ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๓ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
www.lakmuangonline.com
ปิยมหาราชาร�ำลึก ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ บังคมธิราชเจ้า จิตก่อร�ำลึกความ ราชสมัญญานาม ทรงหยั่งรากเพื่อเอื้อ ชนแสนเทวษเมื่อร้าง ทุกหมู่สบทุกข์ทน ทอดตาทั่วทุกหน ทุกข์ปริ่มยามห่างไร้ ประชาไทยต่างพร้อม จิตร่วมกันตรองตรึก พระเกียรติมั่นจารึก คงมั่นในจิตข้า- ทรงสราญ ณ แดนฟ้า สถิตมั่นสุขาวดี มวลสยามต่างนบพลี พระเกียรติคู่ธเรศไว้
จอมสยาม ทรงเกื้อ บอกบ่ง เทิดเกียรติ เร่งสร้างสยามแดน ฯ พระชนม์ ร�่ำไห้ เนตรกล�่ำ เหนือเกล้าแห่งฉมา ฯ ร�ำลึก ทั่วหล้า รอบถิ่น ไทยนา บาทไท้ชั่วกาล ฯ เปรมปรีดิ์ เทพไท้ ถวายเทิด พระนาม ห่มฟ้าคลุมดิน ฯ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ก�ำลังพลสังกัดกระทรวงกลาโหม (พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ประพันธ์)
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
เป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ในวันพุธที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา ณ วัดอนงคารามวรวิหาร แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร และร่วมท�ำบุญได้ที่ ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) สาขากระทรวงกลาโหม บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ ๐๓๙-๒-๗๔๒๒๒-๗ ชื่อบัญชี “กฐินพระราชทานของ กห. ประจ�ำปี ๒๕๕๗”
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น. พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ที่ปรึกษา พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล ผู้ช่วยเหรัญญิก
พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.ร.อ.ชุมนุม อาจวงษ์ ร.น. พล.อ.วิชิต ศรีประเสริฐ พล.อ.ชัยชาญ ช้างมงคล พล.อ.นพดล ฟักอังกูร พล.อ.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.นิวัติ ศรีเพ็ญ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ดำ�รงศักดิ์ วรรณกลาง พล.ท.ชุติกรณ์ สีตบุตร พล.ท.นเรศรักษ์ ฐิตะฐาน พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.อดุลย์ศักดิ์ บุญวัฒนะกุล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.เดชา บุญญปาล พล.ท.นภนต์ สร้างสมวงษ์ พล.ต.ภราดร จินดาลัทธ พล.ต.ชวลิต สาลีติ๊ด
ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ เดือนตุลาคม ๒๕๕๗ เดือนเริ่มต้นของปีงบประมาณ ๒๕๕๘ หลายส่วนงานมีการวางแผนการ ด�ำเนินงานตามบริบทของการปรับเปลี่ยนแนวทางและอาจรวมไปถึงรูปแบบการปฏิบัติงาน มีการ เปลีย่ นแปลงผูบ้ งั คับบัญชา ซึง่ เป็นเรือ่ งทีใ่ นส่วนของฝ่ายปฏิบตั จิ ะต้องปรับเปลีย่ นการด�ำเนินการเพือ่ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและแนวนโยบายที่มีการปรับเปลี่ยน โดยในเรื่องดังกล่าวหากผู้รับ นโยบาย ผู้ปฏิบัติ ยอมรับถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในมุมมองที่เป็นบวก การด�ำเนินงานและการ ปฏิบตั งิ านก็จะเป็นการท�ำงานอย่างมีความสุขและเมือ่ ท�ำงานด้วยความสุข ผลของงานก็จะประสบผล ส�ำเร็จ สัมฤทธิผล และผู้ท�ำงานปฏิบัติงาน ท�ำงานด้วย “วิญญาณ”และ สปิริต (spirit) เรื่องเหล่านี้ จึงอยากน�ำขึ้นมากล่าว เนื่องจากเป็นห้วงของการเริ่มต้นของปีงบประมาณ กล่าวถึงการมองโลกในแง่ดี ในสภาพสังคมข้อมูลข่าวสารเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ดูจะยังหากรอบ บรรทัดฐานที่เหมาะสมไม่ได้ หลายกรณีกระแสที่เกิดขึ้นในสังคมข้อมูลข่าวสารกลับมีน�้ำหนักและ บทบาทต่อการตัดสินความผิด-ถูก บางกรณีมีส่วนในการสร้างกระแสความเชื่อถือซึ่งต้องยอมรับว่า ในสภาวะดังกล่าว ผู้ที่อยู่ในสังคมข้อมูลข่าวสารแต่ละคนมีสื่อเป็นของตัวเอง ซึ่งผู้ที่มีส่ือเหล่านี้ จะต้องมีสงิ่ ทีเ่ รียกว่าเป็นพืน้ ฐาน อย่างน้อยทีส่ ดุ ต้องมีจติ ส�ำนึกทีด่ ี มีวจิ ารณญาณ และความรับผิดชอบ กับสิ่งที่ตนเองน�ำเสนอ คิดดี มองโลกในแง่ดี ท�ำดี สังคมไทยก็จะดี ขอให้ทุกคนร่วมสร้างแต่สิ่งที่ดี
วารสารหลักเมืองฉบับเดือนตุลาคมของทุกปี จะมีการน�ำเสนอภาพและประวัติโดยสังเขปของ ผูบ้ งั คับบัญชาระดับสูงของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ซึง่ ในวารสารหลักเมืองฉบับนีค้ ณะผูจ้ ดั ท�ำ ก็ได้ด�ำเนินการตามที่กล่าวมา ส�ำหรับภาพและประวัติโดยสังเขปของ พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม ไม่ได้มีการน�ำเสนอในวารสารฉบับนี้ เนื่องจากได้เคย น�ำเสนอภาพและประวัติโดยสังเขปของท่านในวารสารหลักเมืองฉบับเดือนตุลาคม ๒๕๕๖
2
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๓ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
๔
๔
สรวมชีพข้าบาทผู้ภักดี... ธิราชเจ้าจอมสยาม
๘
บทบาทของกองทัพเรือ ในประชาคมอาเซียน
๑๐
๓๒
พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหม
นโยบาย "ฟูโกกุ เคียวเฮ" กับการสร้างแสนยานุภาพ ของญี่ปุ่น
๑๒
๓๖
พลเอก กลชัย พรรณเชษฐ์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม
๑๖
Showdown in Berlin การเผชิญหน้าในเบอร์ลิน
๔๐
๘
๑๐
๑๒
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม พลเรือเอก ชุมนุม อาจวงษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
๑๙
๑๔
๑๖
๑๗
พลเอก ชัชวาลย์ ข�ำเกษม ผู้อ�ำนวยการศูนย์การ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนที่ ๒๖)
๕๒
อาณาจักรตองอูแห่งพม่า เริ่มต้นสู่จักรวรรดิครั้งที่สอง
๑๘
๑๙
๒๐
๕๘
ข้อควรรู้ของประเทศอาเซียน (ตอนที่ ๒)
๖๐
“The Armed Forces Stars”
๒๒
๖๒
พลเอก นิวัติ ศรีเพ็ญ เจ้ากรมพระธรรมนูญ
๒๓
๒๒
พลเอก พิณภาษณ์ สริวัฒน์ ผู้อ�ำนวยการองค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก
๒๔
แนวทางการปฏิบัติงาน ของปลัดกระทรวงกลาโหม
๔๘
๕๖
๒๐ ๒๑
๔๔
ทหารกับการเมือง กรณีศึกษา จอมพล ป.พิบูลสงคราม
พลเอก นพดล ฟักอังกูร เจ้ากรมเสมียนตรา พลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก งบประมาณกลาโหม
ดุลยภาพทางการทหาร ของประเทศอาเซียน เรือฟริเกตชั้นซิกม่า เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกัน ประเทศ (ตอนที่ ๒๑) ข้อพิจารณาในการเลือกใช้ วัสดุส�ำหรับการผลิต ชุดเกราะกันกระสุนแบบอ่อน
๑๗ ๑๘
กฐินพระราชทาน ของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๗
๒๘
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม
๑๔
๒๖
๒๓
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ การจัดฟัน
๗๐
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๒๑
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
3
สรวมชีพข้าบาทผู้ภักดี...
ธิราชเจ้าจอมสยาม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
วั
นที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ ที่ก�ำลังจะ เวียนมาบรรจบในโอกาสนี้ นับเป็น วันที่พสกนิกรชาวไทยจะได้ร่วมกัน ถวายความร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ องค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ซึ่งหลายท่าน อาจจะร� ำ ลึ ก ในพระราชสมั ญ ญา ว่ า องค์ พระปิยมหาราช พระผู้ทรงคุณูปการต่อสยาม ประเทศ ซึ่งหากกล่าวแล้วพระองค์คือองค์ หลักชัยในการรักษาเอกราชของชาติในยุคที่ ต้ อ งเผชิ ญ หน้ า กั บ กระแสจั ก รวรรดิ นิ ย มอั น รุนแรงจากประเทศชาติตะวันตก หรือกล่าว ได้วา่ สยามประเทศมีความสุม่ เสีย่ งอย่างรุนแรง ทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ชาติถงึ ขนาดว่าจวนเจียน จะสิ้นความเป็นชาติ และตกเป็นอาณานิคม ของประเทศชาติ ต ะวั น ตก โดยเฉพาะ 4
เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ที่มหาอ�ำนาจตะวันตก ได้ น� ำ เรื อ ปื น ผ่ า นระบบการป้ อ งกั น ของ ก�ำลังทหารที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า จังหวัด สมุทรปราการ จนเข้ามาจอดทอดสมอบริเวณ กรุงเทพชั้นในหรือหน้าพระบรมมหาราชวัง พร้อมกับเรียกร้องเงินทองและพื้นที่ของสยาม จนในที่สุด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ต้ อ งตั ด สิ น พระทั ย ชดใช้ เ งิ น ค่ า เสียหายตามที่นักเลงโตเรียกร้องแกมข่มขู่ถึง ๓ ล้านฟรังซ์ ด้วยการน�ำเงินถุงแดงจ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ ชั่ ง ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานมาจาก พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว มา ชดใช้ภายใน ๔๘ ชั่วโมง ตามที่ข้อเรียกร้อง แกมข่ ม ขู ่ และรวมถึ ง ต้ อ งสู ญ เสี ย ดิ น แดน ฝัง่ ซ้ายของแม่นำ�้ โขงในเวลาต่อมา ดังทีท่ กุ ท่าน ได้รับทราบไปแล้วนั้น
สิ่งที่ผู้เขียนขอน�ำเสนอในโอกาสนี้ คงมิใช่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์เพราะเคยกล่าวถึง ก่อนหน้านีม้ าแล้ว แต่ในโอกาสนีจ้ ะขอน�ำเสนอ บทพระราชนิ พ นธ์ บ ทร้ อ ยกรองที่ ส ะท้ อ น พระราชหฤทัย และบทพระนิพนธ์ของเจ้านาย ชั้นสูงที่ถวายเป็นก�ำลังใจแด่พระองค์ ที่บรรจง ร้ อ ยเรี ย งเป็ น ภาษาไทยตามฉั น ทลั ก ษณ์ ที่ มี ความสละสลวยเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้ ๑. พระราชนิ พ นธ์ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราช นิพนธ์โคลงและฉันท์ ชื่อว่า ลาสวรรคต โดย ทรงพรรณนาถึงความทุกข์เทวษแสนสาหัสใน กรณีเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ถึงขนาดคิดใคร่ลา สวรรคตเพือ่ ปลดเปลือ้ งความเหน็ดเหนือ่ ยและ ทุกข์ยากแห่งชีวิต ดังนี้ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
โคลงสี่สุภาพ เจ็บนานหนักอกผู้ คิดใคร่ลาลาญหัก ความเหนื่อยแห่งสูจัก ตูจักสู่ภพเบื้อง เป็นฝีสามยอดแล้ว ปวดเจ็บใครจักหมาย ใช่เป็นแต่ส่วนกาย ใคร่ต่อเป็นจึ่งผู้ ตะปูดอกใหญ่ตรึง จึงบ่อาจลีลา เชิญผู้ที่เมตตา ชักตะปูนี้ให้ ชีวิตมนุษย์นี้ ทุกข์และสุขพลิกแพลง โบราณท่านจึงแสดง ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เป็นเด็กมีสุขคล้าย รู้สุขรู้ทุกข์หาญ ละอย่างละอย่างพาล คล้ายกับผู้จวนม้วย ฉันไปปะเด็กห้า โกนเกศนุ่งขาวยล ถามเขาว่าเป็นคน ไปที่หอศพเริ้ม กล้วยเหลืองแก่กล�้ำ แรกก็ออกอร่อยจะ นานวันยิ่งเครอะคระ คนจ่อซ่อมจิ้มจ�้ำ
บริรักษ์ ปวงเฮย ปลดเปลื้อง พลันสร่าง หน้านั้นพลันเขษม ฯ ยังราย ส่านอ เชื่อได้ เศียรกลัด กลุ้มแฮ นั่นนั้นเห็นจริง ฯ บาทา อยู่เฮย คล่องได้ แก่สัตว์ปวงแฮ ส่งข้าอันขยม ฯ เปลี่ยนแปลง จริงแฮ มากครั้ง เป็นเยี่ยง อย่างนา เจ็ดข้างฝ่ายดี ฯ ดิรฉาน ขลาดด้วย หย่อนเพราะ เผลอแฮ ชีพสิ้นสติสูญ ฯ หกคน เคลิบเคลิ้ม เชิญเครื่อง ริกเร้าเหงาใจ ฯ เกินพระ ลักษณ์นา ใคร่กล�้ำ กลืนยาก แดกสิ้นสุดใบ ฯ
อินทรวิเชียรฉันท์ เจ็บนานนึกหน่ายนิตย์ ส่วนจิตบ่มีสบาย แม้หายก็พลันยาก ตริแต่จะถูกรึง กลัวเป็นทวิราช เสียเมืองจะนินทา
มนะเรื่องบ�ำรุงกาย ศิระกลุ้มอุราตรึง จะล�ำบากฤทัยพึง อุระรัดและอัตรา บ่ตริป้องอยุธยา จึงจะอุดและเลยสูญฯ จะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีทุกข์เทวษในพระราช หฤทัยเป็นอย่างยิ่งต่อกรณีที่ถูกคุกคามจาก ประเทศมหาอ�ำนาจเป็นอย่างมาก ถึงขนาดที่ มีพระราชประสงค์จะสวรรคต แต่เมื่อทรงอ่าน บทพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เ จ้ า ดิ ศ วรกุ ม าร กรมพระยาด� ำ รง ราชานุภาพ ทีท่ ลู เกล้า ฯ ถวายเพือ่ ปลุกพระทัย ให้ทรงตระหนักถึงความส�ำคัญของพระองค์ ที่ มี ต ่ อ ประเทศชาติ แ ละพสกนิ ก รชาวสยาม จึ ง ท� ำ ให้ ท รงมี พ ระราชมานะที่ จ ะเริ่ ม บ� ำ รุ ง พระวรกายให้แข็งแรงตามเดิม
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
5
๒. พระนิพนธ์ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ โดยทรงพระนิพนธ์ เป็นอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ดังนี้ ขอเดชะเบื้องบาท โรตม์ข้าผู้มั่นมี ได้รับพระราชทาน ทั้งโคลงและฉันท์ตู อันพระประชวรครั้ง เหล่าข้าพระบาทความ ประสาแต่อยู่ใกล้ เลือดเนื้อผิเจือยา ทุกหน้าทุกตาดู ปรับทุกข์ทุรนทุราย ดุจเหล่าพละนาวา นายท้ายฉงนงัน นายกลประจ�ำจักร จะรอก็ระแวง อึดอัดทุกหน้าที่ เหตุย่างบ่ดียาน ถ้าจะว่าบรรดากิจ เรือแล่นทะเลลม ธรรมดามหาสมุทร มีคราวสลาตัน ผิวพอก�ำลังเรือ หากกรรมจะบันดาล ชาวเรือก็ย่อมรู้ แต่ลอยอยู่ตราบใด แก้รอดตลอดฝั่ง เหลือแก้ก็จะจม
6
วรราชะปกสี มนะตั้งกตัญญู อ่านราชนิพนธ์ดู ข้าจึงตริด�ำหริตาม นี้แท้ทั้งไทยสยาม วิตกพ้นจะอุปมา ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา ให้หายได้จะชิงถวาย บ่พบผู้จะพึงสบาย กันมิเว้นทิวาวัน วะเหว่ว้ากะปิตัน ทิศทางก็คลางแคลง จะใช้หนักก็นึกแหนง จะไม่ทันธุรการ ทุกข์ทวีทุกวันวาร อันเคยไว้น�้ำใจชม ก็ไม่ผิด ณ นิยม จะเปรียบต่อก็พอกัน มีคราวหยุดพายุผัน ตั้งระลอกกระฉอกฉาน ก็แล่นลอดไม่ร้าวราน ก็คงล่มทุกล�ำไป ฉะนี้อยู่ทุกจิตใจ ต้องจ�ำแก้ด้วยแรงระดม จะรอดทั้งจะชื่นชม ให้ปรากฏว่าถึงกรรม
ผิดทอดธุระนั่ง ที่สุดก็สูญล�ำ ผิดกันแต่ถ้าแก้ ใครห่อนประมาทใจ เสียทีก็มีชื่อ สงสารว่ากรรมเมิน นี้ใดน�้ำใจข้า ทุกวันนี้อาดูร เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ผูกเครื่องบังเหียนอาน คอยพระประทับอาสน์ ตามแต่พระทัยไท ไกลใกล้บ่ได้เลือก ตราบเท่าจะถึงวา- ขอตายให้ตาหลับ เกิดมาประสพภาร ด้วยเดชะบุญญา สัตย์ข้าจงได้สัม- ขอจงวราพาธ พระจิตพระวรกาย ขอจงส�ำเร็จรา- ปกข้าฝ่าละออง ขอเหตุที่ขุ่นขัด จงคลายเหมือนหลายปี ขอจงพระชนมา- เพิ่มเกียรติอนุกูล
บ่วิ่งวุ่นเยียวยาท�ำ เหมือนที่แก้ไม่หวาดไหว ให้เต็มแย่จึงจมไป ว่าขาดเขลาและเมาเมิน ได้เลื่องลือสรรเสริญ ก�ำลังดอกจึงจมสูญ อุปมาบังคมทูล แต่ที่ทรงประชวรนาน ทั้งเป็นพาหนะยาน ประจ�ำหน้าพลับพลาชัย กระหยับบาทจะคลาไคล ธ จะชักไปซ้ายขวา จะกระเดือกเต็มประดา ระชีวิตมลายปราณ ด้วยชื่อนับว่าชายชาญ ธุระได้บ�ำเพ็ญท�ำ ภินิหารแห่งค�ำ ฤทธิ์ดังมโนหมาย บรมนาถเร่งเคลื่อนคลาย จงผ่องพ้นที่หม่นหมอง ชะประสงค์ที่ทรงปอง พระบาทให้สามัคคี จะวิบัติเพราะขันตี จะลืมเลิกละลายสูญ ยุสถาวรพูน สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
๓. พระนิพนธ์ของ พระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี ได้มีพระนิพนธ์ เป็นโคลงสี่สุภาพถวาย ดังนี้ สรวมชีพข้าบาทผู้ พระราชเทวีทรง สุขุมาลมารศรี ขอกราบทูลท่านไท้ ประชวรนานหนักอกข้า ทุกทิวาวันบ่วาย สิ่งใดซึ่งจักมลาย สุดยากเท่าใจแม้ หนักแรงกายเจ็บเพี้ยง ยังบ่หย่อนหฤทัย แม้พระจะด่วนไกล อกจะพองหนองย้อย
ภักดี สฤษดิ์ให้ เสนอยศ นี้นา ธิราชเจ้าจอมสยาม ฯ ทั้งหลาย ยิ่งแล คิดแก้ พระโรค เร็วแฮ มาทม้วยควรแสวง ฯ เท่าใด ก็ดี สักน้อย ข้าบาท ปวงแฮ ทั่วหน้าสนมนาง ฯ แม้ว่าบทพระราชนิพนธ์และบทพระ นิ พ นธ์ ที่ ผู ้ เ ขี ย นอั ญ เชิ ญ มาประดิ ษ ฐานใน บทความนี้ อ าจจะมี เ นื้ อ หาที่ ม ากมายก็ ต าม แต่ทุกถ้อยค�ำของบทร้อยกรองได้สะท้อนถึง พระราชด�ำริที่องค์พระปิยมหาราช ทรงมีต่อ ประเทศ และความจงรักของเจ้านายหลาย พระองค์ที่มีต่อองค์พระประมุขของประเทศ ในเวลานั้น เนื้อหาในบทความนี้จึงเป็นข้อมูล เชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มีค วามสละสลวยควรคู่ กับการเก็บรักษาไว้ในแผ่นดิน เพื่อให้อนุชน รุ่นหลังได้รับทราบและบังเกิดความส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ทีอ่ งค์พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีต่อประเทศชาติ และพสกนิกรชาวสยาม
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
7
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด ที่อยู่
๑๑ สิงหาคม ๒๔๘๘ ๕๘ ซอยลาดพร้าว ๗๑ ถนนลาดพร้าว แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐
การศึกษา พ.ศ.๒๕๐๕ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล พ.ศ.๒๕๐๘ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๖ พ.ศ.๒๕๑๒ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๑๗ พ.ศ.๒๕๒๑ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๕๖ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๔๐ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๔๐ ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๓๒ ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๒ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๓๙ ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๔๑ แม่ทัพน้อยที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๔ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก ฝ่ายยุทธการ พ.ศ.๒๕๔๕ แม่ทัพภาคที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๖ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก พ.ศ.๒๕๔๗ ผู้บัญชาการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๗ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ราชการพิเศษและราชการสนามชายแดน ปฏิบัติราชการพิเศษ พ.ศ.๒๕๑๒ ปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ พ.ศ.๒๕๑๓-๒๕๑๗ ปฏิบัติราชการสงครามประเทศที่สาม พ.ศ.๒๕๑๗-๒๕๑๘ ปฏิบัติราชการพิเศษ ปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ พ.ศ.๒๕๒๒-๒๕๔๓ ปฏิบัติหน้าที่ตามแผนป้องกันประเทศ
8
ต�ำแหน่งอื่นๆ พ.ศ.๒๕๔๙ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด พ.ศ.๒๕๔๙ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ ประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ประธานคณะกรรมการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ พ.ศ.๒๕๔๘ ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ พ.ศ.๒๕๔๖ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ.๒๕๔๓ มหาวชิรมงกุฎ พ.ศ.๒๕๔๐ ประถมาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ.๒๕๓๗ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย พ.ศ.๒๕๓๓ ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ.๒๕๒๙ ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย พ.ศ.๒๕๒๖ เหรียญจักรมาลา พ.ศ.๒๕๒๕ ตริตาภรณ์มงกุฎไทย, เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น ๑ พ.ศ.๒๕๒๑ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย พ.ศ.๒๕๑๗ เหรียญราชการชายแดน พ.ศ.๒๕๑๕ เหรียญชัยสมรภูมิ
9
พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส บุตร/ธิดา
๑๕ สิงหาคม ๒๔๙๘ พลเอก เลิศรบ - นางประณีต สีตบุตร นางวิภาดา สีตบุตร นางสาว จุฑาภัค สีตบุตร, นักเรียนเตรียมทหารภูวเดช สีตบุตร
การศึกษา พ.ศ.๒๕๐๓ - ๒๕๑๔ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล พ.ศ.๒๕๑๔ - ๒๕๑๖ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ พ.ศ.๒๕๑๖ - ๒๕๒๑ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ พ.ศ.๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๕ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๕๒ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๑ ต�ำแหน่งราชการที่ส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๒๑ ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๒๔ ผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๒๙ นายทหารยุทธการและการฝึก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๓๒ ผู้บังคับกองพัน กรมนักเรียน โรงเรียนเตรียมทหาร พ.ศ.๒๕๓๔ หัวหน้าฝ่ายกิจการพลเรือน กองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๔๐ รองผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๔๕ ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๔๗ รองผู้บัญชาการกองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๔๙ เสนาธิการกองทัพภาคที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๐ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๑ ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๙ พ.ศ.๒๕๕๒ รองแม่ทัพภาคที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๓ แม่ทัพภาคที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๕ เสนาธิการทหารบก 10
พ.ศ.๒๕๕๖ รองผู้บัญชาการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๗ ผู้บัญชาการทหารบก ราชการพิเศษและต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.๒๕๕๐ ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ พ.ศ.๒๕๕๕ ตุลาการศาลทหารกลาง ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ปัจจุบัน เลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ - ปัจจุบัน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม นายทหารพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๗ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๕๑ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๕๖ นายทหารพิเศษประจ�ำกองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ เหรียญรามมาลา เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น ๒ ประเภท ๑ เกียรติประวัติและรางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ พ.ศ.๒๕๒๐ ได้รับคัดเลือกเป็นหัวหน้านักเรียนนายร้อย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พ.ศ.๒๕๕๔ รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น โรงเรียนเซนต์คาเบรียล พ.ศ.๒๕๕๕ รางวัลบุคคลตัวอย่างแห่งปี มูลนิธิเพื่อสังคมไทย พ.ศ.๒๕๕๕ รางวัลเกียรติยศจักรดาว โรงเรียนเตรียมทหาร สาขาบริหารการปกครองและเสริมสร้าง ความมั่นคงแห่งชาติ
11
พลเอก กลชัย พรรณเชษฐ์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส ที่อยู่
๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๔ นายเชิดชัย - นางวิบูลย์ศรี พรรณเชษฐ์ นางเดบอร่า พรรณเชษฐ์ ๓๑/๑ ซอย ๔๙-๒ ถนนสุขุมวิท ต�ำบลคลองตันเหนือ อ�ำเภอวัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐
การศึกษาภายในประเทศ โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๒ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๓ หลักสูตรจู่โจม รุ่นที่ ๓๙ โรงเรียนสงครามพิเศษ ศูนย์สงครามพิเศษ หลักสูตรส่งทางอากาศ รุ่นที่ ๙๔ โรงเรียนสงครามพิเศษ ศูนย์สงครามพิเศษ หลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๑ หลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๓๙ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๓ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก การศึกษาต่างประเทศ Infantry Officer Advance Course (IOAC) (ชั้นนายพันทหารราบสหรัฐฯ) American Language Course ที่ Texas สหรัฐฯ Systems Automation Course ที่ Fort Benjamin Harrison Indiana สหรัฐฯ Resource Management Courses (๕ หลักสูตร) ที่ Fort Benjamin Harrison Indiana สหรัฐฯ Logistics Executive Development Course (LEDC) การบริหารงานส่งก�ำลังบ�ำรุงชั้นสูงที่ Fort Lee Virginia สหรัฐฯ ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๔๗ ฝ่ายเสนาธิการประจ�ำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ ที่ปรึกษาสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๕๓ หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการประจ�ำปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ปรึกษาพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๗ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม การปฏิบัติราชการสนาม พ.ศ.๒๕๒๐ - พ.ศ.๒๕๒๑ ราชการสนาม อ.ตาพระยา พ.ศ.๒๕๒๒ - พ.ศ.๒๕๒๓ ราชการสนาม อ.วังน�้ำเย็น พ.ศ.๒๕๒๕ - พ.ศ.๒๕๒๕ ราชการสนาม อ.ตาพระยา ต�ำแหน่งพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๘ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๕๒ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมนักเรียนนายร้อย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พ.ศ.๒๕๕๔ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ พ.ศ.๒๕๕๔ ตุลาการศาลทหารสูงสุด เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ 12
13
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส บุตร/ธิดา ที่อยู่
๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๘ พลตรี บุญชัย - นางศรีพรรณ ดิษฐกุล นางพรวิมล ดิษฐกุล นางสาวศศิภา ดิษฐกุล ๕ ถนนรามอินทรา ๙๗ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ
การศึกษา โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๓ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๔ หลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๓ หลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๔๐ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๓ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารสิงคโปร์ หลักสูตรภาษาจีน กรมยุทธศึกษาทหารบก หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๒ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๒๐ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ ๑๖ หลักสูตรวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ ๑๖ สถาบันวิทยาการตลาดทุน ต�ำแหน่งส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๔๐ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารบก ประจ�ำสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ พ.ศ.๒๕๔๘ เจ้ากรมข่าวทหารบก พ.ศ.๒๕๕๐ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายข่าว พ.ศ.๒๕๕๓ รองเสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๔ เสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๕ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๖ เสนาธิการทหาร พ.ศ.๒๕๕๗ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ราชการพิเศษ ราชองครักษ์เวร, ราชองครักษ์พิเศษ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ, กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ, กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค์ฯ ปฏิบัติหน้าที่ตามแผนป้องกันประเทศ (กองก�ำลังบูรพา) เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ชั้น ๑) เหรียญราชการชายแดน เหรียญจักรมาลา 14
