เคราะห์กรรมร้ายในชีวิต จะหายไป หากแก้ไขถูกทาง
พิชิตกรรม
ตามพุทธวิธี
โดย...
พระราชราชวิจิตรปฏิภาณ (สุนทร านสุนฺทโร)
บรรณาธิการ : ไพยนต์ กาสี น.ธ. เอก, ป.ธ. ๖, พธ.บ., น.บ. ปก/รูปเล่ม : สุกัญญา ศรีสงคราม พิมพ์ข้อมูล : ธนวรรณ ขันแข็ง ภาพประกอบ : เทิดเกียรติ ปลูกปานย้อย พิสูจน์อักษร : มานิตย์ กองษา
อานิสงสการสรางหนังสือ เป็นธรรมทาน ·‹Ò¹·Õè¶ÇÒÂ˹ѧÊ×͸ÃÃÁÐ ËÃ×;ÔÁ¾ ˹ѧÊ×͸ÃÃÁÐᨡ໚¹¸ÃÃÁ·Ò¹ ¢ÍãËŒ·‹Ò¹¨§à¡Ô´¤ÇÒÁÀÒ¤ÀÙÁÔã¨à¶Ô´Ç‹Ò ·‹Ò¹ä´Œ·ÓÊÔ觷ÕèÁդس¤‹Ò ù Á§¤Å ´Ñ§µ‹Í仹Õé ñ. ä´Œ ª × èÍ Ç‹Ò à»š¹¼Ù Œ Á Õ Ê ‹ ǹËÇÁ㹡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ãËŒÁÕ ¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹ÇѲ¹Ò¶ÒÇà ò. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒºÓà¾çÞ·Ò¹ºÒÃÁÕ·ÕèÂÍ´àÂÕèÂÁ¤×Í ¸ÃÃÁ·Ò¹ºÒÃÁÕ ó. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒÁÕʋǹËÇÁ㹡ÒÃà¼Âá¾Ã‹ËÅÑ¡¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹¢Í§ ¾Ãоط¸à¨ŒÒ ô. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒÁÕʋǹËÇÁ㹡ÒÃÊÌҧ¤ÇÒÁàËç¹·Õè¶Ù¡µŒÍ§ (ÊÑÁÁÒ·Ô¯°Ô) õ. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒÁÕʋǹËÇÁ㹡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡Òû¯ÔºÑµÔ¸ÃÃÁ¡ÃÃÁ°Ò¹ ö. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒÁÕʋǹËÇÁ㹡ÒÃàÊÃÔÁÊÌҧÊѹµÔÀÒ¾ áÅÐÊѹµÔÊØ¢ á¡‹ªÒÇâÅ¡ ÷. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒÁÕʋǹËÇÁ㹡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁáÅоѲ¹Ò¤Ø³¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁÍѹ´Õ§ÒÁ ø. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒÊ‹§àÊÃÔÁ㹡ÒÃàÅ×Í¡ÊÃÃÊÔ觷Õè´Õãˌᡋ¼ÙŒÃѺ ù. ä´Œª×èÍÇ‹Ò໚¹¼ÙŒáÊ´§ÍÍ¡¶Ö§¹éÓã¨Íѹ´Õ§ÒÁ¢Í§¡ÑÅÂÒ³ÁԵà ·‹Ò¹·Õèä´ŒºÓà¾çÞ¸ÃÃÁ·Ò¹ºÒÃÁմѧ¡Å‹ÒÇÁÒáÅŒÇ Â‹ÍÁ»ÃÐʺ ᵋ¤ÇÒÁÊØ¢ ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÃØ‹§àÃ×ͧ ·Ñé§ã¹ªÒµÔ¹ÕéáÅЪҵÔ˹ŒÒ áÅÐ໚¹¼ÙŒ »ÃÒȨҡ·Ø¡¢ âÈ¡ âäÀÑ ·Ñ駻ǧ
อกฺขรา เอกํ เอกฺจ พุทฺธรูป สมํ สิยา* สรางอักขรธรรมหนึ่งอักษร เทากับสรางพระพุทธรูปหนึ่งองค
*(·ÕèÁÒ : ÈÒÊ¹Ç§È ©ºÑº¾Ãл˜ÞÞÒÊÒÁÕ, òôðô)
.................................................... ................................................................... ........................................................................................... ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................
