วารสารหลักเมือง ฉบับที่ 277

Page 1



ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้มกี าร สร้างศาลากระโจมแตรขึ้น ๒ หลัง เพื่อบรรเลงเพลงในขณะที่เสนาบดี เข้า - ออกอาคาร รวมทัง้ ให้มกี ารซ้อมบรรเลงเพลงแตรฝรัง่ ส�ำหรับทหาร และให้ประชาชนทั่วไปได้ร่วมดื่มด�่ำกับคีตศิลป์ทางทหาร


“…อนึ่ง เรามีความยินดีที่ได้เห็นหมวดแห่งกองทหาร ซึ่งได้จัดการเข้าระเบียบแบบอย่างเป็นอันเรียบร้อย ถึงว่าเป็นกองน้อย ๆ ก็เป็นตัวอย่างแห่งกองใหญ่ ๆ ซึง่ มีอยูแ่ ล้ว แลจะเพิม่ ขึน้ อีกสืบไปภายหน้า ทหารย่อมเป็นสิง่ ส�ำคัญ ส�ำหรับที่จะป้องกันรักษาพระราชอาณาเขต แลเป็นเหตุที่จะให้อ�ำนาจบ้านเมืองกว้างขวางมั่นคงยั่งยืน ทหารไม่เป็น แต่ส�ำหรับที่จะต่อสู้ในเวลาที่เกิดการศึกสงครามอย่างเดียว ย่อมเป็นประกันห้ามการศึกสงครามมิให้เกิดได้ด้วย… …เหตุฉะนี้ กองทหารทั้งปวง จึงเป็นผู้มีความชอบอยู่เนืองนิตย์เพราะเป็นผู้ที่ท�ำให้มีความสงบเรียบร้อย แก่บ้านเมืองเรา จึงได้ตั้งใจที่จะคิดอ่านจัดการอุดหนุนให้กองทหารทั้งปวงมีความเจริญพรักพร้อมมั่นคงยิ่งขึ้นอยู่ เสมอ เพราะฉะนั้น ทหารทั้งปวงจงมีความยินดีเถิดว่าหน้าที่ซึ่งได้รับราชการอยู่บัดนี้ เป็นหน้าที่อันส�ำคัญยิ่งใหญ่….” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ทหารในการเสด็จพระราชด�ำเนินศาลายุทธนาธิการ พุทธศักราช ๒๔๓๕

2


“…Moreover we are delighted to see the Platoon of Military Company that has already regulated. Although the Platoon is small in size, but such Platoon has set an example of the large existing Company and would further increase in number in future. Military remains important for protecting Royal Territory and the cause for the authority to sustainably expand. Military is not designated to only fight during the time of war, but is also designated to prevent the war from happening… …Thus, all Military Company is legal entity as they uphold peace for the nation. I am intent to provide supports for all military to always be prosper, and therefore, all military should be delighted that their duties are always at great importance…” Royal Statement of King Chulalongkorn During His Royal Visit to the War Department B.E. 2435 (1892)

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

3


4


ขอขอบพระทัย และขอบใจท่านทั้งหลายเป็นอย่างยิ่ง ที่มี ไมตรีจิตพรั่งพร้อมกันมาให้พรวันเกิด รวมทั้งให้ค�ำมั่นสัญญาด้วยประการต่าง ๆ ข้าพเจ้าขอแสดงสนองพรและไมตรีจิตทั้งนั้น ด้วยใจจริงเช่นกัน บ้านเมืองของเราเป็นปึกแผ่นมั่นคง และร่มเย็นเป็นสุขสืบมาช้านาน เพราะเรามีความยึดมั่นในชาติ และต่างบ�ำเพ็ญกรณียกิจตามหน้าที่ ให้สอดคล้องเกื้อกูลกัน เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของชาติ คนไทยทุกคน จึงควรจะได้ตระหนักในข้อนี้ให้มาก และตั้งใจประพฤติตัวปฏิบัติงาน ให้สมฐานะและหน้าที่ เพื่อให้ส�ำเร็จ ประโยชน์ส่วนรวมคือความมั่นคงปลอดภัยของชาติบ้านเมืองไทย ขออ�ำนาจแห่งคุณพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จงคุ้มครองรักษาท่านทุกคน ให้มีแต่ความผาสุก ร่มเย็นตลอดไป พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ในการเสด็จออกมหาสมาคม ณ ท้องพระโรง ศาลาราชประชาสมาคม วังไกลกังวล เพื่อรับการถวายพระพรชัยมงคลและการถวายสัตย์ปฏิญาณตนของทหารรักษาพระองค์ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา วันพฤหัสบดีที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖

I would like to thank all of your presence here to express your well wishes on my birthday, as well as all the promises given. I sincere hope that all the blessing and well wishes return to all of you. Our country has been stable and peaceful for a long time ; this is because of the existence of national solidarity and because we have performed our duties in a complimentary manner with each other for the interest of the whole nation. Thais ought to recognise this and continue to perform the task and duty at the best of our intention for the achievement of common interest, that is the security and safety of the nation. May the Triple Gem and all the sacred things in the universe bless you with the long-lasting peace and happiness. The Royal Address by His Majesty King Bhumibol Adulyadej on the occasion of the grand public audience at Klai Kangwon Palace in Hua Hin to ceremony of Taking the Oath of the Allegiance of the Royal Guards on Thursday 5th December, 2013

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

5


สาร นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เนื่องในโอกาสวันที่ระลึกคล้ายวันสถาปนากระทรวงกลาโหม ครบ ๑๒๗ ปี วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ กระทรวงกลาโหม เป็นองค์กรน�ำในการสร้างหลักประกันด้านความมั่นคงของรัฐ และมีหน้าที่ส�ำคัญ ในการปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อความผาสุกของประชาชน ด้วยการพัฒนากองทัพให้มีศักยภาพ เพื่อด�ำรงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตลอดระยะเวลา ๑๒๗ ปี จากสถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน ประชาชนในชาติต้องการความรัก ความสามัคคี และความมั่นคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สถาบันทหารยังคงเป็นที่พึ่งและความหวังของประชาชนเสมอมา กระทรวง กลาโหมจึงต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ ด้วยการช่วยพัฒนาพลังอ�ำนาจแห่ง ชาติทุกด้าน โดยให้ความส�ำคัญกับการสนับสนุนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยเฉพาะการสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์ของประชาชนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด และ การเร่งน�ำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งสนับสนุนการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติและการพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง เนื่องในโอกาสวันที่ระลึกคล้ายวันสถาปนากระทรวงกลาโหม ครบ ๑๒๗ ปี ดิฉันขอส่งความปรารถนาดี มายังข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหม ให้ประสบแต่ความสุขสิริสวัสดิ์ พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผลในสิ่งอันพึงปรารถนาทุกประการ

( นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

6


Message from Her Excellency Miss Yingluck Shinawatra Minister of Defence on the Occasion of the 127th Anniversary of the Founding Day of the Ministry of Defence 8 April 2014 The Ministry of Defence is a leading organisation in building security assurance for state and safeguarding the institution of Kingship for the happiness of the citizen through the development of Armed Forces’ capabilities for the past 127 years. In current situation, people in the nation needs love, harmony and security of life and property. The military institute is always still a confidence and hope of Thai people. The Ministry of Defence needs to use the resources available to maximise benefit for the nation by supporting the development of national powers in every aspects, giving the priority to support intensive government policies, especially fostering the harmonious reconciliation of people in the nation, restoring democracy, solving and preventing narcotic problems and bringing peace and security of life and properties of the southern border provinces back to normal while safeguarding national interests and developing the nation for security purposes. On the occasion of the 127th Anniversary of the Founding Day of the Ministry of Defence, may I wish all the personnel, employees and government employees in the Ministry of Defence my best wishes and may you all be blessed with prosperity and happiness.

( Miss Yingluck Shinawatra ) Minister of Defence

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

7


สาร ปลัดกระทรวงกลาโหม เนื่องในโอกาสวันที่ระลึกคล้ายวันสถาปนากระทรวงกลาโหมครบ ๑๒๗ ปี ในวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ เนื่ อ งในโอกาสวั น ที่ ร ะลึ ก คล้ า ยวั น สถาปนากระทรวงกลาโหม ได้ เ วี ย นมาบรรจบครบ ๑๒๗ ปี ในวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ นี้ ผมขอส่งความปรารถนาดีมายังก�ำลังพลของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนครอบครัว ทุกท่าน กระทรวงกลาโหมได้รับการสถาปนาขึ้น ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ที่ทรงเล็งเห็นความส�ำคัญของการวางรากฐานด้านกิจการทหารให้มีการจัดแบบมาตรฐานสมัยใหม่ ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ พร้อมกับทรงริเริ่มปรับปรุงโครงสร้าง การจัดหน่วยทหารและยุทธวิธีให้มี ความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป พระคาถาหน้าบันของศาลาว่าการกลาโหม ซึ่งสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหเถร) ได้ทูลถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในห้วงการเริ่มสร้างโรงทหารหน้า หรือศาลาว่าการกลาโหม ในปัจจุบัน มีใจความว่า “วิเชตฺวา พลตาภูปํ รฏฺเฐ สาเธตุ วุฑฺฒิโย” หมายความว่า “ขอให้พระมหากษัตริย์เจ้า พร้อมด้วยปวงทหาร จงมีชัยชนะ ยังความเจริญ ส�ำเร็จในแผ่นดินเทอญ” ย่อมเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นการยึดมั่นและเทิดทูนในสถาบันหลักของ ชาติได้ถูกหล่อหลอมเข้าไว้เป็นอุดมการณ์ของกองทัพมาอย่างยาวนาน ทหารมีภาระหน้าที่ในอันที่จะสืบสานพระราชปณิธานในการสร้างความทันสมัย และความเจริญรุ่งเรือง ให้แก่กิจการทหาร ซึ่งเป็นมรดกของพระองค์ท่าน พร้อมกับปรับปรุงให้เหมาะสมกับกาลสมัย ทั้งในด้านการ เสริมสร้างอ�ำนาจก�ำลังรบ การเพิ่มพูนประสิทธิภาพของกองทัพให้แข็งแกร่ง มีความพร้อมรบ สามารถเผชิญ ต่อภัยคุกคามได้ในทุกรูปแบบทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ รวมทั้งการพัฒนาประเทศ การช่วยเหลือ และบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน นอกจากนั้นทหารในยุคปัจจุบัน ต้องมีส่วนส�ำคัญในการเสริม สร้างความรัก และความสามัคคีของคนในชาติ การพิทักษ์รักษาระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข และการเตรียมความพร้อมขององค์กรเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ผมขอให้ข้าราชการทหาร ได้ยึดมั่นในอุดมการณ์ในการปฏิบัติภาระหน้าที่ทั้งปวงอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อตอบแทนบุญคุณของแผ่นดิน ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความเป็นทหารอาชีพ ด�ำรงตน ด้วยความส�ำนึก ในเกียรติและศักดิ์ศรีของทหาร เป็นที่เชื่อมั่นและศรัทธาต่อนานาประเทศ และประชาชนชาวไทยตลอดไป พลเอก ( นิพัทธ์ ทองเล็ก ) ปลัดกระทรวงกลาโหม

8


Message from Permanent Secretary for Defence on the Occasion of the 127th Anniversary of the Founding Day of the Ministry of Defence 8 April 2014 On the occasion of the 127th Anniversary of the Founding Day of the Ministry of Defence on 8 April 2014, may I wish all the personnel of the Ministry of Defence and their families my best wishes. The Ministry of Defence was founded with the royal grace of His Majesty King Chulalongkorn who had anticipated the importance of building the foundation of military affairs to keep abreast with international standard and initiated to restructure the military unit and operations in accordance with the changing environment. The holy verses which was presented to King Chulalongkorn by Somdej Pha Iriyawongsakatayan Somdej Pha Sangkaraj (Sa Pusatawa) during the construction and engraved in scripts at the gable of the Ministry of Defence building, states that “Wichatwa Phalataphupang Ratata Satatu Wuttiyo” which means “Let the Monarch and the Military be blessed with the victory and the prosperity to the nation.” It reflects the adherence and loyalty to the monarch institution which have been integrated into the Royal Thai Armed Forces’ ideology for long time. Soldiers have the responsibility to implement His Majesty’s desire to enhance and modernise the military affairs which are His Majesty’s legacy, while carry on updating and strengthening combat power, increasing force capacity and combat readiness in order to effectively respond to both internal and external threats, as well as developing the country and providing relief support to ease the hardship of the people. Moreover, at present, the military has important role in fostering love and unity among the fellow citizen, protecting democracy regime with the King as Head of the State and preparing organisation readiness for entering ASEAN Community in 2015. I would like to encourage all the military personnel to uphold the principle of performing the duty at their best ability in order to gracefully reciprocate to the nation honestly as a professional soldier with honour, dignity and trustworthy among Thai people and international community. General ( Nipat Thonglek ) Permanent Secretary for Defence

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

9


นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม Miss Yingluck Shinawatra Minister of Defence

พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม General Yuthasak Sasiprapha Deputy Minister of Defence

พลเอก ขวัญชาติ กล้าหาญ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม General Khwanchart Klahan Secretary to the Minister of Defence

10

พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม General Nipat Thonglek Permanent Secretary for Defence


พลเอก สายัณห์ คัมภีร์พันธุ์ สมุหราชองครักษ์ General Sayan Khampeepan Chief, Aide-de-Camp General to H.M. the king

พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร ผู้บัญชาการทหารสูงสุด General Tanasak Patimapragorn Chief of Defence Forces

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก General Prayut Chan-o-cha Commander-in-Chief, Royal Thai Army พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย ผู้บัญชาการทหารเรือ Admiral Narong Pipatanasai Commander-in-Chief, Royal Thai Navy

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ Air Chief Marshal Prajin Juntong Commander-in-Chief, Royal Thai Air Force

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

11


ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ

พล.อ.วันชัย  เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช  จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์  เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์  ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช  มีเพียร พล.อ.ธวัช  เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์  บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด  เบื้องบน พล.อ.สิริชัย  ธัญญสิริ พล.อ.วินัย  ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต  เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์  เกษโกวิท พล.อ.เสถียร  เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส  รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน

พล.ต.ณภัทร  สุขจิตต์

รองผู้อำ�นวยการ

พ.อ.ณัฐวุฒิ  คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ  ตันตระวาณิชย์

ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ

พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์

กองจัดการ ผู้จัดการ

น.อ.ธวัชชัย  รักประยูร

ประจำ�กองจัดการ

น.อ.กฤษณ์  ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัติ แสนคำ� ร.น.  พ.ต.ไพบูลย์  รุ่งโรจน์

ที่ปรึกษา เหรัญญิก

พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.ร.อ.พลวัฒน์ สิโรดม ร.น. พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ พล.อ.สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.สิรวุฒิ สุคันธนาค พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.จิระ โกมุทพงศ์ พล.ท.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ยุทธนา กล้าการยุทธ พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต พล.ท.บรรเจิด เทียนทองดี พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ทวี พฤกษาไพรบูลย์ พล.ต.สังสิทธิ์ วรชาติกุล

12

พ.ท.พลพัฒน์  อาขวานนท์

ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช  บุญหล้า

ฝ่ายกฎหมาย

น.ท.สุรชัย  สลามเต๊ะ

ฝ่ายพิสูจน์อักษร

พ.อ.หญิง วิวรรณ  วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์  ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์  มูลละ

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ

น.อ.พรหมเมธ  อติแพทย์ ร.น.

รองบรรณาธิการ

พ.อ.ทวี  สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ  ศิริสรณ์

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

พ.อ.หญิง ใจทิพย์  อุไพพานิช

ประจำ�กองบรรณาธิการ

น.ท.ณัทวรรษ  พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน  ปัตพี ร.น. พ.ท.หญิง ณิชนันทน์  ทองพูล พ.ต.หญิง สิริณี  ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร  พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร  ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา  ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี  ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์  ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.ธีร์นริศวร์  ขอพึ่งธรรม

น.ท.หญิง รสสุคนธ์  ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์  สมไร่ขิง พ.ท.ชาตบุตร  ศรธรรม น.ต.ฐิตพร  น้อยรักษ์ ร.น. ร.อ.หญิง ณิชาภา  กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม  สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ  ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์  ถนอมธรรม จ.ส.อ.สมหมาย  ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา  กาญจนโรจน์


ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๗๗ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗

๑๘

๕๖

ทหารกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ The Military and the Monarch Institution

ข้อสังเกตและประเด็น ข้อกฎหมายบางประการ เกี่ยวกับการป้องกัน และปราบปราม การก่อการร้าย Some Remarks and Legal Issues to Counter Terrorism

๒๔

๑๒๗ ปี กระทรวงกลาโหม 127th Anniversary of the Founding Day of the Ministry of Defence

๖๔ ๑๘

๓๐

ไทยกับยุทโธปกรณ์ใหม่ ทางทหาร Royal Thai Armed Force and Modern Military Equipment

๓๘

๓๐

๓๘ ๖๘

๒๔

งานกิจการพลเรือน ในประเทศไทย Civil Affairs in Thailand

ทหารในสังคมไทย ปัจจุบัน The Military in Current Thai Society

๔๔

ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน ASEAN PoliticalSecurity Community : APSC

๔๔

๕๒

๕๖ ๗๔

๕๒

กระทรวงกลาโหมกับ การพัฒนาด้านการ อุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ Ministry of Defence and Development of Defence Industry

บทบาทกระทรวง กลาโหมกับการ เข้าสู่การเป็นประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ Roles of Ministry of Defence in moving towards the integration ASEAN Community in 2015

๖๔

๗๔

กองทัพแห่งคลื่นลูกที่ ๓ กับการเป็น “กองทัพ ประจ�ำการอาสาสมัคร” The Armed Forces of the Third Wave as “The Volunteer Army”

๖๘

กระทรวงกลาโหม

ปี

ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร  กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

13


บทบรรณาธิการ วันที่ ๘ เมษายน เป็นวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงกลาโหม ซึ่งในปี ๒๕๕๗ นับเป็นปีที่ ๑๒๗ เป็นปีที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนากรมยุทธนาธิการขึ้นที่บริเวณโรงทหาร หน้า ซึ่งปัจจุบันคือศาลาว่าการกลาโหม จึงนับเป็นจุดเริ่มต้นของการด�ำเนินกิจการทหารสมัยใหม่ ให้มีความเป็นสากลทัดเทียมนานาอารยประเทศ รองรับการเผชิญภัยคุกคามจากประเทศมหาอ�ำนาจ ในยุคล่าอาณานิคม โดยได้มีการพัฒนาทั้งในเรื่องของโครงสร้างการจัดส่วนราชการ อ�ำนาจหน้าที่ ตลอดจนภารกิจอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน กระทรวงกลาโหม ได้ถือก�ำเนิดมาจากพระปรีชาญาณอันล�้ำเลิศขององค์พระผู้พระราชทาน ก�ำเนิด ที่ได้ทรงเล็งเห็นความส�ำคัญของความมั่นคงของประเทศ และได้ตอบสนองพระราชปณิธาน ในการสร้างความเข้มแข็งเป็นปึกแผ่น ความทันสมัย ให้แก่กิจการทหารโดยรวม สามารถด�ำรงความ เป็นสถาบันหลัก ในการพิทักษ์รักษาเอกราชอธิปไตยของชาติ รักษาความมั่นคง และสร้างเสริมพระ เกียรติยศแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ท�ำนุบ�ำรุงสืบสานพระศาสนา และที่ส�ำคัญที่สุดคือ การพัฒนา ประเทศ และการช่วยเหลือประชาชนในมิติต่าง ๆ เสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในบ้าน เมือง ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมให้มีความสุข มีความสมานฉันท์ ตลอดจนเกิดความส�ำนึก ในความรักชาติ และช่วยกันปกป้องรักษาบ้านเมือง นับเป็นเกียรติ ศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจอย่างมิรู้ เสื่อมคลาย และถือเป็นภาระหน้าที่ของข้าราชการทหารที่จะต้องร่วมกันทุ่มเทก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และ ก�ำลังสติปัญญา ที่จะธ�ำรงรักษาเกียรติยศ และความเชื่อถือศรัทธา โดยยึดมั่นในอุดมการณ์ที่จะปฏิบัติ หน้าที่ทั้งปวงอย่างเต็มศักยภาพ ด�ำรงตนอยู่ด้วยความส�ำนึกในเกียรติและศักดิ์ศรีของทหาร ช่วยเหลือ เกื้อกูล ร่วมแรงร่วมใจในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ขยันหมั่นเพียร มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อ ตนเองและหน่วยงาน น้อมน�ำพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั องค์จอมทัพไทย มายึดถือ ปฏิบัติโดยเคร่งครัด เพื่อร่วมกันพัฒนาสร้างสรรค์กระทรวงกลาโหม ให้เจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่น เป็น หลักประกันความมั่นคงของชาติ และความผาสุกร่มเย็นของพี่น้องประชาชนตลอดไป กลาโหมเทิดราชา รักษ์ราษฎร์ ชาติมั่นคง

14


Editorial 8th of April annually commemorates the establishment of the Ministry of Defence, and this year, 2014 A.D. (2557 B.E.) considerably marks its 127th birthday anniversary. Under the order of His Majesty King Chulalongkorn (King Rama V, the Great), the permanent military command was originally built in the area of formerly known as the Royal Forward Regiment, which has presently been transformed into the Ministry of Defence. This founding significantly marks the beginning period of Siam’s modern military affairs to equally attain world standard among the international communities at the time, and also be prepared to deal with threats derived from the world superpowers back in the colonial period. Undoubtedly, the organizational structure, authority and manpower, arms and weapons have ever since been developed more and more up until the present day. Basically, The Ministry of Defence has originally been derived by the ingenuity of His Majesty King Chulalongkorn, who had graciously foreseen the significance of Siam’s national stability back then. His Majesty the King fulfilled this willful aspiration by building a determined and modernized pillar to our former military affairs, and that the modernized military would serve not only to protect our national sovereignty and security, but also to safeguard and uphold the monarchical and religious institutions. Most importantly, it requires the military to maintain our country’s development and to lend a helping hand for the happiness of Thai people in every single dimension. Besides, maintaining the national stability and security, upholding the well-being, happiness and reconciliation of Thai people, and promoting the ideas of national patriot and protection are quite significant, of which all are incessantly considered to be our pride and honour. The duty of soldiers is to devote untiring efforts, whole spirit and full wisdom to maintain their honor and respect from the people. We must uphold the military ideal, live up with pride and honor, and more importantly, take full responsibility with hard work, and hold on to the integrity, both to ourselves and our organization. Finally, we must strictly follow His Majesty the King’s royal guidance for the better development of the Ministry of Defence, and that it will always serve as the security mechanism for our national stability, and as the well-being of the Thai people in the years to come. The Ministry of Defence for His Majesty the King, for the Thai People and for the Nation

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

15


16


หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

17


ทหาร กับสถาบันพระมหากษัตริย์ The Military and the Monarch Institution พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

18


ระวัติศาสตร์ชาติไทยที่มีการบันทึกมาตั้งแต่อดีตตราบจน ปั จ จุ บั น ได้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความพยายามที่ จ ะก่ อ ร่ า ง สร้างชาติท่ามกลางมรสุมแห่งภัยคุกคามรอบด้านอันเกิด จากการใช้ก�ำลังบังคับ หรืออันเกิดจากการรุกรานของชนชาติพันธุ์อื่น ในหลายครั้งที่ประเทศไทยต้องล้มลุกคลุกคลานจากการสูญเสียพื้นที่ เขตแดน จากการถูกกระท�ำทารุณกรรม หรือจากการสูญเสียความมัน่ คง ของชาติ แต่ในที่สุดแล้วประเทศไทยก็สามารถสร้างชาติ สร้างอาณาเขต และรักษาอธิปไตยจนยืนหยัดมาให้อนุชนรุ่นปัจจุบัน ได้มีผืนแผ่นดินที่มี เอกราชผืนนี้ไว้เป็นบ้านเป็นเมือง การสร้างชาติของไทยได้กระท�ำด้วยการรบป้องกันประเทศและรักษา อธิปไตยมาโดยตลอด เมื่อเป็นเช่นนี้ ประชาชนชาวไทยจึงต้องปฏิบัติ หน้าทีเ่ ป็นทัง้ ราษฎรและเป็นนักรบในเวลาและโอกาสอันสมควร ซึง่ ผูน้ ำ�

T

he written history of the Thai Nation indicates that the nation founding efforts were carried out while threats were from all directions.Those threats were either threaten by forces or invasions. At times, Thailand struggled through losing of her territory, suffering from ill treatment and losing national security. However,Thailand had finally been founded with her territory and her sovereignty which has been safeguarded for the Thai descendant in the present to have this independent country as our homeland. The Thai nation founding had been carried out along with combating to defend the country and safeguarding the sovereignty. As such, all Thais were citizen and warriors หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

19


สูงสุดของประชาชนในอดีตและต้องปฏิบัติหน้าที่เป็นแม่ทัพใหญ่ในการ รักษาเอกราชและประชาธิปไตย คือ องค์ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ด� ำ รงพระราชสถานภาพเป็ น จอมทั พ เป็นศูนย์รวมใจของก�ำลังพล และยังต้องทรงด�ำเนินพระราชกรณียกิจ เพื่อบ�ำบัดฟื้นฟู และท�ำนุบ�ำรุงประเทศ ในยามที่เสร็จจากศึกสงคราม เพื่อยังความเจริญรุ่งเรืองความเป็นปึกแผ่นให้บังเกิดขึ้นในชาติ และ

20

as appropriate. In the past, the leaders of the people who played an important role as Commander-in-Chief of the national defence forces were the Kings. The Kings whose status was Supreme Commander of the Royal Thai armed forces and spiritual centre the personnel had to carry out duties to restore and maintain the country after the war time

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


อ�ำนวยความผาสุกให้บังเกิดอย่างอุดมสมบูรณ์ในมวลหมู่มหาชนชาว ไทย ตลอดระยะเวลาและประวัติศาสตร์อันยาวนานของประวัติศาสตร์ ไทย เห็นได้ว่า สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันหลักของชาติ และ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วชาติไทยของเรามาทุกยุคทุกสมัย ซึง่ พระมหากษัตริยไ์ ทย แต่ละพระองค์ต่างก็ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยอย่าง หาที่สุดมิได้ จึงน�ำมาสู่การเกิดขึ้นของมิติแห่งความจงรักภักดีอย่าง ลึกซึง้ ของประชาชนชาวไทยทีม่ ตี อ่ องค์พระมหากษัตริยไ์ ทยและสถาบัน พระมหากษัตริย์ และบังเกิดเป็นความตระหนักในการเทิดทูนและ เทิดพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างมิรู้คลาย หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

for the prosperity and solidarity of the nation, as well as the provision of peace for the Thai people. Throughout the long history of Thai nation, it is clearly seen that the monarch institution always stands as a principle institution and the center of the nation in every periods. As every kings have the royal grace of immeasurable and unending that bring about the great dimension of deeply loyalty towards the King and the Monarch institution as reflected as the endless respect and honour to the Kings. 21


ทหารไทยหรือกองทัพ ต่างก็มีบทบาทในการสนองพระเดชพระคุณ ในราชการสงครามมาโดยตลอด ซึ่งเราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าในการศึก สงครามแต่ละครั้งนั้น ตัวชี้ขาดในชัยชนะหรือความพ่ายแพ้คือทหาร มิเพียงแต่ฝีไม้ลายมือหรือความเชี่ยวชาญในเชิงสงครามเท่านั้น แต่สิ่ง ที่มีผลต่อจิตใจและเป็นจุดเปลี่ยนไปสู่ผลการรบนั้นคือขวัญของกองทัพ และก�ำลังใจของทหาร ทั้งนี้เพราะหากทหารทุกคนมีขวัญและก�ำลังใจ ที่ดี ย่อมน�ำมาสู่การด�ำเนินกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพและไม่เป็นรอง ใครในการศึก อีกทั้ง หากองค์จอมทัพทรงเสด็จพระราชด�ำเนินมาทรง การศึ ก ด้ ว ยพระองค์ เ องหรือพระราชทานพรให้แก่กองทั พ แล้ ว ไซร้ สิ่งที่ตามมาคือความมุ่งมั่นปรารถนาที่จะเอาชนะข้าศึกศัตรูในกลศึก นั้นก็จะทวีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นจนก่อให้เกิดพลังมหาศาลในการเข้า ประจญประจัญข้าศึก จนสามารถต่อตีจนเอาชัยชนะเหนือข้าศึกศัตรู โดยไม่ยากเย็นนัก จึงกล่าวได้ว่า ทหารและกองทัพ คือ จักรแก้วที่ทรง อานุภาพเคียงคู่ในทิพยสมบัติแห่งองค์จักรพรรดิราช ซึ่งเมื่อยามแผลง ไปในทิศทางใด หมู่มวลปัจจามิตรก็จะราพณาสูรไปในทันที หรือกล่าว อีกนัยหนึ่งว่า ทหารคืออาวุธอันทรงอานุภาพแห่งองค์พระมหากษัตริย์ ที่จะทรงใช้ในการรักษาเอกราชและความมั่นคงของชาติ ซึ่งจากหน้า