"ALL WE CAN DO IS DO OUR BEST"
15
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ
รองปลัดกระทรวงกลาโหม
วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส ที่อยู่
๑๙ ธันวาคม ๒๔๙๗ พันเอก (พ.) นพ.ทองค�ำ - อาจารย์สัมฤทธิ์ ค้าทันเจริญ นางจุฬาลักษณ์ ค้าทันเจริญ ๓๙/๖ ซอยทวีวัฒนา ๒๓/๑ ถนนทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ การศึกษา โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ หลักสูตรชั้นนายพันทหารปืนใหญ่สนาม สหรัฐฯ พ.ศ.๒๕๒๘ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๕ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๓๔ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต รุ่นที่ ๑๖ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๑๙ (วปอ.๒๕๔๙) ต�ำแหน่งส�ำคัญ ผู้บังคับกองร้อยปืนใหญ่ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒๑ รักษาพระองค์ ฯ อาจารย์โรงเรียนทหารปืนใหญ่ ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ผู้อ�ำนวยการกองนโยบายและแผน กรมยุทธการทหารบก ผู้อ�ำนวยการกองนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม ที่ปรึกษาพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ต�ำแหน่งพิเศษ ราชองครักษ์พิเศษ นายทหารพิเศษประจ�ำกองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ตุลาการศาลทหารกลาง ตุลาการศาลทหารสูงสุด ราชการพิเศษ ปฏิบัติราชการตามแผนป้องกันประเทศ กองทัพบก (กองก�ำลังบูรพา) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ งานอดิเรก กีฬา (กอล์ฟ) คติพจน์ ทุกคนย่อมมีดีอย่างน้อยคนละหนึ่งอย่าง
16
พลเรือเอก ชุมนุม อาจวงษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส บุตร ที่อยู่ การศึกษา พ.ศ.๒๕๐๘ พ.ศ.๒๕๑๒ พ.ศ.๒๕๑๔ พ.ศ.๒๕๑๕ พ.ศ.๒๕๓๐ พ.ศ.๒๕๓๓ พ.ศ.๒๕๔๓ พ.ศ.๒๕๔๖ พ.ศ.๒๕๕๐ ต�ำแหน่งส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๒๖ พ.ศ.๒๕๓๑ พ.ศ.๒๕๓๔ พ.ศ.๒๕๓๗ พ.ศ.๒๕๔๐ พ.ศ.๒๕๔๓ พ.ศ.๒๕๔๖ พ.ศ.๒๕๔๗
โรงเรียนรุจิเสรีวิทยา โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๒ โรงเรียนนายเรือ รุ่นที่ ๖๙ โรงเรียนนายเรือเมอร์วิค เมืองเฟลนส์บวก ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือออสเตรเลีย วิทยาลัยการทัพเรือ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.๒๕๕๐) ผู้บังคับการเรือหลวงกูด ผู้บังคับการเรือหลวงประแส รองผู้บังคับการกรมนักเรียนนายเรือ รักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ผู้บังคับการเรือหลวงพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หมวดเรือที่ ๒ กองเรือฟริเกตที่ ๑ กองเรือยุทธการ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารเรือประจ�ำ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย รองผู้อ�ำนวยการศูนย์ยุทธศาสตร์ทางเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง เจ้ากรมสารบรรณทหารเรือ ผู้บัญชาการกองเรือล�ำน�้ำ กองเรือยุทธการ
๒ ธันวาคม ๒๔๙๗ พันเอก ไชยะ - นางอัมพิกา อาจวงษ์ นางธัญรัศม์ อาจวงษ์ นางสาว สุลัยพักตร์ อาจวงษ์, นางสาว ภิญญาพัชญ์ อาจวงษ์ ๑๑/๑๔ หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลปลายบาง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๓๐ พ.ศ.๒๕๔๙ เจ้ากรมสื่อสารทหารเรือ พ.ศ.๒๕๕๑ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารเรือฝ่ายยุทธการ พ.ศ.๒๕๕๒ ผู้บัญชาการทัพเรือภาคที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๔ รองผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ ราชการพิเศษ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ฯ ตุลาการศาลทหารกลาง เลขานุการคณะกรรมการเตรียมการจัดกระบวนพยุหยาตรา ชลมารคที่ใช้แสดงในการประชุมเอเปค ๒๐๐๓ คณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการดาวเทียมเพื่อความมั่นคง ของชาติ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมกระทรวงกลาโหม คณะกรรมการประสานงานการบริหารคลื่นความถี่ เพื่อความมั่นคงของรัฐ คณะท�ำงานจัดท�ำโครงการรักษาความปลอดภัยการท่องเที่ยว ทางทะเล คณะท�ำงานสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวลักลอบเข้ามาท�ำงาน ทางทะเล คณะกรรมการอ�ำนายการโครงการ “พิทักษ์ทะเล ๒๕๕๒” ผู้ช่วยผู้รับผิดชอบโครงการอุทยานใต้ทะเล จุฬาภรณ์ ๓๖ รองประธานกรรมการบริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ
17
พลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส ที่อยู่
๗ พฤศจิกายน ๒๔๙๗ นายชวน - นางซ่วน ศรีประเสริฐ นางอนงค์ ศรีประเสริฐ ๑๘๘ หมู่ ๑๐ ต�ำบลบางเสร่ อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
การศึกษา โรงเรียนสัตหีบ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๓ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๔ หลักสูตรชั้นนายร้อย เหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๓ หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๔๒ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๔ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรนายทหารปลัดบัญชีระดับบริหาร รุ่นที่ ๓ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๑ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ : NIDA ต�ำแหน่งส�ำคัญ ผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ ฯ นายทหารยุทธการและการฝึกกองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ ฯ หัวหน้าฝ่ายข่าวกรอง กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ หัวหน้าฝ่ายยุทธการ กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ รองเสนาธิการ กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ เสนาธิการ กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ รองผู้บัญชาการ กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ฯ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๒ รองแม่ทัพภาคที่ ๑ รองผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน หัวหน้าคณะนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจ�ำผู้บังคับบัญชา สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
18
ราชการพิเศษ ปฏิบัติราชการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ พื้นที่อ�ำเภอตาพระยา อ�ำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ปี ๒๕๒๑ - ๒๕๒๓ ปฏิบัติราชการป้องกันชายแดน ไทย - กัมพูชา พื้นที่อ�ำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว ปี ๒๕๒๓ - ๒๕๒๔ ปฏิบัติราชการป้องกันชายแดน ไทย - กัมพูชา พื้นที่อ�ำเภอตาพระยา อ�ำเภออรัญประเทศ อ�ำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ปี ๒๕๒๖ - ๒๕๒๗ ปฏิบัติราชการป้องกันชายแดน ไทย - กัมพูชา ปี ๒๕๓๐ - ๒๕๔๘ ปฏิบัติหน้าที่นายทหารเสริมก�ำลังพิเศษถวายอารักขา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ปี ๒๕๒๑ - ๒๕๒๘ ปฏิบัติหน้าที่นายทหารองครักษ์พิเศษ ปี ๒๕๔๕ - ปัจจุบัน ราชองครักษ์เวรและนายทหารพิเศษประจ�ำ หน่วยทหารรักษาพระองค์ ราชองครักษ์เวร นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ ฯ นายทหารพิเศษประจ�ำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ ประถมาภรณ์ช้างเผือก งานอดิเรก อ่านหนังสือ คติพจน์ งานใด ท�ำให้ประเทศชาติดีขึ้น งานนั้น คือ หน้าที่ของเรา
พลเอก นพดล ฟักอังกูร เจ้ากรมเสมียนตรา วัน/เดือน/ปีเกิด คู่สมรส ที่อยู่
๑๕ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ นางทิพย์วัลย์ ฟักอังกูร ๖๙ ระหว่างซอยวิภาวดี ๔๔ กับ ๔๖ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
การศึกษา โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนวัดราชาธิวาส โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ หลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๕ หลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๔๒ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๕ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) พ.ศ. ๒๕๓๔ สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง รุ่นที่ ๓ ต�ำแหน่งส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๒๑ ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันทหารราบที่ ๒ กรมผสมที่ ๒๓ พ.ศ.๒๕๒๘ นายทหารปฏิบัติการกิจการพลเรือน กองทัพภาคที่ ๑ พ.ศ.๒๕๓๓ หัวหน้าแผนก กรมกิจการพลเรือนทหารบก พ.ศ.๒๕๓๘ รองผู้อ�ำนวยการกอง กรมกิจการพลเรือนทหารบก พ.ศ.๒๕๔๘ นายทหารฝ่ายเสนาธิการประจ�ำเสนาธิการทหาร พ.ศ.๒๕๔๙ ผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจ�ำเสนาธิการทหาร พ.ศ.๒๕๕๖ หัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจ�ำรองปลัดกระทรวงกลาโหม ราชการพิเศษ นายทหารพิเศษประจ�ำกองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ ราชองครักษ์เวร ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ตุลาการศาลทหารกลาง รองผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก รามอินทรา ฝ่ายบริหาร ราชการสนาม พ.ศ.๒๕๒๒ - ๒๕๒๓ ปฏิบัติราชการกรณีปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ พ.ศ.๒๕๒๗ - ๒๕๒๘ ปฏิบัติราชการตามแผนป้องกันประเทศของกองทัพบก พ.ศ.๒๕๒๘ - ๒๕๓๐ ปฏิบัติราชการกรณีปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ ประถมาภรณ์ช้างเผือก เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น ๒ ประเภทที่ ๒ 19
พลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณกลาโหม
วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส บุตร ที่อยู่
๒๘ ธันวาคม ๒๔๙๗ พันเอก (นายแพทย์) บุญสืบ - นางดวงตา อินทะพงษ์ นางศรีจันทร์ อินทะพงษ์ (ชูโต) นางดุลยภัทร์ หมัดปัญญา, นางสาวจันทจิตา อินทะพงษ์ ๑๑/๑๔๐ ซอยชินเขต ๑/๒๙ หมู่ ๖ ถนนงามวงศ์วาน แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐ การศึกษา พ.ศ.๒๕๑๓ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๑๗ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๕ พ.ศ.๒๕๒๑ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๖ พ.ศ.๒๕๓๓ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๘ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๑ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ต�ำแหน่งส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๔๐ รองผู้อ�ำนวยการกองก�ำลังทหารพราน กองทัพภาคที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๓ เสนาธิการมณฑลทหารบกที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๔๘ รองผู้บัญชาการโรงเรียนทหารการเงิน กรมการเงินทหารบก พ.ศ.๒๕๔๘ รองเจ้ากรมการเงินทหารบก พ.ศ.๒๕๕๒ เจ้ากรมการเงินทหารบก พ.ศ.๒๕๕๖ เจ้ากรมการเงินกลาโหม ราชการพิเศษ พ.ศ.๒๕๒๒ ปฏิบัติราชการตามแบบแผนป้องกันประเทศ ตามแนวชายแดนไทย/กัมพูชา พ.ศ.๒๕๓๐ ปฏิบัติงานในกองก�ำลังบูรพา พ.ศ.๒๕๓๒ ปฏิบัติหน้าที่จัดก�ำลังป้องกันชายแดนด้านกัมพูชา พ.ศ.๒๕๓๖ ปฏิบัติราชการในกองอ�ำนวยการรักษาความสงบภายใน ภาค ๑ ตามแผนงานรักษาความมั่นคงภายใน ปี ๓๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ ประถมาภรณ์ช้างเผือก
20
พลเอก ชัชวาลย์ ข�ำเกษม
ผู้อ�ำนวยการศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร วัน/เดือน/ปีเกิด คู่สมรส ที่อยู่
๒๒ มิถุนายน ๒๔๙๘ ทันตแพทย์หญิง ทิพย์วัลย์ ข�ำเกษม ๑๐๔/๖๙ หมู่ที่ ๖ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๒๐
การศึกษา โรงเรียนปานะพันธ์วิทยา โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ ๑๔ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ หลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๕ หลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๔๑ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๓ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก นายทหารปลัดบัญชีระดับบริหาร รุ่นที่ ๑ ต�ำแหน่งส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๒๑ ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๔ พ.ศ.๒๕๒๔ นายทหารปฏิบัติการ กิจการพลเรือน กองทัพภาคที่ ๓ พ.ศ.๒๕๓๓ อาจารย์หัวหน้าวิชา โรงเรียนทหารสารบรรณ กรมสารบรรณทหารบก พ.ศ.๒๕๓๔ ผู้อ�ำนวยการกองควบคุมคุณวุฒิ กรมสารบรรณทหารบก พ.ศ.๒๕๓๙ ผู้อ�ำนวยการกองสวัสดิการ กรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๔๕ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานก�ำลังพล กรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๔๘ ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๔๙ รองเจ้ากรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ปรึกษาพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๖ เจ้ากรมเสมียนตรา ราชการพิเศษ นายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมนักเรียนนายร้อย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า นายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ ราชองครักษ์เวร ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ตุลาการศาลทหารกลาง ราชองครักษ์พิเศษ นายทหารพิเศษประจ�ำ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ ราชการสนาม พ.ศ.๒๕๒๑ - ๒๕๒๘ กรณีปฏิบัติราชการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฏ เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น ๑
21
พลเอก นิวัติ ศรีเพ็ญ เจ้ากรมพระธรรมนูญ
วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส ที่อยู่
๑๔ พฤษภาคม ๒๔๙๘ นายคเณ - นางสายสวาสดิ์ ศรีเพ็ญ นางจุไรรัศมี ศรีเพ็ญ ๓๒๙ ซอยอ่อนนุช ๑๐ ถนนสุขุมวิท ๗๗ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ การศึกษา มัธยมศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน รุ่นที่ ๓ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตรนายทหารสัญญาบัตรชั้นสูง รุ่นที่ ๓ โรงเรียนเหล่าทหารพระธรรมนูญ ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๓๕ ตุลาการพระธรรมนูญฝ่ายศาลทหารกรุงเทพ พ.ศ.๒๕๔๖ ตุลาการพระธรรมนูญฝ่ายศาลทหารกลาง พ.ศ.๒๕๕๐ ตุลาการพระธรรมนูญฝ่ายศาลทหารสูงสุด พ.ศ.๒๕๕๒ ผู้อ�ำนวยการกองกลาง/กองก�ำลังพล กรมพระธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๔ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๖ รองเจ้ากรมพระธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๗ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ราชการพิเศษ ราชองครักษ์เวร, นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารขนส่ง รักษาพระองค์ฯ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญตรา ประถมาภรณ์ช้างเผือก ประถมาภรณ์มงกุฎไทย เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ชั้น ๒) เหรียญราชการชายแดน เหรียญจักรมาลา
22
พลเอก พิณภาษณ์ สริวัฒน์ ผู้อ�ำนวยการองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา - มารดา คู่สมรส ธิดา ที่อยู่
๒๒ เมษายน ๒๔๙๘ นายเพิ่ม - นางอร่ามจิต สริวัฒน์ นางวาสนา สริวัฒน์ นางสาวศิวาพร สริวัฒน์, นางสาววรพรรณ สริวัฒน์ ๖๑๒/๓๘ ซอยพหลโยธิน ๘ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐
การศึกษา พ.ศ.๒๕๑๓ โรงเรียนอัสสัมชัญล�ำปาง พ.ศ.๒๕๑๕ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ พ.ศ.๒๕๒๑ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ พ.ศ.๒๕๒๘ โรงเรียนทหารราบสหรัฐอเมริกา ค่ายเบนนิ่ง มลรัฐจอร์เจีย หลักสูตรชั้นนายพัน, หลักสูตรผู้น�ำทางอากาศยาน, หลักสูตรควบคุมการกระโดดร่ม และหลักสูตรส่งทางอากาศ พ.ศ.๒๕๓๐ หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๕ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๕๒ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๑ ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ พ.ศ.๒๕๔๓ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานก�ำลังพล กรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๔๕ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม พ.ศ.๒๕๔๖ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณกลาโหม พ.ศ.๒๕๔๗ รองเจ้ากรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๔๙ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๐ ที่ปรึกษาส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๔ เจ้ากรมเสมียนตรา พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ปรึกษาพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ราชการพิเศษ ปฏิบัติราชการสนามชายแดน ปฏิบัติราชการตามแผนป้องกันประเทศ ราชองครักษ์เวร ราชองครักษ์พิเศษ ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ตุลาการศาลทหารกลาง ตุลาการศาลทหารสูงสุด นายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ ประจ�ำกรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ฯ ประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ เหรียญพิทักษ์เสรีชนชั้นที่ ๒ ประเภทที่ ๒ เหรียญราชการชายแดน เหรียญจักรมาลา เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ ๓ 23
แนวทางการปฏิบัติงาน ของปลัดกระทรวงกลาโหม
๑. แนวทางการปฏิบัติ งานทั่วไป ๑.๑ ยึดมั่นและพิทักษ์รักษา สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข รวมทั้งยึดถือกฎหมาย กฎ นโยบาย และแนวทางของคณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ (คสช.) นโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อ สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ เ มื่ อ ๑๒ กั น ยายน ๒๕๕๗ และนโยบายของรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เมือ่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ในการปฏิบัติราชการให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๑.๒ ริเริ่ม สร้างสรรค์ บูรณาการ ติดตาม ประเมินผล ทบทวน ปรับปรุงแก้ไข งานใน หน้าที่ด้วยความรวดเร็ว ละเอียดรอบคอบ มี ความสมบูรณ์ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง 24
ปฏิ รู ป /พั ฒ นา ระบบบริ ห ารจั ด การและ โครงสร้าง หน่วยงาน ให้สอดคล้อง รองรับ นโยบายและยุทธศาสตร์/แผนระดับชาติและ ระดับกระทรวง และให้เสนอแนะการปฏิรูป/ พัฒนางานในหน้าที่โดยไม่ต้องรอให้ผู้บังคับ บัญชาสั่งการ ๑.๓ บริหารจัดการทรัพยากรของรัฐ ได้แก่ บุ ค ลากร งบประมาณ พั ส ดุ และอื่ น ๆ ให้ เกิดความโปร่งใสเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ มีมาตรการป้องกันและตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ การบริหารจัดการและการ พั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ว างแผนและด� ำ เนิ น การ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อป้องกันแก้ไข ปัญหาจ�ำนวนก�ำลังพลที่เกินอัตรา เสริมสร้าง ขวัญก�ำลังใจของก�ำลังพลทุกระดับ เน้นการ ดูแลสิทธิก�ำลังพลของก�ำลังพลชั้นผู้น้อย
๒. แนวทางการปฏิบัติ งานที่ก�ำหนดผลสัมฤทธิ์ ภายใน ๑ ปี ๒.๑ สนับสนุน คสช. และรัฐบาลในการ ด� ำ เนิ น งานระยะที่ ๒ ของแผนที่ น� ำ ทาง (Road Map) ของ คสช. และจั ด ท� ำ แผน ปฏิ บั ติ ง านรองรั บ นโยบายของรองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ให้เสร็จภายใน ๓๑ ตุ ล าคม ๒๕๕๗ โดยให้ ร ายงานผล การปฏิ บั ติ ข องส่ ว นราชการในส� ำ นั ก งาน ปลั ด กระทรวงกลาโหม ทุ ก สิ้ น ไตรมาสของ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๒.๒ ด�ำเนินการปฏิรูประบบราชการ ใน กระทรวงกลาโหมให้สอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินของ คสช. และรัฐบาล ที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จะ ศึ ก ษาและเสนอแนะตามมาตรา ๒๗ แห่ ง แผนกเผยแพร่
เชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาขี ด ความ สามารถกระทรวงกลาโหมเพื่อเพิ่มศักยภาพ การพึ่งพาตนเองด้านยุทโธปกรณ์ โดยจัดท�ำ แผนและแนวทางการปฏิ รู ป และการปรั บ โครงสร้างระบบงานข้างต้นให้แล้วเสร็จภายใน ไตรมาสที่ ๒ ของปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๒.๕ ปฏิรูป นโยบาย และแผนการบริหาร จัดการและการพัฒนาก�ำลังพลของกระทรวง กลาโหมในภาพรวมทั้ ง ระบบ ตั้ ง แต่ ก าร สรรหา คัดเลือก บรรจุบุคลากรทุกประเภท จนถึ ง เกษี ย ณอายุ ร าชการ ให้ มี ข ้ า ราชการ ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม ตาม สาขาเส้นทางอาชีพ ในส่วนของข้าราชการ ทหารให้ มี ร ะบบปลดถ่ า ยจากหน่ ว ยทหาร ตามชั้นยศ เพื่อให้จ�ำนวน ชั้นยศและต�ำแหน่ง ของข้าราชการทหารโดยเฉพาะในระดับกอง บั ญ ชาการได้ ม าตรฐานสากล ปฏิ รู ป ระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลให้ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม เชื่อมโยงกับผลผลิต ของหน่วยงานและสะท้อนผลการปฏิบัติงาน จริงและเป็นที่ยอมรับ การปฏิรูปต้องใช้ระยะ เวลาในการด�ำเนินการ ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อ ขวัญก�ำลังใจของก�ำลังพล รวมทั้งพิจารณา ระบบเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ และสวัสดิการของข้าราชการทหารที่แตกต่าง จากข้าราชการพลเรือนกลาโหมโดยให้จัดท�ำ แผนและแนวทางการปฏิรูปด้านก�ำลังพลของ กระทรวงกลาโหมที่เป็นรูปธรรม ทั้งระยะยาว ระยะปานกลาง และระยะสั้น ให้แล้วเสร็จ ภายในไตรมาสที่ ๒ ของปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๒.๖ ติดตาม ตรวจสอบ เร่งรัดการเบิก จ่ า ยงบประมาณประจ� ำ ปี ๒๕๕๘ และงบ ประมาณที่ กั น ไว้ เ หลื่ อ มปี ให้ เ ป็ น ไปตาม ส่วนที่กระทรวงกลาโหมรับผิดชอบให้เป็นไป เป้ า หมายและหลั ก เกณฑ์ ที่ รั ฐ บาลก� ำ หนด ตามนโยบายและแนวทางของ คสช. รัฐบาล ก�ำหนดให้การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นตัวชี้วัด และเป้าหมายของกระทรวงกลาโหม เน้นใช้ ภายในของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม การด�ำเนินงานเชิงรุก บูรณาการข้อมูลและ โดยจัดตั้งคณะท�ำงานเฉพาะกิจของส�ำนักงาน ทรัพยากร ให้ผลการปฏิบัติ เกิดประโยชน์ต่อ ปลัดกระทรวงกลาโหม ติดตาม ตรวจสอบ ประเทศไทย เกิดแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้อง เร่งรัดเป็นรายหน่วยงาน เสนอแนะการบริหาร กันได้อย่างเป็นรูปธรรม และให้รายงานผลการ จั ด การงบประมาณ รายการที่ มีป ัญ หา ข้อ ปฏิบัติ ปัญหาข้อขัดข้อง และแนวทางแก้ไข ขัดข้องให้การเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ทุกสิ้นไตรมาส ของปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เป็นไปตามเป้าหมาย และหลักเกณฑ์ และให้ ๒.๔ ทบทวนภารกิจ หน้าที่ ยุทธศาสตร์ รายงานผลการปฏิบัติของคณะท�ำงาน ทุกสิ้น ระบบบริ ห ารจั ด การโครงสร้ า ง และการ ไตรมาสของปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ด� ำ เนิ น งานของหน่ ว ยงานด้ า นวิ จั ย พั ฒ นา วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหารให้เกิดการ บูรณาการ เชื่อมโยง ใช้ประโยชน์ งานต้นน�้ำ (วิจัยและพัฒนา องค์ความรู้/นวัตกรรม) ไป สู ่ ง านปลายน�้ ำ (อุ ต สาหกรรม) เน้ น การใช้ ศักยภาพและทรัพยากรของภาครัฐอื่น ภาค วิ ช าการ และภาคเอกชน ผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น ประเด็นการพัฒนาระดับชาติ และให้มีความ
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม
รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย (ฉบั บ ชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยทบทวนยุทธศาสตร์ การป้ อ งกั น ประเทศ มี ผู ้ แ ทนจากภายนอก กระทรวงกลาโหมเข้าร่วมเพื่อบูรณาการความ คิดก�ำหนดงานหลัก งานรองที่ชัดเจนและเพื่อ จัดท�ำแผนแม่บทการปฏิรูปการบริหารจัดการ และโครงสร้ า งกระทรวงกลาโหมและแผน พัฒนาขีดความสามารถกระทรวงกลาโหมที่ สอดคล้องกับการปฏิรูปการบริหารราชการ แผ่นดินในระดับประเทศและยุทธศาสตร์การ ป้องกันประเทศ โดยจัดท�ำแผนทั้ง ๒ ฉบับ ข้าง ต้นให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๒.๓ ด�ำเนินการ ประสานงาน บูรณาการ สนั บ สนุ น และติ ด ตามแผนงานโครงการ กิจกรรมของหน่วยงานภายนอกและภายใน กระทรวงกลาโหมในการเตรียมความพร้อม ประเทศไทยเข้ า สู ่ ป ระชาคมการเมื อ งและ ความมั่นคงอาเซียนในช่วงสุดท้าย และการ ส่งเสริมพัฒนาความร่วมมือด้านความมัน่ คงกับ มิตรประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ใน หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
