กระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาในมุมมองของ กลุ่มชาติพนั ธุ์ในคดีความผิดเกีย่ วกับป่ าไม้
เลาฟั้ ง บัณฑิตเทอดสกุล
นิติศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตุลาคม 2562
กระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาในมุมมองของ กลุ่มชาติพนั ธุ์ในคดีความผิดเกีย่ วกับป่ าไม้
เลาฟั้ ง บัณฑิตเทอดสกุล
วิทยานิพนธ์ นเี้ สนอต่ อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพือ่ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสู ตรปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตุลาคม 2562 ก
ข
กิตติกรรมประกาศ เช้าตื่นขึ้นมาก่อฟื นหุงหาอาหาร กินข้าวเสร็ จแล้วก็ไปทาไร่ ทาสวน หาเงินเลี้ยงดูครอบครัว ตกเย็นกลับมาอยูบ่ า้ น คือ การใช้ชีวิตปกติของกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทันทีที่ได้รู้ว่าจะถูกจับกุม ดาเนินคดี โดยเจ้าหน้าที่ป่าไม้บอกว่าสิ่งที่ตนทาเป็ นปกติทุกวันนั้นผิดกฎหมาย ชีวิตก็เสมือนดาดิ่งลง ก้นเหว บางคนยังพอมีสติให้ต้ งั หลักได้ แต่บางคนก็ได้แต่ปล่อยให้เป็ นไปตามแต่จะเป็ น คนที่โชคดี หน่อยก็เพียงถูกยึดที่ดินหรื อบ้าน บางคนที่โชคร้ายหน่ อยก็ติดคุกไปด้วย วิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ จึงเป็ น ความพยายามที่จะทาให้เสี ยงของพวกเขาเหล่านี้ มีพ้นื ที่สาหรับโต้แย้งต่อความยุติธรรมกระแสหลัก ในสังคมไทย ที่เมินเฉยต่อพวกเขา วิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ สาเร็ จลงได้ดว้ ยคาแนะนา การสนับสนุ นและการช่วยเหลือ จากหลายๆ ท่าน ผูเ้ ขียนขอขอบคุ ณอาจารย์จุฑารัตน์ เอื้ อ อ านวย ที่กรุ ณารั บเป็ นประธานคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ พร้อมทั้งได้ให้คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์อย่างมาก ขอบคุณอาจารย์สมชาย ปรี ชาศิลปกุล ผูซ้ ่ ึงได้แนะนาให้ผเู ้ ขียนสมัครเข้าเรี ยน ซึ่ งต่อมาก็ได้แนะนาประเด็นหัวข้อและทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนว วิพากษ์ (CRT) ที่นามาใช้เป็ นทฤษฎีหลัก รวมทั้งได้ช่วยแนะนาจนวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ สาเร็ จลุล่วง อีก ทั้งยังได้ช่วยผลักดันให้ผูเ้ ขียนได้รับทุนสนับสนุ นจาก สานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) และขอขอบคุณอาจารย์ดรุ ณี ไพศาลพาณิ ชย์กุล ผูซ้ ่ ึ งเป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษา คอยติดตามความคืบหน้า ตรวจสอบแนะนาให้ผเู ้ ขียนได้พฒั นาทักษะการเขียนจนเกิดผลงานเป็ นชิ้นเป็ นอัน ขอขอบคุณอาจารย์ นัทมน คงเจริ ญ ผูซ้ ่ ึ งได้ช่วยขยายมุมมองทางวิชาการเกี่ ยวกับกลุ่ มชาติพนั ธุ์ และยังได้ช่วยเหลื อให้ ผูเ้ ขียนได้รับทุนการศึกษาจากองค์กร Takagi Fund for Citizen Science ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ งผูเ้ ขียนได้ ใช้สาหรับจ่ายค่าธรรมเนี ยมการศึกษาตลอดหลักสู ตร อีกทั้งขอขอบคุณพี่สะท้าน ชีววิชยั พงศ์ เพื่อน ร่ วมงานและล่ามแปลภาษากะเหรี่ ยง ผูซ้ ่ ึงให้ความช่วยเหลือในการติดต่อประสานงาน และลงพื้นที่ไป เป็ นล่ามแปลภาษาให้ ขอขอบคุ ณ แหล่ ง ทุ น ที่ ไ ด้ให้ก ารสนับ สนุ น เป็ นค่ า ใช้จ่ า ย ทั้ง เป็ นการช่ ว ยเหลื อ ระหว่า ง การศึกษาและสนับสนุนการลงพืน้ ที่ภาคสนาม ซึ่งถ้าหากปราศจากทุนสนับสนุ นเหล่านี้ ผูเ้ ขียนคงไม่ อาจเรี ยนและทางานต่อเนื่ องจนสาเร็ จลุล่วงได้ ประกอบไปด้วย ทุนสนับสนุ นการศึกษาจากองค์กร Takagi Fund for Citizen Science ประเทศญี่ปุ่น, ทุนสนับสนุ นการศึกษาจากคณาจารย์คณะ นิ ติ ศ าสตร์ มหาวิท ยาลัย เชี ย งใหม่ , ทุ น สนับ สนุ น การจัด ท าวิท ยานิ พ นธ์ จากส านัก งานกองทุ น สนับสนุนการวิจยั (สกว.) ในโครงการทุนวิจยั มหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์ – สังคมศาสตร์ ค
ที่ ส าคัญ ผู ้เ ขี ย นขอขอบคุ ณ กรณี ศึ ก ษาทั้ง 8 คน ซึ่ งผู ้เ ขี ย นไม่ อ าจเปิ ดเผยชื่ อ ได้ ผู ้เ ขี ย น ตระหนักดีวา่ การที่ผเู ้ ขียนไปตั้งคาถามให้ร้ื อฟื้ นความหลังเกี่ยวกับปั ญหาที่กระทบต่อชีวิตของเขานั้น ด้านหนึ่ งเป็ นการทาให้เขาได้ทบทวนประสบการณ์ ชีวิตตนเอง แต่อี กด้านหนึ่ งก็เป็ นการไปรื้ อ ฟื้ น ความเจ็บปวดจากประสบการณ์เลวร้ายในอดีต ซึ่งกรณี ศึกษาทั้ง 8 คน ก็ยนิ ดีสนทนาและให้ขอ้ มูลใน ทุกแง่ทุกมุมแก่ผเู ้ ขียน ซึ่งผูเ้ ขียนไม่มีอะไรจะตอบแทนได้ จึงได้แต่หวังว่าวิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ จะช่วย สร้างพื้นที่ให้เสียงจากประสบการณ์ชีวิตของทั้ง 8 คน ได้สะท้อนความไม่เป็ นธรรมในกระบวนการ ยุติธรรมที่กระทาต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้โดยรวม
เลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล
งค
หัวข้ อวิทยานิพนธ์
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในมุมมองของ กลุ่มชาติพนั ธุใ์ นคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้
ผู้เขียน
นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล
ปริญญา
นิติศาสตรมหาบัณฑิต
อาจารย์ ที่ปรึกษา
ผศ.ดร. ดรุ ณี ไพศาลพาณิ ชกุล บทคัดย่ อ
งานวิจยั ชิ้ นนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อ ศึกษาปั ญหาและอุปสรรคการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ในทางปฏิบตั ิ ที่มีผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่สูง และลักษณะการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐและศาลในคดีดงั กล่าว โดยใช้แนวคิดทฤษฎี ชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ (Critical Race theory) เป็ นทฤษฎีหลัก จากการศึกษามีขอ้ ค้นพบว่า ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ เป็ นทฤษฎีที่ถูกนาไปใช้วิพากษ์ต่อ กฎหมาย นโยบายหรื อการบังคับใช้กฎหมายต่อคนผิวสี ในอเมริ กา มีแนวคิดพื้นฐาน 3 ประการคือ ประการแรก ระบบกฎหมายที่ถูกครอบงาไว้ดว้ ยแนวคิดที่เชื่อว่า ความเสมอภาคเท่าเทียมกันจะเกิดขึ้น ได้เมื่อคนผิวสี สามารถมีสิทธิและเสรี ภาพตามกฎหมาย อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันกับคนผิวขาวใน รู ปแบบเดียวกัน ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาการเหยียดเชื้อชาติหรื อสี ผิว (Racism) ได้จริ ง ประการที่สอง กฎหมายและนโยบายของรัฐ ถูกออกแบบเพือ่ รองรับโครงสร้างสังคมที่กาหนดให้กลุ่มคนที่มีอานาจ ครอบงา อยูใ่ นสถานะที่เหนือกว่า (Privilege) ซึ่งผูม้ ีอานาจจะแก้ไขกฎหมายหรื อนโยบาย ที่เพิ่มสิ ทธิ ของคนผิวสี ในสังคม ก็ต่อเมื่อการกระทาดังกล่าวเป็ นประโยชน์ต่อพวกเขาด้วยเท่านั้น และประการ สุดท้าย คือ ความเป็ นคนผิวสี (Race) เป็ นผลของการประกอบสร้างทางสังคม (Social Construction) แล้วประทับว่าเป็ นลักษณะเฉพาะที่ถาวรของคนกลุ่มนั้นๆ ซึ่ งไม่เกี่ ยวข้องกับประเด็นทางชีววิทยา หรื อเผ่าพันธุม์ นุษย์ ทั้งนี้เพือ่ ตอบสนองต่อประโยชน์ของผูม้ ีอานาจในสังคมนั้น เมื่ อ พิจ ารณาระบบกฎหมายของไทยพบว่า แม้รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทยและ ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาคดี อ าญา จะได้บ ัญ ญัติ คุ ้ม ครองสิ ท ธิ ข องผู ้ต ้อ งหาหรื อ จ าเลยใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไว้อย่างครบถ้วนแล้ว โดยมีแนวคิดเป็ นระบบกฎหมายแบบเสรี นิยม และมีเนื้อหาครอบคลุมตามหลักการพิจารณาคดีที่เป็ นธรรม (Right to Fair Trial) โดยมีความเชื่อว่า จช
เมื่อกฎหมายได้บญั ญัติคุม้ ครองให้ทุกคนมีสิทธิอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันไว้แล้ว จะทาให้ผตู ้ อ้ งหา หรื อจาเลยในคดีอาญาทุกคน ได้รับความเคารพสิทธิหรื อได้มีโอกาสใช้สิทธิบรรดาที่กฎหมายบัญญัติ ไว้ได้จริ ง แต่จากเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษา กลับพบว่าเมื่อบุคคลที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงตกเป็ น ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ มี แนวโน้มที่พวกเขาจะไม่ได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ หรื อ ไม่ มีโอกาสเข้าถึงสิ ทธิ ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้อย่างแท้จริ ง สาหรับการให้สิทธิและโอกาสที่ ได้รับ ก็มีล ักษณะที่เป็ นการทาให้ครบตามแบบพิธีการทางกฎหมาย มากกว่าการมุ่ งรักษาเจตนารม ของกฎหมายอย่างแท้จริ ง เมื่อพิจารณาปรากฏการณ์น้ ีดว้ ยมุมมองของทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์แล้ว ผูว้ จิ ยั มีความเห็น ว่า รัฐและผูม้ ีอานาจได้ทาการประกอบสร้างอัตลักษณ์กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง รวมทั้งชุดองค์ความรู ้ ที่มองว่าการใช้ที่ดินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ก่อให้เกิดปั ญหาต่อระบบนิเวศน์และ เป็ นอันตรายต่อ สังคมโดยรวม และมี การผลิ ตซ้ าและตอกย้ าอย่างต่อ เนื่ อ ง จนกลายเป็ นทัศ นะที่มี อานาจชี้ นาคนในสังคม โดยเฉพาะในโครงสร้างของระบบราชการ รวมทั้งหน่ วยงานที่เป็ นกลไก กระบวนการยุติธรรมทางอาญา จึงส่งผลให้ผมู ้ ีอานาจใช้มาตรการปราบปรามหรื อใช้วิธีรุนแรงต่อพล เรื อน หรื อมีการยกเว้นสิทธิบางประการอย่างเป็ นระบบ โดยมีกฎหมายและนโยบายรองรับ อีกทั้ง การทีก่ ฎหมายคุม้ ครองสิทธิผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีอาญา เป็ นกฎหมายที่ถูกครอบงา ด้วยแนวคิด ความเสมอภาคเท่าเทียมกันแบบเป็ นทางการ โดยละเลยต่อ ความแตกต่างของกลุ่มชาติ พันธุท์ ี่มีความหลากหลายในสังคมไทยนั้น กลับกลายเป็ นอุปสรรคต่อการคุม้ ครองสิ ทธิของผูต้ อ้ งหา หรื อ จาเลยที่เป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เพราะในทางปฏิบตั ิแล้วการใช้และการตีความกฎหมาย ของเจ้าหน้าที่และศาลตกอยูภ่ ายใต้อิทธิ พลของ “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ที่ต้ งั อยู่บนฐานคิดของระบบ คุณค่าทางสังคม ที่มีอคติต่อ กลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ประกอบกับการใช้สิทธิ ในทางปฏิบตั ิน้ ันมี เงื่อนไขและต้องทาตามแบบแผนพิธีการ ซึ่ งต้องใช้ความรู ้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและมีค่าใช้จ่าย ทาให้กลุ่ ม ชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงต้องเสี ยเปรี ยบ และไม่ ไ ด้รับความเป็ นธรรมในการใช้อ านาจของ เจ้าหน้าที่และศาลในการดาเนินคดี
ฉช
Thesis Title
Criminal Procedure through Ethnic Minorities' Perspectives : the Cases Concerning Forestry
Author
Mr. Laofang Bundidterdsakul
Degree
Master of Law
Advisor
Asst. Prof. Dr. Darunee Paisanpanichkul
Abstract These Thesis’s objectives are to study the problems and obstacles of accessing to the rights in the criminal procedure in the concerning forestry. The study focuses on the accused persons or defendants in the cases concerning forestry who are highland ethnic groups, and how the government officials and the court use power in such cases. This study employs the Critical Race Theory (CRT) as a leading theory. The study finds that the CRT, which is used to criticize law or policy or law enforcement to black people in the United States of America, has three principal concepts. First, the legal system dominated by the idea of formal equality—the belief that equality occurs when there is the law guaranteeing the black and the white people equal rights and freedom in the same manner— cannot solve the problems of racism. Second, law and policy are designed to sustain social structure that assures the privileged status of powerful dominated groups. The authorities will amend the law or policy that increases the rights of the black people only when such actions are also beneficial to them. Finally, race (the color) is the result of social construction. It labels the black people as a permanent characteristic of that group, which is not related to biological issues or human tribes, in order to respond to the benefits of those who are dominant in that society. The Thai legal system, through the Constitution of the Kingdom of Thailand and the Criminal Procedure Code, has provided complete protection for the rights of the accused persons or defendants in the criminal procedure. Thai legal system adopts the idea of liberalism and has coverable substances in accordant with the principle of the Right to Fair Trial. This idea believes ช
that whenever the law guarantees equal rights, all accused persons or defendants in criminal cases will automatically be treated as written law. However, the narratives of the case studies demonstrate that the rights of ethnic highland persons who are accused or trialed in forest crimes, will not be protected. Alternatively, they do not have the opportunity to access rights as provided by law. Rights and opportunities granted, are mere the legal formalities, rather than focusing on keeping the real intentions of the law. From the CRT view, the researcher argues that the state and authorities have created the highland ethnic identity, as well as a set of body knowledge in a problematic way. They view land and resource utilization by the highland ethnic groups as a cause of ecological problems and is harmful to society as a whole. This view has been reproduced and emphasized until it becomes an idea. Especially in the structure of the bureaucratic system and the state agencies that represent a mechanism of criminal procedure, that is powerful to dominate people in society. As a result, the authorities can use measures to suppress or create violence against civilians or make systematical exceptions of specific rights. These are supported by law and state policy. In addition, the law that protects the rights of the accused persons or defendants in criminal cases dominated by the concept of formal equality turned out to be a barrier to the protection of the rights of the accused persons or defendants who are highland ethnic groups. Because in practice, the use and interpretation of the law by officials and the court are under the influence of “national culture.” That based on the basic concept of a social value system that has prejudice to ethnic groups in the highlands. Additionally, the exercise of rights in practice is conditional and must be followed by formalities that require specialized knowledge, expertise, and expenditure. As a result, the ethnic groups in the highlands are situated in a disadvantaged position and have not received fair use of the power of officials and courts in litigation.
ซช
สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ
ค
บทคัดย่อภาษาไทย
จ
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
ช
บทที่ 1 บทนา
1
1.1 ที่มาและความสาคัญของปั ญหา 1.2 คาถามในการวิจยั 1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 1.4 ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจยั 1.5 ขอบเขตการวิจยั 1.6 วิธีการวิจยั 1.7 ประกาศจุดยืน 1.8 จริ ยธรรมในงานวิจยั
1 10 10 10 11 12 14 15
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และทบทวนวรรณกรรม 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1.1 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม (Fair Trial) 2.1.1.1 ความหมายของหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม 2.1.1.2 แนวความคิดพื้นฐานของหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม 2.1.1.3 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรมกับความเสมอภาคทาง กฎหมาย 2.1.1.4 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรมกับการค้นหาความจริ ง ในการพิจารณาคดี 2.1.2 ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ (Critical Race Theory) ฌ
17 17 17 18 20 22 25 27
2.1.2.1 ความเป็ นมา 2.1.2.2 แนวความคิดพื้นฐาน 2.1.2.3 หลักการของทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ (CRT) 2.1.2.4 การใช้ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ (CRT) วิพากษ์ต่อ กฎหมาย นโยบาย และกระบวนการยุติธรรม 2.1.3 อภิปราย 2.2 ทบทวนวรรณกรรม 2.2.1 งานที่ทาการศึกษาสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในกรณี ทวั่ ไป 2.2.2 งานที่ศึกษากระบวนการยุติธรรมต่อกลุ่มคนชายขอบ 2.2.3 งานที่ศึกษาเกี่ยวกับปั ญหาสิทธิในการบวนการยุติธรรมต่อคนผิวสี ในอเมริ กา บทที่ 3 กฎหมายกับการให้และการกีดกันสิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 3.1 ความเสมอภาคเท่าเทียมกันของพลเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญและข้อถกเถียง 3.2 คดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้: กระบวนการทาให้การใช้ที่ดินและทรัพยากร กลายเป็ นอาชญากรรม 3.2.1 บริ บทการใช้ที่ดินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 3.2.2 กระบวนการทาให้การใช้ที่ดินและทรัพยากรกลายเป็ น อาชญากรรม : จากแนวคิดสู่การขับเคลื่อน 3.2.2.1 การก่อเกิดและพัฒนาแนวคิดการจัดการป่ าแบบปลอดคน 3.2.2.2 การปรับเปลี่ยนระบบกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับป่ าไม้ 3.2.3 ผลกระทบ 3.3 การกีดกันภายใต้ระบบกฎหมายคุม้ ครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 3.3.1 หลักการพื้นฐานในการคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 3.3.1.1 หลักกระบวนการที่ถูกต้องตามกฎหมาย 4.3.1.2 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม 3.3.2 กฎหมายคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา 3.3.3 ลักษณะของกฎหมายคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ญ
27 30 32 35 38 39 40 44 53 59 60 64 66 73 74 79 84 87 88 88 88 90 92
3.3.4 การกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 3.4 การกีดกันสิทธิบนพื้นฐานความเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 3.4.1 กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูงกับความเป็ น “คนไทย” ที่สมบูรณ์ 3.4.2 กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงภายใต้โครงสร้างสังคมที่คนไม่เท่าเทียมกัน 3.5 สรุ ป
92 96 97 98 101
บทที่ 4 ปั ญหาการเข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้
105
4.1 การปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ที่เป็ น กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูง 4.1.1 เหตุการณ์ก่อนเกิดคดี 4.1.2 การนาตัวบุคคลเข้าสู่คดี 4.1.3 ในชั้นสอบสวน 4.1.4 ในชั้นพนักงานอัยการ 4.1.5 ในชั้นศาล 4.1.6 สิทธิในกระบวนการยุติธรรมในสายตาของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่ เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 4.1.7 อุปสรรคปั ญหาอื่นๆ ที่ทาให้ไม่สามารถไม่มีโอกาสเข้าถึงสิทธิ 4.2 มองกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ด้วยมุมมองของทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ (CRT) 4.2.1 การตรวจยึดและจับกุมในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้กบั ภาพลักษณ์ ที่ถูกประกอบสร้าง 4.2.1.1 ภาพลักษณ์ “ชาวเขา” และวาทะกรรม “ไร่ เลื่อนลอย” 4.2.1.2 การบังคับใช้กฎหมายภายใต้ภาพลักษณ์คนอื่นที่เป็ นภัย 4.2.2 การกีดกันสิทธิที่ถูกมองเป็ นเรื่ องธรรมดาของสังคม 4.2.2.1 วัฒนธรรมแห่งชาติที่ธารงสังคมชนชั้นและกีดกัน กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูง 4.2.2.2 สิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยภายใต้อิทธิพลของ วัฒนธรรมแห่งชาติ 4.2.3 กฎหมายคุม้ ครองสิทธิที่ละเลยต่อความเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 4.2.3.1 สิทธิในบทบัญญัติกฎหมายที่ไม่ได้มีไว้สาหรับคนชายขอบ ฎ
106 107 113 118 124 126 129 136 140 141 143 154 151 153 154 158 159
4.3 สรุ ป
164
บทที่ 5 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ
169
5.1 มองกระบวนการยุติธรรมทางอาญาต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูงด้วยสายตา ชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ (CRT) 5.1.1 ลักษณะการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐเพือ่ นาบุคคลเข้าสู่คดี 5.1.2 ลักษณะการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐและศาลในชั้นพิจารณา 5.1.3 ปั ญหาการเข้าถึงสิทธิที่กฎหมายรับรองไว้ 5.2 ข้อถกเถียงทางทฤษฎี 5.2.1 ความไม่เท่าเทียมกันภายใต้ระบบกฎหมายแบบเสรี นิยม 5.2.2 การการนาทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์มาใช้ในงานนี้ 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ข้อเสนอต่อรัฐบาลสาหรับแก้ไขเปลี่ยนกฎหมาย 5.3.2 ข้อเสนอแนะต่อทนายความและผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย 5.3.3 ต่องานวิชาการด้านกฎหมายกับกลุ่มชาติพนั ธุ์ บรรณานุกรม
169 170 173 175 178 178 180 183 183 183 184 185
ภาคผนวก ภาคผนวก ก. คาชี้แจงในการเขียนเรื่ องเล่ากรณี ศึกษา ภาคผนวก ข. ลุงทิศ : คนสร้างบ้านที่ถูกศาลหาว่าทาให้โลกร้อน ภาคผนวก ค. หน่อดา : ผูท้ ี่ตอ้ งทาใจปล่อยให้ไหลตามกระแสน้ า ภาคผนวก ง. ลุงศักดิ์ : ผูท้ ีชอบเถียงจนได้ (คดี) ความ ภาคผนวก จ. จอดา : ผูม้ าจากสุดชายแดนสาละวิน ภาคผนวก ฉ. สมบูรณ์ : ผูบ้ ุกรุ กป่ าในที่ดินของแม่ ภาคผนวก ช. ป้ าพอดี : ผูท้ ี่ไม่มีวนั เข้าใจว่าตนทาผิดอะไร ภาคผนวก ซ. เน้ง : ผูท้ ี่จายอมเพราะกลัวถูกหาว่าไม่เคารพศาล ภาคผนวก ฌ. พ่อประเสริ ฐ : ผูท้ ี่ขอเพียงได้ช้ ีแจงก่อน ประวัติผเู ้ ขียน
195 197 207 219 231 241 253 263 271 277
ฏ
บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา หญิงชราถอดรองเท้าแตะไว้ขา้ งประตู ห้องพิจารณา ลากเท้าเปล่าอันหนักหน่ วงตามหลังลูก สาวและลูกเขย ก้มหน้าค้อมผ่านตารวจศาลอย่างสุ ภาพที่สุดเข้าไปในห้อง เห็นม้านั่งไม้สักขัดมันเงา นับได้สามแถว หญิงชราเลือกนั่งแถวหลังสุ ด สักพักตารวจศาลก้าวหนักๆ มายืนกลางห้อง เชิดหน้า แล้วถามว่า “คนไหนจาเลย” หญิงชราหันมองซ้ายขวาไม่รู้จะทาตัวอย่างไร ลูกสาวจึงตอบว่า “อยู่นี่ค่ะ” ว่าแล้วก็ช้ ีมือไปที่หญิงชรา ตารวจศาลกระแทกเสียงอีกครั้ง “เกี่ยวข้ องเป็ นอะไรกับจาเลย” “หนูเป็ นลูกค่ ะ” ลูกสาวตอบ “คนอื่ นไปนั่งข้ างหลังส่ วนจาเลยมานั่งแถวหน้ านี่ ” ตารวจศาลว่าต่อ พลางชี้นิ้วไปที่มา้ นัง่ แถวแรก เดินวนไปรอบหนึ่ ง แล้วเดินกลับมายืนคุมเชิง ใกล้ประตู ที่กลางห้องมีผชู ้ ายคนหนึ่ งที่เข้ามาก่อนแล้ว นั่งก้มหน้าอยูห่ ลังจอคอมพิวเตอร์ เคาะนิ้ วบน แป้ นพิมพ์ หันไปกระซิบกับทนายความสองสามคา แล้วหันมาพูดให้ทุกคนได้ยนิ ว่า “ท่ านจะขึน้ บัลลังแล้ วนะครั บ ขอให้ ทุกคนปิ ดโทรศัพท์ และห้ ามส่ งเสี ยงดัง” 1
พอสิ้นเสียงประตูหลังห้องก็เปิ ด ผูช้ ายในชุดคลุมสี ดาเดินเข้ามาแล้วนั่งบนเก้าอี้ที่อยูส่ ู งๆ นั่น หน้าตาไร้ซ่ ึงอารม จับเอกสารพลิกดูไปมาสองสามรอบ หยิบปากกามาเขียนอะไรยิกๆ แล้วถามทั้งที่ ยังก้มหน้า “คดีนางพอดี (นามสมมติ) วันนีม้ ีทนายมาด้ วยไหม” ทนายลุกขึ้นตอบ “มาครั บ” “นางพอดี ลุกขึน้ ศาลจะอ่ านคาฟ้ องให้ ฟังนะ” ผูพ้ พิ ากษาเงยหน้าขึ้นพร้อมกับสั่ง ลูกสาวสะกิดนิ ดหน่ อย นางพอดีลุกขึ้นยืนช้าๆ ตัวงอ หัน ซ้ายขวาทาท่าลังเล ผูพ้ พิ ากษาจ้องดูอาการ ขยับแว่นตาแล้วถาม “ฟั งภาษาไทยได้ ไหม” ลูกสาวที่นงั่ อยูข่ า้ งๆ ชิงตอบก่อนใครๆ “ไม่ ได้ ค่ะ” ยังไม่ทนั สิ้นเสียง ตารวจศาลก็กระแทกเสียงแทรก “ลุกขึน้ ยืนแล้ วค่ อยพูด” ลูกสาวดีดตัวลุกขึ้นทันทีที่สิ้นเสียง ผูพ้ พิ ากษาถามย้า “เป็ นลูกใช่ ไหม จาเลยฟั งภาษาไทยเข้ าใจไหม” ลูกสาวพยายามควบคุมเสียงไม่ให้สนั่ “ฟั งได้ นิดๆ หน่ อยๆ เท่ านั้นเองค่ ะ” ท่านผูพ้ พิ ากษาหันไปทางตารวจศาลแล้วออกคาสัง่ “ไปเรี ยกล่ ามศาลมาให้ หน่ อยซิ ” ตารวจศาลเปิ ดประตูเดินออกไปสักพักก็เดินเข้ามาใหม่ มีผชู ้ ายคนหนึ่งเดินตามหลังมาด้วย 2
“เอ้ า ล่ าม มาสาบานตน แล้ วเดี๋ยวช่ วยแปลให้ จาเลยฟั งนะ” ว่าแล้วผูพ้ พิ ากษาก็อ่าน แล้วล่ามก็แปลเป็ นภาษากะเหรี่ ยง “จาเลยจะรั บสารภาพหรื อปฏิเสธ” ผูพ้ พิ ากษาถามต่อ “ปฏิเสธครั บ” ทนายตอบพร้อมกับลุกขึ้นยืน จากนั้นก็มีการพูดคุยกันไปมาระหว่างผูพ้ ิพากษา ทนายความ และเจ้าหน้าที่ที่นงั่ อยูต่ รงกลางห้อง สักพักตารวจศาลก็ออกเสียงสัง่ ดังๆ “ลุกขึน้ ทาความเคารพศาล” ผูพ้ พิ ากษาก็เดินออกประตูเดิมไป เมื่อประตูปิดตารวจศาลสัง่ อีกครั้งว่า “จาเลยมานี่ ไปอยู่ในห้ องขังก่ อน ถ้ าจะประกันตัวก็ให้ ลกู ไปติดต่ อเอานะ”1 เหตุก ารณ์ ใ นห้อ งพิจารณาคดี อ าญานี้ เป็ นฉากหนึ่ งของวิก ฤติแห่ งชี วิตของจาเลย ซึ่ งฉาก เหตุการณ์ส้ นั ๆ นี้ มีประเด็นที่เป็ นปั ญหาอย่างน้อยห้าประการ กล่าวคือ ประการแรก จาเลยเป็ นกลุ่ม ชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยง ซึ่ งใช้ชีวิตแบบธรรมดาเหมือนกับคนทัว่ ๆ ไปในท้องถิ่น แต่ถูกจับกุมดาเนิ นคดี เนื่องจากใช้ไม้สักสร้างบ้านสาหรับอยูอ่ าศัย โดยถูกกล่าวหาว่าครอบครองไม้แปรรู ปในเขตควบคุม การแปรรู ปไม้โดยไม่ได้รับอนุ ญาต ประการที่สอง สาเหตุที่ทาให้ป้าพอดี ตกเป็ นจาเลยในคดีน้ ี เกิ ด จากมีการสนธิกาลังของเจ้าหน้าที่รัฐที่ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เจ้าหน้าที่อุทยาน เจ้าหน้าที่ตารวจ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และทหาร เข้าไปตรวจค้นและจับกุมตัวป้ าพอดีพร้อมยึดไม้ของกลางในบริ เวณ บ้าน โดยไม่ มีหมายค้นจากศาล ประการที่สาม จาเลยพูด และฟั งภาษาไทยไม่คล่อ ง ไม่รู้สิทธิ ไม่ รู้ กฎหมายและนโยบายของรัฐ ตลอดจนไม่ รู้ข้ นั ตอนวิธีการอันเป็ นแบบพิธีการทางศาล ซึ่ งล้วนเป็ น ความยุ่งยากและไม่อ าจเข้าใจได้สาหรับจาเลย เมื่อแสดงอาการเก้ๆ กังๆ ก็จะถูกเตือน ประการที่สี่ บรรยากาศและท่าทีของเจ้าหน้า กดทับจาเลยนับตั้งแต่เดินเข้าไปในห้องพิจารณาคดี ทาให้จาเลยและ ญาติหวาดกลัว ประการที่หา้ จาเลยต้องเผชิญกับความยากลาบาก โดย ต้องสู ญเสี ยอิสรภาพโดยทันที โดยไม่ ต ้อ งถาม เสี ย เวลาและเสี ย ค่ า ใช้จ่ า ยระหว่า งถู ก ด าเนิ น คดี เช่ น ค่ า เดิ น ทาง ค่ า ประกัน ตัว ค่าใช้จ่ายทนายความ 1
เหตุการณ์ในห้องพิจารณาคดี หมายเลขดาที่ 161/2559 ของศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง ในวันที่ศาลรับฟ้ องคดี ป้ าพอดี ซึ่งผูว้ ิจยั อยูใ่ นห้องพิจารณาคดีดว้ ยในฐานะทนายความของจาเลย.
3
ช่วงทศวรรษ พ.ศ. 2540 อาจเรี ยกได้วา่ เป็ นทศวรรษแห่ งการปฏิรูปสิ ทธิ มนุ ษยชน รวมทั้ง สิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงด้วย อันเนื่องมาจากการประกาศใช้รัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักร ไทย ฉบับปี พ.ศ. 2540 ซึ่ งมีบทบัญญัติว่าด้วยสิ ทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร และหลังจากนั้นมี การเคลื่อนไหวเรี ยกร้องสิทธิในป่ าไม้และที่ดินของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูงอย่างกว้าง อย่างไรก็ตาม ปั ญหาของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงในยุคสมัยใหม่ก็ซบั ซ้อนมากขึ้นเป็ นลาดับเช่นกัน ซึ่ งนักวิชาการ เชื่ อ ว่า มี ส าเหตุ ม าจากอิ ท ธิ พ ลแนวคิ ด การสร้ า งชาติ จ ากขอบเขตดิ น แดนที่ ต ายตัว (Territorial imperative) ที่ใช้แนวความคิดวัฒนธรรมร่ วม คือ การร่ วมกันทางภาษา การจัดองค์กรทางสังคม และ การเมื อง เป็ นเครื่ อ งมื อ สร้างความเป็ นอันหนึ่ ง อันเดี ยวกัน ซึ่ งแนวความคิดแบบนี้ ส่ งผลให้ความ แตกต่างของวัฒนธรรมชาติพนั ธุ์ เป็ นรอยปริ ของความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันของสังคม และตอกย้า ภาพลักษณ์ของ “ชาวเขา” ว่าเป็ นภัยร้ายแรงต่อสังคม ที่สังคมจดจาว่าเป็ นพวกทาไร่ เลื่อนลอย ค้ายา เสพติด อพยพผิดกฎหมาย ซึ่งเป็ นพฤติกรรมที่อยูต่ รงข้ามกับสังคมส่วนใหญ่และเป็ นภัยคุกคามที่ตอ้ ง จัดการ2 ที่สาคัญคือ รัฐใช้ภาพลักษณ์เหล่านี้ มายืนยันความไม่ชอบธรรมในการดารงอยูข่ องกลุ่มชาติ พันธุ3์ อีกทั้งต่อมาหลังปี พ.ศ. 2550 ปั ญหาเดิมคือตัดไม้ทาลายป่ า หรื อทาไร่ เลื่อนลอย ถูกอธิบายขยาย ความด้วยวาทะกรรมใหม่ๆ เช่น ทาให้เกิดปั ญหาโลกร้อน4 ปลูกพืชเชิงเดี่ยว5 ปั ญหาสิทธิในที่ดินทากินและการใช้ไม้สร้างบ้านอยูอ่ าศัยของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เป็ น ความขัดแย้งเรื้ อรังในสังคมไทย ส่งผลให้มีกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ถูกจับกุมและฟ้ องร้องดาเนินคดี อาญาในความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้จานวนมาก โดยสาเหตุของปั ญหานี้ คือ ระบบกฎหมายและนโยบาย ของรัฐเกี่ ยวกับป่ าไม้ ขัดกับวิถี การดารงชี วิตของกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง กล่ าวคือ ทั้งกฎหมาย เกี่ยวกับป่ าไม้และนโยบายของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อ ม กาหนดข้อห้ามหรื อ แนวทางปฏิบตั ิในการบริ หารจัดการพื้นที่ป่าไม้ ที่ไม่เปิ ดช่องทางสาหรับรองรับสิ ทธิในการใช้ที่ดิน และทรัพยากรของกลุ่ มชาติพนั ธ์บนพื้นที่สูง เช่น นโยบายป่ าไม้แห่ งชาติ ที่จะไม่ นาพื้นที่ในเขตป่ า อนุ รักษ์มาจัดสรรให้แก่ ราษฎร6 การไม่ อนุ ญาตให้ทากิจกรรมใดๆ ในเขตพื้นที่ช้ นั คุณภาพลุ่ มน้ า 1
2
ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , วาทะกรรมว่าด้วย “ชาวเขา”, วารสารสังคมศาสตร์ ปี ที่ 11 ฉบับที่ 1, หน้า105. 3 เรื่ องเดียวกัน. 4 คาวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ภาค 5 ในคาพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีบา้ นทุ่งป่ าคา จานวน 21 คดี. 5 กองอานวยการรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจักร และ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม , แผนแม่ บ ทแก้ ไ ขปั ญ หาการท าลายทรั พยากรป่ าไม้ , การบุ ก รุ กที่ ดิ น ของรั ฐ และการบริ หารจั ด การ ทรั พยากรธรรมชาติอย่างยิ่งยืน, 2557, หน้า 13. 6 สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0203/18048, (นโยบายป่ าไม้แห่ งชาติ).
4
และ 27 และกฎหมายระดับพระราชบัญญัติเกี่ยวกับป่ าไม้ 4 ฉบับ คือ พ.ร.บ.ป่ าไม้ พ.ศ. 2484 พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และพ.ร.บ.สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่ งเป็ นกฎหมายที่กาหนดเกี่ ยวกับการสงวนหวงห้ามป่ าไม้และที่ดิน การกาหนดพื้นที่ ควบคุม การอนุญาตให้ใช้หรื อเข้าไปทาประโยชน์ และการกาหนดมาตรการลงโทษทางอาญาสาหรับ ผูฝ้ ่ าฝื น ซึ่ งปั จจุบนั นี้ อาจกล่าวได้ว่าพื้นที่อยูอ่ าศัยและทากินของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงส่ วนใหญ่ ถูกประกาศให้เป็ นเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ ซึ่ งมีสถานะเป็ นเขตพื้นที่ควบคุมตามกฎหมายไปแล้ว อีกทั้งบางพื้นที่ก็ได้มีการประกาศให้เป็ นเขตอุทยานแห่ งชาติ หรื อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทับลงไปใน พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติดว้ ย และมีผลให้เจ้าหน้าที่รัฐสามารถบังคับใช้กฎหมายทั้งสองฉบับควบคู่กนั ได้ ซึ่ งสภาพเช่นนี้ ทาให้คนที่อยูอ่ าศัยและถื อครองที่ดินทากิน ตกอยูใ่ นสถานะอยูอ่ ย่างผิดกฎหมาย และสามารถถูกจับกุมดาเนินคดีได้ตลอดเวลา คดี ค วามผิด เกี่ ยวกับป่ าไม้ โดยสภาพแล้ว เป็ นการพิพาทเกี่ ยวกับ นโยบายของรัฐ ในการ บริ ห ารจัด การที่ ดิน และทรั พ ยากร ระหว่า งรัฐ ในฐานะผูถ้ ื อ อ านาจตามกฎหมาย กับเอกชนผูซ้ ่ ึ ง ครอบครองและใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรจากป่ า หรื อในทางกฎหมายเรี ยกว่าความผิดประเภท ที่มี กฎหมายบัญญัติให้เป็ นความผิด (Mala prohibita) แต่ระบบกฎหมายเกี่ ยวกับป่ าไม้ของไทย บัญญัติให้ขอ้ พิพาทในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้มีโทษทางอาญา ดังนั้น จึงต้องใช้กระบวนพิจารณา คดีอาญาแบบปกติ เป็ นเครื่ องมือและกลไกในการพิจารณาพิพากษาคดี ซึ่งการจัดการกับข้อพิพาทด้วย แนวทางแบบนี้ ได้นาพาไปสู่ ความซับซ้อ นและก่ อ ให้เกิ ดปั ญหาในตัวของมันเอง ที่สาคัญคือ เมื่ อ ความขัดแย้งเหล่านี้ ถูกโยนเข้าสู่กระบวนการพิจารณาคดีโดยเฉพาะในชั้นศาล ก็เสมือนปั ญหาถูกโยน เข้า ไปแก้กัน ในที่ มื ด และต้อ งห้ า มไม่ ใ ห้ ค นนอกสามารถเข้า ถึ ง ข้อ มู ล และตรวจสอบ หรื อ วิพากษ์วจิ ารณ์ได้ จากรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแก้ไขปั ญหาที่ดินทากิน สภาผูแ้ ทนราษฎร พบว่า ในปี พ.ศ. 2553 มีประชาชนจานวนมากอยู่อาศัยและทาประโยชน์ในเขตที่ดินสงวนหวงห้าม ของรัฐประเภทต่างๆ ได้แก่ ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติจานวน 450,000 ราย เนื้ อที่ประมาณ 9.4 ล้านไร่ ในเขตป่ าอนุ รักษ์ (อุ ทยานแห่ งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า วนอุ ทยาน เขตห้ามล่ าสัตว์ป่า) จานวน
7
การกาหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า (Watershed classification) เป็ นการจาแนกชั้นความสาคัญของพื้นที่ในเขต ลุ่ ม น้ า เพื่ อ ก าหนดแนวทางการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ของแต่ ล ะพื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ ก ารอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม.
5
185,916 ราย เนื้อที่ 2,243,943 ไร่ 8 โดยมีสถิติการดาเนิ นคดี ในข้อหาบุกรุ กพื้นที่ป่าและทาไม้ ระหว่าง ช่วงปี พ.ศ. 2552 – 2559 เฉพาะในเขตป่ าอนุ รักษ์ จานวน 38,727 คดี มีผถู ้ ูกจับกุมดาเนิ นคดีท้ งั หมด 15,478 ราย9 โดยสถิ ติจานวนการดาเนิ นคดีเพิ่ม ขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญหลังจากที่มีคาสั่งคณะรักษา ความสงบเรี ยบร้อ ยแห่ งชาติ (คสช.) ที่ 64/2557 และแผนแม่ บทการพิทกั ษ์ทรัพยากรป่ าไม้แห่ งชาติ พ.ศ. 2557 จากสถิติระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2556 มีคดีเฉลี่ยปี ละ 2,204 คดี แต่ในช่วงดาเนิ นการตาม นโยบาย คสช. คือปี พ.ศ. 2557-2558 มี คดี เพิ่ม ขึ้นเฉลี่ ยปี ละ 3,100 คดี ซึ่ งสถิ ติตวั เลขทั้งหมดนี้ รวมกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ในภาคเหนือของประเทศไทยอยูด่ ว้ ย10 ทั้งนี้ เนื่ องจากกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูง โดยเฉพาะเผ่าม้งและเผ่ากะเหรี่ ยงส่วนใหญ่อาศัยอยูบ่ นพื้นที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งเป็ นพื้นที่ที่ถูกทางราชการประกาศให้เป็ นเขตป่ าสงวนและเขตป่ าอนุ รักษ์ตามกฎหมายครอบคลุม ทั้งหมดแล้ว สอดคล้องกับข้อมูลของรัฐบาล ที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวใน รายการ “คืนความสุขให้คนในชาติ” ออกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ เมื่อวันศุกร์ที่ 10 กรกฎาคม 2558 ว่า หลังจากที่ต นได้สั่งการให้กระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อ ม (ทส.) สารวจความ เสี ย หายที่ เ กิ ด จากการบุ ก รุ ก ผืน ป่ าต้น น้ าในภาคเหนื อ ก็ ไ ด้รั บ รายงานที่ น่ า เป็ นห่ ว งว่า ปั จ จุ บ ัน ทรัพยากรป่ าถูกบุกรุ กทาลายกว่า 8.6 ล้านไร่ มีผบู ้ ุกรุ กกว่า 8 แสนคน โดยเป็ นชาวไทยพื้นที่สูง 80% ชาวไทยพื้นที่ราบ 10% และนายทุน 10% คิดเป็ นค่าเสี ยหายทางเศรษฐกิจไม่ต่ากว่า 469,000 ล้าน บาท11 ในทางปฏิบตั ิ เมื่อกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงถูกดาเนิ นคดีในคดีความผิดเกี่ยวกับกฎหมายป่ า ไม้ ผูต้ ้อ งหาหรื อ จ าเลยที่ เ ป็ นกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์บ นพื้น ที่ สู ง จะประสบปั ญ หาในการเข้า ถึ ง สิ ท ธิ ใ น กระบวนการยุติธรรมทางอาญา มีการศึกษาและพบว่าเมื่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงถูกดาเนิ นคดีอาญา ในคดี ความผิดเกี่ ยวกับกฎหมายป่ าไม้ นอกจากความไม่ รู้และความเข้าใจกับระเบียบพิธีการของ 8
ศยามล ไกรยูรวงศ์, “ร่ างกฎหมายสิ ทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและทรัพยากร : ลดความเหลื่อมล้ าสร้าง ความเป็ นธรรม” [ระบบออนไลน์], คณะกรรมการปฏิ รูปกฎหมาย, แหล่งที่มา http://www.lrct.go.th/th/?p=17044 , (22 กรกฎาคม 2560). 9 ฝ่ ายคดีและของกลาง ส่ วนยุทธการด้านป้ องกันและปราบปราม สานักป้ องกัน ปราบปราม และควบคุม ไฟป่ า, สรุ ปรายงานการกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับการป่ าไม้ ของหน่ วยงานในสั งกัดกรมอุทยานแห่ งชาติ สั ตว์ ป่า และพันธุ์พืช ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552-2559. 10 ฝ่ ายคดีและของกลาง ส่ วนยุทธการด้านป้ องกันและปราบปราม สานักป้ องกัน ปราบปราม และควบคุม ไฟป่ า, สรุ ปรายงานการกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับการป่ าไม้ ของหน่ วยงานในสั งกัดกรมอุทยานแห่ งชาติ สั ตว์ ป่า และพันธุ์พืช ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552-2559. 11 “’บิ๊กตู่’ เผยสถิติรุกป่ าต้นน้ า ชาวไทยพื้นที่สูงบุก รุ กมากสุ ด-นายทุนทุกที่ 10%”, [ระบบออนไลน์ ], ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ , แหล่งที่มา https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1436522350.
6
ขั้นตอนในชั้นสอบสวน ชั้นพนักงานอัยการและชั้นศาลแล้ว ผูท้ ี่ถูกกล่าวหานั้นต้องเผชิญกับอุปสรรค ปั ญหาหลายประการ เช่ น ข้อ จากัดทางภาษา ปั ญหาค่ าใช้จ่า ยในการดาเนิ นคดี ปั ญหาการเข้าถึ ง เอกสารและพยานหลักฐาน ปั ญหาความไม่รู้และไม่เข้าใจในสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ปั ญหาการ รับฟั งและชัง่ น้ า หนักพยานหลักฐาน ปั ญหาการแจ้งสิ ทธิ ในจาเลยในการรับสารภาพในคดี อ าญา ปั ญหาทัศนคติของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม เป็ นต้น ทาให้ไม่มีโอกาสได้รับความเป็ นธรรม จากกระบวนการยุติธรรมน้อย12 อีกทั้ง แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาจะบัญญัติให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยมีสิทธิ แต่ การใช้สิทธิเหล่านั้นมีเงื่อนไข ซึ่งบางกรณี เป็ นเงื่อนไขที่มีมาตรฐานสู ง เช่น มีสิทธิที่จะมีทนายความ แต่จ ะต้อ งเสี ยเงิ นจ้า งหรื อ หากใช้ทนายขอแรงที่ศาลตั้ง ให้ ก็อ าจจะได้ท นายความที่ไ ม่ มีคุ ณภาพ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 106 – 108/1 บัญญัติให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยมีสิทธิ ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว แต่ในทางปฏิบตั ิน้ ันมีระเบียบกาหนดหลักทรัพย์ประกันตัวที่สูง ทาให้ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงจานวนมากไม่สามารถหามาได้ ทาให้ไม่ได้รับการประกันตัวในที่สุด หรื อมี สิทธิที่จะต่อสูเ้ พือ่ พิสูจน์ความบริ สุทธิ์ได้ แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วศาลยอมรับเฉพาะพยานหลักฐานของ ทางราชการเท่านั้น ซึ่งกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงไม่มี กรณี น้ ี มีคาพิพากษาศาลฎีกาได้วางบรรทัดฐาน เอาไว้ว่า จาเลยมีความผิดแม้เป็ นการกระทาโดยไม่ เจตนา อันเป็ นการยืนยันความไม่ มีสิทธิ์แม้จะมี ความชอบธรรม ซึ่งปรากฏในคาพิพากษาฎีกาคดีแม่อมกิ ที่ศาลยืนยันว่าจาเลยไม่มีสิทธิ์ แม้ชุมชนและ ตัวจาเลยได้ค รอบครองมาก่ อ นที่ รัฐจะประกาศเป็ นเขตป่ าสงวนแห่ ง ชาติก็ ตาม ซึ่ ง หากถื อ เอาค า พิพากษาฎี กานี้ เป็ นบรรทัดฐาน ก็หมายความว่าทุกคนอยู่ในสถานะที่อ าจถู กจับกุมดาเนิ นคดี และ พิพากษาว่าขับไล่ออกไปได้ตลอดเวลา13 นอกจากนี้ คดี ความผิดเกี่ ยวกับกฎหมายป่ าไม้ มี แนวโน้มที่ ทุกภาคส่ ว นแม้กระทัง่ กลไก กระบวนการยุติธรรมทางอาญา พยายามยืน่ มือเข้ามาแสดงบทบาทในการป้ องกันการบุกรุ กทาลายป่ า โดยศาลได้ปรับเพิ่มบทลงโทษที่ลงหนักขึ้น โดยให้เหตุผลว่าเป็ นพฤติการณ์ร้ายแรง เช่น คดีบา้ นทุ่ง ป่ าคาที่ศาลอุทธรณ์ให้เหตุผลในการลงโทษจาเลยจานวน 21 คนที่ครอบครองไม้เพื่อสร้างบ้านว่า “... การกระทาของจาเลยเป็ นการส่ งเสริ มให้ มีการทาลายสภาพป่ าให้ เสื่ อมโทรมลง มี ผลกระทบต่ อการ เปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้ อมของดิน นา้ อากาศ และป่ าไม้ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้ อมต่ อพืน้ ที่ ป่า อัน
12
สุ มิตรชัย หัตถสาร และ สุ รชัยตรงงาม, “การพิสูจน์ สิทธิ ในคดีป่าไม้ และที่ดิน (ศึกษาจากมุมมองของ ทนายความ นักพัฒนาและชาวบ้ านที่เกี่ยวข้ องกับคดีป่าไม้ และที่ดิน)”, (รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ แผนงานสร้าง เสริ มนโยบายสาธารณะที่ดี, สานักงานกองทันสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ 2553), หน้า 16 – 20. 13 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 9962/2559
7
เป็ นต้ นเหตุของความแห้ งแล้ งและภัยพิบัติจากนา้ ป่ าไหลหลาก...”14 ซึ่งการปรับเปลี่ยนเช่นนี้ ยงั คงเป็ น ที่ ส งสัย ว่ า ส่ ง ผลให้ค นกระท าความผิ ด น้ อ ยลง หรื อ กลับ ส่ ง ผลเป็ นการเพิ่ ม ความกดดัน ให้แ ก่ ประชาชนมากขึ้น แม้จะพบว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยประสบปั ญหาในการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาดังกล่าวข้างต้น แต่เมื่อพิจารณาบทบัญญัติกฎหมาย ทั้งรัฐธรรมนู ญและประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาคดีอาญาแล้ว พบว่ามีบทบัญญัติกฎหมายรับรองและคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาครอบคลุมตั้งแต่ช้ นั จับกุม ชั้นสอบสวน และชั้นศาล อีกทั้งยังมีเนื้ อหา และเจตนารมที่ให้ความคุม้ ครองแก่พลเมืองอย่างเสมอภาคเท่าเทียม ตลอดจนกาหนดมาตรการเสริ ม สาหรับช่วยเหลือผูท้ ี่มีขอ้ จากัด เช่น การจัดหาล่ามแปลภาษา การมีทนายความ การมีกองทุนยุติธรรม สาหรับ ช่วยเหลื อคนยากจน เป็ นต้น ดังนั้น ปั ญหาการเข้าไม่ ถึ งสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาของกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์บ นพื้น ที่ สูง จึง เป็ นกรณี ที่ เ กิ ดขึ้ น ท่า มกลางความก้า วหน้า ของกฎหมาย คุม้ ครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา นอกจากนี้การที่ประเทศไทยใช้ระบบกฎหมายแบบ Civil law ที่ใช้ระบบการดาเนิ นคดีแบบ กล่ าวหา และการค้นหาความจริ งในการพิจารณาคดี ของศาลเป็ นระบบต่อ สู ้ (Adversary System) หรื อ (Fight Theory) ที่กาหนดให้จาเลยมี หน้าที่ตอ้ งนาพยานหลักฐานมาสู่ ศาล เพื่อ พิสูจน์ความ บริ สุทธิ์หรื อหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์ ซึ่งภายใต้ระบบกฎหมายแบบนี้ รัฐเชื่อว่าจะสามารถทา ให้ทุกคนเข้าถึงสิทธิในการต่อสูค้ ดีอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน หากแต่หลักการเหล่านี้ ก็มีปัญหา ในตัวของมันเอง เมื่อสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่ถูกบัญญัติรับรองไว้น้ นั มีลกั ษณะที่เป็ นแบบแผน ทางการ อีกทั้งเป็ นเรื่ องที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยต้องรู ้เอง และการใช้สิทธิก็จะต้องร้องขอตามระเบียบพิธี การรวมทั้งอาจจะต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วย ทาให้ในทางปฏิบตั ิแล้ว ก็อาจเป็ นการตัดโอกาสคนบางกลุ่ม ไปโดยปริ ยาย ดังที่ ชีพ จุลมนต์ ได้กล่าวว่า “...กระบวนการยุติธรรมแต่ ละขั้นตอน เริ่ มตั้งแต่ ในชั้นจับกุม ชั้นสอบสวน จนถึงชั้นพิจารณาคดีที่มีลกั ษณะเป็ นแบบแผนพิธีการที่ ย่ งุ ยากซับซ้ อน และเป็ นเรื่ อง จาเป็ นที่ ต้องอาศัยความรู้ ด้านกฎหมายโดยเฉพาะ การดาเนิ นการแต่ ละขั้นตอนก็มี ค่ าใช้ จ่าย จึงทาให้ คนบางกลุ่มในสั งคมที่ เป็ นคนยากจนและขาดความรู้ ต้องตกอยู่ใน
14
คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 5 แผนกคดีสิ่งแวดล้อม คดีห มายเลขดาที่ 341/2557 คดีหมายเลขแดงที่
425/2557.
8
ฐานะเสี ยเปรี ยบในการต่ อสู้ คดี หรื อถูกละเมิ ดสิ ทธิ ดังนั้น การต่ อสู้ คดีในสภาพที่ ไม่ เท่ าเทียมกันเช่ นนี ้ ก็ยากที่จะได้ รับความยุติธรรมอย่างแท้ จริ ง”15 ที่สาคัญคือ ในกรณี ที่ ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นกลุ่ม ชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ซึ่ งเป็ นกลุ่ม คนที่มี ลักษณะการดารงชี วิตและวัฒนธรรมที่ แตกต่างจากคนส่ วนใหญ่ในสังคม เช่น ภาษา วัฒนาธรรม ความเชื่ อ การถื อครองที่ดินและการเพาะปลู ก ตลอดจนกฎหรื อ จารี ตประเพณี แห่ งท้อ งถิ่ น ทาให้ ทัศนะเกี่ยวกับความจริ งและความถูกต้อ งของเขาแตกต่างออกไปจากคนส่ วนใหญ่ในสังคม เมื่อถู ก ดาเนินคดีดว้ ยระบบที่เป็ นแบบแผนพิธีการ จึงทาให้พวกเขาตกอยูใ่ นสถานะที่ลาบากมากกว่าคนกลุ่ม อื่นๆ ในสังคม ผูว้ จิ ยั มีความเห็นว่า กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่ผตู ้ อ้ งหา หรื อจาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง มีความแตกต่างจากคดีอาญาประเภทอื่นๆ ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อ จ าเลยเป็ นกลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง ทั้ง นี้ เนื่ อ งจากมี เ งื่ อ นไขที่ เ กี่ ย วข้อ งหลายประการ เช่ น ลักษณะเฉพาะของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง , ประวัติศาสตร์ความขัดแย้งทางการเมืองและการเหยียด หรื ออคติทางชาติพนั ธุ์ , วัฒนธรรมแห่ งชาติ , ผลประโยชน์ในทรัพยากรที่ยึดกุมโดยผูม้ ี อานาจหรื อ กลุ่มทุน , กระแสสังคมเกี่ยวกับปั ญหาสิ่งแวดล้อม เป็ นต้น คดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง จึงตกอยูภ่ ายใต้ ภายใต้บทบริ บทที่ซบั ซ้อน กล่าวคือ บริ บทของกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่ยดึ กุมอานาจใน การเป็ นเจ้าของ และผูกขาดอานาจในการบริ หารจัดการไว้ที่รัฐส่ วนกลาง ด้วยแนวคิดอนุ รักษ์ป่าแบบ ปลอดคน บริ บทของอุดมการณ์แห่งรัฐที่มุ่งคุม้ ครองผลประโยชน์ในกิจการอนุ รักษ์พ้นื ที่ป่า และหวง กันพืน้ ที่สาหรับให้ผมู ้ ีอานาจหรื อนายทุนใช้แสวงหาผลประโยชน์ในทรัพยากร บริ บทของวาทะกรรม “ชาวเขาทาลายป่ า” ที่ยงั คงมีพลังท่ามกลางกระแสสิ่ งแวดล้อมของชนชั้นกลาง รวมทั้งบริ บทที่สังคม โลกกาลังเผชิญกับปั ญหาภัยพิบตั ิ ซึ่งความคิดความเชื่อของคนเกี่ยวกับสาเหตุของปั ญหา ถูกขมวดมา รวมกันที่การลดลงของพื้นที่ป่าบนภูเขา ซึ่ งที่ผ่านมางานศึกษาวิจยั เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ไม่ได้ให้ความสาคัญกับประเด็นดังกล่าวนี้ ดั้งนั้น ในงานวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั ประสงค์ที่จะศึกษาวิเคราะห์ปัญหาสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ที่ลงลึกถึงแนวความคิดเบื้องหลังของระบบกฎหมายและปฏิบตั ิการ ของเจ้าหน้าที่และศาล ที่ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงที่ถูกดาเนินคดีในในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ 15
ชีพ จุลมนต์, สิ ทธิ มนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา กรณี สิทธิ ของผู้ต้องหาและจาเลยในการ ได้ รับความช่ วยเหลือจากรั ฐโดยการจัดหาทนายความช่ วยเหลือทางคดี , (รายงานการฝึ กอบรมหลักสู ตรหลักนิ ติ ธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่ นที่ 1 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ, สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2556), หน้า 17.
9
ไม่ ไ ด้รับความเป็ นธรรมจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรื อ ไม่ สามารถเข้าถึ งสิ ทธิ บรรดาที่ รัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญาบัญญัติไว้ 1.2 คาถามในการวิจัย (Research Question) 1.2.1 ระบบกฎหมายเกี่ ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย ได้บญ ั ญัติคุม้ ครอง สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงในคดี ความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ให้ได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรมอย่างไร 1.2.2 เจ้าหน้าที่รัฐและศาลที่เป็ นกลไกกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในคดีความผิดเกี่ยวกับ ป่ าไม้ ได้ปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงอย่างไร 1.2.3 ระบบกฎหมายและปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐและศาล สามารถคุ ม้ ครองสิ ทธิ ของ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุใ์ ห้ได้รับความเป็ นธรรมจริ งหรื อไม่ 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา (Purposes of the Study) 1.3.1 เพื่อ ศึก ษารู ปแบบกฎหมายที่ คุ ้ม ครองสิ ทธิ ใ นกระบวนการยุติธ รรมทางอาญาของ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ 1.3.2 เพือ่ ศึกษาปั ญหาในทางปฏิบตั ิในการเข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธ์บนพื้นที่สูงในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ 1.3.3 เพื่อศึกษา วิเคราะห์และตีความปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐและศาล ซึ่ งเป็ นกลไกของ ระบบกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่ ม ชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูง 1.4 ประโยชน์ ที่จะได้ รับจากการศึกษา (Benefits of the Study) 1.4.1 ได้ทราบถึง รู ปแบบกฎหมายที่คุม้ ครองสิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ 1.4.2 ได้ทราบปั ญหาในทางปฏิบตั ิในการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธ์บนพื้นที่สูง ในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้
10
1.4.3 ได้เข้าใจถึงปั จจัยหรื อเงื่อนไขที่มีอิทธิพลต่อปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐและศาล ซึ่ งเป็ น กลไกของระบบกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่ เป็ นคนชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 1.5 ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตเชิงเนื้อหางานวิจยั นี้ จากัดเฉพาะคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่ผตู ้ อ้ งหา หรื อจาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุม์ ง้ และกะเหรี่ ยง ซึ่งครอบคลุมทั้งการกระทาความผิดเกี่ยวกับที่ดินในเขต ป่ า เช่น ข้อหาบุก แผ้วถาง ครอบครองเขตป่ าประเภทต่างๆ และการกระทาความผิดเกี่ยวกับไม้หวง ห้าม เช่น ทาไม้ ครอบครองไม้ ซึ่งผูก้ ระทาความผิดอ้างว่าเป็ นการทาเพื่อดารงชีวิตตามวิถีชีวิตทัว่ ไป ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ โดยเหตุผลที่ผวู ้ ิจยั เลื อกเฉพาะคดีที่ผถู ้ ูกดาเนิ นเป็ นกลุ่มชาติพนั ธ์มง้ และกะเหรี่ ยง เนื่ องจากเป็ นกลุ่มที่ถูกจับกุมดาเนิ นคดีจานวนมาก และผูว้ ิจยั มีความใกล้ชิดในฐานะที่ผวู ้ ิจยั เป็ นคน ชาติพนั ธุม์ ง้ และทางานในองค์ก รพัฒนาเอกชน ที่มีกลุ่มชาติพนั ธุ์มง้ และกะเหรี่ ยงเป็ นกลุ่มเป้ าหมาย จึงรับรู ้และเข้าใจวิถีชีวติ วัฒนธรรม ความเชื่อของสองชาติพนั ธุน์ ้ ีดีกว่ากลุ่มชาติพนั ธุอ์ ื่นๆ ขอบเขตเชิงพื้นที่ คือ คดีที่เกิดขึ้นในพื้นที่จงั หวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และตาก โดยอยูใ่ น เขตอานาจของศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง จานวน 4 กรณี , ศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน จานวน 2 กรณี , ศาล จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 1 กรณี , และศาลจังหวัดแม่สอด จานวน 1 กรณี ในการวิจยั จะมุ่งทาความเข้าใจต่อรู ปแบบกฎหมายคุม้ ครองสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาและปั ญหาในทางปฏิบตั ิที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูงเผชิญ โดยจะพิจารณากระบวนการบังคับใช้กฎหมาย รวมทั้งวิเคราะห์ตีความปรากฏการณ์ การจับกุม ดาเนิ นคดี และพิจ ารณาพิพ ากษาลงโทษกลุ่ มชาติพ นั ธุ์บ นพื้น ที่สูง ที่สัมพัน ธ์กับ ระบบ กฎหมาย และอานาจที่ทางานอยูเ่ บื้องหลังการขับเคลื่อนกฎหมาย นโยบาย อุดมการณ์แห่ งชาติ และ ปฏิบตั ิการต่างๆ ของเจ้าหน้าที่ โดยผูว้ ิจยั เลือกใช้วิธีการศึกษาเรื่ องเล่า” (Narrative Approach) เพื่อ เข้าถึงข้อมูลเชิงลึก สาหรับแนวคิดหลักที่ผวู ้ จิ ยั จะนามาเป็ นกรอบในการวิพากษ์คือ ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ (Critical Race Theory) ซึ่งเป็ นทฤษฎีที่ศึกษาและวิพากษ์ความไม่เป็ นธรรมต่อกลุ่มชาติพนั ธุ์หรื อชน กลุ่มน้อยในสังคม โดยตีความปรากฏการณ์ที่เป็ นปั ญหาของกลุ่มชาติพนั ธุ์ ที่สมั พันธ์กบั กฎหมายและ อ านาจ โดยมี จุด ยืน ที่ ไม่ เชื่ อ ว่า กฎหมายเป็ นคาตอบที่ ถูกต้อ งเพียงคาตอบเดี ยว มี ม าตรฐานหรื อ กระบวนการที่เป็ นกลาง และสามารถศึกษาหรื อใช้กฎหมายในแบบที่เป็ นกลางได้ ที่สาคัญคือไม่เชื่อ ว่าเมื่อกฎหมายของรัฐได้บญั ญัติหา้ มการเลือกปฏิบตั ิ โดยรับรองให้กลุ่มชาติพนั ธุ์สามารถมีสิทธิ์ที่จะ 11
ได้รับการปฏิบตั ิเท่ากับกับคนส่ วนใหญ่ของสังคมแล้ว จะมี ผลทาให้กลุ่ม ชาติพนั ธุ์ได้รับความเป็ น ธรรมในทางปฏิบตั ิจริ งๆ 1.6. วิธีการวิจัย 1.6.1 การศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) ซึ่ งมี 3 ส่ วนคือ ส่ วนแรกเป็ นแนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง โดยศึกษาจากตาราทางวิชาการ วิจยั วิทยานิ พนธ์และบทความทางวิชาการ ซึ่ ง จะมีท้ งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ส่ วนที่สอง เป็ นเอกสารเกี่ยวกับคดี ที่จะใช้เป็ นข้อ มูลในการวิจยั หรื อเป็ นเอกสารที่เกี่ยวข้องกัน เช่น เอกสารในสานวนคดี ไม่ว่าจะเป็ นบันทึกการจับกุม สานวนการ สอบสวน คาร้องและคาสัง่ ปล่อยตัวชัว่ คราว คาให้การพยาน รวมทั้งคาพิพากษาชั้นต้น อุทธรณ์และ ฎีกา และส่วนที่ 3 คือข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องเช่น ประวัติและข้อมูลชุมชนหรื อบุคคล ข้อมูลและ สถิ ติ ต่ า งๆ ข่ า วที่ น าเสนอคดี ห รื อ ประเด็ น ปั ญ หาเกี่ ย วกับ ป่ าไม้ห รื อ กลุ่ ม ชาติ พ นั ธ์อ อกสู่ สัง คม ตลอดจนข้อมูลของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง 1.6.2 การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Approach) โดยการเขียนเล่ากรณี ศึกษา โดยคัดเลือก ผูท้ ี่ก าลังตกเป็ นผูต้ ้องหาหรื อจ าเลย หรื อ เคยตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อ จ าเลยคดี อ าญา ในคดี ค วามผิด เกี่ยวกับป่ าไม้ ที่เป็ นคนชาติพนั ธุ์มง้ และกะเหรี่ ยง จานวน 8 คดี เพื่อเป็ นกรณี ศึกษา และทาการเก็บ ข้อมูลโดยใช้การสนทนาแบบไม่เป็ นทางการ (Informal In-depth Interviews) โดยผูว้ ิจยั พร้อมล่าม แปลภาษาในกรณี ที่กรณี ศึกษาพูดภาษาไทยไม่ไ ด้หรื อไม่คล่อ ง ลงพื้นที่ไปพบปะเพื่อสนทนาและ สังเกตวิถีชีวิต วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อ มของกรณี ศึกษา โดยการสนทนาจะไม่ ใช้รูปแบบการ สัมภาษณ์ แต่จะเป็ นการตั้งค าถาม เพื่อ ให้ก รณี ศึก ษาได้ทบทวนความทรงจาต่ อ สถานการณ์ และ ความรู ้สึกในแต่ละช่วงเหตุการณ์ แล้วถ่ายทอดออกมาเป็ นเรื่ องเล่า โดยไม่มีกรอบที่ตายตัว โดยข้อมูล จะมีท้งั ส่วนที่เกี่ยวกับตัวเนื้อหาคดี , ส่วนที่เป็ นวิถีชีวติ วัฒนธรรม ความเชื่อ สภาพครอบครัว สังคม , และส่ วนที่เป็ นความคิดเห็นส่ วนตัวของผูใ้ ห้ขอ้ มู ล นอกจากนี้ แล้วอาจจะมี เรื่ องอื่ นๆ ที่ผูใ้ ห้ขอ้ มู ล อยากสื่อสารออกมา แล้วรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสนทนามาวิเคราะห์สงั เคราะห์ แล้วร้อยเรี ยงเขียน เป็ นเรื่ องเล่ า (Narrative) การเผชิ ญกับกระบวนยุติธรรมทางอาญาในคดีเกี่ ยวกับป่ าไม้ของแต่ละ กรณี ศึกษา ประการแรก การคัดเลือกกรณี ศึกษา ผูว้ จิ ยั เลือกมา 8 กรณี ซึ่งเป็ นจานวนที่เพียงพอที่จะทาให้ ได้ขอ้ มูลสาหรับการวิเคราะห์ และเหตุผลที่ผวู ้ ิจยั ใช้คดั เลือกกรณี ศึกษานี้ คือ เป็ นกรณี ที่ผวู ้ ิจยั ติดต่อ แจ้งความประสงค์พร้อมอธิบายรายละเอียดแล้ว กรณี ศึกษายินดีให้ใช้กรณี ของตนเป็ นกรณี ศึกษาและ พร้อมที่จะให้ผวู ้ จิ ยั ไปสัมภาษณ์เพือ่ จัดเก็บข้อมูลเพิม่ เติม 12
ประการที่สอง กระบวนการเก็บข้อมูล ขั้นตอนแรก เริ่ มจากการเตรี ยมความพร้อม โดยโทรศัพท์ติดต่อประสานงานเพื่อทา ความเข้าใจเบื้องต้น พร้อมทั้งนัดหมายวันเวลาที่จะเข้าไป ขั้นตอนที่สอง ศึกษาหรื อทบทวนข้อ มูลคดีจากเอกสารหรื อแฟ้ มคดี และเขียนเป็ น ข้อมูลเบื้องต้น นอกจากนี้ผวู ้ จิ ยั จะต้องศึกษาและทาความเข้าใจวัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิ ยมของกลุ่ม ชาติพนั ธุ์ ตลอดจนบริ บทของแต่ละชุมชน เพือ่ ทาความเข้าใจวิธีคิดและปรากฏการณ์ในเรื่ องราวต่างๆ ที่กรณี ศึกษาเล่า ขั้นตอนที่สาม การลงพื้นที่ไปพบปะพูดคุยกับทั้งกรณี ศึกษา ญาติ และผูน้ าชุมชน ประการที่สาม เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล ทบทวนเหตุการณ์ต่างๆ ในคดีที่ผวู ้ จิ ยั เกี่ยวข้องในฐานะทนายความ และเขียนข้อมูล ของแต่ละคดีเอาไว้ รวมทั้งบันทึกเหตุการณ์หรื อข้อสังเกตต่างๆ เอาไว้ สร้างความไว้วางใจ โดยผูว้ จิ ยั ได้ติดต่อประสานงานกับกรณี ศึกษาในหลายช่องทาง ทั้งการพูดคุ ย กับกรณี ศึกษาโดยตรง การเข้า ไปพบผูน้ าชุ มชนเพื่อ แนะนาตัวและชี้ แจงการทาวิจ ัย ตลอดจนประสานงานผ่านญาติของกรณี ศึกษาด้วย โดยในช่วงแรกๆ ผูว้ ิจยั จะใช้เวลาไปกับการสร้าง ความคุน้ เคยในกรณี ที่ไม่เคยรู ้จกั กันมาก่อน และการพูดคุยเพือ่ ลดช่องว่างระหว่างการเป็ นทนายความ กับลูกความ ในกรณี ที่ผวู ้ จิ ยั เคยเป็ นทนายให้ความช่วยเหลือคดีให้ หลังจากนั้นจึงนัดพูดคุยรายละเอียด การทาความเข้าใจกับกระบวนพิจารณาคดี ซึ่ งในทุกกรณี กรณี ศึกษาจะไม่รู้และไม่ เข้าใจขั้นตอน กระบวนการต่างๆ ในการดาเนิ นกระบวนพิจารณาคดี อ าญา ที่สัมพันธ์กับสิ ทธิของ ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังนั้น เมื่ อฟั งแล้วผูว้ ิจยั จะต้อ งเข้าใจเองว่า เหตุการณ์ที่กาลังเล่านั้น อยูใ่ นขั้นตอนใดของกระบวนพิจารณาคดี แต่เนื่องจากผูว้ จิ ยั เป็ นทนายความที่ เคยมีประสบการณ์ในการดาเนินคดีต้ งั แต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการ และชั้นศาล จึงง่ายต่อการทาความ เข้าใจเหตุการณ์ที่กรณี ศึกษาพูดถึง การสังเกต โดยผูว้ จิ ยั ได้เดินทางลงพื้นที่ไปดูพ้นื ที่หรื อบ้านของกรณี ศึกษา ที่เป็ นข้อ พิพาทของคดี รวมทั้งสังเกตสภาพแวดล้อม สภาพการดารงชีวิต สถานะทางครอบครัว เศรษฐกิจและ สังคมของกรณี ศึกษา
13
ประการที่สี่ นาข้อมูลของกรณี ศึกษาที่ได้ท้งั หมด มาวิเคราะห์ ตีความ แล้วร้อยเรี ยงเขียนเป็ น เรื่ องเล่า (Narrative) ประสบการณ์การเผชิญกับกระบวนยุติธรรมทางอาญาในคดีเกี่ยวกับป่ าไม้ของ แต่ละกรณี ศึกษา ด้วยสานวนของผูว้ ิจยั ที่มีเนื้ อหาครอบคลุมถึงภูมิหลังของตัวบุคคล ครอบครัวและ ชุมชน เหตุการณ์ที่เป็ นบริ บทแวดล้อม เหตุการณ์ในวันเกิดเหตุและระหว่างที่ถูกดาเนิ นคดีต้ งั แต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้นศาล 1.6.3 การวิเคราะห์เรื่ อ งเล่ าตามแนวทางของทฤษฎี ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ (Critical Race Theory: CRT) โดยในการวิเคราะห์น้ นั จะให้ความสนใจกับการวิเคราะห์ 1) ประวัติศาสตร์ของชน กลุ่มน้อยหรื อกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่สัมพันธ์กบั ผูม้ ีอ านาจในสังคม 2) อานาจในสังคมที่มีอิทธิพลหรื ออยู่ เบื้องหลังการออกกฎหมายและนโยบายของรัฐ หรื อผูม้ ีอานาจเหล่านั้นเป็ นตัวแทนของกลุ่มผูม้ ีอานาจ ใด และ 3) วัฒนธรรมหรื อความเชื่อหลักในสังคม รวมถึงวัฒนธรรมการใช้อานาจขององค์กรในระบบ ราชการ ที่เป็ นผูม้ ีอานาจบังคับใช้กฎหมายในระดับต่างๆ 1.7 ประกาศจุดยืน 1.7.1 งานวิจยั นี้ ตัวผูว้ จิ ยั มีฐานะเป็ น “คนใน” ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเด็นปั ญหาที่จะทาการ วิจยั ใน 3 ฐานะ กล่ าวคือ ฐานะแรก ผูว้ ิจยั เป็ นคนชาติพนั ธุ์ม้ง ที่เกิ ดและเติบโตในชุ มชนม้ง จึงมี ประสบการณ์เกี่ ยวกับความรู ้สึกของคนที่ครอบครองที่ดินทากินโดยไม่ มีเอกสารสิ ทธิ์ ฐานะที่สอง ผูว้ ิจยั ทางานในองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่ งมี สานักงานตั้งอยู่ในบริ เวณชุ มชนชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง และ ทางานในประเด็นสิ ทธิ์ในที่ดินทากินของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง ตลอดระยะเวลาทางานได้ลงพื้นที่ สัมผัสวิถีชีวิตและความเป็ นอยูข่ องชาวกะเหรี่ ยงโดยตลอด เป็ นระยะเวลา 11 ปี นับตั้งปี พ.ศ. 2549 จนถึงปั จจุบนั (พ.ศ.2560) จึงเข้าใจสภาพของปั ญหาสิ ทธิ ในที่ดินทากิ น การใช้ที่ดินในรู ปแบบไร่ หมุนเวียน การนาไม้จากป่ ามาสร้างบ้านอยูอ่ าศัย ตลอดจนวิถีชีวติ ของชาวกะเหรี่ ยงเป็ นอย่างดี ฐานะที่ สาม ผูว้ ิจยั เป็ นทนายความ ที่มีประสบการณ์ ในการว่าความในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่ผตู ้ อ้ งหา หรื อจาเลยเป็ นคนชาติพนั ธุม์ ง้ หรื อกะเหรี่ ยง ซึ่งในงานวิจยั นี้ผวู ้ จิ ยั ได้คดั เลือกบางคดีมาเป็ นกรณี ศึกษา ด้วย ซึ่ งทาให้ผูว้ ิจยั มีขอ้ มู ลเชิ งลึ กเกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาคดี ที่ไม่ ปรากฏในสานวนคดี เช่ น ข้อเท็จจริ งของจาเลยที่ไม่สามารถเปิ ดเผยระหว่างพิจารณาคดีได้ หรื อเป็ นข้อเท็จจริ งที่ศาลไม่รับ หรื อ ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการต่อรองในคดี เป็ นต้น ตลอดจนเหตุการณ์หรื อข้อมูลบางเรื่ องบางตอน ที่ผใู ้ ห้ ข้อมูลมองข้าม ละเลย หรื อมองด้วยมุมมองที่แตกต่าง หรื อเรื่ องเดียวกันแต่ให้ความหมายที่แตกต่าง ออกไป ดังนั้น ผูอ้ ่านพึงตระหนักว่าการมองและการตีความของผูว้ จิ ยั ต่อปรากฏการณ์ ปฏิบตั ิการของ เจ้าหน้าที่รัฐ บทบาทและคาวินิจฉัยของศาล รวมทั้งตัวบทกฎหมายแนะนโยบายของรัฐในงานวิจยั นี้ 14
อาจจะมีอคติส่วนตัวและเป็ นมุมมองของทนายความฝ่ ายจาเลย ซึ่ งอยูใ่ นฐานะคู่ตรงข้ามกับฝ่ ายรัฐ อีก ทั้งผูว้ จิ ยั ก็ไม่ได้วางตัวเป็ นกลางในการมองระบบกฎหมายเกี่ยวกับป่ าไม้ 1.7.2 งานวิจยั นี้ มุ่งศึกษาปรากฏการณ์ที่เป็ นข้อเท็จจริ งในทางปฏิบตั ิ คือ สิ่ งที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อ จาเลยเผชิญระหว่างอยูใ่ นกระบวนการยุติธรรมทางอาญา รวมทั้งปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่ที่เป็ นกลไก กระบวนการยุติธรรมทางอาญาและศาล โดยไม่ได้มุ่งศึกษาหลักการหรื อตัวบทกฎหมาย ดังนั้น คดี และคาพิพากษาที่นามาใช้จึงมีท้งั คาพิพากษาศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา ซึ่ งแตกต่างจากงาน ศึกษาตีความตัวบทกฎหมายที่ตอ้ งยึดคาพิพากษาของศาลฎีกาเป็ นหลัก นอกจากนี้ งานวิจยั นี้ ไม่ ไ ด้มี เจตนาที่จะวิพ ากษ์ต่อ ค าวินิ จฉัยของศาลหรื อ เจ้าหน้าที่ ผูใ้ ช้ อานาจ หากแต่จะกล่าวถึ งปฏิบตั ิการหรื อข้อเท็จจริ งที่เกิดขึ้น ทั้งไม่ ไ ด้มุ่ งจะกล่ าวว่ากรณี ศึกษาได้ กระทาความผิดจริ งหรื อไม่ แต่จะตรวจสอบว่าในทางปฏิบตั ิน้ นั กรณี ศึกษาถูกปฏิบตั ิอย่างไร หรื อต้อง เผชิญกับสถานการณ์อะไรบ้าง 1.7.3 ปั ญหาการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เกิดขึ้นเป็ นการทัว่ ไปกับคน ชายขอบในสังคมไทย บางกรณี ปัญหาที่กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเผชิญ อาจเป็ นลักษณะเดียวกันกับ ปั ญหาที่คนชายขอบในพื้นราบเผชิญ เช่น ที่ดินไม่มีเอกสารสิ ทธิ์ ความยากจน ไม่มีเงินประกันตัว ไม่ มีเงินจ้างทนายความ ไม่รู้กฎหมาย ไม่เข้าใจระเบียบวิธีการหรื อภาษาทางการที่ใช้การดาเนิ นคดี เป็ น ต้น แต่สาหรับสาหรับกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงจะมีลกั ษณะที่แตกต่างจากคนชายขอบที่เป็ นคนพื้น ราบหรื อคนที่เป็ นชาติพนั ธุ์ส่วนใหญ่ในสังคม อย่างน้อย 2 ประการ กล่าวคือ ประการแรกกลุ่มชาติ พันธุ์บนพื้นที่สูงมี โลกทัศ น์ที่แตกต่างจากคนส่ ว นใหญ่ในสังคม ทาให้ท ัศนะต่อ ความถู กหรื อ ผิด กฎระเบี ยบมี ความแตกต่ า งออกไป และอี กประการคือ กลุ่ ม ชาติ พนั ธุ์บ นพื้นที่ สู งมี วฒั นธรรมที่ แตกต่างจากคนส่ วนใหญ่สังคม เช่น ภาษา ลักษณะการแต่งกาย การประกอบอาชีพ รู ปแบบการถื อ ครองที่ ดิ น ท ากิ น ซึ่ ง ความแตกต่ า งเหล่ า นี้ ท าให้ช่ อ งว่า งระหว่า งกลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้น ที่ สู ง กับ โครงสร้างอานาจรัฐและระบบราชการ มีลกั ษณะกว้างกว่าคนชายขอบทัว่ ๆ ไป 1.8 จริยธรรมในงานวิจัย 1.8.1 เพือ่ เป็ นการป้ องกันผลกระทบต่อชื่อเสียงเกียรติคุณของกรณี ศึกษา เนื่ องจากกรณี ศึกษา เป็ นผูท้ ี่เ คยถู กด าเนิ นคดี อาญา บางกรณี ถู กศาลพิพากษาให้จ าคุ ก ซึ่ งการเปิ ดเผยตัวตนอาจท าให้ กระทบต่อชื่อเสียงเกียรติคุณของกรณี ศึกษาได้ ดังนั้น ในงานวิจยั นี้จะใช้ชื่อสมมติท้งั หมด 1.8.2 การป้ องกันมิให้เกิดผลกระทบในทางกฎหมาย เนื่ องจากเนื้ อหาของงานวิจยั นี้ จะกล่าว พาดพิงถึงคู่กรณี ฝั่งตรงข้าม คือ เจ้าหน้าที่ป่าไม้และพนักงานอัยการในฐานะฝ่ ายโจทก์ นอกจากนี้ ยงั 15
ได้กล่าวพาดพิงถึงผูท้ ี่ใช้อานาจในกระบวนการพิจารณาคดี คือ พนักงานสอบสวนและศาล ซึ่ งอาจทา ให้ผใู ้ ห้ขอ้ มูลถูกบุคคลที่ถูกพาดพิงถึงตาหนิหรื อกล่าวหาในทางกฎหมายได้ ดังนั้น นอกจากจะใช้ชื่อ สมมติเพือ่ หลีกเลี่ยงการระบุตวั ตนแล้ว ผูว้ จิ ยั ยังต้องหลีกเลี่ยงการใช้ถอ้ ยคาในลักษณะกล่าวหาบุคคล ที่พาดพิงถึง หรื อหลีกเลี่ยงการระบุตวั ตนที่จะทาให้บุคคลทัว่ ไปเข้าใจว่าหมายถึงบุคคลใด 1.8.3 ผลกระทบต่อสภาพจิต ซึ่ งในการสอบถามกรณี ศึกษา ทุกคนยินดีที่จะให้ขอ้ มูลโดยไม่ ปิ ดบัง เนื่องจากคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ เป็ นความผิดที่ไม่ใช่การละเมิดต่อศีลธรรมของสังคม อีกทั้ง กรณี ศึกษาต่างรู ้สึกว่าไม่ได้รับความเป็ นธรรมและเกิดความคับข้องใจ 1.8.4 ผูว้ ิจยั ไม่ มีค่าตอบแทนให้แก่ กรณี ศึกษาหรื อผูใ้ ห้ขอ้ มู ลคนอื่ นๆ โดยมี เพียงสิ่ งของที่ ระลึก ที่ผวู ้ จิ ยั ซื้อมาในมูลค่า 500 บาท โดยมอบให้หลังจากที่ผวู ้ ิจยั จัดเก็บข้อมูลเสร็ จแล้วประมาณ 6 เดือน ซึ่ งเป็ นงบประมาณจากทุนสนับสนุ นการทาวิทยานิ พนธ์ จากสานักงานกองทุนสนับสนุ นการ วิจยั (สกว.) โดยโครงการทุนวิจยั มหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์ –สังคมศาสตร์
16
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง และทบทวนวรรณกรรม 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง เนื้ อ หาในส่ วนนี้ ผูว้ ิจยั จะทาการพิจารณาแนวคิดและทฤษฎี เกี่ ยวกับการคุ ม้ ครองสิ ทธิ ของ ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยผูว้ ิจยั ได้แบ่งเป็ น 2 ส่ วน ส่ วนแรกจะ พิจารณา “หลักการพิจารณาคดีอ ย่างเป็ นธรรม” (Fair Trial) ซึ่ งจะเป็ นแนวความคิดทางกฎหมาย เกี่ยวกับการคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรม และส่วนที่สอง จะพิจารณา ทฤษฎี ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ (CRT) ที่เป็ นข้อ โต้แย้งต่อ ปั ญหาการคุ ม้ ครองสิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาและ จาเลยในทางปฏิบตั ิ ซึ่ งเป็ นแนวคิดและทฤษฎี หลักที่ผู ้วิจยั จะใช้วิเคราะห์ปัญหาการเข้าถึ งสิ ทธิ ใน กระบวนการยุติทางอาญากลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1.1 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม (Fair Trial) การดาเนินกระบวนพิจารณาคดีอาญา เป็ นการดาเนิ นการที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความสงบ เรี ยบร้อยและคุม้ ครองประโยชน์สาธารณะ ในขณะเดียวกันก็เป็ นการกระทบต่อสิ ทธิและเสรี ภาพของ ผูท้ ี่ถูก กล่ า วหา ดังนั้น การดาเนิ นกระบวนพิจ ารณาคดี จ ะต้อ งคานึ งถึ ง ความเป็ นธรรมต่อ ทุ กฝ่ าย โดยเฉพาะผูเ้ สียหายกับผูท้ ี่ถูกกล่าวหา ซึ่ งการดาเนิ นคดีอาญาจะมีประสิ ทธิภาพดีได้ ระบบกฎหมาย เกี่ยวกับการพิจารณาคดีและวิธีการค้นหาความจริ งมาสู่ศาล จะต้องตั้งอยูบ่ นพื้นฐานแนวคิดที่มุ่งสร้าง ความเป็ นธรรม โดยมีหลักการสากลที่ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกยอมรับ คือ “หลักการพิจารณาคดีอย่าง เป็ นธรรม” ได้วางหลักการอันเป็ นแนวทางในกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญาเอาไว้ และเชื่อว่ากฎหมาย เหล่านี้จะสามารถอานวยให้คู่ความได้รับความเป็ นธรรม โดยเฉพาะผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย การดาเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เป็ นการกระทาที่บงั คับต่อสิทธิและเสรี ภาพรวมถึง ทรัพย์สินของผูท้ ี่ถูกกล่ าวหา แม้ในระหว่างที่ยงั ไม่ มีคาพิพากษาศาลว่าผูถ้ ู กกล่ าวหาเป็ นผูก้ ระทา ความผิดก็ตาม เช่น เมื่อผูใ้ ดถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดกฎหมายอาญา อาจถูกจับกุม คุมขัง อายัด ทรั พ ย์ ถู ก สอบสวน อั น เป็ นกระบวน การที่ ใ ช้ เ วลานานจนกว่ า ศาลจะมี ค าพิ พ ากษา ซึ่ ง 17
ในทางข้อเท็จจริ งมีบ่อยครั้งที่ศาลมีคาพิพากษายกฟ้ องและปล่อยตัวจาเลยไป ในกรณี เช่นนี้ จะทาให้ผู ้ ที่บริ สุทธิ์หรื อกระทาความผิดเล็กน้อ ยแต่ถู กกล่ าวหา ได้รับความเดื อดร้อนเสี ยหายอย่างมาก จึงมี ความจาเป็ นที่จะต้องมีมาตรการคุม้ ครองสิทธิของผูท้ ี่ถูกกล่าวหาด้วย ดังที่ คณิ ต ณ นคร ได้กล่าวไว้ว่า “เนื่ อ งจากการดาเนิ น คดี อาญาย่ อมกระทบต่ อ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภาพส่ ว นบุ คคล แม้ ก ารกระทาความ ความผิ ดอาญา จะเป็ นการกระทาที่ กระทบต่ อ สั งคมโดยส่ วนรวมก็ต าม แต่ ในการปฏิ บัติ ต่อ ผู้ถูก กล่ าวหาจะต้ องคานึงถึงสิ ทธิ เสรี ภาพของบุคคลในฐานะที่เขาเป็ นส่ วนหนึ่งของสังคมด้ วย...”1 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม จึงเป็ นหลักการทางกฎหมายที่มุ่งให้ความคุม้ ครองสิ ทธิ ของคู่ความในการพิจารณาคดี ทั้งฝ่ ายผูเ้ สี ยหายและฝ่ ายผูท้ ี่ถูกกล่าวหา โดยเฉพาะการคุม้ ครองผูท้ ี่ถูก กล่ าวหาให้มีโ อกาสได้แสดงเหตุผลโต้แย้งเพื่อ แก้ขอ้ กล่ าวหา ทั้งนี้ เพื่อ ให้การพิจ ารณาตัดสิ นคดี เป็ นไปอย่างเป็ นธรรมที่สุด ดังนั้น หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม จึงถือเป็ นหัวใจสาคัญที่จะทา ให้ระบบการพิจารณาคดี บรรลุผลในการอานวยการให้เกิดความเป็ นธรรมแก่ฝ่ายผูเ้ สี ยหายและฝ่ ายผู ้ ถูกกล่าวหาให้มากที่สุด 2.1.1.1 ความหมายของหลักการพิจารณาคดีอย่ างเป็ นธรรม Ian Langford ได้กล่าวไว้ใน Fair Trial: The History of an Idea ว่า ก่อนศตวรรษที่ 16 เมื่อ อังกฤษเริ่ มต้นใช้คาว่ายุติธรรม (Fair) จะมีความหมายที่เทียบเคียงกับปั จจุบนั ได้ว่าความสวยงาม ซึ่ ง มักนิยมใช้อธิบายความสวยงามของคน เช่น ผูห้ ญิงที่มีบุคลิกหรื อร่ างกายที่สวยงาม รวมทั้งยังมีความ หมายถึงสีผวิ และสีผมของคน ในความหมายที่เป็ นนัยยะของสีขาว และเป็ นความหมายที่เชื่อโยงความ บริ สุทธิ์หรื อความดีงามในทัศนะแบบชาวตะวันตก ต่อ มาหลังศตวรรษที่ 16 ความหมายของคาว่าความยุติธรรม (Fair) เริ่ มถูกพัฒนาไปใช้ อธิบายการกระทาของคน เช่น การเล่น การค้าขาย การทะเลาะวิวาท และการต่อสู ้ ที่ถูกต้องตามกฎ สาหรับในศตวรรษที่ 17 ความยุติธรรมเริ่ มถูกนามาใช้ในบริ บทของการพิจารณาคดี โดยความหมาย และการใช้คาว่า “ความยุติธรรม” แตกต่างไปจากความหมายในปั จจุบนั โดยมีความหมายว่า ความ ชัดเจนหรื อความสวยงาม หรื อความถูกต้อง ต่อมาหลังศตวรรษที่ 18 ก็ถูกปรุ งแต่งให้มีความหมายว่า หมายถึงความเท่าเทียมกัน ความพอดี การกระทาที่ไม่ได้รับผลกระทบจากเล่ห์เหลี่ยมหรื อวิธีการที่ผิด กฎหมาย ต่อมาในศตวรรษที่ 19 คาว่าความยุติธรรม ก็ถูกนามาใช้อธิบายการกระทาที่ไม่มีขอ้ บกพร่ อง
1
คณิต ณ นคร, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, (กรุ งเทพ : วิญํูชน, 2555), พิมพ์ครั้งที่ 8, หน้า 46-48, อ้างใน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย, การพิจารณาคดีที่เป็ นธรรมในการดาเนินคดีอาญาชั้นก่ อนฟ้ องคดี (นนทบุรี : บริ ษทั มาตาการพิมพ์ จากัด, 2558) หน้า 13.
18
หรื อด่างพร้อย เช่น กฎกติกาในการต่อสู ้ อย่างไรก็ตามจนกระทัง่ ถึงศตวรรษที่ 19 คาว่าความยุติธรรม ก็ยงั ไม่มีการใช้ที่แพร่ หลาย จนกระทัง่ ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ที่กระแสการยึดปั จเจกบุคคลเป็ นศูนย์กลาง มีความโดดเด่น คาว่าความยุติธรรม จึงถูกสถาปนาใช้อย่างแพร่ หลายไม่เพียงเฉพาะในกฎหมายเท่านั้น แต่รวมถึงในทางการค้า การปกครอง และการต่อสู2้ โดยความหมายอย่า งกว้า ง “หลัก การพิจ ารณาคดี อ ย่า งเป็ นธรรม” หมายถึ ง หลัก การที่ รับประกันว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะได้รับการพิจารณาอย่างเป็ นธรรมด้วยระบบที่เป็ นที่ยอมรับ ในการ ตัดสิ นความผิดของบุคคล ด้วยความมี เหตุมีผล ภายในกาหนดระยะเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งต้อ ง คานึงถึงบริ บทแวดล้อมที่อาจมีผลในการกดดันต่อการพิจารณา เช่น ประโยชน์สาธารณะ ความสงบ เรี ยบร้อยของสังคม ศีลธรรม ความขัดแย้งทางการเมือง รวมทั้งประโยชน์ต่อการคุม้ ครองผูเ้ ยาว์ ชีวิต มนุษย์ โดยเฉพาะจะต้องให้ความสาคัญกับบริ บท ทัศนะคติ และความเชื่อในสังคมที่เป็ นการตัดสิ น ความผิดก่อน ซึ่งในการพิจารณาคดี ศาลจะต้องตีความอย่างกว้างเพื่อให้กฎหมายมีผลคุม้ ครองสิ ทธิ์ ของผูถ้ ูกกล่าวหา3 เฮนรี เฟรนด์ลี่ (Henry Friendly) ผูพ้ ิพ ากษาศาลอุ ทธรณ์ ศ าลรั ฐบาลกลาง ได้ก าหนด องค์ประกอบของหลักการรับฟังพยานอย่างเป็ นธรรมอย่างตรงไปตรงมาว่า 1. ศาลที่ไม่ลาเอียง 2. แจ้ง ให้ท ราบถึ ง ข้อ กล่ าวหา 3. โอกาสที่ จะได้แ สดงเหตุ ผ ลโต้แ ย้ง ข้อ กล่ า วหา 4. สิ ท ธิ ในการอ้า ง พยานหลักฐาน 5. สิ ทธิที่ได้รู้พยานหลักฐานของฝ่ ายผูก้ ล่าวหา 6. สิ ทธิที่จะได้รับการติดสิ นคดีจาก เฉพาะพยานหลักฐานที่ปรากฏเท่านั้น 7. สิทธิที่จะมีทนายความ 8. ทาการบันทึกการดาเนิ นกระบวน พิจารณา 9. คาสั่ง ของผูพ้ ิพากษาต้อ งมี เหตุผ ล 10. การพิจารณาต้อ งเปิ ดเผย 11. มี การทบทวน กระบวนการพิจารณาหรื อคาพิพากษา4 จากความหมายข้างต้นจะเห็ น ว่าเป็ นหลักการที่ รับรองสิ ทธิ ข องผูต้ อ้ งหาหรื อ จ าเลยที่ถู ก ดาเนิ นคดีตามหลักความเสมอภาคและหลักนิ ติธรรม เช่ น 1) สิ ทธิ เข้าถึ งกระบวนการยุติธรรมได้ โดยง่าย สะดวก รวดเร็ ว และทัว่ ถึง 2) สิ ทธิได้รับการพิจารณาโดยเปิ ดเผย 3) สิ ทธิที่จะให้คดีของตน 2
Ian Langford (2009) Fair Trial: The History of an Idea, Journal of Human Rights, 8:1, 37-52, DOI: 10.1080/14754830902765857. pp. 40 – 43. 3
Nuala Mole and Catharina Harby, The right to a fair trial : A guide to the implementation of Article 6 of the European Convention on Human Rights, (General of Human Rights Council of Europe, Belgium, 2006), pp. 4 – 5, available at http://www.echr.coe.int/LibraryDocs/DG2/HRHAND/DG2-EN-HRHAND-03(2006).pdf. 4
Edward D. Re, Due Process, Judicial Review, and the Rights of the Individual, Cleveland State Law Review, 1991, P.8, available at http://engagedscholarship.csuohio.edu/clevstlrev/vol39/iss1/3.
19
ได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเป็ นธรรม 4) สิทธิในการได้รับการสอบสวน อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็ นธรรม และการไม่ให้ถอ้ ยคาเป็ นปฏิปักษ์ต่อตนเอง 5) สิทธิได้รับความคุม้ ครอง และความ ช่วยเหลือที่จาเป็ นและเหมาะสมจากรัฐ เป็ นต้น5 ซึ่งเป็ นหลักการพื้นฐานที่สาคัญที่จะนาไปสู่ การสร้าง ความยุติธรรมในคดี อาญา เนื่ องจากเป็ นการสร้างหลักประกันความเป็ นธรรมให้แก่ผทู ้ ี่ถูกกล่าวหา และป้ องกันการใช้อานาจตามอาเภอใจ (Abuse of Power) ของเจ้าหน้าที่ผมู ้ ีอานาจ6 2.1.1.2 แนวความคิดพืน้ ฐานของหลักการพิจารณาคดีอย่ างเป็ นธรรม หลักการพิจารณาคดี อ ย่างเป็ นธรรม เกิ ดขึ้นมาบนพื้นฐานของแนวคิดความเสมอภาค ซึ่ ง แนวความคิดที่เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนเกิดมามีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยในทางวิชาการมีการอ้างอิง แหล่ งที่มาที่สาคัญจากสองแหล่ ง คือ จากหลักคาสอนในศาสนาคริ สต์ และจากแนวความคิดของ นักปราชญ์ กล่าวคือ แหล่ งแรก จากแนวคาสอนของศาสนาคริ สต์ที่มองว่า มนุ ษย์ทุกคนเสมอกันในสายตาของ พระเจ้า เนื่องจากมนุษย์ต่างเป็ นบุตรของพระเจ้า กล่าวคือ 1.) รับรองว่ามนุ ษย์ทุกคนมีความเท่าเทียม กันต่อหน้าพระเจ้า 2.) มนุษย์ทุกคนถูกสร้างโดยพระเจ้าและมนุษย์เป็ นของพระเจ้า 3.) บุคคลแต่ละคน นั้นจะมี ขอบเขตของตนเองที่อ านาจรัฐ ไม่ อ าจเข้ามารุ กรานได้ ซึ่ งเป็ นต้นกาเนิ ดของแนวคิดการ ควบคุ มการใช้อานาจของรัฐ 4.) ด้วยเหตุผลทางศีลธรรมของศาสนาคริ สต์ จึงมี ความจาเป็ นต้อ ง ปกป้ องคุม้ ครองมนุษย์ทุกคนซึ่งเป็ นบุตรของพระเจ้า7 ดังนั้น เมื่อศาสนาคริ สต์มีแนวความคิดพื้นฐาน ที่ตอ้ งการรับรองและคุม้ ครองสิทธิ เสรี ภาพและความเสมอภาคของบุคคล จึงทาให้เกิดแนวความคิด การควบคุม การใช้อานาจของรัฐ ที่มีหลักการว่ารัฐจะต้องไม่ ล่วงละเมิ ดหรื อ แทรกแซงต่อเจตจานง ของพระเจ้า และถูกนาไปใช้ในหลากหลายสาขาเรื่ องราวและมีตีความไปในแง่มุมต่างๆ แหล่งที่สอง คือ จากแนวความคิดนักปราชญ์คนสาคัญๆ ในโลก ที่ได้พยายามเสนอทัศนะที่ มองว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมามีสิทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ซึ่ งเป็ นการมองเสมอภาค ในแง่มุมด้านกฎหมายและการเมือง โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานความคิดเรื่ องสิ ทธิตามธรรมชาติ ที่มองว่า มนุ ษย์เกิดมาเท่าเทียมกัน ไม่อาจโอนให้แก่กันได้ และไม่มีใครจะล่วงละเมิดได้ รัฐทั้งหลายจะต้อ ง กระทาทุกอย่างเพื่อคุ ม้ ครองให้มนุ ษย์มี สิทธิ์ เหล่านี้ อ ย่างเต็มที่ โดยแนวความคิดของนักปราชญ์ที่ 5
น้ าแท้ มีบุญสล้าง, หลักการพืน้ ฐานในกระบวนการยุติธ รรมทางอาญา, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา file:///C:/Users/NBC/Downloads/32704-73150-1-SM%20(1).pdf, (12 มีนาคม 1561). 6 , หลักการพื้นฐานในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, วารสารธรรมศาสตร์ ปี ที่ 33 ฉบับที่ 3 ปี พ.ศ. 2557. 7 เกรี ยงไกร เจริ ญธนาวัฒน์, หลักกฎหมายว่ าด้ วยสิ ทธิ เสรี ภาพ, (กรุ งเทพฯ : วิญํูชน), 2547, หน้า 36 – 37.
20
สาคัญ คือ อริ สโตเติ้ล (Aristotle) (384-222 ปี ก่อนคริ ตกาล) บุคคลที่เสนอแนวความคิดว่าด้วยความ เสมอภาคคนแรกๆ ของโลก โดยได้วางรากฐานความคิดเรื่ องความเสมอภาคเท่าเทียมระหว่างคนไว้วา่ “...ความเสมอภาคนั้นเป็ นสิ่ งที่ ดีที่สุดสาหรั บมนุษย์ เมื่ อความเสมอ ภาคนั้นมี ความหมายถึ งการพิ จารณาอย่ างเท่ าเที ยมกันในเรื่ อ งของผลประโยชน์ ที่ ได้ รับ ... การปกครองที่ดีไม่ ใช่ การปกครองโดยปุถุชน หากแต่ เป็ นการปกครองโดย กฎหมาย (The rule of law is better than that of any individual) เพราะการปกครอง โดยปุถุชนย่ อมเสี่ ยงต่ อการปกครองตามอ าเภอใจ ขณะที่ การปกครองโดยกฎหมาย เอื ้ออานวยต่ อการที่ จะมี ความเสมอภาค (Equality) และเสรี ภาพ (Liberty) มากกว่ า เพราะหากมีการมีการปกครองโดยหลักนิติธรรมอยู่จริ ง ทุกคนก็จะมี ความเสมอภาค กันในสายตาของกฎหมาย และมีเสรี ภาพ คือ ปราศจากความหวาดกลัวว่ าจะมี การใช้ อานาจตามอาเภอใจของผู้ปกครอง”8 สาหรับ จอห์น ล็อค (John Locke) (ค.ศ. 1632-1704) ได้กล่าวถึงสิ ทธิและความเสมอภาคไว้ ในข้อเสนอว่าด้วยเรื่ อง “กฎแห่ งธรรมชาติ” ที่มีพ้นื ฐานความเชื่อว่า มนุ ษย์เกิดมาเสมอภาคเท่าเทียม กันและเป็ นอิสระ โดยเสนอว่า “ธรรมชาติของมนุษย์และสภาวะธรรมชาติ สภาวะธรรมชาติเป็ นสภาวะที่ ทุก คนมี เสรี ภาพอย่ างสมบูรณ์ คนสามารถกระทาตามที่ ตนเลื อ กภายในขอบเขตที่ กฎ ธรรมชาติกาหนดไว้ สภาวะธรรมชาติเป็ นสภาวะที่ทุกคนมีความเสมอภาคมี สิทธิ เท่ า เทียมกัน ไม่ มีผ้ ใู ดมีสิทธิ และอานาจมากกว่ าผู้ใดนี่เป็ นสิ ทธิ ตามธรรมชาติ เป็ นสิ ทธิ ที่ มีอยู่ก่อนการเกิดของสั งคมการเมื อง คนเสมอภาคกันในแง่ ของสิ ทธิ ไม่ ใช่ เสมอกัน ในความสามารถ”9 นอกจากนี้ ยัง ได้ก ล่ า ว่า “... มนุ ษ ย์ ก าเนิ ด ขึ ้น พร้ อมกั บ สิ ท ธิ เด็ดขาดในเสรี ภาพอั นสมบูรณ์ และการไม่ ถูกควบคุมซึ่ งการใช้ สิทธิ ทั้งมวลและอธิ สิ ทธิ์ (Privileges) ตามกฎธรรมชาติในสภาพที่เท่ าเทียมกับมนุษย์คนอื่ นๆ ในโลก”10
8
ภาควิชานิ ติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ และนิ ติศาสตร์ , หลักนิติธรรมสากลกับการคุ้มครองสิ ทธิ มนุษยชน, มหาวิทยาลัยบูรพา 2556, หน้า 9. 9 สุ วิชา เป้ าอารี ย,์ ความเสมอภาค : แนวคิดและข้อถกเถียงเบื้องต้น, บทความทางวิชาการ, วารสารพัฒนา สั งคม ปี ที่ 18 ฉบับพิเศษ, หน้า 10 – 11, สื บจาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/jsd/article/view/62255, (19 กรกฎาคม 2560. 10 จรั ญ โฆษณานันท์, สิ ทธิ มนุษยชนไร้ พรมแดน : ปรั ชญากฎหมายและความเป็ นจริ งทางสั งคม, (กรุ งเทพฯ : นิติธรรม, 2545), พิมพ์ครั้งที่ 1, หน้า 112.
21
อีกทั้ง โธมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) ประธานาธิบดีคนที่ 3 ของสหรัฐอเมริ กา ได้ เสนอด้วยแนวคิดที่ให้ความสาคัญกับแก่นแท้ของความเป็ นมนุ ษย์ (Human Essence) โดยเสนอว่า มนุ ษย์เกิดขึ้นพร้อ มกับการมี ความเสมอภาคกันทางสิ ทธิธรรมชาติ (Equality of Natural Rights) ปั จเจกทุกคนมีสิทธิทางธรรมชาติเป็ นของตนเอง สิ ทธิข้ นั พื้นฐานที่สาคัญของความเป็ นมนุ ษย์น้ นั คือ สิ ท ธิ ที่จ ะมี ชีวิต สิ ท ธิ ที่ จะมี เ สรี ภ าพ และสิ ท ธิ ที่จ ะมี ความสุ ข (Right to Life, Liberty, and Happiness) ทุก ๆ คนในสังคมถือสิทธิน้ ีดว้ ยความเท่าเทียมกัน ไม่มีใครมีสิทธิทางธรรมชาติเหนือกว่า หรื อน้อยกว่าใคร ฉะนั้นรู ปแบบของบทบาทของรัฐที่เหมาะสมจะต้องสามารถปกป้ องและให้ความ เคารพกับสิทธิทางธรรมชาติของปั จเจก11 ซึ่ งรู ปแบบของกฎหมายในยุคสมัยใหม่ ได้นาหลักความเสมอภาคมาบัญญัติเป็ นหลักการ พื้นฐานของกฎหมาย ด้วยความเชื่อ ว่า เมื่ อ มีกฎหมายบัญญัติรับรองให้ทุกคนมี ความเสมอภาคเท่า เทียมกันไว้ จะทาให้เกิดการปฏิบตั ิต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ อย่างเท่าเทียมกันจริ ง และจะเป็ น หลักประกันที่ทาให้สิทธิ และเสรี ภาพเกิ ดขึ้นจริ ง ทั้งเป็ นหลักสาคัญในการควบคุมตรวจสอบการ ปฏิบตั ิหน้าที่ของรัฐ ไม่ให้รัฐใช้อานาจตามอาเภอใจ ไม่ว่าจะเป็ นการกระทาทางนิ ติบญ ั ญัติ บริ หาร หรื อตุลาการ12 2.1.1.3 หลักการพิจารณาคดีอย่ างเป็ นธรรมกับความเสมอภาคทางกฎหมาย หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม มีความเกี่ยวข้องกับแนวความคิดว่าด้วยความเสมอภาค อย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ ในฐานะที่หลักการของหลักความเสมอภาค เป็ นแนวความคิดพื้นฐาน ของหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น “ความเสมอภาค” เป็ นแนวความคิดพื้นฐานของหลักการสิ ทธิ เสรี ภาพในหลายเรื่ อง สาหรับ แง่มุม ทางกฎหมายนั้น มีผูท้ ี่ไ ด้กล่ าวถึงนิ ยามความหมายไว้หลายคน เช่ น ปรี ดี พนมยงค์ กล่ าวว่า “ความเสมอภาคในกฎหมาย คื อ มี สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ท างกฎหมายเช่ นเดี ย วกั บ บุ ค คลอื่ น ไม่ ใ ช่ หมายความว่ าจะต้ องมีความเสมอภาคในทางการมีวตั ถุสิ่งของ และความเสมอภาคในกฎหมายนีอ้ าจ
11
Ryan, A. (2012). On Politics. New York: W.W. Norton & Company. อ้างใน ความเสมอภาค : แนวคิ ด และข้ อถกเถียงเบือ้ งต้ น, บทความทางวิชาการ, วารสารพัฒนาสังคม 3 พฤศจิกายน 2559, หน้า 6. 12 สมคิด เลิศไพฑูรย์ , หลักความเสมอภาค, นิติศาสตร์ ปี ที่ 30 เล่ม 2 (มิถุนายน 2543), หน้า 164 – 167.
22
เป็ นทั้งในทางสิ ทธิ และในหน้ าที่หรื อภาระ”13 โดยศรัณยู หมั้นทรัพย์ ให้ความเห็นซึ่ งสรุ ปได้ความว่า ความเสมอภาคทางกฎหมาย หมายถึง สิทธิที่เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็ นเนื้ อหา ของกฎหมาย การบังคับใช้และการพิจารณาคดีตอ้ งเป็ นไปอย่างเสมอภาคเท่าเทียมต่อประชาชนทุกคน ตลอดจนการได้รับความคุม้ ครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน เป็ นต้น14 สาหรับความเสมอภาคใน ความหมายตามหลักสิ ทธิมนุ ษยชน ศรัณยู ได้ให้ความหมายว่า “ความเท่ าเที ยมของมนุษย์ ทุกคนใน การได้ รับสิ ทธิ พืน้ ฐานตามหลักสิ ทธิ มนุษยชน โดยผ่ านการปฏิ บัติต่อกันระหว่ างมนุษย์ ต่อมนุษย์ ด้วย ความเคารพต่ อสิ ทธิ และศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์”15 นอกจากนี้ เกรี ยงไกร เจริ ญธนาวัฒน์ ให้ความสาคัญกับหลักความเสมอภาคในฐานะคุณค่า ระบบกฎหมาย โดยได้กล่าวถึงความสาคัญของความเสมอภาคไว้วา่ “เป็ นหลักพื ้นฐานของศักดิ์ ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ซึ่ งมนุษย์ ย่อ มได้ รับการ รั บรองและคุ้มครองจากกฎหมายอย่ างเท่ าเที ยมกันในฐานะที่ เ ป็ นมนุษย์ โดยมิ ต้อ ง ค านึ ง ถึ ง คุ ณ สมบั ติ อื่ น ๆ อาทิ เชื ้ อ ชาติ ศาสนา ภาษา ถิ่ น ก าเนิ ด เป็ นต้ น และ ขณะเดียวกันก็ถือได้ ว่าหลักความเสมอภาคนีเ้ ป็ นหลักที่ควบคุมมิ ให้ รัฐใช้ อานาจของ ตนตามอาเภอใจ โดยการใช้ อานาจของรั ฐแก่ กลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง รั ฐต้ องสามารถ อธิ บายได้ ว่าเพราะเหตุใดรั ฐจึ งกระทาการอั นก่ อ ให้ เกิ ดผลกระทบหรื อเป็ นการให้ ประโยชน์ แก่ บุคคลใดบุคคลหนึ่งนั้น ... ดังนั้นหลักความเสมอภาคจึ งเป็ นหลักสาคัญ ในการรั บรองและคุ้มครองสิ ทธิ เสรี ภาพของประชาชนและสามารถนามาตรวจสอบ การใช้ อานาจของรั ฐไม่ ว่าจะเป็ นฝ่ ายนิติบัญญัติ ฝ่ ายบริ หาร และฝ่ ายตุลาการได้ ” จากตัวอย่างนิยามดังกล่าวข้างต้นนี้ อาจจาแนกความเสมอภาคออกเป็ น 4 ประเภท กล่าวคือ 1) ความเสมอภาคในโอกาส หมายถึง การไม่ถูกกีดกันโอกาสที่จะได้รับหรื อเข้าถึงบริ การสาธารณะ
13
หลวงประดิษฐ์ธรรมนูญ, คาอธิบายกฎหมายปกครอง, ในประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชนของปรี ดี พนมยงค์, (กทม. : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526), หน้า 154. อ้างใน สมคิด เลิศไพฑูรย์, หลักความเสมอ ภาค, วารสารนิติศาสตร์ ปี ที่ 30 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2543, หน้า 166. 14 ศรันยู หมั้นทรัพย์, “ความเสมอภาค” [ระบบออนไลน์], สถาบันพระปกเกล้ า, แหล่งที่มา http://ppd.kpi.ac.th/index.php?name=content&main_id=12&page_id=44 (2 มีนาคม 2561). 15 ศรันยู หมั้นทรัพย์, “ความเสมอภาค” [ระบบออนไลน์], สถาบันพระปกเกล้ า, แหล่งที่มา http://ppd.kpi.ac.th/index.php?name=content&main_id=12&page_id=44 (2 มีนาคม 2561).
23
ไม่วา่ จะเป็ นการศึกษา การทางาน สุ ขภาพ รวมทั้งการเข้าถึงสวัสดิการต่างๆ ที่รัฐจัดให้เพื่อลดความ เหลื่อมลาในสังคม ตลอดจนการส่ งเสริ มให้คนชายขอบได้รับโอกาสเท่าเทียมกับคนอื่นๆ 2) ความ เสมอภาคทางสังคม หมายถึง ความเท่าเทียมกันในฐานะที่เป็ นสมาชิกร่ วมกันของสังคม โดยไม่มีการ แบ่งแยกอันเนื่ องมาจากความแตกต่างที่เป็ นรายละเอียด เช่น ชาติพนั ธุ์ ฐานะทางเศรษฐกิจ ตาแหน่ ง ทางสังคม เพศ การศึกษา เป็ นต้น 3) ความเสมอภาคทางกฎหมาย หมายถึง มีกฎหมายกาหนดให้ทุก คนมีสิทธิเท่เทียมกันภายใต้กฎหมายเดียวกัน ทั้งการบัญญัติกฎหมาย การใช้และการตีความกฎหมายที่ ไม่ทาให้คนบางกลุ่มมีอภิสิทธิ์มากกว่าคนบางกลุ่ม และรวมถึงความเท่าเทียมกันในการได้รับความ คุม้ ครองตามกฎหมาย หรื อในการใช้กฎหมายเป็ นเครื่ องมือ 4) ความเสมอภาคทางการเมือง หมายถึง ความเสมอภาคของคนในสังคมที่จะมีส่วนร่ วมทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เพียงสิทธิการเลือกตั้งเท่านั้น แต่ หมายความรวมไปถึงการมีส่วนร่ วมในการตัดสินใจทางการเมือง ในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับประโยชน์ได้ เสียของตนด้วย เช่น การออกระเบียบกฎหมายที่ส่งเสริ มหรื อจากัดสิ ทธิ การอนุ มตั ิอนุ ญาตโครงการ ของหน่วยงานรัฐ เป็ นต้น16 การศึกษาแนวความคิดว่าด้วยความเสมอภาคในทางกฎหมาย โดยเฉพาะด้านกระบวนการ ยุติ ธรรมทางอาญานั้น คงไม่ อ าจหลี กเลี่ ยงที่จ ะกล่ าวถึ ง หลักความเสมอภาคเบื้ อ งหน้า กฎหมาย (Equality before the law) ซึ่งเป็ นหลักการที่เชื่อว่า กฎหมายต้องบัญญัติให้มนุ ษย์ทุกคนมีความเสมอ ภาคเท่าเทียมกัน ในการที่จะได้รับการรับรองและคุม้ ครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน (Fairness) หรื ออีกนัยยะหนึ่งคือ การมีกฎหมายยอมรับสิทธิและเสรี ภาพอันเป็ นแก่นสารของความเป็ นมนุษย์ ที่มี ติด ตัว และไม่ อ าจพรากไปได้ หรื อ การที่ก ฎหมายยอมรั บความเสมอภาคของมนุ ษ ย์ตามแนวคิ ด กฎหมายธรรมชาติและหลักการทางศาสนา17 และหมายความรวมถึง การยอมรับความเท่าเทียมกันของ มนุ ษย์ในการออกกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย และการตีความ ว่าต้องมีเนื้ อหา ถู กบังคับใช้และ ตีความบนพื้นฐานความคิดว่ามนุษย์มีความเสมอภาคเท่าเทียมกันทุกคน18 หรื อมนุษย์มีสิทธิที่จะไดรับ
16
บรรเจิด สิ งคะเนติ , หลักเสมอภาค, ใน หนังสื อโครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรั ฐธรรมนูญแห่ ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, (กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา 2543), น.18. 17 สานักงานศาลปกครอง, หลักความเสมอภาค การเลือกปฏิ บัติที่ไม่ เป็ นธรรมและการเลือกปฏิ บัติ ที่เป็ น ธรรม, (กรุ งเทพฯ: สานักวิชาการและความร่ วมมือระหว่างประเทศ สานักงานศาลปกครอง 2548), หน้า 1-2. 18 ศรันยู หมั้นทรัพย์, “ความเสมอภาค” [ระบบออนไลน์], สถาบันพระปกเกล้ า, แหล่งที่มา http://ppd.kpi.ac.th/index.php?name=content&main_id=12&page_id=44 (2 มีนาคม 2561).
24
การปฏิบตั ิอย่างเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายเดียวกัน ไม่วา่ จะเป็ นในกระบวนกระบวนการยุติธรรม ใน ภาระสาธารณะ ในการทางาน ในการเลือกตั้ง และในการรับบริ การสาธารณะ เป็ นต้น จากแนวคิดเรื่ องความเสมอภาคเบื้องหน้ากฎหมาย มีการขยายความไปสู่ แนวคิดเรื่ อง “ความ เสมอภาคในกระบวนการยุติ ธ รรม” ซึ่ งหมายความว่า บุค คลทุ ก คนต้อ งสามารถน าคดี เข้า สู่ ก าร พิจารณาของศาลได้อย่างเท่าเทียมกัน และได้รับการพิจารณาด้วยกระบวนการเดียวกัน ในทางตรงกัน ข้าม เมื่อกฎหมายหรื อการกระทาขององค์กรผูใ้ ช้อานาจ เป็ นอุปสรรคต่อการที่ประชาชนกลุ่มหนึ่ งจะ สามารถเข้าถึงการคุม้ ครองตามกฎหมาย หรื อทาให้ตอ้ งรับผิดตามกฎหมาย ย่อมขัดต่อหลักความเสมอ ภาคในการดาเนินคดี19 2.1.1.4 หลักการพิจารณาคดีอย่ างเป็ นธรรมกับการค้นหาความจริงในการพิจารณาคดี การบรรลุ เป้ าหมายความเป็ นธรรมในการพิจารณาคดี นอกจากมี ระบบกฎหมายที่ให้การ คุ ม้ ครองสิ ท ธิ ข องผูท้ ี่ถู ก กล่ า วหาแล้ว ยัง จะต้อ งมี วิธี ก ารค้น หาความจริ ง ที่ เ หมาะสม เพื่อ ให้ไ ด้ ข้อเท็จจริ งที่ถูกต้องที่สุดและมากพอมาสู่ ศาล เพื่อที่ศาลจะได้พิจารณาพิพากษาคดีได้อย่างเป็ นธรรม ที่สุด ซึ่ งวิธีการค้นหาความจริ งในการตัดสิ นคดีอาญานั้น มีความแตกต่างกันในแต่ละสังคมและยุค สมัย โดยจะได้กล่าวโดยสรุ ปในลาดับต่อไปนี้ วิธีการค้นหาความจริ งในการพิจารณาคดี และการลงโทษแก่ผกู ้ ระทาความผิดในสมัยโบราณ ของกริ กหรื อโรมัน เป็ นหน้าที่ของครอบครัวผูเ้ สี ยหายเอง ต่อมาในยุคกลางที่ศาสนามีอิทธิพล รัฐได้ เข้ามาแทรกแซงและมีการกาหนดรู ปแบบต่างๆ ในการค้นหาความจริ งขึ้นมา เช่น การทรมาน (Trial by Ordeal) ซึ่งมีท้ งั การทรมานโดยไฟ (Ordeal by fire) ทรมานโดยน้ า (Ordeal by water) หรื อโดย ให้กินอาหารหรื อน้ าที่สาปแช่งโดยพระ (Ordeal by ingestion) การให้คู่กรณี ต่อสู ้เอาชนะกัน (Trial by Combat) โดยถือว่าฝ่ ายที่ชนะการต่อสูเ้ ป็ นฝ่ ายชนะคดี20 ซึ่ งการดาเนิ นคดีในช่วงยุคกลางดังกล่าว นี้ อยู่บนพื้นฐานของการอ้างอิงสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ หรื อพระผูเ้ ป็ นเจ้า โดยเชื่ อว่าจะทาให้คน้ พบความจริ ง อย่างแท้จริ ง การผ่านการทรมาน การต่อสู ้กนั เพราะสิ่ งศักดิ์สิ ทธิ์จะคุม้ ครองให้ผบู ้ ริ สุทธิ์ผ่านพ้นการ ทาทรมานไปได้ หรื อเป็ นฝ่ ายชนะในการต่อสู ้กนั ซึ่ งเป็ นวิธีการที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาคริ สต์ ดัง จะสังเกตเห็นว่าพระมีบทบาทสาคัญในพิธีกรรมต่าง ๆ เพือ่ ค้นหาความจริ ง21 19
สมคิด เลิศไพฑูรย์, กฎหมายรั ฐธรรมนูญ : หลักการใหม่ ตามรั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540, (กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548), หน้า 27. 20 สุ พิศ ประณีตพลกรัง, การค้ นหาความจริ งในกฎหมายลักษณะพยานและการคุ้มครองพยานในคดีอาญา, (นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช), หน้า 7-9. 21 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 9.
25
สาหรับการค้นหาความจริ งในการพิจารณาคดีของศาลในระบบกฎหมายสมัยใหม่ แบ่งเป็ น 2 ระบบ คือ ระบบต่อสู ้ (Adversary System หรื อ Fight Theory) ซึ่งจะใช้อยูใ่ นกลุ่มประเทศที่ใช้ระบบ กฎหมาย Common law เช่น อังกฤษและอเมริ กา และระบบไม่ต่อสู ้ (Non - adversary System หรื อ Inquisitorial System) ซึ่ งจะใช้อ ยู่ในกลุ่ ม ประเทศที่ใ ช้ระบบกฎหมาย Civil law เช่ น ฝรั่ งเศส เยอรมัน22 ซึ่ งแนวคิดการค้นหาความจริ งในระบบต่อสู ้ มีรากฐานมาจากวิธีการพิสูจน์ความจริ งของ การพิจารณาคดีสมัยโบราณ ที่ให้คู่กรณี ต่อ สู ้กนั เอง (Trail by battle) โดยที่ศาลจะทาหน้าที่เป็ น กรรมการเพือ่ หาผูแ้ พ้ชนะ แม้ต่อมาวิธีการต่อสูจ้ ะพัฒนาไปเป็ นการนาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ความ ถูกผิด แทนการใช้กาลังเข้าต่อ สู ้กนั จริ งๆ แต่แนวคิดยังตั้งอยูบ่ นพื้นฐานความเชื่อ ที่ว่า การได้มาซึ่ ง ความจริ งนั้นเกิดจากการต่อสูแ้ ข่งขันกันของคู่กรณี ท้งั สองฝ่ ายอย่างเป็ นธรรม โดยโจทก์และจาเลยใน คดีจะมีฐานะที่เท่าเทียมกัน และแต่ละฝ่ ายจะมีสิทธิที่จะนามาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ต่อศาล โดยให้ โจทก์เป็ นผูก้ ล่ าวหาและมีหน้าที่นาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ความผิดของจาเลย สาหรับฝ่ ายจาเลยมี หน้าที่นาพยานหลักฐานมาหักล้างข้อกล่าวหาของโจทก์ และพิสูจน์ขอ้ อ้างของตนเอง โดยที่ศาลจะ วางตัวเป็ นกลาง เพียงควบคุมให้ท้งั สองฝ่ ายดาเนินคดีตามกติกาที่กฎหมายวางไว้ ดังนั้น การแสวงหา ข้อเท็จจริ งจึงเป็ นหน้าที่ของคู่ความทั้งสองฝ่ าย โดยเฉพาะในคดีแพ่งนั้นศาลจะวางตัวเป็ นกลางอย่าง เคร่ งครัด ไม่ยงุ่ เกี่ยวกับการนาเสนอพยานหลักฐานของคู่ความ ส่ วนในคดี อาญา ศาลอาจจะซักถาม พยานบ้าง เพือ่ ให้ความคุม้ ครองแก่จาเลยหรื อคุม้ ครองสิ ทธิของจาเลย แต่จะจากัดอยูเ่ พียงการซักถาม พยานเพื่ อ ให้ป ระเด็ น ที่ น าสื บ นั้น มี ค วามชัด เจนเท่ า นั้น หลัง จากนั้น ศาลจะพิ จ ารณาคดี ไ ปตาม พยานหลักฐานที่คู่กรณี นามาเสนอต่อศาล อีกทั้งระบบนี้ยงั เชื่อว่าเป็ นระบบที่มุ่งคุม้ ครองสิทธิของของ จาเลยเป็ นพิเศษ ภายใต้หลักการสันนิษฐานว่าจาเลยเป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ให้ศาลเห็นเป็ นที่สิ้น สงสัยว่าจาเลยเป็ นผูก้ ระทาความผิดจริ ง23
22
วีนสั โฆษิตสุ รังคกุล, ระบบต่ อสู้กับการดาเนินคดีอาญาในศาลไทย : ศึกษาเฉพาะกรณี การฟ้ องคดีโดย พนักงานอัยการ, วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2553, หน้า 8-13. 23 โสภณ รัตนากร, คาอธิ บายกฎหมายลักษณะพยาน, พิมพ์ครั้งที่ 11, (กรุ งเทพ : สานักพิมพ์นิติบรรณ, 2557)
26
2.1.2 ทฤษฎีชาติพันธุ์แนววิพากษ์ (Critical Race Theory: CRT)24 ในบรรดาข้อโต้แย้งว่าด้วย “ความเป็ นธรรม” ทางกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็ นตัวบทกฎหมายหรื อ การปฏิบตั ิ มีการถกเถียงกันอย่างกว้างขวางทั้งในทางแนวคิดและทฤษฎี ตัวบทกฎหมาย การใช้และ การตีความกฎหมาย รวมทั้งการพิจารณาจากกลุ่มเป้ าหมาย เช่น เชื้อชาติ สี ผิว เพศ ฐานทางเศรษฐกิจ หรื อสังคม แต่สาหรับงานวิจยั นี้จะใช้ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ซึ่งเป็ นทฤษฎีที่นักวิชาการกฎหมาย ด้านเชื้อชาติและชาติพนั ธุ์ ใช้วิพากษ์ต่อระบบกฎหมายหรื อ การบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็ นธรรมใน สังคม มาปรับใช้เป็ นแนวความคิดในการโต้แย้งและวิพากษ์ต่อความเป็ นธรรมทางกฎหมาย ที่เชื่อว่ามี มาตรฐานตามหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม 2.1.2.1 ความเป็ นมา ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ (Critical Race Theory : CRT) เกิดขึ้นมาช่วงกลางทศวรรษ 1970 จากการที่นกั กฎหมาย นักวิชาการกฎหมาย นักกิจกรรมในประเทศอเมริ กาเห็นว่าความสาเร็ จอัน ยิ่งใหญ่ของสิ ทธิ พลเมื อ งหยุดลงหรื อ แม้กระทัง่ ถดถอยด้วยซ้ าไป 25 แม้อ เมริ กาจะได้มีการปฏิรู ป กฎหมายสิ ทธิ พลเมื อง และมี การถกเถี ยงกันในทางวิชาการเกี่ ยวกับสิ ทธิ พลเมื อ งในอเมริ กาอย่าง กว้างขวาง แต่ก็ต้ งั อยูบ่ นแนวความคิดของสังคมที่ล ะเลยต่อผิวสี (Color-blind) ซึ่ งเป็ นพื้นฐานทาง ความคิดของนักวิชาทางกฎหมายแบบจารี ต (Traditional legal scholars) ที่มีความเห็นว่าการเหยียด ผิวสีจะยุติได้เมื่อสังคมมีกฎหมายที่ทาให้พลเมืองทุกคนมีความเท่าเทียมกัน ไม่มีการเหยียดผิวสี โดย กฎหมายรับรองให้ทุกคนได้รับสิ ทธิที่เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายที่เป็ นกลาง โดยไม่ มองถึ งความ แตกต่างของผิวสี26 ท่ามกลางความรุ่ งโรจน์ของกฎหมายรับรองสิทธิพลเมือง การต่อต้านการเหยียดผิวสี และการ ขจัดการเลือกปฏิบตั ิทางเชื้อ ชาติของอเมริ กา นักวิชาการด้านนิ ติศาสตร์เชิงวิพากษ์ (Critical Legal Study : CLS) มีความเห็นว่าระบบชนชั้นและการเหยียดสี ผิวยังดารงอยูใ่ นสังคมอเมริ กา โดยเฉพาะ 24
ในที่น้ ีจะใช้คาแปลของคาว่า “Critical Race Theory” เป็ นภาษาไทยว่า “ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์” ซึ่ง มีผแู้ ปลเอาไว้ อย่างไรก็ตามผูว้ ิจยั ตระหนักว่าคาแปลนี้ อาจถูกโต้แย้งได้ เนื่ องจากคาว่า “Race” เป็ นคาที่สื่อความ หมายถึงสี ผวิ แต่ถูกแปลเป็ นภาษาไทยว่า ชาติพนั ธุ์ แต่ในขณะที่เขียนงานวิจยั นี้ ยงั ไม่มีคาแปลเป็ นภาษาไทยด้วยคา อื่น ผูว้ ิจยั จึงใช้คาว่า “ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์” 25 Richard Delgado and Jean Stefancic, Critical Race Theory : An introduction, New York University press, pp 3-4. 26 สมชาย ปรี ชาศิลปะกุล, ทฤษฎีนิติศาสตร์ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์, วิภาษา ปี ที่ 3 ฉบับที่ 3 ลาดับที่ 19 1 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน 2552, หน้า 22.
27
การเลื อ กปฏิบ ัติที่ไ ม่ เป็ นธรรมต่ อ คนผิวด าและชนกลุ่ มน้อ ยอื่ นๆ เช่ น การเลื อ กปฏิบตั ิ ในการจัด การศึกษา การบังคับใช้กฎหมายอาญา การจ้างงาน เป็ นต้น นอกจากนี้ นักวิชาการยังเห็ นว่าระบบ กฎหมายยังคงทาหน้าที่โอบอุม้ ชนชั้นสูงผิวขาวไว้ ผ่านบทบาทของกลุ่มคนที่มีอานาจครอบงาสังคม หรื อแม้กระทัง่ นักวิชาการ และศาล ซึ่งนักวิชาการชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ชี้วา่ การยึดเอาระบบความรู ้ใน การบัญ ญัติแ ละการปรั บใช้กฎหมายแบบเอายุโรปเป็ นศูน ย์กลาง (Eurocentric) ถื อ ว่าเป็ นความ ล้มเหลวเมื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมต่อชีวติ จริ งของคนผิวสีรวมถึงกลุ่มชาติพนั ธุแ์ ละชนกลุ่มน้อย27 นักวิชาการชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ตั้งข้อสังเกตว่า สาเหตุที่ไม่มีการแก้ไขปั ญหาเชื้อชาติอย่าง แท้จริ ง เนื่ องมาจากอิทธิ พลของชุดความคิดที่ว่า เมื่อการขับเคลื่อนประเด็นสิ ทธิพลเมืองในอเมริ กา สาเร็จแล้ว ปั ญหาเรื่ องเชื้อชาติ (Race) จะไม่ใช่ปัญหาที่มีนยั ยะสาคัญในสังคมอเมริ กาอีกต่อไป ทาให้ การขับเคลื่อนเพือ่ แก้ไขปั ญหาสิ ทธิพลเมือง ไม่ได้สนใจที่จะหยิบยกประเด็นเรื่ องเชื้อชาติมาถกเถียง ด้วย ทาให้ระบบความคิด ความเชื่อเรื่ องการเหยียดผิวยังคงดารงอยูใ่ นสังคม แม้ว่ากฎหมายกาหนด แบ่งแยกสีผวิ จะถูกยกเลิกไปแล้วก็ตาม28 ซึ่งนักวิชาการเห็นว่าเชื้อชาตินิยมยังคงมีพ้นื ที่ทางอุดมคติอยู่ ในสังคมตาม “วาทะกรรม สิ ทธิพลเมือ งแบบเสรี นิยมเชิ งจารี ต ” (Traditional liberal civil rights discourse) ซึ่ งทาให้ท้ งั นักการเมือ งฝ่ ายซ้าย พวกนักสังคมนิ ยมหัวก้าวหน้า และระบบศาลเอง ไม่ มุ่งมัน่ ที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างแท้จริ ง หรื ออาจกล่าวได้วา่ พวกเขากลับเป็ นส่ วนหนึ่ ง ที่ดารงรักษาสภาพปั ญหานี้เอาไว้29 ดังนั้น เมื่อนักวิชาการเห็นว่าการขับเคลื่อนในประเด็นสิทธิพลเมืองได้ถึงมาทางตันแล้ว และ ตระหนัก ว่า มี ความจาเป็ นที่ จะต้อ งมี แ นวคิ ดทฤษฏี หรื อ ยุทธศาสตร์ สาหรับ ต่ อ สู ้กับ แนวคิด เชื้ อ ชาติ นิยมที่ย งั คงฝั ง ตัวอยู่ใ นสัง คมนั้น จึงได้มี การประชุ ม แล้วได้นาเสนอแนวคิ ด Critical Race Theory หรื อ ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์30 ซึ่ งในช่วงแรกที่มีการนาเสนอแนวคิดนี้ ออกสู่ สังคมนั้น มิได้มีการกาหนดความหมายไว้ แต่กลุ่มนักวิชาการชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ได้เริ่ มต้นด้วยการปฏิเสธ 27
Rachel Alicia Griffin, Critical Race Theory as a Means to Deconstruct, Recover and Evolve in Communication Studies, Communication Law Review, Volume 10, Issue 1. 28
Michelle Alexander, The new Jim Crow : mass incarceration in the age of colorblindness, (The New Press, New York, 2010). 29
Elizabeth Dickinson, Addressing Environmental Racism Through Storytelling: Toward an Environmental Justice Narrative Framework, Communication Department, Salem College, Winston-Salem, NC 27101, USA, p.59, 30
Richard Delgado and Jean Stefancic, Critical Race Theory : An introduction, New York University press, pp 3-4.
28
แนวคิดเสรี นิยมทางกฎหมาย (Legal Liberalism) โดยเสนอว่า ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ไม่เชื่อใน ความเป็ นกลางของกระบวนการหรื อแก่นของหลักการว่าด้วยความเสมอภาคเท่าเทียมกันอย่างเป็ น ทางการ (Formal Equality) แต่ยนื ยันว่าทั้งกระบวนการและแก่นของกฎหมาย แม้แต่กฎหมายต่อต้าน การแบ่งแยกสี ผิว ได้จดั โครงสร้างที่มุ่งรักษาสิ ทธิพิเศษให้แก่คนผิวขาว31นอกจากนี้ แล้วนักวิชาการ ชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ยังได้เปิ ดเผยให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ระบบกฎหมายที่เป็ นอยู่ ได้กาหนดให้มีการ แบ่งแยกเชื้อชาติและรักษาไว้ซ่ ึงระบบชนชั้น โดยมีรูปแบบการแบ่งแยกชนชั้นที่หลากหลาย32 อีกทั้ง นักวิชาการชาติพ นั ธุ์แนววิพ ากษ์ย งั ได้แสดงให้เห็ น ว่า เชื้ อ ชาติ เป็ นการประกอบสร้างทางสังคม (Social Constriction) ซึ่งเป็ นส่วนสาคัญในการดารงรักษาไว้ซ่ ึงลาดับชั้นทางสังคม ซึ่ งกลุ่มชาติพนั ธุ์ หรื อชนกลุ่มน้อยถูกควบคุมหรื อจากัดพื้นที่33 ในการศึกและโต้แย้งต่อแนวคิดเสรี นิยมทางกฎหมายของนักวิชาการชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ข้างต้นนั้น พวกเขาได้ทาการศึกษาและวิพากษ์ล งลึ กถึ งพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการที่กฎหมายใช้ สร้ า งความรู ้ เ กี่ ย วกับ ชาติ พ ัน ธุ์ ห รื อ เชื้ อ ชาติ โดยตั้ง ค าถามต่ อ พื้ น ฐานทางความคิ ด ของบรรดา แนวความคิด เสรี นิ ย ม ความเสมอภาคเท่ าเที ย ม การมี เ หตุ มี ผ ล และหลัก ความเสมอภาคภายใต้ รัฐธรรมนูญ โดยปฏิเสธทัศนะที่มองว่ากฎหมายเป็ นคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว อันมีที่มาจาก มาตรฐานหรื อกระบวนการที่เป็ นกลางทางวัฒนธรรม และเราสามารถศึกษากฎหมายในแบบที่เป็ น กลางทางวัฒนธรรมได้34 โดยข้อโต้แย้งของนักวิชาการชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ที่สาคัญ ซึ่ งเผยให้เห็นได้ อย่างเป็ นรู ปธรรมว่า แม้หลังการปฏิรูปกฎหมายแบ่งแยกสี ผิวแล้วและความเท่าเทียมกันทางเชื้อชาติ แล้ว การแบ่งแยกและการเลือกปฏิบตั ิทางเชื้อชาติจึงยังคงดารงอยู่ เช่นว่า ประการแรก กฎหมายที่ละเลยต่อผิวสี (Color blindness) ที่มีความเชื่อว่า เชื้อชาติจะไม่เป็ น ปั ญหาในสังคมอีกต่อไป เมื่อมีกฎหมายต่อต้านการแบ่งแยกสีผวิ แต่ในทางตรงกันข้ามระบบกฎหมาย ที่ละเลยต่อผิวสี กลับเป็ นส่วนหนึ่งของการเหยียดผิว ที่ทาให้กฎหมายไม่สามารถทาหน้าที่สนับสนุ น ความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้ หากแต่เป็ นบรรทัดฐานทางวัฒนธรรมที่เอื้อประโยชน์ให้แก่คน กลุ่ ม ใหญ่ ใ นสัง คม โดยเฉพาะในสังคมที่ มีโ ครงสร้ างการปกครองตามล าดับชั้น ทางชาติ พ นั ธุ35์ 31
Bennett Capers, Critical Race Theory, Oxford Handbook of Criminal Law, 2015., pp 25-26.
32
Ibid, p 26. 33 Erica Campbell, Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers, Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2, pp. 73–86. 34 สมชาย ปรี ชาศิลปะกุล, ทฤษฎีนิติศาสตร์ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์, วิภาษา ปี ที่ 3 ฉบับที่ 3 ลาดับที่ 19 1 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน 2552, หน้า 20 - 24. 35 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 20 - 24.
29
ในขณะที่อีกด้านหนึ่งการละเลยต่อผิวสีเป็ นฉันทามติที่รับรองว่าคนผิวขาวมีสถานะทางชนชั้นสู งกว่า (Hierarchy) เนื่องจากรู ปแบบความเชื่อนี้ ได้ทาหน้าที่ปิดบังความจริ งจากสายตาและความเข้าใจของ เรา จนก่ อ ให้เ กิ ด ระบบชนชั้น ในรู ป แบบใหม่ ใ นสัง คม (New case system) โดยเชื้ อ ชาติ เ ป็ น ภาพลักษณ์ที่ฝังตัวหรื อซ่ อ นเร้นอยูภ่ ายใต้คาอธิบายที่ซับซ้อน ทาให้ไม่สามรถมองเห็ นหรื อชี้ชดั ได้ ทั้งนี้เพือ่ รักษาไว้ซ่ ึงความไม่เท่าเทียมกันทางเชื้อชาติให้อยูใ่ นสังคมต่อไป36 ประการที่สอง ระบบความเท่าเทียมกันอย่างเป็ นทางการ ซึ่ ง คิมเบอร์ลี่ วิลเลี่ยม เครนชอว์ (Kimberle Williams Crenshaw) เสนอว่าแม้วา่ จะมีกฎหมายยกเลิกระบบทาสและการเลือกปฏิบตั ิไป แล้ว แต่ระบบกฎหมายของอเมริ กาก็ยงั ทาหน้าที่แบ่งแยกเชื้อชาติหรื อสีผวิ อยูด่ ี และความเชื่อในความ เป็ นกลางที่เป็ นทางการของระบบกฎหมาย กลับเป็ นตัวขัดขวางความก้าวหน้าของสิ ทธิพลเมือง ซึ่ ง การพิจารณาว่า สังคมที่มีความหลากหลายทางชาติพนั ธุ์ มี ความเท่าเทียมกันจริ งหรื อไม่ ไม่ ใช่เพียง การวิเคราะห์ตวั บทกฎหมายหรื อเพียงการเล่นถ้อยคา โดยหลีกเลี่ยงต่อข้อโต้แย้งของฝ่ ายอื่นๆและการ ตีความถึงเบื้องหลังความคิดของกฎหมายเหล่านั้น Crenshaw เสนอว่าอุดมคติแบบชนชั้น ได้สร้างชุด ของเหตุผลที่เข้าข้างตนเอง (Rationalization) เพื่อรองรับผลประโยชน์ของกลุ่มคนผิวขาว ซึ่ งกีดกัน เหตุผลหรื อข้อโต้แย้งของฝ่ ายอื่นๆ เพือ่ ดารงรักษาไว้ซ่ ึ งระบบที่คนผิวขาวอยูใ่ นฐานะชนชั้นที่สูงกว่า ซึ่ งไม่ เ พี ย งสร้ า งความชอบธรรมให้ ค นผิ ว ขาวสามารถกดขี่ ค นผิ ว สี ไ ด้เ ท่ า นั้ น แต่ ย งั ก าหนด ความสั ม พัน ธ์ ท างชนชั้น ของคนในสั ง คม ในลัก ษณะเป็ นการสร้ า งข้อ ตกลงร่ ว ม นอกจากนี้ Crenshaw ยังมีความเห็นว่า ระบบความเท่าเทียมกันอย่างเป็ นทางการทาให้คนผิวดาถูกครอบงาใน 2 ด้านคือ ด้านสัญลักษณ์ (Symbolic) และด้านวัตถุ (Material) ดังนั้นแม้ว่ากฎหมายชนชั้นจะถูกขจัด ไปแล้วแต่ระบบความคิดแบบชนชั้นยังคงดารงอยู่ในลักษณะเป็ นธรรมเนี ยมเงียบที่คนขาวมีอานาจ สูงสุด (White supremacy as unspoken norm)37 2.1.2.2 แนวความคิดพืน้ ฐาน แนวความคิดพื้นฐานที่ก่อเกิดทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ มี 3 ประการคือ38
36
Michelle Alexander, The new Jim Crow : mass incarceration in the age of colorblindness, (The New Press, New York, 2010), p. 12. 37 Kimberle Williams Crenshaw, Race, Reform, and Retrenchment : Transformation and Legitimation on Antidiscrimination Law, Harvard Law Review, , May 1988, Volume 101, Number 7. 38 Richard Delgado and Jean Stefancic, Critical Race Theory : An introduction, New York University press, pp 6 - 8.