22

Thai military or armed forces all have significant roles in serving His Majesty the King in all warfare. This is undeniable that in each battlefield, the indicating factor for victory or defeat is the soldiers. Not only the excellent fighting skill or the expertise in battle that is influential for every warrior, but also the spirit of the army and courage of all soldier. The morale of the warriors could lead to an effective strategy and become a second to none. Moreover, if the Highest Commander of the Royal Thai Armed Forces takes an action himself or even blessed the army, it will strongly multiply the will to overcome the enemy until they are all easily defeated. It can be said that the military and the armed forces are the powerful Chakram (the ancient throwing weapon) of the great Emperor (ideal universal ruler) which swept the entire enemy away once it is thrown, in other words, the military พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


ประวัติศาสตร์ในยุคที่ผ่านมา ทราบว่า ทหารและกองทัพ ได้ร่วมกัน ถวายความจงรักภักดี ถวายพระเกียรติ และสนองพระเดชพระคุณองค์ พระมหากษัตริย์ในรัฐกิจและราชกิจต่าง ๆ ด้วยความมุ่งมั่นศรัทธาและ ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณทั้งในยามปกติและยามศึกสงครามโดย มิได้ย่อท้อต่อความยากล�ำบากแต่ประการใด ในขณะเดียวกันที่องค์ พระมหากษัตริย์ ก็ทรงแผ่พระราชอ�ำนาจคุ้มครองรักษาและอ�ำนวย ความสุขให้แก่ทหารหาญของพระองค์ เพือ่ ให้ดำ� รงชีวติ และด�ำรงสถานะ ได้อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรีในสังคม เพื่อเป็นการตอบแทนความมุ่งมั่น ตั้งใจในการอุทิศและทุ่มเทชีวิตจิตใจปฏิบัติกิจทหารส�ำหรับสร้างความ เป็นปึกแผ่นของชาติ ตลอดจนถวายราชกิจด้วยดีเสมอมา กองทัพและทหารไทยในทุกยุคทุกสมัย จึงมีภารกิจและหน้าที่ใน การพิทักษ์รักษา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่ง เป็นการแสดงออกถึงจิตส�ำนึกในการตระหนักรู้ถึงพระมหากรุณาธิคุณ ขององค์พระมหากษัตริยาธิราชเจ้าของชาวไทยที่ทรงด�ำเนินพระราช กรณียกิจสร้างน�ำให้สามารถด�ำรงความเป็นชาติอย่างมั่นคง และสร้าง ความผาสุกให้แก่ประชาชน เมื่อเป็นเช่นนี้ สิ่งที่กองทัพและทหารไทย ในปัจจุบันพึงกระท�ำเพื่อบรรลุภารกิจในการพิทักษ์รักษาและเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ คือ การน้อมน�ำพระราชด�ำริและหลักธรรมที่ ปรากฏอยู่ในพระราชกรณียกิจโดยอัญเชิญมาเป็นแบบอย่างเพื่อปฏิบัติ ให้บังเกิดความสุขและความเจริญในสังคมไทย ควบคู่ไปกับการสอดส่อง ดูแลและปกป้องการกระท�ำของผู้ไม่หวังดีที่อาจส่งผลต่อการล่วงละเมิด สถาบันพระมหากษัตริย์ในทุกรูปแบบ ซึ่งสิ่งที่ดีที่สุดอันพึงกระท�ำตลอด เวลาหรือทุกขณะจิต คือ ประพฤติตนให้เป็นทหารที่ดีของต้นสังกัดและ เป็นคนที่ดีของสังคม สิ่งนี้คือการแสดงความจงรักภักดีต่อพระองค์ท่าน อย่างสูงสุดแล้ว

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

is the mighty weapon used by the king in order to safeguard the sovereignty and security of the nation. Pages from history told us that the military and the armed forces have always been strongly loyal and untiringly dedicated to the King’s State’s affairs and duties with wholehearted appreciation of his grace divine both in wartime and peacetime. The King had also enlarged his power to protect and exhilarate his military in order to maintain their honour and dignity in the society, to reciprocate the devotion and sacrifice life and soul in performing military duties for solidarity of the nation, as to carry out mission for the King's duties. The military and the Royal Thai Armed Forces have the primary responsibility to safeguard and uphold the Monarchy institution which reflect their gratitude towards the royal generosity of His Majesty the King of Thailand who has performed royal duties for the strength of the nation and harmony among people. Within this respect, to accomplish their mission in safeguarding and upholding the Monarchy institution, the military and the Royal Thai Armed Forces need to embrace His Majesty the King’s initiatives and ethics which are often reflected in royal activities as a model code of conduct in order to bring peace and prosperity to the Thai society, while monitoring and preventing ill-intentioned person from violating the Monarchy. Hence, the best way to show royalty towards His Majesty the King is to conduct oneself as a professional soldier in the unit and a good citizen of the society. 23


๑๒๗ ปี กระทรวงกลาโหม 127 Anniversary of the Founding Day of the Ministry of Defence th

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

วั

น ที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น วั น ส� ำ คั ญ แห่ ง กิ จ การทหารไทยเป็ น อย่ า งยิ่ ง สื บ เนื่ อ งเพราะเป็ น วั น ที ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนา กรมยุทธนาธิการ (Department of War and Marine) ขึ้นที่บริเวณ โรงทหารหน้า (ปัจจุบันคือศาลาว่าการกลาโหม) จึงนับเป็นจุดเริ่มต้น ของการด�ำเนินกิจการทหารสมัยใหม่ให้มีความเป็นสากลทัดเทียมนานา อารยประเทศ และรองรับการเผชิญภัยคุกคามจากประเทศมหาอ�ำนาจ ในยุคล่าอาณานิคม ซึ่งในเวลาต่อมา กรมยุทธนาธิการ ได้พัฒนาทั้ง ในเรื่องของส่วนราชการ โครงสร้าง อ�ำนาจหน้าที่ และภารกิจอย่าง ต่อเนื่อง จนเป็นกระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน ตลอดระยะเวลา ๑๒๗ ปี การก้าวเดินของกระทรวงกลาโหมได้ฟนั ฝ่า ปัญหาและสิ่งท้าทายนานัปการตั้งแต่ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายใน ประเทศ หรือสิ่งท้าทายที่เป็นผลกระทบอันเกิดจากปัจจัยภายนอก 24

O

n 8 April 1887, it was regarded as the important day of Thailand’s military affairs since His Majesty King Chulalongkorn had ordered an establishment of the Department of War and Marine at the Forward Barrack (presently the Ministry of Defence). Accordingly, this was considered as the commencement in modernising military affairs to keep abreast with international standard and in preparing the readiness to respond to threats during the untiring Colonialism Era of the Western countries. Later, the Department of War and Marine was continually progressed her organisation, assignment of authorities and missions, and consequently become the Ministry of Defence at present.


ประเทศ หลายสิ่งก็ส่งผลให้ต้องปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนกระบวนการ ทางความคิดและวิธีการท�ำงาน จนในที่สุดก็ตกผลึกทางความคิดจน กลายมาเป็นกระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน โดยที่ระยะเวลาที่ผ่านมาได้ ก่อให้เกิดพัฒนาการของกระทรวงกลาโหมในประเด็นส�ำคัญ กล่าวคือ ในปีพุทธศักราช ๒๔๓๓ มีการยกฐานะ กรมยุทธนาธิการขึ้นเป็น กระทรวงยุทธนาธิการ (Ministry of War and Marine) โดยแบ่งส่วน ราชการ ออกเป็น ๒ ฝ่าย กล่าวคือ ฝ่ายพลเรือน ท�ำหน้าที่ด้านธุรการ การบริหาร และการส่งก�ำลังบ�ำรุง โดยมี เสนาบดีกระทรวง เป็นผู้บังคับ บัญชา และ ฝ่ายทหาร ท�ำหน้าที่เป็นส่วนก�ำลังรบ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ กรมทหารบก และกรมทหารเรือ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงด�ำรงต�ำแหน่งจอมทัพ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเป็นองค์รับสนอง พระบรมราชโองการ

Throughout the past 127 years, the Ministry of Defence has overcome problems and challenges including internal political problems and the challenges that emerged from external factors. Certain essentials have resulted in improving or changing the conceptual and working process, and accordingly, such processes shaped up all those concepts to become the Ministry of Defence. Major developments of the Ministry of Defence during the past years can be summarised as follows: In 1890, the Department of War and Marine was upgraded to the Ministry of War and Marine which comprised of 2 sections: Civilian section which was responsible for administration, management and logistics, and was under command of the Minister; and Military section which was responsible for combat forces consisting of Army Department

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

25


and Navy Department, and was under the command of His Majesty the King who was the Highest Commander of the Armed Forces, and had given the Crown Prince to countersign the Royal command. In 1892, the government system was reformed for the first time by establishing new 12 ministries according to the given missions including the Ministry of Defence and the Ministry of War and Marine. However, later in the same year, the Ministry of War and Marine was downgraded to Department

ในปีพุทธศักราช ๒๔๓๕ เป็นการปฏิรูประบบราชการเป็นครั้งแรก โดยจัดตั้งกระทรวงขึ้นใหม่ตามภารกิจเพื่อให้เกิดการรวมศูนย์งาน โดย แบ่งออกเป็น ๑๒ กระทรวง ซึ่งมีทั้งกระทรวงกลาโหมและกระทรวง ยุทธนาธิการ แต่ต่อมาในปีเดียวกัน ได้ลดฐานะกระทรวงยุทธนาธิการ ลงเป็น กรมยุทธนาธิการ ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่ไม่สังกัดกระทรวงใด โดยท�ำหน้าที่เป็น องค์กรฝ่ายทหารที่ท�ำหน้าที่ป้องกันประเทศ ในปีพุทธศักราช ๒๔๓๗ ได้มีการจัดปันหน้าที่ระหว่างกระทรวง กลาโหม ให้ รั บ ผิ ด ชอบราชการทหาร และกระทรวงมหาดไทยให้ รับผิดชอบราชการที่เกี่ยวกับพลเรือน จึงมีการโอนกรมยุทธนาธิการ มาขึน้ สังกัดกระทรวงกลาโหม โดยให้กรมยุทธนาธิการ ก�ำกับดูแลกิจการ ทหารบก และกรมทหารเรือ ก�ำกับดูแลกิจการทหารเรือ

26

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๓ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้มีการยกฐานะกรมยุทธนาธิการ ขึ้นเป็น กระทรวงกลาโหม มี ห น้ า ที่ ดู แ ลการปกครองเฉพาะกิจการทหารบกพร้อมกั บ ยกฐานะ กรมทหารเรือ ขึ้นเป็น กระทรวงทหารเรือ มีหน้าที่ดูแลการปกครอง เฉพาะกิจการทหารเรือ

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

of War and Marine which was not under the supervision of any Ministry, and was designated as military element in defending the Kingdom. In 1894, designation of duties was given to the ministries where the Ministry of Defence and Ministry of Interior were

27


ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๔ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้มีการรวม กระทรวงทหารเรือ กับกระทรวงทหารบกหรือ กระทรวงกลาโหม เข้าเป็นกระทรวงเดียวกัน ภายใต้นาม กระทรวง กลาโหม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ ได้มีการ ตราพระราชบัญญัติเกี่ยวกับราชการกระทรวงกลาโหมเป็นครั้งแรกใช้ ชื่อว่า พระราชบัญญัติจัดระเบียบป้องกันราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๖ เป็นเสมือนกฎหมายแม่บทของกระทรวงกลาโหมและกิจการ ทหารไทย ซึ่งในเวลาต่อมาได้มีการพัฒนาจนมาเป็น พระราชบัญญัติ จั ด ระเบี ย บราชการกระทรวงกลาโหม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ และ ฉบับที่ ๒ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ทั้งนี้ ปัจจุบันกระทรวงกลาโหมเป็นกระทรวงที่มีภารกิจอันส�ำคัญใน เรื่องของการป้องกันประเทศและบริหารกิจการทหาร อันประกอบด้วย (๑) พิทักษ์รักษาเอกราชและความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรจากภัย คุกคามทั้งภายนอกและภายในราชอาณาจักร ปราบปรามการกบฏและ การจลาจล โดยจัดให้มีและใช้ก�ำลังทหารตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทยหรือตามที่มีกฎหมายก�ำหนด (๒) พิทักษ์รักษา ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ ตลอดจนสนับสนุนภารกิจของสถาบันพระมหากษัตริย์ (๓) ปกป้อง พิทักษ์รักษาผลประโยชน์แห่งชาติและ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข พัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคงตลอดจนสนับสนุนภารกิจอื่น ของรัฐในการพัฒนาประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ และการช่วยเหลือประชาชน

28

assigned to be responsible for military affairs and for civilian affairs respectively. Accordingly, the Department of War and Marine was transferred and become an organic element under Ministry of Defence where the Department of War was responsible for the Army affairs and the Department of Navy was responsible for the Navy affairs. In 1910, during the reign of King Rama VI, the Department of War was upgraded to the Ministry of Defence and was responsible only for the Army affairs while the Department of Navy was upgraded to become the Navy Ministry which was responsible for Navy affairs. In 1931, during the reign of King Rama VII, the King ordered the merge of the Navy Department and the Army Department (or Ministry of Defence) to become the Ministry of Defence. After the Siamese Revolution in 1932, Administrative Act B.E.2476 on defending the kingdom was declared as master law of Ministry of Defence and Thai military affairs. The Act was revised and further developed. Accordingly, Administrative of Ministry of Defence Act B.E.2551 and second issue Act B.E.2556. Currently, the Ministry of Defence has the main missions in defending the kingdom and directing military affairs as follows:

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


(1)  Safeguard independence and security of the Kingdom from internal and external threats, and suppress insurgent and rebellion by deploying armed forces as stated in the constitution or under stated in law. (2)  Safeguard and protect the institution of Kingship as well as to support the mission of the institution of Kingship. (3)  Protect and safeguard the national interests and the democratic regime of government with the King as Head of the State, and to attain national development as well as to support other missions of the State in national development, to prevent and solve problems of disaster, and to provide humanitarian assistance. (4)  Study, research, develop and execute the task in the (๔) ศึกษา วิจัย พัฒนา และด�ำเนินการด้านอุตสาหกรรมป้องกัน area of defence industry and energy, defence science and ประเทศและพลังงานทหาร ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกัน technology and communication in order to support the ประเทศ และด้านกิจการอวกาศเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร mission of the Ministry of Defence and the national security. ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนภารกิจของกระทรวงกลาโหมและความมั่นคงของ (5)  Perform Military Operations Other Than War for the ประเทศ security of the Kingdom and other missions under stated in (๕) ปฏิบัติการอื่นที่เป็นการปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจาก law or according to cabinet resolution. สงครามเพื่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร หรือปฏิบัติการอื่นใด ทั้งนี้ The Ministry of Defence consists of Office of the Minister ตามที่มีกฎหมายก�ำหนดหรือตามมติคณะรัฐมนตรี of Defence, Office of the Permanent Secretary for Defence, โดยมี ก ารจั ด ส่ ว นราชการที่ ส� ำ คั ญ ออกเป็ น ส� ำ นั ก งานรั ฐ มนตรี Royal Aide-de-Camp Department and the Royal Thai Armed ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กรมราชองครักษ์ หน่วยบัญชาการถวายความ Forces (organic elements include the Royal Thai Armed ปลอดภัยรักษาพระองค์ และกองทัพไทย (ซึ่งมีส่วนราชการในสังกัด Forces Headquarters, the Royal Thai Army, the Royal กล่าวคือ กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพ Thai Navy, the Royal Thai Air Force and other agencies as อากาศ และส่วนราชการอื่นตามที่ก�ำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา) stipulated by the Royal Decree). จึงกล่าวได้ว่า กิจการทหารของไทย มีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง In conclusion, from the reign of King Rama V to the และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อความเหมาะสมสอดรับกับภารกิจ present, the Thai military affairs have continuously developed ของทหารและสภาพแวดล้อมในแต่ละยุค ตลอดจน พัฒนาตัวเองให้ and appropriately restructured to correspond to military’s ทัดเทียมนานาอารยประเทศ เพื่อการปกป้องเอกราช อธิปไตยของชาติ missions and environment of each era, as well as developed ทีต่ อ้ งเผชิญภัยคุกคามอันร้ายแรงจากภายนอกประเทศทีม่ แี สนยานุภาพ ourselves to be equivalent to those of international standard ที่เหนือกว่าทุกด้าน ไม่ว่าในด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ ขีดความสามารถ in order to protect national integrity and sovereignty ของก�ำลังพล เทคโนโลยี องค์ความรู้ และหลักนิยมทางการสงคราม from severe external threats of advance capacity such as ต่าง ๆ ตัง้ แต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ต่อเนือ่ ง weapons, personnel efficiency, technology, knowledge and มาตราบจนปัจจุบัน ในอันที่จะเป็นเกียรติประวัติให้ทหารหาญ และ war doctrines. It would be the honour for the Thai military ประชาชนชาวไทยในรุ่นปัจจุบันและอนุชนรุ่นต่อไปได้จารจารึกไว้ใน and those of current and new generation of Thai people to ความทรงจ�ำ บังเกิดความภาคภูมิใจในพัฒนาการของกิจการทหารไทย cherish and be proud of the development of Thai military ในรอบระยะเวลา ๑๒๗ ปี ที่ผ่านมา และบังเกิดความเชื่อมั่นได้ว่า affair’s through the past 127 years, as well as to reassure กระทรวงกลาโหมและทหารไทยจะมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติภารกิจ them that the Ministry of Defence and Thai military would เพื่ อ ความมั่ น คงและความผาสุ ก แก่ ป ระเทศและพี่ น ้ อ งประชาชน strive to perform missions for the peace and security of the สืบไป nation and Thai people. หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

29


ไทยกับยุทโธปกรณ์ ใหม่ทางทหาร Royal Thai Armed Force and Modern Military Equipment พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

F

or the past 5 years, there has been a significant increase in Asean’s political and economical collaborations. Asean has therefore became one of the key players both regionally and globally in economics, politics, and transportation. Countries are trying to protect their interests which occasionally lead to conflict. Many countries then have to find ways to best protect their resources and their interests through procuring modern weapons and equipments. This paper is discussed on Thailand’s procurement of modern equipment. การขยายตั ว ด้ า นเศรษฐกิ จ อย่ า งรวดเร็ ว พร้ อ มทั้ ง การเพิ่ ม ของ 1. Introduction ประชากรในกลุม่ ประเทศอาเซียน มีประชากร ๕๘๖ ล้านคนเศษ เป็นผล Rapid population growth and economic expansion in ให้ทุกประเทศพยายามแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น เพื่อ the ASEAN with more than 586 million people has resulted สนองความต้ อ งการด้ า นบริ โ ภค หลายประเทศได้ เ ร่ ง พั ฒ นาแหล่ ง in a significant increase in demand of natural resources to ทรัพยากรธรรมชาติแห่งใหม่ในทะเลทั้งทางด้านการประมงและด้าน accommodate the consumers. Many countries have been พลังงานเกิดเป็นพื้นที่ทับซ้อนน�ำมาสู่ความขัดแย้งในระดับภูมิภาค undertaking to develop new natural resources in fishery ครั้งใหม่

ปีที่ผ่านมากลุ่มประเทศอาเซียนได้ขยายความร่วมมือ ด้านการเมืองและด้านเศรษฐกิจมากยิง่ ขึน้ จึงมีบทบาท ที่ส�ำคัญของเวทีการเมืองในระดับภูมิภาคและในระดับ โลกทั้งทางด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ และ การคมนาคม ทุกชาติ ต่างมีผลประโยชน์ของประเทศซึ่งบางครั้งน� ำมาซึ่งความขัดแย้ง หลายประเทศจึงได้จัดหายุทโธปกรณ์ทางทหารใหม่เข้าประจ�ำการ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ.......บทความนี้กล่าวถึงการ จัดหายุทโธปกรณ์ทางทหารใหม่ของกองทัพไทย

๑.  กล่าวทั่วไป

30


๒.  อาเซียนกับยุทโธปกรณ์  ทางทหารใหม่

กลุ่มประเทศอาเซียนมีการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจที่ดี หลาย ประเทศที่มีเขตแดนทางทะเลติดต่อกับทะเลจีนใต้ มีความขัดแย้งใน ปัญหาหมู่เกาะสแปรตลีย์ (ประเทศอาเซียน มีส่วนความขัดแย้ง คือ เวียดนาม, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์ และบรูไน) เพื่อจะปกป้องผลประโยชน์ ของประเทศจึงได้มีการเพิ่มขีดความสามารถทางทหารโดยการประจ�ำ การด้วยยุทโธปกรณ์ทางทหารที่ทันสมัย ที่ส�ำคัญคือ

๒.๑  กองทัพบก

รถรบทหารราบ (เวียดนาม ๗๕๐ คัน, สิงคโปร์ ๔๐๐ คัน, มาเลเซีย ๓๖๐ คัน, อินโดนีเซีย ๕๐ คัน และเมียนมา ๕๐ คัน), รถเกราะล้อยาง ชนิด ๘x๘ ล้อ (สิงคโปร์ ๑๓๕ คัน, มาเลเซีย ๒๕๗ คัน, เมียนมา ๓๖๘ คัน,

and energy on the overlapping areas which lead to a new regional dispute. 2. ASEAN and the New Military Equipment ASEAN countries have been enjoying their economic growth. Many Asean countries with territory in South China Sea are claiming the ownership over the Spratly Islands; including Vietnam, Malaysia, the Philippines and Brunei. To protect their best interest, these countries are enhancing their military superiority through procuring modern equipment as follows: 2.1 The Army Infantry Vehicle: Vietnam 750, Singapore 400, Malaysia 360, Indonesia 50, Myanmar 50 หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

31


รถถังหลักแบบเลียวปาร์ด-๒ เอสจี ปืนหลักล�ำกล้องเรียบขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร ประจ�ำการสิงคโปร์ ๑๙๖ คัน (ในภาพของกองทัพบก สิงคโปร์) และอินโดนีเซีย ๑๐๔ คัน Leopard Tank 2-SG with 120 mm gun, 196 commissioned in Singapore, and 104 in Indonesia อินโดนีเซีย ๒๘๕ คัน, เวียดนาม ๕๕๐ คัน และไทย ๒๑๗ คัน), รถถังหลัก 8x8 Armored Wheel Vehicle: เลียวปาร์ด-๒เอ๔ (สิงคโปร์ ๑๘๒ คันและอินโดนีเซีย ๑๐๔ คัน), ปืนใหญ่ Singapore 135, Malaysia 257, Myanmar 368, Indonesia 285, อัตตาจรชนิดสายพานขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร (สิงคโปร์ ๕๔ หน่วยยิง และ Vietnam 550, Thailand 217 ไทย ๒๐ หน่วยยิง), ปืนใหญ่อัตตาจรชนิดล้อยางขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร 2A4 Leopard Tanks: (อินโดนีเซีย ๓๗ หน่วยยิง และไทย ๖ หน่วยยิง), เฮลิคอปเตอร์โจมตี Singapore 182, Indonesia 104 (สิงคโปร์ ๑๗ เครื่อง, เวียดนาม ๓๖ เครื่อง, อินโดนีเซีย ๑๖ เครื่อง และ Track Self-Propelled 155 mm Artillery: ไทย ๗ เครื่อง) และเฮลิคอปเตอร์ขนส่งขนาดหนัก (สิงคโปร์ ๑๔ เครื่อง, Singapore 54, Thailand 20 อินโดนีเซีย ๑๕ เครื่อง, เวียดนาม ๖๐ เครื่อง สังกัดกองทัพอากาศ และ Wheeled Self-Propelled 155 mm Artillery: ไทย ๑๒ เครื่อง) Indonesia 37, Thailand 6 Attack Helicopter: ๒.๒. กองทัพเรือ Singapore 17, Vietnam 36, Indonesia 16, Thailand 7 เรือฟรีเกตล่องหน (สิงคโปร์ ๖ ล�ำ), เรือฟรีเกตจรวดน�ำวิถี Transport Helicopter: (มาเลเซีย ๒ ล�ำ, อินโดนีเซีย ๖ ล�ำ, เวียดนาม ๗ ล�ำ, เมียนมา ๔ ล�ำ Singapore 14, Indonesia 15, Vietnam 60, Thailand 12 และไทย ๘ ล�ำ), เรือคอร์เวตจรวดน�ำวิถี (อินโดนีเซีย ๗ ล�ำ, มาเลเซีย 2.2 The Navy ๔ ล�ำ, เวียดนาม ๘ ล�ำ, เมียนมา ๒ ล�ำ และไทย ๒ ล�ำ), เรือด�ำน�้ำดีเซล Formidable-Class Frigate: ไฟฟ้า (อินโดนีเซีย ๕ ล�ำ, สิงคโปร์ ๖ ล�ำ, มาเลเซีย ๓ ล�ำ และเวียดนาม Singapore 6 ๖ ล�ำ), เครื่องบินลาดตระเวนทางนาวี (อินโดนีเซีย ๑๕ เครื่อง, สิงคโปร์ Missile Frigate: ๕ เครือ่ ง สังกัดกองทัพอากาศและไทย ๑๔ เครือ่ ง), เฮลิคอปเตอร์ทางนาวี Malaysia 2, Indonesia 6, Vietnam 7, Myanmar 4, Thailand 8 (สิงคโปร์ ๘ เครื่อง, มาเลเซีย ๖ เครื่อง, เวียดนาม ๗ เครื่อง, อินโดนีเซีย Corvette Missiles: ๓๘ เครื่องและไทย ๑๐ เครื่อง) และหน่วยนาวิกโยธิน (อินโดนีเซีย Indonesia 7, Malaysia, Vietnam 8, Myanmar 2, Thailand 2 ๒ กองพลน้อย, ฟิลิปปินส์ ๓ กองพลน้อย และไทย ๑ กองพล) Diesel-Electric Submarine: Indonesia 5, Singapore 6, Malaysia 3, Vietnam 6 ๒.๓ กองทัพอากาศ Maritime Patrol Aircraft: Indonesia 15, Singapore 5, Thailand 14 เครื่องบินขับไล่ (สิงคโปร์ ๑๑๕ เครื่อง, อินโดนีเซีย ๒๗ เครื่อง, Maritime Patrol Helicopter: เวียดนาม ๒๑๒ เครื่อง, มาเลเซีย ๓๑ เครื่อง, เมียนมา ๕๑ เครื่อง 32

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


เครื่องบินขับไล่โจมตีพิสัยไกลชนิดสองที่นั่ง ซู-๓๐ แฟลงเคอร์-ซี ความเร็ว ๒.๐ มัคพิสัยบินไกล ๓,๐๐๐ กิโลเมตร ติดตั้งอาวุธได้ ๑๒ จุด (น้ำหนักรวม ๘ ตัน) ประจ�ำการ มาเลเซีย ๑๘ เครื่อง (ในภาพกองทัพอากาศมาเลเซีย ฝูงบินที่ ๑๑), อินโดนีเซีย ๑๑ เครื่อง และเวียดนาม ๒๔ เครื่อง SU 30 Flanker-C with maximum speed of 2.0 mach, 3,000 km radius, 12 weapon installation points (weights 8 tons), 18 commissioned in Malaysia, 11 in Indonesia, and 24 in Vietnam และไทย ๙๑ เครื่อง), เครื่องบินขับไล่โจมตีชนิดสองที่นั่ง (สิงคโปร์ ๒๔ Singapore 8, Malaysia 6, Vietnam 7, Indonesia 38, Thailand เครื่อง, มาเลเซีย ๑๘ เครื่อง, อินโดนีเซีย ๑๑ เครื่อง และเวียดนาม 10 ๒๔ เครื่อง), เครื่องบินโจมตี (อินโดนีเซีย ๒๘ เครื่อง, เวียดนาม ๑๔๔ Marine Unit: เครื่อง, มาเลเซีย ๑๓ เครื่อง และไทย ๑๙ เครื่อง), เครื่องบินเติมน�้ำมัน Indonesia 2 Brigades, Philippines 3 Bridades, Thailand 1 ทางอากาศ (สิงคโปร์ ๙ เครื่อง, มาเลเซีย ๔ เครื่อง และอินโดนีเซีย Division ๒ เครื่อง), เครื่องบินเตือนภัยทางอากาศ (สิงคโปร์ ๔ เครื่อง และไทย 2.3 The Air Force ๒ เครื่อง) และเครื่องบินขนส่งทางทหาร (สิงคโปร์ ๙ เครื่อง, มาเลเซีย Fighter: ๒๓ เครื่อง, อินโดนีเซีย ๑๐ เครื่อง, ฟิลิปปินส์ ๑๑ เครื่อง, เวียดนาม Singapore 115, Indonesia 27, Vietnam 212, Malaysia 31, ๔๕ เครื่อง, เมียนมา ๑๐ เครื่อง และไทย ๒๐ เครื่อง) Myanmar 51, Thailand 91 2-Seater Fighter: Singapore 24, Malaysia 18, Indonesia 11, Vietnam 24, Strike Fighter: Indonesia 28, Vietnam 144, Malaysia 13, Thailand 19 Tanker Aircraft: Singapore 9, Malaysia 4, Indonesia 2 Airborne Early Warning Aircraft Singapore 4, Thailand 2 Military Transport Aircraft: Singapore 9, Malaysia 23, Indonesia 10, Philippines 11, Vietnam 45, Myanmar 10, Thailand 20 3. Thailand and Modern Military Equipment 3.1 Main Battle Tank Thailand has recently purchased 49 (T84) Oplot Tanks, with comparable efficiency to the commissioned tanks of Vietnam, Myanmar and Malaysia. They are in the process of delivery. หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

33


๓. ไทยกับยุทโธปกรณ์ทางทหารใหม่ ๓.๑ รถถังหลัก

กองทัพบกไทยจัดซื้อรถถังหลักรุ่นใหม่ ที-๘๔ (T-84 Oplot) จ�ำนวน ๔๙ คัน เทียบได้กับรถถังหลักที่ประจ�ำการในกองทัพเวียดนาม เมียนมา และมาเลเซีย อยู่ระหว่างการรับมอบ

๓.๒ เรือฟรีเกต

๓.๒.๑. ปรับปรุงเรือฟรีเกต กองทัพเรือไทยก�ำลังปรับปรุงเรือฟรีเกตจรวดน�ำวิถีในชั้นนเรศวร รวม ๒ ล�ำ ขนาด ๒,๙๕๐ ตัน อาวุธหลักที่ส�ำคัญตามมาตรฐานกองทัพ เรือสหรัฐอเมริกา ความเร็ว ๓๒ นอต ประจ�ำการนาน ๑๕ ปี ติดตั้ง 3.2 Frigate 3.2.1 Ship Upgrades (2011-2015) The Royal Thai Navy is on the process of upgrading 2 Naresuan-class Guided Missile Frigates, 2950 tons displacement which consists of the main weapon system of US Navy standard 30 knots of speed and 15 years in commission and will be equipped with the new weapon system including vertical launch system for ESSM with a range of 50 km. (at the speed of Mach 4), 2 (30 mm) artillery guns and Automated DataLink System to coordinate with Saab 340 AEW of the Royal Thai Air Force.