25
กฐินพระราชทาน
ของกระทรวงกลาโหม
ประจ�ำปี ๒๕๕๗ แผนกเผยแพร่ฯ
ป
ระเพณีการทอดกฐิน เป็นประเพณี สําคัญอย่างหนึ่งที่พุทธศาสนิกชน ได้ ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ สื บ ทอดกั น มา เป็นเวลาช้านานจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการ ทํ า นุ บํ า รุ ง พระพุ ท ธศาสนาให้ เ จริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง เป็ น มรดกทางวั ฒ นธรรม และเสริ ม สร้ า ง ความสมั ค รสมานสามั ค คี ใ นหมู ่ พุ ท ธบริ ษั ท การทอดกฐิ น เป็ น การทํ า บุ ญ ที่ ส ามารถ กระทําได้ภายในระยะเวลาที่กําหนด เรียกว่า “กฐินกาล” ระหว่างวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ ถึง วันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ จึงเชื่อกันว่า การทอดกฐินก่อให้เกิดผลานิสงส์อย่างสูงต่อ พระภิ ก ษุ ผู ้ ก รานกฐิ น และพุ ท ธศาสนิ ก ชน ผู้มีส่วนร่วมในการทอดกฐินพระราชทาน เป็น กฐินที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานให้สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน คณะบุคคล หรือ 26
บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่เหมาะสม นําไปถวายแด่ พระสงฆ์ จํ า พรรษา ณ พระอารามหลวง ต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร นอกเหนือจากที่ ทรงกําหนดว่าจะเสด็จพระราชดําเนินไปถวาย ด้วยพระองค์เอง ส�ำหรับในปีนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ท ร ง มี พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ โ ป ร ด เ ก ล ้ า โปรดกระหม่ อ มพระราชทานผ้ า พระกฐิ น ให้ ก ระทรวงกลาโหมน� ำ ไปถวายพระสงฆ์ จ�ำพรรษา ณ วัดอนงคารามวรวิหาร แขวง สมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ใน วันพุธที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธี นับเป็น พระมหากรุณาธิคุณและเป็นสิริมงคลอันใหญ่ หลวงแก่บรรดาข้าราชการ พนักงานราชการ แผนกเผยแพร่ฯ
และลูกจ้างของกระทรวงกลาโหม จึงขอน�ำ สาระความรู้เกี่ยวกับการทอดกฐินและประวัติ วัดอนงคารามวรวิหาร มาให้รับทราบกัน วัดอนงคารามวรวิหาร เป็นอารามหลวง ชั้ น โท มี ชื่ อ เดิ ม คื อ วั ด น้ อ ยข� ำ แถม เป็ น ชื่ อ ท่ า นผู ้ ห ญิ ง น้ อ ย ซึ่ ง เป็ น ภรรยาของสมเด็ จ เจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) หรือสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย เป็นผู้สร้างขึ้น คู่กันกับวัดพิชัยญาติแล้วถวายเป็นพระอาราม หลวงในรั ช กาลที่ ๓ ส่ ว นค� ำ ว่ า ข� ำ แถมนั้ น มี เ พิ่ ม เติ ม มาจากนามเดิ ม ของเจ้ า พระยา ทิ พ ากรวงศ์ ม หาโกษาธิ บ ดี (ข� ำ ) ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด แห่ ง นี้ ต่ อ มาถึ ง สมั ย รั ช กาล ที่ ๔ วั ด นี้ ก็ ไ ด้ รั บ พระราชทานชื่ อ ใหม่ ว ่ า วัดอนงคารามอย่างในปัจจุบัน พระอุโบสถที่ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ เป็นอาคารทรง ไทย ก่ออิฐถือปูน หลังคามุงกระเบื้องเคลือบ ช่อฟ้า ใบระกาลงรักประดับกระจก หน้าบัน และซุม้ ประตูหน้าต่างก็มลี วดลายลงรักปิดทอง
สวยงาม มีพระพุทธรูปส�ำคัญอย่างพระพุทธ จุ ล นาคซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป สมั ย สุ โ ขทั ย ปาง มารวิชัย เป็นพระประธานในพระวิหาร และ มี พ ระพุ ท ธรู ป พระสาวกหล่ อ ด้ ว ยโลหะปิ ด ทองยืนอยู่ด้านซ้ายขวา อีกทั้งด้านหน้าพระ ประธานยังมีพระพุทธมังคโล ซึ่งเป็นพระพุทธ รูปทรงเครื่องปางสมาธิตั้งอยู่ด้านหน้าอีกด้วย และใกล้ๆ กับพระวิหารนั้นก็ยังมี พระมณฑป ซึ่งสร้างขนาบกับพระวิหาร หลังที่อยู่ด้านทิศ ตะวั น ออกประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรูป ไสยาสน์ ที่จ�ำลองมาจากวัดราชาธิวาส และหลังที่อยู่ ด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธบาท จ�ำลองเอาไว้ วัดอนงคาราม บนชั้นสอง เป็น ห้องสมุดประชาชนภายในวัดนั้น และเป็นที่ ตั้งของ “พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเขตคลองสาน” ซึ่ง ในพิพธิ ภัณฑ์นนั้ มีการจัดแสดงนิทรรศการเรือ่ ง ราวความเป็นมาเป็นไปต่างๆ ในเขตคลองสาน ทั้ ง เรื่ อ งของวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องชาว คลองสานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
27
บทบาทของกองทัพเรือ ในประชาคมอาเซียน นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล
ภาพการประชุม ADMM-Plus เมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๖
ส
มาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ เมื่อ ๘ ส.ค.๒๕๑๐ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริม สั นติ ภาพและความมั่ น คงของภูมิภ าค และ ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งอาเซี ย นกั บ ต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ นับถึง ปั จ จุ บั น ถ้ า เปรี ย บเที ย บกั บ อายุ ค นอาจจะ กล่าวได้ว่าอาเซียนได้ย่างเข้าสู่วัยกลางคนคือ มีอายุได้ ๔๗ ปี ซึ่งในช่วงการพัฒนาเกือบครึ่ง ศตวรรษนี้ อาเซียนก�ำลังเริ่มเข้าสู่ช่วงส�ำคัญ ในการรวมกลุ ่ ม ประเทศกั น เป็ น ประชาคม เดียวกันตามทีผ่ นู้ ำ� ประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ได้ลงนามร่วมกันในปฏิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียนที่เรียกว่าปฏิญญาบาหลี ๒ (Bali Concord II) ซึ่งได้ก�ำหนดให้ในปี ๕๘ ทุกชาติในกลุ่มอาเซียน ๑๐ ประเทศจะรวม กลุ่มกันเป็นประชาคม (ASEAN Community) ตามกฎบั ต รสมาคมแห่ ง ประชาชาติ เ อเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ คื อ “วิ สั ย ทั ศ น์ เ ดี ย ว อั ต ลั ก ษณ์ เ ดี ย ว ประชาคมเดี ย ว”(One Vision, One Identity, One Community) โดยได้กำ� หนดเสาหลัก (Pillar) เพือ่ ค�ำ้ ยันความ 28
เป็น “ครอบครัวเดียวกัน” ไว้ ๓ ด้าน คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคม สั ง คมวั ฒ นธรรมอาเซี ย น ทั้ ง นี้ เ สาหลั ก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งทหารเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักนั้นดู เหมือนจะมีบทบาทส�ำคัญในสภาวะที่ภูมิภาค อาเซี ย นตกอยู ่ ใ นพื้ น ที่ อิ ท ธิ พ ลและแสวงหา ผลประโยชน์ของประเทศมหาอ�ำนาจ ท�ำให้ กองทัพของประเทศอาเซียนต้องรวมกลุ่มกัน เพื่อรักษาสภาวะแวดล้อมความมั่นคงให้เอื้อ ต่ อ ระบบการค้ า ระหว่ า งประเทศซึ่ ง จะช่ ว ย กระตุ้นระบบเศรษฐกิจและเพิ่มความเป็นอยู่ ทีด่ ขี องประชาชนในประชาคมอาเซียน จึงสรุป ได้ว่าเสาหลักประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน คือ “หลักประกันการรักษา ผลประโยชน์ ข องชาติ อ าเซี ย นร่ ว มกั น ” ทั้ ง นี้ ก ารประเมิ น สภาวะแวดล้ อ มความ มั่ น คงส� ำ คั ญ ที่ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ เสาหลั ก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ได้ แ ก่ ๑.ก� ำ ลั ง อ� ำ นาจทางภู มิ รั ฐ ศาสตร์ (Geopolitics) เนื่ อ งจากภู มิ ภ าคอาเซี ย น ตั้ ง อยู ่ บ นจุ ด ยุ ท ธศาสตร์ โ ลกและเป็ น ต� ำ บล ที่ กึ่ ง กลางของประเทศที่ มี อ าวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ (อินเดีย ปากีสถาน เกาหลีเหนือ จีน) จึงเป็น
ที่รวมผลประโยชน์ของประเทศมหาอ�ำนาจ ซึ่ ง จะเห็ น ได้ จ ากประวั ติ ศ าสตร์ ข องชาติ ใ น อาเซี ย นยกเว้ น ประเทศไทยได้ เ คยตกเป็ น อาณานิคมของชาติตะวันตก ปัจจุบันภูมิภาค อาเซี ย นยั ง คงมี ค วามส� ำ คั ญ โดยเฉพาะหลั ง จากที่สหรัฐได้น�ำนโยบาย “การปรับสมดุล” (Rebalancing Policy) มาใช้กับประเทศใน อาเซียนและภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เพื่อการ ปิดล้อมจีนและการกลับเข้ามาสูการมีอิทธิพล ในภูมิภาค ท�ำให้ทุกชาติในอาเซียนต้องปรับ นโยบายการเมืองระหว่างประเทศให้สมดุล กั บ สหรั ฐ และจี น โดยใช้ ก ลไกของความ ร่วมมือประชาคมอาเซียน ๒.ปัญหาภัยพิบัติ ของอาเซี ย น รายงานสถานการณ ภั ย พิ บั ติ ประจําปโครงการ International Strategy for Disaster Reduction ขององค ก าร สหประชาชาติ ระบุวาทวีปเอเชียเปนภูมิภาค ที่ประชากรไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติทาง ธรรมชาติมากที่สุดโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เหตุการณ์สึนามิ ปี ๔๗ พายุไซโคลนนาร์กิสในพม่า มหาอุทกภัยใน ประเทศไทยปี ๕๔ และพายุไต้ฝุ่นไห่เหยียน ในฟิลิปปินส์ จากสภาวะโลกร้อนได้ยิ่งท�ำให้ ภัยพิบัติมีความรุนแรงและความถี่มากขึ้น อีก ทั้งการเติบโตของเมืองในอาเซียนมีการขยาย นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล
พื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่อุตสาหกรรมเข้าไปใน เขตพื้นที่เสี่ยงต่อภัยพิบัติจึงท�ำให้ความสูญเสีย และ การรับมือกับภัยพิบัติของอาเซียนมีความ ซับซ้อนและรุนแรงมากยิ่งขึ้นส่งผลเสียหาย ต่อชีวิต ทรัพย์สิน ระบบเศรษฐกิจ สังคมและ สิง่ แวดล้อมคิดเป็นมูลค่ามหาศาล ทัง้ นีห้ ากการ จัดการภัยพิบัติของรัฐบาลแต่ละประเทศไม่มี ประสิทธิภาพและไม่ตอบสนองต่อความคาด หวังของประชาชนแล้วจะส่งผลให้เสถียรภาพ ความมัน่ คงของประเทศและประชาคมอาเซียน ส่วนรวมกระทบกระเทือนไปด้วย ๓.ปัญหา ความมั่นคงภายในประเทศอาเซียน ได้แก่ ปัญหาการขัดแย้งในเรื่องเขตแดนทางทะเล ปั ญ หาทะเลจี น ใต้ และปั ญ หาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น
คู่เจรจา” หรือ ADMM – Plus (สหรัฐฯ จีน รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย) ทั้งนี้ผลการประชุม ADMM - Plus ล่าสุดได้ เห็นชอบการเป็นประธานร่วมของคณะท�ำงาน ADMM - Plus ในวงรอบปี ๕๗ - ๕๙ ได้แก่ ๑) ความมั่นคงทางทะเล (บรูไน, นิวซีแลนด์) ๒) การแพทย์ทางทหาร (ไทย, รัสเซีย) ๓) การ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (กัมพูชา, เกาหลี) ๔) การช่ ว ยเหลื อ ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและการ บรรเทาภัยพิบัติ (ลาว, ญี่ปุ่น) ๕) การต่อต้าน การก่อการร้าย (สิงคโปร์, ออสเตรเลีย) และ ๖) ด้านการปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม (เวียดนาม, อินเดีย)
จ� ำ เพาะ ทะเลหลวงจนไปถึ ง เส้นทางขนส่ง ทางทะเลสากลที่ทุกประเทศในอาเซียนใช้ใน การขนส่งน�ำ้ มันและสินค้าส่งเข้า-ออกประเทศ จึงจ�ำเป็นทีร่ ฐั บาลไทยต้องส่งกองทัพเรือเข้าไป คุ้มครองผลประโยชน์ของชาติในพื้นที่ดังกล่าว โดยเป็นการปฏิบัติการร่วมกับชาติในอาเซียน และนานาชาติ เช่น ภารกิจหมู่เรือปราบปราม โจรสลัดในอ่าวเอเดนและโซมาเลีย และการ ลาดตระเวนร่วมในช่องแคบมะละกา ส� ำ หรั บ ภารกิ จ ด้ า นการช่ ว ยเหลื อ ด้ า น ม นุ ษ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร บ ร ร เ ท า ภั ย พิ บั ติ (Humanitarian Assistance and Disaster Relief: HA/DR) กรณี ภั ย พิ บั ติ ใ นประเทศ กองทั พ เรื อ จะปฏิ บั ติ ต ามแผนป้ อ งกั น และ บรรเทาสาธารณภั ย แห่ ง ชาติ แ ละแผนของ กระทรวงกลาโหม ส�ำหรับกรณีภัยพิบัตินอก ประเทศกองทั พ เรื อ จะปฏิ บั ติ เ มื่ อ รั ฐ บาลสั่ ง การโดยด�ำเนินการภายใต้กรอบข้อตกลงของ รัฐบาลไทยกับประเทศที่ประสบภัยพิบัติ ทั้งนี้ เมื่อเกิดภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน ประเทศ สมาชิกอาเซียนจะปฏิบัติตามพันธกรณีตาม ข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ และการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response: AADMER) ทั้ ง นี้ จ ากความรุ น แรงและผลกระทบของ ปัญหาภัยพิบัติที่ทุกชาติในอาเซียนเผชิญอยู่
ภาพภารกิจหมู่เรือปราบปรามโจรสลัดในอ่าวเอเดนและโซมาเลีย หลั ง การรวมกลุ ่ ม ประชาคมอาเซี ย น ได้ แ ก่ แรงงานอพยพ การค้ามนุษย์ การก่อการร้าย ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะไม่ใช่ปัญหาเฉพาะประเทศ หนึ่งอีกต่อไปแต่ยังจะมีผลกระทบต่อความ มั่นคงภายในของประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อ กั นด้ ว ย จึ ง จ� ำ เป็ น ที่ ทุ ก ชาติในอาเซียนต้อง ร่วมมือกันเพื่อจัดการปัญหาด้านความมั่นคง เหล่านี้ โดยอาเซียนได้ใช้กลไกความร่วมมือ ทางทหารในเสาหลักประชาคมการเมืองและ ความมัน่ คงอาเซียน ในเวทีการประชุมรัฐมนตรี กลาโหมอาเซี ย น” หรื อ ADMM (ASEAN Defense Ministers Meeting) และ“การ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับประเทศ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
กองทัพเรือในเสาหลักประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน กระทรวงกลาโหมก�ำหนดให้กองทัพเรือ รับผิดชอบกลุ่มงานด้านความมั่นคงทางทะเล ในการประชุม ADMM Plus ซึ่งการประเมิน สภาวะแวดล้อมความมั่นคงทางทะเลหลังการ เกิดของประชาคมอาเซียนในปี ๕๘ จะท�ำให้ ปัญหาภัยความมั่นคงทางทะเลมีความซับซ้อน มากยิ่งขึ้นโดยจะเป็นปัญหาอาชญากรรมข้าม ชาติ และข้ามเขตแดน (Cross Border) ที่มี ผลกระทบต่อสองประเทศขึ้นไป มักจะเกิดขึ้น ในเขตพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล เขตเศรษฐกิจ
ได้ท�ำให้กองทัพของประเทศในอาเซียนได้ปรับ บทบาทจากการเป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ใน การพิทักษ์รักษาอ�ำนาจอธิปไตยมาสู่ความเป็น องค์กรที่ท�ำหน้าที่ในการพิทักษ์รักษาชีวิตและ ทรัพย์สนิ ของประชาชนจากภัยธรรมชาติ ดังจะ เห็นได้จากการฝึกช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และบรรเทาภั ย พิ บั ติ และการแพทย์ ท หาร ในกรอบรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม อาเซียนกับคู่เจรจา ณ ประเทศบรูไน และการ ฝึกบรรเทาสาธารณภัยของอาเซียน (ASEAN HADR Multilateral Exercise : AHEX14) ณ ประเทศไทย ซึ่งจะเป็นการพัฒนาไปสู่การ รวมกลุ่มกันเป็นกองก�ำลังอาเซียนในอนาคต 29
การเตรียมความพร้อมของกองทัพเรือ หลังการรวมกลุม่ ประชาคมอาเซียนในปี ๕๘ ๑. ภารกิจการรักษาความมั่นคงทางทะเล ในภูมิภาคอาเซียน ก่อนอื่นคงจะต้องนิยามให้ ชัดเจนก่อนว่าผลประโยชน์ทางทะเลร่วมกัน ของประชาคมอาเซี ย นคื อ อะไร สภาวะ แวดล้อมที่เอื้อต่อการแสวงหาและรักษาผล ประโยชน์ร่วมกันนั้นเป็นอย่างไร? ซึ่งจะช่วย ก�ำหนดขอบเขตงานรับผิดชอบได้ว่าพื้นที่ที่ กองเรือของอาเซียนต้องช่วยกันดูแลนั้นอยู่ ที่ไหน ใคร/อะไรคือภัยคุกคาม? และต้องใช้ ก�ำลังทางเรือร่วมกันในลักษณะอย่างไร? ทั้งนี้ หากจะน�ำนิยามความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล ของไทย๑ มาอ้างอิงโดยเปลี่ยนจาก “ชาติ” เป็น “ประชาคมอาเซียน” ว่าความมั่นคงแห่ง ชาติทางทะเลของอาเซียน หมายถึง “การที่ ประชาคมอาเซียนมีสภาวะแวดล้อมทางทะเล ที่เอื้อให้สามารถด�ำเนินกิจกรรมทางทะเลได้ อย่ า งเสรี ปลอดภั ย และเหมาะสมบรรลุ ผลประโยชน์ร่วมของชาติในอาเซียน”คงจะ ตอบได้ว่าจากการที่ประชาคมอาเซียนตั้งอยู่ บนจุดยุทธศาสตร์และเส้นทางขนส่งทางทะเล ทีส่ ำ� คัญของโลก ภัยคุกคามหลักของประชาคม อาเซียน ได้แก่ การแสวงหาผลประโยชน์และ สร้างอิทธิพลของชาติมหาอ�ำนาจ ภัยคุกคาม รู ป แบบใหม่ เช่ น โจรสลั ด อาชญากรรม ข้ามชาติ การลักลอบค้าอาวุธและสิ่งของผิด กฎหมาย ปัญหาผู้ลี้ภัย ปัญหาก่อการร้ายทาง ทะเล และปัญหาขัดแย้งภายในของอาเซียน ได้แก่ปัญหาเขตแดนทับซ้อนและการแย่งชิง ทรัพยากรธรรมชาติในทะเล ส�ำหรับหากจะหา ว่าอะไรคือผลประโยชน์ร่วมกันของประชาคม อาเซียนควรต้องพิจารณาที่สมุททานุภาพของ อาเซียน๒ จากหลักฐานจากประวัติศาสตร์อาจ จะกล่าวว่าประชาคมอาเซียน คือ Maritime Nation ณ ปัจจุบันอาเซียนยังคงเป็นเส้นทาง การค้ า ทางทะเลที่ ส� ำ คั ญ ของโลก ที่ ตั้ ง ทุกประเทศยกเว้นลาว มีเขตแดนติดทะเลและ มีขอบฝัง่ ยาวมีทา่ เรือขนาดใหญ่หลายแห่ง โดย เฉพาะท่าเรือทวายของพม่า (เปรียบได้กับเป็น “โครงการคลองกระยุคใหม่” ซึ่งจะเชื่อมต่อ ระบบการขนส่งทางทะเล - บนบก – ทะเลของ ทุกประเทศ) รวมทัง้ มีระบบเศรษฐกิจพืน้ ฐานที่ เกี่ยวข้องกับทะเล เช่น ท่าเรือ อู่ซ่อม/ต่อเรือ
การประมง และการท่องเที่ยวที่สร้างรายได้ ให้กับทุกประเทศ จึงสรุปได้ว่าผลประโยชน์ ทางทะเลร่วมกันของประชาคมอาเซียน ได้แก่ ๑. เส้นทางเดินเรือสากลพร้อมระบบสนับสนุน ได้แก่ ระบบการจราจรทางทะเล ระบบศูนย์ เตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติ ระบบข้อมูลการเดินเรือ ระบบสือ่ สาร ระบบการข่าวทางทะเล และการ ขนส่งทางทะเลมีความปลอดภัยและสามารถ ใช้ ไ ด้ ต ลอดเวลา ๒. ทรั พ ยากรทางทะเลมี การเชื่อมโยงผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น ระบบ ขนส่ ง ท่ อ น�้ ำ มั น และแก๊ ส ธรรมชาติ ใ นทะเล ระหว่างประเทศ เกาะและเมืองท่าชายทะเล ท่ อ งเที่ ย ว และทรั พ ยากรในทะเล ดั ง นั้ น ภารกิ จ การรั ก ษาความมั่ น คงทางทะเลเพื่ อ ผลประโยชน์รว่ มของประชาคมอาเซียน คือ การ สร้างเสถียรภาพความมั่นคงและสร้างความ ปลอดภัยทางทะเลในภูมภิ าค ซึง่ หลักการแก้ไข ปัญหาของประชาคมอาเซียนจะเริ่มจากการ เจรจากันในกรอบทวิภาคี กลไกของอาเซียน เช่น กรณีการขัดแย้งในทะเลจีนใต้ และกลไก ของสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศ เช่น การแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลของ สิงคโปร์กับมาเลเซีย ทั้งนี้ก�ำลังทางเรือจะเป็น ทางเลือกสุดท้ายในการใช้ก�ำลังทหารในการ แก้ปัญหาโดยเป็นเครื่องมือสนับสนุนนโยบาย รั ฐ ทั้ ง นี้ ห ากน� ำ ก� ำ ลั ง กองทั พ เรื อ ทุ ก ชาติ ใ น อาเซี ย นมารวมกั น เป็ น กองทั พ เรื อ อาเซี ย น ตามแนวคิดการพัฒนาสมุททานุภาพเพือ่ รักษา ผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาคมอาเซียน แล้วจะพบว่ากองทัพเรืออาเซียนมีขีดความ สามารถสูงทุกมิติ ทั้งเรือด�ำน�้ำ เรือบรรทุก เฮลิคอปเตอร์ เรือฟริเกตสมรรถนะสูง เรือยก พลขึ้นบก และอากาศยานซึ่งเพียงพอกับพื้นที่ ปฏิ บั ติ ก ารในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย ง ใต้ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการต่อรองกับ ประเทศมหาอ�ำนาจและการป้องปรามและ ต่อต้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ได้เป็นอย่างดี ๒. ภารกิจช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภั ย พิ บั ติ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น เป็ น การส่ ง ก� ำ ลั ง ทหารออกนอกประเทศจึ ง ต้องได้รับการอนุมัติจากรัฐบาลและประเทศ ประสบภัย ซึ่งเมื่อประเมินความพร้อมของ ก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ของกองทัพเรือใน ภารกิจด้าน HA/DR พบว่าปัจจุบันกองทัพ
เรื อ มี เ รื อ ขนาดใหญ่ ที่ ส ามารถใช้ เ ป็ น ฐาน บัญชาการในการควบคุมบังคับบัญชาและการ สือ่ สาร มีขดี ความสามารถการเป็นเรือพยาบาล การอพยพและช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย การ เป็นฐานบินเฮลิคอปเตอร์ และเป็นเรือขนส่ง ยุทโธปกรณ์ อาหารและเวชภัณฑ์สนับสนุน หน่วยบรรเทาภัยพิบัติที่ไปปฏิบัติการบนบก ได้ และการที่เรือสามารถปฏิบัติการในทะเลได้ นานท�ำให้กองทัพเรือมีขดี ความสามารถในการ ด�ำรงอยู่ในสภาวะแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติการ ที่ประสบภัยพิบัติในห้วงวิกฤติหลังภัยพิบัติซึ่ง จะมีโรคระบาดและผลกระทบต่อเนื่องของภัย พิบตั ิ เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ฝนตกหนัก พายุ ถ ล่ ม ได้ ดี จึ ง เป็ น เครื่ อ งยื น ยั น ขี ด ความ สามารถของกองทั พ เรื อ ในภารกิ จ ด้ า นการ บรรเทาสาธารณภัยนอกประเทศในภูมิภาค อาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นแนวคิด เดี ย วกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ท างเรื อ ของสหรั ฐ จี น รวมไปถึงหลายชาติในอาเซียนซึ่งเห็นได้จาก การที่ ส หรั ฐ จี น สิ ง คโปร์ และมาเลเซี ย ได้ น�ำเรือเข้าร่วมการฝึกทางทหารอาเซียนด้าน มนุ ษ ยธรรมและการบรรเทาภั ย พิ บั ติ ข อง อาเซียนที่ประเทศบรูไนในปี ๕๗ “ก้าวแรกกองทัพเรือกับบทบาทน�ำในเวที การประชุมผู้บัญชาการทหารเรืออาเซียน” การประชุมผู้บัญชาการทหารเรืออาเซียน ครัง้ ที่ ๘ มี พล.ร.อ.ณรงค์ พิพฒ ั นาศัย ร.น. ผบ.ทร. เป็นประธานฯ และมีผู้บัญชาการทหารเรือ ๘ ประเทศเข้าร่วมการประชุมฯ ได้แก่ บรูไน อิ น โดนี เ ซี ย กั ม พู ช า มาเลเซี ย เมี ย นมาร์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม ผลการ ประชุมทีส่ ำ� คัญได้แก่ ความร่วมมือในการแก้ไข ปัญหาโจรสลัด การลักลอบค้ามนุษย์ทางทะเล และการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ซึ่งจะ เสริมสร้างความมัน่ คงทางทะเลในภูมภิ าค และ ทร. ได้เสนอตัวขอเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ผู้บัญชาการทหารเรืออาเซียนในปี ๖๐ ใน โอกาสครบรอบ ๕๐ ปีของการก่อตั้งอาเซียน โดยจะมีกิจกรรมสวนสนามทางเรือและการ ฝึกร่วมทางทะเลแบบพหุพาคีของอาเซียนเป็น ครั้งแรก ซึ่งทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นถึงบทบาท น�ำกองทัพเรือในการริเริ่มนโยบายการรวม กลุ่ม“กองทัพเรืออาเซียนให้เป็นหนึ่ง”หรือ Naval Forces ASEAN as One๓ ตาม
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙), สมช. สมุททานุภาพมาจากค�ำภาษาอังกฤษว่า Sea Power ซึ่ง นาวาเอก อาลเฟรด เทรเยอร์ มาฮาน นักยุทธศาสตร์สหรัฐฯ เป็นผู้น�ำค�ำนี้มาใช้เป็นครั้งแรกในหนังสือ The influence of the Sea power Upon history ซึ่งหมายถึง ความสามารถของรัฐชาติในการค้าขายทางทะเล การใช้ทรัพยากรจากทะเลและการใช้กองทัพเรือเพื่อ ปกป้องคุ้มครองสิทธิในการใช้ทรัพยากรและคุ้มครองการค้าในทะเลทั้งในยามสงบและสงครามตามนโยบายของรัฐ โดยรัฐใดที่รู้จักการใช้ประโยชน์จากสมุททานุภาพย่อม จะน�ำมาซึ่งความรุ่งเรืองและอ�ำนาจมาให้รัฐนั้น ๓ ตามแนวคิดกฎบัตรอาเซียน คือ “วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว” (One Vision, One Identity, One Community) ๑ ๒
30
นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล
ภาพการประชุมผู้บัญชาการทหารเรืออาเซียนครั้งที่ ๘ ณ โรงแรมมิลเลนเนียม ฮิลตัน กรุงเทพ แนวคิดกฎบัตรอาเซียน อันจะน�ำไปสู่แนวคิด กองก�ำลังทางเรือของอาเซียนในอนาคต๔ ซึ่ง จะท�ำให้ทุกชาติในอาเซียนหันมาร่วมมือกัน แก้ไขปัญหาและปกป้องผลประโยชน์ร่วมทาง ทะเลในภูมิภาคร่วมกันอันจะน�ำไปสู่การกินดี อยู ่ ดี ข องประชาชนในประชาคมอาเซี ย น จึงนับว่าเป็น “ก้าวแรกที่มั่นคงในบทบาท น� ำ ของกองทั พ เรื อ ไทยในเวที ก องทั พ เรื อ อาเซียนอย่างแท้จริง” “ก้าวต่อไปของกองทัพเรือในประชาคม อาเซียน” จากวิสัยทัศน์กองทัพเรือในการเป็นหน่วย งานความมั่ น คงทางทะเลที่ มี บ ทบาทน� ำ ใน ภู มิ ภ าคและเป็ น เลิ ศ ในการบริ ห ารจั ด การ จึ ง ตอบได้ ว ่ า ก้ า วต่ อ ไปของกองทั พ เรื อ ใน ประชาคมอาเซี ย นคื อ “การก้ า วด้ ว ยการ เป็นกองทัพเรือชั้นน�ำที่มีบทบาทน�ำในภูมิภาค อาเซียน” ดังนั้น Road Map ที่จะน�ำกองทัพ เรือไปสู่จุดหมายนั้น คือการมีบทบาทน�ำทั้ง ระดับนโยบายและระดับการปฏิบตั กิ ารทางเรือ เพื่อให้เป็นที่เชื่อมั่นแก่ประชาชนและกองทัพ ในประชาคมอาเซี ย น โดยบทบาทน� ำ ด้ า น นโยบาย ได้แก่ การริเริ่มเสนอมาตรการในการ
แก้ปัญหาส�ำคัญของประชาคมอาเซียนในการ พิทกั ษ์รกั ษาผลประโยชน์ทางทะเลร่วมกันของ ทุกชาติผ่านการประชุม รมว.กห.อาเซียน และ การประชุม ผบ.ทร.อาเซียน เป็นนโยบายลงสู่ การประชุมระดับเสนาธิการ ได้แก่ การประชุม Navy to Navy Talks จนเป็นแผนประจ�ำปี กองทัพเรือประชาคมอาเซียน (ASEAN Navy Year Plans) ที่ชัดเจนทั้งเรื่องแผนการฝึกร่วม และผสม การเยือนของผู้บังคับบัญชาและการ เยี่ยมเมืองท่าของหมู่เรือ การแลกเปลี่ยนการ ศึ ก ษา ความร่ ว มมื อ ด้ า นการข่ า วทางทะเล การพัฒนาบรรณสารการปฏิบัติงานร่วมกัน ของกองทัพเรืออาเซียนหรือ SOP และทีส่ ำ� คัญ คือแผนงานการปฏิบัติการทางเรือร่วมกันใน ลักษณะกองทัพเรืออาเซียน ส�ำหรับบทบาทน�ำ ในระดับการปฏิบัติการทางเรือ คือ กองทัพ เรื อ มี ค วามพร้ อ มและขี ด ความสามารถ ของก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ในการปฏิบัติ การทางเรือร่วมกับกองทัพในชาติอาเซียน ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพหรื อ ความเป็ น มื อ อาชีพ โดยหน่วยเตรียมก�ำลังรบ ไม่ว่ากองเรือ ยุทธการ นาวิกโยธิน หน่วยต่อสู้อากาศยาน และรั ก ษาฝั ่ ง ต้ อ งสร้ า ง “นั ก รบทางเรื อ ”
ให้มีความเชี่ยวชาญทั้งการวางแผนยุทธการ ไปถึงการปฏิบัติงานจริงในระดับยุทธวิธีร่วม กับชาติในอาเซียนและพันธมิตร ดังนั้นการ พัฒนาองค์ความรูแ้ ละการจัดหายุทโธปกรณ์จงึ ต้องท�ำควบคู่ไปกับ “การฝึกอย่างไร รบอย่าง นัน้ ” จึงจะได้ความช�ำนาญและความเป็นทหาร มื อ อาชี พ รวมทั้ ง การปลู ก ฝั ง ค่ า นิยมกองทัพ เรือ (Sail) เพื่อสร้างความภูมิใจในอาชีพใน การเป็นทหารเรือไทย ซึ่งจะท�ำให้เกิดความ มั่นใจในการปฏิบัติงานจริงกับชาติในอาเซียน ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ ทางทหารและ สร้างให้กองทัพเรือมีบทบาทน�ำในกองทัพเรือ ชาติอาเซียนซึ่งถือว่าเป็นมาตรการป้องปราม ประเทศที่อาจจะเป็นภัยต่อประเทศตามแผน ป้องกันประเทศได้อีกด้วย ทั้งนี้ประเด็นส�ำคัญ คือการแปลงนโยบายไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติต้อง ชัดเจนในการท�ำแผนประจ�ำปีของกองทัพเรือ ในอาเซียน ความร่วมมือจึงจะเป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพในการรักษาผลประโยชน์ ทางทะเลของอาเซี ย นร่ ว มกั น ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ประชาชนในอาเซียนเกิดความมั่นใจในคุณค่า ของกองทัพเรืออาเซียน คือ “กองทัพเรือ อาเซี ย นที่ ป ระชาคมอาเซี ย นเชื่ อ มั่ น และ ภาคภูมิใจ”
พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ“น�ำดี ตามดี” ๕
พล.อ.ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร ผบ.ทสส. กล่าวในพิธีเปิดการประชุม ผบ.ทร.อาเซียนครั้งที่ ๘ ว่าการประชุมในวันนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งในภาพรวมของกองทัพในการเข้า สู่ประชาคมอาเซียน ในอนาคตจะมีการตั้งเป็นกองก�ำลังอาเซียนและการส่งก�ำลังไปรักษาสันติภาพแทนที่จะไปประเทศใดประเทศหนึ่งแต่เราจะรวมกันไป ใครที่มีศักยภาพ ในด้านใดก็ส่งไปพร้อมกับตั้งเป็นหน่วยเฉพาะกิจอาเซียน ซึ่งเราได้มีข้อตกลงกันระหว่างกองทัพในอาเซียน ๕ “สารจากผู้บัญชาการทหารเรือ” ……โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในป พ.ศ.๒๕๕๘ ที่กองทัพเรือจะต้องสนับสนุนนโยบายรัฐบาลในการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับกองทัพเรือมิตรประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนเพื่อให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจในการพัฒนาความร่วมมือด้านความมั่นคงต่อไป ซึ่งกองทัพเรือจะได้แสดง บทบาทน�ำในภูมิภาคโดยการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้บัญชาการทหารเรืออาเซียน ครั้งที่ ๘ ๔
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
31
นโยบาย
"ฟูโกกุ เคียวเฮ" กับการสร้างแสนยานุภาพ ของญี่ปุ่น พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
32
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ก
ารที่คณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นลงมติ ตีความมาตรา ๙ แห่งรัฐธรรมนูญ ของประเทศ เมือ่ วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา ภายใต้การผลักดันของ นายกรัฐมนตรี ชินโซ อาเบะ (Shinzo Abe) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายบทบาทของกอง ก�ำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น (JSDF : Japanese Self-defense Forces) ในการใช้ก�ำลังรบ เข้า “โจมตี” หรือท�ำสงครามกับประเทศใด ประเทศหนึง่ ทีม่ ลี กั ษณะเป็น “ภัยคุกคามอย่าง ชัดเจน” ต่อความอยูร่ อดของประเทศ และเป็น ภัยคุกคามต่อเสถียรภาพในการด�ำรงชีวิตตาม ปกติของประชาชนชาวญี่ปุ่น ทั้งนี้มีเงื่อนไขอยู่ ว่าการโจมตีดังกล่าว จะต้องเป็นหนทางเลือก สุดท้ายภายหลังจากพยายามปกป้องประเทศ มาอย่างเต็มความสามารถแล้ว อีกทั้งการใช้ ก�ำลังรบดังกล่าวนั้น จะต้องใช้อย่างจ�ำกัดใน ระดับที่ต�่ำที่สุดเท่านั้น
ความเคลื่อนไหวของญี่ปุ่นในครั้งนี้ไม่ได้อยู่ นอกเหนือความคาดหมายแต่อย่างใด เพราะใน ห้วงเวลาที่ผ่านมา ญี่ปุ่นประสบปัญหาอย่าง มากเกี่ยวกับอ�ำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนของ ตนเองกับจีน ตลอดจนพฤติกรรมคุกคามจาก เกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะปัญหา ข้อพิพาทเหนือหมู่เกาะเซนกากุ (Senkaku) หรือทีจ่ นี เรียกว่า “เตียวหยี” (Diaoyu) ทีส่ ง่ ผล ให้เกิดการเผชิญหน้ากันหลายครั้ง จนกระทั่ง รั ฐ บาลญี่ ปุ ่ น ต้ อ งเพิ่ ม แสนยานุ ภ าพทางการ ทหารมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว เพื่อถ่วงดุล อ�ำนาจกับการแผ่ขยายแสนยานุภาพของจีน ที่ก�ำลังกลายเป็นความวิตกกังวลในภูมิภาค เอเชีย - แปซิฟิคมากขึ้นเรื่อย ๆ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
การขยายแสนยานุภาพดังกล่าวส่งผลให้ ญี่ปุ่นมีการใช้งบประมาณทางทหารสูงที่สุด เป็นอันดับ ๕ ของโลกหรือประมาณ ๑.๘ ล้าน ล้านบาท รองมาจากสหรัฐอเมริกา จีน รัสเซีย และอังกฤษเท่านั้น และท�ำให้กองทัพญี่ปุ่น หรือ “กองก�ำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่น” มี อาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีเทคโนโลยีทันสมัยที่สุด ชาติหนึ่งในเอเชีย ซึ่งการสร้างกองทัพญี่ปุ่น ในครั้ ง นี้ ไ ด้ ก ระท� ำ ควบคู ่ ไ ปกั บ การพั ฒ นา เศรษฐกิจที่เป็นแหล่งเงินทุนจ�ำนวนมหาศาล ในการพัฒนากองทัพนั่นเอง จนกระทั่งเมื่อ นายชินโซ อาเบะ ได้รบั การเลือกตัง้ ให้เข้าด�ำรง ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาก็สานต่อนโยบาย การเสริมสร้างความแข็งแกร่งของกองทัพ ด้วย
การน�ำนโยบาย “ฟูโกกุ เคียวเฮ” (富国強兵 : Fukoku Kyohei : Fu = รุ่งเรือง, koku = ประเทศ, kyo = แข็งแรง, hei = ทหาร) หรือ “ประเทศรุ่งเรือง กองทัพแข็งแกร่ง” ในสมัย ราชวงศ์ เ มจิ ที่ เ คยสร้ า งญี่ ปุ ่ น จนกลายเป็ น มหาอ� ำ นาจในอดี ต กลั บ มาใช้ ใ นการบริ ห าร ประเทศอีกครั้ง อันที่จริงแล้ว นโยบาย “ฟูโกกุ เคียวเฮ” นั้น มีรากฐานมาจากนโยบายของจีนโบราณ ในสมัยราชวงศ์ “ฉิน” หรือ “จิ๋น” (Qin) ช่วง ปี พ.ศ.๓๒๓ ถึง พ.ศ.๓๓๘ เพื่อใช้ในการรวม ประเทศและสร้ า งความเป็ น ปึ ก แผ่ น ให้ กั บ แผ่นดินจีน โดยเฉพาะในยุคของมหาจักรพรรดิ “ฉิ น สื่ อ หวงตี้ ” หรื อ “จิ๋ น ซี ฮ ่ อ งเต้ ” อั น 33
เกรียงไกร ผู้สร้างก�ำแพงเมืองจีน ต่อมาเมื่อ จักรพรรดิ์ “มุสึฮิโตะ” หรือจักรพรรดิเมจิแห่ง ราชวงศ์เมจิของญี่ปุ่นขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. ๒๔๑๐ พระองค์ก็ได้น�ำนโยบายดังกล่าวมา ใช้พัฒนาประเทศญี่ปุ่นให้ก้าวไปสู่ความเป็น มหาอ�ำนาจด้านอุตสาหกรรมและมหาอ�ำนาจ ทางทหาร จนกลายเป็น “จักรวรรดิ์ญี่ปุ่น” อันยิ่งใหญ่ ก่อนที่จะล่มสลายลงภายหลังสิ้น สุดสงครามโลกครั้งที่สอง ปัจจุบันญี่ปุ่นยังคงพัฒนาเศรษฐกิจของตน อย่างไม่หยุดยั้ง และพัฒนากองทัพให้เข้มแข็ง ตามนโยบาย “ฟูโกกุ เคียวเฮ” โดยเฉพาะด้าน เศรษฐกิจนัน้ แม้ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมาเศรษฐกิจ ของญี่ปุ่นจะมีความยิ่งใหญ่เป็นอันดับสามของ โลก รองลงมาจากสหรัฐอเมริกาและจีนก็ตาม แต่ ญี่ ปุ ่ น ก็ ป ระสบปั ญ หานานัป การ ทั้งจาก สภาวะเงินฝืด และสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว แต่นายกรัฐมนตรีชินโซ อาเบะก็ได้ประกาศ นโยบาย “อาเบะโนมิคส์” ขึ้น (Abenomics : เป็นค�ำผสมระหว่าง Abe และ Economics) เพื่ อ หวั ง กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ของประเทศผ่ า น นโยบายการเงินการคลังหลายรูปแบบ เช่น ส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนที่ซบเซามา นานเกือบยี่สิบปี การออกมาตรการให้ค่าเงิน
34
เยนอ่อนตัวลง รวมถึงการทุ่มเม็ดเงินในการ ลงทุนของภาครัฐเพื่อหวังกระตุ้นให้เกิดการใช้ จ่ายภายในประเทศ เป็นต้น ซึ่งในช่วงไตรมาส แรกของปี พ.ศ.๒๕๕๖ นโยบายนี้ดูจะประสบ ความส�ำเร็จพอสมควร เพราะสามารถกระตุ้น อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจากเดิม ๓.๖% เป็น ๔.๕% และค่าเงินเยนอ่อนตัวลง ถึง ๒๕% เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์ของ สหรัฐอเมริกา แต่อย่างไรก็ตามในช่วงปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ ถึงกลางปี พ.ศ.๒๕๕๗ อัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นก็ยังไม่เพิ่มมาก ขึน้ เท่าทีค่ วรจะเป็น ท�ำให้ตอ้ งจับตามองกันต่อ ไปว่านายชินโซ อาเบะ จะใช้มาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจแบบใดมาแก้ไขปัญหาในครั้งนี้อีก ลักษณะรูปแบบการลงทุนของญี่ปุ่นนั้นจะ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือการกระจายฐาน การผลิตของตนให้ทั่วทั้งภูมิภาค เช่น การ ลงทุ น ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ นักลงทุนญี่ปุ่นจะสร้างเครือข่ายของโรงงาน อุตสาหกรรมขึ้น ดังจะเห็นได้จากการที่บริษัท “ยาซากิ” (Yasaki Corp) ทุ่มลงทุน ๒๔ ล้าน เหรียญสหรัฐฯ สร้างโรงงานผลิตส่วนประกอบ รถยนต์ในจังหวัดเกาะกงของกัมพูชา จากนั้น ก็จะส่งชิ้นส่วนเหล่านี้มาประกอบเป็นรถยนต์
ส�ำเร็จรูปที่โรงงานผลิตรถยนต์ในประเทศไทย และอินโดนีเซีย เป็นต้น การลงทุนในลักษณะ นี้ ส ่ ง ผลให้ เ กิ ด การพึ่ ง พาซึ่ ง กั น และกั น ทาง เศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในคาบสมุทร อินโดจีน ในทางกลับกันก็เป็นการลงทุนแบบ กระจายความเสี่ยงตามแนวทางของญี่ปุ่น ซึ่ง แตกต่างจากเกาหลีใต้, จีน, สหรัฐฯ และยุโรป ที่มุ่งลงทุนในแต่ละประเทศแยกออกจากกัน โดยอิสระ อย่างไรก็ตามการลงทุนของญีป่ นุ่ ต้องเผชิญ กับคู่แข่งที่ส�ำคัญคือ จีน ที่ทุ่มการลงทุนอย่าง มหาศาลในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน เช่น ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ บริษทั โตโย เอ็นจิเนียร์ (TOYO Engineer) ของ ญี่ปุ่นได้ยื่นขอสัมปทานโรงกลั่นน�้ำมันแห่งแรก ในกัมพูชา ก่อนที่จะพ่ายแพ้ต่อบริษัท “ซิโน แมช” (SINOMACH) ของจีนที่ได้รับเลือกจาก กัมพูชาให้เป็นผู้ก่อสร้างโรงกลั่นน�้ำมันมูลค่า ๒.๓ พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดังกล่าวไปในปี ต่อมา เป็นต้น ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าการลงทุนของ จีนในประเทศลาวและกัมพูชา ล้วนแต่เป็น โครงการที่มีขนาดใหญ่ ใช้เงินลงทุนจ�ำนวน มหาศาลแทบทั้ ง สิ้ น ทั้ ง การก่ อ สร้ า งเขื่ อ น ผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ำ การเกษตรและการท�ำ เหมืองแร่ นอกจากนี้จีนยังมีนโยบายด้านการ
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
การใช้ จ ่ า ยงบประมาณที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จ� ำ นวน มหาศาลของญีป่ นุ่ นี้ ได้ถกู น�ำไปใช้ในการจัดหา อาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงสุด เช่น การสั่งซื้อเครื่องบินขับไล่อเนกประสงค์ยุคที่ ๕ (5th Generation) แบบ เอฟ-๓๕ ไลท์นิ่ง ๒ (F-35 Lighting II) จากบริษัท ล็อคฮีด มาร์ติน (Lockheed Martin) ของสหรัฐอเมริกาจ�ำนวน อย่างน้อย ๕๐ ล�ำ โดยเครือ่ งบินรุน่ นีเ้ ป็นเครือ่ ง บินรบที่ใช้เทคโนโลยี “ล่องหน” (Stealth) ที่ มีราคาแพงทีส่ ดุ และมีประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ เท่า ที่โลกเคยสร้างมา ญี่ปุ่นสั่งซื้อเครื่องบินรุ่นนี้ ครั้งแรกจ�ำนวน ๔๒ ล�ำ และจะมีการส่งมอบ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังมีระบบ ต่อต้านขีปนาวุธข้ามทวีป “บีเอ็มดี” (BMD : ลงทุนคล้ายคลึงกับญี่ปุ่น ด้วยการให้ทุนในการ Ballistic Missile Defence) อันทรงอานุภาพ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งสาธารณูปโภค โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีปนาวุธน�ำวิถีด้วยความ ในประเทศที่ตนจะเข้าไปลงทุน เช่น การลงทุน ร้อนแบบ สแตนดาร์ด เอสเอ็ม-๓ (Standard ก่ อ สร้ า งถนนสายส� ำ คั ญ ในประเทศกั ม พู ช า SM-3) ที่เป็นระบบต่อต้านขีปนาวุธข้ามทวีป เป็นต้น การลงทุนดังกล่าวท�ำให้จีนได้กลาย และต่อต้านอากาศยานระดับกลาง ติดตั้งบน เป็ น ประเทศที่ เ อื้ อ ประโยชน์ ด ้ า นเศรษฐกิ จ เรือรบต่าง ๆ เช่น เรือรบ “คองโกะ” (Congo) ต่อลาวและกัมพูชามากที่สุดประเทศหนึ่งเช่น และเรือรบ “เมียวโกะ” (Myoko) เป็นต้น ส่ง ผลให้ญี่ปุ่นสามารถปกป้องน่านฟ้าของตนเอง เดียวกับญี่ปุ่น การต่ อ สู ้ ท างเศรษฐกิ จ ที่ ดุ เ ดื อ ดดั ง กล่ า ว จากเครื่องบินรบและขีปนาวุธน�ำวิถีติดหัวรบ ข้ า งต้ น ท� ำ ให้ ญี่ ปุ ่ น พยายามหยุ ด ยั้ ง การ นิวเคลียร์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่ ง ที่ น ่ า จั บ ตามองคื อ เมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม ขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนด้วยการ พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นได้น�ำเรือบรรทุก เข้ า ร่ ว มกั บ สหรั ฐ อเมริ ก าใน “ความตกลง หุ ้ น ส่ ว นยุ ท ธศาสตร์ ท างเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ (Helicopter Carrier) แปซิฟิค” หรือ ทีพีพี (TPP : Trans-Pacific ชื่อ “อิซูโมะ” (Izumo) เข้าประจ�ำการ เรือนี้ Partnership) ซึ่งเป็นความตกลงการค้าเสรีที่ มีระวางขับน�้ำถึง ๑๙,๘๐๐ ตัน ท�ำให้กลาย มีมาตรฐานสูง เพื่อการบูรณาการด้านต่าง ๆ เป็นเรือรบที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่นนับตั้งแต่สิ้น เช่น การบริการ การลงทุน ให้เป็นมาตรฐาน สุดสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา อย่างไร เดียวกัน โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นหัวเรือใหญ่ ก็ตามนักวิเคราะห์ทางทหารของจีนมองว่าเรือ รวบรวมประเทศสมาชิกต่าง ๆ เข้าด้วยกัน บรรทุกเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ทุกล�ำของญี่ปุ่น เพื่อถ่วงดุลด้านเศรษฐกิจกับจีน ส่วนมาตรการ สามารถใช้สำ� หรับบรรทุกเครือ่ งบินขับไล่ขนึ้ ลง ดั ง กล่ า วนี้ จ ะประสบความส�ำเร็จหรือไม่นั้น ทางดิ่ง (STOVL : Standard Take-Off and Vertical Landing) แบบ เอฟ-๓๕ ได้และ คงต้องติดตามกันต่อไปในอนาคต ส� ำ หรั บ การเสริ ม สร้ า งแสนยานุ ภ าพ เป็นภัยคุกคามในการแผ่ขยายแสนยานุภาพ ของกองทัพญีป่ นุ่ ตามนโยบาย “ฟูโกกุ เคียวเฮ” ของกองทัพเรือจีนในมหาสมุทรแปซิฟิคอย่าง นัน้ นอกจากจะได้มกี ารเพิม่ งบประมาณจ�ำนวน ไม่ต้องสงสัย แม้ว่าการประกาศหวนคืนสู่ความแข็งแกร่ง มหาศาลมาระยะหนึ่งแล้วดังที่กล่าวข้างต้น จนงบประมาณด้ า นการป้ อ งกั น ประเทศใน ทางด้านการทหารของญี่ปุ่นตามนโยบาย “ฟู ปี พ.ศ.๒๕๕๖ เพิ่มสูงขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ โกกุ เคียวเฮ” จะถูกท้วงติงจากเกาหลีใต้และ ๑๑ ปี เป็นที่น่าสังเกตว่าปัจจัยส�ำคัญประการ จีน ตลอดจนประชาชนบางส่วนของญี่ปุ่น แต่ หนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ญี่ ปุ ่ น มี ค วามได้ เ ปรี ย บในการ ในสถานการณ์ปัจจุบันที่จีนได้กลายเป็นภัย เสริมสร้างแสนยานุภาพของตนเองคือ การมี คุกคามด้านความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียและ อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย แปซิ ฟ ิ ค โดยเฉพาะปั ญ หาข้ อ พิ พ าทเหนื อ เทคโนโลยีระดับสูง จนสามารถท�ำการวิจัย ดินแดนหมู่เกาะสแปรตลี (Spartly Islands) ค้นคว้าและผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีคุณภาพ ในทะเลจีนใต้ ก็ได้ท�ำให้เสียงท้วงติงเหล่านั้น ขึ้นใช้เองได้ในทุกระดับ ตั้งแต่อาวุธปืนเล็กยาว ขาดน�้ำหนักและแผ่วเบาลงอย่างมาก ในทาง ไปจนถึงรถถัง ยานเกราะ เครือ่ งบินรบ ขีปนาวุธ ตรงกันข้ามกลับส่งผลให้เกิดกระแสตอบรับ น� ำ วิ ถี เรื อ ด� ำ น�้ ำ และเรื อ บรรทุ ก เครื่ อ งบิ น ในทางบวกจากประเทศคู ่ ขั ด แย้ ง กั บ จี น อี ก ด้วย ดังที่นิตยสาร “ไทม์” (Time) ฉบับวันที่ เป็นต้น ๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ระบุวา่ นับตัง้ แต่จนี ก้าว หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
สู่ความเป็นมหาอ�ำนาจและแสดงบทบาทเป็น ภัยคุกคามด้านความมั่นคงต่อภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิค ท�ำให้ชาวฟิลิปปินส์กว่าร้อยละ ๘๐ หันกลับมามองญี่ปุ่นในแง่บวก เช่นเดียวกับ ประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ เช่น อินโดนีเซียและ มาเลเซีย ที่พร้อมที่จะต้อนรับการหวนกลับ มาสู่ความเป็นมหาอ�ำนาจทางทหารของญี่ปุ่น จนนางคลาริต้า คาร์ลอส (Clarita Carlos) อดีตผู้อำ� นวยการวิทยาลัยป้องกันประเทศของ ฟิลิปปินส์ได้แสดงความคิดเห็นว่า “.. ญี่ปุ่น มีสิทธิในทุกๆ ด้านที่จะพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทางด้านการทหาร อันเป็นผลเนื่อง มาจากการยั่วยุ (provocation) ของจีน .. จีน
มักจะแสดงบทบาทว่าพวกเราเคยถูกรุกราน กดขี่และปกครองโดยญี่ปุ่น ถึงแม้ทุกคนยังจ�ำ สิ่งเหล่านั้นได้ดี แต่พวกเราก็เรียนรู้วิธีที่จะ ยกโทษ (forgive) ให้กับญี่ปุ่น ..” ปัจจุบันนโยบาย “ฟูโกกุ เคียวเฮ” ของ นายกรัฐมนตรี ชินโซ อาเบะ ก�ำลังผลิดอก ออก ผลอย่างเห็นได้ชัด การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ของญี่ปุ่นกลายเป็นสิ่งที่อยู่ไม่ไกลเกินเอื้อม ใน ขณะเดียวกันการสร้างแสนยานุภาพทางทหาร ครั้ ง ใหม่ ก็ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น จากประเทศ ต่าง ๆ ที่หวั่นเกรงการขยายอิทธิพลของจีน สิ่งที่ต้องจับตามองก็คือ การฟื้นตัวของกองทัพ ลูกพระอาทิตย์ในครั้งนี้ จะเป็นภัยคุกคามต่อ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิคเช่น เดียวกับจีนหรือไม่ เพราะแม้ว่านายอิตซูโนริ โอโนเดระ (Itsunori Onodera) รัฐมนตรี กระทรวงกลาโหมของญี่ ปุ ่ น จะได้ ป ระกาศ ยืนยันอย่างชัดเจนว่า “.. จุดมุง่ หมายของญีป่ นุ่ ในครั้งนี้คือ การมีส่วนร่วมในเชิงสร้างสรรค์ใน การน�ำภูมิภาคแห่งนี้ไปสู่ความสงบ ..” ก็ตาม แต่ ภ าพแห่ ง ความหายนะที่ ก องทั พ ญี่ ปุ ่ น ได้ สร้างไว้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ยังเป็นสิ่ง ฝังแน่นอยู่ในความทรงจ�ำของมวลมนุษยชาติ อย่างไม่รู้ลืม ดังนั้นโลกคงต้องติดตามต่อไป ว่า ญี่ปุ่นจะยึดมั่นในค�ำสัญญาเหล่านี้ได้มาก น้อยเพียงใด 35
Showdown in Berlin
การเผชิญหน้าในเบอร์ลิน นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
“ที่จุดตรวจค้น Charlie Point รถถังของโซเวียตและสหรัฐฯ ประจันหน้ากันในระยะประชิด พร้อมที่จะท�ำลายล้างซึ่งกันและกัน ซึ่งคงไม่มีสถานการณ์ใดที่ตึงเครียดและน่ากลัวไปมากกว่านี้อีกแล้วในช่วงสงครามเย็น ถ้าไม่ใช่ที่ Berlin”
เบอร์ลินเมืองที่ก�ำลังเต็มไปด้วยกลอุบาย ทางการเมืองต่าง ๆ ซึ่งอยู่ลึกเข้าไปในเขต หลังม่านเหล็กเกือบ ๑๐๐ ไมล์และก็ไม่ได้อยู่ ในเขตของเยอรมันตะวันออก ตามเขตการ ปกครองในยุคการแผ่อิทธิพลของโซเวียตนั้น อีกทั้งยังเคยเป็นเมืองหลวงเก่าของอาณาจักร ไรน์ที่สามของเยอรมัน เมืองนี้ถูกครอบครอง โดยชาติมหาอ�ำนาจที่มีชัยในสงครามโลกครั้ง ที่ ส องถึ ง สี่ ช าติ คื อ สหรั ฐ อั ง กฤษ ฝรั่ ง เศส และโซเวียตรัสเซีย โดยแผนการเตรียมไว้แล้ว ส� ำ หรั บ การเป็ น เมื อ งหลวงส� ำ หรั บ การรวม เยอรมันในอนาคต นิกิต้า ครุสชอพ นายกรัฐมนตรีของโซเวียต ถึงกับกล่าวว่า นี่คือสถานที่ที่อันตรายที่สุด ในโลก ในที่ซึ่งมหาอ�ำนาจเผชิญหน้ากันด้วย ก� ำ ลั ง กั น อย่ า งใกล้ ชิ ด และเป็ น ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และโจมตี เ ยอรมั น ตะวั น ตกคื อ ความ 36
ก้าวร้าวที่น่าร�ำคาญและเป็นตัวหน่วงส�ำหรับ คอมมิวนิสต์เยอรมันตะวันออกซึ่งก�ำลังเจ็บ ปวดและย�่ ำ แย่ เ มื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ เยอรมั น ตะวันตก ผู้คนจ�ำนวนมากที่เป็นแรงงานฝีมือ ในด้านต่าง ๆ หลั่งไหลเข้าไปเขตตะวันตกผ่าน เมืองเบอร์ลินนี้ โซเวี ย ตได้ ยั่ ว ยุ ใ ห้ เ กิ ด ความตึ ง เครี ย ดขึ้ น ถึ ง สามครั้ ง ในรอบหลายสิ บ ปี ห ลั ง จากสิ้ น สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง แต่ ค รั้ ง ที่ ส ามนี้ แ ละ เป็นครั้งสุดท้ายมีความรุนแรงน่ากลัวที่สุดคือ เมื่อ ๔ มิ.ย. ๑๙๖๑ ซึ่งครุสชอพได้ยื่นค�ำขาด ให้ก�ำลังทหารของชาติ ต ะวั น ตกเคลื่ อ นย้ า ย ออกจากเบอร์ลินภายในเวลาหกเดือน ซึ่งก็ เหมือนกับทุกครั้งที่ผ่านมา หากแต่ว่าครั้งนี้มี ความเป็นจริงเป็นจังมากกว่า และสถานการณ์ ความตึงเครียดของการเผชิญหน้าก็ได้ลุกลาม ยกระดับความน่าสะพรึงกลัวขึ้นอย่างรวดเร็ว
ก�ำแพงเบอร์ลินจึงถูกสร้างขึ้นในวันที่ ๑๓ ส.ค. ปีเดียวกันนั้นเองโดยเยอรมันตะวันออก เพื่อตัดหรือขัดขวางการหลบหนีของผู้คนไป ยังฝั่งตะวันตก ผู้ที่พยายามหลบหนีเล็ดลอด ออกไปจะถูกสังหารทันทีจากทหารยามทีไ่ ด้รบั อนุญาตเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในขณะเดียวกัน การเคลื่อนย้ายก�ำลังขนาดใหญ่ของ ทอ.สหรัฐ และกองก�ำลังป้องกันภัยทางอากาศของนาโต ก็ต้องรีบเคลื่อนย้ายออกไปอย่างโกลาหล อีก ทั้งก�ำลังภาคพื้นของรถถังจ�ำนวนมากก็เกือบ ปะทะกันที่ Charlie Checkpoint วิกกฤตที่ เบอร์ลินครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นช่วงแห่งสงคราม เย็นที่ยืนยาวมาอีกถึงสามสิบปีซึ่งเป็นการสิ้น ยุคของมัน ต้ น ตอของสาเหตุ แ ห่ ง การเผชิ ญ หน้ า ใน เบอร์ลินนี้ เกิดขึ้นในเดือน ก.ย. ๑๙๔๔ เมื่อ ก�ำลังฝ่ายพันธมิตรซึ่งได้แก่ สหรัฐ อังกฤษและ นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
โซเวียต ได้ท�ำข้อตกลงการยึดครองประเทศ เยอรมั น โดยการแบ่ ง ประเทศเยอรมั น เป็ น สามส่วนและกรุงเบอร์ลินก็อยู่ภายใต้เงื่อนไข แบ่งการปกครองนี้เช่นเดียวกัน แต่ต่อมาใน เดื อ น ส.ค.๑๙๔๕ จึ ง ได้ มี ก ารแก้ ไ ขสั ญ ญา ใหม่เนื่องจากฝรั่งเศสคู่แค้นตั้งแต่โบราณขอมี ส่วนร่วมและบทบาทด้วยในการบริหารจัดการ ประเทศเยอรมัน วิ ก ฤตการณ์ เ บอร์ ลิ น เกิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรกใน ปี ๑๙๔๘ เมื่ อ โซเวี ย ตและเยอรมั น ตะวั น ออกพยายามที่จะตัดขาดการติดต่อจากโลก ภายนอกของเยอรมั น ตะวั น ตก แต่ อ ย่ า งไร ก็ ต ามก็ มี ก ารเปิ ด ห้ ว งอากาศหรืออากาศวิถี ในการเดินทางไว้สามเส้นทางซึ่งมีความกว้าง เส้นทางละ ๒๐ กิโลเมตรเท่านั้นส�ำหรับการ ช่วยเหลือใด ๆ จากประเทศพันธมิตร ด้วยเหตุ นี้สหรัฐและอังกฤษจึงได้เปิดปฏิบัติการโต้ตอบ โซเวียตเพื่อการช่วยเหลือให้เกิดความอยู่รอด เกือบทุกด้านแก่เยอรมันตะวันตกภายใต้ชื่อ The Berlin Airlift ซึ่งเริ่มปฏิบัติการณ์ตั้งแต่ มิ.ย. ๑๙๔๘ ถึง ก.ย. ๑๙๔๙ ในวิกฤตการณ์ครั้งแรกนี้มีการต่อต้านจาก จนท.อาวุโสระดับของทบวงแห่งรัฐของสหรัฐ ที่ต้องการให้ปลดปล่อยเบอร์ลินไปเลย ซึ่งสวน ทางกับแนวความคิดของ พล.อ.Lucius D.Clay ที่มีความต้องการที่จะทลายสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ในเบอร์ลิน ซึ่งความต้องการของเขาก็ได้รับ การสนับสนุนจากประธานาธิบดีทรูแมน ท้าย ที่สุด Berlin Airlift ก็ประสบความส�ำเร็จด้วย ดี ด้วยบทบาทที่แน่วแน่และลักษณะของคนที่ อ่านสถานการณ์ที่แม่นย�ำ ในวิกฤตการณ์ครั้ง ที่สามเขาก็ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้มีบทบาท สู ง สุ ด ในวิ ก ฤตการณ์ อี ก ครั้ ง ในปี ๑๙๖๑ ซึ่ ง ก็ เ ป็ น การมาพบกั น อี ก ครั้ ง กั บ คู ่ ป รั บ เก่ า จากวิกฤตการณ์ครั้งแรกคือ Walter Ulbrich หั ว หน้ า พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ ข องเยอรมั น ตะวันออก
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
Ulbricht ถูกคัดเลือกให้ท�ำหน้าที่ในการ เป็นผู้น�ำของเยอรมันตะวันออกโดยตรงจาก สตาลิ น เนื่ อ งจากเขาเป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น และยึดถือหลักการแห่งคอมมิวนิสต์และจะ เป็นตัวแทนในการบริหารงานที่ดีและเป็นที่ ไว้วางใจภายใต้อิทธิพลของโซเวียตที่มีความ ต้องการจะผนึกเยอรมันทั้งหมดเข้ามาอยู่ใน เงามืดของม่านเหล็ก ถึงแม้ว่าแนวความคิดใน การนี้ของโซเวียตจะถูกเขาแสดงการต่อต้าน ไม่เห็นด้วยเป็นอย่างมาก แต่ก็เป็นตัวเลือกที่ ดีที่สดุ ของโซเวียต ดีกว่าที่จะปล่อยให้มีการคัด สรรขึ้นมาอย่างอิสระของเยอรมันตะวันออก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (The Federal Republic of Germany) เกิดขึ้นจากการรวม ตั ว กั น อย่ า งเหนี ย วแน่ น เพื่ อ การรวมชาติ ใ น อนาคตของเยอรมัน ริเริ่มโดยตะวันตก ซึ่งเกิด ขึน้ ในปี ๑๙๔๙ โดยมี Bonn เป็นเมืองหลวง ใน ขณะที่เยอรมันตะวันออกภายใต้การปกครอง ของ Ulbricht ก็ประกาศการปกครองของเขา เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (The German Democratic Republic) ขึ้นมาใน
เดือนตุลาคมปีเดียวกันนั้นเอง และประกาศให้ เบอร์ลนิ ตะวันออกเป็นเมืองหลวง โดยไม่สนใจ สถานะของเบอร์ลินที่ถูกแบ่งการปกครองของ ชาติมหาอ�ำนาจสี่ชาติ ในปี ๑๙๕๒ เยอรมัน ตะวันออกได้สั่งปิดและเสริมความแข็งแกร่ง ตามแนวชายแดนติดกับเยอรมันตะวันตก ซึ่ง ในขณะนั้นยังไม่มีสิ่งกีดขวางใด ๆ ถูกก่อสร้าง ขึ้นในกรุงเบอร์ลินแต่อย่างใด เมื่อสตาลินเสียชีวิตในปี ๑๙๕๓ ผู้สืบทอด ต�ำแหน่งต่อมาคือครุสชอพพร้อมกับขึ้นเป็น เลขาธิ ก ารพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ ค นแรกของ โซเวียต และขึน้ เป็นนายกรัฐมนตรีในปี ๑๙๕๘ เขาจึงเป็นผู้สืบทอดมรดกที่สร้างความยุ่งยาก ใจให้แก่ชาวโลกในประเด็นของเบอร์ลิน และ Ulbricht ผู้น�ำเยอรมันตะวันออกก็ยังมุ่งมั่น เคียงข้างครุสชอพอยู่ เยอรมั น ตะวั น ออกคื อ หั ว ใจส� ำ คั ญ ทาง ยุทธศาสตร์ของความเป็นสหภาพของโซเวียต ซึ่งโซเวียตจะไม่มีทางปล่อยให้ล้มหรือหลุดมือ ไปเป็นอันขาด อย่างเช่นในปี ๑๙๕๓ กองทัพ รถถังของโซเวียตถูกเรียกให้เข้ามาปราบปราม การพยายามปฏิ บั ติ ข องแรงงานในเยอรมั น ตะวันออกซึง่ มีสาเหตุเนือ่ งจากสภาพความเป็น อยู่ที่ย�่ำแย่ ทั้งเรื่องอัตราภาษีที่แสนโหดและ การว่างงานที่มีอยู่อย่างท่วมท้นทั่วประเทศใน เขตของเยอรมันตะวันออก ความตกต�่ำเกือบทุกด้านและเป็นที่เปรียบ เทียบกันอย่างชัดเจนระหว่างสองเยอรมันนั้น เริ่มพอกพูนสะสมมาอยู่ตลอดเวลาจนผู้คนใน ฝั่งตะวันออกอึดอัดและสุดจะทนทานในระบบ การปกครองที่กดขี่ของรัฐบาลตะวันออก สิ่ง เหล่ า นี้ เ ป็ น ต้ น เหตุ ข องการเกิ ดวิกฤตการณ์ ครั้งที่สองของเบอร์ลินขึ้น และในปี ๑๙๕๘ เกิดการไหลทะลักอพยพหลบหนีของผู้คนเป็น จ�ำนวนมากถึงสี่ล้านคนจากฝั่งตะวันออกไป ตะวันตกโดยผ่านกรุงเบอร์ลิน 37
