ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
Defence Technology Institute (Public Organisation)
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
เปิดรับสมัครบุคลากร เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและ ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ www.dti.or.th ยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารประกอบการสมัครด้วยตัวเอง ในวันและเวลาราชการที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล หรือทาง e.mail : recruitment@dti.or.th สอบถามข้อมูลได้ที่ โทร. ๐-๒๙๘๐-๖๖๘๘ ต่อ ๑๑๓๔,๑๑๓๓
ฉบับที่ ๒๙๒
๑. นักวิจัย (Control Engineering) ฝ่ายวิศวกรรมระบบ ๑ อัตรา ๒. นักวิจัย (Control System) ส่วนงานวิศวกรรมควบคุมและการสื่อสาร ๑ อัตรา ๓. นักวิจัย (Flight Control System Integration) ส่วนงานวิศวกรรมอากาศยาน ๑ อัตรา ๔. นักวิจัย (System Integration) ส่วนงานวิศวกรรมระบบขับเคลื่อน ๑ อัตรา ๕. นักวิจัย (Explosive) ส่วนงานวิศวกรรมวัตถุระเบิดฯ ๑ อัตรา ๖. นักวิจัย (Mechanical) ส่วนงานวิศวกรรมวัตถุระเบิดฯ ๑ อัตรา ๗. นักวิจัย (Network Analyst) ส่วนงานระบบเครื่องช่วยฝึกเสมือนจริง ๑ อัตรา ๘. นักพัฒนา ส่วนควบคุมคุณภาพและการมาตรฐาน ๑ อัตรา ๙. นักบริหารโครงการ ๒ อัตรา ๑๐. เจ้าหน้าที่แผนและงบประมาณ ๑ อัตรา
ปีที่ ๒๔
เพื่อคัดเลือกเป็นเจ้าหน้าที่ ปี ๕๘ ครั้งที่ ๖ จำ�นวน ๑๑ อัตรา ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ ๑๕ ก.ค. ๕๘
๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ๙ แผ่นดิน ของการปฏิรูประบบราชการ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๙๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
www.lakmuangonline.com
๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๘
พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิ ทั ก ษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธเี ปิด การอบรมสั ม มนาสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง สาธารณะด้านความมั่นคงเครือข่ายส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม และ พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็น ประธานในพิธีปิด ณ โรงแรม เดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม ระหว่างวันที่ ๒๗ – ๒๙ พ.ค.๕๘
ร่วมเป็นหนึ่งในประวัติศาสตร์ ปั่นจักรยานเพื่อแม่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ แม่ของแผ่นดิน รวมพลังแห่งความรัก และสามัคคี ถวายเป็นพระราชสดุดี
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศาลากลางจังหวัด โทร. ๑๑๒๒ / www.bikeformom2015.com
พลเอก นพดล ฟั ก อั ง กู ร เจ้ า กรม เสมี ย นตรา เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด โครงการจิ ต ส� ำ นึ ก รั ก เมื อ งไทย ปี ๗ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ซึ่งจัดโดย ส�ำนักงาน เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงโหม ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลาว่าการ กลาโหม เมื่อ ๒๑ พ.ค.๕๘
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.ยุทธนินทร์ บุนนาค
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ดุจเพ็ชร์ สว่างวรรณ
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ พ.ท.ธนะศักดิ์ ประดิษฐ์ธรรม พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ที่ปรึกษา ผู้ช่วยเหรัญญิก พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล
พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.ร.อ.ชุมนุม อาจวงษ์ ร.น. พล.อ.วิชิต ศรีประเสริฐ พล.อ.ชัยชาญ ช้างมงคล พล.อ.นพดล ฟักอังกูร พล.อ.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.นิวัติ ศรีเพ็ญ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.ศิริพงษ์ วงศ์ขันตี พล.ท.ดำ�รงศักดิ์ วรรณกลาง พล.ท.ชุติกรณ์ สีตบุตร พล.ท.นเรศรักษ์ ฐิตะฐาน พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.เดชา บุญญปาล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.ภาณุพล บรรณกิจโศภน พล.ท.นภนต์ สร้างสมวงษ์ พล.ต.ภราดร จินดาลัทธ พล.ต.สราวุฒิ รัชตะนาวิน
ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
พิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.จิโรตม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ลลิดา กล้าหาญ ร.ท.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง จ.อ.หญิง สุพรรัตน์ โรจน์พรหมทอง
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ท.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
บทบรรณาธิการ วารสารหลักเมือง ฉบับประจ�ำเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ นี้ แตกต่างจากเดือนกรกฎาคมของ หลายปีที่ผ่านมา คือ ปัญหาภัยแล้ง ทั้งๆ ที่เป็นการเริ่มต้นเข้าสู่ฤดูฝน แต่ฝนตกน้อยและมาล่า กว่าปกติ ในเกือบทุกพื้นที่ของประเทศ จึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับแผนในการเพาะปลูกท�ำเกษตรกรรม กับพืชผลทุกชนิด โดยเฉพาะข้าวซึ่งเป็นผลผลิตด้านการเกษตรที่ส�ำคัญของประเทศ ปัญหาภัยแล้ง และการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ของประเทศจึ ง ยั ง คงเป็ น ปั ญ หาที่ ส� ำ คั ญ ทั้ ง ในเรื่ อ งฝนแล้ ง น�้ ำ ท่ ว ม โดยปัญหาน�้ำท่วมเมื่อเกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องในกรุงเทพมหานคร อย่างไรก็ตาม ในเรื่องการแก้ปัญหาภัยแล้ง UNESCO ได้กล่าวชื่นชมประเทศไทยในการแก้ ปัญหา ในเรื่องความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงทรัพยากรน�้ำ และให้ประเทศไทยเป็นตัวอย่างให้กับ ประเทศในภูมิภาคแถบนี้ ทั้งนี้ เรื่องที่ควรจะต้องสนใจติดตาม และเป็นกระแสสังคมอยู่ขณะนี้ ได้แก่ ความคืบหน้าของ ร่างรัฐธรรมนูญ ซึง่ เป็นเรือ่ งส�ำคัญ พูดได้วา่ เป็นอนาคตของประเทศ เรือ่ งระหว่างประเทศ หรือในระดับ สากล มีหลายเรื่องที่พุ่งเป้าถาโถมมาสู่ประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ใบเหลืองการท�ำประมง การถูกปักธงแดงจาก ICAO หรือ องค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ เรื่องการค้ามนุษย์ เป็นต้น นอกจากนี้ ในช่วงปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ซึ่งมีเรื่องเกี่ยวกับการเปิดบ่อนกาสิโนถูกกฎหมาย ในประเทศไทยเข้ามาอีก มีกระแสความคิดเห็นจากประชาชน ซึง่ แน่นอนว่าส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ ๔๕ – ๕๕ ของกลุ่มตัวอย่างไม่เห็นด้วย ส�ำหรับในส่วนที่เห็นด้วยให้ความเห็นว่า จะเป็นการสร้าง รายได้ ส�ำหรับน�ำเงินไปพัฒนาประเทศได้ โดยความเห็นส่วนตัว กลัวจะเหมือนกับสลากกินแบ่ง รัฐบาลที่ยังไม่สามารถจะก�ำกับดูแล หรือควบคุมให้เกิดความเหมาะสมได้ โดยเฉพาะประเด็นของ “หวยใต้ดิน” หรือ จะให้เป็นไปตามสโลแกนที่ว่า “ช่วยราษฎร์ เสริมรัฐ ยืนหยัดยุติธรรม” สวัสดีครับ
2
ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๙๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
๔ วันเข้าพรรษา ๖
๔
ค่านิยมและความเชื่อ ที่ฝังแน่น (Enduring values and beliefs) กับการก�ำหนด ยุทธศาสตร์ความมั่นคง ของชาติ
๘
๓๒
องค์เจ้าฟ้าผู้อนุรักษ์ และรักษาสิ่งแวดล้อม วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒
Watershed Air War
๖
๘
๑๒
๑๒
๙ แผ่นดิน ของการ ปฏิรูประบบราชการ พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑)
๑๖
๒๕ ปี วันคล้ายวัน สถาปนา ส�ำนักโยธาธิการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม
๒๐
การเดินทางเข้าร่วมการ ประชุม IISS ShangriLa Dialogue ครั้งที่ ๑๔ ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์
๓๖
ดุลยภาพทางการทหาร ของประเทศอาเซียน ฝูงรถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒
๔๐
๑๖
เปิดตัว T-14 รถถังใหม่ หรือ Minor Change
๑๘
๖ ปี วันคล้ายวัน สถาปนาส�ำนักงาน สนับสนุน ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๑๘
เจาะลึกกลุ่มไอเอส
๒๖
๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันคล้ายวันพระราช สมภพสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วชิราลงกรณ สยามมกุฎ ราชกุมาร
๑๐
๒๒
๔๔
๒๐ ๔๐
๒๖
วัฒนธรรมทางการเมือง ของสังคมไทยกับ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่
๔๘
การรบใหญ่ที่เมือง สิเรียม ๒๑๕๖
๕๒
2 days English Camp
๓๒ ๔๔
๕๒
๕๔
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “โรคออฟฟิศ ซินโดรม”
๖๒ ๖๒
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
3
วันเข้าพรรษา กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ใ
นเรือ่ งความเป็นมาของวันเข้าพรรษา ถ้ า ว่ า กั น ตามประวั ติ ย ่ อ ๆ คื อ ใน ยุ ค ต้ น พุ ท ธกาล ก็ ยั ง ไม่ มี ก ารเข้ า พรรษา เพราะฉะนั้นตลอดทั้งปี เมื่อพระภิกษุ มี ค วามเห็ น ว่ า ท่ า นควรจะไปเทศน์ ไปสอน ญาติโยมที่ไหนได้ ท่านพอมีเวลาท่านก็จะไป แต่เนื่องจากในฤดูฝนมีการท�ำไร่ท�ำนากันอยู่ บางครั้ ง ข้ า วกล้ า ของเขาก็ เ พิ่ ง หว่ า นลง ไปในนา มันเพิ่งงอกออกมาใหม่ๆ บางทีก็ดู เหมือนหญ้า พระภิกษุก็เดินผ่านไป นึกว่าเป็น ดงหญ้า ก็เลยย�่ำข้าวกล้า ซึ่งก็ท�ำให้ชาวบ้าน เดือดร้อน จึงทูลฟ้องพระพุทธเจ้าว่าพระไป ย�่ำข้าวของเขาที่ปลูกเอาไว้ นกกาฤดูฝนมันยัง อยู่กับรังของมัน พระท�ำไมไม่รู้จักพักบ้าง เพื่อ ตัดปัญหานี้ พระพุทธองค์จึงได้วางระเบียบให้ พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ประจ�ำ ณ วัดใดวัดหนึ่ง ไม่เที่ยวจาริกไปยังสถานที่ต่างๆ เว้นแต่มีกิจ จ�ำเป็นจริงๆ เป็นเวลา ๓ เดือน ในฤดูฝน คือ 4
เริม่ ตัง้ แต่วนั แรม ๑ ค�ำ่ เดือน ๘ ของทุกปี ถ้าปีใด เป็นการดี การศึกษาธรรมะอย่างต่อเนือ่ งมีผลดี มีเดือน ๘ สองครั้ง ก็เลื่อนมาเป็นวันแรม ๑ เพราะฉะนั้น พระองค์ก็เลยทรงก�ำหนดขึ้น ค�่ำ เดือนแปดหลัง และออกพรรษาในวันขึ้น มาว่า ให้พระภิกษุอยู่กับที่ในช่วงเข้าพรรษา ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ เว้นแต่มีกิจธุระจ�ำเป็นซึ่ง อยู ่ ใ นวั ด แล้ ว พระใหม่ ก็ ศึ ก ษาหรื อ รั บ การ เมื่อเดินทางไปแล้วไม่สามารถจะกลับได้ใน ถ่ายทอดธรรมะจากพระเก่า ส่วนพระเก่าก็ท�ำ วั น เดี ย วนั้ น ก็ ท รงอนุ ญ าตให้ ไ ปแรมคื น ได้ หน้าที่เป็นครูบาอาจารย์ด้วย คือ สอนพระใหม่ คราวหนึ่ ง ไม่ เ กิ น ๗ คื น เรี ย กว่ า สั ต ตาหะ เท่านั้นยังไม่พอ พระเก่าก็วางแผน ก�ำหนด หากเกินก�ำหนดนีถ้ อื ว่าไม่ได้รบั ประโยชน์แห่งการ แผนการเลยว่าเมื่อออกพรรษาแล้ว ควรจะ จ�ำพรรษา จัดว่าพรรษาขาด เดินทางไปโปรดที่ไหน นั่นก็อย่างหนึ่ง อีกทั้ง แต่ อี ก มุ ม มองหนึ่ ง พระองค์ ท รงถื อ ปรับปรุงหลักสูตรวิธีการเทศน์การสอน การ โอกาสที่เ กิ ด จากปั ญหานี้ ได้ ท รงเปลี่ ย นค� ำ อบรมให้เหมาะกับท้องถิ่น ให้เหมาะกับสภาพ ครหาให้กลายเป็นโอกาสดีของพระภิกษุว่า สังคมที่เปลี่ยนไป เป็นต้น และถ้าเราไปตาม ถ้าอย่างนั้นพระภิกษุอยู่เป็นที่ในวัดวาอาราม วัดต่างๆ ในฤดูเข้าพรรษานี้เราก็นิยมบวชกัน เพื่ อ ที่ จ ะให้ พ ระใหม่ ไ ด้ รั บ การอบรมจาก แม้จะบวชชั่วคราวแค่พรรษาก็ตาม หรือจะ พระเก่าได้เต็มที่ เพราะว่าจริงๆ แล้ว ในการอบรม บวชระยะยาวก็ตาม ในเมื่อพอเข้าพรรษาแล้ว ถ่ายทอดศีลธรรม ถ่ายทอดธรรมวินัยให้แก่ พระเก่าพระใหม่ต้องอยู่ที่เดียวกัน พระเก่า กันและกันนั้น ถ้าท�ำอย่างต่อเนื่อง ท�ำเป็น ท�ำหน้าที่เป็นครูบาอาจารย์ ใครถนัดวิชาไหน ที่ เ ป็ น ทางต่ อ เนื่ อ งกั น ทุ ก วั น ๆ อย่ า งนี้ จ ะ ก็มาสอนวิชานั้นให้แก่พระภิกษุใหม่ ใครถนัด กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พระวินัยก็สอนพระวินัย ใครถนัดสอนนักธรรม หรือธรรมะก็สอนธรรมะ ใครถนัดสอนพุทธ ประวัติก็สอนพุทธประวัติ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้น เมื่อพระใหม่มาอยู่ในวัดกัน พร้อมหน้าพร้อมตา โยมพ่อโยมแม่ ญาติพี่น้อง พรรคพวกเพื่ อนฝู ง ของพระใหม่ ได้ม าร่ว ม ท�ำบุญที่วัด ได้มาพบพระเพื่อน พบพระลูก พบพระหลาน ถึงแม้พระลูกพระหลานเหล่านี้ ยังเทศน์ไม่เป็น เพราะบวชใหม่ แต่ว่าเมื่อมา แล้วก็จะได้พบพระครูบาอาจารย์ พระผู้ใหญ่ ท่านทีม่ าร่วมท�ำบุญเหล่านีจ้ งึ มีโอกาสฟังเทศน์ จากพระผู้ใหญ่ จึงกลายเป็นฤดูแห่งการศึกษา ธรรมะไปด้วยในตัวเสร็จ ทั้งของพระ และทั้ง ของญาติโยม ส� ำ หรั บ วั น เข้ า พรรษานี้ ขอเชิ ญ ชวน ทุกท่านร่วมตัง้ จิตอธิษฐานพรรษากัน อธิษฐาน อย่างไร อธิษฐานอย่างนี้ พรรษานี้ สามเดือนนี้ ที่ รู ้ ว ่ า อะไรเป็ น นิ สั ย ที่ ไ ม่ ดี ใ นตั ว เองที่ มี อ ยู ่ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
ก็อธิษฐานเลย พรรษานี้ (เลือกมาอย่างน้อย หนึง่ ข้อ) เราจะแก้ไขตัวเองให้ได้ เช่น บางคนเคย กินเหล้า เข้าพรรษาแล้วก็อธิษฐานว่า พรรษานี้ เลิกเหล้า เลิกเหล้าให้เด็ดขาด บางคนเคยสูบ บุหรี่ ก็อธิษฐานว่า อย่างน้อยพรรษานี้จะเลิก บุหรี่ให้เด็ดขาด เป็นต้น เขาก็มีการอธิษฐาน กันในวันเข้าพรรษา พรรษานี้จะละความไม่ดี อะไรบ้าง ทั้งหยาบ ทั้งละเอียด ให้พยายาม ละกัน คือ ท�ำตามพระให้เต็มที่นั่นเองในระดับ ของประชาชน สิ่งใดที่เป็นความดี ก็พยายามที่ จะท�ำให้ยิ่งๆ ขึ้นไป เช่น เมื่อก่อนนี้ ก่อนจะเข้า พรรษา ตักบาตรบ้าง ไม่ตักบาตรบ้าง วันไหน มีโอกาสก็ท�ำ วันไหนชักจะขี้เกียจก็ไม่ท�ำ เมื่อ พรรษานี้ พระอยู่พร้อมหน้าพร้อมตาดีแล้ว ตั้งใจเลยที่จะตักบาตรให้ได้ทุกเช้า เมื่อก่อน ไม่ทุกเช้า แค่วันเสาร์ วันอาทิตย์หรือวันโกน วันพระ พรรษานีพ้ ระอยูพ่ ร้อมหน้า อธิษฐานเลย จะตักบาตรทุกเช้าตลอดสามเดือนนี้ที่เข้าพรรษา
บางท่ า นยิ่ ง กว่ า นั้ น ธรรมดาเคยถื อ ศี ล ห้ า เป็นปกติอยู่แล้ว พรรษานี้เลยถือศีลแปดทุก วันพระไปเลย แถมจากศีลห้ายกขึ้นไปเป็นศีล แปด จากวันเข้าพรรษาบางท่านเคยถือศีลแปด ทุ ก วั น พระ ถื อ อุ โ บสถศี ล มาทุกวันพระแล้ว เมื่ อ พรรษาที่ แ ล้ ว พรรษานี้ ถื อ ศี ล แปด ถื อ อุโบสถศีล ทั้งวันโกนวันพระ เพิ่มเป็นสัปดาห์ ละสองวัน บางท่านเก่งกว่านัน้ ขึน้ ไปอีก พรรษา นี้จะรักษาศีลแปด รักษาอุโบสถศีล กันตลอด สามเดื อ นเลย หรื อ ใครที่ ไ ม่ เ คยท� ำ สมาธิ ก็อธิษฐานจะท�ำสมาธิวนั ละหนึง่ ชัว่ โมง บางท่าน ที่ท�ำอยู่เป็นประจ�ำก็ท�ำเพิ่มเป็นวันละสองชั่วโมง สามชั่วโมง ก็ว่ากันไปตามกุศลศรัทธาและท้ายนี้ ขอให้ทุกท่านประสบผลส�ำเร็จในการท�ำบุญด้วย การตั้งจิตอธิษฐานในครั้งนี้ซึ่งอานิสงส์ของท่าน ที่ได้บ�ำเพ็ญบุญในครั้งนี้จะส่งผลให้ท่านมีความสุข ความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป 5
๒๘
กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันคล้ายวันพระราชสมภพ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
วั น จั น ทร์ ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๙๕ นับเป็นวันมหาประชาปีติอีกครั้งหนึ่งของพสก นิกรชาวไทย ที่ได้รับทราบข่าวอันเป็นมิ่งมหา มงคลคือข่าวพระประสูตกิ าลของพระราชโอรส พระองค์ แ รกและทรงยั ง เป็ น พระราชโอรส พระองค์เดียว ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ซึ่ ง เสด็ จ พระ ราชสมภพ ในเวลา ๑๗ นาฬิกา ๔๕ นาที ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ใน กาลครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระนามเมื่ อ แรกประสู ติ ว ่ า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจั ก รยาดิ ศ รสั น ตติ ว งศ เทเวศรธ� ำ รง สุบริบาล อภิคณ ุ ปู ระการมหิตลาดุลเดช ภูมพิ ล นเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร ในกาลต่ อ มา ในวั น ที่ ๒๘ ธั น วาคม ๒๕๑๕ เมื่ อ ทรงมี พ ระชนมายุ ๒๐ ชั น ษา บริบูรณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระราช อิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร มี พ ระนามตามจารึ ก ในพระสุ พ รรณบั ฏ ว่ า สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า มหา วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตย สมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิ ต ลพงศอดุ ล ยเดช จั ก รี น เรศยุ พ ราช วิสุทธิ สยามมกุฎราชกุมาร นับเป็นสยาม มกุฎราชกุมารพระองค์ที่ ๓ ของประวัติศาสตร์ ไทย นอกจากนี้ พระองค์ ยั งทรงมีพระราช ศรั ท ธาบรรพชาในพระพุ ท ธศาสนาโดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีทรงผนวช ณ พัทธสีมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๑ โดยมีสมเด็จพระอริยวง ศาคตญาณ (วาสนมหาเถร) เป็ น พระราช 6
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
อุ ป ั ธ ยาจารย์ ได้ รั บ ถวายพระสมณนามว่ า วชิราลงฺกรโณ และได้ประทับจ�ำพรรษา ณ วัด บวรนิเวศวิหาร สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร ทรงพระอักษรในประเทศใน ระดับอนุบาลที่พระที่นั่งอุดรภาค พระราชวัง ดุสิต และโรงเรียนจิตรลดา หลังจากนั้น เสด็จ พระราชด�ำเนินไปทรงพระอักษรระดับประถม ศึกษาที่โรงเรียนคิงส์มิด เมืองซีฟอร์ด แคว้น ซัสเซกส์ ระดับมัธยมศึกษาทีโ่ รงเรียนมิลล์ฟลิ ด์ แคว้ น ซอมเมอร์ เ ซท ประเทศอังกฤษ และ วิ ช าทหารที่ โ รงเรี ย นคิ ง ส์ เขตพารามั ต ตา นครซิ ด นี ย ์ กั บ วิ ท ยาลั ย การทหารดั น ทรู น กรุงแคนแบร์รา ประเทศออสเตรเลีย ตลอดจน ทรงส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา และ ทรงได้รับปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต (การ ศึกษาด้านการทหาร) คณะการศึกษาด้านการ ทหาร มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลล์ ประเทศ ออสเตรเลีย ภายหลังเสด็จนิวัติประเทศไทย แล้ว ทรงเข้ารับการศึกษาทีโ่ รงเรียนเสนาธิการ ทหารบก หลั ก สู ต รหลั ก ประจ� ำ ชุ ด ที่ ๕๖ นิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิราช นอกจากนี้ ยังทรงเข้ารับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งสหราช อาณาจั ก ร และหลั ก สู ต รทางทหาร อาทิ หลักสูตรการค้นหาชั้นสูง หลักสูตรการลาด ตระเวนและค้นหาชั้นสูง หลักสูตรวิชาการรบ พิเศษการท�ำลายและยุทธวิธีการรบนอกแบบ หลักสูตรส่งทางอากาศ หลักสูตรการฝึกบิน เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป แบบ UH-1 และ เฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบ AH-1 คอบรา ของ บริษัทเบลล์ ตลอดจน ทรงเข้ารับการฝึกและ ทรงศึกษาหลักสูตรทหารตามโครงการช่วยเหลือ ทางทหารของกองทั พ บกสหรั ฐ อเมริ ก าที่ ฟอร์ดแบรกก์ รัฐนอร์ธแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย หลักสูตรอาวุธประจ�ำกายและ เครื่ องบิ น ยิ ง จรวด หลัก สูต รการปฏิบัติก าร พิเศษ หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้าย หลักสูตรการสงครามแบบกองโจร หลักสูตร การฝึกการด�ำรงชีพ และหลักสูตรทางอากาศ (ทางบกและทางทะเล) สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร ทรงสนพระราชหฤทัยในกิจการ บินในกิจการทหารและพลเรือน จึงทรงเข้ารับ การศึกษาหลักสูตรเกีย่ วกับการบินในหลักสูตร ตามล� ำ ดั บ กล่ า วคื อ หลั ก สู ต รการฝึ ก บิ น เครื่องบินปีกติดล�ำตัวแบบ Siai - Marchetti SF260 MT หลั ก สู ต รการฝึ ก บิ น เครื่ อ งบิ น ปีกติดล�ำตัวแบบ Cessna T- 37 หลักสูตร การบินเปลี่ยนแบบเป็นเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ ๕ (พิเศษ) รุ่นที่ ๘๓ หลักสูตรเครื่องบิน ขับไล่ชั้นสูง รุ่นที่ ๘๓ เอ วี ดับบลิว ที่ฐานทัพ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
อากาศวิลเลียมส์ รัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ ในการทรงพระ อั ก ษรและการศึ ก ษาทุ ก ระดับชั้น สมเด็จพระบรม โ อ ร ส า ธิ ร า ช ฯ ส ย า ม มกุ ฎ ราชกุ ม าร ได้ ท รง ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บของ สถานศึ ก ษาเหมื อ นอย่ า ง นักเรียนทั่วไปและเมื่อทรง เข้าศึกษาวิชาการทหารซึ่ง มี ก ารฝึ ก อบรมอย่ า งเข้ ม งวด ก็ได้ทรงปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบโดยสมบูรณ์ โดย เฉพาะ ในระหว่างเวลาที่ ทรงเข้ า ศึ ก ษาที่ โ รงเรี ย น คิงส์ สกูล ต�ำบลพารามัตตา นครซิดนีย์ ทรงได้รับเลือก ให้ เ ป็ น หั ว หน้ า บ้ า นแมค อาเทอร์เฮาส์ และได้ทรง ปฏิบัติพระองค์อย่างดีเด่น แ ล ะ เ มื่ อ เ ส ด็ จ ก ลั บ ม า ประทับอยู่ในประเทศไทย ในพระสถานะองค์ พ ระ รัชทายาท ได้ทรงประกอบ พระราชกรณี ย กิ จ สนอง พระมหากรุณาธิคุณ แทน พระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ด้วย ความมุ่งมั่นในพระราชหฤทัย ด้วยความสุขุม คัมภีรภาพ และเปีย่ มล้นไปด้วยความรับผิดชอบ จนส�ำเร็จผลเป็นอย่างดีเสมอมา ส�ำหรับพระราชกรณียกิจส�ำคัญในกิจการ ทหาร ทรงมีพระราชจริยวัตรเพือ่ ราชการทหาร ด้วยความมัน่ พระราชหฤทัยทีจ่ ะพัฒนากิจการ ทหารไทยให้เจริญรุ่งเรือง และยังทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจตามแนวทางการรับราชการ อย่างเคร่งครัด โดยทรงเริ่มเข้าประจ�ำการ ณ กองปฏิบัติการทางอากาศพิเศษ เมืองเพิร์ท รัฐออสเตรเลียตะวันตก ประเทศออสเตรเลีย ส� ำ หรั บ ราชการในประเทศไทย ทรงปฏิ บั ติ ราชการครั้ ง แรก ทรงเข้ า รั บ ราชการเป็ น นายทหารประจ�ำกรมข่าวทหารบก กระทรวง กลาโหม และทรงด�ำรงต�ำแหน่งทางทหารที่ ส�ำคัญตามล�ำดับ กล่าวคือ รองผู้บังคับกองพัน และผู ้ บั ง คั บ กองพั น ทหารมหาดเล็ ก รั ก ษา พระองค์ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค์ ผูบ้ งั คับการกรมทหารมหาดเล็กรักษา พระองค์ ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหาร มหาดเล็ ก รั ก ษาพระองค์ และผู ้ บั ญ ชาการ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษา พระองค์ นอกจากนี้ ยังทรงร่วมปฏิบัติราชการ
พิเศษ ประกอบด้วย การปฏิบัติการรบในการ ต่อต้านการก่อการร้าย บริเวณภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การคุ้มกันพื้นที่บริเวณ รอบค่ า ยผู ้ อ พยพชาวกั ม พู ช า ณ เขาล้ า น จั ง หวั ด ตราด การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ นั ก บิ น ที่ ๑ เครือ่ งบินโบอิง้ ๗๓๗ - ๔๐๐ ในเทีย่ วบินสายใยรัก แห่ ง ครอบครั ว ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย และจั ด หาอุ ป กรณ์ ด ้ า นการแพทย์ ส� ำ หรั บ โรงพยาบาลในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกจากนี้ ยั ง ทรงปฏิ บั ติ พ ระราช กรณี ย กิ จ แทนพระองค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ และพระราชกรณียกิจส่วน พระองค์ เพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรชาว ไทยมาโดยตลอด และในวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ซึ่ ง เป็ น วั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ที่ จ ะเวี ย นมาบรรจบอี ก วาระหนึ่ ง นี้ ผู ้ เ ขี ย น ใคร่ขอเชิญชวนให้ทุกท่าน ตั้งใจที่จะปฏิบัติตน ให้เป็นข้าราชการที่ดีและเป็นประชาชนที่ดี น้ อ มถวายพระราชกุ ศ ลแด่ ส มเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์ ผู้ทรงเป็นที่รักศรัทธาของพสกนิกรชาวไทย ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน 7
ก
องค์เจ้าฟ้าผู้อนุรักษ์ และรักษาสิ่งแวดล้อม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
