยิ่งขึ้นกว่า เดิมคือ การบินครั้งแรกของเครื่องบินปีกตึงที่ อิตาลีสร้างขึ้นเองในปี ๑๙๐๘ ปี ๑๙๑๐ Douhet ได้เขียนท�ำนายไว้ใน บทความทางทหาร กล่าวถึงการเกิดขึ้นของ สมรภูมิในห้วงอากาศจะมีบทบาทและความ ส� ำ คั ญ ไม่ ไ ด้ ยิ่ ง หย่ อ นไปกว่ า สมรภู มิ ท างบก หรือทางทะเลเลย และการควบคุมห้วงอากาศ หรือการเป็นเจ้าเวหานัน้ จะก่อให้เกิดประโยขน์ สูงสุดของการบริหารสงครามในสนามรบแห่ง อาณาจักรนี้ ซึ่งหมายถึงลิเบีย และที่ลิเบียนี้เขาได้จัดตั้งก�ำลังทางอากาศ มีการฝึกและติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมให้แก่ก�ำลัง ทางอากาศ เขาทุ่มเทและใช้ความอุตสาหะ ในภารกิจนี้มาก เขาสังเกตพบว่า การบรรทุก ระเบิดไปกับเครื่องบินเป็นเรื่องที่เหมาะสมใน การโจมตีจากระยะสูง พร้อมทั้งได้แสดงเพื่อ พิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น จริ ง ถึ ง ขี ด ความสามารถของ ความเป็นอิสระในการปฏิบตั กิ ารของก�ำลังทาง อากาศที่ยากต่อการป้องกันของข้าศึก ปี ๑๙๑๒ เขาเข้ารับต�ำแหน่งผู้บัญชาการ หน่วยก�ำลังทางอากาศแห่งใหม่ของอิตาลีที่ เมืองตูริน และที่นี่เขาได้เขียนหนังสือคู่มือหลัก นิยมของก�ำลังทางอากาศเล่มแรกชื่อ Rules for the Uses of Airplanes in War. แม้ว่า ด้วยความรู้และความเชื่อมั่นในศักยภาพของ เครื่ อ งบิ น ในสงครามของเขาจะมี อ ยู ่ ม ากก็ จริง แต่เขาเองก็ยังเป็นห่วงถึงการขาดความ เข้ า ใจที่ แ ท้ จ ริ ง เกี่ ย วกั บ คุ ณ ลั ก ษณะและขี ด ความสามารถของก�ำลังทางอากาศของผู้น�ำ ทหารอิตาลี ซึ่งไม่มีความพยายามที่จะเข้าใจ แนวความคิดของเขาเอาเสียเลย หน�ำซ�้ำเขา ยังได้พยายามผลักดันให้เกิดความเป็นอิสระ ของก�ำลังทางอากาศให้อยู่ภายใต้การบังคับ บัญชาของผู้ปฏิบัติงานในก�ำลังทางอากาศโดย เฉพาะ แนวความคิดดังกล่าวของเขาเป็นเรื่อง ที่สร้างความร�ำคาญใจให้กับผู้น�ำกองทัพบก
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
มาก โดยผู้น�ำเหล่านั้นมองว่าเป็นเรื่องที่เพี้ยน ผิดประเพณี ความพยายามของเขาและความ ขุ่นเคืองของผู้น�ำทหารบกได้ด�ำเนินมาเรื่อยจน กระทั่งได้ระเบิดแตกหักอย่างไม่ปราณีกันเลย เมื่อเขาได้สั่งสร้างเครื่องบินทิ้งระเบิดแบบสาม เครื่องยนต์จ�ำนวนหนึ่งล�ำจากบริษัทเพื่อนของ เขาเองในปี ๑๙๑๔ เพียงเท่านี้เองก็เป็นการ เหลืออดส�ำหรับผู้น�ำกองทัพบกที่มีต่อเขาเป็น ทุนเดิมอยู่แล้ว กองทัพบกได้เนรเทศเขาไปอยู่ ในหน่วยทหารราบเพือ่ ให้เกิดความเข็ดหลาบที่ เมือง Edolo ใกล้ชายแดนประเทศออสเตรีย ในเดื อ นสิ ง หาคมปี เ ดี ย วกั น นั้ น เอง โดยเขา ได้รับต�ำแหน่งเป็นถึงหัวหน้านายทหารฝ่าย เสนาธิการ มีภารกิจนั่งใคร่ครวญให้สมอยาก เกี่ยวกับก�ำลังทางอากาศแต่เพียงอย่างเดียว และในปีนี้ก็เริ่มเกิดสงครามใหญ่ในยุโรปขึ้น บทความของเขาในเดือนธันวาคมปี ๑๙๑๔ เมื่อมียศพันเอก ได้เขียนสนับสนุนให้อิตาลี มีการเตรียมพร้อมแห่งชาติขึ้น โดยการสร้าง ก�ำลังทางอากาศเพื่อความเป็นเจ้าอากาศหรือ ครองอากาศ ซึ่งจะน�ำไปสู่การท�ำลายเขี้ยวเล็บ ของข้าศึก เขาเสนอให้มีการสร้างเครื่องบินทิ้ง ระเบิดจ�ำนวนมากถึง ๕๐๐ ล�ำเพื่อทิ้งระเบิด จ�ำนวน ๑๒๕ ตันต่อวัน โดยมีเป้าหมายที่เป็น ยุ ท ธศาสตร์ ส� ำ คั ญ ในดิ น แดนของออสเตรี ย และเยอรมัน ปี ๑๙๑๕ อิตาลีเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ ๑ เต็มตัว สร้างความหวั่นวิตกให้เกิดขึ้นแก่เขา เป็นอย่างมากเกี่ยวกับความพร้อมของอิตาลี เนือ่ งจากเขาวิเคราะห์วา่ อิตาลีไม่มคี วามพร้อม ใดๆ เลยในการเข้าสู่สงคราม มีแต่กองทัพ ที่อ่อนปวกเปียกและผู้น�ำทหารที่มีความคิด ล้าหลังคร�่ำครึ เขาจึงเขียนจดหมายถึงกองทัพ โดยใช้ ถ ้ อ ยค� ำ และเนื้ อ หาที่ รุ น แรงเกี่ ย วกั บ
แนวความคิดการท�ำสงครามของผู้น�ำทหาร อิ ต าลี พร้ อ มกั บ เสนอและสนั บ สนุ น การใช้ ก�ำลังทางอากาศในสงคราม ความคิดของเขา ไปถึงผู้น�ำทางทหารและได้รับการสนองตอบ ในทางตรงกั น ข้ า ม เขาถู ก กล่ า วหาว่ า เป็ น ผู ้ บ ่ อ นท� ำ ลายกองทั พ และปล่ อ ยเรื่ อ งราว อันเป็นเท็จ เป็นเหตุให้เขาต้องถูกลงโทษ และ สิ้นอิสรภาพ โดยเขาถูกจับเมื่อเดือนกันยายน ๑๙๑๖ และศาลทหารตัดสินจ�ำคุกเขาเป็นเวลา หนึ่งปี ครั้นเมื่อถึงเดือนตุลาคม ๑๙๑๗ อิตาลี ต้องยับเยินและบอบช�้ำอย่างหนักในสมรภูมิ ที่ Caporetto โดยมีการบาดเจ็บและสูญเสีย ทหารถึง ๓๐๐,๐๐๐ คนในเพียงแค่สมรภูมเิ ดียว เท่านั้น และเมื่อพิจารณาอีกด้านหนึ่งของผล ของสงครามที่พ่ายแพ้อย่างยับเยินนี้ อาจจะ เป็นบทพิสูจน์แนวความคิดการทหารของเขา น่าจะเป็นเรื่องที่ถูกต้อง ที่เขาได้กล่าวไว้ใน จดหมายว่า สงครามตามแบบขุดร่องคูคลอง หรือสนามเพาะยุคเก่า ฤาจะสู้กับเครื่องบิน ในยุคใหม่ได้ เขาจึงถูกปล่อยตัวจากการคุมขัง และให้ไปปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นผูอ้ ำ� นวยการกิจการ การบินของกองทัพ ซึ่งในสมัยนั้นก็เหมือนกับ ดูแลด้านการบินของทั้งประเทศเลยทีเดียว แต่ อะไรๆ ก็ไปได้ไม่ดีนัก เขาเองรู้สึกเหมือนนั่งอยู่ ในห้องที่ว่างเปล่า เขาจึงตัดสินใจลาออกจาก กองทัพในเดือนมิถุนายน ๑๙๑๘ ด้วยความ มุง่ มัน่ เกีย่ วกับก�ำลังทางอากาศทีน่ อ้ ยลงไปบ้าง แต่ยงั ไม่ถงึ ขัน้ ละลายหายไปเลยทีเดียว ภายหลัง จากที่ เ ขาลาออกไม่ น านนั ก กองทั พ อิ ต าลี เกิดหูตาสว่างตามทฤษฎีการประกอบก� ำลัง ทางอากาศของเขาและได้ยกเลิกค�ำพิพากษา ต้องโทษทั้งมวลของเขาพร้อมกับเลื่อนยศเป็น พลจัตวา หากแต่วา่ ตอนนัน้ ความมุง่ มัน่ ของเขา ได้เปลี่ยนเวทีการแสดงไปเรียบร้อยแล้ว เขา 41
ปฏิเสธข้อเสนอของกองทัพและไม่กลับเข้ารับ ราชการ ชีวิตที่เหลืออยู่ของเขาจึงได้ทุ่มเทให้ กับงานหนังสือที่เกี่ยวกับก�ำลังทางอากาศแต่ เพียงอย่างเดียว ปี ๑๙๒๑ หนังสือ The Command of the Air ที่เขาบรรจงเขียนขึ้นอย่างตั้งใจ จาก ประสบการณ์จริงซึ่งผ่านความเจ็บปวดนานา ประการซึ่งเกี่ยวข้องกับก�ำลังทางอากาศโดย เฉพาะ ก็ส�ำเร็จอย่างสมบูรณ์ ในช่วงเริ่มต้น นั้นมีการตอบรับที่เงียบเหงา แต่ต่อมาในภาย หลังหนังสืออันเป็นต้นแบบของนภานุภาพเล่ม นี้มีอิทธิพลทางแนวความคิดในการพัฒนาเป็น อย่างมากต่อวิวัฒนาการและขีดความสามารถ อันสุดยอดของก�ำลังทางอากาศ เขาได้เขียน บทความที่มีความเกี่ยวเนื่องแบบเดียวกันนี้อีก ในปี ๑๙๒๖ หากแต่มีความเข้มข้นและดุดันใน การวิพากษ์วจิ ารณ์ถงึ ความล้าหลังและถดถอย ทางเทคโนโลยีและแนวความคิดของกองทัพ อิตาลีมากขึ้น ซึ่งก็เป็นธรรมดาที่จะเกิดความ รู้สึกไม่พอใจและต่อต้านจากกองทัพอยู่บ้างไม่ ว่าจะเป็นกองทัพบกหรือกองทัพเรืออิตาลี เขา มุ่งมั่นในงานเขียนอย่างต่อเนื่อง แม้จนกระทั่ง ในช่วงสี่ปีสุดท้ายก่อนการเสียชีวิต เขายังได้ อุทิศตนในงานเขียนเกี่ยวกับสงครามด้านการ ข่าวเพิ่มเติมขึ้นมาอีกด้วย ภาพในตลอดช่วง ชีวิตของเขา จึงเป็นภาพของบุคคลที่ไม่รู้จัก เหน็ดเหนื่อย มีความอดทน ดื้อรั้น มุ่งมั่นและ มั่นใจในตนเองอย่างที่สุด สาระเกี่ยวกับแนวความคิดของก�ำลังทาง อากาศของเขาที่ ถ ่ า ยทอดในหนั ง สื อ The Command of the Air หรือบทความอื่นใด ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั น นั้ น นั ก การทหารทั่ ว ไปโดย เฉพาะจาก ทอ.สหรั ฐ ฯ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ผู ้ น� ำ ของแนวความคิดที่พัฒนาจากแบบเดิมของ Douhet แต่ ทอ.สหรัฐน�ำมาเรียกกันใหม่ว่า Air Supremacy ในยุคปัจจุบัน ได้น�ำเรื่องราว 42
ของเขามาสั ม มนากั น ใหม่ เ ป็ น กรณี ศึ ก ษา บนพื้ น ฐานของการวิ เ คราะห์ ใ นแบบฝึ ก หั ด จากโจทย์ที่เป็นเรื่องจริงในยุคของ Douhet หากแต่ว่าน�ำมาศึกษาเปรียบเทียบตามกาล เวลาที่เปลี่ยนแปลงไปเท่านั้น เป็นการสัมมนา กันในลักษณะของ Tink Tank ไม่ได้ต้องการ โค่นล้มความคิดอันเป็นรากเหง้าต้นแบบของ ก�ำลังทางอากาศซึ่งน�ำมาสู่ความเป็นอิสระของ ก�ำลังทางอากาศในยุคนี้แต่ประการใด อีกทั้ง ก็ไม่ใช่ความพยายามที่จะเปลี่ยนการยอมรับ ของบุคคลส�ำคัญในประวัติศาสตร์ของก�ำลัง ทางอากาศจากคนอิตาลีมาเป็นคนอเมริกัน ด้วยเหมือนกัน ส�ำหรับ ทอ.สหรัฐฯ นั้น พวก เขามี Brig.Gen.Billy Mitchell เป็นบิดาแห่ง ทอ.สหรัฐฯ อยู่แล้ว ซึ่งทั้งสองท่านนี้แม้ว่าจะ เกิดในยุคเดียวกันแต่กค็ นละฟากฟ้า มีเพียงแค่ มหาสมุทรแอตแลนติกมากั้นกลางเท่านั้นเอง ซึ่ ง ในปี ๑๙๒๒ ทั้ ง สองท่ า นนี้ ก็ ไ ด้ มี โ อกาส พบปะสนทนากันหลายครั้งในยุโรป เกี่ยวกับ ความเป็นไปของก�ำลังทางอากาศ จนล่วงเข้า มาถึงปี ๑๙๓๐ ซึ่งเป็นปีเดียวกันที่ Douhet เสียชีวิต หนังสือดังเรื่องนี้ของเขาซึ่งน่าจะมี จิตวิญญาณความคิดของเขาแฝงติดตามมาด้วย ได้ขึ้นฝั่งมาเผยแพร่ที่อเมริกาและเริ่มแปลให้ เป็นที่แพร่หลายใน ทอ.สหรัฐฯ ในปี ๑๙๓๓ ส�ำหรับเรื่องราวทั้งหมดจาก The Command of the Air นั้น นักการทหารของ ทอ.สหรัฐฯ ได้กลัน่ กรองสรุปออกมาพอเป็นประเด็นใหญ่ๆ ได้ห้าประการคือ ประการที่หนึ่ง สงครามยุคต่อไปจะไม่ใช่ การสู้รบกันระหว่างกองทัพบกของชาติคู่กรณี อีกต่อไป อีกทั้งจะเป็นสงครามที่ไม่มีข้อจ�ำกัด ใดๆ ทั้งสิ้น พลเรือนหรือเป้าหมายพลเรือน จะถูกน�ำเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสงคราม ประการที่สอง การเอาชนะสงครามอย่าง เด็ดขาด ต้องท�ำลายความตั้งใจที่จะโต้ตอบ หรื อ ต่ อ ต้ า นของข้ า ศึ ก อย่ า งราบคาบ การ โจมตีกองทัพข้าศึกโดยตรงนั้นจะเป็นยุทธวิธี ที่แย่และไม่ได้ผล สิ่งที่ต้องท�ำคือ การท�ำลาย จุ ด ศู น ย์ ก ลางของพลั ง อ� ำ นาจของข้ า ศึ ก ใน ดินแดนหรือในประเทศของข้าศึกโดยตรง ประการที่สาม สงครามโลกครั้งที่ ๑ คือจุด เปลีย่ นแนวความคิดใหม่ของสงคราม ทีก่ องทัพ บกหรือกองทัพเรือจะไม่ใช่ผู้ชี้ชะตาหรือจุดจบ ของสงครามอีกต่อไป ประการที่สี่ เครื่องบินคือผู้ปฏิวัติการรุก แนวใหม่ที่จะก้าวข้ามการต่อต้านของก� ำลัง ทางบกไปอย่างง่ายดาย เพื่อการโจมตีหรือ ท�ำลายความตัง้ ใจในการต่อต้านหรือตอบโต้ใน ดินแดนของข้าศึก ประการที่ห้า การครองอากาศหรือเป็น เจ้าอากาศของก�ำลังทางอากาศ เป็นสิ่งจ�ำเป็น อย่ า งยิ่ ง ยวดและเป็ น เรื่ อ งที่ เ พี ย งพอแล้ ว