โซเวี ย ตเองได้ เ ริ่ ม สร้ า งเสริ ม พลั ง อ� ำ นาจ ทางทหารให้แข็งแกร่งขึ้นตั้งแต่ปี ๑๙๔๘ แล้ว จนถึงขั้นที่สหรัฐไม่ได้เป็นเจ้าของหรือผู้ครอบ ครองอาวุธนิวเคลียร์แต่เพียงประเทศเดียวอีก ต่อไป นอกจากนั้นในปี ๑๙๕๗ โซเวียตก็เป็น ประเทศแรกที่สามารถยิงขีปนาวุธข้ามทวีป (ICBM) ได้ส�ำเร็จไปจนถึงการความส�ำเร็จใน อวกาศของดาวเทียมสปุตนิกอีกด้วย ซึ่งสหรัฐ ถือว่าเป็นการคุกคามและท้าทายเป็นอย่างมาก ในปี ๑๙๕๘ Ulbricht ได้เร่งเดินหน้าข้อ เรี ย กร้ อ งตามความต้ อ งการของเขาในการ รวมเยอรมันโดยการท�ำให้สภาวะขั้วอ�ำนาจที่ ปกครองเยอรมันตะวันตกเข้าสู่สมดุล ความ หมายก็คือเขาคือผู้ปกครองและมีอ�ำนาจเต็ม แต่ เ พี ย งผู ้ เ ดี ย วเมื่ อ มี ก ารรวมชาติ แ ล้ ว ใน ขณะเดี ย วกั น ครุ ส ชอพก็ จุ ด ประกายเพลิ ง วิกฤตการณ์เบอร์ลนิ ครัง้ ทีส่ องให้รนุ แรงขึน้ โดย การยืน่ ข้อเรียกร้องแบบเด็ดขาดว่า ถ้าพันธมิตร ไม่ ถ อนตั ว ออกจากเขตเยอรมั น ตะวั น ตก เพื่อการรวมชาติตามความต้องการและริเริ่ม ของ Ulbricht โดยขีดเส้นตายไว้ให้หกเดือน แล้ว โซเวียตจะถ่ายโอนอ�ำนาจเต็มที่ให้แก่ Ulbricht ในการปกครองเยอรมันตะวันออก และเปิดการบุกเข้ายึดครองเยอรมันตะวันตก หากเป็นเช่นนั้นก็หมายความว่าเป็นการหมด อ� ำ นาจการปกครองโดยสิ้ น เชิ ง ต่ อ เยอรมั น ของมหาอ� ำ นาจทั้ ง สี่ ช าติ ร วมถึ ง โซเวี ย ตเอง ด้วย และพันธมิตรที่ปกครองฝั่งตะวันตกก็จะ ต้องเจรจาโดยตรงกับ Ulbricht จอมกระหาย สงครามโดยตรงเท่านั้น ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัว ยิ่งกว่า Harold Macmillan นายกรัฐมนตรีองั กฤษ วิตกกังวลกับเรื่องนี้มากด้วยเกรงว่ามีความล่อ แหลมที่จะเกิดสงครามใหม่ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เนือ่ งจากยังรูส้ กึ ขยาดสงครามกับผูน้ ำ� กระหาย สงครามของเยอรมันอยู่มาก โดยเฉพาะผู้น�ำ อย่าง Ulbricht และต้องการให้ได้ข้อสรุป ในเรื่ อ งนี้ โ ดยเร็ ว หากแต่ ว ่ า ประธานาธิ บ ดี ไอเซนฮาวร์ของสหรัฐฯ ไม่ตอ้ งการให้เกิดความ ตื่นตระหนก ดังนั้นการเจรจาต่อรองจึงได้เริ่ม ต้นขึ้นเมื่อครุสชอพเดินทางเข้าเจรจากับไอ เซ็นฮาวที่แคมป์เดวิดในรัฐแมรี่แลนด์ ซึ่งผู้น�ำ ทั้งสองตกลงที่จะมีการเจรจาประชุมสุดยอด ในประเด็นส�ำคัญอีกครั้งในเดือน มิ.ย. ๑๙๕๘ โดยจัดให้มีขึ้นที่กรุงปารีส ผลการประชุมสุดยอดที่กรุงปารีส โซเวียต ประกาศยกเลิกเส้นตายการถอนกองก�ำลังของ พันธมิตรภายในหกเดือน ทุกอย่างดูเหมือน จะราบรื่ น แต่ แ ล้ ว ในวั น ที่ เ ขาเมามายเป็ น อย่างมากก่อนวันปีใหม่ของปีถัดมา โดยเขา ได้ข่มขู่ทูตสหรัฐฯ ประจ�ำมอสโคว์ว่าจะโจมตี สหรัฐฯ ด้วยอาวุธนิวเคลียร์หากข้อเรียกร้อง ต่าง ๆ ของเขาที่กรุงปารีสยังไม่ได้รับการตอบ 38
บริหารตามเขตการปกครองอยู่ต่อไป อีกทั้ง สหรั ฐ ฯ ไม่ มี ท างที่ จ ะถอนก� ำ ลั ง ออกจาก เบอร์ลินตามการขู่บังคับของคอมมิวนิสต์เป็น อันขาดไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น พร้อมกันนั้น เขาได้ เ สนอต่ อ สภาคองเกรสเพื่ อ การระดม สรรพก� ำ ลั ง เข้ า สู ่ ก องทั พ อี ก เป็ น จ� ำ นวนถึ ง ๒๑๗,๐๐๐ คน สนองและกองก�ำลังพันธมิตรยังไม่ถอนตัวออก จากเบอร์ลิน ในท้ายที่สุดข้อตกลงของการ ประชุมสุดยอดกรุงปารีสก็ต้องล้มเหลวโดยสิ้น เชิง เมื่อโซเวียตได้ยิงเครื่องบินจารกรรม U-2 ของสหรัฐฯ ตกในดินแดนของโซเวียตและจับ นักบินไว้ได้เมื่อ พ.ค. ๑๙๖๐ ครุสชอพได้ประเมินสถานการณ์ถึงโอกาส ของความได้ เ ปรี ย บของเขาในวิ ก ฤตการณ์ เบอร์ลินครั้งที่สองนี้อย่างแน่นอน เนื่องจาก ว่าในปี ๑๙๖๐ นี้สหรัฐฯ ได้มีประธานาธิบดี คนใหม่ที่ยังดูหนุ่มและอ่อนหัดทางการเมือง ระหว่ า งประเทศคื อ ประธานาธิ บ ดี John F.Kennedy แต่ในความเป็นจริงแล้วมันกลับ กลายเป็ น เค้ า ลางของการเกิ ด วิ ก ฤตการณ์ เบอร์ลินครั้งที่สามนั่นเอง เริ่มยุคของ John F.Kennedy รัฐบาลสหรัฐฯ ภายใต้การน�ำของ John F.Kennedy เริ่มเข้าบริหารประเทศในเดือน ม.ค. ๑๙๖๑ พร้อมกับปรับเปลี่ยนนโยบายต่าง ประเทศให้เข้มข้นขึน้ เพือ่ รับมือกับสถานการณ์ ที่ถูกคุกคามเป็นอย่างหนักของโซเวียต และใน ขณะเดียวกันประชาชนมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คนจากเยอรมั น ตะวั น ออกได้ ไ หลบ่ า เข้ า มา อยู่ฝั่งตะวันตกภายในเวลาเพียงแค่หกเดือน แรกของปี ๑๙๖๑ และ Ulbricht ได้โจมตี เยอรมันตะวันตกว่าเป็นตัวการในการวางแผน ดู ด ประชากรในระดั บ แรงงานฝี มื อ ไปเป็ น จ�ำนวนมาก เคนเนดี้และครุสชอพได้ประชุมสุดยอดกัน ในเดือน มิ.ย. ๑๙๖๑ ด้วยท่าทีที่แข็งกร้าว และบวกกับการประเมินถึงความเป็นต่อของ ครุสชอพ ท�ำให้เขาได้ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขอัน เป็นค�ำขาดที่ต้องการให้เบอร์ลินทั้งหมดอยู่ ภายใต้ ก ารปกครองของเยอรมั น ตะวั น ออก โดยเด็ ด ขาดและมหาอ� ำ นาจทั้ ง สี่ ช าติ ก็ จ ะ หมดอิทธิพลในการบริหารการปกครองต่อไป โดยนัยแล้วโซเวียตก็จะมีอิทธิพลเพียงผู้เดียว นัน่ เอง ซึง่ เงือ่ นไขเช่นนีม้ เี งือ่ นง�ำหลายประการ ที่จะเสี่ยงต่อการเกิดสงครามนิวเคลียร์ ครุ ส ชอพมารู ้ ตั ว ว่ า ประเมิ น เคนเนดี้ ไ ว้ ต�่ำมากเมื่อเคนเนดี้ได้ประกาศทางโทรทัศน์ ว่า เบอร์ลินไม่ใช่ส่วนหนึ่งของเยอรมันตะวัน ออกและพันธมิตรทั้งสี่ชาติยังคงมีส่วนในการ
The Berlin Wall เมื่อสิ้นสุดการประกาศจุดยืนที่ชัดเจนของ เคนเนดี้ต่อครุสชอพในวิกฤตการณ์เบอร์ลิน ครั้งที่สามนี้ ครุสชอพได้ให้การอนุมัติเป็นการ ชั่ ว คราวแก่ Ulbricht ในค� ำ ขอหรื อ ความ ต้องการที่รอคอยมาอย่างยาวนานในการปิด พรมแดนทั้งหมดกับเยอรมันตะวันตก ในการ นี้พวกเขาต้องใช้รั้วลวดหนามที่มีความยาวถึง ๒๗ ไมล์เพื่อกั้นเขตการปกครองในเบอร์ลิน ให้ชัดเจนระหว่างเขตของเบอร์ลินตะวันออก และของพันธมิตรที่เหลือ และรั้วลวดหนามที่มี ความยาวอีก ๖๙ ไมล์เพือ่ กัน้ แนวชายแดนรอบ นอกระหว่างตะวันออกและตะวันตก และเมื่อ เดือนสิงหาคมภายหลังจากทีก่ ำ� หนดเขตแดนที่ ชัดเจนและดูปฏิกิริยาการตอบโต้ของตะวันตก พอสมควรแล้ว ครุสชอพได้อนุมัติให้ Ulbricht ด�ำเนินการสร้างแนวก�ำแพงคอนกรีตทีแ่ ข็งแรง เป็นปราการที่ถาวรในเบอร์ลิน ซึ่งถือเป็นค�ำ เรียกขานที่น่าเศร้าว่า The Berlin Wall ใน การนี้รัฐบาลสหรัฐฯ เห็นว่ายังไม่ควรโต้ตอบ อะไรที่รุนแรงออกไป หากแต่เคนเนดี้ได้กล่าว ถึงเรื่องก�ำแพงเบอร์ลินนี้ว่า “มันมีสภาพคล้าย นรกยิง่ กว่าอยูใ่ นสภาวะสงครามจริง ๆ เสียอีก : A wall is hell of a lot better than a war” หลังจากนัน้ ไม่นานในเดือนเดียวกัน สหรัฐฯ สั่งระดมสรรพก�ำลังเพิ่มขึ้นอีก ๑๔๘,๐๐๐ คน ในส่วนของก�ำลังทางอากาศนั้นให้เคลื่อนย้าย ไปประจ�ำการในยุโรปภายใน ๓๐ วัน โดยมี ฐานทัพอยู่ในฝรั่งเศส เยอรมันและสเปน ซึ่ง มี ชื่ อ รหั ส ปฏิ บั ติ ก ารคื อ Operation Tack Hammer และ Operation Stair Step และ เครื่องบินรบส่วนใหญ่ในยุคนั้นคือ F-100 และ ในช่วงนี้มีแผนการที่น่าสะพรึงกลัวอีกอย่าง หนึ่งของเคนเนดี้ที่มาเปิดเผยกันในภายหลัง ที่เหตุการณ์ผ่านไปแล้วหนึ่งปี คือ เคนเนดี้ ต้ อ งการชิ ง โจมตี ด ้ ว ยขี ป นาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ ต ่ อ ระบบอาวุธนิวเคลียร์ของโซเวียตให้ราบเรียบ ไปก่อน ซึ่งในเวลานั้น ICBM ของโซเวียตยัง มีไม่ถึงแปดชุดยิงและเครื่องบินทิ้งระเบิดยัง จอดล่อเป้าอยู่ในที่เปิดเผยโล่งแจ้งเป็นยิ่งนัก ส่วนในเบอร์ลินนั้น Ulbricht ยังเปิดให้มีการ ปฏิบตั กิ ารก่อกวนทุกอย่างทีม่ ตี อ่ ชาติพนั ธมิตร อย่างสม�่ำเสมอ เพราะสิ่งที่เขาต้องการอย่าง แท้จริงคือการไม่ให้มีชาติพันธมิตรอื่นใดอยู่ใน เบอร์ลินอีกต่อไป นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
การกลับมาของ พล.อ.Clay เมื่อเหตุการณ์ก้าวล่วงมาถึงตอนนี้ เคนเนดี้ ได้เรียก พล.อ.Clay ผู้เป็นต้นความคิดและ ผลักดันให้เกิด The German Airlift และได้ เกษียณราชการไปแล้ว ให้กลับเข้ามาช่วยงาน ด้านการเมืองกับเคนเนดี้อีกครั้งในประเด็น ของเบอร์ลินโดยเฉพาะ ด้วยมุ่งหวังที่จะท�ำให้ ข้อขัดแย้งทางแนวความคิดจากกลุ่มอนุรักษ์ และยึดมั่นในแนวทางเดิม ๆ ของฝ่ายสหรัฐฯ เองให้เจือจางลงมาอยู่ระดับที่พูดกันได้บ้าง การเข้ามาท�ำหน้าที่อีกครั้งของเขาได้รับการ ต้อนรับเป็นอย่างดีจากชาวเยอรมัน แต่ก็เป็น ที่ไม่ยินดียินร้ายจาก จนท.ทบวงแห่งรัฐฯ และ นายทหารระดับสูงของสหรัฐฯ ในเยอรมันเป็น อย่างมาก เนือ่ งจากพวกเขามองว่า พล.อ.Clay เป็นผูท้ ไี่ ร้พษิ สงไปแล้ว ในขณะทีเ่ ขาเองนัน้ เข้า มาด้วยความเชื่อที่ว่า การข่มขู่ของครุสชอพ และทีท่าที่ก้าวร้าวของ Ulbricht นั้นเป็นเพียง การยั่วยุเท่านั้นเอง ศักดิ์สงครามที่แท้จริงอยู่ ที่สหรัฐฯ และต่อไปนี้เขาจะไม่เบามือเรื่อง วิเทโศบายกับสองผู้น�ำนี้อีกเป็นอันขาด พล.อ.Clay ได้สั่งให้ทหารสร้างแบบจ�ำลอง ของก� ำ แพงเบอร์ ลิ น ขึ้ น ในพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ป่ า ใน เมืองเบอร์ลิน และให้มีการซ้อมท�ำลายก�ำแพง นั้นเสีย ซึ่งอาจจะเป็นยุทธวิธีในการส่งข่าวไป ถึงโซเวียตก็เป็นไปได้ ความนี้ล่วงรู้ไปถึงกอง บัญชาการใหญ่ของสหรัฐฯ ทื่ Heidelberg และได้สั่งระงับการปฏิบัตินั้นแต่โดยเร็ว ด้วย เกรงว่าจะเป็นการสะกิดที่น่ากลัวมากเกินไป หรื อ บาดแผลยั ง ไม่ แ ห้ ง พอ จึ ง ยั ง ไม่ ค วรจะ สะกิ ด แต่ ทั้ ง หมดนี้ ห าได้ ก ้ า วข้ า มการรั บ รู ้ ของฝ่ายตะวันออกรวมทั้งโซเวียตไปได้ และ เมื่อวันที่ ๒๒ ต.ค. ๑๙๖๑ ความตึงเครียดได้ กระหน�่ำขึ้นมาอีกครั้งที่ Charlies Point อัน เป็นจุดผ่านของเยอรมันตะวันออกและเขต ปกครองของสหรัฐฯ โดยที่ Clay ไม่ยินยอม ให้มีการแสดงตนหรือแสดงบัตรผ่านเข้า-ออก บริเวณดังกล่าวแก่ทหารเยอรมันตะวันออก ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงเดิมที่จะไม่มีการตรวจ สอบของทั้งสองฝ่ายส�ำหรับการเข้า-ออกของ ผู้ปฏิบัติหน้าที่ แต่ Ulbricht เป็นผู้ที่สั่งการ ให้ปฏิบัติเองและโซเวียตก็ปล่อยเลยตามเลย หากแต่ Clay ไม่ได้รู้สึกเช่นนั้น นอกจากจะ ไม่ ใ ห้ จนท.ของเขาแสดงบั ต รผ่ า นเพื่ อ การ ตรวจสอบของทหารเยอรมันตะวันออกเท่านั้น ยังไม่พอ เขายังให้ทหารสหรัฐฯ ที่อยู่ในสภาพ เตรี ย มพร้ อ มคุ ้ ม กั น การเดิ น ทางของ จนท. ของเขาในการผ่ า นบริ เ วณดั ง กล่ า วอี ก ด้ ว ย ที่ปรึกษาของเคนเนดี้ขอร้องให้เคนเนดี้ยับยั้ง หรือห้ามปรามพฤติกรรมที่อาจเป็นภัยคุกคาม ของเขาเสีย แต่เขาได้กล่าวต่อเคนเนดี้ว่า ถ้า ต้องการเขา เขาขอความอิสระในการท�ำงาน ของเขา มิฉะนั้นเขาจะลาออกทันที หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
รถถังประจันบาน ความรุนแรงทีเ่ ป็นการโต้ตอบกันบริเวณ CP นั้นเขม็งเกลียวขึ้นอีกมาก ครั้นเมื่อวันที่ ๒๖ ต.ค. รถของทางการสหรัฐฯ ถูกทหารเยอรมัน ตะวันออกกักเพื่อตรวจสอบทั้งที่ติดแผ่นป้าย ทะเบียนของทางการสหรัฐฯ Clay ได้สั่งให้รถ ทหารสหรัฐฯ จ�ำนวนถึงห้าคันเข้าท�ำการคุ้ม กันรถของ จนท.สหรัฐฯ เข้า-ออกบริเวณ CP โดยปลอดภัย อีกทั้งยังสั่งให้รถถังแบบ M-48 จ�ำนวน ๑๐ คัน เตรียมพร้อมที่ CP อีกด้วย และ รถถังบางคันในจ�ำนวนนัน้ ติดตัง้ ชุด Bulldozor เพือ่ การรือ้ ถอนและท�ำลายก�ำแพงได้ดว้ ย เพียง เท่านี้ในวันรุ่งขึ้นผู้คนต่างแตกตื่นเมื่อได้เห็น รถถังของโซเวียตจอดประจันหน้ากับ M-48 เต็มไปหมดที่ CP สร้างความหวาดผวาครั้ง ยิ่ ง ใหญ่ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ในเบอร์ ลิ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง หลังจากการจลาจลจากภัยสงครามในเบอร์ลนิ ครั้งสุดท้ายเมื่อ ๑๙๕๓ การเผชิญหน้ากันอย่างเอาจริงเอาจังใช้ เวลาทั้งสิ้น ๑๖ ชั่วโมง เริ่มตั้งแต่เวลาห้าโมง เย็นวันที่ ๒๗ ต.ค. ถึงเวลาห้าโมงเช้าวันที่ ๒๘ ต.ค. โดยที่รถถังทั้งฝ่ายอยู่ห่างกันแค่ ๑๐๐ หลาเท่านั้นเอง อีกทั้งยังหันปากกระบอกปืน เข้าหากันอีกด้วย และในเวลาเที่ยงคืนของ วันที่ ๒๗ ต.ค.นั้นเอง เคนเนดี้ได้ใช้ข่ายการ สื่อสารลับบอกแก่ Clay โดยไม่ได้ใส่ใจในค�ำ ทัดทานของที่ปรึกษาเลยว่า “Don’t lose your nerve : อย่าหวั่นไหว” แต่แล้วทุกอย่างก็คลี่คลายลงด้วยดี เมื่อมี การเปิดเผยในภายหลังว่าน้องชายของเคนเนดี้ คือ Attroney General Robert F.Kennedy ได้ ป ระสานกั บ โซเวี ย ตในทางลั บ และตกลง ให้มีการถอนก�ำลังการเผชิญหน้ากันในเวลา ๑๐.๓๐ ของวันที่ ๒๘ ต.ค. และเมื่อเหตุการณ์ ระทึกขวัญผ่านไป Clay ได้กล่าวว่า นี่คือความ ส�ำเร็จของก�ำลังพันธมิตร ซึ่งแสดงให้เห็นอย่าง เด่นชัดว่า พันธมิตรจะไม่มีวันทอดทิ้งเยอรมัน ตะวันตกอย่างแน่ชัด ความตึ ง เครี ย ดในเบอร์ ลิ น ครั้ ง ที่ ส าม หรื อ ครั้ ง สุ ด ท้ า ยนี้ ยื ด เยื้ อ อยู ่ ไ ม่ น านมาก นัก ซึ่งก็มีการคุกคามกันอยู่บ้าง แต่เป็นไป
อย่ า งประปรายเท่ า นั้ น และก่ อ นจะเข้ า สู ่ สถานการณ์ปกติปลายปี ๑๙๖๑ ที่ไม่มีการ เผชิญหน้ากันด้วยก�ำลังนั้น ครุสชอพได้พูด ถึงเคนเนดี้ว่า “เขาไม่ได้มีเพียงแค่พื้นฐานที่ดี ทางสังคมหรือการพูดที่ยอดเยี่ยมเท่านั้น หาก แต่เขายังสามารถยืนหยัดได้อย่างมั่นคงภายใต้ สถานการณ์ที่ท้าทายและเสี่ยงต่อความเป็น ความตายได้เป็นอย่างดีอีกด้วย” เมื่อถึงเดือน มิ.ย. ๑๙๖๓ เคนเนดี้ได้เดินทางไปที่ก�ำแพง เบอร์ลินพร้อมทั้งได้กล่าวแก่ชาวเมืองเบอร์ลิน ที่ ม ารอต้ อ นรั บ กว่ า ๓๐๐,๐๐๐ คนไว้ ว ่ า “I proud to come here with my fellow, General Clay, who has been in this city during its great moments of crisis and will come again if ever needed” การก่อสร้างก�ำแพงยังคงด�ำเนินก่อสร้างจน เสร็จสมบูรณ์ ซึ่งเป็นช่วงที่สี่ของการก่อสร้าง นั้นเรียบร้อยในปี ๑๙๘๐ โดยเบ็ดเสร็จแล้วมี หอสังเกตการณ์อยู่ถึง ๑๑๖ แห่งเลยทีเดียว แต่เมื่อภายหลังปี ๑๙๘๙ มีการรวมเยอรมัน กั น ได้ ก� ำ แพงเหล่ า นี้ ไ ด้ เ ริ่ ม ถู ก ทลายลงไป เรื่อย ๆ และมีบางส่วนน�ำไปเก็บรักษาให้เห็น ถึงความบาดหมางและเจ็บปวดของสงครามที่ National Museum of the USAF at Wright Patterson AFB ซึ่งได้เริ่มจัดแสดงให้ชมตั้งแต่ ม.ค. ๒๐๐๐ เป็นต้นมา นั่นคือการปิดฉากนรก ของชาวเยอรมัน ที่พวกเขาชาวเยอรมันตะวัน ออกในขณะนั้นที่ต้องสูญเสียชีวิตจากการยิง ของชนชาติเดียวกันเองในระหว่างปี ๑๙๖๑ - ๑๙๘๙ เป็นจ�ำนวนถึง ๑๓๖ คน ในความ พยายามที่จะหลบหนีมาฝั่งตะวันตกโดยผ่าน ก�ำแพงเบอร์ลิน และยังมีมากกว่านั้นนอกเขต ก�ำแพงเบอร์ลินนี้ นับแต่วิกฤตการณ์เบอร์ลินปี ๑๙๖๑ เมื่อ กาลเวลาผ่านไป พร้อมกับการกลืนกินอดีตที่ ขมขื่นตามไปด้วย ในปี ๒๐๑๐ McDonald’s ได้เปิดร้านสาขาที่หรูหราอาหารแบบด่วนใน สไตล์ ข องคนอเมริ กั น ขนาดความจุของร้า น ถึง ๑๒๐ ที่นั่ง ณ บริเวณแยกเมื่ออดีตที่เคย ถูกเรียกว่า Charlies Point แต่บัดนี้ได้ถูก เรียกขานกันใหม่ในกลุ่มของนักท่องเที่ยวว่า “Snackpoint Charlie”
ผู้เขียน : John T.Correll จาก : USAF Magazine, Sept 2011 ผู้เรียบเรียง : น.อ.ปิยะพันธ์ ขันถม : กองบิน ๖ : ๒-๕๐๓๘ 39
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
เรือฟริเกตชั้นซิกม่า พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทั พ เรื อ อิ น โดนี เ ซี ย (TNI-AL) ได้ต่อเรือฟริเกตชั้นซิกม่า ๑๐๕๑๔ (SIGMA 10514) เมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๗ อู่ต่อเรือ (PT PAL) เมืองสุราบายา จั ง หวั ด ชวาตะวั น ออก ที่ ล งนามในสั ญ ญา เมื่ อ เดื อ นมิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๕๕๕ ราคาเรื อ ล�ำละ ๒๒๐ ล้านเหรียญสหรัฐ เรือมีขนาด ยาว ๑๐๕.๑ เมตร ระวางขับน�้ำ ๒,๓๖๕ ตัน ความเร็วสูงสุด ๒๘ นอต ระยะปฏิบัติการ ๖,๗๐๐ กิโลเมตร ลูกเรือ ๑๒๐ นาย ปืนใหญ่ หลั ก ขนาด ๗๖ มิ ล ลิ เ มตร ปื น ขนาด ๒๐ มิลลิเมตร (๒ ชุด) จรวดน�ำวิถีต่อต้านเรือผิวน�้ำ แบบเอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ (MM-40 Exocet Block-II มีระยะยิงไกล ๗๒ กิโลเมตร) รวม ๘ ท่อยิง จรวดน�ำวิถีต่อต้านอากาศยานแบบ ไมก้า (MICA ลูกจรวดหนัก ๑๑๒ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๑๒ กิโลกรัม ระยะยิงไกล ๒๐ กิโลเมตร และมีความเร็ว ๓.๐ มัค) ชนิดแท่น ยิงทางดิ่ง (VLS) รวม ๑๒ ท่อยิง ตอร์ปิโดชนิด สามท่อยิงรวม ๒ ระบบ (รวม ๖ ลูก) ปืนกล ขนาด ๒๐ มิลลิเมตร (แบบ Denel Vektor 40
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
รวม ๒ กระบอก) ติดตั้งระบบดาต้าลิ้งค์ (Data Link) ระบบเรดาร์ค้นหาเป้าหมาย (MW08 3D) ระบบโซน่า (UMS 4132) ระบบสงคราม อิเล็กทรอนิกส์ (Thales DR 3000/Racal Scorpion 2L) ระบบเป้าลวง (TERMA SKWS, DLT-12T แท่นยิงขนาด ๑๓๐ มิลลิเมตร) และ ทางด้านท้ายเรือมีลานจอดพร้อมโรงเก็บเครือ่ ง บินเฮลิคอปเตอร์ทางนาวีขนาด ๑๐ ตัน เรือรบ ล�ำนีต้ อ่ เสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ.๒๕๕๙ กองทัพ เรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) มีโครงการทีจ่ ะต่อเรือ ฟริเกตจรวดน�ำวิถีชั้นซิกม่า ๑๐๕๑๔ (SIGMA 10514) รวม ๒ ล�ำ ก่อนนั้นกองทัพเรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) ได้สั่งต่อเรือคอร์เวตชั้นซิกม่า ๙๑๑๓ (SIGMA 9113) เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๘ เรือยาว ๙๐.๐๑ เมตร ระวางขับน�้ำ ๑,๖๙๒ ตัน รวมทั้งสิ้น ๔ ล� ำ ประกอบด้ ว ย เรื อ หมายเลข ๓๖๕
กองทัพเรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) ต่อเรือฟริเกตซิกม่า ๑๐๕๑๔ (SIGMA 10514) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๗ ที่อู่ต่อเรือ (PT PAL) เมืองสุราบายา เกาะชวา เรือขนาดยาว ๑๐๕.๑ เมตร ระวางขับน�้ำ ๒,๓๖๕ ตัน ความเร็วสูงสุด ๒๘ นอต ปืนใหญ่หัวเรือ ขนาด ๗๖ มิลลิเมตร และจรวดน�ำวิถีต่อต้านเรือผิวน�้ำเอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ (MM-40 Exocet Block-II) หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
41
เรือคอร์เวตชัน้ ซิกม่า ๙๑๑๓ (SIGMA 9113) เรือหมายเลข ๓๖๕ (KRI Diponegoro) ประจ�ำการ วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๐ เป็นเรือรบล�ำแรกของเรือชั้นนี้ กองทัพเรือ อินโดนีเซีย (TNI-AL) สั่งต่อรวม ๔ ล�ำ (KRI Diponegoro) ประจ� ำ การ วั น ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๐, เรือหมายเลข ๓๖๖ (KRI Sultan Hasanuddin) ประจ�ำการ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๐, เรือหมายเลข ๓๖๗ (KRI Sultan Iskandar) ประจ�ำการ วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๑ และเรือล�ำที่สี่ หมายเลข ๓๖๘ (KRI Frans Kaisiepo) ประจ�ำ การ วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๒ เรือชุดนีท้ งั้ สีล่ ำ� ทางด้านท้ายเรือมีเฉพาะลานจอดเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ทางนาวีขนาด ๕ ตัน แต่ไม่มี โรงเก็บเครื่องบิน เรือคอร์เวตชั้นซิกม่า (SIGMA) ออกแบบ โดยประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นเรือรบรุ่นใหม่ สามารถที่จะขยายแบบให้มีระวางขับน�้ำเพิ่ม ขึ้นเพื่อให้สามารถปฏิบัติการในทะเลได้นาน ขึน้ ประกอบด้วย ซิกม่า ๙๑๑๓ (SIGMA 9113) ขนาด ๑,๖๙๒ ตัน, ซิกม่า ๙๘๑๓ (SIGMA 9813) ขนาด ๒,๐๗๕ ตัน, ซิกม่า ๙๘๑๔ (SIGMA 9814) ขนาด ๒,๑๕๐ ตัน, ซิกม่า ๑๐๕๑๓ (SIGMA 10513) ขนาด ๒,๒๓๕ ตัน และซิกม่า ๑๐๕๑๔ (SIGMA 10514) ขนาด ๒,๓๖๕ ตัน ปืนหัวเรือขนาด ๗๖ มิลลิเมตร ระบบอาวุธที่ติดตั้งเป็นมาตรฐานของนาโต้ แต่ ประเทศลูกค้าสามารถทีจ่ ะติดตัง้ ระบบอาวุธได้ ตามต้องการ แต่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นมาตรฐาน นาโต้ กองทัพเรือโมร็อคโคได้สั่งต่อเรือฟริเกต ชั้นซิกม่า ๑๐๕๑๓ (SIGMA 10513) เมื่อวัน ที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๑ จ�ำนวน ๓ ล�ำ ราคา ๑.๒ พันล้านเหรียญสหรัฐ มีระวางขับน�้ำ ขนาด ๒,๐๗๕ ตัน ประกอบด้วย เรือหมายเลข 42
จรวดน�ำวิถีต่อต้านเรือผิวน�้ำแบบ เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ (MM-40 Exocet Block-III มีระยะยิงไกล ๑๘๐ กิโลเมตร) ขณะท�ำการทดสอบ การยิงโดยลูกจรวดขณะออกจากท่อยิง ติดตั้งบนเรือคอร์เวตชั้นซิกม่า ๙๘๑๔ (SIGMA 9814) กองทัพเรือเวียดนาม ๖๑๓ (Tarik Ben Ziyad) ประจ�ำการ วันที่ ๑๐ กั น ยายน พ.ศ.๒๕๕๔, เรื อ หมายเลข ๖๑๔ (Sultan Moulay Ismail) ประจ�ำการ วันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ และเรือล�ำที่ สาม หมายเลข ๖๑๕ (Allal Ben Abdellah) ประจ�ำการ วันที่ ๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ กองทัพเรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) เข้าร่วม ปฏิ บั ติ ก ารสั น ติ ภ าพในประเทศเลบานอน (UNIFIL) ร่ ว มกั บ กองก� ำ ลั ง นานาชาติ โ ดย ส่งเรือคอร์เวต หมายเลข ๓๖๘ (KRI Frans Kaisiepo) เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ โดย ปฏิบัติการเป็นระยะเวลานานหนึ่งปี ก่อนนั้น เมื่อปีที่แล้วหรือ พ.ศ.๒๕๕๒ ได้ส่งเรือคอร์เวต
หมายเลข ๓๖๕ (KRI Diponegoro) เข้าร่วม ปฏิบตั กิ ารเป็นครัง้ แรกของกองทัพเรือ กองเรือ เฉพาะกิจ (MTF) กองก�ำลังในประเทศเลบานอน เริ่มต้นปฏิบัติการเมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ กองเรื อ เฉพาะกิ จ จั ด มาจาก ๑๓ ประเทศ (จากประเทศยุโรป ๑๒ ประเทศ ส่วน ใหญ่สังกัดกองทัพนาโต้) ประเทศเลบานอน มีพื้นที่ ๑๐,๔๕๒ ตารางกิโลเมตร ประชากร ๔.๘ ล้านคน มีชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยาว ๒๒๕ กิโลเมตร กองทั พ เรื อ เวี ย ดนามมี โ ครงการต่ อ เรื อ คอร์ เ วตชั้ น ซิ ก ม่ า ๙๘๑๔ (SIGMA 9814) ขนาด ๒,๑๕๐ ตัน จ�ำนวน ๔ ล�ำ จากประเทศ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เนเธอร์แลนด์ เป็นเรือคอร์เวตชนิดล่องหน โดย เริ่มต้นเจรจาโครงการนี้ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เมื่อนายกรัฐมนตรีเวียดนามได้เยือน ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยจะท�ำการต่อที่อู่ ต่อเรือประเทศเนเธอร์แลนด์รวม ๒ ล�ำ และ อู่ต่อเรือประเทศเวียดนามรวม ๒ ล�ำ ติดตั้ง ระบบจรวดน�ำวิถีต่อต้านเรือผิวน�้ำแบบเอ็ก โซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ (MM-40 Exocet Block-III มีระยะยิงไกล ๑๘๐ กิโลเมตร) จรวดน�ำวิถี ต่อต้านอากาศยานแบบ ไมก้า (MICA มีระยะ ยิงไกล ๒๐ กิโลเมตร และมีความเร็ว ๓.๐ มัค) ชนิดแท่นยิงทางดิ่ง (VLS) รวม ๑๒ ท่อยิง ปื น กลขนาด ๓๐ มิ ล ลิ เ มตร ระบบอาวุ ธ ทั้งสองแบบผลิตจากประเทศฝรั่งเศส กองทัพ เรื อ เวี ย ดนามได้ ต กลงใจเลื อ กเมื่ อ เดื อ น พฤศจิ ก ายน พ.ศ.๒๕๕๖ และเครื่ อ งบิ น เฮลิคอปเตอร์ทางนาวีแบบ เคเอ-๒๗ (Ka-27 Helix) ในภารกิจต่อต้านเรือด�ำน�้ำ (ASW) โดย กองบินนาวีเวียดนามประจ�ำการรวม ๗ เครื่อง และมีพิสัยบินไกล ๙๘๐ กิโลเมตร
ภาพกราฟิกเรือฟริเกตชั้นซิกม่า ๑๐๕๑๓ (SIGMA 10513) กองทัพเรือโมร็อคโค แสดงที่ตั้งระบบอาวุธและระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นเรือในชั้นเดียวกับกองทัพเรือ อินโดนีเซียและกองทัพเรือเวียดนาม ที่ขณะนี้อยู่ระหว่างการต่อ
ภาพกราฟิกจรวดน�ำวิถีต่อต้านอากาศยานแบบไมก้า (MICA) ชนิดแท่นยิงทางดิ่ง (VLS) ลูกจรวดหนัก ๑๑๒ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๑๒ กิโลกรัม ระยะยิงไกล ๒๐ กิโลเมตร และมีความเร็ว ๓.๐ มัค หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
43
เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (ตอนที่ ๒๑)
ข้อพิจารณาในการเลือกใช้ วัสดุส�ำหรับการผลิต ชุดเกราะกันกระสุนแบบอ่อน
44
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ชุ
ด เกราะกั น กระสุ น (Ballistic Protective Clothing) หมายถึง ชุ ด ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น บุคคลจากกระสุน สะเก็ดโลหะของ ระเบิดขว้าง และวัตถุระเบิดอื่น ๆ แนวความ คิดในการใช้ชุดเกราะเพื่อปกป้องบุคคลนั้นมี มานานแล้ว ผูผ้ ลิตชุดเกราะกันกระสุนรายใหญ่ ของโลกได้แก่ ดูปองท์ (Dupont) ผู้ผลิตเส้นใย เคฟลาร์ (Kevlar) อัลไลด์ซิกแนล (Allied Signal) ผู้ผลิตเส้นใยสเปคตรา (Spectra) อัก๊ โซ โนเบล (Akzo Nobel) (ปัจจุบนั อยูภ่ ายใต้ กลุ่มทุนเทย์จินอารามิด [Teijin Aramid]) ผูผ้ ลิตเส้นใยทวารอน และ Kamenskvolokno ผู ้ ผ ลิ ต เส้ น ใย AuTx แห่ ง รั ส เซี ย เป็ น ต้ น ประเทศไทยเองได้มีงานวิจัยที่ศึกษาถึงวัสดุที่ ใช้ในการท�ำเสื้อเกราะกันกระสุนอย่างกว้าง ขวาง ได้แก่ การใช้เคฟลาร์-๑๒๙ เย็บด้านหน้า ด้วยไนลอน, เคฟลาร์-๒๙ ผสมไฟเบอร์, ยาง สังเคราะห์คลอโรพรีน, อีพอ็ กซีเสริมใยเคฟลาร์, ตาข่ายสแตนเลสผสมกับใยสังเคราะห์, แผ่น โลหะด้วยยางสังเคราะห์ (อนุสทิ ธิบตั รไทย เลข ที่ ๑๘๐๖, ๒๕๔๘), ใยแก้ว (อนุสิทธิบัตรไทย
ตัวอย่างผลงานวิจัยและพัฒนาชุดเกราะกันกระสุนโดยฝีมือคนไทย หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
45
เลขที่ ๔๒๖๓, ๒๕๕๑), แผ่นเหล็กบวกกับแผ่น ซับแรงต้านการหมุนของกระสุนจากเม็ดทราย อัดกับยาง (อนุสิทธิบัตรไทย เลขที่ ๗๒๗๔, ๒๕๕๕), แผ่นเหล็กในเสื้อเกราะบางระจัน, แผ่นสแตนเลสและอะลูมิเนียมในเสื้อเกราะรัก แผ่นดิน, เส้นใยโพลีเอสเตอร์ไนลอน ๖๖ และ พอลิเอทิลนี ในเสือ้ เกราะราชมงคลธัญบุร,ี ฟิลม์ เอกซเรย์ในเสื้อเกราะพระเจ้าตาก และแผ่น เซรามิกชนิดอะลูมินาหุ้มอะลูมิเนียมและเส้น ใยเคฟลาร์ความหนาแน่นสูง เสื้อเกราะของ เอ็มเท็ค ซึ่งแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติเด่นและ ด้อยแตกต่างกันไป ชุ ด เกราะกั น กระสุ น แบบอ่ อ น (Soft Ballistic Protective Vest) จะใช้วัสดุที่มี สมบัติทนแรงดึงสูงมากมาขึ้นรูปเป็นเส้นใย เพื่อทอเป็นผืนอย่างแน่นหนาและน�ำมาเรียง ซ้อนกันหลายชั้น เพื่อให้เสื้อเกราะมีทั้งความ แข็งแรง และความยืดหยุ่น (Flexible) เมื่อ กระสุ น ปื น พุ ่ ง ชนเสื้ อ เกราะ พลั ง งานหรื อ แรงกระแทกของกระสุนปืนจะถูกดูดซับและ กระจายออกไปตามแนวเส้นใยรวมถึงแผ่นวัสดุ สังเคราะห์ชนั้ ต่าง ๆ เป็นผลให้หวั กระสุนสูญเสีย รูปทรง และพลังงานไปจนกระสุนถูกหยุดใน ที่ สุ ด ด้ ว ยเหตุ ที่ ไ ม่ มี ชุ ด เกราะกั น กระสุ น ใด จะสามารถใช้ได้กับทุกสถานการณ์ ฉะนั้นใน การออกแบบ วิ จั ย และพั ฒ นาชุ ด เกราะกั น กระสุนนั้น นักออกแบบและวิจัยต้องเข้าใจถึง กระบวนการท�ำงานของกระสุนและชุดเกราะ กันกระสุน แล้วจึงพิจารณาเลือกวัสดุที่เหมาะ สมส�ำหรับน�ำมาผลิตเป็นชุดเกราะกันกระสุน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการต่อไป ซึ่งสิ่งที่ ต้องพิจารณามีดังต่อไปนี้