า ร อ นุ รั ก ษ ์ แ ล ะ รั ก ษ า สิ่ ง แวดล้ อ ม มี ห ลั ก การส� ำ คั ญ คือการก�ำหนดมาตรการในการ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งมี คุ ณ ค่ า มีเหตุผล เพือ่ ให้เกิดการสร้างและพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ข องมนุ ษ ย์ ใ ห้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น ทั้ ง นี้ มี แ นวความคิ ด ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละรั ก ษา สิ่งแวดล้อมให้บังเกิดผล กล่าวคือ • ต้องมีความรู้ในการที่จะรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทจี่ ะให้ผลแก่มนุษย์ทงั้ ประโยชน์ และโทษ ด้วยการสร้างความตระหนักใน เรือ่ งความสูญเปล่าของการน�ำทรัพยากร ธรรมชาติไปใช้ • รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จ�ำเป็นและ หายากด้วยความระมัดระวัง และรักษา ทรัพยากรทีท่ ดแทนได้ให้มสี ภาพเพิม่ พูน เท่ากับอัตราที่ต้องการใช้ • ปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารผลิ ต และใช้ ท รั พ ยากร อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพยายามค้นคว้า ศาสตร์ใหม่เพื่อทดแทนการใช้ทรัพยากร จากแหล่งธรรมชาติให้เพียงพอต่อความ ต้องการใช้ของประชากร • ให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถึง ความส�ำคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติ ซึ่งมีผลต่อการท�ำให้ส่ิงแวดล้อมอยู่ใน สภาพที่ดี ในปัจจุบัน หากจะกล่าวถึงเรื่องของการ อนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม จะต้องเรียนให้ ทราบว่าเป็นยุคแห่งการตื่นตัวของประเทศ ทั่ ว โลก เพราะเป็ น เรื่ อ งที่ ห ลายประเทศมี ความตระหนักในเรื่องการก�ำหนดมาตรการ ที่จะช่วยท�ำให้สิ่งแวดล้อมมีสภาพที่ดีขึ้นและ คงทนต่อไปเพื่อส่งมอบให้แก่อนุชนรุ่นต่อไป จึ ง ต่ า งก� ำ หนดมาตรการและกรรมวิ ธี ต ่ า งๆ เพื่อด�ำเนินการ ซึ่งส่งผลเป็นรูปธรรมหลาย โครงการ อาทิ การพัฒนาพลังงานทดแทน การรักษาป่าและต้นน�้ำ ซึ่งทุกแนวความคิด และทุ ก โครงการล้ ว นแล้ ว แต่ เ พื่ อ อ� ำ นวย ประโยชน์ของมนุษยชาติด้วยกันทั้งสิ้น ถื อ เป็ น ความโชคดี ข องประเทศไทย ที่ ป ระเทศของเรามี อ งค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั และองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ 8
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พระบรมราชิ นี น าถ ที่ ท รงบ� ำ เพ็ ญ พระราช กรณียกิจเพื่ออนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมมา โดยตลอด ซึ่งหลากหลายโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด� ำ ริ ก็ ท รงมุ ่ ง พระราชหฤทั ย เพื่อการพิทักษาสภาพแวดล้อมของประเทศ เพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรชาวไทย และ ที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง องค์สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราช กุมารี ก็ได้สืบทอดพระราชปณิธานขององค์ ล้ น เกล้ า ฯ ทั้ ง สองพระองค์ ม าบ� ำ เพ็ ญ เป็ น พระกรณี ย กิ จ อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม กล่ า วคื อ พระองค์ทรงให้ความส�ำคัญทางด้านสิง่ แวดล้อม ของประเทศไทยเป็ น อย่ า งยิ่ ง ทรงมี พ ระ ด� ำ ริ ใ นการอนุ รั ก ษ์ และรั ก ษาสิ่งแวดล้อมใน หลายแนวทาง โดยทรงน�ำวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ การพัฒนาประเทศได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม กับการด�ำรงอยู่ของทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อมของประเทศ ด้วยการพัฒนา องค์ความรู้ทางการศึกษาและวิจัย เพื่อการวาง แนวทางด้านการศึกษา ด้านสุขภาพอนามัย ด้านเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม การบริหารจัดการป่าไม้ และต้นน�ำ้ การบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมในทุก ภูมิภาค การส่งเสริมเพาะเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ บนพื้นฐานของการเอาใจใส่ต่อสภาพแวดล้อม และสังคม การอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางทะเล ฯลฯ ทั้งยังทรงบ�ำเพ็ญพระกรณียกิจเป็นผู้น�ำที่เข้ม แข็ ง ด้ ว ยพระปณิ ธ านแน่ ว แน่ ใ นการพั ฒ นา และสร้ า งเสริ ม ความรู ้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ สิง่ แวดล้อม ให้แก่บคุ ลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการ สิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและประชาชน ชาวไทย ควบคู่ไปกับการให้ความช่วยเหลือ และฝึ ก อบรมแก่ ป ระเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ ก� ำ ลั ง พัฒนาเพื่อร่วมพัฒนาและฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ร่ ว มกั น ตลอดจนพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยความ ร่วมมือจากองค์กรสิง่ แวดล้อมระดับนานาชาติ ในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ซึ่งเป็นวัน คล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่จะเวียน มาบรรจบอีกวาระหนึ่งนี้ ผู้เขียนใคร่ขอเชิญ ชวนให้ ทุ ก ท่ า น ตั้ ง ใจที่ จ ะปรั บ ทั ศ นคติ ก าร เพิกเฉยต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อมาช่วยกันอนุรักษ์ และรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ ประโยชน์ ข อง ส่วนรวม และน้อมถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี องค์เจ้าฟ้าผู้อนุรักษ์และรักษา สิ่งแวดล้อม ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
9
วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ใ
นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แห่ง ราชวงศ์ จั ก รี ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ยุ ค ที่ ราชอาณาจั ก รสยามต้ อ งเผชิ ญ วิ ก ฤตการณ์ หนักที่สุด เรียกได้ว่าจวนเจียนที่จะต้องตกเป็น อาณานิคมของประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก ที่เข้าแสวงหาอาณานิคมในภูมิภาคอุษาคเนย์ หรือดินแดนภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย จนสามารถครอบครองประเทศเพือ่ นบ้าน ของสยามโดยรอบไว้ จ นหมดสิ้ น กล่ า วคื อ อั ง กฤษครอบครองพม่ า กั บ มาเลเซี ย ส่ ว น ฝรั่งเศสครอบครองเวียดนาม ลาว เขมร ซึ่งที่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือทัง้ สองประเทศนีล้ ว้ นมีเป้าหมาย 10
ตรงกันที่จะเข้ายึดครองราชอาณาจักรสยาม โดยมีการก�ำหนดหลักการส�ำคัญของทั้งสอง ประเทศคื อ ความประสงค์ ที่ จ ะใช้ แ ม่ น�้ ำ เจ้าพระยาแบ่งเขตอิทธิพลระหว่างกัน ทั้งนี้ อั ง กฤษมี เ ป้ า หมายที่ จ ะยึ ด ครองป่ า ไม้ สั ก ที่อุดมสมบูรณ์ในภาคเหนือของสยามที่ติดกับ พม่าและยังมีพนื้ ทีช่ อ่ งทางออกทะเลทีเ่ หมาะสม แก่ ก ารตั้ ง สถานี ก ารค้ า ทางทะเลในแหลม มลายู ส�ำหรับฝรั่งเศสมีเป้าหมายที่จะยึดครอง ดินแดนอันอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรของลุ่ม แม่น�้ำสายส�ำคัญ ๕ สาย ประกอบด้วย แม่น�้ำ โขง แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำสาละวิน แม่น�้ำ อิรวดี และแม่น�้ำแดง (บริเวณอ่าวตังเกี๋ย)
อย่ า งไรก็ ต าม ปั ญ หาการแสวงหา อาณานิ ค มทางด้ า นของอั ง กฤษก็ นั บ ว่ า น่ า หวาดกลั ว ไม่ น ้ อ ย แต่ เ นื่ อ งจากพระ ราชวิ เ ทโศบายขององค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๔ ได้ทรงสาน พระราชไมตรี กั บสมเด็ จ พระบรมราชินีนาถ วิคตอเรีย แห่งราชวงศ์วินเซอร์ของอังกฤษ จึง ท�ำให้ความรุนแรงจากอังกฤษมีเส้นแบ่งและ ขอบเขตที่ชัดเจน ในขณะที่ฝรั่งเศสกลับใช้เล่ห์ เพทุบายทางการทูตและก�ำลังทหารเข้ามาบีบ บังคับพื้นที่ทางฝั่งซ้ายของแม่น�้ำโขงอยู่ตลอด เวลา จนน�ำมาสู่เหตุการณ์ปะทะกันระหว่าง ทหารของประเทศสยามกั บทหารฝรั่งเศสที่ เมืองไล (บริเวณแคว้นสิบสองจุไทในปัจจุบัน) จนเกิ ด เป็ น กรณี พิ พ าทในเหตุ พ ระยอด เมื อ งขวางที่ ประวั ติ ศ าสตร์ ส ยามได้จารึกไว้ อย่างน่าขมขื่นอีกตอนหนึ่ง เหตุการณ์ดังกล่าว จึงเป็นข้ออ้างที่ฝรั่งเศสน�ำเรือรบ ๑ ล�ำ ที่ชื่อว่า เรือลูแตง (Lutin) เข้าสู่ราชอาณาจักรสยาม ว่าเพื่อคุ้มครองคนฝรั่งเศสในสยาม แต่ด้วย ความย่ามใจจึงคิดส่งเรือรบอีก ๒ ล�ำ คือ เรือ แองคองสตังค์ (Inconstant) และเรือโคแมต (Comete) เข้ามาในราชอาณาจักรสยาม ซึ่ ง ในช่ ว งค�่ ำ ของวั น ที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๓๖ เรือรบฝรัง่ เศส ๒ ล�ำ ก็ทำ� อ�ำนาจบาตรใหญ่ แล่ น ผ่ า นสั น ดอนปากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาและ ฝ่าแนวป้องกันของป้อมพระจุลจอมเกล้า ที่ จังหวัดสมุทรปราการ เข้ามาจอดทีห่ น้าสถานทูต ฝรั่งเศสในกรุงเทพฯ สมทบกับเรือรบฝรั่งเศส จอดอยู่ ๑ ล�ำ รวมเป็น ๓ ล�ำ ในลักษณะ ข่มขู่ว่าจะจมเรือพระที่นั่งมหาจักรีที่จอดอยู่ ในแม่น�้ำเจ้าพระยา และจะระดมยิงพระบรม มหาราชวัง หากสยามไม่ยอมจ่ายค่าท�ำขวัญ บุตรภรรยาทหารเรือฝรั่งเศสที่บาดเจ็บล้มตาย จากการปะทะครั้งนั้น เป็นเงิน ๒ ล้านฟรังก์ โดยบังคับให้สยามจ่ายมัดจ�ำก่อน ๓ ล้านฟรังก์ และไม่ขอรับเป็นธนบัตรด้วย ( หมายเหตุ : ตัวเลขทั้ง ๒ รายการนั้น พิมพ์ไม่ผิด คือหนี้ ๒ ล้าน แต่มดั จ�ำ ๓ ล้าน ซึง่ ไม่ใช่ธรรมเนียมทีช่ าติ ใดเขาท�ำกันในโลกนี)้ หรือไม่สยามต้องยินยอม ให้ฝรั่งเศสเก็บภาษีเอาเองที่เมืองพระตะบอง และเสียมราฐ ทีส่ ำ� คัญกว่านัน้ ฝรัง่ เศสยังระดม เรือรบที่จอดอยู่ที่ท่าเรือเมืองไซ่ง่อน จ�ำนวน ๑๒ ล�ำ มาปิดอ่าวไทย และส่งทหารขึ้นยึด เกาะสีชัง ยื่นเงื่อนไขให้สยามถอนทหารออก จากฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขงภายใน ๑ เดือน แม้ว่า สยามจะยอมรับตามข้อเรียกร้องของฝรั่งเศส ทุกข้อ เพราะไม่มีทางปฏิเสธได้ ฝรั่งเศสก็ยัง ขอยึดจันทบุรีไว้เป็นประกัน จนกว่าการปักปัน ดินแดนฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขงที่สยามจะต้องมอบให้ ฝรั่งเศสนี้เสร็จสิ้น ! เป็นอย่างไรครับ แสบสันต์ เพียงใด ? ท่านคงเข้าใจกันดีนะครับ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
สรุปแล้ว สยามต้องยอมจ่ายเงิน จ�ำนวน ๓ ล้านฟรังก์ จากเงินถุงแดงที่ พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๓ ทรงสะสมไว้ และในที่สุด สยามก็ต้องเสียดินแดนฝั่งซ้าย ของแม่น�้ำโขงให้แก่ฝรั่งเศสบนความชอกช�้ำ ของประชาชนสยามทุกคนที่ไม่สามารถต่อกร กับประเทศนี้ได้ สิ่งที่ผู้เขียนน�ำเสนอนี้ ไม่ได้ปรารถนาที่ จะท�ำลายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย และประเทศที่ เ คยสร้ า งความขมขื่ น ให้ ไ ทย ในครั้ ง อดี ต แต่ ต ้ อ งการอธิ บ ายให้ ท ราบถึ ง หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
ความปวดร้ า วพระราชหฤทั ย ของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และความ เสียใจของบรรพชนต่อกรณีเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ กับขอให้พี่น้องประชาชนชาวไทยและ อนุชนรุ่นต่อไปได้จดจ�ำเรื่องราวในอดีต เพื่อ เป็นบทเรียนส�ำหรับก้าวเดินไปสู่อนาคตทั้งนี้ หนังสือที่ผู้เขียนได้ประพันธ์และจัดท�ำไว้เกี่ยว กับเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ เงินถุงแดง และการ รักษาประเทศของบูรพกษัตริยาธิราชเจ้าแห่ง ราชวงศ์จักรีนั้น ได้รับโอกาสจากกระทรวง ศึกษาธิการ จัดท�ำเป็นหนังสืออ่านนอกเวลา
ระดับมัธยมศึกษา ในวิชาประวัติศาสตร์ ในชื่อ หนังสือว่า กว่าไทยจะคงดินแดนรูปขวาน ภาค ดอกสร้อยรอยต�ำนาน เพื่อแจกจ่ายโรงเรียน ทั่วประเทศให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้ รั บ ทราบถึ ง ประวั ติ ศ าสตร์ อี ก หน้ า หนึ่ ง ของ ไทย จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม หากท่านใดสนใจ กรุ ณ าสื บ ค้ น ได้ จ ากโรงเรี ย นต่ า งๆ ได้ ต าม อัธยาศัย และขอความกรุณาให้ช่วยกันบอกลูก บอกหลานว่า อย่าลืมประวัตศิ าสตร์หน้าทีส่ ำ� คัญ เป็ น อั น ขาดเพราะเป็ น เหตุ ก ารณ์ ก ารรั ก ษา เอกราชของไทยให้ยนื ยงมาตราบจนปัจจุบนั 11
แผ่นดิน
ของการปฏิรูประบบราชการ
พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑) ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
12
ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
พระผู้ทรงเป็น “หัวใจ” ของแผ่นดิน
เมื่อใกล้สิ้นแผ่นดินรัชกาลที่ ๒ พระบาท พระปรีชาสามารถด้านบริหารประจักษ์ ๑.พระราชประวัติที่ส่งผลต่อพระราชด�ำริ ชัดจากบันทึกของ จอห์น ครอว์ฟอร์ด ซึง่ เดินทาง สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประชวร หนักมิได้ทรงมอบราชสมบัตแิ ก่ผใู้ ด พระราชโอรส และพระราชกรณียกิจในการปกครอง มาเมืองไทยในรัชกาลที่ ๒ ว่า ที่ ท รงด� ำ รงพระอิ ส ริ ย ยศเจ้ า ฟ้ า โดยก� ำ เนิ ด พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว “เรื่องราชการไม่ว่าในกรมกองใด อยู่ ๒ พระองค์ คือ เจ้าฟ้ามหามงกุฎและเจ้าฟ้า ทรงเป็ น พระราชโอรสพระองค์ ใ หญ่ ข อง ในพระหัตถ์ของพระองค์ทั้งสิ้น พระองค์ทรง พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย แสดงพระปรี ช าสามารถให้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ จุฑามณียงั ทรงพระเยาว์ เฉพาะเจ้าฟ้ามหามงกุฎ พระราชสมภพเมื่อพุทธศักราช ๒๓๓๐ ขณะที่ ในพระราชภารกิ จ ที่ พ ระองค์ ท รงได้ รั บ ทรงผนวชอยู่ ด้วยภาวะเหตุการณ์บา้ นเมืองขณะ พระราชบิดาด�ำรงพระอิสริยยศ เจ้าฟ้ากรม มอบหมายเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสุขของ นั้น ยังไม่เป็นที่วางใจภัยสงครามพม่า ที่ประชุม หลวงอิศรสุนทร พระบรมราชชนนี คือ สมเด็จ บ้านเมืองหรือการสงคราม การติดต่อกับต่าง เสนาบดีจงึ พร้อมใจกันอัญเชิญกรมหมืน่ เจษฎา พระศรีสลุ าลัย (เจ้าจอมมารดาเรียม) พระนามเดิม ประเทศหรือกฎระเบียบของบ้านเมือง การก�ำหนด บดินทร์ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่และคุ้น พระองค์ เ จ้ า ทั บ เมื่ อ พระราชบิ ด าเสด็ จ ขึ้ น นโยบายหรื อ ความยุ ติ ธ รรม จะเป็ น ไปตาม เคยราชการแผ่นดินที่ส�ำคัญๆ มาแล้วอย่างดี ครองราชย์ แ ล้ ว ได้ รั บ การสถาปนาเป็ น กรม พ ร ะ ป ร ะ ส ง ค ์ ข อ ง เ จ ้ า น า ย พ ร ะ อ ง ค ์ ขึ้นครองราชย์สมบัติ กรมหมื่ น เจษฎาบดิ น ทร์ ท รงมี ค วาม หมืน่ เจษฎาบดินทร์ ทรงมีบทบาทดูแลราชการ ทั้งสิ้น...” เหมาะสมและเป็ นผลดีต่อแผ่นดิน เนื่องจาก ส�ำคัญๆ ต่างพระเนตรพระกรรณถวายหลาย ศาสตราจารย์ ว อลเตอร์ เ อฟเวลล่ า เวลานั้ น พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า ประการ โดยเฉพาะการค้าขายกับต่างประเทศ นักประวัตศิ าสตร์ทศี่ กึ ษาเรือ่ ง พระบาทสมเด็จ เจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมพรรษา ๒๐ พรรษา ได้แต่งเรือส�ำเภาส่วนพระองค์ออกไปค้าขายยัง พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวว่า ทรงผนวชมีโอกาสธุดงค์ตามที่ต่างๆ รับทราบ ประเทศจีน น�ำผลประโยชน์ที่ได้จากการค้า “กรมหมื ่ น เจษฎาบดิ น ทร์ น ้ ี ทรงมี อ � ำ นาจ ทุกข์สุขราษฎรที่ส�ำคัญทรงมีเวลาศึกษาสรรพ ส่ ว นหนึ่ ง ทู ล เกล้ าฯ ถวายพระราชบิด าเพื่อ เข้ า ควบคุ ม กิ จ การส� ำ คั ญ ๆ ของกรุ ง สยามไว้ วิ ท ยาการต่ า งๆ โดยเฉพาะภาษาอั ง กฤษ ทรงใช้จ่ายในราชการ แก้ไขภาวะขาดแคลน ทั ้ ง สิ ้ น ...กรณี ต ่ า งๆ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ ความสงบสุ ข เป็นการสร้างความพร้อม รับการขยายอิทธิพล ในแผ่นดินได้ราบรื่น พระบาทสมเด็จพระพุทธ ของประชาราษฎร์ แ ละบ้ า นเมื อ งก็ ด ี หรื อ ที ่ ของนักล่าอาณานิคมประเทศตะวันตกที่แผ่ เลิ ศ หล้ า นภาลั ย ทรงล้ อ และขานพระนาม เกี ่ ย วกั บ การศึ ก สงครามก็ ต าม ตลอดจนกรณี ขยายเข้ามาอย่างรวดเร็ว พระราชโอรสพระองค์นี้ว่า “เจ้าสัว” หมายถึง ที เ ่ กี ย ่ วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ก บ ั ต่ า งประเทศ การตรา เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เศรษฐีจากการค้า การที่ทรงได้รับมอบหมาย ให้ ช ่ ว ยราชการในหน่ ว ยงานที่ ส� ำ คั ญ ๆ พระราชก� ำ หนดกฎหมาย การพระศาสนา เจ้าอยูห่ วั เสด็จขึน้ ครองราชย์ พุทธศักราช ๒๓๖๗ เช่น การพิจารณาคดีในชั้นฎีกา การดูแลก�ำกับ การวางนโยบาย การปกครองบ้านเมืองและ นั้ น ต้ อ งทรงรั บ พระราชภารกิ จ หนั ก หลาย กรมพระต�ำรวจ กรมพระคลังมหาสมบัติ และ ประชาราษฎร์ การศาลสถิตยุติธรรม พระองค์ ประการ ทั้งการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม ราชการอืน่ ๆ นัน้ ท�ำให้กรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ เป็นผู้ควบคุมด�ำเนินการทั้งหมดโดยมิได้กราบ ด้วยพระปรีชาสามารถเป็นเลิศ รัฐนาวาล�ำนี้ ทรงเป็นผู้กว้างขวางในหมู่เสนาบดีและขุนนาง บังคมทูลขอค�ำปรึกษาและเห็นชอบจากองค์ จึ ง สามารถฝ่ า คลื่ น ลมมาได้ อ ย่า งมั่นคงและ พระมหากษัตริย์...” งดงาม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ชั้นผู้ใหญ่ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
13
เสด็จสวรรคตเมื่อพระชนมพรรษา ๖๓ พรรษา พุทธศักราช ๒๓๙๔ ด�ำรงอยู่ในสิริราชสมบัติ ๒๗ ปี
๒.พระราชด�ำริในการปกครองบ้านเมือง
การบริหารราชการแผ่นดิน การเสด็จขึ้น สู่ราชบัลลังก์ของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ท่ า มกลางประชุ ม เห็ น ชอบของ พระราชวงศ์ชนั้ ผูใ้ หญ่ คณะเสนาบดี ประกอบด้วย พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมืน่ ศักดิพลเสพ ก�ำกับ ราชการกรมพระกลาโหม พระยาสุ ริ ย วงศ์ มนตรี (ดิศ บุนนาค) ก�ำกับราชการกรมพระคลัง เป็นต้น เลือกสรรผู้มีประสบการณ์ที่จัดเจน 14
เหตุการณ์บ้านเมืองทุกวัน พระราชทานข้อ วินิจฉัยและติดตามความคืบหน้าภารกิจที่ทรง มอบหมายใกล้ชิด การปกครองส่วนภูมภิ าคกล่าวได้วา่ มีการ ขยายอาณาเขตออกไปทางภาคตะวั น ออก เฉียงเหนือกว้างขวาง จัดตั้งเมืองใหม่หลาย แห่ง เมืองใหม่เหล่านี้ปัจจุบันกลายเป็นจังหวัด ส�ำคัญของประเทศ ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น สกลนคร นครพนม สุรินทร์ ยโสธร หนองคาย กาฬสินธุ์ และอุบลราชธานี นอกจากนี้มีเมือง ประเทศราชอี ก หลายเมื อ ง ได้ แ ก่ กั ม พู ช า เวียดนาม หลวงพระบาง เวียงจันทร์ จ�ำปาศักดิ์ แคว้นล้านนา รวมทัง้ เชียงแสน เชียงราย ซึง่ ปลาย รัชกาลมีชาวเวียงรุ้งจากแคว้นสิบสองปันนา อพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองเชียงของ อีกด้วย เมื่ อ มี ก ารตั้ ง บ้ า นเมื อ งใหม่ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดระบบการปกครอง โดยแบ่งเมืองออกเป็นแขวง ต�ำบลและบ้าน แต่ละหน่วยมีผปู้ กครอง คือ เจ้าเมือง ท�ำหน้าที่ ปกครองเมืองหมื่นแขวงดูแลแขวง ก�ำนันดูแล ต�ำบล ผู้ใหญ่บ้านปกครองบ้าน ลดหลั่นไป ตามสายงานเป็นการจัดการบริหารราชการ ส่วนท้องที่ ภาคใต้ พระราชอาณาเขตครอบคลุมไปถึง ไทรบุรี ปัตตานี กลันตัน และตรังกานู เดิม อยู่ในความดูแลของเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช และเจ้าเมืองสงขลา ในรัชกาลที่ ๓ ประสบ ปัญหาการกระด้างกระเดือ่ งของบรรดาสุลต่าน รัฐเล็ก รัฐน้อยในแหลมมลายู ที่ส�ำคัญอังกฤษ เริ่ ม มี บ ทบาทนั ก ล่ า อาณานิ ค ม เริ่ ม คุ ก คาม ดิ น แดนแหลมแถบมลายู เมื อ งในพระราช อาณาเขต ทรงวางหลักการและนโยบายการ บริหารประเทศอย่างมั่นคงอันน�ำไปสู่การท�ำ สนธิ สั ญ ญาเบอร์ นี่ เ มื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๖๙ สาระของสนธิสัญญานอกจากจะมุ่งเน้นเรื่อง ข้อตกลงทางการค้าระหว่างกันแล้ว อังกฤษ ยินดีจะไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับดินแดนของไทย ในแหลมมลายูด้วย เมื่อรัฐไทรบุรีก่อการกบฏ ในราชการ ทรงมีวัยวุฒิ มีบุคลิกลักษณะพิเศษ เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๘๑ พระบาทสมเด็ จ มีขุนนางสนับสนุนมาก เหมาะแก่การด�ำรงสิริ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้า ฯ ให้สง่ กองทัพ ราชสมบัตินั้น เรียกว่า “นิกรสโมสรสมมต” ออกไปปราบปรามส�ำเร็จแล้วให้แก้ไขระเบียบ การบริหารเมืองไทรบุรีใหม่ โดยให้ชาวมลายูที่ มีขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไว้วางใจมาปกครองแทนข้าราชการไทย เพื่อ ทรงรอบคอบในพระราชกิจทุกประการทรง แก้ปัญหาความแปลกแยก เปิดโอกาสให้การ ยึดถือหลักบริหารราชการแผ่นดินที่ปฏิบัติกัน ปกครองดูแลเป็นไปได้สะดวกมากขึ้น กล่าว มาช้านาน คือ เสนาบดีหรือขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ได้ว่า พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ช่วยราชการในต�ำแหน่งสมุหนายก สมุหพระ ทรงด�ำเนินวิเทโศบายทางการปกครองด้วยวิธี กลาโหม และเสนาบดีจตุสดมภ์ ทั้ง ๔ ทรง อั น ชาญฉลาด คื อ การผู ก มิ ต รกั บ อั ง กฤษ มั่ น คงในการวางหลั ก การและนโยบายการ ให้ ย อมรั บ สิ ท ธิ ข องไทยเหนื อ ดิ น แดนใน บริหารประเทศ เสด็จออกว่าราชการ สดับตรับฟัง หั ว เมื อ งมลายู เป็ น การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
ในการป้องกันประเทศ สามารถควบคุมหัวเมือง ประเทศราชอย่างใกล้ชิดและทั่วถึง
นั่ น คื อ การที่ ต ้ อ งพั ฒ นาตนเองตามกระแส โลกาภิวตั น์ แต่อย่างมงายหรือไม่ไตร่ตรองและ ที่ส�ำคัญ คือ การด�ำเนินนโยบายกับประเทศ ๓.พระราชด�ำริด้านการต่างประเทศ ตะวั น ตกของพระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า แนวพระราชด�ำริด้านการต่างประเทศกับชาติ เจ้าอยู่หัวนี้ มุ่งเน้นที่การโอนอ่อนผ่อนตามเพื่อ ตะวันตก ธ�ำรงรักษาเอกสารของชาติและความสัมพันธ์ ช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฉั น มิ ต ร ซึ่ ง เป็ น หลั ก การที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ เจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อพุทธศักราช รัชกาลต่อๆ มา ทรงถือปฏิบัติเช่นกัน ๒๓๖๗ นัน้ ลัทธิลา่ อาณานิคมของชาติตะวันตก เริ่ ม แผ่ ข ยายเข้ า มาทางภู มิ ภ าคเอเชี ย แล้ ว แนวพระราชด�ำริด้านการต่างประเทศกับชาติ ดิ น แดนพม่ า เพื่ อ นบ้ า นของไทยตกเป็ น ของ ต่างๆ ในภูมิภาค แผ่ น ดิ น รั ช กาลที่ ๓ การสร้ า งความ อั ง กฤษ อั ง กฤษเริ่ ม คุ ก คามทางการค้ า และ การเมืองในแหลมมลายูที่อยู่ในความดูแลของ สัมพันธ์ระหว่างไทยกับชาติต่างๆ ในภูมิภาค ไทย เมื่อไทยและอังกฤษตกลงท�ำสนธิสัญญา เดียวกัน ได้แก่ จีน พม่า ลาว เขมร และญวน ทางพระราชไมตรีและพาณิชย์เมื่อวันที่ ๒๐ มุ่งในเรื่องการค้าและการป้องกันประเทศไม่มี มิถุนายน พุทธศักราช ๒๓๖๙ รู้จักกันในนาม กรณีพยายามยอมโอนอ่อนผ่อนตามเพื่อรักษา ว่ า สนธิ สั ญ ญาเบอร์ นี่ ผลของสนธิ สั ญ ญา สั ม พั น ธ์ ฉั น มิ ต ร และธ� ำ รงเอกราชของชาติ ด้ า นการปกครอง อั ง กฤษต้ อ งยอมรั บ สิ ท ธิ อย่างเช่นที่ท�ำกับชาติตะวันตกส่วนประเทศ และอธิปไตยของไทยเหนือไทรบุรี กลันตัน จี น ความสั ม พั น ธ์ เ น้ น หนั ก ด้ า นการค้ า ขาย ตรังกานู อย่างสมบูรณ์ โดยมีเงือ่ นไขทางการค้า หรือเศรษฐกิจ ซึ่งสามารถด�ำรงความสัมพันธ์ เป็นข้อแลกเปลี่ยน ซึ่งรัฐบาลไทยยินยอมได้ ได้อย่างมั่นคงยืนยาวครอบคลุมถึงด้านสังคม และศิลปวัฒนธรรมด้วย เพียงบางส่วนเท่านั้น การสงครามระหว่ า งไทยกั บ พม่ า ที่ นโยบายประเทศตะวั น ตกโดยเฉพาะ อั ง กฤษเวลานั้ น มี ค วามรุ น แรงมากไม่ ว ่ า ขับเคี่ยวกันมายาวนาน ได้สิ้นสุดลงในรัชกาล จะเป็ น การคุ ก คามพม่ า เป็ น ผลส� ำ เร็ จ เมื่ อ นี้ เพราะพม่าตกเป็นของอังกฤษหมดความ พุทธศักราช ๒๓๖๙ การขยายอิทธิพลเข้าไป กังวลในการป้องกันประเทศด้านนี้ คงเหลือแต่ ในแหลมมลายูรวมทั้งมะละกาและสิงคโปร์ ความสัมพันธ์กับลาว เขมร และญวน โดยรัฐบาลฮอลันดามิได้ขัดขวางภายใต้การท�ำ การปราบกบฏเจ้ า อนุ ว งศ์ แ ห่ ง นคร สนธิ สั ญ ญากั บ ฮอลั น ดาเมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช เวียงจันทน์เมือ่ พุทธศักราช ๒๓๖๙ เป็นศึกใหญ่ ๒๓๖๗ ว่ า ด้ ว ยการแบ่ ง เขตอิ ท ธิ พ ลเหล่ า นี้ และส� ำ คั ญ ครั้ ง หนึ่ ง ในรั ช สมั ย แสดงให้ ท�ำให้พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เห็นพระบรมราโชบายในการปกครองเมือง ทรงตระหนักถึงภยันตรายทีอ่ ยูไ่ ม่ไกลนัก การที่ ประเทศราชของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ทรงยอมท�ำสนธิสัญญาเบอร์นี่จึงเป็นวิธีหนึ่งที่ เจ้าอยู่หัว เป็นการสร้างตัวอย่างแก่บรรดา รักษาสถานะประเทศให้รอดพ้นจากภัยคุกคาม ประเทศราชอื่นๆ ว่าการคิดกบฏนั้นมีผลตาม นี้ได้ เป็นก้าวส�ำคัญในการด�ำเนินนโยบายกับ มาอย่างไรขุนพลแก้วในรัชสมัยที่เป็นแม่ทัพ ชาติตะวันตกที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ทรง ส�ำคัญในการปราบกบฏครั้งนี้คือเจ้าพระยา ตระหนักถึงอิทธิพลอังกฤษทั้งด้านการค้าและ การเมือง ทีม่ งุ่ ประโยชน์จากประเทศในภูมภิ าค นี้เป็นอย่างดี การรู้เขารู้เรา เป็นพระราชวิจารณญาณ อันชาญฉลาดที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงน�ำมาเป็นแนวพระราชด�ำริแก่ ผู้ที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการบริหารประเทศ ต่อไปค�ำนึงถึง ทัง้ ต้องรูจ้ กั เลือกทีจ่ ะรับ ดังพระ ราชกระแสที่รับสั่งว่า “...การศึกสงคราม ข้างญวน ข้างพม่าก็ เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝรั่ง ให้ ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีแก่เขาได้การงานสิ่งใด ของเขาที่คิด ควรจะเรียนเอาไว้ ก็ให้เอาอย่าง เขาแต่อย่าให้นับถือเลื่อมใสไปทีเดียว...” พระราชด�ำรินี้ ทันสมัยอยู่เสมอ สามารถ น� ำ มาใช้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ กั บ เหตุ ก ารณ์ ใ นปั จ จุ บั น หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
