ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
การกลับไปใช้สิทธิในบำ�เหน็จบำ�นาญ ตาม พ.ร.บ.บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔
ผู้มีสิทธิ undo - ข้าราชการ - ผู้รับบำ�นาญ - ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด - ตุลาการศาลปกครอง - ผู้ซึ่งเคยเป็นข้าราชการก่อนมี กบข.ที่ลาออกไปแล้วต่อมากลับเข้ารับราชการหลังมี กบข. - ข้าราชการส่วนท้องถิ่น (มาตรา ๗๐/๑) - พนักงานมหาวิทยาลัย (มาตรา ๗๐/๖) ระยะเวลาในการตัดสินใจ ๑. มีสิทธิเลือกตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับใช้ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ๒. ได้รับเงินสะสม+ดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๘) เป็นต้นไป (สมัครก่อน ได้ก่อน) ๓. เมื่อออกจากราชการ จึงจะเริ่มรับบำ�นาญสูตร ๒๔๙๔ ๔. แต่ถ้าข้าราชการรายใด มีเวลาราชการเหลือไม่ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ (เช่นอยาก ลาออกจากราชการก่อน หรือถูกปลด ถูกไล่ออก) จะมีเวลาตัดสินใจ UNDO ถึงแค่วันที่ จะต้องออกจากราชการนั้น ๕. ถ้าเลือก UNDO ไว้ แล้วถึงแก่ความตายก่อน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ หรือก่อนวันออกจาก ราชการตามข้อ ๔. ถือว่า ไม่ได้ UNDO ทั้งนี้สามารถหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Website UNDO http://www.undo.in.th
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วันทหารผ่านศึก
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
www.lakmuangonline.com
"ทหารผ่านศึก เป็นผู้มีเกียรติ เพราะได้เสียสละประโยชน์สุขส่วนตัว แม้กระทั่งเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อบ้านเมืองและส่วนรวม ขอให้ภูมิใจและตั้งใจ รักษาเกียรติอันแท้จริงที่มีอยู่นั้นไว้ทุกเมื่อ" พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเนื่องในโอกาสวันทหารผ่านศึก ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๓
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานงานเลี้ยงสังสรรค์สื่อสารมวลชนสัมพันธ์ จัดโดยส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหมและนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมในงาน ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายใน ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๙ ม.ค.๕๘
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัด กระทรวงกลาโหม เป็นผู้แทนพลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ในพิธีเปิด การแข่งขันและร่วมขี่จักรยาน (รอบ VIP) ชิ ง ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศปลั ด กระทรวงกลาโหม ในการแข่งขันจักรยาน ใจเกินร้อย รายการ “Bike for All” ณ บริเวณอนุสาวรียท์ า้ วสุรนารี ในเขตเทศบาลนครนครราชสี ม า จั ง หวั ด นครราชสีมา เมื่อ ๒๔ ม.ค.๕๘
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น. พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ที่ปรึกษา พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล ผู้ช่วยเหรัญญิก
พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.ร.อ.ชุมนุม อาจวงษ์ ร.น. พล.อ.วิชิต ศรีประเสริฐ พล.อ.ชัยชาญ ช้างมงคล พล.อ.นพดล ฟักอังกูร พล.อ.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.นิวัติ ศรีเพ็ญ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ดำ�รงศักดิ์ วรรณกลาง พล.ท.ชุติกรณ์ สีตบุตร พล.ท.นเรศรักษ์ ฐิตะฐาน พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.อดุลย์ศักดิ์ บุญวัฒนะกุล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.เดชา บุญญปาล พล.ท.นภนต์ สร้างสมวงษ์ พล.ต.ภราดร จินดาลัทธ พล.ต.ชวลิต สาลีติ๊ด
ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.จิโรจม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง จ.อ.หญิง สุพรรัตน์ โรจน์พรหมทอง
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
บทบรรณาธิการ
ทุกวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็นวันทหารผ่านศึก... ขอเชิญชวนผู้อ่านทุกท่านมาร่วม ระลึกถึงคุณงามความดีของเหล่าทหารที่ได้เสียสละประโยชน์สุขส่วนตัว แม้กระทั่งเลือดเนื้อ และชีวิต เพื่อบ้านเมืองและส่วนรวมซึ่งสามารถแสดงออกถึงการระลึกถึงคุณงามความดีของ เหล่าทหารผ่านศึกได้ด้วยการซื้อดอกป๊อปปี้ โดยรายได้ทั้งหมดจะน�ำไปช่วยเหลือครอบครัว ทหาร ต�ำรวจ พลเรือน และอาสาสมัคร ประเทศไทยหยิบยกปัญหาการค้ามนุษย์เป็นวาระแห่งชาติที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วนและ จริงจังตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ เนื่องจากไทยอยู่ในสถานะประเทศต้นทาง ทางผ่าน และปลาย ทางของปัญหาดังกล่าว นโยบายเพื่อแก้ไข ป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์ของไทย ให้ ความส�ำคัญกับผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ เป็นหลัก (Victim-Centered) วารสารหลักเมือง ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๕๘ ได้มีการกล่าวถึงปัญหา ความเชื่อมโยงตลอดจนแนวทางแก้ไขใน เรือ่ งดังกล่าว นอกจากนีภ้ ายในเล่มนีย้ งั ได้นำ� เสนอเรือ่ งผลการประชุมคณะกรรมการชายแดน ทั่วไป ไทย – กัมพูชา ครั้งที่ ๑๐ ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา รวมถึงแนวทาง พัฒนาการปฏิบัติการทางทหารร่วมกับอาเซียนในภารกิจการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติของกองทัพไทย และบทความที่น่าสนใจอื่นๆ
2
ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
๔
๔
ทหารผ่านศึก.... ใช่เพียงค�ำจารึก ของสังคม
๑๒
Rise of the Cyber Militias ก�ำเนิดทหารกองหนุน Cyber “ใครคือผู้รุกราน ที่อันตรายที่สุด”
๓๖
๘
๑๒
๑๖
๑๖
๒๔
การฉลองเอกราช ของเมียนม่าร์
๔๐
๓๒ ๔๔
๒๐
ปีแห่งความยุติธรรม
๔๘
๒๐
แนวทางพัฒนาการ ปฏิบัติการทางทหาร ร่วมกับอาเซียนใน ภารกิจการช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) ของกองทัพ ไทย (ตอนที่ ๑)
จรวดน�ำวิถีต่อต้าน เรือผิวน�้ำแบบเอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ เทคโนโลยีหอคอยเฝ้า ตรวจพื้นที่แบบต่อเนื่อง Persistent Ground Surveillance Tower (PGST)
ความก้าวหน้าการ พัฒนาโรงพยาบาล ทหารผ่านศึก การประชุมคณะ กรรมการชายแดนทั่วไป ไทย - กัมพูชา ครั้งที่ ๑๐ ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา
“ช่วยปล่อยคุนต้าคินเต้ ให้เป็นอิสระ”
๓๒
๘
๙ แผ่นดินของการ ปฏิรูประบบราชการ พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช พระราช ประวัติ พระปรีชา สามารถในการบริหาร ราชการแผ่นดิน (ตอนที่ ๓) ตอนจบ
๒๘
๓๖
๒๔
ราชวงศ์ตองอูหลัง สงครามยุทธหัตถี ๒๑๓๕
๔๐
Love or Loathe ?
๕๒ ๕๔
“๑๐ โรคร้ายที่แฝงมา กับลมหนาว”
๔๘ ๖๒ ๕๒
กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
๕๔ ๖๒
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
3
ทหารผ่านศึก....ใช่เพียง ค�ำจารึกของสังคม พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
"… ทหารผ่านศึกเป็นผูม้ เี กียรติ เพราะได้ เสียสละประโยชน์สุขส่วนตัวแม้กระทั่งเลือด เนื้อและชีวิต เพื่อบ้านเมืองและส่วนรวม… ...ขอให้ภูมิใจและตั้งใจรักษาเกียรติอัน แท้จริงที่มีอยู่นั้นไว้ทุกเมื่อ. " ข้ อ ความที่ อั ญ เชิ ญ มานี้ คื อ ข้ อ ความบาง ตอนของพระราชด�ำรัสพระราชทานเนื่องใน โอกาสวันทหารผ่านศึก ณ พระต�ำหนักจิตรลดา รโหฐาน เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๓๓ โดย เนื้ อ หาสาระได้ ท รงชี้ แ นะให้ สั ง คมไทยได้ ตระหนักถึงความส�ำนึกในบุญคุณแผ่นดินและ ความเสียสละของบรรดาทหารผ่านศึกที่มีต่อ แผ่นดินไทย โดยยอมเสียสละความสุขส่วนตัว เสียสละชีวิตร่างกายเพื่อส่วนรวมทั้งยังทรง 4
สร้างความภาคภูมิใจในเกียรติยศ ศักดิ์ศรีให้ บังเกิดขึ้นในจิตใจของทหารผ่านศึกทุกคน เมื่อ เป็ น เช่ น นี้ ทหารผ่ า นศึ ก จึ ง สมควรอั ญ เชิ ญ พระราชด�ำรัสพระราชทานบทนี้ไว้เหนือเกล้า เหนือกระหม่อม ส�ำหรับเป็นสรรพสิริมงคลแก่ ชีวิตและครอบครัวสืบไป ท่ า นผู ้ อ ่ า นทราบหรื อ ไม่ ว ่ า เหตุ ก ารณ์ สงครามเป็ น สิ่ ง ที่ เ ลวร้ า ยเพราะคร่ า ชี วิ ต ผู้คนเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดการบ้านแตก สาแหรกขาด เดือดร้อนไปทุกหย่อมหญ้า แต่สงิ่ ที่ตามมานั้นกลับให้ผลที่ร้ายแรงกว่าคือความ ทุ ก ข์ ข องครอบครั ว ที่ สู ญ เสี ย ผู ้ น� ำ ครอบครั ว ไปทิ้งให้ต้องอยู่กับความทุกข์ทรมาน ความ อดอยาก และทหารบางรายที่ ไ ม่ เ สี ย ชี วิ ต แต่ต้องพิกลพิการจากภัยสงคราม และต้อง
ด�ำรงชีวิตบนความไม่สมบูรณ์ของร่างกาย ไม่ สามารถหาเลี้ยงชีพได้อย่างแต่ก่อน นับว่าเป็น ความทุกข์ทรมานใจอย่างเหลือคณานับ แล้ว ท่านจะทนดูเขาเหล่านั้นและครอบครัวที่ต้อง ล�ำบากล�ำบนทนทุกข์อย่างแสนสาหัส เพื่อให้ ประชาชนข้างหลังทุกคนได้มีความสุขสบาย กระนั้นหรือ ? หากจะกล่าวถึงเรื่องทหารผ่านศึกแล้ว สิ่ง ส� ำ คั ญ ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด เสี ย งสะท้ อ นต่ อ สั ง คมให้ หันกลับมาแลมองพวกเขาเหล่านั้น สืบเนื่อง มาจากภายหลังสงครามมหาเอเชียบูรพาหรือ สงครามโลกครั้งที่ ๒ มีทหารไทยจ�ำนวนมาก ที่ถูกปลดจากการเป็นทหาร ในขณะที่ยังไม่มี ความพร้อมทั้งทางร่างกายหรือทางเศรษฐกิจ จึงส่งผลต่อความยากล�ำบากในการด�ำรงชีวิต พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
จึงได้เกิดกระแสเรียกร้องขอให้ทางราชการ พิ จ ารณาให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในการด� ำ รงชี พ และด้ ว ยความตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ความดี ข อง ทหารหาญที่เป็นกองก�ำลังหลักในการปกป้อง เอกราชรักษาอธิปไตยของประเทศ โดยพร้อม เผชิญหน้ากับอริราชศัตรูอย่างไม่หวั่นเกรงต่อ ภยันตรายใดๆ ทั้งนี้ ทหารทุกคนต่างยอมเสีย สละได้ทุกสิ่ง แม้แต่ชีวิต ร่างกาย รัฐบาลใน สมัยนัน้ จึงได้หาหนทางทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือ โดยมอบหมายให้ กระทรวงกลาโหม เป็นผู้ พิจารณาด�ำเนินการช่วยเหลือ ซึ่ง พลโทชิต มั่ น ศิ ล ป์ สิ น าดโยธารั ก ษ์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหมในขณะนั้ น จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการขึน้ มาคณะหนึง่ เมือ่ วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๔๘๘ โดยเรียกชือ่ ว่า “คณะกรรมการพิจารณา หาทางช่วยเหลือทหารกองทุน” เพื่อให้ความ ช่วยเหลือแก่เหล่าทหารที่สิ้นสุดปฏิบัติการรบ และกลับคืนสู่สังคม รวมถึงให้การช่วยเหลือ ครอบครั ว ทหารที่ ต ้ อ งสู ญ เสี ย หั ว หน้ า ครอบครัวจากการปฏิบัติการรบ ซึ่งในชั้นต้น ยังเป็นเพียงหน่วยงานช่วยเหลือที่ยังไม่เป็น ทางการ แต่ในเวลาต่อมาจ�ำนวนของทหารผ่านศึก และครอบครั ว ทหารผ่ า นศึ ก มี เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น จ�ำนวนมาก การด�ำเนินงานโดยคณะกรรมการ
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
จึงไม่รัดกุมและเหมาะสมกับเหตุการณ์ ดังนั้น ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๐ กระทรวงกลาโหม จึ ง ได้ มี ด� ำ ริ ที่ จ ะจั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานขึ้ น ต่ อ มา กระทรวงกลาโหมได้เสนอให้รัฐบาลบัญญัติ พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง องค์ ก ารสงเคราะห์ ทหารผ่านศึกขึ้น โดยได้ผ่านการเห็นชอบจาก รัฐบาล และได้มีการประกาศไว้ในราชกิจจา นุเบกษา เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๑ โดย กระทรวงกลาโหมได้ ท� ำ การแต่ ง ตั้ ง พลโท ชมะบูรณ์ ไพรีระย่อเดช เป็นผู้อ�ำนวยการ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกคนแรก โดยมี วัตถุประสงค์หลักในการให้ความช่วยเหลือแก่ ทหารผ่านศึกและครอบครัวในเบื้องต้น เมื่อ เป็นเช่นนี้ ทางราชการจึงได้ยึดเอาวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น "วันทหารผ่านศึก" ต่อมา ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๐ องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึกได้ปรับเปลี่ยนฐานะ
จากหน่ ว ยราชการมาเป็ น องค์ ก ารเพื่ อ การ กุศลของรัฐ และมีสถานะเป็นนิติบุคคลตาม กฎหมาย ด้วยการตรา พระราชบัญญัตอิ งค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก พุทธศักราช ๒๕๑๐ ขึ้นใหม่ โดยมีการขยายงานให้กว้างขวางมาก ขึ้ น และได้ รั บ การสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น ที่ ชั ด เจน ด้ ว ยเงิ น อุ ด หนุ น จากกระทรวงกลาโหมและ เงิ น ที่ รั ฐ บาลก� ำ หนดให้ เ ป็ น ครั้ ง คราว หลั ง จากนั้ น สภาทหารผ่ า นศึ ก สภากลาโหม และรัฐบาลได้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติ จัดตั้งองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก เพื่อ ขยายการสงเคราะห์ให้ครอบคลุมไปถึงทหาร ต�ำรวจ ข้าราชการพลเรือน และ พลเรือนที่ ปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันหรือปราบปราม การกระท� ำ อั น เป็ น ภั ย ต่ อ ความมั่ น คงหรื อ ความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร ทั้งภายใน และภายนอกประเทศตามที่กระทรวงกลาโหม ก� ำ หนด กั บ ทั้ ง ให้ ร วมมู ล นิ ธิ ช ่ ว ยทหารและ ครอบครัวทหารที่ไปช่วยสหประชาชาติท�ำการ รบ ด้วยการให้การสงเคราะห์ในด้านต่าง ๆ กล่าวคือ การสงเคราะห์ด้านการเกษตร โดยให้เข้า ประกอบอาชีพในนิคมเกษตรกร หรือนิคม ประมงขององค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ให้ค�ำแนะน�ำในการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ การ ประมงและการใช้เครื่องมือทุ่นแรง ติดต่อ ประสานงานกั บ ส่ ว นราชการและเอกชนที่ เกี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ให้ มี ที่ ดิ น หรื อ แหล่ ง น�้ ำ ท� ำ กิ น ตลอดจนให้ได้รับความสะดวกในการประกอบ อาชีพนั้น ๆ รวมทั้งการฝากเข้าท�ำกินในนิคม เกษตร นิคมสวนป่า หรือนิคมสหกรณ์ของส่วน ราชการอื่น ๆ ตลอดจนของเอกชนและยังเป็น 5
ประโยชน์ในด้านการรักษาความมั่นคงอีกด้วย การสงเคราะห์ ด ้ า นอาชี พ โดยจั ด ตั้ ง ศูนย์ฝึกอาชีพให้แก่ทหารผ่านศึก ครอบครัว ทหารผ่ า นศึ ก และทหารนอกประจ� ำ การ แนะน� ำ และส่ ง เสริ ม การประกอบอาชี พ การฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น สาขาต่าง ๆ ทั้งใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ จัดตั้ง โรงงานในอารักษ์ เพื่อรับผู้ที่ส�ำเร็จการอบรม จากศูนย์ฝกึ อาชีพขององค์การฯ ให้เข้าท�ำงาน ที่โรงงานในอารักษ์ จัดหางานให้ท�ำทั้งในและ นอกประเทศและค�้ำประกันการเข้าท�ำงาน การสงเคราะห์ ด ้ า นสวั ส ดิ ก ารและการ ศึกษา ซึ่งเป็นการสงเคราะห์ด้านสวัสดิการ ทั่ ว ไปกล่ า วคื อ การออกบั ต รประจ� ำ ตั ว ทหารผ่านศึกให้ความช่วยเหลือกรณีประสบ ภั ย พิ บั ติ ช ่ ว ยเหลื อ เงิ น เลี้ ย งชี พ รายเดื อ นแก่
ทหารผ่านศึกพิการทุพพลภาพจากการปฏิบัติ หน้าที่ ช่วยเหลือค่าฌาปนกิจศพกรณีถึงแก่ ความตาย ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาด้านกฎหมาย จ่ายเงินช่วยเหลือครั้งคราว จ่ายเงินเยี่ยมเยียน ช่วยเหลือทหารผ่านศึกที่ได้รับบาดเจ็บหรือ เจ็บป่วยจากการปฏิบตั หิ น้าที่ ให้การสงเคราะห์ ด้านการศึกษาจนจบระดับปริญญาตรีทั้งใน และนอกประเทศรวมทั้งให้ทุนการศึกษาแก่ บุ ต รทหารผ่ า นศึ ก และการสงเคราะห์ ด ้ า น ที่พักอาศัย การสงเคราะห์ ด ้ า นการรั ก ษาพยาบาล โดยจั ด ตั้ ง โรงพยาบาลทหารผ่ า นศึ ก ในส่ ว น กลาง โดยมีที่ตั้งอยู่บริเวณถนนวิภาวดีรังสิต เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารตรวจรั ก ษาโรคทั่ ว ไปแก่ ทหารผ่านศึก ครอบครัวทหารผ่านศึก ทหาร นอกประจ�ำการ และบุคคลทั่วไป จัดส่งหน่วย แพทย์เคลือ่ นทีอ่ อกไปให้บริการในส่วนภูมภิ าค บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งด้านร่างกายและ จิตใจแก่ทหารผ่านศึกพิการทุพพลภาพ จัดท�ำ อวั ย วะเที ย มและอุ ป กรณ์ ช ่ ว ยสภาพความ พิการรวมทัง้ รับทหารผ่านศึกพิการทุพพลภาพ จากโรงพยาบาลของเหล่าทัพมาให้การดูแล รักษาต่อไปจนถึงที่สุด การสงเคราะห์ ด ้ า นการให้ สิ น เชื่ อ โดย จั ด ตั้ ง กองทุ น สงเคราะห์ ไ ว้ เ พื่ อ ให้ สิ น เชื่ อ หรือให้กู้ยืมเงินแก่ทหารผ่านศึก ครอบครัว ทหารผ่านศึกและทหารนอกประจ�ำการทั้งราย บุคคลและกลุม่ เกษตรกรทหารผ่านศึก โดยคิด ดอกเบี้ยในอัตราต�่ำ เพื่อให้น�ำไปลงทุนในการ ประกอบอาชีพและอืน่ ๆ กล่าวคือ สินเชือ่ เพือ่ การเกษตรระยะสั้น สินเชื่อเพื่อการประกอบ
6
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
อาชี พ สิ น เชื่ อ เพื่ อ การสวั ส ดิ ก าร สิ น เชื่ อ เพื่อที่อยู่อาศัยและที่ดินท�ำกิน การสงเคราะห์ด้านการส่งเสริมสิทธิและ เกียรติ โดยประสานในการขอสิทธิพิเศษใน กิจการต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชน อาทิ การขอยกเว้นค่าธรรมเนียมบางประเภทให้ แก่ทหารผ่านศึกผู้ได้รับพระราชทานเหรียญ ชัยสมรภูม ิ ทหารผ่านศึกพิการทุพพลภาพจาก การรบ และครอบครัวทหารผ่านศึกผู้ถือบัตร ชั้นที่ ๑ การขอลดค่าโดยสารรถไฟ รถประจ�ำ ทาง (บางสาย) และเครื่องบิน การประกอบ อาชีพของทหารผ่านศึก โดยขอความร่วมมือ จากหน่วยงานต่าง ๆ ให้บรรจุทหารผ่านศึก เข้าปฏิบตั งิ าน การจัดบ�ำเพ็ญกุศลทางศาสนา ในวาระอันเป็นที่ระลึกของทหารผ่านศึก ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ ผู้เขียนใคร่ขอเรียนต่อ สาธารณชนว่า บรรดาทหารผ่านศึกคือผู้ที่ยอม ล�ำบากตรากตร�ำเพื่อให้พวกท่านมีกิน มีใช้ มี อยู่อย่างสบาย โดยปราศจากภัยคุกคามด้าน
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ความมั่นคงจากภายในและภายนอกประเทศ วันนี้เขาเหล่านั้นอาจใช้ชีวิตอย่างยากล�ำบาก หรือครอบครัวอาจต้องเผชิญปัญหาสารพัด จากผลพวงจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการของ หัวหน้าครอบครัว ซึ่งเขาเหล่านั้น อาจไม่ส่ง เสียงร้องขอจากสังคมเพราะเขารักในศักดิ์ศรี เขาภาคภูมิใจในเกียรติของเขา จึงไม่อาจท�ำ อะไรให้เป็นการท�ำลายเกียรติภูมิของเขา หาก แต่เป็นหน้าที่ของพวกท่านที่จะต้องหวนร�ำลึก ถึงความเสียสละของเขาแล้วหยิบยื่นความรัก ความปรารถนาดีแก่พวกเขา หรืออย่างน้อยก็ ขอให้หวนคิดบ้างว่ายังมีพวกเขาอยู่ร่วมสังคม กับท่าน ทหารผ่ า นศึ ก เหล่ า นั้ น อาจภาคภู มิ ใ จ มากยิ่ ง ขึ้ น หากสั ง คมไทยคิ ด ถึ ง พวกเขาใน วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ขออย่าเพียงจารึกค�ำว่า ทหารผ่านศึกเพียงในปฏิทิน เพราะท่านอาจ อยู่สบายจนลืมนึกถึงวันแห่งความยากล�ำบาก และสุ่มเสี่ยงต่อชีวิตของทหารหาญเหล่านี้เลย ขอเพียงท่านร�ำลึกถึงเขา ท่านคงจะได้เห็นรอย ยิม้ ทีเ่ ป็นสุขจากเขา ทีค่ ดิ ว่า สังคมไทยยังนึกถึง เขาอยู่ เพียงปีละหนึ่งวันก็คงพอ
7
แผ่นดิน
ของการปฏิรูประบบราชการ
พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชประวัติ พระปรีชาสามารถ ในการบริหารราชการแผ่นดิน (ตอนที่ ๓) ตอนจบ ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม 8
ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
(ต่อจากความเดิมฉบับที่แล้ว) พระมหากษัตริยท์ รงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ก�ำหนดให้ต�ำแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ซึ่งมีหน้าที่รับ สนองพระบรมราชโองการไปปฏิบัติตามความ รับผิดชอบในหน้าที่ราชการแผ่นดินของตน ประกอบด้วย อัครมหาเสนาบดี ๒ ต�ำแหน่ง และเสนาบดี ๔ ต�ำแหน่ง โดย ๑) อัครมหาเสนาบดี ประกอบด้วย สมุหกลาโหม, สมุหนายก ๒) เสนาบดี มี ๔ ต�ำแหน่ง คือ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง กรมนา ๒.๑) กรมเวียง หรือ นครบาล มีหน้าที่ ดู แ ลความสงบเรี ย บร้ อ ยและการตั ด สิ น คดี
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ความในเขตพระนครหลวง เสนาบดีมียศและ ราชทินนามเป็น เจ้าพระยายมราช ๒.๒) กรมวัง หรือ ธรรมาธิกรณ์ มี หน้ า ที่ ดู แ ลรั ก ษากฎมณเฑี ย รบาลและ พระราชวังชั้นนอก ชั้นใน ดูแลจัดการพระราช พิธีทั้งปวงทั่วไปเกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์ และตัดสินคดีที่เกี่ยวข้องกับคนในพระราชวัง ทั้ ง หมด เสนาบดี มี ย ศและราชทิ น นามเป็ น เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์ ๒.๓) กรมคลัง หรือ โกษาธิบดี มีหน้าที่ ดูแลเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของแผ่นดิน ตลอดจนการติ ด ต่ อ ค้ า ขายกั บ ต่ า งประเทศ นอกจากนั้ น ยั ง มี ห น้ า ที่ ดู แ ลกิ จ การพลเรื อ น และการทหารในหัวเมืองชายทะเลด้านตะวัน
ออกอีกด้วย เสนาบดีมียศและราชทินนามเป็น เจ้าพระยาคลัง ๒.๔) กรมนา หรื อ เกษตราธิ ก าร มีหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าว ค่านา จากราษฎรและพิจารณาคดีความที่เกี่ยวข้อง กั บ ที่ น า และโคกระบื อ เสนาบดี ย ศและ ราชทินนามเป็น เจ้าพระยาพลเทพ เมื่อแรกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ขุนนาง และข้ า ราชการยั ง คงมี ค วามส� ำ คั ญ ในฐานะ บุ ค คลที่ รั บ ราชการแผ่ น ดิ น สนองพระเดช พระคุณพระมหากษัตริย์ เป็นกลจักรส�ำคัญ ให้กับระบบบริหารราชการแผ่นดินเช่นสมัย กรุงศรีอยุธยา ขุนนางมีฐานะตั้งอยู่บนเกณฑ์ ๔ ประการ คือ ศักดินา ยศ ราชทินนาม และ