เพื่ อ การป้ อ งกั น ประเทศ กองทั พ บกจะถู ก ใช้ประโยชน์ภายหลังปฏิบัติการทางอากาศ สมบูรณ์แล้ว กองทัพเรือก็จะมีบทบาทในการ สงครามน้อยลงมาตามล�ำดับ โดยภาพรวมแล้ว แนวความคิดเกี่ยวกับ การใช้ก�ำลังทางอากาศ (The Command of the Air) ในยุคของ Douhet จะมุ่งเน้นไปใน เรือ่ งการใช้กำ� ลังทางอากาศเข้าไปโจมตีทำ� ลาย แหล่งอุตสาหกรรมหรือยุทธศาสตร์ต่างๆ ของ ข้าศึกในดินแดนของข้าศึกเพื่อให้เกิดการลุก ไหม้เป็นกองเพลิงกลางเมืองขนาดใหญ่คุโชน นานนับชั่วโมง ทั้งเมืองจะเต็มไปด้วยความ โกลาหลจากผลของการระเบิดที่ท�ำลายล้าง อย่างรุนแรงโดยไม่กังวลว่าพลเรือนผู้บริสุทธิ์ จะสู ญ เสี ย มากน้ อ ยขนาดไหน ประชาชน จ�ำนวนมากจะต้องกระเสือกกระสนด้วยความ เจ็บปวดแสนสาหัสและเต็มไปด้วยทุกขเวทนา นานาประการจากมหันตภัยของสงครามโดย ก�ำลังทางอากาศ ในที่สุดประชาชนทั้งหมดจะ ต้องออกมาเรียกร้องตามสัญชาตญาณของการ อยู่รอดและรักษาเผ่าพันธ์ุ เพื่อให้ยุติสงคราม ทั้งปวงโดยสิ้นเชิง ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ตามแนว ความคิดของเขาแล้ว มันเป็นเรื่องที่ค่อนข้าง อ� ำ มหิ ต และโหดร้ า ยเกิ น มนุ ษ ย์ ม ากที เ ดี ย ว ถ้ า ต้ อ งการชนะสงครามตามแบบของเขา ผู้ซึ่งไม่ได้มีการเอ่ยถึงเรื่องราวเกี่ยวสายใยรัก ของตนเองกั บ คนในครอบครั ว ในงานเขี ย น ต่างๆ ของเขาเลย และก็ไม่ปรากฏว่าเขามี ภรรยาและลูกอันเป็นที่รักหรือไม่ในประวัติ ของเขา ซึ่ ง ข้ อ มู ล อั น นี้ อ าจจะเป็ น ประวั ติ ด้านมืดที่ไม่ยอมเปิดเผย เขาคือคนที่เฉลียว ฉลาดแต่นา่ เสียดายทีพ่ ระเจ้ามอบความก้าวร้าว ติดตัวมามากเหลือเกิน เรื่องของเขาเกือบจะ
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ทั้ ง หมดนี้ น ่ า จะเป็ น ประเด็ น ส� ำ คั ญ ว่ า ท� ำ ไม ผู ้ น� ำ ทางทหารของอิ ต าลี ที่ เ ขากล่ า วร้ า ยว่ า คร�่ ำ ครึ นั้ น จึ ง คั ด ค้ า นแนวความคิ ด ของเขา และย้ายเขาออกจากการคุมก�ำลัง ด้วยเกรงว่า ถ้าก�ำลังทางอากาศอยู่ภายใต้การบังคับบัญชา ของเขาผู ้ นี้ ความโทมนั ส จากหายนะของ สงครามที่ก่อตัวจากแนวความคิดของนักการ ทหารเช่ น นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในยุ โ รปมากกว่ า ที่ ควรจะเป็น และอาจจะน�ำพายุโรปเข้าสู่ยุค ที่ตกต�่ำที่สุดซึ่งยากแก่การพัฒนาและฟื้นตัว และอาจจะท�ำให้อเมริกาที่เป็นดินแดนของ ผู ้ อ พยพจะมาเป็ น เจ้ า อาณานิ ค มในยุ โ รป เสี ย เอง ส� ำ หรั บ เป้ า หมายการท� ำ ลายล้ า ง ในความคิดเขานั้น เขาได้ก�ำหนดเป้าหมาย ส� ำ คั ญ ห้ า ประเภทที่ ส มควรถู ก ท� ำ ลายก่ อ น คือ ศูนย์กลางอุตสาหกรรม, โครงสร้างการ คมนาคมและขนส่งพื้นฐาน, ศูนย์การติดต่อ สื่อสาร, อาคารศูนย์การบัญชาการและสุดท้าย คือสิ่งที่เป็นขวัญก�ำลังใจของประชาชนในชาติ ทุกประการนี้ล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับความ เป็นความตายของชาติโดยสิ้นเชิง ผู้น�ำทหาร ท่านอืน่ ก็ตอ้ งคิดได้ แต่ดว้ ยดุลยพินจิ ทีช่ าญฉลาด มองเห็ น ผลร้ า ยมหาศาลถ้ า ต้ อ งท� ำ เช่ น นั้ น นักการทหารส่วนใหญ่จึงต้องมองข้ามและท�ำ สงครามเท่าที่ควรจะเป็น ในขณะเดียวกันใน เรื่องการโจมตีเพื่อการท� ำลายล้างโดยก�ำลัง ทางอากาศนี้ เขาก็ไม่ได้กล่าวถึงยุทธวิธีการ ไล่ล่ารบติดพันกลางอากาศของเครื่องบินรบ (Fighter) เลย เนื่ อ งจากเขามี มุ ม มองและ มุ่งมั่นในสงครามเชิงรุกเพื่อการท�ำลายอย่าง เดี ย วโดยพึ่ ง พิ ง ก� ำ ลั ง ทางอากาศในรู ป แบบ ของเขาที่ต้องปูพรมทิ้งระเบิดดั่งห่าฝน และ ถ้าหากว่าการผลักดันของเขาในเรื่องของการ ใช้ก�ำลังทางอากาศในการสงครามก่อนที่เขา
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
จะถูกขังคุกนัน้ เป็นผลส�ำเร็จ รางวัลทีจ่ ะเกิดขึน้ ในชีวิตและเป็นความปรารถนาอย่างแรงกล้า ที่ อ าจจะซุ ่ ม ซ่ อ นเรี ย กร้ อ งอยู ่ ภ ายในจิ ต ใจ เขามาอย่ า งยาวนานของคนที่ เ ติ บ โตมากั บ ครอบครัวทหารนั้น จะเป็นอื่นใดไม่ได้ถ้าไม่ใช่ ความยิง่ ใหญ่ของเขาในกองทัพอิตาลีและยุโรป ทั้งหมด ซึ่งผู้น�ำทางทหารท่านอื่นที่เป็นคู่กัด และคู่ขัดแย้งทางความคิดก็อดที่จะวิตกไม่ได้ กับความโดดเด่นของเขาในลักษณะนี้ ส�ำหรับ ข้อวินิจฉัยอีกประการหนึ่งของนักการทหาร ทอ.สหรัฐฯ ในประเด็นที่ Douhet ไม่ได้ให้ ความส�ำคัญของเครือ่ งบินรบ (Fighter) ด้านอืน่ เลยนอกจากทิ้ ง ระเบิ ด อย่ า งเดี ย วคื อ เขา คงนึ ก ไม่ ถึ ง ว่ า พั ฒ นาการของเครื่ อ งบิ น โดย เฉพาะเครื่องบินรบ (Fighter) นั้นจะมาได้ไกล มากมายดั่งเช่นในปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามแนวความคิดการสงคราม โดยก� ำ ลั ง ทางอากาศของเขายั ง ไม่ ไ ด้ มี ก าร พิสูจน์เนื่องจากในช่วงปี ๑๙๒๐ - ๑๙๓๐ สงครามโลกครั้งที่ ๑ ประเทศต่างๆ เริ่มระโหย โรยเรียงล�ำบากล�ำบนทั่วกันไปหมด จนกระทั่ง สงครามสงบลงไปเองในที่สุด Douhet มีชื่อเสียงจาก The Command of the Air ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ใน ขณะที่นักการทหารของสหรัฐฯ ต่างก็ปฏิเสธ ถึงการมีอิทธิพลตามแนวความคิดของเขาและ กล่าวว่า ทฤษฎีของเขาในการระดมทิ้งระเบิด อย่างไม่ลืมหูลืมตานั้นใช้ไม่ได้ผล และไม่ใช่ หนทางยุติสงคราม ไม่ว่าสงครามนั้นจะเกิด ในยุคใดๆ แต่ ทอ.สหรัฐฯ ยอมรับในประเด็น ของการครองอากาศคือการน�ำไปสู่การครอง สมรภูมิทั้งปวง พร้อมกันนี้ยังได้แสดงโวหาร กึ่งละอายใจ โดยโอนต้นความคิดการโจมตี ญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไปถึง Douhet
บทสรุปหลังสงครามอ่าวปี 1991 นั้นเป็นที่ชัดเจนว่าการครองอากาศ (Air Supermacy)นั้นคือปัจจัย อย่างส�ำคัญในการควบคุมสงคราม หรือท�ำให้ชนะสงคราม และนั่นก็หมาย ถึงแนวความคิดที่มาจากรากเหง้า ดั้งเดิมจาก The Command of The Air ของ Douhet นั่นเอง
ด้วยว่า ทฤษฎีที่พอจะเห็นเป็นจริงอยู่ได้บ้าง ของเขาก็ คื อ การทิ้ ง ระเบิ ด ปรมาณู ใ นญี่ ปุ ่ น สองลูกหรือการพัฒนาเครื่องบินทิ้งระเบิดทาง ยุทธศาสตร์ระยะไกลของ ทอ.สหรัฐฯ ในเวลา ต่อมาเท่านั้นเอง อย่างไรก็ตามแนวความคิด ในทางอากาศยุทธศาสตร์ของเขานั้นก็ถูกน�ำ มาใช้เพื่อการศึกษาหรือเป็นแนวความคิดที่มี การพั ฒ นาต่ อ ยอดและเรี ย กขานกั น ใหม่ ใ น ปัจจุบันของ ทอ.สหรัฐฯ ว่า การครองอากาศ (Air Supremacy) นั่นเอง หากแต่ว่าการครอง อากาศ (Air Supremacy) ในสงครามยุคใหม่นนั้ จะผสมผสานไปกับการครองห้วงอวกาศ (Air Space Supermacy) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ในเชิงป้องกันหรือป้องปรามเพื่อต้องการยุติ สงครามโดยรวดเร็ ว และมี ก ารสู ญ เสี ย น้ อ ย ที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับความผิดพลาดที่ เกิดขึน้ กับพลเรือนซึง่ ไม่ใช่เป้าหมายทางทหารนัน้ จะพยายามไม่ให้เกิดขึ้นเลย ซึ่งจะเห็นได้จาก เทคโนโลยีอาวุธยุคใหม่ที่มีความแม่นย�ำและมี การตรวจจับเพื่อพิสูจน์ฝ่ายก่อนการท�ำลายได้ อย่างเชื่อถือได้สูงมาก โดยเริ่มเป็นที่ประจักษ์ กั น ตั้ ง แต่ ส งครามอ่ า วเปอร์ เ ซี ย ที่ เ ป็ น สนาม ทดสอบอุปกรณ์เทคโนโลยีสงครามสมัยใหม่ ของสหรัฐฯ ที่ดีที่สุดเป็นต้นมา ซึ่งบทสรุปหลัง สงครามอ่าวปี ๑๙๙๑ นั้นเป็นที่ชัดเจนว่าการ ครองอากาศ (Air Supermacy) นั้นคือปัจจัย อย่างส�ำคัญในการควบคุมสงครามหรือท�ำให้ ชนะสงคราม และนั่นก็หมายถึงแนวความคิด ทีม่ าจากรากเหง้าดัง้ เดิมจาก The Command of The Air ของ Douhet นั่นเอง สงครามในยุคโบราณไม่ว่าจะเป็นทางบก หรือทางทะเล ประวัติศาสตร์สงครามท� ำให้ ชาวโลกระลึกถึง Henri de Jomini, Carl Von Clausewitz และ Alfred Thayer Mahan แต่หากจะกล่าวถึงความอัศจรรย์ใจและความ เป็นอิสระของก�ำลังทางอากาศ ทหารอากาศ ทั้งหลายก็ไม่สมควรที่จะมองข้ามและระลึกถึง Douhet (๑๘๖๙ - ๑๙๓๐) : The Father of Air Power เป็นอันขาด 43
44
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
หลักการของ นายพลแพตตั น (ตอนทีี่ ๑๐) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
45
(ต่อจากฉบับที่แล้ว)
“ต
อย่ากลัวล้มเหลว ลอดชีวติ ของผมทีเ่ คยถูกยิงมา! บ่ อ ยมากที่ ถู ก ยิ ง โดยข้ า ศึ ก ! มี เ พี ย งครั้ ง เดี ย วเท่ า นั้ น ที่ ข้ า ศึ ก ยิ ง ถู ก ผม แน่ น อนผมถู ก ด่ า ว่ า ต่ า งๆ นานาไม่ว่าคุณจะท�ำอะไร พวกประชาชนจะ เพ่งเล็งคุณ แม้แต่คนที่เป็นเพื่อนของคุณเอง มั น เป็ น สั จ ธรรมที่ คุ ณ ต้ อ งป้ อ งกั น ตั ว เองให้ รอดพ้นจากเพื่อนคุณมากกว่าป้องกันตัวเอง ให้รอดพ้นจากข้าศึก คุณยิ่งท�ำมากขึ้นเท่าไหร่ บรรดาเพื่อนและศัตรูก็ยิ่งพูดว่าคุณไม่เคยท�ำ อะไรส�ำเร็จมากขึ้นเท่านั้น นั่นเป็นกฎเกณฑ์ แห่งชีวิต ถ้าคุณกลัวถูกยิงคุณก็แพ้แล้วก่อน ที่จะเริ่มต้นเสียอีก” นายพลแพตตัน ได้บรรยายเรือ่ งนีใ้ ห้กบั ฝ่าย เสนาธิการทั้งหน้าใหม่และหน้าเก่า ผมจ�ำได้ว่านายพลแพตตันเคยพูดว่ามนุษย์ แบ่งออกเป็นสองประเภทคือผู้บังคับบัญชา และฝ่ า ยอ� ำ นวยการ พวกเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการหรือเสนาธิการเสมอ และบางคนก็เกิดมาเพื่อเป็นฝ่ายเสนาธิการ โดยเฉพาะ บางคนไม่สามารถรับการฝึกที่จะ เป็นผู้บังคับบัญชาได้ ท่านได้บรรยายว่า “เราต้องการผู้บังคับบัญชาที่ดี มันยากที่ จะฝึกคนให้เป็นผู้บังคับบัญชาที่ดีได้ มนุษย์ เราถ้ า ไม่ เ ป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาก็ จ ะเป็ น อี ก ประเภทหนึ่ง เราต้องมีคนที่สามารถน�ำกลุ่ม คนเข้าสูส่ นามรบ ในประวัตศิ าสตร์ของโลกมี ผูบ้ งั คับบัญชาจริงๆ ไม่กคี่ น การผลิตผูบ้ งั คับ บัญชานั้น ต้องใช้ส่วนผสมที่ถูกต้องระหว่าง เชาว์ธรรมดาๆ กับความบ้าบัดซบ คนฉลาด จะรู ้ ว ่ า แผนการรบใดๆ ก็ ต ามสามารถ ล้มเหลวได้ทั้งนั้น ถ้าผมมีความฉลาดสักนิด อันนี้เป็นตัวอย่างนะ ผมจะไม่มาอยู่หรอกใน กองทัพนี่น่ะ! แต่ให้ตายเถอะ เรามีสงครามที่ จะต้องเอาชนะให้ได้ ถ้าเราไม่ฆ่าพวกข้าศึก พวกมั น ก็ จ ะฆ่ า พวกเรา มั น ต้ อ งใช้ ค วาม กล้าหาญอย่างมาก ที่จะน�ำคนเข้าสู้รบใน สถานที่ที่พวกเขาถูกฆ่าได้ ผู้บังคับบัญชา ไม่อาจที่จะมีความกลัวได้ ถ้าผู้บังคับบัญชา แสดงความหวาดกลัวออกมา ก�ำลังพลก็จะ รู้ได้ เมื่อมีความกลัวการล้มเหลว ภารกิจนั้น ก็จะประสบความล้มเหลวจริงๆ” มันใช้เวลาอยู่หลายปีเหมือนกันกว่าผมจะ เข้าใจความหมายทั้งหมดในค�ำพูดของนายพล แพตตัน ผมไม่เชื่อว่าบางคนจะปฏิเสธที่จะ ท�ำการตกลงใจ นัน่ เป็นประเภทฝ่ายเสนาธิการ คนประเภทนี้ เ ป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาไม่ ไ ด้ คน 46