30
ประการแรก นักวิชาการชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ เชื่อว่าการเหยียดเชื้อชาติ (Racism) เป็ นเรื่ อง ธรรมดาสามัญที่เกิดขึ้นในสังคม หรื อมีลกั ษณะเป็ นประสบการณ์ในชีวิตประจาวันทัว่ ไป (Every day experience) ทั้งเป็ นเรื่ องปกติในทางธุรกิจและการใช้ชีวติ ประจาวันของคนผิวสี ที่ไม่มีใครสังเกตหรื อ ตั้งคาถาม ซึ่งส่งผลให้ปัญหาเชื้อชาตินิยมเป็ นเรื่ องที่สามารถเข้าถึงเพือ่ แก้ไขหาได้ยาก เนื่ องจากระบบ กฎหมายและกลไกรัฐถูกครอบงาไว้ดว้ ยแนวคิดปราศจากการให้ความสาคัญกับสี ผิว (Color - Blind) หรื อรู ปแบบที่เป็ นทางการ (Formal) ที่เชื่ อว่าความเสมอภาคเท่าเทียมกันจะเกิดขึ้นได้ เมื่ อคนผิวสี สามารถมีสิทธิ์ตามกฎหมายที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันกับคนผิวขาวในรู ปแบบ เดี ยวกัน หลักการนี้ เพียงสามารถแก้ไ ขได้เฉพาะกรณี ที่เป็ นการเลื อ กปฏิบตั ิที่ปรากฏอย่างชัดเจน เท่านั้น ประการที่ส อง กฎหมายและนโยบายของรั ฐ ถู กออกแบบเพื่อ รองรับ โครงสร้า งสัง คมที่ กาหนดให้คนผิวขาวหรื อกลุ่มที่มีอานาจครอบงา อยูใ่ นสถานะที่เหนื อกว่า (White privilege) และมี อานาจชี้นาในการกาหนดเป้ าหมายของสังคม โดยมีความเหนือกว่าทั้งด้านจิตวิญญาณ (Psychic) และ ด้านวัตถุ (Material) ซึ่งชนชั้นนาจะแก้ไขเปลี่ยนกฎหมายหรื อนโยบายที่เพิม่ สิทธิของชนกลุ่มน้อยใน สังคม ก็ต่อ เมื่อ การกระทาดังกล่ าวเป็ นประโยชน์ต่อ พวกเขาด้วย หรื อ เรี ยกว่าผลประโยชน์ที่สอด ประสานกัน (Interest convergence) หรื ออาจกล่าวได้ว่า การขจัดการแบ่งแยกทางชนชั้นจะเกิดขึ้น เฉพาะเมื่ อ สามารถจะตอบสนองต่อ ผลประโยชน์ของชนชั้นสู งได้เท่านั้น มิ ฉะนั้นพวกเขาก็ไ ม่ มี แรงจูงใจอันใดที่จะกระทาในสิ่งที่เพิม่ สิทธิและอานาจของคนกลุ่มน้อยในสังคม ประการที่สาม เชื้อชาติและชาตินิยมเป็ นการประกอบสร้างทางสังคม (Social Construction) นั ก วิ ช าการทฤษฎี ช าติ พ ัน ธุ์ แ นววิ พ ากษ์ช้ ี ว่ า เชื้ อ ชาติ แ ละสี ผิ ว เป็ นผลผลิ ต ของความคิ ด และ ความสัมพันธ์ในสังคม (Race and races are products of social thought and relations) ซึ่ งไม่ เกี่ยวข้องกับประเด็นทางชีววิทยาหรื อเผ่าพันธุ์มนุ ษย์ หากแต่เชื้อชาติถูกสร้างขึ้น จัดการหรื อยกเลิ ก โดยสังคม แล้วหลอกลวงว่าเป็ นลักษณะเฉพาะที่ถาวรของคนกลุ่มนั้นๆ นอกจากนี้ ยงั ได้ช้ ีให้เห็นว่า กลุ่ ม ที่ มี อ านาจครอบงาสังคม ได้สร้ างความเป็ นเชื้ อ ชาติใ ห้แก่ ชนกลุ่ มน้อ ยแต่ล ะกลุ่ ม ตามความ ต้องการและแต่ละช่วงเวลาที่แตกต่างกัน บางกลุ่มอาจถูกประกอบสร้างผ่านการ์ตูน หนัง ที่รับบทบาท เป็ นพวกสร้า งความรุ นแรง นอกรี ตที่ ตอ้ งมี ก ารควบคุ มอย่างเข้มงวด เช่ น ขายแรงงาน ยาเสพติ ด สงคราม ซึ่งทาให้เกิดภาพลักษณ์ที่ติดตัวของคนแต่ละเชื้อชาติ สาหรับวิธีการที่นกั วิชาการนิติศาสตร์ชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์นิยมนามาใช้ทาการศึกษา คือ การ วิเคราะห์เรื่ อ งเล่ า (Narrative analysis) เนื่ องด้วยแนวคิดชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์เกิ ดขึ้นมาจากการ วิเคราะห์เรื่ องเล่ าที่เป็ นประสบการณ์ในชี วิตประจาวันซึ่ งเป็ นโลกทัศน์ ทัศนะคติ การตีความ และ 31
อานาจของเรื่ องเล่า เพื่อทาความเข้าใจต่อเรื่ องนั้นๆ ว่าคนอเมริ กนั มองเห็นเชื้อชาติหรื อผิวสี อย่างไร โดยนักวิชาการได้ต รวจสอบเรื่ องเล่าแล้วพยายามทาความเข้าใจว่าเรื่ องเล่ าเหล่ านั้นทางานอย่างไร หรื อได้บ่งบอกอะไรบ้าง39 นอกจากนี้นกั วิชาการชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ยงั เชื่อว่า เรื่ องเล่าที่ดีจะบอกเล่า ความจริ งเกี่ยวกับชีวิต และช่วยให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างโลกของผูอ้ ่านกับผูท้ ี่อยูใ่ นเรื่ องเล่า อีก ทั้งการเข้าถึงเรื่ องเล่าจะช่วยให้เข้าใจว่าชีวติ ของคนอื่นที่แปลกใหม่และไม่คุน้ เคย40 2.1.2.3 หลักการของทฤษฎีชาติพันธุ์แนววิพากษ์ (CRT) ต่อมามีการศึกษาและนาหลักการของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ไปใช้อ ย่างกว้างขวาง ซึ่ ง ในช่วงหลังนักวิชาการได้พยายามวิเคราะห์และรวบรวมหลักการสาคัญๆ ของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนว วิพากษ์ ซึ่งมี 6 หลักการสาคัญดังต่อไปนี้41 หลักการแรก การเหยียดเชื้อชาติเกิดขึ้นเป็ นธรรมดาทัว่ ไป จนกลายเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาใน สังคม (Racism is ordinary) คือ ชนกลุ่มน้อยและคนผิวสี จะไม่ได้รับการยอมรับในสังคม กล่าวคือ คนผิวขาวเป็ นกลุ่มคนที่ถืออภิสิทธิ์เหนือกว่า ในขณะเดียวกันคนกลุ่มน้อยจะถูกเหยียดเชื้อชาติท้ งั ใน ลักษณะที่เป็ นการส่ วนตัวและการเหยียดเชิ งสถาบัน อันทาให้นัก วิชาการเชื่ อ ว่า ภายใต้สังคมที่ มี กฎหมายกาหนดให้ไม่มีแบ่งแยกผิวสีน้ นั ได้ธารงรักษาไว้ซ่ ึงโครงสร้างทางสังคมที่แบ่งแยกสี ผิวหรื อ เชื้อชาติเอาไว้ โดยเชื่อว่าการกดขี่ทางเชื้อชาติและความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม ได้หยัง่ รากลึกลงไปในสถาบันทางสังคม วัฒนธรรมและปฏิบตั ิการต่างๆ ซึ่ งก่อให้เกิดผลกระทบต่อชนกลุ่ม น้อยและคนผิวสี โดยเฉพาะการถูกเลือกปฏิบตั ิในการใช้ชีวติ ของพวกเขา42 นอกจากนี้ Nicholas Daniel Hartlep ยังชี้ ให้เห็นว่า การปราศจากผิวสี ในทัศนะของพวก เหยียดผิว ต้องการสิ่งอื่นๆ ที่ตรงกันข้าม เพือ่ แสดงตัวตนและรักษาฐานะความเป็ นชนชั้นสูงของตนไว้ ในระบบโครงสร้างทางสังคม ซึ่งในทัศนะของคนผิวขาวหรื อชนชั้นสู งเหล่านั้น พวกเขาไม่ถือว่าการ เหยียดผิวหรื อการที่คนผิวขาวมีอภิสิทธิ์กว่า จะเป็ นเรื่ องที่ผดิ ปกติของสังคม ดังนั้น พวกเขาในฐานะผู ้ กดขี่จึงอาศัยสภาพที่เป็ นอยูร่ ักษาไว้ซ่ ึ งอานาจในการควบคุมสังคม แม้กระทัง่ ยืนยันว่าสภาพสังคมที่ 39
Richard Delgado and Jean Stefancic, Critical Race Theory : An introduction, New York University
press, p 38. 40
Richard Delgado and Jean Stefancic, Critical Race Theory : An introduction, New York University press, pp 39-41. 41 Erica Campbell, Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers, Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2, p. 74. 42 Ibid, p. 74.
32
พวกเขามีอภิสิทธิ์และกระทาการกดขี่ชนกลุ่มน้อย ถือว่ามีความเป็ นกลาง ทั้งนี้ ผมู ้ ีอานาจยังได้รักษา สภานะทางสังคมที่เป็ นอยูข่ องพวกเขา โดยการอ้างระบบศีลธรรม เพื่อสร้างความรู ้สึกที่ดีและแสดง ให้เห็นได้อย่างชัดเจน หรื ออีกนัยยะหนึ่งคือทาให้คนทัว่ ไปไม่สงสัยในอานาจของพวกเขา43 หลักการที่สอง เชื้อชาติเป็ นการประกอบสร้างทางสังคม (Race as a social construction) ซึ่ ง ความหมายจะเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์ Omi และ Winant เน้นย้าว่าบทบาทสาคัญของสถาบันทางสังคมและระบบการเมือง เช่น รัฐบาล ระบบ กฎหมายของรัฐ ระบบกฎหมายอาญา และระบบการศึกษา ได้สร้างหรื อขัดเกลาความเข้าใจ ต่อนิ ยาม และความหมาย เกี่ยวกับเชื้อชาติ โดยที่สถาบันเหล่านั้นทาหน้าที่อย่างทรงพลังในการกาหนดลักษณะ ทางเชื้อชาติของคนแต่ละกลุ่ม ซึ่ งปั จเจกบุคคลอาจถูกจัดแบ่งให้อยูใ่ นกลุ่มเชื้อชาติหนึ่ งๆ นอกจากนี้ นักวิชาการยังเสนอว่า แนวความคิด ที่ว่า เชื้ อ ชาติเป็ นการประกอบสร้ างทางสังคม พัฒนามาจาก ประสบการณ์การถูกกดขี่และการถูกอัดเอาเปรี ยบ ที่ปรากฏในทางประวัติศาสตร์ สถานบันทางสังคม และปฏิ บ ัติ ก ารต่ อ กลุ่ ม คนผิว สี ห รื อ ชนกลุ่ ม น้อ ยในสัง คม ที่ ส าคัญ คื อ การเน้น ย้ า ว่า เชื้ อ ชาติ ถู ก ประกอบสร้างให้มีลกั ษณะเป็ นการกีดกัน การเหมารวม และกาหนดลักษณะเฉพาะของเชื้อชาติหนึ่ งๆ เป็ นประดิษฐ์กรรมของมนุษย์44 หลักการที่สาม การสร้างความแตกต่างให้แก่แต่ละเชื้อชาติ (Differential racialization) เป็ น แนวความคิดที่ใช้ตรวจสอบกระบวนการที่กลุ่ ม ผูม้ ี อ านาจครอบงาได้ทาการแบ่งแยกคนออกเป็ น กลุ่มๆ แล้วทาการประกอบสร้างลักษณะนิ สัย ภาษา ธรรมเนี ยมและเป้ าหมายในการดารงชีวิต และ กาหนดให้เป็ นลักษณะเฉพาะเจาะจงของแต่ละกลุ่ม ซึ่งการแบ่งแยกดังกล่าวนี้ เป็ นการทาให้กลุ่มชาติ พันธุห์ รื อชนกลุ่มน้อย กลายเป็ นคนอื่นที่แปลกไปจากกลุ่มผูม้ ีอานาจในสังคม อย่างไรก็ตามการสร้าง และความหมายไม่มีความตายตัวและเปลี่ ยนแปลงไปตามบริ บททางเศรษฐกิ จ สังคมและการเมือ ง ตลอดจนความต้องการของกลุ่มเชื้อชาติที่มีอานาจครอบงา45 หลักการที่สี่ การสมประโยชน์ (Interest convergence) เป็ นการมุ่งศึกษาสิ ทธิพิเศษ อานาจ และตาแหน่ งแห่ งที่ทางสังคมของกลุ่มที่มีอานาจครอบงาสังคม โดยทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ใช้ เชื้อชาติเป็ นแว่นสาหรับตรวจสอบระบบการทางานของกลุ่มที่มีอานาจครอบงา และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 43
Nicholas Daniel Hartlep, Critical Race Theory: An Examination of its Past, Present, and Future Implications, (University of Wisconsin at Milwaukee, October 11), 2009, pp. 6 – 7. 44 Erica Campbell, Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers, Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2, p. 74. 45 Ibid, p. 75.
33
ต่อชนกลุ่ มน้อยในสังคม หลักการนี้ ตระหนักดี ว่าเชื้อ ชาตินิยมเป็ นเครื่ อ งมื อที่ทาให้กลุ่ มที่มีอานาจ ครอบงามีความสูงส่งกว่าชนกลุ่มน้อย ทั้งในทางวัตถุและจิตวิญญาณ หลักการนี้แสดงให้เห็นว่า สังคม จะเปลี่ยนแปลงต่อได้ ต่อเมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มที่มีอานาจครอบงาด้วย การกดขี่ทางเชื้อชาติและชนกลุ่มน้อยเท่านั้น ซึ่ งตามหลักการนี้ การขจัดความไม่เท่าเทียมกันทางเชื้อ ชาติจาเป็ นที่จะต้องตระหนักว่า สังคมมีโครงสร้างแบบเป็ นชนชั้นที่เชื้อชาติที่แตกต่างกัน ไม่อยูใ่ น ฐานะที่เท่าเทียมกัน และคนบางกลุ่ มมีอภิสิทธิ์ในสังคม ดังนั้น จึงจาเป็ นที่จะต้องยอมรับว่าสังคมมี ความไม่ เท่าเทียมกันดารงอยู่ และยอมรับถึ งการดารงอยู่ชนกลุ่ มน้อ ย จึงจะสามารถสร้างสังคมที่ ยุติธรรมและเท่าเทียมได้46 หลัก การที่ห้ า ชาติ พนั ธุ์วรรณนา (Racial narratives) ทฤษฎี ช าติ พนั ธุ์แนววิพ ากษ์ใ ห้ ความสาคัญกับการสร้างพื้นที่สาหรับการนาเสนอเรื่ องราวหรื อเสียงของกลุ่มชาติพนั ธุ์ นักวิชาการชาติ พันธุแ์ นววิพากษ์จึงใช้เรื่ องเล่าของกลุ่มชาติพนั ธุห์ รื อชนกลุ่มน้อย เช่น นิยายและเรื่ องเล่าของกลุ่มชาติ พันธุห์ รื อชนกลุ่มน้อย เนื่องจากเป็ นเทคนิคที่ใช้ได้ดีสาหรับสื่อให้เห็นถึงประสบการณ์ชีวิตที่กลุ่มชาติ พันธ์หรื อชนกลุ่มน้อยเผชิญ อีกทั้งเป็ นการตอบโต้ต่อเรื่ องเล่าในปั จจุบนั ที่จดั ทาหรื อสนับสนุ นโดย กลุ่มผูม้ ีอานาจครอบงา ซึ่ งเรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มคนชายขอบ ถูกกีดกันออกไป ไม่ถูก รวมเอาไว้ในประวัติศาสตร์ของสังคมด้วย นอกจากนี้ ชาติพนั ธุ์วรรณนายังมีความสาคัญอย่างมากใน การโต้แย้งต่อแนวความคิดของพวกเสรี นิยม ที่เรี ยกร้องความเป็ นกลาง ความปราศจากผิวสี และความ จริ งที่เป็ นสากล อีกทั้งโต้แย้งต่อกฎเกณฑ์ของคนผิวขาว ในฐานะที่ถูกยึดถือว่าเป็ นมาตรฐานเชิงบังคับ สาหรับใช้เป็ นเครื่ อ งมื อ ควบคุ ม ขัดเกลาและก าหนดลัก ษณะนิ สัย ตลอดจนการนาเสนอจานวน ประชากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์หรื อชนกลุ่มน้อย เรื่ องเล่ายังทาหน้าที่ผลิตวาทะกรรมตามลักษณะความ เชี่ยวชาญของผูเ้ ขียน ซึ่ ง จะช่วยค้นหาสานวนโวหาร ประเภท แนวความคิดและวิธีการ สาหรับเป็ น เครื่ องมือในการทาความเข้าใจต่อประสบการณ์ชีวติ และทาความเข้าใจต่อโครงสร้างและสถาบันที่ถูก ใช้เป็ นเครื่ องมือในการกดขี่47 หลักการที่หก การกดทับซับซ้อน (Intersectionality)48 เป็ นการสารวจความสัมพันธ์ระหว่าง เชื้อชาติ เพศ และชนชั้น ซึ่ งเมื่อได้วิเคราะห์อย่างลึกซึ่ งแล้วจะสามารถทาให้เข้าใจการกดขี่ ความไม่ เท่าเทียม และความไม่ยตุ ิธรรมอย่างเป็ นองค์รวม ซึ่งแนวคิดนี้มีพ้นื ฐานความเชื่อว่า การกดขี่ที่กระทา 46
Erica Campbell, Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers, Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2, p. 75-76. 47
Ibid, p. 76.
48
เกษียร เตชะพีระ, “ประชานิ ยมฝ่ ายซ้าย : ทีมาและทัศนะ (7)” [ระบบออนไลน์], 31 พฤษภาคม 2562, มติชนสุดสัปดาห์ , แหล่งที่มา https://www.matichonweekly.com/column/article_198195, (25 มิถุนายน 2562)
34
ในพืน้ ที่ใดๆ ที่จริ งแล้วมันไม่ได้มีมิติเดียว แต่มีมิติของอานาจที่ซ้อนทับกันไปมาเสมอ ปั จเจกบุคคล อาจเผชิญกับปั ญหาความไม่เป็ นธรรมในสังคมในหลายมิติพร้อมๆ กัน เช่น เชื้อชาติ เพศ อายุ ชนชั้น ซึ่งเป็ นผลมาจากที่พ้นื ที่ของสังคมนั้นๆ ซึ่งในที่สุดแล้วการกีดกันบนพื้นฐานของพื้นที่ทางสังคมของ กลุ่มคนและตัวบุคคล โดยเจาะจงที่ความแตกต่างทางเชื้อชาติ เป็ นการทาให้เกิดการกีดกันทางสังคม ทาให้อ ัตลักษณ์ ข องบุคคลไม่ ไ ด้รั บการยอมรับ โดยเฉพาะในกรณี ที่มี การเลื อ กที่ มี ความแตกต่า ง ทางอัตลักษณ์ของบุคคลมาเป็ นตัวเปรี ยบเทียบ การตรวจสอบอานาจทับซ้อนของเชื้อชาติ เพศ ชนชั้น และความสามารถ เป็ นการค้นหาประสบการณ์ชีวติ ของปั จเจกบุคคลที่เป็ นคนชายขอบ ที่ถูกจัดให้อยู่ ด้านล่ างสุ ดตามลาดับความสาคัญของเชื้ อ ชาติหรื อ ชนชั้นทางสังคม แนวคิดอ านาจทับซ้อ นได้มุ่ ง ค้นหาจุดเชื่ อมของการประกอบสร้างทางสังคม เพื่อ ทาความเข้าใจต่อ พลวัติและการทาหน้าที่ของ ลาดับชั้นทางเชื้อชาติและสังคม49 2.1.2.4 การใช้ ทฤษฎีชาติพันธุ์แนววิพ ากษ์ วิพากษ์ ต่อกฎหมาย นโยบาย และกระบวนการ ยุติธรรม ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ถู กนาไปใช้ทาการศึกษาและวิพากษ์ต่อปั ญหาการเลือ กปฏิบตั ิ หรื อ ความไม่เท่าเทียมกันในสังคมในหลายประเด็น ทั้งวิพากษ์ระบบการศึกษา ระบบการจ้างงาน กฎหมายกระบวนการยุติธรรม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น เบนเนตต์ แคพเปอร์ (Bennett Cappers) ได้ใช้วิพากษ์การปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ตารวจต่อคน ผิวสีในอเมริ กา ทั้งการเรี ยกตรวจ การค้น การกักขัง และการพิพากษาให้ลงโทษจาคุกโดยศาล ซึ่ งเมื่อ พิจารณาจากสถิติของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแล้ว พบว่าคนผิวสี ตก เป็ นเป้ าหมายมากกว่าอย่างมี นัยยะสาคัญ ซึ่ งเป็ นการเผยให้เห็ นถึ งความไม่ เสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงรู ปแบบของอาชญากรรมเปรี ยบเทียบกันแล้ว อาชญากรรมที่กระทาโดยคน ผิวสี ส่วนใหญ่เป็ นอาชญากรรมข้างถนน เช่น ลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ทาลายทรัพย์ ยาเสพติด ทาร้ายราง กาย ซึ่ งเมื่ อ เทียบกับอาชญากรรมคอปกขาวที่ก ระทาโดยคนผิวขาวหรื อ พวกชนชั้นสู งแล้ว ความ เสียหายที่เกิดจากคนผิวสี เล็กน้อยกว่าอาชญากรรมคอปกขาวมาก แต่รัฐมุ่งเป้ าไปที่อาชญากรรมข้าง ถนนมากกว่าอาชญากรรมคอปกขาว ซึ่ งเป็ นการตอกย้าความเชื่อ พื้นฐานของทฤษฎี ชาติพนั ธุ์แนว วิพากษ์ ที่ไม่เชื่อในความเป็ นกลางของหลักความเท่าเทียมอย่างเป็ นทางการ50
49
Erica Campbell, Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers, Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2, pp.76-77. 50 Bennett Capers, Critical Race Theory and Criminal Justice, 12 Ohio St. J. Crim. L. 1 (2014).
35
เดนนิส รีส์ (Denise Reese) ได้ศึกษาการใช้กาลังเกินกว่าเหตุและการวิสามัญฆาตกรรม โดย องค์กรที่บงั คับใช้กฎหมายของอเมริ กา โดยศึกษากรณี ที่ผชู ้ ายวัยรุ่ นผิวสี ถูกวิสามัญฆาตกรรม ในช่วง ระหว่างปี ค.ศ. 2014 โดย Reese เห็ น ว่าแม้ศาลฎี กาจะได้วางหลักกฎหมายเอาไว้ว่า การวิสามัญ ฆาตกรรมจะกระทาไม่ได้ เว้นแต่มีความจาเป็ นต้องป้ องกันผูต้ อ้ งสงสัยหลบหนี และเจ้าหน้าที่สงสัย ว่าผูต้ อ้ งสงสัยได้กระทาสิ่ งที่จะคุกคามต่อชีวิตหรื อร่ างกายของเจ้าหน้าที่อย่างร้ายแรงเท่านั้น แต่เมื่อ ตรวจสอบแล้วกลับพบว่าเด็กวัยรุ่ นผิวสี เหล่า ถูกเจ้าหน้าที่ตารวจใช้ปืนยิงโดยไม่ปรากฏว่ามีเหตุอ ัน ควรกลัวหรื อได้รับอนุญาตจากผูบ้ งั คับบัญชา อีกทั้งยังไม่เคยมีประวัติอาชญากรรมมาก่อนด้วย นอกจากนี้ยงั พบว่าในกรณี ที่มีการกล่าวหาตารวจว่ากระทาเกินสมควรแก่เหตุ อัยการมักจะสัง่ ไม่ฟ้องคดีต่อศาล หรื อในกรณี ที่ฟ้องก็จะส่งฟ้ องด้วยข้อหาที่เบากว่าที่ควรจะเป็ น และในที่สุดแล้วเมื่อ คดีข้ ึนสู่ ศาล คณะลูกขุนก็ตดั สิ นว่าไม่ผิดหรื อผิดในข้อหาที่น้อยกว่า แม้กระทัง่ เมื่อพบว่ามีความผิด ศาลก็จะกาหนดโทษที่เบากว่า51 สืบเนื่องจากทัศนะของคนในสังคมอเมริ กา มีความคิดฝังหัวว่าคนผิว ดาส่วนใหญ่เป็ นพวกที่ก่ออาชญากรรม ดังนั้น แม้จะเกิดเหตุเพียงเล็กๆ น้อยๆ ก็จะทาให้คนสรุ ปเอาว่า สิ่งที่เขาเชื่อกันนั้นเป็ นความจริ ง ซึ่ งจากกรณี ศึ กษาเหล่ านั้น Reese ยังได้ต้ งั ข้อ สังเกตว่ากระบวนการยุติธรรมในกรณี ไ ด้มี ลักษณะเป็ นรู ปแบบ (Pattern) กล่าวคือ กรณี แรกตารวจไม่ได้แสดงให้เห็นว่าได้ใช้ความระมัดระวัง เพียงแต่เห็ นว่าเป้ าหมายเป็ นคนผิวสี ก็ยงิ เลย ซึ่ งตารวจมีแนวโน้มที่จะกระทาวิสามัญฆาตกรรม ต่อ กลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นคนผิวสี ซึ่ งเป็ นบุคคลที่ถือว่าอยูน่ อกกระแสหลักของสังคม (Person who live out-side the American mainstream, particularly member of minority) นอกจากนี้ ยงั พบว่าตารวจ มีแนวโน้มที่จะทาการวิสามัญฆาตกรรมสูงขึ้น เมื่ออยูใ่ นบริ บทที่สงั คมมีความเหลื่อมล้ าสูง เอลิซาเบธ ดิคคินสั น (Elizabeth Dickinson) ได้ใช้ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ วิเคราะห์ ความเป็ นชาตินิยมทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Racism) โดยใช้ขอ้ มูลปรากฏการณ์การพยายาม ผลัก ดัน โครงการสร้ า งอนุ สาวรี ยข์ นาดใหญ่ พร้ อ มกับ ก่ อ สร้า งถนนและที่ พกั ขนาดใหญ่ ที่ จ ะมี ผลกระทบต่ อ วิถี ชีวิต วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อ มในพื้นที่ของชนพื้นถิ่ น ในรั ฐนิ ว เม็กซิ โก (New Mexico) ซึ่ ง โครงการนี้ ถู ก ต่ อ ต้า นจากองค์ก รพัฒ นาเอกชน นัก วิช าการและคนในท้อ งถิ่ น อย่า ง กว้างขวาง แต่นกั การเมืองและนายทุนก็ยงั คงเดินหน้าพัฒนาโครงการที่สวนทางกับการคัดค้าน 51
Reese, Denise, "The criminal disparity between African American and Caucasian males: Police use of excessive and deadly force in the United States, 1991 - 2014". MASTER OF ARTS : Criminology and Criminal Justice, Anthropology and Criminology, Eastern Michigan University 2015. available at http://commons.emich.edu/theses/617.
36
Dickinson มองปรากฏการณ์ น้ ี ผ่านมุ มมองของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ว่าการพัฒนา โครงการดังกล่าวขับเคลื่อนด้วยอุดมการณ์แบบเชื้อชาตินิยม (Racism) ที่นกั ลงทุนและนักการเมืองซึ่ ง เป็ นคนผิวขาว ที่ยงั คงมีความเชื่อว่าตนมีอภิสิทธิเหนื อดินแดนในพื้นที่น้ นั ประกอบกับนายทุนและ นักการเมืองต้องการทาลายวิถีชีวติ ระบบความเชื่อและวัฒนธรรมของคนท้องถิ่น โดยทาการผลักดัน ให้ธุรกิจของนายทุนและนักการเมืองเกิดขึ้นในพื้นที่ พร้อมกับผลักให้คนในท้องถิ่นเข้ามาเป็ นลูกค้า ในตลาดของระบบเศรษฐกิจรู ปแบบใหม่ ที่มาพร้อมกับโครงการพัฒนา รวมทั้งหันมาเป็ นลูกค้าใน โครงการก่อ สร้างบ้านจัดสรร โดยมี กฎหมายและนโยบายของรัฐช่วยเอื้อ ประโยชน์ให้แก่โครงการ เหล่านั้น นอกจากนี้ผเู ้ ขียนยังได้เสนอต่อไปว่ากฎหมายสิ่งแวดล้อมและและระบบศาลล้มเหลวในการ ปกป้ องคุม้ สิทธิของชนพื้นถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม52 Siok Kwan Teoh ได้ใช้ทฤษฎี ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ วิเคราะห์เชื้ อ ชาติและชาตินิยมใน ประเทศจีน โดยใช้เรื่ องของนักร้องสาววัยรุ่ นผิวสีลูกครึ่ งจีนแอฟริ กา ที่เข้าไปประกวดในรายการ GO ORIENTAL ANGEL ซึ่ ง เป็ นรายการที วีโ ชว์ป ระกวดร้ อ งเพลง ที่ ก าลัง ได้รั บ ความนิ ย มอย่า ง แพร่ หลายในประเทศจีน และเป็ นรายการที่มีการเผยแพร่ ทางเว็บไซต์และเปิ ดให้คนเข้าไปเขียนแสดง ความคิดเห็นได้ ซึ่ งปรากฏว่ามี คนจีนเข้าไปแสดงความคิดเห็ นต่อ สี ผิวและเชื้ อชาติของนักร้องคน ดังกล่าวอย่างกว้างขวาง โดยผูเ้ ขียนเสนอว่าจากปฏิกิริยาของผูด้ าเนิ นรายการที่มกั จะล้อเลียนหรื อพูด ถึงผิวสีของเธอในลักษณะตลกขบขัน และการแสดงความคิดเห็นในด้านลบของผูช้ ม ได้สะท้อนให้ เห็นถึงอคติและชาตินิยมในประเทศจีน โดยผูเ้ ขียนเห็นว่าแม้ประเทศจีนจะได้มีกฎหมายแบ่งแยกเชื้อ ชาติภายหลังการปฏิวตั ิวฒั นธรรมในประเทศจีน แต่ในทางปฏิบตั ิน้ ันกลับปรากฏว่าอคติและการ แบ่งแยกเชื้อเชื้อ ชาติยงั คงดารงอยูใ่ นสังคมจีน อันเนื่ องมากจากการปลู กฝั งทางความคิดตั้งแต่สมัย โบราณ ที่เชื่ อ ว่า คนผิวด าเป็ นทาสหรื อ เป็ นคนที่จ ะเข้ามารุ ก รานประเทศ รวมทั้งการปลู กฝั ง ทาง วัฒนธรรมของคนจีนว่าคนผิวขาวโดดเด่นหรื อสวยงาม แต่ผิวสี ดาคือความบกพร่ องหรื อความน่ าอับ อาย กลายเป็ นวัฒนธรรมทางความเชื่อว่าคนจีนจะต้องไม่ขอ้ งเกี่ยวหรื อแต่งงานกับคนผิวดา ที่สาคัญ คือโดยปกติแล้วรายการทีวใี นประเทศจีนจะถูกรัฐบาลตรวจสอบกลัน่ กรองเนื้ อหา แต่สาหรับรายการ ดังกล่าวนี้ ดูเหมือนรัฐบาลจีนเห็นดีดว้ ย เนื่องจากเป็ นช่วงที่รัฐบาลจีนกาลังขยายอานาจทางเศรษฐกิจ
52
Elizabeth Dickinson, Addressing Environmental Racism Through Storytelling: Toward an Environmental Justice Narrative Framework, Communication Department, Salem College, Winston-Salem, NC 27101, USA,
37
ไปทัว่ โลก และพยายามสร้างภาพลักษณ์ให้สงั คมโลกเห็นว่า ประเทศจีนไม่มีการแบ่งแยกทางเชื้อชาติ ซึ่งส่วนหนึ่งก็เพือ่ กลบกระแสข้อครหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในธิเบตและชนเผ่าอุยกูร์53 2.1.3 อภิปราย ระบบกฎหมายวิธีพิจารณาคดี อาญาสมัยใหม่ ต่างยอมรับในหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ น ธรรม ซึ่งมีหลักการทัว่ ไปที่ให้ความสาคัญการคุม้ ครองสิ ทธิของผูเ้ สี ยหายและผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยใน คดีอาญา ที่เป็ นหลักประกันความเป็ นธรรมด้วยการสร้างระบบที่เป็ นที่ยอมรับ ซึ่ งมีความเชื่อว่าการ ออกแบบกฎหมายให้เป็ นไปตามมาตรฐาน จะทาให้ความเป็ นธรรมขึ้นจริ งๆ หรื ออย่างน้อยที่สุดก็เข้า ไปให้ใกล้ที่สุด โดยเฉพาะหลักความเสมอภาคเบื้องหน้ากฎหมาย ที่ระบบกฎหมายรับรองว่าทุกคนจะ ได้รับการปฏิบตั ิอย่างเท่าเทียมกัน รวมทั้งชอบที่จะได้รับการคุม้ ครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน โดย ปราศจากการเลือกปฏิบตั ิใดอันเนื่องมาจากความแตกต่างทางเชื้อชาติหรื อชาติพนั ธุ์ อย่า งไรก็ ตาม การมี กฎหมายที่ รั บรองหลัก การสิ ท ธิ ข องผูท้ ี่ ถู ก กล่ า วหา และก าหนดวิธี พิจารณาความอาญาที่เดินตามหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรมนั้น ไม่ได้เป็ นหลักประกันว่าทุกคน จะได้รับความเป็ นธรรมจากกลไกของรัฐจริ ง โดยมี นักวิช าการและผูท้ ี่เกี่ ยวข้อ งกับกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา พยายามเสนอข้อโต้แย้ง ทั้งข้อโต้แย้งในทางหลักการและปั ญหาในทางปฏิบตั ิ ที่ เป็ นเพียงรู ปแบบที่เป็ นทางการ ไม่สามารถทาให้ความเป็ นธรรมในการใช้และการตีความกฎหมายใน สังคมเกิดขึ้นได้จริ ง เพราะระบบกฎหมาย การใช้และการตีความกฎหมาย เกี่ยวข้องกับเรื่ องเศรษฐกิจ สังคมและการเมื อง ซึ่ งสัมพันธ์กบั ผลประโยชน์ของกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ที่คนบางกลุ่มมีอ านาจ ครอบงาหรื อชี้นาสังคม ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ถูกเสนอขึ้นมาเพือ่ โต้แย้งต่อหลักการและระบบกฎหมายเกี่ยวกับ การสร้างความเป็ นธรรม ว่าปั ญหาความไม่ เป็ นธรรมและการเลือ กปฏิบตั ิต่อ คนชายขอบในสังคม ไม่ ใช่ เป็ นเพียงปรากฏการณ์ หากแต่เป็ นปั ญหาระดับโครงสร้าง ที่ฝังรากลึ กในสังคมจนกลายเป็ น ความเชื่ อ หรื อเป็ นวัฒนธรรมในสังคม โดยที่ ระบบกฎหมายและนโยบายหรื อ ธรรมเนี ย มปฏิบ ัติ กาหนดให้คนบางกลุ่มได้เปรี ยบในขณะที่คนบางกลุ่มเสียเปรี ยบ หากแต่เป็ นเรื่ องที่มองไม่เห็นและไม่ สามารถเข้าถึงเพื่อ แก้ไ ขได้ง่ายๆ ซึ่ งปั ญหาสิ ทธิ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ก็ตกอยูภ่ ายใต้
53
Siok Kwan Teoh, Developing Critical Race Theory to Study Race and Racism in China’s Media : A Case study of The Chocolate Girl’s Bittersweet Stardom on Go Oriental Angel, Master of Arts Thesis, California State University, Sacramento, 2011.
38
โครงสร้างนี้ ดังนั้น แม้จะปรากฏว่ามี ระบบกฎหมายที่ดีเพียงใด คนชายขอบบางกลุ่ มก็ยงั เข้าไม่ถึ ง สิทธิและโอกาสเหล่านั้นอยูด่ ี งานวิจยั นี้ ผูว้ จิ ยั ประสงค์จะนาแนวทางการวิเคราะห์ของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ มาปรับ ใช้เพื่อ วิพากษ์ปัญหาความไม่ เป็ นธรรมต่อ กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ถูกดาเนิ นคดี อาญาในข้อหา ความผิดต่อกฎหมายป่ าไม้ เพื่อวิเคราะห์ลกั ษณะปั ญหาการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ภายใต้ระบบกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญา ที่มีบทบัญญัติคุม้ ครอง สิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่างควบถ้วน ผูว้ จิ ยั ตระหนักดีว่า ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ เกิดขึ้นและเริ่ มต้นใช้วิเคราะห์ความไม่เป็ น ธรรมต่อคนผิวสีในสังคมอเมริ กา เป็ นแนวความคิดที่เกิดจากการที่นักวิชาการพยายามค้นหาว่า ทาไม ในเมื่อระบบกฎหมายของอเมริ กาบัญญัติรับรองและคุม้ ครองให้คนผิวดามีสิ ทธิ เสรี ภาพและสถานะ เท่าเทียมกับคนผิวขาวแล้ว แต่คนผิวดายังคงถูกเลือกปฏิบตั ิบนพื้นฐานความแตกต่างทางสี ผิวอยูอ่ ีก โดยนักวิชาการได้ทาการศึกษาและวิพากษ์ลงลึกถึงพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการที่กฎหมายใช้สร้าง ความรู ้เกี่ยวกับเชื้อชาติและสี ผิว เพื่อโต้แย้งต่อแนวคิดเสรี นิยมทางกฎหมาย และได้ต้ งั ข้อสังเกตต่อ สาเหตุที่ปัญหาอคติหรื อการเหยียดสีผวิ ยังคงดารงอยูแ่ ละมีพลังในสังคมอเมริ กา ซึ่ งส่ วนใหญ่แล้วเป็ น การใช้เพื่อ วิพากษ์ต่อ การบังคับใช้กฎหมายต่อคนผิวสี ในสังคมอเมริ กา เช่น การเรี ยกตรวจบนท้อ ง ถนน การวิสามัญฆาตกรรม การกาหนดโทษทางอาญาที่สูงกว่าคนผิวขาวในคดีความผิดอย่างเดียวกัน รวมถึงการวิพากษ์ต่อนโยบายทางเศรษฐกิจและการจัดการศึกษาที่เหลื่อมล้ าระหว่างคนผิวขาวกับคน ผิวดา 2.2 ทบทวนวรรณกรรม ด้วยงานนี้ ตอ้ งการศึกษาลักษณะการเข้าถึ งสิ ทธิ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทาง ปฏิบตั ิ โดยมุ่งศึกษาสิ่งที่ผถู ้ ูกกล่าวหาเผชิญระหว่างถูกดาเนินคดี และปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐและ ศาลในฐานะที่เป็ นกลไกกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังนั้น ผูว้ ิจยั จึงได้ทบทวนวรรณกรรม 3 ประเด็นหลัก ประเด็นแรก คือ งานที่ทาการศึกษาสิ ทธิ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในกรณี ทัว่ ไป ทั้งการคุม้ ครองหรื อจากัดสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อสารวจว่าที่ผ่านมาได้มี การศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายที่คุม้ ครอง หรื อจากัดสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูต้ อ้ งหา หรื อ จ าเลยอย่างไร และครอบคลุ ม เพียงใด ประเด็น ที่ส อง คื อ งานที่ ศึ กษาเกี่ ย วกับกระบวนการ ยุติธ รรมต่อ กลุ่ ม คนชายขอบ ไม่ ว่าจะเป็ นผูห้ ญิ ง คนจน กลุ่ ม ชาติพนั ธุ์ เพื่อ สารวจว่า มี การศึ กษา กระบวนการยุติธรรม ทั้งแนวความคิด ตัวบทกฎหมายและปฏิบตั ิการที่คุม้ ครอง จากัด หรื อละเมิ ด สิทธิ์กลุ่มคนชายขอบอย่างไร และประเด็นที่สาม คือ งานที่ศึกษาเกี่ยวกับปั ญหาสิ ทธิในการบวนการ 39
ยุติธรรมต่อคนผิวสีในอเมริ กา ซึ่งเป็ นงานศึกษาที่กา้ วข้ามไปวิพากษ์ระบบกฎหมายที่ถูกบัญญัติข้ ึนมา เพือ่ รับรองหรื อคุม้ ครองสิทธิของคนชายขอบ เพือ่ หาคาตอบว่าเหตุใดความเหลื่อมล้ ายังคงดารงอยูใ่ น สังคมที่กฎหมายบัญญัติให้พลเมืองทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน 2.2.1 งานที่ทาการศึกษาสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในกรณีทั่วไป ผูว้ จิ ยั ได้สารวจงานศึกษาวิจยั ทางกฎหมายเกี่ยวกับปั ญหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในสังคมไทยแล้ว เห็นได้ว่างานศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแสหลักนั้น ส่ วนใหญ่จะมุ่งศึกษาในลักษณะ การค้นหาแนวความคิดทางกฎหมาย ตัวบทกฎหมาย การใช้และการตีความตัวบท การเปรี ยบเทียบ กฎหมาย รวมทั้งการชี้ให้เห็นปั ญหาหรื อบกพร่ องในระบบกฎหมาย โดยมีงานศึกษาที่น่าสนใจดังนี้ จากรู ปแบบการชาระคดีอาญาแบบดั้งเดิมของไทยที่ใช้การดาน้ า ลุยไฟ และทาพิธีกรรมกับ สิ่งศักดิ์สิทธิ์เพือ่ พิสูจน์ความถูกผิด ผูป้ กครองที่ทาหน้าที่ชาระคดีไม่มีความคิดเรื่ องการคุม้ ครองสิ ทธิ ของผูท้ ี่ถูกกล่าวหา ซึ่ งรู ปแบบนี้ เริ่ มมีปัญหาและถูกท้ายทายเมื่อสังคมไทยต้องปฏิสัมพันธ์กบั ชาติที่ เขาเจริ ญกว่า อันนามาสู่การถูกบังคับให้ยอมเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ทั้งนี้ เนื่ องจากชาวตะวันตก ที่อาศัยอยูใ่ นสยามเห็นว่า ระบบการพิจารณาคดีของสยามป่ าเถื่อน ล้าหลังและไม่ น่าเชื่อถือ ส่ งผลให้ ชนชั้นนาสยามต้อ งเร่ งปรับปรุ งและเปลี่ยนแปลงระบบกฎหมายและการพิจารณาคดี โดยได้รับเอา รู ปแบบกฎหมายสมัยใหม่ของตะวันตกมาปรับใช้เพือ่ ให้เป็ นที่ยอมรับมากขึ้น พิทูร พุ่มหิรัญ ได้ทาการศึกษาวิวฒั นาการของสิทธิผตู ้ อ้ งหาและจาเลยในคดีอาญาของไทย 54 และเสนอว่า จุดเปลี่ยนของการเกิดหลักสิทธิและเสรี ภาพของผูต้ อ้ งหาและจาเลยในคดีอาญา คือหลัง การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที่ประเทศไทยได้นาแนวคิดนิ ติรัฐ (The Rule of Law) มาใช้ในการปกครองประเทศ ต่อ มาองค์การสหประชาชาติไ ด้ประกาศปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิ มนุษยชน ในปี ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) และประเทศไทยได้รับรับเอาแนวคิดสิ ทธิมนุ ษยชนมาบัญญัติ ไว้รัฐธรรมนูญ โดยมีลกั ษณะคุม้ ครองสิทธิและเสรี ภาพของผูห้ าและจาเลยเป็ นหลักการกว้างๆ เอาไว้ และค่อยๆ พัฒนาเป็ นลาดับมาจนถึงปั จจุบนั ซึ่งพิทูร มีความเห็นว่า เมื่อพิจารณาจากรัฐธรรมนู ญและ ประมวลกฎหมายวิธี พิจ ารณาความอาญาแล้ว มี ค วามสอดคล้อ งกับ ปฏิ ญ ญาสากลว่า ด้ว ยสิ ท ธิ มนุษยชน และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางกรเมือง โดยเฉพาะการคุม้ ครอง สิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาและจาเลยในคดีอาญาอย่างครอบคลุม เช่ น สิ ทธิที่จะได้รับสันนิ ษฐานว่าบริ สุทธิ์ สิทธิที่จะได้รับแจ้งข้อกล่าวหา สิทธิขอประกันตัว สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีโดยรวดเร็ วและเป็ น ธรรม สิทธิที่จะมีทนายความ สิทธิที่จะไม่ให้การเป็ นปฏิปักษ์ต่อตนเอง สิทธิร้ื อฟื้ นคดีอาญา เป็ นต้น 54
พิทูร พุ่มหิ รัญ, สิ ทธิ ผ้ ตู ้ องหาและจาเลยในคดีอ าญา , (รายงานวิจยั หลักสู ตร “ผูบ้ ริ หารกระบวนการ ยุติธรรมระดับสูง(บยส.)” วิทยาลัยการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 2539).
40
คณิ ต ณ นคร มี ท ัศ นะต่ อ กระบวนการยุติ ธ รรมว่ า “กระบวนการยุ ติ ธ รรมที่ ดี แ ละมี ประสิ ทธิ ภาพทั้งในการดาเนิ นคดี ชั้นเจ้ าพนักงานและในการดาเนิ นคดี ชั้นศาลเท่ านั้น ที่ จะแก้ ไ ข ปั ญหาของประเทศชาติไทยอย่างเด็ดขาด ไม่ ว่าจะเป็ นในเรื่ องการเมือง เรื่ องเศรษฐกิ จและเรื่ องสั งคม” และเป็ นคนหนึ่งที่มีความเห็นว่าระบบกฎหมายคุม้ ครองสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของ ไทยนั้น แม้จะมีปัญหาอยูแ่ ต่ก็เห็นได้อย่างเป็ นรู ปธรรมว่ามีพฒั นาการไปในทางที่ดี โดยได้วิเคราะห์ การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยในฐานะที่ตวั เขาเป็ นสมาชิกสภาร่ างรัฐธรรมนู ญ ฉบับปี พ.ศ. 2540 ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เป็ นการปฏิรูประบบกระบวนการ ยุติธรรมอย่างจริ งจัง และเป็ นไปตามหลัก สากล ซึ่ งได้วางหลักการที่ มุ่ งให้ความคุ ้ม ครองสิ ทธิ แ ล เสรี ภ าพของประชาชนเอาไว้อ ย่า งครอบคลุ ม ที่ ส าคัญ คื อ การปฏิ รู ป การออกหมายอาญาและ โครงสร้า งอ านาจศาล กล่ าวคื อ 1) ก าหนดให้ศาลเท่ า นั้น ที่ มี อ านาจออกหมายอาญา 2) สร้ า ง หลักประกันความเป็ นอิ สระในการพิจารณาพิพากษาคดีของผูพ้ ิพากษา 3) ยกเลิ กระบบการบังคับ บัญชาเป็ นลาดับชั้น 4) กาหนดให้การพิจารณาคดีตอ้ งนัง่ ครบองค์คณะและห้ามมิให้ผพู ้ ิพากษาที่มิได้ พิจารณาคดีทาคาพิพากษา ซึ่ งคณิ ตมีความเห็นว่าเป็ นการปรับเปลี่ยนระบบโครงสร้างอานาจ ทาให้ เกิ ด การตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล กันมากขึ้ น นอกจากนี้ แล้วยัง ได้ป ฏิรูป กระบวนการสอบสวนของ พนักงานสอบสวน รวมทั้งการทางานของพนักงานอัยการ ซึ่ ง สสร. เชื่ อ ว่าจะทาให้กระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทยจะพัฒนาไปในทิศทางที่ดีข้ ึน และส่ งผลดีต่อประสิ ทธิภาพในการ บังคับใช้กฎหมาย นอกจากนี้การคุกคามสิทธิและเสรี ภาพของบุคคลตลอดจนการประพฤติมิชอบของ บุคคลในกระบวนการยุติธรรมจะลดน้อยถอยลงและหมดสิ้นไป อย่างไรก็ตาม คณิ ต ก็ได้ขอ้ สังเกตว่า การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม ตามรัฐธรรมนู ญฉบับปี พ.ศ. 2540 นั้น ยังไม่ได้ครอบคลุมถึงการลด ค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการ ซึ่ งจะทาให้เป็ นภาระแก่ประชาชนและสิ้ นเปลืองงบประมาณแผ่นดิน โดยใช่เหตุ อีกทั้งยังเสริ มว่า การปฏิรูปดังกล่าวก้าวหน้าเพียงในหลักการเท่านั้น แต่ในทางปฏิบตั ิแล้ว ประชาชนและผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยก็ยงั ไม่ได้รับการคุม้ ครองอย่างแท้จริ ง55 ณรงค์ ใจหาญ มี ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ ระบบการคุ ้ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของบุ ค คลใน กระบวนการยุติธรรมในทานองเดียวกับ คณิ ต แต่มีความเห็นเพิ่มเติมว่า มี ความจาเป็ นที่รัฐจะต้อ ง ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในขณะเดียวกันรัฐก็มีความจาเป็ นต้องรักษาดุลยภาพระหว่าง สิ ทธิ มนุ ษยชนกับประสิ ทธิภาพในการป้ องกันอาชญากรรม นอกจากนี้ ยงั มีความเห็นว่า การปฏิรูป กระบวนการยุติธรรมหลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนู ญ ฉบับปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยได้มุ่งเน้น คุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของบุคคลมากขึ้น พร้อ มๆ กับการปรับปรุ งระบบบริ หารงานยุติธรรม ที่ อานวยความยุติธรรมตามหลักรวดเร็ ว ต่อ เนื่ อ ง และเป็ นธรรมมากขึ้น อี กทั้งประเทศไทยได้มีการ 55
คณิต ณ นคร, ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. (กรุ งเทพฯ : วิญํูชน, 2552)
41
ปรั บ ปรุ ง กฎหมายเพื่ อ สร้ า งหลัก ประกัน สิ ท ธิ ข องบุ ค คลในกระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญา ที่ สอดคล้องกับหลักประกันสิ ทธิและเสรี ภาพในกระบวนการยุติธรรมให้เทียบเท่ากับมาตรฐานสากล แล้ว หากแต่ปัญหายังคงเป็ นเรื่ องการนากฎหมายไปปฏิบตั ิ ที่เจ้าหน้าที่รัฐระดับปฏิบตั ิยงั ไม่เข้าใจและ ไม่ ต ระหนัก ถึ ง ความส าคัญในการคุ ้มครองสิ ท ธิ ของผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยตามหลัก การที่ก ฎหมาย กาหนด56 แม้ร ะบบกฎหมายเกี่ ย วกับกระบวนการยุติ ธรรมทางอาญาของไทยจะเป็ นที่ย อมรับ ว่า มี มาตรฐานที่ดีในระดับหนึ่ ง แต่ยงั คงเป็ นปั ญหาในขั้นตอนของการปฏิบตั ิ ซึ่ งได้มีการเสนอแนวคิดที่ พยายามทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยมีโอกาสเข้าถึงสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ให้ได้มากที่สุด
ศราวุ ฒิ ประทุ ม ราช ได้ศึ ก ษาหลัก การสากลในการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชาชนทาง กฎหมาย57 และพบว่าในทางสากลนั้นถื อว่า การช่วยเหลื อประชาชนทางกฎหมาย ถื อเป็ นสิ ทธิใน กระบวนการยุติธรรม ที่รัฐมีหน้าที่ตอ้ งดาเนิ นการให้ประชาชนได้รับสิ ทธิน้ นั ซึ่ งมีกฎหมายระหว่าง ประเทศที่สาคัญได้บญั ญัติเอาไว้ เช่น ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุ ษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อ 11 ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ พลเมื อ ง และสิ ทธิ ทางการเมื อ ง (International Covenant on Civil and Political Rights) ข้อ 14 ซึ่ ง ศราวุฒิ เสนอว่า ตามหลักการ ของกฎหมายระหว่างประเทศทั้งฉบับข้างต้น ได้บญั ญัติหลักการคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ที่สาคัญ คือ หลักสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือด้านกฎหมาย หลักความรับผิดชอบของรัฐ หลักความ ช่วยเหลือด้านกฎหมายสาหรับบุคคลผูต้ อ้ งสงสัยหรื อถูกแจ้งข้อหาทางอาญา หลักการไม่เลือกปฏิบตั ิ หลักสิทธิที่จะได้รับแจ้งข้อมูล หลักการเยียวยาและหลักประกัน หลักความเท่าเทียมในการเข้าถึงความ ช่วยเหลือด้านกฎหมาย หลักความสามารถและการตรวจสอบได้ของผูใ้ ห้ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย ศราวุฒิ ยังมีความเห็นว่า แม้ระบบกฎหมายของประเทศไทยจะได้คุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพ ของผูต้ อ้ งหาและจาเลยครอบคลุ มแล้ว แต่ยงั ไม่มี กฎหมายเฉพาะว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ ทาง กฎหมาย เพือ่ เป็ นหลักประกันว่า ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนจะสามารถเข้าถึงสิทธิที่กฎหมายรับรองไว้ 56
ณรงค์ ใจหาญ, การปฏิ รูปกระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญา : ดุ ล ยภาพระหว่างสิ ทธิ มนุ ษยชนกับ ประสิ ทธิภาพในการป้ องกันอาชญากรรม, วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี ที่ 33 ฉบับที่ 1, หน้า 1953. 57 ศราวุฒิ ประทุมราช, “หลักการสากลในการให้ความช่วยเหลื อประชาชนทางกฎหมาย, สานักงาน คณะกรรมการปฏิ รู ป กฎหมาย” [ระบบออนไลน์ ], ส านั ก งานคณะกรรมการปฏิ รู ป กฎหมาย, แหล่ ง ที่ ม า http://www.lrct.go.th/th/?p=19828 (3 กุมภาพันธ์ 2560).
42
ให้ จึงเสนอว่าควรมีกฎหมายเฉพาะเรื่ องการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ที่สอดคล้องกับหลักการ และแนวปฏิบตั ิสหประชาชาติ เพื่อ ให้มีหน่ วยบริ การด้านให้ความช่ วยเหลื อ ทางกฎหมาย และมี อาสาสมัครสิ ทธิ ม นุ ษยชนในชุ ม ชน ที่สามารถให้คาปรึ กษาเบื้อ งต้นเมื่ อ ประชาชนต้อ งการความ ช่วยเหลือทางกฎหมาย เพือ่ สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนและดาเนินการตามแนวทางสากลต่อไป ศุ ทธิ นี อยู่ ส วั สดิ์ นักวิชาการด้านกระบวนการยุติ ธรรม ได้ท างานวิจ ัย “การปฏิ รูป การ ช่ วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย : กรณี ศึกษาพื ้นที่ จังหวัดพิษณุ โลก” 58 เป็ นงานวิจยั ชิ้นหนึ่ งที่ น่าสนใจอย่างยิง่ เพราะจัดทาขึ้นมาเพือ่ ใช้เป็ นข้อมูลหลักในผลักดันให้มีการจัดทาร่ างพระราชบัญญัติ สิ ทธิของประชาชนในการเข้าถึงบริ การด้านกฎหมาย พ.ศ. …….... ขึ้น จากงานวิจยั นี้ ศุทธินี พบว่า ปั ญหาสิทธิในกระบวนการยุติธรรมส่วนใหญ่น้ นั เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิของผูบ้ งั คับใช้กฎหมายที่ขาด ความรู ้ ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ที่กาหนดขึ้นเพื่อปกป้ อง คุม้ ครองสิ ทธิโดยเฉพาะอย่างยิง่ สิ ทธิของผูท้ ี่ตอ้ งอยูใ่ นฐานะผูถ้ ูกจับกุม ผูต้ อ้ งหาและจาเลย ทั้งยัง พบว่าในทางปฏิบตั ิน้ นั ไม่ว่าจะเป็ นในชั้นจับกุมก็ดี ในชั้นสอบสวนก็ดี ไม่มีการแจ้งข้อหาและสิ ทธิ แก่ผถู ้ ูกจับ หรื อผูต้ อ้ งหา ทั้งที่มีกฎหมายบัญญัติไว้อย่างชัดเจน ซึ่ งนามาสู่ ปัญหาที่ทาให้ผตู ้ อ้ งถูกจับ ไม่ทราบสิทธิของตนและไม่สามารถต่อสู ้คดีได้อย่างสมบูรณ์ ยิง่ ไปกว่านั้น แม้จะมีกฎหมายกาหนด เหตุจบั เอาไว้แล้ว และกาหนดให้ศาลเท่านั้นที่มีอานาจออกหมายจับ หากแต่ในความเป็ นจริ งแล้วศาล ไม่อาจทราบข้อเท็จจริ งได้เลยว่า มีเหตุเพียงพอที่จะต้องจับตามกฎหมายหรื อไม่ เพราะเพียงรับฟั งเหตุ แห่ งการออกหมายจับจากเจ้าพนักงานตารวจเท่านั้น นอกจากนี้ การที่เจ้าพนักงานปฏิบตั ิฝ่าฝื นต่อ บทบัญญัติเรื่ องการแจ้งหาข้อหา แจ้งสิ ทธิหรื อกระทาการอันไม่ชอบใดๆ ตามที่กฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญากาหนด ก็ไม่ผลแก่ตวั เจ้าพนักงานที่กระทาการไม่ชอบด้วยกฎหมายแต่ประการใด สาหรับงานที่ศึกษาปั ญหาการเข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบเฉพาะเจาะจง นั้น ชีพ จุลมนต์ ได้ทาการศึกษาปั ญหาการจัดหาทนายความให้แก่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยโดยรัฐ59 และมี ความเห็นว่า แม้วา่ รัฐจะได้มีการปฏิบตั ิตามกฎหมายในการสร้างความเท่าเทียมกันให้แก่ฝ่ายผูต้ อ้ งหา หรื อจาเลยในการต่อสูค้ ดี และมีการคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยมากขึ้น แต่ในความเป็ นจริ งก็ ยังพบปั ญหาเกี่ ยวกับคุ ณภาพและความเอาใจใส่ ของทนายความ รวมถึ งข้อ จากัดด้านงบประมาณ 58
ศุทธิ นี อยู่สวัสดิ์, การปฏิรูปการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย:กรณี ศึกษาพื้นที่ จังหวัดพิษณุ โลก, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม, 2559. 59 ชีพ จุลมนต์, สิ ทธิ มนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา กรณี สิทธิ ของผู้ต้องหาและจาเลยในการ ได้ รับความช่ วยเหลือจากรั ฐโดยการจัดหาทนายความช่ วยเหลือทางคดี , (รายงานการฝึ กอบรมหลักสู ตรหลักนิ ติ ธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่ นที่ 1 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ, สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2556),
43
สนับสนุ นเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นการต่อสู ้คดี ซึ่ งเป็ นปั จจัยที่ทาให้บทบัญญัติของกฎหมายไม่ บรรลุเป้ าหมายในการสร้างความเท่าเทียมกันของคู่ความ เป็ นเหตุให้ไม่ สามารถรักษาหรื อ อานวย ความยุติธรรมให้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริ งตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ทาให้คนที่ดอ้ ยกว่าทั้งฐานะและ ความรู ้จึงเสี ยโอกาสและเสี ยเปรี ยบในการต่อ สู ้คดี อันเป็ นการไม่ สามารถรักษาหรื ออานวยความ ยุติธรรมให้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริ งตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีปัญหาพื้นฐาน ด้านเศรษฐกิจที่ตอ้ งตกอยูใ่ นภาวะที่เสียเปรี ยบ ซึ่ งส่ วนหนึ่ งมีสาเหตุมาจากปั ญหาด้านการจัดการของ รัฐ 2.2.2 งานที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมต่ อกลุ่มคนชายขอบ คนชายขอบ เช่ น กลุ่ ม ผูห้ ญิ ง คนยากจน หรื อ กลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ ถื อ ว่าเป็ นกลุ่ ม คนที่ มี ค วาม เปราะบางในสังคม ในขณะเดี ยวกันก็เป็ นกลุ่ มคนที่ดอ้ ยอ านาจต่อ รอง และมี ขอ้ จากัดเฉพาะที่เป็ น อุปสรรคทาให้ตกอยูใ่ นสถานะด้อยหรื อต่ากว่า ไม่ว่าจะเป็ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ยิง่ ไปกว่านั้น เมื่อคนชายขอบตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีอาญา โอกาสที่จะได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ์ก็จะยิง่ ลด น้อยถอยลงไปอีก จุฑารั ตน์ เอื้ออานวย ใน “กระบวนการยุติธรรมกับปั ญหาความยากจนในสั งคมไทย”60 ได้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง “ปั ญหาความยากจนกับกระบวนการยุติธรรม” ว่า โดยธรรมดาแล้วทุก คนต้องการได้รับความยุติธรรม หากแต่การเข้าถึ งความยุติธรรมที่เป็ นทางการในความเป็ นจริ งนั้น ต้อ งผ่านกระบวนการที่เป็ นแบบแผนพิธีการ ที่มีค่าใช้จ่ายสู ง ซึ่ งจุฑารัตน์นาเสนอว่า ปั ญหานี้ หาก พิจารณาในแง่ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลแล้ว อาจมองได้ท้ งั สองด้าน คือ “เพราะความยกจน จึงทา ให้คนไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสู ง” หรื อ “เพราะคนต้องการเข้าถึง กระบวนการยุติธรรม แต่เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง จึงทาให้ยากจน นอกจากนี้จุฑารัตน์ ยังเห็นว่า “ความยากจน” กับ “กระบวนการยุติธรรม” เป็ นปรากฏการณ์ ของคู่ความสัมพันธ์ต่อกันในรู ปของ “ปั ญหาอาชญากรรม” ที่ผคู ้ นเชื่อกันว่าความยากจน (การว่างงาน – ตกงาน) ก่อให้เกิดอาชญากรรม ในลักษณะเป็ นวงจรความสัมพันธ์ระหว่างความยากจน การเข้าถึง ความยุติธรรม กับ กระบวนกรยุติธรรม โดยที่ก ระบวนการยุติธรรมถู กสร้างขึ้นมาเพื่อ จัดการกับ ปั ญหาเหล่านี้
60
จุ ฑ ารั ตน์ เอื้ อ อ านวย, กระบวนการยุติธ รรมกับปั ญ หาความยากจนในสั งคมไทย, ใน กระบวนการ ยุติธรรมกับความยากจน : ยุทธศาสตร์ การพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อคนจน, สานักงานกองทุนสนับสนุ นการ วิจยั (สกว.), 2545, หน้า 81-116.
44
เมื่อกล่าวถึงความยุติธรรม จุฑารัตน์ เห็นว่าความยุติธรรมตามความคิดความรู ้สึกของคนใน สังคมอาจแตกต่า งกัน สาหรับ คนยากจนที่มี สถานะภาพในสัง คมต่ า กว่าคนกลุ่ มอื่ นๆ นั้น ความ ยุติธรรมในความหมายของ เขาบางครั้งก็ขดั แย้งกับกฎหมาย ในลักษณะที่กฎหมายมุ่งปกป้ องบรรทัด ฐานของสังคมและนโยบายแห่ งรัฐ ที่กดทับคนจนแต่เอื้อ ประโยชน์คนรวยหรื อชนชั้นกลาง ดังนั้น การเดินทางเข้าสู่ความยุติธรรมของคนยากจน (ที่องค์กรในกระบวนการยุติธรรมพยายามบอกว่าเป็ น สถานบันทางสังคม และเป็ นงานบริ การประชาชน : ผูว้ จิ ยั ) มีลกั ษณะที่ทาให้ผรู ้ ับบริ การส่ วนใหญ่ตก อยูใ่ นฐานะผูถ้ ูกกระทา และมีราคาแพงอย่างยิง่ ทั้งยังเสี่ยงที่จะถูกตัดสินไปในทางใดทางหนึ่ ง สาหรับ ผูท้ ี่ตกเป็ นจาเลยจะมีหลักการสันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าจะเลยบริ สุทธิ์ แต่มีบ่อยครั้งที่จาเลยถู กพิพากษา หรื อตราหน้าไปก่อนแล้วว่าผิด จุฑ ารั ตน์ สรุ ปว่า ปั ญหาความไม่ เสมอภาคในการเข้าถึ ง ความยุติ ธรรม ไม่ ใ ช่ อ ยู่ที่ “คน ยากจน” แต่อยูท่ ี่ “ความยากจน” อาจกล่าวอย่างหยาบๆ ได้ว่า ศาลคือสถานที่อโคจรสาหรับคนชายขอบ คนโบราณไทยจึงมี คาพูดว่า “ขึ้นโรงขึ้นศาล กินขี้หมาดีกว่า” ดามร คาไตร61 ได้เขียนบทความทางวิชาการถอดบทเรี ยน จากการดาเนิ นโครงการ “เรี ยนรู ้และสังเกตการณ์กระบวนการทางศาล ในมุมมองสิ ทธิ มนุ ษยชน” ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2556 ที่ดามรและคณะที่รับผิดชอบโครงการ โดยนานักศึกษาในสาขานิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เข้าไปสังเกตการณ์การพิจารณาคดีในศาลจังหวัด เชียงใหม่ และศาลจังหวัดเชี ยงราย เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนนอกชั้นเรี ยน และให้นักศึกษาได้ เรี ยนรู ้ประสบการณ์จริ งด้วยตนเอง โดยได้ทาการบันทึกสถิติและข้อมูลไว้อย่างน่าสนใจ ซึ่ งเป็ นงานที่ มี ลักษณะโดดเด่ นตรงที่ ใช้ศ าลเป็ นพื้นที่ ท าการศึ กษาวิจ ัย และเป็ นการศึ กษาโดยเก็ บ ข้อ มู ล จาก ปรากฏการณ์ที่ผูว้ ิจยั และนักศึกษาพบเห็ นมาจริ ง คือ สังเกตตั้งแต่สิ่งแวดล้อ ม การปฏิบตั ิงานและ ปฏิกิริยาต่อผูม้ าติดต่อ ของเจ้าหน้าที่ในศาลทุกระดับที่สัมพันธ์กบั ประชาชนที่มาศาล ตลอดจนการ ปฏิ บ ัติ ใ นห้ อ งพิ จ ารณาของผู ้พิพ ากษา เจ้า หน้ า ที่ ห น้า บัล ลัง ก์ ทนายความ และตัว ความ ซึ่ ง ใน ข้อเท็จจริ งแล้ว โดยปกติศาลจะเป็ นพื้นที่ปิดและเป็ นเรื่ องยากมากที่จะใช้เป็ นพื้นที่สาหรับศึกษาวิจยั ได้ แม้วา่ โดยทางหลักการแล้วศาลจะเป็ นพื้นที่เปิ ดสาหรับประชาชนก็ตาม จากการสังเกตปฏิสมั พันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ศาลกับคนที่มาติดต่อ ถ้าคนที่มานั้นแต่งตัวแบบ ชาวบ้าน มักจะถูกเจ้าหน้าที่ศาลกระทาในลักษณะกดทับมากกว่าคนที่แต่งตัวภูมิฐาน ซึ่ ง ดามร ได้ต้ งั เป็ นข้อสังเกตจากการดาเนินโครงการดังกล่าวว่า พบข้อเท็จจริ งในทางปฏิบตั ิหลายประการ ที่เมื่อมอง 61
ดามร คาไตร, หลักการและความเป็ นจริ งในศาล : การเรี ยนรู้ผา่ นการสังเกตการณ์กระบวนการพิจารณา คดี, วารสารนิติสังคมศาสตร์ , ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1, 2559.
45
ด้วยมุมมองสิทธิมนุษยชนแล้ว ไม่สอดคล้องกับหลักกฎหมายหรื อหลักการด้านสิ ทธิมนุ ษยชน อย่าง น้อย 3 ประการ กล่าวคือ ประการแรก การพิจ ารณาคดี โ ดยเปิ ดเผย ซึ่ งแม้ว่าโดยหลัก การแล้ว ประชาชนไม่ ว่า จะ เกี่ ย วข้อ งกับ คดี ด้ว ยหรื อ ไม่ ก็ ตาม มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะเข้า ไปในบริ เ วณศาลหรื อ แม้กระทัง่ เข้าไปในห้อ ง พิจารณาคดีได้ แต่กลับพบว่าเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมักจะเลือกให้ความสนใจ กับบุคคลที่ไม่ได้แต่งกาย ในลักษณะเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทนายความ หรื อนักศึกษา บุคคลที่แต่งกายแบบชาวบ้านธรรมดา หรื อบุคคลที่แต่งกายไม่เรี ยบร้อย มากกว่าบุคคลที่แต่งกาย เป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทนายความ หรื อ เครื่ องแบบอื่นๆ ประการที่สอง การพิจารณาคดี อย่างเป็ นธรรม โดยพบว่าผูพ้ ิพากษานั่งพิจารณาคดีไม่ครบ องค์คณะตั้งแต่ตน้ จนจบ ในสถิ ติที่สูง โดยรายงานพบว่า ศาลจังหวัดเชี ยงใหม่มีการนั่งไม่ครบองค์ คณะถึงร้อยละ 40 ในขณะที่ในศาล จังหวัดเชียงราย สู งถึงร้อยละ 60 สาหรับการนั่งพิจารณาคดีตรง เวลา พบว่าส่วนใหญ่แล้ว ผูพ้ พิ ากษาออกนัง่ พิจารณาคดีชา้ กว่าที่นดั ไว้ โดยศาลให้เหตุผลว่าเพื่อรอให้ ทนายความฝ่ ายโจทก์และจาเลยมาพร้อม ที่สาคัญคือ การใช้คาพูดเพือ่ ให้จาเลยรับสารภาพ และการสั่ง สอนเรื่ องบาปบุญคุณโทษ ซึ่งบ่อยครั้งที่ศาลได้ใช้คาพูดในลักษณะชักจูงให้จาเลยรับสารภาพ ซึ่ งมีผล ในทางจิตวิทยาที่ทาให้จาเลยอยากรับสารภาพ และพบว่ามีอตั ราที่ทาให้จาเลยรับสารภาพสู ง ซึ่ งดามร เห็นว่าเป็ นเครื่ องมือในการขัดขวางการต่อสู ้คดีที่เป็ นธรรม สาหรับกรณี จาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ ที่มี ข้อจากัดในการใช้ภาษาไทยนั้น ล่ามที่ศาลจัดให้ ไม่มีมาตรฐานของล่าม ประมวลจริ ยธรรมล่ามใน ศาลยุติธรรม เช่น เป็ นพนักงานทาความสะอาด เป็ นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเป็ นต้น ประการที่สาม การเข้าถึ งความยุติธรรมกับการทาให้บุคคลตกอยูใ่ นสถานะ "ชายขอบ” ที่ ดามรเห็นว่า ความเป็ นชาติพนั ธุ์เป็ นอีกปั จจัยหนึ่ งที่ทาให้บุคคลต้องตกอยูใ่ นสภาวะชายขอบในศาล ทั้งบรรยากาศนอกห้อ งพิจารณาคดี เช่ น การจรวจบัตร การค้นกระเป๋ า การสอบถาม และในห้อ ง พิจารณาคดี เช่น การให้ถอดรองเท้าแตะ การใช้ภาษาทางการที่กลุ่มชาติพนั ธุไ์ ม้เข้าใจ กลุ่มผูห้ ญิงเป็ นอีกกลุ่มที่มีความเปราะบางและบ่อยครั้งที่ถูกกระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระทา โดยที่สงั คมไม่ได้ตระหนักว่าเขาถูกกระทา แต่กลับคิดว่าเขาเป็ นพวกทาลายสังคมที่สมควรถูก กาจัด นภาภรณ์ หะวานนท์ และคณะ ในงานวิจยั เรื่ อง “คาให้การของผูห้ ญิงซึ่งถูกพิพากษาจาคุกในคดี ยาเสพติด”62 ได้เสนอว่า ปั ญหายาเสพติดเป็ นการประกอบสร้างความจริ ง ที่ทาให้คนในสังคมรับรู ้และ 62
นภาภรณ์ หะวานนท์ และคณะ, คาให้ การของผู้หญิงซึ่ งถูกพิพากษาจาคุกในคดียาเสพติด , (รายงานวิจยั ในโครงการกาลังใจในพระดาริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา, สานักกิจการในพระดาริ พระเจ้าหลาน เธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 2555).
46
มีความเชื่อร่ วมกันว่า เป็ นสิ่งเลวร้ายต่อสังคมมนุษย์ แล้วยัดเยียดความผิดให้แก่กลุ่มผูห้ ญิงจานวนหนึ่ ง จากการตรวจสอบข้อมู ลที่ได้จากงานวิจยั นภาภรณ์ และคณะมีความเห็ นว่า รัฐได้มี “การประกอบ สร้างความจริ ง” เกี่ยวกับปั ญหายาเสพติด ซึ่ งทาให้เห็นว่าเมื่อเข้าสู่ กระบวนการยุติธรรมในคดียาเสพ ติดแล้ว ผูห้ ญิงเหล่านั้นได้เผชิญกับด้านมืดของระบบที่มีกฎหมายประทับรับรองว่าถูกต้อง ที่พวกเขา ถูกจัดวาง อีกทั้งยังได้วเิ คราะห์เป็ นหลักการไว้ 5 ประการ คือ ประการแรก ปั ญหาการยัดเยียดความผิด ให้แก่ผบู ้ ริ สุทธิ์ ประการที่สอง ปั ญหาการสร้างผลงานของหน่วยงานที่มีอานาจ ประการที่สาม ปั ญหา การพิพากษาให้ผิด แม้เจ้าหน้าที่จะไม่สามารถพิสูจน์ได้อย่างชัดแจ้งว่าจาเลยได้กระทาความผิดจริ ง ประการที่สี่ ปั ญหาการถู กต่อรองให้จาต้อ งยอมรับผิด เพื่อ แลกกับข้อ หาหรื อโทษที่น้อ ยกว่า และ ประการสุ ดท้าย คือ ผูว้ ิจยั ได้สร้างข้อถกเถียงในทางวิชาการเกี่ยวกับความยุติธรรมทางกฎหมายกับ ความยุติธรรมทางสังคมในคดียาเสพติดอย่างเป็ นรู ปธรรม นอกจากนี้ แล้ว นภาภรณ์ แ ละคณะ ยัง ได้วิ พ ากษ์ร ะบบกฎหมาย นโยบายเกี่ ย วกับ การ ปราบปรามยาเสพติ ด ของรั ฐ ว่า ประเทศไทยได้ท าการปราบปรามยาเสพติ ด อย่า งเข้ม งวดและ แม้กระทัง่ ใช้ความรุ นแรงมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519 แต่กลับพบว่าปั ญหายาเสพติดยังคงดารงอยูแ่ ละทวี ความรุ นแรงอย่างต่อเนื่องในสังคมไทย ซึ่งก่อให้สภาพการณ์ที่ “การประกอบสร้ างความจริ งว่ ายาเสพ ติดเป็ นสิ่ งเลวร้ าย และผู้ที่เกี่ ยวข้ องกับยาเสพติดเป็ นคนที่ เลวร้ าย เป็ นภัยต่ อสั งคม และควรได้ รับการ ลงโทษอย่างรุนแรง” ซึ่งส่งผลให้กระบวนการยุติธรรมละเลยต่อความเป็ นจริ งที่เกิดขึ้นในสังคม และ ตั้งคาถามต่อความ “ความยุติธรรมตามกฎหมาย” กับ “ความยุติธรรมในสังคม” ที่ดินและป่ าคือปั จจัยสาคัญในการดารงชีวิตของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง แต่รัฐมีกฎหมาย ห้ามและลงโทษอย่างเข้มงวด การครอบครองที่ดินทากินจึงไม่มี เอกสารสิ ทธิหรื อไม่ไ ด้รับอนุ ญาต รวมทั้งการเก็บหาของป่ า นาไม้มาสร้างบ้านอยูอ่ าศัยก็ตอ้ งห้าม จึงเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้คนจนและ กลุ่ม ชาติพนั ธุ์ถูกจับกุมดาเนิ นคดี และยังปรากฏว่าเมื่อ ถูกจับกุม ดาเนิ นคดีแล้ว ศาลมี แนวโน้ม ที่จะ พิพ ากษาว่า จ าเลยมี ค วามผิด สุ น ทรี ย า เหมื อ นพะวงศ์ 63 ได้วิเ คราะห์ เ กี่ ยวกับปั ญ หาส าคัญ ของ กระบวนการยุติธรรมด้านป่ าไม้และที่ดิน โดยให้ค วามสาคัญกับมาตรฐานการบังคับใช้กฎหมายที่มี ความแตกต่างกันระหว่างคนรวยกับ คนจน โดยพบว่า ในการบังคับ ใช้ก ฎหมายในทางปฏิ บตั ิน้ ัน เจ้าหน้าที่รัฐมีการเลือกปฏิบตั ิอย่างชัดเจน โดยไม่กล้าดาเนิ นคดีกบั ผูม้ ีอานาจหรื อมีอิทธิพล แต่กลับ จับกุมและฟ้ องร้องคนยากคนจนคนอย่างเด็ดขาด อีกทั้งเมื่อคดีเข้าสู่ การพิจารณาและพิพากษาคดีของ 63
สุ นทรี ยา เหมือนพะวงศ์, การปฏิ รูปกระบวนการยุติธรรมด้ านป่ าไม้ และที่ดินเพื่อความเป็ นธรรมใน สังคมไทย : คดีความคนจน, 2554.
47
ศาลแล้ว ศาลก็ไม่มีวธิ ีการรับมือกับความไม่เป็ นธรรมที่เกิดขึ้นให้ลดลงได้ ที่เลวร้ายยิง่ กว่านั้นคือ ใน บางครั้งกลับลงโทษทั้งทางอาญาและทางแพ่งอย่างไม่เหมาะสมต่อคนจน สุ นทรี ย า ได้เสนอแนวทางในการแก้ไ ขปั ญ หากระบวนการยุติ ธรรมด้านที่ ดินและป่ าไม้ เพือ่ ให้เกิดความเป็ นธรรมต่อคนยากจน โดยเสนอให้จดั ทากฎหมายเกี่ยวกับป่ าไม้และที่ดิน 2 ฉบับ คือ ประมวลกฎหมายทรัพยากรที่ดินและป่ าไม้ โดยกาหนดเป้ าหมายเพือ่ การวางหลักการของกฎหมายให้ ชัด เจน ไมว่ า จะเป็ นการจัด การแบบถื อ ว่ า มนุ ษ ย์เ ป็ นศู น ย์ก ลาง (Anthropocentric หรื อ Humancentric) ที่มองว่าป่ าไม้เป็ นสิ่ งที่มนุ ษย์สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ได้ โดยจัดสรรให้เกิด ความเป็ นธรรมแก่คนในสังคมโดยคานึงถึงความจาเป็ นและความแตกต่าง และการจัดการแบบที่มอง ระบบนิ เ วศน์ เ ป็ นศู น ย์ก ลาง (Ecocentric) คื อ ต้อ งชั่ง น้ าหนั ก ระหว่ า งการอนุ รั ก ษ์ ไ ว้ซ่ ึ ง ทรัพยากรธรรมชาติ กับการนามาใช้ประโยชน์ ซึ่งก็ตอ้ งคานึงถึงความเป็ นธรรมในสังคมด้วย อีกฉบับคือ จัดทากฎหมายวิธีพิจารณาคดีที่ดินและป่ าไม้ เพื่อมุ่งสร้างกระบวนการพิจารณา คดีป่าไม้และที่ดินมีมาตรฐาน มีความถูกต้อง เป็ นธรรม ประหยัด ซึ่งในกรณี เกิดข้อพิพาทเกี่ยวกับการ ใช้ที่ดินหรื อป่ าไม้ของกลุ่มชนชาติพนั ธุต์ ่างๆ การพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ งจะต้องคานึ่ งถึงความเชื่อมโยงกับ ข้อมูลทางสังคมศาสตร์ โบราณคดี มานุ ษยวิทยา และชาติพนั ธุ์วิทยาต่างๆ การพิสูจน์เรื่ องที่เกี่ยวข้อง กับวัฒนธรรมประเพณี ที่เชื่อมโยงกับเรื่ องการใช้ที่ดินที่ป่า เนื่องจากบางครั้ง การพิสูจน์ทางวัฒนธรรม ประเพณี บางประการอาจนาไปสู่การได้สิทธิ การมีความผิด หรื อการพ้นผิดของผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้ ซึ่งการ ที่ศาลมักห้ามนาสืบบริ บทของคดี แต่มุ่งพิจารณาเพียงหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยไม่นาพาต่อเบื้องหลัง ของเหตุการณ์ความขัดแย้ง ทาให้ขาดการมองภาพความขัดแย้งอย่างเป็ นองค์รวม และทาให้ปิดโอกาส ของฝ่ ายประชาชนหรื อชุมชนในการพิสูจน์ความบริ สุทธิ์ของตน นอกจากนี้ยงั เสนอให้จดั ตั้งศาลพิเศษด้านที่ดินและป่ า โดยมองว่าในกรณี ที่เกี่ยวกับกลุ่มชาติ พันธุน์ ้ นั อาจจาเป็ นต้องสร้างระบบผูพ้ พิ ากษาสมทบด้านที่ดินและป่ าไม้ดว้ ย ยิง่ ไปกว่านั้น ดังตัวอย่าง ในประเทศออสเตรเลีย มีการจัดตั้งศาลชนพื้นเมือง (Native Court) ที่ให้ชนพื้นเมืองมีส่วนร่ วมตัดสิ น คดีดา้ นที่ดินศักดิ์สิทธิ์ (Sacred Land) และป่ าไม้ของชุมชน (Native Forest) ขึ้นเป็ นพิเศษ กรณี ปัญหาที่ทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ไม่สามารถต่อสู ้ได้อย่าง เต็มที่น้ นั สุ มิตรชัย หัตถสาร , สุ รชัยตรงงาม และคณะ”64 ได้สะท้อนมุมมองในฐานะ “คนใน” ที่เป็ น ทนายความว่า มี ปัญหาข้อ ขัดข้อ งในระบบการค้นหาความจริ งในการพิจารณาคดี ในกระบวนการ 64
สุ มิตรชัย หัตถสาร และ สุ รชัยตรงงาม, “การพิสูจน์ สิทธิ ในคดีป่าไม้ และที่ดิน (ศึกษาจากมุมมองของ ทนายความ นักพัฒนาและชาวบ้ านที่เกี่ยวข้ องกับคดีป่าไม้ และที่ดิน)”, (รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ แผนงานสร้าง เสริ มนโยบายสาธารณะที่ดี, สานักงานกองทันสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ 2553).
48
ยุติธรรมของไทย ทั้งตัวบทกฎหมายและการปฏิบตั ิจริ ง โดยพบว่าในทางปฏิบตั ิน้ นั มีปัญหาที่สาคัญ คือ 1) ปั ญหาค่าใช้จ่ายในการต่อสูค้ ดีที่เกิดขึ้นจริ งมีสูง เช่น ค่าเดินทางไปศาล ค่าใช้จ่าย ในการแสวงหาพยานหลักฐาน ค่าประกันตัว 2) ปั ญหาการเข้าถึงเอกสารและพยานหลักฐาน โดยเฉพาะเอกสารสาคัญที่จาเป็ นใน การพิสูจน์ความจริ ง ที่อยูใ่ นความครอบครองของทางราชการ ซึ่งประชาชนเข้าถึงได้ยาก แม้จะมีสิทธิ ขอได้ตามพระราชบัญญัติขอ้ มูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ก็ตาม 3) ปั ญหาความไม่รู้และไม่เข้าใจของชาวบ้านในเรื่ องสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรม คือ การรู ้และเข้าใจสิ ทธิและขั้นตอนในการพิจารณาคดี โดยเฉพาะกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่ไม่รู้และไม่เข้าใจ ภาษาไทย ทาให้เกิดความเข้าใจที่ผดิ พลาด 4) ปั ญหาภาระการพิสูจน์ คือ ในขณะที่กระบวนการพิจารณาคดีใช้ระบบกล่าวหา แต่พยานหลักฐานส่วนใหญ่กลับอยูใ่ นความครองครองของหน่ วยงานรัฐ และทั้งหน่วยงานรัฐดังกล่าว ยังอยูใ่ นฐานะที่เหนือกว่า จึงเป็ นการยากที่ประชาชนจะหาพยานหลักฐานมาหักล้างข้อกล่าวหาของรัฐ ได้ 5) ปั ญ หาการรั บ ฟั ง และชั่ง น้ าหนัก พยานหลัก ฐาน ซึ่ งศาลจะให้น้ า หนัก กับ พยานหลักฐานของทางราชการเป็ นหลัก และไม่ เปิ ดโอกาสให้ฝ่ายประชาชนสื บพยานหักล้างความ ถูกต้องหรื อชอบด้วยกฎหมายของพยานหลักฐานดังกล่าวได้ นอกจากนี้ ศาลยังไม่ให้ความสาคัญกับ ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ จารี ตประเพณี สิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญ 6) ปั ญหาในการแจ้งสิทธิจาเลยในการรับสารภาพในคดีอาญา ซึ่ งมีคดีที่พบว่าจาเลย รับสารภาพบนพื้นฐานของข้อมูลที่ไม่ถูกต้องครบถ้วน โดยเฉพาะผลเสี ยหายจากการรับสารภาพ ซึ่ ง ในบางคดีจาเลยอาจไม่ได้กระทาความผิดจริ ง 7) ปั ญหาการรับรู ้เกี่ยวกับโครงสร้างปั ญหาป่ าไม้ที่ดินของบุคคลกรในกระบวนการ ยุติธรรม ว่ามีลกั ษณะที่แตกต่างจากคดีอาญาทัว่ ไป ส่ งผลให้มุ่งแต่ใช้วิธีการแบบคดีอาญาทัว่ ไป จน ละเลยต่อประเด็นสาคัญไป โดยเฉพาะสิทธิในความชอบธรรมของจาเลย นอกจากปั ญหาการพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ งในศาลแล้ว ยังได้แสดงความคิดเห็นว่าปั ญหาสาคัญอีก ประการคื อ กระบวนการพิสู จ น์ สิ ท ธิ ใ นคดี ป่ าไม้แ ละที่ ดิ น โดยเจ้า หน้า ที่ ยัง ไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เท่าที่ควร รวมทั้งวิธีการพิสูจน์สิทธิที่ยงั ไม่ สะท้อนความเป็ นจริ งในสังคมอีกด้วย ทาให้เกิดปั ญหา 49
ความไม่เป็ นธรรมในสังคม เกี่ยวกับสิ ทธิในการเข้าถึงและใช้ทรัพยากรที่ดินและป่ าไม้ ในขณะที่ ประชาชนที่อาศัยอยูแ่ ต่ด้ งั เดิม และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและที่ดินนั้นอาจต้องเสี ยสิ ทธิของ ตนเองไป เนื่องจากไม่สามารถพิสูจน์สิทธิในป่ าไม้และที่ดินได้ตามกฎหมาย การที่กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูงมีวถี ีชีวติ และวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กบั ป่ าไม้และที่ดิน ซึ่ งสวน ทางกับกฎหมายและนโยบายของรัฐ จึงเกิดเป็ นความขัดแย้งในสังคม ที่สาคัญคือ ปั ญหาการรับรอง สิทธิในที่ดิน และความไม่เป็ นธรรมในการดาเนิ นคดี กมลวรรณ ชื่ นชู ใจ ได้ทาการศึกษากรณี ปัญหา “การจับกุม “ชาวเขา” บ้านปางแดง”65 เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ตารวจทาการ จับกุมกลุ่มชาติพนั ธุบ์ า้ นปางแดง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ หรื อที่รู้จกั กันอย่างกว้างขวางในชื่อ “คดีปางแดง” โดยใช้ทฤษฎี นิติศาสตร์แนววิพากษ์ (Critical Legal Study) หรื อ CLS ที่เชื่อ ว่า กฎหมายคือการเมือง และถู กใช้เป็ นเครื่ องมือ ของฝ่ ายการเมือง ในบางครั้งการใช้กฎหมายของรัฐ ก่อให้เกิดปั ญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะกฎหมายที่ปฏิบตั ิต่อคนจนมาวิเคราะห์ จากปรากฏการณ์ ที่เจ้าหน้าที่ตารวจและเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ได้สนธิ กาลังเข้าไปจับกุมตามข้อ กล่าวหาว่าบุกรุ กเขตป่ าสงวนแห่งชาติถึง 3 ครั้ง กล่าวคือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2532 ครั้ง ที่ 2 เมื่อวันที่ 23, 26 มีนาคม พ.ศ.2541 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2547 โดยเฉพาะการจับกุม ครั้งที่ 3 ได้กลายเป็ นข่าวดังในสังคมไทย มีนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ทนายความ และ องค์กรพัฒนาเอกชนเข้าไปให้ความช่วยเหลือในทางคดี โดยกลุ่มนักวิชาการและทนายความได้โต้แย้ง ในประเด็นสาคัญ 2 ประเด็น คือ การจับกุมที่เจ้าหน้าที่ได้กระทาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่ องจาก เข้าไปจับกุมในบ้านตอนเช้ามืด โดยที่ไม่มีหมายค้นและหมายจับ และประเด็นที่ศาลสัง่ ให้ขงั โดยมิ ชอบ กมลวรรณ ได้วเิ คราะห์กรณี ปัญหานี้ดว้ ยทฤษฎีนิติศึกษาแนววิพากษ์ อย่างน่าสนใจว่า 1) แม้กฎหมายของเราจะได้รับการสถาปนาขึ้นอย่างมัน่ คงแล้ว แต่ก็มิได้หมายความ ว่าหลักการของกฎหมายเหล่านั้น จะสามารถคุม้ ครองคนจากการใช้อานาจรัฐโดยมิชอบจริ ง เนื่ องจาก การใช้กฎหมายยังต้องผ่านการตีความโดยเจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิหน้าที่น้ นั ๆ ที่มีความคิดความเชื่อในทาง การเมือง และอาจตีความไปในทางตรงข้ามกับหลักการก็ได้ โดยเฉพาะเมื่อมีความเชื่อว่าจะเป็ นภัยต่อ สังคม 2) บทบาทของผูพ้ พิ ากษาในการใช้อานาจตีความกฎหมายนั้น ในด้านหนึ่ งถือว่าเป็ น อานาจอิสระของผูพ้ พิ ากษา ในขณะที่บางกรณี การตีความกฎหมายของผูพ้ พิ ากษาก็มีคาถามว่าถูกต้อง หรื อไม่ และหากผูพ้ พิ ากษาตีความกฎหมายผิดแล้วก่อให้เกิดความเสียหายแล้วจะทาอย่าง จากกรณี ที่ผู ้ 65
กมลวรรณ ชื่ นชูใจ, การจับกุม "ชาวเขา" บ้ านปางแดง อาเภอเชี ยงดาว จังหวัดเชี ยงใหม่ , วิทยานิ พนธ์ ปริ ญญาโท สาขาวิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2549.
50
พิพากษาศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าคุมขังชอบแล้ว จึงไม่รับคาร้องขอไต่สวนความชอบด้วยกฎหมายของ การคุมขังผูต้ อ้ งหา แต่ต่อมาปรากฏว่าศาลอุทธรณ์สงั่ ให้รับคาร้องแล้วทาการไต่สวน ซึ่ งเรื่ องนี้ ได้เคย ปรากฏมีคาพิพากษาศาลฎีกาเป็ นแนวทางเอาไว้แล้ว 3) การจับกุมคุมขังเป็ นความรุ นแรงในตัวของมันเอง ในขณะที่ดา้ นหนึ่ งก็อา้ งว่าเพื่อ ป้ องกันหยุดยั้งอาชญากรรม แต่ในอีกด้านหนึ่งคือ การใช้อานาจที่ไม่เท่ากัน ในกรณี น้ ี คือเจ้าหน้าที่รัฐ อ้างว่าชาวบ้านบุกรุ กเขตป่ าสงวนซึ่ งเป็ นความผิดร้ายแรง นอกจากนี้ ยงั สะท้อนความความเกลียดชัง ทางเชื้อชาติและแบ่งแยกชนชั้นของระบบยุติธรรมทางอาญา ซึ่ งในงานศึกษานี้ กมลวรรณ สรุ ปว่า การที่เราเชื่ อว่ากฎหมายเป็ นสิ่ งที่จะปกป้ องคุ ม้ ครอง ประชาชนให้รอดพ้นจากการใช้อานาจไม่ชอบของรัฐนั้น เป็ นเรื่ องไร้เหตุผล สิ ทธิที่กฎหมายบัญญัติ ไม่อาจยับยั้งการใช้อานาจเกินเลยของรัฐได้จริ ง เพราะกฎหมายเป็ นเพียงมายาภาพเท่านั้น อคิน รพีพฒั น์ และคณะ ในงานวิจยั เรื่ อง คลายปม “คดีที่ดินคนจน” เสนอว่าปั ญหาการไม่ได้ รับความเป็ นธรรมในกระบวนการยุติธรรม เป็ นสาเหตุหนึ่ งที่ทาให้คนจนสู ญเสี ยที่ดินหรื ออิสรภาพ โดยต้นเหตุใหญ่คือความไม่เท่าเทียมกันในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งคดีพพิ าทเกี่ยวกับการแย่งชิงที่ดิน ระหว่างนายทุนกับคนชายขอบนั้น แม้ว่าในทางข้อเท็จจริ งเป็ นที่ทราบกันว่าคนถูกทนายทุนหรื อผูม้ ี อิทธิพลเอาเปรี ยบ โดยใช้กระบวนการยุติธรรมเป็ นเครื่ องมือ ไม่วา่ จะเป็ นคดีแพ่งหรื ออาญา ซึ่งเมื่อเข้า สู่กระบวนการพิจารณาของแล้วพบว่ามีปัญหาสาคัญ คือ ภาระการนาสื บ (Burden of Proof) และการ ชัง่ น้ าหลักพยานหลักฐาน โดยในการนาพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์น้ นั คนจนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล และเอกสารของทางราชการ จึงไม่สามารถนาหลักฐานมาพิสูจน์ได้ ในขณะที่ศาลเองก็ไม่เรี ยกเข้ามา เองด้วย นอกจากนี้ ในการรับฟั งพยานหลักฐานของศาล ศาลจะให้น้ าหนักแก่พยานหรื อเอกสารของ ทางราชการมากกว่าพยานหลักฐานประเภทอื่นๆ ซึ่ งเป็ นหลักฐานที่นายทุนสามารถเข้าถึงได้ อีกทั้ง งานวิจยั นี้ยงั พบว่าศาลยุติธรรมไม่ได้แสดงบทบาทเชิงรุ กในการแสวงหาความจริ ง เพื่ออานวยการให้ เกิดความยุติธรรมอย่างแท้จริ ง66 ในขณะที่งานของคนอื่นๆ มองว่าการคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาสาหรับกลุ่มชาติพนั ธ์น้ นั มีปัญหา แต่สาหรับ วรารัตน์ แสงคา นักวิชาการยุติธรรม สานักกิจการ ยุติ ธรรม กระทรวงยุติ ธ รรม มี มุ มมองที่ แ ตกต่ างออกไป เมื่ อ วรารัต น์ ได้รวบรวมมาตรการทาง กฎหมาย และแนวทางการคุ ม้ ครอง ส่ งเสริ มให้กลุ่ มชาติพนั ธุ์สามารถเข้าถึ งสิ ทธิ ในกระบวนการ
66
อคิน รพีพฒั น์, เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ และ กิตติศกั ดิ์ ปรกติ, คลายปม “คดีที่ดินคนจน”, รายงานวิจยั , (กรุ งเทพฯ : บริ ษทั อัพทูยู ครี เอทนิว จากัด, 2554).
51
ยุติธรรมทางอาญา แล้วมีความเห็นว่า ระบบกฎหมายของไทยมีมาตรการและแนวทางหลายประการ ที่ ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุส์ ามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้ คือ 1) หลักการคุม้ ครองสิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุท์ างกฎหมาย โดยที่รัฐไทยได้เข้าเป็ นภาคี อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิทางเชื้อชาติในทุกรู ปแบบ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ซึ่ งหลักการใน อนุ สัญญานี้ ไ ด้ถูกใช้เป็ นพื้นฐานในการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมของไทยด้วย โดยเฉพาะรั ฐ ธรรมนู ญ มี บ ทบัญ ญัติ เ กี่ ย วกั บ การขจัด การเลื อ กปฏิ บ ัติ ท างเชื้ อ ชาติ และด้า น กระบวนการยุติธรรมเอาไว้ดว้ ย 2) การสร้างความตระหนักรู ้หรื อ เผยแพร่ ความรู ้ทางกฎหมาย ประเทศไทยมีการ เผยแพร่ ค วามรู ้ ทางกฎหมายและสิ ท ธิ ด้า นต่า งๆ ให้แ ก่ ป ระชาชน ผ่า นสื่ อ การเรี ย นรู ้ต่ า งๆ อย่า ง กว้างขวาง แต่อาจมีขอ้ จากัดบ้างเนื่องจากประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็ นภาษาราชการ ซึ่งอาจทาให้กลุ่ม ชาติพนั ธุม์ ีขอ้ จากัดในการรับรู ้และเข้าใจ 3) การช่วยเหลือทางกฎหมาย โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนับแต่ฉบับปี พุทธศักราช 2540 เป็ นต้นมา ได้บญั ญัติรับรองสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมอย่างครอบคลุมเอาไว้ โดยเฉพาะสิ ทธิ ในการได้รับการช่วยเหลือ ทางกฎหมาย ให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ โดยง่าย สะดวก รวดเร็ ว และทัว่ ถึง รวมถึ งสิ ทธิ ได้รับการพิจารณาคดีอย่างถูกต้อ ง รวดเร็ วและเป็ น ธรรม สาหรับผูด้ อ้ ยโอกาสและคนยากจนก็มีสิทธิ์ได้รับเงินช่วยเหลือในการต่อสูค้ ดี เงินหลักทรัพย์ใน การประกันตัว นอกจากนี้ แล้วยังมีองค์กรของภาครัฐและเอกชน ที่ให้ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุ น ให้ ส ามารถเข้า ถึ ง สิ ท ธิ ใ นกระบวนการยุ ติ ธ รรมได้ ไม่ ว่ า จะเป็ นองค์ ก รตรวจสอบภาครั ฐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สภาทนายความ และองค์กรพัฒนาเอกชน 4.) การคุ ้ม ครองสิ ท ธิ ใ นกระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญาในทางปฏิ บ ัติ โดย กระบวนการยุติธรรมนับตั้งแต่ช้ นั พนักงานสอบสวน ชั้นอัยการ ชั้นศาล มี ความเป็ นระบบและมี บทบัญ ญัติ ที่มุ่ งคุ ้มครองสิ ท ธิ ข องประชาชนเป็ นส าคัญ ประกอบกับการดาเนิ น การเพื่อ รวบรวม พยานหลักฐานเพือ่ ฟ้ องศาล ก็มีลกั ษณะเป็ นการถ่วงดุลอานาจกันระหว่างพนักงานสอบสวนกับอัยการ โดยเฉพาะในศาลที่มีการจัดหาล่ามตามความจาเป็ นให้อยูแ่ ล้ว 5) การบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐนั้น พบว่ามีกฎหมายทุกระดับ ที่กาหนดให้ เจ้าหน้าที่รัฐต้องอานวยความสะดวกและให้บริ การแก่ประชาชน หากละเลยหรื อกระทาการทุจริ ตต่อ หน้า ที่ ที่ จ ะต้อ งได้รั บ โทษตามกฎหมาย นอกจากนี้ ในระบบราชการยัง มี ก ารควบคุ ม จริ ย ธรรม ข้าราชการอี กชั้นหนึ่ งด้วย ซึ่ งจะเป็ นหลัก ประกันว่าประชาชนได้รับการบริ การที่ดี รวดเร็ ว สุ ภาพ เรี ยบร้อยและให้เกียรติทุกคนอย่างเสมอหน้ากัน 52
งานศึกษาและข้อถกเถียงทางวิชาการดังกล่าวข้างต้นนี้ ส่ วนใหญ่แล้วจะกล่าวถึง การค้นหา หรื อ ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดหรื อทฤษฎีทางกฎหมายและตัวบทกฎหมาย การค้นหาหรื อ ตรวจสอบ ปั ญหาในระดับปรากฏการณ์ รวมทั้งวิพากษ์ต่อ ตัวบทกฎหมายหรื อ ปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐ ผู ้ พิพากษาหรื อคาพิพากษา สาหรับ งานศึก ษานี้ แตกต่างจากงานศึ กษาและข้อ ถกเถี ยงทางวิชาการ ดังกล่าวข้างต้น โดยไม่ใช่เพียงการวิเคราะห์ วิพากษ์ตวั บทกฎหมาย และค้นหาปั ญหาในระดับระดับ ปรากฏการณ์ แต่ จ ะพยายามขยายพรมแดนความรู ้ ใ นการวิพ ากษ์ร ะบบกฎหมาย โดยมุ่ ง ศึ ก ษา ประสบการณ์ของผูท้ ี่เคยตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีอาญาจริ ง เพือ่ สร้างข้อโต้แย้งหรื อข้อถกเถียง ทางวิช าการต่ อ หลักการพิจ ารณาคดี อ ย่า งเป็ นธรรม ที่ ป รากฏอยู่ในระบบกฎหมายของไทย ซึ่ ง โดยทัว่ ไปแล้วนักกฎหมายและรัฐเชื่อว่า การมีตวั บทกฎหมายที่ดีและตั้งอยูบ่ นหลักการที่มีความเป็ น กลาง เพือ่ ให้คุม้ ครองสิทธิของพลเมืองทุกคนอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน และให้โอกาสผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยทุกคนได้ต่อสูค้ ดีได้อย่างเต็มที่ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนก็จะได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิอย่างเสมอ ภาคเท่าเทียมกันจริ ง โดยมองผ่านทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ (CRT) ซึ่ งเป็ นแนวความคิดที่วิพากษ์ ต่อระบบกฎหมายหรื อปฏิบตั ิการทางกฎหมาย ที่กระทาต่อชนกลุ่ มน้อยในสังคม ในงานนี้ ผูว้ ิจยั ไม่ เพียงโต้แย้งว่าหลักการพิจารณาคดีอ ย่างเป็ นธรรมและตัวบทกฎหมายในระบบกฎหมายของไทยมี ข้อบกพร่ องเท่านั้น แต่จะพยายามชี้ให้เห็นด้วยว่าในทางปฏิบตั ิแล้ว มีเงื่อนไขหรื อปั จจัยอย่างอื่ น ที่ส่ง อิทธิพลหรื อแม้แต่ครอบงาความคิดของคนในสังคมไทย โดยเฉพาะคนที่อยูใ่ นกลไกระบบราชการ รวมทั้งกระบวนการยุติธรรมทางอาญาด้วย ทาให้คนที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงซึ่ งมีสถานะเป็ น คนสุ ดชายขอบของสังคม ไม่ ไ ด้รับประโยชน์จากระบบกฎหมายที่ถู กบัญญัติไ ว้อ ย่างเป็ นทางการ เหล่านั้น 2.2.3 งานที่ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาสิ ทธิในการบวนการยุติธรรมต่ อคนผิวสี ในอเมริกา นอกจากการทบทวนงานศึกษาในสังคมไทยแล้ว ผูว้ ิจยั ได้ทบทวนงานที่ศึกษาหรื อวิพากษ์ เกี่ยวกับปั ญหาสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของคนผิวสี ในอเมริ กา รวมทั้งงานที่ใช้ทฤษฎี ชาติ พ นั ธุ์ แ นววิพ ากษ์ เป็ นแนวทางในการศึ ก ษา ซึ่ ง ความน่ า สนใจของทฤษฎี น้ ี คื อ ในขณะที่ นักวิชาการทัว่ ๆ ไป มุ่งวิพากษ์หรื อผลักดันในเกิดระบบกฎหมายที่รับรองให้พลเมื องทุกคนมีสิทธิ และเสรี ภาพที่เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายเดียวกัน แต่นักวิชาการทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ทาการ วิพากษ์ตวั กฎหมายและแนวความคิดของกฎหมายรับรองสิทธิและเสรี ภาพในสังคมอเมริ กา กล่าวคือ เบนเนตต์ แคปเปอร์ (Bennett Capers) ในงานเขียนเรื่ อง Critical Race Theory67 ได้ช่วย ตอกย้าว่า การแบ่งสีผวิ ในสังคมอเมริ กายังคงดารงอยู่ โดยเฉพาะในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ที่ 67
Bennett Capers, Critical Race Theory, Oxford Handbook of Criminal Law, 2015.
53
มีการปฏิบตั ิต่อคนผิวสี กบั คนผิวขาวที่ไม่เท่าเทียมกัน นับตั้งแต่การกาหนดกลุ่มเป้ าหมายหรื อเลือ ก ตรวจค้นของตารวจ การจับกุม การสั่งฟ้ องหรื อ ไม่ฟ้องคดี การตัดสิ นของคณะลูกขุน ตลอดจนการ กาหนดโทษที่จะลงแก่ผทู ้ ี่ถูกตัดสินว่ากระทาความผิด โดยข้อค้นพบของ Bennett Capers ที่น่าสนใจ ในงานเขียนนี้ คือ การกาหนดหรื อตีความว่าการกระทาใดเป็ นเรื่ องทางศีลธรรมหรื อเป็ นภัยคุกคามต่อ สังคม มีความสัมพันธ์กบั เชื้อชาติหรื อสีผวิ ของคนด้วย กล่าวคือ ในขณะที่คนทุกกลุ่มก่ออาชญากรรม ประเภทต่างๆ แต่สงั คมจะชี้นาว่าอาชญากรรมที่กระทาโดยคนผิวสี จะมีความรุ นแรงหรื อคุกคามต่อ สังคมมากกว่าซึ่ งจาต้อ งควบคุ ม ในขณะที่การกระทาความผิดของคนผิวขาว จะถูกชี้ นาว่ามีความ รุ นแรงหรื อคุกคามต่อสังคมน้อยกว่า บางเรื่ องก็ถูกอธิบายว่าเป็ นเรื่ องการขาดศีลธรรมที่ไม่เกี่ยวกับ ความผิดทางอาญา ซึ่งสังคมให้ความสนใจกับอาชญากรรมที่กระทาโดยคนผิวสี มากกว่าอาชญากรรม ที่กระทาโดยคนผิวขาว โดยเฉพาะการระบุว่าความผิดของคนผิวสี เป็ นภัยคุกคามต่อสังคม ในขณะที่ ความผิดของพวกอาชญากรคอปกขาวเป็ นเรื่ องทางศีลธรรม ทาให้การปฏิบตั ิต่อกลุ่มคนได้รับอิทธิพล จากอคติโดยประยาย (Implicit biases) รวมทั้งการตัดสิ นใจของผูม้ ีอานาจในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาด้ว ย เช่ น การเรี ย กให้หยุด ตรวจ การจับกุ ม การส่ ง ฟ้ องคดี การตัด สิ นของคณะลู ก ขุน ตลอดจนการกาหนดโทษของผูพ้ ิพากษา ที่มุ่ งเป้ าไปที่ก ลุ่ ม คนผิว มี ม ากกว่าคนผิวขาว ซึ่ งกรณี น้ ี Bennett Capers สรุ ปว่า สิ่งที่สงั คมชี้ว่าเป็ นอาชญากรรมและสมควรถูกลงโทษไม่ใช่สิ่งที่เขากระทา หากแต่คือสี ผิวของเขาต่างหาก (Just as what society chooses to mark as criminal and worthy of punishment is racially informed…) นอกจากนี้ ยงั แสดงความเห็นต่อการฟ้ องคดีของอัยการอีกว่า การฟ้ องคดีไม่ใช่เพียงแต่การดาเนิ นการตามกฎหมายเท่านั้น หากแต่เป็ นการธารงรักษาไว้ซ่ ึ งระบบ การแบ่งแยกเอาไว้ เช่น อัยการจะเลือ กฟ้ องในข้อ หาที่หนักกว่าหากผูถ้ ูกกล่ าวหาเป็ นคนผิวสี หรื อ ผูเ้ สียหายเป็ นคนผิวขาว นอกจากนี้ แล้ว Bennett Capers ยังได้วิเคราะห์กรณี ผตู ้ อ้ งขัง (Mass incarceration) ว่าจาก สถิติคนถูกจาคุกมีความแตกต่างกันมากระหว่างคนผิวขาวกับคนผิวสี โดยคนผิวขาวมีสถิติเท่ากับ 1 : 40 ในขณะที่คนผิวสีเท่ากับ 7 : 40 นั้น การจาคุกคนผิวสีเป็ นการทาหน้าที่ของระบบควบคุมสังคม ให้ กลับไปสู่ สังคมแบบชนชั้นที่มีการกี ดกันทางเชื้ อ ชาติ เนื่ อ งจากระบบกฎหมายและสังคมไม่ มี อ าจ ยอมรับให้มีการแบ่งแยกหรื อเลือกปฏิบตั ิทางสี ผิวได้ จึงต้องใช้ความผิดกฎหมายอาญาเป็ นเครื่ องมือ ซึ่งวิธีการเหล่านี้ยงั ทาให้ประเทศอเมริ กายังคงแสดงต่อโลกได้วา่ ไม่มีการแบ่งแยกกันในทางนิตินยั เดนนิ ส รี ส์ (Denise Reese) ในวิทยานิ พนธ์เรื่ อง Criminal Justice Disparity between African American and Caucasian Males: Police Use of Excessive and Deadly Force in the
54
United States, 1991-201468 เป็ นงานที่ศึกษาการใช้กาลังเกิ นกว่าเหตุและการวิสามัญฆาตกรรม (Excessive and Deadly Force) โดยองค์กรที่บงั คับใช้กฎหมายของอเมริ กา ในบริ บทของสังคมที่ เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิการมีอคติทางเชื้อชาติแฝงอยูด่ ว้ ย โดยใช้ทฤษฎี CRT ศึกษากรณี ที่ผชู ้ ายวัยรุ่ นผิวสี ถูกวิสามัญฆาตกรรมจานวน 7 คน ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 2014 Reese พยายามชี้ ให้เห็ นว่า แม้ศาลฎี กาอเมริ กาจะเคยมี คาพิพากษาที่วางบรรทัดฐานไว้ว่า อานาจในการวิสามัญฆาตกรรมของตารวจจะต้องอยูภ่ ายใต้รัฐธรรมนู ญที่บญั ญัติรับรองเกี่ยวกับสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคล โดยวางหลักไว้ว่า การวิส ามัญ ฆาตกรรมจะกระทาไม่ ไ ด้ เว้นแต่ มี ค วาม จาเป็ นต้องป้ องกันผูต้ อ้ งสงสัยหลบหนี และเจ้าหน้าที่สงสัยว่าผูต้ อ้ งสงสัยได้กระทาสิ่ งที่จะคุกคามต่อ ชีวติ หรื อร่ างกายของเจ้าหน้าที่อย่างร้ายแรงเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม คนในสังคมอเมริ กา มีความคิดฝัง หัวว่าคนผิวดาส่วนใหญ่เป็ นพวกที่ก่ออาชญากรรม ดังนั้น แม้จะเกิดเหตุเพียงเล็กๆ น้อยๆ ก็จะทาให้ คนสรุ ปเอาว่าสิ่งที่เขาเชื่อกันนั้นเป็ นความจริ ง จากการศึกษาของ Reese ยังพบว่าเด็กวัยรุ่ นผิวดาเหล่านั้นถูกเจ้าหน้าที่ตารวจใช้ปืนยิงโดยไม่ ปรากฏว่ามีเหตุอนั ควรกลัวหรื อได้รับอนุญาตจากผูบ้ งั คับบัญชา นอกจากนี้เมื่อตรวจสอบแล้วยังพบว่า เด็กวัยรุ่ นเหล่านั้นไม่เคยมีประวัติอาชญากรรมมาก่อนด้วย ซึ่ งจากกรณี ศึกษาเหล่านั้น Reese ยังได้ต้ งั ข้อสังเกตว่ากระบวนการยุติธรรมในกรณี ดาเนิ นการอย่างเป็ นแบบแผน (Pattern) กล่าวคือ กรณี แรก ตารวจไม่ได้แสดงให้เห็นว่าได้ใช้ความระมัดระวัง เพียงแต่เห็ นว่าเป้ าหมายเป็ นคนผิวสี ก็ยงิ เลย ซึ่ ง ตารวจมีแนวโน้มที่จะกระทาวิสามัญฆาตกรรม ต่อกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นคนผิวสี ซึ่ งเป็ นบุคคลที่ถือว่า อยูน่ อกกระแสหลักของสังคม (Person who live out-side the American mainstream, particularly member of minority) นอกจากนี้ ยงั พบว่าตารวจมีแนวโน้มที่จะทาการวิสามัญฆาตกรรมสู งขึ้น เมื่อ อยูใ่ นอยูใ่ นบริ บทที่สงั คมนั้นมีความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจและมีความขัดแย้งสู ง หรื ออีกนัยยะหนึ่ ง คือ มีความสัมพันธ์ระหว่างความขัดแย้งหรื อความรุ นแรงในชุมชน ความเหลื่อมล้ า สัดส่ วนชนกลุ่ม น้อยในชุมชน กับการวิสามัญฆาตกรรม กรณี ที่สอง พบว่าในการพิจารณาคดีน้ นั อัยการมักจะสั่งไม่ ฟ้ องคดีต่อศาล หรื อในกรณี ที่ฟ้องก็จะส่งฟ้ องด้วยข้อหาที่เบากว่าที่ควรจะเป็ น และในที่สุดแล้วเมื่อคดี ขึ้นสู่ศาล คณะลูกขุนก็ตดั สินว่าไม่ผดิ หรื อผิดในข้อหาที่นอ้ ยกว่า แม้กระทัง่ เมื่อพบว่ามีความผิดศาลก็ จะกาหนดโทษที่เบากว่า
68
Denise Reese. "The criminal disparity between African American and Caucasian males: Police use of excessive and deadly force in the United States, 1991 - 2014". MASTER OF ARTS : Criminology and Criminal Justice, Anthropology and Criminology, Eastern Michigan University 2015. Available at http://commons.emich.edu/theses/617.
55
มิ เชลลี อเล็ก ซานเดอร์ (Michelle Alexander) ได้วิเ คราะห์ปัญ หาสิ ทธิ ใ นกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาของคนผิวสี ที่ตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดียาเสพติดในช่วงที่รัฐบาลอเมริ กา ประกาศสงครามต่อต้านยาเสพติด ในงานเขียนเรื่ อง The new Jim Crow : mass incarceration in the age of colorblindness69 โดยได้กระตุน้ ให้เกิ ดการกเถียงเกี่ ยวบทบาทหน้าที่ของกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ที่ได้สร้างระบบชนชั้นและการแบ่งแยกสีผวิ รู ปแบบใหม่ในสังคมอเมริ กาขึ้นมา ซึ่ ง ย้อนแย้งกับหลักการของกฎหมาย แม้ว่าอเมริ กาได้ทาการยกเลิ กก็กฎหมายแบ่งแยกสี ผิว (Jim Crow) ไปสู่ ระบบกฎหมายที่ พลเมื อ งมี สิทธิ เสรี ภาพเท่าเทียมกันโดยปราศจากสี ผิว (Colorblindness) และสังคมอเมริ กาก็ไ ม่ อนุญาตให้มีการใช้เชื้อชาติหรื อสีผวิ เป็ นเงื่อนไขในการแบ่งแยกคนอีกต่อไป อย่างไรก็ตามอคติ ความ เกลียดชังและความต้องการรักษาสถานะความเป็ นผูส้ ูงส่งกว่าของชนชั้นนาผิวขาว ทาให้การแบ่งแยก ทางเชื้อชาติและสีผิวก็ยงั คงดารงอยูอ่ ย่างเป็ นรู ปธรรมในสังคมอเมริ กา ซึ่ งกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาได้กลายมาเป็ นหนึ่ งในเครื่ อ งมื อ สาคัญ ในการตี ตราคนผิวสี ว่า เป็ นอาชญากร ซึ่ ง ต่อ มาได้ กลายเป็ นกฎหมายที่มีผลเป็ นการแบ่งแยกผิวสี อย่างสมบูรณ์แบบ อันเป็ นกฎหมายที่ใกล้เคียงกับกับ กฎหมายแบ่งแยกสีผวิ (Jim crow) ตัวอย่างเช่น คนผิวดาที่ถูกดาเนินคดีอาญาจะถูกตราหน้าว่าเป็ นคน เลว ดังนั้น เขาก็จะถูกกีดกันจากสิ ทธิอื่นๆ ในสังคมด้วย ไม่ว่าจะเป็ นการจ้างงาน คูปองอาหาร สิ ทธิ การเลือกตั้ง การเข้าถึงที่อยูอ่ าศัยสาธารณะ ทุนการศึกษา การได้รับสิ ทธิจากบริ การสาธารณะ ซึ่ งการ กีดกันเหล่านี้เป็ นไปตามระเบียบกฎหมาย Alexander ยังได้วิเคราะห์ อี ก ว่า สงครามต่ อ ต้า นยาเสพติด เกิ ดขึ้ นบนพื้นฐานการเมื อ งที่ ต้องการกดทับคนผิวสีและคนกลุ่มน้อย หลังจากที่ความเป็ นอภิสิทธิ์ชนของชนชั้นสู งผิวขาวเริ่ มเสื่ อม ลงเมื่อมีการยกเลิกกฎหมายแบ่งแยกสีผวิ ประกอบกับสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของคนผิวสี เริ่ ม สูงขึ้นมาเทียบกับคนผิวขาว และที่สาคัญอีกประการคือ เป็ นการสมรู ้ร่วมคิดของนักการเมือง ตารวจ และหน่วยงานด้านความมัน่ คง โดยการสร้างสถานการณ์เพือ่ แสวงหาผลประโยชน์ในสงครามต่อต้าน ยาเสพติด ซึ่ งนักวิชาการพบว่ายาเสพติดระบาดมากขึ้นหลายเท่าตัวภายหลังจากที่รัฐบาลประกาศ สงครามต่อต้านยาเสพติด การประกาศสงครามต่ อ ต้า นยาเสพติ ด ของรั ฐ บาลอเมริ ก า เกิ ด ขึ้ น พร้อ มๆ กับ การออก กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เพิ่มอานาจให้แก่ตารวจและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง นาไปสู่ การใช้ความ รุ นแรงและใช้อานาจเกินกว่าเหตุ ทาให้บทบัญญัติตามหลักกฎหมายที่รับรองสิ ทธิและเสรี ภาพของ 69
Michelle Alexander, The new Jim Crow : mass incarceration in the age of colorblindness, (The New Press, New York, 2010).
56
ประชาชน และกฎหมายที่กากับการทางานของเจ้าหน้าที่รัฐไม่มีความหมาย โดยพบว่าภายหลังการ ประกาศสงครามต่อต้านยาเสพติด งบประมาณสาหรับดาเนินการตามนโยบายนี้ เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล รวมทั้งเจ้าหน้าที่ได้วธิ ีการแบบทหารมาดาเนิ นการกับกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นพลเมือง ซึ่ งในภาวะเช่นนี้ สิ ทธิ ต่า งๆ ของผูต้ ้อ งหาหรื อ จาเลยถู กจากัดอย่า งมาก เช่ น สิ ทธิ ก ารมี ท นายความ การถู ก ข่ม ขู่ใ ห้ ยอมรับข้อต่อรอง เมื่อถูกฟ้ องก็จะถูกลงโทษสูง เมื่อถูกปล่อยตัวออกจากเรื อนจาก็จะถูกตีตราไปตลอด ชีวติ นอกจากนี้ ในทางปฏิ บ ัติ แ ล้ว ผูต้ ้อ งหาหรื อ จ าเลยไม่ ไ ด้รั บ สิ ท ธิ ดัง ที่ก ฎหมายบัญ ญัติ ไ ว้ โดยเฉพาะข้อสันนิ ษฐานทางกฎหมาย โดยศาลฎีกาได้ยอมรับการจากัดสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย เพื่อ ให้เอื้ อ อานวยต่อ นโยบายสงครามต่อ ต้านยาเสพติดของรัฐบาล โดยเฉพาะการสร้างข้อยกเว้น ให้แก่ การคุ ม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของผูท้ ี่ถูกตรวจค้นโดยวิธีการที่ผิดกฎหมายของตารวจ ทาให้ สิทธิและเสรี ภาพของคนผิวสีถดถอยลงไปมาก โดยในขณะนั้นคนผิวสี ประมาณ 80% ยากจนและไม่ สามารถจ้า งทนายความเองได้ ท าให้เ มื่ อ ตกเป็ นผูต้ ้อ งหาหรื อ จ าเลย คนจ านวนมากต้อ งยอมรั บ สารภาพด้วยความกลัวที่จะถูกลงโทษสู งกว่า และมีคนอีกจานวนมากที่ถูกกักขังหรื อจาคุกโดยไม่ มี โอกาสได้พดู กับทนายความเลย หรื อมีเวลาเพียงน้อยนิดในการปรึ กษากับทนายความสาหรับตัดสิ นใจ เรื่ องที่จะกระทบต่อตัวเขาไปตลอดทั้งชีวติ ซึ่งในที่สุดแล้วคนผิวสีก็ถูกศาลตัดสินให้จาคุกจานวนมาก แม้วา่ โดยข้อเท็จจริ งแล้วคดีจะเกิดขึ้นกับตัวบุคคล แต่การตีตราว่าเป็ นคนเลวและการกีดกัน ทางสังคมกลับถูกเหมารวมคนผิวสี จนกลายเป็ นระบบของสังคม ที่มุ่งบ่งชี้ว่าเป็ นลักษณะนิ สัยหรื อ ภาพลักษณ์ติดตัวของผิวสี (Stereotype) Michelle Alexander มีความเห็นว่าสงครามต่อต้านยาเสพติด เป็ นเครื่ องจักรที่กวาดต้อนคนผิวสี เข้าสู่ กรง ผ่าน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรก การกวาดต้อนคนเข้าสู่ กระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยใช้กลไกของตารวจ โดยที่ตารวจมีอานาจอยูใ่ นมืออย่างเต็มที่ มี นโยบายและระเบียบกฎหมายของรัฐบาลรองรับ และมี งบประมาณสนับสนุ นการดาเนิ นงานของ ตารวจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่สองคือ หลังจากที่ถูกจับกุมก็จะเข้าสู่ กระบวนการควบคุม อย่างเป็ นทางการ (Formal control) ซึ่ งผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะถูกปฏิเสธสิ ทธิต่างๆ และถูกกดดันให้ ยอมรับข้อตกลง ไม่วา่ จะได้กระทาความผิดจริ งหรื อไม่ก็ตาม และขั้นตอนที่สามคือ การลงโทษที่มอง ไม่ เห็ น (Invisible punishment) ซึ่ งเป็ นผลที่จะเกิ ดขึ้นต่อ ผูท้ ี่ถูกดาเนิ นคดี ภายหลังที่กระบวนการ สิ้นสุดลงแล้ว โดยการถูกกีดกันไม่ให้เข้าถึงสิทธิข้นั พื้นฐานต่างๆ อย่างเป็ นระบบ ในทานองเดียวกัน พอล บัตเลอร์ (Paul Butler) ได้วิพากษ์ปฏิบตั ิการต่างๆ ในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาต่อคนผิวดาในช่วงสงครามยาเสพติดว่า แม้ว่าการเลือกปฏิบตั ิไม่ได้มี การบัญญัติ เป็ นกฎหมายอย่างเป็ นทางการเหมือนยุคสมัยที่อยูภ่ ายใต้ระบบกฎหมายแบ่งแยกสี ผิว หากแต่ระบบ ชนชั้นในการแบ่งแยกกลุ่ ม คนเกิ ดขึ้นโดยปฏิบตั ิการของบุคคลที่ถือ อานาจในกลไกกระบวนการ 57
ยุติธรรม นับตั้งตารวจ อัยการ ผูพ้ ิพากษา โดยในตารวจจะมุ่ งเป้ าตรวจค้น จับกุม คนผิวดามากกว่า แม้ว่าจานวนผูใ้ ช้ยาเสพติดระหว่างคนผิวขาวกับคนผิวดาจะมีจานวนไม่แตกต่างกัน สาหรับอัยการ และศาลได้มีส่วนสนับสนุนหรื อค้ าจุนให้ระบบนี้ ดารงอยูไ่ ด้ โดยการตัดสิ นคดีไปในทิศทางเดียวกับ นโยบายของรั ฐ บาล แม้ก ระทัง่ ผูพ้ ิพ ากษาในศาลฎี ก ายัง แสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ กรณี น้ ี ว่า “ไม่ มี ข้ อยกเว้ นใดๆในคดียาเสพติดที่ สามารถอ้ างบทบัญญัติแห่ งสิ ทธิ ได้ ” (No drug exception to the Bill of Rights) แม้จะพบว่ามีคาพิพากษาศาลสู งในบางคดีที่มีความก้าวหน้าบ้าง แต่ไม่นานก็ถูกเลี่ยงโดย การออกกฎหมายใหม่ มา สาหรับสิ ทธิ ที่มีกฎหมายรับรองไว้ ก็ถูกจากัดโดยการสร้างเงื่อ นไขและ ขั้นตอนที่ยงุ่ ยากซับซ้อนจนยากที่จะเข้าถึงหรื อเป็ นไปไม่ได้เลย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปั ญหาการแบ่งแยก ทางเชื้ อ ชาติไ ม่ ไ ด้มีสาเหตุม าจากตัวบทกฎหมายที่เขียนไว้ หากแต่เป็ นผลมากจากปฏิบตั ิการของ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตลอดจนศาลที่ทาให้เกิดการผิวสี แบ่งแยก กีดกัน ดังนั้น ความเชื่อที่ว่าการยกเลิก กฎหมายและนโยบายที่แบ่งแยกแล้วสังคมอเมริ กาจะมีความเท่าเทียมกันอย่างแท้จริ ง จึงเป็ นความเชื่อ ที่ไม่ถูกต้อง70
70
Paul Butler, One Hundred Years of Race and Crime, Journal of Criminal Law and Criminology, Vol 100 No. 3, 2010.
58
บทที่ 3 กฎหมายกับการให้ และการกีดกันสิ ทธิของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพืน้ ที่สูง ในบทนี้ ผูว้ จิ ยั ต้องการชี้ให้เห็นว่า แม้รัฐธรรมนู ญของไทยจะได้สถาปนาหลักสิ ทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคไว้อย่างมัน่ คงแล้ว หากแต่ความเสมอภาคเท่าเทียมกันในสังคมยังไม่เกิดขึ้นจริ ง ทา ให้คนที่ตกอยูใ่ นสถานะชายขอบ ถู กกีดกันสิ ทธิ เสรี ภาพและผลประโยชน์ต่างๆ ในสังคม อันเป็ น ต้นเหตุของความไม่เป็ นธรรมที่ปรากฏทั้งในระบบกฎหมายและในทางสังคม โดยในที่น้ ี จะกล่าวถึง บริ บทของปั ญหาความเสมอภาคเท่าเทียมกันในสังคม สิทธิในการใช้ที่ดินและทรัพยากร และสิ ทธิใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยจะวิเคราะห์ลกั ษณะของบทบัญญัติกฎหมาย กับลักษณะของการ ใช้กฎหมายในทางปฏิบตั ิ นอกจากนี้จะพยายามวิเคราะห์ให้เห็นสาเหตุที่ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่ สูงถูกกีดกันสิทธิ รวมทั้งวิธีการที่รัฐหรื อผูม้ ีอานาจใช้ทาการกีดกันไม่วา่ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้อม เนื้ อหาของบทนี้ มี 4 ส่ วน โดยส่ วนแรกจะกล่าวถึงบทบัญญัติทางกฎหมายว่าด้วยความเท่า เที ยมกัน ของพลเมื อ งไทยภายใต้รัฐ ธรรมนู ญ และข้อ ถกเถี ย งว่าด้วยปั ญ หาความเท่า เที ยมกัน ใน สังคมไทย ที่กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงถูกจัดวางให้มีสถานะที่ต่ากว่าคนทัว่ ไปในสังคม ส่ วนที่สองจะ กล่าวถึงคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ในฐานะความผิดที่เป็ นผลจากปั ญหาการจัดสรรทรัพยากรแห่ งรัฐที่ ไม่ เป็ นธรรม ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงถูกกีดกันสิ ทธิ และโอกาสที่จะเข้าถึ งผลประโยชน์ใน ทรัพยากรของรัฐ โดยผูว้ จิ ยั จะวิเคราะห์ลงลึกถึงกระบวนการที่รัฐและผูม้ ีอานาจใช้ทาให้ การใช้ที่ดิน และทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงกลายเป็ นอาชญากรรม ผ่านการประกอบสร้างองค์ความรู ้ วาทะกรรม และบัญ ญัติ ก ฎหมายและนโยบาย ที่ ส ะท้อ นรู ป แบบของความไม่ เ ท่ า เที ย มกัน เชิ ง โครงสร้าง ประการที่สาม จะกล่าวถึงสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และข้อถกเถี ย งว่าด้วยปั ญหาการเข้าไม่ ถึ งสิ ทธิ ตามบทบัญญัติกฎหมายของคนชายขอบ ซึ่ งการที่ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยถูกละเลยสิทธิตามกฎหมายนั้น ดูเหมือนจะเป็ นเพียงปั ญหาส่ วนบุคคล หากแต่เมื่อ พิจารณาให้ลึ กแล้วจะเห็ นว่ามี ลกั ษณะเป็ นการกีดกันเชิ งโครงสร้าง และส่ วนที่สี่ คือ การวิเคราะห์ รากเหง้าแห่ งปั ญหาที่ครอบงาโครงสร้างอ านาจรัฐ ทาให้ค นบางกลุ่ มได้รับอภิสิทธิ์ ทางกฎหมาย
59
ในขณะที่คนชายขอบถู กกี ดกัน ซึ่ งมี ลกั ษณะเป็ นนามธรรมและแฝงตัวอยูใ่ นระบบวัฒนธรรมทาง สังคม หากแต่มีอิทธิพลในการชี้นาการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานของรัฐ 3.1 ความเสมอภาคเท่ าเทียมกันของพลเมืองภายใต้ รัฐธรรมนูญและข้ อถกเถียง “หลักความเสมอภาค” ถูกนามาบัญญัติเป็ นหลักการพื้นฐานของกฎหมาย ด้วยความเชื่อว่าเมื่อ มีกฎหมายบัญญัติไว้ จะทาให้เกิดการปฏิบตั ิต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ อย่างเท่าเทียมกันจริ ง และจะเป็ นหลัก ประกัน ที่ ท าให้สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพเกิ ด ขึ้ น จริ ง ทั้ง เป็ นหลัก ส าคัญ ในการควบคุ ม ตรวจสอบการปฏิบตั ิหน้าที่ของรัฐ ไม่ให้รัฐใช้อ านาจตามอาเภอใจ ไม่ว่าจะเป็ นการกระทาทางนิ ติ บัญญัติ บริ หาร หรื อตุลาการ ซึ่งมีหลักการที่สาคัญ คือ ในสถานการณ์ที่เหมือนกันจะต้องปฏิบตั ิดว้ ย หลักเกณฑ์เดียวกัน หากมีการปฏิบตั ิที่แตกต่างกัน ถือว่าเป็ นการเลือกปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นธรรมและขัดแย้ง กับหลักความเสมอภาคความเสมอภาคในกฎหมาย1 หลัง จากที่ ป ระเทศไทยได้ท าการปฏิ รู ป ระบบกฎหมายตามแบบอย่า งรู ป แบบกฎหมาย สมัยใหม่ของตะวันตก ในสมัยรัชการที่ 5 ทาให้รูปแบบการคุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของประชาชนมี มากขึ้น กระทัง่ หลังการเปลี่ ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ประเทศไทยได้นาแนวคิดนิ ติรัฐ (The Rule of Law) และแนวคิดสิทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุ ษยชน ค.ศ. 1948 มา บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนู ญ เช่ น เรื่ องการแบ่งแยกอ านาจ ความเป็ นกฎหมายสู งสุ ดของรัฐธรรมนู ญ หลักประกันในการคุ ม้ ครองสิ ทธิ และเสรี ภาพ หลักไม่ มีความผิด ไม่ มี โทษโดยไม่ มี กฎหมาย และ ความเป็ นอิสระของผูพ้ ิพากษา สาหรับแนวคิดสิ ทธิ มนุ ษยชนปรากฏอยูใ่ นหมวดสิ ทธิ และเสรี ภาพ และค่อยๆ พัฒนาเป็ นลาดับมาจนถึงปั จจุบนั 2 สาหรับแนวคิดความเสมอภาคที่เสนอว่า “มนุ ษย์ทุกคนกาเนิ ดมาเท่าเทียมกัน” (All men are created equal) นั้น รัฐธรรมนูญของไทยได้นามาบัญญัติรับรองไว้ ซึ่ งปรากฏครั้งแรกในรัฐธรรมนู ญ แห่ งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มาตรา 12 โดยบัญ ญัติว่า “ภายในบัง คับแห่ งบทบั ญญัติใ น รั ฐธรรมนูญนี ้ บุคคลย่ อมเสมอกันในกฎหมายฐานันดรศักดิ์ โดยกาเนิ ดก็ดี โดยแต่ งตั้งก็ดี หรื อโดย ประการอื่ น ใดก็ดี ไม่ ก ระทาให้ เกิ ดเอกสิ ท ธิ์ อ ย่ างใดเลย” และรัฐ ธรรมนู ญ ฉบับต่ อ ๆ มาก็ ล ้ว นมี บทบัญญัติรับรองว่าบุคคลทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน กระทัง่ รัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักร
1
สมคิด เลิศไพฑูรย์, หลักความเสมอภาค, นิติศาสตร์ ปี ที่ 30 เล่ม 2 (มิถุนายน 2543), หน้า 164 – 167. 2 พิทูร พุ่มหิ รัญ, สิ ทธิ ผ้ ตู ้ องหาและจ าเลยในคดี อาญา, (รายงานวิจยั หลัก สู ตร “ผูบ้ ริ หารกระบวนการ ยุติธรรมระดับสูง(บยส.)” วิทยาลัยการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 2539), หน้า 9.
60
ไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 4บัญญัติว่า “ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ สิ ทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคของ บุคคลย่อมได้ รับความคุ้มครอง” และมาตรา 30 บัญญัติวา่ “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้ รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่ า เทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิ เท่ าเทียมกัน การเลือกปฏิ บัติโดยไม่ เป็ นธรรมต่ อบุคคลเพราะเหตุแห่ งความแตกต่ างใน เรื่ องถิ่นกาเนิ ด เชื ้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรื อสุ ขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกิ จหรื อสั งคม ความเชื่ อทางศาสนา การศึกษา อบรม หรื อความคิ ดเห็นทางการเมื องอันไม่ ขัดต่ อบทบัญญัติแห่ งรั ฐธรรมนูญ จะ กระทามิได้ ” ในทานองเดียวกัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 4 วรรคแรก บัญญัติ ว่า “ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ สิ ทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่ อมได้ รับความคุ้มครอง” และวรรคที่สองบัญญัติวา่ “ปวงชนชาวไทยย่ อมได้ รับความคุ้มครองตามรั ฐธรรมนูญเสมอกัน ” และ มาตรา 27 บัญญัติวา่ “บุ ค คลย่ อ มเสมอกั น ในกฎหมาย มี สิท ธิ แ ละเสรี ภ าพและได้ รั บ ความ คุ้มครองตามกฎหมายเท่ าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิ เท่ าเทียมกัน การเลือกปฏิ บัติโดยไม่ เป็ นธรรมต่ อบุคคล ไม่ ว่าด้ วยเหตุความแตกต่ างใน เรื่ องถิ่ นกาเนิ ด เชื ้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรื อ สุ ขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิ จหรื อสั งคมความเชื่ อทางศาสนา การศึกษา อบรม” จะเห็นว่า ความเสมอภาค เป็ นแนวความคิดที่ถูกนามาใช้ในทางกฎหมายมาเป็ นเวลานาน และ ได้บ ัญ ญัติ ไ ว้ใ นระบบกฎหมายแม่ บ ทของไทยอย่า งมั่น คงแล้ว ที่ ส าคัญ คื อ การบัญ ญัติ ไ ว้ใ น รัฐธรรมนูญ ย่อมหมายความว่า ความเสมอภาคระหว่างบุคคลเป็ นหัวใจของระบบกฎหมายทั้งปวง ซึ่ ง กฎหมายอื่นๆ จะขัดหรื อแย้งไม่ได้ ซึ่งหมายความรวมถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา และการจัดสรรประโยชน์ในทรัพยากรตามกฎหมายเกี่ยวป่ า 61
ไม้ (พ.ร.บ.อุทยานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504 , พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ. 2507 , พ.ร.บ.สงวนและ คุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535) ซึ่งเป็ นประเด็นหลักในงานวิจยั นี้ อย่างไรก็ตาม แม้ระบบกฎหมายของไทยจะได้บญั ญัติให้พลเมืองไทยทุกคนมีความเสมอภาค เท่าเทียมกัน หากแต่ยงั มีขอ้ ถกเถียงทางวิชาการที่เสนอว่า ความเสมอภาคเท่าเทียมกันยังไม่อาจเกิดขึ้น ได้จริ งในสังคมไทย เนื่องจากลักษณะโครงสร้างของสังคมไทย เป็ นโครงสร้างสังคมที่คนไม่มีความ เสมอภาคเท่าเทียมกัน แต่เป็ นสังคมที่มีลาดับชั้น คือ เป็ นสังคมมี แบบแผนความเชื่อ ว่า คนที่อยู่ใน สถานะที่สูงกว่า ดีกว่าคนที่อยูใ่ นสถานะต่ากว่า ทั้งด้านความรู ้และจิตวิญญาณจึงสมควรมีอภิสิทธิ์กว่า ซึ่ งความเชื่อเช่นนี้ ถูกตอกย้าว่าเป็ นเรื่ องที่ถูกต้องดีงามในสังคม ในขณะที่ความเสมอภาค กลายเป็ น เรื่ องที่ไม่สมควรหรื อไม่ถูกต้อง โดยสายชล สัตยานุรักษ์ ได้กล่าวถึงลักษณะโครงสร้างของสังคมไทยว่า “...ในสั งคมอื่ นๆ ที่ มีอารยะธรรมแล้ วจะเห็นว่ าความไม่ เสมอภาคเป็ นเรื่ องที่ ไม่ ถกู ต้ อง และเห็นความเสมอภาคเป็ นอุดมคติ อย่างน้ อยก็ต้องเสมอภาคกันในฐานะ ที่เป็ นมนุษย์เหมือนกัน แต่ ‚ความเป็ นไทย‛ หรื อวัฒนธรรมแห่ งชาติของไทย ซึ่ งเน้ น เรื่ อง ‚ที่ สูง-ที่ ตา่ ‛ หรื อ ‚ผู้ใหญ่ -ผู้น้อย‛ ได้ ทาให้ ‚ความไม่ เสมอภาค‛ กลายเป็ น เรื่ องที่ถกู ต้ องดีงามหรื อเป็ นเรื่ องธรรมชาติ และ ‚ความเสมอภาค‛ เป็ นเรื่ องที่ เป็ นไป ไม่ ได้ คนในวัฒนธรรมไทยจะเห็นว่ าคนใน ‚ที่ สูง‛ มี ความเหนื อกว่ าคนใน ‚ที่ ตา่ ” ในทุกด้ าน เช่ น มี อุดมคติ สามารถเข้ าถึงความจริ ง ความดี ความงามได้ มากกว่ า มี คุณธรรมสู งส่ งกว่ า มี ความสะอาดทางกายภาพและทางจิ ตใจมากกว่ า ฯลฯ ซึ่ งทาให้ สมควรที่จะเป็ นชนชั้นอภิสิทธิ์ และเป็ นผู้ปกครองส่ วนคนใน ‚ที ตา่ กว่ า‛ นั้น สมควร ที่จะพึ่งพาคนใน ‚ทีสูง ‛ และดารงชี วิตด้ วยความเจี ยมตัว พร้ อมกับทาหน้ าที่ ของตน ด้ ว ยความสามั ค คี แ ละเสี ยสละโดยไม่ ก้ า วก่ า ยหน้ า ที่ ข องชนชั้ น ปกครองและไม่ เรี ยกร้ องสิ ทธิ ใดๆ...”3 อีกทั้ง เสกสรร ประเสริ ฐกุล ก็ได้กล่าวว่าพลเมืองไทยทุกคนไม่ได้มีสิทธิ และเสรี ภาพที่เท่า เทียมกัน เนื่องจาก “ความเป็ นไทย” ถูกกาหนดด้วยเงื่อนไข คือ หนึ่ ง ต้องมีฐานะทางกฎหมายรองรับ (หมายถึงมีความเป็ นพลเมืองที่ถือสัญชาติไทย) สอง ต้องยอมรับฐานะที่เหนื อกว่าของอานาจรัฐและ ปรับตัวให้สอดคล้องกับระเบียบทางการเมืองและวัฒนธรรมที่รัฐกาหนด สาม ต้อ งดารงตนให้เป็ น 3
สายชล สัตยานุ รักษ์, ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขัดแย้ง, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 171 – 172.
