พุทธไตรรัตน์ขจัดโรค

Page 1


พบ ๗ พุทธวิธีชนะโรค พรอมบทสวดมนตรักษาโรค โพชฌังคปริตร, คิริมานนทสูตร, พาหุงมหากา, พระคาถาชินบัญชร, ไหวพระ ๕ ครั้งกอนนอน

àÃÕºàÃÕ§ : ¡ÄÉ´Ò ÃÒÁÑÞÈÃÕ Í͡Ẻ»¡ : ͹تԵ ¤Ó«Í§àÁ×ͧ ÃÙ»àÅ‹Á/¨Ñ´ÍÒà µ : ¨ÔÃоѲ¹ Âѧ⻇Â

ºÃóҸԡÒÃÊÒÃÐ : ÈÑ¡´ÔìÊÔ·¸Ôì ¾Ñ¹¸Ø Êѵ ºÃóҸԡÒÃÈÔŻР: ͹تԵ ¤Ó«Í§àÁ×ͧ ÀÒ¾»ÃСͺ : ªÔª¡Ò¹ ·Í§ÊÔ§Ë


¢Íãˌʹã¨ã¹àÃ×èͧ¸ÃÃÁ·Ò¹ “ธรรมทานนัน้ มีผลมากกวาทานอืน่ จริงๆ วัตถุทาน ก็ชว ยกัน แตเปนเรือ่ งมีชวี ติ อยูร อด อภัยทานก็เปนเรือ่ ง มีชีวิตอยูรอด แตมันยังไมดับทุกข มีชีวิตอยูรอดอยางเปนทุกขนะมันดี อะไร เขาใหมีชีวิตอยูแตเขาไดรับทุกขทรมานอยู นี้มันดีอะไร มันดีอะไร เมือ่ รอดชีวติ อยูแ ลวมันจะตองไมมคี วามทุกขดว ย จึงจะนับวาดีมปี ระโยชน ขอนีส้ ำคัญดวยธรรมทาน มีความรูธรรมะ แลวรูจักทำใหไมมีความทุกข รูจักปองกันไมใหเกิดความทุกข รูจักหยุดความทุกขที่กำลังเกิดอยู ธรรมทานจึงมีผลกวาในลักษณะอยางนี้ มันชวยใหชีวิตไมเปนหมัน วัตถุทานและอภัยทานชวยใหรอดชีวติ อยู บางทีกเ็ ฉยๆ มันสักวารอดชีวติ อยูเฉยๆ แตถามีธรรมทานเขามาก็จะสามารถชวยใหมีผลดีถึงที่สุด ที่มนุษยควรจะไดรับ เพราะฉะนั้น ขอใหสนใจในเรื่องธรรมทาน การใหธรรมทาน มีจิตใจอยูเหนือกิเลส ไมประกอบไปดวยกิเลส มันก็ไมมปี ญ  หา มันก็เสวยความสุขชนิดทีไ่ มเกีย่ วกับกิเลส ดังนัน้ จึงเห็น ไดวาเปนของเหนือกวา เพราะฉะนั้น ขอใหทุกคนพยายามใหธรรมทาน คือทำใหบุคคลอื่นมีธรรมะ แลวก็จะไดผลชนิดที่ละเอียด ลึกซึ้ง ประณีต ประเสริฐยิ่งกวาใหวัตถุทาน นีพ่ ดู ไมกลัวอดวาคนจะเลิกใหทาน แลวก็จะมาใหธรรมทานกันเสียหมด พระจะไมมอี ะไรฉัน ก็ไมกลัว ขอบอกความจริงวา ในธรรมทานนัน้ มันยัง มีผลมากกวาวัตถุทานอยูนั่นเอง”

พุทธทาสภิกขุ.

ชาตกาล ๒๗ พ.ค. ๒๔๔๙ มรณกาล ๘ ก.ค. ๒๕๓๖

โปรดใชเลมนี้ใหคุมสุดคุม & อานแลว -> แบงกันอานหลายทานนะจะ

อานสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกตใชในชีวิตประจำวัน จิตมีสติสัมปชัญญะ รูเทาทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเชนพระนิพพาน สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน ปรารถนาใหทุกครอบครัวมีความสุข


¾Ù´¤Ø¡‹Í¹ÃÑ¡ÉÒ “อาโรคยปรมา ลาภา” ความไม มี โ รคเป น ลาภอั น ประเสริ ฐ . แตก็ไมสามารถหลีกเลี่ยงได ไมวาจะเปนมนุษ ยหรือสัตว อาการปวยไมได เขามาหาเรา มีแตเราที่เดินเขาไปหาความเจ็บปวย ดวยการปฏิบตั ขิ องเราเอง และเมือ่ เจ็บปวยเราก็ตองหาทางรักษา ในรางกายคนเราประกอบดวยสิ่งหลักๆ ๒ สิ่งคือ “กาย-ใจ” ซึ่งกาย และใจตองพึ่งพาอาศัยกันและกัน หากตองการใหรางกายเขมแข็งตองมาจาก จิตใจที่ไมทอแท ไมสิ้นหวัง ไมหดหู ถาจิตใจเราทอแท สิ้นหวัง จะทำให รางกายออนแอลง จากที่แข็งแรงไมคอยเจ็บปวยก็จะกลายเปนคนขี้โรคในทันที ฉะนั้น สิ่งสำคัญที่สุดนั่นก็คือการดูแลจิตใจของตนใหแข็งแกรงนั่นเอง

การรักษาอาการเจ็บปวย ในสมัยพุทธกาลนั้นแตกตางกับสมัยปจจุบัน โดยจะเห็นไดวาในปจจุบันจะเนนในเรื่องของ การรักษากายเปนหลัก เนื่องจากเมื่อเราเจ็บปวย เราก็จะไปโรงพยาบาล และหมอจะจายยาใหเทานั้น ไมสนใจวาจิตใจของผูปวยจะเปนอยางไร เหมือนรางกายเปนหุนยนต สวนไหนพังก็ซอมแตสวนนั้น แตในเรื่องของพระพุทธศาสนา จะสอนใหรักษาใจเปนหลัก เพราะมีหลักที่วา กาย-ใจ มีความสัมพันธกัน เมื่อใจแข็งแรง รางกายก็จะแข็งแรงตามไปดวย


ยกตัวอยางเชน มีผูปวยเปนโรคเอดสสองคน คนหนึ่งรักษาตามแบบ ปจจุบัน เมื่อหมอบอกผูปวยคนนั้นวาจะเสียชีวิตภายในสองป ผูปวยคนนั้น ตกใจมาก เกิดอาการหอเหี่ยวในจิตใจ เมื่อเปนเชนนี้จากที่เหลือเวลาสองป ก็อาจจะเปลี่ยนเปนสองเดือน สวนผูปวยอีกคนที่รักษาตามแบบปจจุบันแลว หมอแจงวามีเวลาใชชีวิตอีกแคสองปเหมือนกันแตผูปวยคนนี้มิไดตกใจอะไร จากนั้นก็หันหนาเขาหาธรรมะ ปฏิบัติธรรม จากที่มีเวลาแคสองปแตผูปวย คนนี้กลับอยูไดนานกวาผูปวยคนแรกและอยูมากกวา ๒ ปอีกดวย ตัวอยางที่สอง มีนายทหารผูหนึ่งปวยเปนโรคมะเร็ง ผานการผาตัด ถึงสองครั้งแตก็ยังไมหาย จึงหันหนาเขาวัดปฏิบัติธรรม ฝกกรรมฐาน เดินจงกรม หมั่นสวดมนตไหวพระ แผเมตตา ทำสมาธิ สุดทายก็หายขาด จากโรคมะเร็ง จากตัวอยางขางตนผูเขียนมีเจตนาที่จะแสดงใหเห็นวา พลังแหง

ธรรมะนันั้ น สามารถเยี ย วยารั ก ษาโรคให ห ายขาดได

หนังสือเลมนี้ประกอบดวยความรูเรื่องสมมติฐานการเกิดโรคตาม พระไตรปฎก รวมถึงวิธีรักษาตามแนวทางพระพุทธศาสนา การสวดมนต การนั่งสมาธิ การทำสัจกิริยา และสอดแทรกเกร็ดความรูเกี่ยวกับสุขภาพเพื่อ ใหผูอานไดนำไปปฏิบัติตาม หรือไดประโยชนจากพระพุทธศาสนาอยางเต็มที่

กฤษดา รามัญศรี

คอย ๆ อาน คอย ๆ คิด คราคิดติดขัด หยุดพักสักนิด มิตองเรงอานใหจบ หนังสือเลมนี้อยูในมือทาน โปรดอานแลวอานอีก จักเขาใจทีละนิด อีกไมนานทานจักเชื่อมโยงสรรพความคิด สัมมาทิฏฐิ สรรพธรรม ที่ทานไดสั่งสมมาจากการศึกษาและปฏิบัติ จักนำทานสูความพนทุกขไดทีละนิด


