วารสารหลักเมือง ฉบับที่ 288

Page 1

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง

สตรีไทยคนส�ำคัญแห่งยุค

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

www.lakmuangonline.com


ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ

พล.อ.วันชัย  เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช  จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์  เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์  ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช  มีเพียร พล.อ.ธวัช  เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์  บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด  เบื้องบน พล.อ.สิริชัย  ธัญญสิริ พล.อ.วินัย  ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต  เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์  เกษโกวิท พล.อ.เสถียร  เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส  รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์

พล.ต.ณภัทร  สุขจิตต์

รองผู้อำ�นวยการ

พ.อ.ณัฐวุฒิ  คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ  ตันตระวาณิชย์

ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ

พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์

กองจัดการ ผู้จัดการ

น.อ.ธวัชชัย  รักประยูร

ประจำ�กองจัดการ

น.อ.กฤษณ์  ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น.  พ.ต.ไพบูลย์  รุ่งโรจน์

เหรัญญิก

พ.ท.พลพัฒน์  อาขวานนท์

ที่ปรึกษา ผู้ช่วยเหรัญญิก พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล

พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.ร.อ.ชุมนุม อาจวงษ์ ร.น. พล.อ.วิชิต ศรีประเสริฐ พล.อ.ชัยชาญ ช้างมงคล พล.อ.นพดล ฟักอังกูร พล.อ.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.นิวัติ ศรีเพ็ญ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ดำ�รงศักดิ์ วรรณกลาง พล.ท.ชุติกรณ์ สีตบุตร พล.ท.นเรศรักษ์ ฐิตะฐาน พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.อดุลย์ศักดิ์ บุญวัฒนะกุล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.เดชา บุญญปาล พล.ท.นภนต์ สร้างสมวงษ์ พล.ต.ภราดร จินดาลัทธ พล.ต.ชวลิต สาลีติ๊ด

ร.ท.เวช  บุญหล้า

ฝ่ายกฎหมาย

น.ท.สุรชัย  สลามเต๊ะ

ฝ่ายพิสูจน์อักษร

พ.อ.หญิง วิวรรณ  วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์  ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์  มูลละ

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ

น.อ.พรหมเมธ  อติแพทย์ ร.น.

รองบรรณาธิการ

พ.อ.ทวี  สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ  ศิริสรณ์

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

พ.อ.หญิง ใจทิพย์  อุไพพานิช

ประจำ�กองบรรณาธิการ

น.ท.ณัทวรรษ  พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน  ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร  ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี  ศรประทุม พ.ต.จิโรจม์  ชินวัตร ร.อ.หญิง ลลิดา  ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี  ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์  ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง จ.อ.หญิง สุพรรัตน์  โรจน์พรหมทอง

น.ท.หญิง รสสุคนธ์  ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์  สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร  น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง สมจิตร  พวงโต ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.ต.ศุภกิจ  ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์  ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย  ภมรนาค ส.อ.ธีร์นริศวร์  ขอพึ่งธรรม


บทบรรณาธิการ วารสารหลักเมืองฉบับเดือนมีนาคม เนือ่ งจากในวันที่ ๘ มีนาคมของทุกปี เป็นวันสตรีสากล กองบรรณาธิการวารสารหลักเมือง จึงได้น�ำเสนอบทความเรื่อง สตรีไทยคนส�ำคัญแห่งยุค สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ท่านด�ำรงต�ำแหน่ง สมเด็จพระบรมราชินีนาถพระองค์แรก และทรงได้รับรางวัลจากองค์การการศึกษาวิทยา ศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ให้พระองค์ทรงเป็นบุคคลส�ำคัญ ของโลก ในฐานะทรงมีผลงานดีเด่น ด้านการศึกษาส�ำหรับเด็กและสตรี นอกจากนีภ้ ายในเล่ม ยังมีเรื่องน่าติดตามอ่านอีกหลายเรื่อง อาทิ บทความเกี่ยวกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในเรื่ อ งการทรงงานเพื่ อ ปวงประชา…แนวทางพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ก ารทางทหารร่ ว มกั บ อาเซียนในภารกิจการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ …เคล็ด (ไม่) ลับ ในการเรียนภาษาอังกฤษ กับพันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ รวมทั้งบทความจากนักเขียน ที่มากประสบการณ์อีกหลายท่าน และในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ เป็นอีกวาระส�ำคัญที่ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ในฐานะหน่วยรับผิดชอบในการจัดท�ำวารสารหลักเมือง ที่ท่านได้กรุณา เป็น “แฟนประจ�ำ” ก่อตั้งมีอายุ ๒๖ ปี จึงขอถือโอกาสน�ำเสนอบทความให้ผู้อ่านได้รู้จัก ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้มากขึ้น ที่ส�ำคัญในเดือนหน้า ๘ เมษายน ๒๕๕๘ จะครบรอบ ๑๒๘ ปี แห่งการสถาปนากระทรวง กลาโหม ท่านผู้อ่านจะได้พบกับ วารสารหลักเมืองฉบับพิเศษ และเป็นโอกาสที่วารสาร หลักเมือง มีอายุ ๒๔ ปี ขอให้ท่านผู้อ่านได้ติดตาม ๑๒๘ ปี กระทรวงกลาโหม “เทิดราชา รักษ์ราษฎร์ ชาติมั่นคง” ๒๖ ปี สถาปนาส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม มุ่งมั่นพัฒนา สู่ความเป็นเลิศ หากท่านผู้อ่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ต้องการให้วารสารหลักเมืองน�ำเสนอ เรื่องใด สามารถส่งผ่านทาง หลักเมืองออนไลน์ www.lakmuangonline.com ได้ครับ

2


ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๘ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

พระมหากรุณาธิคุณ พร่างทั่วแผ่นดิน... พัฒนาท้องถิ่นไทย

B-24 : Lady be Good

๓๖

๑๒

๑๖

๒๖ ปี ส�ำนักงาน เลขานุการ ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม

จรวดน�ำวิถีโจมตีรถถัง แบบมาเวอริค

๔๐

๑๒

๑๖

สตรีไทยคนส�ำคัญ แห่งยุค

๓๒ ๕๒

เคล็ด (ไม่) ลับในการ เรียนภาษาอังกฤษ

๒๒

แนวทางการพัฒนา ปฏิบัติการทางทหาร ร่วมกับอาเซียนใน ภารกิจการช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR)

๔๔

ความวุ่นวายในราชวงศ์ ตองอูหลังสงคราม ยุทธหัตถี ๒๑๓๕

การป้องกันแแก้ไข ปัญหาภัยแล้งของศูนย์ บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม

๒๔

เทคโนโลยีดิจิตอล (Digital Technology)

๔๘

๒๐

จีนกับการก้าวสู่ ความเป็นมหาอ�ำนาจ

การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate Change)

๓๒

ทรงสืบสานงาน เพื่อปวงประชา ๙ แผ่นดินของการ ปฏิรูประบบราชการ พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้า นภาลัย (ตอนที่ ๑)

๒๘

๒๔

๕๔

สาระน่ารู้ทางการแพทย์ เหงื่อ : บอกอาการ ของโรค

๒๘

๔๔ ๖๒ ๓๖

๔๐

๔๘

๕๔

กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม

๖๒ ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร  กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

3


4

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


พระมหากรุณาธิคุณ พร่างทั่วแผ่นดิน... พัฒนาท้องถิ่นไทย พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

“...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกที่ประชุมเสนาบดี มีรับสั่งเล่าถึงที่ได้ไปประพาสเมืองนครเขื่อนขันธ์เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ไม่เป็นที่พอพระราชหฤทัยที่ได้ทอดพระเนตรเห็นถนน และตลาดเมืองนครเขื่อนขันธ์ โสโครกมาก รับสั่งว่าสกปรกเหมือนตลาดท่าจีน ฉันนัง่ อยูท่ ปี่ ระชุมรูส้ กึ ละอายใจมาก ทีเ่ มืองนครเขือ่ นขันธ์จะสกปรกหรือสะอาดก็ไม่ใช่ธรุ ะของเรา แต่ความสกปรกของตลาดท่าจีนซึง่ สกปรก จริงส�ำหรับเป็นที่ยกตัวอย่างเปรียบเทียบที่อื่นที่ไม่พอพระราชหฤทัยเช่นนี้ ก็เสมอกริ้วตลาดท่าจีนด้วยเหมือนกัน การเป็นเช่นนี้จึงรู้สึก ร้อนใจมาก เห็นว่า ถ้าไม่คิดอ่านปัดกวาดจัดถนนในตลาดท่าจีน ให้หายโสโครกแล้วจะเสียชื่อ...”

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

5


ข้อความข้างต้นนี้คือ ข้อความในหนังสือ ตราพระราชสีห์น้อย ที่ ๒๐/๓๙๙๐ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๓ (พ.ศ.๒๔๔๗) ซึ่งสมเด็จ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวง มหาดไทย ทรงมีถึงพระยาพิไชยสุนทร ผู้ว่า ราชการเมืองสมุทรสาคร โดยหากพิเคราะห์ จากข้อความดังกล่าวแล้วถือว่าเป็นการแสดง ให้ทราบถึงพระราชวินิจฉัยขององค์พระบาท

6

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระ มหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวสยามในเวลา นั้น เพราะประชาชนยังอยู่ในยุคที่ก�ำลังขาด ความเรียบร้อยในเรื่องของระบบสุขาภิบาลที่ พึงมีพึงเป็นของประชาชน อันอาจเป็นแหล่ง สะสมและเพาะพันธุ์เชื่อโรคอันอาจก่อให้เกิด โรคระบาดให้หมู่พี่น้องประชาชน

เหตุการณ์ตอ่ มา พระยาพิไชยสุนทรได้เรียก ประชุมก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ นต�ำบลท่าฉลอมทัง้ หมด เพื่อร่วมกันค้นหาข้อบกพร่องและหาหนทาง ปฏิบัติเพื่อแก้ไขความสกปรกและไม่เรียบร้อย ในตลาดท่าจีน (หรือท่าฉลอม) ซึ่งในที่สุด ผู้ว่า ราชการเมืองสมุทรสาครและก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน จึงได้เชิญชวนให้บรรดาพ่อค้าและประชาชน ในต�ำบลท่าฉลอมร่วมมือช่วยกันสละเงินเพื่อ น�ำมาปรับปรุงตลาดท่าจีนให้สะอาด ได้เงิน เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น ๕,๔๗๒ บาท โดยได้น�ำเงิน จ�ำนวนดังกล่าวจัดท�ำเป็นถนนปูด้วยอิฐขนาด กว้าง ๒ วา มีความยาว ๑๑ เส้น ๑๔ วา รวมทั้ง จ้างคนท�ำความสะอาดเก็บกวาดขยะมูลฝอย จนสภาพของตลาดท่าจีนมีความสะอาดเป็นที่ เจริญตาเจริญใจ ครัน้ เมือ่ ความทราบโดยละอองธุลพี ระบาท พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมีความโสมนัสยินดีเป็นอันมากในความ ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของประชาชนชาวท้องถิ่นใน ตลาดท่าฉลอม อันประกอบด้วย การสละเงิ น ทองปรั บ ปรุ ง ท้ อ งถิ่ น บ้ า น เมืองให้เจริญขึ้น ต่อมา พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงมีพระบรมราชา พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


นุญาตให้แก้ไขปรับปรุง "ภาษีโรงร้าน" เพื่อจัด สมทบเป็นรายได้แก่สุขาภิบาลที่ตั้งขึ้น โดย มีหน้าที่รวม ๓ ประการของสุขาภิบาลตามที่ สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงเสนอ กล่าวคือ ประการแรก การซ่ อ มแซมรั ก ษาถนน หนทาง ประการที่สอง การจุดโคมไฟให้มีแสงสว่าง ในเวลาค�่ำคืนเป็นระยะตลอดถนนในต�ำบลนั้น ประการที่สาม ให้จ้างลูกจ้างส�ำหรับเก็บ กวาดท�ำความสะอาดและขนขยะมูลฝอยของ โสโครกต่าง ๆ ไปทิ้งหรือท�ำการกลบฝัง ซึ่งในเวลาก่อนหน้านี้ ในปี พ.ศ.๒๔๔๐ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ที่ จ ะกระจายอ� ำ นาจไปสู ่ ท้องถิ่น โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศใช้ พระราชก� ำ หนดสุ ข าภิ บ าล กรุงเทพฯ ร.ศ. ๑๑๖ ขึ้น ภายหลังที่ทรงส่ง คนไปศึกษาดูงานการปกครองในแถบประเทศ ยุโรป และได้เริ่มท�ำการทดลองศึกษาขึ้นใน กรุ ง เทพมหานคร สุ ข าภิ บ าลนี้ ใ นชั้ น ต้ น ให้ มีหน้าที่ท�ำลายขยะมูลฝอย การจัดเก็บที่ถ่าย อุจจาระ และปัสสาวะของประชาชนคนทั่วไป จัดการห้ามการปลูกสร้างหรือซ่อมโรงเรือนอัน จะเป็นเหตุให้เกิดโรคระบาด การขนย้ายสิ่ง โสโครกและสิง่ ร�ำคาญของมหาชนไปให้พน้ เสีย โดยการบริหารงานของสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ครั้งนั้น ได้ด�ำเนินการโดยข้าราชการทั้งหมด ซึ่งมีเสนาบดีกระทรวงนครบาลเป็นผู้รับผิด ชอบ เมื่อพิจารณาให้ดี พบว่า รูปแบบของ สุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ.๑๑๖ ไม่ถอื ว่าเป็นการ ปกครองท้องถิน่ เนือ่ งจากประชาชนมิได้มสี ว่ น ร่วม หากแต่เป็นการด�ำเนินการโดยข้าราชการ และใช้จ่ายงบประมาณจากส่วนกลาง ต่ อ มา พระยาจ่ า แสนยบดี เจ้ า กรม มหาดไทยฝ่ า ยพลั ม ภั ง (ฝ่ า ยปกครอง) ได้ เดินทางไปร่วมประชุมปรึกษาหารือกับผู้ว่า ราชการเมืองสมุทรสาคร ก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน พ่อค้าและประชาชนในบ้านตลาดท่าฉลอม เพื่อหาหนทางปฏิบัติในการจัดตั้งสุขาภิบาล ท่าฉลอม และปรึกษาขอความคิดเห็นในการ

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ปรับปรุงภาษีโรงร้าน และการใช้จ่ายเงินเพื่อ การสุขาภิบาล ซึง่ ปรากฏว่า เรือ่ งดังกล่าวได้รบั ความร่วมมือจากประชาชนในท้องทีเ่ ป็นอย่างดี ดังนั้น ในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๔๔๘ พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระ กรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ มี พ ระบรมราชโองการ ประกาศจั ด ตั้ ง สุ ข าภิ บ าลตลาดท่ า ฉลอม ต�ำบลท่าฉลอม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็ น สุ ข าภิ บ าลแห่ ง แรกของประเทศไทย พร้ อ มทั้ ง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น มายั ง เมื อ ง สมุทรสาครโดยทางรถไฟเพื่อทรงเปิด “ถนน ถวาย” ที่ประชาชนชาวต�ำบลท่าฉลอมมีความ สามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกันเสียสละเพื่อพัฒนา ท้องถิ่นของตนเอง ซึ่ ง ผลของการจั ด ตั้ ง สุ ข าภิ บ าลที่ ต ลาด ท่าฉลอมในครั้งนั้น ปรากฏว่าเป็นที่นิยมของ ประชาชนมากขึ้นและมีการขยายผลของวิธี การไปในหลายพื้ น ที่ ในเวลาต่ อ มา จนถึ ง พ.ศ. ๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มี พระบรมราชโองการประกาศใช้ พ ระราช บัญญัติจัดการสุขาภิบาลหัวเมืองขึ้น เรียกว่า พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล ร.ศ.๑๒๗ (พ.ศ.๒๔๕๑) และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มาจนทุกวันนี้

ต่อมา คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๓ ให้ประกาศว่าวันที่ ๑๘ มีนาคม ของทุ ก ปี เ ป็ น วั น ท้ อ งถิ่ น ไทย เพื่ อ เป็ น การ ร�ำลึกถึงวันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระราชทานก� ำ เนิ ด กิ จ การ สุขาภิบาลหัวเมืองแรกของประเทศไทยและ การเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการกระจายอ� ำ นาจ การปกครองให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วน ร่วมอย่างแท้จริง ทั้งยังเป็นการวางรากฐาน การปกครองท้องถิ่นที่ส�ำคัญยิ่งอันน�ำไปสู่การ วางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย ดังนั้น ผู้เขียนจึงใคร่ขอเรียนเชิญทุกท่านได้ กรุณาร่วมกันร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ องค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยซึ่งเป็นทั้งการวาง รากฐานระบบสุขาภิบาลเพื่อสุขอนามัยของ ประชาชนและเป็นรากแก้วแห่งการปกครอง ท้องถิ่นอันเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการพัฒนา ประเทศจากอณูที่เล็กที่สุดของสังคมไทยให้ ขยายไปทั่ ว ประเทศและพั ฒ นาเพื่ อ ความ เจริญรุ่งเรือง ความผาสุกของประเทศชาติและ ประชาชนชาวไทยอย่างยั่งยืน

7


ทรงสืบสานงาน เพื่อปวงประชา แผนกเผยแพร่ฯ

8

แผนกเผยแพร่ฯ


ตั้

งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้โดยเสด็จพระราชด�ำเนินพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ไปทรงเยี่ ย มราษฎรใน ภูมิภาคต่างๆ ท�ำให้ทรงทราบสภาพความเป็น อยู่ และปัญหาของราษฎร ทรงได้เห็นแบบ อย่างของการทรงงานเสมอมา ประกอบกับ พระวิริยะอุตสาหะ ในการแสวงหาวิชาความรู้ อยู ่ เ ป็ น นิ จ รวมทั้ ง น�้ ำ พระทั ย ที่ ท รงห่ ว งใย ประชาชนทุกหมูเ่ หล่า เมือ่ ทรงส�ำเร็จการศึกษา ในระดับอุดมศึกษา และได้ทรงปฏิบัติพระราช กรณียกิจ อันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ และราษฎรมาโดยตลอด พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ จึ ง ทรงไว้ ว างพระราช หฤทัย มอบหมายพระราชกรณียกิจ ให้ทรง ปฏิบัติสืบต่อมา อาทิ   การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระบรมมหา ราชวัง วัดพระศรีรตั นศาสดาราม และพระทีน่ งั่ วิมานเมฆ   โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ   พิธีพระราชทานปริญญาบัตร   โรงเรียนจิตรลดา   ศิลปินแห่งชาติ   มูลนิธิชัยพัฒนา   มูลนิธิอานันทมหิดล   มูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์   มู ล นิ ธิ ร างวั ล สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า มหิ ด ล ใน พระบรมราชูปถัมภ์

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

มูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์   สภากาชาดไทย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ใฝ่พระราชหฤทัยในการศึกษามา ตั้งแต่ทรงพระเยาว์ โปรดการศึกษาค้นคว้า การเรี ย นรู ้ จ ากการสั ง เกตสิ่ ง แวดล้ อ มรอบ พระองค์ ต่อมา เมื่อเจริญพระชันษาขึ้น ด้วย ความสนพระทัย และพระปรีชาในการเรียน

วิชาการหลากหลายแขนง ทั้งศาสตร์และศิลป์ อีกทั้งการเรียนภาษาจะเป็นพื้นฐานที่ดีส�ำหรับ การเรียนรู้วิชาการสาขาต่าง ๆ จึงท�ำให้ทรง เลือกศึกษาในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ด้านอักษรศาสตร์ และต่อมาได้ทรงศึกษาต่อ ระดับปริญญาเอก ในหลักสูตรวิชาพัฒนศึกษา ศาสตร์ ซึ่งเป็นการน�ำความรู้ด้านการศึกษา ประกอบกับความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ มาร่วม กันใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศ จากการที่ ทรงเห็นความส�ำคัญของศาสตร์ตา่ ง ๆ นีเ้ อง จึง สนพระทัยศึกษาหาความรู้ และติดตามความ ก้าวหน้าของความรู้ ในด้านอื่น ๆ อยู่เสมอ จาก “ประวั ติ ศ าสตร์ ” ซึ่ ง เป็ น วิ ช าการ สาขาแรก ที่ทรงเลือกเรียนในระดับปริญญาตรี และยั ง เป็ น วิ ช าการที่ ท รงใช้ ใ นการทรงงาน เมื่ อ ทรงเข้ า รั บ ราชการ เป็ น อาจารย์ ส อน วิชาประวัติศาสตร์ ณ โรงเรียนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนพระทัยศึกษาวิชาการ ด้านอื่น ๆ เพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง ทั้งทรงศึกษา ด้วยพระองค์เอง และจากบุคคล หน่วยงาน และสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง จนทรงสามารถ น�ำความรู้นั้น มาปรับใช้ในการทรงงานได้ ทรง เห็นว่าความรู้เป็นพื้นฐานส�ำคัญของความเป็น ครู และนักการศึกษาที่ดี จึงทรงเชื่อมโยงความ รู้ของศาสตร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ อันเป็นประสบการณ์ที่ทรง 9


น� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการประกอบพระราช กรณียกิจด้านต่างๆ แนวพระราชด�ำริในงานด้านต่างๆ ยังก่อ เกิดการน�ำไปปรับใช้ เพื่อพัฒนาชุมชน ทั้งโดย ทางตรง และทางอ้อม พระราชกรณียกิจของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารี ครอบคลุมงานด้านต่าง ๆ อย่างกว้าง ขวาง อาจจ�ำแนกได้ดังนี้   ด้านการพัฒนา   ด้านการศึกษา   ด้านศิลปวัฒนธรรมและศาสนา   ด้านสาธารณกุศล   ด้านสาธารณสุขและโภชนาการ   ด้านการต่างประเทศ   ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   ด้ า นอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม   ด้านเกษตรกรรม 10

โครงการตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จุดเริ่มต้นโครงการตามพระราชด�ำริ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มาจากการที่ ไ ด้ ท อดพระเนตรสภาพชี วิ ต ความเป็นอยู่ของราษฎร ในโอกาสที่โดยเสด็จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถไปทรงเยี่ยม ราษฎรในทุกภาคของประเทศไทย สิ่งที่ทรง สังเกตเห็นก็คือ ความยากจน เด็ก ๆ เจ็บป่วย ขาดอาหาร ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือ การด�ำเนินงานโครงการตามพระราชด�ำริฯ ในระยะแรก จึงทรงเริ่มต้นจากเด็กนักเรียน ในพื้นที่ทุรกันดารที่มีปัญหาขาดสารอาหาร ทรงมองเห็นสาเหตุส�ำคัญของปัญหา คือ การ ขาดแคลนอาหาร แนวทางการแก้ปัญหา คือ ให้มีการผลิตอาหารเพิ่มขึ้นในพื้นที่ โดยให้เด็ก นักเรียนในโรงเรียนปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ แล้วน�ำ ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มาท�ำเป็นอาหาร กลางวันรับประทานกัน ผลระยะสั้น คือ การ มีวัตถุดิบ เช่น ผัก เนื้อสัตว์ ไข่ ผลไม้ส�ำหรับ

น�ำไปประกอบอาหารกลางวัน แก้ปัญหาการ ขาดสารอาหารได้ทันที ผลระยะยาว คือ เด็ก จะได้รบั การพัฒนาพฤติกรรมการกินและภาวะ สุขภาพที่เหมาะสม และยังมีความรู้ทางการ เกษตรที่สามารถน�ำไปขยายผลต่อที่บ้านของ ตนเอง หรือน�ำไปประกอบอาชีพการเกษตร ส� ำ หรั บ ด� ำ รงชี วิ ต ต่ อ ไป ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความ มั่นคงทางอาหารในพื้นที่นั้น ๆ จะเห็นได้ว่า ทรงหาแนวทางและวิธีการในการพัฒนาทั้งที่ เป็นระยะสั้นและระยะยาวตามสภาพปัญหา ที่แท้จริงของคนเหล่านั้น ในระยะต่อมาและในปัจจุบัน เน้นในด้าน การพั ฒ นาการศึ ก ษามากขึ้ น ด้ ว ยมี พ ระ ราชด� ำ ริ ว ่ า "...การศึ ก ษาเป็ นปัจจัยหลักใน การสร้างและพัฒนาความรู้ ความคิด ตลอด จนความประพฤติ แ ละคุ ณ งามความดี ข อง บุคคล ให้บุคคลด�ำรงตนอยู่ในสังคมและใน โลกได้อย่างมั่นคงและมีความสงบร่มเย็นได้ แม้ว่าโลกจะเปลี่ยนแปลงไปรวดเร็วเพียงใด ก็ตาม..." สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ทรงเห็นความส�ำคัญของหลัก

แผนกเผยแพร่ฯ


สิทธิมนุษยชน ทรงห่วงใยในความด้อยโอกาส ทางการศึ ก ษาของราษฎรทุ ก หมู ่ เ หล่ า ทั้ ง ชนกลุ่มน้อย และประชาคมเมือง ทุกคนควร มีโอกาสได้รับการศึกษา ได้รับบริการจากภาค รัฐโดยเท่าเทียมกัน ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานใน การด�ำรงชีวิตของประชาชน ดังที่ได้มีพระราช ด�ำรัสในงานเสวนาทางวิชาการด้านอาหารและ โภชนาการ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ความตอนหนึ่งดังนี้ "...ให้ ค นทุ ก คนรู ้ ว ่ า ตั ว เองมี สิ ท ธิ ที่ จ ะรั บ สิ่งดี ๆ ในชีวิต ไม่ใช่ว่าคนอื่นจะเอาอะไรมา ให้ก็ได้ หรือว่าผู้ที่มีหน้าที่ดูแลบ้านเมือง หรือ ดูแลชุมชนต่าง ๆ ก็ต้องรู้ว่าคนอื่นเขาก็มีสิทธิ เหมือนกัน ยกตัวอย่างเช่น คนด้อยโอกาส หรือ บุคคลชายขอบ ที่เรียกกันตอนนี้ว่าคนที่อยู่ ในภาวะวิกฤติ ก็ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับความ ช่วยเหลือได้รับการดูแล... ...ถ้าพูดถึงเรื่อง สิทธิ เราก็จะพูดถึงในแง่ว่าคนเรามีสิทธิที่จะมี ชีวิตอยู่ มีสิทธิที่จะอยู่อย่างดี ควรจะได้รับการ ศึกษา การศึกษานี้เพื่ออะไร เพื่อให้สามารถ ที่จะพยุงตัวเองและด�ำเนินชีวิตไปได้อย่างสุข สบาย จะได้เอาความรู้น้ันไปช่วยเหลือเกื้อกูล ผู้อื่นหรือชุมชนได้อีก..." สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี พระราชทานแนวพระราชด�ำริให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปด�ำเนินงาน โดย การประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่มีความรู้ความช�ำนาญ จัด ท�ำเป็นโครงการต่าง ๆ ที่น�ำแนวพระราชด�ำริ ไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง ซึ่ ง มี ห ลั ก การส� ำ คั ญ ใน สองแนวทาง คือ แนวทางการช่วยเหลือ แก้ไข หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นทุ ก ข์ ย ากเฉพาะหน้ า ที่ราษฎรก�ำลังประสบอยู่ หรือแนวทางการ พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ที่มุ่งเสริมสร้าง ขีดความสามารถให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา จนสามารถพึ่งตนเองได้ ทั้งนี้ ได้พระราชทาน ข้ อ คิ ด ในการด� ำ เนิ น งานแก่ นั ก พั ฒ นา ดั ง ที่ ได้มีพระราชด�ำรัสในงานเสวนาทางวิชาการ ดังกล่าว ความตอนหนึ่งว่า "...ทีจ่ ริงศักดิศ์ รีของมนุษย์เป็นแนวทางหนึง่ ในการปฏิบัติงานเรื่องการพัฒนา ถ้าเราจะ เรียกตัวเองเป็นนักพัฒนา หรือว่าจะเป็นการ พัฒนาด้านอาหารโภชนาการหรือด้านอื่น ๆ เรื่องศักดิ์ศรีของมนุษย์น่าจะเป็นไปได้ที่เป็น ส่วนหนึ่งของสิทธิ ประการแรก คือ ให้คนที่เรา จะพัฒนาได้กระท�ำด้วยตัวเอง และอยากเอง ท�ำเอง ก็เป็นศักดิ์ศรีของเขา ไม่ใช่ว่าจะต้อง เป็นฝ่ายรับอยู่ร�่ำไป ถ้าเราไปท�ำให้ถูกในจุดนี้ ได้ ก็เป็นเรื่องการส่งเสริมศักดิ์ศรีของมนุษย์ ประการที่สอง ต้องคิดว่าเวลาไปพัฒนา ไม่ใช่ ว่าเราเป็นคนที่สูงเด่นกว่าเขา หรือเป็นคนที่ ศักดิ์ศรีสูงกว่าเขา อุตส่าห์ก้มตัวลงไปท�ำงาน กับเขา ถ้าคิดอย่างนั้นก็อย่าไป คือเราไปท�ำ แล้วเห็นคนอื่นใครๆ ต�่ำกว่าหมด ทุกคนต�่ำ กว่าหมด ทุกคนโง่กว่าหมด อย่างนั้นก็คบกัน ไม่ได้ ต้องค�ำนึงถึงศักดิ์ศรีของมนุษย์ จะไป ท�ำงานกับใครก็ต้องช่วยกัน เดี๋ยวนี้เขาไม่เรียก ว่าไปพัฒนาไปช่วย เขาเรียกว่าความร่วมมือ กันทั้งนั้น..." จากความสนพระทั ย ในศาสตร์ แ ละศิ ล ป์ หลากแขนง น�ำไปสู่พระราชด�ำริในการริเริ่ม โครงการต่าง ๆ เพือ่ ประโยชน์แก่ประชาชน ทัง้