เรือฟรีเกตล่องหนชั้นฟอร์มิเดเบิ้ล ขนาด ๓,๒๐๐ ตัน ความเร็ว ๒๗ นอต ระยะปฏิบัติการ ๗,๗๐๐ กิโลเมตร ประจ�ำการสิงคโปร์ ๖ ล�ำ (ในภาพเรือ RSS Formidable No.68) Formidable-Class Frigate (RSS Formidable No.68) with 3,200 tons displacement, maximum 27 knots, range 7,700 km, 6 frigates commissioned in Singapore 34

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


รถถังหลัก ที-๘๔ (T-84 Oplot) นำ้ หนัก ๔๖ ตัน เครื่องยนต์ ดีเซล ขนาด ๑,๒๐๐ แรงม้า ความเร็วบนถนน ๖๕ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปืนใหญ่ล�ำกล้องเรียบขนาด ๑๒๕ มิลลิเมตรและพลประจ�ำรถ ๓ นาย (ปืนใหญ่ล�ำกล้องเรียบ ๑๒๕ มิลลิเมตร ตระกูล 2A46 เป็นปืนของรถถัง แบบT-72, PT-91M และ T-84 Oplot) T-84 Oplot Tank weight 46 tons with, 1,200 horsepower, diesel, 65 km/h road speed, 125 mm smooth bore Artillery (125 mm smooth bore Artillery is 2A 46 Artillery class which used in T-72 Tank PT-91m and T-84 Oplot Tank) ระบบอาวุธใหม่ที่ทันสมัย ประกอบด้วย จรวดน�ำวิถีต่อสู้อากาศยาน ทางดิ่ง (ESSM) ระยะยิงไกล ๕๐ กิโลเมตร (ความเร็วกว่า ๔ มัค) ปืน กลขนาด ๓๐ มิลลิเมตร (๒ กระบอก) และติดตั้งระบบเชื่อมต่อข้อมูล อัตโนมัติ (Data Link) ใช้ประสานงานกับเครื่องบินเตือนภัยทางอากาศ (Saab 340 AEW) ของกองทัพอากาศ เป็นระบบที่ส�ำคัญยิ่ง (ด�ำเนินการ รวมทั้งโครงการ ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ๓.๒.๒ เรือฟรีเกตใหม่ กองทัพเรือไทยก�ำลังด�ำเนินการต่อเรือฟรีเกตจรวดน�ำวิถีล�ำใหม่ จากประเทศเกาหลีใต้ จ�ำนวน ๑ ล�ำ (ได้รับอนุมัติตามโครงการ ๒ ล�ำ เรือล�ำแรก ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ และเรือล�ำที่สอง ระหว่างปี

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

3.2.2 New Frigate (2012-2018) The Royal Thai Navy has chosen South Korea to build 1 new frigate (RTN has been approved to build 2 new multirole frigates and the scheme is divided into 2 phases, 1 frigate for each phase: the first frigate will be built between 2012-2016 and the second frigate in 2014-2018) with 3,960 tons displacement. This new frigate will include the ability of 3 dimension attack, comprising similar weapon system of Naresuan-class frigate, with helipad and hangar at the rear.

35


8x8 armoured wheel vehicles BTR-3E1 weight 16.4 tons, 326 horsepower, diesel, 85 km/h road speed, 30 mm gun, requires 3 operators (9 infantries), 217 BTR-3E1 commissioned in Thailand (14 at Marines corps), 368 in Myanmar (BTR-3U Project requires 1,000 units) รถเกราะล้อยางชนิด ๘ x ๘ ล้อ บีทีอาร์-๓อี๑ (BTR-3E1) น้ำหนัก ๑๖.๔ ตัน เครื่องยนต์ดีเซล ขนาด ๓๒๖ แรงม้า ความเร็วบนถนน ๘๕ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปืนหลัก ๓๐ มิลลิเมตร และพลประจ�ำรถ ๓ นาย (ทหารราบ ๙ นาย) ประจ�ำการ ไทย ๒๑๗ คัน (นาวิกโยธิน ๑๔ คัน) และเมียนมา ๓๖๘ คัน (รุ่น BTR-3U ความต้องการตามโครงการ ๑,๐๐๐ คัน) พ.ศ.๒๕๕๗ - ๒๕๖๑) มีระวางขนาด ๓,๙๖๐ ตัน ท�ำการรบได้ทั้งสาม มิติ ระบบอาวุธมาตรฐานเดียวกับเรือฟรีเกตชัน้ นเรศวร ทางด้านท้ายเรือ จะมีลานจอดเครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์ทางนาวี พร้อมทัง้ โรงเก็บเครือ่ งบิน

3.3 Fighter Jet 3.3.1 New Fighter Jet (completed 2013) The Royal Thai Air Force has recently purchased 12 new Gripen JAS-39 Fighters (both one seater and two seater ๓.๓ เครื่องบินขับไล่ training jets). They have also received 2 airborne early warning ๓.๓.๑ เครื่องบินขับไล่ใหม่ กองทั พ อากาศไทยจั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ รุ ่ น ใหม่ ก ริ พ เพน aircrafts (Saab 340 AEW) with 425 km range radar to allow intercepting. The project (Gripen JAS-39) จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง (รุ่นที่นั่งเดี่ยว และรุ่นฝึกสอง enough time for warning and prompt th ที่นั่ง) พร้อมทั้งได้รับมอบเครื่องบินเตือนภัยทางอากาศจ�ำนวน ๒ เครื่อง has completed on September 11 , 2013. (Saab 340 AEW เรดาร์ตรวจการณ์ระยะ ๔๒๕ กิโลเมตร จะช่วยให้

เรือหลวงนเรศวร (หมายเลข ๔๒๑) ก�ำลังปรับปรุงให้ทันสมัย ติดตั้งจรวดน�ำวิถีต่อสู้อากาศยานทางดิ่ง (ESSM) เพื่อป้องกันภัยทางอากาศ ให้กับกองเรือและติดตั้งระบบเชื่อมต่อข้อมูลอัตโนมัติ (Data Link) กับเครื่องบินเตือนภัยทางอากาศแบบ ซ๊าบ ๓๔๐ ของกองทัพอากาศ และ เชื่อมต่อข้อมูลอัตโนมัติกับเรือหลวงจักรีนฤเบศร HTMS Naresuan Frigate Ship (No.421) to be equipped with Evolved Sea Sparrow Missiles (ESSM) and Automated Data Link System connection with Saab 340 Airborne Early Warning Aircraft and HTMS Chakri Naruebet Ship 36

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


เครื่องบินขับไล่แบบกริพเพน (Gripen JAS-39) ขณะท�ำการบินร่วมกับเครื่องบินเตือนภัยทางอากาศแบบ ซ๊าบ ๓๔๐ (Saab 340 AEW) กองบิน ๗ ฐานทัพอากาศสุราษฎร์ธานี Gripen JAS-39 and Saab 340 AEW flying over Suratthani Air Squadron 7 3.3.2 Fighter Upgrades (2011-2017) The Royal Thai Air Force is upgrading its F-16 A/B Block 15 fighter jets after they have been commissioned for a long time. 18 jets of Air Squadron 403 are going through their mid-life upgrades (MLU). The upgrade process has been divided into 3 phases, 6 jets per phase. When completed, the jets will be equipped with U.S. standards medium-range homing air-to-air missiles (AIM 120C), radar APG-68 (V) 9 and an electronic warfare management system (ALQ 213). 4. Conclusion Technology advancement has been a critical part for modernising military equipments. It improves accuracy in attacking the target. Within this regard, military equipments require constant upgrades and maintenance. Hence, ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนท�ำให้ยุทโธปกรณ์ทาง ทหารมีความก้าวหน้ามากที่สุด มีขีดความสามารถท�ำให้มีความแม่นย�ำ countries have to allocate a large amount of budget both ในการท�ำลายเป้าหมาย ยุทโธปกรณ์ทางทหารจึงได้รับการพัฒนาอยู่ for modernizing their equipments as well as their personnel ตลอดเวลา ดังนั้นทุกประเทศที่ต้องการขีดความสามารถทางทหารให้ to maximise the use of the equipment. Reference The World Defence Almanac 2013 อยู่ในระดับสูงสุดจะต้องได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลา ซึ่งจะ ต้องใช้งบประมาณเป็นจ�ำนวนมากและมีบุคลากรที่มีคุณภาพเช่นกัน จึง จะใช้ยุทโธปกรณ์ทางทหารให้มีขีดความสามารถสูงสุด

มีเวลาในการแจ้งเตือนภัยคุกคามที่เกิดขึ้น และส่งเครื่องบินขับไล่ขึ้น สกัดกั้นทันที) จบโครงการเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๓.๓.๒ ปรับปรุงเครื่องบินขับไล่ กองทั พ อากาศไทยปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ เอฟ-๑๖เอ/บี (F-16A/B Block 15) ให้มีความทันสมัยเนื่องจากได้ประจ�ำการมานาน ปรับปรุงครึ่งทางของการใช้งาน (MLU) จ�ำนวน ๑๘ เครื่อง (แบ่งเป็น ๓ เฟส เฟสละ ๖ เครือ่ ง) สังกัดฝูงบินที่ ๔๐๓ ฐานทัพอากาศตาคลี ปรับปรุง เสร็จแล้วจะมีความทันสมัยใช้อาวุธได้ตามมาตรฐานของกองทัพอากาศ สหรัฐอเมริกา (ท�ำการยิงจรวดน�ำวิถี AIM-120C พิสัยกลางก้าวหน้า ติดตั้งเรดาร์ใหม่ APG-68 (V) 9 และระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ALQ-213) ด�ำเนินการตามโครงการทั้งสิ้นระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๖๐

๔. บทสรุป

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

37


ทหารในสังคมไทยปัจจุบัน The Military in Current Thai Society พลตรี เฉลิม คูหาวิชานันท์

นปัจจุบันเราก�ำลังด�ำรงอยู่ในโลกที่ไม่หยุดนิ่งและเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว เป็นโลกที่เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร การจะ อยูร่ อดในสังคมอย่างมีคณ ุ ค่าสามารถใช้เวลาของชีวติ ทีน่ อ้ ยนัก สร้างสรรค์สิ่งที่ดีมีประโยชน์ต่อแผ่นดินบ้านเกิดเมืองนอนไม่ใช่เรื่องง่าย จ�ำเป็นที่เราจะต้องมีสติและมีปัญญาเพื่อที่จะได้รับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ด้วยความเข้าใจ ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกกระท�ำหรือไม่กระท�ำสิ่งใดตาม บทบาทตามหน้าที่ของตนทั้งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว ของสังคม ของประเทศ และในฐานะส่วนหนึ่งของมนุษยชาติในโลก การอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นทุกคนต่างมีหน้าที่ คือมีกิจที่จะต้องท�ำ มีกิจที่ควรท�ำ ไม่มีผู้ใดเลยที่ไม่มีหน้าที่ ทุกคนจึงพึงรู้จักหน้าที่ของตน และท�ำหน้าที่ของตนให้เต็มก�ำลังสติปัญญาความสามารถ “ความรู้สึก 38

I

t is undeniable that we are living in the fast pace and ever-changing world, loaded with information. To virtually survive with the limited time on earth and to leave some good things behind for the sake of the country is not an easy task. We do need to equip ourselves with conscience and wisdom so we can be aware of and make a full understanding before making any decision to do or not to do any of our duties as a part of the family, the society, the country and the citizen of the world. Living together in society provides everyone with mission. No one was born without any duties or tasks, therefore,


และความซื่อตรงต่อหน้าที่นี้เป็นคุณวุฒิอันส�ำคัญของคนทั้งปวง ไม่ว่า ผู้ที่มีบรรดาศักดิ์สูงต�่ำเพียงใดหรือว่าจะเป็นคนรับราชการฝ่ายทหาร ฝ่ายพลเรือน หรือประกอบการอย่างใด ๆ ถ้าคนทั้งหลายมีความรู้สึก และซื่อตรงต่อหน้าที่ของตน ๆ แล้ว ก็อาจให้เกิดความพร้อมเพรียงเป็น ก�ำลังช่วยกันประกอบกิจการทั้งปวงให้ส�ำเร็จลุล่วงไป ได้ประโยชน์แก่ ตนเองและเกิดประโยชน์แก่บ้านเมืองของตนได้ดังประสงค์” (พระบรม ราโชวาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทหารก็เหมือนคนอื่น ๆ ในสังคมซึ่งมีหน้าที่ต้องกระท�ำ ทหารถือได้ ว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสังคมไทยที่อยู่คู่กับคนไทยมานับตั้งแต่มี การบันทึกประวัติศาสตร์ของชาติ จนกลายเป็นสถาบันหนึ่งของสังคม ที่ได้รับความศรัทธา ความเชื่อถือและความเลื่อมใสจากคนไทยทุกยุค ทุกสมัย ในฐานะที่เป็นความหวังและเป็นที่พึ่งของพวกเขาในยามที่เกิด ศึกสงครามหรือได้รับความเดือดร้อนทั้งจากภัยพิบัติและการถูกกดขี่ ข่มเหงรังแกด้วยความอยุติธรรม ซึ่งทหารทุกคนได้รับรู้และภูมิใจที่ได้ กระท�ำเพื่อบ้านเมืองและประชาชนตลอดมา เพราะทหารทุกคนส�ำนึก อยู่เสมอว่าการที่เกิดมาเป็นทหารของชาตินั้นก็เพื่อท�ำหน้าที่ที่ส�ำคัญ ที่สุดนั่นคือการปกป้องอิสรภาพของบ้านเกิดเมืองนอนไว้ให้ลูกหลาน ตลอดไป สถานการณ์ของบ้านเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้คนไทยทุกคนคงมี ความรู้สึกไม่ต่างกันคือห่วงใย และไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์ที่ใช้ความ รุนแรงขึน้ ในสังคมไทยเลย หลายท่านทีเ่ คยผ่านเหตุการณ์ความขัดแย้ง ในสังคมไทยมาหลายครั้งในรอบกึ่งศตวรรษที่ผ่านมา ได้ตั้งความหวัง ไว้กับทหารในการช่วยยุติความขัดแย้งในครั้งนี้ บางท่านอาจถึงกับตั้ง ค�ำถามว่า “เมื่อไหร่ ทหารจะเป็นทหารสักที ?” ซึ่งหมายถึงสิ่งที่พวก ท่านเคยเห็นมาก่อนในอดีตที่ทหารได้เป็นกลไกหนึ่งของสังคมที่เข้ามา มีส่วนยุติความขัดแย้งไม่ให้บานปลายออกไปส�ำเร็จมาแล้วหลายครั้ง การท�ำหน้าที่ดังกล่าวของทหารในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ปัจจุบัน ภายใต้สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและมีความซับซ้อนมากขึ้นนั้นเป็นเรื่องที่มีความยากมากกว่า ในอดีตที่ผ่านมา

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

everyone should be aware of our duty and put the best effort in completing it. “Contribution and integrity to the duty is an essential qualification of all people, no matter how high or low the status is, including the military, civil servant or other professions. Contribution and integrity in each own duty will create unity and strength in accomplishing any tasks for the benefit of oneself and for the benefit of the country as desired.” (The Royal Speech by King Chulalongkorn) The military is similar to other members of the society with the duty to perform. The military is considered to be a part of Thai Society ever since the history has been recorded. The military has become a faithful, reliable and honoured institution and receives high praise from Thai people in every generation, as a hope and dependable hand of the people during wartime, or the assistance provider during the time of crisis and unjust suppression. Every military personnel is proud to perform the task for the country and for the people all along, bearing in mind that the most important duty is to protect the independence of the country for the next generation.

39


การท�ำหน้าทีข่ องทหาร นอกจากจะต้องเข้าใจสถานการณ์ทกี่ �ำลังเป็น อยูใ่ นสังคมไทยปัจจุบนั แล้วยังต้องค�ำนึงถึงบริบทใหม่ของสังคมไทยทีไ่ ด้ รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงในโลก ซึ่งท�ำให้สภาพสังคมไทยได้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสร้างอย่างชัดเจนมากขึ้น จากสังคม ที่มีโครงสร้างแนวดิ่ง แบบอ�ำนาจนิยม เริ่มปรับให้มีความแตกต่างและ เหลื่อมล�้ำน้อยลง เกิดชนชั้นกลางยุคหลังสมัยใหม่เข้ามามีบทบาทใน สังคมจากสังคมชนบทกลายเป็นสังคมกึ่งเมืองกึ่งชนบท ครอบครัวที่มี วิถีชีวิตแบบเดียวกันกลายเป็นครอบครัวที่สมาชิกในครอบครัวมีวิถีชีวิต ทีห่ ลากหลาย แนวโน้มสังคมไทยจะมีผสู้ งู อายุมากขึน้ ในขณะทีว่ ยั ท�ำงาน จะสนใจเรื่องการแต่งงานมีครอบครัวและมีลูกน้อยลงซึ่งน่าจะส่งผล กระทบต่อประชากรไทยในอนาคต คนหนุ ่ ม สาวและเยาวชนรุ ่ น ใหม่ มี ค วามเป็ น ตั ว ของตั ว เองสู ง ขึ้ น ไม่ชอบการเป็นลูกน้องใคร นิยมการท�ำธุรกิจส่วนตัว ชอบความเรียบง่าย ไม่ชอบพิธีรีตอง มีความกล้าได้กล้าเสีย ชอบอยู่ในโลกของตัวเอง โดย Looking at the present situation in Thailand, all Thais must เฉพาะในโลกเสมือนจริงผ่านสือ่ สังคมออนไลน์ ซึง่ การเกิดโลกเสมือนจริง have shared the same feeling of concern and worrisome and unwelcome violence in society. For those who had experienced disputes in Thai society in the past decades must have high hope in the military to end this rift. Some might have asked the question “when the military will perform their duty?”, which may reflect military act in the past that the military had become one of social factors that successfully helps ending the escalation of the dispute. However, current situation in Thai society, under the ongoing and swift changes plus more complex of security environment, has created more difficult duty for the military. To perform the duty, the military must be aware of the present situation of Thai society as well as the new context 40

พลตรี เฉลิม คูหาวิชานันท์


ผ่านสือ่ สังคมออนไลน์หรือทีเ่ ราเรียกว่า Social Media จะมีบทบาทสูงขึน้ ในสังคมและเป็นความท้าทายที่สังคมไทยจะต้องให้ความสนใจเรียนรู้ และท�ำความเข้าใจถึงการด�ำรงอยู่ของสังคมแบบสองโลกที่มีทั้งโลกจริง และโลกเสมือนจริงมากขึ้น เพื่อน�ำข้อดีมาใช้ประโยชน์และป้องกันแก้ไข ข้อเสียที่จะเกิดขึ้นในสังคมไทย ในบริบทด้านความมั่นคงนั้น การที่โลกเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจ เข้ า เป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น มี ผ ลให้ ก ารท�ำ สงครามขนาดใหญ่ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก ประเทศไม่ต้องการให้เกิดขึ้นเพราะจะเกิดผลกระทบต่อผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ประเทศต่าง ๆ ให้ความส�ำคัญต่อความมั่นคง ทางเศรษฐกิจยิ่งกว่าความมั่นคงด้านอื่น ๆ รวมทั้งความมั่นคงด้านการ ทหาร ซึง่ แนวคิดนีเ้ ป็นความท้าทายส�ำหรับทหารทีจ่ ะต้องท�ำความเข้าใจ และหาวิธกี ารก�ำหนดนโยบายและวางแผนทางทหารเพือ่ ปฏิบตั งิ านตาม หน้าที่ได้อย่างสอดคล้องกับบริบทใหม่ ด้านความมั่นคงและต้องตระหนักว่าการได้รับการสนับสนุนจาก คนในสังคมทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ มีอิทธิพลต่อความส�ำเร็จของภารกิจทางทหาร ในปัจจุบัน การท�ำหน้าที่ของทหารในสังคมไทยปัจจุบันท�ำได้ยากกว่าในอดีตที่ ผ่านมา ทหารจ�ำเป็นต้องปรับปรุงและประยุกต์ใช้กรอบวิธีการคิดแบบ ดัง้ เดิมให้เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมภายใต้บริบทใหม่ดา้ นความมัน่ คง และสอดคล้องกับบริบทของสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไป ตามกรอบความคิดแบบดั้งเดิมการประเมินและวิเคราะห์ภัยคุกคาม ทางทหารแบบดั้งเดิมเกิดจากแนวคิดของกลุ่มสัจนิยมที่มองว่าในเวที การเมืองระหว่างประเทศหรือเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งเป็น พื้นที่ของความร่วมมือหรือพื้นที่ของความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลกนั้น รัฐจะเป็นตัวแสดงหลักเพียงผู้เดียวที่จะก�ำหนดผลประโยชน์ ของประเทศหรือรัฐของตน และรัฐโดยคณะบุคคลที่เรียกว่ารัฐบาลจะ เป็นผู้ด�ำเนินการให้ได้มาและรักษาผลประโยชน์ที่เรียกว่าผลประโยชน์ แห่งชาติของตน รัฐบาลจะเป็นผู้ก�ำหนดนโยบายที่จะบรรลุถึงเป้าหมาย หรือผลประโยชน์ที่ต้องการ ในรูปของนโยบายด้านกิจการต่างประเทศ นโยบายด้านกิจการภายในประเทศและนโยบายการป้องกันประเทศ และเมื่อต้องเผชิญกับการต้านทานมิให้บรรลุถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้รัฐนั้น จะก�ำหนดให้เป็นภัยคุกคามต่อผลประโยชน์และความมัน่ คงของประเทศ และถือเป็นอุปสรรคที่จะต้องขจัดให้หมดไปซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ก�ำลัง อ�ำนาจทางทหารและศักยภาพทางเศรษฐกิจเข้าด�ำเนินการ ปั จ จุ บั น โลกมี ลั ก ษณะเป็ น โลกพหุ แ กนกลางที่ ก ารเมื อ งระหว่ า ง ประเทศกลายเป็นการเมืองซึง่ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการเมืองแบบ ๒ กิง่ ก้าน คือขณะที่รัฐยังด�ำรงอยู่และมีอ�ำนาจอธิปไตยในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติ แ ละป้ อ งกั น ประเทศดู แ ลให้ อ ยู ่ ร อดปลอดภั ย ไม่ ถู ก รุ ก ราน ยึดครองดินแดนและประชาชนอยู่ดีกินดีแต่ในเวลาเดียวกันได้เกิดตัว แสดงใหม่ที่ไม่ใช่รัฐไม่มีอ�ำนาจอธิปไตยเหมือนรัฐขึ้นในบริบทการเมือง หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

of Thai society which has been effected by global changes. The structure of Thai society has been changed more clearly, from the vertical structure of Authoritarianism to the less difference and overlap. The emergence of the post modern middle-class and their role in society has changed the rural society to semi urban semi rural society. The family with unified concept of living becomes the family with various concepts of life. There is a tendency that Thai society will consist of more senior citizen while the working age citizen will care less about reproduction which will eventually effect upon the number of future generation. The modern youngsters and the new generation have more self-confidence, more independence, dislike working as employee but prefer to own their business and live an easy going lifestyle while some are quite risky and bury themselves in their own world especially through social media. The increasing role of social media becomes more challenging to the Thai society, hence, the society should pay more attention to the existence of the two worlds; the real and the unreal world, so as to take advantage of the benefit and to avoid the undesirable effect to the society. As for the security context, the networking of global unified economy has prevented the huge warfare against each other as it will inevitably effect international economy. Most countries focus on economic security than any other security aspects including military security. This concept is a challenge for the military to take into consideration and to explore policies and plans of action to accommodate the new context of security. The military realises that support from within and outside the country are major factor in accomplishing current military mission. Still, carry out military mission nowadays is more difficult than in the past. The military needs to adjust and adapt the convention concept to be compatible with the environment of the new security context and to the changing context of Thai society. As for the conventional concept, the evaluation and analysis of traditional military threat of the Realism, the international political venue or international relations venue are the floor for cooperation and dispute among countries, the State is the single actor who will define national interest or state interest, and the State by the group of people, so called the Government will be the key player in acquiring and safeguarding national interest. The Government will set up policy on internal and external relations and policy on protecting the nation. Whenever there is a resistance against the State’s policy, the State will determine such resistance as a threat against national interest and national security and consider it as an obstacle that needs to be eradicated by military force and economic strength. The world at present is considered to be the Multicore World, in which international politics is on the bipolar system: while the State still exists and holds the 41


ระหว่างประเทศในลักษณะบรรษัทข้ามชาติเหนือรัฐ ชนกลุ่มน้อย กลุ่ม เคลื่อนไหวทางสังคมข้ามชาติ พรรคการเมือง องค์กรระหว่างประเทศ และแม้แต่กลุ่มหรือขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมภายในรัฐ/ประเทศ เอง ซึ่งไม่ได้ยึดถือกฎเกณฑ์ในลักษณะเดียวกับรัฐแต่มีทรัพยากรและ ช่องทางที่เพียงพอในการริเริ่มกิจกรรมระดับโลกด้วยตัวของกลุ่มเอง โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของกลุ่มเป็นส� ำคัญ ซึ่งสามารถก่อให้เกิด ผลกระทบต่อทิศทางการด�ำเนินกิจการระหว่างประเทศในโลก แม้ว่า รัฐยังคงมีความส�ำคัญในการสร้างและก�ำหนดความสัมพันธ์ในการเมือง ระหว่างประเทศ แต่การเมืองระหว่างประเทศไม่ได้จ�ำกัดอยู่เฉพาะกับ สิ่งที่รัฐกระท�ำเหมือนเดิมเท่านั้นแต่ขึ้นอยู่กับการกระท�ำที่เกิดจากกลุ่ม ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐดังกล่าวด้วย ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและการคมนาคม การเกิดขึ้นของโซเชียลมีเดียเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยให้ตัวแสดงที่ไม่ใช่ รัฐสามารถระดมทรัพยากรทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองใน ระดับโลกได้โดยง่าย และการทีไ่ ม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งการป้องกันดินแดนและ กฎเกณฑ์ที่รัฐต้องยึดถือ การจะควบคุมกลุ่มดังกล่าวให้อยู่ในกรอบ กฎเกณฑ์และระเบียบวินัยโดยรัฐจึงไม่ใช่เรื่องง่าย พวกเขามีอิสระ อย่างยิ่งที่จะกระท�ำให้ได้ตามเป้าหมายของกลุ่มตน บริบทของการเมืองโลกที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นและมีความเป็นพลวัตจะ ท�ำให้เกิดความยุง่ เหยิงในสังคมมากขึน้ ตามเป้าหมายและการกระท�ำของ กลุ่มต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ตามผลประโยชน์ ของแต่ละกลุ่ม การจัดระเบียบโลกแบบพหุแกนกลางบนพื้นฐานการเมืองระหว่าง ประเทศแบบ ๒ กิ่งก้านที่ไม่มีภัยคุกคามทางทหารแบบดั้งเดิมที่ชัดเจน ต่อรัฐ/ประเทศและการด�ำเนินกิจการระหว่างประเทศมิได้ยึดอยู่กับ ผลประโยชน์ของชาติเพียงอย่างเดียวแต่มีผลประโยชน์ของกลุ่มที่ไม่ใช่ รัฐเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยท�ำให้การวางแผนทางทหารเป็นไปอย่างยุ่งยาก และซับซ้อนขึ้นเพราะต้องท�ำความเข้าใจให้ชัดเจนว่าความท้าทายหรือ ภัยคุกคามใดที่ต้องใช้ก�ำลังทหารและจะใช้ในรูปแบบใดเนื่องจากการ ระบุภัยคุกคามและการวางแผนทางทหารจะเป็นที่สนใจของกลุ่มต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมประชาธิปไตยการนิยามภารกิจทางทหารที่ จะต้องปฏิบัติจะเป็นประเด็นหัวข้อที่มีการถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง ในโลกแบบพหุแกนกลาง ที่โครงสร้างและตัวแสดงในเวทีระหว่าง ประเทศเปลี่ ย นแปลงไป ส่ ง ผลให้ ก ารใช้ พ ลั ง อ� ำ นาจทางทหาร เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายทางการเมืองในเวทีระหว่างประเทศลดความชอบ ธรรมลง แม้วา่ พลังอ�ำนาจทางทหารยังคงมีความส�ำคัญแต่ไม่มากเท่ากับ ในอดีต แนวโน้มรูปแบบการใช้ก� ำลังทหารในลักษณะก� ำลังรบผสม

42

sovereignty in securing national interest from the intrusion and maintaining the wellbeing of the citizen, the non-state actor with no sovereignty as the State is emerging in the context of international politics in the form of transnational corporate, minority, transnational social activist, political party, international organisation or even the internal political activist. The non-state actor does not uphold the same principle as the State but possesses enough resource and channel in initiating international activity by its own group for its own benefit which effects upon the direction of international affairs. Though the State still maintains authority in creating and defining international relations, international politics is not limited only to the State’s activity but depended on the activities of the non-state actor as well. With the advancement on technology and telecommunication, the widespread use of social media is the main factor in helping the non-state actor to be able to easily recruit the resources on international economy, society and politics without the need to worry about protecting the country and upholding any principles. To control such group to adhere to the State’s principle and discipline is not an easy task due to the freedom in accomplishing their mission. The complexity and dynamic of global political context has caused the increasing of political chaos through the activities and target of each group which are swiftly conducted and changed according to the interest of each group. The Multi-core World Order, on the basis of the bi-polar international politics without the clear traditional military threat upon the State/the nation, and the international affairs which do not focus only on the national interest but also the interest of the non-state actor, create the military planning to be more subtle and complicated. The military must fully understand of which challenges or threats require the use of force and type of operation since the identification of threat and military planning will attract the attention of other groups especially the democracy society where military operation is widely discussed.

