ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
Ministry of Defence โดยกระทรวงกลาโหม
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๗๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ภาพปกโดย นายเดโช บูรณบรรพต
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
www.lakmuangonline.com
อาศิรวาท พระปิยมหาราช พระผู้ประสาทความเป็นไท พระ เมตตาท่วมท้น ปิย ชนเทิดพระนาม มหา กษัตริย์เปี่ยมงดงาม ราช กิจจรดแดนฟ้า
แดนสยาม ทั่วหล้า ยอดยิ่ง ลือเอย ทั่วพื้นก�ำจาย ฯ
พระปิยมหาราช ทรงปกป้องเขตขันธ์ ปกป้องแดนฉมา ขวานทองจึงคงไว้ เมตตาต่อปวงราษฎร์ ศึกษาเป็นฐานพื้น เลิกทาสสร้างเท่าเทียม ทันสมัยให้เกิดผล เชื่อมโยงทุกสารทิศ ปรับกิจมวลทหาร ปฏิรูปการปกครอง มวลกิจนับหมื่นแสน ราชกิจล้วนงดงาม เทิดพระนามมหาราชา
สุทธชาติจอมราชันย์ สยามพลันเถลิงไท ทรงรักษาอธิปไตย ลูกหลานไทยมีที่ยืน มิต้องหวาดฤากล�้ำกลืน ทรงพลิกฟื้นคุณค่าคน สิทธิเปี่ยมทุกชั้นชน มีถนนแลสะพาน เศรษฐกิจเจริญภาร ราชการเป็นแบบแผน สร้างครรลองใหม่ทดแทน ทรงคัดแก่นเพื่อประชา ชนสยามล้วนศรัทธา สถิตย์หล้าฟ้าเมืองไทย.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า เหล่าข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ( พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ร้อยกรอง )
"คนส�ำราญ งานส�ำเร็จ" พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ ร.อ.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ที่ปรึกษา ผู้ช่วยเหรัญญิก
พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.ร.อ.พลวัฒน์ สิโรดม พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ พล.อ.สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.สิรวุฒิ สุคันธนาค พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.จิระ โกมุทพงศ์ พล.ท.อดุยเดช อินทะพงษ์ พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ยุทธนา กล้าการยุทธ พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต พล.ท.บรรเจิด เทียนทองดี พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พรรณพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ทวี พฤกษาไพรบูลย์ พล.ต.สังสิทธิ์ วรชาติกุล
ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.บรรยงค์ หล่อบรรจง น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. น.ท.วรพร พรเลิศ พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.หญิง สายตา อุปสิทธิ์ ร.อ.หญิง อัญชลีพร ชัยชาญกุล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง พ.ท.หญิง ณิชนันทน์ ทองพูล น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. ร.อ.หญิง ณิชาภา กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ท.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ส.อ.ธีระยุทธ ขอพึ่งธรรม ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา กาญจนโรจน์
บทบรรณาธิการ เดื อ นตุ ล าคม ของทุ ก ปี เ ป็ น การเริ่ ม ต้ น ปี ง บประมาณใหม่ ข องส่ ว นราชการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ เริ่มต้นด้วยความเป็นมหามงคลสมัยของพุทธศาสนิกชน ทัง้ หลาย ในโอกาสคล้ายวันประสูติ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญพระชันษา ๑๐๐ ปี และ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ เป็นวันปิยมหาราช ที่ประชาชนร่วมกันน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณอัน ยิ่งใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ที่ได้ทรงประกาศ เลิกทาส และวางรากฐานการพัฒนาประเทศชาติมีผลมาจวบจนทุกวันนี้ วารสารหลักเมืองฉบับนี้ ขอแนะน�ำผู้บังคับบัญชาของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงเกียรติประวัติในการท�ำงานของทุกท่าน โดยทุกๆ ท่านจะร่วมขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในการท�ำ หน้าที่หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคงของกระทรวงกลาโหม เพื่อเป็น หลักประกันความมั่นคงของชาติ เคียงข้างกับประชาชน ซึ่งวารสารหลักเมืองจะได้น�ำ ผลการด�ำเนินงานมาเสนอให้ทราบต่อไป
2
ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๗๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
๕ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระสังฆราช ๘ การเสด็จประพาสต้น ๑๒
๒๗
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงบประมาณกลาโหม
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก ขวัญชาติ กล้าหาญ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม
๒๘
นโยบาย ปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก
๑๔
๓๒
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม
งานด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีป้องกันประเทศ ประจ�ำปี ๒๕๕๖
๓๔
๑๖
ปฏิรูปประเทศไทย จาก ร.๕ ถึง อนาคต ๒๐๒๐
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม
๓๖
การแข่งขัน สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน :ความท้าทายของอาเซียน
๑๘
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ รองปลัด กระทรวงกลาโหม
๒๐
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
๔๐
Dien Bien Phu เพื่ออิสระ ต้องกอบกู้
๑๔
๑๒
๑๖
๒๔
ก่อนสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๙๕
๕๒
๑๘
๒๒
๒๐
๕๖
ศาลอาญาระหว่างประเทศ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย งานนิทรรศการ Defense & Security 2013
๖๒
๒๕
๒๔
๒๕
๒๖
๒๖
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ผู้อ�ำนวยการศูนย์การ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร
หลักของนายพลแพตตัน (ตอนที่ ๑๕)
๕๘
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก ชัชวาลย์ ข�ำเกษม เจ้ากรมเสมียนตรา เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ
ดุลยภาพของประเทศอาเซียน เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ ชั้นเอนดูเรนซ์
๔๘
๒๒
เกียรติประวัติและ ประสบการณ์การท�ำงาน พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
๔๔
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “ท�ำความรู้จัก สารซาริน ใน ประเทศซีเรีย ... สารอันตราย ที่ท�ำให้คุณอาจเสียชีวิต”
๗๐
นายกสมาคม ภริยาข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม
๒๗
๒๘
๗๐
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
3
4
๑๐๐ ปี สมเด็จพระสังฆราช
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เนื่องในโอกาสคล้ายวันประสูติ เจริญพระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ นับเป็นมหามงคลสมัยที่พุทธศาสนิกชนทั้งหลายจะได้แสดงความส�ำนึกในพระเมตตาและพระบารมีธรรมของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ที่ทรงมีต่อพระบวรพุทธศาสนาและประชาชนเป็นอเนกประการ ทรงเป็นแบบอย่างอันดีงามในพระจริยวัตรและพระคุณธรรม ที่พุทธศาสนิกชน ทั้งหลายจะได้น้อมน�ำหลักธรรมจากหนังสือพระนิพนธ์เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ค�ำสอนต่างๆ และแบบอย่างอันดีงามจากพระจริยวัตร หลักปฏิบัติ ของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน ในอันที่จะยังให้เกิดประโยชน์สุข ความสุขสงบในจิตใจ ทั้งแก่บุคคล สังคม และประเทศชาติสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสมานฉันท์และสันติ อีกทั้งยังเป็นการจรรโลงพระบวรพระพุทธศาสนาให้ธ�ำรงสถาพรสืบไป
พระประวัติ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก (สุวัฑฒนมหาเถระ) มีพระนามเดิมว่า “เจริญ” นามสกุล “คชวัตร” ทรงมีพระชาติภูมิ ณ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ณ วัดเทวสังฆาราม กาญจนบุรี แล้วเข้ามาอยู่ศึกษาพระปริยัติธรรม ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนพระชนมายุครบอุปสมบท และทรงอุปสมบท ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยมี สมเด็จ พระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ ประทับอยู่ศึกษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดมาจนกระทั่งสอบได้เป็น เปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ เจ้าพระคุณสมเด็จพระ ญาณสังวร ทรงด�ำรงสมณศักดิ์มาโดยล�ำดับดังนี้ ทรงเป็นพระราชา คณะชั้นสามัญ พระราชาคณะชั้นราช และพระราชาคณะชั้นเทพ ใน ราชทินนามที่ “พระโศภณคณาภรณ์” ทรงเป็นพระราชาคณะชั้น ธรรมที่ “พระธรรมวราภรณ์” ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรอง ที่ “พระสาสนโสภณ” ทรงเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ “สมเด็จพระ ญาณสังวร” และทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็น “สมเด็จพระ สังฆราช” ในราชทินนามที่ “สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก” เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒ นับเป็น สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ราชทินนาม สมเด็จพระญาณสังวรนี้ ทรงได้รับพระราชทานสถาปนาจากพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในอภิลักขิตสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๑๕ ขณะที่เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวรทรงเป็น “พระสาสน โสภณ” เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร อายุ ๕๙ พรรษา ๓๙ โดยได้รับ พระราชทานสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ “สมเด็จพระญาณ สังวร” มีนามตามที่จารึกในสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระญาณสังวร บรมนริศธรรมนีติสาธก ตรีปิฎกปริยัตติธาดา สัปตวิสุทธิจริยาสมบัติ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
อุดมศีลาจารวัตรสุนทร ธรรมยุติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี” อันมีความหมายว่า ผู้ส�ำรวมในญาณ คือความรู้ แนะน�ำ แนวธรรมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรอบรู้ปริยัติคือ พระไตรปิฎก สมบูรณ์ด้วยความประพฤติตามวิสุทธิ ๗ ประการ งาม ด้วยศีลและมารยาทอันสูงส่ง เป็นใหญ่ในคณะธรรมยุติ สถิตในอาราม อันประเสริฐ ฝ่ายคามวาสีและฝ่ายอรัญวาสี เจ้าพระคุณสมเด็จพระ ญาณสังวร ทรงเป็นผู้ใฝ่ในการศึกษา ทรงมีพระอัธยาศัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มาตั้งแต่ทรงเป็นพระเปรียญ โดยเฉพาะในด้านภาษา ทรงศึกษาภาษา บาลี สันสกฤต และภาษาต่างๆ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน จีน จน สามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี พระองค์ทรงท�ำกรรมฐานตลอดมา 5
อย่างต่อเนื่อง แต่ขณะเดียวกัน ท่านก็มิได้ละ จากเส้นทางสายปริยัติ กระทั่งสอบได้ เปรียญ ธรรม ๙ ประโยค อันถือเป็นระดับชั้นสูงสุดใน ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ขณะมีอายุได้ ๒๙ ปี และมี พรรษาในภิกขุภาวะเพียง ๙ ปีเท่านั้น จึงทรง เป็นพระมหาเถระที่ทรงภูมิธรรมทั้งด้านปริยัติ และด้านปฏิบัติ เนื่องจากทรงรอบรู้ภาษาต่าง ประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี จึงทรงศึกษาหาความรู้สมัยใหม่ ทั้งทางคดีโลก และคดีธรรม ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการสั่งสอน และเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาเป็ น อย่ า งมาก เป็ น เหตุ ใ ห้ ท รงนิ พ นธ์ ห นั ง สื อ ทางพระพุ ท ธ ศาสนาได้อย่างสมสมัยเหมาะแก่บุคคลและ สถานการณ์ในยุค ในด้านการศึกษา ได้ทรง มี พ ระด� ำ ริ ท างการศึ ก ษาที่ ก ว้ า งไกล ทรงมี ส่วนร่วมในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพระพุทธ ศาสนาแห่งแรกของไทย คือ “มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย” และมหาจุฬาลงกรณ
6
ราชวิทยาลัยในวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ มา แต่ต้น โดยเมื่อครั้งยังเป็นที่ พระสาสนโสภณ เป็นประธานกรรมการอ�ำนวยการฝึกอบรม พระธรรมทูตไปต่างประเทศนั้น ท่านได้เสนอ มหาเถรสมาคมให้ รั บ รองมหาวิ ท ยาลั ย สงฆ์ ทั้งสองแห่งเป็นการศึกษาของคณะสงฆ์ โดย มหาเถรสมาคมได้พิจารณาและให้การรับรอง มหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่ง “เป็นการศึกษา ของคณะสงฆ์ ” เมื่ อ วั น ที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ และทางราชการได้ ป ระกาศ รับรองวิทยฐานะของผู้ส� ำเร็จการศึกษาจาก มหาวิ ท ยาลั ย สงฆ์ ทั้ ง สองแห่ ง เป็ น ครั้ ง แรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๗ นอกจากพระกรณียกิจตาม หน้าที่ต�ำแหน่งแล้ว เจ้าพระคุณสมเด็จพระ ญาณสังวร ยังได้ทรงปฏิบัติหน้าที่พิเศษ อัน มีความส�ำคัญยิ่งอีกหลายวาระ กล่าวคือ ทรง เป็นพระอภิบาลในพระภิกษุพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน เมื่อครั้งเสด็จ
ออกทรงพระผนวช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ พร้อมทั้ง ทรงถวายความรู้ในพระธรรมวินัยตลอดระยะ เวลาแห่งการทรงพระผนวช ทรงเป็นพระราช กรรมวาจาจารย์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อครั้งเสด็จออกทรงพระผนวชเป็นพระภิกษุ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณ สังวร ทรงด�ำรงต�ำแหน่งหน้าที่ส�ำคัญทางการ คณะสงฆ์ในด้านต่างๆ มาเป็นล�ำดับ เป็นเหตุให้ ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเป็นประโยชน์ต่อพระ ศาสนา ประเทศชาติ และประชาชนเป็นอเนก ประการ นับได้ว่าทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรง เพียบพร้อมด้วยอัตตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ และทรงเป็นครุฐานียบุคคลของชาติทั้งในด้าน พุทธจักรและอาณาจักร วัตรปฏิบัติประการ หนึ่งของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ที่ สมควรน�ำมาเผยแพร่เพื่อเป็นเครื่องเตือนสติ ให้พระภิกษุสามเณร ตลอดจนพุทธศาสนิกชน ในการด�ำรงตนอย่างเรียบง่าย นั่นคือ “ความ เป็นผู้สันโดษ” เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณ สังวร ทรงปฏิบัติพระองค์อย่างเรียบง่าย แม้ เสนาสนะที่ อ ยู ่ อ าศั ย ก็ ไ ม่ โ ปรดให้ ป ระดั บ ตกแต่ง ทรงเตือนภิกษุสามเณรอยู่เสมอว่า “พระเณรไม่ควรอยู่อย่างหรูหรา” พระภิกษุ ในวั ด บวรนิ เ วศวิ ห ารที่ ถ วายการปรนนิ บั ติ ดูแลเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร เล่า ว่า แม้จนเมื่อทรงด�ำรงต�ำแหน่งประมุขแห่ง ศาสนจักรแล้ว ทีบ่ รรทมในต�ำหนักทีป่ ระทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ก็ยังคงเป็นเพียงเก้าอี้สปริง ตัวเก่า ซึ่งสั้นเกินกว่าที่จะใช้นอนได้ จึงต้องใช้ ตั่งต่อทางปลายเพื่อวางพระบาท ถัดจากด้าน ปลายพระบาทไปก็เป็นโต๊ะเล็กๆ อีกตัว ตั้งพัด ลมเก่าๆ ซึ่ง “เปิดทีก็หมุนแก็กๆ ๆ” แม้แต่อาสนะผืนเก่าที่พระมารดา คือ “นาง น้อย” เคยเย็บถวายแต่เมื่อครั้งยังเป็นมหา
กองประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
เปรียญหนุ่มๆ พระองค์ก็ใช้เรื่อยมา จนเมื่อ ขาดเปื่อยไป ก็ยังน�ำไปรองไว้ใต้อาสนะผืนใหม่ และเมื่ อ ทรงได้ รั บ สถาปนาเป็ น สมเด็ จ พระ สั ง ฆราชแล้ ว อาสนะผื น เก่ า ที่ พ ระมารดา เย็บให้ก็ยังโปรดให้วางไว้ใต้อาสนะที่ประทับ เป็ น การแสดงกตั ญ ญุ ต าสนองคุณเช่นที่เคย ทรงถือปฏิบัติมา ได้ยินมาว่าครั้งหนึ่งเคยมีเด็ก จะหยิบไปทิ้งเพราะเห็นเป็นผ้าเก่าๆ ขาดๆ แต่ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร มีรับสั่งว่า “นั่นของโยมแม่ เอาไว้ที่เดิม” ส่วนวัตถุสิ่งของ ที่ มี ผู ้ ถ วายมาก็ มั ก ทรงแจกจ่ า ยต่ อ ไปตาม โอกาส ครั้งหนึ่งมีผู้ปวารณาจะถวายรถยนต์ ส�ำหรับทรงใช้สอยประจ�ำพระองค์เพื่อความ สะดวกในการทีจ่ ะเสด็จไปทรงปฏิบตั ภิ ารกิจใน ทีต่ า่ งๆ พระองค์กต็ อบเขาไปว่า “ไม่รจู้ ะเก็บไว้ ที่ไหน” จึงเป็นอันว่าไม่ทรงรับถวาย
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
พระวิริยะเพื่อพระศาสนา เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก เป็ น ผู้ตั้งใจเรียนรู้ในวิชาพระพุทธศาสนา ด้วย ทรงรู้จริงว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นครูผู้มีวิชา ที่ ยิ่ ง ใหญ่ เ พี ย งใด การปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ธรรม ของพระพุทธองค์จักได้รับประโยชน์จริงเพียง นั้น พระวิริยะของพระองค์เพื่อพระศาสนา จึงมีจุดเริ่มต้นที่พระองค์เองก่อนแล้วจึงทรง น�ำรอยทางพระพุทธองค์มาเป็นแนวทางแก่ พุทธบริษัทและพุทธศาสนิกชน ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ ให้ก้าวหน้าในเส้นทาง ธรรมอย่ า งถู ก ต้ อ งและมั่ น คงสื บ ไป...ด้ ว ย พระเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ และพระกตัญญู กตเวทิตาต่อองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เจ้า พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นพระ มหาเถระทีม่ วี สิ ยั ทัศน์ทางการศึกษา พร้อมทัง้ ทรงสนับสนุนการพัฒนาการศึกษาคณะสงฆ์ ทั้งทางปริยัติและทางปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากการศึ ก ษาของพระภิ ก ษุ ส ามเณร แล้ว เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ยัง มีส่วนในการสร้ า งสรรค์ วิ ช าการในสถาบั น การศึกษาของบ้านเมืองอีกด้วย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ขณะยังทรงด�ำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จ พระญาณสังวร พระองค์ได้รับอาราธนาเป็น อาจารย์พิเศษสอนการฝึกสมาธิตามแนวพุทธ ศาสนา ในภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแรกที่บรรจุวิชานี้เป็น วิ ช าบั ง คั บ ไว้ ใ นหลั ก สู ต รของมหาวิ ท ยาลั ย ทรงเป็ น อาจารย์ พ ระองค์ แ รก สอนนิ สิ ต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อเนื่องมาเป็น เวลาหลายปี นอกจากนั้นสถาบันอื่นๆ ตลอด จนข้าราชการและพนักงานในองค์กรต่างๆ
ยั ง ได้ ก ราบทู ล อาราธนาเจ้ า พระคุ ณ สมเด็ จ พระญาณสั ง วร ไปทรงสอนวิ ช าการฝึ ก ท� ำ สมาธิตามแนวพระพุทธศาสนา นับได้ว่า เจ้า พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ได้ทรงเป็นผู้ จุดประกายในการศึกษาปฏิบตั สิ มาธิกรรมฐาน ในหมู่พุทธศาสนิกชนทุกระดับอย่างกว้างขวาง เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงอุทิศ พระองค์ให้พระบวรพุทธศาสนาอย่างเต็มที่ ทั้งในด้านการปกครองฝ่ายสงฆ์ ที่พระองค์ ทรงมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบมากมายในต� ำ แหน่ ง ส�ำคัญๆ ดังที่ พระอนิล ธมฺมสากิโย, ดร. ผูช้ ว่ ย เลขานุ ก ารสมเด็ จ พระสั ง ฆราชกล่ า วไว้ ว ่ า “เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร เป็นผู้ อุทศิ ชีวติ ทัง้ หมดให้กบั พระศาสนา ทัง้ ความรู้ ความสามารถ ความสุขส่วนพระองค์ แม้ว่า บางครั้งทรงไม่ได้บรรทม พระองค์ไม่เคย แสดงพระอาการไม่พอพระทัย ทรงส�ำรวม พระองค์ตลอดเวลา ทรงมีการเตรียมงาน ก่อนทุกครั้ง บางทีแม้เวลาเสวยก็จะรับสั่ง เรือ่ งงาน” ในด้านการเผยแผ่ธรรมสูป่ ระชาชน นัน้ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร มีวธิ กี าร เผยแผ่ ธ รรมต่ อ พุ ท ธศาสนิ ก ชนหลายระดั บ จากง่ายไปหายาก ตื้นไปลึก แต่ทั้งหมดเป็น ไปเพื่อความเข้าใจความจริงแห่งชีวิตที่เป็น อริยสัจ ธรรมที่เป็นยอดมงกุฎแห่งพระพุทธ ศาสนา ธรรมที่น�ำไปสู่ทางแห่งการพ้นทุกข์ เมื่อครั้งที่ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร มีพระสุขภาพแข็งแรง พระกรณียกิจประจ�ำ ของพระองค์ คือการเทศน์ในพระอุโบสถ ทุก วันพระข้างขึน้ และข้างแรม ๑๕ คํา่ คือเดือนละ ๒ ครั้ง ซึ่งมีประชาชนไปฟังจนล้นพระอุโบสถ นอกจากนี้ ยั ง ทรงบรรยายธรรมในรายการ “การบริหารทางจิต” ทางสถานีวิทยุกระจาย เสียง อ.ส. พระราชวังดุสิตเป็นประจ�ำทุกเช้า วันอาทิตย์...ด้วยพระวิริยะจนเข้าถึงหัวใจแห่ง ค�ำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง เมื่อ ถ่ายทอดเป็นธรรมบรรยายสู่ประชาชน ด้วย จิตที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา จึงท�ำให้คนฟัง สามารถฟังธรรมได้อย่างรื่นรมย์ ได้ยินได้ฟัง ครั้งใดก็เกิดมีแรงยึดเหนี่ยวจิตใจจนเกิดความ ตัง้ มัน่ น�ำไปสูก่ ารยกระดับจิตของตนให้สงู ยิง่ ๆ ขึ้น ค�ำสอนจากเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณ สังวร หากใครได้ฟังแล้วน้อมใจน�ำข้อธรรมนั้น ไปคิดใคร่ครวญโดยพิจารณาให้แยบคาย ก็จะ เกิดปัญญาอันน�ำไปสูค่ วามเข้าใจในตนเองและ ผู้อื่น สามารถคลี่คลายปัญหาชีวิตของตนเอง ได้ เป็นการยกระดับจิตใจให้สูงยิ่งขึ้น จนเชื่อม โยงไปสู่การเข้าใจความหมายที่แท้ของชีวิต การฟังธรรมจึงเป็นเครื่องน�ำพาชีวิตให้เจริญ ก้ า วหน้ า ความคิ ด สติ ป ั ญ ญาเจริ ญ งอกงาม มี ชี วิ ต ที่ พั ฒ นาขึ้ น น� ำ พามาซึ่ ง ความสุ ข ความส� ำ เร็ จ อั น ลึ ก ซึ้ ง ที่ โ ลกทางวั ต ถุ ไ ม่ มี วั น จะให้ได้ 7
การเสด็จประพาสต้น นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
บางปะอินนี้จะเสด็จไปถึงไหน และจะเสด็จ ไปกี่วันฉันยังหาทราบไม่ เป็นแต่ทราบว่าการ เสด็จครั้งนี้ เจ้ากระทรวงท่านห้ามปรามไม่ให้ จัดการรับเสด็จตามทางราชการ จะให้เป็นการ เสด็จอย่างเงียบๆ แล้วแต่พอพระราชหฤทัย จะเสด็จที่ใดหรือประทับที่ใดได้ตามพระราช ประสงค์ อย่ า ให้ มี เ รื่ อ งขุ ่ น เคื อ งร� ำ คาญ พระราชหฤทัยได้เลยเป็นอันขาด” เหตุ ที่ จ ะเสด็ จ ประพาสต่ อ ไปใน พระนิพนธ์ในสมเด็จฯ กรมพระยาด� ำรง คราวนี้ ได้ทราบว่าเมือ่ ก่อนเสด็จขึน้ ราชานุ ภ าพชี วิ ต และผลงาน เรื่ อ ง เสด็ จ มาบางปะอิน พระเจ้าอยูห่ วั ไม่ใคร่จะทรงสบาย ประพาสต้น ร.ศ. ๑๒๓ หมายจะเสด็จขึ้นมาพักรักษาพระองค์ตามเคย การเสด็จประพาสตามหัวเมืองต่างๆ โดย ก็มีพระราชกังวลและพระราชกิจติดตามขึ้นมา มิ ไ ด้ แ จ้ ง หมายก� ำ หนดการในสมั ย รั ช กาล หาเวลาพั ก ไม่ ใ คร่ ไ ด้ จึ ง ไม่ ท รงสบายมากไป พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสวยไม่ ไ ด้ แ ละบรรทมไม่ ห ลั บ ทั้ ง สองอย่ า ง ที่ เ รี ย กว่ า เสด็ จ ประพาสต้ น ในช่ ว ง พ.ศ. หมอเห็นว่าจะต้องเสด็จประพาสเที่ยวไปให้ ๒๔๔๗ - ๒๔๕๐ ซึ่ ง ในการเสด็ จ ประพาส พ้นความร�ำคาญ อย่าให้ต้องทรงเป็นพระราช ตามหัวเมืองต่างๆ ในครั้งนั้น ท�ำให้ทรงทราบ ธุระในราชกิจอย่างใดๆ เสียสักคราวหนึง่ จึงจะ ถึงความเดือดร้อนของเหล่าพสกนิกร ในหัว รักษาพระองค์ให้ทรงสบายได้ดังเก่าโดยเร็ว เมืองต่างๆ การเสด็จประพาสต้นทั้ง ๒ ครั้ง เจ้านายผูใ้ หญ่ทมี่ าตามเสด็จ จึงพร้อมกันกราบ ของสมเด็ จ พระพุ ท ธเจ้ า หลวง รั ช กาลที่ ๕ บังคมทูล ขอให้ทรงระงับพระราชธุระ เสด็จ เมื่อรัตนโกสินทร์ศก ๑๒๓ หรือ พุทธศักราช ประพาสตามค� ำ แนะน� ำ ของหมอ ทรงด� ำ ริ ๒๔๔๗ และ รั ต นโกสิ น ทร์ ศ ก ๑๒๕ หรื อ เห็นชอบด้วย จึงจะเสด็จไปประพาสตามล�ำน�้ำ พุทธศักราช ๒๔๔๙ ถือเป็นเหตุการณ์ที่พลิก ด้ ว ยกระบวนเรื อ ปิ ค นิ ค พ่ ว งเรื อ ไฟ ไปจาก ประวัติศาสตร์ และน�ำไปสู่การพลิกแผ่นดิน
