ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก
ที่ปรึกษา
พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ พล.ร.อ.พลวัฒน์ สิโรดม ร.น. พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.สิรวุฒิ สุคันธนาค พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.จิระ โกมุทพงศ์ พล.ท.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ยุทธนา กล้าการยุทธ พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต พล.ท.บรรเจิด เทียนทองดี พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ทวี พฤกษาไพรบูลย์ พล.ต.สังสิทธิ์ วรชาติกุล
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น. พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ ก้าวเข้าสู่เดือนที่สามและเข้าสู่ระยะที่สอง “โรดแม๊ป”ของการเปลี่ยนแปลงและปฎิรูป ประเทศ โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ที่เป็นชื่อย่อและสามารถจะใช้เป็น ตัวย่อของการปฎิบัติการ “คืนความสุขให้คนในชาติ” ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่หรือเกือบทั้ง ประเทศก็ได้รับคืนความสุขกันโดยทั่วหน้า ต้องกล่าวว่าเป็นความสุขที่พวกเราชาวไทย ได้ช่วยสร้างและร่วมกันรับ ในบริบทและกาลเวลาที่ผ่านไป พวกเราคนไทยต่างมึความสุขและมีความหวัง มองเห็น อนาคตในมิติต่าง ๆ ของประเทศ ตามแผนการปฎิรูปประเทศ ที่ทุกภาคส่วนจะเข้ามา มีบทบาทในการด�ำเนินการ ตามห้วงระยะเวลา การปฎิรูปประเทศในทุกมิติก�ำลังถูก ขับเคลือ่ นและเดินหน้าไปตาม “โรดแม๊ป” ทีก่ ำ� หนดไว้ เชือ่ แน่ได้วา่ จะเป็นการเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ นอกจากเรื่องการปฏิรูปประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดี การเตรียม ความพร้อมของประเทศในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ถือเป็นเรือ่ งส�ำคัญทีจ่ ะต้องใช้โอกาส ของการปฎิรูปประเทศ ให้สามารถเอื้อประโยชน์และสนับสนุนทั้งประชาชนและประเทศ ในการเข้าเป็นประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน มองเห็น ถึงโอกาส แต่ในอีกหลายมิติ คงจะต้องมีการวางแผนเตรียมการ ไม่ว่าจะเป็นงานด้าน ความมั่น คงที่จะต้องให้ความส� ำ คั ญทั้ ง บทบาทในการสนั บสนุ น ขณะเดี ย วกั น จะต้ อ ง เตรียมรองรับกับปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ เช่นเดียวกับปัญหาด้านสาธารณสุข ปัญหาด้านกฎหมาย ซึ่งจะต้องเร่งให้ความรู้ ความเข้าใจกับประชาชนทุกระดับชั้น และโดยเฉพาะกับผู้ที่อยู่ ตามแนวชายแดนว่าจะต้อง ปฎิบัติตัวอย่างไร เพื่อเป็นโอกาสและแนวทางในการใช้ชีวิต ประจ�ำวัน พิจารณาดูรอบ ๆ ตัวแล้ว ทุกอย่างจะเริม่ ดีขนึ้ ประชาชนคนไทยมีความหวังทีด่ กี บั สิ่งที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นกับประเทศในอนาคตเทียบไม่ได้อย่างสิ้นเชิงกับ เด็กและประชาชน ชาวปาเลสไตน์ในฉนวนกาซ่า ที่หลายคนกล่าวอย่าง สิ้นหวังว่า “เกลียดอนาคต…ตนเอง”
2
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๘๑ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
๔
๒๘
๔
พระราชกรณียกิจ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการพัฒนาสิทธิสตรี
Operation Abbottabad Bin Laden : Buried at Sea
๘
๓๒
พระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ต่อแหล่งผลิตนายทหาร หลักของชาติ
ดุลยภาพทางการทหาร ของประเทศอาเซียน
๓๖
เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (ตอนที่ ๒๐)
๑๒
การเตรียมทรัพยากร ของชาติเพื่อการ ป้องกันประเทศ
๔๐
๘
๑๖
หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนที่ ๒๔)
๔๔
สรุปประเด็น รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
๑๘
๑๖
๑๘
การด�ำเนินการ ด้านข้อมูลทรัพยากร เพื่อการระดมสรรพก�ำลัง
๒๐
๒๒
๒๐
๒๖
กุศโลบายการแก้ปัญหา ความขัดแย้ง
๔๘
พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ เจาะพระกรรณ ๒๐๗๔
๕๒
ภาษาอาเซียน ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
ยาฉีดต้านพิษเคมี ในสงครามอาวุธเคมี และการก่อการร้าย
๕๔
๒๒
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “อีโบล่า ไวรัสอันตราย”
๒๘
จับตาข้อพิพาท หมู่เกาะสแปรตลี
๖๒
๒๖
สรุปผลการประชุม ของคณะรัฐมนตรี ต่างประเทศของ สหภาพยุโรปที่มี ผลกระทบทางด้าน การทหาร
๓๒
๔๔
๓๖
๕๔
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๖๒
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
3
4
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พระราชกรณียกิจ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการพัฒนาสิทธิสตรี ใ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
นภาวะสั ง คมที่ มี ก ารเปลี่ ย นผ่ า น จากสังคมชนบทมาเป็นสังคมเมืองที่ ปรากฏชั ด เจนในปั จ จุ บั น ได้ ส ่ ง ผล ต่อแนวทางการด�ำเนินชีวิตของคนในสังคมที่ จะปรับตัวให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี การเปลี่ ย นแปลงในการใช้ ชี วิ ต ประจ�ำวัน การปรับเปลี่ยนของทัศนคติในการ แสวงหาจุดยืนในสังคม และที่ส�ำคัญที่สุดคือ การสร้างฐานะทางครอบครัวให้สามารถทน ต่อแรงเสียดทานทางเศรษฐกิจที่ก�ำลังครอบง�ำ การด�ำเนินชีวติ ในสังคม กอปรกับกระแสความ คิดในเรื่องสิทธิและความเสมอภาคทางเพศได้ เข้ามามีบทบาทในการวางตัวของสตรีเพศมาก ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการที่สุภาพสตรีสามารถก้าว ขึ้นมามีบทบาทในเชิงการบริหารมากยิ่งขึ้น จึง ยิ่งท�ำให้บทบาทและภาพลักษณ์ของสตรีไทย ในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต กล่าว คือ สตรีไทยในอดีตที่เคยอยู่กับเหย้าเฝ้ากับ เรือนเพื่อท�ำหน้าที่ของความเป็นภรรยาและ แม่ในการดูแลสามีและครอบครัวไม่ให้ขาด ตกบกพร่อง แต่ในปัจจุบันสตรีไทยต้องผันตัว เองไปท�ำงานเพื่อหาเงินช่วยเหลือครอบครัว แบ่งเบาภาระทางบ้านอีกแรงหนึ่ง เมื่อเป็น เช่ น นี้ บทบาทในทางสั ง คมของสตรี ไ ทยใน ปัจจุบันจึงต้องด�ำรงบทบาทเป็นผู้ช่วยเหลือ แบ่งเบาภาระทางครอบครัว เป็นแม่ที่ดี และ เป็นภรรยาที่ดีของสามี โดยที่สตรีไทยจะต้อง ด�ำรงบทบาทที่ส�ำคัญกล่าวคือ การมุ่งเน้นการ พัฒนาศักยภาพของตนเอง ด้วยการให้ความ ส�ำคัญในเรื่องของ การศึกษาเพือ่ ยกระดับให้ตนเองมีความรู้ ความสามารถ และพัฒนาตนเองให้ก้าวทันกับ การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
การพัฒนาสุขภาพอนามัยซึ่งส่งผลให้มี ก�ำลังกาย ก�ำลังใจที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีภูมิ ต้านทานภูมิคุ้มกันที่ดีต่อการด�ำรงชีวิตร่วม กับคนอื่น ๆ การประกอบอาชี พ และรายได้ ซึ่ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ส ตรี ทุ ก คนจะต้ อ งมี อ าชี พ และมี ร ายได้ เ พี ย งพอเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ครอบครัวเพื่อให้ครอบครัวด�ำรงอยู่ในสภาวะ ที่มั่นคง ความเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม สตรี ควรจะต้องมีความตระหนักในเรื่องสิทธิสตรี (สิ ท ธิ ข องตนเอง) และสร้ า งความพร้ อ มใน การจัดการกับสภาพแวดล้อมของตนเองและ ครอบครั ว ให้ เ หมาะสม ทั้ ง ในเรื่ อ งของการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต และการมี ส ่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรม
การเมืองการปกครอง ซึ่งจะน�ำไปสู่การมีส่วน ร่วมพัฒนาชุมชนและสภาพแวดล้อมที่ดี อย่างไรก็ตาม ผลพวงจากการเปลี่ยนผัน เป็นสังคมยุคใหม่ ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาความ รุนแรงในครอบครัวมากยิ่งขึ้น และส่วนใหญ่ผู้ ที่ต้องตกเป็นเหยื่อของปัญหาก็หลีกไม่พ้นสตรี อันเกิดจากปัญหาครอบครัวแตกแยก ปัญหา การสูญเสียหรือความไม่รับผิดชอบของผู้น�ำ ครอบครัว ปัญหาการทารุณกรรม ปัญหาการ ถูกคุกคามทางเพศ ปัญหาการเลี้ยงเดี่ยว และ ปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ ที่สตรียังได้รับการ เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม ซึ่งนานาปัญหา ดังกล่าวถือเป็นปัญหาที่บั่นทอนคุณภาพชีวิต ของสตรี และยังเป็นอุปสรรคส�ำคัญในการขับ เคลื่อนการเดินหน้าของสังคมไทยเป็นอย่างยิ่ง 5
ส�ำหรับประเทศต่าง ๆ ถือได้ว่าปัญหาสิทธิ สตรีเป็นปัญหาใหญ่ที่สังคมให้ความสนใจและ ต้องใช้ทรัพยากรจ�ำนวนมากเข้าแก้ไขปัญหา ซึ่งปัญหาสิทธิสตรีในประเทศไทยก็เป็นปัญหา ที่เร้ารุมสังคมอย่างมากด้วยเช่นกัน และยัง มี ป ั ญ หาที่ ซั บ ซ้ อ นมากยิ่ ง ขึ้ น ในพื้ น ที่ ช นบท ห่างไกลและพื้นที่เพื่อความมั่นคง นอกเหนือ ไปจากชุมชนเมืองดังเช่นที่ประเทศอื่นก�ำลัง ประสบอยู ่ ซึ่ ง ปั ญ หาสิ ท ธิ ส ตรี นี้ ไ ด้ น� ำ ไปสู ่ ปั ญ หาความยากไร้ ปั ญ หาความมั่ น คงทาง สังคมในนานารูปแบบ อันจะเป็นการบั่นทอน ศักยภาพในการก้าวไปข้างหน้าของสังคมไทย แต่ ใ นปั ญ หาสิ ท ธิ ส ตรี ข องไทยที่ ก� ำ ลั ง วิ ก ฤต อยู่นั้น ได้เกิดปรากฏการณ์อันส�ำคัญประหนึ่ง น�้ำอมฤตที่หยาดลงมาจากฟากฟ้าและชโลม ให้บังเกิดความชุ่มชื้นปัดเป่าบรรดาทุกข์ให้ เบาบางลงไป เพราะบังเกิดมีนานาโครงการ อันสืบเนื่องมาจากพระราชกรณียกิจขององค์
6
สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ที่ รายได้เพิ่มพูนมากขึ้นจากในอดีต นอกจากนี้ ทรงบ�ำเพ็ญมาเป็นเวลาหลายสิบปี โดยทรงมุ่ง ยังมีพระราชประสงค์ที่จะพัฒนาให้สตรีไทย เน้นในการพัฒนาและส่งเสริมสถานภาพสตรี ในยุคปัจจุบัน มีคุณลักษณะเป็นสตรีที่มีความ ไทยให้มีรากฐานที่ดี ทั้งในด้านคุณภาพชีวิต รู้ความสามารถครบถ้วนทุกด้าน ทั้งด้านการ และความเป็นอยู่ของสตรีไทย โดยเฉพาะพระ บริ ห าร การจั ด การ การเป็ น แม่ ที่ ดี ข องลู ก ราชปณิธานอันแรงกล้าทีม่ พี ระราชประสงค์ให้ เป็นภรรยาที่ดีของสามี และเป็นแม่ศรีเรือนที่ สตรีไทยเป็นอีกแรงหนึ่งที่ช่วยแบ่งเบาภาระ ดี พร้อมทั้งต้องก้าวทันกับยุคสมัย เทคโนโลยี ทางเศรษฐกิจของครอบครัว มีความตระหนัก ทีเ่ ปลีย่ นไป เพือ่ ให้เป็นทีย่ อมรับของสังคม ดัง ในการรู ้ จั ก ใช้ ค วามสามารถที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ เ ป็ น จะเห็นได้จากแนวทางตามพระราชเสาวนีย์ ประโยชน์ต่อครอบครัวและสังคม และทรงมุ่ง ที่พระราชทานให้สตรีทั่วประเทศเนื่องในวัน มั่นที่จะยกระดับศักดิ์ศรีและสถานภาพของ สตรีไทย ถึงหน้าที่ส�ำคัญเบื้องต้น ๔ ประการ สตรีไทยให้สูงขึ้นเป็นที่ยอมรับของสังคมอย่าง คือ หน้าที่ของสตรีไทยพึงปฏิบัติ ประกอบด้วย ประการที่หนึ่ง หน้าที่ แม่ ที่ต้องท�ำให้ ยั่งยืน โดยทรงมีพระราชด�ำริส่งเสริมให้สตรี ไทยในชนบทสามารถหารายได้เพิ่มในเวลาที่ ครอบครัวมีความอบอุ่น ประการที่สอง หน้าที่ แม่บ้าน ที่ต้องฝึก ว่างจากฤดูการท�ำไร่ท�ำนาอันเป็นอาชีพหลัก ของครอบครัว ด้วยการฟื้นฟูสนับสนุนการท�ำ นิสัยเก็บออมเพิ่มทรัพย์สินให้ครอบครัว ประการที่สาม พึงรักษาเอกลักษณ์ของ ศิลปหัต ถกรรมด้ ว ยภู มิปั ญญาท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง จะ ช่ ว ยให้ ส ตรี ไ ทยในภาคการเกษตรกรรมมี ความเป็นสตรีไทยให้คงอยู่
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ประการสุดท้าย การฝึกฝนตนเองให้มี ความรู้ ความซื่อสัตย์ และสามัคคีในหมู่คณะ ตลอดระยะเวลา ๖๔ ปี แห่งการด�ำรงพระ อิสริยยศในฐานะ พระราชินี กระทั่งด�ำรงพระ อิสริยยศ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระผู้ทรงพระมิ่งขวัญและเป็นที่ พึ่งของมหาชนชาวไทย และทรงเป็นคู่บุญคู่ พระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ ไ ด้ ท รงบ� ำ เพ็ ญ พระราชกรณี ย กิ จ ภารกิจน้อยใหญ่นานัปการ อันเปี่ยมล้นไป ด้ ว ยพระเมตตาธรรมโดยทรงช่ ว ยแบ่ ง เบา พระราชภารกิจในการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่ อาณาประชาราษฎร์ ร่วมเสด็จพระราชด�ำเนิน เยี่ ย มราษฎรในชนบททั่ ว ภู มิ ภ าคแม้ ว ่ า จะ ต้ อ งตรากตร� ำ พระวรกายเนื่ อ งจากสภาพ การคมนาคมในอดี ต ที่ ไ ม่ ส ะดวกสบายเช่ น ในปั จ จุ บั น ตลอดจน ทรงบ� ำ เพ็ ญ พระราช กรณียกิจครอบคลุมด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การแพทย์และสาธารณสุข การต่างประเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และ พระราชกรณียกิจด้านอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระราชกรณียกิจด้านการพัฒนาสิทธิสตรีซึ่ง จะช่วยส่งเสริมให้สตรีไทยมีโอกาสแสดงออก ถึงความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนาประเทศ ควบคู่ไปกับการด�ำเนินบทบาทในการสร้าง ความเข้มแข็งให้สถาบันสังคม และให้สามารถ เทียบเท่าสตรีสากลของนานาประเทศที่พัฒนา แล้ว โดยทรงพระราชทานแนวทางการสร้าง อาชีพหลักและอาชีพเสริม ทรงเมตตาค�้ำจุน ช่วยเหลือสตรีผู้ด้อยโอกาส และทรงเป็นผู้น�ำ สตรี ไ ทยให้ ป ฏิ บั ติ ต นบนพื้ น ฐานแห่ ง ความ ดีงาม พร้อมบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว สังคม และบ้านเมือง ท่ามกลางกระแสความ ผั น ผวนทางเศรษฐกิ จ ตลอดจน ส่ ง เสริ ม อนุรักษ์วัฒนธรรมของชาติ ซึ่ ง จากพระราชกรณี ย กิ จ ที่ ท รงบ� ำ เพ็ ญ มาในอดี ต จนเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ต ่ อ สายตาชาว โลกในเรื่องของการพัฒนาสิทธิสตรี จึงท�ำให้ องค์การและหน่วยงานสากลต่างตระหนักใน พระมหากรุณาธิคุณต่อสตรี จึงได้ทูลเกล้า ฯ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
ถวายรางวัล เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ใ นพระมหา กรุณาธิคุณ ประกอบด้วย องค์ ก ารอาหารและเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations-FAO) ทูลเกล้าฯ ถวาย "เหรียญเซเรส" เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๒ เฉลิมพระเกียรติในฐานะ ทีท่ รงเป็นสตรีดเี ด่น ทีท่ รงอุทศิ พระองค์พฒ ั นา สตรีและประชาชนในชนบท เลขาธิ ก ารองค์ ก ารสหประชาชาติ ถวายรางวัล MLI Annual International ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญทีร่ ะลึก "The First Thai Award ประจ� ำ ปี ๒๐๐๓ เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ Proof Coins in Series Commemorating มกราคม ๒๕๔๗ the International Year of the Childเนื่ อ งในวั น มหามงคล ๑๒ สิ ง หาคม ซึ่ ง IYC" เมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๔ เป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาขององค์สมเด็จ สมาคมเอเซี ย (Asia Society) พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ผู้เขียน ทู ล เกล้ า ฯ ถวายรางวั ล "ด้ า นมนุ ษ ยธรรม" ใคร่ขอเชิญชวนพสกนิกรชาวไทยร่วมส�ำนึกใน (Humanitarian Award) เป็นรางวัลแรกของ พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีพระวิริยอุตสาหะ สมาคม เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๒๘ ตรากตร�ำ บ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อสร้าง กลุ่มผู้สนับสนุนพิพิธภัณฑ์เด็กแห่งกรุง ความร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข ให้ แ ก่ ม หาชนชาวไทย วอชิงตัน ดี.ซี. (The Friends of the Capital และเพื่อความเจริญรุ่งเรืองเป็นปึกแผ่นให้แก่ Children's Museum) ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล ประเทศชาติ ด้วยการบ�ำเพ็ญคุณงามความดี มนุษยธรรมระหว่างประเทศ ปีพุทธศักราช เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล และน้อมเกล้าฯ ๒๕๓๔ (International Humanitarian ถวายพระพรชั ย มงคลด้ ว ยความจงรั ก ภั ก ดี Award, 1990) เมื่ อ วั น ที่ ๑ พฤศจิ ก ายน พร้อมกราบอาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และ ๒๕๓๔ อานุภาพแห่งสรรพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วสากล ได้ องค์การกองทุนเด็กแห่งสหประชาชาติ โปรดอภิบาลประทานพรชัยมงคลให้สมเด็จ (United Nations Children's Fund- พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมี UNICEF) ทูลเกล้า ฯ ถวายเหรียญ UNICEF พระพลานามัยสมบูรณ์ เจริญด้วยจตุรพิธพรชัย Special Recognition Award เมื่อวันที่ ๒ มีพระราชประสงค์จ�ำนงหมายในสิ่งใด ขอจง สิงหาคม ๒๕๓๕ สั ม ฤทธิ์ ดั ง พระราชหฤทั ย ปรารถนา สถิ ต กองทุนพัฒนาสตรีแห่งสหประชาชาติ เป็ น องค์ มิ่ ง ขวั ญ ของมหาชนชาวไทยตราบ (United Nations Development Fund for ชั่วนิรันดร์กาล Women-UNIFEM) ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญ และรางวัลสดุดี เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๓๕ มหาวิ ท ยาลั ย สแตนฟอร์ ด ร่ ว มกั บ สถาบันเพื่อการวิจัยเกี่ยวกับสตรีและเพศใน สหรัฐอเมริกา ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลสตรีแห่ง ปี ๑๙๙๓ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๓๖ องค์ ก ร The Marshall Legacy Institute (MLI) แห่งสหรัฐอเมริกา ทูลเกล้าฯ 7
พระบรมราชจักรีวงศ์
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ
ต่อแหล่งผลิตนายทหารหลักของชาติ พลเอก วันชัย เรืองตระกูล
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่นักเรียนนายร้อย เมื่อ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ ••• การทหารนั้น ที่จะส�ำเร็จไปได้ก็โดยมี ผู้บังคับบัญชาควบคุมให้พอแก่การ ถึงแม้ว่า เราจะมีพลทหารมากมายเท่าใดก็ดี แต่ไม่มีผู้ ที่จะควบคุมทหารเหล่านั้นเข้าสนามรบ ทหาร เหล่านั้นก็ไม่สามารถจะได้ชัยชนะแก่ข้าศึก ได้เลย ย่อมต้องอาศัยนายทหารที่มีความรู้ และมี ส ติ ป ั ญ ญา สามารถที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ชั ย ช�ำนักได้ และควบคุมบังคับบัญชาในเวลาปกติ ก็นายทหารนัน้ จะได้มาจากไหนเล่า ก็ตอ้ งได้มา จากโรงเรียนนายร้อย คือพวกเจ้านี่เอง เพราะ ฉะนั้นเจ้าทั้งหลาย จงตั้งอุสาหะ พยายามเล่า เรียนวิชาของตนให้ดีเถิด เตรียมการที่จะท�ำ หน้าที่ซึ่งส�ำคัญที่สุด ซึ่งถ้าพูดในทางที่ท�ำการ ให้ แ ก่ เ จ้ า แผ่ น ดิ น ก็ เ ป็ น การฉลองพระเดช พระคุณทีด่ ที สี่ ดุ ยิง่ กว่าอย่างอืน่ คือน่าที่ ป้องกัน ความอิสรภาพ ของบ้านเกิดเมืองนอน ••• พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยูห่ วั พระราชทานก�ำเนิดโรงเรียนนายร้อย วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินกระท�ำพิธีเปิด โรงเรียนสอน วิชาทหารส�ำหรับทหารบก ซึ่งใช้พื้นที่บริเวณ พระราชวั ง สราญรมย์ โดยระยะแรก มี ชื่ อ ว่า “คะเด็ ต สกู ล ” ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนนายร้อยทหารบก” เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ หลังจากเปิดด�ำเนินการไปได้ประมาณ ๑๕ ปี ในปี พ.ศ. ๒๔๔๕ พระองค์ทรงเห็นว่าสถาน ที่ตั้งคับแคบไม่เพียงพอที่จะผลิตนักเรียนเพิ่ม ให้ ทั น ต่ อ ความต้ อ งการของสถานการณ์ ใ น เวลานั้นซึ่งขาดแคลนนายทหารที่จะควบคุม ไพร่พล จึงโปรดให้สร้างโรงเรียนแห่งใหม่เป็น โรงเรียนชั้นมัธยม ขึ้นที่ถนนราชด�ำเนินนอก ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิธีสงฆ์และเปิดโรงเรียน 8
คะเด็ตสกูล โรงเรียนนายร้อย พระราชวังสราญรมย์ แห่งใหม่เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ โดยในส่วนโรงเรียนนายร้อย ชั้นปฐมคงเปิด การสอน ณ ที่เดิม พระมหากรุณาธิคณ ุ ในครัง้ นีไ้ ด้แสดงให้เห็น อย่างเด่นชัดถึงน�ำ้ พระทัยทีม่ งุ่ มัน่ จะสร้างสรรค์ ความเจริญทางการทหาร และประเทศชาติ ตลอดจนประชาชนของพระองค์ ท ่ า นอย่ า ง แท้ จ ริ ง นั บ ได้ ว ่ า ได้ ส ร้ า งสิ่ ง อั น เป็ น คุ ณ แก่ แผ่นดินไว้อย่างใหญ่หลวง และความมั่นคง ของประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ โรงเรียนนายร้อยชั้นปฐม และชั้นมัธยมได้ รับการพัฒนาให้เจริญก้าวหน้ามาตามล�ำดับ ทัง้ ด้านหลักสูตรการศึกษา ทีต่ งั้ สิง่ อ�ำนวยความ สะดวกตลอดจนพืน้ ทีก่ ารฝึก และการรับบุคคล เข้าเป็นนักเรียนนายร้อย โรงเรี ย นนายร้ อ ยในรั ช สมั ย พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ ทรงศึ ก ษาวิ ช าทหารบกโดยทรงส� ำ เร็ จ จาก โรงเรียนนายร้อยแซนด์เฮิร์ส ประเทศอังกฤษ แล้ ว ทรงรั บ ราชการในหน่ ว ยทหารบกของ
อังกฤษระยะหนึ่งก่อนเสด็จกลับประเทศไทย ได้เข้ารับราชการจนได้รับพระยศทหารเป็น พลเอกก่อนจะเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติสืบ ต่อพระบรมราชชนก เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระองค์ ท รงสนพระทั ย ในกิ จ การของ โรงเรียนนายร้อยทหารบกเป็นอย่างมาก ได้ ทรงให้มีการพัฒนาในหลายประการ ในวันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ พระองค์ได้เสด็จ พระราชด� ำ เนิ น มาพระราชทานรางวั ล แก่ นักเรียนนายร้อยที่สอบไล่ได้ในปี พ.ศ. ๒๔๕๘ ณ โรงเรียนนายร้อยวังสราญรมย์ ในรั ช สมั ย ของพระองค์ ได้ เ ริ่ ม โครงการ คัดเลือกนักเรียนนายร้อยไปศึกษาวิชาทหาร ในต่ า งประเทศ ทั้ ง บุ ต รราชตระกู ล บุ ต ร ข้าราชการ และคนสามัญทั่วไป ตามแต่งบ ประมาณของกระทรวงกลาโหมจัดให้ จึงเริ่ม มี ค นไทยไปเรี ย นที่ โ รงเรี ย นนายร้ อ ยแซนด์ เฮิร์ส ประเทศอังกฤษ และโรงเรียนนายร้อย เวสท์ พ อยต์ สหรั ฐ อเมริ ก า น� ำ มาสู ่ ยุ ค ปัจจุบัน มีนักเรียนนายร้อยไปจบการศึกษา จากโรงเรี ย นนายร้ อ ยต่ า งประเทศเพิ่ ม ขึ้ น ในอีกหลายประเทศ เช่น โรงเรียนนายร้อย พลเอก วันชัย เรืองตระกูล
