บรรณาธิการ/เรียบเรียง : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง บรรณาธิการศิลปะ : อนุชิต คำซองเมือง รูปเล่ม/จัดอาร์ต : จิระพัฒน์ ยังโป้ย ภาพประกอบ : สมควร กองศิลา สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
1
คำนำ
เนื่องในโอกาสปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ เป็นปีแห่งการงานเฉลิมฉลอง พุทธชยันตี (การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า) ครบ ๒,๖๐๐ ปี ชาวพุทธทั่วโลก ต่ า งพร้ อ มใจกั น ละกิ เ ลส ประกอบคุ ณ งามความดี ถ วายเป็ น พุ ท ธบู ช าเป็ น กรณีพิเศษ หนังสือ สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี ทำดี ปลดหนี้กรรม เล่มนี้ จัดทำ เพื่อเป็นคู่มือให้ท่านได้ทำความดีง่ายๆ ถวายเป็นพุทธบูชา โดยภายในเล่ม ประกอบด้วยเนื้อหา ๒ ภาค คือ ๑. ภาคสวดมนต์ เ ฉลิ ม ฉลองพุ ท ธชยั น ตี ประกอบด้ ว ยบทสวด สำคั ญ ๆ คื อ พุ ท ธชั ย มงคลคาถา คาถาที่ พ รรณนาถึ ง ชั ย ชนะของ พระพุทธเจ้า มีอานิสงส์ทำให้ผู้สวดมีชัยชนะเหนือทุกสรรพสิ่ง ๒. ภาคปลดเปลื้ อ งหนี้ ก รรม ประกอบด้ ว ยหลั ก วิ ธี ก ารหลบหลี ก และยอมรับกรรมอย่างไม่เป็นทุกข์ รวมถึงผลกรรมและวิธีบรรเทากรรม ๔๐ อย่าง ซึ่งจะทำให้ท่านเข้าใจกรรมและแก้กรรมได้อย่างถูกวิธี หนังสือเล่มนี้ ได้เน้นเรื่องการแก้กรรมตัดกรรม เพราะคำสอนใน พระพุทธศาสนาโดยหลักแท้จริงแล้วก็คือ การสอนให้คนตัดกรรม การ เข้ า ถึ ง พระนิ พ พานเป้ า หมายสู ง สุ ด ของพระพุ ท ธศาสนา แท้ จ ริ ง แล้ ว ก็ คื อ การตัดกรรมได้อย่างสิ้นเชิงนั่นเอง ในโอกาสแห่งการเฉลิมฉลองพุทธชยันตี ครบ ๒,๖๐๐ ปีนี้ จึงขอ เชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิ ก ชนทุ ก ท่ า นทำดี ตั ด กรรมให้ กั บ ตนเองให้ ม ากๆ ด้ ว ย การลด ละ เลิ ก สิ่ ง ที่ ไ ม่ ดี หั น มาทำสิ่ ง ดี ๆ เริ่ ม จากสิ่ ง เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ เช่ น โกรธให้น้อยลง เมตตาให้มาก ตระหนี่ให้น้อย แบ่งปันให้มาก เห็นแก่ตัว ให้น้อย เห็นแก่ผู้อื่นให้มาก หากทำได้อย่างนี้ย่อมเป็นการเฉลิมฉลองพุทธชยันตีที่ถูกต้องและได้ประโยชน์สูงสุดแน่นอน
2
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
สวดมนต์ฉลองพุ ทธชยันตี ทำดีถวายเป็นพุทธบูชา
การบูชาในพระพุทธศาสนานั้น มี ๒ รูปแบบ คือ อามิสบูชา การ บู ช าด้ ว ยวั ต ถุ สิ่ ง ของ ธู ป เที ย น ดอกไม้ และถาวรวั ต ถุ เช่ น การสร้ า ง พระพุท ธรู ป กุ ฏิ วิ ห าร เป็นต้น ปฏิ บั ติ บู ช า การบูชาด้วยการปฏิบัติตาม หลั ก พระธรรมคำสอน คื อ ละชั่ ว ทำดี ทำจิ ต ให้ ผ่ อ งใส ปราศจากกิ เ ลส โลภ โกรธ หลง ในการบูชาทั้ง ๒ ประการนั้น พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ การบู ช าด้ ว ยการปฏิ บั ติ ต ามคำสอนมากกว่ า การบู ช าด้ ว ยสิ่ ง ของ เพราะ การบู ช าด้ ว ยการปฏิ บั ติ ต ามคำสอนนั้ น นอกจากผู้ ป ฏิ บั ติ จ ะได้ รั บ ประโยชน์ โ สตถิ ผ ลตามสมควรแก่ ก ารปฏิ บั ติ แ ล้ ว ยั ง ช่ ว ยรั ก ษาและ สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ดำรงคงอยู่ต่อไปด้วย การไหว้พระสวดมนต์ เป็นอุบายชำระจิตของตนให้หมดจด ปราศจากกิเลสชั่วระยะหนึ่ง เพราะขณะสวดมนต์จิตจะจดจ่อกับบทสวด แนบ แน่ น กั บ พุ ท ธคุ ณ ธรรมคุ ณ สั ง ฆคุ ณ เมื่ อ จิ ต แนบแน่ น จิ ต ก็ จ ะสงบระงั บ ว่างจากความโลภ โกรธ หลง ณ ขณะนั้น อนึ่ง บทสวดแต่ละบทย่อมแฝง ไว้ด้วยพระธรรมคำสอนหากใช้ปัญญาพิจารณาย่อมเกิดความรู้แจ้งแจ่มใจ สามารถนำไปปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ แก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันของตนได้ เมื่ อ ได้ รั บ ทราบถึ ง คุ ณ แห่ ง การสวดมนต์ เช่ น นี้ แ ล้ ว ณ โอกาสนี้ จึงขอให้ทุกท่านได้ตั้งใจสวดมนต์ จะสวดคนเดียวหรือชวนคนในครอบครัว สวดพร้อมกันก็ได้ ยิ่งสวดเป็นหมู่คณะได้มากเท่าไร ก็จะบังเกิดผลานิสงส์ ได้มากเท่านั้น การสวดนั้นสามารถสวดได้ทุกที่ทุกเวลาตามแต่สะดวก ยิ่ง สวดได้บ่อย ความดีก็ยิ่งมาก บารมีก็ยิ่งเพิ่มพูนมากขึ้น เมื่อความดีมีมาก ชีวิตก็จะมีแต่ความสุข สงบ ร่ม เย็น ในปีแห่งการเฉลิมฉลองพุทธชยันตีนี้
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
3
๑.บทกราบพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ)
๒.บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
๓.บทไตรสรณคมน์
พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ทุติยัมปิ พุทธัง ทุติยัมปิ ธัมมัง ทุติยัมปิ สังฆัง ตะติยัมปิ พุทธัง ตะติยัมปิ ธัมมัง ตะติยัมปิ สังฆัง 4
สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง
คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ. คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ. คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ.