“
8
นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ปฏิรปู บ้านเมืองนับเป็นการวางรากฐานส�ำหรับ การพัฒนาประเทศ ที่ส่งผลมาจนถึงปัจจุบัน “ประพาสต้ น ”หมายถึ ง การเสด็ จ เยื อ น ราษฎรเป็ น การส่ ว นพระองค์ ใ นรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ทรงกระท�ำอย่างเงียบๆ ไม่กระโตกกระตาก ให้รู้ว่าพวกเขาก�ำลังเข้าเฝ้าเจ้าชีวิต เพื่อจะ ได้ทรงสนทนาปราศรัยท�ำความคุ้นเคย และ ล่วงรู้ทุกข์สุขของราษฎรได้โดยตรง ไม่ผ่าน ข้าราชการปกครอง บางครั้งเมื่อทรงทราบ ถึงความเดือดร้อนของชาวบ้านก็มีพระบรม ราชโองการให้เจ้าเมืองรับไปจัดการ หรือแม้แต่ ทรงเปลี่ยนตัวข้าราชการปกครองเสียเองก็มี ส่วน ชาวบ้านเหล่านั้นก็มิได้ทรงละเลยในภาย หลัง ทรงขนานนามพวกเขาว่า “เพื่อนต้น” และพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณอย่าง สม�่ำเสมอจนตลอดรัชกาล ค� ำ ว่ า “ประพาสต้ น ” นี้ ม าจากอะไรไม่ สามารถชี้ ชั ด ได้ สมเด็ จ กรมพระยาด� ำ รง ราชานุ ภ าพทรงเล่ า ถึ ง ที่ ม าว่ า “...ไปจนถึ ง วัดเพลงจึงซื้อเรือมาดประทุน ๔ แจวได้ล�ำ ๑ พระราชทานชื่อเรือว่า เรือต้น ได้ยินรับสั่ง ถามให้แปลกันว่า เรือต้น แปลว่าอะไร บาง ท่านแปลว่าเรือเครื่องต้น บางท่านแปลว่าเรือ ทรง อย่างในเห่เรือว่า ‘ทรงเรือต้นงามเฉิด ฉาย’ ดังนี้ แต่บางท่านที่แปลเอาตื้นๆว่าหลวง นายศักดิ์เป็นคนคุมเครื่องมหาดเล็กตามเสด็จ หลวงนายศั ก ดิ์ ชื่ อ อ้ น รั บ สั่ ง เรี ย กว่ า ตาอ้ น ตาอ้น เสมอ ค�ำว่า เรือต้น นี้ก็จะแปลว่าเรือตาอ้นนั้น เอง แปลชื่ อ เรื อ ต้ น เป็ น หลายอย่างดังนี้ อย่างไร จะถูกฉันก็ไม่ทราบแน่ แต่ วันนี้กว่าจะเสด็จกลับมา ถึงเมืองราชบุรีเกือบยาม ๑ ด้วยต้องทวนน�้ำเชี่ยว มาก เหนื่อยหอบมาตาม กัน เริ่มเรียกการประพาส วันนี้ว่าประพาสต้น เลย เป็ น มู ล เหตุ ที่ เ รี ย กการ ประพาสไปรเวตในวั น หลั ง ๆ ว่ า ประพาสต้ น ต่ อ มา” จดหมายเหตุ ของสมเด็ จ กรมพระยา ด�ำรงฯ เล่าเรื่องเหล่านี้ไว้ น่าสนุก ทรงเล่าถึงหลาย บ้ า นที่ เ สด็ จ ไปเยี่ ย มโดย เจ้าของบ้านก็ไม่รู้ว่าเป็น ใคร ประทับเสวยร่วมวง กั บ เจ้ า ของบ้ า นอย่ า ง กั น เอง เจ้ า นายที่ ต าม เสด็จอย่างกรมหมื่นสรรพ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
สาตรศุ ภ กิ จ เคยถู ก เมี ย เจ้ า ของบ้ า นเอ็ ด เพราะทรงใช้จวักตักแกงขึ้นมาชิมโดยไม่ทรง ทราบธรรมเนียมว่าเขาถือกัน สมเด็จเจ้าฟ้า อั ษ ฎางค์ เ ดชาวุ ธ กรมหลวงนครราชสี ม า เสด็จพลาดตกท้องร่องสวนวัดบางสามฟกช�้ำ ด�ำเขียว เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ถูกหมา เฝ้าสวนริมคลองสองพี่น้องกัดเอา ในระหว่าง เสด็จประพาส เจ้านายและขุนนางตามเสด็จ ก็ ช ่ ว ยกั น ท� ำ ครั ว เองไปตามมี ต ามเกิ ด หาก มื้อไหนไม่ได้แวะบ้านใคร สมเด็จกรมพระยา ด�ำรงราชานุภาพกับกรมพระสมมติอมรพันธุ์ ทรงท�ำหน้าที่คนล้างถ้วยชาม เช่นเดียวกันกับ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ (พระบาทสมเด็จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ) และกรมหลวง นครราชสีมา ทุกพระองค์ทรงใช้ชีวิตกันอย่าง สามัญชนทั่วไปเวลาเสด็จประพาสต้น เจ้ า ของบ้ า นที่ เ สด็ จ ไปเยื อ นนี้ บ างบ้ า น ก็ไม่รู้จักพระเจ้าแผ่นดิน บางบ้านก็จ�ำได้ อย่าง บ้านยายผึ้งที่หลักหกใกล้คลองด�ำเนินสะดวก ตัวยายผึ้งไม่รู้ว่าใคร เห็นเรือก็เข้าใจว่าเป็นเรือ ขุนนางจึงร้องเชิญให้แวะพัก แล้วเลยมีนำ�้ ใจหา ข้าวปลามาเลี้ยง แต่นายฮวดลูกชายวัยหนุ่ม ของยายผึ้งจ�ำได้จากพระบรมฉายาลักษณ์ที่ ตั้งไว้บูชาก็เลยลงกราบ เป็นอันว่าความแตก จึงพระราชทานเงินเป็นค่าตอบแทนให้หลาย เท่าของราคากับข้าว ส่วนนายฮวดภายหลัง เรียกกันว่า “นายฮวดมหาดเล็ก” ได้ชื่อว่า เป็นคนหนุ่มเฉลียวฉลาดได้เข้าเฝ้าในพระนคร อีกหลายครั้ง และได้เป็นผู้ใหญ่บ้านในละแวก นั้นต่อมา แต่ไม่ใช่ว่าทุกบ้านจ�ำพระเจ้าอยู่หัว ได้ อย่างบ้านของนายช้างและอ�ำแดงพลับ เป็นคหบดีมีหน้ามีตาอยู่ที่บางหลวง อ้ายเอียง เจ้ า ของบ้ า นต้ อ นรั บ แข็ ง ขั น แสดงอั ธ ยาศั ย ดี มานั่งเคียงพระเจ้าอยู่หัวด้วยเข้าใจว่าเป็น 9
เสด็จประพาสต้นทางน�ำ ้ เพื่อทราบความเดือดร้อน ของเหล่าพสกนิกร ด้วย ความเป็ น กั น เอง ไม่ ถื อ พระองค์ โดยมี ช าวบ้ า น เป็นเพื่อน
10
นาวาอากาศเอกหญิง กาญจนารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ข้าราชการคนหนึ่งจากเมืองหลวง จนเสด็จ กลับไปแล้วถึงมารู้ในภายหลัง รีบหอบลูกเมีย เครือญาติทงั้ หมดมาตามหาถึงในพระนคร เพือ่ ขอขมาเจ้านายทั้งหมดที่เคยล่วงเกินโดยไม่รู้ ความจริง หนึ่งร้อยกว่าปีให้หลัง บ้านของนาย ช้างและอ�ำแดงพลับก็ยังตั้งอยู่ที่เดิม ลูกหลาน ยังจดจ�ำเรื่องราวในอดีตได้จนทุกวันนี้ บรรดา “เพือ่ นต้น” ทีไ่ ด้เข้าเฝ้าพระเจ้าอยูห่ วั ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ ให้เข้าเฝ้าได้อกี หลาย ครั้ง ณ เรือนต้นใกล้พระที่นั่งวิมานเมฆ เป็น เรือนไทยบรรยากาศสบายๆ ไร้พิธีรีตอง แบบ เดียวกับชีวิตที่พวกเขาคุ้นเคย เมื่อเสด็จกลับ จากยุโรปใน ร.ศ. ๑๒๖ ก็ทรงมีไม้เท้าของนอก เป็นของฝากพระราชทานให้ทั่วทุกคน พวก “เพื่อนต้น” จึงมีไม้เท้าพระราชทานเป็นดัง เครื่องยศส�ำหรับถือเมื่อเข้าเฝ้าในกรุงเทพฯ และเฝ้าตามหัวเมืองเวลาเสด็จประพาสไม่ว่า ที่ ใ ดแม้ ก ระทั่ ง พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอม เกล้าฯ เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พวก เพื่อนต้นเข้ามาท�ำบุญให้ทานในงานพระบรม ศพ และเข้ า ถวายพระเพลิ ง เช่ น เดี ย วกั บ ข้าราชการอืน่ ๆ นอกจากนี้ พระราชทานเครือ่ ง
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
ประดับไม้เท้าสลักพระนาม จ.ป.ร. ให้ติดไว้ เป็นที่ระลึก ทั้งพระราชทานพระบรมราชา นุญาตให้เข้าเฝ้าได้ต่อไป เช่นเดียวกับเมื่อครั้ง แผ่นดินก่อนทุกประการ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้สร้างความเจริญ ก้าวหน้าให้กับชาติอย่างล้นเหลือ ด้วยพระ ปรีชาสามารถอันยากยิง่ ทีจ่ ะมีผใู้ ดเสมอเหมือน พระราชกรณียกิจของพระองค์นั้น เป็นความ ทรงจ� ำ ที่ ไ ม่ มี วั น จางไปจากความนึ ก คิ ด ของ ปวงชนชาวไทยตลอดมา ทรงสอดส่องดูแล ทุกข์สขุ ของไพร่ฟา้ ข้าแผ่นดินด้วยความรักและ ความห่วงใย ตลอดพระชนมายุของพระองค์ ซึ่งทรงครองราชมา ๔๒ ปี พระองค์ทรงสร้าง สิ่งที่เจริญก้าวหน้าแก่ชาติบ้านเมืองให้รุ่งเรือง อย่ า งมากจนเที ย บเท่ า อารยประเทศด้ ว ย พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์จึงทรงเป็น ที่รักของประชาชนจนได้รับพระสมัญญานาม ว่า“สมเด็จพระปิยมหาราช”
11
พลเอก ขวัญชาติ กล้าหาญ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
๑๐ สิงหาคม ๒๔๘๙ นายปุ๊ กล้าหาญ-นางยุ้ย กล้าหาญ นางพัชราภรณ์ กล้าหาญ นายดลเชษฐ์ กล้าหาญ นายแพทย์ วันเฉลิม กล้าหาญ ๒๑ ซอยรามอินทรา ๒๗ แยก ๖ ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ ๑๐๒๒๐
การศึกษา - โรงเรียนวัดบ้านกล้วย อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี - โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี - โรงเรียนเตรียมทหาร (ตท.๘) - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.๑๙) - โรงเรียนทหารปืนใหญ่ (ชั้นนายร้อย ป.,ชั้นนายพัน ป., นายทหารลาดตระเวนแผนที่, ผู้ตรวจการณ์ทางอากาศ) - โรงเรียนศูนย์สงครามพิเศษ (หลักสูตรโดดร่ม,หลักสูตรจู่โจม) - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (ชุดที่ ๖๐) - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.๔๒ และ วปรอ.๔๒๑๒ - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช (นบ.) ต�ำแหน่งส�ำคัญ - ผู้ตรวจการณ์หน้ากองร้อยทหารปืนใหญ่ กองพันทหารราบที่ ๔ กรมผสมที่ ๕ (ร้อย ป.ปัตตานี) - ผู้บังคับกองร้อยทหารปืนใหญ่ที่ ๑ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๕ - นายทหารยุทธการและการฝึก กรมทหารปืนใหญ่ที่ ๕ - เสนาธิการกรมทหารปืนใหญ่ที่ ๕ - ผู้บังคับกองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๕ - ผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ที่ ๕ - รองผู้บังคับการจังหวัดทหารบก สุราษฎร์ธานี - รองผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๔๑ - รองเสนาธิการกองทัพภาคที่ ๔ - เสนาธิการกองทัพภาคที่ ๔ - รองแม่ทัพภาคที่ ๔ - แม่ทัพภาคที่ ๔ - ที่ปรึกษาพิเศษ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม การปฏิบัติราชการสนาม - พ.ศ. ๒๕๑๖ หัวหน้าชุดปฏิบัติการพิเศษ ๗๕๑ ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษที่ ๕๑ - พ.ศ. ๒๕๑๘ รองผู้บังคับกองร้อยทหารปืนใหญ่ กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน เขต ๔/๑ - พ.ศ. ๒๕๒๖ เสนาธิการหน่วยปืนใหญ่สนาม กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ 12
- พ.ศ. ๒๕๒๗ รองผู้บังคับหน่วยปืนใหญ่สนาม หน่วยพลเรือนต�ำรวจทหารที่ ๔๓ - พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้บังคับหน่วยปืนใหญ่สนาม หน่วยพลเรือนต�ำรวจทหารที่ ๔๓ - พ.ศ. ๒๕๓๑ รองหัวหน้าศูนย์อาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ - พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อ�ำนวยการศูนย์อาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ - พ.ศ. ๒๕๓๙ เสนาธิการโครงการทักษิณพัฒนา (โครงการฮารับปันบารู หรือโครงการพัฒนา เพื่อความหวังใหม่) - พ.ศ. ๒๕๔๒ รองผู้อ�ำนวยการโครงการทักษิณพัฒนา - พ.ศ. ๒๕๔๓ เสนาธิการกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคง ภายในภาค ๔ - พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้อ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ / ผู้อ�ำนวยการโครงการทักษิณพัฒนา / ผู้อ�ำนวยการเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต�ำแหน่งทางการเมือง - ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม - เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ต�ำแหน่งพิเศษที่ส�ำคัญ - นายทหารราชองครักษ์ ตั้งแต่ ๒๐ ต.ค. ๒๕๓๗ - นายทหารพิเศษประจ�ำกรมนักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ตั้งแต่ ๑๑ ส.ค. ๒๕๔๕ - นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารปืนใหญ่ที่ ๑ รักษาพระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๗ - ราชองครักษ์พิเศษ ตั้งแต่ ๑ ต.ค. ๒๕๔๙ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก คติพจน์ “ท�ำดีกว่าพูด และท�ำให้ดีที่สุด”
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
13
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
๑๔ ตุลาคม ๒๔๙๘ พันเอก สนอง - นางไพเราะ ทองเล็ก ทันตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก พันตรี นีติพัทธ์ ทองเล็ก, ร้อยตรี นายแพทย์ กิตติพัฒน์ ทองเล็ก ๓๒ ประดิพัทธ์ซอย ๒ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ
การศึกษา - โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ - หลักสูตรชั้นนายร้อย, ชั้นนายพัน ศูนย์การทหารราบ - หลักสูตรชั้นนายร้อย ประเทศออสเตรเลีย, ชั้นนายพัน ประเทศนิวซีแลนด์ - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๖๕, โรงเรียนเสนาธิการทหารบกสหรัฐฯ - ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร มหาวิทยาลัยเวบสเตอร์มิสซูรี สหรัฐฯ - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๒๐ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๔๕ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผน กรมยุทธการทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๕ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวางแผนการฝึกร่วม และผสม กรมยุทธการทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๗ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๔๙ เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๔ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๕๕ รองปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๕๖ ปลัดกระทรวงกลาโหม ราชการพิเศษ - ราชองครักษ์เวร, ราชองครักษ์พิเศษ - นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์, กรมทหารราบที่ ๑ รักษาพระองค์, กรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ - ผู้แทนกองทัพไทยปฏิบัติภารกิจในอัฟกานิสถาน - ผู้แทนกองทัพไทยเจรจากับสหรัฐกรณีส่งกองก�ำลังไทยไปอิรัก - รองหัวหน้าภารกิจปฏิบัติภารกิจในอาเจห์ อินโดนีเซีย - หัวหน้าภารกิจส่งม้งลาว ๗,๘๐๐ คน จาก จังหวัดเพชรบูรณ์กลับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - ทูตพิเศษ (Special Envoy) เจรจาให้เมียนมาร์รับความช่วยเหลือ จากสหรัฐฯ กรณีพายุไซโคลนนาร์กิส - ได้รับรางวัลเกียรติยศจักรดาว เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐ 14
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ไทย - มหาวชิรมงกุฎ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก ต่างประเทศ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Legion of merit จากกองทัพสหรัฐอเมริกา กรณีอัฟกานิสถานและอิรัก - เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง Bintang Jasa Utama จากประธานาธิบดีอินโดนีเซีย ภารกิจควบคุมการหยุดยิงในอาเจห์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงจากพระราชาธิบดีมาเลเซีย กรณีการพัฒนาชายแดน - เหรียญชัยมิตรภาพจากประธานประเทศลาว กรณีส่งชาวม้งลาวกลับประเทศ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
15
พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม รองปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
16
๒๙ กันยายน ๒๔๙๗ พลเรือโท ชอบ - นาวาเอกหญิง ผ่องใส สิโรดม หม่อมหลวง อารยา สิโรดม นางสาวสุวัลยา สิโรดม, เรือโท นายแพทย์ พลภัทร สิโรดม, เรือตรี พลรัตน์ สิโรดม ๕๐/๑๕๐ ม.๑๔ หมู่บ้านกฤษดานคร ๒๑ ต�ำบลบางแก้ว อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๕๔๐
การศึกษา - พ.ศ. ๒๕๑๓ - พ.ศ. ๒๕๑๕ - พ.ศ. ๒๕๒๐ - พ.ศ. ๒๕๓๑ - พ.ศ. ๒๕๔๔ - พ.ศ. ๒๕๔๗ - พ.ศ. ๒๕๔๙ - พ.ศ. ๒๕๕๑
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมทหาร (รุ่นที่ ๑๓) โรงเรียนนายเรือ (รุ่นที่ ๗๐) โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ (รุ่นที่ ๔๗) วิทยาลัยการทัพเรือ (รุ่นที่ ๓๓) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. ๒๕๔๗) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (รัฐประสานศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บริหารรัฐกิจ) สถาบันพระปกเกล้า (ปปร. ๑๒)
ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๒๕ - พ.ศ. ๒๕๒๗ - พ.ศ. ๒๕๓๒ - พ.ศ. ๒๕๓๗ - พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ.ศ. ๒๕๔๔ - พ.ศ. ๒๕๔๕ - พ.ศ. ๒๕๔๘ - พ.ศ. ๒๕๕๐ - พ.ศ. ๒๕๕๒ - พ.ศ. ๒๕๕๒ - พ.ศ. ๒๕๕๓ - พ.ศ. ๒๕๕๔ - พ.ศ. ๒๕๕๕
ผู้ควบคุมเรือ ต.๒๑๒ ผู้บังคับการเรือหลวงสัตหีบ ผู้บังคับการเรือหลวงตาปี ผู้อ�ำนวยการ กองก�ำลังพล ฐานทัพเรือสัตหีบ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารเรือประจ�ำ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน รองเจ้ากรมข่าวทหารเรือ ผู้ช่วยเจ้ากรมข่าวทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด เจ้ากรมข่าวทหารเรือ ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง ผู้บัญชาการวิทยาลัยการทัพเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารเรือฝ่ายการข่าว รองเสนาธิการทหารเรือ ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ
ราชการพิเศษ - พ.ศ. ๒๕๒๑ - พ.ศ. ๒๕๒๒ - พ.ศ. ๒๕๒๕ - พ.ศ. ๒๕๒๘ - พ.ศ. ๒๕๓๒ - พ.ศ. ๒๕๓๓ - พ.ศ. ๒๕๓๔ - พ.ศ. ๒๕๓๘ - พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ.ศ. ๒๕๕๐ - พ.ศ. ๒๕๕๔ - พ.ศ. ๒๕๕๕ - พ.ศ. ๒๕๕๕
หมู่เรือลาดตระเวนชายแดน หมู่เรือรักษาฝั่งภาคใต้ ก�ำลังพลรับเรือหลวงภูเก็ต (ต�ำแหน่งต้นปืน) จากประเทศอิตาลีเดินทางกลับประเทศไทย ผู้บังคับการเรือหลวงสัตหีบ หมู่เรือรักษาการณ์วังไกลกังวล ราชองครักษ์เวร ผู้บังคับการเรือหลวงสุโขทัย ฝึกผสม HARPOONEX กับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ณ ประเทศฟิลิปปินส์ ผู้บังคับหมู่เรือฝึกผสม SEASIAM กับกองทัพเรือสิงคโปร์ ตุลาการศาลมณฑลทหารบกที่ ๑๔ นายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมนักเรียนนายเรือ รักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ราชองครักษ์พิเศษ นายทหารพิเศษ ประจ�ำกองบังคับการ กรมทหารราบที่ ๓ รักษาพระองค์ กองพลนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน นายกสมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
17
พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด สถานที่เกิด บิดา-มารดา สถานภาพครอบครัว ที่อยู่
๑๓ ธันวาคม ๒๔๙๗ ต�ำบลแม่น�้ำ อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายเท้ง – นางลิ่ว โชคคณาพิทักษ์ ภรรยา นางอนรรฆมณี โชคคณาพิทักษ์ บุตรี นางสาวร่มมน โชคคณาพิทักษ์ บุตรี นางสาวมณฑิสา โชคคณาพิทักษ์ ๖๓๐/๑ ถนนชลนิเวศน์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
การศึกษา - จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี - พ.ศ. ๒๕๑๖ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ - พ.ศ. ๒๕๒๐ โรงเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ ๒๑ - พ.ศ. ๒๕๕๑ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๐ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๓๖ เสนาธิการกองบิน ๔๖ กองพลบินที่ ๓ (จังหวัดพิษณุโลก) - พ.ศ. ๒๕๓๗ เสนาธิการกองบิน ๑ กองพลบินที่ ๒ (จังหวัดนครราชสีมา) - พ.ศ. ๒๕๓๘ รองผู้บังคับการกองบิน ๑ กองพลบินที่ ๒ (จังหวัดนครราชสีมา) - พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้อ�ำนวยการกองป้องกันทางอากาศ กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ - พ.ศ. ๒๕๔๑ ผู้บังคับการกองบิน ๔ กองพลบินที่ ๓ (อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์) - พ.ศ. ๒๕๔๔ ผู้อ�ำนวยการกองนโยบายและแผน กรมยุทธการทหารอากาศ - พ.ศ. ๒๕๔๕ นายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจ�ำกรมยุทธการทหารอากาศ - พ.ศ. ๒๕๔๖ รองเจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ - พ.ศ. ๒๕๔๙ เสนาธิการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ - พ.ศ. ๒๕๕๐ รองเจ้ากรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ กองบัญชาการยุทธการทางอากาศ (๒) - พ.ศ. ๒๕๕๑ เจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ - พ.ศ. ๒๕๕๒ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารอากาศฝ่ายยุทธการ - พ.ศ. ๒๕๕๓ รองเสนาธิการทหารอากาศ - พ.ศ. ๒๕๕๔ ผู้บัญชาการกรมควบคุมปฏิบัติทางอากาศ - พ.ศ. ๒๕๕๕ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ
18
ราชการพิเศษ - ผู้อ�ำนวยการการฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ - ผู้อ�ำนวยการการฝึกผสมโคปไทเกอร์ ปี ๒๐๐๐, ๒๐๐๔ และ ๒๐๐๖ - ผู้บัญชาการกองก�ำลังทางอากาศการฝึกผสม Pitch Black 2006 - ราชองครักษ์เวร - หัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการ ฝ่ายยุทธการ ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพอากาศ - รองหัวหน้าฝ่ายยุทธการ ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพอากาศ - ผู้อ�ำนวยการศูนย์ยุทธการทางอากาศ ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพอากาศ - ราชองครักษ์พิเศษ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
19
พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
20
๗ กันยายน ๒๔๙๗ พันตรี สุนทร - นางผ่องจิต กาญจนรัตน์ นางแสงอรุณ กาญจนรัตน์ นายเสมา กาญจนรัตน์ และ นางสาวสาลิน กาญจนรัตน์ ๒๕/๒๖ หมู่บ้านบุษบา ซอย ๖ ถนนบางระมาด แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ
การศึกษา - นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๒ - นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๓ - หลักสูตรส่งทางอากาศ, จู่โจม และสงครามนอกแบบ จากศูนย์สงครามพิเศษ - หลักสูตรการรบร่วม, หลักสูตรผู้ควบคุมอากาศยานหน้า จากกองทัพอากาศ - หลักสูตรชั้นนายร้อย, ชั้นนายพัน จากศูนย์การทหารราบ - หลักสูตรครูท�ำการรบ จากออสเตรเลีย - หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๖๓ - หลักสูตรวิทยาลัยเสนาธิการทหารรุ่นที่ ๓๕ (สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ) - หลักสูตรการเมืองการปกครองส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ ๔ (สถาบันพระปกเกล้า) - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๒๐ (วปอ.รุ่นที่ ๕๐)
ราชการพิเศษ - ราชองครักษ์เวร, ราชองครักษ์พิเศษ - การปราบปรามขบวนการโจรก่อการร้ายในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๐) - การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในพื้นที่เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์, พื้นที่ภาคใต้ตอนบนและ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๒๕) - ปฏิบัติงานพิเศษในพื้นที่ชายแดนตะวันออกเฉียงเหนือ - ผู้อ�ำนวยการส่วนกิจการพลเรือน กองอ�ำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้ - ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกิจการมวลชนและสารนิเทศ กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร - หัวหน้าคณะผู้แทน ทหารบกไทยในการประชุมและข้อตกลง Executive Steering Group กองก�ำลังทหารบก ภาคพื้นแปซิฟิก (USARPAC) ณ มลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา
การรับราชการที่ส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๒๘ ฝ่ายเสนาธิการประจ�ำ กรมยุทธการทหารบก - พ.ศ. ๒๕๓๐ ผู้บังคับกองพันนักเรียนการจู่โจม และส่งทางอากาศ ศูนย์การทหารราบ - พ.ศ. ๒๕๓๔ อาจารย์หัวหน้าวิชาการปฏิบัติการจิตวิทยา โรงเรียนกิจการพลเรือน กรมกิจการพลเรือนทหารบก - พ.ศ. ๒๕๓๘ ผู้อ�ำนวยการกองปฏิบัติการจิตวิทยา กรมกิจการพลเรือนทหารบก - พ.ศ. ๒๕๕๐ เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารบก - พ.ศ. ๒๕๕๒ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก ฝ่ายกิจการพลเรือน - พ.ศ. ๒๕๕๔ รองเสนาธิการทหารบก - พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพบก
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
21
พลเอก สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