ดันทรูน ประเทศออสเตรเลีย โรงเรียนนายร้อย แซงซี ประเทศฝรัง่ เศส โรงเรียนทหาร ประเทศ เยอรมันนี เป็นต้น ในปี พ.ศ. ๒๔๖๘ อันเป็นสมัยเศรษฐกิจ ตกต�่ำ กระทรวงกลาโหมจึงได้ให้รวมโรงเรียน นายร้อยชั้นปฐมกับชั้นมัธยม เข้าเป็นโรงเรียน เดียวกัน มีที่ตั้งอยู่ที่ถนนราชด�ำเนินนอกเรียก ชื่อว่า “โรงเรียนนายร้อยทหารบก” การพัฒนาโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในขณะทรงด�ำรงพระยศเป็นเจ้าฟ้ากรมขุน สุโขทัยธรรมราชา ได้ทรงสนพระทัยด้านการ ทหาร ทรงเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนนายร้อย วู ล ลิ ช ประเทศอั ง กฤษ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ ได้รับสัญญาบัตรยศเป็น ร้อยตรีกติ ติมศักดิข์ องกองทัพบกอังกฤษ ได้รบั การบรรจุเข้าหน่วยกรมทหารม้าปืนใหญ่ท�ำ หน้ า ที่ บั ง คั บ บั ญ ชาและฝึ ก ทหาร หลั ง จาก เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ พระองค์จึงได้เสด็จกลับประเทศไทย เข้ารับ ราชการในกองทัพบก ทรงเลื่อนต�ำแหน่งเป็น ผู้บังคับกองร้อยทหารปืนใหญ่ในหน่วยทหาร รั ก ษาพระองค์ และทรงด� ำ รงยศพั น ตรี โ ดย ทรงเป็นผูบ้ งั คับการโรงเรียนนายร้อยชัน้ ปฐม วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ได้ เสด็จขึน้ เถลิงถวัลย์ราชสมบัตทิ รงเป็นพระมหา กษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ด้วยความสนพระทัย ในการพัฒนาโรงเรียนนายร้อยให้ทันสมัยจึง ทรงรับต�ำแหน่งผู้บังคับการพิเศษโรงเรียน นายร้อยทหารบก หลังจากคณะราษฎร เข้ายึดอ�ำนาจ ปฏิวัติ เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ โรงเรียนนายร้อยทหารบกได้มี การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร แก้ไขระบบการ ศึกษาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการรับ ฝากจ่าอากาศเหล่านักบินจากกองทัพอากาศ เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ ส�ำเร็จการศึกษาออกรับราชการเป็นเรืออากาศ ตรี และกองทัพเรือได้เริ่มฝากนักเรียนนายเรือ ชั้นปีที่ ๑ จ�ำนวนหนึ่ง เข้าเรียนในโรงเรียนนาย ร้อยทหารบก เมื่อจบการศึกษาจะรับราชการ ในพรรคนาวิกโยธิน รวมทั้งมีการเปิดรับสมัคร เข้าเรียนวิชาต�ำรวจ เมื่อส�ำเร็จได้รับยศร้อย ต�ำรวจตรี รับราชการในกรมต�ำรวจ วันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ นับเป็นวัน ประวัติศาสตร์อีกวันหนึ่งของกองทัพบก โดย เฉพาะอย่างยิ่ง กรมยุทธศึกษาทหารบก ได้ ประกอบพิธีเปิด “โรงเรียนเท็ฆนิคทหารบก” ขึน้ ทีโ่ รงเรียนแห่งใหม่ ถนนราชด�ำเนินนอกตรง ข้ามกระทรวงศึกษาธิการ โดยให้มกี ารปรับปรุง หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
โรงเรียนนายร้อยทหารบก ถนนราชด�ำเนิน การศึกษา เรียน ๕ ปี เมือ่ ส�ำเร็จออกรับราชการ เป็นร้อยตรีในกองทัพบก เหล่าทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ทหารสื่อสาร ทหารสรรพาวุธ ทหาร ขนส่ง และเป็นเรืออากาศตรีเหล่าทางเท็ฆนิค และเป็นนักบินในกองทัพอากาศ ส่วนโรงเรียน นายร้อยทหารบก คงหลักสูตรการศึกษา ๓ ปี ส�ำเร็จการศึกษาออกรับราชการเป็นร้อยตรี เหล่าทหารราบ และทหารม้า และจ�ำนวนหนึ่ง ออกรับราชการในกองทัพอากาศ เหล่านักบิน และหน่วยอากาศโยธิน ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ กองทัพบกได้จัดก�ำลัง เข้ า ปฏิ บั ติ ก ารในสงครามอิ น โดจี น และ สงครามโลกครั้งที่ ๒ นักเรียนเท็ฆนิคทหารบก รุ่น ๕ ต้องส�ำเร็จออกเป็นนายทหารวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ จ�ำนวนหนึ่งได้ออกรับ ราชการเหล่าทหารม้าเข้าประจ�ำการในหน่วย กรมรถรบ ซึ่งน�ำไปสู่การจัดหน่วยยานเกราะ ในเวลาต่อมาจวบจนปัจจุบัน โรงเรียนเท็ฆนิคทหารบกได้เริ่มรับสมัคร นักเรียนเป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ จ�ำนวน ๓๐ นาย โดยรับสมัครสอบคัดเลือกจากผู้ที่จบ
ชั้นมัธยม ๘ จ�ำนวน ๒๖ นาย และรับสมัคร จากนักเรียนนายร้อยทหารบกซึ่งสอบไล่ได้ ชั้น ๒ เข้าเป็นนักเรียนเท็ฆนิคทหารบกโดยไม่ ต้องสอบอีก ๔ นาย ต่อมาเมื่อจัดตั้งโรงเรียน เตรียมทหารบก นักเรียนเตรียมฯ เมื่อจบปีที่ ๒ จะเข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก และ โรงเรียนเท็ฆนิคทหารบกตามความสามารถ ทางการศึกษาและความสมัครใจ การพัฒนาให้มีโรงเรียนเท็ฆนิคทหารบก แยกการศึกษา การฝึกอบรมไปจากโรงเรียน นายร้อยทหารบก สืบเนื่องจากพันเอกหลวง พิ บู ล สงคราม ในขณะนั้ น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ท่านได้มี โอกาสไปเรียนวิชาทหารปืนใหญ่ ณ ประเทศ ฝรั่งเศส ในปีพ.ศ. ๒๔๖๗ หลังจากส�ำเร็จการ ศึกษาจากโรงเรียนเสนาธิการทหารบก สอบ ได้ ที่ ๑ ระหว่ า งการศึ ก ษานั้ น ได้ รั บ ทราบ หลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนโปลิเท็ฆนิค ของฝรั่งเศส ได้ประสิทธิประศาสน์วิทยาการ ทางเท็ฆนิคแผ่กว้าง ทุกสาขา ยังประโยชน์ ไม่ จ� ำ เพาะแก่ ท างการทหารจ� ำ พวกซึ่ ง ใช้
โรงเรียนเท็ฆนิคทหารบกตรงข้ามกระทรวงศึกษาธิการ 9
วิทยาการทางเท็ฆนิคเท่านั้น ยังแพร่ออกไปถึง กิจการทางด้านอื่นๆ อีกด้วย จึงน�ำแนวความ คิดดังกล่าวมาพัฒนาในการผลิตนายทหารให้ มีความรูท้ างช่างวิศวกรรมสาขาต่างๆ อาทิเช่น สาขาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมโยธา และ วิศวกรรมไฟฟ้า เป็นต้น ท่านได้เป็นประธาน ในพิธีเปิดในฐานะ รองผู้บัญชาการทหารบก การพัฒนาโรงเรียนนายร้อยในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาท สมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงสละ ราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล ได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบสันติ วงศ์ การพัฒนาโรงเรียน นายร้อยทหารบก ในช่วงเวลาดังกล่าว ได้มีการจัดตั้งโรงเรียน เตรียมทหารบก อันเนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลง นโยบายการศึกษาของชาติในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ โดยยุ บ ระบบมั ธ ยมปี ที่ ๗ และ ๘ กั บ ให้ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาแต่ละแห่ง จัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมหลักสูตร ๒ ปีขึ้น เอง กระทรวงกลาโหม จึงให้จัดตั้งโรงเรียน เตรียมทหารบก เพื่อให้เข้าเรียนต่อในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ในช่ ว งเวลาสงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ และ สงครามมหาเอเชี ย บู ร พา กองทั พ ไทยต้ อ ง จัดก�ำลังเข้าท�ำการรบจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ ขาดแคลนนายทหารที่จะบังคับบัญชาหน่วย นั ก เรี ย นนายร้ อ ยทหารบก และนั ก เรี ย น เท็ฆนิคทหารบก จ�ำต้องออกรับราชการก่อน ก�ำหนดรุ่นปี พ.ศ. ๒๔๘๓ – ๕ และกองทัพบก จึ ง ได้ พิ จ ารณา ให้ จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นนายร้ อ ย ส�ำรองขึ้น หลักสูตรการศึกษา ๑ ปี ส�ำเร็จเป็น ร้อยตรีรับราชการ ๑ ปีแล้วปลดเป็นกองหนุน โดยรุ่นที่ ๑ เริ่มในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ รับเรื่อย มาจนถึงรุ่น ๙ ก่อนจะยุบโรงเรียนในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ นอกจากนั้นจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังมอบนโยบายให้กระทรวงกลาโหมออกค�ำสัง่ พิเศษ ให้กองทัพบก รับสมัครนักเรียนนายร้อย หญิง จากผู้ส�ำเร็จการศึกษามัธยมปีที่ ๖ เข้า รับการฝึกศึกษา ๑ ปี ๖ เดือน ส�ำเร็จออกรับ ราชการเป็นร้อยตรีหญิง ปกครองบังคับบัญชา กองทหารหญิงซึ่งจะจัดตั้งต่อไป นโยบายนี้ ด�ำเนินไปได้เพียงรุ่นเดียวในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ มี นายทหารหญิงส�ำเร็จการศึกษา ๒๘ คน ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ ได้มเี หตุ ผันผวนทางการเมือง ท� ำ ให้ ค ณะรั ฐ บาลจอมพล ป.พิ บู ล สงคราม ลาออก นโยบายทางการทหารจึ ง มี ก าร เปลี่ยนแปลงโดยให้ยุบหลักสูตรนายร้อยหญิง และให้แปรสภาพนายร้อยหญิง เป็นข้าราชการ กลาโหมพลเรือน ประเภทสามัญทั้งหมด ในระหว่างสงครามโลกด�ำเนินอยู่ รัฐบาล มี แ ผนจะย้ า ยเมื อ งหลวงไปอยู ่ ที่ จั ง หวั ด 10
เพชรบูรณ์ เพื่อเตรียมก�ำลังขั้นสุดท้ายต่อสู้ ผู้รุกรานเมื่อจ�ำเป็นในการรักษาความมั่นคง ของชาติ กองทั พ บกได้ รั บ ค� ำ สั่ ง ให้ เ คลื่ อ น ย้ายโรงเรียนนายร้อยทหารบก และโรงเรียน เท็ฆนิคทหารบก ไปเปิดการศึกษาอยูท่ หี่ มูบ่ า้ น ป่าแดง อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๖ – ๒๔๘๗ จนสงครามยุติ จึงได้เคลื่อน ย้ายกลับที่ตั้งปกติ ครัน้ สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ สิน้ สุดลง วันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ กระทรวงกลาโหมได้มี ค�ำสัง่ เมือ่ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ให้ยบุ เลิก โรงเรียนเท็ฆนิคทหารบก โรงเรียนนายร้อย ส�ำรองทหารบก และโรงเรียนเตรียมทหารบก โดยให้จัดหน่วยเป็นระดับกองขึ้นการบังคับ บัญชาต่อโรงเรียนนายร้อยทหารบก และให้ กระทรวงมหาดไทย รับโอนนักเรียนนายร้อย ทหารบกฝ่ายต�ำรวจคืนไป พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ล อดุลยเดช ผู้พระราชทานนามโรงเรียนนาย ร้อย พระจุลจอมเกล้า พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ล อดุลยเดช เสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๘๙ หลังจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว อานั น ทมหิ ด ลเสด็ จ สวรรคต พระองค์ทรงด�ำเนินรอยตามแบบอย่างสมเด็จ พระบุรพมหากษัตริยาธิราช ในอันที่จะปกปัก รักษาพสกนิกรให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุข โดยเฉพาะ ด้านความมั่นคงของชาติ ได้ทรงสนพระทัยใน ด้านการทหารเป็นอย่างมาก ทรงสนพระทัยใน กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนนายร้อยทหารบก ซึง่ ได้รบั การพัฒนาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ของโลก และของชาติมาตามล�ำดับ วั น ที่ ๘ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๙๐ ได้ เกิดรัฐประหารขึ้นโดยการน�ำของพลโท ผิน ชุณหะวัณ นายทหารนอกราชการเป็นหัวหน้า คณะ พร้อมด้วยคณะนายทหารในกองทัพ ยึด อ�ำนาจการปกครองจากรัฐบาลเป็นผลส�ำเร็จ ได้จัดตั้งคณะรัฐบาลเข้าบริหารประเทศ โดย เชิ ญ จอมพล ป.พิ บู ล สงคราม อดี ต นายก รัฐมนตรี มาด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ ผู้บัญชาการทหารบกอีกวาระหนึ่ง วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ จอมพล ป.พิ บู ล สงคราม ได้ ต รวจเยี่ ย มกิ จ การของ โรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้มอบนโยบาย ส� ำ คั ญ ในการปรั บ ปรุ ง โรงเรี ย น โดยเฉพาะ การจัดหน่วย และหลักสูตรการศึกษา ให้มี คณะกรรมการฯ พิจารณาเป็นการเร่งด่วน โดยให้นักเรียนนายร้อยทหารบก และนักเรียน เท็ฆนิคทหารบก ที่ยังเหลืออยู่เรียนต่อไปจน จบหลักสูตร คณะกรรมการฯ ได้มีมติเป็นเอกฉันท์เสนอ ข้อพิจารณาส�ำคัญ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ควรตั้ ง ชื่ อ โรงเรี ย นใหม่ ว่ า “โรงเรี ย นนายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า ” เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้พระราชทานก�ำเนิด โรงเรียนทหารขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ ประการที่ ๒ การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต ร คณะกรรมการฯ ได้น�ำหลักสูตรการศึกษาของ โรงเรียนนายร้อย เวสต์พอยท์ สหรัฐอเมริกา ซึ่งก่อก�ำเนิดเมื่อ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๔๕ มาพิจารณาเข้ากับหลักสูตรที่ด�ำเนินอยู่ เพื่อ ให้บังเกิดความเหมาะสมกับระบบการศึกษา ของบ้านเรา ก�ำหนดระยะเวลาการศึกษา ๕ ปี เมื่อส�ำเร็จตามหลักสูตรจะได้รับพระราชทาน ยศร้อยตรี ออกรับราชการในกองทัพบกได้ทุก เหล่าเว้นเหล่าแพทย์ และสัตวแพทย์ กับจะได้ รับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร์ ด้วย วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๑ ได้มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรม ราชานุญาตขนานนามโรงเรียนนายร้อยทหาร บกว่า “โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า” นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ และ น�ำความเป็นสิรมิ งคลอันหาทีส่ ดุ มิได้ แก่บรรดา เหล่านักเรียนนายร้อยทั้งหลาย ทั้งศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน ในด้านการปรับปรุงหลักสูตร กองทัพบก ได้อนุมัติตามข้อพิจารณาของคณะกรรมการฯ โดยให้เริม่ รับนักเรียนนายร้อยเข้ารับการศึกษา ตามหลักสูตรใหม่ในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ในต้น ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ จึงได้ประกาศรับสมัครสอบ นักเรียนชั้นมัธยมปีที่ ๗ สายวิทยาศาสตร์เข้า เป็นนักเรียนเตรียมปีที่ ๒ จ�ำนวน ๓๐ นาย และ นักเรียนชัน้ มัธยมปีที่ ๖ เข้าเป็นนักเรียนเตรียม ปีที่ ๑ จ�ำนวน ๓๐ นาย เพื่อความต่อเนื่อง และ ให้เป็นรุ่นทดลองการศึกษาหลักสูตรใหม่ ในต้ น ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ นั ก เรี ย นเตรี ย ม ปีที่ ๒ สอบเลื่อนชั้นขึ้นเป็นนักเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า จ�ำนวน ๒๕ นาย เรียนจนจบ การศึกษาในวันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๗ จ�ำนวน ๒๔ นาย นับเป็นรุ่นที่ ๑ โดยออกรับ ราชการในเหล่าทหารราบ ๖ นาย ทหารม้า ๒ นาย ทหารปืนใหญ่ ๕ นาย ทหารช่าง ๒ นาย ทหารสื่อสาร ๓ นาย ทหารสรรพาวุธ ๔ นาย และทหารขนส่ง ๒ นาย วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ นับเป็น วั น ส� ำ คั ญ ยิ่ ง อี ก วั น หนึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเป็น องค์ ป ระธานพระราชทานกระบี่ และ ประกาศนียบัตร (สภาการศึกษากระทรวง กลาโหม อนุมัติปริญญาตรีไม่ทัน) แก่นาย ทหารใหม่ ๒๔ นาย ณ สนามหน้าโรงเรียน นายร้อยพระจุลจอมเกล้า นับเป็นพระมหา กรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่หาที่สุดมิได้ พลเอก วันชัย เรืองตระกูล
ในช่วงเวลาจากปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เป็นต้นมา กองทัพบกต้องรับผิดชอบในการจัดก�ำลังเข้า ต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ส่งก�ำลัง ๑ กองพลทหารราบเข้าร่วมรบกับ มิ ต รประเทศเพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ รั ฐ บาล เวียดนามใต้ และยังต้องส่งก�ำลังพิเศษปฏิบัติ การในประเทศที่ ๓ จึงมีความต้องการนาย ทหารชั้นผู้บังคับหมวดเพิ่มขึ้น กองทัพบกได้ สั่งการให้โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เปิดหลักสูตร “นายร้อยพิเศษ” รับสมัครจาก ผูท้ จี่ บการศึกษาปริญญาตรี เข้าเรียน ๑ ปี แล้ว ส่งเข้ารับการฝึกที่เหล่าอีก ๖ เดือน ส�ำเร็จการ ศึกษาออกรับราชการเป็นร้อยตรี มีสิทธิเช่น เดียวกับผู้ที่จบการศึกษาหลักสูตรหลัก เว้นไม่ ได้รบั ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ได้เปิดรับไป จนถึงรุ่นที่ ๘ จึงยุติลง โรงเรี ย นนายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า จังหวัดนครนายก บ้านหลังปัจจุบัน โรงเรียนนายร้อยทหารบก ถนนราชด�ำเนิน นอก นั บ เป็ น แห่ ง ผลิ ต นายทหารหลั ก ของ ชาติ มายาวนานจาก ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ จาก สถานการณ์ ท างด้ า นความมั่ น คงของชาติ กองทัพบกได้มีนโยบายในการผลิตนายทหาร เพิ่ ม ขึ้ น จึ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ ง พิจารณาเลือกที่ตั้งแห่งใหม่ให้มีอาณาบริเวณ กว้างขวางเพียงพอต่อการศึกษา การฝึก และ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ จึงเริ่มจัดท�ำ โครงการย้ายโรงเรียนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยได้ตงั้ คณะกรรมการพิจารณาพืน้ ทีท่ เี่ หมาะ สมเสนอ ได้ มี ก ารพิ จ ารณาหลายพื้ น ที่ แ ต่ ก็ ไม่อาจสรุปเสนอเพื่อตกลงใจได้ จนในปลาย ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นผู้บัญชาการทหารบก ได้มีความปรารถนา อย่างแรงกล้าที่จะด�ำเนินการให้เป็นผลส�ำเร็จ โดยพิจารณาที่แห่งใหม่ที่ดินประมาณ ๑๓๐๐ ไร่ บริเวณเขาชะโงก จังหวัดนครนายก ซึ่ง ธนาคารทหารไทย มอบให้ ในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๓ กองทัพบกจึงตั้งคณะกรรมการ ด�ำเนินโครงการ จัดท�ำแผนแม่บท และราย ละเอี ย ดทั้ ง หลายทุ ก ด้ า น แล้ ว ขอรั บ การ สนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเป็นผลส�ำเร็จ และได้ ก ราบบั ง คมทู ล เชิ ญ พระบาทสมเด็ จ
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
พระราชพิธีเปิดโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จังหวัดนครนายก พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จในพระ ราชพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ งานก่อสร้างทั้งสิ้นก�ำหนดให้ แล้วเสร็จในวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ นักเรียน นายร้อยฯ แต่งกายชุดสนามพร้อมอาวุธประจ�ำ กายเดินแถวออกจากโรงเรียนฯ ไปเข้าที่พัก แรม ณ กรมทหารราบที่ ๑๑ฯ บางเขน รุ่งขึ้น ได้เคลื่อนย้ายด้วยขบวนรถเข้าสู่ที่ตั้งแห่งใหม่ ณ เขาชะโงก จังหวัดนครนายก โดยได้รับพระ มหากรุณาธิคุณจาก พันเอกหญิง สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ น�ำขบวนผู้บังคับบัญชาชั้นสูงจากกองทัพบก ผู้บังคับบัญชา อาจารย์ ศิษย์เก่า และขบวน นักเรียนนายร้อยเข้าสู่โรงเรียน แล้วมีพิธีสวน สนามของเหล่านักเรียนถวายพระพรชัยมงคล วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ เสด็จพระราชด�ำเนินเปิดโรงเรียนนายร้อย พระจุ ล จอมเกล้ า แห่ ง ใหม่ ณ จั ง หวั ด นครนายก ถือเป็นโอกาสเฉลิมฉลองวันครบ ๙๙ ปี ของโรงเรียนนายร้อยทหารบก ยัง ความปลื้มปีติและเป็น พระมหากรุณาธิคุณ หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ พระองค์ ฯ ได้ พ ระราชทาน พระบรมราโชวาท ตอนหนึ่งที่มีความส�ำคัญ อย่างยิ่ง ....
••• ขอให้ผู้บังคับบัญชาทหาร และผู้ที่ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสถาบันนี้ โดย เฉพาะนักเรียนนายร้อยทุกรุ่นทุกคน ส�ำนึก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ในพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระปรีชา ญาณ เห็นการณ์ไกล มีประโยชน์ที่จะบังเกิด แก่บ้านเมือง จากการตั้งโรงเรียนนายร้อย ขึ้นแล้ว จงตั้งใจพยายามประพฤติปฏิบัติตัว ให้ดี ให้ตรง สังวรระวังในวินัย และหน้าที่ พร้อมใจพร้อมก�ำลังธ�ำรงรักษาและพัฒนา สถานศึ ก ษาของตนให้ มั่น คงและก้า วหน้า ด้ ว ยความรู ้ ด้ ว ยสติ ป ั ญ ญาความฉลาด รอบคอบ และด้วยความบริสุทธิ์จริงใจเสมอ เป็นนิตย์ ••• พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ซึ่ ง ประดิ ษ ฐาน อยู ่ ภ ายในศาลาวงกลมในโรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า จึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของ นักเรียนนายร้อยทุกคน ให้น้อมร�ำลึกถึงพระ มหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน พร้อมถวาย สักการะ และกล่าวค�ำปฏิญาณว่า ...ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า จั ก รั ก ษามรดกของ พระองค์ท่านไว้ด้วยชีวิต...
11
การเตรียมทรัพยากร ของชาติเพื่อการ ป้องกันประเทศ พันเอก สันทัด เมืองค�ำ
ก
ระทรวงกลาโหม มีภารกิจหน้าที่ใน การด� ำ เนิ น การด้ า นความมั่ น คง ทั้ ง ภายในและภายนอกประเทศ ซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น ภารกิ จ หน้ า ที่ ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง การ ที่ จ ะท� ำ ให้ ป ระเทศชาติ อ ยู ่ ร อดปลอดภั ย และประชาชนมีความสุขได้นั้น ไม่สามารถ กระท�ำได้เพียงหน่วยงานใดหน่วยงานเดียว เท่ า นั้ น จ� ำ เป็ น จะต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ ร่วมแรง รวมใจของทุกหน่วยงาน ตลอดจน ประชาชนทุ ก คนในชาติ ในอั น ที่ จ ะร่ ว มกั น เตรียมทรัพยากรของชาติทุกชนิดที่มีอยู่ ให้มี ความพร้อมเพื่อพร้อมเผชิญกับภัยคุกคามให้ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาตั้งแต่ในภาวะปกติ ระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จ เป็นระบบการต่อสู้ เพื่อป้องปราม ป้องกัน หรือตอบโต้การปฏิบัติ 12
พันเอก สันทัด เมืองค�ำ
การของฝ่ายตรงข้าม ด้วยการน�ำเอาทรัพยากร ของชาติทมี่ อี ยู่ ไม่วา่ จะเป็น คน เครือ่ งมือ ขวัญ ก�ำลังใจ และอื่น ๆ มาผสมผสานกันอย่างมี แผน ซึ่งจะท�ำให้เกิดพลังอ�ำนาจในการป้องกัน ประเทศได้ ใ นทุ ก ระดั บ ความขั ด แย้ ง ตลอด เวลาอย่างต่อเนื่อง ระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จมี องค์ประกอบ ๒ ประการ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์พัฒนา เป็นการพัฒนาคนและ พื้นที่ยุทธศาสตร์ อย่างสอดคล้องกันระหว่าง แผนพัฒนาประเทศ กับ แผนป้องกันประเทศ ยุทธศาสตร์การต่อสูเ้ บ็ดเสร็จ เป็นการสนธิ ศักยภาพทรัพยากรของชาติในพืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั การ พัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนา เพื่อเข้า ต่อสู้กับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่เกิดขึ้นได้อย่าง ต่อเนื่องตลอดเวลา
การพัฒนาพื้นที่ ยุทธศาสตร์พัฒนา การพั ฒ นาพื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นา จะ เป็ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ เ พื่ อ ความมั่ น คงภายใน และพื้ น ที่ เ พื่ อความมั่ น คงตามแนวชายแดน ตามงบประมาณประจ�ำปีของประเทศ ซึ่งพื้นที่ เพื่อความมั่นคงภายใน จะได้แก่พื้นที่ที่มีภัย คุกคามหรือมีแนวโน้มของภัยคุกคามภายใน หรือมีความล่อแหลมต่อความไม่ปลอดภัย และ พื้นที่เพื่อความมั่นคงตามแนวชายแดน ได้แก่ พื้ น ที่ ต ามแนวชายแดนเฉพาะบริ เ วณที่ เ ป็ น เป้าหมายของภัยคุกคาม เช่น พื้นที่บริเวณ ช่ อ งทางแทรกซึ ม ตามแนวชายแดน พื้ น ที่ บริ เ วณช่ อ งทางรุ ก หลั ก จากภั ย คุ ก คามตาม สมมุตฐิ านในแผนป้องกันประเทศ พืน้ ทีบ่ ริเวณ ที่มีการละเมิดอธิปไตยจากภัยคุกคามอยู่เป็น ประจ�ำ และพื้นที่คุกคามภายในที่อยู่บริเวณ ชายแดน ซึ่ ง จะถู ก ก� ำ หนดและจั ด ตั้ ง เป็ น พื้นที่ยุทธศาสตร์พัฒนา โดยจะมีการก�ำหนด หมู่บ้านเป้าหมายเป็น หมู่บ้านยุทธศาสตร์ พัฒนา (หมู่บ้าน ยพ.) ทั้งนี้เพื่อก�ำหนดแผน พัฒนา และด�ำเนินการพัฒนาทรัพยากรของ ชาติที่อยู่ในพื้นที่ของหมู่บ้าน ยพ. นั้น ๆ ให้ เข้มแข็ง มัน่ คง มีปจั จัยในการผลิต และมีระบบ สาธารณูปโภคอย่างพอเพียง เพื่อที่จะส่งผล ให้ประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ สามารถด�ำรงชีวิต อยู่ภายในหมู่บ้านของตนเองได้ตั้งแต่ในยาม ปกติ แ ละต่ อ เนื่ อ งไปจนถึ ง ยามสถานการณ์ ฉุกเฉินหรือในยามสงคราม ซึ่งงานที่ส�ำคัญใน การพัฒนาพื้นที่ยุทธศาสตร์พัฒนา ก็คือ การ พิจารณาจัดตัง้ หมูบ่ า้ น ยพ. การพัฒนาคน และ การพัฒนาพื้นที่ ในการพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแนวทางยุทธศาสตร์ พั ฒ นานั้ น จะเป็ น การพั ฒ นาตามแผนการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเพื่อเสริม หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