บดิ น ทรเดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) ขณะด� ำ รง ต�ำแหน่งพระยาราชสุภาวดี ท�ำให้เมืองทีข่ นึ้ กับ เวียงจันทร์มาก่อน เช่น จ�ำปาศักดิ์ นครพนม ยโสธร ภูเวียง และหนองคาย เปลีย่ นมาขึน้ ตรง ต่อกรุงเทพฯ กองทัพไทยกวาดต้อนครัวเชลย เข้ามาตั้งหลักแหล่งในกรุงและหัวเมืองใกล้ เคียงจ�ำนวนมาก ครัวเชลยเหล่านี้ คือ แรงงาน ทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญยิ่งในรัชกาล ความสัมพันธ์กบั เขมรและญวน เป็นเรือ่ ง การแสวงหาอาณาเขต ญวนถือสิทธิว์ า่ มีอำ� นาจ เหนือเขมร ซึ่งเป็นเมืองประเทศราชไทยมา ช้ า นาน แสดงความก้ า วร้ า วให้ไทยยินยอม การกระทบกระทัง่ เป็นมูลเหตุแห่งสงครามทีเ่ รียก ว่า “อันนัมสยามยุทธ์” ใช้เวลากว่า ๑๓ ปี จึ ง ยุ ติ ศึ ก สงครามนี้ เ จ้ า พระยาบดิ น ทรเดชา และเจ้ า พระยาพระคลั ง เป็ น แม่ ทั พ เริ่ ม รบ เมื่อพุทธศักราช ๒๓๗๗ เจรจาสงบศึกเมื่อ พุทธศักราช ๒๓๙๐ ผลการเจรจาคือ เขมรจะ จัดส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายพระมหา กษัตริย์ไทยทุกปี ส่งเครื่องบรรณาการให้ญวน ทุก ๒ ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้น�ำเครื่องประกอบพิธีราชาภิเษกนัก องค์ด้วงให้เป็นกษัตริย์เขมรเมื่อพุทธศักราช ๒๓๙๑ จะเห็ น ได้ ว ่ า สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งไทย กับเขมรเป็นไปเพื่อรักษาความสัมพันธ์ตาม แบบอย่างประเทศราชกับประเทศที่ให้ความ คุ ้ มครอง เมื อ งเขมรเป็ น เสมื อนรัฐกั้นกลาง (Buffer state) ระหว่างไทยกับญวน การท�ำ สงครามกับญวนนั้นเป็นไปเพื่อรักษาสถานะ เดิ ม และรั ก ษาความปลอดภั ย ของประเทศ ชาติเป็นหลัก
15
๖ ปี วันคล้ายวันสถาปนา
ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ใ
น ป ี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๒ พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงกลาโหม และ พลเอก อภิ ช าต เพ็ ญ กิ ต ติ ปลั ด กระทรวงกลาโหม (ในขณะนั้ น ) ได้ ก รุ ณ าด� ำ ริ ใ ห้ ร วบรวมงาน ด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง และงานสนับสนุนของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้รวมอยู่ ด้วยกันเป็นหน่วยงานเดียว จึงได้มีการตรา พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการและก�ำหนด หน้าที่ของส่วนราชการ ส�ำนักงานรัฐมนตรี และส�ำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม พุทธศักราช ๒๕๕๒ จัดตั้ง ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมขึ้น โดยให้ รวบรวมภารกิจด้านการส่งก�ำลัง, การโยธาธิการ, การให้บริการทางการแพทย์ ไว้ในหน่วยงาน เดียวกัน และโอนการบังคับบัญชา ส�ำนักโยธา ธิการกลาโหม และส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ให้เป็นหน่วยขึ้นตรง ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ส� ำ นั ก งานสนั บ สนุ น ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม มีภารกิจในการสนับสนุน การส่งก�ำลังและซ่อมบ�ำรุง การขนส่ง การ บริการทางการแพทย์ การบริการ การโยธาธิการ การควบคุ ม ดู แ ลอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ กิ จ การ 16
ดุริยางค์ และกิจการโรงพิมพ์ของส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ตลอดจนด�ำเนินการ เกี่ยวกับการที่ดินของกระทรวงกลาโหม และ ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นหน่วย ให้การสนับสนุนด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง แก่ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษา พระองค์ ๒ กิจกรรม ได้แก่ การสนับสนุน รถยนต์โดยสาร การสนับสนุนเครื่องหมายยศ เครือ่ งประกอบการแต่งกาย รวมทัง้ เครือ่ งแบบ ทหาร และการสนับสนุนอื่นตามที่ร้องขอ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๒ พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ ปลัดกระทรวงกลาโหม ได้ กรุณามาเป็นประธานในพิธเี ปิดป้ายนามหน่วย จึงได้ก�ำหนดให้วันที่ ๑ กรกฎาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนา ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนัก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม และในปี พุทธศักราช ๒๕๕๘ เป็นวันคล้ายวันสถาปนา หน่วย ครบ ๖ ปี โดยมี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน สนับสนุนฯ เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ ตัง้ แต่ จัดตั้งหน่วยถึงปัจจุบัน จ�ำนวน ๕ ท่าน ดังนี้ ๑. พลโท หม่อมหลวง ประสบชัย เกษมสันต์ ๒. พลโท สิรวุฒิ สุคันธนาค ๓. พลโท กฤษพงศ์ แก้วจินดา
๔. พลโท กิติกร ธรรมนิยาย ๕. พลโท พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ (ท่านปัจจุบัน)
ผลงานส�ำคัญที่ผ่านมา
ส� ำ นั ก งานสนั บ สนุ น ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ได้ด�ำเนินงานที่ส�ำคัญตาม ภารกิจของหน่วย ได้แก่ การสนับสนุนหน่วย บัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ด้วยการสนับสนุนเครื่องแบบทหาร, เครื่อง ประกอบการแต่งกาย, เครื่องหมายยศ รวมถึง การสนับสนุนอื่นๆ ตามที่ได้รับการร้องขอ หน่วยได้ด�ำเนินการอ�ำนวยการก่อสร้าง โครงการที่ส�ำคัญ เช่น โครงการก่อสร้างอาคาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและโครงการ ก่อสร้างอาคารที่พักอาศัยนายทหารประทวน พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม พืน้ ทีศ่ รีสมาน ซึง่ การด�ำเนิน การดังกล่าวจะช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ในเรื่ อ งการแออั ด ของพื้ น ที่ ส� ำ นั ก งาน และ การขาดแคลนที่ พั ก อาศั ย ของก� ำ ลั ง พลนาย ทหารประทวน สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวง ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
กลาโหมได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ หน่วยยังได้ ด�ำเนินงานตามภารกิจของหน่วย เช่น กิจการ ดุริยางค์ กิจการโรงพิมพ์ และกิจการขนส่งเป็น ส่วนรวม โดยการรับ – ส่งข้าราชการจากที่พัก อาศัยในพื้นที่ต่างๆ ไปยังสถานที่ปฏิบัติงาน เป็นประจ�ำทุกวัน หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
ตามที่ รั ฐ บาลได้ จั ด โครงการ “เมื อ ง สะอาด คนในชาติ มี สุ ข ” ในทุ ก จั ง หวั ด นั้ น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และปลัด กระทรวงกลาโหม จึงสั่งการให้หน่วยขึ้นตรง ด�ำเนินการพัฒนาหน่วยงานและชุมชนโดยรอบ ตามโครงการ “เติมความสุข ให้คนไทย จากใจ ทหาร” เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ ธั น วาคม ๒๕๕๗ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม และหน่วยขึ้นตรง ร่วมกับส�ำนักงาน เขตบางซือ่ ท�ำการพัฒนาชุมชนชวนชืน่ ซึง่ เป็น ชุ ม ชนใกล้ เ คี ย งที่ ตั้ ง ของหน่ ว ย ได้ รั บ ความ ร่วมมือจากส�ำนักงานเขตบางซือ่ และ ประชาชน ที่ พั ก อาศั ย ในชุ ม ชนดั ง กล่ า วเป็ น อย่ า งดี และตามสั่ ง การให้ มี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ แ ก่ ประชาชนในบริเวณใกล้เคียงที่ตั้งของหน่วย
ให้เข้าใจและทราบข้อเท็จจริงถึงความจ�ำเป็น ของคณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ ที่ เ ข้ า มาแก้ ไ ขปั ญ หาของประเทศ และขอความ ร่วมมือจากประชาชนได้ช่วยเหลือและให้การ สนับสนุนกิจกรรมของรัฐบาล หน่วยจึงได้จัด ชุดประชาสัมพันธ์ เข้าชีแ้ จงประชาชนในชุมชน ที่มีที่ตั้งใกล้เคียงหน่วย คือ ชุมชนชวนชื่น และ ชุมชนหมอนทองโดยต่อเนื่อง และจัดกิจกรรม ประชาสนเทศอี ก ครั้ ง เมื่ อ ๑๐ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ โดยด�ำเนินกิจกรรมด้วยการพบปะ เพือ่ ประชาสัมพันธ์ผลงานของรัฐบาลและทหารใน ห้วงเวลาที่ผ่านมา รวมทั้งการให้บริการต่างๆ เพื่อเป็นการช่วยเหลือประชาชน ได้แก่ การ บริการในการซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า และการให้บริการทางการแพทย์ พร้อมทั้ง แจกจ่ายยาสามัญประจ�ำบ้าน มีประชาชนเข้า ร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก ผลการด�ำเนิน การบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ก�ำหนดไว้เป็น อย่างดี
17
๒๕ ปี วันคล้ายวันสถาปนา สำ�นักโยธาธิการ
สำ�นักงานสนับสนุน สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘
ส�ำนักโยธาธิการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ประวัติความเป็นมา
และต่อมาได้แปรสภาพให้เป็นหน่วยขึ้นตรง ส� ำ นั ก โยธาธิ ก าร ส� ำ นั ก งานสนั บ สนุ น ของส� ำ นั ก งานสนั บ สนุ น ส� ำ นั ก งานปลั ด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (สยธ.สสน.สป.) กระทรวงกลาโหม ในนามของส�ำนักโยธาธิการ แปรสภาพมาจาก ส�ำนักโยธาธิการกลาโหม ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง (สยธ.กห.) ซึง่ ก่อตัง้ ขึน้ มาเมือ่ วันที่ ๑ กรกฎาคม กลาโหม ตัง้ แต่วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ เป็นต้นมา ๒๕๓๓ ตามค�ำสัง่ กระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ตามอนุมัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ๑๒๒/๓๓ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓ โดย เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๑ เรื่อง ขออนุมัติ พลเอก วันชัย เรืองตระกูล ปลัดกระทรวง ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขอั ต ราเฉพาะกิ จ ส� ำ นั ก งาน กลาโหม ในขณะนั้น เนื่องจากได้เล็งเห็นถึง ปลัดกระทรวงกลาโหม เพื่อจัดตั้งส�ำนักงาน ความจ�ำเป็น ในการรวบรวมหน่วยงานด้าน สนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โยธาธิการเข้าด้วยกัน เพื่อความเป็นเอกภาพ ปัจจุบันมี พลตรี ร่มเกล้า ปั้นดี ผู้อ�ำนวยการ ในการบังคับบัญชาตามหลักนิยมของหน่วย ส�ำนักโยธาธิการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชา การจัดหน่วย ประกอบด้วย ส�ำนักงานผู้ บังคับบัญชา กองแบบแผนและส�ำรวจ กองก่อ สร้ า งและสาธารณู ป โภค และกองอสั ง หา ริมทรัพย์
ผลการด�ำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา
๑. การด�ำเนินงานตามพันธกิจ ๔ ประการ ของหน่วย ๑.๑ ด�ำเนินการวางแผน จัดท�ำโครงการ ส�ำรวจ ออกแบบ ประมาณการ งานก่อสร้าง ของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ตาม แผนงานประจ� ำ ปี ตามนโยบายสั่ ง การของ ปลัดกระทรวงกลาโหม และตามที่หน่วยขึ้น ตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร้องขอ นอกจากนี้ยังได้ด�ำเนินการปรับปรุง รายการ มาตรฐานประกอบแบบก่อสร้าง ของส�ำนัก โยธาธิการ ส�ำนักงานสนับสนับสนุน ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๔ (ม.สยธ. ๒๕๕๔) เพื่อยกระดับมาตรฐานงานก่อสร้าง และให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับเทคโนโลยี ใหม่ๆ ๑.๒ ด�ำเนินการควบคุม และก�ำกับดูแล งานก่ อ สร้ า งของ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม ตามแผนงานและได้จัดท�ำโครงการ ฝึกอบรมผูค้ วบคุมงานก่อสร้างประจ�ำปี ๒๕๕๘ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ให้กับผู้ควบคุมงาน
ทหารและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน ด้วยการจัดตั้งหน่วยขึ้นตามลักษณะการจัด ตามแบบพันธกิจ โดยสนธิก�ำลังจากก�ำลังพล ส� ำ นั ก นโยบายและแผนกลาโหม และกรม เสมี ย นตรา ที่ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นโยธาธิ ก าร อยู ่ เ ดิ ม มารวมอยู ่ ใ นสั ง กั ด หน่ ว ยใหม่ ซึ่ ง มี สถานที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก งานอยู ่ ที่ ถ นนประชาชื่ น แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 18
ส�ำนักโยธาธิการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ตลอดจนเป็ น การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการท�ำงาน ๑.๓ ด� ำ เนิ น การให้ บ ริ ก ารด้ า นระบบ สาธารณูปโภคให้กับส�ำนักงาน และบ้านพัก อาศัยของก�ำลังพล โดยเฉพาะอย่างยิ่งจัดให้ มีหน่วยซ่อมเคลื่อนที่ เพื่อให้บริการในเรื่อง ดังกล่าว ๑.๔ ด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ ที่ ดิ น ของ กระทรวงกลาโหม และอสังหาริมทรัพย์ของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยได้มุ่ง เน้นให้ความส�ำคัญกับ การป้องกัน และแก้ไข ปั ญ หาการบุ ก รุ ก ที่ ดิ น ในครอบครองดู แ ล และใช้ประโยชน์ของหน่วยงานทหารโดยน�ำ ผู้บังคับบัญชาระดับสูงและคณะท�ำงานตรวจ เยี่ยมพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒. การด�ำเนินงานอืน่ ๆ นอกเหนือจากพันธกิจ ของหน่วย ๒.๑ ดำ� เนินการสนับสนุน การจัดกิจกรรม ต่างๆ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และหน่วยขึ้นตรงตามที่ได้รับการร้องขอ ๒.๒ ด�ำเนินการจัดท�ำโครงการจ�ำหน่าย สิ น ค้ า ราคาประหยั ด บริ ก ารก� ำ ลั ง พลและ ครอบครั ว ตลอดจนประชาชนทั่ ว ไป ณ บริเวณพื้นที่ตั้งหน่วย เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย ในครอบครัว ๒.๓ ด� ำ เนิ น การจั ด สวั ส ดิ ก ารก� ำ ลั ง พล โดยการแจกจ่ายเครื่องอุปโภค บริโภค และ จัดเลี้ยงอาหารกลางวันเพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย ในครอบครัว
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
๒.๔ จัดอบรมการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน ให้กับก�ำลังพลเพื่อให้ก�ำลังพลเรียนรู้วิธีการ บริหารค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ๒.๕ กวดขั น วิ นั ย ก� ำ ลั ง พลโดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง การแต่ ง กายและการแสดงความ เคารพ ในโอกาสครบรอบปีที่ ๒๕ ของการก่อ ตั้งหน่วย ส�ำนักโยธาธิการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม จะยั ง คง มุ่งมั่นด�ำเนินงานให้อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ในความรั บ ผิ ด ชอบ ได้ รั บ การส� ำ รวจและ ออกแบบให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตามหลัก วิศวกรรมและมีความทันสมัย การก่อสร้าง
ได้รบั การควบคุมและก�ำกับดูแล ให้เป็นไปตาม แบบรูปรายการ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ได้ รับการขึ้นทะเบียนประวัติอาคารอย่างถูกต้อง ที่ ดิ น ได้ รั บ การดู แ ลและใช้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด ปราศจากการบุกรุกตลอดจน นโยบายสั่งการ ของผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและกิ จ กรรมต่ า งๆ ของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้รับการ ตอบสนองอย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ ก�ำลังพลและครอบครัวของหน่วยมีความสุข พร้อมที่จะปฏิบัติงาน
19
ต
การประชุม IISS Shangri-La Dialogue ครั้งที่ ๑๔ ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ของรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม พร้ อ มคณะ เดิ น ทางไปเข้ า ร่ ว มการประชุ ม IISS Shangri - La Dialogue ครั้งที่ ๑๔ ณ สาธารณรั ฐ สิ ง คโปร์ ระหว่ า งวั น ที่ ๒๙ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เพื่ อ กระชั บ ความสั ม พั น ธ์ และเสริม สร้างความร่ว มมือ ระหว่างไทยกับมิตรประเทศในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก ซึ่งผลการเดินทางเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความ ร่ ว มมื อ และความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ ต่อไปในอนาคต การประชุม IISS Shangri - La Dialogue มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น เวที ห ารื อ ระดั บ สู ง
เกี่ ย วกั บ ประเด็ น ด้ า นความมั่ น คง และเพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ แ ทนระดั บ รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม ของประเทศในภู มิ ภ าค เอเชีย - แปซิฟกิ ได้แถลงนโยบายและวิสยั ทัศน์ เกี่ยวกับประเด็นด้านความมั่นคงต่างๆ โดยมี ผู้เข้าร่วมการประชุมฯ ประกอบด้วย บุคคล ส�ำคัญระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ปลั ด กระทรวงกลาโหม ผู ้ บั ญ ชาการทหาร สูงสุด และผู้บัญชาการเหล่าทัพ ของประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก รวมประมาณ ๓๐ ประเทศ รวมทั้ ง ผู ้ แ ทนจากองค์ ก รระหว่ า ง ประเทศ สถาบันทางวิชาการ และสื่อมวลชน ต่างประเทศ
การเดิ น ทางไปเข้ า ร่ ว มการประชุ ม ฯ ของรองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม พร้อมคณะ ณ สาธารณรัฐ สิงคโปร์ในครัง้ นี้ ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี โดยได้รับทราบแนวความคิดด้านความมั่นคง ของโลกและภู มิ ภ าค ของบุ ค คลส� ำ คั ญ จาก หลายประเทศ รวมทั้ ง ได้ มี ก ารหารื อ เพื่ อ กระชับความสัมพันธ์กบั มิตรประเทศ ตลอดจน ได้ใช้โอกาสชี้แจงท�ำความเข้าใจการด�ำเนิน งานของรัฐบาลให้ต่างประเทศทราบในโอกาส เดียวกัน
รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมการประชุม IISS Shangri-La Dialogue ครัง้ ที่ ๑๔ นาย Ashton Carter รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา กล่าว ปาฐกถาในหัวข้อ “บทบาทของสหรัฐฯ และความท้ า ทายต่ อ ความมั่ น คงใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก”
20
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
การหารือทวิภาคีระหว่าง รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการ การหารือทวิภาคีระหว่าง รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงกลาโหม กับนาย Teo Chee Hean รองนายกรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม กับนาย Ng Eng Hen รองนายกรัฐมนตรี สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐสิงคโปร์
การหารือทวิภาคีระหว่าง รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหมกับพลเอก Han Minkoo รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหมสาธารณรัฐเกาหลี
การหารือทวิภาคีระหว่างรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหมกับนาย Ruwan Wijewardene รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย ศรีลังกา
การหารือทวิภาคีระหว่างปลัดกระทรวงกลาโหมกับ นาย David Shear การหารือทวิภาคีระหว่างปลัดกระทรวงกลาโหมกับ นาย Chan ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ Yeng Kit ปลัดกระทรวงกลาโหม สาธารณรัฐสิงคโปร์ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
21
เจาะลึกกลุ่มไอเอส พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ข่
าวการสังหาร อาบู ไซยาฟ (Abu Sayyaf) เสนาธิการฝ่ายยุทธการ และรัฐมนตรีฝ่ายพลังงาน ผู้ซึ่ง รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับกิจการน�้ำมันตลอดจน ธุ รกรรมการเงิ น ข้ ามโลกของกองก�ำลังกลุ่ม ไอเอส เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๑๕ โดยหน่ ว ยรบพิ เ ศษของสหรั ฐ ฯ ในดิ น แดน ของซี เ รี ย ตลอดจนข่ า วการที่ ก ลุ ่ ม ดั ง กล่ า ว สามารถยึ ด เมื อ ง "รามาดี " เมื อ งหลวงของ จังหวัด "อันบาร์" ซึ่งอยู่ห่างจากนครแบกแดด ของอิ รั ก เพี ย ง ๑๑๐ กิ โ ลเมตรในห้ ว งเวลา เดียวกัน นับเป็นความเคลื่อนไหวครั้งส�ำคัญ อีกครั้งหนึ่งที่เกิดขึ้นกับกลุ่มไอเอส และส่งผล ให้โลกต้องหันกลับมามองกลุ่มดังกล่าวด้วย ความสนใจอีกครั้งหนึ่ง แต่คราวนี้ประเด็นที่มี การพูดถึงกลุ่มไอเอส กลับมิใช่การก่อก�ำเนิด หรือความสลับซับซ้อนขององค์กร หากแต่เป็น ปัจจัยความส�ำเร็จของกลุ่มไอเอสที่มีขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง รวมไปถึงยุทธวิธีที่ใช้ในการสู้รบอย่าง มีประสิทธิภาพและประสบความส�ำเร็จเป็น อย่างมากในห้วงเวลาที่ผ่านมา 22
ปัจ จุ บัน "กลุ ่ มไอเอส" (IS : Islamic State) ได้รับการยอมรับว่ามิได้เป็นเพียงกลุ่ม ก่อการร้ายเท่านั้น หากแต่ยังเป็นกองก�ำลัง ทางทหารที่มีความแข็งแกร่ง มีระเบียบวินัย มีระบบการบังคับบัญชาแบบรวมศูนย์ แม้ดู เหมือนว่าแต่ละหน่วยย่อยของกลุ่มไอเอสจะ ปฏิบัติการเป็นเอกเทศต่อกัน แต่ที่จริงแล้ว ทุ ก หน่ ว ยล้ ว นขึ้ น ตรงและรั บ ค� ำ สั่ ง จากกอง บั ญ ชาการและผู ้ น� ำ ของตน ส� ำ หรั บ จ� ำ นวน สมาชิ ก ของกลุ ่ ม นั้ น มี ตั ว เลขประมาณการ ที่ ห ลากหลาย เช่ น องค์ ก รข่ า วกรองกลาง ของสหรัฐฯ หรือ "ซีไอเอ" ประเมินว่ามีนักรบ ไอเอสประมาณ ๓๐,๐๐๐ คน ในขณะที่พวก เคิร์ดประมาณว่ามีจ�ำนวนถึง ๒๐๐,๐๐๐ คน นั ก รบเหล่ า นี้ ป ระกอบด้ ว ยชาวอิ รั ก ซี เ รี ย ซาอุ ดิ อ าระเบี ย จอร์ แ ดน และนั ก รบต่ า ง ชาติอื่นๆ ปัจจุบันคาดว่ามีนักรบต่างชาติกว่า ๒๐,๐๐๐ คนสังกัดอยูก่ บั กลุม่ ไอเอส ในจ�ำนวน นี้ ป ระมาณ ๓,๔๐๐ คนเป็ น ชาวตะวั น ตก และอีกอย่างน้อย ๑๕๐ คนเดินทางมาจาก สหรัฐฯ
นั ก รบต่ า งชาติ ที่ เ ข้ า ร่ ว มกั บ กลุ ่ ม ไอ เอสนั้ น ที่ น ่ า จั บ ตามองคื อ นั ก รบเชชเนี ย (Chechnya) จากสาธารณรัฐเชเชน คนเหล่านี้ ล้ ว นมี ป ระสบการณ์ ใ นการสู ้ ร บกั บ กองทั พ รัสเซียมาอย่างโชกโชน ปัจจุบันคาดว่ามีนักรบ มุสลิมจากเชชเนียจ�ำนวน ๘๐๐ ถึง ๑,๕๐๐ คน เข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส นอกจากนี้ยังมีนักรบ ไอเอสจากเยอรมันที่เป็นก�ำลังหลักส�ำคัญของ กลุม่ รายงานข่าวบางกระแสข่าวพบว่า นักรบไอ เอสจากเยอรมันนัน้ ส่วนใหญ่เป็นนักรบในระดับ หัวกะทิ และได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น ผู้บังคับหน่วยในระดับต่างๆ ของกลุ่มไอเอส ส่ ว นฝรั่ ง เศสก็ เ ช่ น กั น มี ป ระชาชนเข้ า ร่ ว มในสงครามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ กั บกลุ่มไอเอสเป็น จ�ำนวนมาก แต่ที่น่ากลัวยิ่งกว่านั้นคือ มีอดีต ทหารผ่านศึกของฝรั่งเศสจ�ำนวนอย่างน้อย ๑๐ นาย ได้เดินทางเข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส และทหารเหล่านี้ล้วนแต่เป็นนักรบที่มีฝีมือ ชั้นยอด ผ่านการฝึกฝนทางด้านยุทธวิธีการ รบมาเป็นอย่างดี จึงมีความเป็นไปได้สูงมากที่ ทหารผ่านศึกฝรั่งเศสเหล่านี้ จะเป็นผู้ถ่ายทอด พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