๒๓ เมษายน ๒๔๙๗ ร้อยเอก โอตป์ - นางทองอยู่ วิทยาเอนกนันท์ นางเดือนเพ็ญ วิทยาเอนกนันท์ นางสาวหลุยส์ วิทยาเอนกนันท์ ๖๒๓ ถนนประสานไมตรี ต�ำบลสบตุ๋ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง
การศึกษา - นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ - นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๕ - วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๔ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๓๘ ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ ๔ กรมทหารราบที่ ๑๗ - พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๑ เสนาธิการกรมทหารราบที่ ๑๗ - พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๗ รองผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๗ - พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๔๙ ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๗ - พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๑ รองผู้บังคับการจังหวัดทหารบกพะเยา - พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓ ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๔ - พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ รองแม่ทัพภาคที่ ๓ - พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก - พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ราชการพิเศษ - ราชองครักษ์เวร, ราชองครักษ์พิเศษ - นายทหารพิเศษประจ�ำกรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า - นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ - รองผู้บังคับการกองก�ำลังเฉพาะกิจ ร่วม ๙๗๒ ไทย/ติมอร์ตะวันออก - ผู้บัญชาการกองก�ำลังนเรศวร
22
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - ประถมาภรณ์ช้างเผือก - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย - เหรียญพิทักษ์เสรีชน - เหรียญราชการชายแดน
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
23
พลเอก ชัชวาลย์ ข�ำเกษม เจ้ากรมเสมียนตรา
วัน/เดือน/ปีเกิด ภรรยา ที่อยู่
๒๒ มิถุนายน ๒๔๙๘ ทันตแพทย์หญิง ทิพย์วัลย์ ข�ำเกษม ๑๐๔/๖๙ หมู่ที่ ๖ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๒๐ การศึกษา - โรงเรียนปานะพันธ์วิทยา - โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ - หลักสูตรชั้นนายร้อย รุ่นที่ ๕๕ - หลักสูตรชั้นนายพัน รุ่นที่ ๔๑ - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๓ - นายทหารปลัดบัญชีระดับบริหาร รุ่นที่ ๑ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๒๑ ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๔ - พ.ศ. ๒๕๒๔ นายทหารปฏิบัติการ กิจการพลเรือน กองทัพภาคที่ ๓ - พ.ศ. ๒๕๓๓ อาจารย์หัวหน้าวิชา โรงเรียนทหารสารบรรณ กรมสารบรรณทหารบก - พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อ�ำนวยการกองควบคุมคุณวุฒิ กรมสารบรรณทหารบก - พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้อ�ำนวยการกองสวัสดิการ ส�ำนักงานสนับสนุน กรมเสมียนตรา - พ.ศ. ๒๕๔๕ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานก�ำลังพล กรมเสมียนตรา - พ.ศ. ๒๕๔๘ ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา - พ.ศ. ๒๕๔๙ รองเจ้ากรมเสมียนตรา พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ปรึกษาพิเศษส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๕๖ เจ้ากรมเสมียนตรา ราชการพิเศษ - นายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมนักเรียนนายร้อย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า - นายทหารพิเศษ ประจ�ำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ - ราชองครักษ์เวร - ตุลาการ (ศาลทหารกรุงเทพ ศาลทหารกลาง) - ราชองครักษ์พิเศษ - นายทหารพิเศษประจ�ำ กรมทหารราบที่ ๑ รักษาพระองค์ ราชการสนาม - พ.ศ. ๒๕๒๑ - ๒๕๒๘ กรณีปฏิบัติราชการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ประวัติเหรียญภายในประเทศ - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น ๑ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
24
พลเอก จิระ โกมุทพงศ์ เจ้ากรมพระธรรมนูญ วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
๒๗ ธันวาคม ๒๔๙๖ นายจันทร์ โกมุทพงศ์ – นางลมุล โกมุทพงศ์ นางอัญชลี โกมุทพงศ์ นางสาวลภัสรดา โกมุทพงศ์ ๔๒๘/๑ ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐
การศึกษา - พ.ศ. ๒๕๑๖ ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - พ.ศ. ๒๕๒๗ ประกาศนียบัตรเนติบัณฑิตไทย จาก ส�ำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - พ.ศ. ๒๕๓๒ ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต CALIFORNIA WESTERN SCHOOL OF LAW - พ.ศ. ๒๕๓๘ โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ - พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตร ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - พ.ศ. ๒๕๕๒ หลักสูตร ประกาศนียบัตรแนวคิดพื้นฐาน การจัดการความขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะ สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ ๖ - พ.ศ. ๒๕๕๓ หลักสูตร นักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตระดับสูง ส�ำนักงาน ป.ป.ช. รุ่นที่ ๑ - พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสูตร ผูบ้ ริหารกระบวนการยุตธิ รรมระดับสูง ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม รุน่ ที่ ๑๖ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๒๑ ประจ�ำกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร - พ.ศ. ๒๕๒๕ รักษาราชการ ประจ�ำกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร - พ.ศ. ๒๕๓๓ ประจ�ำกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร - พ.ศ. ๒๕๓๔ นายทหารพระธรรมนูญ แผนกนิติธรรม กองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร - พ.ศ. ๒๕๓๘ นายทหารพระธรรมนูญ หัวหน้าแผนกนิตธิ รรม กองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร - พ.ศ. ๒๕๓๙ หัวหน้าแผนกความต้องการ กองส่งก�ำลัง กรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร - พ.ศ. ๒๕๓๙ ฝ่ายเสนาธิการประจ�ำกรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๐ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักบริหารสิ่งอุปกรณ์ กรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๒ ฝ่ายเสนาธิการประจ�ำกรมก�ำลังพลทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๕ ผู้อ�ำนวยการกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๘ ผู้อ�ำนวยการกองกลาง กรมพระธรรมนูญ - พ.ศ. ๒๕๕๐ ตุลาการพระธรรมนูญประจ�ำส�ำนักตุลาการทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๒ ตุลาการพระธรรมนูญ หัวหน้าศาลทหารกรุงเทพ - พ.ศ. ๒๕๕๓ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ - พ.ศ. ๒๕๕๔ หัวหน้าส�ำนักตุลาการทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๕ รองเจ้ากรมพระธรรมนูญ ราชการพิเศษ - ราชองครักษ์เวร - นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารขนส่งรักษาพระองค์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย - ประถมาภรณ์ช้างเผือก - มหาวชิรมงกุฎ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
25
พลเอก อภิชาต แสงรุ่งเรือง ผู้อ�ำนวยการศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร/ธิดา ที่อยู่
๓๐ กรกฎาคม ๒๔๙๗ พันตรี ทองใบ แสงรุ่งเรือง - นางศรีอรุณ แสงรุ่งเรือง พลโทหญิง ประคิณันต์ แสงรุ่งเรือง นางอภิชณันต์ ลิมธงชัย, นางสาวอภิชนุช แสงรุ่งเรือง ๓/๔๐ เมืองทอง ๑ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพ ฯ ๑๐๒๑๐ การศึกษา - พ.ศ. ๒๕๑๓ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย - พ.ศ. ๒๕๑๕ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๓ - พ.ศ. ๒๕๒๐ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๔ - พ.ศ. ๒๕๒๘ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทวิศวกรรมส�ำรวจ - พ.ศ. ๒๕๓๒ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๖๗ - พ.ศ. ๒๕๔๑ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร หลักสูตรเสนาธิการ รุ่นที่ ๓๙ - พ.ศ. ๒๕๔๙ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๔๙ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๔๗ เสนาธิการกรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๘ หัวหน้าส�ำนักงานคณะกรรมการอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ กรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร - พ.ศ. ๒๕๔๙ เสนาธิการศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และพลังงานทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๒ รองเจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและ พลังงานทหารฝ่ายบริหาร - พ.ศ. ๒๕๕๒ หัวหน้านายทหารประสานงานการพัฒนาระบบราชการ ส่วนประสานงานการพัฒนาระบบราชการกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๕๓ เจ้ากรมการเงินกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๕๔ เจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๕ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณกลาโหม ราชการพิเศษ - พ.ศ. ๒๕๒๖ ปฏิบัติหน้าที่ประจ�ำกองจัดท�ำหลักเขตแดน ไทย - มาเลย์ - พ.ศ. ๒๕๒๗ ปฏิบัติงานส�ำรวจและจัดท�ำหลักเขตแดน ไทย - มาเลย์ - พ.ศ. ๒๕๔๘ ปัจจุบัน นายทหารพิเศษประจ�ำกรม นักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
26
พลเอก สิรวุฒิ สุคันธนาค ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณกลาโหม วัน/เดือน/ปีเกิด บิดา-มารดา ภรรยา บุตร ที่อยู่
๒๔ พฤษภาคม ๒๔๙๗ พลตรี อุไร สุคันธนาค – นางอนงค์ สุคันธนาค พลตรีหญิง เยาวลักษณ์ สุคันธนาค ร้อยเอก รณกฤต สุคันธนาค ๕๕/๔๙ หมู่ที่ ๑ หมู่บ้านฟอเรซท์ วิลล์ ซอยร่วมสุข ๕/๓ ถนนติวานนท์ ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๐๐๐
การศึกษา - พ.ศ. ๒๕๑๔ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยครีนครินทรวิโรฒปทุมวัน - พ.ศ. ๒๕๑๖ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๔ - พ.ศ. ๒๕๒๐ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ - พ.ศ. ๒๕๓๐ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๖๕ - พ.ศ. ๒๕๓๖ หลักสูตรการจัดการส่งก�ำลังบ�ำรุง รุ่นที่ ๓๖ - พ.ศ. ๒๕๔๐ หลักสูตรจิตวิทยาฝ่ายอ�ำนวยการ รุ่นที่ ๗๙ ต�ำแหน่งส�ำคัญ - พ.ศ. ๒๕๔๘ เสนาธิการกรมการอุตสาหกรรมทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๑ รองเจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร - พ.ศ. ๒๕๕๓ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๕๕ เจ้ากรมการสรรพก�ำลังกลาโหม - พ.ศ. ๒๕๕๖ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณกลาโหม ราชการพิเศษ - พ.ศ. ๒๕๒๔ ปฏิบัติหน้าที่ตามแผนป้องกันประเทศ ของกองทัพบก - พ.ศ. ๒๕๒๙ ปฏิบัติหน้าที่ตามแผนงานการต่อสู้ เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ ของกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค ๑ - พ.ศ. ๒๕๓๒ ปฏิบัติหน้าที่ตามแผนงานการต่อสู้ เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ ของกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน - พ.ศ. ๒๕๓๔ ปฏิบัติราชการพิเศษ โครงการ ๕๐๖ (ฉก.๘๐) ส่วนโครงการ ๓๑๕ ของกองทัพบก เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - ประถมาภรณ์ช้างเผือก - มหาวชิรมงกุฎ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
27
นโยบายปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ๒. นโยบายเฉพาะ
๒.๑ การพิทักษ์รักษาและเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ ๒.๑.๑ ให้ ค วามส� ำ คั ญ เร่ ง ด่ ว นกั บ การ พัฒนาและขยายขอบข่ายการด�ำเนินกิจกรรม พิ ทั ก ษ์ รั ก ษาและเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหา กษัตริย์ โดยประสานความร่วมมือระหว่าง หน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม เหล่าทัพ และ ส่วนราชการนอกกระทรวงกลาโหม เพือ่ ให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ในการด� ำเนินงานภาพรวมระดับ กระทรวงกลาโหมและระดับประเทศ ๒.๑.๒ ให้ ห น่ ว ยขึ้ น ตรงส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม พั ฒ นาและริ เ ริ่ ม การจั ด กิจกรรมการพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ รวมทั้งสนับสนุนการด�ำเนิน งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริใน ทุกโอกาสที่เหมาะสม
๒.๒ การพัฒนาศักยภาพการ ป้องกันประเทศ
๑. นโยบายทั่วไป ๑.๑ ยึ ด มั่ น และพิ ทั ก ษ์ รั ก ษาสถาบั น ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รง เป็นประมุข ให้คงอยู่คู่กับชาติไทยตลอดไป ๑.๒ ยึดถือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นโยบาย ของคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม รวมทั้งนโยบายและสั่งการ ของอดี ต ปลั ด กระทรวงกลาโหม โดยให้ ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการตามวิสัยทัศน์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๑.๓ ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมสถาบัน ทหารให้ มี ค วามพร้ อ มในฐานะสถาบั น หลั ก 28
ของชาติอย่างแท้จริง โดยการริเริ่ม ผลักดัน แผนงาน งาน โครงการ ที่จะเกิดประโยชน์ต่อ ราชการอย่างสูงสุด ๑.๔ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การสนั บ สนุ น และอ�ำนวยความสะดวกให้แก่หน่วยขึ้นตรง กระทรวงกลาโหม และเหล่ า ทั พ ในการ ปฏิบัติราชการและการด�ำเนินการในสายงาน ที่รับผิดชอบ ภายใต้ศักยภาพที่ส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหมมีอยู่ รวมทั้งพัฒนาระบบ การบริ ห ารจั ด การที่ ส นั บ สนุ น เป็ น ส่ ว นรวม แก่กระทรวงกลาโหม หน่วยขึ้นตรงกระทรวง กลาโหม และเหล่าทัพ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๑.๕ การปฏิบัติราชการให้ยึดถือสายการ บังคับบัญชาเป็นหลัก
๒.๒.๑ ปรั บ ปรุ ง แผนพั ฒ นาขี ด ความ สามารถกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ (Modernization Plan : Vision 2020) ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยค�ำนึงถึง ความต้องการด้านยุทธการและความเป็นไปได้ ด้านงบประมาณเป็นปัจจัยส�ำคัญ และจัดให้มี การติดตามก�ำกับดูแลการด�ำเนินการตามแผน อย่างต่อเนื่อง ๒.๒.๒ พั ฒ นากิ จ การด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และกิจการอวกาศ เพื่ อ ความมั่ น คง โดยเน้ น การพั ฒ นาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารราชการ ทัว่ ไปของกระทรวงกลาโหมและส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ให้สามารถตอบสนองการ จัดการฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวม ทั้งพิจารณาเกี่ยวกับการบริหารคลื่นความถี่ให้ สามารถรองรับการปฏิบัติงานของกระทรวง กลาโหมได้ในทุกภารกิจ ๒.๒.๓ พั ฒ นางานด้ า นการวิ จั ย พั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ของกระทรวงกลาโหมให้มที ศิ ทางทีช่ ดั เจน โดย เน้นการบูรณาการกับทุกภาคส่วน เพื่อให้เกิด ผลงานที่ตอบสนองต่อภัยคุกคาม และความ ต้องการของกองทัพ อย่างเป็นรูปธรรมและน�ำ ไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน
๒.๒.๔ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม ป้องกันประเทศให้มีมาตรฐานและตรงความ ต้องการของหน่วยใช้เพื่อการพึ่งพาตนเอง โดย การปรับปรุงโครงสร้าง การบริหารจัดการ และ โรงงานผลิตให้มีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับ และทัดเทียมกับนานาประเทศ สร้างกลไกการ ตลาดให้สามารถรองรับการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศทั้งในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาและ ส่งเสริมกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ โดยการบูรณาการขีดความสามารถของภาค รัฐและเอกชน พัฒนาและผลักดันกฎหมายที่ สนับสนุนกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ รวมทั้ ง แสวงหาความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นา อุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกลุ่มประเทศ อาเซี ย น เพื่ อ สร้ า งหลั ก ประกั น ความมั่ น คง ร่วมกัน ๒.๒.๕ พัฒนากิจการพลังงานทหารไปสู่ การสะสมแหล่งพลังงานส�ำรองเพื่อสนับสนุน เหล่าทัพในยามวิกฤตและยามสงคราม พัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์น�้ำมันให้ได้มาตรฐานและ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
เพิ่ ม มู ล ค่ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ มั น ที่ มี อ ยู ่ โดย การบู ร ณาการขี ด ความสามารถของภาครั ฐ และเอกชน รวมทั้งเป็นหน่วยงานหลักในการ ด�ำเนินการด้านพลังงานทดแทนและด้านสาย วิทยาการพลังงานทหารของกระทรวงกลาโหม ๒.๒.๖ พั ฒ น า ง า น ส ร ร พ ก� ำ ลั ง ข อ ง กระทรวงกลาโหมไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ที่ เ กิ ด ผล สัมฤทธิ์อย่างแท้จริง เพื่อให้สามารถรองรับ ภารกิ จ หลั ก ด้ า นการป้ อ งกั น ประเทศของ กระทรวงกลาโหม และสนับสนุนภารกิจอื่นๆ ตามนโยบายหรือสั่งการของรัฐบาลได้อย่างมี ประสิทธิภาพตั้งแต่ภาวะปกติ ๒.๒.๗ พั ฒ นากิ จ การก� ำ ลั ง ส� ำ รอง โดย จัดเตรียมก�ำลังส�ำรองให้มีความพร้อม และ สามารถน� ำ มาใช้ เ พื่ อ สนั บ สนุ น ภารกิ จ ตาม อ�ำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหม ทั้งการ ป้องกันประเทศและการช่วยเหลือประชาชน ได้อย่างเป็นรูปธรรมตั้งแต่ยามปกติ
๒.๓ การสนับสนุนการแก้ไข ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ๒.๓.๑ สนั บ สนุ น รั ฐ บาลในการเร่ ง น� ำ สั น ติ สุ ข และความปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยน้อมน�ำกระแสพระราช ด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบตั ใิ นแนวทางสันติ วิธี รวมทั้งสนับสนุนการด�ำเนินการตามผลการ พูดคุยเพื่อสันติภาพ ๒.๓.๒ ให้ความส�ำคัญกับการบูรณาการ การด�ำเนินงานของหน่วยต่างๆ ในกระทรวง กลาโหมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้ทรัพยากรของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมสนับสนุนการ ด�ำเนินการอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ
๒.๔ การสร้างความร่วมมือด้าน ความมั่นคงกับต่างประเทศ ๒.๔.๑ สนับสนุนการรวมตัวเป็นประชาคม อาเซียนในปี ๒๕๕๘ โดยให้ความส�ำคัญกับ บทบาทของกระทรวงกลาโหมในประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน เพื่อส่งเสริม ความร่ ว มมื อ ด้ า นการเมื อ งและความมั่ น คง เสริมสร้างและธ�ำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความ มั่นคงของภูมิภาค การสร้างสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสมทั้งในเรื่องการแก้ไขปัญหาความ ขั ด แย้ ง และพั ฒ นาพื้ น ที่ ต ามแนวชายแดน การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ การพัฒนาความ ร่ ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นและประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย น รวมทั้ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 29
๒.๔.๒ ใช้ ศั ก ยภาพของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ และพัฒนาความร่วมมือด้านความมั่นคงและ ทางทหารกับประเทศมหาอ�ำนาจ และมิตร ประเทศอื่ น รวมทั้ ง กลุ ่ ม องค์ ก ารระหว่ า ง ประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อ สนับสนุนการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่าง กั น การสร้ า งสั น ติ ภ าพ เสถียรภาพ ความ มั่นคง และความสงบสุขร่วมกัน รวมทั้งยก ระดับบทบาท สถานะ และภาพลักษณ์ของ กระทรวงกลาโหมให้เป็นผู้น�ำ ศูนย์กลาง และ จุดประสานความเชื่อมโยงในเวทีความร่วมมือ ด้านความมั่นคงระหว่างประเทศ ๒.๔.๓ พัฒนาศักยภาพของก�ำลังพล และ ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้สามารถรองรับ งานอาเซียนและงานความร่วมมือด้านความ มั่นคงได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาขีดความ สามารถด้านภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศ สมาชิกอาเซียนให้แก่ก�ำลังพลของส�ำนักงาน ปลั ด กระทรวงกลาโหม ใช้ ศั ก ยภาพของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมในการเป็น จุดประสานงานด้านการต่างประเทศระหว่าง หน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม เหล่าทัพ รวม ทั้งหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและภาค ประชาสั ง คมอื่ น ๆ ในการด� ำ เนิ น การเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ด้ า นความมั่ น คงกั บ มิ ต ร ประเทศ
๒.๕ การพัฒนาประเทศและ การช่วยเหลือประชาชน ๒.๕.๑ สนับสนุนการสร้างความปรองดอง และสมานฉั น ท์ ข องคนในชาติ แ ละฟื ้ น ฟู ประชาธิปไตย รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์ และความเชื่อมั่นระหว่างประชาชนกับทหาร เพื่อให้ประเทศผ่านพ้นปัญหาความขัดแย้ง ภายในประเทศได้ โ ดยเร็ ว ประชาชนและ กองทัพสามารถร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและ พัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่ 30
๒.๕.๒ พัฒนาและมุ่งเน้นมาตรการเชิงรุก ในการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและบรรเทาความ เดือดร้อนของประชาชน โดยริเริ่มการป้องกัน ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งปฏิบัติตามแผน งานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียนในการเสริมสร้างความร่วมมือ ของอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ โดยให้ ความส�ำคัญกับการประสานงานระหว่างทหาร กับพลเรือนในการบรรเทาสาธารณภัย และ ก�ำหนดแนวทางการให้ความช่วยเหลือระหว่าง กระทรวงกลาโหมมิตรประเทศในกรณีที่เกิด ภัยพิบัติขนาดใหญ่ที่รุนแรงอย่างยิ่ง
๒.๕.๓ สนั บ สนุ น ภารกิ จ ของรั ฐ ในการ พัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง รวมถึงการ ช่ ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น การแก้ ไ ขปั ญ หา สังคม อาทิ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การสนับสนุนการแก้ปัญหา แรงงานต่างด้าว ปัญหายาเสพติด และปัญหา เยาวชน เพื่อยกระดับคุณภาพของประชาชน ให้กินดีอยู่ดี ซึ่งเป็นรากฐานส�ำคัญสู่การพัฒนา ประเทศอย่างยั่งยืน ๒.๕.๔ ประสานงานและสนั บ สนุ น ส่ ว น ราชการทั้ ง ภายในและภายนอกกระทรวง