62
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจตามนโยบายสร้างความทันสมัยในระบบทุนนิ ยม4 ดังนั้น พลเมืองไทยที่ไม่มี คุณสมบัติตามเงื่อนไขทั้งสามประการนี้ ก็จะถูกกีดกันออกจากพื้นที่ของสิ ทธิหรื อโอกาสที่จะเข้าถึง ประโยชน์ต่างๆ นอกจากนี้ โครงสร้างทางสังคมของไทยได้กาหนดแบ่งแยกคนออกเป็ นลาดับชั้นตามที่กล่าว ไว้ขา้ งบนนั้น ยังมี ส่วนสัม พันธ์กับกลุ่ มชาติพนั ธุ์ด้วย โดยธงชัย วินิจกุล มี กล่ าวว่า กระบวนทัศน์ “ชาติไทย” ไม่ เพียงจัดลาดับชั้นของคนเท่านั้น แต่ยงั ได้จดั ลาดับชั้นของชาติพนั ธุ์ด้วย โดยในสมัย สมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ ได้จดั แบ่งชนชั้นของชาติพนั ธุ์โดยอาศัยเกณฑ์ความเจริ ญ ที่จดั วางให้คนใน เมืองหลวงเป็ นชนชั้นที่สูงสุ ด สาหรับกลุ่มที่อยูใ่ นชนบทห่ างไกล เป็ นชนชั้นรองลงมา เรี ยกว่า “คน บ้านนอก” สาหรับกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ถูกจัดให้เป็ นชั้นต่าสุ ด เรี ยกว่า “คนป่ า”5 และในทานอง เดียวกัน สายชลก็มีความเห็นว่า “...แม้ ว่าความหมายของ ‚ชาติ ไ ทย‛ ที่ ไ ด้ รับการนิ ยามขึ ้นโดยปั ญญาชน กระแสหลักจะยอมรั บว่ ามีคนหลายชนชั้นและหลายชาติพนั ธุ์ แต่ ชนชั้นและชาติพันธุ์ ต่ างๆ หาได้ มีความเสมอภาคกันไม่ ชนชั้นเจ้ า ข้ าราชการ และชาติพันธุ์ไทยมี สถานะ เหนื อชนชั้นและชาติพันธุ์อื่นๆ ส่ วน ‚ความเป็ นไทย‛ หรื อวัฒนธรรมแห่ งชาติไทย นั้นมีมาตรฐานเดียวที่เกิ ดจากการสร้ างสรรค์ และการจรรโลงให้ เจริ ญรุ่ งเรื องโดยชน ชั้นสูงที่นาโดยพระมหากษัตริ ย์...”6 ดังนั้น แม้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงส่ วนใหญ่มีสัญชาติไทยแล้ว ทั้งรัฐธรรมนู ญของไทยจะ ได้บญั ญัติให้พลเมืองไทยทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน หากแต่การมีวิถีชีวิตที่ไม่สัมพันธ์กับ วัฒนธรรมแห่ งชาติ โดยเฉพาะภาษา ประเพณี การแต่งกาย รวมทั้งฐานะทางเศรษฐกิจโดยรวมก็ต่ า กว่าคนส่วนใหญ่ในสังคม กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงจึงเป็ นกลุ่มที่ถูกกีดกันสิทธิหรื อโอกาสที่จะได้รับ สิทธิมากที่สุด เนื่องจากส่วนใหญ่แล้วไม่สามารถยกระดับตนเองให้ข้ ึนมามีสถานะที่เท่าเทียมกับคน ส่วนใหญ่ในสังคมได้7 ซึ่งส่งผลให้ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ของผลประโยชน์ในทรัพยากรของรัฐ โดย ถูกผูม้ ีอานาจทาให้การใช้ที่ดินและทรัพยากรสาหรับการดารงชีวติ ปกติ กลายเป็ นอาชญากรรม 4
เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 64. 5 ธงชัย วินิจกุล, คนไทย คนอื่น, (กรุ งเทพฯ : ฟ้ าเดียวกัน, 2560), หน้า 51-54. 6 สายชล สัตยานุ รักษ์, ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขัดแย้ง, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 171 - 172 7 นิธิ เอี่ยวศรี วงศ์, ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม [ออนไลน์ล], ประชาไท, 28 ธันวาคม 2551, แหล่งที่มา
63
3.2 คดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ : กระบวนการทาให้ การใช้ ที่ดินและทรัพยากรกลายเป็ นอาชญากรรม ตามที่ได้กล่ าวมาข้างต้นว่า แม้รัฐธรรมนู ญของไทยได้สถาปนาหลัก “สิ ทธิ เสรี ภาพ และ ความเสมอภาค” ไว้อย่างมัน่ คงแล้ว แต่อิทธิพลของวัฒนธรรมไทยที่กาหนดให้สังคมไทยมีความไม่ เท่าเทีย มกัน ความเสมอภาคเท่ าเทียมกันจึงไม่ อ าจเกิ ด ขึ้นในสัง คมไทยได้จริ ง ปั ญหาการจัดสรร ประโยชน์ในทรัพยากรเป็ นกรณี ตวั อย่างที่ สะท้อ นความไม่ เ ท่าเที ยมกัน โดยระบบกฎหมายและ นโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ ออกแบบให้คนบางกลุ่ มได้เปรี ยบ ในขณะที่คนบางกลุ่ มถู กกี ดกันออกจาก พื้นที่ของสิทธิตามกฎหมาย กล่าวคือ ภายใต้ระบบกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ที่เหมือนจะมุ่ง อนุรักษ์พ้นื ที่ป่า มีมาตรการสงวนหวงห้ามอย่างเข้มงวด แต่กลับกาหนดช่องทางเข้าถึงผลประโยชน์ ในฐานทรัพ ยากรไว้ส าหรับ ชนชั้นนาและผูม้ ี อ านาจในสังคมไว้ใ นรู ป แบบการอนุ ญาต เช่ น การ อนุ ญาตให้ทาไม้8, การใช้พ้ืนที่ปลู กสร้างสวนป่ าเพื่อ ทาอุตสาหกรรมป่ าไม้9 , การทาเหมื อ งแร่ 10 ประกอบกับมี นโยบายของรัฐบาลให้การสนับสนุ น เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2506) , นโยบายป่ าไม้แห่ งชาติ พ.ศ. 2535 ซึ่ งแตกต่างจากกรณี การอยูอ่ าศัยและ ทาการเกษตรตามวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ไม่มีกฎหมายกาหนดแนวทางการอนุ ญาต เป็ นการเฉพาะ แม้จะปรากฏพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่ งชาติ มาตรา 16 จะบัญญัติว่า “อธิ บดีโดย อนุมัติรัฐมนตรี มีอานาจอนุญาตให้ บุคคลหนึ่งบุคคลใด เข้ าทาประโยชน์ หรื ออยู่อาศัยในเขตป่ าสงวน
https://prachatai.com/journal/2008/12/19495, (25 กรกฎาคม 2561). 8 มาตรา 15 การทาไม้หรื อการเก็บหาของป่ าในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติให้กระทาได้เมื่อได้รับใบอนุ ญาตจาก พนักงานเจ้าหน้าที่ หรื อเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ประกาศอนุ ญาตไว้เป็ นคราว ๆ ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติแห่ งหนึ่ ง แห่ งใดโดยเฉพาะ การอนุญาตให้เป็ นไปตามแบบ ระเบียบและวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง 9 มาตรา 20 ในกรณี ป่าสงวนแห่ งชาติแห่ งใดมีสภาพเสื่ อมโทรม ไม้มีค่าเหลืออยู่เป็ นส่ วนน้อย และป่ า สงวนแห่ งชาติน้ นั ไม่อาจกลับฟื้ นคืนดีได้เองตามธรรมชาติ อธิบดีโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี มีอานาจอนุญาตเป็ นหนังสื อให้ บุคคลใดทาการบารุ งป่ า หรื อปลูกสร้างสวนป่ าในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติน้ นั ได้ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่ กาหนดในหนังสื ออนุญาต 10 มาตรา อธิ บดีโดยอนุ มตั ิรัฐมนตรี มีอานาจอนุ ญาตให้บุคคลใดเข้าทาประโยชน์หรื ออยู่อาศัยในเขตป่ า สงวนแห่ งชาติได้เป็ นการชัว่ คราวภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่กาหนดในหนังสื ออนุญาต ถ้าการอนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติตามวรรคหนึ่ งเป็ นการอนุ ญาตแก่บุคคลผูไ้ ด้รับ อนุญาตให้ทาการใด ๆ เกี่ยวกับการทาเหมืองแร่ ตามกฎหมายว่าด้วยการทาเหมืองแร่ หรื อให้ขุดดินขาวหรื อทาการ ระเบิดและย่อยหิ นตามประมวลกฎหมายที่ดิน ให้ผรู้ ับอนุญาตนั้นได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งขอรับใบอนุ ญาตเก็บหาของป่ า และไม่ตอ้ งเสี ยค่าภาคหลวงของป่ าตามพระราชบัญญัติน้ ี สาหรับแร่ ดินขาวหรื อหิ นแล้วแต่กรณี
64
แห่ งชาติได้ ...” แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วกลับไม่มีการออกระเบียบ คาสั่งหรื อแนวทางปฏิบตั ิสาหรับให้ ประชาชนโดยทัว่ ไปใช้สิทธิตามมาตรานี้ ซึ่งส่งผลให้บุคคลทัว่ ไปไม่สามารถขออนุญาตได้จริ ง ปั ญหาที่รัฐเลือกปฏิบตั ิต่อกลุ่มคนดังกล่าวนี้ ทาให้คนชายขอบในประเทศไทยตกอยูใ่ นฐานะ ครอบครองที่ดินทาประโยชน์โดยไม่มีเอกสารสิ ทธิ์ หรื อไม่ได้รับอนุ ญาตตามกฎหมายจานวนมาก โดยในภาพรวมนั้น จากตัวเลขประชาชนที่ลงทะเบียนคนจนตั้งแต่ปี 2547 พบว่ากรณี ปัญหาที่ดินทา กินมีกว่า 4.8 ล้านครอบครัว จาแนกเป็ นไม่มีที่ดินเป็ นของตัวเองจานวน 2 ล้านครอบครัว มีที่ดินทา กินไม่ เพียงพอ 1.6 ล้านครอบครัว และมีที่ดินแต่ไม่ มีเอกสารสิ ทธิ์ เพราะอยูใ่ นเขตที่ดินรัฐ 1.2 ล้าน ครอบครัว11 และจากรายงานของคณะกรรมาธิ การวิสามัญพิจารณาแก้ไ ขปั ญ หาที่ดิ นทากิ น สภา ผูแ้ ทนราษฎร พบว่า ในปี พ.ศ. 2553 มีประชาชนจานวนมากอยูอ่ าศัยและทาประโยชน์ในเขตที่ดิน สงวนหวงห้ามของรัฐประเภทต่างๆ จานวน 635,916 ราย เนื้ อที่ประมาณ 11.6 ล้านไร่ แบ่งเป็ นในเขต ป่ าสงวนแห่งชาติจานวน 450,000 ราย เนื้อที่ประมาณ 9.4 ล้านไร่ ในเขตป่ าอนุ รักษ์ (อุทยานแห่ งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า วนอุทยาน เขตห้ามล่าสัตว์ป่า) จานวน 185,916 ราย เนื้ อที่ 2,243,943 ไร่ 12 และ ในปี พ.ศ. 2557 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) พบว่ามีคนที่ครอบครองที่ดินใน เขตป่ ากว่า 8 แสนราย เนื้อที่กว่า 8.6 ล้านไร่ โดยเป็ นชาวไทยพื้นที่สูง 80%13 ปรากฏการณ์ ที่ ก ลุ่ มชาติ พนั ธุ์บ นพื้น ที่ สูง ตกอยู่ใ นสภาพไร้ สิ ทธิ ใ นที่ดิ น และทรั พยากร ดังกล่าวนี้ เป็ นผลจาก การที่รัฐและผูม้ ีอานาจทาให้การใช้ที่ดินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่ สูง กลายเป็ นอาชญากรรม ผ่านการประกอบสร้ างองค์ค วามรู ้ วาทะกรรม และการบัญญัติ กฎหมายและนโยบาย ที่ต้ งั อยู่บนพื้น ฐานความความไม่ เ ท่ าเทีย มกัน เชิ งโครงสร้ าง ท าให้ระบบ กฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ ถูกใช้เป็ นเครื่ องมือในการแบ่งผลประโยชน์ในทรัพยากรป่ าไม้ และที่ดิน ระหว่างผูม้ ี อ านาจและนายทุน ในขณะที่กีดกันกลุ่ มคนชายขอบผูท้ ี่ไร้ซ่ ึ งอ านาจต่อ รอง โดยเฉพาะกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงออกไป จนกลายสถานะจากเจ้า ของที่ดินและทรัพยากรเป็ น อาชญากร ซึ่งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นตามมา คือ ผลกระทบต่อการดาเนิ นชีวิต เศรษฐกิจและสังคม ต่อกลุ่มคน 11
ข้อมูลควรรู้ : คนไทย 90% มีที่ดินไม่ถึง 1 ไร่ ต่อคน, ประชาไทย, วันที่ 20 พฤศจิกายน 2552, https://prachatai.com/journal/2005/11/6438. (16 มีนาคม 2561) 12 ศยามล ไกรยูรวงศ์, “ร่ างกฎหมายสิ ทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและทรัพยากร : ลดความเหลื่อมล้ าสร้าง ความเป็ นธรรม” [ระบบออนไลน์], คณะกรรมการปฏิ รูปกฎหมาย, แหล่งที่มา http://www.lrct.go.th/th/?p=17044 , (22 กรกฎาคม 2560) 13 “‘บิ๊กตู่’ เผยสถิติรุกป่ าต้นน้ า ชาวไทยพื้นที่สูงบุก รุ กมากสุ ด-นายทุนทุกที่ 10%‛, [ระบบออนไลน์ ], ประชาชาติ ธุ ร กิ จ ออนไลน์ , แหล่ งที่ มา https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1436522350, (15 มีนาคม 2561).
65
ที่อยูอ่ าศัยและทากินในพื้นที่ที่กาหนดให้เป็ นเขตป่ าโดยเฉพาะกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่สาคัญคือ ทาให้ถูกตรวจยึดหรื อจับกุมดาเนินคดีจานวนมาก ในลาดับต่อไปนี้ ผูว้ จิ ยั จะกล่าวถึงความเป็ นมา ปั จจัยบางประการ และลักษณะของกฎหมาย และนโยบายเกี่ ยวกับป่ าไม้โดยสังเขป เพื่อวิเคราะห์ให้เห็นถึ งฐานคิดและกระบวนการที่รัฐและผูม้ ี อ านาจ ใช้ท าให้การใช้ทรัพยากรของคนชายขอบโดยเฉพาะกลุ่ ม ชาติพ นั ธุ์บนพื้นที่สู ง กลายเป็ น อาชญากรรม รวมทั้งแนวความคิดหรื อ องค์ความรู ้ที่ถู กผลิ ตขึ้นมานั้น รองรับระเบียบการจัดสรร ทรัพยากรของผูม้ ีอานาจเหล่านั้น ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากในการใช้อานาจของหน่ วยงานหรื อเจ้าหน้าที่ ในระดับปฏิบตั ิ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.2.1 บริบทการใช้ ที่ดินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูง เมื่อพิจารณาข้อมูลโดยทัว่ ไปของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงในประเทศไทย กลุ่มคนเหล่านี้ แต่ ละกลุ่ม แต่ละพื้นที่เข้ามาและตั้งถิ่นฐานอยูอ่ าศัยบนพื้นที่สูงในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน โดยมีสองกลุ่ม ใหญ่ๆ คือ กลุ่มแรก เป็ นชนชาติในตระกูล มอญ-เขมร ได้อาศัยอยูก่ ่อนแล้วเมื่อราวประมาณ 2,000 ปี ล่วงมา และเป็ นช่วงเวลาก่อนที่ที่ชนชาติไทยจะมาอาศัยอยูแ่ ผ่นดินไทยนี้ ต่อมาเมื่อชนชาติไทยน้อย ไทยใหญ่อพยพเข้ามา และได้กลืนชาติและบีบขับให้ถอยร่ นออกไปทางตะวันออกเฉี ยงใต้ ในขณะที่ บางส่ วนถูกบีบให้ถอยเข้าไปอยูใ่ นเขตป่ าภูเขา ซึ่ งกลุ่มคนที่หนี ไปอยูต่ ามป่ าเขา คือ บรรพบุรุษของ ละว้า ขมุ ถิ่น มลาบรี 14 กลุ่มที่สองคือ คนในตระกุล ธิเบต – พม่า และจีนเดิม ประกอบไปด้วยชนเผ่า อาข่า ลีซู ลาหู่ และกะเหรี่ ยง สาหรับคนในตระกูลจีนเดิม (Main Chinese) ได้แก่มง้ เมี่ยนและจีฮ่อ คน กลุ่มนี้อพยพมาจากจีนและลาวเข้ามาอยูอ่ าศัยในตามเขตสูงในภาคเหนือของประเทศไทย15 ในช่ วงก่ อ นการเกิ ดขึ้นของรัฐสมัยใหม่ (Modern nation - state) ภูมิภาคเอเชี ยอาคเนย์ ประกอบด้วยกลุ่ มชาติพนั ธุ์ที่หลากหลาย ซึ่ งต่างอพยพเข้ามาในช่วงระยะเวลาที่แตกต่าง และด้วย เหตุ ผลที่ หลากหลาย เช่ น ถู ก กวาดต้อ นเป็ นเชลยศึ ก หลบหนี ก ารถู กเข่ นฆ่ า และกวาดต้อ น การ แสวงหาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีกว่า รัฐต่างๆ มี ลกั ษณะเป็ นรัฐจารี ต หรื อ อาณาจัก รต่างๆ ต่อ มาในยุคล่ าอาณานิ คมได้ก่อ เกิ ดรัฐชาติสมัยใหม่ ใ นภูมิ ภาคเอเชี ยอาคเนย์ กลายเป็ นประเทศต่างๆ อย่างที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั อันเป็ นผลพวงจากการล่าอาณานิ คมแล้วจัดสรร ผลประโยชน์กนั ของประเทศเจ้าอาณานิ คม โดยใช้เทคโนโลยีการจัดทาแผนที่แบ่งเขตแดนประเทศ
14 15
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, ชาวเขา, (กรุ งเทพฯ : แพร่ พิทยา, 2538), หน้า 6. เรื่ องเดียวกัน, หน้า 9.
66
ประกอบกับการใช้กฎหมายตามหลักสากล เพือ่ คุม้ ครองผลประโยชน์ของรัฐชาติสมัยใหม่และคนใน บังคับ16 สาหรับการดารงอยูข่ องกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงนั้น มีหลักฐานที่แสดงว่ามีการพบกลุ่มคนที่ อาศัยอยูบ่ นพืน้ ที่เขตภูเขาสูง คือ บันทึกและงานเขียนชาติพนั ธุว์ รรณนาของชนชั้นปกครอง ทั้งบันทึก ส่ วนตัว งานเขียนสาหรับเผยแพร่ หรื อรายงานในการปฏิบตั ิหน้าที่ ตั้งแต่สมัยรัชการที่ 5 นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2420 เป็ นต้นมา 17 โดยชนชั้นนาสมัยนั้นเรี ยกคนเหล่ านี้ ว่า “คนป่ า” ซึ่ งบันทึกและงานเขียน เหล่ านั้นเป็ นการยอมรับโดยตัวของมันเอง หรื อ โดยตัวผูเ้ ขียนได้บนั ทึกเอาไว้ว่า กลุ่ มคนที่พบเห็ น เหล่านั้นได้อาศัยอยูม่ านานแล้วหรื ออย่างที่สุดก็ก่อนที่พวกเขาจะเข้าไปพบ18 ซึ่งธงชัย วินิจกุล ได้อธิบายว่า ชนชั้นนาสยามได้รู้มาก่อนแล้วว่ามีกลุ่มชาติพนั ธ์อาศัยอยูบ่ น พื้นที่สูงในภาคเหนื อ โดยชนชั้นนาและผูป้ กครองสมัยนั้นเรี ยกว่า “ชาวบ้านป่ า” โดยอ้างบันทึกของ ขุนประชากิจบดี (พระยาประชากิจกรจักร) เมื่อปี พ.ศ. 2428 ที่ได้บรรยายว่าคือกลุ่ม “คนป่ า” ที่อ ยู่ อาศัย บริ เ วณชายแดนเหนื อ สุ ด ของประเทศสยาม พบว่า มี ห ลากหลายกลุ่ ม ทั้ง ละว้า (ลั๊ว ะ) ยาง (กะเหรี่ ยง) ขมุ อาข่า ม้ง (ข่าแม้ว) ผีป่า (มลาบรี ) โดยได้บรรยายลักษณะภายนอกที่พบเห็นว่ามีความ แปลกประหลาด เช่น ขมุป่า จะไว้ผมแปลกๆ และมีภาษาพูดคล้ายลาว แม้ว อีกอ้ ดูคล้ายๆ ชาวจีนยูน นาน มูเซอบูชาผีและสกปรก นอกจากนี้ ยงั พบในงานเขียนของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตี ที่บนั ทึกว่า ชาวป่ าเหล่ านี้ มี ผมยาวดกดา ริ มปากหนา อารมโกรธ บางพวกชอบล่ าสัตว์และสามารถวิ่งได้เร็ ว เหมือนหมา ชอบอยูต่ ามป่ าเขาและย้ายครอบครัวไปเรื่ อยๆ19 เป็ นต้น มีการสารวจจานวนประชากรกลุ่ ม ชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงในประเทศไทยอย่างเป็ นทางการ หลายครั้ง ในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน พบว่า จากการสารวจของคณะสารวจสหประชาชาติ โดย คณะอนุ กรรมการเตรี ยมการสารวจความต้อ งการทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรชาวเขาใน บริ เวณภาคเหนือของประเทศไทย ได้ทาการสารวจระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2509 โดยสารวจทั้งหมด 7
16
ประสิ ทธิ์ ลีปรี ชา, กลุ่มชาติพนั ธุ์มง้ ในบริ บทรัฐชาติสมัยใหม่, ถวิล เปลี่ยนศรี และ สุ ภางค์ จันทวานิ ช (บรรณาธิการ), ม้งลาวในประเทศไทย : นโยบายและการดาเนินการของภาครั ฐไทย (2518-2552), หน้า 1-7. 17 พิพฒั น์ กระแจะจันทร์ , จาก ‚ชาวป่ า‛ สู่ ‚ชาวเขา‛ : 100 ปี กับการสร้างภาพลักษณ์ ‚ชาวเขา‛ ใน สังคมไทย, ใน การประชุมทางวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา ครั้ งที่ 2, (กรุ งเทพฯ), หน้า 152. 18 ธงชัย วินิจกุล, คนไทย คนอื่น, (กรุ งเทพฯ : ฟ้ าเดียวกัน, 2560), หน้า 26. 19 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 18-22.
67
เผ่า ประกอบด้วย ม้ง เมี่ยน ลาหู่ ลีซุ อาข่า กะเหรี่ ยง และฮ่อ พบว่ามีประมาณ 275,249 คน20 ต่อมา โครงการสารวจประชากร “ชาวเขา” ได้ทาการสารวจในพื้นที่ 21 จังหวัด จานวน 9 เผ่า ประกอบด้วย กะเหรี่ ยง ม้ง ลาหู่ เมี่ ยน อาข่า ลีซู ถิ่น ลัวะ ขมุ เมื่อ ระหว่างปี พ.ศ. 2528 – 2531 พบว่ามี จานวน ประชากร “ชาวเขา” ประมาณ 579,239 คน21 และการสารวจอย่างเป็ นทางการครั้งสุ ดท้ายในปี พ.ศ. 2545 มีประชากรกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเพิ่มมากขึ้นเป็ น 1,203,149 คน22 นับแต่หลังปี พ.ศ. 2545 ไม่มีการสารวจจานวนประชากรอย่างเป็ นทางการอีก ทาให้ไม่สามารถทราบจานวนที่แท้จริ งได้ กลุ่ ม ชาติพ นั ธุ์บนพื้น ที่สูง ส่ ว นใหญ่ มี อ าชี พเกษตรกรรมเป็ นหลัก และยัง คงอาศัย การใช้ ทรัพยากรจากป่ าโดยเฉพาะการนาไม้มาใช้สร้างบ้านอยูอ่ าศัย ซึ่ งการใช้ที่ดินและทรัพยากรของแต่ละ ท้องถิ่น มีความเชื่อมโยงกับประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่น สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม รวมทั้งการจัด ความสัมพันธ์กบั เจ้าหน้าที่รัฐ สาหรับสาเหตุที่กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเลือกที่จะตั้งถิ่นฐานตามเขต ภูเขาสูงนั้น เนื่องจากเหตุผลเรื่ องความเชื่อ และวิธีการเพาะปลูกแบบไร่ หมุนเวียน รวมทั้งการหาพื้นที่ ที่เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก สาหรับเหตุผลในการเลือกถิ่นฐานของกลุ่มชาติพนั ธุม์ ง้ และกะเหรี่ ยง ซึ่งเป็ นกลุ่มเป้ าหมายใน งานวิจยั นี้ คือ ชาวม้งเลือกตั้งชุมชนบนพื้นที่สูง ด้วยเหตุผลสองประการ คือ ประการแรก เดิมทีน้ ัน เลือกพื้นที่ที่สภาพธรรมชาติเหมาะแก่การปลูกฝิ่ น ซึ่ งการปลูกฝิ่ นของชาวม้งได้รับอิทธิพลจาการล่า อาณานิ คม ซึ่ งในช่วงเวลานั้นมีเพียงฝิ่ นเท่านั้น ที่เป็ นผลผลิตทางการเกษตรที่สามารถเป็ นเงินสดได้ ประการที่สอง คือ มีโรคระบาดรุ นแรงหลายอย่างที่เป็ นอุปสรรคต่อการดารงชีวิต เช่น ไข้ทรพิษ ไข้ มาลาเรี ย โรคเรื้ อ น ซึ่ งคนม้งในสมัยก่ อ นมี ความเชื่ อ ว่า ถู กผีทุ่งนาและผีแอ่ งน้ ากระทา เป็ นต้น23 สาหรับชาวกะเหรี่ ยงนิ ยมตั้งถิ่นฐานอยูต่ ามเขตในป่ าบนพื้นที่สูง มีสาเหตุสาคัญสองประการเช่นกัน คือ ประการแรก เป็ นความเชื่อของชาวกะเหรี่ ยง ดังคากล่าวที่ว่า ‚ที่ไหนมีป่าที่นั่นมีกะเหรี่ ยง‛ และที่ ไหนมีกะเหรี่ ยงที่นนั่ มีป่า” เพราะคนกะเหรี่ ยงถือว่าป่ าเป็ นพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ที่กะเหรี่ ยงต้องเคารพบูชา และเซ่นไหว้ ดังจะเห็นได้วา่ คนกะเหรี่ ยงมีพีกรรมและความเชื่อต่างๆ มากมายเกี่ยวกับป่ า ประการที่
20
คณะสารวจสหประชาชาติ, รายงานการสารวจความต้ องการทางเศรษฐกิจและสั งคมในอาณาบริ เวณที่ ปลูกฝิ่ นของประเทศไทย, (พระนคร : สานักทาเนียบนายกรัฐมนตรี , 2511), หน้า 11-13. 21 ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, ชาวเขา, (กรุ งเทพ : แพร่ พิทยา, 2538). หน้า 11-12. 22 กรมประชาสงเคราะห์ 23 ประสิ ทธิ์ ลีปรี ชา, ม้งดอยปุย การค้า อัตลักษณ์กบั ความเป็ นชุมชนชาติพนั ธุ์, ใน อานาจ พืน้ ที่และอั ต ลักษณ์ ทางชาติพันธุ์ : การเมืองวัฒนธรรมของรั ฐชาติในสังคมไทยภาคเหนือ, (กรุ งเทพฯ, 2549).
68
สองคือ ตั้งแต่ด้ งั เดิมคนกะเหรี่ ยงดารงชีพด้วยการเกษตร โดยการทาไร่ หมุนเวียน เป็ นวิถีการดารงชีวิต ที่สอดคล้องกับระบบนิเวศของธรรมชาติ24 เมื่ อ หัน มาพิจ ารณาข้อ มู ลระดับปั จเจก ที่เป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง จากเรื่ อ งเล่ าของ กรณี ศึกษาในงานวิจยั นี้ พบว่าการใช้ที่ดินและทรัพยากร มีความสัมพันธ์กบั ประวัติศาสตร์ทอ้ งถิ่ น วัฒนธรรม ความเชื่อ และแนวทางปฏิบตั ิในการใช้ที่ดินและทรัพยากรทัว่ ไปในท้องถิ่น ซึ่ งทาให้พวก เขาเชื่อว่าสิ่งที่ทาไม่วา่ จะเป็ นการใช้ที่ดินทากินหรื อการใช้ไม้สร้างบ้านนั้นไม่ผิด เนื่ องจากพวกเขาอยู่ ในพื้นที่น้ นั มานาน และเป็ นการใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน ที่สาคัญคือพวกเขาเชื่อว่าไม่ได้ละเมิด ต่อวัฒนธรรมหรื อระเบียบปฏิบตั ิทวั่ ไปในท้องถิ่น กล่าวคือ กรณีการนาไม้ มาสร้ างบ้ านอยู่อาศัย ในสายตาของชาวบ้านท้องถิ่น พวกเขาเชื่อว่าตราบใดที่เป็ นการทาเพื่อดารงชีวิตอยู่ เป็ นสิ่ งที่ สามารถทาได้ โดยมีความคิดตรงไปตรงมาว่า คนเราทุกคนเกิดมาต้องมีบา้ นอยู่ เว้นแต่การทาไม้เพื่อ ขายให้แก่บุคคลภายนอกหรื อขายให้แก่นายทุนจึงถือว่าสิ่งที่ผดิ ดังนั้น โดยปกติแล้วคนในท้องถิ่นของ เขาก็นาไม้มาสร้างบ้านเป็ นเรื่ องปกติ ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้วเจ้าหน้าที่ป่าไม้ในพื้นที่ก็รับรู ้ แต่ปกติก็ไม่ไป จับใคร ในการสร้างบ้าน ส่วนใหญ่ชาวบ้านที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ไม่นิยมเก็บเงินเป็ นก้อน เพือ่ จะสร้างบ้านในคราวเดียว ดังนั้น คนส่ วนใหญ่จึงทยอยเก็บสะสมไม้ไว้ บางคนก็ไปตัดหรื อเลื่อย มาเอง บางคนก็ซ้ือจากคนอื่นมา ในกรณี ของพ่อประเสริ ฐ บ้านหลังที่อยูอ่ าศัยนั้น ได้เก็บสะสมไม้ไว้ เป็ นเวลานาน โดยทยอยเจียดเงินมาซื้อไม้มาจากคนในชุมชนมาสะสมไว้ พ่อประเสริ ฐเล่าว่า “หลังจากแต่ งงานได้ ไม่ นานพ่ อประเสริ ฐได้ ย้ายไปสร้ างบ้ าน โดยทยอยซื ้อไม้ สักแปรรูปจากชาวบ้ านมาสร้ างเป็ นบ้ าน ต่ อมาประมาณ 7 – 8 ปี ก็ได้ ย้ายกลับมาอยู่ที่ หมู่บ้านป่ าหมาก โดยรื ้ อไม้ จากบ้ านหลังเก่ าแล้ วขนมาสร้ างใหม่ อยู่ใกล้ กับบ้ านของ พ่ อแม่ เป็ นบ้ า นไม้ สองชั้ นยกพื ้นสู ง ใต้ ถุน บ้ านปล่ อ ยโล่ ง หลังจากนั้น ก็ อ าศัยอยู่ เรื่ อยมา นับตัง้ แต่ สร้ างบ้ านหลังที่อยู่ปัจจุบันก็ประมาณ 30 ปี แล้ ว” สาหรับไม้ของกลางส่วนที่ถูกดาเนินคดีน้ นั ได้ซ้ือมาเตรี ยมสาหรับใช้ต่อเติมชั้นล่างบ้านหลัง ที่อาศัยอยู่ เพือ่ ให้ลูกสาวและครอบครัวได้มีที่อยูอ่ าศัย โดยเล่าว่า 24
มาลี สิ ทธิ เกรี ยงไกร, แนวนโยบายและหลักปฏิ บัติในการฟื ้ นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ ยง, (กรุ งเทพฯ : โรง พิมพ์แห่ งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554), หน้า 6.
69
“ลูกสาวที่ทางานอยู่ในตัวเมืองเชี ยงใหม่ จะกลับมาทาพิธีแต่ งงานที่ บ้าน เห็น ว่ าบ้ านหลังเดิมเล็กและคับแคบ จึงได้ ส่งเงิ นมาให้ พ่อประเสริ ฐทยอยซื ้อไม้ ไว้ เพื่อ ต่ อเติ มใต้ ถุนบ้ านให้ กว้ างขึ ้น ตนจึ งได้ ทยอยซื ้อ ไม้ แปรรู ปมาเก็บไว้ โดยนามาตี ตะปูล้อมรอบห้ องครั ว ตั้งใจว่ าเมื่ อ ได้ ไ ม้ พอแล้ วก็จะทาการต่ อเติมใต้ ถุนบ้ านให้ แล้ วเสร็จให้ ทันกาหนดพิธีแต่ งงานของลูกสาว” ซึ่งพ่อประเสริ ฐเชื่อว่าการเก็บสะสมไม้ไว้ใช้สร้างบ้านอยูอ่ าศัยนั้นเป็ นสิ่ งที่ตนทานั้นไม่เป็ น ความผิด เพราะชาวบ้านทั้งหมดในอาเภอต่างก็ทาอย่างนี้ กนั เป็ นการทาเพื่อดารงชีวิตปกติของคนใน ท้องถิ่น ซึ่งพ่อประเสริ ฐก็เชื่อว่าถ้าทาไม้เพือ่ ขายออกไปนอกชุมชนจึงจะถือว่าเป็ นความผิด สาหรับกรณี ของป้ าพอดี ถูกดาเนิ นคดีในช่ วงที่กาลังสร้างบ้าน คือ เจ้าหน้าที่เห็ นชัดเจนว่า กาลังสร้างบ้านจริ ง โดยตอนถูกจับกุม ช่างได้ลงมือสร้างไปกว่าครึ่ งทางแล้ว มี อุปกรณ์เครื่ องมือและ ไม้ของกลางวางอยูข่ า้ งๆ บ้านหลังที่กาลังสร้าง ซึ่งป้ าพอดียนื ยันว่าไม้ของกลางเป็ นไม้เก่าที่ร้ื อมาจาก บ้านหลังเก่าที่สร้างเมื่อสามสิบปี ที่แล้ว โดยเล่าว่า “ตอนสร้ างบ้ านหลังเดิมนั้น ต้ องย้ อนหลังไปประมาณสามสิ บกว่ าปี ที่ แล้ ว สามีของป้ าพอดีเป็ นคนหาไม้ มาสร้ าง โดยตัดไม้ สักท่ อนใหญ่ หน่ อยมาทาเป็ นเสา บ้ าน แล้ วซื ้อไม้ ที่เลื่อยแล้ วมาประกอบ ตอนแรกก็มุงด้ วยใบตองตึงและใช้ ไม้ ฟาก มาปูพืน้ และล้ อมเป็ นฝาผนัง ต่ อมาจึงได้ เปลี่ยนมามุงกระเบื ้อง และทยอยหาซื ้อไม้ แผ่ นมาปูพืน้ และล้ อมเป็ นฝาผนัง และต่ อมาเมื่อปี พ.ศ. 2550 สามีของป้ าพอดีได้ ไป ยื่นคาร้ องขอทะเบี ยนบ้ านต่ ออาเภอสบเมย นอกจากนี ้เมื่ อปี พ.ศ. 2556 เจ้ าหน้ าที่ อุทยานแห่ งชาติแม่ เงาร่ วมกับองค์ การบริ หารส่ วนตาบล และชาวบ้ าน ได้ ร่วมกัน จัดทาแนวเขตกันพืน้ ที่อยู่อาศัยและที่ดินทากินของหมู่บ้าน แยกออกจากแนวเขตป่ า แล้ ว ทาให้ ป้าพอดีและครอบครั วเชื่ อมีสิทธิ จนกระทั่งเมื่อประมาณหนึ่งปี ก่ อนเกิ ดเรื่ อง ลูกสาวของป้ าพอดีได้ ก้ ูเงิ นจาก สหกรณ์ ครูจานวนหนึ่งมาสร้ างบ้ าน โดยได้ จ้างช่ างสร้ างบ้ านมารื ้ อไม้ จากบ้ านหลัง เก่ ามาไส และเอาพวกไม้ เสาบ้ านที่ เป็ นท่ อ นๆ มาซอยให้ เป็ นแผ่ นๆ เพื่ อใช้ สร้ าง หลั ง ใหม่ ติ ด กั บ บ้ า นที่ ดิ น หลั ง เดิ ม ซึ่ ง ไม้ สั ก เป็ นไม้ ที่ ค งทน แม้ ว่ า จะผ่ า นไป ประมาณ 30 ปี แล้ ว แต่ เมื่ อไสใหม่ หรื อ แปรรู ปใหม่ แล้ วก็ยังดูมีสภาพเหมื อนไม้ ใหม่ ”
70
สาหรับกรณี ของลุงทิศนั้น ได้ข้ นึ โครงบ้านไว้และมุงหลังคาแล้ว แต่เนื่ องจากเงินค่าใช้จ่ายยัง ไม่พอจึงเอาไว้มาวางกองไว้ในบ้านรอให้ลูกส่ งเงินมาก่อน ซึ่ งลุงทิศเล่าว่า “ตอนที่ เจ้ าหน้ าที่ เข้ ามาที่ บ้ า นของตนนั้น เป็ นช่ ว งที่ ต นก าลัง สร้ างโรงครั ว ที่ ห น้ า บ้ าน โดยได้ ขึ้น โครงมุ ง หลัง คาแล้ ว แต่ เนื่องจากยังไม่ มีเงินสร้ าง จึงนาไม้ แผ่ นที่หามาได้ มาตีแปะเป็ นฝาผนังไว้ ชั่วคราว” ซึ่งลุงทิศเชื่อว่าการเอาไม้มาสร้างบ้านนั้นแม้กฎหมายจะบอกว่าผิด แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วเป็ น ที่รู้กนั ว่าคนในพื้นที่ก็สามารถเอาไม้มาใช้สร้างบ้านได้ แต่ถา้ ทาไม้ขายออกไปข้างนอกชุมชนนั้นห้าม ทา ลุงทิศเล่าว่า “โดยปกติ แล้ วชาวบ้ านไม่ มีเงิ นเป็ นก้ อ นสาหรั บสร้ างบ้ านครั้ งเดี ยวเสร็ จ พวกเขาจึงอาศัยการทยอยเก็บสะสมไม้ ไว้ ที ละเล็กที ละน้ อย โดยหาซื ้อเอาหรื อไป ชัดลากไม้ ตามหัวไร่ ปลายนามาเก็บหรื อทยอยสร้ างไปทีละเล็กทีละน้ อย เมื่ อได้ ไม้ มากพอแล้ วก็จ้างช่ างมาสร้ าง หากใครยังไม่ มีเงิ นพอก็อยู่แบบชั่วคราวไปก่ อน โดย ลุงทิศยังได้บอกอีกว่าการไปเอาไม้มานั้นต้องใช้ความระมัดระวัง ตนเคยพูดคุยกับ เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ที่ร้ ูจักกัน เขาบอกว่ าเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ก็ร้ ู ดีและเข้ าใจดีว่าคนเราต้ องมี บ้ านอยู่ แต่ เนื่ องจากมันผิ ดกฎหมาย ดังนั้น เวลาไปเอาไม้ มาสร้ างบ้ านให้ ไ ปเอา ไกลๆ หน่ อย ให้ ลบั หูลบั ตาหน่ อย และอย่ าเอามาครั้ งละมากๆ ให้ เอามาเพียงเท่ าที่ จาเป็ นและทยอยเอามาทีละนิด” สาหรับกรณีการใช้ ที่ดินทากิน ชาวบ้านเชื่อว่าถ้าเป็ นที่ทากินเดิมแล้ว เขามีสิทธิและสามารถ ไปแผ้วถางทากิ นได้ ซึ่ งมี บางชุ มชนที่เป็ นชุ มชนเก่ าแก่ ที่ชาวบ้านอยูอ่ าศัยและทากิ นมาก่อ นที่ทาง ราชการจะประกาศให้เป็ นเขตป่ า เช่น บ้านแม่อมกิ บ้านจอปร่ าคี ในขณะที่บางชุมชนทางราชการได้ จัดสรรที่ดินให้อย่างไม่เป็ นทางการ ทาให้ชาวบ้านเชื่อว่าเขาสามารถทาได้ โดยที่ดินเหล่านั้นถูกใช้เพื่อ การเพาะปลูกสาหรับเลี้ยงชีพเท่านั้น กรณี ของหน่อดานั้น หน่อดารับรู ้ว่าเป็ นหมู่บา้ นที่ได้ก่อตั้งมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยปู่ ย่าตายาย ซึ่ งหน่ อดาเชื่อว่าตนมีสิทธิทาไร่ ที่นั่นได้ เพราะหมู่บา้ นแม่ อมกิต้ งั อยู่ที่นั่นมาตั้งแต่ก่อนที่ตนจะเกิ ด พ่อแม่และปู่ ย่าตายายของตนอยูอ่ าศัยและทากินที่นนั่ มาโดยตลอด สาหรับที่ดินทากินแปลงที่ถูกจับกุมดาเนินคดีน้ นั ปรากฏตามคาให้การในชั้นศาลของหน่ อดา ซึ่ งสรุ ปใจความได้ว่า “ตนเองเกิ ดและเติ บโตที่ ห มู่บ้านแม่ อ มกิ พ่ อ แม่ ปู่ ย่ า ตายาย ได้ เสี ยชี วิตไป หมดแล้ ว มีบุตรจานวน 5 คน มีอาชี พทาไร่ อย่ างเดียว โดยมี ที่ดินทั้งหมด 3 แปลง เป็ นที่ ดินที่ ตกทอด มาจากบิดามารดา” 71
อี กทั้ง ในบริ เวณพื้นที่ใกล้เ คียงกันมี ที่ ดินทากิ น ของชาวบ้านคนอื่ นๆ อี ก 7-8 คน อี กทั้ง “ตนเองไม่ เคยทราบว่ าที่ พิพาทเป็ นเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ และไม่ เข้ าใจว่ าป่ าสงวนแห่ งชาติคืออะไร ตนเองทาไร่ เพื่อเลีย้ งปากท้ อง หากข้ าวไม่ พอกินก็จะนาพริ กและผักไปขาย เพื่อนาเงินไปซื ้อข้ าว” สาหรับกรณี ของจอดา เป็ นพื้นที่ทากินแบบไร่ หมุนเวียนของชาวบ้านที่ถูกปล่อยไว้หลายปี ซึ่งจอดาและชาวบ้านเชื่อว่าที่นนั่ เป็ นที่ดินทากินไม่ใช่พ้นื ที่ป่า โดยจอดาเล่าว่า “เดิมทีนั้นบิดามารดาของตนเคยเคยตั้งชุมชนอยู่อาศัยใกล้ ที่ดินแปลงพิพาท และทากินในที่ดินแปลงพิพาทด้ วย หลังจากย้ ายชุมชนขึน้ มาอาศัยอยู่ที่หมู่บ้านจอ ปร่ าคี โดยพืน้ ที่พิพาทยังถูกใช้ เป็ นไร่ หมุนเวียนต่ อเนื่ องมาอี กหลายครั้ ง สาหรั บจอ ดาเกิดตอนที่พ่อแม่ อยู่ที่ผาแดง เขารู้ความเป็ นมาของที่ดินแปลงดังกล่ าวดี เนื่ องจาก ตนเองอยู่ในพืน้ ที่ ตลอด และได้ ร้ ู เพิ่มเติมจากการบอกกล่ าวของคนในชุมชนและ จากการสอบถามคนในชุมชน เมื่อครั้ งที่จอดาไปแผ้ วถางนั้นยังมี เสาบ้ านปั กอยู่ตรง นั้ น หลายหลัง ซึ่ ง เป็ นบ้ า นของชาวบ้ า นที่ เ คยไปท ากิ น พื ้น ที่ พิ พ าทและพื ้น ที่ ใกล้ เคียงที่ดินแปลงดังกล่ าวนีเ้ ป็ นพืน้ ที่ทาไร่ หมุนเวียนที่พ่อแม่ และคนในชุมชนได้ อาศัยทากินมาก่ อนแล้ ว ต่ อมาได้ ” กรณี ของสมบูรณ์น้ นั ความเป็ นมาของหมู่บา้ นมีความน่าสนใจคือ “ก่ อนปี พ.ศ. 2520 ทางราชการได้ ชักชวนให้ ชาวม้ งตามภูเขาบริ เวณเขต อาเภอแม่ วาง ให้ มาอาศัยรวมกันเป็ นหมู่บ้าน เพื่ อ ให้ มาอยู่ใกล้ หูใกล้ ตาของทาง ราชการ เพื่อป้ องกันไม่ ให้ พรรคคอมมิวนิสต์ เข้ าไปแทรกแซงได้ นอกจากนี ้ยงั ได้ ร จัดสรรพืน้ ที่ ทากิ นให้ ชาวบ้ านปลูกพื ชเศรษฐกิ จแทนการปลูกฝิ่ น ซึ่ งรวมถึงบ้ าน ห้ วยนา้ ริ นด้ วย เดิมที พืน้ ที่ ตั้งของหมู่บ้านและที่ ดินทากิ นแห่ งนี ้ เป็ นพืน้ ที่ ที่เคยถูก สั ม ปทานป่ าจนกลายเป็ นป่ าเสื่ อ มโทรม และกรมป่ าไม้ เ คยให้ เอกชนเช่ า ท า ประโยชน์ และหมดสัญญาไปแล้ ว เมื่อย้ายมาอยู่ชาวบ้ านจึงได้ แผ้ วถางพืน้ ที่ป่าเสื่ อม โทรมบริ เ วณนั้น เป็ นที่ ท ากิ น และต่ อ มายัง ได้ ซื้อ ที่ ดิ นบางส่ วนต่ อ จากคนเมื อ ง บริ เวณนั้นด้ วย ชาวบ้ านห้ วยนา้ ริ นจึงได้ อยู่ต่อเนื่องมา” พ่ อแม่ ของสมบูรณ์ ก็เป็ นกลุ่มคนม้ งที่ ย้ายมาอยู่ที่หมู่บ้ านห้ วยนา้ ริ นตามคา ชักชวนของทางราชการ โดยย้ ายมาเมื่ อปี พ.ศ. 2521 ซึ่ งพ่ อแม่ ของสมบูรณ์ บุกเบิ ก ที่ ดินทากิ นได้ 2 แปลง ใช้ สาหรั บปลูกข้ าวไร่ ข้ าวโพด และผักต่ างๆ เพื่อเลีย้ งชี พ เรื่ อยมา” 72
ต่ อมาเมื่ อทางราชการประกาศให้ ชาวบ้ านไปแจ้ งการครอบครองที่ ดิน ตาม มติคณะรั ฐมนตรี เมื่ อวันที่ 11 พฤษภาคม 254225 ชาวบ้ านส่ วนใหญ่ ก็ได้ ไ ปขอขึ ้น ทะเบียนไว้ นอกจากนีเ้ มื่อปี พ.ศ. 2548 หน่ วยจัดทีดินของสานักจัดการทรั พยากรป่ า ไม้ ที่ 1 (เชี ยงใหม่ ) กรมป่ าไม้ ได้ มาร่ วมกับชุมชน ทาการรั งวัดจับพิกัดและจัดทา แผนที่แสดงขอบเขตที่ดินทากินรายครั วเรื อน โดยใช้ เครื่ องจับพิกัด GPS และแผนที่ ภาพถ่ ายทางอากาศ พ.ศ. 2545 เป็ นเครื่ องมื อ พร้ อมทั้งได้ มอบสาเนาแผนที่ ชุดหนึ่ ง ให้ ชุมชนไว้ เป็ นหลักฐานด้ วย” แต่สาหรับกรณี ของลุงศักดิ์น้ นั แม้วา่ ลุงศักดิ์จะไม่ใช่ผคู ้ รอบครองที่ดินทาเกิดเหตุ แต่ลุงศักดิ์ ก็บอกว่าเมื่อก่อนลุงศักดิ์และชาวบ้านเคยอยูท่ ี่นี่ และเคยมาทาบริ เวณนี้ ยืนยันได้ว่าที่นี่เป็ นที่ทากินเก่า ที่ชาวบ้านทากินมาตั้งแต่สมัยพ่อแม่ปู่ย่าตายายมาแล้ว ไม่ได้บุกพื้นที่ป่าใหม่อย่างที่เจ้าหน้าที่กล่าวอ้าง โดยลุงศักดิ์เล่าความเป็ นมาว่า “สมัยที่ ลุงศักดิ์ยังเป็ นเด็ก ชาวม้ งบ้ านผาสาราญ ชุมชนอาศัยอยู่บนเขาใกล้ กั บ ห้ วยผัก ห้ า (ที่ เ กิ ด เหตุ) เจ้ า หน้ า ที่ จ ากอ าเภอปายได้ ม าที่ ห มู่ บ้ า น และบอก ชาวบ้ านว่ าอยากให้ ชาวบ้ านย้ ายหมู่บ้านไปอยู่ที่ตัวอาเภอปาย (สมัยนั้นอาเภอปาย เป็ นเพียงชุ มชนที่ ยงั มี คนไม่ มาก และยังมี พื้นที่ ราบอี กเยอะที่ ไ ม่ มีคนไปอยู่อาศัย และท ากิ น ) จะได้ ทากิ นในที่ ราบและอยู่ใกล้ กับทางราชการ เวลามี อ ะไรจะได้ ช่ วยเหลือกันได้ แต่ ชาวบ้ านก็ไม่ ไป ต่ อมาอี กหลายปี จนกระทั่งลุง ศักดิ์มี ครอบครั ว แล้ ว เจ้ าหน้ าที่จากอาเภอปายก็มาคุยกับชาวบ้ านว่ าจะให้ ชาวบ้ านทั้งหมู่บ้านย้ ายไป อยู่ติ ด กั บ แม่ น้ า ปายและใกล้ กั บ ตั ว ต าบล พร้ อมรั ง วั ด จั ด สรรที่ ดิ น ท ากิ น ให้ ครอบครั วละประมาณ 2 ไร่ ชาวบ้ านจึ งพร้ อมกันย้ ายลงไปตั้งหมู่บ้านอยู่ที่นั่น เมื่ อ ชาวบ้ านมาอยู่แล้ วปรากฏว่ าที่ดินทากินไม่ เพียงพอสาหรั บเลีย้ งครอบครั ว คนสวน ใหญ่ จึงยังต้ องกลับไปทากินในที่เดิมต่ อ และใช้ ทากินต่ อเนื่องมาจนปั จจุบัน” 3.2.2 กระบวนการทาให้ การใช้ ที่ดินและทรัพยากรกลายเป็ นอาชญากรรม : จากแนวคิดสู่ การ ขับเคลื่อน
25
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เป็ นมติ คณะรัฐมนตรี ที่ออกมาเพื่อแก้ไขปั ญหาที่ดินทากินที่เกี่ยวเนื่ องกัน กล่าวคือ มติฉบับแรกกาหนดให้ทางราชการรับ ขึ้นทะเบียน สาหรับฉบับหลังเป็ นการสั่งการให้เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการรับขึ้นทะเบียน
73
แม้วา่ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงส่วนหนึ่ง จะได้อยูอ่ าศัยมาก่อนที่ทางราชการจะได้ประกาศให้ พื้นที่ที่ครอบครอง กลายเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติหรื ออุ ทยานแห่ งชาติ รวมทั้งมองว่าตนไม่ ได้กระทา ความผิ ด แต่ มี ค วามชอบธรรมที่ จ ะใช้ที่ ดิ น และทรั พ ยากรดัง ที่ ไ ด้ก ล่ า วมาข้า งต้น ไม่ ว่า จะเป็ น ความชอบธรรมทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมท้องถิ่น หรื อวิถีชีวติ ปกติ หากแต่มีกฎหมายบัญญัติมิให้ ผูใ้ ดกระทาตามที่กฎหมายบัญญัติห้ามไว้ เช่น ห้ามแผ้วถาง ยึดถือ ครอบครอง ทาประโยชน์ที่ดินใน เขตป่ า หรื อ ห้ า มตัด ไม้ ท าไม้ แปรรู ป ไม้ หรื อ น ามาใช้ป ระโยชน์ ซึ่ งส่ ง ผลให้ ก ารใช้ที่ ดิ น และ ทรัพยากรของคนที่อยูอ่ าศัยและทากินอยูใ่ นเขตที่ถูกประกาศให้เป็ นป่ า กลายเป็ นความผิดและมีโทษ ทางกฎหมาย เมื่ อ ย้อ นไปพิจารณาลักษณะกฎหมายและนโยบายเกี่ ยวกับป่ าไม้ พบว่าช่ วงก่อ นทศวรรษ พ.ศ. 2500 ระบบกฎหมายเกี่ยวกับป่ าไม้ของไทย มี ลกั ษณะเป็ นระเบียบควบคุมการทาไม้ และการ บริ หารจัดการพื้นที่ป่าเพือ่ การอุตสาหกรรมป่ าไม้เป็ นหลัก โดยไม่มีแนวความคิดการอนุ รักษ์พ้นื ที่ป่า แบบปลอดคน และยังไม่มีแนวความคิดที่เชื่อว่า การใช้พ้นื ที่ทาการเกษตรบนภูเขาของกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่สูงเป็ นการทาให้เกิดความเสี ยหายต่อระบบนิ เวศน์ แม้ว่าจะมี พ.ร.บ.สงวนและคุม้ ครองป่ า พ.ศ. 2481 และมีการปรับปรุ งอีกสองครั้งในปี พ.ศ. 2496 และปี พ.ศ. 2497 แต่ก็เป็ นการกฎหมายที่ว่า ด้วยการหวงกันพื้นที่ป่าเพือ่ สัมปทานและทาไม้ ไม่ได้มีวตั ถุประสงค์เพื่ออนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อ ม จนกระทัง่ ถึ งช่ วงปลายทศวรรษ พ.ศ. 2490 – ต้นทศวรรษ พ.ศ. 2500 ถือ เป็ นจุด เปลี่ยนสาคัญของระบบกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ ตามที่ได้กล่ าวมาข้างต้นว่า แม้รัฐธรรมนู ญของไทยได้สถาปนาหลัก “สิ ทธิ เสรี ภาพ และ ความเสมอภาค” ไว้อย่างมัน่ คงแล้ว แต่การจัดสรรประโยชน์ในทรัพยากรกลับไม่ เท่าเทียมกัน โดย ระบบกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ ถูกออกแบบมาให้คนบางกลุ่มได้รับสิ ทธิหรื อได้เปรี ยบใน การเข้าถึงส่วนแบ่งในทรัพยากร ในขณะที่คนบางกลุ่มถูกกีดกันออกจากพื้นที่ของสิ ทธิตามกฎหมาย โดยมี กระบวนการเปลี่ ยนวิถีชีวิตคนชาติพนั ธุ์บ นพื้นที่สูง ที่ดารงอยู่กับการใช้ที่ ดินทากิ นและใช้ ทรั พยากรจากป่ า ให้กลายเป็ นการกระท าที่ ผิด กฎหมาย และก าหนดให้มี โทษทางอาญาส าหรั บ ผูก้ ระทาความผิด กล่าวคือ 3.2.2.1 การก่ อเกิดและพัฒนาแนวคิดการจัดการป่ าแบบปลอดคน ภายใต้ร ะบบกฎหมายและนโยบายเกี่ ย วกับ ป่ าไม้ที่ เ หมื อ นจะมุ่ ง อนุ รั ก ษ์พ้ืน ที่ป่ า โดยมี มาตรการสงวนหวงห้ามอย่างเข้มงวด แต่กลับกาหนดช่องทางเข้าถึงผลประโยชน์ในฐานทรัพยากรไว้ สาหรั บ ชนชั้นน าและผูม้ ี อ านาจในสังคมไว้ใ นรู ปแบบการอนุ ญาตโดยถู ก ต้อ งตามกฎหมาย ซึ่ ง 74
แตกต่างจากกรณี ก ารอยู่อ าศัยและทาการเกษตรตามวิถี ชีวิตของกลุ่ ม ชาติพ นั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ไ ม่ มี กฎหมายกาหนดแนวทางการอนุ ญาตเป็ นการเฉพาะ แม้จะปรากฏพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่ งชาติ มาตรา 16 จะบัญญัติว่า “อธิ บดีโดยอนุมัติรัฐมนตรี มีอ านาจอนุญาตให้ บุคคลหนึ่ งบุคคลใด เข้ าทา ประโยชน์ หรื ออยู่อาศัยในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติได้ ...” แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วกลับไม่มีการออกระเบียบ คาสัง่ หรื อแนวทางปฏิบตั ิสาหรับให้ประชาชนโดยทัว่ ไปใช้สิทธิตามมาตรานี้ ซึ่งส่งผลให้บุคคลทัว่ ไป ไม่สามารถขออนุญาตได้จริ ง เมื่อพิจารณาจากแนวความคิดและกระบวนการที่รัฐและผูม้ ีอานาจ ใช้ทาให้การใช้ทรัพยากร ของคนชายขอบ โดยเฉพาะกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงกลายเป็ นอาชญากรรม เป็ นแนวความคิดคิดหรื อ องค์ความรู ้ที่ถูกผลิตขึ้นมารองรับระเบียบการจัดสรรทรัพยากรของผูม้ ีอานาจเหล่านั้น มีอิทธิพลอย่าง มากในการจัดทากฎหมายและนโยบาย รวมทั้งการใช้อานาจในกระบวนการพิจารณาคดีในทางปฏิบตั ิ ซึ่งการเกิดขึ้นและการเติบโตของแนวความคิดนี้ คือ ประการแรก ช่วงปลายทศวรรษ พ.ศ. 2490 ถึงต้นทศวรรษ พ.ศ. 2500 ถือเป็ นช่วงเปลี่ยนผ่าน ของแนวคิดกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้และที่ดินของไทย จากระบบกฎหมายและนโยบายที่ ตั้งอยูบ่ นฐานคิดบริ หารจัดการการป่ าเพื่ออุตสาหกรรมป่ าไม้อย่างเดียว มาสู่ การการก่อตัวและขยาย แนวคิดที่ตอ้ งการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้ปลอดคน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2487) องค์ การอาหารและการเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) เข้ามีบทบาทอย่างสาคัญในการวางแผนกิจการด้านการป่ าไม้ของไทย รวมทั้ง ผลักดันระบบการจัดการป่ าไม้และที่ดินในประเทศไทยให้เป็ นแบบรวมศูนย์ โดยเฉพาะการออก กฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ที่มีผลใช้จนถึงปั จจุบนั 26 โดยเฉพาะการชี้นาว่า การเกษตรของ กลุ่มชาติพนั ธ์บนพืน้ ที่สูง นอกจากไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในทางเศรษฐกิจแล้ว ยังมีผลเป็ นการทาลาย ป่ าไม้อนั เป็ นทรัพยากรสาคัญของรัฐ โดยเฉพาะการทาไร่ เลื่ อ นลอยเป็ นการใช้ที่ดินที่คุกคามและ ทาลายพื้นที่ป่าของประเทศ ทั้งยังเป็ นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาประเทศ และเมื่อจานวนประชากร เพิม่ ขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จะยิง่ ทาให้การทาไร่ เลื่อนลอยทาลายล้างพื้นที่ป่ามาก ขึ้น ทั้งเสนอว่าประเทศที่มี ประชากรทาไร่ เ ลื่ อ นลอยจะต้อ งหาทางแก้ไ ขปั ญ หาก่ อ นที่ หายนะจะ เกิดขึ้น27 และปั ญหาการบุกรุ กทาลายป่ าในประเทศไทยเกิดจากากรทาไร่ ขนภูเขา28 26
ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , บทวิเคราะห์ว่าด้วยการสร้างแนวทางการอนุ รักษ์ธรรมชาติ, ในศยามล ไกรยู รวงศ์และพรพนา ก๊วยเจริ ญ (บรรณาธิการ), การเมืองป่ าไม้ไทย ยุคหลังสัมปทาน, (กรุ งเทพฯ, 2548), หน้า 86. 27 ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , วาทกรรมว่าด้วย “ชาวเขา” ใน สังคมศาสตร์ ปี ที่ 11 ฉบับที่ 1, หน้า 121. 28 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 122.
75
นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2493 รัฐบาลไทยและอเมริ กาได้บรรลุขอ้ ตกลงว่าด้วยความร่ วมมือทาง เศรษฐกิจและวิชาการ อันเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ทาให้ธนาคารโลกเข้ามามีบทบาทชี้นานโยบายเศรษฐกิจของ ประเทศไทยอย่างเป็ นทางการ โดยการส่งผูเ้ ชี่ยวชาญมาสารวจสภาพเศรษฐกิจของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2500 - 2501 ซึ่ งต่อมารายงานการสารวจดังกล่าวนี้ ได้กลายเป็ นแนวคิดหลักในการจัดระเบียบ การจัดการป่ าไม้ของไทย ที่สาคัญคือ การชี้ว่า มีประชากรจานวนมากรวมทั้ง “ชาวเขา” ที่ไม่อยูเ่ ป็ น หลักแหล่งแต่เคลื่อนที่ทาลายป่ าไม้ของชาติอยูเ่ รื่ อย อันเป็ นการบุกรุ กและลักลอบตัดฟั นไม้มีค่าเป็ น จานวนมาก ทาให้ป่าอันเป็ นทรัพยากรสาคัญของชาติ ที่ให้ความอุดมสมบูรณ์แก่ที่ดินเป็ นแหล่งเกิด ของน้ าและเป็ นแหล่ ง ผลิ ตไม้ ต้อ งถู กท าลายหมดไปในอัต ราอัน สู งเกิ น สมควร29 ทั้งจะต้อ งให้ ความสาคัญกับการคุ ม้ ครองพื้นที่ชุ่ มน้ าและพื้นที่ตามเนิ นเขา มากกว่าปล่อ ยให้มีการทาไม้ รวมทั้ง เสนอแนะว่าควรมีการห้ามการเพาะปลูกแบบไม่ถาวรในเขตพื้นที่ชุ่มน้ าและบนภูเขาสูง30 การชี้นาของทั้งธนาคารโลกและ FAO ดังกล่าวข้างต้นนี้ ก่อให้เกิ ดการเปลี่ยนแนวคิดและ วิธีการจัดสรรทรัพยากรป่ าไม้ในสังคมไทยใน 2 ระดับ คือ ระดับที่เป็ นโลกทัศน์ของสังคมไทยต่อ พื้นที่ป่า ซึ่งตามคติด้ งั เดิมนั้นสังคมไทยไม่มีแนวความคิดว่าคนและป่ าจะต้องดารงอยูแ่ ยกออกจากกัน แต่ดารงอยูแ่ บบสัมพันธ์กนั ทั้งในลักษณะที่เป็ นสิ่งที่สามารถใช้เพื่อประโยชน์ของคนได้ และระดับที่ เป็ นกฎหมายและนโยบาย จากเดิ มที่มุ่งเน้นแต่เพียงการบริ หารจัดการอุตสาหกรรมทาไม้ โดยมีการ เพิม่ ความสนใจกับองค์ความรู ้ทางนิเวศวิทยาใหม่ๆ และค่านิยมในมิติของการอนุรักษ์ป่า รวมทั้งมีการ ออกแบบการเข้าถึงหรื อจัดสรรพื้นที่การใช้ประโยชน์จากป่ า ในลักษณะที่ซับซ้อนกว่าเดิม ผ่านการ ออกกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ สาหรับการรับเอาแนวคิดการอนุ รักษ์ป่าแบบปลอดคนนั้น มี ความเป็ นรู ปธรรมในปี พ.ศ. 2502 เมื่อรัฐบาลไทยได้เชิญ George Ruhle31 เข้ามาให้คาแนะในการคัดเลือกพื้นที่เพื่อการอนุ รักษ์ 29
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ระยะที่ 1(พ.ศ. 2504 - 2506).นโยบายของพัฒนาการเศรษฐกิจ : ด้านเกษตรกรรม : (3) ปรับปรุ งและเร่ งรัดการสงวนป่ าไม้ เพื่อทาให้การสงวนป่ าและการใช้ไม้ได้ผลถาวรเพิ่มพูน ยิง่ ขึ้น กับบารุ งและปลูกสร้างป่ าไม้ โดยเฉพาะป่ าไม้บริ เวณต้นน้าลาธาร ทั้งนี้ มีความจาเป็ นที่จะต้องแก้ไข พ.ร.บ. สงวนป่ าไม้ ให้เหมาะสมและควรดาเนิ นการสงวนป่ าไม้ให้ได้เนื้ อที่ร้อยละประมาณ 50 ของเนื้ อที่ประเทศไทย ทั้งหมด 30 The World Bank, A public Development Program for Thailand, pp. 82 – 83. 31 Dr. George C. Ruhle เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านอุทยานแห่ งชาติของสหภาพสากลว่าด้วยการอนุ รัก ษ์ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ, แหล่งที่มา อุทยานแห่ งชาติเขาใหญ่ สื บค้นจาก http://www.khaoyainationalpark.com/about/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9 %80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0
76
และออกจัด ท ากฎหมายเพื่อ จัด ตั้ง และบริ ห ารจัด การพื้น ที่ ป่ าอนุ รั ก ษ์อ ัน น ามาสู่ ก ารประกาศใช้ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 อันนามาสู่การประกาศเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ให้เป็ น อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 250532 ประการที่สอง สิ่ งสาคัญอีกประการที่ทาให้กระบวนการกี ดกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง มี พลังและมี ความชอบธรรม คือ ภาพลักษณ์ “ชาวเขา” ของกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ถู กประกอบ สร้างและตอกย้าในสังคมอย่างต่อเนื่องว่า เป็ นพวกทาลายทรัพยากรป่ าไม้ในบริ เวณพืน้ ที่ป่าต้นน้ าของ ประเทศชาติ ซึ่ งส่ ง ผลให้เกิ ด ปั ญหาน้ าท่ ว มน้ า แล้ง และปั ญ หาการเปลี่ ยนแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ กล่าวคือ ภาพลักษณ์ของ “ชาวเขา” ที่ถูกเชื่อมโยงกับปั ญหาการการบุกรุ กทาลายป่ า และการเป็ นภัยต่อ ความมัน่ คงของชาติ เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ พ.ศ. 2500 หลังจากที่ธนาคารโลกเผยแพร่ รายงานการ สารวจสภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2500-2501 ที่ช้ ีว่าการทา “ไร่ เลื่อนลอย” ของ ชาวเขาเป็ นการทาลายพื้นที่ป่าไม้บนภูเขาในภาคเหนือ อันเป็ นพื้นที่ตน้ น้ าสาหรับผลิตไฟฟ้ าและหล่อ เลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมภาคกลา และทาลายเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ งต่อมารัฐบาลไทยได้ใช้เหตุผลใน ลักษณะนี้ จัดความสัมพันธ์กบั กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเรื่ อยมาก เริ่ มจากการเขียนลงในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) โดยระบุว่า “ชาวเขา” “ไม่ มีที่อยู่เป็ นหลัก แหล่ ง เคลื่อนที่ ทาลายป่ าไม้ ของชาติอยู่เรื่ อ ย... ประกอบกับมี การบุกรุ ก ลักลอบตัดฟั นไม้ มีค่าเป็ น จานวนมาก” 33 ซึ่งก่อให้เกิดปั ญหาและความเสียหายต่อประเทศชาติ คือ “ป่ าอันเป็ นทรั พยากรสาคัญ ของชาติที่ให้ ความอุดมสมบูรณ์ แก่ ที่ดินเป็ นแหล่ งเกิ ดของนา้ และเป็ นแหล่ งผลิตไม้ ต้ องถูกทาลาย หมดไปในอัตราอันสูงเกินสมควร และจะเป็ นผลร้ ายต่ อการเศรษฐกิจของประเทศในที่สุด”34 หลังจากนั้นประเด็น “ชาวเขา” กับการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ก็ถูกนามา ผลิตซ้ าและตอกย้าในสังคมอย่างต่อเนื่ อง โดยเฉพาะในระบบการศึกษาทุกระดับ สื่ อมวลชน รวมทั้ง การขยายความผ่านผูน้ ารัฐบาลและหน่วยงานรัฐ เช่น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้กล่าวว่า “ป่ าไม้ เป็ น %B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87% E0%B8%8A%E0%B8%B2/ 32 ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , บทวิเคราะห์ว่าด้วยการสร้างแนวทางการอนุ รักษ์ธรรมชาติ, ในศยามล ไกรยู รวงศ์และพรพนา ก๊วยเจริ ญ (บรรณาธิการ), การเมืองป่ าไม้ไทย ยุคหลังสัมปทาน, (กรุ งเทพฯ, 2548), หน้า 86 - 89. 33 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1, หน้า 43. แหล่งที่มา http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/e-book_T/plan1.pdf 34 เรื่ องเดียวกัน.
77
ทรั พยากรที่สาคัญสาหรั บชี วิตของคนไทยและการดารงอยู่ของประเทศไทย พวกที่ทาลายป่ าเป็ นศัตรู ผ้ ู ทาลายชาติ” ประการที่สาม การออกพระราชกาหนดปิ ดป่ าเมื่อปี พ.ศ. 2532 ยิง่ เป็ นโอกาสให้กระแสการ อนุรักษ์ป่าขยายอย่างรวดเร็วในสังคมไทย โดยเฉพาะในกลุ่มชนชั้นกลางและคนในเมือง เนื่องจากการ ภาพปั ญหาตัดไม้ทาลายป่ า ที่เชื่อมโยงต่อปรากฏการณ์ที่เป็ นภัยพิบตั ิทางธรรมชาติต่างๆ เช่น นาท่วม น้ าแล้ง ปรากฏให้เห็นเป็ นรู ปธรรมอย่างเด่นชัด โดยเฉพาะกรณี ที่เกิดขึ้นและกระทบต่อชนชั้นกลาง ในเมือง ซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้ ยอ่ มส่ งผลกระทบต่อการดารงอยูข่ องกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ผูซ้ ่ ึ ง ถูกจัดวางให้เป็ นตัวการหลักๆ ในการก่อปั ญหาเหล่านั้น ซึ่ งสื่ อมักจะนาเสนอภาพภูเขาหัวโล้นบาง แห่ง แล้วเหมารวมเอาว่าภาพเหล่านั้นจะเกิดขึ้นกับทุกพื้นที่ที่มีกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงอยู่ หลังทศวรรษ พ.ศ. 2540 วิธีการจัดการป่ าของรัฐมีความซับซ้อนมากยิง่ ขึ้น รัฐพยายามการ สร้างความชอบธรรมในการใช้อานาจ ซึ่ งหนึ่ งในวิธีที่รัฐเลือกมาใช้คือ การทาให้สังคมเชื่อว่าป่ าไม้ เป็ นทรัพยากรที่เปราะบาง และกาลังเสี่ ยงต่อ การถู กบุกรุ กทาลายโดยคนบางกลุ่ ม พร้อ มทั้งสร้า ง กระแสให้สังคมเชื่อว่าปั ญหาป่ าไม้อยู่ในภาวะวิกฤติ โดยกาลังถูกคุกคามจากการบุกรุ กทาลายของ “ชาวเขา” และรัฐมีความจาเป็ นจะต้องใช้งบประมาณ กาลังคนและอานาจบางประการเข้าไปจัดการ เพือ่ ปกป้ องคุม้ ครองป่ าไม้ให้คงเหลือไว้สาหรับคนรุ่ นต่อไป ซึ่ งการสร้างกระแสเช่นนี้ ได้ผลด้วยดีมา โดยตลอด ในแง่ที่ทาให้สงั คมโดยรวมโดยเฉพาะชนชั้นกลางคล้อยตามด้วย อีกทั้งไม่มีใครตั้งคาถาม ต่อความเหมาะสมหรื อความเป็ นธรรมต่อ ปฏิบตั ิการบางอย่าง การออกคาสั่ง คสช. ที่ 64/2557 เป็ น กรณี ตวั อย่างที่เห็ นได้ชดั เจน เริ่ มจากการอ้างว่าปั ญหาการบุกรุ กทาลายอยู่ในภาวะวิกฤติ จึงได้ออก คาสัง่ คณะรักษาความสงบเรี ยบร้อยแห่งชาติ (คาสัง่ คณะรัฐประหารเป็ นกฎหมายที่มีปัญหาความชอบ ธรรมเกี่ยวกับกระบวนการตรากฎหมาย) ขึ้นมารับมือ พร้อมทั้งกาหนดให้เป็ นอานาจของฝ่ ายความ มัน่ คงในการติ ดตาม รวมทั้งมี การออกนโยบายและระเบีย บปฏิบ ัติต่ างอี ก หลายฉบับ ตามมา ซึ่ ง กฎหมายและปฏิบตั ิการส่วนใหญ่ถูกโต้แย้งว่าเป็ นการละเมิดต่อสิ ทธิมนุ ษยชน นอกจากนี้ ยงั มีการขอ ตั้งเบิกงบประมาณของรัฐจานวนมาก ซึ่ งที่ผ่านมาแม้จะมีการโต้แย้งว่ามี มีคนชายขอบบางกลุ่ มได้ ไม่ได้รับความเป็ นธรรม แต่คนส่วนใหญ่ในสังคมก็ไม่ได้ทกั ท้วงอย่างมีนยั ยะสาคัญ ภาพลักษณ์ติดตัวของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ถูกมองว่าเป็ น “ชาวเขาทาลายป่ า” อันเป็ น ภัยต่อความมัน่ คงและสวัสดิภาพของคนไทย ทาให้สังคมเกิดอคติและถูกเลือกปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นธรรม อานันท์ กาญจนพันธุ์ ได้กล่าวไว้ว่า ภาพลักษณ์ที่ถูกกาหนดขึ้นและถูกมองเห็น มีผลต่อการกาหนด ท่าทีหรื อการกาหนดจัดความสัมพันธ์ของรัฐต่อกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง คือถ้ามองเห็นว่าเป็ นมิตรก็ จะจัดความสัมพันธ์แบบมิตร หากมองว่าเป็ นภัยก็จะจัดความสัมพันธ์แบบควบคุมหรื อเปลี่ยนแปลง 78
เขาให้หมดภัย35 ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของสายชล สัตยานุรักษ์ ที่เห็นว่าสังคม การเมืองและระบบ ราชการของไทยถูกขับเคลื่อนด้วยอุดมการณ์ชาตินิยมกระแสหลัก ที่ไม่ยอมรับในความหลากหลาก ทางวัฒนธรรมของท้องถิ่ นหรื อ กลุ่มชาติพนั ธุ์อื่นๆ ซึ่ งมีพลังอย่างมากในการกาหนดวิธีคิดและการ ดาเนินการต่างๆของรัฐ ข้าราชการและชนชั้นกลาง36 ดังนั้น ในการออกกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับ ทรัพยากรป่ าไม้และที่ดินนั้น รัฐมองว่าการใช้ที่ดินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เป็ น การบุกรุ กทาลายป่ า จึงออกแบบกฎหมายให้มีลกั ษณะมุ่งควบคุมและปราบปรามมิให้ไปตัดไม้ทาลาย ป่ า โดยการออกนโยบายหรื อมาตรการพิเศษ รวมทั้งการจับกุมดาเนินคดีและการพิพากษาคดี เมื่ อ การใช้ที่ ดิ น และทรั พ ยากรของกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง ถู ก ให้ ค วามหมายว่ า เป็ น อาชญากรรมร้ายแรงหรื อเป็ นปั ญหาความมั่นคง จึงนาไปสู่ การเคลื่อนไหวและกาหนดรู ปแบบและ แนวทางในการควบคุมและปราบปราม ที่แฝงด้วยวิธีการที่รุนแรง เช่น ในการเริ่ มต้นบังใช้กฎหมายที่ ปรากฏนั้น มีออกนโยบายและมาตรการเฉพาะที่รัฐนามาใช้เพื่อป้ องกันและปราบปราม ทั้งการออก นโยบายหรื อการสัง่ การเกี่ยวกับการป้ องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเป็ นครั้งคราว และการ ออกนโยบายเร่ งรัดป้ องกันและปราบปรามการบุกรุ กทาลายป่ าของรัฐบาลเป็ นการทัว่ ไป และมีการใช้ กองกาลังของเจ้าหน้าที่และการสนธิกาลังร่ วมกับทหาร ใช้วิธีปฏิบตั ิการด้วยวิธีการทางทหารในการ นาคนเข้าสู่คดี 3.2.2.2 การปรับเปลี่ยนระบบกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับป่ าไม้ กฎหมายระดับพระราชบัญญัติที่เกี่ ยวกับการบริ หารจัดการพื้นที่ป่าไม้ที่สาคัญ มี 4 ฉบับ ประกอบด้วย พระราชบัญญัติป่าไม้แห่ งชาติ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติอุ ทยานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติสงวนและคุ ม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่ งกฎหมายทั้ง 4 ฉบับดังกล่ าวนี้ มี โครงสร้างกฎหมายที่คล้ายคลึ งกัน 4 ประการ กล่ าวคือ ประการแรก กาหนดให้อ านาจแก่ รัฐในการดาเนิ นการออกประกาศกาหนดเขตป่ าประเภทต่างๆ สาหรับเป็ นพื้นที่สงวนห้วงห้ามหรื อพื้นที่ควบคุม ประการที่สอง กาหนดข้อห้ามกระทาการต่างๆ ต่อ พื้นดิน ต้นไม้และทรัพยากรอื่นๆ ที่อยูใ่ นเขตนั้นๆ ประการที่สาม กาหนดกระบวนการขออนุ ญาตใช้
35
อานันท์ กาญจนพันธุ์, พหุ วฒั นธรรมในบริ บทของการเปลี่ยนผ่านทางสังคมและวัฒนธรรม, ใน สานัก ส่ งเสริ มและสสนับสนุ นวิชาการ 10 เชียงใหม่ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์, รั ฐชาติและชาติ พันธ์ , (เชียงใหม่), หน้า 28-33. 36 สายชล สัตยานุรักษ์, ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขัดแย้ง, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 101 – 102.
79
ประโยชน์หรื อกระทาการใดๆ ในพื้นที่ป่า และประการสุดท้าย คือ กาหนดบทลงโทษสาหรับผูก้ ระทา การฝ่ าฝื น ส่วนที่เป็ นปั ญหาและกระทบต่อสิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงมากที่สุด มี 2 ประการ คือ ประการแรก การออกประกาศกาหนดพื้นที่ป่าให้เป็ นเขตป่ าประเภทต่างๆ เนื่ องจากกฎหมาย ให้อ านาจแก่ เจ้าหน้าที่ รัฐมี อ านาจออกประกาศได้ โดยไม่ ไ ด้กาหนดให้ต ้อ งรับฟั งความเห็ นของ ประชาชน กล่าวคือ พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 นั้น มาตรา 47 บัญญัติวา่ “ให้ รัฐมนตรี มีอ านาจกาหนด ท้ องที่ใดให้ เป็ นเขตควบคุมการแปรรู ปไม้ โดยประกาศในราชกิ จจานุเบกษา ประกาศนั้นให้ ใช้ บังคับ ได้ เมื่อพ้ นกาหนดเก้ าสิ บวัน นับแต่ วนั ประกาศ” พระราชบัญญัติอุทยานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504 มาตรา 6 บัญญัติว่า “เมื่ อรั ฐบาลเห็ นสมควร กาหนดบริ เวณที่ ดินแห่ งใดที่ มีสภาพธรรมชาติ เป็ นที่ น่าสนใจ ให้ คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่ อ สงวนไว้ ให้ เป็ นประโยชน์ แก่ การศึกษาและรื่ นรมย์ของประชาชน ก็ให้ มีอานาจกระทาได้ โดยประกาศ พระราชกฤษฎี กาและให้ มีแผนที่ แสดงแนวเขตแห่ งบริ เวณที่ กาหนดนั้นแนบท้ ายพระราชกฤษฎี กา ด้ วย บริ เวณที่กาหนดนีเ้ รี ยกว่ า ‘อุทยานแห่ งชาติ’” พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ. 2507 มาตรา 6 วรรคสอง บัญญัติวา่ “เมื่ อรั ฐมนตรี เห็ น สมควรก าหนดป่ าอื่ น ใดเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติ เพื่ อ รั ก ษาสภาพป่ า ไม้ ของป่ าหรื อ ทรั พยากรธรรมชาติอื่น ให้ กระทาได้ โดยออกกฎกระทรวงซึ่ งต้ องมี แผนที่ แสดงแนวเขตป่ าที่ กาหนด เป็ นป่ าสงวนแห่ งชาตินั้นแนบท้ ายกฎกระทรวงด้ วย” และมาตรา 7 บัญญัติว่า “การเปลี่ยนแปลงเขต หรื อ การเพิ ก ถอนป่ าสงวนแห่ งชาติ ป่ าใด ไม่ ว่า ทั้ ง หมดหรื อ บางส่ วน ให้ กระท าได้ โ ดยออก กฎกระทรวง และเฉพาะกรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลง หรื อเพิกถอนบางส่ วนให้ มีแผนที่ แสดงแนวเขตที่ เปลี่ยนแปลง หรื อเพิกถอนนั้นแนบท้ ายกฎกระทรวงด้ วย” และพระราชบัญ ญัติ ส งวนและคุ ้ม ครองสัต ว์ป่ า พ.ศ. 2535 มาตรา 33 บัญ ญัติ ว่า “เมื่ อ คณะรั ฐมนตรี เห็นสมควรกาหนดบริ เวณที่ดินแห่ งใดให้ เป็ นที่ อยู่อาศัยของสั ตว์ ป่าโดยความปลอดภัย เพื่อรั กษาไว้ ซึ่งพันธุ์สัตว์ ป่าก็ให้ กระทาได้ โดย ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกาและให้ มีแผนที่แสดงแนวเขต แห่ งบริ เวณที่กาหนดนั้นแนบท้ ายพระราชกฤษฎีกาด้ วย บริ เวณที่กาหนดนีเ้ รี ยกว่ า ‘เขตรั กษาพันธุ์สัตว์ ป่ า’"
80
แม้ต่อมาฝ่ ายรัฐจะมีแนวทางการรับฟั งความเห็นของประชาชนและผูม้ ีส่วนได้เสี ย แต่ก็ไม่มี สภาพเป็ นกฎหมายที่บงั คับให้เป็ นหน้าที่หรื อเป็ นเงื่อนไขทางกฎหมาย 37 ซึ่ งปั จจุบนั นี้ พ้นื ที่อยูอ่ าศัย และทากินของกลุ่มชาติพนั ธ์บนพื้นที่สูงส่วนใหญ่ ถูกประกาศให้เป็ นเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ ซึ่ งมี สถานะเป็ นเขตพืน้ ที่ควบคุมตามกฎหมายไปแล้ว อีกทั้งบางพืน้ ที่ก็ได้มีการประกาศให้เป็ นเขตอุทยาน แห่งชาติ หรื อเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าทับลงไปในพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ และมีผลให้สามารถบังคับใช้ กฎหมายทั้งสองฉบับควบคู่กนั ได้ ซึ่งสภาพเช่นนี้ทาให้คนที่อยูอ่ าศัยและถือครองที่ดินทากิน ตกอยูใ่ น สถานะอยูอ่ ย่างผิดกฎหมายและสามารถถูกจับกุมดาเนินคดีได้ตลอดเวลา ประการที่สอง การกาหนดข้อห้ามกระทาการต่างๆ ต่อพื้นดิน ต้นไม้และทรัพยากรอื่นๆ ที่อยู่ ในเขตนั้นๆ ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการดารงชีวิตของคนบางกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เป็ นอย่างมาก ที่มีวถิ ีชีวติ พึ่งพิงอาศัยพื้นที่ป่า รวมทั้งกลุ่มประชาชนที่ครอบครองที่ดินทากินโดยไม่มี เอกสารสิทธิ์หรื อหนังสืออนุ ญาตของทางราชการ ซึ่ งส่ งผลให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตของคนเหล่านั้น ผิดกฎหมาย เช่น การใช้ที่ดินทากิน การใช้ไม้สร้างบ้านอยูอ่ าศัย การเก็บหาของป่ า แม้กระทัง่ การทา โครงสร้างพื้นฐานเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ทัว่ ๆ ไป กล่าวคือ พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 11 บัญญัติว่า “ผู้ใดทาไม้ หรื อเจาะ หรื อสั บ หรื อเผา หรื อทาอันตรายด้ วยประการใด ๆ แก่ ไม้ หวงห้ าม ต้ องได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรื อได้ รับ สั มปทานตามความในพระราชบัญญัตินี้ และต้ องปฏิ บัติตามข้ อกาหนดในกฎกระทรวงหรื อในการ อนุญาต” พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 มาตรา 16 บัญญัติวา่ “ภายในเขตอุทยานแห่ งชาติ ห้ ามมิให้ บุคคลใด (1) ยึดถือหรื อครอบครองที่ดิน รวมตลอดถึงก่ นสร้ าง แผ้ วถาง หรื อเผาป่ า (2) เก็บหา นาออกไป ทาด้ วยประการใด ๆ ให้ เป็ นอันตราย หรื อทาให้ เสื่ อมสภาพ ซึ่ งไม้ ยางไม้ นา้ มันยาง นา้ มันสน แร่ หรื อทรั พยากรธรรมชาติอื่น (3) นาสัตว์ ออกไป หรื อทาด้ วยประการใด ๆ ให้ เป็ นอันตรายแก่ สัตว์
37
กรมอุทยานแห่ งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช, ขั้นตอนการประกาศจัดตั้งอุทยานแห่ งชาติ, แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/park/sara/manage/step.htm. (15 พฤษภาคม 2560)
81
(4) ทาด้ วยประการใด ๆ ให้ เป็ นอันตรายหรื อทาให้ เสื่ อมสภาพแก่ ดิน หิ น กรวดหรื อทราย...” พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ. 2507 มาตรา 14 บัญญัติว่า “ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ ห้ ามมิให้ บุคคลใดยึดถือครอบครองทาประโยชน์ หรื ออยู่อาศัยในที่ ดิน ก่ อสร้ าง แผ้ วถาง เผาป่ า ทาไม้ เก็บหาของป่ า หรื อกระทาด้ วยประการใด ๆ อันเป็ นการเสื่ อมเสี ยแก่ สภาพป่ าสงวนแห่ งชาติ...” และพระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 มาตรา 38 บัญญัติว่า “ในเขตรั กษา พันธุ์สัตว์ ป่า ห้ ามมิ ให้ ผ้ ใู ดยึดถือหรื อครอบครองที่ ดินหรื อปลูก หรื อก่ อสร้ างสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใด หรื อตัด โค่ น แผ้ วถาง เผาหรื อทาลายต้ นไม้ หรื อพฤกษชาติ อื่ น หรื อ ขุด หาแร่ ดิน หิ น หรื อเลีย้ งสั ตว์ หรื อ ปล่ อยสั ตว์ หรื อสั ตว์ ป่า หรื อเปลี่ยนแปลงทางนา้ หรื อทาให้ นา้ ใน ลาน้า ลาห้ วย หนอง บึ ง ท่ วมท้ น เหื อดแห้ ง เป็ นพิษหรื อเป็ นอันตรายต่ อสัตว์ ป่า” นอกจากกฎหมายระดับพระราชบัญญัติแล้ว มีการออกแผนและนโยบายในการจัดการพื้นที่ ป่ าไม้ ภายโต้แนวคิดเพือ่ กาหนดการใช้ประโยชน์และอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ งต่อมากลายเป็ น แผนหรื อนโยบายที่รัฐบาลหรื อส่ วนราชการที่เกี่ยวข้อง ยึดถือเป็ นแนวทางหลักในการบริ หารจัดการ พื้นที่ป่าหรื อการทากิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ป่า ซึ่งมีฉบับที่สาคัญหลายฉบับ ประกอบด้วย 1) รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้นาข้อเสนอแนะของธนาคารโลกเกี่ยวกับการจัดการ พื้นที่ป่าดังกล่าวข้างต้นนี้ มาเขียนไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1 ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2504-2506) ที่ระบุวา่ จะต้องปรับปรุ งและเร่ งรัดการสงวนป่ าไม้ เพื่อทาให้การสงวนป่ าและการ ใช้ไม้ได้ผลถาวร กับบารุ งและปลูกสร้างป่ าไม้ โดยเฉพาะป่ าไม้บริ เวณต้นน้าลาธาร และจะต้องแก้ไข กฎหมายเกี่ยวกับการสงวนป่ าไม้ให้เหมาะสม ที่สาคัญคือ กาหนดให้รัฐต้องสงวนป่ าไม้ให้ร้อยละ 50 ของพื้นที่ประเทศไทย38 โดยได้ระบุถึงการดารงอยูแ่ ละการใช้ที่ดินของชาวเขาว่า “...ไม่ มีที่อยู่เป็ นหลักแหล่ ง เคลื่อนที่ ทาลายป่ าไม้ ของชาติอยู่เรื่ อย ลักษณะ ของการเพาะปลูกในปั จจุบัน ก็เป็ นวิธีเพิ่ มปริ มาณการผลิ ต โดยการขยายเนื ้อ ที่ ออกไป ประกอบกับมีการ บุกรุ ก ลักลอบตัดฟั นไม้ มีค่าเป็ นจานวนมาก โดยเหตุนี้ ป่ าอันเป็ นทรั พยากรสาคัญของชาติที่ให้ ความอุดมสมบูรณ์ แก่ ที่ดินเป็ นแหล่ งเกิ ด ของนา้ และเป็ นแหล่ งผลิตไม้ ต้องถูกทาลายหมดไปในอัตราอันสูงเกินสมควร และ จะเป็ นผลร้ ายต่ อการเศรษฐกิจของประเทศในที่สุด”39 38 39
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ระยะที่ 1(พ.ศ. 2504 - 2506) เรื่ องเดียวกัน, หน้า 43.
82
2) การกาหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ าพร้อ มกับกาหนดข้อ ห้ามมิ ให้ทากิจกรรมใดๆ ในพื้นชั้นที่ คุณภาพลุ่มน้ าชั้น 1และ 2 ตามหลักเกณฑ์การพิจารณากาหนดและมาตรการการใช้ที่ดินในลุ่มน้ า ซึ่ ง คณะรัฐมนตรี ได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528 โดยข้อห้ามที่มีผลกระทบต่อสิทธิของ กลุ่ ม ชาติ พนั ธ์บ นพื้นที่ สู ง คื อ การก าหนดให้พ้ืน ที่ ช้ ัน คุ ณภาพลุ่ ม น้ า ชั้น ที่ 1 เอ ห้า มมิ ใ ห้มี ก าร เปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นที่ป่าไม้เป็ นรู ปแบบอื่นอย่างเด็ดขาด เพื่อรักษาไว้ให้เป็ นพื้นที่ตน้ น้ า สาหรับ พื้นที่ช้ นั คุณภาพลุ่มน้ า ชั้นที่ 1 บี กาหนดให้การก่อสร้างถนนผ่าน การทาเหมืองแร่ หรื อส่ วนราชการ ใดมีความจาเป็ นที่ตอ้ งใช้ที่ดินอย่างหลี กเลี่ ยงไม่ ไ ด้ หน่ วยงานรับผิดชอบจะต้อ งจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมต่อคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อ มแห่ งชาติเพื่อพิจารณาต่อไป สาหรับ พื้นที่ช้ นั คุณภาพลุ่มน้ า ชั้นที่ 2 กาหนดให้สามารถใช้พ้นื ที่ได้เฉพาะในกิจกรรมป่ าไม้ เหมืองแร่ ได้ แต่ ต้องควบคุมวิธีการปฏิบตั ิในการใช้ที่ดินอย่างเข้มงวด แต่ยงั คงต้องห้ามการใช้ที่ดินเพือ่ เกษตรกรรม40 3) นโยบายป่ าไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2528 ซึ่งมีสาระสาคัญคือ กาหนดเป้ าว่ารัฐจะต้องเพิ่มพื้นที่ป่า ให้ได้ 40 % ของพื้นที่ประเทศ และกาหนดว่าพื้นที่ที่มีความลาดชันเฉลี่ยเกินกว่า 35% ขึ้นไป ให้คง สถานะเป็ นพื้นที่ ป่ าไม้ โดยห้า มมิ ใ ห้มี ก ารออกโฉนดหรื อ หนัง สื อ รับ รองการท าประโยชน์ ต าม ประมวลกฎหมายที่ดิน41 4) นโยบายการจ าแนกเขตการใช้ป ระโยชน์ท รัพ ยากรและที่ดิ นป่ าไม้ในพื้น ที่ป่ าสงวน แห่งชาติ (Zoning) ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 มีนาคม 2535 เรื่ อง การจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรและที่ดินป่ าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติและมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 17 มีนาคม 2535 เรื่ อง ผลการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่ าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติเพิม่ เติม ที่ได้ทา การจาแนกเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ โดยจาแนกเป็ นเขตต่างๆ ตามการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและ ที่ดิน ป่ าไม้ได้ 3 เขต (Zone) คือ เขตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุ รักษ์ เขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ และเขตพื้นที่ ป่ าที่เหมาะสมต่อการเกษตร42 5) คาสัง่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 64/2557 เรื่ อง การปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุ ก ทาลายทรัพยากรป่ าไม้ ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2557 ลงประกาศในราชกิจจานุ เบกษา วันที่ 20 มิถุนายน 2557 เป็ นประกาศที่ อ อกหลังจาก คสช. ทารัฐประหารใหม่ ๆ โดยอ้างว่าเพื่อ เป็ นเครื่ อ งมื อ ให้การ 40
กรมทรัพยากรน้ า, การจัดการชั้นคุณภาพลุ่มนา้ , แหล่งที่มา http://www.dwr.go.th/contents/content/files/001002/0003723_1.pdf. (13 พฤษภาคม 2561). 41 มติคณะรัฐมนตรี (นโยบายป่ าไม้แห่ งชาติ) เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2528. 42 มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 มีนาคม 2535 เรื่ อง การจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่ าไม้ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ.
83
ปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุ กทาลายทรัพยากรป่ าไม้ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ สาหรับลดความ เสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของประเทศโดยรวม 43 มีเนื้ อหาสาคัญคือ ประการ แรก กาหนดให้หน่ วยงานฝ่ ายทหาร เข้ามามีอานาจดาเนิ นการป้ องกันและปราบการกระทาความผิด เกี่ยวกับป่ าไม้ เช่น จับกุมผูบ้ ุกรุ ก ยึดถือ ครอบครอง ทาลาย หรื อกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็ นการ ทาให้เสื่ อมเสี ยแก่สภาพป่ า44 ประการที่สอง เร่ งรัดทาการปราบปรามและจับกุมการกระทาความผิด เกี่ยวกับป่ าไม้ และกิจการทางการค้าเกี่ยวกับไม้ในทุกกรณี หรื อที่เรี ยกว่า “ทวงคืนผืนป่ า”45 6) แผนแม่บทการพิทกั ษ์ทรัพยากรป่ าไม้แห่งชาติ ถูกประกาศภายใต้รัฐบาลที่แต่งตั้งโดยคณะ รัฐประหาร (คสช.) เนื่องจากรัฐบาลมีความเห็นว่ามีการบุกรุ กทาลายป่ าอย่างมหาศาล โดยมีสาเหตุมา จากการละเมิดต่อกฎหมายของราษฎร และการดาเนินนโยบายของรัฐในอดีตที่ผิดพลาด โดยที่ปัญหา ต่างๆ นั้น รัฐไม่ อาจจัดการได้อ ย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ จนก่ อ ให้เกิ ดปั ญหาสภาวะแวดล้อมและระบบ นิเวศน์เสื่อม ซึ่ งกระทบต่อสังคม สิ่ งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างกว้างขวาง46 แผน แม่บทฯ นี้ จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ให้เป็ นแนวทางหลักในการพิทกั ษ์ทรัพยากรป่ าไม้ของชาติ ทั้งเป็ น แนวทางให้ ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ใ ช้เ ป็ นแนวทางในการวางแผนปฏิ บ ัติ ก าร ทั้ง ระดั บ ภายในประเทศและประสานความร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน47 และมีสาระสาคัญ คือ กาหนดแผน และกลยุทธ์ในการปฏิบตั ิเพือ่ ให้หน่ วยปฏิบตั ิใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนปฏิบตั ิการ ซึ่ งมีประเด็น ยุทธศาสตร์ที่สาคัญคือ ยุทธศาสตร์ “ผนึกกาลังป้ องกันและปราบปรามการบุกรุ กทาลายทรัพยากรป่ า ไม้” โดยจัดตั้งหน่ วยเฉพาะกิจป้ องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่ า มีหน้าหลักในการหยุดยั้ง การบุกรุ กทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ยึดคืนพื้นที่ป่า ยับยั้งการบุกรุ กป่ า และแก้ปัญหาป่ าบุกรุ กคน โดยใช้ ภาพถ่ายทางอากาศเป็ นหลักฐานหลักร่ วมกับ หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาพื้นที่ป่าให้ได้ 40% ของพื้นที่ประเทศ48
43
คาสั่งคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 64/2557. เรื่ องเดียวกัน. 45 คาสั่งคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 64/2557. 46 แผนแม่บทการพิทกั ษ์ทรัพยากรป่ าไม้แห่ งชาติ, หน้า 6. 47 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 7. 48 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 3-4. 44
84
3.2.3 ผลกระทบ จากการที่ รั ฐ ใช้อ านาจท าให้ ก ารใช้ที่ ดิ น และทรั พ ยากรของกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง กลายเป็ นความผิดในข้อหาทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อ ม ซึ่ งถูกขยายความว่าเป็ นการ กระทาที่กระทบต่อความมัน่ คงของชาติดว้ ย ได้นาไปสู่ ความรังเกียจ การกดขี่ ตลอดจนความขัดแย้ง รุ นแรง49 ที่สาคัญคือ ในทางปฏิบตั ิ รัฐมักจะใช้อ านาจนั้นตัดสิ นใจหรื อ ดาเนิ นการไปในทางเอื้ อ ประโยชน์ให้แก่คนบางกลุ่ม แต่กีดกันหรื อเลือกปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นธรรมต่อคนบางกลุ่ม เมื่อคนบางกลุ่ม ที่ถูกกีดกันสิทธิ์และดิ้นรนหาทางออกเอง จะยิง่ ทาให้ถูกระแวงมากยิง่ ขึ้น ซึ่ งหลายๆ กรณี ที่ขดั ขวาง ต่อผลประโยชน์ของผูม้ ีอานาจทางการเมือง ก็ถูกอ้างว่าเป็ นอันตรายต่อความมัน่ คงของชาติ และใช้ มาตรการจับกุมดาเนิ นคดี หรื อใช้ความรุ นแรงเข้าปราบปราม 50 ดังตัวอย่างที่เคยเกิ ดขึ้นมาแล้ว เช่ น การบังคับโยกย้ายหมู่บา้ นดั้งเดิม ออกจากเขตอุทยานแห่ งชาติ การปิ ดล้อมหมู่บา้ นเพื่อตรวจค้นและ จับกุม โดยเฉพาะเหตุการณ์ ที่ เกิ ดขึ้นที่ห มู่ บา้ นปางแดงหรื อ การปฏิบตั ิต ามคาสั่ง คสช.ที่ 64/2557 ระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2560 ในพื้นที่ภาคเหนือ ผลกระทบจากภาพลักษณ์และกฎหมายและนโยบายดังกล่าวนี้ ไม่เพียงทาให้เจ้าหน้ารัฐใช้ อานาจเท่านั้น แต่ยงั มีปรากฏการณ์ที่เจ้าหน้าที่รัฐหรื อผูน้ าชุ มชน ปลูกระดมคนพื้นราบขึ้นมาแสดง ปฏิกิริยาต่อ ต้านคนบนพื้นที่สูงอีกด้วย ตัวอย่างเช่ น เกิ ดกรณี ที่ประชาชนจานวนหนึ่ งได้เข้าร่ วมกับ องค์กรเรี ยกร้องให้อพยพคนออกจากป่ า การที่คนพืน้ ราบเข้าร่ วมกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้เข้าไปตัดต้นลิ้นจี่ ของคนม้ง หรื อการที่กลุ่มคนในตัวเมืองอาเภอปาย ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นคนต่างถิ่นมาทาธุรกิจ ร้องเรี ยน ให้หน่วยงานรัฐยึดพื้นที่ทากินของชุมชนเผ่าลาหู่ ซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นดั้งเดิมในพื้นที่ โดยอ้างว่าบุกรุ กป่ า ต้นน้ า เป็ นต้น ในการบังคับใช้พระราชบัญญัติเกี่ยวกับป่ าไม้ ทั้ง 4 ฉบับและนโยบายหรื อคาสั่งอีกอย่างน้อย 5 ฉบับ ดังกล่าวข้างต้นนั้น ส่ วนหนึ่ งมีผลเป็ นการป้ องกันและปราบปรามผูก้ ระทาความผิดจริ ง ใน ขณะเดียวกันอีกด้านหนึ่งกลับส่งผลกระทบต่อวิถีชีวติ และความเป็ นอยูข่ องประชาชนอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง
49
เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 63. 50 สายชล สัตยานุรักษ์, ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขัดแย้ง, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 173.
85
ประการแรก ท าให้ ค นจ านวนมากที่ ใ ช้ที่ ดิ น ทรั พ ยากรส าหรั บ ด ารงชี วิ ต กลายเป็ น อาชญากรรม โดยเฉพาะการครอบครองที่ดินโดยไม่ได้รับอนุ ญาต โดยปรากฏจากตัวเลขประชาชนที่ ลงทะเบียนคนจนเมื่อปี 2547 พบว่ากรณี ปัญหาที่ดินทากินมีกว่า 4.8 ล้านครอบครัว จาแนกเป็ นไม่มี ที่ดินเป็ นของตัวเองจานวน 2 ล้านครอบครัว มีที่ดินทากินไม่เพียงพอ 1.6 ล้านครอบครัว และมีที่ดิน แต่ ไ ม่ มี เ อกสารสิ ทธิ์ เพราะอยู่ ใ นเขตที่ ดิ น รั ฐ 1.2 ล้ า นครอบครั ว 51 และจากรายงานของ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแก้ไขปั ญหาที่ดินทากิน สภาผูแ้ ทนราษฎร พบว่า ในปี พ.ศ. 2553 มี ประชาชนจานวนมากอยู่อ าศัยและทาประโยชน์ในเขตที่ ดินสงวนหวงห้ามของรัฐประเภทต่างๆ จานวน 635,916 ราย เนื้ อที่ประมาณ 11.6 ล้านไร่ แบ่งเป็ นในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติจานวน 450,000 ราย เนื้อที่ประมาณ 9.4 ล้านไร่ ในเขตป่ าอนุ รักษ์ (อุทยานแห่ งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า วนอุทยาน เขตห้ามล่าสัตว์ป่า) จานวน 185,916 ราย เนื้อที่ 2,243,943 ไร่ 52 ประการที่สอง ทาให้คนที่ใช้ที่ดินและทรัพยากรถูกจับกุมดาเนิ นคดีจานวนมาก โดยตัวเลข สถิ ติแสดงจานวนคดี ค วามผิดเกี่ ยวกับป่ าไม้มีสูง อย่างมี นัยยะส าคัญ คื อ เฉพาะในเขตป่ าอนุ รัก ษ์ (อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า วนอุทยาน เขตห้ามล่าสัตว์ป่า) สถิติการดาเนิ นคดีในข้อหาบุก รุ กพื้นที่ป่าและทาไม้ ระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2552 – 2559 จานวน 38,727 คดี ในจานวนนี้ มีผถู ้ ูกจับกุม ดาเนินคดีท้งั หมด 15,478 ราย53 สถิติจานวนการดาเนินคดีเพิม่ ขึ้นอย่างมีนยั ยะสาคัญหลังจากที่มีคาสั่ง คณะรักษาความสงบเรี ยบร้อยแห่งชาติ (คสช.) ที่ 64/2557 และแผนแม่บทการพิทกั ษ์ทรัพยากรป่ าไม้ แห่ งชาติ พ.ศ. 2557 จากสถิ ติระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2556 มี คดี เฉลี่ ยปี ละ 2,204 คดี แต่ในช่ วง ดาเนินการตามนโยบาย คสช. คือปี พ.ศ. 2557-2558 มีคดีเพิม่ ขึ้นเฉลี่ยปี ละ 3,100 คดี54 สาหรับสถิ ติจานวนคดี ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติที่เกิ ดขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2552-2560 มี คดี เกิ ด ขึ้ น ทั้งหมด 63,085 คดี เฉลี่ ย ปี ละ 7009.4 คดี เมื่ อ ดู ต ัว อย่า งข้อ มู ล เฉพาะของพื้น ที่ จ ัง หวัด
51
ข้อมูลควรรู้ : คนไทย 90% มีที่ดินไม่ถึง 1 ไร่ ต่อคน, ประชาไทย, วันที่ 20 พฤศจิกายน 2552, https://prachatai.com/journal/2005/11/6438, (16 มีนาคม 2561). 52 ศยามล ไกรยูรวงศ์, “ร่ างกฎหมายสิ ทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและทรัพยากร : ลดความเหลื่อมล้ าสร้าง ความเป็ นธรรม” [ระบบออนไลน์], คณะกรรมการปฏิ รูปกฎหมาย, แหล่งที่มา http://www.lrct.go.th/th/?p=17044 , (22 กรกฎาคม 2560). 53 ฝ่ ายคดีและของกลาง ส่ วนยุทธการด้านป้ องกันและปราบปราม สานักป้ องกัน ปราบปราม และควบคุม ไฟป่ า. สรุ ปรายงานการกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับการป่ าไม้ ของหน่ วยงานในสั งกัดกรมอุทยานแห่ งชาติ สั ตว์ ป่า และพันธุ์พืช ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552-2559. 54 เรื่ องเดียวกัน.
86
แม่ฮ่องสอน พบว่าระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2560 มีคดีเกิดขึ้นทั้งหมด 1659 คดี เฉลี่ยปี ละ 331.8 คดี ที่ดินทากินถูกยึดไปแล้วอย่างน้อย 22,972 ไร่ 55 เมื่อรวมกันแล้วช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2560 มีคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้เกิดขึ้นอย่างน้อย 101,812 เฉลี่ยปี ละ 11,312 คดี แม้ว่าสถิติดงั ที่ได้ยกมาข้างต้นนี้ จะไม่ได้ช้ ีว่า ผูท้ ี่ถือครองที่ดินอยูอ่ าศัยและทากินในเขตป่ า หรื อถูกดาเนิ นคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเท่านั้น แต่กลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูงถื อ ว่าเป็ นกลุ่ มคนที่ไ ด้รับผลกระทบมากที่สุด โดยปรากฏข้อมู ลว่า หลังจากที่มี คาสั่งคณะ รักษาความสงบเรี ยบร้อ ยแห่ งชาติ (คสช.) ที่ 64/2557 และแผนแม่ บทการพิทกั ษ์ทรัพยากรป่ าไม้ แห่ งชาติ พ.ศ. 2557 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม (ทส.) ได้สารวจการบุกรุ กผืนป่ า ต้นน้ าในภาคเหนื อและรายงานว่า พบทรัพยากรป่ าถูกบุกรุ กทาลายกว่า 8.6 ล้านไร่ มีผบู ้ ุกรุ กกว่า 8 แสนราย โดยเป็ นชาวไทยพื้นที่สูง 80% ชาวไทยพื้นที่ราบ 10% และนายทุน 10% ซึ่ งยังเป็ นจานวน มากกว่าครึ่ งของตัวเลขประชาชนที่ลงทะเบียนคนจนตั้งแต่ปี 2547 ที่มีผคู ้ รอบครองที่ดินในเขตที่ดิน รัฐทั้งประเทศ 1.2 ล้านครอบครัว56 และใกล้เคียงกับตัวเลขจากรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาแก้ไขปั ญหาที่ดินทากิน สภาผูแ้ ทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2553 ว่ามีประชาชนจานวนมากอยูอ่ าศัย และทาประโยชน์ในเขตที่ดินสงวนหวงห้ามของรัฐประเภทต่างๆ จานวน 635,916 ราย 3.3 การกีดกันสิ ทธิภายใต้ ระบบกฎหมายคุ้มครองสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา การดาเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เป็ นกระบวนการที่บงั คับต่อสิ ทธิและเสรี ภาพของ บุคคลหรื อทรัพย์สิน หรื อเป็ นกระบวนการที่บงั คับเอาตัวบุคคลมาไว้ในอานาจควบคุมของรัฐ แม้จะ ยังไม่ ได้พิสูจน์ว่าบุคคลนั้นได้กระความผิดจริ งหรื อไม่ ซึ่ งมีผลเป็ นการจากัดสิ ทธิและเสรี ภาพและ อิสรภาพของบุคคล อันจะนาไปสู่การกระทบต่อชีวติ และความเป็ นอยูข่ องบุคคล จึงจะต้องมีมาตรการ คุม้ ครองศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ จึงต้องปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่างมีอารยะธรรม ไม่ให้ได้รับ ความทุกข์หรื อเดือดร้อนเกินสมควร รวมทั้งเป็ นหลักประกันให้การพิจารณาคดี ดาเนิ นไปอย่างเป็ น ธรรมเพื่อคุ ม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพของบุคคล ทั้งนี้ เพื่อจะได้กลั่นกรองเอาผูท้ ี่บริ สุทธิ์ ออกไปจาก กระบวนการ หากดาเนินการล่าช้า ผิดพลาดหรื อไม่เป็ นธรรม บุคคลนั้นก็จะได้รับผลร้ายก่อนแล้วจาก 55
คณะอนุกรรมการป้ องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่ าจังหวัดแม่ฮ่องสอน, รายงานการประชุม ครั้ งที่ 1/2561. 56 ข้อมูลควรรู้ : คนไทย 90% มีที่ดินไม่ถึง 1 ไร่ ต่อคน, ประชาไทย, วันที่ 20 พฤศจิกายน 2552, สื บค้นจาก https://prachatai.com/journal/2005/11/6438, (16 พฤษภาคม 2561).
87
กระบวนการที่ไร้ประสิทธิภาพ ซึ่งมีผลเท่ากับการถูกลงโทษอย่างไม่เป็ นธรรม นอกจากนี้ จะต้องให้ผู ้ ที่ถูกกล่าวหามีโอกาสต่อสูค้ ดีเพือ่ แก้ขอ้ กล่าวหาอย่างเต็มที่ ตามหลักอาวุธที่เท่าเทียม (Equal Arms) และหลักฟังความทั้งสองฝ่ าย (The principle of bilateral hearing) ที่ให้คู่ความมีโอกาสต่อสู ้ได้อย่าง เต็มที่ โดยนาข้ออ้างพร้อมพยานหลักฐานของตนเองมาแสดงต่อศาล 3.3.1 หลักการพืน้ ฐานในการคุ้มครองสิ ทธิของผู้ต้องหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญา หลักการที่ระบบกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญานามาใช้เป็ นแนวทางในการบัญญัติและบังคับ ใช้กฎหมาย เพือ่ คุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ที่สาคัญมี 2 หลักการด้วยกัน กล่าวคือ 3.3.1.1 หลักกระบวนการที่ถูกต้ องตามกฎหมาย (Due Process of Law) ที่ให้ความสาคัญกับ การดาเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ตามที่กฎหมายกาหนดเอาไว้ โดยมุ่งเน้นคุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพ ของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นสาคัญ57 ซึ่งผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะได้รับการประกันสิทธิและโอกาสในการ ต่อสูค้ ดีอย่างความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ตามหลักอาวุธที่เท่าเทียมกัน (Equal footing)58 โดยในรัฐที่ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยหรื อรัฐสมัยใหม่ นิยมนามาใช้เพือ่ มุ่งเน้นการคุม้ ครองสิทธิเสรี ภาพ ของประชาชนเป็ นส าคัญ ซึ่ ง หลัก การนี้ ก าหนดให้ ก ารปฏิ บ ัติ ห น้า ที่ ข องเจ้า หน้า ที่ แ ละศาลใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา จะต้องยึดหลักนิ ติธรรมที่จาเป็ นในการคุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพขั้น พื้นฐาน (Fundamental Rights and Freedom) ของประชาชนเป็ นหลัก เช่น การแจ้งข้อหา การแจ้ง สิ ท ธิ สิท ธิ ในการมี ทนายความ สิ ท ธิ ในการมี ล่า ม สิ ท ธิ ที่ จ ะไม่ ให้ก ารสิ ทธิ เข้า ถึ ง ข้อ มู ล ในการ ดาเนินคดีสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาทบทวนคดีในศาลสูง59 3.3.1.2 หลักการพิจารณาคดีอย่ างเป็ นธรรม (Right to fair trial) เป็ นหลักการที่รับประกันว่า ผูต้ อ้ งหาหรื อ จ าเลยจะได้รับ การพิจารณาอย่างเป็ นธรรมด้วยระบบที่เป็ นที่ย อมรับ ในการตัดสิ น ความผิดของบุคคล ด้วยความมี เหตุมี ผล ภายในกาหนดระยะเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งต้อ งคานึ งถึ ง 57
วศิน สุ วรรณรัตน์. อัจฉรา จันทน์เสนะ, มงคล มาลยารม, สิ ทธิ ของผู้ต้องขังเพื่อการได้ รับการช่ วยเหลือ ทางกระบวนการยุติธรรม: ศึกษากรณี ผ้ ตู ้ องขังหญิงในทัณฑสถานหญิงสงขลา, รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ , สานัก ปลัดกระทรวงยุติธรรมร่ วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์. 58 อุ ทยั อาทิเ วช. แนวคิ ด พื้น ฐานเกี่ ย วกับกระบวนการยุติธ รรมทางอาญาและบทบาทขององค์ก าร สหประชาชาติ เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, หน่ วยที่ 3 ชุดวิชา 41717 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และและพยานชั้นสูง, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช, หน้า 13. 59 เรื่ องเดียวกัน.
88
บริ บทแวดล้อมที่อาจมีผลในการกดดันต่อการพิจารณา เช่น ประโยชน์สาธารณะ ความสงบเรี ยบร้อย ของสังคม ศีลธรรม ความขัดแย้งทางการเมือง เป็ นต้น 60 ซึ่ งหลักการนี้ ให้ความสาคัญกับการรับรอง สิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่ถูกดาเนินคดีตามหลักความเสมอภาคและหลักนิ ติธรรม เพื่อจะนาไปสู่ การสร้างความยุติธรรมในคดีอาญา และป้ องกันการใช้อานาจตามอาเภอใจ (Abuse of Power) ของ เจ้าหน้าที่ผมู ้ ีอานาจ61 หลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม ที่ถูกนามาบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญาของไทย เช่น สิทธิที่จะได้รับทราบข้อกล่าวหา62 สิ ทธิที่จะไม่ให้ถอ้ ยคาเป็ นปฏิปักษ์ต่อตนเอง63 สิทธิที่จะได้รับการสอบสวนด้วยความรวดเร็วต่อเนื่องและเป็ นธรรม64 สิทธิพบและปรึ กษาผูท้ ี่จะเป็ น ทนายความสองต่อสอง65 สิทธิที่จะได้รับการปล่อยชัว่ คราว66 สิทธิที่จะมีล่าม67 สิทธิได้รับการคุม้ ครอง โดยห้ามศาลรับฟั งพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ 68 สิ ทธิที่จะให้การต่อสู ้คดี69 สิ ทธิที่จะอุทธรณ์ ฎีกา คัดค้านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ 70 สาหรับรัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย ก็ได้บญั ญัติรับรอง สิทธิของผูต้ อ้ งหาและจาเลยเอาไว้ เช่น รับรองหลักการ “ให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ไม่ มี ความผิด” และสิ ทธิ ต่างๆ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เช่น สิ ทธิ เข้าถึ งกระบวนการ ยุติธรรมได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ ว และทัว่ ถึง , สิ ทธิได้รับการสอบสวนอย่างถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ น ธรรม และการไม่ให้ถอ้ ยคาเป็ นปฏิปักษ์ต่อตนเอง , สิ ทธิได้รับความคุม้ ครอง และความช่วยเหลือที่ จาเป็ นและเหมาะสมจากรัฐ , สิทธิได้รับการปล่อยตัวชัว่ คราว เป็ นต้น
60
Nuala Mole and Catharina Harby, The right to a fair trial : A guide to the implementation of Article 6 of the European Convention on Human Rights, General of Human Rights Council of Europe, (Belgium, 2006), pp. 4 – 5, available at http://www.echr.coe.int/LibraryDocs/DG2/HRHAND/DG2-EN-HRHAND-03(2006).pdf. 61 น้ าแท้ มีบุญสล้าง, หลักการพืน้ ฐานในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา file:///C:/Users/NBC/Downloads/32704-73150-1-SM%20(1).pdf, (12 มีนาคม 1561). 62 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 , 134 63 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 134/4 64 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 131 , 134 วรรค 3 65 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 7/1 , 8 66 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 106 67 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 68 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 226 69 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 172 70 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 193 , 216
89
3.3.2 กฎหมายคุ้มครองสิ ทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เมื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณาคดีนบั ตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการ และชั้นศาล เจ้าหน้าที่และ ศาลซึ่งเป็ นกลไกในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา มีอานาจหน้าที่ดาเนิ นการตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่ ง โดยสภาพเป็ นการดาเนิ น การที่ กระทบต่ อ สิ ท ธิ และเสรี ภาพของผูต้ ้อ งหา ดัง นั้น กฎหมายจึ ง กาหนดให้ผตู ้ อ้ งหาต้องมีสิทธิต่างๆ เพื่อที่จะสามารถต่อสู ้คดีเพื่อ พิสูจน์ความบริ สุทธิ์ของตนเองได้ อย่างเต็มที่ ดังนั้น ผูซ้ ่ ึงใช้อานาจในกลไกกระบวนการยุติธรรม ก็ตอ้ งเคารพต่อสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยตามที่กฎหมายกาหนดไว้เช่นกัน ซึ่ งสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา ถู กบัญญัติไ ว้ในรัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา โดยมีสาระสาคัญดังนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 39 ได้บญั ญัติหลักการให้สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์ จนกว่าศาลจะมีคาพิพากษาถึงที่สุดว่ามีความผิด และมาตรา 40 บัญญัติเรื่ องสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เช่น การได้รับการพิจารณาโดยเปิ ดเผย , สิ ทธิ ในการเสนอข้อเท็จจริ ง ข้อโต้แย้ง และพยานหลักฐานของตน , สิ ทธิในการได้รับการสอบสวนอย่าง ถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ นธรรม และการไม่ให้ถอ้ ยคาเป็ นปฏิปักษ์ต่อตนเอง , สิ ทธิในการมีทนายความ , สิทธิได้รับการปล่อยตัวชัว่ คราว เป็ นต้น ส าหรั บ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 29 บัญญัติรับรองหลักการเรื่ อง บุคคลไม่ตอ้ งรับโทษอาญา ถ้าไม่มีกฎหมายกาหนดให้เป็ น ความผิดและกาหนดโทษไว้ นอกจากนี้ ยงั ได้บญั ญัติรับรองสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เช่น ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยไม่มีความผิด , จะบังคับให้บุคคลให้การเป็ นปฏิปักษ์ ต่อตนเองมิได้ . สิทธิได้รับการประกันตัว เป็ นต้น ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา ได้บญั ญัติรับรองสิทธิท้งั ในชั้นก่อนการพิจารณาคดี ของศาลและในชั้นการพิจารณาของศาล โดย สิ ทธิของผูต้ อ้ งหาชั้นก่อนการพิจารณาคดีของศาลนั้น กฎหมายกาหนดให้ผตู ้ อ้ งหามีสิทธิต่างๆ ที่จะต่อสูค้ ดีเพือ่ พิสูจน์ความบริ สุทธิ์ของตนเองได้อย่างเต็มที่ เช่น 1. สิทธิที่จะไม่ถูกจับกุมคุมขังโดยมิชอบ71 2. สิทธิที่จะไม่ถูกรบกวนการอยูอ่ าศัยโดยปกติสุข72 3. สิทธิได้รับการแจ้งสิทธิตามกฎหมายเมื่อถูกดาเนินคดี 73 4. สิทธิที่จะได้รับทราบข้อกล่าวหา74 5. สิทธิที่
71
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 57 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 57 73 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 83 , 134/4 74 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 83 วรรคสอง และมาตรา 134 72
90
จะได้รับการสอบสวนด้วยความรวดเร็ วต่อ เนื่ องและเป็ นธรรม 75 6. สิ ทธิพบและปรึ กษาผูท้ ี่จะเป็ น ทนายความ76 7. สิทธิที่จะได้รับการเยีย่ มตามสมควร77 8. สิ ทธิที่จะไม่ถูกบังคับ ขู่เข็ญ ทรมาน หรื อใช้ วิธีหลอกลวงให้รับสารภาพ 78 9. สิ ทธิที่จะได้รับการปล่อยชัว่ คราวในชั้นสอบสวน79 10. สิ ทธิที่จะมี ล่าม80 11. สิทธิที่จะได้รับโอกาสแก้ขอ้ หาและแสดงข้อเท็จจริ งอันเป็ นประโยชน์แก่ตนได้ในชั้น81 สาหรับสิทธิของจาเลยชั้นการพิจารณาคดีของศาลนั้น มีสิทธิบรรดาที่มีต่อเนื่ องมาจากในชั้น สอบสวน และสิทธิที่เพิม่ เข้ามาในชั้นศาล คือ 1.สิทธิที่จะแต่งทนายความช่วยเหลือในการดาเนิ นคดี82 2. สิทธิขอตรวจดูสิ่งของหรื อเอกสารที่จะถูกใช้เป็ นหลักฐาน83 3. สิทธิได้รับการคุม้ ครองโดยห้ามศาล รับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ84 4. สิทธิได้รับทราบฟ้ อง85 5. สิทธิที่จะให้การต่อสูค้ ดี ซักค้าน พยานของโจทก์ และนาพยานหลักฐานมาเสนอเพือ่ แก้ขอ้ กล่าวหา86 6. สิ ทธิที่จะอุทธรณ์ ฎีกา คัดค้าน คาพิพากษาหรื อคาสัง่ 87 เมื่อพิจารณาลักษณะการบัญญัติคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาข้างต้น จะเห็นว่ามีเนื้ อ หาครอบคลุมตามหลักการพิจารณาคดี อย่างเป็ นธรรม โดยเฉพาะ ประเด็น สิ ทธิ เข้าถึ งกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ ว และทัว่ ถึง , สิ ทธิ ได้รับการ พิจารณาโดยเปิ ดเผย , สิทธิที่จะให้คดีของตนได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็ ว และเป็ นธรรม , สิทธิในการได้รับการสอบสวน อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ นธรรม และการไม่ให้ถอ้ ยคาเป็ นปฏิปักษ์ต่อ ตนเอง , และสิทธิได้รับความคุม้ ครองและความช่วยเหลือที่จาเป็ นและเหมาะสมจากรัฐ
75
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา มาตรา 134 วรรค 3 และมาตรา 131 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในมาตรา 7/1 , ตามมาตรา 134/1, มาตรา 134/3 77 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 7/1 78 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 135 79 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 106 , มาตรา 110 80 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 13 81 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 วรรคสาม 82 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 8 , มาตรา 173 83 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 8 84 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 และมาตรา 226/1 85 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 172 86 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 172 87 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 , มาตรา 199 ,มาตรา 216 76
91
3.3.3 ลักษณะของกฎหมายคุ้มครองสิ ทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลย เมื่อพิจารณาแนวคิดและบทบัญญัติกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาของไทยตามที่ได้กล่าวมา ข้า งต้น จะเห็ น ว่า เป็ นกฎหมายที่ มี รู ป แบบรั บ รองสิ ท ธิ ข องผู ้ต ้อ งหาหรื อ จ าเลยในรู ป แบบหรื อ มาตรฐานเดียวกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างในลักษณะกีดกันหรื อให้อภิสิทธิ์แก่คนกลุ่มใด กลุ่มหนึ่ง คือ ไม่วา่ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะเป็ นใครหรื อมีสถานะทางเศรษฐกิจ สังคมอย่างไร ก็จะบังคับ ใช้กฎหมายในรู ปแบบและมาตรฐานอย่างเดียวกัน พร้อมทั้งรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญา ยังได้บญั ญัติรับรองสิทธิของ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอย่างครบถ้วน ครอบคลุมตามหลักการพิจารณา คดีอย่างเป็ นธรรม โดยเชื่อว่าเมื่อมีกฎหมายบัญญัติรับรองให้ทุกคนมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันและด้วย มาตรฐานเดียวกันแล้ว จะทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนได้รับสิ ทธิตามที่กฎหมายกาหนด และจะ สามารถใช้สิทธิตามบทบัญญัติกฎหมายต่อสูค้ ดีได้อย่างเต็มที่ โดยกฎหมายและกลไกในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา จะสามารถอานวยให้เกิดความเป็ นธรรมในการพิจารณาคดีจริ ง ดังนั้น เมื่ อ บทบัญญัติก ฎหมายเกี่ ย วกับกระบวนการพิจ ารณาคดี อ าญาของไทย ตั้งอยู่บ น หลักการสากลที่เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป ประกอบกับเป็ นกฎหมายที่มีเนื้อหารับรองหรื อคุม้ ครองสิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่างครอบคลุม จึงทาให้เป็ นการยากที่จะโต้แย้งในทางรู ปแบบได้ว่า คนชาย ขอบบางกลุ่ม ถู กเลือ กปฏิบตั ิหรื อ ถูกกี ดกันในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ทาให้เข้าไม่ ถึ งสิ ทธิ ตามที่กฎหมายกาหนดเอาไว้ ซึ่งหากเกิดกรณี ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยบางคนไม่ได้รับสิทธิตามที่กฎหมาย ก าหนด ก็ จ ะถื อ ว่ า ปั ญ หานั้น ไม่ ใ ช่ ค วามบกพร่ อ งของระบบกฎหมาย หรื อ ถู ก เลื อ กปฏิ บ ัติ อ ัน เนื่องมาจากระบบกฎหมายกีดกันคนชายขอบ หากแต่เกิดจากความประสงค์ที่เลือกปฏิเสธการใช้สิทธิ ตามที่กฎหมายกาหนด หรื อเป็ นเงื่อนไขส่วนตัวที่จะถือว่าเป็ นปั ญหาของระบบไม่ได้ 3.3.4 การกีดกันกลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูงในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยทั่ว ไปแล้ว นัก กฎหมายมี ค วามเชื่ อ ว่า ตัว กฎหมายจะเป็ นระเบี ย บที่ ก าหนดและจัด ความสัมพันธ์ต่างๆในสังคม ซึ่งเมื่อหลักการเกี่ยวกับสิทธิเสรี ภาพต่างๆ ถูกบัญญัติไว้เป็ นกฎหมายแล้ว ตัวกฎหมายจะทาหน้าที่ทาให้สังคมเกิ ดความเป็ นธรรม โดยเฉพาะแนวความคิดพื้นฐานเรื่ อ งความ เสมอภาค ที่ถูกพัฒนาให้เป็ นหลักการทางกฎหมายที่เรี ยกว่า “หลักความเสมอภาคเบื้องหน้ากฎหมาย” ที่ยอมรับความเท่าเทียมกันของมนุ ษย์ท้ งั ในการออกกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย และการตีความ กฎหมาย บนพื้น ฐานความคิ ด ว่า มนุ ษ ย์มี ค วามเสมอภาคเท่ า เที ย ม และ “หลัก นิ ติ ธ รรม” ที่ ว าง กฎระเบียบให้ผปู ้ กครองหรื อรัฐต้องกระทาการต่างๆ ได้ตามอานาจหน้าที่ที่กฎหมายกาหนดเท่านั้น 92
ซึ่งในกรณี ของสังคมไทย หลักการทั้งสองนี้ถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เพือ่ รับรองสิทธิ เสรี ภาพและ ความเสมอภาค มาตั้ง แต่รั ฐธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พ.ศ. 2475 มาตรา 12 จนกระทั่ง รัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 4 วรรคแรก ก็ได้บญั ญัติว่า “ศักดิ์ศรี ความเป็ น มนุษย์ สิ ทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่ อมได้ รับความคุ้มครอง” และวรรคสองบัญญัติ ว่า “ปวงชนชาวไทยย่อมได้ รับความคุ้มครองตามรั ฐธรรมนูญเสมอกัน” แต่อย่างไรก็ตาม ในบริ บทของสังคมไทยนั้น การที่กฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิต่างๆ ไว้อย่าง ครบถ้วนนั้น ไม่ได้หมายความว่าพลเมืองไทยทุกคน จะมีโอกาสเข้าถึงสิ ทธิบรรดาที่กฎหมายกาหนด ไว้ท้ งั หมดจริ ง และเจ้าหน้าที่ผูบ้ งั คับใช้กฎหมาย จะปฏิบตั ิต่อ ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยทุกคน ด้วยความ เคารพต่อกฎหมายจริ ง เนื่องจากการได้รับการยอมรับให้มีสิทธิและเสรี ภาพในสังคมไทย ไม่ใช่เพียงมี กฎหมายบัญญัติให้มีสิทธิแล้ว จะทาให้พลเมืองทุกคนได้รับสิ ทธิน้ นั จริ ง หากแต่การเข้าถึงสิ ทธิตาม กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทางปฏิบตั ิน้ นั นอกจากต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กฎหมายบัญญัติ แล้ว ยังต้องเผชิญกับเงื่อนไขทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลครอบงาโครงสร้างอานาจรัฐ กล่าวคือ วัฒนธรรมการใช้กฎมายของสังคมไทยนั้น มี ลกั ษณะที่บทบัญญัติของกฎหมายตั้งอยู่แบบ แยกส่วนจากวัฒนธรรมการใช้กฎหมายของระบบราชการ ที่ถูกครอบงาด้วย “วัฒนธรรมแห่ งชาติ”88 ซึ่ งตั้งอยูบ่ นฐานคิดทางศาสนา ภาษา แนวคิดการพัฒนาและระบบคุณค่าทางสังคมที่รัฐกาหนด ซึ่ ง “ได้ หล่ อหลอมความสั มพันธ์ ทางสั งคมและความสั มพันธ์ เชิ งอานาจระหว่ างชนชั้นและชาติ พันธุ์ ที่ ปราศจากความเสมอภาคและเต็มไปด้ ว ยอคติ ”89 ทั้ง “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ยังคงมี อิทธิ พลครอบงา สังคมโดยเฉพาะโครงสร้างอานาจรัฐอย่างเข้มแข็งและ “มีพลังอย่ างมากในการกาหนดวิธีคิดและการ ดาเนินการต่ างๆ ของรั ฐ ข้ าราชการและชนชั้นกลาง”90 ดังนั้น การใช้และการตีความกฎหมายในทาง 88
สายชล สัตยานุรักษ์ (ในชาตินิยมกับพหุ วฒั นธรรม) เสนอว่าวัฒนธรรมแห่ งชาติ คือ ลักษณะที่สังคมไทย ถือว่าเป็ นอัตลักษณ์ประจาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ศาสนาพุทธ ภาษาไทยมาตรฐาน แนวคิดเรื่ องการพัฒนาที่เน้นการ สร้างความเจริ ญทางวัตถุแต่รักษาจิตใจแบบไทยเอาไว้ และระบบคุณค่าทางสังคมที่สาคัญ ได้แก่ การรู้ที่ต่าที่สูง การ มีความรัก ชาติ ที่มีนัยของการต่อต้านชาติอื่ นและชาติ พนั ธุ์อื่น การทาหน้าที่ตามสถานภาพทางสังคมโดยไม่ตอ้ ง คานึ งถึงสิ ทธิ การมีความสามัคคีและการเสี ยสละเพื่อชาติที่ผอู้ ยู่ในฐานะเสี ยเปรี ยบจะต้องยอมรับอย่างปราศจาก เงื่อนไข การรอคอยความเมตตาเอื้ออาทรจากผูน้ าที่มีปัญญาและคุณธรรมสู งกว่าคนอื่น การระแวงความแตกแยก ภายในชาติที่เกิดจากการกระทาของคนชาติพนั ธุ์ต่างๆ ตลอดจนการมองว่าคนในหลายท้องถิ่นและหลายชาติพนั ธุ์โง่ เขลาล้าหลัง ป่ าเถื่อนหรื อด้อยความเจริ ญ 89 สายชล สัตยานุรักษ์, การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลัก และ “ความจริ ง” ที่ “ความเป็ นไทย” สร้าง, ใน ประวัติศาสตร์ วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย, (เชียงใหม่, 2550), หน้า 171. 90 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 171-173.
93
ปฏิบตั ิ ที่กระทาโดยหน่วยงานทางราชการ จึงตกอยูภ่ ายใต้กรอบวัฒนธรรมของระบบราชการ ทาให้ สิ ทธิที่บญ ั ญัติไว้ในกฎหมายมีผลเฉพาะกับคนบางกลุ่ มหรื อ เฉพาะบางกรณี เท่านั้น ซึ่ งหมายความ รวมถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาด้วย ในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่ งของระบบราชการ ย่อ มตกอยู่ ภายใต้อิทธิพล “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” เช่นเดี ยวกัน ส่ งผลให้กลุ่มคนชายขอบเสี ยเปรี ยบในสิ ทธิและ อานาจ ทาให้ไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากการใช้อานาจของรัฐ การที่คนจะมีสิทธิและเสรี ภาพในสังคมไทยนั้น ไม่ไ ด้เป็ นผลมาจากการมีกฎหมายบัญญัติ รั บ รองเพีย งอย่า งเดี ย วเท่ า นั้ น หากแต่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งกับ สถานภาพทางสัง คมด้ว ย โดยคนที่ มี สถานภาพทางสังคมสู งในระดับ หนึ่ ง จะได้รับ การยอมรับให้เ ข้าถึ งสิ ทธิ ตามบทบัญญัติกฎหมาย สาหรับคนที่มีสถานภาพทางสังคมต่ า หรื อไม่ ได้รับการยอมรับ ก็จะถูกกีดกันโอกาสในการเข้าถึ ง สิทธิ แม้จะมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วก็ตาม กล่าวคือ ประการแรก การมีสถานะภาพที่จะถูกยอมรับว่าเป็ น “คนไทย”91 หรื อไม่ มีความสัมพันธ์กบั สิทธิและเสรี ภาพโดยตรง92 กล่าวคือ วัฒนธรรมแห่ งชาติ จะยอมรับให้เฉพาะคนที่มีสถานะเป็ น “คน ไทย” เท่านั้น ที่จะสามารถเข้าถึงสิทธิและเสรี ภาพได้จริ ง สาหรับคนที่ไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็ นคน ไทยในความหมายที่รัฐกาหนด จะไม่มีโอกาสเข้าถึงสิ ทธิและเสรี ภาพบรรดาที่กฎหมายกาหนดไว้ได้ 91
สายชล สั ต ยานุ รั ก ษ์ : การสร้ า งความหมายให้ แ ก่ ค วามเป็ น “คนไทย” เริ่ มขึ้ นในสมัย สมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ โดยในช่วงแรกๆ นั้นความหมายของความเป็ น “คนไทย” คือ มีจิตใจที่จงรักภักดีต่อกษัตริ ย ์ นับถือศาสนาพุทธ และมีวิถีชีวิตที่ผกู พันกับวัฒนธรรมไทย โดย พูดภาษาไทย มีกิริยามารยาทแบบไทย มีคุณธรรม และมีความศิวิไลซ์ โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานความคิดที่ตอ้ งรักษาวัฒนธรรม (แบบเดิม) ส่ วนใหญ่เอาไว้ แล้วรับเอาความ เจริ ญทางวัตถุแบบตะวันตกมาประยุกต์ เพื่อมิให้ความเป็ นไทยถูกมองว่าป่ าเถื่อน ในขณะเดียวกันก็ทาหน้าที่ จรรโลง โครงสร้างสังคมที่รวมศูนย์อานาจและแบ่งคนออกเป็ นลาดับชั้น91 ต่อมาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 ถึงช่วงเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ความหมายของ ความเป็ น “คนไทย” เปลี่ยนศูนย์กลางจากสถาบันกษัตริ ย ์ หันมาให้ความสาคัญกับพลเมือง โดยการสร้างวาทะกรรม ความเป็ นคนไทยที่เ น้นอุ ปนิ สัย คื อ เป็ นคนที่มีศิล ปะไทย รั ก อิ ส รภาพ มีนิสั ยใจคอที่รัก ความก้าวหน้า มุมานะ อุตสาหะขยันหมัน่ เพียร มีความสามัคคี แต่ไม่ขดั แย้งกับฐานคติเรื่ องการจงรักภักดีต่อกษัตริ ยแ์ ละนับถือศาสนาพุทธ ซึ่งเป็ นการปรับนิยามให้สอดคล้องกับความต้องการของผูน้ าประเทศ ที่เป็ นบุคคลธรรมดาไม่ใช่กษัตริ ย ์ หลังสงครามโลกครั้ งที่ส อง ความหมายของ “คนไทย” ก็ ก ลับมารวมศูนย์ทางความคิ ดที่ก ารมีค วาม จงรักภักดีต่อกษัตริ ย ์ ความมีระเบียบ ความสงบสุ ข ความมัน่ คงและความเจริ ญก้าวหน้า และนับถือศาสนาพุทธใน ฐานะแหล่งที่มาของศีลธรรม ที่สาคัญคือ การเน้นย้าว่าคนไทยต้องรู้ที่ต่าที่สูง ไม่เบียดเบียนกัน รักการปกครองแบบ ไทย พูดภาษาไทย รู้วรรณคดีไทยและศิลปะไทย มีขนบธรรมเนียมและประเพณีแบบไทย 92 สายชล สัตยานุรักษ์, การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลัก และ “ความจริ ง” ที่ “ความเป็ นไทย” สร้าง, ใน ประวัติศาสตร์ วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย, (เชียงใหม่, 2550), หน้า 171.
94
จริ ง ซึ่ งเสกสรร ประเสริ ฐกุ ล สรุ ปว่า เงื่ อ นไขของความเป็ น “คนไทย” คือ หนึ่ ง ต้อ งมี ฐานะทาง กฎหมายรองรับ (หมายถึงมีความเป็ นพลเมือ งที่ถือสัญชาติไทย) สอง ต้องยอมรับฐานะที่เหนื อกว่า ของอานาจรัฐและปรับตัวให้สอดคล้องกับระเบียบทางการเมืองและวัฒนธรรมที่รัฐกาหนด สาม ต้อง ดารงตนให้เป็ นประโยชน์ทางเศรษฐกิจตามนโยบายสร้างความทันสมัยในระบบทุนนิ ยม 93 ดังนั้น พลเมืองไทยทุกคนไม่ได้เป็ น “คนไทยที่สมบูรณ์ ” และพลเมืองไทยที่ไม่มีคุณสมบัติตามเงื่อนไขทั้ง สามประการนี้ ก็จะถูกกีดกันออกจากพื้นที่ของสิทธิหรื อโอกาสที่จะเข้าถึงประโยชน์ต่างๆ ประการที่สอง เนื่องจากลักษณะโครงสร้างของสังคมไทย เป็ นโครงสร้างที่แบ่งคนเป็ นลาดับ ชั้น โดยอาศัยเกณฑ์สถานะทางเศรษฐกิจหรื อสังคม นอกจากนี้ โครงสร้างทางสังคมของไทย ยังได้ แบ่งล าดับชั้นทางชาติ พนั ธุ์ด้วย โดยจัดวางให้คนในเมื อ งเป็ นชนชั้นที่สูงสุ ด สาหรับ กลุ่ ม ที่อ ยู่ใ น ชนบทห่างไกล เป็ นชนชั้นรองลงมา กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ถูกจัดให้เป็ นชั้นต่าสุ ด โดยคนที่ถูกจัด ให้อยูใ่ นสถานะที่สูงกว่า จะมีสิทธิและโอกาสมากกว่าคนที่อยูใ่ นสถานะต่ากว่า ดังที่สายชล กล่ าวว่า วัฒนธรรมแห่ งชาติของไทยเน้นเรื่ อง ‚ที่สูง-ที่ต่า‛ หรื อ ‚ผูใ้ หญ่-ผูน้ ้อย‛ มาก ทาให้ ‚ความไม่เสมอ ภาค‛ กลายเป็ นเรื่ องที่ถูกต้องดีงามในสังคมไทย และ ‚ความเสมอภาค‛ เป็ นเรื่ องที่เป็ นไปไม่ได้ และ คนที่มีสถานะสูงกว่า มีความเหนือกว่าในทุกด้าน จึงสมควรที่จะเป็ นชนชั้นอภิสิทธิ์และเป็ นผูป้ กครอง ส่วนคนที่มีสถานะต่ากว่าต้องดารงชีวติ ด้วยความเจียมตัว พร้อมกับทาหน้าที่ของตนด้วยความสามัคคี และเสียสละและไม่เรี ยกร้องสิทธิใดๆ94 แม้ต ัว บทกฎหมายจะบัญ ญัติ รั บ รองสิ ท ธิ ข องผู ้ห รื อ จ าเลยอย่า งชัด เจน แต่ พ ลเมื อ งใน สังคมไทยทุกคนอาจไม่มีโอกาสเข้าถึ งสิ ทธิ เสรี ภาพบรรดาที่กฎหมายกาหนดไว้ไ ด้จริ ง เนื่ อ งจาก วัฒนธรรมไทยกาหนดให้ระบบสิทธิ เสรี ภาพและความเสมอภาคภายใต้ระบบกฎหมายของไทย มีผล เฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น95 ดังนั้น ภายใต้วฒั นธรรมการใช้และการตีความกฎหมายดังกล่าวนี้ คนที่มี สถานะเป็ น “คนไทย” หรื อมีสถานภาพทางสังคมที่สูงกว่า จะมีโอกาสเข้าถึงสิ ทธิต่างๆ มากกว่าคนที่ ไม่ ถูกนับ ว่าเป็ น “คนไทย” หรื อ มี สถานะภาพทางสังคมต่ ากว่า หรื อ อาจกล่ าวได้ระบบสิ ทธิ และ เสรี ภาพในสังคมไทย ซึ่งรวมถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับคน ที่มีสถานะเป็ นไทยที่สมบูรณ์เท่านั้น 93
เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 64. 94 สายชล สัตยานุรักษ์, ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขัดแย้ง, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 171 – 172. 95 เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 64.
95
ในขณะที่ระบบสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับ คนที่มีสถานะเป็ น “คนไทย” เป็ นหลัก แต่กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงส่ วนใหญ่ยงั ไม่สามารถกลายเป็ น คนไทยที่สมบูรณได้ เนื่ องกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงส่ วนใหญ่ยงั คงดารงอัตลักษณ์ของชนเผ่าตนเอง ซึ่งมีความแตกต่างจาก “วัฒนธรรมแห่งชาติ” อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็ นการถือครองที่ดินทากิน รู ปแบบ การเพาะปลูก ภาษาพูด การต่างกาย ประเพณี วฒั นธรรม รวมทั้งส่ วนใหญ่ยงั มีฐานะทางการเงินที่ต่า กว่าคนส่ วนใหญ่ในสังคม ดังนั้น การที่กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงส่ วนใหญ่มีสัญชาติไทยแล้ว ไม่ได้ หมายความว่าจะได้รับการยอมรับให้มีสิทธิและเสรี ภาพโดยสมบูรณ์ได้ ดังที่ เสกสรร กล่าวไว้ว่า “... ไม่ ใช่ ทุกชาติพนั ธุ์ในประเทศไทยจะได้ รับพืน้ ที่ หรื อโอกาสเท่ ากันในการเป็ นสมาชิ กของ ‘ชาติไทย’ ตามเงื่ อนไขเหล่ านั้น โดยเฉพาะชาติพันธุ์ที่เสี ยเปรี ยบในทางเศรษฐกิ จและสั งคม และชาติพันธุ์ที่มี รากฐานทางภาษาและวัฒนธรรมแตกต่ างจากมาตรฐานของรั ฐค่ อนข้ างมาก...”96 ดังนั้น ไม่ ว่ากฎหมายจะบัญญัติเป็ นลายลักษณ์ อ ักษรไว้อ ย่างไร เมื่ อ กฎหมายเหล่ านั้นถู ก นาไปปฏิบตั ิจริ ง ผูท้ าหน้าที่ใช้กฎหมาย ต้องใช้และตีความโดยยึดตามวิธีคิดและแนวทางการทางาน ของระบบราชการ ที่ถูกครอบงาด้วย “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ซึ่ งมีลกั ษณะกีดกันกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูง ดังนั้น การใช้และการตีความบทบัญญัติของกฎหมายเพื่อรับรองหรื อคุม้ ครองสิ ทธิ จึงมีผล เฉพาะบางกรณี เท่านั้น และส่ งผลให้กลุ่ มคนชายขอบเสี ยเปรี ยบในสิ ทธิและอานาจ ทาให้ไม่ไ ด้รับ ความเป็ นธรรมจากการใช้อานาจ ซึ่งเมื่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ถูกนาตัว ไปดาเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา นับตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้นศาล พวก เขาเสมือนตกอยูใ่ นสถานะผูถ้ ูกกระทาโดยกระบวนการยุติธรรมอาญา มากกว่าจะที่เป็ นการคุม้ ครอง สิทธิในกระบวนการยุติธรรม หรื อหากประสงค์ที่จะต่อสูค้ ดี ก็จะต้องเผชิญกับกระบวนการต่างๆ ที่อยู่ ในอานาจเจ้าหน้าที่รัฐ ที่ทาให้ตกอยูใ่ นสถานะที่เสียเปรี ยบหรื อไม่ได้รับโอกาสในการต่อสูค้ ดีจริ ง 3.4 การกีดกันสิ ทธิบนพืน้ ฐานความเป็ นกลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูง ปั ญหาการกีดกันสิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงด้วยระบบกฎหมายและนโยบาย รวมทั้ง ผลกระทบที่เกิดขึ้นดังกล่าวในข้อ 3.2 และ 3.3 ข้างต้นนี้ มีรากเหง้าแห่ งปั ญหาอันเดียวกัน คือ การกีด กัน สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพบนพื้น ฐานความแตกต่ า งระหว่า งกลุ่ ม คน ที่ ก ลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์บ นพื้น ที่ สู ง ถู ก กาหนดให้มีสถานะภาพทางสังคมต่ากว่า โดยใช้กฎหมายเป็ นเครื่ องมือ ไม่ว่าจะเป็ นการบัญญัติห้าม ไว้โดยชัดเจน หรื อการบัญญัติห้ามโดยทางอ้อม คือ บัญญัติให้มีสิทธิ แต่การจะใช้สิทธิเหล่านั้นต้อง ทาตามเงื่อ นไขที่คนบางกลุ่ มไม่ สามารถทาตามได้ ซึ่ งทั้งปั ญหาสิ ทธิในฐานทรัพยากรและสิ ทธิใน 96
เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 63.
96
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา เป็ นปั ญหาตามบทบัญญัติกฎหมาย โดยสิ ทธิในป่ าไม้และที่ดิน เป็ น กรณี ที่บทกฎหมายบัญญัติห้ามไม่ให้มีสิทธิ ทาให้คนบางกลุ่มรวมทั้งกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ผูซ้ ่ ึ ง ครอบครองและใช้ที่ดินและทรัพยากรอยูแ่ ล้ว ไม่ได้รับสิ ทธิในการเป็ นเจ้าของหรื อใช้ประโยชน์โดย ถูกต้องตามกฎหมาย สาหรับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เป็ นกรณี ที่กฎหมายบัญญัติให้มี สิทธิ แต่สิทธิเหล่านั้นมีเงื่อนไขในการใช้ ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเข้าไม่ถึงสิ ทธิ์เหล่านั้นจริ ง ซึ่งความไม่เสมอภาคเท่าเทียมเทียมกันระหว่างกลุ่มคนดังกล่าวนี้ ตั้งอยูบ่ นเงื่อนไขสองประการ คือ 3.4.1 กลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูงกับความเป็ น “คนไทย” ที่สมบูรณ์ แม้ว่ากลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงส่ วนใหญ่จะมี สัญชาติไ ทยแล้ว หากแต่ยงั ไม่ ถู กนับว่าเป็ น “คนไทยโดยสมบูรณ์”97 เนื่องจากส่วนใหญ่ยงั คงดารงอัตลักษณ์ของชนเผ่าตนเอง ซึ่ งมีความแตกต่าง จากวัฒนธรรมแห่งชาติอย่างมาก ไม่วา่ จะเป็ นการถือครองที่ดินทากิน รู ปแบบการเพาะปลูก ภาษาพูด การต่างกาย ประเพณี วฒั นธรรม รวมทั้งส่วนใหญ่ยงั มีฐานะทางการเงินที่ต่ากว่าคนส่ วนใหญ่ในสังคม ดังที่ เสกสรร ประเสริ ฐกุล มี ความเห็นว่า กลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงยังไม่ถูกนับว่าเป็ นคนไทยโดย สมบูรณ์ โดยกล่าวว่า “...ไม่ ใช่ ทุกชาติพันธุ์ในประเทศไทยจะได้ รับพืน้ ที่ หรื อโอกาสเท่ ากันในการ เป็ นสมาชิ กของ ‘ชาติไทย’ ตามเงื่อนไขเหล่ านั้น โดยเฉพาะชาติพนั ธุ์ที่เสี ยเปรี ยบในทางเศรษฐกิ จและ สั งคม และชาติพันธุ์ที่มีรากฐานทางภาษาและวัฒนธรรมแตกต่ างจากมาตรฐานของรั ฐค่ อนข้ างมาก ...”98 เมื่ อกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงยังไม่ถู กนับว่ามี “ความเป็ นไทย” จึงมี ขอ้ จากัดในการเข้าถึ ง สิทธิในการใช้ทรัพยากรของรัฐรวมทั้งสิทธิในระบวนการยุติธรรมทางอาญาด้วย ดังที่สายชล สัตยานุ รักษ์ ได้กล่าวไว้ว่า ”คนที่ ไม่ มี ‘ความเป็ นไทย’ หรื อมี ‘ความเป็ นไทย’ น้ อย ตกเป็ นฝ่ ายเสี ยเปรี ยบ และได้ รับการดูถกู เหยียดหยาม ซึ่ งมีผลเชื่ อมโยงไปถึงการถูกแย่ งชิ งทรั พยากร การขาดโอกาสในการ 97
การมีคุณสมบัติเป็ น “คนไทย” ที่สมบูรณ์ คือ หนึ่ง ต้องมีฐานะทางกฎหมายรองรับ (หมายถึงมีความเป็ น พลเมืองที่ถือสัญชาติไทย) สอง ต้องยอมรับฐานะที่เหนือกว่าของอานาจรัฐและปรับตัวให้สอดคล้องกับระเบียบทาง การเมือ งและวัฒนธรรมที่รัฐกาหนด สาม ต้อ งดารงตนให้เ ป็ นประโยชน์ทางเศรษฐกิ จตามนโยบายสร้ างความ ทันสมัยในระบบทุนนิยม หรื ออีกนัยยะหนึ่งคือ จะต้องมีวิถีชีวิต มีการศึกษา มีฐานะทางเศรษฐกิจ และอาจจะต้องมี ฐานะทางสังคมตามที่รัฐกาหนด จึงจะถูกยอมรับว่าเป็ นไทยที่สมบูรณ์ และสามารถเข้าถึงโอกาสที่จะมีและใช้สิทธิ ได้จริ ง สาหรับพลเมืองไทยที่ไม่มีคุณสมบัติตามเงื่อนไขทั้งสามประการนี้ ก็ไม่ถูกนับว่าเป็ นคนไทยและถูกกีดกัน ออกจากพื้นที่ของสิ ทธิหรื อโอกาสที่จะเข้าถึงประโยชน์ต่างๆ 98 เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 63.
