วารสารหลักเมือง ฉบับที่ 284

Page 1

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ISIS

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๔ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

www.lakmuangonline.com


๒๕ พฤศจิกายน วันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า

"ALL WE CAN DO IS DO OUR BEST " ปวงข้าบาทน้อมบังคมก้มเกศี ร�ำลึกพระกรณียกิจสฤษฎ์พราว ยามสงครามน�ำชาติปราศทุกข์เข็ญ ธงไตรรงค์ปลิวสะบัดพัดร�ำแพน ทรงก่อตั้ง เสือป่า รักษาชาติ ขุมก�ำลังส�ำรองป้องล�ำเนา องค์ปราชญ์เด่นวรรณกรรมธ�ำรงศิลป์ ทรงก่อตั้งกิจลูกเสือเอื้อรุ่งเรือง เทิดพระเกียรติทรงสร้างทางสุกใส น้อมจารึกพระคุณธรรมน�ำประคอง

ถวายพลีมหาธีรราชเจ้า อันสกาวทั่วเขตคามสยามแดน ไทยโดดเด่นสงครามโลกโบกทุกข์แสน ทุกแว่นแคว้นต่างตระหนักรู้จักเรา ชนสามารถสร้างวินัยไม่ขาดเขลา ร่วมใจเฝ้าคุ้มครองถิ่นดินแดนเมือง ทรงประคิ่นฉันทลักษณ์ไทยให้กระเดื่อง นามฟุ้งเฟื่องเลื่องลือถือสัตย์ครอง เพื่อชนไทยสุขสบายคลายเศร้าหมอง ขอเป็นข้ารองพระบาททุกชาติเทอญ

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ก�ำลังพลสังกัดกระทรวงกลาโหม (พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ประพันธ์)

พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม


ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม

ที่ปร�กษากิตติมศักดิ์ ผู้อํานวยการ

พล.อ.วันชัย เร�องตระกูล พล.อ.อ.สุว�ช จันทประดิษฐ พล.อ.ไพบูลย เอมพันธุ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพ�ยร พล.อ.ธวัช เกษรอังกูร พล.อ.สัมพันธ บุญญานันต พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิร�ชัย ธัญญสิร� พล.อ.ว�นัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ� เกษโกว�ท พล.อ.เสถียร เพ��มทองอินทร พล.อ.ว�ทวัส รชตะนันทน พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ�โยธิน พล.อ.นิพัทธ ทองเล็ก พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน

พล.ต.ณภัทร สุขจ�ตต

รองผู้อํานวยการ

พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงช�พ ตันตระวาณิชย

ผู้ชวยผู้อํานวยการ

พ.อ.ปณิธาน กาญจนว�โรจน

กองจัดการ ผู้จัดการ

น.อ.ธวัชชัย รักประยูร

ประจํากองจัดการ

น.อ.กฤษณ ไชยสมบัติ น.ท.ว�ษุวัตร แสนคํา ร.น. พ.ต.ไพบูลย รุงโรจน

เหรัญญิก

พ.ท.พลพัฒน อาขวานนท

ที่ปร�กษา ผู้ชวยเหรัญญิก พล.อ.ศิร�ชัย ดิษฐกุล

พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพ�ทักษ� พล.อ.ไพชยนต ค้าทันเจร�ญ พล.ร.อ.ชุมนุม อาจวงษ� ร.น. พล.อ.ว�ช�ต ศร�ประเสร�ฐ พล.อ.ชัยชาญ ช้างมงคล พล.อ.นพดล ฟ�กอังกูร พล.อ.อดุลยเดช อินทะพงษ� พล.อ.ชัชวาลย ขําเกษม พล.อ.นิวัติ ศร�เพ็ญ พล.ท.สุวโรจน ทิพยมงคล พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ดํารงศักดิ์ วรรณกลาง พล.ท.ชุติกรณ สีตบุตร พล.ท.นเรศรักษ� ฐ�ตะฐาน พล.ท.ถเกิงกานต ศร�อําไพ พล.ท.อดุลยศักดิ์ บุญวัฒนะกุล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ พล.ท.เดชา บุญญปาล พล.ท.นภนต สร้างสมวงษ� พล.ต.ภราดร จ�นดาลัทธ พล.ต.ชวลิต สาลีติ�ด

ร.ท.เวช บุญหล้า

ฝายกฎหมาย

น.ท.สุรชัย สลามเตะ

ฝายพ�สูจนอักษร

พ.อ.หญิง ว�วรรณ วรว�ศิษฏธํารง ร.อ.หญิง กัญญารัตน ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ มูลละ

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ

น.อ.พรหมเมธ อติแพทย ร.น.

รองบรรณาธิการ

พ.อ.ทว� สุดจ�ตร พ.อ.สุวเทพ ศิร�สรณ

ผู้ชวยบรรณาธิการ

พ.อ.หญิง ใจทิพย อุไพพานิช

ประจํากองบรรณาธิการ

น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปตพ� ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิร�ณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจ�ตร พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชร� ชาญชัยพ�ช�ต ร.ต.วัชรเทพย ปตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ�ผึ้ง ส.อ.ธีรนร�ศวร ขอพ��งธรรม

น.ท.หญิง รสสุคนธ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไรข�ง น.ต.ฐ�ตพร น้อยรักษ� ร.น. พ.ต.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ ภาว�ไล ร.ต.จ�รวัฒน ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิร�พ�มพมา กาญจนโรจน


บทบรรณาธิการ เดือนพฤศจิกายน เดือนที่สองของปีงบประมาณและเป็นห้วงเวลาที่ส�าคัญของการยกร่าง รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นความหวังของคนไทยทั้งประเทศ เพื่อปฏิรูปประเทศ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ไปสู ่ ค วามมั่ น คงที่ ยั่ ง ยื น ใน ทุ ก มิ ติ ที่ ก ล่ า วเช่ น นี้ เ พราะหากเป็ น ไปตามกรอบเวลาในเดื อ น พฤศจิกายนปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยก็จะมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งตามที่กล่าวประเทศไทยก็จะ เข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามหลักสากล และเป็นห้วงเวลาเดียวกับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน วาระส�าคัญ ๒ วาระของประเทศเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและประชาชนคนไทย ทุกคนต้องเตรียมรับความเป็นไปและความเปลี่ยนแปลงในห้วงเวลาอีกประมาณ ๑ ปีที่จะถึงนี้ ในเรื่องของภาพลักษณ์ของประเทศไทยในสายตาประชาคมโลก หลังจากคณะรักษาความสงบ แห่งชาติเข้ามาบริหารประเทศ วางกรอบแนวทางในการปฏิรูป ประเทศต่าง ๆ มีความเช้าใจและ ให้การยอมรับประเทศไทยในเวทีโลกมากขึ้นเป็นล�าดับ จะมีแต่บางประเทศที่อาจจะติดปัญหาอยู่ บ้างก็เนื่องจากรัฐธรรมนูญของประเทศนั้น ๆ ก�าหนดที่จะระงับความช่วยเหลือหรือความร่วมมือ ในบางเรื่องบางส่วนเท่านั้น ส�าหรับความร่วมมือทางด้านการทหารหรือความมั่นคงในมิติต่าง ๆ ก็ยังคงด�ารงอยู่ ทั้งนี้เพราะความส�าคัญและบทบาทของประเทศไทยในภูมิภาค ย้อนกลับมากล่าวถึงเนือ้ หาสาระของวารสารหลักเมือง ฉบับเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ เรือ่ งเด่น ขึน้ ปกประจ�าฉบับคือ IsIs อิทธิพลและปัญหาใหม่ในตะวันออกกลาง ซึง่ ในปัจจุบนั ดูจะไม่ใช่ปญ ั หา ทีอ่ ยูเ่ ฉพาะในตะวันออกกลางแล้ว แต่เป็นเรือ่ งใหญ่ระดับโลกและก�าลังจะส่งผลกระทบถึงภูมภิ าค อาเซียนที่ทุกท่านจะต้องติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวอย่างใกล้ชิด อีกเรื่องหนึ่งที่จะย�้าเตือน ความทรงจ�าให้กบั พวกเราคนรุน่ ใหม่คอื ปีนเี้ ป็นปีทคี่ รบรอบ๑๐๐ ปีของมหาสงคราม สงครามโลก ครั้งที่ ๑ สงครามที่เปลี่ยนโฉมหน้าการรบจากเดิม ในบทความกล่าวไว้ว่า “เป็นสงครามที่มี เทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อนหลัก”เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในเนื้อหาสาระที่ท่านผู้อ่านจะได้รับจาก วารสารหลักเมือง ขอขอบคุณทุกท่านที่ติดตามอ่าน คณะผู้จัดท�าจะได้พยายามคัดสรรเรื่องราว สาระที่เป็นประโยชน์และน่าสนใจมาน�าเสนอ……สวัสดี

2


ปที่ 23 ฉบับที่ 284 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557

๓๒

เสือป่า : ก�าลังส�ารอง ในพระราชด�าริ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ISIS : Islamic State in Iraq and Syria อิทธิพลและปัญหาใหม่ ในตะวันออกกลาง

๓๖

วันกองทัพเรือ และองค์บิดาของ ทหารเรือไทย

การปรับปรุงเครื่องบิน ขับไล่เอฟ-๑๖

๔๐

๑๒

๑๐๐ ปี สงครามโลก ครั้งที่ ๑ หรือเกรทวอร์ สงครามที่ไม่มีวันลืม

๑๖

หน้าบันอาคาร ศาลาว่าการกลาโหม

การวิจัยและพัฒนา ดาวเทียมขนาดเล็ก เพื่อความมั่นคง

๑๒

๔๔

๑๖

หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนที่ ๒๗)

๔๘

๒๐

๓๑ ปี วันคล้าย วันสถาปนา ส�านักนโยบายและ แผนกลาโหม วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗

จุดเริ่มต้นสู่ความยิ่งใหญ่ ของหงสาวดี

๒๐

๒๖

๓๒

อะไร อะไร ก็ เออีซี “What is AEC? ” บทบาทด้านความมั่นคง ของรัสเซียในอาเซียน

๓๖

๔๐

๔๘

๓๐

การท�างานของ คณะท�างานเตรียมการ ปฏิรูปเพื่อคืนความสุข ให้คนในชาติ

ข้อควรรู้ของประเทศ อาเซียน

๕๒

“ Language Phenomena in Surabaya ”

๒๒ ๒๖

๕๐

๕๔

“โรคพาร์กินสัน (Parkinson's Disease)”

๖๒

กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�านักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม

๕๐

๕๔

๖๒

ข้อคิดเห็นและบทความที่น�าลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�านักงานเลขานุการส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�านักงานสนับสนุน ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ากัด หลักเมือง พฤศจิกายน 2557

3


4


เสือป่า : ก�ำลังส�ำรอง

ในพระราชด�ำริพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

ารสร้ า งพลั ง อ� ำ นาจของชาติ ท าง ทหารในยุคปัจจุบันให้สอดรับกับ การป้ อ งกั น ประเทศและรั ก ษา ความมั่นคงของชาติไม่ใช่มีเพียงแต่การสะสม ยุ ท โธปกรณ์ แ ละก� ำ ลั ง พลที่ บ รรจุ เ ต็ ม อั ต รา เท่านั้น ทั้งนี้เพราะประเทศของเรายังประสบ ข้ อ จ� ำ กั ด จ� ำ นวนมากที่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ การ สร้างพลังอ�ำนาจของชาติทางทหาร ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องของสภาพแวดล้อมด้านความมั่นคง สถานการณ์รอบประเทศทัง้ ประเทศเพือ่ นบ้าน และประเทศในภูมิภาค ฐานะทางเศรษฐกิจ และที่ส�ำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คือ ข้อจ�ำกัด ด้านงบประมาณนั่นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ หนทาง ปฏิ บั ติ ที่ น ่ า จะเหมาะสมที่ สุ ด ในการด� ำ เนิ น กิจการทางทหารและการรักษาความมัน่ คงของ ชาติภายใต้ข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ก็คือ ประการแรก การจัดก�ำลังกองทัพประจ�ำ การไว้ ส ่ ว นหนึ่ ง ในอั ต ราที่ พ อเพี ย งแก่ ก าร ป้องกันประเทศ รักษาความมั่นคงแห่งชาติ พัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง และปกป้อง ฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ประการที่สอง จัดเตรียมก�ำลังส�ำรองไว้ เพื่ อ ให้ มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะใช้ ท ดแทนก� ำ ลั ง ที่ สูญเสียจากการปฏิบตั ริ าชการ การผลัดเปลีย่ น ก�ำลังในยามวิกฤตหรือยามสงคราม และขยาย ก�ำลังกองทัพประจ�ำการให้ได้ทันท่วงทีเมื่อเกิด ความจ�ำเป็นต่อการรักษาเอกราชและความ มั่นคงของชาติ จึงกล่าวได้ว่า การสร้างพลังอ�ำนาจทาง ทหารด้วยการจัดก�ำลังกองทัพในลักษณะผสม ผสานระหว่างก�ำลังรบหลักกับก�ำลังส�ำรอง จึง เป็นการวางแผนด�ำเนินการที่มีความเหมาะสม ตามแนวทางปฏิบัติการรบและยึดถือหลักการ ประหยัดงบประมาณ ซึ่งสามารถด�ำเนินการ ตั้งแต่ยามปกติและพัฒนาขีดความสามารถ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

5


๑. หน้าที่ควรกระท�ำให้ เป็นประโยชน์ในเวลา สงคราม ๑.๑ รักษาบ้านเมืองซึ่งอยู่หน้าศึกซึ่งไม่มี ทหารรักษา ๑.๒ ปะทะต้านทาน หน่วงเหนี่ยวข้าศึกไว้ เพื่อให้กองทหารยกไปทัน ๑.๓ รักษาด่านและขัดตาทัพในที่บางแห่ง ช่วยกองทหารไม่ให้ต้องแยกกองย่อยท�ำให้ เปลืองก�ำลังเปล่าๆ ๑.๔ รั ก ษาการติ ด ต่ อ บรรเทาภารกิ จ ของกองทหาร ๑.๕ ช่วยลาดตระเวนสืบข่าว

๒. รักษาความสงบ เรียบร้อยภายใน

ไปจนถึงยามสงคราม ที่ไม่ก่อให้เกิดความสิ้น เปลืองงบประมาณจนเกินความจ�ำเป็น ตลอด จน เป็นหลักนิยมในการบริหารจัดการก�ำลัง พลของกองทัพโดยทั่วไป รวมถึง กองทัพไทย ในปัจจุบันด้วย หากพิ จ ารณาถึ ง ความหมายของค� ำ ว่ า ก�ำลังส�ำรอง ในปัจจุบันได้มีการบัญญัติความ หมายของก�ำลังส�ำรองไว้คือ ก�ำลังที่มิใช่ก�ำลัง ประจ�ำการเตรียมไว้ส�ำหรับใช้ในยามสงคราม ยามประกาศกฎอั ย การศึ ก ยามประกาศ ภาวะฉุ ก เฉิ น หรื อ ในยามปฏิ บั ติ ก ารใช้ ก� ำ ลั ง ทหารขนาดใหญ่ เพื่อปกป้องคุ้มครองรักษา เอกราชและอธิปไตยของชาติเพื่อปราบปราม คอมมิวนิสต์หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย และความมั่นคงภายในประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชปณิธานอย่างชัดเจน ที่จะบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจในการปลูกฝัง ให้ พ สกนิ ก รมี ค วามรั ก ชาติ ศาสนา พระ มหากษัตริย์ และส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ ประชาชนในการช่วยทหารป้องกันภัยอันอาจ เกิดขึน้ แก่ประเทศชาติ โดยมีความตอนหนึง่ ใน พระราชด�ำรัสทีพ่ ระราชทานแก่ราษฎรเมือ่ งาน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๓ ดังนี้ “…การตั้งกองเสือป่าขึ้นด้วยความมุ่งหมาย จะให้คนไทยทั่วกันรู้สึกว่า ความจงรักภักดีต่อ 6

๒.๑ ช่วยเจ้าหน้าที่รักษาความสงบทั่วไป ๒.๒ ช่วยเหลือเวลาเกิดเพลิงไหม้ ๒.๓ ล้อมวังรักษาพระองค์ ๒.๔ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ทั้งนี้ ทรงมีพระราชด�ำรัสในการขนานนาม ของหน่วยเสือป่า โดยทรงอ้างอิงจากแนวทาง ผู้ด�ำรงรัฐสีมาอาณาจักร โดยต้องตามมติธรรม การป้องกันประเทศและแนวทางทางทหารใน ประเพณีประการหนึ่ง ความรักชาติบ้านเมือง สมัยโบราณ กล่าวคือ “เป็ น ชื่ อ เก่ า ที่ มี ป รากฏได้ ใ ช้ ม าในเมื อ ง และนับถือศาสนาประการหนึ่ง ความสามัคคี เราแต่ โ บราณกาล มี ท หารโบราณจ� ำ พวก ในคณะและไม่ท�ำลายซึ่งกันและกัน...” ดังนั้น ในวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๔๕๔ จึง หนึ่ ง เรี ย กว่ า เสื อ ป่ า คู ่ กั บ แมวเซาหรื อ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ กองเสือป่าขึน้ แมวมอง ตรงกับทีใ่ นกองทัพบกทุกวันนีเ้ รียกว่า โดยได้เริ่มประกาศและชักชวนให้มีการจัดตั้ง “ผู้สอดแนม” หรือเรียกตามภาษาอังกฤษว่า กองอาสาสมัครเสือป่า โดยมีจุดประสงค์ที่จะ “สเค๊าท” (scott) ส่วนแมวเซาหรือแมวมอง มุ่งอบรมจิตใจให้คนไทยโดยเฉพาะข้าราชการ นั้น เรียกว่า “กองระวังด่าน” หรือเรียกตาม พลเรือน รู้จักรักชาติ มีมนุษยธรรม มีความ ภาษาอังกฤษว่า “เอ๊าตโป๊สต์” (outpost)…” นอกจากนี้ ยังทรงมีพระราชปรารภในการ เสียสละ สามัคคี และมีความกตัญญูกตเวที จั ด ตั ้งกองเสือป่าขึ้น ที่มีการบันทึกความบาง ต่อประเทศชาติบ้านเมืองต่อมา ในวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๕๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ตอนไว้ใน จดหมายเหตุเสือป่า พุทธศักราช ให้ตั้งกองพลสมัครขึ้นกองพลหนึ่ง ให้ชื่อว่า ๒๔๕๔ กล่าวคือ “...มีพลเรือนบางคนที่เป็นข้าราชการและ “กองเสือป่า” และมีการประกอบพิธีถือน�้ำ ที ่ ม ิได้เป็นข้าราชการ มีความปรารถนาจะได้ พระพิ พั ฒ น์ สั ต ยาครั้ ง แรกของเสื อ ป่ า ในวั น เดี ย วกั น นั้ น ณ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม รับความฝึกหัดอย่างทหาร แต่ยังมิได้มีโอกาส ราชวรมหาวิหาร จึงถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้น ฝึกหัด เพราะติดหน้าที่ราชการเสียบ้าง หรือ ของกิจการเสือป่าหรือกิจการก�ำลังส�ำรองใน เพราะติดธุระอย่างอื่นเสียบ้าง การฝึกเป็น ประเทศ ทั้งนี้ เสือป่า คือ ผู้ชายไทยที่มิได้เป็น ทหารนั้ น ย่ อ มมี คุ ณ ประโยชน์ แ ก่ บ ้ า นเมื อ ง ทหารแต่ ไ ด้ รั บ การฝึ ก ให้ รู ้ จั ก วิ ธี ก ารรบเพื่ อ อยู ่ ห ลายอย่ า งที่ เ ป็ น ข้ อ ใหญ่ ข ้ อ ส� ำ คั ญ ก็ คื อ จะได้สามารถป้องกันชาติบ้านเมืองในยามที่ กระท�ำให้บุคคลซึ่งได้รับความฝึกฝนเช่นนั้น ประสบภัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เป็นราษฎรดีขึ้น กล่าวคือ ท�ำให้ก�ำลังกายและ เจ้าอยู่หัวได้ทรงก�ำหนดหน้าที่ของเสือป่าไว้ ความคิดแก่กล้าในทางที่เป็นประโยชน์ ด้วย เป็นธรรมดาของคน ถ้าไม่มผี ใู้ ดหรือสิง่ ใดบังคับ กล่าวคือ ให้ใช้ก�ำลัง และความคิดของตนแล้วก็มักจะ กลายเป็นคนอ่อนแอไป พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


อีกประการหนึ่ง การฝึกหัดเป็นทหารนั้น ท�ำให้คนรู้วินัย คือฝึกหัดตนให้อยู่ในบังคับ บัญชาของผู้ที่เป็นหัวหน้าฤานายเหนือตน ซึ่ง น�ำประโยชน์มาให้แก่ตนเป็นอันมาก เพราะ ว่าถ้ารู้จักเป็นผู้อยู่ในบังคับบัญชาดี ต่อไปก็ จะเป็นคนบังคับบัญชาคนได้ดี จะเป็นนายที่ รู้จักน�้ำใจผู้น้อย ทั้งเป็นทางสั่งสอนอย่างหนึ่ง ให้คนมีความย�ำเกรง ตั้งอยู่ในพระราชก�ำหนด กฎหมายของประเทศบ้านเมือง ทั้งจะปลุกใจ คนให้มีความรู้สึกรักพระเจ้าแผ่นดิน ชาติและ ศาสนา จนยอมสละชีวิตถวายพระเจ้าแผ่นดิน ฤาเพื่อป้องกันรักษาชาติศาสนาของตนได้…” อย่างไรก็ตาม ในรัชสมัยของพระองค์ ได้ ประสบเหตุการณ์ที่ส�ำคัญของโลกเหตุการณ์ หนึ่ง คือ สงครามโลกครั้งที่ ๑ จึงได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการจัดหน่วยเสือป่า ขึ้นใหม่ เป็นจ�ำนวน ๒ กอง ประกอบด้วย กองเสื อ ป่ า หลวง (หรื อ กองเสื อ ป่ า รั ก ษา พระองค์ ) ซึ่ ง ต่ อ มาเปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “กอง เสนาหลวงรักษาพระองค์” และ กองเสือป่า รั ก ษาดิ น แดน โดยมี ก ารจั ด หน่ ว ยด้ ว ยการ แบ่งออกเป็น ๔ ภาค ก�ำหนดหน้าที่รักษาดิน แดนในแต่ละกลุ่มจังหวัด จึงเป็นต้นแบบของ ต�ำรวจตระเวนชายแดนในเวลาต่อมา ภาย หลังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัวเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ กิจการเสือป่าจึงได้ยุติลงชั่วคราว แต่ หากพิจารณาแล้ว จะพบว่าหน้าที่ของเสือป่า คือ ภารกิจของชาวไทยตามพระราชประสงค์ ที่จะฝึกอบรมพลเมืองไทยให้มีความรู้ความ เข้าใจวิธีการรักษา ป้องกันประเทศชาติ บ้าน เมือง พร้อมกับตระหนักรู้และมีความเข้าใจใน หน้าที่กับบทบาทของแต่ละคนว่า ควรท�ำอะไร อย่างไร ในเหตุการณ์ใดบ้าง หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

กิจการของยุวชนทหารขึ้น และในที่สุดก็เลิก ร้างไปภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๑ กระทรวงกลาโหม ได้ตระหนักถึงความจ�ำเป็นในด้านการเตรียม ก�ำลังส�ำรองของประเทศที่ยังคงต้องมีอยู่เพื่อ เตรียมการรับสถานการณ์ความมั่นคง จึงได้มี การตรา พระราชบัญญัติจัดระเบียบป้องกัน ราชอาณาจั ก ร พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๑ จั ด ตั้ ง กรมการรักษาดินแดน โดยให้เป็นหน่วยขึ้น ตรงกระทรวงกลาโหม มีจุดประสงค์ส�ำคัญเพื่อ ท�ำการฝึกนักศึกษาวิชาทหาร ส�ำหรับเป็นก�ำลัง ส�ำรองในการทดแทนยุวชนทหารตามแนวคิด ที่ จ ะให้ มี ก ารฝึ ก วิ ช าทหารให้ แ ก่ ป ระชาชน ทั่วไป เพื่อเป็นการเตรียมการด้านก�ำลังพล ส�ำหรับสงครามในอนาคต โดยเริ่มต้นฝึกผู้ที่ จะมาเป็นผู้บัญชาการก่อน หลังจากนั้น ก็จะ ท�ำการแยกย้ายฝึกพลเมืองต่อไป จึงเกิดเป็น กิจการนักศึกษาวิชาทหารเป็นครั้งแรก โดยมี ที่ตั้งหน่วยครั้งแรกอยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการก�ำหนด ธรรมศาสตร์และการเมือง ท่าพระจันทร์ ซึง่ ต่อ หน้าที่ในอันที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาขีดความ มา ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๘ ได้ย้ายที่ตั้งหน่วย สามารถในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ เพื่อช่วย มายังพื้นที่มายังบริเวณสวนเจ้าเชตุ บริเวณ ป้องกันรักษาชาติบ้านเมืองได้ทันเวลา ซึ่งใน ตรงข้ า มวั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลารามราช ห้วงเวลาดังกล่าว ประเทศของเราต้องเผชิญ วรมหาวิหาร เลขที่ ๒ ถนนเจริญกรุง อ�ำเภอ กั บ ปั ญ หาความรุ น แรงในยุ ค ล่ า อาณานิ ค ม พระนคร จังหวัดพระนคร ซึ่งเป็นที่ตั้งหน่วย ของประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก โดยเฉพาะ ในปัจจุบันและได้ด�ำเนินกิจการเรื่อยมาตราบ ความทรงจ�ำต่อกรณี วิกฤติการณ์ ร.ศ.๑๑๒ จนปัจจุบัน โดยที่กิจการนักศึกษาวิชาทหารได้ ที่ ยั ง คงเป็ น บาดแผลอั น ใหญ่ ห ลวงในจิ ต ใจ มีการพัฒนาตามล�ำดับ และมีเยาวชนในระดับ ของประชาชนทุกคน ดังนั้น แนวพระราชด�ำริ มัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอุดมศึกษา การตั้งกองเสือป่าที่จัดได้ว่าเป็นการจัดตั้งกอง สมัครเข้ารับการฝึกศึกษาหลักสูตรนักศึกษา อาสารักษาดินแดนหรือกองก�ำลังอาสาสมัคร วิชาทหารอย่างต่อเนื่องมาตราบจนปัจจุบัน ฝ่ า ยพลเรื อ น จึ ง เป็ น แนวทางที่ จ ะช่ ว ยลด กิจการก�ำลังส�ำรองจึงเป็นกิจการที่เริ่มต้น ช่องว่างทางการทหาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ จากแนวพระราชด� ำ ริ พ ระราชทานขององค์ กิจการเสือป่ากระจายออกไปทั่วประเทศ ก็ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว จะท�ำให้มีกองก�ำลังนักรบประชาชนที่ผันกาย หรือ องค์สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ที่ทรง อยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งยังมีความช�ำนิช�ำนาญ มีพระราชวิสัยทัศน์อันยาวไกล ในการสร้าง ในท้องถิ่นที่ตนเองประจ�ำการอยู่ จึงเป็นการ ขุมก�ำลังส�ำคัญของประเทศโดยประชาชนที่มี ป้องปรามและป้องกันภัยร้ายข้าศึกในทุกพื้นที่ ความชัดเจนมากที่สุด ทั้งยัง จะเป็นทรัพยากร ของประเทศอย่างดียงิ่ และถือเป็นต้นแบบแห่ง ส�ำคัญในการช่วยเหลือและทดแทนก�ำลังทหาร ก�ำลังส�ำรองของประเทศไทย เพื่อการป้องกันประเทศและรักษาความมั่นคง ต่ อ มา ในยุ ค ภายหลั ง เปลี่ ย นแปลงการ ของชาติตั้งแต่ยามปกติ ดังนั้น ในวันที่ ๒๕ ปกครองซึ่ ง เป็ น ห้ ว งแห่ ง การเกิ ด เหตุ ก ารณ์ พฤศจิกายน ที่ก�ำลังจะเวียนมาถึงในอนาคต สงครามโลกครั้งที่ ๒ ประเทศมีความจ�ำเป็น อันใกล้นี้ ผู้เขียนจึงใคร่ขอเรียนเชิญทุกท่านได้ ที่จะต้องมีก�ำลังส�ำรองไว้ส�ำหรับการป้องกัน กรุณาร่วมกันน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ประเทศและรักษาความมั่นคงของชาติจึงเกิด ทีอ่ งค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั แนวความคิดที่จะสร้างอนุชนรุ่นใหม่ให้เป็น ทรงมีต่อประเทศชาติและปวงชนชาวไทยโดย พลเมืองทีม่ ศี กั ยภาพในด้านการปฏิบตั กิ ารทาง พร้อมเพรียงกัน ทหาร โดยการฝึกฝนทักษะทางทหาร พัฒนา จิตใจให้มีความเด็ดเดี่ยวกล้าหาญ ส�ำนึกใน หน้าที่ส�ำนึกในบุญคุณของแผ่นดิน และพร้อม ที่จะเผชิญปัญหาด้านความมั่นคงอย่างไม่เกรง กลัวสิ่งใด กอปรกับพึงต้องมีการเตรียมพลเพื่อ ขยายก�ำลังรบในยามสงคราม จึงมีการด�ำเนิน 7