อากาศของกองทัพอิรัก บริเวณตะวันตกของ เมืองโมซุลเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ.๒๐๑๕ ที่ผ่านมา นอกจากนี้แบกฮ์ดาดียังมีรองหัวหน้าอีก ๒ คนคือ ฟาเดล อาหะหมัด อับดุลลาฮ์ อัล-ฮี ยาลี (Fadel Ahmad Abdullah al-Hiyali) ใช้นามเรียกขานว่า อาบู มุสลิม อัล-เติร์คมานี (Abu Muslim al-Turkmani) เป็นรองหัวหน้า กลุ่มที่รับผิดชอบพื้นที่การรบในอิรักทั้งหมด โดยแบ่งพื้นที่การบังคับบัญชาออกเป็น ๑๒ เขต ส�ำหรับรองหัวหน้ากลุ่มอีกคนคือ อาบู อาลี อัล-อันบารี (Abu Ali al-Anbari) เป็นรอง หัวหน้ากลุม่ ไอเอส ผูร้ บั ผิดชอบพืน้ ทีใ่ นดินแดน ประเทศซีเรียทั้งหมด โดยแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ ของตนออกเป็น ๑๒ เขตเท่ากับประเทศอิรกั สายการบังคับบัญชารองลงมาคือ กลุ่ม รัฐมนตรีจ�ำนวน ๗ คนที่ขึ้นตรงต่อแบกฮ์ดาดี เช่ น อาคา อาบู โมฮั ม เหม็ ด (Aka abu mohamed) ซึ่งเป็นรัฐมนตรีรับผิดชอบใน ส่ ว นควบคุ ม นั ก โทษ ส่ ว นด้ า นการรบนั้ น มี บุคคลส�ำคัญ เช่น ด้านปฏิบัติการโจมตีด้วย ระเบิ ด แสวงเครื่ อ งและระเบิ ด พลี ชี พ นั้ น มี ไครี อาเบด มาหะหมูด อัล-ทาเอ (Khairy abed mahmoud al-taey) หรือที่นามเรียก ยุ ท ธวิ ธี ก ารรบของโลกตะวั น ตกให้ กั บ กลุ ่ ม ขานว่า อาบู ซูจา (Abu Suja) เป็นผู้รับผิดชอบ ไอเอส เช่นเดียวกับนักรบไอเอสจากเยอรมัน และมีอัดนัน อิสมาลี นาเจม บีลาวี (Adnan ในขณะเดี ย วกั น รั ฐ บาลอั ง กฤษก็ ยื น ยั น ว่ า มี Ismali Najem Bilawi) ซึ่งมีนามเรียกขาน ประชากรอั ง กฤษไม่ น ้ อ ยกว่ า ๖๐๐ คน ว่า อาบู อับดุล ราฮ์มาน อัล-อาบีลาวี (Abu เดินทางเข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส ในขณะที่ข้อมูล Abdul Rahman al-abilawi) เป็นผูบ้ ญ ั ชาการ บางแหล่งพบว่ามีประชากรอังกฤษเข้าร่วมกับ ทหารสูงสุดของกลุ่มไอเอสในอิรัก บุคคลนี้เดิม กลุ่มดังกล่าวไม่ต�่ำกว่า ๒,๐๐๐ คน ที่ส�ำคัญใน เป็นนายทหารยศร้อยเอก สังกัดกองทัพอิรกั ใน จ�ำนวนนี้มีทหารผ่านศึกของอังกฤษเข้าร่วม สมัยอดีตประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน แต่เขา ปฏิบัติการด้วย การที่มีทหารผ่านศึกจากยุโรป ต้องเสียชีวิตจากการรบที่เมืองโมซุล (Mosul) เข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส ท�ำให้ยุทธวิธีการรบ เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ค.ศ.๒๐๑๔ ท�ำให้กลุ่ม ในพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง (Urban Warfare) โดย ไอเอสได้ประกาศการโจมตีเมืองโมซุลอีกครั้ง เฉพาะการเข้าตรวจค้นอาคาร มีลักษณะการ ปฏิบัติการคล้ายคลึงกับยุทธวิธีที่ทหารสหรัฐฯ และโลกตะวันตกใช้ในอิรักและอัฟกานิสถาน เลยทีเดียว ทางด้านสายการบังคับบัญชาของกลุ่ม ไอเอสนัน้ มีการยึดมัน่ ในระบบการบังคับบัญชา อย่างเคร่งครัด โดยมีผู้น�ำสูงสุดคือ อิบบราฮิม อาว์วาด อิบบราฮิม อาลี อัล-บาดรี อัล-ซามา ราย (Ibrahim Awwad Ibrahim Ali al-Badri al-Samarai) หรือที่มีนามเรียกขานอันลือชื่อ ว่า อาบู บัคคาร์ อัล-แบกฮ์ดาดี (Abu Bakr al-Baghdadi) ผู้ตั้งตนเป็น "กาหลิบ" (caliph) ของกลุ่มไอเอสนั่นเอง แบกฮ์ดาดีได้แต่งตั้ง รองหัวหน้ากลุม่ ของเขาขึน้ มาอีก ๑ คนคือ อาบู อัลลา อัล-อาฟรี (Abu Alaa al-Afri) เพื่อช่วย การบริหารงานในอิรัก ก่อนที่ทางการอิรักจะ อ้างว่า อัล-อาฟรี ได้เสียชีวิตจากการโจมตีทาง หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
ภายใต้ชื่อรหัส "การแก้แค้นให้บีลาวี" (Bilawi Vengeance) อีก ๕ วันต่อมาคือในวันที่ ๑๐ มิ ถุ น ายน เป็ น การสู ้ ร บระหว่ า งกลุ ่ ม ไอเอส จ�ำนวน ๓,๐๐๐ คนกับกองทัพอิรักจ�ำนวนกว่า ๓๐,๐๐๐ คน แต่กองทัพอิรักก็ต้องประสบกับ ความพ่ายแพ้ เนื่องจากมีขวัญและก�ำลังใจที่ ตกต�่ำ อีกทั้งยังด้อยประสบการณ์อย่างมาก ถึ ง แม้ ผู ้ น� ำ กลุ ่ ม ไอเอสจะมี ร องและ คณะรั ฐ มนตรี จ� ำ นวน ๗ คน แต่ เ ขายั ง คง สั่งการและบังคับบัญชาแบบรวมศูนย์ ด้วยการ สั่งการตรงไปยังผู้ว่าการเขตทั้ง ๑๒ เขตในอิรัก และ ๑๒ เขตในซีเรีย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ค� ำ สั่ ง ของเขาจะได้ รั บ การปฏิ บั ติ ต ามอย่ า ง เคร่งครัด บรรดาผู้ว่าการเขตทั้ง ๒๔ เขตนี้ แบกฮ์ ด าดี จ ะมอบอ� ำ นาจในด้ า นการเงิ น การบริหารจัดการและการปฏิบัติการรบด้วย ตนเอง แต่ต้องรายงานการปฏิบัติทุกอย่างให้ กับตน ภายใต้ผู้ว่าการเขตเหล่านี้ยังมีคณะ กรรมการอีก ๘ คนขึ้นการบังคับบัญชาอยู่กับ ผู้ว่าการ โดยคณะกรรมการแต่ละคนประกอบ ด้วย คณะกรรมการด้านการเงิน ด้านผู้น�ำ ด้าน การทหาร ด้านกฎหมาย ด้านการสนับสนุน ด้านการรักษาความปลอดภัย ด้านการข่าวและ ประชาสัมพันธ์ ส่วนอาวุธยุทโธปกรณ์ของกลุ่มไอเอสนั้น ได้รับการยอมรับว่าเป็นอาวุธที่มีศักยภาพสูง มาก ยุทโธปกรณ์เหล่านี้ส่วนหนึ่งยึดมาได้จาก คลังอาวุธของกองทัพอิรักและซีเรีย อีกส่วน หนึ่งมาจากตลาดค้าอาวุธผิดกฎหมายที่กลุ่ม ไอเอสสามารถหาซื้อได้โดยง่าย อันเนื่องมา จากอ�ำนาจเงินจ�ำนวนมหาศาล ปัจจุบันโลก ตะวันตกคาดว่ากลุ่มไอเอสมีรถถังราว ๓๐๐ คันในจ�ำนวนนี้ประมาณ ๑๕๐ คันเป็นรถถัง แบบ เอ็ม-๑ อับบรามส์อันทรงประสิทธิภาพ ที่กองทัพสหรัฐฯ ส่งมอบให้กับอิรัก และมีรถ
23
ฮัมวี่ (HMMWV : Humvee) และรถยนต์ บรรทุกทหารจ�ำนวน ๓,๐๐๐ ถึง ๔,๐๐๐ คัน มีปนื ใหญ่ประมาณ ๑,๐๐๐ ถึง ๑,๕๐๐ กระบอก ในจ�ำนวนนี้มีปืนใหญ่ของสหรัฐอเมริกาขนาด ๑๕๕ มิ ล ลิ เ มตร ซึ่ ง มี ร ะยะยิ ง ไกลถึ ง ๒๒ กิโลเมตรรวมอยู่ด้วยจ�ำนวนหนึ่ง นอกจากนี้ กลุ ่ ม ไอเอสยั ง มี ร ะบบจรวดน� ำวิ ถี ต ่ อ สู ้ ร ถถั ง และระบบการสือ่ สารทีด่ เี ยีย่ ม ล่าสุดพบว่ากลุม่ ไอเอสมีจรวดต่อสู้อากาศยานแบบประทับบ่า ชนิด "สเตรล่า-๓” (Strela-3) ซึ่งมีระยะยิงไกล ๔ กิโลเมตร, จรวด "อิกล่า" (Igla) , “สติงเกอร์” (Stinger) และ "คอบร้ า " (Cobra) อี ก จ� ำ นวนหนึ่ ง ด้ ว ยจรวดต่ อ สู ้ อ ากาศยาน อันทรงอานุภาพเหล่านี้เอง ท�ำให้กลุ่มไอเอส สามารถเด็ดปีกอากาศยานของกองทัพอิรัก ซีเรียและชาติพันธมิตรได้ส�ำเร็จเป็นจ�ำนวน หลายครั้ง กลุ่มไอเอสยังมีอาวุธเคมีในความครอบ ครอง โดยยึดมาจากคลังอาวุธของกองทัพอิรัก ในเมือง "มูธานนา” (muthanna) เมื่อเดือน มิถุนายน ค.ศ.๒๐๑๔ รวมทั้งยึดบางส่วนมา จากคลั ง อาวุ ธ ของซี เ รี ย และมี ก ารใช้ อ าวุ ธ เคมีดังกล่าวอย่างน้อย ๒ ครั้ง ครั้งแรกใช้ใน การต่อสู้กับกลุ่มเคิร์ดในประเทศซีเรีย ที่เมือง “อาฟดิโก” (avdiko) ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ของเมือง “โคบานี” (kobane) เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ค.ศ.๒๐๑๔ ส่วนการโจมตีดว้ ยอาวุธ เคมีอีกครั้งหนึ่งเป็นการต่อสู้กับทหารอิรักที่ เมือง “ซัคลาวิยา” (Saqlawiya) ในจังหวัด “อันบาร์” (Anbar) เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. ๒๐๑๔ การโจมตีทงั้ สองครัง้ ดังกล่าว กลุม่ ไอเอส ใช้ แ ก๊ ส มั ส ตาร์ ด และคลอรี น ในการโจมตี ปัจจุบนั เชือ่ ว่าคลังเก็บอาวุธเคมีของกลุม่ ไอเอส 24
ตั้งอยู่ท่ีเมือง “รัคคา” (raqqa) ซึ่งได้ชื่อว่าเป็น เมืองหลวงของกลุ่มไอเอสในประเทศซีเรีย นอกจากนี้ ก ลุ ่ ม ไอเอสยั ง สามารถยึ ด เครื่องบินขับไล่แบบ “มิค-๒๑” (MIG-21) จ�ำนวน ๓ ล�ำจากกองทัพซีเรีย แม้ว่าจะยัง ไม่เคยใช้เครื่องบินเหล่านี้เข้าการรบ เพราะ กลุ่มไอเอสตระหนักดีว่ามันอาจจะตกเป็นเป้า หมายของเครื่องบินสหรัฐฯ ได้อย่างง่ายดาย แต่อย่างไรก็ตามก็เป็นสิ่งบอกเหตุว่ากลุ่มไอเอส มีเครื่องบินรบประจ�ำการอยู่และใช้ในการฝึก นั ก บิ น ของตน โดยมี ค รู ฝ ึ ก จากกองทั พ อิ รั ก สมั ย อดี ต ประธานาธิ บ ดี ซั ด ดั ม ฮุ ส เซนเป็ น ผู้ฝึกสอน เป้ า หมายหลั ก ในการโจมตี ข องกลุ ่ ม ไอเอสส่วนใหญ่จะเป็น ถนนสายหลัก เช่น ไฮเวย์ เชื่อมต่อระหว่างเมือง บ่อน�้ำมัน เขื่อนและ โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า ทัง้ นีเ้ พราะกลุม่ ไอเอส ตระหนักดีว่า ตนเองไม่มีก�ำลังเพียงพอที่จะยึด ครองพื้นที่ขนาดใหญ่ได้ พวกเขาจึงท�ำการยึด สิ่งสาธารณูปโภคพื้นฐานหรือจุดยุทธศาสตร์ ที่ส�ำคัญ เพื่อเพิ่มอ�ำนาจต่อรองและสร้างพลัง อ�ำนาจด้านการเงินให้กับเขาได้ ส�ำหรับยุทธวิธีการรบของกลุ่มไอเอสนั้น จะเป็นการประสานกันของ "การรบตามแบบ" (Conventional Warfare) กับ "การก่อการร้าย" และ "การรบนอกแบบ" ด้วยการใช้ระเบิดแสวง เครื่องและระเบิดพลีชีพ ซึ่งกลุ่มไอเอสมักจะ โจมตีแนวหน้า จุดตรวจและกองบัญชาการ ของข้าศึกด้วยระเบิดพลีชีพ โดยการเข้าโจมตี พื้ น ที่ แ ต่ ล ะแห่ ง กลุ ่ ม ไอเอสจะมอบอ� ำ นาจ เต็มให้กับผู้บังคับบัญชาในพื้นที่เป็นผู้ตัดสิน ใจว่า จะใช้ยุทธวิธีใดในการเข้าโจมตี พวกเขา จะแบ่งก�ำลังออกเป็นกลุ่มย่อย แม้จะมีการ
จั ด ก� ำ ลั ง ในระดั บ กองพั น หรื อ กองร้ อ ยตาม แบบตะวันตกก็ตาม การโจมตีจะเต็มไปด้วย ความรุนแรง รวดเร็วและคาดไม่ถึง (surprise attack) นักรบกลุ่มไอเอสจะมีความเชี่ยวชาญ ในการรบในเมืองเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการ เข้า "เคลียร์" หรือกวาดล้างข้าศึกในพื้นที่สิ่ง ปลูกสร้าง หรือในอาคาร และจากถนนหนึ่ง สู่อีกถนนหนึ่ง พวกเขาส่วนใหญ่จะแต่งกาย ด้ ว ยชุ ด สี ด� ำ หรื อ สี เ ทาแบบอาหรั บ ที่ รั ด กุ ม น่าเกรงขาม ใช้อาวุธประจ�ำกายที่หลากหลาย ทั้งปืนเล็กยาวอัตโนมัติแบบ เอ็ม-๑๖ และ เอ็ม-๔ ที่ยึดได้จากคลังอาวุธของกองทัพอิรัก ทางตอนเหนือ ตลอดจนปืนเล็กยาวอัตโนมัติ ยอดนิยมในตะวันออกกลางคือ เอเค-๔๗ และ "ดรากูนอฟ เอสวีดี" (Dragunov SVD) ทั้ง ที่ผลิตในจีนและอดีตสหภาพโซเวียต นักรบ ไอเอสยังมีอปุ กรณ์ทางทหารรอบกายครบครัน ไม่ต่างจากทหารโลกตะวันตก และส่วนมากไม่ สวมหมวกเหล็กป้องกันศีรษะ แต่จะโพกศีรษะ หรือสวมผ้าคลุมสีด�ำแทน ก่อนการเปิดฉากโจมตี นักรบไอเอสจะ แทรกซึมเข้าสู่พื้นที่เป้าหมาย โดยเข้าไปปะปน อยู่กับฝูงชน ในระหว่างนี้พวกเขาจะหลีกเลี่ยง การใช้โทรศัพท์มือถือหรือวิทยุสื่อสาร เพื่อ ป้องกันการสังเกตเห็นจากบุคคลทั่วไปและ เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยข้าศึก จนเมือ่ การโจมตีจากภายนอก เปิดฉากขึ้น กลุ่มไอเอสภายในเมืองจะท�ำการ จูโ่ จมจุดตรวจต่างๆ พร้อมกับชักธงสีดำ� ซึง่ เป็น สัญลักษณ์ของกลุ่มไปทั่วพื้นที่ เพื่อสร้างความ สับสนให้กับข้าศึกว่ากลุ่มไอเอสอยู่ที่ไหนบ้าง การเคลื่อนที่ของกลุ่มไอเอสดังกล่าวจะเต็มไป ด้วยความรวดเร็ว เพราะเป็นการผสมผสานทั้ง การใช้รถยนต์บรรทุกขนาดเล็กติดปืนกลหนัก พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
และรถมอเตอร์ไซค์ซึ่งมีความคล่องตัวสูงใน การเคลือ่ นทีจ่ ากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ อีกทัง้ ในระหว่างการโจมตี พวกเขาจะเผายางรถยนต์ หรือน�้ำมันเพื่อก่อให้เกิดควันด�ำ จนเครื่องบิน ของฝ่ายพันธมิตรหรือฝ่ายรัฐบาลไม่สามารถ เข้าโจมตีสนับสนุนฝ่ายตนเองได้ การโจมตี ทั้ ง จากภายนอกและภายใน พร้อมๆ กัน จะมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดจ�ำนวน ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ การโจมตีจากภายใน ทั้งการลอบวางระเบิด แสวงเครื่องตามเส้นทางและจุดตรวจ การใช้ มือระเบิดพลีชีพเข้าโจมตีที่ตั้งหน่วยของข้าศึก หากยังไม่สามารถยึดที่หมายได้ กลุ่มไอเอสจะ รีบถอนก�ำลังอย่างรวดเร็วเพือ่ รักษาชีวติ ก�ำลังพล ที่มีอย่างจ�ำกัดของฝ่ายตน จากนั้นก็จะสร้าง อาณาจั ก รแห่ ง ความหวาดกลั ว ขึ้ น ด้ ว ยการ สังหารเชลยศึกด้วยวิธีการต่างๆ ที่โหดร้าย ทารุณ และท�ำการเผยแพร่ภาพความโหดร้าย เหล่านั้นผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อท�ำลายขวัญของ ข้าศึกและประชาชนที่ยังคงอยู่ในที่มั่น เมื่ อ ข้ า ศึ ก และประชาชนที่ อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่ เป้าหมาย รับทราบข่าวสารความเหี้ยมโหด ของกลุ่มไอเอสผ่านสื่อออนไลน์แล้ว ต่างก็พา กันละทิ้งบ้านเรือนและที่มั่น ส่วนทหารและ ต�ำรวจฝ่ายตรงข้ามก็ขาดขวัญก�ำลังใจในการ สู้รบ ส่งผลให้แนวตั้งรับของข้าศึกเกิดความ
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
อ่ อ นแอ ในที่ สุ ด กลุ ่ ม ไอเอสก็ จ ะเข้ า ตี อ ย่ า ง รุนแรงอีกครั้งด้วยก�ำลังในระดับกองพันหรือ มากกว่านั้น จนสามารถยึดที่หมายได้ เมื่ อ เข้ า ยึ ด ที่ ห มายได้ กลุ ่ ม ไอเอสก็ จะท� ำ การตรวจสอบประชาชนในดิ น แดน ยึ ด ครอง เพื่ อ ให้ ที่ มั่ น ของตนมี ลั ก ษณะ "ปลอดเชื้อ" (sterile) และเป็นสังคมในอุดมคติ ตามหลักศาสนาบริสุทธิ์ บุคคลที่มีแนวคิดไม่ ตรงกับแนวคิดของกลุ่มจะถูกท�ำลายลงทันที เช่น ข้าราชการและกลุม่ ทีส่ นับสนุนฝ่ายรัฐบาล พวกรักร่วมเพศ พวกต่างศาสนา พวกโจรขโมย จะถูกสังหารด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การยิงเป้า การประชาทัณฑ์ด้วยการรุมขว้างก้อนหินใส่ ส่วนพวกรักร่วมเพศจะถูกสังหารด้วยการโยน ลงมาจากตึกสูง เป็นต้น ตั ว อย่ า งความส� ำ เร็ จ ในการโจมตี เ ป้ า หมายครั้งล่าสุดของกลุ่มไอเอสคือ การโจมตี ศาลาว่าการของเมือง "รามาดี" (Ramadi) เมืองหลวงของจังหวัด "อันบาร์" (Anbar) ของ อิรัก ซึ่งเป็นที่ตั้งของส�ำนักงานผู้ว่าราชการ จังหวัดอันบาร์ กองบัญชาการต�ำรวจ และ ส�ำนักงานข่าวกรองของรัฐบาลอิรักเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๑๕ ที่ผ่านมา โดยใช้ รถยนต์บรรทุกระเบิดพร้อมมือระเบิดพลีชีพ จ�ำนวน ๖ คัน น�ำโดยนักรบไอเอสจากอังกฤษ ที่ใช้นามเรียกขานว่า อาบู มูซา บริตานี (Abu
Muza Britani) เข้าโจมตีพร้อมกัน จนศาลา ว่าการดังกล่าวแทบจะแหลกเป็นจุลในพริบตา ก่ อ นที่ นั ก รบไอเอสจะหลั่ ง ไหลพรั่ ง พรู จ าก ภายนอกเข้าสู่ตัวเมืองรามาดี โดยการใช้รถ แทรกเตอร์หุ้มเกราะแล่นน�ำหน้า เข้ารื้อถอน แนวรั้ ว คอนกรี ต ขนาดใหญ่ ที่ ฝ ่ า ยรั ฐ บาลตั้ ง ขวางเส้นทางเข้าสู่เมือง และเข้ายึดพื้นที่ต่างๆ ได้พร้อมกับชักธงสีด�ำของกลุ่มเพื่อประกาศ ชัยชนะครัง้ ยิง่ ใหญ่เหนือกองทัพอิรกั ในปีนี้ การ สูญเสียเมืองรามาดี ท�ำให้พื้นที่จังหวัดอันบาร์ ซึ่งเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดของประเทศและอยู่ ห่างจากกรุงแบกแดดเพียง ๑๑๐ กิโลเมตร ตกอยู ่ ใ นความครอบครองกลุ ่ ม ไอเอสอย่ า ง สิน้ เชิง จึงไม่เป็นทีแ่ ปลกใจว่าสหรัฐฯ ตลอดจน ชาติพันธมิตรจะทุ่มเททุกสิ่งทุกอย่าง ในการ สนับสนุนกองทัพอิรักให้ยืดเมืองดังกล่าวกลับ คืนมาให้ได้ ปั จ จุ บั น ดิ น แดนที่ ก ลุ ่ ม ไอเอสสามารถ ครอบครองได้ในซีเรียและอิรัก มีขนาดใหญ่ เทียบเท่ากับพื้นที่ของสหราชอาณาจักร หรือ มีขนาดใหญ่กว่าประเทศเลบานอนทั้งประเทศ เลยที เ ดี ย ว สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ถึ ง ความแข็ ง แกร่ ง ของกองทั พ กลุ ่ ม ไอเอส คื อ การสู ้ ร บต่ อ กร กับกองทัพซีเรีย ซึ่งไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเป็น กองทัพที่มีความแข็งแกร่งกว่ากองทัพอิรักมาก เพราะมี ป ระสบการณ์ ใ นการรบมายาวนาน อีกทั้งมีอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ดีเยี่ยม แต่ในที่สุด กองทั พ ซี เ รี ย ก็ ต ้ อ งประสบกั บ ความสู ญ เสี ย อย่างหนักเมื่อต้องเผชิญกับนักรบกลุ่มไอเอส ส�ำหรับความกังวลในเวลานีค้ อื กลุม่ ไอเอสก�ำลัง อาศั ย ความเพลี่ ย งพล�้ ำ ของกองทั พ ซี เ รี ย ให้ เ ป็ น ประโยชน์ เพื่ อ ใช้ ดิ น แดนซี เ รี ย เป็ น สรวงสวรรค์ของกลุ่มตน เนื่องจากในขณะนี้ กองทัพพันธมิตรที่น�ำโดยสหรัฐฯ และอังกฤษ ก�ำลังทุ่มเทความช่วยเหลือสนับสนุนกองทัพ อิรัก ท�ำให้กลุ่มไอเอสที่ล่าถอยออกจากอิรัก จะเข้าไปหลบซ่อนและซ่องสุมก�ำลังในดินแดน ซีเรีย จนเมื่อฟื้นตัวได้สมบูรณ์แล้ว ก็จะหวน กลับเข้ามาโจมตีอิรักอีกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เป้าหมายส�ำคัญของกลุ่มไอเอสในเวลานี้ คือการโจมตีนครแบกแดดเพื่อมุ่งหวังจะจัดตั้ง เมืองหลวงแห่งรัฐที่ปกครองด้วยหลักศาสนา บริสุทธิ์ เมื่อใดก็ตามที่กลุ่มไอเอสสามารถยึด แบกแดดและจัดตั้งรัฐของตนเองได้ เมื่อนั้น กลุ่มไอเอสจะกลายเป็นต้นแบบของการจัดตั้ง รัฐที่ปกครองด้วยศาสนาบริสุทธิ์ให้กับสมาชิก กลุ่มไอเอสที่เดินทางกลับไปยังภูมิล�ำเนาของตน เพื่ อ สถาปนารั ฐ ตามอุ ด มคติ ข องตนขึ้ น เช่ น เดียวกัน กลุ่มไอเอสจึงนับเป็นภัยคุกคามความ มั่นคงของรัฐต่างๆ ที่น่ากลัวที่สุดภัยหนึ่งในยุค ปัจจุบัน 25
ค่านิยมและความเชื่อที่ฝังแน่น (Enduring values and beliefs) กับการก�ำหนดยุทธศาสตร์ ความมั่นคงของชาติ พันเอก ชรัติ อุ่มสัมฤทธิ์
กองทัพที่ก�ำชัยชนะ จึงรบในเมื่อเห็นชัยแล้ว แต่กองทัพที่พ่ายแพ้จะรบเพื่อหาทางชนะ
อย่ า งยิ่ ง สหรั ฐ ฯ จะถื อ เอกสารยุ ท ธศาสตร์ นี้ เ ป็ น เอกสารปกขาว (White paper) ที่ ๑ ประธานาธิ บ ดี ทุ ก คนที่ เ ข้ า มารั บ ต� ำ แหน่ ง ซุนวู หากกล่ า วถึ ง ยุ ท ธศาสตร์ ค วามมั่ น คง บริหารประเทศ ต้องจัดท�ำด้วย และระบุไว้ ของชาติ (National Security Strategy : NSS) ในกฎหมาย เอกสารนี้เสมือนร่มใหญ่ที่หน่วย หรือยุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy : NS) งานต่างๆ จะน�ำไปเป็นแนวทางในการก�ำหนด ถือว่าเป็นเอกสารน�ำในการพัฒนาประเทศที่ ยุทธศาสตร์รองของตนเอง อย่างไรก็ตามใน ส�ำคัญยิ่ง ส�ำหรับในต่างประเทศ โดยเฉพาะ การก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ช าติ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ 26
กระบวนการจะเริ่มที่ค่านิยมและความเชื่อที่ ฝั่งแน่น (Enduring values and beliefs) ที่ เป็นตัวก่อรูปจุดมุ่งหมายของชาติ (National purpose) ที่แสดงออกมาในรูปของกฎหมาย ปรัชญาและคุณธรรมพื้นฐานที่ด�ำรงอยู่อย่าง ต่อเนื่องจนเป็นระบบของชนชาติ (National system) นั้นๆ๒ นอกจากนี้ค่านิยมของชาติ ก็ คื อ ผลประโยชน์ ห ลั ก ของชาติ ๓ นั่ น เอง พันเอก ชรัติ อุ่มสัมฤทธิ์
สอดคล้องกับที่ Colin S. Gray ที่กล่าวว่า หาก กล่าวถึงยุทธศาสตร์แล้วมีสงิ่ ทีต่ อ้ งพิจารณาอยู่ ๕ ประการคือ แนวคิด จริยธรรม วัฒนธรรม ที่ตั้ง/ภูมิศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ดังนั้นในการ ก�ำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติจึงต้อง สอดคล้องกับค่านิยมและความเชื่อที่ฝังแน่น ของคนไทยซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ รู ป แบบการคิ ด คุณค่าทางจริยธรรม วัฒนธรรมและลักษณะ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ มิเช่นนั้นยุทธศาสตร์นั้น อาจจะใช้ไม่ได้ในสังคมไทย โดยยุทธศาสตร์ ดังกล่าวอาจก�ำหนดอย่างสอดคล้องต่อปัจจัย
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
ดังกล่าวหรือเพื่อที่จะลดอุปสรรค ข้อขัดข้อง ที่เกิดจากปัจจัยนั้น
ค่านิยมและความเชื่อที่ฝังแน่น
“ดูหนัง ดูละครแล้วย้อนดูตัว” อาจนับ เป็ น การศึ ก ษาเชิ ง ปรากฏการณ์ อ ย่ า งหนึ่ ง กรณี ล ะครยอดฮิ ต หรื อ เป็ น ที่ นิ ย มในสั ง คม ไทยอาจเป็นเรื่องของค่านิยมที่บ่งบอกความ เชื่ออย่างหนึ่งผ่านการดูละครแนวการสร้าง ที่สื่อถึงผู้คนในสังคมนั้น การแสดงถึงการใช้ ค�ำพูดด่าทอ เสียดสี รวมถึงการอิจฉา จนกลาย
เป็นเรื่องธรรมดาจนกลายเป็นปรากฏการณ์ ทางการเมื อ งที่ เ ป็ น อยู ่ ซึ่ ง ดู จ ะสอดคล้ อ ง และเป็นประเด็นที่น่าคิดไม่น้อยส�ำหรับกรณี ประเทศไทยที่ Eric Weiner ซึ่งเป็นนักข่าวต่าง ประเทศของ National Public Radio (NPR) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาได้เดินทางไปตามล่า หาความสุขตามที่ต่างๆ กันจาก ๑๐ ประเทศ เพื่ อ ค้ น หาความสุ ข ของคนแต่ ล ะประเทศ เขาพบว่าความสุขของคนแต่ละประเทศแตก ต่างกันไป เช่น สหราชอาณาจักรความสุขคือ งานที่คืบหน้า กาตาร์ความสุข คือการถูกหวย สหรั ฐ ฯ ความสุ ข คื อ บ้ า น เป็นต้น แต่สำ� หรับประเทศไทย เขาพบว่า ความสุขของคนไทย คือ การไม่คิด๕ ซึ่งจะจริงหรือ ไม่เป็นจริงรวมทั้งอาจสะท้อน อะไรบางอย่างก็ตาม แต่ก็เป็น เรื่องที่น่าศึกษาวิเคราะห์อย่าง ตรงไปตรงมาในฐานะที่ เ ป็ น คนไทยอย่างเราท่าน (กล่าวถึง เรื่อง “การศึกษา” ได้ถูกแปล ความหมายไปอย่างผิดๆ แม้ จะมีพจนานุกรมซึ่งช่วยแก้ไข ความเข้าใจผิดนี้ได้ไม่มากนัก เพราะก็ยังให้ความหมายของ การศึกษาไปในทางการบรรจุ ความรู ้ ไ ว้ ใ นสมอง ทั้ ง ที่ ก าร
27
ศึกษามาจากภาษาละตินว่า “educo” ซึ่ง หมายถึง การปรับปรุง “จากภายใน” การชัก ออกมา การดึงออกมาหรือการเจริญเติบโตโดย อาศัยหลักการของการ “ใช้งาน”๖ ) ประกอบ กับมีการส�ำรวจมุมมองผู้บริหารฝรั่งใน ๑๑ ข้อเสียของคนไทยพบว่า ๑. คนไทย “ชอบโกหก เรื่องเล็กๆ น้อยๆ” เช่น มาสาย...ขาดงาน โดยอ้างว่าป่วย เป็นต้น ๒. มักน�ำเรือ่ ง “เพือ่ นฝูง” มาเกี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ เสมอ เช่ น การจั ด ซื้ อ ข้ า วของภายในส� ำ นั ก งาน โดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ที่ บ ริ ษั ท ควรได้ รั บ เมื่ อ พบ ว่ า เพื่ อ นทุ จ ริ ต ก็ ช ่ ว ยกั น ปกป้ อ งไม่ รู ้ ไ ม่ เ ห็ น ๓. แยกไม่ออกระหว่าง “เรื่องงาน” กับ “เรื่อง ส่วนตัว” ชอบน�ำทั้ง ๒ อย่างมาปนกัน ๔. มัก ยึดติดกับ “ความเคยชินแบบเดิมๆ” เคยท�ำ มาอย่างไรก็ท�ำอย่างนั้น ไม่มี “ความคิด” ที่ จะเปลี่ยนแปลงถ้าน�ำวิธีการใหม่ๆ เข้ามาก็ 28
พันเอก ชรัติ อุ่มสัมฤทธิ์
จะไม่ได้รับความร่วมมือ ๕. เมื่อมีการเจรจา “ไม่กล้าโต้แย้ง” ทั้งๆ ที่ตัวเองก�ำลัง “เสีย เปรียบ” ปล่อยให้อีกฝ่ายเป็น “คนคุมเกม” นิ สั ย ขี้ เ กรงใจจึ ง ท� ำ ให้ ค นไทยไม่ ก ้ า วหน้ า ๖. “ไม่พดู สิง่ ทีค่ วรพูด” ไม่กล้าบอกความคิดของ ตัวเองออกมา ทั้งที่มีความคิดดีๆ ไม่แพ้ชาติ ใดเลย “ไม่กล้าตั้งค�ำถาม” ท�ำให้ท�ำงานไป คนละเป้ า หมาย หรื อ “ท� ำ งานไม่ ส� ำ เร็ จ ” ๗. “ไม่คอ่ ยก�ำหนดระยะเวลาไว้ลว่ งหน้า” งานไหน ให้ เ วลานานๆ ก็ ทิ้ ง ไว้ ท� ำ ตอนใกล้ ๆ จะถึ ง ก�ำหนดส่ง เลยท�ำแบบรีบๆ ไม่ได้ผลงานเท่า ที่ควรและ “ไม่ค่อยมีแผน” รองรับเวลาเกิด ปัญหา แต่จะรอให้เกิดปัญหา แล้วหาทางแก้ ไปแบบเฉพาะหน้า ชอบให้นายสั่งลงมาก่อน แล้วค่อยท�ำตาม ๘. คนไทยจะบอกแต่ข่าวดี จะเลื อ กบอกแต่ สิ่ ง ที่ คิ ด ว่ า เจ้ า นายจะชอบ เช่น บอกแต่ข่าวดีๆ แทนที่จะเล่าตามความจริง ๙. ค�ำพูดว่า “ไม่เป็นไร” เป็นค�ำพูดติดปาก เวลามี ป ั ญ หาก็ จ ะไม่ มี ใ ครรั บ ผิ ด ชอบ จะหา ตัวคนท�ำผิดไม่ค่อยได้ เพราะเกรงใจกัน แต่ จะใช้ ค� ำ ว่ า “ไม่ เ ป็ น ไร” แทน ๑๐. คนไทย ไม่ค่อยมี “ทักษะ” ในการท�ำงาน รวมถึงไม่
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
ค่อยใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ เพื่อจะให้ได้ บนท้ อ งถนนทั่ ว ไปกั บ รถยนต์ ที่ มั ก เขี ย นว่ า “ผลงานทีด่ ที สี่ ดุ ” ๑๑. ไม่กระตือรือร้นทีจ่ ะเรียนรู้ “รถคันนี้สี...” ทั้ง ๆ ที่สีรถที่ขับอยู่เป็นคนละสี ความเคลื่อนไหวของโลกเท่าไหร่นัก แล้วไม่ ที่เขียนไว้ซึ่งดูจะเป็นเรื่องปกติกับการโกหก ค่อยชอบหาความรู้เพิ่มเติม แม้จะเป็นเรื่อง เล็กๆ น้อยๆ ดังกล่าวข้างต้น ซึ่งแม้จะเป็น เกี่ยวกับงานก็ตาม๗ นี่อาจจะเป็นสิ่งสะท้อน เรื่องความเชื่อส่วนบุคคลแต่ก็แสดงอะไรบาง อี ก ประการหนึ่ ง ของข้ อ ด้ อ ยคนไทยที่ ห ลาย อย่างส�ำหรับสังคมไทย ต่างกับประเทศอื่น ท่ า นอาจจะเห็ น ด้ ว ยหรื อ ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยก็ เ ป็ น ขอยกกรณีบทเรียนสงครามกลางเมืองสหรัฐฯ เรื่องนานาจิตตัง แต่ขอให้คิดวิเคราะห์บนหลัก (Civil War) อย่างค�ำพูดที่ว่า “พลังที่แท้จริงไม่ ของเหตุผลและความจริง โดยที่การแก้ปัญหา ได้มาจากความเกลียด แต่มาจากความจริง” ๑๑ ทุ ก อย่ า งต้ อ งอยู ่ บ นพื้ น ฐานของความจริ ง หรื อ “ไม่ มี สิ่ ง ใดที่ มี พ ลั ง อ� ำ นาจเท่ า ความ ข้อมูลที่น�ำมาใช้ต้องเป็นความจริงเท่านั้นและ จริง”๑๒ เป็นสิ่งที่ชาวอเมริกันให้ความส�ำคัญ ความจริงเท่านั้นที่จะเหลืออยู่กับกาลเวลา ๘ ยิ่งต่อ “ความจริง” เพราะสงครามกลางเมือง แต่ก็มีค�ำกล่าวที่ชวนคิดไม่น้อยว่า “มีคนน้อย เป็นความจริงอีกเรื่องหนึ่ง ที่คอยกระตุ้นเตือน เสียเหลือเกินที่เต็มใจที่จะฟังความจริงที่แสดง จิตส�ำนึกของความแตกต่างทางความคิดอย่าง ถึงความอ่อนแอของตน”๙ ไม่เช่นนั้นแล้วเมื่อ สุ ด ขั้ ว จนเกิ ด การแบ่ ง ฝ่ า ยจั บ อาวุ ธ ขึ้ น สู ้ กั น แก้ ป ั ญ หาไปแล้ ว ก็ จ ะเกิ ด ปั ญ หาอี ก หลายๆ ระหว่างฝ่ายเหนือหรือ Union/Federals กับ อย่างตามมา ฝ่ายใต้หรือ Confederates จนมีผู้เสียชีวิต อย่างไรก็ตามหากกล่าวถึง “ความจริง” มากกว่า ๖๕๐,๐๐๐ คน บนแผ่นดินอเมริกา ซึ่งเป็นสิ่งที่โดยสากลมักให้ความส�ำคัญยิ่ง แต่ ความจริงนี้ได้พยายามท�ำให้ตีแผ่ย�้ำเตือนให้ ในสังคมไทยการป้องกันการเสียหน้าเป็นสิ่ง คนอเมริ กั น รุ ่ น ปั จ จุ บั น และเยาวชนได้ เ ห็ น ที่ส�ำคัญ การโกหกที่เรียกว่า White lies จึง ประวัติศาสตร์ที่น่าเจ็บปวดไม่ว่าจะมีการท�ำ เป็นสิ่งที่ยอมรับในสังคมไทย๑๐ ดังจะเห็นได้ เป็นภาพยนตร์ การพาไปดูสถานทีท่ เี่ ป็นสมรภูมิ
29