ÊÒúÑÞ ๗

๘ สมมติฐานการเกิดโรค ๗ พุทธวิธีรักษาโรค

๑๙

วิธีสวดมนตเพื่อเอาชนะโรค ๓๘ บทโพชฌังคปริตร ๔๖ ๔๘

บทคิริมานนทสูตร บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา)

๕๖

ไหวพระ ๕ ครั้งกอนนอน โรคใกลตัวที่ควรรูจัก

๗๑

ฟาทะลายโจร สมุนไพรสรรพคุณ ๑๐๘ ๗๙

ดื่มน้ำ ชนะโรค

๖๗

๗๖


“จะทำอยางไร เมื่อรางกาย เจ็บปวย แลวจิตใจจะไมแปรปรวนตาม พระพุทธเจาไดทรงคนควาเรือ่ งของชีวติ ไวมากมาย แลวหาทางชวยใหคนทัง้ หลาย มีความสุข พระองคเคยพบทานทีร่ า งกายไมสบาย เจ็บไขไดปวย พระองคเคยตรัสสอนวาใหทำในใจ ตัง้ ใจไววา “ถึงรางกายของเราจะปวย แตใจของเราจะไมปว ยไปดวย” การตัง้ ใจอยางนี้เรียกวา มีสติ ทำใหจิตใจไมตกอยูในอำนาจครอบงำ ของความแปรปรวนในทางรางกายนั้น” คัดจากหนังสือ รักษาใจยามปวยไข โดย พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต)

หนังสือ พุทธไตรรัตน ขจัดโรค ๑ เลม แบงกันอาน ๑๐ คน เผื่อแผแบงปนสุขรวมได ๑๐๐ คน หนังสือ ๑๐,๐๐๐ เลม แบงปนสุขรวมได ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน รวมสรางความสุข สนับสนุนการพิมพ (ยิ่งพิมพมาก ยิ่งถูกมาก) ติดตอ โทร. ๐๒-๘๗๒-๙๑๙๑, ๐๒-๘๗๒-๘๑๘๑, ๐๒-๘๗๒-๕๙๗๙, ๐๒-๒๒๑-๑๐๕๐ ¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

6 ¢¨Ñ´âä


ø ÊÁÁµÔ°Ò¹¡ÒÃà¡Ô´âä ม ร ร ก

๒. เสม หะ ๓

.ล

๘.

๑ . ดี

๔.

๖.

ด,ี

เสมห ะ, ล ม

๗. ถกู ทำราย บร หิ าร

รา งก าย

ไมส มำ่ เสมอ

ู ด ฤ ๕.

ทุ ก สิ่ ง ในโลกย อ มมี เ หตุ มี ผ ล โรคภั ย ไข เ จ็ บ ก็ เ ช น กั น องค ส มเด็ จ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงจำแนกสาเหตุการเกิดโรคไว ๘ ประการ ดังปรากฏ ในคัมภีรพระสุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค สิวกสูตร ไดแก ๑. ปวยเพราะดีเปนเหตุ

๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

ปวยเพราะเสมหะเปนเหตุ ปวยเพราะลมเปนเหตุ ปวยเพราะ ดี เสมหะ ลม รวมกันเปนเหตุ ปวยเพราะฤดูแปรปรวนเปนเหตุ ปวยเพราะการบริหารรางกายไมสม่ำเสมอเปนเหตุ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

7 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๗. ปวยเพราะการถูกทำรายเปนเหตุ ๘. ปวยเพราะผลกรรมเปนเหตุ

ในพระไตรปฎกไมไดชแี้ จงไวชดั เจนวาโรคอะไรบางทีเ่ กิดจากสมมติฐาน ๘ ขอ แตพอจะอธิบายตามหลักของแพทยแผนปจจุบันไดตามลำดับ ดังนี้

๑) โรคที่เกิดจาก “ดี” เปนเหตุ ดี คือน้ำที่เกิดจากการที่ตับดึงสารบิลิบินที่เกิดจากการสลายตัวของ เม็ดเลือดแดงแลวสรางเปนน้ำดี จากนัน้ จะสงไปตามทอน้ำดีไปเก็บไวในถุงน้ำดี ถุงน้ำดี​ีทำหนาที่เก็บน้ำดีเพื่อชวยในการยอยอาหาร อยูบ ริเวณชายโครงดานขวา โรคที่เกี่ยวกับถุงน้ำดีแบงเปน ๒ ประเภท ไดแก โรคที่เกิดกับดี โดยตรง เชน นิ่วในถุงน้ำดี ทอน้ำดีอักเสบ เปนตน และ โรคที่เกิดทางออม กลาวคือ โรคที่เกิด จากระบบการทำงานของดีผิดปกติ อันเนื่องมาจากโรคที่เกิดจากดี โดยตรง เชน ตับออนอักเสบ โลหิตเปนพิษ เปนตน ¤Ø³»†ÇÂ໚¹ ´Õ«‹Ò¹ ¹Ð¤ÃѺ...

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

8 ¢¨Ñ´âä


๒) โรคที่เกิดจาก “เสมหะ” เปนเหตุ เสมหะในรางกายของมนุษ ยทำหนาที่ควบคุมตอมที่เปนน้ำในสวน ตางๆ ไดแก เสมหะที่อยูบริเวณศีรษะ ทำหนาที่ควบคุมการทำงานของตอมที่เปน น้ำตางๆ ที่ผลิตน้ำมูก, เมือก เสมหะบริเวณอก ทำหนาที่ควบคุมเมือกในปอด น้ำดี เปนตน เสมหะบริเวณชวงลางของรางกาย คื อ ตั้ ง แต ส ะดื อ ลงไป ทำหน า ที่ ควบคุมน้ำเมือกในลำไส น้ำในอุจจาระ ปสสาวะ เปนตน เมือ่ การทำงานของน้ำ ในรางกายผิดปกติก็จะเกิดโรค เชน หวัดชนิดตางๆ อาการไอที่มีเสมหะปะปน อยูดวย ไซนัสอักเสบ เปนตน ในคัมภีรโรคนิทาน ไดกลาวถึงอาการของโรคที่เกิดจากเสมหะเปน สมุฏฐานไววา จะมีอาการไขจับสั่น หนาวสะทานขนลุกไปทั้งตัว ปากมี รสหวาน กินอาหารไมได ฝามือฝาเทาขาวไมมีสี อุจจาระปสสาวะมีสีขาว บางรายผูปวยมีอาการนอนเพอ น้ำลายไหลฟูมปาก มือเทาเย็น อยากกินเนื้อ ขอมือขอเทาออนแรง เดี๋ยวรอนเดี๋ยวหนาว อาการเชนนี้สันนิษฐานไดวา เปนโรคทีเ่ กิดจากเสมหะเปนสมุฏฐาน äÍ ÁÕàÊÁËÐ à¨çº¤Í ʧÊÑÂ໚¹ËÇÑ´ ṋàÅÂ

Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

9 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๓) โรคที่เกิดจาก “ลม” เปนเหตุ ลมในรางกายของคนเราสามารถแบงเปน ๓ ชนิด คือ ชนิดที่หนึ่ง คือ ลมที่ควบคุมจิตใจ อารมณ ความกังวล

การเตนของหัวใจ

˹ŒÒÁ×´ ÍÕ¡áÅŒÇàÃÒ...

ชนิดที่สอง คือ ลมทีอ่ ปุ มาเหมือน

ของมีคม จะเปนอยางฉับพลัน เมือ่ เปนแลว จะทำใหรูสึกเจ็บเหมือนถูกของมีคมแทง อาการจะคลายกับภาวะขาดเลือด เชน ภาวะหัวใจขาดเลือด เปนตน ชนิดทีส่ าม คือ ลมทีค่ วบคุมเสน กลางลำตัว ซึ่งเสนนี้จะเชื่อมโยงถึงระบบ ประสาท ควบคุมสวนตางๆ ของรางกาย เมื่อเกิดความผิดปกติ จะทำใหเกิดการ เจ็บปวย เปนโรคเกี่ยวกับระบบประสาท เชน ลมชัก เปนตน ในคัมภีรโรคสมุฏฐานกลาวถึงอาการของโรคทีเ่ กิดจากลมเปนสมุฏฐาน

ไววา ผูปวยที่มีอาการขมปาก อยากกินแตของแสลงโรค รูสึกเสียวซาน

เจ็บไปทั่วทั้งตัว บางครั้งรูสึกจุกเสียด หรือผูปวยที่มีอาการบางครั้งหนาว สะทาน บิดปน ปวนในทอง หรือผูป ว ยทีม่ อี าการมีไขหนาวสะทาน ปากหวาน อาเจียน ขนลุก ปวดหัว เจ็บคอเจ็บทั่วเนื้อตัว เบื่ออาหาร หรือไขที่มีอาการ สะอึก ใหรอนรนในจิตใจ ทั้งหมดนี้คือ อาการของโรคที่เกิดจากลมเปน สมุฏฐาน