"วั น ที่ ๒๐ พฤศจิ ก ายน ร.ศ.๑๒๕ เราจุฬาลงกรณ์ ปร. ได้มาเปิดโรงเรียนนี้ มีความปลืม้ ใจ ซึง่ ได้เห็นการทหารเรือ มีราก หยัง่ ลงแล้ว จะเป็นทีม่ นั่ สืบต่อไปในภายหน้า" พระราชหั ต ถเลขาพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อเสด็จมาเปิด โรงเรียนนายเรือ ทางราชการทหารเรือ จึงได้ ถือเอาวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ของทุกปีเป็น "วันกองทัพเรือ" ในสมัยก่อนยังไม่มีการแบ่งแยกก�ำลังการ รบทางเรือออกจากทางบก กระทั่งถึงรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงแบ่งแยกก�ำลังรบทั้งสองฝ่ายออกจากกัน และทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งกรมทหารเรือ ขึ้น ในสมัยนั้นยังไม่มีผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ ความช�ำนาญเฉพาะ จึงจ�ำเป็นต้องจ้างชาว ต่างประเทศเข้ามารับราชการในต�ำแหน่งต่าง ๆ อาทิ ผู ้ บั ง คั บ การเรื อ ผู ้ บั ญ ชาป้ อ มต่ า ง ๆ เนื่ อ งจากสมั ย ก่ อ นราชนาวี ไ ทยยั ง ไม่ มี น าย ทหารเรือไทยที่สามารถเดินเรือ หรือน�ำเรือ ออกสู่มหาสมุทรได้ ซึ่งชาวต่างประเทศเหล่านี ้ มิได้สอนหรือถ่ายทอดความรู้ใด ๆ แก่ลูกเรือ ไทย คงเพียงแต่ปฏิบัติหน้าที่ไปเท่านั้น เมื่อ เกิดศึกสงครามกับชาติตะวันตกด้วยกัน ก็มัก ท�ำการสู้รบไม่เต็มที่ กองทัพเรือสยามจึงไม่สู้ มีความมั่นคงเท่าใดนัก ภายหลั ง วิ ก ฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงเป็นห่วงว่า ทหารจากต่างประเทศ ที่เข้ามาประจ�ำต�ำแหน่งต่าง ๆ อาจจะมีก�ำลัง ไม่มากพอที่จะรักษาอธิปไตยของชาติได้ และ อาจจะรักษาได้ไม่ดีเท่าคนไทยด้วยกันเอง จึง ทรงมีพระประสงค์ให้จัดการศึกษาแก่ทหาร เรือไทย เพือ่ ให้มคี วามรูค้ วามสามารถมากพอที่ จะท�ำหน้าที่ต่าง ๆ แทนชาวต่างชาติได้ และได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวง ชุมพรเขตอุดมศักดิ ์ พระราชโอรส เสด็จไปทรง ศึกษาวิชาการทหารเรือยังประเทศอังกฤษซึ่ง

วันกองทัพเรือและ องค์บิดาของทหารเรือไทย นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

8

นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา


ขณะนัน้ มีพระชนมายุเพียง ๑๓ พรรษา แต่ดว้ ย น�้ำพระทัยแข็งแกร่ง ทรงตั้งพระทัยแน่วแน่ และมั่นคงในการที่จะน�ำความรู้ด้านการทหาร เรือสมัยใหม่มาพัฒนากองทัพเรือของไทยให้ เข้มแข็งและสามารถต่อสู้ป้องกันตนเองให้พ้น จากภัยคุกคามจากประเทศมหาอ�ำนาจทีม่ กั จะ รุกล�้ำอธิปไตยของสยามอยู่เป็นประจ�ำการเข้า ศึกษาวิชาการทหารเรือในประเทศอังกฤษนั้น ต้องเผชิญกับอุปสรรคนานาประการ นับแต่ ข้อก�ำหนดซึ่งห้ามนักศึกษาต่างชาติเข้าศึกษา ในโรงเรียนนายเรือของราชนาวีอังกฤษด้วย เหตุผลด้านความมัน่ คง แต่กม็ ไิ ด้ทำ� ให้พระองค์ ทรงย่อท้อ ทรงเข้าศึกษาวิชาการทหารเรือใน โรงเรียนเอกชนที่มีชื่อเสียงด้านวิชาการทหาร เรือที่แข็งแกร่ง เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้ว ได้ เข้ า รั บ การฝึ ก เป็ น นั ก เรี ย นท� ำ การนายเรื อ (Midshipman) ในเรือรบอังกฤษ หลังจากเสด็จกลับเมืองไทยทรงมีความตั้ง พระทั ย ในอั น ที่ จ ะพั ฒ นากองทั พ เรื อ ไทยให้ สามารถเกรียงไกรเทียบเท่าอารยประทศจะ ทรงเห็นว่ากิจการของทหารเรือไทยอยู่ภายใต้ การบั ง คั บ บั ญ ชาของฝรั่ ง ต่ า งชาติ ที่ ว ่ า จ้ า ง ให้มาเป็นผู้วางรากฐานกิจการทหารเรือสมัย ใหม่ แต่ทรงพบว่าฝรั่งผู้ปฏิบัติงานขาดความ ตั้งใจจริงในการพัฒนากองทัพเรือให้เป็นไป ตามพระราชประสงค์ กองทัพเรือจึงยังมิได้ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

รับการวางรากฐานอย่างมั่นคง หลักสูตรการ สอนนักเรียนนายเรือต�่ำ เมื่อเรียนจบหลักสูตร ก็ ยั ง ไม่ ส ามารถพึ่ ง ตนเองได้ ไม่ ส ามารถใช้ อาวุธสมัยใหม่ได้ โดยเฉพาะทหารเรือในขณะ นั้นเป็นหน่วยทหารที่มีศักดิ์ศรีต�่ำกว่าทหาร หน่วยอื่น จึงมักถูกน�ำไปใช้ในงานโยธา ไม่ใคร่ มีโอกาสที่จะเรียนรู้วิชาการ เมื่อทรงมีโอกาส ได้เข้าบริหารงาน จึงโปรดปรับปรุงกองทัพ เรือใหม่ในทุก ๆ ด้าน ตั้งแต่การวางหลักสูตร

การเรียนการสอนใหม่ โดยเพิ่มวิชาที่จ�ำเป็น ส�ำหรับทหารเรือที่จ�ำเป็นจะต้องเรียนรู้อย่าง เข้มข้น ยกระดับทหารเรือให้สูงขึ้นโดยเน้น หนักด้านวิทยาการสมัยใหม่ โดยจัดการศึกษา ทางยุทธศาสตร์ยุทธวิธีกระบวนรบในกองทัพ เรือตามแบบยุโรป ทรงให้ก�ำเนิดโรงเรียนนาย เรือและนายช่างกลขึ้น ทรงเป็นนายทหารเรือ คนแรกที่น�ำนักเรียนนายเรือไปฝึกหัดในต่าง ประเทศ แต่ถึงกระนั้นอุปสรรคส�ำคัญประการ

9


หนึง่ ทีท่ รงพบคือการทีไ่ ม่มผี นู้ ยิ มสมัครเข้าเป็น กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ทรงมีความ ทหารเรื อ อั น เป็ น ธรรมชาติ ข องผู ้ ที่ มิ ไ ด้ อ ยู ่ สามารถในการเดิ น เรื อ มาตั้ ง แต่ ยั ง ทรงเป็ น ใกล้ทะเล โปรดแก้ปัญหาด้วยการให้เงินเดือน นักเรียน ดังจะเห็นได้จากคราวทีพ่ ระบาทสมเด็จ นักเรียนที่สมัครเข้าเรียนและเพิ่มเงินให้ตาม พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรป ชั้นที่สูงขึ้น ท�ำให้เริ่มมีผู้สมัครเรียนเพิ่มขึ้น แต่ ครั้งแรก พระองคได้ทรงถือท้ายเรือพระที่นั่ง นักเรียนส่วนใหญ่มกั เป็นคนยากจนและนักเลง มหาจักรีด้วยพระองค์เองตั้งแต่ประเทศลังกา ทีห่ วังเงินเดือน แต่เมือ่ ได้เข้ามาเรียนแล้วทรงมี ไปจนถึ ง ยุ โ รป ดั ง ปรากฏในลายพระราช วิธีการผูกใจนักเรียนให้ตั้งใจเรียน รักและภาค หัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ภูมใิ จในสถาบันทีเ่ รียน โดยใช้ความจริงพระทัย เจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทานมาถึ ง สมเด็ จ พระศรี จริงจังในการถ่ายทอดวิชาความรู้ ปลูกฝังความ พัชรินทราบรมราชินีนาถ ดังต่อไปนี้ รู้สึกรักและภาคภูมิใจในกองทัพเรือ 10

"ในเวลาที่เขียนหนังสืออยู่นี้ อาภากรกับ หลวงสุนทรมาถึง อาภากรโตขึ้นมากและขาว ขึน้ เขามีเครือ่ งแต่งตัวเป็นมิดชิพแมนมาพร้อม แล้ว ฉันได้มอบให้อยู่ในใต้บังคับกัปตันเป็น สิทธิ์ขาด เว้นแต่วันนี้เขาอนุญาตให้มากินข้าว กับฉันวันหนึ่ง" เมื่อพระองค์เสด็จกลับมาทรงรับราชการใน กองทัพเรือ ก็ได้ทรงความสามารถในการน�ำ เรือรบ "พระร่วง" จากยุโรปมายังประเทศไทย ด้ ว ยพระองค์ เ องซึ่ ง ในเรื อ นั้ น ไม่ มี ท หารเรื อ ชาวต่างประเทศเลย นับว่าพระองค์เป็นนาย นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา


ทหารเรือไทยคนแรกที่สามารถน�ำเรือรบจาก ยุโรปมายังเอเซีย เรื่องของเรือรบหลวงพระร่วงนี้ เกิดขึ้นเมื่อ ปี ๒๔๕๗ เมื่อประชาชนชาวไทย ร่วมกัน บริจาคเงิน เพือ่ ซือ้ เรือรบมาไว้ปอ้ งกันประเทศ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชทานนามเรือรบว่า เรือรบพระร่วง ทรงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์จ�ำนวน ๘ หมื่ น บาท และมี พ ระบรมวงศานุ ว งศ์ ข้าราชการ พ่อค้าประชาชน ร่วมบริจาคเงินซือ้ เรือรบเป็นอันมาก จนได้เงินถึง ๓,๕๑๔,๖๐๔ บาท จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๓ พลเรือเอก พระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ จึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ ให้ ออกไปหาซื้อเรือรบยังทวีปยุโรป ปรากฏว่า พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทรงเลือกซื้อเรือรบที่ ประเทศอังกฤษ และทรงเลือกซือ้ เรือเรเดียนต์ ซึ่งเป็นเรือชนิดพิฆาตตอร์ปิโด อันเหมาะสม กั บ ประเทศไทย เมื่ อ ทรงซื้ อ เรื อ และตรวจ รับเรียบร้อยแล้ว ก็ทรงน�ำเรือรบล�ำนี้ ซึ่งก็ คือเรือรบพระร่วง เดินทางจากอังกฤษมาสู่ ประเทศไทย มาถึงโดยสวัสดิภาพเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๓ พระกรณียกิจของพระองค์ ที่กล่าวมาข้าง ต้นนี้เป็นเรื่องที่ทรงมีต่อกิจการของกองทัพ เรือในการวางรากฐานให้มั่นคง ส�ำหรับพระ จริยวัตรส�ำคัญอีกประการหนึ่งที่เป็นที่รักและ เคารพของทุกคนคือ ความไม่ถือพระองค์ ทรง แสดงให้ประจักษ์และซาบซึ้งในพระคุณสมบัติ ส่วนนี้ตลอดพระชนมชีพ ดังที่มีเรื่องเล่าลือ สืบมาว่า ทรงรักและเอาพระทัยใส่ชีวิตความ เป็นอยู่ของลูกศิษย์และผู้ใต้บังคับบัญชาทั้ง ในเวลาและนอกเวลางาน เล่ากันว่าครั้งหนึ่ง เวลาค�่ำขณะประทับพักผ่อนที่วังนางเลิ้ง มี ผู้วิ่งมาทูลว่า ทหารเรือชั้นผู้น้อยคนหนึ่งถูก รุมต่อยตีจากคู่ต่อสู้ที่ตลาดนางเลิ้ง เมื่อทรง รู้ข่าวก็เร่งเสด็จไปสถานที่เกิดเหตุทันที ทรง ช่วยทหารเรือผู้นั้นให้รอดจากการถูกคู่วิวาท ฟันด้วยการเอาพระองค์เข้ารับคมดาบโดยไม่ เป็นอันตราย หรือโปรดเสด็จไปสู่ขอผู้หญิงให้ ลูกศิษย์ด้วยพระองค์เองในฐานะพระอาจารย์ มิ ใ ช่ ใ นฐานะเจ้ า หรื อ โปรดให้ ตั้ ง ฌาปนกิ จ สถานส� ำ หรั บ ทหารเรื อ ขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยในการ ฌาปนกิจศพทหารเรือทุกระดับชั้นอย่างสม เกียรติยศ เป็นต้น ทรงโปรดให้ทหารเรือทั้ง หลาย เรียกพระองค์ท่านว่า เสด็จเตี่ย เพื่อตัด ความยุ่งยากในการใช้ราชาศัพท์ และทรงรัก และปกป้องทหารเรือทุกนาย จากเหตุการณ์ ต่าง ๆ เหล่านี้ได้มีการขนานนามพระองค์ท่าน ว่าเป็น "พระบิดาแห่งทหารเรือไทย" ต่อมาได้ มีการพิจารณา การใช้ค�ำราชาศัพท์ที่ถูกต้อง คือ ค�ำว่า "พระบิดา" และ "องค์บิดา "ตามที่ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ประทาน ค� ำแนะน�ำ ในการใช้ ร าชาศั พ ท์ ค�ำ ว่ า "พระ บิดา" และ "องค์บิดา" ในโอกาสที่เสด็จเป็น องค์ประธานเปิดงานเทิดพระเกียรติสมเด็จ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก และทรงแสดงปาฐกถาเรื่อง พระราช กรณียกิจของ สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ต่อ การสาธารณสุขไทย เมื่อ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึงกรณีทรงขอให้หลายวงการ เว้นใช้ ค�ำว่า "พระบิดาแห่งแพทย์ไทย" ซึ่งใช้กันมา นาน เปลี่ยนใช้ค�ำว่า "องค์บิดา" แทน ส่วน ค�ำว่า "พระอาจารย์" ใช้ส�ำหรับพระสงฆ์ เช่น พระอาจารย์ฝั้น พระอาจารย์มั่น ไม่ว่าศิษย์ จะเป็นใครก็ตาม ส�ำหรับฆราวาสนั้นจะเป็น พระอาจารย์เมื่อมีศิษย์เป็นเจ้า เช่น นาย ก. เป็นพระอาจารย์ของสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ แต่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ มิได้ เป็นพระอาจารย์ของนักเรียนนายร้อย เพราะ นักเรียนนายร้อยไม่ได้เป็นเจ้า เห็นเขาเรียก กันว่า "ทูลกระหม่อมอาจารย์" ด้วยหลักเกณฑ์ เดียวกัน การแพทย์ หรือ การสาธารณสุข ไม่ ได้เป็นเจ้า ก็ไม่น่าใช้ค�ำว่า "พระบิดา" แต่บิดา เป็นเจ้า จึงเสนอให้ใช้องค์ ดังที่ใช้กันแล้วกับ ค�ำ องค์อุปถัมภ์ องค์ประธาน ไม่ได้ใช้ พระ อุปถัมภ์ หรือ พระประธาน นอกจากนี้กรม ก�ำลังพลทหารเรือ ได้ประสานกับ คุณเศวต ธนประดิษฐ์ ที่ปรึกษาส�ำนักพระราชวัง ทราบ ว่า ค�ำว่า "พระบิดา" จะใช้เป็นค�ำราชาศัพท์ ในการเรียกพระชนกนาถของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเท่านั้น ในกรณีของบุคคลทั่วไป ที่จะยกย่องเชิดชู ให้ใช้ค�ำว่า "องค์บิดา" แทน ซึ่งจะสอดคล้องตามที่ สมเด็จพระเจ้าพี่นาง

เธอฯ ทรงแนะน�ำการใช้ราชาศัพท์ไว้ เมื่อเป็น ดังนี้ กองทัพเรือจึงมีประกาศกองทัพเรือแก้ไข ให้ใช้ค�ำว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" แทน ค� ำ ว่ า "พระบิ ด าของกองทั พ เรื อ ไทย" เมื่ อ วันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ และต่อมา ได้มีประกาศกองทัพเรือ ในการ ขานพระนามของพระองค์อย่างเป็นทางการ ให้ ใ ช้ ว ่ า "พลเรื อ เอก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวง ชุ ม พรเขตอุ ด มศั ก ดิ์ " และนี่ ก็ คื อ ที่ ม าของ พระสมัญญานามของ"องค์บิดาของทหารเรือ ไทย"

11


๑๐๐ ปี

สงครามโลกครั้งที่ ๑ หรือเกรทวอร์ สงครามที่ไม่มีวันลืม

กองประชาสัมพันธ์ ฝ่ายนโยบายและแผน องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์

12

กองประชาสัมพันธ์ ฝ่ายนโยบายและแผน องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์


นื่องจากปีนี้เป็นปีที่ครบรอบ ๑๐๐ ปี มหาสงคราม หรือสงครามโลกครั้งที่ ๑ ย้ อ นดู ว ่ า สงครามโลกครั้ ง ที่ ๑ นั้ น เกิดขึ้นและเปลี่ยนโฉมหน้าประวัติศาสตร์โลก อย่างไร เมื่อย้อนกลับไปก่อนปี ๒๔๕๗ ที่ยุโรปยังคง ไร้เสถียรภาพทางการเมืองนั้น เยอรมันนีเพิ่ง ประกาศรวมชาติ และท�ำสงครามต่อเนื่องกับ ฝรัง่ เศส จักรวรรดิออตโตมันเริม่ เสือ่ มอ�ำนาจลง จากเดิม จักรวรรดิออสเตรีย – ฮังการี วุ่นวาย จากปัญหากลุ่มชาตินิยมชาวสลาฟที่ต้องการ แยกตัวออกเป็นเอกราช และรัสเซียทีส่ นับสนุน ชาวสลาฟเหล่านั้นก็ก�ำลังเผชิญกับแรงต้าน จากกลุ่มสังคมนิยมตลอดต้นศตวรรษที่ ๒๐ ด้ ว ยเหตุ ผ ลทั้ ง หมดทั้ ง มวลนี้ จึ ง เป็ น ปั จ จั ย ที่ น�ำไปสู่จุดเริ่มต้นของมหาสงครามโลกในที่สุด วั น ที่ ๒๘ มิ ถุ น ายน ๒๔๕๗ อาร์ ค ดยุ ค ฟรานซ์ เฟอร์ ดิ น านด์ องค์ รั ช ทายาทแห่ ง จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และพระชายาถูก ลอบปลงพระชนม์บนรถเปิดประทุนระหว่าง การเดินทางเยือนกรุงซาราเยโว ในบอสเนีย หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

กระสุนสังหาร ๒ นัด ออกจากกระบอกปืน ของนายกัลป์ริโล ปรินซิป นักศึกษาหัวรุนแรง ชาวเซอร์ เ บี ย ซึ่ ง เขาผู ้ นี้ คื อ หนึ่ ง ในสมาชิ ก ขบวนการ “ยังก์บอสเนีย” ที่ต้องการประกาศ เอกราช และจัดตั้งรัฐชาวสลาฟในยุโรปใต้ โดย แยกตัวออกจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ที่ผนวกรวมอาณาจักรของพวกเขาเข้าไปอยู่ ภายใต้การปกครองเมื่อศตวรรษก่อน และแล้วสงครามโลกครั้งที่ ๑ หรือเกรท วอร์ ก็เริม่ ต้นขึน้ และนีค่ อื สงครามโลกทีเ่ ปลีย่ น โฉมหน้าการรบแบบเดิมแทบจะทุกอย่าง โดย เป็นสงครามที่มีเทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อน หลัก อันเป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น สงครามที่ ถื อ ให้ เ กิ ด องค์ ก าร ระหว่างประเทศเป็นครั้งแรก จนน�ำไปสู่การ ขึ้นสู่อ�ำนาจทางการเมืองของเผด็จการอ�ำนาจ นิยมในยุโรปในเวลาต่อมา ความหวาดระแวงทางการเมืองท�ำให้เกิด การจับมือกันระหว่างชาติมหาอ�ำนาจรัสเซีย และฝรั่งเศส ทนไม่ได้ท่ีเห็นออสเตรีย-ฮังการี เดิ น หน้ า ถล่ ม เซอร์ เ บี ย ซึ่ ง ต่ อ มามี อั ง กฤษ

และสหรัฐฯ เข้าร่วมด้วยจนได้รวมตัวกันเป็น “เดออองกองต์” หรือกลุ่มสัมพันธมิตร ขณะ ที่เยอรมันนีก็ได้ให้สัญญากับออสเตรีย-ฮังการี ไว้ว่าจะสนับสนุนการรบกับเซอร์เบีย และออต โตมัน ก็รวมตัวกันเป็น “มหาอ�ำนาจกลาง” วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๕๗ เยอรมันนีเข้า รุกรานเบลเยีย่ ม ลักเซมเบิรก์ และฝรัง่ เศส ก่อน จะเข้ายึด กรุงปารีส โดยแนวรบด้านตะวันตก เป็นการรบที่สูญเสียมากที่สุด ส่วนทางตะวัน ออก แม้ ว ่ า กองทั พ รั ส เซี ย สามารถเอาชนะ กองทัพออสเตรีย-ฮังการี ได้ในช่วงเวลาหนึ่ง ก็ตาม แต่ต่อมาก็ถูกกองทัพเยอรมันนีบีบให้ ล่าถอยออกจากโปแลนด์ในที่สุด

13


ขณะที่แนวรบทางใต้เกิดขึ้นเมื่อจักรวรรดิ ออตโตมัน เข้าสู่สงครามในเดือนสิงหาคม ซึ่ง ท�ำให้อังกฤษและฝรั่งเศส ส่งทหารอาณานิคม เข้าร่วมรบด้วยในบริเวณนี้ จนกระทัง่ อาณาจักร ออตโตมั น ล่ ม สลาย และน� ำ ไปสู ่ ก ารจั ด ตั้ ง สาธารณรัฐตุรกีของมุสดาฟา เคมเล อตาเติร์ก รัสเซียถอนตัวจากสงครามในเดือนตุลาคม ปี ๒๔๖๐ และหลังจากการรุกคืบตามแนวรบ ด้ า นตะวั น ตกของเยอรมั น นี ใ นปี ๒๔๖๑ กองทั พ สหรั ฐ ฯ ก็ ป ระกาศเข้ า ร่ ว มสงคราม ด้วย ซึ่งกองทัพสัมพันธมิตรที่มีสหรัฐฯ เป็น แรงหนุนก็สามารถผลักดันกองทัพเยอรมันนี กลับไปเป็นผลส�ำเร็จ หลังได้รับชัยชนะติดต่อ กันหลายครั้งท�ำให้เยอรมันนีตกลงหยุดยิงเมื่อ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๑ จนกลายเป็น ที่รู้จักกันในชื่อ “วันสงบศึก” และชัยชนะเป็น ของฝ่ายสัมพันธมิตร การรบรู ป แบบใหม่ ถู ก น� ำ มาใช้ ใ นการ สงคราม ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีการบิน การ ใช้อาวุธเคมีเป็นครั้งแรก ในยุทธการอีแปร์ครั้ง ที่ ๒ เยอรมันนีใช้แก๊สคลอรีน ยิงในอากาศใส่ ฝ่ายตรงข้าม ท�ำให้มีทหารเสียชีวิตเป็นจ�ำนวน มาก การใช้เรือด�ำน�้ำท�ำลายเรือส่งเสบียงของ ฝ่ายตรงกันข้าม หรือแม้กระทั่งการที่อังกฤษ ได้น�ำรถถังมาใช้ในการวิ่งฝ่าสนามเพลาะของ ข้าศึก เป็นต้น

14

เมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๑ สิ้นสุดลงมีการ ลงนามในสัญญาแวร์ซายส์ โดยเยอรมันนีต้อง ถูกปลดอาวุธเป็น ผู้จ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม แต่เพียงผู้เดียวเพราะเป็นผู้ก่อสงคราม ต้อง ยกเลิกการมีกองทัพตลอดจนต้องมีการจัดการ พรมแดนยุโรปใหม่ ส่วนนายวูดโรว์ วิลสัน ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในสมัยนั้น ได้มีการ เสนอหลัก ๑๔ ประการ ก่อนที่สงครามจะยุติ โดยสมบูรณ์ ซึ่งนับเป็นการกรุยทางสู่สันติภาพ ระหว่าง ๒ ฝ่าย จนน�ำไปสู่การจัดตั้งสันนิบาต ขึ้นในปี ๒๔๖๒ ซึ่งถือว่ามีองค์การระหว่าง ประเทศองค์การแรกของโลก ส� ำ หรั บ ประเทศไทย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระ ปรีชาสามารถพิจารณาเหตุการณ์อย่างละเอียด รอบคอบ ทรงน�ำประเทศเข้าร่วมสงครามใน วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๐ โดยประกาศเข้า ร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร อันมี ฝรั่งเศส อังกฤษ และอเมริกา เป็นการแสดงให้เห็นว่าไทยไม่ เข้าข้างฝ่ายผิดถึงแม้ว่าฝรั่งเศสกับอังกฤษจะ เคยเอาเปรียบไทยในการบีบบังคับให้ไทยยก ดินแดนให้ในอดีต เรื่ อ งนี้ ย ่ อ มเกิ ด จากพระปรี ช าสามารถ แสดงให้เห็นความชาญฉลาด รอบคอบของ องค์ พ ระประมุ ข ที่ ท รงคาดการณ์ ล ่ ว งหน้ า ได้ถูกต้อง และตัดสินพระทัยเข้าร่วมกับฝ่าย สัมพันธมิตรรบกับเยอรมันนี พระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศสงคราม กับประเทศเยอรมันนี และออสเตรีย-ฮังการี ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท การประกาศ สงครามครั้งนี้ กระท�ำเพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ แห่ ง สั ญ ญานานาประเทศ ซึ่ ง ท� ำ ไว้ โ ดยไม่ ต้องการที่จะกระท�ำศึก ต่อทางการค้าขายหรือ ต่อมนุษยชาติ หรือต่อความสงบเรียบร้อยของ โลกโดยทั่วไป หลังจากประเทศไทยได้ตัดสินใจเข้าร่วม สงครามแล้ว กระทรวงกลาโหมได้ประกาศ รับสมัครทหารอาสา ในขั้นต้นได้คัดเลือกไว้ จ�ำนวน ๑,๓๘๕ นาย จากนั้นมีการอบรมและ ทดสอบจนเหลือก�ำลังปฏิบัติการ ๑,๒๘๔ นาย จัดตั้งเป็นกองทหารอาสา ประเทศไทยได้น�ำ กองทหารที่ส่งไปร่วมรบในครั้งนี้ แบ่งเป็น ๒ กอง และ ๑ หมวดพยาบาล คือ กองบินทหาร บก (ปัจจุบัน คือ กองทัพอากาศ) มี พันตรี หลวงทยานพิฆาต (ทิพย์ เกตุทัต) เป็นผู้บังคับ บัญชา กองทหารบกรถยนต์ (ปัจจุบัน คือ กรม การขนส่งทหารบก) มี ร้อยเอก หลวงรามฤทธิ รงค์ (ต๋อย หัสดิเสวี) เป็นผู้บังคับบัญชา หมวด พยาบาล มี ร้อยตรีชุ่ม จิตต์เมตตา เป็นผู้บังคับ หมวด กองทหารดังกล่าว อยู่ในบังคับบัญชา ของพันเอก พระเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณ ประทีป) ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับกอง กอง ทหารในสงครามครั้งนี้แบ่งเป็น ๓ หน่วย คือ กองทหารบกรถยนต์ กองบินทหารบก และ

กองประชาสัมพันธ์ ฝ่ายนโยบายและแผน องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์