พลตรี เฉลิม คูหาวิชานันท์


เพื่อการรบจะเปลี่ยนเป็นรูปแบบการใช้ก�ำลังป้องกันร่วมแบบพันธมิตร เข้าท�ำหน้าที่รักษาสันติภาพในระดับประเทศและถูกใช้ท�ำหน้าที่รักษา ความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ เพื่อสนับสนุนการใช้มาตรการยุติ ความขัดแย้งโดยไม่ใช้ก�ำลังความรุนแรงมากขึ้นท�ำให้ทหารจ�ำเป็นต้อง เตรียมความพร้อมและปรับตัวเองให้สามารถรับบทบาทหน้าที่ดังกล่าว การท�ำหน้าที่ของทหารในสังคมที่มีความซับซ้อนมีพหุแกนกลาง อ�ำนาจหลายกลุ่มเข้ามามีส่วนเป็นตัวแสดงหลักในการบริหารกิจการ ของประเทศภายใต้บริบทของสังคมแบบสองโลก ซึ่งการด�ำเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ทั้งในโลกจริงและโลกเสมือนจริงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ล้วน ส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมทหารจ� ำเป็นต้องมีกรอบวิธีคิดใหม่ที่ สามารถเชื่อมโยงปัจจัยต่าง ๆ เข้ามาพิจารณาร่วมกันให้เห็นความ เกี่ยวพันของเหตุและผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อวางแผนการปฏิบัติ งานทางทหารให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทัง้ สองโลก

ทหารในสังคมไทยปัจจุบันจะต้องเรียนรู้ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และประเมินผลกระทบที่เกิดจากบริบทของสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลง ไปและบริ บ ทใหม่ ด ้ า นความมั่ น คงที่ มี ก ารจั ด ระเบี ย บโลกแบบพหุ แกนกลางบนพืน้ ฐานการเมืองระหว่างประเทศแบบ ๒ กิง่ ก้าน เพือ่ ให้เกิด ความเข้าใจในการก�ำหนดภัยคุกคามต่อประเทศ เพื่อการก�ำหนดจุดยืน และบทบาทของสถาบันทหารในสังคมและเพื่อจัดเตรียมก�ำลังทหาร ให้เหมาะสมที่จะใช้ในการรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม รวมทั้ง การรั ก ษาสั น ติ ภ าพระหว่ า งประเทศและพร้ อ มที่ จ ะใช้ เ พื่ อ ปกป้ อ ง อิสรภาพของบ้านเกิดเมืองนอนไว้ให้ลูกหลานตลอดไป หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

The structure and the actor of the international venue of the Multi-core World has been changed, causing the military power to accomplish the political objective of the international venue to become less legitimate. The military power is still essential, but less than in the past. The tendency of the use of combined force will be altered to the joint allied force to participate in national peace keeping and maintaining peace and order within the country. In order to put an end to the dispute without resorting to harsh measure, the military needs to be well prepared and adjusted themselves to accommodate this role effectively. Military duty within the subtle society of the multi-core power as the main actors in administering the country under the bi-polar social context, plus the activities of the real and unreal world through social media, affects the society as a whole. The military needs to adjust the conceptual framework, capable to networking various factors, to consider the correlation of the cause and effect of what had happened in order to effectively lay out military plan which is compatible with situation of the two worlds. The military in current Thai society needs to be aware of the existing changes and should evaluate the effect of the changing context of Thai society and the new security context of the Multi-core World on the basis of bi-polar international politics. As such, they will be able to effectively identify the national threat as well as the stance and role of the military institute, be able to prepare appropriate military force to maintain peace and order of the society, to secure international peace and be ready to safeguard the independence of the nation for the next generation.

43


ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน

ASEAN Political-Security Community : APSC พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์

44


หลือเวลาอีก ๑ ปีเศษเท่านั้น ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคม อาเซียน (ASEAN Community : AC) อย่างเต็มตัว ในวันที่ ๓๑ ธ.ค.๒๕๕๘ อย่างไรก็ดีคนบางกลุ่มในสังคมไทยได้รับข้อมูล ของประชาคมอาเซียนในเรื่องของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) เพียงอย่างเดียว จนเข้าใจผิดไปว่า ประชาคมอาเซียน (AC) คือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เป็นเรือ่ ง เดียวกัน ทั้ง ๆ ที่ประชาคมอาเซียน (AC) ยังมีเสาหลักอีก ๒ เสาหลัก คือ เสาหลักด้านประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) และเสาหลักด้านประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ปัจจุบันหน่วยงานของรัฐเกือบทุกองค์กรได้เตรียมความพร้อม ต่อการที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านอีก ๙ ประเทศจะรวมตัว กันเป็นประชาคมอาเซียนกันอย่างเต็มที่ เช่น การให้ความส�ำคัญกับ การใช้ภาษาอังกฤษแก่บุคลากรในองค์กร การให้ความรู้ความเข้าใจว่า ประชาคมอาเซียนคืออะไร จะมีผลดี – ผลเสียต่อประเทศไทยและต่อ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างไร และกระทรวงกลาโหมจะอยู่ตรงไหน และมี ส่วนร่วมใดต่อประชาคมอาเซียน ซึ่งจะขอกล่าวในโอกาสต่อไป ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีพัฒนาการจากความ ร่วมมืออันใกล้ชิดและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมานานกว่า ๔๐ ปี นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) โดยในที่ประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๐ เห็นพ้องให้กลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้มองไปสู่โลกภายนอก อยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีเสถียรภาพและมี หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

O

nly just over a year left before Thailand will be fully integrated with the ASEAN Community (AC) on 31st December 2015. Certain group of people in Thai society have received only the knowledge on the ASEAN Economic Community (AEC) and misunderstood that AC and AEC are the same terminology. In fact, apart from AEC, AC comprises other 2 pillars: the ASEAN Political-Security Community (APSC), and the ASEAN Socio - Culture Community (ASCC). Presently, almost all government agencies have prepared themselves for the integration of Thailand and other 9 neighbouring countries to become AC including the emphasis on the importance of English proficiency for the personnel in the organization, provision of knowledge on AC, evaluating of how AC will have positive and negative impact to Thailand and neighbouring countries, and role of Ministry of Defence and its participation toward AC. The ASEAN Political-Security is developed from the closed ties of South East nations who have been collectively working under the Association South East Asian Nations (ASEAN) for over 40 years. During the ASEAN Summit in Kuala Lumpur in 1997, the countries in South East Asia have agreed to live in harmony, with stability and prosperity. They envisioned a strong united collective of nations that would together live 45


ความมั่งคั่ง ผูกพันกันด้วยความเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาอันเป็นพลวัต และในประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร เพื่อให้วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. ๒๕๖๓ มีผลอย่างเป็นรูปธรรม ผู้น�ำอาเซียนได้รับรองปฏิญญาอาเซียน คอนคอร์ด สอง (บาหลี คอนคอร์ด สอง) เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๖ เพื่อจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ.๒๕๖๓ โดยประชาคมอาเซียน (AC) ที่ จัดตั้งขึ้นประกอบด้วย ๓ เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ผู้น�ำอาเซียนตระหนักว่าการส่งเสริมการรวมตัว ของอาเซียนให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้นโดยการเร่งจัดตั้งประชาคมอาเซียนจะ ช่วยส่งเสริมความเป็นศูนย์กลางของอาเซียน ดังนั้นที่ประชุมสุดยอด ผู้น�ำอาเซียน ครั้งที่ ๑๒ ที่ประเทศฟิลิปปินส์จึงได้ตัดสินใจที่จะด�ำเนิน การเร่ ง รั ด การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย นภายในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ในที่ ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๑๓ ที่ประเทศสิงคโปร์ ผู้น�ำอาเซียนได้ ลงนามกฎบัตรอาเซียนซึ่งแสดงเจตนารมณ์ในการเร่งสร้างประชาคม โดยการเสริมสร้างความร่วมมือและการรวมตัวในภูมิภาค ในการนี้ ผู ้ น� ำได้ ม อบหมายให้ รัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่จัดท�ำร่างแผนงานการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) เพื่อให้ที่ ประชุมสุดยอดฯ ครั้งที่ ๑๔ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพพิจารณาให้การ รั บ รองแผนงานจั ด ตั้ ง ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น (APSC) ยึดหลักการในกฎบัตรอาเซียนซึ่งพัฒนาจากเอกสารแผนปฏิบัติ การส�ำหรับการจัดตั้งประชาคมความมั่นคงอาเซียน แผนปฏิบัติการ เวียงจันทน์ (VAP) และข้อตัดสินใจต่าง ๆ จากองค์กรเฉพาะด้านของ อาเซี ย น เอกสารแผนปฏิ บั ติ ก ารส� ำ หรั บ การจั ด ตั้ ง ประชาคมความ มั่นคงอาเซียนเป็นเอกสารหลักที่ระบุกิจกรรมที่จ�ำเป็นในการบรรลุ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่ VAP เป็นเอกสารที่วางมาตรการที่จ�ำเป็นระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๓ เอกสารทั้ง ๒ ฉบับเป็นเอกสารอ้างอิงที่ส�ำคัญใน การสานต่อความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง ดังนั้นแผนงาน 46

in peace. And to concretely follow the ASEAN 2020 Vision, ASEAN leaders signed the Declaration of ASEAN Concord 2 (Bali Concord 2) in 2003 and agreed to form the ASEAN Community within the year 2020. The ASEAN Community consists of 3 pillars which are ASEAN Economic Community (AEC), ASEAN Political-Security Community (APSC), and the ASEAN Socio-Culture Community (ASCC). In 2005, during the 12th ASEAN Summit in the Philippines, countries aware that strengthening the integration of AC would help promoting the centralization of ASEAN, and therefore, agreed to advance the target date for realization of AC from 2020 to 2015. Then, during the 13th ASEAN summit in Singapore, leaders have signed ASEAN Charter which represented common vision and commitment to the development of an ASEAN Community and have designated Ministers and concerned officials to drafted plans for the establishment of the ASEAN Political-Security Community (APSC), which was based on the ASEAN Charter that was developed from Vientiane Action Programme 2004-2010 (VAP) and other resolutions from specific organization of ASEAN. Action Program for the establishment of ASEAN Community is the main document that determines necessary activities to accomplish the objective of APSC. On the other hand, VAP is the document that determines the necessary standard required for the year 2004-2010. Both documents are considered as important reference for the cooperation both in politic and security. Therefore, the APSC draft plan is regarded as plan and time frame determined for the establishment of APSC with in the พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์


APSC จึงเป็นเอกสารที่จะเป็นแผนงานและกรอบเวลาส�ำหรับการจัด ตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนภายในปี พ.ศ.๒๕๕๘ นอกจากนี้ แผนงาน APSC ยังมีความยืดหยุ่นที่จะสานต่อกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะด�ำเนินการหลังปี พ.ศ.๒๕๕๘ ด้วย เพื่อให้คงไว้ซึ่งความส�ำคัญและ ความยั่งยืน คุณลักษณะและองค์ประกอบของประชาคมการเมืองและความมัน่ คง อาเซียน เอพีเอสซี (APSC) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) จะท�ำให้ความ ร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียนมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น ซึ่งประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ คือ ๑. ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐาน ร่วมกัน มี ๒ องค์ประกอบดังนี้ ๑.๑  ความร่วมมือด้านการพัฒนาการทางการเมือง ตั้งแต่ที่ได้ รับรองแผนปฏิบัติการของประชาคมด้านความมั่นคงอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ อาเซียนมีความก้าวหน้าในการด�ำเนินมาตรการด้านการพัฒนา ทางการเมือง โดยมีส่วนร่วมขององค์การต่าง ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ สถาบัน การศึกษา สถาบันวิจัยและองค์กรภาคประชาสังคม ในการประชุมและ กิจกรรมของอาเซียน การปรึกษาหารือและการปฏิสัมพันธ์ที่เพิ่มขึ้น ดังกล่าว ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี และส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีส�ำหรับ ภูมิภาค มีความพยายามที่จะปูทางส�ำหรับกรอบองค์กร เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกต่อการไหลเวียนข้อมูลอย่างเสรี โดยเป็นไปตามกฎหมาย และกฎระเบียบของแต่ละประเทศ ป้องกันและต่อต้านการทุจริต ความ ร่วมมือด้านนิติธรรม ระบบยุติธรรมและโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมาย และธรรมาภิบาล นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพพื้นฐาน กฎบัตรอาเซียนระบุให้มีการจัดตั้งองค์กรด้านสิทธิ มนุษยชนของอาเซียน ๑.๒  การสร้างและแบ่งปันกฎเกณฑ์ร่วม อาเซียนส่งเสริมให้มี บรรทัดฐานระดับภูมิภาคเรื่องแนวปฏิบัติที่ดีเลิศและความเป็นปึกแผ่น โดยสอดคล้องกับหลักการส�ำคัญตามที่บัญญัติไว้ในกฎบัตรอาเซียน ใน บริบทนี้ อาเซียนยังคงยึดมั่นในสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และข้อตกลงส�ำคัญอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงปฏิญญา ว่าด้วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้ ๒. ประชาคมที่ท�ำให้ภูมิภาคมีความเป็นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร่ง พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหา ความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ มี ๖ องค์ประกอบดังนี้ ๒.๑  ป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง และมาตรการการสร้ า งความ ไว้ เ นื้ อ เชื่ อ ใจ และการทู ต เชิ ง ป้ อ งกั น เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ในการ ป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ช่ ว ยลดความตึ ง เครี ย ดและป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ข้ อ พิ พ าทระหว่ า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น และระหว่ า งประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นกั บ ประเทศที่ ไ ม่ ใ ช่ ส มาชิ ก อาเซี ย น ตลอดจนช่ ว ย ป้ อ งกั น การขยายความรุ น แรงของความขั ด แย้ ง ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ในส่ ว น ของการหารื อ ด้ า นการป้ อ งกั น หรื อ การเมื อ งในภู มิ ภ าค เจ้ า หน้ า ที่ กลาโหมอาเซี ย นได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการเจรจาด้ า นความมั่ น คงของ อาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๙ ภายใต้กรอบความร่วมมือของเวทีการ ประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ARF) อาเซียนได้ท�ำการรายงานโดยสมัครใจ ในเรือ่ งพัฒนาการด้านการเมืองและความมัน่ คงในภูมภิ าคและจัดประชุม เจ้าหน้าที่กลาโหมระดับสูงโดยสม�่ำเสมอภายใต้การหารือของเจ้าหน้าที่ กลาโหมเออาร์เอฟ (ARF DOD) และการประชุมนโยบายความมั่นคง ARF (ASPC) อาเซียนยังได้จัดตั้งการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ประจ�ำปี (ADMM) และการประชุมเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสอาเซียนด้านกลาโหม (ADSOM) หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

year 2015. Moreover, the APSC draft plan allows flexibility for further development of APSC after the year 2015. Attributes of ASEAN Political-Security Community APSC plans to enhance political-security collaborations within ASEAN countries which have 3 attributes as follows: 1.  A community that shares rules, values, and norms: consists of 2 elements as follows 1.1 Political Collaborations: Since the APSC agreement in 2003, ASEAN has taken measures in political development with collaborations from various organizations such as educational institutions, researchers, and non-government organization. The increased collaborations and dialogues have benefited the region which is trying to promote and strengthen freedom of information according to rules and regulations of each country, anticorruption system, judicial system, and corporate governance. In addition, ASEAN also plans to setup ASEAN Office of Human Rights in accordance with the ASEAN Charter. 1.2 Forging Common Regulations: ASEAN is promoting to have regional standard of operation according to the ASEAN Charter. In this context, ASEAN still adheres to the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC), Southeast Asian Nuclear-Weapon-Free Zone Treaty (SEANWFZ), and other treaties including Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea (DOC).

47


๒.๒ การแก้ไขความขัดแย้งและการระงับข้อพิพาทโดยสันติ โดยเชื่อมั่นว่าการระงับความแตกต่าง หรือข้อพิพาทควรก�ำกับโดย กระบวนการที่มีเหตุผล มีประสิทธิภาพ และยืดหยุ่นเพียงพอ เพื่อ หลีกเลี่ยงแนวคิดในทางลบซึ่งอาจเป็นอันตรายหรือเป็นอุปสรรคต่อ ความร่วมมืออาเซียน จึงสนับสนุน TAC ซึ่งพยายามรักษาสันติภาพ และอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขในภูมิภาคและบัญญัติให้ประเทศสมาชิก ระงับการข่มขู่ว่าจะใช้หรือการใช้ก�ำลัง TAC ให้บทบัญญัติส�ำหรับ การระงับข้อพิพาทโดยสันติ ตลอดเวลา โดยผ่านการเจรจาฉันท์มิตร และหลีกเลี่ยงการข่มขู่ว่าจะใช้หรือการใช้ก� ำลังเพื่อแก้ไขข้อพิพาท ยุทธศาสตร์ส�ำหรับการแก้ไขความขัดแย้งจะเป็นส่วนหนึ่งของแนวทาง ที่ครอบคลุมในทุกมิติ วัตถุประสงค์ส�ำหรับยุทธศาสตร์เหล่านี้เป็นไป เพื่อป้องกันข้อพิพาทและความขัดแย้งไม่ให้เกิดขึ้นระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน ซึ่งมีศักยภาพที่จะสร้างภัยคุกคามต่อสันติภาพและ เสถี ย รภาพในภู มิ ภ าคอาเซี ย น สหประชาชาติ แ ละองค์ ก ารอื่ น ได้ จั ด กิ จ กรรมความร่ ว มมื อ จ� ำ นวนมากร่ ว มกั น ภายใต้ ค วามพยายาม ในการส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพ มีความจ�ำเป็นที่จะมีความ พยายามที่มากขึ้นในการเสริมสร้างวิธีการระงับข้อพิพาทโดยสันติที่มี อยู่ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือระงับข้อพิพาทในอนาคต และการด�ำเนินการ ในการจั ด การความขั ด แย้ ง และการศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งการแก้ ไ ขความ ขัดแย้ง อาเซียนอาจจัดตัง้ กลไกการระงับข้อพิพาททีเ่ หมาะสมได้เช่นกัน ภายใต้กฎบัตรอาเซียน ๒.๓ การสร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง ความพยายามของ อาเซียนในเรื่องการสร้างสันติภาพหลังความขัดแย้งต้องเกื้อกูล ความ พยายามอื่น ๆ ที่ใช้แนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อ (ก) ให้มั่นใจ ว่าจะไม่เกิดความขัดแย้งและความรุนแรง และ/หรือ ภัยพิบัติที่เกิด จากมนุษย์ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ (ข) ส่งเสริมการกลับคืนมาของ สันติภาพ และ/หรือ การกลับสู่ภาวะปกติของชีวิตโดยเร็วที่สุด และ (ค)

48

2. A community of unity, peaceful, strong and shared responsibility in solving all dimensions of security issues with the following 6 elements 2.1 building trust and reducing conflict through diplomacy is an important tool in solving dispute between ASEAN nations and Non-ASEAN nations, as well as protecting the violence escalation. ASEAN ministries of defense have been part of the ASEAN Regional Forum (ARF) to discuss political and security concerns. ASEAN also holds regular meetings for higher ranking defence officials dialogue (ARF DOD), ARF Security Policy Conference, and ASEAN Defence Minister’s Meeting, and ASEAN Defense Senior Official’s Meeting. 2.2 Peaceful dispute solving, ASEAN believes in resolving differences and dispute peacefully through logical, efficient, and flexible processes. To avoid negativity which can be harmful for ASEAN collaborations, ASEAN supports Treaty of Amity and Cooperation (TAC) which tries to keep peace and live in harmony and ask participating to avoid using violent physical threats. The United nations along with other international organizations have also organized several collaborations in order to keep peace and stability which is essential in solving current and avoiding future disputes. Under ASEAN Charter, ASEAN might set up an appropriate mechanism to solve issues. 2.3 Peace building after conflict, ASEAN approach that covers all dimensions (A) to ensure that they do not

พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์


วางพื้นฐานเพื่อการสมานฉันท์และมาตรการที่จ�ำเป็นต่าง ๆ เพื่อรักษา สันติภาพและเสถียรภาพ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจาก การกลับไปสู่ความขัดแย้งในอนาคต สามารถใช้มาตรการต่าง ๆ ในการ ส่งเสริมกิจกรรมบรรเทาเพื่อมนุษยธรรมซึ่งรวมถึงการเพิ่มความร่วมมือ กับสหประชาชาติและองค์การอื่น ๆ ตลอดจนการเสริมสร้างขีดความ สามารถให้กับประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ๒.๔  ประเด็นความมั่นคงรูปแบบใหม่ จุดประสงค์หลักของ อาเซี ย นคื อ การตอบสนองอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและทั น ท่ ว งที โ ดย สอดคล้องกับหลักการด้านความมัน่ คงทีค่ รอบคลุมทุกมิติ จากภัยคุกคาม ในทุกรูปแบบ อาชญากรรมข้ามชาติและความท้าทายข้ามแดน ๒.๕  เสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ของอาเซี ย นด้ า นการจั ด การ ภัยพิบัติ และการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน ๒.๖  การตอบสนองอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและทั น กาลต่ อ ประเด็นเร่งด่วนหรือสถานการณ์วิกฤติที่ส่งผลกระทบต่ออาเซียน ๓. ประชาคมที่ ท� ำ ให้ เ ป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี พ ลวั ต และมองไปยั ง โลก ภายนอกที่ มี ก ารรวมตั ว กั น และลั ก ษณะพึ่ ง พาซึ่ ง กั น และกั น มาก ยิ่งขึ้น มี ๓ องค์ประกอบดังนี้ ๓.๑  การส่งเสริมความเป็นศูนย์กลางของอาเซียนเป็นศูนย์กลาง ในความร่วมมือระดับภูมิภาค และการสร้างประชาคม ๓.๒  ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่เพิ่มพูนกับประเทศภายนอก ๓.๓  เสริมสร้างการปรึกษาหารือและความร่วมมือในประเด็น พหุภาคีที่เป็นความกังวลร่วมกัน กระทรวงกลาโหมกับประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) กล่าวโดยภาพรวม ๆ ของประชาคมอาเซียนแล้ว กระทรวง กลาโหมเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง หรื อ มี บ ทบาทที่ ส� ำ คั ญ ในเสาหลั ก ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) ซึ่งตามแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน กรอบหลักในการด�ำเนินงาน ของกระทรวงกลาโหม จะถูกก�ำหนดอยูใ่ นคุณลักษณะที่ ๒ คือประชาคม ที่ท�ำให้ภูมิภาคมีความเป็นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร่ง พร้ อ มทั้ ง มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบร่ ว มกั น เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาความมั่ น คง ที่ครอบคลุมในทุกมิติในองค์ประกอบที่ ๑ คือป้องกันความขัดแย้งและ มาตรการการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ โดยมีคุณลักษณะที่ ๒ เสริมการ ด�ำเนินการต่อคุณลักษณะที่ ๓ (ตามรายละเอียดข้างต้น) โดยมีเวทีการ ด�ำเนินการดังต่อไปนี้ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศ คู่เจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus : ADMM-Plus) หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

conflict, violence and/or disasters caused by human in areas that have been affected (B) encourage the return of peace and return to normal life as soon as possible (C) laid the foundation for reconciliation and necessary measures to maintain peace and stability. This is to protect the affected areas from returning to conflict in the future and various measures can be employed to promote humanitarian relief activities including increased cooperation with the UN and other organizations and strengthening the capacity of the people in the affected areas. 2.4 A new form of security, the main aim of ASEAN is responding effectively immediately in accordance with the principles of security that encompasses all dimensions for protect them from all forms of threat, transnational crime and trans boundary challenges. 2.5 Strengthen the ASEAN disaster management and response to emergency situations. 2.6 Responding effectively to urgent issues or crisis situations affecting ASEAN. 3. Community that makes the region a dynamic, integration and rely on each other more. There are 3 elements as follows: 3.1 Promoting ASEAN as a center of regional cooperation. 3.2 Promote relations with countries outside ASEAN. 3.3 Strengthen consultation and cooperation on multilateral issues. 49


การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (ASEAN Defence Ministers’ Meeting Retreat : ADMM Retreat) และการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา อย่างไม่เป็นทางการ (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus Retreat : ADMM-Plus Retreat) การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting : ADSOM) และการประชุมเจ้าหน้าที่ อาวุโสกลาโหมอาเซียนกับเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting-Plus : ADSOM-Plus) การประชุมคณะท�ำงานเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting Working Group : ADSOM WG) และการประชุมคณะท�ำงานเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียนกับ เจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Senior Officals’ Meeting-Plus Working Group : ADSOM-Plus WG) สรุปในภาพรวมกระทรวงกลาโหมจะด�ำเนินการในเรื่องความมั่นคง ที่เกี่ยวข้องภายใต้เสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) ซึ่งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) จะใช้ กลไกหรือเครื่องมือที่มีอยู่ อาทิ การประชุมว่าด้วยการเมืองและความ มั่นคงในเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum - ARF) มุ่งเน้นการ สร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจระหว่างกัน สนธิสญ ั ญาไมตรีและความร่วมมือใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation - TAC) โดยเชิญให้ประเทศคู่เจรจาภาคยานุวัติ (การเป็นภาคีหลังจากที่ความ ตกลงมีผลใช้บังคับ) เข้าเป็นสมาชิก TAC ซึ่งจะท�ำให้ประเทศคู่เจรจา ยอมรับหลักการของการเคารพในเอกราชอธิปไตย และบูรณภาพแห่ง ดินแดนของกันและกัน ไม่แทรกแซงในกิจการภายในซึง่ กันและกัน ไม่ยอม ให้ประเทศอื่นใช้ดินแดนของตนเป็นฐานในการบ่อนท� ำลายประเทศ เพื่อนบ้าน ใช้วิธีการแก้ไขข้อขัดแย้งโดยสันติ และจะร่วมมือกันอย่าง แข็งขันกับอาเซียน ขณะนี้ประเทศคู่เจรจาทั้งหมดได้ภาคยานุวัติ TAC แล้ว นอกจากนี้ อาเซียน (ASEAN) ยังต้องการให้ประเทศมหาอ�ำนาจ 50

Ministry of Defence and ASEAN Political Security Community (APSC): The Ministry of Defence is a key part in establishing the ASEAN Political Security Community (APSC). The framework of the defence ministries are defined in feature 2.1 and feature 3. There are venues of meeting as follows: 1.  ASEAN Defence Ministers’ Meeting: ADMM 2.  ASEAN Defence Ministers’ Meeting-plus: ADMM-Plus 3.  ASEAN Defence Ministers’ Meeting Retreat: ADMM Retreat and ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus Retreat: ADMM-Plus Retreat 4.  ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting: ADSOM and ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting-Plus: ADSOM-Plus 5.  ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting Working Group: ADSOM WG and ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting-Plus Working Group: ADSOM-Plus WG Ministry of Defence will carry on security matters under APSC. APSC uses existing mechanisms or tools such as ASEAN Regional Forum (ARF) to focus on building trust, and Treaty of Amity and Cooperation (TAC) by inviting negotiate accession countries to join TAC which makes them accept the principal of respect for the independence, sovereignty and integrity of each country, not allow other countries to use the country as a base to destroy their neighbours, and cooperate with ASEAN in resolving the conflict peacefully. Now, all negotiate countries accession are under TAC. ASEAN also needs to make mighty nation with nuclear weapons accession to Southeast Asian Nuclear Weapon Free Zone treaty (SEANWFZ). USA., Russia, China, England and France agreed to sign in SEANWFZ and are at the final stages of reviewing the validity of the

พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์


ที่มีอาวุธนิวเคลียร์ท�ำการภาคยานุวัติสนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธ นิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Nuclear Weapon Free Zone Treaty - SEANWFZ) ด้วยขณะนี้มหาอ�ำนาจ นิวเคลียร์ทงั้ ๕ ประเทศอันได้แก่ สหรัฐฯ รัสเซีย จีน อังกฤษ และฝรัง่ เศส ได้ตกลงที่จะภาคยานุวัติสนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว และอยู่ในขั้นตอนสุดท้ายของการตรวจ ความถูกต้องของเอกสาร นอกจากนี้ อาเซียนยังมีความร่วมมือในการ รับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ อันได้แก่ การก่อการร้าย อาชญากรรม ข้ามชาติ (การค้ามนุษย์ การลักลอบเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย ยาเสพติด การฟอกเงิน และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์) โจรสลัด โรคระบาด และภัยพิบัติ รวมทั้งความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล (maritime security) และความร่วมมือทางทะเล (maritime cooperation) ด้วย โดยเป็นความร่วมมือระหว่างสมาชิกอาเซียนด้วยกันเอง และระหว่าง อาเซียน (ASEAN) กับประเทศคู่เจรจา ซึ่งนอกจากนี้ อาเซียน (ASEAN) ใช้เวทีการประชุมอื่น ๆ อีกในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่กระทรวง กลาโหมมีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) การประชุมรัฐมนตรี กลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus : ADMM-Plus) การประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (ASEAN Defence Ministers’ Meeting Retreat : ADMM Retreat) และการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน กับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจาอย่างไม่เป็นทางการ (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus Retreat : ADMM-Plus Retreat) การประชุมเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting : ADSOM) และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส กลาโหมอาเซียนกับเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting-Plus : ADSOM-Plus) การ ประชุมคณะท�ำงานเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting Working Group : ADSOM WG) และ การประชุมคณะท�ำงานเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียนกับเจ้าหน้าที่ อาวุโสกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Senior Officals’ Meeting-Plus Working Group : ADSOM-Plus WG) ดังนั้นการ เป็นประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN PoliticalSecurity Community : APSC) จะประสบความส�ำเร็จ ขึ้นอยู่กับการ ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความสัมพันธ์และความร่วมมือที่ดีต่อกัน และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศภายนอก มีความไว้เนื้อเชื่อใจกัน ใช้วิธีการเจรจาในการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างกัน ตลอดจนยึดมั่น ในหลักการและค่านิยมร่วมอันเดียวกัน อันจะท�ำให้เกิดความร่วมมือ กันอย่างแท้จริงในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงในอาเซียน (ASEAN) ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความสงบสุ ข ของประชาชนในหมู ่ ม วลประเทศสมาชิ ก อาเซียนสืบไป หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

document. In addition, ASEAN cooperation in dealing with the threat of new forms including Terrorism, Transnational crime (trafficking, illegal immigrant, drug, money laundering and computer crime), pirate, epidemic and disaster. Beside, maritime security and maritime cooperation are cooperation among ASEAN members and cooperation between ASEAN and negotiate countries. Venues that ASEAN uses to solve the security problems that involve the Ministry of Defence including ASEAN Defence Ministers’ Meeting (ADMM), ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus (ADMM-Plus), ASEAN Defence Ministers’ Meeting Retreat (ADMM Retreat), ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus Retreat (ADMM-Plus Retreat), ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting (ADSOM), ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting-Plus (ADSOM-Plus), ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting Working Group (ADSOM WG) and ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting-Plus Working Group (ADSOM-Plus WG). So, ASEAN Political-Security Community: The success of APSC will depend on the relations and cooperation that exist among ASEAN members and between ASEAN and countries outside ASEAN. The trust, negotiation means in solving disputes between ASEAN members, as well as mutual principle and norm that share among ASEAN members are also considered as factors determining the cooperation of ASEAN in solving the security problem in ASEAN for the happiness of the people in ASEAN members.