9
พระพุทธปฏิมากรและพระเจดียสถานส�ำคัญ ต่าง ๆ ถือว่าเป็นเครือ่ งราชสักการะอันพิเศษยิง่ จึงน่าจะเป็นมูลเหตุทกี่ ำ� หนดให้ตน้ ไม้เงินต้นไม้ ทองเป็นเครือ่ งราชบรรณาการส�ำคัญทีส่ ดุ ทีเ่ จ้า ประเทศราชต้องน้อมถวายแด่พระมหากษัตริย์ ไทย นอกจากนั้นในยามที่ไทยมีศึกสงคราม เจ้าประเทศราชก็มีหน้าที่จัดส่งก�ำลังทหารมา ช่วยรบเมื่อไทยร้องขอ เมื่อแรกสถาปนากรุง รัตนโกสินทร์ ไทยมีเมืองประเทศราช ดังนี้ ๑) ล้านนา ได้แก่ เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง เชียงแสน ๒) ลาว ได้แก่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ ต� ำ แหน่ ง เช่ น เจ้ า พระยาจั ก รี ศ รี อ งครั ก ษ์ จ�ำปาศักดิ์ ๓) เขมร เสียมราฐ พระตะบอง สมุหนายก ถือศักดินา ๑๐,๐๐๐ ไร่ ๔) หัวเมืองมลายู ได้แก่ ปัตตานี ไทรบุรี การปกครองส่วนภูมิภาค มีการแบ่งเมือง กลั น ตัน ตรังกานู ต่าง ๆ ออกเป็น ๓ ประเภท เช่นเดียวกับการ พระราชกรณียกิจการวางรากฐานระบบ ปกครองในสมัยกรุงศรีอยุธยา และกรุงธนบุรี บริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ คือ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก และเมือง นอกจากทรงก�ำหนดโครงสร้างการปกครอง ประเทศราช การปกครองส่วนท้องถิน่ แบ่งการปกครอง ดินแดนต่าง ๆ ในขอบขัณฑสีมาแล้ว พระบาท ออกเป็น ๑) แขวง มีหมื่นแขวงปกครองเทียบ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรง ได้กบั นายอ�ำเภอในปัจจุบนั ๒) ต�ำบล มีพนั เป็น วางรากฐานระเบียบบริหารราชการแผ่นดินขึน้ ผู้ปกครองเทียบได้กับก�ำนันในปัจจุบัน และ ๓) ใหม่ ทรงเป็นนักบริหารจัดการภาครัฐที่ยอด บ้าน มีทนายเป็นผู้ปกครองเทียบได้กับผู้ใหญ่ เยี่ยมเหมาะแก่กาลสมัยด้วยนโยบายส�ำคัญ ๒ ด้าน พร้อม ๆ กัน คือ การสร้างความมั่นคงให้ บ้านในปัจจุบัน การปกครองเมืองประเทศราช หัวเมือง บ้านเมืองทั้งในฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักร ประเทศราชเป็ น เมื อ งภายนอกพระราช ได้แก่ กิจการด้านพระพุทธศาสนาและการ อาณาจักร เมืองเหล่านี้มีกษัตริย์ของตนเอง บริหารราชการแผ่นดิน ด้วยมีพระราชด�ำริว่า ปกครองตามรู ป แบบจารี ต และวั ฒ นธรรม บ้านเมืองที่มั่นคงบริบูรณ์นั้นจะต้องมีกิจการ ของตน ยอมรับในอ�ำนาจของไทย พระมหา ทัง้ สองด้านนีเ้ ป็นหลักค�ำ้ จุน และ “หลักค�ำ้ จุน” กษัตริย์ไทยมีฐานะเป็นเพียง “เจ้าอธิราช” ทั้งสองจะต้องเป็นหลักให้แก่กันและกันด้วย คือ ทรงด�ำรงอยู่ในฐานะผู้ที่เจ้าครองนครต่าง หากหลักใดหลักหนึ่งขาดความมั่นคงแล้วย่อม แดนเหล่านั้นต้องเคารพสักการะและยอมรับ มี ผ ลให้ อี ก หลั ก หนึ่ ง เสี ย ความสมดุ ล ไปด้ ว ย ธรรมเนี ย มการส่ ง เครื่ อ งราชบรรณาการมา และหากหลักทั้งสองของบ้านเมืองเสียสมดุล ถวายเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของความเคารพและ ยอมรับในพระราชอ�ำนาจของกษัตริย์ไทย โดย เครื่องราชบรรณาการประกอบด้วยสิ่งส�ำคัญ ที่สุดคือ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง อันเป็นสัญลักษณ์ ทางวัตถุที่แสดงการเคารพสักการะอย่างยิ่ง ทั้ ง โดยรู ป แบบการประดิ ษ ฐ์ อ ย่ า งประณี ต งดงามและด้วยมูลค่าของโลหะวัตถุที่น�ำมา ประดิษฐ์เป็นต้นไม้เงินต้นไม้ทอง เนื่องจาก ตามธรรมเนียมไทยนั้น พระมหากษัตริย์ทรง ใช้ต้นไม้เงินต้นไม้ทองในการถวายสักการะ 10
ไปแล้วไซร้ ก็ย่อมหมายถึงความเสื่อมของบ้าน เมืองนั้นด้วย การบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ ของพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชใน การทรงสร้างดุลยภาพระหว่างฝ่ายพุทธจักร และอาณาจั ก รให้ ส ามารถเป็ น หลั ก พึ่ ง พิ ง ของกันและกันได้นี้ เป็นกลยุทธ์การบริหาร จัดการภาครัฐที่เหมาะควรแก่กาลสมัยอย่าง ยิ่ง ด้วยในยุคนั้นราชอาณาจักรเพิ่งฟื้นตัวขึ้น จากการล่มสลายของศูนย์กลางอ�ำนาจและ การบริหารราชการแผ่นดินคือกรุงศรีอยุธยา ภายใต้ ก ระบวนการสร้ า งบ้ า นแบ่ ง เมื อ งขึ้ น ใหม่นั้น ผู้น�ำรัฐคือพระมหากษัตริย์ทรงต้อง ด�ำเนินยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ในการบริหาร จัดการอย่างสุขุมคัมภีรภาพ ในยุคที่พระพุทธ ศาสนามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการชี้ น� ำ สั ง คมได้ ด้ ว ยกระบวนการทางจิ ต วิ ญ ญาณนี้ มี ค วาม จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งสร้ า งเอกภาพและ ความบริสุทธิ์เที่ยงธรรมให้เกิดขึ้นกับสถาบัน พระพุทธศาสนาเพื่อให้พระพุทธศาสนามีพลัง ในการชี้ น� ำ การเมื อ งการปกครองได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ การวางรากฐานการบริหารในฝ่ายพุทธจักร พระพุทธศาสนาและคณะสงฆ์มีบทบาทส�ำคัญ ในการปกครองและบริหารบ้านเมืองในสยาม ประเทศมาตั้ ง แต่ โ บราณ แม้ พ ระสงฆ์ จ ะ ไม่ มี บ ทบาทและหน้ า ที่ ใ นกิ จ การบ้ า นเมื อ ง แต่ ด ้ ว ยฐานะของสถาบั น และพระสงฆ์ ชี้ น� ำ ศรัทธาแก่สังคม ท�ำให้พระพุทธศาสนาและ สถาบันสงฆ์สามารถเข้าไปมีบทบาทในฝ่าย อาณาจักร คือ การบริหาราชการแผ่นดินได้ หมายถึ ง การจรรโลงให้ ก ารบริ ห ารราชการ แผ่นดินมีความบริสุทธิ์ เที่ยงธรรม ดังนั้น การ สร้างความบริสุทธิ์เที่ยงธรรมให้กับพระพุทธ ศาสนาและสถาบันสงฆ์จึงมีความจ�ำเป็นไม่ยิ่ง หย่อนไปกว่าการวางรากฐานระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน เพราะหากบุคคลซึ่งเป็นกล จั ก รส� ำ คั ญ ของการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ขาดเสียซึ่งคุณธรรมย่อมน�ำพาบ้านเมืองไปสู่ ความล่มสลาย การวางรากฐานฝ่ายอาณาจักร หลักฐาน อันเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งแสดงถึงความตั้ง พระราชหฤทั ย และการเร่ ง ปฏิ บั ติ ข องพระ ปฐมบรมราชจักรีวงศ์ ในการที่จะท�ำให้ฝ่าย พุ ท ธจั ก รและอาณาจั ก รมี ค วามมั่ น คงเที่ ย ง ธรรม สามารถเป็นหลักค�ำ้ จุนบ้านเมืองได้อย่าง ถาวร คือ กฎหมายตราสามดวง หรือที่เรียกกัน ว่าประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑ เป็นผลิตผล อันวิเศษยิ่งในการวางรากฐานระบบบริหาร ราชการแผ่นดินของกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งได้ สร้างขึ้นในฐานะเป็นภาพสะท้อนการก่อตัว ใหม่ของกรุงศรีอยุธยา กฎหมายตราสามดวง แท้จริงคือพระราชก�ำหนดกฎหมายเดิมจาก ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
สมัยกรุงศรีอยุธยาที่พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ฯ ให้ชำ� ระและจัดระบบใหม่ เพือ่ ให้สามารถ ใช้ เ ป็ น หลั ก ในการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ในราชธานี ใ หม่ แ ละทั่ ว พระราชอาณาเขต ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งเที่ ย งธรรม อย่ า งไรก็ ต าม เมื่อศึกษากฎหมายตราสามดวงโดยละเอียด แล้วจะเห็นได้ว่าหลักฐานอันเป็นลายลักษณ์ อักษรชิ้นนี้ มิได้มีสาระอยู่เพียงเป็นประมวล กฎหมายส�ำหรับการพิพากษาอรรถคดีเท่านั้น สาระของกฎหมายตราสามดวงนั้นกว้างกว่า ขอบเขตเฉพาะเรื่ อ งกฎหมายมากนั ก อาจ กล่าวได้ว่า กฎหมายตราสามดวงคือ “คู่มือ การบริหารราชการแผ่นดิน” ส�ำหรับพระมหา กษัตริย์ พระราชวงศ์ ขุนนาง ตลอดไปจนถึง สถาบันสงฆ์ได้อีกสถานหนึ่งกล่าวคือ นอกจาก จะเป็น “ประมวลกฎหมายตามชื่อแล้ว ยัง มีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เป็นพระอัยการ พระ ราชก�ำหนดเป็นเสมือนหลักส�ำหรับการบริหาร ราชการแผ่นดินและกฎพระสงฆ์ซึ่งเป็นหลัก ส�ำคัญที่ใช้ในการบริหารงานฝ่ายพุทธจักรด้วย ตัวอย่างส�ำคัญในส่วนที่กล่าวว่ากฎหมายตรา สามดวงเป็นเสมือนคู่มือการบริหารราชการ แผ่นดินทีค่ วรยกมากล่าวคือ การแสดงระเบียบ ในการใช้ ต ราประทั บ ทางราชการซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งหมายแสดงทั้ ง ความรั บ ผิ ด ชอบของ ข้าราชการและการให้อ�ำนาจแก่ข้าราชการผู้ หนึง่ ได้ปฏิบตั ริ าชการต่างพระเนตร พระกรรณ ในการบริหารราชการต่างประเภทก็จ�ำต้องมี ตราประทับหนังสือราชการที่มีลักษณะแตก ต่างกันไปด้วย และทีส่ ำ� คัญข้าราชการต้องรูจ้ กั การใช้ตราประทับให้ถูกต้อง เพื่อแสดงความ แตกต่างของงานราชการ และภาระรับผิดชอบ ของนักบริหารแต่ละคนด้วย “...ให้ ต ราพระราชกฤษฎี ก าประยั ด ประเดี ย งแก่ เ จ้ า พญาแลพญาพระหลวงหั ว เมืองมนตรีมุคลูกขุน ราชนิกูลหัวหมื่นหัวพัน สรรพก� ำ นั น ทั้ ง ปวงทุ ก ตระทรวงฝ่ า ยทหาร พลเรือนซ้ายขวา ตัง้ แต่นไี้ ปเมือ่ หน้า ถ้าแลกรม ใดแลจะใช้ตราด้วยราชการแลกิจการสถานสพ มาตรา แลตัง้ ขุนหมืน่ แลเรียกค่าไร่นาอากรสม ภักษร ขนอนตลาดน�ำ้ ลหารหัวป่าค่าทีเ่ ชิงเรือน ให้ใช้ตามตระทรวงซึ่งได้ใช้คือตรามหาดไทย ตรากะลาโหม แลตราจตุสดมภ์ทั้งสี่ ตราพญา พระเสดจ ตราพญาเดโช ตราพญาท้ายน�้ำ ตรา พระอาลักษณ ตราพระโหราธิบดี ตราพญา ราชภักดี ตราพระศรีพิพัทธ ตราพระราชสุภา วดี ตราพระสุรัสวดี ตราษารภากอน ตราหลวง อ�ำมาต ตราหลวงธรรมไตรโลก ตราขุนหลวง พระไกรศรี ตราขุนกระเสม ตราขุนเทพอรชุน ตราขุนราชนิกุล ตราขุนธรเนน ตราขุนเทเพน ตามตระทรวงซึ่งมีในพระธรรมนูน...” หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
กฎหมายตราสามดวงหรื อ ประมวล กฎหมายรั ช กาลที่ ๑ นั้ น เป็ น แม่ บ ทที่ ใ ช้ ปกครองราชอาณาจักรสมัยรัตนโกสินทร์ตอน ต้ น ซึ่ ง กฎหมายนี้ เ ดิ ม เป็ น กฎหมายที่ ใ ช้ ใ น กรุงศรีอยุธยาตอนปลายมาก่อน ในรัชสมัย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก มหาราช กฎหมายดังกล่าวที่ใช้พิจารณาตัดสิน
พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ า โลกมหาราชทรงมุ ่ ง เน้ น ความส� ำ คั ญ ของ ทรัพยากรบุคคลในการบริหารจัดการภาครัฐ ของพระองค์เป็นอย่างยิ่งในฐานะผู้น�ำองค์กร พระองค์ทรงรู้จักทรัพยากรบุคคลในองค์กร ของพระองค์เป็นอย่างดี ทั้งด้วยความสัมพันธ์ ทางเครือญาติและความสัมพันธ์ฐานะเพื่อน ร่วมงานทีม่ มี าแต่รชั กาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ท�ำให้ทรงสามารถวางกลยุทธ์ในการ จัดการทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ คื อ ทรงทราบว่ า จะโปรดเกล้ า ฯ ให้ พ ระ ราชวงศ์ ห รื อ ข้ า ราชการท่ า นใดรั บ ราชการ สนองพระเดชพระคุณด้านใดจึงจะเหมาะสม พระองค์ทรงชุบเลี้ยงบุคคลผู้มีความรู้ความ สามารถในด้านต่าง ๆ ให้ได้เป็นข้าราชการใน รัชกาลของพระองค์เป็นจ�ำนวนมาก ที่ส�ำคัญ คือ เจ้าพระยามหาเสนา (ปลี) เจ้าพระยา คดีตา่ ง ๆ มีบทบัญญัตแิ ละบทลงโทษไม่ตรงกัน รัตนาพิพิธ (สน) เจ้าพระยายมราช (ทองอิน) ท�ำให้เกิดปัญหาต่อการปกครองบ้านเมือง จึง เจ้าพระยาเพชรพิชัย เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ช�ำระกฎหมาย เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด) เจ้าพระยา ทั้งหมดให้ถูกต้องตรงกันเมื่อช�ำระแล้วโปรด พลเทพ (ปิ ่ น ) เจ้ า พระยานครศรี ธ รรมราช ให้ประทับตรา ๓ ดวงไว้เป็นส�ำคัญ ได้แก่ ตรา (พัฒน์) เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ราชสีห์ ตราคชสีห์และตราบัวแก้ว กฎหมาย เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) เจ้าพระยาอภัย ฉบับนี้จึงนิยมเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง ภูเบศร์ (แบน) พระยาธรรมปรีชา (แก้ว) พระยา และใช้ปกครองบ้านเมืองสืบต่อมาจนถึงรัช จุ ฬ าราชมนตรี (ก้ อ นแก้ ว ) ซึ่ ง ท่ า นเหล่ า นี้ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ล้วนเป็นข้าราชการที่รับราชการมาตั้งแต่ครั้ง การสร้างประสิทธิภาพให้แก่ข้าราชการ ปลายกรุงศรีอยุธยาและตลอดรัชสมัยสมเด็จ ข้ า ราชการเป็ น ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ ส� ำ คั ญ ใน พระเจ้ากรุงธนบุรีและได้มาเป็นก�ำลังส�ำคัญ การบริ ห าราชการแผ่ น ดิ น ถื อ เป็ น เสมื อ น ในระบบบริหารราชการแผ่นดินของพระบาท จักรกลทีจ่ ะท�ำให้ระบบบริหารราชการแผ่นดิน สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ยัง ด� ำ เนิ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและอ� ำ นวย ผลให้ระบบบริหารราชการแผ่นดินในยุคแรก ประโยชน์สุขแก่ประเทศชาติและประชาชน สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สามารถเข้าสู่ความ ได้อย่างสมบูรณ์ การมีข้าราชการที่ดีมีความ เป็นเอกภาพและมั่นคงได้อย่างรวดเร็ว การ สามารถจึงเป็นความคาดหวังส�ำคัญของการ วางรากฐานระบบบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น และการสร้างประสิทธิภาพของข้าราชการใน บริหารราชการแผ่นดินของไทยทุกยุคสมัย พระบรมราโชบายที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา ของพระปฐมบรมจักรีวงศ์ คือ การบริหาร โลกมหาราชประสบความส�ำเร็จอย่างงดงาม ราชการแผ่นดินให้เป็นเอกภาพมั่นคงได้ด้วย และยังผลให้ไทยกลับสู่ความเป็นเอกภาพอีก การมี ข ้ า ราชการที่ ดี ปรากฏหลั ก ฐานเป็ น ครั้ง นอกจากนั้นยังส่งผลให้พระมหากษัตริย์ ลายลักษณ์อักษรจ�ำนวนไม่น้อย ที่แสดงว่า พระองค์ต่อมา คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก เลิศหล้านภาลัยทรงสามารถสืบทอดพระราช มหาราชโปรดบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ภาระในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปได้ เข้ารับราชการ และบุคคลเหล่านั้นต่างเจริญ อย่างราบรื่น ก้าวหน้าในราชการด้วย สถานการณ์บ้านเมือง ในระยะแรกตั้ ง กรุ ง เทพมหานคร การศึ ก สงครามกับพม่ายังเป็นพระราชภาระส�ำคัญ ที่ ต้องเอาพระราชหฤทัยใส่อย่างยิ่ง งานราชการ ในระยะแรกของการสถาปนาพระมหานคร จึงเน้นไปที่ราชการสงคราม ดังเป็นที่กล่าว กันอยู่เสมอว่า “ในรัชการที่ ๑ ใครมีฝีมือใน ทางรบทัพจับศึกก็เป็นคนโปรด” ซึ่งเป็นค�ำ กล่าวที่ไม่เกินความเป็นจริงแต่อย่างใด เพราะ สถานการณ์บ้านเมืองบังคับ 11
ความก้าวหน้าการพัฒนา
โรงพยาบาลทหารผ่านศึก องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
โ
รงพยาบาลทหารผ่ า นศึ ก ก่ อ ก� ำ เนิ ด ตามพระราชด� ำ ริ ข องพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงเห็นความ ยากล� ำ บากของทหาร ต� ำ รวจ ข้ า ราชการ พลเรือน อาสารักษาดินแดน และอาสาสมัคร ผู้ได้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อรักษาความมั่นคงและ ความปลอดภั ย ของชาติ จนได้ รั บ บาดเจ็ บ ถึ ง พิ ก ารทุ พ พลภาพ มี ค วามยากล� ำ บากใน การที่จะใช้ชีวิตประจ�ำวัน และการประกอบ อาชีพของตน จึงมีพระราชด�ำริที่จะจัดให้มี ศูนย์ฟื้นฟูบ�ำบัดทหารผ่านศึกพิการขึ้นตาม มติสภาทหารผ่านศึก เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๔๙๑ และได้ขยายหน่วยงานโดยจัดตั้งขึ้น เป็นหน่วยปฏิบัติการด้านการรักษาพยาบาล 12
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
แก่ทหารผ่านศึกนอกประจ�ำการ ซึ่งมีสถานที่ ตั้งแรกเริ่ม อยู่ ณ ห้องท�ำงานชั้นล่างที่ท�ำการ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกเก่าบริเวณ ศาลหลักเมือง และมีพระมหากรุณาธิคณ ุ โปรด เกล้าโปรดกระหม่อม เสด็จพระราชด�ำเนินทรง เปิดอาคารกองแพทย์ด้วยพระองค์เอง เมื่อวัน ศุกร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๑๓ และต่อมาได้มีการ ปรับปรุงให้เป็นโรงพยาบาลทหารผ่านศึก ถนน วิภาวดีรังสิตในปัจจุบัน ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๐ โรงพยาบาล ทหารผ่านศึกได้กอ่ สร้างอาคารเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นอาคาร ๑๒ ชั้น และขยายขีดความ สามารถจากโรงพยาบาล ๓๐๐ เตี ย งเป็ น โรงพยาบาล ๕๐๐ เตี ย ง โดยได้ รั บ พระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากสมเด็ จ พระเทพรั ต ราช สุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ มาเป็ น องค์ประธานในพิธีเปิดอาคารเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ และได้รับพระราชทานชื่อ อาคารว่า อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษาโรงพยาบาลทหารผ่ า นศึ ก ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งการปรับปรุงด้าน อาคารสถานที่และภูมิทัศน์ เพื่อรองรับการให้ บริการต่าง ๆ ด้วยบรรยากาศที่สวยงามและมี มาตรฐานด้านความปลอดภัย การพั ฒ นาด้ า นการรั ก ษาพยาบาลได้ พัฒนาการให้บริการทางการแพทย์แบบครบ วงจร เพื่อให้ผู้มารับบริการเกิดความพึงพอใจ
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
สูงสุด มีทีมแพทย์สหสาขาที่มีความช�ำนาญ ทั้ง โรคอายุรกรรมทัว่ ไปและคลินกิ เฉพาะทาง เช่น ศูนย์กายภาพบ�ำบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกาย ศูนย์ไตเทียมชีววัฒนะ ศูนย์ทันตกรรมแบบครบวงจร ศูนย์อายุร วัฒน์ให้บริการดูแลผู้ป่วยสูงอายุ ศูนย์มะเร็ง เต้านม ศูนย์วินิจฉัยรังสีและการจัดหากาย
อุปกรณ์เทียมเพื่อทดแทนอวัยวะรวมทั้งการ จั ด หาอุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ที่ มี เ ทคโนโลยี สู ง ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ เพิ่ ม ความแม่นย�ำในการวินิจฉัยโรค เช่น เครื่อง MRI, CT SCAN, mammogram เครื่ อ ง X-RAYUltrasound ระบบดิ จิ ต อล เครื่ อ ง ตรวจมวลกระดูกเครื่องมอเตอร์เจาะกะโหลก
13
ปั จ จุ บั น การแกะสลั ก ไม้ วิ จิ ต รศิ ล ป์ ข อง ทหารผ่ า นศึ ก พิ ก ารทุ พ พลภาพ อยู ่ ใ นการ ดูแลรับผิดชอบของแผนกกิจกรรมบ�ำบัด กอง เวชศาสตร์ฟื้นฟูและออร์โธปิดิคส์ โรงพยาบาล ทหารผ่านศึกซึง่ การแกะสลักไม้ภาพวิจติ รศิลป์ สามารถน� ำ ไปประกอบอาชี พ และสร้ า งราย ได้แก่ทหารผ่านศึก (เช่นการแกะสลักภาพ วิจิตรศิลป์บนบานประตูพระอุโบสถ กรอบรูป โต๊ะหมู่บูชา ฯลฯ) การสอนงานศิลปประดิษฐ์ไทย – โอชิเอะ เป็นศิลปไทยประยุกต์ประเภทหนึง่ ซึง่ ดัดแปลง ผสมผสานรู ป แบบงานประยุ ก ต์ จ ากญี่ ปุ ่ น และไทยผสม เป็นงานที่ต้องประดิษฐ์ด้วยมือ (HAND MADE) เป็นภาพนูนสามมิติ ผู้ที่น�ำ ศิลปะมาประยุกต์ดัดแปลงโดยการผสมผสาน รูปแบบจนได้รับความส�ำเร็จ เป็นชาวญี่ปุ่น คือ “ อาจารย์เทรุโอะโยมูระ” ศิลปะการตกแต่งเครื่องเซรามิค ได้รับการ สนับสนุนอาจารย์ผู้ฝึกสอนและมอบเตาเผา เซรามิค จากสมาคมแม่บา้ นองค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก เป็นการพัฒนาอาชีพและเพิ่ม ช่องทางการประกอบอาชีพ ให้มีความหลาก หลายผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่นแก้ว จาน ชาม ชุดน�้ำ ชา ชุดจัดเลีย้ ง สวยงามมีคณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ และมียอดการสั่งซื้อเป็นจ�ำนวนมาก การฝึกอาชีพทั้งหลายนอกจากจะเป็นการ สืบทอดมรดกไทยแล้ว ยังสามารถสร้างขวัญ ก�ำลังใจแก่ทหารผ่านศึกผู้พิการทุพพลภาพให้ กลับมาเห็นคุณค่าในตนเอง ใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์และพัฒนาศักยภาพของตนจน กลายเป็นอาชีพและมีรายได้เลี้ยงครอบครัว ต่อไปได้ในอนาคต จึงถือได้ว่าโรงพยาบาล ทหารผ่านศึกได้ด�ำเนินงานสนองพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งด้าน ด้วยระบบไฟฟ้าความเร็ว เครื่องวัดความดัน ตาแบบอัตโนมัติโดยในขณะนี้ได้เปิดให้บริการ อย่างเต็มรูปแบบ และได้รับความไว้วางใจจาก บุคคลส�ำคัญในการมาใช้บริการหลายท่าน เนื่องจากโรงพยาบาลฯมีภารกิจในการดูแล ผู้ป่วยทหารผ่านศึกพิการโดยเน้นการฟื้นฟู บ�ำบัดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ส่งเสริมให้มี การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์จึงได้จัดตั้ง ศูนย์กิจกรรมบ�ำบัดและฝึกอาชีพเพื่อส่งเสริม การประกอบอาชีพให้ทหารผ่านศึกที่พักรักษา ตัวในโรงพยาบาลให้มีรายได้เลี้ยงดูตนเอง การแกะสลั ก ไม้ วิ จิ ต รศิ ล ป์ ซึ่ ง ในอดี ต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ ให้ พ ลตรี ขุ น ปทุ ม โรคประหาร เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ฝึกอาชีพพระราชทาน และท�ำการฝึกสอนแกะสลักไม้ให้ทหารผ่านศึก พิการทุพพลภาพ ส�ำหรับเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพต่อไปหลังจากปลดประจ�ำการ 14
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
การฟื้นฟูบ�ำบัดและการส่งเสริมอาชีพให้เขา เหล่านั้นสามารถด�ำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างมี คุณค่าและมีเกียรติในสังคม ซึ่งตลอดระยะ เวลาที่ผ่านมามีคณะบุคคลส�ำคัญ หน่วยงาน ต่ า งๆและประชาชนทั่ ว ไป เข้ า เยี่ ย มบ� ำ รุ ง ขวัญก�ำลังใจรวมถึงการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ กับทหารผ่านศึก แสดงให้เห็นว่าถึงแม้เหล่า ทหารผ่ า นศึ ก เหล่ า นี้ จ ะหมดภาระหน้ า ที่ ใ น การปฏิบัติราชการแต่ทหารกล้าทั้งหลายยังคง อยู่ในความระลึกถึงและเป็นบุคคลที่ควรได้รับ การยกย่องในสังคมเสมอมา โรงพยาบาลทหารผ่ า นศึ ก เปิ ด ให้ บ ริ ก าร ในเวลาราชการตั้งแต่ ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐น. และ นอกเวลาราชการ ๑๖.๐๐-๒๐.๐๐ น.เสาร์-อาทิตย์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๒.๐๐ น.และ บริ ก ารฉุ ก เฉิ น ๒๔ ชม.ซึ่ ง ผู ้ ป ่ ว ยสามารถ ใช้ สิ ท ธิ์ เ บิ ก ค่ า รั ก ษาพยาบาลตามสิ ท ธิ์ ต ้ น สังกัดได้ ส�ำรับผู้ที่สนใจสนับสนุนผลิตภัณฑ์ ฝีมือทหารผ่านศึกสามารถสั่งซื้อได้ที่ร้านค้า สวัสดิการโรงพยาบาลทหารผ่านศึก และ ร้าน หนึ่งนิคมหนึ่งผลิตภัณฑ์ องค์การสงเคราะห์ ทหารผ่ า นศึ ก ถนนราชวิ ถี สอบถามราย ละเอียดเพิ่มเติม โทร ๐-๒๖๔๔-๙๔๐๐ ทุกวัน ตลอด ๒๔ ชม.