บางคนไม่ต้องการเป็นผู้น�ำในการท�ำงานใดๆ เพราะเป็นจุดเด่นให้ถูกด่าว่าได้เมื่องานเกิด ความล้มเหลว ผมขอยกตัวอย่างนักร้อง บิง ครอสสบี้ (Bing crosby) ซึ่งเป็นคนประเภท ฝ่ า ยอ� ำ นวยการ ด้ ว ยค� ำ พู ด ของบิ ง เองใน โทรทัศน์ เขาได้ยอมรับว่าเขาไม่เคยได้รับบท ตัวน�ำ และไม่ต้องการที่จะเป็นตัวแสดงน�ำใน หนังเรือ่ งใด เขาพูดว่า “ถ้าหนังเรือ่ งนัน้ เกิดล้ม เหลว ผมก็จะไม่เจ็บปวดมากหากผมอยู่ห่าง จากบทผู้แสดงน�ำ” สังคมของพวกเราในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ (ค.ศ. ๑๙๔๐) ไม่ได้ฝึกคนให้เป็น ผูบ้ งั คับบัญชา พวกเราฝึกผูต้ ามไม่ใช่ผนู้ ำ� เราได้ จัดให้มีโครงการส�ำหรับเด็กที่มีพรสวรรค์ เรามี โครงการเกียรติยศส�ำหรับเด็กที่มีพรสวรรค์ ผู้ซึ่งสามารถท�ำคะแนนสูงได้จากครูอาจารย์ ของพวกเขา เราได้สอนเด็กของเราว่ามันแย่ มากถ้าไม่ได้คะแนนสูงๆ เด็กๆ ของเราฉลาด กว่ า ครู ข องพวกเขา พวกเด็ ก ได้ เ รี ย นรู ้ ว ่ า คะแนนสู ง จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ เป็ น ใบเบิ ก ทางสู ่ วิทยาลัยได้ ดังนัน้ เด็กนักเรียนจึงขานรับค�ำสอน ของบรรดาครูของพวกเขา พวกเด็กจะเรียน มากขึ้นในวิชาที่เขาสามารถท�ำคะแนนสูงได้ ง่ายๆ พวกเขาพยายามเต็มความสามารถ เพื่อจะได้คะแนนสูงๆ แทนที่เพื่อจะได้ความ รู้ หลังจากยุคที่มีการฝึกสอนแบบนี้ เราก็ได้ เด็กที่เป็นรุ่นซึ่งได้สะสมแต่คะแนนสูงๆ แต่
ไม่สามารถเผชิญหน้ากับสงครามแห่งชีวิตได้ ไม่ว่าจะเป็นความกลัวต่อความล้มเหลวและ ความตาย ผมยังจ�ำเด็กหนุ่มคนหนึ่งได้ ผู้ซึ่งเป็นเด็ก ที่มี “พรสวรรค์”จากโรงเรียนชั้นประถม ใน โรงเรี ย นมั ธ ยมฯ เขาได้ พ บกั บ บรรดาเด็ ก ผู้หญิงและครูในโรงเรียนมัธยมฯ ก็ค้นพบว่า “พรสวรรค์” ของเขาไม่สูงเท่ากับที่เคยมีตอน ทีเ่ ขาอยูช่ นั้ ประถม คะแนนในการสอบครัง้ แรก ของเขาที่โรงเรียนมัธยมฯ แห่งนี้อยู่ในระดับ ปานกลาง! นี่เป็นสิ่งที่ทนไม่ได้ส�ำหรับพ่อแม่ ของเขา ไม่ว่าตัวเขาเองหรือพ่อแม่ของเขาก็ ไม่สามารถที่จะรับความล้มเหลวที่มีคะแนนใน ระดับปานกลางได้ เด็กหนุ่มคนนี้จึงถูกย้ายไป ที่โรงเรียนเอกชน ซึ่งเป็นสถานที่ที่เขาป้องกัน การมีคะแนนในระดับปานกลางได้ เด็กหนุ่ม คนนี้ยังไม่ลืมความกลัวที่มีคะแนนปานกลาง ในคราวนั้นเขาไม่สามารถรับความล้มเหลว ได้! เขาไม่สามารถเผชิญหน้ากับศัตรูใดๆ ได้ เขาไม่พร้อมส�ำหรับสงครามแห่งชีวิตและ ความตาย ผู้บังคับบัญชาที่ดีต้องบ้าพอที่จะวิ่งเข้าใส่ ห้วงแห่งความหวาดกลัว เชอร์ชลิ ล์ (Churchill) ท�ำตนเป็นคนโง่ที่พูดว่า “พวกเราจะสู้รบบน ชายหาดทุกแห่ง, ถนนทุกสาย, บ้านของพวก เราทุกหลัง, ... และแม้วา่ ประเทศของเราจะ พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
เป็นเช่นนี้ต่อไปอีกพันปีเราก็สู้ เพราะมันจะ เป็นห้วงเวลาที่ยอดเยี่ยมที่สุดของพวกเรา!” ค�ำพูดไม่สละสลวยแต่ท่านก็พูดความจริง คน ใดที่เป็นฝ่ายเสนาธิการที่ดีจะรวบรวมข้อมูล ก่อนและพูดว่า “พวกเราจะแสวงหาสันติภาพ ในสมัยของเรา” และที่กล่าวมานี้เป็นค�ำกล่าว จริงจากปากของผู้ที่เป็นนายกรัฐมนตรีอังกฤษ ก่อนหน้าเชอร์ชิลล์ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ ดี คื อ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญในการ เผชิญหน้าความจริง นายพลแพตตันกล่าวว่า “ใครที่กลัวล้มเหลว จะไม่เคยได้ชัยชนะ! ใครทีก่ ลัวตาย จะไม่เคยมีชวี ติ อย่างแท้จริง!”
อย่ารับค�ำแนะน�ำ จากความกลัวของตัวเอง “มันมีเวลาที่จะรับค�ำแนะน�ำจากความ กลัวของตัวเอง และมีเวลาพอที่จะไม่รับค�ำ ปรึกษาใดๆ จากความกลัวนั้น มันส�ำคัญอยู่ เสมอที่จะต้องรู้ว่าคุณก�ำลังท�ำอะไรอยู่” นายพลแพตตันตักเตือนพวกเรา “เวลาที่ จ ะรั บ ค� ำแนะน� ำจากความกลัว ของตนเอง คือ ห้วงเวลาก่อนหน้าที่คุณจะ ท�ำการตกลงใจในการสู้รบที่ส�ำคัญ นั่นคือ เวลาที่คุณควรจะรับฟังความหวาดกลัวทุก สิ่งที่คุณจินตนาการว่าจะเกิดขึ้น! เมื่อคุณได้ รวบรวมข้อมูลและก็หยุดได้ที่จะคิดถึงความ หวาดกลัวต่างๆ และจงเดินหน้าต่อไป ท่าน ได้พูดต่อว่า แผนทุกแผนที่คุณท�ำขึ้นในการ ท�ำ สงครามจะเป็ น การตัดสินใจที่หมายถึง ความเป็นหรือไม่ก็ความตาย คุณอาจจะมี ชีวิตอยู่หรือไม่ก็ตายจากผลการตกลงใจของ คุณเอง เพราะเหตุนี้เราจึงไม่ควรกลัวที่จะท�ำ อะไร ไม่ว่ามันจะมีเหตุผลหรือไม่ที่จะรับค�ำ แนะน�ำจากความหวาดกลัวของพวกเรา” ท่านกล่าวต่อไปว่า “โอกาสที่จะตายใน สงครามนั้น มีไม่มากเท่ากับโอกาสที่จะตาย บนถนนหลวง ถ้ า คุ ณ ต้ อ งการที่ จ ะรั บ ค� ำ ปรึกษาจากความหวาดกลัวแล้วละก็ คุณ จะต้องหยุดขับรถ! และอย่านอนเลื้อยอยู่บน เตียงในเวลากลางคืน! คนส่วนมากตายบน เตียงมากกว่าตายในสถานที่อื่น!” พวกเรา ได้หัวเราะขึ้น เมื่อมีเวลาพอ นายพลแพตตันได้อธิบายถึง ความคิดของท่านโดยกล่าวว่า “คนที่ไม่สามารถเผชิญหน้ากับความตาย นั้น จริงๆ แล้วไม่สามารถที่จะเผชิญกับการ มีชีวิตอยู่ได้ เพราะทุกๆ วันของการมีชีวิต อยู ่ ห มายถึ ง การก้ า วเข้ า ไปใกล้ ค วามตาย ทุกทีการรับค�ำแนะน�ำจากความหวาดกลัวที่ เกี่ยวกับความตายนั้น หมายถึงเป็นการบ่อน ท�ำลายชีวิตของตนเองทุกวัน” หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
ผมมีประสบการณ์ซึ่งได้พิสูจน์ความลึกซึ้ง ของหลักการของนายพลแพตตัน ในเรื่องที่ ไม่ รั บ ฟั ง ความหวาดกลั ว ใดๆ ประการแรก ผมควรบอกก่อนว่าผมได้ร่วมงานกับนายพล แพตตัน จนกระทั่งเดือนสิงหาคม พ.ศ .๒๔๘๕ (ค.ศ. ๑๙๔๒) กองทัพบกต้องการได้นักบิน และผมก็ยังหนุ่มพอ ซึ่งความหนุ่มนี้เองเป็น คุณสมบัติส�ำหรับโครงการฝึกนักบิน ครั้งนั้น นักบินทุกคนเป็นที่ต้องการเพราะอัตราการ สูญเสียนักบินที่เข้าท�ำการในภารกิจทิ้งระเบิด ในทวีปยุโรปมีสูงมาก นายพลแพตตันได้เรียก ผมเข้าไปพบในที่ท�ำงาน “วิลเลียมสัน ผมไม่สามารถดึงคุณไว้นาน กว่านี้มีแรงบีบให้ผมปล่อยชายหนุ่มทุกคนที่ อายุเท่าๆ คุณเพื่อเข้ารับการฝึกเป็นนักบิน รบ ผมจะระลึกถึงคุณ” หลายเดือนต่อมา ผมได้รับการคัดเลือกเป็น ผู้บังคับฝูงบินแห่งหน่วยบินขับไล่สกัดกั้นใน เวลากลางคืน ที่ ๑ ซึ่งมักขึ้นบินเสมอในเวลา กลางคืนและในทุกสภาพภูมิอากาศ ผมแน่ใจ ว่าผมได้รับคัดเลือกเพราะการที่ผมเคยท�ำงาน ร่วมกับนายพลแพตตัน ภารกิจในการฝึกนักบิน หนุ่มๆ ให้บินในเวลากลางคืนและในทุกสภาพ ภูมิอากาศไม่ใช่เรื่องง่าย การตัดสินใจทุกครั้ง หมายถึงความเป็นความตาย เช้าตรู่วันหนึ่งผมขึ้นขับเจ้า พี-๗๐ ซึ่งเป็น เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ ส กั ด กั้ น ในเวลากลางคื น ที่ มี สองเครื่องยนต์ในการบินทดสอบเครื่องที่ได้ รับการซ่อมสร้างมาใหม่ ขณะบินขึ้นสูงไปใน อากาศเพียงสิบฟิตเครื่องที่ซ่อมสร้างมาเกิด ระเบิดขึ้น มันไม่มีเวลาที่จะปรึกษากับความ หวาดกลัว เวลาทั้งหมดใช้ไปในการพยายาม ไต่ระดับให้เครื่องบินอยู่สูงพอที่จะเด้งตัวออก มาหรือไม่ก็หาที่เหมาะๆ ที่จะตก ในที่สุดผม ก็ได้เลี้ยงเครื่องบินให้ลอยอยู่ในอากาศ และ
บ่ายหน้ากลับสู่สนามบินของเรา ขณะที่ผม ใช้เครื่องยนต์ด้านซ้ายที่ยังเป็นปกติอยู่บังคับ ให้ลงบนทางวิ่งผมได้เรียกไปหอบังคับการบิน เพื่อขอร้องว่า “คุณช่วยส่งรถลากจูงไปคอย ดึงเครื่องบินล�ำนี้เข้าประจ�ำที่ได้ไหม ? ผมมี ปัญหาบางประการน่ะ!” ก่ อ นหน้ า นั้ น ผมได้ แ นะน� ำ ทางหอให้ น� ำ เครื่ อ งบิ น ในสนามออกให้ ห มดเพื่ อ การลง ฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่บนหอไม่ต้องการค� ำบอก เล่าใดๆ หรอกในเรือ่ งทีผ่ มมีปญ ั หาขัดข้อง! เขา สามารถเห็นควันด�ำโขมงทีก่ ำ� ลังพวยพุง่ ออกมา จากเครื่องยนต์ด้านขวา เขาบอกว่า “อย่ า ห่ ว งถ้ า คุ ณ ไม่ ส ามารถออกจาก เครื่องบินได้! รถพยาบาลและรถดับเพลิงจะ ถึงที่นั่นทันที!” ผมตืน่ จากความรูส้ กึ ทีว่ า่ ไม่ตอ้ งรับฟังความ หวาดกลัว และมองไปที่เปลวไฟที่ลุกไหม้ใกล้ กับถังน�้ำมัน ทันใดนั้นผมก็รับฟังความหวาด กลั ว ของตนเองและได้ ดี ด ฝาครอบเบื้ อ งบน ศีรษะให้เปิดออกและกระโดดผลุงออกไปทาง ด้านปีกซ้ายโดยไม่ต้องใช้บันได ในห้วงภาวะอันตรายจากไฟไหม้, น�้ำท่วม, การต่อสู้, โรคมะเร็ง, ความแก่หรือปัญหาใดๆ ที่ร้ายแรง จิตใจจะไม่คิดรับฟังค�ำปรึกษาจาก ความหวาดกลัว เราต้องแก่ตัวลง ไม่ว่าเรา จะฟังหรือไม่ฟังความหวาดกลัว การกลัวแก่ มันร้ายกว่าการแก่เสียอีก คนเป็นโรคมะเร็ง สามารถตายได้จากความกังวลใจง่ายกว่าที่ จะตายจากโรคที่เป็นอยู่ ถ้านี่ไม่ใช่ความจริง ประชาชนมากมายคงไม่กลัวโรคมะเร็งมาก ไปจนกระทั่งไม่ยอมรับการตรวจซึ่งจะท� ำให้ ทราบแต่เนิ่น และรักษาให้หายจากโรคมะเร็ง นั่นหรอก ประมาณหนึ่งปีต่อมาชีวิตรับราชการของ ผมนี้ก็สิ้นสุดลงเมื่อมีโทรศัพท์จากนายแพทย์
47