จากการตัดสินใจเข้าร่วมในฝ่ายสัมพันธมิตร ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศ หลายประการ การเข้าร่วมรบในสงครามครั้ง นั้น ท�ำให้ประเทศต่างๆ ในโลกโดยเฉพาะ ชาติ สั ม พั น ธมิ ต ร ยุ โ รป และอเมริ ก า ได้ รู้จักประเทศไทย เนื่องจากทหารอาสาของ ไทยที่ไปร่วมรบได้สร้างชื่อเสียงด้วยความมี ระเบี ย บวิ นั ย ที่ ดี มี ค วามกล้ า หาญและเด็ ด เดี่ ย ว ตลอดจนความมี ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ์ ที่ ดี สามารถสร้างความประทับใจให้เกิดแก่บรรดา สัมพันธมิตร ท�ำให้เกิดความชืน่ ชมประเทศไทย และทหารไทยเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังส่ง ผลให้ชาติต่าง ๆ ในยุโรป ๑๓ ประเทศ ที่เคย ท�ำสัญญาผูกมัดประเทศไทย ยอมแก้ไขสัญญา ที่ท�ำไว้เดิมโดยเฉพาะการยกเลิกอ�ำนาจศาล กงสุล ให้ชาวต่างชาติทกี่ ระท�ำผิดในประเทศมา ขึ้นศาลไทยและยังได้อิสรภาพในการก�ำหนด พิ กั ด อั ต ราภาษี ศุ ล กากร ได้ มี ก ารเปลี่ ย น ธงชาติจากธงรูปช้างมาเป็นธงไตรรงค์ ด้าน กองทหารอาสาไทยได้น�ำความรู้จากการฝึก และการปฏิบัติทางยุทธวิธีมาปรับปรุงใช้ใน กองทั พ ส่ ว นกองบิ น ทหารบกได้ จั ด ตั้ ง เป็ น กรมอากาศยานขึ้นเป็นครั้งแรก และต่อมา กองพยาบาล ทหารอาสาทั้งหมดได้กระท�ำพิธี ส�ำหรับทหารอาสาของไทย การกลับมาสู่ ได้วิวัฒนาการเป็นกองทัพอากาศในปัจจุบัน สาบานตนต่อธงไชยเฉลิมพล ณ บริเวณหน้าวัง มาตุภูมิเป็นไปอย่างอบอุ่นและสมเกียรติ กอง ส�ำหรับกองทหารบกรถยนต์ได้พัฒนาเป็นกรม สราญรมย์ และในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๔๖๑ ทหารบกรถยนต์เดินทางถึงท่าราชวรดิฐ เมื่อ การขนส่งทหารบก กองทหารอาสาได้ อ อกเดิ น ทางจากท่ า ราช วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๔๖๒ โดยพระบาทสมเด็จ วั น ที่ ร ะลึ ก ทหารอาสาสงครามโลกครั้ ง ที่ วรดิฐโดยเรือกล้าทะเล และเรือศรีสมุทร ไป พระมงกุ ฎเกล้ า เจ้ าอยู่ หัว ทรงกล่ าวต้อ นรั บ ๑ ในปี ๒๕๕๗ นี้ เป็นปีครบรอบ ๑๐๐ ปี ขึ้นเรือเอมไพร์ ซึ่งฝรั่งเศสส่งมารับที่เกาะสีชัง กองทหารอาสา เสร็จแล้วทรงผูกเครื่องราช ของการเกิดสงครามโลก องค์การสงเคราะห์ เพื่อเดินทางต่อไปยังสิงคโปร์ ลังกา สุเอช ถึง อิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดีพระราชทาน ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็น เมืองมาร์แชลล์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ ๓๐ แก่ธงไชยเฉลิมพล และพระราชทานเครือ่ งราช โอกาสส� ำ คั ญ ในการที่ จ ะท� ำ ให้ ป ระชาชน กรกฎาคม ๒๔๖๑ และเดินทางไปเข้าที่ตั้งรับ อิสริยาภรณ์แก่ทหารอาสา และอนุ ช นรุ ่ น หลั ง ได้ ร� ำ ลึ ก ถึ ง วี ร กรรมของ การฝึกก่อนส่งเข้าปฏิบัติการรบ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า ทหารไทยในสมรภู มิ ต่ า งแดนด้ ว ยการจั ด สงครามได้ยืดเยื้อระยะเวลาอันยาวนาน เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ให้มีพิธี และกิจกรรมต่าง ๆ ในวันอังคารที ่ ถึง ๔ ปี จนกระทั่งในวันที่ ๖ พฤศจิกายน อนุสาวรีย์ - ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ ๑ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ในช่วงเช้าจัดพิธี ๒๔๖๑ เยอรมันนี ได้ติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตรขอ เป็ น อนุ ส รณ์ ส ถานที่ ร ะลึ ก ถึ ง เกี ย รติ ป ระวั ติ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลทางศาสนาพุ ท ธ เพื่ อ อุ ทิ ศ ส่ ว น เจรจาสงบศึก จากนั้นในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ทหารของไทยที่อาสาเดินทางไปร่วมปฏิบัติ กุ ศ ลให้ แ ก่ ด วงวิ ญ ญาณของทหารอาสาผู ้ ๒๔๖๑ ฝ่ายสัมพันธมิตร และฝ่ายเยอรมันนีจึง การรบในทวีปยุโรป ซึ่งอนุสาวรีย์แห่งนี้ตั้งอยู่ ล่วงลับ และพิธีวางพวงมาลา ณ อนุสาวรีย์ ได้ลงนามในสัญญาสงบศึกบนรถไฟ ณ เมือง บริเวณสามเหลี่ยมทางมุมตะวันตกเฉียงเหนือ ทหารอาสา บริเวณท้องสนามหลวง พระบาท คอนเปียน ประเทศฝรั่งเศส ถึงแม้ว่ากองทหาร ของท้องสนามหลวง ฝั่งตรงข้ามโรงละครแห่ง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ อาสาของไทยจะเดินทางไปถึงประเทศฝรั่งเศส ชาติ เพื่อบรรจุอัฐิทหารหาญที่เสียชีวิตลงใน พระบรมราชินนี าถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ได้ไม่นาน สงครามยุติลง แต่ในช่วงระยะเวลา ขณะปฏิ บั ติ ก ารรบในสงครามโลกครั้ ง ที่ ๑ ให้ พลเรือเอกชุมพล ปัจจุสานนท์ เป็นผู้แทน ดั ง กล่ า ว ก็ ไ ด้ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ แ ก่ ป ระเทศ จ�ำนวน ๑๙ นาย มีพิธีบรรจุอัฐิเมื่อวันที่ ๒๔ พระองค์ ว างพวงมาลา นอกจากนี้ ยั ง มี เช่น เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๖๑ กองทหาร กันยายน ๒๔๖๒ และได้จารึกนามของผู้เสีย ผู้แทนจากส่วนราชการ หน่วยงาน สมาคม บกรถยนต์ ได้ ย กพลไปสู ่ เ ขตหน้ า แห่ ง ยุ ท ธ ชีวิตในสงครามไว้ทั้งหมด ตลอดจนกระทั่งวัน มูลนิธิ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารต่างประเทศ ตลอด บริเวณ ได้ท�ำการล�ำเลียงก�ำลังพลแก่กองทัพ เกิด วันถึงแก่กรรม และสถานที่ ถึงแก่กรรม จนทายาททหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ ๑ บกฝรั่งเศสภายในย่านกระสุนตกด้วยความ ของทุ ก คน นั บ ว่ า ล้ ว นเป็ น ผู ้ ซึ่ ง ได้ ส ละชี วิ ต มาร่วมวางพวงมาลา กล้าหาญ รัฐบาลฝรั่งเศสจึงได้มอบเหรียญตรา ถวายเป็นชาติพลี เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณของ ครัวซ์เดอแกร์ (Croix de guerre) ประดับธง ชาติไทยและกรุงสยาม รวมทั้งเพื่อรักษาความ ไชยเฉลิมพลของกองทหารบกรถยนต์เพื่อเป็น ศักดิ์สิทธิ์แห่งธรรมระหว่างประเทศให้บรรดา เกียรติยศ คนไทยทั้งหลายได้ระลึกถึงและเป็นแบบอย่าง อันดีงามสืบไป หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

15


หน้าบัน

อาคารศาลาว่าการกลาโหม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

16

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


า คารศาลาว่ า การกลาโหม ที่ ตั้ ง ตระหง่ า นทอดยาวอยู ่ เ คี ย งข้ า ง พระบรมมหาราชวั ง และเป็ น อาคารโบราณที่ ก ่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น อยู ่ เ คี ย งคู ่ ก รุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เ ป็ น เวลาถึ ง ๑๓๐ ปี (ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๗) หากพิ จ ารณาจาก รู ป แบบในเชิ ง สถาปั ต ยกรรมแล้ ว จะพบว่ า อาคารศาลาว่ า การกลาโหม เป็ น อาคารที่ มี ลั ก ษณะของสถาปั ต ยกรรมแบบคลาสสิ ค (Classicism) ในรูปแบบของสถาปนิกแอน เดรีย พาลลาดิโอ ที่เรียกว่า ศิลปะแบบพาล ลาเดียน (Palladianism) ซึ่งมีความชัดเจน มากคือ มีลักษณะผังรูปแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ล้อมรอบสนามไว้ภายใน ทั้งนี้ เพราะท�ำให้ อาคารสามารถรับแสงสว่างได้ดี โดยลักษณะ ทางกายภาพของอาคารจะเห็ น ได้ ว ่ า เป็ น อาคารขนาดสูง ๓ ชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแคบ ยาว ๔ หลังต่อกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมเกือบเป็น สี่เหลี่ยมจัตุรัส ล้อมรอบสนามขนาดใหญ่ที่มี อยู่ภายใน โดยสีของอาคารเป็นสีไข่ไก่ขั้นด้วย ขอบเสาที่มีสีขาว ทั้งนี้ ขนาดของอาคารจาก การบันทึกทราบว่าเป็นอาคารที่มีความยาว ๕ เส้น และกว้าง ๓ เส้น ๑๐ วา โดยจุดเด่นทาง สถาปัตยกรรมของอาคารศาลาว่าการกลาโหม นี้อยู่ที่มุขกลาง ที่มีลักษณะเป็นอาคารผังรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีหลังคาจั่วแบบวิหารกรีก โดย เฉพาะหน้าจัว่ นีม้ บี วั ปูนปัน้ ยืน่ ออกมาเป็นไขรา (ส่วนของหลังคาที่ยื่นจากฝาหรือจั่วออกไป) ที่รับด้วยเต้าสั้น ๆ แบบสถาปัตยกรรมแบบ คลาสสิค ซึ่งบริเวณใต้จั่วจัดท�ำเป็นโครงสร้าง คานโค้งครึ่งวงกลมต่อเนื่อง ๕ ช่วง และชั้นล่าง เป็ น เสาลอยตั ว หน้ า ตั ด กลมขนาดใหญ่ สู ง ๒ ชัน้ ตัง้ อยูบ่ นฐานเสาสูง ๖ ต้น ในระบบดอริค (Doric) ก่อขึ้นมารับมุขโครงสร้างคานโค้งของ ชั้นที่สามที่ยื่นมาจากแนวตึก อย่ า งไรก็ ต าม สิ่ ง ที่ มี ค วามโดดเด่ น เป็ น พิเศษของอาคารศาลาว่าการกลาโหมและถือ ได้ว่าเป็นสัญลักษณ์อันเป็นมงคลของมวลหมู่ ทหารทุกเหล่า ทุกนาย ที่อยู่ในสังกัดกระทรวง กลาโหม คื อ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ พ ระราชทาน ขององค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานให้แก่กระทรวงกลาโหม โดยให้ ประดิษฐาน ณ หน้าบันของมุขกลางอาคารโรง ทหารหน้าหรืออาคารศาลาว่าการกลาโหม ที่มี ลักษณะเป็นรูปจุลมงกุฎบนหมอนแพรภายใต้ รัศมีเปล่งรองรับด้วยช้างสามเศียรยืนบนแท่น สอดในจั ก ร ขนาบด้ ว ยคชสี ห ์ แ ละราชสี ห ์ เชิญพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรด้านขวาและ ด้านซ้าย เหนือชายแพรทาสีม่วงคราม มีอักษร หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

17


ตราสัญลักษณ์พระราชทานขององค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประดิษฐานบริเวณหน้าบันศาลาว่าการกลาโหม บาลีว่า วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐสาเธตุ วุฑฺฒิโย ประดับด้วยช่อดอกไม้ โดยมีรายละเอียดและ ความหมาย ดังนี้ ๑) ตราจุ ล มงกุ ฎ บนหมอนแพรปิ ด ทอง หมายถึง ศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระ เศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของ พระมหากษัตริย์ และเป็นพิจิตรเลขาประจ�ำ รัชกาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยูห่ วั ทัง้ นีเ้ พราะ พระนามาภิไธยของพระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว นั้ น คื อ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ (พระเกี้ยว) ซึ่งต่อมาได้อัญเชิญ ตราจุลมงกุฎปิดทองอยู่บนหมอนแพรสีชมพู ขึ้นเป็นพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์ ทั้งนี้ จากการสืบค้นข้อมูลทราบว่า พระราชลัญจกร ประจ�ำพระองค์ มีลักษณะเป็นจุลมงกุฎภายใต้ รั ศ มี เ ปล่ ง สี ท องประดิ ษ ฐานบนหมอนแพร สีชมพู (ซึ่งเป็นสีแห่งวันพระราชสมภพ) โดยมี ลักษณะ ดังปรากฏในภาพ

๒) รั ศ มี เ ปล่ ง เหนื อ จุ ล มงกุ ฎ หมายถึ ง พระบรมเดชานุภาพที่แผ่ไกลไปทั่วทุกทิศใน คติการปกครองแบบราชาธิปไตย ๓) ช้างสามเศียรยืนแท่นในกรอบ หมายถึง ตราสัญลักษณ์ของสยามประเทศ ๔) จักร หมายถึง ราชวงศ์จักรี ทั้งนี้มีการ บันทึกและมีการท�ำสัญลักษณ์ไว้บนผืนธง ดังนี้

จักรของราชวงศ์จักรี ๗) พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร (ฉัตร ๙ ชั้น) หมายถึง ฉัตรส�ำหรับพระมหากษัตริย์ที่ ทรงรับพระราชพิธีบรมราชภิเษกตามโบราณ ราชประเพณี

พระราชสัญลักษณ์ประจ�ำราชวงศ์จักรี

พระราชลัญจกรประจ�ำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 18

ซึ่งมีการกล่าวกันมากในเรื่องของจักรว่า จักรจะต้องเวียนตามเข็มนาฬิกา หรือเวียน ทวนเข็มนาฬิกา ที่ถูกต้องแล้ว มีการถือคติ ว่าเป็นจักรของราชวงศ์จักรีเป็นจักรของพระ นารายณ์ที่ต้องเวียนในลักษณะทักขิณาวัฏ คือ ตามเข็มนาฬิกาโดยให้คมจักรเป็นตัวน�ำทิศทาง ดังปรากฏในภาพ ๕) คชสีห์เชิญพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร หมายถึง กลาโหมซึ่งเป็นใหญ่ฝ่ายทหาร ๖) ราชสีห์เชิญพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร หมายถึง มหาดไทยซึ่งเป็นใหญ่ฝ่ายพลเรือน

สายสะพายและสั ง วาลเครื่ อ งราช อิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


สายสะพายและ สังวาลเครื่องราช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ ์ จุลจอมเกล้า

๘) ชายแพรทาสีม่วงคราม หมายถึง สาย สะพายเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ซึ่ง มีนัยว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ทรงบ�ำรุงถึงสกุลวงศ์ ผู้มีบ�ำเหน็จความ ชอบในบ้านเมืองให้สามัคคีชว่ ยกันในบ้านเมือง ๙) ช่ อ ดอกไม้ หมายถึ ง ความรุ ่ ง เรื อ ง งอกงาม ซึ่ ง สั ญ ลั ก ษณ์ นี้ ป รากฏในสายสร้ อ ยปฐม จุลจอมเกล้า ห้อยดวงตราจุลจอมเกล้า ซึ่ง แตกต่ า งกั น ตรงที่ ส ายสร้ อ ยไม่ ป ระดั บ จั ก ร จึงสันนิษฐานไว้ว่า ตราสัญลักษณ์นี้ประดิษฐ์ ขึ้นเพื่อหน่วยทหารในฐานะเป็นหน่วยงานที่ พิทักษ์รักษาราชวงศ์จักรี

หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่มีความส�ำคัญและถือ เป็นมิ่งมงคลของกระทรวงกลาโหม คือ คาถา ประจ� ำ กระทรวงหลาโหมที่ มี ค วามในภาษา บาลีว่า เชตฺวา พลตา ภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฺฒิโย อ่ า นว่ า วิ เ ชตตะวา พะละตาภู ป ั ง รั ฏ ฺ เ ฐ สาเธตุ วุฑฒิโย มีความหมายว่า ขอให้พระมหา กษัตริย์เจ้า พร้อมด้วยปวงทหารจงมีชัยชนะ ยั ง ความเจริ ญ ให้ ส� ำ เร็ จ ในแผ่ น ดิ น ซึ่ ง เป็ น คาถาที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ทรงคัดเลือกจากคาถา ๑ ในจ�ำนวน ๔ บท ซึ่งสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสังฆราช (สา ปุสฺสเทว) วัดราชประดิษฐ์ สถิ ต มหาสี ม าราม ทรงผู ก ถวายให้ เ จ้ า หมื่ น ไวยวรนาถ (จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี : เจิม แสง-ชูโต) น�ำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้า ฯ ถวายเพือ่ ทรงเลือกไว้เป็นคาถา ถือว่าเป็นคาถา ที่เป็นมิ่งมงคลแก่หน่วยทหารและเป็นมงคล แห่งแผ่นดิน ซึ่ ง ใ น เ ว ล า ต ่ อ ม า พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ ให้น�ำสัญลักษณ์ประจ�ำกระทรวง กลาโหมนี้ มาประดั บ บนกระเป๋ า คั น ชี พ ประกอบเครื่องแบบเต็มยศประจ�ำหน่วยทหาร รักษาพระองค์หลายหน่วย และให้ประดับไว้

บนแหนบคั น ชี พ ส� ำ หรั บ พระราชทานให้ แ ก่ ทหารหาญและผู้ท�ำประโยชน์แก่หน่วยทหาร รักษาพระองค์ทสี่ ำ� คัญหน่วยหนึง่ คือ กรมทหาร ราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ และล่าสุด กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ ได้ ทูลเกล้า ฯ ขอพระราชทานสัญลักษณ์นี้ท�ำเป็น เข็มส�ำหรับประดับเครื่องแบบทหารส�ำหรับ ทหารหน่วยกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค์ อีกด้วย จึงกล่าวได้ว่า สัญลักษณ์และคาถาประจ�ำ กระทรวงกลาโหม เป็นสิง่ ส�ำคัญทีม่ คี วามส�ำคัญ ต่อทหารหาญทุกคนเพราะเป็นสัญลักษณ์ที่ ได้รับพระราชทานจากองค์จอมทัพไทย ทั้ง ยังมีความหมายและเนื้อหาที่บ่งบอกให้ทหาร ทุกคนทราบถึงภาระหน้าที่อันส�ำคัญในการ ถวายงานแด่องค์พระมหากษัตริย์ในการยัง ความเจริญให้แก่แผ่นดินและประสบชัยชนะ ในการกระท�ำทุกสรรพกิจ โดยเฉพาะ สิ่งที่ เป็นความภาคภูมิใจมากที่สุขของทหารทุกคน คื อ ได้ มี โ อกาสรั บ ใช้ เ บื้ อ งพระยุ ค ลบาทและ สนองงานขององค์จอมทัพไทยอย่างเต็มก�ำลัง ความสามารถในทุ ก ภารกิ จ สมกั บ ที่ ไ ด้ รั บ อาณัติจากพี่น้องประชาชนว่าเป็น ทหารของ พระเจ้าอยู่หัว ตลอดกาล

19


๓๑ ปี

วันคล้ายวันสถาปนา ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม

พลเอก ชัยชาญ ช้างมงคล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม

20

ำนักนโยบายและแผนกลาโหมเริ่ม ต้นจากแนวคิดของ พลเอก ทวนทอง สุวรรณทัต ปลัดกระทรวงกลาโหม ในการก�ำหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนา ในการจัดหน่วย โดยมีความเห็นว่าส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม มีหน้าทีเ่ สนอความเห็น วางแผน และอ�ำนวยการ ประสานงาน และ ด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ การพิ จ ารณากลั่ น กรอง เสนอความเห็น วางแผน อ�ำนวยการ ประสาน งาน และด�ำเนินงานจากส่วนราชการต่างๆ ที่เสนอรายงานให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหมเพื่อพิจารณาตกลงใจ สั่งการ หรือ อนุมัติ แต่ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง จึงเห็นควรให้มีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ เป็นฝ่ายอ�ำนวยการหรือเป็นฝ่ายเสนาธิการ ให้กับส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหมโดยตรง โดยได้น�ำเรียนขอความเห็นชอบจากพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

กลาโหม เพื่ อ กรุ ณ าให้ ค วามเห็ น ชอบ เมื่ อ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๒๔ รวมทั้งได้ก�ำหนด แนวทางในการจัดตั้งส�ำนักนโยบายและแผน กลาโหมในขั้นต้น โดยการปรับโอน แผนกสภา กลาโหมจากกองระเบียบการ กรมเสมียนตรา และแผนกอัตราก�ำลังพลจากกองการก�ำลังพล กรมเสมียนตรา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นแผนกการ ประชุม และแผนกการจัดและอัตรา รวมทั้งจัด ตั้งแผนกเพิ่มขึ้นใหม่อีก ๓ แผนก ได้แก่ แผนก

ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม


แผน แผนกระดมสรรพก�ำลัง และ แผนกการ ศึกษารวมทั้งจัดตั้งกองนโยบายและแผนเป็น ส่วนราชการของกรมเสมียนตรา เพื่อท�ำหน้าที่ ฝ่ายอ�ำนวยการในงานด้านต่างๆ มีสว่ นราชการ ขึ้นตรงรวม ๕ แผนก ได้แก่ แผนกแผน แผนก ระดมสรรพก�ำลัง แผนกการศึกษา แผนกการ จัดและอัตราและแผนกการประชุม ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๖ พลเอก ช�ำนาญ นิลวิเศษ ปลัดกระทรวงกลาโหม ได้พิจารณา เห็นว่า กองนโยบายและแผน กรมเสมียนตรา เป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ในด้านฝ่ายอ�ำนวย การให้ กั บ ส�ำ นั ก งานปลัด กระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งมี ปริมาณงานเพิ่มขึ้นจากเดิมเป็นอันมาก และ ขาดเอกภาพในการปฏิบัติงาน จึงได้มีค�ำสั่ง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๘๐/๒๖ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๒๖ ให้ จัดตั้งส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม (อัตรา เพื่อพราง) เป็นส่วนขึ้นตรงต่อกองบังคับการ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม (ปัจจุบัน แปรสภาพเป็นส�ำนักปลัดกระทรวงกลาโหม) ให้ ท ดลองปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ฝ่ า ยเสนาธิ ก าร ของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ตั้งแต่วันที ่ ๑ พฤศจิ ก ายน ๒๕๒๖ เป็ น ต้ น ไป ส� ำ นั ก นโยบายและแผนกลาโหมจึงได้ยึดถือวันที่ ๑ พฤศจิกายน เป็นวันสถาปนาส�ำนักนโยบาย และแผนกลาโหมนับแต่นั้นเป็นต้นมา

วิสัยทัศน์ ส� ำ นั ก นโยบายและแผนกลาโหม เป็ น องค์กรน�ำในการสร้างความร่วมมือด้านความ มั่นคง พิจารณาเสนอความเห็น อ�ำนวยการ และด� ำ เนิ น งานเกี่ ย วกั บ นโยบายและแผน ยุทธศาสตร์ในระดับกระทรวง ประสานการ ปฏิบัติในการพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง และการช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ส่ ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น หน่ ว ยงานของกระทรวงกลาโหม ในการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตามรั ฐ ธรรมนู ญ เพื่ อ ให้ ป ระเทศชาติ เ กิ ด ความมั่ น คงประชาชนมี สันติสุขอย่างยั่งยืน

ภารกิจ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย อ�ำนวยการ ประสานงาน และด�ำเนินการเกี่ยวกับนโยบาย และยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นการป้ อ งกั น ประเทศ นโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารของกระทรวง กลาโหม ทัง้ ระบบการควบคุมบังคับบัญชาและ ระบบการบริหารราชการทั่วไป นโยบายและ แผนด้านการทหาร การข่าว การส่งก�ำลังบ�ำรุง การระดมสรรพก�ำลัง การต่างประเทศ การ พัฒนาประเทศ และการช่วยเหลือประชาชน และมี ห น้ า ที่ ค วบคุ ม ก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ของส่วนราชการในกระทรวงกลาโหมให้เป็น ไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่กระทรวง กลาโหมก�ำหนด การจัดท�ำและปรับปรุงแก้ไข อัตราของส่วนราชการในกระทรวงกลาโหม การฝึก การศึกษาอบรมในต่างประเทศ การ วิเทศสัมพันธ์ กิจการของสภากลาโหม การ รักษาความปลอดภัย และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย มีผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบาย และแผนกลาโหมเป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๒๗ ได้มีการประกาศ ใช้ พ ระราชกฤษฎี ก าแบ่ ง ส่ ว นราชการและ ก� ำ หนดหน้ า ที่ ข องส่ ว นราชการส� ำ นั ก งาน เลขานุ ก ารรั ฐ มนตรี แ ละส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๒๗ ให้ จั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก นโยบายและแผนกลาโหม จากเดิ ม เป็ น อั ต ราเพื่ อ พรางเป็ น อั ต ราถาวร เพื่อให้การปฏิบัติงานของส�ำนักนโยบายและ แผนกลาโหม ตามอั ต ราเพื่ อ พรางมี ผ ลงาน เป็นที่ยอมรับจากส่วนราชการต่าง ๆ และ เพื่อตอบสนองปริมาณงานที่เพิ่มมากขึ้น

หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

21


อะไร อะไร ก็ เออีซี “What is AEC? ” พันเอก อภิสิทธิ์ บุศยารัศมี

ทุกวันนี้คนพูดถึงแต่การเตรียมตัวเข้า เป็น AEC ก่อนหน้านี้ก็พูดกันทุกหน่วยงาน แม้ แ ต่ ห น่ ว ยงานความมั่ น คงผู ้ เ ขี ย นเกิ ด ความสงสัยจึงหาค�ำแปลแล้วก็คดิ ได้วา่ ไม่นา่ จะเกีย่ วกันเลย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC นี้เป็นเรื่องเศรษฐกิจ ไม่เกี่ยวกับ หน่วยงานที่ไม่ได้ท�ำงานทางเศรษฐกิจเลย แต่ เ มื่ อ ลองหาค� ำ ตอบแล้ ว ก็ ไ ด้ รู ้ ว ่ า มั น เกี่ ย วข้ อ งกั น อย่ า งไร ก่ อ นจะอธิ บ ายความ เกี่ ย วข้ อง ยกตั ว อย่ างง่ายๆ สมมติว ่าเรามี บ้านหลังใหญ่ อยู่รวมกันหลายครอบครัวสิ่ง แรกที่เราจะต้องท�ำคือความสุขสงบ ไม่มีเรื่อง ทะเลาะเบาะแว้งท�ำร้ายกันแล้วส่งภาพลงใน 22

ผมเปรียบเทียบให้พอเห็นภาพนะครับบ้าน หลังใหญ่นั้นก็คือ อาเซียนครับ บ้านที่มีคนอยู่ เกือบ ๖๐๐ ล้านคน มีประเทศรวมอยู่ ๑๐ ประเทศ รวมถึงมีทรัพยากรธรรมชาติปริมาณ มหาศาล หลั ก ของบ้ า นหลั ง ใหญ่ มี ส ามหลั ก คื อ การเมื อ ง เศรษฐกิ จ และสั ง คมการเมื อ ง เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า ASEAN Political Security Community (ASC) เศรษฐกิจ หรือ ASEAN Economic Community (AEC) และสั ง คมก็ คื อ ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) นี่ แ หละครั บ ที่ ม าของ AEC ซึ่ ง ที่ ป ระชุ ม IG แก่งแย่งสิ่งของส่วนรวม ไม่นินทาว่าร้าย อาเซียนก�ำหนดว่าในปลายปี พ.ศ.๒๕๕๘ หรือ กันแบบว่าไม่มีการเมืองภายในครอบครัว อัน ค.ศ.๒๐๑๕ เราจะรวมเศรษฐกิจเป็นหนึ่งเดียว นี้เรียก การเมือง สาระอย่างเป็นทางการของ AEC คือการมี จากนั้นสิ่งที่สองก็คือทุกครอบครัวมีข้าวกิน เป้าหมายของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเป็นตลาด ไม่อดอยาก ล�ำบาก ต้องขอแบ่งหรือเบียดเบียน และฐานการผลิตเดียว (Single Market and ครอบครัวอื่น มีคุณภาพชีวิตที่ดีเรียกว่า อยู่ดี Production Base) โดยให้มีการเคลื่อนย้าย กินดี อันที่สองนี้คือ เศรษฐกิจ สิ น ค้ า บริ ก าร การลงทุ น และแรงงานฝี มื อ สุ ด ท้ า ยคื อ คนในครอบครั ว ทุ ก คนเป็ น ภายในอาเซียนอย่างเสรีและการเคลื่อนย้าย คนที่ มี คุ ณ ภาพ มี ค วามรู ้ มี คุ ณ ธรรมรั ก ษา เงินทุนที่เสรีมากขึ้น ขนบธรรมเนียมอันดีตามศีลธรรมและความ อาเซียนตกลงกันให้เคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื เชื่ อ ทางวั ฒ นธรรมและศาสนาอั น สุ ด ท้ า ยนี้ ได้อย่างเสรีในประชาคมอาเซียน มีวิชาชีพ ๗ คือ สังคม สาขา คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี และนักส�ำรวจจบไปหนึ่ง พันเอก อภิสิทธิ์ บุศยารัศมี


