ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
วันนี้... ชาติบ้านเมืองมีปัญหา เราได้รับเกียรติและโอกาส ให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ขอให้มีความภาคภูมิใจ และมุ่งมั่นทุ่มเท ท�ำภารกิจครั้งนี้ให้ส�ำเร็จโดยเร็ว พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๒ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
www.lakmuangonline.com
โครงการจิตส�ำนึกรักเมืองไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (ปีท่๖ี ) เทิดเกียรติผู้บังคับบัญชาและนายทหารอาวุโส ที่ครบวาระเกษียณอายุราชการตามแนวทางรับราชการ
วันและคืน คืบคลาน ผ่านพรรษา เคยค�่ำเคร่ง เร่งสาน งานความดี ทุกค�่ำเช้า เคยประดิษฐ์ และคิดเขียน สานมั่นคง ทั่วถิ่นไทย ได้ดั่งปอง หนึ่ง นักรบ เสนาธิการ ผู้หาญกล้า ยอดผู้น�ำ สมานฉันท์ พลันพร้อมพรัก สุภาพบุรุษ ทหารเรือ เชื้อชายชาติ ผู้บริหาร ความมั่นคง ธ�ำรงรัฐ พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ ยอดนักรบ ผู้แกร่งกล้า เกินปรารมภ์ ผู้ขับเคลื่อน งบประมาณ สานยุทธศาสตร์ สืบเสนาธิการกิจ วิศรุต พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง อุตสาหกรรม พลังงาน ผ่านหนามขวาก นามเจ้ากรม ชนยอมรับ ผู้ขับเคลื่อน นาม พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ กิจทหารผ่านศึก อันลึกล�้ำ รักษาสิทธิ์ ทหารกล้า ฝ่าโพยภัย อีกมากมาย หลายท่าน เคยสานกิจ เคยทุ่มเท เคยสร้างสรรค์ ปันไมตรี วันและคืน คือเงื่อนไข ให้พลัดพราก ขอร�ำลึก มวลความดี ที่น้อมน�ำ
สืบเวลา ต้องพราก จากหน้าที่ จวบบัดนี้ วางมือ มิถือครอง เคยพากเพียร ทุกกิจการ งานทั้งผอง ใคร่กลั่นกรอง เกียรติอ�ำไพ ให้ตระหนัก สู้ฟันฝ่า เชื่อมใจชน จนประจักษ์ นาม พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ผู้ประศาสน์ ทัพเรือไทย ให้เจนจัด นาม พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม ผู้รังสรรค์ กิจพัฒนา สง่าสม ชนชื่นชม ความเกรียงไกร ในการยุทธ์ ผู้เติมวาด กิจรังสรรค์ อันพิสุทธิ์ นาม พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค นามประเทือง สานกิจหมาย อันหลายหลาก งานแสนยาก เป็นเรื่องง่าย ดั่งใจจง ผู้ย�้ำเตือน ดุลยธรรม น�ำสูงส่ง ผู้ธ�ำรง ธรรมนูญศาล ทหารไทย มีผู้น�ำ แนวทาง สว่างไสว นาม พลเอก ชัยวัฒน์ สท้อนดี เคยร่วมจิต เคยสร้างท�ำ น�ำสุขี ขอสดุดี เกียรติไว้ ในทรงจ�ำ เพียงลาจาก เงื่อนเวลา อันพาพร�่ำ เพื่อเตือนย�้ำ ทหารไทย ไม่ทิ้งกัน
ผู้ประพันธ์ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีประกาศผลและมอบรางวัล โครงการจิตส�ำนึกรักเมืองไทย ปีที่ ๖ ในประเภทผลงานสร้างสรรค์บทเพลง สปอตโทรทัศน์ และสื่อโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ภายใต้แนวคิด “คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านทุจริต” ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๒ ก.ย.๕๗
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก
ที่ปรึกษา
พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ พล.ร.อ.พลวัฒน์ สิโรดม ร.น. พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.สิรวุฒิ สุคันธนาค พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.จิระ โกมุทพงศ์ พล.ท.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ยุทธนา กล้าการยุทธ พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต พล.ท.บรรเจิด เทียนทองดี พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ทวี พฤกษาไพรบูลย์ พล.ต.สังสิทธิ์ วรชาติกุล
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น. พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ วารสารหลักเมืองฉบับเดือนกันยายน ๒๕๕๗ นี้พิมพ์เผยแพร่ในช่วงเปลี่ยนผ่านโดยเฉพาะกับ ระบบราชการ ที่ถือว่าเดือนกันยายนเป็นเดือนสุดท้ายของปีงบประมาณการเกษียณอายุราชการของ ผู้รับราชการที่มีอายุครบ ๖๐ ปี ซึ่งเป็นที่สนใจส�ำหรับผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งระดับหัวหน้าส่วนราชการทั้ง ข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือน ในเดือนกันยายน ๒๕๕๗ นี้ อาจมีความแตกต่างจากทุกปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ของข้าราชการทหารที่จะไม่ได้มีโอกาสพักผ่อนหลังเกษียณอายุราชการซ�้ำกลับจะต้องมารับผิดชอบ ต่อค�ำมั่นสัญญาที่จะคืนความสุขให้กับคนในชาติซึ่งถือเป็นงานใหญ่และมีความส�ำคัญที่ประชาชนทั้ง หลายต่างเฝ้ารอและคาดหวังว่าจะเกิดการปฏิรูปที่เป็นรูปธรรม ในทุกมิติ กระแสการตอบรับในการเข้าบริหารประเทศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ประเด็นการปฏิรปู ประเทศเป็นสิ่งที่คนไทยทุกคนเฝ้ารอ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องใช้กลไก เวลา และที่ส�ำคัญคือ ความร่วม แรงร่วมใจของคนในชาติ ซึ่งมีสิ่งบอกเหตุหลายอย่างจากผู้น�ำประเทศ โดยเฉพาะประเด็นการเมือง เรื่องของประชาธิปไตยแบบไทยที่ต่างประเทศและนานาชาติยอมรับรวมกับการที่จะน�ำ “ค่านิยม ๑๒ ประการ” มาเผยแพร่ให้คนในชาติถือปฏิบัติทุกมิติน่าจะเป็นแนวทางที่ท�ำให้การปฏิรูปประเทศเกิด ผลสัมฤทธิ์ในทุกมิติโดยเร็ว
2
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๒ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
๔
๓๔
๑๐
๓๖
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม
การเยี่ยมชมกิจการ ของทหารผ่านศึก
พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม
An Army out of Control ไกลเกินกว่าจะสังหาร...ทหาร หนีทัพ
๑๔
๔๐
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
ดุลยภาพทางการทหารของ ประเทศอาเซียน แนะน�ำเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ ใช้งานทั่วไป เอดับเบิ้ลยู ๑๐๙ เพาเวอร์
๑๘
พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก งบประมาณกลาโหม
๒๐
พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ผู้อ�ำนวยการศูนย์การ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร
๔ ๑๐
๑๔
๔๔
เทศกาลกินเจ ๒๕๕๗
๑๘
๔๘
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนที่ ๒๕)
๕๒
๒๒
พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ
การปฏิรูปประเทศไทย ครั้งใหญ่ในรัชสมัย พระพุทธเจ้าหลวง
ข้อพิจารณา จากการยุบหน่วยยามฝั่ง ของเกาหลีใต้
การรบที่สมรภูมินองโย ๒๐๘๒
๒๔
๕๖ ๖๐
๒๘
๒๕ ปี วันคล้ายวันสถาปนา ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน กลาโหม วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗
๓๐
ข้อควรรู้ของ ประเทศอาเซียน (ตอนที่ ๑)
๒๐
๒๒
๒๔
๖๒
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ สุขภาพดีหลังวัยเกษียณ
๗๐
นโยบาย "ความฝันของชนชาติจีน" (Chinese Dream) ของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๒๘
๓๐
๔๐
๕๒ ๔๔
๗๐
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
3
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม 4
การศึกษา จบการศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๓ จากโรงเรียนนครสวรรค์ นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๒ นั ก เรี ย นนายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า รุ่นที่ ๒๓ เข้ารับการศึกษาเพิ่มเติมในหลักสูตร ทางการทหาร ได้แก่ หลักสูตรทหารร่ม, หลักสูตรจู่โจม, หลักสูตรสงครามนอกแบบ จากศูนย์สงคราม พิเศษ หลักสูตรการรบร่วม, หลักสูตรผู้ ควบคุมอากาศหน้า จากกองทัพอากาศ หลักสูตรครูท�ำการรบ จากประเทศ ออสเตรเลีย หลักสูตรชั้นนายร้อย, หลักสูตรชั้น นายพัน จากโรงเรียนทหารราบ หลักสูตรเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๖๓ และวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๓๕ ได้ศกึ ษาเพิม่ เติมในหลักสูตรส�ำหรับ ผู้บริหารระดับสูงอีก ๓ หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับผู้บริหารระดับ สูง (ปปร.) รุ่นที่ ๔ จากสถาบันพระปกเกล้า หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ ๒๐ หลั ก สู ต รผู ้ บ ริ ห ารกระบวนการ ยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ ๑๘ รวมทั้งได้ไปศึกษาดูงานในประเทศต่างๆ หลายประเทศ ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน อิ ส ราเอล ออสเตรเลี ย นิ ว ซี แ ลนด์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
5
การรับราชการ ส�ำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๕ จากโรงเรียน นายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า เมื่ อ วั น ที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๙ เข้ า รั บ ราชการครั้ ง แรกในต� ำ แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ หมวดปื น เล็ ก กองพั น ทหารราบ ศูนย์การทหารราบ หรือ กองพันทหารราบที่ ๓ กรมผสมที่ ๓๑ ในขณะนั้น โดยเมื่อไปรายงาน ตัวที่หน่วยได้ ๒ สัปดาห์ ได้รับค�ำสั่งให้เดินทาง ไปปฏิบัติราชการสนามชายแดนที่ กิ่งอ�ำเภอ ศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ได้เข้าท�ำการรบ เพื่อปราบปรามขบวนการโจรก่อการร้าย และ ขบวนการโจรจีนคอมมิวนิสต์มลายา ในพื้นที่ ป่าภูเขาที่มีสภาพอากาศเลวร้ายตลอดระยะ เวลา ๒ ปี โดยมีการปะทะในระยะประชิด หลายครั้ง ได้สังหาร และเข้ายึดฐานที่มั่นของ ขบวนการฯ ในหลายพื้นที่แต่ก็ได้ถูกซุ่มโจมตี จนได้รับบาดเจ็บ ๑ ครั้ง หลั ง จากนั้ น ได้ เ ลื่ อ นต� ำ แหน่ ง เป็ น ผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา และในปี ๒๕๒๔ ได้ น� ำ ก� ำ ลั ง ไปปราบปรามผู ้ ก ่ อ การร้ า ย คอมมิวนิสต์ ณ พื้นที่เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ในแผนยุ ท ธการ “ผาเมื อ งเผด็ จ ศึ ก ” และ ในปี ๒๕๒๕ ได้น�ำก�ำลังไปปฏิบัติการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ และอ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา ในแผนยุทธการ “ใต้ร่มเย็น ๙” และ “ใต้ร่มเย็น ๑๑” ปี ๒๕๒๘ เข้ารับการศึกษาโรงเรียน เสนาธิการทหารบก เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้ ปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งฝ่ายเสนาธิการประจ�ำ กรมยุ ท ธการทหารบก และปฏิ บั ติ ร าชการ พิเศษ เพื่อรับภัยคุกคามในทิศทางด้านตะวัน ออกเฉียงเหนือ
6
ปี ๒๕๓๐ ย้ า ยกลั บ ไปรั บ ราชการที่ ศูนย์การทหารราบอีกครั้งหนึ่ง ในต�ำแหน่ง ผู้ บัง คับกองพั นนั กเรีย นการจู่โจมและส่งทาง อากาศ โดยท�ำหน้าที่เป็นครูฝึกการรบแบบ จู ่ โ จม และหลั ก สู ต รทหารร่ ม ให้ กั บ กองทั พ บกจ�ำนวนหลายรุ่น รวมทั้งเป็นหัวหน้าชุดครู ฝึกเคลื่อนที่ เพื่อท�ำการฝึกพิเศษให้กับหน่วย ก�ำลังรบของกองทัพภาคที่ ๓ ที่ขึ้นปฏิบัติการ ณ บ้านร่มเกล้า ปี ๒๕๓๓ ย้ายเข้ามารับราชการในกรม กิจการพลเรือนทหารบก ในต�ำแหน่งอาจารย์ โรงเรี ย นกิ จ การพลเรื อ น ท� ำ หน้ า ที่ ส อนใน วิ ช าปฏิ บั ติ ก ารกิ จ การพลเรื อ น, การปฏิ บั ติ การจิตวิทยาและการประชาสัมพันธ์ ทั้งใน หลักสูตรของกองทัพบก และสถาบันอุดมศึกษา หลายแห่ ง อาทิ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และอื่น ๆ ควบคู่ไปกับการปฏิบัติหน้าที่ฝ่าย เสนาธิการ ของฝ่ายกิจการพลเรือน ศูนย์ปฏิบตั ิ การกองทัพบก
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
7
ต ่ อ ม า ใ น ป ี ๒ ๕ ๕ ๐ ไ ด ้ รั บ พ ร ะ มหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น “เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารบก” และได้รับ ราชการเติ บ โตขึ้ น มาเป็ น ล� ำ ดั บ ในต� ำ แหน่ ง ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายกิจการพลเรือน รองเสนาธิ ก ารทหารบก ที่ ป รึ ก ษาพิ เ ศษ กองทัพบก รองปลัดกระทรวงกลาโหมและ ปลัดกระทรวงกลาโหม
การปฏิบัติงานพิเศษ ในห้ ว งระยะเวลาที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นาย ทหารระดับสูง ได้ปฏิบัติหน้าที่พิเศษอื่น ๆ ที่ ส�ำคัญทัง้ ในกองทัพ และนอกกองทัพควบคู่ ไปด้วยหลายต�ำแหน่ง ได้แก่ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น ราชองค์รักษ์เวร และราชองค์ รักษ์พิเศษ ได้รบั มอบหมายให้เป็นผูเ้ ขียนแผน และ ปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ในโครงการ ทีม่ คี วามส�ำคัญในระดับชาติเป็นผลส�ำเร็จอย่าง ดียิ่งหลายโครงการ ได้แก่ เป็นเลขานุการคณะอนุกรรมการ ประชาสัมพันธ์โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำป่าสักฯ เลขานุ ก ารคณะอนุ ก รรมการ ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำ ปากพนังฯ
8
คณะกรรมการปรองดองและการปฏิรูป ท�ำ หน้าที่เสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ และการเตรียมการปฏิรูปประเทศไทย เป็นกรรมการ การกีฬาแห่งประเทศ ไทย เป็นประธานกรรมการบริษทั อสมท จ�ำกัด (มหาชน) ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โปรด เกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แรงงาน
ผลงานและรางวัล
ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เลขาธิ ก ารศู น ย์ ประชาสัมพันธ์การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ ๑๓ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ปี ๒๕๔๙ ได้เดินทางไปปฏิบัติราชการ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในต�ำแหน่งผู้อ�ำนวย การส่วนกิจการพลเรือน กองอ�ำนวยการเสริม สร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี ๒๕๕๓ เป็นหัวหน้าคณะน�ำสือ่ มวลชน และคณะบุคคล เดินทางในโครงการ “ตามรอย สมเด็จย่า” ณ สหพันธรัฐสวิส เพือ่ เผยแพร่พระ เกียรติคุณสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนี ปี ๒๕๕๔ เป็ น หั ว หน้ า คณะผู ้ แ ทน ทบ.ไทย เดินทางเยือน กองทัพบกอินโดนีเซีย อย่างเป็นทางการ ปี ๒๕๕๕ เป็ น หั ว หน้ า คณะผู ้ แ ทน ทบ.ไทย เข้าร่วมประชุมและลงนามบันทึกข้อ ตกลง ร่วมกับ กกล.ทบ.สหรัฐ ภาคพื้นแปซิฟิค ณ มลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๖ ได้รับมอบหมายจาก กองทัพ บกให้เป็น ผู้อ�ำนวยการสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ปี ๒๕๕๗ เป็นผูแ้ ทน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง กลาโหม เข้าร่วมการประชุม Seoul International Areospace and Defense Exhibition 2013 ณ สาธารณรัฐเกาหลี และ เข้าร่วม การประชุม Jakarta International Defence Dialogue 2014 ณ ประเทศ อินโดนีเซีย ปฏิบตั หิ น้าทีป่ ลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานร่วม ไทย-จีน กลาโหมจีน ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม และปฏิบัติหน้าที่ประธาน สภากลาโหม และประธานสภาทหารผ่านศึก ควบคู่ไปด้วย ได้รับการแต่งตั้งจาก คณะรักษา ความสงบแห่งชาติ เป็น ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน
ปี ๒๕๒๐ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ผู้ปฏิบัติการรบด้วยความกล้าหาญใน จชต. ปี ๒๕๔๙ ได้รบั รางวัล “ครอบครัวดีเด่น” จากสโมสรซอนตร้าสากลกรุงเทพ ๖ ปี ๒๕๕๒ ได้รบั รางวัล “คนดีสงั คมไทย” สาขาความมั่นคงแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕ ได้รับรางวัล “ดาวเมขลา” สาขาผู้เสียสละเพื่อชาติ ปี ๒๕๕๖ รางวัล “ดาวเกียรติยศ” แห่ง สมาคมสถาบันพระปกเกล้า ปี ๒๕๕๗ รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น แห่ง สมาคมสถาบันพระปกเกล้า ได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล “เกียรติยศจักรดาว” ประจ�ำปี ๒๕๕๘
คติพจน์ในการท�ำงาน “วันนี้...ชาติบ้านเมืองมีปัญหา เราได้รับเกียรติและโอกาส ให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ขอให้มีความภาคภูมิใจ และมุ่งมั่นทุ่มเท ท�ำภาระกิจครั้งนี้ให้ส�ำเร็จโดยเร็ว” “ปกป้องประเทศชาติด้วยปัญญา ช่วยเหลือเกื้อกูลพระศาสนา จงรักภักดีต่อองค์กษัตรา คุ้มครองปวงประชาให้พ้นภัย”
9
พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม 10
พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๙๗ เป็นบุตร ของ พลเรือโท ชอบ และนาวาเอก หญิง ผ่องใส สิโรดม ด้านครอบครัว ท่านสมรสกับ หม่อม หลวง อารยา สิโรดม มีบุตร - ธิดา ๓ คน คือ นางสาว สุวัลยา เรือเอก พลภัทร และ เรือตรี พลรัตน์ สิโรดม
ด้านการศึกษา ท่ า นส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจากโรงเรี ย น สวนกุหลาบวิทยาลัย จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่ โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นนักเรียนเตรียมทหาร รุ ่ น ที่ ๑๓ หลั ง จบการศึ ก ษาจากโรงเรี ย น เตรียมทหารแล้ว ท่านได้เข้ารับการศึกษาต่อ ที่โรงเรียนนายเรือ เป็นนักเรียนนายเรือรุ่นที่ ๗๐ จนส�ำเร็จการศึกษาและเข้ารับราชการใน กองทัพเรือ ระหว่างรับราชการท่านได้รับการ ศึกษาอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ดังนี้ หลักสูตรต่าง ๆ ตามแนวทางรับราชการ ของนายทหารพรรคนาวิน หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือ รุ่นที่ ๔๗ หลักสูตร วิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ ๓๓ หลักสูตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น ๒๕๔๗ ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหา บั ณ ฑิ ต - บริ ห ารรั ฐ กิ จ จากมหาวิ ท ยาลั ย สุโขทัยธรรมาธิราช
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
11
หลั ก สู ต ร การเมื อ งการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับผูบ้ ริหารระดับสูง รุ่นที่ ๑๒ จากสถาบันพระปกเกล้า นอกจากนี้ ท่านยังได้รับการคัดเลือกให้ไป ศึกษาหลักสูตร ณ ต่างประเทศดังนี้ หลักสูตรปืน 40 L 70 และ 76/62 ณ ประเทศอิตาลี หลั ก สู ต รเครื่ อ งควบคุ ม การยิ ง WM 22/62 เครื่องควบคุมการยิง VM 62TH และ เรดาร์ ZW 06 ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ หลักสูตร MINOR WAR VESSEL CO/ XO DESIG ณ ประเทศออสเตรเลีย
ด้านชีวิตรับราชการ พลเรือเอก พลวัฒน์ฯ เริ่มรับราชการใน กองเรือยุทธการ โดยประจ�ำการอยู่บนเรือรบ ประเภทต่าง ๆ โดยท่านได้รับเลือกให้เป็น ก�ำลังพลชุดรับเรือ ในต�ำแหน่งต้นปืน เรือหลวง ภู เ ก็ ต จากประเทศอิ ต าลี ซึ่ ง เป็ น เรื อ ที่ มี ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้น นอกจากนั้นท่านยังได้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ควบคุม เรือ ต.๒๑๒ ผู้บังคับการเรือหลวงสัตหีบ และ เรือหลวงตาปี อีกด้วย และในระหว่างที่รับ ราชการในกองเรือยุทธการ ท่านได้รับมอบ หมายให้ เ ป็ น ผู ้ บั ง คั บ หมู ่ เ รื อ ฝึ ก ผสมไทย สิงคโปร์ (SINGSIAM 8/91)
12
ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๐ พลเรือเอก พลวัฒน์ฯ ได้รับความไว้วางใจให้ไปปฏิบัติ หน้าที่ รองผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร และ ผู้ช่วยทูต ฝ่ายทหารเรือ ประจ�ำกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ด้วยความที่ท่านมีความสามารถ ทางด้านการข่าวและเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดี เป็นทีย่ อมรับจากบุคคลทัว่ ไป เมือ่ เดินทางกลับ ประเทศไทยในปีพทุ ธศักราช ๒๕๔๓ ท่านได้รบั ต�ำแหน่ง รองเจ้ากรมข่าวทหารเรือ ผู้ช่วยเจ้า กรมข่าวทหาร และเจ้ากรมข่าวทหารเรือ ผูช้ ว่ ย เสนาธิ ก ารทหารเรื อ ฝ่ า ยการข่ า ว ซึ่ ง ท่ า น มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นางานด้ า นการข่ า ว ของกองทัพเรือ รวมทัง้ ท่านยังได้ดำ� รงต�ำแหน่ง ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ และ ผู้บัญชาการวิทยาลัยการทัพเรือ อีกด้วย ต่อมา ท่านได้ด�ำรงต�ำแหน่ง รองเสนาธิการทหารเรือ และที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือตามล�ำดับ ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ ท่านได้ด�ำรง ต�ำแหน่ง ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ ท่านได้ มีบทบาทส�ำ คัญในการเสริ มสร้ างสวั สดิการ ให้แก่ก�ำลังพลของกองทัพเรือ และท่านได้ไป ปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการบริหารองค์กรร่วม ไทย - มาเลเซีย (Malaysia Thailand Joint Authority) จากผลงานที่ท่านได้สร้างสมมา ส่งผลให้ท่านได้รับรางวัลดาวเกียรติยศ จาก สมาคมแห่งสถาบันพระปกเกล้า และรางวัล คนดีศรีสวนฯ จากสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบ วิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ อีกด้วย
เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖ ท่ า นได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โปรดเกล้ า โปรดกระหม่อมให้ด�ำรงต�ำแหน่ง รองปลัด กระทรวงกลาโหม โดยได้ รั บ มอบหมายให้ ก�ำกับการปฏิบัติราชการของส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหมในสายงานด้านการส่งก�ำลัง บ�ำรุง การเงิน การตรวจสอบภายใน และการ สนับสนุน ซึ่งท่านได้สร้างสรรค์ผลงานไว้จน เป็นที่ประจักษ์ อาทิ การก� ำ หนดแนวทางแก้ ไ ขและ ป้ อ งกั น การบุ ก รุ ก ที่ ดิ น ในความครอบครอง ดู แล ใช้ ประโยชน์ ข องหน่ ว ยงานทางทหาร ท�ำให้ปัญหาการบุกรุกที่ดินที่อยู่ในความครอบ ครองของกระทรวงกลาโหม มีแนวทางการแก้ ปัญหาในภาพรวมและเป็นแนวทางเดียวกัน ส่งผลให้ปัญหาลดน้อยลง เสนอแนะแนวทาง และพั ฒ นา ให้ กั บ คณะท� ำ งานพิ จ ารณาแนวทางด้ า น การส่งก�ำลังบ�ำรุงและการจัดซื้อจัดจ้างของ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จนมีความ ก้าวหน้า สามารถน�ำไปใช้งานในหน่วยงานของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมได้เป็นอย่างดี นอกจากท่านจะมีความรู้ความสามารถทั้ง ในด้านวิชาการและการปฏิบัติงานในหน้าที่ ส�ำคัญต่าง ๆ ตลอดมาแล้ว ในด้านการกีฬา พลเรื อ เอก พลวั ฒ น์ สิ โ รดม เป็ น ผู ้ มี ส ่ ว น สนับสนุนงานกีฬาของประเทศไทยเป็นอย่าง มาก ท่านได้รับเลือกให้เป็นกรรมการบริหาร ของสมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๓ และได้รับเลือกจากชมรมสมาชิก โดยเอกฉันท์ให้ด�ำรงต�ำแหน่งนายกสมาคม เรือพายแห่งประเทศไทย ระหว่างปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗ ซึ่งในระหว่างที่ท่านด�ำรงต�ำแหน่ง นายกสมาคมเรื อพายฯ นั้น ท่านได้พัฒนา สมาคมฯ ให้มีความก้าวหน้าเป็นอย่างยิ่ง โดย นักกีฬาของสมาคมฯ สามารถครองแชมป์โลก เรือยาวมังกร ได้ถึง ๕ ประเภท โดยเอาชนะ คู่แข่งอย่าง จีนและสหรัฐอเมริกาไปได้อย่าง งดงาม ในขณะที่ นักกีฬาเรือกรรเชียงและเรือ แคนูสลาลอม สามารถท�ำผลงานได้อย่างดี เป็น ตัวแทนของประเทศไทยเข้าไปร่วมการแข่งขัน กีฬาโอลิมปิคเกมส์ ณ กรุงลอนดอน สหราช อาณาจักร โดยได้อันดับที่ ๑๗ และ ๑๓ ของ โลก ตามล�ำดับ ในส่วนกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ ๒๗ ณ ประเทศพม่านั้น นักกีฬาของสมาคมฯ ได้ รับเหรียญรางวัลทั้งหมด ๓๑ เหรียญ โดยได้ ๖ เหรียญทอง ๑๔ เหรียญเงิน และ ๑๑ เหรียญ ทองแดง นับว่าเป็นหนึ่งในสมาคมกีฬาที่ได้ เหรียญมากที่สุดของประเทศไทย พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม นับเป็นนาย ทหารชั้นผู้ใหญ่ของกระทรวงกลาโหม ที่ตลอด ชีวิตรับราชการ ท่านได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ มุ่งมั่น วิริยะ อุตสาหะ ซื่อสัตย์ สุจริต และ สร้างสรรค์ผลงานจนเป็นที่ประจักษ์ มีความ เป็นผู้น�ำ มีระเบียบวินัย เป็นสุภาพบุรุษทหาร เรื อ ท่ า นจึ ง เป็ น บุ ค ลากรที่ ท รงคุ ณ ค่ า ของ กระทรวงกลาโหมและประเทศชาติ สมควรที่ อนุชนรุ่นหลังจะยึดถือและประพฤติเป็นแบบ อย่าง อีกทั้งควรค่าแก่การยกย่องเชิดชู และ เก็บไว้ในความทรงจ�ำตลอดไป