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
15
การประชุมคณะกรรมการ ชายแดนทั่วไป ไทย – กัมพูชา
ครั้งที่ ๑๐ ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
ก
ารประชุมคณะกรรมการชายแดน ทั่วไป (กชท.) ไทย – กัมพูชา ครั้งที่ ๑๐ จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมี ฯพณฯ พลเอก เตียบันห์ รองนายก รัฐมนตรี/รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา และ ฯพณฯ พลเอก ประวิ ต ร วงษ์ สุ ว รรณ รองนายกรั ฐ มนตรี / 16
รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหมแห่ ง ราช อาณาจักรไทย เป็นประธานร่วม การประชุม ด�ำเนินไปด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นมีไมตรีจิต และสร้างสรรค์ สะท้อนถึงความสัมพันธ์ฉัน เพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดกันระหว่างทั้งสองประเทศ โดยการประชุ ม เป็ น การด� ำ เนิ น การตาม ความตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ชายแดน ระหว่างทั้งสองประเทศ วัตถุประสงค์ส�ำคัญ
เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ด้ า นความสงบ เรียบร้อยและมั่นคงปลอดภัยในพื้นที่ชายแดน รวมทั้ ง เพื่ อ เป็ น การกระชั บ ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างกองทัพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้าน ความมั่นคงของไทยกับกัมพูชาให้แน่นแฟ้น ยิ่งขึ้นอีกด้วย ผลการประชุมครั้งนี้ ยืนยันถึงการกระชับ ความร่วมมือซึง่ กันและกันอย่างแน่นแฟ้น ดังนี้ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
๑. ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบความร่วมมือที่จะ เสริ ม สร้ า งความมั่ น คงและรั ก ษาความสงบ เรียบร้อยในพื้นที่ชายแดนของทั้งสองประเทศ ภายใต้กรอบคณะกรรมการ GBC สิ่งนี้รวมถึง การบริ ห ารจั ด การแรงงานต่ า งด้ า วในไทย ตามความตกลงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ ทั้งสองประเทศ ๒. ทั้ ง สองฝ่ า ยเห็ น ชอบความร่ ว มมื อ ใน กันการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ การเอาเปรี ย บแรงงาน และกิ จ กรรมที่ ผิ ด กฎหมายทุกรูปแบบในพื้นที่ชายแดน รวมถึง การลักลอบขนยาเสพติด การตัดไม้ท�ำลายป่า อย่างผิดกฎหมาย และกิจกรรมข้ามแดนที่ผิด กฎหมายต่าง ๆ และเพื่อเป็นการส่งเสริมความ ปลอดภัยทางทะเล ทัง้ นี้ การบังคับใช้กฎหมาย และขั้นตอนการปฏิบัติที่จะอยู่บนพื้นฐานด้าน มนุษยธรรม
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
17
๓. ทั้ ง สองฝ่ า ยร่ ว มมื อ ในการปรั บ ปรุ ง คุณภาพชีวิตของประชาชนตามแนวชายแดน เช่ น ด้ า นการค้ า ชายแดน โดยเฉพาะเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ การเกษตร สาธารณสุข การท่องเที่ยว รวมทั้ง การศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ทีป่ ระชุมยินดีกบั ผลลัพธ์ในทางบวก ของการเยือนราชอาณาจักรกัมพูชาของนายก รัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย ระหว่างวันที่ ๓๐ - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ซึ่งช่วยเสริมสร้าง และกระชับความสัมพันธ์ที่มีอยู่ให้แน่นแฟ้น และใกล้ชิดยิ่งขึ้นระหว่างทั้งสองประเทศ ๔. ทั้ ง สองฝ่ า ยเห็ น ชอบที่ จ ะเสริ ม สร้ า ง พัฒนาสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานความมั่นคง ในพื้นที่ชายแดนในการรักษาความมั่นคงและ ความสงบเรียบร้อยให้เป็นไปอย่างยั่งยืน
18
ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม
๕. ทั้ ง สองฝ่ า ยเห็ น ชอบที่ จ ะสนั บ สนุ น ความร่ ว มมื อในการต่ อต้านการก่อการร้าย โดยติดตามตรวจสอบอย่างเข้มงวดกวดขันใน กิจกรรมการเคลื่อนไหวของขบวนการก่อการ ร้าย และลักลอบค้าอาวุธ ผ่านช่องทาง หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ข่ า วสารระหว่ า ง หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง สองประเทศ เพื่ อ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความสงบเรี ย บร้ อ ยและความมี เสถี ย รภาพในพื้ น ที่ ช ายแดน ทั้ ง นี้ ร าช อาณาจักรไทยจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม
คณะกรรมการชายแดนทั่วไป ไทย - กัมพูชา ครั้งที่ ๑๑ โดยจะแจ้งก�ำหนด วัน เวลา และ สถานที่ ให้ทราบต่อไป
19
แนวทางพัฒนาการปฏิบัติการ ทางทหารร่วมกับอาเซียน ในภารกิจการช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและ การบรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) ของกองทัพไทย (ตอนที่ ๑)
ส
นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล
มาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉี ย งใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่ อ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริม สั นติ ภาพและความมั่ น คงของภูมิภ าค และ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่าง ประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ในปี ๕๘ อาเซียนทั้ง ๑๐ ประเทศจะรวมกลุ่มกันเป็น ประชาคม (ASEAN Community) ตามค�ำขวัญ ของอาเซียนในกฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ "วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว”(One Vision, One Identity, One Community) โดย ได้ก�ำหนดเสาหลัก (Pillar) คือ ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น และประชาคมสั ง คม วัฒนธรรมอาเซียน ทั้งนี้ กองทัพไทยได้รับผิด ชอบในเรื่องความร่วมมือในเสาหลักประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน สภาวะแวดล้ อ มความมั่ น คงที่ ส ่ ง ผล กระทบต่อเสาหลักประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน ได้แก่ ๑. ก�ำลังอ�ำนาจทางภูมริ ฐั ศาสตร์ (Geopolitics) แล้ ว จะพบว่ า ภู มิ ภ าคอาเซี ย นตั้ ง อยู ่ 20
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียน สาธารณรัฐเกาหลี สมัยพิเศษ (ASEAN - Republic of Korea Commemorative Summit) ระหว่างวันที่ ๑๑ - ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ นครปูซาน สาธารณรัฐเกาหลี บนจุ ด ยุ ท ธศาสตร์ โ ลก เป็ น ที่ ร วมของผล ประโยชน์ ข องประเทศมหาอ� ำ นาจของโลก อันได้แก่สหรัฐฯและชาติพันธมิตรที่พยายาม รั ก ษาอิ ท ธิ พ ล/ผลประโยชน์ แ ละบทบาท
น� ำ ในเวที ก ารเมื อ งระหว่ า งประเทศต่ อ จี น รั ส เซี ย และกลุ ่ ม ประเทศตะวั น ออกกลาง รวมทั้งพยายามก�ำจัดกลุ่มก่อการร้ายที่มอง สหรั ฐ ฯและพั น ธมิ ต ร คื อ เป้ า หมายในการ นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล
ท� ำ ลาย ส� ำ หรั บ อาเซี ย นแล้ ว ต้ อ งคงปรั บ นโยบายการเมืองระหว่างประเทศให้สมดุลทั้ง สหรัฐฯ และจีน โดยใช้กลไกของความร่วมมือ ประชาคมอาเซียนในการแก้ปัญหาและสร้าง อ�ำนาจต่อรองกับประเทศมหาอ�ำนาจ เช่น การ ประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับคู่เจรจา รวมทั้งต้องวางมาตรการป้องกันไม่ให้เครือ ข่ายก่อการร้ายเข้ามาใช้พื้นที่ในประเทศเพื่อ ท�ำลายผลประโยชน์ของสหรัฐฯ และพันธมิตร ในประเทศตนซึง่ จะเป็นการท�ำให้ถกู กดดันจาก สหรัฐฯ และเป็นภาพลักษณ์ที่ไม่ดีในการเมือง ระหว่างประเทศ ๒. ปั ญ หาความมั่ น คงภายในระหว่ า ง ประเทศในอาเซียน ได้แก่ ปัญหาการขัดแย้ง ในเรื่ อ งพรมแดนระหว่ า งประเทศ ปั ญ หา ทะเลจีนใต้ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นหลังการรวม กลุ่มประชาคมอาเซียน เช่น ปัญหาแรงงาน อพยพ การค้ า มนุ ษ ย์ ปั ญ หาชนกลุ ่ ม น้ อ ย ปัญหาก่อการร้าย ซึ่งปัญหาเหล่านี้กระทบ ไม่เฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้นแต่ ยังมีผลต่อความมั่นคงภายในของประเทศที่ มีอาณาเขตติดกันอีกด้วยซึ่งจ�ำเป็นที่ทุกชาติ ควรต้องร่วมมือกันจัดการปัญหาข้ามพรมแดน เหล่านี้ เช่น การสร้างความร่วมมือในระดับอนุ ภูมิภาคระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย ใน กรอบความริเริ่มประเทศลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Initiative :LMI ) ๓. ปัญหาภัยพิบัติของอาเซียน รายงาน สถานการณ ภั ย พิ บั ติ ป ระจํ า ป ที่ จั ด ทํ า โดย โครงการ International Strategy for Disaster Reduction ขององค ก ารสหประชาชาติ ระบุวาทวีปเอเชียเปนภูมิภาคที่มีประชากร ได รั บ ผลกระทบจากภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ มากที่สุดโดยเฉพาะภูมิภาคเอเซียตะวันออก เฉียงใต้ เป็นพื้นที่แนวภูเขาไฟ (Ring of Fire) มีรอยเลื่อนแผ่นดินไหวทั้งบนบกและในทะเล และแนวพายุ จึงมีโอกาสเกิดภัยพิบัติได้ง่าย อีกทัง้ สภาวะโลกร้อนได้ทำ� ให้มคี วามถีข่ องการ เกิดและความรุนแรงเพิ่มขึ้น อีกทั้งการขยาย ตัวของประชากรและการเติบโตของเมืองใน อาเซียนมีการขยายพื้นที่การตั้งถิ่นที่อยู่อาศัย และพื้นที่อุตสาหกรรมเข้าไปในเขตพื้นที่เสี่ยง ต่อภัยพิบัติ ท�ำให้แนวโน้มความสูญเสียและ การรั บ มื อ กั บ ภั ย พิ บั ติ ข องอาเซี ย นมี ค วาม ซับซ้อนและรุนแรงมากยิ่งขึ้นตามไปด้วย เช่น พายุไซโคลนนาร์กิสในพม่า การระเบิดของ ภูเขาไฟ "เมอราปิ" (Merapi) และแผ่นดิน ไหวในเมืองยอคยาการ์ต้า อินโดนีเซีย พายุ ไห่ เ หยี ย นที่ พั ด เข้ า สู ่ ฟ ิ ลิ ป ปิ น ส์ ส� ำ หรั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ห็ น ไ ด ้ ชั ด ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ของ ๒ มหาภั ย พิ บั ติ ได้ แ ก่ เหตุ ก ารณ์ สึ น ามิ ใ นไทย ปี ๒๕๔๗ (ตาย ๕,๓๙๕ คน รั ฐ บาลไทยใช้ ง บประมาณ ๑ พั น ล้ า น หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ข้อมูลจาก The Humanitarian Practice Network (HPN) http://www. odihpn.org เหรียญสหรัฐฯ) และเหตุการณ์มหาอุทกภัย ในปี ๒๕๕๔ (ประชาชนได้ รั บ ผลกระทบ กว่า ๑๒.๘ ล้านคน ธนาคารโลกประเมินมูลค่า ความเสียหายสูงถึง ๑.๔๔ ล้านล้านบาท และ เป็ น เหตุ ม หาอุ ท กภั ย ที่ มี ผ ลกระทบรุ น แรง อันดับ ๔ ในประวัติศาสตร์โลก) ซึ่งแสดงให้ เห็นถึงว่าภัยพิบัติจะสร้างความเสียหายทั้งต่อ ชีวิต ทรัพย์สิน ระบบเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่ามหาศาล โดยเฉพาะ ประเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นาจะเป็ น อุ ป สรรคส� ำ คั ญ ในการบรรลุถึงเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ที่จะท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของพลเมืองดีขึ้น นอกจากนี้ หากการจัดการภัยพิบัติของรัฐบาล ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถตอบสนองความ คาดหวั ง ของประชาชนได้ แ ล้ ว เสถี ย รภาพ และความมั่ น คงของรั ฐ บาลย่ อ มถู ก กระทบ กระเทือนไปด้วย จึงถือว่าเป็นภัยคุกคามความ มั่นคงของประเทศไทยและอาเซียนที่ส�ำคัญ ส�ำหรับภัยคุกคามจากภัยพิบัติธรรมชาติซึ่ง เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้และมีแนวโน้มการ เกิดสูงขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นภัยคุกคามร่วมกันของ ประชาคมอาเซียนหรือ Common Threat
นัน้ ถือได้วา่ มีความส�ำคัญเช่นเดียวกับภัยความ มั่นคงอื่น ๆ ของอาเซียน อีกทั้งการที่อาเซียน ร่วมมือกันในการจัดการภัยพิบัติจะสามารถ สร้างสภาวะความไว้เนื้อเชื่อใจกันในระหว่าง ชาติอาเซียนซึ่งจะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาการ แข่งขันกันซื้ออาวุธทางการทหาร (Armed Race) ตามแนวคิด Balancing Power ได้และ ยังจะน�ำไปสู่การรวมกันเป็นกองก�ำลังอาเซียน เพื่อใช้ในการต่อรองและแก้ปัญหาจากอิทธิพล ชาติมหาอ�ำนาจและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๆ ที่เกิดจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจของอาเซียน ได้ด้วยเช่นกัน ในโอกาสที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ทั้ง ๑๐ ประเทศ จะรวมกลุ่มกัน เป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี ๒๕๕๘ เพื่อการส่งเสริมสันติภาพ สันติสุข และความมั่นคงในภูมิภาค ความตระหนักถึง ผลกระทบของภัยพิบัติขนาดใหญ่ในภูมิภาค นี้ ข องประชาคมอาเซี ย น น� ำ ไปสู ่ ป ระเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นได้ ล งนามข้ อ ตกลงอาเซี ย น ว่ า ด้ ว ยการจั ด การภั ย พิ บั ติ แ ละการตอบโต้ สถานการณ์ฉุกเฉิน (ASEAN Agreement on
แนวทางการปฏิบัติของชาติสมาชิกเมื่อเกิดภัยพิบัติ 21
Disaster Management and Emergency Response, AADMER) เมื่อ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ซึ่ง AADMER เป็นกฎหมายระหว่าง ประเทศฉบับแรกและฉบับเดียวในโลกที่มี ผลผูกพันประเทศที่เป็นภาคีเพื่อน�ำไปสู่การ ปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม โดยมี ศู น ย์ ป ระสาน งานการให้ ค วามช่ ว ยเหลือด้านมนุษยธรรม ของอาเซียนหรือ AHA Centre ท�ำหน้าที่เป็น ศู น ย์ ป ระสานงานกลางในการให้ ค วามช่ ว ย เหลือระหว่างประเทศสมาชิกเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขนาดใหญ่ขึ้น และเอกสารมาตรฐานวิธีการ ปฏิบัติและระบบเตรียมความพร้อมด้านการ ประสานงานการบรรเทาทุกข์และการตอบโต้ สถานการณ์ภัยพิบัติฉุกเฉินของอาเซียน หรือ SASOP (Standard Operating Procedure for Regional Standby Arrangements and Coordination of Joint Disaster Relief and Emergency Response Operations) เป็น แนวทางปฏิบัติ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าเหตุผลและความจ�ำเป็น ที่กองทัพไทยต้องเตรียมความพร้อมในภารกิจ การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการ บรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) มี ๒ ประการ ได้แก่ ๑. ภั ย พิ บั ติ ไ ด้ ส ่ ง ผลกระทบที่ รุ น แรงต่ อ ชีวิต ทรัพย์สิน ระบบเศรษฐกิจ ความมั่นคง ของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นที่รัฐบาลไทยและประชาคม อาเซี ย นต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มในการแก้ ปัญหาภัยพิบัตินี้ ซึ่งเป็นภัยจากธรรมชาติ รวม ทั้งเพิ่มความร่วมมือกับชาติในอาเซียนในเรื่อง HA/DR ๒. HA/DR เป็นหน้าที่หนึ่งของทหารใน การพั ฒ นาประเทศ (ช่ ว ยเหลื อ ประชาชน) ตามรัฐธรรมนูญไทย ซึ่งได้ก�ำหนดบทบาทของ กองทัพไทยในการบรรเทาภัยพิบัตินี้ไว้ในใน แผนบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ รวมทั้งผล ของการที่ประเทศไทยในฐานะสมาชิกอาเซียน ต้องปฏิบัติตามพันธะกรณีตามข้อตกลงว่าด้วย การจัดการภัยพิบตั แิ ละการตอบโต้สถานการณ์ ฉุกเฉินอาเซียน ความร่ ว มมื อ ทางทหารในการจั ด การ ภัยพิบัติของอาเซียน ส�ำหรับความร่วมมือทางทหารของอาเซียน ด้านการบรรเทาภัยพิบัติ ถือว่ามีความส�ำคัญ โดยเป็นหัวข้อหลักในกรอบความร่วมมือกัน ด้านการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community) ซึ่ ง ได้ บรรจุไว้ในเวทีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียนกับประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN Defense Ministers Meeting : ADMM – Plus) โดยล่าสุดได้มีการให้ความเห็นชอบการเป็น ประธานร่ ว มของคณะท� ำ งาน ADMM – Plus ในวงรอบปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ ดังนี้ ๑) 22
ความมั่ น คงทางทะเล (บรู ไ น, นิ ว ซี แ ลนด์ ) ๒) การแพทย์ทางทหาร (ไทย, สหพันธรัฐ รั ส เซี ย ) ๓) การปฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาสั น ติ ภ าพ (กัม พูช า, สาธารณรั ฐเกาหลี ) ๔) การช่ ว ย เหลื อ ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและการบรรเทาภั ย พิบตั ิ (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว, ญีป่ นุ่ ) ๕) การต่อต้านการก่อการร้าย (สิงคโปร์, ออสเตรเลีย) และ ๖) ด้านการปฏิบัติการทุ่น ระเบิดเพื่อมนุษยธรรม (สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม, สาธารณรัฐอินเดีย) ซึ่งจากแนวโน้ม จากความรุนแรงและผลกระทบของปัญหาภัย พิบัติที่ทุกชาติในอาเซียนเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ได้ท�ำให้กองทัพของประเทศสมาชิกอาเซียน ต้อ งปรับบทบาทจากการเป็นหน่วยงานที่ ท�ำหน้าที่ในการพิทักษ์รักษาอ�ำนาจอธิปไตย มาสู่ความเป็นองค์กรสนับสนุนในการพิทักษ์ รักษาชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจาก ภัยธรรมชาติอีกด้วย การฝึกเตรียมความพร้อมกองทัพไทยใน ภารกิจช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการ บรรเทาภัยพิบัติ (HA/DR) เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเตรี ย ม ความพร้ อ มทั้ ง องค์ วั ต ถุ แ ละองค์ บุ ค คลของ กองทั พ ไทยในการสนั บ สนุ น การบรรเทา สาธารณภั ย และจั ด การภั ย พิ บั ติ ข องรั ฐ บาล และภายใต้กรอบความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคงทั้งระดับอาเซียนและความ ร่วมมือกับนานาชาติ ส�ำนักวางแผนการฝึก ร่วมและผสม กรมยุทธการทหาร ซึ่งเป็นหน่วย หลักในระดับนโยบายด้านการฝึกของกองทัพ ไทย จึงได้น�ำแผนบรรเทาสาธารณภัยกองทัพ ไทย ระเบียบปฏิบัติ และหลักปฏิบัติประจ�ำ (SOP) ภายใต้กรอบความร่วมมือทั้งในและ ต่างประเทศ น�ำมาใช้ในการจัดการฝึกและ การเข้าร่วมการฝึกการบรรเทาสาธารณภัย และจั ด การภั ย พิ บั ติ ทั้ ง ในและนอกประเทศ ซึ่งเป็นการเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์และเตรียมความพร้อมของก�ำลัง พล เครื่องมือและยุทโธปกรณ์ทางทหารที่ใช้ ในการบรรเทาสาธารณภัยอันจะน�ำไปสู่การ เพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานร่วมกันกับภาค พลเรือน รัฐบาล มูลนิธิ องค์กรระหว่างประเทศ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ จะเป็นการลดการสูญเสียทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชนหากเกิดภัยพิบัตทิ ี่ รุนแรงเกิดขึ้นจริง ดังจะเห็นได้จากการพัฒนา และยกระดับการฝึกร่วมบรรเทาสาธารณภัย ของกองทั พ อาเซี ย นจากระดั บ ทวิ ภ าคี เ ป็ น พหุภาคี โดยการฝึกเป็นการทบทวนขั้นตอน/ วิธีการปฏิบัติในการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติของอาเซียนและมิตร ประเทศ การทดสอบการใช้ขีดความสามารถ ทางทหารในการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติภายใต้กรอบความ
ตกลงอาเซียนด้านจัดการภัยพิบัติและตอบโต้ สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น หรื อ AADMER การ บู ร ณาการทรั พ ยากรและเครื่ อ งมื อ ที่ มี อ ยู ่ ให้ ส ามารถสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ได้ อ ย่ า ง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยมีกองทัพไทย ส่วนราชการ พลเรือน ภาคประชาสังคม ชาติ ในอาเซียน มิตรประเทศและองค์กรระหว่าง ประเทศ ได้แก่ UNOCHA , AHA Center, IFRC เข้าร่วมการฝึก เช่น การฝึกซ้อมการบรรเทา ภัยพิบัติ ในกรอบการประชุมอาเซียนว่าด้วย ความร่ ว มมื อ ด้ า นการเมื อ งและความมั่ น คง ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกในปี ๒๕๕๖ (2013 ASEAN Regional Forum Disaster Relief Exercise : ARF DiRex) จังหวัดเพชรบุรี การ ฝึกด้านมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย ของอาเซี ย น ปี ๒๕๕๗ (ASEAN HADR Multilateral Exercise ) จังหวัดฉะเชิงเทรา และการฝึกทางทหารอาเซียนด้านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติของอาเซียนและการ ฝึกแพทย์ทหาร (ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus Humanitarian Assistance & Disaster Relief and Military Medicine Exercise (ADMM-PLUS HADR & MM EX) ณ ประเทศบรูไน ทั้งนี้เป็นการเตรียมความพร้อม ของกองทัพชาติสมาชิกอาเซียนในการบรรเทา ภัยพิบัติร่วมกันเมื่อเกิดสถานการณ์จริง ซึ่งจะ พัฒนาไปสู่แนวคิดการรวมกลุ่มเป็นกองก�ำลัง อาเซียนด้าน HA/DR ในอนาคต การเพิ่มบทบาทของกองทัพไทยในการ ปฏิบัติการร่วมนานาชาติเรื่อง HA/DR กองทัพไทยส่งก�ำลังทางทหารในการช่วย เหลื อ ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและการบรรเทาภั ย
ภาพการฝึ ก ASEAN Defense Ministers’ Meeting-Plus Humanitarian Assistance & Disaster Relief, Military Medicine Exercise (ADMM+ HADR & MM EX) or 2nd AHX Exercise ปี ๒๕๕๖ ประเทศบรูไน นาวาเอก พิสุทธิ์ศักดิ์ ศรีชุมพล
พิบัติร่วมกับทหารมิตรประเทศและประเทศ ในอาเซียนเมื่อได้รับการร้องขอจากรัฐบาล มี ๓ กรณีได้แก่ ๑. ภัยพิบตั เิ กิดขึน้ ในประเทศไทย ในระดับ ๓ - ๔ ในกรณีทรี่ ฐั บาลไทยตอบรับการให้ความ ช่วยเหลือของประเทศอาเซียน ชาติพันธมิตร สหประชาชาติ แ ละองค์ ก รระหว่ า งประเทศ ตามพันธกรณีและข้อตกลง ๒. ภั ย พิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศภู มิ ภ าค อาเซียนโดยปฏิบัติตามข้อตกลง ADMEER ๓. ภั ย พิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น ในภู มิ ภ าคอื่ น และ รัฐบาลสัง่ การ เช่น กรณีภารกิจด้านมนุษยธรรม ในประเทศอิหร่าน แนวทางการสร้ า งความร่ ว มมื อ ทาง ทหารเพื่อน�ำไปสู่การเป็น HA/DR ASEAN Combined Task Force๑ นั้น มีแนวคิดเริ่ม จากการพัฒนาความร่วมมือและเสริมสร้าง ความสัมพันธ์เพือ่ ลดความหวาดระแวงระหว่าง กันในกลุ่มประชาคมอาเซียนก่อนโดยเริ่มจาก การแลกเปลี่ ย นการศึ ก ษา การแลกเปลี่ ย น การเยือนในทุกระดับ การแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารร่วมกัน การฝึกร่วม/ผสมทางทหาร ของกลุ่มประเทศอาเซียน ไปจนถึงการปฏิบัติ การทางทหารของชาติอาเซียนร่วมกันในพื้นที่ เขตแดนของประเทศตนหรือพื้นที่รับผิดชอบ เช่น การลาดตระเวนร่วมทางทะเล/ชายแดน การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ อันจะน�ำมาซึ่ง ความไว้วางใจกันจนเพิ่มระดับความร่วมมือ จนน� ำ ไปสู ่ ก ารจั ด ท� ำ ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ทางทหารในกลุ่มประชาคมอาเซียนเพื่อการ จั ด ตั้ ง ก� ำ ลั ง เฉพาะกิ จ อาเซี ย นซึ่ ง ควรจะเริ่ ม จากด้ า น HA/DR ก่ อ นเนื่ อ งจากเป็ น ภั ย คุกคามร่วม (Common Threat) ของทุก ประเทศและเพื่ อ การลดความหวาดระแวง ระหว่ า งกั น จนพั ฒ นาไปสู ่ ก องก� ำ ลั ง เฉพาะ กิ จ อาเซี ย นในการไปปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในด้ า น มนุษยธรรม การบรรเทาภัยพิบตั แิ ละการรักษา ผลประโยชน์ของประชาคมอาเซียนเพื่อเพิ่ม บทบาทการเมืองระหว่างประเทศของอาเซียน ในเวทีโลกในอนาคต หลั ก พื้ น ฐานในการใช้ ก� ำ ลั ง ทหาร ในภารกิ จ ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและบรรเทา ภัยพิบัติ๒ นิยามของค�ำว่า “ภัยพิบัติ” ตามที่ก�ำหนด ไว้ใน IFRC IDRL Guidelines คือ เหตุการณ์
รุนแรงเป็นภัยที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ ธรรมชาติ และมนุษย์ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อชีวติ และสุขภาพ ของมนุษย์ ทรัพย์สิน สิ่งแวดล้อมในระยะยาว โดยไม่ครอบคลุมถึงกรณีการขัดแย้งกันด้วย อาวุธ หลักการในการใช้กำ� ลังทหารในภารกิจ HA/ DR เมื่อประเทศผู้ประสบภัยพิบัติ (Affected State) ได้ตอบรับความช่วยเหลือประเทศที่ให้ ความช่วยเหลือ (Assisting State) โดยทั้งสอง ประเทศจะท�ำข้อตกลงในการช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติรวมทั้งจะจัด ท�ำสถานะของกองก�ำลังในประเทศผู้ประสบ ภัยหรือ SOFA ส�ำหรับชาติในอาเซียนจะปฏิบตั ิ ตามข้อตกลง AADMER และแนวทางปฏิบัติ ใน SASOP ทั้งนี้ทหารของชาติในอาเซียนมี บทบาทน�ำหลักในเรื่อง HA/DR โดยเป็นกลไก ที่ทุกชาติในอาเซียนยอมรับความส�ำคัญ เมื่อกองก�ำลัง HA/DR ของประเทศที่ให้ ความช่ ว ยเหลื อ เข้ า พื้ น ที่ ภั ย พิ บั ติ นอกจาก ปฏิ บั ติ ต ามสถานะกองก� ำ ลั ง ตามข้ อ ตกลง ดังกล่าวแล้วยังต้องเคารพวัฒนธรรม อ�ำนาจ อธิ ป ไตย และปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายระหว่ า ง ประเทศ กฎหมายมนุษยธรรม กฎหมายและ แผนบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติของประเทศ ที่ ป ระสบภั ย โดยยึ ด ถื อ หลั ก ปฏิ บั ติ พื้ น ฐาน ด้ า นมนุ ษ ยธรรม ได้ แ ก่ หลั ก มนุ ษ ยธรรม (Humanity) ความไม่ล�ำเอียง (Impartiality) ความเป็ น กลาง (Neutrality) และหลั ก พื้ น ฐาน Do Not Harm อย่ า งเคร่ ง ครั ด ตัวอย่างเช่น ในเรือ่ งการใช้ Force Protection จะใช้ต�ำรวจหรือทหารของประเทศประสบภัย พิบัติรับผิดชอบดูแลคุ้มครองความปลอดภัย ของรถขนส่งยุทโธปกรณ์รวมทั้งท่าเรือ ที่พัก หรือแค้มป์ของประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ เมื่อเข้าพื้นที่ประสบภัยพิบัติ เรื่องการตั้งโรง พยาบาลสนามในพื้นที่ประสบภัยต้องอยู่ใน มาตรฐานสากลแล้วการใช้ยาต้องได้รับการ อนุมัติจากหน่วยแพทย์ประเทศผู้ประสบภัย ก่อนน�ำไปใช้กับผู้ประสบภัย ส�ำหรับประเทศ ผู้ประสบภัยควรให้การสนับสนุนและอ�ำนวย ความสะดวกแก่ ก องก� ำ ลั ง ของประเทศที่ ใ ห้ ความช่วยเหลือให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ประสบ ภั ย ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว เพื่ อ ลดการสู ญ เสี ย ชี วิ ต ของผู้ประสบภัยซึ่งจะอยู่ในช่วงสัปดาห์แรก หลังภัยพิบัติเกิดขึ้น เช่น มาตรการศุลกากร
ภาพโมเดลแนวทางสร้ า งความ ร่วมมือทางทหารเพื่อพัฒนาไปสู่การ เป็น ASEAN Combined Task Force (Custom) การเข้าเมือง (Immigration) การ งดเว้นภาษี การสนับสนุนระบบขนส่ง การจัด ตัง้ ศูนย์ประสานงานนานาชาติทง้ั ศูนย์ประสาน งานทหาร-ทหารหรือ MNCC (Multi National Coordination Center) และศูนย์ประสานงาน ทหาร-พลเรือน Civil-Military Coordination Center (CMOC) เพือ่ การประสานงานระหว่าง ประเทศผูป้ ระสบภัย ประเทศให้ความช่วยเหลือ องค์ ก รระหว่ า งประเทศ การท� ำ แผนร่ ว ม (Joint Plan) ในภารกิจช่วยผู้ประสบภัย งาน มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติในพื้นที่ภัย พิบัติ ส�ำหรับทหารจะถูกก�ำหนดออกมาเป็น ค�ำสั่งปฏิบัติการซึ่งจะมีแนวคิดการปฏิบัติแยก ออกเป็นขั้นตั้งแต่ขั้นการเข้าประเทศผู้ประสบ ภัย ขั้นการเคลื่อนย้ายก�ำลังเข้าพื้นที่ภัยพิบัติ ขั้นปฏิบัติการ ขั้นการส่งมอบภารกิจและขั้น กลับประเทศ รูปแบบการปฏิบัติการของทหารในภารกิจ ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและบรรเทาภั ย พิ บั ติ น อก ประเทศนั้น ทหารควรจะมีบทบาทในลักษณะ Indirect Support เช่น การส่งมอบอาหาร และยาให้ กั บ องค์ ก ร UN หรื อ องค์ ก รช่ ว ย เหลื อ ของประเทศผู ้ ป ระสบภั ย เพื่ อ น� ำ ส่ ง ต่ อ ผู ้ ป ระสบภั ย พิ บั ติ และการสนั บ สนุ น ใน เรื่ อ งการสาธารณสุ ข และโครงสร้า งพื้นฐาน (Infrastructure Support) ส�ำหรับการช่วย ในลักษณะ Direct Support เช่น การส่งมอบ อาหารและยาผู้ประสบภัยโดยตรงนั้นจะขัด กับหลักการในเรื่อง Last Resort ในเอกสาร OSLO Guideline ทั้งนี้อาจจะกระท�ำได้หาก เป็ น การปฏิ บั ติ ร ่ ว มกั บ ทหารชาติ ที่ ป ระสบ ภั ย หรื อ ได้ รั บ การร้ อ งขอการช่ ว ยเหลื อ จาก ประเทศประสบภัย (อ่านต่อฉบับหน้า)