โครงการแบบบูรณาการ อาทิ การพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิน่ ทุรกันดาร ทีม่ เี ป้าหมายหลัก ในการยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร อย่างครบวงจร และโครงการที่มีวัตถุประสงค์ เฉพาะ เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม การพัฒนาห้อง สมุด เป็นต้น ในปัจจุบัน โครงการตามพระ ราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม บรมราชกุมารี มีทั้งโครงการในประเทศไทย และโครงการความร่ ว มมื อ กั บ ต่ า งประเทศ งบประมาณในการด�ำเนินงาน ส่วนใหญ่มา จากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ รวมทั้งเงิน งบประมาณของหน่ ว ยงานราชการที่ป ฏิบัติ งานสนองพระราชด�ำริ นอกจากนี้ ยังมีเงินที่ มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย ทั้งจากบุคคล หน่วยงาน องค์กรหรือองค์การทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้ง ในประเทศไทยและต่างประเทศ องค์การและ หน่วยงานต่างประเทศที่ทูลเกล้า ฯ ถวายการ สนั บ สนุ น เพื่ อ การด� ำ เนิ น งานโครงการตาม พระราชด�ำริมีเป็นจ�ำนวนมาก เช่น องค์การ ยูเนสโก องค์การอนามัยโลก องค์การอาหารและ การเกษตรแห่งสหประชาชาติ มหาวิทยาลัย จอห์ น ส์ ฮอปกิ น ส์ มู ล นิ ธิ ค าร์ ฟู ร ์ มู ล นิ ธิ สุเอซ บริทิช เคาน์ซิล สายการบินแอร์ ฟรานซ์ เป็นต้น

11


แผ่นดิน

ของการปฏิรูประบบราชการ

พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ตอนที่ ๑)

ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม

12

ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม


ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย พระผูท้ รงปรีชาชาญ ด้าน การบริหารราชการแผ่นดินและ อักษรศาสตร์ พระราชประวั ติ พระราชด� ำ ริ และพระ ราชกรณียกิจการปกครอง พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชสมภพ วั นที่ ๒๔ กุ ม ภาพั น ธ์ พุทธศัก ราช ๒๓๑๐ ขณะทีพ่ ระราชบิดาด�ำรงต�ำแหน่งหลวงยกบัตร เมื อ งราชบุ รี เมื่ อ เกิ ด จลาจลในกรุ ง ธนบุ รี พุทธศักราช ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จปราบปรามแล้ว ปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ สถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์ และพระบรมราชจักรีวงศ์ จึงทรงด�ำรงสถานะสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ครั้นสมเด็จพระ บวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทเสด็จทิวงคต จึง ได้รบั สถาปนาพระอิสริยยศเป็นกรมพระราชวัง บวรสถานมงคล ต�ำแหน่งพระมหาอุปราช แทน ทรงปฏิบัติราชการใกล้ชิดสมเด็จพระบรมชนก นาถ ทรงได้เรียนรู้เรื่อง การเมือง การปกครอง การทหาร เศรษฐกิจและการจัดระเบียบสังคม

จากพระราชนิพนธ์วรรณคดีไทยทั้งร้อยแก้ว และร้อยกรองจ�ำนวนมาก ทรงสนพระราช หฤทัยศึกษาพระราชกิจทั้งปวงจากพระราช พงศาวดารไทย ต�ำราเมือง ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ รวบรวม คั ด ลอกพระราชพงศาวดารมี ก าร ช�ำระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา และ เรี ย บเรี ย งประวั ติ ศ าสตร์ สื บ ต่ อ มาถึ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ในขณะทรงด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงร่วมสร้าง หนั ง สื อ พงศาวดารเหนื อ กั บ พระยาวิ เ ชี ย ร ปรีชา (น้อย) จึงทรงรอบรู้การปกครองบ้าน

เมื อ งในอดี ต จากพงศาวดารการสร้ า งความ มั่นคงทางการเมือง ลักษณะการปกครองใน รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุ ฬ าโลกมหาราช ทรงยึ ด ถื อ ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างพระมหากษัตริยก์ บั ตระกูลขุนนางและ คหบดีทางการสมรสและระบบอุปถัมภ์ก่อน พุทธศักราช ๒๓๒๕ ตระกูลในราชวงศ์จักรีได้ สัมพันธ์กับสกุลใหญ่ ๆ ที่สืบเชื้อสายขุนนาง เก่าสมัยอยุธยา เช่น สมเด็จกรมพระยาเทพ สุดาวดี (สา) พระเจ้าพี่นางเธอพระองค์ใหญ่ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงสมรสกั บ หม่ อ มเสม บุ ต รชาย

การศึกษา การเมือง การปกครอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงศึ ก ษาเบื้ องต้ น ที่ ส�ำนัก พระวัน รัต (ทอง อยู่) วัดบางหว้าใหญ่ คือวัดระฆังปัจจุบัน ซึ่ง มีชื่อในการฝึกอบรมบุตรหลานขุนนาง จึงทรง พระปรีชาสามารถอักขรวิธีอย่างดี จะเห็นได้ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

13


ด้านรัฐประศาสตร์ ราชประเพณีทรงคุ้นเคย กับพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการผู้ใหญ่

การเรียนรู้เรื่องการทหาร

สมุหกลาโหมวังหน้า สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จ กรมพระศรีสุดารักษ์ (แก้ว) พระพี่นางเธอ พระองค์น้อยสมรสกับเจ้าขรัวเงินบุตรเศรษฐี จีน บ้านถนนตาล ในกรุงศรีอยุธยา มารดา ของเจ้ า ขรั ว เงิ น เป็ น น้ อ งภรรยาเจ้ า พระยา ช�ำนาญบริรักษ์ เจ้าขรัวเงินมีฐานะมั่งคั่งมาก ส่วนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงอภิเษกกับสตรีในตระกูลใหญ่ที่ สืบเชื้อสายมอญ มีฐานะทางเศรษฐกิจดีและ มีอ�ำนาจทางการเมืองท้องถิ่นในเมืองอัมพวา แถบนั้นมักจะได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมือง เช่น พระยาสมุทรสงคราม (แจ่มจันทร์) ครั้งกรุง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ตาของสมเด็ จ พระอมริ น ทรา บรมราชิ นี พระยาอมริ น ทราฤาชั ย (เสม) ผู้ว่าเมืองราชบุรีสมัยกรุงศรีอยุธยา บิดาของ เจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง) เป็นหลานร่วม ปู่ย่ากับกรมสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี และกรมหลวงนรินทรเทวี (กุ) น้องสาวต่าง มารดาของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุ ฬ าโลกมหาราชสมรสกั บ กรมหมื่ น นริ น ทร พิทักษ์ (มุก) ผู้เป็นบุตรเจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล) แห่งตระกูลพราหมณ์ที่รับราชการเป็น เสนาบดีผใู้ หญ่มาหลายช่วงและเจ้าพระยามหา สมบัติเป็นอาของเจ้าพระยาช�ำนาญบริรักษ์ ในรัชกาลสมเด็จพระบรมชนกนาถเกิดเรือ่ ง บาดหมางระหว่างวังหน้ากับวังหลวง พระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย จึ ง เสด็ จ ไป ยังพระราชวังบวรสถานมงคล ได้สร้างความ ย�ำเกรงในบรรดาข้าราชการฝ่ายพระราชวัง บวรสถานมงคล ท�ำให้ปญ ั หาหมดไป กรณีเช่นนี้ ท�ำให้ทรงตระหนักถึงความส�ำคัญของอ�ำนาจ พระบรมวงศานุวงศ์ ได้ทรงหาทางแก้ไข ขณะ ทรงรับราชการในราชส�ำนักทรงดูแลงานต่าง พระเนตรพระกรรณอย่างใกล้ชดิ จึงทรงเรียนรู้ 14

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุ ฬ าโลกมหาราชไปราชการสงครามตั้ ง แต่ พระชนมพรรษา ๘ พรรษา ตราบกระทั่ ง พระชนมพรรษา ๓๐ พรรษา รวม ๑๑ ครัง้ ช่วง ระหว่าง ๘ ถึง ๑๕ พรรษา ๗ ครั้ง เริ่มตั้งแต่ขึ้น ไปรบพม่าที่เชียงใหม่ กลับลงมารบพม่าที่บ้าน บางแก้วเขาชงุ้มเมืองราชบุรี กลับขึ้นไปรักษา เมืองเชียงใหม่ครั้งที่ ๒ มารบศึกอะแซหวุ่นกี้ ที่เมืองพิษณุโลก จากนั้นเสด็จไปปราบเมือง นางรอง เมืองนครจ�ำปาศักดิ์ และกรุงศรีสัต นาคนหุต ระหว่างพระชนมพรรษา ๑๕ ถึง ๓๐ พรรษา ๔ ครั้ง คือ ศึกลาดหญ้าศึกท่าดินแดง ศึ ก ตี เ มื อ งทวาย และเตรี ย มตี ก รุ ง อั ง วะ โดยเฉพาะศึ ก ตี เ มื อ งทวายทรงรั บ ต� ำ แหน่ ง ยกกระบัตรทัพ การเดินทัพครั้งนี้ล�ำบากและ กันดารมาก ช้างศึกต้องเดินไต่สันเขาทีละตัว ถล�ำตกเขาตายเป็นจ�ำนวนไม่น้อย ท�ำให้ทรง รอบรู้เข้าพระทัยยุทธศาสตร์การสงครามและ การป้องกันบ้านเมือง เริ่มตั้งแต่การจัดเตรียม กองทัพ ยุทธวิธีการรบ ปัญหาหลากหลายใน กองทัพ เช่น ทหารติดฝิ่น การส่งเสบียง การ ข่าวเพื่อหาความเคลื่อนไหวของศัตรู เป็นต้น

การเรียนรู้เรื่อง จัดระเบียบสังคม และเศรษฐกิจ การศึกสงครามในแผ่นดินพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช ท� ำ ให้ ไพร่ คือพลเมืองต้องรับภาระหนัก จึงพากัน หลบหนี ทรงตราพระราชก�ำหนดสักเลกและ โปรด ฯ ให้ มู ล นายเกลี้ ย กล่ อ มไพร่ ที่ ห ลบ หนี ก ระจั ด กระจายอยู ่ ใ ห้ ม ารั บ การสั ก โดย ไม่ ก� ำ หนดว่ า จะสั ก เป็ น ไพร่ ช นิ ด ใด ตามใจ มู ล นาย เพื่ อ จู ง ใจมู ล นายให้ ห าเลกมาสั ก ได้ ม าก ๆ ซึ่ ง การสั ก เลกครั้ ง นี้ ไ ม่ ไ ด้ ผ ลนั ก เนื่องจากเจ้าเมืองไม่เป็นใจช่วยข้าหลวงเกลี้ย กล่อมไพร่ในเมืองของตนให้มารับการสัก จึง สักเลกไม่ได้ตามก�ำลังแท้จริงของมูลนาย เห็น ได้จากกรณีขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชกับเจ้าเมือง นครศรีธรรมราช (หนู) เรือ่ งสักเลกแม้วา่ จะทรง ลดเวลารับราชการของไพร่หลวงลงเหลือปีละ ๔ เดือนก็ตามไพร่กย็ งั หลบหนี พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงตระหนักถึงการ ดูแลไพร่อย่างยิ่ง เพราะไพร่เป็นก�ำลังส�ำคัญ

เศรษฐกิ จ ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนั้น สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ทรงท� ำ การค้ า ส่ ว นพระองค์ จั ด สิ น ค้ า ฝาก ส�ำเภาหลวงไปจ�ำหน่ายเมืองจีน แล้วซื้อสินค้า จากจีนกลับมา ทรงมีเรือส�ำเภาท�ำการค้าต่าง ประเทศ ทรงควบคุมการจัดสินค้าต่างประเทศ ทรงควบคุมการจัดสินค้าลงเรือด้วยพระองค์ เอง ทรงให้ความส�ำคัญของการค้าส�ำเภา และ การค้าขายกับต่างประเทศรวมทั้งรายได้เพื่อ ท�ำนุบ�ำรุงแผ่นดิน

พระราชด�ำริเกี่ยวกับการ ปกครองบ้านเมือง พระราชด�ำริเกี่ยวกับการปกครองภายใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ เ กี่ ย วกั บ การปกครอง เพื่ อ ความสงบสุ ข และความมั่ น คง ทรง ปกแผ่ พ ระมหากรุ ณ ามากกว่ า ใช้ พ ระราช อ�ำนาจ ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ดังเห็นได้จากพระบรม ราโชวาทว่าด้วยหลักการปกครองพระราชทาน แก่พระยานครศรีธรรมราช (น้อย) เป็นกฎใน การปกครองบ้านเมือง ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม


พระราชด�ำริเกี่ยวกับการต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงวางนโยบายแบ่ ง แยกและปกครอง ดั ง ปรากฏในการปกครองหัวเมืองประเทศราช ส่วนการต่างประเทศทรงด�ำเนินนโยบายด้วย การท�ำสงครามการทูต และการค้า

พระราชกรณียกิจในการ ปกครองบ้านเมือง การบริหารราชการแผ่นดิน การใช้ความ สัมพันธ์ระบบเครือญาติและระบบอุปถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงน�ำประสบการณ์ความสัมพันธ์ระบบเครือ ญาติและระบบอุปถัมภ์จากพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชมาด�ำเนิน การสร้างความมั่นคงในราชบัลลังก์ การแต่ง ตั้งขุนนางเสนาบดีต�ำแหน่งส�ำคัญและเจ้านาย ทรงกรมก� ำ กั บ ราชการ ทรงเลื อ กสรรพระ ประยูรญาติและขุนนางที่ใกล้ชิดไว้วางพระ ราชหฤทัย ตั้งแต่ครั้งทรงด�ำรงต�ำแหน่งกรม พระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

15


๒๖ ปี

ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

น่วยงานส�ำคัญอีกหน่วยงานหนึง่ ที่ เป็นหน่วยขึ้นตรงของส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ที่มีหน้าที่ หลักในงานด้านเลขานุการและงานด้านการ ประชาสั ม พั น ธ์ หลายคนคงรู ้ จั ก ส� ำ นั ก งาน เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ตลอดระยะเวลา ๒๖ ปี ที่ผ่านมา ส�ำนักงาน เลขานุการได้มีการพัฒนาศักยภาพและเติบโต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง ในส่ ว นของบุ ค ลากรและ วิสัยทัศน์การบริหารจัดการที่มีขอบเขตและ รูปแบบของงานโครงการต่าง ๆ ตามนโยบาย ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและความเปลี่ ย นแปลงของ สภาพสังคมปัจจุบัน จากภารกิ จ งานด้ า นเลขานุ ก ารและงาน ด้ า นการประชาสั ม พั น ธ์ ท� ำ ให้ ส� ำ นั ก งาน เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้ มี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากร เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันสมัย อยู่เสมอ รองรับภารกิจและสร้างความเชื่อ มั่นให้กับผู้บังคับบัญชา โดยเฉพาะในปัจจุบัน งานประชาสัมพันธ์ของกระทรวงกลาโหมได้

16

มีความเชื่ อ มโยงกั บงานปฏิ บัติ ก ารจิ ต วิ ท ยา และงานกิ จ การพลเรื อ น เช่ น เดี ย วกั บ งาน ด้านเลขานุการ ที่ต้องเกี่ยวข้องกับการรับรอง ผู้บังคับบัญชาและงานพิธีต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้ ความละเอียดรอบคอบ ทั้งในการประสานงาน

และการปฏิบตั ติ อ่ หน่วยข้างเคียง ซึง่ ส�ำนักงาน เลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้ด�ำเนินการจนภารกิจต่าง ๆ ส�ำเร็จลุล่วง ไปได้ด้วยดี ส� ำ หรั บ ผลการปฏิ บั ติ ง านในปี ที่ ผ ่ า นมา ในด้านการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของคนในชาติ แ ละฟื ้ น ฟู ป ระชาธิ ป ไตย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมโดยส�ำนักงาน เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้สร้างสรรค์กิจกรรมโครงการและงานพิเศษ ที่อ�ำนวยประโยชน์ต่อสังคม อาทิ โครงการ จิตส�ำนึกรักเมืองไทย เป็นโครงการต่อเนื่อง ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมด�ำเนิน การโดยส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ต่ อ เนื่ อ งมาแล้ ว ๖ ปี เริ่มด�ำเนินโครงการตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ภายใต้ โครงการสร้างจิตส�ำนึกในการป้องกันประเทศ และรักษาความมั่นคงของชาติ ด้วยการเสริม สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติผ่าน กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคม ในกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ การเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของ

กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


คนในชาติ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาในสถาบันการศึกษาได้สร้างสรรค์ ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้ด�ำเนินโครงการ “สถานี วิทยุสีขาว เทิดไท้องค์ราชา” ขึ้น ตามโครงการ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ และฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยเป็นการขยาย ผลการพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยวิ ท ยุ กระจายเสียง เพื่อความมั่นคงในเครือข่ายของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้สามารถ สนับสนุนโครงการสร้างความปรองดองของ คนในชาติ โดยสานรวมความจงรักภักดีของ ปวงชน ชาวไทยทีม่ ตี อ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ด�ำเนินการจัดกิจกรรม “สัมมนาสื่อมวลชน สัญจร” ตามโครงการสร้างจิตส�ำนึกในการ ป้ อ งกั น ประเทศและรั ก ษาความมั่ น คงของ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างสื่อมวลชนกับส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ในระดับผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิ รวมทั้งเป็นการสร้างความเข้าใจให้สื่อมวลชน ได้รับทราบถึงนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมถึง การปฏิ บั ติ ง านของทหารในพื้ น ที่ ใ นภารกิ จ ด้านความมั่นคงและการเตรียมความพร้อมใน การเข้าสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

17


นอกจากนี้ ยั ง ได้ ด� ำ เนิ น การจั ด การอบรม สัมมนา “สถานีวิทยุกระจายเสียงสาธารณะ ด้ า นความมั่ น คงเครื อ ข่ า ยส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม “ตามแผนงานโครงการ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในการป้ อ งกั น ประเทศและ รักษาความมั่นคงของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทาง ข้อก�ำหนดในการประกอบกิจการวิทยุกระจาย เสี ย งสาธารณะด้ า นความมั่ น คง เครื อ ข่ า ย ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม รวมทั้ ง

18

การจั ด กิ จ กรรมสาธารณะที่ เ ป็ น รู ป ธรรม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสมหามงคลฉลอง พระชนมายุ ๕ รอบ ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ และยั ง ได้ จั ด ท� ำ บั น ทึ ก ความเข้ า ใจร่ ว มกั น ในการบริหารจัดการสถานีวิทยุกระจายเสียง สาธารณะด้านความมั่นคง เครือข่ายส�ำนักงาน ปลั ด กระทรวงกลาโหม เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบ ในการบริหารจัดการสถานีวิทยุกระจายเสียง ในเครือข่ายต่อไป

จากผลการด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมาแสดงให้ เห็นถึงการพัฒนาองค์กร ทั้งในด้านการน�ำองค์ ความรู้ ประสบการณ์และการบริหารจัดการ ที่ มุ ่ ง เน้ น มาตรฐานและผลสั ม ฤทธิ์ ข องงาน มาด�ำเนินการ ส่งผลให้ส�ำนักงานเลขานุการ

กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ภายใต้ ความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจของก�ำลังพลทุก คน ตอบสนองและปฏิบัติภ ารกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ต่อเนื่องทันเหตุการณ์และทัน เวลา ทั้ ง ยั ง เป็ น สื่ อ กลางในการสร้ า งความ เชือ่ ถือ ศรัทธา ระหว่างส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหมกับพีน่ อ้ งประชาชนได้เป็นอย่างดี และ ในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ นี้ เป็นโอกาสอันดี ทีส่ ำ� นักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ด�ำเนินงานมา จนครบรอบปีที่ ๒๖ ซึ่ง ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม จะมุ่งมั่นพัฒนาศักยภาพ และปฏิบัติ ภารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า งเต็ ม ก� ำ ลั ง ความสามารถ โดยมี พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ ส�ำหรับกิจกรรม วั น คล้ า ยวั น สถาปนาส� ำ นั ก งานเลขานุ ก าร ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมครบรอบ ปี ที่ ๒๖ นี้ ก� ำ หนดจั ด ในวั น ศุ ก ร์ ที่ ๒๗ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๘ โดยมี พิ ธี สั ก การะ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ นศาลาว่ า การกลาโหม และ พิธีสงฆ์ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี จากนั้นก�ำลังพล จะไปลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ณ อาคารศิ ริ ร าช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

19


การเตรียมการและสนับสนุน การแก้ ไขปัญหาภัยแล้ง ของ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม ส�ำนักงานโฆษกกระทรวงกลาโหม

• กระทรวงกลาโหม โดยศู น ย์ บ รรเทา สาธารณภั ย กระทรวงกลาโหมเป็ น หน่ ว ย สนั บ สนุ น ภารกิ จ ของรั ฐ ในการป้ อ งกั น และ แก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติตามมาตรา ๘ (๓) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ระเบี ย บราชการ กระทรวงกลาโหม พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ เป็นหน่วยสนับสนุนตามแผนการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ได้เตรียมพร้อม สนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น การป้ อ งกั น และแก้ ไ ข ปั ญ หาภั ย แล้ ง ตามนโยบายของรั ฐ บาล มาอย่างต่อเนื่อง พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม พร้ อ มด้ ว ย พลเอก อุ ด มเดช สี ต บุ ต ร รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การ กระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก มีความห่วงใยผลกระทบต่อภัยแล้งที่จะเกิด ขึ้นกับประชาชนอย่างมาก โดยได้ก�ำชับและ สั่ ง การในทุ ก การประชุ ม ให้ ห น่ ว ยขึ้ น ตรง กระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพ เตรียมการ และปฏิ บั ติ ต ามแผนบรรเทาสาธารณภั ย กระทรวงกลาโหม โดยให้ ป ระสานงานกั บ ทุ ก ส่ ว นราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ รั บ ทราบ แผนงานของแต่ ล ะหน่ ว ย ในการสนั บ สนุ น 20

การแก้ไขปัญหาภัยแล้งปี ๒๕๕๘ ของศูนย์ บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม ให้เป็น ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการประสาน สอดคล้องกันในภาพรวมของประเทศ เพื่อให้ การช่วยเหลือครอบคลุมและเข้าถึงทุกพื้นที่ • แผนบรรเทาสาธารณภั ย กระทรวง กลาโหม ได้ แ บ่ ง มอบความรั บ ผิ ด ชอบให้ หน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพ อันประกอบไปด้วยส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ในการจัดตั้ง ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยขึน้ โดยแบ่งมอบพืน้ ที่ รับผิดชอบตามที่ตั้งของหน่วยต่าง ๆ ในพื้นที่ จนถึงระดับอ�ำเภอ โดยให้น�ำศักยภาพและ ขี ด ความสามารถของหน่ ว ยมาใช้ ใ นการ สนั บ สนุ น การแก้ ไ ขปั ญ หาของประเทศ ที่ เ กิ ด จากภั ย พิ บั ติ ซึ่ ง ได้ ก� ำ หนดการปฏิ บั ติ สนับสนุนการแก้ไขปัญหาภัยแล้งของรัฐบาลใน ๒ ลักษณะคือ การช่วยเหลือเชิงป้องกันและ การช่วยเหลือเฉพาะหน้า ๑. การช่วยเหลือเชิงป้องกัน ซึ่งเป็นการ ด�ำเนินการก่อนที่จะเกิดภัยแล้ง โดยกระทรวง กลาโหม ได้น�ำก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ

โดยเฉพาะทางการช่าง มาด�ำเนินการตามแผน งานและนโยบายของรัฐบาลในโครงการต่าง ๆ ล่วงหน้ามาแล้ว ตามการแจ้งเตือนมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ อาทิ โครงการขุดลอกคูคลอง โครงการ สร้างฝาย โครงการขุดบ่อน�้ำบาดาล โครงการ พั ฒ นาบ่ อ น�้ ำ บาดาล โครงการก่ อ สร้ า งถั ง เก็บน�้ำ โครงการก่อสร้างระบบผลิตน�้ำประปา โครงการก�ำจัดผักตบชวา โครงการปลูกป่า และโครงการปลู ก ป่ า ชายเลน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ประชาชนได้มแี หล่งน�ำ้ ธรรมชาติสำ� หรับการใช้ ประโยชน์ในพืน้ ทีอ่ ย่างทัว่ ถึง โดยเฉพาะพืน้ ทีๆ่ เคยได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ดังตัวอย่างที่ ได้ด�ำเนินการไปแล้ว เช่น • ได้ด�ำเนินการขุดลอกคลองตามโครงการ ขุ ด ลอกแหล่ ง น�้ ำ จ� ำ นวน ๒๖๐ โครงการ นอกจากนี้ยังได้สนับสนุนยุทธศาสตร์ของคณะ กรรมการนโยบายน�้ ำ และอุ ท กภั ย แห่ ง ชาติ โดยการสร้างฝายชะลอน�้ำแบบถาวร แบบกึ่ง ถาวร และแบบผสมผสาน รวมจ�ำนวน ๕,๐๔๗ แห่ง การปลูกหญ้าแฝก จ�ำนวน ๓.๘ ล้านต้น การปรับปรุงสภาพล�ำน�้ำในพื้นที่จังหวัดต้นน�้ำ กลางน�ำ้ และปลายน�ำ้ รวม ๒๔ จังหวัด ในพืน้ ที่ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ซึ่ง ช่วยให้สามารถเพิ่มศักยภาพในการรองรับน�้ำ ได้ประมาณ ๓๔ ล้านลูกบาศก์เมตร หรือเพิ่ม ขึ้นร้อยละ ๔๐ นอกจากนี้ยังได้ด�ำเนินการตาม แผนงานประจ�ำปีของหน่วย ได้แก่ การขุดลอก บ่อกักเก็บน�้ำ การขุดบ่อน�้ำบาดาล การพัฒนา บ่อบาดาล การขุดลอกคูคลอง การสร้างฝาย น�้ ำ ล้ น และการแจกจ่ า ยภาชนะกั ก เก็ บ น�้ ำ เป็นต้น • โครงการพลิกฟื้นผืนป่าด้วยพระบารมี ปลูกต้นไม้ สร้างฝาย ขยายคูคลอง ซึ่งสามารถ ปลู ก ต้ น ไม้ ไ ด้ ๓๔,๖๑๓ ไร่ สร้ า งฝายได้ ๔๕,๖๗๕ ฝาย และ ปลู ก ป่ า ชายเลนได้ ๒๔,๐๗๐ ไร่ ด�ำเนินโครงการฟื้นคืนผืนป่า แนวชายแดน ซึ่งสามารถปลูกต้นไม้ได้ ๑,๒๒๐ ไร่ สร้างฝาย ๙๙๓ ฝาย และปลูกหญ้าแฝก ๑,๖๕๐,๐๐๐ ต้น ด�ำเนินโครงการฟื้นฟูป่า ต้นน�้ำเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ ส�ำนักงานโฆษกกระทรวงกลาโหม


พระบรมราชินีนาถ ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ มีเป้าหมายน�ำร่องฟื้นฟูป่าต้นน�้ำ ๖,๔๕๐ ไร่ ด�ำเนินโครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน�้ำ ตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน การบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ ได้ขุดลอกคูคลองเสร็จเรียบร้อย แล้ว ส่งผลให้ระบบการระบายน�้ำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔๐ - ๙๐ ช่วยแก้ไขปัญหา น�้ำท่วมและภัยแล้ง • ได้ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้ ขี ด ความสามารถของ ก�ำลังทางอากาศ มาใช้ในการสนับสนุนการ แก้ปัญหาภัยแล้ง ทั้งในเชิงป้องกันและการ ช่วยเหลือเฉพาะหน้า อาทิ การใช้อากาศยาน โปรยเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าลงในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม การใช้อากาศยานสนับสนุนกรมฝนหลวงและ การบินเกษตรในโครงการฝนหลวง ซึ่งในปี ๒๕๕๗ นี้ ได้ปฏิบัติการฝนหลวงตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ การจัด เตรี ย มอากาศยานพร้ อ มติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ถ ่ า ย ภาพ ส� ำ หรั บ การบิ น ลาดตระเวน การถ่ า ย ภาพทางอากาศ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบ การวางแผนช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง รวมทั้ง สนับสนุนการใช้อากาศยานดับไฟป่า ซึ่งใน ปัจจุบันกองทัพอากาศได้จัดเครื่องบิน BT-67 เครื่ องบิ น AU-23 และ Alphajet ปฏิบัติ ภารกิจการบินฝนหลวงร่วมกับส�ำนักฝนหลวง และการบินเกษตร สนับสนุนกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ โดยจัดตัง้ ฐานปฏิบตั กิ ารฝนหลวง ณ กองบินต่าง ๆ ทั่วประเทศ และโรงเรียน การบิน รวมทั้งท�ำการบินโปรยน�้ำเพื่อสลาย หมอกควัน และการบินควบคุมไฟป่า สนับสนุน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังท�ำการบินลาดตะเวนทางอากาศ เพือ่ ส�ำรวจพืน้ ทีป่ ระสบภัยแล้ง โดยกองบิน ๔๖ จังหวัดพิษณุโลกจะเป็นฐานปฏิบัติการหลักใน การปฏิบัติภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาภัย แล้ง และอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้บริเวณพื้นที่ ต้นน�้ำของภาคเหนือตอนล่าง ๒. การช่ ว ยเหลื อ เฉพาะหน้ า เป็น การ ช่วยเหลือเมื่อภัยแล้งเกิดขึ้น โดยหน่วยทหาร ในพื้นที่ซึ่งได้รับการแบ่งมอบตามแผนบรรเทา สาธารณภัย กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วย สนับสนุน ส�ำหรับการสนับสนุนส่วนราชการ และช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยแล้งใน ปี ๒๕๕๗ ที่ผ่านมานั้น ได้แจกจ่ายน�้ำเพื่อ การอุ ป โภคและบริ โ ภคให้ กั บ ประชาชนที่ ประสบภัยแล้งในพื้นที่ต่าง ๆ ไปเป็นจ�ำนวน ประมาณ ๓๒ ล้านลิตร ส�ำหรับสถานการณ์ ภัยแล้งตั้งแต่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา มี ๓๐ อ�ำเภอในพืน้ ที่ ๘ จังหวัด ได้รบั ผลกระทบ จากปั ญ หาภั ย แล้ ง ซึ่ ง หน่ ว ยขึ้ น ตรงศู น ย์ บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม และ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยเหล่าทัพได้ช่วยเหลือ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