เช่น เมืองเก็ตตีส้ เบอร์ก (Gettysburg) ค่ายสัมเตอร์ (Fort Sumter) เป็นต้น อย่างไรก็ตามมีผู้กล่าว ว่าปัจจุบนั สงครามกลางเมืองในอเมริกาก็ยงั คง เกิดขึน้ แต่เกิดขึน้ ในสภาคองเกรส (Congress) !!! ดังนั้นอเมริกาจึงให้ความส�ำคัญกับความ เป็นประชาธิปไตย (Democracy) เสรีภาพ และความเท่ า เที ย มกั น หากกล่ า วถึ ง ความ เชื่ อ ที่ ฝ ั ง แน่ น ของสหรั ฐ ฯ ที่ ห ลายท่ า นอาจ จะมองว่าสหรัฐฯ มองถึงเรื่องผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจของตนเองเป็นหลัก ความข้อนี้ Napoleon Hill ได้กล่าวถึงอุดมการณ์แห่งชาติ ของสหรัฐฯ ไว้อย่างน่าคิดว่า “พวกเราได้ปลูก ฝังอุดมการณ์แห่งชาติแก่เยาวชนของเราเช่น เดียวกันและอุดมการณ์นั้นก็เติบโตขึ้นมามาก ทีเดียว! มันได้กลายเป็นอุดมการณ์ที่ครอบง�ำ คนในชาติ อุดมการณ์นั้นคือ ความปรารถนาที่ จะมั่งคั่งร�่ำรวย! สิ่งแรกที่เราต้องการทราบ เกี่ยวกับเพื่อนใหม่ของเรามิใช่ “ใคร?” หาก แต่ “มีเท่าไหร่?” และสิ่งต่อไปคือ “ฉันจะได้ จากเขาด้วยวิธีใด?” ๑๓ ดังนั้นจะเห็นว่าค่านิยมและความเชื่อที่ ฝั่งแน่นของประเทศแต่ละประเทศผู้ก�ำหนด ชะตาของประเทศจะต้ อ งเข้ า ใจในค่ า นิ ย ม และความเชื่อที่ฝั่งแน่นที่แท้จริงของประเทศ ว่ า เป็ น อย่ า งไร อย่ า งกรณี ข องประเทศจี น หากศึกษาวิเคราะห์ดีๆ แล้วเขาก็จะใช้หลัก
30
จากต�ำราพิชัยสงครามของซุนวูในการน�ำพา ประเทศ (จากการที่ผู้เขียนพูดคุยกับผู้ที่เคยไป เรียนที่วิทยาลัยป้องกันประเทศของจีน) แต่จะ ใช้อย่างไร โดยวิถีทางใดนั้นก็ต้องแล้วแต่การ วิเคราะห์ของแต่ละบุคคล
การก�ำหนดยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของชาติ
ปัจจุบันในสถาบันการศึกษาทางทหาร ระดั บ สู ง ที่ มี ก ารศึ ก ษาด้ า นยุ ท ธศาสตร์ ต ่ า ง ก็มักจะใช้นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเป็น ตั ว ก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ห รื อ ยุ ท ธศาสตร์ ทหารกันโดยอนุโลม ซึ่งในต่างประเทศที่มีอยู่ ไม่มากนักที่ยังคงก�ำหนดเป็นนโยบายความ มั่นคงแห่งชาติ ในขณะที่หลายประเทศมีการ พัฒนาให้เป็นยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของชาติที่ เป็นเรื่องต้องน�ำไปปฏิบัติอย่างเป็นจริงเป็นจัง มิ ใ ช่ เ ป็ น กรอบแนวทางในการปฏิ บั ติ ห รื อ ที่เรียกว่า นโยบาย อย่างไรก็ตามอาจมีผู้โต้ แย้งว่าก็ไม่ผิดอะไรที่ก�ำหนดเป็นยุทธศาสตร์ แต่ถ้ากล่าวในประเด็นของการน�ำไปปฏิบัติ หรือต้องน�ำไปปฏิบัติก็จะเห็นชัดเจนของความ แตกต่าง เพราะโดยเนื้อแท้แล้วยุทธศาสตร์ ที่ ก ล่ า วกั น ว่ า มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด มาจากทางทหาร เพราะเป็นเรื่องของชัยชนะหรือความพ่ายแพ้ ยุ ท ธศาสตร์ จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ต ้ อ งน� ำ ไปปฏิ บั ติ อย่างจริงจัง โดยเฉพาะยุทธศาสตร์การป้องกัน ประเทศและยุ ท ธศาสตร์ ท หารที่ จั ด กระท� ำ
โดยทหารจะต้องชัดเจน เป็นตัวแบบให้กับ องค์กรอื่นๆ ได้ เพราะแท้จริงแล้วกล่าวกัน ว่า ยุทธศาสตร์ก็คือ ศิลปะของการเป็นนายพล นั่นเอง อย่างไรก็ตามที่นับวันจะยิ่งทวีความ ส�ำคัญมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ของยุทธศาสตร์ความ มั่นคงแห่งชาติ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้อง เร่งศึกษาพัฒนาหากระบวนการที่เหมาะสม ในการพัฒนา นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ สูก่ ารเป็นยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติไม่วา่ จะเป็นการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อให้ได้มา ซึ่งยุทธศาสตร์ดังกล่าวเพื่อน�ำมาเป็นร่มใหญ่ ในการน� ำ พาประเทศและเพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงาน องค์กรต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนได้มจี ดุ หมาย ปลายทางเดี ย วกั น ที่ จ ะด� ำ เนิ น งานอย่ า ง มีทิศทางที่ชัดเจน อนึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ น ่ า คิ ด ทบทวนไม่ น ้ อ ย ว่ า ที่ จ ริ ง แล้ ว ที่ ผ ่ า นมาประเทศไทยเราใช้ หลักการ แนวคิดหรือเอกสารใดในการ “น�ำพา” ประเทศ (จะเห็นว่าผูเ้ ขียนไม่ใช้คำ� ว่า “พัฒนา”) เราใช้ แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฯ หรื อ นโยบาย ความมั่นคงแห่งชาติหรือ นโยบายรัฐบาลที่ แถลงต่อรัฐสภาหรือแผนการบริหารราชการ แผ่นดิน??? ซึง่ หลายครัง้ ทีผ่ เู้ ขียนมักถามผูท้ รี่ บั ฟังตามโอกาสที่ได้ไปถ่ายทอดแนวคิดรวมทั้ง สอนหนังสือตามมหาวิทยาลัยในวิชาทีเ่ กีย่ วกับ ความมั่นคงของชาติ ก็มักจะได้ค�ำตอบที่หลาก
พันเอก ชรัติ อุ่มสัมฤทธิ์
หลายตามความเข้าใจของแต่ละคน นัน่ บ่งบอก ถึงความไม่ชัดเจนของแนวคิดหรือหลักการน�ำ พาประเทศ เพื่อการน�ำการพัฒนาประเทศ ซึ่ง หากเข้าใจไม่ตรงกันหรือไม่เป็นไปในแนวทาง เดี ย วกั น ก็ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความสั บ สน ขาดความ เข้าใจที่ตรงกันในเรื่องที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง อัน ส่งผลให้เสียเวลา เสียโอกาสและเสียอะไรอีก หลายๆ อย่างที่ไม่น่าจะเสีย
สรุป
ดูหนังดูละครแล้วย้อนดูตัว สังคมไทยได้ ผ่านและมีบทเรียนมากมาย (แต่น่าเสียดาย ที่ขาดการศึกษาที่เป็นเรื่องเป็นราวที่เป็นลาย ลักษณ์อักษรหรือการศึกษาเชิงวิชาการ) การ ศึกษาประวัติศาสตร์ การค้นหาความเชื่อที่ฝัง แน่นจนเป็นค่านิยมที่แท้จริงของสังคมไทยจึง นับเป็นเรื่องส�ำคัญเพราะสิ่งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้น ของการก�ำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงของ ชาติได้อย่างเหมาะสมที่สุด การศึกษาหรือดู เขามามากมาย แต่ที่ส�ำคัญที่สุดคือ ย้อนดูตัว ว่าที่จริงเรามีปรัชญา ความเชื่ออย่างไร เพราะ อย่างไรเสียก็ไม่มีคนผู้ใดที่จะเป็นคนที่มีความ คิดถูกต้องเที่ยงตรงได้ หากปราศจากความ ใจกว้าง “ความใจแคบ” ที่กระท�ำด้วยการปิด หนังสือที่ยังมิได้อ่านลงแล้วตัดสินใจว่า “ฉัน อ่านแล้ว! ฉันรู้มันทั้งหมดแล้ว!” ความใจแคบ จะสร้ า งศั ต รู ใ ห้ กั บ ทุ ก คนที่ ค วรจะเป็ น มิ ต ร หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
เป็นการท�ำลายโอกาสและจิตใจยังห่อหุ้มด้วย ด้วยความหวาดระแวง ความไม่เชือ่ และอคติ ๑๔ ถ้ า เป็ น ดั ง นี้ ก็ จ ะเรี ย กหาความไว้ ว างใจและ ความจริงใจได้จากที่แห่งใดกันเล่า ๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
เสถียร วีรกุล, ต�ำราพิชัยสงครามซุนวู, พิมพ์ครั้งที่ ๒, ๒๕๒๙, หน้า ๒๘ J. Boone Bartholomees, Jr., (Ed.), U.S. Army War College Guide to National Security Issues Volume ll: National Security Policy and Strategy, PA: Strategic Studies Institute, 2012, p. 413 Joseph R. Cerami, James F. Holcomb, Jr., (Ed.), U.S. Army War College Guide to Strategy, PA: U.S. Army War College, 2001, p. 222 Colin S. Gray, The Whole House of Strategy, in JFQ issue 71, 4th quarters 2013, p. 60. ผู้สนใจสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ใน Eric Weiner, The Geography of Bliss, โตมร ศุขปรีชา (แปล), หน้า 273-298 ปสงค์ อ าสา (แปล), ปรั ช ญาชี วิ ต ศาสตร์ แ ห่ ง ความส�ำเร็จ (The Napoleon Hill’s Laws of Success), พิมพ์ครั้งที่ ๑๑, กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์, ๒๕๕๗, หน้า ๖๙ ทวี มีเงิน, ๑๑ ข้อเสียคนไทย...ในมุมมองผู้บริหาร ฝรั่ง, ใน ข่าวสดออนไลน์, ๑๒ ต.ค. ๒๕๕๖
อ้างแล้ว, ปสงค์อาสา (แปล), หน้า ๙๙ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๕๑๕ ๑๐ Richard D. Lewis, When Cultures Collide: Leading Across Cultures, 3rd ed., Finland: WS Bookwell, 2010, p. 474 ๑๑ เป็ น ค� ำ กล่ า วประโยคหนี่ ง ในภาพยนตร์ เ รื่ อ ง ลิ น คอล์ น (Lincoln) ในช่ ว งของการเกิ ด สงครามกลางเมืองใน สหรัฐฯ ๑๒ เป็ น ค� ำ กล่ า วของ แดนิ ล เวบสเตอร์ (Danial Webster) ชาวอเมริกันที่ปรากฏหลังบัลลังก์ศาล แห่งเมือง Carlisle, Pennsylvania, USA ๑๓ อ้างแล้ว, ปสงค์อาสา (แปล), หน้า ๖๙๔ ๑๔ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๑ ๘ ๙
31
Watershed Air War
“ก�ำลังทางอากาศที่ครองฟ้าได้ คือก�ำลังที่ก�ำหนดชะตาของสงคราม” From Air Force Magazine,April 2015 By :DaneilL.Haulman ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม 32
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
“การคิดจะต่อกรกับประเทศทีม่ กี ำ� ลังทางอากาศทีเ่ หนือกว่า เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก หากยังฝืนเดินหน้าชน ก็จะยิ่งเป็นผล เสียต่อฝ่ายตนเอง นี่คือบทเรียนทางทหารซึ่งเป็นผลจากความ เข้มแข็งของก�ำลังทางอากาศของสหรัฐฯ ใน Operation Allied Force ปี ๑๙๙๙ ” ช่วงต้นศตวรรษที่ ๒๐ เครื่องบินได้เริ่ม เข้ า มามี บ ทบาทเป็ น เครื่ อ งมื อ อย่ า งหนึ่ ง ใน สงคราม แต่กย็ งั ท�ำอะไรได้ไม่มากนัก เนือ่ งจาก เป็นยุคต้นๆ ของการบิน แต่เมื่อเข้าสู่กลาง ศตวรรษเท่านั้นเอง ด้วยการพัฒนาที่รวดเร็ว ของกิ จ การการบิ น ทั้ ง ในยุ โ รปและอเมริ ก า ก� ำ ลั ง ทางอากาศได้ พิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า เป็ น กองก�ำลังที่ชี้ผลแพ้ชนะของสงครามที่แท้จริง กองทัพทีเ่ ข้มแข็งจะต้องพึง่ พิงก�ำลังทางอากาศ จึงจะสามารถครองยุทธศาสตร์ได้ เมื่อล่วงเข้าปลายศตวรรษ ความโดดเด่น ยิ่ ง ชั ด เจนขึ้ น ของก� ำ ลั ง ทางอากาศ ถึ ง ขั้ น กล้ากล่าวและเป็นที่ยอมรับกันว่า ก�ำลังทาง อากาศสามารถชนะสงครามใดๆ ได้ โดยที่ไม่ ต้องใช้ก�ำลังทางภาคพื้น ซึ่งไม่ได้หมายความ ว่า ไม่มกี ารพึง่ พิง แต่หากหมายถึง การเอาชนะ สงครามที่มีการสูญเสียก�ำลังภาคพื้นน้อยที่สุด หรือไม่สูญเสียเลย ต้องใช้ก�ำลังทางอากาศ ที่เข้มแข็งที่สุดเท่านั้น จึงจะสามารถท�ำได้ ทศวรรษแรกของปี ๑๙๙๐ เกิดความขัดแย้ง จนกลายเป็ น สงครามในประเทศแถบยุ โ รป ตะวันออกติดทะเล Adriatic โดยฉพาะกลุ่ม ประเทศที่พึ่งแยกตัวออกจากยูโกสลาเวียหลัง ยุคสงครามเย็นสิน้ สุดลง ประเทศดังๆ ในย่านนี้ ที่แยกตัวมาจากยูโกสลาเวียและติดหูติดตามา ตลอดคือ Serbia,Croatia,Montenegro และ
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
เพียงแค่สองรัฐคือ Serbia และ Montenegro เท่านั้น ความโหดร้ายแบบสุดๆ เริ่มก่อตัวที่นี่ เมื่อจังหวัด Kosovo อันเป็นส่วนหนึ่งของ Serbia และประชากรส่วนใหญ่ในจังหวัดนีเ้ ป็น มุสลิมชาว Albanian แสดงความต้องการแบบ แรงกล้าที่จะแยกตัวอิสระบ้างตามกระแสของ รัฐใหญ่ๆ ของยูโกสลาเวีย เป็นความพยายาม Bosnia-Herzegovina เป็นต้น ประเทศใน ที่บ้าบิ่นและเดินไปบนล�ำธารโลหิตของการ ภูมิภาคนี้ อัดแน่นไปด้วยสารพัดปัญหาที่เป็น เข่นฆ่า ชนวนสงคราม ไม่ว่าจะเป็นดินแดน ความเชื่อ นาย Slobodan Milosevic ประธานาธิบดี ทางลัทธิศาสนาหรือเผ่าพันธ์ุ แห่งยูโกสลาเวียซึ่งเป็นชาวคริสต์ Serbian ความรุนแรงถึงขัน้ ฆ่าล้างผลาญให้สนิ้ ซาก ให้การสนับสนุน Serbia อย่างออกหน้าออกตา กันไปข้างใดข้างหนึง่ ใน Bosnia-Herzegovina ในการขั ด ขวางการแยกตั ว ออกเป็ น อิ ส ระ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นคริสต์ชาว Serbian ของจังหวัด Kosovo ซึ่งจังหวัดนี้ประชากร ซึ่งไม่ต้องการให้ชาวมุสลิม Bosnian แยก ส่วนใหญ่เป็นมุสลิมชาว Albanian ความยุง่ ยาก ตัวออกเป็นอิสระ โดยความรุนแรงของความ ใจได้ เ กิ ด ขึ้ น บนแผ่ น ดิ น ที่ มี พ ระเจ้ า ถึ ง สอง พยายามและต่อต้านการแยกประเทศในเวลา พระองค์ เดียวกันของเผ่าพันธุ์ทั้งสองศาสนานี้ เลวร้าย เดือน กันยายน ๑๙๙๘ กองทัพ Serbia ลงถึงขั้นเกิดสงครามในปี ๑๙๙๕ ได้บกุ เข้าไปใน Kosovo ประชาชนชาว Albanian ปัญหาใหญ่หลวงของที่สุดแห่งเงื่อนง�ำ เกื อ บครึ่ ง ล้ า นคนต้ อ งอพยพหนี ต ายไปยั ง สงครามคงจะไม่จบลงอย่างสันติ ความโหดร้าย ประเทศเพื่อนบ้านเช่น Albania,Macedonia จะยิ่งจมลึกไปมากยิ่งขึ้น ท�ำให้สหประชาชาติ และ Montenegro การฆ่าที่ไร้เหตุผลเต็มไป ผลักดันให้ NATO และสหรัฐฯ เข้ามาช่วยกู้ ด้วยความเกลียดชัง เป็นฆ่าท�ำลายล้างเผ่าพันธุ์ วิกฤตนี้ส�ำหรับสหรัฐฯ นั้น ในช่วงแรกได้เปิด โดยสิ้นเชิงของกองทัพ Serbia ซึ่งดูเหมือนจะ ยุทธการก�ำลังทางอากาศ “Deliberate Force” ท�ำให้ Kosovo เป็นดินแดนบริสุทธิ์ปราศจาก เพื่อปิดม่านหมอกความซึมเศร้าของสงคราม มุสลิม Albanian ให้เหลือแต่คริสต์ Serbian ที่เรียกว่า “The Bosnian Crisis” เท่ า นั้ น สงครามครั้ ง นี้ จะเรี ย กว่ า “The ปัญหา Bosnia แม้จะเบาบางลง แต่ความ Kosovo Crisis” ก็ได้ อึ ม ครึ ม และอึ ด อั ด จากบรรยากาศสงคราม เดือน ตุลาคม ๑๙๙๘ สหประชาชาติ และการค่อยๆ แยกตัวออกของรัฐต่างๆ ใน ได้เห็นชอบให้ NATO เข้ามีสว่ นในการจัดระเบียบ ความเป็นยูโกสลาเวีย ก็ยังยืดเยื้อยาวนานมา ความขัดแย้งอันน่ากลัวนี้ ซึ่งแนวทางการแก้ไข ถึงเกือบปลายทศวรรษ ๑๙๙๐ ยูโกสลาเวีย ปัญหาไม่ได้แตกต่างไปจาก “The Bosnian ในยุคนี้ ยังเหลือรัฐที่รวมกันเป็นยูโกสลาเวีย Crisis”ซึ่งเน้นไปที่การใช้ก�ำลังทางอากาศเป็น
33
เครื่ อ งมื อ หลั ก ในการยุ ติ ส งครามฆ่ า ล้ า ง เผ่าพันธุ์ นาย Slobodan Milosevic แสดงทีท่า เชื่อฟัง UN โดยแสดงเจตจ�ำนงการถอนก�ำลัง ทหารหลายหมื่นคนออกจาก Kosovo และให้ NATO บินส�ำรวจตรวจสอบการถอนทหารของ เขาได้ แต่สิ่งที่เขาท�ำก็เป็นแค่กลลวงเบี่ยงเบน ความกังวลของ UN เท่านั้น เขาไม่ได้ปฏิบัติ จริง ซ�้ำร้ายยิ่งกว่านั้น ในปลายปี ๑๙๙๘ เขา สั่งห้ามไม่ให้ เจ้าหน้าที่ UN เข้าไปตรวจสอบ ใน Kosovo ถึงการกระท�ำที่เป็นอาชญากร สงคราม ครั้นถึงต้นปี ๑๙๙๙ เขาได้ประกาศ บีบบังคับให้ผู้น�ำจังหวัด Kosovo เดินทางออก นอกประเทศ เมื่อการกระท�ำทุกวิถีทางของการเจรจา ที่ UN หรื อ NATO กับ นาย Slobodan Milosevic ไม่มีทิศทางบวก มีแต่จะแย่ลง เรื่ อ ยๆ ผู ้ ค นชาว Albanian ล้ ม ตายแบบ ง่ า ยๆ แต่ ด ้ ว ยวิ ธี ท่ี พิ ส ดารมากขึ้ น NATO จึ ง ตั ด สิ น ใจเปิ ด ปฏิ บั ติ ก ารของก� ำ ลั ง ทาง อากาศ“Operation Allied Force” ในวันที่ ๒๔ มีนาคม ๑๙๙๙ เพื่อจบอาชญากรสงคราม สายพันธ์ุใหม่แห่งยูโกสลาเวีย “Operation Allied Force” แม้จะ เป็นการประกอบก�ำลังของก�ำลังทางอากาศ จากหลายชาติ ใ นกลุ ่ ม NATO แต่ โ ดย ส่วนใหญ่แล้วก�ำลังทางอากาศก็มาจากสหรัฐฯ
34
ผูบ้ ญ ั ชาการปฏิบตั กิ ารนีก้ เ็ ป็นคนอเมริกนั มีศนู ย์ บัญชาการที่ Vicenza, Italy ในฝั่งของก�ำลังทางอากาศของยูโกสลาเวีย (Yogoslav Air Force) มีเขี้ยวเล็บสงคราม จากค่ายคอมมิวนิสต์เช่น 16MIG-29,80MIG21,28J-22 และ 70G-4M ก�ำลังภาคพื้นใน ระบบป้องกันตนเองทางอากาศของ Serbia มี แบบ Portable SA-7,SA-14 และ SA-16 ส่วน แบบ Long-range มี SA-2s,16SA-3s และ มากกว่า 80SA-6s ก� ำ ลั ง ทางบกของยู โ กสลาเวี ย มี ก� ำ ลั ง ทหารมากถึง ๒๐๐,๐๐๐ คน รถถังประมาณ ๕๔๐ คัน ปืนใหญ่มากกว่า ๒๐๐ ชุดยิง ส�ำหรับ ก�ำลังทหารที่ยูโกสลาเวียส่งเข้าไปใน Kosovo มีประมาณ ๔๐,๐๐๐ คน การท�ำแผนปฏิบัติการ (Air Campaign) ของ “Operation Allied Force” นั้น NATO วางแผนไว้ ๕ Phase โดยในขั้นแรกนั้นเริ่มต้น เมื่อ ๒๔ มีนาคม ๑๙๙๙ เป็นการโจมตีก�ำลัง ภาคพื้นและระบบป้องกันของยูโกสลาเวียทั้ง ที่กรุง Belgrade และ Kosovo ตั้งเป้าไว้ให้ ง่อยเปลี้ยเสียขากันไปเลย โดยใช้การโจมตี ทางอากาศจากเครื่องบินรบ มากกว่า ๒๑๔ เครื่อง ขึ้นบินจากฐานบินจากหลายประเทศ เช่น Italy, German, UK และ US นอกจากนั้น เพื่อความหนักแน่นของการท�ำลายและยับยั้ง NATO ยังใช้การทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์จาก
เครื่องบินทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขั้นต�ำนาน และขั้นเทพล่องหนทั้ง ๓ แบบคือ B-52 จาก ฐานใน UK, B-2 จากฐานที่ Whiteman AFB, Missouri และเครื่ อ งบิ น ทิ้ ง ระเบิ ด ระดั บ ความเร็วเหนือเสียงแบบ B-1 ด้วย การโจมตี จ ากก� ำ ลั ง ทางอากาศของ NATO ได้รับการเสริมความเข้มแข็งในการ สะกดก�ำลังภาคพื้นด้วยก�ำลังทางเรืออีกด้วย คื อ Tomahawk ส่ ง ของขวั ญ จากเรื อ รบ ในทะเล Adriatic เพี ย งแค่ ใ นช่ ว งสามวั น แรกของปฏิ บั ติ ก าร ระบบป้ อ งกั น และการ ควบคุมรายงาน (Air Defense System and Commmand and Control) ของยูโกสลาเวีย และ Serbia ก็ เ กื อ บจะย่ อ ยยับ เครื่องบิน รบแบบ MIG หลายสายพันธ์ที่ข้ึนบินขับไล่ สกัดกั้นแบบไม่ย�ำเกรง ถูกยิงตกถึง ๕ เครื่อง จาก F-16 และ F-15 ความส�ำเร็จของ Air Campaign ยกแรกนี้ต้องยกย่องและยอมรับ ความสมบู ร ณ์ ไ ร้ เ ที ย มทานของ Airborne Command and Control ซึ่งใช้ EC-130 และ ระบบ ISR (Intelligence, Surveillence and Reconnaissance ซึ่งใช้ RQ-1 (Predator) อย่างไรก็ตามการรบย่อมมีการสูญเสีย แต่การสูญเสียของเครื่องบินรบล่องหนของ NATO แบบ F-117 ที่ถูกยิงตกในวันที่สี่ของ ปฏิบัติการนั้น เป็นเรื่องที่น่าเหลือเชื่อ แต่ก็ เป็นผลดีทางด้านเทคนิคการบินของนักบินรุ่น หลังต่อไป และเป็นบททดสอบการให้ความ ส�ำคัญในคุณค่าของคน NATO ระดมสรรพ ก�ำลังในการค้นหาและช่วยชีวิตนักบิน F-117 จนสามารถช่ ว ยเหลื อ เขาออกมาได้ อ ย่ า ง ปลอดภัย การโจมตีของ NATO หนักหน่วงขึ้น เรื่อยๆ จนในที่สุดเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๑๙๙๙ กองบัญชาการใหญ่ทางทหารของยูโกสลาเวีย กลางกรุ ง Belgrade ก็ ถู ก โจมตี จ นพิ น าศ มืดบอดสนิทจริงๆ ในสายการบังคับบัญชา ท่ามกลางการปฏิบตั กิ ารทางอากาศทีก่ ดดัน ยูโกสลาเวีย NATO ก็ไม่ได้ลืมการช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรมต่อผู้อพยพลี้ภัยสงคราม ชาว Albanian จาก Kosovo ที่เข้าไปอยู่ใน ประเทศเพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะใน Albania การ ช่วยเหลือนี้เป็นภายใต้ปฏิบัติการ “Sustain Hope Operation” โดยใช้เครื่องบินล�ำเลียง ไอพ่นขนาดใหญ่แบบ C-17 ของกองทัพอากาศ สหรัฐฯ ภายหลังการปฏิบัติการ “Operation Allied Force” ไปได้สามสัปดาห์ Turkey และ Hungary ได้ยินยอมให้ NATO ใช้ฐานทัพ ในประเทศ ท�ำให้เกิดความง่ายของปฏิบัติการ มากขึ้ น จนสามารถท� ำ ลายศู น ย์ บั ญ ชาการ แห่งชาติของประธานาธิบดีในกรุง Belgrade นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ได้ แต่รัฐบาลนาย Slobodan Milosevic ก็ ไม่ได้ยอมแพ้ วันที่ ๒ พฤษภาคม ๑๙๙๙ เครื่องบินรบ แบบ F-16CJ ถูกยิงตกโดย SA-3 นักบินโชคดี เช่นเคยที่เขามีทีมค้นหาและกู้ภัยที่ยอดเยี่ยม เขาถูกช่วยเหลือในทันทีที่เท้าแตะพื้นหลังจาก ดีดตัวออกจากเครื่องบิน ในกรุง Belgrade เป็นอัมพาตหนักขึ้นเมื่อ F-117 แก้แค้นแทน เพื่อนที่ถูกยิงตก รอบนี้ F-117 หย่อน CBU-94 ท�ำลายระบบไฟฟ้าของ Belgrade โรงงาน ส� ำ คั ญ ๆ ให้ ย ่ อ ยยั บ ไประบบไฟฟ้ า ของ ยูโกสลาเวียหายไปถึงร้อยละ ๗๐ ส่งผลถึง การสื่อสารทุกอย่างต้องชะงักงันไปด้วย อาจ ถึงขั้นตีกลองแจ้งความส่งข่าวกันของผู้คนใน ยูโกสลาเวีย ความผิ ด พลาดที่ น ่ า อายเกิ ด ขึ้ น กั บ สหรัฐฯ เมื่อ ๗ พฤษภาคม ๑๙๙๙ เครื่อง B-2 ทิง้ ระเบิดท�ำลายถูกเป้าหมาย แต่เป็นเป้าหมาย ที่ แ ปลความผิ ด อย่ า งมหาศาล โดยที่ ฝ ่ า ย วิเคราะห์เป้าหมายมั่นใจว่า ตึกใหญ่กลางกรุง Belgrade คือ Federal Directorate for Supply and Procurement แต่แท้จริงแล้ว เป็นตึกของคู่แข่งพลังอ�ำนาจของโลกยุคใหม่ คือ ตึกที่ท�ำการสถานทูตจีน มีคนตายไปสาม คน บาดเจ็บอีกยีส่ บิ คน ประธานาธิบดี Clinton ถึงกับต้องขออภัยทางการทูตและเรียกความ ผิดพลาดครั้งนี้ว่า “Tragic Mistake” จีนเอง คงบอกไม่เป็นไร ทุกอย่างรอกันได้ เวลาจะเป็น เครื่องรักษาความเจ็บปวด หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
๒๔ พฤษภาคม ๑๙๙๙ NATO เข้า ซ�้ ำ ระบบไฟฟ้ า และสื่ อ สารอี ก รอบ เที่ ย วนี้ หนักหนาสาหัสมาก เหมือนนวดแผลที่ยังไม่ หาย ระบบไฟฟ้าและการสื่อสารปั่นป่วนใช้ งานไม่ได้ทั้งประเทศ ระบบธนาคารต้องปิด ตัวเอง การโฆษณาหาพวกปลุกระดมท�ำไม่ได้ ประเทศอยู่ในขั้นยับเยินมาก ในเวลาเดียวกัน The International Criminal tribunal ได้ พิ พ ากษาว่ า นาย Slobodan Milosevic ประธานาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย มีการกระท�ำ ที่เป็นอาชญากรสงคราม ๕ พฤษภาคม ๑๙๙๙ นาย Slobodan Milosevic ประธานาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย ประกาศยิ น ดี ที่ จ ะเจรจา แต่ ใ นช่ ว งเจรจา NATO ยั ง คงโจมตี ยุ ท ธศาสตร์ ส� ำ คั ญ ที่ ยั ง เหลืออยู่เช่น สนามบินชั้นรอง โรงกลั่นน�้ำมัน และก� ำ ลั ง ทหารของ Serbia ใน Kosovo เป็นการจบขีดความสามารถทางทหารเชิงรุก ต่อ Kosovo อย่างสิ้นเชิง ๙ มิ ถุ น ายน ๑๙๙๙ นาย Slobodan Milosevic ประธานาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย ยอมรับ เงื่อนไขทุกประการของ NATO ทหาร Serbia ถอน ก� ำ ลั ง ที่ พิ ก ารจาก Kosovo กลั บ รั ง ที่ ท รุ ด โทรม เจ้าหน้าที่สหประชาชาติที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจ สอบควบคุมให้เกิดสันติภาพ เริ่มเดินทางเข้า Kosovo ชาว Albanian ทีพ่ ลัดบ้านเมืองไป เริม่ หวนกลับคืนมาบูรณะถิ่นฐานบ้านเกิด รุ่งขึ้น วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๑๙๙๙ NATO ยุติการ โจมตีทางอากาศที่มีมาอย่างหนักหน่วงตลอด
ช่วงเวลา ๗๘ วัน ชีวติ ของผูน้ ำ� ยูโกสลาเวีย ทีใ่ ช้ดา้ นทีม่ ดื มิด ของความเกลียดชังในเรือ่ งเชือ้ ชาติและศาสนา เป็นแสงน�ำทางชีวิตเขาและชาติบ้านเมือง มา อยู ่ ใ นสถานะที่ น ่ า เป็ น ห่ ว ง ตั ว เขาถู ก ส่ ง ตั ว ไปขึ้นศาลโลกที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ เมื่อ ๒๙ มิ ถุ น ายน ๒๐๐๑ ในข้ อ หาอาชญากร สงคราม ต้นตอของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เผา รหัสพันธุกรรม ศาลโลกเริ่มพิจารณาคดีเมื่อ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๐๐๒ เขาถือว่าเป็นผู้น�ำ รัฐคนแรกที่ต้องขึ้นศาลโลกเพื่อพิจารณาคดี อาชญากรสงคราม ชีวติ เขาอาภัพนัก ไม่ยนื ยาว พอทีจ่ ะได้ฟงั ผลการพิจารณา เขาเสียชีวติ ภายใต้ การถูกควบคุมตัวในระหว่างพิจารณาคดีเมื่อ วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๐๐๖ “Operation Allied Force” เป็นบท เรียนของสงครามยุคใหม่ ที่พิสูจน์ให้เห็นว่า การมีกำ� ลังทางอากาศทีเ่ หนือกว่า และสามารถ ครองความเป็นเจ้าอากาศได้ จนท�ำให้การ ปฏิบตั กิ ารทางทหารใดๆ เป็นไปได้เกือบจะเสรี นั้น คือสิ่งบอกอนาคตว่า ชัยชนะจะเป็นของ ผู้ที่ครองฟ้า และที่ส�ำคัญ ก�ำลังทางอากาศ ที่ เ ข้ ม แข็ ง สามารถน� ำ พาให้ เ กิ ด ชั ย ชนะ ได้ แ ต่ เ พี ย งล� ำ พั ง “Operation Allied Forceproved that a war can be win by airpower alone”
35
ดุลยภาพทางการทหาร ของประเทศอาเซียน
ฝูงรถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ห
น่ ว ยนาวิ ก โยธิ น อิ น โดนี เ ซี ย ประจ�ำการด้วยรถรบทหารราบ แบบบีเอ็มพี-๒ (BMP-2) ซื้อ มาจากประเทศยู เ ครน รวม ๙ คั น เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๔๑ ได้รับมอบรถรบบีเอ็มพี-๒ ในปี เดียวกัน ต่อมาได้จัดซื้อเพิ่มเติมอีก ๒ คัน จัด ซื้อเพิ่มเติมอีก ๑๑ คัน เป็นรุ่นบีวีพี-๒ (BVP-2) เป็นรุ่นที่ผลิตจากประเทศสโลวาเกีย ได้รับ
มอบในปี พ.ศ.๒๕๔๓ จัดซื้อเพิ่มเติมอีกหลาย โยธินที่ ๑ กองบัญชาการอยู่ที่เมืองสุราบายา ครั้ ง รวมประจ� ำ การ ๔๐ คั น หน่ ว ยนาวิ ก ก�ำลังรบ ๓ กองพันทหารราบ (กองพันที่ ๑, โยธินอินโดนีเซียน�ำรถรบทหารราบแบบบีเอ็ม กองพันที่ ๓ และกองพันที่ ๕) พร้อมด้วยหน่วย พี-๒ (BMP-2) ปฏิบัติการทางทหารที่จังหวัด สนับสนุนในส่วนฐานของกองพลน้อย, กองพล อาเจะห์ (Aceh) ปี พ.ศ.๒๕๔๓ - ๒๕๔๖ หน่วย น้อยทหารราบนาวิกโยธินที่ ๒ กองบัญชาการ นาวิกโยธินอินโดนีเซียมีผู้บังคับหน่วยชั้นยศ อยู่ที่กรุงจาการ์ต้าก�ำลังรบ ๓ กองพันทหาร พลตรี ก�ำลังพล ๒๙,๐๐๐ นาย ก�ำลังทหาร ราบ (กองพันที่ ๒, กองพันที่ ๔ และกองพันที่ ๖) ประกอบด้ ว ย กองพลน้ อ ยทหารราบนาวิ ก พร้อมด้วยหน่วยสนับสนุนส่วนฐานของกองพลน้อย
รถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ กองทัพบกอินเดีย ขณะท�ำการฝึกภาคสนามที่รัฐราชาสถาน (Rajasthan) ทะเลทรายธาร์ (Thar Desert) ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศพื้นที่ขนาด ๒๐๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ใกล้ชายแดนปากีสถาน 36
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
รถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ กองทัพบกรัสเซีย จากกองทัพที่ ๕๘ ขณะปฏิบัติการทางทหารที่เซ้าโอซีเทีย (South Ossetia War) พ.ศ.๒๕๕๑
ป้อมปืนของรถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ พร้อมด้วยปืนหลักขนาด ๓๐ มิลลิเมตร เครื่อง ยิงลูกระเบิดควัน (สามท่อยิง) และจรวดน�ำวิถตี อ่ สูร้ ถถัง เอที-๕ พร้อม ด้วยช่องยิงทางด้าน ข้าง (สามช่องยิง) ลูกจรวดหนัก ๑๔.๖ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๒.๗ กิโลกรัม น�ำวิถีด้วยระบบ เส้นลวด และระยะยิง ๗๐ - ๔,๐๐๐ เมตร
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
และกองพลน้ อ ยทหารราบนาวิ ก โยธิ น ที่ ๓ กองบัญชาการอยูท่ จี่ งั หวัดสุมาตราใต้ ก�ำลังรบ รวม ๔ กองพันทหารราบ (กองพันที่ ๗, กองพัน ที่ ๘ และกองพันที่ ๙) รถรบทหารราบบีเอ็มพี-๒ (BMP-2) อดีต สหภาพโซเวียตได้พัฒนาขึ้นในยุคสงครามเย็น ต่อจากรถรบทหารราบแบบบีเอ็มพี-๑ (BMP1) ข้อมูลส�ำคัญคือ น�้ำหนัก ๑๔.๓ ตัน ยาว ๖.๗๒ เมตร กว้าง ๓.๑๕ เมตร สูง ๒.๔๕ เมตร เครื่องยนต์ดีเซล ขนาด ๓๐๐ แรงม้า (UTD20/3) ความเร็วในภูมิประเทศ ๔๕ กิโลเมตร ต่ อ ชั่ ว โมง ความเร็ ว ในน�้ ำ ๗ กิ โ ลเมตรต่ อ ชั่วโมง ระยะปฏิบัติการ ๖๐๐ กิโลเมตร เกราะ หนา ๓๓ มิลลิเมตร อาวุธหลัก ปืนขนาด ๓๐ มิลลิเมตร (2A42 อัตราการยิงสูงสุด ๕๕๐ ๘๐๐ นัดต่อนาทีและระยะยิงไกล ๔,๐๐๐ เมตร) จรวดน�ำวิถีต่อสู้รถถังขนาดหนักแบบ เอที-๕ (AT-5 Spandrel/9M113 Konkurs ลูกจรวดหนัก ๑๔.๖ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๒.๗ กิโลกรัม น�ำวิถีด้วยระบบเส้นลวด ระยะยิง ๗๐ - ๔,๐๐๐ เมตร) ปืนกลเบาขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร (PKTM) และบรรทุกทหารได้ ๑๐ นาย (ประจ�ำรถ ๓ นาย + ทหารราบ ๗ นาย) น�ำเข้าประจ�ำการในกองทัพบกอดีตสหภาพ โซเวียตปี พ.ศ.๒๕๒๓ เป็นห้วงของสงครามเย็น ที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางด้ า นอุ ด มการณ์ แ ละ ปฏิบัติการทางทหารเกิดขึ้นหลายครั้งทั่วโลก
37
รถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ กองทัพอัฟกานิสถานขณะปฏิบัติการลาดตระเวนวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๐ บริเวณหมู่บ้านทาแก็บ (Tagab) ประเทศอัฟกานิสถาน
รถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ (รุน่ บังคับการ) กองทัพอิรกั ถูกยิงได้รบั ความเสียหายอย่างมาก ทางด้านซ้ายบริเวณด้านหลังของตัวรถ พื้นที่การรบอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิรัก ในสงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งที่ ๒ ปี พ.ศ.๒๕๔๖
38
จึ ง ได้ ป ระจ� ำ การแพร่ ห ลายประกอบด้ ว ย กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง กลุ่มประเทศอ่าวเปอร์เซีย และอั ฟ ริ ก าแสดงถึ ง รถรบทหารราบแบบ บีเอ็มพี-๒ (BMP-2) ประจ�ำการอย่างแพร่หลาย ในหลายภูมิภาคของโลกรวมทั้งได้ปฏิบัติการ ทางทหารในหลายสภาพของพื้ น ที่ ก ารรบ และหลายสภาพภูมิอากาศที่จะลดขีดความ สามารถของรถรบทหารราบให้ ล ดต�่ ำ ลงทั้ ง ระบบเครื่องยนต์และระบบอาวุธ (ฝุ่นทราย ละเอียดรวมทั้งอุณหภูมิสูงมากและอุณหภูมิ ต�่ ำ มากใต้ ศู น ย์ อ งศาเซลเซี ย ส จะลด ประสิทธิภาพการท�ำงานของกลไกหรือท�ำงาน ไม่เป็นไปตามปกติ) รถรบทหารราบแบบบีเอ็มพี-๒ (BMP-2) มีส่วนร่วมปฏิบัติการทางทหารทั่วโลกตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๒๓ จนถึ ง ปั จ จุ บั น นาน ๓๕ ปี รวมทั้งสิ้น ๒๐ สมรภูมิ แต่มีปฏิบัติการทาง ทหารขนาดใหญ่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ของภูมิภาคที่ส�ำคัญคือสงครามกลางเมืองใน อังโกลา พ.ศ.๒๕๑๘ - ๒๕๔๕, โซเวียตบุก อัฟกานิสถาน พ.ศ.๒๕๒๒ - ๒๕๓๒ (เมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๒ รถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ จึงเข้าร่วมปฏิบัติการในเวลาต่อมา ในสนามรบที่ เ ป็ น ทะเลทรายแห้ ง แล้ ง อดี ต สหภาพโซเวียตท�ำการรบนาน ๙ ปี กับอีก ๑ เดือน), สงครามอิหร่าน-อิรัก พ.ศ.๒๕๒๓ ๒๕๓๑ (อิรักบุกอิหร่าน เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๒ อิรักท�ำการรบนาน ๗ ปีกับอีก ๑๐ เดือน), สงครามอ่าวเปอร์เซีย ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๓๓ - ๒๕๓๔ (ยุทธการพายุทะเลทราย), สงครามในอัฟกานิสถาน พ.ศ.๒๕๔๔- ปัจจุบนั , สงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๖ ปัจจุบันและสงครามกลางเมืองในซีเรีย พ.ศ. ๒๕๕๔ - ปัจจุบัน เมื่ อ อดี ต สหภาพโซเวี ย ตได้ ล ่ ม สลาย ลงเป็ น ผลให้ เ กิ ด เป็ น ประเทศใหม่ อี ก หลาย ประเทศและได้ น� ำ มาสู ่ ส งครามกลางเมื อ ง ทหารทั้งสองฝ่ายมีการใช้อาวุธที่เหมือนกัน โดยเฉพาะรถรบทหารราบแบบบี เ อ็ ม พี - ๒ (BMP-2) พร้อมทั้งยุทธวิธีที่เหมือนกัน มีการ เผยแพร่ข่าวสารให้ต่างประเทศไม่มากนักคือ สงครามกลางเมืองในจอร์เจีย พ.ศ.๒๕๓๑ ๒๕๓๖,สงครามกลางเมืองในทาจิคิสถาน พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๔๐, สงครามกลางเมืองเชเชน ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๓๗ - ๒๕๓๙, สงครามหกวัน ในอั บ คาฮ์ เ ซี ย พ.ศ.๒๕๓๑, สงครามกลาง เมืองเชเชนครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๒,สงครามที่
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เซ้าโอซีเทีย พ.ศ.๒๕๕๑ และสงครามในยูเครน พ.ศ.๒๕๕๗ มีการผลิตออกมาทั้งสิ้น ๕ รุ่น (เป็นรุ่นหลักตามภารกิจการใช้งาน) นอกจาก นี้ ยั ง มี ก ารผลิ ต ในต่ า งประเทศ ประกอบ ด้ ว ย อดี ต เชคโกสโลวเกี ย (เรี ย กชื่ อ ใหม่ ว ่ า BVP-2) และอิ น เดี ย (BMP-2, มี ชื่ อ เรี ย ก ว่ า Sarath ท� ำ การผลิ ต ระหว่ า งปี พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๔๒ รวมทั้ ง สิ้ น ๑,๒๕๐ คั น ) ปัจจุบันนี้ยังคงประจ�ำการอยู่ทั่วโลกรวม ๓๒ ประเทศ ส�ำหรับประเทศทวีปเอเชียที่น�ำเข้า ประจ�ำการรวม ๑๐ ประเทศประกอบด้วย จอร์แดน ๓๑ คัน, ซีเรีย ๑๐๐ คัน (ปัจจุบัน ยังมีการรบอยู่), เยเมน ๓๓๔ คัน (คงเหลือ ประจ�ำการ ๑๐๐ คัน), คูเวต ๓๖๗ คัน (คงเหลือ ประจ�ำการ ๗๖ คัน), อัฟกานิสถาน (๑๕๐ คัน มี ป ฏิ บั ติ ก ารทางทหารเป็ น ระยะเวลานาน จึงไม่ทราบจ�ำนวนทีแ่ ท้จริง), อิหร่าน ๑,๕๐๐ คัน (คงเหลือประจ�ำการ ๔๐๐ คัน) ,ศรีลงั กา ๔๐ คัน, อินเดีย ๑,๕๐๐ คัน, อินโดนีเซีย ๔๐ คันและ เวียดนาม ๖๐๐ คัน กองทัพบกอิรักเคยประจ�ำ การด้วยรถรบทหารราบบีเอ็มพี-๒ (BMP-2) เป็นจ�ำนวนมากตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๙ ต่อมา ได้ น� ำ เข้ า ปฏิ บั ติ ก ารบุ ก ประเทศคู เ วตเมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๓๓ น�ำมาสู่ยุทธการพายุทะเลทราย หรือรู้จักในชื่อสงครามอ่าวเปอร์เซีย ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๓๔ และสงครามอ่าวเปอร์เซีย ครัง้ ที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๖ รถรบทหารราบบีเอ็มพี-๒ (BMP-2) ถู ก ท� ำ ลายเป็ น จ� ำ นวนมากในพื้ น ที่ ก ารรบ ที่เป็นทะเลทราย ปัจจุบันนี้กองทัพอิรักอยู่ใน การสร้างกองทัพบกขึ้นใหม่ (ส่วนใหญ่จะน�ำ อาวุธรุ่นใหม่เข้าประจ�ำการ อาวุธที่ประจ�ำการ มาเป็นเวลานานจะมีความยุ่งยากในระบบการ ส่งก�ำลังบ�ำรุง) กองทัพบกเวียดนามประจ�ำการด้วยรถ รบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ (BMP-2) รวม ๑๕๐ คัน จัดซื้อมาจากอดีตสหภาพโซเวียต และได้ รับมอบระหว่างปี พ.ศ.๒๕๒๕ - ๒๕๒๗ จัดซื้อ เพิม่ เติมอีกหลายครัง้ ปัจจุบนั ประจ�ำการ ๖๐๐ คัน จึงเป็นรถรบหลักของกองพลทหารราบ ๖ กองพล และกองพลน้อยรถถัง ๓ กองพล
รถรบทหารราบ บี เ อ็ ม พี - ๒ กองทั พ บกซี เ รี ย ขณะปฏิ บั ติ ก ารทางทหารเมื อ ง ตอนเหนือของประเทศ เมือ่ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ อาวุธหลักคือปืนขนาด ๓๐ มิลลิเมตร (2A42) อัตราการยิง (ต�่ำ) ๒๐๐ - ๓๐๐ นัดต่อนาที อัตราการยิงสูงสุด ๕๕๐ - ๘๐๐ นัด ต่อนาทีและระยะยิงไกล ๔,๐๐๐ เมตร
รถรบทหารราบ บีเอ็มพี-๒ ทางด้านในเป็นทีน่ งั่ ของทหารราบ พร้อมด้วยอาวุธทีน่ ำ� ติดตัว บรรทุกทหาร ๑๐ นาย ประกอบด้วย พลประจ�ำรถ ๓ นาย พร้อมด้วยทหารราบ ๗ นาย
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
39
เปิดประตู
สู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ เปิดตัว T-14 รถถังใหม่ หรือ Minor Change
ร
ถถังถือเป็นยานรบทางบกหลัก ส�ำหรับปฏิบตั กิ ารรบด้วยวิธรี กุ ใน ยุทธวิธีที่ต้องอาศัยความรวดเร็ว ในการเคลือ่ นทีไ่ ปยังพืน้ ทีเ่ ป้าหมายเพือ่ ประชิด แนวข้าศึก ควบคู่ไปกับอ�ำนาจการโจมตีและ ท�ำลายที่รุนแรง สามารถปฏิบัติภารกิจได้ใน ทุ ก สภาพภู มิ ป ระเทศ สภาพอากาศ โดยที่ สามารถด� ำ รงความอยู ่ ร อดของรถถั ง และ เจ้าหน้าที่ภายในรถให้ปลอดภัย ศักยภาพและ แสนยานุ ภ าพของรถถั ง เหมาะกั บ รู ป แบบ ของการเจาะลึ ก หรื อ การโอบปี ก กว้ า งพื้ น ที่ การรบ ในปั จจุ บัน รถถังที่ไ ด้รับ การยกย่อง
40
ด้ า นสมรรถนะและได้ รั บ การกล่ า วขาน จนเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีมีหลายรุ่น อาทิ รถถัง T-90 ของรัสเซีย M1A2 Abrams ของ สหรัฐ Leopard 2A7+ ของเยอรมัน รถถัง เหล่ า นี้ น อกจากจะถู ก น� ำ เข้ า ประจ� ำ การใน ประเทศของผู ้ ผ ลิ ต แล้ ว ยั ง ได้ รั บ จั ด หาเพื่ อ บรรจุเข้าประจ�ำการกองทัพในต่างประเทศ อี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ ยั ง มี อี ก หลายประเทศ ที่ ส ามารถผลิ ต รถถั ง ใช้ เ องในประเทศ ยกตัวอย่างเช่น รถถัง Merkava ของอิสราเอล และ T-99 ของจีน เป็นต้น รถถังเหล่านี้มี ต้นก�ำเนิดมาจากแนวคิดและเทคโนโลยีในยุค
ช่วงสมัยสงครามเย็น ส�ำหรับปฏิบตั กิ ารรบตาม แบบหรือ Conventional Warfare ผ่านการ พัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถไปตามกาล เวลาและยุคสมัย ล่าสุดเมื่อเดือนเมษายนปีนี้ รถถัง T-14 Armata ของรัสเซียได้ปรากฏตัว ออกมาให้ เ ห็ น ในขบวนพิ ธี ฉ ลองชั ย ชนะใน สงครามโลกครั้งที่สอง ใจกลางย่านจัตุรัสแดง การปรากฏตัวครั้งนี้ได้สร้างแรงสั่นสะเทือน เขย่าวงการรถถังครั้งใหญ่พลิกโฉมรูปลักษณ์ ของรถถังค่ายรัสเซียที่เราคุ้นเคย ด้วยรูปทรง การออกแบบอั น ทั น สมั ย ภายใต้ ก รอบแนว ความคิดทางยุทธวิธแี บบใหม่ครอบคลุมการรบ
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ในแบบ Conventional Warfare และ การรบ ในเขตเมือง (Urban Warfare) แต่ยงั คงด�ำรงไว้ ซึ่งประสิทธิภาพและแสนยานุภาพตามแบบ ฉบับของยุทโธปกรณ์ค่ายรัสเซีย
ระบบอาวุธ
รถถัง Leopard 2
รถถัง T-90
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
เครื่องหมายการค้าที่เป็นเอกลักษณ์ของ รถถังค่ายรัสเซีย คือ อ�ำนาจการยิง ไม่ว่าจะ ในยุคสมัยใดก็ตาม ยานรบทางบกของรัสเซีย จะอัดแน่นไปด้วยระบบอาวุธหลากหลายชนิด เต็มเปี่ยมไปด้วยอ�ำนาจการท�ำลาย ส�ำหรับ T-14 ยังคงเดินตามเส้นทางนั้นด้วยปืนใหญ่ ขนาด ๑๒๕ มิลลิเมตร มีขนาดใหญ่กว่าปืน รถถังของกลุม่ ประเทศ NATO อย่าง Leopard 2 และ Abram ทีม่ ขี นาด ๑๒๐ มิลลิเมตร ด้านนอก ล�ำกล้องปืนของรถถัง T-14 ถูกหุ้มด้วยปลอก กันความร้อน ส่วนด้านในล�ำกล้องน่าจะถูก เคลือบสารในกลุ่มของ Chromium ช่วยชะลอ การสึกกร่อนและยืดอายุการใช้มากขึ้น ภายใน ป้อมปืนบรรจุกระสุนพร้อมยิงจ�ำนวน ๓๒ นัด การบรรจุกระสุนเป็นแบบอัตโนมัติ ช่วยลด ขั้นตอนในการบรรจุกระสุน เพิ่มความรวดเร็ว ในการยิงส�ำหรับกระสุนส�ำรองอีก ๔๕ นัด ถูกแยกเก็บไว้คนละส่วนกับห้องพลประจ�ำรถเพือ่ ความปลอดภัยตัวป้อมปืนยังคงรูปแบบเดิม ทีเ่ น้นให้มขี นาดเล็กมีนำ�้ หนักเบาและยากต่อการ ถูกตรวจจับ รูปทรงของป้อมปืนมีมุมลาดเอียง ช่ ว ยลดการเจาะทะลุ ท ะลวงจากอาวุ ธ ของ ฝ่ายข้าศึก ความแม่นย�ำในการโจมตีถือเป็นหัวใจ ส�ำคัญของอาวุธยิงเล็งตรงอย่างปืนใหญ่รถถัง ไม่เพียงเท่านั้น พลปืนประจ�ำรถจะต้องค้นหา และพิสูจน์ทราบเป้าหมายได้จากระยะไกล ท�ำการยิงได้อย่างแม่นย�ำทั้งในขณะเคลื่อนที่ หรื อ หยุ ด นิ่ ง ที่ ผ ่ า นมานั้ น การพิ สู จ น์ ท ราบ เป้าหมายด้วยกล้องตรวจจับความร้อนหรือ กล้องกลางคืนถือเป็นจุดอ่อนทางด้านเทคโนโลยี ของรั ส เซี ย ที่ ล ้ า หลั ง ชาติ ต ะวั น ตกและนั บ เป็นข้อจ�ำกัดของรถถังรัสเซียในรุ่นที่ผ่านมา แต่ปัญหาเหล่านี้ได้หมดไปเมื่อรัสเซียหันไปพึ่ง เทคโนโลยีทางฝั่งตะวันตก ช่วยให้รถถังของ รัสเซียมีขดี ความสามารถในการรบเวลากลางคืน ได้ ทั ด เที ย มกั บ รถถั ง จากค่ า ยอื่ น ๆ ในส่ ว น ของการยิงที่แม่นย�ำนั้น T-14 มีระบบควบคุม การยิงซึ่งประกอบด้วยส่วนที่เป็น Hardware และ Software ผ่านการปรับปรุงพัฒนาจาก รถถังรุน่ ก่อนๆ ระบบควบคุมการยิงจะหลอมรวม ข้อมูลจากอุปกรณ์ตรวจวัดต่างๆ อาทิ เครื่อง วัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ Laser Rangefinder เครื่องวัดค่าสภาพอากาศ รวมถึงข้อมูลของ เป้าหมายและประเภทของกระสุนที่ใช้โดยจะ ค�ำนวณออกมาเป็นวิถีกระสุน แล้วท�ำการส่ง ข้อมูลต่อไปยังกลไกเพื่อปรับทิศและมุมของ 41
รถถัง M1 Abram
รถถัง Merkava ล�ำกล้องปืน นอกจากนี้บทเรียนจากสงคราม ในอัฟกานิสถานและเชชเนียเป็นสองสมรภูมิ ที่ ส ร้ า งความสู ญ เสี ย ให้ กั บ รถถั ง รั ส เซี ย เป็ น จ�ำนวนมาก บทเรียนนี้ได้สอนเรื่องการรับมือ กับการถูกรุมส�ำหรับการรบในเมือง ที่อยู่ใน ระยะประชิดโดยได้ท�ำการติดตั้งปืนอัตโนมัติ ขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร ไว้บน T-14 โดยทีพ่ ลปืน สามารถท�ำการยิงได้อย่างแม่นย�ำจากภายในรถ อย่างปลอดภัยจากการถูกลอบซุ่มโจมตี 42
ระบบป้องกันตัวเอง
การป้ อ งกั น ตั ว เองของรถถั ง T-14 สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ชั้น ได้แก่ เกราะ Explosive Reactive Armour (ERA) แผ่น เกราะ Composite และ ระบบ Active Protection ที่ ป ระกอบไปด้ ว ยอุ ป กรณ์ (Sensor) ต่างๆ โดยรอบป้อมปืน ซึ่งส่วนหนึ่ง คาดว่าเป็นอุปกรณ์ตรวจจับรังสีอินฟราเรด ในย่านแสงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความร้อนหรือ
แสงเลเซอร์รวมทั้งแผงเรดาร์ เพื่อตรวจจับ อาวุ ธ ต่ อ สู ้ ร ถถั ง นอกจากนี้ ยั ง ได้ มี ก ารวาง ต�ำแหน่งท่อยิง Smoke Grenade ที่มีรัศมีการ ป้องกันแบบรอบทิศ รวมถึงด้านบนของป้อม ปืนเพื่อรับมือกับจรวดต่อสู้รถถังชนิดสามารถ เลือกโหมดการโจมตีแบบ Top Attack อย่าง Spike หรือ Javelin ซึ่งวิถีการเคลื่อนที่ของ จรวดจะเข้าโจมตีจากทางด้านบนของรถถัง เนื่องจากเป็นส่วนที่มีการป้องกันที่บอบบาง ที่สุดนอกจากนี้ยังมีตะแกรงเหล็ก Slat Armor คอยท� ำ หน้ า ที่ ป ้ อ งกั น ห้ อ งเครื่ อ งจากการ โจมตี อี ก ด้ ว ย ภั ย คุ ก คามที่ น ่ า สะพรึ ง กลั ว ของรถถั ง อี ก ประเภทคื อ ระเบิดแสวงเครื่อง หรือ IED ที่สามารถสร้างความเสียหายให้กับ รถถังไม่แพ้จรวดต่อสู้รถถัง ดังที่รถถัง M1 Abram เกราะ ตะแกรงเหล็ก Slat Armor อุปกรณ์ตอ่ ต้านกับได้เผชิญมาแล้วในอิรกั รถถัง T-14 จึงได้ติดตั้งอุปกรณ์ต่อต้านกับระเบิด และระเบิดแสวงเครื่องด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Electromagnetic Pulse ในส่วนของการป้องกัน พลประจ�ำรถนับเป็นอีกหนึ่งด้านที่ได้รับการ ปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้น โดยต�ำแหน่งของ ที่ นั่ ง ของพลประจ� ำ รถจะถอยห่ า งออกจาก ด้ า นหน้ า รถ ซึ่ ง ระยะห่ า งนี้ จ ะเป็ น การเพิ่ ม พื้นที่ส�ำหรับติดตั้งแผ่นเกราะให้มีความหนา มากขึ้น
ภาพรวม
ด้านมิติของรถถัง T-14 มีน�้ำหนักโดย ประมาณอยู่ที่ ๔๘ ตัน ถือว่ามีขนาดที่เล็กกว่า และน�้ำหนักตัวที่เบากว่า M1Abrams หรือ Leopard 2 มีน�้ำหนักโดยเฉลี่ยที่ ๖๐ ตัน และมีพลประจ�ำ ๔ คน ซึ่งประกอบไปด้วย ผูบ้ งั คับรถ, พลขับ, พลปืน และพลบรรจุกระสุน ในขณะที่ T-14 มีพลประจ�ำรถ ๓ นาย เนือ่ งจาก สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
การบรรจุกระสุนท�ำโดยอัตโนมัติ โดยที่ห้อง พลประจ� ำ รถถู ก จั ด วางให้ อ ยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง ที่ ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ที่นั่งของผู้บังคับรถ และ พลขับ อยู่ในแนวระนาบเดียวกัน ช่วยให้การ สื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ T-14 มี ปืนใหญ่ขนาด ๑๒๕ มิลลิเมตร เป็นอาวุธหลัก อีกทัง้ ยังยิงอาวุธน�ำวิถไี ด้อกี ด้วย ด้านระบบขับ เคลื่อน T-14 เลือกที่จะใช้เครื่องยนต์ดีเซลใน ระดับแรงม้าที่ ๑,๕๐๐ แรงม้า และช่วงล่างที่ มีจ�ำหน่ายทั่วไปในท้องตลาดและมีใช้งานอยู่ ในกองทัพ เพื่อความง่ายและสะดวกต่อการ ซ่อมบ�ำรุง ต่างจาก M1Abrams ที่ขับเคลื่อน ด้วยเครื่องยนต์ Turbine ถึงแม้จะใช้น�้ำมันได้ หลายชนิด (Multi Fuel) ทั้ง JP4 หรือ JP8 แต่ มีความสลับซับซ้อนในการซ่อมบ�ำรุง ในด้าน ของระบบไฟฟ้าภายในยานรบหรือ Vetronics (Vehicle Electronics) ประมาณการว่าส่วน ใหญ่ยังคงเป็นเทคโนโลยีที่มาจากรถถัง T-90 โดยอาจจะมีปรับปรุงในส่วนของ Software รวมทั้งการปรับปรุงระบบควบคุมการยิงให้ มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ตลอดจนการบริหาร จัดการข้อมูลและการแสดงผลจากระบบตรวจ จับต่างๆ ที่ติดตั้งอยู่รอบตัวรถ
สรุป
นาที นี้ ค งต้ อ งยกนิ้ ว ให้ ที ม งานนั ก วิ จั ย รถถัง T-14 ทีไ่ ด้ทำ� การวิเคราะห์และศึกษาสภาพ แวดล้อมและภัยคุกคามเรียกว่าได้ท�ำการบ้าน มาเป็นอย่างดี มีการปรับปรุง พัฒนา และแก้ไข ข้อจ�ำกัดทางเทคนิคต่างๆ รวมถึงปัญหาจาก การใช้งานที่ผ่านมาในอดีตได้อย่างครบถ้วน และสมบูรณ์ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของการเคลือ่ นที่ ระบบอาวุธ ความอยู่รอดในสนามรบ มีการใช้ อะไหล่และชิ้นส่วนแบบเดียวกับยานรบภาค พื้นดินแบบอื่นๆ ช่วยเพิ่มความสะดวกด้าน การส่งก�ำลังบ�ำรุงแบบชนิดที่ว่าถูกใจหน่วย ผู้ใช้ สบายใจหน่วยผู้ซ่อม นี่คงจะเป็นการส่ง สัญญาณทีช่ ดั เจนจากแดนหมีขาวรัสเซียถึงช่วง เวลาแห่งการปฏิรูปและพัฒนาก�ำลังรบให้มี ความทันสมัย คิดนอกกรอบและก้าวข้ามความ คุ้นเคยกับแนวคิดสมัยยุคสงครามเย็น ที่ตาม หลอกหลอนมาเป็นเวลานานจนกระทั่งได้ออก มาเป็นรถถังที่ถือว่าเหมาะกับหลักนิยมและ สภาพแวดล้อมด้านภัยคุกคามของรัสเซียอย่าง สมบูรณ์แบบ นับจากนี้ไป T-14 จะเป็นฐาน ทางด้านเทคโนโลยีที่จะใช้ก้าวไปในการพัฒนา รถถังรุ่นใหม่ๆ ของรัสเซียต่อไปในอนาคต
เกราะ ตะแกรงเหล็ก Slat Armor หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
43
วัฒนธรรมทางการเมือง ของสังคมไทยกับ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จุฬาพิช มณีวงศ์
ค
นในสังคมเดียวกันมักมีรูปแบบ ตรงกันข้ามกับในเกาหลีใต้ที่ผู้เดินขบวน พฤติ ก รรมทางการเมื อ งที่ มักจะใช้ก�ำลังเข้าปะทะกับต�ำรวจรักษาการณ์ คล้ายคลึงกัน เช่น นักการเมือง อยูเ่ สมอ มีการใช้กอ้ นหินขว้างปาหรือใช้ระเบิด อเมริ กั น มั ก มี ก ารโจมตี กั น อย่ า งรุ น แรงใน ขวดท�ำร้ายต�ำรวจ เช่นเดียวกับในไต้หวันจะ ช่ ว งเวลาการหาเสี ย ง แต่ เ มื่ อ การเลื อ กตั้ ง เห็นกันบ่อยๆ ที่ผู้แทนราษฎรใช้ก�ำลังท�ำร้าย ผ่านไปพวกเขาก็จะไม่ถือเอาการปะทะคารม กันและกัน หรือใช้สิ่งของขว้างปากันในสภา และการโจมตี กั น ตอนหาเสี ย งมาก่ อ ให้ เ กิ ด ส่วนในประเทศอังกฤษการถกเถียงกันในสภา การบาดหมางคลางแคลงใจกัน พวกเขาจะลืม ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอาจจะเป็นไป เรือ่ งทีผ่ า่ นมาและเป็นเรือ่ งธรรมดามากทีจ่ ะได้ อย่างรุนแรง แต่จะไม่มเี รือ่ งการท�ำร้ายร่างกายกัน เห็นผูส้ มัครทีแ่ พ้จะเป็นคนแรกทีม่ าแสดงความ ระหว่างสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยกัน ยินดีกบั ผูช้ นะ การเดินประท้วงรัฐบาลของพวก เมื่อคนเราแรกเกิดมานั้น ธรรมชาติไม่ได้ เขามักจะเป็นไปโดยสงบแม้จะมีผู้เดินขบวน สั่งให้เราหรือบอกว่าต้องพูดภาษาอะไร เชื่อ ประท้วงเป็นจ�ำนวนมากก็ตาม ไม่ค่อยมีการ อย่างไร มีค่านิยมและบุคลิกภาพอะไรบ้าง แต่ ปะทะกันกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือการท�ำลาย เมื่อทารกโตขึ้นเขาจะเริ่มมีลักษณะนิสัยที่ต่าง ข้าวของให้เสียหาย กับคนอื่นมากขึ้นๆ ลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน 44
นี้ได้ถูกส่งผ่านขบวนการเรียนรู้จากครอบครัว โรงเรียน สถานบันทางศาสนา เพื่อนเล่นและ เพื่อนร่วมงาน โรเบิร์ต เลน นักการเมืองชาว อังกฤษให้ทัศนะว่า พ่อจะสอนความเชื่อและ ค่านิยมทางการเมืองให้ลูกโดยตรง นอกจากนี้ การที่ ลู ก ต้ อ งอาศั ย อยู ่ กั บ พ่ อ เขาจะมี สิ่ ง แวดล้อมเช่นเดียวกับพ่อ จึงมีโอกาสที่ท�ำให้ คนที่มีลักษณะนิสัยคล้ายๆ พ่อได้ง่าย และวิธี การที่พ่อวางตัวในสายตาของลูกหรือวิธีการ ที่พ่ออบรมลูก สร้างบุคลิกภาพบางอย่างให้ ลูกซึ่งจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางการเมือง ของลูกโดยทางอ้อม อย่างเช่นบุคลิกภาพแบบ เผด็จการ เป็นต้น เด็กๆ ในสังคมอังกฤษจะเรียน รู้ถึงระบอบประชาธิปไตยโดยทางอ้อมจากพ่อ แม่ ที่ พู ด ถึ ง การไปลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ ง จุฬาพิช มณีวงศ์
ผู ้ แ ทน ในขณะที่ สั ง คมเผด็ จ การจะไม่ เ คย ประสบพบเห็นว่ามีการเลือกตั้งผู้แทนหรือการ เลือกบุคคลที่จะปกครองประเทศเลย ขณะที่ ดีน เจโรส์ นักสังคมวิทยา เชื่อว่า เด็กได้รับการถ่ายทอดความเชื่อและทัศนคติ ทางการเมืองจากโรงเรียนใน ๒ วิธี คือ ถ้าเป็น โรงเรี ย นที่ ค รู เ ปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก แสดงความ เห็นมากๆ แล้ว เด็กจะมีความกล้าที่จะแสดง ความเห็ น นอกจากนี้ ยั ง เกิ ด จากการสอน โดยตรงด้วยวิชาที่สอนเกี่ยวกับการเมืองซึ่ง
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
จะช่วยสร้างความเชื่อและค่านิยมบางอย่าง แก่เด็ก เช่น อาจจะสอนความหมายของค�ำว่า ประชาธิปไตย ล�ำดับขั้นของความเป็นมาหรือ วิวัฒนาการของระบบการเมือง โรเบิร์ต เลน รวบรวมผลการศึกษาซึ่ง รายงานว่า สถานศึกษาต่างๆ สามารถถ่ายทอด ความเชื่อและค่านิยมให้แก่นักเรียน นักศึกษา ในสหรัฐอเมริกา ผลการศึกษายังพบด้วยว่า คนที่มีการศึกษาสูงมักจะรู้ความเป็นไปหรือ ข่าวคราวความเคลื่อนไหวทางการเมืองดีกว่า
คนที่ มีก ารศึ ก ษาต�่ ำ กว่ า เด็ กอาจจะเปลี่ยน พรรคการเมืองที่เคยนิยมจากครอบครัวตาม โรงเรียนที่เด็กส่วนใหญ่นิยม ผู้ได้รับการศึกษา สูงขึ้นโดยเฉพาะผู้เข้ามหาวิทยาลัยจะมีแนว โน้มที่จะเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง เช่น ไปเลือกตั้ง ช่วยผู้สมัครบางคนหาเสียงหรือ เข้าร่วมโดยวิธีอื่นๆ และจะมีลักษณะที่ยอมรับ ความเห็นของคนอืน่ มากขึน้ นอกจากนีย้ งั พบว่า ความรักชาติก็เป็นสิ่งที่เด็กๆ ทั่วโลกเรียนจาก โรงเรียนและมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะโรงเรียน ประถมและมัธยมเป็นองค์กรที่ส�ำคัญมากต่อ การสร้างความรู้สึกรักชาติในตัวเด็ก แม้ ว ่ า คนแต่ ล ะเชื้ อ ชาติ จ ะมี ลั ก ษณะ นิสัยที่แตกต่างกัน แม้แต่พี่น้องบิดามารดา เดียวกันแต่ก็จะมีลักษณะนิสัยบางอย่างที่คน ส่วนใหญ่ในสังคมมีคล้ายๆ กัน เรียกลักษณะ นิสัยของคนในสังคมเดียวกันที่คล้ายคลึงกัน นี้ ว ่ า ลั ก ษณะนิ สั ย ประจ� ำ ชาติ (National Characteristics) และเป็นลักษณะนิสัยที่คน ชาติอื่นในโลกส่วนใหญ่ไม่มี จากการศึกษาพบว่านิสัยประจ�ำชาติของ คนไทยที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมทางการเมืองมี รายละเอียดที่น่าสนใจดังต่อไปนี้ ความเชื่อว่า การเมืองเป็นเรื่องของคน ชั้ น สู ง จากสมั ย สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชจนถึ ง การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี พ.ศ.๒๔๗๕ ถึ ง แม้ ก ารปกครองในระบอบประชาธิป ไตย
45
