ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัติ แสนคำ� ร.น. พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
ที่ปรึกษา เหรัญญิก
พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.ร.อ.พลวัฒน์ สิโรดม ร.น. พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ พล.อ.สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.สิรวุฒิ สุคันธนาค พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.จิระ โกมุทพงศ์ พล.ท.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ยุทธนา กล้าการยุทธ พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต พล.ท.บรรเจิด เทียนทองดี พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ทวี พฤกษาไพรบูลย์ พล.ต.สังสิทธิ์ วรชาติกุล
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.หญิง ณิชนันทน์ ทองพูล พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ หากนึกถึงสภาพจิตใจของคนไทยในช่วงเวลานี้ ทุกคนคงมีสภาพจิตใจที่เหมือนกัน คือ ห่วงใยกับสถานการณ์บา้ นเมืองทีก่ ำ� ลังเป็นอยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ ทุกคนคงตัง้ ค�ำถามกับ ตัวเองหรือคนใกล้ชดิ ว่า เหตุการณ์ตอ่ ไปจะเป็นอย่างไร ทีส่ �ำคัญจะจบอย่างไร และเมือ่ ใด ซึง่ ความขัดแย้ง รวมถึงความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ ก�ำลังส่งผลกระทบสร้างความเสียหาย ให้กับประเทศในทุกด้าน และยิ่งความขัดแย้งนี้ยืดเยื้อ มีการสร้างเงื่อนไขและปัจจัย ที่เป็นเงื่อนปมต่าง ๆ จะยิ่งท�ำให้การแก้ปัญหา หรือจบปัญหายากยิ่งขึ้น ตลอดจน จะต้องใช้ระยะเวลาในการเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้นนานยิ่งขึ้น ประเด็นนี้เป็นส่วน หนึ่ง แต่ยังมีอีกเรื่องหนึ่งคือความแตกแยกแบ่งฝ่ายของคนในชาติที่เป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ความรุนแรงที่เพิ่มและขยายวงกว้างมากขึ้น การรับข้อมูลข่าวสารด้านเดียว บทบาทของเทคโนโลยีด้านการสื่อสารที่รวดเร็ว การสร้างและเกิดเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ เพิ่มขึ้น ท�ำให้โอกาสที่จะเห็นสองฝ่ายหันมาเจรจากันมีน้อยลง หรือเกือบจะไม่มีเลย ทัง้ ๆ ทีเ่ ป็นคนไทยด้วยกัน เชือ่ ว่าทุกคนทีเ่ ป็นคนไทย คงไม่อยากเห็นสงครามกลางเมือง หรือแบ่งเป็นประเทศไทยเหนือ ไทยใต้ หรือจะเรียกชื่อตัวเองว่าอะไรก็ตามแต่ มีกอง ก�ำลังเป็นของตนเอง มีอาณาเขตดูแลเป็นของตัวเอง จากสภาวะขณะนี้ ดูจะใกล้กับ สิ่งที่คนไทยไม่อยากจะเห็นแล้ว แล้วจะหาทางออกให้ประเทศไทยอย่างไรดี...
2
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๗๖ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
๔
๓๔
๘ สถิตในหทัยราษฎร์ ๑๒
๓๘
สามัคคีธรรม... น�ำชาติพ้นวิกฤต
แนวความคิด การป้องกัน และบรรเทาภัยพิบัติ อย่างยั่งยืน เปิดประตูสู่เทคโนโลยี ป้องกันประเทศ ๑๗ จรวดน�ำวิถีต่อสู้รถถัง
๑๒๗ ปี กรมการเงิน กลาโหม
๑๔
๒๕ ปี ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม
๔ ๑๒
๑๖
การบังคับใช้กฎหมาย ในภาวะไม่ปกติ (ตอนที่ ๒)
๒๐
การเตรียมความ พร้อมของ กรมการ อุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
๔๐
หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนที่ ๒๐)
๔๔
หลักการแห่งอหิงสา ของมหาตมะ คานธี
๔๘ ๘
๑๔
สงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓
๕๒
“When You and Your Friend Disagree Politically”
๕๔
จับกระแสความมั่นคง ของอาเซียนและจีน
สาระน่ารู้ ทางการแพทย์ “ผู้ใหญ่วัย ๔๐+... จ�ำเป็นต้องฉีดวัคซีน ด้วยหรือ?”
แนวความคิด การพัฒนาการเตรียม ก�ำลังระบบอาสาสมัคร ของกระทรวงกลาโหม
๓๐
๓๔
๓๘
กิจกรรมสมาคม ภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม
ดุลยภาพทางทหาร ของประเทศอาเซียน แนะน�ำปืนใหญ่สนาม อัตตาจรล้อยางแบบ ซีซาร์ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร
๔๔
๔๘
๕๔
๒๒
๒๐
๒๒
๒๖
๒๖ ๓๐
๖๒
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
3
สามัคคีธรรม... น�ำชาติพ้นวิกฤต พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ 4
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
“...ประวัติศาสตร์ ได้แสดงให้ปรากฏตลอดว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ ประหัตประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวกถึงกับ เป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมท�ำลายชาติของตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลายให้ระลึกถึงพระคุณของ บรรพบุรษุ ซึง่ ได้กอบกูร้ กั ษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานัน้ ให้จงหนักแล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอมเสียสละส่วนตัว เพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติเป็นคุณธรรมประจ�ำใจอยู่เนืองนิตย์ จึงขอให้ชาวไทยทั้งหลาย จงบ�ำเพ็ญกรณียกิจ ของตนแต่ละคนด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ขยันหมัน่ เพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทศิ ความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนือ่ ย ล�ำบากยากแค้นเป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจนบัดนี้…” พ ร ะ ร า ช ด� ำ รั ส ที่ ผู ้ เ ขี ย น อั ญ เ ชิ ญ ม า ถ่ายทอดในโอกาสนี้ เป็นข้อความตอนหนึง่ ของ พระราชด�ำรัสพระราชทานแก่ประชาชนชาว ไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๔๙๔ ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๔๙๓ ซึ่งพระราชด�ำริ ทีท่ รงถ่ายทอดออกมานัน้ เป็นการเตือนสติพสก นิกรชาวไทยให้มีความตระหนักในเรื่องของ ความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การรู้จัก ค�ำว่าเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ ของประเทศชาติ และที่ส�ำคัญที่สุดคือโทษของ การสามัคคีทที่ ำ� ลายประเทศชาติ ซึง่ ผูเ้ ขียนใคร่ ขอขยายความในข้อความพระราชด�ำรัสเพือ่ ให้ ทุกท่านได้กรุณาประจักษ์ในพระราชปณิธาน ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรง พระราชทานถ่ายทอดต่อสาธารณชนเมื่อ ๖๓ ปีก่อน กล่าวคือ
การปกป้องผลประโยชน์ของฝ่ายตนเอง หรือ คอยเวลาที่มุ่งจะประหัตประหารฝ่ายตรงกัน ข้ามกับตนเองให้คงเหลือแต่ฝ่ายของตนเอง ซ�้ำที่ร้ายไปกว่านั้นคือบางพรรคบางพวกถึงกับ ยอมขายตัวเองหรือขายจิตวิญญาณของตนเอง เพือ่ ก้าวไปเป็นไส้ศกึ ให้ศตั รูเข้ามาจูโ่ จมท�ำลาย ชาติของตนเอง ดังเช่นที่เคยปรากฏมาแล้วทั้ง ในประวัติศาสตร์โลกและประวัติศาสตร์ของ ไทย ซึ่งการแตกสามัคคีนี้เองถือเสมือนกับเป็น เนื้อร้ายในการท�ำลายประเทศชาติให้สูญสิ้น นั่นก็คือ สภาวการณ์ที่ประชาชนในชาติแตก ความสามัคคี นั่นเอง
ประการที่สอง : คุณธรรมความดีของ คนในชาติ ประการแรก : ลักษณะและโทษของ การแตกสามัคคี ประวัติศาสตร์ในอดีตได้บันทึกและแสดง ให้ปรากฏมาโดยตลอดว่า ความเสื่อมสูญและ สิ้ น สลายลงของประเทศ ของชาติ มีปัจจัย และสาเหตุส�ำคัญเนื่องมาจากการที่ประชาชน ในชาติ ข าดสามั ค คี ธ รรม โดยมี ลั ก ษณะ พื้ น ฐานของการแตกสามั ค คี โดยการแบ่ ง ฝัก แบ่งฝ่ายของประชาชนจากที่เคยมีความ กลมเกลียว จากที่เคยมีสายสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้แตกแยกออกเป็นหมู่เป็นคณะ ก่อตั้งองค์กร ออกเป็นพรรคเป็นพวกที่คำ� นึงถึงผลประโยชน์ ร่วมกันเพื่อคอยรักษาประโยชน์ของพวกตน ในลักษณะต่างๆ อาทิ มุ่งเอารัดเอาเปรียบ สังคมด้วยการสร้างอุดมการณ์ร่วมที่ดูเสมือน ว่ า เป็ น คุ ณ ต่ อ สั ง คมแต่ เ คลื อ บแฝงไปด้ ว ย หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
สิง่ ทีป่ ระชาชนชาวไทยไม่ควรหลงลืมคือ ผืน แผ่นดินไทยที่เราได้ร่วมกันอาศัยอยู่ในปัจจุบัน อันเกิดมาจากความมุง่ มัน่ ทุม่ เทแรงกาย แรงใจ กอปรกับความเสียสละเลือดเนื้อและชีวิตของ บรรพบุรุษไทยในอดีต ซึ่งในโอกาสอันเดียว กันนี้ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ ทรงชักชวนให้พสกนิกรชาวไทยทั้งหลายได้ ตระหนักและระลึกถึงพระคุณอันงดงามของ บรรพบุ รุ ษ ไทยที่ ไ ด้ เ พี ย รสร้ า ง เพี ย รกอบกู ้ เพียรรักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเราเพื่อด�ำรง ไว้ให้แก่ลูกหลานคือคนไทยทุกคน พร้อมกับ ได้ ท รงย�้ ำ เตื อ นให้ พ สกนิ ก รชาวไทยถื อ เอา ความสามัคคีเป็นแบบอย่างในการอยู่ร่วมกัน ของคนในสังคมควบคู่ไปกับการตกลงปลงใจ ที่จะให้ความยินยอมในการเสียสละประโยชน์ ส่วนตัว เพื่อเกื้อกูลต่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของ ประเทศชาติ ทั้งนี้ พสกนิกรพึงตระหนักใน เรื่องของคุณธรรมความสามัคคีและยึดถือไว้ เป็นคุณธรรมประจ�ำใจอยู่ตลอดเวลา เพราะ จะเป็นหนทางส�ำคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นให้ประเทศ ชาติสามารถก้าวเดินไปข้างหน้าเพื่ออ� ำนวย ประโยชน์ของประชาชนและสังคมได้อย่างมี เสถียรภาพ 5
ประการสุดท้าย : กรณียกิจอันสมควร ดังกล่าวก็นับเป็นวิกฤตที่บั่นทอนการก้าวเดิน ด� ำ รั ส ข้ า งต้ น ที่ เ ริ่ ม ต้ น จากความตระหนั ก
แนวทางส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ อ งค์ พ ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงชี้แนะให้พสกนิกร ชาวไทยพิจารณาปฏิบัติเป็นกรณียกิจ (กิจที่ พึงกระท�ำ) อันเหมาะสม โดยขอให้พสกนิกร ชาวไทยทั้งหลาย ต่างบ�ำเพ็ญกรณียกิจของตน หรื อ ของแต่ ล ะบุ ค คลบนพื้ น ฐานของความ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ความขยั น หมั่ น เพี ย ร ความ อดทนและกล้ า หาญ ในขณะเดียวกัน ก็ให้ อุทิศความเสียสละที่ตนเองบ�ำเพ็ญหรือปฏิบัติ ด้วยความตั้งมั่นแม้ว่าจะต้องประสบกับความ เหน็ดเหนื่อยหรือล�ำบากยากแค้นในทุกกรณี เพื่อเป็นการบวงสรวงบูชาในคุณงามความดี ของบรรพบุรุษไทย ผู้ซึ่งได้อุทิศแรงกายแรงใจ ในการก่อร่างสร้างประเทศ สร้างเสถียรภาพ และบูรณภาพแห่งประเทศชาติ จนสืบทอด มาเป็นมรดกตกทอดให้แก่ประชาชนชาวไทย ในปัจจุบัน หรือพิจารณาอีกนัยหนึ่งคือทรง ชี้แนะให้พสกนิกรชาวไทยยึดมั่นในคุณธรรม ความดี แ ละบ� ำ เพ็ ญ เพี ย รตามหน้ า ที่ ข องตน ด้วยความมุง่ มัน่ ศรัทธาโดยมิได้หวังประโยชน์ที่ ตนเองจะได้รับจากการกระท�ำ ในทางกลับกัน ผลประโยชน์ที่ได้รับจะบังเกิดแก่สังคมไทย และประเทศชาติ จึ ง ถื อ เสมื อ นกั บ เป็ น การ อุ ทิ ศ ความดี นี้ แ ด่ บ รรพบุ รุ ษ ซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น พระราชกุ ศ โลบายอั น แยบคายและเป็ น สิริมงคลแก่พสกนิกรชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง หากนับเวลาที่เดินทางของพระราชด�ำรัส พระราชทานบทนี้นับได้ว่าเป็นเวลามากกว่า ๖๓ ปี ซึ่งเหตุการณ์ทางการเมืองในห้วงเวลา 6
ไปข้างหน้าของประเทศชาติมากพอสมควร เพราะประเทศไทยในห้วงเวลาดังกล่าวเป็น ห้วงเวลาทีเ่ ปราะบางทางการเมืองในยุคเริม่ ต้น ของสงครามเย็น จนน�ำไปสู่การกระทบกระทั่ง ของกลุ ่ ม ชนทางการเมื อ งที่ มี ค วามคิ ด เห็ น แตกต่างกันอยู่หลายครั้งหลายคราว แม้กระทั่งวันนี้ สถานการณ์ทางการเมือง ก็ ยั ง คงเป็ น ผลกระทบจากความแตกแยก ทางความคิดของพี่น้องชาวไทยที่มีความเห็น แตกต่างกันอยู่ หากเปรียบไปแล้วก็เสมือน กั บ วงล้ อ เกวี ย นที่ ห มุ น ทั บ ลงบนรอยเกวี ย น เดิมนั่นเอง ผู้เขียนเชื่อว่าสังคมไทยส่วนใหญ่ ต่ า งน้ อ มรั บ ความคิ ด เห็ น ของทุ ก ฝ่ า ยที่ ต ่ า ง ฝ่ายต่างแสดงออกให้เห็นถึงความตระหนักใน ทางการเมืองและอุดมการณ์ทางการเมืองของ แต่ละฝ่าย โดยต่างหวังว่าวิถีทางของตนเอง หรือกลุ่มของตนนั้นว่า จะอ�ำนวยประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติและพี่น้องประชาชน แต่ใน ทางกลับกันอาจตั้งอยู่บนความคิดเห็นที่เป็น อุดมคติหรือความคิดเห็นที่สุดโต่งไปบ้างหรือ ไม่ จนท�ำให้ความคิดเห็นของแต่ละฝ่ายเป็น เสมือนเป็นเส้นขนานหรือทางขนานกับความ คิดของกลุ่มอื่นไปโดยปริยาย ดังนั้น หากว่าเราจะท�ำให้เส้นขนานนั้นมา บรรจบกันด้วยวิถที างทีต่ งั้ บนพืน้ ฐานของเสน่ห์ ความเป็นไทยอันเกิดจากการแบ่งปันรอยยิ้ม การแบ่งปันน�้ำใจ การส่งมอบไมตรีและความ ปรารถนาดีบา้ งจะดีหรือไม่ โดยทีห่ ลักคิดนีอ้ าจ เริ่มต้นจากแนวทางอันเนื่องมาจากพระราช
ในคุณธรรมความสามัคคี และประยุกต์เอา ความสามัคคีมาเป็นแบบอย่างในการอยู่ร่วม กันของคนในสังคม ควบคู่ไปกับการบ� ำเพ็ญ กรณียกิจในการเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อ เกื้อกูลต่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ แนวทางนี้อาจเป็นกลไกส�ำคัญที่จะขับเคลื่อน ความสงบสุข ความรักใคร่กลมเกลียวของคน ในชาติให้กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ ขาดหายไปหลายปี และคาดหวั ง ได้ ว ่ า เป็ น ความสงบสุขที่ยั่งยืน มีเสถียรภาพ ตลอดจน ผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศชาติ ส ามารถก้ า วเดิ น ไป ข้างหน้าได้อีกครั้ง ถือได้ว่า ประชาชนชาวไทยเป็นคนที่โชคดี ที่เกิดมาบนผืนแผ่นดินไทยที่อุดมสมบูรณ์ มี ภาษา มีศิลปวัฒนธรรมที่งดงาม มีพื้นฐานทาง จิตใจที่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และที่ส�ำคัญที่สุดที่เกิด ภายใต้ร่มฉัตรแห่งพระเมตตาธรรมขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทาน พระราชด�ำริเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ชาวไทย มาโดยตลอด และถ้าวันนี้เราลองตั้งสติ ลอง หั น กลั บ ไปดู เ หตุ ก ารณ์ ที่ ผ ่ า นมาด้ ว ยใจที่ ปราศจากอคติพร้อมกับอัญเชิญพระราชด�ำรัส พระราชทานข้างต้นมาเป็นกรอบแนวทางใน การคิด ในการด�ำเนินกิจกรรม และบ�ำเพ็ญ กรณี ย กิ จ สิ่ ง เหล่ า นี้ น ่ า จะเป็ น ทางออกให้ ประเทศไทยสามารถก้าวผ่านวิกฤตอันเชี่ยว กรากในครั้งนี้ไปได้ ลองท�ำดูเถิดครับ! คงไม่ เสียหายอะไรไปมากกว่านี้อีกแล้ว ! พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ช่วยกันเถอะครับ ! ช่วยกันขับเคลื่อน ประเทศไทยให้กลับคืนมาสู่ความเป็นเสือ แห่งอาเซียนอีกครัง้ อย่าท�ำให้ประเทศไทย อั น เป็ น ที่ รั ก ของเราเป็ น แมวป่ ว ยของ อาเซียนอย่างทุกวันนีเ้ ลย และก่อนทีจ่ ะจบ ลงไป ผูเ้ ขียนขอน�ำเอาบทประพันธ์ทชี่ อื่ ว่า เพลงชาติ ของ อาจารย์นภาลัย (ฤกษ์ชนะ) สุวรรณธาดา ที่ได้กรุณาประพันธ์ไว้เมื่อ ปีพุทธศักราช ๒๕๑๐ มาทบทวนความ จ�ำกันอีกครั้ง และขอให้บทสุดท้ายของ บทประพั น ธ์ เ ป็ น เพี ย งอนุ ส ติ เ ตื อ นใจ พี่น้องชาวไทยของเรา และขออย่าได้เกิด เหตุการณ์อันเลวร้ายนั้นเลย
ธงชาติไทยไกวกวัดสะบัดพลิ้ว ผ้าผืนน้อยบางเบาเพียงเท่านี้ ชนรุ่นเยาว์ยืนเรียบระเบียบแถว "ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย" ผืนแผ่นดินถิ่นนี้ที่พ�ำนัก แผ่นดินไทยไทยต้องครองทั้งปวง เธอร้องเพลงชาติไทยมั่นใจเหลือ เพลงกระหึ่มก้องฟ้าก้องธาตรี แต่สิ่งหนึ่งซึ่งไทยร้าวใจเหลือ บ้างหากินบนน�้ำตาประชาไทย ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
แลริ้วริ้วสลับงามเป็นสามสี แต่เป็นที่รวมชีวิตและจิตใจ ดวงตาแน่วนิ่งตรงธงไสว ฟังคราวใดเลือดซ่านพล่านทั้งทรวง เราแสนรักและแสนจะแหนหวง ชีพไม่ล่วงใครอย่าล�้ำมาย�่ำยี พลีชีพเพื่อชาติที่รักทรงศักดิ์ศรี แม้ไพรีได้ฟังยังถอนใจ คือเลือดเนื้อเป็นหนอนคอยบ่อนไส้ บ้างฝักใฝ่ลัทธิชั่วน่ากลัวเกรง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง!
7
สถิตในหทัยราษฎร์
นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ย้
อนหลังกลับไปเมื่อประมาณหกสิบ กว่าปีทแี่ ล้ว เมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๙ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยั ง ทรงด� ำ รงพระอิ ส ริ ย ศเป็ น สมเด็ จ พระเจ้ า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุยเดช ในเช้าวันที่ ๙ มิ ถุ น ายนเกิ ด เหตุ อั น ไม่ มี ใ ครคาดฝั น สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว อานั น ทมหิ ด ลเสด็ จ สวรรคต วันเดียวกันรัฐสภามีมติเป็นเอกฉันท์ ที่ จ ะกราบบั ง คมทู ล อั ญ เชิ ญ สมเด็ จ พระ อนุชาผู้มีพระชนมายุเพียง ๑๘ พรรษาเสด็จ ขึ้ น ด� ำ รงสิ ริ ร าชสมบั ติ ค�่ำ นั้ น ขณะที่ ค วาม 8
ทุ ก ข์ ที่ สุ ด จากการสู ญ เสี ย พระบรมเชษฐา ธิราชอย่างฉับพลันยังท่วมท้นในพระราชหฤทัย ต้องทรงตัดสินพระทัยว่าจะทรงรับพระราช ภารกิจอันยิ่งใหญ่นี้หรือไม่ สมเด็จพระบรม ราชชนนีทรงถามพระโอรสว่า “รับไหมลูก” ทรงตอบด้วยพระราชหฤทัยเข้มแข็งว่า “รับ” ซึ่งต่อมาพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภ พฤฒิยากร อดีตประธานองคมนตรี ทรงเล่า เหตุการณ์ในวันนั้นว่า “ได้กราบบังคมทูลถาม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถึงเรื่องที่ทรง รับราชสมบัติ มีพระราชด�ำรัสตอบว่า หน้าที่
และความเป็นคนไทยท� ำให้ทรงรับ...เพราะ ฉันเป็นคนไทย ประชาชนเขาต้องการให้ฉัน ท�ำหน้าที่....” ในช่วงนั้นนับเป็นช่วงเวลายาก จะท�ำใจเมื่อคนไทยต้องสูญเสียพระเจ้าอยู่หัว รั ช กาลที่ ๘ ผู ้ ท รงเป็ น ความหวั ง อั น สดใส ด้ ว ยทรงริ เ ริ่ ม ปฏิ บั ติ พ ระราชภารกิ จ อย่ า ง “พระเจ้าแผ่นดินยุคใหม่” เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปเยี่ ย มเยี ย นพสกนิ ก รอย่ า งใกล้ ชิ ด โดย มี พ ระอนุ ช าธิ ร าชทรงร่ ว มปฏิ บั ติ พ ระราช ภารกิจอย่างเข้มแข็ง เมื่อเสด็จสู่สวรรคาลัย รวดเร็วเช่นนี้ ความหวังอันเรืองรองที่อยู่ใน นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ใจคนไทยก็ ดู ค ล้ า ยจะดั บ วู บ ไปชั่ ว ขณะว่ า ประเทศไทยไม่มีพระเจ้าอยู่หัวแล้ว และนี่คือ พระราชด�ำรัสปลุกปลอบ ที่กลายเป็นเปลว เทียนจุดสว่างกลางความมืดมนในใจราษฎร์ ว่า “พระเจ้าอยู่หัวยังอยู่ พระอนุชาต่างหาก ที่ไม่มีแล้ว” พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ ยุ ค ล ได้ ก ราบบั ง คมทู ล ถวายชั ย มงคลแทน พระบรมวงศานุ ว งศ์ เ มื่ อ วั น ที่ ๙ มิ ถุ น ายน ๒๕๑๔ เนื่องในวโรกาสมหามงคลสมัยเถลิง ถวัลยราชสมบัติครบ ๒๕ ปี โดยมีความตอน หนึง่ ย้อนอดีตกลับไปยังวันทีท่ รงรับอัญเชิญขึน้ ครองราชย์ว่า “...เมื่อ ๒๕ ปี โพ้นต่อหน้ามหา สมาคมกอปรด้วยประธานสภาผู้แทนราษฎร นายกรั ฐ มนตรี พระบรมวงศานุ ว งศ์ ผู ้ ใ หญ่ และข้ า ราชการผู ้ ใ หญ่ พระราชาพระองค์ หนึ่งตรัสมีความโดยสังเขปว่า ‘ข้าพเจ้าขอ ขอบใจที่มอบราชสมบัติให้ ข้าพเจ้าจะท�ำทุก อย่ า งเพื่ อ ประเทศชาติ แ ละเพื่ อ ความผาสุ ก ของประชาชนอย่างเต็มความสามารถ ขอให้ ท่านจงช่วยร่วมกันท�ำดังกล่าว แล้วก็เสด็จไป จากมหาสมาคมนั้น ครั้นแล้วทรงหันกลับมา ใหม่แล้วตรัสอย่างหนักหน่วงว่า และด้วยใจ สุจริต...’ พระราชกระแสรับสัง่ และสีพระพักตร์
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
9
ตอนที่รับสั่งนั้น เป็นที่ซาบซึ้งจับจิตและตื้นตัน ใจแก่ผู้ที่มีวาสนาได้เห็นได้ฟังอย่างยากยิ่งที่จะ พรรณนาให้ถกู ต้องได้เพราะ ประการแรกขณะ นั้นมีพระชนม์เพียง ๑๘ พรรษา อีกทั้งขณะ นั้นเป็นยามที่ตื่นตระหนกและยามเศร้าหมอง อย่างที่สุดที่พระมหากษัตริย์หรือบุคคลใดจะ พึงก�ำลังเผชิญในชีวิต อีกทั้งเป็นกาลเวลาที่ บ้านเมืองก�ำลังปั่นป่วน มิอาจที่จะทรงทราบ หรือทรงเดาได้ว่าเหตุการณ์ภายในประเทศ ต่อไป แม้เพียงในชัว่ โมงข้างหน้า วันหน้า จะเป็น อย่ า งไร ประการที่ ส อง พระราชกระแส พระสุรเสียง ตลอดจนสีพระพักตร์ในขณะที่ รั บ สั่ ง นั้ น แสดงถึ ง ความจริ ง จั ง ความแน่ ชั ด และความเด็ดขาดเห็นได้ชัดว่าเป็นพระราช กระแสรั บ สั่ ง ที่ ม าจากเบื้ อ งลึ ก ของพระราช หฤทัย จึงเป็นราชปฏิภาณที่แน่นอนและเด่น ชัด และเห็นได้ว่าเป็นพระราชด�ำรัสที่มิได้ทรง ตระเตรียมแต่งหรือเขียนไว้ก่อน จึงไม่มีผู้ใดได้ เตรียมบันทึกพระราชกระแสนั้นไว้...” ๑๙ สิ ง หาคม ๒๔๘๙ หลั ง จากทรงรั บ อัญเชิญขึ้นครองราชย์ได้สองเดือนก็ต้องทรง อ�ำลาประเทศไทยเพื่อเสด็จพระราชด�ำเนินไป ศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ขณะ รถยนต์ แ ล่ น จากพระบรมมหาราชวั ง ผ่ า น ถนนราชด�ำเนินกลางมุ่งสนามบินดอนเมือง ท่ า มกลางประชาชนชาวไทยที่ ม าส่ ง เสด็ จ สองข้ า งทาง อาจด้ ว ยอารมณ์ อ ้ า งว้ า งและ ใจหายผลักดันให้ชายคนหนึ่งในหมู่พสกนิกร ตะโกนขึ้นมาขณะที่รถพระที่นั่งแล่นผ่านว่า “ในหลวงอย่ า ละทิ้ ง ประชาชน” ไม่ มี ใ ครรู ้ ความในพระราชหฤทัยที่มีต่อเสียงนั้นจนเมื่อ ได้พระราชทานพระราชนิพนธ์ “เมื่อข้าพเจ้า จากสยามมาสู่สวิตเซอร์แลนด์”ลงตีพิมพ์ใน หนังสือ“วงวรรณคดี”อีกหลายเดือนต่อมาว่า “...อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า ถ้าประชาชน ไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้งได้อย่างไร..” แล้ ว ความอ้ า งว้ า งทั้ ง มวลตลอดเวลาที่ ท รง จากไปเพือ่ การศึกษาก็มลายหายไปจนหมดสิน้ เมื่อเสด็จนิวัตพระนครในอีกสี่ปีต่อมา ในครั้ง นี้ได้พระราชทาน “ค�ำมั่นสัญญา” ที่ไม่เพียง ทรงก�ำหนดไว้ในพระราชหฤทัยเพียงล�ำพังอีก แล้วแต่ทรงเปล่งพระบรมราชโองการอันหนัก แน่นยิง่ ให้คนไทยรูท้ วั่ กันในวันพระราชพิธบี รม ราชาภิเษกเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๙๓ ซึ่ง ถือเป็นพระปฐมบรมราชโองการที่ว่า “เราจะ ครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยาม” ปี ๒๔๙๓ จึงเป็นปีที่หัวใจ คนไทยได้ รั บ การถมเต็ ม ด้ ว ยความสุ ข ความ ปลืม้ ปีตจิ นอิม่ ล้น และได้ทรงตัง้ พระราชหฤทัย อย่างแน่วแน่ว่าจะไม่เสด็จออกนอกประเทศ ถ้าไม่มเี หตุผลส�ำคัญ ในฐานะทีท่ รงเป็นประมุข ของชาวไทยสมควรที่ จ ะประทั บ อยู ่ ใ นบ้ า น เมืองเพื่ออยู่ใกล้ชิดราษฎรให้มากที่สุด 10
นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
การประทับอยู่ในบ้านเมืองนั้นมิได้หมายถึง การประทับอยู่ในเมืองหลวงเท่านั้นแต่ยังเสด็จ ไปเยี่ยมเยียนราษฎรของพระองค์จนแทบทั่ว ทุกตารางนิว้ ทีพ่ ระบาทจะย่างไปถึงได้ และเมือ่ วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๔๙๗ ได้ปรากฏว่าเกิด เหตุการณ์อัคคีภัยครั้งร้ายแรงขึ้นที่ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปเยี่ ย มเยี ย นราษฎร ผู ้ ป ระสบภั ย ในท้ อ งที่ ทรงทอดพระเนตร บริเวณทีเ่ กิดเพลิงไหม้และพระราชทานสิง่ ของ บรรเทาทุกข์ การเสด็จพระราชด�ำเนินครั้งนั้น นับได้ว่าเป็นการเสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยม ราษฎรครั้งแรกในรัชกาลนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ เสด็จเยี่ยมราษฎรต่างจังหวัดเป็นครั้ง ที่สองที่ จ. สุพรรณบุรีจึงไม่แปลกที่ราษฎรใน แดนไกลผู้ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน ของเขาเป็ น ครั้ ง แรกและอาจเป็ น ครั้ ง เดี ย ว ในชี วิ ต เมื่ อ ได้ ท ราบข่ า วว่ า จะเสด็ จ ลงเรื อ พระที่นั่งเพื่อประพาสในแม่น�้ำสุพรรณบุรีจะ พากั น แห่ ม ารอชมพระบารมี ทั้ ง สองฟากฝั ่ ง
บางคนยอมถึงกับลุยลงไปเฝ้ารออยู่ในน�้ำเพื่อ ให้เห็นพระองค์ใกล้ชิดที่สุด โดยไม่หวั่นว่าจะ ต้องแช่น�้ำอยู่นาน ๆ ท่ามกลางแดดร้อนเปรี้ยง แต่อย่างใด ปลายปีเดียวกันนั้นเองชาวอีสาน ทราบข่าวดีว่าในหลวงและพระราชินีของพวก เขาจะเสด็จฯเยี่ยมอีสานเป็นเวลา ๑๙ วันใน ระหว่าง ๒ - ๒๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ ในช่วง นั้นเป็นช่วงเวลาที่ภาคอีสานแห้งแล้งมากไม่มี อ่างเก็บน�้ำชลประทานดังเช่นปัจจุบัน เส้นทาง รถยนต์ยังเป็นดินแดงทุรกันดาร น�้ำพระราช หฤทัยที่แสดงออกด้วยการเจาะจงเสด็จเยี่ยม หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
อีสานจึงเสมือนน�้ำฝนเย็นฉ�่ำที่หยาดลงมาบน ผืนดินที่แห้งผาก ยังไม่ทันที่ทั้งสองพระองค์จะ เสด็จฯ มาถึง น�้ำพระทัยที่เย็นดุจสายฝนหยด แรกก็หยาดน�ำทางลงมาเสียแล้วเมื่อมีข่าวว่า กรมทางหลวงเตรียมน�ำ “น�ำ้ ” มาราดถนนทาง เสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อไม่ให้ถนนเกิดฝุ่นแดง คลุ้งเมื่อรถพระที่นั่งแล่นผ่าน พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระกระแสรับสั่งห้ามว่า “ไม่ ให้น�ำน�้ำซึ่งเป็นของมีค่าหายากมาราดถนน รับเสด็จ แต่สงวนน�้ำไว้ให้ราษฎรใช้อาบกิน” สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถได้มี
พระราชด�ำรัสพระราชทานเกี่ยวกับการปฏิบัติ พระองค์ในการเยี่ยมเยียนราษฎรซึ่งพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงปฏิบัติเป็นแบบ อย่างว่า “เวลามีพระราชปฏิสันถารกับราษฎร ซึ่งเป็นชั่วโมง ๆ ทีเดียวทรงคุยกับราษฎรนี่ ไม่โปรดทรงยืน ทรงถือขนบธรรมเนียมไทยที่ จะไม่ยืนค�้ำผู้เฒ่าผู้แก่ จะประทับลงรับสั่งกับ ราษฎรเสมอมา แม้จะเป็นตอนเที่ยงแดดร้อน เปรี้ยงก็ตาม ซึ่งข้าพเจ้าก็เห็นพระราชจริยวัตร นี้มาตั้งแต่ตอนต้นรัชกาลแล้ว...” และเหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต้องทรงงานหนักเพื่อพสกนิกรนั้นสมเด็จพระ นางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถได้พระราชทาน ค�ำอธิบายไว้ว่า “...รับสั่งว่าเราต้องตอบแทน ความรักของประชาชนด้วยการกระท�ำมากกว่า ค�ำพูด ท�ำทุกสิ่งทุกอย่างที่จะบ�ำบัดความทุกข์ ของเขา เพราะเขาเป็นหลักพึ่งพาของพระมหา กษัตริย์ตลอดเวลา จึงตัดสินพระทัยว่าการ เสด็ จ ไปไหน ๆ แล้ ว แจกผ้ า ห่ ม แจกเสื้ อ ผ้ า เป็นการถมมหาสมุทร อย่างไรก็ช่วยไม่ได้หมด ทางที่ดีรับสั่งว่าต้องลงไปพูดคุยกับเขาเรียก ว่าสอบถามถึงความทุกข์ของเขาว่าอยู่ที่ใหน.. ตั้งแต่นั้นมาเมื่อเริ่มตั้งพระทัยเช่นนั้นก็เริ่มทรง ศึกษาแผนทีซ่ งึ่ กรมแผนทีแ่ ละกรมชลประทาน ช่ ว ยเหลื อ อยู ่ ต ลอดเวลาได้ รั ฐ บาลที่ ค อย ช่วยเหลือเกื้อกูลพระองค์ตลอดเวลา เพื่อที่ จะได้ทรงตอบแทนพระคุณประชาชนได้อย่าง เต็มที่...”