บรรเทาความเดือดร้อนด้วยการน�ำรถบรรทุก น�้ำไปแจกจ่ายน�้ำในพื้นที่ต่าง ๆ รวมปริมาณ น�้ ำ จนถึ ง ปั จ จุ บั น ประมาณ ๑ ล้ า นลิ ต ร นอกจากนี้ ยั ง เตรี ย มความพร้ อ มให้ ก าร สนับสนุนอากาศยานในการท�ำฝนหลวงและ การป้องกันไฟป่าและหมอกควัน ที่อาจเกิด ขึ้น โดยได้มีการประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด โครงการ “ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจ ช่วยภัยแล้ง” ซึ่งเป็นโครงการช่วย เหลือผู้ประสบภัยแล้งด้วยการน�ำน�้ำอุปโภค บริโภคไปแจกจ่ายให้กับประชาชนโดยความ ร่วมมือ ๕ หน่วยงาน ได้แก่ กองทัพบก การ ประปานครหลวง การไฟฟ้านครหลวง กรม ทรัพยากรน�้ำบาดาล และกลุ่มบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นโครงการที่ด�ำเนินการ มาอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี โดยการแจก จ่ายน�้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคประมาณ ๒๗ ล้านลิตร ให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีท่ ปี่ ระสบ ภัยแล้งกว่า ๒๐ จังหวัด ส�ำหรับปี ๒๕๕๘ นี้ พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงกลาโหม และผู้บัญชาการทหารบก ได้ เ ป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด โครงการไป เมื่ อ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๘ โดยจะมีการด�ำเนินการ ไปจนถึง ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ หรือจนกว่า สถานการณ์ภัยแล้งจะคลี่คลาย • ใช้เรือระบายพลขนาดใหญ่ลำ� เลียงน�ำ้ จืด ไปแจกจ่ายในพื้นที่เกาะต่าง ๆ เช่น เกาะกูด และ เกาะหมาก เป็นต้น นอกจากนี้ในช่วงที่ ผ่านมาจากกรณีน�้ำทะเลหนุนจนส่งผลกระทบ ต่ อ การผลิ ต น�้ ำ ประปานั้ น ศู น ย์ บ รรเทา สาธารณภัย กองทัพเรือ ได้จัดเรือผลักดันน�้ำ เพื่อผลักดันน�้ำทะเล ด้วยการสนับสนุนด้าน อื่น ๆ นอกจากนี้ ยังได้ใช้วิทยุในเครือข่ายของ กระทรวงกลาโหม และวิ ท ยุ ส าธารณะใน เครือข่ายความมั่นคง สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้กับประชาชนต่อภัยแล้งและผลกระทบที่ จะเกิดขึ้น เช่น โรคที่อาจเกิดขึ้นจากภัยแล้ง ไฟป่า เป็นต้น รวมทั้ง รณรงค์ให้ประชาชน ร่วมกันใช้น�้ำอย่างประหยัดและเห็นคุณค่า • ศู น ย์ บ รรเทาสาธารณภั ย กระทรวง กลาโหม ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ และ การมี ส ่ ว นร่ ว มของภาคประชาชนในการ แก้ ไ ขปั ญ หาสาธารณภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ ต่ า ง ๆ ของประเทศ จึ ง ได้ พั ฒ นาและ

เสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยภาคพลเรื อ นเพื่ อ การ ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ขึ้ น ศู น ย์ บรรเทาสาธารณภั ย กระทรวงกลาโหม ได้น�ำเทคโนโลยี Application บนโทรศัพท์ เคลื่อนที่ คือ LINE มาจัดตั้งกลุ่ม “ศบภ.กห. พลเรือน - ทหาร” เพื่อเป็นช่องทางหนึ่งใน การติดตามสถานการณ์สาธารณภัยในพื้นที่ ต่ า งๆ ของประเทศ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ส ่ ว นกลาง สามารถให้การสนับสนุนหน่วยในพื้นที่ต่าง ๆ ได้อย่างทันต่อสถานการณ์ นอกจากนี้ ยังได้ ประสานขอความร่วมมือกับ ศูนย์เทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ (เนคเทค) ในการพั ฒ นาเว็ ป ไซต์ เ พื่ อ การ รวบรวมและติดตามสถานการณ์สาธารณภัย รวมทั้งการแจ้งขอรับการสนับสนุนจากทหาร และการแจ้ ง เตื อ นสถานการณ์ ส าธารณภั ย ด้วย ซึ่งในอนาคตหลังจากที่ผลการทดสอบ ได้ผลตามที่ตั้งไว้แล้ว ก็จะมีการเปิดให้บริการ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อไป ซึ่ง จะน�ำมาใช้ในการติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง และการรายงานผลการปฏิบัติของหน่วยทหาร ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ด้วยขีดความสามารถด้านการ แพทย์และสาธารณสุข รวมถึงการประสานงาน อย่างใกล้ชิดระหว่างแพทย์ทหารกับกระทรวง สาธารณสุข ท�ำให้การช่วยเหลือประชาชนที่ ประสบปัญหาโรคที่เกิดในช่วงฤดูแล้งที่ผ่าน มาเป็นไปได้อย่างดี ส�ำหรับภัยแล้งในปี ๒๕๕๘ นัน้ หน่วยแพทย์ทหารมีความพร้อมในการออก ไปให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย สุ ด ท ้ า ย นี้ จึ ง ข อ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก สื่ อ มวลชนทุ ก ท่ า นในการประชาสั ม พั น ธ์ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนเกิดความเข้าใจต่อ สถานการณ์สาธารณภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อ ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก ด้วยการติดตาม และใช้ ข ้ อ มู ล จากส่ ว นราชการที่ มี ห น้ า ที่ ที่ เกี่ยวข้องโดยตรง ในการน�ำเสนอข่าว และ สร้ า งการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนในการ สนั บ สนุ น ทั้ ง เชิ ง ป้ อ งกั น และการแก้ ป ั ญ หา เฉพาะหน้าร่วมกัน ต่อไป

21


จีนกับการก้าวสู่ความเป็น มหาอ�ำนาจ พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ

นขณะที่โลกก�ำลังจับตามองการก้าว ขึ้นสู่ความเป็น "มหาอ�ำนาจ" ของจีน ทั้งทางการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมอยู่นั้น จีนเองก็ตระหนัก ดี ว ่ า การเติ บ โตของตนก� ำ ลั ง กลายเป็ น ที่ หวาดระแวงของนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในทวีปเอเชีย ทั้งจากมหาอ�ำนาจดั้งเดิมคือ สหรัฐฯ และมหาอ�ำนาจใหม่ เช่น ญี่ปุ่นและ อินเดีย โดยเฉพาะความวิตกกังวลเกี่ยวกับการ เสริมสร้างแสนยานุภาพทางทหาร ท�ำให้จีน ต้องพยายามแสดงออกให้โลกเห็นว่า ตนไม่ใช่ ภัยคุกคามแต่อย่างใด ดังเช่นมีการก�ำหนด ค�ำขวัญในการพัฒนาก�ำลังรบของตนเองว่า "การเติบโตอย่างสันติ" (a peaceful rise) รวม ทั้งจีนยังประกาศยอมรับกติกาของความเป็น 22

"มหาอ�ำนาจแบบหลายขั้ว" หรือ “โลกหลาย ขั้ว” (multipolar world) อันหมายถึง โลกนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องมีชาติมหาอ�ำนาจเพียงขั้วเดียว หรือสองขั้วเท่านั้น นอกจากนี้จีนยังขนานนาม สหรัฐฯ ว่า "คู่แข่งทางทหารที่เสมือนเพื่อน" (a near peer military competitor) อันเป็น ความพยายามที่จะแสดงให้เห็นว่า จีนมอง สหรัฐฯ ฉันมิตรแม้จะต้องแข่งขันกันก็ตาม การแสดงออกเหล่านี้เป็นความพยายาม ของจีนที่ต้องการแสดงให้ทุกฝ่ายเห็นว่า ตน พร้ อ มที่ จ ะเป็ น มิ ต รกั บ ประเทศต่ า งๆ ทุ ก ประเทศ แม้ในปัจจุบันจีนจะมีปัญหาข้อพิพาท เหนือดินแดนต่างๆ กับหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้ ห วั น มาเลเซี ย และบรู ไ น โดยต่ า งมี ก าร

อ้างกรรมสิทธิเหนือดินแดนที่เป็นข้อพิพาท ทั้งนี้แม้ว่าจีนยังคงยืนยันในยุทธศาสตร์ท่ีเน้น การป้องกันประเทศมากกว่าการรุกราน แต่ เนือ่ งจากดินแดนข้อพิพาททัง้ หมดเหล่านัน้ จีน ถือว่าเป็นดินแดนที่ชอบด้วยกฎหมายของตน จึงจ�ำต้องปกป้องผืนแผ่นดินเหล่านั้นอย่างเต็ม ขีดความสามารถ ยุทธศาสตร์ดังกล่าวจึงส่งผล ให้เกิดการเผชิญหน้าในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม จีนตระหนักดีว่าความขัด แย้งทางด้านการเมืองและการทหารกับนานา ประเทศนั้ น จะเป็ น อุ ป สรรคอั น ยิ่ ง ใหญ่ ต ่ อ การพั ฒ นาประเทศเพื่ อ ก้ า วไปสู ่ ค วามเป็ น มหาอ� ำ นาจของตน ดั ง นั้ น จี น จึ ง หาหนทาง ประนี ป ระนอมและมุ ่ ง พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ กั บ นานาชาติ เ พื่ อ ลดระดั บ ของข้ อ ขั ด แย้ ง พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ


ต่ า งๆ โดยการประนี ป ระนอมดั ง กล่ า วถู ก แสดงออกมาอย่างชัดเจนหลายรูปแบบ โดย เฉพาะกับสหรัฐฯ ที่ดูเหมือนก�ำลังพยายามหา หนทางจ�ำกัดการขยายตัวหรือ "ปิดล้อม" จีน มาตลอดห้วงเวลาที่ผ่านมา โดยด�ำเนินการ ตามนโยบาย "ปรับสมดุลย์" (Rebalancing) ของประธานาธิ บ ดี บ ารั ก โอบามา ในการ หวนกลับมาสู่เอเชียและแปซิฟิค มาตรการ ประนี ป ระนอมของจี น ที่ ป รากฏออกมาคื อ การส่งก�ำลังพลเข้าร่วมการฝึกทางทหารกับ สหรัฐฯ เพื่อลดความหวาดระแวงระหว่างกัน นับตั้งแต่การเข้าร่วมในภารกิจปฏิบัติการด้าน มนุษยธรรมในการฝึกคอบร้าโกลด์ ๑๔ เป็น ครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา และในการฝึกคอบร้าโกลด์ ๑๕ ใน ปีนี้ รวมถึงการส่งกองก�ำลังทางเรือเข้าร่วมการ ฝึก "ริมแพค" (RIMPAC) เป็นครั้งแรกที่มลรัฐ ฮาวาย ประเทศสหรัฐฯ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๗ ซึ่งการฝึกดังกล่าวนับเป็นการฝึก ร่วมทางทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนี้ จี น ยั ง ท� ำ การฝึ ก ทางทหารกั บ สิงคโปร์ ซึ่งเป็นชาติที่ความหวาดระแวงต่อจีน มากที่สุดประเทศหนึ่งในภูมิภาคนี้ ดังจะเห็น ได้จากการสั่งซื้อเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ-๓๕ ของสิงคโปร์ ซึ่งเกิดขึ้นเพียงไม่กี่สัปดาห์ หลัง จากทีจ่ นี ได้เผยโฉมเครือ่ งบินขับไล่แบบ เจ-๓๑ (J-๓๑) ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อแข่งขันกับเครื่อง บินขับไล่แบบ เอฟ-๓๕ โดยเฉพาะ นอกจากนี้ สิ ง คโปร์ ยั ง อนุ ญ าตให้ เ รื อ รบของสหรั ฐ ฯ ใช้ฐานทัพเรือ "ชางงี" ของตนเป็นจุดเทียบท่า ของเรือรบดังกล่าว ระหว่างปฏิบัติภารกิจใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การลดความหวาดระแวง ดังกล่าว จีนจึงได้ท�ำการฝึกร่วมแบบ "ทวิภาคี" ทั้งทางบกและทางทะเลกับสิงคโปร์ โดยการ ฝึกทางทะเลของกองทัพเรือทั้งสองประเทศ มีขึ้นระหว่างวันที่ ๓๐ สิงหาคม ถึงวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๗ ณ เมืองซานเจียงของ จี น และมี ก ารฝึ ก ร่ ว มทางบกภายใต้ ร หั ส "โคออเปอเรชั่ น ๒๐๑๔" (Cooperation 2014) ระหว่างกรมทหารราบที่ ๕ และกองพล ทหารราบที่ ๓ ของกองทั พ บกสิ ง คโปร์ กั บ กองพลน้อยที่ ๑๗๙ และก�ำลังพลจากภูมิภาค ทหารนานจิง (Nanjing) ของจีน ระหว่างวันที่ ๒ – ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๗ ในพื้นที่เมือง นานจิงของจีนอีกด้วย ส� ำ หรั บ ความตึ ง เครี ย ดระหว่ า งจี น และ เวียดนาม ภายหลังจากที่จีนเคลื่อนย้ายแท่น ขุดเจาะน�้ำมัน "ไห่หยาง ชิหยู ๙๘๑" (Haiyang Shiyou 981) หรือที่เวียดนามเรียกว่า "ไฮ ด่วง ๙๘๑" (Hai Duong) เข้าไปในพื้นที่พิพาทใกล้ หมู่เกาะพาราเซลเพื่อท�ำการฝึกซ้อมการใช้ เทคโนโลยีในทะเลลึกเพื่อการขุดเจาะน�้ำมัน หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ระหว่างวันที่ ๒ พฤษภาคมถึง ๑๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๗ จนท�ำให้ชาวเวียดนามโกรธแค้น และออกมาท�ำการประท้วงพร้อมทัง้ เผาท�ำลาย ทรั พ ย์ สิ น ของชาวจี น ไปทั่ ว ประเทศ จี น จึ ง ตัดสินใจย้ายแท่นขุดเจาะน�้ำมันดังกล่าวออก จากพื้นที่พิพาทก่อนก�ำหนด ๑ เดือนเพื่อลด ความตึงเครียดดังกล่าว นับเป็นสิง่ บ่งชีถ้ งึ ความ พยายามของจีนในการลดกระแสต่อต้านลง อย่างเห็นได้ชัด ตามความเป็ น จริ ง แล้ ว การเสริ ม สร้ า ง แสนยานุภาพของกองทัพปลดปล่อยประชาชน จีนนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ หากมีมาเป็นเวลานาน แล้ว โดยสามารถแบ่งออกได้ ๓ ระยะ ระยะ แรกอยู่ในช่วงต้นทศวรรษที่ ๒๔๙๐ ซึ่งเป็น ช่วงที่จีนและสภาพโซเวียตยังมีความสัมพันธ์ ที่ดีต่อกัน แต่ความสัมพันธ์ดังกล่าวก็ถึงจุด เสื่อมทรามอย่างรวดเร็ว เมื่อผู้น�ำของจีนคือ "เมาเซตุง" ประกาศการปฏิวัติทางวัฒนธรรม รวมไปถึงการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรก ส่งผลให้เกิดการขัดแย้งอย่างรุนแรงกับสหภาพ โซเวียตในที่สุด การสร้างแสนยานุภาพของจีนในระยะที่ สองเกิดขึ้นในช่วงของผู้น�ำ "เติ้ง เสี่ยวผิง" ซึ่ง เป็ น ช่ ว งของการก้ า วสู ่ ค วามเป็ น สั ง คมสมั ย ใหม่ของจีน แต่เนื่องจากช่วงนั้นเติ้ง เสี่ยวผิง ต้ อ งการที่ จ ะพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศ ก่อนเป็นล�ำดับแรก ท�ำให้กองทัพต้องพัฒนา แสนยานุภาพบนความขาดแคลน โดยเฉพาะ งบประมาณทางทหารที่ถูกตัดลงจนเหลือต�่ำ กว่าร้อยละ ๑.๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมหรือ "จีดีพี" ส่วนการสร้างแสนยานุภาพครั้งที่สามเกิด ขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ ๒๕๔๐ ซึ่งเป็นห้วง เวลาของสงครามอ่าวเปอร์เซียครัง้ แรก สหรัฐฯ และชาติพันธมิตรต่างขนอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ ทันสมัยเข้าไปท�ำการรบในประเทศอิรัก ท�ำให้ จีนตระหนักดีว่ากองทัพของตนที่มีก�ำลังพล มากมายมหาศาลนั้น ตกอยู่ในภาวะที่ล้าสมัย อย่ า งสิ้ น เชิ ง เมื่ อ เที ย บกั บ สหรั ฐ ฯ และชาติ พั น ธมิ ต รอื่ น ๆ สถาบั น ยุ ท ธศาสตร์ แ ละการ ทหารของจีนจึงได้มีการก�ำหนดแนวคิดที่เรียก ว่า "การปฏิวัติกิจการด้านการทหาร" (RMA : revolution in military affairs) โดยศึกษา การพัฒนาแนวคิดและหลักนิยมของสหรัฐฯ เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนากองทัพ จนถึง ขนาดที่เรียกว่า ".. แปลต�ำราของสหรัฐฯ ทุก ตัวอักษร ..” ในปี พ.ศ.๒๕๓๖ ซึ่งเป็นช่วงของประธานาธิบดีเจียง เจ๋อหมิน (Jiang Zemin) จีนได้ น�ำแนวคิด "การปฏิวัติกิจการด้านการทหาร" บรรจุ ไ ว้ ใ นยุ ท ธศาสตร์ ช าติ และกลายเป็ น หลั ก นิ ย มในการยุ ท ธของจี น ที่ ก� ำ หนดไว้ ว ่ า "สงครามท้ อ งถิ่ น ภายใต้ ส ภาวะเทคโนโลยี

ขั้นสูง” ซึ่งหมายถึง กองทัพจะมุ่งท�ำการรบ ในพื้นที่ที่จ�ำกัด โดยใช้อาวุธยุทโธปกรณ์ที่มี เทคโนโลยี ชั้ น สู ง การรบในลั ก ษณะนี้ จ ะใช้ ระยะเวลาสั้น ท�ำการอย่างรุนแรง เด็ดขาด และจ�ำกัดพื้นที่และจ�ำกัดเป้าหมายทางการ เมื อ ง หลั ก นิ ย มดั ง กล่ า วส่ ง ผลให้ จี น ทุ ่ ม เท ทรัพยากรทุกอย่างไปกับการพัฒนาก�ำลังรบ ทางอากาศ ก�ำลังทางเรือ และกองก�ำลังปืน ใหญ่ที่สอง (Second Artillery Force) ซึ่ง เป็นหน่วยที่มีอาวุธหลักคือ ขีปนาวุธติดหัวรบ นิวเคลียร์ นั่นเอง ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอีกครั้งระหว่างปี พ.ศ.๒๕๔๕ ถึง พ.ศ.๒๕๔๗ เมื่อจีนตระหนัก ดีว่าอาวุธที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงยังไม่เพียงพอ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งแสนยานุ ภ าพของตน เนื่ อ งจากโลกได้ เ คลื่ อ นตั ว เข้ า สู ่ ยุ ค ข้ อ มู ล ข่าวสารที่ทหารทุกนายในแนวหน้าสามารถ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารและเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งไร้ ขีดจ�ำกัด จีนจึงได้มีการประกาศการพัฒนา ระบบสารสนเทศ หรือ C4ISR (Command, Control, Communication, Computer, I : Intelligence, S : Surveillance, R : Reconnaissance) ส่งผลให้กองทัพจีนก้าว เข้าสู่ยุคไซเบอร์เช่นเดียวกับสหรัฐฯ และชาติ ตะวันตกอื่น ๆ จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดข้างต้น เป็นสิง่ ทีแ่ สดง ให้เห็นว่า ในปัจจุบันจีนก�ำลังพัฒนากองทัพ ของตน ให้มีความแข็งแกร่ง มีประสิทธิภาพ และเต็มไปด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อให้ก้าว ทั ด เที ย มกั บ การพั ฒ นาของโลกยุ ค ปั จ จุ บั น แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ป รากฏควบคู ่ กั บ การพั ฒ นา ดังกล่าว คือความพยายามในการหาหนทาง ประนีประนอมเพื่อลดความขัดแย้งต่าง ๆ ที่ อาจจะมีขึ้นได้ เพื่อหลีกเลี่ยงสภาวะการณ์ที่ สุ่มเสี่ยงต่อการเผชิญหน้าระหว่างตนเองกับ ชาติอนื่ ๆ ทัง้ นีเ้ พราะประธานาธิบดี สี จิน้ ผิง ผูน้ ำ� ของจีนตระหนักดีวา่ สงครามและความขัดแย้ง คืออุปสรรคส�ำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจของ จีนและของมวลมนุษยชาตินั่นเอง 23


แนวทางการพัฒนาปฏิบัติการทางทหาร ร่วมกับอาเซียนในภารกิจการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

และการบรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล

ขีดความสามารถของ กองทัพไทยในการปฏิบัติ การร่วมกับนานาชาติใน ภารกิจ HA/DR กองทัพบก ด้านการสนับสนุนของทหารช่าง (Infrastructure Support) เช่น สร้างสะพาน ถนน การค้นหาและช่วยชีวิตแบบ Urban SAR และ Jungle SAR และภัยพิบัติที่มาจากสาร เคมีรั่วไหล (Chemical Leakage) กองทัพเรือ ในการปฏิบัติการนอกประเทศ นั้น กองทัพเรือมีเรือขนาดใหญ่ที่สามารถใช้ เป็นฐานบัญชาการในการควบคุมบังคับบัญชา และการสื่อสาร ขีดความสามารถด้านการเป็น เรือพยาบาล การอพยพและช่วยเหลือผูป้ ระสบ ภัย เป็นฐานบินของเฮลิคอปเตอร์ และเป็นเรือ ขนส่งยุทโธปกรณ์ล�ำเลียงอาหารและเวชภัณฑ์ 24

สนั บ สนุ น หน่ ว ยช่ ว ยเหลื อ ด้ า นบรรเทาภั ย พิบัติและช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมของก�ำลัง กองทัพบกที่ไปปฏิบัติการบนบกได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้จากการที่เรือสามารถปฏิบัติการในทะเล ได้นานท�ำให้กองทัพเรือมีขีดความสามารถใน การด�ำรงอยู่ในสภาวะแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติ การทีป่ ระสบภัยพิบตั ใิ นห้วงวิกฤติหลังภัยพิบตั ิ ซึ่งมีโรคระบาดและผลกระทบต่อเนื่องของภัย พิบตั ิ เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ฝนตกหนัก พายุถล่มในพื้นที่ ตัวอย่างเช่น ภารกิจการช่วย เหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย จากเหตุ ก ารณ์ ค ลื่ น ยั ก ษ์ สึนามิ ในปี ๔๗ ทั้งนี้ล่าสุดกองทัพเรือได้ขึ้น ระวางประจ�ำการเรือหลวงอ่างทองในปี ๕๕ ซึง่ มีภารกิจโดยตรงในการช่วยเหลือประชาชนใน การบรรเทาสาธารณภัย ค้นหาและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยทางทะเล การขนส่งล�ำเลียงทาง ทะเล เรื อ บั ญ ชาการและฐานปฏิ บั ติ ก ารใน ทะเล จึงเป็นเครื่องยืนยันขีดความสามารถ

รองรั บ ภารกิ จ ด้ า นการบรรเทาสาธารณภั ย นอกประเทศในภูมิภาคอาเซียนของกองทัพ เรื อ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง เป็ น แนวคิ ด การใช้ก�ำลังทางเรือเช่นเดียวกับที่ก�ำหนดไว้ ในยุทธศาสตร์ทางเรือของสหรัฐ จีน รวมไปถึง หลายชาติในอาเซียนซึ่งเห็นได้ชัดเจนในการที่ สหรัฐ จีน สิงคโปร์ และมาเลเซียได้น�ำเรือเข้า ร่วมการฝึกทางทหารอาเซียนด้านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบตั ขิ องอาเซียนทีป่ ระเทศ บรูไนในปี ๕๗ ที่ผ่านมา กองทัพอากาศ ด้านการขนส่งล�ำเลียงทาง อากาศ การแพทย์ทหาร การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ฉุกเฉินทางอากาศ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนากองบัญชา การกองทัพไทย ด้านการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย จากตึกถล่ม การสนับสนุนด้านสาธารณูปโภค ทั้งนี้การปฏิบัติการในภารกิจ HA/DR ใน การเข้าช่วยเหลือชาติในอาเซียน ด้วยสภาวะ นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล


รูปแบบในการจัดตั้ง กองก�ำลังอาเซียนด้าน มนุษยธรรมและบรรเทา ภัยพิบัติ (ASEAN HA/ DR Task Forces)

ภาพการฝึกซ้อมบรรเทาภัยพิบตั ิ ในกรอบอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคง ๒๐๑๓ (ARF DiREx 2013) ณ พื้นที่ฝึก อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี แวดล้ อ มภั ย พิ บั ติ ที่ ต ้ อ งการการควบคุ ม ใน ลักษณะ Secure and Control จากโรคติดต่อ ในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารนั้ น เห็น ควรใช้ศัก ยภาพ ของทุ ก กองทั พ ให้ เ ต็ ม ที่ โ ดยกองทั พ บกเป็ น กองก�ำลังหลัก สนับสนุนด้วยกองทัพเรือและ กองทัพอากาศในการล�ำเลียงหรือเป็นฐาน/ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ศูนย์บังคับบัญชา จึงจะสามารถปฏิบัติภารกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรริเริม่ เน้นการฝึก HA/DR ในเวทีการฝึกร่วมกองทัพไทยและการ เข้าร่วมการฝึกร่วมนานาชาติเพื่อเตรียมความ พร้อมกองทัพไทย

ด้ ว ยแนวโน้ ม ภั ย พิ บั ติ ข นาดใหญ่ ส ่ ง ผล กระทบต่อทุกชาติในอาเซียน ดังนั้นทุกชาติ ในประชาคมอาเซี ย นควรต้ อ งปกป้ อ งผล ประโยชน์ร่วมโดยการร่วมมือกันแก้ไขปัญหา ถึ ง จะอยู ่ ร อดและลดความสู ญ เสี ย ต่ อ ชี วิ ต ผูป้ ระสบภัย และผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ มหภาคของอาเซียน จนไปถึงผลกระทบต่อ ผลประโยชน์หรือตลาดการค้าและฐานการ ผลิตของประเทศมหาอ�ำนาจเช่น จีน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ซึ่งเป็นคู่ค้าใหญ่ของอาเซียน ซึ่งได้ ท�ำให้ประเทศเหล่านี้ได้ก�ำหนดนโยบายและ ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้ า น HADR แก่ ป ระเทศอาเซี ย น ทั้ ง นี้ ห ากจะ พิจารณาขีดความสามารถของกองทัพทุกชาติ ในอาเซียนโดยน�ำมารวมเป็นกองทัพอาเซียน (ASEAN Combined Task Force) เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของประชาคมอาเซียนเองแล้ว จะพบว่ากองทัพอาเซียนมีขีดความสามารถ สูงในทุกมิติทั้งกองทัพบก กองทัพเรือและ กองทัพอากาศอาเซียน ซึ่งเพียงพอกับพื้นที่ ปฏิบัติการในภูมิภาคและสามารถน�ำมาใช้ ในการต่อรองกับประเทศมหาอ�ำนาจ การ ป้องปราม และต่อต้านภัยคุกคามในรูปแบบ ต่ า ง ๆ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี โ ดยเฉพาะภารกิ จ ด้าน HA/DR โดยปัจจุบันอาเซียนได้บรรจุ ความร่วมมือระหว่างกองทัพอาเซียนในเรื่อง HA/DR ไว้ในการประชุม ASEAN Defense Ministers’ Meeting-Plus (ADMM Plus) ซึ่งได้มีการพัฒนาการใช้ขีดความสามารถทาง ทหารร่ ว มกั น ผ่ า นการฝึ ก ร่ ว มของอาเซี ย น เช่น การฝึก Humanitarian Assistance & Disaster Relief ณ ประเทศบรูไน และการ ฝึก AHX14 ณ จังหวัดฉะเชิงเทรา ประเทศไทย ซึ่งจะน�ำไปสู่การจัดตั้งระบบ ASEAN Standby Arrangement System และต่ อ ยอด เป็ น ASEAN HA/DR Combined Task Force ในอนาคต ทั้งนี้ ปัญหาส�ำคัญในปัจจุบันคือการจัดท�ำ แนวทางความร่ ว มมื อ ทางทหารในเอกสาร มาตรฐานวิธีการปฏิบัติและระบบเตรียมความ พร้อมด้านการประสานงานการบรรเทาทุกข์ และการตอบโต้สถานการณ์ภัยพิบัติฉุกเฉิน ของอาเซี ย น หรื อ SASOP ซึ่ ง เห็ น ควรจะ ผลักดันให้มีการด�ำเนินการในเวทีการประชุม 25


ในการส่งก�ำลังทหารเข้าร่วมปฏิบัติการรักษา สันติภาพของสหประชาชาติ มาเป็นต้นแบบ ของระบบก� ำ ลั ง เตรี ย มพร้ อ มด้ า น HA/DR ของอาเซียน ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การส่งบัญชี ก�ำลังชุด Stand by Arrangement มาตรฐาน การปฏิบัติงานร่วม การฝึกเตรียมพร้อมกอง ก�ำลัง เป็นต้น รวมทั้งการจัดตั้งคลัง Disaster Relief Logistic System for ASEAN เพื่อ สนับสนุนทุกประเทศอาเซียน ส�ำหรับกองทัพ ไทยแล้ ว การพั ฒ นาขี ด ความสามารถทาง ทหารด้าน HA/DR ควรจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม ส�ำหรับกองทัพไทยในลักษณะเดียวกับศูนย์ สันติภาพจอมทัพไทย เพื่อสร้างบทบาทน�ำใน อาเซียนด้านการให้ความส�ำคัญในเรื่อง HA/ DR รวมทั้งเป็น Focal Point กองทัพไทยตาม SASOP Process โดยเน้นการฝึกสร้างจุดแข็ง พัฒนาเพิ่มในขีดความสามารถของเหล่าทัพ และหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ที่มีอยู่ใน ปัจจุบันและการสร้างเสริมประสบการณ์โดย การส่งก�ำลังทหารไปภารกิจด้านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ สรุปได้ว่าปัจจุบันกองทัพไทยมีความพร้อม ก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ในการรองรับภารกิจ