พิมพแจกเป็นธรรมทาน
ขาพเจาขอตั้งจิตอุทิศผล ถึงบิดามารดาครูอาจารย คนเคยรวมทำงานการทั้งหลาย ทั้งเจากรรมนายเวรและเทวัญ
บุญกุศลนี้แผไปใหไพศาล ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน มีส�วนไดในกุศลผลบุญฉัน ขอใหทานไดกุศลผลนี้เทอญ
พุทธธรรม
มี เป็นที่พึ่งอาศัย หลุดพ้นกรรมเวรได้อย่างแน่นอน คำ�ที่กล่าวว่า สัตว์โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม นั่น เป็นคำ�กล่าวที่เป็นจริงอย่างแน่แท้ พระพุทธศาสนาแม้ว่า สอนให้เชื่อมั่นในกฎแห่งกรรม แต่ท่านมิได้สอนให้ยอม จำ � นนต่ อ กรรม คื อ มิ ใช่ ท นก้ ม หน้ า รั บ ผลกรรมโดยที่ เจ้าตัวมิได้คิดแก้ไข ทั้งยังชี้แนะให้สนใจในการทำ�ปัจจุบัน ของตนให้ดีกว่าเก่า หากตั ว เราเคยทำ � ผิ ด พลั้ ง ทั้ ง ยั ง ปฏิ ญ าณตนว่ า เป็นพุทธมามกชน ก็ควรจะสนใจแสวงหาความรู้ในเรื่อง กฎแห่งกรรม รวมถึงวิธีการที่จะนำ�มาแก้ไขกรรม หรือ การกระทำ�ทีผ่ า่ นมาให้ถกู ต้อง และเพือ่ เป็นการป้องกันตน มิให้ทำ�ผิดในลักษณะนั้นซ้ำ�ๆ อยู่ร่ำ�ไป ข้อคิดเตือนใจในหนังสือพิชิตกรรม ตามพุทธวิธี เป็นผลงานของพระเดชพระคุณพระราชวิจิตรปฏิภาณ ซึ่งท่านมอบลิขสิทธิ์การจัดพิมพ์แก่สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพี ย รเพื่ อ พุ ท ธศาสน์ ในหนั ง สื อ ชุ ด คติ ธ รรมนำ � ชี วิ ต เล่ม ๑-๑๒ เมื่อหลายปีผ่านผัน ข้าพเจ้าบรรณาธิการ สำ�นักพิมพ์แอล ซี พี เด็กดีมีบุญ จึงคัดสรรหัวข้อธรรม ที่ท่านบรรยายเรื่องกฎแห่งกรรมโดยเฉพาะมารวมกันไว้ เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้รับความสะดวกสบายในการหาอุบาย วิธีแก้กรรมที่ตรงตามพระพุทธวิธี ขอบุญบารมีที่ท่านสร้างไว้ เป็นเกราะป้องกันภัยให้ท่าน พ้นเคราะห์กรรม
น.ธ.เอก, ป.ธ. ๖, พธ.บ., น.บ. บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ แอล ซี พี เด็กดีมีบุญ
หัวใจคำ�สอน
พระพุทธศาสนา
เป็นคาถาพิชิตกรรมดีที่สุด ในฐานะที่ท่านทั้งหลายเป็นพุทธศาสนิกชน จะต้ อ งตอบคำ � ถามของคนในศาสนาอื่ น ให้ ไ ด้ ว่ า “หลักใหญ่ของพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าสอน อะไร” ซึง่ อาตมภาพขอเสนอหลักการ ทีพ่ ระพุทธเจ้า ตรัสในวันมาฆบูชา แก่พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ รูป โดยพระองค์ได้ตรัสหลักของพระพุทธศาสนาไว้ว่า สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง กุสะลัสสูปะสัมปะทา สะจิตตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธานะสาสะนัง. แปลว่า “การไม่ท�ำ บาปทั้งปวง การทำ�กุศล ทุกสิง่ ทุกประการ และการทำ�จิตให้ผอ่ งใส นัน่ เป็น คำ�สอนในพระพุทธศาสนา” ถ้าบอกว่าแปลยาก จำ�ยาก ก็ขอแปลให้ทา่ น จำ�ง่ายๆ เพื่อเป็นข้อเข้าถึงพระพุทธศาสนา เพื่อ เอาไว้เป็นคำ�ตอบที่ดี และเพื่อให้มีหลักไว้เตือนจิต ตัวเองเสมอๆ ว่า เราเป็นพุทธศาสนิกชนนั้น คือ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
5