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
ผู้การเรือ แสนองอาจ สามารถหลาย สืบเชื้อสาย พงษ์นาวิน ถิ่นประดู่ ร่วมขับเคลื่อน วิทยาการ สานอุ้มชู บังคับหมู่ เรือฝึกผสม อุดมงาน ผู้ช่วยทูต ทหารเรือ เกื้อกูลกิจ นิรมิต สานสัมพันธ์ อันตระหง่าน พัฒนา งานการข่าว เฝ้าวิธาน อีกเสนาธิการกิจ วิศิษฐ์สรรพ ผู้น�ำพา ทีมเรือพาย หมายประกาศ ระดับชาติ น�ำชื่อไทย ให้สดับ ทั้งสากล ต่างพร้อม ล้วนยอมรับ เหรียญประดับ คู่ประเทศ สมเจตน์จง รองปลัดฯ พัฒนาตรง ส่งก�ำลัง กิจหนุนหลัง หน่วยชื่นชม สมประสงค์ กิจการเงิน คือสายธาร งานมั่นคง ผู้เสริมส่ง ยุทธศาสตร์ ประกาศชัด สุภาพบุรุษ ทหารเรือ เชื้อชายชาติ ผู้ประศาสน์ นามเรือไทย ให้เจนจัด ผู้บริหาร ความมั่นคง ธ�ำรงรัฐ คือ พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม
13
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม 14
ด้านการศึกษา พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ ส�ำเร็จ การศึกษาจาก โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัด ลพบุรี เข้ารับการศึกษาโรงเรียนเตรียมทหาร รุ ่ น ที่ ๑๔ และโรงเรี ย นนายร้ อ ยพระ จุ ล จอมเกล้ า รุ ่ น ที่ ๒๕ โดยผ่ า นหลั ก สู ต ร โดดร่มและจู่โจมในระหว่างการศึกษา เมื่อจบ การศึกษาปี ๒๕๒๑ ได้เลือกรับราชการ เหล่า ทหารราบ ในต�ำแหน่ง ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก เข้ า รั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รตามแนวทาง รับราชการ หลักสูตรชั้นนายร้อย, หลักสูตร ชัน้ นายพันเหล่าทหารราบ, โรงเรียนเสนาธิการ ทหารบก และวิ ท ยาลั ย เสนาธิ ก ารทหาร ตามล�ำดับ
และยึ ด พื้ น ที่ จ ากผู ้ ก ่ อ การร้ า ยคอมมิ ว นิ ส ต์ ที่เขาย่า อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตาม แผนยุทธการ “ผาเมืองเผด็จศึก” และปี ๒๕๒๕ (๒๗ กุมภาพันธ์) ขณะด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บังคับ กองร้อยทหารราบที่ ๔๗๔๒ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ ท รงเสด็ จ ไปยั ง พื้ น ที่ สู ้ ร บ ณ ดอยพญาพิ ภั ก ดิ์ อ� ำ เภอเทิ ง จั ง หวั ด เชียงราย ทรงพระมหากรุณาธิคุณให้เข้าเฝ้า
ด้านชีวิตรับราชการ ปีพุทธศักราช ๒๕๒๑ ว่าที่ร้อยตรี สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียน นายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ เลือกรับ ราชการ เหล่าทหารราบ ในต�ำแหน่ง ผู้บังคับ หมวดปืนเล็กกองร้อยอาวุธเบา กองพันทหาร ราบที่ ๒ กรมผสมที่ ๗ จังหวัดล�ำปาง ในขณะ นัน้ กองทัพมีภารกิจส�ำคัญในการปฏิบตั ภิ ารกิจ ในการป้องกันและปราบปรามผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ เป็นต้นมา ได้รับ มอบภารกิจให้เข้าปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ จังหวัดพะเยา และจังหวัดเชียงราย หลายครั้ง หลายพื้นที่ที่ต้องเสี่ยงอันตรายร่วมกับเพื่อน ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา มีการปะทะกับ กลุ่มผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ แต่ก็สามารถ ปฏิบัติภารกิจได้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี โดย ท�ำหน้าทีต่ งั้ แต่ผบู้ งั คับหมวดปืนเล็ก จนกระทัง่ ผู้บังคับกองร้อยในสนาม โดยมีเหตุการณ์ที่ ส�ำคัญที่ประจักษ์ เช่น เมื่อปี ๒๕๒๔ ได้ปฏิบัติ หน้าที่ ผูบ้ งั คับกองร้อยทหารราบ น�ำก�ำลังเข้าตี หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
15
รับพระราชทานถุงยังชีพ และต่อมาได้รับมอบ ให้ปฏิบัติหน้าที่ รองผู้บังคับศูนย์ปฏิบัติการ พิเศษที่ ๓๒ อ�ำนวยการและสั่งการผลักดัน กวาดล้ า งกองก� ำ ลั ง ขุ น ส่ า ที่ บ ้ า นหิ น แตก (บ.เทอดไทย) จังหวัดเชียงราย และหลังจาก จบการศึ ก ษาจากโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหาร บก ได้กลับมารับราชการในพื้นที่ภาคเหนือ ด้วยความมุ่งมั่นในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้บังคับบัญชาให้ความไว้วางใจและมองเห็น ขีดความสามารถ จึงให้รับราชการในต�ำแหน่ง ส�ำคัญทั้งฝ่ายเสนาธิการ กองพลทหารราบที่ ๔ ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ ๔ กรมทหารราบที่ ๑๗ ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๗ ระหว่าง ด�ำรงต�ำแหน่งได้เข้าร่วมปฏิบัติงานในฐานะ ฝ่ายเสนาธิการกองพลทหารราบที่ ๔ ส่วน หน้า เข้าผลักดันกองก�ำลังต่างชาติ (ประเทศ ลาว) กรณีเหตุการณ์พิพาทไทย - ลาว บ้าน ร่มเกล้ารวมทั้งปฏิบัติงานในโครงการพัฒนา พืน้ ที่ ดอยยาว - ดอยผาหม่น - ดอยผาจิ ในการ แก้ไขปัญหาผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย, จัดระเบียบ พืน้ ทีท่ ำ� กิน, จัดระบบหมูบ่ า้ นตามแนวชายแดน ไทย - ลาว ในพื้นที่ จังหวัดพะเยา, จังหวัด เชียงราย และเมื่อปี ๒๕๔๔ ได้รับมอบภารกิจ เพื่อชาติในฐานะ รองผู้บังคับการกองก�ำลัง เฉพาะกิจ ร่วม ๙๗๒ ไทย/ติมอร์ตะวันออก ผลัดที่ ๔ ในนามสหประชาชาติ ซึ่งปกครอง บังคับบัญชากองก�ำลังทหารจาก ๓ ประเทศ คือ กองพันทหารราบไทย, กองพันทหารราบ เกาหลีใต้ และกองพันทหารราบฟิลิปปินส์ ใน
16
ภารกิจฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคงปกป้อง คุ้มครองเจ้าหน้าที่องค์กรบริหารชั่วคราวของ สหประชาชาติ และสนั บ สนุ น การเลื อ กตั้ ง สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญของประเทศติมอร์ ตะวันออก ด้ ว ยความมุ ่ ง มั่ น ในการปฏิ บั ติ ง าน เมื่ อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๔ และปฏิบัติ หน้าที่ ผู้บัญชาการกองก�ำลังนเรศวร ซึ่งเป็น ก� ำ ลั ง ป้ อ งกั น ชายแดนด้ า นตะวั น ตกไทย พม่า ในพื้นที่อ�ำเภอชายแดนด้านจังหวัดตาก และ จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีภารกิจควบคุม หน่วยเฉพาะกิจเพื่อด�ำเนินการรักษาอธิปไตย สกั ด กั้ น การกระท� ำ ผิ ด กฎหมาย สถาปนา ความมั่นคงตามแนวชายแดน เสริมสร้างความ สัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน ส�ำหรับ ภารกิจการเตรียมก�ำลังในฐานะผู้บัญชาการ กองพลทหารราบที่ ๔ ได้ให้ความส�ำคัญในการ ฝึกก�ำลังพลของหน่วยภายใต้บังคับบัญชาให้มี
ความแข็งแกร่งพร้อมรบ ทั้งการฝึกระดับภาค กองพัน และการฝึกร่วมกับมิตรประเทศ เช่น คอบบร้าโกลด์, คชสีห์ เป็นต้น ต่อมาเมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ ได้รับพระ มหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองแม่ทัพภาคที่ ๓ ได้รับมอบ ภารกิ จ รั บ ผิ ด ชอบในการควบคุ ม กองก� ำ ลั ง ป้องกันชายแดน ทั้ง กองก�ำลังนเรศวร และ กองก� ำ ลั ง ผาเมื อ ง ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตั้ ง แต่ จั ง หวั ด ตาก, จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน, จั ง หวั ด เชียงใหม่, จังหวัดเชียงราย และจังหวัดน่าน ขณะปฏิบัติหน้าที่มีผู้หนีภัยจากการสู้รบจาก ประเทศพม่าอพยพเข้ามาในพื้นที่จังหวัดตาก เป็นจ�ำนวนมาก (ประมาณ ๓๐,๐๐๐ คน) จึงได้เข้าควบคุมและสั่งการอย่างใกล้ชิดใน การผลั ก ดั น ผู ้ ห นี ภั ย ให้ ก ลั บ ประเทศอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยไม่ ก ระทบความสั ม พั น ธ์ ระหว่างประเทศแต่อย่างไร และเมื่ อ ๑ ตุ ล าคม ๒๕๕๖ ได้ รั บ พระ มหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
ด�ำรงต�ำแหน่ง รองปลัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งเป็นต�ำแหน่งสูงสุดในชีวิตรับราชการ ได้ รั บ ความไว้ ว างใจจากผู ้ บังคับ บัญ ชา รับ ผิด ชอบก�ำกับการปฏิบัติราชการในสายงานด้าน อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศและพลั ง งาน ทหาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี ป ้ อ งกั น ประเทศ และตั้งแต่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ ท่านได้รับมอบงานเพิ่มให้ก�ำกับการปฏิบัติ ราชการทัง้ สายงานด้านก�ำลังพล การสวัสดิการ และการสงเคราะห์ การประชาสัมพันธ์ กิจการ พลเรือน และการสัสดีและก�ำลังส�ำรอง อีกสาย งานหนึ่ง ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติงานได้หมั่น ตรวจเยี่ยมหน่วยงานที่รับผิดชอบ มอบกรอบ การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายของผู้ บังคับบัญชามอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และรวดเร็ว ทั้งนี้ เพื่อเป็นการพัฒนากองทัพ อย่างแท้จริง ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเป็นเครื่องพิสูจน์ ได้ อ ย่ า งดี ยิ่ ง ถึ ง ความเป็ น นายทหารผู ้ ท รง คุณค่าของกองทัพ ผู้ซึ่งเทิดทูนสถาบันพระ มหากษัตริย์ยิ่งชีวิต เป็นแบบที่ดี ทุ่มเทท�ำงาน ด้วยความเสียสละมุ่งมั่นตั้งใจ เพื่อประโยชน์ ของประเทศชาติ ปกครองผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยหลักคุณธรรม ท�ำให้มีความเจริญก้าวหน้า ในชีวิตรับราชการจนด�ำรงต�ำแหน่ง รองปลัด
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
กระทรวงกลาโหม ความดีของท่านที่สะสม มาเป็นเวลานานในการรับราชการรับใช้ชาติ จึ ง สมควรเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ท ่ า นจะได้ รั บ ความ ชื่ น ชมและยกย่ อ งและเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ข อง กองทัพสืบไป
ยอดนักรบ แนวหน้า กล้าหาญนัก ผู้ปกปัก รักษาเขต ประเทศสยาม เข้าประจัญ ฟันฝ่า สง่างาม ทั่วเขตคาม เอกราช ชาติยืนยง ทุ่มเทกาย เพื่อชาติ ศาสน์กษัตริย์ พิทักษ์รัฐ เทิดเกียรติไทย ให้สูงส่ง ทุ่มเทใจ เพื่อประชา พาธ�ำรง ความมั่นคง ด�ำรงไว้ ในแผ่นดิน ดูแลผอง กองก�ำลัง พันธมิตร เฉพาะกิจ ไทย/ติมอร์ ส่อสานถิ่น ประกาศเกียรติ ทหารไทย ให้โลกยิน สืบกวิน เกียรติศักดิ์ นักรบไทย รองปลัดฯ ผู้ก่อสาน การก้าวหน้า วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม น�ำยิ่งใหญ่ เทคโนโลยี การทหาร งานกว้างไกล ก�ำลังพล ขานไข ให้พร้อมพรัก คือ นักรบ นักพัฒนา ผู้กล้าแกร่ง ผู้ส�ำแดง เกียรติชาติไทย ใคร่ประจักษ์ ผู้ภักดี บาทบงส์ ด้วยจงรัก คือ พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์
17
พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณกลาโหม
พ
ลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค เกิดเมื่อ วั น ที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ ณ ต� ำ บล นครไชยศรี อ� ำ เภอ ดุ สิ ต จั ง หวั ด กรุ ง เทพมหานคร เป็ น บุ ต รของ พลตรี อุ ไ ร สุ คั น ธนาค และ นางอนงค์ สุคันธนาค ท่านส�ำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนมัธยม สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร จากนั้นได้เข้ารับการศึกษา ต่อโดยสอบเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร รุ่น ที่ ๑๔ ในปีการศึกษา ๒๕๑๔ ส�ำเร็จการศึกษา จากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ ปีการศึกษา ๒๕๒๐ บรรจุเข้ารับราชการ 18
เป็นนายทหารสัญญาบัตรด�ำรงยศ ว่าที่ร้อยตรี เหล่ า ทหารราบ ในต� ำ แหน่ ง ผู ้ บั ง คั บ หมวด ปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบ ที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑๑ รั ก ษาพระองค์ ค่ายเพชรบุรีราชสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี ต่ อ จากนั้ น ท่ า นได้ เ ข้ า รั บ การศึ ก ษาใน หลักสูตร ชั้นนายร้อยเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๕ ในปี พ.ศ.๒๕๒๑ ณ โรงเรี ย นทหารราบ ศู น ย์ ก ารทหารราบ ค่ า ยธนะรั ช ต์ จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้ว ในปี พ.ศ.๒๕๒๒ ท่านได้ด�ำรงยศร้อยโทในต�ำแหน่ง ผู ้ บั ง คั บ หมวดปื น เล็ ก กองร้ อ ยอาวุ ธ เบา กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑๑
รักษาพระองค์ ค่ายเพชรบุรีราชสิรินธร และ ปฏิบัติราชการสนามในต�ำแหน่ง ผู้บังคับหมวด ปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบ ที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ ค่าย เพชรบุรีราชสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี จนกระทั่ง ปี พ.ศ.๒๕๒๖ ท่านได้ด�ำรง ยศร้อยเอก ในต�ำแหน่งนายทหารยานยนต์ กองร้อยกองบังคับการ กองพันฝึกรบพิเศษ ที่ ๑ ค่ า ยฝึ ก การรบพิ เ ศษแก่ ง กระจาน ต่อจากนั้นท่านได้เข้ารับการศึกษาหลักสูตร ชั้ น นายพั น เหล่ า ทหารราบ รุ ่ น ที่ ๔๓ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ณ โรงเรียนทหารราบ ศูนย์การ ทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ และปฏิบตั ริ าชการสนามในต�ำแหน่ง นายทหาร ส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง และนายทหารยุ ท ธการและ การฝึ ก กองพั น ฝึ ก รบพิ เ ศษที่ ๑ ค่ า ยฝึ ก การรบพิเศษแก่งกระจาน จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๒ พั น ตรี สิ ร วุ ฒิ ฯ ได้ ส อบคั ด เลื อ กเข้ า รั บ การศึ ก ษาในโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารบก หลักสูตรหลักประจ�ำชุดที่ ๖๕ และเมื่อส�ำเร็จ การศึกษาในปี ๒๕๓๐ แล้ว ได้เข้ารับราชการ ในต� ำ แหน่ ง รองผู ้ บั ง คั บ กองพั น ฝึ ก รบพิ เ ศษ ที่ ๙ ศูนย์สงครามพิเศษ ปากช่อง ในอัตราพัน ตรี จนถึงปึ พ.ศ.๒๕๓๑ พันโท สิรวุฒิฯ ได้ย้าย ไปปฏิบัติงานในต�ำแหน่ง หัวหน้าแผนกกองส่ง ก�ำลังบ�ำรุง ศูนย์สงครามพิเศษ ในระหว่างนี้
ท่านได้เข้ารับการศึกษา ในหลักสูตรการจัดการ ส่งก�ำลังบ�ำรุง รุ่นที่ ๓๖ ในปี พ.ศ.๒๕๓๖ ณ โรงเรียนส่งก�ำลังบ�ำรุงทหารบก ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๘ พันเอก สิรวุฒิฯ ได้ ด�ำรงต�ำแหน่ง หัวหน้ากองส่งก�ำลังบ�ำรุง ศูนย์ สงครามพิเศษ ในระหว่างนี้ท่านได้เข้ารับการ ศึกษาในหลักสูตรการปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่าย อ�ำนวยการ รุ่นที่ ๗๙ ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ ณ สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง กองบัญชาการ ทหารสูงสุด ซึ่งตลอดเวลาในการรับราชการ ท่านได้แสดงออกถึงการเป็นแบบอย่างที่ดีต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานด้วยการปฏิบัติ หน้าที่อย่างมุ่งมั่น ทุ่มเทและเสียสละตลอดมา จนในปี พ.ศ.๒๕๔๘ มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ พระราชทานยศให้ทา่ นเป็น พลตรี ด�ำรงต�ำแหน่งเสนาธิการกรมการอุตสาหกรรม ทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลั ง งานทหาร และต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๑ พลตรี สิรวุฒิฯ ได้รับ พระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� ำ รง ต�ำแหน่งรองเจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร ฝ่ายวิชาการ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและพลังงานทหาร ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มี พ ระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานทหารยศให้ท่านเป็นพลโท ด�ำรง ต� ำ แหน่ ง ที่ ป รึ ก ษาส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
ในปี พ.ศ.๒๕๕๓ มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้ า ฯ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม และในปี พ.ศ.๒๕๕๕ ได้รับโปรด เกล้าฯ เป็นเจ้ากรมการสรรพก�ำลังกลาโหม จนเมื่อ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ให้เป็น พลเอก โดยด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษาพิเศษ ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม และช่วยปฏิบตั ริ าชการ ที่ส�ำนักงาน รอง ปล.กห.(๑) อีกต�ำแหน่งหนึ่ง ในปีเดียวกัน ต่อจากนั้น เมื่อ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนัก งบประมาณกลาโหม ชีวติ ครอบครัวของ พลเอก สิรวุฒิ สุคนั ธนาค ไ ด ้ ส ม ร ส กั บ พ ล ต รี ห ญิ ง เ ย า ว ลั ก ษ ณ ์ ศรีหมื่นไวย (นามสกุลเดิม) เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๔ และได้มีบุตร ๑ คน คือ ร้อยเอก รณกฤต สุคันธนาค ความภาคภูมิใจในชีวิตรับราชการ ของท่านคือ การปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความ สามารถ อี ก ทั้ ง แสดงความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ โดยด� ำ รงตนตาม แนวพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวที่มีพระราชด�ำรัสให้ข้าราชการ ยึดถือในความซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม ต่อการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ยังประโยชน์แก่ประเทศ ชาติและประชาชน
หัวหน้าหน่วย รบพิเศษ เกรียงเดชกล้า ผู้น�ำพา ส่งก�ำลัง ยังกิจใหญ่ หัวหน้าหน่วย สนับสนุน คุณอ�ำไพ ผู้ก่อร่าง สร้างกลไก ในการยุทธ์ ผู้ขับเคลื่อน งบประมาณ สานยุทธศาสตร์ ผู้เติมวาด กิจรังสรรค์ อันพิสุทธิ์ สืบเสนาธิการกิจ วิศรุต คือ พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค
19
พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง
ผู้อ�ำนวยการศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
พ
ลเอก อภิชาต แสงรุง่ เรือง เกิดเมือ่ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๗ เป็ น บุ ต รของ พั น ตรี ทองใบ แสงรุ่งเรือง และนาง ศรีอรุณ แสงรุ่งเรือง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย ได้เข้ารับการศึกษาต่อที่ โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นนักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๓ และศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า ส�ำเร็จการศึกษาในหลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑิต รุ่นที่ ๒๔ และบรรจุรับราชการ ครั้งแรกในต�ำแหน่งประจ�ำแผนกส�ำรวจข้อมูล แผนที่ กองท�ำแผนที่ กรมแผนที่ทหาร 20
พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ได้เข้ารับการ ศึกษาหลักสูตรตามแนวทางรับราชการต่าง ๆ ได้แก่ หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่าแผนที่ รุ่น ที่ ๑, หลักสูตรเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๖๗, หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น ที่ ๔๙ และส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขา วิศวกรรมส�ำรวจ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้ า นครอบครั ว สมรสกั บ พลโทหญิ ง ประคิณันต์ แสงรุ่งเรือง มีบุตร ๒ คน คือ นางอภิชณันต์ ลิมธงชัย นางสาวอภิชนุช แสงรุ่งเรือง
ด้านต�ำแหน่งรับราชการที่ส�ำคัญ พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ได้รับพระราชทานโปรด เกล้า ฯ เป็น เสนาธิการกรมการอุตสาหกรรม ทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร ในปี พ.ศ.๒๕๔๗, เป็น หัวหน้าส�ำนักงานคณะกรรมการอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ และได้ด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นเสนาธิการศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๒ เป็นหัวหน้านาย ทหารประสานงานการพัฒนาระบบราชการ และได้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ากรมการเงินกลาโหม ในปี พ.ศ.๒๕๕๓, เจ้ากรมการอุตสาหกรรม ทหาร ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ และในปีเดียวกันนี้ ได้ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบ ประมาณกลาโหม (อัตรา พลเอก) และสุดท้าย ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ได้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นผูอ้ ำ� นวย การศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและ พลังงานทหาร ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎไทย ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ มหาปรมาภรณ์ ช ้ า งเผื อ ก ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็น ราชองครักษ์พิเศษ ในปี พ.ศ.๒๕๔๖ ตุ ล าการศาลทหารสู ง สุ ด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ราชการพิเศษ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ป ระจ� ำ กองจั ด ท� ำ หลั ก เขตแดนไทย – มาเลย์ ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ ปฏิ บั ติ ง านส� ำ รวจและจั ด ท� ำ หลั ก เขตแดนไทย - มาเลย์ ในปี พ.ศ.๒๕๒๗ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมนักเรียนนาย ร้อยรักษาพระองค์ ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบ ที่ ๓๑ รักษาพระองค์ ในปี พ.ศ.๒๕๕๓ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
ศู น ย์ คุ ณ ธรรม (องค์ ก ารมหาชน) : Moral Promotion Center (Public Organization) คอลัมน์ บอกเล่าความดี “ความซื่อตรงต้องเริ่มต้นปลูกฝังที่สถาบัน ครอบครั ว แล้ ว รองรั บ ต่ อ ด้ ว ยสถาบั น การ ศึกษา ต่อด้วยสถาบันวิชาชีพ ทุกระบบต้อง รับกันให้หมด” ขณะที่ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เจ้ากรมการเงิน กลาโหม ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ได้ให้สัมภาษณ์ในคอลัมน์บอกเล่า ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ - ๒๕๒๗ ร้อยเอก อภิชาต ความดีของศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) แสงรุ่งเรือง เป็นหัวหน้าชุดในการส�ำรวจและ บอกเล่าถึงแนวทางและหลักการในการด�ำเนิน ชีวิตตั้งแต่วัยเด็กจนถึงปัจจุบัน จัดท�ำหลักเขตแดน ไทย - มาเลย์ ในปี ๒๕๕๔ พลโท อภิชาต แสงรุ่งเรือง เจ้า “สิ่ ง ที่ ผ มเชื่ อ คื อ ระหว่ า งคนที่ ร�่ ำ รวย กรมการเงินกลาโหม ในขณะนั้น ได้รับเลือกให้ หรือประสบความส�ำเร็จขึ้นมาจากความไม่ เป็นบุคคลต้นแบบ ในโครงการองค์กรต้นแบบ ซื่อตรงกับคนที่ซื่อตรง ความสุขที่อยู่ในใจ ความซื่อตรงในภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยบุคคล ของคุณจะต่างกันมากแน่นอน” ต้นแบบ ๒๗ คน จาก ๑๕ องค์กร โดยได้จัดท�ำ โครงการ “องค์กรต้นแบบความซื่อตรงในภาค รัฐของกรมการเงินกลาโหม” ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ ขณะด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เจ้ า กรมการอุ ต สาหกรรมทหาร ศู น ย์ ก าร อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศและพลั ง งาน ทหาร ได้เป็นกรรมการและเลขานุการในคณะ กรรมการอ�ำนวยการประสานงานการจัดงาน นิทรรศการอุปกรณ์ป้องกันประเทศ Defense สืบอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ & Security 2013 : ASEAN Defense สานฤทธิ์เดช พลังงาน แห่งการทัพ Industrial Collaboration ซึ่งเป็นความร่วม อ�ำนวยกิจ พลังไทย ให้พร้อมสรรพ มือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบ อาเซียน หมายเตรียมรับ วิกฤตการณ์ ชาญฉลาด พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ผู้อ�ำนวยการ ด้วยการมอง ทิศทาง อย่างชี้ชัด ศู น ย์ ก ารอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศและ วิสัยทัศน์ สืบประสงค์ ด้วยองอาจ พลังงานทหาร เป็นประธานอนุกรรมการใน คณะอนุกรรมการฝ่ายกิจกรรมแสดงโยธวาทิต คือผู้น�ำ ทุกนิยาม ความสามารถ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง เนื่ อ งในโอกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ซึ่งด�ำเนินการจัดกิจกรรมดังกล่าวใน วันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สนามกีฬา กองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต 21
พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ
พ
ลเอก จิระ โกมุทพงศ์ เกิดเมื่อ วั น ที่ ๒๗ ธั น วาคม ๒๔๙๖ ที่ ก รุ ง เทพมหานคร ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายจาก โรงเรียนโยธินบูรณะ และเข้ารับการศึกษา ที่คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ.๒๕๑๖ หลังจากส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญานิติศาสตรบัณฑิตแล้วได้รับการ บรรจุเข้ารับราชการในต�ำแหน่งประจ�ำกอง พระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ หลังจากเข้ารับราชการได้เข้ารับการ ศึกษาอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ดังนี้ 22
๑. พ.ศ.๒๕๒๑ หลั ก สู ต รนายทหาร สัญญาบัตรชั้นต้น รุ่นที่ ๙ โรงเรียนเหล่าทหาร พระธรรมนูญ ๒. หลักสูตร JAG Basic II USA ในปี พ.ศ.๒๕๒๒ ๓. พ.ศ.๒๕๒๗ ประกาศนี ย บั ต รเนติ บั ณ ฑิ ต ไทย ส� ำ นั ก อบรมกฎหมายแห่ ง เนติ บัณฑิตยสภา ๔. พ.ศ.๒๕๓๒ ปริญญาโทนิติศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต CALIFORNIA WESTERN SCHOOL OF LAW ๕. พ.ศ.๒๕๓๖ หลั ก สู ต รนายทหาร สั ญ ญาบั ต รชั้ น สู ง โรงเรี ย นเหล่ า ทหารพระ ธรรมนูญ
๖. พ.ศ.๒๕๓๘ โรงเรี ย นเสนาธิ ก าร ทหารเรือ ๗. พ.ศ.๒๕๔๖ หลักสูตรตุลาการพระ ธรรมนูญ รุ่นที่ ๗ โรงเรียนเหล่าทหารพระ ธรรมนูญ ๘. พ.ศ.๒๕๔๙ หลักสูตรประกาศนียบัตร กฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๙. พ.ศ.๒๕๕๒ หลักสูตรประกาศนียบัตร แนวคิ ด พื้ น ฐานการจั ด การความขั ด แย้ ง ด้านนโยบายสาธารณะ สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ ๖ ๑๐. พ.ศ.๒๕๕๓ หลั ก สู ต รนั ก บริ ห าร ยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตระดับสูง ส�ำนักงาน ป.ป.ช. รุ่นที่ ๑ ๑๑. พ.ศ.๒๕๕๕ หลั ก สู ต รผู ้ บ ริ ห าร กระบวนการยุติธรรมระดับสูง ส�ำนักงานศาล ยุติธรรม รุ่นที่ ๑๖ ๑๒. พ.ศ.๒๕๕๖ หลักสูตรนักบริหารการ ยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ ๕ ๑๓. พ.ศ.๒๕๕๖ หลักสูตรนักเจรจาไกล่ เกลี่ยระดับเข้มข้น รุ่นที่ ๑ ส�ำนักงานคณะ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ๑๔. พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๗ ป ริ ญ ญ า เ อ ก รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัย วไลอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ส� ำ หรั บ การรั บ ราชการในสายวิ ท ยาการ เหล่าทหารพระธรรมนูญหลังจากได้รับการ แต่งตั้งยศว่าที่ร้อยตรี ในต�ำแหน่งประจ�ำกอง พระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ได้รับราชการตามล�ำดับ ดังนี้ ๑. พ.ศ.๒๕๒๕ รักษาราชการ ประจ�ำ กองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร ๒. พ.ศ.๒๕๓๘ นายทหารพระธรรมนูญ หัวหน้าแผนกนิติธรรม กองพระธรรมนูญ กรม สารบรรณทหาร ๓. พ.ศ.๒๕๓๙ หั ว หน้ า แผนกความ ต้องการ กองส่งก�ำลัง กรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร
๔. พ.ศ.๒๕๓๙ ฝ่ายเสนาธิการประจ�ำ กรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร ๕. พ.ศ.๒๕๔๐ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักบริหารสิ่งอุปกรณ์ กรมส่งก�ำลังบ�ำรุง ทหาร ๖. พ.ศ.๒๕๔๒ ฝ่ายเสนาธิการประจ�ำ กรมก�ำลังพลทหาร ๗. พ.ศ.๒๕๔๕ ผู ้ อ� ำ นวยการกอง พระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร ๘. พ.ศ.๒๕๔๘ ผู้อ�ำนวยการกองกลาง กรมพระธรรมนูญ ๙. พ.ศ.๒๕๕๐ ตุลาการพระธรรมนูญ ประจ�ำส�ำนักตุลาการทหาร ๑๐. พ.ศ.๒๕๕๒ ตุลาการพระธรรมนูญ หัวหน้าศาลทหารกรุงเทพ ๑๑. พ.ศ.๒๕๕๓ ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า กรมพระธรรมนูญ ๑๒. พ.ศ.๒๕๕๔ หัวหน้าส�ำนักตุลาการ ทหาร ๑๓. พ.ศ.๒๕๕๕ รองเจ้ า กรมพระธรรมนูญ และเมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ได้รับพระบรม ราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้ากรมพระธรรมนูญ อันเป็นหน่วยทีร่ บั ผิดชอบ เกี่ยวกับการศาลทหาร อัยการทหาร ทนาย ทหาร นายทหารพระธรรมนูญ การคุ้มครอง พยานในคดีอาญา ราชการในส่วนธุรการและ วิชาการที่เกี่ยวกับกฎหมายและสังคมศาสตร์ ซึ่งนับได้ว่าเป็นหัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบ งานด้ า นการยุ ติ ธ รรมทหารระดั บ สู ง สุ ด ของ กระทรวงกลาโหม และสิ่งที่ภาคภูมิใจอย่างยิ่ง คือ การได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
แต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์พิเศษ ราชองครักษ์ เวร นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารขนส่ง รักษาพระองค์ นอกจากนี้ยังได้รับการคัดเลือก ให้เป็นพ่อตัวอย่างแห่งชาติปี ๒๕๕๔ และเป็น นิสิตเก่านิติศาสตร์ดีเด่นปี ๒๕๕๗ จากสมาคม นิสิตเก่านิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส�ำหรับชีวติ ครอบครัว พลเอก จิระ ฯ สมรส กับนางอัญชลี โกมุทพงศ์ มีธิดา ๑ คน คือ นางสาวลภัสรดา โกมุทพงศ์ พลเอก จิระฯ ได้รับราชการในเหล่าทหาร พระธรรมนูญมาอย่างต่อเนื่องยาวนานกว่า ๓๖ ปี ท�ำให้มีความรักความผูกพันต่อเหล่า ทหารพระธรรมนูญ รวมทั้งอดีตผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาที่ได้ร่วม งานอย่างต่อเนื่อง และจากประสบการณ์ใน การท�ำงานดังกล่าว พลเอก จิระฯ ได้น�ำมาใช้ ในการพิจารณาด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนา กรมพระธรรมนูญเพื่อให้เกิดประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกรมพระ ธรรมนูญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาองค์ ความรู้ของบุคลากรเหล่าทหารพระธรรมนูญ พลเอก จิระฯ ในฐานะผู้บัญชาการโรงเรียน เหล่าทหารพระธรรมนูญ ได้ริเริ่มการพัฒนา หลักสูตรของโรงเรียนเหล่าทหารพระธรรมนูญ ในหลักสูตรนายทหารสัญญาบัตรชั้นสูง โดยได้ หารือกับคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช เพื่อท�ำการเทียบโอนวิชาที่ท�ำการ เรี ย นการสอนในหลั ก สู ต รนายทหารสั ญ ญา บัตรชั้นสูงกับหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อันเป็น ผลให้ผู้ท่ีส�ำเร็จหลักสูตรนายทหารสัญญาบัตร ชั้นสูงของโรงเรียนเหล่าทหารพระธรรมนูญ
ที่เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรมหา บัณฑิตของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้เวลาการศึกษาอีกเพียงเล็กน้อยก็จะส�ำเร็จ การศึกษาเป็นนิติศาสตรมหาบัณฑิต จากที่กล่าวมาแล้ว พลเอก จิระฯ ได้ใช้ ประสบการณ์ที่ได้สร้างสมมาอย่างยาวนานใน การปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการในสายวิทยาการเหล่า ทหารพระธรรมนูญ และการเป็นผูบ้ งั คับบัญชา ด้วยการน�ำหลักธรรม ค�ำสอนของพระพุทธ ศาสนามาผสมผสานใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติ หน้าทีร่ าชการและชีวติ ส่วนตัวจนเป็นทีย่ อมรับ และประสบความส�ำเร็จตลอดมา
พระดุลยาธิปัตย์ วิวัฒน์ธรรม ทรงชี้น�ำ ความเที่ยงตรง ให้คงอยู่ เป็นหลักชัย ตุลาการ สานอุ้มชู ทรงเคียงคู่ ความเป็นธรรม ให้ด�ำรง คือ เจ้ากรม ชนยอมรับ ผู้ขับเคลื่อน ผู้ย�้ำเตือน ดุลยธรรม น�ำสูงส่ง คือ พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ ผู้ธ�ำรง ธรรมนูญศาล ทหารไทย 23
ข้อพิจารณา
จากการยุบหน่วยยามฝั่ง ของเกาหลีใต้ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
24
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
จ
ากกรณีเรือเฟอร์รี่ เอ็มวี เซวอน (MV Sewol) ประสบเหตุอับปาง บริเวณนอกชายฝัง่ ทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ของเกาหลีใต้ เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๗ ท�ำให้มีผู้เสียชีวิตและสูญหายจ�ำนวน ๓๐๔ คน จากจ�ำนวนผู้โดยสารและลูกเรือ ทั้งหมด ๔๗๖ คน ส่วนใหญ่เป็นเด็กนักเรียน มัธยมที่จะเดินทางไปทัศนศึกษา ณ เกาะเชจู (Jeju) สาเหตุเกิดจากความบกพร่องของผู้ ควบคุมเรือที่เปลี่ยนทิศทางการเดินเรืออย่าง กะทั น หั น และไม่ ส ามารถรั ก ษาการทรงตั ว ของเรือได้ ท�ำให้เรือเอียงและพลิกคว�่ำ ซึ่ง จากผลการสอบสวนพบว่า เรือบรรทุกน�้ำหนัก เกิ น พิ กั ด และมี ก ารต่ อ เติ ม โดยการเพิ่ ม ห้ อ ง ผู้โดยสารในชั้น ๓ ถึงชั้น ๕ ท�ำให้เรือเสียสมดุล ได้ง่าย ทั้งนี้ ประเด็นส�ำคัญที่เป็นสาเหตุท�ำให้ มีผู้เสียชีวิตจ�ำนวนมากในครั้งนี้ เกิดจากความ ไร้ประสิทธิภาพของหน่วยยามฝั่งเกาหลีใต้ ที่ ไม่สามารถให้ความช่วยเหลือผู้โดยสารในห้วง เวลากว่า ๒ ชั่วโมง ก่อนที่เรือจะจม ซึ่งเป็น เพราะการขาดการบูรณาการระหว่างหน่วย งานที่มีขีดความสามารถในการด�ำเนินการ ทั้ ง นี้ หน่ ว ยยามฝั ่ ง ของเกาหลี ใ ต้ เป็ น หน่ ว ยงานสั ง กั ด กระทรวงทางทะเลและ การประมง (Ministry of Oceans and Fisheries) มีผู้บัญชาการชั้นยศพลต�ำรวจเอก
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
25
เจ้ า หน้ า ที่ ทั้ ง หมดเป็ น ต� ำ รวจน�้ ำ มี จ� ำ นวน ประมาณ ๑๐,๐๐๐ นาย รับผิดชอบในการ ลาดตระเวนเพื่อแสดงอ�ำนาจอธิปไตย ปกป้อง ทรัพยากร ต่อต้านการก่อการร้าย ป้องกัน อาชญากรรม ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย และ ขจัดมลพิษทางทะเล ซึ่งหลังจากเหตุการณ์ เรือ เอ็มวี เซวอน ประสบอุบัติเหตุประมาณ ๑ เดือน ประธานาธิบดี ปาร์ค กึน - เฮ (Park Geun - Hye) ของเกาหลี ใ ต้ ไ ด้ ตั ด สิ น ใจ ประกาศยุบหน่วยยามฝั่งของเกาหลีใต้ และ โอนงานด้านการรักษาความมั่นคงทางทะเล และกู้ภัยไปให้ส�ำนักงานความปลอดภัยแห่ง ชาติ (Department for National Safety) ที่จะจัดตั้งขึ้นใหม่ เพื่อบูรณาการหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยทั้งหมด และรวมระบบการสั่งการให้เป็นเอกภาพ ซึ่ง จะท�ำให้สามารถตอบสนองเหตุฉุกเฉินได้อย่าง มีประสิทธิภาพ จากเหตุการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าการ มอบหมายให้ ห น่ ว ยยามฝั ่ ง รั บ ผิ ด ชอบเพี ย ง หน่ ว ยเดี ย ว ไม่ ส ามารถตอบสนองต่ อ เหตุ ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่สามารถ ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยอื่น ๆ ที่มีขีด ความสามารถได้ ทั น เวลา เช่ น กองทัพเรือ เป็นต้น จึงจ�ำเป็นต้องจัดตั้งหน่วยงานระดับ ชาติขึ้นมาสนธิขีดความสามารถจากทุกหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง 26
ส�ำหรับประเทศไทย ปัจจุบันยังไม่มีการจัด ตั้งหน่วยยามฝั่งโดยตรง แต่มีหน่วยงานหลักที่ รับผิดชอบในเรื่องการบังคับใช้กฎหมายและ รักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล จ�ำนวน ๖ หน่วยงาน ได้แก่ กองทัพเรือ กองบังคับการ ต�ำรวจน�ำ้ กรมเจ้าท่า กรมศุลกากร กรมประมง และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ มีศนู ย์ ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติ ท างทะเล หรื อ ศรชล. ที่ จั ด ตั้ ง ตามมติ ส ภาความมั่ น คงแห่ ง ชาติ ท� ำ หน้ า ที่ ประสานการปฏิบัติของทั้ง ๖ หน่วยงาน โดย มีเสนาธิการทหารเรือเป็นผู้อ�ำนวยการ ศรชล. อย่างไรก็ตาม อ�ำนาจหน้าที่ของ ศรชล. ใน ปัจจุบัน เป็นเพียงศูนย์ประสานงานเท่านั้น ไม่ มี อ� ำ นาจในการสั่ ง การ ไม่ มี ง บประมาณ และไม่มีกฎหมายรองรับ แม้ว่า ศรชล. จะถูก ก�ำกับดูแลโดยกองทัพเรือซึง่ มีขดี ความสามารถ และทรัพยากรพร้อมในการปฏิบตั หิ น้าทีห่ น่วย ยามฝั่งได้ แต่ยังขาดอ�ำนาจหน้าที่ในการบังคับ ใช้กฎหมายทางทะเลที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของหน่วยงานอื่น ท�ำให้เกิดอุปสรรคในการ ด�ำเนินงาน ซึง่ ศรชล. มีแนวคิดในการปรับปรุง โครงสร้างหน่วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน และได้เสนอเป็น “ร่างระเบียบ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว ่ า ด้ ว ยการรั ก ษาผล ประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ....” ปัจจุบนั อยูใ่ นขัน้ ตอนการพิจารณาของสภาความมัน่ คง แห่งชาติ เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี มีสาระ ส�ำคัญ ดังนี้ ๑. ปรั บ บทบาทของ ศรชล. จากศู น ย์ ประสานการปฏิบัติ ให้เป็นศูนย์อ�ำนวยการ โดยให้หน่วยที่มาปฏิบัติงานร่วมกันอยู่ภายใต้ การอ�ำนวยการของ ศรชล. มีแผนปฏิบัติงาน ร่วมกัน และมีงบประมาณรองรับ
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
๒. จัดให้มีองค์กรดูแลรับผิดชอบการรักษา ผลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเล ๓ ระดั บ ประกอบด้วย ระดั บ นโยบาย รั บ ผิ ด ชอบโดยคณะ กรรมการนโยบายการรั ก ษาผลประโยชน์ ของชาติ ท างทะเล มี น ายกรั ฐ มนตรี ห รื อ รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน ระดับอ�ำนวยการ รับผิดชอบโดย ศรชล. มี ผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้อ�ำนวยการ ระดับปฏิบัติการ รับผิดชอบโดย ศรชล. ภาคที่ ๑ - ๓ ตามเขตพื้นที่ทัพเรือภาค ๑ - ๓ มี ผู ้ บั ญ ชาการทั พ เรื อ ภาคที่ ๑ - ๓ เป็ น ผู้อ�ำนวยการ
การปรับปรุงโครงสร้าง ศรชล. ดังกล่าว จะ ท�ำให้ประเทศไทยมีหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพ หลักที่มีอ�ำนาจในการด�ำเนินงาน สามารถสนธิ ขีดความสามารถและการบังคับใช้กฎหมาย จากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการรั ก ษา ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ภายใต้ระบบ การสั่งการที่เป็นเอกภาพ ส่งผลให้การรักษา ผลประโยชน์ ข องชาติ และการตอบสนอง ต่อภัยคุกคามรวมทั้งเหตุฉุกเฉินทางทะเล มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน ปัญหาความมั่นคงของชาติทาง ทะเล ถือเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกประเทศให้ ความส� ำ คั ญ การที่ ประเทศใดประเทศหนึ่ง จะใช้ประโยชน์จากทะเลได้อย่างเต็มที่และ ปลอดภัย ย่อมขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดัง นั้น กระทรวงกลาโหม ซึ่งมีกองทัพเรือเป็น หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน ศรชล. จึง ควรสนับสนุนการปรับโครงสร้าง ศรชล. โดย การผลักดันการจัดท�ำร่างระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรีฯ ให้มีผลในทางปฏิบัติโดยเร็ว อีกทั้ง ควรเร่งพัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยี บุคลากร และความร่วมมือกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการรั บ มื อ กั บ ภั ย คุ ก คามทางทะเลทุ ก รูปแบบ อันจะน�ำมาซึ่งความพร้อมของหน่วย งานไทยในการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉินดังเช่น เหตุการณ์กรณีเรือ เอ็มวี เซวอน ของเกาหลีใต้ รวมทั้งรองรับปัญหาความมั่นคงของชาติทาง ทะเลที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและ มีแนวโน้มทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในอนาคต
27
๒๕ ปี วันคล้ายวันสถาปนา
ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗
ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม
ส� ำ นั ก งานตรวจบั ญ ชี ก ลาโหม มี ภ ารกิ จ ด้านการตรวจสอบภายในให้แก่ส่วนราชการ ในส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมและ ส� ำ นั กงานรั ฐมนตรี เดิ มเป็น หน้าที่ของกอง ตรวจสอบภายใน กรมการเงินกลาโหม ซึ่งมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๙ เรื่อง การแต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายในส่วนราชการ ได้ ก�ำหนดให้ผตู้ รวจสอบภายในขึน้ ตรงต่อหัวหน้า ส่วนราชการกระทรวงกลาโหม จึงได้จัดตั้ง ส�ำนักงานตรวจบัญชีกลาโหม รับผิดชอบด้าน การตรวจสอบภายในให้ แ ก่ ส ่ ว นราชการใน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม แทนกอง ตรวจสอบภายใน กรมการเงินกลาโหม โดย ได้ยุบเลิกอัตรากองตรวจสอบภายใน กรมการ เงินกลาโหม และให้โอนอัตราก�ำลังพลให้กับ ส�ำนักงานตรวจบัญชีกลาโหมที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๓๒ เป็นต้นไป ตาม ค�ำสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๓๒ ลงวั น ที่ ๕ กั น ยายน ๒๕๓๒ ส� ำ นั ก งาน ตรวจบั ญ ชี ก ลาโหม จึ ง ได้ ยึ ด ถื อ เอา วั น ที่ ๑ กันยายน ๒๕๓๒ เป็นวันสถาปนาส�ำนักงาน ตรวจบัญชีกลาโหม เป็นต้นมา 28
ต่ อ มาได้ มี พระราชกฤษฎี ก าแบ่ ง ส่ ว น ราชการและก�ำหนดหน้าที่ของส่วนราชการ ส�ำนักงานรัฐมนตรี ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๒ โดย เปลี่ยนนามหน่วย จากส�ำนักงานตรวจบัญชี กลาโหม เป็ น ส� ำ นั ก งานตรวจสอบภายใน กลาโหม ตามอนุมัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม เมื่อ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ ให้ยกเลิก อั ต ราเฉพาะกิ จ หมายเลข ๐๘๐๐ ของ ส�ำนักงานตรวจบัญชีกลาโหม และให้ใช้อัตรา เฉพาะกิจ หมายเลข ๑๒๐๐ ของส�ำนักงาน ตรวจสอบภายในกลาโหม โดยยั ง คงเป็ น ส่วนราชการขึ้นตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม
ภารกิจ การจัด ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม มีหน้าที่ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในให้ แก่ ส ่ ว นราชการในส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหมและส� ำ นั ก งานรั ฐ มนตรี ตามค� ำ สั่ ง รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บแบบแผนของทางราชการ ตรวจสอบปฏิบัติราชการของส่วนราชการใน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง และปฏิบัติงานอื่นตาม ที่ได้รับมอบหมาย มีผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ตรวจสอบภายในกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชา รับผิดชอบ ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม
หน้าที่ความรับผิดชอบ ที่ส�ำคัญ ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม มีหน้าที่ คื อ ด� ำ เนิ น การตรวจสอบทางการเงิ น การ บัญชี การพัสดุและทรัพย์สินอื่น ๆ การตรวจ สอบการด�ำเนินงาน การตรวจสอบการบริหาร การตรวจสอบการปฏิบัติ ตามข้อก�ำหนด การ ตรวจสอบระบบงานสารสนเทศ และการตรวจ สอบพิเศษ การควบคุมงบประมาณเฉพาะการ เบิ ก จ่ า ยเงิ น และรายงานสถานภาพการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมทั้งการก่อหนี้
ผูกพันเงินงบประมาณ การด�ำเนินการตรวจ สอบ วิเคราะห์ ประเมินความเพียงพอและ ประสิ ท ธิ ผ ลของระบบการควบคุ ม ภายใน ประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการด�ำเนินงานของหน่วยรับตรวจ เสนอ แนะการปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง การ ควบคุม และการก�ำกับดูแลอย่างต่อเนื่อง การสอบทานระบบการปฏิ บั ติ ง านตาม มาตรฐาน และ/หรือ กฎหมาย ระเบียบ ข้อ บั ง คั บ ค� ำ สั่ ง ที่ ท างราชการก� ำ หนด เพื่ อ ให้ มัน่ ใจได้วา่ สามารถน�ำไปสูก่ ารปฏิบตั งิ านทีต่ รง ตามเป้าหมายวัตถุประสงค์และสอดคล้องกับ นโยบายของส่วนราชการ ท�ำการวิเคราะห์และ ประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัดและ คุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร การด� ำ เนิ น การตรวจสอบการปฏิ บั ติ ราชการของส่ ว นราชการ ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ กิจการทั่วไปและกิจการส่งก�ำลังบ�ำรุง และ การด�ำเนินการตรวจสอบอื่นใดตามที่ผู้บังคับ บัญชามอบหมาย
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
รวมถึงการพัฒนาระบบงาน ปรับปรุงแก้ไข ข้อบังคับ ระเบียบ และค�ำสั่ง ที่เกี่ยวกับเรื่อง การตรวจสอบภายในของกระทรวงกลาโหม รวมทั้งการด�ำเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับเรื่อง ดังกล่าว ประสานงานกับนายทหารตรวจสอบ ภายในประจ�ำส่วนราชการ และเจ้าหน้าที่ของ ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน รายงานและ เสนอแนะข้อคิดเห็น รวมทั้งให้ค�ำปรึกษาแก่ ผู้บังคับบัญชา หรือส่วนราชการอื่นในเรื่อง การตรวจสอบภายใน พิจารณารายงาน และ ผลการด�ำเนินการความรับผิดในทางแพ่ง และ ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ปลัดกระทรวงกลาโหม มอบหมาย
นอกจากนี้ ส� ำ นั ก งานตรวจสอบภายใน กลาโหมยั ง ต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ฝ่ า ย เลขานุ ก ารคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลประจ�ำกระทรวงกลาโหม โดยมี ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานตรวจสอบภายใน กลาโหม เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึง่ คณะ กรรมการ ฯ มีหน้าที่ ก�ำกับดูแลระบบการตรวจ สอบและประเมิ น ผลของกระทรวงกลาโหม และหน่วยงานในสังกัดให้เป็นไปตามมาตรฐาน ทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการก�ำหนด
29
นโยบาย
"ความฝันของชนชาติจีน" (Chinese Dream) ของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
30
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ใ
นเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ซึ่งเป็น สัปดาห์แรกของการก้าวขึ้นสู่อ�ำนาจ ของประธานาธิ บ ดี สี จิ้ น ผิ ง (Xi Jinping) เขาได้ประกาศ “หลักนิยมใหม่” หรือ นโยบายใหม่ที่จะใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ประเทศจีน ที่เรียกว่า “ความฝันของชนชาติ จีน” (Chinese Dream) โดยประธานาธิบดี สี จิ้ น ผิ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง นโยบายดั ง กล่ า วใน สุ น ทรพจน์ ค รั้ ง แรกของเขา มี ใ จความตอน หนึง่ ว่า “.. จีนจะต้องใช้ความพยายามอย่างสุด ความสามารถ ในการมุ่งไปสู่อนาคตข้างหน้า ดังที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ ภายใต้ความยิ่งใหญ่ของ ระบอบสังคมนิยมและลักษณะเฉพาะตัวของ ชนชาติจนี รวมทัง้ ต่อสูอ้ ย่างมุง่ มัน่ เพือ่ ให้บรรลุ ประสงค์ตาม "ความฝันของชนชาติจีน" ในการ ฟื้นคืนชีพอย่างยิ่งใหญ่ (great rejuvenation) ของชาติจีน ..” นโยบาย “ความฝันของชนชาติจนี ” ดังกล่าว ที่ประธานาธิบดี สี จิ้นผิงกล่าวถึงนั้น ก่อให้ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์มากมายว่าหมายถึง อะไรและประกอบไปด้วยอะไรบ้าง นอกจาก นี้นักวิเคราะห์โลกตะวันตกต่างคาดการณ์กัน แตกต่างออกไป บ้างก็ว่ามีที่มาจากหนังสือ เรื่อง “ความฝันของจีน (China Dream) : แนวคิดและยุทธศาสตร์ของมหาอ�ำนาจในโลก หลังยุคอเมริกา” ที่เขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๓ โดยพันเอก “หลิว หมิงฟู” (Liu Mingfu) ซึ่ง ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของนโยบายดังกล่าวใน หนังสือของเขาว่า “สูค่ วามเป็นชาติทแี่ ข็งแกร่ง ขึ้ น กว่ า เดิ ม ด้ ว ยแสนยานุ ภ าพทางทหารที่ เข้มแข็ง” (a stronger nation with a strong military) เป็ น ที่ น ่ า สั ง เกตว่ า นโยบายนี้ มี ค วาม คล้ า ยคลึ ง กั บ นโยบายดั้ ง เดิ ม ของจี น เมื่ อ ประมาณ ๒๐๐ ปีก่อนคริสตกาล ในรัชสมัย ของจักรพรรดิจิ๋นซี หรือ “ฉินฉื่อหวังตี้” ปฐม กษัตริย์แห่งราชวงศ์ฉินอันเกรียงไกร และเป็น จักรพรรดิพระองค์แรกของประเทศจีน ผู้ทรง