พล.อ.ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร อดีต ผบ.ทสส. กล่าวในพิธีเปิดการประชุม ผบ.ทร.อาเซียนครั้งที่ ๘ ว่าการประชุมในวันนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งในภาพรวมของกองทัพในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในอนาคตจะมีการตั้งเป็นกองก�ำลังอาเซียนและการส่งก�ำลังไปรักษาสันติภาพแทนที่จะไปประเทศใดประเทศหนึ่งแต่เราจะรวมกันไป ใครที่มีศักยภาพในด้านใดก็ส่งไปพร้อมกับตั้งเป็นหน่วย เฉพาะกิจอาเซียน ซึ่งเราได้มีข้อตกลงกันระหว่างกองทัพในอาเซียน ๒ เอกสารอ้างอิง Asia-Pacific Regional Guidelines For The Use Of Foreign Military Assets In Natural Disaster Response Operations Guidelines On The Use of Foreign Military and Civil Defence Assets In Disaster Relief - “Oslo Guidelines” ๓ นิยาม Disaster – “[A] serious disruption of the functioning of society, which poses a significant, widespread threat to human life, health, property or the environment, whether arising from accident, nature or human activity, whether developing suddenly or as the result of long-term processes, but excluding armed conflict.” ๑
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
23
การฉลองเอกราช ของ
เมียนม่าร์
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
เ
มื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๘ ที่ ผ่านมา ได้มีการสวนสนามทางทหาร อย่ า งยิ่ ง ใหญ่ เ นื่ อ งในพิ ธี ร� ำ ลึ ก วั น ครบรอบ ๖๗ ปี ข องการประกาศเอกราช (Independence Day) ของเมียนม่าร์ในกรุง "เนปิ ด อว์ " นั บ เป็ น การสวนสนามวั น ฉลอง เอกราชครั้งแรกของประเทศในรอบ ๕๓ ปี นั บ ตั้ ง แต่ ก ารสวนสนามวั น ฉลองเอกราช ครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ ในขณะที่การ 24
สวนสนามแสดงแสนยานุ ภ าพของกองทั พ (Myanmar Armed Forces Day) เนื่องในวัน กองทัพเมียนม่าร์ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๗ มีนาคม ของทุกปีกลับมีขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากอดีตที่ผ่านมาเมียนม่าร์เรียกการรวม ประเทศของตนเองว่า "ปีดองซู" หรือที่ภาษา ไทยแปลว่า "สหภาพ" หรือ "สหพันธ์รัฐ" ค�ำ ว่า "ปีดองซู" นี้ อาจารย์ดุลยภาค ปรีชารัชช จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อธิบายความ
หมายว่า หมายถึงการบูรณาการรัฐหรือดิน แดนต่าง ๆ ให้หลอมรวมขึ้นเป็นประเทศใหม่ เพราะประเทศเมียนม่าร์นั้นเกิดขึ้นจากการ รวมกลุ่มชนหรือกลุ่มชาติพันธ์ุที่มีหลากหลาย ถึงกว่า ๑๓๕ ชาติพันธ์ุ ดังจะเห็นได้จากการ แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น ๗ รัฐ (States) และ ๗ ภาค (Regions) โดยพื้นที่ที่เป็น "รัฐ" นั้น จะเรียกพื้นที่ของชนชาติพันธุ์อื่นที่มิใช่ ชาติพันธุ์เมียนม่าร์หรือ "บาม่า" (Bama) เช่น พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
สาเหตุส�ำคัญของการไม่เข้าร่วมพิธีดังกล่าว ของกองก�ำลังคะฉิ่น เคไอเอ คาดว่าน่าจะมา จากความไม่พอใจในเหตุการณ์ล่าสุดเมื่อวัน ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๗ ที่กองก�ำลัง ปลดปล่อยคะฉิ่น เคไอเอ จากกองพันที่ ๒๗ สั ง กั ด กองพลน้ อ ยที่ ๓ ได้ ป ะทะกั บ ทหาร เมี ย นม่ า ร์ จ ากกองพั น เคลื่ อ นที่ เ ร็ ว ที่ ๔๑๗ สังกัดกองพลทหารราบที่ ๘๘ บริเวณอ�ำเภอ บ้านเจ จังหวัดบ้านบ่อ ทางตอนใต้ของรัฐคะฉิน่ ส่งผลให้เกิดการปะทะกันอย่างรุนแรง และ ในวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๗ เวลา ประมาณ ๑๒.๓๕ นาฬิกา ทหารเมียนม่าร์ จากกองพันทหารราบที่ ๓๘๙ ซึ่งมีฐานที่มั่น อยู่ที่เมืองคาราบุม ก็ได้ยิงปืนใหญ่ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตรเข้าถล่มค่ายฝึก "จองรุง" (Jawang Rung) ของกองก�ำลังปลดปล่อยคะฉิ่น เคไอเอ ท�ำให้ทหารกองก�ำลังปลดปล่อยคะฉิ่น เคไอเอ เสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมากถึง ๒๓ นาย และบาด เจ็บอีกจ�ำนวนหนึ่ง ส่งผลให้พวกคะฉิ่นมีความ รัฐกะเหรี่ยง รัฐฉาน รัฐคะฉิ่น เป็นต้น ส่วน Ceasefire Coordination Team) ของกลุ่ม โกรธแค้นเป็นอย่างมาก พื้นที่ที่เป็น "ภาค" เป็นพื้นที่ของชนชาติพันธุ์ ชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นคณะท�ำงานประสานงานเพื่อ ในขณะเดียวกันเหตุการณ์โจมตีกองก�ำลัง เมียนม่าร์ เช่น ภาคพะโค ภาคอิระวดี ภาค สร้างสันติภาพและความปรองดอง โดยท�ำการ ปลดปล่ อ ยคะฉิ่ น ครั้ ง ดั ง กล่ า ว ได้ ส ่ ง ผลให้ มะเกว เป็นต้น เจรจากั บ คณะกรรมการด� ำ เนิ น งานสร้ า ง กองก�ำลังกลุ่มโกก้าง (MNDAA : Myanmar การสวนสนามในครั้งนี้มีข้อสังเกตอยู่หลาย สันติภาพ (UPWC : Union Peace-Making National Democratic Alliance Army) ซึ่ง ประการ นอกจากเป็นครั้งแรกในรอบ ๕๓ ปี Work Committee) ของรัฐบาลเมียนม่าร์ เป็นกลุ่มที่กองทัพเมียนม่าร์มีความไว้วางใจ แล้ ว ข้ อ สั ง เกตอี ก ประการหนึ่ ง คื อ การเชิ ญ ได้เปิดเผยว่าการพบปะหารือกันในครั้งนี้ จะ มาก อีกทั้งยังไม่ถือว่าโกก้างเป็นศัตรู จึงไม่มี ตัวแทนหลากชาติพันธ์ุจ�ำนวน ๑๖ กลุ่ม ให้ น�ำไปสู่จุดเปลี่ยนทางการเมืองครั้งส�ำคัญ โดย รายชือ่ อยูใ่ นกลุม่ ทีไ่ ด้รบั เชิญให้เข้าร่วมพิธสี วน เข้าร่วมแสดงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของ เฉพาะการยุติความขัดแย้งด้วยการใช้อาวุธ สนามฉลองเอกราชแต่อย่างใด เริ่มมีปฏิกิริยา ตน เช่น การแสดงศิลปะประจ�ำชาติพันธ์ุ การ ส่ ว นกองก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มพิ ธี แข็งข้อขึ้น กลุ่มชาติพันธุ์โกก้างมีที่มั่นอยู่ในรัฐ ฟ้อนร�ำ หรือการร้องเพลงด้วยเครื่องแต่งกาย ตามค�ำเชิญของรัฐบาลเมียนม่าร์ ประกอบ ฉาน บริเวณด้านตะวันออกเฉียงเหนือที่ติดกับ ประจ�ำชาติที่สวยงาม เป็นต้น แต่ความงดงาม ด้วยองค์กรเพื่อเอกราชคะฉิ่น เคไอโอ (KIO ประเทศจีน มีเมืองเอกของกลุม่ อยูท่ เี่ มืองเหล่า อ่อนช้อยนีเ้ กิดขึน้ คูข่ นานไปกับความแข็งแกร่ง : Kachin Independence Organization), กาย น�ำโดยนายเผิง่ จาเซิง ประธานกองก�ำลังฯ จากการแสดงแสนยานุภาพทางทหารอันยิ่ง พรรคก้ า วหน้ า แห่ ง ชาติ ค าเรนนี (KNPP : ซึ่งได้ออกแถลงการณ์ต่อต้านรัฐบาลเมียนม่าร์ ใหญ่ของกองทัพเมียนม่าร์ ทั้งจากกองทัพบก Karenni National Progressive Party), ทั้ ง ๆ ที่ มี ก ารเจรจาหยุ ด ยิ ง กั น มานานกว่ า กองทัพเรือ กองทัพอากาศ พนักงานราชการ แนวร่วมแห่งชาติชิน (CNF : Chin National ๕ ปีแล้ว รวมทั้งเมียนม่าร์ยังมอบเขตปกครอง จากกระทรวงต่าง ๆ กองก�ำลังต�ำรวจและ Front) และพรรคสั น นิ บ าตแห่ ง ชาติ ไ ท พิเศษให้กองก�ำลังกลุ่มโกก้างปกครองตนเอง กองลูกเสือเมียนม่าร์ จนท�ำให้เกิดการเปรียบ ใหญ่ เ พื่ อ ประชาธิ ป ไตย (SNLD : Shan อีกด้วย โดยนายเผิ่ง จาเซิง ได้เรียกร้องให้ เที ย บว่ า กองทั พ เมี ย นม่ า ร์ ก� ำ ลั ง กระท� ำ การ Nationalities Democratic Party) หรือที่ กลุ่มชาติพันธ์ุต่าง ๆ ร่วมกันโค่นล้มรัฐบาล เสมื อ น "ตั ด ไม้ ข ่ ม นาม" เหล่ากองก�ำลังชน เรียกกันสั้น ๆ ว่า "พรรคหัวเสือ" ซึ่งมี "ขุนทุน เมียนม่าร์ พร้อมทั้งกล่าวว่าหากกองก�ำลังกลุ่ม กลุ่มน้อยทั้งหลาย อู" เป็นประธานพรรคฯ โกก้างพ่ายแพ้หรือถูกกวาดล้างจนหมดสิน้ กอง ส�ำหรับการเชิญผู้แทนกองก�ำลังกลุ่มชาติ ในส่วนขององค์กรเพื่อเอกราชคะฉิ่น ซึ่ง ก�ำลังติดอาวุธชาติพนั ธุอ์ นื่ ๆ ก็คงประสบชะตา พันธ์ุของเมียนม่าร์ในครั้งนี้มีการเชิญทั้งหมด มีกองก�ำลังปลดปล่อยคะฉิ่น เคไอเอ (KIA : กรรมไม่ต่างกับโกก้าง ดังนั้นก่อนที่ทุกอย่าง ๑๖ กลุ่ม มีกองก�ำลังที่น่าสนใจที่เข้าร่วมงาน Kachin Independence Army) เป็นกองก�ำลัง จะสายเกินไป ขอให้กองก�ำลังติดอาวุธต่าง ๆ เช่น สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงหรือกะเหรี่ยง ในสังกัดนั้น มีประวัติการต่อสู้กับเมียนม่าร์ พร้อมใจลุกขึน้ สูก้ บั รัฐบาลเมียนม่าร์ตงั้ แต่บดั นี้ เคเอ็นยู (KNU : Karen National Union), มาอย่ า งยาวนาน จนกระทั่ ง เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ เป็นต้นไปจนกว่าจะพบกับเอกราชที่แท้จริง องค์กรปลดปล่อยแห่งชาติปะโอ หรือ พีเอ็น กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๗ กองก�ำลังนี้ได้ลงนาม ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ แอลโอ (PNLO : Pa-Oh National Liberation หยุดยิงกับรัฐบาลเมียนม่าร์จนการสู้รบยุติไป ส�ำหรับชาติพันธุ์ "โกก้าง" นั้นมีประชากร Organization) และกลุ่มแนวร่วมนักศึกษา นานกว่า ๑๗ ปี แต่เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ราวสองแสนคน เป็นชนเชื้อสายจีน ใช้ภาษา พม่าทั้งมวลเพื่อประชาธิปไตย (ABSDF : All ๒๕๕๔ ทหารเมียนม่าร์ได้เปิดฉากโจมตีที่มั่น จี น กลางสื่ อ สารกั น เป็ น ส่ ว นใหญ่ ในสมั ย ที่ Burma Student' Democratic Front) ของทหารคะฉิ่น เคไอเอ บริเวณริมแม่น�้ำท่า อังกฤษปกครองเมียนม่าร์นั้น ได้ก�ำหนดให้ เป็นต้น โดยขุนโอคก่า ผูแ้ ทนองค์กรปลดปล่อย ปิง (Taping) เพื่อต้องการควบคุมพื้นที่ที่อุดม เจ้าเมืองโกก้างขึ้นตรงต่อเจ้าฟ้าเมืองแสนหวี แห่งชาติปะโอ ในฐานะโฆษกคณะประสานงาน สมบูรณ์ไปด้วยแหล่งพลังงาน ท�ำให้การสู้รบ ของรัฐฉาน ในฐานะ "พระยาแห่งแสนหวี" หยุดยิงทั่วประเทศ (NCCT : Nationwide เปิดฉากขึ้นอีกครั้ง จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๕๐๕ กองทัพเมียนม่าร์ หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
25
ท�ำการจับกุมเจ้าฟ้าไทใหญ่และเจ้าฟ้าโกก้าง จนท� ำ ให้ ช าวโกก้ า งจั ด ตั้ ง กองก� ำ ลั ง ของตน มีชื่อเรียกว่า "กองก�ำลังปฏิวัติโกก้าง" (KRF : Kokang Revolution Force) ท�ำการต่อสู้กับ เมียนม่าร์ ก่อนที่จะเกิดความแตกแยกระหว่าง โกก้างด้วยกันเอง จนส่วนหนึ่งแยกตัวออกไป เข้าร่วมกับรัฐบาลเมียนม่าร์ โดยกลุ่มนี้มีนาม ว่า "กลุ่มก่าก่วยเย" ที่คนไทยคุ้นชื่อกันดีนั่นเอง ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๐ จีนให้การสนับสนุน พรรคคอมมิวนิสต์พม่า (CPB-Communist Party of Burma) เพือ่ ต่อต้านรัฐบาลเมียนม่าร์ พร้อมกับสนับสนุนกลุ่ม "โกก้าง" ให้จัดตั้งกอง ก�ำลังติดอาวุธขึ้นใหม่ภายใต้ชื่อ "กองทัพปลด ปล่อยประชาชนโกก้าง" (KPLA : Kokang People Liberation Army) โดยมีนาย เผิ่ง จาเซิง เป็นผู้น�ำกองก�ำลังจนถึงปัจจุบัน กระทั่ง เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๑ โกก้างได้ ตกลงท�ำสัญญาหยุดยิงกับฝ่ายรัฐบาล พร้อม กับได้รับการจัดตั้งเป็นเขตปกครองพิเศษที่ ๑ มีเมือง "เหล่ากาย" เป็นเมืองหลวง และเปลี่ยน ชือ่ กลุม่ ของตนเสียใหม่วา่ "กองทัพสัมพันธมิตร ชาติประชาธิปไตยพม่า" หรือ เอ็มเอ็นดีเอเอ จนถึงปัจจุบัน และมีพื้นที่ในความครอบครอง ประมาณ ๒,๒๐๐ ตารางกิโลเมตร ส่วนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงที่แม้จะได้เข้า ร่วมพิธีสวนสนามในวันครบรอบการประกาศ เอกราชดังกล่าวทั้ง ๓ กลุ่ม คือกลุ่ม เคเอ็นยู, เคเอ็นแอลเอ พีซี และ ดีเคบีเอ โดยเฉพาะ กลุ่ม เคเอ็นยู ที่ส่งผู้น�ำระดับสูงสุดคือ นาย ซอร์มูตู เส่โพ ประธานกลุ่มฯ พลเอกซอร์ จ่อนิ ผู้บัญชาการกองก�ำลัง เคเอ็นยู และนายพาโต้ ซอร์แกว่ ทูวิน เลขาธิการกลุ่มฯ ได้เข้าร่วมพิธี สวนสนามดังกล่าวทั้งหมด รวมทั้งได้มีโอกาส เข้ า พบประธานาธิ บ ดี เ ต็ ง เส่ ง และพลเอก มิน อ่อง หล่าย ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของ เมียนม่าร์ ซึ่งในการพบปะครั้งนี้ พลเอกมิน อ่อง หล่าย ได้ให้ค�ำมั่นสัญญากับกลุ่มชาติพันธุ์ ต่าง ๆ ว่า กองทัพเมียนม่าร์จะไม่ละเมิดสิทธิ ของกลุ่มชาติพันธุ์และไม่กระท�ำเกินเลยหน้าที่ ตามกฎหมาย แต่เริ่มมีข้อสังเกตว่า กองก�ำลัง 26
กะเหรี่ยงมีการปรับตัวอย่างมากเพื่อเตรียม การเผชิญหน้ากับความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้น ส� ำ หรั บ กองก� ำ ลั ง ชนกลุ ่ ม น้ อ ยในรั ฐ กะเหรีย่ งนัน้ มีองค์กรหลักคือ "สหภาพแห่งชาติ กะเหรี่ยง" (KNU : Karen National Union) หรือ "กะเหรี่ยง เคเอ็นยู" ซึ่งต่อสู้กับเมียนม่าร์ มาตัง้ แต่ได้รบั เอกราชเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๙๑ เพราะ ขณะนั้นกะเหรี่ยงไม่ต้องการรวมประเทศกับ เมียนม่าร์ กะเหรี่ยง เคเอ็นยู มีกองก�ำลังย่อย อยู่ ๒ กองก�ำลังคือ กองก�ำลังปลดปล่อยแห่ง ชาติกะเหรี่ยง เคเอ็นแอลเอ (KNLA : Karen National Liberation Army) หรือที่ปัจจุบัน เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น สภาสั น ติ ภ าพรั ฐ กะเหรี่ ย ง (KNLA PC : KNU/KNLA Peace Council) เป็นกะเหรี่ยงที่นับถือศาสนาคริสต์ (เดิมชาว กะเหรีย่ งส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาคริสต์มาตัง้ แต่ เมื่อครั้งเมียนม่าร์เป็นอาณานิคมของอังกฤษ) และกองก�ำลังกะเหรีย่ งประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ หรือ กะเหรี่ยง ดีเคบีเอ (DKBA : Democratic Karen Buddhist Army) ซึง่ นับถือศาสนาพุทธ ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ กะเหรี่ยงประชาธิปไตย ฝ่ายพุทธ ดีเคบีเอ ได้แปรพักตร์เข้าร่วมกับฝ่าย รัฐบาล จนท�ำให้กองทัพเมียนม่าร์สามารถยึดที่ มั่นส�ำคัญซึ่งเป็นกองบัญชาการของกะเหรี่ยง เคเอ็นยู ที่ "มาเนพลอ" ติดกับชายแดนไทยได้ เป็นความสูญเสียครั้งใหญ่ของกะเหรี่ยง เคเอ็น ยู แต่ก็ยังใช้ยุทธวิธีกองโจร เคลื่อนที่ไปเรื่อยๆ ตามตะเข็บชายแดนไทยเพื่อต่อสู้กับรัฐบาล เมียนม่าร์ต่อไป อย่ า งไรก็ ต าม มี สิ่ ง ที่ ต ้ อ งจั บ ตามองคื อ สหภาพแห่ ง ชาติ ก ะเหรี่ ย ง เคเอ็ น ยู ได้ มี ความพยายามที่จะรวมตัวกองก�ำลังกะเหรี่ยง ทั้ ง หมดอี ก ครั้ ง ในช่ ว งปี พ.ศ.๒๕๕๖ โดย มี ก ารยกเลิ ก ข้ อ จ� ำ กั ด ด้ า นศาสนา ทั้ ง พุ ท ธ คริสต์ และนักพรต (ฤษี) เพื่อรวบรวมก�ำลัง กั น ต่ อ สู ้ กั บ ทหารเมี ย นม่ า ร์ น� ำ โดยพลเอก โรเบอร์ ซาน ผู้น�ำกลุ่มกะเหรี่ยงโกละ ทูบอว์ (Klo Htoo Baw), พลเอกบอ เจาะแฮ รอง ผู้บัญชาการทหารสูงสุดกองก�ำลังปลดปล่อย แห่งชาติกะเหรี่ยง เคเอ็นแอลเอ และพลเอก
เนอดา เมียะ ซึ่งเป็นบุตรชายของนายพลโบ เมียะ ในฐานะผู้น�ำองค์กรพิทักษ์กะเหรี่ยงแห่ง ชาติ เคเอ็นดีโอ (KNDO : Karen National Defense Organization) ได้ตกลงท�ำสัญญา เป็นพันธมิตรกัน โดยจะไม่มกี ารเรียกกองก�ำลัง ตนเองว่ากองก�ำลังทหารกะเหรี่ยงพุทธหรือ กะเหรี่ยงคริสต์อีกต่อไป เพราะไม่ต้องการน�ำ ศาสนามาเป็นเครื่องแบ่งแยกระหว่างกัน ซึ่ง ก่อนหน้านี้กองก�ำลังกะเหรี่ยงฝ่ายพุทธ ดีเคบี เอ ได้ท�ำการเปลี่ยนชื่อจากเดิมคือ “กองก�ำลัง กะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ” (DKBA : Democratic Karen Buddhist Army) เป็น “กองก�ำลังเมตตาประชาธิปไตย โกละ ทูบอว์” (DKBA : Democratic Karen Benevolent Army Klo Htoo Baw) โดยยังคงชื่อย่อเดิมใน ภาษาอังกฤษคือ "ดีเคบีเอ" เอาไว้ ขณะเดียวกันในช่วงปลายปี พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา ยังคงมีการปะทะกันระหว่างทหาร เมียนม่าร์กับกองก�ำลังกะเหรี่ยงอย่างต่อเนื่อง เช่นในจังหวัดเมียวดีของรัฐกะเหรี่ยง ผลการ สู้รบทหารกะเหรี่ยงจับเชลยทหารเมียนม่าร์ พม่าได้ ๕ นาย นอกจากนี้ยังมีการปะทะกัน ตามแนวชายแดนไทย ด้ า นตรงข้า มอ�ำเภอ พบพระและอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และ ลามเข้าไปถึงในรัฐมอญเลยทีเดียว แม้กระทั่งในพื้นที่ของรัฐฉานที่มีการเจรจา สงบศึกกันมาระยะหนึ่งแล้ว เช่น กองก�ำลัง กู้ชาติไทใหญ่ เอสเอสเอ (SSA : Shan State Army) หรือ "กองทัพรัฐฉาน" ของพลโทเจ้า ยอดศึ ก ที่ ไ ด้ มี ก ารเจรจาตกลงกั บ รั ฐ บาล เมี ย นม่ า ร์ เ พื่ อ ยุ ติ ข ้ อ ขั ด แย้ ง ที่ มี ม านานกว่ า ห้าสิบปีที่นครเชียงตุงของรัฐฉาน เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ผ่านมา โดยรัฐบาล เมียนม่าร์ได้ลงนามยอมรับว่ากองทัพรัฐฉาน เป็นองค์กรที่ถูกกฎหมาย และชาวไทใหญ่ก็มี สิทธิเท่าเทียมกับประชาชนชาวเมียนม่าร์ทวั่ ไป แต่ ใ นทางกลั บ กั น ทหารเมี ย นม่ า ร์ ก็ พยายามรุกเข้าในพื้นที่อิทธิพลของกองทัพรัฐ ฉาน เอสเอสเอ อย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเมื่อ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ทหารเมียนม่าร์ จากกองพั น ทหารราบที่ ๙๙ (เมี ย นม่ า ร์ เรียกว่า "ขะละยะ") และกองพันเคลื่อนที่เร็วที่ ๕๒๕ (เมียนม่าร์เรียกว่า "ขะมะยะ") มีที่ตั้งอยู่ ที่เมืองลางเคอ จ�ำนวนกว่า ๑๐๐ นายได้ลาด ตระเวนเข้าไปในพื้นที่เมืองปั่น และเกิดการ ปะทะกับทหารเมียนม่าร์สงั กัดกองพันเคลือ่ นที่ เร็วที่ ๓๓๒ ซึ่งรักษาพื้นที่อยู่ด้วยความเข้าใจ ผิด การปะทะเป็นไปอย่างรุนแรง มีการใช้ทั้ง อาวุธประกายและเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๖๐ มิลลิเมตร เพราะต่างเข้าใจว่าฝ่ายตรงข้าม คือกองทัพรัฐฉาน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต ๒ นาย และบาดเจ็บสาหัสอีกจ�ำนวนหนึ่ง พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
สาเหตุสว่ นหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดการปะทะกันขึน้ อีกครั้งในห้วงเวลาที่ผ่านมา เกิดจากกองทัพ เมียนม่าร์เริ่มขยายพื้นที่ครอบครองเข้าไปใน พื้นที่ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ท�ำให้มีการรุกล�้ำ พื้นที่ท�ำกิน เรือกสวนไร่นา เพื่อสร้างฐานที่ มั่นทางทหาร และเพื่อพัฒนาเขตเศรษฐกิจ ต่าง ๆ รวมไปถึงการแสวงหาประโยชน์จาก ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ใ นพื้ น ที่ อิทธิพลของชนกลุ่มน้อย การกระท�ำดังกล่าว ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งในระดับพื้นที่หรือ ระดั บ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ม ากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ในขณะที่ ใ น ระดับประเทศหรือระดับผู้น�ำก็พยายามเจรจา ประนีประนอมอย่างเต็มความสามารถ ซึ่งการ ปฏิบัติที่สวนทางกันของระดับผู้น�ำและระดับ ผู้ปฏิบัติของรัฐบาลเมียนม่าร์นี้ มีแนวโน้มที่จะ ท�ำให้เกิดความขัดแย้งครั้งใหม่ขึ้นมาได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนแสดงให้เห็นว่า การเจรจา ระหว่างรัฐบาลเมียนม่าร์และกลุ่มชาติพันธุ์ นั้นมีความเปราะบางอย่างมาก ทั้งจากความ หวาดระแวงซึ่งกันและกัน และจากเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ที่ต่างมีความเกลียดชังฝังราก ลึกมาอย่างยาวนาน อีกทั้งจากค�ำกล่าวของ นายพาโต้ ซอร์แกว่ ทูวิน เลขาธิการสหภาพ แห่งชาติกะเหรี่ยง ก็แสดงให้ว่าการมาเข้าร่วม พิธีฉลองเอกราชในครั้งนี้ มิได้หมายถึงการเริ่ม ต้นของข้อยุติใด ๆ โดยเขาได้กล่าวว่า การเข้า ร่วมพิธดี งั กล่าว แท้จริงแล้วไม่ได้ตอ้ งการมาชม การสวนสนามอันยิง่ ใหญ่ของกองทัพเมียนม่าร์ เพราะสามารถชมผ่านโทรทัศน์ทั่วไปได้ หาก แต่ที่เดินทางมาตามค�ำเชิญก็เพราะต้องการ เข้าพบประธานาธิบดีเต็ง เส่ง และพลเอก มิน อ่อง หล่าย ผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นการ ส่วนตัว อันจะเป็นความหวังที่น�ำไปสู่การลด ความขัดแย้ง อย่ า งไรก็ ต ามภายหลั ง จากการเข้ า ผู ้ น� ำ ระดั บ สู ง ของเมี ย นม่ า ร์ แ ล้ ว บรรดาผู ้ น� ำ กะเหรี่ยงกลุ่มต่าง ๆ ก็มีท่าทีที่อ่อนลง โดย
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
พลเอกมิน อ่อง หล่าย ได้ให้สัญญาว่าจะมีการ แก้กฏหมายรัฐธรรมนูญให้มีความเป็นธรรม ต่อชนกลุ่มน้อยมากที่สุด และทางกะเหรี่ยงก็ ยินดีที่จะให้เวลาเมียนม่าร์ในการด�ำเนินการ ดังกล่าว เป็นที่น่าสังเกตว่าระหว่างการเจรจา สันติภาพกับเมียนม่าร์ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ นั้น กองก�ำลังกะเหรี่ยง เคเอ็นยู มีโอกาสเข้าพบ พลเอกมิน อ่อง หล่าย เป็นจ�ำนวนถึง ๗ ครั้งใน เวลาเพียงปีเดียว แสดงให้เห็นถึงการให้ความ ส�ำคัญต่อกลุ่มกะเหรี่ยงของกองทัพเมียนม่าร์ เป็นอย่างมาก ข้อสังเกตประการทีส่ องคือ ในพิธสี วนสนาม อันยิ่งใหญ่ในครั้งนี้ นางออง ซาน ซูจี แกนน�ำ พรรคสั น นิ บ าตแห่ ง ชาติ เ พื่ อ ประชาธิ ป ไตย ไม่ได้ปรากฏตัวด้วย ซึ่งการไม่เข้าร่วมงานของ นางออง ซาน ซูจี อาจมองได้ว่าเป็นการแสดง ปฏิกิริยาอย่างชัดเจนถึงความไม่พอใจรัฐบาล เมียนม่าร์ ในการปฏิรูปการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยในช่วงที่ผ่านมา โดยเมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่านมา ขณะ ที่ประธานาธิบดีบารัก โอบาม่า ของสหรัฐฯ ได้พบกับเธอที่บ้านพักในเมืองย่างกุ้ง ระหว่าง การเข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียนที่ กรุงเนปิดอว์ นางออง ซาน ซูจี ได้เรียกร้องให้ โลกตะวันตกผลักดันรัฐบาลเมียนม่าร์ในการ ปฏิรูประบอบการปกครองอย่างจริงจัง เพราะ ตนเองได้ถูกกฎหมายรัฐธรรมนูญตัดสิทธิ์ มิให้ ก้าวขึน้ เป็นประธานาธิบดีในการเลือกตัง้ ทีจ่ ะมี ขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๕๘ นี้ จนต้องมีความพยายาม รณรงค์ให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อที่เธอจะ สามารถก้าวขึ้นสู่ต�ำแหน่งประธานาธิบดีของ ประเทศเมียนม่าร์ได้ นางออง ซาน ซูจี ยังกล่าวกับสถานีวิทยุ บี บี ซี ว ่ า โลกตะวั น ตกก� ำ ลั ง มองเมี ย นม่ า ร์ ในแง่ ดี เ กิ น ไปเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศ โดยเฉพาะมุมมองที่ ว่าเมียนม่าร์ก�ำลังก้าวไปสู่ความส�ำเร็จทางการ
เมืองที่งดงาม ทั้งนี้เพราะโลกตะวันตกมีความ สนใจเมียนม่าร์ในฐานะเป็นแหล่งการลงทุน แห่งใหม่ของพวกเขานั่น เอง อย่างไรก็ตาม นางออง ซาน ซูจี ก็ต่อต้านมาตรการคว�่ำบาตร ทางเศรษฐกิจของตะวันตก โดยเฉพาะจาก สหภาพยุโรปหรือ อียู ที่จะผลักดันการปฏิรูป ประชาธิปไตยในประเทศด้วยการประกาศใช้ มาตรการดังกล่าวอีกครัง้ หลังจากทีเ่ พิง่ ยกเลิก ไปเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ข้อสังเกตประการที่สามคือ การสวนสนาม ในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น ที่ ก รุ ง เนปิ ด อว์ ราชธานี ข อง เมียนม่าร์ก็จริง แต่มิได้จัดขึ้นบริเวณลานสาม กษัตริย์ ซึ่งโดยปกติแล้วการสวนสนามเนื่อง ในวันกองทัพเมียนม่าร์จะจัดขึน้ ทีน่ เี่ ป็นประจ�ำ ลานสามกษั ต ริ ย ์ ป ระกอบไปด้ ว ยพระบรม ราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอโนรธา ผู้สถาปนา อาณาจักรพุกาม, พระเจ้าบุเรงนอง "ผู้ชนะสิบ ทิศ" อันลือชื่อ จนชาวเมียนม่าร์ถวายพระนาม ว่าพระเจ้าหงสาวดีช้างเผือกหรือ "หานตาวดี เซงพยูมยาเชง" ในภาษาเมียนม่าร์ และพระเจ้า อลองพญา หรือ "อลอง เมงตะยาจี" ในภาษา เมียนม่าร์ ต้นราชวงศ์คองบองอันเกรียงไกร การหลีกเลี่ยงที่จะใช้ลานสามกษัตริย์อันเกริก เกียรติในครั้งนี้น่าจะมีสาเหตุมาจากต้องการ หลีกเลี่ยงปูมหลังทางประวัติศาสตร์ของกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นไทใหญ่ในรัฐฉาน ชนชาติมอญ ยะไข่ กะเหรีย่ ง ตลอดจนชาติพนั ธุ์ กลุ่มอื่น ๆ นั่นเอง ข้อสังเกตุต่าง ๆ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า ประธานาธิบดีเต็ง เส่งและพลเอกมิน อ่อง หล่าย มีความพยายามอย่างมากที่จะผลักดัน การเจรจาสันติภาพกับชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่าง ๆ แต่กลไกของกองทัพในระดับ กลางและระดับล่าง กลับมีปัญหาในการสนอง ตอบนโยบายดังกล่าว ไม่วา่ จะเป็นการเปิดฉาก โจมตีฐานทีม่ นั่ ของคะฉิน่ หรือการเคลือ่ นก�ำลัง เข้าไปในเขตอิทธิพลของไทใหญ่ หรือแม้แต่ เงือ่ นไขตามรัฐธรรมนูญในการขัดขวางนางออง ซานซูจีให้ก้าวขึ้นสู่อ�ำนาจประธานาธิบดี ล้วน แล้วแต่เป็นปัญหาทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการปฏิรปู การปกครองประเทศทั้งสิ้น รัฐบาลเมียนม่าร์ คงต้องท�ำงานอย่างหนัก เพราะช่วงเวลาแห่ง ความงดงามและความยินดีปรีดาหรือที่เรียก ว่าช่วง "ดื่มน�้ำผึ้งพระจันทร์" ภายหลังจากการ เปิดประเทศ ก�ำลังจะหมดไป และปัญหาต่าง ๆ มากมายที่ถูก "ซุกไว้ใต้พรม" ก็ก�ำลังจะเผยโฉม ขึ้นอย่างชัดเจนในอนาคตอันใกล้นี้
27
“ช่วยปล่อยคุนต้าคินเต้ ให้เป็นอิสระ” พันเอก อภิสิทธิ์ บุศยารัศมี
ห
ล ายคนอาจจะสงสั ย ว่ า ใครคื อ “คุนต้าคินเต้”คุนต้าคินเต้ เป็นชือ่ ของพระเอกเรือ่ ง “รูท” (ROOTS) แปลว่า รากเหง้า เป็นหนังซีรีย์ในทีวีในอดีต ใช้ ชื่อเรื่องภาษาไทยว่า “ทาส” เรื่องนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับคนแอฟริกาที่ ถูกจับมาเป็นทาสในอเมริกา ใช้ชีวิตเป็นคนใช้ ให้กับฝรั่ง มีชีวิตอยู่อย่างยากล�ำบาก ในแต่ละ ตอนเล่าถึงการถูกเอารัดเอาเปรียบและทารุณ ทางร่างกายและจิตใจต่าง ๆ นานา ผู้เขียน คิดว่า ถ้าเป็นคนที่มีจิตใจปกติจะรู้สึกสงสาร พระเอก และลุ้นอยู่ตลอดเวลาที่พระเอกหนี ว่าไม่ให้ถูกจับตัวได้ แต่เหมือนฟ้ากลั่นแกล้ง 28
ทุกครั้งเขาถูกจับได้และกลับไปทุกข์ทรมาน เช่นเดิม เขามีความมานะพยายามหาทางหนี ตลอดชี วิ ต จนหมดลมหายใจ อิ ส รภาพมา ส�ำเร็จในรุ่นหลานของเขาเมื่อหนีไปอยู่ทาง เหนือของประเทศ สรุปว่าคุนต้าคินเต้ ตายโดย ปราศจากอิสรภาพ เรื่องราวในบทความนี้ผมจะขอน�ำเสนอ เรื่ อ งราวของการค้ า มนุ ษ ย์ ต ามล� ำ ดั บ ดั ง นี้ ครับ ประวัติการค้าทาส การค้ามนุษย์คืออะไร? ประเทศไทยเผชิญปัญหาอะไร? ประเทศไทยแก้ไขปัญหาอย่างไร?