กลาโหม รวมทั้ ง มิ ต รประเทศ โดยสร้ า ง มาตรการเชิ ง รุ ก ในการรองรั บ ภั ย คุ ก คาม รูปแบบใหม่ ด้วยศักยภาพของส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ต่อการพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง
๒.๖ การบริหารจัดการกระทรวง กลาโหม และส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม
๒.๖.๑ พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก� ำ ลั ง พลให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็ น มาตรฐาน สามารถรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยวางแผนก�ำลังพลให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ ขององค์ ก ร ก� ำ หนดจ� ำ นวนก� ำ ลั ง พล ให้ เหมาะสมกับภารกิจ พัฒนาวิธีการสรรหาและ คัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพเข้ารับราชการ พั ฒ นาสิ ท ธิ ป ระโยชน์ แ ละค่ า ตอบแทนของ ก�ำลังพลทุกประเภทอย่างเหมาะสม พัฒนา ระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมให้สามารถ น�ำมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ปรับปรุงการให้ บ� ำ เหน็ จ ความชอบให้ ส อดคล้ อ งกั บ ผลการ ประเมินการปฏิบัติงาน และพัฒนาฐานข้อมูล ก�ำลังพลให้ถูกต้อง ทันสมัย สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๒.๖.๒ พั ฒ นาคุ ณ ภาพของก� ำ ลั ง พลใน แต่ละระดับให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติ งานได้อย่างมืออาชีพ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ในแต่ละระดับอย่างมีเป้าหมาย ทั้งในระดับ ผู้ปฏิบัติงาน ระดับผู้บริหารชั้นต้น และระดับ ผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งการเสริมสร้างให้มี ทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติราชการ ๒.๖.๓ พัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ของก� ำ ลั ง พลด้ า นต่ า งๆ เช่ น การปรั บ ปรุ ง สถานที่ท�ำงานให้เหมาะสม การเสริมสร้าง ความรู้สึกที่ดีในการท�ำงานร่วมกัน การพัฒนา สวัสดิการด้านต่างๆ อย่างมีคุณภาพ การเสริม สร้ า งความสมดุ ล ระหว่ า งการด� ำ รงชี วิ ต กั บ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
การท�ำงาน เพือ่ สร้างขวัญก�ำลังใจในการปฏิบตั ิ ราชการ ๒.๖.๔ พัฒนาระบบการเงินให้มีประสิทธิ ภาพทั้ ง ในด้ า นสิ ท ธิ ก� ำ ลั ง พล ด้ า นการเงิ น การให้บริการแก่ข้าราชการทหาร พนักงาน ราชการ และลู ก จ้ า ง รวมทั้ ง ผู ้ รั บ เบี้ ย หวั ด บ�ำเหน็จ บ�ำนาญ ตลอดจนการเบิกจ่าย เงิน ทดรองราชการเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย พิบัติกรณีฉุกเฉิน การจัดท�ำโครงการจ่ายตรง เงินเดือนและค่าจ้างตามนโยบายรัฐบาล การ ประชาสั ม พั น ธ์ ด ้ า นการเงิ น ในเชิ ง รุ ก และ ระบบการเบิ ก จ่ า ยเงิ น และควบคุ ม การเงิ น อิเล็กทรอนิกส์ในภาพรวมให้มีความทันสมัย โดยก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติด้านการเงิน และบัญชีให้เป็นระบบ สามารถให้บริการแก่ ก�ำลังพลได้อย่างรวดเร็ว ๒.๖.๕ พัฒนาการให้บริการทางด้านการ แพทย์ และสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้ก�ำลังพลได้ รั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข ที่ มี ม าตรฐานและมี ประสิทธิภาพ ๒.๖.๖ ปรับปรุงการจัดพิธีการส�ำคัญของ กระทรวงกลาโหม และส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหมให้มคี วามเหมาะสมทัง้ ในเรือ่ งของการ เรียนเชิญประธานในพิธี ผู้เข้าร่วมพิธี สถานที่ จัดพิธี และล�ำดับขั้นตอนของพิธีการให้มีความ กระชับและสมเกียรติ ๒.๖.๗ พัฒนาศักยภาพของส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม เพื่อสนับสนุน อ�ำนวยความ สะดวก และรักษาความปลอดภัยให้แก่ผบู้ งั คับ บั ญ ชาของกระทรวงกลาโหมในการปฏิ บั ติ
ราชการได้อย่างสมเกียรติและสมศักดิ์ศรีของ หน่วยงานด้านความมั่นคงของประเทศ ๒.๖.๘ พั ฒ นางานด้ า นการสนั บ สนุ น ทางการส่งก�ำลังและซ่อมบ�ำรุง การขนส่ง การ บริการทางการแพทย์ การบริการ การโยธาธิการ การควบคุ ม ดู แ ลอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ กิ จ การ ดุริยางค์ กิจการโรงพิมพ์ เพื่อให้หน่วยและ ก�ำลังพลในส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้รับประโยชน์สูงสุด โดยให้ความส�ำคัญกับ การพัฒนาเกีย่ วกับการจัดหา และใช้ประโยชน์ สิ่งอุปกรณ์แบบรวมการ ๒.๖.๙ พัฒนาการด�ำเนินการเกีย่ วกับทีด่ นิ ของกระทรวงกลาโหม ให้มีการใช้ประโยชน์ ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๖.๑๐ ให้ ห น่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรรงบ ประมาณจากส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ใช้จ่ายเงินงบประมาณให้เป็นไปตามระเบียบ แบบแผนของทางราชการ โดยค�ำนึงถึงความ ประหยัด คุม้ ค่า โปร่งใส และสามารถตรวจสอบ ได้ รวมถึงเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ เพื่อให้การเบิกจ่ายเงินงบประมาณในภาพรวม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสั ม ฤทธิ ผ ลเป็ น ไปตาม เป้าหมายที่ก�ำหนด ๒.๖.๑๑ พัฒนาระบบราชการของกระทรวง กลาโหมให้มคี วามพร้อมในการเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียน
31
งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ ประจ�ำปี ๒๕๕๖
กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
๑. การสาธิตและทดลองเทคโนโลยีภาค สนาม ภายใต้กรอบแนวคิดในเรื่องของการ เฝ้าตรวจและรายงานทางทะเล (MDA) โดยมี พลเรือโท สนธยา น้อยฉายา ผูบ้ ญ ั ชาการหน่วย บัญชาการนาวิกโยธิน และ นายซือเจย์ แซง รมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (Mr.Shujie Chang) ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ กลาโหม และส� ำ นั ก งานวิ จั ย การทดลอง กองก�ำลังนาวิกโยธิน สหรัฐอเมริกา แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร ท า ง ท ห า ร ภาคพื้นแปซิฟิก (MEC) เป็นประธานในพิธีร่วม กองทั พ เรื อ เป็ น เจ้ า ภาพร่ ว มกั บ ศู น ย์ ก าร กัน โดยแบ่งเป็น ๔ กลุ่มเทคโนโลยี ดังนี้ ทดลองกองก� ำ ลั ง นาวิ ก โยธิ น สหรั ฐ อเมริ ก า ๑.๑ เทคโนโลยี ห อคอยเฝ้ า ตรวจพื้ น ที่ ( ก ก ล . น ย . ส ร อ . ) ภ า ค พื้ น แ ป ซิ ฟ ิ ก ต่อเนื่อง (Persistent Ground Surveillance (U.S. Marine Corps Forces, Pacific Tower : PGST) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการ Experimentation Center : MEC) ด�ำเนิน เฝ้าระวังและตรวจการณ์ในพื้นที่ปฏิบัติการ การสาธิ ต และทดลองเทคโนโลยี ท างทหาร ทั้ ง ใ น ร ะ ดั บ ยุ ท ธ วิ ธี ถึ ง ร ะ ดั บ ยุ ท ธ ก า ร ประจ�ำปี ๒๕๕๖ (Crimson Viper 2013 เทคโนโลยีประกอบด้วย หอคอยสูง ๘๗ ฟุต : CV13) เมื่อ ๑ - ๙ ส.ค.๕๖ ณ หาดยาว สามารถเคลื่ อ นย้ า ยด้ ว ยวิ ธี ล ากจู ง ไปกั บ ฐานทัพเรือสัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ซึ่งจ�ำแนก ยานยนต์ชานต�่ำได้ ตัวเสาหอคอย ท�ำด้วย เป็น ๒ กิจกรรม ดังนี้ เหล็ ก ใช้ เ วลาในการติ ด ตั้ ง ระบบประมาณ
การสาธิตและทดลองเทคโนโลยี ทางทหาร ประจ�ำปี ๒๕๕๖ (Crimson Viper 2013 : CV13)
ก
32
๔๕ นาที บนยอดของหอคอยติ ด ตั้ ง ระบบ ตรวจการณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ อาทิ กล้องตรวจการณ์จับความร้อน กล้อง ส่องกลางคืน กล้องจับภาพเคลื่อนไหว กล้อง ส่องขยายความเร็วสูง รวมไปถึงเรดาร์และ อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณวิทยุสื่อสาร ระบบ ตรวจการณ์ นี้ มี ขี ด ความสามารถในการเฝ้ า ตรวจโดยรอบ ๓๖๐ องศา มีระยะในการเฝ้า ตรวจการณ์ ม องเห็ น ไกลถึ ง ๔๐ กิ โ ลเมตร กองทัพสหรัฐอเมริกา ได้บรรจุ PGST เป็น ยุ ท โธปกรณ์ ด ้ า นการป้ อ งกั น ก� ำ ลั ง รบ โดย ได้น�ำเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในการเฝ้าตรวจระวัง ป้องกันค่ายทหารและฐานปฏิบตั กิ ารทีต่ งั้ อยูใ่ น พื้นที่การรบในประเทศอิรักและอัฟกานิสถาน จากขีดความสามารถของเทคโนโลยีนี้ ท�ำให้ กองทัพสหรัฐอเมริกา สามารถป้องกัน และ ลดความเสียหายจากการถูกลอบโจมตีฐานทีต่ งั้ ทางทหารได้อย่างมาก อีกทั้งยังช่วยสนับสนุน การรบในพื้นที่เขตหน้าและพิทักษ์พื้นที่ส่วน หลังได้อีกด้วย จากผลการประเมินเทคโนโลยี นี้ สรุปได้ว่า สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้งานใน การเฝ้าตรวจในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยหน่วยงานความมัน่ คง เช่น กองอ�ำนวยการ รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ภาค ๔ เพื่อเฝ้าดูพฤติกรรมของผู้ก่อเหตุรุนแรง โดย ติดตั้งระบบ PGST ในที่สูง ซึ่งจะสามารถมอง เห็นได้รอบทิศ (๓๖๐ องศา) ท�ำให้เหมาะสม ส�ำหรับใช้ในการรักษาความปลอดภัย พื้นที่ ส�ำคัญ ๑.๒ เทคโนโลยีระบบบอลลูนเฝ้าตรวจพืน้ ที่ ต่อเนื่อง (Persistent Ground Surveillance Systems : PGSS) เป็ น บอลลูนขนาดเล็ก กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
มี ค วามยาว ๑๒ เมตร เหมาะส� ำ หรั บ การ ตรวจการณ์ในระดับยุทธวิธี ตัวบอลลูนลอย สูงจากพื้นประมาณ ๓๐๐ - ๔๐๐ ฟุต โดย ฐานบอลลูนได้ติดตั้งอุปกรณ์เฝ้าตรวจที่เป็น กล้องประเภทต่างๆ เช่น กล้องส่องกลางคืน กล้องตรวจจับความร้อน และกล้องจับภาพ เคลื่ อ นไหว PGSS สามารถท�ำ งานร่ ว มกั บ PGST ได้อย่างสอดคล้อง โดย PGSS จะลอย เหนืออยู่เหนือพื้นที่ที่ PGST ไม่สามารถเฝ้า ตรวจการณ์ได้ ๑.๓ เทคโนโลยีดา้ นการต่อต้านระเบิดแสวง
ด�ำรงการติดต่อสื่อสารได้อย่างต่อเนื่องและ กว้างขวาง มีผลท�ำให้การรบสามารถด�ำเนิน ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องรอการ ส่งก�ำลังบ�ำรุงจากหน่วยในพื้นที่ส่วนหลัง ๒. การสัมมนาทางวิชาการ โดยมีหัวข้อ การสัมมนาดังนี้ ๑) การเฝ้าตรวจและรายงาน ทางทะเล (Maritime Domain Awareness : MDA) ๒) เทคโนโลยี พ ลั ง งานหมุ น เวี ย น (Reusing Existing Natural Energy Wind and Solar : RENEWS) และ ๓) เทคโนโลยีด้านการต่อต้านระเบิดแสวงเครื่อง (Counter Improvised Explosive Device : C-IED) โดยมีผู้แทนฝ่ายกระทรวงกลาโหม เครื่อง (Counter Improvised Explosive สหรัฐอเมริกา ผูแ้ ทนฝ่ายกระทรวงกลาโหมไทย Device : C-IED) กองทัพบกสหรัฐอเมริกา และผู ้ แ ทนหน่ ว ยงานฝ่ า ยพลเรื อ นภาครั ฐ ภาคพื้นแปซิฟิก (กองทัพบกสหรัฐฯ) ได้ส่ง เข้าร่วมสัมมนาฯ เมื่อ ๙ ส.ค.๕๖ ณ ค่าย ครู ฝ ึ ก จ� ำ นวน ๔ นาย มาท� ำ การฝึ ก อบรม กรมหลวงชุมพร อ.สัตหีบ จว.ชลบุรี เจ้ า หน้ า ที่ ชุ ด เก็ บ กู ้ วั ต ถุ ร ะเบิ ด ของเหล่ า ทั พ ทั้ ง นี้ ผลที่ ไ ด้ รั บ จากการด� ำ เนิ น งานการ และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ จ�ำนวนผู้เข้า สาธิตและทดลองเทคโนโลยีทางทหาร ท�ำให้ รับการฝึกอบรม จ�ำนวนประมาณ ๓๐ นาย ก�ำลังพลของกระทรวงกลาโหม ได้มโี อกาสแลก การฝึ ก อบรมประกอบด้ ว ย การอบรมภาค เปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ในกลุ่ม ทฤษฎี ใ นห้ อ งเรี ย น และการฝึ ก ปฏิ บั ติ ภ าค ของผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งก่อให้เกิดแนวความคิดใน สนาม ประกอบด้วย การเรียนรู้การใช้อุปกรณ์ การขยายผลต่ อ ยอดผลงานวิ จั ย และพั ฒ นา ตรวจค้นวัตถุระเบิดชนิด Mine Hound ซึ่ง ยุทโธปกรณ์ทางทหาร อีกทั้งเป็นการสร้าง สามารถตรวจหาวัตถุระเบิดได้หลายประเภท เครือข่ายความร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์ ทั้ ง ที่ มี ส ่ ว นประกอบของโลหะและอโลหะ และเทคโนโลยีกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายใน Mine Hound มีระบบเรดาร์ค้นหาวัตถุที่ถูก และภายนอกประเทศ ท�ำให้มีโอกาสขยายผล ฝังลึกอยู่ใต้พื้นดิน โดยเรดาร์จะตรวจหาความ ความร่วมมือในการท�ำโครงการร่วม ในด้าน ผิดปกติของความหนาแน่นของพื้นดิน การต่อต้านระเบิดแสวงเครื่อง (C-IED) รวมทั้ง ๑.๔ เทคโนโลยี ด ้ า นพลั ง งานหมุ น เวี ย น (Reusing Existing Natural Energy Wind and Solar : RENEWS) เป็ น ชุ ด อุ ป กรณ์ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ที่ ส ามารถพกพาได้ ง ่ า ย หน่วยทหารขนาดเล็กในพื้นที่เขตหน้าการรบ สามารถน�ำติดตัวไปได้ ชุดอุปกรณ์ประกอบ ด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์, ชุดอุปกรณ์ผลิต ไฟฟ้ า จากกั ง หั น ลม และแบตเตอรี่ ไ ฟฟ้ า จ�ำนวน ๖ หม้อ กองทัพสหรัฐอเมริกา ได้ใช้ เทคโนโลยี นี้ ใ นการสนั บ สนุ น การช่ ว ยรบใน พืน้ ทีท่ รุ กันดารแก่หน่วยทหารทีป่ ฏิบตั ริ าชการ สงครามในประเทศอิ รั ก และอั ฟ กานิ ส ถาน เทคโนโลยี นี้ ไ ด้ ช ่ ว ยให้ ท หารสหรั ฐ อเมริ ก า มีกระแสไฟฟ้าไว้ใช้กับอุปกรณ์การสื่อสารและ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อื่นๆ ท� ำให้สามารถ
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
การพั ฒ นาบุ ค ลากรของกระทรวงกลาโหม ร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาทหารเรื อ (Naval Post Graduate School : NPS) ให้มีขีดความสามารถในด้านนี้ต่อไป อันเป็น ประโยชน์ต่อการสนับสนุนการแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้ า นแผนการด� ำ เนิ น งานความร่ ว มมื อ ฯ กั บ กระทรวงกลาโหมสหรั ฐ อเมริ ก า ในปี งบประมาณ ๒๕๕๗ จะด� ำ เนิ น การขยาย ผลความร่ ว มมื อ ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้ ค รอบคลุ ม ทั้ ง ๓ ระดั บ ได้ แ ก่ การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ท างทหาร (Information Exchange), การทดสอบ ทดลองร่วม (Joint Experimentation) และ การด�ำเนินโครงการด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีทางทหารร่วม (Joint Science and Technology Projects) เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
33
ปฏิรูปประเทศไทย
จาก ร.๕ ถึง อนาคต ๒๐๒๐
จุฬาพิช มณีวงศ์
เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั สมเด็ จ พระบรมชนกนาถ เสด็ จ สวรรคต พระบรมวงศานุวงศ์ เจ้านายเสนาบดีผู้ใหญ่ ได้ประชุมพร้อมกันถวายราชสมบัติ แด่สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรม ขุนพินิตประชานาถ เป็นพระมหากษัตริย์สืบ ราชสันติวงศ์แห่งพระบรมจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๑๑ ดังนั้นในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๑๑ จึ ง ได้ มี พ ระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก เฉลิ ม พระบรมนามาภิไธย จารึกในแผ่นพระสุพรรณ บัตร จัดเป็นพระราชพิธใี หญ่มขี บวนเสด็จเลียบ พระนครให้พสกนิกรชื่นชมยินดี กับพระเจ้า แผ่นดินพระองค์ใหม่ ซึ่งมีพระชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา เท่านั้น เจ้านายเสนาบดีร่วมด้วยคณะสงฆ์ผู้ใหญ่ ได้ขอให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) สมุหกลาโหม ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการ เพื่อจะได้ช่วยราชการแบ่งเบาพระราชภารกิจ หน้ า ที่ ป กครองบ้ า นเมื อ งไปจนกว่ า สมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวจะทรงบรรลุพระราชนิติภาวะ ๒๐ พรรษา เหตุการณ์ส�ำคัญในวันนั้น พระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพรรณนา ความรู ้ สึ ก ไว้ ใ นพระราชหั ต ถเลขา ที่ ท รง พระราชทานสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช เจ้าฟ้ามหาวชิรณ ุ หิศในโอกาสที่ เป็นเวลาที่ เจ้า มีอายุเต็มเสมอเท่ากับพ่อ เมื่อได้รับสมมติเป็น พระเจ้าแผ่นดิน ในครั้งนั้นว่า “ในเวลานั้นอายุพ่อเพียง ๑๕ ปี กับ ๑๐ วัน ไม่ มี ม ารดา ญาติ ฝ ่ า ยมารดาก็ ล ้ ว นแต่ โ ลเล เหลวไหลหรือไม่โลเลเหลวไหล ก็มิได้ตั้งอยู่ใน ต�ำแหน่งราชการอันใด เป็นหลักฐานฝ่ายญาติ ข้างพ่อคือเจ้านายทั้งปวง ก็ตกอยู่ในอ�ำนาจ สมเด็ จ เจ้ า พระยา และต้ อ งรั ก ษาตั ว รั ก ษา ชีวิตอยู่ด้วยกันทั่วทุกองค์ ที่ไม่เอื้อเฟื้อต่อการ อั น ใดเสี ย ก็ มี โดยมากที่ เ ป็ น ผู ้ ใ หญ่ ก็ ไ ม่ มี 34
ก� ำ ลั ง ความสามารถ อาจจะอุ ด หนุ น อั น ใด ฝ่ า ยพี่ น ้ อ งซึ่ ง ร่ ว มบิ ด าหรื อ ที่ ร ่ ว มมารดาก็ เป็นเด็กมีแต่อายุต�่ำกว่าพ่อลงไป ไม่สามารถ จะท�ำอะไรได้ทั้งสิ้น ส่วนตัวพ่อเองก็เป็นเด็ก อายุเพียงเท่านั้น ไม่มีความสามารถรอบรู้ใน ราชการอันใดที่จะท�ำการในตามหน้าที่ แม้แต่ เพียงเสมอเท่าที่ทูลกระหม่อม ทรงประพฤติ มาแล้วได้ ยังซ�้ำเจ็บเกือบจะถึงแก่ความตาย อันไม่มีผู้ใดรักคนเดียวซึ่งเชื่อว่าจะรอดยังซ�้ำ ถูกอันตรายอันใหญ่ คือทูลกระหม่อมเสด็จ สวรรคตในขณะนั้น เปรียบเหมือนกับศรีษะ ขาดแล้ว จับเอาแต่ร่างกายขึ้นตั้งไว้ที่สมมติ กษัตริย์ เหลือที่จะพรรณนาถึงความทุกข์อัน ต้องเป็นก�ำพร้าในอายุเพียงเท่านั้น และความ หนักของมงกุฎอันเหลือที่คอจะทานไว้ได้ ทั้ง มี ศั ต รู ซึ่ ง มุ ่ ง หมายอยู ่ โ ดยเปิ ด เผยรอบตั ว ทั้ ง ภายในภายนอกหมายเอาทั้งกรุงเองและต่าง ประเทศ ทั้งโรคภัยในการเบียดเบียน แสน สาหัส เพราะฉะนั้นพ่อจึงถือว่าวันนั้น เป็นวัน เคราะห์ร้ายอย่างยิ่ง อันตั้งแต่เกิดมา พึ่งได้มี แก่ตัว...” การเสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ข องพระมหา กษัตริย์องค์น้อยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จึงต้อง เผชิญหน้ากับอุปสรรคนานัปการ โดยเฉพาะ การขั ด ขวางที่ จ ะปฏิ รู ป สยามประเทศให้ ไ ป สู ่ ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า เยี่ ย งอารยประเทศ เนื่องจากเสนาบดีขุนนางที่ต่างมีอิทธิพล ส่วน ใหญ่เป็นพวกหัวอนุรักษ์ ไม่ปรารถนาที่จะพบ กับการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม พระราชกรณี ย กิ จ ล� ำ ดั บ แรกที่ พ ระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวด�ำเนินการ จึงเป็นการขยับแบบค่อยเป็นค่อยไป เลือก เรื่องที่เล็กก่อนเรื่องที่ใหญ่ โดยเริ่มจากการ เสด็จประพาสเพื่อนบ้าน สิงคโปร์ ปัตตาเวีย และชวา เป็ น ครั้ ง แรกเมื่ อ วั น ที่ ๙ มี น าคม พ.ศ.๒๔๑๓ โดยเรือปืนพิทยัมรณยุทธ์ และ เสด็จกลับเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ.๒๔๑๔
หลั ง จากเสด็ จ กลั บ จากการประพาสโปรด ให้ข้าราชการแต่งกาย แต่งผ้าคอเสื้อผูกคอ ตามอย่างธรรมเนียมฝรั่งนอก เมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ.๑๔๑๔ ในปีเดียวกัน โปรดให้ เลิกไว้ผมทรงมหาดไทยหรือผมหลักแจว ทีน่ ยิ ม กันมากแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเปลี่ยนเป็นทรง อย่างฝรั่ง ผมยาวเป็นรองทรงแทน พร้อมกับ มีแบบเสื้อราชปะแตน ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษ ว่า ราชาแพทเทอน หรือแบบเสือ้ ของพระราชา การที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสเพื่อนบ้าน ท�ำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงการแต่งกาย การไว้ผมทรง รองทรง น�ำแบบอาคารตึกแถวของสิงคโปร์มา ปลูกข้างถนนบ�ำรุงเมือง ถนนเฟื่องนคร และ เริ่มท�ำเขื่อนริมคลองหลอด สร้างถนนขนาน เหมือนถนนในปัตตาเวีย นอกจากนี้ยังโปรด ให้ จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นพระต� ำ หนั ก สวนกุ ห ลาบ และจัดการกองทัพตามอย่างประเทศเพื่อน บ้านด้วย เมื่อทรงมีพระชนมายุ ๒๐ พรรษา ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๑๖ ทรงสละราชสมบัติ ออกผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวัด พระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ทรงผนวช ๑๕ วัน และลาผนวช เมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๔๑๖ นับเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระองค์ แ รกแห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ นทร์ ที่เสด็จ ออกผนวชในระหว่ า งครองราชสมบัติ และ เมื่อทรงลาผนวชแล้วจึงโปรดให้มีพระราชพิธี พระบรมราชาภิเษก เป็นการเสด็จกลับสู่การ ครองบัลลังก์ใหม่ หลั ง จากที่ ท รงสละราชสมบั ติ แ ละออก ผนวช จึงทรงตระหนักว่าทรงบรรลุนิติภาวะ แล้ว ทรงปกครองแผ่นดินด้วยพระองค์เองโดย สมบูรณ์ ไม่ตอ้ งมีผสู้ ำ� เร็จราชการแทนพระองค์ อีกต่อไป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริว่า “ราชการผลประโยชน์ จุฬาพิช มณีวงศ์
ของบ้ า นเมื อ ง สิ่ ง ใดที่ เ กิ ด ขึ้ น และการที่ ยั ง รกร้างมาแต่เดิมมากนั้น ก็จะทรงจัดการแต่ พระองค์เดียวก็จะไม่ส�ำเร็จไปได้ ถ้ามีคนช่วย กันคิดหลายปัญญาแล้ว การซึ่งรกร้างมาแต่ เดิมก็จะได้ปลดเปลื้องไปทีละน้อยๆ ความดี ความเจริญก็จะบังเกิดแก่บ้านเมือง” จากพระ ราชปรารภดังนี้จึงได้โปรดให้ตั้งสภาที่ปรึกษา ราชการแผ่นดินขึ้น เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๔๑๗ เรียกทับศัพท์ว่า เคาน์ซิล ออฟสเตท ประกอบด้ ว ยสมาชิ ก ขุ น นางสามั ญ ต�่ ำ กว่ า เสนาบดี ๑๒ ท่าน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระราชประสงค์จะให้ข้าราชการเข้ามาติดต่อ กั บ พระองค์ ไ ด้ โ ดยตรงแทนที่ พ ระองค์ จ ะ ต้องทรงถูกแวดล้อมและรับฟังแต่ความเห็น ของเสนาบดีเท่านั้น ในวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๑๗ พระองค์จึงทรงตั้งสภาที่ปรึกษา ราชการส่วนพระองค์ หรือสภาองคมนตรีขึ้น เรียกว่า ปรีวี เคาน์ซิล มีหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ราชการส่วนพระองค์และช่วยปฏิบัติราชการ อื่นๆ ตามแต่ที่พระองค์จะทรงมอบภารกิจให้ สมาชิกสภาในชุดแรกมีจ�ำนวน ๔๙ ท่าน ทรง มีพระราชด�ำริว่า “การสิ่งใดจะให้มีความเจริญแก่บ้านเมือง จริงๆ ก็จะต้องอาศัยปรึกษาพร้อมกัน จึงได้จัด ตั้งเคาน์ซิล ๒ พวกนี้ขึ้น ฉันก็ได้ยอมหย่อนยศ ลดอ�ำนาจลงมานั่งในที่เคาน์ซิล ยอมให้ปรึกษา โต้ตอบไปมาได้ไม่ถอื ตัวว่า เป็นคนสูงต�ำ่ เพราะ จะให้เป็นการเจริญ” แต่ในทางปฏิบัติพระองค์ ต้องทรงใช้วิธีท�ำงานด้วยพระองค์เอง ไม่ได้ หวังเอาสภาที่ปรึกษาเป็นที่พึ่ง เมื่อทรงมีข้อ บกพร่องอย่างใด จะมีพระหัตถเลขาและพระ ด�ำริไปถึงเป็นกรณีๆ ไป การปฏิ รู ป ประเทศในรั ช สมั ย พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด�ำเนินการ ในทุกด้านทุกมิติ แต่ด้วยวิเทโศบายอันลึกซึ้ง มิใช่หักด้ามพร้าด้วยเข่า แต่ทรงท�ำอย่างค่อย เป็นค่อยไป เคยถึงขนาดท�ำความขุ่นเคืองใจ ให้กับสมเด็จเจ้าพระยามหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เสนาบดีชั้นผู้ใหญ่ ทรงโปรดให้ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ พระน้องยาเธอ เสด็จไปศึกษาระเบียบประเพณีการปกครอง ของยุ โ รป และทรงมี พ ระบรมราชโองการ ประกาศตั้งกระทรวงใหม่ทั้งหมด เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๔๓๕ นั่นหมายความว่าทรงยกเลิก ต�ำแหน่งอัครมหาเสนาบดีและจตุสดมภ์ ถือ เป็ น การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ่ ใ นลั ก ษณะ พลิกแผ่นดิน ซึ่งมีน้อยประเทศจะส�ำเร็จโดย ราบคาบปราศจากการจลาจล ทรงก่ อ ตั้ ง กระทรวงขึ้น ๑๒ กระทรวง โปรดให้มีการ จัดการด้านสาธารณูปโภคหลายประการ โดย เฉพาะการปรับปรุงการคมนาคมและพัฒนา หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