97
เข้ าถึงกระบวนการยุติธรรมและสวัสดิการต่ างๆ ของรั ฐ...”99 นอกจากนี้ นิธิ เอี่ยวศรี วงศ์ ก็ได้กล่าวว่า “ความที่ ไม่ มีลักษณะไทยที่ บริ บูรณ์ ก็เป็ นช่ องทางในการลิดรอนสิ ทธิ และอานาจทางการต่ อสู้ และ ต่ อรองไปหมด ดังกรณี ชาวเขาที่หมดสิ ทธิ หรื อหมดอานาจในการต่ อรองในเรื่ องการใช้ ทรั พยากรของ เขาโดยสิ ้นเชิ ง...”100 รวมทั้งเมื่อโครงสร้างการระบบกฎหมายและราชการถูกออกแบบให้ให้อีกฝ่ าย เสียเปรี ยบ เมื่อรัฐใช้อานาจดาเนิ นการดาเนิ นการ ความไม่เป็ นธรรมก็จะปรากฏออกมา ไม่ว่าจะเป็ น การออกกฎหมาย การลงทุนในโครงการพัฒนา การจัดสรรงบประมาณ การจัดการพื้นที่ป่า ผลคือ คน ที่เป็ นไทยไม่สมบูรณ์ ก็ถูกผลักออกจากพื้นที่ของอานาจทางเศรษฐกิจและการเมือง ทาให้เสี ยเปรี ยบ ในส่ วนแบ่งของผลประโยชน์แห่ งชาติ อีกทั้งยังทาให้ไม่สามารถเข้าไป “หยิบยืมอานาจของรัฐ” มา ผลักดันให้แก้ไขปั ญหาของตนได้เหมือนกับคนกลุ่มอื่นๆ101 3.4.2 กลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูงภายใต้ โครงสร้ างสั งคมที่คนไม่ เท่ าเทียมกัน ลักษณะโครงสร้างของสังคมไทย เป็ นโครงสร้างสังคมที่มีลาดับชั้น คือ เป็ นสังคมมีแบบแผน ความเชื่อว่า คนที่อยูใ่ นสถานะที่สูงกว่า ดีกว่าคนที่อยูใ่ นสถานะต่ากว่า จึงทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมที่ คนไม่มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ซึ่งส่งผลให้คนที่มีสถานะทางสังคมต่ากว่า ไม่มีโอกาสได้รับสิ ทธิ ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ หรื ออาจถูกกีดกันสิทธิและโอกาสด้วยวิธีการต่างๆ กล่าวคือ วัฒนธรรมไทยมีโครงสร้างสังคมที่แบ่งคนออกเป็ นลาดับชั้น และคนที่อยูใ่ นสถานะที่สูงกว่า ถูกถือว่าดีกว่าคนที่อยูใ่ นสถานะต่ากว่า ทั้งด้านความรู ้และจิตวิญญาณ จึงสมควรมี อภิสิทธิ์กว่า อีกทั้ง ยังทาให้คนเชื่อว่า ความเสมอภาคเท่าเทียมกันในสังคมเป็ นเรื่ องที่ไม่สมควร ดังความเห็นของสายชลที่ เสนอว่า “...คนในวัฒนธรรมไทยจะเห็นว่ าคนใน ‚ที่ สูง‛ มี ความเหนื อกว่ าคนใน ‚ที่ ตา่ ‛ ในทุกด้ าน ... คนใน ‚ที่ ตา่ ‛ นั้น สมควรที่ จะพึ่งพาคนใน ‚ที่ สูง‛ และดารงชี วิตด้ วยความเจี ยมตัว พร้ อมกับทา หน้ าที่ของตนด้ วยความสามัคคีและเสี ยสละโดยไม่ ก้าวก่ ายหน้ าที่ของชนชั้นปกครองและไม่ เรี ยกร้ อง สิ ทธิ ใดๆ” ซึ่งนอกจากชนชั้นของคนจะถูกกาหนดด้วยสถานะทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคมแล้ว ยังมี การแบ่ง ชนชั้น ทางชาติพนั ธุ์ด้วย 102 ประกอบกับวาทะกรรม “การปกครองแบบไทย” เป็ น มี 99
สายชล สัตยานุรักษ์, ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขัดแย้ง, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 173. 100 นิ ธิ เอี่ยวศรี วงศ์, ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม [ออนไลน์ล], ปาฐกถาในการประชุมวิชาการ ระหว่าง วันที่ 22-23 ธันวาคม 2551, แหล่งที่มา https://prachatai.com/journal/2008/12/19495, (25 กรกฎาคม 2561). 101 เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 15. 102 ธงชัย วินิจกุล, คนไทย คนอื่น, (กรุ งเทพฯ : ฟ้ าเดียวกัน, 2560), หน้า 51-54.
98
อิ ทธิ พลทางความคิด ของคนในสังคมไทยโดยรวมอย่างมาก ที่ต อกย้ าว่าคนไทยต้อ งยอมรับ การ ปกครองแบบไทยที่กาหนดให้คนในสังคมไม่มีความเท่าเทียมกัน หมายถึง 1) ยอมรับการใช้อานาจ ของผูป้ กครองและข้าราชการ 2) ยอมรับโครงสร้างสังคมที่แบ่งคนออกเป็ นลาดับชั้น โดยเชื่อว่าจะทา ให้สงั คมเกิดระเบียบ มีความมัน่ คงและสงบสุข รวมทั้งทาให้คนไทยยอมรับการมีอภิสิทธิ์ของคนบาง กลุ่ม และยอมรับในความไม่เป็ นธรรมที่เกิดแก่ตนหรื อคนอื่นในสังคม 3) มีระเบียบ ในความหมายที่ ยอมรับความไม่ เสมอภาค รู ้ฐ านะต่ าสู งของตนเอง ไม่ ใช้เ สรี ภาพเกิ นขอบเขตและไม่ สร้ างความ วุน่ วาย103 ดังนั้น ไม่วา่ จะพิจารณาจากเกณฑ์ใด กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงก็ถูกจัดให้อยูใ่ นลาดับล่างสุ ด ของสังคม เมื่ อ คนในสังคมมี สถานะทางสังคมที่ไ ม่ เท่าเทียมกัน ส่ งผลให้มี โอกาสในการเข้าถึ งสิ ทธิ แตกต่างกัน โดยคนที่จะมี โอกาสได้รับสิ ทธิ์ ตามที่กฎหมายกาหนดไว้น้ ัน จะต้อ งมี คุณสมบัติหรื อ สถานะตามที่กาหนดไว้ สาหรับคนที่ไม่มีคุณสมบัติหรื อสถานะทางสังคมตามที่กาหนด ก็จะถูกกีดกัน ออกจากพื้นที่ของสิทธิตามกฎหมายด้วยวิธีการต่างๆ กล่าวคือ ประการแรก การกี ดกันสิ ทธิตามกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ แม้พ.ร.บ. ป่ าสงวน แห่ งชาติ มารา 16104 จะได้บญ ั ญัติให้รัฐสามารถอนุ ญาตให้บุคคลเข้าทาประโยชน์ในเขตป่ าสงวน แห่ งชาติโดยถูกต้องตามกฎหมายได้น้ นั ก็เป็ นบทบัญญัติที่ไม่ได้มีไว้รองรับสิ ทธิของกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่ สูง นอกจากนี้ ย งั ปรากฏว่า มี นโยบายของรั ฐบาลอี กหลายฉบับ ที่ก าหนดห้ามมิ ใ ห้มี การ อนุ ญาตให้รับรองสิ ทธิของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เช่ น มติคณะรัฐมนตรี ว่าด้วยการกาหนดชั้น คุณภาพลุ่ม น้ า เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528 ห้ามมิ ให้มีการเปลี่ ยนแปลงลักษณะพื้นที่ป่าไม้เป็ น รู ปแบบอื่นอย่างเด็ดขาดในพื้นที่ช้ นั คุณภาพลุ่มน้ าชั้นที่ 1 เอ สาหรับพื้นที่ช้ นั คุณภาพลุ่มน้ า ชั้นที่ 2 กาหนดให้สามารถใช้พ้นื ที่ได้เฉพาะในกิจกรรมป่ าไม้ เหมืองแร่ ได้ แต่ตอ้ งควบคุมวิธีการปฏิบตั ิใน การใช้ที่ดินอย่างเข้มงวด แต่ยงั คงต้องห้ามการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นโยบายป่ าไม้แห่ งชาติ พ.ศ. 2535 ก าหนดห้า มห้า มมิ ใ ห้มี การออกโฉนดหรื อ หนัง สื อ รั บรองการทาประโยชน์ ตามประมวล กฎหมายที่ ดิน ในพื้น ที่ที่ มีค วามลาดชัน เฉลี่ ย เกิ นกว่า 35% ขึ้ นไป มติ คณะรั ฐมนตรี เ มื่ อ วัน ที่ 30 มิถุนายน 2540 ที่เป็ นนโยบายแก้ไขปั ญหาที่ที่ดินทากินในเขตป่ า ก็กาหนดชัดเจนว่ายืนยันที่จะไม่ พิจารณารับรองสิทธิให้แก่ที่ดินบนพื้นที่สูง ในที่สุดแล้วสิ ทธิที่บญั ญัติไว้ในกฎหมายจึงไม่ได้มีไว้คน 103
สายชล สัตยานุรักษ์, การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลัก และ “ความจริ ง” ที่ “ความเป็ นไทย” สร้าง, ใน ประวัติศาสตร์ วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย, (เชียงใหม่, 2550), หน้า 58- 63. 104 มาตรา 16 อธิบดีโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี มีอานาจอนุญาตให้บุคคลใดเข้าทาประโยชน์หรื ออยูอ่ าศัยในเขตป่ า สงวนแห่ งชาติได้เป็ นการชัว่ คราวภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่กาหนดในหนังสื ออนุญาต
99
ที่มีสถานะชายขอบ เพราะแม้จะปรากฏมีกฎหมายบัญญัติว่ารัฐมีอานาจอนุ ญาตให้บุคคลใดเข้า “อยู่ อาศัย” ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติได้ แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วบุคคลทัว่ ไปไม่สามารถขออนุญาตได้จริ ง ท่ามกลางปั ญหาการถูกกีดกันสิทธิของชาวบ้าน รัฐเป็ นตัวแทนของคนบางกลุ่มในการแย่งชิง ทรัพยากร ผ่านบทบาทการใช้อ านาจทางการเมื อ งในการออกกฎหมายและโยบายในการจัดการ ทรั พยากร รวมทั้งการอนุ ม ัติ อ นุ ญ าต จึ ง พบว่า ภายใต้ร ะบบกฎหมายเกี่ ย วกับ ป่ าไม้ มี บ ทบัญ ญัติ กฎหมายรวมทั้งระเบียบ คาสั่งที่เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ตลอดจนมี กลไกสาหรับดาเนิ นการมอบสิ ทธิ์ ให้แก่คนบางกลุ่ม เช่น การทาไม้ การทาเหมืองแร่ การออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ประการที่ ส อง กรณี ก ารกี ด กัน สิ ท ธิ ใ นกระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญานั้น แม้ป ระมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาจะได้บญั ญัติให้มีสิทธิต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาในข้อ 4.3 หากแต่สิทธิ เหล่านั้น ได้กาหนดแบบพิธีการและเงื่อนไขที่จะใช้สิทธิไ ว้ในระดับหนึ่ ง พร้อ มทั้งได้กาหนดเป็ น มาตรฐานเอาไว้ด้วย ดังนั้น ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่จะเข้าถึ งสิ ทธิ เหล่ านั้นได้จริ ง จะต้อ งเป็ นคนที่มี สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมในระดับหนึ่ง และจะต้องมีการศึกษาในระดับหนึ่ งที่จะรู ้และเข้าใจได้ ว่ากฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิอะไรไว้บา้ ง รวมทั้งสามารถรู ้ได้ว่าสิ ทธิบางประการนั้นจะต้องร้องขอ ตามแบบพิธีก ารอย่างไร เช่ น มี สิท ธิ ไ ด้รั บการประกันตัวแต่ต ้อ งมี ห ลัก ทรั พย์ม าวางเป็ นประกัน จานวน 150,000 – 200,000 บาท และจะถูกเรี ยกเพิ่มขึ้นอีกในชั้นอุทธรณ์หรื อฎีกา มีสิทธิที่จะขอใช้ เงินกองทุนยุติธรรมจากสานักงานยุติธรรมจังหวัดเป็ นค่าประกันตัว แต่ตอ้ งเป็ นคดี ที่ให้การปฏิเสธ เท่านั้น มีสิทธิมีทนายความแต่ตอ้ งจ่ายเงินค่าจ้างเสี ยก่อน มีสิทธิที่จะปฏิเสธข้อกล่าวหาและต่อสู ้คดี แต่ตอ้ งมีพยานหลักฐานที่เป็ นเอกสารของทางราชการ และสิทธิพ้นื ฐานอีกหลายประการ แต่เจ้าหน้าที่ มี ให้คาแนะนาหรื อจัดให้ในลัก ษณะการบริ ก าร ผูต้ ้อ งหาหรื อ จาเลยจะต้อ งรู ้ เองและร้ อ งขอตาม ระเบียบวิธีการ เช่น ทนายอาสา ล่ามแปลภาษา คัดสาเนาเอกสารหลักฐาน เป็ นต้น จึงอาจกล่าวได้ว่า กฎหมายรับรองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ไม่ได้ออกแบบมาเพือ่ เปิ ดโอกาสให้กลุ่มคนที่ มีสถานะต่ากว่ามาตรฐานมีโอกาสใช้ได้เป็ นการทัว่ ไปได้ ดังนั้น แม้รัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมาย วิธีพจิ ารณาความอาญา จะได้บญั ญัติรับรองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมไว้จริ ง แต่ในทางปฏิบตั ิแล้ว คนชายขอบไม่ มีโอกาสเข้าถึ งสิ ทธิ เหล่ านั้นจริ ง เนื่ อ งจากเงื่อ นไขและวิธีการใช้สิทธิ เหล่ านั้น ถู ก ออกแบบมาเพือ่ รองรับคนที่มีสถานะในระดับหนึ่งเท่านั้น ไม่วา่ จะเป็ นการคุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพ ในเนื้อตัวร่ างกาย เช่น การจับ การค้น การประกันตัว หรื อการคุม้ ครองสิ ทธิในการพิสูจน์ความความ บริ สุทธิ์ ดังนั้น เมื่อโครงสร้างสังคมที่มีความเหลื่อมล้ าและไม่เสมอภาคเท่าเทียมกัน ส่งผลให้พลเมือง ไทยที่เป็ นคนชายขอบ ได้รับการปกป้ องคุม้ ครองหรื อได้รับประโยชน์จากอานาจรัฐไม่เท่าเทียมกัน 100
ซึ่ งการออกกฎหมายและนโยบายจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพยากรของรัฐอย่างไม่ เป็ นธรรม และ เงื่อนไขในสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังที่ไ ด้กล่าวมาในข้อ 4.2 - 4.3 เป็ นสิ่ งสะท้อ น ปั ญหาความเหลื่อมล้ าและความไม่เสมอภาคในสังคมไทยอย่างเป็ นรู ปธรรม 3.5 สรุป รัฐธรรมนู ญของไทยได้บญั ญัติรับรองให้บุคคลมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันนับตั้งแต่หลัง การเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่ ง เป็ นรัฐธรรมนู ญฉบับถาวรฉบับแรก และหลังจากนั้นรัฐธรรมนู ญทุกฉบับก็ได้บญั ญัติหลักการนี้ ไ ว้ อันถือได้วา่ หลักความเสมอภาคได้สถาปนาในระบบกฎหมายของไทยอย่างมัน่ คงแล้ว ซึ่ งหลักความ เสมอภาค ถูกนามาบัญญัติเป็ นหลักการพื้นฐานของกฎหมาย ด้วยความเชื่อว่าเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้ จะท าให้ เ กิ ด การปฏิ บ ัติ ต่ อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ เรื่ อ งนั้ นๆ อย่า งเท่ า เที ย มกัน จริ ง และจะเป็ น หลักประกันที่ทาให้สิทธิและเสรี ภาพเกิดขึ้นจริ ง อย่างไรก็ตาม การที่คนจะมีสิทธิและเสรี ภาพในสังคมไทยนั้น เพียงการมีกฎหมายบัญญัติ กฎหมายรับรองไว้ ยังไม่เพียงพอที่จะทาให้ได้รับสิ ทธิจริ ง หากแต่ตอ้ งมีสถานภาพทางสังคมที่สูงใน ระดับหนึ่งด้วย มิเช่นนั้นก็จะถูกกีดกันโอกาสในการเข้าถึงสิ ทธิ แม้จะมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วก็ตาม กรณี น้ ีมีขอ้ ถกเถียงทางวิชาการที่เสนอว่า แม้กฎหมายจะได้บญั ญัติให้ทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียม กัน แต่ความเสมอภาคเท่าเทียมกันยังไม่อาจเกิดขึ้นได้จริ งในสังคมไทย เนื่ องจากสังคมไทยถูกครอบ ด้วยวัฒนธรรมแห่ งชาติ ที่มีโครงสร้างสังคมแบ่งคนออกเป็ นลาดับชั้น ซึ่ งคนที่จะมีโอกาสเข้าสิ ทธิ เสรี ภาพทางกฎหมายได้จริ ง จะต้องเป็ นคนที่ได้รับการยอมรับว่าเป็ น “คนไทย” ที่จะต้องมีสถานะทาง เศรษฐกิจและสังคมสูงในระดับหนึ่ง สาหรับกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงจะถูกจัดให้อยูใ่ นกลุ่มที่ต่ากว่า จึงทาให้ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ของสิทธิและเสรี ภาพตามกฎหมาย ผ่านการออกกฎหมายและนโยบาย ที่ มี ผ ลกี ด กัน สิ ท ธิ ไม่ ว่า จะโดยการบัญ ญัติ ห้า มไว้โ ดยชัด แจ้ง หรื อ การห้า มในทางอ้อ ม จึ ง เกิ ด ปรากฏการณ์ ที่ก ลุ่ ม ชาติ พนั ธุ์บนพื้นที่ สูง ถู ก กี ด กันสิ ทธิ ใ นที่ ดินและฐานทรัพ ยากร และสิ ท ธิ ใ น กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กรณี ปั ญ หาสิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น และทรั พ ยากรของกลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง เป็ นผลของ กระบวนการทาให้การใช้ที่ดินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงกลายเป็ นอาชญากรรม โดยการประกอบสร้างองค์ความรู ้ วาทะกรรม และบัญญัติกฎหมายและนโยบาย ที่สะท้อ นรู ปแบบ ของความไม่ เท่า เทีย มกันเชิ งโครงสร้ าง กล่ าวคือ เดิ มที กฎหมายเกี่ ยวกับ ป่ าไม้ไ ม่ ไ ด้บญ ั ญัติห้า ม ประชาชนถือครองและใช้ประโยชน์ที่ดินบนพื้นที่สูง แต่จุดเปลี่ยนประการหนึ่ งคือ รัฐบาลไทยถู ก 101
กดดันให้ปรับตัวในอุตสาหกรรมป่ าไม้ ตามระเบียบเศรษฐกิจและการค้าใหม่ ในช่วงปลายทศวรรษ พ.ศ. 2490 ต่อเนื่ องกับช่วงต้นทศวรรษ พ.ศ. 2500 โดยองค์การระหว่างประเทศและประเทศอเมริ กา เข้ามามีอิทธิพลผลักดันให้มีการปรับกฎหมายและนโยบายของรัฐไทย โดยเฉพาะการชี้ว่า “ชาวเขา” บุกรุ กและลักลอบตัดฟั นไม้มีค่าเพื่อทา “ไร่ เลื่อ นลอย” อันเป็ นการคุ กคามและทาลายพื้นที่ป่าของ ประเทศ ประกอบกกับการเข้ามาของแนวคิดการอนุรักษ์ป่าแบบปลอดคน ในรู ปแบบอุทยานแห่ งชาติ ทาให้ในเวลาต่อมาเกิดการเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการจัดสรรทรัพยากรป่ าไม้ จากเดิมที่มุ่งเน้นแต่เพียง การบริ หารจัดการอุ ตสาหกรรมทาไม้ มาให้ความสนใจกับ องค์ความรู ้ทางนิ เ วศวิทยาใหม่ ๆ และ ค่านิยมในมิติของการอนุ รักษ์ป่า รวมทั้งมีการออกแบบการเข้าถึงหรื อจัดสรรพื้นที่การใช้ประโยชน์ จากป่ าในลักษณะที่ซบั ซ้อนกว่าเดิม จากการเคลื่อนไหวดังกล่าวข้างต้น นาไปสู่ การแก้ไขปรับปรุ ง และออกกฎหมายและโยบาย เกี่ ย วกั บ ป่ าไม้ หลายฉบับ ตามมา ประกอบด้ ว ย พระราชบัญ ญัติ ป่ าไม้ แ ห่ ง ชาติ พ.ศ. 2484 พระราชบัญ ญัติ อุ ท ยานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญ ญัติ ป่ าสงวนแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2507 และ พระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่ งกฎหมายทั้ง 4 ฉบับดังกล่าวนี้ ได้กลายเป็ น เครื่ องมือจัดระเบียบการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพยากรธรรมชาติ ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่ชนชั้นนา นายทุนหรื อผูม้ ีอานาจ ภายใต้วาทะกรรมอนุ รักษ์ป่า ในขณะเดียวกันกลับมีมาตรการสงวนหวงห้าม และควบคุ ม การใช้ป ระโยชน์ ข องชาวบ้า นอย่า งเข้ม งวด อัน น ามาสู่ ปั ญ หาความขัด แย้ง ระหว่า ง ชาวบ้านกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงกับหน่วยงานด้านป่ าไม้ โดยเฉพาะการตรวจยึดและจับกุมดาเนินคดี ชาวบ้านที่ใช้ที่ดินทากินและใช้ไม้สร้างบ้าน ซึ่ งในแต่ละปี มีสถิติคนที่ถูกจับกุมดาเนิ นคดีสูงมาก ซึ่ ง ความผิดเกี่ยวกับกฎหมายป่ าไม้ที่ชาวบ้านถูกจับกุมดาเนิ นคดีอนั เนื่ องมาจากการใช้ที่ดินทากินหรื อ สร้างบ้านอยูอ่ าศัย เป็ นปรากฏการณ์ของความขัดแย้งในปั ญหาการจัดการทรัพยากรที่ไม่เป็ นธรรม การปรับเปลี่ยนระบบกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้ เป็ นกระบวนการทาให้การใช้ที่ดิน และทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงกลายเป็ นอาชญากรรม โดยการสร้างชุดองค์ความรู ้ใหม่ พร้อมๆ กับสร้างวาทะกรรมเพื่อทาลายความชอบธรรมของคนบนพื้นที่สูง ในขณะเดียวกันก็สร้าง ความชอบธรรมในการใช้อานาจของรัฐ โดยเฉพาะการบัญญัติกฎหมายที่กาหนดให้การถือครอบที่ดิน ทากินหรื อกิจกรรมใช้ทรัพยากรในชีวติ ประจาวันเป็ นสิ่งที่ผดิ กฎหมาย ซึ่ งกฎหมายลักษณะนี้ เป็ นการ เปลี่ ยนสถานะของคน จากที่เคยเป็ นเจ้าของที่ดินและทรัพยากร ให้กลายเป็ นอาชญากรโดยผลของ กฎหมาย สาหรับกรณี ปัญหาสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญานั้น สิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ถูกบัญญัติไว้ท้งั ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และโดยเฉพาะในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา 102
ความอาญา โดยได้บญั ญัติรับรองสิ ทธิท้ งั ในชั้นก่อนการพิจารณาคดีของศาลและในชั้นการพิจารณา ของศาล อย่างครบถ้วนและครอบคลุม ตามหลักการพิจารณาคดีอย่างเป็ นธรรม อย่างไรก็ตามแนวคิดและบทบัญญัติกฎหมายวิธีพิจารณาคดี อ าญาของไทย มีล ักษณะเป็ น กฎหมายที่มีรูปแบบรับรองสิทธิ เสรี ภาพของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในรู ปแบบเดียวกัน โดยไม่มีการกีด กันหรื อให้อภิสิทธิ์ บนพื้นฐานความเชื่อ ว่าเมื่อระบบกฎหมายบัญญัติรับรองสิ ทธิอย่างเป็ นทางการ แล้ว ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนได้รับสิทธิตามที่กฎหมายกาหนดและจะสามารถต่อสู ้คดีได้อย่างเต็มที่ จึ ง ท าให้เ ป็ นการยากที่ จ ะโต้แ ย้ง ในทางรู ป แบบได้ว่ า คนชายขอบบางกลุ่ ม ถู ก เลื อ กปฏิ บ ัติ ใ น กระบวนการยุติธรรมทางอาญา นอกจากนี้ มี ขอ้ โต้แย้งที่เสนอว่า ระบบสิ ทธิ และเสรี ภาพในสังคมไทย ซึ่ งรวมถึ งสิ ทธิ ใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ถูกออกแบบมาเพือ่ รองรับคนที่มีสถานะเป็ น ไทยที่สมบูรณ์เท่านั้น แม้ จะมี กฎหมายบัญญัติรับรองให้มีสิทธิ หากแต่ในข้อเท็จจริ งแล้ว คนชายขอบของสังคมไทยยัง ไม่ มี โอกาสเข้าถึงสิ ทธิบรรดาที่กฎหมายกาหนดไว้ท้ งั หมดจริ ง เนื่ องจากการใช้และการตีความกฎหมาย ของเจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานรัฐ ตกอยูภ่ ายใต้อิทธิพลของวัฒนธรรมของระบบราชการ ที่ครอบงาโดย วัฒนธรรมแห่ งชาติ โดยคนที่มี สถานภาพทางสังคมสู งในระดับหนึ่ ง จะได้รับการยอมรับให้เข้าถึ ง สิทธิตามบทบัญญัติกฎหมาย สาหรับคนที่มีสถานภาพทางสังคมต่า หรื อไม่ได้รับการยอมรับ ก็จะถูก กีดกันโอกาสในการเข้าถึงสิทธิแม้จะมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วก็ตาม ส่ งผลให้สิทธิที่กฎหมายบัญญัติ ไว้ มีผลเฉพาะกับคนบางกลุ่มหรื อเฉพาะบางกรณี เท่านั้น การที่กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงถูกกีดกันสิทธิในสังคมไทย ไม่วา่ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้อม มีรากเหง้าแห่งปั ญหาสาคัญคือ กลุ่มคนที่มีความแตกต่างกัน ถูกกาหนดให้มีสถานะภาพทางสังคมไม่ เสมอภาคกัน แม้ว่ากลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงส่ วนใหญ่จะมี สัญชาติไ ทยแล้ว หากแต่วิธีชีวิตและ วัฒนธรรมที่แตกต่างจากรู ปแบบที่รัฐกาหนด ทาให้ยงั ไม่ถูกนับว่าเป็ น “คนไทยโดยสมบูรณ์ ประกอบ กับลักษณะโครงสร้างของสังคมไทย เป็ นโครงสร้างสังคมที่มีลาดับชั้น ที่สังคมมีแบบแผนความเชื่อ ว่า คนที่อยูใ่ นสถานะที่สูงกว่า ดีกว่าคนที่อยูใ่ นสถานะต่ากว่า จึงทาให้คนที่ถูกจัดให้อยูใ่ นลาดับชั้นที่ ต่ากว่า ถู กกีดกันโอกาสในการเข้าถึงสิ ทธิต่างในสังคม โดยเฉพาะสิ ทธิในทรัพยากรของรัฐและทั้ง สิทธิในกระบวนการยุติธรรมด้วย ดังนั้น เมื่อโครงสร้างสังคมที่มีความเหลื่อมล้ าและไม่เสมอภาคเท่า เทียมกัน ส่งผลให้พลเมืองไทยที่เป็ นคนชายขอบ ได้รับการปกป้ องคุม้ ครองหรื อได้รับประโยชน์จาก อานาจรัฐไม่เท่าเทียมกัน
103
บทที่ 4 ปัญหาการเข้ าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกีย่ วกับ ป่ าไม้ คดี ความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อ จาเลยเป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง มี ลกั ษณะที่ พิเศษและแตกต่างออกไปจากกรณี ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นคนทัว่ ไป เนื่ องจากสถานะความเป็ นกลุ่ม ชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ของสิ ทธิในระบบกฎหมาย รวมทั้งกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ซึ่งมีเงื่อนไขที่สาคัญอย่างน้อย 3 ประการ ประการแรกคือ สถานภาพทางสังคมของ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง โดยเฉพาะภาพลักษณ์ทางสังคมที่ถูกประกอบสร้างว่า “ชาวเขาทาลายป่ า” ที่ ฝังอยูใ่ นความคิดของคนทัว่ ๆไป ประกอบกับสังคมไทยกาลังตื่นตัวกับปั ญหาทรัพยากรป่ าไม้เสื่ อ ม โทรมและปั ญหาสภาพแวดล้อ ม รวมทั้งผลประโยชน์ในทรัพยากรของผูม้ ี อ านาจ ซึ่ งเป็ นพลังขับ เคลื่อนที่สาคัญและมีอิทธิพลต่อการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่และศาล โดยอาจแสดงผ่านนโยบายของ รัฐหรื อองค์กร สื่อ กระแสสังคม ในการบังคับใช้กฎหมายและในกระบวนพิจารณาคดี ที่มุ่งดาเนิ นการ เพือ่ เอาผิดกับผูท้ ี่ถูกกล่าวหามากกว่าการอานวยให้เกิดความเป็ นธรรมต่อทั้งสองฝ่ าย ประการที่สองคือ การไม่สามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ ทาให้ตอ้ งเสี ยเปรี ยบอย่างมากในกระบวนพิจารณาคดี ไม่ว่า จะต่อสูค้ ดีหรื อไม่ก็ตาม ประการที่สามคือ สถานะทางเศรษฐกิจที่กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงต่ากว่าคน ทัว่ ไปโดยรวม มี ส่ว นอย่างมากที่ทาให้ก ลุ่ ม ชาติ พนั ธุ์บนพื้นที่สู งไม่ มี โ อกาสได้ใช้สิทธิ บรรดาที่ กฎหมายกาหนดไว้จริ ง โดยที่สิทธิผตู ้ อ้ งหาหรื อหรื อจาเลยตามกฎหมายนั้น ในทางปฏิบตั ิแล้วเมื่อถูก จับกุมดาเนิ นคดี ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะต้อ งเสี ยค่าใช้จ่ายจานวนมากตามมา แม้กระทัง่ ในคดี ที่รับ สารภาพก็ยงั จะต้องเสียค่าใช้จ่ายอยูน่ นั่ เอง ในบทนี้ จะเป็ นการวิเคราะห์ปัญหาในทางปฏิบตั ิ ในกรณี ที่ บุคคลที่เป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บน พืน้ ที่สูง ตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้และถูกนาตัวไปดาเนิ นการต่างๆ ตาม กระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยจะวิเคราะห์ผา่ นประสบการณ์และมุมมองของผูท้ ี่ตกเป็ นผูต้ อ้ งหา หรื อจาเลย โดยนาเรื่ องเล่าที่ผวู ้ ิจยั เขียนขึ้นจากการพูดคุยกับกรณี ศึกษาซึ่ งเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่ สูง ที่เคยถูกดาเนินคดีอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ รวมทั้งรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากเอกสารใน 105
สานวนคดี และสอบถามจากญาติและผูน้ าชุมชนด้วย มาวิเคราะห์ดว้ ยมุมมองของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนว วิพากษ์ เพือ่ วิพากษ์การดาเนินคดีอาญาต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงในความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ สาหรับเนื้ อหาของบทนี้ มีสองส่ วน โดยส่ วนแรกจะเป็ นการวิเคราะห์ว่าในทางปฏิบตั ิแล้ว ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูง ถูกปฏิบตั ิจากเจ้าหน้าที่รัฐและศาลอย่างไร รวมทั้ง พวกเขามองปรากฏการณ์ ที่เกิ ดขึ้น และสิ ทธิ ตามกฎหมายของผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยในกระบวนการ ยุติธรรมอย่างไร ส่ วนที่สองจะทาการวิเคราะห์หรื ออธิ บายปรากฏการณ์ของส่ วนแรกด้วยมุมมอง ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ โดยมีรายละเอียดดังจะกล่าวต่อไปนี้ 4.1 การปฏิบัติต่อผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่เป็ นกลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูง การเข้าถึงข้อมูลที่จะนามาใช้ทาการวิเคราะห์น้ นั นักทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ จะใช้วิธีการ เขียนเรื่ องเล่าสะท้อนปั ญหา (Counter Narrative) แล้วนาเรื่ องเล่านั้นมาวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการของ ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ซึ่งเป็ นส่วนที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากแนวคิดของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนว วิพากษ์ เกิดขึ้นมาจากการวิเคราะห์เรื่ องเล่าที่เป็ นประสบการณ์ในชีวิตประจาวันของคนชายขอบ ที่ เผชิญกับปั ญหาความไม่เป็ นธรรมภายใต้สงั คมที่ถูกเรื่ องเล่ากระแสหลัก (Grand Narrative) ครอบงา เพือ่ ทาความเข้าใจต่อโครงสร้างปั ญหาเรื่ องนั้นๆ โดยนักวิชาการชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ได้ตรวจสอบ เรื่ องเล่า แล้วพยายามทาความเข้าใจว่าเรื่ องเล่าเหล่ านั้นทางานอย่างไร หรื อได้บ่งบอกอะไรบ้าง1 ที่ สาคัญคือ เรื่ องเล่าจะช่วยให้เข้าใจประสบการณ์ชีวิตของคนอื่นที่แปลกต่างจากวาทะกรรมหลักของ สังคม ดังนั้น ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์จึงให้ความสาคัญกับการสร้างพื้นที่สาหรับการนาเสนอ เรื่ องราวหรื อเสียงของกลุ่มชาติพนั ธุ์ ซึ่ งเป็ นเทคนิ คที่ใช้ได้ดีในการสื่ อให้เห็นถึงประสบการณ์ชีวิตที่ กลุ่มชาติพนั ธ์หรื อชนกลุ่มน้อยเผชิญ อีกทั้งเป็ นการตอบโต้ต่อเรื่ องเล่ากระแสหลักในสังคม ที่จดั ทา หรื อสนับสนุนโดยกลุ่มผูม้ ีอานาจครอบงาสังคม นอกจากนี้ แล้วเรื่ องเล่ายังมีความสาคัญอย่างมากใน การโต้แย้งต่อแนวความคิดและความเชื่ อหลักของสังคม อีกทั้งยังเป็ นการตอบโต้ต่อกฎเกณฑ์หลัก ของสังคมในฐานะที่ถูกยึดถือว่าเป็ นมาตรฐานเชิงบังคับ จากเรื่ อ งเล่ า ของกรณี ศึ ก ษาที่ผูว้ ิจ ัย ได้จ ัด ท าขึ้ น (รายละเอี ย ดตามภาคผนวก) เมื่ อ น ามา วิเคราะห์เป็ นประเด็นๆ แล้ว จะได้ดงั ต่อไปนี้
1
Richard Delgado and Jean Stefancic, Critical Race Theory : An introduction, New York University press, p 38.
106
4.1.1 เหตุการณ์ก่อนเกิดคดี แม้กฎหมายจะได้บญั ญัติว่า การครอบครองที่ดินในเขตป่ าและการครอบครองไม้ ไม่ว่าจะ เพือ่ การใด ย่อมเป็ นความผิดโดยสภาพและเจ้าหน้าที่มีอานาจตรวจยึดจับกุมได้ แต่ในทางปฏิบตั ิน้ นั จะ พบว่าเจ้าหน้าที่ไม่ได้บงั คับกฎหมายโดยการตรวจยึดและจับกุมดาเนิ นคดี อย่างเป็ นการทัว่ ไป แต่จะ เกิ ดขึ้นเฉพาะในบางช่ วงเวลาหรื อ เมื่ อ เกิดสถานการณ์ บางอย่างขึ้น ซึ่ งจากเรื่ อ งเล่ าของกรณี ศึกษา พบว่าส่วนใหญ่แล้วจะเกิดเหตุการณ์บางอย่างก่อน จึงนาไปสู่การถูกดาเนินคดี กล่าวคือ 1) คดีเกี่ยวกับที่ดินทากิน ผูต้ อ้ งหาจะถูกจับกุมในช่วงระหว่างที่ชาวบ้านแผ้วถางพื้นที่สาหรับ เพาะปลูกถึงหลังการเพาะปลูกใหม่ๆ ซึ่งระหว่างนี้พ้นื ที่จะถูกแผ้วถางและเผาจนเตียนโล่ง บางพื้นที่ก็ เพิง่ จะมีการเพาะปลูกใหม่ๆ กรณี ของหน่อดา “เหตุเกิดในช่ วงที่ใกล้ ถึงฤดูปลูกข้ าวในไร่ หมุนเวียน ในวันเกิ ดเหตุหน่ อ ดา และชาวบ้ านแม่ อมกิ ก็ไปเตรี ยมพืน้ ที่ สาหรั บปลูกข้ าวของตนเอง ... พืน้ ที่ พิพาทถูกถางและเผาเสร็ จ แล้ ว มีแต่ ตอไม้ ขนาดเล็ก ส่ วนต้ นไม้ ใหญ่ ที่ถูก ตัดกิ่ งยังยืนต้ นอยู่ และมี เศษไม้ ที่ถูกตัดกองรวมกันอยู่ หลายกองซึ่ งเก็บไว้ สาหรั บทาฟื น ส่ วนใหญ่ มีขนาดเท่ าแขนและบางต้ นมีขนาดเท่ าขา...” กรณี ของลุงศักดิ์ เหตุเกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนมิถุนายน ซึ่ งเป็ นช่วงที่เพิ่งปลูกข้าวเสร็ จไม่นาน ต้นข้าวที่ปลูกเพิง่ โผล่พ้นื ผิวดิน ทาให้ลกั ษณะพื้นที่โดยรวมยังโล่งเตียนอยู่ สาหรับกรณี ของจอดา “เหตุค ดี นี้เ กิ ด ขึ ้น เมื่ อ ฤดูฟั น ไร่ ของปี พ.ศ. 2552 ช่ ว งนั้ น จอดาพร้ อมกั บ ชาวบ้ านในหมู่บ้านจอปร่ าคี 6 ครอบครั ว ได้ เข้ าไปแผ้ วถางพืน้ ที่ ไร่ เหล่ าในที่ พิพาท ซึ่ งเดิมเคยพืน้ ที่ไร่ หมุนเวียน นอกจากทาไร่ แล้ วตนกับชาวบ้ านหลายคนเห็นว่ าพืน้ ที่ บริ เวณนั้นเป็ นที่ไม่ ชันมาก และมีลาห้ วยไหลผ่ าน จึงตัง้ ใจจะขุดเป็ นนาขัน้ บันไดด้ วย ในการเข้ าไปแผ้ วถางนั้น ชาวบ้ านได้ ช่วยกันแบบเอามือ้ เอาแรงกัน” กรณี ของสมบูรณ์ ถู กแจ้งความดาเนิ นคดี ก็ภายหลังจากที่สมบูรณ์ ได้แผ้วถางพื้นที่สาหรับ เตรี ยมการเพาะปลูกหมดแล้ว โดยปรากฏตามคาเบิกความของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่มาเบิกความในศาลว่า “เมื่ อเดือนพฤษภาคม 2558 กรมป่ าไม้ สั่งการให้ หั วหน้ าหน่ วยฟื ้ นฟูป่า (ป่ า สงวนแห่ งชาติป่าแม่ ขานและป่ าแม่ วาง) ดาเนินการฟื ้ นฟูสภาพป่ าโดยใช้ งบประมาณ ของกรมป่ าไม้ (ปลูกป่ า) เจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ จึงได้ ร่วมกับเจ้ าหน้ าที่ ฝ่ายปกครอง กานัน ผู้ใหญ่ บ้าน และผู้นาชุมชนไปตรวจสอบพืน้ ที่เพื่อทาการฟื ้ นฟูสภาพป่ า พบว่ ามี พืน้ ที่ 107
บุกรุกชิ ดแนวเขตป่ าสงวนแห่ งชาติที่มีลกั ษณะเป็ นป่ าสมบูรณ์ จนถึงแนวเขตหมู่บ้าน ต่ อมาเมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2558 เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ กานัน ผู้ใหญ่ บ้านและคณะกรรมการ ชุมชนไปตรวจสอบที่ ดินเกิ ดเหตุ พบการบุกรุ กเพื่อเตรี ยมการปลูกพื ชไร่ ” (คาเบิก ความพยานโจทก์คดีหมายเลขดาที่ 928/2559) 2) เกิดความขัดแย้งกันในพื้นที่ ไม่ ว่าจะเป็ นระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชาวบ้านหรื อระหว่าง ชาวบ้านพื้นราบกับชาวบ้านบนพื้นที่สูง จนนาไปสู่การร้องเรี ยนหรื อแจ้งความให้ดาเนินคดี กรณี ความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชาวบ้าน คือ คดีของสมบูรณ์ ซึ่ งเป็ นความขัดแย้ง เรื่ องการแย่งชิงพื้นที่ ระหว่างชาวบ้านฝ่ ายหนึ่ งกับผูป้ กครองท้องที่และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ฝ่ายหนึ่ ง โดย ในขณะที่ชาวบ้านอ้างว่าเป็ นที่ดินทากินที่ทามานานแล้ว แต่ฝ่ายผูป้ กครองท้องที่และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ อ้างว่าจะยึดพื้นที่บุกรุ กใหม่ไปทาโครงการปลูกป่ าของหน่วยงานรัฐ ซึ่งในรายละเอียดนั้นสมบูรณ์เล่า ว่า “ตั้งแต่ ปลายปี พ.ศ. 2556 ชาวบ้ านห้ ว ยน้า ริ นมี ความขัดแย้ งกั บกลุ่มผู้น า ชุมชนในพืน้ ที่ ซึ่ งมีทั้งกานัน ผู้ใหญ่ บ้านและนายกองค์ การบริ หารส่ วนตาบล (อบต.) ในเรื่ องที่ดินทากิน เนื่องจากผู้นาเหล่ านั้นและเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ต้ องการยึดที่ ดินทากิ น ของชาวบ้ านไปทาโครงการปลูกป่ า โดยอ้ างว่ าชาวบ้ านบุกรุ กป่ าหรื อขยายพืน้ ที่ ทา กินรุกเข้ าไปในพืน้ ที่ป่า จึงที่ได้ ใช้ อานาจมาบีบบังคับเอาที่ดินของชาวบ้ านไปปลูกป่ า หลายแปลง ต่ อมาเมื่ อปี พ.ศ. 2556 กานันและพวกพร้ อ มด้ วยเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ เข้ าไปใช้ อานาจตามกฎหมายยึดเอาที่ดินของชาวบ้ านไปปลูกป่ าหลายครั้ ง โดยอ้ างว่ าเป็ นพืน้ ที่ บุกรุกป่ า ... หลังจากนั้นฝ่ ายของกานัน ก็ยงั ได้ นาพวกเข้ าไปยึดที่ ดินของชาวบ้ านไป ปลูกป่ าอี ก เมื่ อชาวบ้ านรู้ ก็ไปเจรจา แต่ กลับถูกกานันพูดจาต่ อว่ าอย่ างรุ นแรง ทั้งยัง บอกว่ าหากชาวบ้ านไม่ ยอมให้ ที่ จะแจ้ งความดาเนิ นคดี ข้อหาบุกรุ กป่ า และจะเอา มวลชนจากที่อื่นมาขับไล่ ออกจากพืน้ ที่ ต่ อมากานันพร้ อมกับพวกจานวนประมาณ 20 คน ได้ เดินทางไปที่บ้านห้ วยนา้ ริ น และได้ ประกาศให้ ชาวบ้ านไปพบและเจรจาเรื่ องที่ดิน โดยมี บุคคลหนึ่ งซึ่ งอ้ างว่ า มาจากส่ วนกลาง พูดโน้ มน้ าวกับชาวบ้ าน ขอให้ สมบูรณ์ ยอมส่ งมอบพื ้นที่ ทากิ น แปลงที่ สองส่ วนที่ เหลือ เนื ้อที่ ประมาณ 5 ไร่ ให้ เป็ นพืน้ ที่ รองรั บโครงการปลูกป่ า ของกานัน ซึ่ งระหว่ างที่ คนที่ อ้างว่ ามาจากส่ วนกลางกาลังพูดอยู่นั้น กานันได้ น า 108
เอกสารมาแสดงและพูดต่ อหน้ าชาวบ้ านว่ า ชาวบ้ านได้ มีการทาประชาคมและลงชื่ อ ส่ งมอบพืน้ ที่ทากินของข้ าพเจ้ าแปลงดังกล่ าวให้ แล้ ว ชาวบ้ านหลายคนไม่ พอใจจึ งกรู เข้ าไปใกล้ กานันและพูดว่ าขอดูเอกสาร กานันกับพวกก็โกรธและผลักชาวบ้ านให้ ถอยออกไป และได้ ตวาดใส่ ชาวบ้ านว่ าตนจะไปแจ้ งความดาเนิ นคดี แล้ วกานันกับ พวกก็ได้ แยกย้ ายกันไปหมด ... อี กสองอาทิ ตย์ ต่อ มาตารวจก็นาหมายเรี ยกมาให้ สมบูรณ์ ให้ ไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อไปรั บทราบข้ อกล่ าวหา” สาหรับกรณี ความขัดแย้งระหว่างระหว่างชุมชนพืน้ ราบกับชุมชนบนพืน้ ที่สูง คือ คดี ของลุงศักดิ์ แม้จะไม่ปรากฏข้อมูลยืนยันว่าคดีความเกิดจากการที่ชุมชนพื้นราบแจ้งความให้ดาเนิ นคดี กับชุมชนบนพื้นที่สูง แต่ลุงศักดิ์มองว่าเป็ นเรื่ องที่มีความสืบเนื่องกัน โดยเล่าว่า “คนพืน้ ราบกล่ าวหาว่ าคนม้ งบุ กรุ กพืน้ ที่ ป่าต้ นนา้ ของคนพืน้ ราบ และมี การ ร้ องเรี ยนไปยังหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องหลายครั้ ง ครั้ งแรกเกิ ดขึน้ เมื่ อปี พ.ศ. 2540 ทาให้ เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ได้ ประสานงานให้ ผ้ นู าของหมู่บ้านที่ ร้องเรี ยน กับชาวบ้ านผาสาราญ ที่ เ ป็ นเจ้ า ของที่ ดิ น ลงพื ้นที่ ไ ปตรวจสอบด้ ว ยกั น แต่ เ มื่ อตรวจสอบทั้ ง หมดแล้ ว ปรากฏว่ าเป็ นพืน้ ที่ทากินเก่ า จึงได้ ทาเป็ นบันทึกการตรวจสอบและทาข้ อตกลงไว้ ว่า ชาวบ้ านจะทากิ นเฉพาะที่ เดิ มและไม่ บุกรุ กที่ ใหม่ หลังจากนั้นก็ยงั มี การร้ อ งเรี ยน อย่างต่ อเนื่อง ทาให้ มีเจ้ าหน้ าที่ หลายหน่ วยงานเคยลงพืน้ ที่ มาตรวจสอบพืน้ ที่ ไม่ ว่า จะเป็ นอาเภอ ป่ าไม้ ทหาร แต่ ทุกครั้ งเมื่อเจ้ าหน้ าที่ ลงมาตรวจสอบแล้ วก็บอกว่ าเป็ น เพียงพืน้ ที่เก่ าให้ ชาวบ้ านทากินต่ อได้ เพียงแต่ อย่าไปบุกรุกที่ใหม่ นอกจากเรื่ องที่ดินแล้ ว ชาวบ้ านผาสาราญยังมีความขัดแย้ งกับคนพืน้ ราบและ เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ เรื่ องการลักลอบทาไม้ ด้วย ... ก่ อนที่จะเกิดเหตุคดีนี้ไม่ นาน ชาวบ้ าน ผาสาราญเห็นมี การลักลอบทาไม้ จานวนมาก แล้ วใช้ รถยนต์ ลักลอบขนไปในเมื อ ง และหน่ วยงานรั ฐก็ไม่ ได้ ทาอะไร ชาวบ้ านจึ งได้ ไ ปขุดทาลายถนนเส้ นที่ จะไปยัง บริ เ วณที่ มีก ารลัก ลอบทาไม้ ท าให้ พวกที่ ทาไม้ ห ยุดไปและยัง มี ไ ม้ ค้ างอยู่ใ นป่ า จานวนมาก ต่ อมาชาวบ้ านก็ทราบข่ าวว่ าเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ และพวกนายทุนไม่ พอใจ ชาวบ้ านอย่างมาก” ซึ่ งสิ่ งที่ลุ งศักดิ์ เล่ านั้น สอดรับกับคาเบิกความของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ในฐานะพยานของฝ่ าย โจทก์ ที่ได้เบิกความว่าระหว่างชาวบ้านด้วยกันเองมีการแจ้งความกัน คือ
109
“เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ออกประชาสัมพันธ์ เรื่ องการตัดไม้ ทาลายป่ าในเขตป่ าสงวน แห่ งชาติ แก่ ช าวบ้ า นที่ บ้ า นห้ วยผัก ห้ า มี ช าวบ้ า นแจ้ ง ว่ า มี ก ารบุ ก รุ ก ที่ ป่ าสงวน แห่ งชาติ ที่บริ เวณขุนห้ วยผักห้ า หมู่ที่ ๖ บ้ านผาสาราญ ตาบลเมื องแปง อาเภอปาย จังหวัดแม่ ฮ่องสอน ขอให้ ไปตรวจสอบ เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ จึงไปตรวจสอบ และพบว่ ามี การบุกรุกฟื ้ นที่ป่าสงวนแห่ งชาติตามที่ได้ รับแจ้ งจริ ง” 3) มีการประกาศนโยบายเร่ งรัดป้ องกันและปราบปรามการบุกรุ กทาลายป่ าของรัฐบาล คือ คาสัง่ คสช. ที่ 64/2557 ซึ่ งเป็ นนโยบายที่คณะรัฐประหารสัง่ ให้หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งเจ้าหน้าที่ป่า ไม้ ตารวจ ฝ่ ายปกครองและฝ่ ายความมัน่ คง เร่ งรัดป้ องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับ ป่ าไม้ ซึ่งคาสัง่ นี้มีความพิเศษตรงที่ กาหนดไว้ว่าหากหน่ วยงานใดไม่สนองคาสั่งนี้ จะได้รับโทษทั้ง ทางอาญาและวินยั กรณี ของลุงประเสริ ฐ เป็ นผลจากการที่เจาหน้าที่หลายหน่วยงาน สนธิกาลังเข้าไปตรวจค้นใน หมู่บา้ น ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากการออกคาสัง่ แล้วไม่ถึงหนึ่งเดือน ซึ่งพ่อประเสริ ฐเล่าว่า “เจ้ าหน้ าที่ มา กันหลายหน่ วย ทั้งเจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. มาถึงก็ตรงมาที่บ้านเลย โดยที่ไม่ มีหมายค้ น มาด้ วย ซึ่ งในช่ วงเวลาเดียวกันนีม้ ีบ้านอี ก 3 หลังก็ถกู ตรวจค้ นและยึดไม้ ไปด้ วย รวมกันแล้ วในวันนั้น มีบ้านที่ถกู ตรวจยึดไม้ ทั้งหมด 4 หลัง” สาหรับกรณี ของของเน้งก็เป็ นการปฏิบตั ิการตามคาสั่ง คสช. ที่ 64/2557 หลังจากออกคาสั่ง แล้วประมาณหนึ่งปี โดยการสนธิกาลังของเจ้าหน้าที่หลายหน่ วยงานไปจับกุมเน้งและสามีในขณะที่ กาลังอยูใ่ นที่เกิดเหตุ โดยเน้งเล่าว่า “เจ้ าหน้ าที่ ชุดที่ ไปจับตนนั้นมี ประมาณ 30 กว่ าคน พร้ อมอาวุธ ครบมือ มีทั้งป่ าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. ทั้งสามคนหนีไม่ ทันและถูกจับกุมตัวในที่นั้นทั้งหมด” นอกจากนี้เน้งยังได้เล่าอีกว่า หลังจากที่เน้งถูกดาเนิ นคดีแล้ว เจ้าหน้าที่ได้สนธิกาลังจานวน มากพร้อมอาวุธครบมือ ไปยึดพื้นที่และบังคับให้ชาวบ้านต้องยินยอมเซ็นมอบคืนพื้นที่ให้อีกจานวน มาก เจ้าหน้าที่บอกว่าถ้าใครไม่ยอมคืนก็จะถูกดาเนินคดี ชาวบ้านทุกคนต่างกลัวจึงต้องเซ็นส่งมอบคืน พื้นที่ให้ อี กทั้งกรณี ของป้ าพอดี และลุ งศักดิ์ ก็เ ป็ นการสนธิ ก าลังของเจ้าหน้า ที่ต ามคาสั่ง คสช. ที่ 64/2557 ที่ออกปฏิบตั ิการหลังจากที่มีการออกคาสัง่ คสช. ดังกล่าวแล้ว
110
4) เกิดเหตุการณ์ที่กลายเป็ นข่าวดังและถูกจับตา ทาให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่จะต้องสร้างผลงาน เพื่อแสดงว่าได้จดั การปั ญหานั้นแล้ว หรื ออย่างน้อยที่สุดก็เป็ นการกลบข่าวหรื อเบนความสนใจไป ทางอื่น กรณี ลุงทิศ เริ่ มต้นจากการที่มีข่าวว่ามีนายทุนลักลอบทาไม้สักในพื้นที่ลุ่มน้ าสาละวิน ส่ งไป ขายยังในเมือ ง รวมทั้งพื้นที่ป่าบริ เวณใกล้เคียงกับบ้านทุ่งป่ าคา ซึ่ งเป็ นข่าวดังบ่อ ยๆ และสังคมให้ ความสนใจ ช่วงเกิดเหตุคดีน้ ี เจ้าหน้าที่ป่าไม้ได้ขอหมายค้นจากศาลแล้วสนธิกาลังไปตรวจค้นบ้าน ของผูท้ ี่ถูกสงสัยว่าเป็ นนายทุนท้องถิ่น แต่เมื่อเข้าไปที่หมู่บา้ นแล้วก็ไปตรวจค้นทั้งหมู่บา้ น จึงเกิดการ เผชิญหน้ากับชาวบ้านในหมู่บา้ น ซึ่งภรรยาลุงทิศก็เล่าว่า “วันนั้นเป็ นวันอาทิ ตย์ ช่ วงเช้ าชาวบ้ านต่ างไปเข้ าโบสถ์ ซึ่งตั้งอยู่ในหมู่บ้าน พอถึงช่ วงสายๆ เจ้ าหน้ าที่ ประมาณสิ บกว่ าคน มี ทั้งป่ าไม้ ตารวจและ อส. เข้ ามาที่ หมู่บ้าน โดยตรงไปค้ นที่บ้านสองสามหลัง แต่ เจ้ าของบ้ านไม่ อยู่และปิ ดประตูรั้วไว้ หมด เจ้ าหน้ าที่ ก็พยายามจะเข้ าไป ระหว่ างนั้นอดีตผู้นาชุมชนได้ พูดกับชาวบ้ านว่ า ชาวบ้ านจะต้ องช่ วยกันป้ องกันไม่ ให้ มีการค้ นหรื อจับใคร เพราะชาวบ้ านต่ างใช้ ไ ม้ สร้ างบ้ าน หากปล่ อยให้ มาค้ นชาวบ้ านอาจจะต้ องถูกจับกันทั้งหมู่บ้าน ชาวบ้ านจึ ง ออกจากโบสถ์ มารวมตัวกันและเจรจาไม่ ให้ เจ้ าหน้ าที่ ตรวจค้ น หั วหน้ าชุ ดทหารที่ นามาได้ ใช้ วิทยุสื่อสารขอกาลังเสริ มจากหน่ วยงานอื่ นๆ ทั้งทหาร ตารวจ ป่ าไม้ และ ฝ่ ายปกครองให้ มาสมทบ ผ่ านไปไม่ นานเจ้ าหน้ าที่ จากหน่ วยต่ างๆ เดินทางมาสมทบจานวนมากกว่ า หนึ่งร้ อยคน พร้ อมทั้งได้ สั่งให้ เจ้ าหน้ าที่ กระจายกาลังไปตรวจค้ นตามบ้ านต่ างๆ ทั่ว หมู่บ้าน ถ้ าพบว่ าตามบ้ านมี ไ ม้ แปรรู ปหรื อ ไม้ สักท่ อ นก็ถ่ายรู ปเอาไว้ ระหว่ างนั้น ชาวบ้ า นบางส่ วนก็ เ ข้ า ไปเถี ย งและชาวบ้ า นคนก็ต่ อ ว่ า พวกเจ้ า หน้ า ที่ เ หล่ า นั้ น ชาวบ้ า นบางส่ ว นก็เ อาไว้ ไ ปขวางถนนทางออกหมู่ บ้า นไม่ ให้ ใครเข้ า ออกไปได้ เจ้ าหน้ าที่ ก็มาเจรจากับชาวบ้ านแต่ ชาวบ้ านไม่ ยอมเปิ ดทางให้ พอถึ งตอนเย็นผู้ว่า ราชการจังหวัดก็เดินทางมาถึงที่หมู่บ้าน ได้ เจรจาให้ ชาวบ้ านเปิ ดทางเพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่ ออกไป และบอกว่ าจะไม่ ให้ เจ้ าหน้ าที่ดาเนิ นคดีกับชาวบ้ านที่ จะใช้ ไม้ สร้ างบ้ านจริ ง ชาวบ้ านจึงยอมเปิ ดทางให้ เจ้ าหน้ าที่ทั้งหมดจึงออกจากหมู่บ้านไป” สาหรับกรณี ของป้ าพอดีน้ นั ตอนแรกเจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้สนใจ ซึ่ งบ้านบ้านของป้ าพอดี น้ นั ได้ สร้างมาประมาณหนึ่ งปี แล้ว และอยูต่ ิดกับถนน เจ้าหน้าที่ป่าไม้เดินทางผ่านไปๆ มาๆ และสามารถ มองเห็นได้ทุกวัน แต่ช่วงที่ป้าพอดีถูกจับกุมนั้น เกิดเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่การไฟฟ้ าได้ตดั ไม้และทาไม้ 111
ตามแนวสายส่งไฟฟ้ าจานวนมาก และมีการออกข่าวดังต่อเนื่องกันหลายวัน ผูว้ จิ ยั ได้ตรวจสอบข้อมูล จากข่าว พบมีการรายงานว่า 27 มี นาคม 2559 หนังสื อพิ มพ์ ลงข่ าวว่ าเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ พบว่ าเจ้ าหน้ าที่ การ ไฟฟ้ าที่ ตัดไม้ สักตามแนวสายส่ งไฟฟ้ าเข้ าไปยังหมู่บ้านโดยไม่ ได้ รับอนุญาต โดย พบว่ าต้ นไม้ สักถูกตัดจานวนมาก บางส่ วนถูกชัดลากมาเก็บไว้ พร้ อมกับนารู ปภาพ กองไม้ สักจานวนมากลงประกอบด้ วย จึ งเข้ าไปตรวจสอบเพื่ อดาเนิ นคดี รวมของ กลางที่ตรวจยึดได้ ทั้งหมด 226 ท่ อน ปริ มาตร 172.89 ลบ.ม. และเมื่อเย็นของวันที่ 29 มีนาคม 2559 พล.ต.อ.ศรี วราห์ รั งสิ พราหมณกุล รอง ผบ.ตร.แห่ งชาติ ได้ เดินทางไป ตรวจสอบไม้ ข องกลางที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ป่ าไม้ ท าการตรวจยึ ด ไว้ ที่ ส านั ก งานอุ ท ยาน แห่ ง ชาติ แ ม่ เ งา ต าบลแม่ ส วด อ าเภอสบเมย จั งหวัด แม่ ฮ่ องสอน ได้ กาชั บ ให้ เร่ ง ติดตามผู้กระทาความผิดมาดาเนินคดีให้ ได้ ...หลังจากนั้นเจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ได้ ขอหมาย ค้ นจากศาลเข้ าไปค้ นบ้ านของชาวบ้ าน 3 หลัง และได้ จับกุมชาวบ้ านไป 2 คน สาหรับคดีของป้ าพอดีน้ นั ถูกค้นและจับกุมในระหว่างที่เจ้าหน้าที่จากหลายหน่ วยงานเข้าไป ตรวจสอบการทาไม้ตามแนวสายส่งไฟฟ้ าดังกล่าวนี้ 5) เจ้าหน้าที่ป่าไม้เข้าไปใช้อาวุธปื นยิงข่มขู่ชาวบ้าน ซึ่ งเกิดขึ้นกับกรณี ของลุงศักดิ์ โดยเมื่อ เจ้าหน้าที่ป่าไม้เข้าไปไล่ยิงชาวบ้านและถูกชาวบ้านยิงสวนกลับเพื่อ ป้ องกันตัว แล้วลุ งศักดิ์เข้าไป เจรจาจนทาให้ถูกดาเนินคดี โดยเหตุการณ์ในครั้งนี้ คือ “กลางที่ ดินแปลงใหญ่ ผืนนั้นมี คนสี่ ห้าคนกาลังดายหญ้ าอยู่ เป็ นครองครั ว ชาวม้ งสองครอบครั ว มี ทั้งเด็กและผู้หญิงอยู่ด้วย เสี ยงรถยนต์ เร่ งเครื่ องหนักๆ ลาก เกียร์ ตา่ วิ่งมาจอดฝั่ งตรงข้ าม บริ เวณจุดสิ ้นสุ ดของถนนดิน ซึ่ งเป็ นหั วไร่ ของเจ้ าของ อี กรายหนึ่งห่ างออกไปราว 300 เมตร ชายชาวม้ งเงยหน้ าขึน้ ดู เห็นเป็ นรถกระบะสี ดา มี ค นแต่ ง ชุ ด ลายพราง และรู้ ได้ ด้ ว ยความคุ้ นชิ น ว่ า เป็ นเจ้ า หน้ า ที่ ป่าไม้ ซึ่ งดูจ าก ระยะไกลแล้ วมีประมาณ 10 คน มีผ้ ชู ายในชุดลายพรางคนหนึ่งวิ่งตรงมาตามทางเดิน มุ่งหน้ ามายังที่ที่สองครอบครั วชาวม้ ง ไต่ ราวไม้ ที่พาดข้ ามลาห้ วยเล็กๆ ที่ ขั้นระหว่ าง ที่ดินสองแปลงมายังอี กฝั่ ง ตอนนี ้เหลือระยะทางราว 100 เมตร ชายชุดลายพรางชัก ปื นพกสั้นออกจากเอวชูพร้ อมยิงขึน้ ฟ้ าทีละนัด ทีละนัด พร้ อมๆ กับเดินกึ่ งวิ่งใกล้ เข้ า มา เสี ยงปื นดังต่ อเนื่ องไม่ หยุด สองครอบครั วชาวม้ งต่ างรี บวิ่งหนี ม่ ุงหน้ าเข้ าป่ า ชาย ชาวม้ งออกวิ่งก่ อนเพื่อน พอกาลังจะพุ่งเข้ าป่ า ได้ หันกลับมาดู เห็นมีผ้ หู ญิงและเด็กที่ เหลือยังวิ่งไม่ พ้นที่ โล่ ง จึ งคว้ าปี นยาวที่ ซ่อนไว้ วิ่งอ้ อมออกไปทางด้ านข้ าง แอบอยู่ 112
หลังก้ อนหิ นขนาดใหญ่ มองลงไป เห็ นชายชุดลายพรางกาลังแอบหลังตอไม้ ห่ าง ออกไปประมาณ 50 เมตร กาลังบรรจุลูกกระสุ นปื นชุดใหม่ เสร็ จแล้ วเล็งปื นยิงไปที่ กลุ่มครอบครั วชาวม้ งที่ วิ่งกาลังจะพ้ นที่ โลงเข้ าป่ า ชายชาวม้ งยกปื นยาวตั้งลากล้ อง พาดบนก้ อนหิ นเล็งไปที่ ตอไม้ ข้างตัวชายชุดลายพราง ปกติถ้าออกล่ าสั ตว์ เขาจะติด กล้ องส่ อง แต่ วนั นีเ้ พียงพามาป้ องกันตัว จึงไม่ ได้ ติดไว้ ถึงแม้ ไม่ ติดกล้ องส่ องเขาก็ยิง ได้ แบบหวังผลในระยะนี ้ พอเขาลัน่ ไก กระสุนนัดแรกพุ่งตรงเข้ าไปที่ ตอไม้ เฉี ยดตัว ชายชุดลายพรางไปราวหนึ่ งฝ่ ามื อ ชายชุดลายพรางหยุดชะงัก แต่ แล้ วกลับตั้งมื อเล็ง ปื นไปยังที่เดิมอี ก ชายชาวม้ งลัน่ กระสุนนัดที่สองไปยังจุดเดิม ชายชุดลายพรางทาท่ า หยุดชะงักอี กครั้ ง เหมือนไม่ ร้ ูตัวว่ ากระสุ นมาจากด้ านข้ าง ไม่ ใช่ ด้านหน้ า ชายชาวม้ งบรรจงเปลี่ยนลูกกระสุ นปื นลูกที่ สาม คราวนี ้เล็งไปที่ ตัวปื นของชายชุดลายพราง ตัง้ ใจจะยิงให้ ปืนกระเด็นหลุดจากมื อ พอได้ จัง หวะชายชาวม้ งบรรจงเหนี่ ยวไก แต่ ครั้ งนีก้ ระสุนด้ าน ชายชาวม้ งหันไปดูครอบครั วชาวม้ ง ตรงบริ เวณที่ โลงนั้นว่ างเปล่ า ชายชาวม้ งจึ งดึงปื นกลับแล้ วแอบวิ่งหลบเข้ าป่ าไป ... ภายหลังต่ อมาชาวบ้ านพร้ อม เจ้ าหน้ าที่มาตรวจสอบพืน้ ที่ด้วยกัน พบว่ าตามทางตัง้ แต่ ข้างลาห้ วยถึงต่ อไม้ มี ปลอก กระสุนปื นตกตามทางประมาณสิ บกว่ าปลอก และกระท่ อมสองหลังที่ อยู่ตรงทางที่ ครอบครั วชาวม้ งวิ่งเข้ าไป มี รอยกระสุ นปื นหลังละ 1 นัด คาดการณ์ ว่ าชายชุดลาย พรางยิงปื นหมดไป เกือบ 2 แม็กกาซี น และได้ เล็งยืนยิงไปทางครอบครั วชาวม้ งที่ วิง หนีเข้ าป่ าไปด้ วย” ลุงศักดิ์เชื่อว่าหากในวันที่เจ้าหน้าที่ไปตรวจนั้นไม่มีการใช้ปืนไล่ยงิ ชาวบ้าน และชาวบ้านไม่ ยิงสวนกลับมา เจ้าหน้าที่ก็คงไม่ทาเป็ นคดี เนื่องจากเจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็รู้อยูแ่ ล้วว่าพื้นที่ตรงนั้นเป็ นพื้นที่ ทาไร่ ของชาวบ้าน แต่เ มื่ อ เหตุ การณ์ ใ นวันนั้นเจ้าหน้า ที่ถู กยิง ตอบโต้ ท าให้เ กิ ด ความโกรธแค้น ประกอบกับตนและชาวบ้านในหมู่บา้ นก็เคยมีววิ าทะกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้มาก่อนอยูแ่ ล้ว 4.1.2 การนาตัวบุคคลเข้ าสู่ คดี ปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่ในการนาตัวบุคคลเข้าสู่ คดี มีลกั ษณะเป็ นปฏิบตั ิการที่พิเศษ ตั้งแต่มี การออกคาสั่งที่มีลกั ษณะเฉพาะต่างหากจากวิธีปฏิบตั ิหน้าที่ปกติ บางกรณี มีการสร้างสถานการณ์ แวดล้อมเพือ่ นาไปสู่การสร้างความชอบธรรมในการตรวจยึดจับกุม การดาเนินการตรวจยึดจับกุมด้วย วิธีการต่างๆ สนธิกาลังหรื อวิธีการทางทหาร กล่าวคือ
113
กรณีแรก เป็ นการออกพื้น ที่ป ฏิ บตั ิ ก ารของเจ้า หน้าที่ ก ระทรวงทรั พยากรธรรมชาติแ ละ สิ่ งแวดล้อ มระดับสู ง ในช่ วงที่รั ฐมี น โยบายป้ องกันและปราบปราบการกระท าความผิดเกี่ ย วกับ กฎหมายป่ าไม้ ซึ่งจะตรงกับช่วงฤดูเพาะปลูกและเป็ นคดีเกี่ยวกับที่ดินทากิน กรณี ของหน่ อดา วันเกิ ดเหตุ มี เจ้าหน้าที่ระดับสู งจากกรมป่ าไม้นาขบวนเจ้าหน้าที่ ขับรถ ออกไปตรวจป่ าในช่วงที่ชาวบ้านเพิง่ แผ้วถางพื้นที่ทากินเสร็จ และกาลังเตรี ยมพื้นที่สาหรับเพาะปลูก เมื่อผ่านมาถึงบริ เวณที่เกิดเหตุ เมื่อพบหน่ อดากับชาวบ้านจึงออกคาสัง่ ให้เจ้าหน้าที่วงิ่ ไปไล่จบั โดย ตามบันทึกการจับกุมระบุวา่ “...ผู้อานวยการส่ วนป้ องกันรั กษาป่ า ได้ นากาลังเจ้ าหน้ าที่ จานวน 20 คน ออกตรวจพืน้ ที่โดยขับรถไปตามถนน เมื่อขับรถผ่ านไปเห็นชาวบ้ านกาลังทาไร่ อยู่ ก็สั่งให้ จอดรถและ ให้ เจ้ าหน้ าที่ ไปจับหน่ อดา” ซึ่ งการจับกุมชาวบ้านที่ทากินในที่เดิมจะไม่เกิดขึ้นในสถานการณ์ปกติ ดังทีส่ มาชิก อบต. ในหมู่บา้ น เล่าให้ผวู ้ จิ ยั ฟังว่า “เจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ที่เขารู้ จักบอกว่ า ปกติแล้ วเจ้ าหน้ าที่ ป่ าไม้ ที่ประจาที่หน่ วยใกล้ หมู่บ้านเขาจะไม่ จับ เพราะเขารู้ อยู่แล้ วว่ าเป็ นที่ ทากิ นเดิมของชาวบ้ าน แต่ ครั้ งนีม้ ีหัวหน้ าจากส่ วนกลางพาเจ้ าหน้ าที่ของเขามาตรวจพื น้ ที่ เมื่อขับรถผ่ านไปเห็นชาวบ้ านกาลังทา ไร่ อยู่ ก็สั่งให้ จอดรถและให้ เจ้ าหน้ าที่ไปจับหน่ อดา...” สาหรับกรณี ของลุงศักดิ์ ก็เป็ นกรณี ที่เจ้าหน้าที่สนธิกาลังของหลายหน่ วยงานร่ วมกันออก ตรวจพื้นที่ป่าตามคาสั่งของผูบ้ งั คับบัญชา ในช่วงที่ชาวบ้านเพิ่งแผ้วถางพื้นที่ทากิ นเสร็ จใหม่ และ ชาวบ้านกาลังเตรี ยมการเพาะปลูก โดยปรากฏตามบันทึกการสอบสวนของพนักงานสอบสวนว่า “เมื่อวันที่ 30 มิถนุ ายน 2558 เวลาประมาณ 09.30 เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ร่วมกับเจ้ าหน้ าที่ ฝ่ายปกครองอาเภอ ปาย และเจ้ าหน้ าที่ทหาร ได้ ร่วมกันออกตรวจพืน้ ที่ป่าที่ ถูกบุกรุ กตามที่ ได้ รับแจ้ งจากราษฎร ถึงที่ เกิ ด เหตุพบพืน้ ที่ถกู บุกรุกแผ้ วถางประมาณ 1 ปี เนือ้ ที่ประมาณ 16 ไร่ ” กรณีที่สอง เป็ นปฏิบตั ิการที่ใช้อานาจตามนโยบายเร่ งรัดป้ องกันและปราบปรามการบุกรุ ก ทาลายป่ าของรัฐบาล คือ คาสัง่ คสช. ที่ 64/2557 ซึ่ งเป็ นนโยบายที่คณะรัฐประหารสั่งให้หน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ตารวจ ฝ่ ายปกครองและฝ่ ายความมัน่ คง เร่ งรัดป้ องกันและปราบปราม การกระทาความผิด เกี่ ย วกับป่ าไม้ โดยกรณี ที่ ถูก ด าเนิ นคดี สื บ เนื่ อ งจากค าสั่ง คสช. มี 4 กรณี ประกอบด้วย ลุงศักดิ์, เน้ง, พ่อประเสริ ฐ, ป้ าพอดี กรณี ของพ่อประเสริ ฐ เป็ นผลจากการที่เจ้าหน้าที่หลายหน่ วยงาน สนธิกาลังเข้าไปตรวจค้น ในหมู่บา้ น ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากออกคาสัง่ คสช. ที่ 64/2557 แล้วไม่ถึงหนึ่งเดือน ซึ่งพ่อประเสริ ฐเล่า ให้ผวู ้ จิ ยั ฟังว่าในวัน “เจ้ าหน้ าที่ มากันหลายหน่ วย ทั้งเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. มาถึงก็ ตรงมาที่ บ้านเลย โดยที่ ไม่ มีหมายค้ นมาด้ วย ซึ่ งในช่ วงเวลาเดียวกันนี ้มีบ้านอี ก 3 หลังก็ถูกตรวจค้ น และยึดไม้ ไปด้ วย รวมกันแล้ วในวันนั้นมีบ้านที่ถกู ตรวจยึดไม้ ทั้งหมด 4 หลัง” 114
สาหรับกรณี ของของเน้ง เป็ นการปฏิบตั ิการตามคาสั่ง คสช. ที่ 64/2557 โดยการสนธิ กาลัง ของเจ้าหน้าที่หลายหน่ วยงานไปจับกุมเน้งและสามี ในขณะที่กาลังอยู่ในที่เกิ ดเหตุ โดยเน้งเล่ าว่า “เจ้ าหน้ าที่ชุดที่ไปจับตนนั้นมีประมาณ 30 กว่ าคน พร้ อมอาวุธครบมื อ มี ทั้งป่ าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. ทั้งสามคนหนีไม่ ทันและถูกจับกุมตัวในที่นั้นทั้งหมด” นอกจากนี้ เน้งยังได้เล่ าอี กว่า หลังจากที่ เน้งถูกดาเนิ นคดี แล้ว เจ้าหน้าที่ไ ด้สนธิ กาลังจานวนมากพร้อมอาวุธครบมือ ไปยึดพื้นที่ทากินและ บังคับให้ชาวบ้านต้องยินยอมเซ็นมอบคืนพื้นที่ให้อีกจานวนมาก เจ้าหน้าที่บอกว่าถ้าใครไม่ยอมคืนก็ จะถูกดาเนินคดี ชาวบ้านทุกคนต่างกลัวจึงต้องเซ็นส่งมอบคืนพื้นที่ให้ 1) การสนธิกาลังหลายหน่วยงานทาการปราบปราม ในการจับกุมผูต้ อ้ งหานั้น หลายกรณี เป็ นการสนธิกาลังเจ้าหน้าที่จากหลายหน่ วยงาน เข้าไป ปิ ดล้อ มเพื่อ จับกุ ม น าโดยเจ้าหน้า ที่ป่าไม้แ ละเจ้า หน้าที่ท หาร นอกจากนี้ ก็ย งั มี ฝ่ ายปกครองโดย ปลัดอาเภอพร้อมกาลังอาสาสมัครรักษาดินแดน (อส.) ตารวจ รวมทั้งตารวจตระเวนชายแดนด้วย สาหรับกรณี ของของเน้ง ชุดจับกุมสนธิกาลังออกตรวจป่ าตามคาสัง่ คสช. ที่ 64/2557 โดยเน้ง เล่าว่า “ตอนสายๆ ระหว่ างที่ทั้งสามคนกาลังง่ วนอยู่กับการก้ มหน้ าก้ มตาทางาน เมื่ อรู้ ตัวอี กที ก็เห็นมี เจ้ าหน้ าที่ ประมาณ 30 กว่ าคน พร้ อมอาวุธครบมื อก็เข้ ามาใกล้ จะถึงตัวแล้ ว มี ทั้งป่ าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. ทั้งสามคนจึงหนีไม่ ทันและถูกจับกุมตัวในที่นั้นทั้งหมด” กรณี ลุงศักดิ์ เจ้าหน้าที่จากหลายหน่ วยงานก็ได้สนธิกาลังไปตรวจยึดที่เกิ ดเหตุ ลุ งศักดิ์ เล่ า รายละเอียดว่า “เมื่อลุงศักดิ์พร้ อมกับชาวบ้ านอี กประมาณ 10 กว่ าคน ไปถึงที่ เกิ ดเหตุก็เห็น เจ้ าหน้ าที่ ประมาณ 20 คนกระจายอยู่กลางไร่ ในที่ เกิ ดเหตุ มี ทั้งเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ปลัดอาเภอ อส. และทหาร ชาวบ้ านที่ ไปด้ วยได้ เดินไปถามหั วหน้ าหน่ วยป่ าไม้ ว่า มาทาอะไร หัวหน้ าป่ าไม้ ก็บอกว่ ามี คนแจ้ งว่ ามี การบุกรุ กป่ าที่ นี่ และเมื่ อหลายวัน ก่ อนเจ้ าหน้ าที่ของเขาถูกชาวบ้ านลอบยิง จึงมาตรวจสอบเพื่อยึดที่ ” กรณี ของลุงทิศ “ช่ วงสายๆ เจ้ าหน้ าที่ประมาณสิ บกว่ าคน มี ทั้งป่ าไม้ ตารวจและ อส. เข้ ามา ที่หมู่บ้าน โดยตรงไปค้ นที่บ้านสองสามหลัง แต่ เจ้ าของบ้ านไม่ อยู่และปิ ดประตูรั้ว ไว้ หมด เจ้ าหน้ าที่กพ็ ยายามจะเข้ าไป ระหว่ างนั้นอดีตผู้นาชุมชนได้ พูดกับชาวบ้ าน ว่ า ชาวบ้ านจะต้ องช่ วยกันป้ องกันไม่ ให้ มีการค้ นหรื อจับใคร เพราะชาวบ้ านต่ างใช้ 115
ไม้ สร้ างบ้ าน หากปล่ อยให้ มาค้ นชาวบ้ านอาจจะต้ องถูกจับกันทั้งหมู่บ้าน ชาวบ้ าน จึงออกจากโบสถ์ มารวมตัวกันและเจรจาไม่ ให้ เจ้ าหน้ าที่ ตรวจค้ น หั วหน้ าชุดทหาร ที่ นามาได้ ใช้ วิทยุสื่อสารขอกาลังเสริ มจากหน่ วยงานอื่ นๆ ทั้งทหาร ตารวจ ป่ าไม้ และฝ่ ายปกครองให้ มาสมทบ ผ่ านไปไม่ นานเจ้ าหน้ าที่ จากหน่ วยต่ างๆ เดินทางมา สมทบจานวนมากกว่ าหนึ่งร้ อยคน” กรณี ของพ่อประเสริ ฐ “พอถึงตอนบ่ ายๆ ญาติก็มาหาที่ นาแล้ วบอกว่ าเจ้ าหน้ าที่ มายึดไม้ ที่บ้านไป หมดแล้ ว ตนก็ตกใจมาก เท่ านั้น จึ งรี บกลับมาดูก็ปรากฏว่ าเจ้ าหน้ าที่ กลับไปกัน หมดแล้ ว พร้ อมทั้งได้ แกะเอาไม้ แปรรู ปที่ ตนตีตะปูยึดตัดกับตัวบ้ านเอาไว้ ไปด้ วย รวมทั้งรื ้อเอาไม้ ที่ตนนามาปูเป็ นเตียงนอนไปด้ วย เหลือไว้ แต่ ไม้ แผ่ นเก่ าๆ เท่ านั้น เมื่อสอบถามญาติที่บ้านอยู่ใกล้ ๆ กัน เขาก็เล่ าให้ ฟังว่ า เจ้ าหน้ าที่ มากันหลายหน่ วย ทั้งเจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส.” 2) การค้นและจับกุมโดยยกเว้นสิทธิบางประการ (หมายค้น) แม้รัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา จะได้บญั ญัติคุม้ ครองสิ ทธิและ เสรี ภาพในเคหะสถานของบุคคล โดยบัญญัติว่าการค้นในที่รโหฐานต้องมี หมายค้นจากศาลเท่านั้น โดยเหตุที่จะออกหมายค้นได้น้ นั มีบญั ญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 692 กล่ าวคือ เพื่อ ค้นหาสิ่ งของที่จะใช้เป็ นพยานหลักฐานสิ่ งของที่ผิดกฎหมาย บุคคล สิ่ งของตามค า พิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาล เว้นแต่เป็ นกรณี เข้าข้อยกเว้น3เช่น เป็ นความผิดซึ่ งหน้า มีเสี ยงร้องขอให้ 2
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา มาตรา 69 บัญญัติว่า เหตุที่จะออกหมายค้นได้มีดงั่ ต่อไปนี้ (1) เพื่อพบและยึดสิ่ งของซึ่ งจะเป็ นพยานหลักฐานประกอบการสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้ องหรื อ พิจารณา (2) เพื่อพบและยึดสิ่ งของซึ่งมีไว้เป็ นความผิด หรื อได้มาโดยผิดกฎหมาย หรื อมีเหตุอนั ควรสงสัย ว่าได้ใช้หรื อตั้งใจจะใช้ในการกระทาความผิด (3) เพื่อพบและช่วยบุคคลซึ่งได้ถูกหน่วงเหนี่ยวหรื อกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (4) เพื่อพบบุคคลซึ่งมีหมายให้จบั (5) เพื่อพบและยึดสิ่ งของตามคาพิพากษาหรื อตามคาสั่งศาล ในกรณีที่จะพบหรื อจะยึดโดยวิธีอื่น ไม่ได้แล้ว 3 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา มาตรา มาตรา 92 บัญญัติว่า
116
ช่ วย เป็ นต้น แต่จากประสบการณ์ ข องกรณี ศึก ษานั้นพบว่า เจ้าหน้าที่ไ ด้เข้า ไปตรวจค้นบ้า นเพื่ อ ตรวจสอบการครอบครองไม้ โดยเข้าไปในบริ เวณรั้วบ้าน ใต้ถุนบ้านหรื ออยูด่ า้ นนอกส่องเข้าไปในตัว บ้าน รวมทั้งทาการตรวจยึดโดยไม่มีหมายจากศาล โดยกรณี ของลุงทิศและพ่อประเสริ ฐนั้น เจ้าหน้าที่ สนธิกาลังเข้าไปตรวจดูในบริ เวณบ้าน เมื่อพบแล้วก็ตรวจยึดส่งดาเนินคดี แต่สาหรับกรณี ของป้ าพอดี นั้น เจ้าหน้าที่จากหลายหน่วยงานเข้าไปตรวจยึดไม้ในบ้านที่กาลังสร้างโดยไม่มีหมายค้นจากศาล ซึ่ ง มีสองกรณี กล่าวคือ กรณีแรก เป็ นการอ้างคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 13/2559 ข้อ 3 (4)โดย กรณี ของป้ าพอดีน้ นั เจ้าหน้าที่จากหลายหน่วยงานทั้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ตารวจ อส. และทหาร ได้เข้าไป ตรวจค้นในบริ เวณบ้านที่มีร้ วั รอบขอบชิด และเข้าไปในบ้านโดยไม่มีหมายค้นจากศาล โดยอ้างว่าเป็ น การปฏิบตั ิการโดยมีคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 13/2559 ข้อ 3 (4) ที่กาหนดให้ ข้าราชการทหารที่มียศตั้งแต่ร้อยตรี ข้ ึนไป มีอานาจเข้าไปในเคหสถานเพื่อตรวจค้น เมื่อมีเหตุอนั ควร สงสัยโดยมีหลักฐานตามสมควรว่ามีทรัพย์สินซึ่งมีไว้เป็ นความผิด หรื อได้มาโดยการกระทาความผิด หรื อได้ใช้หรื อจะใช้ในการกระทาความผิดซุกซ่อนไว้ ซึ่งค่าสัง่ คสช. ฉบับดังกล่าวนี้ให้อานาจทหารที่ มียศตั้งแต่ร้อยตรี ข้ นึ ไป มีอานาจเข้าไปค้นในที่รโหฐานได้โดยไม่ตอ้ งขอหมายค้นจากศาล กรณีที่สอง การสนธิกาลังเข้าไปค้นในบ้านโดยไม่มีอานาจรองรับและไม่มีหมายค้นจากศาล เป็ นปฏิบตั ิการที่เจ้าหน้าที่จากหลายหน่ วยงาน มีท้ งั เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ทหาร ตารวจ อส. เข้าไปปิ ดล้อม หรื อเข้าไปตรวจค้นในบ้านหรื อบริ เวณบ้านโดยไม่มีหมายค้นจากศาล เพื่อค้นและจับกุมการผูก้ ระทา ห้ามมิให้คน้ ในที่รโหฐานโดยไม่มีหมายค้นหรื อคาสั่งของศาล เว้นแต่พนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตารวจ เป็ นผูค้ น้ และในกรณีดงั ต่อไปนี้ (1) เมื่อมีเสี ยงร้องให้ช่วยมาจากข้างในที่รโหฐาน หรื อมีเสี ยงหรื อพฤติการณ์อื่นใดอันแสดงได้ว่า มีเหตุร้ายเกิดขึ้นในที่รโหฐานนั้น (2) เมื่อปรากฏความผิดซึ่งหน้ากาลังกระทาลงในที่รโหฐาน (3) เมื่อบุคคลที่ได้กระทาความผิดซึ่งหน้า ขณะทีถ่ ูกไล่จบั หนี เข้าไปหรื อมีเหตุอนั แน่ นแฟ้ นควร สงสัยว่าได้เข้าไปซุกซ่อนตัวอยูใ่ นที่รโหฐานนั้น (4) เมื่อ มีพยานหลัก ฐานตามสมควรว่าสิ่ งของที่มีไว้เ ป็ นความผิดหรื อ ได้มาโดยการกระทา ความผิดหรื อได้ใช้หรื อมีไว้เพื่อจะใช้ในการกระทา ความผิด หรื ออาจเป็ นพยานหลักฐานพิสูจน์ก ารกระทาความผิด ได้ซ่อนหรื ออยูใ่ นนั้น ประกอบทั้งต้องมีเหตุอนั ควรเชื่อว่าเนื่องจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้สิ่งของนั้นจะ ถูกโยกย้ายหรื อทาลายเสี ยก่อน (5) เมื่อที่รโหฐานนั้นผูจ้ ะต้องถูกจับเป็ นเจ้าบ้าน และการจับนั้นมีหมายจับหรื อจับตามมาตรา 78
117
ความผิด ในข้อ หาครอบครองไม้ห รื อ ท าไม้ บางครั้ งเป็ นกรณี ที่ สื บ เนื่ อ งมาจากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่ กลายเป็ นข่าวดังและถูกจับตา ทาให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่จะต้องสร้างผลงานเพือ่ แสดงว่าได้จดั การปั ญหา นั้นแล้ว กรณี ลุงทิศ เจ้าหน้าที่สนธิกาลังจานวนมากเข้าไปตรวจค้นในหมู่บา้ น โดยเข้าไปตรวจค้นใน บริ เวณบ้านเกื อ บทุกหลัง รวมทั้งบ้านของลุ งทิศด้วย เมื่ อ พบไม้ก็ถ่ายรู ปไว้และเขียนบันทึกเอาไว้ ตามที่ภรรยาของลุงทิศเล่ าเหตุการณ์ในวันเกิดเหตุว่า “หั วหน้ าชุดทหารที่ นามาได้ ใช้ วิทยุสื่อสารขอ กาลังเสริ มจากหน่ วยงานอื่ นๆ ทั้งทหาร ตารวจ ป่ าไม้ และฝ่ ายปกครองให้ มาสมทบ เมื่ อเจ้ าหน้ าที่ จาก หน่ วยต่ างๆ เดินทางมาสมทบจานวนมากกว่ าหนึ่งร้ อยคน พร้ อมทั้งได้ สั่งให้ เจ้ าหน้ าที่กระจายกาลังไป ตรวจค้ นตามบ้ านต่ างๆ ทั่วหมู่บ้าน ถ้ าพบว่ าตามบ้ านมีไม้ แปรรูปหรื อไม้ สักท่ อนก็ถ่ายรูปเอาไว้ ” กรณี ของพ่อประเสริ ฐ ก็เป็ นการสนธิกาลังเข้าไปตรวจค้นบ้านหลังที่เป็ นเป้ าหมาย ซึ่ งในวัน นั้นมีการเข้าไปตรวจค้นบ้านจานวน 4 หลัง ซึ่งบ้านของพ่อประเสริ ฐก็เป็ นหนึ่ งในกลุ่มเป้ าหมาย โดย ในการเข้าไปตรวจค้นในบ้านและบริ เวณบ้านนั้น เจ้าหน้าที่ไ ม่ มี หมายค้นจากศาลไปด้ว ย ซึ่ งพ่อ ประเสริ ฐเล่าว่า “เมื่ อสอบถามญาติที่บ้านอยู่ใกล้ ๆ กัน เขาก็เล่ าให้ ฟังว่ า เจ้ าหน้ าที่ มากันหลายหน่ วย ทั้งเจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. มาถึงก็ตรงมาที่บ้านเลย โดยที่ไม่ มีหมายค้ นมาด้ วย” 4.1.3 ในชั้นสอบสวน ในการด าเนิ น คดี อ าญา เมื่ อ มี ผูม้ าร้ อ งทุ ก ข์ห รื อ การแจ้ง ความให้ด าเนิ น คดี แ ก่ ผูใ้ ดแล้ว พนักงานสอบสวนมีหน้าที่ดาเนิ นการตาม ประมวลกฎหมายกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 131 ที่บญ ั ญัติว่า “ให้ พนักงานสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิ ด เท่ าที่ สามารถทาได้ เพื่ อ ประสงค์ จะทราบข้ อเท็จจริ งและพฤติการณ์ ต่ างๆ อันเกี่ ยวกับความผิดที่ ถูกกล่ าวหา และเพื่อจะรู้ ตัว ผู้กระท าความผิ ดและพิ สูจ น์ ให้ เ ห็ นความผิ ด ” ซึ่ งการปฏิ บตั ิหน้าที่ในการสอบสวนคดี พนัก งาน สอบสวนมีหน้าที่รวบรวมข้อเท็จจริ งจากทั้งฝ่ ายผูก้ ล่าวหาและฝ่ ายผูถ้ ูกกล่าวหา รวมทั้งต้องให้ความ เป็ นธรรมและให้โอกาสแก่ท้งั สองฝ่ ายเพือ่ จะได้ต่อสูค้ ดีได้อย่างเต็มที่ แต่ในทางปฏิบตั ิ โดยเฉพาะในคดี ที่ฝ่ายผูถ้ ู กกล่ าวหาเป็ นคนชายขอบของสังคมด้วยแล้ว พนักงานสอบสวนไม่ได้พยายามค้นหาความจริ งอย่างรอบด้าน ตามบทบัญญัติของประมวลกฎหมาย กฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา มาตรา 131 โดยเฉพาะพยานหลักฐานและข้อ เท็จ จริ ง ที่จ ะเป็ น ประโยชน์ต่อ ผูถ้ ู กกล่ าวหา ทาให้ผูถ้ ู ก กล่ าวหาได้รับประโยชน์จากบทบัญญัติ กฎหมายดังกล่ าวนี้ ค่อนข้างน้อย เช่น
118
การสอบปากคาผู้ต้องหา ลุงทิศ เล่าถึงเหตุการณ์เมื่อครั้งที่ลุงทิศพร้อมกับชาวบ้านในหมู่บา้ นอีก 39 คน ก็ถูกเรี ยกให้ไป พบตารวจว่า “เมื่อถึงวันที่กาหนดนัด ชาวบ้ านทั้งหมด 39 คน ก็ไปพบตารวจที่สถานีตารวจกันเอง โดยมีผ้ นู าในหมู่บ้านไปด้ วย ตารวจก็เรี ยกให้ เข้ าไปทีละคนๆ เมื่อตนเข้ าไปตารวจก็ถามนิ ดๆ หน่ อยๆ ที่จาได้ คือถามว่ าเอาไม้ มาจากไหน จะใช้ ทาอะไร ใช้ เวลาสั้ นๆ ประมาณ 2 - 3 นาที หลังจากนั้นก็เอา เอกสารมาให้ เซ็นชื่ อ ตนไม่ ร้ ูจะทาอย่างไรก็เซ็นชื่ อ” กรณี ของพ่อประเสริ ฐ ก็คล้ายๆ กับลุงทิศ คือ ตารวจเอาหมายเรี ยกมาให้ บอกว่าให้ไ ปพบ ตารวจที่สถานี ตารวจภูธรแม่ ล าน้อ ย เมื่ อ ถึ งก าหนดพ่อ ประเสริ ฐ ก็ไ ปพบพนักงานสอบสวนตาม กาหนดนัด“เมื่อไปถึงพนักงานสอบสวนก็ถามว่ า เอาไม้ มาจากไหน เอามาเองหรื อซื ้อเขามา ซื ้อมาจาก ใคร ตนก็บอกว่ าซื ้อเขามาจากคนแถวบ้ าน และบอกว่ าตนไม่ ได้ ไปทาเอง ตนทาไม้ ไม่ เป็ น นอกจากนี ้ ยังได้ บอกตารวจไปว่ าไม้ นั้นจะเอาไว้ สร้ างบ้ านอยู่อาศัย ไม่ ได้ เอาไว้ ขาย หลังจากถามอย่ างนั้นเสร็ จ ตารวจก็บอกตนว่ าจะทาสานวนแบบตรงไปตรงมา และเอาเอกสาร (ผู้วิจัย : บันทึ กการสอบสวน) มา ให้ ตนเซ็นชื่ อ” สาหรับกรณี หน่อดา ตัวหน่อดาจาได้ว่า “ตารวจก็บอกว่ าเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ แจ้ งมาว่ าตนทาไร่ มี พืน้ ที่ 20 ไร่ ตอนนั้นตนก็ได้ บอกไปว่ าจริ งๆ แล้ วไม่ ถึง 20 ไร่ หลังจากนั้นตารวจก็ทาเอกสาร เมื่ อทา เสร็จแล้ วก็เอามาให้ ตนปั๊ มหัวแม่ มือ” การทาบันทึกข้ อเท็จจริ ง โดยพนักงานสอบสวนมีแนวโน้มที่จะทาบันทึกข้อเท็จจริ งที่มดั ตัวผูต้ อ้ งหา ซึ่ งเป็ นเอกสารที่ มีผลเสียต่อรู ปคดีของผูถ้ ูกกล่าวหาอย่างมาก กรณี ของป้ าพอดี ลูกสาวเล่าเหตุการณ์ตอนหนึ่งในการสอบสวนว่า “ ต อ น ที่ ต า ร ว จ สอบปากคานั้น ตนเองนั่งฟั งอยู่ด้วย ตารวจได้ ถามว่ าไม้ นั้นได้ มาอย่ างไร ซึ่ งตนก็ได้ อธิ บายตามความ จริ งว่ า เป็ นไม้ ที่รื้อจากบ้ านหลังเดิมเพื่อจะใช้ สร้ างบ้ านหลังใหม่ ไม่ ใช่ ไม้ ใหม่ อย่ างที่ ถูกกล่ าวหา” แต่ หลังจากพนักงานสอบสวนพิมพ์เสร็ จแล้วเอามาให้ป้าพอดีลงชื่อ ลูกสาวของป้ าพอดีก็พบว่าเขียนไม่ เหมือนอย่างที่ได้พดู ออกไป “ปรากฏว่ าเขียนไม่ ตรงข้ อเท็จจริ งตามที่ ได้ บอกไป โดยเฉพาะไม่ มีข้อความที่ ไ ด้ อธิ บายไปว่ าเป็ นไม้ เก่ าที่รื้อจากบ้ านหลังเดิมมาเตรี ยมสร้ างบ้ านหลังใหม่ และยังได้ เขียน 119
อี กว่ าบริ เวณบ้ านไม่ มีรั้ว ซึ่ งความจริ งแล้ วบ้ านมีรั้วลวดหนามล้ อมรอบบริ เวณบ้ านทั้งหมด ลูกสาวของป้ าพอดีก็ท้วงว่ าที่ พิมพ์ ไว้ ไม่ ตรงตามที่ บอก ขอให้ แก้ ให้ ถูกต้ อ ง ตารวจก็แก้ เฉพาะส่ วนที่อธิ บายว่ าเป็ นไม้ ที่รื้อจากบ้ านหลังเก่ า แต่ ไม่ ยอมแก้ ไขข้ อความที่บอกว่ าบ้ าน มีรั้วล้ อมรอบ หลังจากนั้นก็เอามาให้ ป้าพอดี เซ็นชื่ อในเอกสาร" กรณี ของเน้ง เป็ นกรณี ที่พยามขอให้พนักงานสอบสวนแก้ไขบันทึกคาให้การที่เขียนไม่ตรง ตามที่แจ้ง แต่พนักงานสอบสวนไม่ยอมแก้ แต่เน้งก็จาต้องยอม เซ็นบันทึกการสอบปากนั้น เนื่ องจาก เข้าใจว่าตนไม่มีสิทธิที่จะไม่เซ็น โดยเน้งเล่าว่า “เน้ งกับสามี จาได้ ว่าตอนนั้นพนักงานสอบสวนไม่ ไ ด้ สอบถามข้ อเท็จจริ ง มาก เพียงถามว่ าตอนที่ถกู จับนั้นมีใครอยู่บ้าน มี อุปกรณ์ อะไรบ้ าง เป็ นคนแผ้ วถาง เองใช่ ไหม ทั้งเน้ งกับสามีกบ็ อกไปว่ าที่ดินนั้นเป็ นของปลัดอาเภอ และบอกด้ วยว่ า จานวนเนื ้อที่ ที่เจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ระบุไว้ นั้นไม่ ถูกต้ อง ขอให้ แก้ ไขเอกสารจาก 9 ไร่ เป็ น 3 ไร่ และเรื่ องไม้ ก็ไม่ ถูกต้ อง พนักงานสอบสวนก็พยักหน้ าและตอบว่ า “อื อ อื อ” เท่ านั้น แต่ เมื่อเอาเอกสารมาให้ เซ็น เน้ งกับสามีดแู ล้ วก็ปรากฏว่ าไม่ ได้ เขียนสิ่ ง ที่ตนบอกไปและก็ไม่ ได้ แก้ ไขตามที่ บอกไปเลย เมื่ อถามพนักงานสอบสวนก็บอก ว่ า เขาจะเขียนอย่างนั้นแหละ แต่ ถ้ามีข้อโต้ แย้ งอะไรก็ค่อยไปโต้ แย้ งหรื อแก้ ไขกัน ที่ ศ าล พร้ อมกั บ บอกให้ เซ็ น ชื่ อ ซึ่ ง ในขณะนั้ น ตนก็ไ ม่ ส ามารถพูด ตอบโต้ กั บ เจ้ าหน้ าที่ได้ ทั้งยังไม่ ร้ ูจะทาอย่างไรต่ อ จึงจาต้ องยอมเซ็นชื่ อลงไป โดยไม่ ร้ ู ว่าเป็ น เอกสารนั้นมีสถานะอย่างไร และจะส่ งผลดีหรื อผลเสี ยต่ อคดีอย่างไร” สาหรับกรณี ของลุงศักดิ์ พนักงานสอบสวนก็เอาเอกสารหลักฐานที่ลุงยืน่ ไป และถ้อยคาของ ลุ งศักดิ์ ที่ พูดว่าที่ดิ นทากิ นเป็ นที่ที่ตนเองเคยไปทากิ น จริ ง แต่ นานมากว่าสิ บปี แล้ว นอกจากนี้ ได้ สอบปากคาผูใ้ หญ่บา้ นด้วย ซึ่ งผูใ้ หญ่บา้ นไม่ได้ยนื ยันว่าลุงศักดิ์เข้าไปทากิ น มาสรุ ปรวมกับข้ออ้าง ของฝ่ ายผูก้ ล่าวหา เพือ่ มัดตัวว่าผูต้ อ้ งหาได้ยอมรับว่าเป็ นผูค้ รองครองพื้นที่พพิ าทจริ ง จะเห็ น ว่า ในทางปฏิ บ ัติ น้ ัน พนัก งานสอบสวนไม่ ไ ด้ต รวจสอบข้อ เท็จ จริ ง ที่ เ ป็ นบริ บ ท แวดล้อมของคดีดว้ ย เช่น การค้นที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การใช้ประโยชน์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมแห่ ง ท้องถิ่น เป็ นต้น นอกจากนี้ ในการรวบรวมพยานหลักฐาน เพียงสนใจว่าข้อเท็จจริ งที่บ่งชี้ว่าผูต้ อ้ งหา เป็ นผูก้ ระทาจริ งหรื อไม่เท่านั้น ซึ่ งการตรวจสอบข้อเท็จจริ งที่มีการโต้แย้งนั้น พนักงานสอบสวนก็ ไม่ได้สนใจต่อบริ บทแวดล้อมอื่นๆ นอกจากทาให้ผถู ้ ูกกล่าวหาได้ยนื ยันว่าตนเป็ นผูก้ ระทา เพื่อให้ได้ ข้อเท็จจริ งที่ครบองค์ประกอบความผิดเท่านั้น 120
การพิจารณาเรื่องสิ ทธิของผู้ต้องหา แม้วา่ ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญาและรัฐธรรมนู ญจะได้บญั ญัติรับรองสิ ทธิของ บุคคลในฐานะประชาชนหรื อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่างครบถ้วน แต่ในทางปฏิบตั ิน้ นั ไม่ใช่ว่าทุกคนจะ ได้รับการคุม้ ครองจากระบบกฎหมายจริ ง ทั้งนี้เนื่องจากในทางปฏิบตั ิแล้ว การใช้สิทธิหรื อได้รับสิ ทธิ์ ตามที่ กฎหมายก าหนดไว้น้ ัน มี เงื่ อ นไขเสมอ ซึ่ งต้อ งเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่ มี ค วามรู ้ ระเบี ย บ กฎหมาย หรื อมีทนายความให้ความช่วยเหลือ แม้กระทัง่ ในบางครั้งต้องรู ้เท่าทันกลลวงของเจ้าหน้าที่ ด้วย กล่าวคือ สิ ทธิการมีทนายความ พบว่ามีจานวน 5 กรณี ที่ไ ม่มีโอกาสได้พบและปรึ กษาทนายความ ก่อนที่จะให้การแก่เจ้าหน้าที่ผจู ้ บั กุมหรื อพนักงานสอบสวน คือ หน่ อดา ลุงทิศ พ่อประเสริ ฐ ป้ าพอดี และเน้ง ซึ่งกรณี ศึกษาเหล่านี้ไม่รู้วา่ ตนมีสิทธิที่จะได้พบและปรึ กษาทนายความก่อนที่จะให้ปากคาแก่ ผูจ้ บั กุมหรื อพนักงานสอบสวน หรื อขอให้ทนายความอยูร่ ับฟังในขณะที่ให้การแก่พนักงานสอบสวน ซึ่ งปรากฏว่ากรณี ศึกษาทั้ง 5 รายให้การรับสารภาพในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนทั้งหมด เป็ นการ แสดงให้เห็ นว่าผูต้ อ้ งหาเหล่ านี้ ไ ด้ตดั สิ นใจในเรื่ อ งที่จะส่ งผลกระทบต่อ สิ ทธิ และเสรี ภาพ รวมทั้ง ทรัพย์สินไปโดยไม่มีโอกาสได้ปรึ กษากับทนายความก่อน เพื่อทาความเข้าใจกับสถานการณ์ที่เผชิญ อยู่ หลัง จากให้การรั บสารภาพไปแล้ว บางรายเพิ่ง มี ท นายความเข้า มาภายหลัง เพื่อ ท าค าแถลง ประกอบคารับสารภาพหรื อเขียนอุทธรณ์ ซึ่งแต่ละกรณี ได้เล่าถึงการับรู ้เกี่ยวกับทนายความไว้ดงั นี้ หน่ อ ดาไม่ เคยรู ้ว่าทนายคือ อะไร เมื่ อ ถู กถามว่าต้อ งการทนายความหรื อ ไม่ จึงบอกว่าไม่ ต้องการ และเจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้จดั หาให้ เมื่อผูว้ ิจยั ถามหน่ อดาว่า ในวันที่ตารวจพาไปสอบปากคานั้น ตารวจได้แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับเรื่ องสิทธิและทนายความหรื อไม่ “หน่ อดาก็บอกว่ าตารวจไม่ บอกอะไร ตารวจเพียงถามเล็กๆ น้ อยๆ แล้ วก็เอาเอกสารมาให้ ปั๊มหัวแม่ มือ (ผู้วิจัย : ตารวจอาจไม่ ได้ แจ้ งเกี่ ยวกับ สิ ทธิ ของผู้ต้องหา หรื อตารวจได้ แจ้ งแล้ วแต่ หน่ อดาไม่ เข้ าใจและล่ ามไม่ ได้ แปลให้ ฟัง)” แม้กระทัง่ ต่อมาจะมีทนายความมาช่วยว่าความในชั้นศาลให้ หน่ อดาก็ยงั ไม่เข้าใจ โดยบอกว่า “ตนก็เพียงรู้ ว่ามี คนมาช่ วยเหลือ แต่ ไม่ เคยรู้ มาก่ อนเลยว่ าทนายความคื อใคร จะมาช่ วยทาอะไร และระหว่ างที่ ดาเนิ น กระบวนพิจารณาคดีในศาล ตนก็เพียงแต่ ไปโดยที่ ไม่ เข้ าใจว่ าทนายได้ ทาอะไรไปบ้ าง ทุกครั้ งที่ ไ ป ศาลก็มีทนายความพาไป สาหรั บตนก็ไม่ ร้ ูว่าแต่ ละครั้ งนั้นไปทาอะไรบ้ าง แม้ ว่าจะมี คนพยายามแปล เป็ นภาษากะเหรี่ ยงให้ กต็ าม”
121
สาหรับเน้งนั้น พอรู ้ว่าทนายคือ อะไร แต่ตนและสามี ไ ม่รู้จกั ทนายความคนที่ไ ว้วางใจได้ “เข้ าใจว่ าถ้ าขอทนายความมาก็ต้องจ้ างเท่ านั้น ตอนนั้นไม่ เคยรู้เลยว่ าเรามีสิทธิ์ ขอทนายความฟรี ” เมื่อ ไม่มีเงินว่าจ้างทนายความและไม่รู้จกั ทนายความที่ไว้ใจได้ จึงไม่รู้จะทาอย่างไรแม้จะอยากสูค้ ดีก็ตาม พ่อประเสริ ฐบอกว่า “ตอนนั้นไม่ มีทนายความและตนก็ไม่ ร้ ู อะไรเกี่ ยวกับทนายความ ตอน นั้นคิดได้ เพียงว่ าไปตามที่เขาว่ า ให้ ทาอะไรก็ทา ผู้วิจัยถามว่ าเคยรู้เกี่ยวกับทนายความที่ ศาลตั้งให้ ไหม พ่ อประเสริ ฐบอกว่ าก็เคยได้ ยินมาว่ าเขามี ทนายที่ ศาลที่ เขาช่ วยชาวบ้ านอยู่ แต่ ไม่ ร้ ู ว่าจะไปหาที่ ไหน ไม่ ร้ ูว่าจะต้ องทาอย่างไร ช่ วงนั้นคนที่โดนคดีสามสี่ คนก็ไม่ มีใครไปติดต่ อ ตนก็เลยไม่ ได้ ติดต่ อ ” การจัดหาล่ ามแปลภาษา ในรายที่จาเป็ นต้องใช้ล่ามแปลภาษาให้ พนักงานสอบสวนหรื อศาล ได้จดั หาคนมาเป็ นล่ามแปลภาษาให้ โดยในชั้นพนักงานสอบสวนจะใช้ล่ามแปลภาษาที่เป็ นชาวบ้าน หรื อญาติของผูต้ อ้ งหาเอง ไม่ใช่ล่ามที่เชี่ยวชาญการแปลภาษาหรื อเป็ นผูท้ ี่ผา่ นการศึกษาอบรมเกี่ยวกับ การแปลภาษาในทางกฎหมายมา ซึ่ งเมื่อมาทาหน้าที่แปลภาษาก็ไม่ได้แปลอย่างผูท้ ี่เข้าใจถ้อยคาและ ความหมายตามที่เจ้าหน้าที่ตอ้ งการสื่อสาร กรณี ของหน่ อ ดานั้นไม่ สามารถพูดภาษาไทยได้เลย ตอนที่ถูกจับและพาไปทาบันทึกการ จับกุมนั้น หน่อดาเล่าว่า “เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ พวกนั้นพูดอะไรบางอย่างกับหน่ อดาด้ วยภาษาไทย แต่ หน่ อ ดาฟั งไม่ เข้ าใจ เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ คนหนึ่งจึงแปลให้ ฟังว่ า หน่ อ ดาบุกรุกป่ าและเจ้ าหน้ าที่จะจับ” ในชั้นสอบสวนนั้น พนักงานสอบสวนได้เรี ยกให้ชาวบ้านที่เดินทางไปเยีย่ มหน่ อดาที่สถาน ตารวจแปลให้ และเมื่ อถูกส่ งไปที่ศาลครั้งแรกนั้น มีผใู ้ หญ่บา้ นจากหมู่บา้ นที่ใกล้กนั เข้าไปฟั งด้วย และช่วยแปลให้ฟังบางคา ซึ่งหน่อดาเล่าเหตุการณ์ในวันถูกส่งฟ้ องว่า “เมื่ อตารวจพาไปถึงที่ ศาลก็ถูก พาเข้ าไปในห้ องขัง สักพักก็ถูกพาขึน้ ไปข้ างบน มี คนมาสอบถามโดยผู้ใหญ่ บ้านที่ มาด้ วยแปลให้ ฟัง ว่ าได้ ทาไร่ จริ งใช่ ไหม หน่ อเดาก็บอกว่ าใช่ และให้ ปั๊มหั วแม่ มือในเอกสาร แต่ ตนไม่ ร้ ู ว่าเป็ นใครและ ให้ ทาอะไร สักพักก็ถกู พาลงไปในห้ องขังเหมือนเดิ ม และมี คนตามมาบอกว่ าตนถูกตัดสิ นให้ จาคุก 1 ปี ” กรณี ลุงทิศ ในชั้นสอบสวนพนักงานสอบสวนไม่ได้จดั ล่ามแปลภาษาให้ แต่ตอนนั้นมีตารวจ ที่เป็ นคนกะเหรี่ ยงอยูท่ ี่นนั่ ด้วย ได้ช่วยแปลให้ฟังเป็ นบางคา ซึ่งลุงทิศได้เล่าความรู ้สึกตอนนั้นว่า “ตน พูด และฟั ง ภาษาไทยได้ ไ ม่ ม าก ท าให้ เวลาที่ ต ารวจ เจ้ า หน้ า ที่ ห รื อศาลพูด แล้ ว ก็ ไ ม่ ค่ อ ยเข้ า ใจ โดยเฉพาะเวลาที่เขาพูดเกี่ยวกับกฎหมายหรื อความผิด นอกจากนีเ้ วลาที่ เขาถามก็ไม่ กล้ าพูดอะไรมาก เนื่องจากพูดภาษาไทยไม่ คล่ องก็เลยไม่ กล้ าพูด อี กอย่ างคื อตอนนั้นกลัวว่ าหากพูดไปแล้ วจะผิดและ เจ้ าหน้ าที่จะเพิ่มข้ อหาหรื อทาให้ ผิดหนักมากขึน้ ” 122
กรณี ป้าพอดี สามารถพูดและฟั งภาษาไทยได้บา้ งแต่ไม่ คล่องมากนัก ในชั้นสอบสวนมีลู ก สาวซึ่งเป็ นครู เข้าไปฟังการสอบสวนและแปลภาษาให้ นอกจากนี้ ยงั เป็ นผูช้ ่วยดาเนิ นการต่างๆ ให้ใน ระหว่างที่ถูกดาเนิน เมื่อผูว้ จิ ยั ได้สอบถามเกี่ยวกับความเข้าใจต่อความหมายถ้อยคาทางกฎหมายต่างๆ ที่แปลให้ป้าพอดีฟัง ลูกสาวของป้ าพอดีบอกว่า “พวกคาที่ เป็ นศัพท์ ทางกฎหมายนั้นตนไม่ เคยเรี ยนรู้ มาและไม่ เข้ าใจ มีการอ้ างถึงกฎหมายที่เยอะมากและพูดแบบผ่ านๆ ไป เมื่ อตอนอยู่ที่โรงพัก บางครั้ ง เวลาตนใช้ เวลาอ่ านเอกสารนานหน่ อยหรื อโต้ แย้ งหรื อ สอบถามเพื่อทาความเข้ าใจ เจ้ าหน้ าที่ ก็มักจะ แสดงท่ าทางไม่ พอใจ” สาหรับกรณี ของจอดานั้น ไม่ สามารถพูดและฟั งภาษาไทยได้เลย โดยในชั้นสอบสวนนั้น พนักงานสอบสวนได้เรี ยกสมาชิก อบต. ซึ่ งเป็ นคนกะเหรี่ ยงในตาบลเดียวกันกับจอดามาเป็ นล่ าม แปลภาษา สมาชิ ก อบต. คนดังกล่าวก็เป็ นชาวบ้านธรรมดา เพียงแต่สามารถพูดภาษาไทยได้คล่อ ง สาหรับในชั้นศาลนั้นเป็ นล่ามประจาของศาล คนที่ส ามารถพูด ภาษาไทยแบบใช้สื่อ สารทั่วๆ ไปได้ เช่ น ลุ งศักดิ์ สมบูร ณ์ เน้ง และพ่อ ประเสริ ฐ แต่ทุกคนยืนยันว่าแม้ว่าจะสามารถพูดภาษาไทยทัว่ ๆ ไปได้ แต่เมื่ อ เป็ นคาพูดและภาษา กฎหมายก็ฟังไม่ เข้าใจ และเมื่ อ ต้อ งการที่จะพูดเพื่อ อธิบายก็ไ ม่ กล้าพูด เพราะใช้คาพูดแบบภาษา กฎหมายไม่เป็ น และกลัวว่าเมื่อพูดไปแล้วจะถูกแปลความไปในทางเป็ นโทษต่อคดี การแจ้ งสิ ทธิ์ให้ แก่ ผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน กรณี ที่มีทนายความไปนัง่ ฟังการสอบสวนด้วยนั้น พนักงาสอบสวนก็ได้แจ้งไปตามระเบียบ แต่สาหรับกรณี ที่ไม่มีทนายความไปร่ วมฟั งการสอบปากคา นั้น กรณี ศึ กษาเล่ า ว่าไม่ ไ ด้รั บ แจ้ง ซึ่ งอาจเป็ นเพราะว่า เจ้าหน้าที่ ไ ม่ ไ ด้แ จ้ง หรื อ แจ้งแล้ว หากแต่ กรณี ศึกษาไม่รู้และไม่เข้าใจในกระบวนการนี้ เช่น ลุงทิศเล่ าว่าในวันที่ไ ปที่สถานี ตารวจนั้น “ตารวจก็เรี ยกให้ เข้ าไปที ละคนๆ เมื่ อ ตนเข้ าไป ตารวจก็ถามนิดๆ หน่ อยๆ ที่จาได้ คือถามว่ าเอาไม้ มาจากไหน จะใช้ ทาอะไร ใช้ เวลาสั้นๆ ประมาณ 2 3 นาที หลังจากนั้นก็เอาเอกสารมาให้ เซ็นชื่ อ ตนไม่ ร้ ูจะทาอย่างไรก็เซ็นชื่ อ” ส าหรั บ พ่อ ประเสริ ฐ นั้ น ผูว้ ิ จ ัย ถามว่า พนัก งานสอบสวนได้แ จ้ง สิ ท ธิ แ ละถามเกี่ ย วกับ ทนายความหรื อไม่ พ่อประเสริ ฐตอบว่า “ตารวจไม่ ได้ พูดอะไรเกี่ ยวกับเรื่ องนี ้ ... เมื่ อไปถึงพนักงาน สอบสวนก็ถามว่ า เอาไม้ มาจากไหน เอามาเองหรื อซื ้อเขามา ซื ้อมาจากใคร ตนก็บอกว่ าซื ้อเขามาจาก คนแถวบ้ าน และบอกว่ าตนไม่ ได้ ไปทาเอง ตนทาไม้ ไม่ เป็ น ”
123
อีกทั้งกรณี ของป้ าพอดีน้ นั ลูกสาวป้ าพอดีเล่าว่า “ตารวจไม่ ได้ บอกว่ ามี สิทธิ อะไรบ้ าง” แต่ สาหรับป้ าพอดีเล่าว่า “ในวันนั้นจาอะไรได้ เพราะตอนนั้นตนเองเครี ยดมากและรู้ สึกสั บสนไปหมด ตารวจพาไปหลายที่ และมี การทาอะไรหลายอย่ าง แต่ ตนเองไม่ ร้ ู และไม่ เข้ าใจว่ ามี การทาอะไรบ้ าง ตอนนั้นให้ ทาอะไรก็ทา ใครพาไปไหนก็ไปหมด เพราะสถานการณ์ ตอนนั้นตนเองทาอะไรไม่ ได้ และ คิดอะไรไม่ ออก” สาหรับกรณี ของหน่อดานั้น เมื่อผูว้ จิ ยั ได้ถามว่าในวันที่ตารวจพาไปสอบปากคานั้น ตารวจได้แจ้งให้ทราบเกี่ยวเรื่ องสิ ทธิต่างๆ ไหม หน่ อดาก็บอกว่า “ตารวจไม่ บอกอะไร ตารวจเพียง ถามเล็กๆ น้ อยๆ แล้ วก็เอาเอกสารมาให้ ปั๊ม” 4.1.4 ในชั้นพนักงานอัยการ เมื่อพนักงานสอบสวนทาการสอบพยานและรวบรวมสานวนการสอบสวนเสร็ จแล้ว ก็จะส่ ง สานวนคดี ไ ปยังพนักงานอัย การเพื่อ ดาเนิ นการต่อ ไป ซึ่ งตามพระราชบัญญัติ อ งค์กรอัยการและ พนักงานอัยการ พ.ศ. 2553 มาตรา 14 กาหนดว่า ในคดีอาญา พนักงานอัยการมีอานาจและหน้าที่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา และตามกฎหมายอื่นซึ่งบัญญัติว่าเป็ นอานาจและหน้าที่ของ พนักงานอัยการ โดยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 1434 บัญญัติอานาจหน้าที่ของ พนักงานอัยการในชั้นสอบสวนและพิจารณาสัง่ คดีไว้วา่ ถ้าเป็ นสานวนการสอบสวนที่รู้ตวั ว่าใครเป็ น ผูก้ ระทาความผิด ไม่ ว่าจะจับตัวผูต้ อ้ งหาได้หรื อ ไม่ และพนักงานสอบสวนจะมี ความเห็ นสั่งฟ้ อง หรื อไม่ก็ตาม พนักงานอัยการมีอานาจที่จะสัง่ สานวนการสอบสวนได้เป็ น 3 แนวทางคือ แนวทางแรก เมื่อ พนักงานอัยการพิจารณาเห็นว่าข้อ เท็จจริ งในสานวนการสอบสวนยังไม่ ชัดเจนพอ ก็มีอ านาจสั่งให้พนักงานสอบสวนดาเนิ นการสอบสวนเพิ่มเติม หรื อให้ส่งพยานมาพบ
4
มาตรา 143 เมื่อได้รับความเห็ นและสานวนจากพนักงานสอบสวนดัง่ กล่าวในมาตราก่อน ให้พนักงาน อัยการปฏิบตั ิดงั่ ต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่มีความเห็นควรสั่งไม่ฟ้อง ให้ออกคาสั่งไม่ฟ้อง แต่ถา้ ไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้สั่งฟ้ องและแจ้งให้ พนักงานสอบสวนส่ งผูต้ อ้ งหามาเพื่อฟ้ องต่อไป (2) ในกรณีมีความเห็นควรสั่งฟ้ อง ให้ออกคาสั่งฟ้ องและฟ้ องผูต้ อ้ งหาต่อศาลถ้าไม่เห็ นชอบด้วย ก็ให้สั่ง ไม่ฟ้อง ในกรณีหนึ่งกรณีใดข้างต้น พนักงานอัยการมีอานาจ (ก) สั่งตามที่เห็นควร ให้พนักงานสอบสวนดาเนิ นการสอบสวนเพิ่มเติมหรื อส่ งพยานคนใดมา ให้ซกั ถามเพื่อสั่งต่อไป (ข) วินิจฉัยว่าควรปล่อยผูต้ อ้ งหา ปล่อยชัว่ คราว ควบคุมไว้ หรื อขอให้ศาลขังแล้วแต่กรณี และ จัดการหรื อสั่งการให้เป็ นไปตามนั้น ...
124
อัยการเพือ่ ซักถาม แนวทางที่สอง ถ้าพนักงานอัยการพิจารณาแล้วเห็นว่าพยานหลักฐานในสานวนการ สอบสวนไม่หนักแน่ นเพียงพอที่จะรับฟั งได้ว่า ผูต้ อ้ งหาเป็ นผูก้ ระทาความผิด หรื อ การกระทาของ ผูต้ อ้ งหาไม่เป็ นความผิดต่อกฎหมาย พนักงานอัยการมีอานาจที่จะสัง่ ไม่ฟ้องผูต้ อ้ งหาได้ และแนวทาง ที่สาม ถ้าพนักงานอัยการเห็ นว่าพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวนรัดกุม สามารถรับฟั งได้ว่า ผูต้ อ้ งหาได้กระทาความผิดจริ ง ก็มีอ านาจสั่งฟ้ องผูต้ ้อ งหา ซึ่ ง ตามหน้าที่ดังกล่ าวนี้ หน้าที่สาคัญ ประการหนึ่งของพนักงานอัยการคือการตรวจสอบและกลัน่ กรองคดี จากการตรวจสอบเรื่ อ งเล่ า ของกรณี ศึ ก ษา พบว่าพนักงานอัย การมี ความเห็ นสั่ง ฟ้ องคดี ทั้งหมด โดยไม่มีการเรี ยกผูต้ อ้ งหาไปสอบปากคา แม้แต่ในคดีที่ผตู ้ อ้ งหายืน่ หนังสื อร้องขอความเป็ น ธรรมให้พนักงานอัยการพิจารณาก็ตาม นอกจากนี้พบว่ามีกรณี ศึกษาบางคนที่ไม่รู้ว่ามีการดาเนิ นงาน ของพนักงานอัยการในขั้นก่อนส่งฟ้ องคดี เนื่องจากไม่มีการดาเนินการใดๆ เกี่ยวกับการสอบสวน ทา ให้ผตู ้ อ้ งหาไม่ทราบ เช่น กรณี ของลุงทิศ หน่อดา จอดา ป่ าพอดี เน้ง และพ่อประเสริ ฐ จากเรื่ อ งเล่ าของกรณี ศึกษามี ขอ้ สังเกตว่า ในชั้นก่ อนฟ้ องคดี พบว่าพนักงานอัยการไม่ ไ ด้ แสดงบทบาทอะไรอย่า งมี นัย ยะส าคัญ นอกจากสั่ง ฟ้ องคดี แม้แ ต่ ใ นคดี ที่ พ นัก งานสอบสวนมี ความเห็ นสั่งไม่ฟ้อง พนักงานอัยการก็มีคาสั่งให้ฟ้องด้วยเช่นกัน เช่ น กรณี ของสมบูรณ์ ที่หัวหน้า พนักงานสอบสวนมีความเห็นสัง่ ไม่ฟ้องและทาความเห็นส่ งพนักงานอัยการแล้ว แต่พนักงานอัยการ กลับก็มีความเห็นสัง่ ฟ้ องคดี ที่น่า สนใจคือ ในกรณี ที่ผูต้ ้อ งหาส่ ง หนัง สื อ ร้ อ งขอความเป็ นธรรม โดยชี้ แ จงข้อ เท็จจริ ง เกี่ยวกับวิถีชีวติ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน รวมทั้งเหตุผลและความจาเป็ นต่างๆ ที่ผตู ้ อ้ งหาจาเป็ นต้อง ใช้ที่ดินหรื อ ไม้สร้างบ้าน พนักงานอัยการกลับตีความคาชี้ แจงดังกล่ าวว่าเป็ นหลักฐานที่แสดงว่า ผูต้ อ้ งหายอมรับ ข้อ เท็จจริ งตามที่ก ล่ า วหา อัน เป็ นการถื อ เอาหนังสื อ ร้ อ งขอความเป็ นธรรมของ ผูต้ อ้ งหา มาเป็ นโทษแก่ ตวั ผูต้ อ้ งหาเอง ทั้งๆ ที่ผตู ้ อ้ งหาประสงค์ให้พนักงานอัยการตรวจสอบและ กลัน่ กรองข้อเท็จจริ งเพือ่ ให้ความเป็ นธรรมแก่ผตู ้ อ้ งหา จากกรณี ของลุงศักดิ์ “หลังจากที่ ทราบว่ าพนักงานสอบสวนได้ ส่งสานวนการสอบสวนให้ แก่ พนักอั ยการแล้ ว ผู้วิจัยได้ พูดคุยกับลุงศักดิ์ แนะนาให้ ทาหนังสื อร้ อ งขอความเป็ น ธรรมส่ งให้ พนักงานอัยการเพื่อ พิจารณาสั่ งไม่ ฟ้องคดี เมื่ อลุงศักดิ์เห็นด้ วย ผู้วิจัยก็ ได้ ร่างหนังสื อร้ องขอความเป็ นธรรมส่ งต่ อพนักงานอัยการ แต่ ต่อมาลุงศักดิ์ก็ได้ รับ แจ้ งนัดให้ ไปที่ศาลเพื่อส่ งฟ้ อง จึงได้ ไปสอบถามที่สานักงานอัยการ ก็ได้ รับคาตอบ 125
จากเจ้ าหน้ า ที่ ว่าเมื่ อได้ รั บหนังสื อ แล้ ว อั ยการได้ ส่ง ไปให้ ส านักงานอั ยการภาค พิจารณา สานักงานอัยการภาคแจ้ งมาว่ าเนื่ องจากในหนังนั้นมี ข้อความที่ แสดงว่ า จาเลยยอมรั บข้ อเท็จจริ ง จึงมีคาสั่งให้ ส่งฟ้ อง” สาหรับกรณี ของสมบูรณ์ น้ นั ก็ไ ด้ทาหนังสื อ ร้อ งขอความเป็ นธรรมส่ งให้พนักงานอัยการ เพื่อให้สั่งไม่ฟ้องคดี ต่อศาล และต่อมาผูว้ ิจยั ได้เข้าไปสอบถามผลการพิจารณาหนังสื อร้องขอความ เป็ นธรรมจากพนักงานอัยการเจ้าของสานวนคดี พนักงานอัยการเจ้าของคดีก็บอกว่า “ทางอัยการภาค มีความเห็นสั่งให้ ฟ้องคดี เนื่องจากข้ อความในหนังสื อร้ องขอความเป็ นธรรม เป็ นหลักฐานแสดงว่ าผู้ ถูกกล่ าวหายอมรั บในข้ อเท็จจริ งว่ าเป็ นผู้ครอบครองที่ พิพาทจริ ง ส่ วนที่ อ้างว่ ามี สิทธิ์ หรื อได้ รับการ ยกเว้ นตามกฎหมายนั้น ให้ ผ้ ตู ้ องหาไปต่ อสู้คดีในศาลเอาเอง แล้ วให้ ศาลเป็ นผู้พิพากษา” นอกจากนี้ ยังพบว่าภายหลังจากส่ งฟ้ องแล้ว มีกรณี ที่พนักงานอัยการมากดดันให้จาเลยรับ สารภาพ โดยกรณี ของป้ าพอดีน้ นั ระหว่างที่ผวู ้ ิจยั ป้ าพอดีและลูกสาว นั่งรออยูท่ ี่หน้าห้องพิจารณา พนักงานอัยการได้เดินเข้าไปหา แล้วขึ้นเสี ยงดังต่อว่าป้ าพอดีและลูกสาวที่ไม่ยอมรับสารภาพแต่จะ ต่อสูค้ ดีในชั้นศาล ทั้งบอกว่า “ที่เจ้ าหน้ าที่ดาเนินคดีเพียงคนเดียวก็ถือว่ าเมตตาแล้ ว ให้ รับสารภาพเสี ย แต่ หากจะต่ อสู้ คดีอีก พนักงานอั ยการจะสั่ งให้ เจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ และตารวจไปจับสามี ของป้ าพอดีมา ดาเนินคดีด้วย เนื่องจากเป็ นเจ้ าบ้ านและสองคนเป็ นสามี ภรรยา มี ความผิดฐานร่ วมกันครอบครองไม้ ของกลาง นอกจากนีจ้ ะขอให้ ศาลออกหมายให้ ลกู สาวของป้ าพอดีเป็ นพยานให้ พนักงานอัยการด้ วย” ซึ่งความจริ งแล้วพนักงานอัยการมีหน้าที่ตอ้ งให้ความเป็ นธรรมแก่ผทู ้ ี่ถูกกล่าวหา แต่ไม่มีอานาจไป บีบบังคับให้จาเลยรับสารภาพ ส าหรั บ ในกรณี อื่ น ๆ นั้น กรณี ศึ ก ษาไม่ ไ ด้ไ ปติ ด ต่ อ หรื อ รั บ รู ้ ว่ า มี ก ารด าเนิ น การในชั้น พนักงานอัยการด้วย 4.1.5 ในชั้นศาล โดยหลัก การแล้ว ศาลต้อ งด ารงความเป็ นกลาง ทาหน้าที่ ใ ห้ความเป็ นธรรม ต่ อ ทั้ง ฝ่ ายผู ้ กล่าวหาและฝ่ ายผูถ้ ูกกล่าวหา อีกทั้งศาลยังจะต้องทาหน้าที่ควบคุมและตรวจสอบให้ฝ่ายผูก้ ล่าวหาที่ เป็ นหน่วยงานรัฐ ปฏิบตั ิให้ถูกต้องตามกฎหมายด้วย อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตั ิน้ นั เมื่อผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ต้องเข้าสู่การพิจารณาคดีที่อยูใ่ นอานาจของศาลแล้ว ก็จะเผชิญ กับภาวะที่ถูกกดทับจากระเบียบพิธีการต่างๆ ในศาล กล่าวคือ 126
ปั ญ หาการขอปล่ อ ยชั่ ว คราว เป็ นขั้น ตอนที่ ยุ่ง ยากและสร้ า งความล าบากให้แ ก่ ต ัว ผูถ้ ู ก ดาเนินคดีและญาติอย่างมาก เนื่องจากในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้น้ นั ศาลจะเรี ยกหลักทรัพย์ประกัน สูง โดยยึดตามบัญชีเกณฑ์มาตรฐานกลางหลักประกันการปล่อยชัว่ คราวผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ที่กาหนด ไว้สูงถึง 150,000 – 200,000 บาท5 นอกจากนี้ แล้วศาลก็ไม่อ นุ ญาตให้ใช้ตาแหน่ งทางราชการเป็ น หลักทรัพย์ประกันให้แก่ บุคคลที่ไ ม่ ใช่ ญาติด้วย ทาให้คนส่ วนใหญ่ตอ้ งใช้เงินวางเป็ นหลักทรัพ ย์ ประกันเท่านั้น ซึ่ งในทางปฏิบตั ิจะทาให้ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่เป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงได้รับ ความลาบากมาก กรณี ของหน่ อดานั้น มีชาวบ้านอี กคนหนึ่ งที่อยูใ่ นหมู่ บา้ นเดี ยวกันถู กจับกุมพร้อ มกันในที่ ใกล้เคียงกันด้วย ซึ่งญาติของทั้งสองคนไม่มีเงินประกันตัว จึงได้คุยกับผูน้ าชุมชนและตกลงกันว่าจะ ไปขอประกันตัวทั้งสองคนออกมา โดยใช้ตาแหน่ งผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นและสมาชิก อบต. เป็ นประกัน ซึ่งจะต้องขอให้หน่วยงานต้นสังกัด ทาหนังสือรับรองเงินเดือนให้ก่อน จึงจะสามารถไป ยืน่ คาร้องขอประกันตัวได้ ในวันยืน่ คาร้อง ผูน้ าชาวชุมชนซึ่ งมีท้ งั กานัน ผูใ้ หญ่บา้ น สมาชิก อบต. จากทั้งในหมู่บา้ นแม่อมกิ และจากต่างหมู่บา้ น ต้องเดินทางพร้อมกันไปขอประกันตัว ซึ่ งศาลกาหนด วงเงินประกัน 200,000 บาทต่อคน ซึ่งขณะนั้นต้องใช้นายประกันรวมกันถึง 4 คน จึงจะได้หลักทรัพย์ เกินกว่า 200,000 บาท ทาให้การไปประกันตัวทาได้ยากมาก สมาชิก อบต. หมู่บา้ นแม่อมกิ ผูท้ ี่ช่วย ดาเนินเรื่ องเล่าว่า เนื่ องจากคนที่ไปเป็ นนายประกันอยูห่ ลายหมู่บา้ น ญาติตอ้ งขับรถจักรยานยนต์ไป ตาม และไปขอให้นายก อบต. ทาหนังสื อ รั บ รองเงิ นเดื อ นให้แ ต่ ล ะคน สาหรั บคนที่ เ ป็ นก านัน ผูใ้ หญ่บา้ นและผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น ต้องหารถไปรับส่ งจากบ้านไปทาหนังสื อรับรองเงินเดื อนที่อาเภอ แล้วเดินทางต่อไปศาล ซึ่งแต่ละที่อยูไ่ กลกันมาก จากบ้านแม่อมกิถึงศาลแม่สอดมีระยะทางประมาณ 200 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยรถยนต์กว่า 4 ชัว่ โมง และเสียค่าใช้จ่ายเยอะมาก กรณี ของจอดานั้น น้อ งสาวของจอดาซึ่ งทางานอยูท่ ี่ตวั อ าเภอแม่สะเรี ยง ต้อ งเดินทางกลับ บ้านเพื่อขอยืมเงินญาติมาช่วยประกันตัวจอดา และอีกหนึ่ งสัปดาห์ต่อ มาน้อ งสาวก็นาเงิน 150,000 บาท ที่ญาติหลายคนช่วยกันรวบรวมเงินกัน ไปยืน่ คาร้องขอประกันตัวต่อศาล คล้ายๆ กับกรณี ของพ่อ ประเสริ ฐ ที่ลูกสาวเป็ นคนไปติ ดต่อ ทาเรื่ อ งประกันตัว วันนั้นได้เตรี ยมเงินไปส่ วนหนึ่ งแต่ไ ม่ พอ เนื่ องจากศาลเรี ยกหลักทรัพย์ประกันตัว 150,000 บาท ลูกสาวต้องโทรศัพท์ไ ปขอยืมญาติพี่น้องอี ก หลายคน ช่วยกันระดมเงินเอามาวาง จึงประกันตัวออกมาเพือ่ จะอุทธรณ์
5
อัตราค่ าประกันตัว บัญ ชี เ กณฑ์มาตรฐานกลางหลัก ประกันการปล่ อ ยชัว่ คราวผูต้ ้อ งหาหรื อ จ าเลย, แหล่งข้อมูล http://xn--22cjac5d5efmfzi4edhm.blogspot.com/2010/10/blog-post.html.