๑. เส้นใย (Fiber) ชุ ด เกราะกั น กระสุ น ต้ อ งสามารถหยุ ด กระสุ น ไม่ ใ ห้ ท ะลุ ท ะลวงผ่ า นและในขณะ เดี ย วกั น ต้ อ งสามารถดู ด ซั บ พลั ง งานจลน์ (kinetic energy) ด้วยการแปรพลังงานไป เป็นการเปลีย่ นรูป (deformation) ของกระสุน ด้วยเหตุนี้ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของ เส้นใยจึงได้แก่ ความแข็งแรง (strength) ค่า โมดูลัส (modulus) และการยืดตัว ณ จุดที่ ขาด (elongation at break) ความสามารถ ในการเบี่ยงเบนทิศทางกระสุน (deflection) และความเร็ ว ของคลื่ น ในเส้ น ใย ตั ว อย่ า ง เส้ น ใยที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสมส� ำหรั บ การ ผลิตชุดเกราะกันกระสุนได้แก่ เส้นใย Nylon ๖๖ เส้นใย Aramids เส้นใย UHMPE (UltraHigh Modulus Polyethylene) และเส้นใย Carbon เป็นต้น
๒. โครงสร้างเส้นด้าย (Yarn Structure) แรงเสียดทาน (Friction) มีบทบาทส�ำคัญ อย่างยิ่งต่อชุดเกราะกันกระสุน ซึ่งแรงเสียด ทานนี้ จ ะขึ้ น อยู ่ กั บ วิ ธี ก ารผลิ ต ส� ำ หรั บ เส้ น ด้ายที่ใช้ผลิตชุดเกราะกันกระสุนนั้นจะผ่าน กระบวนการผลิตที่ละเอียดและสลับซับซ้อน ท� ำ ให้ พื้ น ผิ ว ของเส้ น ด้ า ยมี ลั ก ษณะลื่ น เรี ย บ เมื่อเกิดกระแทกโดยวัตถุด้วยแรงมหาศาลจึง มีความเป็นไปได้สูงที่เส้นด้ายเหล่านี้จะคลาย ตัวหลุดออกจากกันได้ง่ายเนื่องจากมีแรงเสียด
ทานระหว่างเส้นด้ายต�่ำ ด้วยเหตุนี้เส้นด้ายจึง ต้องผ่านกระบวนการที่จะท�ำให้พื้นผิวหยาบ กว่าเดิมไม่ว่าจะด้วยวิธีการทางเคมี หรือวิธี ทางกลก็ตาม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้ผลิตแต่ละราย
๓. การออกแบบผืนผ้า (Fabric Design) การตอบสนองของกระสุนทีม่ ตี อ่ ผืนผ้านัน้ มี ความสัมพันธ์โดยตรงต่อโครงสร้างการถักทอ ผืนผ้า ยกตัวอย่างเช่นหากผืนผ้าถูกทอให้เส้น ด้ายอยู่ชิดกันมาก ผืนผ้าที่ได้จะมีความแน่น ไม่ยืดหยุ่น (Stiff) ท�ำให้การขยับจะถูกจ�ำกัด และผ้าจะขาดออกจากกันเนื่องจากแรงเค้น (Stress) ณ จุดที่กระสุนตกกระทบ หากเส้น ด้ายของผืนผ้าอยู่ห่างกันมากเกินไปลูกกระสุน จะสามารถพุ่งทะลุผ่านไปได้ ดังนั้นผู้ออกแบบ และวิจยั ต้องค�ำนวณหาจุดสมดุลระหว่างระยะ ห่างเส้นด้ายกับความสามารถในการต้านทาน กระสุนในระดับที่ต้องการ
ตั ว อย่ า งมาตรฐานการทดสอบชุ ด เกราะกั น กระสุ น ตามมาตรฐานสถาบันการยุติธรรมแห่งชาติสหรัฐฯ หรือ NIJ (U.S. National Institute of Justice) เรียกว่า มาตรฐาน U.S. NIJ.0101.03 46
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ชุดเกราะกันกระสุนจากอดีตสู่ปัจจุบัน
๔. พื้นผิวขั้นสุดท้าย (Finishing) สิ่งที่น่าสนใจที่สุดส�ำหรับการผลิตชุดเกราะ กันกระสุนคือ ความชื้น แสงอุลตร้าไวโอเล็ต สารหล่อลื่นต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการถักทอ ตลอดจนสารตกค้างอื่น ๆ ซึ่งส่งผลอย่างมาก ต่อประสิทธิภาพของวัสดุที่ใช้ท�ำชุดเกราะกัน กระสุน ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากพฤติกรรมของ เส้ น ด้ า ยที่ ก ระท� ำ ต่ อ กั น จะเปลี่ ย นแปลงไป ตามปัจจัยที่ระบุข้างต้น จากสาเหตุดังกล่าว คุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐานของวั ส ดุ ที่ ใ ช้ ท� ำ ชุ ด เกราะ กันกระสุนจึงต้องกันน�้ำได้ เป็นที่ทราบกันดี ในหมู่นักออกแบบและวิจัยว่าหากวัสดุที่ใช้ท�ำ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
ชุดเกราะกันกระสุนนั้นเปียกความสามารถใน การป้องกันกระสุนจะลดลงได้มากถึง ๔๐% ดั ง นั้ น ผู ้ อ อกและวิ จั ย ต้ อ งเลื อ กพื้ น ผิ ว ขั้ น สุ ด ท้ า ยเพื่ อ การก� ำ จั ด และ/หรื อ ป้ อ งกั น ความชืน้ แสงอุลตร้าไวโอเล็ต และสารทีต่ กค้าง ในวัสดุจากกระบวนการผลิต ปัจจุบนั มีความต้องการชุดเกราะกันกระสุน ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ที่ลงไปปฏิบัติหน้าที่รักษา ความสงบเรี ย บร้ อ ยใน ๓ จั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ การจั ด หาชุ ด เกราะกั น กระสุ น จาก ต่างประเทศต้องใช้งบประมาณสูง การผลิต ชุดเกราะกันกระสุนขึ้นใช้เองจึงเป็นสิ่งที่น่า ส่งเสริม ซึ่งผู้ประกอบการสิ่งทอในประเทศ ได้ให้ความสนใจและพร้อมเข้ามาร่วมลงทุน
แต่จะต้องเริ่มต้นจากการมีนวัตกรรมที่เป็น ผลงานอันเกิดขึ้นจากการวิจัยควบคู่กับการ ต่ อ ยอดในเชิ ง พาณิ ช ย์ ซึ่ ง แนวทางในการ ด� ำ เนิ น การนั้ น นั ก ออกแบบและวิ จั ย จะต้ อ ง เข้าใจความต้องการของตลาดเป็นตัวตั้ง และ สามารถสร้างนวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ ยอมรับของตลาดในวงกว้าง สถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทป. ตระหนักดีถึงความต้องการ และความเป็นไป ได้ของการวิจัยและพัฒนาชุดเกราะกันกระสุน ซึ่ง สทป. ก�ำลังพิจารณาถึงการร่วมวิจัยเพื่อ ต่อยอดนวัตกรรมของคนไทยไปสู่การพึ่งพา ตนเองอย่างยั่งยืนต่อไป 47
หลักการของ
นายพลแพตตัน (ตอนที่ ๒๖) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
48
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
บทที่ ๗ หลักการแห่งชีวิต และความตาย ความตายอาจจะตื่นเต้นกว่าการมีชีวิต นายพลแพตตันได้ท�ำลายล้างความหวาด กลั ว ต่ อ ความตายด้ ว ยความศรั ท ธาที่ มี ต ่ อ ศาสนาอย่างลึกล�ำ้ และด้วยอารมณ์ขนั อันเฉียบ คม ท่านได้สอนพวกเราให้หวั เราะกับความตาย ผมเชื่อว่าท่านมีความจริงใจที่บอกว่า ท่านได้ สวดมนต์อ้อนวอนต่อพระเจ้าให้ตัวเองตายใน สมรภูมิ ผมจ�ำค�ำที่ท่านพูดได้ “ผมต้องการตายด้วยกระสุนนัดสุดท้ายทีย่ งิ ในตอนท้ายสุดของสงคราม!” ในภาพยนตร์เรื่องนายพลแพตตัน มีหลาย นาที ที เ ดี ย วที่ ไ ด้ พ รรณนาถึ ง ความเชื่ อ ของ นายพลแพตตันที่ว่า การกลับชาติมาเกิดมีจริง แต่ในการถกแถลงคราวใดผมก็ไม่เคยได้ยิน นายพลแพตตันพูดถึงการกลับชาติมาเกิด ท่าน ได้แต่พูดถึงความจริงที่ว่า ไม่มีสงครามแบบ ใหม่ สงครามทุกแบบทุกชนิดได้เคยกระท�ำ กันมาแล้วเป็นพัน ๆ ปี ในชีวิตของมนุษยชาติ มั น ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นรู ป แบบของสงครามเลย ที่ เ ปลี่ ย นไปก็ เ พี ย งแต่ อ าวุ ธ ที่ ใ ช้ เ ท่ า นั้ น ผม แน่ใจว่านายพลแพตตันได้ศึกษาสงครามทุก แห่งเท่าที่มีรายงานในหนังสือประวัติศาสตร์ ท่านใช้ชีวิตของท่านในการเข้าไปเยี่ยมเยียน สนามรบ การที่ ท ่ า นพู ด อย่ า งที่ มี ใ นหนั ง ว่ า “ผมเคยอยู่ในสนามรบนี้มาก่อน” มันไม่ได้ หมายความว่าท่านเชื่อในเรื่องการกลับชาติ มาเกิด มันหมายความว่าท่านเคยศึกษาสนามรบนี้ มาอย่างละเอียดแล้ว และเคยเดินตรวจสถาน ที่ที่การรบเกิดขึ้นมาก่อน ไม่มีข้อสงสัยในจิตใจของทหารคนใดเลยว่า นายพลแพตตันเชื่อในพระเจ้า นายพลแพตตัน ปฏิบัติตามศาสนาอย่างดีทั้งเจ็ดวันในสัปดาห์ ท่ า นไม่ ไ ด้ จ� ำ กั ด การปฏิ บั ติ ต ามศาสนาเพื่ อ การแสดงออกในวันอาทิตย์เท่านั้น แม้ว่าท่าน จะร่วมกับก�ำลังพลเข้าโบสถ์วันอาทิตย์บ่อย ๆ ก็ตาม อาทิตย์แรกที่อยู่ในศูนย์ฝึกการรบแบบ ทะเลทราย นายพลแพตตันได้สั่งการให้มีการ เข้าโบสถ์เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา เราไม่มี โบสถ์สักแห่ง! เราไม่มีเก้าอี้นั่งสักตัว แต่เราก็ มีโบสถ์จนได้! ที่เรามีก็คือแท่นบูชาซึ่งตั้งอยู่ กลางลานทรายข้ า งหน้ า เต็ น ท์ ข องนายพล แพตตัน พร้อมกับธงชาติอเมริกัน และที่ยืน ตัวตรงแหน่วหน้าแถวทหารในการประกอบพิธี ครั้งแรก ก็คือ นายพลแพตตัน! นายพลแพตตันนับถือในอนุศาสนาจารย์ ของกองทัพ และให้พวกเขาเข้าประชุมทุกครั้ง ที่จะมีการตัดสินใจที่ส�ำคัญ ท่านมักจะเรียก อนุศาสนาจารย์มาเพื่อให้ “ต่อสายตรงไปยัง พระเจ้า!” ระหว่ า งการรบที่ บั ล จ์ (Battle of the Bulge) สภาพอากาศแย่มาก นายพลแพตตัน หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
ได้ สั่ ง ให้ อ นุ ศ าสนาจารย์ เ ขี ย นค� ำ สวดเพื่ อ อ้อนวอนให้สภาพอากาศเปลีย่ นแปลง บทสวด เพื่อสภาพอากาศที่ดีต่อการสู้รบนี้ได้เคยกล่าว ในบทก่อนแล้ว บทสวดนั้นได้ร้องขอว่า “โปรดยับยั้งฝนอันรุนแรงนั้น และกรุณา มอบลมฟ้า อากาศที่ ดี แก่ เ ราเพื่ อ การรบครั้ ง นี้ ขอโปรดรั บ ฟั ง พวกเราเหล่ า ทหารหาญ ของพระองค์ ซึ่ ง มี พ ละก� ำ ลั ง ก็ ด ้ ว ยอ� ำ นาจ บั น ดาลแห่ ง พระองค์ พวกเราจะบุ ก เข้ า ไป เพื่อชัยชนะ และจะจรรโลงความยุติธรรมตาม ความประสงค์ของพระองค์ในหมู่มวลมนุษย์ และชนชาติต่าง ๆ” นายพลแพตตันสวดมนต์บทนี้ในวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๗ (ค.ศ.๑๙๔๔) ปรากฏว่า พระเจ้าได้ทรงใช้เวลาเพียงสองสามวันเพื่อท�ำ อากาศให้แจ่มใสและบรรดาทหารก็ได้กระท�ำ “การรุกไปข้างหน้าจากชัยชนะ สู่ชัยชนะ” ความศรัทธาในศาสนาของนายพลแพตตัน ได้ ป รากฏอยู ่ ใ นค� ำ อ้ า งอิ ง ของท่ า นเกี่ ย วกั บ ความตาย ความกลั ว ตายมั ก ถู ก โจมตี โ ดย นายพลแพตตันอยู่เสมอ “คุณเคยหยุดคิดบ้าง
ไหมว่าความตายน่ะอาจจะตืน่ เต้นมากกว่าการ มีชวี ติ อยูเ่ สียอีก? เรารูว้ า่ มันเป็นอย่างไรกับการ มีชีวิตอยู่ในโลก เราไม่รู้ว่ามันจะเป็นอย่างไร หากมีชีวิตหลังจากที่ตายไปแล้ว เรารู้ดีว่ามัน จะต้องมีชีวิตบางอย่างแน่หลังจากตายไป! จง มองอนาคตในแง่ดี” การบรรยายของนายพล แพตตันเกีย่ วกับความตายท�ำให้พวกเรามีความ เชื่อมั่นมากกว่าได้ฟังบาทหลวงสวดที่โบสถ์ ผมประทั บ ใจในความรอบรู ้ เ รื่ อ งไบเบิ้ ล อย่างละเอียดลออของนายพลแพตตัน ความรู้ ในเรื่องนี้ของท่านมีมากกว่าผู้น�ำทางศาสนา หลาย ๆ คนที่ผมเคยรู้จัก ผู้เขียนประวัติท่าน คนหนึ่งได้กล่าวในที่ประชุมว่านายพลแพตตัน สามารถกล่าวค�ำที่มีอยู่ในไบเบิ้ลได้มากกว่า นั ก วิ ช าการทางคั ม ภี ร ์ ไ บเบิ้ ล คนใดด้ ว ยซ�้ ำ ส�ำหรับนายพลแพตตัน คัมภีร์ไบเบิ้ลนั้น คือ บทความส�ำหรับการต่อสู้ ผมจ�ำได้ถงึ ค�ำอธิบายของท่านในเรือ่ ง ความ กลัว และความศรัทธา พวกเราก�ำลังเข้าใกล้วนั ที่ยาวนานที่สุดแห่งปี (The longest day) ใน วันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ.๑๙๔๒)
49
พันเอกเกย์ และผมก�ำลังเดินทางไปทีเ่ ต็นท์ของ ท่านนายพล แสงสีแดงพาดผ่านฟากฟ้าด้าน ตะวันตก ขณะที่พันเอกเกย์ และผมเข้ามาใกล้ นายพลแพตตันได้ร�ำพึงขึ้นว่า “เป็นเวลาพระอาทิตย์ตกที่สวยงามระย�ำ ท�ำให้เกิดความรู้สึกที่ดีเยี่ยมจริง ๆ เพียงแค่ ทอดสายตามอง ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งช่ า งสมดุ ล จริง ๆ ! สมบูรณ์ที่สุดเหมือนกับความกลัว และความศรัทธา คุณมีความหวาดกลัวอย่าง มากมาย คุณต้องไขว่คว้าความศรัทธามาเพื่อ ให้สัมพันธ์กับความกลัว คุณมีความศรัทธา มาก คุณก็ต้องมีความกลัวเพื่อทดสอบศรัทธา ของคุณ พระเจ้าท�ำให้คุณพยายามพิชิตความ กลั ว เพื่ อ ดู ว ่ า คุ ณ มี ค วามสามารถในการรั บ ศรัทธาเท่าไร พระองค์จะไม่ให้คุณมากไปที่จะ สามารถเอาชนะได้ แน่ละคุณสามารถยอมแพ้ ได้เสมอ และร่วงหล่นไปพร้อมกับความกลัว แต่ ถ ้ า คุ ณ ไม่ ย อมแพ้ คุ ณ ก็ ส ามารถท� ำ ลาย ความกลัวทั้งหมดได้ พระเจ้าด�ำเนินงานทั้ง สองแผนก ทัง้ แผนกความกลัว และแผนกความ ศรัทธา ถ้าซาตานมีจริงพระเจ้าก็สามารถต้อน มันได้โดยง่าย พระเจ้าไม่เคยท�ำสิ่งใดล้มเหลว! นั่นก็รวมถึงการฆ่าเจ้าซาตาน ความกลัวและ 50
ความศรัทธาเจริญเติบโตพร้อม ๆ กัน ถ้าคุณ ไม่ มี ค วามศรั ท ธาเพื่ อ เผชิ ญ หน้ า ความตาย โอกาสที่คุณจะมีศรัทธาเพียงพอที่จะสู้กับการ มีชีวิตต่อไปก็มีน้อย มันก็เหมือนกับการมีชีวิต อยู่อย่างครึ่งเป็นครึ่งตายนั่นเอง!” “ท่านเห็นทั้งหมดนั่น ในดวงตะวันที่ก�ำลัง จะลับฟ้าหรือครับ ท่านนายพล?” พันเอกเกย์ถามขึ้น “ใช่ ทั้งหมดนั่น และมีมากกว่านั้น เอาละ มันก็ไม่เชิงทีเดียว ผมเพียงแต่เห็นส่วนเล็ก ๆ ส่ว นหนึ่งของจั ก รวาลเท่ า นั้ น แต่ ใ ครก็ ต าม ที่สามารถรวบรวมจักรวาลได้ก็จะสามารถมี แผนการที่ยอดเยี่ยมได้” พวกเราเฝ้าดูอย่างเงียบ ๆ ขณะดวงอาทิตย์ เปลี่ยนสีเหนือเทือกเขาชอคโกแลต แห่งมลรัฐ แคลิฟอร์เนีย ทหารทุกคนรู้ว่านายพลแพตตันห่วงใยใน ตัวพวกเขา ถ้าทหารกลัวตายก็ไม่จ�ำเป็นต้อง กั ง วลใจเพราะนายพลแพตตั น ยอมรั บ การ หวาดกลัว นายพลแพตตันซื่อสัตย์ต่อคนของ ท่านเท่า ๆ กับที่พวกเขาซื่อสัตย์ต่อท่าน ความ จงรักภักดีแบบนี้ยากนักที่คนอื่นจะเข้าใจได้ คนอืน่ ๆ ไม่เชือ่ ว่าบรรดาก�ำลังพลจะจงรักภักดี
ต่อผูบ้ งั คับบัญชาทีห่ ยาบกระด้างและเรียกร้อง มากเกินไป นายพลแพตตันเรียกร้องเอาความ ตายจากทหารทุกคน หากว่ามันจ�ำเป็นเพื่อให้ ได้ชัยชนะ แต่นายพลแพตตันจะเป็นผู้มอบ ชีวิตเป็นคนแรก เรื่ อ งราวและต� ำ นานเกี่ ย วกั บ นายพล แพตตั น มี ม ากมายไร้ ขี ด จ� ำ กั ด แม้ จ ะเป็ น ปี พ.ศ.๒๔๘๕ (ค.ศ.๑๙๔๒) ก็ตาม ผมจ�ำได้ถึง นักหนังสือพิมพ์คนหนึ่งผู้ซึ่งบอกผมว่าเขาได้ ตั้งใจที่จะเขียนเรื่องราวของนายพลแพตตัน ในแง่ตลก ผู้สื่อข่าวคนนี้ประจ�ำอยู่กับหนังสือ พิมพ์ฉบับยักษ์ใหญ่ของชาติแห่งหนึ่ง เขาไม่ได้พูดถึงว่าเขาจัดการให้ตัวเองเข้ามา ในศูนย์ฝึกนี้ได้ยังไง มันก็เป็นภารกิจของผมที่ จะร่วมกับผูส้ อื่ ข่าวคนนีร้ ะหว่างการเยีย่ มเยียน ศูนย์ฝึกการรบแบบทะเลทราย เราหยุดรถจี๊ป ของเราและมองไปที่ ท หารราบคนหนึ่ ง ซึ่ ง มี ท่ า ทางฉุ น เฉี ย วในขณะที่ ก ระทื บ ไปบนคั น สตาร์ทรถจักรยานยนต์ของเขาอยู่ ทหารคนนี้ ดูจะเป็นตัวเลือกที่ดีส�ำหรับผู้สื่อข่าวที่จะถาม ความเห็นว่า ท�ำไมทหารทั้งหมดจึงรักนายพล แพตตัน นักข่าวได้ถามขึ้นว่า “คุณคิดว่านายพลแพตตันจะได้ขึ้นสวรรค์ ไหมตอนที่ท่านตายไปแล้วน่ะ?” ค�ำตอบมีทันที “ขึ้นแน่ถ้าท่านต้องการ แต่ จะไม่ขึ้น ถ้าท่านไม่พร้อม!” ผู้สื่อข่าวตั้งใจแหย่ให้โกรธโดยการพูดถึงใน แง่ไม่ดเี กีย่ วกับนายพลแพตตัน ผูส้ อื่ ข่าวจึงถาม ทหารราบผู้นี้ว่า “คุ ณ คิ ด ว่ า มั น เป็ น ไปได้ ไ หมที่ น ายพล แพตตันอาจจะตกนรก?” “ฟังไว้นะ! ถ้าเกี่ยวกับนายพลแพตตันแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปได้ทั้งสิ้น! ถ้าท่านตัดสิน ใจที่จะลงนรก แน่นอนที่ผมก็ต้องการตามท่าน ไปเช่นกัน!” ผูส้ อื่ ข่าวส่ายหัวในลักษณะทีไ่ ม่อยากจะเชือ่ แล้วเราก็เดินทางกลับเข้าค่าย มีเรื่องราวมากมายเกี่ยวกับนายพลแพตตัน และเกี่ยวกับความจงรักภักดีของบรรดาทหาร พวกเขาชอบฟังการบรรยายของท่าน อารมณ์ ขันของท่าน การหัวเราะตัวเองของท่าน และ การท�ำให้พวกเขาหัวเราะไปกับท่าน ผมชอบ เรื่องที่เสนาธิการคนหนึ่งของนายพลมาร์แชล ได้ถามร้อยตรีคนหนึ่งว่า เขาเชื่อว่านายพล แพตตันสามารถเดินบนน�้ำได้ไหม ร้อยตรีคน นั้นตอบว่า “ท่านพันเอกครับ ผมรูจ้ กั นายพลแพตตันดี ! ถ้าท่านต้องการเดินบนน�้ำท่านจะหาหนทาง จนได้ และภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงท่านต้องท�ำให้ ผมเดินได้ด้วยแน่ !” เรื่องราวต่าง ๆ ทั้งหมดนั้น มีอยู่เรื่องหนึ่งที่ พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
มีทหารคนหนึ่งถูกถาม “คุณคิดว่านายพลแพตตันของคุณยิ่งใหญ่ มาก! คุณคิดว่าท่านจะลุกขึ้นจากหลุมศพได้ ไหมเมื่อตายไปสามวันแล้ว” “ห่ะ...ไม่มีทาง!” ทหารผู้นั้นตอบสวน และ กล่าวต่อไปว่า “ทุกสิ่งที่ท่านจะท�ำ ท่านต้องท�ำมันเสร็จ ก่อนจะถึงสามวันแน่ ๆ! ไม่ว่าตายหรือเป็น ท่านจะไม่อยู่ในหลุมถึงสามวันหรอก” การบรรยายครั้งหนึ่งที่ผมจ�ำได้เป็นเรื่อง เกี่ยวกับสวรรค์ นายพลแพตตันได้กล่าวว่า “เรารู้น้อยมาก หรือไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับ สวรรค์ มันอาจจะมีทุกสิ่งทุกอย่างที่ดีเยี่ยม ที่สุด ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้วท�ำไมมนุษย์จึงควรจะ กลัวตาย? พระเจ้าสามารถเฆี่ยนซาตานให้ยับ ในวันไหนของสัปดาห์ก็ได้ พลังอ�ำนาจใด ๆ ที่ สามารถรวบรวมจักรวาลเข้าด้วยกันได้ พลังนัน้ ก็จะสามารถท�ำได้ทุกสิ่งทุกอย่าง ผมรู้สึกขัน พวกนักเทศน์ที่แท่นบรรยายและสั่งสอนเราใน ความประเสริฐของสวรรค์ แต่พวกเขากลับกลัว ความตาย หากเราท�ำให้คนจ�ำพวกนี้เจ็บเล็ก ๆ น้อย ๆ คนพวกนีก้ อ็ าจตายได้จากความตืน่ เต้น ตกใจ! ถ้าสวรรค์ดีเยี่ยมจริง ท�ำไมคนพวกนี้ จึงกลัวตายล่ะ? ดูเหมือนว่าพวกเขาจะได้รับ โอกาสที่จะได้ขึ้นสวรรค์และไปจากโลกมนุษย์! ท� ำ ไมพวกเขาจึ ง ลั ง เลใจล่ ะ ? สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ผ มรู ้ ก็คอื ความตายจะต้องเป็นอะไรสักอย่างแน่ ๆ!” ท่านยิ้มตามปกติ และพูดต่อไปว่า “อย่างน้อยที่สุด ความตายจะต้องแตกต่าง จากการมีชีวิตอยู่ ผมแน่ใจว่าความตายจะต้อง ตื่นเต้น เพราะว่ามันก็เป็นเพียงอีกแง่มุมหนึ่ง ของวงจรแห่งชีวิตเท่านั้น!”
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
51
ทหารกับการเมือง กรณีศึกษา
จอมพล ป.พิบูลสงคราม จ จุฬาพิช มณีวงศ์
ากอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี ค วาม พยายามที่จะให้สถาบันทหารออก จากการเมืองมาโดยตลอด เพราะ การเมื อ งเป็ น เรื่ อ งของอ� ำ นาจและการใช้ อ� ำ นาจในการบริ ห ารบ้ า นเมื อ ง แม้ ใ นยุ ค ที่ ประเทศพัฒนาแล้วใช้วิธีการได้มาซึ่งอ�ำนาจ โดยผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชนด้วยวิธี หยั่ ง เสี ย งลงคะแนนตามระบบการเลื อ กตั้ ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผู ้ แ ทนราษฎร แต่ ส ถาบั น ทหารก็ ยังเป็นหนึ่งในเสาหลักของอ�ำนาจที่สามารถ เปลี่ ย นแปลงความเป็ น ไปของบ้ า นเมื อ งใน ทุกยุคทุกสมัย เพียงแต่ส�ำหรับประเทศไทย การยึ ด อ� ำ นาจของทหารปราศจากความ รุนแรง ต่างไปจากอีกหลายประเทศเท่านั้น คนไทยจ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยเรี ย กวิ ธี ก ารเช่ น นี้ ว ่ า ประชาธิปไตยแบบไทย ๆ และยอมรับโมเดล เช่นนี้ได้อย่างกลมกลืน ต้นต�ำรับของทหารที่ก้าวมาสู่เวทีทางการ เมือง ซึ่งหากศึกษาอัตชีวประวัติของท่านจะมี ความละม้ายคล้าย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรั ฐ มนตรี ค นที่ ๒๙ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ก็ คื อ จอมพล ป.พิบลู สงคราม ความเหมือนบนความ ต่างที่น่าสนใจมีทั้งในเรื่องของรูปร่างหน้าตา บุคลิกลักษณะ กระทั่งเส้นทางของความเจริญ ก้าวหน้าในชีวิตรับราชการ ซึ่งอาจจะเป็นสิ่ง เหลือเชื่อส�ำหรับหลายคนก็เป็นได้
52
จุฬาพิช มณีวงศ์
ใฝ่ ฝ ั น ทะเยอทะยาน กิ ริ ย าวาจาเรี ย บร้ อ ย และเงียบขรึม ท�ำการทุกอย่างด้วยความสุขุม รอบคอบอันส่อแสดงถึงนิสัยใจคอที่เด็กคนนี้ จะต้องแยกเส้นทางการด�ำรงชีวิตออกจากสิ่ง จากบันทึกเรื่องราวของ จอมพล ป.พิบูล ที่ ต ระกู ล ของเขาได้ ท�ำ มานมนานแล้ ว ไปสู ่ สงคราม ภาคปกติที่ไม่ได้พิสดารอะไร กล่าว ทิ ศ ทางใหม่ ไม่ ย อมเจริ ญ รอยตามอาชี พ ที่ บรรพบุรุษของเขาท�ำมาแล้วอีกต่อไป ถึงท่านผู้นี้ว่า และเพราะการเกิดมาเป็นเด็กที่มีลักษณะ “เด็กคนนั้นตั้งแต่เกิดมาก็มีลักษณะท่าทาง แปลกกว่าเด็กทัง้ หลาย สองตายายผูเ้ ป็นพ่อแม่ แปลกกว่าเด็กทั้งหลายนี่เอง นายขีด และนาง ก็ พ ลอยงงงั น กั บ ท่ า ทางของลู ก คนนี้ ไ ม่ น ้ อ ย ส�ำอางค์ พ่อแม่จึงเรียกชื่อเด็กคนนี้ว่า เด็กชาย เพราะปู่ย่าตาทวดของตระกูลนี้ด�ำรงชีวิตมา แปลก” เด็กชายแปลก มีลูกตาทั้งสองข้างเกิดอยู่ ด้วยการท�ำสวน แต่เด็กคนนี้มองดูทิวป่าและ พืชไร่ที่ตระกูลของเขาอาศัยเลี้ยงชีพมาหลาย เหนือระดับหูเล็กน้อย เป็นบุตรคนที่สองของ ชั่ ว อายุ ค นแล้ ว ด้ ว ยความเฉยเมย ไม่ มี ท ่ า ที นายขีด และนางส�ำอางค์ ขีตตะสังคะ ครอบครัว สนใจต่ อ อาชี พ ที่ เ ป็ น มรดกตกทอดมาจาก ท�ำสวนแห่งบ้านแพ ปากคลองบางเขน อ�ำเภอ เมือง จังหวัดนนทบุรี ต้นตระกูลแม้แต่น้อย เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๔๐ ตรงกันข้าม เด็กคนนี้กลับกระปรี้กระเปร่า ต่อการศึกษาเล่าเรียน ดวงตาเต็มไปด้วยความ ซึ่งตรงกับวันที่นักปฏิวัติในฝรั่งเศสลุกฮือทลาย
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
คุกบาสตีลแล้วจับพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๖ กับ พระนางมารี อังตัวเนตต์ ไปประหารชีวิตด้วย เครื่องกิโยติน เป็นผลส�ำเร็จ เด็กชายแปลก มีความใฝ่ฝันทะเยอทะยาน อยู ่ เ สมอ จึ ง สนใจใฝ่ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นยิ่ ง กว่ า การท�ำไร่ท�ำสวนตามพ่อแม่ เขาได้เล่าเรียน เป็นเบื้องต้นในชั้นประถมที่วัดเขมาภิรตาราม เมื อ งนนทบุ รี และมี ค วามขยั น หมั่ น เพี ย ร ขะมั ก เขม้ น ดี ก ว่ า เด็ ก คนอื่ น ในรุ ่ น เดี ย วกั น ดังนั้นเมื่อจบชั้นประถมด้วยความรู้พอสมควร แล้ ว ยั ง ได้ โ อกาสเข้ า ไปเรี ย นในโรงเรี ย น นายร้ อ ย จปร. สมปรารถนา ในสมั ย นั้ น เด็กชาวสวนคนหนึ่งเข้าไปเรียนในโรงเรียน นายร้ อ ย จปร. ถื อ ว่ า โก้ ห รู แ ละภาคภู มิ ยิ่ ง เพราะเป็นเรื่องยากที่คนธรรมดาสามัญทั่วไป จะท�ำได้ แม้จะต้องหมดเปลืองขนาดไหนก็ยอม ล�ำบากหาเงินมาส่งเสียให้ลูกเรียน
53
หลังส�ำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ.๒๔๕๗ รับ พระราชทานกระบี่ แ ละติ ด ยศนายร้ อ ยตรี เป็นนายทหารอายุเพียง ๑๗ ปีเท่านั้น แต่ ร.ต.แปลกก็ ยั ง คงเจริ ญ ก้ า วหน้ า ต่ อ มาด้ ว ย การเข้าเรียนในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก และสามารถสอบได้เป็นที่หนึ่ง ซึ่งจะมีโอกาส เดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศคือประเทศ ฝรั่งเศส กระทรวงกลาโหมได้ส่ง ร.ท.แปลก ขีตตะสังคะ ไปศึกษาต่อวิชาทหารปืนใหญ่ที่ ประเทศฝรั่งเศส ณ เมืองฟองเตนโบล ใกล้ เมืองปารีส ที่พระราชวังที่ประทับของพระเจ้า นโปเลียนตั้งอยู่ การเดินทางไปศึกษาที่ประเทศฝรั่งเศสของ ร.ท.แปลก ได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนของชีวิต ของนายทหารผู้นี้ เพราะท�ำให้มีโอกาสพบปะ กับนักศึกษาไทยชั้นหัวกะทิหลายท่าน อาทิ นายปรีดี พนมยงค์ นายควง อภัยวงศ์ นาย ร้อยโท ประยูร ภมรมนตรี นายร้อยตรี ทัศนัย
54
มิ ต รภั ก ดี และนายแนบ พหลโยธิ น และ เวลานั้ น ทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกก� ำ ลั ง เป็ น ยุ ค แห่ ง การ เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง การล้มล้าง อ� ำ นาจเก่ า ที่ ล ้ า สมั ย มาสู ่ ร ะบอบใหม่ ที่ เกิ ด ขึ้ น ในหลายประเทศ ท� ำ ให้ เ กิ ด แนวคิ ด ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ ม าเป็ น ระบอบ ประชาธิป ไตยในประเทศไทยอย่ า งเงี ย บ ๆ จากกลุ ่ ม นั ก ศึ ก ษาไทยในกรุ ง ปารี ส ซึ่ ง เมื่ อ บุ ค คลเหล่ า นี้ จ บการศึ ก ษาแล้ ว ต่ า งก็ ท ยอย เดินทางกลับสู่ประเทศไทย รับราชการสนอง พระเดชพระคุณตามภาระหน้าที่ จากร้อยโท แปลก เมื่อกลับมารับราชการ ในประเทศไทย และได้เลื่อนยศเป็นนายพันตรี ในต�ำแหน่งหัวหน้ากองตรวจ กรมจเรทหาร ปืนใหญ่ และเป็นอาจารย์สอนวิชายุทธศาสตร์ โรงเรียนเสนาธิการ มีนายพันเอก พระยาพหล พลพยุหเสนา และนายพันโท พระประสาสน์ พิ ท ยายุ ท ธ เป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาตามล� ำ ดั บ ในที่ สุ ด ก็ มี ส ่ ว นร่ ว มประกอบการในวั น แห่ ง การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ดังนั้น เมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ้นสุดลง รั ฐ บาลชุ ด แรกในระบอบประชาธิ ป ไตยซึ่ ง พระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี จึงมีชื่อ พันตรี แปลก ขีตตะสังคะ หรือ หลวง พิบูลสงคราม ร่วมเป็นรัฐมนตรีด้วย ในจ�ำนวน คณะรัฐมนตรีทั้งหมด ๑๔ คน ในขณะที่มีอายุ เพียง ๓๕ ปี แต่ชื่อเสียงของหลวงพิบูลสงคราม ในเวลานั้นก็ยังไม่เป็นที่รู้จัก จนกระทั่งเกิดการ
รัฐประหารครั้งแรกในระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๖ ขับไล่ รัฐบาลพระยามโนปกรณ์ฯ หลังจากนั้น พันตรี หลวงพิบูลสงครามได้ น�ำชีวิตพุ่งสู่ความเจริญรุ่งเรืองในอันดับที่ ๒ ของประเทศ รองจากนายกรัฐมนตรี ในฐานะ เป็นคนส�ำคัญร่วมวางแผนขับไล่รัฐบาลพระยา มโนปกรณ์ฯ และได้รับการเลื่อนยศขึ้นเป็น พั น โท ต่ อ มาเมื่ อ เกิ ด กบฏบวรเดช ในวั น ที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวง กลาโหม พร้อมนายทหารบางส่วนวางแผน ช่ ว งชิ ง อ� ำ นาจทางการเมื อ ง รั ฐ บาลภายใต้ การน�ำของพันเอก พระยาพหลฯ ได้แต่งตั้ง ให้พันโท หลวงพิบูลสงครามเป็นแม่ทัพผสม อ�ำนวยการปราบกบฏ จึงกลายเป็นแรงผลักดัน ให้พันโท หลวงพิบูลสงครามมีชื่อเสียงโด่งดัง ขึ้นอย่างรวดเร็ว ยิ่งเมื่อสามารถปราบกองทัพ กบฏได้อย่างราบคาบโดยเด็ดขาดในวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๔๗๖ ยิ่งส่งผลให้ พันโท หลวงพิบูล สงคราม กลายเป็ น วี ร บุ รุ ษ มี ค วามดี ค วาม ชอบและได้เลื่อนยศเป็น พันเอก อย่างงดงาม ในเวลาอันรวดเร็ว ก้าวสู่ความเป็นคนส�ำคัญ และยิ่งใหญ่ของประเทศ มีอนาคตอันสดใสรอ อยู่ใกล้เอื้อม ในวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๔๗๗ เมื่อรัฐบาล ภายใต้ ก ารน� ำ ของพั น เอก พระยาพหลพล พยุหเสนา ปรับปรุงคณะรัฐมนตรีใหม่อีกครั้ง พั น เอก หลวงพิ บู ล สงคราม ก็ ก ้ า วขึ้ น เป็ น จุฬาพิช มณีวงศ์