51


กระทรวงกลาโหมกับการพัฒนา ด้านการอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ

Ministry of Defence and Development of Defence Industry

52


นสภาวการณ์ปัจจุบัน การด�ำรงไว้ซึ่งเอกราชอธิปไตยและ ผลประโยชน์ของชาตินั้น อุตสาหกรรมป้องกันประเทศนับว่า เป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ยวด ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพราะว่ า อุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่เข้มแข็งนอกจากจะสร้างศักย์สงคราม เป็นหลักประกันในด้านความมั่นคงให้กับประเทศแล้ว ยังสามารถ สร้างรายได้จ�ำนวนมหาศาลเข้าประเทศส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศอีกด้วย ส�ำหรับประเทศไทยนั้น กิจการอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศได้เริ่มต้นมาเป็นเวลานานพอสมควร กระทรวงกลาโหมได้ให้ ความส�ำคัญในการผลิตยุทโธปกรณ์เพื่อใช้งานเอง ดังจะเห็นได้จาก โรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในสังกัด กระทรวงกลาโหมมีจ�ำนวนถึง ๔๘ แห่ง แต่ในส่วนภาคเอกชนนัน้ กิจการ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศส่วนใหญ่ยังมีขนาดค่อนข้างเล็ก และ เป็นการด�ำเนินงานเพื่อสนับสนุนแก่กองทัพเป็นหลัก ขีดความสามารถ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทยในปัจจุบัน เป็นการซ่อมบ�ำรุง ขั้ น ต้ น และมี โ ครงการภายในประเทศซึ่ ง ต้ อ งพึ่ ง พาเทคโนโลยี จ าก ต่างประเทศ รายงานวิเคราะห์ของ Jane’s ระบุวา่ เมือ่ เทียบกับประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดว้ ยกัน มีขดี ความสามารถในระดับเทียบเท่ากับ ประเทศเวียดนาม ซึ่งน้อยกว่าทั้ง สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ประเทศต่างๆ ที่ประสบความส�ำเร็จในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ จะมีการสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีด้วยตนเอง โดยจะมีองค์กรที่ท�ำ หน้าที่บริหารจัดการเทคโนโลยีป้องกันประเทศ เช่น องค์กร The Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA) ของสหรัฐอเมริกา องค์กร The Defense Acquisition Program Administration (DAPA) ของสาธารณรัฐเกาหลี องค์กร The Defence Science and Technology Agency (DSTA) ของสาธารณรัฐสิงคโปร์ และองค์กร Science and Technology Research Institute for Defence (STRIDE) ของสหพันธรัฐมาเลเซีย เป็นต้น ส�ำหรับประเทศไทย ได้มีการจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) ขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๕๒ โดยเป็นหน่วยงานภายใต้ก�ำกับของกระทรวง กลาโหม มีภารกิจหลักในการผลักดันให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพา ตนเองได้ในด้านยุทโธปกรณ์ ด้วยการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีป้องกัน ประเทศซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างอุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่เข้มแข็ง นอกจากนีร้ ฐั บาลยังมีแนวโน้มทีจ่ ะส่งเสริมการวิจยั และพัฒนามากยิง่ ขึน้ สังเกตได้จากการเพิ่มขึ้นของงบประมาณการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ป้องกันประเทศเพื่อสร้างขีดความสามารถทางอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศตั้งแต่ภาคการวิจัยพัฒนาถึงภาคการผลิต ด�ำเนินการประสาน ความร่วมมือของภาครัฐในฐานะผู้ก�ำหนดทิศทางและนโยบาย เหล่าทัพ ในฐานะหน่วยใช้ และภาคเอกชนในฐานะภาคการผลิต ส�ำหรับเทคโนโลยี ชั้นสูงนั้น จะมุ่งเน้นไปที่การวิจัยและพัฒนาต่อยอดจากเทคโนโลยี

ต้นแบบจรวดหลายล�ำกล้องแบบ DTI-1 หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

ที่มา : IHS Jane’s Defence Budgets

D

ขีดความสามารถด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของประเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ efence Industry is crucial for protecting integrity and national interest in the current environment. This is due to the fact that it cannot only build nation’s defence capability, but also add a significant amount of income which directly effect on economy. Defence Industry has been rooted in Thailand for quite sometimes now. Ministry of Defence has recognised the importance of domestic military products as it has 48 factories related to Defence Industry under its care. However, Defence Industry under the private sectors is considered to be small and limited to primarily serving the Royal Thai Armed Forces. Defence Industry’s capability is only at maintenance level and still heavily relied on foreign technology. Jane’s report states that compared to other countries in Southeast Asia Thailand is comparable to Vietnam in term of Defence Technology and thus inferior to Singapore Malaysia and Indonesia. All countries, which succeed in Defence Technology, create and develop their own technologies through their agencies i.e. the Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA) of the United States of America, the Defense Acquisition Program Administration (DAPA) of the Republic of Korea, the Defence Science and Technology Agency (DSTA) of Singapore, and Science and Technology Research Institute for Defence (STRIDE) of Malaysia. Defence Technology Institute (Public Organisation), DTI Ministry of Defence was established in 2009. Its primary role is to ensure self reliability on Defence capability leading to building a strong Defence Industry. In addition, it is clearly shown by the budget for R&D on defence technology that the government tends to strengthen R&D section. In order to gain Defence Industry capability from R&D through production, DTI is obliged to synergy official sectors as the organisations which set policy, armed forces as users and private sectors as producers. As far as sophisticated defence technology is concerned, DTI is set to further R&D on existing technologies and own technologies through 53


แบบจ�ำลองยานเกราะล้อยาง ที่ สทป. ก�ำลังวิจัยและพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ ที่มีอยู่เดิม และการเป็นเจ้าของเทคโนโลยีจากหลากหลายวิธี เช่น การถ่ายทอดเทคโนโลยี (technology transfer) การท�ำวิศวกรรม ย้อนกลับ (reverse engineering) เป็นต้น สทป. ได้ด�ำเนินการศึกษาความต้องการ ทิศทางและแนวโน้มของ เทคโนโลยี ตลอดจนศักยภาพโดยรวมแล้วจึงก�ำหนดแผนที่น�ำทางซึ่ง ประกอบด้วยยุทธศาสตร์หลัก ๔ ด้าน โดยมียุทธศาสตร์การวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีป้องกันประเทศเป็นยุทธศาสตร์แรก และภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ดั ง กล่ า ว สทป. ได้ ด� ำ เนิ น งานด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นา เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ดังนี้ เทคโนโลยีจรวดและอาวุธน�ำวิถี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางทหาร เทคโนโลยีการจ�ำลองยุทธ์และการฝึกเสมือนจริง เทคโนโลยียานไร้คนขับ เทคโนโลยีต่อต้านการก่อการร้ายและสงครามนอกแบบ เทคโนโลยียานรบและระบบอาวุธ เทคโนโลยีพลังงานส�ำหรับกิจการป้องกันประเทศ เทคโนโลยีต่อต้านอาวุธท�ำลายล้างสูง จากการด�ำเนินการตามแผนงานยุทธศาสตร์จนถึงปัจจุบันนี้ ท�ำให้ สามารถบรรลุผลส�ำเร็จงานในโครงการต่าง ๆ มากมายหลายโครงการ ที่ส�ำคัญ ๆ อาทิเช่น ต้นแบบจรวดหลายล�ำกล้องแบบ DTI-1 (ได้ ส่งมอบให้กับกองทัพบกน�ำไปใช้งานแล้ว) ต้นแบบรถยิง และรถบรรทุก บรรจุจรวด ๑ ระบบ (อยู่ระหว่างการทดสอบเพื่อส่งมอบต้นแบบให้ กองทัพบก) ต้นแบบ Fixed Wing UAV และระบบที่เกี่ยวเนื่อง (อยู่ ระหว่างทดสอบ) ต้นแบบ VTOL UAV พร้อมระบบที่เกี่ยวเนื่อง (เตรียม ส่งมอบให้กับกองทัพเรือ) ต้นแบบระบบสนามฝึกยิงปืนยุทธวิธีเสมือน จริง และอุปกรณ์ทดสอบและระบบประเมินผลการยิงทดสอบอาวุธ (บาง ส่วน) เป็นต้น ซึ่งผลงานเหล่านี้ สามารถยืนยันได้ว่า ภายใต้การด�ำเนิน งานตามแผนยุทธศาสตร์ที่วางไว้ สถาบันฯ มีขีดความสามารถเพียงพอ สามารถตอบสนองต่อภารกิจทีไ่ ด้รับมอบหมาย นอกจากนี้โครงการวิจัย 54

various techniques such as technology transfer and reverse engineering. DTI has conducted researches on requirements, technology trends, and overall potential. Then, Defence Technology Roadmap, of which includes four major strategies, was set. The very first strategy is R&D of defence technology, by which DTI has conducted R&D on: Rocket and Missiles Technology, Military ICT Technology, Simulation Technology, Unmanned Vehicle System Technology, Anti-terrorism and Unconventional Warfare Technology, Military Platforms and Weapon Systems Technology, Energy for Defence Technology, and Anti-Weapon of Mass Destruction Technology. Since then, DTI has performed its functions according to the roadmap and achieved a number of projects such as Multiple Rocket Launcher System DTI-1 prototype (already in service with the Royal Thai Army), Firing Platform and Rocket Loader Truck prototype (under validation process prior handing over to the Royal Thai Army), Fix Wing UAV with related systems prototype (under testing process), VTOL UAV with related systems prototype (undergoing preparing for handing over process) Tactical Shooting Range Simulation prototype including testing equipments and shooting evaluation system. These outputs can ascertain that by working according to the strategies DTI is capable of and can complete to its assigned mission. Moreover, all of the DTI’s R&D projects can be further researched and developed, สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม


resulting in maximum worthy and best beneficial to Thailand. These benefits can be summarised as follows: Economically, decrease in foreign procurement and maintenance over millions annually since Thailand is capable of domestically producing and maintaining; Scientifically and Technically, all technologies acquired can be applied to development of other fields. For example, Rocket and Missile Technology can be applied to reconnaissance and surveillance for UAV. Politically, personnel on R&D have been developed for Defence Industry in concord with National Economics and Social Development Plan according to Government Policy. In term of Defence, support the Royal Thai Armed Forces, การน�ำองค์ความรู้จากการวิจัยและพัฒนาจรวด DTI-1 (302 mm) and achieving self reliance on armament, the ultimate goal มาต่อยอดวิจัยและพัฒนาจรวดขนาด 122 mm to which nothing can compare. และพัฒนาของ สทป. สามารถน�ำไปต่อยอดเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและ ประเทศได้รับประโยชน์สูงสุด ซึ่งผลประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่ประเทศ ชาติจะได้รับสามารถสรุปได้ดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ สามารถลดงบประมาณในการจัดหายุทโธปกรณ์จาก ต่างประเทศ และยุทธภัณฑ์สง่ ก�ำลังบ�ำรุงได้กว่าปีละหลายหมืน่ ล้านบาท จากการพึ่งพาตนเองในการผลิตและซ่อมบ�ำรุงได้เองภายในประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ได้รับมาสามารถน�ำ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีจรวดและ อาวุธน�ำวิถีสามารถน�ำไปพัฒนาเทคโนโลยีการเฝ้าตรวจและเตือนภัย ในระบบ UAV เป็นต้น ด้านการเมือง สร้างบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาสู่อุตสาหกรรม ป้ อ งกั น ประเทศ สอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติฯ ตามนโยบายของรัฐบาล ด้านการทหาร สนับสนุนให้กองทัพบรรลุเป้าหมายในการพึ่งพา ตนเองด้านยุทโธปกรณ์ในอนาคต ซึ่งเป็นความคุ้มค่าสูงสุดที่ไม่สามารถ ประเมินค่าได้ การพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ อย่างยั่งยืนนั้น นอกจากจะต้องอาศัยการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ป้องกันประเทศแล้ว ยังต้องส่งเสริมภาคการผลิตด้วย จึงมีความจ�ำเป็น ต้องใช้ศักยภาพของภาคเอกชน เข้ามาร่วมด�ำเนินการเชิงธุรกิจ ในการ บู ร ณาการศั ก ยภาพของทุ ก ภาคส่ ว นทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชนนั้ น สทป. จะท�ำหน้าที่เป็นผู้สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือของ หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ โดยภาครัฐเป็นผู้ก�ำหนดทิศทางและ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ให้ ภ าคเอกชนสามารถพั ฒ นากิ จ การไปสู ่ ก ารผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ หากพิ จ ารณาจากศั ก ยภาพตลอดจนการตอบรั บ จาก ภาคเอกชนในการด�ำเนินการโครงการวิจยั และพัฒนาทีผ่ า่ นมา ท�ำให้เชือ่ ได้วา่ ประเทศไทยก�ำลังก้าวเดินไปสูก่ ารเป็นประเทศทีม่ ขี ดี ความสามารถ ทางด้านเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศและมีอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศที่ มั่นคงสามารถพึ่งพาตนเองได้

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

ต้นแบบ VTOL UAV Developing Defence Industry to self reliance level requires not only R&D on defence technology, but also promoting productions. Therefore, it is essential to encouraging private sectors to use their potentials for this business. In order to synergy all efforts from officials and private sectors, DTI has to establish Defence Industry network and coordinate all sectors. Officials will set direction and support private sectors. As a result, private sectors can develop to commercial production. Considering DTI’s potential and response to projects undertaken from private sectors, it is apparent that Thailand is now on the path to becoming a nation with defence technology capability and strong self reliance Defence Industry.

55


ข้อสังเกตและประเด็น ข้อกฎหมายบางประการ เกี่ยวกับการป้องกันและ ปราบปรามการก่อการร้าย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ 56


Some Remarks and Legal Issues to Counter Terrorism

ปั

จจุ บั น เป็ นที่ ท ราบและเข้ า ใจเป็ น อย่ า งดี ถึง สถานการณ์ เกี่ยวกับการก่อการร้ายโดยถือว่าผู้ก่อการร้ายเป็นศัตรู ร่วมของประชาคมโลก เราจะได้ยินบ่อย ๆ ถึงการกล่าวว่า จะหาวิธีการอย่างไร ในการป้องกันและปราบปรามการก่อการร้ายให้ ได้ผลอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันกลุ่มผู้ก่อการร้าย ก็คิดหา หนทางและวิธีการให้การก่อการร้ายในการโจมตีหน่วยงานต่าง ๆ ของ รั ฐ บาลและประชาชนผู ้ บ ริ สุ ท ธิ์ ใ ห้ ไ ด้ ผ ลและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น เช่นกัน ขณะนี้ทั้งองค์การสหประชาชาติมีการจัดท�ำอนุสัญญาเกี่ยวกับ การร่วมมือกันป้องกันและปราบปรามการก่อการร้าย ๑๒ ฉบับ ในส่วน ของประชาคมอาเซียนก็มีการจัดท�ำอนุสัญญาร่วมมือกันป้องกันและ ปราบปรามการก่อการร้ายเหมือนกัน ในอนุสัญญาต่าง ๆ ข้างต้นก็จะมุ่งให้ความส�ำคัญกับการกล่าวอย่าง สละสลวยเรียกร้องให้มีการร่วมมือหรือประสานงานของประชาคมโลก ในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้าย แต่พบได้ว่าจนถึงบัดนี้ไม่มีอะไรใหม่ ในการแถลงต่อสื่อมวลชน ส่วนใหญ่พยายามคิดค้นค�ำกล่าวในการ แถลงต่อสื่อมวลชนเพื่อโน้มน้าวให้ประชาชนเห็นว่าหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐบาลหรือองค์การระหว่างประเทศปฏิบัติหน้าที่อย่างจริงจัง และ มุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้าย และรัฐบาลประเทศต่าง ๆ หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

A

ll of us are well aware and understand the situation, general knowledge and details about terrorism very well as we consider them our common enemy to international community. We always speak on how to counter terrorism effectively, terrorists always also discuss how to more effectively attack government agencies and innocent people too. We have now about 12 conventions related to cooperation on combating/ countering terrorism. Among ASEAN members, they have a convention to deal with terrorism problems in the region too. Regarding those conventions, it seems to us that we pay much attention to nice-sounding and flowery words asking cooperation or coordination from the international community to solve the terrorist problems. But we found that there was nothing new to convey at the press conference or in our press release, so we have to think up of new beautiful words to convince people that we have been working very 57


ทราบเป็นอย่างดีเกี่ยวกับหนทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมักจะใช้คำ� กล่าวว่า “เราต้องแก้ทรี่ ากเหง้าของปัญหา” ซึง่ เป็นทีย่ อมรับและเห็นด้วยจากทุกคนและทุกภาคส่วน ๑๐๐% ว่าเป็นค�ำ ที่สละสลวยดูดี แต่การปฏิบัติจริงคืออะไร มีหรือไม่ เพียงใด ที่ผ่านมา รัฐบาลต่าง ๆ ได้ด�ำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ของ อนุสัญญาข้างต้นหรือไม่ รวมทั้งได้ด�ำเนินการตามที่ประชาชนคาดหวัง หรือไม่ เพราะประชาชนก�ำลังสงสัยว่ารัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ ท�ำไมใช้เวลานานมากในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้าย เพราะการ โจมตีท�ำร้ายต่อประชาชนผู้บริสุทธิ์ โดยผู้ก่อการร้ายยังคงเกิดขึ้นทุกวัน ในโลกนี้ ซึง่ แสดงให้เห็นได้วา่ ยุทธศาสตร์การด�ำเนินการ วิธกี ารคิด วิธกี าร และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องอาจมีขอ้ บกพร่อง เมือ่ เรากล่าวถึงการปฏิบตั กิ าร หรือการด�ำเนินการอย่างแท้จริงนั้น ส่วนใหญ่มักหมายถึงเครื่องมือ อุปกรณ์พิเศษ การด�ำเนินกลยุทธ์แบบพิเศษ และเทคนิคพิเศษในการ ป้องกันและปราบปรามการก่อการร้าย เป็นที่ยอมรับว่าเรื่องที่กล่าว มาข้างต้นจ�ำเป็นและส�ำคัญ แต่การปฏิรูปหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องก็เป็นเรื่องส�ำคัญที่มิอาจละเลยได้เช่นกัน เพื่อเสริมสร้าง ให้การร่วมกันป้องกันและปราบปรามการก่อการร้ายตามอนุสัญญาต่าง ๆ มีประสิทธิภาพภายใต้หลักนิติธรรมและสิทธิมนุษยชนยิ่งขึ้น พิจารณา

58

hard and know how to solve the problems effectively. For example, we said “we must solve problems at root causes”, which all of us agree 100 % with these beautiful words. What about real action? What have we done to carry out the purposes of those conventions and expectations from people who may be wondering why their governments and other responsible agencies have taken so long to solve the problems ? In the meantime, there have been an increasing number of harmful activities inflicted on innocent people everyday. This could mean something wrong about our strategy, our performance, our thinking, our method and our laws. When we are talking about real actions, they are mainly concerned with the following: special equipments, special tactics, and special techniques. It is agreed that such special things are very important to solve the problems. But how about law reform ? We must not forget to mention law reform as one important aspect of countering terrorism in those conventions such as to counter terrorists under the Rule of

พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์


เห็นว่าจ�ำเป็นจะต้องมีการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจังใน ขณะนีใ้ ห้ทนั การและมีการติดตามประเมินผลจากการปฏิรปู กฎหมายใน ภายหลังด้วย ถึงเวลาแล้วที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละประเทศจะ ต้องพิจารณาทบทวนกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง นอกเหนื อ จากเรื่ อ งเครื่องมืออุปกรณ์ เทคนิค และการด�ำเนิ น การ กลยุทธ์ใหม่ ๆ โลกปัจจุบันให้ความสนใจและให้ความส�ำคัญกับเรื่องใหม่ คือ นวัตกรรม ซึ่งก่อให้เกิดค�ำถามว่า เราให้ความสนใจเพียงพอแล้ว หรือยังที่จะปฏิรูปกฎหมายพร้อมกับนวัตกรรมในเรื่องต่าง ๆ อาจจะไม่ แปลกใจหาก “นวัตกรรม” จะหมายความว่า การกระท�ำการเพื่อให้ มีสิทธิประโยชน์หรือเพื่อให้เกิดเงินตอบแทน นวัตกรรมจะเกี่ยวข้อง กับทรัพย์สินทางปัญญาซึ่งหมายความว่า ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือเจ้าของ กรรมสิทธิ์สามารถท�ำเงินได้จากนวัตกรรมของตนเองในช่วงระยะเวลา หนึ่ง แต่เป็นเรื่องยากที่การปฏิรูปกฎหมายจะก่อให้เกิดสิทธิประโยชน์ หรือผลประโยชน์เงินตอบแทนเช่นนวัตกรรม ยิ่งไปกว่านั้นการปฏิรูป กฎหมายยังก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการ นอกจากนั้น ความชัดเจนที่ว่านวัตกรรมในการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมืออุปกรณ์ใน การป้องกันปราบปรามการก่อการร้ายเป็นสิ่งดึงดูดใจเนื่องจากมีสิทธิ ประโยชน์และเงินตอบแทนเข้ามาเกี่ยวข้องแล้วยังเป็นสิ่งของทรัพย์สิน

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

Law and human rights. We must be concerned and want to say is we need real action to implement those conventions effectively on law reform and in time including following up the result after the reform. It is time for administration of each country to consider its national/domestic laws seriously beyond concentration on new special equipments, tactics and techniques. Important as these “innovations” are in the modern world, the question is “Do we pay sufficient attention to work on law reform at the same time? ” Perhaps, this does not come as a surprise, for innovation means cash flow from one pocket to another or many pockets. Innovation is related to intellectual property which means inventors or owners can make money for a period of time from that innovation. But it is quite hard for law reform to bring in cash flow in the same manner as innovation does. Worse, law reform may even bring an end to cash flow, royalty or fees. In addition to cash flow, we tend to get carried away by the outputs which are more tangible in our combats

59


ที่จับต้องได้และเห็นผลทันตา ส่วนการปฏิรูปกฎหมายเป็นนามธรรม ไม่อาจจับต้องหรือเห็นผลได้ทันที เช่น นวัตกรรมในการประดิษฐ์คิดค้น เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ซึ่ งเป็นการคิดที่ไม่ถูกต้องในการให้ค วามส� ำ คั ญ ต่อการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมืออุปกรณ์เพื่อป้องกันและปราบปราม การก่อการร้ายมากกว่าการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้อง แต่ก็ต้องยอมรับ ข้อเสียหรือข้อด้อยของการปฏิรูปกฎหมาย คือ ใช้เวลานานเกินไปใน การยกร่างกฎหมายหรือปรับปรุงให้ทันสมัยเหมาะสม โดยต้องยอมรับ ว่าการยกร่างกฎหมายไม่อาจเร่งรัดได้ การยกร่างกฎหมายจะต้องใช้ เวลาจึงจะครบถ้วนและสมบูรณ์ แต่ผรู้ า่ งกฎหมายจะต้องค�ำนึงว่าในบาง สถานการณ์ความยุติธรรมจะต้องรวดเร็วทันการ ดังนั้นผู้ร่างกฎหมาย จะต้องหาหนทางที่ดีที่สุดให้ทันเวลาร่างกฎหมายที่สมบูรณ์ครบถ้วน ออกมาเพือ่ ให้เกิดความยุตธิ รรมในสังคม ซึง่ ผูร้ า่ งกฎหมายไม่อาจด�ำเนิน การได้ฝ่ายเดียว จะต้องให้เจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการ บังคับใช้กฎหมาย หน่วยทหารที่เกี่ยวข้อง และนักวิชาการมีส่วนร่วม ในการปฏิรูปกฎหมายด้วย แต่เนื่องจากผู้ร่างกฎหมายไม่อาจได้รับ สิทธิประโยชน์หรือเงินตอบแทนจากการร่างกฎหมายเหมือนผู้คิดค้น นวัตกรรมด้านทรัพย์สินทางปัญญาได้ เพื่อเป็นการกระตุ้นการท�ำงาน ของผู้ร่างกฎหมาย รัฐบาลควรให้สิทธิประโยชน์หรือเงินตอบแทนแก่ ผู้ร่างกฎหมายเพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจ 60

against terrorism, including protecting lives and property or destroying terrorists, the action that can be seen clearly and almost immediately. Unfortunately, we do not pay attention enough to law reform, because we may be stuck in our way of simple thinking that we cannot use law reform which is an intangible as equipment to protect or destroy terrorists because we cannot see it clearly and promptly. Such an idea is surely mistaken. It is a big mistake not to bear in mind that law reform is no less essential than those innovations. However, we must accept one thing that lawmakers often spend too much time drafting or crafting laws. It is agreed that we cannot rush to draft laws. Laws must be perfect as much as they can. But lawmakers must bear in mind that in some situations, justice must be done quickly. Therefore, lawmakers must find the best way how to draft perfect laws in time to bring justice to society. However, lawmakers cannot work on law reform alone. Other agencies such as law enforcement, responsible military units and academic must participate in law reform. As lawmakers cannot make พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์