127
ลุงศักดิ์ แม้วา่ จะได้รับความช่วยเหลือจากสานักงานยุติธรรมให้ใช้กองทุนยุติธรรมประกันตัว แต่ก็ตอ้ งเจอกับปั ญหาความยุง่ ยากอีก “เมื่อเจ้ าหน้ าที่สานักงานยุติธรรมจังหวัดมายื่นคาร้ องขอประกันตัว โดยยื่น หลักทรั พย์ 150,000 บาท แต่ ศาลไม่ อนุญาต โดยให้ เหตุผลว่ าต้ องใช้ ทรั พย์ ประกั น ตัว 200,000 บาท ผู้วิจัยก็เข้ าไปอธิ บายว่ าได้ สอบถามมาก่ อนแล้ ว จึ งได้ เตรี ยมมา ตามที่เจ้ าหน้ าที่บอกไว้ แต่ เจ้ าหน้ าที่ ชี้แจงว่ าเนื่ องจากเพิ่งตรวจพบว่ าโจทก์ ฟ้องว่ า พืน้ ที่พิพาทเป็ นป่ าลุ่มนา้ ชั้น 1 ซึ่ งศาลมี ระเบี ยบกาหนดจานวนหลักทรั พย์ มากกว่ า พืน้ ที่อื่นๆ เจ้ าหน้ าที่ศาลจึงแนะนาว่ าให้ จาเลยไปหาเงิ นมาเพิ่มอี ก 50,000 บาท เพื่อ รวมกันให้ ครบ 200,000 บาท แล้ วยื่นคาร้ องใหม่ ดังนั้น บุตรชายของลุง ศักดิ์จึ งรี บ เดินทางกลับไปที่ หมู่บ้าน เพื่ อขอกู้ยืมเงิ นของพ่ อ ค้ าคนกลางรั บซื ้อ ผักอี ก 50,000 บาทมา เมื่อนามารวมกันได้ ครบจานวนตามกาหนดแล้ ว ศาลจึ งอนุญาตให้ ประกัน ตัวได้ ” กรณี ของลุงทิศแม้ว่าในศาลชั้นต้นทนายความจะสามารถชี้แจงจนศาลเข้าใจและอนุ ญาตให้ ประกันตัวโดยใช้หลักทรัพย์เพียง 30,000 บาท แต่ในชั้นอุทธรณ์น้ นั ศาลกลับมาใช้หลักเกณฑ์เดิม ทา ให้ลุงทิศพร้อมกับชาวบ้านอีก 21 คน ไม่ได้รับการประกันตัว ปั ญหาไม่ มี พยานหลั กฐานที่ศ าลจะรั บฟั งได้ ในขณะที่ แนวทางปฏิบ ัติน้ ัน ศาลจะรั บฟั ง พยานหลักฐานที่เป็ นเจ้าหน้าที่รัฐ หรื อหลักฐานที่จดั ทาหรื อออกให้โดยหน่ วยงานของทางราชการผูม้ ี อานาจเป็ นหลัก สาหรับพยานหลักฐานอื่นๆ นั้นมีน้ าหนักที่ศาลจะรับฟั งน้อย แต่ขอ้ อ้างหรื อข้อต่อสู ้ ของจาเลยไม่มีหลักฐานของทางราชการ ไม่วา่ จะเป็ นเอกสารสิทธิ์หรื อหนังสื ออนุ ญาต ประกอบกับมี กฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับป่ าไม้หา้ มแผ้วถาง ยึดถือ ครอบครองที่ดินในพื้นที่ที่ถูกประกาศให้เป็ น เขตป่ าประเภทต่างๆ รวมทั้งห้ามไม่ให้ผใู ้ ดทาไม้หรื อนาไม้มาใช้ประโยชน์ไม่วา่ เพือ่ การใดๆไว้ชดั เจน ทาให้เมื่อถูกฟ้ องจึงไม่มีหลักฐานแสดงสิทธิที่กฎหมายยอมรับ ดังนั้น เมื่อจะต่อสู ้คดีจึงไม่สามารถหา พยานหลักฐานที่มีน้ าหนัก มาหักล้างข้อกล่าวหาหรื อยืนยันว่ามีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายได้ ซึ่ งใน การพิสูจน์สิทธิในศาลนั้น ศาลจะมุ่งพิจารณาว่าจาเลยมีสิทธิหรื อได้รับอนุ ญาตโดยชอบด้วยกฎหมาย หรื อไม่เป็ นหลัก สาหรับกรณี การครอบครองไม้เพือ่ สร้างบ้านนั้น แม้ว่าโดยทัว่ ไปในท้องถิ่น จะมีธรรมเนี ยม ปฏิบตั ิทวั่ ๆ ไป ในการเก็บไม้สาหรับสร้างบ้านอยูอ่ าศัย โดยค่อยๆ ทยอยสะสมไม้ทีละเล็กทีละน้อย จนกว่าจะได้เพียงพอจึงลงมือสร้างบ้านถาวร แม้วิธีการนี้ จะทาให้ป่าไม้ไม่ถูกตัดไปใช้คราวละมากๆ จนเสื่ อ มโทรม แต่กลับเป็ นวิธีก ารที่ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย ซึ่ งไม่ สามารถนาไปอ้างในชั้นศาลได้ 128
เช่นกัน ทาให้ผพู ้ พิ ากษาเห็นว่าไม่เป็ นประโยชน์ในการต่อสูค้ ดี จึงแนะนาให้รับสารภาพเพื่อให้จาเลย ได้รับประโยชน์ในการลดโทษครึ่ งหนึ่ง กรณี ที่ดินทากิน แม้จะมีหลักฐานอย่างอื่นที่ยนื ยันว่าเป็ นที่ดินทากินเดิมได้ แต่ถา้ ไม่มีเอกสาร หลักฐานของทางราชการประเภทเอกสารสิทธิ์มาแสดง ก็ยงั ถือว่าครอบครองโดยผิดกฎหมาย ดังเช่น กรณี ของสมบูรณ์ ที่ได้ยกข้อต่อสู ้ว่าเดิ มทีแม่ ของจาเลยครอบครองทากิ นในที่ดินที่เกิ ดเหตุมาก่อ น ต่อมาเมื่อปี 2542 แม่ของจาเลยได้แจ้งการครอบครองที่ดินที่เกิดเหตุตามมติคณะรัฐมนตรี 30 มิถุนายน 2541 ซึ่งมีใบตอบรับไว้เป็ นหลักฐาน จึงเป็ นที่ดินซึ่ งได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี แต่ศาล พิพากษาว่า “แม้ จะมี มติคณะรั ฐมนตรี 30 มิ ถุนายน 2541 ผ่ อนผันให้ เฉพาะราษฎรที่ ทากิ นอยู่ก่อนปี 2541 ให้ ทากินต่ อไปได้ โดยไม่ มีการจับกุม แต่ จาเลยไม่ มีชื่ออยู่ในบัญชี รายชื่ อที่ ดินพืน้ ที่ ควบคุม ย่ อม ไม่ ได้ รับการผ่ อนผัน” แม้ว่ารัฐบาลจะได้ออกนโยบายแก้ไ ขปั ญหาที่ดินทากินที่ไม่ มีเอกสารสิ ทธิ์ ดังกล่าวข้างต้น โดยการออกมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เปิ ดให้ผทู ้ ี่ครอบครองที่ดินในเขตป่ าไปแจ้ง การครอบครองที่ดิน และคุม้ ครองมิให้ผทู ้ ี่ได้แจ้งการครอบครองแล้วนั้นถูกกุมดาเนิ นคดีระหว่างรอ การพิสูจน์สิทธิ แต่เมื่ อ นาหลักฐานการขึ้นทะเบียนดังกล่าวนี้ ไ ปต่อ สู ้คดี ศาลกลับเห็นว่าหลักฐาน ดังกล่าวนี้ไม่ใช่เอกสารสิทธิ์ จาเลยยังคงกระทาผิดกฎหมายเหมือนเดิม สาหรับ กรณี ข องหน่ อ ดา แม้ว่านายอ าเภอในฐานะหัว หน้า พนักงานสอบสวน จะได้มี ความเห็นสัง่ ไม่ฟ้อง แต่ศาลก็ไม่ได้หยิบยกขึ้นมาเป็ นประเด็นในการวินิจฉัย อีกทั้งในชั้นอุทธรณ์ ฝ่ าย จาเลยจะพยามชี้ว่าเป็ นพื้นที่ที่เข้าเงื่อนไขได้รับการผ่อนผันตามมติ ครม. 30 มิถุนายน 2541 แต่ศาล อุทธรณ์แผนกคดี สิ่งแวดล้อ มพิพากษายืน ไม่ ไ ด้หยิบยกขึ้นมาวินิจฉัยเพื่อคุ ม้ ครองสิ ทธิ ของจาเลย แม้ว่าคดี น้ ี ศาลชั้นต้น ศาลอุ ทธรณ์ และศาลฎี กาจะยกฟ้ องโดยเห็นว่า จาเลยเข้าใจว่าสามารถเข้าทา ประโยชน์ได้เหมือนดังที่เคยทามาก่อน จึงเป็ นการขาดเจตนาซึ่ งไม่เป็ นความผิดตามฟ้ อง แต่ให้จาเลย ออกจากที่เกิดเหตุ โดยให้เหตุผลว่า ที่เกิ ดเหตุอ ยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ แม้จาเลยจะเป็ นการขาด เจตนาบุกรุ กป่ า แต่จาเลยก็ไม่มีสิทธิที่เข้าไปครอบครองทาประโยชน์ในที่เกิดเหตุได้ ซึ่ งหมายความว่า การที่จาเลยไม่มีเอกสารสิทธิ์ตามกฎหมายที่ดิน ศาลจะไม่ยอมรับว่าจาเลยมีสิทธิ์ 4.1.6 สิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมในสายตาของผู้ต้องหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพันธุ์บน พืน้ ที่สูง
129
แม้ว่า สิ ทธิ ต่ างๆ ดังกล่ าวข้างต้น นี้ จะมี ค วามสาคัญ แต่ก็ ใช่ ว่าสิ ท ธิ เ หล่ า นั้น จะมี ผ ลโดย อัตโนมัติไม่ หากแต่ตอ้ งร้องขอหรื อดาเนิ นการบางอย่างตามเงื่อ นไขก่อน จึงจะได้รับสิ ทธิเหล่านั้น จริ ง อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตั ิกลับพบว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ไม่รู้ว่า เมื่ อ ตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อ จ าเลยแล้วมี สิ ทธิ์ อะไรบ้าง และไม่ ไ ด้ต ระหนักว่าสิ ท ธิ ต่า งๆ ข้างต้นนี้ มี ความสาคัญ เมื่ อเขาไม่ ทราบว่ามีสิทธิอ ะไรบ้างหรื อ ไม่ทราบว่าจะต้อ งทาอย่างไรให้ไ ด้สิทธิ ต่างๆ เหล่านั้นมา รวมทั้งไม่สามารถทาตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ เช่น การรู ้กฎหมายเอง การวางเงินประกัน ตัว การใช้หลักฐานของทางราชการ การว่าจ้างทนายความ โอกาสจึงถู กตัดไปโดยปริ ยาย จากการ วิเคราะห์เรื่ องเล่าของกรณี ศึกษา ซึ่งเป็ นผูท้ ี่ผา่ นประสบการณ์ถูกดาเนินคดีมาแล้วนั้น พบว่า ผูต้ อ้ งหา หรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ มีทศั นะและความเข้าใจต่อความหมายและวิธีการต่อ สู ้คดีที่แตกต่าง ออกไปจากระเบียบที่กฎหมายกาหนดไว้ กล่าวคือ สิ ทธิในการต่ อสู้ คดี ตามกฎหมายแล้วจาเลยมีสิทธิที่จะให้การปฏิเสธและต่อสู ้คดีได้อย่างเต็มที่ แต่ในข้อเท็จจริ ง แล้ว กรณี ศึ ก ษาบางคนก็ ไ ม่ ไ ด้คิ ด ที่ จ ะต่ อ สู ้ ค ดี เนื่ อ งจากคนที่ เ ป็ นกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์บ นพื้ น ที่ สู ง มี ประสบการณ์ วิถีชีวติ และวัฒนธรรมที่แตกต่างๆ ไปจากคนส่วนใหญ่ในสังคมไทย บางคนไม่สามารถ ฟัง พูดและอ่านเขียนภาษาไทยได้ ทาให้ไม่มีความรู ้และความเข้าใจต่อระเบียบกฎหมายเกี่ยวกับการ ต่อสูค้ ดี ตามสิทธิที่กฎหมายกาหนดไว้ จากการพูดคุยเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะเกี่ยวกับการแก้ปัญหาคดี กับกรณี ศึ กษา พวกเขาไม่ ไ ด้มี ความเข้าใจต่อ ความหมายของการต่ อ สู ้ค ดี ต ามที่ กฎหมายกาหนด โดยทัว่ ไปแล้ว พวกเขาเข้าใจวิธีการต่อสูค้ ดี ดังนี้ ประการแรก การทาให้คดีจบไปโดยไม่ตอ้ งติดคุก ซึ่งโดยทัว่ ๆ ไปแล้ว วิธีการที่รับรู ้กนั คือ 1) ไปขอร้องหรื อจ่ายเงิน (ติดสินบน) ให้เจ้าหน้าที่เพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ทาให้ไม่มีชื่อของตนเองถูกดาเนิ นคดี 2) ทาให้เจ้าหน้าที่ช่วยทาจากหนักให้เป็ นเบา ซึ่ งต้อ งไปพูดคุ ยเจรจาต่อ รองหรื อ ต้อ งจ่ ายเงิน ดัง ความเห็ นของลุ งทิศและพ่อ ประเสริ ฐ 3) ทาให้เจ้าหน้าที่ปล่ อ ยหรื อ ยุติการดาเนิ นคดี ไม่ ว่าจะใช้ มวลชนกดดัน เช่น การปิ ดล้อม การปิ ดถนน หรื อแม้กระทัง่ การข่มขู่ หรื อการขอความเมตตา ซึ่ งเป็ น คนละความหมายกับที่กฎหมายกาหนดไว้ ประการที่สอง พวกเขาไม่ได้คิดถึงการใช้พยานหลักฐานหรื อการไปพิสูจน์ความจริ งในศาล ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้คิดว่าถ้าคดีของตนถูกส่งไปถึงศาลแล้ว ตนจะได้รับความเป็ นธรรม ในทางตรงกัน ข้ามพวกเขาคิดว่าการดาเนิ นคดี น้ ัน คนที่เกี่ ยวข้อ งเป็ นเจ้าหน้าที่รัฐทั้งหมด ซึ่ งเจ้าหน้าที่เหล่ านั้น อาจจะคุยกันหรื อตกลงกันหมดแล้ว ส่วนตนเป็ นเพียงชาวบ้านที่ไม่มีสิทธิหรื ออานาจจะไปต่อรองกับ 130
เจ้าหน้าที่ได้ แม้กระทัง่ ผูพ้ ิพากษาก็เป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่พวกเขาจะเข้าข้างฝ่ ายเจ้าหน้าที่ป่าไม้หรื อ ตารวจอยูแ่ ล้ว ดังเช่น เมื่ อ ผูว้ ิจ ัยถามลุ ง ทิศว่า ตอนแรกเคยคิดที่จ ะต่อ สู ้คดี ไ หม ลุ ง ทิศบอกว่า “ตอนนั้นตนและ ชาวบ้ านไม่ เคยคิดเกี่ยวกับการต่ อสู้ คดี เพราะทุกคนต่ างไม่ ร้ ู ว่าจะสามารถทาอะไรได้ บ้าง คิ ดเพียงว่ า เมื่อเราผิดก็ทาอะไรไม่ ได้ จะพูดหรื อทาอะไรก็กลัวว่ าจะพูดผิดหรื อทาให้ ความผิดร้ ายแรงขึน้ จึ งได้ แต่ ยอมรั บและทาตามที่เจ้ าหน้ าที่บอก เขาให้ ทาอะไรก็ทา ให้ ไปไหนก็ไป” สาหรับลุ งศักดิ์ นั้น “ช่ วงแรกๆ ที่ พนักงานสอบสวนโทรมาบอกว่ าเจ้ าหน้ าที่ ป่าไม้ ไ ด้ แจ้ ง ความลุงศักดิ์แล้ วนั้น เคยมีความคิดที่จะหลบหนีไปอยู่ฝั่งพม่ า เพราะลึกๆ แล้ วกลัวว่ าไม่ สามารถสู้ คดี ได้ ไหนจะเงิ นค่ าประกันตัว ค่ าจ้ างทนายความ ค่ าใช้ จ่ายๆ ระหว่ างสู้ คดีอีก ต่ อให้ ส้ ู คดีก็ไม่ แน่ ว่าจะ ชนะ ญาติกแ็ นะนาว่ าให้ หนี อย่าได้ ส้ ูคดีเลย” เน้ง ผูซ้ ่ ึงเข้าใจว่าตนเป็ นเพียงชาวบ้าน ไม่อาจจะไปต่อสูก้ บั อีกฝ่ ายได้ โดยมองว่า “ปลัดอาเภอคนนั้นเป็ นคนมี เส้ นสายเยอะ เขารู้ จักกับผู้ว่าราชการจังหวัด รู้ จักกับอั ยการ และรู้ จักทนายใหญ่ ๆ ในจังหวัดแม่ ฮ่องสอนทั้งหมด ทาให้ ตนเอง และสามีคิดว่ าถ้ าหาทนายความมาต่ อสู้คดีจริ ง ก็กลัวว่ าทั้งเจ้ าหน้ าที่ ที่เกี่ ยวข้ องและ ทนายความก็อาจจะถูกปลัดอาเภอขอร้ องหรื อใช้ เงิ นซื ้อ แล้ วจะทาให้ ไม่ มีผลอะไร ต่ อคดี อี กทั้งยังกลัวว่ า หากตนเปิ ดเผยเรื่ องนี ้ออกมาจริ ง ก็กลัวว่ าจะถูกปลัดอาเภอ กลัน่ แกล้ งเอาได้ บางคนก็มาบอกว่ าไม่ สามารถต่ อสู้คดีได้ แล้ ว เนื่องจากทั้งสามคน ได้ เซ็นชื่ อรั บสารภาพทั้งในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนไปหมดแล้ ว นอกจากนี ้ยงั มี คนบอกว่ า ตนได้ รับสารภาพไปแล้ ว ถ้ าไปถึงที่ ศาลแล้ วบอกว่ าปฏิ เสธต่ อหน้ าศาล จะถือว่ าไม่ ให้ ความเคารพศาล ตนไม่ มีความรู้ เกี่ ยวกับ ขั้นการและวิธีการดาเนิ นคดี จึงลังเล” ดังนั้น เมื่อถูกฟ้ องแล้วสิ่งที่ตนต้องทาคือเพียงต้องการขอให้ศาลลดโทษให้เท่านั้น ไม่ใช่การ ต่อสูจ้ นชนะคดีกนั ในศาล ซึ่งการรับสารภาพจึงเป็ นทางเลือกเดียวที่มีอยู่ สาหรับกรณี ของ ลุงศักดิ์และ สมบู รณ์ ที่ ตกลงจะให้ทนายสู ้ค ดี ทั้ง ๆ ที่ รู้ ว่า ตนเป็ นชาวบ้า นจะไปสู ้กับฝ่ ายเจ้า หน้า ที่ รั ฐไม่ ไ ด้ เพียงแต่คิดว่าต้องการยืนยันว่าตนไม่ได้กระทาความผิด แต่ก็เข้าใจว่าถึงอย่างไรก็อาจจะไม่ชนะ สิ่งที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะถูกถามตลอดคือ “เป็ นคนทาไร่ จริ งใช่ ไหม” หรื อ “เป็ นเจ้ าของไม้ ใช่ ไหม” ซึ่งเมื่อถูกถามเช่นนี้ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นเจ้าของที่ดินหรื อเจ้าของบ้านก็จะตอบว่า “ใช่ ” หรื อ “ยอมรั บ” ซึ่งการถามและตอบเช่นนี้จะมีความหมายที่แตกต่างกัน ระหว่างฝ่ ายเจ้าหน้าที่รัฐหรื อ 131
ศาล กับฝ่ ายผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง เมื่อเจ้าหน้าที่ถามและได้รับคาตอบว่า ใช่หรื อยอมรับ นัน่ เท่ากับยอมรับสารภาพว่าได้กระทาความผิดต่อกฎหมายจริ ง ในขณะที่ฝ่ายผูต้ อ้ งหา หรื อ จาเลย เมื่ อตอบว่าใช่ หรื อ ยอมรับ เขาหมายความว่าเขารับว่าเป็ นของเขาจริ งๆ ในความหมายที่ ยืนยันว่าเขามี สิทธิ ไม่ไ ด้หมายความว่าเขายอมรับว่าผิดกฎหมายและพร้อ มจะรับโทษ ดังที่หน่ อดา อธิบายตอนที่เบิกความต่อศาลว่า “ในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนตนเองไม่ ได้ รับสารภาพว่ ากระทา ความผิด แต่ ให้ การไปว่ าที่ พิพาทนั้นตนเองเข้ าไปทาประโยชน์ ตั้งแต่ สมัยบิ ดามารดา ไม่ ได้ แผ้ วถาง ใหม่ ” สาหรับกรณี ของลุงศักดิ์ก็เริ่ มต้นจากการโต้เถียงว่าเป็ นเจ้าของพื้นที่หรื อไม่ โดยลุงศักดิ์เล่าว่า ตอนนั้น “...เข้ าไปอธิ บายว่ าที่ตรงนั้นเป็ นที่ทากินเดิมของชาวบ้ าน ไม่ ได้ มีการบุกรุ กป่ า หั วหน้ าป่ าไม้ เริ่ มมีอารมณ์ โกรธ จึงขึน้ เสี ยงถามว่ าที่ลงุ ศักดิ์พูดอย่ างนั้น หมายความว่ าเป็ นที่ ของลุงศักดิ์ใช่ ไหม ลุง ศักดิ์กบ็ อกว่ าเมื่อก่ อนลุงศักดิ์และชาวบ้ านเคยอยู่ที่นี่ และเคยมาทากิ นบริ เวณนี ้ ดังนั้น จึ งยืนยันได้ ว่า ที่นี่เป็ นที่ทากินเก่ า ไม่ ได้ บุกใหม่ แน่ นอน” ซึ่งคาพูดเหล่านี้ทาให้เจ้าหน้าที่ตีความว่าลุงศักดิ์ยอมรับว่า เป็ นเจ้าของที่ดินแปลงเกิดเหตุ สาหรับกรณี สมบูรณ์น้ นั นอกจากยอมรับว่าเป็ นที่ที่ทามานานและมีสิทธิแล้ว ยังได้แสดงออก ชัดเจนว่าต้องการต่อสู ้ว่ามีสิทธิตามกฎหมาย โดยการแสดงหลักฐานประกอบว่ามีสิทธิ สาหรับกรณี ของเน้งก็เล่าว่า “เมื่อถูกจับแล้ วเจ้ าหน้ าที่ถามว่ าทากินถึงที่ไหน ตนและสามี ก็ชี้ไปเฉพาะส่ วนที่ ได้ ทา กินจริ ง แล้ วเจ้ าหน้ าที่ กพ็ าไปชี ้ขอบเขตให้ รังวัดรอบๆ แปลงนั้น ” และเมื่อไปถึงสถานี ตารวจแล้วเน้ง และสามีพยายามอธิบายว่าที่ที่ตนทากินนั้นความจริ งแล้วเป็ นของคนอื่นๆ ตนเพียงขอทากินชัว่ คราว เท่านั้น ตนไม่ใช่ผทู ้ ี่แผ้วถางและไม่ใช่คนที่ตดั ต้นไม้เหล่านั้น โดยสามีของเน้งได้บอกตารวจไปว่า “จริ งๆ แล้ วไม่ ใช่ ที่ดินของตน แต่ เป็ นของปลัดอาเภอ เขาให้ เข้ าไปทากิ นเท่ านั้น พร้ อมกับบอกชื่ อ ปลัดอาเภอคนนั้นให้ ด้วย ... และเน้ งสังเกตว่ าเขาออกไปพูดคุยกับหั วหน้ าป่ าไม้ สั กพักก็คุยโทรศัพท์ ต่ อมาหั วหน้ าป่ าไม้ ที่พาเน้ งมาส่ งก็หายไปและไม่ กลับเข้ ามาอี ก เน้ งและสามี เชื่ อ ว่ าพวกเขาต่ างเป็ น ข้ าราชการ อาจจะรู้จักกันและคงไปเจรจาตกลงกันแล้ ว” เมื่อถูกดาเนินคดีแล้ว ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยส่วนใหญ่เลือกที่จะรับสารภาพ เพื่อให้ได้รับการลด โทษ ครึ่ งหนึ่ง ซึ่งได้รับคาแนะนาจากทนายความหรื อได้ฟังมาจากคนในชุมชน เนื่ องจากแม้จะเชื่อว่า ตนไม่ผดิ แต่ก็ไม่รู้จะทาอย่างไรหรื อไม่รู้วา่ ต่อสูค้ ดีอย่างไร ซึ่ งเป็ นละความหมายกับการยอมรับว่าได้ กระทาสิ่งที่ผดิ ต่อศีลธรรม ซึ่งแต่ละคนมีลกั ษณะที่คล้ายๆ กัน กล่าวคือ ลุงทิศนั้น ยอมรับสารภาพเนื่องจากคิดว่า เผือ่ เจ้าหน้าที่และศาลจะปราณี ลดโทษให้ เนื่ องจาก ไม่รู้จะทาอย่างไร แม้จะเชื่อว่าตนไม่ผดิ และอยากอธิบาย แต่เมื่อไปอยูต่ ่อหน้าเจ้าหน้าที่ก็กลัวว่าคาพูด ของตนจะทาให้ถูกเพิม่ ข้อหาหรื อถูกทาให้ผดิ หนักกว่าเดิมอีก 132
กรณี ของพ่อประเสริ ฐ ผูว้ จิ ยั ถามว่าทาไมถึงเลือกรับสารภาพ พ่อประเสริ ฐเล่าว่า “ก่ อนจะไป ที่ศาลตนก็ไม่ ร้ ูจะทาอย่างไร แต่ ชาวบ้ านในหมู่บ้านบอกว่ าให้ รับสารภาพจะได้ จบไวๆ หากปฏิ เสธก็ จะยาวไปอี ก แล้ วหากศาลไม่ รอลงอาญาก็อุทธรณ์ ไป ซึ่ งเมื่ อก่ อนก็มีหลายคดีที่อุทธรณ์ แล้ วศาลก็ให้ เสี ยค่ าปรั บแล้ วปล่ อยตัว ตนก็คิดว่ าเผื่อจะทาได้ ตามนั้น ถ้ าโชคดีกถ็ กู ปรั บสองถึงสามหมื่นก็ยอม” แต่กรณี ของเน้งและสามี แม้จะอยากสูค้ ดี แต่ความไม่รู้และไม่ได้รับคาแนะนาที่ถูกต้องทาให้ กลัวและกังวลหลายอย่าง ทาให้จาเป็ นต้องยอมรับสารภาพ กรณี ของป้ าพอดีน้ นั เมื่อเข้าไปในห้องพิจารณาแล้ว “ศาลก็พูดกับป้ าพอดีว่าคดีนี้ของกลางมี ไม่ มาก หากรั บสารภาพศาลก็จะลดโทษให้ ครึ่ งหนึ่งและจะลงโทษสถานเบา อี กทั้งศาลยังบอกว่ าที่ ดิน ที่ปลูกสร้ างบ้ านมีเอกสารสิ ทธิ์ หรื อไม่ ตัง้ อยู่ที่ไหน ลูกสาวของป้ าพอดีกต็ อบว่ าที่ดินเป็ นที่ที่มีเอกสาร สกท. ศาลก็บอกว่ าถ้ าอย่างนั้นก็จะยิ่งเป็ นเหตุบรรเทาโทษได้ อีก หากรั บสารภาพศาลก็ สามารถรอลง อาญาได้ ” ซึ่งขณะนั้นผูว้ จิ ยั ในฐานะที่ทาหน้าที่เป็ นทนายความให้ก็แนะนาว่า หากรับสารภาพศาลมี แนวโน้มที่จะให้รอลงอาญาสูง แต่ตอ้ งเสียค่าปรับสูง ป้ าพอดีและลูกสาวก็ปรึ กษากันแล้วตัดสิ นใจว่า จะรับสารภาพ สาหรับกรณี ของจอดา ผูว้ ิจยั ในฐานะทนายความได้ตรวจสอบพยานหลักฐานและคิดอย่าง รอบด้านแล้ว จึงแนะนาให้รับสารภาพเพือ่ แลกกับการลดโทษ เนื่องจากพยานหลักฐานของฝ่ ายจาเลย มีนอ้ ย ทั้งไม่มีหลักฐานหรื อเอกสารของทางราชการอื่นๆ การกล่าวอ้างด้วยปากเปล่าจะมีน้ าหนักให้ ศาลรับฟังน้อย หากยืนยันให้สืบพยานไปแล้วศาลตัดสิ นให้แพ้คดี ก็จะไม่ได้รับประโยชน์ในการลด โทษ แต่หากรับสารภาพก็จะได้รับประโยชน์ในส่ วนนี้ ซึ่ งจอดาก็บอกว่าตนได้คิดมาก่ อนแล้วว่าจะ ตัดสินใจรับสารภาพเพือ่ ขอลดโทษเช่นกัน สิ ทธิการมี ทนายความ พบว่ามีจานวน 5 กรณี ที่ไ ม่มีโอกาสได้พบและปรึ กษาทนายความ ก่อนที่จะให้การแก่เจ้าหน้าที่ผจู ้ บั กุมหรื อพนักงานสอบสวน คือ หน่ อดา ลุงทิศ พ่อประเสริ ฐ ป้ าพอดี และเน้ง ซึ่งกรณี ศึกษาเหล่านี้ไม่รู้วา่ กฎหมายบัญญัติให้มีสิทธิที่จะได้พบและปรึ กษาทนายความก่อนที่ จะให้ปากคาแก่ผจู ้ บั กุมหรื อพนักงานสอบสวนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หรื อขอให้ทนายความอยูร่ ับฟั งใน ขณะที่ให้การแก่พนักงานสอบสวน ซึ่ งปรากฏว่ากรณี ศึกษาทั้ง 5 รายให้การรับสารภาพในชั้นจับกุม และชั้นสอบสวนทั้งหมด เป็ นการแสดงให้เห็ น ว่า ผูต้ อ้ งหาเหล่ านี้ ได้ตดั สิ น ใจในเรื่ อ งที่ จะส่ งผล กระทบต่อสิทธิและเสรี ภาพ รวมทั้งทรัพย์สินไปโดยไม่มีโอกาสได้ปรึ กษากับทนายความก่อน เพื่อทา ความเข้าใจกับสถานการณ์ที่เผชิญอยู่ หลังจากที่ให้การรับสารภาพไปแล้ว บางรายเพิ่งมีทนายความ เข้ามาภายหลัง เพือ่ ทาคาแถลงประกอบคารับสารภาพหรื อเขียนอุทธรณ์ ซึ่งแต่ละกรณี ได้เล่าถึงการับรู ้ เกี่ยวกับทนายความไว้ดงั นี้ 133
หน่ อ ดาไม่ เคยรู ้ว่าทนายคือ อะไร เมื่ อ ถู กถามว่าต้อ งการทนายความหรื อ ไม่ จึงบอกว่าไม่ ต้องการ และเจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้จดั หาให้ เมื่อผูว้ ิจยั ถามหน่ อดาว่า ในวันที่ตารวจพาไปสอบปากคานั้น ตารวจได้แจ้งให้ทราบเกี่ ยวเรื่ องสิ ทธิและทนายความหรื อไม่ “หน่ อดาก็บอกว่ าตารวจไม่ บอกอะไร ตารวจเพียงถามเล็กๆ น้ อยๆ แล้ วก็เอาเอกสารมาให้ ปั๊มหัวแม่ มือ (ผู้วิจัย : ตารวจอาจไม่ ได้ แจ้ งเกี่ ยวกับ สิ ทธิ ของผู้ต้องหา หรื อตารวจได้ แจ้ งแล้ วแต่ หน่ อดาไม่ เข้ าใจและล่ ามไม่ ได้ แปลให้ ฟัง)” แม้กระทัง่ ต่อมาจะมีทนายความมาช่วยว่าความในชั้นศาลให้ หน่ อดาก็ยงั ไม่เข้าใจ โดยบอกว่า “ตนก็เพียงรู้ ว่ามี คนมาช่ วยเหลือ แต่ ไม่ เคยรู้ มาก่ อนเลยว่ าทนายความคื อใคร จะมาช่ วยทาอะไร และระหว่ างที่ ดาเนิ น กระบวนพิจารณาคดีในศาล ตนก็เพียงแต่ ไปโดยที่ ไม่ เข้ าใจว่ าทนายได้ ทาอะไรไปบ้ าง ทุกครั้ งที่ ไ ป ศาลก็มีทนายความพาไป สาหรั บตนก็ไม่ ร้ ูว่าแต่ ละครั้ งนั้นไปทาอะไรบ้ าง แม้ ว่าจะมี คนพยายามแปล เป็ นภาษากะเหรี่ ยงให้ กต็ าม” สาหรับเน้งนั้น พอรู ้วา่ ทนายคืออะไร แต่ตนและสามีไม่รู้จกั ทนายความคนที่ไว้ใจ “เข้ าใจว่ า ถ้ าขอทนายความมาก็ต้องจ้ างเท่ านั้น ตอนนั้นไม่ เคยรู้ เลยว่ าเรามี สิทธิ์ ขอทนายความฟรี ” เมื่อไม่มีเงิน ว่าจ้างทนายความและไม่รู้จกั ทนายความที่ไว้ใจได้ จึงไม่รู้จะทาอย่างไรแม้จะอยากสูค้ ดีก็ตาม พ่อประเสริ ฐบอกว่า “ตอนนั้นไม่ มีทนายความและตนก็ไม่ ร้ ู อะไรเกี่ ยวกับทนายความ ตอน นั้นคิดได้ เพียงว่ าไปตามที่เขาว่ า ให้ ทาอะไรก็ทา ผู้วิจัยถามว่ าเคยรู้เกี่ยวกั บทนายความที่ ศาลตั้งให้ ไหม พ่ อประเสริ ฐบอกว่ าก็เคยได้ ยินมาว่ าเขามี ทนายที่ ศาลที่ เขาช่ วยชาวบ้ านอยู่ แต่ ไม่ ร้ ู ว่าจะไปหาที่ ไหน ไม่ ร้ ูว่าจะต้ องทาอย่างไร ช่ วงนั้นคนที่โดนคดีสามสี่ คนก็ไม่ มีใครไปติดต่ อ ตนก็เลยไม่ ได้ ติดต่ อ ” สิ ทธิได้ รับการสั นนิ ษฐานไว้ ก่อนว่ าบริ สุทธิ์จนกว่ าจะมีคาพิพากษาถึงที่สุดว่ าเป็ นผู้ กระทา ความผิด แม้ว่าแนวคิดในกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จะได้ว างหลักว่าโจทก์และจาเลยอยู่ใ น สถานะที่เท่าเทียมกัน และรับประกันสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาและจาเลยให้สามารถต่อสู ้คดีไ ด้อย่างเต็ม ที่ ภายใต้หลักการได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริ สุทธิ์จนกว่าจะมีคาพิพากษาถึงที่สุดว่าเป็ นผูก้ ระทา ความผิด แต่ในทางปฏิบตั ิน้ นั ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงคิดว่าตนเป็ นคนด้อย กว่าฝ่ ายเจ้าหน้าที่มาก อีกทั้งบรรยากาศและกระบวนการขั้นตอนต่างๆ มันกดดันมาก ทาให้พวกเขา เกิดความรู ้สึกว่าตกอยู่ในสถานะที่ต่ากว่าในทุกๆ ด้าน ดังนั้น แม้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติ พันธุจ์ ะมีความเชื่อว่าตนไม่ผดิ แต่เมื่อถูกผลักเข้าสู่กระบวนการที่เป็ นแบบแผนพิธีการที่แปลกแยก ใช้ อานาจกดทับ และใช้ทกั ษะความรู ้และภาษาที่ตนไม่เข้าใจหรื อไม้คุน้ เคย ทาให้เกิดความรู ้สึกว่าตนอยู่ ในสถานะที่ไม่อาจต่อสูก้ บั ฝ่ ายเจ้าหน้าที่รัฐได้ ซึ่งจากเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษานั้น แต่ละคนมีความเห็น ดังนี้ 134
ประการแรก เข้าใจว่าเมื่อเจ้าหน้าที่บอกว่ามีความผิดก็คิดว่าตนตกอยูใ่ นสถานะที่ผิดกฎหมาย แล้ว อานาจต่อรองอื่ นๆ จึงไม่มี โดยพ่อ ประเสริ ฐมองว่า “กฎหมายไม่ ยอมรั บวิถีชีวิตของชาวบ้ าน ดังนั้น แม้ เราจะได้ อธิ บายไปว่ าเราเพียงเอาไม้ มาใช้ สาหรั บสร้ างบ้ าน ไม่ ได้ เอาไปขาย ซึ่ งไม่ น่าจะเป็ น ความผิด แต่ เขาก็บอกว่ าข้ ออ้ างของเราใช้ ไม่ ได้ ” สาหรับลุงทิศ ก็มองในลักษณะเดียวกันว่า “เมื่ อเรา ผิ ดก็ทาอะไรไม่ ได้ จะพูดหรื อ ทาอะไรก็ก ลัวว่ า จะพูดผิ ดหรื อ ทาให้ ความผิ ดร้ ายแรงขึ ้น จึ งได้ แ ต่ ยอมรั บและทาตามที่ เจ้ าหน้ าที่ บอก” อีกทั้งลุงศักดิ์ก็คิดว่าไม่สามารถต่อ สู ้คดีได้ โดยลุงศักดิ์เล่าให้ ผูว้ จิ ยั ฟังว่า “ช่ วงแรกๆ ที่พนักงานสอบสวนโทรมาบอกว่ าเจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ ได้ แจ้ งความลุงศักดิ์แล้ วนั้น เคยมี ความคิ ดที่ จะหลบหนี ไปอยู่ฝั่งพม่ า เพราะลึ กๆ แล้ วกลัวว่ าไม่ สามารถสู้ คดี ไ ด้ ไหนจะเงิ นค่ า ประกันตัว ค่ าจ้ างทนายความ ค่ าใช้ จ่ายๆ ระหว่ างสู้ คดีอีก ต่ อให้ ส้ ู คดีก็ไม่ แน่ ว่าจะชนะ ญาติก็แนะนา ว่ าให้ หนี อย่าได้ ส้ ูคดีเลย” ประการที่สอง รู ้สึกว่าตนตกอยู่ในสถานะที่เสี ยเปรี ยบทุกอย่างเนื่ องจากไม่ รู้อ ะไรเลย เช่ น กรณี ของเน้งนั้น เข้าใจไปตามที่มีคนบอกว่า “ไม่ สามารถต่ อ สู้ คดี ไ ด้ แล้ ว เนื่ อ งจากทั้งสามคนได้ เซ็นชื่ อรั บสารภาพทั้งในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนไปหมดแล้ ว” นอกจากนี้ยงั ลังเลตามที่มีคนบอกว่า “ถ้ าไปถึงที่ศาลแล้ วบอกว่ าปฏิเสธต่ อหน้ าศาล จะถือว่ าไม่ ให้ ความเคารพศาล” ประการที่สาม บรรยากาศที่แปลกต่าง ทาให้เกิดความเครี ยดและความเกรงกลัว โดยป้ าพอดี เล่าว่า “ตอนที่ถกู นาตัวไปที่ โรงพักนั้น เจ้ าหน้ าที่ ได้ พาไปหลายที่ และให้ ทาอะไร หลายอย่าง ซึ่ งตนไม่ เคยมี ประสบการณ์ ระหว่ างนั้นรู้ สึกเครี ยดมาก และตนก็ไม่ ร้ ู ว่ าการที่ เจ้ าหน้ าที่ พาไปแต่ ละที่ นั้นคื อ อะไร และตนเองก็อ ยู่ในฐานะที่ ทาอะไร ไม่ ได้ คิ ดอะไรไม่ ออก เขาให้ ทาอะไรก็ทาตามหมด ... เมื่ อ ตอนที่ เดิ นเข้ าไปใน อาคารศาลนั้น ตนมีความรู้สึกกลัว เพราะสถานที่นั้นไม่ ค้ ุนเคย เวลาเข้ าไปแล้ วก็ไม่ รู้ ว่าข้ างในมี อะไรบ้ าง และเราจะต้ อ งไปที่ ไ หนบ้ าง คนที่ นั่นก็ดูแปลกหน้ าหมด เวลาคนที่ศาลพูดกับเราเขาก็ไม่ พดู ภาษาแบบที่ชาวบ้ านทั่วไปพูด บางครั้ งที่ ถูกถาม ก็ไม่ ร้ ู จะตอบอย่ างไร กลัวว่ าถ้ าพูดอะไรไปแล้ วจะผิ ดหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกับคดี หรื อ เปล่ า” สาหรับหน่อดาก็เน้นย้าว่าระหว่างที่ถูกพาไปยังที่ต่างๆ ตนไม่รู้ว่ากาลังถูกพาไปทาอะไร จึง กลัว และเป็ นกังวลตลอดเวลา โดยหน่ อ ดาเล่ า ว่า “ทุ กครั้ งที่ เ ข้ าไปในศาลจะรู้ สึ ก สั บสนและคิ ด ตลอดเวลาว่ าจะทาอย่ างไร และมี ความรู้ สึ ก กลัวตลอดเวลา กลัวว่ าจะติ ดคุกไหม ความรู้ สึ กและ สติปัญญาเหมือนมื ดไปหมด” 135
4.1.7 อุปสรรคปัญหาอื่นๆ ที่ทาให้ ไม่ สามารถไม่ มีโอกาสเข้ าถึงสิ ทธิ นอกจากกรณี ปัญหาการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแล้ว กรณี ศึกษายังได้ เล่าถึงอุปสรรคปั ญหาอื่นๆ ที่จากัดหรื อขัดขวางโอกาสในการเข้าถึงสิ ทธิเหล่านั้น ที่ตวั ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยเผชิญ ในระหว่างที่ถูกดาเนิ นคดี อันเนื่ อ งมาจากการเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้เป็ น อุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ที่มีอยูแ่ ล้ว ให้มีมากขึ้น และเป็ นเหตุที่ทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเลือก ที่จะรับสารภาพ หรื อเข้าไม่ถึงสิทธิแม้จะต้องการใช้สิทธิตามกฎหมายก็ตาม กล่าวคือ ค่ าใช้ จ่ ายในระหว่ างที่ถูก ดาเนิ น คดี เมื่ อ ถู กดานิ น คดี อ าญา จะท าให้ตอ้ งเสี ยค่ าใช้จ่า ยใน ระหว่างที่ถูกดาเนินคดีสูง แม้กระทัง่ ในกรณี ที่ยอมรับสารภาพ ก็ยงั มีค่าใช้จ่ายอยูน่ นั่ เอง เริ่ มตั้งแต่ใน ชั้นสอบสวน ซึ่งผูต้ อ้ งหาอาจจะถูกเรี ยกให้ไปพบหลายครั้ง และในกรณี ที่ตอ้ งประกันในชั้นสอบสวน เพือ่ รอส่งฟ้ อง เมื่อประกันตัวออกมาในระหว่างฝากขัง ก็ตอ้ งไปรายงานตัวที่ศาลทุกๆ 12 วัน รวมกัน ประมาณ 3 – 4 ครั้ง จนกว่าพนักงานอัยการจะส่ งฟ้ อง และรอฟั งคาพิพากษา อีกทั้งในการไปตามนัด นั้น บางครั้งผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยได้ขอให้ญาติหรื อ ผูน้ าชุ มชนไปด้วย ก็จะต้อ งจ่ายค่าเดิ นทางและ ค่าอาหารสาหรับคนที่ไปด้วย ค่าใช้จ่ายก็จะยิง่ เพิม่ ไปอีก ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้วกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูง มี อาชีพเป็ นเกษตรกรและมีฐานะยากจนอยูแ่ ล้ว ก็จะยิง่ ลาบากมากขึ้น กรณี ของหน่อดา ได้เล่าว่า “ระหว่ างที่ ถูกดาเนิ นคดีนั้นมี ค่า ใช้ จ่ายเยอะ แต่ ตนก็โชคที่ มีญาติ และมี องค์ กรพัฒนาเอกชนให้ ความช่ วยเหลือ ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ บ้ าง ค่ าใช้ อ ย่ างอื่ นนั้นจาไม่ ได้ แล้ วว่ า หมดไปเท่ าไหร่ แต่ ระหว่ างนั้นได้ ก้ เู งินมาเป็ นค่ าใช้ จ่าย เป็ นหนี ้ ประมาณ 12,000 บาท” สาหรับเน้งและสามี ซึ่งเป็ นรายที่เลือกรับสารภาพ ก็ได้เล่าว่า “ระหว่ า งนั้ นต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยเยอะมาก ตอนแรกๆ ก็เ ป็ นค่ า อาหาร ค่ า เดินทาง หลายครั้ งที่ ไปแล้ วไม่ ใช้ เพียงไปกันเอง แต่ ได้ ขอให้ ญาติ หรื อคนรู้ จักไป เป็ นเพื่ อนด้ วย ซึ่ งเราก็จะต้ องจ่ ายค่ าเดิ นทางและค่ าอาหารสาหรั บเขาด้ วย ต่ อ มา หลังจากที่ ศาลชั้ นต้ นตัดสิ นแล้ ว ก็ไ ด้ จ้างทนายความมาทาอุทธรณ์ ก็ต้อ งเสี ยค่ า ดาเนิ น การอี ก เน้ ง กับ สามี ค านวณคร่ าวๆ แล้ ว ระหว่ า งนั้ น ใช้ เ งิ นไปประมาณ 60,000 บาท ซึ่ งเงิ นส่ วนหนึ่ งนั้นก็ต้องไปกู้เงิ นนอกระบบมาเป็ นค่ าใช้ จ่าย จนทุก วันนีย้ งั จ่ ายดอกเบีย้ คืนให้ แก่ เขาไม่ หมด” สาหรับสมบูรณ์เป็ นรายที่บา้ นอยูไ่ ม่ไกลจากศาลมากนัก ใช้เวลาเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว ประมาณ 1 ชัว่ โมง เล่าว่า “เสี ยค่ าใช้ จ่ายจานวนมาก ซึ่ งการไปครั้ งหนึ่ งก็เสี ยค่ าใช้ จ่ายประมาณ 500 – 136
1,000 บาท โดยเฉพาะบางครั้ งก็ต้องไปรบกวนผู้นาชุมชนให้ ไปด้ วยก็จะเสี ยค่ าใช้ จ่ายเพิ่ม แม้ ว่าแต่ ละ ครั้ งเป็ นจานวนไม่ มาก แต่ เมื่ อรวมกันหลายๆ ครั้ งแล้ ว ก็เป็ นจานวนที่ มากพอสมควร ซึ่ งค่ าใช้ จ่าย เหล่ านั้นตนก็ต้องรั บผิดชอบเอง โดยที่ไม่ ได้ รับการช่ วยเหลือจากใคร” ใช้ ระยะเวลานาน ระหว่า งที่ ถู กด าเนิ น คดี จ ะต้อ งเสี ย เวลามาก เนื่ อ งจากจะถู กนัด ให้ไ ป ดาเนิ นการต่างๆ ทาให้เสี ยเวลาทางานอย่างมาก เช่ น กรณี ของเน้ง “ตั้งแต่ ในชั้นสอบสวนซึ่ งจะถูก เรี ยกไปหลายครั้ ง และเมื่ อประกันตัวออกจากในชั้นสอบสวนก็ต้องไปรายงานตัวที่ ศาลทุกๆ 12 วัน จนกว่ าพนักงานอัยการจะส่ งฟ้ องและรอฟั งคาพิพากษา โดยวันไหนที่ มีนัดหรื อถูกเรี ยกไป ก็จะต้ อง เสี ยเวลาทั้งวัน และสมบูรณ์ ก็เล่าว่า “ในระหว่ างที่ ถูกดาเนิ นคดี จะต้ องไปตามกาหนดนัดบ่ อยๆ นับ ตัง้ ตัง้ แต่ ชั้นพนักงานสอบสวน ชั้นอัยการ การดาเนินเรื่ องขอใช้ เงินกองทุนยุติธรรมประกันตัว รวมทั้ง การไปศาล ทาให้ เวลาทางานอย่ างมาก โดยการไปตามนัดครั้ งหนึ่ งๆ ต้ องเสี ยเวลาเป็ นวันๆ และเมื่ อ ต้ องออกไปบ่ อยๆ ยิ่งทาให้ ร้ ูสึกกดดัน” ปัญหาการเดินทาง ส่ วนใหญ่ระยะทางจากบ้านไปที่สถานี ตารวจหรื อ ศาลนั้นไกล ทาให้ เดินทางลาบาก สาหรับรายที่ระยะทางจากบ้านถึงศาลไม่ไกลมากและมีรถส่ วนตัวก็จะไม่ลาบากมาก เช่น สมบูรณ์และลุงศักดิ์ แต่สาหรับรายที่อยูห่ ่ างไกลนั้นจะเดินทางลาบากมาก อย่างเช่นกรณี ของจอ ดานั้น “จากหมู่บ้านถึ งตัวอ าเภอแม่ สะเรี ยงที่ ศาลตั้งอยู่นั้นห่ างไกลและเดิ นทาง ลาบากมาก ปั จจุบันมีการทาทางสาหรั บให้ รถยนต์ เข้ าไปได้ ประมาณครึ่ งทาง โดย อี กครึ่ งทางที่ เหลื อชาวบ้ านได้ ขุดถนนสาหรั บให้ รถจักรยานยนต์ ไ ปถึ งหมู่บ้า น เท่ า นั้ น โดยระยะทางจากตั ว อ าเภอแม่ ส ะเรี ย งลั ด เลาะป่ าเขาไปประมาณ 70 กิ โลเมตร แต่ ใช้ เวลาในการเดิ นทางโดยรถจักรยานยนต์ ประมาณ 7-8 ชั่วโมง ... สาหรั บในฤดูฝนความลาบากจะเพิ่มอี กเป็ นเท่ าตัว บางครั้ งหาเดินทางไปตอนฝน ตกหนัก นา้ ในลาห้ วยจะแรง ก็จะต้ องรอจนกว่ านา้ จะลดลงจึ งจะไปต่ อได้ บางวันก็ จะต้ องนอนค้ างคืนตามหมู่บ้านที่ใกล้ เคียงเพื่อรอนา้ ลด” เช่ น เดี ย วกับกรณี ข องหน่ อ ดาที่ ร ะยะทางจากบ้า นไปถึ ง ศาลจังหวัด แม่ ส อด มี ร ะยะทาง ประมาณ 200 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยรถยนต์กว่า 4 ชัว่ โมง ซึ่ งหน่ อดาไม่มีรถเป็ นของตนเอง การเดินทางไปแต่ละครั้ง ต้องจ้างคนในหมู่บา้ นหรื อมีองค์กรช่วยพาไป ทาให้เสียค่าใช้จ่ายจานวนมาก ปัญหาการใช้ ภาษา ในรายที่ไม่สามารถพูดภาษาไทยได้ แม้วา่ เมื่อไปอยูต่ ่อหน้าเจ้าหน้าที่หรื อ ศาล จะมีคนช่วยเป็ นล่ามแปลภาษาให้ แต่กรณี ศึกษาก็ยงั บอกว่า การที่เขาไม่รู้ภาษาไทยหรื อรู ้แต่ฟัง 137
และพูดได้ไม่คล่อง ทาให้ไม่สามารถพูดหรื ออธิบายต่อเจ้าหน้าที่และศาลโดยตรงได้ ซึ่ งการที่ไม่รู้ว่า เจ้าหน้าหรื อศาลที่พูดอะไรบ้าง ทาให้รู้สึกกังวลอยูต่ ลอดเวลา หากมีขอ้ สงสัยหรื ออยากรู ้อะไร ก็ไม่ สามารถไปถามหรื อพูดกับคนอื่นได้ เช่น ลุงทิศบอกว่า “การที่ ตนพูดและฟั งภาษาไทยได้ ไม่ มาก ทา ให้ เวลาที่ ตารวจ เจ้ าหน้ าที่ หรื อศาลพูดแล้ วก็ไม่ ค่อ ยเข้ าใจ โดยเฉพาะเวลาที่ เขาพู ดเกี่ ยวกับกฎหมาย หรื อความผิด นอกจากนีเ้ วลาที่เขาถามก็ไม่ กล้ าพูดอะไรมาก เนื่ องจากพูดภาษาไทยไม่ คล่ องก็เลยไม่ กล้ าพูด” อีกทั้งหน่อดาก็บอกว่า การที่พูดภาษาไทยไม่ได้น้ นั เป็ นปั ญหาอย่างมาก เนื่ องจาก เวลาคน อื่นเขาพูดอย่างไรเราก็จะไม่รู้เลย ไม่ รู้ สิทธิ์ การที่ไม่รู้ว่าเมื่อถูกดาเนิ นคดีแล้วมีสิทธิอะไรบ้าง เป็ นเรื่ องหนึ่ งที่เป็ นปั ญหาอย่าง มาก ทาให้คนที่ตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ไม่รู้จะต่อสู ้คดีอย่างไร ไม่รู้จะไปขอความช่ วยเหลือจาก ใคร และไม่รู้ว่าจะต่อ รองหรื อโต้แย้งเจ้าหน้าที่อ ย่างไร ซึ่ งคนที่ตกอยูส่ ถานการณ์เช่นนั้น จะเครี ยด และกดดันมากจนไม่ สามารถคิด หาทางแก้ไ ขปั ญ หาเองได้ ปั ญหาอี กประการคือ การไม่ รู้ว่าการ ดาเนินคดีน้ นั มีข้นั ตอนอย่างไร ในแต่ละขั้นตอนจะต้องทาอะไร และผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะต้องเตรี ยม ตัวอย่างไรบ้าง ทาให้เกิดความกลัวและไม่สามารถเตรี ยมตัวล่วงหน้าได้ ซึ่งขั้นตอนการดาเนิ นคดีตาม กฎหมายมีลกั ษณะเป็ นแบบแผนพิธีการ ที่ตอ้ งใช้ความรู ้ความเชี่ ยวชาญเฉพาะด้าน แต่สาหรับคนที่ เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงนั้น เขามีประสบการณ์ชีวติ และดารงชีวติ อยูใ่ นระเบียบสังคมหรื อจารี ต ประเพณี ใ นอี ก รู ป แบบหนึ่ ง ดัง นั้น เมื่ อ วันหนึ่ งเขาถู กผลัก เข้าไปสู่ เ ส้น ทางในกระบวนพิจารณา คดีอาญาที่เขาไม่คุน้ เคยและไม่อยูใ่ นความรับรู ้ของเขา เขาจึงตกอยูภ่ าวะมืดมิด ดังเช่นกรณี ของเน้ง โดยเน้งได้เล่าว่า “ความไม่ ร้ ูกฎหมาย ไม่ ร้ ูและไม่ เข้ าใจขัน้ ตอนวิธีการต่ างๆ รวมทั้งไม่ ร้ ูว่าเรา มีสิทธิ อะไรบ้ าง ทาให้ เสี ยเปรี ยบต่ อรู ปคดีอย่ างมาก เช่ น ไม่ ร้ ู ว่าเรามี สิทธิ ปฏิ เสธที่ จะเซ็นเอกสารที่ ทาไม่ ถูกต้ อง หรื อไม่ ยอมเขียนหรื อแก้ ไขตามที่ เราบอก ไม่ ร้ ู ว่ามี สิ ทธิ ขอปรึ กษาทนายความก่ อนและไม่ ร้ ู ว่ามี ทนายความที่ รัฐจัดหาให้ ฟรี ด้วย ไม่ ร้ ู ว่ าเรามี สิ ทธิ ให้ การปฏิ เสธในชั้ นศาลได้ แม้ ว่าจะได้ รับสารภาพในชั้ นสอบสวน แล้ ว” สาหรับพ่อประเสริ ฐก็บอกว่า “ปั ญหาที่ สาคัญคื อความรู้ เกี่ ยวกับสิ ทธิ ต่างๆ ที่ ผ้ ตู ้ องหาหรื อ จาเลยมี เนื่องจากหากไม่ ร้ ูกจ็ ะไม่ สามารถทาอะไรได้ เลย” อีกทั้งลุงทิศก็บอกว่า
138
“การที่ตนไม่ ร้ ู กฎหมาย ไม่ ร้ ู ว่ามี ขั้นตอนการดาเนิ นคดีอย่ างไรบ้ าง จะต้ อง เตรี ยมตัวอย่างไรบ้ าง ไม่ ร้ ูว่ามีสิทธิ อะไรบ้ าง ทาให้ กลัวมากเวลาที่ ถูกเรี ยกไปโน่ น ไปนี่ และการที่ไม่ ร้ ูขนั้ ตอนทาให้ ไม่ สามารถเตรี ยมตัวได้ อี กทั้งการที่ ไ ม่ ร้ ู ว่ามี สิทธิ อะไรบ้ าง ทาให้ ไม่ ร้ ู ว่าจะต่ อสู้ คดีอย่ างไร ไม่ กล้ าโต้ เถียงกับเจ้ าหน้ าที่ เขาบอกให้ ทาอะไรเราก็ได้ แต่ ทาตามที่เขาบอก ตอนนั้นได้ แต่ เพียงหวังว่ าเจ้ าหน้ าที่ จะช่ วยทา ให้ เบาที่สุด จนถึงทุกวันนีต้ นเองก็ยงั ไม่ เข้ าใจอะไรเลย” สาหรับป้ าพอดีก็เล่าว่า “ในวันนั้นจาอะไรได้ เพราะตอนนั้นตนเองเครี ยดมากและรู้สึกสั บสน ไปหมด ตารวจพาไปหลายที่ และมี การทาอะไรหลายอย่ าง แต่ ตนเองไม่ ร้ ู และไม่ เข้ าใจว่ ามี การทา อะไรบ้ าง ตอนนั้นใครให้ ทาอะไรก็ทา ใครพาไปไหนก็ไปหมด เพราะสถานการณ์ ตอนนั้นตนเองทา อะไรไม่ ได้ และคิดอะไรไม่ ออก” รวมทั้งหน่อดาก็เล่าเหตุการณ์ในวันที่ถูกส่งฟ้ องว่า “เมื่ อตารวจพาไปถึ งที่ ศาลก็ถูกพาเข้ าไปในห้ อ งขัง สั กพักก็ถูกพาขึ ้นไป ข้ างบน มีคนมาสอบถามและให้ ปั๊มหั วแม่ มือในเอกสาร แต่ ตนไม่ ร้ ู ว่าเป็ นใครและ ให้ ทาอะไร สั กพักก็ถูกพาลงไปในห้ องขังเหมื อนเดิม และมี คนตามมาบอกว่ าตน ถูกตัดสิ นให้ จาคุก 1 ปี ... ซึ่งเอกสารที่เจ้ าหน้ าที่ศาลได้ นามาให้ หน่ อดาปั๊ มหัวแม่ มือ นั้นคื อ คาแถลงประกอบคารั บสารภาพ ซึ่ งเป็ นแบบฟอร์ มเอกสารที่ พิมพ์ มาแล้ ว และเว้ นช่ องสาหรั บให้ ลงลายมื อ ซึ่ งมี ผลเท่ ากับว่ านางหน่ อดาให้ การรั บสารภาพ ตลอดข้ อกล่ าวหา พร้ อมลงชื่ อในใบแถลงประกอบคารั บสารภาพนั้น” ความกลัว ศาลเป็ นสถานที่ที่ปกคลุ มด้วยบรรยากาศแห่ ง ความกลัว เมื่ อ ก้าวผ่านประตูเข้าสู่ ศาลแล้ว บรรยากาศและท่าทีของเจ้าหน้าที่รวมทั้งผูพ้ ิพากษา ที่ดาเนิ นการอย่างเป็ นแบบแผนพิธีการ ทั้งการ แต่งกาย การใช้เอกสาร การใช้คาพูดด้วยสานวนภาษาเฉพาะ รวมทั้งวิธีการต่างๆ ต้องดาเนิ นการอย่าง เป็ นขั้นตอนตามที่กฎหมายหรื อระเบียบภายในกาหนดไว้อย่างเคร่ งครัด ทาให้ตวั จาเลยซึ่ งไม่รู้และไม่ คุน้ เคย มักจะตกอยูภ่ าวะมืดมิด หรื อรู ้สึกว่าถูกกดทับมากกว่าที่จะสัมผัสได้ถึงการเป็ นสถานที่พ่ งึ ของ คนที่ไม่ได้รับความเป็ นธรรม หลายคนเล่าถึงความรู ้สึกตื่นกลัวที่เกิดขึ้นในศาล คือ หน่อดา เล่าว่า “ทุกครั้ งที่เข้ าไปในศาลจะรู้สึกสับสนและคิดตลอดเวลาว่ าจะทาอย่างไร และมี ความรู้สึกกลัวตลอดเวลา กลัวว่ าจะติดคุกไหม ความรู้สึกและสติปัญญาเหมือนมื ดไปหมด” 139
ป้ าพอดี ก็เล่าว่า “เมื่ อตอนที่ เดินเข้ าไปในอาคารศาลนั้น ตนมี ความรู้ สึกกลัว เพราะสถานที่ นั้นไม่ ค้ ุนเคย เวลาเข้ าไปแล้ วก็ไม่ ร้ ู ว่าข้ างในมี อะไรบ้ าง และเราจะต้ อ งไปที่ ไหนบ้ าง คนที่ นั่นก็ดู แปลกหน้ าหมด เวลาคนที่ศาลพูดกับเราเขาก็ไม่ พดู ภาษาแบบที่ ชาวบ้ านทั่วไปพูด บางครั้ งที่ ถูกถามก็ ไม่ ร้ ูจะตอบอย่างไร กลัวว่ าถ้ าพูดอะไรไปแล้ วจะผิดหรื อเกี่ยวข้ องกับคดีหรื อเปล่ า ” และลุ ง ทิ ศ ก็ เ ช่ น กัน เมื่ อ เข้า ไปอยู่ใ นศาล “เจ้ า หน้ า ที่ ห รื อศาลพูด แล้ ว ก็ ไ ม่ ค่ อ ยเข้ า ใจ โดยเฉพาะเวลาที่ เขาพูดเกี่ยวกับกฎหมายหรื อความผิด นอกจากนีเ้ วลาที่ เขาถามก็ไม่ กล้ าพูดอะไรมาก เนื่องจากพูดภาษาไม่ ไทยไม่ คล่ องก็เลยไม่ กล้ าพูด อี กอย่างคือตอนนั้นกลัวว่ าหากพูดไปแล้ วจะผิดและ เจ้ าหน้ าที่จะเพิ่มข้ อหาหรื อทาให้ ผิดหนักมากขึน้ ” 4.2 มองกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ด้ วยมุมมองของทฤษฎีชาติพันธุ์ แนววิพากษ์ (CRT) ทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ให้ความสาคัญกับการพิจารณากฎหมายและอานาจ ที่มีอิทธิพล ต่อการขับเคลื่อนทางการเมือง สังคมและการบังคับใช้กฎหมายกับชนกลุ่มน้อยในสังคมหนึ่งๆ โดยใน การวิเคราะห์น้ นั จะให้ความสนใจกับ 1) ประวัติศาสตร์ของชนกลุ่มน้อ ยที่สัมพันธ์กบั ผูม้ ีอานาจใน สังคม ซึ่งจะทาให้เห็นลักษณะของความขัดแย้ง การกดขี่ การต่อต้าน หรื อภัยคุกคามที่ยงั อยูใ่ นความ ทรงจา ตลอดจนผลประโยชน์ 2) อานาจในสังคม ซึ่ งอาจหมายถึงบุคคล องค์กร สถาบัน เช่น ศาล สถาบันการศึกษา สถานบันทางศาสนา หรื อสื่ อ ที่มีอิทธิ พลหรื อมีอ านาจชี้นาหรื ออยูเ่ บื้องหลังการ ออกกฎหมายและนโยบายของรัฐ หรื อเป็ นตัวแทนของกลุ่ มผูม้ ีอ านาจใด ซึ่ งจะทาให้เห็นว่าระบบ กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย กาลังทาหน้าที่สนองหรื อคุม้ ครองผลประโยชน์ของชนชั้นนา ผูม้ ี อานาจหรื อเพือ่ ใครบ้าง 3) วัฒนธรรมหรื อความเชื่อหลักในสังคม รวมถึงวัฒนธรรมการใช้อานาจของ องค์กรในระบบราชการ ที่เป็ นผูม้ ีอานาจบังคับใช้กฎหมายในระดับต่างๆ ซึ่ งจะทาให้เห็นถึง เงื่อนไข หรื อระบบความคิด ความเชื่อ ที่มีอิทธิพลหรื อผลักดันให้เจ้าหน้าที่รัฐผูม้ ีอานาจในระดับต่างๆ เลือกที่ จะปฏิ บตั ิ ต่ อ คนบางกลุ่ ม ในขณะที่ ย กเว้น สาหรั บคนบางกลุ่ ม ไม่ ว่า จะเป็ นการเลื อ กปฏิ บตั ิ เ พื่อ คุม้ ครองสิทธิหรื อเข้าทาการปราบปราม ในหัวข้อนี้ผวู ้ จิ ยั จะนาข้อเสนอของทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ที่ได้กล่าวไว้โดยละเอียดแล้ว ในบทที่ 2 มาวิเคราะห์ปัญหาหาการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ของผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่เป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง โดยใช้เรื่ องเล่าของกรณี ศึกษา ผูซ้ ่ ึ งได้ผ่านประสบการณ์ ถูก ดาเนิ นคดี มาแล้วจริ ง ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้ทาการวิเคราะห์ อ ย่างละเอี ยดไว้ในหัวข้อ ที่ 4.1 โดยผูว้ ิจยั ได้แบ่ง 140
เนื้ อ หาในการวิเคราะห์อ อกเป็ น 3 ส่ วน ส่ วนแรกจะเป็ นการวิเคราะห์เหตุการณ์ ก่อนที่จะถูกจับกุม จนถึงการจับกุม ส่ วนที่สองจะเป็ นวิเคราะห์ปฏิบตั ิการในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้นศาล และส่วนที่สาม จะเป็ นการวิเคราะห์มุมมองต่อสิ ทธิในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาของกรณี ศึกษา โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 4.2.1 การตรวจยึดและจับกุมในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ กับภาพลักษณ์ที่ถูกประกอบสร้ าง “พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรั ฐมนตรี กล่ าวในรายการ ‘คื นความสุ ขให้ คนในชาติ’ ออกอากาศทางโทรทัศน์ รวมการเฉพาะกิ จแห่ งประเทศไทย วันศุกร์ ที่ 10 กรกฎาคม 2558 โดยกล่ าวถึงการแก้ ปัญหาบุกรุ กป่ า ว่ า ตนได้ สั่งการให้ กระทรวง ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม (ทส.) สารวจความเสี ยหายที่ เกิ ดจากการบุกรุ ก ผืนป่ าต้ นนา้ ในภาคเหนือ ซึ่ งเป็ นแหล่ งกาเนิดของแม่ นา้ หลายสาย โดยรายงานที่ได้ รับ น่ าเป็ นห่ วง ปั จจุบันทรั พยากรป่ าถูกบุกรุ กทาลายกว่ า 8.6 ล้ านไร่ มี ผ้ บู ุกรุ กกว่ า 8 แสนคน ชาวไทยพืน้ ที่ สูง 80% ชาวไทยพืน้ ที่ ราบ 10% และนายทุน 10% คิ ดเป็ น ค่ าเสี ยหายทางเศรษฐกิจไม่ ตา่ กว่ า 469,000 ล้ านบาท ปั ญหาสาคัญเกิ ดจากการทาสวน ยาง การปลูกข้ าวโพด ปลูกกะหลา่ บนพืน้ ที่ สูง...”6 (ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, วันที่ 11 กรกฎาคม 2558) กลุ่ มชาติ พนั ธุ์บ นพื้นที่ สูง ถู ก สร้ างภาพว่าเป็ นกลุ่ มคนที่ บุก รุ ก ทาลายป่ าอย่า งต่ อ เนื่ อ งมา จนกระทัง่ ในสมัยปั จจุบนั ข่าวที่ปรากฏข้างต้นนี้ เป็ นปรากฏการณ์ หนึ่ งที่ทาให้เห็ นว่า ภาพลักษณ์ “ชาวเขาทาลายป่ า” ยังคงมีพลังอยู่ในสังคมไทย แม้ถ ้อ ยคาที่นามาใช้จะเปลี่ ยนแปลงไป จากคาว่า “ชาวเขา” เป็ น “ชาวไทยพื้น ที่ สู ง ” และจากค าว่ า “ไร่ เ ลื่ อ นลอย” เป็ น “บุ ก รุ ก ผื น ป่ า” หากแต่ ความหมายก็ยงั คงเหมือนเดิม คือ เป็ นการพยายามชี้วา่ การใช้ที่ดินทาการเกษตรของกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พืน้ ที่สูงเป็ นการทาลายป่ า ซึ่งสร้างความเสียหายให้แก่ทรัพยากรป่ าไม้ จากข้อ เสนอของทฤษฎี ช าติ พนั ธุ์แ นววิพ ากษ์ ที่เ สนอว่า เชื้ อ ชาติ และชาติ นิย มเป็ นการ ประกอบสร้างทางสังคม (Social Construction) ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางชีววิทยาหรื อเผ่าพันธุ์ มนุษย์ หากแต่เชื้อชาติถูกสร้างขึ้น จัดการหรื อยกเลิกโดยสังคม แล้วหลอกลวงว่าเป็ นลักษณะเฉพาะที่ ถาวรของคนกลุ่มนั้นๆ นอกจากนี้ กลุ่มที่มีอานาจครอบงาสังคม ได้สร้างความเป็ นเชื้อชาติให้แก่ชน 6
“‘บิ๊กตู่’ เผยสถิติรุกป่ าต้นน้ า ชาวไทยพื้นที่สูงบุกรุ กมากสุ ด-นายทุนทุก ที่ 10%‛, [ระบบออนไลน์ ], ประชาชาติ ธุ ร กิ จ ออนไลน์ , แหล่ งที่ มา https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1436522350, (15 มีนาคม 2561).
141
กลุ่มน้อยแต่ละกลุ่ม ตามความต้องการและแต่ละช่วงเวลาที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะการเน้นย้าว่าเป็ น พวกต่าต้อยกว่า ไม่เชื่อฟั ง สร้างความรุ นแรงและนอกรี ตที่ตอ้ งมีการควบคุมอย่างเข้มงวด เช่น เป็ น พวกขายแรงงาน เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ก่อสงคราม หรื อรบกวนความสงบสุ ขของสังคม ที่สาคัญคือ การประกอบสร้างดังกล่าวนี้ มีลกั ษณะเป็ นการกีดกันและการเหมารวม จนทาให้เกิดภาพลักษณ์ที่ติด ตัวของคนแต่ละเชื้อชาติในที่สุด นอกจากนี้ ความหมายที่ประกอบสร้างนั้นอาจเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์ โดยที่สถาบันทางสังคมและระบบการเมือง เช่ น รัฐบาล ระบบ กฎหมายของรัฐ ระบบกฎหมายอาญา และระบบการศึกษา มีบทบาทอย่างสาคัญในการสร้างหรื อขัด เกลาความเข้าใจต่อนิยามและความหมาย เกี่ยวกับเชื้อชาติ โดยปั จเจกบุคคลที่เป็ นชนกลุ่มน้อย อาจถูก จัดแบ่งให้อยู่ในกลุ่ มเชื้อ ชาติหนึ่ งๆ ซึ่ งการแบ่งแยกดังกล่าวนี้ เป็ นการทาให้กลุ่ม ชาติพนั ธุ์หรื อชน กลุ่มน้อย กลายเป็ นคนอื่นที่แปลกไปจากกลุ่มผูม้ ีอานาจในสังคม7 ในที่ น้ ี ผูว้ ิจยั จะนาแนวคิดนี้ มาปรับ ใช้เพื่อ อภิ ปรายปฏิบ ัติการในการตรวจยึด จับ กุม และ ดาเนินคดีต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ โดยผูว้ จิ ยั เสนอว่า ภาพลักษณ์ของ กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ถูกประกอบสร้างขึ้นมาภายใต้วาทะกรรม “ชาวเขาทาลายป่ า” และ “ไร่ เลื่อนลอย” มีอิทธิพลทาให้สงั คมมีความคิดและทัศนคติที่เป็ นลบต่อกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้ ถูกเลือกปฏิบตั ิและไม่ได้รับความเป็ นธรรมในการใช้อานาจของหน่ วยงานรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ ที่สาคัญ คือ ภาพลักษณ์เหล่านั้นถูกตอกย้าหรื อผลิตซ้ า เพือ่ สร้างความชอบธรรมในการควบคุมและปราบปราม การใช้ทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ด้วยวิธีการต่างๆ โดยเฉพาะการใช้ความรุ นแรงหรื อใช้ วิธีการทางทหารกับพลเมือง ตลอดจนเมื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณาคดี ภาพลักษณ์ติดตัวและกระแส สังคมเกี่ ย วกับสิ่ ง แวดล้อ ม มี ส่วนชี้ น าต่ อ ปฏิบ ัติการของหน่ วยงานหรื อ เจ้า หน้าที่รั ฐผูป้ ฏิ บตั ิ การ รวมทั้งศาลในการพิจารณาวินิจฉัยคดี ผูว้ จิ ยั มีความเห็นว่าภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ที่ถูกประกอบสร้างขึ้นมาภายใต้ วาทะกรรม “ชาวเขาท าลายป่ า” และ “ไร่ เ ลื่ อ นลอย” ซึ่ ง มี พ ลัง ชี้ น าความคิ ดของสัง คมอย่างมาก โดยเฉพาะการครอบงาความคิดและวัฒนธรรมของโครงสร้างระบบราชการ ซึ่ งรวมถึงกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ซึ่ งมีโครงสร้างที่ดารงแนวคิดอนุ รักษ์นิยมอย่างเหนี ยวแน่ นด้วย อีกทั้งปฏิบตั ิการ ของหน่ วยงานและเจ้าหน้าที่รัฐ ในการใช้อานาจในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดี ความผิด
7
Erica Campbell, Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers, Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2, p. 74.
142
เกี่ ยวกับป่ าไม้ ที่ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยเป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ถู กอิ ทธิพลหรื ออ านาจชี้ นาของ ภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงครอบงาอีก ที่ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงไม่ได้รับความ เป็ นธรรม ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ช่ ว งก่ อ นสงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง ชนชั้น น าไม่ ไ ด้ม องกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ บ นพื้น ที่ สู ง ว่ า จะมี ภยันตรายใดๆ ต่อชาวไทยหรื อคนในเมือง โดยภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงในสมัยนี้ ถูก มองเป็ นกลุ่ มคนที่สถานะที่ต่ ากว่าคนไทยในเขตเมือ ง เช่ น เป็ นพวกที่อ ยู่ตามป่ าเขา สกปรก ไม่ มี ศาสนา นับถือผี รวมถึงไม่ศิวไิ ลซ์ ไม่มีความรู ้ ล้าหลัง8 แต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ภาพลักษณ์ของ ชาวเขาได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยยะสาคัญ อันเนื่ องมาจากปั ญหาการเมืองในสถานการณ์สงคราม เย็นในภูมิภาค ปั ญหาการปราบปรามฝิ่ น และปั ญหาด้านทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม9 ทาให้กลุ่มชาติ พันธุ์บนพื้นที่สูง ภายใต้คาเรี ยกแบบทางการว่า “ชาวเขา” ถู กมองว่าเป็ นภัยต่อความมั่นคง คือ เป็ น พวกคอมมิวนิ สต์ ไม่ มีการศึกษา ยากจน ค้ายาเสพติด อพยพเข้าเมื องผิดกฎหมาย10 นอกจากนี้ แล้ว “ชาวเขา” ยังถูกมองว่าเป็ นพวกไม่ใช่คนไทย ไม่มีความรักชาติและไม่มีความผูกพันต่อชาติ ที่สาคัญ คือ การมองว่าเป็ นอันตรายต่ อ ชาติ11 ซึ่ ง ภาพลักษณ์ ดัง กล่ าวนี้ ถู กประกอบสร้า งขึ้น มาท่ ามกลาง บรรยากาศความขัดแย้งทางการเมือง และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพยากรของชาติระหว่างชน ชั้นนาและนายทุน กล่าวคือ 4.2.1.1 ภาพลักษณ์ “ชาวเขา” และวาทะกรรม “ไร่ เลื่อนลอย” นับตั้งแต่ตน้ ทศวรรษ พ.ศ. 2500 เป็ นต้นมา รัฐบาลและหน่ วยงานของรัฐ สถาบันทางสังคม เช่น สถานบันการศึกษา สถานบันศาสนา รวมทั้งสื่ อ มีบทบาทอย่างสู งในการประกอบสร้าง ตอกย้า ผลิตซ้ า และขัดเกลาภาพลักษณ์ที่เป็ นลบของกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงอย่างต่อ เนื่ อง โดยเน้นย้ าว่า กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงเป็ นกลุ่มคนที่แตกต่างจากคนส่ วนใหญ่ในสังคม และเป็ นภัยต่อสวัสดิภาพ
8
พิพฒั น์ กระแจะจันทร์ , จาก ‚ชาวป่ า‛ สู่ ‚ชาวเขา‛: 100 ปี กับการสร้างภาพลัก ษณ์ ‚ชาวเขา‛ ใน สังคมไทย, การประชุมทางวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา ครั้ งที่ 2, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 152 9 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 159 – 162. 10 พิพฒั น์ กระแจะจันทร์ , จาก ‚ชาวป่ า‛ สู่ ‚ชาวเขา‛: 100 ปี กับการสร้างภาพลัก ษณ์ ‚ชาวเขา‛ ใน สังคมไทย, การประชุมทางวิชาการระดับบัณฑิ ตศึกษา ครั้ งที่ 2, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 160 – 163. 11 ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , วาทะกรรมว่าด้วยชาวเขา, วารสารสั งคมศาสตร์ ปี่ ที่ 11 ฉบับที่ 1, (2541), หน้า 108.
143
ของสังคมโดยรวม ซึ่ งกลายเป็ นภาพลักษณ์ติดตัวแบบเหมารวมของกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง และ ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรี ภาพการดารงชีวติ ปกติอย่างมาก กล่าวคือ การสร้ างนิยามให้ แก่ คาว่ า “ชาวเขา” กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงถูกรัฐเรี ยกอย่างเป็ นทางการว่า “ชาวเขา” อันเป็ นคาที่ตอ้ งการแยก ให้ ก ลุ่ ม ชา ติ พั น ธุ์ บ น พื้ น ที่ สู ง มี ค วา ม แตก ต่ า งจา ก ค น ส่ ว น ใหญ่ ใน สั ง ค ม ซึ่ ง ใน สมั ย สมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ความหมายจะมีนัยยะถึ งความเป็ นคนป่ าเถื่อ น ล้าหลัง ไม่ศิวิไ ลซ์ หรื อ รวม ความแล้วสรุ ปว่าด้อยกว่าคนไทย แต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ความหมายก็ได้เปลี่ยนแปลงไปและ มุ่งบ่งชี้ว่ากลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงมีลกั ษณะโดยพื้นฐาน แตกต่างจากคนไทย และไม่ถือว่าเป็ นคน ไทย ซึ่งคานิยามที่มีความสาคัญคือ ศูนย์พฒั นาและสงเคราะห์ชาวเขา ได้กาหนดนิยามความหมายของ “ชาวเขา” ว่า “ชาวเขา หมายถึ ง กลุ่ม ชนที่ มี วัฒ นธรรมประเพณี แ ละภาษาพูด เป็ นของ ตนเอง อาศัยอยู่บนภูเขา มี อาชี พและรายได้ จากการเกษตรเป็ นหลัก ลักษณะด้ าน ครอบครั ว เครื อญาติและชุมชนระดับหมู่บ้านของแต่ ละเผ่ ามี เอกลักษณ์ ของตน ซึ่ ง แตกต่ างกันทุกเผ่ า ยังคงนับถือผีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษเป็ นส่ วนมาก และการ แต่ งงานก็ยงั นิยมแต่ งงานกันกับคนในเผ่ าของตนเองมากกว่ าแต่ งกับคนนอกเผ่ า ทาง ราชการได้ ใ ห้ ค าจ ากั ด ความ ‚ชาวเขา‛ หมายถึ ง บุ ค คลที่ อ ยู่ ใ น 9 เผ่ า คื อ กะเหรี่ ยง แม้ ว เย้า มูเซอ ลีซอ อี ก้อ ลัวะ ขมุและถิ่น” ศูนย์พฒั นาและสงเคราะห์ชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่ ได้อธิบายลักษณะของชาวเขาว่า “ชาวเขาเป็ นชนกลุ่มหนึ่ งที่ ตั้งชุมชนบนพืน้ ที่ สูง ประกอบด้ วยหลายเผ่ าพันธุ์ คือ แม้ ว เย้า มูเซอ ลีซอ อี ก้อ ถิ่น ลัวะ และขมุ มี ขนบธรรมเนี ยมประเพณี และภาษา พูดที่ แตกต่ างกัน มี มาตรฐานการดารงชี พที่ ตา่ กว่ าคนพื ้นราบ และก่ อให้ เกิ ดปั ญหา อันเป็ นผลกระทบต่ อความมั่นคงของชาติ ซึ่ งสามารถแยกกลุ่มปั ญหาได้ คือ ปั ญหา การเมื องการปกครอง ปั ญหาเศรษฐกิ จและสั งคม ปั ญหาการปลูกพื ชเสพติด และ ปั ญหาการอนุรักษ์ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้ อม... ”12 ดร.ลิขิต ธีรเวคิน ได้นิยามความหมายของคาว่า “ชาวเขา” ไว้วา่ 12
ศูนย์พฒั นาและสงเคราะห์ชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่, สรุ ปผลการดาเนินงานประจาปี ,
144
‚ชนกลุ่มน้ อยซึ่ งตั้งถิ่นฐานบ้ านเรื อนอยู่ในอาณาบริ เวณพืน้ ที่ ที่เป็ นเทื อกเขา สูงไม่ เกินหนึ่งหมื่นฟุตจากระดับนา้ ทะเล มีขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษาพูด ความ เชื่ อ อาชี พและอุปนิสัยใจคอคล้ ายคลึงกัน มี การปกครองร่ วมกัน แต่ แตกต่ างออกไป อย่ า งเห็ นได้ ชัด จากประชากรเจ้ า ของประเทศในด้ า นชาติ พันธุ์ ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี และภาษาพูด และมีความเชื่ อเรื่ องภูตผีปีศาจ‛13 นอกจากนี้ แ ล้ว กลุ่ มชาติพ นั ธุ์ยงั ถู ก บ่ง ชี้ ว่า ไม่ ใ ช่ ค นไทยและไม่ มี ค วามรั กและหวงแหน แผ่นดิน โดยเฉพาะ ขจัดภัย บุรุษพัฒน์ อดีตเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่ งชาติ ได้กล่าวว่า “ชาวเขา คิดว่ าตนเองไม่ มีชาติ แม่ ว่าตนเองจะเกิ ดอาศัยอยู่ในประเทศไทยก็ตาม ดังนั้น พวกนี ้จึงไม่ มีความรั ก และให้ คุณค่ าแก่ ประเทศชาติที่ตนอาศัยอยู่ ดังนั้น จึงเป็ นการยากที่จะหาความจงรั กภักดีจากหั วใจของ คนเหล่ านี ้ กอปรไปด้ วยองค์ ประกอบแห่ งความว่ างเปล่ าและไร้ ซึ่งความผูกพันต่ อสถานบันอันเป็ นที่ รั กและแหวงแหนของไทย”14 ความหมายที่ถู กประกอบสร้างขึ้นมานี้ เป็ นการบ่งชี้ ว่ากลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง มี สภาพ โดยรวมแตกต่างจากคนไทยพื้นราบ ไม่ว่าจะเป็ นโดยประวัติศาสตร์ ที่เป็ นกลุ่มคนที่เพิ่งอพยพเข้ามา ในประเทศไทย เป็ นกลุ่มคนที่มีเผ่าพันธุแ์ ตกต่างและไม่ใช่คนไทย มีประเพณี วฒั นธรรม รวมทั้งระบบ ความคิดความเชื่อที่ไม่เหมือนคนไทย รวมทั้งเป็ นกลุ่มคนที่สร้างปั ญหาความมัน่ คงให้แก่ประเทศชาติ การประกอบสร้ างวาทะกรรม “ชาวเขาทาลายป่ า” ในอดีตกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงไม่ถูกทางการมองว่ามีปัญหา จนกระทัง่ เข้าสู่ ทศวรรษ พ.ศ. 2500 ซึ่งเกิดปรากฏการณ์ที่เป็ นความขัดแย้งทางเศรษฐกิจและการเมือง กล่าวคือ เกิดสงครามเย็น ซึ่ ง ความขัดแย้งอุดมการณ์ทางเมืองในพื้นที่แถบอินโดจีนในระหว่างฝ่ ายสังคมนิ ยมที่นาโดยจีนกับฝ่ าย เสรี นิยมที่นาโดยอเมริ กา ประการที่สอง คือ การปรับระเบียบเศรษฐกิจให้เป็ นระบบทุนนิ ยมเสรี ตาม การชี้นาของอเมริ กาและองค์การระหว่างประเทศ และประการที่สามคือ การปราบปรามฝิ่ นและยาเสพ ติด ซึ่งถือเป็ นจุดเปลี่ยนที่ส่งผลต่อมโนทัศน์กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง จากกลุ่มคนที่รัฐไม่เห็นว่าเป็ น พิษ ภัย และถู ก ละเลยมาโดยตลอด กลายมาเป็ นกลุ่ ม คนที่ก่ อ ให้เกิ ด ปั ญ หาความมั่น คงให้แ ก่ ช าติ สาหรับในที่น้ ีจะให้ความสาคัญกับภาพลักษณ์ “ชาวเขา” ที่ถูกประกอบสร้างว่าเป็ นพวก “ทาลายป่ า”
13
ลิขิต ธีรเวคิน, ชนกลุ่มน้ อยในประเทศไทย, (กรุ งเทพ : แพร่ พิทยา, 2521). 14 ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, ชนกลุ่มน้อยในประเทศไทยและความมัน่ คงของชาติ, ใน ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , วา ทะกรรมว่าด้วย “ชาวเขา”, วารสารสังคมศาสตร์ ปี ที่ 11 ฉบับที่ 1, หน้า 108.
145
ซึ่งส่งผลให้เกิดปั ญหาน้ าท่วมน้ าแล้งและปั ญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จนกลายเป็ นทัศนะที่ ฝังลึกอยูใ่ นความคิดของคนในสังคมไทย กล่าวคือ ภาพลักษณ์ของ “ชาวเขา” ที่ถูกเชื่อมโยงกับปั ญหาการการบุกรุ กทาลายป่ า และการเป็ นภัยต่อ ความมัน่ คงของชาติ เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ พ.ศ. 2500 หลังจากที่ธนาคารโลกเผยแพร่ รายงานการ สารวจสภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2500-2501 ที่ช้ ีว่า “ชาวเขา” ไม่มีที่อยูเ่ ป็ น หลักแหล่ง แต่เคลื่อนที่ทาลายป่ าไม้ของชาติอยูเ่ รื่ อย อันเป็ นการบุกรุ กและลักลอบตัดฟั นไม้มีค่าเป็ น จานวนมาก ทาให้ป่าอันเป็ นทรัพยากรสาคัญของชาติ ถูกทาลายหมดไปในอัตราอันสู งเกินสมควร15 ต่อมาแนวความคิดที่อธิบายว่าการใช้ที่ดินของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง เป็ นการทาลายพื้นที่ป่าไม้บน ภูเขาในภาคเหนือ ก็ถูกเขียนไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) โดยระบุวา่ “ชาวเขา” “ไม่ มีที่อยู่เป็ นหลักแหล่ ง เคลื่อนที่ทาลายป่ าไม้ ของชาติอยู่เรื่ อย... ประกอบกับมี การบุ กรุ ก ลัก ลอบตัด ฟั น ไม้ มี ค่ าเป็ นจานวนมาก” 16 ซึ่ งก่ อ ให้เกิ ด ปั ญหาและความเสี ยหายต่ อ ประเทศชาติ คือ “ป่ าอันเป็ นทรั พยากรสาคัญของชาติที่ให้ ความอุดมสมบูรณ์ แก่ ที่ดินเป็ นแหล่ งเกิ ด ของนา้ และเป็ นแหล่ งผลิตไม้ ต้ องถูกทาลายหมดไปในอัตราอั นสู งเกิ นสมควร และจะเป็ นผลร้ ายต่ อ การเศรษฐกิจของประเทศในที่สุด”17 หลังจากนั้นประเด็น “ชาวเขา” กับการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ก็ถูกนามา ผลิตซ้ าและตอกย้าในสังคมอย่างต่อเนื่ อง โดยเฉพาะในระบบการศึกษาทุกระดับ สื่ อมวลชน รวมทั้ง การขยายความผ่านผูน้ ารัฐบาลและหน่วยงานรัฐ เช่น จอมพลประภาส จารุ เสถียร อดีตรัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2509) ก็ได้กล่าวว่า “คนพวกนี ้ส่วนใหญ่ แล้ วเป็ นผู้ที่เพิ่งอพยพเข้ ามาใหม่ ...ได้ รับอนุญาตให้ ข้ามชายแดนอย่างอิ สระ และจับจองที่ดินที่ตนเองไม่ มีสิทธิ ตามกฎหมาย คนเหล่ านี ้ ยังได้ รับอนุญาตให้ ย้ายจากที่หนึ่งไปยังอี กที่หนึ่งตามเขตภูเขาในไทยเมื่อที่ดินเริ่ มเสื่ อมโทรมลง...”18 การประกอบสร้ างวาทะกรรม “ไร่ เลื่อนลอย” ที่บ่งชี้ว่าการใช้ที่ดินทาการเกษตรบนพื้นที่สูง เป็ นการทาลายพื้นที่ป่า ที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และก่อให้เกิดปั ญหา ภัยพิบตั ิน้ นั มีขอ้ พิจารณาดังนี้คือ 15
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2504 - 2506). แหล่งที่มา http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/e-book_T/plan1.pdf. 16 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2504 - 2506), หน้า 43. แหล่งที่มา http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/e-book_T/plan1.pdf., 17 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 43. 18 ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , วาทะกรรมว่าด้วย “ชาวเขา”, วารสารสังคมศาสตร์ ปี ที่ 11 ฉบับที่ 1, หน้า 107
146
โดยข้อ เท็จจริ งแล้วแบบแผนการเกษตรที่มี ก ารตัดฟั นและเผาเพื่อ ใช้พ้ืนที่เพาะปลู ก และ เคลื่อนย้ายไป ที่เรี ยกว่าไร่ หมุนเวียนนั้น เป็ นแบบแผนการผลิตของทั้งคนพื้นราบและกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่สูง และมีมานานแล้ว แต่ในเวลาต่อมาถูกรัฐกาหนดว่าเป็ นแบบแผนการเกษตรที่เป็ นปั ญหา และอันตราย ซึ่งมีเหตุผลเบื้องหลังคือ การเมืองของอานาจของรัฐในการควบคุมพืน้ ที่ป่า19 การสร้างชุดคาอธิบายว่าการเกษตรบนพื้นที่สูงเป็ นอันตราย เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงทศวรรษ พ.ศ. 2490 โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) มีบทบาทชี้นาอย่างสาคัญว่า การเกษตรของกลุ่มชาติพนั ธ์บนพื้นที่สูง นอกจากไม่ก่อ ให้เกิดประโยชน์ในทางเศรษฐกิจแล้ว ยังมีผลเป็ นการทาลายป่ าไม้อนั เป็ นทรัพยากร สาคัญของรัฐ โดยชี้วา่ การทา “ไร่ เลื่อนลอย” เป็ นการใช้ที่ดินที่คุกคามและทาลายพื้นที่ป่าของประเทศ ทั้ง ยัง เป็ นอุ ปสรรคส าคัญ ในการพัฒ นาประเทศ และเมื่ อ จ านวนประชากรเพิ่ม ขึ้ นพร้ อ มกับ การ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จะยิง่ ทาให้การทา “ไร่ เลื่อนลอย” ทาลายล้างพื้นที่ป่ามากขึ้น20 นอกจากนี้ G.N. Danhof ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการป่ าไม้จากองค์การอาหารและการเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (FAO) ขณะมาให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแก่รัฐบาลไทย ได้ช้ ีวา่ “ปั ญหาหลักๆ ของ การป่ าไม้ ไทยอยู่ที่การขาดความรู้ เทคโนโลยี กาลังคนและการสนับสนุนด้ านการเงิ นเพื่อจากการป่ า ไม้ ” นอกจากนี้ยงั ระบุอีกว่า “ปั ญหาการบุกรุกและลักลอบตัดไม้ นั้นเกิดจากการทา “ไร่ เลื่อนลอย”21 ต่อมาช่วงต้นทศวรรษ พ.ศ. 2500 ก็มีการผลิตซ้ าวาทะกรรมว่า “ไร่ เลื่อนลอย” อย่างต่อเนื่ อง เริ่ มจากการระบุในรายงานการสารวจสภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่จดั ทาโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญ ของธนาคารโลก เมื่อปี พ.ศ. 2500-2501 โดยชี้ว่า “ไร่ เลื่อนลอย” ของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เป็ น การทาลายพื้นที่ป่าไม้บนภูเขาในภาคเหนื อ อันเป็ นพื้นที่ตน้ น้ าสาหรับผลิตไฟฟ้ าและหล่อเลี้ยงพื้นที่ เกษตรกรรมภาคกลาง และทาลายเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้ยงั ชี้วา่ การเกษตรที่เคลื่อนที่ทาลาย ป่ าไม้อยูเ่ รื่ อย จะเป็ นการบุกรุ กและลักลอบตัดฟั นไม้มีค่าเป็ นจานวนมาก ทาให้ป่าอันเป็ นทรัพยากร สาคัญของชาติ ที่เป็ นแหล่งผลิตไม้ ต้องถูกทาลายหมดไปในอัตราอันสูงเกินสมควร22 ต่อมาในการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) รัฐบาล ไทยได้ระบุถึงการทา “ไร่ เลื่อนลอยว่า””... ลักษณะของการเพาะปลูกในปั จจุบัน ก็เป็ นวิธีเพิ่มปริ มาณ การผลิต โดยการขยายเนื ้อที่ ออกไป...โดยเหตุนี้ป่าอันเป็ นทรั พยากรสาคัญของชาติที่ให้ ความอุดม 19
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 119 ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , วาทกรรมว่าด้วย “ชาวเขา” ใน สังคมศาสตร์ ปี ที่ 11 ฉบับที่ 1, หน้า 121. 21 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 82. 22 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ระยะที่ 1(พ.ศ. 2504 - 2506). 20
147
สมบูรณ์ แก่ ที่ดินเป็ นแหล่ งเกิดของนา้ และเป็ นแหล่ งผลิตไม้ ต้องถูกทาลายหมดไปในอัตราอันสู งเกิ น สมควร และจะเป็ นผลร้ ายต่ อการเศรษฐกิจของประเทศในที่สุด”23 การผลิตซ้าและตอกยา้ ว่ า “ชาวเขา” เป็ นพวกตัดไม้ ทาลายป่ า หลังปี พ.ศ. 2500 เป็ นต้นมา การใช้ที่ดินทากินและทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ถูกผลิ ตซ้ าและตอกย้าอย่างต่อเนื่ องว่าเป็ นพวกตัดไม้ทาลายป่ า โดยเฉพาะผ่านบทบาทของสื่ อที่ทา หน้าที่นาเสนอเรื่ องราวสู่สงั คมพร้อมๆ กับการชี้นาอย่างต่อเนื่ อง รวมทั้งผ่านนโยบายและปฏิบตั ิการ ของรัฐบาลและหน่วยงานราชการ ตลอดจนการตอกย้าผ่านระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง จนทาให้เกิด เป็ นความเชื่อในสังคมว่ากลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงเป็ นพวกตัดไม้ทาลายป่ า ซึ่งในระยะหลังๆ การผลิต ซ้ าและตอกย้าว่า การใช้ที่ดินของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเป็ นการทาลายป่ า มีการเปลี่ยนแปลงไป ตามสถานการณ์ทางเมือง กล่าวคือ เมื่อปี พ.ศ. 2531 ได้เกิดปั ญหาน้ าท่วมและดินโคลนถล่มเป็ นบริ เวณกว้างในพื้นที่ภาคใต้ และ รัฐบาลได้การออกพระราชกาหนดปิ ดป่ าเมื่อปี พ.ศ. 2532 ซึ่ งระหว่างนี้ มีการประโคมกระแสอนุ รักษ์ อย่างเข้มข้น โดยเฉพาะหน่ วยงานด้านป่ าไม้และสื่ อ ยิ่งเป็ นปรากฏการณ์ ที่ทาให้ภาพปั ญหาตัดไม้ ทาลายป่ าที่เชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ที่เป็ นภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ เห็นเป็ นรู ปธรรมอย่างเด่นชัดมาก ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากเป็ นกรณี ที่จะเกิดผลกระทบต่อชนชั้นกลางในเมือง ก็จะถูกให้ความสาคัญ เป็ นพิเศษ ซึ่ งปรากฏการณ์ เหล่านี้ ยอ่ มตอกย้าภาพลบของการเกษตรบนพื้นที่สูง ที่ถูกจัดวางให้เป็ น ตัวการหลักๆ ในการก่อให้เกิดภัยพิบตั ิอยูแ่ ล้ว ต่อ มาหลังทศวรรษ พ.ศ. 2540 วิธีก ารจัดการป่ าของรัฐมี ความซับซ้อ นมากยิ่งขึ้ น โดยมี เป้ าหมายเพื่อ สร้างความชอบธรรมให้แก่ หน่ ว ยงานรัฐที่ เกี่ ยวข้อ ง ในออกนโยบายหรื อ ขยายการ ประกาศเขตป่ าอนุรักษ์ ซึ่ งหนึ่ งในวิธีที่รัฐเลือกมาใช้คือ การทาให้สังคมเชื่อว่าป่ าไม้เป็ นทรัพยากรที่ เปราะบาง และกาลังเสี่ยงต่อการถูกบุกรุ กทาลายโดยคนบางกลุ่ม พร้อมทั้งสร้างกระแสให้สงั คมเชื่อว่า ปั ญหาป่ าไม้อยูใ่ นภาวะวิกฤติ โดยกาลังถูกคุกคามจากการบุกรุ กทาลายของ “ชาวเขา” และรัฐมีความ จาเป็ นจะต้องเข้าไปจัดการ เพือ่ ปกป้ องคุม้ ครองป่ าไม้ให้คงเหลือไว้สาหรับคนรุ่ นต่อไป ซึ่ งการสร้าง
23
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1 : การป่ าไม้และการจัดการที่ดิน : บทที่ 4 แนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจด้านต่างๆ.
148
กระแสเช่นนี้ ได้ผลด้วยดีมาโดยตลอด ในแง่ที่ทาให้สังคมโดยรวมโดยเฉพาะชนชั้นกลางคล้อยตาม ด้วย อีกทั้งไม่มีใครตั้งคาถามต่อความเหมาะสมหรื อความเป็ นธรรมต่อปฏิบตั ิการบางอย่าง24 หลัง รัฐ ประหารเมื่ อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 รัฐ บาลพลเอกประยุท ธ์ จัน ทร์ โอชา ได้ กาหนดให้การแก้ไขปั ญหาการบุกรุ กทาลายป่ าเป็ นยุทธศาสตร์สาคัญ ซึ่ งได้กาหนดให้พ้นื ที่ของกลุ่ม ชาติ พ นั ธุ์บ นพื้น ที่ สู ง เป็ นเป้ าหมายหลัก ในการใช้ก าลัง ทหารเข้า ปฏิ บ ัติ ก ารตรวจยึด และจับ กุ ม ดาเนิ นคดี โดยกาหนดให้ปัญหาการตัดไม้ทาลายป่ าเป็ นปั ญหาความมัน่ คงแห่ งรัฐตามนโยบายของ รัฐบาล25 พร้อมกับดาเนิ นการออกคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) ที่ 64/2557 โดยอ้างว่า ปั ญหาการบุกรุ กทาลายอยูใ่ นภาวะวิกฤติ ซึ่ งหลังจากการออกคาสั่ง คสช. ดังกล่าวนี้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ตอกย้าว่า ปั ญหาการตัดไม้ทาลายป่ าในบริ เวณพื้นที่ตน้ น้ าลาธารใน ภาคเหนือของประเทศไทยนั้น ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง โดยแถลงออกสื่ อเมื่อ วันที่ 10 กรกฎาคม 2558 ว่ามีประชาชนบุกรุ กพื้นที่ป่าบริ เวณภาคเหนือกว่า 8 แสนราย ครอบคลุมเนื้ อ ที่ก ว่า 8.6 ล้า นไร่ โดยเป็ นชาวไทยพื้น ที่ สู ง 80% พร้อ มกัน นี้ วัน ต่ อ มา (11 กรกฎาคม 2558) หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ ก็นาคาแถลงดังกล่าวมามาลงเป็ นข่าวเผยแพร่ ในเว็บไซต์ 4.2.1.2 การบังคับใช้ กฎหมายภายใต้ ภาพลักษณ์คนอื่นที่เป็ นภัย ภาพลัก ษณ์ ข องกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ บ นพื้น ที่ สู ง ที่ ถู ก ประกอบสร้ า งขึ้ น มาภายใต้ว าทะกรรม “ชาวเขาทาลายป่ า” และ “ไร่ เลื่อ นลอย” ดังกล่ าวข้างต้น มี อิทธิ พลในการชี้ นาความคิดของคนใน สังคมไทยอย่างมาก ทาให้สังคมมีอคติต่อกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง อันนาไปสู่ การเลือกปฏิบตั ิและ ไม่ได้รับความเป็ นธรรมในการใช้อานาจของหน่วยงานรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ ที่สาคัญคือ ภาพลักษณ์ ที่ถูก ตอกย้าหรื อผลิตซ้ าเหล่านั้น มีผลเป็ นการสร้างความชอบธรรมในการควบคุมและปราบปรามการใช้ ทรัพยากรของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ด้วยวิธีการต่างๆ โดยเฉพาะการใช้ความรุ นแรงหรื อใช้วิธีการ ทางทหารกับพลเมือง ในขณะเดียวกันก็ทาให้คนในสังคมโดยรวมเห็นคล้อยตามหรื อสนับสนุ นรัฐใน การดาเนินโดยบายที่ใช้ความรุ นแรง ซึ่งบางกรณี มีผลเป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจน เมื่อสังคมไทยโดยเฉพาะในระบบราชการไทย มีทศั นะต่อกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงว่าเป็ น “ชาวเขา” ซึ่งมีนยั ยะว่าเป็ นคนที่ไม่ใช่คนไทยแต่เพิง่ อพยพเข้ามาได้ไม่นาน มีลกั ษณะทางกายภาพและ พฤติกรรมที่แตกต่างจากคนไทยโดยทัว่ ไป รวมทั้งมีฐานะยากจนและล้าหลัง ในขณะเดียวกันก็เป็ นภัย 24
ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี , บทวิเคราะห์ว่าด้วยการสร้างแนวทางการอนุรักษ์ธรรมชาติ, ในศยามล ไกรยู รวงศ์และพรพนา ก๊วยเจริ ญ (บรรณาธิการ), การเมืองป่ าไม้ไทย ยุคหลังสัมปทาน, (กรุ งเทพฯ, 2548). 25 สานักงานสภาความมัน่ คงแห่ งชาติ, นโยบายความมัน่ คงแห่ งชาติ พ.ศ. 2558 – 2564.
149
ต่อความมัน่ คงและสวัสดิภาพของคนไทยด้วย รวมทั้งการสร้างวาทะกรรมว่าพื้นที่ทากินของกลุ่มชาติ พันธุบ์ นพื้นที่สูงเป็ น “ไร่ เลื่อนลอย” ที่คุกคามต่อพื้นที่ป่าไม้บริ เวณต้นน้ าลาธารของประเทศ และเสี่ยง ต่อปั ญหาภัยพิบตั ิ ได้กลายเป็ นภาพลักษณ์ติดตัวของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง อันนาไปสู่ อคติ ความ รังเกี ย จ การกดขี่ ข่ม เหง และความขัด แย้งรุ นแรง มี ผ ลต่ อ การกาหนดท่า ทีห รื อ การกาหนดจัด ความสั ม พัน ธ์ ข องรั ฐ ต่ อ กลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง กล่ า วคื อ เมื่ อ มองเห็ น ว่ า เป็ นภัย ก็ จ ะจัด ความสัมพันธ์แบบควบคุม หรื อเปลี่ยนแปลงเขาให้หมดภัย หรื อ ใช้วิธีการแบบทหารเข้าไปจัดการ26 ดังนั้น จึงเกิ ด ปรากฏการณ์ ที่มีก ารออกกฎหมาย นโยบายหรื อ คาสั่งแบบพิเ ศษ เพื่อ ให้อ านาจแก่ เจ้า หน้า ที่ในการปราบปรามหรื อ ตรวจยึด จับกุ มดาเนิ น คดี แทนที่จ ะใช้วิธีก ารหรื อ มาตรการทาง ปกครองเข้าไปสร้างกระบวนการตรวจสอบและจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็ นธรรมและสอดคล้องตาม หลักวิชาการ การผลิ ต ซ้ า และสร้ า งวาทะกรรมใหม่ ๆ ด้ว ยถ้อ ยค าและความหมายที่ สื่ อ ถึ ง ปั ญ หาหรื อ อันตรายของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง โดยมีการเปลี่ยนแปลงและไหลลื่นตามสถานการณ์ของสังคม และทิศทางทางการเมือง แม้บางกรณี จะหมดพลังทางความคิดไปแล้ว เช่น เรื่ อง “ชาวเขา” กับปั ญหา คอมมิวนิสต์ แต่บางกรณี กลับถูกอธิบายเชื่อมโยงกับปั ญหาในรู ปแบบใหม่ เช่น การอธิบายเชื่อมโยง ว่าการใช้ไม้สร้างบ้านหรื อการใช้ที่ดินทากินของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง เป็ นสาเหตุของปั ญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรื อปั ญหาโลกร้อน ซึ่ งสังคมโดยรวมกาลังตื่นตัว ซึ่ งพบว่า วาทะกรรม เหล่านี้ถูกนาไปอ้างอิงในคาพิพากษา เพือ่ เป็ นเหตุผลให้ศาลลงโทษสถานหนักด้วย นอกจากนี้ การที่สังคมและรัฐมองว่ากลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเป็ นคนอื่ นที่เป็ นภัย จึงเกิ ด ปรากฏการณ์ที่มีการสร้างข้อยกเว้นสิทธิของผูท้ ี่จะถูกตรวจค้น เพื่อเอื้ออานวยต่อนโยบายของรัฐบาล ไม่วา่ จะเป็ นการออกประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติมาให้อานาจค้นโดยไม่ตอ้ งมีหมายค้นจาก ศาล และปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่เข้าตรวจค้นโดยไม่ มีหมายศาลซึ่ งหากพิจารณาตามหลักกฎหมาย แล้ว ถือได้วา่ เป็ นการละเมิดต่อหลักสิ ทธิและเสรี ภาพตามรัฐธรรมนู ญ แต่สังคมและกระทัง่ ศาลก็ให้ การยอมรับได้ ทัศนะที่มองว่ากลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงว่าเป็ น “ชาวเขา” ซึ่ งเป็ นกลุ่มคนที่แตกต่างจากคน ไทย และเป็ นภัยต่อความมัน่ คงและสวัสดิภาพของคนไทย ประกอบกับรู ปแบบการใช้ที่ดินบนพื้นที่ สู งถู กมองว่าเป็ นภัยคุ กคามต่อ ทรัพยากร ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อ ม แม้กระทัง่ ถูกฝ่ าย
26
อานันท์ กาญจนพันธุ์, พหุ วฒั นธรรมในบริ บทของการเปลี่ยนผ่านทางสังคมและวัฒนธรรม, ใน รั ฐชาติ และชาติพันธ์ , (เชียงใหม่), หน้า 28-33.
150
ความมัน่ คงตีความว่าเป็ นปั ญหาต่อความมัน่ คง เพือ่ สร้างความชอบธรรมให้ทหารในการเข้าไปมีส่วน แบ่งในผลประโยชน์ของกิจการป้ องกันรักษาป่ า ทาให้รัฐได้กาหนดจัดความสัมพันธ์กบั กลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่สูงแบบควบคุมและปราบปราม จึงได้ออกนโยบายหรื อมาตรการแบบพิเศษ ทั้งนโยบายหรื อ การสั่ง การแบบครั้ ง คราว หรื อ แบบเป็ นการทัว่ ไป เช่ น การปฏิ บ ัติ ก ารของเจ้า หน้า ที่ ก ระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับสู ง ในการออกตรวจป่ า ในช่วงที่รัฐมีนโยบายป้ องกันและ ปราบปราบการกระทาความผิดเกี่ ยวกับกฎหมายป่ าไม้ ซึ่ งจะตรงกับช่วงฤดู เพาะปลู กและเป็ นคดี เกี่ ยวกับที่ดินทากิน, ใช้วิธีการแบบรุ นแรงหรื อ วิธีการทางทหาร การสนธิ กาลังทหารและอีกหลาย หน่ วยงานทาการปราบปราม ตามนโยบายเร่ งรัดป้ องกันและปราบปรามการบุกรุ กทาลายป่ าของ รัฐบาล คือ คาสัง่ คสช. ที่ 64/2557, การยกเว้นกฎหมายที่คุม้ ครองสิทธิบางประการ โดยเฉพาะการอ้าง คาสัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 13/2559 หรื อการเข้าไปค้นในเคหะสถานโดยไม่มีหมาย ค้น , และเกิดความขัดแย้งรุ นแรง อันเป็ นผลของภาพลักษณ์ที่ก่อให้สงั คมเกิดอคติต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ น พื้นที่สูงและรู ปแบบการใช้ที่ดินของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้เจ้าหน้าที่รัฐมักจะใช้อานาจไป ในทางเอาเปรี ยบหรื อกดทับ นอกจากนี้ แล้วยังทาให้คนพื้นราบมี อคติต่อ กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง และเกิดการแจ้งความหรื อร้องเรี ยนต่อหน่วยงานว่ากลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงบุกรุ กป่ าต้นน้ า ซึ่ งหลาย กรณี เมื่อผูท้ ี่ถูกกระทาไม่ยอม ก็จะเกิดการปะทะกันจนมีการจับกุมดาเนินคดี ซึ่งคดีที่พพิ าทเกี่ยวกับใช้ ที่ดินของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ส่ วนหนึ่ งเริ่ มต้นจากการเกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับ ชาวบ้านหรื อระหว่างชาวบ้านพื้นราบกับชาวบ้านบนพื้นที่สูง จนนาไปสู่ การร้องเรี ยนหรื อแจ้งความ ให้ดาเนิ นคดี นอกจากนี้ ยงั มีกรณี ความขัดแย้งระหว่างชาวบ้านพื้นราบกับกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง หรื อระหว่างชาวบ้านกับผูน้ าชุมชนพื้นราบ จนนาไปสู่การร้องเรี ยนและแจ้งความดาเนินคดี 4.2.2 การกีดกันสิ ทธิที่ถูกมองเป็ นเรื่องธรรมดาของสั งคม เนื้อหาส่วนนี้ ผูว้ ิจยั จะพิจารณาปั ญหาการเข้าถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของ กลุ่ ม ชาติ พนั ธุ์บนพื้น ที่สู งในคดี ความผิด เกี่ ย วกับป่ าไม้ ภายใต้ระบบกฎหมายคุ ้ม ครองสิ ท ธิ ข อง ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในบริ บทที่อานาจรัฐตกอยูภ่ ายใต้อิทธิพลหรื อ อานาจชี้นาของวัฒนธรรมแห่งชาติที่กีดกันคนชายขอบ ทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่สูงถูกเลือกปฏิบตั ิ หรื อไม่ได้รับความเป็ นธรรม จากการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ โดยผูว้ จิ ยั จะขอเริ่ มจากการกล่าวถึงประเด็นที่ทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์สนใจ คือ อานาจที่ มี พลังในสังคม ในที่น้ ี คือ วัฒนธรรมแห่ งชาติ ที่มี อิ ทธิ พลหรื อ อ านาจครอบงากลไกอ านาจรัฐ ซึ่ ง รวมถึ งกระบวนการยุติธรรมทางอาญาด้วย และเป็ นวัฒนธรรมที่ต้ งั อยู่บนฐานคิดที่เต็มไปด้วยอคติ และมุ่งกีดกันคนชายขอบโดยเฉพาะกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงถูกกีด 151
กัน หรื อ ไม่ มี โ อกาสเข้า ถึ ง สิ ท ธิ บ รรดาที่ ก ฎหมายก าหนดไว้ไ ด้ จ ริ ง หลัง จากนั้ นจะพิ จ ารณา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริ งจากประสบการณ์ของกรณี ศึกษา ผูซ้ ่ ึงผ่านประสบการณ์ถูกดาเนิ นคดีในคดี ความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้มาแล้ว ด้วยสายตาทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ จากข้อเสนอของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ที่เสนอว่า การเหยียดเชื้อชาติเกิดขึ้นโดยทัว่ ไป จนกลายเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาในสังคม (Racism is ordinary) จนไม่มีใครสังเกตหรื อตั้งคาถาม จึง ส่ งผลให้ปัญหาเชื้อ ชาตินิยม เป็ นเรื่ องที่สามารถเข้าถึ งเพื่อ แก้ไขหาได้ยาก เนื่ องจากระบบกฎหมาย และกลไกรัฐถูกครอบงาไว้ดว้ ยแนวคิดปราศจากการให้ความสาคัญกับสี ผิว (Color - Blind) หรื อ รู ปแบบที่ เป็ นทางการ (Formal) ที่เชื่ อ ว่า ความเสมอภาคเท่าเทีย มกันจะเกิ ดขึ้นได้ เมื่ อ มี กฎหมาย บัญญัติให้คนผิวสีมีสิทธิที่เสมอภาคเท่าเทียมกันกับคนผิวขาวในรู ปแบบเดียวกัน หากแต่ภายใต้ระบบ กฎหมายที่กาหนดไม่ให้มีแบ่งแยกผิวสี น้ นั กลับธารงรักษาไว้ซ่ ึ งโครงสร้างทางสังคมที่แบ่งแยกสี ผิว หรื อเชื้อชาติเอาไว้ โดยที่การกดขี่ทางเชื้ อชาติและความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม ได้ หยัง่ รากลึกลงไปในสถาบันทางสังคม วัฒนธรรมและปฏิบตั ิการต่างๆ ของสังคมและเจ้าหน้าที่ผใู ้ ช้ อานาจรัฐ อีกทั้งทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ยังเชื่อ ว่าสังคมมีโครงสร้างที่ชนชั้นนาเป็ นกลุ่ มคนที่ถือ อภิสิทธิ์เหนื อกว่า ในขณะเดียวกันชนกลุ่มน้อยจะถูกเหยียดทั้งในลักษณะที่เป็ นการส่ วนตัวและเชิ ง สถาบัน อันทาให้นกั วิชาการทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์เชื่อว่า ภายใต้สงั คมที่มีกฎหมายกาหนดให้ไม่ มีแบ่งแยกผิวสีหรื อเชื้อชาติน้ นั ตัวกฎหมายนั้นเองกลับทาหน้าที่ธารงรักษาไว้ซ่ ึ งโครงสร้างทางสังคม ที่แ บ่ง แยกสี ผิวหรื อ เชื้ อ ชาติเ อาไว้ โดยเชื่ อ ว่า การกดขี่ท างเชื้ อ ชาติแ ละความไม่ เ ท่า เทีย มกันทาง เศรษฐกิจและสังคม ได้หยัง่ รากลึกลงไปในสถาบันทางสังคม วัฒนธรรมและปฏิบตั ิการต่างๆ นอกจากนี้ ในทัศ นะของชนชั้น สู ง พวกเขาไม่ ถื อ ว่า การเหยียดผิวหรื อ การที่ค นผิว ขาวมี อภิสิทธิ์กว่า เป็ นเรื่ องที่ผดิ ปกติของสังคม ดังนั้น พวกเขาในฐานะผูก้ ดขี่จึงอาศัยสภาพที่เป็ นอยูร่ ักษา ไว้ซ่ ึ งอ านาจในการควบคุมสังคม แม้กระทัง่ ยืนยันว่าสภาพสังคมที่พวกเขามี อภิสิทธิ์ อยูน่ ้ นั ถือว่ามี ความเป็ นกลาง เมื่ อ น าแนวคิ ด ของทฤษฎี ช าติ พ ัน ธุ์ แ นววิ พ ากษ์ มาพิ จ ารณาปั ญ หาการเข้า ถึ ง สิ ท ธิ ใ น กระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญาของกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์บ นพื้ น ที่ สู ง ในระหว่ า งที่ ถู ก ด าเนิ น คดี ต าม กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้นศาล ผูว้ จิ ยั มีความเห็นว่า แม้บทบัญญัติกฎหมาย ทั้งในรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา จะรับรองให้ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนมี สิทธิ ต่างๆ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอย่าง 152
เสมอภาคเท่าเทียมกัน และเป็ นสิทธิในแบบเดียวกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกทางเชื้อชาติหรื อสถานะทาง สัง คม แต่ ใ นทางปฏิ บตั ิ แ ล้ว การใช้แ ละการตี ความกฎหมาย ในการใช้อ านาจของเจ้า หน้า ที่ต าม กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตกอยูภ่ ายใต้อิทธิพลของ “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ที่ต้ งั อยู่บนฐานคิด ของระบบคุณค่าทางสังคม ที่มีอคติต่อกลุ่มชาติพนั ธ์บนพื้นที่สูง ส่ งผลให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ซึ่งมีสถานะเป็ นคนชายขอบของชายขอบ ต้องเสียเปรี ยบและไม่ได้รับความเป็ นธรรมในการใช้อานาจ ของเจ้าหน้าที่และศาลในการดาเนินคดี รวมทั้งอคติและความไม่เป็ นธรรมจากการใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่หรื อศาล ใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย เกิดขึ้นโดยทัว่ ไปจนกลายเป็ นเรื่ องที่สังคมชินชา และบรรดา คนที่ตกอยูใ่ นสถานะเสี ยเปรี ยบ ต่างก็ยอมรับให้สภาพความไม่เป็ นธรรมเหล่านั้นดารงอยู่ เนื่ องจาก ความไม่ เ ป็ นธรรมเหล่ านั้น เกิ ดขึ้น บนพื้นฐานการใช้อ านาจตามกฎหมาย และที่ สาคัญคือ มี ฐาน วัฒนธรรมแห่งชาติรองรับ จึงทาให้เป็ นการยากที่จะโต้แย้งอย่างเป็ นรู ปธรรมได้ ในทางปฏิ บ ัติ น้ ัน การที่ ก ฎหมายบัญ ญัติ รั บ รองสิ ท ธิ ต่ า งๆ ไว้อ ย่า งครบถ้ว นนั้น ไม่ ไ ด้ หมายความว่าเจ้าหน้าที่ผบู ้ งั คับใช้กฎหมายจะปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคน ด้วยความเคารพต่อ กฎหมายและเปิ ดโอกาสให้ใช้สิทธิเหล่านั้นได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากการได้รับการยอมรับให้มีสิทธิและ เสรี ภาพสังคมไทย ไม่ใช่เพียงมีกฎหมายบัญญัติให้มีสิทธิแล้วจะทาให้พลเมืองทุกคนได้รับสิ ทธิน้ นั จริ ง หากแต่การเข้าถึงสิ ทธิในทางปฏิบตั ิน้ ัน สัม พันธ์กับสถานะภาพของคนที่วฒั นธรรมแห่ งชาติ ยอมรับ กล่าวคือ 4.2.2.1 วัฒนธรรมแห่ งชาติที่ธารงสั งคมชนชั้นและกีดกันกลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูง สายชล สัตยานุ รักษ์ ได้กล่ าวว่า วัฒนธรรมแห่ งชาติของไทย “ได้ หล่ อ หลอมความสั มพันธ์ ทางสังคมและความสัมพันธ์ เชิ งอานาจระหว่ างชนชั้นและชาติพนั ธุ์ที่ปราศจากความเสมอภาคและเต็ม ไปด้ วยอคติ ” 27 ซึ่ ง หมายความว่าวัฒ นธรรมแห่ ง ชาติ ของไทย มี อ านาจชี้ น าหรื อ มี อิ ทธิ พ ลในการ ครอบงาระบบโครงสร้างและกลไกการใช้อานาจของรัฐ ซึ่ งรวมถึงมี อานาจครอบงาความคิดและ ปฏิบตั ิการ ในการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่และศาลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยในที่น้ ี จะ กล่าวถึง ลักษณะโครงสร้างสังคมไทย ที่ถูกกาหนดให้เป็ นโครงสร้างสังคมที่มีลาดับชั้น และการสร้าง นิยามความเป็ น “คนไทย” ที่สมั พันธ์กบั สิทธิและผลประโยชน์ในสังคม แต่เบียดขับกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พืน้ ที่สูง ซึ่งผูว้ จิ ยั ได้กล่าวโดยละเอียดแล้วในบทที่ 3 โดยสรุ ปกล่าวคือ 27
สายชล สัตยานุรักษ์, การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลัก และ “ความจริ ง” ที่ “ความเป็ นไทย” สร้าง, ใน ประวัติศาสตร์ วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย, (เชียงใหม่, 2550), หน้า 171.
153
ลักษณะโครงสร้างสังคมไทย ถู กกาหนดให้เป็ นโครงสร้างสังคมที่มี ล าดับชั้น คือ สังคม จัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมตามความเชื่อที่เน้นเรื่ อง ‚ที่สูง-ที่ต่า‛ หรื อ ‚ผูใ้ หญ่-ผูน้ ้อย‛ โดยอาศัยเกณฑ์สถานะทางเศรษฐกิจหรื อสังคม ทาให้ ‚ความไม่เสมอภาค‛ กลายเป็ นเรื่ องที่ถูกต้องดี งามในสังคมไทย และ ‚ความเสมอภาค‛ เป็ นเรื่ องที่เป็ นไปไม่ได้ โดยคนที่ถูกจัดให้อยูใ่ นสถานะที่สูง กว่า จะมีสิทธิและโอกาสมากกว่าคนที่อยูใ่ นสถานะต่ากว่า ทาให้สังคมไทยมีแบบแผนที่ยอมรับใน สถานะที่สูงกว่าของคนบางกลุ่ม ในขณะที่คนที่อยูใ่ นลาดับชั้นล่างของสังคม ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ ของสิทธิและเสรี ภาพ แม้จะมีกฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิไว้แล้วก็ตาม28 อีกประการคือ การสร้างนิ ยามความเป็ น “คนไทย” ที่มีนัยยะสาคัญต่อการจัดความสัมพันธ์ ทางการเมืองและการใช้อานาจของรัฐต่อกลุ่มบุคคล หรื อเป็ นการจัดกลุ่มของคนที่สัมพันธ์กบั สิ ทธิ และเสรี ภาพของคน29 โดยมีเป้ าหมายในการใช้ความเป็ นไทย “จัดระเบี ยบความสั มพันธ์ เชิ งอานาจใน สังคมไทย”30ซึ่งพบว่านิยามที่ถูกสร้างขึ้นมามีผลเป็ นการเบียดขับกลุ่มคนชายขอบที่อยูน่ อกนิ ยาม ให้ ออกจากพื้นที่ของสิ ทธิและเสรี ภาพ เนื่ องจากวัฒนธรรมแห่ งชาติ จะยอมรับให้เฉพาะคนที่มีสถานะ เป็ น “คนไทย” เท่านั้น ที่จะสามารถเข้าถึงสิทธิและเสรี ภาพได้จริ ง สาหรับคนที่ไม่ได้รับการยอมรับว่า เป็ นคนไทยในความหมายที่รัฐ กาหนด จะไม่ มี โอกาสเข้าถึ งสิ ทธิ และเสรี ภ าพบรรดาที่ก ฎหมาย กาหนดไว้ได้จริ ง 4.2.2.2 สิ ทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลยภายใต้ อิทธิพลของวัฒนธรรมแห่ งชาติ เมื่อการใช้และการตีความกฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐและศาล ในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา ตกอยูภ่ ายใต้อิทธิพลของ “วัฒนธรรมแห่งชาติ” ที่ต้งั อยูบ่ นฐานคิดของระบบคุณค่าทางสังคม ที่ กาหนดให้โครงสร้างสังคมไทยเป็ นโครงสร้างสังคมที่มีลาดับชั้น และการสร้างนิ ยามความเป็ น “คน ไทย” ในฐานะที่เป็ นเงื่อนไขการเข้าถึงสิทธิ ซึ่งทั้งสองประการนี้ มีผลเป็ นการกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พืน้ ที่สูง ดังนั้น ในทางปฏิบตั ิแล้ว ผูท้ าหน้าที่ใช้กฎหมายต้องใช้และตีความกฎหมาย โดยยึดตามวิธีคิด และแบบแผนหรื อธรรมเนียมปฏิบตั ิของระบบราชการ ที่ถูกครอบงาด้วย “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ซึ่ งมี แนวคิดที่มุ่งกีดกันกันกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงหรื อคนชายขอบอยูแ่ ล้ว ย่อมส่ งผลให้การใช้และการ ตีความบทบัญญัติของกฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐหรื อศาล จึงมีแนวโน้มที่จะกีดกันสิ ทธิมากกว่า การ คุม้ ครองสิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง 28
สายชล สัตยานุรักษ์, การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลัก และ “ความจริ ง” ที่ “ความเป็ นไทย” สร้าง, ใน ประวัติศาสตร์ วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย, (เชียงใหม่, 2550), หน้า 171 – 172. 29 เรื่ องเดียวกัน. 30 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 58- 63.
154
การที่ระบบกฎหมายบัญญัติไว้บนพื้นฐานความเชื่อว่า เมื่อมีกฎหมายบัญญัติรับรองสิ ทธิ ของ ทุกคนอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันและมีมาตรฐานแบบเดียวกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกกลุ่มคนแล้ว จะ ทาให้ทุกคนจะสามารถได้รับสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจริ ง ซึ่ งเมื่อพิจารณาบทบัญญัติ กฎหมายทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญาแล้ว จะเห็น ว่าเป็ นกฎหมายที่รับรองสิ ทธิ อ ย่างเสมอภาคเท่า เทียมและด้วยมาตรฐานแบบเดี ยวกัน จริ ง แต่เมื่ อ พิจารณาในทางปฏิบตั ิแล้ว กลับพบว่าคนที่มีสถานะชายขอบมีแนวโน้มที่จะไม่มีโอกาสเข้าถึงหรื อ ได้รับสิทธิตามบทบัญญัติกฎหมายจริ ง กล่าวคือ แม้บทบัญญัติกฎหมาย ทั้งในรัฐธรรมนู ญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จะ รับรองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนอย่างเสมอภาคเท่าเทียม กัน และด้วยรู ปแบบวิธีการเดียวกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกทางเชื้อชาติหรื อสถานะทางสังคม และสิ ทธิ เหล่านั้นก็เป็ นไปตามหลักเกณฑ์สากลทุกประการ แต่เมื่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูง ถูกนาตัวไปดาเนินคดีในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ นับตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้น ศาล กลับไม่ได้รับการคุม้ ครองสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้อย่างทัว่ ถึงจริ ง แต่เจ้าหน้าที่รัฐจะจัดให้ หรื อปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในลักษณะที่เป็ นพิธีการมากกว่าจะมุ่งคุม้ ครองประโยชน์ของผูถ้ ูก กล่าวหาจริ ง ทาให้พวกเขาเสมือนตกอยูใ่ นสถานะผูถ้ ูกกระทาโดยกระบวนการยุติธรรมอาญา มากกว่า จะที่เป็ นการคุ ม้ ครองสิ ทธิ ในกระบวนการยุติธรรม เนื่ อ งจากการต่อ สู ้คดี น้ ัน ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลย จะต้องเผชิญกับกระบวนการต่างๆ ที่อยูใ่ นอานาจเจ้าหน้าที่รัฐ ที่ทาให้ตกอยูใ่ นสถานะที่เสี ยเปรี ยบ หรื อไม่ได้รับโอกาสในการต่อสู ้คดีจริ ง และมีแนวโน้มที่จะถูกเลือกปฏิบตั ิหรื อกีดกันโอกาสในการ เข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ส่ งผลให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงไม่ได้รับความเป็ น ธรรมในการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่และศาลในการดาเนินคดี จึงอาจกล่าวได้วา่ อคติต่อกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงในฐานะคนอื่นที่ไม่ถูกถือว่าเป็ นคนไทย ได้หยัง่ รากลึ กลงไปในโครงสร้างของกลไกกระบวนการยุติธรรมทางอาญา จึงส่ งผลให้ปฏิบตั ิการ ต่างๆ ของเจ้าหน้าที่รัฐและศาลในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่สูงแฝงไปด้วยอคติ ในขณะที่กระบวนการดาเนิ นคดี กบั ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีความผิด เกี่ยวกับป่ าไม้ เสมือนถูกออกแบบมาให้ทาหน้าที่ธารงรักษาไว้ซ่ ึ งโครงสร้างสังคมที่ กีดกันและกดขี่ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง โดยบทบัญญัติกฎหมายที่บญั ญัติให้รับรองสิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยนั้น กลับมีผลเป็ นการกดทับและกีดกันคนที่มีสถานะทางสังคมต่ากว่า ไม่ให้มีโอกาสเข้าถึงสิ ทธิ บรรดาที่ กฎหมายกาหนดไว้ เช่ น การกาหนดเงื่อ นไขในการใช้สิทธิ การกาหนดให้ตอ้ งทาตามแบบพิธีการ อย่างเคร่ งครัด การกาหนดมาตรฐานที่สูง และบางกรณี ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายที่สูง ทาให้คนชายขอบไม่ สามารถเข้าถึงสิทธิได้จริ ง 155
ที่สาคัญคือ การผูม้ ีอานาจและคนในสังคมมีความเชื่อว่า ระบบกฎหมายที่รับรองสิ ทธิอย่าง ครบถ้วน ตั้งอยูบ่ นฐานคิดแบบเสรี นิยม และไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างระหว่างกลุ่มคน ซึ่ งมีผล เป็ นการเอื้อประโยชน์ให้แก่คนบางกลุ่ม แต่จากัดสิทธิของคนบางกลุ่มนั้น เป็ นกฎหมายที่มีความเป็ น ธรรมแล้วนั้น ทาให้รัฐและผูม้ ีอานาจไม่ให้ความสนใจต่อปั ญหาการเข้าไม่ถึงสิ ทธิที่เกิดขึ้นอยูท่ วั่ ไป ในสังคม การปฏิเสธหรื อละเลยต่อสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงจึงมี แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอย่างซ้ าๆ จนทั้งฝ่ ายเจ้าหน้าที่รัฐและตัวผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยมองว่าเป็ นเรื่ องปกติ ของสังคม เมื่อสังคมตกอยูใ่ นสภาพที่การมีกฎหมายบัญญัติรับรองสิ ทธิต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน ไม่ใช่ หลักประกันว่าเจ้าหน้าที่ผบู ้ งั คับใช้กฎหมายจะปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคน ด้วยความเคารพต่อ กฎหมายและเปิ ดโอกาสให้ใช้สิทธิเหล่านั้นได้อย่างเต็มที่ ในทางปฏิบตั ิจึงพบว่า เมื่ อผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ถูกนาตัวไปดาเนินคดีในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ นับตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้นศาล พวกเขาเสมือนตกอยูใ่ นสถานะผูถ้ ูกกระทาโดยกระบวนการยุติธรรม อาญา มากกว่า ที่จะเป็ นการคุ ้ม ครองสิ ท ธิ ในกระบวนการยุติ ธรรม แม้จะมี กฎหมายบัญญัติ ว่าให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยบริ สุทธิ์ จนกว่าจะมีคาพิพากษาศาลถึงที่สุดว่าได้กระทาผิด31 ก็ตาม หรื อหากประสงค์ที่จะต่อสูค้ ดี ก็จะต้องเผชิญกับกระบวนการต่างๆ ที่อยูใ่ นอานาจเจ้าหน้าที่รัฐ ทาให้ตอ้ งตกอยูใ่ นสถานะที่เสียเปรี ยบหรื อไม่ได้รับโอกาสในการการต่อสูค้ ดีจริ ง กล่าวคือ การรวบรวมข้อ เท็จ จริ ง ในชั้น สอบสวน ซึ่ ง พนัก งานสอบสวนมี แ นวโน้ม ที่จ ะรวบรวม ข้อเท็จจริ งจากทั้งฝ่ ายผูก้ ล่าวหามากกว่า โดยไม่ได้พยายามค้นหาความจริ งอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะ ความจริ งที่จะเป็ นประโยชน์ต่อผูถ้ ูกกล่าวหา และไม่ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริ งที่เป็ นบริ บทแวดล้อมของ คดี เช่น การค้นที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การใช้ประโยชน์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมแห่ งท้องถิ่น ทาให้ผู ้ ถูกกล่าวหาได้รับประโยชน์จากบทบัญญัติกฎหมายน้อย เช่นการสอบปากคาผูต้ อ้ งหาที่เพียงสอบถาม เฉพาะส่วนที่เป็ นการรับข้อเท็จจริ ง และพนักงานสอบสวนมีแนวโน้มที่จะทาบันทึกข้อเท็จจริ งที่มดั ตัวผูต้ อ้ งหา เพือ่ ให้ได้ขอ้ เท็จจริ งที่ครบองค์ประกอบความผิดเท่านั้น อีกทั้งการจัดหาล่ามแปลภาษาที่ ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งหลายกรณี พบว่าให้ญาติของผูต้ อ้ งหาหรื อชาวบ้านทัว่ ไปที่ไม่ได้ผ่านการฝึ กอบรม
31
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย มาตรา 29 วรรคสอง บัญญัติว่า ในคดีอาญา ให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่า ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคาพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบตั ิต่อ บุคคลนั้นเสมือนเป็ นผูก้ ระทาความผิดมิได้การควบคุมหรื อคุมขังผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยให้กระทาได้เพียงเท่าที่จาเป็ น เพื่อป้ องกันมิให้มีการหล
156
มาเป็ น ล่าม การแจ้งสิทธิ์ให้แก่ผตู ้ อ้ งหาในชั้นสอบสวน ที่มีลกั ษณะทาตามแบบพิธีการโดยผูต้ อ้ งหา ไม่เข้าใจความหมาย สาหรับการแสดงบทบาทของพนักงานอัยการในการกลัน่ กรองคดี ก่อนส่ งฟ้ องนั้น จึงพบว่า พนักงานอัยการไม่ไ ด้แสดงบทบาทอะไรอย่างมีนัยยะสาคัญ นอกจากสัง่ ฟ้ องทุกคดี แม้แต่ในคดี ที่ พนักงานสอบสวนมีความเห็นสัง่ ไม่ฟ้อง พนักงานอัยการก็มีคาสั่งให้ฟ้องด้วยเช่นกัน โดยที่ไม่มีการ เรี ยกผูต้ อ้ งหาไปสอบปากคา แม้แต่ในคดี ที่ผูต้ อ้ งหายืน่ หนังสื อ ร้อ งขอความเป็ นธรรมให้พนักงาน อัยการพิจารณาก็ตาม อีกทั้ง ในกรณี ที่ผตู ้ อ้ งหาส่งหนังสือร้องขอความเป็ นธรรม เพื่อชี้แจงข้อเท็จจริ ง เกี่ยวกับวิถีชีวติ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน รวมทั้งเหตุผลและความจาเป็ นต่างๆ ที่ผตู ้ อ้ งหาจาเป็ นต้อง ใช้ที่ดินหรื อไม้สร้างบ้าน พนักงานอัยการกลับตีความคาชี้ แจงดังกล่ าวว่าเป็ นหลักฐานที่แสดงว่า ผูต้ อ้ งหายอมรับ ข้อ เท็จจริ งตามที่ก ล่ า วหา อัน เป็ นการถื อ เอาหนังสื อ ร้ อ งขอความเป็ นธรรมของ ผูต้ อ้ งหาเป็ นคารับสารภาพ อีกทั้งเมื่อคดีถูกส่ งไปยังศาลแล้ว บรรยากาศและระเบียบพิธีการในชั้นศาลกลับเป็ นการกด ทับผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอีกชั้นหนึ่ง แม้วา่ จะมีกฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิ์ของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่าง ครบถ้วนก็ตาม แต่เมื่อสิ ทธิบรรดาที่กฎหมายกาหนดนั้น ไม่ได้มีผลโดยอัตโนมัติ แต่จะต้องทาตาม ระเบียบแบบแผนและอาจต้องเสียค่าใช้จ่าย เช่น การประกันตัวที่จะต้องวางหลักทรัพย์เป็ นประกันทุก ครั้ง โดยมี จานวนตามอัตราของบัญชีเกณฑ์มาตรฐานกลางหลักประกันการปล่อยชัว่ คราวผูต้ อ้ งหา หรื อจาเลย การจ้างทนายความที่จะต้องมีค่าใช้จ่าย รวมทั้งเมื่อจะต้องทาการพิสูจน์กนั ในชั้นศาล ฝ่ าย จาเลยไม่มีพยานหลักฐานของทางราชการมาพิสูจน์ ทาให้ศาลไม่รับฟังโดยและน้ าหนักน้อย นอกจากนี้ เมื่ อเข้าสู่ การพิจารณาพิพากษาคดีของศาล ในบางกรณี ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่มี ท่าทางเก้ๆ กังๆ หรื อไม่ รู้ระเบียบปฏิบตั ิในศาลก็จะถูกเจ้าหน้าที่ศาลหรื อศาลตาหนิ ติเตียน ไม่ว่าจะ เป็ นเรื่ องสัมมาคารวะ มารยาท และการรู ้สานึกผิด ที่สาคัญคือ แนวทางการทาคาพิพากษาของศาลก็จะ ถูก ควบคุ ม ในระดับหนึ่ ง โดยผูพ้ ิพากษาเจ้าของสานวนไม่ ไ ด้มี อ านาจอิ สระในการวินิจและทาคา พิพากษาเอง เนื่ อ งจากคดี ความผิดเกี่ ยวกับป่ าไม้ถื อ ว่าเป็ นคดี น โยบาย ที่สาคัญคือ ในการวินิจฉัย ข้อ เท็จ จริ ง เพื่อ จัด ท าคาพิพ ากษาในคดี ข องกรณี ศึ ก ษา ผูพ้ ิพากษาได้เ ป็ นเขี ย นถ้อ ยต าหนิ ว่า เป็ น พฤติการณ์ ร้ายแรงลงในคาพิพากษา โดยเฉพาะเมื่ อคดีข้ ึนสู่ การพิจารณาของศาลอุ ทธรณ์ โดยศาล อุทธรณ์ได้ให้ทศั นะต่อข้อเท็จจริ งแห่งคดี ซึ่ งเป็ นการใช้ที่ดินและใช้ทรัพยากรป่ าไม้ตามวิถีชีวิตปกติ ของชาวบ้าน ว่าเป็ นการทาลายทรัพยากรส าคัญ ของชาติ และเป็ นการท าให้เ กิ ดความเสี ยหายต่ อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งศาลถือว่าเป็ นพฤติกรรมที่ร้ายแรง
157
ประสบการณ์จริ งของกรณี ศึกษา จึงช่วยเผยให้เห็นถึงอคติและความไม่เป็ นธรรมที่ผตู ้ อ้ งหา หรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงได้รับ จากการใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่หรื อศาล ที่สะท้อ นอคติและการกี ดกันเชิงระบบหรื อ เชิ งโครงสร้าง ต่อ กลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้เมื่ อ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ถูกนาตัวไปดาเนิ นคดีตามกฎหมาย พวกเขาไม่มี โอกาสได้รับสิ ทธิตามที่กฎหมายบัญญัติไว้อ ย่างครบถ้วนและมี ประสิ ทธิ ภาพจริ ง แม้ว่าสิ ทธิหลาย ประการเจ้า หน้าที่ หรื อ ศาลจะจัดให้ แต่ ก็มี ล ัก ษณะเป็ นเพียงให้ค รบตามรู ปแบบมากกว่า ที่จ ะมุ่ ง คุม้ ครองสิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจริ งๆ ซึ่ งการเข้าไม่ถึงสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ภายใต้ระบบกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีที่มีบทบัญญัติคุม้ ครองสิทธิอย่างครบถ้วน อาจถูกมองว่าเป็ นเรื่ อง เฉพาะตัว ไม่อาจถือเป็ นปั ญหาเชิงระบบหรื อโครงสร้างได้ เช่น ไม่มีเงินประกันตัว ไม่รู้ภาษา ไม่มีเงิน จ้างทนายความ หรื อไม่รู้สิทธิตามกฎหมาย หรื อเป็ นเรื่ องที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลยสมัครใจที่จะสละสิ ทธิ เอง แต่หากพิจารณาอุดมการณ์ของรัฐผ่านกรอบวัฒนธรรมแห่ งชาติแล้ว จะเห็นว่าปั ญหาดังกล่าวนี้ เป็ นผลจากการกีดกันเชิงโครงสร้างโดยมีกฎหมายและวัฒนธรรมคนรองรับ 4.2.3 กฎหมายคุ้มครองสิ ทธิที่ละเลยต่ อความเป็ นกลุ่มชาติพันธุ์บนพืน้ ที่สูง “การที่ ตนพูดและฟั งภาษาไทยได้ ไม่ มาก ทาให้ เวลาที่ ตารวจ เจ้ าหน้ าที่ หรื อ ศาลพูดแล้ วก็ไม่ ค่อยเข้ าใจ โดยเฉพาะเวลาที่ เขาพูดเกี่ ยวกับกฎหมายหรื อ ความผิ ด นอกจากนีเ้ วลาที่เขาถามก็ไม่ กล้ าพูดอะไรมาก เนื่องจากพูดภาษาไทยไม่ คล่ องก็เลยไม่ กล้ าพูด อี กอย่ างคื อตอนนั้นกลัวว่ าหากพู ดไปแล้ วจะผิดและเจ้ าหน้ าที่ จะเพิ่มข้ อหา หรื อทาให้ ผิดหนักมากขึ ้น นอกจากนี ้การที่ ตนไม่ ร้ ู กฎหมาย ไม่ ร้ ู ว่ามี ขั้นตอนการ ดาเนินคดีอย่างไรบ้ าง จะต้ องเตรี ยมตัวอย่างไรบ้ าง ไม่ ร้ ูว่ามี สิทธิ อะไรบ้ าง ทาให้ กลัว มากเวลาที่ ถูกเรี ยกไปโน่ นไปนี่ อี กทั้งการที่ ไ ม่ ร้ ู ว่ามี สิทธิ อ ะไรบ้ าง ทาให้ ไม่ ร้ ู ว่าจะ ต่ อสู้คดีอย่ างไร ไม่ กล้ าโต้ เถียงกับเจ้ าหน้ าที่ เขาบอกให้ ทาอะไรเราก็ได้ แต่ ทาตามที่ เขาบอก ตอนนั้นได้ แต่ เพียงหวังว่ าเจ้ าหน้ าที่จะช่ วยทาให้ เบาที่สุด” (ลุงทิศ) เนื้ อหาส่ วนนี้ ผูว้ ิจยั จะกล่ าวถึ งการรับรู ้หรื อ ทัศนคติของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่ มชาติ พันธุ์บนพื้นที่สูง ต่อ สิ ทธิ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ที่กฎหมายบัญญัติเอาไว้ ไม่ ว่าจะได้ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนู ญหรื อในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อ ตรวจสอบเงื่อนไขที่ พวกเขาได้ใช้หรื อไมได้ใช้สิทธิที่กฎหมายบัญญัติรับรองเอาไว้ จากที่นักวิชาการทฤษฎี ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์เสนอว่า การเหยียดเชื้อ ชาติเป็ นเรื่ องที่เกิ ดขึ้น ธรรมดาทัว่ ไป (Racism is ordinary) ทาให้ชนกลุ่มน้อยและคนผิวสี ไม่ ได้รับการยอมรับในสังคม กล่าวคือ ชนชั้นนาเป็ นกลุ่มคนที่ถืออภิสิทธิ์เหนื อกว่า ในขณะเดียวกันชนกลุ่มน้อยจะถูกเหยียดเชื้ อ ชาติท้ งั ในลัก ษณะที่เ ป็ นการส่ ว นตัว และการเหยีย ดเชิ ง สถานบัน และยัง เชื่ อ ว่า ภายใต้สัง คมที่ มี 158
กฎหมายกาหนดให้พลเมืองมีความเท่าเทียมกันนั้น ได้ธารงรักษาไว้ซ่ ึงโครงสร้างทางสังคมที่แบ่งแยก คนเอาไว้ อีกทั้งยังเชื่อว่าการกดขี่ทางเชื้อชาติและความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม ได้หยัง่ รากลึกลงไปในสถาบันทางสังคม วัฒนธรรมและปฏิบตั ิการต่างๆ ซึ่ งก่อให้เกิดผลกระทบต่อชนกลุ่ม น้อย โดยเฉพาะการถูกเลือกปฏิบตั ิในการใช้ชีวติ ของพวกเขา ในที่น้ ี ผูว้ ิจยั ได้นาแนวความคิดของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์มาปรับใช้ เพื่ออธิบายกรณี ปั ญหาการเข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ โดยผูว้ ิจยั เสนอ ว่า ระบบกฎหมายและกลไกในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ที่ต้ งั อยูบ่ นฐานคิดว่าพลเมืองทุกคนมี ความเสมอภาคเท่าเทียมกันโดยไม่ มีการแบ่งแยกระหว่างกลุ่ มคน เป็ นกฎหมายที่อ อกแบบมาเพื่อ รองรับคนที่มีสถานะทางสังคมในระดับหนึ่ งเท่านั้น ในขณะที่กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ซึ่ งเป็ นกลุ่ม คนมีความแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ในสังคม ทั้งด้านวิถีชีวติ วัฒนธรรม ความเชื่อ ฐานะทางเศรษฐกิจ ทาให้มีสถานะทางสังคมที่ต่ากว่าคนทัว่ ไปในสังคม และถูกกีดกันสิ ทธิเชิงระบบหรื อโครงสร้าง อัน เป็ นเหตุให้ถู ก จากัดโอกาสที่จะเข้าไม่ ถึ ง สิ ทธิ ตามที่กฎหมายกาหนด เนื่ อ งจากระบบกฎหมายวิธี พิจารณาคดีอาญาที่กาหนดให้ทุกคนมีสิทธิได้รับการคุม้ ครองด้วยมาตรฐานแบบเดียวกันนั้น ได้ละเลย ต่อความเป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์ ที่มีความเฉพาะและแตกต่างๆ จากคนส่ วนใหญ่ในสังคม และตกอยูใ่ น สถานะชายขอบของชายขอบ ซึ่ งส่ วนใหญ่แล้วไม่สามารถยกระดับสถานะของตนเองขึ้นมาอยู่ใน ระดับที่สามารถทาตามเงื่อนไขได้ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงจึงไม่สามารถเข้าถึงสิทธิ หรื อปฏิเสธที่จะ ใช้สิทธิ 4.2.3.1 สิ ทธิในบทบัญญัติกฎหมายที่ไม่ ได้ มีไว้ สาหรับคนชายขอบ เมื่ อ ถู ก ผลักเข้า สู่ ค ดี อ าญา นับ ตั้งแต่ เดิ น เข้า ไปมอบตัว หรื อ ถู ก จับกุ ม การสอบสวนและ พิจารณาคดีในศาล แม้ยงั ไม่ปรากฏว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยได้กระทาความผิดมาจริ งหรื อไม่ ผูต้ อ้ งหา หรื อ จาเลยนั้นจะถู กจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพทันที ในขณะเดียวกันหากประสงค์จะใช้สิทธิ เช่ น การ ประกัน ตัว การขอดู เอกสาร ต่อ สู ้คดี ก็ตอ้ งดาเนิ นการต่างๆ ตามระเบี ยบและขั้นตอนที่ก ฎหมาย กาหนดด้วยตนเอง หรื ออาจจ้างทนายความมาช่วยดาเนินการให้ แต่หากเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่ไม่รู้ ระเบียบ ขั้นตอนและวิธีการตามกฎหมาย และไม่มีเงินค่าจ้างทนายความมาช่ วยดาเนิ นการให้ สิ ทธิ ต่างๆ บรรดาที่กฎหมายกาหนดไว้ก็ไร้ประโยชน์ ตามกฎหมายแล้ว เมื่อถูกจับกุมดาเนินคดีอาญา ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยไม่วา่ จะได้กระทาความผิด ตามข้อกล่าวหาหรื อไม่ก็ตาม มีสิทธิที่จะได้รับการคุม้ ครองสิทธิและเสรี ภาพในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญา นับตั้งแต่ช้ นั จับกุม ชั้นสอบสวนและชั้นศาล ตามระเบียบวิธีการที่กฎหมายกาหนดไว้ ซึ่ ง 159
สิ ทธิ เหล่ า นี้ ไ ด้บ ัญญัติ ไ ว้ในกฎหมายทั้งหมดแล้ว ทั้ง ในรัฐธรรมนู ญแห่ ง ราชอาณาจัก รไทยหรื อ ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา โดยสิทธิที่สาคัญคือ ในชั้นก่อนการพิจารณาคดีของศาลนั้น กฎหมายกาหนดให้ผตู ้ อ้ งหามีสิทธิต่างๆ ซึ่งครอบคลุมถึง สิทธิที่จะไม่ถูกจับกุมคุมขังโดยมิชอบ สิ ทธิ ที่จะไม่ ถูกรบกวนการอยู่อาศัยโดยปกติสุข สิ ทธิไ ด้รับการแจ้งสิ ทธิ ตามกฎหมายเมื่ อถูกดาเนิ นคดี สิทธิที่จะได้รับทราบข้อกล่าวหา สิทธิที่จะได้รับการสอบสวนด้วยความรวดเร็วต่อเนื่องและเป็ นธรรม สิทธิพบและปรึ กษาผูท้ ี่จะเป็ นทนายความ สิทธิที่จะได้รับการเยีย่ มตามสมควร สิ ทธิที่จะไม่ถูกบังคับ ขู่เ ข็ ญ ทรมาน หรื อ ใช้วิธี ห ลอกลวงให้ รั บ สารภาพ สิ ท ธิ ที่ จ ะได้รั บ การปล่ อ ยชั่ว คราวในชั้น สอบสวน สิ ทธิที่จะมีล่าม สิ ทธิที่จะได้รับโอกาสแก้ขอ้ หาและแสดงข้อเท็จจริ งอันเป็ นประโยชน์แก่ ตนได้ในชั้น และเมื่อเข้าสู่ช้ นั การพิจารณาคดีของศาล จาเลยยังมีสิทธิที่จะแต่งทนายความช่วยเหลือใน การดาเนินคดี สิทธิขอตรวจดูสิ่งของหรื อเอกสารที่จะถูกใช้เป็ นหลักฐาน สิ ทธิได้รับการคุม้ ครองโดย ห้ามศาลรับฟั งพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ สิ ทธิได้รับทราบฟ้ อง สิ ทธิที่จะให้การต่อสู ้คดี ซัก ค้านพยานของโจทก์ และนาพยานหลักฐานมาเสนอเพือ่ แก้ขอ้ กล่าวหา สิทธิที่จะอุทธรณ์ ฎีกา คัดค้าน คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ซึ่งสิทธิดงั กล่าวนี้เป็ นกฎหมายที่กาหนดให้รับรองสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย ในรู ปแบบหรื อมาตรฐานเดียวกัน หากแต่ในทางปฏิบตั ิ จากเรื่ องเล่ากรณี ศึกษา ได้เผยให้เห็นว่าในความเป็ นจริ งนั้น ผูต้ อ้ งหา หรื อจาเลยที่เป็ นคนชายขอบโดยเฉพาะกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ไม่มีโอกาสเข้าถึงสิ ทธิจริ ง รวมทั้ง พวกเขาไม่ไ ด้ตระหนักถึ งการใช้สิทธิ บรรดาที่กฎหมายบัญญัติเอาไว้ สื บเนื่ องจากการที่โครงสร้าง สังคมไทยเป็ นโครงสร้างสังคมที่ธารงสังคมชนชั้น ซึ่ งกดทับและกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ ท าให้ ก ลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง ถู ก เลื อ กปฏิ บ ัติ ห รื อ ถู ก กี ด กั น สิ ท ธิ ใ นสั ง คม รวมทั้ง สิ ท ธิ ใ น กระบวนการยุติธรรมทางอาญา อีกทั้งการประกอบสร้างนิยามความเป็ น “คนไทย” ที่มีนัยยะสาคัญต่อ การจัดความสัมพันธ์ทางการเมืองและการใช้อานาจของรัฐต่อกลุ่มบุคคล ที่ให้อภิสิทธิ์แก่คนบางกลุ่ม ในขณะที่กีดกันสิทธิของคนชายขอบ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในข้อ 4.2 แม้ก ลุ่ ม ชาติพ นั ธุ์บนพื้น ที่สู งส่ วนใหญ่มี สัญ ชาติไ ทยแล้ว หากแต่ย งั คงด ารงวิถีชี วิต และ วัฒนธรรมที่ไม่สมั พันธ์กบั “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ทาให้ยงั ไม่ถูกยอมรับว่าเป็ นคนไทยและถูกกีดกัน สิ ทธิ และประโยชน์ในสังคม ที่สาคัญคือ กลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงยังคงใช้ภาษาของตนเอง และ บางส่ วนไม่เข้าใจภาษาราชการ ส่ วนใหญ่แล้วคนที่ยงั อาศัยอยูใ่ นชุมชนเป็ นกลุ่มคนที่มีการศึกษาต่ า กว่าหรื อไม่สามารถอ่านออกเขียนได้เลย นอกจากนี้การที่พวกเขามีวฒั นธรรมและความเชื่อเฉพาะของ ตนที่แตกต่าง ความเชื่อหรื อวิถีปฏิบตั ิในบางอย่างในท้องถิ่น ขัดหรื อแย้งต่อบทบัญญัติกฎหมายของ รัฐ รวมทั้งฐานะทางเศรษฐกิจของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง โดยรวมต่ากว่าคนส่ วนใหญ่ในสังคม ทา ให้เมื่อไหร่ ก็ตามที่จะต้องมีค่าใช้จ่าย ก็จะเสียเปรี ยบทันที ตลอดจนการมีสถานภาพทางสังคมที่ต่ากว่า 160
ภายใต้การจัดลาดับชั้นทางชาติพนั ธุ์ สถานภาพเช่ นนี้ ย่อ มทาให้สูญเสี ยสิ ทธิ และโอกาสต่างๆ ดัง ข้อเสนอของ เสกสรร ประเสริ ฐกุล ที่เสนอว่า ทุกชาติพนั ธุใ์ นประเทศไทยไม่มีโอกาสได้รับสิทธิต่างๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติไ ว้อ ย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันจริ ง “โดยเฉพาะชาติพันธุ์ที่เสี ยเปรี ยบในทาง เศรษฐกิจและสังคม และชาติ พันธุ์ที่มีรากฐานทางภาษาและวัฒนธรรมแตกต่ างจากมาตรฐานของรั ฐ ค่ อนข้ างมาก...”32 เมื่อรัฐซึ่งตกอยูภ่ ายใต้อิทธิพลของวัฒนธรรมแห่งชาติ ยอมรับให้เฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ที่ มีโอกาสได้ใช้สิทธิบรรดาที่กฎหมายกาหนดไว้ในทางปฏิบตั ิ ดังนั้น แม้โดยหลักการแล้วจะถือว่าทุก คนมีสิทธิ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา แต่การใช้สิทธิเหล่านั้น มีกฎหมายบัญญัติว่าจะต้องทา ตามแบบพิธีการ ที่จะต้องร้องขอ และมีการกาหนดเงื่อนไขที่มีมาตรฐานในการใช้สิทธิ ซึ่ งถ้าดูโดยผิว เผินแล้วก็เป็ นระเบียบปฏิบตั ิ และมีลกั ษณะเป็ นแบบแผนหรื อมาตรฐานที่เป็ นกลาง และมีความเป็ น เสรี นิยม แต่เมื่อตรวจสอบจากประสบการณ์จริ งของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงแล้ว พบว่าวิธีการร้อง ขอเพื่อ ใช้สิทธิ์น้ ัน ต้อ งใช้ความรู ้ความเชี่ ยวชาญ อาจต้องมี ค่าใช้จ่าย และจะต้อ งพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ ง บางอย่าง ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่จะเข้าถึงสิทธิเหล่านั้นได้จริ ง จะต้องเป็ นคนที่สถานะทางเศรษฐกิจใน ระดับหนึ่ ง และจะต้อ งมี การศึกษาในระดับหนึ่ งที่จะรู ้และเข้าใจได้ว่ากฎหมายบัญญัติรับรองสิ ทธิ อะไรไว้บา้ ง รวมทั้งสามารถรู ้ไ ด้ว่าสิ ทธิ บางประการนั้นจะต้อ งร้องขอตามแบบพิธีการอย่างไร ซึ่ ง แบบพิธีการและเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้น้ นั สู งเกิ นกว่าที่กลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงโดยรวมจะ เข้าถึงได้ หรื อแม้จะเข้าถึงได้แต่ก็จะต้องเผชิญกับภาวะยากลาบากอย่างยิง่ จึงอาจกล่าวได้วา่ กฎหมายที่รับรองสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานแนวคิดแบบเสรี นิยมนั้น ได้ละเลยต่อความเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่มีความเฉพาะที่ แตกต่างทาให้มีขอ้ จากัดในการเข้าถึงสิ ทธิ ที่สาคัญคือสภาวะที่กฎหมายละเลยต่อความเป็ นกลุ่มชาติ พันธุ์ ได้สร้างความชอบธรรมให้แก่ปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐ ในการกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุ์ออกจาก สิ ทธิ ของระบบกฎหมาย เนื่ องจากความเชื่ อ ในทัศ นะแบบเสรี นิ ยมทางกฎหมาย และบทบัญญัติ กฎหมายที่มีมาตรฐานแบบเดียวกัน ได้ปิดบังหรื อมองข้ามความจริ งที่เกิดขึ้นในทางปฏิบตั ิ อีกทั้งการ ที่สงั คมไทยเป็ นสังคมที่มีลาดับชั้นทางชาติพนั ธุ์ ทาให้กฎหมายที่รับรองสิ ทธิ อย่างเสมอภาคเท่าเทียม กันนั้น กลับเป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการกี ดกันสิ ทธิ ส่ งผลให้บทบัญญัติกฎหมายไม่สามารถทา หน้าที่อานวยการให้การพิจารณาคดีเกิดความเป็ นธรรมอย่างแท้จริ ง
32
เสกสรรค์ ประเสริ ฐกุล, รัฐชาติ ชาติพนั ธุ์และความทันสมัย, ใน ชาตินิยมกับพหุ วัฒนธรรม, (เชียงใหม่, 2551), หน้า 63.