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
๔.บทสรรเสริญพระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชา- จะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
๕.บทสรรเสริญพระธรรมคุณ
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
๖.บทสรรเสริญพระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
5
๗.บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง)
๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๕. กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. * ถ้าสวดให้ตัวเองเปลี่ยน เต (แก่ท่าน) เป็น เม (แก่ข้าพเจ้า) ทั้งหมด
6
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พ๎รัห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ. ๙. เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตîวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
7
๘.บทชยปริตร (มหากาฯ)
มะหาการุณิโก นาโถ ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ชะยันโต โพธิยา มูเล เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ อะปะราชิตะปัลลังเก อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ
หิตายะ สัพพะปาณินัง ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง โหตุ เต* ชะยะมังคะลัง. สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน ชะยัสสุ** ชะยะมังคะเล สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะณิธี เต* ปะทักขิณา ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.
๙.บทสัพพมงคลคาถา
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*. * ถ้าสวดให้ตัวเองเปลี่ยน เต (แก่ท่าน) เป็น เม (แก่ข้าพเจ้า) ทั้งหมด ** ถ้าสวดให้ตัวเองเปลี่ยน ต๎วัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ เป็น อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยามิ
8
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
๑๐.บทอิติปิโสเท่าอายุ+๑
อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
๑๑.บทแผ่เมตตาให้ตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข ; นิททุกโข โหมิ, ปราศจากความทุกข์ ; อะเวโร โหมิ, ปราศจากเวร ; อัพîยาปัชโฌ โหมิ,
ปราศจากอุปสรรคอันตรายและความเบียดเบียนทั้งปวง ; อะนีโฆ โหมิ, ปราศจากความทุกข์กายทุกข์ใจ ; สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. มีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด.
ร่วมเฉลิมฉลองพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ปี ด้วยการทำดีพิมพ์หนังสือธรรมะ แจกเป็นธรรมทาน ถวายเป็นพุทธบูชา ก่อเกิดปัญญา สร้างประโยชน์สขุ แก่ผไู้ ด้รบั และยังเป็นการร่วมเผยแผ่พระธรรมคำสอน รักษาพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวสืบไป สนใจติดต่อ โทร. 02-872-8080, 02-872-9191 หรือ WWW.LC2U.COM สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
9
๑๒.บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์
สัพเพ สัตตา,
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น ; อะเวรา โหนตุ, จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรต่อกันและกันเลย ; อัพîยาปัชฌา โหนตุ, จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้พยาบาทเบียดเบียน ซึ่งกันและกันเลย ;
อะนีฆา โหนตุ,
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย ; สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ. จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด.
การสร้างอักขรธรรมหนึ่งอักษร มีอานิสงส์เท่ากับสร้างพระพุทธรูป หนึ่ ง องค์ หนั ง สื อ ธรรมะหนึ่ ง เล่ ม ประกอบด้ ว ยอั ก ขรธรรมหลายพั น ตั ว อั ก ษร ดังนัน้ ผูส้ ร้างหนังสือธรรมะแจกเป็นธรรมทานหนึง่ เล่ม จึงชื่อว่าได้บุญมหาศาล สะสมบุญมากมายนี้ ได้ด้วยการพิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมทาน หรือหยิบยื่นหนังสือธรรมะที่ท่านไม่อ่านแล้ว ให้กับคนรอบข้าง สาธุ
10
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
๑๓.บทแผ่เมตตาอุทิศผลบุญ