ความมั่ น คง โดยการก� ำ หนดแนวทางการ พัฒนาและการประสานแผนงานต่าง ๆ ใน แต่ละปีงบประมาณ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม รวมทั้งการแก้ไขปัญหาของประชาชนที่ อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ยพ. ให้ประชาชนสามารถ มี ชี วิ ต อยู ่ ภ ายในหมู ่ บ ้ า นได้ อ ย่ า งปกติ สุ ข มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น โดยที่ ขั้ น ตอนและ แนวทางในการจั ด ท� ำ แผน/โครงการพั ฒ นา พื้นที่ ของหมู่บ้านเป้าหมายหรือหมู่บ้าน ยพ. ต่าง ๆ เหล่านี้ หน่วยงานส่วนราชการพลเรือน ในระดับจังหวัด เช่น กองอ�ำนวยการป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนจังหวัด (กอ.ปพร.จังหวัด) กอง อ�ำนวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายในจั ง หวั ด (กอ.รมน.จังหวัด) และหน่วยส่วนภูมิภาคของ ฝ่ายทหาร ซึ่งได้แก่ มณฑลทหารบก/จังหวัด ทหารบก (มทบ./จทบ.) จะต้องร่วมกันก�ำหนด ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการด�ำเนินงานต่างๆ เพื่อพัฒนาทรัพยากรของชาติทุกชนิดที่อยู่ใน
พื้นที่รับผิดชอบ อันจะก่อให้เกิดการสนับสนุน ส่งเสริมและสอดคล้องกับแผนป้องกันประเทศ ตามที่ได้ก�ำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะมีขั้น ตอนและแนวทางในการจัดท�ำแผน/โครงการ พัฒนาพื้นที่ต่าง ๆ ในหมู่บ้านเป้าหมาย หรือ หมู ่ บ ้ า น ยพ. ซึ่ ง หน่ ว ยงานของกระทรวง ทบวงกรมต่าง ๆ ในระดับจังหวัด และหน่วย ทหารที่รับผิดชอบพื้นที่นั้น ๆ จะต้องร่วมกัน ด�ำเนินการ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ จะต้องรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ ทราบถึงปัญหา และความต้องการของ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ยพ. แล้วน�ำมา เรียงตามล�ำดับความส�ำคัญของปัญหาในแต่ละ เขตต�ำบล โดยสามารถหาข้อมูลเหล่านี้ได้จาก การสอบถาม/การส�ำรวจจากคณะกรรมการ หมู่บ้าน (กม.) หรือจากประชาชนที่อยู่ภายใน หมู่บ้าน หรือจากข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน และจากข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ซึ่ง
13
กลุ่มที่ ๓ กลุ่มแผนงานหรือโครงการ พัฒนา ที่ต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากส่วนอื่น ๆ นอกแผนพัฒนาจังหวัด และ ภาคเอกชนต่าง ๆ ขั้นตอนที่ ๔ จะเป็นขั้นตอนของการเสนอ แผนงานหรือโครงการพัฒนาหมู่บ้าน ยพ. ตาม แหล่งเงินที่ก�ำหนด และการประสานงานการ พั ฒ นาเมื่ อ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณ ตลอดจนการติดตามตรวจสอบ และประเมิน ผลการพัฒนาต่าง ๆ เพื่อสร้างความมั่นคงของ พื้นที่ตามที่ก�ำหนดไว้
จากการด�ำเนินการตามขัน้ ตอนที่ ๑ นี้ จะท�ำให้ ได้ทราบถึงสภาพปัญหา และความต้องการของ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ยพ. เรียงตาม ล�ำดับความส�ำคัญในขอบเขตของแต่ต�ำบลใน พื้นที่รับผิดชอบ ขั้นตอนที่ ๒ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ รับมาตามขั้นตอนที่ ๑ เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุ ของปัญหา และพิจารณา ก�ำหนดแนวทางใน การพัฒนา โดยสามารถจะแยกแนวทางในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ออกได้เป็น ๓ แนวทาง คือ แนวทางที่ ๑ เป็นปัญหาและความ ต้องการ ที่สามารถแก้ไขภายในหมู่บ้านหรือ ต�ำบลได้เอง โดยองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ที่รับผิดชอบพื้นที่นั้น ๆ จะเป็นผู้พิจารณาจาก งบประมาณที่มีอยู่ แนวทางที่ ๒ เป็นปัญหาและความ ต้องการ ที่ไม่สามารถแก้ไขภายในหมู่บ้านหรือ ต�ำบลได้เอง โดยจะต้องขอรับการสนับสนุนงบ ประมาณจากหน่วยเหนือ เช่น จากกระทรวง ทบวงกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ ตามแผนพัฒนาจังหวัดประจ�ำปี โดยสามารถ ประสานหาข้อมูลเพื่อพิจารณาแผนงานหรือ โครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้จากแนวทาง การพัฒนาจังหวัดประจ�ำปี ซึ่งเป็นเอกสารที่ ทุกจังหวัดจะจัดท�ำขึ้นทุกปี แนวทางที่ ๓ เป็นปัญหาและความ ต้ อ งการที่ ไ ม่ ส ามารถแก้ ไ ขภายในหมู ่ บ ้ า น หรือต�ำบลได้เอง และไม่สามารถขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงทบวงกรม ต่าง ๆ ได้ เนื่องจากไม่มีแผนงานหรือโครงการ พัฒนาในเรื่องนั้น ๆ อยู่ในแนวทางการพัฒนา จั ง หวั ด ประจ� ำ ปี แต่ เ ป็ น ปั ญ หาและความ ต้ อ งการที่ มี ค วามจ� ำ เป็ นต้องเร่งพัฒนาเพื่อ ความมั่นคงของพื้นที่นั้น ๆ จึงต้องพิจารณา เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วน อื่น ๆ นอกแผนพัฒนาจังหวัด เช่น จากหน่วย 14
ทหารพัฒนา (นทพ.) กองบัญชาการกองทัพ ไทย จากภาคเอกชนต่าง ๆ และจากนักการ เมือง มาช่วยในการพัฒนาตามความต้องการ นั้น ๆ ต่อไป จากการด�ำเนินการตามขั้นตอนที่ ๒ นี้จะ ท�ำให้ได้ทราบถึงแนวทางในการพัฒนา หรือ แนวทางในการแก้ไขปัญหาตามความต้องการ ของประชาชนในหมู่บ้าน ยพ. ในความรับผิด ชอบ ขั้นตอนที่ ๓ จะเป็นการก�ำหนดแผนงาน หรือโครงการพัฒนาต่าง ๆ และแหล่งเงิน ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ กลุ่มแผนงานหรือโครงการ พัฒนา ที่สามารถพัฒนาได้เองภายในหมู่บ้าน หรือต�ำบลนั้น ๆ กลุ่มที่ ๒ กลุ่มแผนงานหรือโครงการ พัฒนา ที่ต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามแผน พัฒนาจังหวัดประจ�ำปี
การพัฒนาคน (ก�ำลังประชาชน) ในหมู่บ้านยุทธศาสตร์ พัฒนา การจั ด และการพั ฒ นาก� ำ ลั ง ประชาชน เพื่ อ การต่ อ สู ้ เ บ็ ด เสร็ จ ในหมู ่ บ ้ า นเป้ า หมาย หรือหมู่บ้าน ยพ. ให้มีขีดความสามารถในการ สนับสนุนงานการระวังป้องกันต่อเป้าหมาย ส�ำคัญและร่วมในการตอบโต้ต่อภัยคุกคามได้ นั้น จะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการด�ำเนิน การจั ด ตั้ ง และพั ฒ นาก� ำ ลั ง ประชาชนหลาย หน่วยงาน ซึ่งในการจัดก�ำลังประชาชนนั้นเป็น เรื่องที่ละเอียดอ่อน จะต้องจัดให้ครอบคลุม งานในหน้าที่ที่จ�ำเป็น มีโครงสร้างการจัดที่ ชัดเจนรัดกุม มีการประกอบก�ำลังที่สมบูรณ์ เบ็ดเสร็จในตัวเอง มีการจัดทัง้ ในระดับหมูบ่ า้ น และในกลุ่มหมู่บ้าน (ต�ำบล) เพื่อการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ตลอดจนจัดให้มีการฝึกอบรม ในขั้นพื้นฐาน ทั้งในด้านการพัฒนาอาชีพและ การปฏิบัติการทางทหาร มีการฝึกพัฒนาขีด ความสามารถและการฝึกทบทวนเป็นวงรอบ
พันเอก สันทัด เมืองค�ำ
อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกของก�ำลัง ส่วนนี้สามารถประกอบอาชีพของตนเองและ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามความรั บ ผิ ด ชอบในฐานะ ก� ำ ลั ง ประชาชนได้ ทั้ ง ในการพั ฒ นาหมู ่ บ ้ า น ตามแผนการพัฒนาและการต่อสูก้ บั ภัยคุกคาม ต่าง ๆ ในยามสถานการณ์ฉุกเฉินหรือเมื่อเกิด ภัยสงครามได้ ซึ่งในการจัดตั้งและพัฒนาขีด ความสามารถของก�ำลังประชาชนในหมู่บ้าน ยพ. ให้มีการจัดที่แน่นอน มีสายการควบคุม บังคับบัญชาที่แน่ชัด และมีหน้าที่ที่เหมาะสม ชั ด เจน ไม่ เ กิ ด ความซ�้ ำ ซ้ อ น (สวมหมวก หลายใบ) และสอดคล้ อ งส่ ง เสริ ม กั บ แผน ป้องกันประเทศ ซึ่งในสถานการณ์ปกติ ก�ำลัง ประชาชนจะมีส่วนในการผนึกก�ำลังเพื่อการ ต่อสู้เบ็ดเสร็จในยามปกติ ในลักษณะของการ สนับสนุนการรักษาความปลอดภัยเป้าหมาย ส�ำคัญ ๆ ของส่วนราชการและเอกชนพลเรือน ที่ อ ยู ่ ใ นเขตรั บ ผิ ด ชอบของหมู ่ บ ้ า นต่ อ ภั ย คุกคามระดับที่ ๑ การหาข่าวความเคลื่อนไหว ของภัยคุกคาม การร่วมพัฒนาหมู่บ้านให้มี ความมั่นคง และ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ในยามสงคราม ก� ำ ลั ง ประชาชนจะเริ่ ม มี บทบาทในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและ ความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้านร่วมกับส่วน ราชการพลเรือน เอกชนและก�ำลังประจ�ำถิ่น ที่รับผิดชอบพื้นที่นั้น เพื่อป้องกันและตอบโต้ ภัยคุกคามระดับที่ ๑ และภัยคุกคามระดับที่ ๒ ที่เข้ามากระท�ำต่อสถานที่ตั้งและเป้าหมาย ส�ำคัญต่าง ๆ ที่อยู่ในหมู่บ้าน และเป้าหมาย ส�ำคัญต่าง ๆ ที่ได้รับมอบ ตลอดจนแจ้งเตือน การเข้ามาของภัยคุกคาม การสอดส่องดูแล และป้องกันการก่อวินาศกรรม/บ่อนท�ำลาย และการก่อการร้ายต่าง ๆ เป็นแกนน�ำของ ประชาชนในหมู่บ้านเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติ การของฝ่ายเรา และขัดขวางการปฏิบัติการ จากภัยคุกคามทุกรูปแบบ ตลอดจนร่วมกับ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
ก�ำลังทางยุทธวิธีในพื้นที่ส่วนหลัง (กยล.) ใน การเข้ากวาดล้าง จับกุมและท�ำลายภัยคุกคาม ระดับที่ ๓ การจั ด และพั ฒ นาก� ำ ลั ง ประชาชนเพื่ อ การต่อสู้เบ็ดเสร็จในหมู่บ้านเป้าหมาย หรือ หมู ่ บ ้ า น ยพ. ให้ มี ขี ด ความสามารถในการ สนับสนุนงานการระวังป้องกันต่อเป้าหมาย ส�ำคัญ และร่วมในการตอบโต้ต่อภัยคุกคามได้ นั้น มีแนวทางในการด�ำเนินการโดยแบ่งออก เป็น ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้ น ตอนที่ ๑ หน่ ว ย/ส่ ว นงาน (ก� ำ ลั ง ประจ�ำถิ่น) ที่ได้รับการแบ่งมอบพื้นที่รับผิด ชอบ จะต้องด�ำเนินการเพื่อส�ำรวจประเภท/ ชนิด และจ�ำนวนของก�ำลังประชาชน ที่ได้มี การจัดตั้งอยู่เดิมแล้วในหมู่บ้านเป้าหมาย หรือ หมู่บ้าน ยพ. ที่ได้ก�ำหนดไว้ในพื้นที่รับผิดชอบ ของตน โดยแยกให้ชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดความ ซ�้ำซ้อน หากมี ประชาชนคนใดมี ส ถานภาพ เป็นสมาชิกในหลายประเภท/ชนิดของการจัด ตั้ง (สวมหมวกหลายใบ) ให้ก�ำหนดออกมาเป็น ตัวเลขให้ได้อย่างแน่นอนว่ามีจ�ำนวนเท่าใดใน แต่ละหมู่บ้าน ขั้ น ตอนที่ ๒ หน่ ว ย/ส่ ว นงาน (ก� ำ ลั ง ประจ�ำถิ่น) ที่ได้รับการแบ่งมอบพื้นที่รับผิด ชอบ ประสานและร่วมพิจารณากับ กอ.ปพร. อ�ำเภอ และสัสดีอ�ำเภอ/หน่วยทหารที่อยู่ใน พื้นที่ เพื่อก�ำหนดออกมาให้ได้ว่า เป้าหมาย ส�ำคัญ ๆ ที่อยู่ในหมู่บ้าน ยพ. นั้น ๆ จะต้อง ใช้ก�ำลังประชาชนประเภทใด (มีความสามารถ ด้านใด) จ�ำนวนเท่าใด จึงจะมีความเหมาะ สมที่จะใช้ในการระวังป้องกันและร่วมในการ ตอบโต้ต่อภัยคุกคามกับก�ำลังประจ�ำถิ่นที่รับ ผิดชอบพื้นที่นั้น ๆ ขั้ น ตอนที่ ๓ หน่ ว ย/ส่ ว นงาน (ก� ำ ลั ง ประจ�ำถิ่น) ที่ได้รับการแบ่งมอบพื้นที่รับผิด ชอบ ประสานกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
การจั ด ตั้ ง และพั ฒ นาขี ด ความสามารถของ ก�ำลังประชาชนที่พิจารณาได้ในขั้นตอนที่ ๒ เพื่อด�ำเนินการจัดตั้งตามประเภทและจ�ำนวน ที่ก�ำหนด พร้อมทั้งด�ำเนินการพัฒนาให้มีขีด ความสามารถตามที่ต้องการต่อไป ซึ่งก�ำลัง ประชาชนที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ส่ ว นนี้ จ ะต้ อ งควบคุ ม ทางบัญชีไว้ไม่ให้ซ�้ำซ้อนกับก�ำลังประเภทอื่น ในหมู่บ้านนั้น ๆ ในการเตรี ย มทั พ ยากรของชาติ ใ นพื้ น ที่ ให้มีความพร้อมเพื่อการป้องกันประเทศนั้น เป็นไปตามนโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ที่ ก� ำ หนดขึ้ น เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานใช้ เ ป็ น กรอบ ในการจัดท�ำยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรการ แผนปฏิ บั ติ ก าร ส� ำ หรั บ บริ ห ารจั ด การกั บ สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น โดยให้ความส�ำคัญ กั บ แผนป้ อ งกั น ภั ย ฝ่ า ยพลเรื อ น และแผน ป้องกันประเทศ ดังนั้นหน่วยงานที่รับผิดชอบ งานการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และงานการ ป้องกันประเทศ จะต้องเป็นหน่วยงานหลักใน การร่วมกันด�ำเนินงานตามกรอบนโยบายการ เตรียมพร้อมแห่งชาติที่ได้ก�ำหนดไว้ ด้วยการ ประสานความร่วมมือให้การใช้งบประมาณ ประจ� ำ ปี ข องชาติ ที่ ไ ด้ จั ด สรรให้ แ ต่ ล ะส่ ว น งานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาพื้นที่ พัฒนา คน ตามแนวทางของระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จ เพื่ อ ให้ พื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร์ แ ละคนในหมู ่ บ ้ า น ยุทธศาสตร์พฒ ั นา (หมูบ่ า้ น ยพ.) มีความพร้อม ที่จะร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เผชิญกับ ภัยคุกคามที่จะเกิดขึ้นได้ในทุกรูปแบบตลอด เวลาตั้งแต่ในภาวะปกติ ทั้งนี้ เพื่อความสงบ สุขของประชาชนและความอยู่รอดปลอดภัย ของประเทศชาติอย่างยั่งยืนต่อไป
15
สรุปประเด็นส�ำคัญ
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗ แผนกเผยแพร่ กองประชาสัมพันธ์ ฯ
มาตรา ๕ กรณีไม่มีบทบัญญัติให้วินิจฉัย ไปตามประเพณีการปกครองฯ (ม.๗ ตาม รธน. ปกติ) แต่เพิ่ม กรณีเกี่ยวกับงานของสภานิติบัญญัติ ให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วินิจฉัย กรณีนอกงานของ สภานิติบัญญัติ คสช. ครม. ศาล ให้ศาล รธน. วินิจฉัย กรณีของ ศาลฎีกา หรือ ศาลปกครอง ให้ เป็นหน้าทีข่ องทีป่ ระชุมใหญ่แต่ละศาล (กรณีที่ เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี) เกี่ยวกับ สนช. มีไม่เกิน ๒๒๐ คน คสช. แต่ ง ตั้ ง โดยดู จ ากความสามารถ ความหลากหลาย ต้ อ งไม่ เ คยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ในพรรคการ เมืองเป็นเวลา ๓ ปี, ไม่เป็นพระ/ นักบวช, ไม่ล้มละลาย, ไม่เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือก 16
ตั้ ง หรื อ อยู ่ ร ะหว่ า งนั้ น , ไม่ เ คยถู ก ให้ อ อก จากราชการจากกรณี ทุ จ ริ ต , ไม่ เ คยถู ก ค� ำ พิพากษายึดทรัพย์จากคดีทุจริต หรือท�ำผิด ต่อหน้าที,่ ต้องไม่เคยติดคุกเว้นแต่เป็นความผิด ลหุโทษ, ต้องไม่เป็น สภาปฏิรูปหรือรัฐมนตรี ไม่ห้าม คสช. ไม่ห้ามข้าราชการประจ�ำ พ้นจากต�ำแหน่งเมื่อ ตาย, ลาออก, คสช. ปลด, มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า ม, สนช.มี ม ติ ป ลด กันเอง, ขาดประชุมเกินก�ำหนด ท�ำหน้าที่แทน สภาผู้แทน และ วุฒิสภา , ตรากฎหมาย เปิดอภิปราย นายกฯ หรือ รัฐมนตรีได้ แต่ลงมติไม่ไว้วางใจไม่ได้ ตั้งนายกฯ นายกฯ และ ครม. นายกฯ ๑ คน รัฐมนตรีไม่เกิน ๓๕ คน นายกฯตัง้ โดย สนช. ครม. ตัง้ โดย นายกฯ
ประธาน สนช. ปลดนายกฯ ได้, นายกฯ ปลดรัฐมนตรีได้ คุ ณ สมบั ติ สั ญ ชาติ ไ ทยโดยการเกิ ด , อายุเกิน ๔๐, จบปริญญาตรี, ไม่เป็นสมาชิก พรรคการเมืองภายใน ๓ ปี, ไม่เป็น สนช. สภา ปฏิรูป กมธ.ยกร่าง รธน. สมาชิกสภาท้องถิ่น กรรมการองค์กรอิสระ ผู้พิพากษา ไม่ห้าม คสช. หรือ ข้าราชการประจ�ำ อ�ำนาจเป็นไปตาม ครม. ปกติ สภาปฏิรูป มีจ�ำนวนไม่เกิน ๒๕๐ คน คสช. ถวายค�ำแนะน�ำในการตั้ง คุ ณ สมบั ติ เ หมื อ น สนช. แต่ เ คยเป็ น สมาชิกพรรคการเมืองได้ (เปิดโอกาสนักการ เมืองร่วม) วิธีสรรหา - จังหวัด สรรหา
แผนกเผยแพร่ กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
- กรรมการสรรหากลุ่มปฏิรูป ๑๑ กลุ่ม - ให้ คสช. คัดเลือกเหลือ ๒๕๐ คน โดย ต้องมีจากจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน มีหน้าที่ศึกษา และ จัดท�ำแนวทางปฏิรูป เสนอความเห็นต่อ กมธ.ยกร่าง รธน. และเห็น ชอบร่าง รธน.ฉบับใหม่ ท�ำข้อเสนอจัดท�ำต่อ กมธ.ยกร่าง รธน. ภายใน ๖๐ วัน นับจากประชุมครั้งแรก กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จ�ำนวน ๓๖ คน ประธาน ๑ คน คสช. เป็นคนเสนอ ประกอบด้วย สภาปฏิรูปเสนอ ๒๐ คน, สนช.เสนอ ๕ คน, ครม. เสนอ ๕ คน, คสช. เสนอ ๕ คน ตั้งให้ได้ภายใน ๑๕ วัน จากการประชุม สภาปฏิรูปครั้งแรก คุณสมบัติ ต้องไม่เป็นผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งทาง การเมือง แต่เป็น คสช. สนช. หรือสภาปฏิรูป ได้, ไม่เป็นสมาชิกพรรคหรือด�ำรงต�ำแหน่งใน พรรคการเมืองภายใน ๓ ปี คุณสมบัติคล้าย สมาชิกสภาปฏิรปู , ไม่เป็นผูพ้ พิ ากษาหรือด�ำรง ต�ำแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ห้ามด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองภายใน สองปี หลังพ้นจากต�ำแหน่ง การจัดท�ำร่างรัฐธรรมนูญ ให้ร่าง รธน.ให้เสร็จใน ๑๒๐ วัน นับแต่ ได้รับความเห็นจากสภาปฏิรูป สภาปฏิ รู ป ต้ อ งประชุ ม เพื่ อ พิ จ ารณา เสนอแนะหรื อ ให้ ค วามเห็ น ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ใน ๑๐ วัน สภาปฏิรูปขอแก้ไขเพิ่มเติมได้อีก มีเวลา ๓๐ วัน หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
กมธ.ยกร่างฯ เสนอร่างให้ ครม. คสช. พิจารณาและ ขอแก้ไขเพิ่มเติมใน ๓๐ วัน กมธ.ยกร่างแก้ไขเพิ่มเติมให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน นับจากวันครบก�ำหนดการยื่นแก้ ก่อน ส่งให้สภาปฏิรูป สภาปฏิรปู ต้องมีมติภายใน ๑๕ วัน (แก้ไข เพิ่มเติมไม่ได้ เว้นแต่ไม่เป็นสาระส�ำคัญ หรือ กมธ.ยกร่างเห็นควรให้แก้ไขเพิ่มเติม) หากเห็นชอบ ให้นำ� ขึน้ ทูลเกล้าใน ๓๐ วัน หากไม่เห็นชอบก็ให้ร่าง รธน. ตกไป และ ให้เริ่ม สภาปฏิรูปและ กมธ.ยกร่าง สิ้นสุดลง และเริ่มกระบวนการใหม่ หาก รธน. ผ่าน ให้ กมธ.ยกร่างยังอยู่ เพือ่ ร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องมีเรื่องดังนี้ รับรองความเป็นราชอาณาจักรแบ่งแยก มิได้ สร้างกลไกตรวจสอบ และขจัดการทุจริต สร้างกลไก ในการตรวจสอบผู้เคยถูกค�ำ พิพากษาหรือค�ำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายเรื่อง การทุจริต ไม่ให้เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งทางการ เมืองอย่างเด็ดขาด สร้างกลไกให้เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งทางการเมือง พรรคการเมือง ไม่ถูก ครอบง�ำหรือชี้น�ำจากบุคคลใดโดยไม่ชอบ สร้างกลไกเสริมสร้างความเข้มแข็งหลัก นิติธรรม คุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล สร้างกลไกป้องกันนโยบายประชานิยมที่ สร้างความเสียหาย สร้างกลไกป้องกันมิให้ท�ำลายหลักการ ส�ำคัญของ รธน.
สร้างกลไกผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่อง ส�ำคัญต่อไป พิจารณาความจ�ำเป็นและความคุ้มค่า ขององค์กรอิสระ คสช. ให้ คสช. อยู่ต่อไป มีไม่เกิน ๑๕ คน หากเห็ น สมควร หั ว หน้ า คสช. หรื อ นายกฯ อาจขอให้ประชุมร่วม คสช. - ครม. เพือ่ แก้ไขปัญหาทีเ่ กีย่ วกับความสงบหรือความ มั่นคง หรือเรื่องอื่น ยังคงอ�ำนาจ ตรากฎหมาย ช่วงยังไม่มี สนช. กรณีทหี่ วั หน้า คสช. เห็นจ�ำเป็น มีอำ� นาจ สั่งการ ระงับ ยับยั้ง การกระท�ำ ไม่ว่าการ กระท� ำ นั้ น จะมี ผ ลบั ง คั บ ในทาง นิ ติ บั ญ ญั ติ บริหาร หรือ ตุลาการ และให้ถือว่าค�ำสั่งหรือ การกระท�ำของ คสช. ชอบด้วยกฎหมายและ รัฐธรรมนูญ (คสช.มีอ�ำนาจเหนือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ) ศาล รธน. ยังคงมีอยู่ มีอ�ำนาจหน้าที่พิจารณาว่า กฎหมายใดขัด รธน. การแก้ รธน. คสช. ครม. มีมติร่วมกันแก้ไข รธน. ฉบับ นี้ได้ นิรโทษกรรม นิรโทษกรรมการกระท�ำและค�ำสั่ง คสช. ตั้งแต่ ๒๒ พ.ค. - วันที่ ครม. เข้ารับต�ำแหน่ง ข้อมูลโดย : Nation TV 17
การด�ำเนินการด้านข้อมูลทรัพยากร
เพื่อการระดมสรรพก�ำลัง กรมการสรรพก�ำลังกลาโหม
พลโท ยุทธนา กล้าการยุทธ เจ้ากรมการสรรพก�ำลังกลาโหม กรมการสรรพก�ำลังกลาโหม หรือชื่อย่อ กกส.กห. ได้ รั บ มอบหมายให้ รั บ ผิ ด ชอบ การจั ด การความรู ้ ข องส�ำนั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม เพื่ อ เป็ น การรวบรวม องค์ ค วามรู ้ ที่ มี อ ยู ่ ใ นส่ ว นราชการมา พั ฒ นาอย่ า งเป็ น ระบบ ให้ กั บ ก�ำลั ง พล ในหน่ ว ยสามารถเข้ า ถึ ง ความรู ้ และ ปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดย พลโท ยุทธนา กล้าการยุทธ เจ้ากรมการ สรรพก�ำลั ง กลาโหม ได้ ก รุ ณ าแต่ ง ตั้ ง คณะท�ำงานด้ า นการจั ด การความรู ้ ข อง กกส.กห. (Knowledge Management : KM Team) ด�ำเนินการจัดการความรู้ของ หน่วย ในหัวข้อเรื่อง “การด�ำเนินการด้าน ข้อมูลทรัพยากรเพื่อการระดมสรรพก�ำลัง” กรมการสรรพก�ำลังกลาโหม จัดเก็บข้อมูล ทรัพยากรเพื่อการระดมสรรพก�ำลัง ตามแผน ผนึ ก ก� ำ ลั ง และทรั พ ยากรเพื่ อ การป้ อ งกั น ประเทศ โดยแบ่งข้อมูลทรัพยากรออกเป็น ๑๐ ด้านประกอบด้วย ด้านคน ได้แก่ ก�ำลังคนที่มีความช�ำนาญ พิเศษ ด้านอาหาร ได้แก่ โรงงานผลิตอาหาร ด้านน�้ำ ได้แก่ เขื่อน / อ่างเก็บน�้ำ / แหล่ง ผลิตน�้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ด้ า นการคมนาคม-ขนส่ง ได้แก่ ข้อมูล ถนน / สะพาน / เส้นทางรถไฟ / ท่าเทียบเรือ / สนามบิน จากทั่วประเทศ 18
ด้านการสือ่ สาร ได้แก่ ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์ / สถานีเรดาห์ / ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต ด้ า นการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ได้ แ ก่ โรงพยาบาล / สถานีอนามัย / โลหิตส�ำรอง/ โรงงานผลิตยาและเวชภัณฑ์ ด้ า นอุ ต สาหกรรมและปั จ จั ย การผลิ ต ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม / โรงงานผลิตอาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด ด้านเชื้อเพลิงและพลังงาน ได้แก่ สถานี บริการน�้ำมัน / โรงงานผลิตไฟฟ้า
ด้านการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ สถานีวิทยุ กระจายเสียง / สถานีโทรทัศน์ / ส�ำนักพิมพ์ ด้านสิง่ อ�ำนวยความสะดวกและอืน่ ๆ ได้แก่ วัด / โรงแรม / สถานศึกษา/ สถานที่กักกัน การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรจากทุกภาค ส่วน โดยประสานไปยังส่วนราชการและหน่วย งานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอรับการสนับสนุน ข้ อ มู ล ทรั พ ยากร และจั ด เก็ บ เฉพาะแหล่ ง ทรัพยากรเป้าหมายตามมาตรฐานที่ กรมการ สรรพก�ำลังกลาโหมก�ำหนดไว้ กรมการสรรพก�ำลังกลาโหม