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

10 ¢¨Ñ´âä


๔) โรคที่เกิดจาก “ดี เสมหะ ลม” รวมกันเปนเหตุ โรคชนิดนี้ในพระไตรปฎกเรียกวา อาพาธสันนิบาต ก็คือโรคที่เกิดจาก หลายสมุฏฐานรวมกัน เชน อาจเกิดจากดี เสลด เปนเหตุ เกิดจากเสลด ลม เปนเหตุ หรืออาจเกิดจาก ดี เสลด ลม เปนเหตุ สันนิบาต เปนคำบาลี

แปลวา ประชุมกัน, รวมกัน ดังนั้น โรคสันนิบาต ก็คือ โรค ที่เกิดจากสมุฏฐานหลายอยาง รวมกัน ในคัมภีรโรคนิทาน ไดกลาวถึงอาการของโรค สันนิบาตไววา

“ไขใดใหไอแหง ตั้งอยูในคอทำ เล็บมือแลเล็บเทา ตานั้นก็เขียวไซร สาบกลิ่นดังสุนัข นำพรอมดวยโทษา นามชื่อสันนิบาต ไมพรอมดังกลาวไข

·ÓºÒ»äÇŒÁÒ¡ ¨Ö§à»š¹âä»ÃÐËÅÒ´ ÂÒ¡á¡‹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ

แลใหหอบเสมหะนำ ใหแพทยพึงกำหนดใน แลลิ้นนั้นก็เขียวไป ดังตาแมวมาติดตา แพะแรงแลนกกา โทษนั้นเที่ยงอยาเกี่ยงใจ มาตัดชาติทุกขไป แพทยพอไดจะตามทัน”

หมายความว า ผู ป ว ยที่ มี อาการดั ง ต อ ไปนี้ คื อ ไอแห ง หอบ มีเสมหะ เล็บมือเล็บเทาและลิ้นมีสีเขียว ดวงตามีสีเขียวเหมือนตาแมว ตัวมีกลิ่นสาบเหมือนกลิ่นสุนัข แพะ แรง หรือนก สันนิษฐานไดวา ผูนั้น เปนโรคสันนิบาต Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

11 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


อีกนัยหนึ่ง “ไขใดสะบัดหนาว หนาผากศีรษะทนต เจ็บคอแลขัดอก เรี่ยวแรง บ มีใน ปสสาวะใหขัดของ แพทยจงกำหนดหมาย ไขสามประการนี้ สันนิบาตจงแจงใจ

แลสะบัดใหรอนรน ใหปวดร่ำกระหน่ำไป กระหายน้ำ บ คลายใจ ใหระทดระทวยกาย ไมแคลวคลองในทางระบาย ใหสถิตเสถียรใจ กำหนดมีใชอื่นไกล กระทำใหพิการกล”

ผูป ว ยทีม่ อี าการดังตอไปนี้ คือ เปนไขสะบัดรอนสะบัดหนาว ปวดศีรษะ ปวดฟน เจ็บคอ ขัดอก กระหายน้ำบอย ออนเพลียไมมีเรี่ยวแรง ปสสาวะขัด อาการเชนนี้ก็สันนิษฐานไดวาเปนโรคสันนิบาตเชนกัน โรคชนิดนีม้ ชี อื่ ตามศัพท ทางการแพทยสมัยใหมวาโรคพารกินสัน พบบอยในผูส งู อายุ ผูป ว ยจะมีอาการ สัน่ เกร็งที่กลามเนื้อทั่วรางกาย ปวดเมื่อยตามตัว เคลื่อนไหวชา เดินตัวงอ เดินกาวสัน้ ๆ ทำใหหกลมงาย เปนตน

๕) โรคที่เกิดจาก “ฤดูที่แปรปรวน” เปนเหตุ หมายถึง สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง เดี๋ยวรอนเดี๋ยวหนาว เดี๋ยวฝนตกเดี๋ยวแดดออก ทำใหรางกายมนุษยปรับอุณหภูมิไมทัน สงผลให ÎѴઠเจ็บปวย เปนไขหวัด ภูมิแพ เปนตน ŒÂ..

!!

!

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

อากาศเปลี่ยนแปลง ตองดูแลสุขภาพ ใหแข็งแรงอยูเสมอ

12 ¢¨Ñ´âä


๖) โรคที่เกิดจาก “การไมบริหารรางกาย” เปนเหตุ หมายถึง การไมดแู ลรักษาสุขภาพ เชน ไมออกกำลังกาย ทำใหรา งกาย ไมแข็งแรงไมมีภูมิคุมกันโรค ทานอาหารที่ไมมีประโยชน นอนดึกพักผอน ไมเพียงพอ ทำใหรา งกายออนเพลีย สงผลใหเกิดโรคตางๆ เชน ความดัน หนามืด เปนตน หรือการที่เราอยูในอิริยาบถใดอิริยาบถหนึ่งนานๆ โดยไมเปลี่ยน เชน นั่งนานๆ โดยไมเปลี่ยนทานั่ง เมื่อลุกขึ้นยืนทันทีก็อาจเกิดอาการเสนยึดและ ทำใหเราบาดเจ็บได ᾌ¾¹Ñ¹ºÍÅÍÕ¡áÅŒÇ... Í´¹Í¹ á¶ÁàÊÕÂà§Ô¹ÍÕ¡... ¡ÅØŒÁ!!!!

บริหารรางกายสม่ำเสมอ ทานอาหารที่มีประโยชน โรคภัยไมมาเบียดเบียน

๗) โรคที่เกิดจาก “การถูกทำราย” เปนเหตุ หมายถึง การเจ็บปวยจากถูกคนหรือสัตวทำราย รวมถึงการเกิดอุบัติเหตุ ตัวอยางเชน ทะเลาะกัน แลวถูกชกจนจมูกหัก สมองเสือ่ มเพราะถูกคนตีหวั แขนขาหักจากรถคว่ำ หรือถูกยุงลายกัดทำใหเปน ไขเลือดออก เปนตน ¡ÃÃÁ¹ÕéÁѹµÔ´¨ÃÇ´

การทำรายผูอื่น เจ็บทั้งเขา บาปทั้งเรา

ãËŒ¼ÅªÒµÔ¹Õé äÁ‹µŒÍ§ÃͪҵÔ˹ŒÒ à¤Â·ÓÃŒÒÂᵋ¤¹Í×è¹ â´¹àͧºŒÒ§ ¨Ö§ÃÙŒÊÖ¡.....ÍÙÂÂÂ...ÍÙÂ...

Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

13 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๘) อาการปวยที่เกิดจาก “ผลกรรม” เปนเหตุ หมายถึง ความเจ็บปวยที่เกิดจากผลแหงกรรมที่ตนไดเคยกระทำ ไวในอดีตชาติและในปจจุบนั ชาติ ดังพุทธดำรัสทีป่ รากฏในจูฬกัมมวิภงั คสูตร พระไตรปฎกเลมที่ ๑๔ วา ผู ที่ เ กิ ด มาอายุ สั้ น เพราะในอดีตชาติเคยฆาสัตว ตั ด ชี วิ ต ไว ม าก ผู ที่ เ กิ ด มา มีโรคมาก เพราะเคยทำราย และเบี ย ดเบี ย นสั ต ว อื่ น ให ไดรบั บาดเจ็บ ทุกทรมานมาก

ÍâËÊÔ¡ÃÃÁ á¡‹©Ñ¹´ŒÇ¹Ð

โรหิณี เจาหญิงโรคเรื้อน ในขอนี้ก็มีเรื่องเลาปรากฏมากมายในพระไตรปฎก ดังเชนเรื่องของ เจาหญิงโรหิณี ผูเปนนองสาวของพระอนุรุทธเถระ ปวยเปนโรคเรื้อนเรื้อรัง รักษาอยางไรก็ไมหาย เกิดความทุกขทงั้ กายและใจ ทัง้ อับอายไมกลาออกไปพบปะ กับผูคน กระทั่งสมัยหนึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จเมืองกบิลพัสดุ พรอมภิกษุหมูใหญ เมื่อเสด็จถึงแลวเหลาพระประยุรญาติตางมาเฝาถวาย สักการะทัง้ หมด ยกเวนแตเจาหญิงโรหิณีผูเปนพระขนิษฐาของพระอนุรุทธเถระ เพียงองคเดียว เมื่อพระอนุรุทธเถระถามถึงเหตุที่พระนางไมเสด็จมา ก็ทราบวา พระนางทรงละอายที่เปนโรคผิวหนัง พระเถระจึงใหไปเชิญพระนางมา แลวได แนะนำใหทำบุญเพื่อลางกรรมเกา โดยใหเอาเครือ่ งประดับของพระนางออกขาย แลวนำเงินที่ไดไปสรางโรงฉันสำหรับพระสงฆ ¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