รวบรวมแว่ น แคว้ น ต่ า ง ๆ จนเป็ น ปึ ก แผ่ น และพัฒนาอาณาจักรของพระองค์ให้ยิ่งใหญ่ เกรียงไกรในทุกด้าน รวมทั้งยังทรงมีบัญชาให้ ก่อสร้างก�ำแพงเมืองจีนหรือ “ก�ำแพงฉางเฉิง” ยาวนับหมื่นลี้จนกลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ โลกมาจนทุกวันนีน้ นั่ เอง จึงไม่เป็นทีป่ ระหลาดใจ ที่ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง กล่าวถึง “การฟื้น คืนชีพ” ของประเทศจีนในนโยบายของเขา เพราะนี่ จ ะเป็ น การน� ำ ความยิ่ ง ใหญ่ ข องจี น ในอดีต ทั้งด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม หวนกลับคืนมาสู่โลกยุค ปัจจุบันอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้นักวิเคราะห์ตะวันตกบางคนก็ คาดการณ์วา่ ต้นก�ำเนิดนโยบาย “ความฝันของ ชนชาติจีน” ของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง น่าจะ มาจากแนวคิดในหนังสือเรื่อง “ความฝันของ ชนชาติจีน” เขียนโดย เฮเลน หว่อง (Helen Wong) เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๓ และในปีต่อมา หนังสือเล่มนี้ก็ได้รับรางวัล “อีริค ฮอฟเฟอร์” 31
(Eric Hoffer) จนได้รับการแปลเป็นภาษาจีน เฮเลน หว่องเขียนหนังสือเล่มนี้โดยไม่ได้ให้ ค�ำจ�ำกัดความของความฝันของชนชาติจีน แต่ ใช้วิธีการสัมภาษณ์ชาวจีนชนชั้นกลางหลาก หลายสาขาอาชีพจ�ำนวนกว่าหนึ่งร้อยคน เพื่อ แสดงให้เห็นถึงความปรารถนาของชนชัน้ กลาง ในประเทศจีน ภายหลังหนังสือเล่มนีถ้ กู มอบให้ กับนายโทมัส ฟรีดแมน (Thomas Friedman) นักวิเคราะห์ชาวสหรัฐฯ ที่เขียนบทความเรื่อง “จีนต้องการความฝันของตนเอง” ลงพิมพ์ใน นิตยสาร “นิวยอร์ค ไทม์” ฉบับเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งได้รับการแปลโดยส�ำนักข่าว ชิ น หั ว ของจี น โดยมี ใ จความตอนหนึ่ ง ว่ า “.. ความฝันของชนชาติจีนคือ ความมั่งคั่งและ ความมั่นคงของประเทศจีน ..” อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าต้นก�ำเนิดหรือที่มาของ นโยบายเรื่อง “ความฝันของชนชาติจีน” จะ มาจากที่ใดก็ตาม แต่ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ก็ได้แสดงให้โลกได้เห็นถึงเป้าหมายของเขา ในการน�ำพาประเทศจีนก้าวไปสู่ความยิ่งใหญ่ ๒ ประการ ประกอบด้วย ประการแรกคือ การ ก้าวไปสู่ความเป็นสังคมที่มั่งคั่ง โดยประชากร ทั้ ง ในชุ ม ชนเมื อ งและในชนบทมี ม าตรฐาน ความเป็นอยู่ที่ดีภายในปี พ.ศ.๒๕๖๔ หรือ ค.ศ.๒๐๒๑ ซึ่งเป็นห้วงเวลาแห่งการครบรอบ ๑๐๐ ปีของพรรคคอมมิวนิสต์จนี และประการ ที่ ส องคื อ การก้ า วไปสู ่ ค วามเป็ น ประเทศ พัฒนาแล้วในปี พ.ศ.๒๕๙๒ หรือ ค.ศ.๒๐๔๙ ซึ่งเป็นวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีของการก่อตั้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้นักวิเคราะห์โลกตะวันตกยังมอง ว่า จีนได้วางเป้าหมายชัดเจนว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ กองก�ำลังทางเรือของจีนที่ก�ำลังพัฒนา แสนยานุภาพอย่างมากในขณะนี้จะสามารถ จัดตั้ง “แนวห่วงโซ่ของเกาะชั้นที่หนึ่ง” (first island chain) เป็นแนวยาวตั้งแต่ทางตอน เหนือของไต้หวัน มาจนถึงประเทศฟิลิปปินส์ และเกาะบอร์ เ นี ย ว เพื่ อ เป็ น ก้ า วแรกของ การเป็นมหาอ�ำนาจในมหาสมุทรแปซิฟิคใน อนาคตอันใกล้นี้ นายโรเบิ ร ์ ต ลอเรนซ์ คุ น ฮ์ (Robert Lawrence Kuhn) นายธนาคารและนักลงทุน ตะวันตกได้เขียนถึงนโยบาย “ความฝันของ ชนชาติจีน” ที่ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาประเทศว่ามีเป้าหมาย ๔ ประการประกอบด้วย ประเทศจีนที่เข้มแข็ง (Strong China) โดยมุ่งสร้างความเข้มแข็ง ในทุกมิติคือ เศรษฐกิจ การเมือง การทูต การ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละการทหาร, ประเทศจี น ที่ ศิวิไลซ์ (Civilized China) มุ่งเสริมสร้างความ เท่าเทียมกันในสังคม วัฒนธรรมทีเ่ รืองรองและ ศีลธรรมอันสูงส่ง, ประเทศจีนที่เป็นปึกแผ่น (Harmonious China) มุง่ พัฒนาความสัมพันธ์ 32
หรื อ "มิ ต รภาพ" (amity) ระหว่ า งชนชั้ น ต่าง ๆ ของสังคม และประเทศจีนที่สวยงาม (Beautiful China) มุ่งพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ เป็นมิตรกับสิ่งมีชีวิตและตั้งเป้าหมายการเป็น ประเทศที่มีมลพิษต�่ำ การก้าวไปสู่ “ความฝันของชนชาติจีน” ที่ สี จิ้นผิง วางแผนเอาไว้มีกลไกส�ำคัญในการขับ เคลื่อน ๒ ประการประกอบด้วย ประการแรก คือ ความมั่งคั่งด้านเศรษฐกิจ และประการที่ สองคือ ความแข็งแกร่งด้านการทหาร ซึ่งใน ห้วงเวลาที่ผ่านมาโลกสามารถสังเกตเห็นการ พัฒนาเศรษฐกิจและแสนยานุภาพทางกองทัพ ของจีนแบบก้าวกระโดดได้อย่างชัดเจน โดย เฉพาะด้านการทหารนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ งบประมาณทางทหารของจี น ได้ เ พิ่ ม สู ง ถึ ง ๑๖๐,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเกือบ ๕ ล้านล้านบาท แม้จะน้อยกว่างบประมาณทาง ทหารของสหรัฐฯ ถึงสี่เท่าครึ่ง แต่หากจีนยัง คงเพิ่มงบประมาณด้านการทหารในลักษณะ ก้าวกระโดดเช่นนี้ ภายในปี พ.ศ.๒๕๗๔ จีน จะมีงบประมาณด้านการทหารทีส่ งู กว่าสหรัฐฯ อย่างแน่นอน ในด้ า นเศรษฐกิ จ ปั จ จุ บั น จี น ก้ า วขึ้ น มา อยู่ในอันดับที่สองของโลก รองจากสหรัฐฯ ด้วยเงินทุนส�ำรองระหว่างประเทศ (Foreign Reserve) ที่มีมูลค่าถึง ๓.๘ ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐฯ ในช่วงปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ซึง่ ถือว่าสูงทีส่ ดุ ในโลก นอกจากนีจ้ นี ยังประสบ ความส�ำเร็จด้วยการก้าวขึ้นสู่ความเป็นฐาน การผลิ ต สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมอั น ดั บ หนึ่ ง ของ โลกอีกด้วย ความส�ำเร็จนี้จีนต้องแลกมาด้วย ปัจจัยหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการบริโภค ทรั พ ยากรธรรมชาติ จ� ำ นวนมหาศาลเพื่ อ ใช้ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดังเช่นในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จีนใช้พลังงานจากถ่านหินเกือบครึ่ง หนึ่งของถ่านหินทั้งโลก และในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๗ จีนกลายเป็นประเทศที่น�ำ เข้ า น�้ ำ มั น มากกว่ า วั น ละ ๑๑ ล้ า นบาร์ เ รล สูงเป็นอันดับหนึ่งของโลก เป็นต้น การบริโภค พลั ง งานดั ง กล่ า วก่ อ ให้ เ กิ ด การปลดปล่ อ ย มลพิษสู่สิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงจนนครใหญ่ๆ ของจีน เช่น ปักกิ่ง เหอเป่ยและเทียนจิน ถูก ปกคลุมไปด้วยฝุ่นละอองและหมอกควันหนา ทึบสูงกว่าระดับปกติประมาณ ๒ - ๔ เท่าและ ส่งผลเสียต่อระบบทางเดินหายใจอย่างรุนแรง การบริ โ ภคพลั ง งานอย่ า งมหาศาลนี้ เ อง ท�ำให้จีนต้องการแหล่งพลังงานใหม่ๆ มาใช้ ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศ จึ ง ไม่ เป็นที่ประหลาดใจว่า เหตุใดจีนจึงพยายามแผ่ ขยายอิทธิพลเข้ามาในทะเลจีนใต้ โดยเฉพาะ หมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลี ซึ่ง จีนได้เคยท�ำการส�ำรวจทางธรณีวิทยาในช่วง พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
๒๕๒๒ – ๒๕๒๓ ประสบปัญหาอย่างหนักและ ต้องล่าช้าออกไปอย่างมาก บทเรียนในครั้งนั้นท�ำให้จีนรู้ว่า “สงคราม” คื อ อุ ป สรรคส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาประเทศ ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง จึงเดิน “หมากซ้อน หมาก” ด้วยการพัฒนาความสัมพันธ์ทางทหาร กับสหรัฐฯ และรัสเซียเพื่อหลีกเลี่ยงความขัด แย้งที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา กองทัพเรือจีนได้ท�ำการ ฝึกซ้อมทางทะเลกับกองทัพเรือรัสเซียบริเวณ ทะเลเหลืองของเมืองชานตงในทะเลจีนตะวัน ออกเป็นเวลา ๑ สัปดาห์ ภายใต้ชอื่ รหัส “Joint Sea ๒๐๑๔” นับเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการ พัฒนาความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของ ทั้งจีนและรัสเซีย ตลอดจนบ่งบอกถึงความ เชื่อมั่นระหว่างทั้งสองประเทศว่า ได้ก้าวไปสู่ ระดับสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งในด้านการประสานงาน และความร่ ว มมื อ ทางทหาร แม้ ทั้ ง จี น และ รัสเซียจะปฏิเสธว่า ทั้งสองประเทศไม่ได้เป็น พันธมิตรทางทหารระหว่างกันก็ตาม รวมทัง้ ใน ห้วงเวลาเดียวกันจีนยังได้พัฒนาความสัมพันธ์ ด้านพลังงานกับรัสเซียครั้งส�ำคัญ นั่นคือการ ลงนามข้อตกลงสั่งซื้อก๊าซธรรมชาติจ�ำนวน ๔๐๐,๐๐๐ ล้านดอลล่าร์ (๑๓.๒ ล้านล้านบาท) จากรัสเซีย การสั่งซื้อครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงนัย ส�ำคัญทางการเมืองและทางยุทธศาสตร์ด้าน พลังงานของทั้งสองประเทศ ที่ได้กลายเป็น ที่ผ่านมา และพบว่าพื้นที่แห่งนี้อุดมสมบรูณ์ คู่ค้าทางพลังงานที่ส�ำคัญระหว่างกัน เนื่องจาก ไปด้วยก๊าซธรรมชาติที่มีจ�ำนวนถึง ๒๕ ล้าน ในสัญญาฉบับนี้รัสเซียจะต้องส่งก๊าซธรรมชาติ คิวบิกเมตร อีกทั้งยังเต็มไปด้วยน�้ำมันดิบอีก ให้จีน ปีละ ๓๘,๐๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็น เป็นจ�ำนวนมาก เวลานานถึง ๓๐ ปี และที่ส�ำคัญคือการซื้อ การเคลื่อนตัวเข้ามาแสวงหาพลังงานใน ขายครั้งนี้ ทั้งจีนและรัสเซียได้ยกเลิกการใช้ ทะเลจีนใต้ของจีน ไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดความ เงิ น สกุ ล ดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ ฯ และหั น มาใช้ เ งิ น ขัดแย้งกับบางประเทศในสมาคมประชาชาติ สกุลหยวนของจีน เงินสกุลยูโรและเงินรูเบิล เอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ “อาเซียน” เท่านัน้ ของรัสเซียแทน หากแต่ยังส่งผลให้มหาอ�ำนาจอื่น ๆ ทั้งรัสเซีย ในขณะเดียวกันจีนก็พยายามลดการเผชิญ สหรัฐฯ และญี่ปุ่น ถูกดึงเข้ามาเกี่ยวข้องกับ หน้ากับสหรัฐฯ ที่พยายามหาหนทางจ�ำกัด ความขั ด แย้ ง โดยเวี ย ดนามและฟิ ลิ ป ปิ น ส์ หนทางหรือ “ปิดล้อม” ตนเองมาตลอดห้วง ในลั ก ษณะของการสร้ า งพั น ธมิ ต รเพื่ อ ถ่ ว ง ดุลอ�ำนาจกับจีน สถานการณ์เช่นนี้ไม่ส่งผล ดีต่อนโยบาย “ความฝันของชนชาติจีน” ที่ ประธานาธิบดี สี จิน้ ผิง วางแผนเอาไว้ เพราะจีน ยังไม่พร้อมที่จะมีความขัดแย้งทางทหารกับ มหาอ�ำนาจอื่น ๆ เนื่องจากสงครามไม่ว่าระยะ สั้นหรือระยะยาว ย่อมส่งผลกระทบต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ โดยเฉพาะจีนซึ่งเคยมีประสบการณ์จาก เหตุการณ์ “สงครามสั่งสอน” ที่เคยรุกเข้าไป ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนามในเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๒ ผลของสงครามครั้ง นัน้ ท�ำให้จนี ต้องสูญเสียงบประมาณไปมากกว่า ๓,๔๐๐ ล้านหยวนและส่งผลให้แผนพัฒนา เศรษฐกิจของผู้น�ำจีน เติ้ง เสี่ยวผิว ในปี พ.ศ. หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
เวลาที่ผ่านมาบนพื้นฐานของนโยบาย “ปรับ สมดุล” (Rebalancing) ของประธานาธิบดี บารัก โอบามา ทั้งนี้จีนพยายามรักษาความ สัมพันธ์อันดีกับสหรัฐฯ มาโดยตลอด จนถึง กับขนานนามสหรัฐฯ ว่า “คู่แข่งที่เป็นมิตร” (Peer Competitor) โดยพยายามหาหนทาง เข้าร่วมในการฝึกทางทหารกับสหรัฐฯ เพื่อลด ความหวาดระแวงระหว่างกัน นับตั้งแต่การฝึก คอบร้าโกลด์ ๑๔ เป็นครั้งแรกในประเทศไทย เมือ่ ต้นปี พ.ศ.๒๕๕๗ ตามด้วยการส่งก�ำลังทาง เรือเข้าร่วมการฝึก “ริมแพค” (RIMPAC) ซึง่ เป็น การฝึกร่วมทางทะเลที่ใหญ่ที่สุดของโลกยุค ปัจจุบัน เป็นครั้งแรกที่มลรัฐฮาวาย ประเทศ สหรั ฐ ฯ เมื่ อ เดื อ นมิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา จะเห็นได้วา่ การก้าวไปตามนโยบาย “ความ ฝันของชนชาติจนี ” ตามทีป่ ระธานาธิบดีสี จิน้ ผิง วางแผนไว้นั้น แม้เส้นทางจะมิได้โรยด้วยกลีบ กุหลาบ แต่จนี ก็พยายามทุกวิถที างทีจ่ ะผลักดัน ความฝันของตนเองให้เป็นความจริง แม้จะต้อง ลบความฝันของชาติอื่น ๆ ลงก็ตาม การเดิน หมากด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของ จีนในครั้งนี้ จึงเต็มไปด้วยความรอบคอบและ ระมัดระวัง โดยพยายามกระชับความสัมพันธ์ กับมหาอ�ำนาจ รวมถึงสร้างความสัมพันธ์กับ มิตรใหม่หรือชาติที่เป็นกลาง และเมื่อความ ขั ด แย้ ง กลายเป็ น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ จี น ก็ เลือกที่จะมีปัญหากับชาติเล็ก ๆ มากกว่าที่จะ มีปัญหากับชาติมหาอ�ำนาจ นับเป็นพฤติกรรม ทีม่ ที งั้ แข็งกร้าวและอ่อนโยนประนีประนอมใน เวลาเดียวกัน พฤติกรรมนี้จะมีให้เห็นเรื่อยไป จนกว่าจีนจะประสบความส�ำเร็จตามนโยบาย “ความฝันของชนชาติจีน” ดังกล่าวแล้ว หลัง จากนั้ น โลกก็ จ ะต้ อ งเตรี ย มพร้ อ มส� ำ หรั บ “หมากการเมือง” กระดานต่อไปของจีนทีจ่ ะมี ความเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างมาก
33
การเยี่ยมชมกิจการ ของทหารผ่านศึก กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ก
ารรบถื อ เป็ น งานหลั ก ของเหล่ า “ทหาร” ที่ เ ป็ น แนวหน้ า คอย ปะทะปกป้ อ งประเทศชาติไ ม่ให้ ศัตรูมารุกราน แต่หลังจากสงครามสิ้นสุดลง การสูญเสียมักจะมาเยือนเสมอ ทั้งบาดเจ็บ ล้มตาย รวมถึงพิการ ซึ่งในช่วงแรกทุกคนต่าง ให้เกียรติในฐานะวีรบุรุษ แต่นานวันเข้าเหล่า วีรบุรษุ ก็ถกู สังคมลืมเลือน กลายเป็นความทรง จ�ำสีจาง “ทหารผ่านศึก” ถูกมองเป็นแค่เพียง คนพิการกินเงินบ�ำนาญ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว พวกเขามีความสามารถและต้องการให้สังคม ยอมรับ ทั้งนี้ ภารกิจหลักขององค์การทหารผ่านศึก ได้แก่ การให้การสงเคราะห์แก่ทหารที่ผ่าน การปฏิบัติการรบ และครอบครัวของทหารที่ ปฏิบัติการรบ ซึ่งแบ่งออกเป็น ๖ ประเภท คือ ๑. การสงเคราะห์ทางด้านสวัสดิการและ การศึกษา เป็นการให้การสงเคราะห์เกี่ยวกับ เรื่องทั่ว ๆ ไป ที่อยู่อาศัย การศึกษา ตลอดจน ให้ความช่วยเหลือด้านอวัยวะเทียม 34
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๒. การสงเคราะห์ทางด้านอาชีพ โดยจัดตัง้ ศูนย์ฝึกอาชีพ ให้ความช่วยเหลือในทางด้าน การท�ำงาน จัดหางานให้ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ๓. การสงเคราะห์ด้านนิคมเกษตรกรรม จัดสรรที่ท�ำกินในด้านเกษตรกรรมให้ และให้ ความช่วยเหลือทางด้านเครื่องมือและวิชาการ ๔. การสงเคราะห์ดา้ นการให้สนิ เชือ่ จัดตัง้ กองทุนสงเคราะห์ไว้เพือ่ ให้สนิ เชือ่ หรือให้กยู้ มื เงินแก่ทหารผ่านศึก ครอบครัว และทหารนอก ประจ�ำการ โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต�่ำ ๕. การสงเคราะห์ด้านการรักษาพยาบาล ให้แก่สมาชิก โดยไม่คิดมูลค่า ๖. ให้ มี ก ารส่ ง เสริ ม สิทธิแ ละเกียรติของ ทหารผ่านศึก โดยการขอสิทธิพิเศษในด้าน ต่างๆ ให้แก่ทหารผ่านศึก เช่น การขอลดค่า โดยสาร เป็นต้น จากการให้การสงเคราะห์ในด้านต่าง ๆ ดังที่ กล่าวมาแล้ว องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้เป็นหน่วย งานท� ำ หน้ า ที่ ดู แ ลให้ ก ารสงเคราะห์ แ ละ เชิ ด ชู เ กี ย รติ แ ก่ ท หารผ่ า นศึ ก ครอบครั ว ทหารผ่านศึก และทหารนอกประจ�ำการให้ มี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ที่ ดี สามารถด� ำ รงชี วิ ต อยู่ในสังคมได้อย่างมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี ซึ่งใน การด�ำเนินการตามภารกิจดังกล่าว องค์การ สงเคราะห์ ท หารผ่ านศึ ก ได้รับ ความร่ว มมือ จากสื่อมวลชนทุกแขนงในการประชาสัมพันธ์ ข่ า วสารและกิ จ กรรมต่ า ง ๆ จึ ง ได้ จั ด ท� ำ โครงการน�ำสื่อมวลชนเยี่ยมชมกิจการผลงาน ของทหารผ่านศึกที่ประสบความส�ำเร็จในการ ประกอบอาชีพ เมื่อวันที่ ๒๑ – ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี และ จังหวัด นครนายก
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
โดยบ้ า นแรกที่ ไ ปเยี่ ย มชมคื อ บ้ า นของ ร้อยตรี สุพล จัตุรงค์ ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ ๑๘ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลขี้เหล็ก อ�ำเภอเมือง จังหวัด ปราจีนบุรี ทหารผ่านศึกนอกประจ�ำการบัตร ชัน้ ที่ ๑ ทีไ่ ด้รบั ราชการ และไปราชการสงคราม เวียดนาม ในสังกัดกองพลทหารอาสาสมัคร ได้ รั บ พระราชทานเหรี ย ญชั ย สมรภู มิ ก รณี สงครามเวียดนาม ไปราชการพิเศษประเทศ ที่ ๓ สังกัด บีซี ๖๑๗ ได้รับบาดเจ็บจากการ สู้รบ ปลดพิการ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ได้รับ พระราชทานยศจากสิบตรี เป็นร้อยตรี ประสบ ความส�ำเร็จในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม บนเนื้อที่ ๕๐ ไร่ โดยปลูกพืชหลายอย่าง อาทิ ไม้ดอกไม้ประดับ ต้นโมก ไผ่ตง มะม่วง มะนาว มีรายได้หมุนเวียนทัง้ ปี เฉลีย่ ต่อเดือนประมาณ ๓๐,๐๐๐.- บาท บ้านที่สองคือ บ้านของพลทหาร ประยงค์ เข็มมณี ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ ๒๐/๑ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลหินตั้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก
ทหารผ่านศึกนอกประจ�ำการบัตรชั้นที่ ๔ เข้า รับราชการเป็นทหารกองประจ�ำการ สังกัด กองพลทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๒ รักษา พระองค์ จังหวัดปราจีนบุรี และได้ปฏิบตั หิ น้าที่ ตามแผนป้องกันประเทศ ในพื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา จังหวัดสระแก้ว ปลดประจ�ำการเมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๒๘ และได้รับพระราชทานเหรียญ พิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ ๒ ประเภทที่ ๑ ประสบ ความส�ำเร็จในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำสวนไผ่ และสวนผลไม้ ท�ำบ้านพักแบบโฮม สเตย์ ได้พัฒนาการแกะสลักไม้ไผ่ จนได้รับ หนังสือรับรองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ปัจจุบัน จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์แกะสลักจากไม้ไผ่ และยัง เป็นวิทยากรถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ แกะสลักไม้ไผ่ให้นักเรียนตามโรงเรียนต่าง ๆ คนในชุมชน ตลอดจนผู้ที่สนใจ ชี วิ ต ของทหารที่ ผ ่ า นศึ ก กลั บ มา บางคน กลับมาด้วยอวัยวะครบถ้วน ในขณะที่บางคน ต้ อ งพิ ก ารจากการสู ้ ร บ ได้ รั บ ความยาก ล� ำ บากในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต อี ก ทั้ ง ครอบครั ว ของทหารผ่ า นศึ ก เหล่ า นั้ น บางครอบครั ว มี ฐานะยากจน รายได้ จ ากเงิ น เบี้ ย บ� ำ เหน็ จ บ�ำนาญก็ไม่ได้มากมายอะไรนัก ลูก ๆ ของ ทหารผ่านศึกต้องประสบปัญหาในการเรียน หนังสือบ้าง ในการด�ำรงชีวิตที่ต้องคอยเลี้ยงดู หรือปฐมพยาบาลทหารที่ได้รับบาดเจ็บจนไม่ สามารถช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง จึงอยากจะขอ ประชาสัมพันธ์ ให้ช่วยกันอุดหนุนผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ของทหารผ่านศึก เพื่อเป็นขวัญ ก�ำลังใจ และสนั บ สนุ น การประกอบอาชี พ ให้ กั บ ทหารผ่ า นศึ ก ครอบครั ว ทหารผ่ า นศึ ก และ ทหารนอกประจ�ำการ ให้มีอาชีพและรายได้ สามารถเลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืน เพื่อให้อยู่ ในสังคมได้อย่างมีเกียรติ
35
An Army out of Control
ไกลเกินกว่าจะสังหาร... ทหารหนีทัพ
“ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงจากรัฐบาล ภายใต้การปกครองระบอบใหม่” นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
บทความนี้ เ รี ย บเรี ย งจาก Bangkok Post, Spectrum,March 27-April, 2011 โดย Phil Thorton จากการให้สมั ภาษณ์ของ ทหารหนีทพ ั พม่า เล่าเรือ่ งราวต่าง ๆ ทีเ่ ขาอยู่ ในเหตุการณ์อนั น่าสะพึงกลัวจากการกระท�ำ ของกองทัพบกพม่า
36
หม่อง ชายหนุ่มชาวกะเหรี่ยงอายุ ๑๙ ปี อดีตทหารพม่าที่หนีทัพออกมา นั่งอยู่ในสภาพ ที่อิดโรย ตามร่างกายเขาเต็มไปด้วยรอยแผล เป็น เขามีลักษณะซึมเศร้ากับอดีตอันเจ็บปวด ที่ผ่านมา เขาพยายามเล่าเรื่องที่ขมขื่นและ ปวดร้ า วอย่ า งยากล� ำ บากถึ ง ความป่ า เถื่ อ น ของทหารพม่าที่กระท�ำต่อชนกลุ่มน้อยชาว กะเหรี่ยง ไม่ว่าจะเป็นการเผาท�ำลาย การฆ่า การปล้นและการข่มขืน การแตกทั พ ของทหารพม่ า จ� ำ นวนมาก คือปัญหาอันเป็นอุปสรรคที่ฝังรากลึกมานาน ของกองทัพพม่า สาเหตุของปัญหาไม่ได้เกิด จากการสู ้ ร บกั น ของทหารพม่ า และทหาร
กะเหรี่ยงกู้ชาติ จากข้อมูลปี ๒๐๐๖ มีการ หนีทหารถึง ๙,๔๗๓ คน ซ�้ำร้ายยิ่งกว่านั้นผล การส�ำรวจในปี ๒๐๐๙ พบว่าทหารพม่าติด เชื้อ HIV มากถึง ๑๓,๗๐๐ คนและเป็นโรคตับ อักเสบมากกว่า ๒,๐๐๐ คน ข้อมูลเหล่านีแ้ สดง ให้เห็นถึงปัญหาภายในที่แท้จริงของกองทัพ พม่า นายทหารพม่ามีอตั ตาในตนเองสูงมาก ยุง่ เกี่ยวกับธุรกิจที่หาก�ำไร ติดสุราและบ้าผู้หญิง ขวัญก�ำลังใจของทหารพม่าในแนวหน้า ตกต�่ำมาก ไม่มีการรับประกันโดยสิ้นเชิงเลย ว่ า ทหารที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ยู ่ ใ นภู มิ ป ระเทศที่ ทุรกันดารจะได้รับการส่งก�ำลังบ�ำรุงใด ๆ แม้ กระทั่งยารักษาโรคจากกองทัพ ทหารอยู่ใน นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
สภาพที่ย�่ำแย่และหวาดผวาจากการถูกสังหาร และซุ ่ ม โจมตี ข องทหารกะเหรี่ ย ง กองทั พ กะเหรี่ ย งกู ้ ช าติ KNU (Karen National Union) เปิดเผยถึงการสู้รบกับทหารพม่าในปี ๒๐๑๐ ในรัฐกะเหรีย่ ง มีการปะทะกันถึง ๖๘๗ ครั้ง ซุ่มโจมตี ๔๑๓ ครั้ง ทหารพม่าเสียชีวิต ๖๖๕ คนและบาดเจ็บอีก ๑,๓๙๑ คน ภาพที่ รั ฐ บาลทหารพม่ า วางไว้ ห ลั ง เปลี่ ย นแปลงการปกครองในระบอบใหม่ ที่ รั ฐ บาลมาจากการเลื อ กตั้ ง นั้ น ดู ท ่ า จะเป็ น เรื่องที่เพ้อฝันบวกกับการล้มละลายโดยสิ้น เชิงของสถานะทางการเงินที่ยังไม่มีทางแก้ไข ทหารพม่าล้วนตระหนักดีว่า การสู้รบหรือการ ตายของพวกเขานั้น ไม่มีคุณค่าเลยแม้แต่น้อย ความแข็งแกร่งของกองทัพบกพม่าในปี ๒๐๑๐ ถดถอยลงไปมากเมื่อเปรียบเทียบกับในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมา จากเดิมก�ำลังทหารพม่ามีถึง ๙๐ กองพันที่ปฏิบัติงานอยู่ในรัฐกะเหรี่ยงลดลง มาเหลือแค่ไม่ถึง ๖๐ กองพัน จ�ำนวนทหารใน กองพันก็ลดลงมาอีกจาก ๓๐๐ - ๔๐๐ คนต่อ ๑ กองพันเหลือเพียงไม่เกิน ๑๕๐ คนเท่านั้น ถนนหนทางอยู่ในสภาพที่เลวร้ายปราศจาก การซ่อมบ�ำรุง เสบียงไม่เคยถึงมือทหาร หม่องถูกบังคับให้เป็นทหารตั้งแต่อายุ ๑๘ ปี ตอนนั้นเขาต้องออกหางานท�ำเพื่อน�ำเงิน หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
มาเป็นค่ารักษาพยาบาลน้องสาว แต่เขาไปไม่ ถึงโรงพยาบาลพร้อมเงินที่ได้จากการท�ำงาน หม่องถูกจับระหว่างเดินทางข้อหาไม่มีบัตร ประจ�ำตัวประชาชน เขาเครียดมากและถูก บังคับให้ดื่มเหล้าพร้อมกับบังคับให้เป็นทหาร ในกองทัพพม่าตัง้ แต่บดั นัน้ และยังมีทหารใหม่ ที่ต้องตกอยู่ในสภาพเช่นเดียวกันอีกหลายคน กลยุทธ์พื้น ๆ ที่กองทัพพม่าใช้หลอกล่อเด็ก หนุ่มจากครอบครัวที่ยากจนคือการสัญญาว่า จะให้ให้เงินทองหรือผลตอบแทนอื่น ๆ หนัก ยิ่ ง กว่ า นั้ น คื อ ยั ด เยี ย ดข้ อ หาอาชญากรรม