161
อีกทั้ง บทบัญญัติกฎหมายที่คุม้ ครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญานั้น ถูกออกแบบ มาเพื่อรองรับคนที่มีสถานะทางเศรษฐกิ จและสังคมที่สูงในระดับหนึ่ งเท่านั้น สาหรับคนชายขอบ ดังเช่ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ในทางปฏิบตั ิ มีแนวโน้มที่จะไม่มีโอกาสได้รับสิ ทธิเหล่ านั้น อย่าง แท้จริ ง เนื่องจากระบบกฎหมายรับรองสิ ทธิเหล่านั้นได้กาหนดแบบพิธีการ เงื่อนไขหรื อมาตรฐานที่ จะได้รับการอนุ ญาตให้ได้รับสิ ทธิเอาไว้ โดยถูกเขียนไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอ าญา และบางกรณี ที่เป็ นรายละเอียด จะถูกเขียนไว้เป็ นระเบียบประธานศาลฎีกา หรื อสิทธิบางประการก็ถูก เขียนไว้ตามกฎหมายเฉพาะเรื่ องนั้น เช่น มีสิทธิ ได้รับการประกันตัวแต่ตอ้ งมีหลักทรัพย์มาวางเป็ น ประกัน จานวน 150,000 – 200,000 บาท และจะถูกเรี ยกเพิม่ ขึ้นอีกในชั้นอุทธรณ์หรื อฎีกา มีสิทธิที่จะ ขอใช้เงินกองทุนยุติธรรมจากสานักงานยุติธรรมจังหวัดเป็ นค่าประกันตัว แต่ตอ้ งเป็ นคดี ที่ให้การ ปฏิเสธเท่านั้น มีสิทธิมีทนายความแต่ตอ้ งจ่ายเงินค่าจ้างเสี ยก่ อน มีสิทธิ ที่จะปฏิเสธข้อกล่ าวหาและ ต่อสูค้ ดี แต่ตอ้ งมีพยานหลักฐานที่เป็ นเอกสารของทางราชการ และสิ ทธิพ้นื ฐานอีกหลายประการ แต่ เจ้าหน้าที่ไม่ให้คาแนะนาหรื อจัดให้ในลักษณะการบริ การ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะต้องรู ้เองและร้องขอ ตามระเบียบวิธีการเอง เช่น ทนายอาสา ล่ามแปลภาษา คัดสาเนาเอกสารหลักฐาน เป็ นต้น จึงอาจกล่าว ได้วา่ กฎหมายรับรองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ไม่ได้ออกแบบมาเพือ่ เปิ ดโอกาสให้กลุ่ม คนที่มีสถานะต่ ากว่ามาตรฐานมี โอกาสใช้ไ ด้เป็ นการทัว่ ไป ดังนั้น แม้รัฐธรรมนู ญและประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จะได้บญั ญัติรับรองสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมไว้จริ ง แต่ในทาง ปฏิบตั ิแล้ว คนชายขอบไม่ มีโอกาสเข้าถึ งสิ ทธิ เหล่ านั้นจริ ง เนื่ อ งจากเงื่ อ นไขและวิธีการใช้สิท ธิ เหล่านั้น ถูกออกแบบมาเพือ่ รองรับคนที่มีสถานะในระดับหนึ่งเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็ นการคุม้ ครองสิ ทธิ และเสรี ภาพในเนื้อตัวร่ างกาย เช่น การจับ การค้น การประกันตัว หรื อการคุม้ ครองสิ ทธิในการพิสูจน์ ความความบริ สุทธิ์ ไม่วา่ จะเป็ นการแต่งตั้งทนายความก็ตอ้ งจ่ายค่าจ้างหรื อต้องร้องขอ การประกันตัว ที่ตอ้ งวางหลักทรัพย์เป็ นประกัน การนาเสนอพยานหลักฐานก็ตอ้ งดาเนิ นการตามระเบียบขั้นตอน การตรวจสอบหรื อโต้แย้งหลักฐานของฝ่ ายตรงข้าม ที่ตอ้ งมีความรู ้ทางกฎหมาย เป็ นต้น ซึ่ งการขอใช้ สิ ทธิ ดังกล่ า วต้อ งเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยที่มีค วามรู ้ระเบียบกฎหมาย หรื อ มี ทนายความให้ความ ช่วยเหลือ แม้กระทัง่ ในบางครั้งต้องรู ้เท่าทันกลลวงของเจ้าหน้าที่ดว้ ย ประสบการณ์จริ งของกรณี ศึกษา ผูซ้ ่ ึ งเคยผ่านประสบการณ์ถูกดาเนิ นคดีมาแล้ว ช่วยเผยให้ เห็นถึงทัศนะของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ต่อสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาว่า ในสถานการณ์ที่เขากาลังตกอยูใ่ นสถานะผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยนั้น เขารับรู ้และมีโอกาสใน การเข้าถึงสิทธิ์บรรดาที่กฎหมายกาหนดน้อยมาก เพราะสิ ทธิต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นไม่มีผลบังคับโดย อัตโนมัติ หากแต่ตอ้ งร้องขอหรื อดาเนิ นการบางอย่างตามเงื่อนไขก่อน จึงจะได้รับสิ ทธิเหล่านั้น ซึ่ ง ในทางปฏิบตั ิแล้วพบว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ไม่รู้และไม่ได้ตระหนักว่า 162
สิทธิต่างๆ มีความสาคัญ เมื่อเขาไม่ทราบว่ามีสิทธิอะไรบ้างหรื อไม่ทราบว่าจะต้องทาอย่างไรให้ได้ สิทธิต่างๆ เหล่านั้นมา รวมทั้งไม่สามารถทาตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ โอกาสจึงถูกตัดไปโดยปริ ยาย เช่น แม้ต ามกฎหมายแล้ว จ าเลยมี สิ ท ธิ ที่ จ ะให้ก ารปฏิ เ สธและต่ อ สู ้ ค ดี ไ ด้อ ย่า งเต็ ม ที่ แต่ ใ น ข้อเท็จจริ งแล้ว จาเลยบางคนก็ไม่ ได้คิดที่จะต่อสู ้คดี เนื่ อ งจากคนที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงมี ประสบการณ์ วิถีชีวติ และวัฒนธรรมที่แตกต่างๆ ไปจากคนส่ วนใหญ่ในสังคมไทย ทาให้ไม่มีความรู ้ และความเข้า ใจในระเบีย บกฎหมายและไม่ ส ามารถใช้สิท ธิ ต่อ สู ้ค ดี ไ ด้ แต่จ าเป็ นจะต้อ งยอมรั บ สารภาพเพือ่ ให้ได้รับการลดโทษ สาหรั บกรณี การใช้บริ การทนายความนั้น ในตอนแรกผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยส่ วนใหญ่ไ ม่ รู้ เกี่ยวกับสิ ทธิในการทีมีทนายความ โดยเฉพาะทนายความที่รัฐจัดให้ ทาให้ส่วนใหญ่ไม่มีโอกาสได้ พบและปรึ กษาทนายความก่อนตั้งแต่ในชั้นสอบสวน แม้กระทัง่ เมื่อเข้าสู่ การพิจารณาในชั้นศาลแล้ว จาเลยที่ไม่มีองค์กรให้ความช่วยเหลือจะไม่มีโอกาสได้รับการช่วยเหลือจากทนายความ นอกจากนี้ แม้ว่ากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จะได้วางหลักว่าโจทก์และจาเลยอยู่ใน สถานะที่เท่าเทียมกัน และรับรองสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาและจาเลยให้สามารถต่อสู ้คดีไ ด้อย่างเต็มที่ แต่ เนื่องจากผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ส่ วนใหญ่ยงั มีโลกทัศน์ที่แตกต่าง และมี ความคิดว่าตนเป็ นคนด้อยกว่าฝ่ ายเจ้าหน้าที่มาก อีกทั้งบรรยากาศและการกระบวนการขั้นตอนต่างๆ ที่คอยกดดัน ทาให้พวกเขาเกิดความรู ้สึกว่าตกอยูใ่ นสถานะที่ต่ากว่าและเสียเปรี ยบในทุกๆ ด้าน อีกทั้ง ระหว่างที่ถูกดาเนิ นอาญายังจะต้องเผชิญกับอุปสรรคปั ญหาอื่นๆ ที่เป็ นข้อจากัดหรื อ เป็ นอุ ปสรรคขัดขวางโอกาสในการเข้าถึงสิ ทธิต่างๆ อันเนื่ อ งจากมาจากการเป็ นกลุ่ม ชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูง เช่น ปั ญหาค่าใช้จ่ายในระหว่างที่ถูกดาเนินคดี ปั ญหาที่จะต้องเสียเวลาในการทางาน ปั ญหาที่ จะต้องเดินทางไกลเพื่อ ไปสถานี ตารวจหรื อไปขึ้นศาล ปั ญหาการใช้ภาษาที่ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยไม่ คุน้ เคย ปั ญหาการไม่ รู้สิทธิต่างๆ บรรดาที่กฎหมายรับรองไว้ ตลอดจนการไม่รู้ทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อ จาเลยเกิดความรู ้สึกกลัวเมื่อเดินเข้าสู่ศาล ปรากฏการณ์ ที่ ผู ้ต ้อ งหาหรื อ จ าเลยกลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง ไม่ ส ามารถใช้สิ ท ธิ ใ น กระบวนการยุติธ รรมทางอาญา ภายใต้ร ะบบกฎหมายที่ คุ ้มครองสิ ท ธิ ผูต้ ้อ งหาหรื อ จ าเลยอย่า ง ครบถ้วน จึงเป็ นปรากฏการณ์ที่เผยให้เห็นถึงปั ญหาอคติหรื อการเลือกปฏิบตั ิเชิงโครงสร้าง ที่แฝงอยู่ ในระบบกฎหมาย ซึ่งหากพิจารณาเฉพาะตัวบทกฎหมายแล้วจะไม่สามารถมองเห็นได้ว่ามีการกีดกัน คนบางกลุ่มออกไป เนื่ องจากมีระเบียบกฎหมายที่รับรองสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาใน 163
ลักษณะที่เป็ นกลางเอาไว้ หากแต่ระเบียบกฎหมายเหล่านั้น เป็ นระบบกฎหมายที่ละเลยต่อ เงื่อนไข หรื อข้อจากัดที่มีลกั ษณะเฉพาะของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง เช่น ภาษา โลกทัศน์ วัฒนธรรม สถานะ ทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งความแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ในสังคม ทาให้พวกเขาจะไม่สามารถทาให้ ตนเองเข้าไปใช้สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ได้จริ ง หรื อทาได้ยาก กว่าคนทัว่ ไป 4.3 สรุป จากเรื่ องเล่ากรณี ศึกษาที่ผทู ้ ี่ถูกดาเนินคดีเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ที่ใช้ไม้สร้างบ้านหรื อ ใช้ที่ดินทากินตามวิถีชีวติ ปกติ ซึ่งปฏิบตั ิการของเจ้าหน้าที่รัฐและศาลนับตั้งแต่ช้ นั จับกุม ชั้นสอบสวน และกลัน่ กรองคดี และชั้นศาล พบว่าผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยไม่ ได้รับความเป็ นธรรม ไม่มีโอกาสได้ใช้ สิทธิบรรดาที่กฎหมายบัญญัติไว้อย่างครบถ้วน รวมทั้งผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักถึง การเรี ยกร้อ งเพื่อให้ได้ใช้สิทธิต่างๆ ในการต่อ สู ้คดี เนื่ องจากขณะที่ถู กดาเนิ นอยู่น้ นั มี เงื่อ นไขและ ข้อจากัดอื่นๆ หลายประการ เมื่อวิเคราะห์ปัญหาจากเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษาด้วยมุ มมองของทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ วิจยั มีความเห็นว่า ประการแรก จากข้อ เสนอของทฤษฎี ชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ที่เสนอว่า เชื้อ ชาติและชาตินิยม เป็ นการประกอบสร้างทางสังคม (Social Construction) โดยเฉพาะการเน้นย้าแบบเหมารวมว่าเป็ น พวกต่าต้อยกว่า ไม่เชื่อฟัง สร้างความรุ นแรงและนอกรี ตที่ตอ้ งมีการควบคุมอย่างเข้มงวด ผ่านบทบท ของสถาบันทางสังคมและระบบการเมือง เช่น รัฐบาล ระบบกฎหมายของรัฐ ระบบกฎหมายอาญา และระบบการศึกษาจนทาให้เกิดภาพลักษณ์ที่ติดตัวของคนแต่ละเชื้อชาติในที่สุด ผูว้ ิจยั ได้นาแนวคิด นี้ ม าใช้อ ภิปรายปฏิบตั ิการในการตรวจยึด จับกุม และดาเนิ นคดีต่อกลุ่ม ชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงในคดี ความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ โดยเสนอว่า ภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ที่ถูกประกอบสร้าง ขึ้นมาภายใต้วาทะกรรม “ชาวเขาทาลายป่ า” และ “ไร่ เลื่อนลอย” มีอิทธิพลทาให้สังคมมีความคิดและ ทัศนคติที่เป็ นลบต่อ กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ทาให้ถูกเลือ กปฏิบตั ิและไม่ได้รับความเป็ นธรรมใน กระบวนการพิจารณาคดี ในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ที่กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลย อีกทั้งภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ที่ถูกประกอบสร้างขึ้นมาให้เป็ นกลุ่มที่แปลก แยกจากคนไทยทัว่ ไปและเป็ นภัยต่อสังคม โดยเฉพาะการตอกย้าว่าเป็ นคนอื่นที่ไม่ใช่คนไทย และ 164
เป็ นกลุ่มคนที่มีพฤติกรรมเป็ นภัยต่อสวัสดิภาพของคนในสังคมโดยรวม ซึ่ งต่อมาก็ถูกนามาผลิตซ้ า และตอกย้าในสังคมอย่างต่อเนื่อง ได้กลายเป็ นภาพลักษณ์ติดตัวของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง และทา ให้สงั คมมีทศั นคติที่เป็ นลบต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง อันนาไปสู่ อคติและถูกเลือกปฏิบตั ิที่ไม่เป็ น ธรรมในสังคม ตลอดจนนาไปสู่ความรังเกียจ การกดขี่ข่มเหง และความขัดแย้งรุ นแรง สาหรับในทาง กฎหมายและนโยบาย รั ฐ ได้จ ัด ความสั ม พัน ธ์ กับ กลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ บ นพื้ น ที่ สู ง แบบควบคุ ม และ ปราบปราม รวมทั้งใช้วธิ ีการทางทหารกับพลเมือง โดยมีการยกเว้นสิ ทธิและเสรี ภาพบางประการเพื่อ สนับสนุนต่อนโยบายของรัฐบาล ซึ่งเมื่อพิจารณาจากประสบการณ์ของกรณี ศึกษาแล้ว จึงพบว่ามีการ ออกนโยบายหรื อมาตรการแบบพิเศษ ทั้งนโยบายหรื อการสัง่ การแบบครั้งคราว เช่น การออกตรวจป่ า ในช่วงที่รัฐมีนโยบายป้ องกันและปราบปราบการกระทาความผิดเกี่ยวกับกฎหมายป่ าไม้ ซึ่ งจะตรงกับ ช่วงฤดูเพาะปลูกและเป็ นคดีเกี่ยวกับที่ดินทากิน หรื อแบบเป็ นการทัว่ ไป เช่น นโยบายเร่ งรัดป้ องกัน และปราบปรามการบุกรุ กทาลายป่ า ตามคาสั่ง คสช. ที่ 64/2557 , การสนธิกาลังหลายหน่ วยงานมีท้ งั ป่ าไม้ ทหาร ตารวจ และ อส. เข้าไปทาการปราบปราม , การยกเว้นกฎหมายที่คุม้ ครองสิ ทธิ บาง ประการ โดยเฉพาะการค้นโดยไม่มีหมาย, เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวบ้านพื้นราบกับกลุ่มชาติพนั ธุ์ บนพื้นที่ สู ง หรื อ ระหว่า งชาวบ้านกับผูน้ าชุ ม ชนพื้น ราบ จนน าไปสู่ ก ารร้ อ งเรี ยนและแจ้งความ ดาเนินคดี ประการที่สอง จากข้อเสนอของของทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ ที่เสนอว่า การเหยียดเชื้อชาติ เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นโดยทัว่ ไปในสังคม จนไม่มีใครสังเกตหรื อตั้งคาถาม จึงส่ งผลให้ปัญหาเชื้อชาตินิยม เป็ นเรื่ องที่สามารถเข้าถึงเพือ่ แก้ไขหาได้ยาก เนื่องจากระบบกฎหมายและกลไกรัฐถูกครอบงาไว้ดว้ ย แนวคิดปราศจากการให้ความสาคัญกับสี ผิว (Color - Blind) หรื อรู ปแบบที่เป็ นทางการ (Formal) ที่ เชื่อว่าความเสมอภาคเท่าเทียมกันจะเกิดขึ้นได้ เมื่อมีกฎหมายบัญญัติให้คนผิวสี มีสิทธิที่เสมอภาคเท่า เทียมกันกับคนผิวขาวในรู ปแบบเดียวกัน หากแต่ภายใต้ระบบกฎหมายที่กาหนดไม่ให้มีแบ่งแยกผิวสี นั้น กลับธารงรักษาไว้ซ่ ึ งโครงสร้างทางสังคมที่แบ่งแยกสี ผิวหรื อเชื้อชาติเอาไว้ โดยที่การกดขี่ทาง เชื้อชาติและความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม ได้หยัง่ รากลึกลงไปในสถาบันทางสังคม วัฒนธรรมและปฏิบตั ิการต่างๆ ของสังคมและเจ้าหน้าที่ผใู ้ ช้อานาจรัฐ แม้ ว่ า ระบบกฎหมายของไทยจะให้ ค วามคุ ้ม ครองสิ ท ธิ ข องผู ้ต ้อ งหาหรื อจ าเลยใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตามหลักการพิจารณาคดีโดยเป็ นธรรม (Fair Trial) โดยเฉพาะการ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ที่ไ ด้ บัญญัติคุม้ ครองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในคดีอาญาตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการ และชั้นศาล แต่ การที่กฎหมายบัญญัติรับรองสิ ทธิต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วนนั้น ไม่ ได้หมายความว่าจะทาให้ผตู ้ อ้ งหา หรื อจาเลยทุกคนสามารถได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิจริ ง เนื่ องจากการยอมรับให้คนมีสิทธิและเสรี ภาพ 165
สังคมไทยนั้น มีความสัมพันธ์กบั ลักษณะทางวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะการสร้างนิยามความเป็ น “คน ไทย” และการธารงโครงสร้างสังคมชนชั้น ซึ่งทั้งสองกรณี น้ ีแฝงด้วยอคติและกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูง เนื่องจากการมีอตั ลักษณ์ที่แตกต่าง ที่สาคัญคือ อคติต่อกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ที่สูง ได้หยัง่ รากลึกลงไปในระบบโครงสร้างอานาจ รัฐ แม้กระทัง่ ในกระบวนการยุติ ธรรมทางอาญา โดยเฉพาะเมื่ อ เป็ นคดี ความผิดเกี่ ย วกับ ป่ าไม้ที่ เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผูม้ ีอานาจ ทาให้ระบบกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญา ถูกออกแบบมาให้ ทาหน้าควบคุ ม และลงโทษคนที่ถูกกล่ าวหาว่ากระทาความผิดเกี่ ยวกับกฎหมายปาไม้ โดยระบบ กฎหมายที่รับ รองสิ ทธิ อ ย่างครบถ้วน ตั้งอยู่บนฐานคิด แบบเสรี นิย ม และไม่ มี การแบ่งแยกความ แตกต่างระหว่างกลุ่ มคนนั้น ทาให้สังคมเชื่ อว่ามี ความเป็ นธรรมแล้ว ทาให้รัฐและผูม้ ีอานาจไม่ให้ ความสนใจต่อปั ญหาการเข้าไม่ถึงสิทธิที่เกิดขึ้นอยูท่ วั่ ไปในสังคม ดังนั้น ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยที่เป็ นคน ชายขอบ มีแนวโน้มที่จะถูกเจ้าหน้าที่หรื อศาลปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรมในการใช้อานาจตามกฎหมาย และเป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างเป็ นการทัว่ ไป จนกลายเป็ นเรื่ องที่สังคมชินชา และไม่สนใจตั้ง คาถามถึงความเป็ นธรรมอย่างแท้จริ ง ลักษณะเช่นนี้ ผูว้ ิจยั เสนอว่า ระบบสิ ทธิ และเสรี ภาพสิ ทธิใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับคนที่มีสถานะเป็ น “คนไทย” เป็ น หลัก แต่กีดกันกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงซึ่งส่วนใหญ่ยงั ไม่สามารถกลายเป็ นคนไทยที่สมบูรณ์ได้ จึง ส่ งผลให้กลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงเสี ยเปรี ยบในการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่และศาล ทาให้ไม่ได้รับ ความเป็ นธรรมในกระบวนการพิจารณาคดี ดังนั้น เมื่อวิเคราะห์ลกั ษณะปั ญหาสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ที่กลุ่มชาติพนั ธุบ์ น พื้นที่สูงเผชิ ญ ภายใต้ระบบการคุ ม้ ครองสิ ทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาที่มีลกั ษณะเป็ นแบบแผนเป็ นทางการ ด้วยมุมมองทฤษฎีชาติพนั ธุ์แนววิพากษ์ ผูว้ ิจยั มีความเห็น ว่า แม้จะเป็ นระบบกฎหมายสมัยใหม่ที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานของหลักการและทฤษฎีที่สังคมโลกยอมรับ ประกอบกับมีบทบัญญัติกฎหมายที่บญั ญัติรับรองสิทธิของผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยอย่างครบถ้วน หากแต่ วัฒนธรรมการใช้กฎหมายของระบบราชการ ที่ถูกครอบงาด้วย “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ที่ต้ งั อยูบ่ นฐาน คิด ทางศาสนา ภาษา แนวคิ ด การพัฒนาและระบบคุ ณ ค่ าทางสัง คมที่รั ฐ เป็ นผูก้ าหนด อี ก ทั้ง แม้ กฎหมายจะบัญญัติวา่ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยทุกคนมีสิทธิ หากแต่สิทธิส่วนใหญ่เป็ นสิ ทธิที่ตอ้ งร้องขอ มี ค่า ใช้จ่า ย และต้อ งทาตามแบบพิธีก าร ซึ่ งกลุ่ ม ชาติพ นั ธุ์บนพื้นที่ สูง มี โ ลกทัศ น์แ ละวัฒ นธรรมที่ แตกต่างออกไป ทาให้ไม่มีโอกาสเข้าถึงสิทธิดงั กล่าวได้จริ ง ประการที่สาม จากข้อเสนอของทฤษฎีชาติพนั ธุแ์ นววิพากษ์ที่เสนอว่า การเหยียดเชื้อชาติเป็ น เรื่ องที่เกิดขึ้นธรรมดาทัว่ ไป ทาให้ชนกลุ่มน้อยและคนผิวสีไม่ได้รับการยอมรับในสังคม กล่าวคือ ชน 166
ชั้นนาเป็ นกลุ่มคนที่ถืออภิสิทธิ์ ในขณะเดียวกันชนกลุ่มน้อยจะถูกเหยียดเชื้อชาติท้ งั ในลักษณะที่เป็ น การส่วนตัวและการเหยียดเชิงสถานบัน และยังเชื่อว่า ภายใต้สังคมที่มีกฎหมายกาหนดให้พลเมืองมี ความเท่าเทียมกันนั้น ได้ธารงรักษาไว้ซ่ ึงโครงสร้างทางสังคมที่แบ่งแยกคนเอาไว้ อีกทั้งยังเชื่อว่าการ กดขี่ทางเชื้อชาติและความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม ได้หยัง่ รากลึกลงไปในสถาบันทาง สังคม วัฒนธรรมและปฏิบตั ิการต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อชนกลุ่มน้อย โดยเฉพาะการถูกเลือก ปฏิบตั ิในสังคม ในทางปฏิบตั ิแล้วพลเมืองไทยทุกคนไม่มีโอกาสได้ใช้สิทธิหรื อได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิจาก ระบบกฎหมายจริ ง เนื่ องจากการใช้สิทธิหรื อ ได้รับสิ ทธิ์ ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้บางประการนั้นมี เงื่อนไข ส่งผลทาให้คนบางกลุ่มได้รับสิทธิหรื อแม้กระทัง่ อภิสิทธิ์ ในขณะที่คนบางกลุ่มมีสิทธิแต่ไม่ มีโอกาสได้ใช้จริ ง เนื่ องจากการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐที่ตอ้ งยึดตาม “วัฒนธรรมแห่ งชาติ” ที่ ครอบงาสังคมและโครงสร้างอานาจรัฐอย่างเข้มแข็ง ขณะเดียวกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง แม้ส่วน ใหญ่มีสญ ั ชาติไทยแล้ว หากแต่มีวถิ ีชีวติ และวัฒนธรรมที่ไม่สัมพันธ์กบั “วัฒนธรรมไทย” ดังนั้น ไม่ ว่ากฎหมายจะบัญญัติเป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้อย่างไร เมื่อกฎหมายเหล่านั้นถูกนาไปปฏิบตั ิจริ ง กลุ่ม ชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงก็ตกอยูใ่ นสถานะเสียเปรี ยบและไม่ได้รับความเป็ นธรรม เมื่ อถู กจับกุ มหรื อดาเนิ นคดี แม้ก ฎหมายบัญ ญัติให้ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยมี สิทธิ ที่จะโต้แย้ง คัดค้าน และใช้สิทธิ อ ย่างอื่ น เพื่อ ปกป้ องสิ ทธิ ของตน โดยสิ ทธิ ต่างๆ เหล่ านั้นมี กฎหมายบัญญัติ รั บ รองไว้ต้ ัง แต่ จ ับ กุ ม ชั้น สอบสวนและชั้น ศาล ซึ่ ง สิ ท ธิ เ หล่ า นี้ มี ค วามส าคัญ อย่า งมากในการ อ านวยการให้เกิ ดความเป็ นธรรมแก่ ผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลย แต่สิท ธิ เหล่ านั้นไม่ เกิ ดผลโดยอัตโนมัติ ผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยจะต้องร้องขอหรื อดาเนินการบางอย่างตามเงื่อนไขก่อน และต้องดาเนิ นการโดยผู ้ ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน จึงจะได้รับสิทธิเหล่านั้น ดังนั้น สิ่งสาคัญประการแรกคือตัวผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลย จะต้องรู ้เนื้อหาของสิทธิตามกฎหมายก่อน และมีเงินว่าจ้างทนายความดาเนินการแทน จึงอาจกล่าวได้ ว่า กฎหมายที่รับรองสิ ทธิ ของผูต้ อ้ งหาหรื อ จาเลยอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันนั้น ได้ละเลยต่อความ เป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์ และสภาวะที่กฎหมายละเลยต่อความเป็ นกลุ่ ม ชาติพนั ธุ์น้ ัน ได้สร้างความชอบ ธรรมให้เจ้าหน้าที่รัฐและศาลกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุอ์ อกจากสิทธิได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย จากเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษา ส่ วนใหญ่แล้วพวกเขาไม่รู้หรื อไม่เข้าใจต่อรายละเอียดของสิ ทธิ ต่างๆ อีกทั้งไม่ได้มีความเชื่อมัน่ ว่าตนในฐานะที่เป็ นคนที่มีสถานะด้อยกว่า จะได้รับความเป็ นธรรม จากกระบวนการยุติธรรม เพราะมีความรู ้สึกว่าเขาไม่เพียงต้องสูก้ บั เจ้าหน้าที่ป่าไม้เท่านั้น หากแต่ตอ้ ง สูก้ บั กลไกในกระบวนการทั้งหมด ตั้งแต่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ทหาร ตารวจ อัยการและศาล เขาจึงมองว่า ไม่มีทางที่จะชนะได้ นอกจากนี้ยงั มีปัญหาที่เป็ นปั จจัยภายใน ที่เป็ นอุปสรรคทาให้ผตู ้ อ้ งหาหรื อจาเลย 167
ที่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง ขาดโอกาสในการเข้าถึงสิ ทธิที่กฎหมายบัญญัติ เช่น ปั ญหาค่าใช้จ่าย ปั ญหาเรื่ องภาษา ปั ญหาเรื่ องเวลา ปั ญหาการเดินทางไกล โดยเฉพาะปั ญหาความไม่รู้ ยิง่ เป็ นการเพิ่ม ปั ญหาที่มีอยูแ่ ล้วให้หนักกว่าเดิมอีก จากเรื่ อ งเล่ า ของกรณี ศึ ก ษา การที่ ก ลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์บ นพื้ น ที่ สู ง ไม่ ไ ด้รั บ สิ ท ธิ ต่ า งๆ ตามที่ กฎหมายบัญญัติไว้น้ นั หากดู โดยผิวเผินก็ถื อ ว่าเป็ นเรื่ อ งปั ญหาเฉพาะตัวบุคคลเท่านั้น แต่ล ักษณะ ความเป็ นเฉพาะตัวของปั ญหาเหล่านั้น เป็ นลักษณะทัว่ ไปของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง ดังนั้น เมื่อ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูงตกเป็ นผูต้ อ้ งหาหรื อจาเลยโดยเฉพาะในคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้ คนส่ วน ใหญ่ของกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง จึงมีลกั ษณะเป็ นปั ญหาเชิงระบบที่มีผลกีดกันกลุ่มชาติพนั ธุ์บน พื้นที่สูงโดยรวมไปโดยปริ ยาย โดยที่ตวั กฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีอาญา กลายเป็ นอุปสรรคในการเข้าถึง หรื อได้รับการคุม้ ครองสิทธิ์ เนื่องจากกฎหมายบัญญัติไว้ในลักษณะที่เป็ นแบบแผนพิธีการ และละเลย ที่จะให้ความสนใจต่อลักษณะความเป็ นคนที่แตกต่างจากคนส่วนใหญ่ในสังคม
168
บรรณานุกรม กฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ปฏิญญาสหประชาชาติวา่ ด้วยสิทธิชนเผ่าพื้นเมือง ค.ศ. 2007 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948. คาสัง่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 64/2557 นโยบาย แผนงานและหนังสื อของหน่ วยงานรัฐ กรมทรัพยากรน้ า. การจัดการชั้นคุณภาพลุ่มนา้ , แหล่งที่มา http://www.dwr.go.th/contents/content/files/001002/0003723_1.pdf (13 พฤษภาคม 2561). กองอ านวยการรัก ษาความมั่น คงภายในราชอาณาจัก ร และ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ งแวดล้อม. (2557). แผนแม่ บทแก้ ไขปั ญหาการทาลายทรั พยากรป่ าไม้ การบุก รุกที่ดินของรั ฐ และ การบริ หารจัดการทรั พยากรธรรมชาติอย่างยิ่งยืน. 185
ขั้นตอนการประกาศจัดตั้งอุทยานแห่ งชาติ. (2560). กรมอุทยานแห่ งชาติสัตว์ ป่าและพันธุ์พืช, สื บค้น จาก http://www.dnp.go.th/park/sara/manage/step.htm. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2528. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 มีนาคม 2535. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 1(พ.ศ. 2504 - 2506). ฝ่ ายคดี และของกลาง ส่ วนยุทธการด้านป้ องกันและปราบปราม สานักป้ องกัน ปราบปราม และ ควบคุ ม ไฟป่ า. สรุ ป รายงานการกระท าผิ ด กฎหมายเกี่ ย วกั บ การป่ าไม้ ของ หน่ วยงานในสังกัด ก ร ม อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ สั ต ว์ ป่ า แ ล ะ พั น ธุ์ พื ช ใ น ปี งบประมาณ พ.ศ. 2552-2559. หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0203/18048, (นโยบายป่ าไม้แห่งชาติ) คาพิพากษา คาพิพากษาศาลชั้นต้ น คาพิพากษาศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง คดีหมายเลขดาที่ 462/2547 คดีหมายเลขแดงที่ 60/2548. คาพิพากษาศาลจัง หวัด แม่ ฮ่ อ งสอน (สาขาปาย) คดี ห มายเลขด าที่ 32/2559 คดี หมายเลขแดงที่ 164/2559. คาพิพากษาศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง คดีหมายเลขดาที่ 462/2547 คดีหมายเลขแดงที่ 60/2548. คาพิพากษาศาลจังหวัดแม่สอด คดีหมายเลขดาที่ 1770/2551 คดีหมายเลขแดงที่ 1737/2551. คาพิพากษาศาลจังหวัดแม่สอด คดีหมายเลขดาที่ 1771/2551 คดีหมายเลขแดงที่ 1738/2551. คาพิพากษาศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง คดีหมายเลขดาที่ 161/2559. 186
คาพิพากษาศาลจังหวัดเชียงใหม่ คดีหมายเลขดาที่ 928/2559 คดีหมายเลขแดงที่ 4389/2559. คาพิพากษาศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง คดีหมายเลขดาที่ 214/2551 คดีหมายเลขแดงที่ 318/2551. คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 5 แผนกคดีสิ่งแวดล้อม คดีหมายเลขดาที่ 341/2557 คดีหมายเลขแดงที่ 425/2557. คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 5 คดีหมายเลขดาที่ 1251/2548 คดีหมายเลขแดงที่ 2004/2548. คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 6 คดีหมายเลขดาที่ สว.(อ) 77/2553 คดีหมายเลขแดงที่ 4026/2554 คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 6 คดีหมายเลขดาที่ สว.(อ) 125/2553 คดีหมายเลขแดงที่ 194/2555 คาพิพากษาศาลฎีกา คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 9962/2559 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 10578/2559 หนังสื อ กิตติพงษ์ กิตติยารักษ์ และ จุฑารัตน์ เอื้ออานวย. (บรรณาธิการ). (2546). กระบวนการยุติธรรมกับ ความยากจน : ยุทธศาสตร์ การพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อคนจน. กรุ งเทพฯ : สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2553). คาอธิ บาย หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาว่ าด้ วย การดาเนิ นคดี ในขั้นตอนก่ อนการพิจารณา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุ งเทพฯ : หจก. สานักพิมพ์ พล สยามพริ๊ นติ้ง (ประเทศไทย). คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย. (2558). การพิจารณาคดีที่เป็ นธรรมในการดาเนินคดีอาญาชั้นก่ อนฟ้ อง คดี. นนทบุรี : บริ ษทั มาตาการพิมพ์ จากัด. คณิ ต ณ นคร. (2552). ปฏิ รูป กระบวนการยุติธรรมทางอาญา สะท้ อ นทิ ศ ทางพัฒ นากระบวนการ ยุติธรรมไทย. กรุ งเทพฯ : วิญญูชน. 187
จรัญ โฆษณานันท์. (2545). สิ ทธิ มนุษยชนไร้ พรมแดน : ปรั ชญากฎหมายและความเป็ นจริ งทางสังคม, กรุ งเทพฯ : นิติธรรม. ณรงค์ ใจหาญ. (2546). การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา : ดุลยภาพระหว่างสิทธิมนุ ษยชนกับ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น อ า ช ญ า ก ร ร ม , ว า ร ส า ร นิ ติ ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี ที่ 33 ฉบับที่ 1. . (2557). หลักการพื้น ฐานในกระบวนการยุติ ธรรมทางอาญา, วารสาร ธรรมศาสตร์ ปี ที่ 33 ฉบับที่ 3 ปี . ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2553). หลักนิติธรรม. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ชวนพิมพ์ 50 จากัด. บรรเจิด สิงคะเนติ. (2543). หลักเสมอภาค. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา. ภาควิชานิ ติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิ ติศาสตร์. (2556). หลักนิ ติธรรมสากลกับการคุ้มครองสิ ทธิ มนุษยชน. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา. วรรณลักษณ์ เมียนเกิด. (2558). เรื่ องเล่ าชี วิต: วิธีการเพื่อความเข้ าใจประสบการณ์ ชีวิตของมนุษย์ , เอกสารประกอบการสอน วิชา สค.211 จริ ยธรรมทางวิชาชีพและคุณค่าความเป็ น มนุษย์. ศยามล ไกรยูรวงศ์ และ พรพนา ก๊ว ยเจริ ญ . (บรรณาธิ การ). (2548). การเมื อ งป่ าไม้ ไ ทย ยุคหลัง สัมปทาน. กรุ งเทพฯ. ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . (2551). ชาตินิยมกับพหุวฒ ั นธรรม, เชียงใหม่ : โค-ขยัน มีเดีย ทีม. สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2548). กฎหมายรั ฐธรรมนูญ : หลักการใหม่ ตามรั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ. 2540. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สานักงานศาลปกครอง. (2548).หลักความเสมอภาค การเลื อกปฏิ บัติที่ไ ม่ เป็ นธรรมและการเลื อ ก ปฏิ บัติ ที่ เป็ นธรรม กรุ งเทพฯ : สานักวิชาการและความร่ วมมือระหว่างประเทศ สานักงาน ศาลปกครอง.
188
เสนห์ จามริ ก และ ยศ ตันตสมบัติ. (บรรณาธิการ). (2536). ป่ าชุมชนในประเทศไทย : แนวทางการ พัฒนา เล่ ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุ งเทพฯ: สถานบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา. สุ พิศ ประณี ต พลกรั ง. การค้ นหาความจริ ง ในกฎหมายลัก ษณะพยานและการคุ้ม ครองพยานใน คดีอาญา. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. โสภณ รัตนากร. (2557). คาอธิ บายกฎหมายลักษณะพยาน. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุ งเทพ : สานักพิมพ์นิติ บรรณ. สานักส่งเสริ มและสนับสนุนวิชาการ 10 เชียงใหม่ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์. รั ฐชาติและชาติพนั ธ์ . อุ ทยั อาทิ เวช. “แนวคิดพื้นฐานเกี่ ยวกับกระบวนการยุติธ รรมทางอาญาและบทบาทขององค์การ สหประชาชาติ เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา”. ใน กฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา และและพยานชั้นสู ง, นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. หน้า 3 - 36. Delgado, R & Stefancic, J. (2001). Critical Race Theory : An introduction. New University press.
York
Michelle Alexander. (2010). The new Jim Crow : mass incarceration in the age of colorblindness. The New Press. Mole, N. & Harby, C. The right to a fair trial : A guide to the implementation of Article 6 of the European Convention on Human Rights. General of Human Rights Council of Europe, Belgium, 2006. available at http://www.echr.coe.int/LibraryDocs/DG2/HRHAND/DG2-EN-HRHAND03(2006).pdf. วิจัย / วิทยานิพนธ์ กมลวรรณ ชื่ นชู ใ จ. (2549). การจับกุม "ชาวเขา" บ้ านปางแดง อ าเภอเชี ย งดาว จั งหวัดเชี ยงใหม่ . (วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
189
ชีพ จุลมนต์. (2556). สิ ทธิ มนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา กรณี สิทธิ ของผู้ต้องหาและจา เลยในการได้ รับความช่ วยเหลือจากรั ฐโดยการจัดหาทนายความช่ วยเหลือทางคดี . (รายงาน การฝึ กอบรมหลักสู ตรหลักนิ ติธรรมเพื่อ ประชาธิ ปไตย รุ่ นที่ 1 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ, สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ. นภาภรณ์ หะวานนท์ และคณะ. (2555). คาให้ การของผู้หญิงซึ่ งถูกพิ พากษาจาคุกในคดี ยาเสพติด . (รายงานผลการวิจยั ), กระทรวงยุติธรรม. พิทูร พุ่มหิ รัญ. (2539). สิ ทธิ ผ้ ูต้องหาและจาเลยในคดีอ าญา. (รายงานผลการวิจยั หลักสู ตรผูบ้ ริ หาร กระบวนการยุติธรรมระดับสูง(บยส.), วิทยาลัยการยุติธรรม. วรารัตน์ แสงคา. (2559). การเข้ าถึ งกระบวนการยุติธ รรมทางอาญาของกลุ่มชาติ พันธุ์ . (รายงาน ผลการวิจ ัย , สถาบัน วิจ ัย และพัฒ นากระบวนการยุติ ธ รรม ส านัก งานกิ จ การ ยุติธรรม). วศิน สุ วรรณรัตน์, อัจฉรา จันทน์เสนะ และ มงคล มาลยารม. สิ ทธิ ของผู้ต้องขังเพื่อการได้ รับการ ช่ วยเหลือทางกระบวนการยุติธรรม: ศึกษากรณี ผ้ ตู ้ องขังหญิงในทัณฑสถานหญิง สงขลา. (รายงานผลการวิ จ ัย , ส านั ก ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมร่ วมกั บ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์. วีนัส โฆษิตสุ รังคกุล. (2553). ระบบต่ อสู้ กับการดาเนิ นคดีอาญาในศาลไทย : ศึกษาเฉพาะกรณี การ ฟ้ อ ง ค ดี โ ด ย พ นั ก ง า น อั ย ก า ร . ( วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า ม ห า บั ณ ฑิ ต , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). สมนึก ตุม้ สุภาพ, กฤษดา ขุนณรงค์ และ ฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล. บทเรี ยนวิธีพิจารณาและคาพิพากษา คดีความที่ ดิน. (รายงานผลการวิจยั , สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริ ม สุขภาพ). สุ มิ ต รชัย หัต ถสาร และ สุ รชัยตรงงาม. (2553). การพิ สูจน์ สิท ธิ ในคดี ป่ าไม้ และที่ ดิน . (รายงาน ผลการวิจยั , แผนงานสร้างเสริ มนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) และ สานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุขภาพ (สสส.).
190
อคิ น รพีพ ฒ ั น์ , เพิ่ม ศัก ดิ์ มกราภิร มย์ และ กิ ตติ ศกั ดิ์ ปรกติ. (2554). คลายปม “คดี ที่ดิ น คนจน”. (รายงานผลการวิจยั ). กรุ งเทพฯ : สานักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ). วศิน สุ วรรณรัตน์. อัจฉรา จันทน์เสนะ และ มงคล มาลยารม. สิ ทธิ ของผู้ต้องขังเพื่อการได้ รับการ ช่ วยเหลือทางกระบวนการยุติธรรม: ศึกษากรณี ผ้ ตู ้ องขังหญิงในทัณฑสถานหญิง สงขล า. (รายงา น ผล กา วิ จ ั ย , ส า นั ก ป ลั ด กระท รวงยุ ติ ธ รรมร่ วม กั บ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์). Denise Reese. The criminal disparity between African American and Caucasian males: Police use of excessive and deadly force in the United States, 1991 - 2014. Master of Arts : Criminology and Criminal Justice, Anthropology and Criminology, Eastern Michigan University. 2015. Available at http://commons.emich.edu/theses/617. International Bank for Reconstruction and Development. A Public Development Program for Thailand, 1960. International Bank for Reconstruction and Development, Current Economic Position and Prospective of Thailand, August 12 1957. Siok Kwan Teoh. Developing Critical Race Theory to Study Race and Racism in China’s Media : A Case study of The Chocolate Girl’s Bittersweet Stardom on Go Oriental Angel. Master of Arts Thesis, California State University, Sacramento, 2011. บทความ ดามร ค าไตร. (2559). หลักการและความเป็ นจริ งในศาล : การเรี ยนรู ้ ผ่า นการสังเกตการณ์ กระบวนการพิจารณาคดี . ใน นิ ติสังคมศาสตร์ . 9 (1 มกราคม–มิถุนายน 2559). 198-230. ปกป้ อง ศรี สนิท. (2522). ระบบกล่าวหาและระบบไต่สวนในการวิธีพิจารณาความอาญา. ใน ยืนหยัด บนหลักนิติธรรม. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา. ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี . (2541). “วาทะกรรมว่าด้วย ‘ชาวเขา’, ใน สังคมศาสตร์ , 11 (1), 92-133. 191
นภาภรณ์ หะวานนท์. (2552). วิธีการศึกษาเรื่ องเล่า : จุดเปลี่ยนของการวิจยั ทางด้านสังคมศาสตร์. ใน สังคมลุ่มนา้ โขง, 5 (2). 1-22. น้ าแท้ มี บุ ญ สล้ า ง. (2561).หลั ก การพื ้ น ฐานในกระบวนการยุ ติ ธ รรมทางอาญา ,แหล่ ง ที่ ม า file:///C:/Users/NBC/Downloads/32704-73150-1-SM%20(1).pdf. ศยามล ไกรยูรวงศ์. (2560). ร่ างกฎหมายสิ ทธิ ชุม ชนในการจัดการที่ ดินและทรั พยากร : ลดความ เหลื่อมลา้ สร้ างความเป็ นธรรม [ระบบออนไลน์]. สื บค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://www.lrct.go.th/th/?p=17044. ศราวุฒิ ประทุมราช. (2560). หลักการสากลในการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย [ระบบ ออนไลน์]. สืบค้น เมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2560), สืบค้นจาก http://www.lrct.go.th/th/?p=1982. ศรันยู หมั้นทรัพย์, “ความเสมอภาค‛ [ระบบออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2561, แ หล่ ง ที่ ม า http://ppd.kpi.ac.th/index.php?name=content&main_id=12&page_id=44. ศุทธินี อยูส่ วัสดิ์. การปฏิรูปการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย:กรณี ศึกษาพื้นที่ จังหวัดพิษณุ โลก. วารสารนิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 9 (2). สื บค้นเมื่ อ 18 สิ งหาคม 2560, สืบค้นจาก file:///C:/Users/user/Downloads/264-934-1-PB.pdf. สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2543). หลักความเสมอภาค. ใน วารสารนิติศาสตร์ 30 (2) หน้า 160-183. สมชาย ปรี ชาศิลปะกุล. (2552) ทฤษฎีนิติศาสตร์ชาติพนั ธ์แนววิพากษ์. วิภาษา, 3 (3) ลาดับที่ 18, 2024. . (2552) ทฤษฎีนิติศาสตร์ชาติพนั ธ์แนววิพากษ์. วิภาษา, 3 (3) ลาดับที่ 19, 29-23. สุ นทรี ยา เหมือนพะวงศ์. (2554). การปฏิ รูปกระบวนการยุติธรรมด้ านป่ าไม้ และที่ ดินเพื่อความเป็ น ธรรมในสังคมไทย : คดีความคนจน. สุวชิ า เป้ าอารี ย.์ (2559), “ความเสมอภาค : แนวคิดและข้อถกเถียงเบื้องต้น”, วารสารพัฒนาสังคม 18 (พิเศษ), 1-18. แหล่งที่มา https://www.tci-thaijo.org/index.php/jsd/article/view/62255. 192
Re D. E. (1991). Due Process, Judicial Review, and the Rights of the Individual. Cleveland State Law Review. pp. 1-14. Available at http://engagedscholarship.csuohio.edu/clevstlrev/vol39/iss1/3. Butler, P. (2010). One Hundred Years of Race and Crime, 100 J. Crim. L. & Criminology 1043 pp.1043-1060. Campbell, E, ‚Using Critical Race Theory to Measure Racial Competency" among Social Workers‛. Journal of Sociology and Social Work, December 2014, Vol. 2, No. 2. pp. 73-86. Capers, B. (2015). Critical Race Theory, Oxford Handbook of Criminal Law. pp. 25-57. Capers, B. (2014). Critical Race Theory and Criminal Justice, Ohio State Journal of Criminal Law. Vol 12:1. Crenshaw, W. K. (1988). ‚Race, Reform, and Retrenchment: Transformation and Legitimation on Antidiscrimination Law‛. Harvard Law Review. Volume 101. pp. 1331-1387. Dickinson, E. Addressing Environmental Racism Through Storytelling : Toward an Environmental Justice Narrative Framework, Communication Department, Salem College, Winston-Salem, NC 27101, USA. pp. 57-74. Friendly, J. H. Some Kind of Hearing. University of Pensylvania Law Review Vol 123 : 1267. pp. 1267-1317. Griffin, A. R. ‚Critical Race Theory as a Means to Deconstruct, Recover and Evolve in Communication Studies‛. Communication Law Review, Volume 10, Issue 1. pp. 1-9. Langford, I. (2009). ‚Fair Trial: The History of an Idea‛, Journal of Human Rights. Volume 8. pp. 38 – 52. Nicholas Daniel Hartlep. (2009). Critical Race Theory: An Examination of its Past, Present, and Future Implications. University of Wisconsin at Milwaukee. 193
Tate, W. F. (1997). ‚Critical race theory and education: History, theory, and implications‛. Review of Research in Education. Vol. 22. pp. 195-247. ข่ าว / อินเตอร์ เน็ต เกษียร เตชะพีระ. (2562). ประชานิยมฝ่ ายซ้าย : ทีมาและทัศนะ. มติชนสุดสัปดาห์ . สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_198195. ข้อมูลสาระสนเทศน์กรมป่ าไม้. (2561). สถิติคดีการกระทาผิดกฎหมายเกี่ ยวกับการป่ าไม้ . สื บค้นจาก http://forestinfo.forest.go.th/Content.aspx?id=88. ศูนย์ข่าวเชียงใหม่. (2559, 29 มีนาคม). ‚’ศรี วราห์’ บินด่วนดูคดี กฟภ. ตัดไม้วางแนวเสาไฟ พบสักกระยาเลยเหลือแต่ตอ 167 ต้น”. MGR Online. สืบค้นจาก https://mgronline.com/local/detail/959000003252129. เดลินิวส์. (2557, 4 พฤษภาคม). “พ่อ เมืองสามหมอกตะลึง เจอไม่สักเถื่อน ยกหมู่บา้ น”. สื บค้นจาก http://www.dailynews.co.th/regional/235116. นิธิ เอี่ยวศรี วงศ์. (2551). ชาตินิยมกับพหุวฒั นธรรม. มติชนออนไลน์ . สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2008/12/19495, (25 กรกฎาคม 2561). ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2558, 11 กรกฎาคม). “‘บิ๊กตู่’ เผยสถิติรุกป่ าต้นน้ า ชาวไทยพื้นที่สูงบุกรุ ก มากสุด-นายทุนรุ กที่ 10%. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1436522350. รัฐบาลไทย. (2560, 19 พฤษภาคม). “ทส. เดินหน้าศูนย์ปฏิบตั ิการพิทกั ษ์ป่า (ศปก.พป.) เพื่อบูรณาการ ปฏิ บ ัติ งานป้ องกัน และปราบปรามการท าลายทรั พยากรป่ าไม้”. สื บค้น จาก http://www.thaigov.go.th/news/contents/details/3844.
194
สั มภาษณ์ 1. ลุงทิศ
จากอาเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ขอสงวนนามจริ ง)
2. พ่อประเสริ ฐ จากอาเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ขอสงวนนามจริ ง) 3. เน้ง
จากอาเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ขอสงวนนามจริ ง)
4. ลุงศักดิ์
จากอาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ขอสงวนนามจริ ง)
5. จอดา
จากอาเภอแม่สะเรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ขอสงวนนามจริ ง)
6. ป้ าพอดี
จากอาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ขอสงวนนามจริ ง)
7. สมบูรณ์
จากอาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ (ขอสงวนนามจริ ง)
8. หน่อดา
จากอาเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (ขอสงวนนามจริ ง)
195
ภาคผนวก ก. คาชี้แจงในการเขียนเรื่องเล่ากรณีศึกษา ในการเขียนเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษา ผูว้ จิ ยั อาศัยข้อมูลจาก 3 แหล่ง กล่าวคือ 1. จากเอกสารใน สํานวนคดี สําหรับในกรณี ที่ผวู ้ จิ ยั เป็ นทนายความให้น้ นั มีเอกสารที่เป็ นบันทึกการสอบข้อเท็จจริ งที่ ผูว้ จิ ยั ทําไว้เพือ่ เตรี ยมใช้ในคดี 2. ไปพบและพูดคุยกับกรณี ศึกษา เพื่อให้กรณี ศึกษาเล่าเรื่ องราวต่างๆ โดยใช้วิธีการตั้งคําถามกว้างๆ ให้กรณี ศึกษาเล่าประสบการณ์ที่เขาเผชิญ ตามความคิด ความจําและ ความเข้าใจของเขา โดยบอกเล่าด้วยถ้อยคําและสํานวนภาษาของเขาเอง รวมทั้งการถามให้กรณี ศึกษา ได้แ สดงความคิ ด เห็ น ต่ อ เรื่ อ งราวที่ เ ขาเผชิ ญ มาระหว่า งถู ก ดํา เนิ น คดี ในการพูด คุ ย ผูว้ ิจ ัย ไม่ ใ ช้ แบบสอบถาม แต่ใช้วธิ ีศึกษาจากเอกสารในสํานวนคดีให้ละเอียดก่อน แล้วตอนพูดคุยกันก็ต้ งั คําถาม ในลักษณะชวนคุยให้เล่าเรื่ องโดยเรี ยงลําดับตามขั้นตอนในคดี หรื อตามเหตุการณ์ที่เด่นชัด โดยผูว้ ิจยั ได้บนั ทึกเสี ยงการพูดคุยเอาไว้ 3. สอบถามข้อมูลจากผูน้ าํ ชุมชนและญาติของกรณี ศึกษา เพื่อให้ได้ ข้อมูลแวดล้อมด้วย ซึ่งในบางกรณี ศึกษา ผูว้ ิจยั พบว่าญาติสามารถให้ขอ้ มูลที่มีลกั ษณะเฉพาะ ข้อมูล บางช่วงบางตอนได้ละเอียดกว่า เพราะกรณี ศึกษาบางคนไม่อยูห่ รื อถูกขังในในบางช่วง ทําให้ไม่ทราบ ว่าขั้นตอนในระหว่างนั้นเกิดอะไรขึ้น เป็ นต้น นอกจากนี้แล้ว ผูว้ จิ ยั ตระหนักดีวา่ เรื่ องราวที่บุคคลถูกดําเนินคดีอาญานั้น เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับ ชื่อเสียงเกียรติคุณและสถานภาพทางสังคม อันเป็ นสิทธิส่วนบุคคลที่บางคนอาจไม่อยากนํามาเปิ ดเผย หรื อไม่อยากให้นาํ ไปเผยแพร่ ต่อสาธารณะ อีกทั้งการถูกดําเนินคดีอาญานั้นส่งผลกระทบต่อสิ ทธิและ เสรี ภาพ ซึ่งเป็ นประสบการณ์ที่เลวร้ายที่กระทบต่อสภาพจิตใจของเจ้าของเรื่ อง การซักถามให้ร้ื อฟื้ น ความทรงจําส่วนหนึ่งเป็ นการทําให้ผเู ้ ล่ามีโอกาสได้ทบทวนและเรี ยนรู ้ ในขณะเดียวกันก็อาจเป็ นการ รื้ อฟื้ นความทรงจําที่เลวร้าย ซึ่ งอาจจะมีผลเป็ นการกระทําซํ้าผูเ้ ล่าเรื่ อง ซึ่ งผูว้ ิจยั ตระหนักถึงเรื่ องนี้ ดี และพยายามใช้ความระมัดระวังอย่างมากในการพูดคุยด้วย นอกจากนี้ กรณี ศึกษายังเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงที่มีทศั นะต่อเจ้าหน้าที่รัฐในลักษณะ ระแวง ซึ่งกรณี ศึกษาบางคนได้บอกผูว้ จิ ยั ตรงๆ ว่า เกรงว่าการให้ขอ้ มูลที่อาจจะไปพาดพิงกับคนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจะกลายเป็ นความผิดหรื อจะทําให้มีปัญหาอย่างอื่นตามมา ดังนั้น ผูว้ จิ ยั จําเป็ นต้องอธิบาย
195
ให้กรณี ศึกษาเข้าใจพร้อมกับทําให้เขาไว้วางใจในตัวผูว้ ิจยั สําหรับในรายที่ผูว้ ิจยั ไม่เคยรู ้จกั มาก่อ น ผูว้ ิจยั ต้องติดต่อผ่านผูน้ าํ ชุมชนหรื อญาติที่ผวู ้ ิจยั เคยรู ้จกั ให้เขาพาผูว้ ิจยั ไปแนะนําพร้อมช่วยอธิบาย ความประสงค์ของผูว้ จิ ยั ให้ก่อน เพือ่ สร้างความคุน้ เคยและไว้วางใจต่อตัวผูว้ ิจยั เสี ยก่อน หลังจากนั้น จึงได้นดั พบกันอีกเพือ่ พูดคุยรายละเอียด ในขณะที่บางคนรู ้สึกเคียดแค้นที่เสี ยรู ้ให้แก่เจ้าหน้าที่จนทํา ให้ตอ้ งติดคุก แต่ตวั เขากลับคิดว่าอยากจะประกาศให้ชาวบ้านได้รู้กนั เยอะๆ จะได้รับรู ้เป็ นบทเรี ยน หากมีปัญหาจะได้ต้งั รับและแก้ไขปั ญหาได้ถูก ไม่ซ้ าํ รอยตน
196
ภาคผนวก ข. ลุงทิศ : คนสร้ างบ้ านที่ถูกศาลหาว่าทาให้ โลกร้ อน หนังสื อพิมพ์เดลิ นิวส์ ฉบับวันที่ 4 พ.ค.2557 พาดหัวข้อ ข่าวว่า “ผู้ว่าเมื อ งสามหมอกรุ ด ตรวจสอบ หมู่บ้านทุ่งป่ าคา ตะลึ งเจอไม้ เถื่ อนซุ กซ่ อนยกหมู่บ้าน อ้ างเก็บไว้ สร้ างบ้ านไม่ ไ ด้ เอาไว้ ขาย” โดยรายละเอียดข่าวระบุว่า “เมื่ อวันที่ 4 พ.ค.2557 เจ้ าหน้ าที่ ทหารสนธิ กาลังกับเจ้ าหน้ าที่ กรม อุทยานแห่ งชาติและสัตว์ ป่าพร้ อม ทั้งหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องลงพืน้ ที่เข้ าตรวจสอบไม้ สัก ในหมู่บ้านทุ่ง ป่ าคา และพบไม้ สักอยู่ในการครอบครองของชาวบ้ าน จึ งได้ ดาเนิ นคดีกับชาวบ้ านที่ เป็ นเจ้ าของไม้ อย่างไรก็ตามชาวบ้ านในพืน้ ที่ ได้ ให้ เหตุผลว่ าไม้ ที่พบนั้นเป็ นไม้ ที่เตรี ยม สาหรั บต่ อเติมบ้ านเท่ านั้น ไม่ ได้ ครอบครองไว้ เพื่อการค้ าขายให้ นายทุนแต่ อย่างใด”1 ผูว้ จิ ยั เคยรู ้จกั กับลุงทิศ (นามสมมติ) ในช่วงที่ลุงทิศถูกดําเนิ นคดี โดยผูว้ ิจยั ถูกทีมทนายที่เข้า ไปช่วยเหลือ เรี ยกให้ไปช่วยในวันที่ลุงทิศและชาวบ้านถูกส่งฟ้ องต่อศาล แต่ผวู ้ จิ ยั กับลุงทิศยังไม่สนิ ท กันมากนัก ดังนั้น เมื่อจะคัดเลือกกรณี ศึกษา ผูว้ จิ ยั ได้ติดต่อผ่านหลานของลุงทิศ ซึ่งเป็ นเพือ่ นกับผูว้ จิ ยั ให้ช่วยเข้าไปพูดคุยและสอบถามความสมัครใจของลุงทิศก่อน หลายวันต่อมาหลานของลุงทิศก็ติดต่อ กลับมาหาผูว้ จิ ยั แจ้งว่า ลุงทิศยินดีที่จะให้ผวู ้ ิจยั ใช้เป็ นกรณี ศึกษา หลังจากนั้น ผูว้ ิจยั ได้โทรศัพท์ไป หาลุ งทิศ โดยครั้งแรก ผูว้ ิจยั ได้ให้ล่ามภาษากะเหรี่ ยงของผูว้ ิจยั พูดคุ ยแนะนําผูว้ ิจยั และแจ้งความ ประสงค์ของผูว้ ิจยั ก่ อน หลังจากนั้น ผูว้ ิจยั จึงเริ่ ม พูดคุ ยกับลุ งทิศผ่านโทรศัพท์หลายครั้งเพื่อ สร้าง ความคุ น้ เคยกันก่ อน พร้อ มกับอธิ บายความประสงค์ของผูว้ ิจยั ให้ฟัง และหลังจากนั้นผูว้ ิจยั จึงนัด เดินทางไปพบลุงทิศที่หมู่บา้ นทุ่งป่ าคา ได้พดู คุยกับลุงทิศและภรรยา ลุงทิศสามารถพูดภาษาไทยแบบ ใช้สื่อสารทัว่ ๆ ไปได้ แต่ก็ไม่ถึงกับคล่องมากนัก สําหรับภรรยาพูดได้น้อยกว่าลุงทิศ ในการเจอกัน
1
“พ่อเมืองสามหมอกตะลึง เจอไม่สักเถื่อน ยกหมู่บา้ น” [ระบบออนไลน์], เดลินิวส์ , 4 พฤษภาคม 2557, แหล่งที่มา http://www.dailynews.co.th/regional/235116. (15 ตุลาคม 2561).
197
ครั้งแรกลุงทิศถามผูว้ ิจยั ว่าหากพูดผิดหรื อพูดไปพาดพิงเจ้าหน้าที่จะมีปัญหาอะไรไหม ผูว้ ิจยั ต้อ ง ชี้ แจงโดยละเอี ย ดว่า คดี ข องลุ งทิศ ได้สิ้ นสุ ด ไปแล้ว และข้อ มู ล ที่พูดคุ ย กันแม้ผูว้ ิจยั จะอัด เสี ย งใน บางครั้ง แต่ผวู ้ จิ ยั จะปกปิ ดไว้เป็ นความลับ และจะมีอาจารย์ที่ปรึ กษาคอยตรวจสอบเนื้อหาที่เขียนอีกที ดังนั้น ไม่วา่ จะพูดอย่างไรก็จะไม่มีผลกระทบใดๆ ทั้งสิ้น เมื่อลุงทิศกับภรรยาและผูว้ จิ ยั คุ น้ เคยกันแล้ว ทั้งสองคนได้ช่วยกันเล่าเรื่ องราวต่างๆ ให้ผวู ้ จิ ยั ฟังอย่างไม่ปิดบัง เวลาที่ภรรยาลุงทิศเล่า ลุงทิศจะเป็ น คนแปลให้ผวู ้ จิ ยั ฟัง ภูมิหลัง ลุงทิศ หนึ่ งในชาวบ้านทุ่งป่ าคาผูถ้ ู กดําเนิ นคดีตามข่าวข้างต้นนี้ เกิดปี พ.ศ. 2500 เป็ นชาว กะเหรี่ ยง มี อ าชี พเป็ นเกษตรกร เดิ มทีพ่อ แม่ ข องลุ งทิศอาศัยอยู่ที่หมู่ บา้ นหนึ่ งในตําบลแม่ ลาน้อ ย อําเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่ งเป็ นพื้นที่บนภูเขา ต่อมาพ่อแม่และญาติของลุงทิศได้ยา้ ยมา อยูท่ ี่หมู่บา้ นทุ่งป่ าคา ตําบลแม่ลาหลวง อําเภอแม่ลาน้อย เพื่อมาอยูใ่ นพื้นที่ราบ จะได้ทาํ นาและใกล้ กับตัวเมื อ งมากขึ้น ตอนที่พ่อแม่ ของลุ งทิศย้ายมาใหม่ๆ นั้น ลุ งทิศยังคงอยูท่ ี่หมู่ บา้ นเดิ ม พร้อมกับ ภรรยา ต่อมาพ่อแม่ได้แบ่งที่ดินที่หมู่บา้ นทุ่งป่ าคาให้บางส่วน ตนจึงได้ยา้ ยมาพร้อมกับภรรยาและลูก ซึ่งก็ได้ยา้ ยลงมาอยูไ่ ด้ประมาณ 20 ปี แล้ว เมื่อย้ายลงมาแล้ว ลุงทิศได้ปลูกบ้านหลังเล็กๆ อยูช่ วั่ คราว ก่อน และทยอยหาไม้มาเก็บสะสมไว้สาํ หรับสร้างบ้าน โดยไปตัดในป่ าและตามหัวไร่ ปลายนา และ สร้างบ้านไม้ยกพืน้ สูงไว้สาํ หรับอยูอ่ าศัยได้หลังหนึ่ ง โดยบ้านหลังดังกล่าวนี้ ลุงทิศใช้เวลาเก็บสะสม ไม้ประมาณ 7 - 8 ปี ลุงทิศยังได้เล่าว่าเมื่อก่อนชาวบ้านก็ไปตัดไม้สร้างบ้านได้ ตนเคยพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่ รู ้จกั กัน เขาบอกว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็รู้ดีและเข้าใจดีว่าคนเราต้องมีบา้ นอยู่ แต่เนื่ องจากมันผิดกฎหมาย ดังนั้น เวลาไปเอาไม้มาสร้างบ้านให้ไปเอาไกลๆ หน่ อย ให้ลบั หู ลบั ตาหน่ อย และอย่าเอามาครั้งละ มากๆ ให้เอามาเพียงเท่าที่จาํ เป็ นและทยอยเอามาทีละนิด บ้านทุ่งป่ าคา อยูห่ ่ างจากตัวเมืองแม่ลาน้อยประมาณ 15 กิโลเมตรไปทางทิศเหนื อ พื้นที่ป่า โดยรอบถูกประกาศให้เป็ นเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย หมู่บา้ นก่ อตั้งอย่างเป็ นทางการเมื่อปี 2527 ชาวบ้านทั้งหมดเป็ นชนเผ่ากะเหรี่ ยง ก่อนที่จะมาตั้งหมู่บา้ นรวมกันที่นี่ บรรพบุรุษของพวกเขา อยู่กระจัดกระจายในบริ เวณนี้ มานานแล้ว ต่อ มาเมื่ อ คนเริ่ มย้ายมาอยู่รวมกันเป็ นหมู่ บา้ นใหญ่ จึง ได้รับ การยกฐานะให้เ ป็ นหมู่ บา้ นอย่า งเป็ นทางการเมื่ อ ปี พ.ศ. 2531 ชาวบ้า นทุ่ง ป่ าคาเลิ ก ทํา ไร่ หมุ น เวียนมาแล้วร่ วม 20 ปี เนื่ อ งจากจํานวนคนมากขึ้ นแต่พ้ืน ที่ท าํ กิ น มี น้อ ย ทํา ให้ไ ม่ ส ามารถ
198
ทําไร่ หมุนเวียนต่อไปได้ ชาวบ้านที่นี่มีอาชีพทั้งทํานาข้าว ทําสวนปลูกข้าวโพด ถัว่ เหลือง ลูกหลาน ส่วนหนึ่งไปเรี ยนและทํางานอยูใ่ นเมือง ภูมิประเทศบริ เวณที่ต้ งั หมู่บา้ น เป็ นเขตลุ่มแม่น้ าํ ยวม มีท้ งั ที่ราบลุ่มแม่น้ าํ และภูเขาที่ไม่สูง มากนัก จึงเป็ นพื้นที่ที่ป่าไม้อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะมีตน้ ไม้สักขึ้นหนาแน่ น ซึ่ งชาวบ้านในท้องถิ่น นิยมตัดมาใช้สร้างบ้าน เนื่องจากเป็ นไม้ที่มีน้ าํ หนักเบาเมื่อแห้งแล้ว เนื้อไม้สวยงาม ที่สาํ คัญคือทนต่อ มด ปลวก แดด ฝน เมื่อใช้ไม้สกั สร้างบ้านจะสามารถอยูไ่ ด้นานๆ โดยปกติแล้วชาวบ้านไม่มีเงินเป็ น ก้อนสําหรับสร้างบ้านครั้งเดียวเสร็จ พวกเขาจึงอาศัยการทยอยเก็บสะสมไม้ไว้ทีละเล็กทีละน้อย โดย หาซื้อเอาหรื อไปชักลากไม้ตามหัวไร่ ปลายนามาเก็บหรื อทยอยสร้างไปทีละเล็กทีละน้อย เมื่อได้ไม้ มากพอแล้วก็จา้ งช่างมาสร้าง หากใครยังไม่มีเงินพอก็อยูแ่ บบชัว่ คราวไปก่อน เจ้ าหน้ าที่สนธิกาลังปิ ดล้ อมหมู่บ้าน ลุงทิศเล่ าว่าในวันเกิ ดเหตุตนไปรับจ้างทํางานต่างหมู่ บา้ น จึงไม่ ได้อ ยู่ในสถานการณ์ แต่ ทราบจากภรรยาที่โทรมาบอกตั้งแต่ช่วงที่เกิ ดเหตุใหม่ว่าเจ้าหน้าที่จะมายึดไม้ที่บา้ น ตนก็ไ ด้บอก ภรรยาว่ายังไม่ตอ้ งทําอะไร ภรรยาลุงทิศก็เล่าเสริ มจากลุงทิศว่า วันเกิดเหตุตนอยูใ่ นเหตุการณ์ท้ งั วัน โดยวันนั้นเป็ นวันอาทิตย์ ชาวบ้านต่างไปเข้าโบสถ์ซ่ ึ งตั้งอยู่ในหมู่บ า้ น พอถึงช่ วงสายๆ เจ้าหน้าที่ ประมาณสิบกว่าคน มีท้งั ป่ าไม้ ตํารวจและ อส. เข้ามาที่หมู่บา้ น โดยตรงไปค้นที่บา้ นสองสามหลัง แต่ เจ้าของบ้านไม่อยูแ่ ละปิ ดประตูร้ วั ไว้หมด เจ้าหน้าที่ก็พยายามจะเข้าไป ระหว่างนั้นอดีตผูน้ าํ ชุมชนได้ พูดกับชาวบ้านว่า ชาวบ้านจะต้องช่วยกันป้ องกันไม่ให้มีการค้นหรื อจับใคร เพราะชาวบ้านต่างใช้ไม้ สร้างบ้าน หากปล่อยให้มาค้นชาวบ้านอาจจะต้องถูกจับกันทั้งหมู่บา้ น ชาวบ้านจึงออกจากโบสถ์มา รวมตัวกันและเจรจาไม่ให้เจ้าหน้าที่ตรวจค้น หัวหน้าชุดทหารที่นาํ มาได้ใช้วิทยุสื่อสารขอกําลังเสริ ม จากหน่วยงานอื่นๆ ทั้งทหาร ตํารวจ ป่ าไม้ และฝ่ ายปกครองให้มาสมทบ ผ่านไปไม่นานเจ้าหน้าที่จาก หน่วยต่างๆ เดินทางมาสมทบจํานวนมากกว่าหนึ่งร้อยคน พร้อมทั้งได้สงั่ ให้เจ้าหน้าที่กระจายกําลังไป ตรวจค้นตามบ้านต่างๆ ทัว่ หมู่ บ ้าน ถ้าพบว่าตามบ้านมี ไ ม้แปรรู ปหรื อ ไม้สักท่อ นก็ถ่ า ยรู ปเอาไว้ ระหว่างนั้นชาวบ้านบางส่วนก็เข้าไปเถียงและชาวบ้านบางคนก็ต่อว่าพวกเจ้าหน้าที่เหล่านั้น ชาวบ้าน บางส่วนก็เอาไว้ไปขวางถนนทางออกหมู่บา้ นไม่ให้ใครเข้าออกไปได้ เจ้าหน้าที่ก็มาเจรจากับชาวบ้าน แต่ชาวบ้านไม่ยอมเปิ ดทางให้ พอถึงตอนเย็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดก็เดินทางมาถึงที่หมู่บา้ น ได้เจรจาให้ ชาวบ้านเปิ ดทางเพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ออกไป และบอกว่าจะไม่ให้เจ้าหน้าที่ดาํ เนิ นคดีกบั ชาวบ้านที่จะใช้ ไม้สร้างบ้านจริ ง ชาวบ้านจึงยอมเปิ ดทางให้ เจ้าหน้าที่ท้งั หมดจึงออกจากหมู่บา้ นไป ลุงทิศเล่าอีกว่าตอนที่เจ้าหน้าที่เข้ามาที่บา้ นของตนนั้น เป็ นช่วงที่ตนกําลังสร้างโรงครัวที่หน้า บ้าน โดยได้ข้ นึ โครงมุงหลังคาแล้ว แต่เนื่องจากยังไม่มีเงินสร้าง จึงนําไม้แผ่นที่หามาได้มาตีแปะเป็ น 199
ฝาผนังไว้ชวั่ คราว และมีไม้เสาบ้านเป็ นไม้สักท่อนไม่ใหญ่นัก อีก 4 ต้นวางอยูใ่ นบ้าน ตั้งใจว่าจะเร่ ง ทําให้เสร็จ แต่เมื่อเจ้าหน้าที่มาถึงก็ได้ถ่ายรู ปไม้พวกนั้นไว้ ต่อมาก็ถูกฟ้ องเป็ นคดี สําหรับเหตุการณ์ที่ผวู ้ า่ ฯ เดินทางมาเจรจานี้ ผูว้ ิจยั ได้สอบถามผูน้ าํ ชุมชนแล้ว ผูน้ าํ ชุมชนเล่า ให้ผวู ้ จิ ยั ฟังว่า เมื่อผูว้ า่ ฯ มาถึงก็ได้พดู คุยเจรจากับทั้งสองฝ่ าย หัวหน้าชุดทหารได้พาผูว้ า่ ฯ ไปดูตามจุด ต่างๆ ที่ได้วางกําลังไว้ ก็พบไม้ของชาวบ้านตามบ้านเรื อน บางคนได้นาํ มาขึ้นรู ปทรงเป็ นบ้านไว้ ซึ่ ง ขณะนั้นหน่ วยงานต่างๆ ที่มาก็รู้เห็ นเหตุการณ์ ด้วยกันทั้งหมด ผูว้ ่าฯ จึงเสนอว่าอยากจะให้มี การ ตรวจสอบก่อ นตามที่ชาวบ้านอ้างว่าเก็บไว้สร้างบ้าน โดยเบื้อ งต้นยังไม่ตอ้ งนําไม้ออกไป แต่จะให้ เจ้าหน้าที่ไ ด้ทาํ การพิสูจน์ก่อ น ว่าใครที่จะสร้างบ้านจริ งก็ให้พิจ ารณาตามความเหมาะสม ไม่ ใ ห้ ชาวบ้านเดื อดร้อน สําหรับในส่ วนที่ม ากเกินจําเป็ นนั้นจะมอบให้หน่ วยงาน หากส่ งฟ้ องดําเนิ นคดี ชาวบ้า นก็ จ ะต้อ งติ ด คุ ก กัน ทั้ง หมู่ บ ้า น แต่ สํา หรั บ คนที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งกับ ขบวนการทํา ไม้ก็ ใ ห้ ดําเนินคดีตามกฎหมาย ซึ่ งชาวบ้านเข้าใจว่าจะมีการตั้งคณะกรรมขึ้นมาตรวจสอบตามข้อเสนอของ ผูว้ า่ ขณะนั้นก็เริ่ มเย็นแล้วผูว้ า่ ฯ จึงขอให้ชาวบ้านเปิ ดทางให้ทหารและหน่วยงานออกไป สําหรับไม้ก็ ให้นาํ มากองไว้รวมกันแล้วให้เจ้าหน้าที่ทหารเฝ้ าดูแลไม่ให้หาย หลังจากวันหยุดแล้วจะให้เจ้าหน้าที่ มาตรวจสอบ เมื่อตกลงกันตามข้อเสนอของผูว้ ่าฯ ชาวบ้านจึงขนไม้จากแต่ละบ้านที่พบมากองรวมๆ กันไว้กลางหมู่บา้ น หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ทหารก็มาตรวจเช็คไม้ของกลาง โดยได้ทาํ บันทึกระบุชื่อเจ้า บ้านและจํานวนของกลางไว้ ถูกดาเนินคดี หลังจากเกิดเหตุการณ์ในหมู่บา้ นประมาณ 1 เดือน ก็มีหนังสื อจากตํารวจมาถึงลุงทิศพร้อม กับชาวบ้านในหมู่บา้ นอีก 39 คน เรี ยกให้ไปรับทราบข้อกล่าวหา ลุงทิศบอกว่าตอนนั้นรู ้สึกกลัวมาก ชาวบ้านคนอื่นๆ ก็กลัว ก่อนจะไปชาวบ้านได้คุยกันบ้าง แต่ไม่รู้วา่ ตํารวจจะเรี ยกไปทําอะไร ตอนนั้น ก็ยงั ไม่ได้ไ ปขอความช่ วยเหลือจากใคร เนื่ อ งจากชาวบ้านไม่รู้จะทําอย่างไร เมื่อถึงวันที่กาํ หนดนัด ชาวบ้านทั้งหมด 39 คน ก็ไปพบตํารวจที่สถานีตาํ รวจกันเองโดยมีผนู ้ าํ ในหมู่บา้ นไปด้วย ตํารวจก็เรี ยก ให้เข้าไปทีละคนๆ เมื่อตนเข้าไปตํารวจก็ถามนิดๆ หน่ อยๆ ที่จาํ ได้คือถามว่าเอาไม้มาจากไหน จะใช้ ทําอะไร ใช้เวลาสั้นๆ ประมาณ 2 - 3 นาที หลังจากนั้นก็เอาเอกสารมาให้เซ็นชื่อ ตนไม่รู้จะทําอย่างไร ก็เซ็นชื่อ ผูว้ จิ ยั ถามว่า ตั้งแต่ตอนแรกเคยคิดที่จะต่อสูค้ ดีไหม ลุงทิศบอกว่าตอนนั้นตนและชาวบ้านไม่ เคยคิดเกี่ยวกับการต่อสูค้ ดี เพราะทุกคนต่างไม่รู้วา่ จะสามารถทําอะไรได้บา้ ง คิดเพียงว่าเมื่อเราผิดก็ทาํ อะไรไม่ได้ จะพูดหรื อทําอะไรก็กลัวว่าจะพูดผิดหรื อทําให้ความผิดร้ายแรงขึ้น จึงได้แต่ยอมรับและ ทําตามที่เจ้าหน้าที่บอก เขาให้ทาํ อะไรก็ทาํ ให้ไปไหนก็ไป 200
หลังจากนั้นก็มีองค์กรพัฒนาเอกชนมาพูดคุยและบอกว่าจะให้ความช่วยเหลือ และต่อมาได้ ส่งทนายความมาช่วยเหลือ มีการประชุมและพูดคุยกันแต่เนื่ องจากชาวบ้านไม่ประสงค์จะต่อสู ้คดีใน ศาล จึงได้จดั ทําคําแถลงประกอบคํารับสารภาพ เพือ่ ขอให้ศาลเมตตาลงโทษสถานเบา ต่อมาวันที่ 21 สิงหาคม 2557 ลุงทิศและชาวบ้านที่ถูกแจ้งความดําเนิ นคดีก็ถูกเรี ยกไปที่ศาล แต่ลุงทิศเล่าว่าตอนนั้นตนไม่รู้วา่ เขาเรี ยกไปทําอะไร จึงไม่ได้เตรี ยมอะไรไปเลย จําได้ว่าก่อนออกไป ก็ห่อข้าวใส่กระเป๋ าแล้วก็ตามเขาไปที่อาํ เภอแม่สะเรี ยง (ผูว้ ิจยั : ศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง) ตอนแรกก็อยู่ ข้างนอก ต่อมาเขาก็เรี ยกเฉพาะคนที่ถูกดําเนิ นคดีให้ไปนั่งรอในห้อง เจ้าหน้าที่ก็เข้ามาบอกว่าจะพา ขึ้นไปข้างบน หลังจากนั้นก็พาขึ้นไปที่ห้องข้างบนที่มีผพู ้ ิพากษาอยู่ ทีละประมาณ 10 คน อยูท่ ี่ห้อง นั้นสักพักก็ถูกพาลงไปอยูใ่ นห้องขัง จนกระทัง่ ตอนบ่ายจึงได้ถูกปล่อยตัวอออกมา เมื่อเข้ าสู่ การพิจารณาในชั้นศาล ในวันที่ส่งฟ้ องผูว้ ิจยั อยู่ในเหตุการณ์ ดว้ ย โดยองค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้าไปช่ วยเหลื อ เรี ยก ผูว้ ิจยั ไปช่วยเป็ นทนายความในวันที่ส่งฟ้ อง โดยบอกว่าเนื่ องจากผูต้ อ้ งหามีจาํ นวนมาก ทนายความ ขององค์กรที่มีอยูแ่ ล้วไม่เพียงพอ ผูว้ จิ ยั จึงรับเข้าไปช่วยเป็ นทนายความให้ในวันที่ถูกส่ งฟ้ อง ช่วงเช้า ของวันนั้นชาวบ้านรวมทั้งลุงทิศ ซึ่งมีท้งั ผูต้ อ้ งหาและญาติก็มารอหน้าสํานักงานอัยการประมาณ 4050 คน โดยทนายความหลักและองค์กรได้เข้าไปแจ้งว่าขอให้อ ัยการส่ งฟ้ องพร้อมๆ กันเพื่อ ความ สะดวกต่อชาวบ้าน เจ้าหน้าที่สาํ นักงานอัยการจึงได้ให้ชาวบ้านกรอกแบบฟอร์มคําร้องขอให้เร่ งรัดส่ ง ฟ้ องคดี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ที่สาํ นักงานอัยการก็บอกว่าให้ไปรอที่ศาล ผูว้ ิจยั ก็ไปที่ศาลและตรงขึ้น ไปยังห้องพิจารณาคดี ก่อนที่ศาลจะขึ้นมานัง่ บัลลังก์อ่านคําฟ้ องนั้น เจ้าหน้าที่ศาลได้ทยอยนําผูต้ อ้ งหาเข้าไปในห้อง พิจารณาทีละชุ ด ๆ ละประมาณ 10 คน ผูว้ ิจยั ได้ถ ามชาวบ้านกลุ่มแรกที่มานั่งรอว่าได้เตรี ยมเงิน ประกันตัวมาไหม ชาวบ้านบอกว่าไม่ได้เตรี ยมมา แต่เข้าใจว่าทางองค์กรจะหาเงินมาประกันตัวให้ สอบถามจากตัวเจ้าหน้าที่ขององค์กร ก็บอกว่าไม่เคยได้บอกกับชาวบ้านว่าจะหาเงินมาประกันตัวให้ สรุ ปคือไม่มีการเตรี ยมการเพือ่ ประกันตัวมาก่อน เมื่อศาลออกมานัง่ บัลลังก์ก็ได้สอบถามทนายความเบื้องต้น ทนายความที่มาด้วยก็แถลงว่าจะ รับสารภาพทั้งหมดพร้อมยืน่ คําแถลงประกอบคํารับสารภาพให้ ศาลก็อ่านคําฟ้ องและกําหนดให้ทาํ การสืบเสาะและพินิจ โดยใช้เวลา 3 เดือน หลังจากอ่านคําฟ้ องชุดแรกแล้ว ผูว้ ิจยั ได้แถลงศาลว่าขอให้ ศาลกําหนดหลักทรัพย์ประกันที่ต่าํ เพือ่ ให้ชาวบ้านสามารถประกันตัวได้ หรื อใช้ตาํ แหน่ งผูใ้ หญ่บา้ น สมาชิก อบต. เท่าที่หามาได้มาประกันตัว เนื่ องจากจําเลยมีจาํ นวนมาก และส่ วนใหญ่มีฐานะยากจน 201
ศาลก็บอกว่าทําไม่ได้ และยังได้บอกว่าศาลก็ตอ้ งพิจาณาตามระเบียบกฎหมาย จะทําให้คนกลุ่มนี้ มี อภิสิทธิ์กว่าคนอื่นๆได้อย่างไร อีกทั้งยังบอกว่า ศาลได้ข่าวมาว่าทางสภาคริ สต์จะหาเงินมาประกันตัว ชาวบ้านทั้งหมด โดยมีเงินอยูแ่ ล้ว 7 ล้านบาท ทางทนายความที่มาด้วยกันก็แถลงศาลว่า ทางองค์กรไม่ เคยได้บอกกับใครว่าจะนําเงินมาประกันตัวชาวบ้านมาก่อน ผูว้ ิจยั จึงได้ยกตัวอย่างคดีปางแดงที่ศาล จังหวัดเชียงใหม่ได้เคยอนุญาตให้ประกันตัวจําเลยมาแล้ว ซึ่ งเป็ นคดีทีมีลกั ษณะคล้ายๆ กันให้ศาลฟั ง โดยคดีน้ นั ใช้ตาํ แหน่ งนักวิชาการและทนายความจํานวนไม่กี่คนประกันตัวชาวบ้านทั้งหมดสามสิ บ กว่าคน ศาลก็ ไม่ได้วา่ อะไรแล้วกลับเข้าไป สักพักศาลก็ออกมานั่งบัลลังก์อีกครั้งและบอกว่า ขอให้ ชาวบ้านยืน่ คําร้องขอประกันตัวมาก่อน แล้วศาลจะพิจารณาให้ หลังจากนั้นศาลก็ทยอยอ่านคําฟ้ อง ครบ ส่วนที่ดา้ นนอกห้องพิจารณาคดี ญาติและผูน้ าํ ชุมชนต่างช่วยกันยืน่ คําร้องขอประกันตัวโดย นําเงินมาวางซึ่ งต่อมาผูว้ ิจยั ได้รู้จากผูใ้ หญ่บา้ นว่า ศาลเรี ยกเงินประกันในจํานวนที่แตกต่างกันไป ตั้งแต่ 30,000 บาท จนถึง 250,000 บาท ซึ่งผูว้ จิ ยั เข้าใจว่าแตกต่างกันไปตามจํานวนไม้ที่ครอบครอง ต่อมาเมื่อ 29 ต.ค. 57 ลุงทิศพร้อมกับชาวบ้านก็เดินทางไปศาลอีกครั้ง ซึ่งตอนที่ไปลุงทิศก็ไม่ รู ้ว่าเขาให้ไ ปทําอะไร ผูน้ าํ ชุ มชนบอกว่าให้ไปก็ไปตามที่เขาบอกเหมือนครั้งก่อนหน้านี้ เมื่อไปถึ ง เจ้าหน้าที่ก็พาไปนัง่ ในห้อง สักพักผูพ้ พิ ากษาก็ออกมาเรี ยกชื่อทีละคนและอ่านคําพิพากษา ตอนนั้นลุง ทิศไม่เข้าใจและจําไม่ได้วา่ ศาลพูดว่าอย่างไรบ้าง จําได้เพียงว่าตัดสินจําคุก 1 ปี หลังจากนั้นก็ถูกพาลง ไปในห้องขังและอยูจ่ นถึงตอนบ่ายก็ถูกพาไปที่เรื อนจํา และอยูท่ ี่นนั่ อีกประมาณหนึ่งเดือนก็ได้รับการ ประกันตัวออกมา (ผูว้ จิ ยั : ประกันตัวระหว่างรออุทธรณ์) ในวันที่อ่านคําพิพากษาของศาลชั้นต้น ผูว้ จิ ยั ไม่ได้ถูกเรี ยกไปด้วย แต่ต่อมาได้ทราบจากข่าว และได้สอบถามผูน้ ําชุ ม ว่า ศาลจังหวัดแม่ สะเรี ยงได้นัดอ่านคําพิพากษาจําเลยทั้ง 39 คน โดยมี คาํ ตัดสินว่า ให้ชาวบ้าน 24 คน ต้องโทษจําคุก 1-7 ปี ไม่รอลงอาญา และอีก 15 คน ให้จ่ายค่าปรับคนละ 10,000 – 20,000 บาท โทษจําคุกให้รอลงอาญา โดย 2 คนในจํานวน 15 คนได้เสี ยชีวิตไปก่อนที่ศาล จะมีคาํ ตัดสิน2 สําหรับลุงทิศศาลตัดสินให้จาํ คุก 2 ปี รับสารภาพลดเหลือ 1 ปี โดยไม่รอลงอาญา โดย ศาลให้เหตุผลที่ไม่รอลงอาญาว่า “... ไม้ สักของกลางมีจานวนมากและเป็ นการทาลายทรั พยากรป่ าไม้ อันมี ค่าซึ่ งไม้ ดังกล่ าวซับนา้ ไว้ ในฤดูฝนช่ วยยับยั้งอุทกภัยทั้งให้ ความชุ่มชื่ นแก่ ดินช่ วยลดภาวะโลก
2
จําคุก 1 -7 ปี ชาวปกาเกอะญอ 24 คน – ปรับอีก 15 คน ฐานครอบครองไม้หวงห้าม, ประชาไท, ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2557. http://www.prachatai.com/journal/2014/10/56263
202
ร้ อน แต่ จาเลยกลับสนับสนุนการตัดไม้ ทาลายป่ าโดยไม่ คานึ งถึงส่ วนรวมจึ งไม่ มีเหตุอันควรรอการ ลงโทษ...”3 ภายหลังจากที่ศาลชั้นต้นมีคาํ พิพากษาแล้ว ศาลก็ไม่ให้ประกันตัวด้วยหลักทรัพย์เดิมอีก แต่ เรี ยกเต็มอัตราที่กาํ หนด คือ 200,000 บาทขึ้นไป ซึ่ งลุ งทิศและชาวบ้านที่ถูกพิพากษาให้จาํ คุ กไม่ สามารถหาเงินตามจํานวนที่กาํ หนดมาวางเป็ นประกันได้ จึงจําเป็ นต้องเข้าไปอยูใ่ นเรื อนจํา หลังจากที่ ศาลชั้นต้นมีคาํ พิพากษาแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้พบผูน้ าํ ชุมชนและได้สอบถามว่าจะอุทธรณ์ต่อไหม ผูน้ าํ ชุมชน ก็บอกว่าชาวบ้านส่วนใหญ่กลัวและไม่อยากอุทธรณ์ต่อแล้ว และยังได้บอกว่าบรรดาญาติของคนที่ถูก จําคุกกลัวว่าหากดําเนิ นการอะไรมาก จะทําให้เจ้าหน้าที่รัฐและศาลมาพอใจ แล้วอาจจะทําให้ได้รับ โทษหนักขึ้น ผูว้ ิจยั ได้ถ ามเกี่ ยวกับเรื่ อ งการยื่นอุ ทธรณ์ ลุ งทิศ บอกว่าตอนที่ถู กขังอยู่น้ ัน (หลังจากศาล ชั้นต้นมี คาํ พิพากษา) ตนไม่ไ ด้คิดเกี่ยวกับการอุทธรณ์ และไม่ รู้ว่าหลังจากศาลตัดสิ นแล้วเราจะทํา อะไรได้ ต่อมาก็เห็นองค์กรและทนายความมาทําข้อมูลที่บา้ น รู ้แต่วา่ เขามาช่วย แต่ไม่รู้ว่าเขาทําอะไร (จัดทําข้อมูลสําหรับเขียนคําอุทธรณ์) เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557 ซึ่ งเป็ นช่วงที่ชาวบ้านและลุงทิศยังอยูใ่ นเรื อนจําจังหวัดแม่สะ เรี ยง และยังอยูภ่ ายในกําหนดเวลายืน่ อุทธรณ์ ชาวบ้านสมาชิกสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนื อ (สกน.) ได้ ชุมนุมที่เชียงใหม่ เรี ยกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปั ญหาความเดือนร้อนของชาวบ้าน ทําให้มีการนัดประชุม เพือ่ เจรจาแก้ไขปั ญหา โดยพลเอก ดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในขณะนั้น จะเดินทางมาร่ วมด้วย ซึ่งในวันที่ประชุม ตัวแทนของ สกน.ได้นาํ กรณี คดี บ้านทุ่งป่ าคาเข้าไปสู่ โต๊ะเจรจาด้วย โดยเสนอว่าให้ประสานงานเพื่อขอใช้เงินจากกองทุนยุติธรรม ช่วยเหลือการประกันตัวแก่ชาวบ้านที่ถูกดําเนิ นคดี จํานวน 18 ราย จํานวนเงินประกันตัว 5,600,0004 ซึ่ งที่ประชุ มก็เห็นด้วย จึงมี การประสานงานจนนํามาสู่ การอนุ ม ัติเงินจากกองทุนยุติธรรม จํานวน 5,600,000 บาท มาประกันตัวจําเลย จํานวน 18 ราย ซึ่ งลุงทิศก็เป็ นหนึ่ งในคนที่ได้รับประโยชน์ดว้ ย โดยให้สาํ นักงานยุติธรรมจังหวัดมาดําเนินการ เมื่ อ ได้รับการประกันตัวออกมา องค์ก รและทนายความที่เคยให้ค วามช่ วยเหลื อ เดิ มก็ไ ด้ เดิ นทางไปพูดคุยและชี้ แจงเกี่ยวกับการอุ ทธรณ์ ให้ชาวบ้านอีก จึงได้ตกลงกันว่าจะยืน่ อุทธรณ์เพื่อ ขอให้ศาลรอลงอาญา ทนายความจึงได้ยนื่ คําร้อ งขอขยายระยะเวลายืน่ อุทธรณ์ ออกไปอี ก 1 เดื อ น ต่อมาทนายความก็ได้ยนื่ อุทธรณ์ขอให้ศาลลดโทษให้ โดยอธิบายว่าการนําไม้มาเก็บสะสมไว้สร้าง 3 4
คําพิพากษาศาลชั้นต้น คดีหมายเลขดําที่ 341/2557 คดีหมายเลขแดงที่ 425/2557 http://prachatham.tumblr.com/post/102874705258
203
บ้านเป็ นวิถีชีวติ ปกติทวั่ ไปของชาวบ้านในท้องถิ่น ประกอบกับมีภาระความรับผิดชอบในครอบครัว และไม่เคยกระทําความผิดมาก่อน แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2558 ศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง อ่านคําพิพากษาอุทธรณ์ภาค 5 แผนกคดีสิ่งแวดล้อม โดยหมายเรี ยกให้จาํ เลยทั้งหมด 19 รายซึ่ งรวมถึง ลุงทิศด้วย ไปฟั งคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์มีคาํ พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้จาํ คุกจําเลย โดยไม่รอลงอาญา โดยให้เหตุผลว่าไม้สักเป็ นทรัพยากรที่มีความสําคัญและเป็ นสมบัติที่ที่ล้ าํ ค่าของ ชาติ ควรที่ประชาชนจะต้องร่ วมกันหวงแหน บํารุ งรักษาให้อุดมสมบูรณ์เพื่อประโยชน์ร่วมกัน มิใช่ เป็ นของส่วนตัวของผูใ้ ด , อีกทั้งไม้สักเป็ นไม้หวงห้ามที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจสู ง วิถีชีวิตของชนเผ่า กะเหรี่ ย งที่จะนํา ไม้จากป่ ามาสะสมไว้เ พื่อ ปลู กสร้างบ้าน เป็ นเพียงการทําเพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว เท่านั้น ประกอบกับการกระทําของจําเลยเป็ นการส่งเสริ มให้มีการทําลายสภาพป่ าให้เสื่ อมโทรมลง มี ผลกระทบต่อ การเปลี่ ยนแปลงสภาวะแวดล้อ มของดิ น นํ้า อากาศ และป่ าไม้ท้ งั โดยทางตรงและ ทางอ้อมต่อ พื้นที่ป่า อันเป็ นต้นเหตุของความแห้งแล้งและภัยพิบตั ิจากนํ้าป่ าไหลหลาก เมื่ออ่านคํา พิพากษาศาลอุทธรณ์เสร็จแล้ว จําเลยทั้งหมดก็ถูกส่งไปยังเรื อนจําทันที หลังจากฟั งคําพิพากษาศาลอุ ทธรณ์เสร็ จแล้วประมาณหนึ่ งเดื อน ผูเ้ ขียนได้มีโอกาสลงไป เยีย่ มบ้านทุ่งป่ าคาอีกครั้ง ได้พบปะพูดคุยกับผูน้ าํ ชุมชนท่านหนึ่ ง เล่าให้ผวู ้ ิจยั ฟั งด้วยอารมณ์น้อยเนื้ อ ตํ่าใจว่า “ชาวบ้านถูกเจ้าหน้าที่ราชการหลอก ที่ผา่ นมาพวกเขามาขอให้ชาวบ้านเข้าโครงการต่างๆ ทั้ง โครงการป่ าชุ ม ชน โครงการหมู่ บ ้า นป่ าไม้แ ผนใหม่ โครงการเกษตร มี ก ารทํา กฎระเบี ย บ ตั้ง คณะกรรมการ ให้ชาวบ้านช่ วยกันดู แลป่ า ป่ าชุ มชนของหมู่บา้ นทุ่งป่ าคามี 900 กว่าไร่ ชาวบ้าน ช่วยกันดูแลเป็ นอย่างดี ป่ าชุมชนของบ้านทุ่งป่ าคาเคยถูกส่ งเข้าไปประกวดระดับประเทศด้วย แต่พอ ชาวบ้านใช้ไม้สร้างบ้านอยูอ่ าศัยกลับถูกดําเนินคดี ผูว้ จิ ยั ถามว่าเมื่อตอนที่ถูกดําเนินคดีน้ นั อะไรเป็ นปั ญหาบ้าง ลุงทิศบอกว่าปั ญหามีหลายอย่าง คือ การที่ตนพูดและฟั งภาษาไทยได้ไม่มาก ทําให้เวลาที่ตาํ รวจ เจ้าหน้าที่หรื อศาลพูดแล้วก็ไม่ค่อ ย เข้าใจ โดยเฉพาะเวลาที่เขาพูดเกี่ยวกับกฎหมายหรื อความผิด นอกจากนี้ เวลาที่เขาถามก็ไ ม่กล้าพูด อะไรมาก เนื่องจากพูดภาษาไทยไม่คล่องก็เลยไม่กล้าพูด อีกอย่างคือตอนนั้นกลัวว่าหากพูดไปแล้วจะ ผิดและเจ้าหน้าที่จะเพิ่มข้อหาหรื อทําให้ผิดหนักมากขึ้น นอกจากนี้ การที่ตนไม่รู้กฎหมาย ไม่รู้ว่ามี ขั้นตอนการดําเนินคดีอย่างไรบ้าง จะต้องเตรี ยมตัวอย่างไรบ้าง ไม่รู้วา่ มีสิทธิ อะไรบ้าง ทําให้กลัวมาก เวลาที่ถูกเรี ยกไปโน่นไปนี่ และการที่ไม่รู้ข้ นั ตอนทําให้ไม่สามารถเตรี ยมตัวได้ อีกทั้งการที่ไม่รู้ว่ามี สิทธิอะไรบ้าง ทําให้ไม่รู้วา่ จะต่อสูค้ ดีอย่างไร ไม่กล้าโต้เถียงกับเจ้าหน้าที่ เขาบอกให้ทาํ อะไรเราก็ได้ แต่ทาํ ตามที่เขาบอก ตอนนั้นได้แต่เพียงหวังว่าเจ้าหน้าที่จะช่วยทําให้เบาที่สุด จนถึงทุกวันนี้ ตนเองก็ ยังไม่เข้าใจอะไรเลย 204
สําหรับเรื่ องค่าใช้จ่ายก็เป็ นปั ญหาอย่างมาก ตอนนั้นถูกเรี ยกตัวไปบ่อยๆ ตั้งแต่ที่ตาํ รวจจนถึง ที่ศาล เวลาจะไปที่ไหนชาวบ้านก็จะช่วยกันเหมารถไป ตอนนั้นก็มีญาติที่อยูบ่ นดอยก็ส่งเงินมาช่วย เป็ นบางครั้ง หมายเหตุ แม้วา่ คดีจะได้สิ้นสุ ดไปแล้ว แต่ลุงทิศรวมถึงชาวบ้านในหมู่บา้ นยังคงกลัวการถูกดําเนิ นคดี อยูผ่ วู ้ ิจยั ทราบเรื่ องนี้ ดี ตอนที่ติดต่อขอเข้าไปพบจึงได้อธิ บายรายละเอียดการทําวิจยั ให้ลุงทิศเข้าใจ โดยเพือ่ นที่ของผูว้ จิ ยั ที่เป็ นคนกะหรี่ ยงและรู ้จกั กับลุงทิศช่วยอธิบายเป็ นภาษากะเหรี่ ยงให้ฟังก่อนจน เข้าใจดี นอกจากนี้ ระหว่างที่ล งพื้นที่ไ ปพูดคุ ยกันนั้น ตอนหนึ่ งลุงทิศได้เล่ าว่าตนได้บอกชาวบ้าน หลายคนว่าทนายความ (หมายถึงผูว้ ิจยั ) จะเข้าไปหาที่บา้ น ชาวบ้านหลายคนถามด้วยความสงสัยว่า ทนายความจะมาทําอะไร คดียงั ไม่จบอีกหรื อ มีปัญหาอะไรอีกหรื อเปล่า แต่ตนก็ได้อธิบายไปว่ารู ้จกั กับผูว้ จิ ยั และแค่เข้าไปเยีย่ มเยียนหากันเป็ นการส่วนตัว ไม่เกี่ยวข้องกับคดีอะไร อย่างไรก็ตามเมื่อเมื่อ ได้ไปพบแล้วผูว้ ิจยั ได้อธิบายวัตถุประสงค์ในการพูดให้ฟังแล้ว ลุงทิศก็บอกว่ายินดีและเล่าเรื่ องราว ทุกอย่างที่จาํ ได้ให้แก่ผวู ้ จิ ยั ฟัง เนื่ องจากลุงทิศไม่ รู้และไม่เข้าใจเกี่ ยวกับขั้นตอนกระบวนการในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา แม้วา่ ตนจะผ่านประสบการณ์มาแล้วแต่ก็ไม่สามารถเล่าเรื่ องราวในกระบวนการดําเนิ นคดีได้ ผูว้ ิจยั ต้องตั้งคําถามโดยการทบทวนสถานการณ์ในแต่ละครั้ง เช่น วันที่ไปพบตํารวจครั้งแรกได้ทาํ อะไรบ้าง วันที่ทนายความมาประชุมที่หมู่บา้ นได้ตกลงกันว่าอย่างไร วันที่ไปศาลครั้งแรกเจอใครบ้าง ตอนที่ ถู ก ส่ ง ตัว ไปที่เ รื อ นจําครั้ง แรกอยู่ไ ด้ป ระมาณกี่ วนั เป็ นต้น เพื่อ ให้ลุ ง ทิศ และภรรยาค่อ ยๆ ทบทวนความทรงจําใหม่ สัมภาษณ์วนั ที่ 5-6 กุมภาพันธุ์ 2562, 12 มีนาคม 2562.