14 ¢¨Ñ´âä


พระนางไดขายเครื่องประดับและสรางโรงฉันจนแลวเสร็จ ทุกวัน พระนางจะเสด็จมาที่โรงฉันปดกวาดเช็ดถูทำความสะอาด ปูลาดอาสนะ จัดเตรียมที่ฉันสำหรับภิกษุ ตั้งน้ำใช น้ำฉัน ไวพรอม ถวายภัตตาหารแก พระภิกษุสงฆเปนประจำ ในเวลาไมนานนักโรคผิวหนังของพระนางก็หาย ตอมาพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดเสด็จมาเสวยที่โรงฉันของ เจาหญิงโรหิณี หลังจากเสวย ภัตตาหารเสร็จเรียบรอยแลว เจาหญิงโรหิณีไดกราบทูล ถามถึงสาเหตุที่ทำให พระนางปวยเปนโรคเรื้อน พระพุ ท ธองค ต รั ส ว า การทีพ่ ระนางปวยเปนโรคเรือ้ น นารังเกียจนั้น เปนเพราะบุพกรรมที่ ไดกระทำไว ในอดีตชาติตามมาใหผล จากนั้นจึงทรงนำเรื่องในอดีตมาแสดงวา ในอดีตชาติแตหนหลัง เจาหญิงโรหิณี ไดเกิดเปนอัครมเหสีของ พระเจากรุงพาราณสี มีจติ ริษยานางรำคนหนึง่ ของพระราชา จึงเอาหมามุย ไปโรยไวบนที่นอนและผาหมของนาง เมือ่ นางขึน้ นอนบนทีน่ อนพิษหมามุย ก็ทำใหเกิดอาการคันอยางรุนแรง ผิวพรรณเปนผื่นคันเต็มตัวทั่วใบหนา ทำใหนางไดรับทุกขเวทนาแสนสาหัส และตองใชเวลารักษาเปนเวลาแรมป ดวยผลแหงกรรมนี้ทำใหพระนางตองเปนโรคผิวหนังในชาติตอมาอีกหลาย รอยชาติ

(ฟงเรือ่ งนีแ้ ลวไมอยากจะนึกถึงผลกรรมของผูท เี่ อาน้ำกรด ไปสาดหนาผูอื่นเลยวาจะตองรับกรรมหนักหนาเพียงไร) Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

15 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


พระติสสะ ตัวเนา เพราะกรรมเกาตามทัน อีกตัวอยางหนึ่ง ที่คิดวาควรนำมาเลาใหทานผูอานไดรูคือ เรื่อง ของพระปูตคิ ตั ตะ ผูป ว ยเปนโรคประหลาด รักษาไมหาย กลาวคือ ในสมัยพุทธกาล มี พ ระสาวกของพระพุ ท ธเจ า องค ห นึ่ ง ชื่ อว า พระติ ส สะ อาพาธด ว ยโรคประหลาด คื อ อยู ดี ๆ ก็ มี ตุ ม ผุ ด ขึ้ น ตามตั ว เหมือนเม็ดหัวสิวและแตกออกเปนหนอง มีกลิ่นเหม็น และไดขยายโตขึ้น ขนาดเท า เม็ ด ถั่ ว เขี ย ว เม็ ด ถั่ ว ดำ หั ว แม มื อ แตกออกเป น แผลเน า เหวอะหวะ น้ำหนองไหลเยิม้ ไปทัว่ กาย กระดูกขาก็หกั แตกเปนสวนๆ จนภิกษุ ทั้งหลายตางก็เรียกทานวา “พระปูติคัตตติสสะ” แปลวา พระติสสะตัวเนา ท า นเป น ที่ รั ง เกี ย จของเพื่ อ นภิ ก ษุ และไม มี ใ ครพยาบาลดู แ ล ปล อ ยให น อนจมกองเลื อ ดหนองอยู เ พี ย งลำพั ง พระพุ ท ธเจ า ทรง ทราบเรื่องไดเสด็จมาปฐมพยาบาล ตมน้ำรอน เช็ดเนื้อเช็ดตัว ทำความ สะอาดบาดแผลและเปลี่ ย นจี ว รให ใ หม ครั้ น พระปู ติ คั ต ตติ ส สะรู สึ ก สบายตัว สบายใจ ไมมีความกังวลแลว จึงทรงแสดงพระธรรมเทศนาโปรด ทานไดบรรลุพระอรหันตและดับขันธนิพพานในวันนั้นนั่นเอง âä·Õè·‹Ò¹»ÃÐʺ ໚¹à¾ÃÒСÃÃÁ·Õèà¤Â¡‹Í

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

16 ¢¨Ñ´âä


ภายหลังไดมีผูทูลถามถึงบุพกรรมของพระปูติคัตตติสสเถระวา ทานไดสรางกรรมอันใดไว จึงตองมารับกรรมปวยเปนโรครายแรงเชนนี้ พระพุทธเจาตรัสวา ในอดีตชาตินั้น พระติสสะนี้ เคยเกิดเปนพรานลานก มี อ าชี พ จับนกขาย ทีแรกก็จับตายและนำไปขายในตลาด วันไหนจับไดมาก ขาย ไมหมด เขาก็ทิ้งซากนกกองกันใหเนา ภายหลังเขาเปลี่ยนวิธีจากจับตายมาจับเปน โดยนกที่จับไดถาขาย ไมหมด เขาก็จับหักขา หักปก จับขังไวในกรง ทำใหนกเหลานั้นไดรับ ทุกขเวทนาอยางแสนสาหัส ดวยผลกรรมที่กอไวกับนกเหลานั้นจึงสงผลให ทานตองมารับกรรมปวยเปนโรคประหลาด ตองทุกขทรมานอยางแสน สาหัสในปจจุบันชาตินี้ พระปูติคัตตติสสเถระ นับวายังเปนผูมีบุญวาสนามาก ที่ไดพบพระพุทธเจาผูเปยมดวยเมตตาบารมี มีโอกาสไดฟงธรรมและสำเร็จเปนพระอรหันตในชาตินี้ ไมตองทุกขทรมานตอไปอีกในชาติหนา เมื่อเทียบกับพวกเราแลว โอกาสที่จะไดพบพระพุทธเจา ในชาตินี้นั้นไมมีทางแลว ชาติหนา หรือชาติตอๆ ไป ก็ไมแนวาจะไดพบ ดังนั้น เราทั้งหลายจึงไมควรประมาท ทำบาปกรรมอันจะสงผลใหตองเจ็บปวยและทุกขทรมานในอนาคต

จากตัวอยางทั้ง ๒ เรื่องนั้น สรุปไดวาโรคภัยไขเจ็บที่เราประสบอยู ในปจจุบันนี้ มีเหตุมาจากการที่เราไดเคยลวงเกินทำรายทำลายชีวิตของ ผูอื่นมากอน กรรมในอดีตนั้นจึงตามมาใหผลในปจจุบัน อาการเจ็บปวยทีเ่ กิดจากกรรมเปนสมุฏฐานอาจแยกไดเปน ๒ สวน คือ ๑. มาจากดวงจิตทีม่ ากไปดวยโทสะ ๒. มาจากคำสาปแชงของสัตวที่เราฆาหรือเบียดเบียนเขา Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

17 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๑. ดวงจิตมากไปดวยโทสะ พระพุทธเจาตรัสไววา ใจที่มีกิเลสมาก มีความเศราหมองมาก มีกิเลสที่เปนโทสะมาก ยอมสงผลให ใจปวย และใจที่ปวยก็จะสงผลให กายปวยเปนโรคตางๆ คนทีฆ่ า สัตวตดั ชีวติ มากๆ จิตใจของเขายอมไรความ เมตตาปรานี มากไปดวยความอาฆาตพยาบาท ยิ่งฆามากใจก็ยิ่งเศรา หมองมาก จิตเศราหมองมาก เมื่อตายไปเกิดในภพภูมิ ใหมยอมทำให รางกายปวยเปนโรค บางคนถึงกับเสียชีวิตตั้งแตในครรภ บางคนเกิดมา ก็ตอ งเปนโรครายแรง โรคประหลาด ใหตอ งทรมาน ไมมที างรักษา เกิดมาเพือ่ รอวันตายอยางเดียว ๒. เจ็บปวยเพราะคำสาปแชง นอกจากใจที่มากดวยโทสะจะทำใหเราเจ็บปวยแลว คำสาปแชง จากบรรดาสัตวทเี่ ราฆาเขา หรือนำเนือ้ เขามาบริโภคเปนอาหาร ไกทถี่ กู ฆา ในแตละวันมากมายนับเปนแสนเปนลานตัว หมูที่ถูกเชือดถูกชำแหละเนื้อ ช า งกิ โ ลขายตามตลาดสดในแต ล ะวั น เป น หลั ก หมื่ น หลั ก แสน คิ ด ดู ว า คำสาปแชงที่ไก หมู วัว ควาย ปลา กุง หอย แตละตัวไดสาปแชงแกผูที่ ทานเนื้อของเขาเปนอาหารจะมากมายขนาดไหน การทีม่ นุษยตอ งผจญกับโรคระบาด อยางเชน โรคไขหวัดนก ไขหวัด ๒๐๐๙ ซึ่งมีไก นก หมู เปนพาหะนำโรค หรือแม กระทัง่ การทีม่ นุษยตอ งประสบภัยพิบตั ติ า งๆ ตองทำสงครามห้ำหั่นฆากันเอง ไมแนวา อาจเกิดจากคำสาปแชงของสัตวที่เราฆา เพือ่ เปนอาหารหลายรอยหลายพันหลายลาน ชีวิตก็เปนได