มี ป รากฏให้ เ ห็ น ในเกื อ บทุ ก ประเทศ เว้ น ก็ แต่ เ วี ย ดนามซึ่ ง ได้ รั บอิ ท ธิ พ ลอย่า งมากจาก จีน แต่ก็ยังมีความเชื่อมโยงทางศาสนาพุทธ คล้ า ยกั น ไม่ น านจากการที่ เ ป็ น เมื อ งท่ า ใน ตอนใต้ของคาบสมุทร และหมู่เกาะ ศาสนา อิสลามอิทธิพลมาจากการค้าขายกับประเทศ ทางตะวั น ออกกลาง มี ก ารเรียกเจ้า ผู้ค รอง นครว่า สุลต่าน และอิทธิพลด้านนี้ยังคงอยู่ จนปัจจุบัน ยุคแห่งความเป็นโบราณสิ้นสุดลง เมื่อฝรั่งเข้ามา ยุคทีส่ อง ยุคอาณานิคม หลังจากฝรัง่ ปฏิวตั ิ อุ ต สาหกรรมทั้ ง การผลิ ต สิ น ค้ า การศึ ก ษา รวมถึงการผลิตอาวุธ การล่าอาณานิคมก็เริ่ม ขึ้ น ในทุ ก ทวี ป ทั่ ว โลกรวมถึ ง ในอาเซี ย นด้ ว ย เริ่มจากเนเธอร์แลนด์ยึดอินโดนีเซีย อังกฤษ เสาหลัก หรืออีกสองเสาหลักครับ แล้วถ้าไทย เข้าเป็น AEC แล้วมันดีหรือเสียอย่างไร? ใคร ได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์และจะอย่างไร มันเกี่ยวอะไรกับฉันด้วยล่ะ? ผมจะเล่าให้ฟัง ต่อถึงความเป็นมา เป็นอยู่ และจะเป็นไปของ อาเซียน เขียนค�ำที่ผู้อ่านอาจจะงง สรุปง่ายๆ ก็คือ เรื่องของอดีต ปัจจุบัน และเรื่องอนาคตของ อาเซี ย นครั บ ผมขอวิ เ คราะห์ ป ระวั ติ ศ าสตร์ เป็น ๓ ยุค ดังนี้ครับยุคที่หนึ่ง ยุคโบราณ ตั้งแต่ ดินแดนแถบนี้ยังเป็นอาณาจักร ไม่มีการแบ่ง เขตแดนประเทศ มีเจ้าผู้ครองนครหรือกษัตริย์ และยังปกครองในระบอบกษัตริย์อยู่ ยุคที่สอง ยุคอาณานิคม ในช่วงที่ฝรั่งล่า เมืองขึ้น มีการแบ่งเขตแดนประเทศ ยุคที่สาม ยุคประกาศเอกราช เป็นยุคหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากญี่ปุ่นเข้าบุก ยึดเอเซียอาคเนย์ ขับไล่ฝรัง่ ออกไปจากดินแดน เริ่มจากยุคโบราณก่อนนะครับ ยุคนี้เป็น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรต่าง ๆ ในแถบนี้ ตั้งแต่พุกาม หงสาวดี สุโขทัย อยุธยา ล้านนา ล้านช้าง จาม ขอม และศรีวิชัย ในยุคนี้ไม่มี เขตแดนก�ำหนดอย่างแน่ชัด อาณาจักรใดมี อ�ำนาจหรือมีความเข้มแข็งก็จะครองความเป็น เจ้าเหนือดินแดนใกล้เคียง ในยุคนั้นเป็นการ ปกครองแบบเจ้าเมืองและกษัตริย์ การสืบต่อ การปกครองทางสายเลื อ ด ความสั ม พั น ธ์ ในดินแดนที่เป็นคาบสมุทร เป็นการแย่งชิง ดินแดน ทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคล แน่นอนการด�ำเนินการดังกล่าวท�ำให้เกิดการ ถ่ายทอดทางวัฒนธรรมประเพณี และภาษา มาด้ ว ย ในยุ ค นั้ น ทางศาสนาและความเชื่ อ ได้ รั บ มาจากจี น และอิ น เดี ย เห็ น ได้ จ ากสิ่ ง ก่ อ สร้ า งจากศาสนาฮิ น ดู ใ นอาณาจั ก รขอม และหลั ก ฐานที่ ป รากฏในบาหลี ประเทศ อิ น โดนี เ ซี ย นาฏศิ ล ป์ ใ นเรื่ อ งโขนจาก มหากาพย์รามายะนะ หรือเรื่องรามเกียรติ์ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

23


ยึดสิงคโปร์ มาเลเซีย ฝรัง่ เศสยึดเวียดนาม สเปน ยึดฟิลิปปินส์ จากนั้นอังกฤษยึดพม่า ฝรั่งเศส บีบสยามยึดกัมพูชาและลาว ประเทศเดียวที่ รอดพ้นจากภัยครั้งนี้คือ ประเทศสยาม ยุคนี้ การแบ่ ง เขตแดนเป็ น ประเทศอย่ า งชั ด เจน ในบางพื้นที่และคลุมเครือในบางพื้นที่ ท�ำให้ เกิดความขัดแย้งเรื่องดินแดนจนปัจจุบัน ทุก ประเทศอยู่ภายใต้การกดขี่จากฝรั่งเป็นเวลา ยาวนาน ในขณะเดี ย วกั น ก็ รั บ อิ ท ธิ พ ลทาง วัฒนธรรมและภาษาจากฝรั่งเข้ามา เห็นได้ จากตัวอักษรของเวียดนามที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส ตัวอักษรบาซาร์ใช้ภาษาอังกฤษ การนับถือ 24

ศาสนาคริสต์ในเวียดนามและฟิลิปปินส์ ยุคนี้ สิน้ สุดลงเมือ่ สงครามโลกครัง้ ทีส่ องเริม่ ปะทุขนึ้ ยุ ค เอกราช ภายหลั ง จากญี่ ปุ ่ น ประกาศ สงครามเอเชียมหาบูรพา เข้ายึดประเทศต่าง ๆ ในแถบอินโดจีน ขับไล่ฝรั่งออกจากดินแดน นี้ ประเทศในแถบนี้เห็นว่าฝรั่งที่มายึดครอง ดินแดนต่าง ๆ ก็ไม่ได้เก่งไปกว่าชาติในเอเชีย ในช่วงนี้เองถือว่าเป็นยุคแห่งวีรบุรุษและ บิดาของประเทศต่าง ๆ เพราะหลังญี่ปุ่นแพ้ สงคราม ฝรั่งจะเข้ายึดประเทศเหล่านี้เช่นเดิม แต่วีรบุรุษและบิดาของประเทศต่าง ๆ เป็น ผู้น�ำไม่ยินยอมมีการเรียกร้องเอกราชและได้ รับอิสระในที่สุด

ทุกประเทศต่างปรับตัวที่จะปกครองตนเอง แต่ละประเทศล้มลุกคลุกคลานเหมือนเด็กเพิ่ง หัดเดิน จึงหันเข้าหาประเทศมหาอ�ำนาจในยุค นัน้ ทีม่ กี ารปกครองทีแ่ ตกต่างกัน เกิดความขัด แย้งทางลัทธิการเมืองการปกครอง และน�ำไป สู่ความไม่วางใจกันของแต่ละประเทศ จนเกิด สงครามระหว่างคนในชาติเดียวกัน เพื่อยึด ครองอ�ำนาจในการปกครองประเทศ เช่นใน เวี ย ดนาม ในลาว และในกั ม พู ช า นั บ เป็ น บทเรียนอันแสนเจ็บปวดของคนในอาเซียน และความบาดหมางไม่วางใจกัน จนปัจจุบัน ยุ ค ปั จ จุ บั น อาเซี ย นเป็ น กลุ ่ ม ประเทศที่ หอมหวานส�ำหรับชาติต่าง ๆ เหมือนสาวน้อย พันเอก อภิสิทธิ์ บุศยารัศมี


วัยแรกแย้ม ที่หนุ่ม ๆ ต่างหมายปอง ด้วย จ�ำนวนประชากรเกือบ ๖๐๐ ล้านคน รวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติจ�ำนวนมหาศาล อาเซี ย นไม่ แ ทรกแซงกิ จ การภายในของ กันและกัน ไม่ว่าพม่าจะปกครองโดยทหาร หรื อ เวี ย ดนามจะปกครองด้ ว ยคอมมิ ว นิ ส ต์ จากยุคเอกราช ก็ไม่เกี่ยวกับการเป็นอาเซียน เขตแดนในยุคอาณานิคมก็ไม่เป็นปัญหาอีกต่อ ไป อาเซียนมองย้อนกลับไปถึงการมีความเป็น จุดร่วมในอดีตเช่นเดียวกับในยุคโบราณ เรียก เป็นภาษาง่าย ๆ ว่า แสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง นั่นแหละครับ ทั้งนี้ มีบทวิเคราะห์อนาคตหลังจากที่ไทย เข้าร่วม AEC มีข้อดีดังนี้ เรื่องแรก คือ การขนส่งและการท่องเที่ยว ไทยได้ เ ปรี ย บเรื่ อ งการขนส่ ง และท่ อ งเที่ ย ว เพราะอยู่ในท�ำเลที่เป็นศูนย์กลางของอาเซียน เรื่องที่สอง คือ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจของไทย ขยายตัว เพราะการเปิดเสรีด้านการค้า และ ประชากรอาเซียน ๑๐ ประเทศ รวมทั้งการ รวมกลุ่ม อาเซียน +๓ คือเกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น และการรวมกลุ่มอาเซียน +๖ คือเกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวม อยู่ในตลาดเดียวกัน เรื่ อ งที่ ส าม เรื่ อ งความรู ้ แ ละเทคโนโลยี ประเทศในอาเซียนต่างฝ่ายต่างได้รบั ประโยชน์ จากการแลกเปลี่ ย นความรู ้ แ ละเทคโนโลยี ระหว่างกัน เรื่องที่สี่ คือ ความเจริญครอบคลุมมากขึ้น จากการพัฒนาถนนเชื่อมต่อภูมิภาค เรื่องที่ห้า คือ ราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ถูกลง จากการน�ำเข้าวัตถุดิบปลอดภาษี และ การน�ำเข้าสินค้าเกษตรราคาถูกจากประเทศ สมาชิก เรื่องที่หก ผู้ประกอบการไทยสามารถย้าย ฐานการผลิตไปยังประเทศสมาชิกทีมีค่าแรง ถูกกว่าได้เพื่อลดต้นทุน เหรี ย ญมี ส องด้ า นเสมอ คราวนี้ เ รามาดู ข้อเสียบ้างดีกว่า เรื่องที่หนึ่งคือพลเมืองไทยที่อ่อนด้วยภาษา อังกฤษ จะหางานท�ำยากขึ้น เรื่ อ งที่ ส อง คื อ แรงงานต่ า งด้ า วแย่ ง ใช้ บริ ก ารพื้ น ฐานต่ า งๆ กั บ คนไทย เช่ น โรง พยาบาล ไฟฟ้า ประปา และเรื่ อ งที่ ส าม คื อ มี ป ั ญ หายาเสพติ ด อาชญากรรม ปัญหาสังคม และสิ่งแวดล้อม เพิ่ ม ขึ้ น จากการเปิ ด ด่ า นชายแดนที่ เ ดิ น เข้าออกสะดวก และประชากรไม่รู้ธรรมเนียม และกฎหมายไทย ของพลเมืองอาเซียนชาติอนื่ ข้อดีหกข้อ กับข้อเสียสามข้อ ลบกันได้ ข้อดีสามข้อ แสดงว่าเราได้เปรียบเมื่อเข้าร่วม อาเซียน หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

ผิดครับ ไม่ใช่หลักคณิตศาสตร์หรอกครับ เราไม่รู้ว่ามูลค่าที่วัดได้เป็นตัวเงินจากข้อดี กับ รายจ่ายที่เราต้องใช้ในการดูแลในข้อเสียมีมาก แค่ไหน คงยังตอบไม่ได้อย่างชัดเจน เราถอยไปไม่ได้ ต้องเรียนรู้และยอมรับมัน เพื่อให้สามารถด�ำรงตนอยู่ในอาเซียนให้ได้ อย่างมีความสุข และปลอดภัยครับ 25


บทบาทด้าน ความมั่นคงของ รัสเซียในอาเซียน พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ

รั

สเซียเป็นประเทศทีม่ บี ทบาทโดดเด่น ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มา นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อเนื่องจนถึงโลกยุคสงครามเย็น ซึ่งขณะนั้น รัสเซียยังคงเป็น “สหภาพโซเวียต” หนึ่งใน สองขั้วมหาอ�ำนาจของโลก แต่เมื่อสหภาพ โซเวียตล่มสลายลงในปี พ.ศ.๒๕๓๔ พร้อม ๆ กั บ การเคลื่ อ นตั ว ของสั ง คมโลกจากยุ ค หลั ง สงครามเย็นเข้าสู่ยุคแห่งการก่อการร้าย ท�ำให้ บทบาทของรัสเซียในภูมิภาคแห่งนี้ลดลงอย่าง เห็นได้ชัด อิทธิพลทางการเมืองและการทหาร ทีย่ งิ่ ใหญ่ในอดีต ถูกแปรเปลีย่ นมาเป็น “พ่อค้า

26

อาวุธสงคราม” ที่ขายอาวุธยุทโธปกรณ์ให้กับ ประเทศต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทาง ทหารอย่างขนานใหญ่ เวียดนามเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ที่รัสเซียหรือสหภาพโซเวียต เคยมีอิทธิพลครอบง�ำทางการเมืองและการ ทหารอย่ า งมาก โดยเฉพาะในช่ ว งสงคราม เวียดนาม และช่วงสงคราม “ตัวแทน” อัน เนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างโลกเสรีและ โลกคอมมิวนิสต์ในอินโดจีนอันยืดเยื้อยาวนาน จนเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายลง พร้อม ๆ กับการผละออกจาก “ปลักตมสงคราม” ของ เวี ย ดนาม เพื่ อ หั น ไปพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ตาม นโยบาย “โด๋ ย เหม่ ย ” ก็ ยิ่ ง ท� ำให้ บทบาท ในการชี้น�ำด้านความมั่นคงของรัสเซียลดลง เรื่อย ๆ อย่างไรก็ตามในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา จีนได้แผ่ขยายอ�ำนาจเข้าสู่พื้นที่ทะเลจีนใต้ อั น อุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยก๊ า ซธรรมชาติ แ ละ น�้ำมันดิบจ�ำนวนมหาศาล เพื่อแสวงหาแหล่ง พลั ง งานใหม่ ใ นการพั ฒ นาประเทศ ส่ ง ผล ให้ เ วี ย ดนามกลายเป็ น คู ่ ขั ด แย้ ง กั บ จี น ใน พื้นที่ที่มีการอ้างกรรมสิทธิทับซ้อนหลายแห่ง เช่น หมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลี เป็นต้น เวียดนามจึงจ�ำต้องมีการสะสมอาวุธ ยุทโธปกรณ์อย่างขนานใหญ่เพื่อมุ่งถ่วงดุลย์

อ�ำนาจกับจีน สถานการณ์ดงั กล่าวท�ำให้รสั เซีย กลายเป็นแหล่งจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ชั้นดี ที่มีราคาสมเหตุสมผลแก่เวียดนาม โดยเฉพาะ อย่างยิง่ การทีเ่ วียดนามสัง่ ซือ้ เรือด�ำน�ำ้ พลังงาน ดีเซลชั้น “กิโล” (Kilo) จ�ำนวนถึง ๖ ล�ำ มูลค่า กว่า ๑,๘๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ จากรัสเซีย เรือด�ำน�้ำดังกล่าวนับเป็นเรือด�ำน�้ำที่ทันสมัย ที่ สุ ด ชนิ ด หนึ่ ง ของรั ส เซี ย ถู ก ออกแบบให้ มี ภารกิ จ ในการครองน่​่ า นน�้ ำ โดยมี ขี ด ความ สามารถ “ล่าเรือด�ำน�้ำ” และ “ท�ำลายเรือ ผิ ว น�้ ำ ” ของข้ า ศึ ก ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เรือด�ำน�้ำชุดแรกแรกคือ เรือ “ฮานอย” และ “โฮจิมินห์ซิตี้” มีการส่งมอบให้กับกองทัพเรือ เวียดนามเมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ และต้นปี พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมาตามล�ำดับ รวมทั้งจะส่ง มอบเรือด�ำน�้ำล�ำที่สามคือ เรือ “ไฮ ฟอง” ใน ปลายปี พ.ศ.๒๕๕๗ นี้ ส่วนเรือด�ำน�้ำที่เหลือ คือ "ดา นัง”, “คานห์ หัว” และ “บา เรีย-วัง เทา” จะท�ำการส่งมอบต่อไปภายใน ๒ ปีข้าง หน้า อีกทั้งเวียดนามยังร่วมกับรัสเซียพัฒนา ฐานทั พ เรื อ ที่ อ ่ า วคั ม รานห์ ข องตน เพื่ อ ใช้ เป็นฐานทัพส�ำหรับเรือด�ำน�้ำทั้ง ๖ ล�ำอีกด้วย ภายใต้เงื่อนไขที่กองเรือของรัสเซียสามารถใช้ ฐานทัพเรือดังกล่าวได้ตลอดเวลา นอกจากการจัดซือ้ เรือด�ำน�ำ้ และการพัฒนา ฐานทัพเรือร่วมกับรัสเซียแล้ว ในด้านอาวุธ พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ


ท�ำให้รัสเซียหวนกลับมายังภูมิภาคตะวันออก แห่งนี้ ..” อย่างไรก็ตามจีนตระหนักดีวา่ ณ เวลานี้ ตน ยังไม่มคี วามพร้อมทีจ่ ะเผชิญหน้ากับรัสเซีย จึง พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น ด้วยการหันไปกระชับความสัมพันธ์กับรัสเซีย โดยอาศัย “อ�ำนาจทางเศรษฐกิจ” ของจีนที่มี ขนาดใหญ่เป็นอันดับ ๒ ของโลกเป็นเครื่องมือ ส่งผลให้มีการลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ ด้านก๊าซธรรมชาติมูลค่ากว่า ๔๐๐,๐๐๐ ล้าน ดอลล่าห์สหรัฐฯ กับบริษัท “แกซพรอม” ของ รัสเซีย ข้อตกลงดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงนัย ส�ำคัญทางการเมืองและทางยุทธศาสตร์ด้าน อื่ น ๆ กองทั พ เวี ย ดนามยังจัด ซื้อเครื่องบิน พลังงานของทั้งสองประเทศ ที่แปรสภาพเป็น ขับไล่ประสิทธิภาพสูง ๒ ทีน่ งั่ และ ๒ เครือ่ งยนต์ คู่ค้าทางพลังงานที่ส�ำคัญต่อกัน เนื่องจากใน ของรัสเซียแบบ ซุคคอย ซู-๓๐ เอ็มเค ๒ เพิ่ม สัญญาฉบับนี้รัสเซียมีพันธะที่จะต้องส่งก๊าซ ขึ้นอีกจ�ำนวน ๑๒ ล�ำคิดเป็นมูลค่า ๖๐๐ ล้าน ธรรมชาติให้จีน ปีละ ๓๘,๐๐๐ ล้านลูกบาศก์ เหรียญสหรัฐฯ หลังจากที่เวียดนามเคยสั่งซื้อ เมตร เป็นเวลายาวนานถึง ๓๐ ปี และที่ส�ำคัญ เครื่องบินรุ่นนี้มาแล้ว ๒ ครั้ง จ�ำนวน ๒๐ ล�ำ คือการซื้อขายครั้งนี้ ทั้งจีนและรัสเซียได้ร่วม ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ และ พ.ศ.๒๕๕๓ ซึ่งท�ำให้ กันท้าทายมหาอ�ำนาจสหรัฐฯ ด้วยการยกเลิก ปัจจุบันเวียดนามมีฝูงบิน ซู-๓๐ เป็นจ�ำนวน การใช้เงินสกุลดอลล่าห์สหรัฐฯ และหันมา ถึง ๓ ฝูง รวมทั้งรัสเซียยังให้เวียดนามกู้ยืมเงิน ใช้เงินสกุลหยวนของจีน เงินสกุลยูโรและเงิน จ�ำนวน ๘ พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อพัฒนา รูเบิลของรัสเซียแทน โรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แห่งแรกของ ไม่ เ พี ย งแต่ จี น ได้ ส ร้ า งพั น ธะทางด้ า น ประเทศอีกด้วย พลังงานกับรัสเซียเท่านั้น จีนยังหันมาพัฒนา นอกจากนี้ เ วี ย ดนามยั ง น� ำ รั ส เซี ย เข้ า มา ความสัมพันธ์ด้านการทหารกับรัสเซียอีกด้วย เป็นคู่ขัดแย้งโดยตรงกับจีน โดยเฉพาะการ โดยเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่าน ลงนามในสั ญ ญาโครงการพั ฒ นาแหล่ ง ก๊ า ซ มา กองทัพเรือจีนได้ท�ำการฝึกซ้อมทางทะเล ธรรมชาติในทะเลจีนใต้นอกชายฝั่งเวียดนาม กั บ กองทั พ เรื อ รั ส เซี ย บริ เ วณทะเลเหลื อ ง จ�ำนวน ๒ โครงการกับบริษัท “แกซพรอม” ของเมื อ งชานตงในทะเลจี น ตะวั น ออกเป็ น (Gazprom) ของรัฐบาลรัสเซีย พื้นที่สัมปทาน เวลา ๑ สัปดาห์ ภายใต้ชื่อรหัส “Joint Sea นั้นเป็นพื้นที่ใกล้เคียงกับพื้นที่พิพาทกับจีน ข้อ 2014” โดยในการฝึกครั้งนี้ยุทโธปกรณ์ของจีน ตกลงดังกล่าวท�ำให้รัสเซียได้รับสัมปทานก๊าซ ประกอบด้วย เรือรบจ�ำนวน ๖ ล�ำ เรือด�ำน�้ำ ๒ ธรรมชาติจ�ำนวนร้อยละ ๔๙ ของพลังงานที่ ล�ำ เครื่องบิน ๙ ล�ำ และเฮลิคอปเตอร์อีก ๖ ล�ำ มีอยู่ในพื้นที่สัมปทานและก๊าซอัดแน่นอีกกว่า ส่วนยุทโธปกรณ์ของรัสเซียนั้นน�ำโดย เรือลาด ๒๕ ล้านตัน อาจกล่าวได้ว่าเวียดนามได้ท�ำการ ตระเวน "วาร์ยคั " ซึง่ เป็นเรือธงติดขีปนาวุธข้าม เสนอผลประโยชน์ทางทะเลจ�ำนวนมหาศาล ทวีปของกองเรือรัสเซียภาคพื้นแปซิฟิค และ ให้กับรัสเซีย เพื่อมุ่งหวังให้รัสเซียเข้ามาร่วม ปกป้องดินแดนข้อพิพาทและเผชิญหน้ากับ จีนแทนตนเอง ความร่วมมือระหว่างเวียดนามและรัสเซีย ดังกล่าวกลายเป็นสิ่งที่น่าวิตกกังวลส�ำหรับจีน จนกระทั่งบทบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ “โกลบอล เดย์ล่ี” ซึ่งเป็นสื่อของรัฐบาลจีนได้ วิจารณ์ความร่วมมือครั้งนี้สรุปได้ว่า “.. ความ ร่วมมือทัง้ หมดก้าวหน้าไปไกลเกินกว่าขอบเขต ของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ มันก้าวล่วง เข้าไปสู่ขอบเขตของการเมืองและความมั่นคง อย่างเห็นได้ชัด .. รัสเซียต้องการพัฒนาความ สัมพันธ์ด้านยุทธศาสตร์กับเวียดนาม ความ ส�ำคัญของทะเลจีนใต้ส�ำหรับรัสเซียนั้น มิได้มี เพียงแต่ทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ เท่ า นั้ น แต่ ยั ง เป็ น จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ส� ำ คั ญ ที่ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

เรือพิฆาต “บริสตรี” พร้อมด้วยเรือต่อต้่าน เรือด�ำน�้ำขนาดใหญ่, เรือยกพลขึ้นบกและเรือ สนับสนุนรวมทั้งหมด ๖ ล�ำ เฮลิคอปเตอร์ ๒ ล�ำและชุดคอมมานโดของหน่วยนาวิกโยธิน รัสเซียอีกจ�ำนวนหนึ่ง จะเห็นได้ว่าการฝึกดัง กล่าวเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาความ เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของรัสเซียและจีน ในระดับทีส่ ำ� คัญ แม้ทงั้ จีนและรัสเซียจะปฏิเสธ ว่าตนไม่ได้เป็นพันธมิตรทางทหารกันก็ตาม จึง อาจกล่าวได้ว่าการ “เดินหมาก” ด้านความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศของจีนและเวียดนาม ในการดึ ง รั ส เซี ย เข้ า มาเป็ น คู ่ ก รณี ใ นพื้ น ที่ พิพาทในทะเลจีนใต้นั้น เป็นไปอย่างเข้มข้น จนต้องจับตามองกันอย่างใกล้ชิดเลยทีเดียว ส�ำหรับความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียและ มาเลเซี ย นั้ น จั ด ได้ ว ่ า อยู ่ ใ นระดั บ ที่ น ่ า สนใจ เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะการที่ทั้งสองประเทศ ต่างมีแนวความคิดในลักษณะ “คู่ขนาน” กับ สหรัฐฯ และโลกตะวันตกอยู่เสมอ ส่งผลให้ ทั้งมาเลเซียและรัสเซียกลายเป็น “พันธมิตร ทางความคิ ด ” ไปโดยปริ ย าย โดยเฉพาะ เหตุ ก ารณ์ เ ครื่ อ งบิ น สายการบิ น มาเลเซี ย แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่เอ็มเอช-๑๗ ถูกยิงตกใน ยูเครนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่าน มา ซึ่งสื่อมวลชนในมาเลเซีย เช่น หนังสือพิมพ์ “นิวสเตรทส์ ไทม์” มีการเสนอข่าวว่าผู้โจมตี เครื่องบินโดยสารล�ำดังกล่าวคือเครื่องบินรบ ของ “กองทัพยูเครน” ที่เป็นผู้ยิงอาวุธปล่อย น� ำ วิ ถี แ บบอากาศสู ่ อ ากาศใส่ เ ครื่ อ งบิ น ของ มาเลเซีย และกล่าวหาว่าสหรัฐฯ และยุโรป ตะวันตกคือผู้สนับสนุนกองทัพยูเครนมาโดย ตลอด ซึง่ สอดคล้องกับสือ่ ของรัสเซียทีป่ ระโคม ข่าวว่าองค์กรข่าวกรองกลางของสหรัฐฯ หรือ ซีไอเอ เป็นผู้อยู่เบื้องหลังโศกนาฏกรรมครั้งนี้ แม้กระแสข่าวอีกด้านหนึ่งจากสหรัฐฯ และ ตะวันตกจะระบุว่าผู้ลงมือยิงคือ “กลุ่มกบฏ” ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียก็ตาม

27


นอกจากการมี แ นวคิ ด ที่ ต รงกั น เกี่ ย วกั บ สหรัฐฯ และโลกตะวันตกแล้ว มาเลเซียยังมอง รัสเซียว่าเป็นแหล่งจ�ำหน่ายอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้กับกองทัพของตนเองมาโดยตลอด เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๘ กองทัพอากาศมาเลเซียได้สั่งซื้อ เครื่องบินขับไล่ที่มีสมรรถนะสูงชนิดหนึ่งของ โลกในขณะนั้นคือ มิก-๒๙ เอ็น/เอ็นยูบี จาก รัสเซียจ�ำนวน ๑๘ ล�ำ แบ่งเป็นแบบที่นั่งเดียว จ�ำนวน ๑๖ ล�ำและแบบสองที่นั่งอีก ๒ ล�ำ เพื่อ แสดงความเป็นเจ้าอากาศเหนือน่านฟ้าเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องจากเครื่องบินชนิดนี้ พัฒนาขึ้นมาเพื่อต่อต้านเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ-๑๕ อีเกิลและแบบเอฟ-๑๖ ฟอลคอนของ สหรัฐฯ ที่ประจ�ำการอยู่ในกองทัพอากาศของ ประเทศเพื่อนบ้าน แต่ ใ นปั จ จุ บั น เครื่ อ งบิ น รบรุ ่ น นี้ ข อง มาเลเซียประสบปัญหาพอสมควร และยังคง เหลือประจ�ำการอยู่เพียง ๑๐ ล�ำ โดยประจ�ำ การที่ฝูงบินขับไล่ที่ ๑๙ ณ ฐานทัพอากาศกวน ตัน สุลต่าน อาเหม็ด ชาห์ ในรัฐปะหัง เนือ่ งจาก ประสบอุบัติเหตุตกไป ๒ ล�ำคือหมายเลข เอ็ม ๔๓-๑๗ ตกเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๑ ส่วนอีกล�ำคือหมายเลข เอ็ม ๔๓-๐๗ ตกเมื่อ วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๗ นอกจากนี้ ยังมีปัญหาด้านเครื่องยนต์จนถูกปลดประจ�ำ การไปอีก ๖ ล�ำ ส�ำหรับเครื่องบินที่เหลือนั้น คาดว่าจะปลดประจ�ำการในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ปัจจุบนั กองทัพอากาศมาเลเซียยังมีโครงการที่ จะจัดซื้อเครื่องบินแบบ ซุคคอย ซู-๓๐ เอ็มเค เอ็ ม จากรั ส เซี ย เข้ า มาทดแทนเครื่ อ งบิ น รุ ่ น ดังกล่าวอีกด้วย นอกจากมาเลเซี ย จะมองรัสเซียในฐานะ “พ่อค้าอาวุธสงคราม” แล้ว ยังมองว่ารัสเซีย เป็นประเทศที่มีศักยภาพและเทคโนโลยีขั้นสูง สามารถเป็นผู้ให้การสนับสนุนวิทยาการสาขา ต่าง ๆ แก่ตนได้โดยไม่ต้องพึ่งพาวิทยาการ ของสหรั ฐ ฯ และโลกตะวั น ตก ดั ง เช่ น เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๕๐ องค์การด้านอวกาศแห่งชาติ