ต่าง ๆ ให้ หม่องและผู้ร่วมชะตากรรมอีกกว่า ๒๕๐ คนถูกส่งเข้ารับการฝึกทางทหารอยู่ถึง ๔ เดื อ นพร้ อ มกั บ ค� ำ มั่ น สั ญ ญาว่ า ระหว่ า ง การฝึกว่าจะได้รับเงินเดือน ๓๗,๐๐๐ จ๊าด (๑,๑๒๐ บาท) หลังจากส�ำเร็จการฝึกแล้วจะ เพิ่มขึ้นเป็น ๔๓,๐๐๐ จ๊าด แต่ในที่สุดพวก เขาได้รับเพียง ๒,๐๐๐ จ๊าดต่อเดือนส่วนที่ เหลือนั้นนายทหารพม่าบอกว่าเก็บสะสมไว้ เป็นเงินกองทุนเมื่อปลดประจ�ำการ เป็นเรื่อง ที่น่าประหลาดใจที่พวกเขาเหล่านั้นไม่เคยเห็น หน้าตาของสมุดบัญชีเงินฝากเลย
37
ทหารพม่าฝึกให้ใช้อาวุธนานาชนิดรวม ถึงการประกอบและวางกับระเบิดในพื้นที่ยึด ครองของกะเหรี่ยง เนื่องจากจะไม่เป็นที่ผิด สังเกตของชาวบ้านเลยเพราะเป็นการกระท�ำ ของทหารที่ มี เ ชื้ อ ชาติ ก ะเหรี่ ย ง ยิ่ ง กว่ า นั้ น ทหารเด็กเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังอายุไม่ถึง ๑๕ ปี กันเลย ทหารพม่าบอกพวกเขาว่า นี่คือการต่อสู้ เพื่อปกป้องชาติบ้านเมืองกับศัตรูที่เป็นพวก งาเปียว (Nga Pwey : ค�ำที่พม่าเรียกชาว กะเหรี่ยงด้วยความดูถูกเหยียดหยาม) เมื่อเล่า เรื่องถึงตอนนี้หม่องรู้สึกรังเกียจและอาฆาต แค้นทหารพม่าเป็นอย่างมาก และต้องการฆ่า ถ้ามีโอกาส หม่องบรรยายต่อไปถึงแผนการ หลบหนีของเขากับจ่าทหารคนหนึ่งที่เขาให้ ความเคารพและเอ็ น ดู ห ม่ อ งมาก โดยที่ จ ่ า ทหารคนนั้นหนีไปก่อนแต่ถูกตามจับได้ภาย หลังและถูกล่ามคอด้วยเชือกเยี่ยงสุนัข เขา ถูกทรมานอย่างแสนสาหัส ทหารพม่าใช้มีด กรีดร่างกายเป็นแผลริ้ว ๆ พร้อมกับโรยเกลือ เพิ่มความทรมานเข้าไปอีก เสียงร้องคร�่ำครวญ โหยหวลด้วยความเจ็บปวดของจ่าทหารคนนัน้ ยังสถิตย์แน่นอยู่ในโสตประสาทของหม่องอยู่ ความอ�ำมหิตยังไม่หยุดอยู่แค่นั้นทหารพม่า จับจ่าทหารหนีทพั ฝังทัง้ เป็นโผล่ให้เห็นแต่คอที่ พวกเขาเรียกว่า มาย-มโย (Myay Myo : หลุม แห่งความตาย) เขาขอร้องให้หม่องแก้แค้นให้ ด้วย ซึ่งหม่องก็ได้ให้สัญญา การฆ่าเพื่อให้หลุด พ้นจากความทุกขเวทนาจึงเกิดขึน้ หม่องใช้มดี เชือดคอจ่าทหารคนนั้นจนตายและตัวหม่อง ก็ชุ่มโชกไปด้วยเลือดแห่งความแค้น หม่อง เริ่มบ้าและเสียสติพยายามที่จะโอบกอดศพที่ เขาเพิ่งฆ่าตาย หม่องตัดมือตัวเองข้างหนึ่งทิ้ง 38
ไปเหมือนประกาศว่าเขาจะปฏิบัติตามค�ำมั่น สัญญา พร้อมกันนั้นทหารพม่าก็เข้ามาควบคุม ตัวเขา หม่องได้เล่าลึกลงไปอีกว่า ทหารทุกคน ถูกปรนเปรอให้เสพของมึนเมาทั้งเหล้าและ ยาบ้าเพื่อให้เกิดความหึกเหิมก่อนออกท�ำงาน พวกเขาบุกเข้าไปในหมู่บ้านและต้อนผู้คนให้ มารวมกัน ใครวิ่งหนีจะถูกยิงทิ้งทันที หม่อง ชอบพยาบาลชาวกะเหรีย่ งคนหนึง่ แต่จา่ ทหาร พม่าจับตัวไว้พร้อมกับบอกเขาว่า เธอจะเป็น อิสระถ้าหม่องจุดไฟเผาหมูบ่ า้ นและยึดปืนของ
พวกงาเปียวมาให้ได้ ๓ กระบอก หม่องปฏิเสธ ที่จะท�ำตาม แต่จ่าทหารพม่าคนนั้นก็จุดไฟเผา บ้านชาวกะเหรี่ยงด้วยตัวเองราบเรียบไป ๗ หลังแล้วจึงปล่อยพบาบาลสาวไป หม่องและ เพื่อนทหารหนีทัพยืนยันถึงความป่าเถื่อนและ โหดร้ายของทหารพม่า พวกเขาพลัดกันข่มขืน หญิงชาวกะเหรีย่ งหลายต่อหลายคนและฆ่าทิง้ อย่างทารุณ เหตุ ก ารณ์ อี ก ครั้ ง ก่ อ นที่ ห ม่ อ งจะถู ก ขั ง คุก ผู้กองทหารชาวพม่าพร้อมกับทหารชาว กะเหรี่ ย งสองคนรวมถึ ง ตั ว เขาเองเขาด้ ว ย
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ระหว่างเดินทางเข้าไปในหมู่บ้านแห่งหนึ่งสวน ทางกับหญิงสาวชาวกะเหรีย่ งทีโ่ ชคร้ายสองคน ผู้กองคนนั้นจับมือหญิงสาวไว้แต่หม่องคัดค้าน ขอร้องให้ปล่อยตัว โดยเปรียบเทียบไปว่าหาก เป็นน้องสาวของผู้กองเองจะรู้สึกอย่างไร ผู้ กองคนนั้นไม่สนใจและบอกว่าเขาจะท�ำในสิ่ง ทีเ่ ขาต้องการพร้อมกับชกเข้าทีท่ อ้ ง หม่องสวน กลับด้วยกิ่งไม้และเพื่อนทหารชาวกะเหรี่ยง ด้วยกันเข้าช่วยเหลือและยิงนายทหารพม่า จนได้รับบาดเจ็บ ระหว่างอยู่ในคุกพวกเขามี สิทธิ์อยู่เพียงแค่สามอย่างโดยไม่จ�ำเป็นต้องมี ค�ำถามคือ ยอมรับ ท�ำตามทีส่ งั่ และห้ามโต้ตอบ เพื่อนของหม่องถูกตัดสินให้จ�ำคุก ๑๓ ปีส่วน เขาได้รับการปล่อยตัวในภายหลัง หม่องพูดว่า วันเดียวที่เขามีความสุขคือวัน ที่เขาหนีจากกองทัพทหารพม่ามาได้ และเมื่อ ถึงตอนนี้เขาได้ใช้ชีวิตที่ไม่ได้อยู่ภายใต้เครื่อง แบบทหารพม่ามาสองเดือนแล้วพร้อมกับการ หลอกหลอนของช่วงชีวิตอันโหดร้ายที่ผ่านมา ตลอดเวลา ซอ ถิ่น นายทหารชาวพม่าที่แปรพักตร์อีก คนหนึ่ง เขามาจากครอบครัวที่ดี มีความสุภาพ เรียบร้อย ส�ำเร็จการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เป็นนายทหารในกองทัพบกพม่ายาวนานถึง ๑๓ ปี เขาเปิดเผยว่า ทหารในแนวหน้าส่วน ใหญ่ติดเหล้า เบื่อหน่าย อยู่อย่างหวาดผวา และเชื่ อ ฟั ง ค� ำ โฆษณาชวนเชื่ อ ของกองทั พ พวกเขาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่กระหายการต่อสู้ และการฆ่า ความโหดเหี้ยมเกิดขึ้นได้ทุกหย่อม หญ้าและตลอดเวลา การประณามของกลุ่ม สิทธิมนุษยชนต่อทหารเลวพวกนี้ยังน้อยเกิน ไป นายทหารส่วนใหญ่จะได้รับมอบการบังคับ บัญชาในพืน้ ทีข่ องตนเอง นัน่ ยิง่ ท�ำให้เกิดความ เหิมเกริมมากยิ่งขึ้น สามารถท�ำอะไรได้ตามใจ ชอบแต่คนอื่นมักจะไม่ชอบด้วย การร้องเรียน ใดๆถึงการกระท�ำของทหารเหล่านี้ มีค่าเพียง แค่เสียงร้องของเหล่าสกุณาจากพงไพรเท่านั้น นายทหารพม่าหนุ่ม ๆ ที่เพิ่งเข้าประจ�ำ การในกองทัพ พวกเขาเริ่มต้นด้วยความฝัน ที่ ดี ด้ ว ยหวั ง ว่ า เมื่ อ วั น หนึ่ ง ในอนาคตมาถึ ง พวกเขาจะเป็นนายทหารที่ได้รับความเคารพ เป็นทหารเอกของประชาชน แต่ความเป็นจริง ของกองทัพบกได้ครอบง�ำความคิดของพวก เขาไปเสียจนหมดสิ้น ทหารทุกคนพยายามขอ ความกรุณาจากผู้น�ำกองทัพในเรื่องค่าครอง ชีพ นายทหารระดับร้อยเอกได้รับเงินเดือน ๑๓๐ ดอลลาร์หรือ ๓,๙๐๐ บาท ซึง่ ไม่เพียงพอ ต่อการเลี้ยงดูครอบครัว เงินเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ส�ำหรับความดีความชอบใด ๆ การคอร์รัปชั่น จึงมีอยูท่ วั่ ไป แหล่งรายได้กค็ อื จากชาวบ้านทุก หมู่บ้านในพื้นที่อิทธิพลของทหาร ซอ ถิ่น บรรยายต่อถึงเหตุผลที่ท�ำไมนาย ทหารใหม่จึงไม่อยากอยู่ในพื้นที่อิทธิพลของ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
กะเหรี่ ย ง พวกเขาพยายามหาทางที่ จ ะไป เป็นทหาร เด็กบางคนปืนสูงกว่าตัวเขาอีก ส่วน ประจ�ำในเขตชายแดนด้านอื่น เนื่องจากหา ใหญ่เด็กเหล่านี้จะเป็นเด็กก�ำพร้า เด็กจรจัดไร้ รายได้จากด้านอื่น ๆ ได้ดีและปลอดภัย ด่าน บ้านหรือมาจากครอบครัวที่อัตคัต อยู่ก็ได้ตาย ภาษีทุกที่คือท�ำเลที่เหมาะมากส�ำหรับพวกเขา ก็ดีท�ำนองนั้น เมื่อทหารเด็กเหล่านี้ผ่านการฝึก เพราะอยู่ภายใต้การควบคุมของทหาร การ พอสมควรแล้วจะถูกส่งไปแนวหน้า ท�ำหน้าที่ ลักลอบค้าไม้สัก อัญมณี หยก รถยนต์ สินค้า ทหารรับใช้ให้กับนายทหารพม่า ที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องตามกฎหมายคือแหล่ง หม่ อ ง อาย เป็ น นายทหารพม่ า ที่ แ ปร ผลประโยชน์ทงั้ นัน้ กลุม่ ผลประโยชน์คอื พ่อค้า พักตร์อีกผู้หนึ่งที่เปิดเผยการกระท�ำของทหาร ชาวพม่า นักธุรกิจต่างชาติและนายทหารใหญ่ พม่า เขาเป็นนายทหารอยู่ในกองทัพบกนาน ในกองทัพซึ่งได้รับส่วนแบ่งมากที่สุด เพียงแค่ ถึง ๒๕ ปี ในช่วง ๑๐ ปีหลังท�ำหน้าที่ครูฝึก ท�ำเนียนให้มาก หูทวนลม แสร้งเป็นไม่รู้ไม่เห็น ทหารทุกคนจะต้องถูกพร�่ำสอนให้เกลียดชัง ให้ดูเหมือนว่าทุกอย่างเป็นไปตามปกติ ก็เพียง และกลัวชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ที่พยายามจะแบ่ง พอแล้ว บทบาทมีแค่เล็กน้อยเท่านีเ้ อง ในขณะ แยกประเทศ เขาเล่าต่ออีกประเด็นหนึ่งคือ ที่ น ายทหารทั่ ว ไปที่ ดู แ ค่ เ งิ น เดื อ นระดั บ ค่าน�ำ้ ชาในการพิจารณาเลือ่ นยศเลือ่ นต�ำแหน่ง ร้อยเอกมีรายได้ ๑๓๐,๐๐๐ จ๊าด และระดับ หรือเลือกที่อยู่ของนายทหารบ้านสูงมาก จึง พันเอกมีรายได้ ๒๐๐,๐๐๐ จ๊าดเท่านั้น เป็ น ต้ น ตอของการคอร์ รั ป ชั่ น พวกเขาจึ ง ซอ ถิ่น ยอมรับในข้อกล่าวหาของหม่องถึง หาเงินนอกระบบทุกวิถที างเพือ่ ใช้จา่ ยในการนี้ ความโหดร้ายของทหารพม่าโดยเฉพาะเรื่อง ในขณะที่ทหารป่าในแนวหน้านั้นต้องรบเกือบ หลุมแห่งความตาย เขาให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีก ตลอดเวลา ว่า นโยบายของกองทัพพม่าต่อรัฐกะเหรี่ยง องค์กรสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ นั้ น จะแบ่ ง พื้ น ที่ ก ารควบคุ ม เป็ น สามส่ ว น ได้ยื่นหนังสือถึงรัฐบาลพม่าในโอกาสที่พวก คือ ส่วนสีขาว สีน�้ำตาลและสีด�ำ ใครก็ตามที่ เขาจั ด พิ ธี ครบรอบ ๖๖ ปี ข องกองทัพพม่า ถูกจับหรืออยู่ในส่วนสีด�ำเขาเหล่านั้นคือศัตรู ในปลายเดือนเมษายน ปี ค.ศ.๒๐๑๑ โดย ของรั ฐ บาลทหารพม่ า ทหารสามารถที่ จ ะ เรียกร้องให้รัฐบาลพม่าให้ความเคารพและ ยิง ปล้น เผาท�ำลาย ข่มขืนหรือกระท�ำใด ๆ ปฏิ บั ติ ต ่ อ กฎหมายสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนระหว่ า ง ที่ความบ้าบงการอยู่ ชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่น้ี ประเทศซึ่งถือว่าเป็นคัมภีร์ของสงครามที่ควร จึงหวาดกลัวทหารพม่ามาก ซอ ถิ่นเล่าขยาย ยึ ด ถื อ และในตอนท้ า ยตั ว แทนขององค์ ก ร ความต่ อ ไปถึ ง เรื่ อ งที่ รั ฐ บาลทหารพม่ า สู ญ สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ หรือ HRW เสียความเคารพจากประชาชน ตั้งแต่เมื่อครั้ง (Human Right Watch) ได้กล่าวว่า รัฐบาล ล้อมปราบเพื่อสลายการชุมนุมของประชาชน ทหารพม่าได้พยายามสร้างกองทัพในศตวรรษ ที่เรียกร้องประชาธิปไตยในปี ๑๙๘๘, ๑๙๙๐ ที่ ๒๑ ให้มีหน้าตาของความโหดร้ายป่าเถื่อน และปี ๒๐๐๗ ความรุนแรงลักษณะนี้เป็นการ เหมือนกองทัพในศตวรรษที่ ๑๘ และอยู่บน ท�ำลายจิตวิญญาณและขวัญก�ำลังใจของทหาร ยอดของปิรามิดแห่งความกดขี่ ซึ่งใช้รากฐาน อาชีพ นายทหารระดับกลางส่วนใหญ่ไม่พอใจ คื อ ผลประโยชน์ ข องชาติ ค�้ ำ ความมั่ ง คั่ ง ของ การกระท�ำของรัฐบาลทหารพม่า ประชาชน กลุ่มตนเอง” รักประเทศชาติแต่ไม่ชอบรัฐบาลทหารพม่าที่ กระท�ำต่อประชาชนของประเทศเช่นนี้ ซอ ถิ่นและกลุ่มทหารพม่าที่แปรพักตร์ให้ ความเห็นตรงกันถึงการที่ทหารกองทัพพม่า บังคับข่มขู่น�ำเด็กอายุระหว่าง ๙ - ๑๕ ปีมา 39
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ ใช้งานทั่วไป
เอดับเบิ้ลยู ๑๐๙ เพาเวอร์ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิ้ลยู-๑๐๙ ใช้ปฏิบัติการทางนาวี นักบิน ๒ นาย บรรทุก ขนาด ๖-๗ ที่นั่ง ขนาดยาว ๑๓.๐๔ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด ๑๑.๐๐ เมตร (ชนิดสี่กลีบ) สูง ๓.๕๐ เมตร น�้ำหนักบินขึ้นสูงสุด ๒,๘๕๐ กิโลกรัม (๖,๒๘๓ ปอนด์) เครื่องยนต์ เทอร์โบชาฟท์ พี แอนด์ ดับเบิ้ลยู ขนาด ๕๗๑ แรงม้า ความเร็ว ๒๘๕ กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพดานบินสูง ๕,๙๗๔ เมตร (๑๙,๖๐๐ฟุต) และพิสัยบินไกล ๙๓๒ กิโลเมตร (ติดตั้งถังน�้ำมันอะไหล่) ในภาพของกองบินนาวี กองทัพเรือฟิลิปปินส์ (PN) 40
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
อ งบิ น ทหารเรื อ กองทั พ เรื อ ฟิลิปปินส์ (PN) จัดซื้อเครื่องบิน เฮลิ ค อปเตอร์ ใ ช้ ง านทั่ ว ไปรุ ่ น ใหม่เพิ่มเติมแบบ เอดับเบิ้ลยู-๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) จ� ำ นวน ๒ เครื่ อ งจาก ประเทศอิตาลีวนั ที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗ ใช้ในภารกิจค้นหาและกู้ภัย (SAR) บริเวณเขต เศรษฐกิจจ�ำเพาะ และปราบเรือด�ำน�้ำ (ASW) โดยเตรี ย มการติ ด ตั้ ง ระบบโซน่าร์ (จ�ำนวน ๒ เครื่อง) ก่อนนั้นกองบินทหารเรือฟิลิปปินส์ ได้ จั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ เ อดั บ เบิ้ ล ยู-๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) ชุดแรก จ�ำนวน ๓ เครื่องเป็นเงิน ๑.๓๓ พันล้านเปโซ เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ใช้ภารกิจ ค้นหาและกู้ภัย (SAR) บริเวณเขตเศรษฐกิจ จ� ำ เพาะ ปั จ จุ บั น นี้ ไ ด้ รั บ มอบเครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ เอดั บ เบิ้ ล ยู - ๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) ชุ ด แรกเมื่ อ วั น ที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ จัดซื้อในชุดที่สองรวม ๒ เครื่อง จะได้รับในปี พ.ศ.๒๕๕๗ เป็นผลให้ กองทัพเรือฟิลปิ ปินส์ ประจ�ำการด้วยเครือ่ งบิน เฮลิ ค อปเตอร์ เอดั บ เบิ้ ล ยู - ๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) รวมทั้งสิ้น ๕ เครื่อง เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ เอดั บ เบิ้ ล ยู ๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) สามารถ จะปฏิบัติการร่วมกับเรือฟรีเกตชั้นฮามิลตั้น (Hamilton) ขนาด ๓,๒๕๐ ตัน จ�ำนวน ๒ ล�ำ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
ปก
กองทัพเรือฟิลปิ ปินส์ (PN) ได้รบั มอบเครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิล้ ยู-๑๐๙ (AW 109) ชุดแรกจ�ำนวน ๓ เครื่อง เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ และรอการรับ มอบในชุดที่สอง อีก ๒ เครื่อง ในปี พ.ศ.๒๕๕๗ กองทัพเรือฟิลิปปินส์ (PN) ใช้ปฏิบัติ การทางนาวีในภารกิจปราบเรือด�ำน�้ำ (ASW) (BRP Gregorio del Pilar/PF-15 และเรือ BRP Alcaraz/PF-16) โดยจอดที่ ท ้ า ยเรื อ พร้อมด้วยโรงเก็บสามารถปฏิบัติการภารกิจ ต่ อ ต้ า นเรื อ ด� ำ น�้ ำ (ASW) และต่ อ ต้ า นเรื อ ผิวน�้ำ เรือฟรีเกตปฏิบัติการไกลจากฐานทัพที่ อยู่ไกลฝั่งมากยิ่งขึ้นเมื่อกองทัพเรือฟิลิปปินส์
ได้รับมอบเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ เอดับเบิ้ลยู -๑๐๙ เพาเวอร์ครบตามโครงการแล้วจะช่วย ให้ มี ขี ด ความสามารถปฏิ บั ติ ก ารทางทะเล ที่ จ ะป้ อ งกั น ผลประโยชน์ ข องชาติ ต ามแนว ชายฝั่งทะเลยาว ๓๖,๒๘๙ กิโลเมตร (ประเทศ หมูเ่ กาะ) จะมีขดี ความสามารถทางอากาศนาวี 41
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิ้ลยู-๑๐๙ (AW 109) กองทัพเรือฟิลิปปินส์ (PN) ใช้ปฏิบัติการทางนาวี ในภารกิจปราบเรือด�ำน�้ำ (ASW) เตรียมติดตั้งระบบโซน่าร์เพื่อค้นหาเรือด�ำน�้ำฝ่ายข้าศึกจะปฏิบัติการ บนเรือฟรีเกตชั้นฮามิลตั้น (Hamilton) ขนาด ๓,๒๕๐ ตัน จ�ำนวน ๒ ล�ำ ตามมาตรฐานของกองทัพเรือที่ ทันสมัยของโลก
เครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิล้ ยู-๑๐๙ (AW 109) กองทัพเรือฟิลปิ ปินส์ (PN) ปฏิบัติการลาดตระเวนตามแนวชายฝั่งทางยาว ๓๖,๒๘๙ กิโลเมตร พร้อมทั้งมีความ ขัดแย้งในพื้นที่ทับซ้อนในปัญหาหมู่เกาะสแปรตลีบริเวณทะเลจีนใต้ เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีตที่ผ่านมา โดยเฉพาะ ที่เกี่ยวกับด้านความขัดแย้งในปัญหาหมู่เกาะ สแปรตลี (SpratlyIslands) มากยิ่งขึ้น หลาย ประเทศที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ในปั ญ หาหมู ่ เ กาะ สแปรตลี (SpratlyIslands) ประจ�ำการด้วย เรือด�ำน�้ำดีเซลไฟฟ้า กองทั พ อากาศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ (PAF) จั ด ซื้ อ เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปเอดับเบิ้ล ยู-๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) จ�ำนวน ๘ เครื่องเป็นเงิน ๓.๔๔ พันล้านเปโซจาก 42
ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ จะใช้ภารกิจลาดตระเวนติดอาวุธ การ ส่งกลับสายแพทย์ และสนับสนุนการโจมตีโดย ใกล้ชดิ (CAS) จะได้รบั มอบเครือ่ งบินเอดับเบิล้ ยูเอ-๑๐๙ เพาเวอร์ (AW109 Power) ชุดแรก รวม ๒ เครื่อง รุ่นโจมตีในปี พ.ศ.๒๕๕๗ จะน�ำ เข้าประจ�ำการกองบิน ๑๕ เครือ่ งบินทีเ่ หลืออีก ๖ เครื่อง จะได้รับมอบเข้าประจ�ำการครบตาม โครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๘
เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ แ บบอกุ ส ต้ า เวส แลนด์เอดับเบิ้ลยู-๑๐๙ (Agusta Westland AW109) เครื่องบินต้นแบบขึ้นบินครั้งแรกเมื่อ วันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๔ เปิดสายการผลิต ในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ภารกิจขนส่งขนาดเบา การ ส่งกลับพยาบาลทางอากาศ และการค้นหา กู้ภัย (SAR) พร้อมทั้งสามารถใช้ในภารกิจ ทางทหารในภารกิ จ การโจมตี ร ถถั ง (จรวด น�ำวิถีโทว์) โจมตีเบา และปฏิบัติการทางนาวี เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบเอดับเบิ้ลยู ๑๐๙ ข้อมูลส�ำคัญคือขนาดยาว ๑๓.๐๔ เมตร เส้นผ่า ศูนย์กลางใบพัด ๑๑.๐๐ เมตร สูง ๓.๕๐ เมตร น�้ำหนักบินขึ้นสูงสุด ๒,๘๕๐ กิโลกรัม (๖,๒๘๓ ปอนด์) เครื่องยนต์ เทอร์โบชาฟท์พี แอนด์ ดับเบิ้ลยู ขนาด ๕๗๑ แรงม้า ความเร็ว ๒๘๕ กิโลเมตรต่อชั่วโมง และอาวุธตามภารกิจบิน เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์เอดับเบิ้ลยู-๑๐๙ ผลิตออกมาหลายรุ่นที่ส�ำคัญคือ รุ่นเอ ๑๐๙ เอ (A109A), รุ่น เอ-๑๐๙ อี (A109E), รุ่นเอ๑๐๙ แอลยูเอช (A109LUH), รุ่นเอ-๑๐๙ เอ็ม (A109M), รุ่นเอ-๑๐๙ เคเอ็น (A109KN), รุ่น เอ-๑๐๙ ซีเอ็ม (A109CM) และรุ่นเอ-๑๐๙ บี เอ (A109BA) เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอ๑๐๙ เพาเวอร์ประจ�ำการทั่วโลก ๑๙ ประเทศ ยอดการผลิตกว่า ๕๘๐ เครื่อง ประเทศเอเชีย ที่น�ำเข้าประจ�ำการประกอบด้วย บังคลาเทศ (๒), มาเลเซีย (๑๐) และฟิลิปปินส์ (อยู่ระหว่าง การรับมอบ รวม ๑๓ เครื่อง) พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
กองบินทหารบกมาเลเซีย (PUTD) ประจ�ำ การเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิ้ลยู -๑๐๙ แอลโอเอช (AW-109LOH) รวม ๑๑ เครื่ อ งได้ รั บ มอบเครื่ อ งบิ น ชุ ด แรกเมื่ อ วั น ที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๘ ประจ�ำการฝูงบิน ที่ ๘๘๑ ฐานทัพที่รัฐยะโฮร์ (Johor) ใช้ในภารกิจ ตรวจการณ์เบา (สามารถติดตั้งอาวุธภายนอก ล�ำตัวเครื่องบินประกอบด้วย กระเปาะปืนกล อากาศขนาด ๒๐ มิลลิเมตร และกระเปาะ จรวดไม่ น� ำ วิ ถี ข นาด ๗๐ มิ ล ลิ เ มตร) เพื่ อ ทดแทนเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์รุ่นเก่าแบบ อลู แ อ็ ต -III (Alouette-III) จ� ำ นวน ๑๐ เครื่อง ที่หมดอายุการใช้งาน ต่อมาเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ได้ตกจากการฝึกบริเวณในป่า ใกล้กับเขื่อนบีคอค (Bekok Dam) รัฐยะโฮร์ จ�ำนวน ๑ เครื่อง เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ คงเหลือปฏิบัติการรวม ๑๐ เครื่อง ก อ ง ทั พ บ ก ม า เ ล เ ซี ย น� ำ เ ค รื่ อ ง บิ น เฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิ้ลยู-๑๐๙ แอลโอ เอช (AW-109 LOH) รวม ๒ เครื่องปฏิบัติ
กองทัพอากาศฟิลิปปินส์ (PAF) ได้จัดซื้อเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิ้ลยู -๑๐๙ (AW 109) จ�ำนวน ๘ เครือ่ ง ภารกิจโจมตีตดิ ตัง้ อาวุธตามภารกิจบินประกอบด้วย จรวดขนาด ๒.๗๕ นิ้ว (หรือ ๗๐ มิลลิเมตร กระเปาะละ ๑๒ ท่อยิง ชนิดไม่น�ำวิถี) และ ปืนกลขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร (แบบกระเปาะ พร้อมด้วยลูกกระสุน ๒๐๐ นัด)
เครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิล้ ยู-๑๐๙ แอลโอเอช (AW A-109 LOH : Light Observation Helicopter) กองทัพบกมาเลเซียประจ�ำการฝูงบิน ๘๑๑ ฐานทัพที่รัฐ ยะโฮร์ (Johor) ประจ�ำการ ๑๐ เครื่อง (อุบัติเหตุตก ๑ เครื่อง เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๗)
การทางทหารในการกวาดล้างกองก�ำลังผู้ก่อ ความไม่ ส งบจากกองก� ำ ลั ง ติ ด อาวุ ธ สุ ล ต่ า น ซูลู (จ�ำนวน ๒๓๕ นาย) บริเวณรัฐซาบาร์ (Sabah) ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศมาเลเซีย ใกล้กับแนวเขตแดนของ ประเทศฟิลิปปินส์ (กองทัพฟิลิปปินส์ส่งเรือรบ เข้าปฏิบัติการ ๖ ล�ำ) กองทัพบกมาเลเซียใช้ ก�ำลังทหาร ๗ กองพันทหารราบ (กว่า ๖,๕๐๐ นาย) เข้าท�ำการผลักดันกองก�ำลังติดอาวุธต่าง ชาติกองก�ำลังติดอาวุธเสียชีวิต ๖๗ นาย ได้รับ บาดเจ็บ ๓ นาย ถูกจับกุมโดยกองทัพมาเลเซีย ๑๑๑ นาย และถูกจับกุมโดยกองทัพฟิลิปปินส์ ๓๘ นาย ทหารมาเลเซียเสียชีวติ ๙ นาย และได้ รับบาดเจ็บ ๑๒ นาย เหตุการณ์เกิดขึน้ ระหว่าง วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ – ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ มีรายงานข่าวสารตลอดเวลาในระดับภูมิภาค และเป็นข่าวที่โด่งดังไปทั่วโลก
ภาพกราฟิกส์บริเวณมาเลเซียตะวัน ออก รัฐซาบาร์ (Sabah) กองทัพบก มาเลเซียน�ำเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบ เอดับเบิ้ลยู -๑๐๙ แอลโอเอช (AW-109 LOH) ๒ เครื่อง เข้าร่วมปฏิบัติการทาง ทหาร (เรียกว่า Operation Daulat) กวาดล้างกองก�ำลังผูก้ อ่ ความไม่สงบจาก กองก�ำลังติดอาวุธสุลต่านซูลู วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ – ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ปฏิบัติการนาน ๑ เดือน, ๑ สัปดาห์ และ ๖ วัน หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
43
เทศกาลกินเจ ๒๕๕๗ กองประชาสัมพันธ์ สลก.สป.
เทศกาลกินเจ ๒๕๕๗ ปีนี้ กินเจ ๒ ครั้ง ครั้ ง ที่ ๒ ตรงกั บ วั น ที่ ๒๔ ตุ ล าคม ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน และ รอบสอง ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ๒๔ ตุลาคม ครั้งละ ๙ วัน อยากรู้ไหมว่า แต่บางคนอาจกินเจล่วงหน้า ๑ วัน หรือที่ ประวัติเทศกาลกินเจเป็นอย่างไร แล้วท�ำไม เรียกว่า "ล้างท้อง" นั่นเอง ต้องกินเจ เรามีข้อมูลมาฝาก และวันนี้เราก็มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล กินเจมาฝาก ... เมื่อถึงวันขึ้น ๑ ค�่ำ เดือน ๙ (ตามปฏิทิน จีน) ของทุกปี เราจะเห็นธงสีเหลือง ๆ มีตัว อั ก ษรจี น ประดั บ อยู ่ ต ามร้ า นอาหาร และที่ ต่าง ๆ เป็นสัญลักษณ์ว่า เริ่มเข้าสู่เทศกาล กล่าวว่าในอดีตมีคณะงิ้วจากเมืองจีน มา กินเจแล้ว แต่เนื่องจากว่า ในปี ๒๕๕๗ ปฏิทิน เปิดการแสดงที่อ�ำเภอกระทู้นานเป็นแรมปี จีนมีเดือน ๙ สองครั้ง ท�ำให้มีเทศกาลกินเจ บังเอิญช่วงนั้นเกิดโรคระบาดขึ้น คณะงิ้วจึงจัด ๒ ครั้งด้วยกัน คือ ให้มีพิธีกินเจ และสร้างศาลเจ้าขึ้นเพื่อสะเดาะ ครั้ ง ที่ ๑ ตรงกั บ วั น ที่ ๒๔ กั น ยายน - เคราะห์ หลังจากนั้นโรคระบาดก็หาย ชาว ๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ กะทู้เกิดความศรัทธาจึงปฏิบัติตาม หลังจาก
ต�ำนานการกินเจที่ภูเก็ต
44
ประกอบพิธีอยู่ประมาณ ๒ - ๓ ปี ก็มีผู้คน เลื่อมใสมากขึ้นเรื่อย ๆ ประกอบกับอยากได้ พิธีกินเจที่สมบูรณ์แบบตามประเพณีมณฑล กังไส ประเทศจีน จึงได้ส่งตัวแทนไปน�ำควัน ธูป (เหี่ยวเอี้ยน) จากกังไสให้ลอยมาถึงภูเก็ต โดยในการเดินทางกลับจะต้องคอยจุดธูปต่อ กันมิให้ดับมอด ศาลเจ้ากะทู้จึงได้ช่ือว่าเป็น ต้นต�ำรับของพิธีกินเจในปัจจุบัน ส�ำหรับเมืองไทยความเชื่อเรื่องการกินเจ เป็นไปในแนวทางของการละเว้นการเอาชีวิต ของสัตว์ เพื่อสักการบูชาแก่พระพุทธเจ้า และ มหาโพธิสัตว์กวนอิม อาจเนื่องจากการแพร่ หลายของการละเว้นการกินเนื้อวัว ในกลุ่ม คนที่นับถือ “เจ้าแม่กวนอิม” การกินเจจึงเป็น อีกหนึ่งพิธีกรรมเพื่อสักการะ กองประชาสัมพันธ์ สลก.สป.