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

18 ¢¨Ñ´âä


÷

¾Ø·¸ÇÔ¸ÕÃÑ¡ÉÒâä

จากสมมติฐานการเกิดโรคทั้ง ๘ ประการตามที่กลาวมาแลวนั้น จำแนกออกเปน ๒ จำพวกหลักๆ คือ ๑. โรคที่เกิดจากกรรมเกา ๒. โรคที่ไมไดเกิดจากกรรมเกา อาจมีคำถามตามมาวาแลวจะรูได อยางไรวา โรคอยางไหนเกิดจากกรรมเกา อยางไหนไม ไดเกิดจากกรรมเกา ขอนี้ คงจะวินจิ ฉัยยาก แตถา จะถือเอาตามพระพุ ท ธพจน ที่ ว า ผู มี โ รคมากเกิ ด เพราะ กรรมทำปาณาติบาตมาก ก็จะไดขอ ยุตวิ า โรคหรือ อาการปว ยทุกอยางลว นเกิด มาจากกรรมเก า ทั้ ง สิ้ น

เพียงแตอาการเจ็บปวยบางอยาง เชน ไขหวัด ปวดหัวตัวรอน หรือ อาการปวยที่ไมรายแรง สงผลกระทบตอรางกายและจิตใหเปนทุกขนอย ก็ทำใหเราไมนึกวาเปนผลของกรรมเกา แตถาปวยเปนโรคที่รายแรง รักษา ไมหาย หรือรักษาหายแตตองสิ้นเปลืองทั้งเวลา และคาใชจายจำนวนมาก หลายคนคงไมอาจจะปฏิเสธไดวา มันเปนผลของกรรมทีต่ นทำไวตามมาทัน ไมงนั้ คงไมมีใครเทีย่ วบนบานศาลกลาว สวดมนต ถวายสังฆทาน ปลอยนก ปลอยปลา ทำบุญเพื่อรักษาโรคกัน พระพุทธเจาตรัสวา ความเจ็บปวยเปนเรื่องธรรมดาที่ทุกคนเกิดมาตอง ประสบพบเจอ แมแตพระองคเองก็เชนกัน ขอสำคัญอยูที่วา เมื่อเกิดมีโรคภัย แลวเราจะรักษามันอยางไร และจะปฏิ บั ติ ตั ว ปฏิ บั ติ ใ จอย า งไรไม ใ ห ทุ ก ข ตางหากเลา ทุกขมีไวใหแก ไมไดมีไวใหกลุม โรคก็เชนกัน มีไวเรียนรู เปนบททดสอบของชีวติ ชีวติ ตองประสบทัง้ สุขและทุกขจงึ จะเปนชีวติ ทีส่ มบูรณ ชีวิตที่มีแตสุขจะเปนชีวิตที่ครบถวนไดอยางไร Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

19 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


วิธีการที่พระพุทธเจาใชในการรักษาโรค ก็คือ การปลุกใจใหมีพลัง แลวใชใจที่มีพลังนั้นมารักษาเยียวยารางกายอีกทีหนึ่ง เขาทำนองที่วา กายปวย ใจไมปวย

หลายทานอาจไมเชื่อวา วิธีการรักษาแบบพระพุทธเจานี้ใชไดผล เพราะไม มี ร ะบุ ไ ว ใ นตำราแพทย แ ผนใหม ยั ง ไม ไ ด รั บ การยอมรั บ จาก นักวิทยาศาสตร ในหลั ก คำสอนทางพระพุ ท ธศาสนา ไม ไ ด เ น น ให ค นเชื่ อ ตาม แตเนนใหลงมือพิสูจนดวยตัวเอง คือเปนสันทิฏฐิโก คือใหเรียนรูลงมือ พิสจู นดว ยตัวเอง ไดผลหรือไมประการใด ขอใหทา นไดตดั สินใจเองเถิด วิธีการรักษาแบบสมัยพุทธกาลนั้นแตกตางจากในสมัยปจจุบันมาก การแพทยสมัยใหมเนนการรักษาดานรางกายเพียงอยางเดียว ไมวาเรา จะปวยเปนอะไร หมอก็ใหแตยา ฉีดยา หนักหนอยก็ผาตัด ไมมีการทำให สุขภาพใจของผูปวยดีขึ้นเลย และในตัวยาสมัยใหมยังทิ้งสารเคมีไว ใน รางกายของเราอีกดวย ซึ่งแตกตางกับสมัยพุทธกาลที่จะเนนการรักษาดาน จิตใจเปนหลัก ¡Ò»†Ç ᵋã¨äÁ‹»†Ç¤‹Ð

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

20 ¢¨Ñ´âä


พุ ท ธวิ ธี ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ใช ใ นการสร า งจิ ต ให มี พ ลั ง เพื่ อ ใช ใ นการ รักษาโรค ตามที่ผูเขียนประมวลมาจากพระไตรปฎก จำแนกได ๗ วิธี คือ

ñ.

การรักษาอาการปวยดวยการสวดมนต

ò.

การรักษาอาการปวยดวยการนั่งสมาธิ

ó. ô.

การรักษาอาการปวยดวยการฟงธรรม

การรักษาอาการปวยดวยการเดินจงกรม

õ.

การรักษาอาการปวยดวยการทำสัจกิร�ยา

ö.

การรักษาอาการปวยดวยน้ำมนต

÷.

การรักษาอาการปวยดวยยา

Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

21 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๑. การรักษาอาการปวยดวยการสวดมนต การสวดมนตชวยรักษาโรคไดอยางไร ?

ขณะที่เราสวดมนตอยูนั้น จิตของเราจะเปนสมาธิ จดจออยูกับบทสวด ชวงเวลานี้สมองของเราจะไมคิดเรื่องอื่น ใจก็จะสงบไรซึ่งกิเลสและแข็งแกรง เมื่อใจแข็งแกรงรางกายจักแข็งแกรงตามไปดวย ในสมัยพุทธกาล องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาใหพระสงฆสาวก สวดมนตทุกเชา-เย็น ซึ่งเปนอุบายที่พระพุทธองคใชปองกันโรคและบำบัดโรค แกภิกษุ การสวดมนตสมัยกอนพระองคจะเนนใหสวดออกเสียง ซึง่ นอกจาก จะชวยใหจิตสงบไดเร็วและมั่นคงแลวยังชวยใหปอดไดทำงาน แข็งแรง ทำให รูสึกสดชื่น มีงานวิจัยทางการแพทยออกมาวา การเปลงเสียงทำใหกานสมอง ของคนเราสามารถหลัง่ สารซีโรโทนิน เมือ่ เราเปลงเสียงชาๆ ประมาณ ๑๕ นาที ขึ้นไป ซึ่งมีฤทธิ์คลายยานอนหลับ ลดความเครียด ชวยการเรียนรู ลดระดับ น้ ำ ตาลในเลื อ ด ลดอาการซึ ม เศร า และเป น สารตั้ ง ต น ในการสั ง เคราะห สารสื่อประสาทอื่นๆ ซึ่งจะชวยยืดอายุการทำงาน ของเซลลประสาท เซลลรางกาย ทำใหชีวิตยืนยาวขึ้น เพิ่มภูมิตานทาน ใหเซลล รางกายจึงรูสึกผอนคลาย และไมเครียด ÍÐÃÐËѧ ÊÑÁÁÒÊÑÁ¾Ø·â¸ ÀФÐÇÒ

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

22 ¢¨Ñ´âä


การสวดมนตแบบเปลงเสียง ทำใหอวัยวะตางๆ ภายในรางกายเชน ลำคอ ปอด หัวใจ เกิดการสั่นเคลื่อนไหว ทำงาน เปนการออกกำลังไปในตัว ซึง่ สามารถบำบัดโรคตางๆ เชน โรคหัวใจ โรคความดัน เปนตน สำหรับบทสวดมนตนั้น นิยมสวดบทที่มีอานุภาพในการรักษาโรค โดยเฉพาะ ซึ่งมีทั้งหมด ๒ บท ดวยกัน คือ ๑. บทโพชฌังคปริตร* ๒. บทคิริมานนทสูตร*