ก า ร ขึ้ น ค ร อ ง อ� ำ น า จ ใ น ยุ ค แ ร ก ข อ ง พั น เอก หลวงพิ บู ล สงคราม รั ฐ บาลมี ก าร เปลี่ยนแปลงประเพณีด้ังเดิมหลายประการ นอกจากการเปลี่ ย นชื่ อ ประเทศแล้ ว โดย เปลี่ยนจาก ประเทศสยาม ซึ่งมีเมืองหลวง ชื่ อ กรุ ง เทพมหานคร มาเรี ย กขานใหม่ ว ่ า ประเทศไทย เริ่มนับวันขึ้นปีใหม่ จากเดิมวัน ที่ ๑ เมษายน และสิ้นปีวันที่ ๓๑ มีนาคม ซึ่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งถือเป็น ไม่ตรงกับการนับตามแบบสากลทัว่ ไป ให้ยดึ วัน ต�ำแหน่งส�ำคัญยิ่งของแผ่นดิน แต่ก็เต็มไปด้วย ขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ ๑ มกราคม และสิ้นปีในวัน ศัตรูตามมาจนต้องอยู่ท่ามกลางการอารักขา ที่ ๓๑ ธันวาคม ยังมีการเปลี่ยนแปลงประเพณี อย่างเข้มแข็งจากต�ำรวจและทหาร เพราะมี ดั้งเดิมอีกหลายประการ จอมพล ป.พิ บู ล สงคราม ยั ง ได้ น� ำ ผู้ต้องการท่านในหลายรูปแบบหลายกลุ่มคน ประเทศไทยเข้าสู่สงครามร่วมกับกองทัพญี่ปุ่น จนเกิดการกวาดล้างไปทั่ว ต่ อ มารั ฐ บาลภายใต้ ก ารน� ำของ พั น เอก ในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประกาศค�ำขวัญ พระยาพหลพลพยุหเสนา ประสบความยุ่งยาก ปลุกใจทั่วประเทศว่า ท่านผู้น�ำไปทางไหน เขา นานัปการ จนถึงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๔๘๑ มี จะตามไปด้วย เชือ่ ผูน้ ำ� ชาติพน้ ภัย ขณะเดียวกัน ประกาศพระบรมราชโองการยุบสภาผู้แทน ยั ง ได้ ป รั บ ปรุ ง วั ฒ นธรรมแผนใหม่ ขึ้ น อย่ า ง ราษฎร หลังจากเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน เข้มข้น อาทิ ให้ประชาชนสวมหมวก สวมรองเท้า ราษฎรประเภทหนึ่ ง ครั้ ง แรกของเมื อ งไทย ไปติดต่อราชการต้องสวมเสื้อนอกผูกเนคไท ปัญหาการช่วงชิงอ�ำนาจทางการเมืองได้เริ่ม ห้ า มกิ น หมากทั่ ว ประเทศ สั่ ง ตั ด เครื่ อ งพลู รุนแรงขึ้น พันเอก พระยาพหลฯ ประกาศ โค่นต้นหมากทิ้งทั้งประเทศ ความเข้มแข็งในอ�ำนาจของ จอมพล ป.พิบลู ล้างมือจากวงการเมืองโดยเด็ดขาด การช่วง ชิงอ�ำนาจยังด�ำรงต่อไป ในระหว่างผู้ก่อการ สงคราม เริ่มคลายมนต์ขลัง และรัฐบาลแพ้ เปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ ๒๔ มิถุนายน โหวตกลางสภาด้วยการคว�่ำร่าง พ.ร.บ.อนุมัติ ๒๔๗๕ ในที่สุด พันเอก หลวงพิบูลสงคราม พระราชก� ำ หนดระเบี ย บราชการบริ ห าร รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม และผู ้ นครบาลเพชรบูรณ์ พ.ศ.๒๔๘๗ ซึ่งรัฐบาล บัญชาการทหารบก วางแผนช่วงชิงต�ำแหน่ง ออกพระราชก� ำ หนดสร้ า งเมื อ งเพชรบู ร ณ์ นายกรัฐมนตรีด้วยการซ้อมรบป้องกันภัยทาง เป็ น เมื อ งหลวงใหม่ และเกณฑ์ ร าษฎรไป อากาศเพื่อให้ประชาชนได้ชมแสนยานุภาพ ท�ำงานสร้างเมืองจนเกิดการล้มตายด้วยโรค วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๔๘๑ มีการประชุมลับ ไข้ป่ามาลาเรียจ�ำนวนมาก แม้กระนั้นรัฐบาล เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี หลังจากสมาชิกสภา จอมพล ป.พิบูลสงครามก็ไม่ยอมลาออก และ ผู้แทนราษฎรเพิ่งผ่านการเลือกตั้งใหม่ และ ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๔๘๑ ได้มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ จากคณะผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการ แต่งตั้งให้ พันเอก หลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยวัยเพียง ๔๑ ปี พันเอก หลวงพิบูลสงคราม ได้แต่งตั้งคณะ รัฐมนตรี จ�ำนวน ๒๕ นาย โดยตนเองควบ ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม กุมบังเหียนประเทศไทยใน เวลาต่อมา มีการกวาดล้างศัตรูทางการเมือง มาแพ้โหวตอีกครัง้ ในร่าง พ.ร.บ.อนุมตั พิ ระราช ก�ำหนดพระพุทธบุรีมณฑล พ.ศ.๒๔๘๗ เป็น ในหลายรูปแบบ เหตุให้ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งนั่งเก้าอี้ นายกรัฐมนตรีติดต่อกันมายาวนานเกือบ ๖ ปี ต้องลาออกจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีไป ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญในระบอบการปกครอง ประชาธิปไตย ด้วยความหวังว่าจะได้รับการ สนับสนุนในการเลือกนายกรัฐมนตรีอกี ครัง้ แต่ ปรากฏว่าการหาเสียงในสภาเพือ่ เลือกตัง้ นายก รัฐมนตรีใหม่ จอมพล ป. ต้องแพ้ยับเยิน โดย นายควง อภัยวงศ์ ได้รับเสียงสนับสนุนท่วมท้น ให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป ได้รับพระบรม หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๔๘๗ ต่ อ มา นายควง อภั ย วงศ์ วางแผนโค่ น อ�ำนาจด้วยการขอให้ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ซึ่งเป็นผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดินปลด จอมพล ป.พิบูลสงคราม ออกจากต�ำแหน่งผู้บัญชาการ ทหารสูงสุด และแต่งตั้ง พลเอก พระยาพหล พลพยุหเสนา แทน เพื่อสกัดกั้นเหตุร้ายอัน อาจเกิ ด ขึ้ น จากการเคลื่ อ นก� ำ ลั ง ทหารของ จอมพล ป. หลั ง จากหลุ ด ออกจากอ� ำ นาจ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ต้องกลับไปใช้ชีวิตอยู่อย่าง สงบเงียบที่บ้านพักล�ำลูกกา และร�ำพันว่าจะ ไม่กลับไปสู่วงการเมืองอีก ขออยู่อย่างสงบ ตามล�ำพัง ไม่เอาแล้ว เมื่อสงครามโลกครั้ง ที่สองสงบลง ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะสงคราม บุ ค คลส� ำ คั ญ ในสงครามฝ่ า ยอั ก ษะตกเป็ น อาชญากรสงครามกันมาก หลายคนถูกตัดสิน ประหารชีวิต แต่จอมพล ป. ยังโชคดีมีผู้ช่วย เหลือ ไม่ต้องรับโทษ อดีตผู้น�ำผู้เรืองอ�ำนาจ อยู่ในต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง ๖ ปี ใช้ชีวิต อย่างสงบในบ้านพัก ในวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐ ด้วย การอาศัยมือของพลโท ผิน ชุณหะวัณ เป็นการ ยึ ด อ� ำ นาจรั ฐ บาลหลวงธ� ำ รงนาวาสวั ส ดิ์ จอมพล ป. กลับมาเรืองอ�ำนาจและกวาดล้าง ศัตรูทางการเมืองอย่างไม่ไว้หน้าใคร และก้าว ขึ้นมานั่งเก้าอี้นายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่อุบัติ การณ์ของการกบฏและจลาจลวงเวียนเกิดขึ้น ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า มีแม้แต่การท�ำรัฐประหารตัวเอง ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.๒๔๙๒ จอมพล ป.พิบูลสงคราม สามารถรักษาเก้าอี้ นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ อ ย่ า งยาวนาน จนกระทั่ ง เกิ ด การไฮด์ ป าร์ ค และเทเลคอนเฟอเรนซ์ สัมภาษณ์ ซักถามรัฐบาลอย่างเข้มงวด สถานการณ์การเมืองที่เลวร้าย ส่งผลให้ เกิ ด การชุ ม นุ ม ประท้ ว งเรี ย กร้ อ งให้ จ อมพล ป.พิบูลสงคราม และรัฐบาลลาออก จนกระทั่ง วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ เวลา ๒๓.๐๐ น. ประวัติศาสตร์การเมืองของไทยจึงได้เปิดหน้า ใหม่ ขึ้ น มารั บ เหตุ ก ารณ์ ก ารรั ฐ ประหารยึ ด อ�ำนาจโดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ สื่อมวลชน รายงานว่า จอมพล ป.พิบูลสงครามนั่งเรือ ออกทะเลไปที่เกาะกง น�้ำเสียงบ่งบอกความ เป็นคนสุขุมลุ่มลึกดังขึ้นว่า “ต่อไปนี้ชีวิตของ ผมมีแต่น�้ำกับฟ้า” บั้นปลายของชีวิต จอมพล ป. ต้องลี้ภัย อยู่ในประเทศเขมรชั่วระยะหนึ่ง เวลาผ่านไป ข่าวคราวของอดีตผู้น�ำประเทศเริ่มห่างหาย จนมี ข ่ า วสุ ด ท้ า ย การถึ ง แก่ อ สั ญ กรรมของ นายกรัฐมนตรีผู้นี้ที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๒ สิริอายุ ๖๖ ปี ๑๐ เดือน ๑๑ วัน 55
อาณาจักรตองอูแห่งพม่า เริ่มต้นสู่จักรวรรดิครั้งที่สอง พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
อาณาจักรพม่าแห่งพุกามถูกสถาปนาโดยพระเจ้าอโนรธามหาราชเมื่อปี พ.ศ.๑๕๘๗ (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.๑๕๘๗ - ๑๖๒๐ นาน ๓๓ ปี) เมื่อมีอ�ำนาจเหนือพม่าตอนล่างจึง เป็นการก้าวสู่จักรวรรดิครั้งที่หนึ่ง อยู่ในอ�ำนาจสู่จุดสูงสุดนาน ๒๔๓ ปี ก่อนที่จะล่มสลาย ลงจากการโจมตีของกองทัพจากตอนเหนือแห่งอาณาจักรมองโกลแห่งราชวงศ์หยวนขณะ มีอ�ำนาจเหนือจีน เป็นผลให้มีการอพยพลงมาทางใต้ เมื่อพระเจ้าเมงจีโย (Mingyinyo) ได้สถาปนาอาณาจักรพม่าขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ปี พ.ศ.๒๐๒๙ เป็นผลให้เมืองตองอูแห่งพม่า ได้ก้าวขึ้นสู่ความเป็นจักรวรรดิครั้งที่สอง..............บทความนี้ กล่าวถึงการเริ่มต้นของ จักรวรรดิพม่าครั้งที่สอง
๑. สถานการณ์ทั่วไป
๒. การขยายอาณาจักร
เจ้ า ชายตะบิ น เฉว่ ที (Tabinshwehti) หรื อ ชาวสยามรู ้ จั ก ในชื่ อ เจ้ า ชายตะเบ็ ง ชะเวตี้ (แปลว่า สุวรรณเอกฉัตร) ทรงขึ้นครอง ราชย์เมื่อปี พ.ศ.๒๐๗๔ ทรงมีความคิดที่จะ ขยายอาณาจักรให้กว้างใหญ่ขึ้นตามพระราช ประสงค์ของพระราชบิดาคือพระเจ้าเมงจีโย (Mingyinyo) ทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. ๒๐๒๙ - ๒๐๗๔ เป็นระยะเวลานาน ๔๕ ปี มีอ�ำนาจเหนืออาณาจักรต่าง ๆ แห่งลุ่มแม่น�้ำ อิระวดี
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ทรงยกกองทัพตีเมือง เมาะตะมะโดยใช้เวลาปิดล้อมนาน ๗ เดือน ทหารราบพม่ า ได้ ใ ช้ ป ื น คาบศิ ล าเป็ น อาวุ ธ ประจ� ำ กายแต่ ก็ ยั ง ไม่ ส ามารถที่ จ ะตี หั ก เอา เมืองได้ ทหารมอญที่รักษาเมืองเมาะตะมะได้ ต่อสู้อย่างเข้มแข็งพร้อมทั้งใช้ปืนใหญ่ (สร้าง จากอาณาจักรโปรตุเกส) ประจ�ำเมืองยิงต่อต้าน พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ก็สามารถเข้าตีและยึด เมืองเมาะตะมะได้ในปี พ.ศ.๒๐๘๔ พระเจ้า ตะเบ็ ง ชะเวตี้ ท รงสั่ ง ประหารชี วิ ต เจ้ า เมื อ ง เมาะตะมะและครอบครัวรวมทั้งก�ำลังทหารที่ ป้องกันเมือง เมืองเมาะละแหม่ง (Maulrmein) และเมื อ งบริ เ วณใกล้ เ คี ย งต่ า งก็ ย อมขึ้ น กั บ
เจดีย์อนันดาสร้างขึ้นในปี พ.ศ.๑๖๓๔ ช่วงปลายสมัยพระเจ้า จานสิตา (พระเจ้าครรชิต) มีผังเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส จากพื้นถึงยอด มีความสูง ๕๑ เมตร กว้างยาวด้านละ ๖๖ เมตร ตั้งอยู่ที่เมืองพุกาม แสดงถึงความรุ่งเรืองในอดีตที่ยิ่งใหญ่ของอาณาจักรพม่าแห่งพุกาม 56
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ (ก่อนนั้นพระองค์ทรง ยกกองทัพพม่าเข้าควบคุมดินแดนของมอญ อยู่ในพม่าตอนล่างได้เข้ายึดเมืองเชียงกรานปี พ.ศ.๒๐๘๑ เป็นหัวเมืองที่อยู่ปลายแดนของ กรุงศรีอยุธยา จึงเป็นสาเหตุของสงครามของ สองอาณาจักรที่ต่อสู้เป็นเวลานานแม้ว่าจะ เปลี่ยนราชวงศ์และอาณาจักร) เวลาต่อมาพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ทรงยก กองทัพเข้าล้อมเมืองแปรปี พ.ศ.๒๐๘๕ ต้อง ใช้เวลาล้อมนาน ๕ เดือน เจ้าเมืองแปรขอ ความช่ ว ยเหลื อ จากเมื อ งยะไข่ (อะรากั น ) ทีม่ อี ำ� นาจทางทหารบกและมีกองทัพเรือพร้อม ทัง้ มีทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสในกองทัพ เมือง ยะไข่มีอ�ำนาจมากขึ้นเมื่อเมืองเมาะตะมะแตก กองทัพบกยะไข่เดินทัพผ่านทางช่องเขาแอนน์ (ช่ อ งเขาปาดุ ง ) พร้ อ มทั้ ง ส่ ง กองทั พ เรื อ มา ช่วย เมื่อกองทัพบกยะไข่ได้ผ่านช่องเขาก็ได้ ปะทะกับกองทัพของแม่ทัพใหญ่พม่า ในที่สุด กองทัพบกยะไข่ก็พ่ายแพ้ กองทัพเรือยะไข่ ยึดได้เมืองพะสิม แต่เมื่อทราบว่ากองทัพบก ยะไข่พ่ายแพ้ก็ถอยทัพ ในที่สุดเมืองแปรก็ถูก ตีแตก และพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ทรงประหาร ชีวิตเจ้าเมืองและผู้ปกป้องเมืองเช่นเดียวกับ การเข้าตีเมืองเมาะตะมะ อาณาจักรพม่าเริ่มมี
เส้นทางเดินทัพของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ทรงน�ำกองทัพ พม่าแห่งหงสาวดีเข้าอาณาจักรสยามแห่งอยุธยา แต่ ไม่ ประสบความส� ำ เร็ จน� ำ มาซึ่ ง สาเหตุ ข องการสวรรคต ในเวลาต่อมา พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
แผนที่ของอาณาจักรตองอู ปี พ.ศ. ๒๑๑๕ เป็นห้วงที่จักรวรรดิพม่าในยุค ที่สอง ได้ก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุดของอ�ำนาจ แห่งอุษาคเนย์ อ�ำนาจปกครองเมืองทางตอนใต้ทเี่ ป็นมอญ จึง มีเขตแดนที่กว้างใหญ่ขึ้นสามารถที่จะควบคุม การค้าของเมืองท่าต่าง ๆ ตามแนวชายฝั่ง อันดามันพร้อมทัง้ น�ำความมัง่ คัง่ มาสูอ่ าณาจักร พ.ศ.๒๐๘๙ พระเจ้ า ตะเบ็ ง ชะเวตี้ ท รง ยกกองทั พ ไปตี เ มื อ งยะไข่ กองทั พ พม่ า ก็ มี ชาวโปรตุเกสเข้าร่วมในกองทัพ ที่ส�ำคัญคือ ดิเอโก ซัวเรส เดอ เมลโล (Diogo Soares de Mello) ซึ่งมีอาวุธที่ทันสมัย แม่ทัพใหญ่ บาเยนองจอแดงนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta) หรือชาวสยามรู้จัก ในชื่อบุเรงนอง ยกไปทางบก พระเจ้าตะเบ็ง ชะเวตี้ทรงยกกองทัพเรือไปทางทะเล มีเรือ โปรตุเกสร่วมไปด้วย ๒ ล�ำ ขณะนั้นทรงทราบ ว่ า มี ค วามขั ด แย้ ง บริ เ วณเมื อ งตะนาวศรี กั บ อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ทรงรีบเจรจาสงบศึกกับเจ้าเมืองยะไข่ แล้วจึง รีบเสด็จกลับมายังกรุงหงสาวดี
๓. ความยุ่งยากของ อาณาจักรพม่าแห่ง หงสาวดี หลังจากพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ทรงผิดหวัง จากการเข้ า ตี อ าณาจั ก รสยามแห่ ง อยุ ธ ยา ปี พ.ศ.๒๐๙๒ ด้วยกองทัพขนาดใหญ่ ทหารราบ ๓๐๐,๐๐๐ นาย ทหารม้า ๓,๐๐๐ ม้า และ ช้างศึก ๗๐๐ เชือก (พร้อมด้วยทหารโปรตุเกส ๔๐๐ นาย) พระองค์ ท รงมี แ ม่ ทั พ ใหญ่ คื อ บาเยนองจอแดงนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta) แม่ทพั ใหญ่พม่ามีความ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
ภาพแผนที่ เ มื อ งต่ า ง ๆ ของพม่ า ตามแนวลุ ่ ม แม่ น�้ ำ อิ ร ะวดี เมื อ งหลวงคื อ กรุ ง หงสาวดี (พะโค ตามลูกศรชี้ด้านล่าง) ขึ้นทางเหนือคือเมืองแปร เมืองพุกาม เมืองอังวะ (ตามลูกศรชี้ด้านบน) เมืองอมรปุระ เข้าใจในยุทธศาสตร์ตั้งรับของกรุงศรีอยุธยา คือใช้แนวแม่น�้ำตั้งรับ และจะมีน�้ำท่วมในหน้า น�้ำซึ่งเป็นอุปสรรคที่ส�ำคัญของฝ่ายเข้าตีหรือ ปิดล้อม ถ้าจะเข้าตีกรุงศรีอยุธยาให้แตกจะ ต้องเข้าตีด้วยกองทัพใหญ่ในสองทิศทางเข้าตี หลัก ความส�ำคัญนี้จะมีคุณค่ายิ่งในอนาคต ต่ อ แม่ ทั พ ใหญ่ คื อ บาเยนองจอแดงนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta) เมื่อเสด็จกลับถึงกรุงหงสาวดี (Handawaddy) ทรงเสวยแต่น�้ำจัณฑ์กับพระสหาย ชาวโปรตุเกส (เจ้าเมืองเมาะตะมะจับตัวส่ง มาให้พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ แต่พระองค์ทรง พอพระทัย) และไม่ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ได้เกิดกบฏที่เมืองสิเรียมเจ้าเมืองคือสมิงทอ (อนุชาของพระเจ้าตากายุตปี อดีตกษัตริยม์ อญ แห่งกรุงหงสาวดี ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. ๒๐๖๙-๒๐๘๒ เป็นกษัตริย์พระองค์สุดท้าย แห่ ง ราชวงศ์ ฟ ้ า รั่ ว หรื อ มะกะโท) ซึ่ ง แม่ ทั พ ใหญ่ บ าเยนองจอแดงนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta) ยกกองทัพจากกรุง หงสาวดีไปปราบกบฏ ขณะนั้นเจ้าเมืองสะโตง คือสมิงสอสุด (Smim Sawhtut) เป็นมอญมา ทูลเชิญ พระเจ้ า ตะเบ็ ง ชะเวตี้ เ สด็ จ มาคล้ อ ง ช้างส�ำคัญ พระเจ้า ตะเบ็ง ชะเวตี้ มีรับสั่ งให้ อุปราชเมืองตองอู (น้องชายของแม่ทัพใหญ่) มารั ก ษากรุ ง หงสาวดี และพระเจ้ า ตะเบ็ ง ชะเวตีท้ รงเสด็จไปคล้องช้างส�ำคัญกับเจ้าเมือง
สะโตง ค�่ ำ คื น วั น หนึ่ ง ขณะที่ พ ระเจ้ า ตะเบ็ ง ชะเวตี้ทรงบรรทมหลับอยู่ เจ้าเมืองสะโตงก็ ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมื่อ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๐๙๓ ขณะมีพระชนมายุ ได้ ๓๔ พรรษา (อยู่ในราชสมบัตินาน ๑๕ ปี) เมื่อข่าวได้แพร่กระจายออกไปน้องชายแม่ทัพ ใหญ่ ที่ มารั ก ษากรุ ง หงสาวดี รี บกลับ ไปเมือง ตองอู เจ้าเมืองต่าง ๆ ก็ได้แยกตัวต่างก็ตั้งตน เป็ น อิ ส ระไม่ ขึ้ น กั บ กรุ ง หงสาวดี แ ละตั้ ง ตน เป็นใหญ่
๔. บทสรุป เมื่อพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้กษัตริย์ล�ำดับที่ สองแห่ ง ราชวงศ์ ต องอู มี อุ ป นิ สั ย กล้ า หาญ พอพระหฤทั ย ในการท� ำ สงคราม ได้ ข ยาย อาณาเขตให้มขี นาดใหญ่ขนึ้ เพือ่ รวมอาณาจักร พม่าให้เป็นหนึ่งเดียวตามความประสงค์ของ พระราชบิดา ในที่สุดก็สามารถรวมพม่าเป็น หนึ่งเดียวทั้งพม่าตอนล่างและพม่าตอนบน มีแม่ทัพใหญ่ที่มีความสามารถได้สร้างวีรกรรม ยิ่งใหญ่จากการรบที่นองโย เมื่อพระเจ้าตะเบ็ง ชะเวตีถ้ กู ปลงพระชนม์จะน�ำมาซึง่ ความยุง่ ยาก ของอาณาจักรโดยเมืองต่าง ๆ แย่งชิงความเป็น ใหญ่เหนือแม่น�้ำอิระวดี
57
ข้อควรรู้ของ
ประเทศอาเซียน (ตอนที่ ๒)
พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
๓. อินโดนีเซีย (Indonesia) เมืองหลวง จาการ์ตา ภาษา ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากร ชนพืน้ เมืองหลายกลุม่ มีภาษามากกว่า ๕๘๓ ภาษา ร้อยละ ๖๑ อาศัยอยู่ บนเกาะชวา นับถือศาสนา อิสลาม ๘๗%, คริสต์ ๑๐% ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็น ประมุข และหัวหน้าฝ่ายบริหาร ข้อควรรู้ ๑. เวลาในอินโดนีเซียแบ่งเป็น ๓ เขตเวลา โดยเขตตะวันตกเวลาเทียบเท่ากับประเทศไทย เขตกลางเวลาเร็วกว่าไทย ๑ ชั่งโมง และเขต ตะวันออกเวลาเร็วกว่าไทย ๒ ชั่วโมง ๒. ในอินโดนีเซียใช้จ่ายกันด้วยสกุลเงิน รูเปีย (Rupiah) ๓. คุ ณ ควรขออนุ ญ าตก่ อ นถ่ า ยรู ป ภาพ บุคคลอื่นและควรให้เงินเล็ก ๆ น้อย ๆ แก่เขา เป็นสินน�้ำใจ 58
๔. ชาวอินโดนีเซียนิยมเล่นเซิร์ฟบอร์ด กันมากและมีคอร์สสั้น ๆ เปิดสอนส�ำหรับนัก ท่องเที่ยว ๕. ถ้าถามราคาสินค้าแล้วไม่คิดจะซื้อ ก็ ควรปฏิเสธตรง ๆ ไม่ควรต่อรองราคา ๖. รูปปั้นช้างที่ตั้งตระหง่านอยู่ด้านหน้า พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง ชาติ อิ น โดนี เ ซี ย คื อ ช้ า งที่ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทานให้ประเทศอินโดนีเซีย ๗. คุณควรระมัดระวังการเดิน เพราะอาจ เผลอเหยียบของเซ่นไหว้ที่มักวางอยู่บนพื้นได้ ๘. การเดินเที่ยวในเวลากลางคืนอาจไม่ ปลอดภัยส�ำหรับคุณ หากต้องการแจ้งเหตุดว่ น โทร. ๑๑๐ ๙. คุ ณ สามารถใช้ บั ต รนั ก ศึ ก ษาที่ ยั ง ไม่หมดอายุเป็นส่วนลดในการเข้าชมสถานที่ ส�ำคัญบางแห่งได้ เช่น บุโรพุทโธ หรือพรัมบานัน ๑๐. ขอแนะน�ำว่าควรดูให้ดี ถ้าช็อปปิ้งของ แบรนด์เนม เพราะอาจเจอของเลียนแบบได้ ๑๑. ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ - ส่งของ หรือรับประทานอาหาร คนมุสลิมอินโดนีเซีย ถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ ๑๒. ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการ ลูบศีรษะเด็ก ๑๓. การครอบครองยาเสพติ ด อาวุ ธ หนังสือ รูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การน�ำเข้าและครอบครองยาเสพติดมีโทษถึง ประหารชีวิต ๑๔. บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและ ส่งออกพืชและสัตว์กว่า ๒๐๐ ชนิด จึงควร ตรวจสอบก่ อ นซื้ อ หรื อ น� ำ พื ช และสั ต ว์ อ อก นอกประเทศ
๔. ลาว (Laos) เมืองหลวง นครหลวงเวียงจันทน์ ภาษา ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากร ประกอบด้วย ชาวลาวลุม่ ๖๘%, ลาวเทิง ๒๒%, ลาวสูง ๙% รวมประมาณ ๖๘ ชนเผ่า นับถือศาสนา นับถือพุทธ ๗๕%, นับถือผี ๑๖% ระบบการปกครอง สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาว ใช้คำ� ว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน) ข้อควรรู้ ๑. ลาวขับรถทางขวา ๒. เก็ บ หนั ง สื อ อนุ ญ าตใช้ ร ถระหว่ า ง ประเทศไว้อย่างดี โดยเฉพาะเอกสารแบบ ๔๕๔ (ของศุลกากรไทย) และ บ.๕๓ (ของศุลกากร ไทย) เพราะต้องส่งคืนเมื่อเดินทางกลับ ๓. ซื้อประกันภัยรถยนต์บุคคลที่ ๓ ของ ประเทศลาวทุกครั้งที่น�ำรถเข้าประเทศ ๔. ในกรณีที่ร้านค้ารับเงินบาท ไม่ควรใช้ เหรียญบาทซื้อของ เพราะลาวใช้แต่ธนบัตร ๕. ไม่ต้องแปลกใจหากได้รับพวงมาลัย ดอกลีลาวดี เพราะเขาถือว่าคุณเป็น แขกบ้าน แขกเมือง ชาวลาวเรียกดอกลีลาวดีว่า “ดอก จ�ำปา” เป็นดอกไม้ประจ�ำชาติลาว ๖. ควรมองด้ า นซ้ า ยมื อ ก่ อ นเสมอเวลา ข้ามถนน ๗. ห้ามถ่ายรูปภาพสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับ ความมั่นคง การปกครองของประเทศ ๘. ดื่มเหล้าไห จิบเบียร์ลาว ชมธรรมชาติ ริมโขง ร�ำวงแบบลาว ถือเป็นกิจกรรมม่วนอีหลี ในประเทศลาว ๙. จ�ำไว้ว่า ส้วม ในภาษาลาวไม่ได้แปลว่า ห้องน�้ำ แต่ ส้วม แปลว่า ห้องหรือห้องหอ ๑๐. ไม่ควรสนทนาเกี่ยวกับการเมือง หรือ ถามความเห็ น เปรี ย บเที ย บบุ ค คล สถานที่ สิ่งของของไทยกับลาวว่าของใครดีกว่าหรือ สวยกว่ า เพราะจะน� ำ มาซึ่ ง ความอึ ด อั ด ใจ ทั้งสองฝ่าย พานให้ไม่เข้าอกเข้าใจกัน ๑๑. ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ท�ำให้ คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคน ลาวอ่านหนังสือไทยได้คล่องมาก พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
๕. มาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ ภาษา ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รอง ลงมาเป็นอังกฤษและจีน ประชากร ประกอบด้วย มาเลย์ ๔๐%, จีน ๓๓%, อิ น เดี ย ๑๐%, ชนพื้ น เมื อ งเกาะ บอร์เนียว ๑๐% นับถือศาสนา อิสลาม ๖๐%, พุทธ ๑๙%, คริสต์ ๑๑% ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ข้อควรรู้ ๑. ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิ พิ เ ศษ คื อ เงิ น อุ ด หนุ น ทางด้ า นการศึ ก ษา สาธารณสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและ งานศพ ๒. มาเลเซียมีปญ ั หาประชากรหลากหลาย เชือ้ ชาติ ชาติพนั ธุใ์ นมาเลเซียประกอบด้วยชาว มาเลย์กว่าร้อยละ ๔๐ ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ ๓๓ เป็นชาวจีน ร้อยละ ๑๐ เป็นชาวอินเดีย และอีกร้อยละ ๑๐ เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะ บอร์เนียว ๓. ถึ ง แม้ ว ่ า การจั บ มื อ ทั ก ทายจะได้ รั บ การยอมรับโดยทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นชายหรือ หญิง แต่สภุ าพสตรีมสุ ลิมบางคนอาจเลือกทีจ่ ะ ทักทายสุภาพบุรุษด้วยการพยักหน้าเล็กน้อย และยิ้ม การจับมือทักทายจึงควรให้สุภาพสตรี เป็นผู้เริ่มก่อน การทักทายแบบดั้งเดิมหรือที่ เรียกว่าซาลามคล้ายกับการแตะมือด้วย ๒ มือ โดยไม่ได้จับมือของอีกฝ่าย ผู้ชายจะยื่นมือทั้ง สองข้างมาข้างหน้าและสัมผัสกับมือของอีก ฝ่ายที่ยื่นออกมาในลักษณะเดียวกัน จากนั้น จึงดึงมือทั้งสองข้างกลับมาแตะบริเวณหน้าอก หมายความว่า "ผมทักทายคุณด้วยหัวใจ" เมื่อ ได้รับการทักทายด้วยการซาลาม นักท่องเที่ยว ควรทักทายด้วยการซาลามกลับไป ๔. ก่อนทีจ่ ะเดินทางไปเยีย่ มบ้านของผูอ้ นื่ ควรจะตะโกนแจ้งเจ้าบ้านก่อน ก่อนเข้าไปใน บ้านของชาวมาเลเซีย ควรถอดรองเท้าออกก่อน หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
๕. เจ้าของบ้านจะเสิร์ฟเครื่องดื่มให้แขก เสมอ เพื่อความสุภาพ ควรรับเครื่องดื่มนั้น ๖. รับประทานอาหาร รับและส่งของโดย ใช้มือขวาเพียงข้างเดียว ๗. ไม่ควรใช้นิ้วชี้มือขวาชี้สถานที่ สิ่งของ หรือคน ให้ใช้นวิ้ โป้งมือขวาชี้ โดยพับนิว้ ทีเ่ หลือ ทั้งสี่เก็บไว้ ๘. ก่อนที่จะเข้าไปในสถานที่ประกอบพิธี เช่น สุเหร่าหรือวัด จะต้องถอดรองเท้าออก ก่อน สุเหร่าบางแห่งจัดเตรียมเสื้อผ้าและผ้า คลุมให้แก่นักท่องเที่ยวสตรี ตามปกติแล้ว นัก ท่องเที่ยวสามารถถ่ายภาพในสถานที่ประกอบ พิธีทางศาสนาได้ อย่างไรก็ตาม ก่อนถ่ายรูป ควรขออนุญาตเสียก่อน ๙. การดื่ ม อวยพรพบได้ ไ ม่ บ ่ อ ยนั ก ใน มาเลเซีย ประชากรจ�ำนวนมากของประเทศ เป็นชาวมุสลิมและไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ๑๐. อย่ า หลงเชื่ อ รถแท็ ก ซี่ ท่ี จ อดอยู ่ ต าม สถานีรถไฟ สถานีขนส่งรถปรับอากาศ หรือ ตามสนามบิน ขอให้ท่านตรวจสอบสถานที่ ให้ชัดเจนก่อนออกเดินทาง และควรต่อรอง ราคาให้ดี ท่านมีทางเลือกในการเดินทางอยู่ พอสมควร คือ รถเมล์โดยสาร หรือ รถไฟใต้ดิน โดยเฉพาะในกรุงกัวลาลัมเปอร์ การเดินทาง และการคมนาคมขนส่งสะดวกสบายมาก มี รถไฟลอยฟ้า และรถไฟใต้ดนิ ถึง ๓ สายด้วยกัน และมีราคาประหยัดมาก ขอย�ำ้ ...ถ้าเรียกแท็กซี่ ต้องต่อรอง ให้เรียกแท็กซี่มิเตอร์เท่านั้น ถ้าอยู่ ในเมือง ถ้าไปนอกเมือง “ราคาจะสูงมาก” ๑๑. การทักทายตามประเพณีทางศาสนา หรือการ “สลาม” คือการยื่นมือทั้งสองมา สัมผัสกัน แต่มาบีบแรงหลังสัมผัสมือจะดึงมือ กลับแล้วมาไว้ที่หน้าอก เป็นวิธีการแสดงออก ซึ่ ง การคารวะหรื อ ทั ก ทายที่ ม าจากใจ ผู ้ ม า เยือนควรทักทายด้วยค�ำว่า “สลาม” ๑๒. นามบัตรที่ใช้ในการติดต่อธุรกิจควร พิมพ์เป็น ๒ ภาษา คือภาษาอังกฤษ และภาษา จีนอย่างละด้าน โดยควรใช้หมึกพิมพ์สีทอง เพื่อสร้างความประทับใจในการติดต่อธุรกิจ กับชาวจีนในมาเลเซีย ทั้งนี้การมอบนามบัตร ควรมอบด้วยมือทั้งสองข้างขณะที่เมื่อได้รับ นามบัตร ผูป้ ระกอบการควรพิจารณานามบัตร ที่ได้รับก่อน ไม่ควรเก็บนามบัตรลงกระเป๋า ทันที เพราะชาวมาเลเซียถือเป็นการกระท�ำที่ ไม่สุภาพ รวมทั้งไม่ควรขีดเขียนข้อความใด ๆ ลงบนนามบัตรที่ได้รับ ๑๓. การใช้นิ้วชี้ไปยังสถานที่ สิ่งของ หรือ คน ถือเป็นการไม่สุภาพ ในมาเลเซียจะใช้ นิ้วโป้งด้านขวาชี้แทนและก�ำนิ้วที่เหลือไว้กับ ฝ่ามือ ๑๔. นักท่องเที่ยว หรือผู้เดินทาง ที่เข้าไป ยังสถานที่ส�ำคัญทางศาสนา ต้องถอดรองเท้า