๑. ประวัติการค้าทาส ในระหว่างปี ค.ศ.๑๕๐๐ - ๑๘๐๐ ในช่วง ต้นศตวรรษ ผูป้ กครองชาวแอฟริกาได้ขายพวก เชลยศึกให้แก่พวกพ่อค้าชาวอาหรับ ต่อมา บรรดาประเทศมหาอ�ำนาจในยุโรปได้เข้าร่วม ในการค้ า ทาส โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หลั ง จาก การก่อตั้งอาณานิคมในทวีปอเมริกา ในช่วง นั้น สงครามระหว่างเผ่าและเชลยศึกที่ถูกจับ ได้ท�ำให้มีทาสจ�ำนวนมากมาย ซึ่งสร้างรายได้ งามให้แก่ทั้งผู้ชนะและผู้ค้าทาส นอกจากนี้ ยังมีการจับทาสโดยการลักพาตัวหรือโดยการ ซื้อจากพ่อค้าชาวแอฟริกาในยุคนั้น ชาวยุโรป พันเอก อภิสิทธิ์ บุศยารัศมี
ส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าชาวแอฟริกันผิวด�ำนั้น ไม่ใช่มนุษย์ การเปลี่ยนแปลงเรื่องการค้าทาสในซีกโลก ตะวันตกสิ้นสุดตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ ๑๙ เมื่อ เริ่มมีความพยายามจะเลิกทาส โดยรัฐบาล สหรัฐประกาศเลิกทาสในปี ๑๘๖๓ และหลาย ประเทศในโลกก็เลิกทาสเช่นกันด้วยเหตุผล ด้านมนุษยธรรม ภราดรภาพและอิสรภาพแพร่ กระจายไปทั่วโลก แม้จะมีการเลิกทาสและการหยุดค้าทาส แต่ ก ลายเป็ น ว่ า การละเมิ ด สิ ท ธิ์ ข องมนุ ษ ย์ ยังคงอยูแ่ ละยังคงมีอยูใ่ นหลายประเทศทัว่ โลก รวมทั้งประเทศไทย
๒. การค้ามนุษย์คืออะไร? ในพิธีสารเพื่อป้องกัน ปราบปราม และ ลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก (The Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, especially Women and Children) เพิ่มเติมอนุสัญญา สหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้าม ชาติ (United Nations Convention Against Transnational Organized Crime) ระบุ ความหมายไว้ว่า “การค้ า มนุ ษ ย์ หมายถึ ง การจั ด หา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือ การรับไว้ซึ่งบุคคลด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วย การใช้ก�ำลัง หรือด้วยการบีบบังคับในรูปแบบ อื่นใด ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วย การหลอกลวง ด้วยการใช้อ�ำนาจโดยมิชอบ หรือด้วยการใช้สถานะความเสี่ยงภัยจากการ ค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้ หรือรับเงิน หรือผลประโยชน์เพื่อให้ได้มาซึ่งความยินยอม ของบุคคลผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมบุคคลอื่น เพื่อ ความมุ่งประสงค์ในการแสวงประโยชน์ อย่าง น้อยที่สุด ให้รวมถึงการแสวงประโยชน์จาก การค้าประเวณีของบุคคลอื่น หรือการแสวง ประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น การบังคับ ใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาส หรือการกระท�ำอื่นเสมือนการเอาคนลงเป็น ทาส การท�ำให้ตกอยู่ใต้บังคับ หรือการตัด อวัยวะออกจากร่างกาย ให้ถือว่าการจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือ การรับไว้ซึ่งเด็กเพื่อความมุ่งประสงค์ในการ แสวงประโยชน์เป็นการค้ามนุษย์ แม้ว่าจะไม่มี การใช้วิธีการใด ๆ ที่ระบุไว้” และในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบ ปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.๒๕๕๑ ได้บญ ั ญัตไิ ว้วา่ “มาตรา ๖ ผู้ใดเพื่อแสวงหาประโยชน์โดย มิชอบ กระท�ำการอย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จ�ำหน่าย พามา จากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
29
traffickers.) สหรัฐฯ ได้จดั อันดับกลุม่ ประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง กับการค้ามนุษย์ประจ�ำปี เป็น ๓ ระดับ คือ ระดับที่ ๑ กลุ่มประเทศด�ำเนินการต่อต้านการ ค้ามนุษย์ได้ตามมาตรฐาน ระดับที่ ๒ ก�ำลัง ด�ำเนินการพยายามให้เข้าข่ายมาตรฐาน และ ระดับที่ ๓ ไม่ด�ำเนินการตามกฎหมาย และ ล้มเหลวในการปราบปรามขบวนการค้ามนุษย์ อย่างจริงจัง หากไทยถูกลดระดับมาอยู่ระดับ ๓ แล้ว อาจท� ำ ให้ ไ ทยยั ง ต้ อ งเผชิ ญ หน้ า กั บ การถู ก คัดค้านไม่ให้ได้รับความช่วยเหลือจากสถาบัน การเงินระหว่างประเทศต่าง ๆ เช่น กองทุน การเงินระหว่างประเทศ และ ธนาคารโลก รวมถึงการระงับความช่วยเหลือ หรือการถอน ตั ว ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ของกลุ ่ ม องค์ ก รสิ ท ธิ มนุษยชนต่าง ๆ ฯลฯ จัดให้อยู่อาศัย หรือรับไว้ซึ่งบุคคลใด โดย ข่มขู่ ใช้ก�ำลังบังคับ ลักพาตัว ฉ้อฉล หลอก ลวง ใช้อ�ำนาจโดยมิชอบ หรือโดยให้เงินหรือ ผลประโยชน์อย่างอื่นแก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล บุคคลนั้นเพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลให้ความ ยินยอมแก่ผู้กระท�ำความผิดในการแสวงหา ประโยชน์จากบุคคลที่ตนดูแล หรือ (๒) เป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จ�ำหน่าย พามา จากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้ อยู่อาศัย หรือรับไว้ซึ่งเด็กผู้นั้นกระท�ำความผิด ฐานค้ามนุษย์” กล่าวโดยสรุป ก็คือ การค้ามนุษย์คือ การ กระท�ำใด ๆ ในการจัดหา ซื้อ ขาย กักขัง หน่วง เหนี่ยวคนเพื่อให้คนยอมท�ำในสิ่งไม่อยากท�ำ หรื อ ตกอยู ่ ใ นสภาพที่ ล� ำ บากโดยถู ก เอารั ด เอาเปรียบ ถูกแสวงหาประโยชน์
๓. ประเทศไทยเผชิญ ปัญหาอะไร? เมื่ อ วั น ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ส� ำ นั ก ข่ า วรอยเตอร์ ไ ด้ ร ายงานข่ า วการที่ ไ ทย อาจถู ก ลดระดั บ กลุ ่ ม ประเทศที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ การค้ า มนุ ษ ย์ ลงมาอยู ่ ใ นระดั บ ที่ ๓ ตามรายงานของกลุ ่ ม องค์ ก รด้ า นสิ ท ธิ มนุ ษ ยชนสากล ยั ง อ้ า งข่ า วจากส� ำ นั ก ข่ า ว รอยเตอร์ เ มื่ อ เดื อ นธั น วาคม ๒๕๕๖ ว่ า เจ้าหน้าที่ของรัฐไทยได้ขายผู้ลี้ภัยชนกลุ่มน้อย มุสลิมชาวโรฮิงญาหลายร้อยคนที่หลบหนีมา จากประเทศพม่า ให้แก่ขบวนการค้ามนุษย์อีก ด้วย (It cited a December 2013 Reuters report that showed Thai government officials sold hundreds of Rohingya refugees from Myanmar to human 30
พันเอก อภิสิทธิ์ บุศยารัศมี
ต่ า งประเทศ ก� ำ หนดให้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการประจ�ำประเทศต่าง ๆ โดยมีเอกอัคร ราชทูต/กงสุลใหญ่เป็นประธาน และมีผู้แทน ประกอบด้วยกงสุลใหญ่กติ ติมศักดิ์ ทูตแรงงาน ผูแ้ ทนด้านความมัน่ คง ส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง องค์กรเอกชน และชุมชนไทยท�ำหน้าทีป่ ระสาน การให้ ข ้ อ มู ล และความช่ ว ยเหลื อ เหยื่ อ การ ค้ามนุษย์ ปี ๒๕๕๑ ประเทศไทยมี ก ารบั ง คั บ ใช้ กฎหมายป้ อ งกั น และปราบปรามการค้ า มนุษย์ แต่กระบวนการบังคับใช้กฎหมายของ ประเทศไทยยังคงล้มเหลว มีการด�ำเนินการ อย่างมีข้อจ�ำกัด เกิดจากสาเหตุหลายประการ ทั้งความรู้ความเข้าใจในตัวบทกฎหมาย การ เพิกเฉยต่อการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง มีการแสวงหาผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ที่ ปี ๒๕๔๘ คณะรัฐมนตรีได้มมี ติเมือ่ วันที่ ๑๔ เกี่ยวข้อง การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์เป็นสิ่งที่เรา มิถุนายน ๒๕๔๘ เห็นชอบให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติ การด้านการค้ามนุษย์ ๓ ระดับ คือ ระดับชาติ ทุกคนไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของ ระดับจังหวัด และต่างประเทศ โดยมีเป้าหมาย รัฐที่จะต้องเอาจริงเอาจัง และประชาชนที่จะ เพื่อให้เกิดกลไกประสานงานกลางด้านการค้า ต้องเป็นหูเป็นตาช่วยกันสอดส่องแก้ไข ก่อน มนุษย์ บูรณาการข้อมูลบริการและความช่วย ที่ไทยเราจะถูกคว�่ำบาตรจากต่างชาติ ซึ่งจะน�ำ เหลือจากส่วนราชการทุกกระทรวง รวมทัง้ เกิด มาซึ่งความเสียหายต่อประเทศอย่างมากมาย ระบบสนับสนุนข้อมูลเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ มหาศาล ต่อไปนี้คือบทสัมภาษณ์แรงงานชาวพม่าที่ ผู้บริหารในระดับนโยบายในการป้องกันและ ถู ก กดขี ่แรงงานในประเทศไทย แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ตามโครงสร้างดังนี้ “ตอนที่ฉันได้ยินว่ามีโรงงานจ�ำนวนมาก ระดั บ ชาติ ก� ำ หนดให้ ก ระทรวงการ ต้ อ งการแรงงานส�ำหรับแกะเปลือกกุ้งทะเล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็น หน่ ว ยงานกลางประสานการป้ อ งกั น และ ฉันไม่รู้หรอกว่าควรจะเลือกโรงงานไหน ฉันก็ ปราบปรามการค้ามนุษย์ร่วมกับหน่วยงานที่ เลยเลือกขึ้นมาหนึ่งที่ ตอนนั้นฉันอายุ ๒๑ ปี ผูจ้ ดั การโรงงานบอกว่าเขาจ้างฉัน เราตกลงกัน เกี่ยวข้อง ระดั บ จั ง หวั ด ก� ำ หนดให้แ ต่งตั้งคณะ เรื่องค่าจ้างไว้ที่ $50 ต่อเดือน แต่เขาบอกว่า กรรมการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องโดยมี ฉันจะไม่ได้รับอนุญาตให้ออกไปจากพื้นที่ของ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและพัฒนา โรงงาน ฉันตกลงกับเงื่อนไขนี้ และต้องการเงิน สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเป็น ก็เลยตกลงรับงานนี้ หลังจากท�ำงานวันละ ๑๘ ชั่วโมงเป็นเวลา เลขานุ ก าร รวมทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ ห น่ ว ยงาน ภาครัฐ องค์กรเอกชนและชุมชนเข้ามามีส่วน เกือบสองเดือน ฉันก็ไปขอรับเงินค่าแรงจาก นายจ้ า ง เขายิ้ ม แล้ ว หั ว เราะก่ อ นจะพู ด ว่ า ร่วมป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ “ขอโทษนะ ฉันลืมบอกเธอไปว่าเธอต้องจ่าย สถานะของประเทศไทย ประเทศไทยประสบปัญหาการค้ามนุษย์ ใน ๓ สถานะ คือ ๑) เป็นประเทศต้นทาง มีการน�ำคนจาก พื้นที่ชนบทชุมชนชาวไทยภูเขา หรืออื่น ๆ ส่ง ไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๒) เป็นประเทศทางผ่าน ขบวนการค้า มนุษย์ใช้เป็นทางผ่านพาคนจากประเทศพม่า ลาว จีน เขมร ฯลฯ ไปยังประเทศอื่น ๆ ๓) เป็นประเทศปลายทาง มีการน�ำคน จากที่อื่นเข้ามาพักและแสวงหาประโยชน์
ให้ฉันเดือนละ $54 ส�ำหรับท�ำงานที่นี่ แต่ ค่าแรงของเธอคือ $50 ต่อเดือน แปลว่าตอน นี้ เ ธอติ ด หนี้ ฉั น เธอจะออกไปจากที่ นี่ ไ ม่ ไ ด้ จนกว่าจะจ่ายหนี้หมด” ฉันถูกกักเอาไว้ในโรงงานนัน้ ถึงสามปี หนีไป ไหนไม่ได้เพราะพวกเขามีเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความ ปลอดภัยติดอาวุธ รัว้ ลวดหนาม และก�ำแพงสูง ไม่มีใครหนีออกไปได้เลย ยิ่งท�ำงานมากเท่า ไหร่ หนี้ก็ยิ่งเพิ่มพูนมากขึ้นเท่านั้น ฉันท�ำงาน อย่างหนักแต่กลับไม่ได้อะไรตอบแทนกลับมา ยิ่งท�ำให้ฉันสิ้นหวัง ถ้าไฟไหม้ครั้งนั้นไม่เรียก ให้เจ้าหน้าที่เข้ามาตรวจสอบ ฉันคงไม่มีวัน ได้ออกมาจากที่นั่น สามปีของชีวิตของฉัน ถูกขโมย...ไป พร้อมกับหลายอย่างที่ฉันไม่ สามารถเรียกกลับคืนมาได้อีก”
๔. ประเทศไทยแก้ไข ปัญหาอย่างไร?
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
นับเป็นเรื่องที่น่าเศร้าเรื่องหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้อง กับประเทศไทยและมนุษย์คนหนึ่ง
บทสรุป ผู ้ เ ขี ย นเพี ย งหวั ง ว่ า ผู ้ อ ่ า นจะเห็ น ว่ า คน เหล่านั้นเป็นมนุษย์ ไม่ใช่สัตว์หรือแรงงานที่ ถูกกดขี่ข่มเหงแบบทาสในอดีต เพราะมนุษย์ ทุกคนล้วนมีชีวิต มีจิตใจ มีพ่อแม่ ญาติพี่น้อง และครอบครัว คิดถึงใจเขาใจเรา คงไม่มีใคร อยากให้ตัวเรา ลูกเรา พี่น้องหรือญาติของเรา ต้องประสบชะตากรรมแบบเขาเหล่านั้น ช่วย กันเถอะครับ “ช่วยปล่อยคุนต้าคินเต้ให้เป็น อิสระ” ที่มาข้อมูล : http://libertyasia.org/th http://wไww.bangkokbiznews.com/ (ช�ำนาญ จันทร์เรือง) http://www.myfirstbrain.com/student_view. aspx?ID=1511 31
Rise of the Cyber Militias
ก�ำเนิดทหารกองหนุน Cyber“ใครคือผู้รุกราน ที่อันตรายที่สุด” นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
32
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ใ
ในปี ๑๙๙๔ กองทัพปลดปล่อยแห่ง ชาติ Zapatista เริ่มเปิดสงคราม กองโจรกับรัฐบาลเม็กซิโก และต่อสู้ กันเรื่อยมาจนถึงปี ๑๙๙๘ Zapatista เปลี่ยน ยุทธวิธีการรบหันมาโจมตีเป้าหมายในระบบ ข้อมูลข่าวสาร (Cyber War) แทน กลุ่มซ้าย สุดกูเ่ หล่านีไ้ ด้รบั การช่วยเหลือจากนัก Hacker ชาวยุโรป โดยเริม่ ต้นจากการโจมตีและรบกวน เว็ บ ไซต์ ข องต� ำ รวจเม็ ก ซิ โ กและของหน่ ว ย งานอื่น ๆ หลังจากนั้นก็แผ่ขยายการรบกวน กว้างขวางมากขึ้นไปสู่กลุ่มธุรกิจหรือองค์กร ของสหรั ฐ ฯ และท� ำ ให้ ส ถาบั น แลกเปลี่ ย น เงินตรา Frankfurt Stock Exchange ถึงกับ เป็นอัมพาตไปเลยทีเดียว เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ คื อ สิ่ ง บอกเหตุ ค รั้ ง แรก ที่กลุ่มกองโจรน�ำระบบข้อมูลข่าวสาร (Cyber Network) มาใช้เป็นเครื่องมือจัดการ แก้ไขความขัดแย้งกับรัฐบาล เนื่องจากพวก เขามี อ าวุ ธ และนั ก รบในยุ ท ธวิ ธี แ บบเดิ ม อยู ่ ไม่มากนัก Scott Borg. ผู้อ�ำนวยการและหัวหน้านัก เศรษฐศาสตร์ของ US Cyber Consequence Unit เป็นองค์กรที่ไม่หวังผลก�ำไร ได้ศึกษา วิจัยและสอบสวนถึงผลกระทบที่อันตรายจาก การถูกโจมตีในระบบข้อมูลข่าวสาร (Cyber Network) โดยองค์กรนี้ได้จัดให้มีการประชุม ใหญ่ในเรื่องดังกล่าวที่ Colorado Springs ที่ นี่มีประเด็นที่ต้องอภิปรายกันตั้งแต่เหตุการณ์ เริ่มต้นของการรุกรานทางไซเบอร์ปี ๑๙๙๘ จนถึงปี ๒๐๑๐ ที่เกิดสงครามไซเบอร์ (Cyber War) ดั ง สนั่ น ลั่ น โลกคื อ ศึ ก Wikileak ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ชาติ ม หาอ� ำ นาจหลายชาติ โ ดย เฉพาะอเมริกา การเกิ ด ขึ้ น ของนั ก รบไซเบอร์ (Cyber Warrior) เริ่มจากความขัดแย้งอย่างรุนแรงใน ท้องถิ่น เป็นการรวมตัวแบบไม่เป็นทางการ อย่างหลวม ๆ แบบลับ ๆ ของกลุ่มพลเรือน ในท้องถิ่นนั้น ๆ บางครั้งได้รับการสนับสนุน จากกลุ่มอาชญากรรม สาเหตุส�ำคัญของความ ขัดแย้งเป็นเรื่องความเป็นชาตินิยมของกลุ่ม ชาติพันธุ์รักถิ่นฐาน (Ethno-Nationalists) ที่ไม่ได้เป็นรัฐบาลปกครองประเทศ ทั้งที่พวก เขาอาศัยอยู่มาก่อนหรือเป็นคนส่วนใหญ่ของ ประเทศ พวกเขาก้าวร้าวและรุกคืบขยายตัว อย่างรวดเร็วในโลกของไซเบอร์ ด้วยความ เชี่ยวชาญการใช้ Cyber Network เป็นเครื่อง มือประดุจดังอาวุธ เพื่อเรียกร้องความต้องการ จากรัฐบาล พวกเขาจึงได้รับการสนับสนุนเงิน ทองช่วยเหลืออย่างลับ ๆ จากรัฐบาลหลาย ๆ ประเทศที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างเชื้ อ ชาติ แ ละ ศาสนากันอยู่ทางประวัติศาสตร์ หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
แม้ว่ารัฐบาลต่าง ๆ จากหลายประเทศจะ ให้การสนับสนุนและมีอทิ ธิพลเหนือกลุม่ นักรบ ไซเบอร์พวกนี้อย่างลับ ๆ อยู่ รัฐบาลเหล่านั้น ก็ไม่ได้บังคัญบัญชากลุ่มคนพวกนี้ซึ่งองค์กร อย่าง US Cyber Consequence Unit เอง ก็ไม่รู้เหมือนกันว่าเมื่อไหร่จะเรียกพวกเขาว่า เป็นนักรบไซเบอร์ (Cyber Warrior) หรือทหาร กองหนุนไซเบอร์ (Cyber Militia) นับตัง้ แต่การปฏิบตั กิ ารของกลุม่ Zapatista ในปี ๑๙๙๘ โดยใช้ Cyber Network เป็น เครื่องมือนั้น ท�ำให้เกิดนักรบไซเบอร์ขึ้นอยู่ ในกลุ่มของความขัดแย้งทั่วทุกภูมิภาค อย่าง เช่นการทดลองระเบิดปรมาณูในอินเดีย ระบบ สารสนเทศของอินเดียถูกรบกวนอย่างหนัก จากกลุ่มชาติพันธุ์รักชาติปากีสถาน สงคราม ไซเบอร์ครั้งนี้ยาวนานอยู่หลายเดือน และเป็น ภาพที่ชัดเจนของสงครามไซเบอร์
ปี ๑๙๙๙ กองก�ำลังสหรัฐฯ ในนามนาโต เปิดยุทธการปฏิบัติการ Operation Allied Force เพื่ อ ระงั บ การฆ่ า ล้ า งผลาญจากข้ อ ขัดแย้งเรือ่ งเชือ้ ชาติในเซอร์เบีย สหรัฐฯ ต้องใช้ ความพยายามอย่างมากในการต่อสู้กับนักรบ ไซเบอร์ของชาวเซิรบ์ และ Hacker ชาวรัสเซีย ใน ครั้งนั้นผลของสงครามไซเบอร์ท�ำให้เครื่องบิน ทิ้ ง ระเบิ ด กองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯแบบ B-2 ทิ้ ง ระเบิ ด ผิ ด พลาดไปโดนสถานทู ต ของ มหาอ�ำนาจแห่งเอเชียคือจีนในกรุงเบลเกรด จนท� ำ ให้ เ กิ ด สงครามไซเบอร์ โ ต้ ต อบกั น ไป มาระหว่างสหรัฐฯและพันธมิตรในนาโตกับ จีนตามมา หลังปี ๑๙๙๙ การจัดองค์ของกลุ่ม ไซเบอร์ เริม่ เป็นระบบและมีการบริหารจัดการ เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในปี ๑๙๙๙ เดียวกันนี้ข้อขัดแย้งอย่าง ยาวนานของอิ น เดี ย และปากี ส ถานเหนื อ
33
ดินแดน Kashmir ก่อให้เกิดสงครามไซเบอร์ ระหว่างสองประเทศนี้อย่างดุเดือดและยาก ที่จะระบุว่า เป็นการกระท�ำที่อยู่ภายใต้การ สนับสนุนของรัฐบาลเองหรือไม่ มวยโลกแขก ขาวคู่นี้อินเดียดูท่าจะได้เปรียบมากกว่า เมื่อ ถึงปลายปี ๑๙๙๙ กลุ่มก่อการร้ายฮามาส ภายใต้การสนับสนุนของอิหร่านเปิดสมรภูมิ ใหม่ของสงครามจากความขัดแย้งเรือ่ งดินแดน ที่เรื้อรังอย่างยาวนานระหว่างอิสราเอลและ กลุ่มประเทศอาหรับคือ “สงครามไซเบอร์” สมรภูมิในสงครามไซเบอร์ที่น่าสนใจอีก อย่ า งหนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในปี ๒๐๐๘ เมื่ อ รั ส เซี ย บุ ก จอร์ เ จี ย การรบกวนและโจมตี ร ะบบ สารสนเทศเป็ น ไปอย่ า งกว้ า งขวางในสอง ลักษณะ อย่างแรกเกิดจากกลุ่มอาชญากรรม ชาวรัสเซียกระท�ำต่อเว็บไซต์ของศัตรูโดยตรง พวกเขาเองที่ อ ยู ่ ใ นจอร์ เ จี ย อย่ า งที่ ส อง กระท�ำโดยสมาคมนัก Hacker พลเรือนรัก ชาติชาวรัสเซีย (Cyber Mob) ทั่วไปไม่ใช่ แก๊งอาชญากรรมที่ไหน ซึ่งกลุ่มหลังนี้โจมตี เว็บไซด์ท่ีมีรายละเอียดและจัดล�ำดับไว้อย่าง เรียบร้อยแล้วถึง ๔๐ เว็บไซต์ เป็นการแสดง ให้เห็นว่าการท�ำงานของนัก Hacker มีการ บริหารจัดการเป็นระบบมากขึ้นต่อเป้าหมายที่ ต้องการมีการวิเคราะห์ จัดล�ำดับ ติดตามและ ประเมินผล เหล่าผู้รุกรานพลเรือนชาวรัสเซีย ทางไซเบอร์กลุ่มนี้ พวกเขาไม่มีการปิดบังตัว เองแต่ประการใด และต้องการให้เห็นว่าเป็น ผลงานของพวกเขาไม่ใช่การปฏิบัติการของ 34
รัฐบาลรัสเซีย หรือจากกลุ่มมาเฟียชาวรัสเซีย การติดตามการท�ำงานของกลุ่มนี้จึงไม่ใช่เรื่อง ล�ำบาก แหล่งข่าวของสหรัฐฯ ได้ระบุได้ถึง กลุ่มไซเบอร์รักชาติชาวรัสเซียหรืออาจจะเป็น ทหารกองหนุนไซเบอร์ของรัสเซียเคยปฏิบัติ การโจมตีทางไซเบอร์คล้าย ๆ กันมาแล้วใน Estonia ปี ๒๐๐๗ และใน Kyrgyzstan ปี ๒๐๐๙ ประเทศหลั ง นี้ พ วกเขาสามารถปิ ด การบริการ Internet ของสองบริษัทใหญ่ที่ ให้บริการ Internet ได้ถึง ๘๐ เปอร์เซ็นต์ใน ระยะเวลาหนึ่ง การท�ำสงครามไซเบอร์เปรียบเสมือนการ ต่อสู้ในหลุมหลบภัยที่แข็งแกร่งกับคู่กรณีของ ความขัดแย้งในท้องถิ่น มันมีศักยภาพที่จะ เกิดขึ้น ยกระดับ แพร่กระจาย และขัดขวาง กิจการระหว่างประเทศใด ๆ ได้อย่างรวดเร็ว จากที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เหมือนเหตุการณ์ ที่ตามมาหลังศึกสงครามระหว่างรัสเซียและ จอร์เจียนั้น จอร์เจียถูกบดขยี้อย่างหนักจาก Cyber Mob ชาวรัสเซียหลายกลุ่มแต่พวก เขาต่อต้านแต่เพียงเล็กน้อย นัก Hacker ชาว จอร์เจียหลีกเลี่ยงที่จะโจมตีโครงสร้างพื้นฐาน ทางอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของรัสเซียเช่น โรง กลั่ น น�้ ำ มั น โรงงานเคมี โรงสู บ น�้ ำ และการ ประปา อีกทั้งโรงงานไฟฟ้า และภายหลังจาก ที่นัก Hacker ชาวจอร์เจียได้ก่อตั้งองค์กร ขึ้นมาเรียบร้อยแล้ว พวกเขาประกาศว่า นับ ตั้ ง แต่ บั ด นี้ เ ป็ น ต้ น ไปจอร์ เ จี ย จะโต้ ต อบทุ ก กรณีในระดับความรุนแรงพอ ๆ กับที่พวกเขา
ถูกกระท�ำในสงครามไซเบอร์จากรัสเซีย และ ถ้าสถานการณ์โต้ตอบกันรุนแรงมากขึน้ รัสเซีย จะต้องใช้ทหารกองหนุนไซเบอร์ในสงคราม ไซเบอร์อย่างแน่นอน มุมมองในปัจจุบันได้เห็นเค้าลางการเริ่ม รวมตัวกันของนักรบไซเบอร์ จากหลาย ๆ ชาติ เพื่อความเป็นพันธมิตร สิ่งที่แย่ยิ่งกว่านั้นจะ ตามมาคือการรวมการควบคุมการปฏิบัติการ สงครามไซเบอร์ที่สมบูรณ์แบบจะเกิดขึ้น และ จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการเรียกร้องอิสระใน การปกครองตนเองของพวกเขาต่อไป
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ในประเทศจีน รัฐบาลจีนสามารถส่งสัญญาณ บางอย่างให้ทหารกองหนุนไซเบอร์ของรัฐบาล กระท�ำการใด ๆ ใน Cyber ให้เป็นไปตาม ที่ รั ฐ บาลต้ อ งการได้ และทหารกองหนุ น ไซเบอร์เหล่านี้ก็ต้องปฏิบัติตามกฎของรัฐบาล ในรั ส เซี ย เองก็ เ ช่ น เดี ย วกั น แต่ ค วามเข้ ม ข้ น น้อยกว่า แต่อย่างไรก็ตามเมื่อถึงเวลาหนึ่ง ทั้งจีนและรัสเซียก็จะไม่สามารถที่จะควบคุม ทหารกองหนุ น ไซเบอร์ พ วกนี้ไ ด้ต ลอดเวลา และมันก็เป็นเรื่องจริงเหมือนในประเทศอื่น ๆ ลักษณะของความขัดแย้งที่ใช้เครือข่าย ไซเบอร์เป็นสมรภูมินั้น นอกจากที่จะเกิดขึ้น และแพร่ขยายอย่างรวดเร็วแล้ว ยังยากต่อ การควบคุ ม อี ก ด้ ว ยและจะก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสียหายอื่น ๆ ตามมา อย่างไรก็ตามในเรื่อง เกี่ยวกับการควบคุมไซเบอร์ของรัฐบาลที่เห็น อย่างเด่นชัดคือ เหตุการณ์สลายการชุมนุม ของประชาชนจี น ณ จั ตุ รั ส เที ย นอั น เหมิ น การปฏิบัติงานของทหารกองหนุนไซเบอร์ของ รัฐบาล สามารถน�ำไปสู่การจับกุมผู้ต้องสงสัย เป็นอาชญากรไซเบอร์ถึง ๔๐๐ คน และปิด เว็บไซต์ของ Hacker ไปมากกว่า ๑๐๐ เว็บไซต์ พิ ษ สงของการโจมตี ท าง Cyber ล่ า สุ ด ส่งท้ายปี ๒๐๑๔ คือ การโจมตีฐานข้อมูล ของ บ.Sony Pictures ของ สหรัฐฯ เจ้าของ ลิขสิทธิ์หนังดังชื่อ “The Interview” สร้างมา ในแนวข�ำ ๆ ล้อเลียนผู้น�ำ คิม ยุคที่สามของ เกาหลีเหนือ แต่ยังไม่มีโอกาสฉายในโรงใหญ่ เพราะถูกเกาหลีเหนือคาดโทษข่มขู่จะก่อการ ร้ายในทุกที่ ทีห่ นังเรือ่ งนีอ้ อกฉาย ท�ำให้ตอ้ งงด แผนการท�ำเงินทางโรงหนัง หันมาเน้นทางการ Download ทาง Online แทน กลับการเป็น ดีขึ้นมาเสียอีก หนังถูกซื้อทาง On Line มาก หน�ำซ�้ำ Obama ได้ออกมากล่าวต�ำหนิถึงถึง การที่ บ.Sony Picture ไม่มาปรึกษาหารือ
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ซึ่งทาง ปธน.มองว่าเป็นการคุกคามเสรีภาพ ของสหรัฐฯ โดยตรง ยิ่งท�ำให้หนังเรื่องนี้ดัง กระหึ่ม ไปทั่ ว โลกหนั ก เข้ า ไปอี ก ตอนเกื อ บ ท้าย ๆ ของ การโจมตีทาง Cyber ในเรื่องนี้ นั้น ระบบสารสนเทศของเกาหลีเกือบทั้งหมด ถูกโต้ตอบโจมตีกลับเป็นอัมพาตอยู่หลายวัน ซึ่งก็ไม่ทราบสาเหตุจากอะไรหรือใครเป็นผู้อยู่ เบื้องหลัง เป็นประเด็นที่ต้องวิเคราะห์กันแบบ ง่าย ๆ ต่อไป ผลในขั้นที่รุนแรงที่สุดของสงครามไซเบอร์ สามารถท�ำลายโครงสร้างทางเศรษฐกิจของ ประเทศ เช่น โรงไฟฟ้า โรงงานเคมี โรงงาน อุตสาหกรรม ระบบการขนส่ง โรงกลั่นน�้ำมัน แม้ ก ระทั้ ง แหล่ ง อาหาร และมี ผ ลรุ น แรง มากกว่าการทิ้งระเบิดโจมตีทางยุทธศาสตร์ ต่อเยอรมันและญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง ด้วยอานุภาพที่น่ากลัวของสงครามไซเบอร์ รัฐบาลทั่วโลกโดยเฉพาะชาติมหาอ�ำนาจต้อง ตระหนั ก ถึ ง การควบคุ ม และบริ ห ารจั ด การ ไซเบอร์ให้อยู่ในระเบียบและระบบของความ ปลอดภัยให้เป็นไปอย่างดี
ส� ำ หรั บ กองทั พ ไทยนั้ น ที่ ใ กล้ ตั ว ที่ สุ ด ใน ระดับ กห. ภารกิจทางด้านนีถ้ กู วางไว้ที่ ทสอ.กห. ซึ่งก�ำลังอยู่ในขั้นการเจริญเติบโต เปลี่ยนผ่าน และน่าจะไปถึงระดับ Cyber Command ใน อนาคต เพราะว่า ภัยคุกคามยุคใหม่นั้น ได้รวม Cyber เข้าไปด้วย (5 Domains Warfare : Air, Sea, Land, Space and Cyber) จึงเป็น เรื่องที่ต้องให้ความส�ำคัญและติดตาม และน่า จะเป็นแม่เหล็กที่มีพลังดึงดูดให้ นายทหาร ยุคใหม่มีมุมมองทางยุทธศาสตร์ด้าน Cyber มากขึ้น เป็นขุมก�ำลังที่ปกป้องการรุกรานทาง เศรษฐกิจ ที่เป็นจุดอ่อนส�ำคัญของทุกชาติใน โลกนี้
เรียบเรียงจาก : Air Force Magazine, February 2011 ผู้เขียน : Robert S.Dudney ผู้เรียบเรียง : น.อ.ปิยะพันธ์ ขันถม
35
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
จรวดน�ำวิถีต่อต้าน เรือผิวน�้ำแบบเอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ ก พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