และหลังการสวดมนตควรแผเมตตา และอุทศิ สวนบุญสวนกุศลใหแก เจากรรมนายเวรทุกครั้ง เพราะอาการเจ็บปวยของเรานั้นสวนหนึ่งมีสาเหตุ มาจากการผูกอาฆาตพยาบาทของเจากรรมนายเวร เชน สัตวที่เราฆาเปน อาหาร กอนตายเขาอาจสาปแชง ผูกโกรธเราเอาไว คำสาปแชงหรือเนื้อสัตว ที่ถูกฆาขณะที่กำลังโกรธจะมีสารที่เปนพิษสงผลทำใหเกิดโรคตางๆ ตามมา ดังนั้น การที่เราแผเมตตาและ อุทิศสวนบุญสวนกุศลใหกับเขา เปนการแสดงใหเขาไดรับรูวา เรายังไมลืมเขา ยังนึกถึงบุญคุณและระลึกถึงเขาอยูเสมอ ซึ่งเมื่อเขาไดรับรูอยางนี้แลวจะทำใหเขายอมใหอภัยแกเรา ไมผูกอาฆาตพยาบาทตอเรา อันจะเปนทาง บรรเทาโรคภัยของเราใหหายในเร็ววัน

*ดูวิธีสวดและบทสวดมนตรักษาโรค หนา ๓๘

หรือทานที่ประสงคจะไดหนังสือที่แนะนำวิธีการสวดมนตรักษาโรคโดยตรง สามารถติดตามอานได ในหนังสือ พุทธฤทธิ์ พิชิตโรค คิริมานนทสูตร และ หนังสือ โพชฌังคปริตร พุทธฤทธิ์ พิชิตโรค สรางสรรคโดย สำนักพิมพเลี่ยงเชียง โทร. ๐๒-๘๗๒-๙๑๙๑, ๐๒-๘๗๒-๗๒๒๗ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

23 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


ÍÒ¹ÔÊ§Ê ¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µ * การสวดมนตนอกจากจะชวยรักษาโรคใหหายแลว ผูสวดมนต จะไดรับอานิสงสอื่นๆ อีกมากมายดังตอไปนี้ ๑. ความทุกขที่มีจะหมดไป จะพบความสำเร็จ ความรุงเรือง ความมั่นคง ความสำเร็จในหนาที่การงาน ๒. เปนทีร่ กั ของเทพยดา มนุษยและอมนุษยทงั้ หลาย สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เทวดาคุมครอง ๓. เปนเกราะปองกันเคราะหเวร เคราะหกรรม ปองกันศัตรู ปองกันภัยพิบัติ ปองกันวิญญาณราย มนตดำทั้งหลายกอนมาถึงตัว ๔. กลับเหตุการณที่เลวรายใหกลายเปนดี ๕. ทำสิ่งใดที่เปนไปโดยชอบประกอบโดยกุศลธรรม สิ่งนั้นยอม สำเร็จไดโดยเร็วพลัน ๖. บุญกุศลความดีทั้งหลายยอมเกิดขึ้น อกุศลธรรมความชั่ว ทั้งหลายยอมหมดไป ๗. สภาพจิตใจทีห่ งุดหงิด เศราหมอง กระวนกระวาย ยอมหมดไป สภาพจิตใจยอมเบิกบาน แจมใส สดชื่น แมจะเจอปญหา ๘. ไมวาจะหลับหรือตื่น ก็เปนสุข ๙. จิตเปนสมาธิตั้งมั่น ไมหวั่นไหวตามอารมณโลภ โกรธ หลง ไดงาย ๑๐. เปนผูไมประมาทในการดำเนินชีวิต รูบาปบุญคุณโทษ ๑๑. จิตยอมมีพลังเปนสมาธิ สงบไดโดยเร็ว ๑๒. ไดดวงตาเห็นธรรม ๑๓. เมื่อละจากโลกนี้ไป ยอมไปสูสุคติในสัมปรายภพ ๑๔. มีบารมีสนับสนุนใหเขาถึงซึ่งพระนิพพานในชาตินี้หรือ ชาติหนาในระยะเวลาอันใกลนี้

*คัดจากหนังสือ สวดมนตสามัญประจำบาน โดย สำนักพิมพเลี่ยงเชียง


๒. การรักษาอาการปวยดวยการนัง่ สมาธิ การนั่งสมาธิ คือ การนั่งทำใจใหสงบดวยการตั้งสติจดจออยูกับสิ่งใด

สิง่ หนึง่ เชน จดจออยูก บั ลมหายใจเขา-ออก หายใจเขาก็รวู า หายใจเขา หายใจออก ก็รวู า หายใจออก หรือการกำหนดพิจารณารางกายของตนใหเห็นตามความเปนจริง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนานั้น จำแนกเปน ๒ ประเภท คือ ๑) สมถกัมมัฏฐาน การทำสมาธิเพื่อใหจิตสงบนิ่งอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ๒) วิปสสนากรรมฐาน การทำสมาธิเพื่อใหเกิดปญญาเขาใจเห็นแจงใน ขันธ ๕ วาเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา กลาวใหเขาใจงายๆ ก็คือ การทำสมาธิจะชวยทำใหใจของเราสงบและ เขาใจถึงความเปนจริงของชีวิต ผูปวยที่มีจิตใจสงบและเขาใจถึงความเปนจริง ของชีวิต ยอมมีกำลังใจที่ดีในการตอสูกับโรคภัยไขเจ็บ

¾Ø·

คนที่มีจิตใจเขมแข็ง มีกำลังใจดี แมจะเปนโรค รายแรงเพียงไหน ก็สามารถ รักษาใหหายขาดได บางครั้ง เจ็บปวยเล็กนอย ก็สามารถ รั ก ษาให ห ายได ด ว ยตนเอง โดยไมตองพึ่งหมอ ตรงขามกับ ผูปวยที่มีจิตใจไมเขมแข็ง กำลังใจ อ อ นแอ รั ก ษาให ห ายป ว ยได ย าก

â¸

สมาธิหรือการทำจิตใหสงบ เพื่อใหเขาใจถึงหลักความจริงของชีวิต นั้น เปนสิ่งสำคัญและจำเปนอยางมากตอการรักษาโรค Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

25 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


ผูป ว ยสวนใหญจติ ใจมักหาความสงบไดยาก อันเนือ่ งมาจากความเจ็บปวด ทุกขทรมานทางรางกาย และมักจะมีอาการเครียดเนื่องจากความเจ็บปวด ความไมสบายเนื้อสบายตัวและความรูสึกเบื่อหนายที่ตองนอนรักษาตัวใน โรงพยาบาล เบื่อที่ตองกินยา ฉีดยา ใหน้ำเกลือ นั่งนอนอยูบนเตียง อยูกับ สภาพที่จำเจ ความอึดอัดใจที่อยากจะใหหายเร็วๆ ความวิตกกังวลเกี่ยวกับวิธี การรักษา เชน ผาตัด เจาะเลือด ฉายแสง รวมถึงคารักษาพยาบาล ความคิด ความวิตกกังวลเหลานี้ มีผลตอการรักษาโรค คือ ทำใหอาการปวยที่เปนอยู ทรุดหนักขึ้น การรักษาก็หายยาก เพราะจิตที่ไมสงบ หดหู วิตกกังวลทำให รางกายออนแอ การทำสมาธิ ด ว ยการกำหนดลมหายใจเข า -ออกก็ ดี กำหนด พองหนอ-ยุบหนอ ที่หนาทองก็ดี หรือการทำสมาธิดวยวิธีอื่นก็ดี จะทำให ผูปวยสามารถขจัดความคิดฟุงซาน ความวิตกกังวลตางๆ ได ชวยใหจิต มีพลังเขมแข็งและเปนสุข มีผลการวิจัยออกมาวา การกำหนดลมหายใจเขา-ออกยาวๆ ชาๆ ติดตอกันหลายๆ ครั้ง จะชวยทำใหปอดของเราทำงานไดเต็มที่ เมื่อปอด ทำงานไดเต็มที่ก็จะสงผลใหรางกายกระปรี้กระเปรา สมองปลอดโปรงโลง เบาสบาย หายเครียด มีกำลังใจดี สดชื่น เบิกบาน อนึ่ง การทำสมาธิเปนการทำบุญในขอภาวนามัยซึ่งมีอานิสงส มากมายกวาการใหทาน รักษาศีล เมื่อปฏิบัติเปนประจำแลว ยอมเปนการ สรางสมบุญแกตนมากยิ่งขึ้น ซึ่งบุญกุศลที่เกิดขึ้นนี้สามารถบรรเทากรรม ที่เปนเหตุทำใหเกิดโรคในรางกายได ดังคำของพระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ิตธมโม) แหงวัดอัมพวัน ไดกลาวไววา