อิทัง ปุญญะผะลัง ด้วยอานิสงส์แห่งบุญที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญ มาแล้วนี้ ข้าพเจ้าขออุทิศแด่บิดา มารดา ครูอาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหาย ผู้ มี บุ ญ คุ ณ ทุ ก ท่ า น เทพไท้ เ ทวาทุ ก หมู่ เ หล่ า เจ้ า กรรมนายเวรทั้ ง หลาย ตลอดถึงสรรพสัตว์ทั้งหลายใน ๓๑ ภพภูมิ จำแนกเป็น ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน ทั้งหมดทั้งสิ้น ทั้งที่ระลึกได้ก็ดี ระลึกไม่ได้ก็ดี จงเป็นผู้มีส่วนได้รับ ผลบุญของข้าพเจ้าในคราวครั้งนี้โดยถ้วนหน้ากัน ท่านที่กำลังมีทุกข์ขอให้ พ้นจากทุกข์ ท่านที่กำลังมีสุขก็ขอให้สุขยิ่งๆ ขึ้นไป และด้ ว ยอานิ ส งส์ แ ห่ ง การทำความดี และอุ ทิ ศ ส่ ว นบุ ญ ในคราว ครั้ ง นี้ จงเป็ น พลวปั จ จั ย หนุ น ส่ ง ให้ ข้ า พเจ้ า มี สุ ข ทุ ก สถาน มี ค วามเกษม สำราญในกาลทุกเมื่อ มีสุขภาพแข็งแรงปราศจากทุกข์โศกโรคภัย สมหวัง ในสิ่ ง ที่ ป รารถนา อย่ า ได้ พ บพานกั บ อั น ตรายใดๆ และเมื่ อ มี เ หตุ ปั จ จั ย ถึงพร้อม ขอให้ข้าพเจ้าได้รู้แจ้งในธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า สำเร็ จ เป็ น พระอริ ย บุ ค คลก้ า วพ้ น ซึ่ ง วั ฏ สงสาร ถึ ง บรมสุ ข นิ พ พานใน เร็ววันด้วยเทอญ สาธุ. พรหมโลก ๒๐ นรก ๑ สวรรค์ ๖ เปรต ๑
มนุษย์ ๑
สัตว์ดิรัจฉาน ๑
อสุรกาย ๑
สัตว์ โลก ๓๑ ภูมิ
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
11
วิธีใช้หนี้กรรม อย่างไม่ทุกข์ กรรมนำพาให้ชีวิตเป็นไป
หลายคนมี ค ำถามที่ ห าคำตอบให้ กั บ ตนเองไม่ ไ ด้ ว่ า ทำไมเรื่ อ ง เลวร้ า ยอย่ า งนั้ น ถึ ง เกิ ด ขึ้ น กั บ ตนเอง หรื อ ได้ ยิ น ข่ า วคราวที่ น่ า สลดใจ บางอย่างเช่น เด็กถูกผู้ใหญ่ข่มขืน พ่อแม่ถูกลูกทอดทิ้ง ดาราชื่อดังประสบ อุ บั ติ เ หตุ เ สี ย ชี วิ ต หรื อ ข่ า วคราวเกี่ ย วกั บ ภั ย ธรรมชาติ ที่ มี ค นสั ง เวยชี วิ ต มากมาย กรรมดูเหมือนจะเป็นคำตอบสุดท้ายและเป็นคำตอบเดียวที่เรา ได้ยินได้ฟังอยู่เสมอ ถึงแม้ว่ากฎแห่งกรรมจะเป็นคำตอบสุดท้ายก็ตาม แต่ ความสงสั ย ยั ง ไม่ ห ยุ ด แค่ นั้ น หลายคนยั ง มี ข้ อ สงสั ย ใคร่ รู้ ต่ อ ไปอี ก ว่ า แล้วเขาทำกรรมอะไรไว้ถึงส่งผลให้เขาต้องประสบชะตากรรมเช่นนั้น จากการศึกษาพระไตรปิฎกในส่วนของพระสุตตันตปิฎกและคัมภีร์ สำคัญต่างๆ ที่กล่าวถึงเรื่องราวของผู้ที่สร้างกรรมเอาไว้และต้องรับผลของ กรรม ได้พบคำตอบที่พอสรุปได้ ๒ ประการว่า ๑. กรรมให้ผลแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน คือ ตนทำกรรมกับคนอื่นไว้อย่างไร ก็จะประสบเหตุการณ์ อย่างนั้นตอบแทน เช่น เคยใช้ท่อนไม้ทุบพ่อแม่ตาย ก็ จ ะใช้ ก รรมด้ ว ยการถู ก ทุ บ ตาย หรื อ เคยจั บ คนอื่ น ถ่ ว งน้ ำ ตาย ก็ จ ะถู ก คนอื่ น จั บ ถ่ ว งน้ ำ ตาย เป็ น ต้ น การให้ ผ ลของกรรมในลั ก ษณะเช่ น นี้ เ รี ย กว่ า พระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบ ทำอย่างไรได้อย่างนั้น ๒. กรรมให้ผลโดยอ้อม คือ ผู้กระทำไม่ต้องรับผลกรรมในลักษณะ เช่ น เดี ย วกั บ กรรมที่ ต นทำ แต่ ช ดใช้ ด้ ว ยความทุ ก ข์ ใ นลั ก ษณะที่ ใ กล้ เ คี ย ง กัน เช่น เคยข่มขืนผู้อื่น อาจไม่ต้องชดใช้กรรมด้วยการถูกข่มขืน แต่ชดใช้
12
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
ด้วยการเป็นโรคมะเร็งที่อวัยวะเพศ มีความวิปริตทางเพศ ถูกหลอกลวงไป ค้าประเวณี เป็ น ต้ น หรือคนที่เคยหักขาสัตว์ อาจไม่ต้องชดใช้กรรมด้วย การถู ก หั ก ขา แต่ อ าจชดใช้ ด้ ว ยเกิ ด มาขาพิ ก าร ประสบอุ บั ติ เ หตุ ใ ห้ ต้ อ ง ขาหัก เป็นต้น ดังนั้นกับคำถามที่ว่าเขาทำอะไรไว้จึงต้องรับผลกรรมอย่างนั้น จึง ตอบได้ ว่ า ก็ ท ำกรรมอย่ า งที่ เ ขาโดนอยู่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ แ หละอย่ า งหนึ่ ง หรือไม่ก็ทำกรรมที่ส่งผลให้คนอื่นได้รับความทุกข์ ความเสียใจอย่างที่ตน ประสบอยู่นี่แหละประการหนึ่ง
ทุกคนเกิดมาล้วนมีหนี้กรรมที่ต้องชดใช้
พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส เอาไว้ ว่ า กั ม มุ น า วั ต ตะตี โลโก สั ต ว์ โ ลกย่ อ ม เป็นไปตามกรรมหรือการกระทำ หมายความว่า ไม่ว่าเราจะทำกรรมอะไร ไว้ก็ตาม ไม่ว่าจะดีหรือชั่ว เราย่อมได้รับผลแห่งการกระทำนั้นเสมอ ใคร ทำดีย่อมได้สิ่งดีๆ ตอบแทน ใครทำชั่วย่อมได้สิ่งที่เลวร้ายตอบแทนเช่นกัน สั ต ว์ ทั้ ง หลายในแต่ ล ะภพภู มิ ไม่ ว่ า จะเป็ น พรหม เทวดา มนุ ษ ย์ สัตว์ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย หรือสัตว์นรก แต่ละคนต่างมีกรรมเป็นของ ตัวเอง และแต่ละคนต่างก็เคยสร้างทั้งกรรมดีและกรรมชั่วเอาไว้ ผู้ที่สร้างกรรมชั่วเอาไว้ แต่กรรมชั่วนั้นยังไม่ให้ผล คนคนนั ้นถือว่า เป็นผู้มีหนี้กรรมติดตัวที่จะต้องชดใช้ในอนาคต พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า อิณาทานัง ทุกขัง โลเก คนเป็นหนี้เป็น ทุกข์ในโลก สรรพสัตว์ทั้งหลายในวัฏฏะ ๓๑ ภูมิ ทุกคนต่างก็มีหนี้ติดตัว ด้วยกันทั้งนั้น หนี้ที่ว่านี้ก็คือ หนี้กรรม สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