11
๑๒๗ ปี กรมการเงินกลาโหม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
ห
ากจะกล่าวถึง กรมยุทธนาธิการ ซึ่งถือได้ว่าส่วนราชการแรกเริ่ม ในยุ ค ของกิ จ การทหารยุ ค ใหม่ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ซึ่ ง ใ น เ ว ล า ต ่ อ ม า ไ ด ้ มี พัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาจนเป็นกระทรวง กลาโหมในปั จ จุ บั น ที่ มี อ ายุ แ ละเกี ย รติ ภู มิ ยืนยาวมาจวบจน ๑๒๗ ปี ในวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ นี้ แต่ท่านทราบหรือไม่ว่ายังมีส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงกลาโหมอีกหนึ่งหน่วยที่มี เกียรติประวัติและมีความยืนยาวของหน่วยมา ถึง ๑๒๗ ปี เช่นเดียวกันกับกระทรวงกลาโหม ทั้งยังมีวันสถาปนาหน่วยเป็นวันที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ ซึง่ เป็นวันเดียวกันกับการสถาปนากรม ยุทธนาธิการอีกด้วย ส่วนราชการที่กล่าวถึงนี้ คือ กรมการเงินกลาโหม นั่นเอง ในยุคกว่า ๑๓๐ ปีที่ผ่านมา สยามประเทศ ต้องเผชิญกับปัญหาร้ายแรงที่มีผลกระทบต่อ เสถียรภาพของประเทศเป็นอย่างยิ่ง กล่าว คือ ประเทศมหาอ�ำนาจจากโลกตะวันตกที่มี แสนยานุภาพทางทหารที่สูงมากและทันสมัย ต่างแสวงหาอาณานิคม และสยามประเทศก็ เป็นที่หมายตาของมหาอ�ำนาจเหล่านั้นด้วย จึงนับเป็นวิกฤตการณ์สำ� คัญของประเทศที่อยู่ ท่ามกลางภัยคุกคามทีเ่ หนือกว่าและถือเป็นจุด ล่อแหลมกับการสูญเสียเอกราชของชาติ หาก ไม่มีการวางรากฐานของประเทศและด�ำเนิน วิเทโศบายอย่างรัดกุม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี พ ระราชปณิ ธ านที่ จ ะพั ฒ นาขี ด ความ สามารถของกองทัพสยามประเทศให้มีความ เจริญก้าวหน้าทัดเทียมประเทศโลกตะวันตก ด้วยการพัฒนากองทัพให้มีแบบธรรมเนียม วิธีการบริหารจัดการในลักษณะที่เทียบเคียง ได้ กั บ ประเทศโลกตะวั น ตก เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีประกาศ พระบรมราชโองการทีเ่ รียกว่า ประกาศจัดการ 12
ทหาร เมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ จัดตั้ง กรม ยุทธนาธิการ ให้ที่มีหน้าที่บังคับบัญชาทหาร บกและทหารเรื อ ให้ เ กิ ด ความเป็ น เอกภาพ ในการบัง คั บ บั ญ ชา รวมทั้ ง จั ด ระเบี ย บการ บริหารราชการทหารอย่างเป็นมาตรฐานทั้ง ในเรื่ อ งการเตรี ย มก� ำ ลั ง และการสนั บ สนุ น ในด้านต่าง ๆ โดยประกาศจัดการทหาร ได้ มี ก ารจั ด ส่ ว นราชการของกรมยุ ท ธนาธิ ก าร ประกอบด้วย ทหารบก ทหารเรือ กรมใช้จ่าย และกรมยุทธภัณฑ์ พร้อมทั้งทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ ให้ ตั้ ง ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาการทั่ ว ไป ส�ำหรับกรมทหาร เรียกว่า คอมมานเดออินชิฟ (Commander In Chief) โดย สมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎ ราชกุมาร ทรงด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าวนี้ เพื่อ ให้ถูกต้องตามโบราณราชประเพณี และมีการ แต่งตัง้ เจ้าพนักงานใหญ่ผจู้ ดั การในกรมส�ำหรับ ช่วยผู้บัญชาการทั่วไปอีก ๔ ต�ำแหน่ง ซึ่งมี ต�ำแหน่งส�ำคัญที่น่าสนใจคือ เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้บัญชาการใช้จ่าย หรือ เปมาสเตอเยเนอราล (Paymaster General)
ซึ่งหากพิจารณาให้ถ่องแท้ จะเห็นได้ว่าใน ประกาศจัดการทหาร ได้ให้ความส�ำคัญต่อ การบริหารจัดการและควบคุมการใช้จ่ายของ กรมยุทธนาธิการเป็นอย่างมาก จนก�ำหนดให้ มีหน่วยงานระดับกรม มีหน้าที่ด�ำเนินกิจการ ในการใช้จ่ายในภาพรวมโดยใช้ชื่อว่า กรมใช้ จ่าย และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ให้ นายพลตรี เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมขุนนริศรา นุวัตติวงศ์ เป็น เจ้าพนักงานใหญ่ผู้บัญชาการ ใช้จ่าย เพื่อบริหารจัดการในเรื่องการบริหาร ทรัพยากรประเภทเงิน ๆ ทอง ๆ ของทหาร ซึ่งก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนในหน้าที่ว่า “...ให้ จั ด การทั้ ง ปวง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเบิ ก เงิ น ใช้สอย จ่าย ทีเ่ กีย่ วข้องด้วยประมาณราคาของ แลตรวจตราลดหย่ อ นเติ ม เงิ น ขึ้ น ที่ จ ะใช้ ใ น กรมทหารทั้งปวง…” ในเวลาต่อมาเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๓ ได้ มีการตราพระราชบัญญัติจัดการกรมยุทธนาธิ การ ร.ศ.๑๐๙ ด้วยการยกฐานะกรมยุทธนาธิ การขึ้นเป็น กระทรวงยุทธนาธิการ ก็ได้มีการ จัดส่วนราชการให้มี กรมใช้จ่าย ซึ่งมีผู้บังคับ
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
หน่วยใช้ชื่อว่า เจ้ากรมคลัง เป็นผู้รับผิดชอบ ด�ำเนินการ ในขณะเดียวกัน ในส่วนของกรม ทหารเรือได้มีการตั้ง กองบัญชีเงิน ขึ้นเพื่อ ปฏิบัติงานด้วย ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๕ ได้ ป รั บ เปลี่ ย น ส่วนราชการจาก กระทรวงยุทธนาธิการ ให้ คงเหลื อ เป็ น กรมยุ ท ธนาธิ ก าร ดั ง นั้ น กรม ใช้จ่าย จึงได้เปลี่ยนเป็น กรมคลัง และใน ส่ ว นกรมทหารเรื อ ก็ ยั ง คงใช้ กองบั ญ ชี เ งิ น เช่นเดิม แม้ในปีพุทธศักราช ๒๔๓๗ จะได้ มี ก ารรวมกรมยุ ท ธนาธิ ก ารและกรมทหาร เรื อ มาขึ้ น ตรงต่ อ กระทรวงกลาโหมก็ ต าม กรมคลั ง และกองบั ญ ชี เ งิ น ก็ ยั ง คงปฏิ บั ติ ใ น ลักษณะเดิม ซึ่งในเวลาต่อมา เมื่อมีการปรับ ส่วนราชการในกระทรวงกลาโหมในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอีก หลายครั้ง กิจการการเงินของทหารเรือยังคง เดิม แต่สำ� หรับกิจการการเงินของทหารบกได้มี การเปลี่ยนแปลงมาเป็น กรมคลังเงินทหารบก และเป็น กรมปลัดบัญชีทหารบก ตามล�ำดับ ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๔๕๓ พระบาท สมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีพระบรมราชโองการ ประกาศตั้งกระทรวงทหารบก ทหารเรือ ร.ศ. ๑๒๙ โดยให้ยกฐานะกรมทหารเรือ ขึ้นเป็น กระทรวงทหารเรือ คู่กับกระทรวงกลาโหม มีหน้าที่ก�ำกับดูแลทหารบก จึงได้มีการตั้งกรม ปลัดบัญชีทหารบกและกรมปลัดบัญชีทหาร เรือ ขึ้นเพื่อก�ำกับดูแลกิจการการเงินของทั้ง ๒ กระทรวง หลักจากนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชโองการ ให้ รวม กระทรวงทหารเรือ กับ กระทรวงทหาร บก เข้าเป็นกระทรวงเดียวกัน ภายใต้นาม กระทรวงกลาโหม ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๔ จึงท�ำให้มีการรวมกรมปลัดบัญชีทหารบกและ กรมปลัดบัญชีทหารเรือ เป็นกรมเดียวกันใน นาม กรมปลัดบัญชี ต่ อ มา ภายหลั ง การเปลี่ ย นแปลงการ ปกครอง มีพระบรมราชโองการ ประกาศจัด ระเบียบป้องกันอาณาจักร พ.ศ. ๒๔๗๕ ให้ จัดส่วนราชการออกเป็น ๓ ส่วน คือ กอง บังคับการกระทรวงกลาโหม กองทัพบก และ
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
รั ฐ มนตรี แ ละส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง ใน กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๔๙๑ ซึ่ ง ได้ ล ง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๖๑ เล่ม ๖๕ วันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๔๙๑ เปลี่ยนชื่อ กรม ปลัดบัญชี เป็น กรมการเงินกลาโหม ซึง่ เจ้ากรม การเงินกลาโหมเป็นผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่ เกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน การบัญชี และการที่ ดิ น ของกระทรวงกลาโหม ตั้ ง แต่ วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๔๙๑ เป็นต้นมา
กรมทหารเรือ โดย กรมปลัดบัญชี ขึ้นอยู่ใน กองบังคับการกระทรวงกลาโหม มีเจ้ากรมเป็น ผู้บังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อปลัดทูลฉลอง ซึ่งเป็น ผู้บังคับบัญชาและหัวหน้ากองบังคับการ ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ ได้มีการตราพระ ราชบัญญัติจัดระเบียบป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๔๗๖ มีการเปลี่ยนนามหน่วยและจัด ส่วนราชการกระทรวงกลาโหมขึ้นใหม่ โดย ก�ำหนดให้ กรมปลัดบัญชี ขึ้นอยู่ในส�ำนักงาน ปลัดกระทรวง ซึ่งมีปลัดกระทรวง เป็นผู้บังคับ บัญชา และเมื่อกิจการของกองทัพบกได้ขยาย ตัวมากขึ้น กรมปลัดบัญชี จึงได้มีการพิจารณา แยกงานออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายกระทรวง กลาโหม และฝ่ายกองทัพบก ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นการ เตรี ย มการแยกงานเบิ ก จ่ า ยของกองทั พ บก ออกจากกรมปลั ด บั ญ ชี เ ช่ น เดี ย วกั น กั บ การ แยกงานเบิกจ่ายของกองทัพเรือ ซึ่งต่อมาฝ่าย กองทัพบกก็ได้แยกออกไปจัดตั้งเป็น กรมการ เงินทหารบกขึ้นตรงต่อกองทัพบก เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๔๘๑ ต่อมา ได้มีการปรับปรุงแก้ไขการจัดแบ่ง หน้าที่ราชการใหม่ตาม พระราชบัญญัติจัด ระเบียบป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๔๙๑ ส่วนราชการภายในส�ำนักงานปลัดกระทรวง จึงได้ปรับเปลี่ ยนไปตาม พระราชกฤษฎี กา จัดวางระเบียบราชการส�ำนักงานเลขานุการ
ตลอดระยะเวลา ๑๒๗ ปี ของการเดิ น ทางในภารกิ จ การบริ ห ารจั ด การธนกิ จ หรื อ กิจการทางการเงินของกรมยุทธนาธิการจน สืบทอดมาถึงกระทรวงกลาโหม ตั้งแต่เริ่มตั้ง กรมใช้จ่าย มาเป็นกรมคลัง กรมคลังเงิน กรม ปลัดบัญชี และกรมการเงินกลาโหม ตามล�ำดับ ซึ่งผลงานในห้วงเวลาต่าง ๆ ได้สะท้อนให้เห็น ถึงความมุ่งมั่น ทุ่มเท ในการปฏิบัติภารกิจ ของผู้บังคับบัญชาและก�ำลังพลมาโดยตลอด และในวั น นี้ แ ม้ ว ่ า กรมการเงิ น กลาโหมจะมี ภารกิจเพิ่มขึ้นมากมายเท่าใดก็ตาม แต่ความ มุ่งมั่นตั้งใจในการปฏิบัติงานให้ส� ำเร็จลุล่วง ไปด้วยดีก็มิได้ลดน้อยถอยลง ในทางกลับกัน ยังจะเพิ่มขึ้นต่อไปอย่างไม่สิ้นสุดเพื่อภารกิจ ส�ำคัญในการบริหารจัดการธนกิจเพือ่ กระทรวง กลาโหมสืบไป และในวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ จะเป็น วันครบรอบวันสถาปนากรมการเงินกลาโหม ปีที่ ๑๒๗ ก�ำลังพลส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ใคร่ขอมอบความปรารถนาดีไปยัง ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและก� ำ ลั ง พล กรมการเงิ น กลาโหม ทุกท่าน ณ โอกาสนี้
13
๒๕ ปี
ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ส
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ำ นั ก งานเลขานุ ก ารส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นหน่วย ขึน้ ตรงของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม มีหน้าทีด่ ำ� เนินงานด้านการเลขานุการ และการประชาสัมพันธ์ ตลอดระยะเวลา ๒๕ ปี ที่ ผ ่ า นมา ส� ำ นั ก งานเลขานุ ก ารฯ ได้ มี ก าร พั ฒ นาศั ก ยภาพและเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง ในด้ า นการพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู ้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างมืออาชีพ โดย มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ แ ละเทคโนโลยี ต่าง ๆ เพื่อเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติ งาน ภายใต้ ก ารบริ ห ารจั ด การที่ มี ข อบเขต และรูปแบบของโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ตามนโยบายของผู้บังคับบัญชา และสอดรับ กั บ ความเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมในปั จ จุ บั น อันส่งผลให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง เกิดความเชื่อมั่นศรัทธา และพร้อมให้การสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ส�ำหรับ งานด้านการเลขานุการ ได้มีการพัฒนาการ ให้ บ ริ ก าร การรั บ รอง และอ� ำ นวยความ สะดวกให้กับผู้บังคับบัญชาในการเข้าร่วมงาน พระราชพิธี งานพิธกี าร ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ โดยประสานการด� ำ เนิ น งานกั บ ส� ำ นั ก งาน เลขานุ ก ารเหล่ า ทั พ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ เ ป็ น ไปด้วยความถูกต้อง สง่างาม และสมเกียรติ จนได้รับความไว้วางใจและความเชื่อมั่นจาก ผูบ้ งั คับบัญชา และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง กลาโหม ตลอดจนหน่วยงานภายนอก ส�ำหรับ ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ มีดังนี้ งานด้านการประชาสัมพันธ์ของ สป. และ กระทรวงกลาโหมในภาพรวม ซึ่งเป็นภารกิจ หลักของส�ำนักงานเลขานุการฯ โดยเน้นให้ ความส�ำคัญในการประชาสัมพันธ์เชิงรุกด้วย การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ทุกชนิดที่มีอยู่ รวมทั้ง ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ และเครือข่าย วิทยุชมุ ชนอย่างเป็นระบบเพือ่ กระจายข่าวสาร อย่างทั่วถึง ถูกต้องและทันต่อเหตุการณ์ 14
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
งานการเทิ ด ทู น การป้ อ งกั น รวมทั้ ง ตอบโต้และท�ำความเข้าใจมิให้มกี ารล่วงละเมิด สถาบันพระมหากษัตริย์ โดยด�ำเนินการจัดท�ำ ป้ายประชาสัมพันธ์ Banner และ Cutout เผย แพร่แก่ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างจิตส�ำนึกใน การเทิดทูนและปกป้องสถาบัน รวมทั้ง การจัด กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในสือ่ ต่าง ๆ ประกอบ ด้ ว ย การจั ด ท�ำ สปอตวิทยุเฉลิมพระเกียรติ การจัดท�ำหนังสือเฉลิมพระเกียรติ การผลิต โปสเตอร์เผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป ตลอดจน การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติอย่างต่อเนื่อง งานการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของคนในชาติ แ ละฟื ้ น ฟู ป ระชาธิ ป ไตยของ คนในชาติ โดยการจั ด กิ จ กรรมในรู ป แบบ ต่าง ๆ ประกอบด้วย กิจกรรมสื่อสารมวลชน เพื่อความมั่นคง โดยจัดอบรมหลักสูตร “การ พั ฒ นาสั ม พั น ธ์ สื่ อ สารมวลชน เพื่ อ ความ มั่นคงของชาติ” เพื่อให้ความรู้กับผู้ประกอบ การวิทยุกระจายเสียงทั่วประเทศ ในการสร้าง จิตส�ำนึกและการมีส่วนร่วมในการสนับสนุน งานด้านความมั่นคงร่วมกับ สป. รวมทั้งได้ ลงพื้นที่เพื่อพบปะและพัฒนาสัมพันธ์กับสื่อ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งในทุ ก ภู มิ ภ าคเพื่ อ การมี ส่วนร่วมในการสร้างความรัก ความสามัคคี รวมทั้ง ความเข้าใจในวิถีการปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตยที่ ถู ก ต้ อ ง นอกจากนี้ ยั ง ได้ ด�ำเนินโครงการ “สถานีวิทยุสีขาว เทิดไท้ องค์ราชา” ด้วยการขับเคลื่อนเครือข่ายวิทยุ กระจายเสียงเพื่อความมั่นคงของ สป. ในการ ปกป้องเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์และ การด�ำเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ร่วมกัน และการด�ำเนิน โครงการจิตส�ำนึกรักเมือง ไทย ด้วยการเปิดโอกาสให้เยาวชนทั่วประเทศ ได้ แ สดงออกอย่ า งสร้ า งสรรค์ ในการสร้ า ง ความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ สร้าง จิ ต ส� ำ นึ ก ในการปกป้ อ งประเทศชาติ และ เทิ ด ทู น สถาบั น ผ่ า นกิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ใ น รู ป แบบของการประกวดภาพถ่ า ย สปอต โทรทัศน์ และบทเพลง ชิงทุนการศึกษา โดย น�ำผลการประกวดขยายผลสู่การรณรงค์สร้าง จิตส�ำนึกในการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม ผ่านสื่อมวลชนในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งกิจกรรม ทั้งหลายเหล่านี้ได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง
และในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗ นี้ เป็นวัน คล้ายวันสถาปนาส�ำนักงานเลขานุการส�ำนัก งานปลัดกระทรวงกลาโหม ครบรอบปีที่ ๒๕ ซึ่งนับเป็นความส�ำเร็จอีกก้าวหนึ่งแห่งความ ภาคภูมิใจของก�ำลังพลทุกนาย ภายใต้การน�ำ ของ พลตรี ณภั ท ร สุ ข จิ ต ต์ เลขานุ ก าร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมท่านปัจจุบัน ที่ได้มอบนโยบายในการปฏิบัติงานว่า “รั บ ค� ำ สั่ ง ท� ำ ทั น ที ท� ำ ดี ที่ สุ ด ” หรื อ CAN DO นั่นเอง 15
การบังคับใช้กฎหมาย ในภาวะไม่ปกติ (ตอนที่ ๒) พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์
16
พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์
ใ
นฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงภาพรวม ๆ ข อ ง ก ฎ ห ม า ย ใ น ภ า ว ะ ไ ม ่ ป ก ติ อันประกอบด้วย ๑. พ.ร.บ.การรักษา ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒. พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ๓. พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗ ส่ ว นในฉบั บ นี้ จ ะกล่ า วถึ ง ข้ อ สั ง เกต ข้ อ ดี ข้ อ เสี ย ของกฎหมายในภาวะ ไม่ปกติทั้ง ๓ ฉบับ ดังต่อไปนี้
เจตนารมณ์ในการ บังคับใช้กฎหมาย พ.ร.บ.การรั ก ษาความมั่ น คงภายในราช อาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ มีเจตนารมณ์เพื่อ ก� ำ หนดให้ กอ.รมน. เป็ น หน่ ว ยงานพิ เ ศษ ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานภาคปฏิ บั ติ ที่ น� ำ นโยบาย ความมั่นคงมาแก้ไขหรือบรรเทาเหตุการณ์ซึ่ง กระทบความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีเจตนารมณ์เพื่อใช้ใน การบริหารราชการในพื้นที่ที่มีการประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.กฎอั ย การศึ ก พ.ศ. ๒๔๕๗ มี เจตนารมณ์เพื่อให้อ�ำนาจกับเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารในพื้นที่ที่อยู่ในสภาวะสงคราม หรือการ จลาจล หรือมีเหตุอันจ�ำเป็นเพื่อรักษาความ เรียบร้อยปราศจากภัย
ข้อสังเกต พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราช อาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ ก�ำหนดขึ้นเพื่อให้ กอ.รมน. เป็ น ส่ ว นราชการรู ป แบบเฉพาะ
อยู่ภายใต้ ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาขึ้ น ตรงต่ อ นายก รั ฐ มนตรี โดยวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ร าชการ การ บริหารงาน การจัดโครงสร้าง การแบ่งส่วนงาน อ�ำนาจหน้าที่ และอัตราก�ำลังเป็นไปตามทีค่ ณะ รัฐมนตรีก�ำหนด ได้รับการจัดสรรงบประมาณ โดยตรงตามที่ ผอ.รมน. ร้องขอ ตามความ เห็นชอบจากคณะกรรมการอ�ำนวยการรักษา หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ความมัน่ คงภายในราชอาณาจักร ทัง้ นีใ้ ห้ถอื ว่า กอ.รมน. เป็นส่วนราชการตามกฎหมาย ว่า ด้วย วิธีการงบประมาณและเงินคงคลัง การ มอบอ�ำนาจ นอกจากจะเป็นไปตามระเบียบ บริหารราชการแผ่นดินแล้ว อ�ำนาจหน้าที่ตาม กฎหมายฉบับนี้ ผอ.รมน. จะมอบอ�ำนาจให้ ผอ.รมน.ภาค, ผอ.รมน.จังหวัด หรือ ผอ.ศอ.บต. ปฏิ บั ติ แ ทนได้ หน่ ว ยงานของรั ฐ ต้ อ งจั ด ส่ ง เจ้าหน้าที่ของรัฐไปปฏิบัติหน้าที่ใน กอ.รมน. ตามที่ ผอ.รมน., ผอ.รมน.ภาค, ผอ.รมน. จั ง หวั ด ร้ อ งขอ หากสถานการณ์ ที่ ป รากฏ เหตุการณ์อนั กระทบต่อความมัน่ คงภายในราช อาณาจักร ตามกฎหมายนี้สิ้นสุดลงให้นายก รัฐมนตรีรายงานผลต่อสภาผู้แทนราษฎร และ วุฒิสภาทราบโดยเร็ว ในการให้ความเห็นทาง คดีของ ผอ.รมน. เพื่อก�ำหนดการเข้ารับการ อบรมให้แก่ผู้กระท�ำผิด เป็นไปตามที่ กอ.รมน. ก�ำหนด และเงื่อนไขของศาลที่จะก�ำหนดแทน การลงโทษ เป็นไปตามข้อบังคับของประธาน ศาลฎีกาก�ำหนด พนักงานเจ้าหน้าที่ กอ.รมน. อาจได้รบั ค่าตอบแทนพิเศษหรือสิทธิประโยชน์ ต่าง ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด ข้อก�ำหนด ประกาศ ค�ำสั่ง หรือการกระท�ำในกฎหมายนี้ ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง กล่าวคือ จะยกขึ้นกล่าว อ้างเพื่อยกเลิกข้อก�ำหนด ประกาศ หรือ ค�ำสั่ง ต่าง ๆ ไม่ได้แม้จะลิดรอนสิทธิเสรีภาพก็ตาม ในการใช้อ�ำนาจของ กอ.รมน. หากก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้สุจริตจะได้รับการชดเชยค่า เสียหายตามควรแก่กรณี ตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด การด�ำเนินคดี ตามกฎหมายฉบับนี้ให้อยู่ในอ�ำนาจของศาล ยุติธรรม และสามารถใช้มาตรการคุ้มครอง 17
หรือวิธีการคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาได้ คือ การสืบพยานก่อนเริ่มการพิจารณา หรือ การคุ้มครองพยาน เป็นต้น พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นการเพิ่มขีดความ สามารถในการสอบสวนและรวบรวมพยาน หลั ก ฐานให้ กั บ พนั ก งานสอบสวน เป็ น การ ใช้อ�ำนาจโดยเพ่งเล็งผู้กระท�ำการก่อให้เกิด สถานการณ์ฉุกเฉิน เป็นเพียงผู้ต้องสงสัย จึง ก�ำหนดให้มีการขอหมายจับ และควบคุมตัว เพื่อเปลี่ยนทัศนคติเป็นเวลา ๓๐ วัน การที่ รัฐบาลได้ออก พ.ร.ก.ฯ และประกาศใช้ใน พื้นที่ ๓ จชต. ได้มีข้อคิดเห็นที่ไม่เห็นด้วย อ้าง ว่า เป็นการใช้อ�ำนาจแบบเบ็ดเสร็จ ให้อ�ำนาจ กับเจ้าหน้าที่ของรัฐมากเกินไป เป็นการจ�ำกัด สิทธิและเสรีภาพของประชาชน การประกาศ ใช้ พ.ร.ก.ฯ ในพื้นที่ ๓ จชต. ฝ่ายตรงข้ามอาจ ใช้เป็นโอกาสในการโจมตีรัฐบาลและท�ำลาย ความเชื่อมั่นต่อกระบวนการปกครองของรัฐ เป็ น การยอมรั บ โดยปริ ย ายว่ า สถานการณ์ การก่ อ ความไม่ ส งบในพื้ น ที่ ๓ จชต. เป็ น สถานการณ์ที่ถึงขั้นรุนแรง พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗ เป็น กฎหมายที่จะประกาศใช้ได้เฉพาะในเวลาที่มี สงครามหรือการจลาจล หรือมีความจ�ำเป็น ที่ จ ะรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ยให้ ป ราศจาก ภัย ซึ่งอาจมาจากภายนอกหรือเกิดขึ้นภายใน ราชอาณาจักร เป็นกฎหมายที่ให้อ� ำนาจกับ เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารอย่างค่อนข้างเบ็ดเสร็จ เด็ดขาดและเป็นการใช้อ�ำนาจแบบเบ็ดเสร็จ
18
ให้อ�ำนาจกับเจ้าหน้าที่รัฐหรือเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารมาก เป็นการจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน ฝ่ายตรงข้ามใช้เป็นเงื่อนไขในการ โจมตีและท�ำลายความเชื่อมั่นต่อกระบวนการ ปกครองของรัฐ ทีผ่ า่ นมาได้รบั การต่อต้าน และ ได้รับการตรวจสอบข้อเท็จจริงจากองค์การ มุ ส ลิ ม โลกและองค์ ก ารสหประชาชาติ จน ต้องแก้ไข โดยออก พ.ร.ก.การบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน มาแก้ไขสถานการณ์ ๓ จชต. เพิ่มเติมจาก พ.ร.บ.กฎอัยการศึกฯ
แผนการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความรอบคอบ ในการปฏิบัติงาน เปิ ด โอกาสให้ ทุ ก ภาคส่ ว นในสั ง คม ทั้ ง จากฝ่ า ยการเมื อ ง ฝ่ า ยข้ าราชการ ภาค ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ของ กอ.รมน. มีการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่นอกเหนือจาก กฎหมายปกติที่ได้ก�ำหนดไว้
การเปรียบเทียบผลดีและ ผลเสียของกฎหมายทั้ง ๓ ฉบับ
การใช้ อ�ำ นาจตามกฎหมายมี ขั้ น ตอน การใช้ตามล�ำดับความรุนแรงท�ำให้ผู้ปฏิบัติ งานอาจเกิดความสับสนในการปฏิบัติงาน วิ ธี ก ารใช้ อ� ำ นาจต้ อ งมี ก ารออกข้ อ ก� ำ หนด/จั ด ท� ำ แผนเสนอ ครม. และคณะ กรรมการ ดังนั้นอาจท�ำให้ไม่สามารถน�ำมาใช้ แก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที มี ร ะยะเวลาและพื้ น ที่ ที่ จ� ำ กั ด ในการ ปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงานอาจถูกฟ้องในศาลยุติธรรม ปกติหากการปฏิบัติหน้าที่ไม่เป็นไปตามข้อ บัญญัติของกฎหมาย เป็ น กฎหมายที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หา ในเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจส่ง ผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของประเทศ
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ ผลดี มี ก ารบู ร ณาการอ� ำ นาจและบุ ค ลากร ทั้งจากฝ่ายพลเรือน ต�ำรวจ ทหาร ภายใต้การ สังกัดของ กอ.รมน. ในการแก้ไขปัญหา มี บ ทบั ญ ญั ติ ที่ เ ปิ ด โอกาสผู ้ ก ระท� ำ ความผิดไม่ต้องถูกด�ำเนินคดีตามกระบวนการ พิจารณาคดีของศาลตามปกติ การใช้ อ�ำ นาจตามกฎหมายมี ขั้ น ตอน การปฏิบัติงานที่ชัดเจน รวมทั้งมีการก�ำหนด
ผลเสีย
พ.ร.ก.การบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘
พลตรี โชคดี เกตสัมพันธ์
ผลดี มีการรวมศูนย์อำ� นาจในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ได้ทั้งจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน ต�ำรวจ และ ทหาร รวมทั้งฝ่ายการเมือง อ�ำนาจในการแก้ไขปัญหาของเจ้าหน้าที่ ได้รับการคุ้มครองจากรัฐธรรมนูญ ผู้ปฏิบัติงานได้รับการคุ้มครองจากการ ปฏิบัติงาน หากท�ำตามหน้าที่โดยสุจริต ไม่ เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรือเกิน กรณีที่จ�ำเป็น มีอ�ำนาจครอบคลุมการแก้ไขปัญหาทั้ง ที่เกิดจากการกระท�ำของมนุษย์และภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ มีบทบัญญัตทิ เี่ ปิดให้เจ้าหน้าทีใ่ ช้อ�ำนาจ ในการควบคุมผู้กระท�ำความผิดได้มากกว่า กฎหมายปกติ
ผลเสีย
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗
ผลเสีย
การใช้อ�ำนาจของเจ้าหน้าที่มีระยะเวลา และพื้นที่จ�ำกัดในการด�ำเนินการ การใช้ อ� ำ นาจมี ขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติ อาทิ การออกประกาศ/ค�ำสั่ง ท�ำให้การแก้ไข ปัญหาในบางกรณีอาจไม่ทันการณ์ ผู้ปฏิบัติงานอาจถูกฟ้องในศาลยุติธรรม ปกติหากการปฏิบัติหน้าที่ไม่เป็นไปตามข้อ บัญญัติของกฎหมาย ไม่ มี ข ้ อ บั ญ ญั ติ ที่ จ ะชดเชยให้ กั บ ผู้บริสุทธิ์ที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ เป็นกฎหมายที่อาจก่อให้เกิดปัญหาใน เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อภาพลักษณ์ของประเทศ
ผลดี
การประกาศใช้ ก ฎหมายสามารถ ด�ำเนินการได้โดยง่าย แต่การยกเลิกจะต้อง เป็นพระบรมราชโองการ เป็ น กฎหมายที่ ใ ห้ อ� ำ นาจเฉพาะ เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร ท�ำให้ไม่มีการบูรณาการ การใช้อ�ำนาจจากองค์กรอื่น ๆ ในสังคม กฎอัยการศึกเป็นกฎหมายที่ใช้เฉพาะ กรณีทเี่ กิดสงครามหรือการจลาจล การน�ำมาใช้ จึงมีข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติงานค่อนข้างสูง เป็นกฎหมายที่อาจก่อให้เกิดปัญหาใน เรือ่ งละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึง่ อาจส่งผลกระทบ ต่อภาพลักษณ์ของประเทศ สถานการณ์ บ ้ า นเมื อ งของประเทศไทย ในปั จ จุ บั น มี ค วามจ�ำ เป็ น ที่ ต ้ องน�ำกฎหมาย ในภาวะไม่ ป กติ ม าใช้ เมื่ อ เกิ ด สถานการณ์ ภัยคุกคามที่มีต่อความมั่นคงของประเทศใน ระดับที่ไม่สามารถใช้มาตรการตามกฎหมาย ทั่วไปเข้าไปแก้ไขปัญหาได้ เช่นในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ หรือแม้แต่ในกรุงเทพมหานคร เองก็ตาม แต่สิ่งที่ควรค�ำนึงถึงการใช้กฎหมาย ในภาวะไม่ปกตินี้ คือ ควรใช้ทรัพยากรที่มี อยู ่ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด มี ขั้นตอนการใช้ อ� ำ นาจตามกฎหมายอย่ า งเหมาะสมและมี การใช้ ก ฎหมายตามล� ำ ดั บ ความรุนแรงของ สถานการณ์ ดังนัน้ กฎหมายในภาวะไม่ปกติจงึ เป็นเครือ่ งมือ (Mean) ส�ำหรับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ทีจ่ ะน�ำไปสูเ่ ป้าหมาย (End) สูงสุดของประเทศ คือความสงบเรียบร้อยของประเทศอันน�ำไปสู่ การใช้ชีวิตอย่างร่มเย็นเป็นสุขของประชาชน ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ฝ่ า ยทหารมี อ� ำ นาจเด็ ด ขาดแต่ เ พี ย ง ล�ำพังในการแก้ไขปัญหาท�ำให้มีความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านมี อ� ำ นาจตามกฎหมาย ที่ เ ด็ ด ขาด ครอบคลุ ม การปฏิ บั ติ ง าน และ สามารถด�ำเนินการได้ทันที ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านไม่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด จากการ ปฏิบัติงาน ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านสามารถประกาศใช้ กฎหมายได้ด้วยตนเอง
19
การเตรียมความพร้อมของ กรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร เข้าสู่ประชาคมอาเซียน กรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
ก
รมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป ้ อ ง กั น ประเทศและพลั ง งานทหาร มี ภารกิจในการควบคุมการน� ำเข้า - ส่งออก สินค้าประเภทอาวุธยุทธภัณฑ์ และมีภารกิจ ในการออกหนังสือ / ใบอนุญาตต่าง ๆ ในการ น� ำ เข้ า และส่ ง ออกสิ น ค้ า ดั ง กล่ า ว ภายใต้ กฎหมายความมั่นคง ได้แก่ พระราชบัญญัติ โรงงานผลิตอาวุธของเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐, พระราชบัญญัตคิ วบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๓๐ และพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม การส่ ง ออกไป นอกราชอาณาจักร ซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์และ สิ่งที่ใช้ในการสงคราม พ.ศ. ๒๔๙๕ ซึ่งกรม การอุ ต สาหกรรมทหารฯ ได้ มี ก ารเตรี ย ม ความพร้ อ มในการก้ า วเข้ า สู ่ ป ระชาคม อาเซียนของประเทศไทย โดยได้มีการส่งเสริม อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศควบคู ่ ไ ปกั บ การควบคุ ม อาวุ ธ ยุ ท ธภั ณ ฑ์ โดยก� ำ หนด มาตรการในการบริหารงานตามอ�ำนาจหน้าที่ ในกฎหมายด้านความมั่นคง เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกให้กับผู้ประกอบการภาคเอกชนและ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น การ 20
กรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
รับมอบอ�ำนาจในการลงนามในหนังสืออนุญาต ใบอนุ ญ าต, ลดขั้ น ตอนการด� ำ เนิ น งาน, การเปลี่ยนแปลงรูปแบบใบอนุญาต/หนังสือ อนุ ญ าตโดยปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข กฎกระทรวง ระเบียบ ค�ำสั่งที่เกี่ยวข้อง กอปรกับปรับปรุง ขั้นตอนและลดระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ในเรื่องการตรวจสอบประวัติ และการตรวจ สอบสถานที่ ผ ลิ ต และสถานที่เก็บยุทธภัณฑ์ เป็นการลดภาระของผู้ประกอบการที่จะยื่น ขออนุญาตสั่งเข้ามา น�ำเข้ามา ผลิตหรือมีซึ่ง ยุทธภัณฑ์ อีกทั้งยังเป็นการลดขั้นตอนและ ระยะเวลาทางธุรการที่ไม่จ�ำเป็น อีกทั้งกรมการอุตสาหกรรมทหารฯ ได้ลง นามในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการเชื่ อ มโยง ข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (MOU) ร่ ว มกั บ กรม ศุ ล กากร เพื่ อ แสดงความตกลงร่ ว มกั น ใน การเชื่อมโยงข้อมูลการน�ำเข้า-ส่งออกอาวุธ ยุ ท ธภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งหน่ ว ยงานผ่ า นระบบ National Single Window หรือ NSW เพื่อ เชือ่ มโยงกับระบบ ASEAN Single Window ได้ ในปี ๒๕๕๘ ซึ่งปัจจุบันกรมการอุตสาหกรรม ทหารฯ ได้ด�ำเนินการพัฒนาระบบเชื่อมโยง ข้ อ มู ล ใบอนุ ญ าตผ่ า น National Single Window ของ กรมการอุตสาหกรรมทหาร ฯ โดยเซ็ น สั ญ ญาจ้ า งงานกั บ บริ ษั ท สมาร์ ท อัลลายแอนส์ จ�ำกัด เมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๕ เพื่อจัดท�ำระบบการควบคุมยุทธภัณฑ์ ทั้งหมด เช่น การตรวจสอบประวัติ การตรวจ สถานที่ เ ก็ บ การยื่ น ค�ำ ขอ และการออกใบ อนุญาต รวมถึงหนังสือน�ำเรียนผู้บังคับบัญชา ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง การออก รายงานแบบต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องรวมถึงการเชือ่ ม โยงข้อมูลกับกรมศุลกากรผ่านระบบ NSW ด้ ว ยเครื อ ข่ า ยสื่ อ สารข้ อ มู ล เชื่ อ มโยงหน่ ว ย งานภาครัฐ (Government Information Network : GIN) และได้เริ่มใช้ระบบดังกล่าว แล้วซึ่งจากการพัฒนาระบบเครือข่ายดังกล่าว จะส่งผลให้ลดภาระในการกรอกข้อมูลซ�้ำซ้อน ของผู้ประกอบการ โดยสามารถกรอกข้อมูล เพียงชุดเดียวแล้วสามารถส่งให้กรมศุลกากร ได้ทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ เป็นการ บูรณาการการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลและ การบริการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อใช้ ประโยชน์จากข้อมูลร่วมกันตามอ�ำนาจหน้าที่ ของหน่ ว ยงานตนรวมทั้ ง เป็ น การสนั บ สนุ น และรองรั บ การท� ำ งานแบบไร้ ก ระดาษ ลด ขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการเกี่ยวกับ การน�ำเข้า - ส่งออก ให้เหลือเท่าที่จ�ำเป็น และลดปริ ม าณเอกสาร เป็ น การลดต้ น ทุ น การบริหาร การจัดการ ซึ่งผู้ประกอบการจะ ได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการด�ำเนินการ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ขออนุญาตน�ำเข้า – ส่งออกอาวุธยุทธภัณฑ์ และเป็นการอ�ำนวยความสะดวกด้านศุลกากร ให้แก่ผู้ประกอบการ ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของ ผู ้ ป ระกอบการในกระบวนการน� ำ เข้ า และ ส่งออก อีกทั้งยังเป็นการช่วยส่งเสริมการค้า ระหว่ า งประเทศให้ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ ต่ า ง ประเทศได้ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน รวมทั้ง เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมงานอุตสาหกรรม ป้ อ งกั น ประเทศภายใต้ ก ฎหมายด้ า นความ มั่นคง
21
จับกระแสความมั่นคง ของอาเซียนและจีน
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
22
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ใ
นปี ค.ศ. ๒๐๑๕ หรือ พ.ศ. ๒๕๕๘ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออก เฉียงใต้หรือ “อาเซียน” จะรวมตัวกัน เป็นประชาคมที่มีความยิ่งใหญ่และมีอ�ำนาจ ต่ อ รองสู ง มากที่ สุ ด ประชาคมหนึ่ ง ของโลก โดยเฉพาะประชาคมการเมืองและความมั่นคง ซึ่ ง ถื อ เป็ น เสาหลั ก ที่ ส� ำ คั ญ ของประชาคม อาเซี ย นเช่ น เดี ย วกั บ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นหรื อ เออี ซี ที่เรารู้จักกันดี ในช่วง เวลาที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าการเมืองและความ มั่นคงของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนมีความ เคลื่อนไหวที่น่าจับตามองเป็นอย่างยิ่ง โดย เฉพาะการเสริมสร้างแสนยานุภาพด้วยการ จัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งก�ำลังเป็นที่วิพากษ์ วิ จ ารณ์ จ ากสั ง คมโลกว่ า อาจก้ า วไปสู ่ ก าร แข่งขันสะสมอาวุธครั้งใหญ่ จนนักวิเคราะห์ ตะวันตกบางคนถึงกับกล่าวว่าปรากฏการณ์นี้ เกิดขึน้ มาจากแนวความคิดทีว่ า่ “.. อาเซียนคือ ภูมิภาคแห่งความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน ..” อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ก�ำลังพิสจู น์ให้โลกเห็นว่า ค�ำกล่าวนัน้ ผิดพลาด อย่างสิ้นเชิง เพราะอาเซียนก�ำลังก้าวสู่ความ เป็นหนึ่งเดียว พร้อม ๆ กับกองทัพของแต่ละ ประเทศที่ ก� ำ ลั ง จะก้ า วสู ่ ค วามเป็ น กองทั พ เดี ย ว ถึ ง แม้ แ ต่ ล ะประเทศจะมี ก ารเสริ ม สร้างแสนยานุภาพอย่างขนานใหญ่ แต่การ สร้ า งแสนยานุ ภ าพดั ง กล่ า วก็ มี จุ ด ประสงค์ เดียวกัน คือการสร้างความสมดุลย์ทางอ�ำนาจ
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
(Balance of Power) และเพื่อปกป้องอ�ำนาจ อธิปไตยตลอดจนผลประโยชน์ของชาติเป็น ส� ำ คั ญ โดยเฉพาะการคานอ� ำ นาจกั บ จี น หาใช่สะสมอาวุธเพื่อน�ำมาใช้บดขยี้ ห�้ำหั่น กั น เองแต่ อ ย่ า งใด บทความนี้ จึ ง ขอเสนอ ทิศทางด้านความมั่นคงของกองทัพประเทศ สมาชิกอาเซียนบางประเทศที่มีต่อจีน เพื่อเป็น ข้อมูลให้กับผู้สนใจได้ใช้ประกอบการศึกษา ด้านความมั่นคงของอาเซียนต่อไป เริ่ ม ต้ น ที่ ก องทั พ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ซึ่ ง ดู จ ะเป็ น กองทัพทีก่ ำ� ลังประสบปัญหามากทีส่ ดุ ภายหลัง จากที่ต้องเผชิญกับภาวะวิกฤติด้านเศรษฐกิจ มาเป็ น เวลานาน ท� ำ ให้ ก ารพั ฒ นาประเทศ แทบจะหยุดนิ่งอยู่กับที่ จนไม่สามารถพัฒนา ศักยภาพกองทัพให้มีความแข็งแกร่งทัดเทียม กับประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ ได้ มูลนิธิ เจมส์ ทาวน์ (Jamestown Foundation) ในกรุง วอชิิงตัน ดี.ซี. ของสหรัฐฯ ท�ำการประเมิน กองทัพฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. ๒๐๐๗ ว่าเป็น กองทัพที่อ่อนแอที่สุดกองทัพหนึ่ง (one of the weakest military forces) ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ ป ั จ จุ บั น รั ฐ บาลของประธานาธิ บ ดี เบนิกโน อาคิโนที่ ๓ (Benigno Aquino III) ซึ่งเข้าบริหารประเทศมาตั้งแต่ปี ค.ศ. ๒๐๑๐ ได้ ป ระกาศนโยบายต่ อ ต้ า นการฉ้ อ ราษฎร์ บังหลวงอย่างเอาจริงเอาจัง ตลอดจนมุง่ พัฒนา เศรษฐกิจด้วยการรักษาวินัยทางการเงินอย่าง
เคร่งครัด ส่งผลให้ “ผลิตภัณฑ์มวลรวม” หรือ จีดีพี (GDP : Gross Domestic Product) พุ่ง สูงขึ้นจนถึงระดับร้อยละ ๗.๒ ในช่วงเดือน กรกฎาคมถึ ง กั น ยายนของปี ค.ศ. ๒๐๑๒ ซึ่ ง นั บ เป็ น อั ต ราที่ สู ง ที่ สุ ด ในกลุ ่ ม ประเทศ สมาชิกอาเซียน สวนทางกับประเทศข้างเคียง ที่ประสบกับภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามในขณะที่ ก ารพั ฒ นา เศรษฐกิ จ ยั ง ไม่ ฟ ื ้ น ตั ว เต็ ม ที่ นั้ น การพั ฒ นา กองทั พ ก็ ยั ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งสมบู ร ณ์ ต าม แผนการที่ ว างไว้ ห้ ว งเวลานี้ ฟ ิ ลิ ป ปิ น ส์ จึ ง พยายามคานอ� ำ นาจกั บ ภั ย คุ ก คามจาก มหาอ�ำนาจดังเช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ที่อ้างสิทธิการครอบครองเหนือพื้นที่พิพาท บริเวณหมู่เกาะสแปรตลีย์ โดยเฉพาะเกาะที่ ฟิลิปปินส์เรียกว่า “ปานาตัค” (Panatag) ส่วน จีนเรียกว่า “ฮวงหยาน” (Huangyan) อันเชื่อ ว่าอุดมสมบูรณ์ไปด้วยก๊าซธรรมชาติและน�ำ้ มัน จ�ำนวนมหาศาล ฟิลิปปินส์จึงวางยุทธศาสตร์ ด้วยการเชื่อมความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ ซึ่งนับ เป็นพันธมิตรที่มีความใกล้ชิดกับฟิลิปปินส์มา ตั้งแต่อดีต จนถึงระดับที่อาจมีการกลับมาใช้ ฐานทัพเรือในดินแดนฟิลิปปินส์อีกครั้งตาม นโยบาย “การปรับสมดุล” (Rebalancing) ของสหรัฐฯ ที่ต้องการหวนกลับมายังภูมิภาค เอเชียแปซิฟกิ เพือ่ มุง่ คานอ�ำนาจกับจีน อันเป็น วัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกันของทั้งฟิลิปปินส์ และสหรั ฐ ฯ นอกจากนี้ เ มื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม
23
ค.ศ. ๒๐๑๑ สหรัฐฯ ได้มอบเรือตรวจการณ์ ชายฝั่ง “เกรโกริโอ เดล พิลาร์” (Gregorio del Pilar) และเรือตรวจการณ์ชายฝั่งอีกล�ำ หนึ่งให้กับกองทัพเรือฟิลิปปินส์ ท�ำให้เรือดัง กล่าวนี้กลายเป็นเรือที่ใหญ่ที่สุดและใหม่ที่สุด ในกองทัพเรือฟิลิปปินส์ สิ่ ง ที่ ป รากฏออกมาอย่ า งชั ด เจนถึ ง การ หวนกลั บ มาของสหรั ฐ ฯ ในฟิ ลิ ป ปิ น ส์ คื อ ภายหลั ง จากที่ พ ายุ ไ ต้ ฝุ ่ น “ไห่ เ ยี่ ย น” พั ด เข้ า ถล่ ม ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ อ ย่ า งรุ น แรงช่ ว งปลายปี ค.ศ. ๒๐๑๓ นั้น สหรัฐฯ ได้ส่งเรือบรรทุก เครื่องบิน “ยูเอสเอส จอร์ช วอชิงตัน” (USS George Washington) น�ำความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมพร้อมก�ำลังพลและอากาศยาน นานาชนิดเดินทางเข้าไปให้ความช่วยเหลือ เกื อ บจะในทั น ที อั น เป็ น การแสดงให้ เ ห็ น ถึงความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นของ ทั้งสองประเทศได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ฟ ิ ลิ ป ปิ น ส์ ยั ง เร่ ง พั ฒ นาความ สัมพันธ์กบั ญีป่ นุ่ ซึง่ นับเป็นคูก่ รณีทมี่ ขี อ้ ขัดแย้ง เรื่ อ งอ� ำ นาจอธิ ป ไตยเหนื อ ดิ น แดนเกาะ เซนกากุ (Senkaku) กับจีนเช่นเดียวกัน ดัง จะเห็นได้จากเมื่อครั้งที่ประธานาธิบดี ชินโซ อะเบะ (Shinzo Abe) ของญี่ ปุ ่ น เดิ น ทาง ไปเยือนฟิลิปปินส์เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. ๒๐๑๓ ที่ผ่านมาและได้รับการต้อนรับอย่าง อบอุน่ จนนิตยสาร “ไทม์” (Time) ฉบับวันที่ ๗ ตุลาคม ค.ศ. ๒๐๑๓ ระบุว่า นับตั้งแต่จีนกลาย เป็นภัยคุกคามด้านความมั่นคงต่อฟิลิปปินส์ ท�ำให้ชาวฟิลิปปินส์กว่าร้อยละ ๘๐ หันกลับมา มองญีป่ นุ่ ในแง่บวก แม้จะมีความทรงจ�ำอันเจ็บ ปวดในสงครามโลกครั้งที่สองก็ตาม นอกจากนี้ ญี่ปุ่นยังเสนอให้ความช่วยเหลือในการพัฒนา หน่ ว ยยามฝั ่ ง ของฟิ ลิ ปปินส์โดยจะมอบเรือ ลาดตระเวนจ�ำนวน ๑๐ ล�ำ มูลค่าล�ำละกว่า ๑๑ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ให้แก่ฟลิ ปิ ปินส์อกี ด้วย ทางด้ า นเวี ย ดนามนั้ น ก็ นั บ เป็ น ตั ว ละคร ส�ำคัญด้านความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวัน 24
ออกเฉียงใต้เช่นกัน เมื่อตกเป็นคู่กรณีกับจีน ในข้อพิพาทเหนือพื้นที่หมู่เกาะพาราเซลและ หมู ่ เ กาะสแปรตลี ย ์ ใ นทะเลจี น ใต้ ภายหลั ง จากที่มีปัญหากันมานานนับร้อยปี ซึ่งหมู่เกาะ สแปรตลีย์หรือที่เวียดนามเรียกว่า “ควาน เด๋า เตรือง ซา” (Quan Dao Truong Sa) และจีน เรียกว่า “นาน ชา” (Nan Cha) ประกอบไป ด้วยเกาะเล็ก เกาะน้อยจ�ำนวนมาก ในปี ค.ศ. ๑๙๗๓ จีนได้ส่งก�ำลังทหารเข้าครอบครองหมู่ เกาะจ�ำนวนหนึ่ง โดยในจ�ำนวนนี้มี ๒ เกาะ ที่ยึดไปจากเวียดนามในปี ค.ศ. ๑๙๘๘ ความขัดแย้งดังกล่าวส่งผลให้เวียดนามมี การสะสมอาวุธยุทโธปกรณ์อย่างขนานใหญ่ เช่น มีการสั่งซื้อเรือด� ำน�้ำพลังงานดีเซลชั้น “กิโล” (Kilo) ทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ ชนิดหนึง่ ของรัสเซีย จ�ำนวน ๖ ล�ำ มูลค่ากว่า ๑,๘๐๐ ล้านเหรียญ สหรัฐฯ โดยเรือด�ำน�้ำล�ำแรกหมายเลขประจ�ำ เรือ เอชคิว-๑๘๒ ฮานอย (HQ-182 Hanoi)
มี ก ารส่ ง มอบให้ กั บ กองทั พ เรื อ เวี ย ดนามไป เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และจะทยอยส่ ง มอบต่ อ ไป ปีละ ๑ ล�ำจนถึงปี ค.ศ. ๒๐๑๘ ประกอบด้วย เรือด�ำน�ำ้ หมายเลข เอชคิว-๑๘๓ โฮ จิ มินห์ซติ ี้ (HQ-183 Ho Chi Minh City), เอชคิว-๑๘๔ ไฮ ฟอง (HQ-184 Hai Phong), เอชคิว-๑๘๕ ดา นัง (HQ-185 Da Nang), เอชคิว-๑๘๖ คานห์ หัว (HQ- (HQ-186 Khanh Hoa) และ เอชคิว-๑๘๗ บา เรีย - วัง เทา (HQ-187 Ba Ria - Vung Tau) นอกจากนี้เวียดนามยังเดินยุทธศาสตร์ด้วย การร่วมมือกับรัสเซียท�ำการพัฒนาฐานทัพเรือ ที่อ่าวคัมรานห์ (Cam Ranh) เพื่อรองรับเรือ ด�ำน�้ำทั้ง ๖ ล�ำอีกด้วย พร้อมทั้งยังเดินหมาก ทางการทูตด้วยการพัฒนาความสัมพันธ์ด้าน ความมั่ น คงกั บ รั ส เซี ย โดยเฉพาะการกู ้ ยื ม เงินจ�ำนวน ๘ พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อ พั ฒ นาโรงงานไฟฟ้ า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ แ ห่ ง แรกของประเทศ รวมถึงการให้สัมปทานแก่ บริ ษั ท พลั ง งานก๊ า ซธรรมชาติ ข องรั ส เซี ยคื อ “แกซพรอม” (Gazprom) ซึ่งเป็นบริษัทของ รั ฐ บาลรั ส เซี ย ในโครงการพั ฒ นาแหล่ ง ก๊ า ซ ธรรมชาติ บริเวณนอกชายฝั่งเวียดนามจ�ำนวน ๒ โครงการ ซึ่งจะท�ำให้รัสเซียได้รับสัมปทาน ก๊าซธรรมชาติ จ�ำนวนร้อยละ ๔๙ ของพลังงาน ที่มีอยู่หรือประมาณ “สองแสนล้านลูกบาศก์ ฟุต” และก๊าซอัดแน่นอีกกว่า ๒๕ ล้านตัน ผลประโยชน์มากมายมหาศาลนี้ ได้กลายเป็น สิ่งที่ชี้ให้เห็นว่ารัสเซียพร้อมจะปกป้องแหล่ง พลั ง งานของเวี ย ดนามซึ่ ง รวมถึ ง หมู ่ เ กาะ สแปรตลี ย ์ แ ละพาราเซลด้ ว ย ท่ า มกลาง ความกั ง วลใจของจี น ที่ เ ฝ้ า มองการพั ฒ นา ความสั ม พั น ธ์ ดั ง กล่ า วอย่ า งใกล้ ชิ ด จน
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
กระทั่ ง บทบรรณาธิ ก ารของหนั ง สื อ พิ ม พ์ “โกลบอล เดลี่ ” (Global Daily) ซึ่งเป็น สื่ อ ของรั ฐ บาลจี น ได้ วิ จ ารณ์ ค วามร่ ว มมื อ ครั้งนี้ว่า “.. ความร่วมมือทั้งหมดก้าวหน้า ไปไกลเกิ น กว่ า ขอบเขตของความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิจ มันก้าวล่วงเข้าไปสู่ขอบเขต ของการเมื อ งและความมั่ น คงอย่ า งเห็ น ได้ชัด .. ” ทางด้ า นมาเลเซี ย ซึ่ ง มี ป ั ญ หาข้ อ พิ พ าท กั บ จี น บริ เ วณพื้ น ที่ ห มู ่ เ กาะสแปรตลี ย ์ ใ น ทะเลจีนใต้เช่นกัน ได้ส่งก�ำลังทางเรือเข้าไป ครอบครองน่านน�้ำบริเวณเกาะหินโสโครกที่ อ้างว่าเป็นของตนจ�ำนวน ๓ เกาะตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๘๓ และสร้างเป็นสถานีเทียบเรือเรียกว่า “สถานียูนิฟอร์ม” (Uniform Station) อยู่ ห่างจากเมือง “คินาบาลู” (Kinabalu) ของรัฐ ซาบาห์ (Sabah) ประมาณ ๓๐๐ กิโลเมตร โดยมาเลเซียเรียกเกาะแนวหินปะการังนี้ว่า “แนวหินนกนางแอ่น” (Swallow reef) หรือ ในภาษามลายูเรียกว่า “ลายัง ลายัง” (Layang Layang) ส่วนจีนเรียกเกาะเล็ก ๆ ที่มาเลเซีย ครอบครองนี้ว่า “ดาน วาน เจียว” (Dan Wan Jiao) จากความส�ำเร็จทางเศรษฐกิจของมาเลเซีย ส่งผลให้มีการพัฒนากองทัพอย่างเข็มแข็ง โดย การสร้างแสนยานุภาพครัง้ ใหญ่เริม่ ต้นในช่วงปี ค.ศ. ๒๐๐๓ - ๒๐๑๑ เมื่องบประมาณทางการ ทหารได้เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าตัว จนอยู่ในล�ำดับ ที่ ๔ ของอาเซียน มีการสั่งซื้อเรือด�ำน�้ำสกอร์ ปีเน่ (Scorpene) จ�ำนวน ๒ ล�ำจากการร่วม ผลิตของประเทศฝรั่งเศสและสเปน โดยตอน หน้าของตัวเรือผลิตที่อู่ต่อเรือ “ดีซีเอ็นเอส” (DCNS) ในเมือง “แชร์บูร์ก” (Charbourg)
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ของฝรั่งเศส ส่วนตอนหลังของล�ำเรือผลิตโดย บริษทั “นาวานเทีย” (Navantia) ทีเ่ มือง “คาร์ ทาจีน่า” (Cartagena) ซึ่งเป็นบริษัทต่อเรือที่ รัฐบาลสเปนเป็นเจ้าของกิจการ และนับเป็น บริษัทต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับห้าในยุโรป และเป็นอันดับเก้าในโลก โดยเรือด�ำน�้ำล�ำแรก คือ เรือด�ำน�้ำ “เกเด ตุนกู อับดุล ราห์มาน” (KD Tunku Abdul Rahman) เดินทางมาถึง มาเลเซียในเดือนกันยายน ค.ศ. ๒๐๐๙ และ เข้าประจ�ำการในเดือนตุลาคมปีเดียวกันนัน้ เอง ส่วนเรือด�ำน�้ำอีกล�ำหนึ่งคือเรือด�ำน�้ำ “เกเด ตุ น กู อั บ ดุ ล ราซั ก ” (KD Tunku Abdul Razak) เดิ น ทางมาถึ ง มาเลเซี ย ในวั น ที่ ๒ กรกฎาคม ค.ศ. ๒๐๑๐ เรือทั้งสองล� ำนี้ติด อาวุธปล่อยน�ำวิถีจากใต้น�้ำต่อต้านเรือผิวน�้ำ แบบ เอ็กโซเซต์ เอสเอ็ม ๓๙ (Exocet SM39) อันทรงอานุภาพของฝรั่งเศส ส�ำหรับกองทัพสิงคโปร์นั้น ผลจากความ ส� ำ เร็ จ ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ท� ำ ให้ มี ก าร พั ฒ นากองทั พ อย่ า งเต็ ม ขี ด ความสามารถ จนกลายเป็ น กองทั พ ที่ มี อ าวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ ที่ ดี ที่ สุ ด ในกลุ ่ ม อาเซี ย น โดยเฉพาะการใช้ เทคโนโลยีขั้นสูงทดแทนจ� ำนวนก�ำลังทหาร ซึ่งเป็นขีดจ�ำกัดของกองทัพสิงคโปร์ ปัจจุบัน สิ่งที่ต้องจับตามองคือ กองทัพอากาศสิงคโปร์ ได้ สั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ อ เนกประสงค์ แ บบ ล็อคฮีด มาร์ติน เอฟ-๓๕ (Lockheed Martin F-35) ซึ่งเป็นเครื่องบินขับไล่ยุคที่ ๕ (Fifth Generation) ทีม่ ขี ดี ความสามารถหลากหลาย และใช้เทคโนโลยี “สเตลท์” (Stealth) หรือ ล่องหนท�ำให้ยากต่อการตรวจจับด้วยเรดาร์ โดยสิ ง คโปร์ ไ ด้ เ ข้ า เป็ น หุ ้ น ส่ ว นด้ า นความ มั่นคง (Security Partner) กับสหรัฐฯ ด้าน การพัฒนาเครื่องบินขับไล่ เอฟ-๓๕ มาตั้งแต่ปี ค.ศ. ๒๐๐๓ และได้สนับสนุนงบประมาณ ๕๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อใช้ในโครงการพัฒนา เครื่องบินรบรุ่นนี้ ทางด้านส�ำนักข่าวรอยเตอร์ รายงานเมื่อต้นปี ค.ศ. ๒๐๑๓ ว่า ความสนใจ ในการสั่งซื้อเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ-๓๕ ของ สิงคโปร์เกิดขึ้นเพียงไม่กี่สัปดาห์ หลังจากที่จีน ได้เผยโฉมเครื่องบินขับไล่แบบ เจ-๓๑ (J-31) ซึ่ ง ถู ก ออกแบบมาเพื่ อ แข่ ง ขั น กั บ เครื่ อ งบิ น ขับไล่แบบ เอฟ-๓๕ โดยเฉพาะ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านความมั่นคงคนหนึ่งของสหรัฐฯ กล่าวว่า “.. ทุกครั้งที่จีนทดลองเครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ มันจะเป็นเสมือนโทรศัพท์ปลุก (wake-up call) ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศสิงคโปร์ ให้ตื่นขึ้นจากภวังค์ ..” นอกจากนี้่ ก องทั พ เรื อ ของสิ ง คโปร์ ยั ง สร้ า งความฮื อ ฮาด้ ว ยการสั่ ง ซื้ อ เรื อ ด� ำ น�้ ำ ชั้น “ชาลเลนเจอร์” (Challenger) จ�ำนวน ๔ ล� ำจากสวี เ ดน ในช่ ว งปี ค.ศ. ๑๙๙๕ ๑๙๙๗ คือ เรืออาร์เอสเอส ชาลเลนเจอร์,