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

26 ¢¨Ñ´âä


“โรครายตางๆ ของคนเรานัน้ ลวนเกิดแตกรรม ทีต่ นไดสรางมา จากการทำปาณาติบาต ทำรายคนอื่นไวมาก ตัวเองก็เปนโรคมาก โรคกรรมนี้จะรักษาดวยวิธีอื่นนั้นไมไดผล ตองตั้งสติทำวิปสสนากรรมฐานอยางเดียว จึงจะไดผล มีโยมทีป่ ว ยเปนโรครายแรงหลายๆ คน คุณหมอบอกหมดทางรักษา เมื่อมาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานที่วัดนี้อยางจริงจัง แลวปรากฏวาโรครายนั้นไดหายไป นี่คือผลของการทำสมาธิ สามารถรักษาโรคไดจริง ถาทำจริง มีผูปฏิบัติไดผลมากแลว บางรายเปนอัมพาตรักษาไมหาย บางรายเปนโรคมะเร็ง มาปฏิบตั กิ รรมฐานเจริญสติปฏฐาน ๔ ที่วัดอัมพวัน ๗ วัน หาย”

ในสมั ย พุ ท ธกาล พระคิ ริ ม านนท อาพาธหนั ก พระพุ ท ธเจ า ได ทรงแนะนำใหใชการทำสมาธิรักษา วิธีทำสมาธิที่ทรงแนะนำนั้นมี ๑๐ วิธี ด ว ยกั น เรี ย กว า สั ญ ญา ๑๐ ๑ เมื่ อ พระคิ ริ ม านนท ท ำสมาธิ ต ามที่ พระองคทรงแนะนำปรากฏวาหายจากอาการปวยทันที จะเห็ น ได ว า การทำสมาธิ นี้ ห ากปฏิ บั ติ ไ ด ถึ ง ขั้ น และถู กวิ ธี แ ล ว สามารถที่จะรักษาโรคใหหายไดจริง และในทันที ๑

สัญญา ๑๐ มีกลาวโดยละเอียดในหนังสือ พุทธฤทธิ์ พิชิตโรค คิริมานนทสูตร โดย สำนักพิมพเลี่ยงเชียง Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

27 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๓. การรักษาอาการปวยดวยการฟงธรรม การฟงธรรมทำใหเกิดความสงบในจิตใจ เพราะไดเขาถึงความจริง

ของชีวิต มีหลักธรรมสอนวา ทุกสิ่งนั้นไมเที่ยง ทุกสิ่งมีเกิด มีแก มีเจ็บ มีตาย ทุกคนเกิดมาก็ตองตาย ไมมีใครอยูค้ำฟา เมื่อผูปวยไดฟงคำสอนนี้ ก็จะเกิดอาการปลง เมื่อปลงแลวจิตใจก็จะสงบ ไมวิตกกังวลอันสงผลให รางกายออนแอ เมื่อไมกังวลหรือไมเครียด รางกายก็จะถูกฟนฟู บวกกับ การปฏิบัติตามหลักธรรม ผลบุญก็จะชวยใหรางกายหายจากการเจ็บปวย เร็วขึ้น การฟงธรรมเราสามารถเลือกฟงไดหลายรูปแบบ เชน ฟงจากวิทยุ ที่เปนรายการธรรมะ ซึ่งมีอยูมากมายหาฟงไดไมยาก เชน สถานีวิทยุคลื่น

ไทธรรม F.M. 95.25 MHz. ปลอดโฆษณาและการเมือง*

หรือเลือกชมทางสถานีโทรทัศน หรือทางเว็บไซตตางๆ หรื อ จะเลื อ กฟ ง จาก CD, DVD, MP3 ที่ บั น ทึ ก คำสอนของ ครูบาอาจารยที่ทานไดบันทึกเผยแผ ซึ่งมีอยูมากมายหาไดงาย นอกจากนี้ การอานหนังสือธรรมะก็เปนการศึกษาธรรมะในอีก รูปแบบหนึ่งที่มีประโยชน เพราะนอกจากจะไดความรูความเขาใจในเนื้อหา ของธรรมะแลว ขณะที่อานหนังสือก็เปนการรักษาจิตใหเปนสมาธิอีกดวย ขอดีอีกอยางของการอานหนังสือก็คือ ผูอานสามารถเลือกอานเฉพาะ หัวขอที่ตัวเองสนใจได และตรงไหนที่อานแลวยังไมเขาใจชัด ก็สามารถ ที่จะอานซ้ำๆ เพื่อทำความเขาใจได ʹã¨Ë¹Ñ§Ê×͸ÃÃÁÐänj͋ҹ ᨡ໚¹¸ÃÃÁ·Ò¹ÊÌҧºØÞ µÔ´µ‹ÍàÅÕè§àªÕ§ ¹Ð¤Ð

*ผูฟ ง สามารถฟงผานเว็บไซตไดที่ : www.fm9525radio.org โทร. ๐๒-๘๗๒-๖๐๖๐, ๐๒-๘๗๒-๖๒๖๒

¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

28 ¢¨Ñ âä ¢¨Ñ´´âä


สำหรับ เนื้อหาของธรรมะที่เลือ กอา นเลือกฟง นั้น หากฟง จาก วิทยุหรือโทรทัศนคงเลือกใหตรงกับเรื่องที่อยากรู ไม ได เพราะเนื้อหา จะขึ้นอยูกับผูจัดรายการที่จะเลือกนำมาเสนอ สวน CD, DVD, MP3 หรือหนังสือนั้น เราสามารถเลือกไดเต็มที่ อาจจะเริ่มจากเรื่องที่เราอยากรู หรือเริ่มจากธรรมะที่เขาใจงาย สบาย ไมเครียดกอน จากนั้นคอยๆ ศึกษาไปเรื่อยๆ ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจาก็เคยใชวธิ กี ารแสดงธรรมใหผปู ว ยฟง เพื่อรักษาอาการปวยเชนกัน ดังที่ปรากฏในโพชฌังคสูตรวา สมัยหนึ่ง พระมหากัสสปะกับพระมหาโมคคัลลานะอาพาธ พระพุทธเจาเสด็จไปเยี่ยม ไขและไดทรงแสดงธรรมเรื่อง โพชฌงค ๗ ใหฟง เมื่อทานทั้งสองฟงธรรม จบลงก็หายจากอาการปวยในทันที หรือแมกระทั่งสมัยหนึ่งพระพุทธองค ทรงพระประชวรก็ โ ปรดให พ ระจุ น ทเถระแสดงธรรมเรื่ อ งโพชฌงค ๗ ใหสดับ เมือ่ จบพระธรรมเทศนา ก็ทรงหายจากอาการประชวรในทันที นีค่ อื อานิสงสของการฟงธรรม การฟงธรรมจนเกิดความรูแจงเขาใจแจมชัด จะทำใหผูฟงเกิดปติ อิ่มใจ พลังแหงความปตินี่เองที่จะชวยใหหายจากอาการปวย

Á¹ØÉ ÁÕ¡ÃÃÁ໚¹¢Í§µ¹ ¤¹·Õ軆Ç¡çà¾ÃÒСÃÃÁ¢Í§µ¹

Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

Í‹Ò¹¸ÃÃÁÐ áŌǪ‹ÇÂãˌࢌÒ㨠ªÕÇÔµ´Õ¢Öé¹ ¨Ôµã¨Ê§º ÁÒ¡¢Öé¹ ÍÒ¡Òû†Ç ¡ç·ØàÅÒŧ...´Õ¨Ñ§

29 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


๔. การรักษาอาการปวยดวยการเดินจงกรม การเดินจงกรมเปนการทำสมาธิอยางหนึง่ โดยใชสติจบั อยูท อี่ ริ ยิ าบถ การเดิน ไมใหจิตไปกังวลอยูกับอาการปวย ทั้งไดออกกำลังกายไปในตัว เมื่อออกกำลังกายรางกายจะขับของเสียหรือสารพิษที่เปนสาเหตุของโรค ออกมาพรอมกับเหงื่อ ซึ่งจะชวยใหอาการปวยทุเลาลงและหายเร็วขึน้ วิธีการเดินจงกรม อยางแรกใหยืนในทาที่สงบนิ่ง ปลอยตัวตาม สบายไมตองเกร็ง วางมือซายไวที่ทองและใชมือขวากุมมือซายเอาไว กมหนาลงเล็กนอย ไมตองหลับตา จากนั้นรวบรวมสติและกาวเทาออกไป อยาใหเร็วเกินไป หรือชาเกินไป ขณะกาวเทานั้น กาวเทาขวาใหกำหนด บริกรรม*วา พุท กาวเทาซายใหบริกรรมวา โธ การเดินจงกรมควรเดิน ในระยะทางที่พอดี คือประมาณ ๓๐-๔๐ กาว กลับไปกลับมา ´ÙäÁ‹àËÁ×͹ ¤¹»†ÇÂàÅÂ

¾Ø·.

.