13
หนี้กรรม เป็นหนี้ที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นหนี้ที่ใครๆ ก็ไม่อาจหลบหลีกได้ ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นพรหม เทวดา มนุษย์ สัตว์ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย หรือ สัตว์นรกก็ตาม แม้แต่พระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ ถ้าหากว่าได้เคยสร้าง กรรมไม่ดีเอาไว้ก็ยังต้องชดใช้หนี้กรรมด้วยเช่นกัน ไม่มีข้อยกเว้น การที่กล่าวว่ามนุษย์ สัตว์ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย หรือสัตว์นรก เป็ น ผู้ มี ห นี้ ก รรมติ ด ตั ว นั้ น พอจะเข้ า ใจและเห็ น ได้ ชั ด เพราะทั้ ง มนุ ษ ย์ สัตว์ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย และสัตว์นรกต่างก็ได้รับความทุกข์เดือดร้อน ซึ่ ง พอคะเนได้ ว่ า มาจากผลกรรมชั่ ว แต่ ส ำหรั บ พระพรหม และเทวดาที่ ท่ า นเสวยแต่ ทิ พ ยสมบั ติ อ ยู่ อ ย่ า งสุ ข สบาย ไม่ ทุ ก ข์ เ ดื อ ดร้ อ นอั น ใดเลย จะกล่ า วว่ า ท่ า นมี ห นี้ ก รรมได้ อ ย่ า งไร และยิ่ ง เป็ น พระพุ ท ธเจ้ า หรื อ พระอรหั น ต์ ด้ ว ยแล้ ว ก็ ยิ่ ง เป็ น ไปไม่ ไ ด้ เพราะท่ า นเป็ น ผู้ บ ริ สุ ท ธิ์ ห มดสิ้ น อาสวะทั้งปวงแล้ว เป็นผู้ไม่มีทุกข์ จะมีหนี้กรรมติดตัวได้อย่างไร พระพุทธเจ้าตรัสว่า สรรพสัตว์ทั้งหลายที่มีชีวิต มีความเป็นอยู่ใน ภพภู มิ ปั จ จุ บั น แต่ ล ะตน แต่ ล ะคน แต่ ล ะท่ า น ต่ า งก็ เ คยเกิ ด ในภพภู มิ ต่างๆ มาแล้วมากมายนับจำนวนครั้งไม่ถ้วน มากกว่าเม็ดทรายหรือหยด น้ ำ ในทะเล และในแต่ ล ะภพชาติ นั้ น ต่ า งก็ ไ ด้ ส ร้ า งกรรมต่ า งๆ เอาไว้ มากมายทั้งดีและชั่วปะปนกัน พระพรหมก่อนที่จะมาเป็นพรหมก็ผ่านการ เกิ ด เป็ น มนุ ษ ย์ เป็ น สั ต ว์ หรื อ เป็ น อะไรต่ า งๆ มามากมาย หรื อ แม้ แ ต่ พระพุ ท ธเจ้ า หรื อ พระอรหั น ตสาวกก็ เช่ น เดี ย วกั น ก่ อ นที่ พ ระองค์ จ ะมา อุบัติเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ ออกบวชและตรัสรู้เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ทรงผ่านการ เวียนว่ายตายเกิดและได้เคย ประกอบกรรมชั่วเอาไว้ไม่น้อย ที่จะต้องชดใช้ในชาติสุดท้ายนี้
14
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
เช่น ชาติหนึ่งพระองค์เคยเกิดเป็นพราหมณ์ และได้สร้างเรื่องใส่ร้ายฤๅษี ตนหนึ่ ง ว่ า มี ค วามสั ม พั น ธ์ ฉั น ชู้ ส าวกั บ หญิ ง คนหนึ่ ง ด้ ว ยความอิ จ ฉาที่ ลูกศิษย์ของตนหันไปนับถือฤๅษีตนนั้นมากกว่าตน ด้วยผลกรรมนั้นทำให้ พระองค์ถูกนางจิญจมาณวิกากล่าวใส่ร้ายพระองค์ในท่ามกลางพุทธบริษัท ว่าพระองค์ทำให้นางท้องแล้วไม่รับผิดชอบ หรื อ ชาติ ห นึ่ ง พระองค์ เ คยเกิ ด เป็ น หมอได้ รั ก ษาหญิ ง คนหนึ่ ง เมื่ อ รั ก ษาหายแล้ ว หญิ ง คนนั้ น ไม่ อ ยากเสี ย เงิ น ค่ า รั ก ษาจึ ง แกล้ ง ป่ ว ยไม่ ห าย พอตนทราบเรื่ อ งจึ ง ได้ ป รุ ง ยาชนิ ด หนึ่ ง ให้ น างรั บ ประทาน และถ่ า ยเป็ น เลือดจนตาย ด้วยแรงแห่งกรรมนั้นส่งผลให้พระองค์ป่วยเป็นโรคปักขันธิกาพาธ (ถ่ายเป็นเลือด) และปรินิพพาน หรื อ อี ก ตั ว อย่ า งหนึ่ ง พระมหาโมคคั ล ลานะในอดี ต ชาติ เ คยทำ อนันตริยกรรม คือฆ่ามารดาบิดาของตนด้วยท่อนไม้ ด้วยผลแห่งกรรมนั้น ทำให้ ท่ า นต้ อ งถู ก โจรทุ บ ตาย แม้ ว่ า ท่ า นจะเป็ น พระอรหั น ต์ แ ละเป็ น ผู้ มี ฤทธิ์มากสามารถเหาะเหินเดินอากาศ ปราบนันโทปนันทนาคที่มีฤทธิ์กล้า ได้อย่างง่ายดายก็ตาม แม้พระพุทธเจ้าและพระอรหันต- สาวกผู้สิ้นกิเลสแล้ว ยังต้องมีหนี้กรรม ติดตัว ยังต้องชดใช้กรรม ไม่ต้อง กล่าวถึงพรหมหรือเทวดาว่าจะไม่มี หนี้กรรมติดตัว จริงอยู่ขณะที่เป็นพรหม หรื อ เทวดาอยู่ อ าจจะได้ รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษชั่ ว คราวไม่ ต้ อ งใช้ ห นี้ ก รรม แต่ เ มื่ อ หมดบุญจุติจากสวรรค์มาเกิดบนโลกมนุษย์แล้ว ก็ต้องชดใช้หนี้กรรมตาม ระเบียบ ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าสรรพสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมีชีวิตในวัฏฏะ ๓๑ ภูมินี้ ทุกคนต่างก็มีหนี้กรรมติดตัวที่ต้องชดใช้ด้วยกันทั้งนั้นไม่มียกเว้น
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
15
การกระทำทุกอย่างมีผลกระทบต่อสภาพจิตใจ