เรืออาร์เอสเอส คองเคอเรอร์, เรืออาร์เอสเอส เซนจูเรียน และเรืออาร์เอสเอส ชีฟเทน ต่อ มาก็สั่งซื้อเรือด�ำน�้ำชั้น อาร์เชอร์ (Archer) ซึ่งปรับปรุงมาจากเรือด� ำน�้ำชั้น “ฟาสเธอร์ กอทลันด์” (Vastergotland) เพิ่มอีกเป็น จ�ำนวน ๒ ล�ำจากกองทัพเรือสวีเดน คือเรือ อาร์เอสเอส อาร์เชอร์ และเรืออาร์เอสเอส ซอร์ดส์แมน ทีเ่ พิง่ ขึน้ ระวางประจ�ำการในเดือน เมษายน ค.ศ. ๒๐๑๓ โดยเรือด�ำน�้ำทั้งหมดได้ เข้าประจ�ำการในกองเรือด�ำน�้ำที่ ๑๗๑ (171 Squadron) สิ ง คโปร์ ยั ง เดิ น ยุ ท ธศาสตร์ ด ้ ว ยการเปิ ด ฐานทัพเรือ ชางงี (Changi Naval Base : CNB) ให้เป็นจุดเทียบเรือของกองเรือที่ ๗ ของ กองทัพเรือสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟิคที่ส่งเรือรบ ต่ า ง ๆ เช่ น เรื อ ยู เ อสเอส ฟรี ด อม (USS Freedom) เพื่อคานอ�ำนาจกับกองก�ำลังทาง
เรื อ ของจี น โดยฐานทั พ แห่ ง นี้ จะเป็น จุดส่ง ก�ำลังบ�ำรุงของเรือสหรัฐฯ ตลอดระยะเวลา ที่ ป ระจ� ำ การอยู ่ ใ นภู มิ ภ าคเอเชียตะวันออก เฉี ย งใต้ ต ามข้ อ ตกลงระหว่ า งสหรั ฐ ฯ และ สิ ง คโปร์ ใ นฐานะหุ ้ น ส่ ว นด้ า นความมั่ น คง ส่งผลให้ฐานทัพเรือชางงีของสิงคโปร์กลาย เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่มีความส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง ในเอเชียไปโดยปริยาย จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เป็ น เพี ย งตั ว อย่ า ง บางส่ ว นที่ แ สดงให้ เ ห็ น ได้ ว ่ า กองทั พ ของ กลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย นต่ า งมี ก ารปรั บ ตั ว เพื่ อ เตรียมการรับมือกับการแผ่ขยายอ�ำนาจของ จีนอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการพัฒนาศักยภาพ ก�ำลังรบและการเดินเกมทางการทูต ท� ำให้ สิ่ ง ที่ ต ้ อ งจั บ ตามองอย่ า งใกล้ ชิ ด ต่ อ ไปคื อ ความตึงเครียดเหล่านี้จะน�ำพากลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียนและจีนมุ่งหน้าไปสู่ทิศทางใด นั่นเอง 25
แนวความคิด การพัฒนาการเตรียมก�ำลัง ระบบอาสาสมัครของ กระทรวงกลาโหม พันเอก สันทัด เมืองคำ�
“รั ฐ ต้ อ งพิ ทั ก ษ์ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง สถาบั น พระมหากษัตริย์ เอกราชอธิปไตย และ บูรณภาพแห่งเขตอ�ำนาจรัฐ และต้อง จัดให้มีก�ำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย จ�ำเป็ น และ เพี ย งพอ เพื่ อ พิ ทั ก ษ์ รั ก ษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ ผลประโยชน์ แ ห่ ง ชาติ และการปกครองในระบอบ ประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ทรงเป็ น ประมุ ข และเพื่อการพัฒนา ประเทศ” เป็นข้อความที่ก�ำหนดไว้ใน มาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่ในการจัดเตรียมก�ำลังและใช้ก�ำลังเพื่อ การป้องกันประเทศ ในการจัดเตรียมและเรียก ทหารกองเกิน ทหารกองประจ�ำการ ทหารกอง หนุนหรือก�ำลังส�ำรองเข้ารับราชการทหารนั้น จะด�ำเนินการตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร ข้อ บังคับทหารว่าด้วยการแบ่งประเภทนายทหาร สัญญาบัตร แนวคิดทางยุทธศาสตร์การป้องกัน ประเทศ แผนผนึกก�ำลังและทรัพยากรเพือ่ การ ป้องกันประเทศ และแผนแม่บทการพัฒนา ระบบก�ำลังส�ำรองของกระทรวงกลาโหม ที่ ก�ำหนดให้ต้องพัฒนาระบบก�ำลังส�ำรองเพื่อ รองรับการป้องกันประเทศ ด้วยการจัดเตรียม ก�ำลังส�ำรองให้ครบตามอัตราของทุกหน่วยที่ อยู่ในระบบก�ำลังส�ำรอง สามารถปฏิบัติงาน ร่วมกับก�ำลังประจ�ำการได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถปฏิบัติภารกิจในการป้องกัน 26
และบรรเทาสาธารณภัยในรูปแบบอื่น ๆ ได้ ในการเรียกทหารกองเกินและทหารกอง หนุนหรือก�ำลังส�ำรอง เข้ารับราชการทหาร เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยในระบบก� ำ ลั ง ส� ำ รองมี ค วาม พร้อมรบ โดยที่ก� ำลังส�ำรองสามารถปฏิบัติ ภารกิ จ ร่ ว มกั บ ก� ำ ลั ง ประจ� ำ การได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพนั้น ในการด�ำเนินการที่ผ่านมา ยังไม่สามารถบริหารจัดการให้การเตรียมก�ำลัง และการใช้ก�ำลังดังกล่าวมีประสิทธิภาพและ เป็ น รู ป ธรรมอย่ า งเป็ น ระบบได้ ทหารกอง ประจ�ำการและนักศึกษาวิชาทหาร(นศท.) ซึ่ง เป็นแหล่งที่มาของทหารกองหนุนหรือก� ำลัง ส�ำรองหลัก ก็ไม่ได้เข้ามาสู่ระบบด้วยความ สมัครใจอย่างแท้จริง ดังนั้น เพื่อให้กองทัพ มีทหารกองประจ�ำการ ทหารกองหนุน และ ก�ำลังส�ำรองที่มีคุณภาพบนพื้นฐานของความ สมัครใจ มีเวลาในการพัฒนาขีดความสามารถ
ทางทหารอย่างเพียงพอและเป็นระบบ ตลอด จนสามารถน�ำทหารกองหนุนและทหารกอง เกินมารับราชการทหารชั่วคราวในยามปกติ ได้ จึงก�ำหนด แนวความคิดในการพัฒนาการ เตรียมก�ำลังระบบอาสาสมัคร (ด้านทหารกอง เกิน ทหารกองประจ�ำการ ทหารกองหนุนและ ก�ำลังส�ำรอง) ขึ้นดังนี้ ทหารกองประจ�ำการ ใช้วิธีเข้ารับราชการ ทหารกองประจ�ำการด้วยวิธีร้องขอ (อาสา สมั ค ร)เป็ น หลั ก โดยก� ำ หนดแรงจู ง ใจที่ เหมาะสมและเพียงพอที่จะส่งเสริมให้ทหาร กองเกินร้องขอ (อาสาสมัคร) เข้ามาเป็นทหาร กองประจ�ำการ และใช้วิธีเรียกมาตรวจเลือก เป็นวิธเี สริม เมือ่ มีผรู้ อ้ งขอไม่เพียงพอกับความ ต้องการ ก� ำ ลั ง ส� ำ รองและทหารกองหนุ น ปรั บ แนวทางการบรรจุก�ำลังส�ำรองในบัญชีบรรจุ พันเอก สันทัด เมืองคำ�
ก�ำลังของหน่วยทหาร (บัญชี ตพ.๕) ในอัตรา นายทหารชั้ น ประทวนและนายทหารชั้ น สัญญาบัตร ที่ปัจจุบันเน้นการใช้ทหารกอง หนุนจาก นศท. ด้วยการใช้ทหารกองหนุนทีม่ า จากทหารกองประจ�ำการ (อาสาสมัคร) ด้วย อีกส่วนหนึ่ง โดยก�ำหนดแรงจูงใจที่เหมาะสม เพียงพอที่จะส่งเสริมให้ทหารกองหนุนสมัคร ใจเข้ามาเป็นก�ำลังส�ำรอง การเข้ า รั บ ราชการทหารชั่ ว คราว เมื่ อ ก�ำลังส�ำรองพ้นจากบัญชี ตพ.๕ ให้กองทัพ สามารถรับสมัครทหารกองหนุนส่วนนี้ รวมทั้ง ทหารกองเกิ น ที่ ผ ่ า นการฝึ ก วิ ช าทหารแล้ ว เข้ารับราชการทหารเป็นการชั่วคราว ทหารกองเกิน เมื่อมีความจ�ำเป็นหรือเกิด ภัยพิบัติ ให้กองทัพสามารถเรียกทหารกอง เกินเข้ามาช่วยปฏิบัติงานตามภารกิจหน้าที่ได้
สมัครทหารกองเกินอายุ ๑๘ - ๒๐ ปีเข้าเป็น ทหารกองประจ� ำ การด้ ว ยวิ ธี ร ้ อ งขอ(อาสา สมัคร) ปีละประมาณ ๖๕,๐๐๐ นาย เพื่อ ให้มีทหารกองประจ�ำการในวงรอบ ๓ ปีครบ ตามจ�ำนวนที่กองทัพต้องการ และให้ร้องขอ ได้โดยไม่จ�ำกัดภูมิล�ำเนาทหาร ทั้งนี้ เพื่อให้ เป็นไปตามความต้องการของผู้ร้องขอในขั้น ต้น (ยื่นใบสมัครที่อ�ำเภอภูมิล�ำเนาทหาร) และ ท�ำการการคัดเลือกเป็นส่วนรวมใน ก.พ. ของ ทุกปี โดยบรรจุทหารกองประจ�ำการส่วนนี้ ให้เข้ารับราชการในหน่วยส่วนก�ำลังรบ ส่วน สนับสนุนการรบ ส่วนภูมิภาค ส่วนส่งก�ำลัง บ� ำ รุ ง ส่ ว นพั ฒ นาประเทศ ส่ ว นการศึ ก ษา และส่วนบัญชาการตามล�ำดับ เป็นเวลา ๓ ปี แล้วจึงปลดออกมาเป็นทหารกองหนุน หาก ในปีใดมียอดการร้องขอไม่เพียงพอกับความ ต้องการ ให้ท�ำการตรวจเลือกตามปกติ และ แนวทางด�ำเนินการตามระบบอาสา บรรจุทหารกองประจ�ำการส่วนนี้ให้กับหน่วย สมัคร (ระบบ ๓:๓:๓) ในส่วนบัญชาการ ส่วนการศึกษา ส่วนพัฒนา ประเทศ และส่วนส่งก�ำลังบ�ำรุงตามล�ำดับ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาตาม กลุ ่ ม ที่ ๒ ทหารกองหนุ น ที่ ไ ด้ ม าจาก แนวทางนี้ จึงขอเรียกระบบนี้ว่า การเตรียม นักศึกษาวิชาทหาร (นศท.) ก�ำลัง “ระบบ ๓:๓:๓” ซึ่งเป็นการเตรียมก�ำลัง รั บ สมั ค รนั ก เรี ย น/นั ก ศึ ก ษาที่ เ ป็ น ทหาร ทั้งระบบ ทั้งทหารกองเกิน ทหารกองประจ�ำ กองเกิ น และก� ำ ลั ง ศึ ก ษาวิ ช าที่ เ ป็ น คุ ณ วุ ฒิ การ ทหารกองหนุ น และก� ำ ลั ง ส� ำ รอง ซึ่ ง ตามที่กองทัพต้องการ (ในระดับอาชีวะและ เป็นการเข้ามาสู่ระบบด้วยความสมัครใจ ดังนี้ อุดมศึกษา) เข้าเป็น นศท. เมื่อส�ำเร็จการฝึก เลข ๓ ตัวที่ ๑ ได้แก่ การเข้ารับราชการ ศึกษาในชั้นปีที่ ๓ ให้แต่งตั้งยศเป็นนายทหาร ทหารกองประจ�ำการด้วยวิธีร้องขอ มีก�ำหนด ประทวนกองหนุน และมีสิทธิสมัครเข้ารับการ เวลา ๓ ปี โดยผู้ร้องขอจะไม่ใช้สิทธิลดเวลา ฝึกศึกษาในชั้นปีที่ ๔ และชั้นปีที่ ๕ ได้ตามที่ รับราชการ และต้องสมัครใจรับราชการต่อ ก�ำหนด และเมื่อส�ำเร็จการศึกษาให้แต่งตั้ง เพื่อทดแทนการเรียกเกณฑ์อีก ๑ ปี และทหาร ยศเป็นนายทหารชั้นประทวนหรือชั้นสัญญา กองเกินที่สมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหารตาม บัตรกองหนุน หลักสูตรที่กระทรวงกลาโหมก�ำหนด การผลิตก�ำลังส�ำรอง ชั้นพลทหารและชั้น เลข ๓ ตัวที่ ๒ ได้แก่ ทหารกองหนุนที่ นายทหารประทวน (เลข ๓ ตัวที่ ๒) สมั ค รใจเข้ า เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ รองชั้ น นายทหาร ก�ำลังส�ำรองชั้นพลทหาร ประทวน และได้รับการคัดเลือกให้บรรจุอยู่ ได้มาจากทหารกองประจ�ำการ (อาสาสมัคร) ในบัญชี ตพ.๕ ในอัตรานายทหารชั้นประทวน ที่รับราชการครบ ๓ ปี แล้วปลดออกมาเป็น มีก�ำหนดเวลา ๓ ปี ทหารกองหนุน โดยก�ำหนดให้เป็นก�ำลังส�ำรอง เลข ๓ ตัวที่ ๓ ได้แก่ นายทหารสัญญา พร้อมรบในอัตราพลทหารเป็นเวลา ๓ ปี แล้ว บัตรกองหนุน หรือก�ำลังส�ำรองชั้นนายทหาร จึงให้พ้นออกมาเป็นทหารกองหนุนจนกว่าจะ ประทวน ที่สมัครใจเข้าเป็นก�ำลังส�ำรองชั้น พ้นราชการ (นับจากปีที่ปลดเป็นทหารกอง นายทหารสัญญาบัตร และได้รับการคัดเลือก หนุนรวม ๒๓ ปี) ให้บรรจุอยู่ในบัญชี ตพ.๕ ในอัตรานายทหาร ก�ำลังส�ำรองชั้นนายทหารประทวน ชั้นสัญญาบัตร มีก�ำหนดเวลา ๓ ปี ได้มาจาก ๒ ช่องทาง โดยก�ำหนดให้เป็น ก�ำลังส�ำรองชั้นนายทหารประทวนเป็นเวลา ด้านการจัดเตรียมก�ำลัง ๓ ปี ซึ่งจะได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความ การผลิตทหารกองหนุนหลัก (เลข ๓ ตัวที่ ๑) สามารถในระดับนายทหารชั้นประทวนตาม ด�ำเนินการเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้ ต�ำแหน่งหน้าที่ที่บรรจุ แล้วจึงให้พ้นออกมา กลุ่มที่ ๑ ทหารกองหนุนที่ได้มาจากทหาร เป็นทหารกองหนุนจนกว่าจะพ้นราชการ (นับ กองประจ�ำการ (อาสาสมัคร) จากปีที่ปลดเป็นทหารกองหนุนรวม ๒๓ ปี) กองทัพมีความต้องการทหารกองประจ�ำ ดังนี้ การประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ นาย ดังนั้นในการ - ช่องทางที่ ๑ ให้มาจากทหารกองประจ�ำ เตรียมก�ำลังตามระบบ ๓:๓:๓ จึงก�ำหนดรับ การ (อาสาสมัคร) ที่รับราชการครบ ๓ ปี แล้ว หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ปลดออกมาเป็นทหารกองหนุน โดยพิจารณา ให้บรรจุอยู่ในบัญชี ตพ.๕ ของหน่วยในส่วน ก�ำลังรบ ส่วนสนับสนุนการรบ ส่วนภูมิภาค เป็นหลัก ดังนี้ ปีที่ ๑ บรรจุในบัญชี ตพ. ๕ อัตรา ส.อ. จ.อ. และแต่งตั้งยศเป็น ส.ต จ.ต. เป็นก�ำลัง ส�ำรองชั้นต้น มีหน้าที่เข้ารับการฝึกทบทวน ฝึกเฉพาะหน้าที่ และฝึกหน่วยทางยุทธวิธี ใน อัตรา ส.อ. จ.อ. ปีที่ ๒ เลื่อนยศเป็น ส.ท. จ.ท. และปรับเป็น ก�ำลังส�ำรองพร้อมรบ มีหน้าที่เข้ารับการตรวจ สอบ ทดลองความพรั่งพร้อม และหากมีการ ระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่เสริมก�ำลังให้ หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อมรบด้านก�ำลัง พลตามที่ก�ำหนด ปีที่ ๓ เลื่อนยศเป็น ส.อ. จ.อ. ปรับเป็น ก�ำลังส�ำรองเตรียมพร้อม มีหน้าที่เข้ารับการ ตรวจสอบ และหากมีการระดมพลจะเป็นก�ำลัง ส�ำรองที่ใช้ทดแทนก�ำลังส�ำรองพร้อมรบ (ใน ต�ำแหน่งเดียวกัน) ที่ต้องจ�ำหน่ายจากบัญชี ตพ.๕ เพื่อให้หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อม รบด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด ในส่วนก�ำลัง ส�ำรองเตรียมพร้อมที่เหลือจะมีหน้าที่ในการ ทดแทนก�ำลังที่สูญเสีย ในปีที่ ๓ นี้จะมีก�ำลังส�ำรองพร้อมรบบาง ส่วนได้รบั การพิจารณาให้บรรจุใน ตพ.๕ อัตรา จ.ส.อ. พ.จ.อ. พ.อ.อ. และได้รับการเลื่อนยศ เป็น จ.ส.ต. พ.จ.ต. พ.อ.ต. และคงเป็นก�ำลัง ส�ำรองพร้อมรบต่อไป มีหน้าที่เข้ารับการตรวจ สอบ ทดลองความพรั่งพร้อม และหากมีการ ระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่เสริมก�ำลังให้ หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อมรบด้านก�ำลัง พลตามที่ก�ำหนด - ช่องทางที่ ๒ ให้มาจาก นศท. ที่ส�ำเร็จ การฝึกศึกษาในชั้นปีที่ ๓ ขึ้นไป ที่ได้รับการ แต่งตั้งยศเป็นนายทหารชั้นประทวนกองหนุน แล้ว โดยจะพิจารณาให้บรรจุอยู่ในบัญชี ตพ. ๕ ของหน่วยในส่วนบัญชาการ ส่วนส่งก�ำลัง บ�ำรุง ส่วนการศึกษา ส่วนพัฒนาประเทศ เป็น หลักดังนี้ ปีที่ ๑ บรรจุในบัญชี ตพ. ๕ อัตรา ส.อ. จ.อ. และ จ.ส.อ. พ.จ.อ. พ.อ.อ. ตามชั้นยศ เดิม เป็นก�ำลังส�ำรองชั้นต้น มีหน้าที่เข้ารับการ ฝึกทบทวน ฝึกเฉพาะหน้าที่ และฝึกหน่วยทาง ยุทธวิธีตามต�ำแหน่งที่บรรจุ ปีที่ ๒ ปรับเป็นก�ำลังส�ำรองพร้อมรบ มีหน้าที่ เข้ารับการตรวจสอบ ทดลองความพรั่งพร้อม และหากมีการระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่ เสริมก�ำลังให้หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อม รบด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด ปีที่ ๓ ปรับเป็นก�ำลังส�ำรองเตรียมพร้อม มีหน้าที่เข้ารับการตรวจสอบ และหากมีการ ระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่ใช้ทดแทนก�ำลัง 27
ส�ำรองพร้อมรบ (ในต�ำแหน่งเดียวกัน) ที่ต้อง - ช่องทางที่ ๑ ให้มาจากก�ำลังส�ำรองชั้น จ�ำหน่ายจากบัญชี เพื่อให้หน่วยรับการบรรจุ นายทหารประทวนที่ได้รับการพัฒนามาแล้ว มีความพร้อมรบด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด เป็นเวลา ๓ ปี ซึง่ มีคณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ำ� หนดและ ในส่ ว นก� ำ ลั ง ส� ำ รองเตรี ย มพร้ อ มที่ เ หลื อ จะ ได้รับการพิจารณาให้บรรจุอยู่ใน บัญชี ตพ.๕ มีหน้าที่ในการทดแทนก�ำลังที่สูญเสีย ในอัตรานายทหารชั้นสัญญาบัตร โดยก�ำหนด ในปีที่ ๓ นี้จะมีก�ำลังส�ำรองพร้อมรบบาง ให้เป็นก�ำลังส�ำรองชั้นนายทหารสัญญาบัตร ส่วนได้รบั การพิจารณาให้บรรจุใน ตพ.๕ อัตรา เป็นระยะเวลา ๓ ปี ดังนี้ จ.ส.อ. พ.จ.อ. พ.อ.อ. และได้รับการเลื่อนยศ ปีที่ ๔ บรรจุในบัญชี ตพ. ๕ อัตรา ร.ท. เป็น จ.ส.ต. พ.จ.ต. พ.อ.ต. และคงเป็นก�ำลัง และเลื่อนฐานะเป็น ร.ต. เป็นก�ำลังส�ำรองชั้น ส�ำรองพร้อมรบต่อไป มีหน้าที่เข้ารับการตรวจ ต้น มีหน้าที่เข้ารับการฝึกทบทวน ฝึกเฉพาะ สอบ ทดลองความพรั่งพร้อม และหากมีการ หน้าที่ และฝึกหน่วยทางยุทธวิธีตามต�ำแหน่ง ระดมพลจะเป็นก� ำลังส�ำรองที่เสริมก�ำลังให้ หน้าที่ที่บรรจุ หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อมรบด้านก�ำลัง ปีที่ ๕ เลือ่ นยศเป็น ร.ท. และปรับเป็นก�ำลัง พลตามที่ก�ำหนด ส�ำรองพร้อมรบ มีหน้าที่เข้ารับการตรวจสอบ การผลิตก�ำลังส�ำรอง ชัน้ นายทหารสัญญา ทดลองความพรั่งพร้อม และหากมีการระดม บัตร (เลข ๓ ตัวที่ ๓) ได้มาจาก ๒ ช่องทาง พลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่เสริมก�ำลังให้หน่วย โดยก�ำหนดให้เป็นก�ำลังส�ำรองชั้นนายทหาร รั บ การบรรจุ มี ค วามพร้ อ มรบด้ า นก� ำ ลั ง พล สัญญาบัตรเป็นเวลา ๓ ปี ซึ่งจะได้รับการ ตามที่ก�ำหนด พัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในระดับนาย ปีที่ ๖ ปรับเป็นก�ำลังส�ำรองเตรียมพร้อม ทหารชั้นนายทหารสัญญาบัตรตามต�ำแหน่ง มีหน้าที่เข้ารับการตรวจสอบ และหากมีการ หน้าที่ที่บรรจุ แล้วจึงให้พ้นออกมาเป็นทหาร ระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่ใช้ทดแทนก�ำลัง กองหนุนจนกว่าจะพ้นราชการเมื่อมีอายุครบ ส�ำรองพร้อมรบ(ในต�ำแหน่งเดียวกัน) ที่ต้อง ๔๕ ปีบริบูรณ์ จ�ำหน่ายจากบัญชี เพื่อให้หน่วยรับการบรรจุ มีความพร้อมรบด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด ในส่วนก�ำลังส�ำรองเตรียมพร้อมที่เหลือจะมี หน้าที่ในการทดแทนก�ำลังที่สูญเสีย ในปีที่ ๖ นี้จะมีก�ำลังส�ำรองพร้อมรบบาง ส่วนได้รบั การพิจารณาให้บรรจุใน ตพ.๕ อัตรา ร.อ. และได้รับการเลื่อนยศเป็น ร.อ. และคง เป็นก�ำลังส�ำรองพร้อมรบต่อไป มีหน้าที่เข้า รับการตรวจสอบ ทดลองความพรั่งพร้อม และ หากมีการระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่เสริม ก�ำลังให้หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อมรบ ด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด - ช่องทางที่ ๒ ได้มาจาก นศท. ทีส่ ำ� เร็จการ ฝึกศึกษาในชัน้ ปีที่ ๕ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ยศเป็น นายทหารชั้นสัญญาบัตรแล้ว ซึ่งมีคุณสมบัติ ตามที่ก�ำหนดและได้รับการพิจารณาให้บรรจุ อยู่ในบัญชี ตพ.๕ เป็นก�ำลังส�ำรองชั้นนาย ทหารสัญญาบัตรเป็นระยะเวลา ๓ และออก มาเป็นนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน จนกว่า จะพ้นราชการ ในระหว่างที่เป็นก�ำลังส�ำรอง จะได้รับการฝึกให้มีความรู้ความสามารถตาม ต�ำแหน่งหน้าที่ และได้รับการแต่งตั้งยศและ เลื่อนยศ ดังนี้ ปีที่ ๑ บรรจุในบัญชี ตพ. ๕ อัตรา ร.ท. / ร.อ. ตามชั้นยศเดิม เป็นก�ำลังส�ำรองชั้นต้น มีหน้าที่เข้ารับการฝึกทบทวน ฝึกเฉพาะหน้าที่ และฝึกหน่วยทางยุทธวิธีตามต�ำแหน่งที่บรรจุ ปีที่ ๒ ปรับเป็นก�ำลังส�ำรองพร้อมรบ และ เลือ่ นยศเป็น ร.ท. มีหน้าทีเ่ ข้ารับการตรวจสอบ ทดลองความพรั่ ง พร้ อ ม และหากมี ก าร ระดมพลจะเป็นก�ำลังส�ำรองที่เสริมก�ำลังให้ 28
หน่วยรับการบรรจุมีความพร้อมรบด้านก�ำลัง พลตามที่ก�ำหนด ปีที่ ๓ ปรับเป็นก�ำลังส�ำรองเตรียมพร้อม มีหน้าที่เข้ารับการตรวจสอบ และหากมีการ ระดมพล จะเป็นก�ำลังส�ำรองทีใ่ ช้ทดแทนก�ำลัง ส�ำรองพร้อมรบ (ในต�ำแหน่งเดียวกัน) ที่ต้อง จ�ำหน่ายจากบัญชี เพื่อให้หน่วยรับการบรรจุ มีความพร้อมรบด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด ในส่ ว นก� ำ ลั ง ส� ำ รองเตรี ย มพร้ อ มที่ เ หลื อ จะ มีหน้าที่ในการทดแทนก�ำลังที่สูญเสีย การควบคุมทหารกองเกิน การด�ำเนินการ ต่อชายที่มีสัญชาติเป็นไทยตามกฎหมาย คง ด�ำเนินการตาม พ.ร.บ.รับราชการทหารเช่น เดิม เมื่อมีอายุ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ต้องไปรับหมาย เรียกเข้ารับราชการทหาร (สด.๓๕) ที่อ�ำเภอ ภูมิล�ำเนาทหาร และมารายงานตัวต่อคณะ กรรมการ ฯ ในเดือน เม.ย. ตามปกติ หากใน ปีใดมีทหารกองเกินร้องขอ (อาสาสมัคร) และ ได้รบั การคัดเลือกเข้าเป็นทหารกองประจ�ำการ ครบตามจ�ำนวนตามที่กองทัพต้องการ ก็จะงด การตรวจเลือก แต่หากไม่พอก็จะใช้การตรวจ เลือกตามปกติ โดยคณะกรรมการฯ จะมีหน้าที่ ในการจั ด ท� ำ ประวั ติ บุ ค คลและส่ ง ข้ อ มู ล ให้ กับสายงานสัสดีเพื่อน�ำไปจัดแบ่งกลุ่มไว้ตาม ความรู้ความสามารถในขั้นต้น และเตรียมการ เรียกเข้ามาร่วมปฏิบัติงานตามห้วงเวลาและ สถานการณ์ที่ก�ำหนดในห้วงเวลา ๙ ปี หรือ จนกว่าจะพ้นสภาพจากการเป็นทหารกองเกิน
ด้านการใช้ก�ำลัง เมื่อประเทศชาติเกิดภาวะไม่ปกติจนต้องมี การระดมพล ก�ำลังส�ำรองที่บรรจุอยู่ในบัญชี ตพ.๕ ในขณะนั้น ทหารกองหนุน และทหาร กองเกิน จะต้องเดินทางมารายงานตัวที่หน่วย ต้นสังกัดในวัน ร. หรือ วัน ต.+๒๐ ซึ่งเป็นวัน ระดมสรรพก�ำลังตามที่กระทรวงกลาโหมจะ ร่วมกับส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องก�ำหนดขึน้ ดังนี้ ก�ำลังส�ำรองในบัญชี ตพ.๕ (บัญชี ๑) ที่เป็น ก�ำลังส�ำรองขั้นต้น (บรรจุก� ำลังในต�ำแหน่ง นัน้ ๆ ในปีแรก ซึง่ มีหน้าทีเ่ ข้ารับการฝึก เพือ่ ให้ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามต�ำแหน่งที่บรรจุ) เมื่อมารายงานตัว หน่วยเรียกพลจะร่วมกับ หน่วยบรรจุก�ำลัง ส่งมอบก�ำลังส�ำรองขั้นต้น ให้กับกองร้อยก�ำลังทดแทน(ร้อย กทท.) เพื่อ เป็นก�ำลังทดแทนเป็นบุคคลให้กับหน่วยขึ้น ตรงของหน่วยเหนือต่อไป ก�ำลังส�ำรองในบัญชี ตพ.๕ (บัญชี ๒) ที่เป็น ก�ำลังส�ำรองพร้อมรบ (บรรจุก�ำลังในต�ำแหน่ง นั้นๆ เป็นปีที่ ๒ ซึ่งมีหน้าที่เสริมก�ำลังให้หน่วย นั้นๆ มียอดก�ำลังพลครบตามอัตราเต็ม เพื่อ ให้หน่วยมีความพร้อมรบ) เมื่อมารายงานตัว หน่วยเรียกพลจะส่งมอบก�ำลังส�ำรองพร้อม รบให้กับหน่วยรับการบรรจุก�ำลังที่เป็นหน่วย พันเอก สันทัด เมืองคำ�
ต้นสังกัด น�ำไปบรรจุก�ำลังให้เต็มตามอัตรา เพื่อให้มีความพร้อมรบด้านก� ำลังพลภายใน ๗๒ ชั่วโมง ก�ำลังส�ำรองในบัญชี ตพ.๕ (บัญชี ๓) ที่ เป็นก�ำลังส�ำรองเตรียมพร้อม (บรรจุก�ำลังใน ต�ำแหน่งนั้นๆ เป็นปีที่ ๓ ซึ่งมีหน้าที่ทดแทน ก�ำลังส�ำรองพร้อมรบที่ต้องจ�ำหน่ายออกจาก บั ญ ชี ตพ.๕ เพื่ อ ให้ หน่วยนั้นๆ มีก�ำ ลังพล ครบตามอัตรา และเป็นก�ำลังส�ำรองที่ใช้ใน การทดแทนก�ำลังที่สูญเสีย) เมื่อมารายงาน ตั ว หน่ ว ยเรี ย กพลจะร่ ว มกั บ หน่ ว ยรั บ การ บรรจุก�ำลัง พิจารณาเป็นรายบุคคลเพื่อบรรจุ แทนก�ำลังส�ำรองพร้อมรบที่ต้องจ�ำหน่ายออก จากบัญชีด้วยสาเหตุต่าง ๆ เพื่อให้หน่วยนั้น ๆ มีความพร้อมรบด้านก�ำลังพลตามที่ก�ำหนด ภายใน ๗๒ ชั่วโมง ส่วนก�ำลังส�ำรองเตรียม พร้อมที่เหลือจะส่งมอบให้ ร้อย กทท. ของ หน่วยเหนือหน่วยรับการบรรจุกำ� ลังนั้น ๆ เพื่อ ใช้ในการทดแทนก�ำลังต่อไป ก�ำลังส�ำรองที่พ้นจากบัญชี ตพ.๕ และยังมี สภาพเป็นทหารกองหนุน และทหารกองหนุน ทหารกองเกิน ที่ไม่ได้ผ่านการบรรจุก�ำลังใน บัญชี ตพ.๕ หากมีการระดมพลด้วย ก็จะต้อง เดินทางมารายงานตัวที่ต้นสังกัด เพื่อส่งมอบ ให้กับศูนย์ฝึกก�ำลังทดแทนของเหล่าทัพต่าง ๆ (ศฝ.กทท.) น�ำไปใช้ทดแทนก�ำลังเป็นหน่วย และการจัดตั้งหน่วยใหม่ในยามสงคราม การใช้ทหารกองเกิน ในส่วนทหารกองเกิน ที่ ไ ด้ รั บ การจั ด แบ่ ง กลุ ่ ม ตามพื้ น ฐานความรู ้ ความสามารถไว้แล้ว จะมีหน้าที่เข้ารับการ ฝึกวิชาทหารเบื้องต้นเมื่อมีการเรียกพล ทั้งนี้ เพื่อให้มีฐานะเป็นทหารกองเกินที่ได้รับการ ฝึกวิชาทหารแล้ว โดยให้หน่วยฝึกนักศึกษา วิชาทหารของเหล่าทัพ เป็นหน่วยฝึกประจ�ำ พื้นที่ ทั้งนี้ เพื่อใช้เป็นก�ำลังส�ำรองส่วนหนึ่ง ตามความรู ้ ค วามสามารถทางด้ า นพลเรื อ น ของแต่ละบุคคล ทีไ่ ม่สามารถผลิตได้จากทหาร กองประจ�ำการ หรือ นศท. ตลอดจนใช้ในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยรูปแบบอื่นๆ การรับบุคคลเข้าท�ำหน้าที่ทหารเป็นการ ชัว่ คราว เมือ่ กองทัพมีความจ�ำเป็นต้องใช้กำ� ลัง พลในต�ำแหน่งที่งดบรรจุ ว่าง บรรจุก�ำลังจาก ก�ำลังส�ำรอง ให้รับสมัครจากทหารกองหนุนที่ ได้ผ่านการบรรจุก�ำลังในบัญชี ตพ.๕ มาแล้ว และทหารกองเกินที่ส�ำเร็จการฝึกวิชาทหาร ตามหลั ก สู ต รที่ ก�ำ หนด เข้ า ท�ำ หน้ า ที่ ท หาร เป็นการชั่วคราวได้