28

ของมาเลเซียได้ส่งนักบินอวกาศคนแรกของ ประเทศคือ ชีค มุสซาฟาร์ ชูคอร์ เดินทาง ไปรับการฝึกด้านอวกาศที่กรุงมอสโคว์ เมือง หลวงของรัสเซีย ในโครงการ “อังกาซาวัน” (Angkasawan) ร่วมกับองค์กรสหพันธ์อวกาศ แห่งรัสเซีย ก่อนที่จะประสบความส�ำเร็จใน การน�ำเซลล์มะเร็ง เชื้อแบคทีเรียและโปรตีน ขึ้นไปท�ำการศึกษาในอวกาศในที่สุด ในส่ ว นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรั ส เซี ย กั บ อิน โดนีเซี ย นั้ น ถื อ ได้ ว ่ า แนบแน่ น พอสมควร โดยเฉพาะในช่ ว งที่ อิ น โดนี เ ซี ย ถู ก สหรั ฐ ฯ คว�่ำบาตรทางการค้าและการจ�ำหน่ายอาวุธ ยุทโธปกรณ์ สืบเนื่องมาจากกรณีการละเมิด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในติ ม อร์ ต ะวั น ออกในช่ ว งปี พ.ศ.๒๕๔๒ ท�ำให้อินโดนีเซียต้องหันมาสั่งซื้อ อาวุธจากรัสเซีย แม้ปัจจุบันสหรัฐฯ จะหัน มากระชับความสัมพันธ์กับอินโดนีเซียจนอาจ กล่าวได้ว่า อินโดนีเซียกลายเป็น “ที่รักของ อเมริกัน” (American darling) ไปแล้วในยุค ของประธานาธิบดี บารัก โอบาม่า ก็ตาม แต่ จ ากประสบการณ์ ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ อินโดนีเซียตระหนักดีว่า การฝากชะตากรรม ไว้กับมหาอ�ำนาจเพียงชาติเดียวนั้น เป็นสิ่ง ที่ไม่สมควรกระท�ำเป็นอย่างยิ่ง อินโดนีเซีย

จึงยังคงพัฒนาความสัมพันธ์กับรัสเซียอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านการทหาร ซึ่งในงาน “อินโด ดีเฟนซ์ เอ็กซ์โป & ฟอรั่ม” ที่จัดขึ้นใน อินโดนีเซียช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๕ นายเปอร์โนโม ยุ ส เกี ย นโตโร รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอิ น โดนี เ ซี ย ในขณะนั้น ได้เชื้อเชิญให้รัสเซียเข้ามามีส่วน ร่วมโดยตรงในการพัฒนากองทัพอินโดนีเซีย ซึ่งท�ำให้แผนการพัฒนากองทัพอินโดนีเซียใน ขณะนี้ประกอบไปด้วยการจัดซื้อยุทโธปกรณ์ จากรัสเซียจ�ำนวนมาก เช่น รถถัง เรือฟริเกต เรือคอร์เวต เรือเร็วโจมตีติดอาวุธปล่อยน�ำ วิถี เรือด�ำน�้ำ และเครื่องบินขับไล่สมรรถนะ สูงแบบ ซุคคอย ซู-๓๐ เป็นจ�ำนวนถึง ๖๔ ล�ำ เครื่องบินฝึกและโจมตีขนาดเบาแบบ ยัค๓๐ อีก ๑๖ ล�ำ ภายหลังจากที่รัสเซียเคยขาย เครื่องบินรบตระกูล ซู-๒๗ และ ซู-๓๐ ให้กับ อินโดนีเซียมาแล้ว ๑๖ ล�ำ นอกจากนี้ยังมีการ สั่งซื้อเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอ็มไอ ๓๕, เอ็มไอ ๑๗, รถทหารราบแบบ บีเอ็มพี-๓ เอฟ, รถสายพานล�ำเลียงพลแบบ บีทีอาร์-๘๐เอ และปืนไรเฟิลแบบ เอเค-๑๐๒ จากรัสเซียอีก จ�ำนวนหนึ่ง ล่าสุดประธานาธิบดีโจโก วิโดโด ซึ่งเพิ่ง เข้ารับต�ำแหน่งเมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่าน มา ได้เปิดเผยว่าอินโดนีเซียก�ำลังพิจารณา ที่จะจัดซื้อเรือด�ำน�้ำชั้น “กิโล” รุ่นปรับปรุง ใหม่จากโครงการ ๖๓๖ (Project 636) ของ รัสเซีย ซึ่งเป็นโครงการเดียวกับเรือด�ำน�้ำของ เวียดนามที่สั่งซื้อจากรัสเซีย แต่เรือด�ำน�้ำรุ่นที่ อินโดนีเซียสนใจนั้น คาดว่าจะมีระบบโซน่าร์ ที่ ทั น สมั ย กว่ า ของเวี ย ดนาม โดยจะพั ฒ นา จากแบบ เอ็มจีเค-๔๐๐ อี เป็นรุ่น เอ็มจีเค๔๐๐ อีเอ็ม นอกจากนี้อินโดนีเซียยังได้รับ ความช่วยเหลือในการพัฒนาและจัดหาระบบ ขีปนาวุธน�ำวิถีต่อสู้อากาศยานระยะไกลจาก รัสเซียเพื่อใช้ในระบบป้องกันภัยทางอากาศ ของอินโดนีเซียอีกด้วย พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ


ทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับ ฟิลิปปินส์นั้น แม้จะไม่ได้เน้นความช่วยเหลือ ด้านการทหาร เนือ่ งจากฟิลปิ ปินิ ส์เป็นประเทศ ที่ เ ป็ น พั น ธมิ ต รใกล้ ชิ ด กั บ สหรั ฐ ฯ มาตั้ ง แต่ อดี ต และปั จ จุ บั น ได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ด้ า น อาวุธยุทโธปกรณ์จากสหรัฐฯ อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามรัสเซียก็พยายามพัฒนาความ สั ม พั น ธ์ กั บ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ผ ่ า นภารกิ จ การช่ ว ย เหลื อ ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและการบรรเทาภั ย พิบัติ โดยเฉพาะเมื่อครั้งที่ฟิลิปปินส์ได้รับผล กระทบอย่างรุนแรงจากพายุไต้ฝุ่น “ไห่เยี่ยน” หรือที่ชาวฟิลิปปินส์เรียกว่าพายุ “โยลันดา” (Yolanda) เมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ รัสเซีย ได้ส่งเครื่องบินล�ำเลียงขนาดใหญ่แบบ อิลยู ชิน-๗๖ จ�ำนวน ๒ ล�ำ บรรทุกสิ่งของบรรเทา ทุกข์ เช่น อาหารกระป๋อง น�้ำตาลและยารักษา โรคจ�ำนวนกว่า ๕๖ ตันไปยังเมืองเซบู เพือ่ ช่วย เหลือผู้ประสบภัยอีกด้วย ในด้ า นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรั ส เซี ย กั บ พม่านั้น ในช่วงที่พม่าถูกกล่าวหาจากสหรัฐฯ และโลกตะวันตกว่าเป็นหนึ่งในสามรัฐอักษะ แห่งความชั่วร้าย คือ อิหร่าน เกาหลีเหนือ และพม่า ส่งผลให้พม่าต้องหันไปใกล้ชิดกับ จีนและรัสเซีย จนได้รับความช่วยเหลือจาก ทั้ ง สองประเทศอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะ การพัฒนาระบบพลังงานนิวเคลียร์นั้น เมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๔๓ มีกระแสข่าวว่ารัฐบาลทหาร ของพม่าได้ประกาศที่จะพัฒนาระบบพลังงาน หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

นิวเคลียร์ขึ้นในประเทศบริเวณเมือง “พิน อู วิน” (Pyin Oo Lwin) หรือเมือง “เมเมี้ยว” เดิ ม โดยได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จากรั ส เซี ย และเกาหลีเหนือ กระแสข่าวนี้ถูกยืนยันจาก เหตุการณ์นายทหารนักเรียนทุนของกองทัพ พม่าที่ก�ำลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ และการพั ฒ นาขี ป นาวุ ธ ติ ด หั ว รบนิ ว เคลี ย ร์ จ�ำนวน ๒ นาย ถูกไล่ออกจากมหาวิทยาลัย บาวแมน (Bauman University) ในกรุ ง มอสโคว์ เนื่องจากกระท�ำผิดกฎด้วยการดื่ม สุราภายในหอพัก อย่างไรก็ตามภายหลังจาก การเดินทางไปเยือนพม่าของประธานาธิบดี บารัก โอบาม่าแห่งสหรัฐฯ ธรรมชาติทางการ เมืองและการทหารของพม่าก็เปลี่ยนแปลงไป มีการผ่อนปรนตามแนวทางของโลกตะวันตก มากขึ้น เพื่อให้ได้มาซึ่งการยอมรับและเพื่อ หวนกลับเข้าสู่สังคมโลก โดยเฉพาะโครงการ พัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ที่สหรัฐฯ กังวลใจ เป็นอย่างมาก ทั้งนี้จากการประชุม “เสวนา แชงกรี - ลา” (Shangri-la Dialogue) ณ ประเทศสิงคโปร์เมื่อ วันที่ ๑-๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ พลเอก ลา มิน (Hla Min) รัฐมนตรี กลาโหมของพม่าในขณะนั้นได้เปิดเผยต่อที่ ประชุมถึงโครงการพัฒนานิวเคลียร์ของพม่าว่า ได้ยุติลงแล้ว อีกทั้งเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน ประธานาธิบดี เต็ง เส่ง แห่ง พม่า ได้ลงนามข้อตกลงกับส�ำนักงานพลังงาน ปรมาณูระหว่างประเทศหรือ ไอเออีเอ (IAEA

: International Atomic Energy Agency) ซึ่งจะส่งผลให้พม่าต้องเปิดเผยข้อมูลนิวเคลียร์ ทั้งหมดต่อไอเออีเอ เพื่อแสดงให้เห็นว่ารัฐบาล พม่าไม่มีโครงการที่จะผลิตอาวุธนิวเคลียร์ โดย ความช่วยเหลือจากรัสเซียและเกาหลีเหนือ ตามที่สหรัฐฯ และโลกตะวันตกวิตกกังวล นอกจากนี้ ใ นช่ ว งต้ น ทศวรรษที่ ๒๕๔๐ รัสเซียได้สนับสนุนการก่อสร้างระบบป้องภัย ทางอากาศแบบรวมการ (Myanmar Integrated Air Defense System (MIADS)) โดยเฉพาะการวางระบบโครงข่ า ยไฟเบอร์ ออพติคทั่วประเทศ เพื่อเชื่อมโยงการสื่อสาร จากศูนย์บัญชาการทางทหารในนครเนปิดอว์ ไปยังฐานทัพอากาศต่าง ๆ ตลอดจนสถานี เรดาร์เตือนภัยล่วงหน้า, หน่วยยิงขีปนาวุธ น�ำวิถีต่อต้านอากาศยานเคลื่อนที่ และหน่วย ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานต่าง ๆ ด้วยการช่วย เหลือจากรัสเซียในครั้งนี้ ท�ำให้คาดว่าระบบ ป้ อ งกั น ภั ย ทางอากาศของพม่ า เป็ น ระบบที่ สมบูรณ์ที่สุดประเทศหนึ่งในภูมิภาคนี้ จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เป็ น เพี ย งตั ว อย่ า ง บทบาทด้านความมั่นคงของรัสเซียในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่นับวันจากเพิ่มมาก ขึ้นเรื่อย ๆ และจะกลายเป็นตัวแปรส�ำคัญ ส�ำหรับยุทธศาสตร์ “การแสวงหาพลังงาน” ของจี น และยุ ท ธศาสตร์ “การปรั บ สมดุ ล ” ของสหรัฐฯ ในอนาคตอันใกล้นี้อย่างไม่มีทาง หลีกเลี่ยงได้ 29


การท�ำงานของคณะท�ำงาน เตรียมการปฏิรูปเพื่อ คืนความสุขให้คนในชาติ

ส�ำนักงานกิจการพลเรือน ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม

นอื่ งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ เ ล็ ง เห็ น ว่ า กระบวนการ ปรองดองสมานฉันท์ และการปฏิรูป ในเรือ่ งต่าง ๆ เป็นเรือ่ งทีม่ คี วามจ�ำเป็นเร่งด่วน จึงได้มีค�ำสั่งจัดตั้งศูนย์ปรองดองสมานฉันท์ เพื่อการปฏิรูป เมื่อ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ โดยมอบให้กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร เป็นหน่วยรับผิดชอบ ด�ำเนินการ ต่อมา คสช. ได้พจิ ารณาเห็นว่า เพือ่ ให้กระบวนการปรองดองสมานฉันท์ และการ ปฏิรูปในเรื่องต่าง ๆ เป็นที่ยอมรับของทุกกลุ่ม ทุกฝ่าย และมีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงาน ใน Road Map ระยะที่ ๑ ของ คสช. จึงได้มี ค�ำสั่งจัดตั้งส�ำนักงานคณะกรรมการปรองดอง และการปฏิรปู และให้จดั ตัง้ คณะท�ำงานเตรียม การปฏิรูปเพื่อคืนความสุขให้คนในชาติ โดย 30

มอบให้ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็น หน่วยรับผิดชอบด�ำเนินการ เมื่อ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๗ การท� ำ งานของคณะท� ำ งานเตรี ย มการ ปฏิรูป ฯ ในห้วง ๔ เดือน ตั้งแต่มิถุนายน ถึง กันยายน ๒๕๕๗ มีการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นผ่าน ช่องทางโทรศัพท์ จดหมายและไปรษณียบัตร E-mail ข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยและข้อมูล จากหน่วยงานราชการ ความเห็นและข้อเสนอ ในงานมหกรรมปรองดองสมานฉันท์คืนความ สุขให้คนในชาติ การจัดการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) การจัดการประชุมกลุม่ ย่อยผู้ร่วมให้ความคิดเห็น (Focus Group) และการจัดเสวนาร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า ซึ่งคณะท�ำงานเตรียมการปฏิรูปฯ ได้น�ำข้อมูล

ดังกล่าวข้างต้นจัดท�ำเป็นเอกสารกรอบความ เห็นร่วม ในการปฏิรูป ๑๑ ด้าน จ�ำนวน ๑๑ เล่ม และได้น�ำเสนอให้ หน.คสช.เพื่อพิจารณา ใช้ประโยชน์ เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๗ ในระหว่างที่รอการแต่งตั้งสมาชิก สปช.นั้น คสช.ได้มอบภารกิจให้สำ� นักงานปลัดกระทรวง กลาโหมด�ำเนินการในห้วงต่อไป โดยมีการ ปรับหน้าที่ของคณะท�ำงานฯ ให้สอดคล้องกับ การท�ำงานของ สปช. ในลักษณะการท�ำงาน คู่ขนานกัน เป็นเสมือนกระจกสะท้อนความ คิดเห็นของประชาชน ในประเด็นการปฏิรูป ที่ สปช. จะได้ประชุมหารือกัน คณะท�ำงาน เตรียมการปฏิรูปฯ จึงได้หารือกับเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎรซึ่งท�ำหน้าที่ เลขา สปช. เพื่ อ ก� ำ หนดแนวทางการท� ำ งานร่ ว มกั น โดย ในชั้นต้นคณะท�ำงานเตรียมการปฏิรูปฯ ได้ ส�ำนักงานกิจการพลเรือน ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม


ส่งไฟล์ข้อมูลกรอบความเห็นร่วมการปฏิรูป ประเทศไทยทั้ ง ๑๑ ด้าน เพื่อน� ำไปจัด ท�ำ เอกสารแจกจ่ายให้ สปช. และได้จัดท�ำฐาน ข้อมูล on line ให้ สปช. สามารถน�ำข้อมูลที่ รวบรวมไว้ทงั้ หมดไปใช้ประโยชน์ ซึง่ ส�ำนักงาน เลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎรได้ดำ� เนินการสร้าง บัญชีผใู้ ช้งานและรหัสผ่านเข้าสูร่ ะบบ แจกจ่าย ให้กับ สปช. เรียบร้อยแล้ว และคณะท�ำงาน เตรียมการปฏิรูปฯ จะได้รวบรวมข้อมูลและ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

ข้อมูลส�ำหรับการปฏิรูป เพื่อให้ ศปป. น�ำไป สอบถาม หรือใช้เป็นหัวข้อในการเสวนาหรือ กิจกรรมอื่นๆ ในส่วนภูมิภาคต่อไป นอกจากนี้ หน.คณะท� ำ งานเตรี ย มการ ปฏิ รู ป ฯ ยั ง ได้ น� ำ คณะท� ำ งานฯ เข้ า พบ เลขาธิ ก ารสภาผู ้ แ ทนราษฎร เพื่ อ หารื อ แนวทางในการด�ำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลการ ปฏิรูปที่ได้รับจากการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนทั้ ง ในส่ ว นที่ ด� ำ เนิ น การโดยคณะ ท�ำงานเตรียมการปฏิรูป ฯ และในส่วนของ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เพื่อ ให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและน�ำมา ใช้ประโยชน์ต่อไป ส�ำหรับช่องทางการรับฟังความคิดเห็นจาก ประชาชน ทั้ ง ที่ อ าศั ย ในประเทศไทยและ ในต่างประเทศ คณะท�ำงาน ฯ ได้เปิดเว็บไซต์ เพื่อน�ำประเด็นที่ก�ำลังอยู่ในความสนใจ หรือ ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นการพิ จ ารณาของ สปช. มาจั ด ท�ำเป็นแบบสอบถาม ซึ่งประชาชนสามารถ เข้ า มาแสดงความคิ ด เห็ น ได้ โดยกรอกใน แบบสอบถามซึ่ ง จะสะดวกและไม่ ยุ ่ ง ยาก นอกจากนี้ ยั ง มี ช ่ อ งทางการติ ด ต่ อ และส่ ง ข้อมูลของคณะท�ำงานเตรียมการปฏิรปู เพือ่ คืน ความสุขให้คนในชาติ อีกหลายช่องทาง ได้แก่ โทรศั พ ท์ จ� ำ นวน ๕ เลขหมาย คื อ ๐ ๒๒๒๔ ๘๙๔๔ - ๔๘ ข้ อ คิ ด เห็ น จากทุ ก ภาคส่ ว น ตามช่ อ งทางที่ โทรสาร (FAX) ที่หมายเลข : ๐ ๒๖๒๒ กล่าวแล้วในข้างต้นส่งให้ส�ำนักงานเลขาธิการ ๒๒๘๒ สภาผู้แทนราษฎร ทาง E - mail สัปดาห์ละ E - mail : rfm@mod.go.th ๑ ครั้ง ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นไป Website : http://rfm.mod.go.th ในด้านการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ไปรษณีย์ สามารถส่งได้ที่คณะท�ำงาน คณะท�ำงานเตรียมการปฏิรูปฯ ได้เชิญผู้แทน เตรียมการปฏิรูปฯ ศู น ย์ ป รองดองสมานฉั น ท์ เ พื่ อ การปฏิ รู ป ตู้ ปณ.๙๙ ไปรษณีย์ สาขามหาดไทย (ศปป.) เข้าร่วมประชุม เพือ่ ประสานการปฏิบตั ิ กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๖ (ไม่เสียค่าใช้จ่าย) ทุกสัปดาห์ โดยเฉพาะการเสนอประเด็นหรือ 31


ISIS : Islamic State in Iraq and Syria

อิทธิพลและปัญหาใหม่ ในตะวันออกกลาง นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม

ในปี ๒๐๐๓ เกิดสงครามอิรักเพื่อโค่นล้ม รั ฐ บาล ประธานาธิ บ ดี ซั ด ดั ม ฮุ ส เซ็ น โดย การน�ำของสหรัฐฯ และสหรัฐฯ ได้ถอนตัวออก ไปในปี ๒๐๑๑ เมือ่ คิดว่าได้จดั ระเบียบประเทศ นี้ค่อนข้างเรียบร้อยแล้ว เหตุผลของการบุก อิรักนั้น ก็เพื่อตัดต้นตอของแหล่งเพาะพันธ์ ุ การก่อการร้าย และท�ำลายหรือขัดขวางเรือ่ งที ่ ตะวั น ตกคาดการณ์ ว ่ า อิ รั ก ก� ำ ลั ง ผลิ ต และ พั ฒ นาอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ ล� ำ พั ง สั ง คมใน ตะวันออกกลางที่ไม่มีนิวเคลียร์ก็สร้างความ ปั่นป่วนได้ทั่วโลกอยู่แล้ว ถ้าพวกเขาได้ครอบ ครองอาวุธมหาประลัยท�ำลายล้างสูงอีก ก็ยิ่ง เพิ่ ม ความกั ง วลให้ กั บ ตะวั น ตก โดยเฉพาะ สหรัฐฯ มากขึ้นนับหมื่นนับแสนเท่า 32

นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม


การโค่นซัดดัมนั้น ก็เป็นแค่การโค่น ข้อ ขั ด แย้ ง จากปั ญ หาดั่ ง เดิ ม ของพวกเขาก็ ยั ง คงอยู ่ และก� ำ ลั ง เดิ น หน้ า ต่ อ ไป ปั ญ หาดั่ ง เดิ ม ในตะวั น ออกกลางนั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายที่ จะแก้ไขด้วยวิธีการง่าย ๆ คือการปลุกปั่น เปลี่ยนผู้น�ำแล้วก็จบกันไป เหมือนประเทศใน อเมริกาใต้ หากแต่รากเหง้าปัญหาของประเทศ ในตะวันออกกลาง เป็นเรือ่ งของความแตกแยก ในความเชื่อในศาสนาเดียวกันคืออิสลาม โดย รวมแล้วชาวมุสลิมมีความศรัทธาในศาสนา สูงมาก พร้อมพลีชีพเพื่อปกป้องพระเจ้าของ เขา (Jihad) ได้อย่างสบาย ๆ ไม่ต้องคิดอะไร มาก และเชื่ อ ว่ า เป็ น ทางลั ด ที่ จ ะได้ เ ข้ า เฝ้ า พระเจ้าเร็วขึ้น อิสลามมีการแบ่งแยกอย่าง น้อยก็สองความเชื่อที่เป็นศัตรูกันอย่างชัดเจน ในตะวั น ออกกลาง เป็ น การเผชิญ หน้า ของ สองกลุ ่ ม นิ ก ายในศาสนาอิ ส ลามคื อ มุ ส ลิ ม ซุนนี่ (Sunni) โดยมีซาอุดิอาระเบีย มิตรที่ เหนี ย วแน่ น ในตะวั น ออกกลางของสหรั ฐ ฯ เป็นผู้น�ำ และมุสลิมชีอะห์ (Shia) มีอิหร่าน มหาอ�ำนาจเก่าเปอร์เซียอยู่หัวแถว หลั ง จากการสิ้ น ยุ ค ของซั ด ดั ม ผู ้ น� ำ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ในอดีตของอิรัก แต่ต้องจบบทบาทอย่าง แสนอัปยศ ก่อนถูกพิพากษาให้ประหารชีวิต ด้ ว ยการแขวนคอ ผู ้ น� ำ ท่ า นนี้ ห นี ก ารไล่ ล ่ า อย่างสุดชีวิต มีชีวิตที่เหลืออยู่ด้วยความยาก ล�ำบาก แทบจะขอความช่วยเหลือใด ๆ จาก หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

33


กลุ่มต่าง ๆ ในประเทศไม่ได้เลย ความวุ่นวาย และรุนแรงถึงขั้นจลาจลและฆ่าล้างแค้นกัน เกิดขึ้นแทบจะทุกวันของกลุ่มซุนนี่และชีอะห์ กลุ่มชีอะห์ได้เปรียบค่อนข้างมาก เนื่องจาก ผู้น�ำของอิรักคือนายกรัฐมนตรี นูรี อัลมาลิกี (Nouri Al-Maliki) เป็นชีอะห์ ซึ่งคนนี้ขึ้น เป็นผู้น�ำอิรักมาตั้งแต่ปี ๒๐๐๗ ยาวนานมาก กับประเทศที่เปราะบางอย่างอิรักเวลานี้ ซึ่ง การเป็นชนชั้นที่ถูกปกครองจากกลุ่มศาสนา ที่เป็นศัตรูนั้น ชาวซุนนี่เองรู้สึกถึงการถูกกดขี่ ทางสังคม จึงเกิดการรวมตัวกันขึ้นทางตะวัน ตกเฉียงเหนือของประเทศและแผ่อิทธิพลลึก เข้าไปทางเหนือของซีเรีย เพราะที่นั่นก็มีซุนนี่ อยู่มาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการเข้า มามีอทิ ธิพลของชาติตะวันตกหรือง่ายขึน้ มาอีก คือ การขับไล่รัฐบาลที่ได้รับการสนับสนุนจาก ตะวันตก เหตุผลอีกประการหนึ่งอันเป็นราก เหง้าของปัญหาคือ ความต้องการแยกตัวเป็น อิสระปกครองตนเองโดยใช้กฎหมายอิสลาม บริสุทธิ์ (Sharia) เป็นเครื่องมือในการบริหาร ประเทศ ซึ่งเหตุผลประการหลังนี้ไปสอดคล้อง กับความต้องการของชาวเคิร์ด (Kurds) ที่ เป็ น มุ ส ลิ ม ซุ น นี่ ด ้ ว ยเหมื อ นกั น และมี ค วาม พยายามมานานมากที่จะแยกตัวออกจากอิรัก เพื่อปกครองตนเอง เพราะในเรื่องเชื้อชาตินั้น พวกเขาแตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับชาวอิรัก นัก รัฐศาสตร์ต่างคาดการณ์กันว่า ในอนาคตอิรัก อาจต้องแตกเป็นสามส่วนคือ เขตปกครอง ของซุนนี่,เขตปกครองของชาวเคริ์ด และเขต ปกครองของชาวชีอะห์ ปฐมบทการรวมตัวกันเพื่อต่อต้านตะวันตก จากหลาย ๆ กลุ่มของมุสลิมสุดโต่งซุนนี่ ได้รับ การสนับสนุนจากขาใหญ่อัลกออิดะห์ พวก เขาได้สร้างสมความเข้มแข็งและความโหดขึ้น มาเรื่อย ๆ จนมาโด่งดังขึ้นมามากในปลายปี ๒๐๑๓ เมื่อกองก�ำลังพวกเขาได้บุกยึดเมือง ต่าง ๆ ทางตอนเหนือของอิรักและข่มขู่ว่าจะ บุกยึดแบกแดดเลยทีเดียว เมื่อแข็งแกร่งพวก เขาจึงเรียกกลุ่มตนเองอย่างเป็นทางการว่า

34

ISIL (The Islamic State in Iraq and the Levant : Levant หมายถึงดินแดน เลบานอน อิสราเอล และ จอร์แดน) หรือ ISIS (Islamic State in Iraq and Syria, Islamic State in Iraq and Al-Sham : Al-Sham เป็นชื่อซีเรีย ในภาษาอาหรับ) ซึ่งก็คือกลุ่มเดียวกัน โดย มีผู้น�ำคือนาย Abu Baker Al Baghadadi รัฐบาลอิรักได้ประมาณการว่านักรบของ ISIS ที่ปฏิบัติการอยู่ทั้งในอิรักและซีเรียมีมากกว่า ๑๒,๐๐๐ คน และจะมีเพิ่มขึ้นเรื่อยจากนักรบ อาสามุสลิมที่มาจากทั่วโลก ด้ ว ยความสุ ด โต่ ง ที่ ม ากเกิ น ควบคุ ม ของ นั ก รบ ISIS กลุ ่ ม อั ล กออิ ด ะห์ ท่ี เ คยให้ ก าร สนับสนุนอยู่เดิมนั้น ถึงกับประกาศตัดขาด

ความสัมพันธ์กับ ISIS ใน ก.พ.๒๐๑๔ แต่ก็ คงไม่ มี ผ ลต่ อ สถานะของพวกเขาเท่ า ไรนั ก เนื่องจากในทางลับๆแล้วแหล่งรายได้ที่กลุ่ม นี้มีอย่างมหาศาลคือการขายน�้ำมันเถื่อนใน ตลาดมืดจากแหล่งน�้ำมันที่ยึดได้ทั้งในซีเรีย และอิรัก ความฮึกเหิมของ ISIS เพื่อให้บรรลุเป้า หมายเพิ่มมากขึ้น ISIS ได้บุกโจมตียึดเมือง ส�ำคัญทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิรัก รวม ถึ ง มี อิ ท ธิ พ ลเข้ า ไปทางตอนเหนื อ ของซี เ รี ย ด้วย จนท�ำให้เขตนี้กลายเป็นเขตสูญญากาศ ของอ�ำนาจการปกครองของรัฐบาลอิรักและ ซีเรีย ต้องตกอยู่ภายใต้การปกครองของ ISIS ไปเลย อีกทั้งระดับความรุนแรงร้ายกาจก็มาก

นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม


เกี่ยวกับอิสลาม แต่มีอ�ำนาจปกครองชนกลุ่ม ใหญ่ซึ่งเป็นมุสลิมซุนนี่ ศึกในอิรักนั้น ISIS อยู่ในสถานการณ์ที่ได้ เปรียบ ได้รับการสนับสนุนจากซาอุดิอาระเบีย มุสลิมชุนนี่ ส่วนสหรัฐฯนั้น เนื่องจากมีความ เกี่ยวข้องกันอยู่หลายฝ่ายมาก ในสถานการณ์ เช่นนี้ จึงต้องระมัดระวังในการแสดงบทบาท ถึงแม้ว่าจะเป็นมหามิตรกับซาอุดิอาระเบีย ก็ตาม หากต้องช่วยรัฐบาลอิรักปราบปราม ISIS ก็ต้องเกรงใจซาอุดิอาระเบีย และจะท�ำให้ ขึ้นอยู่ในขั้นอ�ำมหิต ถึงขนาดออนไลน์การฆ่า ความพยายามโค่ น รั ฐ บาลอั ส ซาดของซี เ รี ย เชื อ ดคอให้ ข าดของสองนั ก ข่ า วอเมริ กั น ถึ ง ยากขึน้ ไปอีก เพราะ ISIS ก็ถอื เป็นเครือ่ งมืออัน สองคนในเวลาห่างกันไม่นานนักในช่วงเดือน หนึง่ ในซีเรียทีจ่ ะช่วยสหรัฐฯโค่นรัฐบาลอัสซาด ส.ค.-ก.ย. ๒๐๑๔ เป็นการประกาศท้ารบและ และในขณะเดียวกันก็ยังห่วงชาวคริสต์ที่อยู่ใน ต้องการดึงสหรัฐฯ เข้ามาแบบเต็มตัวอย่าง เขตยึดครองของ ISIS จะถูกข่มเหงรังแกด้วย ชัดเจน เพื่อยกปัญหาของตนเองให้มีมูลค่าต่อ อีกเหตุผลหนึ่งที่สหรัฐฯ ยังกังวลอยู่มากคือ ชาวโลกมากยิ่งขึ้น สิ่งที่ตามมาคือการจะได้รับ การที่เพิ่งถอนตัวจากสงครามอิรักตั้งปี ๒๐๑๑ การสนับสนุนจากโลกอิสลามแก่ ISIS มากขึ้น พร้อมกับบาดแผลทางเศรษฐกิจที่สาหัส หรือ นั่นเอง แต่สหรัฐฯ ยังไม่แสดงที่ท่าในการส่ง อีกนัยยะซ่อนเร้นอันหนึ่งคือ ตราบใดที่ธุรกิจ ก�ำลังทหารเข้าไปในอิรัก เนื่องจากยังคงขยาด น�้ำมันของสหรัฐฯ ยังไม่ถูกคุกคามจาก ISIS กับแผลเก่าทีเ่ พิง่ เสร็จสิน้ ไปในสงครามอิรกั รวม สหรัฐฯ ก็จะยังไม่เต็มที่ต่อกรณี ISIS ถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการ ก่อการร้ายในปากีสถานและอาฟกานิสถาน รวมถึงบ่วงอีกหลายอย่างที่สหรัฐฯ เกี่ยวข้อง อยู่ในภูมิภาคนี้ ISIS เปิดศึกภายในทั้งในซีเรียและอิรัก หาก แต่ศึกในซีเรียเท่านั้นที่เพลี่ยงพล�้ำไม่สามารถ กดดัน นายบาร์ซา อัล อัสซาด ประธานาธิบดี ซีเรีย ให้ลาออกได้ ซึ่งผู้น�ำซีเรียท่านนี้ได้รับ การสนับสนุนจากรัสเซียและจีน ในการวีโต้ ของการใช้ก�ำลังทหารในนามสหประชาชาติ โดยการน�ำของสหรัฐฯ เข้ามาแก้ไขปัญหาการ ฆ่าล้างผลาญศัตรูทางการเมืองของเขา ซึ่งเป็น ปัญหาที่เกิดจากการติดเชื้อ Arab Spring ใน ปี ๒๐๑๑ ข้อต่างที่แปลกไปอีกของประเทศ นี้คือ มีการปกครองจากชนชั้นปกครองที่มา จากชนกลุ่มน้อย ที่มีประมาณ ๑๒ % ของ ประชากร ชนกลุ่มนี้นับถือลัทธิ Alawite ไม่ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

สหรัฐฯต้องอยู่ในสถานะกลืนไม่เข้าคายไม่ ออก รักพี่เสียดายน้อง ในกรณีของ ISIS ทั้งใน อิรักและซีเรีย สิ่งที่ท�ำได้ดีที่สุดของสหรัฐฯ ใน เวลานี้ต่อ ISIS ในทางทหารคือการใช้ Drone บ.ไล่ล่าสังหารไร้นักบินเท่านั้น ปัญหาของประเทศในตะวันออกกลาง เป็น เรือ่ งทีม่ คี วามโยงใยเกีย่ วข้องมากมายจนยากที่ จะเข้าใจ ถึงจะเป็นผู้ที่เกิดและโตในประเทศ เหล่านี้ ก็ยากที่จะท�ำความเข้าใจในเรื่องราว มี่ซับซ้อนนี้ได้ แต่อย่างไรก็ตามนักรัฐศาสตร์ หรือนักการทหาร หรือนักอะไรก็แล้วแต่ ที่ พอจะเกี่ยวข้อง ต้องติดตามสถานการณ์ให้ ทันต่อเหตุการณ์อย่างสม�่ำเสมอ เนื่องจากทุก เรื่องราวที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ มีผลต่อความ เป็นไปของประชาคมโลกเป็นอย่างมาก ข้อ เท็จจริงของการบริหารข้อขัดแย้งในยุคนี้คือ ความเข้าใจซึ่งกันและกัน เชื่อมกันด้วยวิถีทาง การทูต เป็นเครื่องมือที่ได้รับการยอมรับว่า เป็นหนทางดีที่สุดในการระงับข้อขัดแย้งใด ๆ “Deplomatic by Designed”

35


ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน

การปรับปรุง เครื่องบินขับไล่เอฟ-๑๖

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์ 36

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


กองทัพอากาศสิงคโปร์ (RSAF) มีโครงการ ปรับปรุงเครื่องบินขับไล่เอฟ-๑๖ซี/ดีบลอค ๕๒(F-16C/DBlock 52) จ�านวน ๖๐ เครื่อง เป็นเงิน ๒.๔๓ พันล้านเหรียญสหรัฐ เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๗ ตามโครงการ เอฟ เอ็มเอส (FMS) การปรับปรุงที่ส�าคัญคือระบบ เรดาร์ (AESA), ระบบพิสูจน์ฝ่าย (IFF), ระบบ หาพิกัด (LN-260) และหมวกนักบิน (JHMCS) ระบบชุดอุปกรณ์เหล่านี้จัดซื้อรวม ๗๐ ชุด (อะไหล่ ๑๐ ชุด) การปรับปรุงตามโครงการ เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว จะเป็ น เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ เอฟ-๑๖ซี/ดี ทันสมัยที่สุด เครื่องบินขับไล่ เอฟ-๑๖ซี/ดี บลอค ๕๒ ประจ�าการระหว่างปี หลักเมือง พฤศจิกายน 2557

พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๖ รวม ๗๔ เครื่อง ประจ�า การ ๓ ฝูงบิน คือ ฝูงบิน ๑๔๐ (Osprey), ฝูงบิน ๑๔๓ (Phoenix) และฝูงบิน ๑๔๕ (Hornet) ฝูงบินขับไล่ เอฟ-๑๖ซี/ดี จะมีความพร้อม รบมากที่สุดฝูงหนึ่งของโลกนักบินขับไล่ได้รับ การฝึกที่สหรัฐอเมริกาโดยการจัดซื้อหลักสูตร การฝึกเป็นเงิน ๒๕๑ ล้านเหรียญสหรัฐ (ได้ รับอนุมัติเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๗ เวลา ๕ ปีใช้เครื่องบินขับไล่ เอฟ-๑๖ซี/ดี รวม ๑๔ เครื่องจากฝูงบิน ๔๒๕ ฐานทัพอากาศลุค) มีประสบการณ์จริงในการใช้อาวุธทางอากาศ ทุ ก แบบในทุ ก ภารกิ จ บิ น รวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ก าร ร่ ว มกั บ เครื่ อ งบิ น เติ ม น�้ า มั น ทางอากาศ

เคซี-๑๓๕อาร์ (ฝูงบิน ๑๑๒) และเครื่องบิน เตือนภัยทางอากาศแบบจี-๕๕๐เออีดับเบิ้ลยู (ฝูงบิน ๑๑๑) เครื่องบินทั้งสองแบบเป็นเครื่อง บินที่มีความส�าคัญในปฏิบัติการทางอากาศ สมัยใหม่เข้าร่วมท�าการฝึกในรหัสเรดแฟลกซ์ (Red Flag) รัฐอลาสกาเป็นการฝึกปฏิบัติการ ทางอากาศขนาดใหญ่ที่สุดภารกิจทางอากาศ ที่ใกล้เคียงกับปฏิบัติการจริงมากที่สุด (ปฏิบัติ การฝึกต่อเนื่องนาน ๑๐ วัน) ของประเทศกลุ่ม พันธมิตรสหรัฐอเมริกานักบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยว แบบเอฟ-๑๖ซี ภารกิจขับไล่และนักบินขับไล่ ชนิดที่นั่งคู่แบบเอฟ-๑๖ดี ภารกิจโจมตีพิสัย ไกล มีประสบการณ์ในปฏิบัติการทางอากาศ อย่ า งมากพร้ อ มด้ ว ยจรวดน� า วิ ถี พิ สั ย กลาง ก้าวหน้าแบบ เอไอเอ็ม-๑๒๐ซี๕/๗ รวม ๓๐๐ นัด, จรวดน�าวิถพี สิ ยั ใกล้ เอไอเอ็ม-๙เอ็กซ์ รวม ๒๒๐ นัด, จรวดน�าวิถีโจมตีเป้าหมายภาคพื้น ดิน เอจีเอ็ม-๖๕บี/ดี/จี (Maverick) รวม ๒๔๘ ลูกและลูกระเบิดน�าวิถีแบบ เจแดม (JDAM มี ความแม่นย�าสูงเนื่องจากน�าวิถีด้วย GPS) รวม ๑,๕๘๓ ลูก สหรั ฐ อเมริ ก าช่ ว ยเหลื อ กองทั พ อากาศ อินโดนีเซีย (TNI-AU) ให้เครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ-๑๖ บลอค ๒๕ (F-16 Block 25) จ�านวน ๒๔ เครื่อง (รุ่นที่นั่งเดี่ยว ๑๙ เครื่อง และรุ่น ฝึกสองทีน่ งั่ ๕ เครือ่ ง) เป็นส่วนเกินของกองทัพ อากาศสหรัฐอเมริกา กองทัพอากาศอากาศ อินโดนีเซีย (TNI-AU) จะต้องท�าการปรับปรุง ใหม่ให้มีความทันสมัยตามโครงการเอฟเอ็ม เอส (FMS) เป็นเงิน ๗๕๐ ล้านเหรียญสหรัฐ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๔ กองทัพ อากาศอินโดนีเซีย (TNI-AU) ประจ�าการเครื่อง บินขับไล่ เอฟ-๑๖ บลอค ๑๕ โอซียู (F-16A/B Block 15 OCU) จ�านวน ๑๐ เครื่อง ฐานทัพ อากาศอิสวาฮ์ยูดิ (Iswahyudi AFB) จังหวัด 37


เครือ่ งบินขับไล่ทนี่ งั่ เดีย่ ว เอฟ-๑๖ ซีบลอค ๕๒ กองทัพอากาศอินโดนีเซีย (TNI-AU) ประจ�ำการฝูงบิน ๓ ฐานทัพอากาศอิสวาฮ์ยูดิจังหวัดชะวาตะวันออก รับมอบชุดแรก ๓ เครื่อง จะได้รับมอบครบตามโครงการทั้ง ๒๔ เครื่อง ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ เครื่องบินขับไล่เบาเอฟ-๑๖ พัฒนาขึ้นตาม ความต้องการของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ท�ำการบินครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๗ ข้อมูลส�ำคัญประกอบด้วยนักบิน ๑ นาย ขนาดยาว ๑๕.๐๖ เมตร ช่ว งปีก ๙.๙๖ เมตร สูง ๔.๘๘ เมตร น�้ำหนักปกติ ๘,๕๗๐ กิโลกรัม (๑๘,๙๐๐ ปอนด์) น�้ำหนัก บินขึ้นสูงสุด ๑๙,๒๐๐ กิโลกรัม (๔๒,๓๐๐ ปอนด์) เครื่องยนต์เทอร์โบแฟน แรงขับขนาด ๒๘,๖๐๐ ปอนด์ ความเร็วสูงสุด ๒.๐ มัค รัศมีท�ำการรบ ๕๕๐ กิโลเมตรเพดานบินสูง ๑๕,๒๔๐ เมตร (๕๐,๐๐๐ ฟุต) ติดตั้งอาวุธ ภายนอกล�ำตัวได้ ๘ จุด (บรรทุกอาวุธหนัก ๑๗,๐๐๐ ปอนด์ หรือ ๗,๗๐๐ กิโลกรัม) ปืนกล อากาศขนาด ๒๐ มิลลิเมตร (M-61A1 พร้อม ลู กกระสุ น ปื น ๕๑๑ นัด ) ภารกิจต่อสู้ทาง อากาศโดยติดตั้งจรวดน�ำวิถีพิสัยใกล้ (AIM9/IRIS-T) หรือพิสัยกลาง (AIM-7/AIM-120)

ชวาตะวันออก น�ำเข้าประจ�ำการเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๒ จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง แต่ได้ประสบ อุบัติเหตุตก ๒ เครื่อง เมื่อได้รับมอบครบตาม โครงการกองทัพอากาศอินโดนีเซีย (TNI-AU) ประจ�ำการด้วยเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ-๑๖ รวมทัง้ สิน้ ๓๔ เครือ่ งกองทัพอากาศอินโดนีเซีย (TNI-AU) รับมอบเครื่องบินขับไล่เอฟ-๑๖ ซี/ ดีบลอค ๕๒ ชุดแรก (รุ่นมาตรฐานในปัจจุบัน) เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ฐานทัพ อากาศฮิล (Hill Air Force Base) รัฐยูท่าฮ์ สหรัฐอเมริกา รวม ๓ เครื่องจะได้รับมอบครบ ตามโครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๘

เครื่องบินขับไล่โจมตีชนิดสองที่นั่ง เอฟ-๑๖ ดี ฝูงบิน ๑๔๕ ณ ฐานทัพอากาศชางฮี กองทัพอากาศสิงคโปร์พร้อมด้วยระบบอาวุธที่น�ำขึ้นปฏิบัติตามภารกิจบิน เครื่องบินขับไล่ชนิดสองที่นั่ง เอฟ-๑๖ ดีฝูงบิน ๔๒๕ กองทัพอากาศสิงคโปร์ ขณะ เข้ารวมการฝึกในรหัสเรดแฟลกซ์ (Red Flag Alaska 07-2) เป็นการฝึกทางอากาศ ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก

38

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


เครื่องบินขับไล่ เอฟ-๑๖ ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่แล้วเรียกว่าเอฟ-๑๖ เอ็มแอลยู (F-16 MLU) ฝูงบิน ๔๐๓ ฐานทัพอากาศตาคลี ปรับปรุงเครื่องบินขับไล่ เอฟ-๑๖ เอ/ บี รวม ๑๘ เครื่อง แบ่งการด�ำเนินงานเป็น ๓ ระยะ (ด�ำเนินการครั้งละ ๖ เครื่อง)

เครื่องบินขับไล่เอฟ-๑๖ซี ขณะเข้าร่วมการฝึกในรหัสเรดแฟลก์ (Alaska 14-1) ฐานทัพอากาศอีลสัน (Eielson, AFB) อลาสกา เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ท�ำการฝึกติดต่อนาน ๑๐ วัน จากฝูงบินขับไล่ ๔๒๕ ที่ตั้งปกติอยู่ที่ฐานทัพอากาศลุค (Luke) รัฐอริโซน่า โดยเช่าจากกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

ภารกิจโจมตีภาคพื้นดินติดตั้งลูกระเบิดน�ำวิถี แบบเจแดม (JDAM) ได้ ๔ ลูก และจรวดน�ำวิถี โจมตีเป้าหมายภาคพื้นดินได้ ๖ ลูก (AGM-65 Maverick) ผลิตมาแล้ว ๓ รุ่นหลัก (แยกเป็น รุ่นย่อยได้ ๙ รุ่น) ยอดการผลิตกว่า ๔,๕๔๐ เครื่ อ ง กองทั พ อากาศสหรั ฐ อเมริ ก าน� ำ เข้ า ปฏิบัติการทางทหารใน ๖ สมรภูมิ, กองทัพ อากาศอิสราเอล ๕ สมรภูมิ, เนเธอร์แลนด์ ๓ สมรภูมิ และปากีสถาน ๓ สมรภูมิ กองทัพอากาศไทย (RTAF) ปรับปรุงเครื่อง บิ น ขั บ ไล่ เ อฟ-๑๖ เอ/บี บ ลอค ๑๕ โอซี ยู จ�ำนวน ๑๘ เครื่อง จากฝูงบิน ๔๐๓ ฐานทัพ อากาศตาคลี สหรั ฐ อเมริ ก าเสนอต่ อ สภา คองเกรส เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๓ เป็นการปรับปรุงครึง่ ทางของการใช้งาน (MLU: Mid-Life Upgrade) แบ่งการด�ำเนินงานออก เป็น ๓ ระยะ (ด�ำเนินการครั้งละ ๖ เครื่อง ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๐ งบประมาณจะ ซ้อนกันหนึง่ ปี) เป็นเครือ่ งบินขับไล่ เอฟ-๑๖ซี/ ดี รุ่นมาตรฐานในปัจจุบัน อุปกรณ์ส�ำคัญคือ เรดาร์ เอพีจี-๖๘ (วี) ๙ ระบบเชื่อมข้อมูลทาง ยุทธวิธี (Tactical Data Link) กองทัพอากาศ ไทยได้รับมอบเครื่องบินชุดแรกเมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๗ จะมีขีดความสามารถ เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารทางอากาศร่ ว มกั บ เครื่องบินเตือนภัยทางอากาศแบบซ๊าบ ๓๔๐ เออีดับเบิ้ลยู (Saab 340 AEW) จากฝูงบิน ๗๐๒ จะทราบข้อมูลทางยุทธวิธีอย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์

39


40


เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (ตอนที่ ๒๓)

การวิจัยและพัฒนาดาวเทียม ขนาดเล็กเพื่อความมั่นคง

สามารถแบ่งประเภทย่อยได้ตามน�้ำหนักดังนี้ Minisatellite (น�้ำหนัก ๑๐๐ ถึง ๕๐๐ กก.) ากสภาวการณ์ปจั จุบนั ทีง่ บประมาณ Microsatelite (น�้ำหนัก ๑๐ ถึง ๑๐๐ กก.) ด้านความมั่นคงมีจ�ำกัด ดาวเทียม Nanosatelite (น�้ำหนัก ๑ ถึง ๑๐ กก.) และ ขนาดเล็กจึงกลายเป็นอีกหนึ่งทาง Picosatellite (น�้ำหนัก ๐.๑ ถึง ๑ กก.) และ เลือกส�ำหรับดาวเทียมเพื่อความมั่นคง ด้วย Femosatellite (น�้ำหนักน้อยกว่า ๑๐๐ ก.)๑ หน่ ว ยงานวิ จั ย และพั ฒ นาของกระทรวง คุณสมบัติที่นอกจากจะมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่า แล้ว ยังสามารถสร้างขึ้นได้ง่ายกว่า รวดเร็ว กลาโหมสหรั ฐ อเมริ ก า (The Defense กว่า และการน�ำส่งสู่วงโคจรสามารถท�ำได้ง่าย Advanced Research Projects Agency, กว่า แต่โจทย์ส�ำหรับการวิจัยและพัฒนาคือ DARPA) ได้ ริ เ ริ่ ม โครงการวิ จั ย และพั ฒ นา การท�ำให้ดาวเทียมขนาดเล็กมีประสิทธิภาพ ดาวเที ย มขนาดเล็ ก หลายโครงการโดย (Performance) ความเชื่อถือได้ (Reliability) วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก อยู ่ ที่ ก ารพั ฒ นาขี ด ความ และอายุการใช้งาน (Longevity) ในระดับที่ สามารถด้ า นอวกาศของกลาโหมทั้ ง ด้ า น สามารถท�ำงานทดแทนดาวเทียมขนาดใหญ่ ดาวเทียม การน�ำส่ง และสถานีภาคพื้น และ ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันได้ ดาวเทียมขนาดเล็ก การพัฒนาระบบดาวเทียมขนาดเล็กและระบบ

น�ำส่งดาวเทียมขนาดเล็กสู่วงโคจรให้สามารถ ตอบสนองต่อภารกิจทางทหารได้ตามกรอบ เวลาที่ก�ำหนด๒ โครงการ MiTEx (The Microsatellite Technology Experiment) เป็นโครงการทีม่ งุ่ ทดสอบระบบต่าง ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงจาก หลายภาคส่วน ตั้งแต่ระบบพลังงานและระบบ ขับดันน�้ำหนักเบา ระบบระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับการควบคุมอากาศยานและการสื่อสาร (Avionic) ระบบโครงสร้างดาวเทียม และ ชิน้ ส่วนประกอบแบบส�ำเร็จรูป (Commercial off-the Shelf, COTS) โครงการนี้แสดงเห็น ความเป็นไปได้ของการสร้างดาวเทียมขนาด เล็กต้นทุนต�่ำ ที่สามารถสร้างให้พร้อมน�ำส่งสู่ วงโคจรได้ในห้องปฏิบัติการ ใช้เวลาสร้างน้อย

ที่มา http://centaur.sstl.co.uk/SSHP/sshp_classify.html Plan for Operationally Responsive Space: A Report to Congressional Defense Committees 2007 ที่มา http://www.responsivespace.com/Conferences/RS5/4=17=07%20ORS%20Plan.pdf ๑ ๒

หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

41


ภายใต้ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม และรัฐบาล โครงการ TacSat-2๓ เป็นโครงการวิจัยของ Air Force Research Laboratory (AFRL) ด้วยความช่วยเหลือจาก Naval Research Laboratory (NRL) TacSat-2 เป็ น งาน วิ จั ย ต่ อ ยอดจาก TacSat-1 ซึ่ ง ล้ ม เหลวใน ขั้นตอนการน�ำส่งสู่วงโคจร เป้าประสงค์ของ โครงการคื อ การทดสอบข้ อ จ� ำ กั ด ของการ พั ฒ นาดาวเที ย มขนาดเล็ ก พร้ อ มอุ ป กรณ์ บรรทุ ก (Payload) เพื่ อ การใช้ ง านด้ า น ยุทธการ ความส�ำเร็จในการน�ำส่ง TacSat-2 สู่ วงโคจรของโครงการสามารถยืนยันแนวความ คิด Joint Warfighters Space (JWS) ได้ ซึ่ง หลังจากประสบความส�ำเร็จของโครงการนีจ้ งึ มี โครงการ TacSat-3 TacSat-4 และ TacSat-5 ตามมา โครงการ The Space and Missile Defense Command: Operational Nanosatellite Effect (SMDC-ONE)๔ เป็น อีกหนึ่งโครงการดาวเทียมขนาดเล็ก แต่เป็น โครงการที่ ด� ำ เนิ น การตามความต้ อ งการ ของกองทั พ บกสหรั ฐ ดาวเที ย มที่ วิ จั ย และ พัฒนานี้เป็น Nanosatellite เพื่อใช้สนับสนุน การติดต่อสือ่ สารในสนามรบ วัตถุประสงค์ของ โครงการคือการสร้างดาวเทียมขนาดเล็กและ น�ำส่งสู่วงโคจรระดับต�่ำ (Low Earth Orbit, LEO) เป็นจ�ำนวนหลายดวงตามความจ�ำเป็น ได้ในเวลาอันรวดเร็ว เพื่อสนับสนุนการติดต่อ สื่ อ สารในระดั บ ยุ ท ธวิ ธี คุ ณ สมบั ติ เ ด่ น ของ โครงการคือ ต้นทุนต�ำ ่ สร้างและน�ำส่งสูว่ งโคจร ได้ง่าย สามารถสับเปลี่ยนทดแทนดาวเทียม ได้บอ่ ยตามความจ�ำเป็นท�ำให้สามารถปรับปรุง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ (upgrade) ได้ตลอด มีความอ่อนตัวสามารถครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติ ได้ ไ ม่ จ� ำ กั ด ขนาดพื้ น ที่ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ สามารถ ใช้ได้ในทุกภารกิจทั้งภารกิจทางด้านการรบ และที่มิใช่การรบ ประเทศไทยใช้ ป ระโยชน์ จ ากดาวเที ย ม ในหลายด้ า น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ด้ า นการสื่ อ สาร โทรคมนาคม การวิ เ คราะห์ วิ จั ย ทาง วิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์ การใช้ข้อมูล ภาพจากดาวเทียมเพื่อวางแผนพัฒนาประเทศ การใช้งานด้านความมั่นคงและการป้องกัน ประเทศ การอุตนุ ยิ มวิทยาและการเฝ้าระวังภัย ธรรมชาติ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต ที่ ม า http://www.globalsecurity.org/ space/systems/tacsat-2.htm ๔ ที่มา http://www.ducommun.com/pdf/ SMDC-ONEMediaDeck.pdf ๓

42

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)


สถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ (องค์การ มหาชน) หรือ สทป. เป็นหน่วยงานวิจัยและ พัฒนาของกระทรวงกลาโหม ซึ่งมีขีดความ สามารถในการวิจัยและพัฒนาจรวดหลายล�ำ กล้องที่มีระยะยิงไกลสูงสุด ๑๘๐ กม. จึงจัด เป็นหน่วยงานที่ความช�ำนาญพิเศษเฉพาะใน เรื่องของจรวดเชื้อเพลิงแข็ง (Solid Rocket Motor) จากองค์ ค วามรู ้ ประสบการณ์ ดั ง กล่าว สทป. จึงเป็นหน่วยงานที่เหมาะสมใน การสนับสนุน โครงการส่งดาวเทียมขนาดเล็ก ของ สทอภ. ในด้านการวิจัยและพัฒนาจรวด น�ำส่งดาวเทียม (Launching Vehicle) ฐานส่ง จรวด (Launching Platform) และสถานีส่ง จรวด (Launching Site) เพือ่ เป็นการประยุกต์ และต่อยอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบ วิจัย และพัฒนาจรวด อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่าง มี ประสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ประโยชน์โ ดยรวมของ ประเทศ

ของประชาชนและความมั่นคงของประเทศ โดยตรงและความต้องการใช้งานดาวเทียมของ ไทยมีแนวโน้มสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ ตามความก้าวหน้า ของเทคโนโลยี แม้ว่าประเทศจะมีดาวเทียม ของตัวเองเช่น ไทพัฒ หรือ THEOS แต่การ ด�ำเนินการส่วนใหญ่ยงั ต้องพึง่ พาการสนับสนุน จากต่างชาติ กล่าวได้ว่าการพัฒนากิจการด้าน อวกาศของประเทศไทยยังอยู่ในขั้นเริ่มต้น ซึ่ง การด�ำเนินการให้บรรลุผลส�ำเร็จจะต้องมีการ ด�ำเนินการในหลาย ๆ ด้าน ตั้งแต่การวิจัยและ พัฒนาดาวเทียม อุปกรณ์บรรทุก (payload) จรวดน�ำส่งดาวเทียม สถานีสง่ จรวด และสถานี ควบคุม เป็นต้น ซึง่ การด�ำเนินการในแต่ละส่วน ต้องอาศัยแต่ละภาคส่วนที่มีขีดความสามารถ เฉพาะด้าน ส�ำหรับประเทศไทยมี ส�ำนักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. เป็นหน่วยงาน หลักซึ่งนอกจากจะด�ำเนินการวิจัยและพัฒนา กิจการด้านอวกาศแล้วยังเป็นหน่วยงานที่ให้ บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ บริการวิชาการ ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ต่อประชาชน ที่ผ่านมา สทอภ. ได้มีผลงานการด�ำเนินการเกี่ยวกับ อวกาศหลายโครงการ โครงการส่งดาวเทียม ขนาดเล็กขึ้นสู่วงโคจรระดับต�่ำ เป็นอีกหนึ่ง โครงการที่ สทอภ. วางแผนที่จะด�ำเนินการ โดยแสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นที่ มีศักยภาพ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

43


44

พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


หลักการของ

นายพลแพตตัน (ตอนที่ ๒๗) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา

ต่อสู้เพื่ออะไรบางอย่างขณะมีชีวิต ดีกว่าตายไปโดยเปล่าประโยชน์ นายพลแพตตันหัวเราะในเรื่องความตาย และบรรดาก�ำลังพลก็หัวเราะตามท่าน การพูด กับก�ำลังพลกระตุ้นให้ทุกคนหัวเราะ แต่ทุกคน ก็เข้าใจ และจดจ�ำสิ่งที่ท่านได้กล่าว “พวกเราเป็นประชาชนที่โชคดี พวกเรา อยู่ในสงคราม! พวกเรามีโอกาสที่จะต่อสู้และ ตายเพื่ออะไรบางอย่าง ประชาชนส่วนใหญ่ ไม่มีโอกาสแบบนั้น ลองคิดถึงประชาชนที่น่า สงสารพวกนั้นซิ คุณก็จะรู้ว่าพวกเขามีชีวิต และตายไปโดยไม่ได้อะไรเลย ชีวิตทั้งชีวิตไม่ ได้ใช้ทำ� อะไรนอกจากกิน นอน แล้วก็ไปท�ำงาน จนกระทั่งลาโลกไป พวกเรานี่โชคดีริย�ำเลย ที่ก�ำลังจะสู้รบในสงครามซึ่งจะเปลี่ยนแปลง ประวัติศาสตร์ ถ้าเรายังมีชีวิตอยู่ต่อไป เราก็

หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

สามารถเอาเหลนของเรามานั่งที่ตัก และเล่า ให้พวกเขาฟังได้ว่าเราท�ำส�ำเร็จได้อย่างไร! ถ้า เราตาย เพื่อน ๆ ของเราก็สามารถเล่าได้ว่าเรา ตายไปเพื่อให้ชีวิตของพวกเขาดีขึ้นอย่างไร ถ้า คุณก�ำลังจะตาย จงตายอย่างวีรบุรุษ หากคุณ ฆ่าคนเป็นจ�ำนวนมากพอก่อนที่คุณจะตายละ ก็ คนรุ่นหลังอาจตั้งชื่อถนนตามชื่อคุณก็ได้” พวกก�ำลังพลได้หัวเราะขึ้น ตรรกวิทยาของ ท่านจะมีเหตุผลหรือไม่ก็ตาม แต่ทุกคนก็จดจ�ำ ได้ทุก ๆ ถ้อยค�ำ นายพลแพตตันไม่เคยพูดแบบทื่อทื่อเช่น เดียวกับผูบ้ งั คับบัญชาทัว่ ๆ ไปเช่น “ถ้าพวกเรา เตรียมพร้อมอยู่เสมอเราก็จะผ่านเหตุการณ์ นี้ไปได้ อย่าเปิดโอกาสใด ๆ เราเคยมีชีวิตใน ลักษณะเช่นนี้มาก่อน และในครั้งนี้เราก็ต้อง ท�ำส�ำเร็จ”