หลายคนอาจมีคำถามว่า กรรมที่ทำในชาตินี้แล้วทำไมถึงติดตาม ให้ผลในภพชาติต่อไปได้ ส่วนใหญ่คนมักจะจินตนาการว่า กรรม เป็นสิ่ง ที่มีอ ำนาจคอยติ ดตามหรือเฝ้าดูเราอยู่ทุกลมหายใจ อันที่จริงแล้ว กรรม ไม่ใช่สิ่งที่มีอำนาจที่มีอยู่ภายนอกตัวเรา แต่เป็นอำนาจที่ฝังลึกติดแน่นอยู่ ในดวงจิตของเรานี่เอง ตามหลั ก ในพระพุ ท ธศาสนาสอนว่ า สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต ทั้ ง หลายล้ ว น ประกอบขึ้นด้วยองค์ประกอบ ๒ ประการ คือ ร่างกาย จิตใจ เพราะมีสองอย่างนี้ทำงานคู่กันจึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า ชีวิต และความ สืบต่อแห่งชีวิต เปรียบเหมือนรถจะวิ่งออกไปตามถนนได้ก็ต้องมี ๒ ส่วน ประกอบกันคือ ๑.รถ ๒.คนขับ ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง รถก็ไม่อาจจะวิ่ง ได้ รถที่กำลังวิ่งอยู่จะเลี้ยวซ้ายเลี้ยวขวา วิ่งช้า-เร็ว จะชนหรือไม่ชนขึ้นอยู่ กั บ คนขั บ เป็ น ผู้ สั่ ง บั ง คั บ ฉั น ใด จิ ต ของคนเราก็ เ ปรี ย บได้ กั บ คนขั บ ส่วนกายนั้นเปรียบได้กับรถ จิตเป็นผู้สั่งกายเป็นผู้ทำตาม ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าการกระทำทุกอย่างที่แสดงออกทางกาย ทาง วาจา หรือทางความคิดก็ตาม ทุกสิ่งล้วนมีใจเป็นผู้สั่งทั้งสิ้น พระพุทธเจ้า ตรั ส ว่ า เจตะนาหั ง ภิ ก ขะเว กั ม มั ง วะทามิ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เรากล่ า ว เจตนาว่าเป็นกรรม พูดให้เข้าใจง่ายก็คือว่า การพูด การกระทำ หรือการ คิ ด อั น ใดก็ ต ามที่ เ กิ ด จากความตั้ ง ใจ (ใจสั่ ง ) การกระทำนั้ น จั ด เป็ น กรรม ทั้งหมด
16
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
กรรมแบ่ ง เป็ น ๒ ประเภท คื อ กรรมที่ ใ ห้ คุ ณ และกรรมที่ ใ ห้ โทษ, กรรมที่ให้คุณนั้นเรียกว่า กุศลกรรม, กรรมดี, หรือบุญ, ส่วนกรรมที่ ให้โทษนั้นเรียกว่า อกุศลกรรม, กรรมชั่ว, หรือบาป, กรรมทั้ง ๒ อย่างนี้ มีผลกระทบต่อจิตใจแตกต่างกัน กรรมที่ให้คุณ ส่ ง ผลให้ จิ ต เบาสบาย สะอาด สงบ แต่ ก รรมที่ ใ ห้ โ ทษจะส่ ง ผลให้ จิ ต มี ส ภาพที่ อึ ด อั ด หนั ก หน่ ว ง สกปรก วุ่ น วาย กรรมจึ ง มี ผ ลต่ อ สภาพของ จิ ต ใจ หากเปรี ย บจิ ต ใจเหมื อ นกั บ เสื้ อ ผ้ า ความสะอาดของเสื้ อ ก็ เ ปรี ย บ เหมือนบุญ หรือกรรมดี, ส่วนความสกปรก ความเหม็นอับ เปรียบเหมือน กับบาป หรือกรรมร้าย
กรรมติดใจไปทุกภพ
จิตใจของคนเรานั้น ใช่ว่าจะเป็นผู้สั่งเพียงอย่างเดียว แต่จิตยังมีห้องเก็บบันทึกข้อมูล ทุกอย่างที่จิตสั่งจิตคิดเอาไว้ด้วย พูดให้เข้าใจง่ายก็คือว่า กรรมทุ ก อย่ า งที่ เราทำอั น เกิ ด จากจิ ต เป็ น ผู้ สั่ ง นั้ น จะถู ก เก็ บ ไว้ ใ นหน่ ว ย ความจำของจิตทั้งหมด ไม่ว่าการกระทำนั้นจะดีจะชั่ว จำได้หรือจำไม่ได้ ก็ ต าม และตามหลั ก พระพุ ท ธศาสนากล่ า วว่ า การตายของผู้ ที่ ยั ง มี กิ เ ลส นั้ น จะตายเฉพาะร่ า งกายเท่ า นั้ น แต่ จิ ต หรื อ วิ ญ ญาณหาตายด้ ว ยไม่ ดังนั้น ความตาย ตามนัยของพระพุทธศาสนาก็คือการเปลี่ยนสถานะทาง รู ป กาย แต่ จิ ต หรื อ วิ ญ ญาณยั ง คงมี ส ภาพเหมื อ นเดิ ม คื อ ก่ อ นตายจิ ต มีสภาพเป็นอย่างไร หลังตายก็มีสภาพเป็นอย่างนั้น สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
17
กรรมที่ ติ ด มากั บ ดวงจิ ต จะเป็ น ตั ว กำหนดความเป็ น ไปของชี วิ ต ในภพต่อไป กล่าวคือกรรมที่ติดมากับดวงจิตนั้นจะเป็นตัวกำหนดรูปหรือ ร่างกายในภพต่อไป ภาษาพระเรียกว่า กัมมชรูป รูปที่เกิดด้วยอำนาจแห่ง กรรม ถ้าดวงจิตดวงใดเก็บสะสมเอาความชั่วไว้มาก ก็จะเป็นจิตที่อ่อนแอ มีขีดความสามารถต่ำ เมื่อจะสร้างรูปก็สร้างได้แต่รูปที่ต่ำๆ น่าเกลียด เช่น ได้รูปที่เป็นสัตว์ดิรัจฉาน เป็นเปรต เป็นอสุรกาย หรือหนักกว่านั้นก็เป็น สัตว์นรก และต้องใช้ชีวิตในรูปร่างอย่างนั้นจนกว่าจะสิ้นอายุขัยของร่างนั้น กรรมจึงไม่ใช่อำนาจภายนอก แต่ เป็นอำนาจที่ติดแน่นอยู่ในใจ ชนิดที่ใจไปไหนกรรมไปด้วย เหมือนกับความร้อนที่ติดอยู่กับไฟ ความเย็นติดอยู่กับน้ำแข็ง กรรมก็ติดอยู่กับใจเช่นนั้น กรรมชั่วทำให้ใจร้อน กรรมดีทำให้ใจเย็นสบาย รู ป ร่ า งกายที่ เราได้ ม านี้ ไ ด้ ม าด้ ว ยอำนาจแห่ ง กรรมสร้ า งขึ้ น ทำไม กรรมถึ ง สร้ า งร่ า งกายขึ้ น มา ทำไมกรรมไม่ เ ล่ น งานดวงจิ ต ซึ่ ง เป็ น ตั ว การ สร้ า งกรรมโดยตรง คำตอบก็ คื อ เพื่ อ ใช้ ร่ า งกายเป็ น เครื่ อ งมื อ เล่ น งานจิ ต เพราะโดยธรรมชาติ ข องจิ ต เป็ น นามธรรม เป็ น สิ่ ง ที่ จั บ ต้ อ งไม่ ไ ด้ การที่ จะเอาจิ ต มาลงโทษด้ ว ยการจั บ มั ด แล้ ว โยนลงในกระทะทองแดง หรื อ จับจิตมามัด มาฆ่า มาข่มขืน เหมือนกับกรรมที่สร้างไว้ไม่ได้ กรรมจึงต้อง สร้ า งรู ป คื อ ร่ า งกายนี้ ขึ้ น มาให้ จิ ต เข้ า ไปอาศั ย และหลอกให้ ห ลงยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ว่ า เป็ น เรา ของเรา เป็ น กู ข องกู จากนั้ น ก็ ใช้ ร่ า งกายที่ จิ ต หลงรั ก นี้ เล่นงานเรา เช่น สร้างร่างกายที่เป็นมนุษย์ให้จิตเข้าไปอาศัย แล้วก็แกล้ง ทำให้ร่างกายนี้แก่ เจ็บ ตาย ถูกข่มขืน ถูกดูหมิ่น ถูกทำร้าย พบกับความ ผิ ด หวั ง เป็ น ต้ น กายเจ็ บ แต่ ผู้ ที่ เ ป็ น ทุ ก ข์ คื อ ใจ ใจจึ ง เป็ น ทั้ ง ผู้ ส ร้ า งกรรม และเป็ น ผู้ รั บ กรรมเองโดยตรง กายเป็ น แต่ เ พี ย งเครื่ อ งมื อ หรื อ อุ ป กรณ์ ที่ กรรมสร้างขึ้นเพื่อใช้เล่นงานใจเท่านั้น