อ งทั พ เรื อ เวี ย ดนามจั ด ซื้ อ จรวด น� ำ วิ ถี ต ่ อ ต้ า นเรื อ ผิ ว น�้ ำ รุ ่ น ใหม่ เอ็กโซเซต์เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ (Exocet MM-40 Block 3) เพื่อติดตั้งกับเรือ คอร์เวตจรวดน�ำวิถีชั้นซิ๊กม่า (SIGMA 9814) จ�ำนวน ๔ ล�ำ จากประเทศฝรั่งเศส เรือรบต่อ จากประเทศเนเธอร์แลนด์ (เรือล�ำที่สาม และ เรือล�ำที่สี่ ต่อที่ประเทศเวียดนาม) เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ เรือยาว ๙๙.๙๑ เมตร ระวางขับน�้ำ ๒,๑๕๐ ตัน ปืนหลักขนาด ๗๖ มิลลิเมตร ปืนกลขนาด ๓๐ มิลลิเมตร (๒ กระบอก) จรวดน�ำวิถี เรือ-สู-่ เรือ เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อค ๓ รวม ๘ ท่อยิง จรวดน�ำวิถี ต่อสู้อากาศยานทางดิ่งแบบไมก้า (Mica VLS) ชนิด ๑๒ ท่อยิง ตอร์ปิโดต่อต้านเรือด�ำน�้ำชนิด สามท่อยิง (๒ แท่นยิง) และลูกเรือ ๑๐๓ นาย จรวดน�ำวิถีต่อต้านเรือผิวน�้ำแบบ เอ็กโซ เซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ ท�ำการวิจยั พัฒนาและท�ำการ ผลิตโดยประเทศฝรั่งเศส ข้อมูลที่ส�ำคัญคือ ลูก จรวดยาว ๕.๘๐ เมตร ช่วงปีก ๑.๑๓ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๓๕ เมตรความเร็วสูงสุด ๑,๑๑๓ กิโลเมตรต่อชั่วโมง น�้ำหนัก ๘๗๐ กิโลกรัม หัวรบดินระเบิดแรงสูงหนัก ๑๖๐ กิโลกรัมและระยะยิงไกล ๗๒ กิโลเมตร ท�ำการ พัฒนาให้มขี ดี ความสามารถเพิม่ มากขึน้ รุน่ เอ็ก โซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อค ๓ เพิ่มระยะยิงเป็น ๑๘๐ กิโลเมตร เครือ่ งยนต์รนุ่ ใหม่แบบเทอร์โบ เจ็ต ทดสอบการยิงจากเรือฟรีเกตบริเวณทะเล เมดิเตอร์เรเนียน เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ กองทัพเรือฝรั่งเศสได้จัดซื้อเข้าประจ�ำ การเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ รวม ๔๕ ลูก ปัจจุบันได้ท�ำการผลิตลูกจรวดในตระกูล เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ ทั้งสิ้นกว่า ๔๐๐ ลูก 36
จรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ (Exocet MM-40 Block 3) พร้อมยิงชนิด ๔ ท่อยิง (รวม ๒ แท่นยิง ต่อล�ำ) ระยะยิงไกลสุด ๑๘๐ กิโลเมตร จรวดน�ำวิถีตระกูลเอ็กโซเซต์ได้ท�ำการยิง ในสนามรบจริงเมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ที่โด่งดังไปทั่วโลกโดยกองทัพอากาศ อิ รั ก ปฏิ บั ติ ก ารด้ ว ยเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ แ บบมิ ราจเอฟ-๑ (Mirage F-1) เป็นห้วงหนึ่ง ของ สงครามอ่าวเปอร์เซีย อิหร่าน-อิรกั พืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ การบริเวณอ่าวเปอร์เซีย ท�ำการยิงจรวดรุ่น เอ เอ็ม-๓๙ (Exocet AM-39) รุ่นจาก อากาศ-สู่เรือ ขณะท�ำการบินทีร่ ะยะความสูง ๕,๐๐๐ ฟุต ด้วยความเร็ว ๘๘๐ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง บริเวณ อ่าวเปอร์เซียชายฝั่งทะเล อิรัก-อิหร่าน ได้พบ
เป้าหมายเรือรบที่อยู่ห่างออกไป ๓๖ กิโลเมตร จึ ง ท� ำ การยิ ง จรวดน� ำ วิ ถี ไ ปยั ง เป้ า หมายคื อ เรื อ ฟรี เ กตกองทั พ เรื อ สหรั ฐ อเมริ ก าชื่ อ เรื อ ยูเอสเอสสตาร์ค (USS Stark, FFG-31) เรือ ขนาดยาว ๑๓๘.๐ เมตร ขนาด ๔,๒๐๐ ตัน และความเร็ ว ๒๙ นอต ขณะปฏิ บั ติ ก าร ลาดตระเวนโดยเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกองเรื อ ตะวันออกกลางกองเรือเฉพาะกิจ (METF) ถูก ยิงจ�ำนวน ๒ ลูก พร้อมทั้งได้ท�ำการเลี้ยวกลับ และท� ำ การบิ น ไปยั ง ฐานทั พ อากาศ เรื อ รบ สหรัฐอเมริกาไม่ทันที่จะตอบโต้ทางสงคราม พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เรือฟรีเกต ยูเอสเอสสตาร์ค (USS Stark FFG-31) ขณะลอยล�ำภายหลังจากถูกยิงด้วยจรวดน�ำวิถีเรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์ เอเอ็ม-๓๙ (Exocet AM-39) ของกองทัพอากาศอิรัก เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๐ บริเวณอ่าวเปอร์เซีย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และปื น วั ล แคน (Vulcan) ขนาด ๒๐ มิลลิเมตร (ชนิดหกล�ำกล้อง) ที่ ใช้ป้องกันระยะใกล้เป็นด่านสุดท้าย ลูกจรวด พุ่งเข้าหาเรือรบสหรัฐอเมริกาในระดับต�่ำ ถูก เป้าหมายทั้งสองลูกบริเวณด้านข้างของเรือ บริเวณกราบซ้ายสูงจากระดับน�้ำทะเล ๑๐ ฟุต จรวดลูกหนึ่งได้เกิดการระเบิดเรือฟรีเกตของ สหรัฐอเมริกาได้รับความเสียหายอย่างหนัก หมดขีดความสามารถที่จะท�ำการรบต่อไปได้ เป็นผลให้ลูกเรือเสียชีวิต ๓๗ คน และได้รับ บาดเจ็บ ๒๑ คน แต่เรือรบก็ยังคงลอยล�ำอยู่ได้ แม้ว่าจะมีน�้ำเข้าเรือจนหน่วยกู้ภัยเข้ามาช่วย เหลือ พร้อมทั้งได้น�ำเรือกลับเข้าสู่ชายฝั่งทะเล ของประเทศบาห์เรน ในวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๐ กองทัพเรือมาเลเซียได้จัดซื้อจรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อค ๒ (Exocet MM-40 Block 2) จากประเทศ ฝรัง่ เศส เพือ่ ติดตัง้ กับเรือฟรีเกตล�ำใหม่ในขณะ นั้นชั้นลีเคียว (Lekiu) จ�ำนวน ๒ ล�ำ ที่ต่อจาก อู่ต่อเรือประเทศอังกฤษ ได้ปล่อยเรือลงน�ำใน หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
เรือฟรีเกตจรวดน�ำวิถี ยูเอสเอสสตาร์ค (USS Stark FFG-31) หลังจากถูกยิงด้วย ลูกจรวดน�ำวิถเี อ็กโซเซต์ (Exocet AM-39) บริเวณด้านกราบซ้ายเรือได้รบั ความเสียหาย อย่างหนักเป็นผลให้ลูกเรือเสียชีวิต ๓๗ คน และได้รับบาดเจ็บ ๒๑ คน 37
ลูกจรวดน�ำวิถี เรือ-สู-่ เรือ แบบเอ็กโซเซต์เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ ติดตัง้ ในแท่นยิงชุด ละ ๔ ท่อยิง ลูกจรวดยาว ๕.๘๐ เมตร ช่วงปีก ๑.๑๓ เมตร เครื่องยนต์ เทอร์ โบเจ็ต ความเร็ว ๑,๑๑๓ กิโลเมตรต่อชั่วโมง น�้ำหนัก ๘๗๐ กิโลกรัม และระยะยิงไกล ๑๘๐ กิโลเมตร
เรือคอร์เวตสุลต่านอิสคันดาร์มูดา (KRI Sultan Iskandar Muda หมายเลข ๓๖๗) กองทัพเรืออินโดนีเซีย ประจ�ำการวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๑ อาวุธหลักคือ จรวดน�ำวิถเี รือ-สู-่ เรือ แบบเอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๒ (Exocet MM-40 Block 2) ติดตั้งบริเวณกลางล�ำเรือ 38
เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ เรือขนาด ๒,๒๗๐ ตัน ติดตั้งจรวดน�ำวิถีแบบ เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม๔๐ บล็อก ๒ ล�ำละ ๘ ท่อยิง และมีระยะยิง ไกล ๗๒ กิโลเมตร ปัจจุบันนี้กองทัพเรือมาเลเซียมีโครงการ ต่อเรือฟรีเกตรุ่นใหม่ชั้นโกวินด์ (Gowind) โดยการจัดซื้อแบบมาจากประเทศฝรั่งเศส จะ ท�ำการต่อขึน้ ทีอ่ ตู่ อ่ เรือลูมทุ (Lumut) ประเทศ มาเลเซียมีระวางขับน�้ำขนาด ๒,๗๐๐ ตัน ยาว ๑๐๗ เมตร ความเร็ว ๒๘ นอต ลูกเรือ ๑๐๖ นาย และปฏิบัติการนาน ๒๑ วัน รวมทั้งสิ้น ๖ ล�ำ ราคา ๒.๘ พันล้านเหรียญสหรัฐ ติดตั้ง จรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์ เอ็ม เอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ (Exocet MM-40 Block 3) รวม ๒ แท่นยิง (แท่นยิงล�ำ ๔ ท่อยิง รวมทั้งสิ้น ๘ ท่อยิง ต่อล�ำ) ติดตั้งจรวดน�ำวิถีกลางล�ำเรือ เรือรบล�ำแรกจะน�ำเข้าประจ�ำการในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กองทัพเรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) ประจ�ำ การด้วยเรือคอร์เวตชั้นซิ๊กม่า (Sigma ๙๑๑๓) ขนาด ๑,๖๙๒ ตัน ยาว ๙๐.๐๑ เมตร ความเร็ว ๒๘ นอต และลูกเรือ ๘๐ คน รวม ๔ ล�ำ ประจ�ำ การระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ ต่อจาก อู ่ ต ่ อ เรื อ ประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ ได้ ติ ด ตั้ ง จรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์ เอ็ม เอ็ม-๔๐ บล็อก ๒ (Exocet MM-40 Block 2) รวม ๔ ท่อยิง(ต่อล�ำ) กองทัพเรืออินโดนีเซีย มีชอื่ เรียกใหม่ตามเรือรบล�ำแรกคือ ดิโปเนโกโร (KRI Diponegoro หมายเลข ๓๖๕) ประจ�ำ การวันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๐, เรือล�ำ ที่ ส องชื่ อ สุ ล ต่ า นฮาซานุ ด ดิ น (KRI Sultan Hasanuddin หมายเลข ๓๖๖) ประจ�ำการ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๐ เรือล�ำที่ สาม ชื่อสุลต่านอิสคันดาร์มูดา (KRI Sultan IskandarMuda หมายเลข ๓๖๗) ประจ�ำการ วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๑ และเรือล�ำที่สี่ ชื่อเรือฟรานส์ ไคซิอีโป (KRI FransKaisiepo หมายเลข ๓๖๘) ประจ�ำการวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๒ กองทัพเรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) จัดซื้อเรือ คอร์เวตใหม่ชั้นบันจ์โทโม (Bung Tomo) จาก อู่ต่อเรือประเทศอังกฤษ (เดิมต่อให้กับกองทัพ เรือบรูไน) รวม ๓ ล�ำ เรือขนาด ๑,๙๔๐ ตัน ยาว ๘๙.๙ เมตร ปืนหลักขนาด ๗๖ มิลลิเมตร ปืนกลขนาด ๓๐ มิลลิเมตร (๒ กระบอก) จรวด ต่อสู้อากาศยานแท่นยิงทางดิ่ง ซีวูล์ฟ ๑๖ ท่อ ยิง (VLS Seawolf) จรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ แบบเอ็กโซเซต์เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๒ รวม ๘ ท่อยิง ประกอบด้วย เรือบันจ์โทโม (KRI Bung Tomo หมายเลข ๓๕๗) เรือล�ำที่สอง ชื่อเรือ จอห์นไล (KRI John Lie หมายเลข ๓๕๘) ประจ�ำการวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และเรือล�ำที่สามรอน�ำเข้าประจ�ำการ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เรือฟรีเกตชั้นลีเคียว (Lekiu) จ�ำนวน ๒ ล�ำ(มีฉากหลัง เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินสหรัฐอเมริกา) ติดตั้งจรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๒(ExocetMM-40 Block 2) ขณะท�ำการฝึกในทะเลอันดามัน (KD Jebat หมายเลข ๒๙ และ KD Lekiu หมายเลข ๓๐)
จรวดน�ำวิถีเรือ-สู่-เรือ แบบ เอ็กโซ เซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ (Exocet MM-40 Block 3) ขณะที่ลูกจรวดพุ่ง ออกจากท่อยิงไปยังเป้าหมายที่ก�ำหนด
ภาพกราฟิกส์ลูกจรวดน�ำวิถี เรือ-สู่-เรือ ในตระกูล เอ็กโซเซต์ ประกอบด้วย รุ่นเอ็ม เอ็ม-๓๘, รุ่นเอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๒ ระยะยิงไกล ๗๒ กิโลเมตร และรุ่นเอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ ระยะยิงไกล ๑๘๐ กิโลเมตร หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
กองทัพเรืออินโดนีเซีย (TNI-AL) มีโครงการ ต่อเรือฟรีเกตชั้นซิ๊กม่า (Sigma 10514) เพิ่ม เติม ๒ ล�ำ โดยท�ำการต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือเมือง สุราบายา เกาะชวา เรือขนาด ๒,๓๖๕ ตัน ยาว ๑๐๕.๑๑ เมตร ความเร็ว ๒๘ นอต และ ลูกเรือ ๑๒๒ นาย ได้ติดตั้งจรวดน�ำวิถี เรือสู่-เรือ แบบ เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม-๔๐ บล็อก ๓ (ExocetMM-40 Block 3) รวม ๘ ท่อยิง (ต่อล�ำ) เรือล�ำแรก วางกระดูกงูเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๗ จะน�ำเข้าประจ�ำการในปี พ.ศ.๒๕๕๙ และเรือล�ำที่สอง จะน�ำเข้าประจ�ำ การในปี พ.ศ.๒๕๖๐ 39
40
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (ตอนที่ ๒๖)
เทคโนโลยีหอคอยเฝ้าตรวจ พื้นที่แบบต่อเนื่อง Persistent Ground Surveillance Tower (PGST)
ร
ะบบหอคอยเฝ้าตรวจภาคพื้นอย่าง ต่อเนื่อง (PGST) เป็นอุปกรณ์ที่ถูก ออกแบบมาเพือ่ ใช้ในการตรวจการณ์ รักษาความปลอดภัยส�ำหรับฐานปฏิบตั กิ ารหน้า (Forward Operating Base, FOB) หรือการ ตรวจการณ์ตามแนวชายแดนและช่วยเหลือ ในด้านการติดต่อสื่อสารกรณีเกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ หรือสถานการณ์ฉุกเฉินที่ไม่สามารถ ติดต่อสื่อสารกับโลกภายนอกได้ ส่วนประกอบ ของระบบมี ๖ ส่วนหลักดังต่อไปนี้
๑. เรดาร์ตรวจการณ์ภาคพื้น SRC SR Hawk Radar เป็นเรดาร์พกพาที่มีขีดความ สามารถในการยื น ยั น เป้ า หมายที่ เ คลื่ อ นที่ ครอบคลุมระยะทางกว่า ๒๐ กม. ๒. กล้ อ งตรวจการณ์ ด ้ ว ยอิ น ฟราเรด L3 WEBCAM MX-15HDi, EO/IR Camera เป็นกล้องหลักของระบบ ติดตั้งบนยอดหอ ตรวจการณ์ ใช้ ในการตรวจจั บและติ ดตาม วัตถุ/บุคคลที่เป็นภัยคุกคามหรือแปลกปลอม เป็นกล้อง EO/IR ที่ใช้ GMTI Radar ระบบ
Real-time หมุนได้รอบทิศ สามารถตรวจจับ ความร้อนแล้วสร้างภาพด้วยรังสีอินฟราเรด อีกด้วย โดยกล้อง EO/IR นั้นมีความละเอียด ๒ เมกะพิ ก เซล ที่ ส ร้ า งภาพดิ จิ ต อลความ ละเอียดสูง ลดสัญญาณรบกวน และใช้การซูม แบบอิเล็กทรอนิกส์ ๓. กล้ อ งตรวจการณ์ แ บบกลางวั น และ กลางคืนความละเอียดสูง HGH Spynel-C เป็น กล้องเสริมของระบบ กล้อง HGH Spynel-C เป็นอุปกรณ์ตรวจจับเป้าหมายอัตโนมัติและ
ระบบเฝ้าตรวจพื้นที่แบบต่อเนื่อง Persistent Ground Surveillance Tower (PGST) เรดาร์ตรวจการณ์ภาคพื้น
กล้องตรวจการณ์ ด้วยอินฟราเรด
ระบบการติดต่อสื่อสาร แบบ Wi-Fi หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
กล้องตรวจการณ์แบบกลางวัน และกลางคืนความละเอียดสูง 41
ตัวตรวจจับการสั่นสะเทือนพื้นดิน (Ground Sensors) ติดตามภัยคุกคามได้อย่างไม่จ�ำกัดเป้า มีอัตรา การสร้ า งภาพที่ ร วดเร็ ว เพราะใน ๒ วิ น าที หมุนได้ ๓๖๐ องศา โดยภาพมีความละเอียด 12 Megapixels โดยสามารถบันทึกเพื่อการ วิเคราะห์ภาพได้ด้วย ๔. ระบบการติดต่อสื่อสารแบบ Wi-Fi ๕. อุปกรณ์ตรวจจับการสัน่ สะเทือนพืน้ ดิน (Ground Sensors) ๖. ส่วนควบคุมและบังคับบัญชา (Command and Control unit) จุดเด่นของระบบ PGST อยู่ที่ประสิทธิภาพ และการรองรับความผิดพลาด (Efficiency and Redundancy) อุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่บน ยอดหอคอยจะปฏิบตั งิ านร่วมกันอย่างซ�ำ้ เสริม (Redundant) ระบบ PGST เป็นการบูรณา การขีดความสามารถทั้งการใช้เรดาร์ตรวจจับ เป้าเคลื่อนไหวและกล้องก�ำลังสูงที่ตรวจจับ และติดตามเป้าหมายได้ทั้งบนบกและผิวน�้ำ ทั้งเวลากลางวันและกลางคืน โดยเรดาร์จะ ตรวจจับสิ่งต่าง ๆ ที่เคลื่อนไหว (ยานยนต์ ๒๐ กม. คน ๕ - ๘ กม.) หากมีสิ่งที่รอดจากการ ตรวจจับของเรดาร์ได้ ยังมีกล้องขยายก�ำลัง สูงที่ท�ำงานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน หมุน ได้ ๓๖๐ องศา หากอุปกรณ์กล้องนี้ล้มเหลวลง หรือแสงสว่างไม่เพียงพอ ยังมีกล้องอินฟราเรด
42
ส่วนควบคุมและบังคับบัญชา (Command and Control unit)
ที่ใช้งานในเวลากลางคืนรองรับด้วย นอกจาก การตรวจการณ์ด้วยการมองแล้ว ระบบ PGST ยังใช้อุปกรณ์ตรวจจับการสั่นสะเทือนพื้นดิน (Ground Sensors) ร่วมด้วย ท�ำให้สามารถ กล่าวได้วา่ การจะไม่ถกู ตรวจจับจาก PGST ไม่ ว่าในภาวะใด ๆ นั้นเป็นเรื่องยากมาก การแสดงผลของระบบ PGST จะเป็นการ แสดงผลทางหน้าจอมอนิเตอร์แบบแผ่นบริวาร เชิงซ้อน (Multiple Overlay) นอกจากนี้
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ระบบยังสามารถถ่ายทอดข้อมูลภาพและแผ่น บริวารแบบ real-time ด้วยระบบ Wi-Fi ของ Smart phones ในระบบ Android(แต่ iOS ไม่สามารถใช้การได้) ได้ทกุ รุน่ เพือ่ ความสะดวก ของผูป้ ฏิบตั งิ าน โดยอาจส่งข้อมูลไปยังผูบ้ งั คับ บัญชาในเหตุการณ์ หน่วยข้างเคียงและหน่วย ปฏิบัติการในพื้นที่เพื่อยกระดับการตระหนักรู้ ในสถานการณ์ การใช้งานระบบ PGST นีเ้ ดิมทีสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบนี้ในการตรวจการณ์ชายแดนสหรัฐเม็กซิโก รักษาความปลอดภัยท่าเรือพาณิชย์ และรอบฐานปฏิ บั ติ ก ารหน้ า ในภารกิ จ ที่ ประเทศอิ รั ก และอั ฟ กานิ ส ถาน นอกจากนี้ ยังสามารถประยุกต์ใช้ระบบนี้ในสถานการณ์ การสถาปนาค่ายหรือศูนย์อ�ำนวยการในพื้นที่ ขัดแย้งหรือพื้นที่ประสบภัยพิบัติ และต�ำบล อพยพประชาชนในพื้นที่ขัดแย้ง เป็นต้น ระบบ PGST จึ ง มี ป ระโยชน์ ใ นแง่ของการปกป้อง คุ้มครองก�ำลังพลที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยงภัย หรือสถานการณ์ยังไม่แน่นอน เพราะเป็นการ ใช้เทคโนโลยีที่ช่วยต่อตาและขยายทัศวิสัยใน การป้องกันตนเองก่อนภัยคุกคามจะมาถึง รวม ทั้งใช้เป็นเทคโนโลยีปฏิบัติงานแทนที่ก�ำลังพล หรือยามคอยเหตุ (Sentry) จ�ำนวนมากทั้ง ในเวลากลางวันและกลางคืน โดยแทนที่จะ รักษาการณ์หน้าค่ายหรือบนหอรักษาการณ์ จะเปลี่ยนมาเป็นการเฝ้าระวังผ่านมอนิเตอร์ ที่ น� ำ เสนอข้ อ มู ล หลายมิ ติ เ พื่ อ การประมวล เหตุการณ์แทน แนวความคิ ด การใช้ ร ะบบตรวจการณ์ ที่ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มีมานานแล้ว เพราะ ระบบสามารถช่ ว ยให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านของ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภาวะที่อันตรายให้ หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
มีเกณฑ์เสี่ยงน้อยลง สามารถน�ำไปประยุกต์ ใช้กับสถานการณ์และภารกิจได้หลากหลาย แม้ว่าเทคโนโลยีการตรวจการณ์จะก้าวหน้าไป มาก แต่ปัจจัยส�ำคัญในการพิจารณาออกแบบ ระบบอยู ่ ที่ ก ารบู ร ณาการใช้ อุ ป กรณ์ ห ลาย ประเภทเข้าด้วยกัน ให้มีประสิทธิภาพสามารถ ตอบสนองต่ อ ภารกิ จ ทั้ ง ทางทหารและทาง พลเรือน จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบ PGST นี้จัดได้ว่าเป็นเทคโนโลยีระดับกลาง
(กล้อง เรดาร์ อุปกรณ์ตรวจจับการสัน่ สะเทือน อุ ปกรณ์ Wi-Fi) อยู ่ ใ นขอบเขตที่เป็นไปได้ หากท�ำการวิจัยและพัฒนาขึ้นภายในประเทศ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (สทป.) ซึ่ง เป็นหน่วยงานวิจัยและพัฒนาของกระทรวง กลาโหมตระหนักดีถึงความส�ำคัญและจ�ำเป็น ของเทคโนโลยีด้านนี้ จึงได้ก�ำหนดแผนแม่บท การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อการป้องกันประเทศ โดยตั้ง เป้าหมายที่การวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์ และผลั ก ดั น เข้ า สู ่ ภ าคอุ ต สาหกรรมเพื่ อ ลด การพึ่งพาต่างชาติ และเพื่อให้อุตสาหกรรม ป้องกันประเทศได้พัฒนาไปสู่ระดับที่พึ่งพา ตนเองได้ในที่สุด 43
ปีแห่งความยุติธรรม จุฬาพิช มณีวงศ์
44
จุฬาพิช มณีวงศ์
เ
ฉ กเช่ น เดี ย วกั บ ประเทศที่ มี ป ระวั ติ ศาสตร์ ย าวนานในโลก ซึ่ ง มี อ ยู ่ ไ ม่ มากนักและก�ำลังมีความพยายามที่ จะน�ำไปสู่การปฏิรูป โดยการจัดตั้งสภาปฏิรูป แห่งชาติ มีการวางกรอบที่จะปฏิรูปรวม ๑๑ ด้าน หนึ่งใน ๑๑ ด้านที่ด�ำเนินการถูกมองว่า เป็นเรื่องที่ยากแต่ต้องท�ำเนื่องจากเป็นพื้นฐาน ที่จะน�ำไปสู่ความสงบสุขอย่างยั่งยืน คือ ด้าน กระบวนการยุติธรรมและกฎหมาย มี ก ารรายงานว่ า ในการที่ สั ง คมไทยจะ เปลี่ยนแปลงสิ่งใด ข้อควรค�ำนึงถึงที่ไม่ ควร มองข้ามก็คือ จุดอ่อนและจุดแข็งของสังคม ไทย เช่ น บางครั้ ง จุ ด อ่ อ นก็ อ าจมี ลั ก ษณะ ที่ดีอยู่ แต่ก็ต้องพยายามขจัดจุดอ่อนที่เป็น ข้อเสียและรักษาส่วนที่ดีไว้ อาทิ เรื่องระบบ อุปถัมภ์ในสังคมไทย ท�ำให้คนไทยง่ายต่อการ ชักจูงและซื้อเสียง แต่ระบบอุปถัมภ์ก็ท�ำให้ คนมีความกตัญญูรู้คุณคน พึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่ดี การแก้ปัญหาของ สังคมหนึ่ง ๆ อาจไม่เหมือนกับสังคมอื่น การ คิดในกรอบเดิมโดยพยายามเลียนแบบสังคม อื่นอย่างเดียว จึงไม่ใช่การแก้ปัญหาที่แท้จริง แต่อาจสร้างปัญหาก็ได้ แต่การไม่เหลียวดู ปั ญ หาของสั ง คมอื่ น และมาตรการพยายาม แก้ไขปัญหาของสังคมนั้นก็ไม่ใช่กระบวนการ ที่สร้างปัญหาในการแก้ปัญหาของสังคมไทย ความสมดุ ล ของไทยกั บ ของต่ า งประเทศจึ ง ต้องมีอยู่ การคิดเฉพาะจุดไม่คิดทั้งระบบอย่าง เชื่อมโยงกันจึงอาจท�ำให้การมองปัญหาต้อง แยกจากกันไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง บาง ครั้งอาจขัดแย้งกัน จึงจ�ำเป็นต้องคิดทั้งระบบ อย่างมีตรรกะสอดคล้องเชื่อมโยงกัน และที่ ส�ำคัญจะต้องค�ำนึงถึงจารีตประเพณี วิถีชีวิต ในความเป็นจริงกับหลักการทางทฤษฎีให้มี ความเกื้อกูลสัมพันธ์กันและกันอย่างเหมาะสม ต่อไปนี้คือจุดแข็งและจุดอ่อนของสังคม ไทยที่ควรพิจารณา การมีสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบัน หลักอย่างต่อเนื่องของระบอบการปกครอง มี ความมั่นคงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ แก้วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสังคมมาโดย ตลอด ปราศจากประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ การเมื อ ง เป็ น สถาบั น ที่ แ น่ น แฟ้ น ในสั ง คม วัฒนธรรมไทย อยู่เหนือการวิพากษณ์วิจารณ์ และการเปลี่ ย นแปลงใด ๆ ทางการเมื อ ง เป็นสัญลักษณ์ของสังคมไทยที่ยังภาคภูมิใจ ในสังคมนานาชาติ ชาติไทยมีความเป็นชาติ มากกว่าชาติอื่น ๆ มีอิสรภาพและเอกราช ตลอดมาช้านาน มีพุทธศาสนากล่อมเกลาให้ คนไทยมีอหิงสาในเรือ่ งศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ยอมรับคนอื่นง่าย ไม่นิยมการเผชิญ หน้ า คนไทยเป็ น คนอดทน มี ค วามกตั ญ ญู รู้คุณและรักอิสระเสรี ยอมรับอ�ำนาจ แม้จะ หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
45
ไม่ ค ่ อ ยมี วิ นั ย คนไทยปรั บ ตั ว ได้ เ ร็ ว และมี น�้ำใจ คนไทยยอมรับการเปลี่ยนแปลง ถ้าการ เปลี่ยนแปลงมาจากการริเริ่มขององค์กรที่ได้ รับการยอมรับ คนไทยเป็นคนให้อภัยพร้อมจะ ลืมอดีตเริ่มต้นใหม่ได้ไม่ยาก คนไทยและสังคม ไทยมีความสามารถในการกล่อมเกลาบุคคล จากวั ฒ นธรรมอื่ น ให้ เ ข้ า มาอยู ่ ใ นสั ง คมไทย อย่างแนบเนียนด้วยความเต็มใจโดยปราศจาก ความขัดแย้งรุนแรง สังคมไทยเป็นสังคมที่ไม่มี การแยกชนชั้น เป็นสังคมเปิด ที่ให้โอกาสคน ที่มีความสามารถในการสร้างตัวให้ได้รับการ ยอมรับและประสบความส�ำเร็จได้เสมอ
46
ส ่ ว น จุ ด อ ่ อ น ข อ ง ค น ไ ท ย ที่ มี ผ ล ต ่ อ เสถียรภาพของระบบการเมือง ได้แก่ มีการ เปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญบ่อยครั้ง โดยไม่มีการ เปลี่ยนหลักการที่เกี่ยวกับโครงสร้างองค์กร กลไก และกระบวนการเพื่ อ แก้ ป ั ญ หาของ ระบบอย่างแท้จริง การทุจริตคอรัปชั่น โดย ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง และข้าราชการ ระดับสูงเกิดขึ้นตลอดเวลา เพราะกฎหมายให้ อ�ำนาจดุลพินิจสูง ไม่มีเกณฑ์การใช้ดุลพินิจที่ วัดความถูกผิด และไม่มีการตรวจสอบที่อิสระ และมีประสิทธิภาพพอ เมื่ออ�ำนาจเป็นที่มา ของเกียรติและเงิน การแข่งขันโดยการเลือกตัง้
ที่มุ่งต�ำแหน่งเป็นส�ำคัญจึงเป็นการแข่งขันที่ ผิดกฎหมายเลือกตั้ง ระบบพรรคท�ำให้ต้อง อยู่ใต้อ�ำนาจคนไม่กี่คนที่ลงทุนให้พรรค ชาว บ้ า นในชนบทยั ง ขาดสิ่ ง จ� ำ เป็ น พื้ น ฐานและ ถู ก ละเลยจากส่ ว นกลางท� ำ ให้ ผู ้ ส มั ค รและ พรรคการเมืองเข้าไปแก้ปัญหาให้ด้วยการน�ำ ความเจริญและเงินไปให้ ชาวบ้านจึงตอบแทน บุญคุณด้วยการเลือก สังคมไทยนิยมการใช้ อ�ำนาจมากกว่ากฎหมาย จึงพบการยุติปัญหา ความขั ด แย้ ง แบบอะลุ ่ ม อล่ ว ยมี ก ารสร้ า ง องค์กรและกลุ่มที่ต่างหวงอ�ำนาจกันไม่มีการ ร่วมมือ เมื่อขัดแย้งก็เกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย กล่าวหาใส่รา้ ย ท�ำลายประหัตประหารกันด้วย ความสะใจ และปลูกฝังความรุนแรงแบ่งขั้วใน ผู้ติดตามการเมือง ความขัดแย้งทางความคิด จึงถูกสร้างให้กลายเป็นความแตกแยกขัดแย้ง ซึ่งในสังคมไทยส่วนใหญ่ไม่สามารถปกป้อง คุ้มครองคนในสังคมได้อย่างเต็มที่ สังคมไทยมี ความอ่อนแอทางวิชาการ และคนไทยใช้ความ ศรัทธามากกว่าใช้ปญ ั ญาท�ำให้การแก้ไขปัญหา ส�ำเร็จโดยเร็ว แต่อาจไม่ถูกต้อง และใช้ไม่ได้ กับทุกกรณี และบางครั้งการขาดความสามัคคี ของคนกลุ่มต่าง ๆ ท�ำให้การวิพากษ์ พร้อมที่ จะกลายเป็นการวิวาท จนไม่มีใครกล้าเสนอ การแก้ปัญหาสังคมด้วยแนวคิดใหม่ ๆ นับเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่คีย์แมนส�ำคัญของ รัฐบาล อย่าง ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายก รั ฐ มนตรี และ พลเอก ไพบู ล ย์ คุ ้ ม ฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เห็นพ้องว่า มีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั จุฬาพิช มณีวงศ์