การจัดการความรู้ โดยจัดท�ำเป็นมาตรฐาน การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางให้ ผูป้ ฏิบตั งิ าน สามารถด�ำเนินการเกีย่ วกับข้อมูล ให้เป็นไปตามความต้องการทางทหาร เพื่อให้ ทราบถึงกระบวนการรวบรวมข้อมูลทรัพยากร เพื่อการระดมสรรพก�ำลัง และสามารถอธิบาย ถึ ง การปฏิ บั ติ ง านด้ า นข้ อ มู ล ทรั พ ยากรได้ ตลอดจนสามารถน� ำ ไปเป็ น แนวทางในการ ปฏิบัติหน้าที่ และสามารถให้การสนับสนุน ตามความต้องการทางทหารได้ หากเกิดภาวะ ไม่ปกติ ตามแนวทางในการปฏิบตั ทิ วี่ า่ “ข้อมูล พร้ อ มสรรพ ทรั พ ยากรเพื่ อ กองทั พ ” ซึ่ ง ที่ ผ่านมาได้มีการน�ำข้อมูลไปใช้ในการฝึกการ ระดมสรรพก�ำลัง ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (กรส.๕๗) ภายใต้กรอบการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ ระดับชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (C-MEX 14) ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ รวมทั้ ง สามารถ
ให้ความช่วยเหลือประชาชนในการบรรเทา สาธารณภั ย โดย กรมสรรพก� ำ ลั ง กลาโหม ได้ จั ด ท� ำ ข้ อ มู ล ทรั พ ยากรเตรี ย มพร้ อ ม ในการสนับสนุนการช่วยเหลือประชาชนหาก เกิดภัยพิบัติได้แก่ อุทกภัย ภัยแล้ง ภัยหนาว มอบให้กับ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวง กลาโหม เป็นที่เรียบร้อย และมีหน่วยงานขอ เชื่อมโยงเพื่อเข้าใช้งานระบบข้อมูลการระดม สรรพก�ำลัง ได้แก่ กรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร, มณฑลทหารบกที่ ๑๔, จั ง หวั ด ทหารบก สระแก้ ว และ วิ ท ยาลั ย เสนาธิ ก ารทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ หากส่วนราชการทหารหน่วยใด มีความ สนใจเข้าใช้ข้อมูลเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ตาม ภารกิจของหน่วย สามารถประสาน กรมการ สรรพก�ำลังกลาโหมเพื่อขอเข้าใช้งานระบบดัง กล่าวได้ หมายเลขโทรศัพท์ ๐ - ๒๙๘๐ - ๗๔๑๗ โทร.ทหาร ๕๘๖๖๑๘๗ ทั้งนี้ สามารถเข้าชม ภารกิจการด�ำเนินงานของกรมการสรรพก�ำลัง กลาโหม ได้ ที่ http://dmd.mod.go.th/ Home.aspx หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
19
ยาฉีดต้านพิษเคมี ในสงครามอาวุธเคมี และการก่อการร้าย
(Antidote Injection for Chemical Poisoning in Chemical Warfare and Terrorism)
ส
การใช้กา๊ ซ ซาริน โจมตี รถไฟใต้ดนิ
กรุงโตเกียว (Sarin Gas Attack)
พันเอก อนุมนตรี วัฒนศิริ
ง ครามอาวุ ธ เคมี เ ป็ น สงครามที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ คุ ณ สมบั ติ ความเป็ น พิ ษ ของสารเคมี เ ป็ น อาวุธสงครามอาวุธเคมีแตกต่างจากสงคราม อาวุธนิวเคลียร์ และสงครามอาวุธชีวภาพ ซึ่ง ทั้ง ๓ อย่างรวมเป็นสงครามอาวุธนิวเคลียร์ ชีวะเคมีใช้ตัวย่อเป็นสงคราม นชค. ซึ่งถูกจัด เป็นอาวุธท�ำลายล้างสูงและไม่จัดอยู่ในกลุ่ม อาวุธดั้งเดิม ตามศักยภาพในการท�ำลายล้าง การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน, การฝึกฝน และการล้างพิษสามารถลดผลร้ายของอาวุธ เคมีนี้ได้ ประเทศหลายประเทศได้มีการสะสม อาวุธเคมีเป็นจ�ำนวนมหาศาล เพื่อเตรียมไว้ใช้ ในสงคราม การคุกคามในลักษณะนี้เป็นเครื่อง มื อ ทางยุ ท ธศาสตร์ ใ นแผนงานทั้ ง ในการรั บ และการรุกในสงคราม สารเคมีออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
ในรูปก๊าซ (GAS)
G-Agents-Tabun (GA) ,Sarin (GB) ,Soman (GD) ,Cyclosarin (GB) V-Agents – EA-3148 , VE ,VG ,VM , VR ,VX Nerve Gas เป็นสาร เคมีที่ประกอบด้วย Organic Chemical กลุ่ม Organophosphate ซึ่ ง ท� ำ ลายกลไกการ ท� ำ งานของระบบประสาทไปสู ่ อ วั ย วะ โดย การ Block Enzyme Acetylcholinesterase ซึ่ ง ควบคุ ม Neurotransmitter คื อ Acetylcholine ท�ำให้เกิด Acetylcholine มากเกินไปและเกิดพิษ 20
ก๊าซซาริน ได้ถูกค้นพบในปี ค.ศ.๑๙๓๘ ที่ เ มื อ ง WuppertalElberfeld ประเทศ เยอรมันโดยนักวิทยาศาสตร์ที่ IG Farben โดยมีความตั้งใจที่จะสร้างยาฆ่าแมลงที่มีฤทธิ์ แรงขึ้น, ก๊าซซารีนมีความเป็นพิษสูงที่สุดใน กลุ่มสารเคมี ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทกลุ่ม G-Series ก๊าซซารินหรือ GB เป็นสารประกอบ ทางเคมีกลุ่มออกาโนฟอสเฟตมีสูตรทางเคมี ดังนี้ [(CH3)2CHO]CH3P(O)F ก๊าซซารีนใน สภาวะของเหลว ไม่มีสี และไม่มีกลิ่น น�ำมาใช้ เป็นอาวุธเคมี เนื่องจากก๊าซซารีนเป็นสารเคมี ออกฤทธิต์ อ่ ระบบประสาททีม่ ฤี ทธิร์ นุ แรง และ ได้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มอาวุธท�ำลายล้างสูง อาการที่เกิดขึ้นเมื่อได้สัมผัส
ก๊าซพิษ (Symtoms when expose to Nerve Gas) Runny Nose น�้ำมูกไหล Tightness in The Chest แน่นหน้าอก Pupils Constriction ม่านตาหด Difficulty Breathing หายใจล�ำบาก Salivation น�้ำลายไหล Nausea and Drooling คลื่นไส้ น�้ำลาย ฟูมปาก Vomiting อาเจียน Convulsion อาการชัก Involuntary Urination and Defecation ปัสสาวะ/อุจจาระโดยไม่รู้ตัว Death เสียชีวิต
เกิดขึ้นที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น วันที่ ๒๐ มีนาคม ๑๙๙๕ เวลา ๐๗.๐๐-๐๘.๑๐ มีผู้ได้รับบาดเจ็บ ๖,๒๕๒ คน (สาหัส ๕๐ คน) และเสียชีวิต ๑๓ คน เหตุการณ์การใช้อาวุธเคมี
(ก๊าซซาริน) ที่โกโอต้า ประเทศซีเรีย (Syria : Ghouta Chemical Attack) เหตุการณ์ การใช้อาวุธเคมี (ก๊าซซาริน) ที่ เ มื อ งโกโอต้ า ประเทศซี เ รี ย เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ สิ ง หาคม ๒๐๑๓ ในระหว่ า ง สงครามกลางเมืองในประเทศซีเรีย รัฐบาล ซีเรียได้โจมตีโดยยิงจรวด ซึ่งมีอาวุธเคมี (ก๊าซ ซาริน) ไปยังพื้นที่ของฝ่ายกบฏต่อต้านรัฐบาล และพื้นที่พลเรือนเมืองโกโอต้ารอบ ๆ กรุง ดามัสกัสในช่วงเวลาเช้า การเข้าโจมตีครั้งนี้ เชื่ อ ว่ า ท� ำ ให้ ฝ ่ า ยกบฏต่ อ ต้ า นรั ฐ บาล และ พลเรื อ นเสี ย ชี วิ ต จ� ำ นวนนั บ พั น คน และไม่ น้อยกว่า ๕๑ คนในจ�ำนวนนี้เป็นฝ่ายกบฏ ต่อต้านรัฐบาล เหตุการณ์นี้อาจเป็นการเสีย ชีวิตที่มากที่สุดจากการใช้อาวุธเคมีในสงคราม นับตั้งแต่สงครามอิหร่าน-อิรัก Atropine Sulfate ความเข้มข้น
๒ mg/ml ในรูปแบบยาฉีดใช้เป็น ยาฉีดต้านพิษเคมี (ก๊าซออกฤทธิ์ ต่อระบบประสาท)
Atropine เป็น Tropane Alkaloid ทีไ่ ด้จาก ธรรมชาติ จากพืชต้น Deadly Nightshade, Jimson weed, พันเอก อนุมนตรี วัฒนศิริ
Mandrake และพื ช ในตระกู ล Family Solanaceae โครงการวิจัยและพัฒนาสูตรต�ำรับ
ยาฉีดอะโทรฟินซัลเฟตต้านพิษเคมี บรรจุเข็มฉีดยาชนิดพร้อมฉีด ของ โรงงานเภสัชกรรมทหาร (Research and Development of Antidote Atropine Sulfate Injection for Chemical Poisoning in Prefilled Syringe)
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย จากส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โดยมีผู้ท�ำการ วิจัย ดังนี้ ๑. พั น เอก อนุ ม นตรี วั ฒ นศิ ริ โรงงาน เภสัชกรรมทหาร ๒. นาวาเอกหญิ ง อุ ม าพร ครุ ส ารพิ ศิ ฐ โรงงานเภสัชกรรมทหาร ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ สินชัย พานิช มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. นางสาว ดวงมณี มณี โ รจน์ ภั ก ดี มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาสู ต รต� ำ รั บ ยา ฉีดอะโทรฟีนซัลเฟต (Atropine Sulfate) ต้ า นพิ ษ เคมี บ รรจุ เ ข็ ม ฉี ด ยาชนิ ด พร้ อ มฉี ด มี วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ยาฉีดอะโทรฟีนซัลเฟตต้านพิษเคมี (แก๊สพิษ) ความเข้มข้น ๒ mg/ml ที่มีคุณภาพ มีความ คงสภาพของตัวยาตามมาตรฐานเภสัชต�ำรับ สหรัฐอเมริกา และเทียบเท่ากับผลิตภัณฑ์ยา ต้นแบบต่างประเทศคือ Atropen แต่ในราคา ที่ถูกกว่ามากด�ำเนินการผลิตโดยบรรจุน�้ำยา ลงในเข็มฉีดยาชนิดบรรจุน�้ำยาไว้ล่วงหน้าและ พร้อมฉีด ผู้ป่วยสามารถฉีดยานี้ได้ด้วยตัวเอง เข็มฉีดยาที่บรรจุน�้ำยาจะถูกบรรจุในอุปกรณ์ บรรจุ ภั ณ ฑ์ พ สาสติ ก ลั ก ษณะคล้ า ยปลอก ปากกาเพื่อป้องกันเข็มฉีดยาจากการกระแทก และเก็ บ รั ก ษายาจากสิ่ ง แวดล้ อ มภายนอก ผลผลิตที่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป สามารถ น�ำไปผลิตในภาคอุตสาหกรรม และใช้งานได้ จริง ผลการวิจัยได้สูตรต�ำรับยาที่เหมาะสม ๒ สูตร ท�ำการทดสอบความคงสภาพของยาแบบ เร่ง ๑๒ เดือน (Control) การทดสอบความคง สภาพในสภาวะปกติ (Ambient) และทดสอบ การปราศจากเชื้อ ผลการทดสอบพบว่าทั้ง ๒ สูตรผ่านมาตรฐานการวิเคราะห์ ด้านปริมาณ ตัวยาส�ำคัญ การทดสอบความคงสภาพ และ การทดสอบการปราศจากเชื้อ
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
รูปภาพแสดงการทดลองผลิตตามสูตรต�ำรับที่พัฒนาขึ้น ๑. การผสมสารละลายยาฉีด Atropine sulfate 2 mg/ml ๒. การบรรจุสารละลายยาฉีด Atropine sulfate 3 mg/ml ภายในตู้ปลอดเชื้อ ๓. การท�ำให้ปราศจากเชื้อโดยออโต้เคลฟ (Autoclave) ๔. สารละลายยาบรรจุในเข็มฉีดยาชนิดพร้อมฉีด ๕. บรรจุภัณฑ์ภายนอกส�ำหรับเข็มฉีดยาชนิดพร้อมฉีด
อุปกรณ์ฉีดยาอัดโนมัติต้นแบบ (Auto Injector Prototype Model) โครงการวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์
บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมส�ำหรับเข็ม ฉีดยาชนิดพร้อมฉีด (Research and Devolopment Suitable Packaging for Prefilled Syringe) ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย จากส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โดยมีผู้ท�ำการ วิจัย ดังนี้ ๑. พั น เอก อนุ ม นตรี วั ฒ นศิ ริ โรงงาน เภสัชกรรมทหาร ๒. นายมงคล ดี อุ ด ม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อุปกรณ์ฉีดยาอัตโนมัติ (auto injector) เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ได้ถูกออกแบบ ในการส่งยา ๑ ครั้งในปริมาณหนึ่งที่มีฤทธิ์ ในการรักษา ยาที่ใช้ในลักษณะนี้เป็นยาช่วย ชีวิต ที่ผู้ป่วยต้องได้รับยาเร็วที่สุดส่วนใหญ่ อุปกรณ์ฉีดยาอัตโนมัติ เป็นกลไกของสปริง
และถูกออกแบบให้ผู้ป่วยฉีดยาได้ด้วยตัวเอง ต�ำแหน่งฉีดยาที่ต้นขาหรือสะโพก อุปกรณ์ ฉีดยาอัตโนมัติใช้ร่วมกับเข็มฉีดยาชนิดบรรจุ น�ำ้ ยาไว้ลว่ งหน้าพร้อมฉีด (Prefilled Syringe) ลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว คล้ายปากกา มี ก ลไกป้ อ งกั น เข็ ม ฉี ด ยาจะปลดปล่ อ ยออก โดยอุบัติเหตุ และมีปุ่มกดให้กลไกท�ำงานปัก เข็มเข้าสู่ผิวหนัง และปลดปล่อยน�้ำยาเข้าสู่ ร่างกายพร้อม ๆ กัน วัตถุประสงค์ของงาน วิจัยอุปกรณ์ฉีดยาอัตโนมัติคือ ออกแบบได้ รู ป แบบ และจั ด ท� ำ อุ ป กรณ์ ฉี ด ยาอั ต โนมั ติ ต้นแบบที่น�ำไปผลิตได้ในภาคอุตสาหกรรมใน ราคาที่ถูกกว่าอุปกรณ์ฉีดยาอัตโนมัติจากต่าง ประเทศที่ใช้กันอยู่ ด�ำเนินการศึกษาวิจัยโดย การค้นคว้าหาข้อมูล รูปแบบ Auto injector ที่มีใช้ในปัจจุบัน และศึกษารูปแบบต่าง ๆ และ ออกแบบอุปกรณ์ตามข้อมูลทีศ่ กึ ษาแล้วด�ำเนิน การสร้างและทดสอบ Auto injector ที่สร้าง ขึ้นจนได้ เป็นต้นแบบของ Auto injector  21
จับตาข้อพิพาท
หมู่เกาะสแปรตลี พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
22
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ห
มเู่ กาะสแปรตลี (Spratly Islands) ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของทะเล จีนใต้ ล้อมรอบไปด้วยประเทศ ต่าง ๆ ประกอบด้วย สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม, สาธารณรัฐประชาชนจีน (ด้าน เกาะไหหล�ำของมณฑลไห่หนาน), สาธารณรัฐ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ , เนการาบรู ไ นดารุ ส ซาลามหรื อ “บรู ไ น”, สหพั น ธรั ฐ มาเลเซี ย (บริ เ วณรั ฐ ซาบาห์) และสาธารณรัฐจีนหรือ “ไต้หวัน” บริเวณหมู่เกาะดังกล่าวมีพื้นที่ทางทะเลกว้าง ใหญ่ ม ากกว่ า ๔๒๕,๐๐๐ ตารางกิ โ ลเมตร หรือประมาณร้อยละ ๓๘ ของพื้นที่ทะเลจีนใต้ ทั้ ง หมด สภาพทางภู มิ ศ าสตร์ เ ป็ น เกาะเล็ ก เกาะน้ อย โขดหิ น หิ น โสโครกและแนวหิน ปะการังมากกว่า ๗๕๐ แห่ง บางโขดหินเล็ก มากจนสามารถยืนอยู่ได้เพียงสองคน บางโขด หินจะจมน�ำ้ หายไปเมือ่ น�ำ้ ขึน้ และโผล่ขนึ้ มาอีก ครั้งเมื่อน�้ำลง มีจ�ำนวนเกาะขนานใหญ่ที่โผล่ พ้นน�้ำถาวรและสามารถตั้งถิ่นฐานได้ประมาณ ๓๓ เกาะเท่านั้น เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือ เกาะ สแปรตลี ซึ่งเป็นชื่อเดียวกับหมู่เกาะ ปัจจุบัน เกาะนี้อยู่ในความครอบครองของสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม สาเหตุ ที่ ห มู ่ เ กาะสแปรตลี มี ค วามส� ำ คั ญ และกลายเป็ น ที่ จั บ ตามองของประชาคม โลกก็เพราะ ผลการส�ำรวจทางธรณีวิทยาใน ช่วงที่ผ่านมา ท�ำให้มีการคาดการณ์ว่าพื้นที่ แห่งนี้อุดมสมบรูณ์ไปด้วยก๊าซธรรมชาติที่มี จ�ำนวนถึง ๒๕ ล้านคิวบิค และน�้ำมันดิบอีก กว่า ๑๐๕ ล้านบาเรล นับเป็นแหล่งพลังงาน จ�ำนวนมหาศาลที่ผู้ครอบครองจะสามารถน�ำ ไปพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้ โดยเฉพาะ ในห้วงเวลาทีน่ ำ� ม้ นั ดิบและก๊าซธรรมชาติกำ� ลัง จะหมดสิ้นไปจากโลกนี้
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ดั ง กล่ า วนี้ เ องท� ำ ให้ มี ประเทศต่าง ๆ อ้างสิทธิการครอบครองเหนือ หมู่เกาะสแปรตลีถึง ๖ ประเทศ ประกอบไป ด้วย สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐ จีนหรือ“ไต้หวัน” และสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนามที่อ้างกรรมสิทธิเหนือพื้นที่หมู่เกาะ แห่งนี้ทั้งหมด ส่วนสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เนกา ราบรูไนดารุสซาลามและสหพันธรัฐมาเลเซีย นั้นอ้างกรรมสิทธิบางส่วนของพื้นที่เท่านั้น ในส่วนของสาธารณรัฐประชาชนจีนหรือที่ ต่อไปจะเรียกสั้น ๆ ว่า “จีน” นั้น ดูจะมีความ เคลื่อนไหวมากที่สุดประเทศหนึ่ง เพราะคงไม่ อาจปฏิเสธได้ว่าภายหลังจากประธานาธิบดี สี จิ้ น ผิ ง ได้ ป ระกาศนโยบาย “ความฝั น ของชาวจีน” (Chinese Dream) ซึ่งมีเป้า หมายอยู่ท่ี “ความมั่งคั่ง” (Wealth) และ
“ความแข็งแกร่ง” (Strength) ด้วยการสร้าง เศรษฐกิจและกองทัพให้เข้มแข็ง พลังงานได้ กลายเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ ส่ ง ผลให้ จี น บริ โ ภคพลั ง งาน รูปแบบต่าง ๆ จ�ำนวนมากมายมหาศาลจาก ทั่วโลกทั้งจากรัสเซีย แอฟริกาและเอเซีย ดัง นั้นเมื่อพลังงานน�้ำมันก�ำลังจะหมดสิ้นไปจาก โลกและกลายเป็นสิ่งที่นับวันจะหาได้ยากมาก ขึ้น จีนจึงจ�ำเป็นต้องมองหาแหล่งพลังงานแห่ง ใหม่เพื่อน�ำมาใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจต่อไป ดัง นั้นหมู่เกาะสแปรตลีจึงกลายเป็นเป้าหมาย ส�ำคัญของจีนอย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยง การเข้าครอบครองหมู่เกาะสแปรตลีหรือ ที่จีนเรียกว่า “นาน ชา” (Nan Cha) จีนได้ อ้างเหตุผลทางประวัติศาสตร์ในสมัยราชวงศ์ “ฮั่น” หรือเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ กว่าปีมา แล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ.๑๘๓๕ (เป็นเวลา ๙ ปีภายหลังจากที่พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช ของอาณาจักรสุโขทัยทรงประดิษฐ์อักษรไทย ขึน้ ) จีนได้อา้ งแผนทีโ่ บราณเป็นหลักฐานว่าเรือ สินค้าของจีนได้แล่นผ่านหมู่เกาะแห่งนี้ และ ต่อมาอีก ๑๓๓ ปีคือในปี พ.ศ.๑๙๖๘ (ตรง กับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ หรือเจ้าสามพระยาแห่งกรุงศรีอยุธยา) ก็มหี ลัก ฐานปรากฏอยูบ่ นแผนทีเ่ ดินเรือของจีน โดยนัก เดินเรือชาวจีนชื่อ “เชง โฮ” (Cheng Ho) ได้ ก�ำหนดหมู่เกาะสแปรตลีไว้ในแผนที่ดังกล่าว ซึ่งจีนอ้างว่าอีก ๕ ปีต่อมาคือ พ.ศ.๑๙๗๓ หมู่ เกาะสแปรตลีก็ตกอยู่ในภายใต้การปกครอง ของจีนนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ปัจจุบันจีนได้ เข้าครอบครองและสร้างสิ่งปลูกสร้างบนโขด หินอย่างน้อย ๒ แห่งคือ โขดหินกางเขนแห่ง ไฟ (Fiery Cross Reef) และโขดหินแห่งความ เลวร้าย (Mischief Reef) นอกจากนี้จีนยังได้ 23
ลง ๒ ปี จีนได้ส่งก�ำลังเข้ายึดครองเกาะต่าง ๆ จ�ำนวน ๔ เกาะจากรัฐบาลเวียดนามใต้ ท�ำให้ มี ก ารกระทบกระทั่ ง กั น เรื่ อ ยมา จนกระทั่ ง เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๔ เรือลาดตระเวน ของจีนได้โจมตีเรือส�ำรวจน�้ำมัน ๒ ล�ำของ เวียดนามบริเวณพื้นที่พิพาท และเรือรบของ จีนหมายเลข ๒๗, ๒๘ และ ๙๘๙ ได้เปิดฉาก ระดมยิงเรือประมงของเวียดนามจ�ำนวน ๔ ล�ำได้รับความเสียหาย ท�ำให้ชาวเวียดนามไม่ พอใจพร้อมกับรวมตัวกันประท้วงที่หน้าสถาน ทูตจีนในกรุงฮานอยและเมืองโฮจิมินห์ ต่อมา ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕ สภาแห่งชาติ เวียดนามก็ตอบโต้ด้วยการประกาศกฏหมาย ปักปันเขตแดนพื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศ โดยได้ ป ระกาศรวมพื้ น ที่ ห มู ่ เ กาะสแปรตลี เข้าเป็นดินแดนของเวียดนาม ภายหลังจาก ที่เคยประกาศว่าหมู่เกาะสแปรตลีอยู่ในเขต เศรษฐกิ จ จ� ำ เพาะของตนมาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. ๒๕๒๐ ความขัดแย้งดังกล่าวท�ำให้เวียดนาม พยายามทุกวิถีทางที่จะถ่วงดุลอ�ำนาจกับจีน ประกาศว่าเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของบริษัท ไชน่า โมบาย (China Mobile) ได้ส่งสัญญาณ ครอบคลุ ม ถึ ง หมู ่ เ กาะสแปรตลี แ ล้ ว ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๕๔ รวมทั้งมีการตั้งชื่อเกาะและโขด หินจ�ำนวน ๒๐๐ กว่าแห่งเป็นภาษาจีนเพื่อ แสดงความเป็นเจ้าของอีกด้วย การเข้าครอบครองหมู่เกาะสแปรตลีของ จี น ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง กั บ ประเทศ อื่น ๆ ที่อ้างสิทธิการครอบครองเช่นกัน เช่น สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหรือที่ต่อไป จะเรียกสั้น ๆ ว่า “เวียดนาม” ซึ่งมีปัญหากับ จีนทัง้ หมูเ่ กาะสแปรตลีและหมูเ่ กาะพาราเซลที่ เพิ่งเกิดความขัดแย้งกรณีที่จีนน�ำแท่นขุดเจาะ น�้ำมันเข้าไปในพื้นที่พิพาทจนเกิดการประท้วง ทั่วประเทศเมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา ใน ส่วนของหมู่เกาะสแปรตลีนั้น เวียดนามอ้าง หลักฐานด้านประวัติศาสตร์เช่นกัน โดยเรียก หมู่เกาะนี้ว่า “ควาน เด๋า เตรือง ซา” (Quan Dao Troung Sa) หรือ “เตรือง ซา” ส�ำหรับ เอกสารที่เวียดนามน�ำมาใช้อ้างอิง คือเอกสาร ของเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๖ ที่ ร ะบุ ย ้ อ นหลั ง ไปว่ า หมู ่ เ กาะสแปรตลี เ ป็ น ของเวียดนามมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๓๐ (ก่อน เกิดเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ซึ่งเป็นกรณีพิพาท ระหว่างฝรั่งเศสและประเทศสยามบริเวณปาก แม่น�้ำเจ้าพระยาเป็นเวลา ๖ ปี) ปัจจุบนั เวียดนามอ้างว่าตนครอบครองเกาะ หรือโขดหินในหมู่เกาะสแปรตลีมากที่สุด คือ จ�ำนวน ๒๔ เกาะ บางเกาะหรือโขดหินมีการ ครอบครองมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๒๖๖ และใน ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ก่อนสงครามเวียดนามจะยุติ 24
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ทั้งด้านการทหารและการพัฒนาความสัมพันธ์ กับประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านการ ทหารนั้ น เวี ย ดนามมี ก ารเสริ ม สร้ า งอาวุ ธ ยุทโธปกรณ์อย่างขนานใหญ่ เช่น การสั่งซื้อ เรือด�ำน�้ำพลังงานดีเซลชั้น “กิโล” (Kilo) ซึ่ง นับเป็นเรือด�ำน�้ำที่ทันสมัยที่สุดชนิดหนึ่งของ รัสเซีย เนื่องจากมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และยาวนานตั้งแต่ก่อนที่สหภาพโซเวียตจะ ล่มสลาย จ�ำนวน ๖ ล�ำ มูลค่ากว่า ๑,๘๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส�ำหรับเรือด�ำน�ำ้ ล�ำแรกคือ เอชคิว-๑๘๒ ฮานอย (HQ-182 Hanoi) มีการ ส่งมอบให้กับกองทัพเรือเวียดนามเมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ ทีผ่ า่ นมา และจะส่งมอบต่อไปปีละ ๑ ล�ำจนถึงปี พ.ศ.๒๕๖๑ ส�ำหรับสาธารณรัฐฟิลิปปินส์หรือที่ต่อไป จะเรียกว่า “ฟิลิปปินส์” นั้น มีการกล่างอ้าง กรรมสิทธิเพียงบางส่วนของหมู่เกาะสแปรตลี ที่อยู่ในเขตเมือง “กาลายาอัน” (Kalayaan) ของจังหวัด “ปาลาวัน” (Palawan) โดยเรียก พื้นที่ดังกล่าวว่า หมู่เกาะ “กาปูลูอัน งัง กาลา ยาอัน” (Kapuluan Ng Kalayaan) ส�ำหรับ พื้ น ที่ ที่ มี ป ั ญ หาตึ ง เครี ย ดบ่ อ ยที่ สุ ด คื อ เกาะ ที่ฟิลิปปินส์เรียกว่า “ปานาตัค” (Panatag) ส่วนจีนเรียกว่า “ฮวงหยาน” (Huangyan) ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๕ เป็นต้นมา เรือรบ เรือ ส�ำรวจสมุทรศาสตร์ตลอดจนเรือประมงของ ฟิลิปปินส์และจีนมีการกระทบกระทั่งกันใน พื้นที่พิพาทนี้เป็นจ�ำนวนหลายครั้ง แต่การเผชิญหน้าที่เกือบจะขยายตัวเป็น ความขัดแย้งรุนแรงระหว่างทั้งสองประเทศ เกิดขึ้นเมื่อบริษัทผู้ผลิตน�้ำมันที่ใหญ่ที่สุดของ จีน คือบริษัท China National Offshore Oil Corporation : CNOOC (บริษัทเดียวกับ ที่น�ำแท่นขุดเจาะน�้ำมันเข้าไปติดตั้งในพื้นที่ พิ พ าทหมู ่ เ กาะพาราเซล จนเกิ ด ปั ญ หากั บ เวียดนามเมื่อกลางปี พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา) ได้จัดการฝึกซ้อมทางทะเลในปี พ.ศ.๒๕๕๕ เพื่อท�ำการค้นหาน�้ำมันใกล้กับบริเวณพื้นที่
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
พิพาทเป็นเวลานานถึง ๕๖ วัน ส่งผลให้ชาว ฟิลิปปินส์ออกมาประท้วงต่อต้านอย่างรุนแรง ทั่วประเทศ จีนจึงตอบโต้ด้วยการสั่งกักกล้วย หอมที่น�ำเข้าจากฟิลิปปินส์จ�ำนวน ๑,๒๐๐ ตู้คอนเทนเนอร์ตามเมืองท่าต่าง ๆ ของจีน โดยอ้างเหตุผลด้านความปลอดภัยจากสาร พิษตกค้างในกล้วยหอมเหล่านั้น นอกจากนี้ บริษัทท่องเที่ยวขนาดใหญ่ที่ด�ำเนินการโดย รัฐบาลจีน ก็ประกาศยกเลิกการจัดโปรแกรม การท่องเที่ยวในฟิลิปปินส์ทั้งหมดด้วยเหตุผล ด้านความปลอดภัย แม้ว่าการสร้างดุลอ�ำนาจทางทหารระหว่าง ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ แ ละจี น นั้ น ดู จ ะเป็ น สิ่ ง ที่ เ ป็ น ไป ไม่ ไ ด้ เพราะความอ่ อ นแอด้ า นเศรษฐกิ จ ที่ ผ่านมา ท�ำให้กองทัพฟิลิปปินส์อยู่ในสภาวะที่ ขาดแคลนอย่างมาก แต่ฟิลิปปินส์ก็พยายาม เดินหมากด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กั บ สหรั ฐ ฯ ซึ่ ง เป็ น ประเทศมหาอ� ำ นาจที่ เป็นพันธมิตรใกล้ชิดกันมาตั้งแต่อดีต และมี วัตถุประสงค์เดียวกันในการสกัดกั้นจีนตาม นโยบาย “การปรับสมดุล” (Rebalancing) ของประธานาธิบดีบารัก โอบาม่า ภายหลังจาก ที่สหรัฐฯ มัวแต่ทุ่มเทความสนใจไปยังภูมิภาค ตะวันออกกลางมาเป็นเวลานานนับทศวรรษ ภาพที่ ชั ด เจนที่ สุ ด ในการหวนกลั บ มาสู ่ ฟิลิปปินส์ของสหรัฐฯ คือกรณีพายุไต้ฝุ่น “ไห่ เยียน” เมือ่ ช่วงปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ นัน้ สหรัฐฯ