18
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
ตราบใดยั งมีร่างกาย ก็ ยังต้องใช้หนี้กรรมอยู่ตราบนั้น
มาถึ ง ตรงนี้ ก็ ค งจะพอเข้ า ใจได้ อ ย่ า งชั ด แจ้ ง ว่ า ทำไมพระพุ ท ธเจ้ า หรือพระอรหันตสาวกรวมไปถึงพรหมหรือเทวดายังต้องใช้กรรม คำตอบ ก็คือ เพราะพระพุทธเจ้าก็ดี พระอรหันตสาวกก็ดี พรหมหรือเทวดาก็ดี ยัง มีอุปกรณ์คือร่างกายให้กรรมใช้เล่นงานได้อยู่ ดังนั้นไม่ว่าใครก็ตามที่มีรูป ร่ า งกาย มี ชี วิ ต ผู้ นั้ น ก็ ยั ง คงต้ อ งรั บ กรรมใช้ ห นี้ ก รรมด้ ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น ไม่ มี ยกเว้น เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้แล้ว ท่านอาจจะมีข้อโต้แย้งในใจว่า ในเมื่อเป็น พระพุ ท ธเจ้ า เป็ น พระอรหั น ต์ สิ้ น กิ เ ลสแล้ ว แต่ ยั ง ต้ อ งรั บ กรรมอยู่ ซึ่ ง ก็ ไม่ต่างอะไรกับปุถุชนคนทั่วไป แล้วพระพุทธเจ้าจะสอนให้พวกเราปฏิบัติ เพื่ อ ให้ เ ป็ น พระอรหั น ต์ ไ ปทำไมให้ เ ปล่ า ประโยชน์ น่ า จะมี ข้ อ แตกต่ า งกั น ระหว่างการใช้หนี้กรรมของพระอรหันต์กับปุถุชน ใช่ แ ล้ ว ครั บ พระอรหั น ต์ กั บ ปุ ถุ ช นแม้ จ ะต้ อ งใช้ ห นี้ ก รรมที่ ต นเคย ก่อไว้เหมือนกันก็จริง แต่สิ่งหนึ่งที่พระอรหันต์แตกต่างจากปุถุชนอย่างสิ้น เชิ ง กล่ า วคื อ จิ ต ใจของท่ า นไม่ เ ป็ น ทุ ก ข์ กรรมเล่ น งานได้ ก็ เ พี ย งแค่ ก าย เท่านั้น เล่นงานใจของท่านไม่ได้ คือเป็นทุกข์แต่เพียงกายแต่จิตใจเป็นสุข มี อิ ส ระ สงบเย็ น ต่ า งจากปุ ถุ ช นที่ เ มื่ อ ถู ก กรรมเล่ น งานแล้ ว เป็ น ทุ ก ข์ ทั้ ง ทางกายและจิ ต ใจ ยกตั ว อย่ า ง พระพุ ท ธเจ้ า แม้ พ ระองค์ จ ะประชวรด้ ว ย โรคปักขันธิกาพาธ (ถ่ายเป็นเลือด) อันเป็นโรคที่เกิดจากกรรมเก่า แม้จะ ทรงอ่ อ นล้ า และเป็ น ทุ ก ข์ ท รมานอย่ า งหนั ก ทางกาย แต่ ภ ายในจิ ต ใจของ พระองค์นั้นกลับปลอดโปร่งผ่องใส สงบเย็น เป็นสุข จะเห็นได้จากตลอด ระยะทางที่ พ ระองค์ เ สด็ จ สู่ ส าลวโนยานเพื่ อ ปริ นิ พ พานนั้ น พระองค์ ท รง แสดงธรรมแก่ภิกษุและโปรดพุทธบริษัทให้สำเร็จมรรคผลมากมาย แม้ใน คื น ที่ จ ะเสด็ จ ดั บ ขั น ธปริ นิ พ พานก็ โ ปรดให้ สุ ภั ท ทปริ พ าชกเข้ า ทู ล ถาม สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
19
ปั ญ หา และแสดงธรรมโปรด จนได้ ส ำเร็ จ เป็ น พระอรหั น ตสาวกองค์ สุดท้ายอีกด้วย หรือแม้แต่พระมหาโมคคัลลานะ ที่ถูกโจรตามฆ่าถึง ๒ ครั้ง พอถึง ครั้ ง ที่ ๓ ท่ า นได้ รู้ ว่ า การที่ โจรตามฆ่ า ท่ า นนั้ น เป็ น เพราะกรรมที่ ท่ า นเคย ฆ่ า พ่ อ ฆ่ า แม่ เ มื่ อ ครั้ ง อดี ต ชาติ เมื่ อ ท่ า นทราบดั ง นั้ น จึ ง ยอมให้ โ จรรุ ม ตี จนกระดูกแหลกละเอียด จะเห็นได้ว่าการผจญกรรมหรือการใช้หนี้กรรมของ พระอรหั น ต์ นั้ น ปราศจากความทุ ก ข์ กั ง วล เป็ น การรั บ กรรมด้ ว ยรอยยิ้ ม ซึ่งภาวะเช่นนี้เกิดขึ้นยากสำหรับปุถุชน ทำไมพระอรหั น ต์ ท่ า นถึ ง ทำอย่ า งนั้ น ได้ คำตอบก็ คื อ ท่ า นรู้ ทั น เล่ ห์ เ หลี่ ย มของกรรม และไม่ ย อมตกหลุ ม พรางของกรรม คื อ ท่ า นรู้ ว่ า กรรมสร้ า งกายขึ้ น มาเพื่ อ หลอกล่ อ ให้ จิ ต ยึ ด จิ ต รั ก ใคร่ เพื่ อ ที่ จ ะใช้ ก าย ทำร้ายจิต เมื่อท่านรู้อย่างนี้แล้วท่านก็ปล่อยวางไม่ยึดมั่นในร่างกาย มอง กายเป็ น ส่ ว นหนึ่ งแยกออกไปต่างหาก เมื่อใจของท่านเป็นอิสระไม่ยึดมั่น ในกายแล้ว ต่อให้กรรมเล่นงานกายอย่างไรใจของท่านก็ไม่เป็นทุกข์ แม้ว่า กรรมจะหนักหนาสักเพียงไรใจก็ยังเป็นอิสระ นี้คือเคล็ดลับของการใช้หนี้ กรรมอย่างไม่เป็นทุกข์ แล้ ว จะทำอย่ า งไร ใจเราถึ ง จะเป็ น อิ ส ระคลายจากความยึ ด มั่ น ถือมั่นในกายได้ หนทางเดียวที่พระพุทธเจ้าตรัสชี้ไว้ก็คือ การเจริญสติปัฏฐาน ๔ หรือการเจริญวิปัสสนาภาวนา คือการกำหนดขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ให้เห็นตามความเป็นจริง คือ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ท่ า นอาจจะมองว่ า วิ ธี นี้ เ ป็ น วิ ธี ที่ ย าก และไกลเกิ น ความสามารถ ต้องอาศัยการสั่งสมบารมีข้ามภพข้ามชาติ ความเป็นจริงพระพุทธเจ้าตรัส ไว้ในสติปัฏฐานสูตรว่า ผู้ที่ปฏิบัติสติปัฏฐาน ๔ นี้ สามารถบรรลุธรรมได้ อย่างเร็วที่สุด ๗ วัน อย่างช้าที่สุด ๗ ปี ท่านที่ต้องการใช้หนี้กรรมอย่าง ไม่ ทุ ก ข์ หรื อ ไม่ ต้ อ งการเป็ น ทุ ก ข์ เ พราะกรรมอี ก ก็ ค วรเร่ ง ขวนขวายฝึ ก และศึกษาวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่บัดนี้เถิด สาธุ