นิกายมหายานนั้น การรักษาอุโบสถศีลจะรวม ถึงการไม่รับประทานเนื้อสัตว์ด้วย เราจึงนิยม เรียกการไม่ทานเนื้อสัตว์รวมไปกับการกินเจ ในปัจจุบันผู้ที่รับประทานอาหารทั้ง ๓ มื้อ แต่ ไม่กินเนื้อสัตว์ก็ยังคงเรียกว่า "กินเจ" ดังนั้น ความหมายของคนกินเจ ไม่เพียงแต่ไม่ทาน เนื้อสัตว์ แต่ยังต้องด�ำรงตนอยู่ในศีลธรรมอัน ดีงาม มีความบริสุทธิ์ สะอาด ทั้งกาย วาจา ใจ " ก า รกิ นเ จ " ต า มพ จ นา นุ ก ร มฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หมายถึง การ ถือศีลอย่างญวนและจีนทีไ่ ม่กนิ ของสดคาว แต่ บริโภคอาหารประเภทผักทีไ่ ม่มขี องสดของคาว ผสม ซึ่ ง มาจากรากศั พ ท์ ค� ำ ภาษาจี น ที่ ว ่ า "เจียฉ่าย" หมายถึง การกินอาหารผัก อาหาร ที่มาจากพืชผักธรรมชาติ ไม่มีเนื้อสัตว์ปะปน และไม่ปรุงด้วยผักฉุน ๕ ชนิด ได้แก่ กระเทียม หัวหอม หลักเกียว กุยช่าย ใบยาสูบ และงดเว้น น�้ำนมสด นมข้นด้วย เพราะถือว่าเป็นของสด จังหวัดภูเก็ตเป็นจังหวัดที่จัดประเพณีการ ของคาว กินเจอย่างยิ่งใหญ่ทุก ๆ ปี โดยมาจากรากฐาน ความเชื่อเดียวกัน คนจีนเรียก "เจเดือนเก้า" แต่ถ้านับตรงกับเดือนไทยก็จะได้ตรงกับเดือน ประเพณีกินเจที่ชาวจีนเรียกกันว่า “เก้า ๑๑ ดังนั้นเทศกาลกินเจที่ภูเก็ตจึงมีขึ้นหลัง อ๊วงเจ” หรือ “กิว้ อ๊วงเจ” แปลว่า “เจเดือน ๙” เทศกาลกินเจทั่ว ๆ ไป บางครั้งเราจึงมักได้ เริ่มต้นในวันขึ้น ๑ ค�่ำ ถึง ๙ ค�่ำ เดือน ๙ ตาม ยินชื่อเรียกของเทศกาลกินเจที่ภูเก็ตว่า เป็น ปฏิทินจีน รวม ๙ วัน ๙ คืน ตรงกับเดือน ๑๑ เทศกาลกินผัก ซึ่งแท้จริงแล้วก็คือการกินเจ หรือเดือนตุลาคมของไทย (ตามปฏิทินสากล) ในรูปแบบ และระยะเวลา ๙ วันเช่นเดียวกัน ส� ำ หรั บ ในปี พ.ศ.๒๕๕๗ นี้ เริ่ ม วั น ที่ ๒๔ กันยายน – ๒ ตุลาคม ค�ำว่า “เก้าอ๊วง” หรือ “กิว้ อ๊วง” แปลว่า “พระ ค�ำว่า “เจ” ในภาษาจีนทางพุทธศาสนา ราชา ๙ องค์” หรือนพราชา หมายถึงผู้เป็น ฝ่ายมหายานมีความหมายว่า “อุโบสถ” เดิม ใหญ่ทงั้ ๙ ซึง่ เป็นทีม่ าของประเพณีกนิ ผักกินเจ หมายความว่า "การรับประทานอาหารก่อน เที่ยงวัน" ตามแบบอย่างของชาวพุทธที่รักษา อุโบสถศีล หรือรักษาศีล ๘ ที่จะไม่รับประทาน จุดประสงค์หลักของการกินเจ แบ่งออกได้ อาหารหลังเที่ยงวันไปแล้ว แต่ส�ำหรับพุทธ เป็น ๓ ประเภทคือ
ภูเก็ต เมืองแห่งเทศกาลเจ
ช่วงเวลากินเจ
ความหมายของเจ
กินเจเพื่ออะไร
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
๑. กินเพื่อสุขภาพ เพราะอาหารเจเป็น อาหารชีวจิต เมือ่ กินติดต่อกัน จะท�ำให้รา่ งกาย สมดุล สามารถขับพิษของเสียต่าง ๆ ออกจาก ร่างกายได้ และปรับระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ให้มีเสถียรภาพ ๒. กินด้วยจิตเมตตา เนื่องจากทุก ๆ วัน อาหารที่ เ รากิ น ประกอบด้ ว ยเลื อ ดเนื้ อ ของ สรรพสัตว์ ผู้ที่มีจิตใจดีงามจึงไม่สามารถกิน เนื้อของสัตว์เหล่านั้นได้ ๓. กินเพื่อเว้นกรรม เพราะการฆ่าเอาเลือด เนื้อผู้อื่นมาเป็นของเราเป็นการสร้างกรรม แม้ จะไม่ได้ลงมือฆ่าเองก็ตาม เพราะการซื้อผู้อื่น เท่ากับการจ้างฆ่า ถ้าไม่มีคนกินก็ไม่มีคนฆ่า มาขาย ผู้ที่เข้าใจเรี่องกฎแห่งกรรมจึงหยุดกิน หันมารับประทานอาหารเจแทน โดยไม่เห็นแก่ ความอร่อยในช่วงเวลาสัน้ ๆ เพียงแค่ให้อาหาร ผ่านลิ้นเท่านั้น
๑๐ วันของเทศกาลกินเจ ประเพณีกินเจจะจัด ๙ วัน ๙ คืน โดยแต่ละ วันมีพิธีต่าง ๆ กันดังนี้ วันแรก แต่ละศาลเจ้าก็จะดูฤกษ์ยามว่า จะ เชิญเจ้ามาเวลาไหน แต่ไม่เกินเที่ยงวัน โดยใช้ "ปวย" ๒ อันเสี่ยงทายโดยการโยน ๒ ครั้ง หาก ๑ อันหงาย ๑ อันคว�่ำ แสดงว่า เจ้าทั้ง ๙ ได้ เสด็จลงมาแล้ว การกินเจจะเริ่มขึ้น แต่คนส่วน ใหญ่มักทานกันล่วงหน้าเพื่อล้างท้อง ที่ ภู เ ก็ ต ในตอนกลางคื น จะมี พิ ธี ย กเสา "โกเด้ง" ขึ้นที่หน้าศาลเจ้า หรืออ๊าม เพื่อใช้ เป็นที่แขวนตะเกียงทั้ง ๙ ดวง และอัญเชิญ ดวงวิญญาณของยกอ๋องฮ่องเต้ หรือ พระอิศวร และ กิวอ๋องไตเต หรือ ราชาผู้เป็นใหญ่ทั้งเก้า มาประทับ เช้ า วั น ที่ ส อง จะมี ก ารจุ ด ธู ป ขนาดใหญ่ ตั้ ง เครื่ อ งเซ่ น และเผาไม้ ห อม เพื่ อ บู ช าเจ้ า ประจ�ำอ๊าม 45
แดงเป็นระยะทางกว่า ๒ ฟุต และตามด้วย ผู้ที่ถือศีลกินเจที่มีความมั่นใจว่าตัวเองสะอาด แล้ว ก็สามารถร่วมลุยไฟได้ดว้ ยเช่นกัน ในตอน กลางคืนจะมีพิธีปีนบันไดมีด สูงประมาณ ๑๒ เมตร และจบลงที่ยามดึกของคืนวันที่ ๙ จะมี การแห่พระไปส่งทะเลบริเวณสะพานหิน และ น�ำเสาโกเต้งลง ดับโคมไฟทั้ง ๙ เป็นเสร็จพิธี กินเจที่ภูเก็ต วันที่ ๑๐ เป็นวันส่งเจ้ากลับ
ความแตกต่างของ "เจ" กับ "มังสวิรัติ" หลังพิธีการกินเจ หรือชาวภูเก็ตเรียก “การ กินผัก” ผ่านไป ๓ วัน จะถือว่าตัวเองมีความ สะอาดแล้ว หรือเรียกว่า “เช้ง” ในตอนค�่ำมี พิธกี ารเชิญเจ้าเข้าทรงอีก ๒ องค์ คือ “ล�ำเต้า” เจ้าผูส้ ำ� รวจคนเกิด และ “ปักเต้า” เจ้าผูส้ ำ� รวจ คนตาย และท�ำพิธี “ปั้งกุ้น” หรือพิธีปล่อย พระ หรือการจัดทหารของเจ้าไปรักษาศาลเจ้า
ทั้ง ๕ ทิศ เพื่อป้องกันสิ่งชั่วร้าย และภูตผีมา ท�ำลายพิธี ความสนุกสนานเริ่มขึ้นตรงนี้ เมื่อ การเชิญทหารเต็มไปด้วยร่างทรงของตัวละคร อาทิ เห้งเจีย บู๊สง เป็นต้น วันที่สี่ เป็นวันที่คนส่วนใหญ่จะมาไหว้เจ้า วันนี้ศาลเจ้าต่าง ๆ จะเนืองแน่นไปด้วยผู้คน ในวันทีเ่ จ็ด จะเริม่ พิธบี ชู าดาว เพือ่ ขอความ เป็นสิริมงคล รักษาโรคภัยไข้เจ็บ เป็นอีกวัน หนึ่งที่มีการไหว้เจ้า แต่วันนี้ส�ำคัญกว่าวันที่สี่ เรียกว่า "ไหว้เจ้าใหญ่" ในวันนี้จะมีการซื้อเต่า, ปลาไหล, นก ฯลฯ มาไหว้ด้วย วันที่แปด วันนี้จะมีการลอยกระทง คล้าย การลอยกระทงของคนไทย เพือ่ ขอบคุณเจ้าแม่ คงคาที่ให้น�้ำใช้ น�้ำดื่ม และให้สิ่งไม่ดีลอยไป ตามน�้ำ นอกจากนี้ที่ภูเก็ตยังมีการจัดขบวนแห่ อย่างมโหฬาร เพื่อน�ำเกี้ยวไปรับพระจ�ำหลัก 46
ที่สะพานหิน เป็นการระถึงวันที่ควันธูปจาก มณฑลกังไสมาถึงภูเก็ต ในขบวนแห่จะมีการ แสดงอิทธิฤทธิ์ของม้าทรง หรือ คนทรงเจ้า ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย จะเห็นภาพของการ ใช้ของมีคมต่าง ๆ ทิ่มแทงตามร่างกาย มีทั้ง ง้าว ลูกตุ้มเหล็กฟาดหน้าฟาดหลัง เอาขวาน จามหลัง หรือเอาเหล็กแหลมทิ่มแทงร่างกาย หรือแทงลิ้น จนกระทั่งเฉือนลิ้นตัวเองออก มา โดยทรงเหล่านั้นอ้างว่าไม่มีความเจ็บปวด ใด ๆ ขณะเป็นร่างทรง ม้าทรงจะเดินเต้นไปทั่ว เมือง ชาวบ้านจะตั้งโต๊ะเครื่องเซ่นไหว้ เพื่อให้ เจ้าไปโปรดและมีการจุดประทัดตลอดเส้นทาง ทั้งเกาะปกคลุมด้วยควันธูปและประทัด วันที่เก้า ช่วงเช้าจะมีพิธีท�ำทาน หรือเรียก ว่า “ซิโกว” เป็นการให้ทานแก่ผีไม่มีญาติ ตอน กลางคืนจะมีแห่มังกร, สิงโต, ขบวนของเด็กที่ จัดเพื่อเป็นสีสัน ขณะทีจ่ งั หวัดภูเก็ตจะมีพธิ ศี กั ดิส์ ทิ ธิ์ คือ พิธี “โก๊ยโห้ย” หรือพิธีลุยไฟสะเดาะเคราะห์ ม้า ทรง หรือเจ้าจะเดินผ่านกองไฟ ที่มีถ่านร้อน
หลายคนอาจสงสั ย ว่ า “กิ น เจ” ต่ า งกั บ “กินมังสวิรัติ” อย่างไร เพราะอาหารมังสวิรัติ ก็เป็นอาหารที่ไม่มีเนื้อสัตว์เป็นส่วนประกอบ เช่นเดียวกัน แต่มังสวิรัติสามารถทานผักได้ ทุกชนิด แต่อาหารเจ ต้องเว้นผักฉุน ๕ ประเภท คือ ผักชี กระเทียม หัวหอม (รวมทั้งหอมแดง หอมขาว หัวหอมใหญ่ ต้นหอม) หลักเกียว (กระเทียมโทนจีน ไม่ค่อยพบในประเทศไทย) กุยช่าย และใบยาสูบ รวมทั้งของเสพติดทุก ชนิด และยังต้องประพฤติศีลร่วมด้วย จึงจะ เป็นการถือศีลกินเจที่แท้จริง ขณะที่มังสวิรัติ หมายถึง การไม่รับประทานเนื้อสัตว์เท่านั้น
กองประชาสัมพันธ์ สลก.สป.
หลักธรรมในการกินเจ การกิ น เจตั้ ง มั่ น อยู ่ บ นหลั ก ธรรมส� ำ คั ญ ๒ ประการ ๑. การด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ ด ้ ว ยอาหารที่ ไ ม่ เบียดเบียนผูอ้ นื่ คือ ไม่เอาชีวติ ของสัตว์ทงั้ หลาย มาต่อเติมบ�ำรุงเลี้ยงชีวิตของตน, ไม่เอาเลือด ของสัตว์ทั้งหลายมาเป็นเลือดของตน และไม่ เอาเนื้อของสัตว์ทั้งหลายมาเป็นเนื้อของตัวเอง ๒. การด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ ด ้ ว ยอาหารที่ ไ ม่ เบียดเบียนตนเอง คือ จะรับประทานสิ่งใด เข้าไปต้องไม่ท�ำให้ร่างกายทรุดโทรมเท่ากับ เป็นการเบียดเบียนตนเอง ดังนั้นจึงมีการห้าม ของมึนเมา สารเสพติด ขณะที่วิทยาศาสตร์ได้ พิสูจน์ยืนยันว่า เลือดและเนื้อของสัตว์ที่ถูกฆ่า ตายเต็มไปด้วยพิษภัยมากมาย เนื้อสัตว์เหล่านี้ จึงจัดเป็นพิษชนิดหนึ่งเช่นกัน การละเว้นจึงส่ง ผลดีต่อร่างกายอีกด้วย
การปฏิบัติตนในช่วงกินเจ ช่วงเวลา ๙ วันที่กินเจนั้น ผู้ท่ีต้องการเป็น ผู้ถือศีลกินเจอย่างครบสมบูรณ์ตามประเพณี ต้องปฏิบัติตัวดังนี้ ๑. งดเว้นเนื้อสัตว์ และท�ำอันตรายต่อสัตว์ ๒. งดนม เนย และน�้ำมันที่มาจากสัตว์ ๓. งดอาหารรสจัด ทั้งอาหารเผ็ด หวานจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด ๔. งดผักหรือเครื่องเทศที่มีกลิ่นแรง เช่น ผักชี กระเทียม หัวหอม ต้นหอม หลักเกียว กุยช่าย รวมทั้งใบยาสูบ และของมึนเมาต่าง ๆ เพราะผักดังกล่าวนี้ เป็นผักที่มีรสหนัก กลิ่น เหม็ น คาวรุ น แรง นอกจากนี้ ยั ง มี พิ ษ คอย ท�ำลายพลังธาตุท้ัง ๕ ในร่างกาย เป็นเหตุให้ อวัยวะหลักส�ำคัญภายในทั้ง ๕ ท�ำงานไม่ปกติ ๕. รักษาศีลห้า ๖. ท�ำบุญท�ำทาน ส�ำหรับคนที่เคร่งครัดจะ นุ่งขาวห่มขาว
๗. รักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ รักษาอารมณ์ ส�ำหรับผู้ที่เคร่งครัดมาก ๆ จะทานอาหาร เฉพาะที่คนกินเจด้วยกันเป็นคนปรุงเท่านั้น รวมทั้งจะต้องล้างหม้อจนสะอาด แยกภาชนะ ส� ำ หรั บ ใส่ เ นื้ อ สั ต ว์ อ อก เพื่ อ ปรุ ง อาหารเจ เฉพาะ นอกจากนี้ยังจุดตะเกียงไว้ ๙ ดวง ตลอดช่วงเทศกาลกินเจ ๙ วัน โดยไม่ปล่อย ให้ดับ เพื่อเป็นพุทธบูชา และร�ำลึกถึงบุญคุณ ของพ่อแม่ญาติพี่น้อง ตลอดจนผู้ที่มีบุญคุณ ต่อผืนแผ่นดินเกิด
ประโยชน์ของการกินเจ การกินอาหารเจ นอกจากจะเป็นการถือศีล รั ก ษาประเพณี และละเว้ น ชี วิ ต แล้ ว ยั ง ให้ ประโยชน์ต่อร่างกายดังนี้ ๑. ร่างกายสามารถขับถ่ายของเสียออก ได้หมด ท�ำให้ไม่มีสารพิษตกค้างอยู่ภายใน เพราะสารอาหารจากพืชผักและผลไม้จะช่วย ให้ระบบขับถ่ายและการย่อยเป็นปกติ ๒. เมื่อรับประทานเป็นประจ�ำ โลหิตจะถูก ฟอกให้สะอาดขึ้นเรื่อย ๆ เซลล์ต่าง ๆ ของ ร่างกายเสื่อมสลายช้าลง ท�ำให้อายุยืนยาวมี ผิวพรรณสดชื่นผ่องใส ร่างกายแข็งแรงรู้สึก มีสุขภาพดี
๓. อวัยวะหลักส�ำคัญภายใน ได้แก่ หัวใจ ไต ม้ า ม ตั บ ปอด และอวั ย วะประกอบ คือ ล�ำไส้ใหญ่ ล�ำไส้เล็ก กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะอาหาร ถุงน�้ำดี แข็งแรงท�ำงานได้ เป็นปกติสมบูรณ์ ๔. ร่ า งกายสามารถต้ า นทานต่อสารพิษ ต่าง ๆ ได้แก่ สารเคมี ยาฆ่าแมลง มลภาวะ และ ก๊าซพิษที่เกิดจากการเผาไหม้ในอุตสาหกรรม ไอเสียจากเครือ่ งจักร เครือ่ งยนต์ ซึง่ สารอาหาร ในพืชผัก จะช่วยให้เซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย สามารถทนต่อการท�ำลายจากรังสีต่าง ๆ ได้ ๕. สามารถต้านทานสารพิษได้สูงกว่าคน ปกติ ในบรรดาผู ้ ที่ ท านเจมั ก ไม่ ป รากฏโรค รุนแรงหรือเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดตีบ ไขมันอุดตันใน เส้นเลือด โรคไต ฯลฯ โดยเฉพาะโรคทีเ่ กีย่ วกับ ระบบขับถ่าย ย่อยอาหารและทางเดินอาหาร เช่น โรคริดสีดวงทวาร มะเร็งในกระเพาะและ ล�ำไส้ โรคกระเพาะ อาหารไม่ย่อย โรคเหล่านี้ จะไม่พบเลยในกลุ่มคนผู้ที่รับประทานอาหาร เจ อาหารพืชผักและผลไม้เป็นประจ�ำ ๖.การกิ น เจท� ำ ให้ เ กิ ด ความเมตตา เกิ ด ความสงบสุขุม อารมณ์ไม่ฉุนเฉียว ไม่โมโห ง่าย ซึ่งจะช่วยเกื้อกูลส่งเสริมให้บารมีธรรม สูงขึ้นเรื่อย ๆ ๗.หยุดการสร้างบาป เวรกรรม ท�ำให้ไม่ เกิดการอาฆาต พยาบาท จึงปราศจากศัตรู ทั้งมนุษย์และสัตว์ที่คิดมุ่งท�ำร้ายตามจองเวร การกิ น เจนอกจากจะช่ ว ยซ่ อ มแซม ร่างกายของตัวเองแล้ว ยังหยุดการเบียด เบียนผู้อื่น เป็นการสร้างกุศลอิ่มใจแล้วก็ อิ่มบุญอีกต่อ ใครที่ไม่เคยกินเจ จะเริ่มในปีนี้ ก็ไม่สายเกินไปนะคะ เรียบเรียงข้อมูลโดย : กระปุกดอทคอม ขอบคุณข้อมูลจาก : th.wikipedia.org elib-online.com panyathai.or.th
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
47
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนที่ ๒๕) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
48
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
การแก้แค้นเป็นเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า ไม่เคยมีแม้แต่ชั่วโมงเดียวในการร่วมชีวิต กับนายพลแพตตันที่พวกเราจะไม่เสริมสร้าง ความเกลียดต่อข้าศึก แต่เราไม่เคยฝึกที่จะ ท� ำ การแก้ แ ค้ น นายพลแพตตั น นั บ ถื อ ฝ่ า ย ข้าศึกและเลื่อมใสในความส�ำเร็จของบรรดา นายพลของพวกข้าศึก ท่านไม่เคยถกแถลง เรื่องการท�ำลายล้างข้าศึกเพียงเพื่อแก้แค้น เท่านั้น ข้าศึกถูกเกลียด และต้องถูกท�ำลาย เพราะมันเป็นหนทางน�ำไปสู่สันติภาพและการ ป้องกันตนเองเท่านั้น นายพลแพตตันไม่ค่อยใช้ค�ำว่าแก้แค้นใน การบรรยายหรือการสนทนาใด ๆ ทหารฝ่าย ข้าศึกถูกเกลียด และถูกฆ่า เพราะเราต้องรักษา ชีวิตของเราไว้ แต่ไม่ใช่เพื่อการแก้แค้นและ โต้ตอบการกระท�ำของข้าศึกที่ได้ท�ำต่อฝ่าย เรา สงครามเป็นเกมแห่งชีวิต มนุษย์ต้องได้รับ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
การฝึกเพือ่ เอาชนะสงคราม การฆ่าเพือ่ แก้แค้น ไม่ช่วยให้เราชนะสงคราม มั น เป็ น ความจริ ง ที่ น ายพลแพตตั น ได้ ใ ห้ ข้อคิดเห็นไว้ “ผมไม่เห็นเหตุผลใดที่จะไว้ชีวิตพวกเชลย ศึก!” ค�ำพูดเช่นนี้ช่วยเสริมสร้างความเกลียดต่อ ข้ า ศึ ก เชลยศึ ก ที่ ถู ก จั บได้ โ ดยก�ำลังพลของ นายพลแพตตันจะได้รับการปฏิบัติดีกว่าเชลย ศึกอืน่ ๆ ส่วนใหญ่ เพราะว่าก�ำลังพลของนายพล แพตตันมีวิธีการปฏิบัติที่ดีกว่าเกณฑ์เฉลี่ย ผมจ�ำได้ถึงการประชุมครั้งหนึ่งซึ่งนายพล แพตตั น ได้ ขั ด จั ง หวะนายพั น เอกท่ า นหนึ่ ง ขณะพูดยังไม่จบประโยค เมื่อพันเอกท่านนั้น กล่าวว่า “เรามีสิ่งอุปกรณ์ และน�้ำมันเชื้อเพลิงอยู่ใน เกณฑ์ตำ�่ มันมีมากทีเดียวแต่ทางวอชิงตันไม่สง่ 49
ให้เราได้รวดเร็วพอ เราสูญเสียเวลาการฝึก ในทะเลทรายไปเปล่า ๆ เราสามารถฝึกอย่าง ช้า ๆ เพื่อจะได้สัมพันธ์กับทางวอชิงตัน ถ้า พวกเขาเป็นเหตุให้พวกเราเสียเวลาไป เราจะ แสดงให้พวกเขาเห็นถึงการถ่วงโครงการอย่าง แท้จริงเสียที เราสามารถแก้แค้นโดย...” นายพลแพตตั น ได้ ตั ด บทการพู ด คุ ย ของ พันเอกท่านนั้น โดยกล่าวว่า “คุณพันเอก การแก้แค้นเป็นเรื่องของพระ ผู้เป็นเจ้า เราไม่ต้องพยายามแก้แค้นใครต่อ ใครเพื่อจะได้มาซึ่งสิ่งอุปกรณ์หรอก ถ้าเราไม่ ได้สิ่งอุปกรณ์เราก็จะฝึกต่อไปเท่าที่เรามีของ อยู่ ถ้าเราแก้แค้น เป็นไปได้ที่เราอาจจะไม่ได้ สิ่งอุปกรณ์เลย เราจะท�ำลายประสิทธิภาพที่ ยอดเยี่ยมของเราเองถ้ามัวคิดแต่จะแก้แค้น การแก้แค้นเป็นเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า” นายพลแพตตันเงียบชัว่ ครู่ และกล่าวเสริมว่า “ผมไม่แน่ใจว่า พระเจ้าจะทรงสามารถ จัดการกับปัญหาของวอชิงตันได้ แต่พระองค์ คงท�ำได้ดีกว่าพวกเราแน่” ค� ำ พู ด ที่ ว ่ า “การแก้ แ ค้ น เป็ น เรื่ อ งของ พระเจ้า” ได้รับการจารึกอยู่ในจิตใจของผม เป็นเวลาอีกหลายปีต่อมาที่ผมค้นพบว่า ค�ำ กล่าวนีม้ าจากคัมภีรไ์ บเบิล้ หลักการนีเ้ ป็นส่วน หนึ่งในปรัชญาของนายพลแพตตัน มันสัมพันธ์ กับ “อย่าสู้รบถ้าไม่ได้อะไรจากชัยชนะ” จะไม่ ได้ประโยชน์อะไรเลยถ้าเราต้องการเพียงแต่จะ แก้แค้นข้าศึกเท่านั้น
50
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
หลายปี ต ่ อ มา ผมระลึ ก ถึ ง หลั ก การนี้ ไ ด้ เมื่อผมถูกเล่นงานขณะด�ำรงชีวิตพลเรือน จาก ศัตรูที่เป็นนักการเมืองผู้ซึ่งใช้กลเม็ดทุกอย่าง ตามกฎหมายเพื่อท�ำลายตัวผมและชื่อเสียง ในหน้าที่การงานของผม มีหลายหนทางที่ผม สามารถแก้ แ ค้ น ได้ แต่ ค� ำ พู ด ของนายพล แพตตันได้ยับยั้งผมไว้ เช้าตรู่วันหนึ่ง นาฬิกาปลุกวิทยุได้ปลุกผมให้ตื่นขึ้นด้วย ข่าวที่ว่าศัตรูนักการเมืองของผมนั้นได้แขวน คอตัวเองไปแล้ว การแก้แค้นเป็นเรื่องของพระเจ้า! พระองค์ ทรงสะสางในแบบที่รุนแรงกว่าที่ผมต้องการ เสียอีก ค�ำพูดของนายพลแพตตันยังดังกระหึ่ม อยู่ไม่รู้หาย “จงปล่อยบางเรือ่ งให้เป็นของพระเจ้าเถอะ หากคุณกระท�ำการสิ่งใดเพื่อการแก้แค้นละก็ เมื่อนั้นคุณก็จะท�ำลายตัวคุณเอง!”