ด้านสิทธิประโยชน์ (แรงจูงใจ) ทหารกองประจ�ำการ ในขณะรับราชการ กองประจ� ำการ (อาสาสมัคร) ให้ได้รับเงิน รายได้ประจ�ำเดือนที่ไม่ต�่ำกว่าค่าแรงขั้นต�่ำคือ ๙,๐๐๐ บาท (เงินเดือน, เบี้ยเลี้ยงประจ�ำ และ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว) รวมทั้งให้ได้รับ เงินเพิ่ม (ค่าวิชาชีพ) ตามหลักสูตรวิชาทหารที่ ส�ำเร็จการฝึก และมีสทิ ธิสมัครเข้ารับการศึกษา นอกเวลาราชการเพื่อให้มีความรู้และวุฒิการ ศึกษาที่สูงขึ้น ทหารกองหนุน เมื่อทหารกองประจ�ำการ (อาสาสมัคร) และ นศท. ออกมาเป็นทหารกอง หนุน (รับราชการกองประจ�ำการครบ ๓ ปี หรือ ส�ำเร็จการฝึกศึกษาในชั้นปีที่ ๓ ขึ้นไป) และมี คุณสมบัติตามที่ก�ำหนด ให้ได้รับสิทธิดังนี้ - เมื่อสมัครเข้าเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ของ รัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ให้ได้รับสิทธิในการรับเข้า ท�ำงานก่อนบุคคลอื่น - มี สิ ท ธิ ส มั ค รและสอบคั ด เลื อ กเข้ า เป็ น ทหารประจ�ำการ - มี สิ ท ธิ ส มั ค รและสอบเข้ า เป็ น นั ก เรี ย น นายสิบต�ำรวจ (ตามจ�ำนวนที่ก�ำหนด) - ให้มีสิทธิสมัครและสอบเข้าเป็นนักเรียน ทหารระดับชั้นประทวนของเหล่าทัพ ก�ำลังส�ำรอง ทหารกองหนุนผู้ที่ได้รับการ บรรจุเป็นก�ำลังส�ำรองในบัญชี ตพ.๕ ให้ได้รับ สิทธิประโยชน์ ดังนี้ - เงินค่าตอบแทนรายเดือนที่เหมาะสม การ เลื่ อ นยศ/เลื่ อ นฐานะตามขี ด ความสามารถ จนถึ ง ระดั บ ชั้ น ยศไม่ เ กิ น ร.อ. และได้ รั บ สวัสดิการต่าง ๆ เช่น การรักษาพยาบาล การ โดยสารยานพาหนะของรัฐและรัฐวิสาหกิจ เงิน ทุนในการประกอบอาชีพ และการลดหย่อน ภาษีรายได้ประจ�ำปี เป็นต้น - เมื่อได้รับการเรียกพลหรือระดมพลให้ได้ รับสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม - เมื่อบรรจุอยู่ในบัญชี ตพ.๕ จนครบตาม ก�ำหนดเวลาแล้ว ให้มีสิทธิสมัครเข้าท�ำหน้าที่ ทหารเป็นการชั่วคราวตามที่ก�ำหนดได้ ทหารกองเกิน - ทหารกองเกินที่ได้รับการเรียกพลเพื่อฝึก วิชาทหารประจ�ำปี จะได้รับสิทธิในการแต่ง
เครื่ อ งแบบทหารตามแผนกและเหล่ า ที่ เ ข้ า รับการฝึก รวมทั้งสวัสดิการอื่น ๆ และหาก ส� ำ เร็ จ การฝึ ก วิ ช าทหารตามหลั ก สู ต รและมี คุณสมบัติตามที่ก�ำหนด จะได้รับการพิจารณา แต่งตั้งยศทหาร - เมื่อส�ำเร็จการฝึกวิชาทหารตามหลักสูตร และได้รับการแต่งตั้งยศทหารแล้ว ให้มีสิทธิ สมัครเข้าท�ำหน้าที่ทหารเป็นการชั่วคราวได้ ซึ่ ง จะเห็ น ได้ ว ่ า หากกระทรวงกลาโหม สามารถบริหารจัดการกับทหารกองเกิน ทหาร กองประจ� ำ การ ทหารกองหนุ น หรื อ ก� ำ ลั ง ส� ำ รองได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ก็ จ ะท� ำ ให้ กองทัพมีความพร้อมในการใช้ก� ำลังเพื่อการ รักษาความมั่นคงและการป้องกันประเทศได้ อย่างแท้จริง ดังนั้น“การพัฒนาการเตรียม ก� ำ ลั ง ของกระทรวงกลาโหมด้ า นทหารกอง เกิ น กองประจ� ำ การ ทหารกองหนุ น และ ก�ำลังส�ำรอง” จึงเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญที่ ต้องศึกษาอย่างจริงจังและพัฒนาอย่างเป็น ระบบ ทั้งนี้ เพื่อให้ ทหารกองเกิน ทหาร กอง ประจ�ำการ ทหารกองหนุน และก�ำลังส�ำรอง มี คุ ณ ภาพเพี ย งพอที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั บ ก�ำลังประจ�ำการได้ในทุกสถานการณ์อย่างมี ประสิทธิภาพ
29
ดุลยภาพทางทหารของประเทศอาเซียน
แนะน�ำปืนใหญ่สนามอัตตาจร ล้อยางแบบซีซาร์ ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
30
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทัพบกอินโดนีเซียจัดซื้อปืนใหญ่ สนามอั ต ตาจรชนิ ด ล้ อ ยางแบบ ซีซาร์ (Caesar) จ�ำนวน ๓๗ หน่วยยิง เป็นเงิน ๒๔๐ ล้านเหรียญสหรัฐ จากประเทศ ฝรัง่ เศส ได้รบั มอบปืนใหญ่สนามชุดแรกรวม ๒ หน่วยยิง เมื่อกลางเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ จะได้รับมอบปืนใหญ่สนามครบตามโครงการ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จึงเป็นการปรับปรุงปืนใหญ่ สนามขนาดกลางของกองทัพบกอินโดนีเซียให้ มีขีดความสามารถในการยิงให้สูงยิ่งขึ้น ปืนใหญ่สนามอัตตาจรแบบซีซาร์ (Caesar) ท� ำ การพั ฒ นาขึ้ น โดยประเทศฝรั่ ง เศสเมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ น�ำออกเผยแพร่ให้ทราบเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ข้อมูลที่ส�ำคัญคือกว้างปาก ล�ำกล้อง ๑๕๕/๕๒ มิลลิเมตร น�้ำหนัก ๑๗.๗ ตัน ขนาดยาว ๑๐.๐ เมตร กว้าง ๒.๕๕ เมตร สูง ๓.๗ เมตร อัตราการยิง ๖ นัดต่อนาที พล ประจ�ำปืน ๕ นาย (ยามฉุกเฉินใช้พลประจ�ำ ปืน ๓ นาย) ติดตั้งบนรถยนต์ชนิด ๖x๖ ล้อ (รถยนต์แบบ Unimog U2450L เครื่องยนต์ ดีเซล) ความเร็วบนถนน ๑๐๐ กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง ความเร็วในภูมิประเทศ ๕๐ กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติการไกล ๖๐๐ กิโลเมตร และลูกกระสุนมีระยะยิงไกลสุด ๔๒ กิโลเมตร (ใช้ ลู ก กระสุ น พิ เ ศษมี ร ะยะยิ ง ไกลสุ ด ๕๐ กิโลเมตร) เนื่องจากมีน�้ำหนักเบาเมื่อเปรียบ เทียบกับปืนใหญ่อัตตาจรประเภทสายพาน มีขนาดกว้างปากล� ำกล้องเท่ากัน จึงใช้การ เคลื่ อ นย้ า ยทางอากาศด้ ว ยเครื่ อ งบิ น ขนส่ ง ทางทหารแบบ ซี-๑๓๐ เฮอร์คิวลิส (C-130 Hercules) ท�ำการบินไปยังสนามบินทางทหาร ในเขตหน้าของพื้นที่การรบ และเคลื่อนที่สู่ พื้นที่ตั้งยิงอย่างรวดเร็ว ปัจจัยเวลาจะมีความ ส�ำคัญยิ่งต่อปฏิบัติการทางทหารในสงคราม สมัยใหม่ เครื่องบินขนส่งทางทหาร ซี-๑๓๐ (C-130 Hercules) ซึ่งประจ�ำการอย่างแพร่ หลายในกองทัพอากาศพันธมิตรนาโต้ กองทัพบกฝรั่งเศสน�ำเข้าประจ�ำการครั้ง แรก ๕ หน่วยยิง เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับมอบปืนใหญ่สนามแบบซีซาร์ (Caesar) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ต่อมากองทัพบก ฝรั่งเศสจัดซื้อเพิ่มเติมอีก ๗๒ หน่วยยิง เพื่อน�ำ เข้าประจ�ำการทดแทนปืนใหญ่สนามอัตตาจร ชนิดรถสายพานรุ่นเก่าแบบเอยูเอฟ-๑ (AUF1) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตรที่หมดอายุการใช้งาน ประจ�ำการที่หน่วย กรมปืนใหญ่นาวิกโยธิน ที่ ๑, กรมทหารปืนใหญ่ที่ ๖๘, กรมทหารปืน ใหญ่นาวิกโยธินที่ ๓, กรมทหารปืนใหญ่นาวิก โยธินที่ ๑๑, กรมทหารปืนใหญ่พลร่มที่ ๓๕ และกรมทหารปืนใหญ่ภูเขาที่ ๙๓ กองทัพบกฝรั่งเศสเข้าร่วมปฏิบัติการกับ กองก�ำลังรักษาความปลอดภัยนานาชาติใน อัฟกานิสถาน (ISAF) เมือ่ วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ทหารปืนใหญ่ฝรั่งเศสเตรียมการบรรจุลูกกระสุนปืนใหญ่อัตตาจรซีซาร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร พื้นที่ปฏิบัติการในประเทศอัฟกานิสถาน เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารจังหวัดกาปิชา (Kapisa) ทางด้ า นตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศ ก�ำลังทหาร ๔๕๕ คน (ต่อมาเพิ่มก�ำลังทหาร เป็น ๒,๔๕๓ คน) กองบัญชาการอยูท่ กี่ รุงคาบูล กองบั ญ ชาการภาคเมื อ งหลวงกองทั พ บก ฝรัง่ เศสน�ำปืนใหญ่อตั ตาจรแบบซีซาร์ (Caesar) ปฏิบัติการจ�ำนวน ๘ หน่วยยิง (กรมทหารปืน ใหญ่นาวิกโยธินที่ ๓) เป็นปฏิบัติการทางทหาร ขนาดใหญ่อีกครั้งหนึ่งของกองทัพฝรั่งเศส โดย มีก�ำลังทหารเข้าปฏิบัติการรวมทั้ง ๓ เหล่าทัพ พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารในอั ฟ กานิ ส ถานเป็ น ปฏิ บั ติ การทางทหารขนาดใหญ่ของก�ำลังนานาชาติ (ISAF) มี ก� ำ ลั ง ทหารประมาณ ๑๑๒,๕๗๙ คน (พ.ศ. ๒๕๕๕) สนามรบส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทะเลทรายที่แห้งแล้งร้อนระอุและมีฝุ่นทราย เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งเป็นอุปสรรคอย่างมากต่อ
ปฏิบัติภารกิจทั้งก�ำลังทหารและยุทโธปกรณ์ กองทั พ บกฝรั่ ง เศสเข้ า ร่ ว มปฏิ บั ติ ก าร สั น ติ ภ าพในประเทศเลบานอน (UNIFIL) ทางตอนใต้ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ร่วมกับกองก�ำลัง นานาชาติ มี ก� ำลั ง ประมาณ ๑๑,๐๐๐ คน กองทัพบกฝรั่งเศสส่งปืนใหญ่สนามอัตตาจร แบบซีซาร์ (Caesar) จากประเทศฝรั่งเศสมา ทางเรือสู่พื้นที่ปฏิบัติการประเทศเลบานอน จัดปืนใหญ่ระดับหน่วยขนาดหนึ่งกองร้อยปืน ใหญ่สนาม กองทั พ บกฝรั่ ง เศสเข้ า ร่ ว มปฏิ บั ติ ก าร สั น ติ ภ าพในประเทศมาลี ทวี ป แอฟริ ก า ปฏิบัติการสันติภาพกับก�ำลังนานาชาติ ๑๐ ประเทศ ส่ ว นใหญ่ จ ากกองก� ำ ลั ง นาโต้ ที่ มี ประเทศฝรั่ ง เศสเป็ น แกนน�ำ มี ก� ำ ลั ง ทหาร รวม ๑๒,๖๐๐ คน ตั้ ง กองบัญชาการอยู่ที่
ปืนใหญ่อัตตาจรชนิดล้อยางแบบซีซาร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร กองทัพบก ซาอุดิอาระเบีย (กองก�ำลังรักษาดินแดน รวม ๔ กองพันทหารปืนใหญ่) ใช้สีพลาง ทะเลทราย 31
ทหารฝรั่งเศสพร้อมด้วยปืนใหญ่อัตตาจรแบบซีซาร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ขณะท�ำการยิงบริเวณใกล้กับฐานทัพอากาศบากรัม (Bagram) ประเทศอัฟกานิสถาน เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ 32
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ปืนใหญ่สนามอัตตาจรชนิดล้อยางแบบซีซาร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร น้ำหนัก ๑๗.๗ ตัน ยาว ๑๐.๐ เมตร กว้าง ๒.๕๕ เมตร สูง ๓.๗ เมตร อัตราการยิง ๖ นัดต่อนาที พลประจ�ำปืน ๕ นาย ความเร็วบนถนน ๑๐๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความเร็วในภูมิประเทศ ๕๐ กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติการไกล ๖๐๐ กิโลเมตร และลูกกระสุนมีระยะยิงไกลสุด ๔๒ กิโลเมตร
ปืนใหญ่อัตตาจรชนิดล้อยางแบบซีซาร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ขณะท�ำการยิงที่ สมรภูมิอัฟกานิสถาน รอบที่ตั้งยิงของปืนใหญ่สนามได้รับการป้องกันจากการยิงเล็งตรงจาก ฝ่ายข้าศึก กรุงบามาโก (Bamako) ก�ำลังทหารบกจัดมา จากกองทัพบกฝรั่งเศสมีปืนใหญ่สนามแบบ ซีซาร์ (Caesar) หนึ่งกองร้อย (กรมทหารปืน ใหญ่ที่ ๖๘) เนื่องจากมาลีเคยเป็นเมืองขึ้น เก่าของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ ๑.๒๔ ล้าน ตารางกิโลเมตร ทางตอนเหนือเป็นทะเลทราย ซาฮาร่า มีประชากร ๑๔.๕ ล้านคน ประชาชน ส่วนใหญ่ของประเทศมีฐานะยากจนมีปัญหา ความขัดแย้งอย่างรุนแรงเกิดขึน้ ทางตอนเหนือ ของประเทศก�ำลังทหารที่เข้าร่วมปฏิบัติการ เป็นทหารราบยานยนต์ ฝ่ายต่อต้านรัฐบาลมี หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ก�ำลังกองโจรหรือฝ่ายต่อต้านรัฐบาลประมาณ ๑๑,๐๐๐ คน มีปฏิบัติการทางทหารที่ส�ำคัญ คือการรบที่กัว (Goa) ระหว่างวันที่ ๒๖ - ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ และมียุทธการเซอร์ วอล (Serval) เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ปืนใหญ่สนามอัตตาจรล้อยางแบบซีซาร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิ ล ลิ เ มตร น�ำ เข้ า ประจ�ำการ ๔ ประเทศ คือ ฝรั่งเศส (๗๗), ซาอุดอิ าระเบีย (กองก�ำลังรักษาดินแดน หน่วย ขนาดกองทั พ น้ อ ย ประจ� ำ การ ๔ กองพั น
ปืนใหญ่อัตตาจรชนิดล้อยางแบบซีซาร์ (Caesar) ขนาดกว้างปากล�ำกล้อง ๑๕๕ มิ ล ลิ เ มตร ของกองทั พ บกฝรั่ ง เศส ขณะ ปฏิ บั ติ ก ารสั น ติ ภ าพในประเทศเลบานอน (UNIFIL) ทางด้านตอนใต้ของประเทศในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ร่วมกับกองก�ำลังนานาชาติ ทหารปืนใหญ่รวม ๗๖ หน่วยยิง), อินโดนีเซีย (ประจ�ำการ ๒ กองพันทหารปืนใหญ่ รวม ๓๗ หน่วยยิง) และไทย (รวม ๖ หน่วยยิง) กองทัพบกไทยน�ำปืนใหญ่สนามอัตตาจร ล้ อ ยางแบบซี ซ าร์ (Caesar) ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ประจ�ำการทีก่ องพันทหารปืนใหญ่ที่ ๗๒๑ กองพลทหารปืนใหญ่ ค่ายพิบูลสงคราม จังหวัดลพบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ น�ำออกปฏิบัติ การทางทหารตามแนวชายแดนด้านตะวันออก เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔
33
แนวความคิดการป้องกัน และบรรเทาภัยพิบัติอย่างยั่งยืน ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม
จ
ากสภาวะสิ่งแวดล้อมโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงและผันผวนอย่างมาก จนส่ ง ผลกระทบต่ อ การเกิ ด ภั ย ธรรมชาติ ที่ มี ค วามถี่ เ พิ่ ม ขึ้ น และทวี ค วาม รุนแรงมากขึน้ ซึง่ เห็นได้จากมหาอุทกภัยทีเ่ กิด ขึ้นกับประเทศไทยปี พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ผ่านมา ซึ่ง สร้างความสูญเสียอย่างมากให้กบั ประเทศไทย ทั้งในภาคการเกษตร อุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสั ง คม โดยมี จั ง หวั ด ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ โดยตรงจ�ำนวน ๖๕ จังหวัด และประชาชน ประมาณ ๑๒ ล้ า นคน ซึ่ ง ธนาคารโลกได้ ประเมิ น ความเสี ย หายไว้ ป ระมาณ ๑.๔๔ ล้านล้านบาท และจัดให้เป็นภัยพิบัติที่สร้าง ความเสียหายมากที่สุดเป็นอันดับที่สี่ของโลก ส�ำหรับในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นี้ ประเทศไทย ประสบกับปัญหาอุทกภัยในวงกว้างอีกครั้ง ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากเกิ ด ผลตกหนั ก ตั้ ง แต่ ช ่ ว ง 34
ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม
กลางเดือนกันยายน จนท�ำให้เกิดน�้ำป่าไหล หลาก น�้ำล้นตลิ่ง และ น�้ำท่วมขัง ซึ่งส่งผลก ระทบต่อประชาชนในวงกว้างมากกว่า ๔๐ จังหวัดทั่วประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคตะวั น ออก รวมถึ ง ภาคกลางบางส่วน และมีสถานการณ์ต่อเนื่อง ยาวนานมากกว่า ๑ เดือน รวมทั้งในช่วงเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ในพื้นที่ภาคใต้ก็ได้ รับผลกระทบจากอุทกภัยซึ่งมีจังหวัดที่ได้รับ ผลกระทบประมาณ ๑๒ จังหวัด ดังนั้นจึง อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น ประเทศไทยประสบปัญหา ภยั พิบตั จิ ากอุทกภัย ในทุกภาคของประเทศ นอกจากนี้ จ ากรายงานทางวิ ช าการ ขององค์ ก ารระหว่ า งประเทศ อาทิ The United Nations Office for Disaster Risk Reduction (UNISDR) ระบุว่า ประเทศใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก มีความเสี่ยงสูงที่จะ ต้องเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้ง ขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น และที่ส�ำคัญมี โอกาสได้รับความสูญเสียจากภัยพิบัติสูงที่สุด เนื่องจากขาดกระบวนการบริหารจัดการภัย พิ บั ติ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า ว จึง ท�ำให้ประเทศไทยต้องประเมินความพร้อม และประสิทธิภาพในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยของ ทุกภาคส่วน โดยผู้แทนจาก หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน และภาคประชาชน ที่ ไ ด้ มี โ อกาส แลกเปลี่ยนประสบการณ์และองค์ความรู้ใน หลาย ๆ เวที เห็นพ้องกัน ว่า ส่วนราชการต่าง ๆ ยังขาด การท�ำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ ขาด เอกภาพในการบังคับบัญชา ขาดการประสาน งานที่มีประสิทธิภาพ มองข้ามประเด็นในเรื่อง การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ และยังไม่ได้ ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการ แก้ไขปัญหา ปั ญ หาภั ย พิ บั ติ ไ ม่ ใ ช่ ป ั ญ หาของชุ ม ชนใด ชุมชนหนึง่ หรือประเทศใดประเทศหนึง่ เท่านัน้ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
อีกต่อไป เนื่องจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ส่งผล กระทบในวงกว้างทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับ ประเทศ จนถึงระดับภูมิภาค ซึ่งประชาคมโลก ได้มองว่า ภัยพิบัติเป็นปัญหาของโลกที่ต้อง เผชิญมาอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่จะทวี ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเป็นผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ส�ำหรับประเทศในภูมิภาคเอเชียได้ มีการประชุมระดับรัฐมนตรีเอเชียว่าด้วยการ ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Asian Ministerial Conference on Disaster Risk Reduction: AMCDRR) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารือถึง ผลการด� ำ เนิ น งานภายใต้ ก รอบการด� ำ เนิ น งานเฮียวโกะ พ.ศ.๒๕๔๘ – ๒๕๕๘ (Hyogo Framework for Action 2005 - 2015: HFA) ซึ่งเป็นเสมือนพิมพ์เขียวของโลกในการ ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่มีเป้าหมายสูงสุด คือ “การลดความสูญเสียจากภัยพิบัติที่มีต่อ ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมของ ชุมชน และของประเทศ” ที่รัฐบาลของ ๑๖๘ ประเทศได้ตกลงรับรองแผนระยะเวลา ๑๐ ปี ฉบับนี้ ในการประชุมของโลกว่าด้วยการลดผล กระทบจากภัยพิบัติ (World Conference on Disaster Reduction) เมื่อมกราคม ๒๕๔๘ ณ เมืองโกเบ จ.เฮียวโกะ ประเทศญี่ปุ่น โดย มี แ นวทางการปฏิ บั ติ ที่ ส� ำ คั ญ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) การก�ำหนดให้การลด ภัยพิบัติมีความ ส�ำคัญในล�ำดับแรกของการบริหารจัดการของ ประเทศทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละท้ อ งถิ่ น ๒) การ ระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยง และ การพัฒนาการเตือนภัยล่วงหน้า ๓) การใช้ ความรู้ นวัตกรรม และการศึกษาในการสร้าง วัฒนธรรมความปลอดภัย และความเข้มแข็ง ให้กับสังคมทุกระดับ โดยเน้น การมีส่วนร่วม ๔) การลดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นที่ การวางแผนและการบังคับใช้กฎหมาย และ ๕ ) การเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ การ เตรียมความพร้อมรับมือเหตุภัยพิบัติทุกระดับ
ส�ำหรับประเทศไทยนั้น ได้รับประสบการณ์ และบทเรี ย นอย่ า งมากขณะเผชิ ญ กั บ มหา อุ ท กภั ย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยกระทรวง กลาโหมในฐานะหน่ ว ยงานสนั บ สนุ น หลั ก ในการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ของ ประเทศตามแผนการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ซึ่ง มีแผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม ๒๕๕๔ เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติ ได้ จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง บทเรียน การปฏิ บั ติ ก ารของทหารสนั บ สนุ น ศู น ย์ บรรเทาภัยพิบัติของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา อุทกภัย ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๐ – ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ เซอร์เจมส์ รีสอร์ท อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี นั้น โดยผลจากการสัม มนาฯ สรุปได้ว่า กระทรวงกลาโหมจ�ำเป็นต้อง ปรับปรุงแผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวง กลาโหม ๒๕๕๔ ให้เข้ากับสถานการณ์ภัย พิบัติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการแบ่งมอบพื้นที่ รับผิดชอบ และการประสานงานระหว่างส่วน ราชการต่างๆ ภาคเอกชน และองค์กรการกุศล ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย ในฐานะหน่วยงาน กลางด้าน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ของประเทศตามที่ก�ำหนดไว้ใน พ.ร.บ.ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ และ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ได้จัดการสัมมนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ วิ พ ากษ์ แ ผนการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติฉบับปัจจุบัน เพื่ อ เตรี ย มการจั ด ท� ำ แผนการป้ อ งกั น และ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติฉบับใหม่ ซึ่งผล จากการสัมมนาฯ ดังกล่าวท�ำให้ ทุกฝ่ายเห็น พ้องกันว่า ปัจจัยหลักที่ส�ำคัญในการบริหาร จัดการสาธารณภัย คือ ความมีประสิทธิภาพ ในการท�ำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ ความมี 35
เอกภาพในการบังคับบัญชา และการประสาน งานระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน รวมถึงภาค ประชาชน ซึ่งมีผลท�ำให้การจัดการภัยพิบัติ ขาดประสิทธิภาพ และการช่วยเหลือประชาชน ในพื้นที่ประสบภัยเป็นไปอย่างไม่ทั่วถึงและ เกิดความซ�้ำซ้อนกัน กระบวนการการบริ ห ารจั ด การภั ย พิ บั ติ ของประเทศไทย หรื อ วงจรการบริ ห าร จัดการภัยพิบัติ (Disaster Management Circle) ซึ่งประกอบด้วย ๑) การลดผลกระทบ (Mitigation) คื อ กิ จ กรรมที่ มุ ่ ง ในการลด ผลกระทบและความรุนแรงของภัยพิบัติที่ก่อ ให้เกิดอันตรายและความสูญเสียแก่ชุมชนและ ประเทศชาติ ซึง่ บางหน่วยงานใช้เป็นค�ำว่า การ ป้องกัน (Prevention) คือ การด�ำเนินการ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือขัดขวางมิให้ ภัยพิบัติและ ความสูญเสียเกิดขึ้น ๒) การเตรียมความพร้อม (Preparedness) คือ การเตรียมการล่วงหน้า เพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้กับรัฐบาล องค์กร ปฏิบัติ ชุมชน และบุคคล ในการเผชิญกับภาว การณ์ เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้น ๓) การตอบโต้ (Response) คือ การ ปฏิบตั อิ ย่างทันทีทนั ใดเมือ่ ภัยพิบตั เิ กิดขึน้ และ ๔) การฟื้นฟูบูรณะ (Recovery) คือ ขั้นตอน การด�ำเนินการเมื่อเหตุการณ์ภัยพิบัติผ่านพ้น ไปแล้ว เพื่อให้พื้นที่หรือชุมชนที่ได้รับภัยพิบัติ กลับคืนสู่สภาพที่ดีขึ้น เมื่อได้พิจารณาวงจรการบริหารจัดการภัย พิบัติ โดยน�ำภัยพิบตั ิ (Disaster) เป็นจุดเริ่มต้น ของปัญหา จะทราบว่า “ภัยพิบัติ” (Disaster) เป็นผลที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่าง ๆ รวมกัน อาทิ การขาดมาตรการรองรับ ที่มีประสิทธิภาพหรือ ไม่มีมาตรการรองรับเมื่อเกิดภัยพิบัติ ความ มีศักยภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการ บรรเทาหรือจัดการกับภัยพิบัติ ความเสี่ยงต่อ การเกิ ด ภั ย พิ บั ติ ข องสภาพภู มิ ป ระเทศหรื อ ทีต่ งั้ ของชุมชน การขาดความรูข้ องคนในชุมชน ที่เกี่ยวกับภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นกับชุมชนได้ และการมองข้ามประเด็นในการแก้ไขปัญหา ภัยพิบัติอย่างเป็นระบบ เป็นต้น จึงท�ำให้ผล กระทบจากภัยพิบัติมีความสูญเสียมากทั้งใน ระดับท้องถิ่นจนถึงระดับประเทศ หรือภูมิภาค อาทิ จ�ำนวนผู้เสียชีวิต จ�ำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บ จ�ำนวนผู้ไร้ที่อยู่อาศัย มูลค่าของทรัพย์สินทั้ง เป็นบุคคลและภาพรวมของประเทศ ความ สูญเสียต่อระบบโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ การเสื่อมสภาพของสิ่งแวดล้อม และ ความ เสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ง สามารถส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของภูมิภาค หรือของโลกได้ นายโคฟี อานัน อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวว่า “เราไม่อาจที่จะหยุดยั้งภัยธรรมชาติ ได้ แต่เราสามารถที่จะสร้างให้แต่ละคนและ 36
รูปที่ ๑ ภาพแสดงวงจรการบริหารจัดการภัยพิบัติ (Disaster Management Circle)
แต่ ล ะชุ ม ชนมี ค วามสามารถในการเตรี ย ม พร้อมที่จะเผชิญภัยธรรมชาติเหล่านี้ได้” และ จากสถานการณ์ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นทั่วโลกนั้น จะเห็นได้ว่า ภัยพิบัติเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก และไม่เลือกประเทศหรือภูมิภาคที่จะเกิด โดย เฉพาะภัย พิ บั ติ ที่ เ กิ ด จากภั ย ธรรมชาติ เช่ น แผ่นดินไหว สึนามิ พายุไต้ฝุ่น พายุเฮอริเคน พายุโซนร้อน อุทกภัย และดินถล่ม เป็นต้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าเราไม่สามารถห้ามไม่ให้ ภัยธรรมชาติเกิดขึ้นได้ แต่เราสามารถที่จะลด ขนาดและความรุนแรงของผลกระทบที่จะได้ รับจากภัยพิบตั เิ หล่านัน้ ได้ ซึง่ การประชุมทัง้ ใน เวทีระดับโลกและระดับภูมภิ าค ทีเ่ กีย่ วข้องกับ การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ได้มีการเสนอ