ที่กล่าวกับผมว่า “เราต้องตัดขาของคุณ เพราะเป็นมะเร็ง ที่กระดูก” ก่อนหน้านี้สองสามสัปดาห์เนื้องอกส่วน หนึ่งได้ถูกตัดออกไปจากเข่าซ้ายของผม ไม่มี การพูดถึงเรือ่ งโรคมะเร็งเลย ผมยังบินต่อไปอีก แม้ว่าจะใช้ไม้ดามที่ขาซ้ายของผม ผมได้กลับ ไปซานฟรานซิสโก (Sanfrancisco) หลังจาก ที่รับการตรวจที่ ฟลอริดา (Florida) สงคราม ท�ำให้ไม่มีเวลาพอส�ำหรับการตรวจอย่างถูก ต้องส�ำหรับนายแพทย์ ผมได้ถามนายแพทย์ว่า “มันจะเป็นไง ถ้าผมปฏิเสธการตัดทิ้ง ?” “คุณมีเวลาอีกประมาณสองปีเท่านั้นที่จะ มีชีวิตอยู่แม้ว่าจะตัดทิ้งแล้วก็ตาม!” นายแพทย์ไม่ยอมเสียเวลาพูดมาก มันมีการตกลงใจได้ทางเดียวกับเพื่อนๆ ที่ สนิทของผม เราได้คิดสโลแกนขึ้นมาประโยค หนึ่ง “อย่าสนใจ! ตัดไปเลย!” หลักการของนายพลแพตตัน ช่วยผมจน กระทัง่ การผ่าตัดครัง้ นัน้ และผมก็พร�่ำประโยค ที่ว่า “อย่ารับค�ำแนะน�ำจากความหวาดกลัว โรคมะเร็ง!” ทุกวันของการมีชีวิตก็คือวันหนึ่งๆ เท่านั้น ทุกวันของการมีชวี ติ อีกหนึง่ วัน ไม่มใี ครรูว้ า่ เรา จะยังมีชีวิตอยู่อีกกี่วัน ถ้าเรารับค�ำแนะน�ำจาก ความกลัวตายเราจะไม่มีความสุขในชีวิตเลย สิบปีต่อมาพวกหมอบอกว่า “คุณเอาชนะ โรคมะเร็งได้แล้ว!” อี ก เก้ า ปี ถั ด มาหมอคนหนึ่งได้บอกผมว่า “บางสิ่ ง ต้ อ งไปอี ก แล้ ว ! คุ ณ เป็ น มะเร็ ง ที่ กระดูกอีก! เราต้องตัดขาคุณเพิ่มไม่งั้นคุณ จะต้องเสียชีวิต!” พวกแพทย์ได้ตดั ขาของผมและเหลือขาซ้าย ทิ้งไว้ให้ผมยาวเพียงสามนิ้วเท่านั้น ความตาย ยังอยู่ห่างจากผมสามนิ้ว! การตัดครั้งที่สองนี้ ได้ผ่านมาเป็นเวลาสิบห้าปีแล้ว หลักการของ นายพลแพตตันได้ช่วยเหลือผมให้มีชีวิตอยู่ อีกสามสิบปี! มีตวั อย่างหลายประการเกีย่ วกับความลึกซึง้ ของการปฏิ เ สธที่ จ ะรั บค� ำแนะน� ำจากความ หวาดกลัว ตัวอย่างอันหนึ่งส�ำหรับผมเองคือ การฝึกเดินจากการตัดขาครั้งนี้ ผมถูกบังคับ ให้เรียนรู้วิธีเดินกับขาหลายประเภท ขาเทียม ทุกชิ้นต้องเรียนรู้ก่อนที่จะเดินได้อีกครั้งหนึ่ง มันมีเวลาที่จะระมัดระวังและรับฟังความกลัว การล้ม อย่างไรก็ตามเมื่อเราเดิน ถ้ามัวดูอยู่ที่ รองเท้าละก็ แน่ใจได้เลยว่าเราจะสะดุดและล้ม ลง ถึงแม้เราจะเดินด้วยขาเทียมหรือขาของเรา ต้องไม่มองที่พื้นดิน นายพลแพตตันจะเตือน ว่า “เดินยืดๆ หน่อย!” ด้วยขาไม้ถ้าผมไม่เดิน ยืดอก ขาจะไม่สามารถแกว่งไปข้างหน้าอย่าง ถูกต้องได้และผมแน่ใจว่าต้องล้มลง คนที่มีขา 48
ดีๆ แต่ชอบเดินมองพื้นจะหกล้มบ่อยกว่าผู้ที่ ไปจนสุดชีวิตเถอะ และอย่าไปฟังค�ำแนะน�ำ จากความหวาดกลัวต่างๆ นานาไม่ว่าคุณจะ “เดินยืดอก” นายพลแพตตั น มั ก จะยกตั ว อย่ า งให้ แ ก่ ตัดสินใจถูกหรือผิดก็ตาม!” ก�ำลังพลฟังโดยใช้การแต่งงานเป็นหัวข้อใน บทที่ ๕ หลักการแสวงหา การถกแถลง มันเป็นการบรรยายที่น่าขัน “การกลัวการสู้รบ ก็เหมือนกับกลัวการ ข้อตกลงใจ แต่งงาน ตอนที่คุณมีนัดกับเด็กสาวทุกคน แถวบ้านใกล้เรือนเคียงคุณก็พอจะรู้ซึ่งกัน เมื่อเราอยู่ในสงคราม และกันแล้วว่าจะแต่งงานหรือไม่ก็เป็นโสด พวกเราต้องฆ่าคน ต่อไป! คุณจะมีข้อมูลทั้งหมด เมื่อคุณได้รับ นายพลแพตตั น มี ค วามสามารถเข้ า ถึ ง การฝึกอย่างดีเยี่ยมและมีอาวุธยุทโธปกรณ์ ที่ ดี ที่ สุ ด ในการท� ำ สงครามคุ ณ ก็ พ ร้ อ มที่ ความจริงลึกลงไปถึงกระดูกด�ำทีเดียว และท่าน จะฆ่า และไม่รู้สึกหวาดกลัว อาจจะมีการ ก็ได้ให้ความจริงแก่กำ� ลังพล ท่านเป็นคนพูดจา ยิงกันทั่วบริเวณซึ่งอาจจะเฉียดกายเข้ามา ขวานผ่าซาก “สงคราม หมายถึง การฆ่าคน นั่นคือสิ่ง แต่ ไ ม่ มี อ ะไรส� ำ คั ญ พอที่ จ ะห่ ว งใย มั น ก็ เหมือนกับการแต่งงานนั้นแหละ การถูกยิง ที่จะต้องเป็นไป เราจะเอาชนะเราต้องฆ่ามัน บ่อยๆ ก็เหมือนกับการทะเลาะกันในชีวิต ก่อนที่มันจะฆ่าพวกเรา!” ด้วยขีดความสามรถทีเ่ ข้าถึงความจริงเช่นนี้ การแต่ง งาน การทะเลาะกั น พอหอมปาก และการแสวงหาข้ อตกลงใจที่เคยได้ทำ� มาแล้ว หอมคอท�ำให้ชีวิตการสมรสมีรสชาติยิ่งขึ้น การสู้รบจะท�ำให้พวกเราทุกคนเป็นทหาร ท�ำให้ทา่ นก้าวไปไกลกว่านักบริหารผูเ้ ชีย่ วชาญ ทั้งหมด ค�ำสั่งของท่านที่มีต่อฝ่ายเสนาธิการ ที่ดียิ่งขึ้นเช่นกัน!” มีคนหัวเราะขึ้น แต่พวกเขาได้เรียนรู้วิธี เสมอๆ คือ “เอาความจริงมา! เอาข้อมูลมา การสะกดความหวาดกลั ว นายพลแพตตั น ทั้งหมด! การตกลงใจที่สมบูรณ์ไม่สามารถ ท�ำได้ ถ้าปราศจากข้อมูลอย่างครบถ้วน” จะสรุปว่า ในการประชุมหน่วยรองครั้งหนึ่ง นายพล “ภายหลังที่คุณตัดสินใจแล้ว จงท� ำมัน
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
แพตตันแนะน�ำว่า “การตกลงใจ เป็นภารกิจที่คนบางคนไม่ สามารถท�ำได้ และส�ำหรับบางคนที่ไม่เคย อยู่ในต� ำแหน่งผู้บังคับบัญชาก็ท� ำไม่ได้ ผู้ บังคับบัญชาต้องท�ำการตกลงใจ และการ ตกลงใจเหล่านี้เป็นที่แน่นอนว่าจะเป็นเหตุ ให้คนตาย บ่อยทีเดียวที่การตกลงใจของผู้ บังคับบัญชานัน้ เป็นเหตุให้ตวั เขาเองต้องเสีย ชีวติ ! นีค่ อื เหตุผลทีพ่ วกเรามีผบู้ งั คับบัญชาที่ ดีไม่มากนัก” ท่านได้ขยายค�ำอธิบายความคิดของท่าน โดยเปรียบเทียบกับการบิน “ชีวิตของนักบินขึ้นอยู่กับความสามารถ ในการตั ด สิ น ใจแห่ ง ความเป็ น ความตาย ระหว่างวิ่งไปตามทางวิ่งของสนามบินก่อน ที่จะทะยานขึ้น นักบินต้องตรวจเช็ครายการ ต่างๆ เพื่อให้แน่ใจว่า เครื่องนี้สามารถบินได้ การลงโทษของการผิดพลาดในการตัดสินใจ นี้หมายถึง ความตาย ระหว่างกลางทางขณะ วิ่งไปตามสนามบินนั้น นักบินต้องตกลงใจ ครั้ ง ที่ ส องว่ า เครื่ อ งบิ น มี ร ะดั บ ความเร็ ว ที่ ถูกต้องไหม, เครื่องเร่งน�้ำมันจะเสียหรือไม่, ห้ามล้อใช้ได้ไหม, จะตัดสินใจที่จะอยู่บน พื้นดินต่อไปหรือไม่, เวลาในการตัดสินใจ ที่กลางทางนี้มีไม่ถึงหนึ่งส่วนสิบวินาที เมื่อ
ชีวิตจริงเปรียบเสมือนการขับเครื่องบิน บางคนไม่เคยพร้อมแม้แต่ ทะยานขึ้นสู่อากาศ บางคนต้องการแต่จะอยู่บนพื้นดินเท่านั้น หรือไม่ ก็บางคนที่ขึ้นสู่อากาศไปแล้วก็ยังต้องการที่จะเลี้ยวกลับทั้งๆ ที่ ไม่สามารถที่จะเลี้ยวกลับได้ บางคนไม่สามารถที่จะท�ำการตกลงใจได้ ถ้าพวกเขารู้ว่าการตัดสินใจคราวนี้อาจจะหมายถึงความตาย
พ้ น จุดกึ่งกลางสนามบินไปแล้วนักบินก็ไม่ สามารถเลี้ยวกลับได้แล้ว ตามข้อเท็จจริง เขาไม่สามารถเลี้ยวไปทางอื่นได้จนกว่าจะ มีความเร็วและอยู่ในระดับที่ปลอดภัย การ ตกลงใจช้าในช่วงนี้จะท�ำให้เครื่องบินเกิด อุบัติเหตุขึ้น” ในการถกแถลงตอนหัวค�่ำซึง่ เกิดขึน้ ในเต้นท์ ของนายพลแพตตัน ได้กล่าวว่า “ชีวิตจริงเปรียบเสมือนการขับเครื่องบิน บางคนไม่เคยพร้อมแม้แต่ทะยานขึน้ สูอ่ ากาศ บางคนต้องการแต่จะอยู่บนพื้นดินเท่านั้น หรื อ ไม่ บ างคนที่ ขึ้ น สู ่ อ ากาศไปแล้ ว ก็ ยั ง ต้องการทีจ่ ะเลีย้ วกลับทัง้ ๆ ทีไ่ ม่สามารถทีจ่ ะ เลี้ยวกลับได้ บางคนไม่สามารถที่จะท�ำการ ตกลงใจได้ ถ้ า พวกเขารู ้ ว ่ า การตั ด สิ น ใจ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
คราวนี้อาจจะหมายถึงความตาย” นายพลแพตตั น ยกตั ว อย่ า งเกี่ ย วกั บ เครื่องบินเพราะว่าท่านเคยเป็นนักบิน ท่านมี เครื่ อ งบิ น เล็ ก ส่ ว นตั ว ซึ่ ง ท่ า นจะบิ น ไปมาใน ทะเลทราย ท่านท�ำการบินจนกระทัง่ กองทัพบก สหรั ฐ ฯ เข้ า ควบคุ ม ความปลอดภั ย ของ เครื่องบินส�ำหรับการใช้สอยของท่าน เมื่อไร ก็ตามที่จ�ำเป็นนายพลแพตตันไม่เคยลังเลที่จะ จ่ายเงินส่วนตัวของท่านเองเลย
(อ่านต่อฉบับหน้า) 49
ร่าง พ.ร.บ.กองทุนบ�ำเหน็จ บ�ำนาญข้าราชการ (ฉบับใหม่) คิดก่อนตัดสินใจเลือกใช้สิทธิเพื่อตัวคุณ ร้อยเอก ยอดเยีย่ ม สงวนสุข
50
ร้อยเอก ยอดเยีย่ ม สงวนสุข
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
51
“ข้
า ร า ช ก า ร ” คื อ อ า ชี พ สุ ด ปรารถนาของผู้คนในสังคม ไทยมาแต่ อ ดี ต เพราะเป็ น อาชีพที่มั่นคงและมีเกียรติ อีกทั้งเมื่อท�ำงาน มาจนครบเกษียณอายุราชการหรือลาออกจาก ราชการโดยมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเข้าเกณฑ์ตาม ที่กฎหมายก�ำหนด ก็ยังคงได้สิทธิรับบ�ำเหน็จ บ�ำนาญอันเป็นรางวัลชีวิตของข้าราชการไว้ ใช้จ่ายในบั้นปลายชีวิตหลังเกษียณ จึงนับเป็น อาชีพที่ยังมีคนต้องการเข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก โดยสังเกตได้จากการเปิดสอบแข่งขันบรรจุ เข้ารับราชการในหลายๆ หน่วยงานที่ผ่านมา แต่ในปัจจุบันระบบราชการมิได้เป็นเหมือน เช่ น สมั ย ก่ อ น รั ฐ ได้ ด� ำ เนิ น การปฏิ รู ป ภาค ราชการขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ในภาพรวม ทั้งด้านการปฏิบัติงาน ความเจริญ ก้าวหน้าในอาชีพของข้าราชการ ขวัญก�ำลังใจ รวมทั้ ง สิ ท ธิ แ ละสวั ส ดิ ก ารต่ า งๆ ซึ่ ง ปฏิ เ สธ ไม่ได้ว่าจากการปฏิรูปที่เกิดขึ้น บางอย่างก็ได้ ส่งผลกระทบต่อสิทธิพึงมีพึงได้ของข้าราชการ หลายท่าน ตัวอย่างเช่น ระบบการรับบ�ำเหน็จ บ�ำนาญของข้าราชการ ที่ได้มีการเปลี่ยนไปใช้ ตามพระราชบัญญัติกองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ และท�ำให้เกิดเสียง วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ แ ละเกิ ด การโต้ เ ถี ย งกั น เป็ น อย่างมากในวงกว้าง ถึงข้อได้เปรียบเสียเปรียบ ที่เกิดขึ้นระหว่างข้าราชการที่บรรจุก่อน และ หลังวันที่พระราชบัญญัติมีผลบังคับใช้ จึงเป็นทีม่ าของความพยายามในการหาทาง บรรเทาหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ของผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง โดยล่าสุดเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๖ ที่ท�ำเนียบรัฐบาล ได้มีการประชุมคณะ รัฐมนตรี โดยมี นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งที่ประชุมได้มีวาระ พิจารณาเรื่องส�ำคัญเรื่องหนึ่ง ที่ข้าราชการ ทั่วประเทศให้ความสนใจมากที่สุด คือ
ร่างพระราชบัญญัตกิ องทุน บ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัตฉิ บับดังกล่าว จึงขออนุญาต น�ำประเด็นสาระส�ำคัญของร่างพระราชบัญญัติ ดังกล่าวโดยสรุป มาเผยแพร่ให้ท่านผู้อ่านได้ รับทราบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ เรื่องนี้เป็นเรื่องที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ ตามมติ ค ณะกรรมการกลั่ น กรองเรื่ อ งเสนอ คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๓ (ฝ่ายเศรษฐกิจ) ใน คราวประชุม ครัง้ ที่ ๗/๒๕๕๖ เมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๖ ตามทีร่ องนายกรัฐมนตรี 52