205
206
ภาคผนวก ค. หน่ อดา : ผู้ที่ต้องทาใจปล่อยให้ ไหลตามกระแสนา้ ช่วงเช้าของเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2551 ตํารวจมาหาหน่ อดาที่บา้ นและบอกว่าจะพาไปที่ศาล ขณะนั้นไม่มีผนู ้ าํ หมู่บา้ นอยูบ่ ริ เวณนั้น หน่ อดาไม่รู้จะทําอย่างไร ก็ยอมขึ้นรถไปกับตํารวจ เมื่อออก จากหมู่ บ ้านแล้ว ได้พ บผูใ้ หญ่บ ้า นของอี ก หมู่ บ ้า นหนึ่ งที่ อ ยู่ใ กล้เ คี ยงกับหมู่ บา้ นของหน่ อ ดา ซึ่ ง ผูใ้ หญ่บา้ นคนนั้นรู ้จกั กับตํารวจที่มาด้วย ตํารวจจึงขอให้ผใู ้ หญ่บา้ นคนนั้นติดรถไปด้วย เมื่อเดิ นทาง ไปถึงที่ศาลจังหวัดแม่สอด ตํารวจก็พาเข้าไปข้างในอาคารศาลและให้นงั่ รอที่หน้าห้อง เจ้าหน้าที่ศาลก็ ได้สอบถามสองสามคําถาม โดยมีผูใ้ หญ่บา้ นคนที่มาด้วยแปลให้หน่อดาฟังว่าจะยอมรับสารภาพว่าได้ ไปทําไร่ ที่นั่นจริ งไหม หน่ อ ดาก็ตอบว่าได้ทาํ จริ ง หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ศาลก็เอาเอกสารมาให้เซ็ น หน่อดาเซ็นไม่เป็ นเจ้าหน้าที่จึงให้ปั๊มหัวแม่มือ หลังจากนั้นก็ถูกพาเข้าไปในห้อง แล้วมีคนออกมาพูด อะไรบางอย่างที่หน่อดาฟังไม่ออก สักพักก็ถูกเจ้าหน้าที่พาลงไปยังห้องขัง ระหว่างที่อยูใ่ นห้องขังก็มี คนมาบอกว่าถูกตัดสินให้จาํ คุก 1 ปี หลังจากนั้นก็ถูกเอาไปขังที่เรื อนจํา ภูมิหลังของหน่ อดา นางหน่อแฮหมุ่ย เวียงวิชชา เกิดและเติบโตที่หมู่บา้ นแม่อมกิ ตําบลแม่วะหลวง อําเภอท่าสอง ยาง จังหวัดตาก โดยเกิ ดเมื่อปี พ.ศ. 2514 ตั้งแต่เติบโตมาก็มีภูมิล าํ เนาอยูบ่ า้ นแม่ อมกิ มาโดยตลอด แต่งงานแล้วและมีบุตรทั้งหมด 5 คน เป็ นผูช้ าย 2 คน ผูห้ ญิง 3 คน นับแต่จาํ ความได้ หน่ อดาและสามี รู ้จกั แต่การทําไร่ หมุนเวียนปลูกข้าวและพืชผักต่างๆ นอกจากนี้ ก็อาศัยเก็บหาของป่ าเป็ นอาหารและ ขายแลกเงินบ้าง บางครั้งก็ออกล่าสัตว์ซ่ ึ งเป็ นกิจกรรมที่พวกผูช้ ายชื่นชอบ บางครั้งก็รับจ้างบ้างเล็กๆ น้อยๆ ในหมู่บา้ น ซึ่งก็มีงานไม่มาก กล่าวโดยสรุ ปคือ ครอบครัวนี้ อยูไ่ ด้ดว้ ยการทําไร่ หมุนเวียน โดย ขณะเกิดเหตุในคดีน้ ีครอบครัวนางหน่อดา มีที่ดินเป็ นไร่ หมุนเวียน 3 แปลงสําหรับหมุนเวียนไปทําปี ละแปลง ขณะนั้นบ้านของหน่ อดายังเป็ นบ้านไม้ฟากชั้นเดียวยกพื้นสู ง หลังคามุงด้วยใบตองตึง ซึ่ ง สมัยนั้นบ้านลักษณะนี้ก็ไม่ใช่เรื่ องแปลกในท้องถิ่น
207
หน่อดาและสามี ไม่เคยเข้าโรงเรี ยนเรี ยนหนังสื อ จึงไม่สามารถอ่านเขียนภาษาไทยได้ สามี พอพูดภาษาไทยได้บา้ งเล็กๆ น้อยๆ ส่ วนหน่ อดาไม่สามารถพูดภาษาไทยได้เลย เนื่ องจากเมื่อเติบโต มาก็อยูท่ ี่หมู่บา้ นมาโดยตลอด และสมัยที่หน่ อดาเป็ นเด็ก ที่หมู่บา้ นยังไม่มีโรงเรี ยน อีกทั้งในท้องที่ ตําบลแม่วะหลวง ซึ่งมีท้งั หมดประมาณ 20 หมู่บา้ น ล้วนเป็ นชนเผ่ากะเหรี่ ยง ดังนั้น ผูค้ นที่นนั่ จึงพูด แต่ภาษากะเหรี่ ยงเท่านั้น นอกจากนี้ตนอยูบ่ า้ นโดยตลอด ไม่ได้เข้าไปในเมือง สําหรับที่อาํ เภอท่าสอง ยางนั้น เคยไปถึงเพียงสองสามครั้งเมื่อ ตอนไปถ่ ายบัตรประจําตัวประชาชน สําหรับในตัวเมือ งแม่ สอดนั้น ไม่เคยเข้าไปก่อนเลย หมู่บ้านแม่ อมกิ : ชุมชนท้ องถิ่นดั้งเดิม บ้านแม่อมกิ หมู่ที่ 4 ตําบลแม่วะหลวง อําเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก เป็ นชุมชนชาวกะเหรี่ ยง ถูกจัดตั้งเป็ นหมู่บา้ นอย่างเป็ นทางการราวปี พ.ศ. 2500 ขณะนั้นมีชาวบ้านประมาณ 30 หลังคาเรื อน ผูน้ ําชุมชนชื่ อ นายวาแฮ ซึ่ งต่อ มาได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นผูใ้ หญ่บา้ นอย่างเป็ นทางการคนแรกของ หมู่บา้ น ซึ่งก่อนที่ทางราชการจะได้จดั ตั้งหมู่บา้ นแม่อมกิให้เป็ นทางการ ชาวบ้านก็ได้ต้ งั ชุมชนอาศัย อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงกับหมู่บา้ นปั จจุบนั ซึ่ งประมาณกันว่าบรรพบุรุษของชาวบ้านแม่อมกิได้อยูอ่ าศัย ต่อเนื่องกันมาราว 300 ปี แล้ว อดีตผูใ้ หญ่บา้ นคนหนึ่ งเล่าให้ผวู ้ ิจยั ฟั งว่า ในอดีตชุมชนกะเหรี่ ยงจะไม่ ตั้งหมู่บา้ นอยูท่ ี่ใดที่หนึ่งแบถาวร แต่จะย้ายหมู่บา้ นไปตามพื้นที่ที่ทาํ การเพาะปลูก เพื่อที่จะได้อยูใ่ กล้ กับที่ทาํ กิน และสะดวกในการหาฟื น ของป่ า แหล่งนํ้า แต่บางครั้งก็ตอ้ งย้ายเนื่องจากความเชื่อเกี่ยวกับ ผีร้ายหรื อโรคระบาด และสมัยก่อนชาวบ้านจะนิยมอาศัยอยูก่ นั เป็ นครอบครัวใหญ่ หมู่ บา้ นแม่ อมกิ ตั้งอยู่บนภูเขาสู งใกล้เขตติดต่อ ระหว่างอําเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก กับ อําเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน อยูห่ ่ างจากตัวอําเภอประมาณ 110 กิโลเมตร ปั จจุบนั สภาพถนนดี ขึ้นมาก ใช้ระยะเวลาในการเดินทางโดยรถยนต์ประมาณ 2 ชัว่ โมง ลักษณะพื้นที่โดยรวมมีความลาด ชัน มีพ้นื ที่ราบตามลําห้วยเพียงเล็กน้อย พื้นที่ท้ งั ตําบลเป็ นเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ ซึ่ งมี กฎกระทรวง ประกาศ ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2526 ครอบคลุมพื้นที่ตาํ บลท่าสองยาง และตําบลแม่วะหลวงและยัง ถูกจัดให้เป็ นเขตพื้นที่ลุ่มนํ้าชั้น 1A ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่กฎหมายห้ามออกเอกสารสิ ทธิ์หรื ออนุ ญาตให้ใช้ ประโยชน์ใดๆ ทําให้ที่ดินทํากินของหมู่บา้ นแม่อมกิท้งั หมู่บา้ น ไม่มีเอกสารรับรองสิทธิในที่ดิน ในอดี ตชาวบ้านแถวนี้ หาเลี้ ยงชี พโดยการทําไร่ หมุ นเวียนและอาศัยการหาของป่ าเท่านั้น กระทัง่ เมื่อประมาณยีส่ ิบกว่าปี ที่ผา่ นมา ชาวบ้านบางส่วนได้หนั มาทํานาขั้นบันไดตามแบบคนพื้นราบ ประกอบกับจํานวนคนในชุ มชนเพิ่ม ขึ้น เมื่ อ แบ่งที่ดินกันแล้วทําให้แต่ล ะครอบครัวได้พ้ืนที่ทาํ ไร่ หมุนเวียนน้อยลง ทําให้ได้ขา้ วไม่พอกินตลอดทั้งปี อย่างไรก็ตามเนื่องจากพื้นที่ราบที่สามารถทําเป็ น 208
นาขั้น บันไดได้มี น้อ ย จึ ง มี เ พีย งบางรายเท่า นั้น ที่ ส ามารถทําได้ ส่ ว นใหญ่ ย งั คงทํา ไร่ หมุ น เวีย น เหมือนเดิม ในวันเกิดเหตุ ที่ดินแปลงพิพาทของหน่อดา อยูห่ ่างจากหมู่บา้ นแม่อมกิประมาณ 2 กิโลเมตร เป็ นพื้นที่ทาํ ไร่ หมุนเวียนของครอบครัวนางหน่อดาที่ตกทอดมาจากรุ่ นพ่อแม่ ขนาดพื้นที่ประมาณ 6 ไร่ โดยบริ เวณ รอบๆ เป็ นพืน้ ที่ไร่ หมุนเวียนของชาวบ้านแม่อมกิรายอื่นๆ อีกประมาณ 20 ครอบครัว ที่ดินทั้งหมดนี้ อยูต่ ิดต่อกันเป็ นผืนใหญ่ และเป็ นพื้นที่ลาดชันอยูไ่ ม่ไกลจากถนนสายหลัก ทําให้สามารถมองเห็นจาก ถนนสายหลักได้ชดั เจน ขณะเกิดเหตุ พื้นที่พพิ าทถูกถางและเผาเสร็ จแล้ว มีแต่ตอไม้ขนาดเล็ก ส่ วนต้นไม้ใหญ่ที่ถูก ตัดกิ่งยังยืนต้นอยู่ และมีกองต้นไม้เล็กที่ถูกตัดกองรวมกันอยูห่ ลายกองซึ่ งเก็บไว้สาํ หรับทําฟื น ส่ วน ใหญ่มีขนาดเท่าแขนและบางต้นมีขนาดเท่าขา ตลอดเวลาที่ผ่านมาหน่ อดาเข้าใจว่าถ้าเป็ นที่ดินทํากิน เก่า สามารถทํากินได้โดยไม่ผิด ซึ่ งผูใ้ หญ่บา้ นและผูน้ าํ จะคอยห้ามไม่ให้เข้าไปทํากินเฉพาะพื้นที่ใน เขตป่ าเท่านั้น เหตุเกิดในช่วงที่ใกล้ถึงฤดูปลูกข้าวในไร่ หมุนเวียน ในวันเกิดเหตุหน่ อดาและชาวบ้านแม่อม กิก็ไปเตรี ยมพื้นที่สาํ รับปลูกข้าวของตนเอง ปกติชาวบ้านที่นี่ไม่เคยถูกจับกุม เจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็ขบั รถ ผ่านไปๆ มาๆ ก็ไม่เคยเข้ามายุง่ หรื อว่าอะไร นับแต่จาํ ความได้หน่ อดาก็ทาํ ไร่ เป็ นปกติโดยไม่เคยต้อง กลัวหรื อระมัดระวังตัวอะไร ระหว่างที่หน่ อ ดากําลังก้มหน้าก้มตาทํางานตามปกติอ ยูน่ ้ ัน ได้ยนิ เสี ยงชาวบ้านตะโกนว่า เจ้าหน้าที่ป่าไม้มา หน่อดาได้ยนิ ก็ตกใจและช็อกจนทําอะไรไม่ถูก จําได้วา่ ได้วงิ่ หนีแต่เจ้าหน้าที่ก็ตาม จับได้บริ เวณกลางแปลงที่ดิน ไม่กี่นาทีต่อมาก็มีเจ้าหน้าที่ป่าไม้อีกสิบกว่าคนทยอยมาถึง เจ้าหน้าที่ป่า ไม้พวกนั้นพูดอะไรบางอย่างกับหน่อดาด้วยภาษาไทย แต่หน่อดาฟังไม่เข้าใจ เจ้าหน้าที่ป่าไม้คนหนึ่ ง จึงแปลให้ฟังว่า หน่อดาบุกรุ กป่ าและเจ้าหน้าที่จะจับ หน่ อดาจําไม่ได้ว่าตอนนี้ มีใครมาพูดอะไรบ้าง หรื อตนเองได้พูดอะไรไปบ้าง รู ้สึกว่าตอนนั้นหู อ้ือ สับสนและเครี ยดมาก สักพักหน่ อดาก็ถูกพาไป รวมกับชาวบ้านอีกคนหนึ่ งที่ถูกจับด้วย เป็ นชายสู งวัยอาศัยอยูท่ ี่หมู่บา้ นเดียวกับหน่ อดาซึ่ งที่ดินของ ชายสูงวัยคนนั้นอยูต่ ิดกับที่ดินของหน่ อดา หลังจากนั้นทั้งสองคนก็ถูกพาขึ้นรถของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ แล้วก็มุ่ งตรงไปยังสํานักงานป่ าไม้ ตั้งอยู่ที่ตาํ บลท่าสองยาง (ผูว้ ิจยั : พาไปที่นั่นเพื่อทําบันทึกการ จับกุม ) สักพักเจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็เอาเอกสารมาให้ตนปั๊ มหัวแม่ มือ ตนก็ปั๊มตามที่เจ้าหน้าที่บอก ทํา เอกสารที่สาํ นักงานป่ าไม้เสร็ จก็ค่าํ แล้ว เจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็พาไปส่ งที่สถานี ตาํ รวจภูธรแม่เมย ตั้งอยู่ที่ 209
ตําบลท่าสองยาง ตําบลอําเภอท่าสองยาง เมื่อไปถึงตํารวจก็บอกว่าดึกแล้วให้เข้าไปอยูใ่ นห้องขัง แล้ว วันรุ่ งขึ้นค่อยดําเนินการอย่างอื่น ในชั้นสอบสวน วันต่อมาตํารวจก็พาไปสอบปากคํา โดยตํารวจได้ให้ชาวบ้านในหมู่บา้ นคนหนึ่ งที่เดินทางมา เยีย่ มหน่อดาที่สถานีตาํ รวจเป็ นล่ามแปลภาษาให้ ตํารวจก็บอกว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้แจ้งมาว่าตนทําไร่ มี พืน้ ที่ 20 ไร่ ตอนนั้นตนก็ได้บอกไปว่าจริ งๆ แล้วไม่ถึง 20 ไร่ หลังจากนั้นตํารวจก็ทาํ เอกสาร เมื่อทํา เสร็จแล้วก็เอามาให้ตนปั๊ มหัวแม่มือ ต่อมาก็ถูกปล่อยตัวกลับบ้านในวันเดียวกันนั้น (ผูว้ ิจยั : เนื่ องจาก ญาติมาขอประกันตัว) และอีกหลายวันต่อมาตํารวจก็เดินทางมาหา ให้พาไปยังที่พิพาทเพื่อรังวัดใหม่ ซึ่งในวันนั้นตนและผูน้ าํ ชุมชนอีกหลายคนก็ไปด้วยกัน ภายหลังหน่ อดาจึงได้รู้ว่า ขณะที่เจ้าหน้าที่ที่มาจับนั้น ชาวบ้านรายอื่นๆ อยูห่ ่ างออกไปเมื่ อ สังเกตเห็นว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้ขบั รถมาจอดและวิง่ กรู มายังหน่ อดา ต่างก็วงิ่ หนี เข้าป่ าไปหมด สําหรับที่ ของหน่อดาและชายสูงวัยอยูใ่ กล้กบั ถนนที่สุด จึงไม่ทนั สังเกตและหนีไม่ทนั ผูว้ จิ ยั ได้ถามว่าในวันที่ตาํ รวจพาไปสอบปากคํานั้น ตํารวจได้แจ้งให้ทราบเกี่ยวเรื่ องสิ ทธิและ ทนายความไหม หน่อดาก็บอกว่าตํารวจไม่บอกอะไร ตํารวจเพียงถามเล็กๆ น้อยๆ แล้วก็เอาเอกสาร มาให้ปั๊ม (ผูว้ จิ ยั : ตํารวจอาจไม่ได้แจ้งเกี่ยวกับสิทธิของผูต้ อ้ งหา หรื อตํารวจได้แจ้งแล้วแต่หน่ อดาไม่ เข้าใจและล่ามไม่ได้แปลให้ฟัง) นอกจากนี้ สมาชิ ก อบต. เล่ า ให้ผูว้ ิ จ ัย ฟั ง ว่า เจ้า หน้ า ที่ ป่ าไม้ที่ เ ขารู ้ จ ัก บอกว่า ปกติ แ ล้ว เจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่ประจําที่หน่ วยใกล้หมู่ บา้ นเขาจะไม่ จบั เพราะเขารู ้อยู่แล้วว่าเป็ นที่ทาํ กิ นเดิมของ ชาวบ้าน แต่ครั้งนี้ มีหัวหน้าจากส่ วนกลางพาเจ้าหน้าที่ของเขามาตรวจพื้นที่ เมื่อ ขับรถผ่านไปเห็ น ชาวบ้านกําลังทําไร่ อยู่ ก็สงั่ ให้จอดรถและให้เจ้าหน้าที่ไปจับหน่อดา ผูว้ ิจยั ได้ตรวจสอบบันทึกการจับกุมของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ระบุว่า วันที่ 10 เมษายน 2551 ชุ ด ปฏิบตั ิการป้ องกันและปราบปรามการบุกรุ กทําลายทรัพยากรป่ าไม้ ที่ 1 (ตาก) นําโดยผูอ้ าํ นวยการ ส่วนป้ องกันรักษาป่ า (มาจากส่วนกลาง) ได้นาํ กําลังเจ้าหน้าที่ จํานวน 20 คน ออกตรวจพื้นที่โดยขับ รถไปตามถนน พอมาถึงที่เกิดเหตุก็เห็นว่ามีการแผ้วถางพื้นที่เพาะปลูก และเห็นจําเลยกําลังอยูใ่ นไร่ ก็ เลยไปทําการจับกุมได้สองคน คือ นายดิ๊แปะโพ (ไม่มีนามสกุล) และนางหน่ อดา เวียงวิชชา ส่ วนคน อื่นหนี เข้าป่ าไปหมด เมื่อตรวจพื้นที่แล้วได้แจ้งว่า นางหน่ อดา คิดคํานวณพื้นที่ได้ 17 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา คิดเป็ นค่าเสียหายป่ าต้นนํ้าลําธารของรัฐเป็ นเงิน 2,587,500 บาท 210
ญาติของหน่อดาและชายสูงวัยคนนั้นไม่มีเงินประกันตัว จึงได้คุยกับผูน้ าํ ชุมชนและตกลงกัน ว่าจะไปขอประกันตัวทั้งสองคนออกมา โดยใช้ตาํ แหน่ งผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่ วยผูใ้ หญ่บา้ นและสมาชิ ก อบต. เป็ นประกัน แต่เนื่ องจากเป็ นช่วงวันหยุดสงกรานต์ ต้องรอให้สถานที่ราชการเปิ ดทํางานก่อน เพือ่ ที่จะไปขอให้ทาํ หนังสือรับรองเงินเดือนก่อน จึงจะสามารถไปยืน่ คําร้องขอประกันตัวได้ ระหว่าง นั้นหน่อดาและชายสูงวัยคนนั้นถูกขังอยูท่ ี่เรื อนจําประมาณหนึ่งอาทิตย์ หน่อดาเล่าว่าเมื่อถูกส่ งเข้าไป ขังในเรื อนจําแล้วรู ้สึกเครี ยดมาก และคิดตลอดว่าตนเองไม่ผดิ พยายามคิดหาทางแก้ไขปั ญหา แต่ก็ไม่ รู ้จะทําอย่างไร หลังจากวันหยุดยาวและทางราชการเปิ ดทําการแล้ว ผูน้ าํ ชาวชุมชนซึ่งมีท้ งั กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ น สมาชิก อบต. จากทั้งในหมู่บา้ นแม่อมกิ และจากต่างหมู่บา้ น ได้พร้อมกันเดินทางไปขอประกันตัวทั้ง สองคนออกมา โดยใช้ต าํ แหน่ งเป็ นประกันในวงเงิน 200,000 บาทต่อ คน จึงต้อ งใช้นายประกัน รวมกันถึง 4 คน จึงจะได้หลักทรัพย์เกินกว่า 200,000 บาท สําหรับประกันตัวผูต้ อ้ งหา 1 คน การไป ประกันตัวทํายากมาก เนื่องจากคนที่ไปเป็ นนายประกันอยูห่ ลายหมู่บา้ น ญาติตอ้ งขับรถจักรยานยนต์ ไปตาม และไปขอให้นายก อบต. ทําหนังสื อรับรองเงิน เดื อ นให้แต่ล ะคน สําหรับคนที่เป็ นกํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นและผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น ต้องหารถไปรับส่ งจากบ้านไปทําหนังสื อรับรองเงินเดื อนที่อาํ เภอ แล้วเดินทางต่อไปศาล ซึ่งแต่ละที่อยูไ่ กลกันมาก จากบ้านแม่อมกิถึงศาลแม่สอดมีระยะทางประมาณ 200 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยรถยนต์กว่า 4 ชัว่ โมง และเสียค่าใช้จ่ายเยอะมาก หลังจากประกันตัวออกมาแล้ว หน่ อดารู ้สึกไม่ สบายใจ ตั้งคําถามกับตนเองว่าเกิดอะไรกับ ชีวติ ตนเอง ทําไมถึงโดนคดีในขณะที่คนอื่นๆ เขาไม่โดนด้วย จึงไปหาหมอดู หมอดูก็บอกว่าในชีวิต ของตนนั้นจะมีเหตุการณ์ที่ถูกจับกุมดําเนินคดีหนึ่งครั้ง เมื่อกลับมาตนก็คิดว่าถือว่าเป็ นเวรกรรมตามที่ หมอดูทาํ นาย ถ้าผ่านพ้นไปแล้วทุกอย่างก็จะจบไปเอง ซึ่งตอนนั้นตนก็พยายามทําใจยอมรับว่าหากติด คุกจริ งก็จะต้องอยูใ่ ห้ได้ แต่ตอนนั้นก็ยงั รู ้สึกเป็ นห่ วงลูกมาก เนื่ องจากยังเล็กและยังเรี ยนหนังสื อกัน อยู่ ระหว่างที่รอการทําสํานวนคดี อ ยู่น้ ัน ผูน้ ําชุ มชนและญาติห น่ อ ดา ได้มาพบและขอความ ช่วยเหลือจากศูนย์พฒั นาเครื อข่ายเด็กและชุมชน ซึ่งเป็ นองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่และเป็ นองค์กร ที่ผวู ้ ิจยั ทํางานอยูใ่ นขณะนั้น ผูว้ ิจยั ได้แนะนําให้ทาํ หนังสื อขอความช่วยเหลือ ไปยังสภาทนายความ โดยผูว้ จิ ยั ได้ร่างหนังสือให้ ต่อมามีหนังสือจากสภาทนายความ ตอบกลับมาแจ้งให้หน่อดาเดินทางไป ให้ขอ้ เท็จจริ งเพิ่ม เติม ที่สํานักงานสภาทนายความที่กรุ งเทพมหานคร แต่หน่ อดาไม่ สามารถไปได้ เนื่องจากมีปัญหาเรื่ องค่าใช้จ่าย และเดินทางไปไม่เป็ น หลังจากนั้นผูว้ ิจยั ก็ได้ติดต่อให้หน่ อดาได้พบ กับคุณสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความจากศูนย์พิทกั ษ์และฟื้ นฟูสิทธิชุมชนท้องถิ่น ซึ่ งคุณสุ มิตรชัยก็ ตกลงรับเป็ นทนายความให้ ได้ให้คาํ แนะนําแก่ญาติและผูน้ าํ ชุมชนไปเบื้องต้น 211
ต่อมาช่วงกลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 ผูใ้ หญ่บา้ นก็มาบอกหน่ อดาว่านายอําเภอท่าสอง ยาง ในฐานะหัว หน้า พนัก งานสอบสวน ได้ล งความเห็ น ในสํา นวนการสอบสวนของพนัก งาน สอบสวน ให้สงั่ ไม่ฟ้องนางหน่อดากับชายสูงวัยคนนั้น ขณะนั้นหน่อดาเข้าใจขั้นตอนกระบวนการใน การดําเนิ นคดี แม้ผูใ้ หญ่บา้ นจะมาบอกว่านายอําเภอมี ความเห็ นสั่งไม่ฟ้อง หน่ อ ดาก็ไ ม่เข้าใจว่ามี ความหมายว่าอย่างไร ซึ่งตามเอกสารสํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวน นายอําเภอได้เขียน ความเห็นท้ายสํานวนด้วยลายมือไว้วา่ “เห็นควรสัง่ ไม่ฟ้อง อาศัยมติ ครม. 30 มิ.ย. 41 มีพยานหลักฐานรับฟั งได้ว่า ผูถ้ ูกกล่าวหาทํา กินในที่ดินแปลงนี้มานานก่อน 30 มิ.ย. 41 ตั้งแต่รุ่นยายเคยทํากินมา ในลักษณะไร่ หมุนเวียน เข้าใจว่า ทางราชการผ่อนผันให้ทาํ กินได้โดยไม่ได้บุกรุ กแผ้วถางใหม่ ชุมชนกะเหรี่ ยงตั้งถิ่นฐานอยูอ่ าศัยทํากิน กันในบริ เวณนี้มานานหลายชัว่ อายุคน เรี ยนพนักงานอัยการเพือ่ กรุ ณาพิจารณา” ระหว่างที่หน่อดาถูกดําเนินคดี ลูกชายคนโต ซึ่ งตอนนั้นมีอายุ 14 ปี กําลังเรี ยนอยูท่ ี่โรงเรี ยน วัดที่จงั หวัดนครสวรรค์ ได้ออกจากโรงเรี ยนไปทํางานรับจ้างในเมือ งเพื่อหาเงินมาช่วยเหลือพ่อแม่ เนื่ อ งจากปี นั้นไม่ ไ ด้ปลู กข้าว รวมทั้งต้อ งมี ค่าใช้จ่ายในการเดิ นทางไปศาลที่มี ระยะทางไกล การ เดินทางไปศาลแต่ละครั้ง ก็ตอ้ งจ่ายค่าเหมารถ และเลี้ยงอาหารคนที่อาสาไปเป็ นนายประกันให้ตนเอง ด้วย แม้วา่ จะมีองค์กรพัฒนาเอกชนและชาวบ้านให้ความช่วยเหลือบ้างก็ตาม ถูกส่ งฟ้องและการพิจารณาคดีที่ผิดระเบียบ ต่อมาเมื่ อวันที่ 1 กันยายน 2551 พนักงานอัยการจังหวัดแม่ สอด ได้ให้ตาํ รวจมารับตัวนาง หน่ อ ดาพร้ อ มกับชายสู ง วัย เดิ นทางไปที่ ศาลจังหวัดแม่ ส อดเพื่อ ยื่น ฟ้ องในข้อ หา “ร่ วมกั นยึ ดถื อ ครอบครองที่ดิน ตัด โค่ น ก่ นสร้ างแผ้ วถางป่ า ทาประโยชน์ ในที่ดินเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ หรื อกระทา ด้ วยประการใดๆ อันเป็ นการเสื่ อมเสี ยแก่ สภาพป่ าสงวนแห่ งชาติ และก่ อให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ป่าต้ น นา้ ลาธารโดยไม่ ได้ รับอนุญาต” และในวันเดียวกันนี้ ศาลได้มีคาํ พิพากษาให้ลงโทษจําคุกหน่ อดา 2 ปี รับสารภาพลดโทษกึ่งหนึ่งเหลือจําคุก 1 ปี โดยไม่มีการรอลงอาญาและถูกพาไปเรื อนจํา หลังจากนั้น ผูใ้ หญ่บา้ นคนหนึ่ งซึ่ งเป็ นคนต่างหมู่บา้ นที่ตาํ รวจให้มาด้วย จึงเดิ นทางกลับไปบอกให้ญาติหน่ อดา ทราบ ต่อมาอีกประมาณ 1 อาทิตย์ ผูใ้ หญ่บา้ นและนายประกันชุดเดิมจึงได้เดินทางไปขอประกันตัว หน่อดาที่ศาลจังหวัดแม่สอดอีกครั้ง ซึ่งศาลก็อนุญาตให้ประกันตัวออกมาระหว่างรออุทธรณ์ หน่อดาเล่าเหตุการณ์ในวันนั้นว่า เมื่อตํารวจพาไปถึงที่ศาลก็ถูกพาเข้าไปในห้องขัง สักพักก็ ถูกพาขึ้นไปข้างบน มีคนมาสอบถามและให้ปั๊มหัวแม่มือในเอกสาร แต่ตนไม่รู้ว่าเป็ นใครและให้ทาํ อะไร สักพักก็ถูกพาลงไปในห้องขังเหมือนเดิม และมีคนตามมาบอกว่าตนถูกตัดสินให้จาํ คุก 1 ปี 212
แต่เมื่อทนายความได้ไปยืน่ คําร้องขอคัดสําเนาเอกสารสํานวนคดีจากศาลมาตรวจสอบ พบว่า เอกสารที่เจ้าหน้าที่ศาลได้นาํ มาให้หน่อดาปั๊ มหัวแม่มือนั้นคือ คําแถลงประกอบคํารับสารภาพ ซึ่ งเป็ น แบบฟอร์มเอกสารที่พมิ พ์มาแล้วและเว้นช่องสําหรับให้ลงลายมือ ซึ่งมีผลเท่ากับว่านางหน่ อดาให้การ รับสารภาพตลอดข้อกล่าวหา พร้อมลงชื่อในใบแถลงประกอบคํารับสารภาพนั้น หลังจากที่หน่ อดาและชายสู งวัยได้รับการประกันตัวออกมาครั้งนี้ ทนายความนําโดยคุณสุ มิตรชัย ได้ลงพื้นที่ไปสอบข้อเท็จจริ งและยืน่ อุทธรณ์โต้แย้งคําพิพากษาศาลชั้นต้นดังกล่าวข้างต้นว่า การดําเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาลชั้นต้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย คือ ไม่มีทนายความและไม่มีล่าม แปลภาษา ซึ่ งศาลอุ ทธรณ์ มีคาํ พิพากษาให้นํากลับมาพิจารณาคดี ใหม่ เนื่ อ งจากศาลชั้นต้นดําเนิ น กระบวนพิจารณาไม่ถูกต้อง โดยให้เหตุผลว่าล่ามไม่ได้สาบานตนก่อนแปล ในวันที่ไปฟังคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ดงั กล่าวนี้ ผูว้ จิ ยั ซึ่งขณะนั้นทํางานเป็ นเจ้าหน้าที่องค์กร พัฒนาเอกชน พร้อ มด้ว ยนายประกัน ได้เดิ นทางฟั งคําพิพากษาด้วย เมื่ อ ศาลอ่ านคํา พิพากษาศาล อุทธรณ์เสร็จ ก็สงั่ ให้ขงั จําเลยทั้งสองคนไว้แล้วให้ญาติไปยืน่ คําร้องขอประกันตัวใหม่ โดยให้เหตุผล ว่าคําสั่งให้ปล่อยตัวชัว่ คราวครั้งก่อนหน้านี้ เป็ นการประกันตัวชั้นอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษา แล้วคําสัง่ ให้ประกันตัวสิ้นผล หากประสงค์จะประกันตัวใหม่ตอ้ งยืน่ คําร้องเข้าไปใหม่ ผูว้ จิ ยั จึงได้ออกมาแจ้งกับนายประกันชุดเดิมและพากันเข้าไปยืน่ คําร้องขอประกันตัวอีกครั้ง แต่ครั้งนี้เจ้าหน้าที่ศาลชี้แจงว่าจะใช้ตาํ แหน่ งประกันตัวได้จะต้องเป็ นญาติกนั เท่านั้น หากไม่ใช่ญาติ ศาลจะไม่อนุญาต ผูว้ จิ ยั และนายประกันทั้งหมดจึงเดินออกมาหารื อกันที่ดา้ นนอกอาคารศาล เมื่อถาม กันแล้วก็ปรากฏว่านายประกันไม่ได้เป็ นญาติโดยตรงกับหน่อดาและชายสู งวัย แต่ถา้ นับญาติกนั แบบ ธรรมเนี ยมของชนเผ่ากะเหรี่ ยงก็เรี ยกว่าเป็ นญาติได้ ผูว้ ิจยั จึงเอากระดาษมาเขียนอธิบายว่าเป็ นญาติ ใกล้ชิดกัน ซึ่งความจริ งแล้วไม่ใกล้ชิดอย่างตรงไปตรง ซึ่ งศาลอนุ ญาตให้ประกันตัวชายสู งวัยได้ แต่ สําหรับหน่อดานั้นศาลไม่อนุญาต โดยให้เหตุผลว่านายประกันที่เป็ นญาติรวมหลักทรัพย์ได้ 170,000 บาท ซึ่งไม่ครอบ 200,000 บาท เนื่องจากนายประกันอีกคนหนึ่งไม่ใช่ญาติ เจ้าหน้าที่ศาลจึงแนะนําว่า ให้กลับไปหาหาเงินตามจํานวนที่ขาดมาเพิ่ม ขณะนั้นเป็ นเวลาเย็นแล้วผูว้ ิจยั และนายประกันจึงกลับ แล้วอี กสี่ ถึงห้าวันต่อ มา สมาชิ ก อบต. คนเดิ มก็นําเงินอี ก 30,000 บาท ไปวาง ศาลจึงอนุ ญาตให้ ประกันหน่อดาออกมา5 5
เหตุการณ์ในช่วงที่ดาํ เนินการประกันตัวนี้ หน่อดาถูกขังอยูใ่ นเรื อนจํา ขณะนั้นจึงไม่ทราบว่าใครได้ทาํ อะไรไปบ้าง ในการพูดคุยเพื่อเก็บข้อมูลในงานวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั ได้สอบถามเกี่ยวกับการประกันตัวในครั้งนี้เช่นกันแต่ หน่อดาบอกว่าไม่รู้และจําไม่ได้แล้ว ผูว้ ิจยั จึงเรี ยบเรี ยงขึ้นมาเองจากบันทึกเอกสาร สํานวนคดีและจากความทรงจํา ของผูว้ ิจยั เอง
213
การให้ ความช่ วยเหลือต่ อสู้ คดีโดยทนายอาสา หลัง จากนั้นก็ มีท นายความที่นําโดยคุ ณ สุ มิ ตรชัยเข้า ไปช่ ว ยดําเนิ น คดี ใ ห้ เริ่ มจากการทํา คําให้การ โดยทนายความได้ทาํ คําให้การยืน่ ต่อศาลว่าที่ดินพิพาทเป็ นพื้นที่ที่ได้ทาํ กินมานานแล้ว โดย เป็ นที่ดินที่หน่อดาได้ทาํ กินต่อจากพ่อแม่ และได้รับการคุม้ ครองตามรัฐธรรมนู ญ (เรื่ องสิ ทธิชุมชน) เนื่ องจากหมู่บา้ นแม่อมกิ เป็ นชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ที่ได้ก่อ ตั้งมาเป็ นเวลานานก่อนที่ทางราชการจะ ประกาศเป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ การดําเนินชีวติ ของชาวบ้านเป็ นการดํารงชีวติ ตามจารี ตประเพณี ด้ งั เดิม โดยทําไร่ หมุนเวียนสําหรับปลูกข้าว อีกลักษณะการถือครองที่ดินไร่ หมุนเวียนไม่ใช่สิทธิเด็ดขาดของ คนใดคนหนึ่ ง แต่เป็ นสิ ทธิร่วมกันของคนในชุมชนทั้งหมด การเข้าทําประโยชน์ก็จะได้รับการแบ่ง สรรจากการตกลงร่ วมกันของคนในชุมชน ไม่วา่ จะเป็ นที่ทาํ กิน การจัดการป่ าชุมชน การจัดการแหล่ง นํ้า และการจัดสรรที่อยูอ่ าศัย ต่อมาก็เข้าสู่ กระบวนการสื บพยานในศาล โดยฝ่ ายพนักงานอัยการได้นาํ สื บพยานจํานวน 3 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ป่าไม้ผทู ้ าํ การจับกุม 2 คน และพนักงานสอบสวนผูท้ าํ การสอบสวน 1 คน โดยเจ้าหน้าที่ป่าไม้ท้งั สองคนให้เบิกความว่า ขณะเข้าไปจับกุมนั้นเห็นหน่ อดากับชาวบ้านกําลังเก็บ และสุมเผาต้นไม้ เศษไม้ ในที่เกิดเหตุ ซึ่ งเป็ นพื้นที่แผ้วถางใหม่ อีกทั้งที่พิพาทเป็ นเขาสู งชันและเป็ น ป่ าต้นนํ้าลําธาร ซึ่งทางราชการได้ประกาศเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติตามกฎหมาย นอกจากนี้ ยงั เน้นยํ้าว่า ไม่ ใช่ พ้ืนที่ที่ไ ด้รับการยกเว้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่ อ วันที่ 30 มิ ถุนายน 2541 โดยคิดคํานวณ ค่าเสียหายไร่ ละ 150,000 บาท ในการสื บพยานในศาล พนักงานอัยการได้นาํ สื บพยานจํานวน 3 ปาก เป็ นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ผู ้ จับกุม 2 คน และพนักงานสอบสวนผูท้ าํ การสอบสวน 1 คน สรุ ปได้ว่า เจ้าหน้าที่ป่าไม้ท้ งั สองคนให้ การว่า ขณะเข้าไปจับกุมนั้นเห็นนางหน่ อดานายดิ๊แปะโพกําลังเก็บและสุ มเผาวัชพืช จําพวกต้นไม้ เศษไม้ ปลายไม้ ในที่เกิ ดเหตุ ที่มีตน้ ไม้ใหญ่อยู่ซ่ ึ งเป็ นร่ อ งรอยการแผ้วถางพื้นที่ใหม่ ที่พิพาทเป็ น เทือกเขาสูงชัน และเป็ นป่ าต้นนํ้าลําธาร ซึ่งทางราชการได้ประกาศเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 นอกจากนี้ก็ไม่ใช่พ้นื ที่ที่ได้รับการยกเว้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 30 มิถุนายน 2541 การคิดค่าเสียหายในคดีน้ ี เป็ นการคิดตามการประเมินมูลค่าความเสี ยหายทาง เศรษฐกิจในพื้นที่ป่าไม้ และหลักเกณฑ์การคํานวณค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อม จากการทําลายป่ าต้นนํ้า ที่สมบูรณ์ โดยคิดค่าเสียหายไร่ ละ 150,000 บาท สําหรับฝ่ ายจําเลยได้นาํ สืบพยานจํานวน 5 คน ประกอบด้วย
214
1. ผูใ้ หญ่บา้ นในขณะที่เกิดเหตุ เป็ นพยานเบิกความเกี่ยวกับประวัติการก่อตั้งหมู่บา้ นแม่อมกิ ลักษณะการอยูอ่ าศัยและการประกอบอาชีพทําไร่ หมุนเวียน รวมทั้งอธิบายสภาพของพื้นที่เกิดเหตุว่า เป็ นพื้นที่ที่ได้เข้าไปทําประโยชน์ต้งั แต่สมัยปู่ ย่า ตายาย เมื่อก่อนไม่มีใครทราบว่าเป็ นพื้นที่ป่าสงวน6 2. หัวหน้าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อ ม ในฐานะนักวิชาการป่ าไม้ ให้การอธิ บาย เกี่ยวกับสภาพป่ าของเขตพื้นที่ทางตะวันตกของจังหวัดตาก ว่าเป็ นเขตผืนป่ าที่คนกับป่ าจะอยูด่ ว้ ยกัน ก่อนที่จะมีกฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับป่ าไม้ออกมาบังคับใช้ ในพื้นที่ตาํ บลแม่วะหลวงและพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่ งส่ วนใหญ่ในตําบลแม่วะหลวงจะมีชาวเขาเผ่ากะเหรี่ ยงอาศัยอยู่ มีวิถีชีวิตทําไร่ หมุนเวียนมานาน นอกจากนั้นก็หาของป่ าเพือ่ การยังชีพ7 3. นายอําเภอท่าสองยางและเป็ นหัวหน้าพนักงานสอบสวนในคดี ให้การว่า พื้นที่ตาํ บลแม่วะ หลวงจะเป็ นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติท่าสองยางเกือบทั้งหมด และราษฎรในตําบลแม่วะหลวงเป็ นชาว กะเหรี่ ยงเกือบทั้งหมด ซึ่ งตั้งรกรากมาหลายร้อยปี มีอาชีพทําไร่ หมุนเวียน ตนเองได้ตรวจสอบแล้ว เชื่อได้วา่ เป็ นพื้นที่ที่ได้เข้าทํากินมานานแล้ว เมื่อรวบรวมพยานหลักฐานทั้งหมดแล้วจึงมีความเห็นสั่ง ไม่ฟ้องจําเลยในคดีน้ ี8 4. นักวิชาการสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผูเ้ คยทํางานวิจยั เกี่ยวกับ การทําไร่ ห มุ นเวียน ให้การอธิ บายเกี่ ย วกับลักษณะของไร่ หมุ น เวียนในแง่ มุ มทางวิชาการ ว่าคน กะเหรี่ ยงเข้ามาอาศัยอยูก่ ่อนคนไทย โดยเข้ามาอยู่ 400 – 500 ปี ยังชีพด้วยการทําไร่ หมุนเวียนมานาน และการทําไร่ หมุนเวียนไม่ทาํ ลายระบบนิเวศน์9 5. ตัวจําเลย ให้การว่าตนเองเกิดและเติบโตที่หมู่บา้ นแม่อมกิ พ่อแม่ ปู่ ย่า ตายาย ได้เสี ยชีวิต ไปหมดแล้ว มีบุตรจํานวน 5 คน มีอาชีพทําไร่ อย่างเดียว โดยมีที่ดินทั้งหมด 3 แปลง เป็ นที่ดินที่ตก ทอดมาจากบิ ดามารดา ก่ อ นเริ่ ม ทํา ไร่ จะเข้าตัดต้น ไม้ขนาดเล็ ก หญ้า ต้น ไม้ขนาดใหญ่จ ะไม่ ต ัด จากนั้นนําต้นไม้และหญ้ามากองรวมกันไว้เพื่อให้แห้ง ต้นไม้ที่ใช้ทาํ ฟื นได้ก็จะแยกเก็บไว้ ที่เหลือก็ จะเผาทิ้ง สําหรับตนเองปกติจะทําปี แรกและเว้นไปสองปี ปี ที่สามจะกลับมาทําใหม่ เมื่อปลูกข้าวก็จะ ปลูกพืชผักอย่างอื่นไปด้วย ที่พพิ าทอยูต่ ิดกับที่ของคนอื่นๆ อีก 7-8 คน ทั้งสามด้าน อีกด้านหนึ่ งจะติด กับต้นไม้ใหญ่ ไม่ เคยทําการรังวัดว่ามี เนื้ อ ที่เท่าใด ตนเองไม่ เคยทราบว่าที่พิพาทเป็ นเขตป่ าสงวน แห่งชาติ และไม่เข้าใจว่าป่ าสงวนแห่งชาติคืออะไร ตนเองทําไร่ เพือ่ เลี้ยงปากท้อง หากข้าวไม่พอกินก็ 6
บันทึกคําให้การพยานจําเลย นายไพรัช ไพโรจน์วิรุฬห์. บันทึกคําให้การพยานจําเลย นายวิริยะ ช่วยบํารุ ง. 8 บันทึกคําให้การพยานจําเลย นายทรงธรรม วรรณสิ ทธิ์. 9 บันทึกคําให้การพยานจําเลย ดร.ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี . 7
215
จะนําพริ กและผักไปขาย เพือ่ นําเงินไปซื้อข้าว หลังจากถูกจับข้าวไม่พอกิน ลูกคนโตต้องไปทํางานที่ กรุ งเทพฯ เพือ่ นําเงินมาให้ที่บา้ นเนื่องจากข้าวไม่พอกิน ในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนตนเองไม่ได้รับ สารภาพว่ากระทําความผิด แต่ให้การไปว่าที่พพิ าทตนเองเข้าไปทําประโยชน์ต้ งั แต่สมัยบิดามารดายก ให้ ไม่ได้แผ้วถางใหม่ และขณะที่สอบปากคําก็ไม่มีล่ามแปลภาษาให้ สําหรับบันทึกการจับกุมและ บันทึกการสอบสวนมีคนบอกว่าให้พมิ พ์ลายนิ้วมือ ตนเองก็พมิ พ์โดยไม่รู้เรื่ องอะไร10 ศาลชั้นต้นมีคาํ พิพากษาให้ยกฟ้ อง โดยศาลวินิจฉัยว่า จําเลยไม่เจตนาบุกรุ กป่ าสงวนแห่ งชาติ เนื่องจากจําเลยได้เข้าทําประโยชน์ในที่ดินพิพาทมาก่อนแล้ว บริ เวณข้างเคียงล้วนมีราษฎรคนอื่นเข้า ทําประโยชน์อยูท่ วั่ ไป และมีการเข้ายึดถือก่อนที่ทางราชการจะกําหนดให้เป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติ แม้ว่า ที่พพิ าทเป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ แต่พ้นื ที่เกิดเหตุเป็ นพื้นที่ไร่ หมุนเวียน ที่จาํ เลยได้ทาํ กินสื บทอดมาจาก รุ่ นบิดามารดา ก่อนประกาศเป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ ประกอบกับจําเลยเป็ นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ ยง ตําบลที่ จํา เลยอาศัย อยู่ก็ ล ้ว นเป็ นราษฎรชาวกะเหรี่ ย ง โดยได้ต้ งั ถิ่ น ฐานมานานแล้ว และมี อ าชี พ ทํา ไร่ หมุนเวียน จําเลยไม่สามารถพูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้ ดังนั้น การกระทําของจําเลยจึงเป็ นการเข้าใจ ผิดว่า ที่พพิ าทเป็ นที่ดินที่รัฐอนุโลมผ่อนผันให้ราษฎรทําประโยชน์ได้ เป็ นการขาดเจตนา การกระทํา ของจําเลยย่อมไม่เป็ นความผิด หลังจากนั้นโจทก์ก็ได้อุทธรณ์ โดยเน้นยํ้าว่าเป็ นการทําไร่ เลื่อนลอยที่ทาํ กินไม่ต่อเนื่อง ไม่ได้ รับการผ่อนผันตามมติ ครม. 30 มิถุนายน 2541 แต่ศาลอุทธรณ์แผนกคดีสิ่งแวดล้อมพิพากษายืน โดย วินิจฉัยว่า จําเลยเป็ นชาวเขาเผ่ากระเหรี่ ยง มีวิถีชีวิตในการทําไร่ หมุนเวียน ไม่ สามารถพูดอ่านและ เข้าใจภาษาไทยได้ และได้เข้าทําประโยชน์มาก่อนแล้ว ทําให้จาํ เลยเข้าใจว่าสามารถเข้าทําประโยชน์ ได้เหมือนดังที่เคยทํามาก่อน จึงเป็ นการขาดเจตนาซึ่งไม่เป็ นความผิดตามฟ้ อง แต่ให้จาํ เลยออกจากที่ เกิดเหตุ โดยให้เหตุผลว่า ที่เกิดเหตุอยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่งชาติ แม้จาํ เลยจะเป็ นการขาดเจตนาบุกรุ กป่ า แต่จาํ เลยก็ไม่มีสิทธิที่เข้าไปครอบครองทําประโยชน์ในที่เกิดเหตุได้ ฝ่ ายจําเลยได้ยนื่ ฎีกาคัดค้านคําพิพากษาของศาลอุทธรณ์ ที่สั่งให้จาํ เลยออกจากพื้นที่พิพาท โดยให้เหตุผลว่า จําเลยทํากินในที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนู ญ คือ ด้วยสิ ทธิชุมชน ในการมี ส่วนร่ วมในการจัดการ การบํารุ งรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เนื่องจากหน่อดาได้ทาํ ไร่ หมุนเวียนในที่ตรงนั้นเลี้ยงชีพมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการดํารงชีวติ และได้ทาํ มาก่อนที่จะถูกประกาศเป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ หากไม่มีที่ดินทํากินก็จะไม่ สามารถดํารงชีวติ ต่อไปได้ แต่ศาลฎีกาพิพากษาว่าที่ศาลอุทธรณ์สั่งให้จาํ เลยออกจากที่ดินพิพาทนั้น
10
บันทึกคําให้การพยานจําเลย หน่อดา
216
ชอบแล้ว โดยให้เหตุผลว่า เมื่ อข้อเท็จจริ งปรากฏว่าที่เกิดเหตุอยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ และจําเลย ยึดถือครอบครองโดยปราศจากเหตุอนั จะอ้างตามกฎหมายได้ หน่ อดาคิดว่าสิ่ งที่เป็ นปั ญหาสําคัญในระหว่างที่ถูกดําเนิ นคดี คือ ค่าใช้จ่าย การไม่รู้กฎหาย และไม่เข้าใจภาษาไทย ระหว่างที่ถูกดําเนินคดีน้ นั มีค่าใช้จ่ายเยอะ แต่ตนก็โชคดีที่มีญาติและมีองค์กร พัฒนาเอกชนให้ความช่ วยเหลือ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ค่าใช้อ ย่างอื่ นนั้นจําไม่ ไ ด้แล้วหมดไปเท่าไหร่ แต่ ระหว่างนั้นได้กู้เงินมาเป็ นค่าใช้จ่ายประมาณ 12,000 บาท สําหรับเรื่ อ งขั้นตอนการดําเนิ นคดี ตาม กฎหมายนั้น ตนไม่รู้เรื่ องเลย และที่สาํ คัญอีกอย่างคือเรื่ องภาษา เนื่ อ งจากตนไม่สามารถพูดและฟั ง ภาษาไทยได้เลย เวลาคนอื่นเขาพูดอย่างไรเราก็จะไม่รู้เลย หลังจากที่ทนายความมาช่วยเหลือนั้น ตนก็เพียงรู ้ว่ามีคนมาช่วยเหลือ แต่ไม่เคยรู ้มาก่อนเลย ว่าทนายความคื อ ใคร จะมาช่ ว ยทํา อะไร และระหว่างที่ดาํ เนิ นกระบวนพิจ ารณาคดี ใ นศาล ตนก็ เพียงแต่ไปโดยที่ไม่เข้าใจว่าทนายได้ทาํ อะไรไปบ้าง ทุกครั้งที่ไปศาลก็มีทนายความพาไป สําหรับตน ก็ไม่รู้วา่ แต่ละครั้งนั้นไปทําอะไรบ้าง แม้วา่ จะมีคนพยายามแปลเป็ นภาษากะเหรี่ ยงให้ก็ตาม ทุกครั้งที่เข้าไปในศาลจะรู ้สึกสับสนและคิดตลอดเวลาว่าจะทําอย่างไร และมีความรู ้สึกกลัว ตลอดเวลา กลัวว่าจะติดคุกไหม ความรู ้สึกและสติปัญญาเหมือนมืดไปหมด หมายเหตุ กรณี ศึ ก ษานี้ ไม่ ส ามารถพูด ภาษาไทยได้เ ลย ดัง นั้น ในการพูด คุ ย เพื่อ ให้ก รณี ศึ ก ษาเล่ า รายละเอียดนั้น ได้ทาํ ผ่านล่ามแปลภาษาทั้งหมด ดังนั้น รายละเอียดบางอย่างผูแ้ ปลอาจจะไม่สามารถ แปลได้ท้ ัง หมด หรื อ อาจจะใช้ค าํ พู ด ในภาษาไทยแทนคํา พู ด ในภาษากะเหรี่ ย งได้ไ ม่ ท้ งั หมด นอกจากนี้กรณี ศึกษาไม่รู้และไม่เข้าใจกระบวนการต่างๆ ตั้งแต่ช้ นั สอบสวน ชั้นอัยการและชั้นศาล ดังนั้น จึงไม่สามารถเล่าเนื้อหาของคดีได้ แต่ยงั สามารถจดทําเหตุการณ์ต่างๆ ได้ดี ทําให้สามารถเล่า เรื่ องราวได้ดี สําหรับข้อมู ลส่ วนที่เป็ นเนื้ อหาของคดี และเหตุการณ์ต่างๆ ในกระบวนพิจารณานั้น ผูว้ จิ ยั เรี ยบเรี ยงมาจากเอกสารในสํานวนคดี และอาศัยการทบทวนความจําของผูว้ จิ ยั เอง เนื่ องจากคดีน้ ี ผูว้ จิ ยั เป็ นทีมงานทนายความด้วย
สัมภาษณ์วนั ที่ 23 กันยายน 2561, 21 มกราคม 2562, 11-12 กุมภาพันธุ์ 2562, 27 มีนาคม 2562
217
218
ภาคผนวก ง. ลุงศักดิ์ : ผู้ที่ชอบเถียงจนได้(คดี)ความ (25 มิถุนายน 2558) สายๆ ของต้นฤดูฝนวันนั้น ฟ้ ากําลังเปิ ด แสงแดดสาดส่ องยอดต้นกล้า ข้าวที่เพิ่งโผล่พน้ ดินสู งถึงข้อเท้า หุ บเขานั้นถูกแผ้วถางเป็ นไร่ ขา้ วบริ เวณกว้าง มีเจ้าของ 8 ราย มี กระท่อมกลางไร่ หลายหลัง กลางที่ดินแปลงใหญ่ผนื นั้นมีคนสี่ ห้าคนกําลังดายหญ้าอยู่ เป็ นครองครัว ชาวม้งสองครอบครัว มีท้งั เด็กและผูห้ ญิงอยูด่ ว้ ย เสียงรถยนต์เร่ งเครื่ องหนักๆ ลากเกียร์ต่าํ วิง่ มาจอดฝั่ง ตรงข้าม บริ เวณจุดสิ้นสุดของถนนดิน ซึ่งเป็ นหัวไร่ ของเจ้าของอีกรายหนึ่ งห่ างออกไปราว 300 เมตร ชายชาวม้งเงยหน้าขึ้นดู เห็นเป็ นรถกระบะสีดาํ มีคนแต่งชุดลายพราง และรู ้ได้ดว้ ยความคุน้ ชินว่าเป็ น เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ซึ่งดูจากระยะไกลแล้วมีประมาณ 10 คน มีผชู ้ ายในชุดลายพรางคนหนึ่ งวิ่งตรงมาตาม ทางเดิน มุ่งหน้ามายังที่ที่สองครอบครัวชาวม้ง ไต่ราวไม้ที่พาดข้ามลําห้วยเล็กๆ ที่ข้ นั ระหว่างที่ดิน สองแปลงมายังอีกฝั่ง ตอนนี้เหลือระยะทางราว 100 เมตร ชายชุดลายพรางชักปื นพกสั้นออกจากเอวชู พร้อ มยิงขึ้นฟ้ าทีละนัด ทีล ะนัด พร้อ มๆ กับเดิ นกึ่ งวิ่งใกล้เข้ามา เสี ยงปื นดังต่อ เนื่ อ งไม่ หยุด สอง ครอบครัวชาวม้งต่างรี บวิง่ หนีมุ่งหน้าเข้าป่ า ชายชาวม้งออกวิง่ ก่อนเพื่อน พอกําลังจะพุ่งเข้าป่ า ได้หัน กลับมาดู เห็ นมี ผหู ้ ญิงและเด็กที่เหลือ ยังวิ่งไม่พน้ ที่โล่ ง จึงคว้าปี นยาวที่ซ่อ นไว้วิ่งอ้อ มออกไปทาง ด้านข้าง แอบอยู่หลังก้อ นหิ นขนาดใหญ่ม องลงไป เห็นชายชุดลายพรางกําลังแอบหลังตอไม้ ห่ าง ออกไปประมาณ 50 เมตร กําลังบรรจุลูกกระสุ นปื นชุดใหม่ เสร็ จแล้วเล็งปื นยิงไปที่กลุ่มครอบครัว ชาวม้งที่วงิ่ กําลังจะพ้นที่โลงเข้าป่ า ชายชาวม้งยกปื นยาวตั้งลํากล้องพาดบนก้อนหินเล็งไปที่ตอไม้ขา้ ง ตัวชายชุดลายพราง ปกติถา้ ออกล่าสัตว์เขาจะติดกล้องส่ อง แต่วนั นี้ เพียงพามาป้ องกันตัว จึงไม่ได้ติด ไว้ ถึงแม้ไม่ติดกล้องส่องเขาก็ยงิ ได้แบบหวังผลในระยะนี้ พอเขาลัน่ ไก กระสุ นนัดแรกพุ่งตรงเข้าไป ที่ตอไม้ เฉียดตัวชายชุดลายพรางไปราวหนึ่ งฝ่ ามือ ชายชุดลายพรางหยุดชะงัก แต่แล้วกลับตั้งมือเล็ง ปื นไปยังที่เดิมอีก ชายชาวม้งลัน่ กระสุนนัดที่สองไปยังจุดเดิม ชายชุดลายพรางทําท่าหยุดชะงักอี กครั้ง เหมือนไม่รู้ตวั ว่ากระสุ นมาจากด้านข้าง ไม่ใช่ดา้ นหน้า ชายชาวม้งบรรจงเปลี่ยนลูกกระสุ นปื นลูกที่ สาม คราวนี้ เล็งไปที่ตวั ปื นของชายชุดลายพราง ตั้งใจจะยิงให้ปืนกระเด็นหลุดจากมือ พอได้จงั หวะ ชายชาวม้งบรรจงเหนี่ยวไก แต่ครั้งนี้ กระสุ นด้าน ชายชาวม้งหันไปดูครอบครัวชาวม้ง ตรงบริ เวณที่
219
โลงนั้นว่างเปล่า ชายชาวม้งจึงดึงปื นกลับแล้วแอบวิ่งหลบเข้าป่ าไป ... ภายหลังต่อมาชาวบ้านพร้อม เจ้าหน้าที่มาตรวจสอบพื้นที่ดว้ ยกัน พบว่าตามทางตั้งแต่ขา้ งลําห้วยถึงต่อไม้ มีปลอกกระสุ นปื นตก ตามทางประมาณสิบกว่าปลอก และกระท่อมสองหลังที่อยูต่ รงทางที่ครอบครัวชาวม้งวิ่งเข้าไป มีรอย กระสุนปื นหลังละ 1 นัด คาดการณ์วา่ ชายชุดลายพรางยิงปื นหมดไป เกือบ 2 แม็กกาซีน และได้เล็งยืน ยิงไปทางครอบครัวชาวม้งที่วงิ หนีเข้าป่ าไปด้วย ... เมื่อผูว้ จิ ยั พบชายชาวม้งคนนั้น เขาบอกว่าเขาคิดถูก แล้วที่ตอนนั้นเขาเลือกฝังลูกกระสุนปื นลงบนตอไม้ แทนที่จะเป็ นร่ างของชายชุดลายพราง ... เหตุที่ถูกดาเนินคดี ต่อมาวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เจ้าหน้าที่หลายหน่ วยงาน ทั้งเจ้าหน้าป่ าไม้ ทหาร ปลัดอําเภอ ได้เดินทางไปตรวจดูสถานที่เกิดเหตุ ขณะที่รถของเจ้าหน้าที่เหล่านั้นขับเข้าไปยังที่เกิดเหตุ สวนกับรถ มอเตอร์ไซด์ชาวบ้านหมู่บา้ นผาสําราญคันหนึ่ง คนขับรถมอเตอร์ไซด์คนั นั้นจึงรี บลงไปยังหมู่บา้ นผา สําราญ เพือ่ บอกแก่ชาวบ้านว่าเจ้าหน้าที่กาํ ลังเข้าไปยังห้วยผักห้า ชาวบ้านประมาณ 10 คนรวมทั้งลุง ศักดิ์ ก็ได้ชวนกันขับรถมอเตอร์ไซด์ตามไป ด้วยเกรงว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้จะไปยึดที่หรื อจับชาวบ้านที่ ทํากินที่นนั่ เมื่อลุงศักดิ์กบั ชาวบ้านไปถึงที่เกิดเหตุก็เห็นเจ้าหน้าที่ประมาณ 20 คนกระจายอยูก่ ลางไร่ ในที่ เกิดเหตุ ชาวบ้านที่ไปด้วยได้เดินไปถามหัวหน้าหน่วยป่ าไม้วา่ มาทําอะไร หัวหน้าป่ าไม้ก็บอกว่ามีคน แจ้งว่ามีการบุกรุ กป่ าที่นี่ และเมื่อหลายวันก่อนเจ้าหน้าที่ของเขาถูกชาวบ้านลอบยิง จึงมาตรวจสอบ เพือ่ ยึดที่ และเขาเชื่อว่าคนยิงต้องเป็ นเจ้าของไร่ ลุงศักดิ์ก็เข้าไปอธิบายว่าที่ตรงนั้นเป็ นที่ทาํ กินเดิมของ ชาวบ้าน ไม่ได้มีการบุกรุ กป่ า หัวหน้าป่ าไม้เริ่ มมีอารมณ์โกรธ จึงขึ้นเสียงถามว่าที่ลุงศักดิ์พูดอย่างนั้น หมายความว่าเป็ นที่ของลุงศักดิ์ใช่ไหม ลุงศักดิ์ก็บอกว่าเมื่อก่อนลุงศักดิ์และชาวบ้านเคยอยูท่ ี่นี่ และ เคยมาทําบริ เวณนี้ ดังนั้น จึงยืนยันได้ว่าที่นี่เป็ นที่ทาํ กินเก่า ไม่ได้บุกใหม่แน่ นอน หัวหน้าป่ าไม้ก็ยงั บอกด้วยอารมณ์โกรธอีกว่า ถึงยังไงก็จะยึดที่บริ เวณนั้นให้หมด ชาวบ้านที่ไปด้วยเมื่อได้ยนิ ดังนั้นก็ โมโหหัวหน้าป่ าไม้เช่นกัน จึงเข้าไปต่อว่าหัวหน้าป่ าไม้วา่ ทีเป็ นของชาวบ้านทํามาหากินก็จะยึด แต่ที พวกเจ้าหน้าที่ป่าไม้และพวกคนต่างถิ่นมาเลื่อยไม้ขนไปขาย กลับปล่อยให้ทาํ ได้ หัวหน้าป่ าไม้ก็โต้ว่า ไม่ เ ป็ นความจริ ง ชาวบ้า นจึ งท้า ว่าจะพาไปดู และเมื่ อ ไปเห็ น แล้ว ให้ยึด ไปให้ห มดด้ว ย ตอนนั้น ปลัดอําเภอก็บอกว่าอยากให้ไปดูดว้ ยกัน แต่หวั หน้าป่ าไม้กลับตัดบทว่าไม่ตอ้ งไป หัวหน้าป่ าไม้ถามว่าใครเป็ นคนที่ยงิ ปื นใส่ เจ้าหน้าที่ป่าไม้เมื่อหลายวันก่อน และยังบอกด้วย ว่า ตนเชื่อว่าคนยิงต้องเป็ นเจ้าของที่ดินบริ เวณนั้น ชาวบ้านจึงถามว่ายิงจากที่ไหน หลักฐานอยูท่ ี่ไหน และบอกว่าที่เห็นนั้นมีแต่ปลอกกระสุ นปื นของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ตกกระจายใกล้ลาํ ห้วยและบริ เวณตอ ไม้ และรอยกระสุ นที่กระท่อ มสองรอย แสดงว่ามี แต่เจ้าหน้าที่ ที่ไ ล่ ยิงชาวบ้านสิ บกว่านัดเท่านั้น 220
พร้อมชี้ให้ดูปลอกระสุ นปื น ซึ่ งยังคงตกกระจายอยู่ที่เดิม เมื่อ เจ้าหน้าที่หน่ วยอื่ นๆ ที่มาด้วย ได้ฟัง ชาวบ้านและได้เห็นร่ องรอย ต่างก็ซุบซิบกันไปมา ไม่มีใครกล้าเถียงอะไรอีก ชาวบ้านและหัว หน้า ป่ าไม้โต้เ ถี ยงกันไปมาประมาณครึ่ งชั่วโมง หัวหน้าป่ าไม้ก็บ อกแก่ เจ้าหน้าที่ป่าไม้วา่ จะยึดที่ดินแปลงที่เกิดเหตุและที่บริ เวณรอบๆ ทั้งหมด และสัง่ ให้เจ้าหน้าที่ดึงสายวัด เมื่อรังวัด หลังจากนั้นชาวบ้านและลุงศักดิ์ต่างก็ทยอยกลับกันหมด ประมาณหนึ่ งเดื อนต่อ มา พนักงานสอบสวนสถานี ตาํ รวจภูธรปาย โทรศัพท์ไปหาลุง ศักดิ์ บอกว่าถูกแจ้งความดําเนินคดีขอ้ หาบุกรุ กแผ้วถางป่ า ให้ไปพบที่สถานี ฯ เพื่อรับทราบข้อกล่าวหา ลุง ศักดิ์จึงติดต่อกับผูว้ จิ ยั เพือ่ ขอให้ช่วยเหลือในทางคดี หลังจากได้รับการติดต่อ วันที่ 18 สิ งหาคม 2558 ผูว้ จิ ยั ได้เดินทางไปร่ วมรับทราบข้อกล่าวหาในฐานะทนายความด้วย โดยพนักงานสอบสวนแจ้งว่าลุง ศักดิ์ กระทําความผิด 2 ข้อหา คือ 1. บุกรุ ก ก่ นสร้าง แผ้วถาง ยึดถื อ ครอบครอง หรื อกระทําด้วย ประการใดอันเป็ นการทําลายป่ า อันเป็ นการเสื่ อมเสี ยแก่สภาพธรรมชาติโดยไม่ได้รับอนุ ญาต 2. ก่น สร้าง แผ้วถาง หรื อเผ่าป่ าหรื อกระทําด้วยประการใดๆ อันเป็ นการทําลายป่ า หรื อยึดถือครอบครองป่ า เพื่อตนเองหรื อผูอ้ ื่น โดยลุง ศักดิ์ให้การว่าที่ดินทํากินเป็ นที่ที่ตนเองเคยไปทํากินจริ ง แต่นานมาแล้ว ซึ่งตนไม่ได้เข้าไปทํากินมากว่าสิบปี แล้ว ภูมิหลังของลุงศักดิ์ หลังจากรับทราบข้อกล่าวหาแล้วผูว้ จิ ยั ได้เดินทางไปพบลุงศักดิ์ที่บา้ นผาสําราญ ตําบลเมือง แปง อําเภอปาย จังหวัดแม่ ฮ่อ งสอน เพื่อ ไปดู พ้ืนที่พิพาทและสอบข้อ เท็จจริ ง ซึ่ งตลอดช่ วงเวลาที่ ดําเนิ นคดี ผูว้ ิจยั ได้ล งพื้นที่ไ ปพบลุ งศักดิ์ อี กหลายครั้ง เพื่อ สอบถามข้อ เท็จจริ ง พูดคุ ยและสังเกต สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยงั มีโอกาสได้พดู คุยกับผูใ้ หญ่บา้ นและญาติของลุงศักดิ์อีก หลายคนด้วย ลุงศักดิ์แต่งงานมีครอบครัวตั้งแต่เป็ นหนุ่ม อยูก่ บั ภรรยาคนแรกมีบุตรด้วยกัน 2 คน หลังแยก ทางกับภรรยาคนแรกไม่นานก็แต่งงานกับภรรยาคนที่สองมีบุตรด้วยกันอีก 4 คน ในบรรดาลูกที่โต ต่างมีครอบครัวกันหมดแล้ว พักหลังๆ มา ส่วนใหญ่ลุงศักดิ์มีโรคประจําตัวจึงมักจะอยูบ่ า้ นดูแลหลาน มากกว่าจะไปทํางาน เดิ มทีคนรุ่ นพ่อ แม่ ของลุ งศักดิ์ ตั้งหมู่บา้ นอาศัยอยู่ใกล้กับที่เกิ ดเหตุ ซึ่ งชาวบ้านเรี ยกกันว่า ห้วยผักห้า และลุงศักดิ์เกิดและเติบโตที่หมู่บา้ นนั้น จนกระทัง่ อายุได้ประมาณยีส่ ิ บกว่าปี ทางอําเภอก็ มาชักชวนให้ชาวบ้านในหมู่บา้ นย้ายไปตั้งหมู่บา้ นที่หมู่บา้ นผาสําราญ ซึ่งเป็ นที่ราบติดแม่น้ าํ ปาย และ อยูห่ ่างออกไปจากหมู่บา้ นเดิมประมาณ 10 กิโลเมตร ตั้งแต่จาํ ความได้พ่อแม่มีอาชีพทําไร่ พอเติบโต 221
และมีครอบครัว ก็ยงั มีอาชีพทําไร่ ทาํ สวนมาโดยตลอด สมัยเป็ นเด็กลุง ศักดิ์เคยเรี ยนหนังสื อบ้างแต่ ไม่ได้เรี ยนอย่างเป็ นจริ งเป็ นจัง แต่ก็สามารถอ่านออกเขียนได้ ตั้ง แต่ สมัย เป็ นหนุ่ ม ลุ ง ศักดิ์ เป็ นคนเปิ ดเผย กว้า งขวาง สามารถพูดได้ห ลายภาษา ทั้ง ยัง สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้ เมื่อปี พ.ศ. 2530 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นหลาย สมัย จนถึ งปี พ.ศ. 2547 ทําให้ลุงศักดิ์ มีโอกาสไปสัมพันธ์กับหน่ วยงานทางราชการ บ่อยครั้งเวลา เจ้าหน้าที่รัฐหน่วยงานต่างๆ ลงมาในหมู่บา้ น ก็จะไปหาลุงศักดิ์ หรื อหากกรณี มีปัญหาก็จะสอบถาม จากลุงศักดิ์เนื่องจากสมัยก่อนผูใ้ หญ่บา้ นและชาวบ้านอ่านและพูดภาษาไทยได้ไม่มาก ทําให้ต้ งั แต่เป็ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นลุงศักดิ์ค่อนข้างมีบทบาทเป็ นผูน้ าํ ชุมชน เวลาเกิดเรื่ องราวหรื อปั ญหาต่างๆ ในชุมชน ไม่ ว่าจะเป็ นเรื่ อ งราวภายในชุ มชนกันเอง หรื อ คนในชุ มชนมี ปัญหากับต่างชุ มชน รวมทั้งเวลาที่ มี ปั ญหากับหน่ วยงานราชการ ลุงศักดิ์ก็จะเข้าไปร่ วมไกล่เกลี่ย หรื อเจรจาต่อรองเสมอ ตัวอย่างเช่น มี ครั้งหนึ่งเจ้าหน้าที่ตาํ รวจเข้ามายึดไม้ที่ชาวบ้านเตรี ยมไว้กาํ ลังสร้างบ้าน ขณะนั้นเจ้าหน้าที่ได้ขนไม้ บางส่วนขึ้นรถแล้ว เมื่อลุงศักดิ์ไปถึงเจ้าหน้าที่กาํ ลังขนไม้ส่วนที่เหลือ ชาวบ้านก็ยนื อออยูใ่ กล้ๆ ลุง ศักดิ์ก็บอกเจ้าหน้าที่วา่ ให้หยุดก่อน แล้วหันไปบอกกลุ่มชาวบ้านว่าให้มาช่วยกันขนไม้ลงให้หมด อย่า กลัว เมื่อชาวบ้านกรู กนั เข้ามา เจ้าหน้าที่ก็ถอยออกไป ลุงศักดิ์รู ้จกั กับหัวหน้าชุดที่มาด้วย จึงเข้าไปดึง มือหัวหน้าชุดออกมาจากกลุ่มคน และพูดพร้อมกับชี้ให้ดูวา่ ผูก้ องเห็นใช่ไหมว่าบ้านหลังนี้ มุงใบตอง และล้อ มด้วยไม้ฟ ากผุๆ เขากําลังจะสร้างบ้าน ผูก้ องยึดของเขาไปแล้วตัวขาและลู กเมี ยเขาจะอยู่ อย่างไร ถึงยังไงเขาก็จะต้องสร้างบ้าน วันนี้ผกู ้ องยึดไปหมด วันหน้าเขาก็ตอ้ งไปตัดมาอีก วันนี้ ถือเสี ย ว่าผูก้ องผ่านมาแล้วไม่เห็นอะไร เราต่างคนต่างไป หัวหน้าตํารวจคนนั้นก็ถามว่าลุงศักดิ์ยนื ยันได้นะว่า เขาจะสร้างบ้านจริ งๆ ลุ ง ศักดิ์ ก็ตอบว่ายืนยันได้ ผูก้ องอยูน่ ี่ ก็เห็นอยูแ่ ล้ว เมื่อชาวบ้านขนไม้ลงเสร็ จ ตํารวจพวกนั้นก็ออกจากหมู่บา้ นไป ซึ่งลักษณะนิสยั และบทบาทของลุงศักดิ์เช่นนี้ บางครั้งก็ทาํ ให้ลุง ศักดิ์เองก็รู้ตวั ว่าเจ้าหน้าที่รัฐหลายคนไม่พอใจ ลุงศักดิ์เล่าว่าเวลาชาวบ้านมีปัญหากับเจ้าหน้าที่รัฐ ให้คุยกับเขาดีๆ ก่ อน พวกเจ้าหน้าที่เขา มักจะไม่ได้สนใจความถูกผิดอะไรจริ งจังหรอก เขาแค่ทาํ เพื่อไม่ทาํ ให้ตนเองเดือดร้อนหรื อให้เขาไป รายงานหัวหน้าได้ก็พอแล้ว พวกเจ้าหน้าที่รัฐส่ วนใหญ่มีแผลอยูข่ า้ งหลังด้วยกัน หรื อไม่ก็ตอ้ งการ ผลประโยชน์ท้งั นั้น บางครั้งเวลาเจรจากับพวกเจ้าหน้าที่รัฐไม่ตอ้ งเอาความจริ งมาพูดกันหรอก ซึ่ งเขา ก็รู้ๆ อยูแ่ ล้วว่าเราโกหก แต่เอาเข้าจริ งๆ พวกนั้นชอบให้เราโกหกเสียด้วยซํ้าไป ผาสาราญ : หมู่บ้านม้ ง
222
สมัยที่ลุงศักดิ์ยงั เป็ นเด็ก ชาวม้งบ้านผาสําราญ ชุมชนอาศัยอยูบ่ นเขาใกล้กบั ห้วยผักห้า (ที่เกิด เหตุ) ซึ่งอยูในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ เจ้าหน้าที่จากอําเภอปายได้มาที่หมู่บา้ น และบอกชาวบ้านว่าอยาก ให้ชาวบ้านย้ายหมู่บา้ นไปอยูท่ ี่ตวั อําเภอปาย (สมัยนั้นอําเภอปายเป็ นเพียงชุมชนที่ยงั มีคนไม่มาก และ ยังมีพ้นื ที่ราบอีกเยอะที่ไม่มีคนไปอยูอ่ าศัยและทํากิน) จะได้ทาํ กินในที่ราบและอยูใ่ กล้กบั ทางราชการ เวลามีอะไรจะได้ช่วยเหลือกันได้ แต่ชาวบ้านก็ไม่ไป ต่อมาอีกหลายปี จนกระทัง่ ลุงศักดิ์มีครอบครัว แล้ว เจ้าหน้าที่จากอําเภอปายก็มาคุยกับชาวบ้านว่าจะให้ชาวบ้านทั้งหมู่บา้ นย้ายไปอยูต่ ิดกับแม่น้ าํ ปาย และใกล้กบั ตัวตําบล โดยเจ้าหน้าที่ได้นาํ เครื่ องจักรมาปรับที่ต้งั หมู่บา้ น พร้อมรังวัดจัดสรรที่ดินทํากิน ให้ครอบครัวละประมาณ 2 ไร่ ชาวบ้านจึงพร้อมกันย้ายลงไปตั้งหมู่บา้ นอยูท่ ี่นั่น เมื่อชาวบ้านมาอยู่ แล้วปรากฏว่าที่ดินทํากินไม่เพียงพอสําหรับเลี้ยงครอบครัว คนสวนใหญ่จึงยังต้องกลับไปทํากินในที่ เดิมต่อ และใช้ทาํ กินต่อเนื่องมาจนปั จจุบนั ด้วยสภาพที่ชนเผ่าม้งใช้ที่ดินบนภูเขาสูงทํากิน และชุมชนของคนเมืองอยูบ่ ริ เวณพื้นที่ราบลุ่ม แม่น้ าํ ปาย ทําให้คนพื้นราบกล่าวหาว่าคนม้งบุกรุ กพื้นที่ป่าต้นนํ้าของคนพื้นราบ และมีการร้องเรี ยน ไปยังหน่ วยงานที่เ กี่ ย วข้อ งหลายครั้ ง ครั้ งแรกเกิ ดขึ้ นเมื่ อ ปี พ.ศ. 2540 ทํา ให้เจ้า หน้าที่ป่ าไม้ไ ด้ ประสานงานให้ผูน้ ําของหมู่ บา้ นที่ร้อ งเรี ยน กับ ชาวบ้านผาสําราญที่เป็ นเจ้าของที่ดิน ลงพื้นที่ไ ป ตรวจสอบด้วยกัน แต่เมื่อตรวจสอบทั้งหมดแล้วปรากฏว่าเป็ นพื้นที่ทาํ กินเก่า จึงได้ทาํ เป็ นบันทึกการ ตรวจสอบและทําข้อตกลงไว้ว่าชาวบ้านจะทํากินเฉพาะที่เดิมและไม่บุกรุ กที่ใหม่ หลังจากนั้นก็ยงั มี การร้องเรี ยนอย่างต่อเนื่ อง ทําให้มีเจ้าหน้าที่หลายหน่ วยงานเคยลงพื้นที่ม าตรวจสอบพื้นที่ ไม่ว่าจะ เป็ นอําเภอ ป่ าไม้ ทหาร แต่ทุกครั้งเมื่อ เจ้าหน้าที่ลงมาตรวจสอบแล้วก็บอกว่าเป็ นเพียงพื้นที่เก่ าให้ ชาวบ้านทํากินต่อได้ เพียงแต่อย่าไปบุกรุ กที่ใหม่ นอกจากเรื่ องที่ดินแล้ว ชาวบ้านผาสําราญยังมีความขัดแย้งกับคนพื้นราบและเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เรื่ องการลักลอบทําไม้ดว้ ย เนื่องจากพื้นที่ลุ่มแม่น้ าํ ปายเป็ นแหล่งไม้สกั ทอง ซึ่ งพื้นที่ป่าใกล้กบั ชุมชน คนเมืองนั้นไม้สกั ขนาดใหญ่ถูกตัดไปหมดแล้ว สําหรับบางพื้นที่ที่เหลืออยูก่ ็อยูใ่ กล้กบั ชุมชนจนไม่มี ใครกล้าไปตัด ในขณะที่พ้นื ที่ป่าใกล้กบั หมู่บา้ นผาสําราญนอกจากอยูไ่ กลออกไปและไม่มีชุมชนอยู่ ใกล้และยังมีไม้สกั หลงเหลืออยูม่ าก ดังนั้น คนเมืองหรื อพวกนายทุนมักจะไปลักลอบทําไม้บริ เวณป่ า ดังกล่าว ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้จะต้องรู ้เห็นเป็ นใจให้ เนื่ องจากมีการทํากันอย่างเอิกเกริ ก ไม่เกรงกลัวกฎหมายบ้านเมือง ที่สาํ คัญคือเส้นทางขนไม้ออกไปมีเพียงเส้นทางเดียว และเส้นทางนี้ ยงั ผ่านด่านของสํานักงานป่ าไม้ไปด้วย ก่อนที่จะเกิดเหตุคดีน้ ีไม่นาน ชาวบ้านผาสําราญเห็นมีการลักลอบทําไม้จาํ นวนมาก แล้วใช้ รถยนต์ลกั ลอบขนไปในเมือง และหน่วยงานรัฐก็ไม่ได้ทาํ อะไร ชาวบ้านจึงได้ไปขุดทําลายถนนเส้นที่ 223
จะไปยังบริ เวณที่มีการลักลอบทําไม้ ทําให้พวกที่ทาํ ไม้หยุดไปและยังมีไ ม้คา้ งอยูใ่ นป่ าจํานวนมาก ต่อมาชาวบ้านก็ทราบข่าวว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้และพวกนายทุนไม่พอใจชาวบ้านอย่างมาก นอกจากขัดแย้งกับคนพื้นราบแล้วชาวบ้านผาสําราญยังมีความขัดแย้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้ด้วย โดยมี เหตุการณ์ ที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ไ ปยึดที่ดินทํากิ นของชาวบ้านไปปลู กป่ า บางครั้งก็เข้าไปไล่ จบั ชาวบ้านในไร่ ซึ่งมีอยูค่ รั้งหนึ่งที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้คนที่ยงิ ปื นใส่ สองครอบครัวชาวม้ง ไปเห็นชาวบ้าน กําลังทําไร่ แล้วก็ยงิ ปื นขู่พร้อมกับวิง่ ไล่จบั แต่ชาวบ้านหนีทนั นอกจากนี้เจ้าหน้าที่ป่าไม้ยงั เข้ายึดไม้ที่ ชาวบ้านเตรี ยมไว้สร้างบ้านอยูอ่ าศัยบ่อยครั้ง ทําให้ชาวบ้านผาสําราญได้รับความเดือดร้อนบ่อยครั้ง ในชั้นสอบสวน ลุงศักดิ์เล่าให้ผวู ้ จิ ยั ฟังว่า ช่วงแรกๆ ที่พนักงานสอบสวนโทรมาบอกว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้ได้แจ้ง ความลุงศักดิ์แล้วนั้น เคยมีความคิดที่จะหลบหนีไปอยูฝ่ ั่งพม่า เพราะลึกๆ แล้วกลัวว่าไม่สามารถสู ้คดี ได้ ไหนจะเงินค่าประกันตัว ค่าจ้างทนายความ ค่าใช้จ่ายๆ ระหว่างสู ้คดีอีก ต่อให้สู้คดีก็ไม่แน่ ว่าจะ ชนะ ญาติก็แนะนําว่าให้หนี อย่าได้สู้คดี เลย แต่หลังจากที่ได้คุยกับผูว้ ิจยั และผูว้ ิจยั รับจะเป็ นทนาย ช่วยเหลือทางคดีให้และได้คุยถึงแนวทางในการต่อสูค้ ดี ประกอบกับสํานักงานกองทุนยุติธรรมแจ้งว่า อนุ ม ัติเงินประกันตัวแล้ว ลุ งศักดิ์ ก็ตดั สิ นใจแล้ว ว่าจะสู ้คดี ให้ถึ งที่สุด นอกจากนี้ ลุ งศักดิ์ ยังเชื่ อ ว่า เจ้าหน้าที่ป่าไม้ตอ้ งการเล่นงานตน และต้องการทําเพื่อข่มขู่ชาวบ้านในหมู่บา้ นด้วย เนื่ องจากลุงศักดิ์ และชาวบ้านทําให้เจ้าหน้าที่ป่าไม้โกรธเคืองและไม่พอใจหลายเรื่ อง ในชั้นสอบวน เจ้าหน้าที่ป่าไม้แจ้งความโดยกล่าวหาว่า เมื่อ วันที่ 30 มิถุนายน 2558 เวลา ประมาณ 09.30 เจ้าหน้าที่ป่าไม้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองอําเภอปาย และเจ้าหน้าที่ทหาร ได้ ร่ วมกันออกตรวจพื้นที่ป่าที่ถู กบุกรุ กตามที่ไ ด้รับแจ้งจากราษฎร ถึงที่เกิดเหตุพบพื้นที่ถูกบุกรุ กแผ้ว ถางประมาณ 1 ปี เนื้อที่ประมาณ 16 ไร่ ขณะตรวจยึดพื้นที่พบชายจํานวน 10 คน ขับขี่รถจักรยานยนต์ เข้ามาในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ได้สอบถามว่าพื้นที่เกิดเหตุและกระท่อมเป็ นของใคร นายสุ ก็แสดงตัวเป็ น เจ้าของ เจ้าหน้าที่จึงแสดงตัวว่าเป็ นเจ้าพนักงานและจะควบคุมตัว แต่ผตู ้ อ้ งหาได้หลบหนีไป ลุงศักดิ์ให้การปฏิเสธข้อกล่าวหา โดยให้เหตุผลว่าที่พิพาทเป็ นที่ดินที่ชาวบ้านทํากินมาตั้งแต่ สมัยปู่ ย่า เดิมทีตนก็เคยไปทํากินจริ ง และตนเคยไปแจ้งขอขึ้นทะเบียนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิ ถุนายน 2541 แล้ว แต่สิบกว่าปี ที่ผ่านมาตนก็ไม่ ได้ไปเข้าไปทําอีกแล้ว ในวันเกิดเหตุลุงศักดิ์ พร้อมกับชาวบ้านผ่านที่เกิดเหตุไปเพือ่ ไปเปิ ดนํ้าประปาหมู่บา้ น เมื่อเห็นเจ้าหน้าที่ก็เข้าไปพูดคุย ก็รู้ว่า เจ้าหน้าที่จะยึดพื้นที่ ตนจึงได้พูดกับเจ้าหน้าที่ว่าอย่ายึดเนื่ องจากเป็ นที่ดินทํากิ นเดิ มของชาวบ้าน เจ้าหน้าที่ก็ได้สอบถามว่าที่ตนพูดแบบนี้ ก็แสดงว่าเป็ นที่ดินของตนใช่ไหม และบอกว่าจะจับตน แต่ 224
ตนก็ปฏิเสธว่าไม่ ใช่ จากนั้นเจ้าหน้าที่ก็เกิดการโต้เถี ยงกับชาวบ้านที่ไ ปกับตน หลังจากนั้นตนและ ชาวบ้านก็แยกย้ายกันกลับหมด หลัง จากไปรับ ทราบข้อ กล่ า วหาจากพนัก งานสอบสวนแล้ว ผูว้ ิจ ัย ได้ส อบถามเกี่ ย วกับ หลักทรัพย์ประกันตัว ซึ่งคดีน้ ีตอ้ งใช้หลักทรัพย์อย่างน้อย 150,000 ถึง 200,000 บาท ลุงศักดิ์บอกว่าไม่ มีเงินมากขนาดนั้นและที่ดินที่มีอยูก่ ็ไม่มีเอกสารสิทธิ์ที่จะใช้เป็ นหลักประกันได้ ผูว้ จิ ยั จึงได้แนะนําให้ ลุงศักดิ์ ไปยืน่ คําร้อ งขอรับการช่วยเหลื อเงินประกันตัวจากสํานักงานยุติธรรมจังหวัด ลุง ศักดิ์จึงได้ เดินทางไปยืน่ คําร้องยังสํานักงานซึ่งตั้งอยูท่ ี่อาํ เภอเมืองแม่ฮ่องสอน เจ้าหน้าที่สาํ นักงานฯ ได้สอบถาม จํานวนหลักทรัพย์ประกันตัวไปยัง ศาล และเจ้าหน้า ที่ศ าลตอบว่า คดี น้ ี ต้อ งใช้หลัก ทรั พย์จาํ นวน 150,000 บาท เจ้าหน้าที่จึงทําเรื่ องขออนุมตั ิเงินกองทุนยุติธรรมตามจํานวนดังกล่าว หลังจากที่ทราบว่าพนักงานสอบสวนได้ส่งสํานวนการสอบสวนให้แก่พนักอัยการแล้ว ผูว้ ิจยั ได้พดู คุยกับลุงศักดิ์แนะนําให้ทาํ หนังสือร้องขอความเป็ นธรรมส่ งให้พนักงานอัยการเพื่อพิจารณาสั่ง ไม่ฟ้องคดี เมื่อลุงศักดิ์เห็นด้วย ผูว้ จิ ยั ก็ได้ร่างหนังสือร้องขอความเป็ นธรรมส่ งต่อพนักงานอัยการ แต่ ต่อมาลุงศักดิ์ก็ได้รับแจ้งนัดให้ไปที่ศาลเพือ่ ส่งฟ้ อง ผูว้ จิ ยั จึงได้ไปสอบถามที่สาํ นักงานอัยการ ก็ได้รับ คํา ตอบจากเจ้า หน้า ที่ ว่า เมื่ อ ได้รั บ หนัง สื อ แล้ว อัย การได้ส่ งไปให้สํานัก งานอัย การภาคพิจารณา สํานักงานอัยการภาคแจ้งมาว่าเนื่องจากในหนังสือนั้นมีขอ้ ความที่แสดงว่าจําเลยยอมรับข้อเท็จจริ ง จึง มีคาํ สัง่ ให้ส่งฟ้ อง การต่ อสู้ คดีในชั้นศาล ในวันยื่นฟ้ องนั้นผูว้ ิจยั ไปศาลด้วย ขั้นตอนเริ่ มจากเข้าไปรับฟั งคําฟ้ องในห้อ งพิจารณาคดี ก่อน เมื่ อศาลอ่านคําฟ้ องเสร็ จก็ให้ตาํ รวจศาลพาไปกักขังไว้ในห้องขัง แล้วให้ญาติไปยืน่ คําร้องขอ ประกันตัว คดีน้ ี มีเจ้าหน้าที่สาํ นักงานยุติธรรมจังหวัดมายืน่ คําร้อ งขอประกันตัว โดยยื่นหลักทรัพย์ 150,000 บาท แต่ศาลไม่อนุญาต โดยให้เหตุผลว่าต้องใช้ทรัพย์ประกันตัว 200,000 บาท ผูว้ ิจยั ก็เข้าไป อธิบายว่าได้สอบถามมาก่อนแล้ว จึงได้เตรี ยมมาตามที่เจ้าหน้าที่บอกไว้ แต่เจ้าหน้าที่ช้ ีแจงว่าเนื่องจาก เพิง่ ตรวจพบว่าโจทก์ฟ้องว่าพื้นที่พพิ าทเป็ นป่ าลุ่มนํ้าชั้น 1 ซึ่งศาลมีระเบียบกําหนดจํานวนหลักทรัพย์ มากกว่าพื้นที่อื่นๆ เจ้าหน้าที่ศาลจึงแนะนําว่าให้จาํ เลยไปหาเงินมาเพิ่มอีก 50,000 บาท เพื่อรวมกันให้ ครบ 200,000 บาท แล้วยืน่ คําร้องใหม่ ดังนั้น บุตรชายของลุงศักดิ์จึงรี บเดินทางกลับไปที่หมู่บา้ น เพื่อ ขอกูย้ มื เงินของพ่อค้าคนกลางรับซื้อผักอีก 50,000 บาทมา เมื่อนํามารวมกันได้ครบจํานวนตามกําหนด แล้ว ศาลจึงอนุญาตให้ประกันตัวได้ ก่อนที่จะถึงกําหนดสืบพยาน ผูว้ จิ ยั ได้ไปติดต่อกับหัวหน้าโครงการหลวง ผูร้ ับผิดชอบพื้นที่ อําเภอปาย เพื่อ ขอตรวจสอบแผนที่และขอให้มาเป็ นพยานยืนยันว่าที่เกิดเหตุเป็ นที่ดินที่โครงการ 225
หลวงจัดทําแผนที่ไว้ และเป็ นที่ดินที่ทาํ กินเดิมไม่ได้บุกรุ กใหม่ แต่หัวหน้าโครงการหลวงออกตัวว่า ไม่ประสงค์จะไปเป็ นพยานในชั้นศาล และบอกว่าการทําแผนที่ของโครงการหลวง ไม่ใช่การรับรอง สิ ทธิ์ที่จะสามารถใช้เป็ นหลักฐานได้ หลังจากนั้นผูว้ ิจยั ก็ได้เดินทางไปขอตรวจสอบเอกสารการขึ้น ทะเบียนตามมติ ครม. และการรังวัดพิสูจน์สิทธิ์ แต่เจ้าหน้าที่ป่าไม้แจ้งว่าเคยมีโครงการไปรังวัดบ้าง แต่ดาํ เนิ นการไม่ เสร็ จและไม่ สามรถเอาออกมาใช้ไ ด้ เมื่ อ ตรวจสอบเอกสารการขึ้ นทะเบียนแล้ว ปรากฏว่าระบุตาํ แหน่งแปลงที่ดินอยูค่ นละฝั่งของแม่น้ าํ ปาย เมื่อผูว้ ิจยั ได้สอบถามลุงศักดิ์ในภายหลัง ลุงศักดิ์บอกว่าเจ้าหน้าที่น่าจะเขียนผิด ในการสืบพยาน โจทก์ให้การว่าก่อนเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ออกประชาสัมพันธ์ เรื่ องการตัด ไม้ทาํ ลายป่ าในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ แก่ชาวบ้านที่บา้ นห้วยผักห้า มีชาวบ้านแจ้งว่ามีการบุกรุ กที่ป่า สงวนแห่ งชาติที่บริ เวณขุนห้วยผักห้า หมู่ ที่ ๖ บ้านผาสําราญ ตําบลเมื อ งแปง อําเภอปาย จังหวัด แม่ฮ่องสอน ขอให้ไปตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ป่าไม้จึงไปตรวจสอบ และพบว่ามีการบุกรุ กฟื้ นที่ป่าสงวน แห่ งชาติตามที่ไ ด้รับแจ้งจริ ง ต่อ มาเมื่อ วันที่ 29 มิ ถุนายน 2558 เจ้าหน้าที่ป่าไม้ได้ประสานงานกับ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองและเจ้าหน้าที่ทหาร เพื่อเข้าร่ วมตรวจสอบและร่ วมตรวจยึดพื้นที่ที่มีการบุกรุ ก ดังกล่ า ว และเมื่ อ วันที่ 29 มิ ถุน ายน 2558 เวลาประมาณ 6 นาฬิ กา เจ้าหน้า ที่ป่ าไม้ เจ้า หน้าที่ ฝ่าย ปกครอง และเจ้าหน้าที่ทหาร เดินทางไปยังพื้นที่เกิดเหตุ ได้ทาํ การตรวจพื้นที่พบว่ามีการตัดต้นไม้ แผ้ว ถางป่ า คิ ด เป็ นเนื้ อ ที่ ป ระมาณ 16 ไร่ พบกระท่ อ ม 2 หลัง ปลู ก สร้ า งในพื้ น ที่ ขณะทํา การ ตรวจสอบมีชาวบ้านเดินทางมายังพื้นที่ดงั กล่าวประมาณ 10 คน และนายสุ หว่างป่ อ จําเลยได้แสดง ตัวว่าเป็ นเจ้าของพื้นที่ที่กาํ ลังทําการตรวจยึด เมื่อจะเชิญตัวจําเลยไปที่สาํ นักงาน นายสุ กลับหลบหนี ออกจากพื้นที่ไป จึงได้ถ่ายภาพพื้นที่ที่ทาํ การตรวจยึดและถ่ายภาพจําเลย พร้อมทําบันทึกการตรวจยึด พื้นที่ และผังแปลงที่ตรวจยึดไว้ ต่อ มาได้ตรวจสอบไปยังสํานักจัดการทรัพยากรป่ าไม้ที่ 1 สาขา แม่ฮ่องสอน ได้รับแจ้งกลับมาว่า บริ เวณพื้นที่ดงั กล่าวเป็ นป่ าต้นนํ้า พื้นที่ที่ถูกบุกรุ กเกิดความเสี ยหาย คํานวนได้ 1,335,860 บาท จําเลยนําสืบว่า สรุ ปใจความได้ว่า เดิมจําเลยเป็ นผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นตั้งแต่ปี 2530 จนถึงปี 2547 ระหว่างที่ปฏิบตั ิหน้าที่เป็ นผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น เคยเจรจากรณี พิพาทระหว่างชาวบ้านกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ปั จจุบนั ไม่ได้ประกอบอาชีพ ในวันเกิดเหตุจาํ เลยจะเดินทางไปดูตน้ นํ้าประปาเนื่ องจากนํ้าประปาใน หมู่บา้ นไม่ไหล ต้นนํ้าประปาอยูห่ ่ างจากพื้นที่เกิดเหตุประมาณ 2 กิโลเมตร และต้องผ่านพื้นที่ที่เกิด เหตุ ไ ป ระหว่ า งทางพบชาวบ้า นประมาณ 7-8 คน กํา ลัง ขับ รถจัก รยานยนต์ไ ปเก็ บ เห็ ด จึ ง ขับ รถจักรยานยนต์ร่วมไปในทางเดียวกัน เมื่ อ มาถึงพื้นที่เกิ ดเหตุพบรถยนต์ของเจ้าหน้าที่ป่าไม้จอด ขวางทางอยู่ จําเลยกับพวกจึงจอดรถจักรยานยนต์เดินไปหาเจ้าหน้าที่ป่าไม้ สอบถามได้ความว่า มา ตรวจยึ ด พื้ น ที่ ที่ ถู ก บุ ก รุ ก จํา เลยแจ้ง เจ้า หน้ า ที่ ป่ าไม้ ว่ า พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วได้รั บ การผ่ อ นผัน จาก 226
คณะรั ฐมนตรี ต้ งั แต่ ปี 2542 ให้ชาวบ้านทํากิ น และขอเจ้าหน้าที่ ป่าไม้ไ ม่ ใ ห้ยึดพื้นที่ดังกล่ า ว แต่ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ไม่ยอม โดยแจ้งกับจําเลยว่าหากมี เอกสารสิ ทธิ์ ให้นาํ มาแสดง จําเลยไม่ ใช่เจ้าของจึง เดินออกจากพื้นที่เพือ่ ไปเปิ ดนํ้าประปา ศาลชั้นต้นมีคาํ พิพากษายกฟ้ อง โดยได้วนิ ิจฉัยไว้วา่ เมื่อพิจารณาจากบันทึกการตรวจยึดและ หนังสือขอให้สืบสวนสอบสวนหาตัวผูก้ ระทําความผิด ที่พยานเป็ นผูจ้ ดั ทําแล้ว กลับปรากฏข้อความ ว่า ในขณะตรวจพบพื้นที่ถูกบุกรุ กไม่พบผูก้ ระทําความผิดในที่เกิดเหตุ ขอให้สืบสวนสอบสวนหาตัว ผูก้ ระทําความผิดมาดําเนินคดี ข้อความดังกล่าวขัดแย้งกับคําเบิกความที่พยานทั้งสามปากเบิกความว่า จําเลยได้แสดงตัวเป็ นเจ้าของพื้นที่ที่ถูกตรวจยึดในวันดังกล่ าว ซึ่ งถื อว่าเป็ นสาระสําคัญเกี่ยวกับตัว ผูก้ ระทําความผิด เพราะหากข้อเท็จจริ งเป็ นดังที่พยานโจทก์ท้ งั สามปากเบิกความแล้ว เหตุใดในวัน ดังกล่าวจึงไม่มีการจับกุมตัวจําเลยเพื่อนําส่ งพนักงานสอบสวนดําเนิ นคดี ทั้งๆ ที่สามารถกระทําได้ กลับกระทําเพียงถ่ายภาพจําเลยไว้เท่านั้น และถึงแม้พยานปากนายอินทอนจะเบิกความว่า เหตุที่ไ ม่ ควบคุ ม ตัว จําเลยเกรงว่าจะเกิ ด การปะทะกับ ชาวบ้า น เนื่ อ งจากชาวบ้านพกมี ดมาด้วย เมื่ อ ดู ตาม ภาพถ่ า ยแล้ว คงเห็ น ชาวบ้านเพีย งคนเดี ย วที่ มี มี ดที่ ห่ อ หุ ้ม อย่างมิ ดชิ ด แขวนไว้ที่ ข ้า งลํา ตัว ส่ ว น เจ้าหน้าที่และทหารล้วนมีอาวุธปื นครบมือ ทั้งในภาพถ่ายที่ปรากฏก็ ไม่ได้มีเหตุการณ์ในลักษณะที่ อาจเกิดการปะทะกันได้ จึงไม่น่าเชื่อว่าจะไม่สามารถควบคุมตัวจําเลยไว้ได้ คําให้การพยานโจทก์ท้ งั สามปากไม่ สมเหตุสมผล มี พิรุธ อี ก ทั้งโจทก์เองก็ ไ ม่ มี ประจักษ์พ ยานหรื อ พยานอื่ นมาเบิกความ สนับสนุนให้ได้ความชัดแจ้งว่า พื้นที่ที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ทาํ การตรวจยึดนั้น จําเลยเป็ นผูบ้ ุกรุ ก แผ้วถาง ตัดไม้ทาํ ลายป่ า คงมีเพียงคําเบิกความของพยานโจทก์ที่เป็ นพยานบอกเล่าเท่านั้น คําพยานของโจทก์ จึงไม่มีน้ าํ หนักเพียงพอต่อการรับฟัง ทําให้เกิดความสงสัยว่าจําเลยเป็ นผูบ้ ุกรุ กพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ ตามที่เจ้าหน้าที่ตรวจยึดจริ งหรื อ ไม่ ดังนี้ เมื่อมีเหตุสงสัยตามสมควร กรณี จึงต้องยกประโยชน์แห่ ง ความสงสัยนั้นให้จาํ เลย ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา 227 วรรคสอง โจทก์ยนื่ อุทธรณ์คดั ค้านคําพิพากษาของศาลชั้นต้น ซึ่ งในที่สุดศาลอุทธรณ์พิพากษากลับว่า จําเลยมีความผิดตามฟ้ อง เนื่ องจากพยานหลักฐานของฝ่ ายโจทก์รับฟั งได้ และกําหนดให้จาํ คุก 2 ปี โดยไม่รอลงอาญา ผูว้ จิ ยั กับลุงศักดิ์ได้ปรึ กษากันแล้วตกลงว่าจะขอยืน่ ฎีกาคัดค้านคําพิพากษาของศาล อุทธรณ์ ผูว้ จิ ยั จึงได้จดั ทําคําฎีกาโต้แย้งคําพิพากษาของศาลอุทธรณ์ ขอให้ศาลฎีกาพิพากษากลับเป็ น ยกฟ้ องดังที่ศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยไว้ ต่อมาเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ศาลฎีกามีคาํ พิพากษายืน ตามศาลอุทธรณ์ คือ พิพากษาว่ามีความผิดและลงโทษจําคุกมีกาํ หนด 2 ปี เมื่อคดีถึงที่สุดแล้วลุงศักดิ์ก็ ถูกควบคุมตัวส่งเรื อนจํา คําวินิจฉัยของศาลฎีกาสรุ ปใจความได้วา่ พื้นที่เกิดเหตุอยูห่ ่างไกลจากหมู่บา้ น และเดินทางถึง พื้นที่เกิดเหตุยากลําบาก จึงยากที่จะหาพยานอื่นที่รู้เห็ นเกี่ ยวกับการกระทําความผิดของจําเลยเป็ น 227
พยานยืนยันต่อศาล ทั้งการเข้าไปตรวจยึดที่เกิดเหตุเป็ นการไปตรวจยึดตามที่ได้รับแจ้ง และพยานฝ่ าย โจทก์ยนื ยันว่าจําเลยรับว่าเป็ นเจ้าของ นอกจากนี้ ในชั้นสอบสวนจําเลยยังได้อา้ งว่ามีสิทธิทาํ กินใน พื้นที่เกิดเหตุ แต่เมื่ อพนักงานสอบสวนตรวจสอบแล้วปรากฏว่าเป็ นที่ดินคนละแปลงกับที่เกิดเหตุ รวมทั้งการที่จาํ เลยได้ยอมรับต่อเจ้าหน้าที่ป่าไม้ว่าเป็ นเจ้าของที่ดิน อันเป็ นคํารับที่ทาํ ให้จาํ เลยเสี ย ประโยชน์ จึ ง รั บ ฟั ง ได้ สํา หรั บ คํา พยานของผูใ้ หญ่ บ ้า นที่ ใ ห้ก ารเป็ นพยานของฝ่ ายโจทก์ใ นชั้น สอบสวนว่า จําเลยเกี่ ยวข้อ งกับที่เกิดเหตุ แต่ในชั้นศาลเบิกความว่ายืนยันไม่ไ ด้ และไม่ เคยพูดกับ พนัก งานสอบสวนว่า ที่ดิ นเป็ นของจําเลย แต่ศ าลเชื่ อ เอกสารคํา ให้ก ารของผูใ้ หญ่บา้ นให้การใน สอบสวน และไม่เชื่อคําเบิกความในชั้นศาลเนื่องจากเห็นว่ามีลกั ษณะบ่ายเบี่ยงเพื่อช่วยเหลือจําเลย จึง วินิ จ ว่า เมื่ อ พิ จ ารณาสภาพ ลัก ษณะ แหล่ ง ที่ ม า และข้อ เท็จ จริ ง แวดล้อ มของพยานแล้ว กรณี มี พฤติการณ์พเิ ศษจึงรับฟังคําให้การในชั้นสอบสวนของผูใ้ หญ่บา้ นประกอบพยานหลักฐานอื่น ทําให้ พยานหลักฐานของโจทก์มีน้ าํ หนักรับฟังได้โดยปราศจากความสงสัย ในวันอ่านคําพิพากษาศาลฎีกา ผูว้ ิจยั ไปร่ วมฟั งด้วยในฐานะทนายความจําเลย หลังจากที่ผู ้ พิพากษาศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน (สาขาปาย) อ่านคําพิพากษาศาลฎี กาเสร็ จและเจ้าหน้าที่ศาลพาลุ ง ศักดิ์เดินไปยังห้องขังแล้ว ผูพ้ ิพากษาที่เพิง่ อ่านคพิพากษาจบได้พูดกับผูว้ ิจยั (ลักษณะกึ่งบ่นกึ่งตําหนิ ) ว่า พวกที่ตดั ไม้ทาํ ลายป่ าศาลจะต้องลงโทษให้เข็ดหลาบ คดีน้ ีตอนพิจารณาผูพ้ ิพากษาเจ้าของสํานวน เห็นว่าพยานโจทก์ไม่มีน้ าํ หนักจึงยกฟ้ อง ก็เป็ นความเห็นของท่านไป (หมายถึงผูพ้ ิพากษาศาลชั้นต้น เจ้าของสํานวน) คุณเป็ นทนายศาลก็เข้าใจว่ามาทําตามหน้าที่ (ผูว้ จิ ยั เข้าใจว่าต้องการตําหนิผวู ้ จิ ยั ว่าเป็ น ทนายความไม่ ค วรมาช่ ว ยว่ า ความให้ พ วกคนตัด ไม้ท ํา ลายป่ า) ศาลเคยนั่ ง เครื่ อ งบิ น ระหว่ า ง แม่ฮ่องสอนไปเชียงใหม่ เห็นป่ าไม้ถูกทําลายหมดไปเป็ นภูเขา พวกเจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็ไม่ค่อยไปไล่จบั เดี๋ยวจะสัง่ ตํารวจศาลไปจับมาให้หมด คดีป่าไม้ : ความผิดที่ไม่ มีสิทธิได้ รับการพักโทษ ระหว่างที่ลุงศักดิ์ถูกจําคุกอยูท่ ี่เรื อนจําจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผูว้ จิ ยั ได้เดินทางไปขออนุญาตเยีย่ ม ลุงศักดิ์ได้เล่าว่าเนื่องจากตนถูกจัดให้เป็ นผูส้ ูงอายุ ทางเรื อนจําจึงไม่ให้ทาํ งานเหมือนผูต้ อ้ งขังคนอื่นๆ โดยแต่ล ะวันเขาจะให้สานตะกร้าไม้ไ ผ่เล็กๆ น้อ ยๆ เท่านั้น นอกจากนี้ ยังได้เล่ าว่าที่เรื อนจํามี การ พูดคุยเกี่ ยวกับการลดโทษและการให้พกั โทษ เจ้าหน้าที่ที่เรื อ นจําบอกว่า ถ้าเป็ นคดีที่เขาถื อว่าเป็ น ความผิดไม่ร้ายแรง จะได้รับการพักโทษ แต่สาํ หรับคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สินของทางราชการ ซึ่ ง รวมถึงคดีความผิดเกี่ยวกับป่ าไม้น้ นั เขาจะไม่อนุญาตให้พกั โทษได้ แต่ผวู ้ ิจยั ก็บอกลุงศักดิ์ว่าผูว้ ิจยั จะ กลับไปจัดเตรี ยมยืน่ คําร้องขอพระราชทานอภัยโทษให้ ซึ่งลุงศักดิ์ก็เห็นด้วย
228
หมายเหตุ ข้อมู ลสําหรับกรณี ศึกษานี้ ผูว้ ิจยั รวบรวมจากบรรดาเอกสารในสํานวนคดี และข้อ เอกสาร อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบันทึกการสอบข้อเท็จจริ งลุงศักดิ์ ญาติและผูน้ าํ ชุมชนเพื่อใช้สาํ หรับต่อสู ้คดี ซึ่งระหว่างเตรี ยมการต่อสูค้ ดี และการพูดคุยระหว่างร่ วมงานกัน ซึ่ งระหว่างต่อสู ้คดี ผูว้ ิจยั ได้เดินทาง ไปพบลุงศักดิ์ที่บา้ นเพื่อเตรี ยมพยาน 2 ครั้ง ไปดูสถานที่เกิดเหตุ 1 ครั้ง ระหว่างชั้นอุทธรณ์และฎีกา ผูว้ ิจยั ได้เดิ นทางไปพบลุ ง ศักดิ์ อี ก 2 ครั้ง นอกจากนี้ ก็พบกันในวันที่ศาลนัดอี กหลายครั้ ง อี กทั้ง ระหว่างที่ถูกจําคุกอยูท่ ี่เรื อนจําจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผูว้ จิ ยั ได้เดินทางไปขออนุญาตเยีย่ มอีกหนึ่ งครั้ง ทํา ให้ระหว่างนี้ผวู ้ จิ ยั ได้มีโอกาสพูดคุยและสอบถามลุงศักดิ์เกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ สัมภาษณ์วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2561, 28-29 ตุลาคม 2561, 18 ธันวาคม 2562, 23 มกราคม 2562, 15 มานาคม 2562
229
230
ภาคผนวก จ. จอดา : ผู้มาจากสุ ดชายแดนสาละวิน พบกันที่เรือนจา ตอนสายของวันนั้นผูว้ จิ ยั พร้อมกับสําราญ เข้าไปที่เรื อนจําจังหวัดแม่สะเรี ยง เพื่อขอเยีย่ มจอ ดา ซึ่งเป็ นการขอเยีย่ มผูต้ อ้ งขังในฐานะทนายความตามระเบียบ ผูว้ ิจยั แจ้งเจ้าหน้าที่เรื อนจําว่า ผูว้ ิจยั เป็ นทนายความขอเยี่ยมจอดา และจอดาไม่ ม ารถพูดภาษาไทยได้ จึงขอให้สํา ราญเข้าไปเป็ นล่ า ม แปลภาษาให้ด้วย เจ้าหน้าที่เรื อ นจําก็ให้ผูว้ ิจยั กรอกใบคําร้องเพื่อขออนุ ญาตเข้าเยี่ยมผูต้ อ้ งขังตาม ระเบียบ เมื่อเข้าไปข้างในเจ้าหน้าที่ก็พาไปนัง่ รอยังสถานที่ที่จดั ไว้สาํ หรับการพบทนายความ ผูว้ ิจยั ไม่ เคยพบและไม่เคยรู ้จกั กับจอดามาก่อน เมื่อจอดามาถึงผูว้ ิจยั จึงขอให้สาํ ราญอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับ การมาเยีย่ มครั้งนี้ พร้อมๆ กับแนะนําผูว้ ิจยั ให้จอดารู ้จกั ก่อน สําราญจึงได้เท้าความว่าญาติของจอดา กับตนได้ติดต่อผูว้ จิ ยั เพือ่ ให้ความช่วยเหลือในการดําเนิ นคดี โดยผูว้ ิจยั ยินดีให้ความช่วยเหลือในการ ดํา เนิ น คดี ใ ห้โดยไม่ คิ ด ค่ า ทนายความ ทั้ง แนะนํา เพิ่ม เติ ม ว่า ผูว้ ิจ ัย ก็ท าํ งานกับ องค์ก รที่ ใ ห้ค วาม ช่วยเหลือชาวบ้านด้วย หลังจากนั้นจอดากับสําราญก็คุยกันอีกสองสามประโยค จอดาเป็ นผูช้ ายวัยกลางคน ผิวสี คลํ้าแดด รู ปร่ างสมส่ วน สู งประมาณ 160 ซม. ดูหน้าตาเป็ น คนยิ้ม ยาก หรื อ อาจเป็ นเพราะสถานที่แห่ งนี้ คงหารอยยิ้มจากผูค้ นได้ยาก ผูว้ ิจยั สังเกตว่าจอดาไม่ สามารถฟังและพูดภาษาไทยได้ ไม่วา่ ผูว้ จิ ยั จะเพียงสอบถามเรื่ องเล็กๆ น้อยๆ อย่างเช่นว่า อยูท่ ี่เรื อนจํา มากี่วนั แล้ว มีคนรู ้จกั กันอยูใ่ นเรื อนจําไหม มีใครมาเยีย่ มไหม จอดาก็จะหันไปทางสําราญทุกครั้ง ผูว้ ิจยั บอกจอดาผ่านสําราญว่า วัตถุประสงค์ที่มาเยีย่ มวันนี้ คือ อยากมาสอบถามว่าจอดามี ความประสงที่จะให้ผวู ้ จิ ยั ช่วยเหลือไหม และอยากทราบว่าจอดาจะต่อสูค้ ดีหรื อรับสารภาพ และอยาก ทราบข้อเท็จจริ งเบื้องต้นว่าถูกจับอย่างไรและด้วยเหตุผลใด สําราญอธิบายคําตอบของจอดาให้ผวู ้ จิ ยั ฟังว่า เขายินดีที่จะให้ผวู ้ ิจยั เป็ นทนายช่วยดําเนิ นการ ให้ สําหรับการต่อสูค้ ดีน้ นั ตนไม่รู้วา่ จะต้องทําอย่างไรบ้าง ไม่เคยรู ้ข้ นั ตอนวิธีการ อีกทั้งเรื่ องเพิ่งเกิด
231
ได้ไม่นานและตนก็อยูใ่ นเรื อนจําตลอด ยังไม่ได้หารื อรายละเอียดกับใครเลย ดังนั้น ตนเองจึงไม่รู้ว่า ทําอย่างไร ผูว้ จิ ยั จึงบอกไปว่าเรื่ องการจะตัดสิ นใจสู ้คดีหรื อไม่น้ นั ยังไม่จาํ เป็ นต้องตัดสิ นใจตอนนี้ ก็ ได้ เอาไว้ตดั สินใจตอนที่ได้พดู คุยรายละเอียดและประเมินรู ปการก่อนจึงตัดสินใจก็ได้ เมื่ อ ผูว้ ิจยั ถามถึ ง เหตุ การณ์ ถู กจับ ตัว มา จอดาก็ เ ล่ าว่า วันที่ ถู ก จับกุ ม เป็ นวัน ประชุ ม สภา องค์การบริ หารส่วนตําบล ระหว่างที่ตนกําลังนั่งอยูใ่ นห้องประชุม มีคนเดินเข้ามาบอกว่ามีตาํ รวจมา หา ให้ตนออกไปพบที่ดา้ นนอก เมื่อได้ยนิ ดังนั้นตนก็เข้าใจว่าตํารวจจะต้องมาจับตนแน่ ๆ จึงลุกจาก โต๊ะประชุม เดิ นออกไปนอกห้องประชุม พอออกจากประตูห้อ งประชุ มมาถึงที่ด้านหน้าอาคาร ก็มี ตํารวจประมาณ 8-9 คน ที่เฝ้ ารออยูก่ ็เดินเข้ามาล้อม และมีคนหนึ่ งถึอเอกสารมาเปิ ดให้ตนดู และพูด อะไรบางอย่าง ตนฟังไม่ออก แต่ก็เดาได้วา่ ตํารวจมาเพือ่ จับตน ตนก็ให้จบั แต่โดยดี ตํารวจก็ใส่ กุญแจ มือแล้วพาขึ้นรถไปที่โรงพัก หลังจากที่ถูกตํารวจพาไปที่สถานีตาํ รวจภูธรแม่สะเรี ยงแล้ว สําราญ ซึ่งเป็ นสมาชิก อบต. ใน หมู่บา้ นเดี ยวกัน พร้อมกับเพื่อ นอีกสองสามคน ก็ขบั รถจักรยานยนต์ตามไปที่สถานี ตาํ รวจด้วย ซึ่ ง ระหว่างที่อยูท่ ี่สถานี ตาํ รวจ เพื่อนที่มาหาก็แนะนําว่า ให้บอกตํารวจว่าปฏิเสธไปก่อน ตนไม่รู้จะทํา อย่า งไรจึ ง เชื่ อ ที่ เ พื่อ นแนะนํา มา และบ่ า ยของวัน เดี ย วกัน นี้ ตํารวจก็ พ าไปสอบถาม (พนัก งาน สอบสวนก็ได้สอบปากคํา) โดยพนักงานสอบสวนได้เรี ยกผูห้ ญิงคนหนึ่ งที่เป็ นคนกะเหรี่ ยง มาช่วย เป็ นล่ ามแปลภาษาให้ โดยการสอบปากคําวันนี้ ตนก็ให้การปฏิเสธ พนักงานสอบสวนจึงเพียงทํา บันทึกว่าผูต้ อ้ งหาให้การปฏิเสธและยังไม่ได้ให้การใดๆ เกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง หลังจากนั้นผูว้ จิ ยั ก็ได้สอบถามเกี่ยวกับพื้นที่พิพาท (ก่อนหน้านี้ ญาติจอดาได้เล่าต้นเหตุของ คดีให้ฟังมาบ้างแล้ว) จอดาก็เล่าให้ฟังคร่ าวๆ ว่า เรื่ องเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5-6 ปี ที่ผ่านมา ตอนนั้น จอ ดาพร้อมกับชาวบ้านอีกสิบกว่าคน ได้เข้าไปแผ้วถางพื้นที่ทาํ กิน ซึ่งเป็ นพื้นที่ไร่ เหล่าเดิมของชาวบ้าน ตนและชาวบ้านช่วยกันแผ้วถางแบบเวียนเอามื้อเอาแรงกัน ซึ่ งใช้เวลาแผ้วถางหลายวันแล้วแต่ยงั ไม่ เสร็ จดี ตอนที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ (เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสาละวิน) มาเจอ เป็ นช่วงที่กาํ ลังแผ้วถางแปลง ของตน ซึ่งแผ้วถางกําลังจะเสร็จแล้วด้วย ตนเห็นมีเจ้าหน้าที่ป่าไม้ประมาณ 10 คน เดินมามาถึงตอนที่ พวกตนต่างกําลังแผ้วถางอยูแ่ ละไม่ได้หนี ตนจึงหยุดแล้วเดินไปคุยกับเจ้าหน้าที่ ซึ่งมีเจ้าหน้าที่บางคน เป็ นคนกะเหรี่ ยง บอกว่าห้ามไม่ให้ทาํ กินในพื้นที่ตรงนั้น เนื่องจากเป็ นพื้นที่ที่อยูใ่ กล้กบั จุดตรวจ หาก ชาวบ้านยังฝื นทําแจ้งความดําเนินคดี หากไม่ทาํ ต่อจะไม่แจ้งความดําเนินคดี ตนก็อธิบายว่าที่ดินทํากิน เดิม ไม่ได้บุกรุ กพื้นที่ใหม่ แต่เจ้าหน้าที่ก็ยนื ยันว่าไม่ให้แผ้วถางต่อ หากต้องการทํากินที่นั่นจริ งให้ไป คุยกับหัวหน้าหน่ วยก่ อ น ดังนั้น วันถัดมาตนกับชาวบ้านอี กหลายคนได้เดิ นทางไปคุ ยกับหัวหน้า หน่ วยที่จุดตรวจใกล้หมู่ บา้ น เพื่อ ขอทํากิ นในพื้นที่พิพาทต่อ โดยยืนยันว่าเป็ นพื้นที่ไ ร่ หมุ นเวีย น ดั้งเดิม แต่หวั หน้าหน่วยยืนวันว่าไม่อนุญาตให้ทาํ และหากไม่ทาํ ต่อก็จะไม่ดาํ เนิ นคดีกบั ชาวบ้าน แต่ 232
หากใครเข้าไปทําอีกก็จะดําเนินคดี เมื่อทราบชัดเจนอย่างนั้นชาวบ้านก็บอกว่าจะไม่เข้าไปทําแล้ว และ เดินทางกลับบ้านกันหมด อีกประมาณครึ่ งปี ต่อ มามี คนมาบอกตนว่า มีหนังสื อจากตํารวจให้ไปหา (ผูว้ จิ ยั เข้าใจว่าเป็ นหมายเรี ยกไปรับทราบข้อกล่าวหา) แต่ผใู ้ หญ่บา้ นก็บอกว่าได้สอบถามตํารวจแล้ว และตํารวจบอกว่าไม่ตอ้ งไปหาก็ได้ ตนจึงไม่ได้เข้าไปหาตํารวจ และหลังจากนั้นเรื่ องก็เงียบหายไป ตนก็คิดว่าเรื่ องคงจบไปแล้ว หลังจากที่ผวู ้ ิจยั เข้าไปเยีย่ มจอดา น้องสาวของจอดาซึ่ งทํางานอยู่ที่ตวั อําเภอแม่ สะเรี ยง ได้ เดินทางกลับบ้านเพือ่ ขอยืมเงินญาติมาช่วยประกันตัวจอดาและอีกหนึ่งสัปดาห์ต่อมาน้องสาวก็นาํ เงิน 150,000 บาท ที่ญาติหลายคนช่ วยกันรวบรวมเงินกัน ไปยื่นคําร้องขอประกันตัวต่อ ศาล ซึ่ งศาลก็ อนุญาตให้ประกันตัวได้ โดยกําหนดให้ตอ้ งกลับไปรายงานตัวต่อศาลทุก 14 วันต่อครั้ง จอปร่ าคี : หมู่บ้านสุ ดชายแดนป่ าสะวิน เมื่อได้รับการประกันตัวออกจากเรื อนจํามาแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้นดั พบจอดาเพื่อสอบข้อเท็จจริ งโดย ละเอียด และปรึ กษาหารื อแนวทางการต่อสู ้คดีรวมถึงรวบรวมพยานหลักฐาน ซึ่ งระหว่างนี้ ผวู ้ ิจยั ได้ นัดพบกับจอดาหลายครั้ง ซึ่ งการนัดพบกันแต่ละครั้งจะมีสาํ ราญหรื อน้องสาวของจอดามาเป็ นล่าม แปลภาษาให้ นอกจากการรับฟั งคําพูดของจอดาแล้ว ผูว้ ิจยั ได้สอบถามข้อเท็ จจริ งจากคนที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ ด้วย เช่น ผูใ้ หญ่บา้ น กํานัน สมชิก อบต. คนอื่นที่อยูห่ มู่บา้ นใกล้เคียงกัน รายละเอียดดังนี้ จอดามีภูมิลาํ เนาอยูห่ มู่บา้ นจอปร่ าคี หมู่ 9 ตําบลแม่คง อําเภอแม่สะเรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็ นหมู่บา้ นที่อยูใ่ กล้ชายแดนไทย-พม่า บริ เวณที่มีแม่น้ าํ สาละวินเป็ นชายแดน ปั จจุบนั มีการทําทาง สําหรั บให้รถยนต์เ ข้าไปประมาณครึ่ งทาง โดยอี ก ครึ่ ง ทางที่เหลื อ ชาวบ้านได้ขุด ถนนสําหรับให้ รถจักรยานยนต์ไ ปถึ งหมู่บา้ นแล้ว ระยะทางจากตัวอําเภอแม่ สะเรี ยงลัดเลาะป่ าเขาไปประมาณ 70 กิโลเมตร แต่ใช้เวลาในการเดินทางโดยรถจักรยานยนต์ประมาณ 7-8 ชัว่ โมง สภาพเส้นทางช่วงที่ไป ได้เฉพาะรถจักรยานยนต์น้ นั ส่ วนใหญ่เรี ยกได้ว่าบุกไปตามลําห้วยและปี นเขากับลงเขา ชาวบ้านจึง มักจะใช้ลอ้ ยางรถจักรยานยนต์ที่มีดอกยางหยาบๆ (ชาวบ้านเรี ยกว่าล้อวิบาก) นอกจากนี้ ทุกครั้งที่จะ ไปจะต้องซื้ อนํ้ามันเชื้อเพลิ งใส่ แกลลอนมัดตัดกับรถไปด้วย เพราะต่อ ให้เติมนํ้ามันเต็ม ถึงก็ไ ม่พอ สําหรับไปกลับ อีกทั้งระหว่างทางจะไม่มีร้านขายนํ้ามันเชื้อเพลิงให้เติมอีกเลย สําหรับในฤดูฝนความ ลําบากจะเพิ่มอีกเป็ นเท่าตัว บางครั้งหาเดินทางไปตอนฝนตกหนัก นํ้าในลําห้วยจะแรง ก็จะต้องรอ จนกว่านํ้าจะลดลงจึงจะไปต่อได้ บางวันก็จะต้องนอนค้างคืนตามหมู่บา้ นที่ใกล้เคียงเพือ่ รอนํ้าลด ภูมิหลังของจอดา
233
จอดา เกิดเมื่อปี 2517 ตลอดช่วงชีวติ ที่ผา่ นมาอาศัยอยูแ่ ต่ในพื้นที่บา้ นเกิด ไม่เคยไปทํางานใน เมือง ครอบครัวมีอ าชีพเป็ นเกษตรกรโดยทําไร่ หมุนเวียนตามที่บรรพบุรุษเคยทํามา ทั้งไม่เคยเรี ยน หนังสือ ไม่สามารถอ่าน พูด และเขียนภาษาไทยไม่ได้ ซึ่งโดยปกติแล้วคนส่วนใหญ่ในท้องที่ตาํ บลแม่ คงเป็ นกลุ่ มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง จึงสื่ อ สารกันด้วยภาษากะเหรี่ ยงเท่านั้น ทั้งบิดาและมารดาของจอดา เสียชีวติ ไปหมดแล้ว สําหรับภรรยาอายุนอ้ ยกว่า 5 ปี และเป็ นผูท้ ี่ยงั ไม่มีสญ ั ชาติไทย ถือบัตรประจําตัว บุคคลที่ไ ม่ มีสถานะทางทะเบียน ไม่ เคยเรี ยนหนังสื อ ไม่ ส ามารถอ่ าน พูดและเขียนภาษาไทยได้ เช่นเดียวกัน จอดากับภรรยามีบุตรด้วยกัน จํานวน 6 คน คนโตเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2539 สําหรับคนเล็กสุ ด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2553 นอกจากนี้จอดายังได้เล่าอีกว่า คนกะเหรี่ ยงสมัยรุ่ นพ่อแม่ไม่ได้ต้ งั หมู่บา้ นถาวร แต่จะย้ายทั้ง ชุมชนไปสร้างบ้านอยูใ่ กล้กบั พื้นที่ทาํ กิน ที่หมุนเวียนไปในแต่ละพื้นที่ โดยเดิมทีน้ นั บิดามารดาของ ตนเคยตั้งชุมชนอาศัยอยูท่ ี่บริ เวณที่เรี ยกบ้าน “ผาแดง” ซึ่งเป็ นจุดที่อยูต่ ิดกับแม่น้ าํ สาละวิน และเคยตั้ง ชุมชนอยูอ่ าศัยใกล้ที่ดินแปลงพิพาท ซึ่งที่ดินแปลงดังกล่าวนี้เป็ นพื้นที่ทาํ ไร่ หมุนเวียนที่พอ่ แม่และคน ในชุม ชนได้อาศัยทํากินมาก่ อนแล้ว ต่อมาได้ยา้ ยชุ มชนขึ้นมาอาศัยอยู่ที่หมู่ บา้ นจอปร่ าคี โดยพื้นที่ พิพาทยังถูกใช้เป็ นไร่ หมุนเวียนต่อเนื่องมาอีกหลายครั้ง สําหรับจอดาเกิดตอนที่พ่อแม่อยูท่ ี่ผาแดง เขา รู ้ความเป็ นมาของที่ดินแปลงดังกล่าวดี เนื่องจากตนเองอยูใ่ นพื้นที่ตลอด และได้รู้เพิม่ เติมจากการบอก กล่าวของคนในชุมชนและจากการสอบถามคนในชุมชน เมื่อครั้งที่จอดาไปแผ้วถางนั้นยังมีเสาบ้าน ปั กอยูต่ รงนั้นหลายหลัง ซึ่งเป็ นบ้านของชาวบ้านที่เคยไปทํากินพื้นที่พพิ าทและพื้นที่ใกล้เคียง เมื่อปี พ.ศ. 2556 จอดาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็ นตัวแทนสมาชิกองค์กรบริ การส่ วนตําบลแม่ คงของหมู่ บา้ น (อบต.) ซึ่ งผลปรากฏว่าจอดาได้รับการเลื อ กตั้งจากคนในหมู่ บา้ นให้เป็ นสมาชิ ก องค์การบริ หารส่วนตําบล และทําหน้าที่มาจนกระทัง่ ถึงวันที่ถูกจับกุมตัว เหตุแห่ งคดี จอดาเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุแห่ งคดีน้ ี ว่า เหตุคดีน้ ี เกิดขึ้นเมื่อฤดูฟันไร่ 11 (ปกติคือช่วง ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม) ของปี พ.ศ. 2552 ช่วงนั้นตนพร้อมกับชาวบ้านในหมู่บา้ นจอ ปร่ าคี 6 ครอบครัว ได้เข้าไปแผ้วถางพื้นที่ไร่ เหล่าในที่พพิ าท ซึ่งเดิมเคยพื้นที่ไร่ หมุนเวียนแต่ถูกทิ้งร้าง ไว้นานแล้ว นอกจากทําไร่ แล้วตนกับชาวบ้านหลายคนเห็นว่าพื้นที่บริ เวณนั้นเป็ นที่ไม่ชนั มาก และมี ลําห้วยไหลผ่าน จึงตั้งใจจะขุดเป็ นนาขั้นบันไดด้วย ในการเข้าไปแผ้วถางนั้น ชาวบ้านได้ช่วยกันแบบ เอามื้อเอาแรงกัน เมื่อเริ่ มลงมือแผ้วถางได้กว่าครึ่ งแล้ว มีเจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุฯ์ 2 คนเดินผ่านมาเจอ 11
รายละเอียดของเหตุการณ์ ผูว้ ิจยั เรี ยบเรี ยงขึ้นมาโดยอาศัยข้อมูลจากบันทึกการสอบปากคําและเอกสาร ในสํานวนคดี และจากการถามจอดาเมื่อตอนที่ลงพื้นที่ไปพูดคุยเพื่อเก็บข้อมูลทําวิจยั
234
ก็ไ ด้เ กิ ด การโต้เ ถี ย งกัน เจ้า หน้า ที่ ส องคนนั้น ได้บ อกว่า ทํา ไมไม่ แ จ้ง ให้เ จ้า หน้าที่ ท ราบก่ อ นทํา ชาวบ้านบอกว่าพวกเขาแผ้วถางเฉพาะบริ เวณที่เป็ นพื้นที่ทาํ กินเดิม และเจ้าหน้าที่ก็ไม่บอกชาวบ้านว่า การแผ้วถางที่ทาํ กินนั้น ชาวบ้านจะต้องไปแจ้งเจ้าหน้าที่ก่อนด้วย แต่เจ้าหน้าที่สองคนนั้นก็บอกว่าให้ หยุดก่อน แล้วตนเองจะไปแจ้งให้หวั หน้าหน่วยทราบก่อนว่าสามารถทําได้หรื อไม่ ตนและชาวบ้านก็ หยุดรอได้สี่หา้ วัน แต่เจ้าหน้าที่สองคนนั้นก็เงียบหายไป ตนและชาวบ้านก็คิดว่าไม่มีปัญหาเจ้าหน้าที่ จึงไม่มาแจ้ง จึงได้เข้าไปแผ้วถางต่ออีกสองวันจนใกล้จะเสร็ จ ก็มีเจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุ์ฯ 8 คน เข้า มายังที่ที่ตนกําลังแผ้วถาง ทุกคนแต่งกายด้วยชุดลายพราง ซึ่ งเป็ นชุดปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ พอตน รู ้ตวั เจ้าหน้าที่มาถึงแล้ว สังเกตเห็นทุกคนพกปื น แต่ไม่ได้แสดงท่าทาทางคุกคามและไม่ได้พูดหรื อ แสดงท่าทีว่าจะมาจับ ชาวบ้านก็ไม่ได้หนี แต่หยุดแล้วมายืนคุยกับเจ้าหน้าที่ หัวหน้าชุดที่มาด้วยเป็ น คนไทย ไม่สามารถพูดและฟังภาษากะเหรี่ ยงได้ และชาวบ้านก็ไม่มารถพูดภาษาไทยได้ แต่มีเจ้าหน้าที่ บางคนที่เป็ นคนกะเหรี่ ยงเป็ นล่ามแปลภาษาให้ เจ้าหน้าที่ได้บอกว่าห้ามไม่ให้แผ้วถางอีก หากยังไม่ หยุดก็จะส่งดําเนินคดี แต่หากชาวบ้านหยุดและไม่เข้าไปทําอีกก็จะไม่เอาเรื่ อง ตนกับชาวบ้านก็อธิบาย ว่าที่ตรงนั้นเป็ นพื้นที่ทาํ ไร่ เก่าและพวกเขาไม่ ได้บุกรุ กพื้นที่ใหม่ แต่เจ้าหน้าที่บอกว่าเนื่ องจากเป็ น พื้นที่ที่อ ยู่ใกล้กับจุดตรวจ หากผูบ้ งั คับบัญชามาเห็นเข้าอาจจะเป็ นปั ญหาก็ไ ด้ และบอกว่าถ้าหาก ชาวบ้านยัง คงต้อ งการทําต่ อ ให้ไ ปคุ ย กันที่ จุดตรวจ ตนจะได้หารื อ กับหัวหน้าก่ อ นด้ว ย จอดากับ ชาวบ้านจึงตกลงกับเจ้าหน้าที่วา่ จะไปคุยกันเพือ่ ขอทํากินที่จุดตรวจตามที่เจ้าหน้าที่เสนอ ตอนเช้าของวันถัดมา ตนพร้อมด้วยผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นและชาวบ้านหลายคนได้เดินทางไปพบ กับเจ้าหน้าที่ที่จุดตรวจตามนัดไว้ เพือ่ จะเจรจาขอทํากินในพื้นที่พิพาทต่อ โดยชาวบ้านยังคงยืนยันว่า เป็ นพื้นที่ไร่ หมุนเวียนดั้งเดิม แต่ฝั่งเจ้าหน้าที่ก็ยืนยันว่าไม่อ นุ ญาตให้ทาํ ต่อ หากยังเข้าไปทําอีกจะ ดําเนิ นคดี แต่หากไม่เข้าไปทําแล้วก็จะไม่ ดาํ เนิ นคดีกบั ชาวบ้าน เมื่อทราบชัดเจนอย่างนั้น ชาวบ้าน ต่างก็เดิ นทางกลับบ้านกันหมด และหลังจากนั้นที่ดินตรงนั้นก็ถู กทิ้งไว้ไ ม่ มี ใครกล้าเข้า ไปทําอี ก เนื่องจากกลัวถูกดําเนินคดี สภาพพื้นที่พิพาทที่ถูกแผ้วถางไปแล้วนั้น เป็ นที่ดินแยกออกจากกัน 4 แปลง แต่ละแปลงมี พื้นที่ประมาณ 1- 2 ไร่ ตั้งอยูห่ ่างกันประมาณ 50 -100 เมตร สําหรับแปลงของตนนั้นมีประมาณ 2 ไร่ นอกนั้นเป็ นของคนอื่น ทั้งหมดอยูภ่ ายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสาละวิน ซึ่ งในการประกาศเขตรักษา พันธุส์ ตั ว์ป่าสาละวินนั้น ชาวบ้านต่างรู ้แล้วว่ามีการประกาศให้เป็ นพื้นที่ป่าอนุ รักษ์ เพียงแต่ไม่รู้แน่ ชัดว่าประกาศตั้งแต่เมื่อไหร่ และมีขอบเขตพื้นที่ถึงตรงไหน รวมทั้งชาวบ้านก็ไม่รู้ว่ามีการกันพื้นที่ ชุมชนและที่ทาํ กินของชาวบ้านออกก่อนประกาศหรื อไม่ 12 12
ผูว้ ิจยั ได้ตรวจสอบแล้ว ปรากฏว่าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสาละวิน ถูกประกาศตั้งแต่ปี พ.ศ. พ.ศ. 2521 ใน ท้องที่ตาํ บลแม่คง อําเภอแม่สะเรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครอบคลุมเนื้อที่ 550 ตารางกิโลเมตร หรื อ 343,750 ไร่ โดย
235
ต่อมาอีกประมาณ 6 เดือน ก็มีคนเอาหมายเรี ยกจากตํารวจมาให้ บอกว่าให้ไปพบตํารวจเพื่อ รับทราบข้อกล่าวหา ตนได้เดินทางไปถึงที่อาํ เภอแม่สะเรี ยงแล้ว เพือ่ ที่จะไปพบตํารวจตามหมายเรี ยก แต่ระหว่างนั้นได้หารื อกับผูใ้ หญ่บา้ น และผูใ้ หญ่บา้ นก็บอกว่ายังไม่ตอ้ งไปที่สถานี ตาํ รวจด้วยตนเอง ให้ผใู ้ หญ่บา้ นไปหาตํารวจและพูดแทนให้ ตนจึงไม่ได้ไป แต่ได้เอาหมายเรี ยกให้ผใู ้ หญ่บา้ นไปแทน หลังจากนั้นก็กลับบ้านไป ต่อมาเมื่อได้พบผูใ้ หญ่บา้ นและได้สอบถาม ผูใ้ หญ่บา้ นก็บอกว่าได้ไปคุย กับตํารวจแล้วและตัวจอดาก็ไม่ตอ้ งไปอีกแล้ว หลังจากนั้นมาเรื่ องก็เงียบไป ทําให้ตนเชื่อปั ญหาจบไป แล้ว กระทัง่ เวลาผ่านไปหกปี เมื่ อวันที่ 11 พฤษภาคม 2558 ตนมาเข้าร่ วมประชุมสภาองค์การ บริ หารตําบลแม่คง ณ ที่ทาํ การองค์การบริ หารส่ วนตําบลแม่ คง เวลาประมาณ 10.25 น. เจ้าหน้าที่ ตํารวจ จํานวน 9 คน ไปจับกุมตนที่ทาํ การองค์การบริ หารส่ วนตําบลแม่คง โดยเจ้าหน้าที่ตาํ รวจรออยู่ ด้านนอกห้องประชุม แล้วให้ประธานสภาองค์รบริ หารส่วนตําบลแม่คง เข้าไปเรี ยกให้ตนออกมานอก ห้อง เจ้าหน้าที่ตาํ รวจจึงได้แสดงตัวจับและควบคุมตัวไปทําบันทึกการจับกุม พร้อมกับสอบปากคําที่ สถานี ตาํ รวจภูธรแม่ สะเรี ยง โดยกล่าวหาว่า กระทําความผิดฐาน “ร่ วมกันทาไม้ หวงห้ าม ก่ นสร้ าง แผ้ วถาง หรือกระทาด้ วยประการใดๆ อันเป็ นการทาลายป่ าหรื อเข้ ายึดครอบครองป่ าเพื่อตนเองหรื อ ผู้อื่นๆโดยไม่ ได้ รับอนุญาต แผ้ วถาง ยึดถือ ครอบครองหรื อกระทาด้ วยประการใดๆ อันเป็ นการเสื่ อม เสี ยสภาพป่ าในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติโดยไม่ ได้ รับอนุญาต และยึดถือ ครอบครองที่ดินหรือตัดโค่ น เผา ทาลายต้ นไม้ หรื อพฤกษชาติอื่นในเขตรั กษาพันธ์ สัตว์ ป่าโดยไม่ ได้ รับอนุญาต” โดยพื้นที่พิพาทมี 4 แปลง รวม 6 ไร่ 2 งาน จาต้ องรับสารภาพเพื่อรับประโยชน์ ในการลดโทษ เมื่อรวบรวมข้อเท็จจริ งทั้งหมดแล้ว ผูว้ จิ ยั เห็นว่ามีเพียงข้อเท็จจริ งจากคําพูดของจอดาและคน อื่นรวมทั้งคําบอกเล่าที่ฟังต่อจากคนอื่นมา ไม่มีเอกสารหรื อหลักฐานของทางราชการ ที่จะสามารถใช้ อ้างประกอบคําพูดหรื อคําบอกเล่าได้ เช่น ประวัติการใช้ที่ดิน แม้วา่ ข้อเท็จจริ งจะเป็ นที่ดินที่ถูกใช้เป็ น ไร่ หมุนเวียนมาก่อนแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานประกอบ ผูว้ จิ ยั ได้เคยติดต่อกํานันและนายกองค์การบริ หาร ส่วนตําบลแม่คง ขอให้ไปให้การเป็ นพยาน เพื่ออธิบายลักษณะการใช้ที่ดินและวิถีชีวิตของชาวบ้าน แต่ ไ ด้ท้ งั สองคนปฏิ เ สธแบบอ้อ มๆ ว่ า ไม่ เ คยรู ้ เ ห็ น สภาพที่ พิพ าทมาก่ อ นจึ ง ไม่ ส ามารถไปให้ รายละเอียดได้ และไม่สะดวกใจที่จะไปเป็ นพยานในศาล แต่ได้บอกแก่ผวู ้ ิจยั ว่าหากให้ช่วยทําอย่าง อื่นนั้นทั้งสองคนยินดี ที่พิพาทไม่ได้ถูกกันออกให้เป็ นที่ดินทํากินของชาวบ้านด้วย อีกทั้งไม่ปรากฏว่ามีพยานหลักฐานของทางราชการ อะไรเลย
236
เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558 พนักงานอัยการจังหวัดแม่ สะเรี ยง ได้ยนื่ ฟ้ องจอดาต่อศาล ใน ข้อ หา “ร่ ว มกัน บุก รุ ก ยึด ถื อ ครอบครองที่ดิน หรื อ ตัดโค่น แผ้วถาง เผา หรื อ ทํา ลายต้น ไม้ หรื อ พฤกษชาติอื่นในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าโดยไม่ได้รับอนุญาต และก่อสร้าง แผ้วถาง ยึดถือ ครอบครอบ ทําประโยชน์เพือ่ ตนเองหรื อผูอ้ ื่น หรื อทําด้วยประการใดๆ อันเป็ นการทําลายป่ า และทําให้เสื่ อมเสี ย แก่สภาพป่ าสงวนแห่ งชาติโดยไม่ได้รับอนุ ญาต” โดยกําหนดนัดพร้อมเพื่อสอบคําให้การจําเลยและ กําหนดวันนัดสืบพยานโจทก์จาํ เลย เป็ นวันที่ 15 กรกฎาคม 255813 ในวันนัดพร้อมผูว้ จิ ยั ในฐานะทนายความพร้อมกับจอดาไปศาล และแจ้งว่าจะให้การปฏิเสธ ศาลออกนั่งบัลลังก์ ก็ได้เรี ยกล่ามแปลภาษาประจําศาลเข้ามาในห้องพิจารณาด้วย ได้อ่านคําฟ้ องให้ จําเลยฟัง โดยศาลได้เรี ยกล่ามมาแปลให้ และได้สอบถามผูว้ จิ ยั ว่าจะสูใ้ นประเด็นไหน ผูว้ ิจยั ก็ช้ ีแจงว่า จะต่อสู ้ว่าที่พิพาทเป็ นที่ดินทํากินเดิม และขนาดพื้นที่พิพาท ที่โจทก์ระบุในฟ้ องเกินกว่าข้อเท็จจริ ง และต่อสูว้ า่ จําเลยไม่ได้เจตนาบุกรุ กพื้นที่ป่า หากแต่ที่พพิ าทเป็ นพื้นที่ไร่ หมุนเวียนที่ชาวบ้านทํากินมา ก่อนแล้ว ศาลก็ได้พดู กับผูว้ จิ ยั ว่าไม่วา่ จะบุกรุ ก 2 ไร่ หรื อ 6 ไร่ ตามคําฟ้ อง ผลก็ไม่ได้แตกต่างกัน ส่ วน เรื่ องที่อา้ งว่าจําเลยทํากินมาก่อนนั้น ก็ไม่สามารถหักล้างผลของกฎหมายได้ อยากให้กลับไปคิดให้ดี โดยจะให้นดั พร้อมก่อน ถ้าจะเปลี่ยนคําให้การเป็ นรับสารภาพก็ยนื่ คําร้องมาทีหลัง หลังจากกลับจากนัดพร้อมแล้ว ผูว้ ิจยั ได้อธิบายรายละเอียดให้จอดาและญาติฟัง โดยเฉพาะ อธิบายว่าศาลไม่อยากให้ต่อสูค้ ดี แต่อยากให้รับสารภาพเพือ่ รับประโยชน์ในการลดโทษ และประเมิน ว่าคดีน้ ีโจทก์ฟ้องว่าบุกรุ ก 6 ไร่ ซึ่ งขนาดพื้นที่ถือว่ามาก แม้รับสารภาพศาลก็จะลดโทษให้ครึ่ งหนึ่ ง จริ ง แต่อาจไม่ได้รับการรอลงอาญา แต่ถา้ สู ้คดีก็เสี่ ยงว่าอาจจะแพ้คดี ซึ่ งสิ่ งที่ศาลได้เตือนนั้นคือศาล อาจจะมองว่า ข้อ ต่ อ สู ้ข องฝ่ ายเราไม่ มี น้ าํ หนัก และได้บ อกว่า การตัด สิ น ใจว่า จะสู ้ค ดี ต่อ หรื อ รั บ สารภาพ ถือว่าเป็ นเรื่ องสําคัญ จึงอยากให้กลับไปคิดก่อนจึงตัดสิ นใจ เนื่ องจากยังเหลือระยะเวลาอีก ประมาณ 5 เดือน ก่ อ นถึ งวันนัดสื บพยานประมาณหนึ่ งเดื อ น จอดาและน้อ งสาวมาพบผูว้ ิจยั ผูว้ ิจยั ได้บอก รายละเอียดแนวทางการต่อสูค้ ดี พร้อมทั้งได้อธิบายรู ปคดีให้ฟังว่า หากสืบพยานไปตามแนวทางที่วาง ไว้ โอกาสที่จะชนะคดีมีไ ม่มาก เนื่ องจากพยานหลักฐานของฝ่ ายเรามีน้อย และไม่สามารถเอาคนที่ เป็ นเจ้าของที่ดินแปลงอื่นมาเป็ นพยานฝ่ ายเราได้ ทั้งไม่มีหลักฐานหรื อเอกสารของทางราชการอื่นๆ การกล่าวอ้างด้วยปากเปล่าจะมีน้ าํ หนักให้ศาลรับฟังน้อย หากยืนยันให้สืบพยานไปเกิดศาลตัดสิ นให้ แพ้คดี ก็จะไม่ได้รับประโยชน์ในการลดโทษ แต่หากรับสารภาพ ผูว้ จิ ยั ก็จะทําคําแถลงประกอบคํารับ 13
คดีน้ ีผวู้ ิจยั เป็ นทนายความในคดี ดังนั้น ข้อมูลส่ วนที่เป็ นเหตุการณ์ในชั้นศาลที่เขียนมาในที่น้ ี เป็ น เรื่ องราวที่ผวู้ ิจยั จดจําและบันทึกไว้ รวมทั้งรวบรวมเอามาจากสํานวนคดี
237
สารภาพ เพือ่ ขอให้ศาลรอลงอาญาให้ แต่ก็ตอ้ งทําใจไว้ว่ามีโอกาสที่จะติดคุกสู งเช่นกัน เมื่อฟั งเสร็ จ แล้วจอดากับน้องสาวก็คุยกันสักพัก แล้วก็บอกว่าตนได้คิดมาก่อนแล้วว่าจะตัดสิ นใจรับสารภาพเพื่อ ขอลดโทษ เพราะถึ ง ต่อ สู ้คดี ไ ปเราก็ไ ม่ มี หลัก ฐาน ดังนั้น ผูว้ ิจยั จึ งได้บ อกว่าผูว้ ิจ ัยจะทําคํา แถลง ประกอบคํารับสารภาพเพื่อขอลดโทษให้ หากศาลตัดสิ นให้รอลงอาญาก็ถือว่าโชคดีไป แต่หากศาล ตัดสินให้ติดคุก ก็ให้ประกันตัวออกมาก่อนแล้วผูว้ จิ ยั ก็จะทําอุทธรณ์ขอให้รอลงอาญาอีก วัน ต่ อ มาผูว้ ิจ ัย ได้ไ ปยื่น คํา ร้ อ งของเปลี่ ย นคํา ให้ก ารเป็ นรั บ สารภาพ พร้ อ มยื่นคํา แถลง ประกอบคํารับสารภาพ และเมื่ อถึ งวันนัดสื บพยาน คือ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ศาลมี คาํ สั่งให้ พนักงานคุมประพฤติสืบเสาะและพินิจ เพื่อเป็ นหลักฐานประกอบการพิจารณาลงโทษ และให้เลื่อน การฟังคําพิพากษาไปหนึ่งเดือน หลังจากออกจากห้องพิจารณาแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้พาจอดาไปพบพนักงานคุมประพฤติ พร้อมกับให้ น้องสาวและผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นไปด้วย เพื่อให้พนักงานคุ มประพฤติสอบถามเป็ นข้อมูลไว้ เนื่ องจาก หมู่ บา้ นอยูห่ ่ างไกล หากกลับบ้านไปแล้วจะไม่ สามารถมาให้สอบถามได้อี ก นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ พนักงานคุม ประพฤติก็บอกว่า กรณี น้ ี ไม่ สามารถเดินทางไปตรวจสอบที่บา้ นได้ เนื่ อ งจากอยู่ไ กล เกินไป จึงขอให้จอดาและญาติช่วยเรี ยกคนที่จะให้ขอ้ มูลได้ เช่น ผูใ้ หญ่บา้ นและญาติ ซึ่ งในภายหลัง ต่อมาก็ทราบว่ารายงานของพนักงานคุมประพฤติ มีความเห็นให้รอลงอาญาแก่จอดา เมื่อถึงวันอ่านคําพิพากษา ผูว้ จิ ยั จอดาพร้อมด้วยน้องสาว ได้ไปศาลตามนัด ศาลมีคาํ พิพากษา ให้จาํ คุก 9 เดือน แต่จาํ เลยรับสารภาพจึงลดโทษให้ก่ ึงหนึ่ ง เหลือจําคุก 4 เดื อน 15 วัน แต่ไม่รอลง อาญาโดยให้เหตุผลเพียงว่า “พิ เคราะห์ พฤติการณ์ แห่ งคดีแล้ ว กรณี ไม่ มีเหตุสมควรรอการลงโทษ” และในวันเดียวกันนี้ น้องสาวของจอดา ก็ได้ยนื่ คําร้องขอประกันตัวออกมาใหม่ เพื่อจะยื่นอุทธรณ์ ขอให้ศาลลดโทษต่อไป ผูว้ ิจยั ใช้เวลารอคัดสําเนาคําพิพากษาอี กประมาณ 2 อาทิตย์ และใช้เวลาจัดทําอุทธรณ์ อี ก ประมาณ 1 เดือน โดยยืน่ อุทธรณ์ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 สี่ เดือนต่อมาศาลจังหวัดแม่สะเรี ยงได้ กําหนดนัดอ่านคําพิพากษาของศาลอุทธรณ์ ภาค 5 ในวันที่ 9 มิถุนายน 2559 ซึ่ งศาลอุ ทธรณ์ มีคาํ พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น ให้จาํ คุก 4 เดือน 15 วัน ไม่รอลงอาญา โดยศาลอุทธรณ์ให้เหตุผลประกอบ ว่า จําเลยได้กระทําให้เสื่อมเสี ยแก่ทรัพยากรธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซึ่ งรัฐมีวตั ถุประสงค์ เพื่อคุม้ ครองรักษาทรัพยากรให้คงอยูใ่ นสภาพธรรมชาติเดิม และคุม้ ครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติ อันมีค่าของชาติ การกระทําของจําเลยเป็ นอันตรายต่อระบบนิ เวศน์และความหลากหลายทางชีวภาพ อันมีคุณค่าควรจะอนุ รักษ์ไว้มิให้ถูกทําลายเพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม และเห็นว่าพฤติการณ์แห่ งคดี เป็ นเรื่ องร้ายแรง 238
เมื่ อ ศาลอ่ า นคํา พิพ ากษาเสร็ จ จอดาก็ ถูก นํา ตัว ส่ ง เข้า เรื อ นจํา ซึ่ งก่ อ นหน้า ที่ จะมาฟั ง คํา พิพากษาศาลอุทธรณ์ ผูว้ จิ ยั ได้คุยกับจอดาและญาติเกี่ยวกับการฎีกาแล้ว จอดาบอกว่าหากศาลตัดสิ น ให้ติดคุกอีกก็จะทําใจอยูใ่ ห้ผา่ นพ้นไปเลย เนื่องจากระยะเวลาเพียง 4 เดือนกับอีก 15 วันก็ไม่นานมาก ดังนั้น จึงไม่มีการดําเนินการเพือ่ ยืน่ ฎีกาอีก จอดาก็เข้าไปอยูร่ ับโทษในเรื อนจําจนครบกําหนด หมายเหตุ กรณี ศึก ษานี้ มี ข ้อ จํากัดในการจัดเก็ บข้อ มู ล อย่างมาก เนื่ อ งจากผูใ้ ห้ขอ้ มู ล ไม่ สามารถพูด ภาษาไทยได้ ดังนั้น รายละเอียดและเรื่ องราวของสิ่ งที่ถูกบอกเล่า ได้ผ่านการตีความและแปลคําพูด เป็ นภาษาไทยโดยล่ามอีกต่อหนึ่ง ซึ่งอาจทําให้คาํ พูดบางคําหรื อรายละเอียดปลีกย่อยบางประการอาจ ขาดหายไประหว่างการแปล เนื่ องจากการแปลนั้นไม่ใช่แปลคําพูดในลักษณะคําต่อ คํา แต่เป็ นการ แปลเป็ นประโยคที่ส้ นั บ้าง ยาวบ้าง และในการสนทนาบางครั้ง ผูว้ จิ ยั สังเกตได้วา่ ผูแ้ ปลไม่ได้แปลตาม คําพูดทั้งหมด แต่สรุ ปความในประโยคนั้นๆ ให้ นอกจากนี้ ผใู ้ ห้ขอ้ มูลเป็ นคนพูดน้อย เวลาถามด้วย คําถามปลายเปิ ดจะเพียงตอบคําถามสั้นๆ และตรงไปตรงมาเท่านั้น บางเรื่ องที่ถูกถามให้อธิบาย ก็จะ เพีย งอธิ บายสั้น ๆ ทํา ให้ผูว้ ิจ ัย จะต้อ งตั้ง คํา ถามให้ต อบอยู่บ่อ ยๆ บางครั้ งก็ ต ้อ งตั้งคํา ถามนํา ด้ว ย อย่างไรก็ตามในการเขียนเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษานี้ ผูว้ ิจยั อาศัยทั้งข้อมู ลที่ได้จากสนทนาซึ่ งผ่านการ แปลความมา และได้ล งพื้นที่ไปสัมผัสกับชีวิตความเป็ นอยู่ของกรณี ศึกษาและชุ มชน นอกจากนี้ ก็ รวบรวมเอาจากข้อมูลในสํานวนคดี สัมภาษณ์วนั ที่ 4-6 กุมภาพันธุ์ 2562
239
240
ภาคผนวก ฉ. สมบูรณ์ : ผู้บุกรุกป่ าในที่ดนิ ของแม่ ห้ วยน้าริน : หมู่บ้านกันชน ก่อนปี พ.ศ. 2520 มีชุมชนชาวม้งตั้งถิ่นฐานเป็ นชุมชนเล็กๆ อยูอ่ าศัยกระจัดกระจายตามเขต ภูเขาในเขตอําเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ สภาพดังกล่าวเอื้ออํานวยให้พรรคคอมมิวนิ สต์เข้าไปจัดตั้ง แนวร่ วมได้สะดวก ซึ่งต่อมาฝ่ ายราชการไทยก็รับรู ้ จึงได้เข้าไปชักชวนให้ชาวม้งตามภูเขาบริ เวณเขต อําเภอแม่วาง ให้มาอาศัยรวมกันเป็ นหมู่บา้ น เพื่อให้มาอยูใ่ กล้หูใกล้ตาของทางราชการ เพื่อป้ องกัน ไม่ให้พรรคคอมมิวนิสต์เข้าไปแทรกแซงได้ นอกจากนี้ยงั เป็ นการจัดสรรพื้นที่ทาํ กินให้ชาวบ้านปลูก พืชเศรษฐกิจแทนการปลูกฝิ่ น ซึ่งรวมถึงบ้านห้วยนํ้าริ นด้วย เดิมทีพ้นื ที่ต้งั ของหมู่บา้ นและที่ดินทํากิน แห่ งนี้ เป็ นพื้นที่ที่เคยถูกสัมปทานป่ าจนกลายเป็ นป่ าเสื่ อมโทรม และกรมป่ าไม้เคยให้เอกชนเช่าทํา ประโยชน์และหมดสัญญาไปแล้ว เมื่อย้ายมาอยูช่ าวบ้านจึงได้แผ้วถางพื้นที่ป่าเสื่ อมโทรมบริ เวณนั้น เป็ นที่ทาํ กิน และต่อมายังได้ซ้ือที่ดินบางส่วนต่อจากคนเมืองบริ เวณนั้นด้วย ชาวบ้านห้วยนํ้าริ นจึงได้ อยูต่ ่อเนื่องมา ปั จจุบนั มีชาวบ้านอยูร่ วมกัน 34 หลังคาเรื อน อย่างไรก็ตามหมู่บา้ นห้วยนํ้าริ น ยังไม่ได้ รับการจัดตั้งเป็ นหมู่บา้ นอย่างเป็ นทางการ แต่เป็ นหมู่ บา้ นสาขาของหมู่ 1 ตําบลทุ่งปี๊ อําเภอแม่ วาง จังหวัดเชียงใหม่ แม้พ้นื ที่ทางกายภาพจะอยูใ่ นเขตปกครองของตําบลทุ่งปี๊ อําเภอแม่วาง แต่เนื่ องจาก ชาวบ้านไม่สามารถขอจัดทําทะเบียนบ้านได้ จึงเอาชื่อไปเข้าในทะเบียนบ้านของญาติ ที่บา้ นห้วยเนี ยง หมู่ 6 ตําบลดอนเปา อําเภอแม่วาง พ่อแม่ของสมบูรณ์ ก็เป็ นกลุ่ม คนม้งที่ยา้ ยมาอยูท่ ี่หมู่บา้ นห้วยนํ้าริ นตามคําชักชวนของทาง ราชการ โดยย้ายมาเมื่อปี พ.ศ. 2521 ซึ่ งพ่อแม่ของสมบูรณ์บุกเบิกที่ดินทํากินได้ 2 แปลง ใช้สาํ หรับ ปลู กข้าวไร่ ข้าวโพด และผักต่างๆ เพื่อ เลี้ ยงชี พเรื่ อ ยมา สําหรับตัวสมบูรณ์ มาเกิ ดที่บา้ นห้วยนํ้าริ น ตําบลทุ่งปี๊ อําเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2532 เมื่อสมัยเด็กเคยไปเรี ยนหนังสื อในตัวเมือง จนจบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จึงได้กลับบ้านเพือ่ ไปทําไร่ ทาํ สวนช่วยพ่อแม่ หลังจากนั้นก็แต่งงานและมี ลูก จึงได้ปักหลักทําไร่ ทาํ สวนอยูท่ ี่บา้ นต่อเนื่องมา
241