บ้านเมืองในทุกด้าน ในรัชสมัยนี้ยังมีการขุดคลองจ�ำนวนมาก สร้างทางรถไฟสายกรุ ง เทพถึ ง นครราชสี ม า เปิ ด เดิ น ในวั น ที่ ๒๕ มี น าคม พ.ศ.๒๔๓๙ การรถไฟสายกรุงเทพถึงพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.๒๔๔๓ ทางรถไฟสายใต้จากกรุงเทพ ถึง เพชรบุรี พ.ศ.๒๔๔๖ ทางรถไฟสายตะวันออก จากกรุงเทพถึงฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๔๔๙ รวม ทั้งสิ้น ๙๒๘ กิโลเมตร และยังพระราชทาน ให้บริษัทวิสาหกิจส่วนบุคคล สร้างทางรถไฟ สายกรุงเทพ - ปากน�้ำ เปิดเดินเมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๓๖ ทางรถไฟสายธนบุรีถึง ท่าจีน เปิดในวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๔๗ และทางรถไฟสายพระบาทถึงสระบุรี พ.ศ. ๒๔๔๕ หลังจากการปฏิรูปประเทศไทยครั้งใหญ่ใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว แทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะ เดียวกันนี้อีกเลย แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองจากระบอบสมบูรณายาสิทธิราชมา สู่ประชาธิปไตย แต่ไม่เคยมียุคใดที่บ้านเมือง จะได้รับการพัฒนาอย่างกว้างขวาง เฉกเช่น ในยุคของพระพุทธเจ้าหลวง สาเหตุที่เป็นเช่น นั้นนอกจากเป็นเพราะการเมืองอยู่ในสภาพ ลุ่มๆ ดอนๆ มาตลอดในช่วงรัชกาลที่ ๗ ถึง ปัจจุบัน ยังเกิดจากความกล้าในการตัดสินใจ ของผู้บริหารบ้านเมือง รัฐบาลนางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี ได้ใช้โอกาสในการบริหารประเทศ มาเป็นปีที่ ๓ น�ำเสนอโครงการสร้างอนาคต ไทย ๒๐๒๐ โดยออกเป็น พ.ร.บ.กู้เงิน ๒ ล้าน ล้านบาท เพื่อน�ำมาด�ำเนินการโครงสร้างพื้น ฐานการคมนาคมขนส่ง ซึ่งในงานแถลงข่าว เปิดตัวโครงการ นางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหมได้อธิบายอย่างชัดเจนว่า นับตัง้ แต่การ ด�ำเนินกิจการรถไฟสายแรกของประเทศไทย เมื่ อ ๑๑๗ ปี ก ่ อ น ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงประกอบพิธีเปิด การเดินรถไฟสายแรกของประเทศไทยขบวน กรุงเทพ - อยุธยา เป็นระยะทางประมาณ ๗๑ กิโลเมตร ถือว่าเป็นครั้งแรกที่เป็นการเสริม สร้างความมั่นคงให้กับประเทศไทยเป็นการ กระจายความเจริญจากกรุงเทพสู่จังหวัดต่างๆ หลังจากนั้นมีการพัฒนาระบบการคมนาคมมา ตลอด เพาะหากไม่พัฒนาขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศจะลดลง แต่ในช่วง หลัง เนื่องจากประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง รัฐบาลใหม่บ่อยครั้ง ท�ำให้เราขาดการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานมาเป็นเวลานาน จึงเชื่อว่า สิ่งที่ต้องท�ำเพื่อให้ประเทศสามารถพัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขันก็คอื การลงทุนครัง้ ใหญ่ของประเทศ ดังนั้น งบประมาณ ๒ ล้าน
ล้านบาทกับการสร้างประเทศไทยในอนาคต จึงเป็นเรื่องที่คุ้มค่า โดยเล็งเห็นว่า การด�ำเนิน การโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบคมนาคม ทั้ง ทางบก ทางน�้ำและทางอากาศ รวมถึงเรื่อง ทางด่ ว นจะท� ำ ให้ เ กิ ด การเชื่ อ มโยงประเทศ ภูมิภาคในอาเซียนเข้าด้วยกัน เปรียบเสมือน เส้นเลือดใหญ่ที่เชื่อมระหว่างประเทศไทยไป สู่เมืองต่างๆ นอกจากท�ำให้เกิดความเจริญ ลดความเหลื่อมล�้ำในสังคมเมืองกับชนบท ยัง ท�ำให้คนในครอบครัวสามารถไปมาหากันได้ เร็วขึ้น คุณภาพชีวิตดีขึ้น และเป็นการใช้เวลา ต่อเนื่องด�ำเนินโครงการ ๗ ปี โครงการสร้างอนาคตไทย ๒๐๒๐ ซึ่งนาย ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคม วาดพิ ม พ์ เ ขี ย วเอาไว้ จ ะประกอบ ด้วยโครงการหลัก ๕๓ โครงการ เน้นระบบ รางเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจาก ๑๐ ปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยลงทุนเพียง ๒ หมื่นล้านบาท ขณะ ที่การลงทุนด้านถนนมีมากถึง ๖ แสนล้านบาท และรถไฟเป็นระบบที่ต้นทุนในการขนส่งถูก มลภาวะน้อย ความปลอดภัยสูง น่าพัฒนา ให้ดีขึ้น ทั้งนี้ร้อยละ ๘๐ ของเงิน ๒ ล้านล้าน บาท จะเป็นการลงทุนในระบบราง แบ่งเป็น ๓ ส่วน คือ รถไฟความเร็วสูง ๔ สายได้แก่ กรุงเทพ - เชียงใหม่ กรุงเทพ - หนองคาย กรุงเทพ - ระยอง และกรุงเทพ - ปาดังเบซาร์ คิดเป็นร้อยละ ๓๙ รถไฟในกรุงเทพคิดเป็น ร้อยละ ๒๐ และรถไฟรางคู่ทั่วประเทศคิดเป็น ร้อยละ ๒๐ เช่น กรุงเทพ - หนองคาย กรุงเทพ - อุบลราชธานี นอกจากนี้จะมีการขยายถนน เป็น ๔ เลน สร้างถนนมอเตอร์เวย์ ถนนเชื่อม ระหว่างเพื่อนบ้านและถนนเลียบชายฝั่ง รวม ถึงการสร้างศูนย์กระจายสินค้าตามสถานีรถไฟ รัฐบาลได้ก�ำหนดห้วงเวลาสร้างความเข้าใจ แก่พี่น้องประชาชนเพื่อให้คนไทยทุกคนมีส่วน ร่วม รวมทั้งสิ้น ๑๒ จังหวัด เริ่มต้นที่จังหวัด หนองคาย นครราชสี ม า ชลบุ รี ขอนแก่ น นครสวรรค์ ฉะเชิงเทรา พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช และปิด ท้ายที่สงขลา โครงการสร้ า งอนาคตไทย ๒๐๒๐ จึ ง เป็ น การลงทุ น ที่ จ ะปฏิ รู ป ระบบการขนส่ ง คมนาคมของประเทศ อย่างครบวงจร อันจะน�ำ มาซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่อีกครั้งส�ำหรับ บ้ า นเมื อ งของเราและเป็ น การสื บ สานพระ ราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงวางรากฐานการคมนาคม ขนส่ง อันเป็นการน� ำความเจริญมาสู่สยาม ประเทศตราบจนทุกวันนี้
35
การแข่งขัน
สหรัฐอเมริกา - สาธารณรัฐประชาชนจีน :ความท้าทายของอาเซียน สำ�นักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักนโยบายและแผนกลาโหม
บทน�ำ ในยุค The Rise of Asia ระบบ เศรษฐกิ จ ของเอเชี ย มี อั ต ราการ เจริญเติบโตและการขยายตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะเศรษฐกิจ ของอาเซียนที่มีความส�ำคัญอย่าง ยิ่งต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก ในขณะที่ ป ระเทศกลุ ่ ม สหภาพ ยุโรป (European Union: EU) และสหรั ฐ อเมริ ก า ก�ำลั ง ประสบ ปัญหาเศรษฐกิจถดถอยในปัจจุบัน สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งอยู่ในยุค ของการก้าวขึน้ สูก่ ารเป็นมหาอ�ำนาจ 36
(Rise of China) ได้แสวงหาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจในอาเซียนใน กรอบความร่วมมือต่างๆ เพื่อยก ระดับความสามารถด้านเศรษฐกิจ ในขณะที่สหรัฐอเมริกาตระหนักถึง ความส�ำคัญของอาเซียนและได้กลับ เข้ามาในภูมิภาคนี้ด้วยยุทธศาสตร์ Rebalancing ส่ ง ผลอย่ า งมาก ต่ อ ความสั ม พั น ธ์ กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และความมั่ น คงของ อาเซียน สำ�นักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักนโยบายและแผนกลาโหม
บทบาทจีนกับเศรษฐกิจ อาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ระบบเศรษฐกิจเอเชีย จะยังคงเดินหน้าผงาดขึ้นมาในยุค The Rise of Asia พลวั ต ทางเศรษฐกิ จ โลกก� ำ ลั ง จะ ย้ า ยฐานจากตะวั น ตกมายั ง เอเชี ย ขณะที่ เอเชี ย มี ก ารค้ า ขายกั น กว่ า ร้ อ ยละ ๖๐ เศรษฐกิจรวมกันมีมูลค่าเกือบ ๒๐ ล้านล้าน เหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีน และอาเซียน มีส่วนอย่างมากในการขับเคลื่อน เศรษฐกิ จ อี ก ด้ า นหนึ่ ง มี ก ารแข่ ง ขั น ใน ภูมิศาสตร์การเมือง (Geopolitics) มากขึ้น เนื่ อ งจากอาเซี ย นมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตทาง เศรษฐกิ จ ที่ สู ง หลายประเทศจึ ง ต้ อ งการมี ผลประโยชน์ในภูมิภาคนี้การผงาดขึ้นมาทาง เศรษฐกิ จ ของเอเชี ย ก� ำ ลั ง ท้ า ทายบทบาท และอ�ำนาจทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ในภู มิ ภ าคการค้ า และการลงทุ น ระหว่ า ง ประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคก�ำลังเพิม่ ขึน้ อย่างมาก ข้ อ ตกลงเขตการค้ า เสรี (Free Trade Agreement : FTA) จึ ง เกิ ด ขึ้ น มากมาย ระหว่ า งประเทศในเอเชี ย ด้ ว ยกั น โดยไม่ มี สหรัฐอเมริกา นอกจากข้อตกลงทวิภาคีที่มี อยู ่ ม ากแล้ ว ยั ง มี ข ้ อ ตกลงพหุ ภ าคี โ ดยมี อาเซี ย นเป็ น แกนกลางอยู ่ ห ลายข้ อ ตกลง นอกจากนี้ อ าเซี ย นมี ก ารเจรจา FTA กั บ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีนและเกาหลีใต้ ในกรอบอาเซียน +๓ รวมถึงมีการเพิ่มวงเงิน Chiang Mai Initiative มู ล ค่ า สู ง ถึ ง ๒๔๐,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเมือ่ เร็วๆ นี้ ได้มกี ารประกาศระหว่างอาเซียนกับ ๖ ประเทศ คู่เจรจา ที่จะเจรจา FTA ในกรอบอาเซียน +๖ ที่มีชื่อว่า Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP) ซึง่ จะมาเป็น คู่แข่งกับ FTA ที่สหรัฐอเมริกาก�ำลังผลักดัน คือ Trans - Pacific Partnership (TPP)
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
บทบาทสหรัฐอเมริกา กับเศรษฐกิจอาเซียน : การกลับเข้ามาในเอเชีย ของสหรัฐอเมริกา ยุค Rebalancing จากการที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่อเอเชีย - แปซิฟิกอีกครั้ง ท�ำให้สหรัฐอเมริกา มี ยุ ท ธศาสตร์ Rebalancing ที่ มี ก ารปรั บ ก� ำลัง และการรื้ อ ฟื ้ น มิ ต รภาพกั บ พั น ธมิ ต ร ซึ่งสหรัฐอเมริกายืนยันว่าการกลับมาครั้งนี้ไม่ ต้องการคานอ�ำนาจกับสาธารณรัฐประชาชน จีนและไม่ต้องการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพความ มั่นคงในภูมิภาคนี้แต่อย่างใด สหรัฐอเมริกา ได้รเิ ริม่ เขตการค้าเสรีในภูมภิ าคเอเชีย - แปซิฟกิ (Trans - Pacific Partnership : TPP) เพื่อ กระชับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค และเพื่อมิให้สาธารณรัฐประชาชนจีนใช้ความ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจมาเป็นปัจจัยต่อการก้าว ขึ้นมาเป็นประเทศมหาอ�ำนาจในภูมิภาค ทั้งนี้
ปัจจัยหลักของสหรัฐอเมริกาในการผลักดัน TPP คื อ ยุ ท ธศาสตร์ ป ิ ด ล้ อ มสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น เพื่ อ สกั ด กั้ น การขยายอิ ท ธิ พ ล เพราะสหรัฐอเมริกากังวลต่อการรวมกลุ่มของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก โดยไม่มี สหรัฐอเมริกาเข้าร่วม ทั้งนี้ TPP สร้างความ กังวลแก่สาธารณรัฐประชาชนจีน เนื่องจาก สหรัฐอเมริกาไม่ได้เชิญสาธารณรัฐประชาชน จีนเข้าร่วมเจรจาเพือ่ ร่วมเป็นสมาชิก TPP และ ในอนาคตยังไม่มีทีท่าใดๆ ดังนั้น สาธารณรัฐ ประชาชนจีนจึงพยายามผลักดันเขตการค้า เสรีในกรอบอาเซียน +๓ เพื่อถ่วงดุลกับ TPP ของสหรัฐอเมริกา
37
ผลกระทบของการแข่งขัน ของสหรัฐอเมริกา และ สาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อความมั่นคงอาเซียน ในขณะที่ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจี น อยู ่ ใ น ยุ ค ของการก้ า วขึ้ น สู ่ ก ารเป็ น มหาอ� ำ นาจ (The Rise of China) และได้สร้างความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจในอาเซียนเพิ่มขึ้นอย่าง มากมาย อย่างไรก็ตามเริ่มมีค�ำถามว่า “การ ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอ� ำนาจเป็นไปอย่างสันติ หรือไม่?” เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ แ สดงออกในลั ก ษณะแข็ ง กร้ า ว ในการ แก้ไขปัญหาทะเลจีนใต้และกรณีความขัดแย้ง ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนกับญี่ปุ่น ใน ขณะที่สหรัฐอเมริกาได้หวนกลับสู่เอเชียอีก ครั้งด้วยยุทธศาสตร์ Rebalancing ซึ่งในขณะ ที่ระบบเศรษฐกิจเอเชียก�ำลังเดินหน้าไปด้วยดี แต่มีความไม่แน่นอนในบริบทของความมั่นคง ในภูมิภาคด�ำเนินไปควบคู่กันด้วย ตัวอย่างที่ ชีใ้ ห้เห็นว่าความขัดแย้งทางการเมืองและความ มั่นคงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภูมิภาคคือ ความขัดแย้งระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน กั บ ญี่ ปุ ่ น ในกรณี พิ พ าทเกาะเตี ย วหยู หรื อ เกาะเซนกากุ ซึ่งท�ำให้ประชาชนจีนเดินขบวน ประท้วงญี่ปุ่นในหลายๆ เมืองใหญ่ ส่งผลให้ บริษัทข้ามชาติของญี่ปุ่นต้องปิดกิจการรวม ทั้งสินค้าญี่ปุ่น โดยเฉพาะรถยนต์ญี่ปุ่นที่ขาย ในสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีปริมาณลดลง เป็ น อย่ า งมาก และญี่ ปุ ่ น มี แ นวโน้ ม จะย้ า ย ฐานการผลิตออกจากสาธารณรัฐประชาชน จีน ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศตกต�่ำ ลงอย่ า งมากนอกจากนี้ ยังมีความขัดแย้งใน ทะเลจีนใต้ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน
กับประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งก�ำลังขาดความ เป็นเอกภาพ เช่น ในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน ครั้งที่ ๔๕ ณ กรุงพนมเปญ ที่ไม่สามารถออกแถลงการณ์ร่วมได้ อย่างไร ก็ตามสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ผ่อนคลาย ความตึงเครียดของภูมิภาค โดยในการประชุม รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ ๔๖ ณ ประเทศบรู ไ นนั้ น อาเซี ย นและสาธารณรั ฐ ประชาชนจีนได้ออกแถลงการณ์ร่วม แม้ว่า ก่ อ นหน้ า การประชุ ม ครั้ ง นี้ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจีนจะแข็งกร้าวต่อปัญหาข้อพิพาท ทะเลจีนใต้ โดยเฉพาะกับสาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ แต่ในที่สุดก็สามารถหาข้อยุติได้โดยสาธารณ รั ฐ ประชาชนจี น เห็ น ด้ ว ยที่ จ ะให้ จั ด การ ประชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ อาวุ โ ส แลกเปลี่ ย น มุ ม มองเชิ ง ลึ ก เพื่ อ ปฏิ บั ติ ต ามปฏิ ญ ญาว่ า ด้วยแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้ รวมถึงความ ร่วมมือที่จะเริ่มต้นการหารืออย่างเป็นทางการ ถึ ง แนวปฏิ บั ติ ข องภาคี ใ นทะเลจี น ใต้ ที่ ถู ก ต้องตามกติกา โดยมีไทยเป็นผู้ประสานงาน ซึ่ ง สหรั ฐ อเมริ ก าใช้ ป ระเด็ น ความขั ด แย้ ง นี้
ในการเพิ่มบทบาททางทหาร ซึ่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีนไม่พอใจสหรัฐอเมริกาที่เข้ามา แทรกแซงในกรณีความขัดแย้ง อย่างไรก็ตาม สหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาชนจีนมี ความสัมพันธ์ทั้งร่วมมือและแข่งขันกัน ทั้งสอง ประเทศไม่ ต ้ อ งการเผชิ ญ หน้ า กั น เนื่ อ งจาก มีผลประโยชน์ร่วมกันจ�ำนวนมาก แตกต่าง จากอดี ต ที่ ค วามมั่ น คงของประเทศหนึ่ ง ส่ ง ผลให้เกิดความไม่มั่นคงของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่ ง ผลประโยชน์ ร ่ ว มที่ ไ ด้ แ ทบไม่ มี ค ่ า อะไร (Zero - Sum Game)
38
สำ�นักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักนโยบายและแผนกลาโหม
บทสรุป
การแข่ ง ขั น และความร่ ว มมื อ ของสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจ แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง อ า เ ซี ย น ทั้ ง ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ส า ธ า ร ณ รั ฐ ป ร ะ ช า ช น จี น ต ่ า ง มี ผ ลประโยชน์ ใ นภู มิ ภ าคจึ ง ต้ อ ง รั ก ษาผลประโยชน์ ร ่ ว มกั น ซึ่ ง หาก อาเซี ย นสามารถรั ก ษาความเป็ น ศูนย์กลาง (Centrality) ได้แล้ว อาเซี ย นจะสามารถมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
(Engage) กับทั้งสองมหาอ�ำนาจ ได้ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ กล่ า วโดย สรุ ป ปั ญ หาท้ า ทายอาเซี ย น คื อ อาเซียนต้องรักษาความสงบไม่ให้ เกิดความขัดแย้ง ต้องสร้างความ แข็ ง แกร่ ง ภายในกลุ ่ ม ในการ รวมตั ว เป็ น ประชาคมอาเซี ย นโดย เฉพาะด้านเศรษฐกิจ และต้องรักษา การเป็นศูนย์กลาง (Centrality) ของอาเซียนไว้ให้ได้แม้ต้องประสบ กับความท้าทายต่างๆ
39
Dien Bien Phu เพื่ออิสระ ต้องกอบกู้
From : Air Force Magazine, August 2004 Writer : Rebecca Grant ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
วั
นที่ ๔ ส.ค. ๑๙๖๔ ประธานาธิบดี Lyndon B. Johnson ได้ประกาศ ว่ า เวี ย ดนามเหนื อ ยิ ง เรื อ รบของ สหรัฐฯ และได้น�ำเรื่องนี้เข้าสู่สภาคองเกรส เมื่อ ๗ ส.ค.พร้อมกับใช้ข้อสรุป The Golf of Tonkin Resolution อ้างหาเหตุให้สหรัฐฯ เข้า แทรกแซงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับตั้งแต่บัดนั้นสหรัฐฯก็ถล�ำลึกในศึกที่ยึดเยื้อ ของสงครามเวียดนาม ต้องสูญเสียเงินทอง และชีวิตของทหารอเมริกันเป็นจ�ำนวนมาก พร้อมไปกับความอับอายจากการพ่ายแพ้ต่อ เวียดนามเหนือในยุคต่อมา 40
ในปี ๑๙๕๔ มี เ หตุ ก ารณ์ ที่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ สหรัฐฯให้ความส�ำคัญต่อภูมิภาคนี้มาแล้วครั้ง หนึ่ง เมื่อค่ายทหารที่เมือง Dien Bien Phu ของฝรั่งเศสซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคม French Indochina ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเวียดนาม ติดกับประเทศลาว ในค่ายนี้มีทหารฝรั่งเศสติด กับการล้อมกรอบจากทหารเวียดนามเหนืออยู่ หลายพันคน เพื่อเป็นการกอบกู้สถานการณ์ ฝรั่ ง เศสได้ ร ้ อ งขอเพื่ อ ขอยื ม และขอรั บ การ สนับสนุนก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ต่างๆ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบิน 10B-26s, C-47s, และ C-119s สหรัฐฯมีความต้องการที่จะช่วย แต่ มีค�ำถามส�ำคัญส�ำหรับประธานาธิบดี Dwight D. Eisenhower คือ สหรัฐฯ จะต้องพัวพันกับ ศึกครั้งนี้ไปอีกนานแค่ไหน และอย่างไร เวียดนามและประเทศในอินโดจีน ได้ถูก ฝรั่งเศสเข้าครอบครองเป็นอาณานิคมตั้งแต่ ศตวรรษที่ ๑๙ แต่ ก็ ต ้ อ งสิ้ น อิ ท ธิ พ ลให้ แ ก่ ญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง และเมื่อสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ สงคราม ฝรั่งเศสจึงได้กลับเขามามีอิทธิพล อีกครั้งหนึ่ง เสียงเพรียกจากพงไพร เพื่อกอบกู้เอกราช ได้ร�่ำร้องอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น ในปี ๑๙๔๖ ทหารเวียดมินท์ภายใต้การน�ำของ Gen.Vo Nguyen Giap เปิดการสู้รบกับฝรั่งเศสเพื่อ ปลดปล่อยประเทศ ฝรั่งเศสเองก็กระพือความ
ประธานาธิบดี Lyndon B. Johnson
เลวร้ายของการปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ และเปิ ด สงครามต่ อ ต้ า นกั น มาทั้ ง สองฝ่ า ย และเมื่อถึงปี ๑๙๔๙ เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์ จีนมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดในจีนแผ่นดินใหญ่ พวกเขาจึ ง ส่ ง ออกการปกครองในระบอบ คอมมิ ว นิ ส ต์ ล งมาทางใต้ ข องภู มิ ภ าคทั น ที กระแสของคอมมิวนิสต์จึงได้ทวีความรุนแรง ขึ้นทั่วทั้งอินโดจีน นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
Total Destruction แนวความคิ ด ในการปลดปล่ อ ยประเทศ ของ Gen.Vo Nguyen Giap ไม่ใช่เพียงแค่ มี ชั ย ชนะเหนื อ ฝรั่ ง เศสเท่ า นั้ น แต่ เ ขาต้ อ ง ท�ำลายกองทัพฝรั่งเศสอย่างสิ้นซาก ในขณะ ที่ ฝ ่ า ยฝรั่ ง เศสภายใต้ ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาของ Gen.Henri Navarre มีก�ำลังพลที่ประกอบไป ด้วยทหารฝรั่งเศส ๒๐๐,๐๐๐ คน ทหารชาว เวียดนามอีก ๒๐๐,๐๐๐ คน ด้วยก�ำลังขนาด นี้เขาเชื่อว่าเอาอยู่ การจัดวางก�ำลังส่วนใหญ่ อยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำโขงและตาม เมืองส�ำคัญเท่านั้น ส่วนพื้นที่ในชนบทหรือ ตามขุนเขาพืน้ ทีส่ งู ทุรกันดารต่างๆ นัน้ กองทัพ ฝรั่งเศสแทบจะไม่ได้ตั้งมั่นค่ายทหารไว้เลย จะ มีเพียงแค่ที่เมือง Na San เท่านั้น แต่พวกเขา ก็ชดเชยการส่งก�ำลังบ�ำรุงแก่ค่ายทหารแห่งนี้ ด้วยการใช้ความได้เปรียบของก�ำลังทางอากาศ ที่เหนือกว่าอย่างมาก
พล.อ.Vo Nguyen Giap
Gen.Henri Navarre
Dien Bien Phu ก็ไม่สามารถท�ำได้ และเพื่อ เสริมการป้องกันค่าย เขาได้ซุ่มซ่อนปืนใหญ่ ไว้รายรอบถึงสามจุด อีกทั้งสามารถร้องขอ การโจมตีหรือสนับสนุนทางอากาศเพื่อบดขยี้ เวียดมินท์ได้ต ามต้ องการ ตามแนวคิ ด ของ Navarre เขามี ค วามชื่ น ชมและเชื่ อ มั่ น ว่ า Dien Bien Phu จะเป็นฐานที่มั่นที่แข็งแกร่ง ของฝรัง่ เศสในการสูร้ บกับเวียดมินท์ เพือ่ รักษา อาณานิคมไว้ในระยะยาว ส� ำ หรั บ นั ก ยุ ท ธศาสตร์ ท างทหารที่ ป ราด เปรื่องอย่าง Giap นั้น เขากลับคิดต่างออก ไป เขาจะท� ำให้ค่ายทหารแห่งนี้เป็นกับดัก หรือทุ่งสังหารของฝรั่งเศส เขากลับคิดว่าสิ่ง ที่ Naverre ก� ำ ลั ง ท� ำ อยู ่ นั้ น เปรี ย บเหมื อ น กับตัวไหมที่ก�ำลังขย้อนใยไหมออกมา เพื่อ พันธนาการตัวเอง สิ่งที่เหนือการคาดหมาย ของ Navarre นั้น Giap ก�ำลังท�ำอย่างใจเย็น เป็นขั้นเป็นตอน เขาเริ่มติดต่อซื้ออาวุธและ ปืนใหญ่จากจีนอย่างเงียบๆ พร้อมกับฝึกทหาร ของเขาให้ช�่ำชองในเรื่องการใช้อาวุธประหัต ประหารพวกนี้ โดยการฝึกสอนและให้การ ปรึกษาแนะน�ำจากจีน ส่วนการรุกคืบภาคพืน้ ที่ พวกเขาถนัดนัน้ ทหารเวียดมินท์ลอบขุดสนาม เพราะประชิดแนวการต้านรับของฝรัง่ เศส เป็น
โครงข่ายโยงใยทั่วทั้งยุทธบริเวณ ในด้านการ ส่งก�ำลังบ�ำรุงขนาดใหญ่จากภายนอก เขาได้ ระดมเร่งสร้างเส้นทางยุทธวิธีและสะพานเข้า ปิดล้อมไว้พร้อมกันไปด้วย เมื่อทุกอย่างเดิน ทางมาถึงจุดที่เขาต้องการซึ่ง Giap มีความ พร้อมทุกอย่างทางยุทธการ ไม่ว่าก�ำลังพลที่ ถูกระดมมามากและเต็มไปด้วยความห้าวหาญ อาวุธยุทโธปกรณ์ทั้งหนักและเบา ร่องสนาม เพลาะส� ำ หรั บ ทหารราบ เมื่ อ ถึ ง ตรงนี้ บ วก กับความบ้าบิ่นด้วยเลือดรักชาติ ที่เหมือนกัน ของก�ำลังพล เขามั่นใจแล้วที่จะเปิดฉากสลาย Dien Bien Phu ภายใต้การบังคัญบัญชาของ Navarre ซึ่งเมื่อนั้น เมื่อตัวไหมตาย ใยจึงสิ้น เอกราชทีแ่ ลกด้วยเลือดเนือ้ และชีวติ จะกลับมา เป็นของพวกเขา ในเวลาเดี ย วกั น นี้ ในการวิ เ คราะห์ สถานการณ์ ข องฝากฝั ่ ง สหรั ฐ ฯ โดย ประธานาธิ บ ดี Eisenhower กลั บ มี ค วาม ไม่มั่นใจอาการไข้ขึ้นของเวียดนาม พวกเขา ค�ำนึงถึงโอกาสของชัยชนะในเวียดนาม ถ้าหาก สหรั ฐ ฯ เข้ า ร่ ว มหรื อ ยุ ่ ง เกี่ ย วในสงครามนี้ ซึง่ ในช่วงต้นๆ ของสงครามเวียดนามนัน้ สหรัฐฯ จ� ำ กั ด การเข้ า ร่ ว มเพี ย งแค่ ก ารช่ ว ยเหลื อ ฝรั่งเศสด้านยุทโธปกรณ์และก�ำลังพลบางส่วน เท่านัน้ อีกทัง้ แนวความคิดของสหรัฐฯ ในเวลา นั้น ถ้าหากต้องเข้าร่วมสงครามอย่างเต็มตัว สหรัฐฯ จะมุง่ เน้นไปทีก่ ำ� ลังทางอากาศเป็นหลัก โดยเฉพาะก� ำ ลั ง ทางอากาศยุ ท ธศาสตร์ ที่ในเชิงของนิวเคลียร์ (Strategic Nuclear Airpower) ซึ่งท�ำให้สหรัฐฯ เริ่มเตรียมการ สะสมอาวุธนิวเคลียร์ไปพร้อมๆ กัน ผลอีก ประการหนึ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อเข้าร่วม สงคราม Eisenhower คิดว่าจะเป็นการช่วย ลดการแบ่งแยกความแตกต่างเชื้อชาติ ศาสนา และผิวสีในหมูท่ หารสหรัฐฯ ลงไปด้วย พวกเขา จะรักกัน เข้าใจกันและสามัคคีกัน เมื่อจะต้อง อยู่ในสภาวะสงครามไกลบ้าน
ปี ๑๙๕๓ Gen.Henri Navarre ส่งทหาร เข้ายึดและตั้งมั่นที่เมือง Dien Bien Phu อัน เป็นพื้นที่ท่ามกลางหุบเขาสลับซับซ้อน ด้วย เหตุผลสองประการคือ ต้องการปิดกั้นเส้นทาง ยุ ท ธการจากเวี ย ดนามเข้ า สู ่ ป ระเทศลาว ในกรณีที่ Giap ต้องการใช้พื้นที่ในประเทศ ลาว และต้องการปราบปรามแหล่งผลิตฝิ่นซึ่ง เป็นแหล่งท�ำเงินให้กองทัพเวียดมินท์ ทั้งที่เขา เองก็ตระหนักดีว่าชัยภูมิแห่งนี้อาจถูกรบกวน ด้วยการท�ำลายจากปืนใหญ่ได้ง่ายๆ แต่เขา ก็เชื่อมั่นว่าเวียดมินท์จะไม่ได้รับการสนับสนุน ปืนใหญ่จากจีนแน่นอน และโอกาสทีเ่ วียดมินท์ จ ะ ยึ ด ค ร อ ง เ นิ น เ ข า ที่ เ ป ็ น ที่ สู ง ข อ ง หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