20
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
วิปัสสนากรรมฐานแก้กรรมถาวร
พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิ ต ธั ม โม) แห่ ง วั ด อั ม พวั น ท่ า นได้ สอนไว้้ เสมอว่า วิธีการที่จะพ้นจากกฎแห่งกรรม หรื อ แก้ ก รรมได้ นั้ น มี เ พี ย งวิ ธี เ ดี ย วคื อ การเจริ ญ วิ ปั ส สนากรรมฐาน ดั ง คำที่ ห ลวงพ่ อ กล่าวไว้ ว่า “ปัญหาชีวิตทั้งหมด เป็นกฎแห่งกรรม แก้ได้ด้วยวิปัสสนากรรมฐาน” สิ่งที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อได้กล่าวนั้น บางท่านอาจยังไม่แน่ใจ ว่าท่านสอนถูกต้องหรือไม่ สิ่งที่ชี้ชัดได้ก็คือเป้าหมายหลักวิปัสสนากรรมฐาน เพราะวิ ปั ส สนากรรมฐานมี เ ป้ า หมายอยู่ ที่ ก ารพิ จ ารณาขั น ธ์ ๕ คื อ รูปกับนาม หรือกายกับจิต ให้เห็นตามความเป็นจริงว่าเป็นอนิจจัง (สิ่งไม่ เที่ยง) เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) เพื่อที่จะถ่ายถอนความยึดมั่น ถือมั่นในร่างกายว่าเป็นตัวกูของกู ถ่ายถอนความรักความอาลัยออกจาก ร่ า งกายนี้ ซึ่ ง เมื่ อ ถ่ า ยถอนความรั ก ความยึ ด มั่ น ในร่ า งกายนี้ ไ ด้ แ ล้ ว ก็ จ ะ เป็ น เหมื อ นกั บ พระอรหั น ต์ คื อ ไม่ ว่ า กรรมจะเล่ น งานกายอย่ า งไร จิ ต ใจ ก็ ยั ง คงเป็ น อิ ส ระไม่ เ ป็ น ทุ ก ข์ ต าม จึ ง กล่ า วได้ ว่ า วิ ธี ก ารใช้ ห ลั ก วิ ปั ส สนา แก้ ก รรมของพระเดชพระคุ ณ หลวงพ่ อ นี้ เ ป็ น การเดิ น ตามรอยของ พระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกโดยแท้ อี ก ประการหนึ่ ง คนที่ มี ค วามทุ ก ข์ ท รมานเพราะกรรมนี้ จิ ต ใจจะ หาความสงบมิได้ เพราะไม่รู้ว่าสิ่งที่ตนกำลังประสบอยู่เป็นเพราะเหตุหรือ กรรมอันใดที่ตนได้สร้างไว้ เมื่อไม่ทราบถึงความจริงก็มักตีโพยตีพายต่อว่า โชคชะตาไปต่างๆ นานา การทำวิปัสสนากรรมฐานจะทำให้ผู้ปฏิบัติเห็น ถึ ง อดี ต กรรมของตนว่ า ความเจ็ บ ป่ ว ยทุ ก ข์ ท รมานนี้ เ กิ ด จากกรรมอั น ใด มี ผู้ ป่ ว ยบางรายป่ ว ยเป็ น โรคมะเร็ ง ขั้ น สุ ด ท้ า ย ไปนั่ ง วิ ปั ส สนาที่ วั ด กั บ สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
21
หลวงพ่ อ ได้ เ ห็ น อดี ต กรรมที่ ต นทำไว้ ว่ า สิ่ ง ที่ ต นกำลั ง ประสบอยู่ นี้ เ กิ ด เพราะกรรมอะไร เมื่ อ ได้ เ ห็ น ได้ ท ราบแล้ ว ก็ ท ำให้ เขายอมรั บ ในผลของ กรรมนั้ น แบบเต็ ม ใจ ไม่ ตี โ พยตี พ าย ตั้ ง ใจทำความดี สวดมนต์ ไ หว้ พ ระ และอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้เจ้ากรรมนายเวรที่ตนได้สร้างไว้กับเขา ด้ ว ยความที่ จิ ต สงบยอมรั บ ผลของกรรมแต่ โ ดยดี ใช้ ห นี้ ก รรมด้ ว ย ความยิ น ดี ประกอบกั บ การทำดี ด้ ว ยความตั้ ง ใจก็ ส่ ง ผลให้ ใช้ ห นี้ เวรกรรม หมดในชาตินี้ และหายป่วยได้อย่างอัศจรรย์ การแก้ ก รรมด้วยวิปัสสนากรรมฐานเป็นวิธีเดียวที่สามารถจะช่วย ให้ เราใช้ ห นี้ ก รรมได้ อ ย่ า งมี ส ติ แ ละเป็ น สุ ข จึ ง ขอฝากให้ ท่ า นทั้ ง หลายได้ เก็ บ ไปคิ ด และนำไปพิ จ ารณาใคร่ ค รวญด้ ว ยสติ ปั ญ ญา ให้ เ กิ ด ความแน่ ใจ เห็นชัด เมื่อเข้าใจชัดแล้วรีบลงมือปฏิบัติโดยด่วน เดี๋ยวนี้วันนี้ อย่างมีสติ ให้เตือนตนไว้เสมอว่า ชาตินี้ขอให้หนี้กรรมเก่าหมด จะไม่ขอทำกรรมชั่ว ใดๆ อี ก จะหมั่ น สร้ า งแต่ ก รรมดี และให้ รี บ ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ วิ ปั ส สนา กรรมฐานโดยเร็ ว วั น เถิ ด เพื่ อ จะได้ มี จิ ต เป็ น อิ ส ระจากกาย ไม่ เ ป็ น ทุ ก ข์ เพราะกรรมอีกต่อไป สาธุ
พนักงานสำนักพิมพ์เลี่ยงเชียงร่วมสวดมนต์ ปฏิบัติธรรมตัดกรรม ฉลองพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ปี
22
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
สติปัฏฐาน ๔ ปิดอบายภูมิได้*