(นายกิ ต ติ รั ต น์ ณ ระนอง) เสนอ และให้ ส่ ง ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าตรวจ พิจารณา แล้วเสนอคณะกรรมการประสานงาน สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา ก่อนเสนอสภา ผู้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป ดังนี้ ๑. เห็นชอบในหลักการตามร่างพระราช บั ญ ญั ติ ก องทุ น บ� ำ เหน็ จ บ� ำ นาญข้ า ราชการ (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ ๒. เห็นชอบให้ส�ำนักงบประมาณจัดสรร งบประมาณเข้ า บั ญ ชี เ งิ น ส� ำ รองเพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ รองรับภาระการจ่ายบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ๓. เพื่อเป็นการให้ความช่วยเหลือและลด ภาระให้แก่ข้าราชการและผู้รับบ�ำนาญ จึง เห็นชอบให้ยกเว้นภาษีเงินได้ส�ำหรับเงินสะสม และผลประโยชน์ ข องเงิ น ดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง เงินบ�ำนาญส่วนเพิ่มจากการด�ำเนินการตาม แนวทางที่ให้ข้าราชการและผู้รับบ�ำนาญ ซึ่ง เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจสามารถเลือก กลับไปรับบ�ำนาญตามระบบเดิม
ส� ำ หรั บ สาระส� ำ คั ญ ของร่ า งพระราช บัญญัตกิ องทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ
(ฉบับที่...) พ.ศ. .... เกี่ยวกับการแก้ไข ปัญหาสมาชิก กบข. ในเรื่องบ�ำนาญ โดยสรุปมีดังนี้ ๑) ข้าราชการ (สมาชิก กบข. ซึ่งเข้ารับ ราชการก่อนวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๐ และ สมัครเป็นสมาชิก กบข.) (๑.) สมาชิ ก กบข. ซึ่ ง ประสงค์ จะกลั บ ไปใช้ สิ ท ธิ ใ นบ� ำ เหน็ จ บ� ำ นาญตาม พระราชบัญญัติบ� ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ให้แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่ วันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ จนถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ และให้ถือว่าสมาชิกภาพของ สมาชิกผู้นั้นสิ้นสุดลง ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ (๒.) ผู้ซึ่งจะต้องออกจากราชการไม่ว่า กรณีใดๆ ยกเว้นกรณีถงึ แก่ความตาย ก่อนวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ให้สมาชิกภาพของสมาชิก ผู้นั้นสิ้นสุดลงเมื่อวันออกจากราชการ (๓.) การแสดงความประสงค์ ให้มีผล ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ หรือวันออก จากราชการ และให้ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ บ� ำ เหน็ จ บ�ำนาญตามพระราชบัญญัติบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ร้อยเอก ยอดเยีย่ ม สงวนสุข
รัฐได้ด�ำเนินการปฏิรูปภาคราชการขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ในภาพรวม ทั้งด้านการปฏิบัติงาน ความเจริญก้าวหน้า ในอาชีพของข้าราชการ ขวัญก�ำลังใจ รวมทั้งสิทธิและ สวัสดิการต่างๆ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าจากการปฏิรูปที่เกิด ขึ้น บางอย่างก็ได้ส่งผลกระทบต่อสิทธิพึงมีพึงได้ของ ข้าราชการหลายท่าน
ข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ทั้งนี้ การแสดงความ ประสงค์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กระทรวงการคลังก�ำหนด (๔.) ข้าราชการตามข้อ (๑ - ๓) ไม่มี สิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว โดยให้ กบข. ส่งเงินดังกล่าวเข้าบัญชีเงินส�ำรอง ส�ำหรับเงิน สะสมและผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว กบข. จะจ่ายคืนให้แก่ข้าราชการผู้นั้น (๕.) การส่ ง เงิ น เข้ า บั ญ ชี เ งิ น ส� ำ รอง และการจ่ายคืนเงินสะสมและผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามที่ กบข. ก�ำหนด โดยความเห็น ชอบของกระทรวงการคลัง ซึ่งจะก�ำหนดให้ กบข. น�ำเงินประเดิม เงินสมทบ เงินชดเชย และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าวที่ได้รับคืน จากสมาชิกส่งเข้าบัญชีเงินส�ำรอง ทั้งนี้ กบข. จะต้องจัดท�ำรายงานการน�ำเงินประเดิม เงิน ชดเชย เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงิน ดังกล่าวส่งเข้าบัญชีเงินส�ำรองต่อกรมบัญชี กลาง ตามวิธีการที่กระทรวงการคลังก�ำหนด ซึ่งจะก�ำหนดรายละเอียดข้อมูลที่ กบข. จะ ต้องรายงานให้กรมบัญชีกลางทราบ (๖.) หากข้าราชการซึ่งได้แสดงความ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
53
54
ร้อยเอก ยอดเยีย่ ม สงวนสุข
ประสงค์ไว้แล้วถึงแก่ความตายก่อนวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ หรือก่อนวันออกจากราชการ ให้ถือว่าการแสดงความประสงค์นั้นไม่มีผลใช้ บังคับ ๒) ผู้รับบ�ำนาญ (สมาชิก กบข. ซึ่งเข้ารับ ราชการก่อนวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๐ และ สมัครเป็นสมาชิก กบข. แต่ได้ออกจากราชการ แล้ว) (๑.) หากประสงค์ จ ะขอกลั บ ไปรั บ บ�ำนาญตามสูตรเดิม (พระราชบัญญัติบ�ำเหน็จ บ�ำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔) ให้แสดงความ ประสงค์ได้ตั้งแต่วันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ จนถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ และผู้รับ บ�ำนาญจะต้องคืนเงินก้อน (เงินประเดิม เงิน ชดเชย เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงิน ดังกล่าว) ที่ได้รับไปแล้วแก่ทางราชการ โดย ผู ้ รั บ บ� ำ นาญจะได้ รั บ บ� ำ นาญตามสู ต รเดิ ม ตั้ ง แต่ วั น ที่ อ อกจากราชการจนถึ ง วั น ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ โดยวิธีหักกลบลบกัน (๒.) การหักกลบลบกัน หากมีกรณีที่ ผู้รับบ�ำนาญต้องคืนเงิน ให้ผู้รับบ�ำนาญคืนเงิน แก่สว่ นราชการผูเ้ บิกภายในวันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ เพื่อน�ำส่งให้กรมบัญชีกลาง โดยเงิน ที่ส่วนราชการได้รับคืน ไม่เป็นรายได้ที่ต้อง น�ำส่งคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและ กฎหมายว่าด้วยวิธกี ารงบประมาณ หากมีกรณี ที่ต้องคืนเงินให้ผู้รับบ�ำนาญ กรมบัญชีกลางจะ คืนเงินให้ผู้รับบ�ำนาญ หากมีเงินเหลือจะน�ำส่ง เข้าบัญชีเงินส�ำรอง (๓.) ผู ้ รั บ บ� ำ นาญที่ ไ ด้ แ สดงความ ประสงค์แล้ว เป็นผู้รับบ�ำนาญตามพระราช บัญญัตบิ ำ� เหน็จบ�ำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ตั้ ง แต่ วั น ที่ อ อกจากราชการ แต่ ห ากผู ้ รั บ
บ�ำนาญมีกรณีที่ต้องคืนเงิน ให้ด�ำเนินการให้ แล้วเสร็จภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ จึง จะได้รับสิทธิดังกล่าว ๔.) หากผู้รับบ�ำนาญซึ่งได้แสดงความ ประสงค์ ไ ว้ แ ล้ ว ถึ ง แก่ ค วามตายก่ อ นวั น ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ให้ถือว่าการแสดงความ ประสงค์นั้นไม่มีผลใช้บังคับ และหากมีกรณี ต้องคืนเงินให้ส่วนราชการผู้เบิกแจ้งกรมบัญชี กลางเพื่อถอนเงินที่ผู้รับบ�ำนาญคืนให้แก่ส่วน ราชการผู้เบิก เพื่อคืนให้แก่ผู้มีสิทธิรับมรดก ของผู้รับบ�ำนาญตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ กระทรวงการคลังก�ำหนดในเรื่องการด�ำเนิน การถอนเงินคืนให้แก่ผู้มีสิทธิรับมรดกของผู้รับ บ�ำนาญที่ตายไปก่อนกฎหมายมีผลใช้บังคับ นอกจากนี้ ข้าราชการที่เดิมไม่ได้สมัครเป็น สมาชิก กบข. หากต้องการเปลี่ยนใจมาสมัคร เข้าเป็นสมาชิก กบข.ก็สามารถเลือกสมัครเข้า ได้ในครั้งนี้เช่นกัน ทีนี้ท่านผู้อ่านคงพอจะทราบข้อมูลคร่าวๆ ประกอบการตั ด สิ น ใจแล้ ว นะครั บ ว่ า เราจะ วางแผนเลือกการรับสิทธิแบบใดเพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของตัวเราเอง
ขอขอบคุณข่าวสารข้อมูลดีๆ จาก : www.matichon.co.th
เพื่อเป็นการให้ความช่วยเหลือและลด ภาระให้แก่ข้าราชการและผู้รับบ�ำนาญ จึงเห็นชอบให้ยกเว้นภาษีเงินได้ ส�ำหรับเงินสะสมและผลประโยชน์ของ เงินดังกล่าว รวมทั้งเงินบ�ำนาญส่วน เพิ่มจากการด�ำเนินการตามแนวทางที่ ให้ข้าราชการและผู้รับบ�ำนาญ ซึ่งเป็น สมาชิก กบข. โดยสมัครใจสามารถ เลือกกลับไปรับบ�ำนาญตามระบบเดิม หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
55
การประสานราชการ กับสาธารณรัฐประชาชนจีน กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ส
าธารณรัฐประชาชนจีน ตัง้ อยูท่ างด้าน ตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพรมแดน ติดต่อกับประเทศต่างๆ ๑๕ ประเทศ ด้วยกัน คือ เกาหลีเหนือ รัสเซีย มองโกล เลีย คาซัคสถาน เคอร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม ภูฏาน พม่า ลาว และเวียดนาม ทิศตะวัน ออก และทิศใต้จดทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวัน ออก รวมถึงทะเลจีนใต้ ประเทศจีนมีพื้นที่ ๙.๖ ล้านตารางกิโลเมตร และมีเมืองหลวง คือ กรุงปักกิ่ง (Beijing) มีประชากร ๑.๒๕ พันล้านคน โดยเป็นเชื้อชาติฮั่นร้อยละ ๙๔ เมืองหลวง กรุงปักกิ่ง หรือเป่ยจิง ภาษาจีน กลาง (Putonghua) เป็นภาษาราชการ และ ยังมีภาษาท้องถิ่นใช้กันอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ
56
เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียว ปกครองโดย พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ จี น ประเทศจี น แบ่ ง การ ปกครองออกเป็น ๒๒ มณฑล ๕ เขตปกครอง ตนเอง ๔ เทศบาลนคร (ปักกิง่ เทียนจิน เซีย่ งไฮ้ และฉงชิ่ง) และ ๒ เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน มี ค วามผู ก พั น และไปมาหาสู ่ กั น มานั บ แต่ โบราณกาล โดยเป็นความสัมพันธ์ฉันมิตรและ เกื้อกูลกันมาโดยตลอด ไทยให้ความส�ำคัญกับ จีนในฐานะมิตรประเทศที่ใกล้ชิดของไทย ใน ขณะเดียวกันก็ให้ความส�ำคัญกับไทยในฐานะ มิตรประเทศที่มีความส�ำคัญในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นจุดเชื่อมต่อของ ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับประเทศในภูมภิ าค อาเซียน และเป็นพันธมิตรที่ส�ำคัญของจีนใน องค์การระหว่างประเทศอื่นๆ ซึ่งปัจจุบัน ไทย เน้ น การขยายความร่ ว มมื อ กั บ รั ฐ บาลกลาง และหน่วยงานต่างๆ ของจีนอย่างรอบด้านใน ลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ รวมถึงมุ่งเน้น การเสริมสร้างความสัมพันธ์ในระดับประชาชน เพื่ อ เชื่ อ มโยงสายสั ม พั น ธ์ ที่ แ น่ น แฟ้ น จาก ปัจจุบันสู่อนาคต พรรคคอมมิวนิสต์จนี ได้จดั การประชุมคณะ กรรมการกรมการเมืองของพรรคคอมมิวนิสต์