ภาพความส� ำ เร็ จ ของการฝึ ก ด้ า นการบรรเทาและจั ด การภั ย พิ บั ติ AHX14 ที่ประเทศไทย รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา หรือ ADMM-Plus ๘ ประเทศ คือ สหรัฐฯ จีน รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย โดยให้ประธานร่วมของคณะท�ำงาน ADMM – Plus ในวงรอบปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ ในด้านการ ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัย พิบตั ิ (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว, ญี่ปุ่น) รับผิดชอบจัดการประชุม Workshop หรือจัดการฝึกในลักษณะ TTX รวบรวมข้อคิด เห็นควบคู่ไปกับการฝึกซึ่งจะได้ทั้งภาคทฤษฎี และการทดสอบแนวทางปฏิบัติดังกล่าวผ่าน การฝึก CPX ต่อไป เพื่อให้การปฏิบัติการ ทางทหารของอาเซียนมีแนวทางและกรอบ การปฏิบัติงานร่วมกันที่ชัดเจนรวมไปถึงการ 26

พัฒนาเอกสารการปฏิบัติการทางทหารของ ชาติอาเซียนในเรื่อง HA/DR โดยอาจจะน�ำ เอกสารการปฏิบัติการร่วมนานาชาติ MNF SOP ซึ่งหลายชาติใช้ในการฝึกร่วมกับชาติ พันธมิตรมาพัฒนาให้เป็นเอกสารการปฏิบัติ การร่วมของทหารในอาเซียนเอง ระบบเตรี ย มพร้ อ มด้ า น HA/DR ของ อาเซี ย นควรเป็ น อย่ า งไร ภายใต้ ข ้ อ ตกลง ADMEER ปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี ก ารเสนอจั ด ตั้ ง กองก�ำลังเตรียมพร้อมด้าน HA/DR อาเซียน (HA/DR ASEAN Stand-by Arrangement System) เมือ่ พิจารณาแล้วเห็นว่าควรน�ำระบบ United Nation Stand-by Arrangement System: UNSAS ซึ่งหลายชาติในอาเซียนใช้ นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล


ด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติใน ภูมภิ าคอาเซียนได้อย่างดีอย่างไรก็ตามกองทัพ ไทยควรต้องพัฒนาก�ำลังพลที่จะเข้าไปปฏิบัติ งานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศให้มีความ เป็นมืออาชีพซึ่งหมายถึง ๑. ทีมระดับยุทธวิธี มีประสบการณ์และขีดความสามารถในภารกิจ HA/DR ๒. ที ม วางแผนร่ ว มมี ทั ก ษะและ ความรู้ในการท�ำงานภายในศูนย์ประสานงาน นานาชาติ (Multi -National Coordination Center: MNCC) ซึ่งเน้นการปฏิบัติการร่วม ทหาร - ทหาร และงานการประสานการปฏิบัติ ร่วมกับศูนย์ประสานงานพลเรือน - ทหาร (Civil - Military Coordination Center : CMCC) ซึ่งต้องมีความรู้ในเรื่องกฎหมาย ระหว่างประเทศ กฎหมายด้านมนุษยธรรม เอกสารหลักปฏิบตั กิ ารร่วมนานาชาติทกี่ องทัพ ในอาเซียน องค์กรระหว่างประเทศใช้ปัจจุบัน ได้ แ ก่ ASEAN SASOP, MNF SOP APC MADRO และ Oslo Guidelines ได้เป็น อย่างดี และสุดท้ายคือเครื่องมือ ยุทโธปกรณ์ และการพั ฒ นาทั ก ษะทางภาษาอั ง กฤษให้ ก�ำลังพล “ก้าวต่อไปของกองทัพไทยในประชาคม อาเซียน” จากวิสยั ทัศน์กองทัพไทย “กองทัพ ไทยเป็นกองทัพ ชั้นน�ำในด้านความมั่นคง ของรัฐและอาเซียน” คงเป็นการยืนยันการ วาง Positioning หรือภาพลักษณ์ของกองทัพ ไทยตามหลักการบริหาร (Management) ได้ เป็นอย่างดี ดังนั้นคงจะสามารถตอบค�ำถาม ได้ว่าก้าวต่อไปของกองทัพไทยในประชาคม อาเซียนคือ “การก้าวเป็นกองทัพชั้นน�ำที่มี บทบาทน�ำในภูมิภาคอาเซียน” ซึ่งภารกิจ สนับสนุนการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภั ย พิ บั ติ ห นึ่ ง ในภารกิ จ ในการ รักษาผลประโยชน์ของชาติร่วมกันในภูมิภาค อาเซียน ดังนัน้ Road Map ทีจ่ ะน�ำกองทัพไทย ไปสู่การเป็นหน่วยงานความมั่นคงที่มีบทบาท น�ำในภูมิภาคอาเซียนซึ่งหมายถึงบทบาทน�ำ ทั้งนโยบายและบทบาทน�ำในด้านการปฏิบัติ การทางทหารด้ า น HA/DR เพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ เชื่อมั่นแก่ประชาชนและกองทัพในประชาคม อาเซียน โดยบทบาทน�ำด้านนโยบาย ได้แก่

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

การริเริม่ เสนอมาตรการในการแก้ปญ ั หาส�ำคัญ ของประชาคมอาเซี ย นในการพิ ทั ก ษ์ รั ก ษา ผลประโยชน์ของชาติร่วมกันของทุกชาติผ่าน การประชุมระดับผู้บังคับบัญชาชั้นสูง (Senior Commander) ในเวทีการประชุม รัฐมนตรี กลาโหมอาเซียน (ADMM) และการประชุม ผู ้ บั ญ ชาการเหล่ า ทั พ อาเซี ย น ลงสู ่ ร ะดั บ เสนาธิการ (Staff) ทั้งการประชุมระดับทวิภาคี และพหุภาคี จนพัฒนาเป็นแผนประจ�ำปีกองทัพ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Armed Force Year Plans) ได้แก่ แผนการฝึกร่วมและผสม ทัง้ แผนการเยือนผูบ้ งั คับบัญชา การเยีย่ มเมือง ท่าของหมู่เรือและอากาศยาน การแลกเปลี่ยน การศึกษา การแลกเปลีย่ นการข่าวและส่งก�ำลัง ร่วมกันและที่ส�ำคัญคือแผนการปฏิบัติการทาง ร่วมกันในลักษณะกองทัพอาเซียน ซึ่งควรจะ เริ่มจากการฝึกด้านการบรรเทาภัยพิบัติก่อน เนื่ อ งจากเป็ น ภั ย คุ ก คามร่ ว มกั น มี ค วาม เร่ ง ด่ ว นและเป็ น ความเสี่ ย งที่ มี ผ ลกระทบ รุนแรงต่อชีวิตประชากรและระบบเศรษฐกิจ มหภาคของอาเซียน รวมทั้งเป็นการลดการ หวาดระแวงทางการทหาร ซึ่งได้ริเริ่มขึ้นแล้ว ในการฝึก ADMM Plus ที่ประเทศบรูไนเมื่อ

ปี ๕๖ ส�ำหรับบทบาทน�ำในระดับการปฏิบัติ การทางทหาร คือ กองทัพไทยต้องมีขีดความ สามารถของก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ในการ ปฏิ บั ติ ก ารทางทหารร่ ว มกั บ กองทั พ ในชาติ อาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือความเป็น มืออาชีพนั่นเอง โดยหน่วยเตรียมก�ำลังรบคือ เหล่าทัพ ต้องสร้าง “นักรบไทย” ให้มีความ เชี่ยวชาญทั้งการวางแผนยุทธการไปถึงการ ปฏิบัติงานจริงในระดับยุทธวิธีร่วมกับชาติใน อาเซียนและพันธมิตร ดังนั้นการพัฒนาองค์ ความรู้และการจัดหายุทโธปกรณ์จึงต้องท�ำ ควบคู่ไปกับ “การฝึกอย่างไร รบอย่างนั้น” จึงจะได้ความช�ำนาญและความเป็นทหารมือ อาชีพรวมทั้งการปลูกฝังค่านิยมกองทัพไทย ได้แก่ ทหารอาชีพ ความจงรักภักดี ความกล้า หาญ และ การท�ำงานเป็นทีม เพื่อสร้างความ ภู มิ ใ จในอาชี พ ในการเป็ น ทหารอั น จะน� ำ ไป สู่การมีบทบาทน�ำในกองทัพชาติอาเซียนซึ่ง จะท�ำให้ประชาชนในอาเซียนเกิดความมั่นใจ ในคุณค่าของกองทัพอาเซียน คือ “กองทัพ อาเซี ย นที่ ป ระชาคมอาเซี ย นเชื่ อ มั่ น และ ภาคภูมิใจ” 27


การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

(Climate Change)

พันเอกสุรัตน์ ปราชญากุล

พันเอก สุรัตน์ ปราชญากุล

ปั

จจุบันเรามักจะได้ยินข่าวภัยแล้ง พายุ ฝ นรุ น แรง น�้ ำ ท่ ว ม คลื่ น ความร้อน การระบาดของโรคภัย ต่าง ๆ ที่รุนแรงและบ่อยขึ้นในภูมิภาคต่างๆ ของโลก สื บ เนื่ อ งมาจากการเปลี่ ย นแปลง สภาพภู มิ อ ากาศ (Climate Change) ซึ่ ง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศอัน เป็นผลจากกิจกรรมของมนุษย์ที่เปลี่ยนองค์ ประกอบของบรรยากาศโลกโดยตรงหรือโดย อ้อม และที่เพิ่มเติมจากความแปรปรวนของ สภาวะอากาศตามธรรมชาติที่สังเกตได้ในช่วง 28

ระยะเวลาเดียวกัน ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณน�้ำฝน ฤดูกาล อันเป็นปัจจัยส�ำคัญใน การด�ำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตที่จะต้องปรับตัวให้ เข้ากับสภาพภูมิอากาศในบริเวณที่สิ่งมีชีวิต นั้นอาศัยอยู่ บรรยากาศโลกและสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ ร่วมกันมายาวนาน กระบวนการเปลี่ยนแปลง ต่าง ๆ เกิดขึน้ อย่างช้า ๆ ท�ำให้สงิ่ มีชวี ติ สามารถ ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ได้ แต่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมตั้งแต่ ค.ศ. ๑๗๕๐ เป็ น ต้ น มา ท� ำ ให้ มี ก ารน� ำ พลั ง งานฟอสซิ ล

เช่น ถ่านหิน น�้ำมัน ซึ่งเป็นสารประกอบที่ มีคาร์บอนมาใช้ รวมทั้งเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดิน โดยเฉพาะการตัดไม้ท�ำลาย ป่า สิ่งเหล่านี้ท�ำให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ ฯลฯ เมื่อปล่อยก๊าซดังกล่าว ในบรรยากาศปริมาณมหาศาลอย่างต่อเนื่อง ท� ำ ให้ ภ าวะเรื อ นกระจก (Greenhouse Effect) ซึ่งเป็นภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลก กระท�ำตัวเสมือนกระจก ที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้น จากดวงอาทิ ต ย์ ผ ่ า นลงมายั ง พื้ น ผิ ว โลกได้ พันเอก สุรัตน์ ปราชญากุล


ไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศใน รูปแบบต่างๆ เช่น รูปแบบของลม จ�ำนวน และ ชนิดของไอน�้ำในอากาศ (ฝน ลม หิมะ น�้ำแข็ง) มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่ ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนไปได้ ก็จะค่อย ๆ ตายลงและอาจสูญ พันธุ์ไปในที่สุด ท�ำให้ความสูญเสียความหลาก หลายทางชีวภาพ ส�ำหรับผลกระทบต่อมนุษย์ นั้น อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นอาจท�ำให้บางพื้นที่ กลายเป็นทะเลทราย ผลผลิตการเกษตรลด ต�่ำลง ประชาชนขาดแคลนอาหารและน�้ำดื่ม บางพื้นที่ประสบปัญหาน�้ำท่วมหนักเนื่องจาก ฝนตกรุนแรงขึ้น น�้ ำ แข็ ง ขั้ ว โลกและบนยอดเขาสู ง ละลาย ท�ำให้ปริมาณน�้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น พื้นที่ชายฝั่ง ทะเลได้รับผลกระทบโดยตรง อาจท�ำให้บาง พื้นที่จมหายไปอย่างถาวร การเปลี่ยนแปลง เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการสืบเผ่าพันธุ์ของสิ่ง มีชีวิตในระบบนิเวศตามธรรมชาติ การเกษตร เพื่ อ ผลิ ต อาหารของมนุ ษ ย์ สุ ข ภาพอนามั ย ตลอดจนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความ รุ น แรงของผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลง สภาพภู มิ อ ากาศที่ แ ต่ ล ะประเทศได้ รั บ จะ แตกต่ า งกั น ตามสภาพทางภู มิ ศ าสตร์ และ ปัจจัยเกื้อหนุนอื่น ๆ ดังนั้น ปัญหาด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงเป็นปัญหา ส� ำ คั ญ ที่ ม วลมนุ ษ ยชาติ จ ะต้ อ งร่ ว มมื อ กั น ป้องกัน และเสริมสร้างความสามารถในการ รองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งคาด ว่าจะทวีความรุนแรงขึ้น และสร้างความเสีย หายต่อชีวิต ทรัพย์สิน การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมอย่างมหาศาล ประเทศไทยได้ ศึ ก ษาวิ จั ย ผลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศมากว่ า ๒๐ ปี รวมทั้ ง ได้ ล งนามและให้ สั ต ยาบั น

แต่ จ ะดู ด กลื น รั ง สี ค ลื่ น ยาวช่ ว งอิ น ฟราเรด ที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้ จากนั้นก็จะ คายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายใน บรรยากาศ มีความรุนแรงกว่าที่ควรจะเป็น ตามธรรมชาติ ส่ ง ผลให้ ส มดุ ล ของพลั ง งาน โลกเปลี่ยนแปลงไป อุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ที่เรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global warming) การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ เป็ น ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมทีร่ นุ แรงทีส่ ดุ ทีเ่ ราก�ำลัง เผชิญอยู่ในปัจจุบัน มันเป็นมากกว่าเรื่องของ ความร้อน เนื่องจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นจะน�ำ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ในอนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ ว ่ า ด้ ว ยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยได้ถูกจัด อยู่ในกลุ่ม Non-Annex I คือ ไม่มีพันธกรณี ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เนือ่ งจาก ประเทศไทยปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ในสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับประเทศ อุตสาหกรรม และประเทศก�ำลังพัฒนาอื่น ๆ แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็ น ปรากฏการณ์ ที่ ส ร้ า งผลกระทบอย่ า ง ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยมีสภาวะแวดล้อมและ ภูมิประเทศเป็นตัวก�ำหนด ดังนั้น ผลกระทบที่ ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศจึงไม่ได้นอ้ ยตามสัดส่วนปริมาณก๊าซ เรือนกระจกที่ไทยปลดปล่อย ซึ่งผลกระทบ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย ได้แก่ ๑. น�้ำท่วม โดยในช่วง ๓๐ ปีที่ผ่านมา ไทย มักประสบปัญหาอุทกภัยบ่อยครัง้ โดยส่วนใหญ่ จะเกิดในเขตชุมชนทีต่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ สีย่ งต่อการ เกิดอุทกภัย โดยเฉพาะช่วงหน้าฝน เนื่องจาก ปริ ม าณน�้ ำ มี ม ากกว่ า ที่ กั ก เก็ บ และระบบ ระบายน�้ำยังไม่มีประสิทธิภาพพอ ผลกระทบ จากการเกิ ด น�้ ำ ท่ ว มน� ำ ความเสี ย หายอย่ า ง มหาศาลมาสู่ชีวิตและทรัพย์สินขึ้น โดยท�ำลาย สิ่งที่เป็นโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนนหนทาง สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ท�ำลายพืชผลทางการเกษตร ชะล้างหน้าดินท�ำให้ดินเสื่อมสภาพ เกิดการ ปนเปื้อนของน�้ำ และน�้ำท่วมขังในบางพื้นที่ ยั ง ส่ ง ผลต่ อ การแพร่ ข องโรคระบาดทั้ ง ใน มนุษย์ พืชและสัตว์ และมีการระบาดของแมลง ศัตรูพืชที่ส�ำคัญในการเกษตร ประชาชนต้อง สูญเสียที่ท�ำกิน ต้องอพยพย้ายถิ่นมาท�ำงาน ในเมื อ ง ผลผลิ ต ระดั บ ท้ อ งถิ่ น และระดั บ ประเทศลดลง

กลไกการเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 29


ความเดือดร้อนจากน�้ำท่วม

ผลกระทบจากความแห้งแล้ง

๒. ความแห้งแล้ง สืบเนื่องจากปริมาณ รั ง สี ด วงอาทิ ต ย์ บ ริ เ วณผิ ว โลกสู ง ขึ้ น ท� ำ ให้ อุณหภูมิสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาณน�้ำฝนและการ ระเหยของน�้ำมีการเปลี่ยนแปลง ปริมาณน�้ำใน ล�ำธารและน�้ำใต้ดินลดลงเนื่องจากระเหยแห้ง ไปกับความร้อนที่สูงขึ้นหมด ท�ำให้ปริมาณ ฝนตกน้อยลงหรือทิ้งช่วงเป็นเวลานานในหน้า แล้งและหน้าร้อน ผลคือท�ำให้แหล่งน�้ำตาม ธรรมชาติแห้ง มีผลกระทบต่อการท�ำเกษตร ของไทยซึ่ ง เป็ น ประเทศเกษตรกรรมอย่ า ง ยิ่ง และไม่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของ ประชาชน ๓. ความหลากหลายทางชี ว ภาพ แม้ ประเทศไทยมีความหลากหลายของทรัพยากร มาก แต่ก็มีความเป็นไปได้สูงที่สัตว์และพืช หลาย ๆ สายพั น ธุ ์ ใ นประเทศไทยจะลดลง และสูญพันธุ์ไป เนื่องจากพืชและสัตว์จะรับ สัญญาณจากภูมิอากาศในการเปลี่ยนแปลง วงจรชีวิตให้สมบูรณ์ สามารถสืบทอดขยาย

ความเดือดร้อนจากน�้ำท่วม 30

พันเอก สุรัตน์ ปราชญากุล


พันธุต์ อ่ ไปได้ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นและปริมาณน�ำ้ ฝนที่เปลี่ยนแปลงไป มีผลให้สิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศ รวมถึงป่าไม้ต้องมีการปรับตัวเพื่อให้อยู่ รอดในภาวะทีโ่ ลกร้อนขึน้ ในบริเวณทีร่ ะดับน�ำ้ ลดต�ำ่ ก็มผี ลท�ำให้ความหลากหลายทางชีวภาพ ลดลงเช่ น กั น ส่ ว นพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง จะเกิ ด การ เปลี่ยนแปลงอย่างมาก โดยเฉพาะในบริเวณ ที่เป็นแอ่งเก็บน�้ำหรือทะเลสาบน�้ำตื้น พืชน�้ำ และพืชชุ่มน�้ำโดยรอบจะลดลง ส่งผลกระทบ ต่อการย้ายถิ่นที่อยู่ของสัตว์น�้ำ และการลด ลงหรื อ หายไปของพื ช เกิ ด ความเสื่ อ มถอย ด้านการผลิตชีวมวล หรือแม้แต่การสูญพันธุ์ ของปลา การที่ปริมาณน�้ำและอาณาเขตของ แหล่งน�้ำที่ลดลง ส่งผลให้แหล่งน�้ำกลายเป็น แหล่ ง สะสมธาตุ ที่ ก ระตุ ้ น ให้ ส าหร่ า ยและ วัชพืชน�้ำเจริญในปริมาณมาก ท�ำให้ปริมาณ ออกซิ เ จนในน�้ ำ ลดลง เป็น อัน ตรายต่อสิ่งมี ชีวิตในน�้ำชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้บริเวณที่ฝน ตกหนัก สารมลภาวะที่เป็นกรดในอากาศจะ ถูกชะล้างลงแหล่งน�้ำมากขึ้น ความเป็นกรด นี้ก็มีส่วนท�ำลายความหลากหลายทางชีวภาพ ด้วยเช่นกัน ๔. สุ ข อนามั ย จากการที่ อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย และอุณหภูมิสูงสุดในที่ต่าง ๆ สูงขึ้น เป็นผล ให้มีจ�ำนวนวันที่อากาศร้อนเพิ่มขึ้นและคลื่น ความร้อนรุนแรงขึ้น มีผลต่อสุขภาพอนามัย ของมนุ ษ ย์ ทั้ ง ทางตรง ได้ แ ก่ การเป็ น ลม แดด หรือ Heat stroke และทางอ้อม ได้แก่ การระบาดของโรคมาลาเรียและไข้เลือดออก เนื่องจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นเร่งวงจรชีวิตของ ยุง การเกิดโรคอุจจาระร่วงเนื่องจากอาหาร และน�้ำปนเปื้อนเชื้อจากการกระจายของน�้ำ ผิวดิน และภาวะน�้ำท่วม เกิดภาวะขาดสาร อาหารเนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรตกต�่ำ และท�ำให้มีการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มความอุดม สมบูรณ์ของดินมากขึ้น

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

๕. อุณหภูมิ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ภู มิ อ ากาศ ก็ คื อ ภาวะโลกร  อ นที่ กํา ลั ง เกิ ด สภาพภู มิ อ ากาศ ท� ำ ให้ อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย และ ขึ้นอยูนี้เปนปรากฏการณในระดับโลก และ อุณหภูมิสูงสุดในที่ต่าง ๆ สูงขึ้น ส่งผลให้เกิด คาดวาจะยังคงด�ำเนินตอไปอีกหลายทศวรรษ ความต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อท�ำความเย็น เปนอยางนอย เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงการ สูงขึ้น เกิดการขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ซึ่ง เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศได้ แต่เราสามารถ มีผลกระทบต่อเนื่องถึงปัญหาการขาดแคลน ก� ำ หนดมาตรการเพื่ อ ลดผลกระทบด้ ว ย น�้ำในหน้าแล้ง ที่จะใช้ผลิตไฟฟ้า และอุปโภค การเตรี ย มพร้ อ มและปรั บ ตั ว เข้ า กั บ การ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งปัจจุบัน บริโภค ๖. ระดั บ น�้ ำ ทะเล การเปลี่ ย นแปลงภู มิ ประเทศไทยได้ ใ ช้ แ ผนแม่ บ ทรองรั บ การ อากาศโลกท�ำให้ระดับน�้ำเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ๐.๐๙ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๕– - ๐.๘๘ เมตร มีผลต่อสภาวะคลื่นและการ ๒๕๙๓ (THAILAND Climate Change Master กัดเซาะชายฝั่ง ส่งผลต่อระบบนิเวศชายฝั่ง Plan 2012 – 2050) จัดท�ำโดยส�ำนักงาน ทะเลซึ่งเป็นทั้งทรัพยากรชีวภาพที่ส�ำคัญ และ นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แหล่งประกอบอาชีพของชุมชนชายฝัง่ ผลผลิต แวดล้อม เพื่อรองรับการด�ำเนินงานด้านการ ทางการประมง และเกษตรกรรมบริเวณชายฝัง่ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย รวมไปถึงธุรกิจการท่องเที่ยวซึ่งมีความส�ำคัญ และใช้เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนา ต่อวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และเศรษฐกิจ ศั ก ยภาพของทุ ก ภาคส่ ว นในประเทศให้ ของประเทศ ระดับน�้ำทะเลที่สูงขึ้นยังท�ำให้ สามารถรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง บริเวณชะวากทะเล (Estuary) ที่อยู่ในเขต สภาพภู มิ อ ากาศได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน พื้นที่ต�่ำ จะจมลงและถูกกัดเซาะมาขึ้น บริเวณ ระยะยาว ซึง่ จะชว ยใหภ าคสว นตา ง ๆ สามารถ ปากแม่น�้ำจะเกิดการผันแปรของน�้ำขึ้นน�้ำลง เตรียมตัวหรือปรับตัวเขากับสถานการณใน และมีการรุกล�้ำของน�้ำเค็มเข้าสู่ล�ำน�้ำ เกิดการ อนาคตอยางเหมาะสมได และลดความเสีย เปลี่ยนแปลงต่อการด�ำรงชีวิตของพืชและสัตว์ หายที่จะเกิดขึ้นต่อไป โดยเฉพาะปลา ระดับน�้ำทะเลที่สูงขึ้นและเข้า ท่วมบริเวณที่ลุ่มน�้ำเค็มและป่าชายเลน ส่ง ผลให้บริเวณที่ติดอยู่กับชายฝั่งทะเลของพื้นที่ เอกสารอ้างอิง ดังกล่าวถูกน�้ำทะเลท่วมขัง และกัดเซาะอย่าง ๑. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก การมหาชน) : ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ต่อเนื่อง กระทั่งสูญเสียสภาพทางนิเวศและ (องค์ ภูมิอากาศในระดับโลก, http://www.tgo.or.th/ กลายเป็นแหล่งเสื่อมโทรม นอกจากนี้การเพิ่ม index.php?option=com_content&view= ของระดับน�้ำทะเลยังเป็นสาเหตุน�ำไปสู่การ category&id=36&Itemid=57 เคลือ่ นตัวของน�ำ้ เค็มสูแ่ ผ่นดิน ท�ำให้เกิดปัญหา ๒. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก น�้ำจืดใต้ดินเค็ม ส่งผลกระทบต่อชุมชนที่ต้อง (องค์การมหาชน) : การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ, พึ่งพาแหล่งน�้ำจืดใต้ดิน และยังท�ำให้ชุมชน http://www.tgo.or.th/index.php?option=com_ ชายฝั่งทะเลระบายน�้ำเสียลงสู่ทะเลได้ยากขึ้น ๓. content&view=section&id=5&Itemid=54 กรมอุตุนิยมวิทยา : ความรู้อุตุนิยมวิทยา, www.tmd. ประเด็นสําคัญที่ประเทศไทยควรจะตอง go.th/info/info.php?FileID=86 คํ า นึ ง ถึ ง ในเรื่ อ งการเปลี่ ย นแปลงสภาพ 31


B-24 : Lady be Good From : Air Force Magazine By : John Lowery Composed by : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม

“ลูกเรือเก้าคนของเครื่องบินทิ้งระเบิด ขนาดสีเ่ ครือ่ งยนต์แบบ B-24 ต้องตรากตร�ำ ต่อสภาพแวดล้อมทีม่ หาโหด ท่ามกลางทะเล ทรายซาฮารา ในขณะที่พวกเขามีน�้ำและ อาหารอย่างจ�ำกัด และไร้ที่ซึ่งจะพักพิง แต่ ในที่สุดพวกเขาก็ต้องฝังร่างไว้ใต้ผืนทราย นรก เมื่อพวกเขาพยายามที่หลบหนีให้พ้น จากสภาพที่แสนเลวร้ายอันนั้น” ในปี ๑๙๕๘ ปมปริศนาหลายเรื่องในช่วง สงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ ได้ เ ริ่ ม ถู ก สื บ เสาะหา ข้อเท็จจริงหรือหาวีรบุรุษสงครามที่สาบสูญ ซึ่ง B-24 : Lady be Good ก็คือเป้าหมาย ของหนึ่งในอีกหลายเรื่อง ของนักล่าเงื่อนง�ำ สงครามและนักธรณีวิทยาชาวอังกฤษอย่าง Ronald G.Maclean of D’Arcy Exploration Co. ทีมส�ำรวจชุดนี้บินบุกเข้าไปส�ำรวจเหนือ ทะเลทรายซาฮาราในแผ่นดินของลิเบียด้วย เครื่อง DC-3 จุดที่พวกเขาเดินทางเข้าไปอยู่ ตะวันออกเฉียงใต้ของ Benghazi ๔๔๐ ไมล์ และอยู่ห่างจากชายแดนอียิปต์ ๕๙ ไมล์ ด้วย ความคาดหวังว่า จะสามารถสังเกตร่องรอย บนผืนทรายของ B-24 ที่อาจนอนนิ่งภายใต้ 32

การทับถมของกองทรายที่ร้อนระอุ อยู่ ณ ที่ใด ที่หนึ่ง Lady be Good ประจ� ำ การที่ ฐ านบิ น ที่ ส ร้ า งอย่ า งเร่ ง รี บ กลางทะเลทรายในเขต Soluch, Libya ห่างออกไปทางตะวันออก เฉียงใต้ของ Benghazi ๓๔ ไมล์ ได้หายไปใน การปฏิบัติการครั้งแรกและครั้งสุดท้าย ของ ลูกเรือจ�ำนวนเก้าชีวิต เมื่อ ๔ เมษายน ๑๙๔๓ คืนแห่งการพลัดพรากของพวกเขา เต็มไปด้วย

พายุฝนฟ้าคะนอง พวกเขาสูญเสียการน�ำร่องที่ ถูกต้อง หาทิศทางกลับฐานบินไม่ได้ และต้อง บินอย่างเลือ่ นลอยแต่กม็ คี วามหวัง พวกเขาบิน ลึกเข้าไปในซาฮาราถึงสองชั่วโมง ทีมส�ำรวจทางอากาศชาวอังกฤษ ได้พบซาก เครื่องบิน B-24 เมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๑๙๕๙ ภายหลังจากที่ทุ่มเทการค้นหานานกว่าเก้า เดือน และได้แจ้งข่าวนี้แก่ US Air Force’s Wheelus AB, Libya หลังจากนัน้ นักธรณีวทิ ยา

นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม


สามนายของ D’Arcy Exploration Co. ได้เดิน ทางไปยังจุดหมาย ซึ่งปรากฏว่า B-24 อยู่ใน สภาพทีค่ อ่ นข้างดีมาก เมือ่ เปรียบเทียบกับการ คาดคะเนของทีมส�ำรวจ ในปีเดียวกันนั้น ตลอดช่วงฤดูร้อนและฤดู ใบไม้ร่วง เจ้าหน้าที่ของกองทัพอากาศและ กองทัพบกสหรัฐฯ ได้ระดมกันตะลุยค้นหาร่าง ของลูกเรือทั้งเก้าคน ในขณะที่ผลการส�ำรวจ ซากเครื่องบินนั้น มีความเป็นไปได้ว่า B-24 ได้ ร่อนลงกระแทกทุ่งแผ่นพื้นทรายกรวดบริเวณ ที่เรียกกันว่า “Sand Sea of Calansio” เมื่อ น�้ำมันใกล้จะหมด เครื่องยนต์สามเครื่องดับไป แล้ว โดยทราบได้จากต�ำแหน่งมุมของใบพัดที่ อยู่ในต�ำแหน่ง “Feather” อันเกิดจากการ ตัง้ ใจท�ำของนักบิน เพือ่ ไม่ให้มมุ ใบพัดสร้างแรง ต้านต่อการร่อนของเครื่องบิน ส่วนเครื่องยนต์ ที่สี่ยังท�ำงานอยู่ เมื่อนักบินปรับท่าทางการบิน ทีส่ มดุลด้วยตัวมันเอง (Trimming) แล้ว ลูกเรือ ทั้งหมดได้โดดร่มสละเครื่องบินของพวกเขา B-24 ที่ไร้นักบินและลูกเรือ แต่มีการถูกปรับ การบินให้รักษาระดับด้วยตัวมันเองเป็นอย่าง ยอดเยี่ยมแล้ว ได้ร่อนลงและกระแทกพื้นค่อน ข้างรุนแรง ก่อนทีจ่ ะสงบนิง่ ในสภาพทีเ่ กือบจะ ได้ระดับและไม่มีการระเบิด

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

การค้นหาศพของลูกเรือ B-24 นั้น พวกเขา ใช้ความสามารถและพยายามเป็นอย่างมาก ท่ามกลางความโหดร้ายของทะเลทราย ทีก่ ลาง วันอุณหภูมิพุ่งขึ้นสูงถึง ๑๓๐ องศาฟาเรนไฮต์ และดิ่งลงอย่างน่ากลัวถึงจุดที่หนาวเหน็บและ เยือกแข็งในตอนกลางคืน พื้นที่ในการค้นหา นั้นครอบคลุมพื้นที่กว่า ๔๕๐ ตารางไมล์ แต่ แล้ ว เค้ า รางแห่ ง ความส� ำ เร็ จ ในการค้ น หาก็ ปรากฏขึ้น ในวันที่ ๑๖ มิถุนายน เมื่อพวกเขา พบรองเท้าที่เป็นของผู้ท�ำการในอากาศคู่หนึ่ง ถูกวางเหมือนตั้งใจให้กับผู้ที่จะมาช่วยเหลือ ได้รู้ว่า พวกเขาซึ่งก็คือเหล่าผู้กล้าทั้งเก้าก�ำลัง เดินเท้ามุ่งไปทางเหนือ ที่พวกเขาคิดว่าเป็น ทิศทางสู่ฐานบิน รองเท้าน�ำโชคของทีมค้นหา ถูกพบห่างจากจุดตกของเครื่องบินไปทางทิศ เหนือ ๑๙ ไมล์ พวกเขาเพิ่มความละเอียดใน การค้นหาร่องรอยเพิ่มขึ้นมาอีก สิ่งที่ค้นพบ ตามมาคือร่องรอยของล้อรถยนต์ขนาดใหญ่ ประมาณห้าคัน คาดว่าอายุของร่องรอยนี้น่า จะนับย้อนไปได้ถึงช่วงที่ B-24 ตก ซึ่งเป็นไป ได้วา่ อาจเป็นได้ทงั้ ความพยายามในการค้นหา หรือปฏิบัติการทางทหารในยุคนั้น นอกจาก นัน้ ความตืน่ เต้นในการค้นหาได้ยกระดับขึน้ มา อีก เมื่อได้พบเศษซากของอุปกรณ์วิทยุและร่ม

ชูชีพหลายร่มและหนึ่งในนั้นมีหลักฐานที่ระบุ ว่าผู้เป็นเจ้าของคือ SSgt.Vernon L.Moore เป็นผู้ช่วย เจ้าหน้าที่วิทยุ ลูกเรือทรหดเหล่านี้ ได้สร้างหลักฐานเพื่อการติดตามค้นหาไว้โดย การวางก้อนหินบอกทิศทางว่า พวกเขาก�ำลัง ขึ้นเหนือ ครั้นเมื่อ ๑๗ กรกฎาคม ๑๙๕๙ ทีมค้นหาได้รับก�ำลังเสริมมาอีกจาก 17th Air Force รวมถึงเฮลิคอปเตอร์ด้วย พวกเขาได้ แกะรอยทุกอย่างเท่าที่จะท�ำได้ รวมถึงตาม รอยทางรถยนต์ตามสันทรายไปไกลถึง ๕๑ ไมล์ แต่ก็ไม่มีความคืบหน้าอะไร ที่พอจะเป็น ความหวังที่น่าเชื่อถือ การปิดฉากการค้นหาทีไ่ ม่ได้อะไรเลยครัง้ นี้ เกิดขึ้นเมื่อ ๒ กันยายน ๑๙๕๙ เมื่อ C-130 ลง จอดกลางทะเลทรายเพือ่ รับทีมค้นหากลับฐาน ที่ Wheelus AFB. พร้อมข้อสรุปคือ ซากศพ ของลูกเรือ B-24 : Lady be Good ทั้งเก้า คน น่าจะถูกกลบฝังภายใต้พื้นทรายตามการ เปลี่ยนแปลงที่โหดร้าย ซึ่งเป็นธรรมชาติของ ทะเลทราย โดยเฉพาะที่ซาฮารา Gone, But not Forgotten เรื่ อ งบั ง เอิ ญโดยไม่ ค าดฝั น หวังอย่า งได้ อีกอย่าง เกิดขึ้นเมื่อกุมภาพันธ์ ๑๙๖๐ เมื่อ

33


เจ้ า หน้ า ที่ ส� ำ รวจปิ โ ตรเลี ย มของ British Petroleum Co. ได้ขุดพบซากศพของลูกเรือ B-24 จ�ำนวนห้าคน และสามารถระบุชื่อและ หน้าที่ได้คือ 1st Lt.William J.Hatton (Pilot), 2nd Lt.D.Robert F.Toner (Co-pilot), 2nd Lt.D.P.Hays (Navigator), SSgt.Samual E.Adams (Gunner) และคนที่ห้าคือ Tsgt. Robert E.LaMotte (Radio operator) และ แล้วเรื่องราวที่ตื่นเต้นและปวดร้าวของพวก เขาก็ถูกเปิดเผยขึ้นจากสมุดบันทึกของ Toner นักบินที่สอง ในสมุ ด บั น ทึ ก เล่ า ความว่ า พวกเขาเริ่ ม โดดร่มสละเครื่องได้เมื่อเวลา 2 a.m. ของ วันจันทร์ที่ ๕ เมษายน ๑๙๔๓ แต่ไม่เห็น เจ้าหน้าที่ทิ้งระเบิด 2nd Lt.John S.Woravka (Bombardier) และไม่มโี อกาสได้พบกันอีกเลย จนสมุดบันทึกเล่มนี้ปิดตัวมันเองอย่างเศร้า สร้อยไปพร้อมกับผู้บันทึก ลูกเรือทั้งแปดคน พบกันกลางทะเลทรายและเดินมุ่งหน้าไปทาง ตะวันตกเฉียงเหนือถึงห้าวัน พวกเขามีเสบียง แต่ เ พี ย งน้ อ ยนิ ด ทั้ ง น�้ ำ และอาหารและต้ อ ง อดทนต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงอย่าง สุดขั้ว ทั้งร้อนถึงขั้นเลือดเดือดในเวลากลางวัน และหนาวเย็นถึงขั้นเลือดแข็งในเวลากลางคืน ไร้ทซี่ งึ่ จะพักพิงแม้กระทัง่ ชะง่อนหิน ทุกทิศทาง เต็มไปด้วยความเวิ้งว้างมองได้สุดลูกหูลูกตา ไร้สิ่งกีดขวาง และหลายครั้งต้องผจญกับพายุ ลมแรงที่เต็มไปด้วยฝุ่นทราย ทุกคนอิดโรย หมดเรี่ ย วแรง ร่ า งกายอยู ่ ใ นสภาพขาดน�้ ำ และอาหาร สายตาเหม่อลอยมีการตอบสนอง น้อยมาก ทุกคนอยากจะตายให้เสร็จสิ้นไป จากความทุ ก ข์ ท รมานเหล่ า นี้ พวกเขาเดิ น ทางอย่างเชื่องช้าจนถึงวันศุกร์ที่ ๑๙ เมษายน ๑๙๕๙ ลูกเรือสามคนที่พอเดินหน้าต่อไปได้ คือ Shelley, Rip และ Moore ขอแยกเดิน ทางไปเพื่อขอความช่วยเหลือ สิ่งที่ท�ำได้ดีที่สุด ของลูกเรือทั้งหมดไม่ว่าพวกเขาจะอยู่ในสภาพ เช่นไรของแต่ละวัน คือการพร�่ำสวดภาวนา

34

สื่อสารถึงพระเจ้าเพื่อขอความเมตตา จวบจน วันสุดท้ายของสมุดบันทึกของ Toner วันจันทร์ ที่ ๑๒ เมษายน ๑๙๕๙ มีเพียงข้อความว่า “No help yet, very cold nite.” วันนี้น่า จะเป็นวันที่พระเจ้าเมตตาพวกเขา น�ำพวกเขา มาอยู่ใกล้ชิดพระองค์มากยิ่งขึ้น

อย่างน้อยก็สามารถบอกได้วา่ พวกเขาสามารถ ยังชีพอยู่ได้นานอย่างน้อยก็เจ็ดวัน อันเป็นวัน สุดท้ายของสมุดบันทึก วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๑๙๖๐ เจ้าหน้าที่ ส�ำรวจของ BP ได้ขุดพบซากศพลูกเรือคนที่ หกคือ Shelley โดยทราบว่าแผ่นโลหะสีเงิน ประจ�ำตัวของผู้ท�ำการในอากาศ ซึ่งแต่ละคน Preseverance and Endurance ต้องมี (Shelley’s dog tag) จากจุดที่เพื่อน ๆ ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์กล่าวว่า มนุษย์ เดินต่อไม่ไหวแล้วนั้น เขาบ้าระห�่ำเดินไกลขึ้น สามารถเดินทางไกลได้ถึง ๒๕ ไมล์ และอยู่ได้ มาอีกถึง ๓๗.๕ ไมล์ แต่เป็นการเดินทางที่ยิ่ง ประมาณสองวัน โดยที่ไม่มีน�้ำ ในขณะที่ลูกเรือ สิ้นหวัง เพราะเป็นทิศทางที่ลึกเข้าไปกลาง B-24 คน มีเสบียงทั้งน�้ำและอาหารอย่างจ�ำกัด ทะเลทรายอีก แต่ถ้ามองในความอึดของเขา ต้องเดินทางรอนแรมกลางทะเลทรายทีห่ ฤโหด แล้ว เขาเดินทางได้ไกลถึง ๑๑๕.๕ ไมล์ จาก แห่งซาฮารา ต้องผ่านสภาพแวดล้อมที่รุนแรง จุดที่กระโดดร่มลงกลางทะเลทราย นอกจาก แสนสาหัสเกือบทุกอย่าง พวกเขาสามารถไปได้ นั้นแล้วในตัวของ Shelley ยังมีกระเป๋าเงิน ไกลถึง ๗๘ ไมล์ และอีกสามคนที่แยกตัวเดิน ของเพือ่ นร่วมทางคือ Ripslinger เขาไม่ได้ฉวย ทางต่อเพื่อขอความช่วยเหลือ พวกเขาเหล่านี้ โอกาสตบทรัพย์คนตาย หากแต่เขาต้องการ อาจเดินทางได้ไกลอีกแค่ไหนยังไม่ทราบ แต่ น�ำไปมอบให้ครอบครัวของ Ripslinger ภาย

นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม


หลังที่ Ripslinger ได้หมดความอดทนที่จะมี ชีวิตอยู่ต่อไปก่อนหน้านี้ ทีมค้นหาได้ย้อนรอย กลับไปทิศที่พบศพลูกเรือทั้งห้าคนก่อนหน้า นี้ พวกเขาส�ำรวจย้อนกลับไปไกลถึง ๒๖ ไมล์ ครั้นเมื่อ ๑๗ พฤษภาคม ๑๙๖๐ จึงได้พบซาก โครงกระดูกศพของ Ripslinger พร้อมกับสมุด บันทึกเล่มเล็กในกระเป๋ากางเกงทีเ่ ปือ่ ยยุย่ ของ เขา ทีมค้นหาได้ทุ่มเทหาอีกสองศพที่เหลือคือ Woravka และ Moore แต่ก็ไร้ผล พวกเขาจึง สรุปเหมือนเดิมคือ ลูกเรือทีเ่ หลือยังคงนอนเฝ้า ทะเลทรายอยู่เช่นเดิม เนื่องจากการถูกกลบ ฝังของพายุทะเลทรายที่รุนแรง และประกาศ ยุติการค้นหา เรื่องการค้นพบโดยบังเอิญเกิดขึ้นอีกครั้ง เมื่อสิงหาคม ๑๙๖๐ เจ้าหน้าที่ส�ำรวจของ BP ได้ค้นพบศพของ Woravka และแจ้งให้ กองทัพอากาศสหรัฐฯ รับทราบ เจ้าหน้าที่ ค้นหาของสหรัฐฯ ระบุได้ทันทีเลยว่า เขาเสีย ชี วิ ต จากการกระแทกพื้น ที่รุน แรงเนื่องจาก ร่ ม ไม่ ก าง ทุ ก อย่ า งในตั ว เขาอยู ่ ใ นสภาพที่ เกื อ บสมบู ร ณ์ ข องชุ ด ผู ้ ท� ำ การในอากาศที่ ก�ำลังกระโดดร่มสละเครื่องบิน จากจุดนี้ทีม ส�ำรวจของสหรัฐฯ ได้ค้นพบจุดรวมพลของ ลูกเรือทั้งแปดคนที่โดดร่มและรอดจากความ

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ตายครั้งที่หนึ่งมาได้ ที่จุดรวมพลนี้ พวกเขา พบซากของอุปกรณ์การจุด Flares เพื่อส่ง สั ญ ญานบ่ ง บอกต� ำ แหน่ ง ให้ ลู ก เรื อ ทุ ก คนที่ รอดชีวติ มาได้มารวมตัวกัน สุดท้ายทีร่ อแล้วไม่ มาและรอไม่ไหวอีกแล้วคือ Woravka ลูกเรือ ทั้งแปดคนจึงตัดสินใจเดินทางสู่ทิศทางที่พวก เขาคิดว่าจะพากลับฐานบินต่อไป ซึ่งเมื่อตรวจ สอบจากแผนที่แล้ว ถ้าพวกเขาเลือกเดินใน

ทิศทางตรงกันข้ามโดยมุ่งลงทางใต้ พวกเขา อาจพบกับ Kufra Oasis และอาจขอความ ช่วยเหลือจากพ่อค้าเร่ร่อนชาวอาหรับ ณ ที่นี้ ได้ ส�ำหรับศพสุดท้ายคือ Moore ยังไม่สามารถ ค้นพบ และคงต้องรอความบังเอิญในอนาคต เหมือนเดิน ใน “The Sahara’s Sand Sea of Calanscio” เพื่อเป็นการร�ำลึกถึงความกล้าหาญและ ทนทรหดของพวกเขา กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้น�ำใบพัดของหนึ่งในสี่เครื่องยนต์ของ B-24 : Lady be Good มาติดตั้งเป็นอนุสรณ์ท่ี ฐานทัพอากาศ USAF Wheelus, Libya ต่อมา ภายหลั ง กษั ต ริ ย ์ Idris แห่ ง Libya และ รัฐบาลลิเบีย ถูกโค่นล้มลง ฐานบินแห่งนี้จึง ได้เปลี่ยนมือและถูกพัฒนาใช้งานจากกองทัพ อากาศลิเบีย ภายใต้ร่มเงาของทีมที่ปรึกษา จากโซเวียต มรดกความเป็น Airmanship ของลูกเรือ B-24 : Lady be Good ได้แสดงให้เห็นถึง ความมีวินัย การได้รับการฝึกฝนอบรมมาเป็น อย่างดี พวกเขาสามารถต่อสู้อย่างที่สุดในสิ่ง แวดล้อมที่เกินกว่ามนุษย์ทั่วไปจะพึงกระท�ำ ได้ หลักความพยายามของพวกเขาในการเอา ชีวิตนั้นถูกยึดมั่น จนนาทีสุดท้ายของชีวิตพวก เขา “They died trying” ท่ามกลางความเลว ร้ายของทุ่งทะเลทราย การได้มองเห็นเพื่อน ต้องร่วงโรยหายไป หรือรู้ว่าต้องตายแน่ ๆ นั้น คงไม่ใช่เรื่องที่น่าอภิรมย์นัก ความยิ่งใหญ่ใน หัวใจความเป็น Airmanship ของพวกเขา ครั้งนั้นได้ถูกน�ำมาสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง “King Nine Will Not Return”

35


ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน

จรวดน�ำวิถีโจมตีรถถัง แบบมาเวอริค

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

36

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


จรวดน�ำวิถีมาเวอริค (Maverick) ขนาดยาว ๒.๔๙ เมตร ช่วงปีก ๐.๗๒ เมตร เส้น ผ่าศูนย์กลาง ๐.๓๐ เมตร น�้ำหนัก ๒๑๐ กิโลกรัม (๔๖๒ ปอนด์) ความเร็ว ๑,๑๕๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะยิงไกล ๒๒ กิโลเมตร น�ำวิถีด้วยทีวี/อินฟราเรด/แสงเลเซอร์ และหัวรบขนาด ๕๗.๐ กิโลกรัม (ในภาพติดตั้งอยู่ที่ปีกเครื่องบินแบบเอฟ-๑๖)

องทั พ อากาศอิ น โดนี เ ซี ย จั ด ซื้ อ จรวดน�ำวิถีแบบมาเวอริค (AGM 65K, Maverick) จ�ำนวน ๑๘ ลูก เป็ น เงิ น ๒๕ ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ เมื่ อ วั น ที่ ๒๒ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๕๕ จากประเทศ สหรัฐอเมริกา เพื่อติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่ ที่ ไ ด้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ จากกองทั พ อากาศ สหรัฐอเมริกา เอฟ-๑๖ซี/ดี (F-16C/D Block 25) รวม ๒๔ เครื่อง ต้องท�ำการปรับปรุงใหม่ จึงน�ำเข้าประจ�ำการมีชื่อเรียกใหม่ว่า เอฟ๑๖ซี/ดี บล็อก ๕๒ไอดี (F-16C/D Block 52 ID) ขณะนี้อยู่ระหว่างการรับมอบ ประจ�ำการ ฝูงบินที่ ๑๖ ฐานทัพอากาศสุลต่านไซริฟควา ซิม-II (Sultan Syarif Qasim II) จังหวัดเป อกันบารู เกาะสุมาตรา และเครื่องบินขับไล่ แบบ เอฟ-๑๖เอ/บี (F-16A/B Block 15 OCU) รวม ๑๐ เครือ่ ง ฝูงบินที่ ๓ ฐานทัพอากาศอิสวา ยูดี (Iswahyudi) จังหวัดชะวาตะวันออกและ เครื่องบินโจมตีไอพ่นแบบฮอร์ค ๒๐๙ (Hawk 209) ฝูงบินโจมตีที่ ๑ ฐานทัพอากาศซูปาดิโอ (Supadio) จังหวัดกาลิมันตันตะวันตก และ เครื่องบินโจมตีไอพ่นฮอร์ค ๒๐๙ (Hawk 209) ฝูงบินโจมตีที่ ๑๒ ฐานทัพอากาศสุลต่านไซ ริฟควาซิม-II (Sultan Syarif Qasim II) รวม ทั้งสิ้น ๑๔ เครื่อง จรวดน� ำ วิ ถี แ บบมาเวอริ ค (AGM-65, Maverick) วิ จั ย พั ฒ นาและผลิ ต ตามความ ต้ อ งการของกองทั พ อากาศสหรั ฐ อเมริ ก า (USAF) สัญญาผลิตครัง้ แรกผลิตรวม ๒,๐๐๐ ลูก หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

๐.๗๒ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๓๐ เมตร น�้ำ หนัก ๒๑๐ กิโลกรัม (๔๖๒ ปอนด์) ความเร็ว ๑,๑๕๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะยิงไกล ๒๒ กิโลเมตร น�ำวิถีด้วยระบบทีวี น�ำวิถีด้วยระบบ แสงเลเซอร์ น�ำวิถีด้วยระบบอินฟราเรด และ หัวรบขนาด ๕๗.๐ กิโลกรัม (๑๒๖ ปอนด์) จรวดน� ำ วิ ถี แ บบมาเวอริ ค (AGM-65, Maverick) ผลิตออกมารวม ๑๑ รุ่น มีรุ่น หลักที่ส�ำคัญคือ รุ่นเอ เป็นรุ่นมาตรฐาน ผลิต ๑๒,๕๕๙ ลูก, รุ่นบี ผลิตรวม ๑๓,๕๗๙ ลูก, รุ่นดี น�ำวิถีด้วยอินฟราเรด ผลิตรวม ๑๐,๙๔๓ ลูก ปี พ.ศ.๒๕๔๒, รุ่นซี น�ำวิถีด้วยแสงเลเซอร์ หน่ ว ยนาวิ ก โยธิ น สหรั ฐ อเมริ ก า (ได้ ย กเลิ ก ก่อนเปิดสายการผลิต), รุ่นอี หัวรบหนัก ๑๓๖ กิโลกรัม น�ำวิถีด้วยแสงเลเซอร์ หน่วยนาวิก โยธินสหรัฐอเมริกา ผลิตรวม ๒,๑๖๕ ลูก ปี พ.ศ.๒๕๔๒, รุ่นเอฟ น�ำวิถีด้วยอินฟราเรด กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ผลิตรวม ๑,๗๓๒ ลูก ปี พ.ศ.๒๕๔๒, รุ่นจี ผลิตรวม ๑๐,๔๑๔ ลูก ปี พ.ศ.๒๕๔๒, รุ่นเอช หัวรบหนัก ๕๗ กิโลกรัม, รุ่นเจ หัวรบหนัก ๑๓๖.๐ กิโลกรัม และรุ่นเค กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาเป็น รุ่นมาตรฐาน ผลิตรวม ๒,๕๐๐ ลูก พร้อมทั้ง

เครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-๑๖ซี ก�ำลังท�ำการบินลงต�่ำเพื่อโจมตีเป้าหมายภาคพื้นดิน ด้วยจรวดน�ำวิถีมาเวอริค (Maverick) มีระยะยิงไกล ๒๒ กิโลเมตร เป็นเงิน ๖๙.๙ ล้านเหรียญสหรัฐ ปี พ.ศ.๒๕๑๔ ประจ�ำการในปี พ.ศ.๒๕๑๕ สามารถติดตั้ง กั บ เครื่ อ งบิ น รบของกองทั พ สหรั ฐ อเมริ ก า ได้ทั้งกองทัพอากาศ (เอฟ-๑๖ซี/ดี, เอ-๑๐ ธันเดอร์โบลท์-II และเอฟ-๑๕อี), กองทัพเรือ (เอฟ/เอ-๑๘ซี / ดี / อี และพี - ๓ซี โอไรออน) และหน่วยนาวิกโยธิน (เอวี-๘บี แฮริเออร์-II) ข้อมูลที่ส�ำคัญ ขนาดยาว ๒.๔๙ เมตร ช่วงปีก

ได้ขายให้กองทัพพันธมิตร (FMS) มียอดผลิต รวมทั้งสิ้นกว่า ๗๐,๐๐๐ ลูก จรวดน�ำวิถีแบบมาเวอริค (Maverick) น�ำ ออกปฏิบัติการทางทหารหลายสมรภูมิทั่วโลก คือ สงครามเวียดนาม พ.ศ.๒๕๑๕ (ติดตั้งกับ เครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-๔ดี แฟนท่อม-II และ เครื่องบินโจมตีแบบ เอ-๗ คอร์แซร์-II เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๕), สงครามยมคิปปูร์ 37


ลูกจรวดน�ำวิถีแบบมาเวอริค (Maverick) ขณะเตรียมติดตั้งกับเครื่องบินโจมตี แบบเอ-๑๐ ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา (USAF) สงครามเวียดนามและสงคราม ยมคิปปูร์มีการใช้จรวดน�ำวิถีมาเวอริครวม ๙๙ ลูก และถูกเป้าหมาย ๘๔ ลูก

เครื่องบินขับไล่แบบเอฟ/เอ-๑๘ดี ฮอร์เน็ต ชนิดสองที่นั่ง กองทัพอากาศมาเลเซีย (RMAF) ของฝูงบินขับไล่ที่ ๑๘ ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ธ (ลูกจรวดน�ำวิถีแบบ มาเวอริคติดตั้งอยู่ที่ใต้ปีก) พ.ศ.๒๕๑๖ (เดื อ นตุ ล าคม พ.ศ.๒๕๑๖), สงครามอิหร่าน-อิรกั (กองทัพอากาศอิหร่านใช้ เครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-๔ ใช้จรวดมาเวอริค รวม ๑๒ ลูก โจมตีรถถังอิรักด้วยความแม่นย�ำ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๘ และอีกห้าปี ต่อมาเครื่องบินขับไล่เอฟ-๔ ใช้จรวดมาเวอริค โจมตีเรือรบอิรักจมรวม ๗ ล�ำ), สงครามอ่าว เปอร์เซียครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๔ (กองทัพอากาศ สหรัฐอเมริกาท�ำการยิงด้วยจรวดน�ำวิถีแบบ มาเวอริค ท�ำการโจมตีเป้าหมายรถถังและยาน เกราะอิรักทุกรุ่นกว่า ๕,๐๐๐ ลูก), สงคราม อ่าวเปอร์เซียครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๖ (กองทัพ สหรัฐอเมริกาได้ท�ำการยิงจรวดแบบมาเวอริค รวม ๙๑๘ ลูก) และสงครามกลางเมืองลิเบีย 38

พ.ศ.๒๕๕๔ (กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาใช้เครือ่ ง บินลาดตระเวนและตรวจการณ์ทางทะเลแบบ พี-๓ โอไรออน โจมตีด้วยจรวดมาเวอริค เมื่อ วันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๔) กองทัพอากาศสิงคโปร์ (RSAF) ประจ�ำ การด้ ว ยจรวดน� ำ วิ ถี ม าเวอริ ค -๖๕ (AGM65B/D/G, Mavreick) รวม ๒๔๘ ลูก โดยติดตัง้ กับเครือ่ งบินขับไล่แบบเอฟ-๑๖ซี/ดี (F-16C/D Block 52) ประจ�ำการฝูงบินที่ ๑๔๐ ฐานทัพ อากาศเต็งกาฮ์ รวม ๑๕ เครื่อง, ฝูงบินที่ ๑๔๓ ฐานทัพอากาศเต็งกาฮ์ รวม ๑๓ เครื่อง และ ฝูงบินที่ ๑๔๕ ฐานทัพอากาศชางฮี รวม ๒๐ เครื่อง นอกจากนี้ยังมีฝูงบินที่ประจ�ำการอยู่ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกาฐานทัพอากาศลุค (Luke AFB) ฝูงบินที่ ๔๒๕ รวม ๑๔ เครื่อง เพื่อใช้ฝึก นักบินขับไล่ประจ�ำเครื่องบินขับไล่ แบบเอฟ๑๖ซี/ดี (F-16C/D Block 52) ในทุกภารกิจ บิน (กองทัพอากาศสิงคโปร์ ซื้อหลักสูตรการ ฝึกจากกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ระหว่าง ปี พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ รวม ๕ ปี เป็นเงิน ๒๕๑ ล้านเหรียญสหรัฐ พร้อมด้วยระบบส่ง ก�ำลังและซ่อมบ�ำรุงด้วยวิธี FMS) และเครื่อง บินขับไล่โจมตีเอฟ-๑๕เอสจี (F-15SG) ประจ�ำ การฝูงบินขับไล่ที่ ๑๔๙ ฐานทัพอากาศปายาเล บาร์ (Paya Lebar) รวม ๒๔ เครื่อง นอกจากนี้ ยังมีเครื่องบินที่ประจ�ำการอยู่ที่ประเทศสหรัฐ อเมริกา ฐานทัพอากาศเมาเท่นโฮม (Mountain Home Air Force Base) ฝู ง บิ น ที่ ๔๒๘ เครื่องบินขับไล่เอฟ-๑๕เอสจี รวม ๑๐ เครื่อง (กองทัพอากาศสิงคโปร์ ซื้อหลักสูตรการฝึก จากกองทั พ อากาศสหรั ฐ อเมริ ก า ระหว่ า ง ปี พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ รวม ๕ ปี เป็นเงิน ๔๓๕ ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ พร้ อ มด้ ว ยระบบ ส่งก�ำลังและซ่อมบ�ำรุงด้วยวิธี FMS) นับว่า ฝูงบินขับไล่แบบเอฟ-๑๖ซี/ดี และเครื่องบิน ขั บ ไล่ โ จมตี พิ สั ย ไกลชนิ ด สองที่ นั่ ง แบบ เอฟ-๑๕เอสจี รวมทั้ ง สิ้ น ๔ ฝู ง บิ น มี ขี ด ความสามารถในการโจมตี ท างภาคพื้ น ดิ น

เครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-๑๖เอ ฝูงบิน ๔๐๓ ฐานทัพอากาศตาคลี พร้อมด้วยลูก จรวดมาเวอริค (Maverick) ใช้โจมตีภาคพืน้ ดินต่อเป้าหมายรถถังและยานเกราะข้าศึก (ถ่ายเมื่อ ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๐) พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


เครื่องบินขับไล่โจมตีพิสัยไกลแบบเอฟ-๑๖ดี (F-16D Block 52) ฝูงบินที่ ๑๔๕ ฐานทัพอากาศชางฮี รวม ๒๐ เครื่อง

ลูกจรวดน�ำวิถีแบบมาเวอริค (AGM-65 Maverick) ติดตั้งที่ใต้ปีกเครื่องบินรบ ใช้ ในภารกิจโจมตีเป้าหมายภาคพื้นดินที่เป็นรถถังและยานเกราะข้าศึก