ค�ำพูดเช่นนั้นไม่ใช่แบบของนายพลแพตตัน ท่ า นมั ก ให้ ข ้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ห ยาบคาย และ เหี้ยมโหด “พวกเราบางคนจะต้องตาย พวกเราทรหด พอที่ จ ะฆ่ า ข้ า ศึ ก ได้ สั ก หนึ่ ง โหลก่อนจะตาย ไป พวกเราสามารถแน่ใจได้เลยว่า พวกมัน ไม่สามารถฆ่าเราได้ทุกคน ตราบใดที่พวกเรา ยังเหลืออยู่ เราจะมุ่งหน้าฆ่าไอ้พวกลูกไม่มี พ่อเหล่านั้นต่อไป โอกาสที่พวกเรามีชีวิตอยู่ ในสงครามนั้น ดีกว่าขณะขับรถอยู่บนถนน หลวง เราอาจตายบนถนนโดยเปล่าประโยชน์ ผมอยากให้กระสุนปืนข้าศึกเจาะทะลุหัวผม มากกว่าที่จะให้หัวผมบู้บี้ติดกับกระจกหน้า รถ หากคุณตายในสงคราม เราจะได้รับการ ระลึกถึงอยู่เสมอ เราไม่ได้เป็นวีรบุรุษ ถ้าตาย บนถนน เมื่อเราสามารถจัดการกับชีวิตและ

45


ความตายได้และไม่กลัวมันแล้ว เราก็สามารถ พิชิตทุกสิ่งทุกอย่างลงได้” ทุกวันนี้ผมเชื่อว่า ใครบางคนอาจพูดว่า นายพลแพตตันได้ล้างสมองก�ำลังพลของท่าน ถ้าการฝึกอบรมของท่านคือการล้างสมอง ก็ ต้องมีคนจ�ำนวนมากแน่ ๆ ที่สามารถน�ำระบบ ล้างสมองนี้มาใช้ การช่วยให้ผู้คนเผชิญหน้า กับการมีชีวิตและความตายนั้นเป็นไปตามกฎ โดยพื้นฐานแห่งธรรมชาติไม่มีการล้างสมองใน ค�ำพูดของนายพลแพตตัน “ทุก ๆ วันของการ มีชีวิตก็คือการเข้าใกล้ความตายอีกวันหนึ่ง” นี่ คือความจริงที่เยือกเย็นและอ�ำมหิต หลักการ 46

ของนายพลแพตตันส่วนใหญ่จะเป็นความจริง ระดับพืน้ ฐานทีเ่ ยือกเย็นทัง้ นัน้ นายพลแพตตัน เน้นสัจธรรมพื้นฐานแห่งการสงคราม “ถ้าเรา ไม่ฆ่าข้าศึก ข้าศึกก็จะฆ่าเรา” นี่คือสัจธรรม ซึ่งหลาย ๆ คนที่ชอบสอนเรื่องสันติภาพไม่ ยอมรับ บรรดาก� ำ ลั ง พลหั ว เราะขึ้ น เมื่ อ นายพล แพตตัน กล่าวว่า “ถ้าคุณเห็นว่าคุณก�ำลังจะตาย คุณก็ควร จะฆ่าไอ้พวกลูกไม่มีพ่อเหล่านั้นสักโหล ก่อน ที่คุณจะตาย”

จังหวะการพูดของท่านสมบูรณ์ที่สุด ท่าน กล่าวต่อว่า “คุณอาจไม่ตาย คุณอาจจะมีเพียงกระสุน สักนัดฝังในร่างกายคุณสักแห่ง แล้วอาจจะ ท�ำให้การหมุนเวียนของโลหิตในระบบร่างกาย ของคุณดีขึ้น! ด้วยวีรกรรมเช่นนั้น คุณอาจได้ เหรียญกล้าหาญหัวใจสีม่วง (เพอร์เพิ่ล ฮาร์ท) ถู ก ยิ ง สามครั้ ง คุ ณ ก็ จ ะได้ ส ามเหรี ย ญ! เมื่ อ คุณได้เหรียญพอเพียงแล้ว มันก็จะท�ำให้คุณ แข็งแรงพอที่จะเดินหอบไอ้เจ้าเหรียญพวกนั้น ไปไหนต่อไหนได้ไงละ!” พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


แพตตัน ขณะที่ผมกับเพื่อนนักบินขับไล่สกัด กั้นที่ได้รับการฝึกมาใหม่ ๆ จ�ำนวนสิบสองคน อยู่บนรถไฟที่เดินทางจากสนามบิน วิลเลียมส์ ฟีลด์ มลรัฐอริโซน่า มุ่งไปยัง ฟลอลิดา พวก เราได้รับคัดเลือกกลั่นกรองอย่างดีเพื่อที่จะ เป็นนักบินรุ่นใหม่ ซึ่งหมายถึงนักบินเครื่องบิน ขับไล่ในเวลากลางคืน ผมเป็นคนอาวุโสที่สุด ในจ�ำนวนสิบสองคนนี้ พวกเราได้รับการกลั่น กรองโดยการตรวจสอบสภาพร่างกายอย่าง ละเอียด รวมถึงการทดสอบสายตาที่จะใช้ใน เวลากลางคืนซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นทีเดียว พวกเรา จะต้องใช้เครื่องหาเป้าหมายทางอากาศและ บางสิ่งบางอย่างที่ลับมากจนเราไม่มีข้อมูลเลย แม้แต่นิดเดียว พวกเราทุกคนต่างก็อาสาสมัคร เข้าโครงการนี้ การทดสอบบางอย่างไม่เกี่ยว กับสายตา หรือขีดความสามารถทางร่างกาย

ตอนที่ท่านบรรยายเรื่องนี้ ที่หน้าอกของ ท่านเต็มไปด้วยเหรียญมากมายที่ท่านได้รับ ซึ่งก็รวมถึงเหรียญกล้าหาญหัวใจสีม่วง (เพอร์ เพิ่ล ฮาร์ท) “คุณจะตายเพียงหนเดียวเมื่ออยู่ในหน่วย นี้ คนที่ ช อบหลี ก เลี่ ย ง และคนที่ ขี้ ข ลาดจะ ตายเป็นพัน ๆ หนในทุก ๆ วันแห่งการมีชีวิต” ความคิดสุดท้ายนี้ไม่ได้มีบ่อเกิดจากนาย พลแพตตั น แต่ ท ่ า นก็ ไ ด้ ส นั บ สนุ น ความคิ ด เช่นนี้ด้วยสัจธรรมแท้ที่ดูเยือกเย็นเหลือเกิน ท่านมักเผชิญหน้ากับความเป็นจริงโดยจับมัน เข้ามาชิดจมูก ผมระลึกถึงค�ำพูดของนายพล หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

เลย เช่น การให้นั่งในหีบมืด ๆ เพียงคนเดียว เป็นเวลาครึ่งชั่วโมง เป็นต้น แต่สิ่งหนึ่งที่เรารู้ก็คือ เราไม่รู้อะไรเลย ขณะอยู่บนรถไฟ นักบินหนุ่มคนหนึ่งได้มา หาผมพร้อมด้วยปัญหาเกี่ยวกับกรรมการคัด เลือกทหารส่วนท้องถิ่น ดูเหมือนว่ากรรมการ คัดเลือกเขาเข้ารับราชการทหาร! แต่กรรมการ คัดเลือกส่วนท้องถิน่ ระบุวา่ เขามีสภาพร่างกาย ที่ไม่สมบูรณ์พอที่จะรับราชการทหาร ดังนั้น ชายหนุม่ ผูน้ จี้ งึ ขับรถไปยังอีกรัฐหนึง่ และสมัคร เข้าเป็นทหาร พอกรรมการคัดเลือกมีโควตา เหลืออยู่ก็ปรากฏว่ากรรมการของรัฐทั้งสองรัฐ ก็ต่อสู้กันว่ารัฐใดจะมีสิทธิได้ทหารคนนี้ ขณะ ที่พวกเราถกเถียงปัญหานี้ ผมก็พบว่า พวก เราทุ ก คนสามารถรั ก ษาแบบอย่ า งจากชี วิ ต รับราชการทหารในเรื่องไร้ความสามารถทาง ร่างกาย พวกเราหัวเราะในบรรทัดสุดท้ายของ แบบฟอร์มตรวจสอบร่างกายซึ่งบรรดานาย แพทย์ได้เขียนข้อความต่อท้ายให้พวกเราทุก คนว่า “ปฏิเสธทุกสิ่ง” ในการตอบค�ำถามที่ ถามว่า “ป่วยไข้ หรือไร้สมรรถภาพหรือไม่?” พวกเราได้สร้างสโลแกนมาหนึ่งประโยค ส�ำหรับกลุ่มของพวกเราว่า “ปฏิเสธทุกสิ่ง” มันไม่ใช่เรื่องผิดปกติส�ำหรับนักบินหนุ่ม ๆ ที่ จะถามกันว่า “เฮ้ยเจ้าโง่! แกก�ำลังจะปฏิเสธ ทุกสิ่งรึ?” พวกเราหัวเราะที่ได้ตบตาพวกนาย แพทย์ ทุกวันนี้ผมไม่แน่ใจว่าเราได้หลอกพวก นายแพทย์จริง ๆ หรือพวกนายแพทย์ทราบว่า พวกเราก�ำลังจะพบกับความล�ำบากในภารกิจ ที่ไม่รู้จักมาก่อน พวกเขาทราบว่าพวกเขาต้อง คัดเลือกนักบินผู้ซึ่งต้องการต่อสู้เพื่ออะไรบาง สิ่งบางอย่าง 47


จุดเริ่มต้นสู่ความยิ่งใหญ่ ของหงสาวดี พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้กษัตริย์ล�าดับที่สองแห่งราชวงศ์ตองอู ทรงรวบรวมเมืองต่างๆ ให้เป็นหนึ่งเดียว และทรงย้ายเมืองหลวงจากเมือง ตองอูมาอยู่ที่กรุงหงสาวดี ซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรมอญที่เป็นคู่ต่อสู้อันยาวนานในอดีต จึงเป็นใหญ่เหนืออาณาจักรต่างๆ แห่ง ลุ่มแม่น�้าอิระวดี อาณาจักรมีความเข้มแข็งจากการจัดซื้อปนคาบศิลาและปนใหญ่จากชาวโปรตุเกสจากยุโรป เป็นผลให้การท�าสงครามใน ภูมิภาคแห่งนี้ต้องเปลี่ยนไปจากในอดีตอย่างมาก นับว่าพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ทรงเป็นกษัตริย์นักรบที่เข้มแข็งของอาณาจักรตองอูตอนต้น พระองค์หนึ่ง…………..บทความนี้ กล่าวถึงการรวบรวมอาณาจักรพม่าของพระเจ้าบุเรงนอง

๑.สถานการณ์ทั่วไป เจ้าชายตะเบ็งชะเวตี้ แห่งราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty) ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อ ปี พ.ศ.๒๐๗๔ ขณะที่ทรงมีพระชนมายุ ๑๕ พรรษา ก่อนที่เจ้าชายตะเบงชะเวตี้จะทรงขึ้น ครองราชสมบัติ พระองค์ทรงเจาะพระกรรณ ที่วัดชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) ตั้งอยู่ที่เมือง หงสาวดีซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรมอญ ที่เป็นคู่สงครามมาในอดีต พระองค์ทรงขยาย อาณาเขตตองอูให้ใหญ่ขึ้นต้องท�าสงครามกับ อาณาจักรเพื่อนบ้านสามารถยึดครองได้ เมือง พะสิม, เมืองหงสาวดีต้องท�าสงครามถึง ๓ ครั้ง และเมืองเมาะตะมะ ศึกใหญ่เมืองเมาะตะมะ ต้องใช้กลศึกมากมายท�าการรบที่ดุดันและยึด เมืองได้ในปี พ.ศ.๒๐๘๔ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ทรงสั่ ง ประหารเจ้ า เมื อ งเมาะตะมะรวมทั้ ง ครอบครัวและทหารรักษาเมือง เป็นผลให้เมือง มะละแหม่งยอมเป็นเมืองขึ้น ต่อมายึดได้เมือง แปรพร้อมทั้งประหารชีวิตเจ้าเมืองและทหาร รักษาเมือง ทรงยกกองทัพขึ้นทางตอนเหนือ ยึดได้เมืองพุกาม พระเจ้าตะเบ็งชะเวตีแ้ ห่งกรุง หงสาวดีจึงมีอาณาเขตกว้างใหญ่ พ.ศ.๒๐๙๑ ทรงยกกองทัพเข้าตีอาณาจักรอยุธยาเพื่อน 48

๒. หงสาวดีเปลี่ยนแผ่นดิน พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ในการรบทรงยกกองทัพกลับทางด้านเหนือ ทางเมืองตาก เข้าสู่เมืองเมาะตะมะและกรุง หงสาวดี พระองค์ เ ริ่ ม เสวยน�้ า จั ณ ฑ์ ที่ ป รุ ง จากผลไม้กับพระสหายชาวโปรตุเกส (ที่หนี มาจากเมืองมะละกา เพราะไปโจมตีสุลต่าน เมืองอะเจะห์ แล้วหนีไปอยู่ที่เมืองเมาะตะมะ และเจ้าเมืองจับส่งมาให้พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระองค์เกิดพอพระทัย ร่วมเสด็จเข้าป่าล่าสัตว์ ภาพกราฟิ ก ส์ เ ส้ น ทางเดิ น ทั พ และร่วมเสวยน�้าจันฑ์) พร้อมทั้งไม่ได้ออกว่า ของพระเจ้าตะเบงชะเวตี้เดินทัพเข้าตี ราชการ พ.ศ.๒๐๙๓ ขุนนางชาวมอญชื่อสมิง อาณาจั ก รอยุ ธ ยา และเดิ น ทั พ กลั บ ทอสุด(Smim Sawhtut) อ�ามาตย์กรมวังได้ สู่เมืองเมาะตะมะ (ตามลูกศรชี้) วางแผนเชิ ญ พระเจ้ า ตะเบ็ ง ชะเวตี้ เ สด็ จ ไป คล้องช้างเผือกในป่า นอกกรุงหงสาวดีที่เมือง บ้านทางตะวันออกด้วยก�าลังทหาร ๓๐๐,๐๐๐ สะโตง พร้อมทั้งปลงพระชนม์ในพลับพลาด้วย นาย ใช้เส้นทางเดินทัพมาทางเมืองเมาะตะมะ ดาบ ขณะมีพระชนมายุ ๓๔ พรรษา เมื่อวันพุธ ผ่านทางด่านเจดีย์สามองค์พร้อมด้วยแม่ทัพ ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๐๙๔ (ทรงอยู่ในราช ใหญ่บเุ รงนอง (Bayinnaung) เป็นผลให้แม่ทพั สมบัต ิ พ.ศ.๒๐๗๔-๒๐๙๓ นาน ๑๔ ปี) ขณะนัน้ ใหญ่พม่าทราบข้อมูลที่ส�าคัญของเมืองอยุธยา แม่ทพั ใหญ่บเุ รงนองได้ยกกองทัพไปท�าศึกทาง ในการป้องกันเมือง ที่ใช้แนวก�าแพงเมืองและ ด้านตะวันตก หลังจากพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ แม่น�้าป้องกันเมือง จะเป็นอุปสรรคที่ส�าคัญยิ่ง สิ้นพระชนม์แล้วเป็นผลให้เมืองต่าง ๆ ได้ตั้ง ตนเป็นอิสระ สมิงทอสุดจึงได้สถาปนาขึ้นเป็น ในการเข้าตีของฝ่ายรุกราน พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


พ ร ะ ม ห า ธ า ตุ เ จ ดี ย ์ ช เ ว ม อ ด อ (Shwemawdaw) มีอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี สร้างขึ้นในยุคที่มอญเรืองอ�ำนาจได้รับ การปฏิสงั ขรณ์หลายครัง้ ชาวสยามรูจ้ กั ในชื่อพระธาตุมุเตา พระเจ้ากรุงหงสาวดีผนู้ ำ� ชาวมอญพระองค์ใหม่ อาณาจักรพม่าแห่งกรุงหงสาวดีได้เกิดความ วุ่นวายในหลายเมือง แม่ทัพใหญ่บุเรงนองตั้ง ตนเป็นอิสระที่เมืองตองอูเตรียมก�ำลังพลและ เสบียงอาหาร เพื่อความพร้อมรบในการปราบ ปรามเมืองต่างๆ ที่ได้ตั้งตนเป็นอิสระแต่ต้อง ใช้เวลา เมื่อปราบปรามเมืองต่างๆ เรียบร้อย แล้ ว ก็ ย กกองทั พ เข้ า ตี ก รุ ง หงสาวดี แ ละรบ ชนะสมิงทอราม แต่สมิงทอรามก็หนีไปได้แต่ ในที่สุดก็ถูกจับและถูกประหารชีวิต พระองค์

แผนทีอ่ าณาจักรพม่า เมืองเมาะตะมะ (ลูกศร ด้านล่าง) เมืองตองอู (ลูกศร ตอน กลาง) และเมืองมณีปรุ ะ (ลูกศร ด้านบน) ที่ตั้งอยู่ปลายแดนของอาณาจักรยอม เข้าร่วมกับอาณาพม่าแห่งกรุงหงสาวดี หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

ภาพแผนที่เมืองต่าง ๆ ของไทใหญ่ เมืองส�ำคัญคือ เมืองนาย (ลูกศร ด้านล่าง) และเมืองสีป้อ (ลูกศร ด้านบน) ปัจจุบันอยู่ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระเจ้าบุเรง นอง แห่งกรุงหงสาวดี เป็นกษัตริย์ล�ำดับที่ สาม แห่งราชวงศ์ตองอู เมื่อปี พ.ศ.๒๐๙๔ ขณะที่ราชวงศ์ตองอูมีอายุได้ ๖๕ ปี พระองค์ ทรงแต่งตั้งให้พระอนุชาไปครองเมืองต่างๆ ประกอบด้วย เมืองตองอู, เมืองแปร และเมือง เมาะตะมะ พระเจ้าบุเรงนองทรงปรามมอญ ทางใต้ส�ำเร็จ ขณะที่ทางตอนเหนือคือเมือง อังวะและเมืองของไทยใหญ่ทางตอนเหนือยัง เป็นอิสระ พ.ศ.๒๐๘๗ พระเจ้าบุเรงนองทรง ยกกองทัพบกและกองทัพเรือเข้าตีเมืองอังวะ แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ ในปีต่อมาก็สามารถ เข้าตีเมืองอังวะได้ส�ำเร็จและทรงแต่งตั้งพระ อนุชาองค์เล็กเป็นเจ้าเมืองอังวะ ต่อจากนั้น พระเจ้าบุเรงนองทรงเสด็จยกกองทัพขึ้นทาง เหนือเข้าตีไทยใหญ่ ๒ ครั้ง ในปี พ.ศ.๒๐๙๘ และ พ.ศ.๒๑๐๐ สามารถปราบปรามไทยใหญ่ ส�ำเร็จ (เมืองสีป่อ และเมืองนาย) เป็นผลให้ อาณาจักรพม่าแห่งหงสาวดีมีเขตแดนที่กว้าง ใหญ่มากขึ้น พ.ศ.๒๑๐๑ ทรงเสด็จยกกองทัพ ไปตีเมืองล้านนาได้ส�ำเร็จพร้อมทั้งทรงตั้งให้ เจ้าเมืองล้านนา (พระเจ้ามกุฏิ) ปกครองต่อ ไป พร้อมทัง้ ทรงกวาดต้อนชาวเมือง และทีเ่ ป็น ช่างสาขาต่าง ๆ ไปเป็นเชลยศึก เพื่อเป็นการ ลดขีดความสามารถทางทหารให้ต�่ำลงจนไม่ สามารถในการคิดที่จะแยกตัวเป็นอิสระต่อไป เมืองมณีปุระ (Manipur) ที่อยู่ชายแดนทาง ด้านตะวันตกเฉียงเหนือปลายเขตอาณาจักร ใกล้กบั อินเดียก็ยอมอยูร่ ว่ มอาณาจักรด้วย เป็น ผลให้อาณาจักรพม่าแห่งหงสาวดีมีอาณาเขต เพิ่ ม มากขึ้ น ตลอดลุ ่ ม แม่ น�้ ำ อิ ร ะวดี แ ละลุ ่ ม แม่น�้ำโขงตอนบน

พระอนุสาวรีย์พระเจ้าบุเรงนองแห่ง อาณาจักรพม่ากรุงหงสาวดี อยูท่ จี่ งั หวัด เกาะสองตรงข้ามกับจังหวัดระนอง

๓. บทสรุป อาณาจักรพม่าในยุคที่สองแห่งตองอูเริ่ม ต้นจากอาณาจักรขนาดเล็ก เริ่มต้นการขยาย อ�ำนาจสู่อาณาจักรใกล้เคียง พระเจ้าตะเบง ชะเวตี้ ท รงรบชนะอาณาจั ก รมอญและทรง ย้ายเมืองหลวงมาตั้งที่กรุงหงสาวดี มีแม่ทัพ ใหญ่คือบุเรงนองที่มีความเชี่ยวชาญในกลศึก และท� ำ การรบเข้ มแข็ ง ร่ ว มออกรบและน�ำ กองทัพพม่าในการเข้าตีเมืองต่าง ๆ อาณาจักร พม่ า แห่ ง กรุ ง หงสาวดี จึ ง เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ อาณาจั ก รพม่ า ในยุ ค ที่ ส อง เริ่ ม ต้ น สู ่ ค วาม ยิ่งใหญ่ 49


ข้อควรรู้ของ

ประเทศอาเซียน

๗. สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมา (Myanmar)

พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช

เมื่ อฉบั บ ที่ แล้ ว ได้ น�ำเสนอ ข้อควรรู้ของ ข้อควรรู้ ประเทศอาเซียนไปหลายประเทศแล้ว คงจะ ๑. เวลาใน ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เร็ ว กว่ า ไทย ๑ เป็นประโยชน์ส�ำหรับท่านผู้อ่านไม่มากก็น้อย แต่ ก็ ยั ง เหลื อ อี ก ๔ ประเทศ ที่ ท ่ า นผู ้ อ ่ า น ชั่วโมง ๒. ปินอย (Pinoy) หมายถึง คนฟิลิปปินส์ สามารถน�ำข้อมูลไปใช้เมื่อจะเดินทางไปเที่ยว นั้นเอง ในอาเซียนด้วยกันได้ไม่มากก็น้อย ๓. ในฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ใ ช้ จ ่ า ยเงิ น สกุ ล เปโซ (Peso) ๔. ฟิลิปปินส์ไม่มีมะนาว มีแต่ส้มจี๊ดลูก เล็กๆ ๕. ไม่ควรพกของมีค่าติดตัวเยอะ เพราะ อาจเจอโจรกรรมได้ ๖. คุณควรให้ทปิ โดยประมาณ ๑๐% จาก ค่าบริการ ๗. ควรพกร่มติดตัว หากทัวร์เมืองบาเกียว เพราะเป็ น เมื อ งที่ มี ฝ นตกมากที่ สุ ด ในแถบ อาเซียน ๘. ชาวฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ช อบร้ อ งเพลง และ โปรดปรานกีฬาบาสเกตบอลสุดๆ แต่นักกีฬา ระดับโลกผู้สร้างชื่อเสียงให้ชาวฟิลิปปินส์ คือ เมืองหลวง แมนนี ่ ปาเกียว ซึ่งเป็นนักมวย กรุงมะนิลา ๙. ควรติดตามข่าวสารการเตือนภัยให้ดี ภาษา เพราะเกิ ดภัยธรรมชาติข้ึนบ่อยในฟิลิปปินส์ ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็น ๑๐. ห้างสรรพสินค้าเครือ SM Mall ใน ภาษาราชการ รองลงมาเป็น สเปน, จีน ฟิ ล ิปปินส์มีขนาดใหญ่ติดอันดับโลก ควรลอง ฮกเกี้ยน, จีนแต้จิ๋ว ฟิลิปปินส์ มีภาษา ไปดู ประจ�ำชาติคือ ภาษาตากาล็อก ๑๑. การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ ประชากร ประกอบด้วย มาเลย์ ๔๐%, จีน ๓๓%, ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่าย อิ น เดี ย ๑๐%, ชนพื้ น เมื อ งเกาะ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาข้ อ มู ล ให้ ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจด บอร์เนียว ๑๐% ทะเบี ย นภาษี และปั ญ หาทางด้ า นแรงงาน นับถือศาสนา คริสต์โรมันคาทอลิก ๘๓% คริสต์นกิ าย เป็นต้น โปรเตสแตนต์, อิสลาม ๕% ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเป็น ประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร

๖. ฟิลิปปินส์ (Philippines)

50

เมืองหลวง เนปีดอ (Naypyidaw) ภาษา ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการ ประชากร ประกอบด้ ว ยเผ่ า พั น ธ์ุ ๑๓๕ มี ๘ เชือ้ ชาติหลัก ๆ ๘ กลุม่ คือ พม่า ๖๘%, ไทยใหญ่ ๘%, กระเหรี่ยง ๗%, ยะไข่ ๔% จีน ๓% มอญ ๒% อินเดีย ๒% นับถือศาสนา นับถือพุทธ ๙๐%, คริสต์ ๕% อิสลาม ๓.๘% ระบบการปกครอง เผด็ จ การทางทหาร ปกครองโดย รัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและ การพัฒนาแห่งรัฐ

ข้อควรรู้ ๑. พม่าเป็นดินแดนแห่งชาติพนั ธ์ุ จากการ ส�ำรวจพบว่ามีประมาณ ๑๓๕ ชาติพันธ์ุ ๒. พม่าขับรถชิดเลนขวา ซึ่งแตกต่างจาก ไทย ๓. ควรสอบถามระยะเป็ น ไมล์ ไม่ ใ ช่ กิโลเมตร ๔. แม่ชีในพม่าห่มผ้าสีชมพู ๕. ชาวพม่าส่วนมากมักคงพึง่ พาการรักษา แบบโบราณ ๖. ผู้ชายขาวพม่านิยมกินหมาก ในขณะที่ ผู้หญิงนิยมใช้ทานาประทินโฉม ๗. แม้ในเมืองใหญ่อย่างย่างกุ้ง ไฟฟ้ามัก ดับเป็นประจ�ำ ๘. โรงพยาบาล ศาล สุสาน และโรงจ�ำน�ำ คือ ทุคติหรือสถานที่ที่ไม่เป็นมงคลต่อชีวิตใน ความคิดของชาวพม่า ๙. ควรซื้อของจากร้านที่มีใบรับรองจาก รัฐบาล หรือร้านค้าทีม่ ชี อื่ เสียง มิฉะนัน้ มีปญ ั หา เวลาน�ำของออกนอกประเทศ ๑๐. ไม่ควรคิดหรือรู้สึกกับชาวพม่าว่าเป็น ข้าศึกผู้รุกรานกรุงศรีอยุธยา  พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช


การที่จะไปเรียนต่อสิงคโปร์ ต้องระมัดระวัง ให้ดี ๕. ห้ามถ่มน�้ำลายในที่สาธารณะ ๖. ถ้าบุคคลใดเก็บรักษา ครอบครอง เป็น เจ้าของ เล่น หรือแจกจ่ายดอกไม้ไฟที่เป็น อันตราย (อาทิเช่น ประทัด จรวด หรือดอกไม้ไฟ ประเภทอื่ น ๆ) จะต้ อ งเสี ย ค่ า ปรั บ ไม่ เ กิ น ๕,๐๐๐ ดอลลาร์สิงคโปร์ หรือถูกจ�ำคุกไม่เกิน สองปี หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ๗. สิงคโปร์เข้มงวดกับการใช้ยาเสพติด มาก ห้ามมิให้ขนย้ายหรือพกพายาเสพติดและ เมืองหลวง สารออกฤทธิ์ทางประสาทอย่างเด็ดขาด สิงคโปร์ ๘. ถ้าสูบบุหรี่บนรถไฟฟ้า ถ้าถูกจับได้จะ ภาษา โดนปรับ ๑,๐๐๐ ดอลลาร์สิงคโปร์ ถ้าน�ำน�้ำ ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รอง หรืออาหารมาทานถูกปรับ ๕๐๐ ดอลลาร์ ลงมาคื อ จี น กลาง ส่ ง เสริ ม ให้ พู ด ได้ สิงคโปร์ และถ้าน�ำวัตถุไวไฟขึ้นมาบนรถไฟ ๒ ภาษาคือ จีนกลาง และให้ใช้อังกฤษ จะถูกปรับ ๕,๐๐๐ ดอลลาร์สิงคโปร์ และที่ เพื่อติดต่องานและชีวิตประจ�ำวัน ส�ำคัญห้ามน�ำทุเรียนเข้ามาในรถไฟฟ้าเด็ดขาด ประชากร ประกอบด้วยชาวจีน ๗๖.๕%, มาเลย์ ๑๓.๘%, อินเดีย ๘.๑% นับถือศาสนา พุทธ ๔๒.๕%, อิสลาม ๑๔.๙%, คริสต์ ๑๔.๕%, ฮินดู ๔%, ไม่นับถือศาสนา ๒๕% ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็น ประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า ฝ่ายบริหาร

๘. สิงคโปร์ (Singapore)