พรรคคอมมิวนิสต์จีน ได้จัดการ ประชุมคณะกรรมการกรมการเมือง ของพรรคคอมมิวนิสต์จีน เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ โดยมี นายสี จิ้นผิง เลขาธิการพรรค คอมมิวนิสต์จีนและว่าที่ประธานาธิบดี ของจีนเป็นประธาน โดยก�ำหนด “ข้อปฏิบัติ ๘ ประการ” เกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของรัฐบาล หน่วยงานและ เจ้าหน้าที่
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
วันหยุดยาวในห้วงเทศกาลต่างๆ ของชาวจีนที่ควรหลีกเลี่ยงในการ ติดต่อกับส่วนราชการในการเดินทาง ไปยังจีน ของข้าราชการ เช่นการเยือน ของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง การเดินทาง ไปราชการของข้าราชการ การศึกษา ดูงานของนักศึกษา และอาจจะเป็นการ ดูงานของนายทหารนักเรียนหลักสูตร ต่างๆ ซึ่งฝ่ายจีนไม่สะดวกในการ รับรอง และล�ำบากในการปฏิเสธ
• ปรับเปลีย่ นรูปแบบการท�ำงานของหน่วย รักษาความปลอดภัย เน้นการด� ำเนินการที่ เป็นประโยชน์ต่อประชาชน ลดการควบคุม การจราจร ในกรณีทั่วไปไม่ควรปิดถนน หรือ ปิดพื้นที่ล่วงหน้าก่อนการเยือน ปรับปรุงการ รายงานข่าวเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกคณะกรรมการกรมการเมืองพรรค คอมมิวนิสต์จีน ให้พิจารณาจากความจ�ำเป็น ของงานและประโยชน์ต่อสังคม โดยการลด ทั้งจ�ำนวนข่าว เวลา และเนื้อหาให้น้อยเท่าที่ จ�ำเป็น
• ควบคุมการพิมพ์หนังสือ เอกสารส่วน บุ ค คลนอกเหนื อ จากที่ ค ณะกรรมการกรม การเมืองได้อนุมัติจัดพิมพ์อย่างเป็นทางการ จีน เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ โดยมีนายสี ห้ า มจั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ เอกสารและผลงาน จิน้ ผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จนี และว่าที่ ประพันธ์สว่ นตัว รวมถึงห้ามส่งสารแสดงความ ประธานาธิบดีของจีนเป็นประธาน โดยก�ำหนด ยินดี โทรศัพท์แสดงความยินดีในนามบุคคล “ข้อปฏิบตั ิ ๘ ประการ” เกีย่ วกับการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนห้ า มใช้ ชื่ อ ส่ ว นตั ว ในการเผยแพร่ ของรัฐบาล หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ สรุปสาระ เอกสารต่างๆ ส�ำคัญได้ ดังนี้ • ปรับปรุงรูปแบบการไปตรวจราชการของ เจ้าหน้าที่ระดับสูง โดยให้เน้นการศึกษาเรียนรู้ จากประชาชน และการแก้ไขปัญหาในท้องถิ่น ทุรกันดาร โดยงดเว้นกิจกรรมที่เน้นเฉพาะ รูปแบบ แต่ไม่ค�ำนึงถึงสาระ ควรลดปริมาณ การใช้รถยนต์และลดจ�ำนวนผู้ติดตาม • ลดพิธกี ารต้อนรับ โดยให้ลดจ�ำนวนคณะผู้ ติดตาม ไม่แขวนป้ายประชาสัมพันธ์ ไม่จัดให้มี ผูค้ นมาต้อนรับ ไม่ปพู รมแดง ไม่ประดับประดา • เน้นการประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งเรื่องงาน ดอกไม้และไม่จัดการเลี้ยงต้อนรับ และการใช้ชีวิต ปฏิบัติตามหลักการท�ำงาน • เปลี่ ย นรู ป แบบการประชุ ม ให้ สั้ น และ การเมืองที่โปร่งใสอย่างเคร่งครัด ปฏิบัติตาม กระชับ โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพ หากไม่ได้ ระเบียบการจัดที่อยู่อาศัยและการจัดรถยนต์ รับการอนุญาตจากส่วนกลางห้ามเข้าร่วมงาน ในราชการอย่างเคร่งครัด ตัดริบบิ้น ร่วมงานเฉลิมฉลอง งานนิทรรศการ และงานประชุมสัมมนาต่างๆ รวมทั้งหลีกเลี่ยง เนื้อหาการประชุมที่ไม่จ�ำเป็นและค�ำพูดที่เป็น พิธีการ • เปลี่ ย นรู ป แบบการรายงานต่ อ ผู ้ น� ำ ให้ กระชับได้ใจความ งดกล่าวรายงานที่ไม่มีสาระ ปรับปรุงรูปแบบการไปตรวจราชการ ของเจ้าหน้าที่ระดับสูง โดยให้เน้น และไม่จ�ำเป็น • จัดระเบียบการเยือนต่างประเทศ เน้นการ การศึกษาเรียนรู้จากประชาชน และ เยือนที่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดย การแก้ไขปัญหาในท้องถิ่นทุรกันดาร ควบคุมจ�ำนวนผู้ติดตามอย่างเคร่งครัด และ โดยงดเว้นกิจกรรมที่เน้นเฉพาะ การใช้ยานพาหนะให้เป็นไปตามระเบียบอย่าง รูปแบบ แต่ไม่คำ� นึงถึงสาระ รัดกุม ไม่จัดคณะนักธุรกิจ ชาวจีนโพ้นทะเล ควรลดปริมาณการใช้รถยนต์ และนักเรียนนักศึกษามารับหรือส่งที่สนามบิน และลดจ�ำนวนผู้ติดตาม หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
ส� ำ หรั บ ห้ ว งเวลาที่ พึ ง หลี ก เลี่ ย งในการ เดินทางไปสาธารณรัฐประชาชนจีน วันหยุดยาวในห้วงเทศกาลต่างๆ ของชาวจีน ทีค่ วรหลีกเลีย่ งในการติดต่อกับส่วนราชการใน การเดินทางไปยังจีน ของข้าราชการ เช่น การ เยือนของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง การเดินทางไป ราชการของข้าราชการ การศึกษาดูงานของ นักศึกษา และอาจจะเป็นการดูงานของนาย ทหารนักเรียนหลักสูตรต่างๆ ซึ่งฝ่ายจีนไม่ สะดวกในการรับรอง และล�ำบากในการปฏิเสธ ซึ่งในปี ๒๕๕๖ มีวันส�ำคัญดังนี้ วันที่ ๙ – ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ วันตรุษจีน สองสัปดาห์แรกของเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ การประชุมใหญ่สภาประชาชนแห่งชาติและ สภาที่ปรึกษาประชาชนจีน วันที่ ๔ – ๖ เมษายน ๒๕๕๖ วันเชงเม้ง วันที่ ๒๙ เมษายน – ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ วันแรงงานจีน วันที่ ๑๐ – ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ เทศกาลสารทจีน วันที่ ๑๙ – ๒๑ กันยายน ๒๕๕๖ เทศกาลไหว้พระจันทร์ วันที่ ๑ – ๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ วันชาติจีน คนจีนจะไม่ทักทายคนแปลกหน้าก่อนไม่ ว่ า จะเป็ น การแสดงรอยยิ้ ม หรือกล่าวสวัสดี เป็นภาษาจีนว่า “หนีห่าว” หัวข้อสนทนาที่ คนจีนชื่นชอบ ได้แก่ ศิลปะ ชีวิตประจ�ำวัน การงาน การศึกษา และเรื่องยาเพื่อสุขภาพ ไม่มีหัวข้อการเมืองภายในจีนโดยไม่จ�ำเป็น สีที่คนจีนชื่นชอบ คือ สีแดง หมายถึง ความ โชคดี สีชมพูและสีเหลือง หมายถึง ความสุข ความรุ่งเรือง 57
แนวโน้มภัยคุกคาม
ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ปี ๒๕๕๖
58
ที่มา http://www.thairath.co.th/content/tech/319066
ในลักษณะของการโจมตีแบบค่อยเป็นค่อยไป ที่ มั ก จะยากต่ อ การตรวจจั บ ท� ำ ให้ โ อกาส ที่การโจมตีในรูปแบบนี้จะประสบผลส�ำเร็จ จึงมีสูงมาก
บ
ริษทั เชค พอยต์ ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีส์ จ� ำ กั ด เปิ ด เผยการคาดการณ์ แนวโน้มภัยคุกคามระบบรักษาความ ปลอดภัยคอมพิวเตอร์ที่จะเกิดขึ้นในปี ๒๕๕๖ มี ๘ ด้าน ได้แก่
ภัยคุกคามที่ ๓ : ภัยคุกคามภายใน การ โจมตี ส ามารถเกิ ด จากภายในองค์ ก ร และ สามารถสร้างความเสียหายได้ในระดับสูงสุด ตามระดั บ สิ ท ธิ์ ที่ ผู ้ ใ ช้ ส ามารถเข้ า ถึ ง และ ด�ำเนินการกับข้อมูลได้ ซึ่งการให้สิทธิ์ในการ ใช้งานเครือข่ายที่มากเกินความจ�ำเป็นกับผู้ใช้ ภายในองค์กร อาจส่งผลต่อการรักษาความ ปลอดภัยได้
ภัยคุกคามที่ ๑ : วิศวกรรมสังคม เป็น วิธีการท้าทายหรือเชื้อเชิญให้เหยื่อหลงเชื่อ และด�ำเนินการตามที่ต้องการทั้งในโลกจริง และโลกดิ จิ ต อล ก่ อ นที่ ยุ ค คอมพิ ว เตอร์ จ ะ ภัยคุกคามที่ ๔ : การใช้อุปกรณ์ส่วนตัว เฟื่องฟู วิศวกรรมสังคมอาจใช้การล่อลวงด้วย ผู ้ ใ ช้ จ� ำ นวนมากก� ำ ลั ง ใช้ ง านอุ ป กรณ์ พ กพา การใช้วาจาที่แยบยล แต่ในปัจจุบัน วิศวกรรม ของตนในที่ท�ำงานมากขึ้น ซึ่งอุปกรณ์พกพา สังคมได้ย้ายเข้าสู่เครือขายสังคมออนไลน์แล้ว เหล่านั้น ก�ำลังเปิดประตูให้ผู้โจมตีเข้ามายัง ซึ่งผู้โจมตีก�ำลังใช้เทคนิคนี้เพิ่มมากขึ้น ระบบได้ง่ายขึ้น
ภัยคุกคามที่ ๒ : ภัยคุกคามแบบต่อเนื่อง ขั้นสูง (Advanced Persistent Threats : APT) เป็นภัยคุกคาม ทีม่ คี วามซับซ้อนในระดับ สูง และได้รบั การสร้างขึน้ มาอย่างพิถพี ถิ นั โดย มีจุดประสงค์เพื่อให้ได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึง เครือข่ายและท�ำการขโมยข้อมูลอย่างเงียบๆ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
ภัยคุกคามที่ ๕ : การรักษาความปลอดภัย ส�ำหรับระบบคลาวด์ ปัจจุบนั องค์กรต่างๆ มีการ วางข้อมูลของตนไว้ในบริการคลาวด์สาธารณะ เพิ่มมากขึ้น บริการเหล่านี้จึงตกเป็นเป้าหมาย ทีน่ า่ สนใจ และอาจเป็นจุดส�ำคัญทีท่ ำ� ให้องค์กร ประสบปัญหาได้
ภัยคุกคามที่ ๖ : HTML5 การน�ำ HTML5 มาใช้ ง าน จะช่ ว ยเปิ ด โอกาสให้ เ กิ ด การ โจมตีใหม่ๆ ขึ้น เนื่องจากการผสานรวมของ เทคโนโลยีต่างๆ เช่น ความสามารถด้านการ รองรับการท�ำงานข้ามแพลตฟอร์ม ซึง่ สิง่ นีเ้ ป็น สิ่งใหม่ จึงมีโอกาสที่นักพัฒนาจะด�ำเนินการ ผิดพลาดและเปิดช่องให้ผโู้ จมตีจะใช้ประโยชน์ จากความผิดพลาดดังกล่าวได้
ภั ย คุ ก คามที่ ๗ : บ็ อ ตเน็ ต คาดกั น ว่ า อาชญากรไซเบอร์ จ ะทุ ่ ม เทเวลาอย่ า งหนั ก เพื่อพัฒนาสิ่งที่ดีที่สุด เช่น การท�ำให้แน่ใจว่า บ็อตเน็ตของตนจะมีความพร้อมใช้งานและ สามารถแพร่กระจายได้ในระดับสูง ขณะที่ ระบบตรวจจั บ อาจท�ำ ได้ เ พี ยงแค่หยุดการ ท�ำงานของสแปมและมัลแวร์ได้เพียงชั่วคราว เท่านั้น เนื่องจากผู้โจมตีไม่ได้หยุดที่จะเรียนรู้ เทคนิคการจัดการดังกล่าว
ภัยคุกคามที่ ๘ : โปรแกรมประสงค์ร้ายที่มี เป้าหมายอย่างแม่นย�ำ ผู้โจมตีสามารถพัฒนา โปรแกรมประสงค์ร้ายที่สามารถหลบหลีกการ ตรวจวิเคราะห์ได้อย่างดีเยี่ยม และในปีนี้ ผู้ โจมตีจะยังคงเดินหน้าปรับปรุงและพัฒนาให้ มีความซับซ้อนยิ่งขึ้นเพื่อที่จะได้สามารถพุ่ง เป้าโจมตีไปที่คอมพิวเตอร์ที่มีการก�ำหนดค่า ไว้อย่างเฉพาะได้ 59
อักษรยาวี ภาษามลายูถิ่น พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
คนส่วนใหญ่มักจะเข้าใจผิดว่า พี่น้องมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยส่วนใหญ่พูด “ภาษายาวี” ทว่าในความจริง แล้วยาวีไม่ใช่เป็นภาษานะค่ะ แต่เป็น “อักษร” คะ อักษรยาวีเป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามลายูที่ดัดแปลงมาจากอักษรอาหรับ (อารบิก) โดย นักปราชญ์ชาวปัตตานีชื่อ ชัยคฺ อะฮฺมัด อัล-ฟะฏอนีย์ ที่ได้วางกฎเกณฑ์หลักการใช้อักษรยาวีเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษามลายู ในท้องถิ่น อักษรยาวีมักจะใช้ในการบันทึกเรื่องราวทางศาสนา และการสื่อสารต่างๆ เป็นต้น นักเรียนในโรงเรียนปอเนาะหรือโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะเริ่มเรียนอักษรยาวีส�ำหรับอ่าน เขียนภาษาอาหรับตั้งแต่เด็กๆ ค�ำว่า ยาวี มาจาก ค�ำว่า jawa หมายถึง ชวา เนื่องจากชาวชวาได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในมะละกาและปัตตานีตั้งแต่ในอดีต จึงได้น� ำอักษรอาหรับมาดัดแปลง มาเผยแพร่ และในที่สุดนิยมน�ำมาใช้ในชุมชนที่พูดภาษามลายูปัตตานีมาช้านาน ตัวอย่างเช่น วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์ วันเสาร์ วันอาทิตย์