เสมอ มัสยิดหรือวัดบางแห่งจะมีเสื้อคลุมและ ผ้าส�ำหรับคลุมศีรษะไว้ให้ส�ำหรับสุภาพสตรี ห้ามน�ำกระเป๋า กล้องถ่ายรูป และกล้องวิดีโอ เข้าไปในที่ท�ำงานและที่พักของนายกรัฐมนตรี ๑๕. เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ เ ป็ น เรื่ อ งต้ อ ง ห้าม เนื่องจากหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นที่ นับถือของประชากรส่วนใหญ่ในมาเลเซีย ๑๖. ผู้ที่มียาเสพติด หรืออาวุธ ไว้ในครอบ ครอง มีโทษประหารชีวิตสถานเดียว ไม่มีการ ลดหย่อน ๑๗. การแต่งกาย นักท่องเทีย่ วต้องแต่งกาย ให้ เ หมาะสม หากจะเข้ า ชมมั ส ยิ ด หรื อ วั ด ส�ำหรับสตรีควรแต่งกายสุภาพ กระโปรงยาว คลุมเข่า ห้ามใส่เสื้อทีเชิ้ต เสื้อกล้าม กางเกงขา สั้น รองเท้าแตะ และรองเท้าโปร่ง ผู้เยือนชาย ควรใส่เสือ้ มีปก และกางเกงขายาว ผูเ้ ยือนหญิง ไม่ควรใส่เสื้อผ้าที่เปิดมากเกินไป ๑๘. แนะน� ำ อย่ า เผลอไปถ่ ม น�้ ำ ลายหรื อ ท� ำ สกปรกทิ้ ง ก้ น บุ ห รี่ ที่ เ มื อ งนี้ ระเบี ย บจั ด กฎหมายก็เคร่งครัดมาก ๑๙. การเดินทางเข้ารัฐกลันตันสามารถขับ รถยนต์เข้าทางด่านสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ได้ ในช่วงเวลา ๐๕.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. หรือทางด่าน ตากใบ ตั้งแต่เวลา ๐๕.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. ทั้งนี้ ยานพาหนะที่ขับเข้ามาเลเซียต้องมีประกัน พ.ร.บ. บุคคลที่ ๓ ๒๐. ชาวมาเลเซี ย นิ ย มใช้ ก ระดาษห่ อ ของขวัญสีเขียวและสีแดงมาก นอกจากนี้ ควร หลีกเลี่ยงการให้ของขวัญที่เกี่ยวข้องกับสุนัข เช่น ภาพสุนัขหรือตุ๊กตาสุนัข รวมทั้งของขวัญ ที่มีแอลกอฮอล์หรือเนื้อหมูเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากขัดต่อหลักศาสนาอิสลาม ๒๑. การยืนล้วงกระเป๋าระหว่างการสนทนา กับชาวมาเลเซียถือเป็นการกระท�ำที่ไม่สุภาพ อย่างยิ่ง ๒๒. ชาวมาเลเซี ย ถื อ ว่ า เท้ า เป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ สะอาด ดังนั้นจึงไม่ควรใช้เท้าชี้หรือเขี่ยสิ่งของ ใด ๆ และไม่ควรนั่งไขว่ห้าง เพราะจะท�ำให้เท้า ชี้ไปทางผู้อื่น ๒๓. การยืนเท้าสะเอวถือเป็นการแสดงออก เชิงก้าวร้าวส�ำหรับชาวมาเลเซีย ๒๔. การใช้มอื ซ้ายแตะหรือสะกิดผูอ้ นื่ ถือว่า ไม่สุภาพ
(อ่านต่อฉบับหน้า) ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Gotoknow โดย แพรภัทร http://www.thai-aec.com/ Tagged with : ข้อมูลประเทศสิงคโปร์ การท่องเที่ยวมาเลเซีย/thai.monoplanet เรียบเรียงโดย Travel MThai mthai.com 59
“The Armed Forces Stars” พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
มี
ข่าวดีมาบอกค่ะ ต่อไปนีห้ ากหน่วย งานในสังกัดกระทรวงกลาโหมทั้ง กองทั พ ไทย ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม กองทั พ บก กองทั พ เรื อ และกองทัพอากาศ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีความประสงค์ที่ใช้พิธีกรชาย - หญิงภาค ภาษาอั ง กฤษในการประชุ ม การฝึ ก การ สั ม มนา หรื อ งานเลี้ ย งรั บ รองชาวต่ า งชาติ สามารถติ ด ต่ อ มาที่ ศู น ย์ ภ าษาต่ า งประเทศ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมได้ค่ะ เพราะเราเพิ่งได้สิ้นสุดการจัดอบรมหลักสูตร พิธีกรและนายทหารประชาสัมพันธ์ภาคภาษา อังกฤษส�ำหรับกระทรวงกลาโหมรุ่นใหม่ภาย ใต้ชื่อ Armed Forces Stars หรือ AF stars ระหว่าง ๑๓ สิงหาคม ถึง ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ณ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งได้รับความสนใจจากข้าราชการทหารและ สื่อมวลชนเป็นอย่างมากที่ได้มาร่วมเชียร์ ร่วม โหวตและให้ก�ำลังใจกับผู้แข่งขันรอบชิงชนะ เลิศการเป็นพิธีกรภาคภาษาอังกฤษดีเด่น จน หลายคนลืมตัวไปว่า เราก�ำลังชมการประกวด
60
การแข่งขันรายการร้องเพลงคล้ายกับรายการ เดอะสตาร์ The Star ค้นฟ้าคว้าดาว หรือการ ปฏิบัติการล่าฝันของทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย เลยทีเดียว ว่าไปแล้วแนวความคิดการจัดหลักสูตร AF stars นี้ก็ได้แรงบันดาลใจมาจากทั้งสอง รายการ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการคั ด เลื อ กรอบแรก (Audition) จากนายทหารสัญญาบัตรชั้นยศ ตั้งแต่ร้อยตรีถึงพันตรีหรือเทียบเท่าทั้งกองทัพ ไทยจาก ๓๔ คน เหลือ ๒๑ คน จากนั้นน้อง ๆ เหล่านี้ได้เข้าร่วมกิจกรรมใน ๓ รูปแบบได้แก่
๑. การอบรมในชั้นเรียนเพื่อเพิ่มพูนความ รู้ในการใช้ภาษาอังกฤษ อาทิ เช่น การทบทวน ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทัง้ ๔ ทักษะ คือ การ พูด การฟัง การอ่านและการเขียน หลักการ
พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
เป็นพิธกี รทางทหาร เทคนิคการเป็นพิธกี รภาค ภาษาอั ง กฤษทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ ตลอดจนการเรียนรู้การเข้าสังคมและมารยาท สากล ท�ำให้นอ้ ง ๆ มีพฒ ั นาการทางด้านการใช้ ภาษาอังกฤษที่ถูกต้องและมีความมั่นใจในการ ออกเสียงตามหลักสัทศาสตร์ได้ดียิ่งขึ้น ๒. การศึ ก ษาดู ง าน ณ จั ง หวั ด ชลบุ รี เป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เปิด โลกทั ศ น์ แ ละเรี ย นรู ้ ก ารใช้ ภ าษาอั ง กฤษใน งานด้านการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมภาพ ลักษณ์ของประเทศไทยให้แก่ชาวต่างชาติที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอังกฤษ เช่น การ ได้ รั บ ทราบการปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ ต�ำรวจสถานีต�ำรวจท่องเที่ยวเมืองพัทยา การ เยี่ยมชมการด�ำเนินงานของเมืองพัทยา และ นอกจากนั้นยังไปฝึกการเป็นนักจัดรายการ วิ ท ยุ รายการโทรทั ศ น์ ที่ บ ริ ษั ท พั ท ยาพี เ พิ ล มีเดียกรุ๊ป อีกด้วย สร้างความประทับใจกับ ผู้เข้ารับการอบรมที่ได้เปิดหูเปิดตาและเห็น การท�ำงานจริง ๆ ในพื้นที่การท่องเที่ยวที่มี ชาวต่างชาติจากทั่วโลกและได้ฝึกทักษะด้าน การสือ่ สารให้ชาวต่างชาติทมี่ คี วามหลากหลาย ของส�ำเนียงอีกด้วย ๓. การแข่งขันพิธีกรภาคภาษาอังกฤษดี เด่น (Armed Forces Stars) ถือเป็นไฮท์ไลท์ ของหลักสูตรที่สร้างความตื่นตา ตื่นใจให้กับ แวดวงทหารด้ ว ยการคั ด เลื อ กผู ้ เ ข้ า รั บ การ อบรมจ�ำนวน ๒๑ คนให้เหลือเพียง ๖ คนเพื่อ มาแข่งขันผู้ที่ชนะเลิศการเป็นพิธีกรดีเด่นภาค ภาษาอังกฤษของกระทรวงกลาโหม โดยมีการ แข่งขันเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ณ ห้อง ประชุมส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ชั้น ๖ โดยผู้แข่งขันจะต้องน�ำเสนอการเป็นพิธีกร เดี่ยวในการประชุมหรือสัมมนาที่เป็นทางการ และการเป็นพิธีกรคู่ในการเลี้ยงรับรอง คนละ ไม่เกิน ๑๐ นาที โดยมีคณะกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิจากภายนอกกระทรวงกลาโหมจ�ำนวน ๓ ท่าน เป็นผู้พิจารณาให้ค�ำแนะน�ำและตัดสิน รอบสุดท้าย บรรยากาศในวันนั้นจึงเต็มได้ด้วย ความรู้ในการเป็นพิธีกรทางทหาร เทคนิคการ เสริมสร้างบุคลิกภาพการยืน การพูด การใช้ ไมโครโฟน การสร้างแรงจูงใจ การสบตาผู้ชม และการสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมที่มา ร่วมเชียร์และให้ก�ำลังใจ ชูป้ายไฟและส่งเสียง เชียร์กันอย่างล้นหลาม ซึ่งผลการแข่งขันออก มาอย่ า งเป็ น เอกฉั น ท์ โ ดยคณะกรรมการได้ พิจารณาให้ เรือโทหญิง วดีรัตน์ บุณยรัตพันธุ์ น า ย ท ห า ร ป ร ะ จ� ำ แ ผ น ก น โ ย บ า ย แ ล ะ ยุ ท ธศาสตร์ ส� ำ นั ก งานนโยบายและแผน กลาโหม ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ชนะเลิศเป็น พิธกี รภาคภาษาอังกฤษดีเด่น ประจ�ำปี ๕๗ และ มีรองชนะเลิศอีกจ�ำนวน ๕ คน นอกจากนั้น หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
เรือโทหญิง วดีรัตน์ฯ ยังได้รับรางวัลขวัญใจ มวลชนอีกด้วย ผลจากการจัดหลักสูตรนี้ อาจารย์วันดีฯ ในฐานะผู ้ จั ด หลั ก สู ต รรู ้ สึ ก ประทั บ ใจผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรมทุ ก คนที่ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ความ พยายาม ความอดทน ในการเรียนรูแ้ ละพัฒนา ตนเอง โดยอาจารย์วันดีฯ สามารถมั่นใจได้ว่า น้อง ๆ ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพิธีกรและ นายทหารประชาสัมพันธ์ภาคภาษาอังกฤษ ส� ำ หรั บ กระทรวงกลาโหมรุ ่ น ใหม่ Armed Forces Stars นี้จะเป็นดาวดวงใหม่ (Rising stars) ประดับวงการให้กับกระทรวงกลาโหม ได้อย่างงดงาม น�ำมาซึ่งความภาคภูมิใจของ กระทรวงกลาโหมในการมีบคุ ลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ในการต้อนรับผู้มาเยือนชาวต่างชาติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ดั ง นั้ น ในการฝึ ก ทางทหาร การประชุ ม นานาชาติ การจัดสัมมนา หากต้องการที่จะให้ น้อง ๆ จากหลักสูตรเข้าไปช่วยเพิ่มสีสันและ ท�ำให้งานบรรลุเป้าหมาย สามารถติดต่อมา ที่ พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ รองผู้อ�ำนวย การศูนย์ภาษาต่างประเทศ กรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ก ลาโหม โทรศั พ ท์ ๐๘ ๙๕๐๐ ๙๘๗๘ ที่อยู่จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ wandeedrdo@yahoo.com เพื่อขอรับการ สนับสนุนพิธีกรชาย – หญิง ภาคภาษาอังกฤษ ได้ โดยจะช่วยทั้งในการจัดรูปแบบของงาน พิ ธี ก าร การเขี ย นสคริ ป ต์ การควบคุ ม การ ด�ำเนินงานและการฝึกคัดเลือกพิธีกรที่เหมาะ สมตามความต้ อ งการของหน่ ว ยที่ ร ้ อ งขอ อาจารย์วันดีเชื่อว่า การด�ำเนินงานในลักษณะ นี้ไม่เพียงแต่จะเป็นการพัฒนาบุคลากรให้กับ กระทรวงกลาโหมในภาครวมโดยเฉพาะการ สนับสนุนก�ำลังพลที่ได้มีส่วนร่วมในการเป็น ทรัพยากรที่ส�ำคัญให้แก่กระทรวงกลาโหมแล้ว ยังน�ำมาซึง่ ความเป็นมาตรฐานสากลทีท่ ำ� ให้ชอื่ เสียงของกระทรวงกลาโหมเป็นที่รู้จักของมิตร ประเทศทั่วโลกด้วย อย่างไรก็ตามหากหน่วย งานไหนที่มีบุคลากรที่พิจารณาว่าเหมาะสม มี บุคลิกภาพที่ดี ก็สามารถติดต่อเพื่อให้อาจารย์ วันดีไปฝึกให้ก็ได้ค่ะ ท้ายสุดนี้ขอฝากเทคนิค การเป็นพิธีกรที่ดีไว้ดังนี้ค่ะ
๑. ศึ ก ษาเนื้ อ หาและประเภทของการ ประชุม สัมมนาที่จะต้องไปเป็นพิธีกร ๒. ศึกษาสถานการณ์บ้านเมืองและสังคมที่ เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ ๓. เรียนรูก้ ารใช้เทคนิคการสร้างอารมณ์ขนั หรือเล่นมุข ด้วยการดัดแปลงเหตุการณ์เฉพาะ หน้ามาเติมเสน่ห์ให้กับการด�ำเนินรายการ ๔. จัดท�ำคลังความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น การใช้ ค�ำพูด ส�ำนวน สุภาษิต ค�ำพังเพย ค�ำคมต่าง ๆ ทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ๕. ฝึ ก การออกเสี ย ง ส� ำ เนี ย งภาษาไทย และภาษาอังกฤษอย่างสม�่ำเสมอ และฝึกการ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ด้วยการมองเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในมุมที่คนอื่นมองข้าม ๖. มองโลกในแง่ดี คิดในทางบวก ควบคุม อารมณ์ได้ดี ๗. พัฒนาความรู้ให้กับตนเองตลอดเวลา ลองมาฝึกอ่านสคริปต์พิธีกรกันค่ะ Good afternoon, ladies and gentlemen. Welcome to Woranareechalerm School. My name is Wandee Tosuwan. I would be your MCs for this afternoon’s ceremony. Today’s program sequence is reflected in the program sheet. If you do not have a copy of the program sheet, you can raise your hands and our Peer Support Leaders will hand you a copy. During the ceremony, we would request the audience to stand when the Guest of Honour arrives and at the singing of the School song. The ceremony would be starting shortly. We would appreciate it if you could kindly switch your mobile phones to silent mode. Thank you.
61
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
การรักษาด้วยทันตกรรมจัดฟันเป็นอย่างไร การรักษาด้วยทันตกรรมจัดฟันมีหลายวิธีที่ จะช่วยในการจัดฟัน จัดระเบียบกล้ามเนื้อและ ขากรรไกร โดยมีทั้งที่เป็นแบบติดถาวรและ แบบถอดออกได้ ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จะท�ำการ ดัดฟันและขากรรไกรแบบนุม่ นวล ความรุนแรง ของปัญหาของคุณจะเป็นตัวตัดสินว่าวิธีการ จัดฟันแบบใดที่จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ทั น ตกรรมจั ด ฟั น คื อ สาขาหนึ่ ง ของ ทันตกรรมซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการแก้ไขฟันและ ขากรรไกรที่อยู่ในต�ำแหน่งที่ไม่ถูกต้อง ฟันยื่น และฟันที่ขบกันไม่พอดีจะท�ำให้ยากต่อการ ท�ำความสะอาด และมีความเสี่ยงต่อการสูญ เสียฟันก่อนวัยอันควรเนื่องมาจากฟันผุและ โรคเหงือก นอกจากนี้ยังท�ำให้เกิดการกดทับ ต่อกล้ามเนื้อที่ใช้ในการบดเคี้ยวซึ่งสามารถ ท�ำให้เกิดอาการปวดศีรษะ อาการปวดทีข่ อ้ ต่อ ขากรรไกร คอ ไหล่ และหลั ง ได้ ฟั น ที่ ยื่ น หรือไม่อยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสมก็ยังท�ำลาย บุคลิกภาพอีกด้วย ประโยชน์ของทันตกรรมจัดฟันนั้นรวมถึง สุขภาพปากที่แข็งแรงขึ้น ลักษณะบุคลิกภาพ ที่น่าพึงใจกว่าเดิม และฟันที่สามารถจะคงทน ไปตลอด เราจะทราบได้อย่างไรว่าเราต้องการ ทั น ตกรรมจั ด ฟั น มี เ พี ย งทั น ตแพทย์ ห รื อ ทันตแพทย์จัดฟันเท่านั้นที่จะสามารถตัดสิน
เครื่องมือจัดฟันแบบติดถาวร เหล็กดัดฟัน - เป็นวิธีการที่พบมากที่สุด ประกอบด้วยยาง ลวด หรือเหล็ก โดยยางจะ ติดรอบฟันโดยใช้เป็นตัวยึดของอุปกรณ์ ส่วน เหล็กจะถูกเชื่อมติดกับด้านหน้าของฟัน เส้น ลวดจะถูกร้อยผ่านแต่ละเหล็กและยึดติดกับ ยาง การดึงลวดให้ตึงขึ้นจะเป็นการเพิ่มแรงดึง ทีต่ วั ฟัน และค่อย ๆ เคลือ่ นฟันไปยังต�ำแหน่งที่ เหมาะสม เหล็กดัดฟันจะมีการปรับทุก ๆ เดือน เพื่อให้เกิดผลที่ต้องการ ซึ่งเวลาที่ใช้ในการจัด ฟันอาจเริ่มตั้งแต่ ๒ - ๓ เดือน จนถึง ๒ - ๓ ปี ปัจจุบันนี้ เหล็กจัดฟันมีขนาดเล็กลง เบาลง และดูไม่เป็นโลหะเหมือนในอดีต นอกจากนี้ ยังมีสีสันสดใสส�ำหรับเด็ก และแบบใสที่ผู้ใหญ่ นิยมใช้อีกด้วย อุปกรณ์ติดถาวรแบบพิเศษ - ส�ำหรับใช้ ควบคุ ม การดู ด นิ้ ว หรื อ การใช้ ลิ้ น ดั น โดย อุปกรณ์ชนิดนี้จะถูกติดกับฟันด้วยยาง เนื่อง จากเป็นวิธีที่ไม่สะดวกสบาย จึงมักจะใช้เป็น ทางเลือกสุดท้าย
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
การจัดฟัน
62
ได้ว่าคุณควรจะจัดฟันหรือไม่ จากการวินิจฉัย ด้ ว ยประวั ติ ก ารรั ก ษาทางการแพทย์ แ ละ ทันตกรรม การตรวจในคลินิก แบบพิมพ์ฟัน ของคุณ และภาพเอกซเรย์ คุณอาจต้องรับการจัดฟันถ้าคุณมีปัญหา ต่อไปนี้ ฟันบนยื่น - ฟันบนยื่นออกมาข้างหน้ามาก ฟันล่างยืน่ - ฟันล่างยืน่ ออกมาข้างหน้ามาก ฟันกัดคร่อม - ฟันบนไม่สามารถขบได้พอดี กับฟันล่าง มีลักษณะขบแบบไขว้ ฟันสบเปิด - เมื่อขบฟันแล้วมีช่องว่างเปิด ระหว่างฟันบนกับฟันล่าง ฟันกัด เบี้ ย ว - จุดศูนย์กลางของฟันบน ไม่ตรงกับฟันล่าง ฟันห่าง - มีช่องว่างระหว่างฟันอันเกิดจาก ฟันหลุดหรือฟันที่ขึ้นไม่เต็ม ฟั น ซ้ อ น - ฟั น ที่ ขึ้ น มามากเกิ น ไปจนเก ทับกัน
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
อุปกรณ์รักษาช่องว่างของฟันแบบถาวร - กรณีที่ฟันน�้ำนมหลุดเป็นการถาวร อุปกรณ์ รั ก ษาช่ อ งว่ า งจะถู ก ใช้ จ นกว่ า ฟั น แท้ จ ะขึ้ น โดยจะใส่ ย างติ ด กั บ ฟั น ซี่ ถั ด จากช่ อ งว่ า ง ด้านหนึ่ง และลวดจะต่อเข้ากับฟันซี่ถัดจาก ช่องว่างอีกด้านหนึ่ง เครื่องมือจัดฟันแบบถอดได้ เครือ่ งจัดฟันแบบใส - เป็นทางเลือกส�ำหรับ ผู้ใหญ่ที่ไม่อยากใส่เหล็กจัดฟันแบบถาวร โดย เครื่องมือนี้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น โดยสามารถดัดฟันได้เช่นเดียวกับเหล็กจัดฟัน แบบถาวร เพียงแต่ไม่มีลวดและเหล็ก โดย อุปกรณ์นี้จะมองไม่เห็นเวลาใส่ และสามารถ ถอดออกได้เวลารับประทานอาหาร แปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟัน อุปกรณ์รกั ษาช่องว่างของฟันแบบถอดได้ - อุปกรณ์นี้ท�ำงานเช่นเดียวกับอุปกรณ์รักษา ช่องว่างของฟันแบบถาวรโดยท�ำจากอะคริลิค ที่ขนาดพอดีกับขากรรไกร และมีพลาสติกหรือ ลวดระหว่างฟันที่ต้องการรักษาช่องว่างไว้ อุ ป กรณ์ จั ด ต� ำ แหน่ ง ของขากรรไกร อุปกรณ์นี้สามารถใส่จากขากรรไกรบนหรือ ล่างก็ได้ เพื่อที่จะจัดต�ำแหน่งของขากรรไกร ให้อยู่ในจุดที่เหมาะสม เพื่อใช้แก้ไขอาการ ข้อต่อขากรรไกรผิดปกติ อุปกรณ์ปอ้ งกันริมฝีปากและแก้ม - อุปกรณ์ นีไ้ ว้ใช้สำ� หรับกันริมฝีปากและแก้มออกจากฟัน เนื่องจากริมฝีปากและแก้มสามารถสร้างแรง กดทับที่ฟัน ซึ่งอุปกรณ์นี้จะช่วยลดแรงกดทับ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
เครื่องมือขยายขากรรไกร - อุปกรณ์นี้จะ ช่วยขยายขากรรไกรบน โดยมีลักษณะเป็น แผ่นพลาสติกที่ติดพอดีกับเพดานปาก และใช้ แรงดันจากภายนอกด้วยการขันสกรูจะบังคับ ให้ข้อต่อขากรรไกรเปิดกว้างขึ้น รีเทนเนอร์ (Removable retainers) เครื่องมือนี้จะถูกใส่ที่เพดานปากเพื่อป้องกัน การเคลื่อนที่ของฟันกลับไปยังจุดเดิม โดยอาจ ถูกดัดแปลงเพื่อป้องกันการดูดนิ้วได้ด้วย เครือ่ งมือจัดฟันภายนอก - เครือ่ งมือนีจ้ ะมี สายรัดรอบศีรษะ และต่อเข้ากับลวดด้านหน้า โดยเครื่องมือนี้จะช่วยชะลอการเติบโตของขา กรรไกรบน และรักษาฟันด้านในอยูใ่ นต�ำแหน่ง เดิมในขณะที่ฟันด้านหน้าจะถูกดึงเข้ามา
จัดฟันแฟชั่น ฟังแค่ชื่อค�ำว่า "แฟชั่น" ก็คงจะรู้แล้วว่าไม่มี ประโยชน์กับฟันของเรา เพียงแต่จะท�ำให้ฟัน ของเรามีสีสันขึ้น ดูเหมือนเด็กแอ๊บแบ๊ว น่ารัก ญี่ปุ่น ซึ่งได้รับความนิยมมากในกลุ่มเด็กวัยรุ่น เพราะจัดฟันแฟชั่น ไม่ต้องถอนฟัน ไม่ต้อง ตรวจเอกซเรย์ฟัน ท�ำให้ไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก วันนี้เรามาดูข้อดีและข้อเสียของการจัดฟัน แฟชั่นกัน อันตรายที่พบในการจัดฟันแฟชั่น ลวดหรือเหล็กดัดฟันทีข่ ายตามท้องตลาด เป็นลวดที่ไม่ได้ใช้ส�ำหรับดัดฟันโดยเฉพาะ มี ส่วนผสมของ ตะกั่ว โครเมียม สารหนู ฯลฯ ถ้าสะสมในร่างกายมาก ๆ จะท�ำให้ไตวาย แบลเกต (braces) ที่มีสีสันและน�ำมาติด ฟันของเรา เมื่อเจอน�้ำลายที่มีความเป็นกรด และด่าง จะท�ำให้สารเคมีจากสีเข้าสู่ร่างกาย ของเราน�ำไปสู่โรคภัยต่าง ๆ ได้ ยางยึดฟัน สร้างไม่ได้มาตรฐาน ไม่มีการ ฆ่าเชื้อซึ่งจะมีเชื้อโรคสะสมหรือสารเคมี เมื่อ เอามาติดในปากของเรา หากเราท�ำการจัดฟันแฟชั่นด้วยตัวเอง อาจจะท�ำให้วัสดุในการจัดฟันหลุด เพราะไม่มี ความแข็งแรงและเข้าไปในร่างกายหรือหาก เป็นชิ้นใหญ่ก็จะติดที่หลอดลม และมีข่าวการ เสียชีวิตมาแล้ว ส� ำ นั ก งานแพทย์ ส� ำ นั ก งานสนั บ สนุ น ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้เปิดให้ บริการจัดฟันแก่ก�ำลังพลและบุตรข้าราชการ สป. โดยได้รับการสนับสนุนจากสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในการจัดหาเครื่องมือจัดฟัน และได้รับการ สนับสนุนจากโรงงานยาสูบ ในการจัดหาเก้าอี้ ทั น ตกรรม อั น จะเป็ น ประโยชน์แก่สุขภาพ ช่ อ งปากของก� ำ ลั ง พลและบุ ต รข้ า ราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมต่อไป
63
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพพร้อมภริยา ร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ ๖ ต.ค.๕๗
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นาย Harsh Vardhan Shringha เอกอัครราชทูตอินเดียประจ�ำประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�ำนับและ หารือข้อราชการ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ภายใน ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๖ ก.ย.๕๗
64
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงกลาโหมและผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก สักการะศาลหลักเมืองและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในศาลาว่าการกลาโหม พร้อมรับการตรวจแถวพิธี สวนสนามจากกองทหารเกียรติยศผสม ๓ เหล่าทัพ โดยมี พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรั ต น์ ปลั ด กระทรวงกลาโหม ผู ้ บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ และนายทหารชั้นผู้ใหญ่เข้าร่วมพิธี ภายในศาลา ว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๕ ก.ย.๕๗
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
65
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายก รั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง กลาโหม พลเอก ศิรชิ ยั ดิษฐกุล ปลัดกระทรวง กลาโหม พร้ อ มด้ ว ย ผู ้ บั ญ ชาการทหาร สูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ ผู้บัญชาการ ต�ำรวจแห่งชาติ และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้า เยี่ยมค�ำนับ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ในโอกาส เข้ารับต�ำแหน่งใหม่ ณ บ้านสี่เสาเทเวศร์ เมื่อ ๑ ต.ค.๕๗
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีอ�ำลาและรับมอบนโยบายของ คณะผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารที่จะไปด�ำรงต�ำแหน่งในต่างประเทศ โดยมี พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และ นายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วมพิธี ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๖ ก.ย.๕๗
66
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีแสดงความยินดีแก่นายทหารสัญญาบัตรที่ได้รับพระราชทานยศทหารชั้น นายพลประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ (ครั้งที่ ๑) และพิธีรายงานตัวของนายทหารสัญญาบัตรที่ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเข้ามารับราชการ ในส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑ ต.ค.๕๗
พลเอก ผดุงศักดิ์ กลัน่ เสนาะ ทีป่ รีกษาพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วย พลโท ดร.เดชา เหมกระศรี ทีป่ รึกษาส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม น�ำ ร้อยโทหญิง จันทร์เพ็ง นนทะสิน นางสาว จุฑา ธิป มณีพันธุ์ และนางสาวอแมนดา คาร์ ซึ่งได้รับเหรียญทองจากการ แข่งขันจักรยานประเภทถนน อินไลน์เรซ ระยะทาง ๑๒๖ กิโลเมตร ใน การแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครัง้ ที่ ๑๗ เมืองอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี เข้าพบ พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เพื่อรายงานผล การแข่งขันและแสดงความยินดี ณ ห้องสนามไชย ภายในศาลาว่าการ กลาโหม เมื่อ ๖ ต.ค.๕๗
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
67
พ ลเ อก ศิ ริ ชั ย ดิ ษ ฐกุ ล แล ะ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ สักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในศาลาว่าการกลาโหม และกระท�ำพิธีรับ - ส่งหน้าที่และมอบ การบังคับบัญชาปลัดกระทรวงกลาโหม ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๓๐ ก.ย.๕๗
68
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
69
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
นางพรวิมล ดิษฐกุล รับมอบหน้าที่ นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จาก นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ ณ ห้อง ประชุมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ชั้น ๑๐ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๒๙ ก.ย.๕๗
70
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถวายพานทองดอกไม้สด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมลงนามถวายพระพร ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ ๘ ต.ค.๕๗
คณะกรรมการสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ลงนามถวายพระพร และถวายแจกันดอกไม้สด สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ณ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ เมื่อ ๒๙ ก.ย.๕๗
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๗
71
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมอุปนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมฯ สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในพื้นที่โดยรอบกระทรวงกลาโหม และภายในศาลาว่าการกลาโหม เนื่องในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่งนายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และกระท�ำพิธสี กั การะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ณ ทีท่ ำ� การสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (ตึกโดม) ภายในกรมการพลังงานทหารฯ ราชเทวี พร้อมทั้งถ่ายภาพร่วมกับคณะกรรมการสมาคมฯ เมื่อ ๒ ต.ค.๕๗
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ให้ ก ารต้ อ นรั บ นางวิภาดา สีตบุตร นายกสมาคมแม่บ้านทหารบก และคณะกรรมการบริ ห ารสมาคมฯ เพื่ อ กระชั บ ความสัมพันธ์ ณ ห้องรับรองสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ชั้น ๑๐ อาคาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๘ ต.ค.๕๗ 72
ปิยมหาราชาร�ำลึก ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ บังคมธิราชเจ้า จิตก่อร�ำลึกความ ราชสมัญญานาม ทรงหยั่งรากเพื่อเอื้อ ชนแสนเทวษเมื่อร้าง ทุกหมู่สบทุกข์ทน ทอดตาทั่วทุกหน ทุกข์ปริ่มยามห่างไร้ ประชาไทยต่างพร้อม จิตร่วมกันตรองตรึก พระเกียรติมั่นจารึก คงมั่นในจิตข้า- ทรงสราญ ณ แดนฟ้า สถิตมั่นสุขาวดี มวลสยามต่างนบพลี พระเกียรติคู่ธเรศไว้
จอมสยาม ทรงเกื้อ บอกบ่ง เทิดเกียรติ เร่งสร้างสยามแดน ฯ พระชนม์ ร�่ำไห้ เนตรกล�่ำ เหนือเกล้าแห่งฉมา ฯ ร�ำลึก ทั่วหล้า รอบถิ่น ไทยนา บาทไท้ชั่วกาล ฯ เปรมปรีดิ์ เทพไท้ ถวายเทิด พระนาม ห่มฟ้าคลุมดิน ฯ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ก�ำลังพลสังกัดกระทรวงกลาโหม (พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ประพันธ์)
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
เป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ในวันพุธที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา ณ วัดอนงคารามวรวิหาร แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร และร่วมท�ำบุญได้ที่ ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) สาขากระทรวงกลาโหม บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ ๐๓๙-๒-๗๔๒๒๒-๗ ชื่อบัญชี “กฐินพระราชทานของ กห. ประจ�ำปี ๒๕๕๗”
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๓ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
www.lakmuangonline.com