ได้ส่งเรือบรรทุกเครื่องบิน “ยูเอสเอส จอร์ช วอชิงตัน” (USS George Washington) เดิน ทางน�ำความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมพร้อม ก�ำลังพลหน่วยนาวิกโยธินอีกกว่า ๕,๐๐๐ นาย และยุทโธปกรณ์ชนิดต่าง ๆ เดินทางเข้าไปให้ ความช่วยเหลือเกือบจะในทันที อันเป็นการ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด และ แน่นแฟ้นของทั้งสองประเทศได้เป็นอย่างดี การพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการทหาร ระหว่ า งฟิ ลิ ป ปิ น ส์ กั บ สหรั ฐ ฯ นั บ เป็ น วิ ธี การหนึ่งในการ “ซื้อเวลา” เพื่อให้กองทัพ ฟิลิปปินส์สามารถพัฒนาแสนยานุภาพให้มี ความเข้ ม แข็ ง ขึ้ น ตามกฎหมายสาธารณรั ฐ ฉบับที่ ๑๐๓๔๙ (Republic Act No.10349) ที่ประธานาธิบดีเบนิกโน อาคิโน่ได้อนุมัติเมื่อ วันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕ แม้นกั วิเคราะห์ ต่ า งมองว่ า การพั ฒ นาก� ำ ลั ง รบของกองทั พ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ นั้ น จะไม่ ส ามารถทั ด เที ย มกั บ ศักยภาพอันแข็งแกร่งและยิ่งใหญ่ของกองทัพ จีนได้เลย แต่อย่างน้อยการพัฒนาดังกล่าว ก็จะส่งผลให้จีนต้อง “ลังเลใจ” หรือ “คิด ทบทวนอีกครั้ง” (second thought) ก่อน ที่ จ ะตั ด สิ น ใจใช้ ม าตรการทางการทหารกั บ ฟิลิปปินส์หากกรณีพิพาทในทะเลจีนใต้ขยาย ตัวลุกลามออกไป จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เป็ น เพี ย งตั ว อย่ า ง ความขัดแย้งบางส่วนระหว่างจีน เวียดนาม และฟิลิปปินส์ในพื้นที่หมู่เกาะสแปรตลีที่นับ วันจะทวีความตึงเครียดมากขึ้นเรื่อย ๆ จน หลายฝ่ายกังวลว่าอาจจะลุกลามกลายเป็นข้อ พิพาทที่รุนแรงในอนาคตได้ ดังนั้นประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นจึ ง ต้ อ งจั บ ตามองปั ญ หา ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดเพื่อหาแนวทางลดการ เผชิญหน้าของคู่กรณีลง รวมทั้งต้องร่วมมือ กั น ประสานความขั ด แย้ ง และแก้ไขปัญ หา อย่างสันติบนแนวทางของการแสวงประโยชน์ ร่วมกันระหว่างประเทศคู่ขัดแย้งทั้งหมด เพื่อ น�ำพาภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคแห่งนี้มุ่งไปสู่ความ สงบและสันติอย่างถาวรนั่นเอง
25
สรุปผลการประชุมของ คณะรัฐมนตรีต่างประเทศ ของสหภาพยุโรปที่มีผล กระทบทางด้านการทหาร ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
ส
หภาพยุโรป (European Union หรื อ EU) ได้ อ อกแถลงการณ์ ผลสรุ ป การประชุ ม ของคณะ รัฐมนตรีต่างประเทศของ EU เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๗ เกี่ยวกับประเทศไทย โดย แสดงความวิตกกังวลอย่างยิ่ง ต่อสถานการณ์ ในไทย และเรียกร้องให้ผู้น�ำทหารด�ำเนินการ อย่างเร่งด่วนทีส่ ดุ ในการกลับคืนสูก่ ระบวนการ ประชาธิปไตยที่มีความชอบธรรม ทั้งนี้ EU จ�ำเป็นต้องทบทวนความสัมพันธ์ โดยระงับ การเยือนอย่างเป็นทางการระหว่างกัน รวมทั้ง EU และประเทศสมาชิก จะไม่ลงนามกรอบ ความตกลงความเป็นหุน้ ส่วนและความร่วมมือ รอบด้าน (Partnership and Cooperation Agreement : PCA) กับไทย จนกว่าจะมี รัฐบาลทีม่ าจากการเลือกตัง้ โดยหลังจากที่ EU ได้ออกแถลงการณ์ดังกล่าว คณะรักษาความ สงบแห่งชาติ หรือ คสช. ได้เชิญเอกอัครราชทูต และผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารต่างประเทศประจ�ำ ประเทศไทย ชี้ แ จงเหตุ ผ ลความจ� ำ เป็ น ใน การเข้ า ควบคุ ม สถานการณ์ และแนวทาง บริหารประเทศ ในขณะที่เอกอัครราชทูตจีน ประจ�ำประเทศไทย ได้แสดงความเข้าใจใน สถานการณ์ ส่วนกระทรวงการต่างประเทศ ได้หารือกับเอกอัครราชทูตแห่ง EU ประจ�ำ 26
ประเทศไทย และขอให้ EU ทบทวนมาตรการ ดังกล่าว ทั้งการระงับการเยือนของเจ้าหน้าที่ ระดับสูง รวมทั้งการไม่ลงนามในกรอบ PCA ที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่ายอย่าง รอบด้าน
โดยมีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ หรือ Memorandum of Understanding : MOU เรียบร้อยแล้ว ๓ ประเทศ คือ อิตาลี ฝรั่งเศส และเช็ก และยังไม่ได้ลงนามอีก ๒ ประเทศ คือ เนเธอร์แลนด์ และสเปน ส�ำหรับกรอบของ การประชุม ARF แม้ว่า EU จะเป็นสมาชิกใน กรอบของ ARF แต่ไม่ได้เป็นกลุ่มประเทศที่มี บทบาทส�ำคัญเท่ากับประเทศสมาชิกอาเซียน EU เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ในการผลักดันแนวทางปฏิบัติด้านความมั่นคง ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก ๒๘ ประเทศ ในภูมิภาคนี้ ส่วนในกรอบการประชุมรัฐมนตรี ในมิ ติ ด ้ า นเศรษฐกิ จ EU เป็ น ตลาดขนาด กลาโหมอาเซี ย น หรื อ ASEAN Defence ใหญ่ ประกอบด้ ว ยจ� ำ นวนประชากรกว่ า Ministers’ Meeting : ADMM นั้น EU มิได้มี ๕๐๐ ล้านคน เป็นภูมิภาคที่มีก�ำลังซื้อสูงที่สุด ส่วนเกี่ยวข้องแต่อย่างใด ในโลก และมีอ�ำนาจต่อรองสูงในเวทีการค้า จากการที่ ป ระเทศสมาชิ ก EU ได้ ใ ห้ โลก ในส่วนของมิติด้านการเมืองและความ สั ต ยาบั น ร่ ว มกั น ตามสนธิ สั ญ ญาลิ ส บอน มั่นคง EU ให้ความส�ำคัญกับไทย ในฐานะ ครบทุกประเทศ เมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน หุ้นส่วนส�ำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ๒๕๕๒ ซึ่งสนธิสัญญาฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ใต้ (หรืออาเซียน) ที่ไทยมีบทบาทส�ำคัญใน หลั ก ในการให้ ค วามคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน กรอบต่าง ๆ เช่น อาเซียน - EU และ กรอบ และบังคับให้มีการบริหารโครงสร้างและการ ของการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือ ตัดสินใจของบรรดาประเทศสมาชิก เป็นไป ด้านการเมืองและความมั่นคง ในภูมิภาคเอเชีย ในทิศทางเดียวกัน แม้ประเทศสมาชิก EU จะ - แปซิฟิก หรือ ASEAN Regional Forum : มีอิสระในการตัดสินใจในการท�ำความตกลง ARF เป็นต้น ปัจจุบันไม่มีความร่วมมือทาง ร่ ว มกั บ ประเทศใดก็ ต าม แต่ ห ากเป็ น เรื่ อ ง ทหารระหว่างไทยกับ EU แต่มีความร่วมมือ ที่ มี ป ระเด็ น เกี่ ย วข้ อ งกั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแล้ ว ทางทหารระหว่างไทยกับประเทศสมาชิก EU สนธิ สั ญ ญาฉบั บ นี้ บั ง คั บ ให้ ป ระเทศสมาชิ ก
ความส�ำคัญของ EU
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
EU ต้องตัดสินใจ ไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น เมื่อมีการเข้าควบคุมอ�ำนาจในการปกครอง ประเทศของ คสช. EU จึ ง ถื อ ว่ า เป็ น ภ ั ย คุกคามต่อประชาธิปไตย และเป็นการละเมิด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน อั น เป็ น เหตุ ใ ห้ EU จ� ำ เป็ น ต้องกดดันทางการเมืองต่อไทย และบรรดา ประเทศสมาชิ ก ย่ อ มต้ อ งด� ำ เนิ น การไปใน ทิศทางเดียวกัน แม้ว่า EU จะยึดมั่นในคุณค่า ของการเป็นประชาธิปไตย แต่จากสถานการณ์ ความขัดแย้งทางการเมืองไทยในห้วงที่ผ่าน มา ซึ่งกองทัพมีความจ�ำเป็นต้องเข้ามาแก้ไข สถานการณ์ นั้ น การใช้ ช ่ อ งทางการทู ต กั บ กลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก EU อย่างต่อเนื่อง จะท� ำ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจต่ อ สถานการณ์ ใ น ประเทศไทยได้ ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง ความ สัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นระหว่างไทยกับประเทศ สมาชิก EU จะก่อให้เกิดความเข้าใจ และลด ผลกระทบเชิงลบต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ ส�ำหรับ ผลกระทบทางด้านความร่วมมือด้านการทหาร จะขึ้นอยู่กับการพิจารณาของประเทศสมาชิก EU ที่มีความร่วมมือใ นปัจจุบันกับกระทรวง กลาโหม ส�ำหรับการศึกษาด้านการทหารนั้น อาจไม่ได้รับผลกระทบอย่างที่หลายฝ่ายกังวล แต่อย่างใด เนื่องจากกรณีการเกิดเหตุการณ์ ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น เมื่ อ ปี ๒๕๔๙ ก็ มิ ไ ด้ รั บ ผล กระทบเช่นกัน ส�ำหรับข้อเสนอแนะต่อประชาคมระหว่าง ประเทศ คือ ๑) รักษาระดับความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศไว้ดงั เดิม ๒) ตรวจสอบข้อเท็จ จริงของข่าวสารที่อาจกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ และ ๓) เสริมสร้างความไว้ เนื้อเชื่อใจกับบรรดามิตรประเทศและองค์การ ระหว่างประเทศต่าง ๆ ในส่วนของอาเซียน ข้อเสนอแนะในฐานะที่กระทรวงกลาโหมเป็น หน่วยงานหลักในสาขาประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน คือ แสดงให้เห็นถึงความ พร้อมที่จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
สนธิสัญญาลิสบอน สมาชิก EU ให้สัตยาบันครบทุกประเทศ เมื่อ ๑๓ พ.ย. ๕๒ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตัดสินใจในทิศทางเดียวกันในประเด็นสิทธิมนุษยชน ดังที่ได้ก�ำหนดไว้ใน ASEAN Community Blueprint โดยมีวิธีด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ใช้ช่อง ทางทางการทูตในการชี้แจงท�ำความเข้าใจกับ นานาประเทศ ๒) ใช้ประโยชน์จากเวทีระหว่าง ประเทศในการสร้างความเข้าใจอย่างต่อเนื่อง ๓) ควบคุมการใช้ Social Media เพือ่ ไม่ให้เป็น
ช่องทางท�ำลายเสถียรภาพของ คสช. และ ๔) ท�ำประชามติในประเด็นที่เกี่ยวกับการบริหาร ประเทศ เพื่อให้ประชาคมระหว่างประเทศ เห็นถึงความตั้งใจจริงของ คสช. ที่จะจัดการ เลือกตั้งโดยเร็ว 27
Operation Abbottabad Bin Laden : Buried at Sea นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ร่
างไร้ วิ ญ ญานของ บิ น ลาเดน เทพแห่งการก่อการร้าย ถูกกลบฝัง ใต้ท้องทะเล ในเวลาไม่นานนักหลัง จากถูกปลิดชีพด้วยทหารของชาติศัตรู “Justice has been done” : US President Barrack Obama “บัดนี้ความยุติธรรม ได้ถูกสะสางแล้ว” Osama Bin Laden ผู้น�ำและสถาปนิก ด้านการก่อการร้ายของโลกซึ่งโด่ดเด่นจาก เหตุ ก ารณ์ ถ ล่ ม ย่ า นเศรษฐกิ จ ที่ ส� ำ คั ญ ของ สหรัฐฯคือตึกแฝด World Trade Center ใน 28
นิวยอร์ก เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ค.ศ.๒๐๐๑ หรื อ ที่ รู ้ กั น ในนาม ๙/๑๑ ซึ่ ง ได้ ค ร่ า ชี วิ ต ผู้บริสุทธิ์ไปเกือบ ๓,๐๐๐ คน รวมถึงการถล่ม ตึ ก บั ญ ชาการกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ ฯใน วอชิงตันดีซี และการตกของเครื่องบินโดยสาร ที่ถูกจี้แต่ถูกขัดขวางจากวีรบุรุษไม่ทราบนาม กลางอากาศเสี ย ก่ อ นในรั ฐ เพนซิ ล วาเนี ย นั้ น ได้ จ บบทบาทตลอดกาลลงไปแล้ ว จาก การบุ ก เข้ า สั ง หารคาบ้ า นพั ก อั น เป็ น ที่ ห ลบ ซ่อนในประเทศปากีสถาน เมื่อคืนวันจันทร์ ที่ ๒ พ.ค.๒๕๕๔ โดยกองก�ำลังของหน่วยซีล
สหรัฐฯ เป็นการยุติการไล่ล่าเทพเจ้าแห่งการ ก่อการร้ายที่ยาวนานกว่าสิบปี ชาวอิรักและ อาฟกานิ ส ถานต้ อ งสู ญ เสี ย ญาติ พ่ี น ้ อ งของ เขาไปกว่าครึ่งล้านคนในสงครามต่อต้านการ ก่อการร้ายและการไล่ล่า บิน ลาเดน อย่างไร ก็ตามการตายของเขาจะไม่ใช่การยุติการต่อ ต้านการก่อการร้ายของสหรัฐฯและพันธมิตร หากแต่จะยังคงด�ำเนินต่อไปและมีความหนา แน่นมากขึ้นภายใต้ความหวาดผวาอันใหม่ ประธานาธิ บดี ส หรั ฐฯ Obama ได้ออก แถลงการณ์อย่างเป็นทางการถึงการตายของ นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
Bin Laden ที่ท�ำเนียบขาวในช่วงดึกของวัน อาทิตย์ที่ ๑ พ.ค. ซึ่งตรงกับช่วงใกล้เที่ยงวัน จันทร์ที่ ๒ พ.ค. ในบ้านเราพร้อมกับกล่าว เปรียบเปรยย่างคมคายว่าความยุติธรรมได้ บังเกิดเกิดขึ้นแล้วต่อเหตุการณ์ ๙/๑๑ และ ในทันทีที่จบการแถลงข่าว หนุ่มสาวในอเมริกา โดยเฉพาะชาวเมืองนิวยอร์กได้ออกมาเฉลิม ฉลองยิ น ดี ป รี ด าประดุ จ ดั่ ง งานเทศกาลที่ Ground Zero อันเป็นที่ต้ังเดิมของตึกแฝด World Trade Center เหมือนกับหนุ่มสาว ในตะวันออกกลางหลังเหตุการณ์ ๙/๑๑ เป็น ความรู้สึกอันเดียวกัน แต่คนละฟากฟ้าของ ความคิดซึ่งมีทั้งผู้ที่ยินดีเนื่องจากความเกลียด ชังและผู้ที่ชื่นชมเนื่องจากเป็นการสละชีวิต เพื่อศาสนา (Martyr) การออกมาแสดงความ ยินดีของคนอเมริกันนี้ เป็นไปท่ามกลางการ แจ้งเตือนถึงการปฏิบตั กิ ารล้างแค้นเอาคืนทีจ่ ะ ตามมาโดยไม่เลือกว่าเป้าหมายจะเป็นสหรัฐฯ หรือพันธมิตรในทุกภูมิภาค หมู ่ บิ น Blackhawk จ� ำ นวนสี่ ล� ำ พร้ อ ม ก�ำลังทหารชั้นสุดยอดจากหน่วย Navy Seal Team ๖ เกือบสองโหล บุกเข้าโจมตีบ้านพัก แห่งหนึ่งในเมือง Abbottabad (เมืองนี้ตั้งชื่อ ตามชื่อของพันตรี James Abbott นายทหาร บกชาวอังกฤษซึ่งเป็นผู้ค้นพบในปี ๑๘๕๓) ซึ่ง เป็นเมืองทางผ่านเล็ก ๆ ที่สงบเงียบท่ามกลาง ขุ น เขา อยู ่ ห ่ า งจากกรุ ง อิ ส ลามาบั ด ไปทาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ๙๕ กิโลเมตร เป็นที่ ตั้งของโรงเรียนนายร้อย ค่ายทหารสามค่าย และเป็นที่ตั้งของกองทัพภาคที่สองซึ่งควบคุม พื้นที่ภาคเหนือของปากีสถาน ซึ่ง CIA ระบุว่า หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
เป็นที่หลบซ่อนของ บิน ลาเดนและพรรคพวก ปฏิบัติการเมื่อตีหนึ่งก่อนรุ่งสางวันจันทร์ที่ ๒ พ.ค.ตามเวลาท้องถิ่นนี้ใช้เวลาเพียงแค่สี่สิบ นาที บิน ลาเดนถูกยิงที่ศีรษะเหนือดวงตาด้าน ซ้ายด้วยคมกระสุนเพียงแค่นัดเดียวเท่านั้น ในขณะที่ผู้ใกล้ชิดถูกปลิดชีพตามไปด้วยอีกสี่ คนเป็นผู้ชายสามคนและผู้หญิงหนึ่งคน และ ในจ�ำนวนนั้นมีลูกชายวัย ๒๐ ปีของเขาด้วย ส่วนผู้ที่ถูกจับได้และได้รับบาดเจ็บเป็นเด็ก ๒๓ คน ผู้หญิง ๙ คน ผู้หญิงที่ได้รับบาดเจ็บ นัน้ เป็นภรรยาคนทีห่ า้ ล่าสุดชาวเยเมน โดยเธอ แต่งงานเมือ่ อายุเพียง ๑๕ ปี เธอถูงยิงทีข่ าขณะ พยายามปกป้องสามี ภายหลังเธอสารภาพว่า ได้อาศัยอยู่ที่นี่มานานถึงห้าปีแล้ว ส่วนสามี อยู่มาก่อนหน้านี้หนึ่งปี ต่อมาทั้งหมดนี้ถูกส่ง ให้อยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลปากีสถาน
ซึ่งคงจะเป็นผู้เล่าขานและยืนยันถึงการปฏิบัติ การทีต่ อ้ งพลัดพรากกันด้วยชีวติ ต่อไป ในขณะ ที่การปฏิบัติการครั้งนี้ เฮลิคอปเตอร์สหรัฐฯ เกิดอุบัติเหตุตกใกล้ก�ำแพงบ้านพักด้านนอก หนึ่งล�ำ และถูกหน่วยซีลท�ำลายทิ้งก่อนที่จะ ถอนก�ำลังกลับออกมา แต่ไม่มีทหารบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต ภายหลังจากเสร็จสิ้นปฏิบัติการ ร่างของ เขาถูกน�ำไปที่เรือบรรทุกเครื่องบิน USS Carl Vinson ที่ลอยล�ำรอคอยอยู่แล้วในตอนเหนือ ของทะลอาราเบียนเพื่อการพิสูจน์ DNA โดย เปรี ย บเที ย บกั บ DNA ของแม่ แ ละลู ก ชาย สามคนของเขา เพื่อยืนยันว่าศพนั้นเป็น บิน ลาเดนแน่ น อนก่ อ นจะท� ำ พิ ธี ก ารตามอย่ า ง ศาสนาอิสลามและส่งกลับไปยังภพใหม่ทันที ผ่านท้องทะเลที่เวิ้งว้างและปั่นป่วน เนื่องจาก
29
อาฟกานิสถาน แต่ความเป็นจริงแล้ว การหลบ หนีของ บิน ลาเดน ไม่ได้ลำ� บากทีต่ อ้ งหลบซ่อน ตัวอยู่ตามโตรกผาหรือโพรงถ�้ำตามแนวเทือก เขาอันสลับซับซ้อนอย่างที่คิด หากแต่ตรงกัน ข้าม เขาและพรรคพวกกับมีชีวิตอยู่ค่อนข้าง สบายเพื่อวางแผนการก่อการร้ายในบ้านที่มี มูลค่าการก่อสร้างสูงถึงหนึง่ ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีก�ำแพงที่แน่นหนา และอยู่ในเมืองที่เต็มไป ด้วยทหารปากีสถานที่น่าจะเป็นหูเป็นตาหรือ คุ้มครองให้แก่เขาด้วย สหรัฐฯ ต้องสูญเสีย เงินเพื่อช่วยเหลือทางทหารให้แก่ปากีสถาน ตลอดสิบปีที่ผ่านมามากกว่า ๓๐๐,๐๐๐ ล้าน บาท แต่กลับไม่ได้รับความช่วยเหลือเท่าที่ควร จะเป็นจากปากีสถานโดยเฉพาะกับผู้ที่เป็น เสมือนหนามยอกอกของสหรัฐฯ เนื่องจาก ไม่มีความมั่นใจรัฐบาลปากีสถาน อีกทั้งหน่วย ข่าวกรอง ISI (The Pakistan Inter-Service Intelligence) ของปากีสถานก็เคยถูกสหรัฐฯ สงสัยถึงความเกี่ยวข้องกับ Al-Quade มา อ้างว่าต้องให้เป็นไปตามหลักศาสนาอิสลามที่ ลักษณะกลมกลืนตามประเพณีความเป็นอยู่ แล้วในอดีต ท�ำให้สหรัฐฯ ระมัดระวังท่าทีของ ต้องฝังศพผู้เสียชีวิตภายใน ๒๔ ชั่วโมง อีกทั้ง ของประชาชนในพื้นที่ จนกระทั่งกลางเดือน ปากีสถานอยู่พอสมควร ดังนั้นการข่าวเกือบ ไม่มีประเทศใดยินยอมให้เป็นที่ฝังศพของเขา กุมภาพันธ์ ปี ๒๐๑๑ ประธานาธิบดี Obama ทุกอย่างทีส่ หรัฐฯได้รบั หรือผลิตได้จงึ ถูกปกปิด แม้ว่าอาจจะเป็นประโยชน์ต่อการท่องเที่ยว ได้ยนื ยันถึงการไล่ลา่ บิน ลาเดนให้เป็นไปอย่าง เป็นความลับอย่างที่สุด แต่ในที่สุดแล้วการ ในอนาคตก็ตาม แต่ประเด็นส�ำคัญจริงๆแล้ว ถึงพริกถึงขิง และเลือกให้เป็นการปฏิบัติการ ช่วยเหลือทางทหารแก่ปากีสถานของสหรัฐฯ นั้น สหรัฐฯไม่ต้องการให้เป็นสัญลักษณ์ใด ๆ ของหน่วยซีลแทนที่จะโจมตีทางอากาศให้สิ้น ยังคงมีอยู่ต่อไป เนื่องจากสหรัฐฯยังต้องพึ่งพา เกิดขึ้นจากการตายของเขาผู้เป็นจอมโจรของ ซากไปเลย ซึ่งผลของการปฏิบัติการก็จะสิ้น ปากีสถานอยู่อีกมากในภารกิจสงครามที่ยังไม่ สหรัฐฯหากแต่เป็นจอมใจของ Al-Quade ซึ่ง ซากจริงๆ โดยไม่มอี ะไรเหลือเป็นหลักฐานบอก จบสิ้นในปากีสถานและอาฟกานิสถาน ปัญหา เป็นพวกพ้องของเขานั่นเอง เล่าให้ชาวโลกรับทราบเลย มิฉะนั้นแล้วเรื่อง ตรงหน้าอีกประการหนึ่งของรัฐบาลปากีสถาน Al-Quade คื อ กลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยที่ โ จมตี เล่าขานของเขาก็จะเป็นที่ไม่รู้จบ ชุดปฏิบัติ คือ บัดนีบ้ า้ นพักที่ บิน ลาเดน เคยอาศัยอยูเ่ ป็น สถานทูตสหรัฐฯในแทนซาเนียและเคนยาใน การพิ เ ศษหน่ ว ยซี ล นี้ ไ ด้ รั บ การยิ น ยอมให้ ครั้งสุดท้าย กลับกลายเป็นแหล่งที่ผู้คนจากทั่ว ปี ๑๙๙๘ ซึ่งมีผู้เสียชีวิตถึง ๒๓๑ คน และ โต้ตอบกับทหารปากีสถานได้ในกรณีที่จ�ำเป็น สารทิศแห่แหนกันมาชมเป็นจ�ำนวนมาก เมือง โจมตีเรือรบสหรัฐฯ USS Cole ที่จอดเทียบ พร้อมกับก�ำหนดวันเริ่มเตรียมการปฏิบัติการ ที่เคยสงบเงียบมาก่อนนั้น กลับดูวุ่นวายและ ท่าในเยเมน ท�ำให้ทหารเรือสหรัฐฯเสียชีวิต เป็นวันศุกร์ที่ ๑๙ เม.ย.๒๐๑๑ และเรียกว่า โกลาหล และถ้ารัฐบาลไม่รีบท�ำลายไปเสีย ๑๗ คน และเหตุการณ์ที่มุ่งหวังท�ำลายสหรัฐฯ “Operation Abbottabad” ก่อน ต่อไปอาจจะท�ำลายไม่ได้อีกแล้วเพราะ ต่าง ๆ อีกมากมาย การตายของบิน ลาเดน George W.Bush อดี ต ประธานาธิ บ ดี ความส�ำคัญแบบใหม่ ๆ จะเข้ามาแทนที่ ไม่ว่า ไม่ได้ท�ำให้ Al-Quade ตายตามไปด้วย ยังจะ สหรัฐฯ คู่ปรับดั้งเดิมกับ บิน ลาเดน ได้กล่าว จะเป็นอนุสาวรีย์หรือศาลเพียงตา แต่ไม่ว่าจะ ต้องมีผู้น�ำรุ่นต่อไปเพื่อสืบสานมรดกของความ เน้นย�้ำไว้อีกภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจว่า“This อาฆาตแค้นตามมาอีก เนื่องจากยังมีสายพันธ์ุ momentous achievement marks victory ของความเชื่อและศรัทธาหลงเหลืออยู่มากโดย for America” ความส�ำเร็จอันส�ำคัญนี้คือ เฉพาะในเยเมน ชัยชนะของสหรัฐฯ ก่อนเกิดปฏิบตั กิ ารในครัง้ นี้ หน่วยข่าวกรอง ส� ำ หรั บ ปากี ส ถานเองนั้ น ดู ที ท ่ า ไม่ ค ่ อ ย ของสหรัฐฯพยายามอย่างที่สุดที่จะให้ได้มาถึง สบายใจนักและไม่ค่อยพอใจสหรัฐฯเป็นอัน ข่าวความเคลือ่ นไหวของเขา จนในทีส่ ดุ เมือ่ สีป่ ี มากกั บ เรื่ อ งดั ง กล่ า ว เนื่ อ งจากการปฏิ บั ติ ที่แล้วเริ่มได้เค้าลางบางอย่าง จนกระทั่งสองปี การของสหรัฐฯไม่ให้ความเคารพในความเป็น ให้หลังจึงรู้ว่าบิน ลาเดนอยู่ในปากีสถาน และ เอกภาพของปากีสถาน อีกทั้งปากีสถานเอง ในเดือนสิงหาคมปี ๒๐๑๐ หน่วยข่าวกรอง ต้ อ งประคองตั ว อยู ่ กั บ ค� ำ ถามมากมายจาก สหรั ฐ ฯ ได้ รั บ ข้ อ มู ล โดยละเอี ย ดจากแหล่ ง สหรัฐฯว่าเหตุใดที่หลบซ่อนของ บิน ลาเดน ข่าวในคูเวตที่เคยเป็นหนี้บุญคุณกันอยู่ ท�ำให้ จึงอยู่ใกล้เขตทหารมากนัก บทบาทในความ สหรัฐฯมั่นใจขึ้นมากที่ผู้ต้องสงสัยนั้นคือหนุ่ม ร่วมมือเพือ่ ปราบการก่อการร้ายของปากีสถาน ใหญ่เครางามวัย ๕๗ ปี (เกิด ๑๙๕๔) บิน ลาเดน ถูกมองว่ามีความคลุมเครือไม่จริงใจ เพราะ ผู ้ เ ขย่ า ความมั่ น คงสหรั ฐ ฯ หลบซ่ อ นอาศั ย ก่อนหน้านี้หลายเดือน ประธานาธิบดี Asif อยู่ในบ้านเลขที่ ๕๗๐๓ Green Avenue, Ali Zardari ของปากีสถานได้บอกว่า บิน ลา Abbottabad ที่ถูกสร้างในขึ้นปี ๒๐๐๕ มี เดน หลบซ่ อ นตั ว อยู ่ ใ นถ�้ ำ แถบเทื อ กเขาใน 30
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ด้วยเหตุผลอันใดก็ตาม สหรัฐฯจะไม่ยินยอม ให้บ้านหลังนี้คงอยู่ต่อไปอีกเป็นอันขาดหรือ แม้กระทั่งให้มีสิ่งปลูกสร้างเพื่อเป็นการระลึก ถึง โดยผ่านการขอร้องทางการทหารต่อรัฐบาล ปากีสถานต่อไป ด้านรัฐบาลเพื่อนบ้านอย่างอาฟกานิสถาน ซึ่งในอดีตเองนั้นถูกปกครองโดยกลุ่มตาลีบัน ที่แนบแน่นกับ บิน ลาเดนและเป็นแดนสวรรค์ ของ Al-Quade ก่อนทีจ่ ะถูกโค่นล้มในปี ๒๐๐๑ โดยการน� ำ ของสหรั ฐ ฯ ได้ รี บ ออกประกาศ ถึ ง สหรั ฐ ฯและพั น ธมิ ต รโดยทั น ที เกี่ ย วกั บ เหตุการณ์ที่ผ่านมาในอดีตของการก่อการร้าย นั้น อาฟกานิสถานไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง และ ยั ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ การปราบปรามด้ ว ยดี มาตลอด การเสี ย ชี วิ ต ของ บิ น ลาเดน ในปากีสถานคือข้อพิสูจน์เป็นอย่างดีถึงความ ตั้ ง ใจจริ ง ของรั ฐ บาลอาฟกานิ ส ถานในการ ปราบกลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยในประเทศ พร้ อ ม ทั้ ง เรี ย กร้ อ งให้ ส หรั ฐ ฯยุ ติ บ ทบาทที่ คุ ก คาม ประชาชนในเขตต่าง ๆ เพื่อค้นหาและปราบ ปรามกลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ย เนื่ อ งจากที่ ผ ่ า นมา ประชาชนชาวอาฟกานิสถานต้องบาดเจ็บและ ล้มตายไปมากแล้วกับการปฏิบตั กิ ารทางทหาร ของสหรัฐฯ ในประเทศ ส่ ว นรั ฐ บาลอิ น เดี ย ซึ่ ง ไม่ ค ่ อ ยลงรอย กั บ ปากี ส ถานอยู ่ ก ่ อ นแล้ ว จากปั ญ หานานา ประการ ถึงขั้นเกิดสงครามกันมาถึงสามครั้ง ตัง้ แต่ทงั้ คูไ่ ด้รบั เอกราชจากอังกฤษในปี ๑๙๔๗ เรือ่ งส�ำคัญคือข้อพิพาทเหนือดินแดนแคชเมียร์ แถบเทือกเขาหิมาลัย ส่วนเรื่องหมางใจกัน ครั้งหลังสุดนั้น อินเดียเชื่อว่าปากีสถานมีส่วน เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในเมืองมุมไบ จึงได้ร่วม ด้วยช่วยกันใช้โอกาสนีพ้ ดู เสริมท�ำนองเป็นห่วง เป็นใย โดยให้ปากีสถานแสดงความชัดเจน ในเรื่องการให้ความร่วมมือต่อการปราบปราม การก่อการร้าย เพื่อสันติสุขของชาวโลก