ส�ำหรับกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิรูปมีประเด็นส�ำคัญ ที่ควรพิจารณาในรายละเอียด ดังนี้ ๑.  หลักนิติธรรมและสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นเรื่องที่รัฐบาลมักจะหลีก เลี่ยงเข้าไปเกี่ยวข้อง เพราะมักเป็นเป้าหมายถูกวิจารณ์หรือโจมตีจาก องค์การเอกชนพัฒนา องค์การระหว่างประเทศ นักวิชาการ นักกิจกรรม ที่รณรงค์เรื่องสิทธิมนุษยชน เนื่องจากรัฐบาลก็ถูกวิจารณ์และโจมตี เพียงพอแล้วในเรื่องอื่น ๆ แต่หลักนิติธรรมและสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่อง ที่ท้าทายอย่างยิ่งที่รัฐบาลต้องกล้าหาญพอที่จะเข้ามาด�ำเนินการให้การ ป้องกันและปราบปรามการก่อการร้ายมีประสิทธิภาพและได้ผลเท่าที่ ควร เป็นที่ยอมรับว่าการก่อการร้ายเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ดังนั้น ควรจะต้องมีการระงับสิทธิบางประการชั่วคราวของผู้ต้องสงสัยว่าเป็น ผู้ก่อการร้ายหรือผู้ถูกควบคุมตัว เช่น การช่วยเหลือทางด้านกฎหมาย จากทนาย การเยี่ยมของญาติ เฉพาะในช่วงระยะเวลาแรก ๆ ของการ ถูกควบคุมตัว โดยมีเหตุผลประกอบการระงับสิทธิข้างต้นชั่วคราว ดังนี้ ประการแรก ขบวนการก่อการร้ายเป็นองค์กรที่ใหญ่มีบุคลากรมากมาย มีการเงินสนับสนุน มีการข่าวกรองที่ดีกับมีเครือข่ายกว้างขวาง เมื่อ หน่วยงานของรัฐต้องเข้ามาด�ำเนินการกับสถานการณ์ปกติธรรมดา ก็ สามารถใช้เครื่องมือหรือกลไกปกติธรรมดาเข้ามาจัดการ แต่เมื่อเจอ สถานการณ์พิเศษ ก็ย่อมต้องการเครื่องมือหรือกลไกพิเศษ ไม่สามารถ ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ธรรมดา การด�ำเนินกลยุทธ์แบบธรรมดา เทคนิค ธรรมดาและกฎหมายธรรมดาเข้ามาด�ำเนินการได้ หากหน่วยงานของ รัฐอนุญาตหรือยินยอมให้ทนายซึ่งส่วนใหญ่เป็นบุคลากรของเครือข่าย การก่อการร้ายเข้ามาเยี่ยมผู้ถูกควบคุมได้ ย่อมก่อให้เกิดช่องทางการ ปรึกษาหารือเพื่อวางแผนการก่อการร้ายต่อประชาชนผู้บริสุทธิ์ได้อีก แม้ว่าจะถูกควบคุมในที่คุมขังก็ตาม ทั้งนี้ ผู้ถูกควบคุมยังมีสิทธิได้รับการ ช่วยเหลือทางกฎหมายจากทนาย โดยหน่วยงานของรัฐอาจจัดทนายจาก หน่วยงานที่เป็นกลางและเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป เช่น สภาทนายความ ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับขบวนการก่อการร้าย เข้ามา ช่วยเหลือและให้ค�ำแนะน�ำทางกฎหมาย รวมทั้งไม่ควรอนุญาตให้ญาติ เข้าเยี่ยมผู้ถูกควบคุมในช่วงแรกโดยมีเหตุผลเดียวกับการไม่ให้ทนาย เข้าพบในช่วงแรกเช่นกัน แต่หน่วยงานของรัฐควรอนุญาตให้บุคลากร ทางการแพทย์จากหน่วยงานทีเ่ ป็นกลางเข้าพบผูถ้ กู ควบคุมเพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่าไม่มีการท�ำร้ายร่างกายและจิตใจผู้ถูกควบคุม เช่น สภากาชาดไทย โดยจะอนุญาตให้ญาติเข้าพบหรือเยี่ยมได้ในภายหลัง อย่างไรก็ตาม สิทธิมนุษยชนพื้นฐานอื่นของผู้ถูกควบคุมจะต้องได้รับการคุ้มครอง ปกป้องจากหน่วยงานของรัฐตลอดระยะเวลาถูกควบคุม เช่น การไม่ถูก ทรมานทารุณกรรมหรือโหดร้าย การระงับสิทธิชั่วคราวทั้งสองข้างต้น ไม่ได้ละเมิดสิทธิมนุษยชนแต่อย่างใดด้วยเหตุผลสองประการ ดังนี้ ประการแรก เมื่อพิจารณาถึงค�ำนิยามความหมายของ “หลักนิติธรรม” ซึ่งหมายความว่า การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่ทันสมัย เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบันและเป็นที่ยอมรับของสังคม ในกรณีที่ กฎหมายทีม่ อี ยูไ่ ม่มบี ทบัญญัตหิ รือมาตรการตอบสนองต่อความต้องการ ที่แท้จริงของสังคมหรือเป็นปัญหาอุปสรรคในการปกป้องคุ้มครองสังคม รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องรับผิดชอบในการแก้ไขปรับปรุง หรือยกเลิกกฎหมายดังกล่าว ประการที่สอง รัฐบาลและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมีหน้าที่ต้องปกป้องคุ้มครองประชาชนผู้บริสุทธิ์และฟื้นฟูให้ ประชาชนสามารถใช้ชีวิตตามปกติสุขเช่นเดิมโดยปราศจากความหวาด กลัวจากการก่อการร้าย การคุ้มครองปกครองประชาชนส่วนใหญ่นั้น ในขณะเดียวกันการระงับสิทธิชั่วคราวบางประการของผู้ต้องสงสัย ว่าเป็นผู้ก่อการร้าย เป็นหนทางที่ดีและเหมาะสมมีเหตุมีผลในการ แก้ ไ ขปั ญ หาการก่ อ การร้ า ย สิ ท ธิ ข องสั ง คมในภาพรวมย่ อ มเหนื อ หรือสูงกว่าสิทธิของปัจเจกชน การระงับสิทธิชั่วคราวข้างต้นไม่ได้มี ผลกระทบต่อสาระส�ำคัญของสิทธิและเสรีภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

money from law reform, governments should provide some incentives to encourage them to work quickly. Next let’s look at some issues, in greater details, of law reform which should be done for domestic laws. The Rule of Law and human rights, something that most governments prefer to avoid. As we are well aware, they do not want to be a target by NGO, International Organisations (IO), academics and human rights activists on these issues. They have been targeted enough on other matters. The Rule of Law and human rights are challenging issues for the government to deal with. If the governments really want law reform on countering terrorism that can be implemented effectively, they must be brave enough to deal with them. It is a well accepted fact that terrorism is a violation of human rights. Therefore, there must be some temporary suspension of their rights such as rights of legal assistance from their own attorneys and right of visitation by their relatives during the first few weeks of detention. Why do we should raise these two points? Terrorism commands great potentials, including human resources, financial support, intelligence and network. When we have to deal with the matter in a normal situation, we can use normal tools to deal with. When we are faced with special situation, we need special tools to deal with. We cannot use normal equipments, normal tactics, normal techniques and normal laws to deal with them. For examples, if we allow their own attorneys who mostly are members of the terrorist network to see them, they can consult or plan for other attacks on innocent people again even while they are in jail. They still have the rights to legal assistance from the attorney, but we will provide them with attorneys from a neutral and generally accepted legal entity, such as the Law Society or Bar Association which does not have any connection with the terrorist network. We should also not let their relatives see them during the beginning of detention, for the same reason as on the attorneys above. But we will let medical personnel from a neutral agency to make sure that there is no physical or mental abuse, such as the National Red Cross Society. We will let their relatives see them afterward. However, governments must see to it that their basic human rights are still respected for the entire detention period such as prohibition of torture and inhuman treatment. Those two examples of temporary suspension of the rights of terrorist suspects do not violate the Rule of Law and human rights at all for the following reasons. First, when we look at the definition of the Rule of Law which says that enactment of laws, rules and regulations shall be modern in keeping with the current circumstances and is well accepted by society. In case of an existing law having no provision or measure to serve the real demand of society or becoming a burden in the protection of society, the governments and their agencies must be responsible for taking action to improve or even repeal such law. Second, the governments and their agencies have duties to protect 61


หรือในสภาวการณ์พิเศษแต่อย่างใด การระงับสิทธิชั่วคราวดังกล่าว ไม่ได้เป็นปฏิปกั ษ์กบั หลักนิตธิ รรมและสิทธิมนุษยชน เมือ่ เราต้องด�ำเนิน การเพื่อความปลอดภัยหรือความมั่นคงของสาธารณะหรือสังคมซึ่งมี สถานะสูงกว่าการรักษาความสงบเรียบร้อยโดยทั่วไป ระดับของความ ปลอดภัยและความมั่นคงของสาธารณะและสังคมจะสูงและเหนือกว่า ระดับการรักษาความสงบเรียบร้อยในสถานการณ์ปกติ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐจะต้องให้ความมั่นใจว่าการละเมิดสิทธิ มนุษยชนพื้นฐานเช่นการทรมานทารุณกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่อ ผู้ถูกควบคุม จะต้องได้รับการลงโทษทางอาญา ๒.  สมควรพิจารณาทบทวนมาตรการการลงโทษผู้ก่อการร้าย เมื่อ พิจารณาภายใต้หลักอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา จะต้องยอมรับว่าเป็น เรือ่ งทีน่ กั กฎหมายไม่คอ่ ยจะเข้าใจและมีความรูเ้ พียงพอ แต่ถงึ เวลาแล้ว ที่จะต้องพิจารณาทบทวนให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์ใน ปัจจุบัน หลักการหรือสาระส�ำคัญของหลักทั้งสองข้างต้นคือการควบคุม หรือจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในร่างกายและชีวิตของ ผู้กระท�ำผิดให้หลาบจ�ำไม่กระท�ำผิดอีก ซึ่งการถูกจ�ำกัดเสรีภาพหรือ การลงโทษต่อชีวิตเป็นสิ่งที่ไม่มีใครปรารถนา เรื่องทั้งสองเป็นการป้อง ปรามไม่ให้กระท�ำผิด แต่ในสถานการณ์ปัจจุบันผู้ก่อการร้ายไม่ได้กังวล หรือเป็นห่วงผลกระทบต่อเสรีภาพในร่างกายและชีวติ จากการถูกลงโทษ แต่อย่างใด เพราะปรากฏข้อเท็จจริงจากระเบิดพลีชีพที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ดังนั้น สมควรพิจารณาทบทวนว่าระบบการลงโทษในปัจจุบันทั้งการ จ�ำคุกและการประหารชีวิตเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด มาตรการลงโทษ ใหม่อะไรที่เราต้องการเพื่อมาทดแทนการจ�ำคุกหรือการประหารชีวิตที่ จะท�ำให้ผู้ก่อการร้ายเกรงกลัวแล้วไม่กล้าจะโจมตีท�ำลายชีวิตประชาชน ผู้บริสุทธิ์ต่อไป พวกนักกฎหมายไม่มีค�ำตอบหรือมาตรการในเรื่องนี้ นักอาชญาวิทยาและนักทัณฑวิทยาควรต้องไปศึกษาค้นคว้าหาค�ำตอบ และมาตรการโดยไม่ควรใช้เวลานาน ตัวอย่างกรณีศึกษาส�ำหรับน�ำไป ศึกษาค้นคว้าหรือเปรียบเทียบเช่นกฎหมายทีล่ งโทษผูป้ กครองจากกรณี ทีบ่ ตุ รไปขับขีร่ ถยนต์โดยดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ควรน�ำมาศึกษาว่าจะ เหมาะสมหรือไม่ หากผูใ้ ดไปโจมตีทำ� ลายประชาชนผูบ้ ริสทุ ธิบ์ ดิ ามารดา ของผูน้ นั้ จะต้องถูกลงโทษด้วย หรือยกระดับเพิม่ ขึน้ ให้รวมถึงญาติพนี่ อ้ ง ของผู้ก่อการร้ายด้วยที่จะถูกลงโทษ ซึ่งหลักการลงโทษข้างต้นมีในอดีต ที่เรียกว่าการลงโทษเจ็ดชั่วโคตร เราสามารถเห็นและประจักษ์ในหลาย เรื่องว่าบางครั้งสิ่งของสมัยก่อนหรือแฟชั่นสมัยก่อนอาจกลับมาเป็นที่ นิยมใหม่ เช่น ทรงผม เสือ้ ผ้า หรือรถยนต์ แต่ตอ้ งไม่ลมื ให้สทิ ธิประโยชน์ บางประการหรือเงินตอบแทนแก่นักอาชญาวิทยาและนักทัณฑวิทยาใน การคิดค้นมาตรการใหม่ขึ้นมา ๓.  การปกป้องและคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐและบุคคลที่เกี่ยวข้อง กับการป้องกันและปราบปรามการก่อการร้าย สมควรพิจารณาว่า โครงการหรือกฎหมายคุ้มครองพยานในขณะนี้สามารถจะป้องกันภัย คุกคามจากผู้ก่อการร้ายอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลหรือไม่ ถ้าไม่ ก็ต้องแก้ไขปรับปรุง เราต้องตระหนักว่าขบวนการก่อการร้ายนั้นเป็น องค์กรที่มีการบริหารจัดการอย่างดีทั้งการข่าวกรอง เครือข่ายทั่วโลก และเงินสนับสนุนมหาศาล ดังนั้น มาตรการในการคุ้มครองปกป้องจาก การแก้แค้นของผู้ก่อการร้ายควรจะต้องแตกต่างจากการปกป้องพยาน ที่ถูกข่มขู่หรือปองร้ายโดยอาชญากรธรรมดา รัฐบาลและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องควรจะต้องจัดหาอุปกรณ์พิเศษและระยะเวลาที่ยาวนานกว่า ทั้งคุ้มครองและปกป้องพยานในคดีการก่อการร้ายรวมทั้งเจ้าหน้าที่ของ รัฐและบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย เช่น ผู้พิพากษา อัยการ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ รวมทั้งญาติพี่น้องด้วย ซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรและค่าใช้จ่ายกับทักษะ พิเศษมากกว่าธรรมดา นอกเหนื อ จากที่ ก ล่าวข้างต้นที่เกี่ยวข้องกับข้อกฎหมาย ขอน�ำ เสนอสูตรหรือสมการที่ไม่ได้เป็นสูตรหรือสมการที่มีชื่อเสียงเช่นของ 62

innocent people and restore them to normal life without fear from terrorism. To protect the majority of people and to temporarily suspend some rights of terrorist suspects at the same time is the best and most sensible way to solve the terrorist problem. Rights of society should be superior to rights of individuals. The suspension of some rights which it is mentioned earlier, do not affect the essence of rights and liberties in time of national emergency or in time of special situations. Such action is not against the Rule of law and human rights. We are dealing with public safety or public security and not public order. The degrees of public safety and public security in time of emergency are much higher than that of public order in normal circumstances. However, we must assure society that violation of basic principle of human rights, is punishable under criminal law. We should reconsider measure to punish terrorists. Regarding the substance of criminology and penology, it must be admitted that we as lawyers do not know well enough about these subjects. But it is the high time now that this subject shall be reformed in order to be modern and suitable with the current circumstance too. The concept or substance of this subject is on the assumption that restriction of rights and liberties, particularly, right to life, is something that people do not want to experience. It is a deterrent measure. But in the current circumstances, terrorists do not worry about that assumption at all. The fact that suicide bombing is a common occurrence proves this point. Therefore, we must reconsider whether the current punishment (imprisonment or capital punishment in some countries) is suitable. What measure do we need to replace imprisonment or capital punishment to instill fear in the terrorists and deter them from attacking innocent people ? We as lawyers do not have the answer to this question. Criminologists and penologists must work it out for us. But they should not spend too much time take time like us lawmakers. One example for them to พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์


นายอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (E = Mc2) แต่สูตรหรือสมการนี้ คือ “การ ก่อการร้าย (ความรุนแรงหรือระเบิดพลีชีพ) = อุดมการณ์ + ความ เกลียดชัง + ความโกรธ + ความเคียดแค้น” ดังนั้น หากส่วนประกอบใด ส่วนประกอบหนึ่งข้างต้นไม่ครบถ้วน สูตรหรือสมการ (การก่อการร้าย) ข้างต้นก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ สรุป ปัจจุบนั ต้องการปฏิรปู กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องอย่างจริงจังพร้อมกับ นักอาชญาวิทยาและนักทัณฑวิทยา และควรมีหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมการปฏิรูปกฎหมายด้วย สิทธิบางประการอาจถูกระงับชั่วคราว มาตรการและวิธีการลงโทษผู้ก่อการร้ายอย่างได้ผลเป็นสิ่งที่ต้องการ เป็นอย่างยิ่ง และทั้งหมดข้างต้นควรต้องด�ำเนินการอย่างรวดเร็วภายใต้ หลักนิติธรรมและสิทธิมนุษยชนเพื่อการคุ้มครองปกป้องที่ดีกว่าเดิม ต่อประชาชนทุกหมู่เหล่า โดยให้การร่วมกันข้างต้นเป็นการคิดค้น จัดท�ำนวัตกรรมขึ้นมาด้วยกัน หากร่วมมือกันท�ำส�ำเร็จผู้ที่มีส่วนร่วมใน การน�ำความปลอดภัยและความมั่นคงมาสู่สาธารณะและสังคมรวมทั้ง ประชาคมโลกอาจได้รบั รางวัลโนเบล อย่างไรก็ตามปัญหาการก่อการร้าย ไม่ อ าจแก้ ไ ขโดยการปฏิรูปกฎหมายอาชญาวิทยา หรือ ทั ณ ฑวิ ท ยา หนทางที่ดีที่สุดคือไม่ให้มีองค์ประกอบของสูตรหรือสมการ “การก่อ การร้าย” ข้างต้นครบถ้วนจะดีกว่า

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

study and research is law related to parental punishment which all of us know very well that parents will face penalties if their kids drink and drive. So, why don’t we modify that concept in such a way that terrorists’ parents must face penalties if their children are terrorists or suicide bombers who attack innocent people. To go even one step further, not only parents but also next of kin shall face penalties, if terrorists or suicide bombers attack innocent people. But do not forget to provide incentives to criminologists and penologists as well as for lawmakers. Why don’t we bring back some ancient stringent laws (retrospective laws). We can see that sometimes old fashion is back as a new fashion, like clothing and cars. Next, Let’s talk about protection of officers and persons involved in countering terrorism. We should look at our witness protection programme/law whether they can cope with a terrorist threat effectively. If they cannot do so, what must we do to improve it. As we are well aware, terrorists have high potentials, intelligence, worldwide network, and huge financial support. Therefore, measures to protect them against retaliation by terrorists must be different from the witness protection programme against ordinary criminals. The Governments and their agencies must provide special and longer protection not only for witnesses but also for officers and persons involved in countering terrorism such as judges, prosecutors, policemen including their relatives which needs more resources, more money and more skill than usual. Apart from those above mentioned Legal Issues, this article would like to propose an equation which is not the famous one of Albert Einstien “E = Mc2” but the equation of “Terrorism(Violent/Suicide Bombing) = Ideology + Hatred + Anger + Deep Resentment”. Therefore, lack of the above mentioned component, terrorism will not occur. In conclusion, what we need is actual and proper law reform, criminology and penology reform together with some incentives for lawmakers/ criminologists and penologists. Other concern agencies must participate in law reform. Some temporary suspension of terrorists’ rights are needed. Special and effective measures to punish terrorists are needed. Special and effective protections for officers and persons involved in countering terrorism are needed. All this must be done in a speedy manner and under the Rule of Law to better protect all of us and, above all, innocent people. Let’s (lawmakers, criminologists, penologists, law enforcement and military) do this as innovation together. We never know that we may be awarded a Noble Prize for our innovation which bring more safety and secure to public. However, terrorism cannot be solved only by law reform, criminology and penology reform. The best way is we should not let those mentioned component of the equation happen at all. 63


บทบาทกระทรวงกลาโหม กับการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ Roles of Ministry of Defence in moving towards the integration ASEAN Community in 2015

กองอาเซียน ส�ำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานนโยบายและแผนกลาโหม

ผู้

น�ำประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรสมาคมแห่ง ประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือกฎบัตรอาเซียน (ASEAN-Charter) เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๐ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ ซึ่งกฎบัตร อาเซี ย นเปรี ย บเสมื อ นธรรมนู ญ ที่ ก� ำ หนดกรอบด้ า นกฎหมายและ โครงสร้างองค์กรอาเซียน ท�ำให้อาเซียนมีกฎกติกาในการท�ำงาน มี สถานะเป็นนิติบุคคล มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และวางรากฐานการ รวมตัวเป็นประชาคมในปี ๒๕๕๘ ทั้งนี้การเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN-Community) มีเจตจ�ำนงให้ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคที่มีสันติสุข รักษาสันติภาพ และความเป็นกลาง มีวิธีการร่วมในการแก้ไขข้อพิพาท ลดความขัดแย้งโดยสันติวธิ ี มีเสรีทางการค้า โดยทุกประเทศในประชาคม จะให้ความร่วมมือกันและด�ำเนินกิจกรรมของอาเซียนในทุกรูปแบบ 64

O

n 20 November 2007, the leaders of ASEAN member states have signed Charter of Association Southeast Asian Nations or ASEAN Charter which entered into force on 15 December 2008. The ASEAN Charter serves as an constitution to establish a legal and institutional framework of ASEAN. It turns ASEAN into a legal entity, set out working principles under the people-centered concept and lays the foundation for community integration in 2015. ASEAN Community intends to promote this region to be a neutral, friendly and peaceful region, as well as to settle the disputes through peaceful means and to promote free trade. All ASEAN member states are to cooperate and carry out


ทั้งระดับทวิภาคี อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือน การแลกเปลี่ยนการฝึก ศึกษา หรือการเจรจาหารือเพื่อสร้างความร่วมมือ เป็นต้น และระดับ พหุภาคี อาทิ การประชุมหรือการสัมมนา เป็นต้น ซึง่ การด�ำเนินกิจกรรม ของอาเซี ย นจะครอบคลุ ม ในทุ ก มิ ติ อั น ประกอบไปด้ ว ย การเมื อ ง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อลดความแตกต่าง ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในด้านต่าง ๆ โดยแบ่งการด�ำเนินงาน ออกเป็น ๓ เสาหลัก (three-pillars) ได้แก่ ๑) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community: APSC) ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และ ๓) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community: ASCC) การด�ำเนินการในข้างต้น ท�ำให้ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องเตรียมการ รองรับผลกระทบด้านความมั่นคงที่จะเกิดขึ้น ทั้งในรูปแบบที่จะกระทบ ต่อประเทศไทยโดยตรงและรูปแบบที่จะกระทบต่ออาเซียนในภาพรวม รวมทั้ง ผลกระทบต่อภูมิภาคอื่น ๆ ของโลกอีกด้วย ซึ่งผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นไม่จ�ำกัดอยู่เฉพาะแต่ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ อาทิ ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ การก่อการร้าย ยาเสพติด อาชญากรรมข้ามชาติด้าน เศรษฐกิจ เป็นต้น แต่ยังรวมถึงภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เช่น การขัด แย้งของเส้นเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเล ซึ่งรวมถึงประเทศไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน และยังรวมถึงความขัดแย้งที่ประเทศสมาชิก อาเซียนอื่น ๆ ที่มีกับประเทศเพื่อนบ้านด้วย เช่น ปัญหาทะเลจีนใต้ ซึ่ง มาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม มีปัญหาอยู่กับจีนในปัจจุบัน โดยในระยะเริ่มต้นของการเป็นประชาคมอาเซียนนั้น ปัญหาต่าง ๆ จะ เพิ่มทวีคูณในแนวตั้งชัน (Sheer) แบบยกก�ำลัง (Exponential) โดย เฉพาะประเทศไทย ที่จะต้องดูแลเฉพาะปัญหาภายในประเทศ เช่น การแตกแยกของคนในชาติ (Division) ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และปัญหาความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านแล้ว ประเทศไทยยังจะต้องมีความเกี่ยวข้องกับปัญหาอื่น ๆ ของประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย น ซึ่ ง ต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบร่ ว มกั น ในฐานะประเทศ สมาชิกอาเซียน รวมทั้งยังต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหาในภูมิภาคอื่น ๆ ในฐานะที่อาเซียนเป็นนิติบุคคล ซึ่งต้องมีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผลต่อการรวมตัวไม่ได้ส่งผลเสียเพียงอย่างเดียว เท่านั้น การรวมตัวเป็นเพียงแต่การกระตุ้นให้ปัญหาต่าง ๆ ที่จ�ำเป็น จะต้องได้รับการแก้ไขมีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะน�ำไปสู่ความร่วมมือ หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

ASEAN activities in all form both at bilateral level including visiting exchanges, training exchanges and cooperation dialogues and at multilateral level including meetings or seminars. ASEAN activities cover all dimensions which consist of politics, security, economy, social, and culture, in an order to lessen differences among ASEAN member states. ASEAN has emphasised region cooperation in three pillars including; 1. ASEAN Political-Security Community (APSC) 2. ASEAN Economic Community (AEC) and 3. ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC). As the result of the activities stated above, it is there necessitate for Thailand to be prepared for the consequences of security aspects that might arise both those with direct impact to Thailand, the whole ASEAN, and other regions. The impacts, however, do not limit only to those of nontraditional threats such as natural disaster, terrorism, narcotic and transnational economic crime, but also to traditional threats such as disputes over land and border line of those between Thailand and neighbouring countries and also those between other ASEAN member states and their neighbouring countries such as South China Sea dispute between China, Malaysia, Brunei, Philippines and Vietnam. At an early stage of becoming ASEAN Community, all problem will arise in sheer and exponential way, especially for Thailand who has to oversee internal problems including division of people in the nation, problem in Southernmost provinces of Thailand and problem of unclear demarcation between Thailand and neighbouring countries. Thailand is to involve with many related problem of ASEAN member states, and is mutually responsible as one member state of ASEAN. Moreover, Thailand is to also involve with other problems of other regions as a legal entity of ASEAN who must interact with other parts of the world. However, consequences of integration have not caused only drawbacks, but also encourage the problems to be evidently solved. Accordingly, the integration would lead member states to multilaterally cooperate 65


ในลักษณะพหุภาคี ทีจ่ ะช่วยกันในการแก้ไขปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ ซึง่ หากได้ มีการเตรียมการแต่เริ่มต้น และมีการประสานงาน รวมทั้งร่วมมือกันใน ทุกภาคส่วนของไทย และของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว ผลประโยชน์ ที่ได้รับก็จะอยู่กับประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซียน การด�ำเนินการเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้น จะเห็นได้ว่ารัฐบาล ได้ให้ความส�ำคัญกับการเป็นประชาคมในปี ๒๕๕๘ โดยมีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินการดังกล่าว ซึ่งน�ำไปสู่ การจัดท�ำแผนงาน โครงการ และงบประมาณของหน่วยราชการต่าง ๆ ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานด้านความมั่นคงนั้น มีความจ�ำเป็น ที่รัฐบาลจะต้องจัดตั้งหน่วยงานใหม่ ๆ ขึ้นรองรับงานด้านภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ทเี่ พิม่ มากขึน้ อาทิ หน่วยงานด้านการป้องกันและปราบปราม สิ่งเสพติด หน่วยป้องกันพื้นที่ชายฝั่ง หน่วยบริหารจัดการพื้นที่ชายแดน แบบรวมการ หน่วยงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและ ภัยพิบตั ิ เป็นต้น ซึง่ หน่วยงานดังกล่าวต้องมีความเป็นสากล มีกำ� ลังพลและ ยุทโธปกรณ์ที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานทั้งในประเทศและนอกประเทศ เช่นเดียวกันกองทัพจ�ำเป็นต้องปรับปรุงโครงสร้าง ภารกิจ และอ�ำนาจ หน้าที่ โดยในระยะเริ่มต้น มีความจ�ำเป็นที่จะต้องมอบหมายให้หน่วย งานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่มีภารกิจในการสนับสนุนรัฐบาลเกี่ยวกับ การด�ำเนินการดังกล่าวสนับสนุนหน่วยงานใหม่ที่จัดตั้ง โดยต้องให้ ความรู้ การศึกษาอบรม การช่วยเหลือและสนับสนุนทั้งก�ำลังพลและ ยุทโธปกรณ์ เพื่อให้การจัดตั้งหน่วยงานใหม่ที่จะเกิดขึ้นมีความพร้อม ในทุก ๆ ด้าน โดยภารกิจใหม่ และโครงสร้างใหม่ของกองทัพนั้นรัฐบาล ต้องลดภาระของกองทัพในการด�ำเนินการด้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ที่ไม่จ�ำเป็นลง รวมทั้งยังต้องให้เวลา และสนับสนุนงบประมาณ และ การด�ำเนินการทุกด้านในการพัฒนาให้กองทัพเป็นกองทัพที่ทันสมัย มี ค วามเป็ น สากลพร้ อ มปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในฐานะอาเซี ย นได้ อ ย่ า งเต็ ม ภาคภูมิ ซึง่ หากสามารถด�ำเนินการได้แล้วก็จะเป็นพืน้ ฐานให้ประเทศไทย สามารถที่จะบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ และประหยัด งบประมาณการด�ำเนินการในระยะยาว เพื่อรองรับและเตรียมการ ในทิศทางต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อไป กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วยงานของ รัฐบาลที่อยู่ภายใต้เสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคง รวมทั้ง มีภาระรับผิดชอบในการสนับสนุนเสาหลักประชาคมเศรษฐกิจ และ เสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอีกด้วย ซึ่งการด�ำเนินการในการ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน นัน้ กระทรวงกลาโหมประเทศสมาชิก อาเซียนได้จัดตั้งเวทีในการประชุมของฝ่ายทหารขึ้น เพื่อเปิดโอกาส ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ใ นระดั บ ผู ้ อ�ำ นวยการส� ำ นั ก นโยบายและแผนกลาโหม ปลัดกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้มีโอกาส ในการแลกเปลี่ยนแนวความคิด เจรจาหารือ และก�ำหนดแนวทางการ ด�ำเนินการของกองทัพประเทศสมาชิกอาเซียน โดยได้เริ่มด�ำเนินการมา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ โดยมีการประชุมครั้งที่ ๑ ที่มาเลเซีย ครั้งที่ ๒ ที่สิงคโปร์ ครั้งที่ ๓ ที่ไทย ครั้งที่ ๔ ที่เวียดนาม ครั้งที่ ๕ ที่อินโดนีเซีย ครั้งที่ ๖ ที่ กัมพูชา ครั้งที่ ๗ ที่บรูไน และล่าสุดครั้งที่ ๘ ในปีนี้จัดขึ้นที่เมียนมา ซึ่ง การด�ำเนินการในปัจจุบนั ได้พฒ ั นาไปสูก่ ารประชุมของรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา อีก ๘ ประเทศ คือ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และจีน โดย มีกรอบความร่วมมือที่ส�ำคัญ จ�ำนวน ๒ กรอบความร่วมมือ คือ กรอบ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และกรอบการประชุมรัฐมนตรี กลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจาดังนี้

and help solving the problems that might arise. The initial preparation as well as coordination and cooperation among all sectors in Thailand and among ASEAN member states will bring about mutual benefits to all ASEAN members. In order to respond to the potential impact, Thai government would attentively focus on the integration of ASEAN community in 2015 by determining policies and strategies to support the mentioned activities. It is necessitate for the government to establish new security related agencies to support new rising non-traditional threats including narcotic prevention and suppression agency, coast guard agency, unified border area administration agency, disaster prevention and mitigation agency. These agencies must be established on the basis of international standard with an adequate number of personnel and equipment to carry out mission domestically and internationally. Likewise, the Armed Forces are required to reform its structure, missions and functions. At the initial stage, it is necessary for the organic unit under the Ministry of Defence which is responsible for supporting government to carry out the missions to support newly established agencies by educating, training, assisting and supporting of personnel and equipment. With new missions and structure of the Armed Forces, the government needs to reduce Armed Force’s unnecessary burdens in activities related to nontradition threats and also needs to provide time, budget and all other means to develop Armed Forces to become a modern Armed Forces with international standard and be prepared to effectively carry out missions on behalf of ASEAN. Consequently, Thailand would be effectively capable of administering and saving budget in long term to support any future possibilities. The Ministry of Defence as a government agency, under Political-Security Community pillar, has the responsibility to support both Economic Community pillar and Socio-Cultural Community pillar. The Ministry of Defence of ASEAN member states have set up venues for military at the level of Director-General, Office of Policy and Planning, Permanent Secretary for Defence and Minister of Defence to have the opportunity to exchange views and dialogue on the framework of implementation of the Armed Forces of ASEAN member states since 2006 where the 1st meeting was held in Malaysia, the 2nd meeting was held in Singapore, the 3rd meeting was held in Thailand, the 4th meeting in Vietnam, the 5th meeting in Indonesia, the 6th meeting in Cambodia, the 7th meeting in Brunei and this year the 8th meeting in Myanmar. Currently, the mentioned meetings have taken steps to develop ASEAN Defence Ministers’ Meeting Plus (ADMM - Plus) which comprises of 8 dialogue partners including the United States of America, Japan, the Republic of Korea, Russia, India, เอกสารในกรอบ ADMM จ�ำนวน ๖ ฉบับ New Zealand, Australia and China. The ADMM-Plus provides ๑.  เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน not only platform for the Defence Ministers of ASEAN and กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ (Concept key non-ASEAN countries to have an exchange of views on Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil Society security issues of mutual interest, but also explores how to