ด้วยจรวดน�ำวิถีแบบมาเวอริค (Maverick) มีความพร้อมรบสูงสุดและมีจรวดน�ำวิถีแบบ โจมตีรถถังแบบมาเวอริค (Maverick) ประจ�ำ การเป็นจ�ำนวนมาก กองทัพอากาศมาเลเซีย (RMAF) ประจ�ำ การด้ ว ยจรวดน� ำ วิ ถี ม าเวอริ ค (AGM-65, maverick) โดยติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ/เอ-๑๘ดี (F/A-18D, Hornet) ชนิดสอง ที่นั่ง รวม ๘ เครื่อง ประจ�ำการฝูงบินที่ ๑๘ ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ธ (Butterworth) รัฐปีนัง และเครื่องบินโจมตีไอพ่นแบบฮอร์ค ๒๐๘ ประจ�ำการฝูงบินที่ ๖ ฐานทัพอากาศ ควนตัน รัฐปาหัง กองทัพอากาศไทย (RTAF) ประจ�ำการด้วย เครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-๑๖เอ/บี (F-16A/B Block 15 OCU) รวม ๒ ฝูงบิน และฝูงบิน เอฟ-๑๖เอดีเอฟ (F-16ADF) รวม ๑ ฝูงบิน สามารถติดตั้งจรวดน�ำวิถีโจมตีภาคพื้นดินต่อ โดยเป้าหมายรถถังและยานเกราะด้วยจรวดน�ำ วิถีมาเวอริค (AGM-65, maverick) ต่อมากอง ทัพอากาศได้ประจ�ำการด้วยเครือ่ งบินขับไล่รนุ่ ใหม่แบบกริเพ่น (Gripen JAS-39C/D) รวม ๑ ฝูงบิน โดยจะสามารถท�ำการโจมตีภาคพื้นดิน พร้อมด้วยจรวดน�ำวิถแี บบมาเวอริค (AGM-65, maverick)

เครือ่ งบินโจมตี เอ-๑๐ กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ขณะท�ำการยิงจรวดน�ำวิถโี จมตี ภาคพื้นดินแบบมาเวอริคในภารกิจท�ำลายรถถัง หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

39


เทคโนโลยีดิจิตอล

(Digital Technology) พลเรือตรี ด๊อกเตอร์ สหพงษ์ เครือเพ็ชร ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม

ปั

จจุบนั ไม่วา่ ท่านจะอยูท่ ไี่ หน จะท�ำ อะไร ตั้งแต่ตื่นจนเข้านอน ก็ต้อง เกีย่ วข้องกับค�ำว่าดิจติ อล จนกล่าว ได้วา่ โลกเราได้เปลีย่ นจากยุคอนาลอกเข้าสูย่ คุ ดิจติ อลแล้ว ดังจะสังเกตได้จากเครือ่ งไม้เครือ่ ง มือ หรืออุปกรณ์เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ทีอ่ ยูร่ อบ ๆ ตัว เรา ไม่ว่าจะเป็นเครื่องรับโทรทัศน์จากเดิมที่ใช้ หลอดคาโธดเรย์ทิวบ์ (CRT) แสดงภาพเป็น เส้น ๆ กลายมาเป็น LED (Light Emitting Diode) ที่แสดงภาพเป็นจุด ๆ หรือพิกเซล (pixel) 40

และเมือ่ เร็ว ๆ นีร้ ะบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ ของไทย ก็ ไ ด้ เ ปลี่ ย นจากระบบอนาลอก มาเป็นระบบดิจิตอล การเก็บข้อมูลต่าง ๆ เช่น การบันทึกเสียงหรือภาพยนตร์ เดิมใช้การ บันทึกร่องทีม่ คี วามลึกต่าง ๆ ลงบนเทป (ความ ลึกของร่องขึ้นอยู่กับขนาดสัญญาณ) ก็กลาย มาเป็ น การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ดิ จิ ต อลหรื อ ไบนารี คือมีแค่หลุม (Pit) แทนตัวเลข ๐ กับไม่มีหลุม (Land) แทนตัวเลข ๑ เท่านั้น ลงบนแผ่น ซีดีหรือดีวีดีด้วยแสงเลเซอร์ ระบบโทรศัพท์

ที่รับ-ส่งสัญญาณอนาลอกผ่านสายทองแดง ก็ เ ปลี่ ย นมาเป็ น การรั บ -ส่ ง สั ญ ญาณดิ จิ ต อล ผ่านสายไฟเบอร์ออปติก กล้องถ่ายภาพจาก เดิมทีใ่ ช้ฟลิ ม์ บันทึกขนาดของแสงทีม่ าจากวัตถุ ก็เปลี่ยนมาใช้ซีซีดี (Charge Couple Device) บันทึกแทน นอกจากนั้นยังมีอีกมายมายที่จะ กล่าวถึงเทคโนโลยีดิจิตอลท�ำให้การใช้ชีวิต ประจ�ำวัน และการท�ำงาน สะดวกสบายอย่าง ไม่เคยเป็นมาก่อน พลเรือตรี ด๊อกเตอร์ สหพงษ์ เครือเพ็ชร


ในฉบับนี้จะขอกล่าวถึงระบบดิจิตอลว่ามี หลักการท�ำงานอย่างไร การประยุกต์ใช้งาน ด้านต่าง ๆ ตลอดจนอนาคตของระบบดิจิตอล

ระบบดิจิตอลคืออะไร? อันดับแรกเรามาท�ำความเข้าใจค�ำว่า ระบบ หรื อ system ในทางวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า ก่ อ น คือ การรวมอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนต่าง ๆ ทาง อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ความต้านทาน ตัวเก็บ ประจุ ทรานซิสเตอร์ วงจรรวม (IC) เพื่อท�ำ หน้าที่ประมวลสัญญาณที่เข้ามา (input) ให้มี คุณลักษณะตามที่เราต้องการ แล้วส่งออกไป (Output) เช่น ระบบขยายเสียง ระบบเครื่อง รับวิทยุ ระบบควบคุม เป็นต้น ในทางวิศวกรรม ไฟฟ้ า แบ่ ง ระบบได้ เ ป็ น สองชนิ ด คื อ ระบบ อนาลอก (Analog) และระบบดิจติ อล (Digital) ระบบดิจิตอลจริง ๆ แล้วก็ยังอยู่บนพื้นฐาน ของระบบอนาลอก คือมีเซนเซอร์รับสัญญาณ จากภายนอกเข้ามาท�ำการประมวลสัญญาณ (เช่น เพิ่มขนาด หน่วงเวลา ดีมอดูเลท) แล้ว ก็ ส ่ ง สั ญ ญาณที่ ป ระมวลแล้ ว กลั บ ออกไป ตัวอย่างเช่น ระบบขยายเสียง (amplifier) มี ไ มโครโฟนเป็ น เซนเซอร์ ท� ำ หน้ า ที่ เ ปลี่ ย น สั ญ ญาณเสี ย ง (อนาลอก) ให้เป็น สัญ ญาณ ไฟฟ้า (กระแส) ส่งเข้าไปในวงจรขยายเสียง (ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ ตัวเก็บประจุ ความต้ า นทาน อื่ น ๆ) เพื่ อ เพิ่ ม ขนาดของ สัญญาณกระแสให้สูงขึ้น (ประมวลผล) จาก นั้นก็เปลี่ยนสัญญาณกระแสกลับเป็นสัญญาณ เสียงด้วยล�ำโพงตามภาพ ทั้งนี้ก็เพื่อให้ได้เสียง ที่มีคุณภาพดีขึ้น (ดังขึ้น)

ระบบดิจิตอล (Digital System) ยุคแรก ๆ ของระบบดิจิตอล ระบบมีขนาด ใหญ่มาก เนื่องจากใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งมีขนาด ใหญ่ในการประมวลผล ต่อมาวิวัฒนาการทาง ด้านการผลิตไอซี (Integrated circuit) หรือ IC ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วท�ำให้คอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง กินกระแสไฟน้อยลง ประมวล

กันทุกประการ ท�ำให้สินค้ามีราคาถูกอย่างไม่ น่าเชื่อ และอีกมากมาย มาถึงตรงนี้ผมหวังว่าท่านคงจะเข้าใจหลัก การและที่มาที่ไปของระบบดิจิตอลบ้างไม่มาก ก็น้อย ต่อไปจะกล่าวถึงระบบดิจิตอลที่มีผล กระทบต่อชีวิตประจ�ำวันและการท�ำงาน

ระบบดิจิตอล ระบบอนาลอก (Analog system) ส่วนระบบดิจิตอล ต่างจากระบบอนาลอก ตรงการประมวลสัญญาณ ที่ใช้ตัวเลข (digit) แทนขนาดของสั ญ ญาณ (กระแส) โดยใช้ เลขฐานสอง (๐ กั บ ๑) ซึ่ ง เป็ น ตั ว เลขที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ดังนั้นระบบจึงต้องมีตัว เปลี่ยนสัญญาณอนาลอกเป็นตัวเลขฐานสอง เพิ่มขึ้นมา (Analog to Digital converter หรือ A/D) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ท�ำการประมวล ผลทางตัวเลข (digital) ได้ (นั่นคือที่มาของค�ำ ว่า Digital system) เมื่อประมวลผลทางเลข เสร็จ สัญญาณนีจ้ ะถูกเปลีย่ นกลับเป็นสัญญาณ อนาลอกอีกครั้ง เพื่อให้สู่โลกแห่งความเป็น จริงด้วยตัวเปลี่ยนเป็นอนาลอก (Digital to Analog converter หรือ D/A) ตามภาพ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ผลได้รวดเร็วขึ้น และราคาถูกลง ท�ำให้ระบบ ดิจิตอลมีความนิยมมากขึ้น นอกจากนั้นแล้วจากระบบดิจิตอลยังมีข้อดี กว่าระบบอนาลอกมากมายหลายประการ ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องสัญญาณรบกวนที่น้อยกว่ามาก เรื่ อ งความผิ ด พลาดในการแปลงสั ญ ญาณ กลับมีน้อยมาก เรื่องความคมชัด เรื่องการเข้า ถึงข้อมูลที่รวดเร็วกว่า เรื่องการเก็บรักษาที่ สามารถอยู่ได้เป็นร้อยปี เรื่องการรักษาความ ปลอดภัยข้อมูลที่ยากต่อการถอดรหัส เรื่อง การออกแบบและพัฒนาระบบที่ท�ำได้ง่ายและ รวดเร็วกว่าด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น MATLAB และที่ส�ำคัญผลิตภัณฑ์สามารถผลิต คราวละจ�ำนวนมาก ๆ โดยมีคุณภาพเหมือน

จากที่ ก ล่ า วถึ ง ความแพร่ ห ลายและหลั ก การท�ำงานของระบบดิจิตอลพอสังเขปมาแล้ว ข้างต้น ในหัวข้อนี้จะขอกล่าวถึงรายละเอียด ของระบบดิจิตอลบางตัวที่เราใช้กันอยู่ในชีวิต ประจ�ำวัน Compact Disk (CD) การเก็บข้อมูลด้วยแผ่นซีดีเป็นการปฏิวัติ การเก็บข้อมูลในอดีตอย่างไม่มียุคไหนท�ำมา ก่อน ข้อมูลที่จะถูกเก็บ เช่น เสียงเพลง จะ ถูกเปลี่ยนเป็นดิจิตอลหรือไบนารี (๐ หรือ ๑) แล้วไปควบคุมล�ำแสงเลเซอร์ให้ท�ำการยิงหรือ ไม่ยิงแสงลงบนแผ่นซีดีที่ท�ำจากพลาสติกชนิด โพลีคาร์บอร์เนต ล�ำแสงเลเซอร์จะไปท�ำให้ เกิดร่อง (pits) ร่องเหล่านี้มีขนาดเล็กมาก กว้างประมาณ ๐.๕ ไมครอน (๑ ไมครอน = หนึ่งในล้านเมตร) ยาว ๐.๘๓ ไมครอน และลึก ๑๒๕ นาโนเมตร (๑ นาโนเมตร = หนึ่งในพัน 41


สัญญาณดิจิตอลช่วยอีกด้วย โดยการบีบอัด ข้อมูลในรูปแบต่าง ๆ เช่น MP3 format ใช้ ส�ำหรับเสียง สามารถบีบอัดสัญญาณลงได้ ๑๐ - ๑๔ เท่า ขณะที่สัญญาณไม่ผิดเพี้ยนมากนัก และ MP4 format ส�ำหรับภาพยนตร์ เป็นต้น

การสื่อสาร (Communication)

ล้านเมตร) โดยแต่ละร่องห่างกัน ๑.๖ ไมครอน ในการอ่านข้อมูลจะใช้เลเซอร์ความยาวคลื่น เดียวกับที่เขียน โดยโฟกัสแสงเลเซอร์ไปบน แผ่นซีดี ล�ำแสงเลเซอร์ที่โฟกัสจะมีขนาดเล็ก ใกล้เคียงกับร่องที่ถูกบันทึก เมื่อแสงเลเซอร์ ตกกระทบร่องจะไม่มีการสะท้อนกลับออกมา (เพราะแสงที่สะท้อนภายในร่องมีเฟสต่างกับ แสงที่ตกกระทบ ๑๘๐ องศาท�ำให้หักล้างกัน) ความหนาแน่นข้อมูลที่บันทึกขึ้นอยู่กับขนาด ของร่อง (pit) หากใช้แสงที่มีความยาวคลื่น สั้นก็จะท�ำให้ร่องมีขนาดเล็กลงส่งผลให้แผ่น

42

ซีดีบรรจุข้อมูลได้มากขึ้น แผ่นซีดีโดยทั่วไป มีความจุประมาณ ๗๐๐ MB (Megabytes) ส่วนดีวีดีที่ใช้ส�ำหรับเก็บภาพยนตร์มีความจุ ๔.๗ GB หรือ ๗ เท่าของแผ่นซีดี นอกจากนี้ ยังมีแผ่นบลูเรย์ (Blue ray) ที่ใช้เลเซอร์ย่าน สีน�้ำเงิน (Blue laser) ในการบันทึก/อ่าน ซึ่ง มีความจุประมาณ ๒๕ GB ต่อหนึ่งชั้น หรือจุ เป็น ๕ เท่าของแผ่นดีวีดี การเก็ บ ข้ อ มู ล ให้ ม ากขึ้ น นอกจากจะใช้ คุณสมบัติของแสงเลเซอร์และระบบออปติก (hardware) ช่ ว ยแล้ ว ยั ง ใช้ ก ารประมวล

ระบบดิจติ อลได้ปฏิวตั กิ ารติดต่อสือ่ สารของ มวลมนุษย์โดยสิ้นเชิง ทั้งแบบใช้สาย (wired communication) เช่น ระบบโทรศัพท์บ้าน ระบบอินเตอร์เนท และแบบไร้สาย (wireless communication) เช่น ระบบโทรศัพท์ไร้ สายหรือที่เราเรียกกันว่ามือถือ ระบบดิจิตอล ช่วยให้การส่งข้อมูล (ไบนารี) ง่าย สะดวก และผิดพลาดน้อยมาก รวมถึงการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูลที่ระบบอนาลอกท�ำไม่ได้ หากใช้แสงเลเซอร์ในการส่งจะท�ำให้สามารถมี ความเร็วเป็นกิกะบิทต่อวินาที (กิกะ= พันล้าน) ระบบอิ น เตอร์ เ นทก็ เ ป็ น ผลพวงของ ระบบดิจิตอล เป็นการรับ-ส่งข้อมูลดิจิตอล ระหว่ า งคอมพิ ว เตอร์ กั บ คอมพิ ว เตอร์ ผ ่ า น สายส่ง พัฒนาโดยหน่วยงานวิจัยชั้นสูงของ สหรัฐอเมริกา หรือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลทางการวิจัยในกลุ่มหน่วยงานรัฐบาล และมหาวิทยาลัย ต่อมาได้ขยายความนิยม มากขึน้ จนแพร่กระจายไปทัว่ โลก และถูกน�ำไป ในวงการต่าง ๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นด้านการ ค้า การธนาคาร ที่สามารถท�ำธุรกรรมทางการ

พลเรือตรี ด๊อกเตอร์ สหพงษ์ เครือเพ็ชร


เงินในเวลาอันรวดเร็ว และปลอดภัย ด้านการ วิจัยและพัฒนาที่สามารถสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ไม่ ว ่ า จะเป็ น สิ ท ธิ บั ต รต่ า ง ๆ เอกสารวิ จั ย หนังสือ ภายในเวลาอันรวดเร็ว ไม่ต้องออกไป ยืมที่ห้องสมุด ด้านความบันเทิงท่านสามารถ เลือกเพลงโปรดหรือดูตัวอย่างภาพยนตร์จาก นั้นก็สั่งซื้อผ่านอินเตอร์เนทได้โดยไม่ต้องออก ไปที่ธนาคาร

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นเพียงบางส่วนของ เทคโนโลยี ดิ จิ ต อลที่ ไ ด้ เ ปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต ของมนุษย์ชาติ การพัฒนาระบบดิจิตอลและ การประยุกต์ใช้งานยังคงมีต่อไปอย่างไม่มีขีด จ�ำกัด ประเทศใดสร้างพื้นฐานทางด้านการ ศึกษาที่ดี และสามารถสนับสนุนให้คนเก่งได้ ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ประเทศนั้น ย่อมได้เปรียบ อย่างเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา

ที่มี บิล เกท และ สตีฟ จอบ แค่เพียงสองคน ก็สามารถน�ำรายได้มาสู่ประเทศอย่างมหาศาล หรือประเทศจีนทีม่ ี แจ๊ค มา (Jack Ma) ผูก้ อ่ ตัง้ Alibaba ธุรกิจขายตรงผ่านอินเตอร์เนทที่น�ำ รายได้สู่ประเทศหลายพันล้านบาท ศูนย์วิจัย และพั ฒ นาการทหารซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ภารกิ จ ในการวิ จั ย โดยตรง ได้ ต ระหนั ก ใน ความส�ำคัญของเทคโนโลยีดิจิตอล ได้พัฒนา ห้องปฏิบัติการทางด้านการประมวลสัญญาณ ดิจิตอล เพื่อสามารถรองรับเทคโนโลยีดิจิตอล ที่จะมีบทบาทต่อกระทรวงกลาโหมในอนาคต กระผมขอขอบพระคุณท่านปลัดกระทรวง กลาโหม (พลเอก ศิรชิ ยั ดิษฐกุล) ทีก่ รุณาให้การ ตรวจเยี่ยมหัองปฏิบัติการดิจิตอล ที่ศูนย์วิจัย และพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีกลาโหม พร้อมทั้งให้ก�ำลังใจ และ เห็นความส�ำคัญของงานวิจัยเสมอมา

43


สตรีไทยคนส�ำคัญแห่งยุค จุฬาพิช มณีวงศ์

44

จุฬาพิช มณีวงศ์


วันที่ ๘ มีนาคมของทุกปี สหประชาชาติ ก� ำ หนดให้ เ ป็ น วั น สตรี ส ากล เพื่ อ เป็ น การ รณรงค์ให้ประชาคมโลกตระหนักถึงพลังแห่ง สตรีและสิทธิเสรีภาพความเท่าเทียมกันทาง เพศที่ ไ ม่ ค วรมี ค วามแตกต่ า งกั น แต่ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น ก็ ยั ง มี อี ก หลายประเทศที่ สิ ท ธิ แ ละ เสรีภาพความเท่าเทียมกันระหว่างบุรุษและ สตรียังไม่เป็นดังหวัง ยังคงมีการเลือกปฏิบัติ ในขณะที่อีกหลายประเทศ สตรีเพศอาจถึง ขั้นเหยียดชนชั้น และมีชีวิตอยู่ท่ามกลางความ ทุกข์ทรมาน ย้ อ นหลั ง ไปในอดี ต เป็ น ที่ ย อมรั บ ว่ า ไม่ มี ช่วงเวลาใดที่สยามประเทศจะมีการปฏิรูปให้ บ้านเมืองเจริญรุดหน้า ได้รับการพัฒนาใน ทุ ก ด้ า นเท่ า กั บ ยุ ค สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั แต่ทว่าน้อยคนจะทราบ ว่า ท่ามกลางการพัฒนาเหล่านั้น มีสตรีไทย คนส� ำ คั ญ แห่ ง ยุ ค ที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ต่ อ การ ปฏิ รู ป คื อ สมเด็ จ พระศรี พั ช ริ น ทราบรม ราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ซึง่ ทาง องค์การยูเนสโก ได้ประกาศยกย่องพระองค์ เป็นบุคคลส�ำคัญของโลก

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ ทรง เป็นแบบฉบับของสตรีไทยทีม่ คี ณ ุ ปู การต่อชาติ บ้านเมือง ทรงเป็นเจ้าหญิงราชธิดาองค์ส�ำคัญ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรงท�ำนายพระดวงชะตาไว้อย่างถูกต้อง แม่ น ย� ำ ตามค� ำ พระราชทานพร เมื่ อ ทรงมี พระบรมราชสมภพและได้เป็นไปสมดังที่หวัง ไว้ว่า จะประกอบด้วยบุญญาบารมีทุกประการ ทรงเป็ น ขวั ญ ชี วิ ต ของสมเด็ จ พระบรมราช สวามี คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เจริญในสิริราชสมบัติ ถึงขนาดได้รับ สถาปนาพระราชอิสริยยศไว้ในต�ำแหน่ง สมเด็จ พระบรมราชิ นี น าถ เป็ น พระองค์ แ รกแห่ ง ประเทศไทย ทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนี ของพระโอรสอย่างน้อย ๕ พระองค์ และพระ โอรสได้เสวยราษฎร์เป็นพระมหากษัตริย์ใน ราชจักรีวงศ์ถึงสองแผ่นดิน ทรงเป็นมหามิตร ของพระบรมวงศานุวงศ์จกั รีทงั้ ฝ่ายหน้าฝ่ายใน ตลอดจนประเทศราช อันเป็นองค์ประมุขแห่ง นานาประเทศที่มีสัมพันธไมตรีต่อประเทศไทย ในรั ช สมั ย ของพระองค์ ทรงเป็ น องค์ อั ค รศาสนูปถัมภกแห่งพระบวรศาสนาพุทธ และ

ทรงมี ค วามเลื่ อ มใสศรั ท ธา ทรงท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระศาสนาอย่างเต็มที่อยู่เป็นนิตย์ ทรงเป็น ครูผู้บ�ำเพ็ญวิทยาทานต่อพระประยุรญาติราช นัดดา เชื้อพระวงศ์และเยาวกุมารีทั้งหลายที่ เข้าไปสู่ราชส�ำนักด้วยการพระราชทานโอกาส ให้ได้เรียนรู้วิชาการแขนงต่าง ๆ ทรงเป็นนาย ผู ้ ป กครองด้ ว ยทศพิ ธ ราชธรรมอั น ตั้ ง อยู ่ บ น พรหมวิหาร ๔ มีพระเมตตาบารมีเป็นที่ตั้ง ไม่เลือกชั้นวรรณะ นอกจากนีท้ รงพระด�ำริให้เริม่ การศึกษาของ สตรีไทย ยกระดับความรู้ให้ได้มีโอกาสก้าวไป ทั น บุ รุ ษ เพื่ อ ร่ ว มกั น จรรโลงชาติบ ้า นเมืองสู่ อารยสมัย ทั้งยังทรงเป็นองค์ผู้น�ำที่กล้าหาญ และเสียสละในขบวนการสตรีที่ก้าวหน้าทุกวิถี ทาง ไม่ว่ายามปกติหรือยามที่บ้านเมืองคับขัน โดยเฉพาะการดู แ ลด้ า นการรั ก ษาพยาบาล ประชาชนผู้เจ็บไข้ได้ป่วยและทหารของชาติ และยั ง ทรงเป็ น ประดุ จ เทพมารดาหรื อ แสง สว่างอันอบอุ่น เป็นที่รักของสตรีและทรงเป็น ความหวังของพสกนิกรผู้ยากไร้โดยทั่ว สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ ทรง พระราชสมภพเมื่อวันศุกร์ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๐๖ ปีกุน ประสูติ ณ พระต�ำหนักใหญ่ใน พระบรมมหาราชวังแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็น พระราชธิดาอันดับที่ ๖๖ ในพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหามงกุฎพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็นพระธิดาพระองค์ท่ี ๔ ของท่านเจ้าจอม มารดาเปี ่ ย ม ต่ อ มาได้ รั บการสถาปนาพระ อิสริยยศในรัชกาลที่ ๖ เป็นสมเด็จพระปิย มาวดี ศรีพชั รินทรมาตา เมือ่ ประสูตไิ ด้ครบเดือน สมเด็ จ พระบรมชนกนาถได้ ท รงจั ด ให้ มี พ ร ะ ร า ช พิ ธี ส ม โ ภ ช ต า ม อ ย ่ า ง โ บ ร า ณ ราชประเพณี ผู ก ขวั ญ พระเจ้ า ลู ก เธอ และ พระราชทานพระนามตามดวงประสู ติ ว ่ า พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี 45


โปรดทางวรรณกรรมและศิลปะ ถึงขนาดทรง นิพนธ์กาพย์กลอนโคลงฉันท์ได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ นอกจากประจักษ์พยานที่เห็นได้จาก ลายพระราชหัตถ์ทรงเขียนโต้ตอบพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคราว เสด็จประพาสยุโรป สมเด็ จ พระศรี พั ช ริ น ทราบรมราชิ นี น าถ ทรงมีพระราชด�ำริว่า อันความเจริญรุ่งเรือง ของประเทศชาติ จะบรรลุผลส�ำเร็จได้ย่อม ขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนทั้งหญิงชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรงเห็นว่า สตรีไทยในสมัย นั้นยังมีสภาวะล้าหลังบุรุษเป็นอันมากเพราะ สตรีไม่มีโอกาสที่จะได้รับสิทธิทางการศึกษา และขาดผู้อุดหนุนชักน�ำ มีพระราชประสงค์ ที่จะเปิดโอกาสให้สตรีไทยได้รับความรู้อันน�ำ ไปสู่อารยธรรมเทียบเท่าสตรีในต่างประเทศ โดยทรงแน่พระทัยว่า ผู้มีสติปัญญาย่อมจะ ช่ ว ยเป็ น ก� ำ ลั ง จรรโลงประเทศชาติให้เจริญ ขึ้นในอนาคต จึงทรงสละพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์จ�ำนวนหนึ่งจัดตั้งโรงเรียนสตรี ณ ตึก มุมถนนอัษฎางค์และจักรเพชรต่อกันที่ต�ำบล ปากคลองตลาด เปิดสอนเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อ วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๗ พระราชทานนาม ว่า โรงเรียนราชินี พระราชทานพระราชด�ำริว่า ให้นกั เรียนได้มคี วามรูท้ างการฝีมอื ส�ำหรับสตรี ให้สามารถอ่านออกเขียนได้ ทั้งให้มีการอบรม ศีลธรรมจรรยามารยาท ตามแบบประเพณีนยิ ม ทั้งนี้ทรงมอบให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร รั บ พระราชภารกิ จ ไป ผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ ใ นสมั ย นั้ น เล่ า ขานกั น ว่ า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ศึกษาค้นคว้าในวิชาการทางด้านโหราศาสตร์ จนสามารถพยากรณ์ดวงชะตาหรือเหตุการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างแม่นย�ำ ส�ำหรับดวงพระชะตา ของพระราชธิดาพระองค์นี้ สมเด็จพระเจ้าบรม วงศ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแปล ถอดเป็นภาษาไทยถวายว่า “ขอธิดาของเรา ซึ่งเป็นบุตรีอันดีของเปี่ยม คนนี้จงปรากฏโดยนามว่า โสภาสุทธสิริมติี (เสาวภาผ่องศรี) เถิด ขอเธอจงมีสขุ และไม่มโี รค มี อิ ส ริ ย ยศประเสริ ฐ สุ ด ปราศจากโทษอั น ใคร ๆ อย่าคุมเหงได้ทุกเมื่อ จงเป็นคนมั่งคั่ง มี ท รั พ ย์ ใ หญ่ มี โ ภคสมบั ติ ม าก อั น คนเป็ น อันมากนิยมนับถือ ขอเธอจงรักษาเกียรติยศ ของบิดามารดาไว้ทุกเมื่อ จงท�ำนุบ�ำรุงพี่น้อง ชายหญิ ง อั น ดี ขออานุ ภ าพพระรั ต นตรั ย มี พ ระพุ ท ธเจ้ า เป็ น ต้ น จงรั ก ษาเธอทุ ก เมื่ อ เทอญ” กาลต่อมาเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งเป็นพระราช ธิดาพระองค์นี้ทรงเจริญพระชันษาขึ้น การ 46

ก็ได้เป็นไปสมจริงดังพระพรที่ได้พระราชทาน ล่วงหน้าไว้แต่แรกประสูติทุกประการ นั่นก็คือ เมื่อพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้ได้กลายเป็น สมเด็จพระบรมราชินีนาถผู้ยิ่งใหญ่แห่งบรม ราชจักรีวงศ์ ในพระนามสมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพระพันปี หลวง อันกล่าวไว้ว่า ทรงได้รับสถาปนาพระ อิ ส ริ ย ยศในต� ำ แหน่ ง สู ง สุ ด เหนื อ สตรี ใ ดใน พระราชอาณาจักรสยาม พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินีนาถในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีมากมายอเนก อนันต์ต่อชาติบ้านเมือง แม้พระองค์จะไม่เคย มีโอกาสได้เล่าเรียนเขียนอ่านมากเท่าดรุณี ในยุคปัจจุบัน แต่ทรงมองเห็นการณ์ไกล ใฝ่ รู้ เพียบพร้อมไปด้วยขันติยมานะ อุตสาหะ แรงกล้ า มี พ ระทั ย ซาบซึ้ ง ในสรรพวิ ช าการ เพิ่มพูนความรู้ก้าวหน้ายิ่งกว่าพระบรมวงศ์ รุ่นเดียวกัน จึงทรงได้รับไว้วางพระราชหฤหัย ปรึกษาข้อราชการ จากพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอยู่เนือง ๆ มีพระนิสัย จุฬาพิช มณีวงศ์