หลังการตายของ บิน ลาเดน ผู้ที่คาดหมาย ว่าจะเป็นผู้น�ำคนต่อไปของ Al-Quade คือ Ayman al Zawahri หมอชาวอียิบต์หัวรุนแรง และต่อสู้มาตลอดช่วงชีวิตตั้งแต่วัยหนุ่มโดยมี แนวความคิดใช้สงครามศักดิ์สิทธิ์ Jihad เพื่อ ท�ำให้โลกอิสลามบริสุทธิ์ เขาเคยเข้าร่วมรบ และเป็ น หมอรั ก ษาให้ กั บ นั ก รบอั ฟ กั น หรื อ มูจาฮีดินเพื่อต่อต้านการรุกรานของโซเวียต ในปี ๑๙๘๐ และที่นี่เขาจึงได้สนิทสนมกับ บิน ลาเดน ผู้ที่มีมุมมองในความเป็นอิสลาม เหมือนกันและด้วยวิธีที่น่ากลัวไม่ด้อยไปกว่า กันเลย การรวมตัวของความร้อนแรงนี้เป็น รากฐานในการสนับสนุนกลุม่ Al-Quade อย่าง มั่นคงตั้งแต่ทุนทรัพย์เพื่อการสงครามก่อการ ร้ายของ บิน ลาเดน ผู้มาจากครอบครัวมหา เศรษฐีในซาอุดิอาระเบียหากแต่สืบเชื้อสาย มาจากเยเมน ส่วนการเสนาธิการกิจของการ ก่อการร้ายมาจากการวางแผนของ Ayman al Zawahri หมอผู้สุดจะเทิดทูนความบริสุทธิ์ ของศาสนาอิสลามชาวอียิบต์วัยหกสิบปี (เกิด ๑๙๑๕) ซึ่ ง ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นความโทมนั ส อย่ า ง เจ็บปวดที่ต้องสูญเสียภรรยาและลูกสองคนใน จ�ำนวนหกคนจากการโจมตี ท างอากาศของ สหรัฐฯ ที่เมือง Kandahar ในอาฟกานิสถาน
เหล่าผู้น�ำพันธมิตรที่ใกล้ชิดกับสหรัฐฯต่าง แสดงความยินดีและยกย่องการปฏิบัติการครั้ง นี้กันพอสมควร อย่างไรก็ตามกลาโหมสหรัฐฯ ก�ำลังพิจารณาและประเมินผลการปฏิบัติการ รวมถึงการชี้แจงต่อองค์กรสิทธิมนุษยชนของ สหประชาชาติ เกี่ยวกับการปฏิบัติการที่สอด คล้องกับกฎหมายสงครามระหว่างประเทศ (The International Laws of War) หรือไม่ พร้อมกันนี้ข้อมูลบางประการที่พอจะเปิดเผย ได้ก็คงจะเผยแพร่ให้ชาวโลกได้รับรู้ และจะ เป็นประโยชน์เพื่อการศึกษาของนักการทหาร หรือนักปกครองต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ เกีย่ ว กับการได้มาซึ่งข่าวสารที่เชื่อถือได้ของ CIA ในท้ายที่สุดของแถลงการณ์ ประธานาธิบดี Obama ได้กล่าวชื่นชมและขอบคุณกองก�ำลัง สหรัฐฯทุกส่วนที่มีความวิริยะอย่างอดทนและ ยาวนานกับภารกิจอันนี้จนบรรลุวัตถุประสงค์ ไปในระดับหนึ่ง และที่ประธานาธิบดีเน้นย�้ำ ชมเชยเป็นอย่างมากคือความยอดเยี่ยมและ อุตสาหะของหน่วยข่าวกรองและชุดปฏิบตั กิ าร ต่อต้านการก่อการร้าย อันเป็นผลท�ำให้สหรัฐฯ ได้รับชัยชนะเหนือ Osama Bin Laden หวาน ใจของ Al-Quade ที่ก�ำลังรอผู้น�ำชราแต่มาก ด้วยประสบการณ์ Ayman al Zawahri มา เป็นบอระเพ็ดอันขมขื่นของอเมริกาต่อไป ซึ่ง อาจจะต้องท�ำงานหนักและโดดเดี่ยวเนื่องจาก พันธมิตรในโลกอิสลามต้องวุ่นวายใจและอ่อน เปลี้ยกับปัญหาภายในของตนเองอยู่ ไม่รู้ว่า รั ฐ บาลจะถู ก โค่ น โดยพลั ง ประชาชนเมื่ อ ไร ส่วนเงินรางวัลน�ำจับจ�ำนวน ๒๕ ล้านเหรียญ สหรัฐฯที่ตั้งไว้ต้ังแต่ปี ๒๐๐๑ นั้น ก็น่าสนไม่ใช่ น้อยว่า เงินจ�ำนวนมหาศาลก้อนนี้จะถูกส่งต่อ ให้เป็นค่าหัว Ayman al Zawahri ผูน้ ำ� คนใหม่ รับผิดชอบต่อไปหรือไม่ แหล่งข้อมูล : บูรณาการจาก Daily Bangkok Post 3-8 May,2011 and Weekly Spectrum 8-14 May,2011
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
31
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
แนะน�ำอาวุธเพื่อนบ้าน เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ค้นหา และกู้ภัย อีซี-๗๒๕ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
32
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
อ งทั พ อากาศอิ น โดนี เ ซี ย (IAF) มี โ ครงการที่ จ ะจั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ ท างทหารรุ ่ น ใหม่ แบบ อีซี-๗๒๕ (EC-725 Caracal) จ�ำนวน ๖ เครื่อง เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ จากประเทศฝรั่งเศส จะได้รับมอบเครื่องบิน ชุดแรกในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ใช้ในภารกิจค้นหา และกู ้ ภั ย (SAR: Search And Rescue) ประกอบกับประเทศอินโดนีเซียมีความยาว จากทิศตะวันออก-ตะวันตก ๕,๑๒๐ กิโลเมตร และมี ค วามกว้ า งจากทิ ศ เหนื อ -ใต้ ๑,๗๖๐ กิโลเมตร มีเกาะรวม ๑๗,๕๐๘ เกาะ พื้นที่ ขนาด ๑.๙๑๙ ล้านตารางกิโลเมตร ชายฝั่ง ทะเลขนาดยาว ๕๔,๗๑๖ กิโลเมตร จึงมีความ ส�ำคัญด้านความมั่นคงอย่างมาก ยังสามารถ จะเพิ่มระยะปฏิบัติการปกติให้ท�ำการบินได้ เครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซ-ี ๗๒๕ (EC-725) ขนาดยาว ๑๙.๕ เมตร สูง ๔.๖ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัดหลัก ๑๖.๒ เมตร (ชนิดห้ากลีบ) น�้ำหนักปกติ ๕,๓๓๐ กิโลกรัม (๑๑,๗๕๑ ปอนด์) น�ำ้ หนักบินขึน้ สูงสุด ๑๑,๒๐๐ กิโลกรัม (๒๔,๖๙๒ ปอนด์) เครือ่ งยนต์ เทอร์โบชาร์ฟ เทอร์โบเมคา มาคิล่า ๒เอ๑ ขนาด ๒,๓๘๒ แรงม้า (สองเครื่อง) และบรรทุก ทหารได้ ๒๙ นาย ไกลจากรัศมีปฏิบตั กิ ารปกติ โดยการเติมน�ำ้ มัน ทางอากาศจากฝูงบิน ๓๒ ด้วยเครื่องบินเติม น�้ำมันทางอากาศแบบเคซี-๑๓๐บี (KC-130B) จ�ำนวน ๒ เครื่อง ฐานบินจากสนามบินอับดุล รัชมาน ซาเลาะห์ (Abdul Rachman Saleh Airport) จังหวัดชวาตะวันออก เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ ท างทหารแบบ อีซี-725 (EC-725 Caracal) ได้พัฒนาขึ้น ตามความต้องการของกองทัพอากาศฝรั่งเศส ใช้ในภารกิจค้นหาและกู้ภัย (SAR) ในพื้นที่
การรบ ท�ำการทดสอบขีดความสามารถทั้ง ทางด้านเทคนิคและทางด้านยุทธวิธี เครื่อง บินต้นแบบได้ขึ้นท�ำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๓ ข้อมูลที่ส�ำคัญ ประกอบด้วย นักบิน ๒ นาย ขนาดยาว ๑๙.๕ เมตร สูง ๔.๖ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด หลัก ๑๖.๒ เมตร (ชนิดห้ากลีบ) น�้ำหนักปกติ ๕,๓๓๐ กิโลกรัม (๑๑,๗๕๑ ปอนด์) น�้ำหนัก บินขึ้นสูงสุด ๑๑,๒๐๐ กิโลกรัม (๒๔,๖๙๒ ปอนด์) เครือ่ งยนต์ เทอร์โบชาร์ฟ เทอร์โบเมคา
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ (EC-725) บรรทุกทหาร ๒๙ นาย (หรือบรรทุก สัมภาระได้หนัก ๕,๖๗๐ กิโลกรัม) มีความเร็วสูงสุด ๓๒๔ กิโลเมตรต่อชั่วโมง พิสัยบิน ไกล ๘๕๗ กิโลเมตร(เมื่อได้ติดตั้งถังน�้ำมันอะไหล่บินได้ไกล ๑,๓๒๕ กิโลเมตร) ท่อรับการ เติมน�้ำมันทางอากาศอยู่ทางด้านขวา (ด้านหัวของเครื่องบิน) หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
33
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ (EC-725) สามารถเพิ่มระยะปฏิบัติการด้วยการเติมน�้ำมันทางอากาศ กองทัพอากาศกลุ่ม ประเทศอาเซียนประจ�ำการด้วยเครื่องบินเติมน�้ำมันทางอากาศ (tanker) ประกอบด้วย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
จากขีดความสามารถของเครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซ-ี ๗๒๕ (EC-725) ปฏิบตั กิ าร บริเวณชายฝั่งทะเลได้เป็นอย่างดี สามารถจะเพิ่มระยะปฏิบัติการด้วยการเติมน�้ำมันทาง อากาศ สามารถปฏิบัติการได้ไกลกว่ารัศมีท�ำการรบปกติ มาคิล่า ๒เอ๑ ขนาด ๒,๓๘๒ แรงม้า (สอง เครื่อง) ความเร็วสูงสุด ๓๒๔ กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง พิสัยบินไกล ๘๕๗ กิโลเมตร (เมื่อได้ติด ตัง้ ถังน�ำ้ มันอะไหล่บนิ ได้ไกล ๑,๓๒๕ กิโลเมตร) เพดานบินสูง ๖,๐๙๕ เมตร (๑๙,๙๙๗ ฟุต) สามารถบรรทุกทหารได้ ๒๙ นาย (หรือบรรทุก สัมภาระได้หนัก ๕,๖๗๐ กิโลกรัม) เมื่อต้อง ปฏิบัติการในพื้นที่การรบสามารถที่จะติดตั้ง 34
อาวุ ธ ในการป้ อ งกั น ตนเองและอาวุ ธ เชิ ง รุ ก ที่ ส� ำ คั ญ ตามภารกิ จ ประกอบด้ ว ย ปื น กล เอฟเอ็น (FN) ขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร (สอง กระบอก ทางด้านข้างของประตู) จรวดโจมตี ภาคพื้นดินขนาด ๖๘ มิลลิเมตร (๒.๗๕ นิ้ว สองกระเปาะบรรจุ ลู ก จรวดได้ ก ระเปาะละ ๑๙ ลูก) กระเปาะปืนกลขนาด ๒๐ มิลลิเมตร (สองกระเปาะจะบรรจุลูกกระสุนได้กระเปาะ
ละ ๑๘๐ นัด เพื่อใช้โจมตีต่อเป้าหมายที่แข็ง แรง) ได้ติดตั้งระบบเตือนภัยเรดาร์พร้อมด้วย ระบบป้องกันตนเองจากความร้อนและเรดาร์ (Flare/Chaff) ปั จ จุ บั น นี้ ไ ด้ ป ระจ� ำ การใน ประเทศพันธมิตรรวม ๖ ประเทศ ประกอบ ด้วย คาซักสถาน บราซิล (กองทัพบก, กองทัพ เรือ และกองทัพอากาศ) เม็กซิโก อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย (รอการรับมอบ) มียอด การผลิตเครื่องบินทั้งสิ้น ๑๒๗ เครื่อง กองทัพอากาศฝรัง่ เศสจัดซือ้ เข้าประจ�ำการ ครั้งแรก ๖ เครื่อง ได้รับมอบเครื่องบินเข้า ประจ�ำการชุดแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ต่อมากองทัพอากาศฝรั่งเศสจัดซื้อเพิ่ม เติมอีก ๕ เครื่อง เป็นเงิน ๓๑๔ ล้านเหรียญ สหรัฐ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๒ ได้รับ มอบเครื่องบินชุดแรกเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และได้รับมอบครบตามโครงการทั้งสิ้น ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ กองทั พ อากาศฝรั่ ง เศสน� ำ เครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ ใ ช้ ง านทั่ ว ไปแบบอี ซี - ๗๒๕ (EC-๗๒๕) ปฏิบัติการทางทหารในประเทศ เลบานอน (Operation Baliste) จ�ำนวน ๓ เครื่อง ในปี ๒๕๔๙ ใช้ในการขนส่งอพยพ ประชาชนชาวยุโรปออกจากพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย และ ปฏิบัติการทางทหารในประเทศอัฟกานิสถาน จ�ำนวน ๓ เครื่อง (ปฏิบัติการ ๒ เครื่อง และ เป็ น อะไหล่ ๑ เครื่ อ ง) ระหว่ า งวั น ที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๙ – วันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ เพื่ อ สนั บ สนุ น ปฏิ บั ติ ก ารของ กองก�ำลังพันธมิตร (ISAF) ภารกิจส่งกลับสาย พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
แพทย์ ภารกิจกู้ภัย และภารกิจสนับสนุนทั่วไป พื้นที่ปฏิบัติการบริเวณกรุงคาบูล ระยะเวลา ๙ เดือนแรกปฏิบัติการรวม ๖๘๐ ชั่วโมงบิน พื้นที่ปฏิบัติการทางทหารในอัฟกานิสถานเป็น สนามทดสอบขีดความสามารถของเครื่องบิน ได้เป็นอย่างดี กองทัพอากาศมาเลเซีย (RMAF) ประจ�ำ การด้ ว ยเครื่ อ งบิ น เฮลิ ค อปเตอร์ แ บบ อี ซี ๗๒๕ (EC-725) จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง จัดซื้อจาก ประเทศฝรั่งเศส เพื่อจะประจ�ำการทดแทน เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์รุ่นเก่าแบบเอส-๖๑ (S-61A-4 Sea King/Nuri) ประจ�ำการมาตัง้ แต่ ปี พ.ศ.๒๕๑๑ จ�ำนวน ๒๘ เครื่อง (ประสบ อุบัติเหตุตกรวม ๑๕ เครื่อง) กองทัพอากาศ มาเลเซีย (RMAF) จะรับมอบเครื่องบินชุดแรก ในเดือนธันวาคมปี พ.ศ.๒๕๕๕ ประจ�ำการ
กองทัพอากาศฝรั่งเศสน�ำเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ (EC-725) ปฏิบัติ การทางทหารในประเทศอัฟกานิสถานระหว่างวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๙ – วันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ เพือ่ ใช้สนับสนุนปฏิบตั กิ ารของกองก�ำลังพันธมิตร (ISAF) ในพืน้ ที่ บริเวณกรุงคาบูล
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ (EC-725) สามารถที่จะส่งก�ำลังทหารราบลงสู่ พื้นดินได้อย่างรวดเร็ว สามารถท�ำการบินได้นาน ๔ ปี
ฝูงบิน ๑๐ ฐานทัพอากาศควนตัน(Kunatan AFB, Pahang) จะได้รับมอบเครื่องบินครบ ตามโครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๗ สามารถ เพิ่ ม ระยะปฏิ บั ติ ก ารให้ ไ กลขึ้ น จากระยะ ปฏิบัติการปกติด้วยการเติมน�้ำมันทางอากาศ จากเครื่ อ งบิ น แบบเคซี - ๑๓๐ที ( KC-130T Hercules) จ�ำนวน ๔ เครื่อง จากฝูงบิน ๒๐ ฐานทัพอากาศซูบัง (Subang, AFB) นอกจาก นี้ประเทศมาเลเซียยังมีข้อขัดแย้งกับประเทศ เพื่อนบ้านเรื่องเขตแดนที่ทับซ้อนของหมู่เกาะ สแปรตลีย์ในทะเลจีนใต้ กองทั พ อากาศไทยได้ จั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น เฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ จ�ำนวน ๔ เครื่อง เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ กั น ยายน พ.ศ.๒๕๕๕ จาก ประเทศฝรั่งเศส เพื่อประจ�ำการทดแทนเครื่อง บินเฮลิคอปเตอร์รุ่นเก่าแบบยูเอช-๑เอช ฮิวอี้ (UH-1H Huey) ที่ ผ ลิ ต มาจากประเทศ สหรัฐอเมริกาในยุคสงครามเวียดนาม (เริ่ม ต้นผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๐๒) ที่ก�ำลังจะ หมดอายุการใช้งาน จะน�ำเข้าประจ�ำการทีก่ อง บิน ๒ ฝูงบิน ๒๐๓ จังหวัดลพบุรี ใช้ในภารกิจ ค้นหาและกูภ้ ยั (SAR) กองทัพอากาศไทยจะได้ รับมอบเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ (EC-725) ชุดแรกในปี พ.ศ.๒๕๕๘
เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบอีซี-๗๒๕ (EC-725) กองทัพอากาศมาเลเซียที่ได้รับ มอบชุดแรก เดือนธันวาคมปี พ.ศ.๒๕๕๕ ประจ�ำการฝูงบิน ๑๐ ฐานทัพอากาศควนตัน (Kunatan AFB, Pahang) จะได้รับมอบเครื่องบินครบตามโครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๖๒๕๕๗ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
35
เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (ตอนที่ ๒๐)
เทคโนโลยี ระบบอ�ำนวยการยิงปืนใหญ่ (Fire Control System)
36
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
เ
หล่าทหารปืนใหญ่ได้รับการขนานนาม ว่าเป็น “ราชาแห่งสนามรบ” อันเป็น ผลมาจากคุ ณ ลั ก ษณะและขี ด ความ สามารถของเหล่าที่สามารถบังคับวิถีการรบ ได้ด้วยอ�ำนาจการยิงซึ่งสามารถสร้างความ สู ญ เสี ยแก่ ฝ ่ ายตรงข้ ามได้สูงที่สุด ในบรรดา ระบบอาวุธทั้งหมดที่มีอยู่ในสนามรบ ในการ สงครามยุคใหม่นั้น จังหวะการรบ (Tempo) นั้ น ยิ่ ง เร็ ว กว่ า เดิ ม มาก ท� ำ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ด้วยการยิงของปืนใหญ่นั้นต้องกระท�ำอย่าง รวดเร็วและแม่นย�ำยิ่งกว่าเดิม ระบบอ�ำนวย การยิง (Fire Control System) ที่ท�ำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์เริ่มเข้ามาแทนที่วิธีการยิง แบบเดิมตั้งแต่สมัยทศวรรษที่ ๖๐ เมื่อตรวจ พบเป้าหมาย ข้อมูลที่จ�ำเป็นทั้งหมดจะถูกส่ง ให้ศูนย์อ�ำนวยการยิงเพื่อประมวลผลแล้วส่ง ต่อไปยังหน่วยยิง หลังจากยิงนัดแรกไปแล้ว ผู้ตรวจการณ์หน้าจะรายงานผลเพื่อปรับแก้ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
ระบบควบคุมบังคับบัญชาการยิงสนับสนุน ที่ใช้ระบบอ�ำนวยการยิง AFATDS 37
โครงข่ายของระบบอ�ำนวยการยิง AFATDS ให้กระสุนนัดต่อไปตกลงบนเป้าหมายอย่าง แม่นย�ำ โดยต้องรักษาอัตราการยิงให้อยู่ใน ระดับที่สามารถแน่ใจได้ว่าอ�ำนาจการยิงมีมาก พอที่ จ ะสร้ างความเสี ย หายแก่ฝ่ายตรงข้าม ได้ในระดับที่ต้องการ ระบบควบคุมการยิงใน ปัจจุบันจึงกลายเป็นสิ่งที่ส�ำคัญจ�ำเป็นส�ำหรับ การรบสมัยใหม่ และเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่ ได้รบั การพัฒนามาอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้เวลา ตอบสนอง (Response Time) สั้นลง มีการ รวมอ�ำนาจการยิง (Concentration of Fire) ที่สูงขึ้น มีความแม่นย�ำ (Precision) มากกว่า เดิม ลดจ�ำนวนกระสุนที่ต้องใช้ ลดปริมาณ การติดต่อสือ่ สารระหว่างหน่วยลง และมีความ คล่องแคล่วในการเคลื่อนที่สูงกว่าเดิม ระบบอ�ำนวยการยิงจะประกอบด้วยระบบ ย่อย ๆ หลายระบบท�ำงานร่วมกัน ทั้งนี้ข้ึนอยู่ กับแนวความคิดในการออกแบบ เช่น เรดาร์วดั ความเร็วต้น (Muzzle Velocity Radar, MVR) อุปกรณ์ชี้ทิศอัตโนมัติ (Inertia Navigation Unit, INU) ที่ท�ำงานร่วมกับระบบ GPS และ
38
อุปกรณ์การเล็ง (Gun Laying System, GLU) เป็นต้น ปัจจุบันมีแต่ละกองทัพต่างมีระบบ ควบคุมการยิงของตนแตกต่างกันไปตามหลัก นิยมและยุทโธปกรณ์ที่มี ในที่นี้จะยกตัวอย่าง ระบบควบคุ มการยิ ง ของสหรั ฐอเมริ ก า พอ สังเขปดังนี้ กองทั พ บกสหรั ฐ อเมริ ก าเคยใช้ ร ะบบ ควบคุ ม การยิ ง TACFIRE (หรื อ อี ก ชื่ อ หนึ่ ง คื อ LITACS ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ ส ่ ง ออกให้ กั บ ประเทศไทย และสาธารณรัฐจีน หรือไต้หวัน) ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษที่ ๘๐ ระบบดังกล่าว ใช้ข้อมูลที่ได้ จ ากแหล่ ง ต่ า ง ๆ เช่ น ระบบ คอมพิวเตอร์ AN/ TPQ-36 และ AN/TPQ37 ระบบเรดาร์ FIREFINDER ระบบตรวจ ค้นเป้าหมายร่วม Joint Surveillance and Target Acquisition System (JSTARS) จาก นั้นจึงส่งข้อมูลเป้าหมายให้กับหน่วยยิงต่าง ๆ TACFIRE ได้ถกู แทนทีด่ ว้ ยระบบควบคุมการยิง Advanced Field Artillery Tactical Data System (AFATDS) โดยบริษัท Raytheon
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
AFATDS เป็ น ระบบอ� ำ นวยการยิ ง ที่ สามารถให้การสนับสนุนตั้งแต่การวางแผน การประสานการยิง และควบคุมการยิงของ หน่วยยิงสนับสนุนทั้งปืนใหญ่สนาม เครื่อง ยิงลูกระเบิด (Mortar) ปืนเรือ การสนับสนุน ทางอากาศโดยใกล้ชิด (Close Air Support) และเฮลิ ค อปเตอร์ โ จมตี ระบบ AFATDS จะช่ ว ยก� ำ หนดล� ำ ดั บ ความเร่ ง ด่ ว นของเป้ า หมาย เลื อ กระบบอาวุ ธ ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด ที่ สามารถใช้ ไ ด้ ประสานงานระบบตรวจจั บ และค้ น หาเป้ า หมายเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ข้ อ มู ล เป้ า หมายและข้ อ มู ล การประเมิ น ค่ า ความ เสี ย หาย AFATDS จะประกอบด้ ว ยระบบ คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ หลายระบบ เช่น ระบบ Hewlett Packard Tactical Computer Unit ระบบ Northrop Grumman AN/ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
GYK-37(V)2 Lightweight Computer Unit ระบบ GTE Codar Explorer II compact computer unit ระบบ Tactical Communications Interface Module (TCIM) และส�ำหรับผู้ตรวจการณ์ หน้ า จะใช้ ร ะบบ Northrop Grumman Handheld Terminal Unit นอกจากจะ ควบคุมการยิงแล้ว AFATDS ยังช่วยจัดการ เรื่องการวางแผนเคลื่อนย้ายหน่วยยิง ระบบ เรดาร์ ระบบตรวจจับ ตลอดจนการจัดการเรือ่ ง ระบบส่งก�ำลังที่สนับสนุนหน่วยยิงทั้งหมดด้วย จะเห็น ได้ ว ่ า ระบบอ� ำ นวยการยิ ง นั้ น ต้ อ ง ใช้ระบบย่อยที่เป็นเทคโนโลยีชั้นสูงหลาย ๆ อย่ า งประกอบกั น แนวทางการวิ จั ย และ พัฒนาจึงเป็นไปในลักษณะของการวิจัยและ พัฒนาระบบย่อยแยกเป็นโมดูล (Module)
แล้ ว น� ำ โมดู ล แต่ ล ะโมดู ล มาผนวกรวมกั น (Integration) ซึ่งนอกจากจะท�ำให้แนวทาง การด� ำ เนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นาชั ด เจนขึ้ น แล้วยังช่วยให้เกิดความอ่อนตัว (Flexibility) สามารถปรับเปลี่ยน อัพเกรด ได้ง่ายขึ้นด้วย กองทัพไทยมีความจ�ำเป็นต้องพัฒนาระบบ อ�ำนวยการยิงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถ รองรับกับภารกิจที่ได้รับ จึงมีความเป็นไปได้ที่ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การ มหาชน) จะได้บูรณาการและร่วมมือกับหน่วย งานต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ภาครั ฐ และภาค เอกชน ในการวิจัยและพัฒนาระบบอ�ำนวย การยิงที่เหมาะสมกับกองทัพไทยต่อไป
39
หลักการของนายพลแพตตัน (ตอนที่ ๒๔) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
40
เก็ บ บางสิ่ ง บางอย่ า งไว้ เ ป็ น ก� ำ ลั ง หนุ น อยู่เสมอ หลักการนี้ดูเหมือนว่าจะขัดกับการผลักดัน ของนายพลแพตตัน ที่ต้องการให้คนเดินหน้า ต่อไปจนกว่าจะหมดเรี่ยวแรง แต่ท่านก็มักจะ มีบางสิ่งเป็นก�ำลังหนุนอยู่เสมอ ความตั้งใจที่ จะเอาชนะของท่าน คือก�ำลังหนุนที่ท�ำให้ท่าน ชนะสงครามเกือบทุกครั้ง เราไม่เคยเตรียมแผนการรบโดยปราศจาก แผนส�ำรองอย่างน้อยทีส่ ดุ อีกหนึง่ แผน เราต้อง ท�ำงานทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อแผนที่วางไว้ทุกแผน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงใด ๆ หากเกิดขึ้นก็สามารถ กระท�ำได้รวดเร็วและง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไป ได้ อีกประการหนึ่งเราต้องมีแผนเพิ่มเติมซึ่ง จะถูกใช้อย่างต่อเนื่องหลังจากแผนเก่าได้จบ สิ้นลง แผนการรวมพลจะกระท�ำขณะเคลื่อนที่ ในภาพยนตร์เรื่องแพตตัน ไม่มีบทที่กล่าว ถึงการรบที่บัลจ์ (Bulge) สถานการณ์รบร่วม กับกองก�ำลังฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนับว่าส�ำคัญ ที่สุด กองก�ำลังทหารบกขนาดใหญ่หน่วยหนึ่ง ถู ก ปิ ด ล้ อ มอย่ า งสิ้ น เชิ ง จากหน่ ว ยทหารที่ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
41
เยี่ยมยอดหน่วยสุดท้ายของฮิตเลอร์ ซึ่งโจมตี เต็มที่อย่างไม่คิดชีวิตเพื่อหลีกเลี่ยงความพ่าย แพ้ ลักษณะอากาศก็ไม่มีอะไรนอกจาก หิมะ ตก ลมแรง และหนาวจัด ในภาพยนตร์เรื่องนี้ นายพลไอเซนเฮาว์ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ บั ญ ชาการ สูงสุดของกองก�ำลังฝ่ายทหารบกกล่าวไว้ว่า “เรามีคนหลายร้อยคนก�ำลังถูกกดดันจาก ข้าศึก ถ้าหน่วยของเราหน่วยนี้ยอมแพ้ ฝ่าย ข้าศึกก็จะสามารถตีทะลุแนวของเราเข้ามาได้ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล เราไม่สามารถส่งก�ำลังสิ่งอุปกรณ์ใด ๆ ทาง อากาศได้ เพราะสภาพอากาศที่เลวร้าย เรา ต้องน�ำกระสุน และอาหารไปให้หน่วยที่ถูกปิด ล้อมนี้ คุณสามารถที่จะเคลื่อนที่ไปสับเปลี่ยน ก�ำลังกับหน่วยนี้ได้รวดเร็วขนาดไหน?” นายพลแพตตันได้ตอบว่า “กองทั พ บกที่ ๓ สามารถเคลื่ อ นที่ ไ ด้ ทันทีที่ผมโทรศัพท์สั่งการเสนาธิการของผม นายพลเกย์” บรรดาผู้บังคับบัญชา และเพื่อนนายทหาร ของนายพลแพตตันได้หัวเราะกับค�ำพูดโง่ ๆ แบบนั้น หน่วยกองทัพบกอื่น ๆ ทั้งหมดก�ำลัง
42
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ต่อสู้กับสภาพอากาศ โดยมีความคิดที่จะต่อสู้ กับข้าศึกน้อยมาก นายพลแพตตั น ได้ ต อบการหั ว เราะของ พวกเขาโดยกล่าวว่า “เรารู้ว่าเราต้องถูกเรียกใช้ อนุญาตให้ผม ใช้โทรศัพท์สนามหน่อยนะครับ!” นายพลแพตตันวางสายโทรศัพท์ซึ่งก็เป็น เวลาเดียวกันที่กองทัพบกที่ ๓ ได้เคลื่อนก�ำลัง อย่างทันทีทันใด ผู้บังคับหน่วยในสมรภูมิที่ บัลจ์ (Bulge) ได้ตอบค�ำถามที่ว่าจะยอมแพ้ หรือไม่ด้วยการกล่าวว่า “ไอ้บ้า (NUTS) !” สภาพอากาศแจ่มใส และการโจมตีขนาดใหญ่ ครั้งสุดท้ายของฮิตเลอร์ก็เปลี่ยนมาเป็นการ พ่ายแพ้ ภายหลังสงคราม ผมได้พูดคุยกับนายพล เกย์ เกี่ยวกับบทที่ปรากฏในภาพยนตร์เรื่อง แพตตัน ผมจ�ำข้อคิดเห็นของนายพลเกย์ได้ “มันเป็นวันที่หนาวจัด นายพลแพตตันได้ สั่งการให้พวกเราพร้อมเคลื่อนที่ขณะที่ท่าน กลับไปพบนายพลไอเซนเฮาว์ คุณจ�ำระดับ การเตรียมพร้อมที่เราเคยปฏิบัติขณะเฝ้ารอที่ จะพุ่งเข้าสู่เม็กซิโกได้ไหม? นั่นละ ที่ประเทศ เยอรมนีก็เหมือนกัน เว้นแต่ไม่มีการนอนหลับ กันบนพื้นดินอย่างที่เราเคยท�ำในทะเลทราย เรารู้ว่าข้าศึกก�ำลังเตรียมตัวที่จะโจมตี แต่เรา ไม่รวู้ า่ จะโจมตีทใี่ ด ดังนัน้ นายพลแพตตันจึงสัง่ การให้วางแผนการรบหลายแผนโดยมีพื้นฐาน จากการที่ท่านคิดว่าข้าศึกจะโจมตีที่ใด อย่างที่ คุณอาจจะทราบแล้วแผนการรบแผนแรกของ ท่าน คือ จุดที่ข้าศึกได้โจมตีจริง ๆ มันหนาว จั ด มากและก็ ไ ม่ มี ภ ารกิ จ อะไรที่ จ ะให้ พ วก ทหารอดหลับอดนอน และมาจับกลุ่มผิงไฟ