อักษรยาวี اثنني ثالث رابو خميس جمعة سبتو احد
อักษรรูมี Isnin Selasa Rabu Khamis Jumaat Sabtu Ahad
อักษรไทย อิสนิน ซลาซา ราบู คามิส จูมาอัต ซับตู อาฮัด
ส่วนภาษามลายูถนิ่ หรือภาษามลายูปตั ตานี นัน้ เราเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า ‘Pattani Malay’ ซึง่ เป็นภาษากลุม่ ออสโตรนีเซียน ทีพ่ ดู โดยชาวไทย เชื้อสายมลายูในพื้นที่จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และในบางอ�ำเภอของสงขลา (ไม่รวมสตูล) ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษาถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งพูดภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย เรามาฝึกออกเสียงภาษามลายูถิ่นที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวันกันคะ เช่น ๑. การนับเลข 1 = ซาตู 6 = แน 11 = ซือบือละ 16 = แนบือละฮ
2 = ดูวอ 7 = ตูโญะ 12 = ดูวอบือละ 17 = ตู โญะบือละฮ
3 = ตีฆอ 8 = ลาแป 13 = ตีฆอบือละ 18 = ลาแปบือละฮ
4 = ปะ 9= ซือมีแล 14 = ปะบือละฮ 19 = ซือมีแลบือละฮ
5 = ลีมอ 10 = ซือปูโละ 15 = ลีมอบือละฮ 20 = ดูวอปูโละฮ
ตัวอย่างบทสนทนา ๑ สุไลมาน : คุณมากี่คน (แดมอ มารี เบอราปอ ออแร) อุสมาน : ฉันมาแค่ ๒ คน (อามอ มารี ดูวอ ออแร) 60
พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ตัวอย่างบทสนทนา ๒ สุไลมาน : คุณมีลูกกี่คน (แดมอ อาดอ อาเนาะ เบอราปอ ออแร) อุสมาน : ผมมีลูกสองคน (อามอ อาดอ อาเนาะ ดูวอ ออแร) ผมมีลกู สาวและลูกชาย (อามอ อาดอ อาเนาะ ตีนอ ซอแร ดัน ญอแต ซอแร) ๒. อาชีพ ทหาร (ตาฮาง)
ต�ำรวจ (ซือดาดู)
พยาบาล (พยาบัง)
ท�ำนา (วะ บือแน)
ท�ำสวน (วะ กือบง)
ประมง (มูกะ)
ลูกจ้าง (อาเนาะ กอลี)
กรีดยาง (มอตอง)
ค้าขาย (บือแนฆอ)
ครู (ฆูรู)
ช่างตัดเสื้อ (แนชัง บายู)
ช่างตัดผม (แนชัง ฆูติง ราโมะ)
ช่างซ่อมรถ (แนชัง แกตอ)
ภารโรง (ภาโรง)
ไถ่นา (ฆาลอ)
๓. ค�ำกล่าวทักทายและกล่าวลา สวัสดี - ซลามัต สวัสดีตอนเช้า - ซลามัต+ปาฆี สวัสดีตอนเที่ยง - ซลามัต+ตือเงาะฮารี สวัสดีตอนเย็น - ซลามัต +ปือแต สวัสดีตอนค�่ำ - ซลามัต+มาแล เดินทางโดยสวัสดิภาพ - ซลามัต+ยาแล เช่นกัน - สามอสามอ สบายดีหรือ - อาปอ คอบา สบายดี - คอบา บายเอะ ยินดีที่ได้พบกัน - ซลามัตยูปอ
ฉัน - อามอ, ซายอ, อากู คุณ - แดมอ, อาเวาะ เรา - กีตอ ฉันรักคุณ - ซายอกาเซะห์แดมอ ชื่ออะไร? - นามออาปอ ชื่อของฉัน - นามออามอ........ มาจากไหน? - มารีมานอ กินข้าวหรือยัง - มาแกนาซิ ลาฆี หิวข้าว - ลาปานาซิ เรากินแล้ว - กีตอมาแกเดาะห์
จะไปไหน – เนาะฆีมานอ จะไปโรงเรียน – เนาะฆีซึกอเลาะ เรียนอะไร - งายี อาปอ เรียนภาษาไทย – งายี บาซอซิเย่ ยากไหม - ปาเยาะฮ์ กืเดาะห์ อะไร - อาปอ มี - อาดอ ไม่มี - ตะเด๊าะ ขอบคุณ - ตรีมอกาเซะห์ แล้วเจอกันใหม่ - ยูปอ ซือมูลา
๓. ค�ำศัพท์ส�ำหรับการใช้กับบุคคล เรียกผู้หญิง รุ่นป้า หรือ รุ่นแม่ = เมาะ หรือ เมาะจิ เรียกผู้ชายรุ่นลุง หรือ รุ่นพ่อ = เปาะจิ เรียกผู้หญิงรุ่นพี่สาว = กะแว หรือ กะ เรียกน้องสาว = อาแด เรียกพี่ชาย = อาบัง หรือ อาแบ บทสนทนา ๓ เรื่อง “ชวนเพื่อนไปรับประทานอาหารเช้า” อาดัม : อัสสาลามูอาอัยกุม อามีน : วาอาลัยกุมมุสสลา อาดัม : ซลามัต ปาฆี (สวัสดีตอนเช้า) อามีน : ซลามัต ปาฆี (สวัสดีตอนเช้าเช่นกัน) อาดัม : แดมอ มาแก นาซิ เดาะ ลาฆี (คุณทานข้าวแล้วรึยัง) อามีน : บือโลม มาแก ลาฆี (ยังไม่ได้ทานเลย) อาดัม : มารี กีตอ มาแก สามอ สามอ (เรามาทานพร้อมกันนะ) อามีน : บูเละห์ มารี กีตอ ฆี สามอ สามอ (ได้ๆ เรามาทานพร้อมกัน) อาดัม : แดมอ เนาะมาแก อาปอ (คุณจะทานอะไร?) อามีน : ซายอ เนาะ มาแก นาซิ อาแย โฆแรงค์ (ผมจะทานข้าวไก่ทอด) อาดัม : ซายอ เนาะ มาแก นาซิ อาแย โฆแรงค์ ยูเฆาะ (ผมเอาข้าวไก่ทอดเหมือนกัน) หมายเหตุ: อัสสาลามูอาลัยกุม เป็นความทักทายแบบอิสลาม หมายถึง ขอความสันติสุข หรือความสุข จงมีแด่ท่าน คนที่ได้ยินค�ำจะตอบรับว่า “วาอาลัยกุมมุสลาม” ซึ่งแปลว่า “ขอความสันติสุข หรือความสุข จงมีแด่ท่านเช่นกัน” หวังว่าบทสนทนานี้จะมีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หากหน่วยงานทหารใด ต้องการสอบถาม รายละเอียดเกี่ยวกับภาษามลายูถิ่นเพิ่มเติม สามารถสอบถามได้ที่ wandeedrdo@yahoo.com หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
61
62
น�้ำ กับความสมดุล ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ก
ารที่เราต้องดื่มน�้ำสะอาดอย่างเพียง พอ นัน่ เพราะน�ำ้ จะช่วยควบคุมสมดุล ของของเหลวในร่างกาย และช่วยลด การสะสมของเสียซึ่งหากวันใดคุณพักผ่อนไม่ เพียงพอ ก็อาจก่อให้เกิดความเหนือ่ ยล้าและน�้ำ ในร่างกายก็จะค่อยๆ สูญเสียไป จนอาจส่งผล ให้เกิดความไม่สมดุลของของเหลวในร่างกาย นอกจากนี้ ความเครียดทางจิตใจ การรับ ประทานยามากเกิ น พอดี หรื อ การทานแต่ อาหารส�ำเร็จรูปในปริมาณที่มากเกินไป ก็จะ ยิ่งท�ำให้ร่างกายต้องการน�้ำมากยิ่งขึ้น ซึ่งหาก ไม่มีการเติมน�้ำให้ร่างกายอย่างเหมาะสมและ เพียงพอ บรรดาของเสียที่เราน� ำเข้าไปก็จะ ยิ่งตกค้างอยู่ในร่างกายและเกิดปัญหาใหญ่ ซับซ้อนตามมา ซึ่งท้ายที่สุดการสะสมของของ เสียในร่างกายเป็นเวลานานและต่อเนื่อง ก็จะ เป็นทางด่วนช่วยเร่งให้เกิดกระบวนการแก่ชรา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หรือจะพูดง่ายๆ ก็คือคุณ อาจแก่ก่อนวัยนั่นเอง ทั้งนี้ น�้ำสามารถรักษาสมดุลให้กับอวัยวะ ส่วนต่างๆ แก่ร่างกายของคนเรา ดังนี้ น�้ำกับระบบหายใจ ในแต่ละวันเราอาจต้องสูญเสียน�้ำโดยไม่รตู้ วั จากการหายใจออกราว ๔๐๐ ซีซี นั่นเพราะน�ำ้ เป็นส่วนส�ำคัญในการหายใจ โดยหายใจแต่ละ ครั้ง ร่างกายจะน�ำออกซิเจนเข้าไปในปอด แต่ ขณะเดียวกันก็จะไล่คาร์บอนไดออกไซด์ออก จากปอด ดังนั้น จึงจ�ำเป็นมากที่ปอดจะต้องมี ความชุ่มชื้นอยู่เสมอ น�้ำกับไต น�้ำสามารถป้องกันอาการไตวายได้ โดย ไตมี ห น้ า ที่ ขั บ ถ่ า ยของเสี ย ออกจากร่ า งกาย เช่น ขับกรดยูริค ยูเรีย และกรดแลคติค ซึ่ง สามารถละลายได้ในน�้ำ ถ้าร่างกายของคุณมีน�้ำ ผ่านไตไม่เพียงพอ ของเสียดังกล่าว ก็จะถูกขับ ออกมาไม่หมด เป็นผลท�ำให้ไตต้องท�ำงานหนัก และเผาผลาญไขมันได้นอ้ ยลง ร่างกายจึงมีการ สะสมของเสียอยูเ่ สมอๆ จนกระทัง่ เกิดเป็นโรค ไตพิการหรือไตวาย หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
น�้ำกับสมอง แม้ว่า สมองของคนเราจะมีน�้ำหนักเพียง ร้อยละ ๒ ของน�้ำหนักตัว แต่น�้ำก็เป็นส่วน ประกอบหลักของสมองด้วยปริมาณที่มากรอง จากเลือด โดยในเนื้อสมองมีนำ�้ มากถึงร้อยละ ๘๕ ซึง่ ถ้าสมองขาดน�้ำ ก็จะท�ำให้ความสามารถ ทางสมองลดต�่ำลง ความคิดเฉื่อยชาลง การสั่ง การของส่วนต่างๆ ที่ต้องใช้สมองก็จะช้าลงไป จนส่งผลให้เกิดอาการเครียดทางจิตใจทีจ่ ะต้อง ตามมาติดๆ น�้ำกับดวงตา น�้ำในดวงตา เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของ ตา เพราะในสภาวะปรกติ น�้ำตา มีบทบาท ส�ำคัญในการเพิม่ ความชุม่ ชืน้ ให้กบั ดวงตา ช่วย ให้มองเห็นภาพอย่างชัดเจน โดยปรับสภาพ ของกระจกตาให้แสงผ่านได้ น�ำสารอาหารและ ออกซิเจนมาเลี้ยงกระจกตา รวมถึงเป็นด่าน ในการป้องกันการติดเชื้อและสิ่งแปลกปลอม ดังนัน้ หากน�ำ้ ตามีความผิดปรกติไป หรือคุณดืม่ น�้ำน้อยเกินไปก็อาจมีผลต่อดวงตา โดยเฉพาะ กระจกตาด้วยเช่นกัน น�้ำตาประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก ๓ ส่วนคือ • ไขมัน ท�ำหน้าที่ป้องกันการระเหยของ น�้ำตา • น�้ ำ ท� ำ หน้ า ที่ น� ำ สารอาหารไปเลี้ ย งที่ กระจกตา • เมือก ช่วยให้น�้ำตาสามารถเคลือบอยู่บน ผิวกระจกตาได้นาน ซึง่ คุณสมบัตขิ องสารเมือก ที่ส�ำคัญ คือ โซเดียมไฮยาลูโรเนต ซึ่งหากมี ความผิดปรกติใดเกิดที่ชั้นน�้ำตาก็จะส่งผลให้ เกิดอาการตาแห้งได้ น�ำ้ กับระบบย่อยอาหาร น�้ำมีส่วนช่วยในระบบย่อยอาหารของทุก ระดับ ถ้าขาดน�้ำ การย่อยในทางเดินอาหาร จะไม่สมบูรณ์ เพราะน�้ำและเอ็นไซม์จะท�ำงาน ได้ไม่ดีเท่าที่ควร ถ้ามีน�้ำไม่เพียงพอ น�้ำจะช่วย ในการแตกตัวของอาหารให้ดียิ่งขึ้นและท�ำให้ สามารถซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น ซึ่ง
ในแต่ละวันเราอาจต้องสูญเสียน�้ำ โดยไม่รู้ตัวจากการหายใจออกราว ๔๐๐ ซีซี นั่นเพราะน�้ำเป็นส่วน ส�ำคัญในการหายใจ โดยหายใจ แต่ละครั้ง ร่างกายจะน�ำออกซิเจน เข้าไปในปอด แต่ขณะเดียวกันก็จะไล่ คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากปอด ดังนั้น จึงจ�ำเป็นมากที่ปอดจะต้องมี ความชุ่มชื้นอยู่เสมอ
63
น�้ำเป็นตัวน�ำพาสารอาหาร สารอาหารทุกชนิดที่เรารับประทาน เข้าไปจะสามารถท�ำละลายได้ต้องมี น�้ำเป็นตัวกลาง โดยสารอาหารจะ ถูกล�ำเลียงส่งดูดซึมให้ไหลเวียนไป ยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อน�ำไป สร้างพลังงานให้กับเซลล์ที่อยู่ภายใน ส่วนต่างๆ ของร่างกาย และก็เป็นน�้ำ อีกเช่นกัน ที่ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงของเสีย ซึ่งถูกก�ำจัดออกจากร่างกาย