ข้อควรรู้ ๑. หน่วยราชการเปิดท�ำการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ น.- ๑๓.๐๐ น. และ ๑๔.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. และวันเสาร์ เปิด ท�ำการระหว่างเวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. ๒. การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบ อาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษ อย่างรุนแรง ๓. การลักลอบน�ำยาเสพติด อาวุธปืนและ สิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุนแรง ถึงขั้นประหารชีวิต ๔. สิ ง คโปร์ ห ้ า มสู บ บุ ห รี่ ใ นที่ ส าธารณะ เช่น รถโดยสารสาธารณะ พิพิธภัณฑ์ ห้อง สมุด ลิฟท์ โรงละคร โรงภาพยนตร์ ร้านอาหาร ติดเครื่องปรับอากาศ ร้านเสริมสวย ซูเปอร์ มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า และสถานที่ราชการ หากฝ่ า ฝื น จะโดนปรั บ ๑,๐๐๐ ดอลลาร์ สิงคโปร์ ทั้งนี้มีการอนุญาตให้สูบบุหรี่ในสถาน ที่ติดเครื่องปรับอากาศบางแห่ง เช่น ผับ ดิส โกเธค คาราโอเกะ และสถานบันเทิงยามราตรี หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

๓. หากน�ำเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้า มามากกว่า ๗,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ ต้องแจ้ง ให้ ศุ ล กากรเวี ย ดนามทราบการน� ำ เงิ น ตรา ออกประเทศมากกว่า ๗,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ ต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งชาติหรือ ธนาคารกลางในท้องถิ่นก่อน มิเช่นนั้นจะถูก ยึดเงิน ๔. บ ท ล ง โ ท ษ ข อ ง เ วี ย ด น า ม ใ น ค ดี ยาเสพติด การฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษ ประหารชีวิต ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาถือว่าเป็นความรูส้ ว่ นหนึง่ เป็นข้อควรรูใ้ นการเดินทางไปประเทศอาเซียน ด้วยกัน ซึ่งประเทศไทยเองก็ไม่เคร่งครัดนัก แต่หากว่าเราต้องเดินทางไปบางประเทศใน อาเซียนด้วยกัน คงต้องศึกษารู้ธรรมเนียมการ ปฏิบัติของแต่ละประเทศเอาไว้บ้าง เพื่อจะได้ สะดวกในการเดินทางหรือเป็นข้อควรระวังใน การเดินทางไป เพื่อการติดต่อสื่อสาร การท�ำ ธุรกิจที่จะเป็น AEC ในไม่ช้านี้ ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Gotoknow โดย แพรภัทร http://www.thai-aec.com/ Tagged with : ข้อมูลประเทศสิงคโปร์ การท่องเที่ยวมาเลเซีย/thai.monoplanet เรียบเรียงโดย Travel MThai mthai.com

๙. เวียดนาม (Vietnam)

เมืองหลวง ฮานอย ภาษา ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาราชการ ประชากร ประกอบด้วยชาวเวียด ๘๐%, เขมร ๑๐% นับถือศาสนา พุ ท ธนิ ก ายมหายาน ๗๐%, คริ ส ต์ ๑๕% ระบบการปกครอง ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์ เป็นพรรคการเมืองเดียว ข้อควรรู้ ๑. หน่ ว ยงานราชการ ส� ำ นั ก งาน และ องค์ ก รให้ บ ริ ก ารสาธารณสุ ข เปิ ด ท� ำ การ ระหว่างเวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. ตั้งแต่ วันจันทร์ – ศุกร์ ๒. เวียดนามไม่อนุญาตให้ถา่ ยภาพอาคาร ที่ท�ำการต่าง ๆ ของรัฐ 51


“ Language Phenomena in Surabaya ”

พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ

ร ากฏการณ์ ท างด้ า นภาษา ณ เมืองสุราบายา นี้คือค�ำแปลของ หั ว เรื่ อ งข้ า งต้ น แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว การเดิ น ทางไปเมื อ งสุ ร าบารา สาธารณรั ฐ อินโดนีเซีย ของผู้เขียนในห้วงวันที่ ๒๒ ถึง ๒๖ สิ ง หาคม ๒๕๕๗ นั้ น เป็ น การไปเข้ า ร่วมประชุมนานาชาติในหัวข้อ “Language Phenomena in Urban Society” หรือ แปลภาษาไทยว่ า “ปรากฏการณ์ ท างด้ า น

๑. การปนภาษาและการสลับภาษาในการ สื่อสารในสังคม (Code-mixing and codeswitching in the communication in the society) ๒. ผลสะท้อนทางด้านวัฒนธรรมของภาษา (Cultural reflection in language) ๓. ภาษาที่ใช้ในภาพยนตร์และโทรทัศน์ (Language in film and television)

ภาษาในสังคมเมือง” ซึ่งจัดโดยมหาวิทยาลัย แอร์ลังกา ( Airlangga University) ณ เมือง สุราบายา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และมีนัก วิชาการ นักวิจัยและนักภาษาศาสตร์ทั่วโลก เข้าร่วมประชุมและน�ำเสนอผลงานด้านวิจัย และวิชาการจ�ำนวนมาก เช่น ญี่ปุ่น เมียนมาร์ มาเลเซีย โปตุเกส อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย สิงคโปร์ ซาอุดิอาระเบีย ออสเตรเลีย บรูไน และอินโดนีเซีย เป็นต้น ในการประชุมดังกล่าว มี ป ระเด็ น ที่ น ่ า สนใจ เกี่ ย วกั บ ภาษาต่ า ง ๆ อาทิ เช่น

๔. การสอนและการเรียนภาษาในสังคม เมืองและสังคมชนบท ( Language teaching and learning in rural and urban societies) ๕. การอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่นในสังคมเมือง (Maintenance of a local language in urban society) ๖. ความท้าทายและโอกาสในการจัดท�ำ พจนานุกรมในภาษาท้องถิน่ (The challenges and opportunities of lexicography of local languages)

52

๗. พลวัตขิ องภาษาในงานวรรณกรรม (The dynamics of language in literature) ๘. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศต่อชุมชน ในท้องถิ่น (The influence of a foreign language in a local community) ๙. การใช้พจนานุกรมทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ (The use of dictionaries in the information technology era)

พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ


๑๐. การแปลส� ำ นวนและค� ำ ศั พ ท์ ท าง ด้านวัฒนธรรม (Translation of cultural phrases and terms) เมือ่ กล่าวถึงภาษา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ได้ ชือ่ ว่าเป็นประเทศทีม่ ภี าษาพูดทีแ่ ตกต่างหลาก หลาย จ�ำนวนมาก จากข้อมูลทางด้านชาติ พันธ์ุวิทยา (Ethnology) หรือจากนักวิชาการ ด้านชาติพันธ์ุวิทยา (Ethnologue) ระบุไว้ว่า ในจ�ำนวนภาษาประมาณ ๗,๑๐๕ ภาษาจาก ๒๐๐ ประเทศทั่ ว โลกนั้น ส่ว นใหญ่ม าจาก ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย ถึงแม้ว่าภาษา ราชการของอินโดนีเซียจะเป็นภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียก็ตาม แต่ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจ�ำ วันได้แก่ ภาษาอังกฤษ, ภาษาดัทช์ ภาษา ท้องถิ่น และภาษาที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ภาษาชวา เป็นต้น แต่ ที่ จ ะมาเล่ า สู ่ กั น ฟั ง ในฉบั บ นี้ คื อ ปรากฏการณ์การใช้ภาษาอินโดนีเซียที่ ผู้เขียน ได้ฝึกพูดระหว่างเดินทางไปเมืองสุราบายา ซึ่ง เป็นเมืองเอกของชวาตะวันออก และเป็นเมือง ที่ใหญ่เป็นอันดับ ๒ รองลงมาจาก จาการ์ตา เมืองหลวงของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ค�ำว่า สุราบายาในภาษาอินโดนีเซีย คือ สุรา แปล ว่า ปลาฉลาม ส่วน บายา แปลว่า จระเข้ โดย เมืองนีม้ ปี ระชากรมากกว่า ๔ ล้านคน และรูจ้ กั กันในชื่อเมืองแห่งวีรบุรุษ ภาษาที่ใช้คือภาษา ชวาและภาษาอินโดนีเซีย ดังนั้นก่อนเดินทาง มาเมืองสุราบายา ผู้เขียนจึงได้ฝึกท่องค�ำศัพท์ และประโยคที่ส�ำคัญๆ ไว้ใช้ในการสื่อสารดังนี้ ๑. เมื่อเดินทางมาถึงสนามบินสุราบารา ผู้เขียนได้พยายามสื่อสารเพื่อต้องการจะบอก ว่าจะไปโรงแรมแชงกรีล่าโดยพูดว่า ซายา เมา กี แชงกรีล่า โฮเต็ล (Saya mau ke Shangrila hotel) และถามต่อว่า แท็กซี่ราคาเท่าไหร่ โดยพูดว่า เบอราปา เบียยา ทักซี่ยา (Berapa biaya taxinya?) ท�ำให้คนขับแท็กซี่ยกป้าย บอกราคาได้ ๒. ต่อมาเมือ่ ถึงโรงแรม ผูเ้ ขียนก็เริม่ แนะน�ำ ตัวเองว่า ฉันมาจากประเทศไทย โดยพูดว่า ซายา ดารี ไทยแลนด์ (Saya dari Thailand) หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

๓. ในสนทนาเราต้องการถามว่า คุณพูด ภาษาอังกฤษได้ไหม โดยพูดว่า อันดา บิซา บา ฮาซา อิงกิส (Anda bisa bahasa Inggris? ) ๔. และเมื่อเราต้องการบอกว่า ฉันพูดภาษา อินโดนีเซียได้นิดหน่อย เราจะพูดว่า ซายา บิซา บาฮาซา อินโดนีเซีย เซอดิกิต (Saya bisa bahasa Indonesia sedikit) ๕. พอช่วงเย็น ๆ ผู้เขียนต้องการจะไปเดิน เล่นที่ห้างสรรพสินค้า เลยคุยกับเจ้าหน้าที่ โรงแรมเพื่ อ ถามว่ า จะไปที่ ห ้ า งสรรพสิ น ค้ า อย่างไร โดยพูดว่า บาไกมานา จารันยา กี ช้อป ปิ้งมอล (Bagaimana caranya ke shopping mall? ) ๖. บอกให้ช่วยเรียกแท็กซี่ให้หน่อยโดยพูด ว่า ตูลง ปังกีลกัน ตั้กซี่ อุตตุก ซายา (Tolong panggilkan taxi untuk saya) ๗. บอกแท็กซี่ให้ไปที่ Terminal 2 ให้พูด ว่า ซายา ดี เทอมิเนล ทู (Saya di terminal 2) ๘. และกล่าวขอบคุณที่ดูแลฉัน โดยกล่าว ว่า เตอริมากาซิ อาตาส บันตวนยา (Terima kasih atas bantuannya.) ๙. ท้ายสุดพูดว่า ฉันหวังว่า จะได้กลับมา ที่สุราบายาอีก โดยพูดว่า ซายา เบอรฮารับ เบอร์กันจุง กี สุราบายา ลากี (Saya berharap berkunjung ke Surabaya lagi.) ในการเดิ น ทางไปสุ ร าบายาครั้ ง นี้ จึ ง เป็นการเริ่มต้นในการฝึกภาษาอินโดนีเซียของ ผู้เขียนที่ได้ลองน�ำประโยคและส�ำนวนต่างๆ ไปฝึกพูดสถานการณ์จริง ถึงแม้ว่าในบางครั้ง เราอาจจะออกเสียงผิดบ้างถูกบ้าง แต่เชื่อว่า ประชาชนในพื้นที่คงไม่หัวเราะเราแต่จะช่วย สอนให้เราออกเสียงได้ถูกต้องอีกด้วย พอเดิน ทางออกมาจากเมืองสุราบายา ผู้เขียนได้รับ การต้อนรับอย่างดีจาก พันเอก พงษ์ศักดิ์ หมื่น กล้าหาญ ผู้ช่วยทูตทหารบกไทย ประจ�ำกรุง จาการ์ตา และได้มีโอกาสฝึกภาษาอินโดนีเซีย กับแม่บ้านอินโดนีเซียในตอนเช้าวันหนึ่งดังนี้

แม่บ้าน : เซอลามัต บากี อีบู Selamat pagi ibu. (สวัสดีตอนเช้าค่ะ คุณผู้หญิง) ซูดะห์ ลาบาร์ Sudah labar? (หิวแล้วยัง) อาจารย์วันดี : เซอลามัตบากี ลาบาร์ เซอดิกติ Selamat pagi labar sedikit. (สวัสดีตอนเช้าค่ะ หิวนิดหน่อย) แม่บ้าน : อีบู มากันซาราปัน Ibu, makan sarapan ? (จะรับประทาน อาหารเช้าไหม) อาจารย์วันดี : ฮารี อีนิ มากันอัน อาปา Hari ini makanan apa? (วันนี้ มีอะไรกิน) แม่บ้าน : อาดา บูบูร์ อายัม ดัน บูบูร์ อีดัง Ada bubur ayam dan bubur udang. (มีข้าวต้มไก่และข้าวต้มกุ้ง) อาจารย์วันดี : มินต้า โกปี ติดัค มานิส ซาจา Minta kopi tidak manis saja. ขอกาแฟไม่หวาน มากันนัน เออน่ะ เซอกาลี Makanan enak sekali อาหารอร่อย ช่วงนี้หากพบผู้เขียนนั่งท่องศัพท์ภาษา อินโดนีเซีย ก็อย่าแปลกใจนะคะ เพราะตั้งใจ ภายในเวลาสองปี จะต้องพูด อ่านและเขียน ภาษาอินโดนีเซียให้ได้ แล้วคุณล่ะ สนใจภาษา ต่างประเทศสักภาษาแล้วหรือยัง จึงขอเชิญ ชวนให้เริ่มฝึกฝนภาษาต่างประเทศ เช่น กลุ่ม ภาษาในภูมิภาคอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษาอินโดนีเซีย ภาษา มาเลย์ ภาษาเวี ย ดนาม ภาษาลาว ภาษา เมียนมาร์ หรือภาษาตากาล๊อก เพราะนอกจาก เราจะได้เรียนรู้ค�ำศัพท์ใหม่ ๆ และยังเป็นการ เชื่ อ มต่ อ ประเพณี แ ละวั ฒ นธรรมของแต่ ล ะ ประเทศ เข้าด้วยกันอีกด้วย 53


สาระน่ารู้ทางการแพทย์

“โรคพาร์กนิ สัน

(Parkinson's Disease)” ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ยากลุ่มใหม่ ๆ ที่น�ำมาใช้รักษาโรคพาร์กินสัน ได้แก่ dopamine agonists ซึ่งเป็นสารออก ฤทธิ์เลียนแบบผลของโดปามีน ตัวอย่างเช่น pergolide และ bromocriptine อีกกลุ่ม หนึ่งเป็นยาที่ออกฤทธิ์ต้านเอ็นไซม์ MAO-B ท�ำให้โดปามีนออกฤทธิ์ได้มากขึ้น ตัวอย่าง เช่น selegiline และยาทีอ่ อกฤทธิต์ า้ นเอ็นไซม์ COMT ช่วยเสริมฤทธิ์เลโวโดปา ตัวอย่างเช่น entacapone เป็นต้น การรักษาโดยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า ในสมอง เรียกว่า deep brain stimulation (DBS) ได้ผลดีในผู้ป่วยจ�ำนวนมากและการ ศึกษาวิจัยปลูกถ่ายเซลล์ต้นก�ำเนิด หรือ stem cell therapy เชื่อว่าจะประสบความส�ำเร็จ ในไม่ช้านี้

ป ็ น โรคที่ เ กิ ด จากความผิ ด ปกติ ข อง ระบบประสาทเนื่องจากการขาดสาร โดปามีนในสมอง พบได้บ่อยในผู้สูง อายุทั้งเพศชายและหญิง โรคนี้เกิดขึ้นจากการ เสื่อมและตายไปของเซลล์สมอง ในต�ำแหน่ง ที่สร้างสารโดปามีน จนไม่สามารถสร้างสาร โดปามีนได้เพียงพอซึ่งสารนี้มีความส�ำคัญต่อ การควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ผู้ป่วย โรคพาร์กินสัน มีอาการสั่นขณะอยู่เฉย ๆ เกิด ขึ้นที่มือหรือเท้า ซีกใดซีกหนึ่งหรือทั้ง ๒ ซีก เคลื่อนไหวช้าลง เช่น เดินช้าลง แขนไม่แกว่ง พูดเสียงเบา มักมีอาการแข็งตึงของแขนขาและ ล�ำตัว ท�ำให้เคลื่อนไหวล�ำบาก นอกจากนี้ยัง พบความผิดปกติของท่าทาง และการทรงตัว เช่น หลังค่อม แขนงอ หกล้มง่าย นั่งตัวเอียง ส่วนอาการอื่นๆ ที่มักพบร่วมด้วยได้แก่ อาการ ปวดตามกล้ามเนือ้ ซึมเศร้า นอนไม่หลับ สีหน้า เฉยเมย ไม่แสดงอารมณ์ น�้ำลายไหลบ่อย ไม่ สามารถควบคุมได้ ลายมือเปลี่ยนไป 54

ออกก�ำลังกายป้องกันโรค พาร์กินสัน ขณะนี้ยังไม่มีวิธีการรักษาใดที่จะท�ำให้โรค พาร์กนิ สันหายขาดได้เนือ่ งจากไม่สามารถหยุด ยั้งความเสียหายที่เกิดกับเซลล์สมอง อย่างไร ก็ต ามก็ยั ง มี ห ลายวิ ธี ใ นการบ� ำ บั ด รั ก ษาเพื่ อ ควบคุมอาการหรือชะลอไม่ให้โรคเลวลงเร็วนัก เมื่อวินิจฉัยได้แล้วว่าผู้ป่วยเป็นโรคพาร์กินสัน แพทย์จ�ำเป็นต้องวางแผนการรักษาติดตาม อาการ และประเมินผลการรักษาเป็นระยะ ๆ แตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย หลักการใช้ยาก็เพื่อระงับและยับยั้งอาการ สั่ น การเคลื่ อ นไหวผิ ด ปกติ แ ละปรั บ ความ สมดุลของร่างกาย ทั้งนี้คนไข้คนหนึ่งอาจต้อง ให้ยามากกว่าหนึ่งขนาน ยาที่ใช้บ่อยๆ ได้แก่ เลโวโดป้า (levodopa) ซึ่งเมื่อยาเข้าสู่ร่างกาย แล้วจะถูกแปลงเป็นสารโดปามีน เพื่อเสริม ให้เซลล์สมองที่ไม่สามารถผลิตสารนี้ได้มาก พอ ยานี้มักจะต้องให้ควบคู่กับยาขนานอื่น เพื่อช่วยขนส่งยาไปถึงสมองได้มากขึ้น ผู้ป่วย บางรายใช้ไปนาน ๆ แล้วพบว่ายาเสื่อมฤทธิ์ลง

รายงานการศึ ก ษาวิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย ฮาร์วาร์ดตีพิมพ์ในวารสารประสาทวิทยาเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๐๑๔ พบว่าการออกก�ำลัง กายอย่างสม�่ำเสมอช่วยป้องกันการเกิดโรค พาร์กินสันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเพศชายที่ ฟิตร่างกายตั้งแต่อายุยังน้อย จากการค�ำนวณ ทางสถิ ติ แ ละวิ เ คราะห์ ผ ลการศึ ก ษาพบว่ า สามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคพาร์กิน สันได้มากถึงร้อยละ ๕๐

วิธีรับมือกับอาการเจ็บ แน่นหน้าอกเฉียบพลัน ภาวะเจ็บแน่นหน้าอกเฉียบพลันอาจเกิดได้ จากหลายสาเหตุ เช่น โรคที่เกิดจากระบบทาง เดินหายใจ ทางเดินอาหาร กล้ามเนือ้ หัวใจหรือ หลอดเลือดตีบสาเหตุที่ส�ำคัญ คือ ภาวะกล้าม เนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดหัวใจตีบซึ่ง เป็นอันตรายถึงชีวิต

ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


สัญญาณอันตรายจาก ภาวะหัวใจขาดเลือด อาการเจ็ บ แน่ น หน้ า อกระหว่ า งราวนม ลิน้ ปี่ คล้ายมีอะไรบีบรัดหรือกดทับ อาจร้าวไป ที่คอกราม แขนซ้ายด้านใน และอาจมีอาการ อื่นร่วมด้วย เช่น เหงื่อออก ตัวเย็น เวียน ศีรษะหน้ามืด เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ ใจ สั่น เป็นลักษณะเฉพาะของโรคกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ที่ เ ป็ น ผลจากภาวะหลอดเลื อ ดหั ว ใจตี บ ตั น เมื่ อ หลอดเลื อ ดหั ว ใจตี บ ตั น กล้ า มเนื้ อ หั ว ใจ จะตายในเวลาอันรวดเร็วภายใน ๖ ชั่วโมง กล้ามเนือ้ หัวใจส่วนทีข่ าดเลือดอาจตายมากถึง ร้อยละ ๙๐ และส่วนที่ดีอีกประมาณ ร้อยละ ๑๐ ถ้ากล้ามเนื้อหัวใจตายเป็นบริเวณกว้าง จะท� ำ ให้ เ กิ ด ภาวะหั ว ใจล้ ม เหลวเฉี ย บพลั น หัวใจวายเฉียบพลัน และเสียชีวิตในที่สุด โอกาสในการเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจ ตีบตันที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ ผู้ชายอายุ ๔๐ ปี ขึน้ ไป และผูห้ ญิงอายุมากกว่า ๕๕ ปีขนึ้ ไป โดย มีโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือด สูง สูบบุหรี่ เครียด ขาดการออกก�ำลังกายอย่าง สม�่ำเสมอ หรือมีประวัติสมาชิกในครอบครัวที่ เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจความเสีย่ งจะยิง่ สูงขึน้ การรักษาเพื่อเปิดหลอดเลือดที่ตีบตันอาจ ท�ำได้โดย - การให้ยาละลายลิ่มเลือด (ดีที่สุดภายใน ๓๐ นาที หลังผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล) - การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน (ดี ที่ สุ ด ภายใน ๙๐ นาที หลั ง ผู ้ ป ่ ว ยมาถึ ง โรงพยาบาล) - การผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ จะเห็นได้ว่าการรักษาโรคกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลือดเฉียบพลันญาติหรือคนใกล้ชิด ควร รีบส่งผู้ที่มีอาการสงสัยว่าอยู่ในภาวะหัวใจขาด เลือด พบแพทย์ที่โรงพยาบาลโดยเร็วที่สุดซึ่ง แพทย์จะรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดหัวใจ ทันที เพื่อให้กล้ามเนื้อหัวใจเสียหายน้อยที่สุด ลดอัตราการตาย และภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ที่ อาจเกิดขึ้นได้

หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

55


พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานของ กระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๗ โดยมี พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหมและนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ วัดอนงคาราม วรวิหาร แขวงสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพฯ เมื่อ ๕ พ.ย.๕๗

พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการ ทหารบก พร้อมด้วย พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหาร สูงสุด ผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพและนายทหารชัน้ ผูใ้ หญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมในการพระราชพิธี ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดเทพศิริน ทราวาส เมื่อ ๑๘ ต.ค.๕๗

56


พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมพร้อมด้วย พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพและนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมในการพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อ ๑๗ ต.ค.๕๗ พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการเหล่าทัพและนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมในการพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อ ๑๖ ต.ค.๕๗

หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

57


พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธ ี วางพวงมาลาในนามกระทรวงกลาโหมและ พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม วางพวงมาลาในนามส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมี รองปลัดกระทรวงกลาโหม และ นายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วมพิธี เพื่อถวายราชสักการะ พระบรมราชานุสรณ์ รัชกาลที่ ๕ เนื่องในวันปิยมหาราช ณ ลานพระราชวังดุสิต เมื่อ ๒๓ ต.ค.๕๗

พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม มอบนโยบายให้กับก�ำลังพลที่ไป ปฏิบตั ริ าชการ Combined Task Force 151 (CTF 151) ระหว่าง วันที่ ๗ พ.ย.๕๗ ถึง ๑๒ มี.ค.๕๘ ณ ราชอาณาจักรบาห์เรน โดยมี พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหมและผู ้ บั ญ ชาการทหารบก พร้ อ มด้ ว ยนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๔ พ.ย.๕๗

พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม รับมอบใบประกาศนียบัตรและเข็ม สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ ห้องสนามไชย ภายใน ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๕ พ.ย.๕๗ 58


พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในการประชุมร่วมระหว่างคณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมประชุม ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๔ พ.ย.๕๗

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พร้อมด้วย พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ และนายทหารชั้ น ผู ้ ใ หญ่ ข องส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ร่วมงานเลี้ยงรับรอง เนื่อง ในวันต�ำรวจ ณ สโมสรต�ำรวจ ถ.วิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๓ ต.ค.๕๗ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

59


พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหมและคณะ ตรวจเยี่ยมและรับฟังการบรรยายสรุปภารกิจของโรงงานเภสัชกรรมทหาร ศูนย์การ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ณ ห้องประชุมโรงงานเภสัชกรรมทหารฯ ในพื้นที่กล้วยน�้ำไท เมื่อ ๒๒ ต.ค.๕๗

พลโท สุ ว โรจน์ ทิ พ ย์ ม งคล เจ้ า กรม การเงินกลาโหมน�ำข้าราชการกรมการเงิน กลาโหม ร่วมลงนามถวายพระพร พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ ศาลาศิรริ าช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ ๒๘ ต.ค.๕๗

60


หัวหน้าหน่วยขึ้นตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมน�ำข้าราชการในสังกัดลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช

พลโท ถเกิงกานต์ ศรีอ�ำไพ เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมและคณะ เมื่อ ๒๔ ต.ค.๕๗

พลตรี ภราดร จินดาลัทธ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหมและคณะ เมื่อ ๒๘ ต.ค.๕๗

พลอากาศตรีหญิง รจเรขา เบญจกุล ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและคณะ เมื่อ ๗ พ.ย.๕๗

พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและคณะ เมื่อ ๑๖ ต.ค.๕๗ หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

61


กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม สั ก การะสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ภ ายในศาลาว่ า การ กลาโหม และจั ด งานเลี้ ย งรั บ รอง เนื่ อ งใน โอกาสวั น คล้ า ยวั น สถาปนาสมาคมภริ ย า ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ครบรอบปี ที่ ๒๔ ณ ห้องพินิต ประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๗ พ.ย.๕๗

62


นางพรวิ ม ล ดิ ษ ฐกุ ล นายกสมาคม ภ ริ ย า ข ้ า ร า ช ก า ร ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด กระทรวงกลาโหมและคณะ เข้ า เยี่ ย ม ค า ร ว ะ อ ดี ต น า ย ก ส ม า ค ม ฯ เนื่ อ งในโอกาสเข้ า รั บ หน้ า ที่ ใ นต� ำ แหน่ ง นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๗ ต.ค.๕๗ คุณหญิงแสงเดือน ณ นคร

คุณหญิงสรัสนันท์ เรืองตระกูล

คุณหญิงอรพรรณ ศศิประภา

พลโทหญิง วรนุช เบื้องบน

นางศศิณี ภัททิยกุล

นาวาอากาศเอกหญิงแพทย์หญิง เพ็ญศรี เกษโกวิท หลักเมือง พฤศจิกายน ๒๕๕๗

63


นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นายกสมาคมแม่บ้านเหล่าทัพ นายกสมาคม แม่บา้ นองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก และคณะ เนือ่ งในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่งนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องรับรองสมาคมฯ ชั้น ๑๐ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๔ ต.ค.๕๗

นางวิชชุดา สง่าเนตร นายกสมาคมแม่บ้านกองบัญชาการกองทัพไทย เมื่อ ๑๔ ต.ค.๕๗

นางณุฉัตรา จันทร์สุวานิชย์ นายกสมาคมภริยาทหารเรือ เมื่อ ๑๔ ต.ค.๕๗

นางอุดมลักษณ์ สนแจ้ง นายกสมาคมแม่บ้านทหารอากาศ เมื่อ ๑๐ ต.ค.๕๗

นางวาสนา สริวัฒน์ นายกสมาคมแม่บ้านองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก เมื่อ ๙ ต.ค.๕๗

นางพจมาน พุ่มพันธ์ุม่วง นายกสมาคมแม่บ้านต�ำรวจ เมื่อ ๙ ต.ค.๕๗ 64


๒๕ พฤศจิกายน วันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า

"ALL WE CAN DO IS DO OUR BEST " ปวงข้าบาทน้อมบังคมก้มเกศี ร�ำลึกพระกรณียกิจสฤษฎ์พราว ยามสงครามน�ำชาติปราศทุกข์เข็ญ ธงไตรรงค์ปลิวสะบัดพัดร�ำแพน ทรงก่อตั้ง เสือป่า รักษาชาติ ขุมก�ำลังส�ำรองป้องล�ำเนา องค์ปราชญ์เด่นวรรณกรรมธ�ำรงศิลป์ ทรงก่อตั้งกิจลูกเสือเอื้อรุ่งเรือง เทิดพระเกียรติทรงสร้างทางสุกใส น้อมจารึกพระคุณธรรมน�ำประคอง

ถวายพลีมหาธีรราชเจ้า อันสกาวทั่วเขตคามสยามแดน ไทยโดดเด่นสงครามโลกโบกทุกข์แสน ทุกแว่นแคว้นต่างตระหนักรู้จักเรา ชนสามารถสร้างวินัยไม่ขาดเขลา ร่วมใจเฝ้าคุ้มครองถิ่นดินแดนเมือง ทรงประคิ่นฉันทลักษณ์ไทยให้กระเดื่อง นามฟุ้งเฟื่องเลื่องลือถือสัตย์ครอง เพื่อชนไทยสุขสบายคลายเศร้าหมอง ขอเป็นข้ารองพระบาททุกชาติเทอญ

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ก�ำลังพลสังกัดกระทรวงกลาโหม (พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ประพันธ์)

พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม


ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ISIS

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๔ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

www.lakmuangonline.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.