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
กันแบบนั้นด้วย แคมป์ของเรามีสภาพเหมือน กับหมู่บ้านกระท่อมซึ่งใช้ผ้าใบชุบน�้ำมันมา ตบแต่งเป็นที่ก�ำบังให้ก�ำลังพล ลมที่เย็นจัด ก�ำลังพัดกระหน�่ำอย่างรุนแรงจนเป็นไปไม่ได้ เลยที่จะออกมาสู้กับลมหนาวได้เกินกว่าสอง สามนาที” “...เครื่องยนต์ทุกเครื่องถูกสตาร์ทในทุก ๆ สองสามนาที เ พื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า มั น พร้ อ มที่ จ ะ หมุนในวินาทีที่เราได้รับค�ำสั่ง ผมรู้ว่านายพล แพตตันจะโทรศัพท์เข้ามา ดังนั้นผมจึงคอย ที่รถพ่วงของผมพร้อมกับเปิดสายให้ว่างจาก การติดต่อโดยผู้บังคับหน่วยอื่นทั้งหมด เรา รู ้ ว ่ า เราจะถู ก เรี ย กโดยนายพลไอเซนเฮาว์ เพราะเรารู้ดีว่าหน่วยอื่น ๆ ทั้งหมดจะลืมเรื่อง สงครามแต่ จ ะก� ำ ลั ง พะวงในเรื่ อ งที่ จ ะต่ อ สู ้ กับอากาศหนาวอย่างเดียว วินาทีที่นายพล แพตตันโทรศัพท์เข้ามา และบอกหมายเลข ของแผน ผมก็ใช้นิ้วชี้ชี้ไปที่แผนการหมายเลข หนึง่ ยังไม่ทนั ทีผ่ มจะเสร็จจากการพูดโทรศัพท์ บรรดาเครือ่ งยนต์กแ็ ผดเสียงดังขึน้ จนผมเกือบ จะไม่ได้ยินเสียงของนายพลแพตตัน สภาพ อากาศที่เย็ น จั ด แบบนั้ น ท� ำ ให้ ก� ำ ลั ง พลชอบ ที่จะเคลื่อนที่มากกว่าที่จะนั่งอยู่เฉย ๆ รอบ กองไฟ เราเคลื่อนที่ผ่านชนบทของประเทศ เยอรมนี และต�ำแหน่งที่ข้าศึกวางก�ำลังอยู่โดย ถูกข้าศึกยิงเข้าใส่ไม่มากนัก หิมะตกหนักมาก จนข้าศึกไม่รู้แน่ชัดว่าพวกเราเป็นหน่วยรถถัง ของเยอรมันหรือไม่!” นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ห ลายคนได้ เ ขี ย นถึ ง ความสามารถของนายพลแพตตั น ในการ เคลื่อนก�ำลังเข้าสู่สมรภูมิ ในความเห็นของผม พรสวรรค์ที่ยิ่งใหญ่กว่านั้นก็คือ ความสามารถ
ในการเปลี่ยนแปลงแผนการรบอย่างรวดเร็ว ของท่าน ผมจ�ำค�ำพูดของนายพลแพตตันที่ได้ เคยบรรยายในการประชุมครั้งหนึ่งได้ “เราต้องสามารถเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ ให้ เหมื อ นกั บ นั ก มวย เรายิ่ ง เคลื่ อ นที่ ไ ด้ เ ร็ ว เท่าไรเราก็ยิ่งฆ่าข้าศึกได้ง่ายเท่านั้น ถ้าเราไม่ สามารถเปลีย่ นแผนการรบ มันก็เหมือนกับการ ขุดหลุมบุคคลซึ่งข้าศึกจะค้นหาเราพบ และก็ ฝังเราในหลุมศพที่เราขุดเอง เราต้องสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ไม่งั้นเราจะต้องถูกยิงกระเจิง ยังกับอยูใ่ นขุมนรกทีเดียว และเราก็สมควรโดน แบบนั้นด้วย! เมื่อเราไม่เคลื่อนที่ก็หมายความ ว่าเราก�ำลังพ่ายแพ้แล้ว ไม่มีอะไรที่หยุดนิ่งใน สงคราม” ผูบ้ งั คับหน่วยหรือเสนาธิการคนใดทีไ่ ม่ยอม เปลีย่ นแปลงจะถูกย้าย ผมจ�ำนายพันเอกหัวรัน้ ท่านหนึ่งได้ “ก็พวกเราเคยท�ำแบบนี้มาเป็น ปี ๆ แล้วนี่!” “และก็มาถึงเวลาที่จะเปลี่ยนแปลงแล้วล่ะ คุณพันเอก เราต้องสามารถเปลี่ยนแผนบาง แผนหรือแผนทั้งหมด เพื่อข้าศึกจะไม่มีทางรู้ เลยว่าพวกเราก�ำลังท�ำอะไร เราต้องสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ทุกเวลา ไม่ว่ากลางวันหรือ กลางคืน!” แม้ ว ่ า นายพลแพตตั น จะขั บ เคี่ ย วจนสิ่ ง อุปกรณ์ต่าง ๆ เกือบหมดเกลี้ยงแล้วก็ตาม ท่านก็ยังมีแผนส�ำรองอย่างน้อยที่สุดอีกหนึ่ง แผนเป็นกองหนุนไว้เสมอ
43
กุศโลบายการแก้ปัญหา ความขัดแย้ง จุฬาพิช มณีวงศ์
เราเชื่อกันว่า ปัญหาความขัดแย้งเป็น สิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น ในสั ง คมมนุษย์ทั่วไปที่มีค วาม สั ม พั น ธ์ ต ่ อ กั น นั บ ตั้ ง แต่ มี ก ารบั น ทึ ก ประวัติศาสตร์มนุษยชาติเป็นต้นมา มีหลัก ฐานของข้ อ พิ พ าทระหว่ า งสามี – ภริ ย า ระหว่างลูก ๆ ในครอบครัวเดียวกัน ระหว่าง พ่อแม่กับลูก ระหว่างเพื่อนบ้าน ระหว่างเผ่า พันธุ์และเชื้อชาติที่ต่างกัน ระหว่างผู้ร่วมงาน ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ระหว่างองค์กร ระหว่างชุมชน ระหว่างประชาชนกับรัฐบาล และระหว่างประเทศ มนุษย์จึงต้องแสวงหา วิธีการที่จะแก้ปัญหาเพื่อลด หรือคลี่คลาย ผลกระทบที่จะเกิดจากปัญหาความขัดแย้ง นั้น เพราะความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมักแพร่วง กว้าง และก่อให้เกิดความสูญเสียทัง้ ร่างกาย อารมณ์ ความรู้สึก และทรัพยากรต่าง ๆ มากมาย 44
จุฬาพิช มณีวงศ์
แย้งแล้ว แต่ละกลุ่มจะร่วมกันสร้างสัมพันธ์ ระหว่างกันขึ้นชั่วคราว เพื่ออธิบายหรือบอก เล่าความต้องการ และผลได้ผลเสียของเขา ทั้งนี้ เพื่อข้อแลกเปลี่ยนบางอย่าง หรือเพื่อ แก้ปัญหาในประเด็นที่ไม่ซับซ้อนนัก แต่ถ้า การเจรจาต่ อ รองมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะเป็ น ไปได้ ยาก คู่กรณีอาจต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก คนกลาง (Mediation) เป็นการเจรจาต่อรอง โดยมีบุคคลที่ ๓ ซึ่งเป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่าย เข้ามาเกี่ยวข้อง หลั ก การของการใช้ ค นกลางนี้ มี อ ยู ่ ว ่ า คนกลางหรื อ บุ ค คลที่ ไ ม่ ไ ด้ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ในการตั ด สิ น ปั ญ หาโดยตรง แต่ เ ป็ น คนที่ จะช่วยคู่กรณีที่เกิดความขัดแย้งกัน เพื่อให้ แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพ สนองต่อความพึงพอใจใน ผลประโยชน์ของทุกฝ่าย มีความหลากหลาย แตกต่างกันไปตามแนวทางของปัญหาที่เกิด ขึ้น แม้ว่าความเห็นที่แตกต่างกัน และปัญหา อาจจะเกิดขึ้นท่ามกลางความสัมพันธ์เกือบ ทุกรูปแบบแต่แรกทีเดียว ความไม่ลงรอยกัน ส่วนมากจะได้รบั การแก้ไขอย่างไม่เป็นทางการ ก่อน โดยคนทั่วไปจะพยายามหลีกเลี่ยงความ ไม่ลงรอย เพราะคนเราไม่ชอบความไม่สบายใจ ที่มาพร้อมกับความขัดแย้ง เขาอาจจะมองว่า ประเด็นปัญหายังไม่ค่อยส�ำคัญ เขาอาจไม่มี อ�ำนาจที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องและท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงได้ เพราะเขาอาจจะไม่เชื่อว่าการ กระท� ำ เช่ น นั้ น จะท� ำ ให้ ส ถานการณ์ ดี ขึ้ น ได้ หรือเขายังไม่พร้อมที่จะเจรจาไกล่เกลี่ย เมื่อการหลีกเลี่ยงไม่อาจจะท�ำได้ หรือเกิด ความตึงเครียดรุนแรงขึ้น คู่กรณีไม่อาจยอม ให้ความขัดแย้งคงค้างคาอยู่ต่อไป การเลือกใช้ วิธีเจรจาแก้ปัญหาอย่างไม่เป็นทางการจึงตาม มา วิธีการนี้มักจะเป็นวิธีการที่ท�ำให้ความขัด แย้งส่วนใหญ่จบลงได้ในชีวิตประจ�ำวัน อาจจะ เป็นข้อขัดแย้งสามารถแก้ไขได้อย่างเรียบร้อย เป็นที่น่าพอใจของทุกฝ่าย หรือเพราะประเด็น ปัญหาถูกยกเลิก เพราะหมดความสนใจ หรือ ไม่อาจลุกลามต่อไปได้อีก แต่ก็มีค�ำถามว่า แล้วในกรณีที่ไม่อาจหา ข้อสรุปให้เป็นที่ยอมรับได้จะมีวิธีการอย่างไร ผู้เชี่ยวชาญระบุว่า ความไม่ลงรอยที่แก้ไขไม่ ได้ หรือไม่เป็นที่ยอมรับของคู่กรณี ความไม่ลง รอยจะกลายเป็นข้อพิพาท เมือ่ ความขัดแย้งมา ถึงขั้นนี้ มีทางออกที่จะแก้ปัญหาได้หลายวิธี วิ ธี ก ารที่ ใ ช้ กั น มากที่ สุ ด เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก าร ตกลงซึ่งเป็นที่ยอมรับได้ คือ การเจรจาต่อ รอง (Negotiation) การเจรจาต่อรองเป็นการ สร้างความสัมพันธ์ของการต่อรองระหว่างกลุม่ ที่รู้สึกว่าจะเกิดความขัดแย้ง หรือเกิดความขัด หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
45
บรรลุข้อตกลงที่เป็นที่ยอมรับโดยความเห็น พ้องต้องกันในประเด็นข้อพิพาท ความจริง จะว่าไปทั้งการเจรจาต่อรอง และการเจรจา ไกล่เกลีย่ โดยคนกลาง จะต้องเป็นกระบวนการ ที่เกิดขึ้นด้วยความสมัครใจ คู่กรณีต้องเต็มใจ ที่จะยอมรับความช่วยเหลือจากผู้อื่นที่จะมา ช่วยจัดการแก้ปัญหาความขัดแย้ง การเจรจา ไกล่เกลีย่ มักจะเกิดขึน้ เมือ่ คูกรณีมคี วามเห็นว่า พวกเขาไม่อาจจะร่วมกันแก้ไขความขัดแย้งได้ โดยล�ำพัง มีเพียงการอาศัยความช่วยเหลือจาก บุคคลที่สามเท่านั้น อย่างไรก็ตาม การเจรจาต่อรองหรือการ เจรจาไกล่เกลี่ย อาจไม่จ�ำเป็นต้องใช้บุคคลที่ สามที่เป็นกลาง ในกรณีที่ความขัดแย้งนั้นเกิด ขึ้นภายในองค์กรเอกชนกับกลุ่มผู้ร่วมงานด้วย กันเอง แต่อาจเลือกใช้กระบวนการทางการ บริหาร หรือวิธกี ารตัดสินปัญหาข้อพิพาทของผู้ บริหาร ถ้าเหตุขดั แย้งเกิดในหน่วยงานราชการ ผู้ตัดสินอาจจะเป็นนายกเทศมนตรี เจ้าหน้าที่ ของรัฐ หรือผู้บริหาร กระบวนการแก้ปัญหา ความขัดแย้งโดยทั่วไปจะพยายามรักษาความ สมดุลย์ระหว่างความต้องการขององค์กรโดย ภาพรวม และผลประโยชน์ส่วนบุคคล การใช้อนุญาโตตุลาการ เป็นการแก้ปัญหา ความขัดแย้งที่คุ้นเคยกันมากขึ้นในระยะหลัง เป็นกระบวนการที่คู่กรณีทั้งสองฝ่ายสมัครใจ ที่จะขอร้องให้บุคคลที่สามที่เป็นคนกลาง ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสีย เป็นผู้ช่วยตัดสินใจในปัญหา 46
ความขัดแย้ง ผลการตัดสินใจอาจเป็นเพียง ค�ำแนะน�ำ หรือสิ่งผูกมัดที่จะต้องปฏิบัติตาม อนุ ญ าโตตุ ล าการอาจด� ำ เนิ น การโดยคนคน เดียวหรือคณะบุคคลก็ได้ ประเด็นส�ำคัญคือ เขาเหล่านั้นจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับความขัด แย้งนัน้ ๆ ผูท้ เี่ ลือกใช้วธิ นี ี้ มักเป็นผูท้ ชี่ อบความ เป็นส่วนตัวในลักษณะที่ไม่เป็นทางการ ไม่เสีย ค่าใช้จ่ายสูงนัก และรวดเร็วกว่ากระบวนการ ทางศาล ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ โดย ทั่วไปคู่กรณีสามารถเลือกผู้ที่จะมาท�ำหน้าที่ ตั ด สิ น ได้ จึ ง ท� ำ ให้ ทั้ ง สองฝ่ า ยรู ้ สึ ก สบายใจ มากกว่าการใช้คนกลางซึ่งถูกก�ำหนดโดยผู้มี อ�ำนาจ หรือโดยองค์กรของรัฐ
นอกจากนี้ ยังมีการใช้กระบวนการทางศาล ซึ่งเป็นวิธีที่เปลี่ยนจากการแก้ปัญหาระหว่าง กันเองไปสู่กระบวนการของรัฐ โดยคู่กรณีมัก จะจ้างทนายความ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นตัวแทน ในการสู้คดี และมีการน�ำสืบต่อหน้าบุคคลที่ สามทีเ่ ป็นกลาง คือ ผูพ้ พิ ากษา หรือคณะลูกขุน แล้วแต่ระบบ ผู้พิพากษาและคณะลุกขุนจะ ต้องตัดสินไปบนพืน้ ฐานของกฎหมาย และต้อง เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย ผลการตัดสินมัก จะเป็นการแพ้ – ชนะ คือการตัดสินว่าใครแพ้ เพราะอะไร ชนะ เพราะอะไร และเนื่องจาก การตัดสินนี้เป็นการตัดสินที่ได้รับอ�ำนาจจาก สังคม ผลของการตัดสินจึงมีผลใช้บังคับตาม
จุฬาพิช มณีวงศ์
กฎหมาย คูก่ รณีไม่มอี ำ� นาจในการตัดสินใจ แต่ จะได้รับโอกาสในการแสดงทัศนคติ การใช้กระบวนการออกกฎหมาย เพื่อแก้ ปัญหาข้อพิพาท เป็นวิธีการแก้ปัญหาความ ขัดแย้งอีกวิธีหนึ่งที่อาศัยกฎหมาย มักจะใช้ กับข้อพิพาทใหญ่ ๆ ที่มีผลกระทบต่อคนส่วน มาก แต่ก็อาจจะเกิดผลต่อคนบางกลุ่ม วิธีการ นี้การตัดสินใจเป็นกระบวนการที่มีผลออกมา เป็น แพ้ – ชนะ โดยการลงคะแนนออกเสียง วิธีการสุดท้ายที่น�ำมาใช้ในการแก้ปัญหา ความขัดแย้ง เป็นวิธีไม่พึ่งกระบวนการทาง กฎหมาย ไม่พึ่งทั้งสิ่งที่สังคมก�ำหนดหรือสังคม ยอมรับ ก็คือกระบวนการที่ใช้มาตรการในการ บีบบังคับ หรือโน้มน้าวคู่กรณียอมท�ำตามหรือ ยอมแพ้ วิธีการในลักษณะเช่นนี้ มีอยู่ ๒ แบบ คื อ กระบวนการที่ ไ ม่ ใ ช้ ค วามรุ น แรง และ กระบวนการที่ใช้ความรุนแรง มาเริ่มที่วิธีการไม่ใช้ความรุนแรงก่อน เรียก ว่า อหิงสา นั่นเอง เป็นวิธีที่จะอาศัยคนหรือ กลุ่มคนที่ร่วมกระท�ำการอย่างหนึ่งอย่างใด หรือละเว้นการกระท�ำอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อ ให้คู่กรณีปฏิบัติตามที่กลุ่มต้องการ การกระ ท�ำนีไ้ ม่รวมถึงการใช้แรงบีบบังคับ หรือใช้กำ� ลัง รุนแรง และมักจะเป็นรูปแบบไม่ท�ำให้เกิดผล เสียทางจิตใจ หรือเกิดน้อยที่สุด กระบวนการ ไม่ใช้ความรุนแรงนี้ได้ผลดีที่สุดเมื่อคูกรณีต้อง อาศัยพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในการด�ำรงชีพให้ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
เป็นปกติสุข กรณีเช่นนี้ คู่กรณีหนึ่งอาจจะบีบ บังคับให้อีกฝ่ายให้สิทธิพิเศษ โดยการปฏิเสธ ที่จะให้ความร่วมมือ หรือโดยการท�ำอะไรที่ให้ อีกฝ่ายไม่ปรารถนา อหิงสา ยังรวมถึงการแสดงออกโดยการไม่ ยอมรับ หรือไม่เชือ่ ฟังประชาคม เช่น การฝ่าฝืน กฎ หรือการปฏิบัติฝ่าฝืนสิ่งที่สังคมยอมรับ เพื่อให้คู่กรณีได้ยอมรับหรือเพื่อให้สาธารณชน ทราบว่า เขาเห็นว่าสิ่งที่สาธารณชนถือปฏิบัติ อยูไ่ ม่ยตุ ธิ รรม หรือไม่เสมอภาค การปฏิบตั กิ าร โดยไม่ใช้ความรุนแรงอาจท�ำคนเดียวหรือท�ำ เป็นกลุ่ม และอาจท�ำอย่างเป็นทางการ หรือ ไม่เป็นทางการก็ได้ วิธีสุดท้ายในความพยายามแก้ไขข้อพิพาท คือ การใช้ความรุนแรง หรือใช้กำ� ลัง แนวความ คิดของกระบวนการนี้อยู่บนพื้นฐานที่ว่า ถ้าคู่ กรณีหรือทรัพย์สินของคู่กรณีมีคุณค่าสูง และ คุณค่าการด�ำรงอยู่ในสถานภาพของเขานั้นสูง พอจะท�ำให้เกิดการยินยอมให้เกิดสิทธิพิเศษ สิ่งที่จะท�ำให้การใช้ความรุนแรงได้ผลคือ คู่ กรณีจะต้องสร้างอ�ำนาจต่อรองที่เพียงพอที่ จะท�ำลายคู่ต่อสู้ และต้องสามารถลวงให้อีก ฝ่ายเห็นว่า ฉันมีพลังพอ และพร้อมที่จะใช้มัน จากการศึ ก ษาพบว่ า ในการแก้ ไ ขปั ญ หา ความขัดแย้งของโลก สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ขั้วคือ ขั้ววัฒนธรรมที่มีการเข้าไปจัดการ โดยตรง และขั้ววัฒนธรรมที่จัดการทางอ้อม
โดยกลุ่มที่เห็นด้วยกับการจัดการโดยตรงให้ ความส�ำคัญต่อการพบกันซึ่ง ๆ หน้า ยอมรับ ปัญหาความขัดแย้งและไม่ค่อยหวาดหวั่นที่จะ เผชิญหน้ากับผู้ที่เขามีข้อขัดแย้งด้วย และรู้สึก สะดวกใจทีจ่ ะเจรจากันโดยตรง ทัง้ ด้วยการต่อ รองและร่วมเจรจาไกล่เกลี่ย ส่วนอีกกลุ่มเห็น ด้วยกับการจัดการทางอ้อมนัน้ จะพยายามหลีก เลี่ยงความขัดแย้ง พยายามจะรักษาหน้าของ ตัวเองและคนอื่น และมีการใช้กระบวนการที่ อาศัยคนกลางทั้งหมดอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ กระบวนการแก้ปญ ั หาความขัด แย้งไม่ได้พัฒนาการเฉพาะในวัฒนธรรมตะวัน ตกเท่านั้น แต่มีการปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง แม้ในประเทศที่ไม่ใช่ประเทศตะวันตก เพราะ ความขัดแย้งเป็นเรื่องของธรรมชาติที่เกิดกับ มนุษย์ทุกคน ถ้าเรายอมรับหลักการอยู่ร่วม กันบนความคิดเห็นที่ขัดแย้ง ความปรองดอง สมานฉันท์ ก็ไม่ใช่เรื่องส�ำคัญเกินกว่าจะก้าว ข้ามมันไป
47
พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ เจาะพระกรรณ ๒๐๗๔ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
อาณาจักรลุ่มแม่น�้ำอิระวดีตอนบนเป็นอาณาจักรพม่าและตอนล่างเป็นอาณาจักรมอญ เป็นคู่สงครามแย่งชิงความเป็นใหญ่มาตั้งแต่อาณาจักรพม่าในยุคที่หนึ่ง อาณาจักรมอญ มีความได้เปรียบในการสร้างกองทัพให้เข้มแข็งด้วยการใช้ประโยชน์จากท่าเรือการเก็บภาษี การค้า เป็นผลให้อาณาจักรมอญมีความมั่งคั่งและการจัดซื้อปืนคาบศิลาและปืนใหญ่จาก ชาวโปรตุเกสจากยุโรป บางห้วงเวลาอาณาจักรพม่าทางตอนบนมีพระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็ง สามารถที่จะท�ำการรบมีชัยชนะเหนืออาณาจักรมอญ..............บทความนี้ กล่าวถึงการเจาะ พระกรรณ (เจาะหู) ของเจ้าชายตะเบงชะเวตี้ พ.ศ.๒๐๗๔
เจ้าชายตะเบงชะเวตี้ทรงท�ำพิธีเจาะพระกรรณ (เจาะหู) ที่วัดชเวมอดอ (ชาวสยามรู้จักในชื่อของพระธาตุมุเตา) เมืองหงสาวดี เมืองหลวง ของอาณาจักรมอญ อยู่ทางตอนใต้ของเมืองตองอูเป็นระยะทาง ๑๙๒ กิโลเมตร พร้อมด้วยทหารราชองครักษ์คุ้มกัน หนึ่งกองพันทหารม้า (ทหารม้า ๕๐๐ ม้า) ภายใต้การบังคับบัญชาของนายกองหนุ่มชื่อชินเยทุต (Shin Ye Tut) 48
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
๑. สถานการณ์ทั่วไป พระเจ้าเมงจีโย (King Mingyinyo) ได้ สถาปนาเมืองตองอู (Taungo) มีที่ตั้งอยู่ใน หุบเขาจากเป็นอาณาจักรขนาดเล็ก ได้รวบรวม ชาวพม่าที่กระจายให้มีอยู่ที่เมืองตองอู (เกิด การแย่งชิงอ�ำนาจทางตอนเหนือที่กรุงอังวะ เป็นผลให้ประชาชนชาวพม่าที่หนีสงครามได้ อพยพลงใต้สู่เมืองตองอู) ทรงสร้างก�ำแพง เมืองเพื่อจะป้องกันอาณาจักรจากการรุกราน ของฝ่ายข้าศึก เมืองตองอูตั้งอยู่ที่ริมชายแม่น�้ำ สะโตง (หรือแม่น�้ำซิตอง Sittoung River แม่ น�้ ำ มี ค วามยาว ๔๒๐ กิ โ ลเมตร) เป็ น เมืองเก่าสร้างขึ้นในยุคอาณาจักรพุกาม ทรง ขึ้ น ครองราชย์ ใ นปี พ.ศ.๒๐๕๓ เป็ น ปฐม กษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู พระองค์ทรงเป็น นักปกครองทีม่ คี วามสามารถ ทรงขยายอ�ำนาจ เข้าสูเ่ มืองแปรและจะขยายดินแดนให้เพิม่ มาก ขึ้น จึงเป็นการเริ่มต้นของอาณาจักรพม่าใน ยุคที่สองจะก้าวขึ้นสู่อ�ำนาจสูงสุด เหนือเมือง ต่าง ๆ แห่งลุ่มแม่น�้ำอิระวดี (Irrawaddy River มีความยาว ๒,๑๗๐ กิโลเมตร) ขณะที่ทรง เตรียมแผนการเข้าตีเมืองอังวะพระองค์ก็ทรง สวรรคตเมื่อปี พ.ศ.๒๐๗๔ พระเจ้าเมงจิโย ทรงครองราชสมบัตินาน ๒๑ ปี พระราชโอรส คือเจ้าชายตะบินเฉว่ที (Tabinshwehti) ที่ ชาวสยามแห่งกรุงศรีอยุธยารู้จักในชื่อเจ้าชาย ตะเบงชะเวตี้ (แปลว่าสุวรรณเอกฉัตร) ทรง ขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ.๒๐๗๔ ขณะทรงมี พระชนมายุ ๑๕ พรรษา ก่อนที่เจ้าชายตะเบง ชะเวตี้จะขึ้นครองราชสมบัติ พระองค์จะต้อง เข้าพิธีเจาะพระกรรณเสียก่อน
ภาพกราฟิกส์อาณาจักรพม่าเมืองตองอู (ตามลูกศรชี้) อยู่ทางตอนเหนือของเมือง พะโค (หงสาวดี)
๒. พิธีเจาะพระกรรณ ๒.๑ อาณาจักรมอญแห่งหงสาวดี หงสาวดี (Handawaddy) หรือเมืองพะโค (Pegu) เป็นศูนย์กลางของอ�ำนาจอาณาจักร มอญ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำพะโค อยู่ใกล้กับเมืองเมาะตะมะ (เป็นท่าเรือที่ส�ำคัญ ในการค้าขายกับชาวยุโรปซึ่งน�ำมาซึ่งความ มั่งคั่งให้กับอาณาจักรมอญ และจะเป็นสาเหตุ หลั ก ของความขั ด แย้ ง น� ำ มาซึ่ ง สงครามกั บ อาณาจักรอยุธยา) ทางตอนใต้ของอาณาจักร และอยู่ทางตอนใต้ของเมืองแปร พระมหาธาตุ เ จดี ย ์ ช เวมอดอ (Shwemawdaw Paya) สร้างขึ้นในยุคมอญเรือง อ�ำนาจ เป็นเจดีย์แบบมอญมีอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี ได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้ง ภายในเจดีย์ บรรจุพระเขี้ยวแก้วตั้งแต่ในสมัยของพระเจ้า ราชาธิราช (ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.๑๙๒๗ - ๑๙๖๔ รวมเวลาครองราชสมบัตินาน ๓๗ ปี หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
49
พระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (Shwemawdaw) มีอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี สร้างขึ้นในยุคที่มอญเรืองอ�ำนาจ ได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้ง ปัจจุบันเจดีย์มีความสูง ๓๗๔ ฟุต ชาวสยามรู้จักในชื่อพระธาตุมุเตา
แห่งราชวงศ์ฟ้ารั่ว พระองค์เป็นกษัตริย์มอญ ที่ยิ่งใหญ่ และในสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์ได้ โปรดฯ ให้มกี ารหล่อระฆังจารึกไว้ทฐี่ าน ปัจจุบนั เจดีย์มีความสูง ๓๗๔ ฟุต (๑๑๔ เมตร) โดย ความสู ง ครั้ ง แรกที่ ไ ด้ ก ่ อ สร้ า งขึ้ น มี ค วามสู ง เพียง ๗๐ ฟุต มีความสูงกว่าเจดีย์ชเวดากอง ถึง ๕๑ ฟุต 50
๒.๒ พิ ธี เ จาะพระกรรณของเจ้ า ชาย ตะเบงชะเวตี้ เจ้ า ชายตะเบงชะเวตี้ ท รงท� ำ พิ ธี เ จาะ พระกรรณ (เจาะหู) โดยทรงเลือกวัดทีส่ ำ� คัญยิง่ สี่วัด ประกอบด้วย วัดชีเวสิกองที่เมืองพุกาม, วั ด ชเวชานดอเมื อ งแปร, วั ด พระเกตธาตุ
(ชเวดากอง) เมืองตะเกิง และวัดชเวมอดอ (ชาวสยามรู้จักในชื่อของพระธาตุมุเตา) ทรง ตัดสินพระทัยเลือกวัดชเวมอดอซึ่งมีที่ตั้งอยู่ที่ เมืองหงสาวดีซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักร มอญที่ เ ป็ น คู ่ ส งครามมาในอดี ต ที่ อ ยู ่ ท าง ตอนใต้ ข องเมื อ งตองอู เ ป็ น ระยะทาง ๑๙๒ กิโลเมตร พร้อมด้วยทหารราชองครักษ์คุ้มกัน พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ภาพแผนที่เมืองต่าง ๆ ของพม่าในยุคโบราณ เมืองตองอู (ตามลูกศรชี้ด้านบน) และ เมืองพะโค (หงสาวดี ตามลูกศรชี้ด้านล่าง)
๓. บทสรุป
หนึ่งกองพันทหารม้า (ทหารม้า ๕๐๐ ม้า ที่มี ฝีมือกล้าแข็งได้รับการคัดเลือกให้ร่วมขบวน เสด็จในครั้งนี้) ภายใต้การบังคับบัญชาของ นายกองหนุ่มชื่อชินเยทุต (Shin Ye Tut) เป็น นายกองหนุ ่ ม ที่ มี ค วามช� ำ นาญในการรบทั้ ง การใช้อาวุธและทางกลศึก (ทางด้านยุทธวิธี) มีอายุมากกว่าเจ้าชายตะเบงชะเวตี้ประมาณ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
๓ เดือน ก่อนที่พระองค์จะทรงก้าวขึ้นครอง ราชสมบั ติ ต ่ อ จากพระราชบิ ด าปฐมกษั ต ริ ย ์ อาณาจั ก รพม่ า แห่ ง ตองอู เ ริ่ ม การขยาย แห่งราชวงศ์ตองอู อ� ำ นาจสู ่อาณาจักรใกล้เคียง อาณาจักรเริ่ม เจ้าชายตะเบงชะเวตี้เดินทางถึงพระธาตุ มุ เ ตาในตอนเช้ า ตรู ่ ท� ำ พิ ธี เ จาะพระกรรณ มีขนาดเล็กและได้ขยายมีขนาดใหญ่ขึ้น เจ้า เสร็จเรียบร้อยจึงได้เสด็จกลับออกมาโดยแหก ชายตะเบงชะเวตี้ทรงท�ำพิธีเจาะพระกรรณที่ วงล้อมของกองทหารมอญสู่เมืองตองอูทาง พระธาตุมุเตาโดยมีกองทหารม้าคุ้มกันขนาด ตอนเหนือ นับเป็นการจู่โจมที่กองทัพมอญ กองพั น ทหารม้ า ในดิ น แดนอาณาจั ก รมอญ คิดไม่ถึงและไม่พร้อมที่จะเข้าจับกุมเจ้าชายตะ เมื่อเสร็จพิธีทรงเสด็จกลับสู่เมืองตองอูอย่าง เบงชะเวตี้ จึงไม่สามารถที่จะปฏิบัติการทาง ปลอดภัย นับเป็นการแสดงถึงเจ้าชายตะเบง ทหาร เป็นการกระท�ำที่กล้าหาญไม่เกรงกลัว ชะเวตี้ ท รงมี ค วามกล้ า หาญและไม่ท รงกลัว ต่อก�ำลังทหารมอญที่มีเป็นจ�ำนวนมากและยัง ภั ย อั น ตรายจากกองทหารมอญจ�ำนวนมาก อยู่ในเขตแดนอาณาจักรมอญที่เป็นคู่สงคราม วีระกรรมในครั้งนั้นข่าวกระจายไปทั่วดินแดน กับอาณาจักรพม่าแห่งตองอู ได้สร้างชื่อเสียง ลุ่มแม่น�้ำอิระวดีคือมอญและพม่า จึงเป็นจุด ให้เจ้าชายตะเบงชะเวตี้ไปทั่วลุ่มแม่น�้ำอิระวดี เริ่มต้นของอาณาจักรพม่าในยุคที่สอง และมาถึงอาณาจักรสยามแห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อเจ้าชายตะเบงชะเวตี้ขึ้นครองราชสมบัติ ที่เมืองตองอู นับเป็นกษัตริย์พม่าล�ำดับที่สอง แห่งราชวงศ์ตองอู พระองค์ทรงเตรียมการที่ จะเข้าตีอาณาจักรมอญทางตอนใต้แห่งกรุง หงสาวดี ตามความมุ่งหมายของพระราชบิดา ที่จะรวมพม่าให้เป็นหนึ่งเดียว 51
ภาษาอาเซียน