อาการท้องผูกส่วนมากนั้นเป็นเพราะขาดน�้ ำ น�ำ้ กับการล้างสารพิษ เรื้อรัง ถ้าเราดื่มน�้ำเพิ่มและรับประทานอาหาร น�้ ำ ช่ ว ยในการเผาผลาญอาหาร ถ้ า ขาด ที่มีกากใย อาการท้องผูกก็จะหายไป นอกจาก น�้ำการเผาผลาญอาหารเพื่อให้เกิดพลังงาน นี้ การดื่ ม น�้ ำ มากๆ ยั ง ช่ ว ยบรรเทาอาการ ก็ไม่สามารถท�ำได้ เพราะน�้ำเป็นตัวกลางใน กระเพาะอักเสบ ล�ำไส้อักเสบ ท้องอืด ท้อง ทุกปฏิกิริยาเคมีในร่างกายและยังเป็นตัวท�ำ เฟ้อได้ เนื่องจากน�้ำดื่มจะกระตุ้นให้ร่างกาย ละลายที่ดี จึงสามารถพาสารอาหาร ฮอร์โมน หลั่งฮอร์โมนชื่อ โมติลิน ซึ่งจะช่วยท�ำให้ลำ� ไส้ ออกซิเจน ฯลฯ ไปยังเซลล์ต่างๆ ผ่านทางเลือด ท�ำงานได้ดี และที่ส�ำคัญน�้ำยังสามารถละลาย และน�้ำเหลืองออกได้ สารพิษที่ตกค้างในล�ำไส้ใหญ่ให้ออกมาพร้อม น�้ำกับการน�ำเซลล์ไปทั่วร่างกาย กับอุจจาระ ส่งผลให้ระบบขับถ่ายดี และอาการ น�้ำเป็นตัวน�ำพาสารอาหาร สารอาหารทุก ริดสีดวงก็สามารถทุเลาลง ชนิ ด ที่ เ รารั บ ประทานเข้ า ไปจะสามารถท� ำ น�้ำกับรูปร่าง ละลายได้ต้องมีนำ�้ เป็นตัวกลาง โดยสารอาหาร น�้ำมีผลต่อการลดน�ำ้ หนัก เนื่องจากน�้ำเป็น จะถูกล�ำเลียงส่งดูดซึมให้ไหลเวียนไปยังส่วน สารอาหารที่ไม่มีแคลอรี่ จึงมีบทบาทในการ ต่างๆ ของร่างกาย เพื่อน�ำไปสร้างพลังงานให้ ลดน�้ำหนัก โดยถ้าคุณดื่มน�้ำในปริมาณที่เพิ่ม กับเซลล์ที่อยู่ภายในส่วนต่างๆ ของร่างกาย ขึ้นกว่าปกติราว ๒-๓ แก้ว คือดื่มน�้ำ ๑ แก้ว และก็ เ ป็ น น�้ ำ อี ก เช่ น กั น ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ล� ำ เลี ย ง ก่อนรับประทานอาหารในแต่ละมื้อ ก็จะช่วย ของเสียซึ่งถูกก�ำจัดออกจากร่างกาย ลดความอยากอาหาร เมื่อรับประทานอาหาร น�ำ้ กับข้อต่อ ลดลง ร่างกายก็จ�ำเป็นต้องเผาผลาญไขมันที่ น�้ำเป็นส่วนช่วยหล่อลื่นข้อต่อต่างๆ โดย เก็บไว้แทน บริเวณข้อต่อคือ ปลายกระดูกที่ต่อกันเกิดเป็น 64
ข้อต่อ เช่น ข้อต่อกระดูกไขสันหลัง ซึง่ ถ้ามีน�้ำไม่ เพียงพอ ข้อต่อจะขยับได้ยาก ถ้าน�้ำหล่อเลี้ยง ข้อต่อมีมากเพียงพอก็จะสามารถเคลื่อนไหว ได้อย่างสะดวกท�ำให้การเสียดสีกันมีน้อยมาก และอันตรายจากการถลอกตรงกระดูกอ่อนก็ จะไม่เกิดขึ้น ดังนั้น น�้ำจึงลดความเสี่ยงของ อาการปวดข้อต่างๆ ทัง้ นี้ การปวดข้อต่อก็เป็นส่วนหนึง่ ของภาวะ ขาดน�ำ้ ในบริเวณจุดเชือ่ มต่อของกระดูก ๒ ชิน้ ส�ำหรับสาเหตุของอาการดังกล่าวคือ โดยปกติ แล้วบริเวณส่วนปลายกระดูกทั้ง ๒ ชิ้น ใน ข้อต่อจะมีโครงสร้างป้องกันพิเศษที่เรียกว่า กระดูกอ่อน ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นน�้ำมากกว่า กระดูกธรรมดาที่มีความแข็งมากกว่า น�้ ำใน กระดูกอ่อนจะท�ำหน้าที่เป็นสารหล่อลื่น และ ช่วยให้ปลายกระดูกที่เชื่อมกันทั้ง ๒ ปลาย สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ ระหว่างการ เคลื่อนไหว เซลล์กระดูกอ่อนบางส่วนจะตาย และถูกขจัดออกไป เซลที่ตายเหล่านี้จะถูก แทนที่ด้วยเซลล์ใหม่ แต่ถ้าในกระดูกอ่อนมีน�้ำ น้อยเกินไป ความสามารถในการหล่อลื่นจะ ลดลง ส่งผลให้เซลล์ตายมากขึน้ อาการปวดข้อ จึงเป็นผลจากการที่มีจ�ำนวนเซลล์ที่ตายแล้ว มากกว่าจ�ำนวนเซลล์ที่ก�ำลังถูกสร้างขึ้น น�ำ้ กับผิวพรรณ นอกจากน�้ำจะช่วยสร้างสุขภาพที่ดีแล้ว ยัง สามารถชะลอความเหี่ยวย่นของผิวหนังได้อีก ด้วย เพราะร่างกายประกอบด้วยน�้ำถึง ๗๐% โดยในเซลล์มีน�้ำ ๗๐% และในดีเอ็นเอก็มีน�้ำ อีกเช่นกัน ถ้าวันใดร่างกายเกิดขาดน�้ำขึ้นมา ปฏิกริ ยิ าทางเคมีในร่างกายจะเสียสมดุล ยิง่ ขาด น�้ำเรื้อรังด้วยแล้วจะท�ำให้ผิวหนังแห้งเหี่ยวย่น ส่งผลให้ความต้านทานโรคต�่ำลงด้วย ที่มาข้อมูล : www.e-magazine.info ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลอากาศเอก สุกำ� พล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม น� ำ คณะนายทหารชั้ น ผู ้ ใ หญ่ ประกอบด้ ว ย พลเอก ทนงศั ก ดิ์ อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น ปลัดกระทรวงกลาโหม ผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ เข้ารดน�ำ้ และขอรับพรจาก พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี แ ละรั ฐ บุ รุ ษ เนื่ อ งในโอกาส วันสงกรานต์ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ณ บ้านพักรับรอง สีเ่ สาเทเวศร์ เมือ่ ๑๑ เม.ย.๕๖
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม น�ำคณะ นายทหารชั้นผู้ใหญ่ ขอรับพรจาก พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เนือ่ งในโอกาสวันสงกรานต์ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ณ สโมสรทหารบก สี่เสาเทเวศร์ เมื่อ ๑๑ เม.ย.๕๖
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าอวยพรและขอรับ พรจาก พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เนื่องในโอกาสวันสงกรานต์ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลา ว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๑ เม.ย.๕๖ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
65
เกียรติภมู นิ ายทหารประทวน
66
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธแี สดงความยินดีแก่นายทหารประทวนทีไ่ ด้เลือ่ นฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร โดยมี พลอากาศเอก สุกำ� พล สุวรรณทัต รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรกั ษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และผูบ้ ญ ั ชาการ เหล่าทัพ ร่วมในพิธี ณ ลานอเนกประสงค์ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมือ่ ๑ เม.ย.๕๖ หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
67
พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ประกอบพิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในศาลาว่าการกลาโหม และเป็นประธานในพิธีบ�ำเพ็ญ กุ ศ ล เนื่ อ งในโอกาสวั น ที่ ร ะลึ ก คล้ า ยวั น สถาปนา กระทรวงกลาโหม ครบ ๑๒๖ ปี (๘ เม.ย.๕๖) ณ ห้อง ยุทธนาธิการ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๕ เม.ย.๕๖
68
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานพิธี พุทธาภิเษกพระยอดธง เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลและเป็นที่ระลึกในวาระ มหามงคลพิธีฉลองและเชิญธงชาติกระทรวงกลาโหมขึ้นสู่ยอดเสา หลังจาก ทีไ่ ด้ดำ� เนินการบูรณะซ่อมแซมขึน้ ใหม่ในวันทีร่ ะลึกคล้ายวันสถาปนากระทรวง กลาโหม ครบ ๑๒๖ ปี (๘ เม.ย. ๕๖) เมื่อ ๕ เม.ย.๕๖ ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมกิจกรรมท�ำความสะอาดเพื่อสาธารณะ เนื่องในโอกาสวันที่ระลึกคล้ายวันสถาปนากระทรวง กลาโหม ครบ ๑๒๖ ปี (๘ เม.ย.๕๖) ณ บริเวณรอบศาลาว่าการกลาโหม และพื้นที่บริเวณคลองคูเมืองเดิม ด้านถนนราชินีและถนนอัษฎางค์ และ การจัดท�ำโครงการสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา บริเวณอนุสาวรีย์สหชาติ (อนุสาวรีย์หมู) เมื่อ ๕ เม.ย.๕๖
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
69
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ เป็นประธานในงานเลี้ยงรับรองเนื่องในวันกองทัพอากาศ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ โดยมี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม และผู้บัญชาการเหล่าทัพ ร่วมในงานเลี้ยงรับรอง ณ หอประชุมกองทัพอากาศ เมื่อ ๙ เม.ย.๕๖
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ร่วมเป็นประธานใน พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมและกระทรวง พลังงาน เกี่ยวกับการด�ำเนินการด้านพลังงานทดแทนในหน่วย ทหาร โดยมี พลอากาศเอก สุกําพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม เป็นตัวแทนกระทรวงกลาโหม และนายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็นตัวแทน กระทรวงพลั ง งาน ณ ห้ อ งสี ม ่ ว ง ตึ ก ไทยคู ่ ฟ ้ า ท�ำ เนี ย บรั ฐ บาล เมื่อ ๒๓ เม.ย.๕๖ พลอากาศเอก สุกําพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการบรรยายสรุปให้กับคณะกรรมาธิการการทหาร สภาผู ้ แ ทนราษฎร ณ ห้ อ งภาณุ รั ง ษี ภายในศาลาว่ า การกลาโหม เมื่อ ๔ เม.ย.๕๖
70
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พลเรื อ เอก ทนงศั ก ดิ์ อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยนายทหาร ชั้ น ผู ้ ใ หญ่ และนางนศพร อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยคณะกรรมการ สมาคมฯ ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในวัน คล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ร้านกาชาด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และสมาคม ภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม เมื่อ ๒ เม.ย.๕๖
พลอากาศเอก สุก�ำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม และนางพิไลวรรณ สุ ว รรณทั ต ภริ ย า เข้ า เยี่ ย มชมร้ า นกาชาด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและสมาคม ภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเรื อ เอก ทนงศั ก ดิ์ อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น ปลัดกระทรวงกลาโหมพร้อมคณะนายทหาร ชั้ น ผู ้ ใ หญ่ และนางนศพร อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น นายกสมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการ สมาคมฯ ให้การต้อนรับ เมื่อ ๒ เม.ย.๕๖
หลักเมือง พฤษภาคม ๒๕๕๖
71
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หม่อมราชวงศ์ปรียางค์ศรี วัฒนกุล ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานจัดหารายได้สภากาชาดไทย และคณะ เยี่ยมชมร้านกาชาด สมาคมภริยาข้าราชการ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม โดยมี นางนศพร อภิรักษ์โยธิน นายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมให้การต้อนรับ เมื่อ ๔ เม.ย.๕๖
พ ล เ อ ก ท น ง ศั ก ดิ์ อ ภิ รั ก ษ ์ โ ย ธิ น ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมคณะนายทหาร ชั้ น ผู ้ ใ หญ่ และนางนศพร อภิ รั ก ษ์ โ ยธิ น นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ เข้ า เยี่ ย มชมร้ า นกาชาด สมาคมแม่ บ ้ า น กองบัญชาการกองทัพไทย สมาคมแม่บ้าน ทหารบก สมาคมภริยาทหารเรือ สมาคมแม่บา้ น ทหารอากาศ สมาคมแม่ บ ้ า นต� ำ รวจ และ สมาคมแม่บา้ นองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก โดยมี นายกสมาคมฯ และคณะให้การต้อนรับ เมื่อ ๑ เม.ย.๕๖
72