â¸.. µŒÍ§à»š¹à¾ÃÒÐ à´Ô¹¨§¡ÃÁṋàÅÂ

การเดินจงกรม นอกจากจะไดออกกำลังแลว ยังทำใหจิตใจสงบดวย ชวยใหหายปวย

*อานวา บอ-ริ-กำ หมายถึง การทองอยูในใจ คำวาบริกรรมนั้นไมไดกำหนดตายตัววาจะตองเปน พุท-โธ จะใชคำอืน่ ก็ได เชน ซายยางหนอ ขวายางหนอ หรือใชคำวา กาวหนอๆ ก็ได ขึน้ อยูก บั วา อยางไหนชวยใหจิตเราสงบไดเร็วและนาน ¾Ø·¸äµÃÃѵ¹ 30 ¢¨Ñ´âä


๕. การรักษาอาการปวยดวยการทำสัจกิรยิ า การทำสัจกิริยา คือ การตั้งจิตอธิษฐานอางเอาความจริงอยางใด

อยางหนึ่งเปนหลัก เพื่อใหเกิดอานุภาพดลบันดาลใหสำเร็จผลอยางใด อยางหนึ่งตามที่ตนปรารถนา ดังตัวอยางตอไปนี้ ๑. อธิษฐานจิตชวยคนคลอดลูก สมัยหนึ่ง พระองคุลิมาล เคยเปนโจรที่มีชื่อเสียงโดงดังฆาคนตาย มากถึง ๙๙๙ ศพ ภายหลังกลับใจมาบวชเปนพระออกบิณฑบาต หญิง ทองแกคนหนึ่งออกมาใสบาตร ขณะที่กำลังคดขาวใสบาตร นางจำไดวา ภิกษุนนั้ คือมหาโจรราย จึงตกใจทิง้ ขันขาวแลววิง่ หนีไป แตขณะที่วิ่งหนีนั้น นางเกิดปวดทองจะคลอดอยางกะทันหัน ไดรับความทุกขทรมานอยางมาก พระองคุลิมาลจึงไดตั้งสัจอธิษฐานเพื่อชวยเหลือนางวา

“แตกอนนั้น ขาพเจาไดฆาสัตวตัดชีวิตผูอื่นเปนวาเลน เพราะ ความหลงผิด มาบัดนี้ ขาพเจาไดอุปสมบทเปนภิกษุในพระพุทธศาสนาแลว และนับตั้งแตที่ขาพเจาบวชเปนภิกษุในพระพุทธศาสนา ขาพเจาไมเคยฆาสัตวตัดชีวิตเลยแมแตนอย ดวยการกลาวคำสัตยนี้ ขอใหหญิงผูนี้จงคลอดบุตรงายและปลอดภัยดวยเถิด”

เมื่อจบคำอธิษฐานหญิงคนนั้นก็คลอดลูกไดอยางปลอดภัย ๒. อธิษฐานจิตรักษาพุทธบิดา อีกตัวอยางหนึง่ สมัยหนึง่ พระเจาสุทโธทนะ พุทธบิดาประชวรหนัก ดวยโรคชรา พระพุทธเจาพรอมพุทธสาวกเสด็จไปเยี่ยม พระเจาสุทโธทนะ ตรัสวา พระองคทรงไดรบั ทุกขเวทนาอยางหนัก เห็นจะตองสิน้ พระชนมแนแท พระพุทธเจาตรัสปลอบใหพระองคคลายกังวล แลวไดทรงทำสัจกิริยาวา

“เราตถาคตไดบำเพ็ญบารมีมาดวยวิริยะอันมาก ตลอดระยะเวลา ๔ อสงไขยแสนกัป ก็เพือ่ หวังประโยชนจะโปรดสัตวใหพน จากวัฏสงสาร เปนที่ตั้ง ดวยความสัตยนี้ ขอใหความเจ็บปวดในพระวรกายของ พระบิดาจงหายไป” จากนั้นจึงยื่นพระหัตถลูบที่พระนลาฏ (หนาผาก)

ของพระบิดา อาการเจ็บของพระเจาสุทโธทนะก็บรรเทาลง Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

31 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


µ¶Ò¤µºÓà¾çÞºÒÃÁÕÁÒ´ŒÇ¤ÇÒÁÂÒ¡ÅÓºÒ¡ ¡çà¾×èÍÁØ‹§»ÃÐ⪹ ÊآᡋÊÃþÊÑµÇ ´ŒÇÂÊѨ¨Ð¢ŒÍ¹Õé ¢Í·Ø¡¢àÇ·¹Ò¢Í§¾ÃÐºÔ´Ò ¨§ËÒÂ仾Åѹ

จากนั้นพระอานนทเถระก็ไดทำสัจกิริยาวา “ขาพเจาไดติดตาม

ทำหน าที่ อุปฏ ฐากรับ ใชพระผูมีพระภาคเจาอยางสม่ำเสมอ มิไ ด บกพรอง เปรียบเสมือนเงาตามตัว ดวยความสัตยนี้ ขอใหความ เจ็บปวดของพระปตุลาธิบดี (ลุง) จงหายไป” จากนั้นก็ยื่นมือขวาไป

สัมผัสพระวรกายขางขวาของพระเจาสุทโธทนะ ทำใหอาการเจ็บปวดทุเลา มากขึน้ อีก ลำดับตอมาพระนันทเถระก็ ไดทำสัจกิริยาวา “ตั้งแตขาพเจา

ไดอุ ปสมบทในพระศาสนาของพระบรมศาสดา ขาพเจาก็ดำรงตน ยึ ด มั่ น ในหลั ก พระธรรมวิ นั ย ไม เ คยประพฤติ น อกลู น อกทาง ดวยความสัตยนี้ ขอใหอาการเจ็บปวดของพระปตุราช (พอ) จงหาย ไป” จากนัน้ ก็ยนื่ มือลูบพระพาหา (ตนแขน) ซาย ทำใหอาการเจ็บดานซาย

พระวรกายของพระเจาสุทโธทนะระงับดับไป ลำดับนั้นพระราหุลก็ไดตั้งสัจกิริยาวา “ในพระชาติที่องคพระ-

ตถาคตพุทธเจาบังเกิดเปนพระโพธิสัตว พระนามวา เวสสันดร ได มอบขาพเจาใหกับชูชก เพื่อบำเพ็ญทานบุตรทาน ขาพเจาเต็มใจ ไปอยูกับพราหมณโดยมิไดโกรธเคืองแตอยางใด ดวยความสัตยนี้ ขอใหอาการเจ็บปวดในพระวรกายของพระอัยกาธิราช (ปู) จงหายไป”

จากนั้นจึงยื่นมือไปลูบที่หลังของพระเจาสุทโธทนะ ทำใหอาการเจ็บปวย ของพระเจาสุทโธทนะหายไป ทรงลุกนั่งไดเปนปกติ ¾Ø·¸äµÃÃѵ¹

32 ¢¨Ñ´âä


๓. อธิษฐานจิตสลายพิษงู อีกตัวอยางหนึง่ นำมาจาก กัณหทีปายนชาดก พระไตรปฎก เลม ๒๕ พุทธนิกายอุปทาน มีเรื่องเลาวา ª‹ÇÂÅÙ¡¢ŒÒ´ŒÇÂà¶ÍÐ

มีพราหมณคนหนึ่งชื่อ มัณทัพยะ เปนสหายของพระโพธิสัตว ที่บวชเปนดาบสอยู ณ ปาหิมพานต วันหนึ่งพระโพธิสัตวเดินทางไปเยี่ยม มัณทัพยะพราหมณ ในวันนั้นเองบุตรของมัณทัพยะถูกงูกัด มัณทัพยะ และภรรยาไดนำบุตรไปใหพระโพธิสัตวชวยรักษา พระโพธิสัตววางมือ บนศีรษะของเด็กแลวทำสัจกิริยาวา “ตั้งแตบวชมาถึงปจจุบัน ตัวเรามีจิตศรัทธาไดเพียง ๗ วัน เท า นั้ น หลั ง จากนั้ น ก็ มิ ไ ด มี ค วามใคร จ ะบรรพชา แต ก็ ท นมาได ถึ ง ๕๐ กวาป ดวยความสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกกุมาร พิษจงคลาย กุมารจงรอดชีวิตเถิด”

เมื่อจบการทำสัจกิริยา พิษในตัวของเด็กก็ไหลลงสูดิน แตจำนวน พิษนั้นก็ยังไมหมด พระโพธิสัตวจึงใหมัณทัพยะและภรรยาทำสัจกิริยาดวย มั ณ ทั พ ยะรั บ คำ จากนั้ น ก็ ว างมื อ บนหน า อกของบุ ต รและทำ สัจกิริยากลาววา “ในเวลาที่สมณพราหมณมาขอพักอยูที่บานของเรา

บางครั้งเราไมพอใจจะใหพักเลยแตเราก็ตัดใจใหพักได ดวยความสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกลูกของเรา พิษจงคลายออก ลูกของเราจงรอด ชีวิตเถิด” Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§

33 à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.