ที่ใช้ ในการติดต่อสื่อสาร พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ใ
นอนาคต คนไทยจะได้รับประโยชน์ จากการรวมตั ว เป็ น ประชาคมของ อาเซียนมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่ กับการเตรียมความพร้อมของเรา ดังนั้น การ สร้างความตื่นตัวและให้ความรู้กับประชาชน จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ เพื่อให้ตระหนักถึงโอกาส และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันซึ่ง จะช่วยให้คนไทยได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ ในขณะเดี ย วกั น ก็ ต ้ อ งป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ผล กระทบในทางลบแก่ภาคส่วนต่าง ๆ
ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สบายดีหรือ สบายดีค่ะ (ครับ) คุณชื่ออะไร ฉันชื่อ ฉันขอโทษ ไม่เป็นไร ขอบคุณ ลาก่อน ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สบายดีไหม สบายดี ขอบคุณ ขอโทษ ผม, ฉัน คุณชื่ออะไร ฉัน, ผมชื่อ กรุณา กี่โมงแล้ว? อยู่ใหน? ลาก่อน 52
ทั้ ง นี้ ภ าษาก็ เ ป็ น เรื่ อ งจ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ใน การสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันระหว่าง ประชาคมอาเซียนด้วยกัน นอกจากภาษาสากล คือภาษาอังกฤษที่ทุกประเทศก็เข้าใจตรงกัน แล้ว ภาษาของแต่ละประเทศในอาเซียนด้วย กันนั้น ก็มีความส�ำคัญไม่น้อย ถ้าเราเข้าใจใน ภาษาของแต่ละประเทศที่ใช้ทักทายกันง่าย ๆ แล้ว ก็จะเป็นประโยชน์มากทีเดียว ในการ นี้วารสารหลักเมืองได้เห็นความส�ำคัญและมี ความจ�ำเป็นในเมื่อเราจะก้าวเข้าสู่ประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ นี้แล้ว หากได้ใช้ค�ำง่าย ๆ
ฟิลิปปินส์ (Philippines) กามุสตา กุมุสตากา โอกีลาน อะโนปางาลันโม อาโก ซี ปาเสนย่า วาลังอะนุ่มาน มารามิงสลามัต ปาอาลัม อินโดนีเซีย (Indonesia) Salamat Datang (ซาลามัต ดาตัง) Apa kha bar? (อาปา กา บา) Kha bar la bai (กาบาราไบค) Terima kasih (เตริมา กะชิ) Maaf (มาอาฟ) Ar Mor Sa Yor (อามอ/ซาญอ) Dae mor Na mor (แดมอ นามอ) Ar mor/Sa yor Na mor (อามอ/ซาญอ นามอ) Sila (ซิลา) Pukul berepa? (ปูกูล เบอรปา) Di mana...? (ดี มานา) Salamat jalan (ซาลามัต จาลัน)
ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สบายดีไหม สบายดี ขอบคุณ ขอโทษ ผม, ฉัน คุณชื่ออะไร ฉัน, ผมชื่อ กรุณา กี่โมงแล้ว? อยู่ไหน? ลาก่อน ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สบายดีหรือ ผม, ฉัน คุณชื่ออะไร ฉันชื่อ ฉันขอโทษ ขอบคุณ ไม่เป็นไร ขอให้มีสุขภาพดี ลาก่อน
ในการทักทายหรือเข้าใจภาษาของประเทศนัน้ ก็จะเป็นการดี ขอให้สนุกกับการใช้ภาษากันนะคะ หากจ�ำ ได้แล้วก็ลองน�ำไปใช้นะคะ โดยหัดลองพูดกับ แรงงานต่างด้าว หรือจะเป็นตามร้านอาหาร หรือตามปั๊มน�้ำมัน เพื่อว่าจะได้ฟังเข้าใจ และ สามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจมากขึ้น เพื่อใน อนาคตเวลาเดินทางไปเที่ยวภายในประเทศ อาเซี ย นด้ ว ยกั น จะได้ รั บ ความสะดวกหรื อ ไม่โดนคนประเทศอื่นหลอกลวงเอาได้ ขอขอบคุณข้อมูลจากศูนย์ประชาสัมพันธ์อาเซียน (ASEAN information Center PRD7)
มาเลเซีย (Malaysia) Salamat Datang (ซาลามัต ดาตัง) Apa kha bar? (อาปา กา บา) Kha bar la bai (กาบาราไบค) Terima kasih (เตริมา กะชิ) Maaf (มาอาฟ) Ar Mor Sa Yor (อามอ/ซาญอ) Dae mor Na mor (แดมอ นามอ) Ar mo/Sa yor Na mor (อามอ/ซาญอ นามอ) Sila (ซิลา) Pukul berepa? (ปูกูล เบอรปา) Di mana...? (ดี มานา) Salamat jalan (ซาลามัต จาลัน) สิงคโปร์ (Singapore) หนีห่าว หนีห่าวมะ หวอ หนินเจี้ยวเสิ่นเมอหมิงจื้อ หว่อเจี้ยว.... ตุ้ยปู้ฉี่ เซื่ยเซื่ย เหมยกวานซี่ จู้ หนี่ เจ้า ยู่ กุ้ย ฝุ เจี้ยน คัง จ้ายเจี้ยน พันเอกหญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ภาษาไทย (Thai)
สวัสดี สบายดีหรือ สบายดีค่ะ (ครับ) ยินดีที่ได้รู้จัก ผม, ฉัน เรา คุณ, พวกท่าน ช่วย คุณชื่ออะไร ฉันชื่อ พูดคุย, สนทนา ฉันไม่เข้าใจ ขอบคุณ ขอบคุณมาก ไม่เป็นไร ไม่ดี ใช่ ไม่ใช่ รูปงามมีเสน่ห์ (ค�ำชม) สวย น่ารัก ฉันขอโทษ ขอให้อายุยืน ขอให้มีสุขภาพดี ลาก่อน (ยังอยู่ใกล้) ลาก่อน (จากไปไกล)
ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สบายดีหรือ สบายดีค่ะ (ครับ) ยินดีที่ได้รู้จัก ขอบคุณ ฉันขอโทษ ลาก่อน ภาษาไทย (Thai)
สวัสดี สบายดีหรือ สบายดีค่ะ (ครับ) ผม, ฉัน คุณชื่ออะไร ฉันชื่อ ขอบคุณ ฉันขอโทษ ลาก่อน
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
ลาว (Loas)
ซ�ำบายดี สะบายดีบ่ สะบายดี ยินดีที่ฮู้จัก ข้อย พวกเฮา เจ้า, พวกเจ้า ซอย, ซอยเหลือ เจ้าซื่อหยัง ข้อยซื่อ โอ้โลม บ่ฮู้ ขอบใจ ขอบใจหลาย ๆ บ่เปนหยัง บ่ดี แม่นแล้ว บ่, บ่แม่น เจ้าชู้ งาม น่าฮัก ขอโทด ขอให้มั่นยืน ขอให้เข้มแข็ง โซกดี ลาก่อน
เวียดนาม (Vietnam) ชินจ่าว บั่ค โก แคว คง กาม เอิน บิงห์ เทือง เฮิน ฮัน เดือก หลั่ม แกวน กาม เอิน ซิน โหลย ตาม เบียด พม่า (Myanmar) มิงกะลาบา เน เกา ลา เน เกา แด จะนอ/ม่า นามี แบโล คอแล จะนอ/ม่า นาแม เจซูติน บาแด ควินโละ บ่าหน่อ ตาตา
ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สวัสดี (ตอนเช้า) สบายดีหรือ สบายดีค่ะ (ครับ) คุณชื่ออะไร ฉันชื่อ ผม, ฉัน ฉันดีใจมากที่ได้พบคุณ ไปไหน รู้จักครับ, รู้จักค่ะ ไม่ครับ, ไม่ค่ะ ใช่ครับ, ใช่ค่ะ มีครับ, มีค่ะ รอประเดี๋ยว ราคาเท่าไร ไป คุณหิวไหม คุณชอบไหม ชอบมาก ๆ ขอบคุณ ฉันขอโทษ ฉันไม่เข้าใจ ไม่เป็นไร ขอให้มีสุขภาพดี ขอลา ลาก่อน ภาษาไทย (Thai) สวัสดี สบายดีไหม สบายดี ขอบคุณ ขอโทษ ผม, ฉัน คุณชื่ออะไร ฉัน, ผมชื่อ กรุณา กี่โมงแล้ว? อยู่ไหน? ลาก่อน
กัมพูชา (cambodia) ซัวซไดย, จุมเรี้ยบซัว อรุณซัวซไดย ซกสะบายดี (ถาม) จ๊ะ (บาด) ซกสบายดี เตอเนี้ยะชัวเว่ย ขยมฉม้วก ขยม ขยม รีก เรียย นาฮ ดอย บาน จวบ แอง เต็อว นา บาด ซเกือล, จาฮ ซเกือล บาด อ็อด เต, จาฮ อ็อด เต บาด, จาฮ บาด เมียน, จาฮ เมียน จ�ำ ม.เพล็ด เติ๋ เวีย ทไล ปน มาน เรียล เต็อว เติ๋ โลก เคลียน เต๋ เติ๋ โลก โจล เจ็ด เต๋ ขยม โจล เจ็ด คลัง นาฮ ออกุน, ออกุนเจริญ ขยมโซ้มโต๊ก ขยมเมิ่นยวลเต๊ มึน เอ็อย เต สุขะเพียบลออ โซ้มเรีย, โซ้มจุมเรี้ยบเรีย เรียนซันเฮย
บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) Salamat Datang (ซาลามัต ดาตัง) Apa kha bar? (อาปา กา บา) Kha bar la bai (กาบาราไบค) Terima kasih (เตริมา กะชิ) Maaf (มาอาฟ) Ar Mor Sa Yor (อามอ/ซาญอ) Dae mor Na mor (แดมอ นามอ) Ar mor/Sa yor Na mor (อามอ/ซาญอ นามอ) Sila (ซิลา) Pukul berepa? (ปูกูล เบอรปา) Di mana...? (ดี มานา) Salamat jalan (ซาลามัต จาลัน)
53
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“อีโบล่า ไวรัสอันตราย” ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ตั้
งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั โลกมีการพบ เชือ้ ไวรัสใหม่ ๆ เชือ้ ไวรัสกลายพันธุ์ หลายชนิด เชื้อไวรัสที่แพร่เฉพาะ สั ต ว์ ต ลอดจนเชื้ อ ไวรั ส ที่ ส ามารถผ่ า นจาก สั ต ว์ ม าสู ่ ค นซึ่ ง บางชนิ ด ก็ ไ ด้ อ าละวาดแพร่ ระบาดให้ชาวโลกหวาดผวาไปตาม ๆ กันไม่ ว่าจะเป็นเชื้อไข้หวัดนก หรือ เชื้อมือเท้าปาก อย่างไรก็ตามมีเชื้อไวรัสอันตรายถึงชีวิตบาง ชนิดระบาดเฉพาะในภูมิภาคของซีกโลกหนึ่ง ไม่ได้แพร่ไปสู่คนทั้งโลก แต่ประเทศต่าง ๆ ทั่ว โลก ทั่วทุกภูมิภาคต่างก็เฝ้าระวังป้องกันไม่ให้ เข้าไปแพร่ระบาดในประเทศของตนเองด้วย มาตรการต่าง ๆ เพื่อความไม่ประมาทล่าสุด 54
เกิดเชื้อไวรัสอันตรายที่ท�ำให้โลกตกใจขึ้นมา อีกครั้ง นั่นคือเชื้อไวรัส “อีโบล่า” หรือ ไข้ เลือดออกอีโบล่าซึ่งระบาดในประเทศยูกันดา ทวีปแอฟริกา คร่าชีวิตผู้คนเพิ่มเป็น ๑๕ ราย แล้ว (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ก.ค.๕๗) โดยระบาด หนักแถบภาคตะวันตก ห่างจากเมืองหลวง กรุงกัมปาลา ประมาณ ๒๐๐ กม.และห่างจาก พรมแดนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เพียง ๕๐ กม. ส�ำหรับเชื้อไวรัสอีโบล่านี้ เป็นกลุ่มโรคไข้ แล้วมีเลือดออกชนิดหนึง่ ซึง่ ร้ายแรงถึงเสียชีวติ เนือ่ งจากยังไม่มวี คั ซีนใช้ปอ้ งกัน และรักษาโดย ได้รับการประกาศจากองค์การอนามัยโลกจัด
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ให้อยู่ใน “ความปลอดภัยชีวภาพระดับ ๔” ถือเป็นหนึ่งในเชื้อโรคอันตรายมากที่สุดชนิด หนึง่ ของโลกหากไล่เลียงย้อนอดีตไป มีรายงาน จากส�ำนักข่าวต่างประเทศว่าเชื้อไวรัสอีโบล่า ถูกตั้งชื่อตามแม่น�้ำขนาดเล็กในคองโก ทั้งนี้ เชื่อว่าเป็นไวรัสที่ผ่านจากสัตว์ไปสู่คนโดยเชื้อ ไวรัสอีโบล่าเกิดการระบาดครั้งแรกทางตอน ใต้ของซูดานเมื่อช่วงกลางปี ๒๕๑๙ ครั้งนั้นมี ผู้ป่วยเกือบ ๓๐๐ คน และเสียชีวิตกว่า ๑๐๐ ราย จากนั้น ในบางปีต่อ ๆ มาก็พบการระบาด บ้างทั้งการระบาดใหญ่และระบาดเล็กในบาง ประเทศของทวีปแอฟริกาส�ำหรับยูกันดาเกิด การระบาดครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๔๓ – ๒๕๔๔ ระยะเวลาราว ๕ เดือนมีผู้ป่วยกว่า ๔๐๐ คน และเสียชีวิตกว่า ๒๐๐ ราย ขนาดและโครงสร้าง จากการดูไวรัสอีโบ ลาด้วยกล้องจุลทัศน์อิเล็กตรอนพบว่าตัวมัน มีลักษณะเป็นเส้นด้ายในกลุ่มฟิโลไวรัส ไวรัสอี โบลาหรือ EBOV VP30 มีความยาวประมาณ ๒๘๘ หน่วยกรดอะมิโนตัวไวรัสมีลักษณะเป็น ท่อมีรูปร่างขดตัวต่างกันหลายแบบ เช่นคล้าย ตัว "U" หรือเลข "6" แต่อาจเป็นไปได้ที่เครื่อง ปั่นหนีศูนย์ที่ใช้ในกระบวนการท�ำบริสุทธิ์อาจ ท� ำ ให้ ตั ว มั น มี ลั ก ษณะดั ง ที่ เ ห็ น ก็ เ ป็ น ได้ โ ดย ทั่ ว ไปเส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางของไวรั ส นี้ จ ะตกอยู ่ ประมาณ ๘๐ นาโนเมตรความยาวผันแปรแตก ต่างกันมากกว่าล�ำตัว ซึ่งอาจยาวได้ถึง ๑,๔๐๐ นาโนเมตร แต่โดยปกติแล้วไวรัสอีโบลาจะยาว ประมาณ ๑,๐๐๐ นาโนเมตร ประชากรรับโรคนี้ครั้งแรกเมื่อผู้ป่วยสัมผัส กับเลือดหรือของเหลวร่างกายจากสัตว์ที่ติด เชื้อ เช่น ลิงหรือค้างคาวผลไม้เชื่อว่าค้างคาว ผลไม้เป็นตัวพาและแพร่โรคโดยไม่ได้รับผล กระทบจากไวรัส เมื่อติดเชื้อแล้ว โรคอาจแพร่จากคนสู่คน ได้ผู้ที่รอดชีวิตอาจสามารถส่งผ่านโรคได้ทาง
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
เพศสัมพันธ์เป็นเวลาเกือบสองเดือนในการ วินิจฉัย ต้องแยกโรคอื่นที่มีอาการคล้ายกัน ออก เช่น มาลาเรีย อหิวาตกโรค และไข้เลือด ออกจากไวรัสอื่น ๆ จากนั้น อาจทดสอบเลือด หาแอนติบอดีตอ่ ไวรัสดีเอ็นเอของไวรัส หรือตัว ไวรัสเองเพื่อยืนยันการวินิจฉัย ลักษณะอาการจะมีไข้ขึ้นสูง เจ็บคอ ปวด ศีรษะ ปวดตามข้อ-กล้ามเนื้อรวมถึงช่อง ท้อง และหนักถึงขั้นอาเจียน ท้องร่วงรุนแรง เกิดผื่นตลอดจนตาแดงจัด แพร่เชื้อโดยการ สัมผัสโดยตรงกับเลือด หรือสารคัดหลั่งจาก ร่ า งกายผู ้ ติ ด เชื้ อ ทั้ ง นี้ ในประเทศไทยยั ง ไม่มีรายงานว่าเคยพบผู้ป่วยด้วยเชื้อไวรัส “อีโบล่า” ดังกล่าว การป้องกัน รวมถึงการลดการระบาดของ โรคจากลิงและหมูที่ติดเชื้อสู่คนซึ่งอาจท�ำได้ โดยการตรวจสอบหาการติดเชื้อในสัตว์เหล่านี้ และฆ่าและจัดการกับซากอย่างเหมาะสมหาก พบโรคการปรุงเนือ้ สัตว์และสวมเสือ้ ผ้าป้องกัน
อย่างเหมาะสมเมื่อจัดการกับเนื้อสัตว์อาจช่วย ได้ เช่นเดียวกับสวมเสื้อผ้าป้องกันและล้างมือ เมื่ออยู่ใกล้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าว ตัวอย่าง จากผู ้ ป ่ ว ยควรจั ด การด้ ว ยความระมั ด ระวั ง เพิ่มขึ้น การรักษา ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาจ�ำเพาะ ส�ำหรับโรคไวรัสอีโบลามีแต่เพียงการรักษา ประคับประคอง (supportive treatment) ได้แก่ท�ำหัตถการแบบรุกล�้ำให้น้อยที่สุดรักษา สมดุ ล อิ เ ล็ ก โตรไลต์ แ ละสารน�้ ำ เพื่ อ ป้ อ งกั น ภาวะขาดน�้ำให้สารต้านการแข็งตัวของเลือด ในระยะแรกเพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ลิ่ ม เลื อ ด แข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (DIC) ให้สารช่วยการแข็งตัวของเลือดในระยะท้าย เพื่ อ ควบคุ ม ไม่ ใ ห้ มี เ ลื อ ดออกรั ก ษาระดั บ ออกซิเจน บรรเทาอาการปวดและใช้ยาต้าน เชื้อแบคทีเรียหรือยาต้านเชื้อราเพื่อรักษาการ ติดเชื้อซ�้ำซ้อน (ถ้ามี) อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันจากจ�ำนวนมนุษย์ ตลอดจนการติ ด ต่ อ พบปะสั ญ จรถึ ง กั น ได้ สะดวกกว่าอดีตมาก อาจเป็นช่องทางหนึ่งที่ โรคต่าง ๆจะมีโอกาสเล็ดลอดแฝงเข้าไปถึงแม้ จะเป็นพื้นที่ห่างไกลกันครึ่งค่อนโลกก็เป็นได้ จึงไม่ควรประมาทส�ำหรับประชาชนทั่วไปก็มี ค�ำแนะน�ำในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการติด เชื้ออีโบลา คือ หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ป่า ที่น�ำเข้ามาโดยไม่ผ่านการตรวจโรคเลี่ยงการ รับประทานอาหารจากเนื้อสัตว์ป่าที่ป่วยตาย โดยไม่ทราบสาเหตุโดยเฉพาะ ลิง ค้างคาว รวมทั้งเลี่ยงเมนูเปิบพิสดารอื่น ๆ และงดการ เดินทางไปยังประเทศที่มีการระบาดของโรค ซึ่งขณะนี้ก็คือ ประเทศแถบแอฟริกาตะวันตก นั่นเอง
55
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ง ชาติ เป็นหัวหน้าคณะ บันทึกเทปอาเศียรวาท ถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสทรงเจริญ พระชนมพรรษา ๘๒ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ในนามของ กระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วย ผู้บัญชาการเหล่าทัพและภริยา ร่วมคณะ ณ สถานี โทรทัศน์กองทัพบก เมื่อ ๒๓ ก.ค.๕๗
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ/ผู้อ�ำนวยการกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เป็นหัวหน้าคณะ บันทึกเทปอาเศียรวาท ถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๒ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ในนามของกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร โดยมี พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม/กรรมการกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พร้อมด้วย ผู้บัญชาการเหล่าทัพและคณะนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ร่วมคณะ ณ สถานีโทรทัศน์กองทัพบก เมื่อ ๒๓ ก.ค.๕๗
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม และนายสีหศักดิ์ พวงเกตุแก้ว ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์อ�ำนวย การเตรียมความพร้อมประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๖ ก.ค.๕๗
56
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวง กลาโหม นางแสงอรุ ณ กาญจนรั ต น์ นายก สมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ลงนามถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาส วั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพ สมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ เป็นประธานในพิธี ณ กองงานในพระองค์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ภายในพระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อ ๒๘ ก.ค.๕๗
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวง กลาโหม เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด และมอบ นโยบายการประชุมวิชาการและประชุมใหญ่ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย (ส.ท.ท.) ครั้ ง ที่ ๕๗ ประจ� ำ ปี ๒๕๕๗ ณ ห้องแกรนด์ไดมอนด์ บอลรูม อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี จ.นนทบุรี เมือ่ ๓ ก.ค.๕๗
หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
57
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ พลเอก เตีย บันห์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ราชอาณาจักรกัมพูชา และคณะ ในโอกาสเดินทางเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในฐานะแขกของกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๒๘ ก.ค.๕๗
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ปลัดกระทรวงกลาโหม เยี่ยมชมร้านค้าสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมในงาน “จุฬาฯ อาสาช่วยกาชาด” โดยมี นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ ณ ร้านค้าสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ ๑๙ ก.ค.๕๗ 58
พลเรื อ เอก พลวั ฒ น์ สิ โ รดม รองปลั ด กระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นายโจว ซินเจิง (Zhou Xinzheng) รองเลขาธิ ก ารสมาคม มิ ต รภาพระหว่ า งประเทศแห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน (สปจ.) และนายไพศาล พืชมงคล อุ ป นายกและเลขาธิ ก ารสมาคมวั ฒ นธรรม และเศรษฐกิจไทย - จีนพร้อมคณะ ในโอกาส เข้าเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้อง สนามไชย ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๗ ก.ค.๕๗
พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นาย Ori Bar Chaim ที่ปรึกษาด้านการป้องกันประเทศ กระทรวง กลาโหม รัฐอิสราเอล ประจ�ำสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจ�ำประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�ำนับเพื่ออ�ำลา ณ ห้องสนามไชย ภายใน ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๕ ก.ค.๕๗ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
59
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีปิดการศึกษาหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ ชั้นสัญญาบัตรของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๑ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ณ หอประชุมส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า จ.นครนายก เมื่อ ๑๘ ก.ค.๕๗
พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยพลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ทรงคุณวุฒิส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหมน�ำคณะเจ้าหน้าทีป่ ระชาสัมพันธ์ ของส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม บันทึกเทปรายการโทรทัศน์พร้อมให้สมั ภาษณ์ ประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับกิจกรรมการเยีย่ มชมโรงทหารหน้าในประวัตศิ าสตร์ชาติไทยและพิพธิ ภัณฑ์ปนื ใหญ่โบราณหน้ากระทรวงกลาโหม ในรายการ แจ๋วพาเที่ยว ณ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓ อาคารมาลีนนท์ เมื่อ ๒๓ ก.ค.๕๗ 60
พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมและคณะ เดินทางไป เยี่ ย มเยี ย นสถานี วิ ท ยุ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ พร้อมจัดการอบรม สัมมนาเสริมสร้างและพัฒนาสัมพันธ์สื่อสาร มวลชนให้ ร ่ ว มประชาสั ม พั น ธ์ ง านความ มัน่ คง ร่วมกับส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และร่วมปลูกป่าเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องใน โอกาสพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ณ บ้านหนองล้างช้าง อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๑๗ ก.ค.๕๗ พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม น�ำคณะกรรมการ และ เจ้าหน้าที่โครงการจิตส�ำนึกรักเมืองไทย ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าเยี่ยมค�ำนับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยรังสิต และบริษัท บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมทั้ง ประชาสัมพันธ์เชิญชวนนิสิต นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมส่งผลงานเข้าร่วมประกวดในโครงการ จิ ต ส� ำ นึ ก รั ก เมื อ งไทย ประจ� ำ ปี ๒๕๕๗ (ปี ที่ ๖) ในหั ว ข้ อ “คนรุ ่ น ใหม่ … ร่ ว มต้ า นทุ จ ริ ต ณ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อ ๒๑ ก.ค.๕๗
ศูนย์อ�ำนวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร จัดก�ำลังพลเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ทาสี อาคารเรียน โรงเรียนวัดเขาหนีบ ต.ท่าศาลา จ.ลพบุรี ระหว่างวันที่ ๑ - ๗ ก.ค.๕๗ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
61
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จฯ เยี่ยมชมร้านค้าสมาคม ภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ในงาน “จุฬาฯ อาสาช่วยกาชาด ปี ๒๕๕๗” โดยมี นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยอุปนายก สมาคมภริยาฯ และคณะกรรมการสมาคม ภริ ย าฯ เฝ้ า รั บ เสด็ จ ณ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อ ๑๕ ก.ค.๕๗
62
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จทรงบ�ำเพ็ญ พระกุ ศ ลถวายต้ น เที ย นพรรษา โดยมี นางแสงอรุ ณ กาญจนรั ต น์ นายกสมาคม ภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม พร้อมด้วยอุปนายกสมาคมภริยาฯ และคณะกรรมการสมาคมภริยาฯ เฝ้ารับเสด็จ ณ วัดอาวุธวิกสิตาราม เมื่อ ๗ ก.ค.๕๗
นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม น�ำคณะอุปนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการ สมาคมภริยาฯ ร่วมกิจกรรมสาธารณะกุศล บริจาคเงินพร้อมทั้งมอบสิ่งของเครื่องอุปโภค - บริโภค และร่วมเลี้ยงอาหารกลางวันแก่เด็กนักเรียน ณ โรงเรียนปัญญาวุฒิกร เมื่อ ๑ ก.ค.๕๗ หลักเมือง สิงหาคม ๒๕๕๗
63
นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม น�ำคณะอุปนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมภริยาฯ ร่วมกิจกรรม สาธารณะกุศล บริจาคเงินพร้อมทั้งมอบสิ่งของเครื่องอุปโภค - บริโภค และร่วมเลี้ยง อาหารกลางวันแก่เด็กนักเรียน ณ สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา (บ้านราชาวดีหญิง) เมื่อ ๗ ก.ค.๕๗
คณะกรรมการสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกเยี่ยมเยียนบุตรข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือสติปัญญา เพื่อ ติดตามความคืบหน้าและให้การช่วยเหลือ ณ กรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เขตดุสติ และโรงงาน เภสัชกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เขตคลองเตย เมื่อ ๙ ก.ค.๕๗
64