จะมีการพัฒนาจนถึงปัจจุบนั ความรูส้ กึ เดิมนีย้ งั มีสืบมา ท�ำให้คนไทยไม่ตระหนักว่าพวกเขามี อ�ำนาจที่จะก�ำหนดตัวผู้น�ำประเทศ มีอ�ำนาจที่ จะตั้งเงื่อนไขการใช้อ�ำนาจของผู้นำ� ประเทศใน รูปของนโยบายที่สัญญากับประชาชน ส�ำหรับ คนไทยประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนานผ่านมาเพียงใด คนไทยยังคงท�ำตามผูม้ อี ำ� นาจไม่เข้าไปยุง่ เกีย่ ว กับการแย่งชิงอ�ำนาจ ไม่โค่นล้มผู้น�ำที่ไม่ดี การเมืองเป็นเรื่องของคนมีอ�ำนาจวาสนา การไม่ให้ความส�ำคัญกับการจงรักภักดี ต่อบุคคล ผู้เป็นนายอาจมีมากในยุโรปและ ญี่ปุ่นสมัยก่อน แต่ส�ำหรับคนไทยจะให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ การปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ ผู ้ มี อ� ำ นาจ มากกว่า ถ้าผู้มีอ�ำนาจคนเก่าหมดอ�ำนาจไปก็ ต้องพยายามปรับตัว จริงอยู่คนไทยมีตัวอย่าง ของคนจงรักภักดี แต่เมือ่ เป็นประชาธิปไตย การ แย่งอ�ำนาจของนายโดยลูกน้องมีอยู่เสมอ โดย 46
คนส่วนใหญ่ไม่ได้ประณามการทรยศหักหลัง ว่าเป็นเรือ่ งใหญ่แต่อย่างใด ในขณะทีก่ ารท�ำตัว เพือ่ ให้เข้าถึงอ�ำนาจใกล้ชดิ ผูม้ อี ำ� นาจก็เป็นเรือ่ ง ธรรมดา เพราะเมื่ อ ใกล้ ชิ ด ได้ ก็ จ ะมี ผ ล ประโยชน์ตามมา คนที่ประจบประแจงคนมี อ�ำนาจก็มักจะได้ดีเสมอ การท�ำงานก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว การไม่ให้ความส�ำคัญกับหลักการ กฎเกณฑ์ หรือกติกา คงไม่มีประเทศใดที่คนไม่ท�ำผิด กฎหมาย แต่การเคารพกฎเกณฑ์ กติกาหรือ การยึดในหลักการอันใดอันหนึ่งของคนไทย เฉลี่ยมีค่อนข้างน้อย ทุกๆ วันเราจึงพบการท�ำ ผิดกฎหมาย ท�ำผิดกฎจราจร การขาดระเบียบ วินัย การแซงคิว และการใช้อภิสิทธิ์หลีกเลี่ยง กฎเกณฑ์ กติกาต่างๆ เพื่อความสะดวกสบาย ของตนเอง โดยสังคมไม่ได้ประณามพฤติกรรม ดังกล่าวแต่อย่างใด
การให้ความส�ำคัญแก่การพึ่งพากันของ ญาติมิตรพวกพ้อง คนไทยมีความผูกพันกัน ด้วยสาเหตุหลายประการ เช่น เป็นพี่น้อง ญาติ เพื่อนเล่น เพื่อนร่วมชั้น เพื่อนร่วมสถาบัน คน มาจากท้องถิ่นเดียวกัน เป็นคนรู้จักกัน เป็น ครูเป็นลูกศิษย์กัน หรือแม้แต่เป็นคนที่เคยมี บุญคุณต่อกัน ซึ่งความผูกพันเหล่านี้แม้คน ชาติอื่นจะมี แต่ส�ำหรับคนไทยนั้นถือว่า ถ้ามี ความผูกพันกัน ก็ควรจะปฏิบตั ติ อ่ กันดีกว่าการ ปฏิบตั ติ อ่ คนทีไ่ ม่ผกู พันกัน แม้วา่ การปฏิบตั นิ นั้ จะเป็นเรื่องที่ไม่ใช่เรื่องส่วนตัวก็ตาม ส�ำหรับ สังคมไทยความผูกพันในกรณีที่ไม่ใช่ญาติกัน ก็สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายมาก แม้แต่ดื่มเหล้า วงเดียวกัน คุยกันถูกอัธยาศัยครั้งเดียวก็อาจ จะเรียกพี่เรียกน้อง และเป็นปัจจัยที่ช่วยเหลือ กันในเวลาต่อมา ถ้ายิ่งทั้งสองฝ่ายมีปัจจัยที่จะ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันได้ ความผูกพันก็ยงิ่ มีได้ เร็วขึ้น ความผูกพันกันนี้ท�ำให้คนไทยให้ความ ส�ำคัญแก่การที่จะต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ซึ่ง รวมไปถึงการเกื้อกูลช่วยเหลือกันในสิ่งที่ไม่ เป็นธรรมแก่คนอื่นด้วย รวมถึงความผูกพันใน เชิงอุปถัมภ์เป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลระหว่าง คนที่ มี ส ถานภาพต่ า งกั น คนที่ มี ส ถานภาพ ทางสั ง คมสู ง ให้ ค นสถานภาพทางสั ง คมต�่ ำ ยืมเงิน ฝากลูกเข้าโรงเรียน ส่วนคนสถานภาพ ทางสังคมต�่ำกว่าก็อาจมาช่วยท�ำสิ่งต่างๆ เมื่อ คนที่มีสถานภาพทางสังคมสูงกว่าเรียกใช้ การไม่ให้ความส�ำคัญแก่ความรับผิดชอบ ต่ อ ส่ ว นรวม บางครั้ ง เราอาจจะได้ เ ห็ น คนไทยใจบุญ ท�ำบุญกันคราวละมากๆ แต่ จุฬาพิช มณีวงศ์
ก็ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ส ะสมบารมีของตนเองเพื่อ อนาคต คนไทยท�ำบุญกับพระมากกว่าท�ำบุญ กับคนชรา การท�ำบุญของคนไทยไม่ใช่เพือ่ ส่วน รวมแต่เพื่อตนเองและโดยทั่วไปยังมีความคิด เพื่อส่วนรวมน้อย การถื อ ว่ า เสี ย ศั ก ดิ์ ศ รี ที่ จ ะไปง้ อ คนอื่ น เพราะฉะนั้ น ถึ ง แม้ ค นไทยจะชอบพึ่ ง พากั น แต่ถ้าขัดแย้งกันขึ้นมารุนแรงก็อาจโกรธกันไป นานถึงขั้นไม่เผาผีกัน ถึงตายแล้วก็ยังไม่หาย โกรธ พี่น้องที่เคยรักกันมากๆ หรือเพื่อนที่ สนิทกันมากก็อาจจะแตกกันและหันหลังให้ กันตลอดไป ไม่มีใครไปขอคืนดีใครที่เรียกว่า ไม่ง้อ การปรั บ ตั ว เข้ า กั บ ผู ้ มี อ� ำ นาจและ กฎเกณฑ์ ท�ำให้คนไทยเคารพย�ำเกรงคนที่มี สถานภาพทางสังคมสูงกว่า ไม่อยากโต้แย้ง ด้ว ย แต่จะพยายามท�ำ ตัวให้เข้ากัน ได้แ ละ ได้ รั บ การยอมรั บ จากผู ้ ที่ ส ถานภาพสู ง กว่ า ข้าราชการที่ก้าวหน้าเร็วจะต้องรู้จักเอาใจนาย ทั้งในหน้าที่การงาน และนอกหน้าที่การงาน ส่วนนายที่มีบุคลิกภาพอ�ำนาจนิยมก็จะชอบ ลูกน้องที่เอาใจช่วยตน พินอบพิเทา ประจบ ประแจง การขาดความคิ ดริเริ่ม เป็น ผลมาจาก บุคลิกภาพแบบอ�ำนาจนิยมที่ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้ ผู้น้อยมาขัดแย้งกับตน ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้เด็ก แสดงความฉลาดกว่าแต่จะแสดงว่าตนรู้มาก กว่า ฉลาดกว่าอยู่เสมอ การขาดความคิดหรือ การแสดงออกของเด็กไทยท�ำให้คนไทยขาด ความคิดริเริ่ม คนไทยโดยทั่วไปจึงมีลักษณะ อนุรักษ์นิยมค่อนข้างสูง มักจะยอมรับสิ่งที่เป็น อยู่โดยไม่ดูเหตุผลหรือความเปลี่ยนแปลง การไม่ ช อบคิ ด อะไรซั บ ซ้ อ นและมอง การณ์ไกล ท�ำให้อุดมการณ์ทางการเมืองหรือ การคิดอะไรลึกซึ้งเป็นปรัชญาที่คนไทยคิดขึ้น เองจึงไม่ค่อยมี มีแต่เอาของต่างชาติมาศึกษา คนไทยอาจจะบ่นว่าระเบียบอย่างนั้นไม่ดีกฎ อย่างนั้นมีปัญหา แต่จะไม่กล้ากดดันให้เกิด การเปลี่ ย นแปลงเพราะกฎระเบี ย บต่ า งๆ ออกมาโดยผู้มีอ�ำนาจ ซึ่งเป็นเรื่องไม่ดี อย่า ไปคัดค้านโดยเปิดเผยจะเป็นภัยใส่ตวั เอง คนไทย จึ ง ปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ กฎเกณฑ์ ต ่ า งๆ เพื่ อ ประโยชน์แก่ตัวเองให้มากที่สุด การชอบท�ำตามใจตนเองโดยไม่ค�ำนึงถึง ผลที่ตามมา เป็นค�ำพังเพยที่ว่า ท�ำอะไรตามใจ คือไทยแท้ ซึ่งดูจะขัดกับลักษณะอ�ำนาจนิยม ที่ยอมอ่อนน้อมต่อผู้มีสถานภาพทางสังคมสูง กว่า แต่ผู้มีสถานภาพทางสังคมต้องรู้ว่าจะไป บังคับจิตใจผูน้ อ้ ยเกินไปไม่ได้ ต้องมีขอบเขต มี ผู ้ ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตว่ า รั ฐ ธรรมนู ญ ของ สหรั ฐ อเมริ ก าซึ่ ง ใช้ ม าตั้ ง แต่ ป ี ค.ศ.๑๗๘๙ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
มี ก ารแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม มาตลอดแต่ ยั ง คงส่ ว น ใหญ่ไว้เหมือนเดิม เช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญ ของประเทศญี่ ปุ ่ น และอิ ต าลี ใ ช้ ม าตั้ ง แต่ สิ้ น สงครามโลกครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญของฝรั่งเศส ใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๕๘ สาธารณรัฐเกาหลี มี ก ารเปลี่ ย นแปลงรั ฐ ธรรมนู ญ หลายครั้ ง นั บ ตั้ ง แต่ เ ป็ น เอกราช เมื่ อ สิ้ น สงครามโลก ครั้ ง ที่ ๒ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ก็ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง รัฐธรรมนูญหลายครัง้ เช่นกัน แต่ไม่มปี ระเทศใด เปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญเท่าประเทศไทย นับ ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบันที่อยู่ในระหว่างการร่าง ของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่ม เติม เพื่อน�ำไปสู่การลงมติ เป็นฉบับที่ ๒๐ ถือ เป็นลักษณะเด่นของการเมืองไทยโดยเฉพาะ อั น เนื่ อ งมาจากนิ สั ย ประจ� ำ ชาติ ดั ง กล่ า วมา ข้างต้น ประเทศประชาธิปไตยทุกประเทศจ�ำเป็น ต้องมีรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะวางกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ที่มาและขอบเขตของอ�ำนาจของรัฐบาลและ รัฐสภาอย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังมีประเด็น อื่นๆ เช่น อุดมการณ์ใหญ่ๆ หรือแนวนโยบาย ของรัฐ รูปแบบของรัฐ เป็นสาธารณรัฐหรือ เป็นราชอาณาจักร เป็นสหพันธรัฐหรือรัฐเดี่ยว หน้าที่สิทธิและเสรีภาพของประชาชน ตลอด
จนการแก้ไขรัฐธรรมนูญ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู ้ พ ระราชทานรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ถาวร ประกาศใช้ เ มื่ อ วั น ที่ ๑๐ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ซึ่งมีพระราชหัตถเลขาต่อท้ายค�ำน�ำ ของรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทยว่า “ขอให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ของเรานี้ จงเป็นหลักทีส่ ถาพรสถิตประดิษฐาน สมรรถภาพอั น ประเสริ ฐ เป็ น บ่ อ เกิ ด ความ ผาสุ ก สั น ติ คุ ณ วิ บู ล ราศี แ ก่ อ าณาประชาชน ตลอดจ�ำเนียรกาลประวัติ น�ำประเทศสยาม บรรลุ ส รรพพิ พั ฒ นชั ย มงคล อเนกสุ ก ผล สกลเกียรติยศมโหฬาร ขอให้พระบรมวงศา นุ ว งศ์ และข้ า ราชการทั้ ง ทหารพลเรือนทวย อาณาประชาราษฎรจงมีความสมัครสโมสร เป็นเอกฉันท์ในอันจะรักษาปฎิบัติรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรสยามนีใ้ ห้ยนื ยงอยูก่ บั สยาม รัฐราชสีมาตราบเท่ากัลปาวสานสมดัง่ พระบรม ราชปณิธานทุกประการเทอญ” นอกจากคนในชาติ จ ะตั้ ง ความหวั ง ว่ า อยากเห็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี ๒๕๕๙ ไม่เสียของแล้ว ยังเป็นรัฐธรรมนูญ ถาวรฉบับสุดท้ายของประเทศอีกด้วย 47
การรบใหญ่ ที่เมืองสิเรียม ๒๑๕๖ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
อาณาจักรพม่าในยุคที่สอง เป็นอาณาจักรที่มีความเข้มแข็ง ทางทหาร เริ่มต้นราชวงศ์จากเมืองตองอูก้าวขึ้นสู่การมีอ�ำนาจ ทางทหารทีละน้อย พระเจ้าบุเรงนอง (King Bayinnaung) กษัตริยล์ ำ� ดับทีส่ าม แห่งราชวงศ์ตองอู ทรงมีกองทัพขนาดใหญ่ และอาวุธทีท่ นั สมัยจากยุโรป อาณาจักรพม่าในยุคทีส่ องก้าวขึน้ สูอ่ ำ� นาจทางทหารอย่างรวดเร็วในเวลาอันสัน้ อาณาจักรทีก่ ว้างใหญ่ ขึ้นกว่าในอดีตอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน พระองค์ทรงครองราช สมบัตินานถึง ๓๐ ปี ทรงขยายอาณาจักรให้เป็นมหาอ�ำนาจ ทางทหารแห่งลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา และลุ่มแม่น�้ำโขง มีอาณาจักร ขนาดใหญ่ เมื่อพระเจ้าบุเรงนองทรงสวรรคตอาณาจักรพม่า ก้าวสู่ความวุ่นวายและน�ำมาสู่สงครามกลางเมือง บทความนี้ กล่าวถึงการรบใหญ่ที่เมืองสิเรียมปี พ.ศ.๒๑๕๖ กล่าวทั่วไป
ทางตอนใต้ของอาณาจักรพม่าที่บริเวณ ปากแม่น�้ำอิระวดี (Irrawaddy) ชาวโปรตุเกส เป็นเจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) มีชื่อว่า ฟิลิป เดอ บริโต นิโคเต (Philip de Brito Nicote) ได้ปรับปรุงป้อมเมืองสิเรียมให้มีความแข็งแรง ไว้ป้องกันตัวเมืองจากการรุกรานจากภายนอก และยังเป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญ มีความเชี่ยวชาญ ในการเดินเรือและใช้ปืนใหญ่ท�ำการรบทาง เรือระหว่างเรือรบกับเรือรบ และการใช้ปืน ใหญ่ ป ระจ� ำ ป้ อ มปื น ประจ� ำ เมื อ งท� ำ การยิ ง ป้ อ งกั น การเข้ า ตี จ ากภายนอก พร้ อ มทั้ ง มี ความเชีย่ วชาญในการรบทางบกในการใช้อาวุธ สมัยใหม่ในขณะนั้น เมื่อกรุงหงสาวดีถึงกาล ล่มสลายแล้วจึงขาดอ�ำนาจการปกครองจาก ศูนย์กลาง เป็นผลให้เมืองสิเรียม (Syriam) มี บทบาทมากยิ่งขึ้นกลายเป็นเมืองศูนย์กลาง การค้าของพม่าทางตอนใต้ เมืองจึงมีฐานะ ทางเศรษฐกิจดีขึ้นแทนกรุงหงสาวดี (จากการ เก็บภาษีการค้าที่ท่าเรือ และเจ้าเมืองท�ำการ ค้ า ขายส่ ว นตั ว เป็ น ผลให้ เ จ้ า เมื อ งมี ฐ านะ
48
ร�่ำรวยอย่างรวดเร็ว) ความเปลี่ยนแปลงทาง ด้านการเมืองของเมืองต่างๆ ตามแนวลุม่ แม่นำ�้ อิ ร ะวดี ภ ายหลั ง การสวรรคตของพระเจ้ า นันทบุเรงเป็นไปอย่างรวดเร็วและสับสน เมือง ตองอูมีเจ้าเมืองตองอูคนใหม่ (นัดจินหน่อง) ต่อมาเจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) ยกกองทัพ เข้ายึดเมืองตองอูพร้อมทั้งเผาเมืองเสียหาย เป็นจ�ำนวนมาก เจ้าเมืองตองอู (นัดจินหน่อง) ได้ดื่มน�้ำสาบานเป็นพี่น้องกับเจ้าเมืองสิเรียม (Philip de Brito Nicote) พร้อมทั้งได้ติดตาม ไปที่เมืองสิเรียม (Syriam) เมืองสิเรียม (Syriam) เป็นเมืองท่าเรือ ตั้งอยู่ระหว่างแม่น�้ำหงสากับแม่น�้ำย่างกุ้งเป็น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำ ต่อมา ฟิลิป เดอ บริโต นิโคเต ได้เป็นเจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) ปกครองเมืองนาน ๑๓ ปี ปัจจุบันมีชื่อว่าเมือง ดันยลิน (Thanlyin) มีพื้นที่ ๓๕๐ ตาราง กิโลเมตร พ.ศ.๒๑๕๕ พระเจ้าอังวะ (พระเจ้า อนันกะเพตลุน/Anaukpetlun Min/Maha
เมืองสิเรียม (Syriam) เป็นเมืองท่าหลัก ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น�้ำอิระวดีที่ต้นแม่น�้ำ ไหลผ่านเมืองที่ส�ำคัญของพม่า Dhamma Raza) ทรงยกกองทัพใหญ่ลงมา ทางด้านใต้ด้วยก�ำลังทหาร ๑๒๐,๐๐๐ คน พร้อมด้วยเรือรบ ๔๐๐ ล�ำ เข้าล้อมเมืองสิเรียม (Syriam) แต่ก�ำแพงเมืองสิเรียมมีความมั่นคง (ได้รับการปรับปรุงใหม่) อย่างมาก จึงเป็นการ ยากที่กองทัพอังวะ (Ava) จะตีหักเข้าไปใน เมืองให้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ประกอบกับปืน ใหญ่ในกองทัพกรุงอังวะ (Ava) มีขนาดเล็กกว่า ปืนใหญ่ประจ�ำเมืองสิเรียม (Syriam) นอกจากนี้ กองทัพกรุงอังวะ (Ava) ไม่มีทหารรับจ้างชาว โปรตุเกสอย่างในอดีตจึงขาดอ�ำนาจการยิงใน การเข้าตี เจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) ได้ส่งคน ไปซื้อกระสุนดินด�ำปืนเพิ่มเติมที่เมืองเบงกอล (แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ) กองทัพพม่าแห่ง พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ภาพวาดฟิลิป เดอ บริโต นิโคเต (Philip de Brito Nicote) เจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) เป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญบริเวณปากแม่น�้ำอิระวดี เป็นเจ้าเมืองนาน ๑๓ ปี หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
49
กรุงอังวะ (Ava) ล้อมเมืองสิเรียม (Syriam) อยู่ นานถึง ๒ ปี แม้วา่ จะทุม่ ก�ำลังทหารเข้าตีหลาย ครั้งก็ยังไม่สามารถที่จะหักเข้าเมืองได้ (ป้อม และหอรบมีความมั่นคงแข็งแรง)
การรบใหญ่ที่เมืองสิเรียม (Syriam)
ภาพกราฟิกส์ของอาณาจักรพม่าในยุคทีส่ องราชวงศ์ตองอู ก้าวขึน้ สูจ่ ดุ สูงสุดของอ�ำนาจ พ.ศ.๒๑๒๓ มีอาณาเขตที่ยิ่งใหญ่อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนในอดีต
50
เจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) พยายามที่จะ ต่อสู้ให้ได้นานที่สุด โดยใช้ความได้เปรียบใน การตั้งรับจากก�ำแพงเมืองและขอความช่วย เหลือจากพันธมิตร เมืองกัว (Goa ตั้งอยู่ทาง ด้านตะวันตกของอินเดีย ทางด้านชายฝั่งทะเล อาระเบียน) เป็นทีต่ งั้ เมืองหลวงของอาณานิคม โปรตุเกสในอินเดีย โดยใช้เป็นสถานีการค้า และเดิ น เรื อ ของชาวโปรตุ เ กสโดยอุ ป ราช เมืองกัว (Goa) ได้ส่งเรือรบมาช่วย ๕ ล�ำ ได้มา จอดอยู่นอกเมืองประมาณ ๓ กิโลเมตร แต่ถูก เรือรบของพระเจ้ากรุงอังวะ (Ava) เข้ายึดได้ ๔ ล�ำ และเรื อ รบอี ก หนึ่ ง ล� ำ สามารถหลบหนี ก ลั บ ไปยังเมืองกัว (Goa) ก�ำลังทหารที่จะมาช่วย เหลือเมืองสิเรียม (Syriam) จากพันธมิตรจึง ไม่มี จ�ำเป็นต้องต่อสู้ตามล�ำพัง กองทัพกรุงอังวะ (Ava) ได้ล้อมเมือง ต่อไปอีก ๓ เดือน พระมหาธรรมราชา (พระ เจ้าอนันกะเพตลุน) แห่งกรุงอังวะ (Ava) ทรง ยื่นข้อเสนอให้กับเจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) ยอมแพ้ โดยให้สัญญาว่าจะให้เจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) และครอบครัวเดินทางกลับไปยัง เมืองกัว (Goa) อย่างปลอดภัย แต่เจ้าเมือง สิเรียม (Syriam) ได้ปฏิเสธ ในที่สุดกองทัพ กรุงอังวะ (Ava) ท�ำการรุกโดยการขุดอุโมงค์ ลอดใต้ก�ำแพงเมือง จึงได้ส่งก�ำลังทหารเข้าไป ภายในตั ว เมื อ งได้ มี ก ารต่ อ สู ้ ร ะยะใกล้ ห รื อ ระยะประชิดอย่างรุนแรง สามารถเข้ายึดได้
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เมืองสิเรียม (Syriam) เมื่อเดือน ๕ ขึ้น ๗ ค�่ำ ปีฉลู พ.ศ.๒๑๕๖ ทหารพม่าสามารถจับกุม เจ้าเมืองสิเรียม (Syriam) และเจ้าเมืองตองอู (นัดจินหน่อง) พระเจ้ากรุงอังวะ (Ava) ทรง นึกถึงเจ้าเมืองตองอู (นัดจินหน่อง) เป็นเชือ้ สาย พระเจ้าบุเรงนอง ถ้าจะถวายสัตย์ว่าจะจงรัก ภักดีต่อพระองค์ เจ้าเมืองตองอู (นัดจินหน่อง) กราบบังคมทูลว่าพระองค์ได้เปลี่ยนศาสนา มาเป็นการนับถือศาสนาใหม่คือศาสนาคริสต์ แล้ว ในที่สุดพระเจ้ากรุงอังวะ (Ava) แห่งพม่า มีรับสั่งให้ประหารชีวิตทั้งสองคน เจ้าเมือง สิเรียม (Syriam/Philip de Brito Nicote) ถูก เสียบทรมานประจานและเสียชีวิตในอีกสามวัน ต่อมา และมเหสี (ธิดาอุปราชเมืองกัว) และ ข้าราชบริพารถูกขายเป็นทาส พระเจ้ากรุงอังวะ (Ava) แห่งพม่าเมื่อรบ ชนะศึกที่เมืองสิเรียม (Syriam) ปี พ.ศ.๒๑๕๖ ได้ รั บ การยกย่ อ งว่ า เป็ น กษั ต ริ ย ์ พ ม่ า แห่ ง ราชวงศ์ตองอูอย่างแท้จริง
บทสรุป
เมืองสิเรียม (Syriam) ตั้งอยู่ปากแม่น�้ำอิระวดี เป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญยิ่งในการติดต่อ ค้าขายกับต่างอาณาจักรจากยุโรป เป็นผลให้ท่าเรือจึงมีรายได้จากการค้าขายเป็นจ�ำนวน มาก (ลูกศรชี้ เมืองสิเรียม)
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
กองทัพพม่าจากกรุงอังวะยกกองทัพลง ใต้เข้าล้อมเมืองสิเรียม (Syeiam) แม้ว่าเมือง สิเรียม (Syriam) จะมีกำ� แพงเมืองทีแ่ ข็งแรงและ ได้รับการปรับปรุงใหม่ หลังการสิ้นพระชนม์ ของพระเจ้านันทบุเรงที่เมืองตองอู เมืองต่างๆ แห่งลุ่มแม่น�้ำอิระวดีต่างก็ได้แย่งชิงความเป็น ใหญ่ ศูนย์กลางอ�ำนาจของอาณาจักรหงสาวดี จากราชวงศ์ตองอูเริม่ ทีจ่ ะอ่อนก�ำลังลง จึงกลาย เป็นสงครามกลางเมืองของพม่าในยุคที่สอง พร้อมทั้งมีชาวโปรตุเกสเข้ามามีส่วนร่วมทาง ด้านการเมืองของพม่าทางตอนใต้ การแย่งชิง อ�ำนาจเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาณาจักรพม่า แห่งหงสาวดี (Hanthawaddy) ในยุคที่สองก็ ล่มสลายลงตามกาลเวลา
51
2 days English Camp พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
มี
นั ก วิ ช าการจ� ำ นวนมากที่ ไ ด้ ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ ในการเรี ย นภาษาต่ า ง ประเทศให้ได้ผล อย่างเช่น ๑. เริ่มต้น จากการฟั ง เยอะๆ ( Start with Listening) ๒. พยายามจ�ำเป็นภาพมากกว่าจ�ำตัวอักษร ( Use Photographic Memory ) ๓. อย่ายึดติดกับหลัก ไวยากรณ์ ( Don’t focus only Grammar rules) ๔. อย่าแปลเป็นไทยทุกครัง้ พยายามนึกเป็นภาษา อังกฤษจะได้ไม่เสียเวลา ( No Translation) ๕. เปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้เหมือนอยู่เมืองนอก (Change Environment) เป็นต้น เมื่อพูดค�ำว่าเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมือน เมื อ งนอก หลายคนจึ ง ส่ ง ลู ก หลานหรื อ ส่ ง ตั ว เองไปหลั ก สู ต รระยะสั้ น ที่ ต ่ า งประเทศ เช่ น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย หรือประเทศ ใดๆ ก็ตามที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ หลายครอบครั ว ที่ ส ่ ง ลู ก หลานไปเรี ย นในช่ ว ง ภาคฤดูร้อนในประเทศใกล้ๆ บ้าน เช่น สิงคโปร์ ออสเตรเลี ย นิ ว ซี แ ลนด์ เป็นต้น เพราะค่าใช้ จ่ า ยไม่ สู ง มากนั ก ว่ า ไปแล้ ว การไปเรี ย นต่ า ง ประเทศไม่ใช่ว่าทุกคนจะได้พัฒนาความรู้และ ทักษะภาษาอังกฤษได้ทุกคนหรอกนะคะ หรือจะ สามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่วตาม ที่พ่อแม่คาดหวังเสมอไป ผู้เขียนสังเกตได้ว่า ยังมี นักเรียนไทยจ�ำนวนมากที่ไปเรียนภาษาอังกฤษที่ ต่างประเทศ แล้วอาจจะไม่สามารถพัฒนาความ รู้และทักษะด้านภาษาอังกฤษได้มากนัก ท�ำไมถึง พูดแบบนี้ เพราะผู้เขียนสังเกตว่า สิ่งแวดล้อมที่ น้องๆ เหล่านั้นด�ำรงชีวิต ยังไม่เอื้ออ�ำนวยให้มี เกิดกระบวนการในการเรียนรู้ หรือ พัฒนาภาษา อังกฤษในเชิงสือ่ สารได้มากนัก เพราะน้องๆ คนไทย เหล่านั้น ยังไม่เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เป็นเมืองนอก อย่างแท้จริงที่จะต้องสื่อสารกับเจ้าของภาษาจริง กล่าวคือ น้องๆ ส่วนใหญ่ยังใช้เวลาอยู่กับเพื่อนๆ ญาติๆ หรือ ชุมชนไทย กินอาหารไทย อยู่แถว เมืองไทยทาวน์ ( Thai Town) ดูรายการสารคดี เกมส์โชว์ รายการทีวีและละครไทยตลอดเวลา พอเข้าห้องเรียนก็ไม่กล้าพูด ไม่กล้าตอบ นั่งฟัง เงียบๆ กลับมาหอพักก็เจอเพื่อนร่วมห้องคนไทย ไปเที่ ย วสถานที่ ต ่ า งๆ ก็ ไ ปเฉพาะกลุ ่ ม คนไทย วั น ๆ แทบจะไม่ พู ด ภาษาอั ง กฤษเลย พอจบ หลักสูตรกลับมาเมืองไทยและไม่ได้สื่อสารกับฝรั่ง อีกท�ำให้พูดภาษาอังกฤษไม่ได้คล่อง จึงเป็นที่ตั้ง ค�ำถามว่า คนนี้ไปเรียนเมืองนอกมาแล้วท�ำไม พูดไม่ได้ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ได้ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร ทางด้ า นภาษาอั ง กฤษให้ ส ามารถรองรั บ การ 52
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน จึงได้มีการจัดหลักสูตร ภาษาอังกฤษให้แก่ก�ำลังพลในทุกระดับ กิจกรรม หนึ่งที่พยายามเปลี่ยนบรรยากาศให้ข้าราชการ และลูกจ้างได้มีโอกาสปัดฝุ่นและเพิ่มพูนความ รู ้ แ ละทั ก ษะในการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษคื อ กิ จ กรรมค่ า ยภาษาอั ง กฤษ (English Camp) โดย ศูนย์ภาษาต่างประเทศ กรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ก ลาโหม ได้ จั ด ขึ้ น ที่ โรงแรม พั ท ยาปาร์ ค จั ง หวั ด ชลบุ รี ในระหว่ า งวั น ที่ ๒๕ – ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เพื่อเป็นการเปลี่ยน บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเป็น การ กระตุ้นให้ผู้เรียนที่เป็นวัยท�ำงานหรือ วัยผู้ใหญ่ได้ เรียนรู้ ฟื้นฟูและพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน ตลอดจนการ เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ต่อไปและเพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นภาพที่ชัดเจนมาก ขึ้นว่าการจัดกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษเพียงสอง วันจะได้อะไรบ้าง กรุณาอ่านตามอาจารย์วันดี เลยค่ะ วันแรก คือ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๖๐๐ คณะผู้เข้าร่วมกิจกรรม เดินทางการ ออกจากส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนศรี สมาน หลังจากรับประทานอาหารเช้าคือ แซนวิช กั บ น�้ ำ ส้ ม เพื่ อ ลิ้ ม รสชาติ อ าหารแบบตะวั น ตก เรียบร้อยแล้ว การเรียนภาษาอังกฤษก็เปิดฉากในรถ โดยเริ่มจากการศึกษาส�ำนวนภาษาอังกฤษที่นิยม ใช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น การฝึ ก การสร้ า งประโยค พื้นฐานที่จะช่วยท�ำให้ผู้เรียนได้จ�ำประโยคและ ลองศึ ก ษาด้ ว ยตนเองและหั ด ถาม ตอบกั บ คน ที่นั่งใกล้ในรถบัส เช่น ๑. ค�ำถามทั่วไป * How are you doing? คุณสบายดีไหม * What is your name? คุณชื่ออะไร * Where are you from? – คุณมาจากไหน * What is your nickname? คุณชื่อเล่นชื่ออะไร * What do you do? คุณท�ำงานอะไร * Where do you work? คุณท�ำงานที่ไหน * Which unit do you work? คุณท�ำงานหน่วยไหน
* What is your rank? คุณยศอะไร * What sports do you like? คุณชอบกีฬาอะไร * Nice to see you again? ดีใจที่ได้เจอคุณอีกครั้ง
๒. ฝึกออกเสียงเพื่อปรับระดับเสียง ตั้งแต่การ ออกเสียง a-z ฝึกการนับเลข one – ten และ ฝึกการออกเสียงแบบที่ต้องพูดรัวๆ จนลิ้นแทบ พันกัน เราเรียกว่า Tongue Twister ถ้าภาษา ไทย ก็เช่น ทหารถือปืนแบกปูนไปโบกตึก กิน ล�ำไย น�้ำลายยายไหล หรือ รถยนต์ล้อยาง รถราง ล้อเหล็ก เป็นต้น ส่วนภาษาอังกฤษที่ให้ฝึกเพื่อ บริหารลิ้นระหว่างเดินทาง เช่น 1. “ Fresh fried fish, fish fresh fried, fried fish fresh, fish fried fresh.” 2. “ I can think of six thin things, but I can think of six thick things too.”3. “ If two witches were watching two watches, which witch would watch which watch? “4. “ Give papa a cup of proper coffee in a copper coffee cup.” 5. “ I scream you scream we all scream for ice cream...”