66

กองอาเซียน สำ�นักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานนโยบายและแผนกลาโหม


Organisations (CSOs) Cooperation on Non-Traditional Security) (ไทย) ๒.  เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรและศักยภาพทาง ทหารอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและการบรรเทา ภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) (อินโดนีเซีย) ๓.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) (มาเลเซีย) ๔.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายศู น ย์ ป ฏิ บั ติ การรั ก ษาสั น ติ ภ าพในกรอบอาเซี ย น (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers Network) (ไทย - อินโดนีเซีย) ๕.  เอกสารแนวความคิ ด ว่ า ด้ ว ยโครงการปฏิ สั ม พั น ธ์ ท างทหาร ระหว่ า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น (Concept Paper on the Establishing ASEAN Defence Interaction Programmes) (บรูไน) ๖.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการสนับสนุนการส่งก�ำลังบ�ำรุง ร่วมกันในอาเซียน (Concept Paper on the Establishment of foster practical cooperation among member states. However, the following papers have been adopted under ADMM and LogisticsSupport Framework) (บรูไน) ADMM-Plus cooperation framework 6  Concept Papers under ADMM framework เอกสารในกรอบ ADMM – Plus จ�ำนวน ๖ ฉบับ Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil ๑.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านความมั่นคงทางทะเล (ADMM-Plus: Maritime Security Working Society Organisations (CSOs) Cooperation on Non-Traditional Security (Thailand) Group Concept Paper) (บรูไน - นิวซีแลนด์) Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and ๒.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief (ADMM-Plus: Concept Paper for the Establishment an Experts’ (Indonesia) Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (Malaysia) (HADR)) (ลาว - ญี่ปุ่น) Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping ๓.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (ADMM-Plus: Concept Paper for Centers Network (Thailand-Indonesia) Concept Paper on the Establishing ASEAN Defence the Counter Terrorism Experts’ Working Group) (สิงคโปร์ Interaction Programmes (Brunei) ออสเตรเลีย) Concept Paper on the Establishment of Logistics Support ๔.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (ADMM-Plus: Work Plan of Framework (Brunei) 6  Concept Papers under ADMM - Plus framework the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) ADMM-Plus: Maritime Security Working Group Concept (กัมพูชา - เกาหลีใต้) ๕.  เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญ Paper (Brunei-New Zealand) ADMM-Plus: Concept Paper for the Establishment an ด้านการแพทย์ทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Medicine work plan) (ไทย - รัสเซีย) ๖.  เอกสารแนวความคิดของคณะท� ำงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน Disaster Relief (HADR) (Laos-Japan) ADMM-Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism การปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม (Concept Paper on the Establishment of The ADMM-Plus Expert’s Working Group Experts’ Working Group (Singapore-Australia) ADMM-Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on on Humanitarian Mine Action) (เวียดนาม - อินเดีย) Peacekeeping Operartions (Cambodia-The Republic of Korea) Experts’ Working Group on Military Medicine work plan (Thailand-Russia) Concept Paper on the Establishment of the ADMMPlus Experts’ Working Group on Humanitarian Mine Action (Vietnam-India)

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

67


งานกิจการพลเรือน ในประเทศไทย Civil Affairs in Thailand

พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์

ระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธี พระราชทานกระบี่ และปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ณ อาคารใหม่สวนอัมพร วันพฤหัสบดีที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๓๖

68

T

he Royal address by His Majesty the King on the occasion of the Sword Presentation Ceremony for the new officers graduated from the Chulachomklao Royal Military Academy, the Navy Academy, the Air Force Academy and the Phra Mongkutklao Medical College at the new building, Amporn Garden, on Thursday 29 April 1993


“...ทหารนั้น มิใช่จะมีหน้าที่ในการใช้ศาสตราวุธท�ำสงครามประการเดียว หากยังต้องปฏิบัติภารกิจด้านกิจการพลเรือน คือ ใช้ความรู้ ความคิด จิตวิทยา และความเฉลียวฉลาด ซึ่งอาจรวมเรียกได้ว่า อาวุธทางปัญญา เข้าปฏิบัติพัฒนาท้องถิ่น ให้ ประชาชนอยู่ดีกินดี มีความปลอดภัย มีขวัญและก�ำลังใจที่จะสร้างความดีความเจริญ ความมั่นคงให้แก่ตนเอง และส่วนรวม  อีกประการหนึ่งด้วย...” “The duty of the military does not limited only to the use of weapon to wage war but also the contribution to the civil affairs by combining knowledge, thought, psychology and intelligence, which may call the weapon of wisdom, and use them in developing the country, the well-being and the security of the people so they can live with high morale and good spirit to build up the prosperity and security for their own and for the public as a whole.”

งานกิจการพลเรือนของฝ่ายทหาร เป็นงานที่ได้ด�ำเนินการควบคู่กับ การปฏิบัติการทางทหารมาตั้งแต่ครั้งในอดีตจวบจนปัจจุบัน เพียงแต่ใน อดีตมิได้มกี ารแบ่งแยก หรือเรียกว่าเป็น “งานกิจการพลเรือน” เป็นการ เฉพาะ แต่เป็นงานที่เป็นเนื้อเดียวกับการปฏิบัติการทางทหาร เนื่องจาก การท�ำสงครามในอดีตจะต้องมีการเก็บเกณฑ์ประชาชน และทรัพยากร ทั้งปวงเพื่อเข้าท�ำสงคราม เมื่อสงครามจบลงประชาชนก็จะไปประกอบ อาชีพกันตามปกติ งานการปฏิบตั กิ ารทางทหาร และการปฏิบตั ทิ างด้าน พลเรือนจึงมิได้แบ่งแยกกันอย่างชัดเจนเหมือนในปัจจุบัน ต่อมาเมื่อการจัดหน่วยทหาร และการท�ำสงคราม ได้มีการพัฒนา รูปแบบไปตามสถานการณ์ภัยคุกคามทั้งภายใน และภายนอกประเทศ รวมทั้งเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละห้วงเวลา ท�ำให้งานด้าน กิ จ การพลเรื อ นได้ มี ก ารพั ฒ นาตามไปด้ ว ย โดยเฉพาะในห้ ว งของ สงครามเย็น ซึ่งเป็นการต่อสู้ในเรื่องของความคิดความเชื่อที่แตกต่างกัน ทางด้านลัทธิอุดมการณ์ งานด้านกิจการพลเรือนของทหารก็ได้ทวีความ ส�ำคัญเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยได้มีการพัฒนารูปแบบ และวิธีการปฏิบัติที่ หลากหลาย เพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จตามภารกิจ ทั้งทางยุทธวิธี และทาง ยุทธศาสตร์ เช่น การพัฒนาเพือ่ ความมัน่ คง (การพัฒนาโดยหน่วยทหาร) หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

69


The military civil affairs have been conducted along with the military operation since the old days up until now. In the past, “civil affairs” has not been identified as a specific task but blended into the military operation. Since the warfare in the old days comprises of the deployment of all the people and the resources and when the war is over, this people will return to their normal daily lives, the military and Civil affairs operations are not separated as clearly as in the present day. Later, the military organization and the warfare has been developed to encounter the new environment of both internal and external threats. In addition, advancement of technology in each period of time motivates the development of civil affairs especially during the Cold War Era which consisted of the fighting of different ideology. The importance of military civil affairs has been increased. The structure and procedure has been varied to accomplish the mission tactically and strategically including the development for security (by military unit), the development and enhancement of people’s strength, and the cultivation of democratic ideology. The structure and process of psychology operation and public relations have been altered to strengthen mutual understanding among the citizen and also enhance unity and faith among the target group; the general public, shifted from original aim at defeating only against external enemy. Besides, the non-traditional threat has enlarged the perimeter of military civil affairs including the areas of narcotic, exploiting natural resources and การพัฒนาและเสริมสร้างก�ำลังประชาชน การปลูกฝังอุดมการณ์ทาง การเมื อ งที่ มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาประชาธิ ป ไตย รวมทั้ ง การปฏิ บั ติ ก าร จิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์ ก็ได้มีการปรับรูปแบบ และวิธีการที่มุ่ง เน้นไปสูก่ ารเสริมสร้างความเข้าใจทีด่ ตี อ่ กันของคนในชาติ การเสริมสร้าง ความรักความสามัคคี การสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาต่อกลุ่มเป้าหมายที่ เป็นประชาชนทั่วไปมากยิ่งขึ้น ซึ่งแต่เดิมจะมุ่งไปสู่การให้ได้ชัยชนะต่อ ข้าศึกศัตรูภายนอกประเทศเพียงอย่างเดียว นอกจากนั้นสถานการณ์ ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ก็ยิ่งท�ำให้ขอบเขตการด�ำเนินงานด้านกิจการ พลเรือนของฝ่ายทหารขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ทั้งในเรื่องยาเสพติด การ ท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้า เมืองโดยผิดกฎหมาย ปัญหาความขัดแย้งทางความคิดของคนในชาติทมี่ ี แนวโน้มจะน�ำไปสูค่ วามแตกแยกและใช้ความรุนแรงต่อกัน การจาบจ้วง ล่วงละเมิดสถาบันฯ และปัญหาอื่น ๆ ที่ฝ่ายทหารจ�ำเป็นต้องเข้าไปมี ส่วนเกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันหลักที่สร้างชาติบ้านเมือง และ ปกครองดูแลให้อาณาประชาราษฎร์มีความร่มเย็นเป็นสุขมาตั้งแต่ เริ่มความเป็นชาติไทย ให้ด�ำรงคงอยู่จนถึงพวกเราคนไทยในทุกวันนี ้ พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ได้ทรงท�ำนุบ�ำรุงประเทศชาติ โดยทรง พระวิริยะอุตสาหะ ทุ่มเทพระวรกาย และพระสติปัญญาในการแก้ไข ปัญหาชาติบ้านเมืองให้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่าง ๆ มาได้จนถึงปัจจุบัน ดังนั้นการถวายความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ จึงถือว่าเป็น ภารกิจที่สืบเนื่องทางประวัติศาสตร์ ที่เหล่าบรรดานักรบบรรพชนไทย ได้ยึดถือสืบเนื่องกันมาจากครั้งโบราณกาล ถึงแม้จะมีการบัญญัติไว้ใน ธรรมนูญการปกครองหรือไม่ก็ตาม แต่เหล่าทหารหาญทั้งหลายต่างก็ 70

พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์


ยึดมั่นในความจงรักภักดีไม่เสื่อมคลาย และพร้อมที่จะถวายชีวิตเป็น ราชพลีในทุกโอกาส จึงเป็นบทบาทงานด้านกิจการพลเรือนที่ส�ำคัญยิ่ง อีกประการหนึ่งในการพิทักษ์รักษา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ สรุปว่าการด�ำเนินงานด้านกิจการพลเรือนของฝ่ายทหารโดยทั่วไป ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นการผสมผสานหลักการทางการทหาร เข้ากับหลักการทางพลเรือน ที่มีความแตกต่างกันให้สามารถท�ำงาน ร่วมกันได้อย่างประสานสอดคล้อง เพื่อให้บรรลุผลประโยชน์สูงสุดของ ประเทศชาติในทุกมิติ โดยแบ่งกลุ่มงานให้มีความเหมาะสมสอดคล้อง กับการปฏิบัติภารกิจทั้งของฝ่ายทหาร ฝ่ายพลเรือน และการจรรโลง ไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติ ออกเป็น ๓ กลุ่มงานดังนี้ ๑. กลุ่มงานสนับสนุนการปฏิบัติทางทหาร เป็นการผนึกทรัพยากร ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนเข้าด้วยกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ ทางทหารในทุกมิติ แบ่งการด�ำเนินการออกเป็น การปฏิบัติงานกิจการ พลเรือน การปฏิบัติการจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์ โดยลักษณะ ของการปฏิบัติจะมุ่งเน้นสนับสนุนการปฏิบัติทางทหารด้วยการใช้กำ� ลัง ประชาชน และการใช้สื่อสนับสนุนการปฏิบัติการข่าวสารในทุกภารกิจ ได้แก่ การป้องกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน การรักษาความ สงบเรียบร้อยภายในประเทศ และการปฏิบัติการอื่น ๆ ๒. กลุ่มงานสนับสนุนพลเรือน เป็นการใช้ทรัพยากรของฝ่ายทหาร ที่มีความเหมาะสม ทั้งคน และเครื่องมือ เข้าไปให้การช่วยเหลือ และ สนับสนุนฝ่ายพลเรือนในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ การช่วยเหลือพัฒนาท้องถิน่ ให้ประชาชน มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และพ้นจากภัยพิบัติต่าง ๆ เพื่อให้ประเทศชาติมี ความมั่นคงปลอดภัย และประชาชนมีความผาสุก ทั้งในยามปกติ และ ในสถานการณ์วิกฤต หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

environment, illegal labor, different political opinion among people which causes separation and violence against each other, violation against the Monarchy Institute and other problems require the military involvement. The Monarchy Institute is the main institution in founding the nation and safeguarding the well-being of the citizen since the establishment of Thailand and stabilizing the country for every Thais up till now. Every Monarch has nurtured the country with perseverance, dedication and wisdom in resolving national crisis until present day. Therefore, loyalty to the Monarch Institute is considered to be a continued historical duty that all Thai worriers have been upheld since the ancient time. Regardless of being written in the Administrative Charter or not, all the military are strictly loyal to the king untiringly and more than willing to sacrifice their lives for the king at all occasion. Hence, civil affairs is another major role of the military in upholding and honoring the Monarch Institute at their full strength. It can be summarized that military civil affairs, in general, since the past until now, is the combination of the different principles of the military and civilian to merge with each other for the maximum benefit of the country in every dimension. To appropriately coordinate the mission of the military and the civil sector and to uphold the core national institute, 3 sectors have been established as follows: 71


๓. กลุม่ งานส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันหลักของชาติ เป็นงานทีฝ่ า่ ย ทหารได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับส่วนราชการอื่น ภาคเอกชน และประชาชน ในการจัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดี และยึดมั่นในสถาบัน หลักของชาติ รวมทั้งเป็นหน่วยริเริ่มในการจัดกิจกรรม และรณรงค์ ให้สังคมไทยเกิดความรักความสามัคคี มีอุดมการณ์รักชาติ มีจิตส�ำนึก ด้านความมั่นคง จรรโลงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตลอดจนแสดงออกอย่างชัดเจนในการพิทักษ์รักษา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์อย่างเต็มความสามารถในทุกโอกาส เปรี ย บเที ย บงานกิ จ การพลเรื อ นของทหารกั บ งาน CSR (Corporate Social Responsibility) งาน CSR เป็นความรับผิดชอบของภาคเอกชนทีป่ ระกอบธุรกิจมีกำ� ไร และต้องการตอบแทนคืนกลับให้สู่สังคม โดยให้การช่วยเหลือสนับสนุน การพัฒนาท้องถิน่ หรือชุมชนในด้านต่าง ๆ ให้ได้รบั การพัฒนาไปพร้อม ๆ กับการท�ำธุรกิจ รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรให้ เป็นที่ยอมรับในการเอื้ออาทรต่อสังคมอีกทางหนึ่งด้วย ส่วนงานกิจการพลเรือนของทหารเป็นงานที่ผสมผสานทรัพยากร ระหว่างทหารกับพลเรือนเพื่อสนับสนุนภารกิจของฝ่ายทหารและการ ด�ำเนินงานของฝ่ายพลเรือน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ ชาติ ดังนั้นขอบเขตและวัตถุประสงค์งานกิจการพลเรือนของทหาร จึง แตกต่างจากงาน CSR ของภาคเอกชน แต่รูปแบบและกิจกรรมอาจ มีความเหมือนกันบ้างในบางโครงการ เช่น การปลูกต้นไม้เพื่อเสริม สร้างสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชน หรือการช่วยเหลือ ประชาชนเมือ่ ประสบภัยพิบตั ิ เป็นต้น แต่หากจะเทียบเคียงงาน CSR กับ 72

1.  Military Operation Support Sector: consolidating military and civil resources to support military operation in every dimension by dividing tasks in civil affairs, psychology operation and public relations. Each task focuses on supporting military operation with people’s participation and media support in every mission including national defence, internal security, internal peace and order and other operation. 2.  Civil Support Sector: using military resources including personnel and equipment to assist and support civil sector to constantly facilitate the State’s administration as well as to enhance the well-being of local people, alleviate natural disaster and maintain peace and security during peacetime and time of unrest. 3.  Strengthening and Supporting Core National Institute Sector: the military jointly coordinate with other governmental sectors, private sector and the public in organizing activities representing loyalty and gratitude to the core national institute and also initiate the activities and campaigns to create unity, patriotism, security awareness, uphold the Institute of Nation, Religion and the Monarchy with untiring effort in honoring the Monarchy on every occasion. พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์


งานของฝ่ายทหารที่มีความใกล้เคียงกันมากที่สุด น่าจะเป็นงาน “ชุมชน สัมพันธ์” ซึ่งเป็นกิ่งหนึ่งของการประชาสัมพันธ์ทางทหาร คือ การสร้าง ความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ชุมชนทีห่ น่วยทหารไปตัง้ อยู่ หรือชุมชนทีอ่ ยูใ่ นความ รับผิดชอบของหน่วยทหาร โดยให้ความช่วยเหลือและเสริมสร้างสิ่ง ที่เป็นประโยชน์ให้กับชุมชน ปั จ จั ย แห่ ง ความส� ำ เร็ จ ของงานกิ จ การพลเรื อ นขึ้ น อยู ่ กั บ ปั จ จั ย ที่ส�ำคัญยิ่ง ๒ ประการ คือ ผู้บังคับบัญชา ต้องมีความรู้ความเข้าใจในสาระส�ำคัญของงาน กิจการพลเรือน และสามารถก�ำหนดนโยบายการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน นายทหารกิจการพลเรือนและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ต้องมีความรู้ ความสามารถในการประสานงานให้ทั้งฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน มีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องเกื้อกูลซึ่งกันและกันในแต่ละภารกิจอย่างมี ดุลยภาพ โดยมีคณ ุ สมบัตพิ นื้ ฐานทีส่ ำ� คัญ คือ มีความรอบรูใ้ นกิจการทาง ทหารเป็นอย่างดีควบคู่ไปกับการเรียนรู้ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ของฝ่ายพลเรือน เพื่อให้สามารถน�ำทรัพยากรทั้งปวงมาผสมผสานกัน และให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติได้อย่างสมบูรณ์ หรืออาจสรุปเป็น ข้อความสั้น ๆ ได้ว่า “รู้ความต้องการทางทหาร ช�ำนาญประสาน พลเรือน”

หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

Comparison between Military Civil Affairs and Corporate Social Responsibility (CSR) CSR is the responsibility of the profitable private sector with an awareness to reciprocate to the society by providing assistance to the local and community in various areas while doing their business. In addition, this is to promote the positive image of the organization and also reflect their thoughtfulness to the society. The military civil affairs is the combination between the usage of military and civil resources to support military mission and civilian management for maximum benefit of the country. Therefore, the scope and objective of the military civil affairs are different from CSR of the private sector. However, some types and activities are quite similar, for example the reforestation to restore the environment, supporting vocational training for the local, or disaster relief operation. Comparing the activity of CSR and military civil affairs, the most similar activity is “Community Relations” which is a branch of military public relations. In so doing, the military will try to promote friendly relations with the community within the military area or the community under the responsibility of the military by providing assistances and support to the community. There are 2 main important factors to the success of military civil affairs: 1. The Commander ought to have thorough knowledge and understanding on the main concept of civil affairs and be able to deliver a clear and appropriate policy. 2. Civil Affairs Officer and related staff should possess the ability and knowledge in coordinating with both military and civilian sector and keep balance on supporting each other in each task. The essential foundation is the well equipped knowledge on military affairs in line with knowledge on civilian administrative rules in order to integrate all resources and accomplish all operation or it can be summarized that “Aware of Military Requirement, Competent in Coordinating with Civilian.”

73


กองทัพแห่งคลื่นลูกที่ ๓ กับการเป็น “กองทัพ ประจ�ำการอาสาสมัคร” The Armed Forces of the Third Wave as “The Volunteer Army” พลโท ยศนันท์ หร่ายเจริญ

74


ริบทของสังคมไทยในปัจจุบัน อยู่ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) เช่นเดียวกับทุกประเทศในสังคมโลก จาก ที่เคยมีเส้นแบ่งพรมแดน มีความแตกต่างและมีอัตลักษณ์ กลับถูกหลอมรวมกันเป็นหนึ่งเดียว ไม่ว่าจะทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้าน เทคโนโลยี ด้านสังคม-วัฒนธรรม ไม่เว้นแม้กระทั่งมิติทางด้านการเมือง การปกครอง และการทหาร การด�ำรงอยู่ในกระแสโลกาภิวัตน์ คือการเรียนรู้ที่จะปรับทุกมิติให้ สอดคล้อง สามารถโต้คลืน่ ลูกที่ ๓ หรือคลืน่ ของการปฏิวตั สิ ารสนเทศและ ขับเคลือ่ นประเทศให้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับชาติตา่ ง ๆ ในประชาคมโลก คลื่นลูกที่ ๓ มีความส�ำคัญอย่างไรในมิติของการเมือง การปกครอง การทหาร และจะน�ำมาซึ่งแนวคิดในการเตรียมการด้านก�ำลังทหาร อย่ า งไร ประเด็ น นี้ ผู ้ เ ขี ย นได้ เ สนอแนวคิ ด ไว้ แ ล้ ว ในบทความเรื่ อ ง “วิธีการผลิตอย่างไร : วิธีการรบอย่างนั้น” โดยเป็นการเชื่อมโยง แนวคิดของนักวิชาการด้านการพยากรณ์อนาคตศาสตร์ (Futurist) และ นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economy) เข้าไว้ ด้วยกัน ซึ่งจะขอสรุปเพื่อให้เข้าใจแนวคิดดังนี้

สองแนวคิด สองมุมมอง อัลวิน และ ไฮดี ทอฟเลอร์ (Alvin and Heidi Toffler) นักเขียน ชาวอเมริกนั ซึง่ เป็นนักพยากรณ์อนาคตศาสตร์ (Futurist) ได้กล่าวไว้ใน หนังสือ The Third Wave โดยอธิบายสังคม ๓ แบบ บนพื้นฐานแนวคิด ที่ว่า คลื่นแต่ละลูกที่ผลักดันสังคมในแต่ละยุคสมัยให้เปลี่ยนไป จะน�ำมา ซึ่งอารยธรรมและวัฒนธรรมของสังคมยุคใหม่ให้เข้ามาแทนที่คลื่น ลูกที่ ๑ คือ การปฏิวตั กิ ารเกษตร คลืน่ ลูกที่ ๒ คือ การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม และคลื่นลูกที่ ๓ คือ การปฏิวัติสารสนเทศ ซึ่งสังคมไทยเราเรียกว่า ยุคไอที (IT : Information Technology) เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร ก้าวสู่ระบบดิจิตอล ดาวเทียม ท�ำให้โลกแคบลง กลายเป็นหมู่บ้านโลก (Global Village) การติดต่อสื่อสารรวดเร็ว ครอบคลุมทั่วโลกในเวลา จริง (Real time) ท�ำให้มนุษย์เข้าถึงข้อมูลข่าวสารความรู้ได้ ส่วนแนวคิดอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economy) และเป็นนักคิดฝ่ายซ้าย ได้แก่ คาร์ล มาร์กซ์ และ ฟรีดิช เองเกลส์ (Karl Marx and FreidrichEngles) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ ค�ำประกาศคอมมิวนิสต์ (The Communist Manifesto) ถึงวิวฒ ั นาการ ของสังคมที่มีผลมาจากปัจจัยการผลิตและการต่อสู้ทางชนชั้นที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิวัฒนาการของสังคมแนวลัทธิมาร์กซ์ ๖ ชั้น

สองแนวคิด สู่ “วิธีการผลิตอย่างไร วิธีการปกครอง  วิถีการรบอย่างนั้น” แนวคิ ด ของทั้ ง ทอฟเลอร์และมาร์กซ์ มีประเด็นที่สอดรั บ กั น อยู ่ ๒ ประเด็น ได้แก่ ประเด็ น แรก“วิ ธี ก ารผลิ ต อย่ า งไร วิ ธี ก ารปกครองอย่ า งนั้ น ” : ผู้ปกครอง คือ ผู้ที่ครอบครองปัจจัยการผลิต และเป็นผู้ก�ำหนดรูปแบบ การปกครองให้สอดรับกับวิธีการผลิตหรือกิจกรรมทางเศรษฐศาสตร์ ของยุคสมัยนั้น ๆ วิถีการรบ ถือเป็นกิจรรมทางเศรษฐศาสตร์อย่างหนี่ง โดยมาร์กซ์เน้นว่า เป็นการต่อสู้ทางชนชั้นหรือการปฏิวัติ ส่วนทอฟเลอร์ เนื่องจากเขามองว่า การปฏิวัติทางสังคมเป็นคลื่นลูกใหม่ที่ถาโถมจน แปรเปลี่ยนวิถีในสังคม ดังนั้นวิถีการรบจึงต้องสอดรับกับรูปแบบการ ปฏิวัติ นั่นคือ โต้คลื่นลูกที่ ๑ ด้วยวิถีการรบยุคการปฏิวัติการเกษตร โต้ ค ลื่ น ลู ก ที่ ๒ ด้ ว ยวิ ถี ก ารรบยุ ค ปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรม และโต้ ค ลื่ น ลูกที่ ๓ ด้วยวิถีการรบยุคปฏิวัติสารสนเทศ หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

T

he context of present Thai society under the trend of Globalisation is similar to every country in the global society, from the clear borderline and distinctive identity, to merge into a united world in the areas of economy, technology, socio-culture as well as the dimension of politics, administration and military affairs. To survive in the Globalisation era, we need to adjust every mentioned dimension to accommodate each other in order to response to the Third Wave or the wave of Information Revolution and to mobilize our country to stand shoulder to shoulder with other countries in the world community. How the Third Wave is essential to the dimension of politics, administration, military affairs, and how the military forces should be prepared, the author has already suggested the concept in the article called “Conducting Warfare According to Productivity” which combine the concept of the Futurist and the Political Economist and the concepts of which can be summarised as follows:

Two Concepts Two Perspectives Alvin and Heidi Toffler, the American writers who are also the Futurist have written in their book called The Third Wave, describing 3 types of society based on the concept of wave. Each wave has pushed the changes in each era and replaced by the new culture and tradition of modern society. The 1st Wave is the Agricultural Revolution, the 2nd Wave is the Industrial Revolution and the 3rd Wave is the Information Revolution, so called the Age of Information Technology. Communication Technology has been advanced into digital system. Satellite Technology has made the world get smaller and become the Global Village. Rapid communication covering real time situation provides access to available information. Another concept is by the two Political Economists and the Leftwing philosophers such as Karl Marx and Friedrich Engles who have written in The Communist Manifesto about the evolution of the society derives from productivity and class struggle which are the foundation of Marxism’s 6 stages of Economic Development.