41
The Seige Begins วันที่ ๑๓ มี.ค. ๑๙๕๔ การล้อมกรอบและ กระหน�่ำโจมตีของเวียดมินท์เกิดขึ้นอย่างหนัก หน่วง Dien Bien Phu ลุกเป็นไฟ สนามบิน เต็มไปด้วยเศษซากปรักหักพังของสิง่ ปลูกสร้าง และความย่อยยับของ F-8F (Bearcat) หลายล�ำ แนวป้องกันปืนใหญ่ที่ฝรั่งเศสวางไว้ถูกท�ำลาย ย่อยยับ และท�ำลายความเชื่อมั่นในแผนการ ยุทธทีว่ างไว้อย่างสิน้ เชิง หน.นายทหารปืนใหญ่ ของฝรั่งเศส Col.Charles Piroth ที่เคยมั่นใจ แนวความคิ ด การวางก� ำ ลั ง ของผู ้ น� ำ ทหาร
42
ของเขาเป็นอย่างยิ่ง ถึงกับถอดใจหดหู่ฆ่าตัว ตายในค่ายด้วยลูกระเบิดสังหาร การส่งก�ำลัง บ�ำรุงเพื่อกอบกู้ท�ำได้ทางเดียวเท่านั้นคือ การ ใช้ก�ำลังทางอากาศแบบผสมผสาน ทั้งท�ำลาย และส่ ง ของ แนวความคิ ด เรื่ อ งระเบิ ด เพลิ ง ท�ำลายล้าง (Napalm) บริเวณกว้างเพื่อเปิด เผยที่ตั้งข้าศึกซึ่งซ่อนเร้นบังไพรอยู่ ได้เริ่มเกิด ขึ้นเมื่อ ๒๔ มี.ค. อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีความ ได้เปรียบของก�ำลังทางอากาศ ก็ไม่สามารถ ต้านทานการเกาะติดโหมบุกรุกกระแทกอย่าง ต่อเนื่องของเวียดมินท์ ก� ำลังทางอากาศไม่ สามารถท�ำงานได้อย่างแม่นย�ำและมีความเป็น
อิสระในการปฏิบัติการ การทิ้งลงทางอากาศ ต้องเปลี่ยนไปทิ้งที่ความสูง ๘,๐๐๐ ฟุต จาก เดิมทีม่ คี า่ ความหวังผลมากที่ ๒,๐๐๐ ฟุต ท�ำให้ ยากและอันตรายในการไปรับของ กลับกลาย เป็นว่าของหลายอย่างต้องตกเป็นประโยชน์แก่ ทหารข้าศึกไป โดยทีพ่ วกเขาไม่มกี �ำลังส่งก�ำลัง บ�ำรุงทางอากาศเป็นของตนเอง สถานการณ์ ของการส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง ย�่ ำ แย่ ห นั ก ขึ้ น ไปอี ก เมื่อถึงกลางเดือน เม.ย. พื้นที่ปลอดภัยในการ ส่ง/รับของนั้น ถูกบีบเหลือเพียงแค่ให้อยู่ใน พื้นที่ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางแค่ ๑,๕๐๐ หลา เท่านั้น
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
พลเรื อ นเมื่ อ มิ . ย. ๑๙๕๔ ครั้ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๐-๒๑ ก.ค. ปีเดียวกัน ประเทศมหาอ�ำนาจ ได้แก่ ฝรั่งเศส, อังกฤษ, สหรัฐฯ และสหภาพ โซเวี ย ต ได้ ป ระชุ ม กั น ที่ ก รุ ง เจนี ว า เพื่ อ หา มาตรการในการประกาศยุติสงครามอินโดจีน ข้อสรุปคือให้แบ่งประเทศเวียดนามเป็นการ ชั่วคราว เป็นสองส่วน คือ เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ การรวมชาติอีกครั้งจะเกิด ขึ้ น เมื่ อ มี ก ารเลื อ กตั้ ง แห่ ง ชาติ ซึ่ ง ก�ำ หนดให้ จัดขึ้นภายในปี ๑๙๕๖ แต่ความเป็นจริงที่ ข่มขื่นคือ วันนี้ไม่เคยปรากฏในประวัติศาสตร์ ของเวียดนามเลย ดูเหมือนว่าจะเป็นสิ่งบอก เหตุว่าคนเวียดนามคงจะไม่มีโอกาสรวมชาติ อย่างสันติ และไม่ทราบชะตาชาติวา่ ประชาชน จะต้องด�ำรงชีพภายใต้เมฆหมอกแห่งสงคราม (Fog of war) ไปอีกนานเท่าใด หลังจากผลของการประชุมที่กรุงเจนีวาได้ ไม่นาน ในเดือน ก.ย. ๑๙๕๔ สหรัฐฯ และ พันธมิตรเจ็ดชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ลงนามใน The Manila Pact และเป็น ก�ำเนิดขององค์กร SEATO (South East Asia Treaty Organization) ซึง่ กาลต่อมาถือว่าเป็น
Operation Vulture เมื่อการบุกผ่านมาได้ ๑๐ วัน สถานการณ์ เลวร้ายมากขึน้ Dien Bien Phu อาจแตกสลาย ฝรัง่ เศสจึงได้รอ้ งขอความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ จึงเกิดแผนปฏิบตั กิ ารแร้งทึง้ “The Operation Vulture” ขึ้น ซึ่งแผนการปฏิบัติการนี้ จะเป็น ครั้งแรกในสงครามเวียดนามที่สหรัฐฯ ต้อง ใช้ก�ำลังทางอากาศแต่เพียงล�ำพัง ซึ่งสหรัฐฯ จะต้ อ งระดมก�ำลั ง ทางอากาศตามแผนเป็น เครื่องบินทิ้งระเบิด B-26 จ�ำนวน ๖๐ ล�ำ จากฐานทัพในย่านนี้ และจ�ำเป็นต้องปฏิบัติ การร่วมกับเครื่องบินรบจากกองเรือที่เจ็ด ใน การบินคุ้มกันจากการสกัดกั้นและท�ำลายของ เครื่องบินรบ MiGs จากจีนคอมมิวนิสต์ ที่ พร้อมจะวิ่งขึ้นจากสนามบินตามแนวชายแดน ของเวียดนามที่ติดกับจีน ในส่วนที่ลึกของแผน Operation Vulture นายทหารฝ่ายเสนาธิการระดับสูงของสหรัฐฯ เสนอให้ ใ ช้ อ าวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ ถึ ง สามลู ก ในการ ท�ำลายที่มั่นทางทหารของเวียดมินท์ โดยให้ ใช้กับ บ.ทิ้งระเบิดในยุคนั้น เช่น B-29, B-36 และ C-47 ฝ่ายฝรั่งเศสเองรู้สึกชอบใจในแนว ความคิ ด นี้ หากแต่ Eisenhower ปฏิ เ สธ แผน Operation Vulture โดย Eisenhower กล่าวว่า ก�ำลังทางอากาศของสหรัฐฯ จะใช้ เพื่อเหตุผลด้านคุณธรรมเพื่อช่วยเหลือทหาร ฝรั่ ง เศสเท่ า นั้ น และจะใช้ เ ป็ น การชั่ ว คราว นั บ ว่ า เป็ น โชควาสนาของคนเวี ย ดนามและ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
ประเทศในย่ า นอิ น โดจี น ที่ ไ ม่ ต ้ อ งมาตาย ซ�้ำซากอีกจากพิษภัยที่ตกค้างของกัมมันตรังสี แม้ว่าสงครามจะสงบแล้วก็ตาม ดังนั้นการป้องกัน Dien Bien Phu จึงเป็น ไปตามยถากรรมเท่ า ที่ พ วกเขาจะสามารถ ท�ำได้ และแล้ววันล่มสลายค่ายแห่งนี้ก็มาถึง Dien Bien Phu แตกเมื่อวันที่ ๗ พ.ค. ๑๙๕๔ การจบสิ้ น ศึ ก ครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ ฝ รั่ ง เศสทบทวน บทบาทตนเอง และตั ด สิ น ใจปลดปล่ อ ยให้ เวียดนามเป็นอิสระปกครองตนเองโดยรัฐบาล
เสาหลักหรือข้อผูกพันที่ท�ำให้สหรัฐฯ กระโจน เข้าสู่สงครามเวียดนาม จนกว่าสงครามรวม ชาติที่กู่ก้องร้องมาจากภายในของพวกเขาจะ เกิดขึ้น และสัมฤทธิผลอีกครั้งหนึ่ง
43
ดุลยภาพของประเทศอาเซียน
เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ ชั้นเอนดูเรนซ์ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
44
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทัพเรือสิงคโปร์ (RSN) ประจ�ำ การด้วยเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ ในชั้ น เอนดู เ รนซ์ (Endurance : LPD) ท�ำการออกแบบและต่อขึ้นจากอู่ต่อ ภายในประเทศ เพื่อประจ�ำการทดแทนเรือ ยกพลขึ้นบกรุ่นเก่าในชั้นคันทรี (County : LST) ที่ประจ�ำการอยู่จ�ำนวน ๔ ล�ำ (ประจ�ำ การในปี พ.ศ. ๒๕๑๓) เรือล�ำแรกได้ท�ำการ ปล่อยลงน�้ำเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ขึ้นระวางประจ�ำ การเมื่อ วั น ที่ ๑๘ มี นาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ มีชื่อว่าเรืออาร์เอสเอส. เอนดู เรนซ์ (RSS Endurance, No.207) เรือมี ระวางขับน�้ ำมาตรฐาน ๖,๕๐๐ ตัน ขนาด ยาว ๑๔๑.๐ เมตร เครื่องยนต์ดีเซล ความเร็ว ๑๗ นอต ขีดความสามารถท�ำการขนส่งทหาร ได้ ๓๕๐ - ๕๐๐ นาย บรรทุกรถถังได้ ๑๘ คัน อาวุธปืนหลักขนาด ๗๖ มิลลิเมตร (รุ่น Super Rapid), ปืนกลขนาด ๒๕ มิลลิเมตร (M-242, Mk.38 Mod2) รวม ๒ กระบอก ปืนกลหนัก ขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร (CIS, 50MG) รวม ๔ กระบอก จรวดน�ำวิถีต่อสู้อากาศยานแบบ ซิมแบด (Simbad) ชนิดสองท่อยิง รวม ๒ แท่นยิง และลูกเรือ ๖๕ นาย (เป็นนายทหาร ๘ นาย) ติดตั้งระบบเรดาร์และระบบควบคุม อาวุธพร้อมด้วยระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์ที่ ผลิตจากยุโรปและสหรัฐอเมริกา เรือสามารถที่ จะรองรับเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ได้ ๒ เครื่อง (AS 332M, Super Puma)
ต่ อ จากอู ่ ต ่ อ เรื อ เอสที เอนจิ เ นี ย ริ่ ง (ST Engineering) จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ได้ ข ยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว เป็ น อุ ต สาหกรรม ป้องกันประเทศขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในกลุม่ ประเทศ อาเซียน บริษัทขนาดใหญ่มีหลายสาขาทั้งทาง ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ด้านอากาศยาน (ซ่อม เครื่องบินได้ระดับขั้นโรงงาน) ด้านยานยนต์ ออกแบบและท�ำการผลิต เช่น รถรบทหาร ราบไบโอนิ ก ซ์ - ๒๕ ด้ า นการผลิ ต ปื น ใหญ่ (ออกแบบ และท�ำการผลิตปืนใหญ่ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร เช่น เอฟเอช-๘๘, เอฟเอช-๒๐๐๐ และพรี มั ส ) ด้ า นการต่ อ เรื อ (เรื อ ทางด้ า น พลเรือนและเรือรบหลายแบบ เช่น เรือคอร์เวต ชั้ น วิ ค ทอรี่ , เรื อ ตรวจการณ์ ชั้ น เฟี ย ร์ เ ลส, เรือยนต์เร็วโจมตีชั้นซีวูล์ฟ และเรือฟรีเกต ชั้นฟอร์มิเดเบิ้ล) และอาวุธเบา (ปืนเล็กยาว ซาร์ - ๒๑, ปื น กลของหมู ่ ป ื น เล็ ก อั ล ติ แ ม็ ก ซ์ ๑๐๐, ปื น กลหนั ก ซี ไ อเอส ขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร และเครือ่ งยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ ซีเอ เอส ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร เอจีแอล) สามารถจะ ส่งผลิตภัณฑ์ไปขายต่างประเทศทั้งในอาเซียน อินโดนีเซีย บรูไน และฟิลิปปินส์ และนอก อาเซียน เม็กซิโก อุรุกวัย เปรู โครเอเชีย และ สโลวีเนีย ปัจจุบันมีคนงานกว่า ๒๑,๐๐๐ คน กองทัพเรือสิงคโปร์ (RSN) ยังได้ต่ออีก ๓ ล�ำ ประกอบด้วยเรืออาร์เอสเอส. รีโซลูชั่น (RSS Resolution, No.208) ปล่อยลงน�้ำเมื่อ
เรืออาร์เอสเอส. เอนเดเวอร์ (RSS Endeavour No.210) ปล่อยเรือลงน�้ำ เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ขึ้นระวางประจ�ำการวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นเรือล�ำสุดท้ายของชุดนี้ ติดตั้งปืนหลักขนาด ๗๖ มิลลิเมตร หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
45
เรือมีระวางขับน�้ำมาตรฐาน ๖,๕๐๐ ตัน สามารถท�ำการขนส่งทหารได้ ๓๕๐ - ๕๐๐ นาย บรรทุกรถถังได้ ๑๘ คัน อาวุธปืนหลักขนาด ๗๖ มิลลิเมตร (Super Rapid) ปืนกลขนาด ๒๕ มิลลิเมตร (M-242) รวม ๒ กระบอก ปืนกลหนักขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร (CIS 50MG) รวม ๔ กระบอก จรวดน�ำวิถีต่อสู้อากาศยานแบบซิมแบด (Simbad) ชนิดสองท่อยิง รวม ๒ แท่นยิง
วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ขึน้ ระวางประจ�ำ การเมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓, เรือ อาร์เอสเอส. เปอร์ซสิ เทนซ์ (RSS Persistence No.209) ปล่อยลงน�้ำเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ขึ้ น ระวางประจ� ำ การวั น ที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ และเรืออาร์เอสเอส. เอนเดเวอร์ (RSS Endeavour No.210) ปล่อย เรือลงน�้ำเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ขึ้นระวางประจ�ำการวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ต่อมา เรืออาร์เอสเอส. รีโซลูชั่น (RSS Resolution) เข้าร่วมท�ำการฝึกกับกองทัพ เรือสหรัฐอเมริกา (CARAT 2000) ได้ท�ำการ ยิ ง จรวดน� ำ วิ ถี ต ่ อ สู ้ อ ากาศยานแบบซิ ม แบด (จรวดมิสทรัล) ประสบความส�ำเร็จในการยิง เรืออาร์เอสเอส. เอนดูเรนซ์ (RSS Endurance, No.207) ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ สั น ติ ภ าพบริ เ วณ อ่าวเปอร์เซียเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็ น เวลานาน ๒ เดื อ น เรื อ อาร์ เ อสเอส. รีโซลูชั่น (RSS Resolution) ปฏิบัติการต่อ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ และเรือ อาร์เอสเอส. เอนเดเวอร์ (RSS Endeavour) ปฏิ บั ติ ก ารต่ อ ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ นั บ ว่ า เรื อ ยกพลขึ้ น บกขนาดใหญ่ ในชุ ด นี้ ป ฏิ บั ติ ก ารทางทะเลร่ ว มกั บ เรื อ รบ นานาชาติ เ ป็ น กองเรื อ ขนาดใหญ่ ใ นพื้ น ที่ ที่ มี ภั ย คุ ก คามทางทะเล อยู ่ ห ่ า งไกลจาก ฐานทั พ เรื อ ปกติ ที่ ป ระเทศสิ ง คโปร์ ไ ด้ เ ป็ น อย่างดี 46
รักษาพยาบาล และถูกแทนที่โดยเรืออาร์เอส เอส. เปอร์ซิสเทนซ์ (RSS Persistence) เมื่อ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ต่อมาวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ เข้าร่วมปฏิบัติการกับกองก�ำลังนานาชาติเพื่อ ต่อต้านกลุ่มโจรสลัดโซมาเลียโดยการส่งเรือ อาร์เอสเอส. เปอร์ซสิ เทนซ์ (RSS Persistence) ร่ ว มกั บ กองเรื อ เฉพาะกิ จ ที่ ๑๕๑ พร้ อ ม ด้วยเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์แบบซูเปอร์พูม่า จ� ำ นวน ๒ เครื่ อ ง ปฏิ บั ติ ก ารทางทะเล บริเวณชายฝั่งประเทศโซมาเลียเป็นเวลานาน ๓ เดือน ต่อมาเรืออาร์เอสเอส. เอนดูเรนซ์ (RSS Endurance) ปฏิบัติการระหว่างเดือน มิถุนายน - ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และเรือ อาร์เอสเอส. เอนเดเวอร์ (RSS Endeavour) ปฏิบัติการถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ กองทั พ เรื อ ไทยประจ� ำ การเรื อ หลวง อ่างทอง (หมายเลข ๗๙๑) เมือ่ วันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เดิ น ทางถึ ง ประเทศไทยเมื่ อ วันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ต่อจากอู่ต่อ เรือประเทศสิงคโปร์ สร้างตามเรือต้นแบบชั้น เอนดูเรนซ์ (Endurance) วางกระดูกงูเมื่อ วันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และปล่อยเรือ
เรืออาร์เอสเอส. เอนดูเรนซ์ (RSS Endurance, No.207) ระวางขับน�้ำมาตรฐาน ๖,๕๐๐ ตัน ขนาดยาว ๑๔๑.๐ เมตร เครื่องยนต์ดีเซล และความเร็ว ๑๗ นอต ปล่อยลงน�้ำเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ และขึ้นระวางประจ�ำการเมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
เรื อ อาร์ เ อสเอส. เอนดู เ รนซ์ (RSS Endurance) เข้าปฏิบัติการเพื่อช่วยเหลือ ทางมนุษยธรรมกรณีที่เกิดสึนามิ (tsunami) ที่อาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย เกิดขึ้นเมื่อ วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ มีผู้ประสบ ภัยกว่า ๑๖๗,๐๐๐ คน เป็นปฏิบัติการฉุกเฉิน ช่วยเหลือในการเคลื่อนย้ายคนเจ็บและการ
ลงน�้ำเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อ ประจ� ำ การทดแทนเรื อ ยกพลขึ้ น บกรุ ่ น เก่ า ทีไ่ ด้ปลดระวางประจ�ำการไปแล้ว (เรืออ่างทอง (ล�ำที่ ๒) เดิมมีชื่อว่าเรือยูเอสเอส แอลเอส ที-๙๒๔ ประจ�ำการในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ และ ปลดประจ�ำการปี พ.ศ. ๒๕๔๙) ใช้ในภารกิจ สนั บ สนุ น การยกพลขึ้ น บก คุ ้ ม ครองผล พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เรืออาร์เอสเอส. เอนดูเรนซ์ (RSS Endurance, No.207) ขณะที่จอดทอดสมออยู่ร่วมกับเรือ ชุดเดียวกันอีก ๒ ล�ำ รวมเรือในชุดนี้จอดรวมกัน ๓ ล�ำ
เรือหลวงอ่างทอง (ล�ำที่ ๓) ขณะจอดอยู่ที่ ฐานทัพเรือ เพื่อจะขนส่งยุทโธปกรณ์ ทางทหารของกองทัพเรือ
ประโยชน์ของชาติทางทะเลและการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย เรือมีระวางขับน�้ำ ๗,๖๐๐ ตัน ยาว ๑๔๑ เมตร กินน�้ำลึก ๔.๖ เมตร กว้าง ๒๑ เมตร เครื่องยนต์ดีเซล มีความเร็ว ๑๗ นอต ปฏิ บั ติ ก ารได้ น าน ๔๕ วั น ปื น หลั ก ขนาด ๗๖/๖๒ มิลลิเมตร (Super Rapid) ปืนกลขนาด ๓๐ มิลลิเมตร (Sea Hawk MSIDS30 MR) ปืนกลขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร ระบบอ�ำนวยการรบ (TERMA C-Flex) และ ลู ก เรื อ ๑๕๑ นาย สามารถขนส่งทหารได้ ๕๐๐ คน พร้อมทั้งสามารถ รับ-ส่ง เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ทางนาวีแบบซีฮอร์ค (S-70B, Seahawk เรี ย กว่ า เฮลิ ค อปเตอร์ ป ราบเรื อ ด�ำน�้ำ แบบที่ ๑) ได้ ๒ เครื่อง สังกัดกองเรือ ยกพลขึ้นบกและยุทธบริการ (หมวดเรือที่ ๑) กองเรือยุทธการ กองทัพเรือได้สง่ เรือหลวงอ่างทองเข้าร่วม ปฏิบัติการจัดเก็บคราบน�้ำมันที่รั่วไหล บริเวณ พื้นที่อ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง เมื่อ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
เรือหลวงอ่างทอง (HTMS Angthong 791, เรือล�ำนอก) เป็นเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ ขณะที่แล่นคู่ไปกับ เรือหลวงสิมิลัน (MTMS Similan 871) ซึ่งเป็นเรือส่งก�ำลังบ�ำรุงขนาดใหญ่ของกองทัพเรือ
47
ก่อนสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๙๕ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
พระเจ้าจักกายแมง มีความมุ่งมั่นที่จะขยายอาณาจักรให้มีขนาด ใหญ่ขึ้น มุ่งจะขยายไปทางด้านตะวันตก ท�ำการรุกอย่างรวดเร็ว สามารถยึดได้เมืองมณีปรุ ะ เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๓๖๒ กองทัพ พม่าท�ำการรุกล�ำ้ สูแ่ คว้นคาชาซึง่ เป็นเขตปกครองของอังกฤษ จึงน�ำ มาสูค่ วามขัดแย้งกับอังกฤษและการเริม่ ต้นน�ำมาสูส่ งครามทีเ่ รียกว่า สงคราม พม่า - อังกฤษ ในที่สุดน�ำความพ่ายแพ้มาสู่กองทัพ พม่าและก่อให้เกิดการสูญเสียก�ำลังทหารเป็นจ�ำนวนมากอย่างที่ ไม่เคยเกิดขึ้นในอดีต...............ความนี้ กล่าวถึงสถานการณ์ของ สองอาณาจักรก่อนที่จะเกิดเป็นสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๙๕ 48
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
49
ภาพกราฟิกเมืองที่ส�ำคัญของอาณาจักรพม่า ตามแนวริมฝั่งแม่น�้ำอิระวดี ซึ่งเป็นเมืองที่ส�ำคัญของพม่า
๑. สถานการณ์ทั่วไป สงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ กองทัพ พม่าพ่ายแพ้ในการรบเป็นผลให้พระเจ้าจักกาย แมง (พระเจ้าบาจีดอ) แห่งพม่าราชวงศ์อลอง พญาต้องท�ำสัญญาสงบศึกยันดาโบ (Treaty of Yandabo) เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๙๖ พม่าต้องสูญเสียทั้งดินแดนและค่าปรับ เป็นจ�ำนวนมากซึ่งจะน�ำมาสู่ความอ่อนแอของ อาณาจักรและมีความยุ่งยากในอนาคต
๒. ความวุ่นวายในราชส�ำนัก พระเจ้าจักกายแมง ยังอยู่ในราชสมบัติ ต่อไปอีก ๑๑ ปี หลังสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ แต่พระองค์ทรงอ่อนแอซึ่งเป็นการ เปิดโอกาสให้พระมเหสีและพระเชษฐาของ พระนางเข้ า มามี บ ทบาทในราชส�ำ นั ก จาก ที่ มี อ� ำ นาจมากเกิ น ไปนี่ เ องท� ำ ให้ บ รรดาข้ า ราชส�ำนักไม่พอใจ โดยเฉพาะเจ้าชายสารวดี พระอนุชาของพระเจ้าจักกายแมง และยังได้ 50
เข้าร่วมรบในสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งแรก เป็ น แม่ ทั พ อยู ่ ภ ายใต้ ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาของ มหาบั ณ ฑุ ล ะ พร้ อ มทั้ ง ได้ เ ข้ า ร่ ว มในการ รบที่ เ มื อ งย่ า งกุ ้ ง การสงครามครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ พระองค์ มี ค วามเข้ า ใจในขี ด ความสามารถ ของอาวุธของทหารอังกฤษที่มีความทันสมัย และพระองค์ทรงแนะน�ำพระเจ้าจักกายแมง ให้ ท� ำ สั ญ ญาสงบศึ ก กั บ อั ง กฤษ แต่ ไ ด้ รั บ การคั ด ค้ า นจากพระมเหสี คื อ พระนางเมนู และพระเชษฐาของพระนางคือเจ้ามินตาคยี เมื่อการรบใหญ่บริเวณวัดพระเกศธาตุได้ยุติลง พร้อมทั้งการสูญเสียก�ำลังทหารพม่า ๒๓,๐๐๐ นาย นับเป็นการสูญเสียก�ำลังทหารจ�ำนวนมาก ครั้งเดียวในระยะเวลาอันสั้นในวันเดียว เป็น ผลให้พระเจ้าจักกายแมงจ�ำเป็นต้องลงนามใน สัญญาสงบศึกในเวลาต่อมา หลังจากลงนาม ในสัญญาสงบศึกแล้วเจ้าชายสารวดีทรงทราบ ดี ว ่ า ทหารอั ง กฤษมี ขี ด ความสามารถทาง ทหารที่สูงกว่า และอาวุธสมัยใหม่ที่มีอ�ำนาจ ท�ำลายมากกว่าที่กองทัพพม่ามีประจ�ำการอยู่
ทั้งปืนคาบศิลาและปืนใหญ่พร้อมทั้งมีจำ� นวน มากกว่า แต่พระองค์ก็ยังไม่มีอ� ำนาจในราช ส�ำนักมากนักและจะต้องวางตัวอย่างสงบเพื่อ ไม่ให้มีภัย ต่ อ มาพระเจ้ า จั ก กายแมงทรงสะเทื อ น พระทัยจนเริ่มมีอาการทางประสาทในปี พ.ศ. ๒๓๗๔ จนไม่สามารถที่จะว่าราชการได้ ถึง ปี พ.ศ. ๒๓๘๐ ราชส�ำนักพม่าเริ่มจะวุ่นวาย พระมเหสีและพระเชษฐาของพระนางต้องการ ที่จะก�ำจัดเจ้าชายสารวดี พร้อมทั้งต้องการ ให้โอรสของพระนางคือเจ้าชายเสทกยามิน ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ เจ้าชายสารวดี ทรงทราบว่าพระองค์อยู่ในอันตรายและหลบ หนี อ อกจากเมื อ งอั ง วะไปอยู ่ ที่ เ มื อ งชเวโป (ถิ่นก�ำเนิดของปฐมราชวงศ์อลองพญา ซึ่งจะ ยังคงมีผู้ภักดีต่อราชวงศ์เป็นจ�ำนวนมาก) ต่อ มาได้มีผู้เข้าร่วมเพิ่มมากขึ้น ในที่สุดพระองค์ ก็ ส ามารถที่ จ ะเข้ า ยึ ด ราชส� ำ นั ก ได้ พ ร้ อ มทั้ ง ปลดพระเจ้าจักกายแมงออกจากราชบัลลังก์ เมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๓๘๐ ขึ้นครอง ราชสมบั ติ ท รงพระนามว่ า พระเจ้ า สารวดี (Tharrawaddy Min) แต่ชาวสยามจะเรียก ว่าพระเจ้าแสรกแมง นับเป็นกษัตริย์ล�ำดับ ที่ ๗ แห่งราชวงศ์อลองพญา ทรงประสูติเมื่อ วันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๒๙ มีพระมเหสี ชื่ อ พระนางแมเมี้ ย ตชเว สิ่ ง ที่ พ ระองค์ ท รง กระท�ำและทรงสั่งประหารชีวิตพระมเหสีและ พระเชษฐาของพระนาง และทรงกักบริเวณ พระเจ้าจักกายแมงอย่างแน่นหนา เนื่องจาก มี ขุ น นางพม่ า บางส่ ว นพยายามที่ จ ะน� ำ
ทหารอังกฤษในชุดเครื่องแบบมาตรฐานที่ท�ำการรบ ในสงคราม พม่า - อังกฤษ ปี พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๖๙ พร้อมด้วยปืนคาบศิลา พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
๓. จุดเริ่มต้นของสงคราม พม่า อังกฤษ ครั้งที่ ๒
ทหารอินเดียที่เรียกว่าทหารชีปอย เข้าร่วมรบกับทหารอังกฤษ ในสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ พร้อมด้วยปืนคาบศิลา
พระเจ้าจักกายแมงกลับมาขึ้นครองราชย์ใหม่ พระองค์ได้สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๘๙ รวมมีอายุได้ ๖๒ พรรษา ทรงอยู่ ในราชสมบัตินาน ๑๘ ปี เมื่ อ พระเจ้ า สารวดี ค รองราชสมบั ติ ได้ไม่นานพระองค์ก็มีพระสติวิปลาส และถูก พระราชโอรสคือเจ้าชายพุกามมิน (Pagan min ชาวสยามจะเรียกว่าพระเจ้าพุกามแมง ประสูติเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๕๔) ได้ ยึ ด อ� ำ นาจจากพระราชบิ ด าเมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๓๘๘ ทรงพระนามว่าพระเจ้าปะกันมิน และ พระเจ้าสารวดีทรงสวรรคตในเวลาต่อมาเมื่อ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๓๘๙ พระองค์ ทรงสวรรคตหลังพระเชษฐา ๓๓ วัน ทรงอยู่ ในราชสมบัตินาน ๙ ปี ขณะมีพระชนมายุได้ ๖๐ พรรษา จากความวุ่นวายในราชส�ำนักได้ สูญเสียข้าราชการทีม่ คี วามสามารถเป็นจ�ำนวน มาก และจะลดขีดความสามารถลงในทุกด้าน ของอาณาจักรพม่า
พระเจ้าสารวดีไม่เห็นด้วยกับสนธิสัญญา ยันดาโบทีผ่ ลสืบเนือ่ งมาจากสงคราม อังกฤษ พม่า ครัง้ ที่ ๑ แต่ก็ ไม่กล้าผิดสัญญา ความสัมพันธ์ ระหว่างราชส�ำนักพม่ากับเฮนรี่ เบอร์นยี ์ ผูแ้ ทน อังกฤษก็ไม่ดีนัก ในปี พ.ศ. ๒๓๘๕ พระเจ้า สารวดีได้น�ำก�ำลังทหาร ๑๕,๐๐๐ นาย ลงไป ยังเมืองร่างกุ้งเพื่อบูชาพระเกศธาตุ และเรียก ร้องให้อังกฤษคืนเมืองยะไข่และเมืองตะนาว ศรี และได้เสด็จกลับมายังกรุงอมรปุระ พร้อม ทั้งมีพระสติวิปลาส แม้ ว ่ า สถานการณ์ ใ นพม่ า จะเริ่ ม มี ค วาม ยุ่งยากพร้อมทั้งความสัมพันธ์กับอังกฤษที่ไม่ ดีนัก แต่อังกฤษยังติดพันในการท�ำสงคราม