เมื่ อสมัยที่พ่อ แม่ ยา้ ยมาอยู่ที่หมู่บา้ นห้วยนํ้าริ นใหม่ๆ เจ้าหน้าที่ก็ไ ด้ช้ ี จุดให้ชาวบ้านเข้าไป บุกเบิกที่ดินทํากินเองได้ ซึ่งตอนนั้นมีสภาพเป็ นป่ าเสื่อมโทรม ชาวบ้านก็ต่างก็ไปบุกเบิกและจัดสรร พื้นที่ทาํ กิ นกันเอง ต่อมาเมื่ อทางราชการประกาศให้ชาวบ้านไปแจ้งการครอบครองที่ดิน ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 254214 ชาวบ้านส่ วนใหญ่ก็ได้ไปขอขึ้นทะเบียนไว้ นอกจากนี้ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2548 หน่ วยจัดทีดินของสํานักจัดการทรัพยากรป่ าไม้ที่ 1 (เชี ยงใหม่) กรมป่ าไม้ ได้ม า ร่ วมกับชุมชน ทําการรังวัดจับพิกดั และจัดทําแผนที่แสดงขอบเขตที่ดินทํากิ นรายครัวเรื อ น โดยใช้ เครื่ องจับพิกดั GPS และแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ. 2545 เป็ นเครื่ องมือ พร้อมทั้งได้มอบสําเนา แผนที่ชุดหนึ่งให้ชุมชนไว้เป็ นหลักฐานด้วย แต่ปรากฏว่ายังมีที่ดินบางแปลงไม่ปรากฏในแผนที่ และ บางแปลงขาดหายไปบางส่ วน ซึ่ งต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2457 มีการเจรจาที่อาํ เภอแม่วาง โดยมีนายอําเภอ แม่วางเป็ นประธาน ได้ตกลงกันว่า ให้ทาํ การสอบสวนพิสูจน์สิทธิ์พื้นที่ของราษฎรที่ตกสํารวจใหม่ หากพบว่าเป็ นพื้นที่ที่ได้ทาํ กินมาก่อนปี พ.ศ. 2545 ก็สามารถทํากินในพื้นที่ต่อไปได้ ขณะที่ทางราชการประกาศให้ชาวบ้านไปแจ้งการครอบครองที่ดินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 11 พฤษภาคม 2542 นั้น แม่ของสมบูรณ์ ได้ไปขอขึ้นทะเบียนไว้ จํานวน 2 แปลง และเมื่อปี พ.ศ. 2548 ตอนที่หน่วยจัดที่ดินของสํานักจัดการทรัพยากรป่ าไม้ที่ 1 (เชียงใหม่) กรมป่ าไม้ มาทําการรังวัด จัดทําแผนที่แสดงขอบเขตที่ดินทํากินรายครัวเรื อนนั้น ได้ระบุให้เป็ นชื่อพี่สาวของสมบูรณ์ แต่ต่อมา พี่สาวของสมบูรณ์ ก็ไ ด้แ ต่งงานและย้ายไปอยู่กับสามี ยงั ต่ างอํา เภอ สมบู รณ์ จึง ครอบครองทํากิ น เรื่ อยมา ความขัดแย้ งในการแย่ งที่ปลูกป่ า ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2556 ชาวบ้านห้วยนํ้าริ นมีความขัดแย้งกับกลุ่มผูน้ าํ ชุมชนในพื้นที่ ซึ่ งมีท้ งั กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นและนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล (อบต.) ในเรื่ อ งที่ดินทํากิ น เนื่ อ งจากผูน้ ํา เหล่านั้นและเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ต้องการยึดที่ดินทํากิ นของชาวบ้านไปทําโครงการปลูกป่ า โดยอ้างว่า ชาวบ้านบุกรุ กป่ าหรื อขยายพื้นที่ทาํ กินรุ กเข้าไปในพื้นที่ป่า จึงได้ใช้อาํ นาจมาบีบบังคับเอาที่ดินของ ชาวบ้านไปปลูกป่ าหลายแปลง ซึ่ งรวมถึงที่ดินแปลงของสมบู รณ์ ด้วย ทําให้ชาวบ้านได้รับความ เดือดร้อนอย่างมาก อย่างไรก็ตามชาวบ้านก็ต่อสูค้ ดั ค้านมาโดยตลอด ความขัดแย้งเริ่ มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2556 โดยกํานันและพวกพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เข้าไปใช้ อํา นาจตามกฎหมายยึดเอาที่ ดิน ของชาวบ้า นไปปลู กป่ าหลายครั้ ง โดยอ้างว่า เป็ นพื้น ที่ บุก รุ ก ป่ า 14
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เป็ นมติ คณะรัฐมนตรี ที่ออกมาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทํากินที่เกี่ยวเนื่องกัน กล่าวคือ มติฉบับแรกกําหนดให้ทางราชการรับ ขึ้นทะเบียน สําหรับฉบับหลังเป็ นการสั่งการให้เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการรับขึ้นทะเบียน
242
ชาวบ้านก็โต้แย้งคัดค้านตลอด ต่อ มาเมื่อ เดือ นมิ ถุ นายน 2557 กํานันได้เรี ยกตัวแทนชาวบ้านและ สมบูรณ์รวม 5 คน ไปเจรจากันที่อาํ เภอแม่วาง ในวันนั้นได้มีการทําข้อตกลงในนามตัวแทนชาวบ้าน กับกํานัน ในฐานะประธานชมรมกํานันผูใ้ หญ่บา้ น โดยตกลงกันว่าให้ชาวบ้านห้วยนํ้าริ น คืนพื้นที่ที่มี การบุกรุ กใหม่หลังปี พ.ศ. 2548 เพื่อให้เอาไปปลูกป่ า โดยพื้นที่ที่ชาวบ้านทํากินมาก่อนแล้วก็ให้ทาํ กินต่อไป ซึ่งฝ่ ายชาวบ้านก็ยนิ ยอมเนื่องจากชาวบ้านเพียงเรี ยกร้องพื้นที่ทาํ กินเดิมเท่านั้น แต่หลังจาก นั้นฝ่ ายของกํานัน ก็ยงั ได้นาํ พวกเข้าไปยึดที่ดินของชาวบ้านไปปลูกป่ าอีก เมื่อชาวบ้านรู ้ก็ไปเจรจา แต่ กลับถูกกํานันพูดจาต่อว่าอย่างรุ นแรง ทั้งยังบอกว่าหากชาวบ้านไม่ยอมให้ที่ จะแจ้งความดําเนิ นคดี ข้อ หาบุกรุ กป่ า และจะเอามวลชนจากที่อื่ นมาขับไล่ อ อกจากพื้นที่ แต่หากใครยินยอมให้ปลู กป่ า บางส่วนแล้ว พื้นที่ที่เหลือนั้นตนจะเอาเอกสาร สทก. มามอบให้ ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2558 ชาวบ้านทราบว่ากํานันได้จดั ทําเอกที่แสดงว่าชาวบ้านได้มอบที่ดิน จํานวน 600 ไร่ ให้แก่ชมรมกํานันผูใ้ หญ่บา้ นเพือ่ นําไปจัดทําโครงการปลูกป่ า ซึ่งหลังจากนั้นกลุ่มของ กํานันกับพวกก็ไ ด้จดั ทําโครงการปลูกป่ าอย่างเป็ นกิ จจะลักษณะหลายครั้ง มี การเชิ ญผูว้ ่าราชการ จังหวัด นายอําเภอ และส่วนราชการอื่นๆ ไปร่ วมกันปลูกป่ าอย่างครึ กโครม มีอยูค่ รั้งหนึ่ งที่ได้นิมนต์ หลวงปู่ พุทธอิสระไปร่ วมปลูกป่ าด้วย โดยทุกครั้งชาวบ้านไม่ยนิ ยอมและไม่มีส่วนร่ วม ซึ่ งชาวบ้าน สังเกตเห็นว่าการมาปลูกป่ าบางวันนั้น ในกลุ่มคนที่มาปลูกป่ าเหล่านั้น มีบางคนสะพายปื นเดินไปมา ในพื้นที่เหมื อนทําหน้าที่คอยคุม้ กันด้วย แต่ชาวบ้านพบว่าหลังจากปลู กป่ าเสร็ จแล้วกํานันกลับให้ คนงานนําเครื่ องตัดหญ้าไปหญ้า ไม่ได้ปล่อยให้เป็ นป่ าแต่อย่าง และยังหวงกันไม่ให้ชาวบ้านเข้าไปใช้ พื้นที่ได้ ซึ่งที่ผา่ นมาข้าพเจ้าเป็ นผูไ้ ด้รับความเดือดร้อนมาก สมบูรณ์ มีที่ดินทํากิน 2 แปลง แปลงแรกคือแปลงที่พพิ าทในคดีน้ ี อีกแปลงหนึ่งอยูใ่ นบริ เวณ ใกล้เคียงกัน ครั้งหนึ่งกํานันและเจ้าหน้าที่ป่าไม้เคยเข้าไปคุยกับสมบูรณ์ ขอให้สมบูรณ์ยนิ ยอมให้ใช้ พื้นที่แปลงที่สองปลูกป่ า โดยอ้างว่าที่ดินแปลงแรกนั้นมีบางส่วนไม่อยูใ่ นแผนที่ หากสมบูรณ์ยนิ ยอม ยกแปลงที่สองให้นาํ ไปปลู กป่ า เจ้าหน้าที่ป่าไม้จะยอมให้สมบูรณ์ทาํ กิ นส่ วนที่อ ยูน่ อกแผนที่ของ แปลงแรกด้วย แต่สมบูรณ์ไม่ยอม เจ้าหน้าที่ป่าไม้จึงบอกว่าถ้าอย่างนั้นตนจะนําแผนที่มาตรวจสอบ แปลงแรก และให้นดั ผูใ้ หญ่บา้ นมาด้วย ในวันต่อมาเจ้าหน้าที่ป่าไม้คนดังกล่าว พร้อมด้วยสมบูรณ์ผนู ้ าํ ชุมชนและผูใ้ หญ่บา้ น ได้ไป ตรวจสอบพื้นที่ดว้ ยกัน เมื่อดูแผนที่แล้วปรากฏว่ามีที่ดินบางสวนอยูน่ อกเส้นเขตแผนที่ แต่สมบูรณ์ และผูใ้ หญ่บา้ นยืนยันว่าความจริ งเป็ นที่ดินผืนเดียวกันทั้งหมด ซึ่ งทํากินมานานแล้ว ทั้งสภาพพื้นที่ก็ เป็ นที่ดินที่ถูกใช้ประโยชน์มานานแล้ว ไม่ปรากฏร่ องรอยการถูกบุกใหม่ เพียงแต่แผนที่ทาํ ผิดพลาด ไปเอง เจ้าหน้าที่ป่าไม้จึงบอกว่าให้ยดึ ตามแนวเขตที่ทาํ กินแต่เดิมจริ ง และบอกว่าอย่าขยายพื้นที่ใหม่ 243
หลายวันต่อมาเจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็นาํ หลักซีเมนต์มาปั กกั้นระหว่างที่ดินทํากินแปลงแรกของสมบูรณ์กบั พื้นที่ป่า เพือ่ แสดงขอบเขต ต่อมาช่วงกลางปี พ.ศ. 2558 กํานันและพวกพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ราชการจากหลายส่ วน ได้มา ปลูกป่ าในพืน้ ที่ทาํ กินแปลงที่สองของสมบูรณ์และหลังจากนี้ อีกไม่นานก็มีคนเข้าไปลักลอบตัดฟั น ต้นลิ้นจี่และลําไยของชาวบ้านที่ปลูกไว้อีกหลายแปลง ซึ่งต่อมาชาวบ้านได้ข่าวว่ากํานันได้ประกาศว่า หากใครเข้าไปในพื้นที่เหล่านั้นอีก จะแจ้งความดําเนินคดีทนั ที มี อ ยู่ครั้งหนึ่ ง ชาวบ้านได้เข้าไปตรวจสอบแปลงปลู กป่ า ปรากฏว่าพวกเขาไม่ ไ ด้แกะเอา ถุงพลาสติกต้นกล้าเหล่ านั้นออกก่อ นฝั งลงดิน ทําให้บางต้นเริ่ มแห้งตาย ซึ่ งชาวบ้านสันนิ ษฐานว่า พวกเขาอาจจะไม่ตอ้ งการให้ตน้ ไม้เติบโต แต่ตอ้ งการหวงกันที่ดินตรงนั้นไว้เพื่อวัตถุประสงค์อะไร บางอย่าง ระหว่างที่เกิดความขัดแย้งกันนี้ สมบูรณ์และชาวบ้านได้รับความเดือดร้อนอย่างมาก ที่ถูกยึด ที่ดินทํากิน ข่มขู่ คุกคามมาโดยตลอด จึงได้ทาํ หนังสื อร้องเรี ยนการละเมิดสิ ทธิไปหลายที่ เช่น ศูนย์ ดํารงธรรม สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักพระราชวัง แม่ทพั ภาค 3 ซึ่ งเมื่อราวกลางเดือนสิ งหาคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริ งอําเภอแม่วาง ได้มีหนังสื อเรี ยกให้สมบูรณ์และตัวแทนชาวบ้าน จํานวน 5 คน ไปพบและให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม เกี่ยวกับประเด็นพฤติกรรมการข่มขู่ คุกคามและใช้อาํ นาจ โดยมิชอบของกํานัน แต่หลังจากนั้นมาเรื่ องก็เงียบหายไป สมบูรณ์ซ่ ึ งเป็ นคนหนุ่ ม สามารถอ่านออกเขียนได้ พูดภาษาไทยได้ โดยบุคลิ กและบทบาท แล้ว สมบูรณ์ไม่ถึงกับเป็ นผูน้ าํ การต่อสูเ้ รี ยกร้องสิทธิ์ของชุมชน แต่เนื่องจากที่ดินของสมบูรณ์ตกเป็ น พื้นที่เป้ าหมายที่กาํ นันและเจ้าหน้าที่ป่าไม้จะมายึด บ่อยครั้งได้โต้เถียงและเผชิญหน้ากับกํานันและ พวกหลายครั้ง และบ่อยครั้งที่เกิดการโต้เถียงกัน กํานันไม่สามารถโต้เถียงเหตุผลของชาวบ้านได้ จึง มักจะโวยวายและทําท่าฮึดฮัด บางครั้งก็ช้ ีหน้าและต่อว่าอย่างรุ นแรงและเสียๆ หายๆ เหตุแห่ งคดี เหตุการณ์ที่ทาํ ให้เกิดเป็ นคดีน้ ี สื บเนื่ องจาก เมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2558 กํานันพร้อมกับพวก จํานวนประมาณ 20 คน ได้เดินทางไปที่บา้ นห้วยนํ้าริ น และได้ประกาศให้ชาวบ้านไปพบและเจรจา เรื่ องที่ดิน โดยมีบุคคลหนึ่งซึ่งอ้างว่ามาจากส่วนกลาง พูดโน้มน้าวกับชาวบ้าน ขอให้สมบูรณ์ยอมส่ ง มอบพื้นที่ทาํ กินแปลงที่สองส่ วนที่เหลือ เนื้ อ ที่ประมาณ 5 ไร่ ให้เป็ นพื้นที่รองรับโครงการปลูกป่ า ของกํานัน ซึ่งระหว่างที่คนที่อา้ งว่ามาจากส่วนกลางกําลังพูดอยูน่ ้ นั กํานันได้นาํ เอกสารมาแสดงและ พูดต่อหน้าชาวบ้านว่า ชาวบ้านได้มีการทําประชาคมและลงชื่อส่ งมอบพื้นที่ทาํ กินของข้าพเจ้าแปลง 244
ดังกล่าวให้แล้ว ชาวบ้านหลายคนไม่พอใจจึงกรู เข้าไปใกล้กาํ นันและพูดว่าขอดูเอกสาร กํานันกับพวก ก็โกรธและผลักชาวบ้านให้ถอยออกไป และได้ตวาดใส่ ชาวบ้านว่าตนจะไปแจ้งความดําเนิ นคดี แล้ว กํานันกับพวกก็ได้แยกย้ายกันไปหมด สมบูรณ์เล่าว่า ก่อนหน้านี้ ชาวบ้านเคยถูกเจ้าหน้าที่ป่าไม้และกํานันขู่ว่า หากใครที่ด้ือดึงไม่ ยอมตามเจ้าหน้าที่บอก ก็จะถูกแจ้งความจับและฟ้ องร้องดําเนินคดี แต่ที่ผา่ นมาก็ไม่เคยมีชาวบ้านที่ทาํ กินในที่ที่ทาํ มาแต่เดิมถูกฟ้ องจริ งๆ แม้ว่าที่ผ่านมาเคยมีคนถู กจับกุมดําเนิ นคดี แต่ก็เป็ นคนที่บุกรุ ก พื้นที่ใหม่เท่านั้น ดังนั้น สมบูรณ์ก็ไม่คิดว่าจะถูกแจ้งความดําเนิ นคดีจริ งๆ เนื่ องจากมีการขู่อย่างนี้ มา โดยตลอดอยูแ่ ล้ว อีกสองอาทิตย์ต่อมาตํารวจก็นาํ หมายเรี ยกมาให้สมบูรณ์ให้ไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อไป รับทราบข้อกล่าวหา เมื่อสมบูรณ์รู้วา่ ถูกแจ้งความดําเนิ นคดีแล้ว ตอนนั้นก็ไม่ได้มีความรู ้สึกกลัวหรื อตกใจอะไร เพราะมัน่ ใจว่าตนไม่ได้ทาํ ผิดกฎหมาย เนื่ องจากที่พิพาทเป็ นที่ดินที่ทาํ กินมาแต่เดิม ซึ่ งแม่ของตนได้ ขึ้นทะเบียนตามมติคณะรัฐมนตรี ไว้ต่อเจ้าหน้าที่แล้ว อีกทั้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้เคยได้ลงมารังวัดขอบเขต ที่ดินไว้หมดแล้ว ก่อนถึงวันที่ตาํ รวจนัด แกนนําชาวบ้านได้ติดต่อผูว้ ิจยั เพื่อมาขอคําปรึ กษาเกี่ยวกับการแก้ไข ปั ญหาพื้นที่ถูกยึด ผูว้ จิ ยั จึงได้เดินทางไปที่หมู่บา้ นห้วยนํ้าริ น เพื่อประชุมและให้ความรู ้ทางกฎหมาย เบื้อ งต้น และได้พบกับสมบูร ณ์ จึง ได้คุ ยกัน และสมบูรณ์ เอาหมายเรี ยกให้ดู ผูว้ ิจยั ได้สอบถามว่า สมบูรณ์จะรับสารภาพหรื อปฏิเสธ สมบูรณ์และชาวบ้านก็พูดว่าจะต้องต่อสู ้คดี เนื่ องจากปั ญหาเรื่ อง ที่ดิน ไม่ ใช่ เฉพาะตนคนเดี ย ว แต่เ ดื อ ดร้ อ นทั้งหมู่ บ ้าน หากตนยอมก็ จะทําให้พ วกนั้นได้ใ จ และ ชาวบ้านจะถูกกดขี่เรื่ อยไป ผูว้ ิจยั ได้สอบถามข้อเท็จจริ งเบื้องต้นและให้คาํ แนะนําในการไปพบและ ให้การกับพนักงานสอบสวน ซึ่งสมบูรณ์และแกนนําชาวบ้านได้ขอให้ผวู ้ จิ ยั ร่ วมเดินทางไปพบตํารวจ ตามกําหนดนัด ผูว้ ิจยั จึงได้ตกลงว่าจะไปช่วย และได้แนะนําให้สมบูรณ์ เตรี ยมเอกสารหลักฐานที่ จําเป็ นไปด้วย การดาเนินคดีในชั้นสอบสวน เมื่อถึ งวันนัด (31 สิ งหาคม 2558) ผูว้ ิจยั ก็เดินทางไปพบกับสมบูรณ์และแกนนําชาวบ้านที่ สถานีตาํ รวจภูธรแม่วาง และเข้าไปพบพนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนก็แจ้งว่าที่นัดมาคือให้มา รับทราบข้อกล่าวหาในคดีบุกรุ กป่ าตามที่กาํ นันและเจ้าหน้าที่ป่าไม้มาแจ้งความไว้ และจะสอบปากคํา ด้วย ผูว้ จิ ยั และสมบูรณ์ก็บอกว่าไม่ขดั ข้องอะไร พนักงานสอบสวนจึงได้แจ้งข้อกล่าวหาว่า สมบูรณ์ 245
ได้ทาํ การบุกรุ กแผ้วถางพื้นที่ป่าตามโครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและที่ดิน โดยผูแ้ จ้งความอ้าง ว่า เมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2558 เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ได้รับแจ้งให้ไปร่ วมตรวจสอบพื้นที่สงสัยว่ามีการบุกรุ กใหม่ จึงได้ทาํ การจับพิกัด GPS และได้ส่งไปตรวจสอบยังหน่ วยป้ องกันรักษาป่ า ปรากฏว่าอยูใ่ นเขตป่ า สงวนแห่ งชาติ และอยูใ่ นพื้นที่ Zone C ต่อมาวันที่ 14 สิ งหาคม 2558 ได้นาํ แผนที่ไปตรวจสอบกับ พื้นที่อีกครั้ง พบว่ามีการเตรี ยมเป็ นพื้นที่เพาะปลูกแล้ว มีตอไม้ขนาด 40-100 ซม. ประมาณ 10 ตอ ถูก สุ มเผาและมีร่อ งรอยการตัดและฉี ดพ่นยาฆ่าหญ้า ตอนนั้นยังไม่ มีผใู ้ ดอยูใ่ นพื้นที่ แต่ได้รับแจ้งจาก เจ้าหน้าที่ปลูกป่ าว่าเจ้าของคือ สมบูรณ์ประกอบกับ นายก อบต. , กํานัน , ผญบ. ได้ยนื ยันว่าผูบ้ ุกรุ ก คือ สมบูรณ์ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ผตู ้ รวจสอบได้ลงความเห็นว่า มีการบุกรุ กเขตซึ่ งเป็ นความผิดต่อ พ.ร.บ. ป่ าไม้ พ.ศ. 2484 มาตร 54 ฐาน ก่นสร้าง แผ้วถางหรื อเผ่าป่ า หรื อกระทําด้วยประการใดๆ อันเป็ นการ ทํา ลายป่ า หรื อ เข้า ยึด ถื อ ครอบครองป่ าเพื่อ ตนเองหรื อ ผูอ้ ื่ น โดยไม่ ไ ด้รั บ อนุ ญาตจากพนัก งาน เจ้าหน้าที่ และ พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 มาตรา 14 ฐานเข้ายึดถือ ครอบครอง ทําประโยชน์ หรื ออยูอ่ าศัยในที่ดิน ก่นสร้าง แผ้วถาง เผาป่ า หรื อกระทําด้วยประการใดๆ อันเป็ นการเสื่ อมเสี ยแก่ สภาพป่ าสงวนแห่งชาติ โดยมิได้รับอนุญาต คิดเป็ นค่าเสียหายต่อรัฐเป็ นเงิน 130,500 บาท สมบูรณ์ก็ได้ปฏิเสธข้อกล่าวหา โดยในชั้นสอบสวนได้ให้การในรายละเอียดว่า ที่พิพาทนั้น เป็ นพื้นที่ที่พ่อ แม่ ไ ด้ครอบครองทําประโยชน์มานานแล้ว เพื่อ ใช้ในการเกษตร ต่อ มาเมื่ อ วันที่ 21 กรกฎาคม 2542 มารดาของสมบูรณ์ได้ไปแจ้งการครอบครองต่อกรมป่ าไม้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 11 พฤษภาคม 2542 ไว้แล้ว ซึ่ งถือว่าได้รับการคุม้ ครอง อีกทั้งสํานักจัดการทรัพยากรป่ าไม้ที่ 1 (เชียงใหม่) กรมป่ าไม้ ได้มาร่ วมกับชุมชน ทําการรังวัดตรวจสอบการครอบครองที่ดินตามที่ได้ข้ ึน ทะเบียนนี้ ไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2548 นอกจากนี้ เมื่อเดือน มิถุนายน 2557 มีการประชุมและตกลงให้ทาํ กิน ต่อไปได้ ที่สาํ คัญคือได้รับการคุม้ ครองตามคําสั่งคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 66/2557 ที่กาํ หนด ว่าการจับกุมดําเนินคดีเกี่ยวกับการบุกรุ กทําลายป่ านั้น จะต้องไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนผูย้ ากไร้ ผู ้ ที่มีรายได้นอ้ ยและผูไ้ ร้ที่ดินทํากิน ซึ่งได้อาศัยอยูใ่ นพื้นที่เดิมนั้น ๆ ก่อนคําสัง่ นี้มีผลบังคับใช้ ยกเว้นผู ้ ที่บุกรุ กใหม่ ซึ่งจากที่ได้ให้การไปดังกล่าวนี้ พนักงานสอบสวนได้ให้สมบูรณ์นาํ แม่และพี่สาวมาให้ พนักงานสอบสวนสอบปากคําเป็ นพยานไว้ดว้ ย ซึ่ งแม่กบั พี่สาวของสมบูรณ์ก็ให้การว่าที่ดินแปลงที่ ถูกแจ้งความนั้นได้ทาํ มานานแล้ว ตามที่สมบูรณ์ได้ให้การไปแล้วเช่นกัน ต่อมาเมื่อพนักงานสอบสวนได้ส่งสํานวนคดีไปยังพนักงานอัยการแล้ว ผูว้ ิจยั ได้แนะนําให้ สมบูรณ์ทาํ หนังสื อร้องขอความเป็ นธรรมส่ งไปยังพนักงานอัยการ เพื่อให้สั่งไม่ฟ้องคดีต่อศาล โดย อ้างเหตุผลเช่นเดียวกับที่ได้ให้การไว้ต่อพนักงานสอบสวน ต่อมาผูว้ ิจยั พร้อมด้วยสมบูรณ์ ได้เข้าไป สอบถามผลการพิจ ารณาหนัง สื อ ร้ อ งขอความเป็ นธรรมจากพนัก งานอัย การเจ้า ของสํา นวนคดี พนักงานอัยการบอกว่าทางอัยการภาคมีความเห็นสั่งให้ฟ้องคดี เนื่ องจากข้อความในหนังสื อร้องขอ 246
ความเป็ นธรรม เป็ นการแสดงว่าผูถ้ ูกกล่าวหายอมรับในข้อเท็จจริ งว่าเป็ นผูค้ รอบครองที่พิพาทจริ ง ส่วนที่อา้ งว่ามีสิทธิ์หรื อได้รับการยกเว้นตามกฎหมายนั้น ให้ผตู ้ อ้ งหาไปต่อสูค้ ดีในศาลเอาเอง แล้วให้ ศาลเป็ นผูพ้ พิ ากษาเอา คาร้ องขอความเป็ นธรรม : หลักฐานที่อัยการอ้ างว่ ารับข้ อเท็จจริง ก่อนที่จะถึงกําหนดยืน่ ฟ้ อง ผูว้ จิ ยั ได้แนะนําให้สมบูรณ์ไปยืน่ คําร้องขอรับความช่วยเหลือเงิน ประกันตัวจากกองทุนยุติธรรม เนื่ องจากเป็ นคดี ที่ตอ้ งใช้หลักทรัพย์ประกันตัวสู งถึง 150,000 บาท ก่อ นถึ งวันฟ้ องสมบูรณ์ ก็ไ ด้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่สํานักงานยุติธรรมจังหวัดเชี ยงใหม่ ว่าได้รับการ อนุมตั ิแล้ว ดังนั้น ในวันฟ้ องสมบูรณ์จึงได้รับการประกันตัวออกมา ต่อมาพนักงานอัยการได้ฟ้องต่อศาลจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งการดําเนินการในชั้นศาลนั้นผูว้ ิจยั อยู่ ด้ว ยในเกื อ บทุ ก ขั้น ตอน ในฐานะที่ เ ป็ นทนายความในคดี และช่ ว ยดํา เนิ น การให้ต้ งั แต่ ส่ ง ฟ้ อง สื บ พยาน ฟั งคํา พิพ ากษา ยื่น อุ ท ธรณ์ และฟั งคํา พิพ ากษาศาลอุ ท ธรณ์ โดยเรื่ อ งราวเกี่ ย วกับ การ ดําเนินคดีในชั้นศาล สรุ ปได้ดงั นี้ โจทก์ฟ้องว่าจําเลยกระทําความผิดโดยการเข้ายึดถือครอบครองที่ดินเพือ่ ตนเองหรื อผูอ้ ื่น แผ้ว ถาง ตัดฟั นต้นไม้ ทําการเกษตรและทําประโยชน์ภายในเขตป่ าแม่ ขาน-แม่ วาง หมู่ที่ 1 ตําบลทุ่งปี๊ อําเภอแม่ วาง จังหวัดเชี ยงใหม่ ซึ่ งอยู่ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติป่าแม่ ขานและป่ าแม่วาง อันเป็ นการ ทําลายป่ าและทําให้เสื่ อมเสี ยสภาพป่ าสงวนแห่ งชาติ พื้นที่ 3 งาน 48 ตารางวา คิดค่าเสี ยหายของรัฐ เป็ นเงิน 130,500 โดยไม่ ไ ด้รั บอนุ ญ าต ขอให้ล งโทษตามพระราชบัญญัติป่ าไม้ พ.ศ. 2484 และ พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ทั้งให้จาํ เลยและบริ วารออกไปจากเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ และให้จาํ เลยชดใช้ค่าเสียหายด้วย จําเลยยืน่ คําให้การเป็ นเอกสารปฏิเสธข้อกล่าวหา ศาลจึงได้กาํ หนด นัดพร้อมและไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในอีกประมาณหนึ่งเดือนต่อไป การพิจารณาในชั้นศาล เมื่ อ ถึงวันกําหนดนัดพร้อ มและประนอมข้อ พิพาท ผูว้ ิจยั พร้อมกับสมบูรณ์ ไปศาล ทางฝั่ ง โจทก์ก็มีพนักงานอัยการและเจ้าหน้าที่ป่าไม้มา เมื่อเข้าไปในห้องไกล่เกลี่ยแล้ว ฝ่ ายพนักงานอัยการ กับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็บอกว่า ไม่สามารถทําเป็ นอย่างอื่นได้นอกจากให้จาํ เลยรับสารภาพเท่านั้น แต่ ผูว้ จิ ยั ก็ยนื ยันว่าจะขอปฏิเสธและสู ้คดี ทําให้ไม่สามารถไกล่เกลี่ยกันได้ เมื่อออกจากห้องไกล่เกลี่ยก็ เข้าไปในห้องพิจารณาคดี ผูพ้ พิ ากษาก็เรี ยกสมบูรณ์และผูว้ จิ ยั ไปนอกห้องพิจารณา แล้วต่อว่าสมบูรณ์ และผูว้ จิ ยั ด้วยความโกรธ และถามยํ้าว่าจะสู ้คดีหรื อ ในทํานองที่ตอ้ งการกดดันให้จาํ เลยรับสารภาพ เมื่อสมบูรณ์ถูกต่อว่าก็เริ่ มมีอารมณ์ ลุกขึ้นยืนและเริ่ มโต้เถียง เนื่ องจากตอนนั้นอยูน่ อกห้องพิจารณา 247
คดี ผูพ้ ิพากษาคนนั้นก็ไม่ได้ใส่ ชุดครุ ย สมบูรณ์จึงไม่รู้ว่ากําลังโต้เถียงกับผูพ้ ิพากษา ผูพ้ ิพากษาก็ยิ่ง โกรธก็ช้ ี หน้าด่าอย่างรุ นแรงว่าไม่ มีมารยาท ไม่มีสัมมาคารวะ ไม่รู้จกั ยืนให้สุภาพ และยังพูดอี กว่า เดี๋ยวจะเรี ยกตํารวจศาลมาสอนให้รู้จกั มีมารยาทต่อหน้าศาล หลังจากนั้นก็หันมาต่อว่าผูว้ ิจยั และถาม ว่ารู ้ตวั หรื อไม่วา่ ผิดหรื อไม่ผดิ จะเอาอะไรมาสู ้ และให้ผวู ้ ิจยั ชี้แจงว่ามีหลักฐานอะไร ผูว้ ิจยั ก็ไม่บอก รายละเอี ยด เพียงแต่บอกว่ามีหลักฐานและจะนํามาต่อสู ้คดีในชั้นสื บพยาน ซึ่ งตอนนั้นผูว้ ิจยั เห็นว่า พนักงานอัยการอยู่ด้วยและไม่ ใช่ ก ารนัดพร้ อ มในบัลลังก์ศ าล จึงไม่ ประสงค์อ ธิ บายรายละเอี ย ด เกี่ยวกับพยานหลักฐานของฝ่ ายจําเลย บางเรื่ องก็ตอ้ งการเก็บเป็ นความลับ ผูพ้ ิพากษาก็ต่อว่าผูว้ ิจยั ว่ายุ ยงให้จาํ เลยสู ้คดี ท้ งั ๆ ที่รู้ว่าทําผิดกฎหมาย และยังได้พูดใส่ ผวู ้ ิจยั อีกว่าเดี๋ยวจะสั่งขังทนายพร้อมกับ จําเลยด้วย ผูว้ จิ ยั จึงพยายามบอกให้สมบูรณ์เงียบและไม่ตอ้ งเถียงด้วย เนื่ องจากเกรงว่าจะถูกกล่าวหา ว่าหมิ่นศาล หลังจากนั้นผูพ้ ิพากษาคนนั้นก็ต่อ ว่าสมบูรณ์ และผูว้ ิจยั อี กสักพักก็กลับไป (แต่ในชั้น สืบพยานผูพ้ พิ ากษาเจ้าของสํานวนเป็ นคนละคนกับผูพ้ พิ ากษาคนเดิมที่เคยต่อว่าผูว้ จิ ยั และสมบูรณ์) ในการสืบพยานโจทก์มีพยาน 5 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ป่าไม้ 3 คน พนักงานสอบสวน 1 คน และผูใ้ หญ่บา้ นอีก 1 คน โดยฝ่ ายโจทก์นาํ สื บว่า เมื่อเดือนพฤษภาคม 2558 กรมป่ าไม้สั่งการให้ หัวหน้าหน่ วยฟื้ นฟูป่า (ป่ าสงวนแห่ งชาติป่าแม่ขานและป่ าแม่วาง) ดําเนิ นการฟื้ นฟูสภาพป่ าโดยใช้ งบประมาณของกรมป่ าไม้ (ปลู กป่ า) เจ้า หน้า ที่ป่ าไม้จึงได้ร่ว มกับ เจ้า หน้า ที่ฝ่ายปกครอง กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ น และผูน้ าํ ชุมชนไปตรวจสอบพื้นที่เพือ่ ทําการฟื้ นฟูสภาพป่ า พบว่ามีพ้นื ที่บุกรุ กชิดแนวเขต ป่ าสงวนแห่ งชาติที่มีลกั ษณะเป็ นป่ าสมบูรณ์จนถึ งแนวเขตหมู่บา้ น ต่อมาเมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2558 เจ้าหน้าที่ป่าไม้ กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นและคณะกรรมการชุมชนไปตรวจสอบที่ดินเกิดเหตุ พบการบุกรุ ก เพื่อเตรี ยมการปลูกพืชไร่ เจ้าหน้าที่ป่าไม้จึงใช้เครื่ องมือตรวจสอบพิกดั ดาวเทียม (GPS) ที่ดินที่เกิ ด เหตุตรวจสอบกับแผนที่ภาพถ่ ายทางอากาศเขตแปลงควบคุม ปรากฏว่าที่ดินที่เกิ ดเหตุอ ยูน่ อกเขต แปลงควบคุม ต่อมาวันที่ 17 สิงหาคม 2558 เจ้าหน้าที่ป่าไม้ กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นไปตรวจสอบที่ดินที่เกิด เหตุ อี กครั้ ง และทําการตรวจยึดที่ ดิ น ที่เ กิ ด เหตุ และได้ไ ปแจ้งความต่ อ พนักงานสอบสวนสถานี ตํารวจภูธรแม่วางเพือ่ ดําเนินคดีกบั จําเลย ในข้อหาบุกรุ ก ก่นสร้าง แผ้วถาง ยึดถือครอบครองป่ าสงวน แห่งชาติโดยไม่ได้รับอนุญาต จําเลยนําสื บว่า เดิมทีแม่ ของจําเลยครอบครองทํากินในที่ดินที่เกิดเหตุมาก่ อ น ต่อ มาเมื่ อ ปี 2542 แม่ของจําเลยได้แจ้งการครอบครองที่ดินที่เกิดเหตุตามมติคณะรัฐมนตรี 30 มิถุนายน 2541 ซึ่ งมี ใบตอบรับไว้เป็ นหลักฐาน จึงเป็ นที่ดินซึ่ งได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี ต่อมาพี่สาวจําเลย เป็ นคนใช้ทาํ กินต่อจากมารดา และเมื่ อปี พ.ศ. 2548 เจ้าหน้าที่ป่าไม้ไ ด้ทาํ การรังวัดที่ดิน โดยมี การ ประชุมชาวบ้านและมอบหมายให้ตวั แทนเป็ นผูน้ าํ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ไปนําชี้แนวเขตที่ดิน แต่ต่อมาพี่สาว ของจําเลยมีครอบครัวจึงย้ายไปอยูท่ ี่อื่น จําเลยเข้าครอบครองทํากินปลูกข้าวและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ใน 248
ที่ดินที่เกิดเหตุโดยไม่ได้บุกรุ กที่ดินเพิม่ เติม ต่อมาเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 จําเลยและชาวบ้านหลาย รายพบว่ามีการรังวัดที่ดินตกหล่นไป จึงร้องเรี ยนต่อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องทําการแก้ไข แต่ทาง ราชการยังไม่ได้ดาํ เนินการ อีกทั้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้เคยไปหาจําเลยในที่ดินที่เกิดเหตุ มีการเจรจากันและ เจ้าหน้าที่ป่าไม้จึงให้จาํ เลยทํากินต่อไปได้โดยห้ามไม่ให้ขยายพืน้ ที่เข้าไปในเขตป่ า ภายหลังเจ้าหน้าที่ ป่ าไม้นํา หลัก เสาปู น ปั ก กั้น แนวเขตระหว่ า งที่ ท าํ กิ น ซึ่ งครอบคลุ ม ที่ ดิ น พิพ าทด้ว ยกับ พื้ น ที่ ป่ า นอกจากนี้เหตุในคดีน้ ีเกิดขึ้นเนื่องจากจําเลยถูกกํานันและเจ้าหน้าที่ป่าไม้กลัน่ แกล้ง ศาลพิจารณาแล้วมีพพิ ากษาว่าจําเลยมีความผิดตามฟ้ อง โดยวินิจฉัยในส่ วนที่เป็ นสาระสําคัญ ว่า ก่อนเกิดเหตุจาํ เลยรู ้อยูแ่ ล้วว่าที่ดินที่เกิดเหตุอยูน่ อกเขตที่ดินแปลงควบคุม และอยูใ่ นเขตป่ าสงวน แห่งชาติ ซึ่งเจ้าหน้าที่ป่าไม้ได้แจ้งให้จาํ เลยทราบว่าให้ทาํ กินเฉพาะในเขตแปลงควบคุมเท่านั้น ไม่ได้ อนุญาตให้จาํ เลยทํากินในที่ดินที่เกิดเหตุต่อไป ประกอบกอบกับแม้จะมีมติคณะรัฐมนตรี 30 มิถุนายน 2541 ผ่อนผันให้เฉพาะราษฎรที่ทาํ กินอยูก่ ่อนปี 2541 ให้ทาํ กินต่อไปได้โดยไม่มีการจับกุม แต่จาํ เลย ไม่มีชื่ออยูใ่ นบัญชีรายชื่อที่ดินพื้นที่ควบคุม ย่อมไม่ได้รับการผ่อนผัน อีกทั้งที่ดินที่เกิดเหตุอยูน่ อกเขต ที่ดินแปลงควบคุม แม้จาํ เลยอ้างว่าครอบครองที่ดินที่เกิดเหตุต่อจากนางสาวภาวิดาก็ยอ่ มไม่ได้รับการ ผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี ดงั กล่าวเช่นกัน ส่ วนที่จาํ เลยไปร้องเรี ยนต่อหน่ วยงานราชการเกี่ยวกับ การรังวัดที่ดินตกหล่นนั้น ก็ไม่เป็ นเหตุยกเว้นความผิดแต่อย่างใด ส่ วนที่จาํ เลยเบิกความว่าภายหลัง เจ้าหน้าที่ป่าไม้นาํ หลักเสาปูนมาปั กกั้นแนวเขตระหว่างที่ทาํ กินกับพื้นที่ป่านั้น เป็ นการปั กหลักเขตป่ า ให้ชัดเจน เพื่อป้ องกันมิให้ผใู ้ ดบุกรุ กเข้าไปแผ้วถางในป่ าสมบูรณ์ เท่านั้น ไม่ใช่เป็ นหลักเขตแสดง สิทธิวา่ สามารถทํากินในที่ดินที่เกิดเหตุได้ คําเบิกความของจําเลยจึงเลื่อนลอย ยากแก่การรับฟั ง การ กระทําของจําเลยจึงเป็ นความผิดตามฟ้ อง โดยลงโทษจําคุก 1 ปี ปรับ 30,000 บาท โทษจําคุกให้รอ การลงอาญามีกาํ หนด 2 ปี พร้อมกับสั่งให้จาํ เลยออกจากที่พิพาท นอกจากนี้ ยงั ได้กาํ หนดค่าให้ชาํ ระ ค่าเสียหายอีกเป็ นเงินจํานวน 20,000 บาท เมื่อศาลชั้นต้นอ่านคําพิพากษาแล้ว สมบูรณ์ได้จ่ายเงินค่าปรับในวันอ่านคําพิพากษาจํานวน 30,000 บาท สําหรับค่าเสี ยหายนั้นไม่ไ ด้จ่าย เนื่ องจากในวันดังกล่าวไม่ มีเงินพอ รวมทั้งผูว้ ิจยั ให้ คําแนะนําว่ายังไม่ตอ้ งจ่าย หลังจากอ่านคําพิพากษาศาลชั้นต้นแล้ว สมบูรณ์กบั ผูว้ ิจยั ได้หารื อเกี่ยวกับการอุทธรณ์ ซึ่ ง ผูว้ จิ ยั ได้อธิบายให้สมบูรณ์ฟังว่า แม้วา่ ศาลจะพิพากษาให้มีความผิด แต่เนื่องจากศาลสัง่ ให้รอลงอาญา และปรับเท่านั้น แต่ที่ดินก็จะต้องถูกยึดไป ซึ่ งฝ่ ายจําเลยก็ยงั มีสิทธิ์อุทธรณ์คาํ พิพากษาอยู่ สมบูรณ์ก็ ยืนยันว่าต้องการที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ เพื่อยืนยันสิ ทธิโดยชอบธรรม ดังนั้น ผูว้ ิจยั จึงได้จดั ทําอุทธรณ์ โต้แย้งคําพิพากษาของศาลชั้นต้น โดยยืนยันว่าจําเลยได้รับการผ่อนผันให้ทาํ กินตามมติคณะรัฐมนตรี โดยชอบแล้ว จึงขอให้ศาลอุทธรณ์วนิ ิจฉัยคดีใหม่ อย่างไรก็ตาม ศาลอุทธรณ์มีคาํ พิพากษายืนตามศาล 249
ชั้น ต้น โดยให้เหตุ ผลว่า พื้น ที่พิพ าทอยู่ใ นเขตที่ สามารถออกเอกสารสิ ทธิ์ ตามกฎหมายได้ และ เจ้าหน้าที่ป่าไม่ก็ไม่มีอาํ นาจอนุญาตให้ทาํ กินตามกฎหมายได้ ที่จาํ เลยอ้างว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้อนุญาตให้ จําเลยทํากินได้น้ นั เป็ นเรื่ องที่ขดั ต่อเหตุผลที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้คนใดจะกล้ากระทําผิดกฎหมายอนุ ญาต ให้จาํ เลยทํากินในพืน้ ที่เกิดเหตุอนั เป็ นเขตป่ าสงวนแห่ งชาติได้ สําหรับหลักเขตนั้นศาลอุทธรณ์ก็เชื่อ ว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้ไม่ ใช่คนปั กและมี การเคลื่อนย้ายในภายหลัง สําหรับกรณี ที่จาํ เลยอ้างว่ามี สาเหตุ โกรธเคืองกับกํานันและเจ้าหน้าที่น้ นั ศาลอุทธรณ์ก็วนิ ิจฉัยว่า ไม่เชื่อว่าจําเลยถูกกลัน่ แกล้ง เนื่ องจาก เห็นว่าการดําเนินคดีเป็ นไปตามหลักฐานที่ปรากฏ ข้อต่อสูข้ องจําเลยจึงไม่มีน้ าํ หนักให้รับฟัง เมื่อฟังคําพิพากษาศาลอุทธรณ์แล้ว ผูว้ จิ ยั ได้พดู คุยกับสมบูรณ์เกี่ยวกับผลของคดี คือ จะถูกคุม ประพฤติ 2 ปี ตามโทษที่ศาลสั่งให้รอการลงอาญา และเหลือค่าเสี ยหายที่ศาลเรี ยกอีก 20,000 บาท ที่ สําคัญคือพื้นที่พพิ าทจะถูกยึดไปตามคําสั่งศาล สําหรับการฎีกานั้น ผูว้ ิจยั ได้บอกแก่สมบูรณ์มีสิทธิที่ จะยืน่ ฎีกาต่อไปได้ แต่เห็นว่าสมบูรณ์ต่อสู ้คดีมานาน เสี ยเวลา เสี ยค่าใช้จ่าย และต้องแบกรับความ กดดันมานานแล้ว คงเหนื่อยล้ามากแล้วจึงแนะนําให้ยตุ ิการฎีกาต่อ เมื่อผูว้ จิ ยั สอบถามสมบูรณ์เกี่ยวกับปั ญหาในการต่อสูค้ ดี สมบูรณ์ก็ได้เล่าให้ฟังว่าในระหว่าง ที่ถูกดําเนินคดี ต้องเผชิญกับอุปสรรคปั ญหาและความยุง่ ยากหลายอย่าง แม้ว่าจะได้รับการช่วยเหลือ จากหลายฝ่ ายก็ตาม กล่าวคือ 1. ในระหว่างที่ถู กดํา เนิ น คดี จะต้อ งไปตามกํา หนดนัด บ่อ ยๆ นับตั้งตั้งแต่ ช้ นั พนัก งาน สอบสวน ชั้นอัยการ การดําเนิ นเรื่ องขอใช้เงินกองทุนยุติธรรมประกันตัว รวมทั้งการไปศาล ทําให้ เวลาทํางานอย่างมาก โดยการไปตามนัดครั้งหนึ่ งๆ ต้องเสี ยเวลาเป็ นวันๆ และเมื่อต้องออกไปบ่อยๆ ยิง่ ทําให้รู้สึกกดดัน ยังดีที่บา้ นอยูห่ ่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปไม่ไกลมาก ใช้เวลาเดินทางโดยรถยนต์ ประมาณ 1 ชัว่ โมงครึ่ งก็ถึงแล้ว 2. เสี ยค่าใช้จ่ายจํานวนมาก ซึ่ งการไปครั้งหนึ่ งก็เสี ยค่าใช้จ่ายประมาณ 500 – 1,000 บาท โดยเฉพาะบางครั้งก็ตอ้ งไปรบกวนผูน้ ําชุม ชนให้ไ ปด้วยก็จะเสี ยค่าใช้จ่ายเพิ่ม แม้ว่าแต่ละครั้งเป็ น จํานวนไม่มาก แต่เมื่อรวมกันหลายๆ ครั้งแล้ว ก็เป็ นจํานวนที่มากพอสมควร ซึ่ งค่าใช้จ่ายเหล่านั้นตน ก็ตอ้ งรับผิดชอบเอง โดยที่ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากใคร 3. แม้ว่าตนจะสามารถอ่ านออกเขียนได้และสามารถสื่ อสารภาษาไทยได้คล่ อง แต่ในการ ดําเนิ นการต่างๆ เกี่ ยวกับคดีน้ ัน มีข้ นั ตอนปฏิบตั ิของแต่ละหน่ วยงาน และมี ระเบียบกฎหมายที่ถู ก กล่าวอ้างถึงหลายอย่าง ซึ่งตนไม่เข้าใจ โดยเฉพาะเมื่อเจ้าหน้าที่พดู ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ก็จะไม่รู้ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องหรื อจะส่งผลต่อคดีหรื อไม่อย่างไร 250
4. การถูกดําเนินคดี ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตปกติหลายอย่าง เช่น หลังจากที่ถูกแจ้งความ ดําเนินคดีแล้ว ตนเองก็ตอ้ งใช้ชีวติ ประจําวันอย่างระมัดระวังมากขึ้น ไม่ทาํ อะไรที่จะเป็ นการออกหน้า ออกตาหรื อทําตัวให้เป็ นจุดเด่น รวมทั้งการเดินทาง การเข้าร่ วมกิจกรรมกับชาวบ้าน การไปทํางานใน ไร่ ซึ่ งต่างจากก่ อนหน้านี้ ที่ใช้ชีวิตแบบปกติทวั่ ไป ไม่ตอ้ งมาระมัดระวังตัวอะไรเป็ นพิเศษเหมื อ น หลังจากที่ถูกดําเนินคดีแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้สอบถามสมบูรณ์ว่า จากประสบการณ์ที่ตนถูกดําเนิ นคดีน้ นั เจ้าหน้าที่ได้ปฏิบตั ิต่อ ตนอย่างเป็ นธรรมไหม สมบูรณ์บอกว่า การใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ไม่มีความเป็ นธรรม เพราะ เท่าที่รู้มา ในท้องถิ่นเคยมีหลายคนถูกแจ้งความดําเนินคดีเกี่ยวกับที่ดินทํากิน แต่ถา้ เป็ นคนที่มีเงิน เขา ก็ไ ปเจรจากับเจ้าหน้าที่แล้วคดี ก็จบ (คือ เชื่ อ ว่าคนที่ถู ก แจ้งความจ่ ายเงินให้เจ้าหน้าที่ เพื่อ ยุติการ ดําเนินคดี) แต่พอคนจนที่ไม่มีเงินไปจ่ายก็จะถูกดําเนินการตามกฎหมาย สําหรับคดีของตนนั้น ตนไม่ มีเงินและไม่ยนิ ยอมที่จะไปจ่าย จึงถูกดําเนินคดี นอกจากนี้ ก็สังเกตได้ว่า โดยปกติแล้วเจ้าหน้าที่ป่าไม้จะปฏิบตั ิต่อคนพื้นราบกับคนม้งแตก ต่างกัน โดยข้อเท็จจริ งนั้นทั้งคนพื้นราบและคนม้งต่างก็ครอบครองที่ดินทํากินโดยไม่มีเอกสารสิ ทธิ์ เหมือนกัน คนพื้นราบจํานวนมากก็ได้ขยายพื้นที่ทาํ กินรุ กเข้าไปในเขตป่ าเหมือนกัน แต่เจ้าหน้าที่ป่า ไม้กลับดําเนินการอย่างเคร่ งครัดกับคนม้ง ทั้งยึดที่ดินแล้วทําการปลูกป่ าทุกแปลง ส่ งเจ้าหน้าที่ลงมา กดดันชาวบ้านบ่อยๆ แต่กลับอะลุ่มอล่วยให้กบั คนพื้นราบมากกว่า แม้จะมีการยึดที่ดินที่บุกรุ กใหม่ บางแปลงบ้าง แต่ก็ไม่มีการปลูกป่ าในพื้นที่ของคนพื้นราบและไม่มี การดําเนิ นคดี ไม่มีการอ้างว่ามี โครงการปลูกป่ าแล้วยึดที่ดินของชาวบ้านไปปลูกป่ า นอกจากนี้ แล้ว ก็ ย งั รู ้ สึ ก ว่า คํา พิพ ากษาไม่ เ ป็ นธรรมต่ อ ตน เพราะความจริ ง แล้ว ตนเป็ น ผูเ้ สียหายจากการถูกเจ้าหน้าที่และผูน้ าํ ชุมชนแย่งที่ดิน แต่ศาลกลับพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายแพ้ ทั้งๆ ที่ ตนมี เอกสารหลักฐานทั้งหมด และผูน้ ําชุ มชนก็มาให้การเป็ นพยานชี้ แจงข้อเท็จจริ งด้วย ซึ่ งกรณี น้ ี ผูว้ จิ ยั เห็นว่า ทั้งศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ไม่สนใจข้อเท็จจริ งและหลักฐานที่ไม่ใช่เอกสารสิ ทธิ์ตาม กฎหมายที่ ดิ น เนื่ อ งจากในชั้น สื บ พยานนั้น ฝ่ ายโจทก์ไ ม่ ไ ด้โ ต้แ ย้ง เอกสารขึ้ น ทะเบี ย นตามมติ คณะรัฐมนตรี และหลักเขตที่เจ้าหน้าที่มาปั กไว้ รวมทั้งแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศที่ปรากฏว่ามีร่องรอย ทํากินมาก่อนแล้ว ในการพูดคุยกับสมบูรณ์ ผูว้ ิจยั ได้ต้ งั ข้อสังเกตว่า โดยทัว่ ไปแล้วเจ้าหน้าที่ป่าไม้จะยึดแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศปี พ.ศ. 2545 เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าเป็ นการบุกรุ กใหม่ หรื อไม่ คือ หากมี ร่ องรอยการทําประโยชน์ในแผนที่ภาพถ่ายก่อนปี พ.ศ. 2545 ก็จะถือว่าเป็ นที่ทาํ กินเดิม ซึ่ งเจ้าหน้าที่ จะไม่ จบั กุม หากไม่ ปรากฏร่ อ งรอย ก็ถื อ ว่าบุ กรุ กใหม่ และอาจถู ก ดํา เนิ นคดี ไ ด้ สมบูร ณ์ บ อกว่า 251
สําหรับกรณี การยึดที่ดินทํากินของหมู่ บา้ นห้วยนํ้าริ นนั้น เจ้าหน้าที่ป่าไม้ไ ม่นาํ แผนที่ดังกล่าวมาใช้ เป็ นเกณฑ์ แต่กลับอ้าง พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ. 2507 แทน ประกอบกับเอาแผนที่รังวัดแนวเขต ที่จดั ทําไม่ สมบูรณ์ มาอ้าง ซึ่ งตนเชื่ อ ว่าเจ้าหน้าที่ ป่าไม้ตอ้ งการจะยึดที่ดิน อยู่แล้ว จึงไม่ เอาแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศปี พ.ศ. 2545 เป็ นเกณฑ์ เนื่องจากว่าหากเอาแผนที่ดงั กล่าวนี้ มาเป็ นเกณฑ์ จะกลับ เป็ นประโยชน์ต่อชาวบ้านมากกว่า รวมทั้งที่พพิ าทด้วย เพราะส่วนใหญ่แล้วมีร่องรอยการทํากินก่อนปี พ.ศ. 2545 ปั ญ หาในทางปฏิ บ ัติ ป ระการหนึ่ งคื อ ตอนที่ สื บ พยานฝ่ ายโจทก์โ ดยเฉพาะพยานที่ เ ป็ น เจ้าหน้าที่ป่าไม้ผตู ้ รวจสอบพื้นที่น้ นั ผูว้ จิ ยั พยายามถามค้านเพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ งอื่นๆ ที่ฝ่ายเจ้าหน้าที่ ปกปิ ดเอาไว้ แต่ศาลไม่จดบันทึกคําเบิกความที่พยานตอบคําถามค้านของผูว้ ิจยั ทั้งหมด ที่สําคัญคือ เมื่อผูว้ จิ ยั พยายามถามเอารายละเอียดอื่นๆ ศาลก็สั่งไม่ให้ผวู ้ ิจยั ถามต่อ โดยบอกว่าถามเยอะแล้วและ บอกว่ารายละเอียดอื่นๆ นั้น ฝ่ ายจําเลยค่อยเบิกความเอาตอนที่สืบพยานฝ่ ายจําเลย หมายเหตุ ในการรวบรวมข้อมูลเพือ่ เขียนเรื่ องเล่ากรณี ศึกษานี้ ผูว้ จิ ยั รวบรวมจากการทบทวนเอกสารใน สํานวนคดี และทบทวนความจําจากคําบอกเล่าของตัวสมบูรณ์ แม่ พี่สาวและภรรยาของสมบูรณ์ที่ได้ เล่ าให้ผูว้ ิจยั ฟั งในระหว่า งดําเนิ นคดี นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ยัง ได้เดิ นทางลงพื้นที่ หมู่ บา้ นเพื่อ พูดคุ ยกับ สมบูรณ์และผูน้ าํ ชุมชนหลายครั้ง รวมทั้งได้นดั พบเพือ่ พูดคุยกับสมบูรณ์ในตัวเมืองอีกด้วย
สัมภาษณ์วนั ที่ 19 พฤษภาคม 2561, 10 กันยายน 2561, 10 พฤศจิกายน 2561
252
ภาคผนวก ช. ป้าพอดี : ผู้ที่ไม่ มีวนั เข้ าใจได้ ว่าตนทาผิดอะไร หญิงชราถอดรองเท้าแตะไว้ขา้ งประตู ลากเท้าเปล่าอันหนักหน่วงตามหลังลูกสาวและลูกเขย ก้มหน้าค้อมผ่านตํารวจศาลอย่างสุ ภาพที่สุดเข้าไปในห้อง เห็นม้านั่งไม้สักขัดมันเงา นับได้สามแถว หญิงชราเลือกนัง่ แถวหลังสุด สักพักตํารวจศาลก้าวหนักๆ มายืนกลางห้อง เชิดหน้า แล้วถามว่า “คน ไหนจาเลย” หญิงชราหันมองซ้ายขวาไม่รู้จะทําตัวอย่างไร ลูกสาวจึงตอบว่า “อยู่นี่ค่ะ” แล้วชี้มือไปที่ หญิงชรา ตํารวจศาลกระแทกเสียงอีกครั้ง “เกี่ยวข้ องเป็ นอะไรกับจาเลย” “หนูเป็ นลูกค่ ะ” “คนอื่ นไป นั่งข้ างหลังส่ วนจาเลยมานั่งแถวหน้ านี่ ” ตํารวจศาลว่าต่อ พลางชี้ นิ้วไปที่ม ้านั่งแถวแรก เดินวนไป รอบหนึ่ง แล้วเดินกลับมายืนคุมเชิงใกล้ประตู ที่กลางห้องมีผชู ้ ายคนหนึ่งที่เข้ามาก่อนแล้ว นัง่ ก้มหน้าอยูห่ ลังจอคอมพิวเตอร์ เคาะนิ้วบน แป้ นพิมพ์ หันไปกระซิบกับทนายความสองสามคํา แล้วหันมาพูดให้ทุกคนได้ยนิ ว่า “ท่ านจะขึน้ บัล ลังแล้ วนะครั บ ขอให้ ทุกคนปิ ดโทรศัพท์ และห้ ามส่ งเสี ยงดัง ” พอสิ้นเสียงประตูหลังห้องก็เปิ ด ผูช้ าย ในชุดคลุมสีดาํ เดินเข้ามาแล้วนัง่ บนเก้าอี้ทอี่ ยูส่ ูงๆ นัน่ หน้าตาไร้ซ่ ึงอารมณ์ จับเอกสารพลิกดูไปมา สองสามรอบ หยิบปากกามาเขียนอะไรยิกๆ แล้วถามทั้งที่ยงั ก้มหน้า “คดีนาง ป. (นามสมมติ) วันนีม้ ี ทนายมาด้ วยไหม” ทนายลุกขึ้นตอบ “มาครั บ” “นาง ป. ลุกขึน้ ศาลจะอ่ านคาฟ้ องให้ ฟังนะ” ผู ้ พิพากษาเงยหน้าขึ้นพร้อมกับสัง่ ลูกสาวสะกิดนิดหน่อย ป้ าพอดีลุกขึ้นยืนช้าๆ ตัวงอ หันซ้ายขวา ทําท่าลังเล ผูพ้ พิ ากษาจ้องดูอาการ ขยับแว่นตาแล้วถาม “ฟั งภาษาไทยได้ไหม” ลูกสาวที่นงั่ อยูข่ า้ งๆ ชิงตอบก่อนใครๆ “ไม่ ได้ ค่ะ” ยังไม่ทนั สิ้นเสียง ตํารวจศาลก็กระแทกเสียงแทรก “ลุกขึน้ ยืนแล้ วค่ อย พูด” ลูกสาวดีดตัวลุกขึ้นทันทีที่สิ้นเสียง ผูพ้ พิ ากษาถามยํ้า “เป็ นลูกใช่ ไหม จาเลยฟั งภาษาไทยเข้ าใจ ไหม” ลูกสาวพยายามควบคุมเสี ยงไม่ให้สนั่ “ฟั งได้ นิดๆ หน่ อยๆ เท่ านั้นเองค่ ะ” ท่านผูพ้ พิ ากษาหัน ไปทางตํารวจศาลแล้วสัง่ “ไปเรี ยกล่ ามศาลมาให้ หน่ อยซิ ” ตํารวจศาลเปิ ดประตูเดินออกไปสักพักก็ เดินเข้ามาใหม่ มีผชู ้ ายคนหนึ่งเดินตามหลังมาด้วย “เอ้ าล่ าม มาสาบานตน แล้ วเดี๋ยวช่ วยแปลให้ จาเลย ฟั งนะ” ว่าแล้วผูพ้ พิ ากษาก็อ่าน แล้วล่ามก็แปลเป็ นภาษากะเหรี่ ยง “จาเลยจะรั บสารภาพหรื อปฏิเสธ” ผูพ้ พิ ากษาถามต่อ “ปฏิเสธครั บ” ทนายตอบพร้อมกับลุกขึ้นยืน จากนั้นก็มีการพูดคุยกันไปมาระหว่าง ผูพ้ พิ ากษา ทนายความ และเจ้าหน้าที่ที่นงั่ อยูต่ รงกลางห้อง สักพักตํารวจศาลก็ออกเสียงสัง่ ดังๆ “ลุก
253
ขึน้ ทาความเคารพศาล” แล้วผูพ้ พิ ากษาก็เดินออกประตูเดิมไป ตํารวจศาลสั่งอีกที “จาเลยมานี่ ไปอยู่ ในห้ องขังก่ อน ถ้ าจะประกันตัวก็ให้ ลกู ไปติดต่ อเอานะ”15 เหตุ ก ารณ์ ในห้อ งพิจ ารณาคดี ข ้า งบนนี้ เกิ ดขึ้ น กับ ป้ าพอดี (นามสมมติ ) หญิง สู ง วัย ชาว กะเหรี่ ยง (เกิ ดเมื่อ ปี พ.ศ. 2494 อาศัยอยู่ที่บา้ นแม่ เลาะ หมู่ 3 ตําบลแม่สวด อําเภอสบเมย จังหวัด แม่ฮ่องสอน ซึ่ งเป็ นเหตุการณ์ในวันที่ถูกส่ งตัวไปฟ้ องต่อศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง (ตั้งอยูอ่ าํ เภอแม่สะ เรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน) ภูมิหลัง บ้านแม่เลาะ เป็ นหมู่บา้ นเล็กๆ ของชาวกะเหรี่ ยง มีประมาณ 20 หลังคาเรื อน ชาวบ้านมีอาชีพ ทําไร่ ทําสวน ทํานา ตั้งอยูใ่ กล้แม่น้ าํ เงา ซึ่งเป็ นแม่น้ าํ ที่ไหลกั้นระหว่างจังแม่ฮ่องสอนกับจังหวัดตาก บริ เวณหมู่บา้ นแม่เลาะเป็ นป่ าอุดมสมบูรณ์ ซึ่งทางราชการกําลังเตรี ยมการประกาศให้เป็ นเขตอุทยาน แห่งชาติแม่เงา ป่ าลุ่มแม่น้ าํ เงาเป็ นป้ าไม้สกั ทองที่มีคุณภาพสูง จึงเป็ นที่หมายปองของทุกฝ่ าย ในอดีต เคยถูกสัมปทานจนต้นไม้ใหญ่ถูกตัดหมดไปแล้ว ปั จจุบนั ฝ่ ายรัฐต้องการสงวนคุม้ ครองไว้ แต่ก็มีคน อีกกลุ่มที่ลกั ลอบทําไม้ส่งขาย ในขณะที่ชาวบ้านเองก็ตอ้ งใช้เพือ่ ดํารงชีวติ ด้วย ความขัดแย้งจึงเกิดขึ้น เป็ นครั้งคราว เดิ มทีป้าพอดี และสามี อยู่ที่อาํ เภอแม่ลาน้อ ย จังหวัดแม่ ฮ่อ งสอน ห่ างออกไปจากบ้านที่อ ยู่ ปั จจุบนั ประมาณ 50 กิโลเมตร หลังจากป้ าพอดีแต่งานกันแล้วเคยไปทํางานที่จงั หวัดนครนายกได้สอง สามปี ก็กลับมาซื้อที่ดินแปลงที่อยูใ่ นปั จจุบนั และย้ายมาสร้างบ้านอยูท่ ี่นี่ ซึ่ งป้ าพอดีจาํ ได้ว่าตอนที่มา อยูใ่ หม่ๆ นั้นลูกสาวยังเป็ นเด็กตัวเล็กอยูเ่ ลย ตอนที่ซ้ื อเป็ นที่ดินที่มีเอกสาร สทก. สภาพยังเป็ นสวน ตอนแรกๆ ปลูกข้าวได้ไม่ พอกิ น ป้ าพอดีกบั สามี จึงได้ช่วยกันขุดเป็ นนาบางส่ วน จึงทําให้สามารถ ปลูกข้าวได้พอกิน ต่อมาสามีของป้ าพอดีก็ได้เข้าไปทํางานเป็ นลู กจ้างที่สาํ นักงานอุทยานแห่ งชาติแม่ เงา ทั้งสองคนจึงปั กหลักอยูท่ ี่นนั่ เรื่ อยมา ป้ าพอดีมีลูกสาวคนหนึ่ งรับราชการเป็ นครู สอนที่โรงเรี ยน ต่างหมู่บา้ น สําหรับลูกเขยทํางานเป็ นลูกจ้างที่สาํ นักงาน อบต. ไม่ไกลจากบ้านมากนัก ตอนสร้างบ้านหลังเดิมนั้น ต้องย้อนหลังไปประมาณสามสิ บกว่าปี ที่แล้ว สามีของป้ าพอดี เป็ นคนหาไม้ม าสร้ าง โดยตัด ไม้สักท่ อ นใหญ่ห น่ อ ยมาทําเป็ นเสาบ้า น แล้วซื้ อ ไม้ที่ เลื่ อ ยแล้วมา ประกอบ ตอนแรกก็มุงด้วยใบตองตึงและใช้ไม้ฟากมาปูพ้นื และล้อมเป็ นฝาผนัง ต่อมาจึงได้เปลี่ยนมา 15
เหตุการณ์ในห้องพิจารณาคดีในวันที่ศาลรับฟ้ องคดีของศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง หมายเลขคดีดาํ ที่ 161/2559 ข้อหาครอบครองไม้หวงห้ามโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งผูว้ ิจยั อยูใ่ นห้องพิจารณาคดีดว้ ยในการทําหน้าที่เป็ น ทนายความของจําเลย.
254
มุงกระเบื้อง และทยอยหาซื้อไม้แผ่นมาปูพ้นื และล้อมเป็ นฝาผนัง และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2550 สามีของ ป้ าพอดีได้ไปยืน่ คําร้องขอทะเบียนบ้านต่ออําเภอสบเมย นอกจากนี้เมื่อปี พ.ศ. 2556 เจ้าหน้าที่อุทยาน แห่ งชาติแม่เงาร่ วมกับองค์การบริ หารส่ วนตําบล และชาวบ้าน ได้ร่วมกันจัดทําแนวเขตกันพื้นที่อ ยู่ อาศัยและที่ดินทํากินของหมู่บา้ น แยกออกจากแนวเขตป่ าแล้ว ทําให้ป้าพอดีและครอบครัวเชื่อ ว่ามี สิ ทธิ จนกระทัง่ เมื่อประมาณหนึ่ งปี ก่อนเกิดเรื่ อง ลูกสาวของป้ าพอดีได้กูเ้ งินจากสหกรณ์ครู จาํ นวน หนึ่งมาสร้างบ้าน โดยได้จา้ งช่างสร้างบ้านมารื้ อไม้จากบ้านหลังเก่ามาไส และเอาพวกไม้เสาบ้านที่ เป็ นท่อนๆ มาซอยให้เป็ นแผ่นๆ เพื่อ ใช้สร้างหลังใหม่ติดกับบ้านที่ดินหลังเดิ ม ซึ่ งไม้สักเป็ นไม้ที่ คงทน แม้วา่ จะผ่านไปประมาณ 30 ปี แล้ว แต่เมื่อไสใหม่หรื อแปรรู ปใหม่แล้วก็ยงั ดูมีสภาพเหมือนไม้ ใหม่ ลูกของป้ าพอดีเล่าว่าช่ างค่อยๆ ทยอยสร้าง เนื่ อ งจากวัสดุอุปกรณ์ ขาดหลายอย่าง ตนกับสามี ก็ ทยอยเก็บเงินและซื้ อมา เมื่ อ ได้มาก็เรี ยกช่างซึ่ งเป็ นคนในหมู่ บา้ นมาสร้างเพิ่มให้ครั้งหนึ่ ง ใช้เวลา ประมาณหนึ่งปี แล้วเพิง่ สร้างไปได้แค่ครึ่ งกว่า เหตุการณ์ก่อนถูกจับกุม ช่วงระหว่างเดือ นมีนาคม 2559 การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคแม่ สะเรี ยง จังหวัดแม่ ฮ่อ งสอน ได้ ดําเนิ นโครงการติดตั้งสายส่ งไฟฟ้ าเข้าไปยังชุมชนที่ต้ งั อยูใ่ นเขตอุทยานแห่ งชาติแม่เงา โดยในการ ดําเนินงานนั้นการไฟฟ้ าได้ขอให้ชาวบ้านในชุมชนที่จะได้ใช้ประโยชน์มาช่วยตัดต้นไม้ตามแนวสาย ส่ งและขุดหลุมฝั งเสาไฟฟ้ า ซึ่ งในการดําเนิ นงานได้รับอนุ ญาตถู กต้อ งและได้รับการอํานวยความ สะดวกจากอุทยานแห่งชาติแม่เงาด้วย ระหว่างดําเนิ นการอยูน่ ้ นั เจ้าหน้าที่การไฟฟ้ าได้ขนไม้สักที่ถูก ตัดออกไปจํานวนมาก ซึ่งผูว้ ิจยั ได้สอบถามผูใ้ หญ่บา้ นที่พาชาวบ้านไปช่วยทํางานและชาวบ้านที่ไป ช่วยทํางานในช่วงนั้น ได้คาํ ตอบเหมือนกันว่า เจ้าหน้าที่การไฟฟ้ าได้ตดั ไม้สักที่ถูกโค่นตามแนวสาย ส่งออกเป็ นท่อนๆ และทยอยขนขึ้นรถบรรทุกของการไฟฟ้ า โดยใช้เครนยกแล้วบรรทุกกลับออกไป แต่ขณะนั้นชาวบ้านไม่ทราบว่าเขาขนไปไว้ที่ไหน 27 มีนาคม 2559 หนังสือพิมพ์ลงข่าวว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้พบว่าเจ้าหน้าที่การไฟฟ้ าที่ตดั ไม้สัก ตามแนวสายส่ งไฟฟ้ าเข้าไปยังหมู่บา้ นโดยไม่ ได้รับอนุ ญาต โดยพบว่าต้นไม้สักถูกตัดจํานวนมาก บางส่ วนถู กชักลากมาเก็บไว้ พร้อ มกับนํารู ปภาพกองไม้สักจํานวนมากลงประกอบด้วย จึงเข้าไป ตรวจสอบเพื่อดําเนิ นคดี รวมของกลางที่ตรวจยึดได้ท้ งั หมด 226 ท่อน ปริ มาตร 172.89 ลบ.ม. และ เมื่อเย็นของวันที่ 29 มีนาคม 2559 พล.ต.อ.ศรี วราห์ รังสิพราหมณกุล รอง ผบ.ตร.แห่ งชาติ ได้เดินทาง ไปตรวจสอบไม้ของกลางที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ทาํ การตรวจยึดไว้ที่สาํ นักงานอุทยานแห่งชาติแม่เงา ตําบล แม่สวด อําเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้กาํ ชับให้เร่ งติดตามผูก้ ระทําความผิดมาดําเนิ นคดีให้ได้
255
และลงมือควบคุมการบันทึกของเจ้าหน้าที่ดว้ ยตนเองอีกด้วย16 เมื่อตรวจยึดแล้วยังไม่ทนั ขนของกลาง ไปเก็บไว้ วันต่อมาปรากฏว่าไม้ของกลางที่พบนั้นหายไปหมด หลังจากมีการประโคมข่าวจนกลายเป็ นเรื่ อ งใหญ่ระดับประเทศ เจ้าหน้าที่ป่าไม้หลายภาค ส่วน จากทั้งส่วนกลางและในพืน้ ที่ ต่างระดมลงพืน้ ที่ไปตรวจสอบที่เกิดเหตุและของกลางเพื่อดําเนิ น การาตามกฎหมาย ซึ่งในช่วงนั้นปรากฏว่าตํารวจพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ได้ขอหมายค้นจากศาลเข้า ไปค้นบ้านของชาวบ้าน 3 หลัง และได้จบั กุมชาวบ้านไป 3 คน อีกคนหนึ่งหนีไปได้และหายตัวไปเลย เกี่ยวกับเรื่ องนี้ ผวู ้ ิจยั ได้สอบถามผูใ้ หญ่บา้ น ผูใ้ หญ่บา้ นเล่าว่าเจ้าหน้าที่ตาํ รวจและป่ าไม้อา้ งว่า เลื่อย ยนต์ที่ใช้เป็ นเครื่ องมือกระทําความผิดหายไป จึงได้ออกหมายค้นบ้านที่สงสัยว่าเก็บซ่ อนเลื่อยยนต์ไว้ เมื่อเข้าไปค้นแล้วไม่เจอเลื่อยยนต์แต่เจอไม้เจ้าของบ้านเก็บเอาไว้สร้างบ้านเพียงไม่กี่แผ่น ก็ยดึ และ จับกุมดําเนินคดีท้งั หมด เหตุการณ์ในวันถูกจับกุม ช่วงที่เกิดปั ญหาตัดไม้ตามแนวสายส่งไฟฟ้ านั้น บังเอิญตรงกับช่วงที่ช่างกําลังสร้างบ้านให้ป้า พอดี และได้นาํ ไม้เก่าที่แปรรู ปแล้วออกมาวางกองไว้เพื่อไส โดยที่คนในครอบครัวของป้ าพอดีและ ช่างไม่ได้ระแวงสงสัยว่าจะเกิดปั ญหา ช่วงเช้าของวันเกิดเหตุ รถของเจ้าหน้าที่หลายคัน มีท้ งั ป่ าไม้ อส. และทหารวิ่งผ่านหน้าบ้าน ป้ าพอดี (ชื่อสมมติ) มุ่งหน้าไปทางสํานักงานอุทยานแห่งชาติแม่เงา ป้ าพอดีเข้าใจว่าเขาคงไปเกี่ยวกับ เรื่ องปั ญหาการตัดไม้ตามแนวสายส่ งไฟฟ้ าเข้าหมู่บา้ น ซึ่ งเป็ นข่าวคราวมาได้หลายวันแล้ว พอช่วง สายๆ มี เจ้าหน้าที่อุทยานแห่ งชาติแม่เงาคนหนึ่ ง ซึ่ งเคยรู ้จกั กับป้ าพอดี เข้ามาหาป้ าพอดีที่บา้ น และ ถามว่าไม้ที่กาํ ลังสร้างบ้านอยูท่ ี่ไหน ป้ าพอดีก็ช้ ีไปยังกองไม้ที่ช่างกําลังเตรี ยมไสพร้อมบอกว่าอยูท่ ี่นี่ เจ้าหน้าที่อุทยานคนนั้นก็บอกว่าเขาจะมายึดให้รีบเอาออกไป แล้วก็ออกจากบ้านของป้ าพอดีไป ผ่าน ไปสักพักเจ้าหน้าที่ชุดที่ขบั รถผ่านหน้าบ้านไปช่ วงเช้าก็กลับมากันหมด จอดรถหน้าบ้านและเปิ ด ประตูร้ วั เข้ามาในบริ เวณบ้าน เดินตรงไปยังกองไม้ บอกป้ าพอดีและลูกสาวว่าจะยึดเนื่ องจากเป็ นไม้ที่ มีสภาพใหม่ ลูกสาวของป้ าพอดีก็พยายามอธิ บายว่าเป็ นไม้เก่ าที่ร้ื อจากบ้านหลังเดิ ม เพื่อที่จะนํามา สร้างบ้านหลังใหม่ แต่เจ้าหน้าที่ก็ยนื ยันว่าจะยึด นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ป่าไม้คนหนึ่ งก็ยงั ได้พูดกับลูก สาวของป้ าพอดีวา่ บ้านหลังนี้ สร้างโดยไม่เกรงใจเจ้าหน้าที่ เห็นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ผ่านไปผ่านมาหลาย วัน ก็ยงั ให้ช่างมาไสไม้สร้างบ้านอยู่ 16
ศูนย์ข่าวภาคเหนือ, “’ศรี วราห์’ บินด่วนดูคดี กฟภ.ตัดไม้วางแนวเสาไฟ พบสัก -กระยาเลยเหลือแต่ตอ 167 ต้น”, MGR online, 29 มี.ค. 2559, แหล่งข้อมูล https://mgronline.com/local/detail/9590000032521 (25 พฤศจิกายน 2561)
256
เมื่อไม่สามารถเจรจาได้ หัวหน้าป่ าไม้ก็เรี ยกเจ้าหน้าที่ที่มาด้วยช่วยกันขนไปกองรวมกันไว้ที่ หน้าบ้านใกล้ประตูร้ วั แล้วถ่ายรู ป หลังจากนั้นก็ขนขึ้นรถ แล้วนําไปยังสํานักงานหน่ วยป้ องกันรักษา ป่ า (หน่วยป่ าไม้) ใกล้กบั ตัวอําเภอสบเมย พร้อมกับบอกว่าให้ป้าพอดีและสามีตามไปพบที่นนั่ หลังจากเจ้าหน้าที่ไปกันหมดแล้ว หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแม่เงาได้แนะนําสามีของป้ าพอดีว่า ถ้าหากถู กดําเนิ นคดี ให้ใส่ ชื่อ คนในครอบครัวคนอื่ นแทน หากใส่ ชื่อของตนก็จะถู กให้อ อกจากที่ ทํางาน ป้ าพอดี สามีและลูกสาวก็ตามไปรอที่สาํ นักงานหน่วยป่ าไม้ และรอที่นนั่ จนคํ่า หัวหน้าป่ าไม้ ก็กลับ มาจึง เรี ยกให้ป้าพอดี สามี แ ละลู ก สาวไปพูด คุ ย หัวหน้า ป่ าไม้ถ ามว่าจะต้อ งดํา เนิ นคดี ตาม กฎหมาย โดยให้ตดั สินใจว่าจะให้ใส่ชื่อของใครเป็ นผูต้ อ้ งหาที่จะถูกดําเนินคดี ทั้งสามคนจึงได้ปรึ กษากันและตกลงว่าให้ใส่ชื่อของป้ าพอดีเป็ นผูต้ อ้ งหา หากใส่ชื่อคนอื่นจะ กระทบต่อ การทํางานทันที เนื่ อ งจากทั้งสามี ลู กสาว และลู กเขยต่างทํางานในหน่ วยงานราชการ ทั้งหมด หลังจากนั้น หัวหน้าป่ าไม้ก็ทาํ บันทึกการจับกุมที่นั่น เมื่อ เสร็ จแล้วพาไปส่ งให้พนักงาน สอบสวนยังโรงพักสบเมย ซึ่งตอนนั้นเวลาประมาณเที่ยงคืนแล้ว ตํารวจที่โรงพักก็บอกว่าดึกมากแล้ว ให้กลับบ้านไปก่อน แล้ววันรุ่ งขึ้นให้มาใหม่พร้อมกับเตรี ยมมาประกันตัวด้วย ในชั้นสอบสวน วันรุ่ งขึ้นลูกสาวก็พาป้ าพอดีมาที่โรงพักอีกครั้ง ซึ่งพนักงานสอบสวนก็ได้ทาํ การสอบปากคํา ป้ าพอดี เมื่อสอบปากคําเสร็จก็ดาํ เนินเรื่ องประกันตัว โดยใช้ตาํ แหน่งของลูกสาวเป็ นประกัน ผูว้ จิ ยั ถามว่า ตอนที่ตาํ รวจสอบสวนนั้น ได้แจ้งสิ ทธิของตนและได้ถามเรื่ องทนายความไหม ลูกสาวป้ าพอดีบอกว่า ตํารวจไม่ได้บอกว่ามีสิทธิอะไรบ้าง สําหรับเรื่ องทนายความนั้นตํารวจก็ไม่ได้ บอก แต่สาํ หรับป้ าพอดี บอกว่าในวันนั้นจําอะไรได้ เพราะตอนนั้นตนเองเครี ยดมากและรู ้สึกสับสน ไปหมด ตํารวจพาไปหลายที่และมี การทําอะไรหลายอย่าง แต่ตนเองไม่รู้และไม่ เข้าใจว่ามี การทํา อะไรบ้าง ตอนนั้นให้ทาํ อะไรก็ทาํ ใครพาไปไหนก็ไปหมด เพราะสถานการณ์ตอนนั้นตนเองทําอะไร ไม่ได้และคิดอะไรไม่ออก ลูกสาวป้ าพอดี เล่าว่า ตอนที่ตาํ รวจสอบปากคํานั้น ตนเองนั่งฟั งอยูด่ ว้ ย ตํารวจได้ถามว่าไม้ นั้นได้มาอย่างไร ซึ่งตนก็ได้อธิบายตามความจริ งว่า เป็ นไม้ที่ร้ื อจากบ้านหลังเดิมเพื่อจะใช้สร้างบ้าน หลังใหม่ ไม่ใช่ไม้ใหม่อย่างที่ถูกกล่าวหา
257
เมื่อตํารวจพิมพ์บนั ทึกการสอบปากคําเสร็จแล้วก็เอามาให้ลูกสาวของป้ าพอดีอ่าน ปรากฏว่า เขียนไม่ตรงข้อเท็จจริ งตามที่ได้บอกไป โดยเฉพาะไม่มีขอ้ ความที่ได้อธิบายไปว่าเป็ นไม้เก่าที่ร้ื อจาก บ้านหลังเดิมมาเตรี ยมสร้างบ้านหลังใหม่ และยังได้เขียนอีกว่าบริ เวณบ้านไม่มีร้ ัว ซึ่ งความจริ งแล้ว บ้านมีร้ ัวลวดหนามล้อมรอบบริ เวณบ้านทั้งหมด ลูกสาวของป้ าพอดีก็ทว้ งว่าที่พิมพ์ไว้ไม่ตรงตามที่ บอกขอให้แก้ให้ถูกต้อง ตํารวจก็แก้เฉพาะส่ วนที่อธิ บายว่าเป็ นไม้ที่ร้ื อจากบ้านหลังเก่า แต่ไม่ ยอม แก้ไขข้อความที่บอกว่าบ้านมีร้ ัวล้อมรอบ หลังจากนั้นก็เอามาให้ป้าพอดีเซ็นชื่อในเอกสาร (บันทึก การสอบปากคําผูต้ อ้ งหา) ประมาณสามอาทิตย์ต่อมาป้ าพอดีพร้อมกับลูกสาวได้เดินทางมาพบผูว้ ิจยั เพื่อขอคําปรึ กษา ซึ่งผูว้ จิ ยั ก็แนะนําว่ายังมีขอ้ กฎหมายที่สามารถนํามาเป็ นข้อต่อสู ้ได้ โดยมีขอ้ กฎหมายยกเว้นความผิด สําหรับไม้แปรรู ปที่ใช้เป็ นสิ่ งปลูกสร้างมานานเกินกว่า 5 ปี แล้ว นอกจากนี้ ยงั มีประเด็นเรื่ องการค้น และจับกุมในเคหสถานโดยไม่มีหมายค้นจากศาล แต่ถา้ หากรับสารภาพก็จะได้รับการลดโทษให้ก่ ึง หนึ่ ง แต่ยงั เกรงว่าศาลจะไม่สั่งให้รอลงอาญา เนื่ อ งจากคดี ป่าไม้เป็ นคดี ที่เกี่ ยวข้องกับนโยบายของ รัฐบาล เมื่อได้คุยกับผูว้ จิ ยั แล้ว ป้ าพอดีกบั ลูกสาวได้คุยกันและตกลงจะต่อสูค้ ดี ซึ่งหลังจากนั้นผูว้ จิ ยั ก็ ได้พดู ถึงแนวทางการพิสูจน์ให้เป็ นไปตามข้อกฎหมาย ซึ่งจะต้องเตรี ยมพยานทั้งเอกสารหลักฐานและ บุคคลที่จะมาเป็ นพยาน เช่น ช่างที่มาสร้างบ้าน ผูใ้ หญ่บา้ น และเพื่อนบ้านที่รู้เห็นข้อเท็จจริ ง เป็ นต้น โดยผูว้ จิ ยั จะรับเป็ นทนายความแก้ต่างให้ ในชั้นศาล หลังจากถูกจับกุมได้ประมาณสองเดือน พนักงานอัยการก็นัดไปศาลเพื่อยืน่ ฟ้ อง ซึ่ งผูว้ ิจยั ไป ด้วยในฐานะทนายความในคดี และได้ช้ ีแจงว่าประสงค์จะต่อสูค้ ดี หลังจากที่ออกจากห้องพิจารณาแล้ว ป้ าพอดีถูกตํารวจศาลพาไปขังในห้องขังที่ศาล ลูกสาว ของป้ าพอดี ก็ ไ ปดํา เนิ น การขอประกัน ตัว โดยใช้ต าํ แหน่ งข้า ราชการครู เ ป็ นประกัน แต่ เ มื่ อ ไป ดําเนินการเจ้าหน้าที่แจ้งว่าศาลเรี ยกหลักทรัพย์ประกัน 200,000 บาท (เพิม่ จากการประกันในชั้นจับกุม และชั้นสอบสวนที่เรี ยก 150,000 บาท) ทําให้หลักทรัพย์ประกันเดิมไม่พอโดยยังขาดอีก 50,000 บาท จะต้อ งหาเงินมาเพิ่ม ให้ครบ ในวันนั้นลูกสาวของป้ าพอดี ก็จะต้องไปหากูย้ ืมเงินมาเพิ่มอีก 50,000 บาท จึงสามารถประกันตัวป้ าพอดีออกมาได้ ก่อนถึงวันนัดพร้อมหัวหน้าหน่วยป้ องกันรักษาป่ า ได้ไปหาป้ าพอดีที่บา้ น ตอนนั้นทั้งลูกสาว ของป้ าพอดี อ ยู่บา้ นด้วย หัวหน้าคนนั้นได้ขู่ว่าถ้าป้ าพอดียงั จะต่อ สู ้คดี ต่อ ไป ตนก็จะมาจับสามี ไ ป ดําเนินคดีดว้ ย เนื่องจากมีชื่อเป็ นเจ้าบ้าน แต่ในวันนั้นป้ าพอดีและลูกสาวก็ไม่ได้วา่ อะไร 258
ต่อ มาเมื่ อ ถึ งวันนัดพร้อ มเพื่อ ตรวจพยานหลักฐาน ระหว่างที่รอศาลขึ้นบัล ลังก์ พนักงาน อัยการเจ้าของคดี ได้มาต่อว่าลูกสาวของป้ าพอดีว่า ที่เจ้าหน้าที่ดาํ เนิ นคดี เพียงคนเดียวก็ถือ ว่าเมตตา แล้ว ให้รับสารภาพเสี ย แต่หากจะต่อสู ้คดีอีก พนักงานอัยการจะสั่งให้เจ้าหน้าที่ป่าไม้และตํารวจไป จับสามีของป้ าพอดีมดําเนิ นคดีดว้ ย เนื่ องจากเป็ นเจ้าบ้านและสองคนเป็ นสามีภรรยา มีความผิดฐาน ร่ วมกันครอบครองไม้ของกลาง นอกจากนี้จะขอให้ศาลออกหมายให้ลูกสาวของป้ าพอดีเป็ นพยานให้ พนักงานอัยการด้วย เมื่อเข้ไปในห้องพิจารณา ศาลได้ถามให้ผวู ้ จิ ยั ถึงเหตุผลที่ปฏิเสธข้อกล่าวหา และถามถึงแนว ทางการสืบพยานและพยานหลักฐานที่จะนํามาสืบ ผูว้ จิ ยั ก็ได้ช้ ีแจงไปตามข้อเท็จจริ งว่าเป็ นไม้ที่ร้ื อมา จากบ้านหลังเดิมซึ่งจําเลยสร้างอยูอ่ าศัยมานานแล้ว แต่ศาลก็พูดกับป้ าพอดีว่าคดีน้ ี ของกลางมีไม่มาก หากรับสารภาพศาลก็จะลดโทษให้ครึ่ งหนึ่ งและจะลงโทษสถานเบา อีกทั้งศาลยังบอกว่าที่ดินที่ปลูก สร้างบ้านมีเอกสารสิทธิ์หรื อไม่ ตั้งอยูท่ ี่ไหน ลูกสาวของป้ าพอดีก็ตอบว่าที่ดินเป็ นที่ที่มีเอกสาร สกท. ศาลก็บอกว่าถ้าอย่างนั้นก็จะยิง่ เป็ นเหตุบรรเทาโทษได้อีก หากรับสารภาพศาลก็สามารถรอลงอาญา ได้ แต่จะต้องปรึ กษากับผูพ้ พิ ากษาหัวหน้าศาลก่อน หลังจากนั้นศาลก็บอกว่าศาลจะกลับออกไปสักครู่ แล้วให้ปรึ กษากันถ้าได้ความอย่างไรค่อยแจ้งศาล ผูว้ จิ ยั กับป้ าพอดีและลูกสาวจึงปรึ กษากัน ผูว้ ิจยั ก็ได้ อธิบายสิ่งที่ศาลพูดให้ฟังว่า หากรับสารภาพศาลมีแนวโน้มที่จะให้รอลงอาญาสู ง แต่ตอ้ งเสี ยค่าปรับ สู ง ป้ าพอดีและลูกสาวก็ปรึ กษากันแล้วตัดสิ นใจว่าจะรับสารภาพ เมื่อศาลออกมานั่งบัลลังก์อีกครั้ง ผูว้ ิจยั ก็แจ้งว่าได้ปรึ กษากันแล้วจะรับสารภาพ พร้อ มกับแจ้งว่าจะขอส่ งคําแถลงขอให้ศาลลดโทษ และขอให้ศาลสั่งให้พ นักงานคุ มประพฤติสืบ เสาะ เพื่อ เป็ นหลักฐานประกอบการลดโทษ ศาลก็ อนุญาตพร้อมทั้งแนะนําให้ผวู ้ จิ ยั หาพยานเอกสารเกี่ยวกับที่ดินและเอกสารอย่างอื่นมาเสนอศาลด้วย เพื่อ ที่ จะได้มี หลัก ฐานประกอบในการลดโทษให้ และนัด ให้ม าฟั ง คํา พิพ ากษาในอี ก หนึ่ ง เดื อ น ข้างหน้า ในวันที่อ่านคําพิพากษานั้น ศาลก็พิพากษาให้จาํ คุก 2 ปี ลดโทษกึ่งหนึ่ งคงเหลือจําคุก 1 ปี โทษจําคุกให้รอลงอาญา มีกาํ หนด 2 ปี และปรับ 50,000 บาท ในการพูดคุยเพื่อเก็บข้อมูลนั้น ผูว้ ิจยั ได้ถามป้ าพอดีเกี่ยวกับอารมณ์ ความรู ้สึกในระหว่างที่ ถูกดําเนินคดี ป้ าพอดีก็เล่าให้ฟังว่า - ตอนที่ถูกนําตัวไปที่โรงพักนั้น เจ้าหน้าที่ได้พาไปหลายที่และให้ทาํ อะไรหลายอย่าง ซึ่ งตน ไม่เคยมีประสบการณ์ ระหว่างนั้นรู ้สึกเครี ยดมาก และตนก็ไม่รู้วา่ การที่เจ้าหน้าที่พาไปแต่ละที่น้ นั คือ อะไร และตนเองก็อยูใ่ นฐานะที่ทาํ อะไรไม่ได้ คิดอะไรไม่ออก เขาให้ทาํ อะไรก็ทาํ ตามหมด 259
- เมื่อตอนที่เดินเข้าไปในอาคารศาลนั้น ตนมีความรู ้สึกกลัว เพราะสถานที่น้ นั ไม่คุน้ เคย เวลา เข้าไปแล้วก็ไม่รู้ว่าข้างในมีอะไรบ้าง และเราจะต้องไปที่ไหนบ้าง คนที่นั่นก็ดูแปลกหน้าหมด เวลา คนที่ศาลพูดกับเราเขาก็ไม่พูดภาษาแบบที่ชาวบ้านทัว่ ไปพูด บางครั้งที่ถูกถามก็ไม่รู้จะตอบอย่างไร กลัวว่าถ้าพูดอะไรไปแล้วจะผิดหรื อเกี่ยวข้องกับคดีหรื อเปล่า - การที่ถูกดําเนิ นคดีครั้งนี้ คิดว่าตนไม่ได้รับความเป็ นธรรม เนื่ องจากเชื่อว่าตนไม่ได้ทาํ ผิด อะไร แต่เชื่อว่าถูกกลัน่ แกล้งจากคนที่ไม่หวังดี อีกทั้งยังเชื่อว่าคดีของตนเกี่ยวข้องกับกรณี ปัญหาการ ตัดไม้ตามแนวสายส่ งไฟฟ้ าอย่างแน่ นอน เพราะก่อนหน้านี้ ชาวบ้านคนอื่นๆ เขาก็สร้างบ้านทัว่ ไป และบ้า นของตนก็ เ ริ่ ม ต้น สร้ า งมานานเป็ นปี แล้ว ซึ่ ง ที่ ผ่า นมาเจ้า หน้า ที่ ป่ าไม้ก็ เ ห็ น มานานแล้ว เนื่องจากผ่านไปๆ มาๆ ทุกวัน แต่ก็ไม่มีใครคนไหนมาบอกว่าผิดหรื อห้ามสร้าง (บ้านของป้ าพอดีอยู่ ติดถนนที่เป็ นทางผ่านไปยังสํานักอุทยานแห่งชาติแม่เงา) - ตนนับถือศาสนาคริ สต์ ตอนที่ถูกดําเนินคดีก็อธิฐานบ่อยๆ ขอให้เรื่ องราวปั ญหานี้ จบไปได้ ด้วยดี และเมื่ อ ทราบว่าศาลตัดสิ นว่าไม่ ตอ้ งติดคุ ก (ให้รอลงอาญา) ก็โล่ งใจ แต่ ก็ตอ้ งจ่ายค่าปรั บ 50,000 บาท ตอนนั้นลูกสาวก็ไม่เหลือเงินแล้ว ตนจึงใช้เงินเบี้ยผูส้ ู งอายุที่สะสมไว้ได้ 30,000 บาท แล้วไปขอกูเ้ งินของญาติอีก 20,000 บาทมาจ่าย นอกจากนี้ผวู ้ จิ ยั ได้พดู คุยกับลูกสาวของป้ าพอดีซ่ ึงทํางานเป็ นครู ผูท้ ี่พาป้ าพอดีไปดําเนิ นการ ต่างๆ และได้ทาํ หน้าที่แปลภาษาในชั้นสอบสวนและในศาลให้แก่ป้าพอดี โดยเมื่อผูว้ ิจยั ได้สอบถาม เกี่ยวกับความเข้าใจต่อความหมายถ้อยคําทางกฎหมายต่างๆ ลูกสาวของป้ าพอดีบอกว่า พวกคําที่เป็ น ศัพท์ทางกฎหมายนั้นตนไม่เคยเรี ยนรู ้มาและไม่เข้าใจ มีการอ้างถึงกฎหมายที่เยอะมากและพูดแบบ ผ่า นๆ ไป เมื่ อ ตอนอยู่ที่โ รงพัก บางครั้ งเวลาตนใช้เ วลาอ่ า นเอกสารนานหน่ อ ยหรื อ โต้แย้งหรื อ สอบถามเพือ่ ทําความเข้าใจ เจ้าหน้าที่ก็มกั จะแสดงท่าทางไม่พอใจ หมายเหตุ ในการเขียนเรื่ องเล่าของกรณี ศึกษานี้ ผูว้ จิ ยั รวบรวมจากบันทึกการสอบข้อเท็จจริ งที่ผวู ้ ิจยั ได้ จัดทําไว้ตอนที่เข้าไปช่ วยคดี และในช่วงทําวิจยั ผูว้ ิจยั ได้ลงพื้นที่ไปพูดคุยกับกรณี ศึกษาที่บา้ น โดย กรณี ศึกษาสามารถพูดภาษาไทยได้บา้ ง ดังนั้น ข้อ มูล ส่ วนใหญ่จึงได้จากการพูดคุยกันโดยตรงกับ ผูว้ จิ ยั แต่ถา้ เป็ นเรื่ องที่พดู ยากก็มีลูกสาวของกรณี ศึกษาช่วยแปลให้ เนื่องจากเวลาผ่านไปประมาณ 2 ปี แล้ว เมื่อถามถึงเหตุการณ์ต่างๆ ระหว่างที่ถูกดําเนิ นคดี กรณี ศึกษาก็จะจําไม่ได้ท้ งั หมดแต่จะถามลูก สาวเพือ่ ช่วยทบทวนความจําให้ นอกจากนี้การที่กรณี ศึกษาสามารถพูดภาษาไทยได้ไม่มาก ทําให้ไม่
260
สามรถเล่าเรื่ องเกี่ยวกับคดีได้ต่อเนื่องกันแบบยาวๆ ผูว้ จิ ยั จึงต้องใช้คาํ ถามนําบ่อยๆ แต่ถา้ เป็ นเรื่ องราว เกี่ยวกับตนเอง หรื อเรื่ องที่เกี่ยวกับความรู ้สึก กรณี ศึกษาก็จะสามารถเล่าเองได้ท้งั หมด สัมภาษณ์วนั ที่ 19 กุมภาพันธุ์ 2562, 24 กุมภาพันธุ์ 2562
261
262
ภาคผนวก ซ. เน้ ง : ผู้ที่จายอมเพราะกลัวถูกหาว่าไม่ เคารพศาล ราวต้นปี พ.ศ. 2558 ผูน้ าํ ชุมชนของหมู่ บา้ นม้งที่ต้ งั อยูบ่ ริ เวณชานเมื องของอําเภอขุนยวม จังหวัด แม่ ฮ่อ งสอน ได้โ ทรศัพ ท์มาหาผูว้ ิจยั เพื่อ ขอคํา ปรึ กษาเนื่ อ งจากมี ชาวบ้านในหมู่ บา้ นถู ก เจ้าหน้าที่ป่าไม้จบั กุมดําเนิ นคดี ผูว้ ิจยั ก็ได้ให้คาํ แนะนําในการใช้สิทธิเบื้องต้นและพูดทิ้งท้ายไปว่า หากมีปัญหาประการใดหรื อต้องการให้ผวู ้ ิจยั ช่วยเหลือดําเนิ นคดีก็ให้ติดต่อมาอีก และหลังจากนั้นก็ หายเงียบไป ต่อมาก็ทราบว่าผูท้ ี่ถูกจับกุมนั้นให้การรับสารภาพและศาลมีคาํ พิพากษาให้จาํ คุก ต่อมา ช่วงกลางปี พ.ศ. 2561 ระหว่างที่ผวู ้ ิจยั กําลังค้นหากรณี ศึกษา ผูว้ ิจยั นึ กถึงกรณี ดงั กล่าวนี้ ข้ ึนมาได้ จึง ได้โทรศัพท์สอบถามผูน้ าํ ชุมชนคนเดิมที่เคยติดต่อขอคําแนะนําจากผูว้ จิ ยั และได้ขอให้ผนู ้ าํ ชุมชนคน ดังกล่าวไปสอบถามว่า เขายินดีที่จะให้ผวู ้ ิจยั ใช้เป็ นกรณี ศึกษาหรื อไม่ พร้อมกับแนะนําผูว้ ิจยั ให้เขา รู ้จกั ด้วย หลายวันต่อ มาผูน้ ําชุ มชนคนดังกล่ าวก็โ ทรศัพท์มาแจ้งผูว้ ิจยั ว่าเขายินดี พร้อ มทั้งได้เอา หมายเลขโทรศัพท์ให้ผวู ้ ิจยั ผูว้ ิจยั จึงได้โทรศัพท์ไ ปแนะนําตัวว่าเป็ นคนชาติพนั ธุ์มง้ เช่นเดียวกับเขา และได้อธิบายความประสงค์ของผูว้ ิจยั ให้ฟัง ซึ่ งก็ได้รับคําตอบว่าเขายินดีที่จะให้เป็ นกรณี ศึกษาและ พร้อ มที่จะให้ขอ้ มู ล ผูว้ ิจยั จึงได้นัดเดินทางไปพบที่บา้ นและหลังจากนั้นผูว้ ิจยั ก็ได้ไ ปพบที่บา้ นอี ก หลายครั้ง ภูมิหลัง ชาวม้งประมาณ 20 หลังคาเรื อน ตั้งอยูใ่ นชุมชนชาวไทใหญ่และกะเหรี่ ยง ในท้องที่เทศบาล ตําบลขุนยวม อําเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่นี่ไม่ใช่หมู่บา้ นชนเผ่าม้งโดยดั้งเดิม โดยชนเผ่าม้ง เพิ่งย้ายมาอยูร่ วมกันที่นี่ได้ประมาณ 30 ปี เนื่ องจากบริ เวณที่คนม้งตั้งชุมชนอยูน่ ้ ี อยูต่ ิดกับตัวเมือง ของอําเภอขุนยวม ซึ่งเป็ นตัวเมืองเล็กๆ แบบตัวอําเภอในชนบท และย้ายมาตั้งอยูท่ ีหลัง จึงไม่มีที่ดิน ทํากินในลักษณะที่ทาํ สื บทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ บางรายก็มาซื้ อที่ของชาวบ้านในภายหลัง บาง รายก็ขอเช่าที่ของคนอื่นๆ ทํา บางรายก็ข้ นึ ไปขอแบ่งที่ดินของญาติจากหมู่บา้ นม้งบริ เวณดอยแม่อูคอ
263
นางสาวเน้ง (ชื่อสมมติ) แต่งงานตามประเพณี กบั สามี โดยเป็ นภรรยาคนที่สอง ซึ่ งทั้งสามี ภรรยาคน แรก และภรรยาคนที่สอง ทั้งหมดอยูเ่ ป็ นครอบครัวเดียวกันในบ้านหลังเดียวกัน โดยในครอบครัวนี้ มี ลูกทั้งหมด 6 คน โดยเป็ นลูกของเน้ง จํานวน 3 คน17 เน้งและครอบครัว มี อาชีพหลักๆ คือ ทําการเกษตรโดยปลูกข้าวไว้กินเอง และปลูกผักขาย เป็ นรายได้ สําหรับสามีของเน้ง ยังมีอาชีพขับรถส่ งนํ้าดื่ม ไปส่ งตามบ้านเรื อนและในตัวเมืองอําเภอ ขุนยวมด้วย แต่เนื่ องจากครอบครัวของเน้งเพิ่งย้ายจากที่อื่นมาอยูใ่ นภายหลัง จึงไม่มีที่ดินทํากินเป็ น ของตนเอง โดยอาศัยไปเช่าที่นาและสวนของคนอื่นทํากิน ซึ่ งต้องเสี ยค่าเช่าในราคาที่แพงพอสมควร โดยเฉพาะหากเป็ นที่นาจะแพงกว่าที่สวน ดังนั้น ส่ วนใหญ่แล้วครอบครัวเน้งจะไปขอเช่าที่สวน ซึ่ ง เป็ นที่ดินที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ จะได้เช่าในราคาที่ถูกกว่า ซึ่งส่ วนใหญ่ก็ไม่มีปัญหาอะไร เพราะที่ทาํ กิน บริ เวณนั้นส่วนใหญ่ก็ไม่มีเอกสารสิทธิ์อยูแ่ ล้ว เหตุแห่ งคดี เย็นวันหนึ่งเน้งกับสามีกลับจากการไปทําสวนในที่ดินที่เช่าจากคนอื่นทํา ซึ่ งต้องเดินผ่านเข้า ไปใกล้ที่พพิ าท เห็นผูห้ ญิงวัยกลางคนคนหนึ่งกับคนแก่อีกคนหนึ่ง กําลังทํางานอยูใ่ นที่ดินแปลงที่เกิด เหตุ ซึ่งเน้งกับสามีไม่เคยรู ้จกั กับสองคนมาก่อน แต่ผหู ้ ญิงวัยกลางคนร้องทักทายและมีการพูดคุยไถ่ ถามกันตามธรรมเนียมเล็กๆ น้อยๆ เมื่อหญิงทั้งสองคนรู ้ว่าเน้งกับสามีไปเช่าที่สวนของคนอื่นทํากิน ในที่ที่อยูถ่ ดั ไป ก็ได้บอกเน้งกับสามีวา่ สนใจมาทํากินที่นี่ไหม เขาจะไม่คิดค่าเช่า เพียงอยากให้มีคน มาทํากินและช่วยดูแลที่เท่านั้น ไม่อยากปล่อยทิ้งร้างไว้นานๆ เกรงว่าจะรกและมีตน้ ไม้ข้ ึน ตอนนั้น เน้งกับสามีก็เห็นว่าที่ดินมีขนาดกว้างพอสมควร ประมาณสัก 10 ไร่ และมีตน้ ไม้ขนาดใหญ่น้อยหลาย ต้นถูกโค่นล้ม สามีเน้งไม่แน่ใจว่าจะเป็ นพื้นที่บุกรุ กป่ าหรื อเปล่า จึงได้ถามว่าเป็ นที่ของใคร และจะมี ปั ญหากับป่ าไม้หรื อ ไม่ หญิงทั้งสองคนก็บอกว่าเป็ นที่ดินของตนเอง เพียงแต่ไ ม่ ค่อ ยได้มาทําจึงมี ต้นไม้ข้ นึ เยอะ และเป็ นที่ที่ยงั ไม่มีเอกสาร แต่รับรองได้ว่าสามารถทําได้โดยไม่มีปัญหา อีกทั้งผูห้ ญิง คนสู งอายุกว่ายังบอกอีกว่า ที่ดินนี้ เป็ นของลูกสาว (หมายถึ งผูห้ ญิงวัยกลางคน) กับลู กเขย ซึ่ งเป็ น ปลัดอําเภอทํางานอยูท่ ี่ตวั อําเภอขุนยวม พร้อมบอกชื่อให้ดว้ ย เมื่อเอ่ยถึงชื่อปลัดคนดังกล่าว สามีของ เน้งก็รู้ทนั ทีวา่ เป็ นปลัดอําเภอจริ ง อีกทั้งหญิงวัยกลางคนบอกว่าตนไม่มีเวลาและไม่มีกาํ ลังพอมาดูแล ที่ได้หมด หากเน้งกับสามีมาทํา เขาจะไม่คิดค่าเช่า และจะซื้ อยาฆ่าหญ้าให้ จะทํากินขนาดไหนก็ได้ เขาเพียงขอให้ช่วยดูแลที่ให้ก็พอ เมื่อรู ้ดงั นี้ เน้งกับสามีก็ตอบรับทันที ซึ่ งทั้งสองก็คิดว่าเป็ นเรื่ องปกติ 17
ตามธรรมเนียมดั้งเดิมของคนม้ง ผูช้ ายสามารถแต่งงานอย่างถูกต้องตามจารี ตประเพณีกบั ผูห้ ญิงได้ มากกว่าหนึ่งคน และอาจจะสามารถพากลับมาอยูร่ ่ วมกันได้อย่างเปิ ดเผย โดยที่ไม่ถือว่าเป็ นการทําผิดต่อจารี ต ประเพณีหรื อความเชื่อแต่อย่างใด
264
ทัว่ ไป ที่พวกข้าราชการที่มีที่ดินแต่ไม่มีเวลามาดูแล ก็จะให้คนอื่นมาทํากินพร้อมกับดูแลที่ดินไม่ให้ รกร้างไปด้วย ต่อมาหญิงวัยกลางคนก็เอายาฆ่าหญ้าพร้อมกับอุปกรณ์อื่นๆ มาให้ เน้งกับครอบครัวจึงเข้าไป ทํากินในที่พพิ าท แต่เนื่องจากที่ดินกว้างและมีตน้ ไม้ใหญ่ถูกโค่นกระจัดกระจายอยูด่ ว้ ย ประกอบกับ แม้จะรู ้วา่ เป็ นของปลัดอําเภอ แต่ก็ยงั กังวลอยู่ จึงทดลองทํากินจริ งเพียงบางส่วน ประมาณ 3 ไร่ เท่านั้น โดยตั้งใจว่าจะใช้ปลูกข้าว ช่วงแรกๆ เวลาครอบครัวของเน้งไปทํางานในที่ดินแปลงนี้ พวกเขาจะระมัดระวัง เนื่ องจากมี ข่าวว่าชาวบ้านถูกเจ้าหน้าที่ป่าไม้จบั บ่อยครั้ง และแม้จะรู ้วา่ เป็ นที่ดินของปลัดอําเภอและมีการรับปาก รับคําว่าจะไม่ มีปัญหาใดๆ หากไปทําแล้วมี ปัญหาอะไรก็ขอให้บอกแล้วปลัดอําเภอคนนั้นจะไป เคลียร์ให้ แต่เน้งกับครอบครัวก็จะระมัดระวังตลอด เนื่ องจากช่วงเวลานั้นมีเหตุชาวบ้านถูกเจ้าหน้าที่ ป่ าไม้จบั กุมดําเนินคดีหลายคน เวลาไปทํางานในที่น้ ีก็จะเอารถจักรยานยนต์ไป โดยจะไม่จอดไว้ใกล้ ถนนและไม่เอาไปจอดไว้ในที่ดินนี้ดว้ ย โดยจะเอาไปแอบซ่อนไว้ให้พน้ สายตา เผื่อว่าถ้าเจ้าหน้าที่มา ตรวจ คนก็จะหนีเข้าป่ าไปเลย และทิ้งรถเอาไว้ก็จะไม่มีใครเห็น พอเวลาผ่านไปประมาณหนึ่งเดือน เน้งกับครอบครัวก็เริ่ มชะล่าใจ คิดว่าไม่น่าจะมีปัญหาใดๆ จึงเริ่ มคลายความระมัดระวัง โดยในวันเกิดเหตุ ทั้งสามี ภรรยาคนแรกและเน้ง ไปทํางานที่เกิดเหตุ โดยขับรถยนต์ไปจอดไว้ตรงปากทางเข้า แล้วเดินเข้าไป เนื่ องจากทางรถยนต์ยงั ไปไม่ถึง แต่ถา้ เป็ น รถจักรยานยนต์ก็ขบั ไปตามถนนคนเดิน พอถึงเวลาประมาณสายๆ ระหว่างที่ท้ งั สามคนกําลังง่วนอยู่ กับการก้มหน้าก้มตาทํางาน เมื่อรู ้ตวั อีกทีก็เห็นมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 30 กว่าคน พร้อมอาวุธครบมือก็ เข้ามาใกล้จะถึงตัวแล้ว มีท้งั ป่ าไม้ ทหาร ตํารวจ และ อส. ทั้งสามคนจึงหนี ไม่ทนั และถูกจับกุมตัวใน ที่น้ นั ทั้งหมด ภาวะไร้ เสี ยง ไร้ สิทธิ์ ในวันที่ถูกจับกุม เน้งเล่าถึงเหตุการณ์ตอนนั้นว่า ตอนที่ถูกจับกุมนั้นช็อคไปหมด ทั้งร่ างกายและสมอง ทําอะไร ไม่ถูก คิดอะไรไม่ออกว่าจะต้องทําอย่างไรบ้าง ตนเองไม่เคยมีประสบการณ์และไม่เคยคาดคิดมาก่อน ว่าจะต้องเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้ ตอนนั้นคิดไม่ได้ดว้ ยซํ้าว่าจะพูดแก้ตวั ว่าอย่างไร หรื อจะต้องขอให้ ใครมาช่วย จําได้วา่ เจ้าหน้าที่ได้ถามเหมือนกันว่า ที่ที่ตนทํากินนั้นถึงที่ไหนบ้าง ตนและสามีก็ช้ ีไปเฉพาะ ส่วนที่ได้ทาํ กินจริ ง แล้วเจ้าหน้าที่ก็พาไปชี้ขอบเขตให้รังวัดรอบๆ แปลงนั้น ระหว่างนี้ ก็มีการถ่ายรู ป 265
ทั้งหมดไว้ด้วย เมื่ อรังวัดเสร็ จแล้วเจ้าหน้าที่บอกว่ามี เนื้ อ ที่ 3 ไร่ เศษ โดยเจ้าหน้าที่ไม่ ไ ด้พูดอะไร เกี่ยวกับไม้ เมื่อรังวัดเสร็จแล้วเจ้าหน้าที่ก็พาขึ้นรถของเจ้าหน้าที่ กลับไปที่สาํ นักงานของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ก่อ น แล้วเขาก็ไปทําบันทึกการจับกุมที่นนั่ แต่นอนนั้นเน้งไม่รู้ว่าเอกสารที่เขากําลังทําอยู่น้ ันเป็ น บันทึกการจับกุม เมื่อทําเสร็จเขาก็เอามาให้เซ็น เน้งกับสามีอ่านเอกสารแล้ว พบว่าเขาใส่ตวั เลขจํานวน เนื้อที่เป็ นจํานวน 9 ไร่ ซึ่งต่างจากตอนที่รังวัด ซึ่งได้เพียง 3 ไร่ เท่านั้น นอกจากนี้ยงั มีการระบุดว้ ยว่า มี การครอบครองไม้ท้ งั หมดปริ มาตร 10 ลูกบาศก์เมตร เน้งกับสามีไ ม่เข้าใจเรื่ อ งปริ มาตรไม้ แต่ไ ด้ ทักท้วงเจ้าหน้าที่ป่าไม้ไปว่า เนื้ อที่ที่รังวัดนั้นมีเพียง 3 ไร่ เท่านั้น ไม่ใช่ 9 ไร่ ตามที่พิมพ์ไว้ เจ้าหน้าที่ ป่ าไม้ก็บอกว่าให้เซ็นไปก่อน หากมีอะไรที่ไม่เห็นว่าไม่ถูกต้องก็ให้ไปขอแก้ไขที่ตาํ รวจอีกที ทั้งสอง คนก็เชื่อตามนั้น จึงได้เซ็นชื่อในเอกสารบันทึกการจับกุม เมื่อเซ็นเอกสารเสร็ จแล้วทั้งสามคนก็ถูกส่ ง ตัวไปที่สถานีตาํ รวจ ที่อาํ เภอขุนยวม เมื่อไปถึงโรงพัก ก็ได้เจอกับตํารวจคนหนึ่ง ซึ่งตํารวจคนนั้นก็จาํ สามีของเน้งได้ เนื่ องจากไป ส่งนํ้าดื่มที่บา้ นเขาเป็ นประจํา จึงเข้ามาถามหาสาเหตุ สามีของเน้งก็บอกว่าจริ งๆ แล้วไม่ใช่ที่ดินของ ตน แต่เป็ นของปลัดอําเภอ เขาให้เข้าไปทํากินเท่านั้น พร้อมกับบอกชื่อปลัดอําเภอคนนั้นให้ดว้ ย เมื่อ สามีเน้งพูดดังนั้น นายตํารวจคนนั้นก็เดินห่างออกไป และเน้งสังเกตว่าเขาออกไปพูดคุยกับหัวหน้าป่ า ไม้ สักพักก็คุยโทรศัพท์ ต่อมาหัวหน้าป่ าไม้ที่พาเน้งมาส่งก็หายไปและไม่กลับเข้ามาอีก เน้งและสามี เชื่อว่าพวกเขาต่างเป็ นข้าราชการ อาจจะรู ้จกั กันและคงไปเจรจาตกลงกันแล้ว วันต่อ มา พนักงานสอบสวนก็พาไปสอบปากคํา ตอนนั้นเน้งกับสามี ให้ญาติไ ปนั่งฟั งการ สอบปากคําด้วย ซึ่งเน้งกับสามีจาํ ได้วา่ ตอนนั้นพนักงานสอบสวนไม่ได้สอบถามข้อเท็จจริ งมาก เพียง ถามว่าตอนที่ถูกจับนั้นมีใครอยูบ่ า้ น มีอุปกรณ์อะไรบ้าง เป็ นคนแผ้วถางเองใช่ไหม ทั้งเน้งกับสามีก็ บอกไปว่าที่ดินนั้นเป็ นของปลัดอําเภอ และบอกด้วยว่าจํานวนเนื้ อที่ที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ระบุไว้น้ นั ไม่ ถูกต้อง ขอให้แก้ไขเอกสารจาก 9 ไร่ เป็ น 3 ไร่ และเรื่ องไม้ก็ไม่ถูกต้อง พนักงานสอบสวนก็พยักหน้า และตอบว่า “อือ อือ” เท่านั้น แต่เมื่อเอาเอกสารมาให้เซ็น เน้งกับสามีดูแล้วก็ปรากฏว่าไม่ได้เขียนสิ่ งที่ ตนบอกไปและก็ไม่ได้แก้ไขตามที่บอกไปเลย เมื่อถามพนักงานสอบสวนก็บอกว่า เขาจะเขียนอย่าง นั้นแหละ แต่ถา้ มีขอ้ โต้แย้งอะไรก็ค่อยไปโต้แย้งหรื อแก้ไขกันที่ศาล พร้อมกับบอกให้เซ็นชื่อ ซึ่ งใน ขณะนั้นทั้งสามคนก็ไม่สามารถพูดตอบโต้กบั เจ้าหน้าที่ได้ ทั้งยังไม่รู้จะทําอย่างไรต่อ จึงจําต้องยอม เซ็นชื่อลงไป โดยไม่รู้วา่ เป็ นเอกสารนั้นมีสถานะอย่างไร และจะส่งผลดีหรื อผลเสียต่อคดีอย่างไร หลังจากที่พนักงานสอบสวนส่ งสํานวนไปที่พนักงานอัยการนั้น สามีของเน้งสงสัยและไม่ เข้าใจความหมายขอคําว่า ลู กบาศก์เมตร ที่เจ้าหน้าที่เขียนไว้ในเอกสารว่า 10 ลูกบาศก์เมตรนั้น คือ 266
จํานวนมากน้อยขนาดไหน จึงเข้าไปถามพนักงานอัยการ พนักงานอัยการก็บอกว่า ประมาณเท่ากับรถ สิ บล้อบรรทุกไม้ 1 คัน สามีเน้งก็ตกใจมากว่ามันเป็ นไปได้อ ย่างไร ถึงตอนนี้ ก็เชื่อ ว่าถูกเจ้าหน้าที่ หลอกแล้ว เนื่องจากพื้นที่ที่ตนเองทํากินอยูน่ ้ นั มีไม้ลม้ อยูเ่ พียงไม่กี่ตน้ เอง นอกจากนี้ แล้ว เน้ง ยัง ได้บ อกว่ า ระหว่า งที่ จ ะถู ก ส่ ง ฟ้ องต่ อ ศาลนั้ น เคยปรึ ก ษากัน ใน ครอบครัวเพือ่ จะหาทนายความมาต่อสูค้ ดี โดยจะต่อสูไ้ ปตามความจริ งว่าที่ดินเป็ นของปลัดอําเภอ แต่ ก็มีหลายคนบอกว่าปลัดอําเภอคนนั้นเป็ นคนมี เส้นสายเยอะ เขารู ้จกั กับผูว้ ่าราชการจังหวัด รู ้จกั กับ อัย การ และรู ้ จ ัก ทนายใหญ่ ๆ ในจัง หวัด แม่ ฮ่ อ งสอนทั้ง หมด ทํา ให้ ต นเองและสามี คิ ด ว่ า ถ้า หา ทนายความมาต่อ สู ้คดี จริ ง ก็กลัวว่าทั้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ ยวข้อ งและทนายความก็อ าจจะถู กปลัดอําเภอ ขอร้องหรื อใช้เงินซื้อ แล้วจะทําให้ไม่มีผลอะไรต่อคดี อีกทั้งยังกลัวว่า หากตนเปิ ดเผยเรื่ องนี้ ออกมา จริ ง ก็กลัวว่าจะถูกปลัดอําเภอกลัน่ แกล้งเอาได้ บางคนก็มาบอกว่าไม่สามารถต่อสูค้ ดีได้แล้ว เนื่องจาก ทั้งสามคนได้เซ็นชื่อรับสารภาพทั้งในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนไปหมดแล้ว นอกจากนี้ ยงั มีคนบอก ว่า ตนได้รับสารภาพไปแล้ว ถ้าไปถึงที่ศาลแล้วบอกว่าปฏิเสธต่อหน้าศาล จะถือว่าไม่ให้ความเคารพ ศาล ตนไม่มีความรู ้เกี่ยวกับขั้นการและวิธีการดําเนินคดี จึงลังเล เมื่อถูกส่ งไปศาล ในวัน ที่ ถู ก ส่ ง ฟ้ องต่ อ ศาล เมื่ อ ถึ ง เวลาก็ มี ค นพาไปในห้ อ งพิ จ ารณาคดี ที่ ศ าลจัง หวัด แม่ ฮ่อ งสอน และผูพ้ ิพากษาก็อ อก เริ่ มจากสอบถามชื่ อ ถามว่ามี ท นายความหรื อ ไม่ และต้อ งการ ทนายความหรื อไม่ เน้งกับสามีก็บอกว่าชื่อไปพร้อมกับบอกว่าไม่ตอ้ งการทนายความ หลังจากนั้นศาล ก็บอกเพียงสั้นๆ ซึ่งเน้งจําได้วา่ ศาลเพียงพูดว่าเจ้าหน้าที่ฟ้องว่าทําความผิดกฎหมายป่ าไม้ และจําเลย ให้การรับสารภาพ แล้วก็บอกว่าศาลตัดสิ นให้จาํ คุก 1 ปี แล้วเจ้าหน้าที่ก็พาเดินลงไปยังห้องขัง เน้งบ อกว่าเหตุการณ์ทุกอย่างในศาลดําเนินการไปรวดเร็วมาก ตนยังไม่รู้วา่ อะไรเป็ นอะไรเลย และตนก็ไม่ มีโอกาสได้พดู หรื ออธิบายอะไรเลย ก็ถูกตัดสินจําคุกไปแล้ว อุปสรรคของคนที่ไม่ รู้ กฎหมาย ผูว้ จิ ยั ได้สอบถามเกี่ยวกับอุปสรรคหรื อความยุง่ ยากที่เผชิญระหว่างถูกดําเนิ นคดีคืออะไร เน้ง อธิบายว่า เรื่ อ งแรกคือ ความไม่รู้กฎหมาย ไม่รู้และไม่เข้าใจขั้นตอนวิธีการต่างๆ รวมทั้งไม่รู้ว่าเรามี สิทธิอะไรบ้าง ทําให้เสี ยเปรี ยบต่อรู ปคดีอย่างมาก เช่น ไม่รู้ว่าเรามีสิทธิปฏิเสธที่จะเซ็นเอกสารที่ทาํ ไม่ถูกต้อง หรื อไม่ยอมเขียนหรื อแก้ไขตามที่เราบอก ไม่รู้วา่ มีสิทธิขอปรึ กษาทนายความก่อนและไม่รู้ 267
ว่ามี ทนายความที่รั ฐจัดหาให้ฟรี ด้ว ย ไม่ รู้ว่าเรามี สิท ธิ ใ ห้ก ารปฏิ เสธในชั้น ศาลได้แ ม้ว่าจะได้รั บ สารภาพในชั้นสอบสวนแล้ว เรื่ องที่สองคือ เสียเวลาทํางาน เนื่องจากตนต้องทํางาน แต่ระหว่างถูกดําเนิ นคดีน้ นั เจ้าหน้าที่ จะนัดและเรี ยกไปที่โน่นที่นี่บ่อยมาก โดยเฉพาะช่วงที่ตอ้ งไปที่อยั การและศาล ซึ่งตั้งอยูต่ ่างอําเภอ วัน ไหนที่มีนดั หรื อถูกเรี ยกไป ก็จะต้องเสียเวลาทั้งวัน เรื่ องที่สามคือ ระหว่างนั้นต้องเสี ยค่าใช้จ่ายเยอะมาก ตอนแรกๆ ก็เป็ นค่าอาหาร ค่าเดินทาง หลายครั้งที่ไปแล้วไม่ใช้เพียงไปกันเอง แต่ได้ขอให้ญาติหรื อคนรู ้จกั ไปเป็ นเพื่อนด้วย ซึ่ งเราก็จะต้อง จ่ายค่าเดินทางและค่าอาหารสําหรับเขาด้วย ต่อมาหลังจากที่ศาลชั้นต้นตัดสินแล้ว ก็ได้จา้ งทนายความ มาทําอุ ท ธรณ์ ก็ต ้อ งเสี ยค่ า ดําเนิ นการอี ก เน้ง กับ สามี ค าํ นวณคร่ า วๆ แล้ว ระหว่า งนั้นใช้เงิ น ไป ประมาณ 60,000 บาท ซึ่งเงินส่วนหนึ่งนั้นก็ตอ้ งไปกูเ้ งินนอกระบบมาเป็ นค่าใช้จ่าย จนทุกวันนี้ ยงั จ่าย ดอกเบี้ยคืนให้แก่เขาไม่หมด ผูว้ จิ ยั ได้สอบถามว่าจากประสบการณ์ที่พบเจอมานั้น ได้รับการปฏิบตั ิจากเจ้าหน้าที่อย่างเป็ น ธรรมหรื อไม่ สามีของเน้งบอกว่า ตอนแรกๆ ก็ไม่รู้ เพราะคิดว่าเป็ นอํานาจที่เจ้าหน้าที่รัฐและมีอาํ นาจ แต่หลังจากถูกตัดสิ นแล้วและถูกส่ งไปอยูใ่ นเรื อนจํา ก็ได้สอบถามและพูดคุยกับเพื่อนๆ ในเรื อนจํา หลายคน รวมทั้งต่อ มาเมื่ อพ้นโทษออกมาแล้ว ได้พูดคุยกับหลายคนที่มีความรู ้ในเรื่ องนี้ ก็รู้ว่าตน ได้รับการปฏิบตั ิที่ไม่ถูกต้องเป็ นธรรม นับตั้งแต่เริ่ มถูกจับจนถูกศาลตัดสิ นคดี ครั้งหนึ่ งในระหว่างที่ พูดคุยกับผูว้ ิจยั สามีของเน้งเอาเอกสารเกี่ยวกับคดีความออกมาให้ผวู ้ ิจยั ดู บอกว่าเอกสารทุกอย่างที่ ได้มาเขาเก็บไว้ท้งั หมด เพราะรู ้สึกเจ็บใจที่เสียรู ้หลายๆ อย่าง จึงเก็บไว้เป็ นบทเรี ยน หากรู ้เท่าทันและ แก้ต่างคดีได้ถูกต้อง ก็คงไม่ตอ้ งติดคุกเป็ นปี เมื่อผูว้ จิ ยั ถามว่า การที่ตนไม่ได้รับความเป็ นธรรมนั้น เกี่ยวข้องกับการที่ตนเป็ นคนชาติพนั ธุ์ หรื อไม่ ทั้งเน้งและสามีตอบโดยไม่ตอ้ งคิดว่า เกี่ยวข้องกันอย่างแน่นอน โดยให้เหตุผลว่า เชื่อว่าการที่ เราเป็ นคนม้งนั้น พวกเจ้าหน้าที่มกั จะมีทศั นะคติที่ไม่ดีอยูแ่ ล้ว โดยเฉพาะกระแสสังคมที่มองว่าคนม้ง มักจะเกี่ยวข้องกับยาบ้า ทําให้คนม้งถูกมองไม่ค่อยดีอยูแ่ ล้ว ประกอบกับตนมีฐานะยากจน ไม่มีเงิน จ้างทนายความ และไม่มีเส้นสายใดที่จะช่วยเหลือได้ ทําให้เจ้าหน้าที่ไม่ให้เกียรติ พวกเจ้าหน้าที่คงคิด ว่าเราไม่รู้กฎหมาย อยากทําอะไรก็ทาํ แม้กระทัง่ หลอกให้เซ็ นเอกสาร บางครั้งก็เหมื อนกับว่าพวก เจ้าหน้าที่รวมทั้งปลัดอําเภอรู ้จกั กันหมด และวางแผนมาทุกอย่างหมดแล้ว เราจะพูดเขาก็ไม่สนใจ อีกทั้งความจริ งแล้วที่ดินไม่ใช่ของเรา เราถูกหลอกให้ไปทําที่ที่เขาบุกรุ กใหม่ ความจริ งถ้าเรา ผิดคนที่เป็ นเจ้าของก็จะต้องผิดด้วย แต่พวกเขาต่างเป็ นเจ้าหน้าที่รัฐด้วยกัน พวกเขาคงจะช่วยเหลือกัน 268
โดยหลอกให้เรารับสารภาพให้เป็ นเหมือนว่าเราเป็ นคนแผ้วถาง เพือ่ จะได้ไม่มีการสื บสาวเรื่ องราวถึง ปลัดอําเภอ ผูว้ จิ ยั ได้สอบถามทั้งสามคนเกี่ยวกับความรู ้ในสิ ทธิข้ นั พื้นฐานในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา โดยตั้งคําถามเป็ นข้อๆ ดังนี้ ผูว้ จิ ยั
: เมื่อขณะที่ถูกจับกุมนั้นมีความรู ้สึกอย่างไร
เน้ง : ตอนนั้นเครี ยดและกลัวมาก เจ้าหน้าที่มาเยอะมาก แต่งเครื่ องแบบและถือ ปื นมาด้ว ย คิ ด อะไรไม่ อ อก ทํา อะไรไม่ ถู ก ไม่ รู้ จ ะทํา อย่า งไร ทุ ก อย่า งมื ด หมด เราไม่ เ คยมี ประสบการณ์แบบนี้และไม่เคยคิดว่าจะต้องมาเจอด้วยตนเอง ญาติพนี่ อ้ งที่มาดูก็ไม่รู้จะทําอย่างไร ผูว้ จิ ยั
: ในขณะที่ถูกจับกุมนั้น รู ้ไหมว่าตนมีสิทธิตามกฎหมายอะไรบ้าง
เน้งกับสามี
: ไม่เคยรู ้เลยจริ งๆ ว่ามีสิทธิอะไรบ้าง
ผูว้ จิ ยั
: รู ้ ไ หมว่าตนมี สิทธิ ที่จ ะปฏิเสธการเซ็ นเอกสารที่พ บว่าเจ้าหน้าที่ทาํ ไม่
ถูกต้อง เน้งกับสามี : ตอนนั้นไม่รู้วา่ เรามีสิทธิที่จะไม่เซ็นเอกสารของเขา และเจ้าหน้าที่ก็บอกว่า จะต้องเซ็น ตนไม่รู้วา่ จะทําอย่างไรจึงเซ็นไป ผูว้ จิ ยั : รู ้ไ หมว่านับตั้งแต่ถูกจับกุ ม เรามี สิทธิ พบทนายความและมี สิทธิ ขอให้ เจ้าหน้าที่หาทนายให้เราฟรี เพือ่ มาให้คาํ ปรึ กษาก่อนและช่วยตรวจดูเอกสารได้ เน้งกับสามี : ไม่รู้ เข้าใจว่าถ้าขอทนายความมาก็ตอ้ งจ้างเท่านั้น ตอนนั้นไม่เคยรู ้เลยว่า เรามีสิทธิ์ขอทนายความฟรี ผูว้ จิ ยั : ทั้ง สามคนสามารถเข้า ใจภาษาไทยขนาดไหน และเมื่ อ เจ้า หน้า ที่ พูด เกี่ยวกับข้อกฎหมายนั้น เข้าใจไหมขนาดไหน เน้งกับสามี : จริ งๆ แล้วทั้งสองคนพออ่านออกและพูดภาษาไทยทัว่ ๆ ไปได้อ ยู่ แต่ถ้า เป็ นเรื่ อ งเกี่ ยวกับระเบียบกฎหมายนั้น เวลาอ่ านข้อ ความในเอกสารที่เจ้าหน้าที่เอาให้ หรื อ เวลาที่ เจ้าหน้าที่บอกให้ ก็จะไม่เข้าใจว่าหมายความว่าอย่างไร โดยเฉพาะไม่เข้าใจว่าข้อกล่าวหาที่เจ้าหน้าที่ ว่ามานั้น มี โ ทษอย่างไร หนัก ขนาดไหน ซึ่ ง เน้งบอกว่า จริ ง ๆ แล้วในช่ วงที่มี การดําเนิ น การนั้น เจ้าหน้าที่ไม่ได้อธิบายและสอบถามหรื อพูดคุยน้อยมาก แต่สาํ หรับภรรยาคนแรกนั้น ไม่สามารถพูด 269
ภาษาไทยได้ ดังนั้น ตอนที่สอบสวน ตํารวจก็ให้ญาติที่สามารถพูดภาษาไทยได้ ไปเป็ นล่ามแปลภาษา ให้ ผูว้ จิ ยั : รู ้ไหมว่าเมื่อคดีถูกส่งถึงศาลแล้ว เรามีสิทธิขอโต้แย้งว่าข้อมูลในสํานวนคดี ที่เจ้าหน้าที่ทาํ มานั้นไม่ถูกต้อง และขอให้ศาลสัง่ ไปตรวจสอบรังวัดกันใหม่ได้ เน้งกับสามี : ไม่รู้ อย่างที่ได้บอกไปแล้วว่า มีคนหลายคนมาดูเอกสารแล้วบอกว่า เมื่อ เซ็ น รับ สารภาพทั้ง ในชั้น จับกุ ม และชั้นสอบสวนไปแล้ว ก็ จ ะไม่ ส ามารถแก้ไ ขอะไรได้อี ก แล้ว นอกจากนี้ก็ลงั เลจากการที่มีคนมาบอกว่า ถ้าพูดว่าปฏิเสธจะถือว่าเป็ นการไม่เคารพศาล หมายเหตุ ในการสัมภาษณ์กรณี ศึกษานี้ ผูว้ ิจยั ไม่เคยรู ้จกั กับกรณี ศึกษาทั้งสามคนมาก่อน ตอนแรกได้ ขอให้ผนู ้ าํ ชุมชนติดต่อประสานงานให้ พร้อมทั้งพาผูว้ จิ ยั ไปพบที่บา้ นและแนะนําผูว้ ิจยั ให้ท้ งั สามคน รู ้จกั หลังจากนั้นผูว้ ิจยั ได้เดิ นทางไปพบที่บา้ นและพูดคุ ยกันทางโทรศัพท์อี กหลายครั้ง เพื่อ พูดคุ ย รายละเอียดต่างๆ การไปพบและพูดคุยกับกรณี ศึกษาที่บา้ นนั้น มักจะได้นั่งคุยกับทั้งสามคนพร้อมๆ กัน นอกจากนี้ เมื่อผูว้ จิ ยั แจ้งว่าประสงค์จะพูดคุยเพื่อเก็บข้อมูลทํางานวิจยั ซึ่ งนอกจากจะใช้เป็ น ผลงานให้ผวู ้ จิ ยั สําเร็จการศึกษาแล้ว ผูว้ จิ ยั ยังประสงค์จะนําไปใช้ในการผลักดันการแก้ไขปั ญหาเรื่ อง สิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุ์ เกี่ยวกับที่ดินและการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ซึ่ งเป็ นงานที่องค์กรของ ผูว้ จิ ยั กําลังดําเนินการอยู่ ทั้งสามคนก็บอกว่า ยินดีเป็ นอย่างมากที่จะให้ขอ้ มูลทุกอย่างเพื่อเป็ นความรู ้ และเป็ นตัวอย่างที่จะนําไปใช้ผลักดันให้เกิดการแก้ไขปั ญหาให้แก่คนอื่นๆ ต่อไป สัมภาษณ์วนั ที่ 15 กรกฎาคม 2561, 23 พฤศจิกายน 2562, 13 กุมภาพันธุ์ 2562
270
ภาคผนวก ฌ. พ่อประเสริฐ : ผู้ที่ขอเพียงได้ ชี้แจงก่ อน หลังการทํารัฐประหารของคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) ที่นาํ โดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคําสัง่ คสช. ที่ 64/2557 ที่เรี ยกกันคําสั่งทวงคืนผืนป่ า มีการสนธิ กาํ ลังกําลังทหาร ตํารวจ ป่ าไม้ ฝ่ ายปกครอง ปิ ดล้อ มและและจับกุมดําเนิ นคดี ความผิด เกี่ ย วกับป่ าไม้จาํ นวนมาก โดยจังหวัดแม่ ฮ่ อ งสอนเป็ นหนึ่ งในพื้น ที่เป้ าหมายหลัก ซึ่ งนับแต่ เกิ ด รัฐประหารกลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูงในจังหวัดแม่ ฮ่องสอนถูกจับกุมดําเนิ นคดีจาํ นวนมาก ซึ่ งส่ วน ใหญ่แล้วศาลมี คาํ พิพากษาให้จาํ คุ กโดยไม่ รอลงอาญา ดังนั้น เมื่ อกลางปี พ.ศ. 2558 คุณเตือนใจ ดี เทศน์ ซึ่งตอนนั้นดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้เดินทางมาพบญาติของจําเลย ที่ถูกศาลพิพากษาให้จาํ คุก โดยมีเจ้าหน้าที่องค์การเครื อข่ายเกษตรกรภาคเหนื อ (คกน.) ประสานงาน ให้ มี ก ารเรี ย กประชุ ม ญาติ ข องจําเลยที่ อ ํา เภอแม่ ส ะเรี ย ง จังหวัดแม่ ฮ่ อ งสอน มี ผูม้ าร่ ว มประชุ ม ประมาณ 50 คน ซึ่งวันนั้นผูว้ จิ ยั ตามเพือ่ นที่เป็ นนักข่าวท้องถิ่นไปร่ วมสังเกตการณ์ดว้ ย คุณเตือนใจ เสนอว่าให้ยนื่ คําร้องขอพระราชทานอภัยโทษพร้อมทั้งได้แนะนั้นขั้นตอนวิธีการ ต่างๆ ให้ชาวบ้านได้เข้าใจ ซึ่งในที่สุดแล้วชาวบ้านที่เป็ นญาติของจําเลยส่ วนใหญ่ก็เห็นด้วย แม้ตกลง กันได้แต่เนื่ องจากจําเลยมีจาํ นวนมาก ต้องหาคนช่วยเขียนและเตรี ยมเอกสารคําร้อง คุณเตือนใจเคย รู ้จกั ผูว้ ิจยั เมื่อ เห็นผูว้ ิจยั อยู่ที่นั่น จึงขอให้ผวู ้ ิจยั ช่ วยจัดทําคําร้อ งขอพระราชทานอภัยโทษให้ ผูว้ ิจยั ปฏิเสธไม่ได้จึงรับปากช่วยดําเนินการให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ในวันที่ประชุม ญาติของจําเลยข้างต้นนี้ ญาติของพ่อประเสริ ฐไม่ได้มาร่ วมด้วย เนื่ องจากไม่ ทราบและไม่มีคนแจ้ง หลังประชุมสองสามวันลูกสาวของพ่อประเสริ ฐก็ได้โทรศัพท์ติดต่อผูว้ ิจยั แจ้ง ว่าพ่อของตนก็ถูกศาลตัดสินจําคุก และทราบว่าผูว้ จิ ยั กําลังจัดทําคําร้องขอพระราชทาน จึงขอให้ผูว้ ิจยั ช่วยเขียนให้พ่อของตนด้วย เมื่อ ผูว้ ิจยั ตอบตกลงลู กสาวของพ่อประเสริ ฐก็ส่งเอกสารมาให้โดยทาง ไปรษณี ย ์ ผูว้ จิ ยั จึงเขียนคําร้องขอพระราชทานอภัยโทษให้พ่อประเสริ ฐ โดยเพียงดูเอกสารสํานวนคดี เท่านั้น ไม่เคยพบเจอพ่อประเสริ ฐมาก่อน ซึ่งผูว้ จิ ยั ได้ทราบจากพ่อประเสริ ฐว่า พ่อประเสริ ฐถูกปล่อย ออกจากเรื อนจําก่อนครบกําหนด 15 วัน ซึ่ งไม่มีใครทราบว่าคําร้องขอพระราชทานอภัยโทษที่ผวู ้ ิจยั
271
จัดทําให้น้ นั ได้รับการพิจารณาหรื อไม่ กระทัง่ มาถึงกลางปี พ.ศ. 2561 ช่วงที่ผวู ้ ิจยั ค้นหากรณี ศึกษา ผูว้ จิ ยั ได้ติดต่อไปยังลูกสาวของพ่อประเสริ ฐ เพือ่ แจ้งความประสงค์ของผูว้ ิจยั พร้อมทั้งขอให้ช่วยถาม พ่อประเสริ ฐว่ายินดีให้ผวู ้ จิ ยั ใช้เป็ นกรณี ศึกษาหรื อไม่ ลูกสาวของพ่อประเสริ ฐก็รับปากว่าจะไปพูดคุย กับพ่อประเสริ ฐให้ ประมาณสัปดาห์หนึ่ งผ่านไป ลูกสาวของพ่อประเสริ ฐก็ติดต่อกลับมา แจ้งว่าพ่อ ประเสริ ฐยินดีให้ใช้เป็ นกรณี ศึกษา พร้อมทั้งเอาหมายเลขโทรศัพท์ให้ หลังจากนั้นผูว้ ิจยั ก็ได้โทรศัพท์ ไปแนะนําตัวพร้อมทั้งแจ้งความประสงค์ให้ ซึ่งพ่อประเสริ ฐก็ไม่ได้ขดั ข้องแต่อย่างใด ผูว้ ิจยั จึงได้นัด เดินทางไปพบกับพ่อประเสริ ฐที่บา้ น ซึ่งอยูใ่ กล้กบั ตัวอําเภอแม่ลาน้อย จังหวดแม่ฮ่องสอน เพื่อพูดคุย ถึงรายละเอียดของคดีหลายครั้ง ภูมิหลัง พ่อประเสริ ฐ (นามสมมติ) อาศัยอยูท่ ี่บา้ นป่ าหมาก ตําบลแม่ลาน้อย อําเภอแม่ลาน้อย จังหวัด แม่ฮ่องสอน เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง เกิ ดเมื่อ ปี พ.ศ. 2502 เรี ยนจบชั้น ป. 7 ที่หมู่ บา้ นป่ าหมาก แต่งงานเมื่อ อายุประมาณ 25 ปี มี ลู กสองคน เป็ นผูห้ ญิงคนหนึ่ งและผูช้ ายคนหนึ่ ง ลูกทั้งสองคน แต่งงานมีครอบครัวและไปทํางานอยูใ่ นเมืองกันหมดแล้ว เดิมพ่อประเสริ ฐเคยมีอาชีพทําทํานาและทํา ไร่ แต่เมื่อประมาณสิบปี ที่ผา่ นมานี้ พ่อประเสริ ฐได้หนั มาทําอาชีพขับรถรับจ้าง เพื่อส่ งนักท่องเที่ยวที่ ถํ้าแก้วโกมล ซึ่งเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อของอําเภอแม่ลาน้อย และอยูใ่ กล้กบั หมู่บา้ นป่ าหมาก มี รายได้ไม่แน่นอน โดยขึ้นอยูก่ บั จํานวนนักท่องเที่ยว ซึ่ งช่วงหลังการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2557 บาง วันได้เพียงประมาณ 100 บาท แต่บางวันก็อาจได้ถึง 1,000 บาท เนื่องจากจํานวนนักท่องเที่ยวลดลง บ้านป่ าหมากตั้งมาได้ประมาณหนึ่ งร้อยกว่าปี แล้ว เดิมมีชื่อว่า “มือลาโกล” หรื อ “มือลาปู” เป็ นภาษากะเหรี่ ยง หมายถึง “ห้วยแม่ลา” ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าว่าเริ่ มแรกมีชาวกะเหรี่ ยงจากแถวห้วยแม่ล า น้อย ย้ายมาตั้งบ้านอยูด่ ว้ ยกันก่อน 3 ครอบครัว ต่อมามีคนอพยพมาจากที่อื่นมาปลูกสร้างบ้านเรื อน และทํามาหากินเพิม่ ซึ่งชาวบ้านได้ปลูกต้นผลไม้ตามบ้านและไร่ สวนจํานวนมาก เช่น มะพร้าว ขนุ น ส้มโอ โดยเฉพาะต้นหมาก ซึ่งเมื่อเจริ ญเติบโต ลําต้นจะสู ง สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ต่อมาจึง เรี ยกชื่อหมู่บา้ นว่า “บ้านป่ าหมาก” ชาวบ้านส่ วนใหญ่เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง ปั จจุบนั ชาวบ้าน ส่วนใหญ่มีอาชีพทําไร่ ทํานา บางส่วนก็คา้ ขาย เดิมทีปู่ย่าของพ่อประเสริ ฐอาศัยอยู่บนดอยในพื้นที่ตาํ บลเดียวกัน ต่อมาปู่ ย่าก็ได้พาพ่อแม่ ของพ่อประเสริ ฐย้ายมาอยูท่ ี่บา้ นป่ าหมาก สําหรับพ่อประเสริ ฐมาเกิดที่บา้ นป่ าหมาก พ่อประเสริ ฐจํา ได้วา่ ตอนเด็กนั้นพ่อแม่มีอาชีพทําไร่ ต่อมาพ่อแม่ได้ซ้ือที่ดินผืนหนึ่งเป็ นที่ราบอยูใ่ กล้กบั ตัวอําเภอแม่ ลาน้อย ต่อมาจึงได้ขดุ ให้เป็ นนา ซึ่งที่นาแปลงนี้พอ่ ประเสริ ฐก็ยงั คงใช้ทาํ กินจนถึงทุกวันนี้ 272
สมัยที่พอ่ ประเสริ ฐยังเด็กชาวกะเหรี่ ยงจะสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่ (ผูว้ จิ ยั : เนื่ องจากสมัยก่อนชาว กะเหรี่ ยงไม่ได้ต้งั ชุมชนอยูแ่ บบถาวร แต่จะเคลื่อนย้ายหมู่บา้ นตามไปอยูใ่ กล้กบั พื้นที่ทาํ กิน จึงสร้าง บ้านอยูแ่ บบชัว่ คราวโดยใช้ไม้ไผ่) ต่อมาเมื่อมีการตั้งชุมชนอยูอ่ ย่างถาวรแล้ว จึงหันมาใช้ไม้สร้างบ้าน อยูอ่ าศัยเพือ่ ให้เกิดความคงทนถาวร โดยเฉพาะไม้สกั เนื่องจากพืน้ ที่บริ เวณหมู่บา้ นป่ าหมากเป็ นป่ าไม้ สักและเป็ นไม้ที่ทนแดดทนฝน สามารถใช้ไ ด้นาน โดยชาวบ้านจะเลื่ อ ยเองหรื อ ซื้ อ จากคนแถวๆ หมู่บา้ นที่เลื่อยเป็ น ซึ่งสมัยที่พอ่ ประเสริ ฐยังหนุ่มนั้น ไม้แปรรู ปที่จะนํามาใช้สร้างบ้านมีราคาไม่แพง แต่ชาวบ้านส่วนใหญ่ก็ไม่มีเงิน จึงต้องทยอยซื้อไม้แผ่นเก็บไว้ หลังจากแต่งงานได้ไม่นานพ่อประเสริ ฐได้ยา้ ยไปสร้างบ้านอยูท่ ี่หมู่บา้ นเดียวกับที่นาตั้งอยู่ โดยทยอยซื้อไม้สกั แปรรู ปจากชาวบ้านมาสร้างเป็ นบ้านอยูท่ ี่นั่นได้ประมาณ 7 – 8 ปี ก็ได้ยา้ ยกลับมา อยูท่ ี่หมู่บา้ นป่ าหมาก โดยรื้ อไม้จากบ้านหลังเก่าแล้วขนมาสร้างใหม่อยูใ่ กล้กบั บ้านของพ่อแม่ เป็ น บ้านไม้สองชั้นยกพื้นสูง ใต้ถุนบ้านปล่อยโล่ง หลังจากนั้นก็อาศัยอยูเ่ รื่ อยมา นับตั้งแต่สร้างบ้านหลังที่ อยูป่ ั จจุบนั ก็ประมาณ 30 ปี แล้ว ก่อนเกิดเป็ นคดีน้ ี ลูกสาวที่ทาํ งานอยูใ่ นตัวเมืองเชียงใหม่จะกลับมาทําพิธีแต่งงานที่บา้ น เห็น ว่าบ้านหลังเดิมเล็กและคับแคบ จึงได้ส่งเงินมาให้พ่อประเสริ ฐทยอยซื้ อไม้ไว้ เพื่อต่อเติมใต้ถุนบ้าน ให้กว้างขึ้น พ่อประเสริ ฐจึงได้ทยอยซื้อไม้แปรรู ปมาเก็บไว้ โดยนํามาตีตะปูลอ้ มรอบห้องครัว ตั้งใจว่า เมื่อได้ไม้พอแล้วก็จะทําการต่อเติมใต้ถุนบ้านให้แล้วเสร็จให้ทนั กําหนดพิธีแต่งงานของลูกสาว แต่ยงั ไม่ทนั ได้ไม้พอสําหรับที่จะใช้ ก็เกิดเป็ นคดีน้ ีก่อน ทําให้ไม้ที่สะสมไว้ใช้ถูกยึดไปทั้งหมด เหลือไว้แต่ ไม้แผ่นเก่าๆ ไม่กี่แผ่นเท่านั้น บ้ านถูกค้นในวันที่เหลือเพียงผู้เฒ่ าวัยชราอยู่ลาพัง ในวันเกิดเหตุพ่อประเสริ ฐไปทํางานในนา ส่ วนภรรยาไปทํางานเป็ นแม่ บา้ นที่สาํ นักงาน อบต. เหลือแต่พอ่ ของภรรยาที่ชรามากแล้วนอนอยูท่ ี่บา้ นคนเดียว พอถึงตอนบ่ายๆ ญาติก็มาหาที่นา แล้วบอกว่าเจ้าหน้าที่มายึดไม้ที่บา้ นไปหมดแล้ว ตนก็ตกใจมาก ไม่น่าเชื่อว่าเจ้าหน้าที่จะมายึดไม้ที่ บ้านของตน เนื่ อ งจากเป็ นไม้ที่จะใช้สร้างบ้านอยูอ่ าศัยเท่านั้น จึงรี บกลับมาดู ก็ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ กลับไปกันหมดแล้ว พร้อมทั้งได้แกะเอาไม้แปรรู ปที่ตนตีตะปูยดึ ติดกับตัวบ้านเอาไว้ไปด้วย รวมทั้ง รื้ อเอาไม้ที่ตนนํามาปูเป็ นเตียงนอนให้แก่พ่อของภรรยาไปด้วย เหลือไว้แต่ไม้แผ่นเก่าๆ เท่านั้น เมื่อ สอบถามญาติที่บา้ นอยู่ใกล้ๆ กัน เขาก็เล่าให้ฟังว่า เจ้าหน้าที่มากันหลายหน่ วย ทั้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ทหาร ตํารวจ และ อส. มาถึงก็ตรงมาที่บา้ นเลย โดยที่ไม่มีหมายค้นมาด้วย ซึ่ งในช่วงเวลาเดียวกันนี้ มี บ้านอีก 3 หลังก็ถูกตรวจค้นและยึดไม้ไปด้วย รวมกันแล้วในวันนั้นมีบา้ นที่ถูกตรวจยึดไม้ท้ งั หมด 4 หลัง 273
ถูกดาเนินคดี หลายวันต่อมาตํารวจก็นาํ หมายเรี ยกจากพนักงานสอบสวนมาให้ บอกว่าให้ไปพบตํารวจที่ สถานีตาํ รวจภูธรแม่ลาน้อย เมื่อถึงกําหนดพ่อประเสริ ฐก็ไปพบพนักงานสอบสวนตามกําหนดนัด พ่อ ประเสริ ฐจําได้วา่ เมื่อไปถึงพนักงานสอบสวนก็ถามว่า เอาไม้มาจากไหน เอามาเองหรื อซื้ อเขามา ซื้ อ มาจากใคร ตนก็บอกว่าซื้อเขามาจากคนแถวบ้าน และบอกว่าตนไม่ได้ไปทําเอง ตนทําไม้ไม่เป็ น และ ตอนนั้นขายังไม่แข็งแรงเนื่ องจากเคยถู กรถชนจนขาหัก นอกจากนี้ ยงั ได้บอกตํารวจไปว่าไม้น้ นั จะ เอาไว้สร้างบ้านอยูอ่ าศัย ไม่ได้เอาไว้ขาย หลังจากถามอย่างนั้นเสร็ จตํารวจก็บอกตนว่าจะทําสํานวน แบบตรงไปตรงมา และเอาเอกสาร (ผูว้ ิจยั : บันทึกการสอบสวน) มาให้ตนเซ็นชื่อ จําได้ว่าตอนนั้น ไม่ได้อ่าน เอามาก็ดูนิดเดียวแล้วก็เซ็นชื่อไปเลย เข้าใจว่าทําอะไรไม่ได้แล้ว เขาให้เซ็นก็เซ็นไปเลย จํา ได้วา่ ไปหาพนักงานสอบสวน 2 ครั้ง ผูว้ ิจยั ถามว่าพนักงานสอบสวนได้แจ้งสิ ทธิและถามเกี่ ยวกับทนายความไหม พ่อ ประเสริ ฐ ตอบว่า ตํารวจไม่ ไ ด้พูดอะไรเกี่ ยวกับ เรื่ อ งนี้ ผูว้ ิจยั ถามต่อ ว่า พนัก งานสอบสวนได้ถามว่า จะรั บ สารภาพหรื อปฏิเสธไหม พ่อประเสริ ฐตอบว่าไม่ได้ถาม เพียงแต่บอกว่าไม้มีท้ งั หมด 1 ลูกบาศก์เมตร กว่า และจะต้องไปที่อยั การและที่ศาล หลังจากทําเอกสารเสร็ จแล้วก็กลับมาบ้านโดยไม่ตอ้ งทําเรื่ อง ประกันตัว ผูว้ จิ ยั ถามว่าเมื่อตอนที่ไปที่พบพนักงานสอบสวนนั้น ได้คิดที่จะต่อสูค้ ดีไหม พ่อประเสริ ฐ ตอบว่า ไม่ ไ ด้คิ ด เพราะไม่ รู้ ว่า จะต่ อ สู ้ค ดี อ ย่า งไร ตอนนั้น นอกจากไม่ รู้ แ ล้ว ก็ ไ ม่ มี เ งิ น ไม่ รู้ จ ัก ทนายความ ก็ได้ถามตํารวจว่าจะช่วยอะไรได้ไหม ตํารวจก็บอกว่าช่วยอะไรไม่ได้ หลังจากนั้นก็ไปพบพนักงานอัยการอีกหนึ่งครั้ง ตอนที่ไปพบกับพนักงานอัยการนั้น อัยการก็ ไม่ได้พูดว่าอะไร เราไม่ รู้กฎหมายและก็ไม่รู้ว่าเมื่ อไปถึ งอัยการแล้วจะทําอะไรได้ ก็เลยจําเป็ นต้อ ง ปล่อยให้เป็ นไปตามที่เจ้าหน้าที่เขาทํา ในชั้นศาล ต่อมาก็ถูกเรี ยกให้ไปที่ศาล จําได้ว่าตอนที่ไปศาลครั้งแรกนั้น ตนไปเองพร้อมกับลูกสาวกับ ญาติอีกสองสามคน เมื่อถึงเวลาเขาก็ให้เข้าไปในห้อง ใช้เวลาเพียงสั้นๆ ซึ่ งตอนนั้นมีคนที่ถูกส่ งฟ้ อง พร้อ มกันสามสี่ คน ผูพ้ ิพากษาออกมาก็ใช้เวลาประมาณ 5 นาที สําหรับคดี ของตนเองนั้นใช้เวลา ประมาณไม่ เกิน 2 นาที จําได้ว่าศาลถามว่าที่ถู กฟ้ องมานั้นจะรับสารภาพหรื อ ปฏิเสธ ตนก็บอกว่า ยอมรับสารภาพ แล้วศาลอ่านเอกสารนิดหน่อย แล้วก็บอกว่าตัดสิ นให้จาํ คุก 2 ปี ไม่เคยทําผิดมาก่อน ลดโทษให้ครึ่ งหนึ่ง เหลือจําคุก 1 ปี โดยไม่ให้รอลงอาญา เสร็ จแล้วตนก็ถูกพาเข้าไปในห้องขังทันที
274
ศาลไม่ได้สอบถามอย่างอื่นเลย ทําให้ตนไม่มีโอกาสได้ช้ ีแจงรายละเอียดหรื อเหตุผลความจําเป็ นต่างๆ ให้ศาลฟัง ผูว้ จิ ยั ได้ตรวจสอบสํานวนคดีแล้ว เกิดเหตุเมื่อกลางเดือนกรกฎคม พ.ศ. 2557 พนักงานอัยการ โจทก์ยนื่ ฟ้ องเมื่อปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 ในข้อหาว่า “มีไม้ สักแปรรูปไว้ ในครอบครองภายใน เขตควบคุมการแปรรู ปไม้ โดยไม่ ได้ รับอนุญาต” จํานวน 56 แผ่น ปริ มาตร 1.626 ลูกบาศก์เมตร อัน เป็ นความผิดตามพระราชบัญ ญัติ ป่ าไม้ โดยศาลจัง หวัด แม่ สะเรี ย งมี ค าํ พิพ ากษาเมื่ อ กลางเดื อ น พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ว่า จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 48 วรรคหนึ่ ง (เดิม) , 73 วรรคสอง (เดิม) จําคุก 2 ปี จําเลยให้การรับสารภาพจึงลดโทษให้ก่ ึงหนึ่ ง เหลือจําคุก 1 ปี โดยไม่รอลงอาญา ซึ่งศาลให้เหตุผลประกอบว่า “ไม่ สักแปรรูปของกลางที่จาเลยมี ไว้ ในครอบครองมี ปริ มาตร 1.626 ลูกบาศก์ เมตร นับว่ าเป็ นไม้ จานวนมาก ถือได้ ว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของการสนับสนุนให้ มี ผู้ตดั ไม้ ทาลายป่ าซึ่ งเป็ นแหล่ งต้ นนา้ ลาธารและเป็ นทรั พยากรธรรมชาติอันมีค่าอันประเมิ นราคาไม่ ได้ ... ไม่ มีเหตุสมควรรอการลงโทษ...”18 หลังจากที่พ่อประเสริ ฐถูกพาเข้าไปในห้องขังแล้ว ลูกสาวก็ไปติดต่อ ทําเรื่ องประกันตัว วัน นั้นได้เตรี ยมเงินไปส่วนหนึ่งแต่ไม่พอ เนื่ องจากศาลเรี ยกหลักทรัพย์ประกันตัว 150,000 บาท ลูกสาว ต้องโทรศัพท์ไปขอยืมญาติพนี่ อ้ งอีกหลายคน ช่วยกันระดมเงินเอามาวางจึงประกันตัวออกมาเพื่อจะ อุทธรณ์ หลังจากนั้นลูกสาวก็ได้ติดต่อขอให้ทนายความช่วยทําอุทธรณ์เพื่อขอให้ศาลอุทธรณ์ลดโทษ ให้ ต่อมาทนายความก็ได้จดั ทําคําอุทธรณ์ยนื่ ไปให้ศาลอุทธรณ์พิจารณา แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ตามศาลชั้นต้น ผูว้ ิจยั ถามว่าทําไมถึงเลือ กรับสารภาพ พ่อ ประเสริ ฐเล่าว่า ก่อ นจะไปที่ศาลตนก็ไม่ รู้จะทํา อย่างไร แต่ชาวบ้านในหมู่บา้ นบอกว่าให้รับสารภาพจะได้จบไวๆ หากปฏิเสธก็จะยาวไปอีก แล้วหาก ศาลไม่รอลงอาญาก็อุทธรณ์ไป ซึ่งเมื่อก่อนก็มีหลายคดีที่อุทธรณ์แล้วศาลก็ให้เสียค่าปรับแล้วปล่อยตัว ตนก็คิดว่าเผือ่ จะทําได้ตามนั้น ถ้าโชคดีก็ถูกปรับสองถึงสามหมื่นก็ยอม ผูว้ จิ ยั ถามว่า ในวันที่ไปศาลครั้งแรกนั้น ผูพ้ ิพากษาได้สอบถามเกี่ยวกับทนายความไหม พ่อ ประเสริ ฐบอกว่าจําไม่ได้ ผูว้ จิ ยั ก็ได้ถามต่อทําไมถึงไม่เอาทนายความ พ่อประเสริ ฐบอกว่าตอนนั้นไม่ มีทนายความและตนก็ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับทนายความ ตอนนั้นคิดได้เพียงว่าไปตามที่เขาว่า ให้ทาํ อะไร ก็ทาํ ผูว้ จิ ยั ถามว่าเคยรู ้เกี่ยวกับทนายความที่ศาลตั้งให้ไหม พ่อประเสริ ฐบอกว่าก็เคยได้ยนิ มาว่าเขามี ทนายที่ศาลที่เขาช่วยชาวบ้านอยู่ แต่ไม่รู้วา่ จะไปหาที่ไหน ไม่รู้วา่ จะต้องทําอย่างไร ช่วงนั้นคนที่โดน คดีสามสี่คนก็ไม่มีใครไปติดต่อ ตนก็เลยไม่ได้ติดต่อ 18
คําพิพากษาศาลจังหวัดแม่สะเรี ยง คดีหมายเลขดําที่ 420/2557 คดีหมายเลขดําที่ 453/2557
275
ผูว้ จิ ยั ถามว่าปั ญหาหลักๆ ที่เจอระหว่างที่ถูกดําเนิ นคดีคืออะไร พ่อประเสริ ฐบอกว่า ที่สาํ คัญ คือความรู ้เกี่ยวกับสิทธิต่างๆ ที่ผตู ้ อ้ งหาหรื อจําเลยมี เนื่ องจากหากไม่รู้ก็จะไม่สามารถทําอะไรได้เลย นอกจากนี้อีกอย่างคือกฎหมายไม่ยอมรับวิถีชีวติ ของชาวบ้าน ดังนั้น แม้เราจะได้อธิบายไปว่าเราเพียง เอาไม้มาใช้สาํ หรับสร้างบ้าน ไม่ได้เอาไปขาย ซึ่งไม่น่าจะเป็ นความผิด แต่เขาก็บอกว่าข้ออ้างของเรา ใช้ไม่ได้ เกี่ยวกับเรื่ องความรู ้สึก พ่อประเสริ ฐเล่าว่าตอนแรกก็รู้สึกใจหาย เพราะตนไม่เคยคาดคิดมา ก่อนว่าจะเกิดกับตนได้ ตนรู ้สึกว่าเจ้าหน้าที่ไม่ให้ความเป็ นธรรม ทั้งๆ ที่ตนมีเพียงนิ ดหน่ อยเอาไว้ สําหรับสร้างบ้านอยูเ่ ท่านั้น จริ งๆ แล้วตอนที่เจ้าหน้าที่มายึดก็น่าจะเห็นแล้วว่าบ้านของตนเล็ก และไม้ ก็ตอกตะปูติดกับตัวบ้านไปหมดแล้ว เขาน่าจะเข้าใจได้วา่ เราจําเป็ นต้องเอาไว้สร้างบ้านจริ งๆ บางคน มีมากกว่าเราแต่ก็ไม่ถูกดําเนินการด้วย นับตั้งแต่วนั ที่ไปที่สถานี ตาํ รวจก็รู้สึกว่าเราเสี ยเปรี ยบและไม่ สามารถจะต่อสู ้ ก็ได้แต่ทาํ ตามที่เขาว่า คิดได้แต่เพียงว่าจะทําให้เวลาไปถึงที่ศาลแล้วจะไม่ถูกตัดสิ น ให้ติดคุก ซึ่งตอนที่เข้าไปที่ศาลนั้นก็รู้สึกกังวลตลอดเวลา กลัวว่าจะถูกตัดสิ นให้ติดคุก แต่ถึงแม้ว่าเรา จะกลัวแต่ก็อยูใ่ นฐานะที่ไม่สามารถทําอะไรได้ สุ ดท้ายศาลก็ตดั สิ นให้จาํ คุกจริ งๆ ซึ่ งตนรู ้สึกว่าสิ่ งที่ ศาลทํานั้นไม่น่าจะถูกต้อง ควรให้โอกาสเราได้ช้ ีแจงก่อน แต่ว่าจริ งๆ แล้วศาลก็ไม่ให้โอกาส ไม่ถาม ด้วยซํ้าว่าไม้น้ นั เอามาจากไหน จะเอาไว้ใช้ทาํ อะไร บ้านที่อยูเ่ ป็ นอย่างไร มีความจําเป็ นแค่ไหน เพียง อ่านๆ เอกสารนิดหน่อยเท่านั้นแล้วตัดสินให้เราติดคุก ทําให้ตนเข้าใจว่าเมื่อเป็ นคดีความแล้วมันก็เป็ น แบบนี้ คนจะก็ไม่มีสิทธิอะไร สุดท้ายก็ตอ้ งติดคุก ต่างจากคนรวยที่แม้เขาทําผิดก็ไม่ติดคุก ไม่เคยรู ้มาก่อนเลยว่าผูต้ อ้ งหาหรื อจําเลยมีสิทธิตามกฎหมายอะไรบ้าง รู ้แต่ว่าเมื่อโดนจับก็ ต้องไปหาเจ้าหน้าที่ ทําตามเจ้าหน้าที่วา่ ต้องติดคุกหรื อถ้าไม่ติดคุกก็ตอ้ งโดนปรับ
สัมภาษณ์วนั ที่ 19 สิงหาคม 2561, 15 พฤศจิกายน 2561, 3 กุมภาพันธุ์ 2562
276
ประวัติผ้ เู ขียน ชื่อ – สกุล
นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล
วัน เดือน ปี เกิด
27 ธันวาคม 2524
ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2549 ประวัติการทางาน พ.ศ. 2549 -2550
พ.ศ. 2550 – 2556
พ.ศ. 2555 – 2557 พ.ศ. 2557 – ปั จจุบนั พ.ศ. 2559 – 2561
ทุนการศึกษา พ.ศ. 2559
สาเร็ จการศึกษาระดับมัธยมศึก ษาตอนปลาย โรงเรี ยนห้อ งสอน ศึกษา จังหวัดแม่ฮ่องสอน สาเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็ นอาสาสมัครในโครงการ “อาสาสมัครนักกฎหมายสิทธิ มนุษยชน” ภายใต้มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม ลงพื้นที่ประจาอยูท่ ี่ “ศูนย์พฒั นาเครื อข่ายเด็กและชุมชน” อาเภอสบเมย จังหวัด แม่ฮ่องสอน เป็ นเจ้าหน้าที่ศูนย์พฒั นาเครื อ ข่ายเด็กและชุ มชน (องค์กรพัฒนา เอกชนที่ทางานช่ วยเหลื อและส่ งเสริ ม ด้านสิ ทธิม นุ ษยชนสาหรับ กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง) เป็ นกรรมการสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.) เป็ นทนายความและจัดทาโครงการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย และเผยแพร่ ความรู ้กบั กฎหมายให้แก่กลุ่มชาติพนั ธุบ์ นพื้นที่สูง อนุ กรรมการศึกษาและแก้ไ ขปั ญหาด้านคดี ความ กฎหมาย และ กระบวนการยุติธรรม ภายใต้สานักนายกรัฐมนตรี เพือ่ ติดตามแก้ไข ปั ญหาตามข้อ เรี ยกร้อ งของขบวนการประชาชนเพื่อ สังคมที่เป็ น ธรรม (ขปส.) หรื อ P-move ทุนสนับสนุนการศึกษาจาก The Takagi Fund for Citizen Science 277
พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561
ทุนสนับสนุนการศึกษาจากคณาจารย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทุนสนับสนุนการทาวิทยานิ พนธ์จาก สานักงานกองทุนสนับสนุ น การวิจยั โดยโครงการทุนวิจยั มหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุ ษยศาสตร์ – สังคมศาสตร์
278