ญาติ โ ยมเอ๋ ย โปรดได้ ท ราบไว้ เ ถอะ บุ ญ กรรมมี จ ริ ง บาปกรรมมี ยมบาลจดไม่ มี จิ ต นี้ เ ป็ น ผู้ จ ด จดทุ ก วั น คื อ อารมณ์ เ รื่ อ งจริ ง แน่ จดทุ ก กระเบียดนิ้ว บาปบุญคุณโทษบันทึกเข้าไว้ พอวิญญาณออกจากร่างไป มัน ก็ขยายออกมาใช้กรรมไป ถ้าเราทำดีก็ไปบังเกิดในสวรรค์ ทำชั่วก็ลงนรก ไปแบบนี้ อาตมาคิ ด ดู น ะว่ า สวรรค์ อ ยู่ บ นฟ้ า นรกอยู่ ใ ต้ ดิ น ก็ ค งไม่ ใ ช่ ดู ตัวอย่างที่เคยเล่าให้โยมฟัง ตาเล่ ง ฮ่ ว ย ผู ก คอตาย วิ ญ ญาณไปเข้ า ยายเภา ยายเภาเป็ น คน ไทยแท้ๆ เกิดพูดภาษาจีนได้ ตอนนั้นอาตมาอยู่วัดพรหมบุรี อาตมาเป็นหมอไล่ผีแต่ไม่มีคาถา ถ้าเป็นหมอผีไม่ต้องใช้คาถา ทำ ปากขมุบขมิบ เทน้ำมนต์ราดส่งไป ผีจริงก็ร้องผีปลอมก็ร้อง พวกนี้โดนน้ำ ไม่ได้ ร้องหมด อาตมาจับผีได้หมดแล้ว จริงปลอมรู้หมดแล้ว คนที่ เ ป็ น ลมเพลมพั ด ไม่ ต้ อ งเสกคาถาหรอก เอาน้ ำ พ่ น ไปยั ง ร้ อ ง เลย ร้องหวีดหวาดๆ คนสติไม่ดี ไม่ใช่อะไรหรอก คนไม่มีสติเขาสวดภาณยั ก ษ์ กั น คนไม่ มี ส ติ ดิ้ น ก็ จ ะตาย คนมี ส ติ เ ขาเฉย นี่ จ ำไว้ มี ส ติ นี่ เ ป็ น ประโยชน์ คนไม่มีสติผีเข้าเจ้าสิง มีคนมาตามอาตมาไป พอไปถึงยายเภาพูดภาษาจีนเลยต้องให้เรือ ไปตามตาแป๊ะ เลี่ยงเกี๊ยก ไว้ผมเปีย เป็นลุงเขยอาตมาให้มาเป็นล่าม เขาบอกไม่ ต้ อ งไล่ เ ขา เขาอยู่ กั บ ฮ่ ว ยเซี ย เถ้ า อยู่ ต รงใกล้ วั ด พรหมบุรีนี่เอง * เล่ า ไว้ เ มื่ อ วั น ที่ ๙ ธั น วาคม ๒๕๓๐ ครั้ ง ยั ง ดำรงสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ที่พระภาวนาวิสุทธิคุณ
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
23
อาตมาถามว่ า “ฮ่ ว ยเซี ย เถ้ า ” คื อ ใคร ทำไมถึ ง ไปอยู่ กั บ “ฮ่ ว ย เซียเถ้า” เขาบอกว่า “ชื่อ หลวงตามด เคยเป็นเจ้าอาวาสวัดกลางพรหมนครอยู่เหนือ ตลาดปากบางนี่เอง อยู่ด้วยกัน ๒ คน ขุดดินถมถนนทุกวัน ถ้าไม่ขุดดิน เขาเฆี่ยนตี และฮ่วยเซียเถ้าก็ขุดดินด้วย” อาตมาได้ ถ ามคนเฒ่ า คนแก่ ชื่ อ บั ว เฮง อยู่ ต ลาดปากบางบอกว่ า ฮ่ ว ยเซี ย เถ้ า มี จ ริ ง ชื่ อ สมภารมด อยู่ วั ด กลาง เป็ น สมภารวั ด จะสร้ า ง ถาวรวั ต ถุ ข องวั ด แต่ เ งิ น ทองถู ก มั ค นายกโกงไปหมด ไม่ รู้ จ ะทำอย่ า งไร เสียใจเลยผูกคอตาย นี่เห็นไหม สมภารผูกคอตายไม่ได้เคยเจริญกรรมฐานเลย ตายมา ตั้งห้าหกสิบปีแล้ว เดี๋ยวนี้ยังอยู่ ตาเล่งฮ่วยเล่าว่าอยู่กับฮ่วยเซียเถ้าชื่อมดก็ตรงกัน อาตมาถามว่า “อยู่ตรงไหนล่ะ ทานข้าวที่ไหน ลื้อมาทำอะไรล่ะ” “อั๊วมาบอกให้ลื้อไปบอกหลานสาวอั๊วนะ ว่าทำบุญไปให้อั๊วไม่ได้นะ อย่าทำเลย” “แล้วกินที่ไหนล่ะ” “อั๊วกับฮ่วยเซียเถ้าไปกินตามกองขยะ ที่เขาเอาเศษอาหารมาทิ้ง กินกับหนอน” “เอ้า! ที่ดีๆ ทำไมไม่กินล่ะ” “ไม่ มี ใ ครให้ กิ น มี อี ก พวกหนึ่ ง ขุ ด ถนนเหมื อ นกั น แต่ เขามี ข้ า วกิ น ต้องไปกินที่มันเหลือๆ จึงจะกินได้ ไปบอกหลานสาวอั๊วชื่อ เจีย นะ บอก ไม่ ต้ อ งทำบุ ญ ไป อั๊ ว ไม่ ไ ด้ ถ้ า ลื้ อ อยากทำบุ ญ ให้ อั๊ ว นะ ฮ่ ว ยเซี ย เถ้ า มด บอกกับอั๊วบอกให้ลูกหลานเจริญวิปัสสนานะ และอั๊วจะได้” อาตมาก็ ม าบอกเจ๊ เจี ย ว่ า ตาเล่ ง ฮ่ ว ยบอกให้ เจริ ญ กรรมฐาน แต่ กลับถูกว่าบ้าบอคอแตกเสียอีก
24
สวดมนต์ฉลองพุทธชยันตี
ตาเล่ ง ฮ่ ว ยบอกว่า ที่อั๊วผูกคอตายนี่ไม่ใช่อะไร อาเจียไม่ให้เงินอั๊ว กินยาฝิ่น อั๊วกินวันละ ๕ บาท ตักน้ำให้ทำขนมขาย ไม่ตักให้ก็ไม่ให้อั๊วกิน ยาฝิ่น อั๊วก็เสียใจผูกคอตาย ตายไปแล้วก็ไม่มีใครให้กิน ฮ่วยเซียเถ้าบอก ให้ลูกหลานเจริญวิปัสสนาจึงจะได้ อาตมาถามว่า “ฮ่วยเซียเถ้าบวชเป็นสมภารเจ้าวัด ทำไมไม่เจริญ กรรมฐาน มาผูกคอตาย” เขาบอกว่า “ไม่ได้ทำๆ” อาตมาจดและจำไว้จนบัดนี้ อาตมาถามว่า “ลื้ออยู่วัดไหนล่ะ” “อั๊วอยู่ตรงนี้เอง อั๊วเห็นลื้อทุกวัน ลื้อเดินไปอั๊วก็ทักลื้อว่าอีไปไหน นะ แต่ลื้อไม่พูดกับอั๊ว” อาตมาถามว่ า “ขุ ด ถนนที่ ไ หน” ก็ ชี้ ไ ปตรงนั้ น แต่ ไ ม่ เ ห็ น มี ถ นน ก็ได้ความว่าเราเดินไปตลาดบ้านเหนือบ้านใต้ เขาเห็นเราหมด เขาทัก แต่ เราไม่รู้เรื่อง อาตมาถามต่อไปว่า “ลื้อมีความเป็นอยู่อย่างไร” เขาบอกว่า “ถ้ า ถึ ง วั น โกนวั น พระเขาให้ ห ยุ ด งาน ที่ ม านี่ เ ป็ น วั น โกน หยุ ด งาน แล้ว เดี๋ยวอั๊วต้องรีบกลับ เดี๋ยวเขาจับได้ เขาตีอั๊ว หนีมาบอกหน่อยเท่านั้น เอง” และยายเภานั้ น พอถึ ง วั น โกนสารทก็ พ ายเรื อ มาจอดที่ ต ลาด ปากบาง มีน้ำไหลเข้าทุ่ง ตอนนั้นชลประทานไม่มี ไปจอดเรือตรงที่เขาผูก คอตาย มาซื้อของจะไปกวนกระยาสารท ตาเล่งฮ่วยบอกเขาให้หยุดงาน อั๊วเลยกระโดดขึ้นเรือมา เลยมาเข้ายายเภา ซึ่งนุ่งผ้าโจงกระเบน ใส่เสื้อเตี่ยว พอผี อ อกแล้ ว อาตมาบอก “ยายเภาเอ๊ ย เจี๊ ย ะปึ้ ง ฮ้ อ นะ” ยาย เภายั ง ไม่ รู้ เจี๊ ย ะปึ้ ง เลย พู ด จี น ไม่ ไ ด้ อยู่ บ างสำโรง เขตสวี อำเภอท่ า วุ้ ง จั ง หวั ด ลพบุ รี อาตมาอยากรู้ ว่ า ผี มี จ ริ ง ไหม ก็ เ ป็ น หมอผี เ สี ย เอง นี่ เ ล่ า ให้ ญาติ โ ยมฟั ง สรุ ป ได้ ค วามว่ า การที่ ฆ่ า ตั ว ตาย ผู ก คอตาย ญาติ พี่ น้ อ ง ทำบุญให้ไม่ได้ผลแน่ ต้องเจริญวิปัสสนากรรมฐานแผ่ส่วนกุศลจึงจะได้ สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
เพียรเพื่อพุทธศาสน์
25