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
51
การปฏิรูปประเทศไทยครั้งใหญ่ ในรัชสมัยพระพุทธเจ้าหลวง จุฬาพิช มณีวงศ์
52
นั
กประวั ติ ศ าสตร์ เ ห็ น พ้ อ งต้ อ ง กันว่า ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหรือ พระพุทธเจ้าหลวงของปวงชนชาวไทย เป็นช่วง เวลาแห่งการปฏิรปู สยามประเทศครัง้ ใหญ่และ ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากมี หลายมิตทิ เี่ ป็นความยากล�ำบาก และต้องอาศัย พระบารมีที่สร้างขึ้นด้วยพระองค์เองด้วยพระ ปรีชาญาณ ทั้งความท้าทายจากขุนนางอ�ำมาตย์และ พระบรมวงศ์ซึ่งเป็นหัวอนุรักษ์ที่มักต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการเข้าครอบง�ำ ของชาติตะวันตก ที่ก�ำลังไล่ล่าหาอาณานิคม พระราชอ�ำนาจของยุวกษัตริย์ในระยะแรกจึง แทบจะปราศจากความหมาย ก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวจะเสด็จสวรรคตด้วยพระโรคไข้ป่าจาก คราวเสด็ จ ไปทอดพระเนตรสุ ริ ยุ ป ราคาที่ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงรับสั่งให้ เจ้าพระยาภูธราภัย กรมหลวงวงศาธิราชสนิท และเจ้าพระยาศรีสรุ ยิ วงศ์ เข้าเฝ้าฯ มีพระบรม ราชานุญาตว่าผู้ที่จะด�ำรงแผ่นดินสืบต่อไปนั้น ก็ขอให้ข้าราชบริพารและเสนาบดีไปปรึกษา หารือกันว่าใครจะเหมาะสม จะเป็นพระเจ้า น้องยาเธอ พระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าหลาน เธอพระองค์ใด เหมาะสมที่จะทรงปกครอง ไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ให้ร่มเย็นเป็นสุข ก็เห็น สมควรแก่ท่านผู้ใหญ่จะถวายพระราชสมบัติ ให้แก่พระองค์ใด ที่ ป ระชุ ม เห็ น พ้ อ งต้ อ งกั น ตามที่ พ ระเจ้ า น้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ ซึ่งมี พระชนมายุ สู ง ยิ่ ง กว่ า พระราชวงศานุ ว งศ์ พระองค์ ใ ด ให้ ย กราชสมบั ติ แ ก่ ส มเด็ จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุน พินิจประชานารถ แต่การที่พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงตรั ส รั บ สั่ ง ว่ า พระองค์ ท รงปริ วิ ต กเกี่ ย วกั บ สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า จุฬาลงกรณ์ยังทรงพระเยาว์อยู่ เกรงว่าจะไม่ สามารถว่าราชการแผ่นดินให้ร่มเย็นเป็นสุข ได้ เพราะยังทรงเล่าเรียนศึกษาอยู่นั้น ก็ขอ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้ว่าราชการแทน สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอฯ ไปก่ อ นจนกว่ า พระองค์ จ ะบรรลุ นิ ติ ภ าวะ แล้ ว ถึ ง เวลานั้ น พระองค์จะได้ขึ้นครองราชย์อย่างสมบูรณ์ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินจิ ประชานารถ จึงทรงขึน้ ครองราชย์ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๑๑ ในขณะนั้นมีพระ ชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา กับอีก ๑๐ วัน โดยมี ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ซึ่งเจ้าพระยา ศรีสุริยวงศ์ได้กราบบังคมทูลจะสนองพระบรม ราชโองการอย่างเต็มสติก�ำลังในการปกครอง หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
53
แผ่ น ดิ น จนกว่ า พระมหากษั ต ริ ย ์ จ ะบรรลุ นิติภาวะ แต่ในเรื่องพระราชพิธี ท่านไม่สู้จะ เข้าใจนัก จึงขอให้สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุน บ� ำ ราปปรปั ก ษ์ เ ข้ า มาช่ ว ยในส่ ว นพระราช นิเวศร์อีกพระองค์ เพื่อสถาปนาเป็นพระมหา อุปราชฝ่ายหน้า ซึง่ เป็นครัง้ แรกทีส่ ถาปนากรม พระราชวังสถานมงคล โดยมติของที่ประชุม ฝ่ายราชการ แทนพระบรมราชโองการของ พระมหากษัตริย์ ในช่วงแรกของการเป็นยุวกษัตริย์ จึงเป็น โอกาสอันงดงามที่ท�ำให้พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ต้องกังวลพระราช หฤทั ย ในการศึ ก ษาหาความรู ้ ทั้ ง การบ้ า น
54
การเมือง ทรงเอาพระทัยใส่ศึกษาวิทยาการ ก้าวหน้า และทรงมีโอกาสเสด็จประพาสต่าง ประเทศ ทรงเลือกเยือนสิงคโปร์ และชวา เพื่อ ทรงศึกษาแบบแผนการปกครองอาณานิคม ของอังกฤษ ในปี พ.ศ.๒๔๑๓ เป็นครั้งแรก จากนั้ น จึ ง เสด็ จ ประพาสอิ น เดี ย และพม่ า ทั้ง ๔ ประเทศล้วนเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ มาแล้ ว และเป็ น ครั้ ง แรกในประวั ติ ศ าสตร์ เอเชีย ที่พระมหากษัตริย์ที่มีเอกราชอธิปไตย เสด็จประพาสเพื่อนบ้านและได้รับการต้อนรับ อย่างดี การเสด็จเยือนต่างประเทศท�ำให้พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เห็นการ
ปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย ทรงพอ พระทัยเป็นอย่างมาก แต่การปกครองที่มีมา นานหากเปลี่ยนเร็วเกินไปเกรงว่าจะสะเทือน และรับไม่ได้ จึงทรงท�ำแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างมีแบบแผน และด้วยพระปรีชาสามารถ ของพระองค์เอง จึงทรงเปลีย่ นแปลงแก้ไขบ้าน เมืองเป็น ๒ ระยะด้วยกัน คือ เปลีย่ นแปลงบาง สิ่งบางอย่าง ก่อนที่พระองค์จะทรงผนวช และ เปลีย่ นแปลงแก้ไขเพิม่ เติม ภายหลังผนวช และ ขึ้นครองราชย์อย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ทรงเริ่มการเปลี่ยนแปลง แบบแผนการปกครองครั้งส�ำคัญอันเป็นผลต่อ การพัฒนาประเทศมาจนถึงวันนี้ ทรงเลือก ส่วนที่ดีของเดิมที่มีอยู่แล้วน�ำมาปรับปรุงให้ ทั น สมั ย เพื่ อ ความเจริ ญ มี ก ารแบ่งงานเป็น กระทรวงขึ้นมาใหม่ทั้งหมด ๑๒ กระทรวง แต่ ยังคงใช้กรมอยู่ คือ กรมมหาดไทย กรมพระ กลาโหม กรมท่า กรมวัง กรมเมือง กรมนา กรมพระคลัง กรมยุติธรรม กรมยุทธนาธิการ กรมธรรมการ กรมโยธาธิการ และกรมมุรธา ธิการ นับได้ว่า การปฏิรูปการบริหารราชการ แผ่นดินที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ทรงปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงในแต่ละ อย่าง ทัง้ ปรับและเปลีย่ นพร้อมทัง้ เพิม่ สิง่ ใหม่ๆ ให้เข้ากับยุคสมัยของการเปลี่ยนแปลง ตลอด รัชกาลของพระองค์ ความเจริญเติบโตของ ประเทศไทยเป็นไปในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการ สื่อสาร การไปรษณีย์ การโทรเลข การสร้าง ทางรถไฟ การไฟฟ้า การประปา การคมนาคม
จุฬาพิช มณีวงศ์
และแม้แต่การตัง้ ธนาคารเป็นของประเทศไทย การศาสนา การสร้างโรงพยาบาล การก่อตั้ง โรงพยาบาล การก่อตั้งโรงเรียน และอื่น ๆ อีกมากมาย ในการปฏิ รู ป การปกครองนั้ น พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงเป็นพระ มหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ มิ ไ ด้ ท รงผู ก ขาดกั บ การใช้ อ� ำ นาจไว้ แ ต่ พระองค์ ทรงให้ อิ ส ระทางความคิ ด ในการ สร้างสรรค์ ทรงแต่งตั้งบุคคลเพื่อถวายความ คิดเห็นสภาการแผ่นดินต่าง ๆ ทั้งองคมนตรี สภา เสนาบดีสภา ทรงแต่งตั้งสภาเหล่านี้เพื่อ เป็นการถวายความคิด เป็นที่ปรึกษาที่เป็น แบบอย่ างที่ จะน� ำ พาประเทศชาติให้พบกับ ความเจริญรุ่งเรือง นับเป็นรากฐานของการ ปกครองแบบประชาธิปไตยทีท่ รงด�ำริและริเริม่ ขึน้ ในแผ่นดิน ทัง้ ยังเป็นการแสดงถึงน�ำ้ พระทัย ที่มุ่งทรงให้ประเทศชาติโดยทรงยอมลดราช อิสริยยศ และอ�ำนาจสิทธิขาดโดยชอบธรรมที่ พระมหากษัตริย์ไทยเคยมีมาก่อน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี พ ระบรมราชาธิ บ ายให้ กั บ เหล่ า ข้ า ราชการที่ ถ วายค� ำ แนะน� ำ เกี่ ย วกั บ การ เปลี่ยนแปลงระบบระเบียบการปกครองที่ยึด เอาหลักของประชาธิปไตยเป็นหลัก แต่ก็ทรง ไม่เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองให้เป็นไป ตามแบบของยุโรปโดยทันทีทันใดด้วยทรงใช้ วิจารณญาณที่จะตัดสินพระทัยด้วยพระองค์ เอง กระแสความเปลีย่ นแปลงทางการปกครอง นั้น แม้จะหลั่งไหลเข้ามามากในสมัยนั้น ทรง เตือนสติให้แก่เหล่าข้าราชการที่เข้าเฝ้าถวาย ความคิดเห็น เพราะความคิดที่เสนอเข้ามา นั้นมีมากันทั้งสองฝ่าย บางกลุ่มอาจจะชอบ ความใหม่ ความทันสมัยในรูปแบบของการ ปกครองแบบประชาธิปไตย แต่อีกกลุ่มหนึ่ง ที่ ยั ง คงยึ ด ถื อ เอาแบบหลั ก การปกครองใน ระบบเก่ า คื อ พวกหนึ่ ง มี ค วามคิ ด อยากจะ เปลี่ยนแปลงให้เป็นอย่างยุโรปพวกหนึ่ง และ อีกพวกหนึ่งที่ไม่ยอมรับถึงการเปลี่ยนแปลงที่ จะเกิดขึ้นมา ในเมื่อมีข้อขัดแย้งเกิดขึ้นในหมู่ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
ข้าราชการและประชาชนส่วนหนึ่ง ทรงมีพระ กระแสรั บ สั่ ง ถึ ง ความเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้น ทรงเห็นการรวมกลุ่มเป็นความสามัคคีที่ จะไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความเจริ ญ แก่ บ ้ า นเมื อ งได้ เพราะการเสนอการเปลี่ยนแปลงระบบการ ปกครองแบบประชาธิปไตย ในเมื่อมีสองฝัก สองฝ่ า ยเกิ ด ขึ้ น จึ ง ทรงแนะน� ำ ให้ ยึ ด อยู ่ ใ น สายกลาง ให้พิจารณาถึงผลได้ผลเสียว่าคุ้มกับ การเปลี่ยนแปลงหรือไม่ จะเป็นอุปสรรคต่อสิ่ง ส�ำคัญหรือไม่ และจะเหมาะสมกับกาลเทศะ แค่ไหน โดยค�ำนึงถึงความสามัคคี ไม่ต้องถือว่า เป็นความคิดของใครคนใดคนหนึ่ง มีพระราชด�ำรัสว่า “ความล�ำบากของเรา ในการที่จะใช้คนใหม่หรือคนเก่ามีไปคนละ ทางยังไม่ได้ผลดีได้ดังประสงค์ ไม่เฉพาะแต่ การเพาะปลูกทั่วไปทุกอย่าง ชั้นใหม่ไม่รู้ทาง เก่า แต่มีความรู้เห็นการงานที่ดีบริบูรณ์ แต่ เพราะความสามารถที่จะวางแบบอย่างสอน กันไปได้เกี่ยวกับสันดานคน จึงมักใช้ความ รู้สึกดัดแปลงการเก่าไม่ใคร่ไหว ลองหมกมุ่น ขุ่นใจไป ไม่ได้การส�ำเร็จ” ประเทศไทยในยุ ค ปี ๒๕๕๗ ก� ำ ลั ง จะมี การปฏิรูปอีกวาระ โดย คสช. มอบหมายให้ กระทรวงกลาโหมเป็นเจ้าภาพเปิดตัวอย่าง เป็นทางการ เมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม จากนี้จะ มี ก ระบวนการสรรหาเพื่ อ ให้ ไ ด้ ส มาชิ ก สภา ปฏิรูป หรือ สปช. รวมจ�ำนวน ๒๕๐ คน ตามที่ ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ.๒๕๕๗
โดยมีกรรมการสรรหาที่มีการแต่งตั้งเป็น ๑๑ คณะ ส�ำหรับสรรหาผู้เหมาะสม รวม ๕๕๐ คน ส่งให้ คสช. ทอนเหลือ ๑๗๓ คน เพื่อไปรวม กับตัวแทนจังหวัดอีก ๗๗ คน การปฏิ รู ป จะด� ำ เนิ น การเป็ น ๑๑ ด้ า น คื อ การเมื อ ง การบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น กฎหมาย และกระบวนการยุ ติ ธ รรม การ ปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษา เศรษฐกิจ พลังงาน สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม สื่อสาร มวลชน สังคม และอื่น ๆ การปฏิรูปประเทศ เป็น ๑ ในโรดแม็ปที่มี ความส�ำคัญต่อการเข้ามาบริหารจัดการของ คสช. และรัฐบาลเฉพาะกิจ ซึ่งถือว่าการปฏิรูป ให้ครอบคลุมทัง้ ๑๑ ด้าน เป็นงานระดับช้างทีม่ ี ข้อจ�ำกัดเรื่องเวลา ต้องอาศัยความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน วางผลประโยชน์ของตนอย่าให้ เหนือผลประโยชน์ของชาติ และต้องลดละ อคติที่มีต่อคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จึงต้องวางใจ ให้เป็นกลางให้มากที่สุด จึงเป็นเรื่องที่น่าจะ ชอบด้วยเหตุผลที่ผู้ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน จะไม่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิรูป และการ ล�ำดับความส�ำคัญก่อนหลังน่าจะต้องด�ำเนิน การอย่ า งรั ด กุ ม เพราะเวลานั้ น จะผ่ า นไป เหมือนติดปีก กุ ศ โลบายแห่ ง ความส� ำ เร็ จ ที่ พ ระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงด�ำเนิน การเป็นแบบอย่างของการปฏิรูปที่เลิศด้วย ยุทธวิธี จึงเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน 55
การรบที่สมรภูมินองโย
๒๐๘๒ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
อาณาจักรลุ่มแม่น�้ำอิระวดีตอนบนเป็นอาณาจักรพม่าและตอนล่างเป็นอาณาจักรมอญ เป็นคู่สงครามแย่งชิงความเป็นใหญ่มาตั้งแต่อาณาจักรพม่าในยุคที่หนึ่ง อาณาจักรมอญ มีความได้เปรียบในการสร้างกองทัพให้เข้มแข็งด้วยการใช้ประโยชน์จากท่าเรือการเก็บภาษี การค้า เป็นผลให้อาณาจักรมอญมีความมั่งคั่งและการจัดซื้อปืนคาบศิลาและปืนใหญ่จาก ชาวโปรตุเกสจากยุโรป บางห้วงเวลาอาณาจักรพม่าทางตอนบนมีพระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็ง สามารถที่จะท�ำการรบมีชัยชนะเหนืออาณาจักรมอญ..............บทความนี้ กล่าวถึงการรบที่ สมรภูมินองโย พ.ศ.๒๐๘๒
56
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
๑. สถานการณ์ทั่วไป พม่าแห่งตองอู (Toungoo Dynasty) พระเจ้าเมงจีโยก้าวขึ้นสู่อ�ำนาจสูงสุดเหนือ เมืองต่าง ๆ ลุ่มแม่น�้ำอิระวดีปี พ.ศ.๒๐๕๓ ขณะทรงเตรียมกองทัพเข้าตีเมืองอังวะเพื่อ ขยายอ�ำนาจแต่พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.๒๐๗๔ พระราชโอรสคือเจ้าชายตะเบง ชะเวตีไ้ ด้ขนึ้ ครองราชย์เมือ่ ปี พ.ศ.๒๐๗๔ ขณะ มีพระชนมายุ ๑๕ พรรษา ก่อนจะขึ้นครอง ราชย์ พ ระองค์ ท รงท� ำ พิ ธี เ จาะพระกรรณที่ พระธาตุ มุ เ ตากรุ ง หงสาวดี อ าณาจั ก รมอญ พร้อมด้วยทหารราชองครักษ์และเสด็จกลับ อย่างปลอดภัยสู่เมืองตองอูได้สร้างชื่อเสียงให้ กับเจ้าชายตะเบงชะเวตี้ ทรงขึ้นครองราชย์ ในปี พ.ศ.๒๐๗๔ ทรงคิดขยายอาณาจักรลง ใต้ต้องเข้ายึดเมืองท่าชายฝั่งทะเลที่ส�ำคัญ เพื่อ ตัดก�ำลังกองทัพมอญให้อ่อนก�ำลังลงเนื่องจาก กองทัพมอญมีทหารรับจ้างชาวโปรตุเกส พร้อม ด้วยปืนคาบศิลาและปืนใหญ่ เมื่อไม่มีก�ำลัง ส่วนนี้กองทัพมอญจะอ่อนก�ำลังลง พระเจ้า ตะเบงชะเวตี้ทรงชนะศึกและยึดเมืองพะสิมได้ จึงสามารถติดต่อค้าขายกับพ่อค้าชาวยุโรปได้ และสามารถจัดซื้ออาวุธตามที่ต้องการ เป็นผล ให้กองทัพพม่าแห่งตองอูมีอาวุธประจ�ำการ ทันสมัยจากยุโรปจึงมีความเข้มแข็ง พระองค์ ทรงยกกองทั พ พม่ า เข้ า ตี อ าณาจั ก รมอญ ถึง ๓ ครั้ง (พ.ศ.๒๐๗๗, พ.ศ.๒๐๗๘ และ พ.ศ.๒๐๗๙) ไม่ประสบความส�ำเร็จ เนื่องจาก เป็ น ฤดู ม รสุ ม และต้ อ งถอยกองทั พ กลั บ พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ทรงออกอุบายให้พระเจ้า ตากายุทปี (King Takayutpi) กษัตริย์มอญ แห่งกรุงอังวะทรงเกิดความระแวง และประหาร ชี วิ ต แม่ ทั พ ถึ ง สองคนท� ำ ให้ ก องทั พ มอญ อ่อนก�ำลังลง
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
57
อาณาจักรพม่าในยุคทีห่ นึง่ แห่งพุกาม ยังคงมีหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์หลงเหลือมาจนถึงปัจจุบนั นีแ้ ม้วา่ ผ่านกาลเวลามานานย่อม แสดงถึงความยิ่งใหญ่ในอดีต (สภาพภูมิประเทศเป็นทะเลทรายที่แห้งแล้ง มีฝนตกน้อยเป็นผลให้โบราณสถานเสื่อมสภาพช้ากว่าปกติ)
๒. สมรภูมินองโย (Naungyo) พ.ศ.๒๐๘๒ พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ทรงน�ำ กองทัพพม่าเข้าตีกรุงหงสาวดีได้รับชัยชนะ พระเจ้าตากายุทปี (King Takayutpi) กษัตริย์ มอญแห่งหงสาวดี ได้เสด็จหนีออกจากกรุง หงสาวดี ไ ปยั ง เมื อ งแปรพร้ อ มก� ำ ลั ง ทหาร ๘,๐๐๐ นาย พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ทรงน�ำ กองทัพใหญ่เคลือ่ นพลไปทางเรือและให้แม่ทพั ใหญ่กะยอดินนรธา (Kyawhtin Nawrahta) น�ำกองทัพหน้าติดตามไปก่อนอย่างรวดเร็ว ใช้การเดินทัพทางบก พร้อมด้วยทหาร ๑,๐๐๐ นาย ติดตามไปทางบกอย่างรวดเร็ว ติดตาม มาทั น กองทั พ มอญบริ เ วณที่ เ รี ย กว่ า นองโย (Naungyo) ที่ จ ะเป็ น สนามรบใหญ่ ต ่ อ ไป สมรภูมินองโย (Naungyo) อยู่บริเวณปาก แม่น�้ำอิระวดี ก่อนที่จะถึงเมืองแปร การรบใน ครั้งนี้เป็นการรบครั้งใหญ่ครั้งส�ำคัญที่สุดของ แม่ทัพใหญ่พม่าแห่งพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ ๒.๑ อาณาจักรตองอู กองทัพหน้าภายใต้การน�ำทัพของแม่ทัพ กะยอดินนรธา (Kyawhtin Nawrahta) พร้อม ด้วยก�ำลังทหาร ๑,๐๐๐ นาย มีม้าศึก ๕๐๐ ม้า และช้างศึก ๕๐ เชือก ได้จัดก�ำลังทหารเป็น ปีกขวา ทหาร ๓๐๐ นาย, ทหารม้า ๒๐๐ นาย และช้างศึก ๑๕ เชือก, ปีกซ้าย ทหาร ๓๐๐ นาย, ทหารม้า ๒๐๐ ม้า และช้างศึก ๑๕ เชือก และกองทัพกลาง ทหาร ๔๐๐ นาย, ทหารม้า ๑๐๐ ม้า และช้างศึก ๒๐ เชือก แม่ทัพใหญ่ บังคับบัญชากองทัพกลางและก�ำลังทางปีกซ้าย กองก�ำลังทางปีกขวาให้แม่ทพั รองบังคับบัญชา 58
ภาพกราฟิกส์อาณาจักรบริเวณอุษาคเนย์ระหว่างปี พ.ศ.๑๘๓๐ - ๒๐๙๕ ตามแนว ลุ่มแม่น�้ำอิระวดี แม่น�้ำเจ้าพระยา และแม่น�้ำโขง พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
๒.๒ อาณาจักรหงสาวดี กษัตริย์มอญแห่งหงสาวดีได้น�ำกองทัพ หนีออกจากเมืองมีก�ำลังทหาร ๘,๐๐๐ นาย มีม้าศึก ๘๐๐ ม้า และช้างศึก ๒๐๐ เชือก ๒.๓ การด�ำเนินกลยุทธ์ กองทัพหน้าของตองอูแม้ว่ามีก�ำลังทหาร น้อยกว่าแต่ใช้การด�ำเนินกลยุทธ์โดยการไล่ ติ ด ตาม ใช้ ก ารจู ่ โ จมเกิ ด ความได้ เ ปรี ย บใน การรบครั้งนี้ ทหารน�ำสารของพระเจ้าตะเบง ชะเวตี้ ไ ด้ แ จ้ ง แก่ แ ม่ ทั พ ใหญ่ ก ะยอดิ น นรธา (Kyawhtin Nawrahta) ให้รอคอยกองทัพ หลวงของพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ก่อนที่จะเข้า ปะทะกับกองทัพมอญ แต่แม่ทัพใหญ่พม่าได้ น�ำกองทัพพม่าเข้าตีอย่างรวดเร็ว แม้ว่าจะมี ก�ำลังทหารน้อยกว่า แต่ใช้ความได้เปรียบใน กลยุทธ์เข้าโจมตีอย่างรวดเร็วที่กองทัพมอญ ไม่ทันคาดคิดว่าจะถูกจู่โจมอย่างรวดเร็ว แม่ทัพควบคุมกองกลางและปีกซ้าย โดย ขี่ช้างศึกเข้าท�ำการรบและทางด้านปีกขวาให้ แม่ทัพรองควบคุมบังคับบัญชา เข้าชนช้างกับ พระยาทะละ (Binnya Dala) แม่ทัพหงสาวดี และยังได้ชนะแม่ทัพมอญอีกคนหนึ่ง กองทัพ มอญได้สูญเสียแม่ทัพคนส�ำคัญถึงสองคนจึง สูญเสียก�ำลังใจในการรบและยอมแพ้ในที่สุด กองทัพพม่าได้รับชัยชนะในการรบ พระเจ้า ตากายุทปี (King Takayutpi) ทรงเสด็จหนีไป ได้ พระเจ้าตะเบงชะเวตี้เสด็จมาทันการทอด พระเนตรในการรบ ทรงแสดงความยินดีแก่ แม่ทัพใหญ่ที่ได้รับชัยชนะ
๒.๔ ผลของการด�ำเนินกลยุทธ์ การรบทีส่ มรภูมนิ องโย (Naungyo) กองทัพ พม่าแห่งอาณาจักรตองอูเป็นฝ่ายได้รบั ชัยชนะ ต่อกองทัพมอญแห่งหงสาวดี ได้สร้างชื่อเสียง ให้ กั บ แม่ ทั พ หน้ า เป็ น อย่ า งมากที่ ด� ำ เนิ น กลยุทธ์อย่างรวดเร็วที่ปัจจัยเวลาเป็นสิ่งส�ำคัญ จะต้องด�ำเนินกลยุทธ์ไล่ติดตามและขยายผล และได้ รั บ ชั ย ชนะเหนื อ ฝ่ า ยข้ า ศึ ก ที่ มี ก� ำ ลั ง มากกว่า พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ได้พระราชทาน นามแม่ทัพกองทัพหน้าใหม่ว่าบาเยงนอง
๓. บทสรุป การแย่ ง ชิ ง ความเป็ น ใหญ่ ข องสอง อาณาจักรแห่งลุ่มแม่น�้ำอิระวดีคือมอญและ พม่า เป็น คู ่ ส งครามตลอดมาเป็ น เวลานาน ผลั ด กั น เป็ น ใหญ่ ทั้ ง สองอาณาจั ก รแย่ ง ชิ ง ท่าเรือบริเวณชายฝั่งทะเลและริมแม่น�้ำพร้อม ทั้งได้ประโยชน์จากภาษีการค้าและน�ำมาจัด ซื้ อ อาวุ ธ เป็ น ผลให้ ก องทั พ มี ค วามเข้ ม แข็ ง อาณาจักรพม่าในยุคที่สองเริ่มขยายอาณาจักร โดยพระเจ้าตะเบงชะเวตีแ้ ละมีแม่ทพั ใหญ่เป็น ก�ำลังส�ำคัญ จะเริ่มขยายอาณาจักรมาทางด้าน ตะวันออกต่อไป
ภาพกราฟิ ก ส์ อ าณาจั ก รพม่ า แห่ ง ราชวงศ์ ต องอู ที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนในอดีต หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
พระราชานุสาวรีย์พระเจ้าบุเรงนอง มหาราชแห่ ง อาณาจั ก รพม่ า ยุ ค ที่ ๒ (อยู ่ ห น้ า พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ นครย่างกุ้ง)
ภาพกราฟิกส์สมรภูมินองโย (Naungyo) พ.ศ.๒๐๘๒ หรือเมื่อ ๔๗๕ ปีที่แล้ว เป็นการรบครั้งที่ส�ำคัญยิ่งของแม่ทัพกะยอดินนรธา (Kyawhtin Nawrahta) 59
ข้อควรรู้ของ
ประเทศอาเซียน มี (ตอนที่ ๑)
พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
หลายคนขอให้วารสารหลักเมือง น� ำ เสนอเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ อาเซี ย น โดยเฉพาะข้อควรรู้ในการเดินทาง ไปแต่ละประเทศมาน�ำเสนอ ซึ่งก่อนอื่นเลย จะขอย�้ ำ ว่ า “ASEAN” นั้ น เป็ น ค� ำ ย่ อ มา จาก “Association of South East Asian Nations” หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ บางท่านก็อาจจะทราบแล้ว มาบอกอีกท�ำไม แต่จะขอเอ่ยถึง เพราะในปี ๒๕๕๘ เราก็จะก้าวเข้าไปสู่ AEC ซึ่งบางท่าน ก็อาจจะไม่ได้อ่านหรือยังไม่เข้าใจ โดยเฉพาะ อาเซียนนัน้ มีจดุ เริม่ ต้นจากสมาคมอาสา ซึง่ ก่อ ตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ อาเซียนได้ถือก�ำเนิด ขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น ๕ ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และ สิงคโปร์ ได้มกี ารลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพ” หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ที่พระราชวังสราญรมย์ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ โดยมีวัตถุประสงค์ก็เพื่อส่งเสริมความ เข้าใจอันดีระหว่างกันในภูมิภาค ธ�ำรงไว้ซึ่ง สันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงทาง การเมื อ ง สร้ า งสรรค์ ค วามเจริ ญ ทางด้ า น เศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคม และวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาค และผลประโยชน์ ร ่ ว มกั น ของสมาชิ ก และ เปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศ สมาชิกอย่างสันติ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ บรูไนดารุสซาลาม ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ตามด้วยเวียดนามเข้ามา 60
เป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ ขณะที่พม่าและ ลาวเข้ามาเป็นสมาชิกใน พ.ศ. ๒๕๔๐ และ ประเทศสุดท้ายคือกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิก อาเซียนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ ปัจจุบันอาเซียนมี ประเทศสมาชิกทั้งหมด ๑๐ ประเทศ ปั จ จุ บั น ก� ำ ลั ง ก้ า วสู ่ ค วามเป็ น ประชาคม อาเซี ย น ซึ่ ง จะประกอบด้ ว ยสามเสาหลั ก คื อ ประชาคมอาเซี ย นด้ า นการเมื อ งและ ความมั่นคง (ASEAN Political Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และ ประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น (ASEAN Socio-Cultural Community) ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๘
สัญลักษณ์อาเซียน “ต้นข้าวสีเหลือง ๑๐ ต้นมัดรวมกันไว้” หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ทั้ ง ๑๐ ประเทศรวมกั น เพื่ อ มิตรภาพและความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน โดย สีที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่ ส�ำคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิก อาเซียน สีน�้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมัน่ คง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความ ก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
ค�ำขวัญ "One Vision, One Identity, One Community" (หนึ่ ง วิ สั ย ทั ศ น์ หนึ่ ง เอกลั ก ษณ์ หนึ่ ง ประชาคม) การรวมตั ว กั น เป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียนไม่เพียงแต่เป็นการเปิดเสรีทางด้าน การค้า การบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้าย แรงงานฝีมือ และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่าง เสรีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความมั่นคง และ สังคม - วัฒนธรรมด้วย AEC เป็นได้ทั้งโอกาสและอุปสรรค ขึ้นอยู่ กั บ ความพร้ อ มขององค์ ก รและมุ ม มองของ แต่ละคน สําหรับองค์กรที่มีความพร้อม จะ มองว่านี่คือโอกาสของบริษัทเพราะ
พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
• เป็ น การรวมตั ว ของ ๑๐ ประเทศที่ มี ประชากรประมาณ ๕๐๐ ล้านคน จะทาํ ให้การ ค้าขายดีขึ้น ยังไม่นับรวมกับอีก ๖ ประเทศที่ เมื่อรวมกันแล้วมีประชากรถึงครึ่งโลก • แรงงานที่จะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี จะทําให้อุปทาน (Supply) ของตลาดแรงงาน เพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ต่อไปจะสามารถคัดสรร คนเก่งคนดีมีความสามารถมาทํางานได้ง่าย ขึ้ น ปั ญ หาการขาดแคลนแรงงานและต้ อ ง หลบ ๆ ซ่อน ๆ ใช้แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย น่าจะหมดไป • ความยุ่งยากในการทําเอกสารขออนุญาต ทํางานสําหรับชาวต่างชาติ (Work Permits) ก็จะลดลง การจ้างแรงงานต่างชาติที่มาจาก ประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วยกันทําได้ง่ายขึ้น • การจัดตั้งธุรกิจและเปิดสาขาในประเทศ ต่าง ๆ ในกลุ่มจะทําได้ง่ายขึ้น นอกจากการ ดําเนินธุรกิจนอกประเทศจะสะดวกขึ้น ไม่ต่าง จากการเปิดสาขาใหม่ในต่างจังหวัด การเคลือ่ น ย้ายเงินลงทุนและกําไรก็จะทําได้ง่ายขึ้น อันมี ผลทําให้การทําธุรกิจคล่องตัว ความสามารถ ในการแข่งขันกับภูมภิ าคอืน่ ก็จะเพิม่ สูงขึน้ ด้วย • จากผลส�ำรวจพบว่าศักยภาพและความ พร้อมของไทยอยู่ในระดับ “กลาง ๆ” เมื่อ เทียบกับประเทศอื่นในอาเซียน และเป็นรอง แม้ ก ระทั่ ง อิ น โดนี เ ซี ย และห่ า งไกลมากกั บ มาเลเซี ย ที่ มี ศั ก ยภาพเป็ น อั น ดั บ สอง ส่ ว น สิงคโปร์นั้นมีศักยภาพสูงสุด ท�ำให้เรามองว่า นี่เป็นโอกาสที่จะเรียนรู้เพิ่มขึ้น ปั จ จุ บั น ประเทศในอาเซี ย น มี อ ยู ่ ๑๐ ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