จั ด ท� ำ ทรงจั ด ส่ ง ครู ส ตรี อ อกไปศึ ก ษาวิ ช า ในด้านต่าง ๆ เพิ่มเติมเช่น การดนตรี การฝีมือ และภาษาอังกฤษ ณ ประเทศญี่ปุ่น ต่ อ มามี ก ารขยายการศึ ก ษาของกุ ล สตรี อี ก หลายแห่ ง ทั้ ง ในกรุ ง เทพมหานครและ ต่างจังหวัด เช่น โรงเรียนเสาวภา โรงเรียน วิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง โรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นต้น พระราชกรณี ย กิ จ อั น ส� ำ คั ญ และเป็ น คุ ณ ประโยชน์อย่างยิ่งคือ การสร้างสถานพยาบาล ซึ่งพระราชทานนามว่า โรงศิริราชพยาบาล เนื่องจากต้องสูญเสียสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้ า ฟ้ า ศิ ริ ร าชกกุ ธ ภั ณ ฑ์ พระราชโอรสใน รัชกาลที่ ๕ กับสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภา ผ่องศรี พระวรราชเทวี (พระยศในขณะนั้น) หลังจากพระราชทานเพลิงศพ ณ พระเมรุท้อง สนามหลวง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวให้ทรงรื้อเอาไม้พระเมรุทั้งหมดไป สร้างเป็นโรงพยาบาลและพระราชทานเงิน ส่ ว นพระองค์ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์อีก ๕๖,๐๐๐ บาท เพื่ อ สร้ า งตึ ก สอนวิ ช าแพทย์ ใ นโรงพยาบาล ด้วย ขณะที่สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี ได้ พ ระราชทานทรั พ ย์ สิ น ส่วนพระองค์จ�ำนวนหนึ่ง ตั้งโรงเรียนแพทย์ ผดุ ง ครรภ์ เปิ ด ท� ำ การสอนเมื่ อ วั น ที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ.๒๔๓๙ ก่อนหน้านี้ในปี พ.ศ.๒๔๓๖ (ร.ศ.๑๑๒) ได้ ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้ง สภาอุณาโลมแดง เป็นศูนย์กลางบรรเทาทุกข์ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากกรณีความขัดแย้งกับ ฝรั่งเศส ต่อมาโอนกิจการตั้งชื่อใหม่ว่า สภา กาชาดสยาม ตั้งอยู่ท่ีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรง รับเป็นองค์สภานายิกา ทรงด�ำรงต�ำแหน่งนี้ ถึง ๒๖ ปี พระราชกรณียกิจที่ส�ำคัญที่สุดของสมเด็จ พระศรี พั ช ริ น ทราบรมราชิ นี น าถก็ คื อ ทรง ได้รับมอบให้ด�ำรงพระอิสริยยศ เป็นผู้ส�ำเร็จ ราชการแผ่นดินแทนพระองค์ ทรงเป็นประมุข แห่งคณะผู้รักษาพระนคร ในคราวพระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ ประพาสยุโรปครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๔๔๐ ซึ่ง แม้ ว ่ า จะทรงเริ่ ม บริ ห ารพระราชกิ จ อั น มิ ไ ด้ เคยปฏิบัติมาก่อน แต่ปรากฏว่าได้ทรงกระท�ำ ทุกอย่างด้วยความตั้งพระราชหฤหัย และทรง พระปรีชาสามารถในอันที่จะทรงวินิจฉัยพระ ราชกิ จ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี มิ ไ ด้ มี สิ่ ง ใดเสื่ อ มเสี ย ประโยชน์ ร าชการแต่ อ ย่ า งใดเลย เพื่ อ เป็ น อนุสรณ์ในการที่ได้ทรงด�ำรงต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จ ราชการแผ่ น ดิ น ต่ า งพระองค์ จึ ง ได้ ท รงขอ พระราชทานพระบรมราชานุญาตสร้างเหรียญ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ราชินีส�ำหรับพระราชทานแก่ผู้ที่สมควรจะได้ รับบ�ำเหน็จด้วย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้สถาปนาสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ตลอดพระชนม์ชีพของสมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินีนาถ ทรงใช้ชีวิตที่ต้องประสบ กับการเปลี่ยนแปลง และประกอบพระราช กรณี ย กิ จ ที่ ส ตรี น ้ อ ยคนจะได้ รั บ ในฐานะ พระราชมารดา ทรงมีพระราชโอรส พระราช ธิดารวมกัน ๑๔ พระองค์ ทรงฟันฝ่าความ เป็นพระราชมารดามาตาแต่แรกรุ่นเจริญวัย ทรงรั บ พระราชภารกิ จ ที่ ต ้ อ งใช้ ส ติ ป ั ญ ญา วิจารณญาณ ความรู้ความสามารถ เท่ากับ

บุรุษอกสามศอก ในบั้นปลายพระอนามัยจึง ทรุดโทรมอย่างรวดเร็วกว่าบรรดาพระมเหสี ทุกพระองค์ จนต้องมีแพทย์ถวายพระโอสถ และการรักษาพยาบาลอยู่เนือง ๆ เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตโดยมิได้คาดฝัน สมเด็จ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ มิได้เป็นอัน ทรงเสวย หรือบรรทมหลับเป็นปกติ ประกอบ กับทรงมีโรคพระทัยอ่อนเป็นทุนอยูจ่ งึ ประชวร ทรุดลงอย่างรวดเร็ว ภายหลังพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้อัญเชิญพระราช มารดาเสด็จประทับ ณ พระต�ำหนักพญาไท เสด็ จ สวรรคตเมื่ อ วั น ที่ ๒๐ ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๔๖๓ 47


ความวุ่นวายในราชวงศ์ตองอู หลังสงครามยุทธหัตถี ๒๑๓๕ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

พระเจ้าบุเรงนองมหาราชของอาณาจักร พม่าในยุคที่สอง อาณาจักรมีความเข้มแข็ง ทางทหารเนื่องจากมีอาวุธใหม่คือปืนคาบ ศิลาจากชาวโปรตุเกสและพระเจ้าบุเรงนอง ทรงมีการวางแผนยุทธศาสตร์ที่ดี ได้ขยาย อาณาจักรสู่เพื่อนบ้าน อาณาจักรพม่าก้าว ขึ้นสู่อ�ำนาจทางทหารอย่างรวดเร็วในเวลา อันสัน้ อาณาจักรทีก่ ว้างใหญ่ขนึ้ กว่าในอดีต อย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน กองทัพพม่าในยุคที่ สองมีอานุภาพทางทหารมาก พระองค์อยู่ ในราชสมบัตินานถึง ๓๐ ปี จึงมีเวลาในการ ขยายอ�ำนาจทางทหาร ก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุด ของการเป็นมหาอ�ำนาจทางทหารแห่งอุษา คเนย์มีอาณาจักรขนาดใหญ่.....บทความนี้ กล่าวช่วงปลายของราชวงศ์ตองอู

๑.กล่าวทั่วไป เมื่อพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์ยิ่งใหญ่ที่สุด แห่ ง ราชวงศ์ ต องอู สิ้ น พระชนม์ ใ นปี พ.ศ. ๒๑๒๔ กรุงศรีอยุธยาได้ประกาศอิสรภาพในปี พ.ศ.๒๑๒๗ พระเจ้านันทบุเรงกษัตริย์พระองค์ ใหม่ แ ห่ ง ราชวงศ์ ต องอู ต ้ อ งแสดงให้ เ ห็ น ว่ า อาณาจักรหงสาวดียังคงมีอ�ำนาจที่เข้มแข็งอยู่ ต้องท�ำศึกใหญ่กับอยุธยาถึง ๕ ครั้ง โดยเป็น ฝ่ายพ่ายแพ้ต้องสูญเสียอย่างมากทั้งจ�ำนวน ทหาร(มีผลให้ขาดแคลนก�ำลังพลที่เป็นผู้ชาย ในการเพาะปลูก)และอาวุธถูกท�ำลายสูญเสีย ในการรบเป็นจ�ำนวนมากทั้งดาบ ปืนคาบศิลา และปืนใหญ่ ต้องสูญเสียเงินในท้องพระคลัง เป็นจ�ำนวนมากและเริ่มร่อยหรอลง พ.ศ.๒๑๓๖ พม่าเกิดกาฬโรคระบาดก่อให้ เกิดการสูญเสียในหลายด้านอย่างมาก เป็นผล ให้ศูนย์กลางของอ�ำนาจปกครองจากหงสาวดี เริ่มอ่อนก�ำลังลง พม่าตอนล่างประชาชนส่วน ใหญ่ เ ป็ น ชาวมอญที่ ตั้ ง ถิ่ น ฐานบริ เ วณนี้ ม า เป็นเวลานานและเป็นคู่ศึกมาอันยาวนานใน ประวัติศาสตร์แห่งลุ่มแม่น�้ำอิระวดี ไม่ยอมรับ อ�ำนาจของหงสาวดีจึงเกิดความวุ่นวายเกิด ขึ้น แม้ว่ากองทัพพม่าเข้าปราบปรามหัวเมือง มอญอย่างเด็ดขาด แต่ก็ต้องสูญเสียทั้งเวลา และเงินในท้องพระคลังมากยิ่งขึ้น หัวเมือง มอญทางตอนใต้ก็เข้ามาอยู่กับอยุธยา เป็นผล ให้เกิดความแตกแยกในราชวงศ์ตองอู พร้อม 48

อนุสาวรียพ ์ ระเจ้าบุเรงนองแห่งราชวงศ์ตองอู มหาราชพระองค์ทสี่ องแห่งอาณาจักร พม่า ทรงน�ำอาณาจักรตองอูขึ้นสู่จุดสูงสุดของอ�ำนาจ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


ทั้งอ�ำนาจที่เคยยิ่งใหญ่ก็เริ่มอ่อนลงเป็นล�ำดับ กรุงศรีอยุธยาเริ่มเข้มแข็งขึ้น กองทัพอยุธยา เป็นฝ่ายเข้าตีอาณาจักรพม่าโดยการเดินทัพ ผ่านทางเมืองเมาะตะมะและมุ่งเข้าประชิด กรุงหงสาวดี

๒. ความวุ่นวายใน ราชวงศ์ตองอูหลัง สงครามยุทธหัตถี ๒๑๓๕ ๒.๑ ราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์ตองอูของพระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุง หงสาวดี ได้ส่งพระญาติที่สนิทไปครองเมือง ต่างๆ ของอาณาจักรตองอู เพื่อความมั่นคง ของอาณาจักร พระเจ้าตองอู (เมงเยสีหตู/ Minye Thi Hathu) พระอนุชาของพระเจ้า บุเรงนอง มีพระโอรสคือเจ้าชายนัดจินหน่อง (Natshinnaung) กับพระนางเมงขิ่นสอ(Min Khin Saw) แต่ชาวสยามจะเรียกว่าเจ้าชาย สังขทัต พระเจ้าบุเรงนองทรงมีพระราชโอรส ที่ส�ำคัญอีกพระองค์หนึ่งกับพระมเหสีราชเทวี (พระมเหสี ต� ำ หนั ก กลาง) ชื่ อ ว่ า เจ้ า ชาย มังนรธาสอ (Nawrahta Minsaw)หรือเจ้าชาย สารวดี ต่อมาทรงเป็นปฐมราชวงศ์ของชาวพม่า ที่ปกครองแคว้นล้านนา (ห้วงปี พ.ศ.๒๑๒๑๒๑๕๐ นาน ๒๙ ปี) พระเจ้านันทบุเรงหรือเจ้าวังหน้า (เจ้าชาย งาสู่ดายะ) เป็นพระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง กับพระอัครมเหสี (พระอัครมเหสีต�ำหนักใต้) หรือพระนางอตุลสิริมหาราชเทวี (ตะขิ่นจี) ทรงเป็นพระพี่นางของพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ พระเจ้านันทบุเรงมีพระราชโอรสคือเจ้าชาย เมงกะยอชวาหรือพระมหาอุปราชา ทีช่ าวสยาม จะเรียกว่ามังสามเกียด ประสูติจากพระอัคร มเหสีเมงพยู เมื่ออาณาจักรหงสาวดีสูญเสียพระมหาอุป ราชาในศึกยุทธหัตถีปี พ.ศ.๒๑๓๕ เป็นผล ให้การปกครองของพระเจ้านันทบุเรงมีความ ยุ่งยากในการแต่งตั้งรัชทายาท แต่พระองค์ ทรงมีพระอนุชาที่ครองเมืองใหญ่ในอาณาจักร พม่าคือเมืองเชียงใหม่ (แคว้นล้านนา) และ เมืองอังวะ พ.ศ.๒๑๔๒ กองทัพเรือยะไข่ (อาระกัน) มี ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกส (มีผนู้ ำ� คือ ฟิลปิ เดอ บริโต นิโคเต) เข้าโจมตีเมืองสิเรียม (เป็นเมือง ท่าที่ส�ำคัญตั้งอยู่บริเวณที่ปากแม่น�้ำอิระวดี) และยึดไว้ได้ ขณะเดียวกันกองทัพเมืองตองอู ได้เข้าประชิดกรุงหงสาวดี กองทัพเรือยะไข่อีก กองหนึง่ ได้สง่ ก�ำลังทหารบกเข้าร่วมกับกองทัพ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

ภาพที่ตั้งเมืองส�ำคัญของอาณาจักรตองอู ของอาณาจักรพม่าในยุคที่สองและเมือง ตองอูทปี่ ระทับห้วงปลายพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง (ลูกศรด้านบน) และเมืองสิเรียม (ลูกศร ด้านล่าง) เป็นเมืองท่าส�ำคัญของพม่า ตองอูเพือ่ จะเข้ายึดกรุงหงสาวดี สภาพของกรุง หงสาวดีอ่อนก�ำลังลงอย่างมาก กองทัพยะไข่ เข้ า ปล้ น สะดมกรุ ง หงสาวดี น� ำ สิ่ ง ของที่ เ ป็ น ประเภททองค�ำและสิ่งของที่มีค่าเป็นจ�ำนวน

มาก พร้อมทั้งน�ำตัวพระราชธิดาของพระเจ้า นันทบุเรงนอง รวมทั้งช้างเผือกหลายเชือก กลับสู่เมืองยะไข่ กองทัพตองอูได้น�ำสิ่งของ ที่มีค่ารวมทั้งพระเขี้ยวแก้วกลับสู่เมืองตองอู 49


๒.๒ การศึกกับอยุธยา พ.ศ.๒๑๔๒ กองทัพกรุงศรีอยุธยาเดินทัพ สู่กรุงหงสาวดี พระเจ้าตองอูทรงเชิญพระเจ้า นันทบุเรงให้เสด็จไปประทับที่เมืองตองอู เป็น ผลให้ ก รุ ง หงสาวดี ข าดผู ้ ป กครองเมื อ งเป็ น เมืองร้าง เป็นอีกครั้งหนึ่งเมืองที่เคยยิ่งใหญ่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการปกครองแห่ ง อุ ษ าคเนย์ เหนืออาณาจักรลุ่มแม่น�้ำอิระวดี, ลุ่มแม่น�้ำ เจ้าพระยา และลุ่มแม่น�้ำโขง เมื่อผ่านมา ๑๘ ปี ก็เสียหายยับเยินถึงกาลล่มสลาย กองทัพอยุธยาเดินทัพมาทางเมืองเมาะตะมะ (เสียเวลาปราบปรามมอญ ที่พระเจ้าตองอู ยุยงให้กระด้างกระเดื่องที่ได้รับค�ำแนะน�ำจาก พระมหาเถระเสียมเพรียมนานถึง ๓ เดือน) ถึงชานกรุงหงสาวดี เมื่อพระเจ้านันทบุเรงถูก เจ้าเมืองตองอูเชิญ (คุมตัว) หนีไปได้ ๘ วัน สภาพของกรุงหงสาวดีที่ถูกไฟเผาผลาญเมือง เสียหายเป็นจ�ำนวนมาก กองทัพอยุธยาได้ตั้ง ค่ายพักทีก่ รุงหงสาวดี ต่อมาจึงเคลือ่ นทัพขึน้ ไป ทางเหนืออีก ๑๘๐ กิโลเมตร ไปยังเมืองตองอู และเข้าล้อมเมือง แต่ด้วยสภาพเมืองตองอูที่มี ป้อมแข็งแรงกองทัพยะไข่และกองทัพตองอู ร่วมกันท�ำสงครามกองโจรโจมตีกองทัพอยุธยา ประกอบกั บ เส้ น ทางการส่ ง เสบี ย งอาหารที่ อยู่ห่างไกลมีความยุ่งยากในการขนส่ง (ถูก กองโจรของกองทัพยะไข่ซุ่มโจมตี) จึงเกิดการ ขาดแคลนเสบียงอาหาร หลังจากที่ล้อมเมือง อยู่นาน ๒ เดือนเศษ ประกอบกับเริ่มเข้าสู่ ฤดูฝนสมเด็จพระนเรศวรก็ทรงตัดสินพระทัย ยกกองทัพกลับคืนสู่กรุงศรีอยุธยา เป็นครั้ง แรกและครั้งเดียวที่กองทัพสยามท�ำการเข้าตี ถึงกรุงหงสาวดีซึ่งเป็นศูนย์กลางอ�ำนาจของ อาณาจักรพม่าในยุคที่สอง และสองอาณาจักร ไม่มสี งครามเกิดขึน้ นานถึง ๒๖๑ ปี (อาณาจักร พม่าอ่อนก�ำลังลงและไม่มีเมืองใดที่เข้มแข็งที่ จะสามารถรวมอาณาจักรพม่าให้เป็นหนึง่ เดียว

ภาพวาดกองทัพสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเข้าสู่กรุงหงสาวดีปี พ.ศ.๒๑๔๒

จนถึงพม่าในยุคที่สาม ในราชวงศ์อลองพญา มุ่งหวังที่จะเป็นใหญ่เช่นกัน โดยส่วนใหญ่เจ้า ที่รู้จักในชื่อศึกอลองพญาในปี พ.ศ.๒๓๐๓) เมืองก็มีเชื้อสายของพระเจ้าบุเรงนอง (ทั้งสาย เมื่อกองทัพสยามได้ถอนก�ำลังกลับไปแล้ว ตรงและสายอ้อม) ต่างก็จะมาแย่งชิงพระเจ้า พระเจ้าตองอูก็ยังคงจับตัวพระเจ้าหงสาวดี นันทบุเรงจึงน�ำความวุ่นวายมาสู่เมืองตองอู นันทบุเรงเป็นตัวประกันต่อไปเพื่อหวังว่าจะ ตลอดเวลา เป็นผลให้เจ้าชายนัดจินหน่องหรือ ได้เป็นรัชทายาทของกรุงหงสาวดี เป็นผลให้ เจ้าชายสังขทัตที่ด�ำรงต�ำแหล่งรัชทายาทของ เมืองต่าง ๆ รอบเมืองตองอูไม่พอใจซึ่งมีความ พระเจ้าตองอู ทรงเห็นว่าความวุ่นวายเกิดจาก 50

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


พระเจ้านันทบุเรงทรงประทับอยู่ที่เมืองตองอู เพื่อจะแก้ไขปัญหาที่น�ำเมืองตองอูมาสู่ความ วุ่นวายที่เจ้าเมืองต่าง ๆ ยกกองทัพเข้าประชิด เมื อ งตองอู จึ ง ตกลงใจที่ จ ะลอบวางยาพิ ษ เพือ่ จะปลงพระชนม์พระเจ้าหงสาวดีนนั ทบุเรง แห่งราชวงศ์ตองอู เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๑๔๒ พระเจ้านันทบุเรงสิ้นพระชนม์ในวัย ๖๔ พรรษา ทรงครองราชสมบัตินาน ๑๘ ปี

๓. บทสรุป

เมืองเมาะตะมะ (ลูกศร ด้านล่าง) กองทัพอยุธยาต้องใช้เวลาปราบปรามมอญนาน ๓ เดือน จึงเคลือ่ นกองทัพสูก่ รุงหงสาวดี พ.ศ.๒๑๔๒ เมืองตองอู (ลูกศรด้านบน) ทีป่ ระทับ ห้วงสุดท้ายของพระเจ้านันทบุเรง กองทัพอยุธยาได้เข้าล้อมเมืองนาน ๒ เดือน จึงได้ถอน กองทัพกลับคืนสู่กรุงศรีอยุธยา หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

พ.ศ.๒๑๓๕ หลั ง สงครามยุ ท ธหั ต ถี อาณาจั ก รหงสาวดี แ ห่ ง ราชวงศ์ ต องอู เ ริ่ ม อ่อนแอเนื่องจากต้องสูญเสียก�ำลังทหารและ อาวุธเป็นจ�ำนวนมาก ศูนย์กลางอ�ำนาจของ อาณาจั ก รหงสาวดี จ ากราชวงศ์ ต องอู เ ริ่ ม ที่ จะอ่ อ นก� ำ ลั ง เมื อ งต่ า ง ๆ ที่ เ คยอยู ่ ใ นการ ปกครองของหงสาวดีเริม่ ทีจ่ ะแยกตัวเป็นอิสระ อาณาจักรกรุงหงสาวดีแห่งราชวงศ์ตองอูยังไม่ สามารถที่จะปราบปรามอยุธยาให้อยู่ภายใต้ อ�ำนาจได้ เริม่ ทีจ่ ะต้องท�ำสงครามใหญ่กบั เมือง ต่าง ๆ ที่เคยอยู่ใต้อ�ำนาจของกรุงหงสาวดีของ พระเจ้าบุเรงนองในอดีตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เหมือนกับอาณาจักรพุกามในยุคที่หนึ่งก็ล่ม สลายลงตามกาลเวลา 51


เคล็ด (ไม่) ลับ

ในการเรียนภาษาอังกฤษ พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ

กระแสในการเรียนภาษาอังกฤษเริ่มมีมาก ยิง่ ขึน้ เมือ่ ประเทศไทยก�ำลังจะเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียนในปี พ.ศ.๒๕๕๘ คนที่สามารถพูด ภาษาอังกฤษได้คล่องแคล่วก็จะมีความมั่นใจ ในการติดต่อสื่อสารกับชาวต่างชาติ แต่ถ้าผู้ อ่านยังเป็นคนที่ยังมีอาการที่คิดว่า ไม่กล้าพูด พูดไม่ได้ อยากพูด แต่พูดไม่ออก บางคนบอก ว่า เข้าใจหมด แต่ตอบไม่ได้ บางคนก็บอก ว่า สมัยก่อนพูดได้ ตอนนี้ลืมหมดแล้ว บาง คนก็บอกว่าเรียนมากี่ครั้ง ๆ ก็ยังเหมือนเดิม แน่นอนค่ะ ภาษาทุกภาษามีโครงสร้างประโยค ค�ำศัพท์ ส�ำนวนและการน�ำไปใช้ที่แตกต่างกัน ภาษาอังกฤษก็เช่นกัน ผูเ้ ขียนในฐานะทีเ่ ป็นครู สอนภาษาอังกฤษ และเป็นนักศึกษาที่จบวิชา เอกภาษาอังกฤษ วิชาโทภาษาฝรั่งเศสก็ต้อง ยอมรับว่า บางค�ำ หรือ บางส�ำนวน ก็ฟังไม่รู้ เรื่องเหมือนกัน จ�ำเป็นจะต้องฝึกฝนและเรียน รู้อยู่ตลอดเวลา ส�ำหรับผู้วางแผนจะพัฒนา ตนเองในการเรี ย นภาษาอั ง กฤษ มาอ่ า น เคล็ดลับ ที่ไม่ลับกันค่ะ ว่าจะเรียนรู้ภาษา อังกฤษให้เก่งในระยะเวลาอันสั้นอย่างไร ๑. หายใจลึก ๆ แล้วก็พูดออกมา (Take a deep breath and SPEAK!) ยิ่งคุณคิดเกี่ยวกับเรื่องที่จะพูดนานเกินไป คุณก็จะยิ่งประหม่า เพียงแค่พยายามพูด พูด และก็พูดให้มากขึ้น ดังนั้น คราวหน้า เมื่อเข้า เรียนในห้องเรียนภาษาอังกฤษหรือต้องพูด ภาษาอังกฤษ ให้ลองนับว่าพูดภาษาอังกฤษ กี่ครั้งใน ๕ นาทีหรือ ๑๐ นาที หลังจากนั้น พยายามพู ด มากขึ้ น หากคุ ณ พู ด เพี ย งครั้ ง เดียววันนี้ ในครั้งต่อไป ควรพยายามพูดสัก สองสามครั้ง ยิ่งคุณพูดมากเท่าไหร่ คุณก็จะ สื่อสารอย่างถูกต้องมากขึ้น (The more you think about speaking, the more nervous you will get. Just try speaking more. Next time you go to English class or speak English, count how many times you speak in five or ten minutes. After that, try to speak more. If you spoke one time today, next English class, try to speak two or three times. The more you speak the more you will learn how to communicate properly.) แต่ถ้าคุณคิด ว่า คุณไม่รู้จะพูดอะไรลองหัดฝึกออกเสียงใน แต่ละวันตามนี้ค่ะ 52

วันจันทร์ นับเลขเป็นภาษาอังกฤษ เช่น One two three four five six seven eight nine ten eleven twelve thirteen fourteen fifteen eighteen nineteen twenty thirty forty fifty sixty seventy eighty ninety hundred thousand million and billion แล้วเห็นอะไรที่เป็นตัวเลขก็ให้ นึกเป็นเลขภาษาอังกฤษให้หมด หรือฝึกแต่ง ประโยคง่าย ๆ เช่น - I have one car. ฉันมีรถหนึ่งคัน - I don’t have any car. ฉันไม่มีรถสักคันเลย - He has one dog. เขาผู้ชายมีสุนัขหนึ่งตัว - He doesn’t have any dog. เขาไม่มีสุนัขเลย - There are ten chairs in this room. มีเก้าอี้สิบตัวอยู่ในห้องนี้ - My mobile phone number is zero eight nine zero zero nine eight seven eight ฝึ ก จ� ำ เบอร์ โ ทรศั พ ท์ ข องคุ ณ เป็ น ภาษา อังกฤษแล้วท่องทุกวัน จากนั้นก็ไปถามเพื่อนๆ ว่าหมายเลขโทรศัพท์ของเขาหมายเลขอะไร ด้วยการถามว่า “What is your telephone number?” และเวลาเพื่อน ๆ เขาบอกเบอร์ โทรศัพท์ก็ลองจดตามไปด้วยนะคะ ถ้าเขาพูด เร็วเกินไปก็บอกว่า Slow down please หรือ please speak slowly. วันอังคาร ท่องวัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นภาษา อังกฤษ Monday (วันจันทร์), Tuesday (วัน อังคาร), Wednesday (วันพุธ), Thursday (วันพฤหัสบดี), Friday (วันศุกร์), Saturday (วันเสาร์) และ Sunday (วันอาทิตย์) และ ต่ อ ด้ ว ยการอ่ า นออกเสี ย งเดื อ น January (มกราคม) February (กุมภาพันธ์) March (มีนาคม) April (เมษายน) May (พฤษภาคม) June (มิถุนายน) July (กรกฎาคม) August (สิงหาคม) September (กันยายน) October (ตุลาคม) November (พฤศจิกายน) และ December (ธันวาคม) และหัดพูดกับตัวเองให้ ได้วา่ คุณเกิดวัน เดือน ปี อะไร เช่น I was born on Sunday 13th February 1966 (ให้อ่าน ทีละสองหลัก เช่น ๑๙ และ ๖๖) Nineteen

sixty-six. อย่าลืมเปลี่ยน พ.ศ. เป็น ค.ศ. โดย น�ำ ๕๔๓ มาลบด้วยค่ะ พยายามท่องให้ได้ทุก วันและเมื่อจ�ำวัน เดือน ปี ของตัวเองได้แล้ว ลองไปถามเพื่อนว่า เขาเกิดวันไหน โดยพูด ว่า “When were you born?” เวลาเพื่อน ตอบต้องฟังดี ๆ นะคะและจดตามด้วยค่ะ ลองถามไปเรื่อย ๆ วันละ ๕ คน รับรองคล่อง แน่ Confirm ! วั น พุ ธ มาฝึ ก ค� ำ ศั พ ท์ เ กี่ ย วกั บ ชื่ อ หน่ ว ย งานทหาร เช่ น Ministry of Defence (กระทรวงกลาโหม) Royal Aide de Camp Department (กรมราชองครั ก ษ์ ) Office of Permanent Secretary for Defence (ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม) Royal Thai Armed Forces Headquarters (กอง บัญชาการกองทัพไทย) Royal Thai Army (กองทัพบก) Royal Thai Navy (กองทัพ เรือ) Royal Thai Air Force (กองทัพอากาศ) แล้วลองหัดพูดแนะน�ำตัวเองว่า I work at the Ministry of Defence. (ฉันท�ำงานที่ กระทรวงกลาโหม) แล้วคุณท�ำงานที่ไหนพูด ว่า “Where do you work?” หรือ อาจจะ ถามว่า ท�ำงานนานแค่ไหน เช่น How long have you been working at the Office of Permanent Secretary for Defence? หรือ ถามว่า มาท�ำงานอย่างไร How do you come to work? หรือถามว่า เริ่มงานกี่โมง เลิกงาน กี่โมง What time do you start and finish working? เป็นต้น

Royal Thai Army

Royal Thai Navy

Royal Thai Air force

วันพฤหัสบดี มาศึกษา ทบทวน ยศทหาร สามเหล่าทัพ โดยแนะน�ำตัวเองอย่างเต็มยศ เช่น I am Colonel Wandee Tosuwan, a deputy director of the Foreign Language Center, the Defence Science and Technology Department, Office of Permanent Secretary for Defence. แล้ว บอกเพื่อนให้แนะน�ำตัวเอง โดยพูดว่า Please introduce yourself. พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ


๑๓

๑๔

๑๕

๒๕

๒๖

๒๗

๓๗

๓๘

๓๙

๑๖

๑๗

๑๘

๒๘

๒๙

๓๐

๔๐

๔๑

๔๒

๑๙

๒๐

๒๑

๓๑

๓๒

๓๓

๔๓

๔๔

๔๕

๑๐

๑๑

๑๒

๒๒

๒๓

๒๔

๓๔

๓๕

๓๖

๔๖

๔๗

๔๘

๑. จอมพล Field Marshal ๒. จอมพลเรือ Admiral of the Fleet ๓. จอมพลอากาศ Marshal of the Royal Thai Air Force ๔. พล.อ. GEN พลเอก General ๕. พล.ร.อ. Adm. พลเรือเอก Admiral ๖. พล.อ.อ. ACM. พลอากาศเอก Air Chief Marshal ๗. พล.ท. LTG พลโท Lieutenant General ๘. พล.ร.ท. VAdm. พลเรือโท Vice Admiral ๙. พล.อ.ท. AM พลอากาศโท Air Marshal ๑๐. พล.ต. MG พลตรี Major General ๑๑. พล.ร.ต. RAdm. พลเรือตรี Rear Admiral ๑๒. พล.อ.ต. AVM พลอากาศตรี Air Vice Marshal ๑๓. พ.อ. พันเอก COL Colonel พันเอก (พิเศษ) | พ.อ.(พิเศษ) Senior colonel | Sr COL ๑๔. น.อ. Capt. นาวาเอก Captain ๑๕. น.อ. Gp.Capt. นาวาอากาศเอก Group Captain ๑๖. พ.ท. LT COL หรือ LTC พันโท Lieutenant Colonel ๑๗. น.ท. Cdr. นาวาโท Commander ๑๘. น.ท. Wg.Cdr. นาวาอากาศโท Wing Commander ๑๙. พ.ต. MAJ พันตรี Major ๒๐. น.ต. LCdr. นาวาตรี Lieutenant Commander ๒๑. น.ต. Sqn.Ldr. นาวาอากาศตรี Squadron Leader ๒๒. ร.อ. CAPT หรือ CPT ร้อยเอก Captain ๒๓. ร.อ. LT เรือเอก Lieutenant ๒๔. ร.อ. FLT LT เรืออากาศเอก Flight Lieutenant ๒๕. ร.ท. LT. ร้อยโท First Lieutenant หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

๒๖. ร.ท. JLT เรือโท Junior Lieutenant ๒๗. ร.ท. FLG OFF เรืออากาศโท Flying Officer ๒๘. ร.ต. 2LT ร้อยตรี Second Lieutenant ๒๙. ร.ต. SUBLT เรือตรี Sub-Lieutenant ๓๐. ร.ต. PLT OFF เรืออากาศตรี Pilot Officer ๓๑. จ.ส.อ. SMG จ่าสิบเอก (Master Sergeant First Class) ๓๒. พ.จ.อ. 1CPO พันจ่าเอก (Chief Petty Officer First Class) ๓๓. พ.อ.อ. 1FS พันจ่าอากาศเอก (Flight Sergeant First Class) ๓๔. จ.ส.ท. MSG จ่าสิบโท (Master Sergeant Second Class) ๓๕. พ.จ.ท. 2CPO พันจ่าโท (Chief Petty Officer Second Class) ๓๖. พ.อ.ท. 2FS พันจ่าอากาศโท (Flight Sergeant Second Class) ๓๗. จ.ส.ต. SFC จ่าสิบตรี (Master Sergeant Third Class) ๓๘. พ.จ.ต. 3CPO พันจ่าตรี (Chief Petty Officer Third Class) ๓๙. พ.อ.ต. 3FS พันจ่าอากาศตรี (Flight Sergeant Third Class) ๔๐. ส.อ. SGT สิบเอก Sergeant ๔๑. จ.อ. 1PO จ่าเอก (Petty Officer First Class) ๔๒. จ.อ. SGT จ่าอากาศเอก Sergeant ๔๓. ส.ท. CPL สิบโท Corporal ๔๔. จ.ท. 2PO จ่าโท (Petty Officer Second Class) ๔๕. จ.ท. CPL จ่าอากาศโท Corporal ๔๖. ส.ต. LCPL สิบตรี Lance Corporal

๔๗. จ.ต. 3PO จ่าตรี (Petty Officer Third Class) ๔๘. จ.ต. LAC จ่าอากาศตรี (Leading Aircraft man)

วันศุกร์ พอถึงวันนี้ ลองหัดสร้างประโยค ง่าย ๆ สี่ประโยคหลัก คือ ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคค�ำถามใช่หรือไม่และ ประโยค Wh-question เช่น ฉันเรียนภาษา อังกฤษ ๑. ประโยคบอกเล่า I study English. ๒. ประโยคปฏิเสธ I don’t study English. ๓. ประโยคค�ำถาม ใช่หรือไม่ Do you study English? ๔. ประโยคค�ำถาม wh-question : What do you study? ลองมาแปลประโยคต่อไปนี้ ท�ำเป็นประโยค บอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคค�ำถามใช่ หรือไม่ และประโยค Wh-question ๑. ฉันร้องเพลงทุกวัน ๒. ฉันไปที่กระทรวงกลาโหมทุกวันอังคาร ๓. ฉันมีประชุมวันนี้ ๔. ฉันเล่นเทนนิส ๕. ฉันอ่านหนังสือพิมพ์ ๖. ฉันท�ำงานหนัก ๗. ฉันขับรถประมาท ๘. ฉันพูดภาษาจีนได้อย่างคล่องแคล่ว ๙. ฉันต้องการเรียนภาษาอังกฤษ ๑๐. ฉันกินมะม่วง ส่งค�ำตอบมาให้ตรวจได้ที่ wandeedrdo@ yahoo.com อย่าลืมนะคะ ผู้อ่านจะต้องส่ง ทั้งหมด ๔๐ ประโยค ยากไหมคะ ถ้ามุ่งมั่น จะเรียนภาษาอังกฤษก็ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่า ท�ำได้จริง ช่วยส่งมาให้อ่านนะคะ อาจารย์วันดี จะรออยู ่ ค ่ ะ หรื อ ส่ ง มาทาง Line ก็ ไ ด้ ค ่ ะ ที่ ID: goodday1d 53


สาระน่ารู้ทางการแพทย์

เหงือ่ : บอกอาการของโรค ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ท่านทราบหรือไม่ว่า เหงื่อสามารถบอก อาการของโรคต่าง ๆ ได้ หลังการออกก�ำลัง กายนอกจากจะเหนื่ อ ยแล้ว เรายังมีเ หงื่อ ออกมามากมาย และสามารถบอกอาการ ของโรคต่าง ๆ ได้ ลองอ่านกันดูครับ

เหงื่อ (Sweat gland) มี ๒ ชนิด คือ ๑. ชนิดที่สร้างเหงื่อ เรียกว่า ต่อม Eccrine (Eccrine sweat gland) ซึ่ ง กระจายอยู ่ มากมายทั่ ว ทั้ ง ร่ า งกาย ยกเว้ น ที่ ริ ม ฝี ป าก ปลายอวัยวะเพศชาย และบริเวณปุ่มกระสัน (Clitoris) ของอวัยวะเพศหญิง โดยจะมีมาก ในบริเวณฝ่ามือ และฝ่าเท้า ๒. ชนิดสร้างกลิ่นเรียกว่า ต่อม Apocrine (Apocrine sweat gland) ซึ่งมีอยู่เฉพาะจุด คือ บริเวณรักแร้ อวัยวะเพศภายนอก และ บริเวณรอบ ๆ ทวารหนัก ซึ่งต่อมชนิดนี้จะ เริ่มท�ำงานในช่วงเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันพบต่อมเหงื่ออีกชนิดที่เรียกว่า ต่อม Apoeccrine (Apoeccrine sweat gland) เป็นต่อมมีเฉพาะที่รักแร้ และเริ่มท�ำงานเมื่อ เข้าสู่วัยรุ่น มีลักษณะคล้ายทั้ง ๒ ต่อมที่ได้ กล่าวแล้ว แต่จะสร้างเหงื่อได้คล้ายกับต่อม Eccrine แต่มีการหลั่งเหงื่อที่มากกว่าต่อม Eccrine ถึง ๑๐ เท่า และพบจ�ำนวนต่อมได้ มากกว่าคนทัว่ ไปมากเมือ่ มีภาวะหลัง่ เหงือ่ มาก ในบริเวณรักแร้ ภาวะเหงื่ อ ออกมากผิ ด ปกติ หรื อ เรี ย ก ว่า “ภาวะหลั่งเหงื่อมาก หรือภาวะเหงื่อท่วม (Hyperhidrosis)” ได้แก่ ภาวะที่ต่อมเหงื่อ ชนิด Eccrine สร้างเหงื่อมากผิดปกติจนส่งผล ต่อการใช้ชีวิตประจ�ำวัน เช่น การเข้าสังคม มี กลิ่นตัว และ/หรือต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าบ่อย ซึ่ง เมื่อมีเหงื่อออกมากผิดปกติเกิดโดยไม่ทราบ สาเหตุ เกิดขึ้นเมื่อไรก็ได้ พยากรณ์ไม่ได้ว่า จะเกิดเมื่อใด แต่มักเกิดเฉพาะในช่วงกลางวัน 54

ในช่วงกลางคืนจะปกติ เรียกว่า ภาวะหลั่ง เหงื่อมากปฐมภูมิ (Primary hyperhidrosis หรื อ Idiopathic hyperhidrosis หรื อ Essential hyperhidrosis) แต่เมื่อมีเหงื่อ ออกมากผิดปกติเกิดขึ้นโดยรู้สาเหตุ เรียกว่า ภาวะหลั่ ง เหงื่ อ มากทุ ติ ย ภู มิ (Secondary hyperhidrosis) เมื่อมีเหงื่อออกมากผิดปกติ เป็ น เพี ย งบางแห่ ง ของร่ า งกาย เช่ น รั ก แร้ ฝ่ า มื อ และ/หรื อ ฝ่ า เท้ า ซึ่ ง มั ก ออกในช่ ว ง กลางวัน เรียกว่า ภาวะหลัง่ เหงือ่ มากเฉพาะจุด (Focal hyperhidro sis) และเมื่อออกมากผิด ปกติทวั่ ทัง้ ตัว เรียกว่า ภาวะหลัง่ เหงือ่ มากทัว่ ตัว (Generalized hyperhidrosis) ซึ่งเหงื่ออาจ ออกกลางวัน กลางคืน ทัง้ กลางวันกลางคืน หรือ

เป็นเวลาช่วงไหนก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นกับหลายสาเหตุ ในภาวะปกติ สามารถพบช่วงมีเหงื่อออก มากกว่าปกติได้ เช่น ในการออกก�ำลังกาย อากาศร้อน อากาศอบอ้าว กินอาหารเผ็ดหรือ อาหารร้อน ตื่นเต้น เครียด หรือมีไข้ ภาวะหลั่ง เหงื่อมาก เป็นภาวะพบได้บ่อย แต่สถิติที่แท้ จริงยังไม่ทราบ เพราะมีผู้ป่วยเพียงบางส่วน เท่านั้นที่มาพบแพทย์ด้วยภาวะนี้ แต่ประมาณ ว่า ในประชากรทั้งหมดสามารถพบภาวะนี้ได้ ประมาณ ๐.๖ – ๑% โดยพบภาวะนี้ได้ในทุก อายุ ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ และพบในผู้หญิง ได้บ่อยเท่ากับในผู้ชาย เพราะแสงแดดอันร้อนระอุของเมืองไทย เป็นสิง่ ทีเ่ ราทุกคนยากจะหลีกเลีย่ งได้ นอกจาก

ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


จะน� ำ มาซึ่ ง ผิ ว ที่ จ ะหมองคล�้ ำ ลงจากการถู ก แดดท�ำร้ายแล้ว อีกสิง่ หนึง่ ทีม่ กั จะมาพร้อมกับ แสงแดดร้อน ๆ นั่นก็คือ ‘เหงื่อ’ ที่จะรินไหล ออกมาจากรูขุมขนทั่วร่างกายของเราอีกด้วย เหงื่อสามารถเกิดได้ตามอวัยวะต่าง ๆ ทั่ว ร่างกาย หลายคนมักจะคิดว่า เหงื่อออกเพราะ เรารู้สึกร้อนหรือเราเหนื่อยเท่านั้น แต่จริง ๆ แล้ว เหงื่อยังเกิดจากอาการของความผิดปกติ ทางร่างกาย ที่จะสื่อความหมายถึงโรคต่าง ๆ ที่เราเป็นอยู่ได้อีกด้วย ทั้งแบบที่รู้ตัวหรืออาจ จะเกิดขึ้นใหม่ ซึ่งแต่ละอย่างจะแตกต่างกัน อย่างไรบ้างนั้น ลองมาเช็คกันดูดีกว่า เหงื่อจากโรคเครียด สังเกตดูง่ายๆ ส�ำหรับ อาการของโรคเครี ย ด จะมี เ หงื่ อ ออกมาก บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และหน้าผาก ร่วมกับ อาการอื่น ๆ คนหัวใจเต้นแรง ใจสั่น ชีพจรเต้น เร็วกว่าปกติ และอาจมีอาการมือสั่นร่วมด้วย เหงื่อจากวัณโรค ส�ำหรับผู้ที่มีอาการของ วัณโรคนั้น จะมีเหงื่อออกมาก ทั่วทั้งตัวใน บริเวณกลางคืน แม้ว่าจะนอนในที่ ๆ มีอากาศ เย็นก็ตาม ท�ำให้เกิดการนอนกระสับกระส่าย และมีอาการร่วมกับการไอเรื้อรังตลอดทั้งคืน เหงื่อจากโรคเบาหวาน ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรค เบาหวาน และมีภาวะขาดน�้ำตาลมาก ๆ หรือ อาการน�้ ำ ตาลต�่ ำ จะมี เ หงื่ อ ออกบริ เ วณทั่ ว ล�ำตัว โดยเฉพาะบริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า แต่ จะไม่ออกมาก ร่วมกับการมีอาการใจหวิวสั่น เหนื่อยหอบนิด ๆ คล้ายจะเป็นลมควบไปด้วย เหงื่ อ จากต่ อ มไทรอยด์ เ ป็ น พิ ษ หรื อ คอพอก จะมีเหงื่อออกบริเวณทั่วล�ำตัวโดย เฉพาะบริ เ วณฝ่ า มื อ ร่ ว มกั บ อาการมื อ สั่ น หงุดหงิด ตกใจง่าย ผมร่วง ตาโปน และจะรู้สึก หิวน�้ำบ่อยกว่าปกติ

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

เหงื่อจากโรคหัวใจ จะมีอาการเหงื่อแตก ร่วมกับอาการใจสัน่ เหนือ่ ยหอบง่าย โดยเฉพาะ ช่วงที่ออกก�ำลังกาย ยิ่งถ้าหากมีอาการแน่น หน้าอก และสังเกตได้ชัดว่าเหงื่อออกบริเวณ นิ้วมือและนิ้วเท้าในเวลาที่ออกก�ำลังกายแล้ว ด้วยนั้น แสดงว่าคุณมีอาการเสี่ยงต่อการเป็น โรคนี้มาก เหงื่ อ จากอาการใกล้ ห มดประจ� ำ เดื อ น ส�ำหรับสาว ๆ ที่ใกล้หมดประจ�ำเดือนหรืออยู่ ในช่วงวัยทองนั้น สมองจะสั่งการให้ฮอร์โมน เพศหญิงหลั่งน้อยลง ท�ำให้มักจะมีเหงื่อออก ในช่วงเวลากลางคืน อาการเหงื่อออกลักษณะต่าง ๆ ที่กล่าว มานั้น แม้สามารถบ่งบอกโรคได้ แต่เราก็ควร สังเกตอาการร่วมอย่างอื่นที่ตามมาด้วย และ สิ่งที่ส�ำคัญ หากสาว ๆ เป็นคนที่เหงื่อออกมาก อยูแ่ ล้ว การดูแลความสะอาดและเสือ้ ผ้าทีส่ วม ใส่เป็นสิ่งส�ำคัญ อย่างเช่นเวลานอน ควรใส่ เสือ้ ผ้าทีเ่ หมาะสมกับอุณหภูมหิ อ้ ง ไม่หนาหรือ บางจนเกินไป หรือในช่วงเวลาออกก�ำลังกาย เสือ้ ผ้าควรถ่ายเทอากาศได้ดี ดูดซับและระบาย เหงื่อได้ไว น�้ำหนักเบา ยืดหยุ่นได้ดี กระชับ และเหมาะสมกับรูปร่าง มีขนาดเหมาะสมกับ รูปร่างเพื่อความคล่องตัว และควรเปลี่ยนเสื้อ เมื่อเหงื่อออกจนรู้สึกเปียก เพื่อสุขภาพกายที่ ดี ไม่เป็นการสะสมเหงื่อและกลายเป็นความ สกปรก อันจะน�ำมาซึ่งโรคผิวหนังอีกหลาย อย่างที่คงจะไม่ดีต่อสาว ๆ อย่างแน่นอน

แนวทางการรักษาภาวะ หลั่งเหงื่อมาก ได้แก่

๑. การรั ก ษาภาวะหลั่ ง เหงื่ อ มากเฉพาะ จุดโดยไม่รู้สาเหตุ (ภาวะปฐมภูมิ) มีหลายวิธี อาจใช้เพียงวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือร่วมกันหลายวิธี ขึ้นอยู่กับการตอบสนองต่อแต่ละวิธีการ และ ดุลพินิจของแพทย์ โดยทั่วไปจะเริ่มด้วย ยาทาเฉพาะที่ที่ เรียกว่า Antiperspirants ทายาตรงต�ำแหน่ง ที่ เ กิ ด อาการ โดยทาหลั ง อาบน�้ ำ หลั ง เช็ ด บริเวณนั้นให้แห้ง ซึ่งยามีคุณสมบัติก่อให้เกิด การอุดตันของท่อเหงื่อและเกิดการฝ่อตัวของ ต่อมเหงื่อ โดยทายาติดต่อกันทุกคืนจนกว่า เหงื่อจะออกน้อยลง ต่อจากนั้นจะทยอยทายา ห่างออกไป เช่น เป็นทุกสัปดาห์ หรือทุก ๒ สัปดาห์ ทั้งนี้ขึ้นกับดุลพินิจของแพทย์ ซึ่งยา มักได้ผลภายใน ๒ วันถึง ๔ สัปดาห์ เมื่อหยุด ใช้ยาอาการมักกลับเป็นใหม่ได้อีก ยาลดการท�ำงานของประสาทอัตโนมัติ ซึ่งมีทั้งชนิดทาเฉพาะที่ และชนิดกิน การรักษาโดยวิธีที่เรียกว่า ไอออนโต ฟอรีสิส (Iontophoresis) คือการใช้กระแส ไฟฟ้ า พลั ง งานต�่ ำ เป็ น ตั ว น� ำ โมเลกุ ล ของน�้ ำ ธรรมดา หรือของตัวยา เพื่อให้เข้าสู่ผิวหนัง เฉพาะที่มีต่อมเหงื่อที่เกิดอาการโดยตรง ซึ่ง จะส่งผลให้ต่อมเหงื่อในบริเวณที่ได้รับกระแส ไฟฟ้าลดการท�ำงานลง การรักษาอาจต้องท�ำ อย่างน้อย ๒ - ๓ ครั้ง จึงจะเห็นผล และอาจ ต้องให้การรักษาซ�้ำทุก ๆ ๑ เดือน เพื่อป้องกัน ไม่ให้อาการกลับคืนมาอีก การฉี ด ยาโบทอก (Botox หรื อ Botulinum toxin) ซึ่งจะลดการท�ำงานของ ประสาทอัตโนมัติ จึงลดอาการเหงื่อออก ซึ่งก็ ต้องฉีดซ�้ำเมื่ออาการกลับคืนมาอีก โดยแต่ละ ครั้งของการใช้ยา จะเห็นผลภายในประมาณ ๑ ​- ๔ สัปดาห์ และจะควบคุมอาการได้นาน ประมาณ ๓ - ๕ เดือน ก ารผ่ า ตั ด หรื อ การจี้ ป มประสาท (Ga nglion) ของประสาทอัตโนมัติที่ควบคุม ต่อมเหงื่อในต�ำแหน่งนั้น ๆ ซึ่งมักเห็นผลทันที ภาย หลังรักษา โดยพบอาการย้อนกลับเป็น ซ�้ำ ได้ประมาณ ๑% ใน ๑ ปี และประมาณ ๒ - ๕ % ในปีต่อ ๆ มา ๒. ก ารรักษาภาวะหลั่งเหงื่อมากทั่วตัวที่ ทราบ สาเหตุ (ภาวะทุติยภูมิ) คือการรักษา ตามสาเหตุที่ท�ำให้เกิดอาการซึ่งแตกต่างกันไป ตามแต่ละสาเหตุ เช่น การรักษาโรคมะเร็ง โรค มาลาเรีย โรคเบาหวาน หรือการปรับเปลีย่ นยา เมื่อเกิดจากผลข้างเคียงของยา เป็นต้น

55


พลเอก เปรม ติ ณ สู ล านนท์ ประธาน องคมนตรีและรัฐบุรุษ ร่วมงานเลี้ยงรับรอง เนื่องในวันกองทัพบก ประจ�ำปี ๒๕๕๘ โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหั ว หน้ า คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหมและผู ้ บั ญ ชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงาน ณ สโมสรทหารบก ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต เมื่ อ ๒๐ ม.ค.๕๘

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นประธานการจัดงานสรุปผลการปฏิบัติงาน ประจ�ำปี ๒๕๕๗ และแถลงแผนการปฏิบตั งิ าน ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ของกองอ�ำนวยการรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจักร โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมประชุม ณ ตึกสันติไมตรี (หลังนอก) ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๓๐ ม.ค.๕๘ 56


พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ Dato’ Seri Hishammuddin bin Tun Hussein รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหมมาเลเซีย ในโอกาสเยี่ยมค�ำนับและหารือ ข้อราชการ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๒๙ ม.ค.๕๗

พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับพลเอก ฉาง ว่านฉวน มนตรีแห่งรัฐ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐประชาชนจีน และ คณะ ในโอกาสเดินทางเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการในฐานะแขก ของกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมให้การต้อนรับ เมื่อ ๖ ก.พ.๕๘

พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับนายเมิ่ง เจี้ยนจู้ สมาชิกกรมการเมือง หัวหน้าคณะกรรมการการเมืองและกฎหมาย คณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในฐานะทูตพิเศษของ นายสี จิน้ ผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน ในโอกาสเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ โดยมี พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมให้การต้อนรับ เมื่อ ๖ ก.พ.๕๘ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

57


พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วย พลเอก ศิรชิ ยั ดิษฐกุล ปลั ด กระทรวงกลาโหมและนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ร่ ว มงานวั น ทหารผ่ า นศึ ก ณ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เมื่อ ๓ ก.พ.๕๘

พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงาน วันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนเตรียมทหาร ครบรอบปีที่ ๕๗ และงานเกียรติยศจักรดาว ประจ�ำปี ๒๕๕๘ และในปีนี้ ปลัดกระทรวงกลาโหม ได้รบั รางวัลเกียรติยศจักรดาว พร้อม เข็มเชิดชูเกียรติ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ สาขาบริหารการปกครอง และเสริมสร้างความมัน่ คงแห่งชาติ ณ โรงเรียนเตรียมทหาร อ.บ้านนา จ.นครนายก เมื่อ ๒๗ ม.ค.๕๘ 58


พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานการปล่อยตัวการแข่งขันเดิน - วิ่งการกุศลไทยซิกข์ มินิมาราธอน ครั้งที่ ๒๑ และ เยี่ยมชมศาสนสถานคุรุดวาราซิกข์ ณ บริเวณถนนพาหุรัด เขตพระนคร เมื่อ ๒๕ ม.ค.๕๘

พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทกั ษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหมในฐานะผูอ้ ำ� นวยการศูนย์อำ� นวย การพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะ เดินทางไปตรวจเยี่ยม การด�ำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี งบประมาณ ๒๕๕๘ ณ ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ระหว่าง ๒๖ - ๒๗ ม.ค.๕๘

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

59


พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม ในฐานะผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม เป็นประธานในการประชุมคณะอนุกรรมการการจัดการความรู้ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๓ ก.พ.๕๘

พลเอก นพดล ฟักอังกูร เจ้ากรมเสมียนตรา เป็นประธานในการประชุมหารือร่วมกับคณะผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา (ครั้งที่ ๕) ณ ห้องหลักเมือง ๒ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๙ ม.ค.๕๘ 60


พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็น ประธานในพิธเี ปิดการอบรมให้ความ รู ้ แ ละบรรยายพิ เ ศษเกี่ ย วกั บ การ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลา ว่าการกลาโหม ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๑๘ ก.พ.๕๘

พลตรี ณภั ท ร สุ ข จิ ต ต์ เลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม และคณะ ร่ ว มพบปะพั ฒ นาสั มพั น ธ์ กับสื่ อมวลชนประเภทวิท ยุใ นพื้นที่ ภาคกลาง พร้อมทั้งจัดการอบรมสัมมนาเสริมสร้างและพัฒนาสัมพันธ์ สื่ อ สารมวลชนให้ ร ่ ว มประชาสั ม พั น ธ์ ค วามมั่ น คงร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ครั้งที่ ๑ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ณ โรงแรมพาราดิโซ เจเค ดีไซน์ จ.นครสวรรค์ ระหว่างวันที่ ๒๙ - ๓๐ ม.ค.๕๘

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

61


กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

นางทิพย์วัลย์ ฟักอังกูร เลขานุการสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและคณะ เฝ้าทูลละอองพระบาท สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และชมการแสดงนาฏศิลป์ เนื่องในงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ณ อุทยานพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เมื่อ ๗ ก.พ.๕๘

นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะ ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนาสมาคมแม่บ้าน ทหารอากาศ ครบปีที่ ๓๐ ณ ห้องชัยพฤกษ์ ๑ หอประชุมกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๓ ม.ค.๕๘

62


นางพรวิ ม ล ดิ ษ ฐกุ ล นายกสมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานมอบเงิ น ให้ กั บ บุ ต ร และคู ่ ส มรส ตามโครงการกองทุนเพื่อการช่วยเหลือคู่สมรส หรือบุตรที่มีความต้องการพิเศษของก�ำลังพล ในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมในพื้นที่ ต่าง ๆ ดังนี้

อาคารไพลิ น สแควร์ อาคาร c 2 เมืองทองธานี เมื่อ ๒๑ ม.ค.๕๘

โรงงานวัตถุระเบิดทหาร กรมการอุ ต สาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและพลั ง งานทหาร เมื่อ ๒๙ ม.ค.๕๘

บ้ า นพั ก ข้ า ราชการ กรมการอุ ต สาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและพลั ง งานทหาร เมื่อ ๒๙ ม.ค.๕๘

ที่ ท� ำ ก า ร ส ม า ค ม ฯ ชั้น ๑๐ อาคารส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๓๐ ม.ค.๕๘

ศู น ย์ อ� ำ นวยการสร้ า ง อาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงาน ทหาร เมื่อ ๒ ก.พ.๕๘

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๘

63


นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อุปนายก และคณะกรรมการสมาคมฯ เข้าเยี่ยมขอบคุณ ผู้บริหารในเครือเจริญโภคภัณฑ์ ในโอกาสให้การสนับสนุนการจัดงาน เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ อาคาร True Tower ๔ ก.พ.๕๘

นางทิพย์วัลย์ ฟักอังกูร เลขานุการสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหมและคณะ ร่วมพิธีวางพวงมาลาเนื่องในวันทหารผ่านศึก ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ณ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เมื่อ ๓ ก.พ.๕๘

64


ประมวลภาพกิจกรรมวันคล้ายวันสถาปนาส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล เป็นประธานในงานวันคล้ายวันสถาปนา ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ครบรอบปีที่ ๒๖ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี เมื่อ ๒๗ ก.พ.๕๘

อักษรพระนามาภิไธย ส.ธ. ภายในกรอบสุพรรณเบญจเพชรรัตน์ อักษร ส. สีมว่ งชาดแก่ อักษร ธ. สีขาวบนพืน้ สีมว่ งครามอ่อน เป็นสีวนั พระราชสมภพ ดวงเพชรรัตน์ ๕ ดวงหมายถึง ทรงเจริญพระชนมายุ ๕ รอบ อักษรนามาภิไธย ส.ธ. อยูภ่ ายใต้พระชฎา พระกลีบปักพระยีก่ า่ ทอง ไม่ประกอบพระกรรเจียกจร เบือ้ งหลังพระชฎามีพระบวรเศวตฉัตร (พระสัตตปฎลเศวตฉัตร) คือ ฉัตรขาว ๗ ชั้น แต่ละชั้น มีระบายขลิบทองแผ่ลวด ๓ ชั้น ชัน้ ล่างสุด ห้อยอุบะจ�ำปาทอง เป็นเครือ่ งประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมราชกุมารี ทั้งสองข้าง กรอบพระนามาภิไธย มีรูปเทพยดา พระกรหนึ่งประคองเชิญพระสัตตปฎล เศวตฉัตร พระกรหนึง่ กระชับเถาว์บวั ทองไว้ ขัดพระขรรค์ ทรงเศวตพัสตราภรณ์เขียนทอง เทพยดาข้างเลข ๖ (ด้านซ้าย) ทรงพระชฎาเดินหน ปักพระยีก่ า่ ดอกไม้ทอง ทัดพระกรรเจียกจร และเทพยดาข้างเลข ๐ (ด้านขวา) ทรงพระชฎามหากฐิน (พระชฎาห้ายอด) ปักพระยี่ก่า ดอกไม้ทอง ทัดพระกรรเจียกจร หมายถึง เทพยดาทรงมาบริรกั ษ์เฉลิมฉลองในมหามงคล กาลนี้ ให้ทรงเจริญพระสิรสิ วัสดิ์ ภูลพิพฒ ั น์พระเกียรติยศยิง่ พ้นสิง่ สรรพทุกข์โรคันตราย ทั้งปวง อนึ่งเถาว์บัวทอง หมายถึง ทรงเนาวนิเวศน์ นามว่า “สระปทุม” ใต้กรอบ พระนามาภิไธย มีเลขมหามงคล ว่า ทรงพระเจริญ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา บนพื้น สีหงสบาท (ส้มอ่อนหรือสีเท้าหงส์) เป็นสีวันพฤหัสบดี ในคัมภีร์พระไสยศาสตร์ ว่าเป็น มงคลอายุของวันพระราชสมภพ ถัดลงมา มีเชิงลายถมสีหงชาด (ชมพู) เขียนอักษร ไทยยอดสีทองว่า “ฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ” และ “๒ เมษายน ๒๕๕๘” บนห้องลาย พื้ น สี ข าวถั ด ลงมา สะท้ อ นถึ ง ทรงเชี่ ย วชาญด้ า นอั ก ษรโบราณและการโบราณคดี ทั้งปวงด้วย

พลตรี ณภั ท ร สุ ข จิ ต ต์ เลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม น�ำข้าราชการในสังกัดลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ ๒๗ ก.พ.๕๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.