กระบวนการยุติธรรมกลับคืนมา โดย ดร.วิษณุ เครืองาม เห็นว่า ความยุติธรรมมีความส�ำคัญ คื อ การสร้ า งความพอใจและท� ำ ให้ เ กิ ด การ ยอมรับ หากเมือ่ ใดสังคมไม่ยอมรับ ก็จะน�ำไปสู่ ความร้าวฉาน ปัญหาการก่อความไม่สงบ การ แบ่งแยกดินแดน การประกาศอิสรภาพไม่เป็น สุวรรณปฐพีเดียวกันล้วนเกิดจากความไม่เป็น ธรรมทั้งสิ้น จึงจ�ำเป็นต้องเติมเต็มช่องว่าง ซึ่ง ไม่ใช่การใช้กฎหมาย หากเป็นการเติมเต็มเพื่อ ไม่ให้เกิดช่องว่างระหว่างคนจน - คนรวย คน ด้อยโอกาส - คนได้โอกาส ผู้มีอ�ำนาจต่อรอง สูง ผู้ไม่มีอ�ำนาจต่อรอง ผู้หาความเป็นธรรม ผู้ รักษาความเป็นธรรม ถ้าเราสามารถสร้างความ เชื่อมั่นให้เกิดขึ้นในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา เริ่มตั้งแต่ต�ำรวจฝ่ายปกครอง อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ จะท�ำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นลดลง รองนายกรัฐมนตรีมองว่า ปัจจุบันสังคมไทย มี ๓ ช่องว่างที่ท�ำให้เกิดปัญหาคือ ประชาชน ทั่ ว ไปไม่ เ ชื่ อ ถื อ กระบวนการยุ ติ ธ รรม ไม่ ยอมรับค�ำพิพากษา หรือค�ำวินิจฉัย ประชาชน ที่ควรเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมเพื่อความ ยุติธรรม แต่กลับเข้าไม่ถึง เพราะถูกกีดกัน มีค่าใช้จ่ายที่แพง และใช้เวลามากเกินกว่าที่ จะรอได้ ขณะเดียวกัน ประชาชนที่ต้องรอขั้น ตอนขององค์กรยุติธรรมก็เป็นอุปสรรคส�ำคัญ จึ ง ต้ อ งมี ยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ ก รเพื่ อ ให้ เ กิ ด การ บูรณาการการท�ำงานร่วมกัน โดยน�ำยุทธศาสตร์ พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ที่เคยใช้ ในพื้ น ที่ ช ายแดนภาคใต้ มาใช้ กั บ กระบวน ยุติธรรมจะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ รวมถึงช่องว่างระหว่างองค์กรในกระบวนการ ยุติธรรมด้วยกันเอง ระหว่างต�ำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ และทนายความ พูดจากัน ไม่รู้เรื่อง ท�ำงานร่วมกันไม่ได้ บางครั้งก็สร้าง ช่องว่างขึน้ มาเองให้เป็นอุปสรรคขัดแย้งกันเอง จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนแต่ยังคงท�ำงานอยู่บน พื้นฐานความเป็นอิสระ รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า หัวใจส�ำคัญ ของการขจัดความยติธรรม ไม่ว่าประเทศใด ก็ตามเหมือนกันอยู่อย่างหนึ่งคือ ท�ำอย่างไร ที่จะให้เกิดความเป็นธรรม ภาษาอังกฤษเรียก ว่า Fairness ความยุติธรรมต้องรวดเร็วตาม สุ ภ าษิ ต ที่ ว ่ า ความยุ ติ ธ รรมที่ ล ่ า ช้ า เหมื อ น ปฏิเสธความยุติธรรม โดยวาระแห่งชาติของ งานด้านยุติธรรมที่ ๕ เรื่องในกระบวนการ ยุติธรรม ไม่ว่าจะเป็นการต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่น การพัฒนาพฤตินิสัย การลดความ เหลื่อมล�้ำ การแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การค้ามนุษย์ แรงงานข้ามชาติ และปัญหายา เสพติด ถือเป็นดัชนีวัดประเทศไทยที่ส�ำคัญ ขณะที่ พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า ที่ผ่านมา สังคมไม่ค่อยให้ความเชื่อมั่นกับกระบวนการ หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ยุติธรรม ช่วง ๔ เดือนมานี้ พบปัญหาการ ออกกฎหมายและระเบียบราชการทับซ้อนกัน ประชาชนไม่ได้ประโยชน์จึงได้กลั่นกรองและ เสนอแก้กฎหมาย ๓๒๑ ฉบับ เพื่อลดความ เหลื่อมล�้ำ และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน จนเริ่มเห็นการเชื่อมโยงจากหลาย หน่วยงาน ที่ท�ำให้เกิดอุปสรรคปัญหาในการ ออกกฎหมาย มีปัญหาพบว่ากฎหมายซ�้ำซ้อน กันเพราะแต่ละหน่วยงานไม่ค่อยคุยกัน จึงใช้ กฎหมายซ�้ำซ้อนคล้ายกันหลายฉบับ ยอมรับ ว่ากระทรวงยุติธรรมเวลาจะปรับโครงสร้าง อะไรก็มีปัญหาเกิดขึ้นมาก เช่น เรื่องกองทุน ยุ ติ ธ รรมซึ่ ง อยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของกรม คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เเต่ประชาชนยังเข้า ไม่ถึง ผู้ต้องหาหลายคนต้องติดคุกเพราะไม่มี เงินประกันตัว การประชุมเพื่อพิจารณาเงิน กองทุนยุติธรรมเดือนละครั้ง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุตธิ รรมเป็นประธาน กว่าคนทีร่ อเงิน ประกันจะได้รับการประกันตัวต้องเข้าไปอยู่ใน คุก ไม่อยากให้เกิดปัญหาแบบนี้อีก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมกล่าวว่า ขณะนี้เรือนจ�ำประสบปัญหานักโทษล้นคุก ถ้า เป็นคนชั่วก็ต้องยอมให้ล้น ไม่ใช่ปล่อยคนชั่ว คนเลว แต่ต้องยอมรับว่าคุกมีแต่นักโทษคดี ยาเสพติด และไม่ใช่นักค้ารายใหญ่เสียด้วย
ร้อยละ ๘๐ เป็นแรงงานยาเสพติด จึงมีความ จ�ำเป็นต้องแก้กฎหมายยาเสพติดเพื่อไม่ให้ ลงโทษจากยาเสพติดที่จับกุมได้ คงต้ อ งติ ด ตามกั น ต่ อ ไปว่ า การปฏิ รู ป กระบวนการความยุติธรรม จะท�ำได้มากน้อย แค่ ไ หน โดยเฉพาะที่ จ ะให้ ค วามเป็ น ธรรม กับประชาชนทุกคนได้อย่างเท่าเทียม ไม่เกิด ค�ำถามวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องมาตรฐานและ น�ำไปสู่ความขัดแย้งเหมือนเช่นที่ผ่านมา ขณะ นีม้ แี นวโน้มว่า แนวทางการปฏิรปู กระบวนการ ยุติธรรมจะเริ่มจากข้อเสนอที่ให้ผู้พิพากษา ต้องอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จากเดิมอายุ ๒๕ ปี เพื่อ ให้มีวุฒิภาวะเพียงพอมากขึ้น และบางคดีจะ ลดขั้นตอนไม่ต้องขึ้นสู่การพิจารณาของศาล ฎีกา แต่ให้สิ้นสุดแค่ศาลอุทธรณ์เพื่อลดเวลา ในการพิจารณาคดี ซึ่งบางครั้งนานถึง ๑๐ ปี กว่าจะสิ้นสุดการพิพากษาทั้ง ๓ ศาล ทั้ ง หมดนี้ จ ะเป็ น ความหวั ง ในการสร้ า ง ความยุ ติ ธ รรมให้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ สั ง คมไทยอย่ า ง เท่าเทียมกัน
47
ราชวงศ์ตองอูหลังสงคราม ยุทธหัตถี ๒๑๓๕ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
อาณาจักรพม่าในยุคทีส่ อง เริม่ ต้นสร้างอาณาจักรจากเมืองตองอูซงึ่ เป็นเมืองขนาดเล็ก เมือ่ มีชาวพม่าทีไ่ ด้อพยพจากเมืองอังวะทางตอน เหนือจ�ำนวนมาก เป็นผลให้เมืองตองอูมีชาวเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปฐมราชวงศ์ตองอูทรงเริ่มขยายอาณาจักรในทุกด้านจึงเริ่มมีความ เข้มแข็งขึ้น ได้ขยายอาณาจักรให้กว้างใหญ่ขึ้น ราชวงศ์ตองอูเริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. ๒๐๒๙ หลังจากที่ราชวงศ์พุกามล่มสลายนาน ๑๑๙ ปี เมืองต่าง ๆ ได้แย่งชิงความเป็นใหญ่แห่งลุ่มแม่น�้ำอิระวดี แต่ไม่มีเจ้าเมืองใดมีอานุภาพที่จะเป็นใหญ่ได้ เป็นผลให้พม่าแห่งเมืองตองอูเป็น อาณาจักรขนาดใหญ่กา้ วสูก่ ารเป็นมหาอ�ำนาจแห่งอุษาคเนย์...........บทความนีก้ ล่าวถึงราชวงศ์ตองอูหลังสงครามยุทธหัตถี พ.ศ. ๒๑๓๕
๑. กล่าวทั่วไป อาณาจั ก รพม่ า ราชวงศ์ ต องอู ก ้ า วขึ้ น สู ่ อ� ำ นาจสู ง สุ ด แห่ ง อุ ษ าคเนย์ ใ นสมั ย พระเจ้ า บุ เ รงนอง กษั ต ริ ย ์ ล� ำ ดั บ ที่ ๓ แห่ ง ราชวงศ์ ตองอู มี อ าณาเขตกว้ า งใหญ่ อ ย่ า งไม่ เ คย มี ม าก่ อ นในอดี ต ของอาณาจั ก รแห่ ง ลุ ่ ม แม่ น�้ำอิระวดี เมื่อผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ในปี พ.ศ. ๒๑๒๔ เป็นผลให้อาณาจักรพม่าแห่ง ราชวงศ์ ต องอู ย ่ อ มไม่ มี ข ้ อ ยกเว้ น ต้ อ งเกิ ด ความวุ่นวายขึ้นภายในอาณาจักรเมื่อหลาย เมืองต้องการแยกเป็นอิสระเมื่อไม่มีพระเจ้า บุเรงนอง กรุงศรีอยุธยาประกาศอิสรภาพใน ปี พ.ศ. ๒๑๒๗ อาณาจักรหงสาวดีต้องท�ำ สงครามกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาให้ส�ำเร็จ เพื่อแสดงให้เห็นว่าอาณาจักรหงสาวดียังคงมี อ�ำนาจที่เข้มแข็งอยู่ พ.ศ. ๒๑๒๙ ที่รู้จักในชื่อ ศึกนันทบุเรงโดยพระเจ้านันทบุเรงทรงเป็น จอมทัพ น�ำกองทัพพม่าเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่สามารถที่จะหักเข้าสู่ราชธานีได้ การรบ ติดพันถึงปี พ.ศ. ๒๑๓๐ ในที่สุดกองทัพพม่า ก็ยกกองทัพกลับ พร้อมด้วยพระมหาอุปราชา ศึกใหญ่ครั้งที่สามในชื่อสงครามยุทธหัตถี ปี พ.ศ. ๒๑๓๕ กองทัพหงสาวดีมีก�ำลังทหาร ๒๔๐,๐๐๐ คน จอมทัพประกอบด้วย กองทัพ พระมหาอุ ป ราชา กองทั พ เมื อ งแปร และ กองทั พ เมื อ งตองอู กองทั พ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี ก�ำลังทหาร ๑๐๐,๐๐๐ คน ที่ได้เปลี่ยนยุทธวิธี ใหม่จากเดิมใช้ยุทธวิธีตั้งรับในราชธานีโดยใช้ แนวก�ำแพงเมืองและแม่น้�ำเป็นเครื่องกีดขวาง แผนที่อาณาจักรพม่า (ลูกศรชี้ ด้าน ซ้ายมือคือกรุงหงสาวดี) เมืองต่าง ๆ ตาม แนวลุม่ แม่นำ�้ อิระวดี ทางตอนใต้คอื เมือง เมาะตะมะ (ลูกศรชี้ ด้านขวามือ) เป็น เมืองท่าทางทะเลที่ส�ำคัญกับการค้าขาย กับต่างอาณาจักร 48
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ภาพเมืองตะนาวศรี (ลูกศรชี้ ด้านล่าง) เมืองท่าส�ำคัญทางตอนใต้อาณาจักรพม่าที่น�ำรายได้จากการค้าขายและภาษี ที่สร้างความ มั่งคั่งให้อาณาจักรเมืองทวาย (ลูกศรชี้ ด้านบน) เมืองท่าทางทะเลอยู่ทางตอนเหนือของเมืองตะนาวศรี หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
49
แต่ครั้งนี้อยุธยาใช้พื้นที่การรบนอกราชธานี โดยกองทัพหลวงเดินทัพสู่เมืองสุพรรณ เมื่อ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๑๓๕ กองทัพกรุง ศรีอยุธยาได้ท�ำการรบกับกองทัพกรุงหงสาวดี ได้รบั ชัยชนะ และกองทัพกรุงหงสาวดีเป็นฝ่าย พ่ายแพ้และสูญเสียเป็นจ�ำนวนมากทั้งก�ำลัง ทหารและพระมหาอุปราชาที่เป็นจอมทัพใน วัย ๓๔ พรรษา กองทัพกรุงหงสาวดีต้องถอน กองทัพกลับ
๒. ราชวงศ์ตองอู หลังสงครามยุทธหัตถี ๒.๑ กองทัพกรุงศรีอยุธยาเข้าตีพม่า ตอนใต้ หลังสงครามยุทธหัตถี พ.ศ. ๒๕๓๑ แม่ทัพ อยุธยาหลายนายต้องท�ำศึกแก้ตัวโดยการน�ำ กองทัพอยุธยาได้พระยาพระคลังยกกองทัพ เข้าตีเมืองทวาย ด้วยก�ำลังทหาร ๕๐,๐๐๐ นาย และเจ้าพระยาจักรียกกองทัพเข้าตีเมือง ตะนาวศรี (อยู่ทางใต้ของเมืองทวาย ติดต่อ กับเมืองชุมพร) ด้วยก�ำลังทหาร ๕๐,๐๐๐ นาย ทั้งสองเมืองเป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญในอดีต ของอาณาจักรอยุธยา (เป็นเมืองขึ้นมาตั้งแต่ สมัยสุโขทัย และเป็นเมืองขึ้นของพม่าในสมัย พระเจ้าบุเรงนอง) กองทัพใหญ่กรุงศรีอยุธยา เคลื่อนพลเมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๑๓๕ เจ้าเมือง ทวายและเจ้ า เมื อ งตะนาวศรี ทั้ ง สองจึ ง แจ้ ง ข่าวศึกไปยังกรุงหงสาวดีเพื่อจะขอกองทัพมา ช่วยเป็นการด่วน กองทัพอยุธยาได้เข้าล้อม เมืองทั้งสองอย่างรวดเร็ว เข้าล้อมเมืองตะนาว ศรีมีการต่อสู้นาน ๑๕ วัน จึงตีเมืองแตกและ ยึดเมืองได้ กองทัพอยุธยาต้องเข้าตีด่านพม่า ที่เชิงเขาบรรทัดได้รับชัยชนะจึงเข้าล้อมเมือง ทวายนาน ๒๐ วัน ในที่สุดเจ้าเมืองทวายก็ยอม แพ้และขึ้นกับอาณาจักรอยุธยา ต่อมามีการ ต่อสู้กับกองทัพพม่าที่ยกมาจากกรุงหงสาวดี เพื่อมาช่วยเหลือทั้งสองเมือง กองทัพที่ยกมา นั้นมาถึงเมืองทวายและเมืองตะนาวศรี มา ถึงช้าไปโดยทั้งสองเมืองเสียให้กับอยุธยาแล้ว กองทั พ เรื อ อยุ ธ ยาน� ำ โดยพระยาเทพอรชุ น (กองทัพที่แยกมาจากเมืองตะนาวศรี) มีก�ำลัง พล ๑๐,๐๐๐ นาย และเจ้าพระยาจักรีน�ำ กองทัพ ๓๐,๐๐๐ นาย เดินทัพทางบกมายัง เมื อ งทวาย (ให้ พ ระยาศรี ไ สยณรงค์ คุ ม พล ๑๐,๐๐๐ นาย รักษาเมืองตะนาวศรี) พระยา เทพอรชุนน�ำเรือรบไปทางทะเลถึงต�ำบลบ้านบ่อ ในแดนเมื อ งทวายได้ ป ะทะกั บ กองทั พ เรื อ พม่า น�ำกองทัพโดยสมิงอุบากองและสมิงพระ ตะบะเป็นกองทัพที่พระเจ้าหงสาวดีส่งมาช่วย เมืองทวายและเมืองตะนาวศรี เรือรบและเรือ 50
ภาพเมืองส�ำคัญทางตอนใต้ของอาณาจักรพม่าคือเมือง ทวาย (ลูกศรชี้ ด้านบน) และเมืองตะนาวศรี (ลูกศรชี้ ด้านล่าง) เป็นเมืองท่าทางทะเล บรรทุกของทัง้ สองฝ่ายรวมกัน ๒๐๐ ล�ำ ท�ำการ รบในทะเลตัง้ แต่เช้าจนถึงเทีย่ งยังไม่แพ้ไม่ชนะ กัน ถึงเวลาบ่ายลมตั้งคลื่นใหญ่ก็ทอดรอกันอยู่ ทั้งสองฝ่าย พระยาพระคลังเมื่อได้เมืองทวาย แล้วจึงได้ส่งก�ำลังพลมาช่วยตีเมืองตะนาวศรี ประกอบด้วยก�ำลังทหาร ๕,๐๐๐ นาย พร้อม
ด้วยเรือรบ ๑๐๐ ล�ำ แม่ทัพคือพระยาพิไชย สงคราม และพระยารามค�ำแหง น�ำกองทัพ เรือไปยังเมืองตะนาวศรี เมื่อกองทัพเรือออก จากปากน�้ำเมืองทวายก็ได้ยินเสียงปืนทางทิศ ใต้ แม่ทัพเรือจึงให้ขุนโจมจตุรงค์น�ำเรือลาด ตระเวนล่วงหน้าไปหาข่าว และทราบว่าเรือรบ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
จักรี บอกข่าวศึกเข้ามากราบบังคมทูลฯ สมเด็จ พระนเรศวรทรงทราบ และพระองค์ให้พระยา ศรีไสยณรงค์รักษาเมืองตะนาวศรีต่อไป พร้อม ทั้งให้เจ้าเมืองทวายและกรมการเมืองเข้าเฝ้า ถือน�้ำพระพิพัฒน์สัจจาแล้ว โปรดเกล้าฯ ให้ กลับไปรักษาเมืองทวายอย่างเดิม แล้วมีตราให้ กองทัพกลับเข้ามายังราชธานีในปี พ.ศ. ๒๓๑๖ ภาพวาดสงครามยุทธหัตถี ปี พ.ศ. ๒๑๓๕ ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรแห่งกรุง ศรีอยุธยา และพระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดีจากราชวงศ์ตองอู เป็นสงครามใหญ่ ครั้งหนึ่งของสองอาณาจักร ของอยุธยายกขึ้นมาจากทางใต้ได้ปะทะกับ กองทัพเรือพม่า แม่ทัพเรืออยุธยาคือพระยาพิ ไชยสงครามและพระยารามค�ำแหง (จากเมือง ทวาย) น�ำกองทัพเรือเข้าตีกระหนาบพม่าลง ไปจากด้านเหนือ พระยาเทพอรชุนแม่ทัพเรือ (จากเมืองตะนาวศรี) เมื่อทราบว่ากองทัพเรือ อยุธยาจากทางด้านเหนือยกมาช่วย จึงได้น�ำ กองทัพเรือเข้าตีพม่าจากทางด้านใต้เป็นผล ให้กองทัพเรือพม่าถูกตีกระหนาบทั้งสองด้าน เป็นผลให้สมิงอุบากองแม่ทัพเรือพม่าถูกยิง ตายในการรบ เรือรบของสมิงพระตะบะแม่ทพั เรือถูกยิงและจมลงพร้อมด้วยเรือรบอีกหลายล�ำ ในที่สุดกองทัพเรือพม่าก็แตก บางส่วนแล่น ใบถอนตัวออกจากการรบและบางส่วนน�ำเรือ เข้าเกยฝั่งขึ้นบกหนีไป กองทัพเรืออยุธยาจับ ได้เชลยศึกพม่าประมาณ ๕๐๐ นาย พร้อม ด้ ว ยศาสตราวุ ธ เป็ น จ� ำ นวนมาก แม่ทัพเรือ อยุ ธ ยาทั้ ง สามนายจึ ง ทราบจากเชลยศึ ก ว่ า ยังมีกองทัพพม่าอีกหนึ่งกองทัพ ได้ท�ำการเดิน ทัพมาทางบกจากเมืองเมาะตะมะยกกองทัพ มาช่วยเหลือเมืองทวาย จึงได้แจ้งข่าวศึกไปยัง เจ้าพระยาจักรีที่เมืองทวาย ๒.๒ ความวุ่นวายทางตอนใต้ของพม่า หลังสงครามยุทธหัตถี พ.ศ. ๒๑๓๕ หงสาวดี เริ่มมีปัญหาภายในเนื่องจากอ�ำนาจของกรุง หงสาวดีเริ่มอ่อนก�ำลังลงจากที่ไม่สามารถที่จะ เข้ายึดครองอยุธยาได้ และยังต้องสูญเสียก�ำลัง ทหาร อาวุธ และเสบียงอาหารเป็นจ�ำนวนมาก จึงเป็นผลให้เมืองต่าง ๆ ต้องการแยกตัวออก เป็นอิสระ สถานการณ์ทางตอนใต้ของพม่า เปลี่ยน แปลงอย่างรวดเร็วที่ต้องสูญเสียเมือง ทวายและเมืองตะนาวศรี กองทัพหน้าพม่าที่ ยกไปช่วยเมืองทัง้ สองก็ได้พา่ ยแพ้สญ ู เสียก�ำลัง ทหารและอาวุธเป็นจ�ำนวนมาก พระเจ้าหงสาว ดีจงึ ได้สง่ กองทัพใหญ่ตดิ ตามมาทีเ่ มืองเมาะตะ มะเพือ่ รวมพลให้พร้อมรบและยกกองทัพลงใต้ เข้าช่วยเหลือเมืองทวาย กองทัพพม่าทีย่ กมาทางบกครัง้ นีไ้ ม่ทราบว่า ขณะนี้เมืองทวายและเมืองตะนาวศรีนั้นแตก หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
๓. บทสรุป
หลั ง สงครามยุ ท ธหั ต ถี ป ี พ.ศ.๒๑๓๕ อาณาจักรหงสาวดีแห่งราชวงศ์ตองอูเป็นฝ่าย พ่ายแพ้ ต้องสูญเสียก�ำลังทหารและอาวุธเป็น แล้ว กองทัพพม่ายกมาทางชายฝั่งตะวันออก จ�ำนวนมาก เป็นผลให้ศูนย์กลางอ�ำนาจของ ไปยังเมืองกลิอ่อง ไปยังเมืองทวายทางต�ำบล อาณาจั ก รหงสาวดี จ ากราชวงศ์ ต องอู เ ริ่ ม ที่ เสือข้ามซึ่งกองทัพอยุธยาตั้งซุ่มคอยอยู่ และ จะอ่อนก�ำลังลง เมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ในการ กองทัพพม่าอีกกองทัพหนึ่งยกมาทางชายฝั่ง ปกครองของหงสาวดีเริม่ ทีจ่ ะแยกตัวเป็นอิสระ ทะเลมาถึ ง ป่ า เหนื อ บ้ า นหวุ ่ น โพะ กองทั พ หลังจากกรุงศรีอยุธยาได้ประกาศอิสรภาพแล้ว อยุธยาเห็นว่ากองทัพพม่าถล�ำเข้ามาในพื้นที่ ๘ ปี อาณาจักรกรุงหงสาวดีแห่งราชวงศ์ตองอู ซุ่มก็ท�ำการเข้าตีทั้งสองกองทัพ กองทัพพม่า ยังไม่สามารถทีจ่ ะปราบปรามอยุธยาให้อยูภ่ าย ไม่ทันรู้ตัวจึงถูกกองทัพอยุธยาตีแตกพ่ายยับ ใต้อำ� นาจได้ จึงเริม่ ทีจ่ ะต้องท�ำสงครามใหญ่กบั เยินเสียหายจ�ำนวนมาก ประกอบด้วย ช้างศึก เมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ใต้อ�ำนาจของกรุงหงสาว และม้าศึก พร้อมด้วยศัสตราวุธเป็นจ�ำนวนมาก ดีของพระเจ้าบุเรงนองในอดีตอย่างหลีกเลี่ยง พร้อมทั้งจับเชลยศึกในพื้นที่การรบ ประกอบ ไม่ได้ เพื่อให้กรุงหงสาวดียังคงความยิ่งใหญ่ ด้วยนายกองรวม ๑๑ นาย และทหาร ๔๐๐ เฉกเช่นในอดีต นาย เมื่อเสร็จศึกแล้วแม่ทัพใหญ่คือเจ้าพระยา
อาณาจักรหงสาวดีแห่งราชวงศ์ตองอู ก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุด มีอาณาเขตกว้างใหญ่ กรุงหงสาวดีราชธานี (ลูกศรชี้ ด้านบน) และเมืองทวาย (ลูกศรชี้ ด้านล่าง) เป็นเมืองท่า ที่ส�ำคัญในการค้าขายกับต่างอาณาจักร 51
Love or Loathe ? พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
รัก....ไม่รัก...รัก...ไม่รัก สมัยวัยรุ่น ใครเคยเด็ดกลีบกุหลาบมานับ เพื่อท�ำนายว่า คนที่เราหมายปองอยู่นั่น เขา หรือเธอจะรักเราบ้างหรือเปล่า บ้างไหมคะ วารสารหลั ก เมื อ งฉบั บ นี้ ขอคุ ย เรื่ อ งความ รั ก บ้ า งนะคะ เพื่ อ ให้ เ ข้ า กั บ บรรยากาศวั น วาเลนไทน์ เทศกาลแห่งความรัก พร้อมกับ เรียนภาษาอังกฤษควบคู่กันไปด้วย ประการแรก เรามาออกเสียงค�ำว่า “Love” กันก่อนค่ะ ออกเสียงอย่างไรคะ ส่วนใหญ่ เรามักจะออกเสียงว่า “เลิฟ” หรือบางคนก็ ออกเสี ย งให้ ใ กล้ เ คี ย งกั บ เจ้ า ของภาษาเป็ น “ลัฟ” และอย่าลืมออกเสียงตัวสะกดตัวท้าย คือ เสียง V (ฝว) ด้วยการใช้ฟันหน้าบนกับ ริ ม ฝี ป ากล่ า งแตะกั น โดยม้ ว นริ ม ฝี ป ากเข้ า พร้อมให้เสียงออกมาพร้อมกันเป็น “ฝวึ” เช่น เลิฟฝวึ ถ้าอยากจะฟังชัด ๆ ก็ลองฟังเพลง Love Me Tender ของ เอลวิส เพรสลีย์ (Elvis Presley) ที่ออกเสียงค�ำว่า love ได้อย่างช้า ๆ ชัด ๆ และให้ความรู้สึกถึงความรักที่ละมุน ละไม จับใจตลอดกาล 52
คุณแอนดรูว์ บิ๊กส์ เคยเล่าให้ผู้เขียนฟัง ว่า คนไทยส่วนใหญ่ออกเสียงค�ำว่า love ไม่ ค่อยได้ เพราะไม่ค่อยออกเสียงอักษร V ที่ ลงท้าย และนอกนั้นมักจะออกเสียงเป็นค�ำว่า loathe โลธ เสียมากกว่า เช่น ไอ โลฟ ยู ซึ่ง ค�ำว่า loathe มีความหมายตรงข้ามกับ รัก ที่มี ความหมายว่า เกลียด เสียด้วยซิ เช่น I loathe you. (ฉันเกลียดเธอ) นอกจากนี้ ค�ำนี้ถ้าจะ อ่านให้ถูก จะต้องออกเสียงเป็น โลธ แบบว่า จะต้องออกเสียงพร้อมกับแลบลิ้นออกมาเพื่อ ออกเสียง th ด้วย ดังนั้น นับกลีบกุหลาบครั้ง ต่อไป ลองออกเสียง ลัฟฝวึ โลธ ลัฟฝวึ (รัก... ไม่รัก..รัก) ดูค่ะ เมื่อพูดถึง รัก หรือ ไม่รัก หลายคนคงจะ ผ่านประสบการณ์เกี่ยวกับความรักมาบ้างพอ สมควร บางคนมีความรักที่สมหวัง แต่บางคน ก็ไม่สมหวัง ก็เป็นเรื่องธรรมดาของชีวิต แต่ ก็ฝากไว้นะคะ ถ้ารักก็บอกเขาไปว่ารักนะคะ ไม่รักก็บอกไม่รัก และหากเราบังเอิญได้รับรู้ ว่า พี่ น้อง ลูก หลานของเรา เผชิญกับความ ผิดหวังในความรัก ก็ช่วยให้ก�ำลังใจเขาบ้าง
นะคะ ความรักเป็นสิ่งที่สวยงามก็จริงอยู่ แต่ การไม่สมหวังในความรักหรือ “อกหัก” มัน ยากที่จะบรรเทาจริง ๆ ส่วนจะช่วยแบบไหน ก็ต้องแล้วแต่รายกรณีไป เราลองมาอ่ า นค� ำ คมเกี่ ย วกั บ ความรั ก ที่ สมหวังและผิดหวังที่คัดมาจากภาพยนตร์กัน ค่ะเผื่อจะท�ำสร้างก�ำลังใจให้คนที่มีอาการทั้ง รัก (in love) และ อกหัก (heart broken) เช่น ๑. I’d rather have you as a friend than not have you in my life at all. ฉันขอมีเธอเป็นเพื่อน ดีกว่าไม่มีเธออยู่ใน ชีวิตของฉันเลย (American Pie) ๒. What is worth living for? What is worth dying for? The answer to each is the same only love. เมือ่ ถามว่าอะไรคือสิง่ ทีค่ วรค่าต่อการมีชวี ติ อยู่ หรือตายเพื่อมัน ค�ำตอบมีเพียงอย่างเดียว คือ รัก (The English patient) ๓. You’ll see a lot of things but they’ll mean nothing to you if you lose sight of the thing you love. พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
คุ ณ สามารถเห็ น ทุ ก สิ่ ง ได้ แต่ จ ะมี ค วาม หมายอะไร ถ้าคุณไม่สามารถมองเห็นในสิ่งที่ คุณรัก (At first sight) ๔. I know I have a heart because I feel that it’s breaking. ฉันรู้ว่าฉันมีหัวใจ เพราะตอนนี้ฉันรู้สึกว่า มันก�ำลังแตกร้าว (Great expectations) ๕. I think it’s better to break a man’s leg than his heart. ฉันคิดว่าฉันน่าจะหักขาเขา แทนที่ให้เขา อกหัก (Sea Biscuit) ๖. Time wounds all heals. วันเวลาเยียวยาทุกสิง่ ทุกอย่าง (Someone like you) ๗. How lucky I am to have something that makes saying goodbye so hard. ฉันโชคดีอะไรเช่นนี้ที่มีบางสิ่งที่ทำ� ให้การ กล่าวอ�ำลาเป็นเรื่องล�ำบากใจ (Serendipity) ๘. Hearts will be practical only when they are made unbreakable. หัวใจสามารถใช้งานได้อย่างเดียว เมื่อไม่ สามารถท�ำให้แตกสลายได้ (The notebook) ๙. Some height can only be reached by hearts. ความสูงบางระดับ สามารถไปถึงได้ด้วย หัวใจ (Clueless) ๑๐. Love means never having to say you’re sorry. “ถ้ า จะรั ก ต้ อ งไม่ มี ค� ำ ว่ า เสี ย ใจ” (Love story) ๑๑. The only feeling of real loss is when you love someone more than you love yourself. คุณจะรู้สึกสูญเสียจริง ๆ ก็ต่อเมื่อคุณสูญ เสียใครสักคน ที่คุณรักมากกว่าตัวคุณเอง” (Good will hunting) ๑๒. The greatest thing you’ll ever learn is just to love and be loved in return. สิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่คุณจะได้เรียนรู้คือการ รู ้ จั ก รั ก และได้ รั บ รั ก ตอบแทน (Moulin rouge) ๑๓. If he’s the right man for you, you can’t just let him slip on by. ถ้ า เขาเป็ น คนที่ ใ ช่ ส� ำ หรั บ คุ ณ แล้ ว อย่ า ปล่อยเขาให้ผ่านไป (The Butcher’s wife) ๑๔. A life without love, is no life at all . ชีวิตที่อยู่โดยไม่มีความรัก เหมือนกับการ ไม่มีชีวิตอยู่ (Ever After) ด้วยเดือนนี้เป็นเดือนแห่งความรัก ก็อย่า ลืมที่จะแสดงความรักให้แก่กันและกันนะคะ โดยเฉพาะสามี ภรรยา คนรั ก หรื อ แฟน หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
วิ ธี แ สดงความรั ก ส� ำ หรั บ ผู ้ ห ญิ ง ง่ า ยมากค่ ะ เพียงแค่บอกรักบ้าง เอาใจหน่อย ซื้อของขวัญ น่ารัก ๆ ให้สักชิ้น น�้ำหอม เครื่องส�ำอางยี่ห้อ ดี ๆ เสื้อผ้า เครื่องประดับ เพชรนิลจินดา อาหารมือ้ เย็นในบรรยากาศโรแมนติก สิง่ เหล่า นี้เป็นของโปรดของผู้หญิงทั้งนั้น.....ค่ะ ส่วน ใครที่ก�ำลังมีความรัก ถ้าคิดว่ามั่นใจว่า คนนี้ คือคนที่ใช่ คือคนที่ชอบ ก็ประกาศขอความ รักออกสื่อไปเลย ... ท้ายสุดขอฝากเพลงนี้ไว้ ซึ่งเป็นเพลงโปรด ของผู ้ เ ขี ย น ประทั บ ใจนั ก แต่ ง เพลง “จาก คนหนึ่ง... ถึงอีกคน” ที่ร้องโดย ปาน ธนพร แวกประยูร จากอัลบั้ม พรหมลิขิต เพราะชอบ ทั้งความหมายและเนื้อเพลงมากที่สามารถน�ำ ความรูส้ กึ ของความรักในสองอารมณ์มาเปรียบ เทียบให้กับคนที่ก�ำลังมีความรักและตอกย�้ำ ความรู้สึกในใจส�ำหรับผู้ที่ก�ำลังอกหักรักคุดได้ เป็นอย่างดี มาลองเปิดฟังคะ https://www. youtube.com/watch?v=ft2gr27aDUU “คนหนึ่งอยากจะรู้ อีกคนไม่อยากให้ถาม คนหนึ่งคอยวิ่งไล่ตาม อีกคนก็เดินหนีไป คนหนึ่งคอยตรงนี้ อีกคนไปอยู่ที่ไหน คนหนึ่งบอกว่าเหงาใจ อีกคนว่าน่าระอา
คนหนึ่งอยากไปหา อีกคนก็กลับห่างเหิน คนหนึ่งอยากนั่งใกล้ ๆ อีกคนไม่ยอมสบตา คนหนึ่งโทรทุกครั้ง อีกคนไม่เคยโทรหา คนหนึ่งแบกรักเต็มบ่า อีกคนไม่แคร์อะไร คนหนึ่งหาเรื่องคุย อีกคนหนึ่งหาเรื่องวาง คนหนึ่งท�ำแทบทุกอย่าง อีกคนไม่เคยสนใจ คนหนึ่งคิดถึงกัน อีกคนหนึ่งคิดถึงใคร ขณะคนหนึ่งรักมากมาย อีกคนท�ำไมน้อยลง คนหนึ่งบอกว่ารัก อีกคนไม่อยากจะรู้ คนหนึ่งยังเหมือนเดิมอยู่ อีกคนท�ำไมเปลี่ยนไป คนหนึ่งห่วงเสมอ อีกคนหนึ่งห่วงอยู่ไหม คนหนึ่งยังนั่งร้องไห้ อยากรู้หัวใจอีกคน” Happy Valentine’s Day
53
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
“๑๐ โรคร้ายทีแ่ ฝง มากับลมหนาว” ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ใ
นปั จ จุ บั น คนเราต้ อ งเผชิ ญ กั บ ผล กระทบหลายอย่างอันเกิดจากภาวะ โลกร้อน ที่ท�ำให้สภาพอากาศทั่วโลก มีความแปรปรวน บางพื้นที่อาจมีอากาศหนาว มากขึ้ น ทั้ ง ที่ อ ยู ่ ใ นเขตร้ อน บางพื้น ที่ก ลับ มี อากาศร้อนขึ้นทั้งที่อยู่ในเขตหนาว หรือบาง พื้ น ที่ ก็ เ ดี๋ ย วร้ อ นเดี๋ ย วหนาวสลั บ กั น ไป ซึ่ ง สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นนี้เอง ท�ำให้ ร่างกายของเราปรับตัวตามไม่ทนั ส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพในทุกเพศทุกวัย อาจกล่าวได้วา่ เสือ้ ผ้ากันหนาวอาจจะขายดี ในช่วงนี้ ในพื้นที่ทางภาคเหนืออาจจะพอได้ใช้ ป้องกันหนาว แต่ในบางพื้นที่ก็แทบจะไม่ได้ใช้ เลย ผลกระทบจากอากาศที่หนาวเย็นมากขึ้น ท�ำให้ระดับอุณหภูมิมีแนวโน้มลดต�่ำลงเรื่อย ๆ และเหมือนว่าจะยาวนานกว่าทุก ๆ ปี บาง คนอาจจะไม่ค่อยรู้สึกกับการเปลี่ยนแปลงนี้ เพราะคิดว่าเดี๋ยวคงจะหนาวไม่นาน และคิด ว่าร่างกายตนเองแข็งแรงดีอยู่แล้ว ก็ไม่น่าจะ มีปัญหาอะไร แต่ความเชื่อที่ว่านี้ต้องระวัง!!