ทางด้ า นเหนื อ ของอิ น เดี ย ที่ อั ฟ กานิ ส ถาน กองทั พ บกอั ง กฤษจึ ง ยั ง ไม่ พ ร้ อ มที่ จ ะเริ่ ม เปิ ด สงครามกั บ พม่ า ครั้ ง ใหม่ ความขัดแย้ง ระหว่ า งอั ง กฤษกั บ พม่ า จะเริ่ ม ต้ น มาจาก พ่ อ ค้ า อั ง กฤษกั บ ขุ น นางพม่ า เสมอซึ่ ง มั ก จะ เกิดที่เมืองพะโค ในปี พ.ศ. ๒๓๙๔ เมาโอ๊ก เมี ย นหวุ ่ น ประจ� ำ เมื อ งพะโคได้ ก ล่ า วหา กั ป ตั น เรื อ และลู ก เรื อ ชาวอั ง กฤษ ๒ คน ว่ า ท� ำ ความผิ ด และเป็ น ฆาตรกร จึ ง น� ำ ตั ว ขึ้ น ศาลและสั่ ง ปรั บ เป็ น เงิ น ๑,๐๐๐ รู ป ี ฝ่ า ยอั ง กฤษเห็ น ว่ า เป็ น การลบหลู ่ เ กี ย รติ จึ ง ประท้วง เมื่อการเจรจาทางการทูตของทั้งสอง อาณาจักรไม่ประสบผลส�ำเร็จ เป็นผลให้ความ ขัดแย้งนี้ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วในเวลาต่อมา
ภาพวาดพระราชวังที่กรุงอมรปุระส�ำหรับว่าราชการของราชวงศ์อลองพญา สมัยพระเจ้าปดุง (พระเจ้าโบดอพญา) ห้วงปี พ.ศ. ๒๓๓๘ วาดโดยช่างภาพชาวยุโรป
๔. บทสรุป จากความวุ ่ น วายในราชส� ำ นั ก ที่ ต ่ า งก็ แย่งชิงความเป็นใหญ่ขึ้นเป็นกษัตริย์ มีการ ต่อสู้และสูญเสียก�ำลังพลไปเป็นจ�ำนวนมาก จึ ง เกิ ด ความอ่ อ นแอ ราชส� ำ นั ก พม่ า จาก ราชวงศ์ อ ลองพญาจึ ง เกิ ด การแตกแยกมาก ยิ่งขึ้นรวมทั้งขุนนางจึงขาดความเป็นปึกแผ่น สถานการณ์จากภายนอกเกิดความขัดแย้งกับ มหาอ�ำนาจทางทหารจากยุโรป ซึ่งก�ำลังขยาย ดินแดนบริเวณริมฝั่งทะเลที่เป็นเมืองท่าและ ผลประโยชน์ทางด้านการค้า จึงน�ำมาสู่ความ ขัดแย้งครั้งใหม่ในอนาคต ปืนใหญ่ของกองทัพอังกฤษที่น�ำมาใช้ในสงคราม พม่า - อังกฤษ มีความทันสมัยกว่าปืนใหญ่ของกองทัพพม่าที่ประจ�ำการอยู่ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
51
หลั ก การของนายพลแพตตั น (ตอนที่ ๑๕) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
52
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
จ
ง รู ้ ใ นสิ่ ง ที่ คุ ณ รู ้ และจงรู ้ ใ นสิ่ ง ที่ คุณยังไม่รู้ “คุ ณ รู ้ ไ ด้ ยั ง ไง?” เป็ น ค� ำ ถามที่ นายพลแพตตั น ใช้ บ ่ อ ยในการประชุ ม ฝ่ า ย เสนาธิการ พวกเสนาธิการทีม่ าใหม่ๆ บางคนจะตอบว่า “จากข่าวสารที่ส่งมาจากวอชิงตัน” “นั่นมันเป็นแหล่งข่าวที่ไม่น่าเชื่อถือที่สุด ที่คุณสามารถหาได้ทีเดียวละ!” นายพลแพตตันจะอธิบายต่อไปว่า “นายทหารทีน่ งั่ เก้าอีห้ มุนในเพนตากอนน่ะ จริงๆ แล้ว มีความรู้นิดเดียวหรือมิฉะนั้นก็ ไม่รู้อะไรเลย ที่เขารู้ทั้งหมดก็ได้มาจากทหาร ในสนาม ผมไม่อยากดูถูกพวกที่อยู่เพนตากอน อย่างรุนแรงหรอก แต่พวกเขาไม่ค่อยรู้อะไร เท่ากับแหล่งข่าวขั้นต้นหรอก พวกเขาเพียง แต่รวบรวมเอกสารข้อมูลจากหน่วยทหารใน สนามเท่านั้น” นายพลแพตตันพูดต่อว่า “พวกเราต้องรู้เสมอว่า อะไรที่เรารู้จริงๆ และอะไรที่เรายังไม่รู้ และอย่าสับสนในสอง กรณีดงั กล่าว พวกเราอาจจะเป็นเหตุให้คนของ เราตายเป็นจ�ำนวนมากได้ถ้าเราสับสน นั่นคือ ข้อผิดพลาดที่การควบคุมกองทัพบกของเรา มาจากวอชิงตัน นายทหารในเพนตากอนไม่ ค่อยจะออกไปสนามรบเพื่อดูว่าอะไรเกิดขึ้น จริงๆ หรอก”
นายพลแพตตั น จะแนะน� ำ ให้ พ วกเรา แยกแยะข้อเท็จจริงที่เรารู้และที่เราไม่รู้เพื่อ น�ำมาพิจารณาอีกทีว่าอะไรที่เรารู้จริงๆ จะมี การส่งรถถังใหม่มาจากดีทรอยท์ นายทหาร บางคนระบุว่ารถถังจะถูกส่งมาในวันที่แน่นอน เพราะว่ า ใบส่ ง สิ น ค้ า ระบุ ว ่ า จะส่ ง ในวั น นั้ น นายพลแพตตันจะอธิบาย “นั่นมันเป็นเพียงเอกสารรายงาน! คนที่อยู่ ที่ส�ำนักงานซึ่งเป็นคนพิมพ์เอกสารส่งสินค้า อาจจะไม่รดู้ ว้ ยซ�ำ้ ว่ารถถังอยูบ่ นรถชานต�ำ่ หรือ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
ถูกส่งไปแล้ว รถถังจ�ำนวนนั้นอาจจะยังอยู่ บนรถชานต�่ำ และยังอยู่ที่ลานจอดรถไฟก็ได้ เพราะว่ารถไฟยังไม่ได้เกีย่ วขอพ่วงกับขบวนรถ ชานต�่ำที่บรรทุกรถถังเพื่อที่จะพร้อมลากเลย” จากข่าวต่างๆ อย่างละนิดอย่างละหน่อย นั้น พวกเราจะน�ำมาเลือกเฟ้นเฉพาะที่เป็น ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับรถถัง และน�ำมาพิจารณาว่า เรารู้จริงๆ แค่ไหน จากความรู้ดังกล่าวพวกเรา ก็ได้วางแผนการใช้รถถังในบริเวณทะเลทราย ขึ้น นายพลแพตตันสรุปว่า “ผมต้ อ งการให้ มี ค นคอยติ ด ตามรถถั ง จ� ำ นวนนี้ อ ยู ่ กั บ มั น ทุ ก วั น เลย พร้ อ มด้ ว ย เอกสารในการประสานงาน ให้รู้แน่ๆ ว่ารถถัง เหล่ า นี้ อ ยู ่ ที่ ไ หน ถ้ า พวกมั น ถู ก จั ด ให้ ไ ปอยู ่ รางหลีกตามสถานีใดๆ ละก็ จะได้โวยวาย ได้เต็มที่?” การบริ ห ารงานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพแบบนี้ ท�ำให้ประหยัดเวลาที่จะใช้ประชุมเป็นพันๆ ชั่วโมง ไม่มีเวลาใดที่เสียไปเพราะการที่เราไม่รู้ นายทหารทุกคนไล่ขึ้นไปตั้งแต่ร้อยตรีที่เพิ่งจบ ใหม่ๆ จนถึงนายพลที่มียศสูงสุดจะไม่ยอมเสีย เวลากับข้อมูลทางเอกสาร พวกเราไม่เสียเวลา
มากนักกับคู่มือเทคนิคที่ถูกส่งมาจากวอชิงตัน ในการที่จะใช้ช่วยเหลือเราในการวางแผนการ เคลื่อนย้ายหน่วยทหารและรถถัง นายพลแพตตันจะบรรยายว่า
“รถถังทุกคันจะไม่เหมือนกัน มันก็เหมือน กับมนุษย์นั่นแหละ ให้แน่ใจว่าพลขับทุกนาย รู ้ จั ก รถถั ง ของตนเอง และรู ้ ใ ห้ แ น่ ชั ด ว่ า มั น สิ้นเปลืองน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันเครื่องกี่ แกลลอนในการเคลื่อนที่หนึ่งไมล์และต่อหนึ่ง ชั่วโมง ในความเร็วและในสภาวะที่แตกต่าง กัน อย่าเชื่อถือข่าวสารที่มาจากวอชิงตัน จง ตรวจรถถังทุกเวลาที่เติมน�้ำมันใหม่ ถ้ามันสิ้น เปลืองน�้ำมันเครื่องมากไปละก็ ส่งโรงซ่อมซะ พวกเราต้องรู้จักอาวุธยุทโธปกรณ์ของเราเอง” นายพลแพตตั น จะปกป้ อ งเพนตากอน เท่าๆ กับที่โจมตี ท่านกล่าวว่า “เอาละพวกนายทหารที่นั่งบนเก้าอี้หมุน น�ำข้อมูลความสิ้นเปลืองน�้ำมันเชื้อเพลิงของ 53
รถถังในภูมิประเทศมาจากที่ไหน? ก็มาจาก บริษัทที่ผลิตรถถังน่ะซิ! ทีนี้ บริษัทผู้ผลิตจะ พูดยังไงเกี่ยวกับรถถังของเขาเองล่ะ? แน่ละ ที่เขาต้องบอกความสิ้นเปลืองในเกณฑ์ต�่ำสุด เพื่อท�ำให้รถถังของเขาดูดีขึ้น บริษัทผู้ผลิตจะ ส่งข่าวสารนี้ไปยังนายสิบส่งก�ำลังในวอชิงตัน ซึ่งเป็นผู้รวบรวมข้อมูลส่งตามโต๊ะ แต่ก่อน หน้านั้นก็เพิ่มจ�ำนวนน�้ำมันเติมเข้าไปอีก ๒๐ เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้แน่ใจ พอเอกสารนี้ถึงมือ ผู้หมวดๆ ก็จะเพิ่มอีกนิดหน่อย เพื่อให้แน่ใจ ว่าเขาจะไม่มีข้อผิดพลาด และพอส่งเอกสาร ข้อมูลตามสายการบังคับบัญชาขึ้นไป จ�ำนวน น�้ำมันสิ้นเปลืองจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าจากที่ มันเป็นจริงทีเดียว ความสับสนแบบนี้ท�ำงาน ได้สองอย่าง ด้วยเหตุผลที่จะพยายามตัดราคา หรือไม่ก็เพื่อลดความต้องการลง” นายพลแพตตันจะพูดต่อว่า “สงครามเอาชนะได้ โ ดยความรู ้ ที่ เ รารู ้ จริง เราต้องรู้ความต้องการของเราเอง ถ้าเรา 54
พยายามที่จะขนน�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำมันเครื่อง และชิ้นส่วนซ่อมสู่สนามรบในจ�ำนวนมากกว่า ที่เราต้องการ มันจะเลวร้ายเหมือนกับทหารที่ บรรทุกเครื่องหลังของตนซึ่งมีน�้ำหนักเกินกว่า ที่จ�ำเป็นถึงสิบปอนด์ เราต้องประหยัด จงรู้สิ่ง ที่เราต้องการ และจงรู้ในสิ่งที่เราไม่ต้องการ” มีวันหนึ่งที่ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงของเรา มีน้อยส�ำหรับหน่วยฝึกในทะเลทรายทั้งหมด เราได้วางแผนการด�ำเนินกลยุทธ์เพียงวันหนึ่ง ผู้หมวดคนหนึ่งเติมน�้ำมันรถถังของเขาเต็มถัง ทุกคัน เมื่อเขาถูกถามว่าท�ำไมใช้น�้ำมันมาก เหลือเกิน เขาก็ตอบว่า “คู่มือเทคนิคบอกไว้ว่าถังน�้ำมันรถถังต้อง เติมน�ำ้ มันเต็มตลอดเวลาเพือ่ ป้องกันการสะสม ไอน�ำ้ ในถังน�ำ้ มันอันจะเป็นสาเหตุให้เกิดสนิม!” พอนายพลแพตตันทราบว่า มีรถถังหน่วย หนึง่ ไม่ได้เติมน�้ำมันเชือ้ เพลิง เพราะน�้ำมันหมด ไปแล้วท่านก็ระเบิดโทสะ
“ไม่มีถังน�้ำมันระย�ำถังไหนหรอกที่จะเป็น สนิมก่อนที่สงครามจะเลิก! ในทะเลทรายนี่มัน มีไอน�้ำมากแค่ไหนกัน? ลืมเสียเถอะเรื่องสนิม ในถังน�้ำมัน! เราจะเคลื่อนที่ให้เร็วจนกระทั่ง สนิมเกาะไม่ติด จงรู้ให้ถ่องแท้ว่ารถถังทุกคัน ต้องการอะไรในการด�ำเนินกลยุทธ์ เติมมันให้ เหมาะสมกับปริมาณที่เรามีอยู่ แต่อย่าเติมเต็ม เสมอไปยังกับว่าจะลากมันเข้าตอนซ่อมบ�ำรุง พวกเราก�ำลังพยายามเรียนรู้วิธีการน�ำรถถัง เข้าบดขยีท้ หารข้าศึก พวกเราไม่ได้เข้าสงคราม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสนิมในถังน�้ำมัน!” ในการบรรยายตามปกติครั้งหนึ่ง นายพล แพตตันอธิบายว่า “พลขับทุกนายต้องรู้จัก รถถังของตนเอง และรู้ว่าอะไรที่เขาต้องการ ในการใช้บังคับรถถัง เขาไม่น่าจะกังวลว่าเขา มีน�้ำมันเชื้อเพลิงน้อยเกินไป เขาต้องรู้ เมื่อรู้ แล้วเขาก็จะหายกังวล” เมื่อมีเวลาพอ นายพลแพตตันจะยิงฟันยิ้ม เหมือนเด็กๆ และกล่าวว่า “ท� ำ ตั ว ตามสบายสั ก สองสามนาที ผม จะบอกวิ ธี ที่ จ ะแพ้ ส งครามให้ ฟ ั ง สงคราม เอาชนะได้ ด ้ ว ยสิ่ ง เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ และบ่ อ ย ครั้ ง จะเกิ ด ขึ้ น ที่ สี่ แ ยกที่ ไ ม่ ค ่ อ ยสลั ก ส� ำ คั ญ อะไรเท่าไร ในการประลองยุทธ์ที่ลุยเซียนา (Louisiana) เมื่อปี ๒๔๘๔ (ค.ศ. ๑๙๔๑) ซึ่ง เป็นปีที่แล้ว มีพลทหารเชื้อสายจีนคนหนึ่งอยู่ ในกองทัพบกสหรัฐฯ ของเรา เขาก็ดเู หมือนกับ ทหารอเมริ กั น ทั่ ว ๆ ไปถ้ า อยู ่ ใ นเครื่ อ งแบบ เว้นแต่เขาเข้าใจภาษาอังกฤษไม่มากนักและ พูดภาษาอังกฤษเกือบไม่ได้เลย ทีนี้ทหารที่ น่าสงสารคนนี้เกิดหลงทางขึ้นในการประลอง ยุทธ์ครั้งหนึ่ง เนื่องจากพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ เขาก็ไม่สามารถถามใครได้ว่าหน่วยของเขาตั้ง อยู่ที่ไหน ผมคิดว่าเขาสามารถบอกชื่อหน่วย ของเขาได้ซึ่งชาวอเมริกันทุกคนคงสามารถ เข้าใจได้ เนื่องจากเขาแต่งเครื่องแบบทหารอเมริกัน และก็เดินไปตามถนน พวกพลเรือนที่ขับรถ
พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
ผ่ า นไปมาคงให้ เ ขาโดยสารด้ ว ยจนกระทั่ ง ทหารเชื้อจีนคนนี้เปิดประตูรถ และบอกว่าเขา จะลงแล้ว ในที่สุดทหารที่น่าสงสารคนนี้ก็ลงที่ สี่แยกแห่งหนึ่ง ที่ซึ่งเขาตั้งใจจะโบกรถทหาร ซึ่งจะเป็นของหน่วยไหนก็ช่าง ปัญหาก็คือเขา ใช้นิ้วชี้โบกรถ เขาชี้ไปที่เส้นทางข้างหน้าด้วย นิ้วชี้ แทนที่จะใช้นิ้วโป้งชี้ไปทางด้านหลังของ ตน คงจะเดาได้นะว่าอะไรจะเกิดขึ้น มีขบวน รถทหารขบวนหนึ่งผ่านมา ทหารเชื้อจีนคนนี้ชี้ นิ้วชี้ของเขาไปที่ถนนสายหนึ่ง แน่นอนละไม่มี รถคันใดหยุดเลยเพราะพวกเขานึกว่าเป็นการ ชี้ทางของพนักงานจราจร เมื่อรถยนต์บรรทุก เหล่านั้นไม่หยุดเขาก็เดินไปอีกแยกหนึ่งแล้วชี้ ให้ขบวนรถถัดมาวิ่งไปอีกถนนหนึ่ง ตลอดบ่าย วันนั้นทหารคนนี้ได้แยกหน่วยทหารออกจาก กันโดยการส่งไปถนนสายนัน้ บ้างสายโน้นบ้าง” นายพลแพตตันหยุดชั่วครู่ และกล่าวว่า “พวกคุณพอจะนึกออกหรือยังว่า มันง่าย เพียงไร ถ้าทหารข้าศึกแต่งเครื่องแบบอเมริกัน แล้วเข้ามาท�ำลายขีดความสามารถในการยิง ของเรา?เอาละ...เรื่ อ งที่ เ ล่ า นั้ น ต่ อ มาก็ ไ ม่ มี อะไรดีขึ้น มีนายทหารสักครึ่งโหลเห็นจะได้ หยุดรถ และพยายามสอนทหารเชื้อจีนถึงวิธี การชี้ทางที่ถูกต้อง พอพวกเขาทราบว่าหมอนี่ พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ พวกเขาก็ยอมแพ้ นาย ทหารพวกนี้ไม่รู้เลยว่า ทหารผู้นี้ไม่ได้ก�ำลังชี้ ทางจราจร ทหารคนนี้รู้มากกว่าบรรดานาย ทหารเหล่านั้นเสียอีก เขาหลงทางและเขารู้ ว่าเขาหลง! แน่ละทหารเชื้อจีนคนนี้น่าจะได้ เหรียญรางวัลในฐานะที่สอนให้พวกเรารู้ถึงวิธี แพ้สงคราม จงรู้อยู่เสมอว่าหน่วยที่ตนสังกัด นั้นก�ำลังท�ำอะไร ถ้าคุณไม่รู้ก็ยอมรับสภาพ ซะและค้นหาว่ามันคืออะไร เชื่อไหมว่าพวก เราต้องใช้เวลาอาทิตย์กว่าเพื่อที่จะตามหน่วย ทหารที่ทหารเชื้อจีนคนนี้ได้ส่งไปในทิศทางที่ ไม่ถูกต้อง? เราได้กระจายหน่วยทหาร รถยนต์ บรรทุก และรถถังไปทั่วมลรัฐลุยเซียนา และ เท็กซัส!” หลายครั้ ง ที่ น ายพลแพตตั น พู ด ถึ ง ทหาร เชื้อจีนคนนี้ ในการพบปะกันตอนค�่ำที่เต็นท์ ของท่าน ผมโชคดีที่ได้ร่วมฟังด้วย ผมจ�ำได้ที่ ท่านพูดว่า “มีประชาชนจ�ำนวนเท่าไรในโลกที่มีความ สับสนเหมือนกับคนโบกรถเชื้อจีนของเราที่ใช้ นิ้วชี้แทนที่จะใช้นิ้วหัวแม่มือชี้ทาง? มีกี่คนที่ ไม่สามารถบอกได้ว่าอะไรที่พวกเขารู้จริงและ อะไรที่พวกเขาต้องการในชีวิตของพวกเขา? พวกเราเดินทางจากที่นี่ไปที่โน่น แต่พวกเรา ไม่เคยรู้จริงๆ เลยว่าเราก�ำลังจะไปไหนกัน พวกเรามีชีวิตอยู่เหมือนกับคนโบกรถเชื้อจีน คนนั้น” หลายสั ป ดาห์ ต ่ อ มาหลั ง จากที่ น ายพล แพตตันได้เล่าเรือ่ งนี้ พวกเราได้มาร่วมสังสรรค์ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
ที่เต็นท์ของท่าน พร้อมด้วยนายพันเอกอาวุโส นายหนึ่งซึ่งสารภาพว่า “ท่านนายพล ความรอบรู้ของท่านมีผล กระทบต่อตัวผมรุนแรงมากกว่าที่ผมเคยได้ รับมา ผมนี่ แ หละ คื อ ไอ้ งั่ ง คนนั้ น ที่ ไ ด้ ใ ห้ ป ลอก แขนทหารสารวั ต รแก่ ท หารเชื้ อ จี น เพื่ อ ที่ หน่วยทหารจะได้รู้ว่าเขาก�ำลังท�ำหน้าที่อะไร! ผมไม่ เคยมี ก� ำ ลั ง ใจที่ จ ะยอมรั บ สภาพที่ เ กิ ด ขึ้นเลย ผมได้พยายามพูดกับชายคนนี้และสิ่ง ที่เขาได้แต่พร�่ำก็คือ “NO-EAT, NO-EAT” ผมจึ ง มุ ่ ง หน้ า ไปทางตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ (NORTHEAST) แน่ น อนละที่ เ ขาก็ จ ะชี้ ไ ป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือให้กับขบวนยาน พาหนะขบวนต่อไป! ปรากฏว่าเราได้ส่งทหาร
บางหน่วยกลับไปทางเดิมที่เขาเพิ่งจะมุ่งหน้า มา! มั น นานเหลื อ เกิ น หลั ง จากเหตุ ก ารณ์ นี้ กว่ า ที่ ผ มจะทราบว่ า ทหารคนนี้ ไ ม่ ไ ด้ พู ด ว่ า “NORTHEAST” แต่ก�ำลังพยายามที่จะบอก ว่า เขาหิว เขายังไม่ได้กินอะไรเลย!” พวกเราหัวเราะ นายพลแพตตันกล่าวว่า “ผมสมควรงดการให้ ด าวนายพลแก่ คุ ณ แล้วล่ะ!” นายพันเอกผู้นั้นตอบว่า “ท่านมีอ�ำนาจที่จะงดการเลื่อนยศให้แก่ ผม ! แต่ผมสามารถบอกท่านได้เลยว่า ในการ ฝึกหรือในสนามรบก็ตาม ผมจะตรวจทหาร สารวัตรทุกนายที่ทุก ๆ สี่แยก ทางที่ดีเราควร หยุดขบวนดีกว่าที่จะแยกหน่วยไปจนทั่วเมือง แบบนั้น” พั น เอกท่ า นนี้ เ ป็ น นายพลสามดาวเมื่ อ สงครามปิดฉากลง นายพลแพตตันไม่ได้ยับยั้ง การเลื่อนยศ
55
ศาลอาญาระหว่างประเทศ : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ศ
าลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court : ICC) เป็ น องค์ ก ร ระหว่างประเทศด้านยุติธรรมก่อตั้งขึ้นตาม ธรรมนู ญ กรุ ง โรม จากการประชุ ม ระหว่ า ง ประเทศโดยสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๑ มีอ�ำนาจพิจารณาคดีที่เป็นการกระท�ำความ ผิดอาชญากรรมร้ายแรงที่อยู่ในความห่วงใย ของประชาคมระหว่างประเทศ ๔ ฐานความ ผิด ได้แก่ ๑) อาชญากรรมอันเป็นการท�ำลาย ล้างเผ่าพันธุ์ (The crime of genocide) ๒) อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (Crime against humanity) ๓) อาชญากรรมสงคราม (War crimes) และ ๔) อาชญากรรมอันเป็นการ รุ ก ราน (The crime of aggression) โดยขอบเขตอ� ำ นาจของ ICC จะพิ จ ารณา คดีที่ร้ายแรงที่สุด ซึ่งอยู่ในความห่วงใยของ 56
ประชาคมระหว่างประเทศ และจะจ�ำกัดเฉพาะ ตัวบุคคล ไม่ใช่รัฐกับรัฐ เป็นศาลที่เสริมอ�ำนาจ (Complementary) ศาลภายในประเทศ กล่าว คือ ต้องมีกระบวนการยุตธิ รรมในประเทศก่อน แต่หากกระบวนการยุติธรรมภายในประเทศ นั้นไม่สามารถด�ำเนินการได้หรือไม่สมัครใจ ICC จึงเข้ามาใช้อ�ำนาจเหนือคดีนั้นได้ ปัจจุบัน มีรฐั ภาคีจำ� นวน ๑๒๒ ประเทศ ตัง้ อยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศไทย ได้ ร ่ ว มลงนามธรรมนู ญ กรุงโรมแล้ว เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๒ แต่ ยังมิได้ให้สัตยาบันอย่างสมบูรณ์ จึงยังไม่ได้ เป็นรัฐภาคีในธรรมนูญดังกล่าว เนื่องจากมี ความกังวลเกีย่ วกับผลกระทบทีจ่ ะมีตอ่ สถาบัน พระมหากษัตริย์ ในข้อ ๒๗ แห่งธรรมนูญ กรุงโรม ที่กล่าวว่า “ธรรมนูญกรุงโรมนี้บังคับ ต่อบุคคลทุกคนเท่าเทียมกัน โดยปราศจาก พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์
การแบ่งแยกใดๆ บนพื้นฐานสถานะทางการ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สถานะทางการในฐานะ ประมุขของรัฐ” คณะรัฐมนตรี เมื่อปี ๒๕๔๒ จึงได้ตั้ง คณะ กรรมการพิจารณาธรรมนูญกรุงโรมศาลอาญา ระหว่างประเทศ เพือ่ พิจารณาการเข้าเป็นภาคี ได้ขอ้ สรุปและมีมติรว่ มกันจากทุกส่วนราชการ ว่า เมื่อค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติเป็นหลัก แล้ว ไม่มคี วามจ�ำเป็นเร่งด่วนทีป่ ระเทศไทยจะ เข้าเป็นภาคีและไม่สามารถยอมรับธรรมนูญ กรุ ง โรมได้ เนื่ อ งจาก รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๘ บัญญัติไว้ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ ทรง ด� ำ รงอยู ่ ใ นฐานะอั น เป็ น ที่ เ คารพสั ก การะ ผู ้ ใ ดจะละเมิ ด มิ ไ ด้ . ....” และมาตรา ๑๐ “พระมหากษัตริย์ทรงด�ำรงต�ำแหน่งจอมทัพ ไทย” หากประเทศไทยให้สัตยาบันธรรมนูญ กรุงโรม อันส่งผลเป็นการรับรองเขตอ� ำนาจ ศาลอาญาระหว่างประเทศ ย่อมเป็นการขัด ต่อรัฐธรรมนูญและส่งผลกระทบต่อสถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ อ ย่ า งแน่ น อน อี ก ทั้ ง ประเทศไทยยั ง สามารถด� ำ เนิ น การตาม กระบวนการยุ ติ ธ รรมภายในได้ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้องให้ ICC เข้ามาเสริมอ�ำนาจกระบวนการ ยุติธรรมไทย
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
สถานการณ์บ้านเมืองไทยปัจจุบัน ก�ำลัง อยู ่ ใ นภาวะที่ เ ปราะบางและมี ค วามขั ด แย้ ง จึงเป็นการง่ายที่แต่ละฝ่ายจะหยิบยกประเด็น เหล่านี้มาปลุกระดมให้ความขัดแย้งมากขึ้น หากมีผู้ไม่หวังดี ฟ้องร้องต่อ ICC กล่าวหา ประมุ ข ของประเทศไทยในข้ อ หาฐานความ ผิดต่างๆ ซึ่งจะต้องมีการต่อสู้แก้ต่างกัน และ ในท้ายที่สุด ถึงแม้ผลการพิจารณาจะปรากฏ ว่าพระมหากษัตริย์ไม่มีความผิดก็ตาม แต่ด้วย กระบวนการต่ า งๆ นี้ ย่ อ มมี ผ ลกระทบต่ อ พระมหากษั ต ริ ย ์ ข องเรา ทั้ ง ที่ พ ระองค์ ทรงอยู่เหนือความขัดแย้งใดๆ ทั้งปวง โดยที่ ประเทศไทยมาสามารถป้ อ งกั น ได้ เ ลย ประชาชนคนไทยที่ มี ค วามจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบันพระมหากษัตริย์ ภายใต้การปกครอง ระบอบประชาธิ ปไตยอัน มี พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข จึงไม่เห็นความจ�ำเป็นเร่งด่วน ที่ ประเทศไทยต้องให้สัตยาบันธรรมนูญกรุงโรม ว่ า ด้ ว ยศาลอาญาระหว่ า งประเทศ (ICC) และไม่สามารถยอมรับธรรมนูญกรุงโรมได้
57
งานนิทรรศการ
Defense & Security 2013 มิสดีเฟ้นส์
ง
า นดี เ ฟนส์ ซิ คิ ว ริ ตี้ ๒๐๑๓ หรื อ งานนิ ท รรศการแสดงยุ ท โธปกรณ์ และเทคโนโลยี ท างด้ า นความ ปลอดภัยประจ�ำปี ๒๕๕๖ ภายใต้หวั ข้อ “ความ ร่วมมือทางด้านการป้องกันประเทศอย่างสากล (International Defense Cooperation)” ที่จะจัดขึ้นอย่างเป็นทางการ ระหว่างวันจันทร์ ที่ ๔ ถึงวันพฤหัสบดีที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมื อ งทองธานี กรุ ง เทพมหานคร โดย ปี นี้ ก ระทรวงกลาโหม ราชอาณาจั ก รไทย ร่วมกับ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพ อากาศ เป็นเจ้าภาพ จัดนิทรรศการทางการทหารครั้งที่ ๑๐ ที่ ยิ่งใหญ่อลังการที่สุดในภูมิภาคเอเชีย รูปแบบการจัดงาน Defense & Security ๒๐๑๓ จะจั ด ให้ มี ก ารน� ำ เสนอข้ อ มู ล ทั่ ว ไป (Static Display) ที่เกี่ยวข้อง การสัมมนา และการน� ำ เสนอทางวิ ช าการ (Technical and Special Seminars / Presentation) การสาธิตอาวุธและยุทโธปกรณ์ และระบบ 58
อากาศยาน ( Live demonstration) และการ พบปะและการสร้างเครือข่าย (Networking) โดยเทคโนโลยี แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ น� ำ มาจั ด แสดงและสาธิ ต ในปี นี้ จ ะเน้ น การปฏิ บั ติ ทั้ ง ทางบก ทางเรือ และทางอากาศ ประกอบ ด้ ว ย ระบบอาวุ ธ (weapons systems) จรวดขี น าปวุ ธ (missiles) รถถั ง (tanks) อาวุธน�ำวิถี (guided weapons) ยานยนต์ ชนิ ด ต่ า งๆ (vehicles) เรื อ รบ (vessels) ดาวเที ย ม (satellites) อุ ป กรณ์ ท างด้ า น โทรคมนาคมและอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการ ป้องกันประเทศ (telecom & electronic defense equipment) ระบบควบคุมการยิง มิสดีเฟ้นส์
Oto Melara, CPMIEC, Tawanzun, Glock, Beretta, Aselsan, Roketsan, Navantia และบริษัทอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของ ไทยเข้าร่วมการจัดนิทรรศการและการสาธิต อาวุธยุทโธปกรณ์อย่างคับคั่ง จุ ด เ ด ่ น ข อ ง ก า ร จั ด ง า น D e f e n s e & Security 2013 ในปี นี้ คื อ พิ ธี เ ปิ ด การ ประชุ ม ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ ต ้ อ นรั บ บรรดารั ฐ มนตรี ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการป้องกันความปลอดภัย ทางกายภาพ เช่น ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) และอื่นๆ เป็นต้น โดยจัดในรูปทั้งพาวิลเลี่ยน ของแต่ละประเทศจ�ำนวนกว่า ๑๕ ประเทศ ได้ แ ก่ สหรั ฐ อเมริ ก า เยอรมนี สาธารณ รัฐเชค เกาหลี อิสราเอล สิงคโปร์ เบลารุส รัสเซีย โปแลนด์ โรมาเนีย อิตาลี จีน อัฟริกา ใต้ ยู เ ครน และประเทศไทย และบริ ษั ท ที่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับชั้นน�ำอีก ๔๐๐ บริษัทจาก ๕๐ ประเทศ อาทิ Saab, AM General, Harris, MBDA, IMI, Rafael, Rohde&Schwarz, Brahmos, Thales, Lockheed Martin, Ukrspecexport, Diehl, Atlas Elektronic GmbH, ST Kinetics,
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
๒ หั ว ข้ อ หลั ก คื อ “ความร่ ว มมื อ ด้ า น อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ (ASEAN Cooperation on Defence Production)” และหัวข้อ “สงครามไซเบอร์ ความท้าทายใน อนาคตของอาเซียน (Cyberwar Challenger The ASEAN Future)” โดยการประชุมสัมมนา ทั้งสองประเด็นนี้ถือเป็นประเด็นที่ส�ำคัญใน การขยายความร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางด้านการป้องกันประเทศ และความปลอดภั ย ของภู มิ ภ าคเอเชี ย ให้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและสามารถขยายขี ด ความ สามารถในสาขาต่างๆ เพื่อรองรับภารกิจทาง ด้านความมั่นคงและความปลอดภัยที่ทันสมัย มากยิ่งขึ้น
กระทรวงกลาโหม ผู ้ บั ญ ชาการทหารสาม เหล่ า ทั พ และผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง จากทั่ ว โลก กว่ า ๕๐ ประเทศที่ จ ะเข้ า ร่ ว มในพี ธิ เ ปิ ด รวมถึ ง การเข้ า ร่ ว มประชุ ม สั ม มนาของกลุ ่ ม สมาชิกอุตสาหกรรมในภูมิภาคอาเซียน และ ผู ้ ที่ ส นใจในการประชุ ม สั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ
59
เรามาอ่านความคิดเห็นของผู้แทนบริษัท ผู ้ ผ ลิ ต ชั้ น น� ำ ระดั บ โลกแสดงความคิ ด เห็ น เกี่ยวกับงานดีเฟนส์ซิคิวริตี้ ๒๐๑๓ - DEFENSE & SECURITY 2013 is our window of opportunity to enter the ASEAN military and security procurement market. (งานดีเฟนส์ซิคิวริตี้ ๒๐๑๓ เป็นการเปิดโอกาสในการเข้าสู่ตลาด ทางด้ า นความั่ น คงและทางการทหารของ ภูมิภาคเอเชีย) (ผู้แทนกระทรวงการค้าและ อุตสาหกรรม สาธารณรัฐเชค) - We recognized DEFENSE & SECURITY 2013 as a must exhibit show. We have already confirmed to exhibit. DEFENSE & SECURITY is one of Asia’s most important military displays and a must attend event. (เรารู้ว่างานดีเฟนส์ซิคิวริตี้