From Two Concepts to “Governing and   Conducting Warfare According to Productivity” The concepts of Toffler and Marx have 2 points in common which are: Firstly, “Governing According to Productivity”: the ruler owns productive elements and determines administrative system to accommodate productivity or economic activities of the era. Conducting warfare is considered to be one of economic activities. While Marx focuses on the class struggle or the revolution, Toffler understands that social revolution is the new wave attacking the society and causes the changes, 75


ประเด็ น ที่ ๒ “การปฏิวัติหรือวิวัฒนาการรูปแบบการปกครอง รูปแบบอารยธรรมวัฒนธรรม รูปแบบการใช้ชีวิตของมนุษยชาติ ตลอด จนรูปแบบวิถีการรบ เกิดจากการปฏิบัติทางการผลิตหรือกิจกรรมทาง เศรษฐศาสตร์ที่เปลี่ยนไป”

คลื่นลูกที่ ๑ ยุคการปฏิวัติการเกษตร วิธีการผลิต : ใช้กล้ามเนื้อคนและสัตว์ในการเพาะปลูก มีปัจจัยการ ผลิต เครื่องมือการเกษตร ที่ดิน และแรงงาน สังคมการผลิตแบบวรรณะ วิธีการปกครอง : แบบศักดินา ผู้ปกครอง คือ ผู้ที่มีก�ำลังมากและ เป็นผู้ครอบครองอ�ำนาจ รัฐมีวิวัฒนาการจากแคว้นหรือนครรัฐ เป็น ราชอาณาจักรหรือจักรวรรดิ์ วิถีการรบ คือ การท�ำสงครามครอบครอง ที่ดินและประชากร วิถีการรบ : ใช้กล้ามเนื้อแขนขา จับหอกดาบ ยิงธนูบนหลังม้า ใคร มีก�ำลังคน ช้าง ม้ามาก ใช้ศักยภาพของก�ำลังมาก กองทัพนั้นคือผู้มี ชัยชนะ อ�ำนาจอยู่ที่นักรบที่มีพละก�ำลัง กองทัพมีรูปแบบการจัด การฝึก การยุทธ์ หรือวิถีการรบที่โต้คลื่นลูก ที่ ๑ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กองทัพม้ามองโกล หรือต้องล�้ำยุคสมัย สามารถโต้คลืน่ ลูกที่ ๒ ในยุคต้นได้ จึงจะประกันชัยชนะ ซึง่ ก็คอื กองทัพ ประจ�ำการแบบ Labour Intensive Army ของรัสเซียและอังกฤษใน ต้นศตวรรษที่ ๑๘ นั่นเอง

therefore, conducting warfare must be compatible with the revolution, which are surfing the 1st Wave with the warfare of Agricultural Revolution Age, surfing the 2nd Wave with the warfare of Industrial Revolution Age and surfing the 3rd Wave with the warfare of Information Revolution Age. Secondly, “Revolution or Evolution of Administrative System, Cultural System, Human Lifestyle as well as Warfare derive from the changing of operation of Productivity or Economic Activity.”

The 1st Wave: Agricultural Revolution

Productivity: use of human and animal muscle power in farming with agricultural tools, land and labor within the class system society Governing: feudal system with the ruler possesses power and controls the state. The state has been developed from the region or the city state to become the kingdom or the empire while the ruler will wage the war to possess the land and the people. Warfare: fighting by using human muscle, sword, spear, horseback archery; the army with more man power, elephants and horses will win a war. Power will be in the hands of the คลื่นลูกที่ ๒ ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม strong worriers. วิธีการผลิต : ใช้โรงงานอุตสาหกรรมผลิตออกมาเป็นจ�ำนวนมาก ๆ The army with the arrangement, training, tactics, warfare วิธีการปกครอง : แบบทุนนิยม เสรีนิยมประชาธิปไตย ผู้ปกครอง and ability to effectively surf the 1St Wave is the Mongol หรืออ�ำนาจอยู่ที่ผู้มีทุนหรือเงินตรามาก วิถีการรบ คือ การท�ำสงคราม Army, and the advance army which is able to surf the early ล่าอาณานิคม 2nd Wave Era is the Labour Intensive Army of Prussia and วิถีการรบ : ใครมีเรือรบ รถถัง เครื่องบิน ระเบิดมาก ก็จะประสบ England in the early 18th century. ชัยชนะ อ�ำนาจอยู่ที่นักรบที่มีทุนเงินตรา อาวุธ จ�ำนวนมากและมี The 2nd Wave: Industrial Revolution มาตรฐาน Productivity: mass industrial production กองทัพที่โต้คลื่นลูกที่ ๒ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็เพราะมีวิธีการ Governing: Capitalism Liberal Democracy; the ruler or the ฝึก การจัด การยุทธ หรือวิถีการรบแบบทุนนิยม ซึ่งก็คือกองทัพประจ�ำ power is in the hands of those who own huge amount of การแบบ Capital Intensive Army ของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และ capital and money. This is the era of Colonisation. พันธมิตรที่ประสบชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ นั่นเอง Warfare: those who possess warships, tanks, aircrafts and ammunitions will gain victory. The power will be in the คลื่นลูกที่ ๓ ยุคการปฏิวัติสารสนเทศ hands of the worriers with enormous money, weapon and high standard. วิธกี ารผลิต : ใช้ดาวเทียมสือ่ สารแบบดิจติ อล สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ The ability to effectively surf the 2nd Wave derives from สิน้ ยุคอุตสาหกรรมปล่องควัน การติดต่อสือ่ สารในเวลาจริง (Real time) the training, the arrangement, the tactics and the warfare of โลกแคบลงเป็นหมู่บ้านโลก วีธีการปกครอง : แบบทุนนิยมเสรีประชาธิปไตย ผู้ปกครองหรือ Capitalism, such as the Capital Intensive Army of the United อ� ำ นาจเริ่ ม ย้ า ย (Power Shift) ไปสู ่ ผู ้ ที่ มี ส ติ ป ั ญ ญา (Wisdom) States, England and the Allied Forces who won the World ประเทศต่าง ๆ เริ่มเข้าสู่เสรีนิยมประชาธิปไตยมากขึ้น สิ้นสุดยุคการ War I andrd World War II. The 3 Wave: Information Revolution ล่าอาณานิคม พร้อมกับการปิดตัวลงของโรงงานอุตสาหกรรมปล่องควัน Productivity: use of digital satellite, information technology, ขนาดใหญ่ ต้องการประสิทธิภาพการผลิตทีส่ งู ขึน้ เพือ่ ชดเชยวัตถุดบิ จาก computer. It is the end of chimney industry. The world ทรัพยากรที่ลดน้อยถอยลง วิถีการรบ : ใครมีสติปัญญา (Wisdom) มีความรู้ (Knowledge) becomes global village. Governing: Capitalism Liberal Democracy. The power เท่าทันเวลาจริง (Real time) และมีข่าวกรอง (Intelligence) กองทัพ has been shifting to those with wisdom. Countries become นั้นจึงจะประสบชัยชนะ อ�ำนาจที่มีประสิทธิภาพที่สุด คือ ความรู้ กองทัพที่โต้คลื่นลูกที่ ๓ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ กองทัพที่มี Liberal Democracy. It is the end of Colonisation as well as การฝึก การจัด และวิถีการรบ หรือการยุทธแบบทุนนิยมสารสนเทศ the closure of huge chimney factories. The industry requires กองทัพประจ�ำการแบบ Capital Intensive Army ซึ่งมีลักษณะแบบ higher production capability to compensate the reduced Information Technology Intensive Army หรือ Smart Army resources. 76

พลโท ยศนันท์ หร่ายเจริญ


Warfare: the army of wisdom, knowledge, real time and intelligence will win the victory. The most effective power is knowledge. The ability for the army to effectively surf the 3 rd Wave derives from the training, arrangement, warfare or the Capitalism Information Technology tactic. The Capital Intensive Army which characterizes as Information Technology Intensive Army or Smart Army is the army with dynamic, range, speed and lethality who demand the recruitment of “wise military” or “wise warrior”. Such army would then be capable of surfing the 3rd Wave or the Globalization Movement.

The Most Essential Factor

คือกองทัพที่มีพลังพลวัต (Dynamic) ไปได้ไกล (Range) มีความเร็ว (Speed) และอ�ำนาจการท�ำลายล้างที่แม่นย�ำ (Lethality) ต้องการ “ทหาร” หรือ “นักรบที่ชาญฉลาด” ถึงจะโต้คลื่นลูกที่ ๓ หรือเผชิญ กระแสโลกาภิวัตน์ได้นั่นเอง

สิ่งส�ำคัญที่สุด การเลือกใช้ “วิถีการรบ” ที่ผิดยุคสมัย อาจน�ำมาซึ่งความพ่ายแพ้ ของกองทัพอันเกรียงไกร ดังตัวอย่างของกองทัพพม่าอันยิ่งใหญ่ในยุค คลื่นลูกที่ ๑ แต่กลับถูกพิชิตได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง และย่อยยับลง ด้วยอานุภาพของกองทัพอังกฤษมหาอ�ำนาจแห่งคลื่นลูกที่ ๒ หรือแม้ กระทัง่ อภิมหาอ�ำนาจอย่างอเมริกา ซึง่ กรีธาทัพทีอ่ อกแบบไว้เพือ่ โต้คลืน่ ลูกที่ ๒ แต่กลับต้องไปจมปลักกับสงครามเวียดนามซึ่งเป็นสงครามคลื่น ลูกที่ ๑ ที่รบกันด้วยวิถีการรบที่อาศัยความทรหดอดทนของกล้ามเนื้อ มนุษย์ ซ�้ำร้ายคนอเมริกันซึ่งก�ำลังเข้าสู่วิถีชีวิตแบบสังคมคลื่นลูกที่ ๓ ต้องมานั่งดูข่าวทีวีเห็นภาพการสูญเสียของเยาวชนอเมริกันในสงคราม เวียดนาม ในดินแดนที่ห่างจากประเทศของตนเองนับหมื่นไมล์

บทสรุปส�ำหรับกองทัพไทย สังคมไทยเป็นสังคมที่มีองค์ประกอบเป็นรูปพีระมิด นั่นคือ ยังคง มีฐานของประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรอาศัยอยู่ในสังคมเกษตร มีประชากรย่านกลางของพีระมิดเป็นผู้ใช้ชีวิตในเมืองและอยู่ในภาค อุตสาหกรรม และมีเพียงคนกลุ่มน้อยเท่านั้นที่ใช้ชีวิตและประกอบ การงานภายใต้รูปแบบสังคมสารสนเทศเต็มตัว เมื่อค�ำนึงถึงความเป็น หมู่บ้านโลกก็พบว่าประเทศในกลุ่มภูมิภาคอาเซียนก็มีลักษณะสังคม ทั้ง ๓ แบบเช่นเดียวกับประเทศไทย ในปริมาณที่มากบ้างน้อยบ้าง แตกต่างกันไป หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

Choosing the wrong “warfare” may bring about the defeat of the magnificent army, for example, the great Burmese Army during the 1st Wave Era has been swiftly defeated in a few hours by the superiority of the British Army, the Super Power of the 2nd Wave. Even the Super Power like the United States, who deployed the huge troops to response to the 2nd Wave, eventually succumbed to Vietnam War, the war of the 1st Wave which requires human strength, in addition, the American who are entering the 3rd Wave Era have to watch the news of the casualties of the young American in Vietnam War on the television, the place of which is so far away from their homeland. Summary of the Overall Picture of the Royal Thai Armed Forces Thai society is a pyramid shape society with the majority of the farmer, residing in agricultural society, the population in the middle of the pyramid live in the urban area and involve in industrial sector, only the minority who fully live and work within the Information Technology society. Considering the Global Village, ASEAN countries, including Thailand, comprise of the mentioned 3 types of society, more or less. Within this regard, Thai Army requires the Labour Intensive Army such as the Ranger, Border Patrol Police and Volunteer Defense Corps to response to the 1st Wave. The Army size must be compatible with the base of the pyramid which is the agricultural society. To response to the 2nd Wave, the Capital Intensive Army such as the 2nd Infantry Division, King’s Guard, or 2nd Cavalry Dision, King’s Guard would serve as a critical point in winning the war as the victory would be determined by number of possessed equipments. The establishment of the Rapid Deployment Force (the infantry who receives extra training in Airborne and Air Deployment: currently the 31st Infantry Regiment) is regarded as a preparation to response to the 3rd Wave. To enhance the capability, the joint exercise between the navy fleet, the marine and the airborne force should be conducted 77


ฉะนั้นแล้ว กองทัพไทยต้องมีทั้งลักษณะกองทัพประจ�ำการ Labour Intensive Army เช่น กองก�ำลังทหารพราน ต�ำรวจตระเวนชายแดน และกองอาสารักษาดินแดน เพื่อใช้ในการโต้คลื่นลูกที่ ๑ กองก�ำลังมี ปริมาณให้ได้สัดส่วนกับพีระมิดส่วนฐานของสังคมที่ยังคงเป็นสังคม เกษตร ส�ำหรับคลื่นลูกที่ ๒ คือ การมีกองทัพประจ�ำการแบบ Capital Intensive Army ที่แพ้ชนะกันที่จ�ำนวนหน่วยนับของยุทโธปกรณ์ เช่น กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ หรือ กองพลทหารม้าที่ ๒ รักษา พระองค์ การมีกองก�ำลังเคลื่อนที่เร็ว Rapid Deployment Force : RDF (ทหารราบที่ฝึกเพิ่มเติมในการเป็นหน่วยส่งทางอากาศและเป็นหน่วย เคลื่อนที่ทางอากาศ ปัจจุบันคือ กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค์) ไว้โต้คลื่นลูกที่ ๓ เป็นเรื่องที่ดี ซึ่งน่าจะเพิ่มกองก�ำลังทางเรือ ก�ำลัง นาวิกโยธิน และก�ำลังขนส่งทางอากาศ ที่น่าจะมีการฝึกร่วมกัน มีการ รวมตั ว กั น อย่ า งหลวม ๆ คือ มีกองเรือล� ำเลียงพลนาวิ ก โยธิ น ของ กองทัพเรือ กองบินขนส่งของกองทัพอากาศ อากาศยานปีกหมุนของ กองทัพบก ซึ่งติดสัญลักษณ์บอกฝ่ายเดียวกันที่พร้อมจะรวมตัวกัน เป็นกองก�ำลังเฉพาะกิจร่วมส�ำหรับการฝึกร่วมหรือการปฏิบัติการเพื่อ สันติภาพร่วมกับกองก�ำลัง UN หรือแม้แต่การแสดงก�ำลัง (Show of Forces) หรือการปฏิบัติการร่วมกับชาติอาเซียนอื่นเพื่อโต้คลื่นลูกที่ ๓ ของการก้าวไปสู่ความเป็นเอกภาพของประชาคมอาเซียน ๒๐๑๕ นั่นคือสิ่งที่เป็นการประกันความส�ำเร็จของทุกภารกิจ ทุกวิธีการรบ ในการโต้คลื่นลูกที่ ๓ 78

with the combination of marine deployment ship of the Navy, transportation squadron of the Air Force, and rotary wing aircraft of the Army attached with the same emblem. These mentioned equipment should be well prepared to be formed into the task force for the joint exercise or the UN Peace Keeping Operation, even the show of forces or the Joint Operation with ASEAN to response to the 3rd Wave of moving toward to the unity of ASEAN Community in 2015. The preparations are to ensure of the success of every mission and every combat method in responding to the 3rd Wave.

Additional Viewpoint Knowledge is Power To response to the 3rd Wave, intelligence and real time technology is inevitable in the Information Revolution Era, however, the major factor in strengthening the capability of the Armed Forces is the development of personnel to become the “wise warrior” equipped with wisdom and knowledge which will enable them to reach the level of professional army and achieve the victory in the battlefield. พลโท ยศนันท์ หร่ายเจริญ


ทัศนะเพิ่มเติม ความรู้ คือ อ�ำนาจ ในการโต้คลื่นลูกที่ ๓ นั้น แม้ว่าการมีข่าวกรอง (Intelligence) และ เท่าทันเวลาจริง (Real time) จะเป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ขาดไม่ได้ใน ยุคปฏิวัติสารสนเทศ แต่สิ่งส�ำคัญที่จะส่งเสริมให้กองทัพมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นคือการพัฒนาก�ำลังพลให้เป็น “นักรบที่ชาญฉลาด” มีสติ ปัญญา (Wisdom) และมีความรู้ (Knowledge) อันเป็นการพัฒนาสู่ ความเป็นมืออาชีพส่งเสริมให้กองทัพนั้นเป็นกองทัพที่เกรียงไกรและ ประสบชัยชนะในสมรภูมิ การพัฒนาบุคลากรทางทหารจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่กระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพให้ความส�ำคัญ ส�ำหรับหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ซึ่ง เป็นหน่วยขึ้นตรงกองทัพบกที่รับผิดชอบกิจการก�ำลังส�ำรองทั้งปวงโดย เฉพาะงานหลัก ๔ ด้าน ได้แก่ กิจการก�ำลังพลส�ำรอง, กิจการนักศึกษา วิชาทหาร, กิจการสัสดี และกิจการอาสารักษาดินแดน (ให้กับกระทรวง มหาดไทย) ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาศักยภาพของก�ำลังพลเพือ่ ให้ สามารถน�ำมาใช้เป็น “ก�ำลังส�ำรอง” สนับสนุนปฏิบัติการทางทหารใน ยามสงครามและค�้ำจุนให้กองทัพมีความเข้มแข็ง สดชื่น ท�ำการรบได้ อย่างต่อเนื่อง ยาวนาน การฝึกก�ำลังส�ำรองทั้ง ๔ กลุ่มข้างต้น เป็นการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์จากที่เป็นเพียงประชาชน คนธรรมดา (people) ให้เป็นพลเมือง (citizen) ที่มีความสามารถในการรบ และมีจิตส�ำนึกรักชาติ พร้อม เสียสละประโยชน์ส่วนตัว เพื่อปกป้องเอกราชของชาติเคียงข้างก�ำลัง ประจ�ำการ

The Ministry of Defence and the Services focus on the development of their personnel. The Territorial Defense Command which is the organic element of the Royal Thai Army is responsible for all the reserve affairs, especially 4 major duties including reserve personnel affairs, Territorial Defense Student affairs, Registrar affairs and Volunteer Defense Corps affairs (for the Ministry of Interior). The Command emphasizes on the capability enhancement of the personnel to become the capable “Reservist” which helps supporting military operation during wartime and also facilitating combat sustainability. The training of the 4 mentioned groups aim to enhance ordinary people to become the citizen who attains combat capability and patriotism, and is willing to sacrifice own interest to safeguarding the nation along with those active duty personnel.

Way towards the Volunteer Army

One of the major requirements in making the Armed Forces of modern era or the Armed Forces of the 3rd Wave is to recruit male who has exceptional discipline and is equipped with knowledge of new technologies along with the willingness to be commissioned as military personnel. They must possess the self-discipline to maintain standards and values of the military and must have competencies in successfully carrying out the mission. Rotation of these มุ่งสู่การเป็นกองทัพประจ�ำการอาสาสมัคร (Volunteer ideal males with those existing ones would therefore help maintaining the newness of the Armed Forces. Army) To recruit those ideal personnel, the Army will recruit การท�ำให้กองทัพยุคใหม่ กองทัพแห่งคลื่นลูกที่ ๓ มีความเข้มแข็ง the personnel on volunteer basis. In 2013, the Territorial สดชื่น สิ่งส�ำคัญประการหนึ่งที่กองทัพต้องการคือ คนรุ่นใหม่ไฟแรง Defense Command had initiated the project of temporary ที่มีความรู้ความสามารถ มีความต้องการเป็นทหาร และเป็นพลเมือง recruitment of those 3rd or 5th year Territorial Students for a แห่งยุคดิจิตอล เพื่อมาเป็นก�ำลังพลที่มีจิตใจฮึกเหิม รุกรบ พร้อมปฏิบัติ 1-2 year duty. Should these personnel desire to apply for หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มขีดความสามารถ หากกองทัพได้ a job in the Army, they will be entitled to extra benefits. คนกลุ่มนี้หมุนเวียนสับเปลี่ยนกันเข้ามารับใช้ชาติจะช่วยให้กองทัพมี These are 2 following projects which seen as an incentive ความสดอยู่เสมอ for those who would like to join the Army: วิธีการที่จะได้คนเหล่านี้มา คือ การเปิดรับอาสาสมัครโดยในปี 1.  “Contract Army” Project : It is to recruit the 3rd or 5th ๒๕๕๖ นรด. ได้ริเริ่มโครงการที่จะน�ำผู้ที่ส�ำเร็จการฝึกวิชาทหารชั้นที่ year Territorial Defense Students who volunteer to serve ๓ หรือชัน้ ปีที่ ๕ ทีเ่ ต็มใจเป็นอาสาสมัครเข้ารับราชการเป็นทหารประจ�ำ 2 year temporary duty in the Army. They will be provided การแบบชั่วคราว ในระยะเวลา ๑ - ๒ ปี และหากต้องการสมัครสอบ with extra training and assigned to as same task as those เข้ารับราชการทหาร ก็มีสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมให้ ถือเป็นการสร้างแรง regular service personnel in the positions of commissioned จูงใจส�ำหรับคนที่ต้องการเป็นทหาร มี ๒ โครงการ ดังนี้ and non-commissioned officers that are in short supply. ๑)  โครงการ“Contract Army”เป็นการน�ำผู้ที่ส�ำเร็จการฝึกวิชา When the contracted period is completed, they will be ทหาร ชั้นปีที่ ๓ หรือปีที่ ๕ ที่มีความสมัครใจเข้ารับราชการทหาร regarded as quality Reserve of the Army since they have เป็นการชั่วคราว ระยะเวลา ๒ ปี โดยเข้ารับการฝึกเพิ่มเติม และ accomplished as same task as those regular service personnel. บรรจุท�ำหน้าที่เช่นเดียวกับก�ำลังพลประจ�ำการ ในต�ำแหน่งนายทหาร 2.  “Enlist Man” Project : It is to recruit volunteer สัญญาบัตรและนายทหารประทวนที่ขาดแคลน เมื่อครบก�ำหนดแล้วจะ commissioned reservist officer and non-commissioned เป็นก�ำลังส�ำรองที่มีคุณภาพของ ทบ. เนื่องจากได้ผ่านการปฏิบัติหน้าที่ reservist officers to the position for Reservist as stated in เช่นเดียวกับก�ำลังพลประจ�ำการมาแล้ว the Table of Personnel according to the Recruiting Plan ๒)  โครงการ “Enlisted Man” รั บ ก� ำ ลั ง พลส� ำ รองประเภท for Inspecting and Annual Military Training and serve in this นายทหารสัญญาบัตรกองหนุนและนายทหารประทวนกองหนุน ที่มี position for 1 year. They will be called to enroll in the training ความสมัครใจเข้ารับราชการในต�ำแหน่งของก�ำลังพลส�ำรองตามบัญชี for a period of 14 weeks to become military instructors during บรรจุก�ำลังของหน่วยในระบบก�ำลังส�ำรองตามแผนการเรียกพลเพื่อ the training of new conscript. หลักเมือง เมษายน ๒๕๕๗

79


ตรวจสอบและฝึกวิชาทหารประจ�ำปี เพื่อท�ำหน้าที่ในต�ำแหน่งดังกล่าว เป็นระยะเวลา ๑ ปี ก�ำหนดให้เข้ารับการฝึกจ�ำนวน ๑๔ สัปดาห์ ในห้วง การฝึกทหารใหม่เพื่อท�ำหน้าที่เป็นครูทหาร สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อสร้างแรงจูงใจในการสมัครเข้ารับราชการ ก็คือ โควตาการสอบเข้าเป็นนักเรียนนายสิบ (นนส.) โดยการสอบ แข่งขันภายในกลุ่ม ซึ่งทางโรงเรียนนายสิบทหารบก (รร.นส.ทบ.) จะ รับเฉพาะผู้ที่ผ่านการฝึกวิชาทหาร (ชั้นปีที่ ๓ หรือชั้นปีที่ ๕) และผู้ที่ ผ่านการรับราชการทหารกองประจ�ำการเท่านัน้ โดยก�ำหนดเป็นสัดส่วน เช่น ๖๐ ต่อ ๔๐ เป็นต้น ทั้งโครงการ “Contract Army” และ โครงการ “Enlisted Man” นับเป็นการพัฒนาด้านกิจการก�ำลังพลส�ำรอง ให้เข้าสู่ค่านิยมใหม่ คือ “การเรียน รด. เพื่อเป็นทหาร”

นอกจากนี้แล้ว ในแต่ละปีจะมีเยาวชนชายที่ไม่ได้เข้าในระบบก�ำลัง ส�ำรองอีกประมาณสองแสนคน หากมองในมุมของการพัฒนาบุคลากร ทางทหารแล้ว ถือว่าคนกลุ่มนี้เป็นเพียง “ประชากร (people)” ที่ สมควรเพิม่ ศักยภาพ เพือ่ ให้กลายเป็น “พลเมือง (Citizen)” ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดังนัน้ จึงเป็นการสมควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะ “เปิดรับอาสาสมัคร”จากประชากร กลุ่มนี้ ซึ่งเป็นเยาวชนชายที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ไม่เคยผ่านการฝึก วิชาทหาร แต่มีความต้องการที่จะเป็นทหาร เข้ามารับการฝึกอบรมทาง ทหารในระยะเวลาหนึ่ง และสร้างแรงจูงใจเพื่อให้สอบเข้ารับราชการ ทหารต่อไป แม้ว่าจะมีบางส่วนที่ไม่ได้เข้ารับราชการต่อ แต่คนกลุ่มนี้ ก็ได้กลายเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ มีจิตส�ำนึกรักชาติ พร้อมเสียสละ ประโยชน์ส่วนตัว เพื่อประโยชน์ส่วนรวม เรียกได้ว่า สังคมไทยจะเพิ่ม จ�ำนวนพลเมืองที่มีคุณค่าส�ำหรับพัฒนาประเทศต่อไป แนวคิดกองทัพประจ�ำการอาสาสมัคร (Volunteer Army) จะ เป็นการส่งเสริมให้กองทัพไทยก้าวสู่การเป็น “กองทัพแห่งคลื่นลูกที่ ๓” ทีม่ นี กั รบทีช่ าญฉลาด มีสติปญ ั ญา มีความรู้ และเป็นมืออาชีพ พร้อมทีจ่ ะ ร่วมโต้คลื่นแห่งการปฏิวัติสารสนเทศไปพร้อมกับประชาคมโลก

บรรณานุกรม

A quota for applying to study in the Non-Commissioned Officer School will be allocated as an extra incentive to motivate the application under the Project. The Army NonCommissioned Officer School will accept the application of those who only passed the military training (3rd or 5th Year) and those who have served as drafted service personnel at the ratio of 60-40, for instance. Both the “Contract Army” Project and the “Enlisted Man” Projects are the progress of the Reservist affairs which help creating the new values of joining military through the new chosen motto of “Joining Territorial Defense Course to Become a Military”. Besides, each year, there are around 200,000 male teenagers who are not registered as Reserve. Under the perspective of military personnel development, these male teenagers are those “people” whom are required to be enhanced and become the qualified “citizen”. Therefore, it is rather appropriate that the Army will recruit the personnel from this population on “volunteer” basis. The volunteer must be male of 18 year of age and above who never done any military training, but are willing to join the army and to be trained in certain period of time, as well as to be motivated to further take an assessment to become military officer. Even though some of them may not be able to pass the assessment, they will become qualified citizen who are patriotism and are willing to sacrifice own interest for the public interest. It can be said that Thai society will have more amount of qualified personnel to further develop the nation. The Volunteer Army will promote the Thai Armed Forces to become “the Armed Forces of the 3rd Wave” who are wise, intelligent, educated, professional warriors, and ready to surf the wave of Information Revolution along with the world community.

ยศนันท์ หร่ายเจริญ, พลโท. (๒๕๕๕). วิธีการผลิตอย่างไร : วิธีการ รบอย่างนั้น. รัฏฐาธิปัตย์, ๕๔(๑), ๗๕ - ๗๙ Toffler, A. & Toffler, H. (1980). The Third Wave. Bantam Books. ISBN 0-553-24698-4 Marx, K. & Engels, F. (1848). The Communist Manifesto. 80

พลโท ยศนันท์ หร่ายเจริญ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.