54
จากการติดตามสถานการณ์ในฤดูหนาวที่ผ่าน มาโดยกระทรวงสาธารณสุขนั้น พบว่า ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ มีผู้ป่วยจากโรคฤดูหนาวรวมกันทั่ว ประเทศกว่า ๕๑๕,๕๘๐ ราย พบว่ามีการเสีย ชีวิต ๓๑๕ ราย โดยพบว่าป่วยเป็นโรคอุจจาระ ร่วงมากทีส่ ดุ คือ ๔๔๒,๑๘๗ ราย รองลงมาเป็น โรคปอดบวม - ปอดอักเสบ และโรคอีสุกอีใส นอกจากนี้ยังพบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ โรค หัด และหัดเยอรมันด้วย ดังนั้นเพื่อให้รู้ทัน โรคร้ายที่อาจแฝงมาพร้อมกับอากาศที่หนาว เย็น จึงควรรู้ไว้ว่ามีโรคอะไรบ้างที่ต้องเตรียม การป้องกันไว้ล่วงหน้า ๑. โรคไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ สาเหตุเกิด จากเชื้อไวรัสที่อยู่ในน�้ำมูก น�้ำลาย สามารถ ติ ด ต่ อ กั น ได้ ท างการหายใจ ไอหรื อ จามรด กัน เชื้อมักแพร่กระจายในสถานที่แออัดไม่มี อากาศถ่ายเท เช่น โรงภาพยนตร์ ห้างสรรพ สินค้า ตลาดสด โดยอาการจะเริ่มต้นจากการ มีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย น�้ำมูกไหล ไอ จาม เจ็บหรือแสบคอ บางคนอาจหนาวสั่น แต่ถ้าเป็นการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ ก็มักจะมี อาการรุนแรงกว่าการติดหวัดธรรมดา คือ ไข้ สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะมาก ปวดตามกล้าม เนื้อ ตามกระดูก คลื่นไส้ กินได้น้อยลง ร่วม กับ อาจมีภาวะขาดน�้ ำ หากมี อ าการอาเจี ย น ร่วมด้วย และควรระวังโรคแทรกซ้อนทีอ่ าจเกิด ขึ้นตามมา เช่น ปอดบวม หลอดลมอักเสบ คอ อักเสบ ในเด็กเล็กและผู้สูงอายุจะมีความเสี่ยง มากกว่าช่วงวัยอื่น ๆ ๒. โรคหลอดลมอักเสบ เป็นโรคที่อาจเกิด ตามหลังไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ สาเหตุส่วน ใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส จะมีอาการไอและไอ มากตอนกลางคืน โดยระยะแรกจะไอแห้ง ๆ มีเสียงแหบและเจ็บหน้าอกมาก เสมหะมีสี เหลืองหรือเขียว มีไข้ อ่อนเพลีย ในเด็กอาจ ไอมากจนอาเจียน บางรายมีอาการคล้ายหอบ หืดจากภาวะหลอดลมหดเกร็งตัว โดยปกติโรค นี้สามารถหายได้เองภายใน ๑ - ๓ สัปดาห์ แต่ บางรายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหากไม่ได้รับ
การรักษาที่เหมาะสม ก็อาจลุกลามถึงขั้นปอด อักเสบได้ การรักษาเบื้องต้น คือการพักผ่อน ให้มาก ควรดื่มน�้ำอุ่นมาก ๆ เพื่อช่วยให้เสมหะ ระบายออกได้ง่ายขึ้น หลีกเลี่ยงดื่มน�้ำเย็น งด สูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงอยู่ในที่ที่มีอากาศเสียหรือ ฝุ่นละอองมาก ๆ ๓. โรคปอดบวมหรือปอดอักเสบ เป็นโรค ที่อาจเกิดจากภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัด หรือติดจากเชื้อโดยตรงได้ ปอดบวมมักพบใน เด็ก สามารถติดต่อได้ทางการหายใจ น�้ำมูก น�้ำลาย และใช้ของร่วมกัน มีระยะฟักตัวของ โรค ๑ - ๓ วัน และอาจนานถึง ๑ สัปดาห์ใน บางราย โรคปอดบวมเป็นโรคที่ควรระวังเป็น อย่างมาก เพราะในปีที่ผ่านมาพบว่าโรคนี้เป็น สาเหตุการตายอันดับหนึ่งของกลุ่มโรคติดเชื้อ ในเด็กอายุต�่ำกว่า ๕ ขวบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเด็กแรกเกิดถึงขวบปีแรก อาการจะเกิดตาม หลังโรคหวัดประมาณ ๒ - ๓ วัน ดังนั้นหาก สงสัยหรือไม่แน่ใจเกี่ยวกับอาการโดยเฉพาะ ในเด็กเล็กควรน�ำมาปรึกษาแพทย์ เพื่อรับการ รักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ ๔. โรคหัด พบมากในเด็กอายุตั้งแต่ ๑ - ๖ ขวบ ติดต่อได้จากการไอ จามรดกัน หรือได้ รับละอองเสมหะ น�้ำมูก น�้ำลาย เข้าไป โรค หัดมักเกิดในช่วงฤดูหนาวยาวต่อช่วงฤดูร้อน ปัจจุบันมีวัคซีนส�ำหรับฉีดป้องกัน อาการของ โรคหัดจะเริ่มจากมีไข้ น�้ำมูกไหล ไอ ตาแดง อาการจะรุนแรงมากขึ้น จนมีอาการปวดเมื่อย ตัว ถ่ายเหลว ผื่นของไวรัสหัดจะขึ้นราววันที่ ๔ หลังรับเชื้อ หลังจากนั้นไข้จะค่อย ๆ ลด เมื่อ ผื่นกระจายทั่วตัว ระหว่างนั้นต้องระวังการ เสียชีวิตจากภาวะโรคแทรกซ้อน เช่น ปอด อักเสบ อุจจาระร่วง สมองอักเสบ และภาวะ ทุพโภชนาการ
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
๕. โรคหัดเยอรมัน เชื้อไวรัสหัดเยอรมัน ท�ำให้มีไข้ต�่ำจนถึงไข้สูง มีผื่นแดงคล้ายหัด แต่ ลักษณะผื่นจะใหญ่และเป็นกลุ่ม ๆ กระจายตัว ห่างกว่า ในเด็กเล็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่าใน ผู้ใหญ่ โดยเฉลี่ยจะมีอาการประมาณ ๑ - ๕ วัน มีไข้ ผืน่ แดงตามตัว อ่อนเพลีย ปวดเมือ่ ยตามตัว เบื่ออาหาร สิ่งส�ำคัญคือ ต้องระมัดระวังไม่ให้ ติดเชื้อในระหว่างการตั้งครรภ์ ๖. โรคอีสุกอีใส พบว่ามักเกิดในเด็ก แต่พบ ได้น้อยในผู้ใหญ่ อาการแรกเริ่มจะมีไข้ต�่ำ ๆ เหมือนไข้หวัด หลังจากนั้นจะมีผื่นแดง ตุ่ม นูนขึ้น และจะเปลี่ยนเป็นตุ่มพองใสประมาณ ๒ - ๓ วันนับตั้งแต่เริ่มมีไข้ หลังจากนั้นตุ่มพอง ใสก็จะกลายเป็นตุ่มหนอง แล้วค่อย ๆ เริ่มแห้ง ตกสะเก็ด ทั้งนี้ ผื่นอาจขึ้นได้ในคอ ตา และ ปาก ท�ำให้กินอาหารได้น้อย เกิดอาการขาด น�้ำ โดยทั่วไปหากได้รับการดูแลที่เหมาะสม โรคจะสามารถหายได้โดยตัวเองโดยไม่เกิด โรคแทรกซ้อน ๗. โรคอุจจาระร่วง สาเหตุเกิดจากเชื้อ ไวรัสหลายชนิด และมักพบผู้ป่วยได้มากใน หน้าหนาว สามารถติดต่อได้จากการดื่มน�้ำ หรือรับประทานอาหารที่มีเชื้อปนเปื้อนเข้าไป นอกจากนีย้ งั ติดต่อทางน�ำ้ ลาย น�ำ้ มูกได้เช่นกัน ลักษณะอาการจะถ่ายเป็นน�้ำหรือถ่ายเหลว บ่อยครั้ง แม้อาการไม่รุนแรง แต่อาจมีอาการ ขาดน�้ำรุนแรงได้ในบางราย ภาวการณ์การติด เชื้อมักพบได้ในชุมชน ศูนย์ฝากเลี้ยงเด็ก หรือ สถานที่ที่มีเด็กอยู่รวมกันเป็นจ�ำนวนมาก ๆ ดังนั้น การออกก�ำลังกาย เลือกรับประทาน อาหารปรุ ง สุ ก ดื่ ม น�้ ำ สะอาด ก็ จ ะเป็ น การ ป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ ๘. โรคตาแดงหรือเยื่อบุตาอักเสบ เป็นโรค ที่พบได้บ่อยในหน้าหนาวเช่นกัน สาเหตุส่วน ใหญ่เกิดจากเชือ้ ไวรัสคนละชนิดกับโรคตาแดง ที่เกิดขึ้นในหน้าร้อน การสัมผัสกับเชื้อมักเกิด จากมือทีส่ กปรก ไปหยิบจับ หรือสัมผัสกับขีต้ า
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
น�้ำตาของผู้ที่เป็นโรคแล้วมาป้ายตาตัวเอง โรค ตาแดงหรือเยื่อบุตาอักเสบสามารถระบาดได้ ง่ายโดยเฉพาะในเด็กนักเรียน ส่วนการป้องกัน ให้หมั่นล้างมือให้สะอาด ไม่เอามือขยี้ตา ไม่ คลุกคลีกับคนเป็นโรค เมื่อเป็นโรคควรหยุด งานหรือหยุดเรียน เพื่อไม่ไห้ติดต่อไปยังผู้อื่น ๙. โรคผิวหนังแห้งอักเสบ เมื่อผิวกระทบ อากาศเย็น ท�ำให้มีความชื้นสัมพัทธ์น้อยและ แห้ง การสูญเสียน�้ำออกจากผิวหนังก็จะเพิ่ม สูงขึ้น ท�ำให้ผิวหนังเกิดปัญหาแห้งหยาบ เป็น ขุย แตก ปัญหานี้ถือว่าเป็นปัญหาที่ก่อความ ร�ำคาญ เพราะเมื่อผิวแห้งมากจะรู้สึกคัน ยิ่ง อากาศหนาวมาก ๆ จะยิ่งแสบร้อนและคัน หากดูแลไม่ดีอาจเกิดแผลอักเสบจากการเกา จนเลือดออก และมีสิ่งสกปรกเข้าแผลจนเกิด การติดเชื้ออักเสบขึ้นได้ การป้องกัน คือการ รักษาความชุม่ ชืน้ จากภายในและภายนอกร่วม กัน โดยการดื่มน�้ำและผลไม้ให้มากขึ้น เปลี่ยน รูปแบบและวิธีการอาบน�้ำ โดยลดอุณหภูมิ ของน�้ำลง ไม่ควรอาบน�้ำร้อนเกิน ๓๔ องศา เซลเซียส ทามอยส์เจอร์ไรเซอร์หลังอาบน�้ำ หากมีผวิ แห้งมาก ๆ แนะน�ำให้ใช้นำ�้ มันมะกอก
บริสุทธิ์จะช่วยให้ผิวชุ่มชื้นได้นาน และหาก ผิวหนังแห้งอักเสบรุนแรงหรือคันมาก ๆ ให้ รีบไปพบแพทย์ ๑๐. โรคผิวหนัง เช่น เชื้อรา กลาก เกลื้อน การแพ้ ท างผิ ว หนั ง จากเสื้ อ กั น หนาวหรื อ เครื่องนุ่งห่มมือสอง ผู้ที่นิยมชมชอบเสื้อผ้า มือสองต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะแม้ว่า ราคาของเสื้อมือสองจะค่อนข้างถูกกว่า แต่ไม่ ทราบแน่ชัดถึงที่มา จึงมั่นใจไม่ได้ว่ามีความ สะอาดหรือไม่ ทั้งยังอาจน�ำพาโรคมาสู่ผิวหนัง ได้อีกด้วย ดังนั้น จะต้องสืบหาที่มาของเสื้อผ้า เหล่านั้นเสียก่อน หรือต้องท�ำความสะอาด ให้ถูกวิธี เช่น การซักล้าง การต้มฆ่าเชื้อ การ ตรวจสอบรอยด่างด�ำ รอยคราบสารคัดหลั่ง รวมไปถึงกลิ่นอับชื้นที่ติดอยู่ เพราะนอกจาก เชื้อราแล้ว โรคตับอักเสบหรือไวรัสบางชนิด อาจส่งผลร้ายต่อผิวหนังได้ ดังนั้น ควรมีการ ต้มให้เดือด ซักล้างให้สะอาด ฆ่าเชื้อก่อนและ น�ำไปตากแดดให้แห้งสนิท ก็จะช่วยสร้างความ แน่ใจให้กับผิวหนัง การเตรียมตัวพร้อมรับมือกับ ๑๐ โรคร้าย ที่ อาจแฝงมากับหน้าหนาวในปีนี้ จึงควรรู้จักกับ โรคต่าง ๆ เอาไว้ ให้รจู้ กั วิธกี ารป้องกันและดูแล รักษาในเบื้องต้น หมั่นแบ่งเวลาให้มีการออก ก�ำลังกายอย่างเหมาะสม รับประทานอาหารที่ สุกและสะอาด ในสัดส่วนที่เหมาะสม ครบทั้ง ๕ หมู่ หลีกเลี่ยงสัมผัสกับผู้ป่วยที่ไม่สบาย คุณ แม่ควรเลีย้ งลูกด้วยนมแม่เพือ่ ให้มภี มู ติ า้ นทาน กับทารก สวมหน้ากากป้องกันการไอ จามรดใส่ กัน ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่กระจาย ไปทั่ว นอกจากนี้แล้ว การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน โดยการฉีดวัคซีนก็ยังถือว่ามีความจ�ำเป็น ทั้ง วัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส โรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม และไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น การเตรียมตัวเพียงไม่ก่ีข้อนี้ จะถือว่าเป็น คาถาวิ เ ศษส� ำ หรั บ ป้ อ งกั น โรคที่ แ ฝงมากั บ หน้าหนาวในปีนี้ได้เป็นอย่างดีทีเดียว 55
พลเอก ศิ ริ ชั ย ดิ ษ ฐกุ ล ปลั ด กระทรวงกลาโหม นางพรวิ ม ล ดิ ษ ฐกุ ล นายกสมาคมภริ ย าข้ า ราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รองปลัดกระทรวง กลาโหม และนายทหารชั้ น ผู ้ ใ หญ่ ข องส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหมและภริยา ร่วมลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๘ ณ พระบรมมหาราชวัง เมื่อ ๑ ม.ค.๕๘
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยผู้บัญชาการเหล่าทัพ นายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าอวยพรและขอรับพร เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๘ จาก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๒๙ ธ.ค.๕๗ 56
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยผู้บัญชาการเหล่าทัพ และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าอวยพรและขอรับพร เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๘ จาก พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ ณ บ้านสี่เสาเทเวศร์ เมื่อ ๒๙ ธ.ค.๕๗ พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงกลาโหม และผู้บัญชาการ ทหารบก พลเอก ศิรชิ ยั ดิษฐกุล ปลัดกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วยผู้บัญชาการเหล่าทัพ และนายทหารชั้ น ผู ้ ใ หญ่ ข องส� ำ นั ก งาน ปลั ด กระทรวงกลาโหม เข้ า ร่ ว มอวยพร และขอรั บ พร เนื่ อ งในโอกาสขึ้ น ปี ใ หม่ ๒๕๕๘ จาก พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม ณ มู ล นิ ธิ อ นุ รั ก ษ์ ป ่ า รอยต่อ ๕ จังหวัด ภายในกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ เมื่อ ๒๙ ธ.ค.๕๗
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
57
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน ในพิธีท�ำบุญตักบาตร เนื่องในโอกาสเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๘ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีรองปลัดกระทรวง กลาโหม นายทหารชัน้ ผูใ้ หญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและก�ำลังพลของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วมพิธี ณ ลานอเนกประสงค์ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๗ ม.ค.๕๘
58
ประมวลภาพกิจกรรม ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าอวยพรและขอรับพรจากอดีตผู้บังคับบัญชาเนื่องในโอกาสเทศกาลปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหมเเละคณะ เข้าอวยพรเเละขอรับพร จาก พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ ณ บ้านพักเขตห้วยขวาง เมื่อ ๖ ม.ค.๕๘ พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวง กลาโหมเเเละคณะ เข้ า อวยพรเเละ ขอรับพร จาก พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ ณ กระทรวงเเรงงาน เขตดินเเดง เมื่อ ๙ ม.ค.๕๘
พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ รองปลั ด กระทรวงกลาโหมเเละคณะ เข้าอวยพรเเละขอรับพร จาก พลอากาศเอก สุวิช จันทประดิษฐ์ ณ บ้านพักเขตบางเขน เมื่อ ๕ ม.ค.๕๘
พ ล เ รื อ เ อ ก ชุ ม นุ ม อ า จ ว ง ษ ์ ร อ ง ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม เ เ ล ะ คณะ เข้าอวยพรเเละขอรับพร จาก พลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์ ณ บ้านพัก เขตลาดพร้าว เมื่อ ๗ ม.ค.๕๘
พลเอก วิ ชิ ต ศรี ป ระเสริ ฐ รองปลั ด กระทรวงกลาโหมเเละ คณะ เข้าอวยพรเเละขอรับพร จาก พลเอก ธวัช เกษร์อังกูร ณ บ้านพัก เขตบางคอเเหลม เมื่อ ๖ ม.ค.๕๘
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
59
พลเอก ศิ ริ ชั ย ดิ ษ ฐกุ ล ปลั ด กระทรวง กลาโหม นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยา ข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยรองปลัดกระทรวงกลาโหม นายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะสมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม เดินทางตรวจเยีย่ มศูนย์ พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ และเปิดกิจกรรม งานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ พร้อมทัง้ มอบผ้าห่มกันหนาวให้กับประชาชนในพื้นที่ ที่ประสบภัยหนาว ณ ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียม ภาคเหนื อ กรมการพลั งงานทหาร ศูน ย์การ อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศและพลั ง งาน ทหาร อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑ ม.ค.๕๘ 60
ค�ำขวัญวันเด็กแห่งชาติ ๒๕๕๘ ความรู้ คู่คุณธรรม น�ำสู่อนาคต ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดกิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ณ อาคารที่พักอาศัยของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑๐ ม.ค.๕๘ ในพื้นที่ ประชาชื่น, พื้นที่บางจากและพื้นที่แจ้งวัฒนะ
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการ ต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษา หลักสูตรหลักประจ�ำวิทยาลัยการทัพบก ชุดที่ ๖๐ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๘ ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลาว่าการ กลาโหม เมื่อ ๙ ม.ค.๕๘ หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
61
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อุปนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมฯ ทูลเกล้า ถวายพานทองดอกไม้สดและร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ ๕ ม.ค.๕๘
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เข้าเฝ้าฯ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เพือ่ ทูลเกล้าถวายเงินเนือ่ งในโอกาสเสด็จเป็นองค์ประธานเปิดงาน “เพือ่ นพึง่ (ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๗” และถวายของที่ระลึกในโอกาสเสด็จฯ เยี่ยมร้านสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ พระต�ำหนักวังสวนกุหลาบ พระราชวังดุสิต เมื่อ ๑๙ ธ.ค.๕๗ 62
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมพิธีท�ำบุญตักบาตร เนือ่ งในโอกาสวันขึน้ ปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ ลานอเนกประสงค์ ภายในศาลาว่าการ กลาโหม เมื่อ ๗ ม.ค.๕๘
หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
63
นางอนรรฆมณี โชคคณาพิทักษ์ อุปนายกสมาคมฯ พร้อมด้วยคณะกรรมการสมาคมฯ เข้าอวยพรและขอรับพร จาก พลเอก ศิรชิ ยั ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม และนางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ณ ห้องสนามไชย ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๕ ม.ค.๕๘
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และ อุปนายกสมาคมฯ เข้าอวยพรและขอรับพร จาก คุณหญิงวรรณา สิรวิ ฒ ั นภักดี เนือ่ งในโอกาส วันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ เมื่อ ๗ ม.ค.๕๘
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและ คณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนากรมเสมียนตรา ครบรอบ ๑๐๖ ปี ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๖ ม.ค.๕๘
64
"ทหารผ่านศึก เป็นผู้มีเกียรติ เพราะได้เสียสละประโยชน์สุขส่วนตัว แม้กระทั่งเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อบ้านเมืองและส่วนรวม ขอให้ภูมิใจและตั้งใจ รักษาเกียรติอันแท้จริงที่มีอยู่นั้นไว้ทุกเมื่อ" พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเนื่องในโอกาสวันทหารผ่านศึก ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๓
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานงานเลี้ยงสังสรรค์สื่อสารมวลชนสัมพันธ์ จัดโดยส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมี พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหมและนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมในงาน ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายใน ศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๙ ม.ค.๕๘
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัด กระทรวงกลาโหม เป็นผู้แทนพลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ในพิธีเปิด การแข่งขันและร่วมขี่จักรยาน (รอบ VIP) ชิ ง ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศปลั ด กระทรวงกลาโหม ในการแข่งขันจักรยาน ใจเกินร้อย รายการ “Bike for All” ณ บริเวณอนุสาวรียท์ า้ วสุรนารี ในเขตเทศบาลนครนครราชสี ม า จั ง หวั ด นครราชสีมา เมื่อ ๒๔ ม.ค.๕๘
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
การกลับไปใช้สิทธิในบำ�เหน็จบำ�นาญ ตาม พ.ร.บ.บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔
ผู้มีสิทธิ undo - ข้าราชการ - ผู้รับบำ�นาญ - ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด - ตุลาการศาลปกครอง - ผู้ซึ่งเคยเป็นข้าราชการก่อนมี กบข.ที่ลาออกไปแล้วต่อมากลับเข้ารับราชการหลังมี กบข. - ข้าราชการส่วนท้องถิ่น (มาตรา ๗๐/๑) - พนักงานมหาวิทยาลัย (มาตรา ๗๐/๖) ระยะเวลาในการตัดสินใจ ๑. มีสิทธิเลือกตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับใช้ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ๒. ได้รับเงินสะสม+ดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๘) เป็นต้นไป (สมัครก่อน ได้ก่อน) ๓. เมื่อออกจากราชการ จึงจะเริ่มรับบำ�นาญสูตร ๒๔๙๔ ๔. แต่ถ้าข้าราชการรายใด มีเวลาราชการเหลือไม่ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ (เช่นอยาก ลาออกจากราชการก่อน หรือถูกปลด ถูกไล่ออก) จะมีเวลาตัดสินใจ UNDO ถึงแค่วันที่ จะต้องออกจากราชการนั้น ๕. ถ้าเลือก UNDO ไว้ แล้วถึงแก่ความตายก่อน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ หรือก่อนวันออกจาก ราชการตามข้อ ๔. ถือว่า ไม่ได้ UNDO ทั้งนี้สามารถหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Website UNDO http://www.undo.in.th
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วันทหารผ่านศึก
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๗ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
www.lakmuangonline.com