60
มิสดีเฟ้นส์
๒๐๑๓ เป็นงานนิทรรศการที่เราต้องมา เรา ได้ยืนยันการเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการแล้ว งานดีเฟนส์ซิคิวริตี้ ถือเป็นงานนิทรรศการทาง ทหารที่ส�ำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย และเรา ต้องเข้าร่วมงานนี้อย่างแน่นอน) (ผู้แทนบริษัท Saab South East Asia Co., Ltd) - We see DEFENSE & SECURITY as a business partner. We have been exhibited at DEFENSE & SECURITY for the past 5 editions. With ASEAN economic booming and military & security spending raising, DEFENSE & SECURITY 2013 is an important show for us. (เรามองว่า งานดีเฟนส์ซิคิวริตี้ ๒๐๑๓ ถือเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจของเรา โดยเราได้รับ ทราบข้อมูลต่างๆ จากการจัดนิทรรศการเพื่อ การป้องกันประเทศและความปลอดภัยที่ผ่าน มาใน ๕ หัวข้อที่ส�ำคัญ นอกจากนี้จากการ เจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ และงบประมาณ ค่าใช้จา่ ยทางด้านการป้องกันประเทศและการ ทหารที่เพิ่มขึ้นในเอเชีย งานดีเฟนส์ซิคิวริตี้ ๒๐๑๓ จึงเป็นนิทรรศการที่ส�ำคัญ) ดังนั้น หวังว่าผู้อ่านคงไม่พลาดในการเข้า ชมงานนิทรรศการป้องกันประเทศ DEFENSE & SECURITY 2013 ในปีนี้โดยสามารถเข้าชม งานเป็นรายบุคคล หมู่คณะ หรือหน่วยงาน สังกัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย มหาวิ ท ยาลั ย และสถาบั น การศึ ก ษาที่ มี โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถศึกษาข้อมูล ได้ที่เว็บไซต์ http://www.asiandefense. com/index.php หรือประสานขอรับบัตร เข้ า ชมนิ ท รรศการฯ หรื อ สามารถติ ด ต่ อ โดยตรงได้ที่ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลาโหม
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
61
ก่ อ นที่ จ ะทราบถึ ง ข้ อ ได้ เ ปรี ย บและโทษ อนันต์ของสงครามชีวะ และการใช้จุลินทรีย์ แต่ละประเภทเป็นอย่างไร น่าจะได้ท�ำความ รู้จักกับสงครามชีวะก่อนว่าคืออะไร สงคราม ชีวะ (Biological Warfare) คือ การใช้เชื้อโรค เพื่อท�ำให้เกิดอันตราย หรือท�ำลาย ชีวิตของ ก�ำลังทหาร ประชาชน ท�ำลายแหล่งอาหาร แหล่งน�้ำ และสัตว์เลี้ยง ซึ่งรวมถึงการใช้ สิ่งที่ มีชวี ติ อืน่ ๆ (ไวรัสทีไ่ ม่มชี วี ติ ) จุลนิ ทรีย์ และสาร ทีเ่ กิดจากการกระท�ำของสิง่ ทีม่ ชี วี ติ น�ำไป สร้าง จุลินทรีย์ที่สามารถท�ำลายล้างได้ในสงคราม เต็มรูปแบบ หรือเพื่อใช้ประโยชน์ในวิถีทาง
สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “ท�ำความรู้จัก สารซาริน ในประเทศซีเรีย ... สารอันตรายที่ท�ำให้คุณอาจเสียชีวิต”
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระกรวงกลาโหม
ประเภทของอาวุธชีวะ อาวุ ธ ชี ว ะสามารถจ� ำ แนกออกได้ เ ป็ น ประเภทหรื อ กลุ ่ ม ของจุ ลิ น ทรี ย ์ ได้ แ ก่ แบคทีเรีย (Bacteria), ไวรัส (Viruses), ริค เก็ทเซีย (Rickettsiae) Fungi สารพิษจากสิ่งที่ มีชีวิต (Biological toxins) และ สิ่งที่มีชีวิตอื่น ทีถ่ กู เปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรม (Genetically altered organisms)
แบคทีเรีย (Bacteria) แบคที เ รี ย เป็ น สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต เซลล์ เ ดี ย วมี โรคที่ เ กิ ด จากแบคที เ รี ย ได้ แ ก่ แอนแทร็ ก ซ์ (Anthrax), (Plague) และ (Tularemia) โรค จากแบคทีเรียสามารถท�ำให้ถึงเสียชีวิต แม้ว่า จะมียาปฏิชีวนะ ที่ท� ำลายแบคทีเรียได้ แต่ การผลิ ต อาวุ ธ ชี ว ะสามารถเลื อ กสายพั น ธุ ์ ที่ ทนต่อสารปฏิชีวนะและ เกิดอยู่ในธรรมชาติ แบคที เ รี ย ที่ ใ ช้ เ ป็ น อาวุ ธ ชี ว ะสามารถเพาะ เลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อทั่วๆ ไป เช่นเดียวกับ แบคทีเรียที่ใช้ในอุตสาหกรรมเบียร์ อาวุธชีวะ ที่ ม าจากแบคที เ รี ย ที่ ส� ำคัญได้แก่ Bacillus anthracis ที่ท� ำให้เกิดโรคแอนแทร็กซ์เกิด อาการที่ระบบทางเดินหายใจ ช็อค เป็นนิวโม เนีย และตายภายใน ๒ - ๓ วัน Yersinia pestis ท�ำให้เกิดโรค Bubonic plague เกิด อาการที่ ปอดและต่อมน�้ำเหลืองโป่งพอง ระบบการสูบ ฉีดโลหิตล้มเหลวถึงตายได้
ไวรัส (Viruses) ไวรั ส มี ข นาดเล็ ก กว่ า แบคทีเรียประมาณ ๑๐๐ เท่า เกิดขึ้นในธรรมชาติ ไวรัสสามารถ มีผลต่อ สัตว์ มนุษย์ พืช เชื้อโรคที่เกิดจาก ไวรั ส ได้ แ ก่ ฝี ด าษ (Smallpox) อี โ บลา (Ebola) แฮนต้าไวรัส (Hanta virus) และ VEE (Venezuelan Equine encephalitis) ไวรั ส จะต้ อ งท� ำ การเพาะเลี้ ย งบน เนื้ อ เยื่ อ ที่ มี ชี วิ ต และสามารถกลายพั น ธุ ์ หรื อ ถู ก เปลี่ ย นแปลงทางพั น ธุ ก รรมเพื่ อ ให้ ไ ด้ สาย พันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ 62
ริคเก็ทเซีย (Rickettsia)
การผลิตอาวุธชีวะ
ริ ค เก็ ท เซี ย คล้ า ยคลึ ง กั บ แบคที เ รี ย ทั้ ง โครงสร้างและรูปร่าง เป็นพาราไซท์ของมนุษย์ บางครั้ง ถูกน�ำมาใช้เป็นอาวุธชีวะ ต้องเพาะ เลี้ยงบนเนื้อเยื่อที่มีชีวิต เชื้อโรคที่เกิดจากริค เก็ทเซียได้แก่ Coxiella burnetti ท�ำให้เกิดไข้ Q - Fever ส่วนชนิด Rickettsia prowasecki ท� ำ ให้ เ กิ ด โรคไทฟอยด์ เกิ ด อาการระบบ ประสาทส่วนกลางท�ำงานผิดปกติ
ในการผลิตอาวุธชีวะ ขั้นตอนแรกจะต้อง ท�ำการคัดหาสายพันธุ์จุลินทรีย์ ซึ่งค่อนข้าง หาได้ง่าย โดยท�ำการคัดแยกจากธรรมชาติ หรือหามาจากแหล่งที่มีการรวบรวมเพื่อใช้ใน ทางการแพทย์และงานวิจัย ขั้นต่อไป ท�ำการ เพาะเลี้ยงให้ได้จ�ำนวนตามต้องการ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเป็นชนิดง่ายๆ มี อ ยู ่ ทั่ ว ไป แบคที เ รี ย เป็ น จุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ ท� ำ ให้ เกิดเชื้อโรคแก่ชีวิต โดยการเพิ่มจ�ำนวนอย่าง มากมาย เช่ น หากทิ้ ง น�้ ำ นมไว้ น อกตู ้ เ ย็ น แบคทีเรียก็จะ ท�ำให้น�้ำนมเสียเร็วขึ้นจากการ ที่แบคทีเรียเจริญเติบโตเพิ่มจ�ำนวนอย่าง รวด เร็ว ส�ำหรับอาวุธชีวะก็เช่นเดียวกัน สายพันธุ์ ที่จะใช้เริ่มต้นเพาะเชื้อต่อไป สกัดได้มาจาก ธรรมชาติที่เกิดเชื้อโรค เช่น จากสัตว์ที่ติด เชื้อและตาย เนื่องจากเชื้อโรคแอนแทร็กซ์ หรือได้มาจากการเพาะเลี้ยงในงานวิจัย ไม่ ว่านักศึกษาคนใด ที่เรียนด้านจุลชีววิทยาจะ มี ความรู้และทักษะเพียงพอที่จะท�ำการเพาะ เลี้ ย งเชื้ อ ในเวลาเพี ย งไม่ กี่ วั น ก็จะสามารถ เพาะเลี้ยงเชื้อ ได้เป็นจ�ำนวนหลายกิโลกรัม และ โรงงานเพาะเลีย้ งจุลนิ ทรียส์ ามารถด�ำเนิน การได้โดยคนน้อยกว่า ๑๐ คน และเพื่อให้ อาวุธชีวะมีผลต่อเป้าหมายโดยการสูดหายใจ เข้าไป ฉะนั้นขนาดของจุลินทรีย์ที่จะลอยอยู่ ในบรรยากาศ และเดินทาง ไปสู่เป้าหมาย ส�ำคัญได้ จึงมีความส�ำคัญพบว่าขนาดระหว่าง
สารพิษจากสิ่งที่มีชีวิต (Biological Toxins) สารพิษ ๒ ชนิดที่มักถูกน�ำมาใช้เป็นอาวุธ ชีวะ ได้แก่ Botulinum และ Clostridium perfringens toxins ซึ่งสกัดด้วยวิธีทางเคมี จากจุลินทรีย์ สาร Saxitoxin สกัดมาจาก แมงกะพรุน สารพิษจาก สิ่งที่มีชีวิตมีลักษณะ การท�ำงานเช่นเดียวกับอาวุธเคมีในสงคราม เคมี คือจะมีผลเฉพาะผู้ที่ ถูกสารพิษเท่านั้น โดยจะไม่ขยายลุกลามหรือแพร่พันธุ์เหมือน เชื้อโรค เพราะสารพิษไม่ใช่ สิ่งที่มีชีวิต การ ผลิตสารพิษจากสิ่งที่มีชีวิตมีความยุ่งยากมาก และใช้เวลามากกว่าการผลิต อาวุธชีวะอื่นๆ สารพิษ Botulinum toxin มีความรุนแรง มาก ท�ำให้ระบบทางเดินหายใจเป็น อัมพาต จนถึงสลบ ก๊าซ Gagrene มาจากเป็นเชื้อโรค ที่ Clostridium perfringens
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระกรวงกลาโหม
๑ ถึง ๑๐ ไมครอน จะมีประสิทธิภาพ และถ้า ขนาดใหญ่กว่านี้จะตกลงมาจาก บรรยากาศ ได้อย่างรวดเร็ว เชื้อจุลินทรีย์ที่ได้น�ำมาท�ำให้ แห้งด้วยวิธี Freeze drying เพื่อให้สะดวกต่อ การเก็บรักษาและการใช้งาน การที่ประเทศ ใดจะเป็น ประเทศผู้ก่อการร้ายด้วยอาวุธชีวะ ไม่ใช่เรื่องยาก การปกปิดซ่อนเร้นอาวุธชีวะ ท�ำได้ง่ายกว่าอาวุธประเภทอื่น หากเป็นอาวุธ นิวเคลียร์จะ สามารถตรวจสอบได้จากปริมาณ การใช้ ยูเรเนียม – ๒๓๕ แต่การปกปิดเรื่อง ห้องปฏิบัติการทางชีวโมเลกุล (Molecular Biology) จะท�ำได้ง่ายเพียงเวลา ๓๐ – ๖๐ นาที ก็ จ ะสามารถเคลี ย ร์ พื้ น ที่ จ นแทบมอง ไม่เห็น ความแตกต่างจากห้องปฏิบัติการอื่น ทั่วไป การผลิตอาวุธชีวะไม่ได้ใช้ วัสดุอุปกรณ์ อะไรเป็นพิเศษ และไม่ต้องการพื้นที่มากใน การเก็บอาวุธชีวะ ต้องการเพียงพื้นที่ปฏิบัติ งานที่มีความปลอดภัย เฉพาะเชื้อ แอนแทร็กซ์ สามารถเพาะเลี้ยงเป็นจ�ำนวนมากได้ภายใน ๙๖ ชัว่ โมง เทคโนโลยีทใี่ ช้ในการผลิตอาวุธชีวะ ต�่ำกว่าเทคโนโลยีในการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ มาก วิธีการต่างๆ ที่ใช้แทบทั้งหมดสามารถ หาได้ในต�ำรา และวารสารทางวิชาการที่มีสอน กันอยูใ่ นระดับ ปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยทัว่ โลก ข้อมูลไม่ได้เป็นความลับหรือหายาก เช่น ข้อมูลบางประการด้านอาวุธนิวเคลียร์เหตุผล ที่ ส นั บ สนุ น ค� ำ พู ด ดั ง กล่ า วจากเหตุ ก ารณ์ เมื่ อ ต� ำ รวจฝรั่ ง เศสตรวจพบ Safe House ของทหารแดงเยอรมั น และพบว่ า ห้ อ งน�้ ำ ในบ้านดังกล่าว ถูกใช้เป็น สถานที่เพาะเชื้อ Anthrax (Bacillus anthracis) โดยพบถัง เชื้อแอนแทร็กซ์ขนาดใหญ่ จึงเป็นที่เข้าใจกัน ว่าอาวุธชีวะง่ายต่อการผลิต เก็บ ซ่อนง่ายจึง ท�ำให้ยากต่อการควบคุม อุปกรณ์เครื่องมือใน ห้องปฎิบัติการสามารถใช้เพื่อวัตถุประสงค์ที่ สองเพื่อ การผลิตอาวุธชีวะได้ เครื่องแก้วต่างๆ ในห้องปฏิบัติการถูกน�ำ มาใช้เพื่อผลิตวัคซีนใช้กับประชาชน หรือว่า ถูกใช้ไปในการผลิตอาวุธชีวะไม่มีใครสามารถ ตรวจสอบได้ สารเคมี เครื่องแก้ว และตัวเชื้อ โรคเริ่มต้น (Precursors) ไม่ใช่รายการวัสดุ ต้องห้าม และนอกจากนี้เชื้อ Clostridium botulinum ยังสามารถแยกได้จากดิน หรือ อาจสั่ ง ซื้ อ จากบริ ษั ท ทางเทคโนโลยี ชี ว ภาพ ได้ ดั ง เช่ น ที่ ประธานาธิ บ ดี ซั ค ดั ม ฮุ ส เซน ปฏิ บั ติ เพี ย งใช้ เ ซลส์ ข องสิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต เซลส์ เดียวก็เพียงพอส�ำหรับการเพาะเลี้ยง เชื้อ ได้ เป็นจ�ำนวนมาก การค้นพบ Recombinant DNA และความก้าวหน้าทางวิชาเทคโนโลยี ชีวภาพ (Biotechneology) ได้ช่วยไขปัญหา ข้อสงสัย หลายประการเกี่ยวกับสงครามชีวะ และได้เปิดหนทางใหม่ในการใช้อาวุธชีวะว่า จะไปในทิศทางใด แม้จะมีความพยายามที่จะ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
ต่อต้าน ขัดขวางการใช้อาวุธชีวะและอาวุธ เคมี แต่ไม่มีใครสามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิด อะไรขึ้ น และจะสามารถรั บ มื อ กั บ สงคราม ชี ว ะได้ อ ย่ า งไร กองทั พ สหรั ฐ ฯ ได้ ริ เ ริ่ ม ตั้ ง หน่วยพิเศษ ประกอบด้วย นาวิกโยธินและ ลู ก เรื อ จ� ำ นวน ๓๕๐ นาย เพื่ อ ใช้ ก รณี ถู ก โจมตี ด ้ ว ยอาวุ ธ ชี ว ะและเคมี ด้ ว ยเข้ า ใจดี ว่า สงครามชีวะเป็นได้หลายรูปแบบ ซึ่งการ ตรวจสอบและควบคุมแทบเป็นไปไม่ได้เลย เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นวิชา วิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นในปีศตวรรษ ๙๐ ซึ่งน�ำ มาซึ่งความรู้และการอุบัติสิ่งแปลกใหม่ มีผู้ นิยามเทคโนโลยีชีวภาพ ว่าคือวิชาการศึกษา เพื่อเพิ่มผลผลิตผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ทางอุตสาหกรรมโดยใช้สิ่งที่มีชีวิต ระบบและ กระบวนการทางชีววิทยา ซึ่งเป็นนิยามที่ค่อน ข้างแคบ อย่างไรก็ตาม Biotechnology จะ ประยุกต์จากวิทยาศาสตร์ ๓ สาขาเข้าด้วย กันได้แก่ จุลชีววิทยา (Microbiology) ชีวเคมี (Biochemistry) และชีวะโมเลกุล (Molecular Biology) เปรียบเสมือนเหรียญซึ่งมี ๒ ด้าน ด้านดีและ ด้านร้าย ด้านที่ดีมีประโยชน์จะ ใช้ วิ ช านี้ เ พื่ อ ผลิ ต อิ น ซู ลิ น (Recombinant Insulin) และ Erythrogen ทั้ง ๒ ผลิตภัณฑ์ นี้ เ พื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ชี วิ ต มนุ ษ ย์ จ�ำ นวนมากให้ รอดพ้นจากการเสียชีวิต ส่วนด้านร้ายวิชานี้ ถูกน�ำไปใช้เพื่อสร้างเผ่าพันธุ์ใหม่ขึ้นมาโดยใช้ พันธุ กรรมศาสตร์ หรือ เพื่อการบ�ำรุงรักษา พันธุ์มนุษย์ หรือน�ำไปสร้างอาวุธชีวะ โดยใช้ ประโยชน์จากวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
มนุษย์ เพียงจุลินทรีย์ไม่กี่ตัวก็สามารถท�ำลาย พั น ธุ ์ พื ช สั ต ว์ เ ลี้ ย ง และถิ่ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของ มนุษย์ได้อย่างมาก ปริมาณของเชื้อโรคที่จะ มีผลทางทหาร จะขึ้นอยู่กับ หลักปฏิบัติใน การรับมือกับอาวุธชีวะ ในการโจมตีที่หมาย ส�ำคัญทางทหารเช่น ท่าเรือ ฐานบิน โดยการ ใช้จรวด Missile หรือเครื่องบินติดด้วยอาวุธ ชีวะ ปริมาณสารเชื้อโรคชั้นต�่ำใช้เพียง ๑๐๐ กิโลกรัม ก็จะเพียงพอ ในการฝึกทดลองครั้ง หนึ่งของสหรัฐฯ ได้จ�ำลองสถานการณ์ โดย การโปรยเชื้อแอนแทร็กซ์ด้วยเครื่องบินเหนือ รัฐวอชิงตัน สามารถ ท�ำลายผู้คนได้ถึงจ�ำนวน ๑ ล้าน ถึง ๓ ล้านคน ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับ ระเบิดไฮโดรเจนขนาด ๑ เม็กกะตัน ทิง้ ในพืน้ ที่ เดียวกัน จะมีผลให้ ผูค้ นตายเพียง ๐.๕ ล้านคน ถึง ๑.๙ ล้านคน ซึ่งประสิทธิภาพการท�ำลาย ล้างของอาวุธชีวะเหนือกว่าและมีความส�ำคัญ ทางยุทธศาสตร์ ท�ำให้ผู้น�ำประเทศทั้งหลาย ไม่วา่ จะเป็นทหารหรือพลเรือนหวาดหวัน่ และ กลัวมากกว่าอาวุธนิวเคลียร์ เนื่องด้วยความ สามารถในการต้านทาน อาวุธชีวะเกือบเป็น ศูนย์ เพราะปริมาณเชื้อโรคเพียง ๑ หลอด น�้ำ หนักเพียงไม่กกี่ รัม สามารถเป็นตัวเริม่ ต้นเพาะ เชือ้ โรค ได้เป็นจ�ำนวนมาก ภายใน ๒-๓ วัน เรา สามารถค�ำนวณหาประมาณสารพิษ (Toxins) ว่าเท่าใด จึงจะมีความส�ำคัญต่อทางทหารได้ หลายวิธี ส�ำหรับสารเคมีที่เป็นพิษ ได้จากสิ่งที่
ความส�ำคัญทางทหารของ สงครามชีวะ ทางทหารมั ก มี ค� ำ ถามส� ำ คั ญ ถึ ง ขี ด ความ สามารถทางทหารของประเทศใดๆ การจะ พิจารณา ถึงขีดความสามารถ จะขึ้นอยู่กับ ว่า ภัยคุกคามคืออะไร หากค� ำตอบของภัย คุ ก คามคื อ อาวุ ธ ชี ว ะ การประเมิ น ขี ด ความ สามารถทางทหาร จะไม่ได้ค�ำตอบที่ชัดเจน เนื่องจาก ผลของอาวุธชีวะจะไม่เป็นเหมือน กับอาวุธปกติทั่วไป เมื่อใดก็ตามที่เชื้อโรคเข้า สู่เป้าหมาย คือประชาชน แล้วเชื้อโรคเหล่า นี้ (ยกเว้น เฉพาะสารพิษ Toxins) จะเจริญ เติบโตเพิ่ม จ�ำ นวนอย่ า งมากมายในร่ า งกาย
มีชวี ติ เป็นอาวุธชีวะทีใ่ ห้ประสิทธิภาพ โดยผ่าน การหายใจ สารพิษที่มาจากสิ่งที่มีชีวิตจะมีพิษ มากกว่า Sarin หรือ Soman ซึ่ง เป็นสารเคมี ทีท่ ำ� ลายระบบประสาท ปริมาณสารพิษทีใ่ ช้ใน การโจมตีจะใช้น้อยกว่าปริมาณสารเคมีที่เป็น อาวุธเคมี แต่ให้ผลและ ประสิทธิภาพการโจมตี ได้สูงกว่า เช่น ถ้าใช้ก๊าซท�ำลายระบบประสาท เช่น Sarin ในการโจมตีฐานบินต้องใช้ปริมาณ ๑ ถึง ๗ ตัน แต่ถ้าเป็นสารพิษอาวุธชีวะ จะใช้ เพียง ๑๐๐ – ๗๐๐ กิโลกรัม ซึ่งน้อยกว่าอาวุธ เคมีถึง ๑๐ เท่า 63
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ร่วมท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ ในพิธีบ�ำเพ็ญพระกุศลคล้ายวันประสูติ เจริญพระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก โดยมี พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธีดังกล่าว ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อ ๑ ต.ค.๕๖
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เป็นประธานรับฟังการแถลงยุทธศาสตร์ชาติ - ยุทธศาสตร์ทหาร ของนัก ศกึ ษา วปอ.๒๕๕๕ ภายใต้หวั ข้อยุทธศาสตร์ชาติ ในช่วงระยะเวลา ๕ ปี นับตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑ โดยมี พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมผู้บัญชาการเหล่าทัพ เข้าร่วมรับฟังการแถลงดังกล่าว ณ ห้องมัฆวานรังสรรค์ สโมสรทหารบก วิภาวดี เมื่อ ๑๗ ก.ย.๕๖ 64
พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นาย ITSUNORI ONODERA รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ญี่ปุ่น ในโอกาสเข้าเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑๘ ก.ย.๕๖
พลเอก ยุ ท ธศั ก ดิ์ ศศิ ป ระภา รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ให้การต้อนรับ นาย Andelfo Jose Garcia Gonzalez เอกอัครราชทูต โคลั ม เบี ย ประจ� ำ ประเทศไทย ในโอกาสเข้ า เยี่ ย มค� ำ นั บ และหารื อ ข้อราชการ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เมือ่ ๑๑ ก.ย.๕๖ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
65
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาลาว่าการกลาโหม และประกอบพิธีลงนามในเอกสาร รับ - ส่ง ปลัดกระทรวงกลาโหมและรับมอบหน้าที่การบังคับบัญชา ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๓๐ ก.ย.๕๖
66
หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
67
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการประชุมแถลงเจตนารมณ์และแนวทางในการปฏิบัติงานประจ�ำปี ๒๕๕๗ ให้กบั ก�ำลังพลและหัวหน้าหน่วยขึน้ ตรงของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องพินติ ประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมือ่ ๗ ต.ค.๕๖
พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีแสดงความยินดีแก่นายทหารสัญญาบัตรที่ได้รับพระราชทานยศทหาร ชั้นนายพล ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ และพิธีรายงานตัวของนายทหารสัญญาบัตรที่ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเข้ามารับราชการ ในส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑ ต.ค.๕๖ 68
พลต�ำรวจโท ค�ำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ผู้บัญชาการต�ำรวจนครบาล และคณะ เข้าพบ พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เพื่อแสดงความยินดีภายหลังได้รับต�ำแหน่งและหารือถึงการประสานการท�ำงานร่วมกันพร้อมทั้งเยี่ยมชมศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงกลาโหม ณ อาคารด้านทิศตะวันออก ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒ ต.ค.๕๖
พลเอก นิพทั ธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธสี งฆ์เนือ่ งในวันคล้ายวันสถาปนากรมการอุตสาหกรรมทหาร ครบรอบปีที่ ๖๐ ณ กรมการอุตสาหกรรมทหาร สี่แยกเกียกกาย เมื่อ ๗ ต.ค.๕๖ หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
69
นายกสมาคม ภริยาข้าราชการ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 70
ทันตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก
นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ชื่อสกุลเดิม แก้วโกมุท ชื่อเล่น น้อง วัน/เดือน/ปีเกิด ๒๙ พฤษภาคม ๒๔๙๙ สถานที่เกิด โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรุงเทพฯ บิดา พลตรี ดวง แก้วโกมุท มารดา นางวลัย แก้วโกมุท คู่สมรส พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ต�ำแหน่ง ปลัดกระทรวงกลาโหม บุตร จ�ำนวน ๒ คน บุตรคนที่ ๑ พันตรี นีติพัทธ์ ทองเล็ก จบจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๕๒ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง นายทหารยุทธการ และการฝึก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ บุตรคนที่ ๒ ร้อยตรี นายแพทย์ กิตติพัฒน์ ทองเล็ก การศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ต�ำแหน่งปัจจุบัน นายแพทย์ประจ�ำ ร.๑๕๒ พัน ๒ จังหวัดปัตตานี หลักเมือง ตุลาคม ๒๕๕๖
ประวัติการศึกษา อนุบาล โรงเรียนสวนเด็ก ประถมศึกษา (ต้น) โรงเรียนอัมพรไพศาล ประถมศึกษา (ปลาย) โรงเรียนจิตรลดา มัธยมศึกษา โรงเรียนจิตรลดา รุ่น ๓ (รุ่นเดียวกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) อุดมศึกษา ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ทบ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาชีพ ประกอบธุรกิจส่วนตัว
71
ทันตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก รับหน้าที่นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จากนางนศพร อภิรักษ์โยธิน ณ ห้องอเนกประสงค์ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม ชั้น ๔ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม แจ้งวัฒนะ เมื่อ ๒๗ ก.ย.๕๖
ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง รั ต นาวดี ทองเล็ ก นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยคณะ กรรมการสมาคมฯ กระท� ำ พิ ธี สั ก การะ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ณ ที่ ท� ำ การสมาคมภริ ย า ข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม (ตึกโดม) และถ่ายภาพร่วมกับ คณะกรรมการสมาคมฯ เมื่อ ๔ ต.ค.๕๖
ทันตแพทย์หญิงรัตนาวดี ทองเล็ก นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยคณะกรรมการสมาคมฯ บริจาคชุดยาและเวชภัณฑ์อเนกประสงค์ จ�ำนวน ๑๐๐ ชุด ร่วมกับผู้น�ำยุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย รุ่นที่ ๓ สถาบันปกเกล้า โดยมี นายแพทย์เขตต์ ศรีประทักษ์ เป็นผู้แทนรับมอบ เมื่อ ๔ ต.ค.๕๖ ณ สมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ชั้น ๑๐ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เพื่อน�ำไปช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยในพื้นที่ อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง 72
อาศิรวาท พระปิยมหาราช พระผู้ประสาทความเป็นไท พระ เมตตาท่วมท้น ปิย ชนเทิดพระนาม มหา กษัตริย์เปี่ยมงดงาม ราช กิจจรดแดนฟ้า
แดนสยาม ทั่วหล้า ยอดยิ่ง ลือเอย ทั่วพื้นก�ำจาย ฯ
พระปิยมหาราช ทรงปกป้องเขตขันธ์ ปกป้องแดนฉมา ขวานทองจึงคงไว้ เมตตาต่อปวงราษฎร์ ศึกษาเป็นฐานพื้น เลิกทาสสร้างเท่าเทียม ทันสมัยให้เกิดผล เชื่อมโยงทุกสารทิศ ปรับกิจมวลทหาร ปฏิรูปการปกครอง มวลกิจนับหมื่นแสน ราชกิจล้วนงดงาม เทิดพระนามมหาราชา
สุทธชาติจอมราชันย์ สยามพลันเถลิงไท ทรงรักษาอธิปไตย ลูกหลานไทยมีที่ยืน มิต้องหวาดฤากล�้ำกลืน ทรงพลิกฟื้นคุณค่าคน สิทธิเปี่ยมทุกชั้นชน มีถนนแลสะพาน เศรษฐกิจเจริญภาร ราชการเป็นแบบแผน สร้างครรลองใหม่ทดแทน ทรงคัดแก่นเพื่อประชา ชนสยามล้วนศรัทธา สถิตย์หล้าฟ้าเมืองไทย.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า เหล่าข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ( พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์ ผู้ร้อยกรอง )
"คนส�ำราญ งานส�ำเร็จ" พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
Ministry of Defence โดยกระทรวงกลาโหม
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๗๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ภาพปกโดย นายเดโช บูรณบรรพต
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
www.lakmuangonline.com