แนวความคิดต่าง ๆ ทีส่ �ำคัญ อาทิ การลดความ เสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction: DRR) การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Development: SD) และ การปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change Adaptation: CCA) เป็นต้น แนวความคิดการลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ิ (DRR) คื อ การลดปั จ จั ย ที่ จ ะท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ ผล กระทบจากสภาวะ ที่อาจประสบกับอันตราย (Harm) หรือการอยู่ในสภาวะที่เกี่ยวข้องกับ อันตรายจากภัยพิบัติ โดยระดับของ ความเสี่ยง (Degree of Risk) ขึ้นอยู่กับโอกาสหรือความถี่ ในการเกิ ด อั น ตรายและความรุ น แรงจาก อันตรายนั้น ๆ อาทิ การสร้างบ้านเรือนหรือ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม
ชุมชนให้มีมาตรฐานโครงสร้างที่แข็งแรงและ ตั้งอยู่นอกพื้นที่เสี่ยงภัย และการพัฒนาระบบ การแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าให้มีประสิทธิภาพ เป็ น ต้ น ในขณะที่ แ นวความคิ ด การพั ฒ นา ที่ ยั่ ง ยื น (SD) หมายถึ ง การพั ฒ นาที่ มี ก าร ค�ำนึงถึงความเสียหายของสิ่งแวดล้อม มีการ ป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม หรือ ถ้า จ�ำเป็นจะต้องเกิดความเสียหาย ก็จะต้องจ�ำกัด ขอบเขตความเสียหายให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด การ พัฒนาที่ยั่งยืนในมิติทางด้านทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมนี้ จึงเป็นรูปแบบการใช้ทรัพยากร ที่ มี ก ารบ� ำ รุ ง รั ก ษา และมี อั ต ราการใช้ ที่ อ ยู ่ ในขอบเขตการอ� ำ นวยให้ ห รื อ ศั ก ยภาพที่ ทรัพยากรนี้จะคืนสู่สภาพปกติได้ นอกจากนี้ แนวความคิดการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (CCA) ได้อ้างถึงการเข้าสู่ สังคมทีภ่ าวะคุกคามโดยเฉพาะภัยธรรมชาติใน อนาคตมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ จึงมีความ จ�ำเป็นที่ต้องมีการพัฒนาคนและระบบต่าง ๆ ให้สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ อาทิ ความสามารถในการเรียนรู้และการ สะสมความรู้และประสบการณ์ ความยืดหยุ่น ของกระบวนการตัดสินใจ การแก้ปัญหาและ โครงสร้างอ�ำนาจทีต่ อบสนองต่อความต้องการ ของกลุม่ คนทีม่ สี ว่ นได้สว่ นเสียในทุกระดับและ ทุกภาคส่วน ดั ง นั้ น เมื่ อ น� ำ แนวคิ ด การลดผลกระทบ จากภัยพิบัติ (DRR) แนวความคิดการพัฒนา ที่ ยั่ ง ยื น (SD) แนวความคิ ด การปรั บ ตั ว ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ (CCA) และบทเรี ย นของประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ จาก การเผชิ ญ ปั ญ หาอุ ท กภั ย มาเปรี ย บเที ย บ
กั บ ขั้ น ตอนหรื อ วงจรการบริ ห ารจั ด การภั ย พิบัติ (Disaster Management Circle) นั้น อาจกล่ า วได้ ว ่ า เนื่ อ งจากความจ�ำ กั ด ด้ า น งบประมาณ ดังนัน้ ในการวางแผนงานโครงการ เพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ ประเทศไทยนั้น จึงควรมุ่งไปที่ขั้นตอบการลด ผลกระทบ (Mitigation) ซึ่งรวมถึงการป้องกัน (Prevention) และอาจกล่าวได้ว่าขั้นตอน ดังกล่าวมีสำ� คัญมากในวงจรการบริหารจัดการ ภัยพิบัติ (Disaster Management Circle) โดยการจั ด การกั บ ความเสี่ ย งในการเกิ ด ภั ย พิบัติ (Disaster Risk Management) ด้วย การลดโอกาสที่ จ ะเกิ ด ความสู ญ เสี ย จากภั ย พิบัติ ทั้งต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน ความ เป็นอยู่ และภาคบริหารต่าง ๆ ในชุมชนใด ชุมชนหนึ่ง ณ ห้วงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต โดยการน�ำบทเรียนต่างที่ได้รับมาใช้ในการ ปรับปรุงขั้นตอน และวิธีการต่าง ๆ รวมถึงการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีความเสี่ยงต่อภัย พิบัติให้มีความคงทนแข็งแรงขึ้น หรือ ที่เรียก ว่า “Build-back-Better” อาทิ การขาดของ คอสะพาน เมื่อน�ำบทเรียนหรือประสบการณ์ ต่าง ๆ ที่ได้มีการศึกษาและวิเคราะห์อย่าง เป็ น ระบบ ก็ จ ะท� ำ ให้ เ ราทราบว่ า ปั ญ หาที่ คอสะพานขาดเกิ ด จากปั จ จั ย หรื อ ตั ว แปร
อะไร ซึ่งภาครัฐโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้อง ร่วมกับชุมชนเพื่อประเมินและวิเคราะห์ผล กระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชน แล้วปรับปรุงการ สร้างสะพานใหม่ทดแทนให้มีความคงทนต่อ ภาวะน�้ำหลากได้ ซึ่งรวมถึงการย้ายพื้นที่อยู่ อาศัยไปยังพื้นที่ที่มีความเสี่ยงน้อยกว่าหรือ ปลอดภัยมากกว่า พร้อมทั้งสร้างที่อยู่อาศัย โรงเรียน สถานีอนามัย และอื่น ๆ ของชุมชน ให้มีความคงทนต่อภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้น ในพื้นที่อย่างเหมาะสมต่อไป เป็นต้น โดยสรุ ป เพื่ อ ให้ ก ารป้ อ งกั น และบรรเทา ภั ย พิ บั ติ ข องประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง ยั่ ง ยื น และพร้ อ มรั บ กั บ สถานการณ์ ภั ย พิ บั ติ ที่มีความถี่สูงขึ้นและทวีความรุนแรงมากขึ้น ในอนาคต จึ ง จ�ำเป็ น ที่ ห น่ ว ยงานต่าง ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งในทุ ก ภาคส่ ว นจะต้ อ งร่ ว มมื อ กั น ศึกษาวิเคราะห์บทเรียนทีไ่ ด้รบั จากการบริหาร จัดการภัยพิบัติในแต่ละครั้ง เพื่อน�ำผลการ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบมาใช้ในการวางแผน และด�ำเนินการตั้งแต่การลดผลกระทบจาก ภัยพิบัติให้เป็นไปได้อย่างยั่งยืนก่อน ซึ่งน�ำ ไปสู่การป้องกันที่มีประสิทธิภาพอันจะน�ำมา ซึ่งการลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งกับ ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รวมทั้งระบบ เศรษฐกิจของประเทศได้ต่อไป เพราะเราไม่ สามารถห้ามการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติได้ แต่เราสามารถลดอันตรายและความสูญเสีย ที่อาจจะเกิดกับเราและชุมชนของเรา รวมถึง ประเทศของเราได้
รูปที่ ๒ กรอบแนวความคิดการรับมือและฟื้นกลับเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ (Resilience) หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
37
เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ ๑๗
จรวดน�ำวิถีต่อสู้รถถัง
วิ
วัฒนาการของรถถังและยานเกราะ เป็นไปอย่างรวดเร็ว และขอบเขตขีด ความสามารถได้ถูกพัฒนาให้หลาก หลายกว่ายุคแรกมาก จริงอยู่ที่ว่าระบบอาวุธ ที่สามารถท�ำลายรถถังได้ดีที่สุดคือ รถถังด้วย กันเอง แต่จากความหลากหลายของยานเกราะ ท�ำให้จรวดต่อสู้รถถังกลายเป็นระบบอาวุธ ที่ ก� ำ ลั ง ได้ รั บ การพั ฒ นา เพื่ อ ตามให้ ทั น กั บ พัฒนาการของรถถังและยานเกราะ ในปัจจุบนั สภาพแวดล้ อ มทางยุ ท ธศาสตร์ โ ลกมี แ นว โน้มการเกิดสงครามขนาดใหญ่น้อยลง กลับ กลายเป็นสงครามนอกแบบที่มีความเด่นชัด มากขึ้น โอกาสที่จะใช้จรวดต่อสู้รถถังจึงลด 38
น้อยลงไปด้วย ส่งผลให้แนวทางการพัฒนา จรวดต่อสู้รถถังจะไม่มุ่งเน้นที่การท�ำลายรถถัง หรื อ ยานเกราะเท่ า นั้ น แต่ จ ะขยายขอบเขต ให้ ส ามารถท� ำ ลายเป้ า หมายอื่ น อย่ า งเช่ น สิง่ ปลูกสร้าง หรือบังเกอร์ทมี่ นั่ เป็นต้น ส�ำหรับ ประเทศไทยคุณสมบัติของจรวดต่อสู้รถถังที่ ต้องการจะเป็นระบบอาวุธที่มีระยะยิงไม่ไกล (ไม่เกิน ๕ กิโลเมตร) มีน�้ำหนักเบา มีอำ� นาจการ ท�ำลายสูงกว่าอาวุธประจ�ำกาย และสามารถ ใช้ ส นั บ สนุ น การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องหน่ ว ย ทหารราบได้ พั ฒ นาการของจรวดน� ำ วิ ถี ต ่ อ สู ้ ร ถถั ง สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ยุค ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ยุ ค ที่ ๑ การน� ำ วิ ถี แ บบแนวสายตา บั ง คั บ เส้ น ลวดด้ ว ยมื อ Wired Manual Command to Line of Sight (MCLOS) ส�ำหรับจรวดแบบนี้จะพุ่งเข้าสู่เป้าหมายได้ โดยอาศัยการควบคุมบังคับทิศทางจากฐาน ยิง (Command and Launch Unit, CLU) เพือ่ ให้จรวดแม่นย�ำ ผูย้ งิ จะต้องมีความช�ำนาญ และต้องได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ยุคที่ ๒ การน�ำวิถีแบบกึ่งอัตโนมัติแบบ Wired หรือ Semi-Automatic Command Line of Sight (SACLOS) ผู้ยิงจะท�ำหน้าที่ชี้ เป้าหมายให้กับจรวด โดยข้อมูลของเป้าหมาย จะมี ก ารรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นตามสายทองแดง มายั ง ระบบบั ง คั บ ทิ ศ ทางของจรวด เพื่อให้ พุ่งเข้าสู่เป้าหมาย ตัวอย่างของจรวดแบบนี้ ได้แก่ BGM-71 TOW ของสหรัฐอเมริกา หรือ MILAN ของฝรั่งเศส ส�ำหรับในกองทัพไทยมี จรวดน�ำวิถีแบบ BGM-71 TOW ประจ�ำการ
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
ยุคที่ ๓ จรวดแบบ Anti-Tank Guided Missile (ATGM) ความสามารถที่โดดเด่น ของจรวดแบบนี้คือ “ความสามารถในการยิง แล้วลืม” (Fire-and-Forget) กล่าวคือ จรวด ระบบนี้นอกจากจะสามารถพุ่งเข้าสู่เป้าหมาย ได้ด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติแล้ว ผู้ยิงยังสามารถ เลือกต�ำแหน่งที่เป็นจุดอ่อนของเป้าหมายใน การเข้าโจมตีได้ดว้ ย เช่น การโจมตีดา้ นบนของ ตัวรถถัง (Fly over Shoot Down) ด้วยหัว รบแบบ Tandem เพื่อท�ำลายเกราะปฏิกิริยา (Explosive Reactive Armor, ERA) หรือ การโจมตีแบบที่สามารถเปลี่ยนเป้าหมายหลัง จากที่จรวดถูกยิงออกจากล�ำกล้องไปแล้ว โดย ในระบบนี้ จรวดจะมีระบบค้นหาเป้าหมาย (Seeker) ซึง่ จะเป็นเซ็นเซอร์รบั ภาพแบบ CCD (Charge Couple Device) ส�ำหรับปฏิบัติการ ในเวลากลางวันและเซ็นเซอร์รับภาพแบบ IIR (Imaging Infrared) ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งปฏิบัติ การในเวลากลางวันและกลางคืน จากสถานภาพของจรวดน�ำวิถีต่อสู้รถถัง ที่ประจ�ำการในกองทัพไทยก�ำลังใกล้จะหมด อายุ น�ำไปสู่การศึกษาความเป็นไปได้ของการ ด�ำเนินโครงการวิจัยพัฒนาจรวดน� ำวิถีต่อสู้ รถถัง โดยสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทป. ซึ่งหากพิจารณา ความเป็นไปได้ทางด้านเทคโนโลยีแล้ว เครือ่ งมือ และอุปกรณ์สำ� หรับการวิจยั และพัฒนามีความ พร้อม แต่ยังขาดองค์ความรู้ด้านระบบชนวน และระบบน�ำวิถี และ สทป. เชื่อมั่นว่าองค์ ความรู้ที่ได้จากการวิจัยพัฒนาโครงการ DTI1G (จรวดหลายล�ำกล้องน�ำวิถี) จะสามารถน�ำ มาประยุกต์ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ดังนั้น แนวทาง
ในการด�ำเนินงานในขั้นต้นจึงควรเริ่มต้นจาก ง่ายไปหายาก กล่าวคือ เริ่มต้นจากจรวดไม่ น�ำวิถี ก่อนก้าวไปสู่ระบบน�ำวิถี และพัฒนา จรวดพิ สั ย ใกล้ ก ่ อ น แล้ ว จึ ง ขยายระยะยิ ง และติดตั้งระบบน�ำวิถีต่อไป ส�ำหรับตัวจรวด สทป. มีขีดความสามารถวิจัยพัฒนาขึ้นได้เอง แล้ว ส่วนหัวรบนั้น สามารถใช้ทรัพยากรที่ กระทรวงกลาโหมมีอยู่แล้วในการด�ำเนินการ จะเห็นได้ว่าการวิจัยพัฒนาระบบจรวดน�ำวิถี นั้นเป็นงานที่ท้าทาย ซึ่งจะส�ำเร็จได้ด้วยการ ร่วมมือร่วมใจกันของหน่วยงานต่าง ๆ ตั้งแต่ หน่วยผู้ใช้ หน่วยวิจัยพัฒนา และผู้ผลิต แต่ นับว่าคุ้มค่าต่อการลงทุน เนื่องจากสิ่งนี้จะ น� ำ ไปสู ่ ค วามสามารถในการพึ่ ง พาตนเอง ในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศอย่างยั่งยืน ต่อไป 39
หลั ก การของนายพลแพตตั น (ตอนที่ ๒๐) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
40
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
หลักการแห่งความส�ำเร็จหนทางสูช่ ยั ชนะ คือ อย่าแพ้ “เราจะชนะ เพราะว่า เราจะไม่แพ้” นายพลแพตตัน จะอธิบายต่อก�ำลังพลว่า “สงครามเป็นเกมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งชีวิต! เกมส่วนมากจะเล่นในเวลาที่ก�ำหนดแน่นอน เช่น อเมริกันฟุตบอลก็เล่นกันสี่ควอเตอร์ หรือ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
เบสบอลก็เล่นกันเก้าเกม ไม่เหมือนกับสงคราม เราจะต้องต่อสู้จนกว่าเราจะชนะ เราจะไม่ ยอมแพ้” ตรรกวิทยาของนายพลแพตตัน เป็นเรื่อง ง่าย ๆ ที่ทุกคนสามารถท�ำความเข้าใจได้ เป็น เรื่องที่ชัดเจนว่านายพลแพตตัน จะไม่แพ้ นายพลแพตตั น ให้ ค� ำ อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ใน
ปรัชญาของท่านที่เต็นท์ของท่านเอง “ไม่มีการแพ้ถ้ามนุษย์ปฏิเสธที่จะยอมรับ ความพ่ายแพ้ สงครามจะแพ้ในจิตใจก่อน ต่อ มาจึงแพ้ในสนามรบ ไม่มชี าติใดพ่ายแพ้จนกว่า พลเมืองของชาตินั้นตั้งใจที่จะยอมรับความ พ่ายแพ้ อังกฤษได้พ่ายแพ้ ความหวังสิ่งเดียว คือ เชอร์ชิลล์ปฏิเสธการยอมรับความพ่ายแพ้ 41
ถ้ า พลเมื อ งตั้ ง ใจที่ จ ะสละชี วิ ต เพื่ อ ประเทศ ชาติของเขาแล้ว ก็มีหนทางเดียวที่ชาตินั้นจะ พ่ายแพ้ได้ คือ ทุกคนต้องถูกฆ่าตายหมด ไม่ ว่าผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก ๆ ในประวัติศาสตร์ ของโลกไม่ เ คยมี เ หตุ ก ารณ์ เ ช่ น ว่ า นี้ เ กิ ด ขึ้ น สงครามพ่ายแพ้กันที่จิตใจ เราจะไม่สารภาพ ต่อก�ำลังพลหรือต่อข้าศึกว่า เราจะยอมรับ ความพ่ายแพ้” ความคิดในเรื่องนี้สัมพันธ์กับความคิดของ นายพลแพตตั น ในเรื่ อ งที่ ว ่ า ร่ า งกายมนุ ษ ย์ ไม่มีการเหนื่อย จิตใจนั่นแหละที่คิดถึงความ เหนื่อย จิตใจสามารถขจัดความเหนื่อยออก ไปจากร่างกายได้ หลั ก การนี้ ดู เ หมื อ นว่ า เป็ น หลั ก การใหม่ แต่มันมีอยู่ในคัมภีร์ไบเบิ้ล นายพลแพตตัน จะอธิ บ ายว่ า “มี ค� ำ จ� ำ กั ด ความของค� ำ ว่ า ความตายอยู่หลายความหมายในคัมภีร์ไบเบิ้ล เช่น “เขายอมแพ้ยมทูต” คนป่วยหลายคนใน โรงพยาบาลตายไปเพราะพวกเขายอมจ�ำนน และยอมรับความพ่ายแพ้นั้น ๆ ผมนึกถึงชาย คนหนึ่งซึ่งสร้างโลงศพของตัวเอง พอท�ำโลง ศพเสร็จชายคนนี้ก็ตาย ผมรู้จักคนหลายคนที่ ปลดประจ�ำการไปเพือ่ สร้างบ้านในฝันของพวก เขา พอบ้านสร้างเสร็จพวกนี้ก็ตาย มนุษย์ต้อง ท�ำสงครามกับชีวิต ถ้าเขาต้องการที่จะอยู่ต่อ
42
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
เขาจะไม่พ่ายแพ้ ถ้าเขาไม่ยอมจ�ำนนต่อความ พ่ายแพ้นั้น” หลายปีตอ่ มา เมือ่ ผมได้ยนิ วาทะทีม่ ชี อื่ เสียง ของเชอร์ชลิ ล์ ผมก็สงสัยขึน้ มาว่า ใครมีความคิด นี้ ก ่ อ นกั น นายพลแพตตั น หรื อ นายกฯ เชอร์ชิลล์ วาทะของเชอร์ชิลล์ มีอยู่เก้าค�ำคือ “อย่ายอมแพ้! อย่ายอมแพ้! อย่ายอมแพ้!” นายพลแพตตัน และเชอร์ชิลล์ เคยไปมา หาสู่กันหลายครั้งในช่วงแรกของสงคราม มัน ไม่ส�ำคัญหรอกที่ใครจะพูดเป็นคนแรก ความ คิดเบื้องหลังค�ำพูดดังกล่าวมีส่วนช่วยประเทศ อังกฤษ และได้ชว่ ยนายพลแพตตันให้มชี ยั ชนะ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
หลายครั้งในสงครามโลกครั้งที่สอง มี ห ลายตั ว อย่ า งในเรื่ อ งความคิ ด ง่ า ย ๆ แบบนี้ในศูนย์การแพทย์ โรงพยาบาลผ่าตัด ของทหารมักจะเล่าเรื่องซ�้ำ ๆ เสมอที่ว่า นัก กระโดดสูงคนหนึ่งเสียขาไปหนึ่งข้างแต่เขาได้ ปฏิเสธที่จะหยุดการกระโดดสูง จิตใจควบคุม ร่างกาย! ด้วยขาข้างเดียว เขาสามารถกระโดด ได้สูงกว่าที่เขาเคยกระโดดได้ด้วยขาสองข้าง เขาสามารถกระโดดข้ามคานด้วยขาข้างเดียว ก็ตอนที่เขามีสองขาน่ะ เจ้าขาข้างที่ถูกตัดไป มักจะเกี่ยวคานอยู่เสมอ แพทริค เฮนรี่ (Patrick Henry) ได้ให้
ปรัชญานี้ในปี พ.ศ. ๒๓๑๙ (ค.ศ. ๑๗๗๖) เมื่อเขาได้กล่าวว่า “จงมอบเสรีภาพให้ข้าพเจ้า หรือไม่ก็มอบ ความตายมาเถอะ”
43
หลักการแห่งอหิงสา ของมหาตมะ คานธี จุฬาพิช มณีวงศ์
44
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ค
งปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในระยะหลัง ประเทศไทยได้ ส ร้ า งทฤษฎี ก าร ปิดล้อมด้วยมวลชนเพื่อล้มรัฐบาล อย่างมีรูปแบบ จนก� ำลังเป็นโมเดลที่หลาย ประเทศต้องน�ำไปศึกษา ข้ออ้างประการหนึ่ง ที่ มั ก ถู ก หยิ บ ยกเพื่ อ สร้ า งความชอบธรรม ให้กับผู้ชุมนุมก็คือ การชุมนุมด้วยความสงบ ปราศจากอาวุธ และอหิงสา ซึ่งแท้ที่จริงหาก ไม่มกี ารศึกษารากเหง้าของอหิงสาอย่างแท้จริง ก็อาจจะเห็นดีเห็นงาม และพลอยเกิดความ นิยมชมชอบไปด้วย ต้นต�ำรับของอหิงสาเป็นที่ทราบกันดีว่า มา จากนักปรัชญาฮินดูที่ชื่อคานธี ซึ่งตลอดชีวิต ของบุรุษผู้สร้างต�ำนานผู้นี้เป็นตัวอย่างแสดง ให้เห็นว่า หากมีความเชื่อมั่นในศาสนาแล้ว จะท�ำให้คนเรารู้จักควบคุมตัวเอง รักผู้อื่น และ ท�ำตนเป็นประโยชน์แก่สังคมและมนุษยชาติ อย่างบริสุทธิ์ ความคิ ด พื้ น ฐานที่ นั บ ว่ า ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของ คานธี ก็ คื อ ความเชื่ อ ว่ า โลกสถิ ต อยู ่ ไ ด้ ด ้ ว ย หลักธรรม คือ สัจจะ สัจจะ หมายถึงความจริง อะไรที่ เ ป็ น ความดี ค วามถู ก ต้ อ งเป็ น สั จ จะ ทั้งสิ้น สัจธรรมเป็นพระเจ้าสูงสุด การบรรลุ
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
สัจธรรมอย่างสมบูรณ์หรือการเป็นคนดีในทุก ด้านนั้น คานธีเห็นว่าต้องเข้าถึงหลักอหิงสา อย่างแท้จริงก่อน หากไม่มีอหิงสาก็ปฏิบัติตาม ให้สมบูรณ์ไม่ได้ อหิงสา ความหมายโดยพยัญชนะ คือ ความ ไม่เบียดเบียน ไม่ท�ำร้ายผู้อื่น ไม่ปฏิบัติผิดต่อ ผู้อื่น ไม่ว่าด้วยกาย วาจา หรือใจ ก็ตาม การ ไม่เบียดเบียน ไม่ท�ำร้ายผู้อื่นนี้เป็นเพียงแง่ลบ คานธีเห็นว่าการมีอหิงสธรรมไม่จ�ำเป็นต้องไป อยู่ป่า ถ้าคนมีอหิงสาอย่างแท้จริง อยู่ที่ไหน ก็ประพฤติอหิงสาได้ การที่คนอยู่ในสังคมยัง ท�ำให้ประพฤติอหิงสาในแง่บวกได้ด้วย กล่าว คือ การมีความรักผู้อื่น รักมนุษยชาติ และ สัตว์ทั้งหลาย เป็นความรักอันบริสุทธิ์ไม่หวัง ผลตอบแทนใด ๆ เมื่ออหิงสามีหลักการต้องปฏิบัติด้วยกาย วาจา และใจในการประพฤติ มนุษย์จึงต้อง ฝึ ก หั ด ควบคุ ม ตนเองโดยการตั้ ง ปณิ ธ านที่ ดี แล้ ว คิ ด พู ด และปฏิ บั ติ ต ามปณิ ธ านนั้ น อย่างแน่วแน่ การปฏิบัติตนตามนัยนี้ เรียกว่า การถือความสัตย์ หรือคานธีเรียกว่า สัตยา เคราะห์ โดยคานธีน�ำไปใช้ในการต่อต้านความ อยุติธรรมต่าง ๆ ทางสังคมและการเมืองด้วย
คานธีแยกชีวิตมนุษย์ออกเป็น ๒ แบบคือ ชีวิตของพรหมจารี คือผู้ประพฤติพรหมจรรย์ และชีวติ ของโภคี คือผูท้ ยี่ งั บริโภคความสุขทาง โลกอยู่ เขาเห็นว่าทั้งพรหมจารี และโภคีต่างก็ มีนัยน์ตาส�ำหรับดู โดยพรหมจารีนั้นดูพระเจ้า ส่วนโภคีดแู ต่หนังและละคร ทัง้ พรหมจารี และ โภคีตา่ งก็มหี สู ำ� หรับฟัง พรหมจารีฟงั เพลงสวด ถวายพระเจ้า โภคีนั้นฟังแต่เพลงโลกีย์ ทั้ง พรหมจารีและโภคีต่างก็มีการตื่น พรหมจารี
45
ตื่นด้วยการระลึกถึงพระเจ้า ส่วนโภคีตื่นด้วย การร้องร�ำท�ำเพลง ทัง้ พรหมจารีและโภคีตา่ งก็ รับประทานอาหาร พรหมจารีรบั ประทานเพียง เพื่อยังชีพ ด้วยคิดว่าร่างกายเป็น นิวาสถาน ของพระเจ้า ส่วนโภคีหาอะไรต่อมิอะไรยัด เข้าไปในท้อง เพื่อความเอร็ดอร่อยแล้วก็ทำ� ให้ ท้องส่งกลิ่นบูดเน่า คานธีเห็นว่า การด�ำเนินชีวิตของคนทั่วไป และชีวติ ทีเ่ รียกว่าความเจริญแบบชาวตะวันตก นั้นเป็นชีวิตอย่างโภคี เป็นชีวิตที่ไม่ประหยัด ไม่ท�ำให้อารมณ์สงบและบริสุทธิ์ แต่กลับท�ำให้ ฟุ้งซ่านไปด้วยความโลภ ความโกรธ ความ หลง ชีวิตที่ดีไม่ใช่ชีวิตที่สนองอารมณ์ แต่เป็น ชีวิตที่อดกลั้นและควบคุมอารมณ์ การควบคุม อารมณ์ได้แก่การประพฤติพรหมจรรย์ คานธียกย่องคนทุกคนเสมอกัน พราหมณ์ หรือศูทร ชายหรือหญิงชาวต่างชาติหรือชาว อินเดีย ล้วนเป็นญาติมิตรกัน จึงไม่มีคนแปลก หน้าส�ำหรับคานธี ทุกคนได้รับความรักจาก เขาเสมอกัน เขาเห็นว่ามนุษย์ควรรักกัน และ ช่วยเหลือกันตามหลักสัจธรรม คนเราควรรับ ใช้ผู้อื่นอย่างเต็มที่ ถ้าไม่มีทรัพย์สินอะไร ก็ใช้ ก�ำลังกายเข้ารับใช้ และในการรับใช้นั้น ต้อง ไม่ยอมรับสิ่งตอบแทนใด ๆ การยอมรับสิ่ง ตอบแทนจะท�ำให้ตกเป็นเหยื่อของความโลภ ในที่สุด
46
การถือความสัตย์ หรือสัตยาเคราะห์ของ คานธี อยู่บนพื้นฐานจะต้องมีความอดกลั้น ควบคุมตนเองได้ แน่วแน่กล้าหาญ โดยการ ที่จะมีลักษณะดังกล่าวได้ก็ด้วยการประพฤติ พรหมจรรย์ คือเป็นผูบ้ ริสทุ ธิ์ เพราะหากไม่เป็น ผู้บริสุทธิ์ก็จะท�ำให้จิตใจโอนเอียงไปตามกิเลส ตัณหา หรือใช้วิธีรุนแรงต่าง ๆ อันเป็นการขัด หลักอหิงสาได้ ผู้ปฏิบัติสัตยาเคราะห์จะต้อง เชื่อมั่นในหลักการที่ว่า ที่ใดมีความสัตย์ที่นั่น ย่อมสงบ ทีใ่ ดขาดความสัตย์ทนี่ นั่ วุน่ วาย ความ สัตย์เป็นสิ่งค�้ำจุนโลก ไม่มีใครท�ำลายความ
ด้วยความรัก ความเห็นใจ ขณะเดียวกันจะ ต่อสู้กับศัตรูภายใน ได้แก่ ความอยาก ความ เกลียด อย่างกล้าหาญ เมื่อคนเราพยายามเป็น นายศัตรูภายใน จะได้พบความจริงว่า การจะ เปลี่ยนผู้อื่นนั้นต้องไม่ใช้ความรุนแรง หรือ ท�ำให้เจ็บปวด แต่ต้องอาศัยความสุภาพ การ ชักจูง ทนรับความเจ็บปวดอย่างร่าเริง และ เทิ ด ทู น มติ อ� ำ นาจที่ ไ ด้ จ ากความประพฤติ เช่นนี้ไม่เพียงเปลี่ยนคนแต่ละคนได้เท่านั้น ยังเปลี่ยนอ�ำนาจที่มีการจัดตั้งอย่างมีระเบียบ เช่นรัฐได้ด้วย
สัตย์ได้ ในการยึดมั่น แสวงหา หรือเรียกร้อง ความสัตย์ ต้องกระท�ำด้วยความอ่อนน้อมถ่อม ตน ไม่ใช้วิธีบังคับหรือความรุนแรง มีความรัก ไมตรีจิตและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น คานธีให้ความส�ำคัญกับศาสนามากทีส่ ดุ ถึง กับกล่าวว่า เขาอยู่โดยไม่มีศาสนาไม่ได้แม้แต่ วินาทีเดียว แม้แต่การเมืองของคานธีก็เกิด จากศาสนา ตามทัศนะของเขา ศาสนาเป็นการ ค้นหาความจริงอย่างไม่มที สี่ นิ้ สุด เป็นพลังรวม คนเข้าด้วยกัน ส่งเสริมความร่วมใจและขจัด ความแตกแยก คานธียงั เห็นว่าการท�ำให้มนุษย์ หลุดพ้น ต้องเปลี่ยนธรรมชาติของมนุษย์ และ ปลุกตัวตนส่วนที่ดีของมนุษย์ให้ตื่นขึ้น ซึ่งการ ปฏิบัติดังกล่าวจะส� ำเร็จได้ด้วยความอดทน ขยัน มานะ พยายาม ส�ำหรับการต่อสู้บนหลักอหิงสาในทัศนะ ของคานธี มีสองนัยคือ นัยลบ ได้แก่ความไม่ เบียดเบียน ไม่มุ่งร้ายต่อผู้อื่น นัยบวกได้แก่ ความรัก ความเมตตา และการให้อภัย ด้วย ความเชื่อว่า ศัตรูที่แท้จริงมิใช่ผู้ท�ำผิด ความ ชั่วซึ่งอยู่ในตัวเราทุกคนมากบ้างน้อยบ้าง ศัตรู ภายนอกนั้นฆ่าได้ง่าย แต่ศัตรูภายในเป็นศัตรู ที่ร้ายยิ่งกว่า เมื่อคนเราเห็นศัตรูว่าเป็นเหยื่อ แห่งอ�ำนาจของความชั่ว และปฏิบัติต่อศัตรู
แม้คานธีจะไม่เห็นด้วยกับการด�ำเนินชีวิต อย่างฟุม่ เฟือย แต่เสนอให้ทกุ คนอยูง่ า่ ยกินง่าย เขาไม่ได้ปฏิเสธวัฒนธรรมตะวันตก แต่ให้รับ อย่างเลือกสรรอย่างดีแล้วเท่านั้น คานธีให้ ทัศนะว่า การหาประโยชน์จากแสงสว่างของ ชาวตะวันตกเป็นสิ่งที่ดี แต่ต้องระวังตนไม่ให้ ถูกครอบง�ำด้วยแสงสีของตะวันตก ในการแลก เปลี่ยนทางวัฒนธรรมต้องไม่รับข้างเดียว แต่ ต้องเป็นฝ่ายให้ด้วย ต้องไม่เห็นวัฒนธรรมของ ตนเองเป็นสิ่งไร้ค่า แต่ต้องท�ำให้วัฒนธรรมที่ เป็นประโยชน์ของชาติอื่นกลมกลืนกับค่าและ คตินยิ มทีเ่ ป็นหลักของตน เขาเชือ่ ว่านีค่ อื ความ เติบโตของวัฒนธรรม หลักคิดของคานธีนั้นน่า สนใจมาก เขาคิดว่า คนเราไม่ควรถือว่าทุกสิ่ง ที่เก่าเป็นสิ่งที่ดี ทุกสิ่งที่เป็นของชาติตนต้อง เป็นสิ่งที่ดี และควรจะทิ้งสิ่งที่เก่าหรือเป็นของ ชาติตนโดยทันทีถ้าเป็นสิ่งที่ผิด แต่การที่คน เราพากันวิ่งไปหาของใหม่ ดูหมิ่นของเก่าโดย สิ้นเชิงก็เป็นสิ่งที่น่าเสียใจเป็นอย่างยิ่ง คานธี เชื่อว่าความสามารถในการสร้างเอกภาพใน ความแตกต่างขึ้น กล่าวคือ คนที่มีวัฒนธรรม ไม่ควรวิวาทกัน เพระความคิดที่ต่างกัน แต่ ควรหาความเหมือนกัน ในความแตกต่างนั้น คนเราควรสร้างเสรีภาพในตนขึ้นเสียก่อน ถ้า จุฬาพิช มณีวงศ์