เวลาประมาณ ๐๙๓๐ คณะเดินทางมา ถึงโรงแรม และเข้าร่วมพิธีเปิดการจัดกิจกรรม อย่างเป็นทางการ ในการท�ำกิจกรรมครั้งนี้ทางผู้ จัดได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดี จาก มร.นีลส์ โคลอฟ ประธานบริษัท พัทยาพีเพิล มีเดีย กรุ๊ป เป็นบริษัทจัดท�ำสื่อวิทยุ โทรทัศน์และสื่อสังคม ออนไลน์ในเมืองพัทยา ได้กรุณาน�ำคณะเจ้าหน้าที่ ชาวต่างชาติมาต้อนรับและร่วมจัดกิจกรรมฝึกพูด ภาษาอังกฤษ ช่วงแรก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ฟัง คุ ณ นี ล ส์ พู ด กล่ า วต้ อ นรั บ เป็ น ภาษาอั ง กฤษ พันเอกหญิงวันดี โตสุวรรณ
บางคนนั่งยิ้ม บางคนนั่งขมวดคิ้ว บางคนกระชิบ ถามเพื่อนข้างๆ รู้เรื่องบ้าง ไม่รู้เรื่องบ้าง แต่พอ สังเกตได้ว่า พลังการต่อสู้เพื่อฝึกฝนภาษาอังกฤษ ของแต่ละคนได้เริ่มขึ้นแล้ว เวลา ๑๐๓๐ คุณแบรี่ อัพตั้น (Mr. Barry Upton) และคุณ มีแกน สปีคแมน (Ms. Megan Speakman) ผู้จัดการจัดท�ำสื่อโทรทัศน์ วิทยุ และผู้สื่อข่าว ได้มาแนะน�ำตัวเองและฝึกให้ผู้เข้า ร่วมกิจกรรม ออกมาแนะน�ำตัวเป็นภาษาอังกฤษ และฝึกการพูดโดยให้มองไปที่กล้องถ่ายรูปและ พูดแนะน�ำตัวเป็นภาษาอังกฤษช้า ๆ เช่น Good morning, I’m Lieutenant Colonel Thitikajee Bijaphala, Chief of the Training and Section, Science and Technology Development Division, Defence Science and Technology Department. I am glad to attend the English camp today. ( สวัสดีค่ะ ดิฉัน พันโทหญิง ฐิติขจี พีชผล หั ว หน้ า แผนกวิ ช าการและฝึ ก อบรม กองส่ ง เสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม รู้สึกดีใจมาก ที่ ไ ด้ ร ่ ว มกิ จ กรรมค่ า ยภาษาอั ง กฤษในวั น นี้ ) กิจกรรมนี้ สร้างความสนุกสนาน ผสมความกล้าๆ กลัวๆ บางคนกล้า แต่ออกเสียงผิด บางคนออก เสียงได้ดีแต่อายไม่กล้า แต่ในที่สุดทุกคนก็ได้มี โอกาสได้ ฝ ึ ก แนะน� ำ ตั ว เองผ่ า นกล้ อ งโทรทั ศ น์ ท�ำให้มื้อเที่ยงวันทั้งต่างคนก็ต่างคุยว่า ตื่นเต้น แค่ไหน เวลา ๑๓๐๐ เป็นการฝึกภาคสนาม โดยผู้ เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องไปสัมภาษณ์อาสาสมัคร ต�ำรวจชาวต่างประเทศ หรือเราเรียกว่า Foreign Police Volunteer หรือชื่อย่อว่า FPV ณ สถานี ต�ำรวจภูธร เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โดยแบ่งผู้ เข้าร่วมกิจกรรมออกเป็น ๗ กลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่ม จะต้องคิดประโยคภาษาอังกฤษเพื่อน�ำข้อมูลมา น�ำเสนอหน้าชั้นในวันที่สอง ประโยคที่ให้ผู้เข้ารับ การอบรมเป็นตัวอย่าง เช่น * Where are you from? คุณมาจากประเทศไหน * How long have you been in Thailand? อยู่ประเทศไทยนานแค่ไหน * Why do you prefer to settle down in Pattaya? ท�ำไมเลือกที่จะมาอยู่ที่พัทยา
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
* How can you join FVP? คุณมาเป็นต�ำรวจอาสาสมัครได้อย่างไร * What kind of Thai food do you like? คุณชอบอาหารไทยชนิดไหน * What kind of music do you like? คุณชอบดนตรีแนวไหน * Who is your favorite star? ดาราคนโปรดของคุณคือใคร
วันที่สอง คือ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๐๐ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในเสื้อสีโอโรส ปักสัญลักษณ์ English camp มาพร้อมกันในห้อง อบรมด้วยใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส โดยกิจกรรมใน เช้าวันนัน้ คุณแบรีพ่ ร้อมกีตาร์คใู่ จทีเ่ ขาเคยเป็นนัก ร้องชื่อดังในอังกฤษ มาสร้างบรรยากาศการเรียน ภาษาด้วยการร้อง เล่น เต้นร�ำ สร้างบรรยากาศ ยามเช้ า ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยพลั ง และความเบิ ก บาน จากนั้นสมาชิกแต่ละกลุ่มก็ออกมาน�ำเสนอผลงาน ที่ได้ไปสัมภาษณ์อาสาสมัครต�ำรวจชาวต่างชาติ แสดงรูป ภาพและเล่าเรื่องราวของแต่ล ะคนได้ อย่างภาคภูมิใจกับผลงานที่ได้ร่วมกันท�ำ แน่นอน ผู้ที่น�ำเสนอ อาจจะใช้ภาษาอังกฤษผิดบ้างแต่ก็ สามารถสื่อสารและฟังเข้าใจ ที่ส�ำคัญคือ พวกเขา ทัง้ หลายสามารถสือ่ สาร พูดคุย จนน�ำข้อมูลมาเล่า สู่กันฟังด้วยน�้ำเสียง ลีลาและภาพที่น�ำเสนอได้ อย่างดี แค่นี้ก็พอใจแล้ว ซึ่งหลังจากการน�ำเสนอ ของแต่ละกลุ่ม วิทยากรและอาจารย์ได้ช่วยกันให้ ข้อแนะน�ำและเสริมหลักการใช้ภาษาเพิ่มเติมเพื่อ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเข้าใจและสามารถน�ำความรู้ ที่ได้เรียนมา ไปฝึกฝนต่อไป เวลา ๑๕๐๐ เป็ น ช่ ว งพิ ธี ป ิ ด ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม กิจกรรมได้กล่าวขอบคุณเป็นภาษาอังกฤษ ถึง แม้ว่าจะใช้ค�ำง่ายๆ พูดช้าๆ แต่ครูทุกคนรู้ว่า พวกเขาทั้งหลายประทับใจการเข้าค่ายสองวันนี้
จริงๆ และเราลองมาอ่านความคิดเห็นของคุณ แบรี่ (Barry Upton) บ้างค่ะ ว่าเขารู้สึกอย่างไร กั บ ค่ า ยภาษาอั ง กฤษที่ จั ด โดยส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม The English Camp held at the Pattaya park hotel and Pattaya Police Station was in my eyes a big success. The students took advantage of the break in routine to get energized about their need to speak better English. I hope we helped to show some of the ways to present better to the public via TV media and also how to better communicate. The music and songs made a big impression as it serves to help them find ways to improve English language skills in a fun way. I was impressed again by Colonel Wandee’s approach and “ motherly ” nature to her students who respond accordingly to her good nature. It was a pleasure to be part of the English Camp and I look forward to helping more whenever I can in the future. เวลา ๑๘๐๐ คณะนั ก เรี ย นและผู ้ จั ด ค่ า ยภาษาอั ง กฤษเดิ น ทางมาถึ ง ส� ำนั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม โดยสวัสดิภาพ ขอขอบคุณ ผู้ใหญ่ใจดี ขอบคุณผู้ร่วมงาน ขอบคุณพลขับและ ขอบคุณผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคน ค่ะ See you again next year 53
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“โรคออฟฟิศ ซินโดรม” ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
โ
รคออฟฟิศซินโดรม คือ โรคจากการ นั่งท�ำงานในท่าที่ผิดเป็นเวลานาน เช่น นัง่ หลังงอ หลังค่อม คุณก็จะเกิด อาการปวดหลัง หรือ การก้มหน้าโดยไม่รู้ตัว เพราะต้องมองหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ คอ คุณก็จะปวด และเราจะเรียงล�ำดับอาการดังนี้ คือ อาการปวดคอ บ่า ไหล่ หลัง ปวดข้อมือ นิว้ ล๊อค ตาพร่ามัว แพ้แสง ตาแห้ง และปวดศีรษะ ไมเกรน รวมถึงการแพ้อากาศด้วย เพราะส่วน ใหญ่คนท�ำงานออฟฟิศ จะนั่งรวมกันในห้อง หลายคน และอยู่แต่ในตึกอากาศจึงไม่ถ่ายเท คุณจึงควรหาวิธีออกก�ำลังกายเพื่อผ่อนคลาย และแก้ไขอาการแต่เนิ่นๆ งานวิจัยบ่งชี้ การนั่งท�ำงานนานเป็นเวลา ติดต่อกันหลายชัว่ โมง ส่งผลเสียต่อสุขภาพ โรคภัย รุมเร้า เสี่ยงพิการ แต่การเปลี่ยนอิริยาบถทุก ๒๐ นาที จัดท่านั่งให้เหมาะสม รวมถึงการ ออกก� ำ ลั ง กาย สามารถลดปั จ จั ย เสี่ ย งของ 54
โรคได้ รู้ไหมว่าการที่เรานั่งท�ำงานนานติดต่อ กั น หลายชั่ ว โมง ท� ำ ให้ สุ ข ภาพเราแย่ ข นาด ไหน ลองมาดูรายงานจากเว็บไซต์เดลี่เมลของ อังกฤษกันดีกว่า ซึ่งเปิดเผยผลวิจัยที่ตีพิมพ์ลง ในนิตยสาร Physical Activity & Health ของ สหรัฐฯ ว่า การที่เรานั่งท�ำงานนานจนเกินไป หรือนั่งติดต่อกันนานเกิน ๑๒ ชั่วโมงต่อวัน ท�ำให้ร่างกายของเรามีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิด ปัญหาด้านสุขภาพหลายประการ และท�ำให้ เกิดความเสี่ยงต่อการพิการมากถึงร้อยละ ๕๐ โดย ศาสตราจารย์ มาร์ก ไวท์ลีย์ จากไวท์ลีย์ คลินิก ที่เวสท์ลอนดอน ได้อธิบายว่า การนั่ง นานๆ นั้นจะท�ำให้เลือดไม่สามารถไหลเวียน ออกจากขาขึ้นมาสู่หัวใจได้ ท�ำให้เส้นเลือดด�ำ ในขาและเท้ามีความดันโลหิตสูงตลอดเวลา และเมื่อผนังของเส้นเลือดด�ำได้รับแรงดันสูง ตลอดเวลา โปรตีนและของเหลวบางชนิดอาจ รัว่ ไหลไปยังเนือ้ เยือ่ จนส่งผลให้เกิดการติดเชือ้ ได้
นอกจากนี้จากการไหลเวียนของเลือดที่ขาลด ลง ยังสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการอุดตันของ เส้นเลือดได้อกี ด้วย เช่น โรคหลอดเลือดด�ำอุดตัน (DVT) เป็นต้น ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ มาร์ก ไวท์ลีย์ ได้ แนะน�ำว่า การที่เราแกว่งเท้า หรือลุกขึ้นเดิน เปลีย่ นอิรยิ าบถ ทุกๆ ๒๐ นาที จะสามารถช่วย ในด้านการไหลเวียนของเลือดได้ นอกจากปัญหาด้านการไหลเวียนของ เลือดแล้ว การที่เรานั่งท�ำงานอยู่กับที่เป็นเวลา นานหลายชั่วโมงติดต่อกันนั้น ยังสามารถน�ำ มาซึ่งปัญหาสุขภาพร้ายหลายๆ ประการอีก ด้วย ดังนี้
น�้ำตาลในเลือดสูง
มาร์ก แวนเดอร์พมั พ์ วิทยากรอาวุโสด้าน โรคเบาหวานและต่อมไร้ท่อ จาก Royal Free London NHS Foundation Trust เผยว่า
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เบาๆ สัก ๑๐ นาทีต่อวัน เช่นการเดินบันได ขึ้นลงในที่ท�ำงาน
ปวดศีรษะ
แซมมี่ มาร์โก้ นักกายภาพบ�ำบัด กล่าวว่า การที่เรานั่งท�ำงานอยู่ที่โต๊ะท�ำงานเป็นเวลา นาน จะท�ำให้ศีรษะ คอ หลัง และไหล่ของเรา เกิดการงอตัวเป็นรูปตัว C ซึ่งจะท�ำให้เราเกิด อาการปวดศีรษะได้ นอกจากนี้ การงอตัวนี้ ยังส่งผลกระทบต่อไหล่ ท�ำให้มีอาการปวดไหล่ ไหล่แข็ง หรือเคลื่อนไหวได้น้อยลงอีกด้วย โดย แซมมี่ ได้ให้คำ� แนะน�ำว่า ท่านัง่ ทีด่ นี นั้ ควรจะนัง่ ให้ บั้ น ท้ า ยชิ ด ส่ ว นในสุ ด ของเก้ า อี้ หลั ง ติ ด พนักพิง และเพือ่ บรรเทาอาการปวดเมือ่ ยทีห่ ลัง ส่วนกลางและส่วนบนนั้น สามารถท�ำได้ด้วย การเอือ้ มมือทัง้ ๒ ข้างไปจับกันไว้ดา้ นหลัง เพือ่ ช่วยกู้คืนลักษณะการขดตัวรูปตัว C โดยให้ท�ำ ในทุกๆ ชั่วโมงของการท�ำงาน
ปัจจัยอีกหลายประการเช่นกันที่จะท�ำให้ผู้ที่ นั่งติดเก้าอี้นานๆ เกิดความเสี่ยงต่อการเป็น โรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่
วันนี้เรามีวิธีป้องกันและแก้ไขแบบง่ายๆ ท�ำได้ทันทีมาฝาก
ท่าที่ ๑ ให้นั่งหลังตรง ประสานมือ และ ดันมือยืดมาด้านหน้า เป็นการยืดกล้ามเนื้อ บริเวณหัวไหล่ และคอไปพร้อมกัน ท�ำค้าง ไว้ ๑๐ วินาที ผ่อนคลาย และหายใจเข้าออก เป็นปกติ ท่าที่ ๒ หายใจเข้า ประสานมือเข้ามา ที่หน้าอก เงยหน้าขึ้น ๔๕ องศา กางศอกไป ด้านข้างให้สุดหายใจเข้าออกค้างไว้ ๑๐ วินาที ท่านี้จะเป็นการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณคอ และท�ำให้กล้ามเนื้อคอแข็งแรงด้วย ท่าที่ ๓ หายใจออก คราวนี้ก�ำมือแล้ว ยืดมือไปด้านหน้า ก้มหน้าลงให้คางติดล�ำตัว หัวเข่าเสื่อม ให้มากที่สุด หลังตรง และหายใจเข้าออกเป็น เราอาจจะคิ ด ว่ า โรคข้ อ เข่ า เสื่ อ มมั ก ปกติ ค้างไว้ ๑๐ วินาที จากนั้นให้คุณย้อนกลับ จะเกิ ด ขึ้ น ในคนที่ อ อกก� ำ ลั ง กายเป็ น ประจ� ำ ไปท�ำท่าที่ ๑, ๒ และ ๓ วนไปเรื่อยๆ จนรู้สึก มากกว่า แต่ผเู้ ชีย่ วชาญได้เปิดเผยว่า การนัง่ นาน สบายต้นคอ ที่ส�ำคัญอย่าเกร็ง ให้ท�ำแบบผ่อน เกินไปนั้นยั งมีส ่วนเชื่อ มโยงสู่ อาการหั วเข่ า คลายที่สุด และท�ำอย่างช้าๆ ไม่ต้องรีบ ต่อมา การนั่ ง นานเกิ น ไปโดยไม่ มี ก ารเคลื่ อ นไหว เสื่อมเช่น กั น เพราะการไม่ ไ ด้ เ คลื่ อ นที่ เ ป็ น ให้ท�ำท่าต่อไปนี้เพื่อยืดกล้ามเนื้อตรงบริเวณ ร่างกายเป็นเวลานาน อาจท�ำให้เราเกิดการ เวลานานนั้นได้น�ำไปสู่โรคอ้วน และมวลของ หัวไหล่ และสะบัก ต่อต้านอินซูลนิ ได้ และน�ำเราไปสูโ่ รคเบาหวาน ร่ า งกายที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ก็ ส ่ ง ผลให้ เ กิ ด ความดั น ที่ ท่าที่ ๔ ให้นั่งหลังตรง เอามือกอดตัว ชนิดที่ ๒ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหว เล็กๆ ข้อต่อมากขึ้น นอกจากนี้การไม่ได้ใช้งานกล้าม เองจนแน่น (แต่ไม่เกร็ง) แล้วใช้มือดึงหัวไหล่ น้อยๆ จะสามารถช่วยเพิ่มระดับการท�ำงาน เนื้อเป็นระยะเวลานานยังอาจน�ำไปสู่ภาวะ ให้โน้มมาด้านหน้า จากนั้นให้หันหน้าไปทาง ของอินซูลินที่กระท�ำต่อกลูโคส และช่วยระบบ กล้ามเนือ้ อ่อนแรงอีกด้วย โดย ฟิลปิ ส์ โคนาแกน ซ้าย หายใจเข้าออกเป็นปกติ ค้างไว้ ๑๐ วินาที กล้ามเนื้อได้ ศาสตราจารย์ดา้ นกล้ามเนือ้ และกระดูก ทีม่ หา เสร็จแล้วหันไปฝั่งตรงข้ามช้าๆ แล้วค้างไว้อีก วิทยาลัยลีดส์ กล่าวว่า ให้ลองสังเกตดูว่า หาก ๑๐ วินาที จากนั้นให้ท�ำซ�้ำอีกสัก ๒ – ๓ ครั้ง ท้องผูก แอนตัน เอ็มมานูเอล ทีป่ รึกษาด้านระบบ เราต้องใช้แขนของเราช่วยยันในขณะที่ลุกขึ้น หรือจะวนกลับไปท�ำท่าที่ ๑, ๒ และ ๓ ร่วม ทางเดิ น อาหารจาก University College จากเก้าอี้ นั่นหมายถึงกล้ามเนื้อต้นขาของเรา ด้วยก็ได้ ทั้งหมดนี้ เป็นท่าบริหารและเหยียด ยืดกล้ามเนื้อบริเวณ คอ บ่า ไหล่ และสะบัก Hospital ในกรุงลอนดอน อังกฤษ เปิดเผยว่า เริ่มอ่อนแรงลงแล้ว มะเร็ ง ล� ำ ไส้ ใ หญ่ ซึ่งแทบจะทุกคนที่ท�ำงานออฟฟิศ จะมีอาการ การที่ เ ราไม่ เ คลื่ อ นไหวเป็ น เวลานานนั้ น จะ ท�ำให้เราเกิดอาการท้องผูกได้ เพราะเมื่อเรา นั ก วิ ท ยาศาสตร์ จากมหาวิ ท ยาลั ย ปวดเมื่อยบริเวณนี้เป็นประจ�ำ นั่งนานๆ จะส่งผลให้การบีบหดตัวของล�ำไส้ เวสเทิร์น ออสเตรเลีย พบว่า ผู้ที่ท�ำงานประจ�ำ เมื่อจ�ำท่าทั้งหมดได้และท�ำอย่างต่อเนื่อง ลดลง เป็นผลให้อจุ จาระแห้งแข็งและถ่ายออกได้ เป็นเวลานานกว่า ๑๐ ปี มีโอกาสที่จะเกิดเนื้อ ช้าๆ เบาๆ ที่ส�ำคัญ ต้องไม่เกร็งกล้ามเนื้อส่วน ยาก และอาการนี้จะเกิดขึ้นภายใน ๒๔ ชั่วโมง งอกที่ล�ำไส้ใหญ่ส่วนปลายมากกว่าถึง ๒ เท่า ใดเลย คุณก็จะรู้สึกผ่อนคลาย และสามารถ หากมีการนั่งอยู่กับที่นานๆ อย่างไรก็ตาม เรา และร้อยละ ๔๔ ของผู้ป่วยก็มีโอกาสพัฒนา บรรเทาอาการปวดลงอย่างเห็นได้ชัด ไม่เชื่อ สามารถลดความเสีย่ งได้ดว้ ยการออกก�ำลังกาย กลายมาเป็นมะเร็งได้ อย่างไรก็ตาม ยังคงมี ลองท�ำดู หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
55
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็น ประธาน ในการประชุมคณะหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกระทรวงหรือเทียบเท่า ครั้งที่ ๓/๒๕๕๘ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมี พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วมประชุม ณ ห้ อ งประชุ ม วายุ ภั ก ษ์ ๔ กระทรวงการคลั ง ถ.พระราม ๖ เมื่อ ๓ มิ.ย.๕๘
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นายฟรานเชสโก ซาเวริโอ นิซิโอ (Francesco Saverio Nisio) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิตาลีประจ�ำประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้องรับรอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๔ มิ.ย.๕๘ 56
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ พลเรือเอก Jung, Ho - Sub ผู ้ บั ญ ชาการทหารเรื อ สาธารณรั ฐ เกาหลี ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๙ มิ.ย.๕๘
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีปิดทอง “พระพุทธไตรเสนากลาโหมพิทักษ์” โดยมี นายทหารชั้นผู้ใหญ่ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ มณฑลพิธีวัดปริวาสราชสงคราม ถ.พระราม ๓ เขตยานนาวา เมื่อ ๕ มิ.ย.๕๘ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
57
พลเอก ศิรชิ ยั ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม รับมอบเครือ่ งแต่งกายเหล่าทหารเรือ พร้อมเครือ่ งหมายยศจาก พลเรือเอก ไกรสร จันทร์สวุ านิชย์ ผู้บัญชาการทหารเรือ ในโอกาสที่มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานยศ โดยมีรองปลัดกระทรวงกลาโหมและ นายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ ห้องสนามไชย ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๗ พ.ค.๕๘
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม และนางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รั บ มอบเครื่ อ งหมายความสามารถในการบิ น ชั้ น กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ใ นฐานะผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ แ ละสนั บ สนุ น ภารกิ จ ของกองทั พ อากาศ จาก พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง ผู้บัญชาการทหารอากาศ ณ ห้องรับรองกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๐ พ.ค.๕๘ 58
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม รับมอบทุนการศึกษาส�ำหรับบุตร-ธิดา ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จาก พลเอก วีระกูล ทองมา อุปนายกสมาคมจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พร้อมทั้งให้พรกับคณะนักกีฬาจักรยานและ เจ้าหน้าที่ที่จะเดินทางเข้าร่วมแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๒๘ เมื่อ ๕ มิ.ย.๕๘ ณ ห้องสนามไชย ภายในศาลาว่าการกลาโหม
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการรับฟังการบรรยายสรุปจาก กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร โดยมี รองปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วม ณ กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เขตราชเทวี เมื่อ ๒๖ พ.ค.๕๘ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
59
พลเอก ศิริ ชัย ดิษฐกุล ปลัด กระทรวงกลาโหม ตรวจความคื บ หน้ า โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา ตั้ ง แต่ สะพาน สมเด็จพระปิ่นเกล้า ถึง สะพานพระราม ๗ เพื่อจัดท�ำเป็นจุดชมวิวและพื้นที่นันทนาการแห่งใหม่ของกรุงเทพมหานคร โดยมี นายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมคณะ เมื่อ ๑๒ พ.ค.๕๘ พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานรับมอบทุน การศึกษาจาก คุณโสภณ กล้วยไม้ ณ อยุธยา ที่ปรึกษาบริหารธุรกิจทหาร ธนาคารทหารไทยจ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อน�ำไป มอบให้กับบุตรข้าราชการของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ณ ห้องสนามไชย ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๒ พ.ค.๕๘
พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ รองปลัดกระทรวง กลาโหม เป็นประธานในการสัมมนาเสริมสร้างเครือข่ายการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ณ ห้องพินติ ประชานาถ ภายใน ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๓ มิ.ย.๕๘
60
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ พันเอก Dang Thanh Tien ผู้ช่วยทูตทหารสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนามประจ�ำประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้องขวัญเมือง ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒ มิ.ย.๕๘ พลโท สุ ว โรจน์ ทิ พ ย์ ม งคล เจ้ า กรมกรมการเงิ น กลาโหม เป็นประธานในการทอดผ้าป่าสามัคคี และกิจกรรมปลูกต้นไม้ เนือ่ งในวันต้นไม้ประจ�ำปีของชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ ณ วัดโคก อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา เมื่อ ๗ มิ.ย.๕๘
หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
61
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานพิธีปิดทอง “พระพุทธไตรเสนากลาโหมพิทักษ์” ณ มณฑลพิธีวัดปริวาสราชสงคราม ถ.พระราม ๓ เขตยานนาวา เมื่อ ๕ มิ.ย.๕๘
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม น�ำคณะกรรมการสมาคมฯ ทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรม ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา (จ.นนทบุรี) ณ พิพิธภัณฑ์จังหวัดนนทบุรี / ศาลเจ้าแม่ทับทิม / วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร / วัดแคนอก /พุทธสถาน เชิงท่า-หน้าโบสถ์ / วัดใหญ่สว่างอารมณ์ / วัดบางจาก / วัดเสาธงทอง / วัดปรมัยยิกาวาส เมื่อ ๒๑ พ.ค.๕๘ 62
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการสมาคมฯ ณ ห้องประชุม ชั้น ๖ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) เมื่อ ๑๙ พ.ค.๕๘
นางอนรรฆมณี โชคคณาพิทักษ์ อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมงาน วันคล้ายวันสถาปนา ๔๐ ปี สมาคมภริยาทหารเรือ ณ ห้องเจ้าพระยา หอประชุมกองทัพเรือ เมื่อ ๑๘ พ.ค.๕๘ หลักเมือง กรกฎาคม ๒๕๕๘
63
นางอนรรฆมณี โชคคณาพิทักษ์ อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม น�ำคณะกรรมการสมาคมฯ เลี้ยงอาหาร กลางวันน้องๆ “ร่วมใจผูกพันธ์แบ่งปันเพื่อสังคม” ณ มูลนิธิเด็ก พุทธมณฑลสาย ๔ อ.สามพราน จ.นครปฐม เมื่อ ๑๘ มิ.ย.๕๘
นางธัญรัศม์ อาจวงษ์ อุปนายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ รับฟังการบรรยาย ผลิตภัณฑ์ ของบริษัท กิฟฟารีน สกายไลน์ ยูนิตี้ ณ ห้องประชุมชั้น ๑๐ ที่ท�ำการสมาคมภริยาข้าราชการ สป. (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๑๙ มิ.ย.๕๘ 64
๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๘
พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิ ทั ก ษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธเี ปิด การอบรมสั ม มนาสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง สาธารณะด้านความมั่นคงเครือข่ายส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม และ พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็น ประธานในพิธีปิด ณ โรงแรม เดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม ระหว่างวันที่ ๒๗ – ๒๙ พ.ค.๕๘
ร่วมเป็นหนึ่งในประวัติศาสตร์ ปั่นจักรยานเพื่อแม่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ แม่ของแผ่นดิน รวมพลังแห่งความรัก และสามัคคี ถวายเป็นพระราชสดุดี
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศาลากลางจังหวัด โทร. ๑๑๒๒ / www.bikeformom2015.com
พลเอก นพดล ฟั ก อั ง กู ร เจ้ า กรม เสมี ย นตรา เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด โครงการจิ ต ส� ำ นึ ก รั ก เมื อ งไทย ปี ๗ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ซึ่งจัดโดย ส�ำนักงาน เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงโหม ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลาว่าการ กลาโหม เมื่อ ๒๑ พ.ค.๕๘
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
Defence Technology Institute (Public Organisation)
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
เปิดรับสมัครบุคลากร เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและ ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ www.dti.or.th ยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารประกอบการสมัครด้วยตัวเอง ในวันและเวลาราชการที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล หรือทาง e.mail : recruitment@dti.or.th สอบถามข้อมูลได้ที่ โทร. ๐-๒๙๘๐-๖๖๘๘ ต่อ ๑๑๓๔,๑๑๓๓
ฉบับที่ ๒๙๒
๑. นักวิจัย (Control Engineering) ฝ่ายวิศวกรรมระบบ ๑ อัตรา ๒. นักวิจัย (Control System) ส่วนงานวิศวกรรมควบคุมและการสื่อสาร ๑ อัตรา ๓. นักวิจัย (Flight Control System Integration) ส่วนงานวิศวกรรมอากาศยาน ๑ อัตรา ๔. นักวิจัย (System Integration) ส่วนงานวิศวกรรมระบบขับเคลื่อน ๑ อัตรา ๕. นักวิจัย (Explosive) ส่วนงานวิศวกรรมวัตถุระเบิดฯ ๑ อัตรา ๖. นักวิจัย (Mechanical) ส่วนงานวิศวกรรมวัตถุระเบิดฯ ๑ อัตรา ๗. นักวิจัย (Network Analyst) ส่วนงานระบบเครื่องช่วยฝึกเสมือนจริง ๑ อัตรา ๘. นักพัฒนา ส่วนควบคุมคุณภาพและการมาตรฐาน ๑ อัตรา ๙. นักบริหารโครงการ ๒ อัตรา ๑๐. เจ้าหน้าที่แผนและงบประมาณ ๑ อัตรา
ปีที่ ๒๔
เพื่อคัดเลือกเป็นเจ้าหน้าที่ ปี ๕๘ ครั้งที่ ๖ จำ�นวน ๑๑ อัตรา ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ ๑๕ ก.ค. ๕๘
๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ๙ แผ่นดิน ของการปฏิรูประบบราชการ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๙๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
www.lakmuangonline.com