นับถือศาสนา อิสลาม ๖๗%, พุทธ ๑๓%, คริสต์ ๑๐% ระบบการปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ข้อควรรู้ ๑. ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียน สามารถท�ำวีซา่ ที่ ตม. ทีป่ ระเทศบรูไนฯ มีระยะ เวลาอยู่ในบรูไนฯ ได้ ๒ สัปดาห์ ๒. ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือ เป็นสีของพระมหากษัตริย์ ๓. การทักทายจะจับมือกันเบา ๆ และ สตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ ๔. การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่า ไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน ๕. จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น ๖. สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชาย และไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
๒. กัมพูชา (Cambodia)
๑. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) เมืองหลวง บันดาร์ เสรี เบกาวัน ภาษา ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลง มาเป็นอังกฤษและจีน ประชากร ประกอบด้วย มาเลย์ ๖๖%, จีน ๑๑%, อื่น ๆ ๒๓% หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
เมืองหลวง กรุงพนมเปญ ภาษา ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ รองลงมา เป็นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและ จีน ประชากร ประกอบด้วย ชาวเขมร ๙๔%, จีน ๔%, อื่น ๆ ๒% นับถือศาสนา พุทธ (เถรวาท) เป็นหลัก ระบบการปกครอง ประชาธิ ป ไตยแบบรั ฐ สภา โดยมี พระมหากษั ต ริ ย ์ เ ป็ น ประมุ ข ภายใต้ รัฐธรรมนูญ
ข้อควรรู้ ๑. เมื่ อ เดิ น ทางถึ ง ท่ า อากาศยานกรุ ง พนมเปญ โดยกรอกแบบฟอร์ ม Visa on Arrival พร้อมยืน่ รูปถ่ายและค่าธรรมเนียม ๒๐ ดอลลาร์สหรัฐ ๒. ควรให้ความเคารพต่อผู้สูงอายุ
๓. ควรให้เจ้าของบ้านเริม่ ทานอาหารก่อน ต่อจากนั้นผู้มาเยือนถึงจะรับประทานต่อได้ ๔. ควรให้ ผู ้ อ าวุ โ สที่ สุ ด ของโต๊ ะ รั บ ประทานอาหารก่อน แล้วจึงเริ่มรับประทานได้ ๕. ไม่ควรชีเ้ ท้าไปทีบ่ คุ คลอืน่ เช่น เวลานัง่ กับพื้นผู้หญิงควรเก็บปลายเท้าอย่างส�ำรวม ๖. ไม่ควรเดินข้ามเท้าคนอื่น ๗. ไม่ ค วรเรอหรื อ แคะฟั น ขณะรั บ ประทานอาหาร ๘. ที่ กั ม พู ช าผู ้ ช ายสามารถจั บ มื อ กั น ได้ เพื่อแสดงมิตรภาพที่ดีและไม่ใช่เกย์ ๙. เมื่อเดินผ่านบุคคลที่ก�ำลังสนทนากัน อยู่ควรก้มศีรษะเล็กน้อยเมื่อเดินผ่าน (ถ้าเดิน ผ่านตรง ๆ จะถือว่าไม่มีมารยาท) ๑๐. เมื่ อ ขั บ ขี่ จั ก รยานหรื อ จั ก รยานยนต์ ควรชะลอความเร็วเมื่อผ่านวัด และถอดหมวก ทุกครั้งเมื่อเข้าเขตวัด ๑๑. ผู้หญิงไม่ควรแต่งหน้าจัดหรือแต่งตัว ไม่สุภาพเมื่อเข้าเขตวัด ๑๒. เมื่อเจอพระภิกษุสงฆ์ต้องถอดหมวก ทุกครั้ง ๑๓. ไม่ควรวิพากษ์วิจารณ์การเมือง ๑๔. ห้ามถ่ายภาพสัญลักษณ์ทางทหาร ๑๕. ห้ า มถู ห รื อ สั ม ผั ส ศี ร ษะของคนอื่ น เพราะกัมพูชาถือว่าศีรษะเป็นส่วนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของร่างกาย ๑๖. ต้องถอดรองเท้าก่อนเข้าบ้านคนอื่น ทุกครั้ง ๑๗. แต่งตัวมิดชิดและเรียบร้อย ผู้หญิงไม่ ควรใส่กระโปรงสั้น และโชว์หัวไหล่ ผู้ชายควร ใส่เสื้อมีปกและกางเกงขายาว ๑๘. ระวั ง กิ ริ ย ามารยาทต่ อ เพศตรงข้ า ม และไม่ควรวางหรือแตะมือชาวกัมพูชาเวลา ถ่ายรูป เพราะอาจท�ำให้เข้าใจผิดกัน ๑๙. เมื่อเข้าเขตวัดควรปิดมือถือและเครื่อง เล่น MP3 ทุกครั้ง ๒๐. ไม่ส่งเสียงดังในเขตวัด และต้องไม่สวม หมวกเมื่อเข้าเขตวัดหรือโบสถ์ ๒๑. ไม่ ค วรห่ อ กระดาษของขวั ญ ด้ ว ยสี ขาว เพราะถือว่าเป็นสีของการไว้ทุกข์ ควรใช้ กระดาษที่มีสีสัน ๒๒. เมื่อได้รับของขวัญแล้วยังไม่ควรเปิด ออกทันที ๒๓. เมื่อจะส่งของให้ผู้อื่นควรส่งด้วยสอง มื อ หรื อ ไม่ ก็ ส ่ ง ของด้ ว ยมื อ ขวา ถือว่า เป็น มารยาทที่ดี ๒๔. ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์ จะอยู่ท�ำธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน ๓ เดือน ควรฉี ด ยาป้ อ งกั น โรคไทฟอยด์ และไวรั ส เอและบี (อ่านต่อฉบับหน้า) ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Gotoknow โดย แพรภัทร http://www.thai-aec.com/ 61
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
สุขภาพดีหลังวัยเกษียณ ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ค
ำว่า “เกษียณ” ตามพจนานุกรม ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถานมี ค วาม หมายว่า “สิ้นไป” ซึ่งใช้เกี่ยวกับ การก�ำหนดอายุ เช่นเกษียณอายุราชการ ก็จะ หมายถึงการสิ้นก�ำหนดเวลารับราชการ หรือ การท�ำงานโดยส่วนใหญ่แล้วประเทศต่าง ๆ ใน แถบเอเชีย รวมถึงประเทศไทยมักถือก�ำหนด ให้บคุ คลทีม่ อี ายุ ๖๐ปีบริบรู ณ์ตอ้ งเกษียณอายุ พ้นจากสภาพการท�ำงาน เพื่อให้ร่างกายได้พัก ผ่อนจากการตรากตร�ำท�ำมาหาเลี้ยงชีพตลอด ช่วงชีวิตที่ผ่านมา 62
เมื่อต้องก้าวสู่วัยแห่งการเกษียณแน่นอน ว่าความคิด ความรู้สึก และความหมายของ การเกษียณส�ำหรับแต่ละคนย่อมมีความแตก ต่างกันไป ขึ้นอยู่กับทัศนคติและความพร้อม ของแต่ละบุคคล ถ้าเป็นผู้ที่มีการเตรียมตัว และวางแผนล่ ว งหน้ า ไว้ เ ป็ น อย่ า งดี ก็ จ ะไม่ กังวลกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในชีวิต และอาจมีความสุขเสียด้วยซ�้ำที่จะได้พ้นจาก ภาระหน้าที่การงานเสียที แต่ส�ำหรับผู้ที่ขาด การเตรียมความพร้อม การเกษียณอาจส่งผล ในทางลบมากกว่าทั้งในด้านสุขภาพร่างกาย
และจิตใจ ตลอดจนวิถีชีวิตที่ต้องเปลี่ยนแปลง ไปด้วยสาเหตุต่าง ๆ อาทิ การหมดอ�ำนาจและ บทบาทในทางสังคม การสูญเสียรายได้อันเป็น เหตุให้เกิดความไม่มั่นคงทางการเงิน เป็นต้น สิ่งส�ำคัญที่จะต้องท�ำเสียแต่วันนี้ก็คือการ เตรี ย มตั ว เองให้ มี ค วามพร้ อ มรั บ มื อ กั บ การ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่าในอีก หลาย ๆ ปีข้างหน้า หลังจากที่เกษียณไปแล้ว จะยังคงสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความ สุขจวบจนวาระสุดท้ายของชีวิตเพราะสมัยนี้ ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์และแนวโน้มการ
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ให้ความส�ำคัญกับการดูแลรักษาสุขภาพท�ำให้ อายุขัยเฉลี่ยของมนุษย์มีระยะเวลายาวนาน ขึ้น และท�ำให้ “การเกษียณ” เป็นเรื่องของ การก�ำหนดเวลาเพือ่ พ้นจากการท�ำงานเท่านัน้ ไม่ใช่ว่าคนอายุ ๖๐ปี จะต้องเปลี่ยนสถานภาพ ไปเป็น “ผู้สูงอายุ” เสมอไป อย่างเช่นในอดีต ดั ง นั้ นเพื่ อให้ ก ารด� ำ รงชี วิต ภายหลังเกษียณ เป็นไปอย่างราบรื่นและมีความสุขจึงควรใส่ใจ กับประเด็นต่าง ๆ การดูแลตนเองหลังเกษียณ เรื่ อ งของสุ ข ภาพร่ า งกายคนใกล้ เ กษี ย ณ หรื อ คนเกษี ย ณแล้ ว ต้ อ งดู แ ลตั ว เองเรื่ อ ง สุ ข ภาพ เจาะเลื อ ดวั ด ความดั น เบาหวาน ไขมันเป็นเรื่องที่ควรจะท�ำอย่างยิ่งเรื่องดูแล ตัวเองเพราะไม่มีใครมาดูแลให้เราหรอก ลูก หลานก็ไม่มีเวลาหรอก พอเราป่วยไม่สบาย เขาก็จะถามว่าท�ำไมไม่ไปตรวจตั้งแต่เนิ่น ๆ แต่ก็มีบางคนไม่อยากตรวจเพราะกลัวตรวจ แล้วเจอซึ่งถ้าเราคิดอีกทีว่าตรวจหรือไม่ตรวจ ถ้ามันจะเป็นอะไรสักอย่างมันก็เป็น ตรวจดี กว่าจะได้รู้วิธีรักษาวิธีช่วยเหลือได้ เราอย่าไป คิดว่าหลังเกษียณแล้วเราอยากจะท�ำอะไรสัก อย่างให้มันเต็มที่เลย หรืออยากจะพักเต็มที่ เลยไม่อยากท�ำอะไรอีกแล้ว หรือบอกว่าอยาก จะอ่านหนังสือ ซื้อหนังสือไว้เป็นลังจะได้นอน อ่านได้สบาย หรือบางคนบอกอยากจะไปเทีย่ ว แต่จริง ๆ แล้วสิ่งพวกนี้ท�ำได้ไม่นานในหลาย ๆ คน บางคนบอกอยากจะอ่านหนังสือ พออ่าน ได้สักอาทิตย์สองอาทิตย์มันชักไม่ไหว นอน อ่านทัง้ วันอยูท่ บี่ า้ น เพราะฉะนัน้ ทีเ่ ราคิดอยาก จะท�ำอะไรก็ท�ำ แต่อย่าคิดว่าจะท�ำอย่างนั้น ไปตลอด กิจกรรมควรจะต้องมีหลาย ๆ อย่าง เช่น ๑. ท�ำงาน ๒. ท�ำอะไรที่เราชอบ และ ๓. มีการออกก�ำลังกายจ�ำเป็นส�ำหรับผู้สูงอายุ จะ ออกก�ำลังกายอะไรก็ได้ แล้วแต่ใครถนัด เช้า ๆ ออกมาเดิน วิ่งก็คงไม่ไหว กีฬาบางอย่างก็ เหมาะกับคนสูงอายุ เล่นกอล์ฟก็ได้ไม่ต้องใช้ แรงใช้อะไรมาก ปัน่ จักรยานก็ได้ตอ้ งออกก�ำลัง เพราะเป็นการดูแลสุขภาพอย่าอยูแ่ ต่บา้ นพอดู แลสุขภาพร่างกาย แล้วก็อยู่บ้าน เขาบอก ว่าคนสูงอายุไม่ควรจะอยู่ในบ้านมากนัก ไป นอนอ่านหนังสือทั้งวันไม่รู้จะไปไหน ต้องออก นอกบ้านบ้างอาจจะไม่ต้องออกทุกวัน แต่ต้อง ออกนอกบ้านไปไหนก็ได้ ไปกินข้าวกับเพื่อน ฝูง เดินช็อปปิ้ง ไปดูสวน ดูงานแฟร์ อะไรก็ได้ มันเป็นการเปลี่ยนสิ่งที่มันจ�ำเจเพราะว่าชีวิต ของเรามันจะอยู่กับสิ่งจ�ำเจมากขึ้น ๆ ต่อไป พออายุมากขึ้น มันไปไหนไม่ได้ก็ต้องอยู่บ้าน เพราะฉะนั้นช่วงที่เรายังสามารถที่จะเปลี่ยน สิ่งที่จ�ำเจบ้าง เราก็ต้องออกนอกบ้าน หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
อีกประเด็น มีบางคนบอกว่าให้พยายาม คบหากับเพื่อนฝูงในกลุ่มที่มองโลกในแง่บวก ด้วยกัน บางทีถ้าเราไปหาคนซึ่งมองโลกใน แง่ร้ายหรือคนซึ่งไม่ค่อยจะคิดดีกับใคร มัน ท�ำให้เรากลุ้มใจไปด้ว ยมันท�ำให้เราไม่ค่อยจะ สบายใจไปด้วย เพราะช่วงอายุขนาดนี้แล้วแค่ โกรธคนมันก็เหนื่อยแล้วแหละ เกลียดคนมันก็ เหนื่อย เหนื่อยใจ การอยู่กับกลุ่มคนหรือเพื่อน ฝูงให้มที ศั นคติทมี่ นั ใกล้เคียงกัน ชอบสิง่ คล้าย ๆ กัน และควรจะคิดบวกด้วยกัน บางทีมันอาจ จะหายากหรือบางคนหาคนที่คิดดี ๆ ไม่ได้ ต้องอยูก่ บั คนคิดไม่ดี ก็อยูค่ นเดียวดีกว่าแทนที่ เราต้องไปทนฟังอะไรต่ออะไรเขา ถ้าถามว่า บางคนที่สูงอายุยังมีกิจกรรมท�ำโน่นนี่มันเป็น เรื่องของแต่ละบุคคล ถ้าพูดถึงทั่วไป ๆ ไม่ว่า จะเป็นเรื่องการเมืองเรื่องอะไรต่ออะไร บางที เขาก็มีคนที่ไปท�ำกิจกรรมอย่างนั้นอยู่ได้ถึงแม้ จะอายุมากซึ่งเป็นเรื่องของแต่ละบุคคล แต่ถ้า คนส่วนใหญ่ก็จะอยู่ในกลุ่มเพื่อนฝูงที่มีความ คิดใกล้เคียงกัน เช่นตั้งสมาคมผู้สูงอายุ ไปวัด ฟังเทศน์ ฟังธรรม คนเฒ่าคนแก่อยู่ตามบ้าน นอก คือคนที่มีความชอบเดียวกัน ชอบท�ำบุญ ท�ำทานชอบอะไรต่ออะไร ทัศนศึกษา โดยสรุปเราควรปฏิบัติตนดังนี้ ๑. ทางกาย ร่างกายต้องการอาหาร ส�ำหรับ วัยหลังเกษียณ อาหารควรจะน้อยลงกว่าวัย ท�ำงาน แต่เป็นอาหารที่มีคุณภาพและครบ ๕ หมู่ โดยเฉพาะ โปรตีน ผักผลไม้มาก ๆ อาหาร ที่ควรลดน้อยคือ ไขมัน ต้องออกก�ำลังกายเพื่อ ไปเผาผลาญอาหารที่เก็บสะสมไว้ในร่างกาย โดยเฉพาะอาหารไขมันเมื่อหยุดท�ำงานก็ท�ำให้ ใช้พลังงานน้อยลง มิฉะนัน้ ไขมันจะมีมากท�ำให้ เกิดไขมันอุดตันเส้นเลือด เกิดเป็นโรคหัวใจ โรคใหญ่อ้วน เบาหวาน ปวดกระดูกและข้อ ๒. ทางใจ จิตใจเป็นตัวควบคุมร่างกาย จึงมีภาษิตโบราณว่า “ใจเป็นนาย กายเป็น บ่าว” ต้องรู้ จักฝึกตนเองให้ควบคุมจิตใจไม่
ให้ฟุ้งซ่าน ฝึกท�ำจิตให้สงบเพลิดเพลินในสิ่ง ที่ถูกต้องดีงามหาความรู้เพิ่มเติมเป็นอาหาร สมองให้ท�ำงานท�ำตนให้เป็นประโยชน์ท้ังแก่ ตนเองและผู ้ อื่ น ท� ำ ตนเป็ น คนทั น สมั ย ทั น เหตุการณ์ ไม่เป็นคนน่าเบื่อ และอย่าลืมเป็น คนที่มีอารมณ์ขัน การยิ้ม การหัวเราะท�ำให้ จิตใจสดชื่น การด�ำรงชีวิตในวัยเกษียณ จ�ำต้องมีการ วางแผน คนส่วนใหญ่ไม่ได้วางแผนในอนาคต และไม่ได้ตั้งจุดมุ่งหมายที่จะท�ำอะไรให้ส�ำเร็จ แต่ มุ ่ ง จะด� ำ เนิ น ชี วิ ต ไปวั น ๆ ต้ อ งการพั ก ผ่อน และบุตรหลานไม่ต้องการให้ท�ำงาน แต่ การด� ำ รงชี วิ ต ในบั้ น ปลายเช่ น นี้ต้องมีค วาม เพลิดเพลิน มีกิจกรรมร่วมกับสังคมตามสภาพ ของร่างกาย การวางแผนจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนทางด้านการเงิน การ วางแผนด้านสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ การวางแผนการท่องเที่ยวหรือการวางแผน ด้านอืน่ ๆ นับว่ามีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวติ ของคนในวัยเกษียณ คนที่ ว างแผนชี วิ ต หลั ง เกษี ย ณไว้ อ ย่ า ง รอบคอบ ท�ำให้ชีวิตไม่สะดุด ไม่เป็นภาระ ลูกหลาน ให้ดีแล้ว ควรวางแผนไว้แต่เนิ่น ๆ ประมาณ ๕ – ๖ ปีก่อนเกษียณ ว่าจริตนิสัยเรา ชอบไปในแนวทางใด ชอบท�ำธุรกิจไหม หรือ ชอบท่องเที่ยว หรือชอบอยู่กับท้องไร่ท้องนา (ว่าไปแล้วทุกวันนี้ท้องไร่ท้องนาไม่น่าพิศมัย เหมือนสมัยก่อนเลย มีแต่สารเคมี ยาฆ่าหญ้า ปุย๋ ใส่ขา้ ว ฯลฯ สารพัดพิษ) หรือชอบอยูเ่ ฉย ๆ (ถ้าไม่กลัวซึมเศร้า สมองฝ่อโดยไม่รู้ตัว) นานา จิตตังแล้วแต่จะคิดดูเองละกัน
63
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดประชุมสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ (สนช.) พุทธศักราช ๒๕๕๗ โดยมี พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม และรอง ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธี ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อ ๗ ส.ค.๕๗
พลเอกหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินไปในงานวันพระราชทานก�ำเนิดโรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า ครบ ๑๒๗ ปี โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก/หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ผู้บัญชาการทหาร สูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ พร้อมด้วย พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหมและนายทหารชั้นผู้ใหญ่ เฝ้ารับเสด็จ ณ พระบรม ราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ ๕ หน้ากองบัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เมื่อ ๕ ส.ค.๕๗ 64
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหมพร้อมภริยา, รองปลัด กระทรวงกลาโหมพร้อมภริยา และนายทหารชัน้ ผูใ้ หญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ร่วมเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และร่วมบริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศลบ�ำรุงสภากาชาดไทย ใน การจัดการแสดงกาชาดคอนเสิร์ต ครั้งที่ ๔๑ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ ณ หอประชุม ใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อ ๒๙ ก.ค.๕๗
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก/หัวหน้าคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ลงนามถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๒ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ โดยมี ผูบ้ ญ ั ชาการทหารสูงสุด ผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ พร้อมภริยา และ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมลงนาม ณ ศาลาว่าการพระราชวัง ภายในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ ๑๒ ส.ค.๕๗
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เยี่ยมและให้ก�ำลังใจโดยมอบเงินช่วยเหลือให้กับทหารที่ได้รับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหน้าที่ ในโครงการ ถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ โรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้าฯ เมื่อ ๘ ส.ค.๕๗ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
65
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผูบ้ ญ ั ชาการทหาร บก/หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รับ สนองพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ ๒๙ โดยมี พลเอก สุ ร ศั ก ดิ์ กาญจนรั ต น์ ปลั ด กระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ ร่วมพิธี ณ ห้องเลี้ยงรับรอง ๒๒๑ กองบัญชาการ กองทัพบก เมื่อ ๒๕ ส.ค.๕๗
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก/หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน “แม่ผใู้ ห้” เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๒ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ โดยมี พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม, รองปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมภริยา และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ อาคารใหม่สวนอัมพร เมื่อ ๙ ส.ค.๕๗ พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา ผู ้ บั ญ ชาการ ทหารบก/หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็น ประธานในการจัดกิจกรรม “เส้นทางการปฏิรูป ประเทศไทย” โดยมี พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม รองปลัดกระทรวงกลาโหม และผู้บัญชาการเหล่าทัพร่วมงาน ณ ห้องมัฆวาน รังสรรค์ สโมสรกองทัพบก (วิภาวดี) เมื่อ ๙ ส.ค.๕๗
66
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๒ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๘ ส.ค.๕๗
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธเี ชิญธงขึน้ สูย่ อดเสาและพิธเี ปิดอาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) โดยมีหัวหน้าหน่วยขึ้นตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พื้นที่ศรีสมาน เมื่อ ๑๙ ส.ค.๕๗
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม มอบใบประกาศเกียรติคุณให้กับ ข้าราชการดีเด่นของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ ห้องยุทธนาธิการ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๔ ส.ค.๕๗ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
67
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบ ทุนการศึกษาภายในประเทศให้กับข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๓ ส.ค.๕๗
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ (๑๒ ส.ค.๕๗ ) โดยมีข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมบริจาคโลหิต ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๘ ส.ค.๕๗ พลโท ถเกิ ง กานต์ ศรี อ� ำ ไพ เจ้ า กรม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ก ลาโหม ตรวจ เยี่ ย มการฝึ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาสมรรถนะ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง กรม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ก ลาโหม และ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกลาโหม เพื่อเป็นการเสริมสร้าง การท�ำงานให้มีกระบวนทัศน์ และเพิ่มทักษะ การท�ำงานเป็นทีม เสริมสร้างความสามัคคีให้แก่ ก�ำลังพล ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ต�ำบลพรหมณี อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก เมื่อ ๖ - ๗ ส.ค.๕๗
68
ส� ำ นั ก ง า น เ ล ข า นุ ก า ร ส� ำ นั ก ง า น ปลั ด กระทรวงกลาโหม โดย พลตรี ณภั ท ร สุ ข จิ ต ต์ เลขานุ ก ารส� ำ นั ก งาน ปลั ด กระทรวงกลาโหม จั ด กิ จ กรรม สั ม มนาสื่ อ มวลชนสั ญ จร ณ พื้ น ที่ ภ าค ตะวันออก จังหวัดชลบุรี จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด และราชอาณาจักรกัมพูชา เมือ่ ๒๐ - ๒๒ ส.ค.๕๗
หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
69
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จ พระราชด� ำ เนิ น ทรงบั น ทึ ก แถบวี ดี ทั ศ น์ อ าศิ ร พาทถวายพระพรสมเด็ จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ โดยมี นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อุปนายกสมาคมฯ และคณะ กรรมการสมาคมฯ พร้อมสมาคมแม่บ้านเหล่าทัพ เฝ้ารับเสด็จ ณ สถานีวิทยุ โทรทัศน์กองทัพบก เมื่อ ๗ ส.ค.๕๗
นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยอุปนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมฯ เยี่ยมชมพระราชวังกรุงธนบุรี (วั ง เดิ ม ) ซึ่ ง สร้ า งขึ้ น ในสมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราช, สั ก การะพระบรมรู ป สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดอรุณราชวราราม รวมทั้งเยี่ยมชม พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๕ ส.ค.๕๗ 70
นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม คณะกรรมการสมาคมฯ และสมาคมแม่บ้านทหาร-ต�ำรวจ ถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหา มหาราชินี และกิจกรรมจัดเลี้ยงอาหารกลางวันแก่ประชาชนผู้ยากไร้ ณ ลานอเนกประสงค์ ชาวฟ้า สโมสรทหารอากาศชั้นประทวน เมื่อ ๘ ส.ค.๕๗
สมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมกิจกรรมเดินริ้วขบวนเฉลิมพระเกียรติ และถวายพานพุ่มสักการะแด่ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหามหาราชินี ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง เมื่อ ๑๒ ส.ค.๕๗ หลักเมือง กันยายน ๒๕๕๗
71
นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมแสดงความยินดี เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาสมาคมแม่บ้านต�ำรวจ ครบรอบปีที่ ๒๘ ณ สโมสรต�ำรวจแห่งชาติ เมื่อ ๑๘ ส.ค.๕๗
คณะกรรมการสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมกิจกรรมบริจาคโลหิต เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๘ ส.ค.๕๗ 72
โครงการจิตส�ำนึกรักเมืองไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (ปีท่๖ี ) เทิดเกียรติผู้บังคับบัญชาและนายทหารอาวุโส ที่ครบวาระเกษียณอายุราชการตามแนวทางรับราชการ
วันและคืน คืบคลาน ผ่านพรรษา เคยค�่ำเคร่ง เร่งสาน งานความดี ทุกค�่ำเช้า เคยประดิษฐ์ และคิดเขียน สานมั่นคง ทั่วถิ่นไทย ได้ดั่งปอง หนึ่ง นักรบ เสนาธิการ ผู้หาญกล้า ยอดผู้น�ำ สมานฉันท์ พลันพร้อมพรัก สุภาพบุรุษ ทหารเรือ เชื้อชายชาติ ผู้บริหาร ความมั่นคง ธ�ำรงรัฐ พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ ยอดนักรบ ผู้แกร่งกล้า เกินปรารมภ์ ผู้ขับเคลื่อน งบประมาณ สานยุทธศาสตร์ สืบเสนาธิการกิจ วิศรุต พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง อุตสาหกรรม พลังงาน ผ่านหนามขวาก นามเจ้ากรม ชนยอมรับ ผู้ขับเคลื่อน นาม พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ กิจทหารผ่านศึก อันลึกล�้ำ รักษาสิทธิ์ ทหารกล้า ฝ่าโพยภัย อีกมากมาย หลายท่าน เคยสานกิจ เคยทุ่มเท เคยสร้างสรรค์ ปันไมตรี วันและคืน คือเงื่อนไข ให้พลัดพราก ขอร�ำลึก มวลความดี ที่น้อมน�ำ
สืบเวลา ต้องพราก จากหน้าที่ จวบบัดนี้ วางมือ มิถือครอง เคยพากเพียร ทุกกิจการ งานทั้งผอง ใคร่กลั่นกรอง เกียรติอ�ำไพ ให้ตระหนัก สู้ฟันฝ่า เชื่อมใจชน จนประจักษ์ นาม พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ผู้ประศาสน์ ทัพเรือไทย ให้เจนจัด นาม พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม ผู้รังสรรค์ กิจพัฒนา สง่าสม ชนชื่นชม ความเกรียงไกร ในการยุทธ์ ผู้เติมวาด กิจรังสรรค์ อันพิสุทธิ์ นาม พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค นามประเทือง สานกิจหมาย อันหลายหลาก งานแสนยาก เป็นเรื่องง่าย ดั่งใจจง ผู้ย�้ำเตือน ดุลยธรรม น�ำสูงส่ง ผู้ธ�ำรง ธรรมนูญศาล ทหารไทย มีผู้น�ำ แนวทาง สว่างไสว นาม พลเอก ชัยวัฒน์ สท้อนดี เคยร่วมจิต เคยสร้างท�ำ น�ำสุขี ขอสดุดี เกียรติไว้ ในทรงจ�ำ เพียงลาจาก เงื่อนเวลา อันพาพร�่ำ เพื่อเตือนย�้ำ ทหารไทย ไม่ทิ้งกัน
ผู้ประพันธ์ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีประกาศผลและมอบรางวัล โครงการจิตส�ำนึกรักเมืองไทย ปีที่ ๖ ในประเภทผลงานสร้างสรรค์บทเพลง สปอตโทรทัศน์ และสื่อโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ภายใต้แนวคิด “คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านทุจริต” ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๒ ก.ย.๕๗
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
วันนี้... ชาติบ้านเมืองมีปัญหา เราได้รับเกียรติและโอกาส ให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ขอให้มีความภาคภูมิใจ และมุ่งมั่นทุ่มเท ท�ำภารกิจครั้งนี้ให้ส�ำเร็จโดยเร็ว พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๒ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
www.lakmuangonline.com