คนมีจิตใจเสรียอมรับความคิดของผู้อื่น เขาก็ จะเป็นผู้รักเสรีภาพในทางการเมือง แต่ถ้าคน มีจิตใจเป็นเผด็จการ การเมืองก็จะเต็มไปด้วย การใช้อ�ำนาจ สิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้ความแตกต่างทางความ คิดของคนเราลดลง คานธีมองว่า คือการศึกษา เขาได้ตั้งหลักการ เรียกว่า สรรโวทัย ขึ้นมา มี กรอบ ๓ ประการคือ ๑. จงท�ำความดีแก่คนทั้งปวง ๒. งานของช่างตัดผมและของทนายความ นั้นควรจะมีค่าเท่ากัน เพราะต่างก็มีสิทธิใน การประกอบอาชีพของตนเท่ากัน ๓. ชีวิตของกรรมกรและชาวนา หรือชีวิต ของผู้ที่ใช้แรงงานนั้นเองเป็นชีวิตที่แท้จริง จะว่าไปแล้ว หากวิเคราะห์หลักการอหิงสา ของคานธี จะมีรากฐานคล้ายคลึงกับปรัชญา
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
เศรษฐกิจพอเพียงอย่างมาก คานธีมีหลักคิด ทางเศรษฐกิจแบบอยู่ง่ายกินง่าย ใช้ปัญญา ให้มาก เขาไม่ต้องการให้คนแสวงหาวัตถุเกิน กว่าความจ�ำเป็น อะไรที่ตัดได้ก็ควรตัด แม้เขา จะเห็นด้วยกับการยกระดับการครองชีพของ คนในประเทศด้อยพัฒนา แต่ถ้าการยกระดับ เช่นนั้นท�ำให้บางคนมีมาตรฐานการครองชีพ สูง ส่วนบางคนอดอยาก เขาเห็นว่าควรให้ทกุ คน อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน และอดอยากด้วยกัน ดีกว่า การให้คนทุกคนได้กินขนมปังคนละครึ่ง ก้อน ยังดีกว่าการที่บางคนได้กินทั้งก้อน และ บางคนไม่ได้กนิ อะไรเลย ดังนัน้ การจะให้ทกุ คน มีความเป็นอยู่ที่ดีจึงต้องไม่ถือมาตรฐานของ ประเทศที่ร�่ำรวย หรือพัฒนาแล้วเป็นเกณฑ์ แต่ต้องถือนโยบายอยู่ง่ายกินง่ายเหมือนกัน หมด ซึ่งชีวิตของคานธีเป็นตัวอย่างได้อย่างดี
ในการเน้นเรื่องการด�ำเนินชีวิตแบบง่าย ๆ นี้ คานธีถือว่า ทุกคนมีความสามารถในการ ท� ำ งาน ควรมี สิ ท ธิ ใ นการท� ำ งานเพื่ อ ยั ง ชี พ ประเทศด้ อ ยพั ฒ นาซึ่ ง มี แ รงงานมากและมี ทุนน้อยควรจะใช้แรงงานคนให้มาก การใช้ เครื่ อ งจั ก รเป็ น สิ่ ง ที่ ดี แต่ ต ้ อ งไม่ ใ ช้ ม ากจน กระทั่ ง แย่ ง งานคนท� ำ เสี ย หมด เขาเห็ น ว่ า เครื่องจักรต้องช่วยคนท�ำงานไม่ใช่แย่งงาน ยิ่งรัฐส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มากขึ้น เพียงใด ก็ยิ่งเป็นการท�ำลายงานของประชาชน มากขึ้ น เพี ย งนั้ น รั ฐ บาลที่ ดี จ ะต้ อ งมี ห น้ า ที่ สงเคราะห์ การสงเคราะห์ท�ำได้สองวิธีคือ หา งานให้ท�ำ หรือสร้างระบบประกันสังคม ขณะ เดียวกันรัฐจะต้องเข้าควบคุมไม่ให้นายทุนใช้ ความร�่ำรวยเพื่อประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว โดยไม่ค�ำนึงถึงประโยชน์ของสังคมส่วนรวม แต่ในทางตรงข้าม ผู้ใช้แรงงานก็ต้องค�ำนึงถึง สิทธิ และหน้าที่ของตน กล่าวคือ ต้องถือว่า ค่าจ้างจะเพิ่มขึ้นก็เมื่อผลผลิตเพิ่มขึ้น คนทุก คนควรถือว่าเมื่อไม่ท�ำงานก็ไม่สมควรรับค่า ตอบแทน คานธีเห็นว่าการเพิ่มค่าแรงโดยไม่ เพิ่มผลผลิตยังท�ำให้เกิดปัญหาแก่สังคม ท�ำให้ สินค้าราคาแพงขึ้น เห็นได้ว่า การน�ำคตินิยมแบบคานธีมาใช้ ล้วนเป็นการด�ำเนินชีวิตตามแนวคิดที่พยายาม สร้างความสมดุลอย่างกลมกลืน บนพื้นฐาน ของการเป็นมนุษย์ที่มีคุณธรรม ไม่เบียดเบียน ทั้งตนเอง เบียดเบียนเพื่อนมนุษย์ เบียดเบียน สังคม อันจะท�ำให้คนทุกคนอยู่ร่วมกันอย่าง สันติ เป็นอหิงสาที่ยากจะหาได้ในปฏิบัติการ ชุมนุมของเมืองไทย
47
สงคราม พม่า-อังกฤษ ครั้งที่ ๓ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
48
พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
พระเจ้ามินดง (Mindon Min) ทรงพยายามด�ำเนินนโยบายด้านต่างประเทศแบบ ประนีประนอม แต่จากการสูญเสียพม่าตอนล่างก่อนที่พระองค์จะขึ้นครองราชย์ อาณาจักรพม่าก็มขี นาดเล็กลงต้องสูญเสียรายได้จากการเก็บภาษีทเี่ มืองท่าทาง ตอนใต้ของอาณาจักร พระองค์อยูใ่ นราชสมบัตนิ าน ๒๕ ปี ด�ำเนินนโยบายในการ ปกครองอาณาจักรได้เป็นอย่างดี แต่ความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรมและ การขยายตัวทางด้านการค้าระหว่างประเทศท�ำให้อังกฤษมีอ�ำนาจทางทหารมาก เมื่อพระองค์สวรรคตลงภาระทั้งหมดก็ตกเป็นของทายาทของพระองค์ ที่ขณะนั้น ยังทรงพระเยาว์คือ พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min)...............บทความนี้ กล่าวถึง สงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๒๘ พระราชินีคือพระนางศุภยาลัต (Supayalat) ทรงมีบทบาทต่อการตัดสินพระทัยของพระเจ้า ธีบอในเหตุการณ์ส�ำคัญ ๆ
๒. สาเหตุของสงคราม พม่า - อังกฤษ พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ทรงพยายาม ที่จะด� ำเนินนโยบายต่างประเทศให้ฝรั่งเศส เข้ามาถ่วงดุลอ�ำนาจกับอังกฤษ พร้อมทั้งให้
๓. สงคราม พม่า - อังกฤษ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๒๘ พม่าได้มีความ ขั ด แย้ ง กั บ บริ ษั ท บอมเบย์ เ บอร์ ม าเทรดดิ่ ง (Bombay Burmah Trading) ของอังกฤษ ว่าผิดสัญญาสัมปทานการค้าไม้สักทางภาค เหนือโดยชักลากไม้ที่ยังไม่ได้ช�ำระภาษี ศาล พม่ า ตั ด สิ น ให้ ช� ำ ระภาษี พ ร้ อ มค่ า ปรั บ เป็ น เงิน ๒,๓๐๐,๐๐๐ รูปี บริษัทของอังกฤษไม่ ยอมเป็นผลให้พม่าเข้ายึดไม้สัก ซึ่งทางบริษัท อังกฤษได้เรียกร้องให้รัฐบาลอังกฤษเข้าช่วย
พระเจ้ า มิ น ดง (Mindon Min) เป็ น พระราชบิดาของพระเจ้าธีบอ กษัตริย์พม่า ทีท่ รงปฏิรปู อาณาจักรพม่าให้มคี วามทันสมัย
๑. สถานการณ์ทั่วไป พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ครองราชย์เมือ่ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๒๑ กษัตริย์ล�ำดับที่ ๑๑ ราชวงศ์อลองพญา มีพระชนมายุได้ ๑๙ พรรษา พระองค์ทรงขึ้นครองราชสมบัติใน สถานการณ์ทั้งภายในอาณาจักรที่มีความขัด แย้งในราชวงศ์ที่ได้ก่อตัวมาเป็นเวลานาน จาก ห้วงระยะเวลาที่ผ่านมา ๗๗ ปี พม่าได้มีการ เปลีย่ นแผ่นดินหลายครัง้ มีความวุน่ วายเกิดขึน้ ติดตามมามีการสูญเสียข้าราชการและราชวงศ์ เป็นจ�ำนวนมาก เป็นผลให้อาณาจักรอ่อนก�ำลัง ลง และจากภายนอกอาณาจักรที่มีมหาอ�ำนาจ จากยุโรปคืออังกฤษที่ได้เข้าครอบครองอินเดีย ได้ ข ยายดิ น แดนมาสู ่ ท างด้ า นตะวั น ออกคื อ อาณาจักรพม่า มีความล�ำบากในการด�ำเนิน นโยบายทางด้านต่างประเทศที่ซับซ้อนพร้อม ทั้งการค้าขายระหว่างประเทศ และพระองค์ ทรงขาดประสบการณ์ในการบริหารประเทศ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
พระเจ้าธิบอ (Thibaw Min) กษัตริย์พม่า แห่งราชวงศ์อลองพญา ครองราชย์เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๒๑ ฝรัง่ เศสด�ำเนินการด้านกิจการไปรษณียใ์ นพม่า และให้ฝรัง่ เศสสร้างทางรถไฟบางสายทางตอน เหนื อ ได้ ส ร้ า งความไม่ พ อใจกั บ อั ง กฤษเป็ น อย่างมาก ประกอบกับอังกฤษมีความขัดแย้ง กับฝรั่งเศสซึ่งเป็นมหาอ�ำนาจทางทหารแห่ง ยุโรปในหลายพื้นที่
พลตรี เซอร์ แฮร์รี่ เพรนเดอร์กาสท์ (Maj Gen Sir Harry Prendergast) อายุ ๕๑ ปี แม่ทัพใหญ่อังกฤษสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ 49
50
พัพลเอก นเอก ศนิ โรจน์ ไพนุ ธรรมยศ ทรงพล พงศ์
เหลือ อังกฤษจึงขอให้พม่าพิจารณาคดีใหม่แต่ ทางพม่าได้ปฏิเสธ เมื่อพม่าปฏิเสธอังกฤษก็ได้ ยื่นค�ำขาดในวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๒๘ ว่า อังกฤษจะเข้าด�ำเนินการเรือ่ งบริษทั อังกฤษเอง ห้ามพม่าเกี่ยวข้อง ถ้าหากพม่าจะท�ำสัญญา ไมตรีกับต่างอาณาจักรใด อังกฤษจะต้องมี ส่วนเกี่ยวข้องด้วย เมื่อพม่าได้รับค�ำขาดจาก อั ง กฤษก็ ไ ด้ ป ระชุ ม หารื อ ในที่ สุ ด พม่ า ก็ ไ ด้ ปฏิเสธอังกฤษ ประกอบกับอังกฤษไม่มีภารกิจ สงครามใหญ่ในดินแดนส่วนอื่น (อังกฤษได้ ท�ำการรบในอัฟกานิสถานครัง้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๘๒ - ๒๓๘๕ และสงครามในอัฟกานิสถานครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๒๑ - ๒๔๒๓ ก�ำลังทหารอังกฤษ และทหารอินเดีย (ชีปอย) รวม ๔๐,๐๐๐ คน กองทัพอังกฤษได้รับชัยชนะ แต่สูญเสียทหาร จากการรบ ๑,๘๕๐ คน และได้รับบาดเจ็บ ๘,๐๐๐ คน) จึงมีขีดความสามารถทางทหาร พร้อมรบมากที่สุด ดังนั้นสงครามครั้งใหม่จึง เกิดจากความขัดแย้งที่ได้ก่อตัวมานาน กองทัพอังกฤษมีแม่ทพั ใหญ่คอื พลตรี เซอร์ แฮร์รี่ เพรนเดอร์กาสท์ (Maj Gen Sir Harry Prendergast) อายุ ๕๑ ปี(เกิดที่เมืองมัดราส อาณาจักรอินเดียอาณานิคมของอังกฤษ เมื่อ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๗๗ รับราชการปี พ.ศ. ๒๓๘๘ เหล่าทหารช่าง) พร้อมด้วยก�ำลัง ทหาร ๙,๐๓๔ คน แยกเป็น ทหารอังกฤษ ๓,๐๒๙ คน และทหารอินเดีย (ชีปอย) ๖,๐๐๕ คน อาวุธประจ�ำหน่วยคือปืนใหญ่สนาม ๖๗ กระบอก และปืนกล ๒๔ กระบอก พร้อมด้วย เรือรบกว่า ๕๕ ล�ำ ส่งกองทัพจากเมืองย่างกุ้ง เขตยึดครองของอังกฤษ (เรียกว่าพม่าตอนล่าง) เข้าสู่เขตแดนของพม่าเดินทางโดยทางเรือล่อง ขึ้นไปตามแม่น�้ำอิระวดี กองทัพอังกฤษมาตั้งกองทัพเพื่อรวมพลที่ เมืองตเยเมียว (Thayetmyo) เป็นเมืองปลาย แนวชายแดนที่ติดต่อกับอาณาจักรพม่า ได้ เคลื่อนกองทัพเมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ.
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
๒๔๒๘ พม่าท�ำการตัง้ รับตามแนวทางเคลือ่ นที่ หลักของกองเรืออังกฤษแต่ก็พ่ายแพ้ทั้งหมด แต่การเคลื่อนที่ของกองเรืออังกฤษตามแนว แม่น�้ำอิระวดี (แม่น�้ำอิระวดี ไหลผ่านกลาง อาณาจักรพม่า มีความยาว ๒,๑๗๐ กิโลเมตร) ก็ล่าช้าเพราะว่าแม่น�้ำไหลเชี่ยวมาก เป็นผลให้ การล�ำเลียงก�ำลังพลของอังกฤษล่าช้า แต่ก็ยัง คงรุกเคลื่อนที่เข้าสู่ศูนย์อ�ำนาจของอาณาจักร พม่า กองทัพพม่าได้ท�ำการตั้งรับหลักที่เมือง พุ ก ามด้ ว ยกองทั พ ขนาดใหญ่ ต ามหลั ก พิ ชั ย สงคราม แต่ ก็ ต ้ อ งพ่ า ยแพ้ ต ่ อ เทคโนโลยี ที่ ก้าวหน้าที่สุดของโลกของกองทัพอังกฤษใน ยุคนั้นคือปืนใหญ่สนาม กองทัพอังกฤษยึดได้ครองกรุงมัณฑะเลย์ ในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๒๘ พระ เจ้าธีบอ (Thibaw Min) จึงยอมแพ้ เป็นผลให้ อาณาจักรพม่าต้องแพ้สงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ พร้อมทั้งสิ้นสุดราชวงศ์อลองพญา หรือราชวงศ์คองบอง (Konbaung)
๔. บทสรุป พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) แห่งราชวงศ์ อลองพญา ทรงพยายามที่จะรักษาอาณาจักร พม่าตอนบนโดยการให้ฝรัง่ เศสเข้ามามีบทบาท ภายในอาณาจั ก รมากขึ้ น แต่ ใ นที่ สุ ด ก็ เ กิ ด ความขัดแย้งกับอังกฤษอย่างรุนแรงซึ่งน�ำมา สู่สงครามครั้งที่สามหรือสงครามครั้งสุดท้าย ของสองอาณาจักร ความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีดา้ นอาวุธของอังกฤษน�ำมาสูช่ ยั ชนะ ที่รวดเร็ว ในที่สุดอาณาจักรพม่ายุคที่สามแห่ง กรุงอังวะที่ยิ่งใหญ่ในอดีตก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ สงครามสมัยใหม่
51
“ When You and Your Friend Disagree Politically ” พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ค
งไม่ต้องเท้าความไปมากกว่านี้ว่า สถานการณ์ ท างการเมื อ งของ ประเทศไทยในขณะนี้เป็นอย่างไร รู้แต่เพียงว่า ในฐานะที่เป็นข้าราชการทหาร เราจะต้องอยู่ในระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด ควรวางตัวเป็นกลาง ไม่วิพากษ์วิจารณ์ หรือ เข้าไปร่วมชุมนุมทางการเมืองใด ๆ หรือการ กระท�ำใด ๆ ที่อาจจะท�ำให้เกิดความเข้าใจผิด และท�ำให้เกิดความเสียหายแก่กองทัพ หรือ ต่อสถาบันทหารในภาพรวมได้ อย่างไรก็ตาม การถกเถียงกันในกลุ่มเพื่อน ฝูง ญาติพนี่ อ้ ง หรือสมาชิกในครอบครัวอาจจะ เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะการเมือง ในปัจจุบัน มีหลายคนที่จริงจังกับการเมือง มากๆ ถึงกับตัดสัมพันธ์ความเป็นเพื่อนที่ดีต่อ กันเป็นเวลานานเพราะความคิดเห็นทางการ เมืองต่างกัน ดังนัน้ เราควรท�ำอย่างไร หาก เรา และเพื่อนมีความคิดเห็นทางการเมืองที่ต่าง กัน (When you and your friend disagree politically) ทิปต่อไปนี้จะช่วยท�ำให้เราใจเย็น มากขึ้นอย่างจะคุยกันในเรื่องการเมือง
1. Without Trying to Change Your Friend's Mind. (อย่าพยายามเปลี่ยน ความคิดเห็นของเพื่อน) Let them be who they want to be. Don't try to change them or what they 52
believe. Understand that everyone has an opinion based on the unique things that have gone on in their life. Change your focus from "Why doesn't my friend vote like I do" to "I want to understand my friend's views about politics and life." Just try and understand, even if you don't agree. (ปล่อยให้เขาเป็นคนที่เขา ต้องการจะเป็น อย่าพยายามเปลี่ยนแปลงเขา และสิ่งที่เขาเชื่อ ขอให้เข้าใจว่า ทุกคนมีความ คิดที่เป็นอัตลักษณ์ที่จากพื้นฐานของวิถีชีวิต แต่ละคน คุณควรเปลี่ยนแนวคิดของคุณจาก ที่ “ท�ำไมเพื่อนฉันไม่เลือกเหมือนฉัน” เป็น “ฉันต้องการเข้าใจความคิดเห็นของเพื่อนฉัน เกี่ยวกับทางการเมืองและชีวิตเขาให้ได้ เพียง แค่พยายามเข้าใจเขา ทั้ง ๆ ที่คุณไม่เห็นด้วย ก็ตาม)
2. Get the Facts (หาข้อเท็จจริง) One of the most frustrating things about discussing politics is that people on both sides of any issue very rarely get all the facts straight. When you're having a discussion with a friend, focus on the factual statements you know to be true, and if your friend gets them wrong, give them the correct information calmly. If they argue, let it go. At least you know what the real issue is. (สิ่งหนึ่งที่เป็นเรื่องอึดอัดใจมากที่สุด คือ การที่ทั้งสองฝ่าย ถกเถียงทางการเมือง ทั้ง ๆ ที่ไม่มีข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง ดังนั้นเมื่อ
คุณต้องคุยกับเพื่อน ควรเน้นไปที่ข้อเท็จจริงที่ คุณรู้จริง และ หากเพื่อนคุณเข้าใจผิด คุณควร ค่อย ๆ อธิบายข้อมูลที่ถูกต้องให้เพื่อนฟังเสีย ก่อน ถ้าเขาเถียง ก็ปล่อยให้เถียงไป อย่างน้อย คุณก็รู้ว่า เรื่องจริงเป็นอย่างไร)
3. Don't Assume Things About Your Friend (อย่าคาดเดาเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับเพื่อนของคุณ) Rather than assume that your friend shares your views, go into new discussions with the objective of finding out what your friend thinks. This is a switch in intellectual view, and will actually enhance the conversations you have. Pretend you know nothing about your pal and listen closely to what they say when you ask them about a hotbutton issue. One thing that tends to happen with arguments is that someone starts to talk about their views, but the person listening instantly gets upset because their views are different. (แทนที่ จะคาดเดาว่า เพื่อนของคุณคิดอย่างไร คุณ ควรใช้ช่วงจังหวะนี้เปลี่ยนประเด็นใหม่และ พยายามคุ ย กั น ให้ ม ากขึ้ น คุ ณควรจะแกล้ง ท�ำเป็นไม่รู้เรื่อง แต่ควรตั้งใจฟังอย่างใกล้ชิด เพื่อให้รู้ว่าเขาพูดอะไรกันบ้างในประเด็นที่ ส�ำคัญ ๆ ประการหนึ่งที่มีแนวโน้มจะให้เกิด การโต้เถียงหรือการที่บางคนเริ่มคุยแต่แนว ความคิดของตัวเองและคนที่ฟังด้วยไม่พอใจ เพราะอีกคนมีความคิดที่แตกต่างกัน) พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
4. Avoid the Subject (หลีกเลี่ยงประเด็นความขัดแย้ง) Put your focus on the good of your relationship. If the majority of things about your friendship are positive, work with those instead of trying to come to an agreement politically. (พยายาม ให้ความส� ำคัญต่อสิ่งที่ดีในสัมพันธภาพของ คุณ หากโดยทั่วไป เรื่องที่คุยกันเป็นการเสริม สร้างสัมพันธภาพในทางบวกแล้ว ก็ควรจะคุย เรื่องนี้เพื่อมิให้มีการถกเถียงทางการเมืองอีก)
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษทางการเมืองที่ น่าสนใจ
1. Department of Special Investigation's (DSI) กรมสอบสวนคดีพิเศษ 2. Centre for Maintaining Peace and Order (CMPO) ศูนย์รักษาความสงบ 3. People's Democratic Reform Committee (PDRC) คณะกรรมการประชาชนเพื่ อ การ เปลีย่ นแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตย 5. Agree to Disagree ที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (เห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย) 4. Caretaker government รัฐบาลรักษาการ This is different than avoiding the 5. Emergency decree topic altogether, however, it takes a พระราชก�ำหนดการบริหารราชการใน special pair of friends to just "agree to สถานการณ์ ฉุกเฉิน disagree" without arguing. What this 6. Region 1 Border Patrol Police means is that you can still voice your Headquarters opinions once in awhile, but you won't กองบังคับการต�ำรวจตระเวนชายแดน have a lengthy discussion about it. ภาค ๑ You'll both have patience for listening 7. A n t i - M o n e y L a u n d e r i n g to each other vent if need be, but when Organisation (Amlo) things get too heated you'll know to ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการ back off and change the subject. (เรื่องนี้ ฟอกเงิ น แตกต่างจากเรื่อง การหลีกเลี่ยงประเด็นความ 8. Office of the Narcotics Control ขัดแย้ง อย่างไรก็ตาม เราอาจจะพบว่า มีเพื่อน Board (ONCB) บ้างคู่ที่ อาจจะเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย แต่ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ไม่ได้เถียงกัน นั้นก็หมายว่าคุณยังสามารถที่ ปราบปรามยาเสพติ ด จะแสดงความคิดเห็นได้ไปสักระยะหนึ่ง แต่ก็ 9. Interior Ministry ไม่ควรมีการถกเถียงกันนาน และทั้งคู่จะต้อง กระทรวงมหาดไทย อดทนฟังซึ่งกันและกัน แต่ถ้าหากสิ่งนั้นเป็น 10. Immigration Police Division 1 เหตุให้เกิดอารมณ์คุกรุ่นขึ้น ก็ควรที่จะถอย กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง ๑ ออกมา หรือเปลี่ยนประเด็นเสีย) 11. Internal Security Act พระราชบั ญ ญั ติ ค วามมั่ น คงในราช มาอ่านประโยคภาษาอังกฤษที่แสดง อาณาจักร ความคิดเห็นต่าง ดังนี้ 12. Office of Aeronautical Radio of You have your point of view, and I Thailand have mine. คุณมีความคิดเห็นของคุณ และ ส�ำนักงานวิทยุการบินแห่งประเทศไทย ฉันก็มีความคิดเห็นของฉัน 13. PDRC secretary-general I won’t argue with you because you เลขาธิการ กปปส. are unfair. 14. Mass rally ผมไม่เถียงกับคุณแล้วเพราะคุณไม่ยุติธรรม การชุมนุมมวลชน That’s a liberal point of view. 15. Ministry of Commerce นั่นเป็นความคิดเห็นทางเสรี กระทรวงพาณิชย์ He seems to have a lot of strange 16. Thai Farmers Association ideas. สมาคมชาวนาไทย เขาดูเหมือนจะมีแนวคิดที่แปลก ๆ หลาย 17. An open letter เรื่อง จดหมายเปิดผนึก Our views are not so far apart. 18. Neutral people ความเห็นของเราไม่แตกต่างกันเท่าไหร่ ประชาชนผู้เป็นกลาง หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
19. Democratic system ระบบประชาธิปไตย 20. Thailand's political system ระบบการเมืองประเทศไทย 21. Rice mortgage scheme โครงการรับจ�ำน�ำข้าว 22. Solar rooftops project โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสง อาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา 23. National Security Council สภาความมั่นคงแห่งชาติ 24. Feed pipeline ท่อน�้ำเลี้ยง 25. Arrest warrant หมายจับ 26. Justice Ministry กระทรวงยุติธรรม 27. Office of the Permanent Secretary for Defence ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 28. Permanent Secretary for Defence ปลัดกระทรวงกลาโหม 29. Legal concerns เรื่องที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย 30. Power decentralisation การกระจายอ�ำนาจ 31. Allegations ข้อกล่าวหา 32. State installations สถานที่ตั้งของราชการ 33. Negotiations การเจรจา 34. Monopolizing การถือเอกสิทธิ์ 35. Security guard เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 36. Opponents ฝ่ายตรงข้าม 37. Public Health Ministry กระทรวงสาธารณสุข 38. Deportation procedures กระบวนการเนรเทศออกจากประเทศ 39. Civil Aviation Department กรมการบินพลเรือน 40. National Human Rights Commissioner คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
“Give Respect, Earn Respect” 53
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“ผู้ ใหญ่วัย ๔๐+... จ�ำเป็นต้องฉีดวัคซีนด้วยหรือ? ”
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ก
ระทรวงสาธารณสุขได้มีการบรรจุ วัคซีนพืน้ ฐาน หรือวัคซีนภาคบังคับ ไว้ในแผนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของประเทศมานานหลายสิบปีแล้ว และค่อย ๆ เพิ่ ม ชนิ ด วั ค ซี น ที่ ค ้ น พบใหม่ เ ข้ า ไปเรื่ อ ย ๆ จนครอบคลุมโรคที่ส�ำคัญ ๆ เกือบทุกโรคใน ปัจจุบัน ท�ำให้ปัจจุบันเด็กไทยแทบทุกคนล้วน ได้รับวัคซีนกันถ้วนหน้า ส่งผลให้โรคติดต่อ ร้ายแรงต่าง ๆ ลดลงอย่างมาก อย่างไรก็ตาม หลังจากที่มีการให้วัคซีนกับเด็กไปนานหลาย สิบปี กระทั่งเด็กเหล่านี้เริ่มเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดจากการฉีดวัคซีนเหล่านั้น บางชนิ ด ก็ ยั ง คงมี ร ะดั บ สู ง เพี ย งพอในการ ป้องกันโรค แต่บางชนิดก็มีระดับภูมิคุ้มกัน ลดลงจนไม่เพียงพอส�ำหรับการป้องกันโรคแล้ว จึงต้องมีการให้วัคซีนกระตุ้นซ�ำ้ อีก การละเลย การให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ท�ำให้เกิดการติดเชื้อใน ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ด้วยโรคที่ป้องกันได้กลับ เพิ่มมากขึ้น น�ำไปสู่การเสียชีวิตโดยไม่จ�ำเป็น อย่างน่าเสียดาย การฉีดวัคซีนเป็นเรื่องที่ต้องติดตามดูตลอด ชีวิต และเพราะคนเรามีความเสี่ยงต่อสุขภาพ ไม่เหมือนกัน จึงจ�ำเป็นต้องมีแผนวัคซีนตลอดชีพ เฉพาะตั ว ของแต่ ล ะคน (Personalized Lifelong Vaccination Plan) ซึ่งแผนนี้ต้อง จัดท�ำขึ้นโดยแพทย์ที่มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง วัคซีนเป็นอย่างดี โดยวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยวกับความต้องการวัคซีนที่แตกต่างกัน ที่ ระบุเป็นปฏิทินไปอีกหลายปีในอนาคต ว่าเมื่อ ไหร่ต้องฉีดวัคซีนอะไร ทั้งนี้เพื่อเป็นแผนการ สร้างภูมิคุ้มกันโรคของท่านเองอย่างต่อเนื่อง 54
วัคซีนคืออะไร วัคซีน คือตัวอย่างเชื้อของโรคที่ใช้ใส่เข้าไป ในร่างกายของคนเราเพื่อกระตุ้นให้ร่างกาย สร้างภูมิคุ้มกันโรคนั้นขึ้นมา ส่วนใหญ่เป็นการ สร้างภูมิคุ้มกันที่ถาวรตลอดชีวิต วัคซีนอาจ จะเป็นโมเลกุลจ�ำลองที่หน้าตาเหมือนเชื้อโรค หรืออาจจะเป็นตัวเชื้อโรคจริง ๆ ที่ท�ำให้ตาย หรือท�ำให้อ่อนแรงลงไปแล้วก็ได้
การศึ ก ษาการฉี ด วั ค ซี น ที่ ท� ำ ไปแล้ ว ๗,๖๔๔,๐๔๙ ครั้ง พบว่ามีแพ้รุนแรงเพียง ๒ ครั้ง นั่นหมายความว่ามีอุบัติการเกิดต�่ำกว่า หนึ่งในล้าน คือต�่ำเพียง ๐.๒๖ ในล้านเท่านั้น เอง ความกลัวแพ้วคั ซีนจึงเป็นความกลัว ทีเ่ กิน จริง อีกทั้งปัจจุบันนี้การรักษาการแพ้รุนแรง ในสถานพยาบาลมีความส�ำเร็จอย่างสูง ส่วน ฤทธิ์ข้างเคียงเช่นฉีดแล้วอาจมีไข้ต�่ำ ๆ หรือ ปวดเมื่อยไม่สบายนั้น เกิดขึ้นได้กับวัคซีนบาง ชนิดแต่ถือว่าเป็นฤทธิ์ข้างเคียงที่ไม่มีอันตราย ส่วนกรณีที่มีการฟ้องร้องกันในต่างประเทศ โดยกล่าวอ้างว่าเด็กฉีดวัคซีนแล้ว ท�ำให้เป็น โรคสมาธิสั้นนั้น ไม่เป็นความจริง เพราะการ ทบทวนหลักฐานวิทยาศาสตร์โดยสถาบันที่ เชื่อถือได้สรุปได้ว่าไม่มีวัคซีนตัวใดสัมพันธ์กับ การท�ำให้เป็นโรคสมาธิสั้นเลย
ท�ำไมเป็นผู้ใหญ่วัย ๔๐+ แล้วต้องมา ฉีดวัคซีน?
คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าวัคซีนมีไว้ส�ำหรับ เด็กเท่านัน้ ซึง่ เป็นความเข้าใจทีผ่ ดิ ความเข้าใจ ผลดีของวัคซีน ดังกล่าว ท�ำให้โรคบางโรคซึง่ ไม่เป็นกับเด็กแล้ว ผลดีของวัคซีน คือเป็นวิธีป้องกันโรคที่ดี เพราะมีวัคซีนคุ้มกัน แต่ไปเป็นกับผู้ใหญ่และ ที่สุด การลงทุนฉีดวัคซีน ถือว่าเป็นการลงทุน ผู้สูงอายุแทน ตัวอย่างเช่นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ทางด้ า นสุ ข ภาพที่ คุ ้ ม ค่ า ที่ สุ ด รองลงมาจาก ศูนย์ควบคุมโรคอเมริกันรายงานผู้ป่วยเป็น การลงทุนให้มีน�้ำสะอาดไว้ดื่ม โรคที่ป้องกัน บาดทะยัก ๑๓๐ ราย ในจ�ำนวนนี้ ๙๐.๗% ได้ด้วยวัคซีน ส่วนใหญ่เป็นโรคที่เป็นแล้วมี เป็นผู้ใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ความรุนแรง เมื่อเป็นแล้วมักรักษายาก เช่น ๑๘% เสี ย ชี วิ ต ซึ่ ง ในบรรดาผู ้ เ สี ย ชี วิ ต นี้ โรคบาดทะยักในผู้สูงอายุ บางโรคท�ำให้เสีย ทั้งหมดเป็นผู้ใหญ่ และ ๗๕% เป็นผู้มีอายุ ชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก เช่นโรคไข้หวัดใหญ่และ มากกว่า ๖๐ ปี ความสูญเสียดังกล่าวนี้เข้าใจ ปอดบวมในผู้สูงอายุหรือผู้มีโรคเรื้อรังอยู่ก่อน ได้ไม่ยาก เพราะขณะที่ ๙๕% ของเด็กได้รับ บางโรคหากเป็นแล้วอาจกลายเป็นโรคเรื้อรัง วัคซีนบาดทะยักครบ แต่ผู้ใหญ่อายุเกิน ๖๐ หรือจบลงด้วยการเป็นมะเร็ง เช่นโรคไวรัสตับ ปีที่ได้รับการฉีดกระตุ้นวัคซีนบาดทะยักทุก อักเสบบี, โรคติดเชื้อไวรัสเอ็ชพีวี ฯลฯ เป็นต้น ๑๐ ปีมีเพียง ๔๐% เท่านั้นเอง อีกตัวอย่าง หนึ่งคือโรคหัดซึ่งเป็นโรคที่มีกระจายอยู่ทั่ว การแพ้วัคซีน ความกลัวที่เกินจริง โลก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ชาวอเมริกันคนหนึ่ง ผลเสี ย ของวั ค ซี น มี น ้ อ ยกว่ า ผลดี ข องมั น ซึ่ ง ไม่ เ คยฉี ด วั ค ซี น คางทู ม -หั ด -หั ด เยอรมั น อย่างเทีย บกั น ไม่ ไ ด้ คนทั่ ว ไปถู ก ท� ำให้ ก ลั ว (MMR) ไปติดหัดมาจากโรมาเนีย เมือ่ กลับบ้าน วั ค ซี น ด้ ว ยเข้ า ใจว่ า อาจเกิ ด อาการแพ้ แ บบ แล้ ว เขาเอาโรคหั ด มาปล่ อ ยให้ เ พื่ อ นบ้ า น รุนแรง ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริงการแพ้วัคซีน ป่วยอีก ๓๔ คน ทุกคนที่ป่วยล้วนไม่เคยฉีด แบบรุนแรง (Anaphylaxis) มีอตั ราเกิดทัว่ โลก วัคซีน MMR มาก่อน โชคดีที่เมืองที่เขาอยู่ ในระดับต�่ำมาก ๆ คนส่วนใหญ่ได้รับการฉีดวัคซีนวัคซีน MMR ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
กันค่อนข้างครบถ้วน โรคจึงสงบอย่างรวดเร็ว โรคที่แย่ยิ่งกว่าหัด ซึ่ง MMR ช่วยป้องกันได้ คือหัดเยอรมัน ซึ่งท�ำให้ทารกในครรภ์พิการ รุนแรงได้ ทุกวันนี้ยังมีอยู่บ่อย ๆ ที่แพทย์ จ�ำเป็นต้องท�ำแท้งให้สตรีมีครรภ์ที่ป่วยเป็น หัดเยอรมันระหว่างตั้งครรภ์ ในจ�ำนวนนี้ ส่วน หนึ่งโรคผ่านมาทางสามี ซึ่งไม่เคยฉีดวัคซีน MMR เช่นกัน น่าเสียดายที่เมืองไทยไม่มีสถิติ ที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับไข้หวัดใหญ่ในฤดูหนาว ปี ที่ ผ ่ า นมามี ผู ้ ป ่ ว ยที่ พิ สู จ น์ ท างห้ อ งปฏิ บั ติ การ ได้ว่ามีผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ในสหรัฐ ๓๙,๘๒๗ คน ในจ�ำนวนนี้ส่วนหนึ่งมีปอดบวม แทรกและเสี ย ชี วิ ต ท� ำ ให้ โ รคไข้ ห วั ด ใหญ่ บวกปอดบวมแทรกติดอันดับสาเหตุการตาย สิบอันดับแรกของคนอเมริกันมาหลายปี ผู้เสีย ชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และทั้งสองโรคนี้ ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ไวรัสตับอักเสบบี เป็นอีกโรคหนึ่งที่ยังคง อาละวาดก่อความเสียหายสุดคณาให้กับคน ไทย สถิติปี ๒๕๕๐ ซึ่งใหม่ล่าสุดรายงานว่า มะเร็ ง เป็ น สาเหตุ ก ารตายสูงสุดของคนไทย คือตาย ๔๙,๖๘๒ คน โดยตามการศึกษาของ สถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ พ บว่ า มะเร็ ง ตั บ เป็ น แชมป์น�ำโด่ง (๓๗.๖%) ทิ้งห่างรองแชมป์คือ มะเร็งปอด (๒๕.๙%) มากพอควร ในบรรดา คนทีเ่ ป็นมะเร็งตับนี้ ๘๐% มีสาเหตุมาจากการ ป่วยด้วยไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งป้องกันได้ด้วย วัคซีน กระทรวงสาธารณสุขตั้งกฎเหล็กขึ้นมา ว่าเด็กไทยเกิดใหม่ทุกคนไม่ว่าจะเกิดที่ไหนใน แผ่นดินนี้ต้องได้รับการฉีดวัคซีนทันทีตั้งแต่วัน แรกที่ลืมตาดูโลก ซึ่งดีมากเลย แต่ผู้ใหญ่หละ.. ผู้ใหญ่ที่เดินไปเดินมากันทั่วมีใครรู้บ้างว่าตัว เองมีภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบีหรือยัง สถิติ คนไทยหายากหน่อยแต่ก็พอมี คือสถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารได้ทำ� การวิจัยใน นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลซึ่งเป็น ผู้ใหญ่กันหมดแล้วทุกคน พบว่ามีภูมิคุ้มกัน ไวรัสตับอักเสบบี ๑๘.๙๒% เท่านั้นเอง ที่ เหลือยังบริสุทธิ์สะอาดมีโอกาสติดเชื้อเต็ม ๆ ในอนาคต ซึ่งจะน่าเสียดายอย่างยิ่งถ้าต้องจบ ชีวิตลงด้วยมะเร็งตับทั้ง ๆ ที่มีวัคซีนป้องกันได้
แผนวัคซีนตลอดชีพรายบุคคล คนเราทุ ก คนมี ค วามเสี่ ย งต่ อ สุ ข ภาพไม่ เหมื อ นกั น แผนดู แ ลสุ ข ภาพแต่ ล ะคนต้ อ ง จั ด ท� ำ ขึ้ น เป็ น การเฉพาะส� ำ หรั บ คนคนนั้ น (Personalized Health Plan) เรื่องวัคซีนก็ เช่นกัน การฉีดวัคซีนเป็นเรื่องที่ต้องติดตาม ดูตลอดชีวิต และเป็นเรื่องที่จ�ำเพาะเจาะจง เฉพาะบุ ค คล จึ ง ต้ อ งมี แ ผนวั ค ซี น ตลอดชี พ เฉพาะตั ว ของแต่ ล ะคน (Personalized Lifelong Vaccination Plan) ซึ่งแผนนี้ต้อง จั ด ท� ำ ขึ้ น โดยแพทย์ ที่ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
เรื่องวัคซีนดี โดยวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยว กับความต้องการวัคซีนทีแ่ ตกต่างกัน อันได้แก่ เพศ เพราะวั ค ซี น บางชนิ ด ใช้ เ ฉพาะเพศ หญิง เช่นวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก (HPV) วัคซีนบางชนิดเช่นวัคซีนหัดเยอรมัน ไม่เหมาะ กับสตรีมีครรภ์ ดังนั้นถ้าเป็นเพศหญิงข้อมูล การตั้งครรภ์ก็เป็นข้อมูลส�ำคัญที่แพทย์ต้อง ทราบ อายุ เพราะวั ค ซี น บางตั ว ให้ เ ฉพาะบาง อายุตามความเสี่ยงที่มาพร้อมกับวัย เช่น ถ้า ไม่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ จะให้เฉพาะคนทั่วไปที่อายุ ๕๐ ปีขึ้นไป วัคซีน ปอดบวมให้เฉพาะคนอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป เป็นต้น อาชีพ เพราะบางอาชีพต้องฉีดวัคซีนบาง อย่าง เช่นสัตวแพทย์ต้องฉีดวัคซีนป้องกันพิษ สุนัขบ้า ถ้ามีอาชีพเป็นบุคลากรทางการแพทย์ หรื อ ดู แ ลผู ้ สู ง อายุ ก็ อ าจต้ อ งฉี ด วั ค ซี น หลาย ชนิดเพื่อป้องกันไม่ให้เอาโรคเหล่านั้นไปติด คนไข้หรือผู้สูงอายุที่ตนเองดูแล การใกล้ชิดกับสตรีมีครรภ์ โดยเฉพาะสตรี มีครรภ์ต้นหน้าฝนซึ่งเป็นต้นฤดูระบาดของ ไข้หวัดใหญ่ แล้วไข้หวัดใหญ่นี้อันตรายกับสตรี มีครรภ์ยิ่งนัก ผู้ใกล้ชิดสตรีมีครรภ์ก็ควรจะได้ รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่เพื่อป้องกันไม่ให้ เอาโรคไปถึงตัวคนมีครรภ์ การเดิ น ทางไปต่ า งประเทศ ซึ่ ง อาจต้ อ ง เจาะลึกว่าไปประเทศไหน เพราะมีกฎหมาย วัคซีนแตกต่างกัน เช่นจะไปอัฟริกาต้องฉีด วัคซีนป้องกันไข้เหลือง จะไปแสวงบุญเมกกะ ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningococcal) ส�ำ หรั บ ผู ้ นิ ย มเดิ น ทาง ท่องโลกแบบไม่เลือกที่ระดับอินเตอร์ก็ควรได้ รับวัคซีนอย่างครบถ้วนก่อน รวมทั้งการฉีด กระตุ้นวัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน (MMR) และการฉีดวัคซีนไวรัสตับอักเสบเอด้วย การเข้ า หอพั ก ในมหาวิ ท ยาลั ย หรื อ เข้ า ค่ายทหาร เพราะสภาพแออัดอย่างนั้นต้องฉีด วัคซีนป้องกันโรคบางโรคที่ชาวหอชอบเป็นกัน เช่นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือหัด เป็นต้น การเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในบ้านพักคน ชราหรือเนอร์สซิ่งโฮม ถ้าเป็นก็ต้องฉีดวัคซีน ป้องกันโรคยอดนิยมในบ้านพักคนชรา เช่นโรค ปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ การมีหรือไม่มภี มู คิ มุ้ กันต่อไวรัสตับอักเสบบี เนือ่ งจากโรคนีเ้ ป็นโรคทีก่ อ่ ความเสียหายรุนแรง และบางครัง้ เป็นความเสียหายทีต่ อ่ เนือ่ งเรือ้ รัง ไม่รู้จบ อีกทั้งประเทศไทยเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อ การเป็นโรคนี้ ดังนั้นคนไทยทุกคนจึงควรได้ รับวัคซีนป้องกันโรคนี้ ยกเว้นผู้ที่เคยตรวจเช็ค เลือดและพบว่ามีภูมิคุ้มกันโรคนี้แล้ว การมีความเสี่ยงต่อไวรัสตับอักเสบเอ เป็น พิเศษ เช่น เป็นผู้ชายโฮโมเซ็กซ่วล หรือเป็น โรคตับเรื้อรัง หรือเป็นผู้ติดยาเสพติด หรือมี
โรคเลือดแข็งตัวผิดปกติ หรือจะเดินทางไปยัง บ้านเมืองที่มีโรคนี้มาก ก็ควรจะได้รับการฉีด วัคซีนป้องกันโรคนี้ การไม่ เ คยเป็ น อี สุ ก อี ใ สมาก่ อ น มี ค วาม ส�ำคัญเพราะถ้าไม่เคยเป็น ควรต้องฉีดวัคซีน อีสุกอีใส เพราะโรคนี้หากมาเป็นเอาตอนอายุ มากจะมีความรุนแรง การเลี้ ย งสุ นั ข เนื่ อ งจากเมื อ งไทยเป็ น ประเทศที่ โ รคพิ ษ สุ นั ข บ้ า ชุ ก ชุ ม ที่ สุ ด ในโลก ปัจจุบนั นีส้ ถานเสาวภาได้นำ� หลักการฉีดวัคซีน ป้องกันพิษสุนัขบ้าล่วงหน้า (Pre Exposure) ขององค์การอนามัยโลก มาแนะน�ำให้คนไทย เลือกใช้ได้แล้ว โดยแนะน�ำให้ฉดี วัคซีนล่วงหน้า ส�ำหรับคนทีเ่ สีย่ ง เช่น ผูม้ อี าชีพยุง่ เกีย่ วกับสัตว์ รวมไปถึงผู้เลี้ยงสุนัขและเด็กเล็กที่อยู่ในบ้านที่ มีการเลี้ยงสุนัขด้วย ทั้งนี้ต้องเข้าใจด้วยว่าการ ฉีดแบบป้องกันล่วงหน้านี้เป็นการเตรียมความ พร้อมให้ร่างกายไว้ล่วงหน้าและป้องกันกรณีที่ สัตว์เลียแผลเล็ก ๆ น้อย ๆ แบบไม่รู้ตัวซึ่งพบ บ่อยในเด็ก แต่หากถูกสัตว์กัดแบบเหวอะหวะ เข้ า จริ ง ๆ ก็ ต ้ อ งมาฉี ด วั ค ซี น กระตุ ้ น แบบ ครบชุด อีกครั้งเสมอ การมี ค วามเสี่ ย งต่ อ การติ ด เชื้ อ ต่ า ง ๆ มากกว่าปกติ ซึ่ง ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรค มากกว่าคนทั่วไป เช่นเป็นมะเร็ง หรือให้ยา เคมีบ�ำบัด หรือเป็นโรคเลือดที่ท�ำให้ภูมิคุ้มกัน ต�่ำ หรือเป็นโรคเรื้อรังของอวัยวะส�ำคัญ เช่น โรคหัวใจ โรคปอด โรคตับ โรคไต หรือเป็น โรคเอดส์ หรือถูกตัดม้ามไปแล้วด้วยเหตุใด ๆ ก็ตาม การใช้ยาแอสไพรินกรณีเป็นเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๘ ปี เพราะเด็กที่ทานยาแอสไพรินประจ�ำมี ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดความผิดปกติของสมองเมือ่ ได้วัคซีนบางตัวได้ แพทย์จึงต้องมีข้อมูลนี้ก่อน ตัดสินใจให้วัคซีน การเป็นโรคทีห่ ากแพ้วัคซีนแล้วอาจมีความ รุนแรง เช่น เป็นหอบหืด หรือมีโรคของกล้าม เนื้ อ หรื อ ระบบประสาทที่ ท� ำ ให้ ท างเดิ น ลม หายใจบวม หรือมีปัญหาต่อการหายใจหรือ การกลืน แพทย์จ�ำเป็นต้องใช้ข้อมูลนี้ประกอบ การวางแผนฉีดวัคซีนเฉพาะบุคคลด้วย สิ่งส�ำคัญที่สุดคือการดูแลสุขภาพตนเองให้ ปลอดภัย และสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคภัยที่เข้า มา ดังค�ำโบราณกล่าวไว้ว่า “อโรคยา ปรมาลา ภา การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ” ไม่ว่า จะเป็นยุคใดสมัยใดก็ยังเป็นค�ำพูดที่ฟังดูแล้ว ไม่ล้าสมัย เพราะคงจะไม่มีใครปฏิเสธว่าการ มีสขุ ภาพดี มีคา่ กว่าการมีเงินทองร้อยล้านด้วย ซ�้ำไป เพราะแม้ว่าจะมีเงินมากองจนท่วมตัวก็ ไม่สามารถซื้อสุขภาพที่ดีให้กลับคืนมาได้ ตัว เราเท่านั้นที่จะเป็นผู้ก�ำหนดพฤติกรรมการ ใช้ชีวิตประจ�ำวันของเราเป็นสิ่งที่จะแสดงผล ออกมาเมื่อถึงระยะเวลาหนึ่ง 55
พลเอก นิ พั ท ธ์ ทองเล็ ก ปลั ด กระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์งานก่อสร้าง น�ำ้ พุ โดยมีรองปลัดกระทรวงกลาโหม และหัวหน้าหน่วย ขึ้นตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี เมื่อ ๖ ก.พ.๕๗ ณ บริเวณหน้าศาลาว่าการกลาโหม
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รอง ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมรับฟังการน�ำเสนอและสาธิตประสิทธิภาพของอากาศยาน ไร้คนขับแบบขึ้น – ลงทางดิ่ง (VTOL – UAV) จากประเทศบราซิล ณ สนามบินเล็ก กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน ดอนเมือง เมื่อ ๒๘ ม.ค.๕๗ 56
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานยศ พลเรือเอก พลอากาศ เอก และแต่งตั้งเป็นนายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือและประจ�ำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษา พระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศ โดยมี พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม และผู้บังคับบัญชาระดับสูง ร่วมแสดงความยินดี ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๗ ก.พ.๕๗
พลเอก นิพทั ธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธเี ปิดการเจาะ (SPUD) หลุมเจาะ FA-MS-57-89 ( แหล่งผลิตน�ำ้ มันดิบแม่สนู ) และรับฟังการบรรยายสรุป ณ ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ ๒๓ ม.ค.๕๗ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
57
พ ล เ อ ก นิ พั ท ธ ์ ท อ ง เ ล็ ก ปลั ด กระทรวงกลาโหม ให้ ก าร ต้อนรับ นางสาว อนา มาเรีย รามิเรซ (Ana Maria Ramirez) เ อ ก อั ค ร ร า ช ทู ต ส า ธ า ร ณ รั ฐ อาร์ เ จนติ น าประจ� ำ ประเทศไทย ในโอกาสเข้ า เยี่ ย มค� ำ นั บ และ หารือข้อราชการ ณ ห้องสนามไชย เมื่อ ๑๗ ก.พ.๕๗
พ ล เ อ ก นิ พั ท ธ ์ ท อ ง เ ล็ ก ปลั ด กระทรวงกลาโหม มอบ เครื่องหมายแสดงความสามารถ ทางการกีฬาชั้น ๑ เสื้อเบลเซอร์ ให้ กั บ ร้ อ ยโทหญิ ง จั น ทร์ เ พ็ ง น น ท ะ สิ น สั ง กั ด ส� ำ นั ก ง า น เลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ที่ เ ข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น กี ฬ า จักรยานได้รับเหรียญเงิน ประเภท ถนน ไทม์ ไ ทรอั ล บุ ค คลหญิ ง ระยะทาง ๓๐ ก.ม. และ สิบตรี หญิ ง วิ ช ชุ ด า ไพจิ ต รกาญจนกุ ล กองรั ก ษาความปลอดภั ย ส� ำ นั ก นโยบายและแผนกลาโหมได้ รั บ เหรียญทอง จากประเภทปืนยาว ท่านอน (ทีมหญิง) ในการแข่งขัน กีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๒๗ ระหว่างวันที่ ๑๑ – ๒๒ ธ.ค.๕๖ ณ เมืองเนปิดอร์ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
58
พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีลงนามในสัญญาจัดซื้ออุปกรณ์ กับ บริษัท อธิ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เพือ่ ใช้ในโครงการเคลือ่ นย้ายระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร จากอาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) ไปยังส�ำนักงานพืน้ ที่ ศรีสมาน ณ ห้องสราญรมย์ เมื่อ ๗ ก.พ.๕๗
พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทกั ษ์ รองปลัด กระทรวงกลาโหม และคณะร่วมงานวันคล้ายวัน สถาปนาโรงเรียนเตรียมทหาร ครบรอบปีที่ ๕๖ ณ โรงเรี ย นเตรี ย มทหาร จั ง หวั ด นครนายก เมื่ อ ๒๗ ม.ค.๕๗
หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
59
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีเปิดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สถานี วิทยุสขี าว เทิดไท้องค์ราชาและบรรยายในหัวข้อ ศักยภาพ ของวิทยุชุมชนในการด�ำเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ในพื้ น ที่ ซึ่ ง จั ด โดยส� ำ นั ก งานเลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานปลั ด กระกรวงกลาโหม ณ โรงแรมสามพราน ริเวอร์ไซด์ จังหวัด นครปฐม เมื่อ ๑๐ ก.พ.๕๗
พลตรี เนรมิต มณีนุตร์ ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา เป็นผู้แทนปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธีตักบาตรเนื่องในวันมาฆบูชา ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ บริเวณลานรอบองค์พระประธานพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เมื่อ ๑๔ ก.พ.๕๗
พลตรี พิชาพร ธนะภูมิ เป็นผู้แทนปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธีเวียนเทียนเนื่องในวันมาฆบูชา ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ บริเวณลานรอบ องค์พระประธานพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เมื่อ ๑๔ ก.พ.๕๗ 60
พลตรี ณภั ท ร สุ ข จิ ต ต์ เลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม และคณะ ร่วมพบปะพัฒนาสัมพันธ์กับ สื่อมวลชนประเภทวิทยุในพื้นที่ภาคเหนือ พร้อมทั้งจัดการ อบรมสัมมนาเสริมสร้างและพัฒนาสัมพันธ์สื่อสารมวลชน ให้ ร ่ ว มประชาสั ม พั น ธ์ ง านความมั่ น คงร่ ว มกับส�ำ นักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ครั้งที่ ๑ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ โรงแรม ไดมอนด์ ปาร์คอินน์ เชียงรายรีสอร์ท จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๒๙ ม.ค.๕๗
พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะ ร่วมพบปะพัฒนาสัมพันธ์กับสื่อมวลชนประเภทวิทยุในพื้นที่ ภาคใต้ พร้อมทั้งจัดการอบรมสัมมนาเสริมสร้างและพัฒนาสัมพันธ์สื่อสารมวลชนให้ร่วมประชาสัมพันธ์ความมั่นคงร่วมกับส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ครั้งที่ ๒ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ หรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๑๘ ม.ค.๕๗ หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
61
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โครงการช่วยเหลือคู่สมรสหรือบุตรที่มีความต้องการพิเศษของก�ำลังพลในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
“สานงาน สานใจ ให้กลาโหม”...เป็นสิ่งที่ สมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมได้ ร ่ ว มมื อ ร่ ว มแรงและ ร่วมใจในการท�ำงานเพื่อดูแลทุกข์สุขรวมทั้ง สวั ส ดิ ก ารของก� ำ ลั ง พลและครอบครั ว ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในปีที่ผ่านมาได้มีการจัดตั้ง “กองทุนเพื่อ การช่วยเหลือบุตรที่มีความต้องการพิเศษของ ก� ำ ลั ง พล ในสั ง กั ด ส�ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม พ.ศ.๒๕๕๖” ได้มอบเงินช่วยเหลือ บุ ต รพิ เ ศษที่ ช ่ ว ยเหลื อ ตั ว เองไม่ ไ ด้ จ� ำ นวน ๒,๐๐๐ บาทต่อเดือน และช่วยเหลือตัวเองได้ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ บาทต่อเดือน และในขณะนี้ มี จ� ำ นวนบุ ต รที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษทั้ ง สิ้ น จ�ำนวน ๔๑ คน ซึ่งโครงการนี้มีผลตอบรับ อย่างชัดเจนว่า บุตรที่มีความต้องการพิเศษมี ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ครอบครัวมีรอยยิ้มเพิ่มขึ้น บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถมีโอกาส ออกมาจากบ้านเพื่อเข้าสู่สังคมและได้รับการ ยอมรับจากสังคมเพิ่มมากขึ้น ความเป็ น ห่ ว งเป็ น ใยจากสมาคมภริ ย า ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ไม่ได้หยุดนิง่ มองแค่เพียงบุตรทีม่ คี วามต้องการ พิเศษเท่านัน้ ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก นายกสมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งาน ปลั ด กระทรวงกลาโหม ได้ เ ล็ง เห็น ถึ งความ 62
ส� ำ คั ญ ของการดู แ ลครอบครั ว ทั้ ง ครอบครั ว ที่มี “พ่อ แม่ ลูก” จึงมีด�ำริให้เพิ่มเติมการ ดูแลคู่สมรสที่มีความต้องการพิเศษเช่นเดียว กับบุตรที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษควบคู ่ กั น ไป ด้วย เพราะคู่สมรสและบุตรเป็นหน่วยหนึ่ง ของค�ำว่า “ครอบครัว” ทุกคนที่อยู่ในหน่วย ของครอบครัวย่อมได้รับการดูแลเสมือนเป็น
คนคนเดียวกัน จึงได้เกิดเป็น“โครงการช่วย เหลือคู่สมรสหรือบุตรที่มีความต้องการพิเศษ ของก�ำลังพลในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม” ซึ่งได้เริ่มด�ำเนินการไปแล้วตั้งแต่ เดือนตุลาคม ๒๕๕๖ แม้ ว ่ า จ� ำ นวนเงิ น ที่ ใ ห้ ก ารช่ ว ยเหลื อ จะ ไม่ ม ากนั ก แต่ เ ป็ น การดู แ ลจากใจจริ ง ของ
ทางสมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ที่คงด�ำเนินกิจกรรมของ สมาคมฯ ตามวัตถุประสงค์หลักที่นายกสมาคมฯ ท่านแรก ได้ริเริ่มไว้ คือการดูแลทุกข์สุขของ ก� ำ ลั ง พลและครอบครั ว เราจะมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจ ท�ำงาน ร่วมมือร่วมแรงใจ ปฏิบัติงานให้กับ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ตามค�ำขวัญ ของสมาคม “สานงาน สานใจ ให้กลาโหม” หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗
63
ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก นายกสมาคมภริยาข้าราชการส� ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนาสมาคม แม่บ้านทหารอากาศ ครบรอบปีที่ ๒๙ ณ หอประชุมกองทัพอากาศ พหลโยธิน เมื่อ ๒๔ ม.ค.๕๗
สมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลสตมวารถวายพระศพ สมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เมื่อ ๓๑ ม.ค.๕๗ 64