งดเว้นทำ�บาปกรรม ทำ�แต่บุญกุศล ทำ�จิตตนให้ ผ่องแผ้ว ตรงนี้แหละท่านทั้งหลาย ที่เป็นได้ทั้งคำ�ตอบ สำ�หรับคนถาม เป็นคำ�เตือน สำ�หรับตัวเองผูป้ ฏิญาณตน ว่าเป็นพุทธบริษัท และสำ�หรับหนังสือ พิชิตกรรม ตามพุทธวิธี เล่มนี้ คุณไพยนต์ กาสี บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ แอล ซี พี เด็กดีมีบุญ ในเครือเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อ พุทธศาสน์ ได้รวบรวมจากหนังสือ คติธรรมนำ�ชีวติ เล่ม ๑-๑๒ ที่อาตมภาพเคยบรรยายไว้ โดยคัดสรร เอาเฉพาะหัวข้อที่เกี่ยวกับเรื่องกฎแห่งกรรม ท่านทั้งหลาย สังคมไทยเราที่ระส่ำ�ระสายไป ด้วยปัญหามากมายในขณะนี้ ก็ด้วยมีการทำ�ลาย ความเชื่อทางศาสนา ไม่ว่าเป็นเรื่องการทำ�ดีได้ดี ทำ�ชั่วได้ชั่ว การทำ�ลายความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ ที่ เป็นผลเกิดจากการทำ�ดีท�ำ ชัว่ นัน้ จึงหวังว่าข้อคิดทาง ธรรม ที่นำ�มารวมไว้ในเล่มนี้ จะมีส่วนช่วยให้ท่าน ได้เชื่อมั่นในกฎแห่งกรรม ขออำ�นวยพรให้ทุกท่าน ได้รับผลดีงามอันเกิดจากการอ่าน แล้วนำ�ไปปฏิบัติ ด้วยตนทุกคนเทอญ. 6
(พระราชวิจิตรปฏิภาณ)
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
ปริศนาแห่งชีวิต
-บาป ุ ญ บ า เง
นแ่ ท้ แ ิ ต ี ว ดิ ทกุ ช ต ม า ต
มีปริศนาธรรม เป็นเครื่องเตือนใจ ที่จะต้อง ไขปริศนานี้ และเป็นปริศนาธรรมแห่งชีวิตของพวก เราทุกคน โบราณท่านผูกไว้ว่า “๔ คนหาม ๓ คนแห่ ๑ คนนั่งแคร่ ๒ คนเดินตาม” นี่เป็นปริศนาธรรม ปริศนาธรรมแห่งชีวิตอันนี้ ต้องไข คือ ไขข้อ ข้องใจให้กระจ่าง บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
7
อย่างปริศนาที่ว่า ๔ คนหาม แท้ที่จริงแล้ว ก็หมายถึง ชีวิตของคนที่เกิดมา
ชีวิตคนที่เกิดมานั้น
เกิดมาเพราะ ธาตุ ๔ “ดิน น้ำ� ลม ไฟ” ประชุมพร้อมกัน ก่อตั้งเป็นกาย
นี่เรียกว่า ๔ คนหาม
๓ คนแห่ แห่ไปเรือ่ ยๆๆ “๓ คน” นี้ คืออะไร ?
ก็คือ วัยทั้ง ๓ “วัยเด็ก วัยกลางคน และวัยชรา” ที่ภาษาทางพระเรียกว่า “ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย” นี่คือ “วัย” หรือเรียกว่า “ไตรลักษณ์” อนิจจัง ไม่เที่ยง ทุกขัง คงสภาพอยู่ไม่ได้ อนัตตา ไม่ใช่ของตัวตน ไม่ใช่ของเรา นี่เรียกว่า ๓ คนแห่ แห่ไป แห่จากปฐมวัยไปสู่ มัชฌิมวัย มัชฌิมวัยสู่ปัจฉิมวัย 8 พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
๑ คนนัง่ แคร่ ก็หมายถึง “จิต” คำ�ว่า “แคร่”
อันนี้ ได้แก่ ร่างกายของเรา “แคร่” หรือโครงสร้าง
ร่างกายของเรานี้ มี “จิต” เป็นเจ้านาย บังคับบัญชา ดังคำ�ที่ว่า “ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว”
และเราก็ใช้ประโยชน์จากร่างกาย
ส่วน ๒ คน ที่เดินตาม ได้แก่ บุญ และ บาป “บุญ” และ “บาป” นั้น จะเป็นเงาตามตัว ใจใส = บุญ
ใจขุ่น = บาป
“บุญ” จะเป็นเงาตามตัว “เสริม” ให้เหมือน “เงาตามตัว” “บาป” นั้น เหมือน “รอยล้อเกวียน บดทับรอยเท้าโค”
ฉะนั้น คนเราเกิดมาทุกคน ท่านทั้งหลายต้อง ตระหนักว่า คนเดินตามนั้น จะเอา “บุญมาก” หรือ “บาปมาก” บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
9
ดังนั้น ในขบวนศพในสมัยก่อนนั้น เขาจึงต้อง มีการแต่งขบวน และจะมีคนเดินตามอยู่ ๒ แถว คือ “คนแต่งผ้าดำ�” และ “คนแต่งผ้าขาว” แต่งผ้าขาว หมายถึง “บุญ” แต่งผ้าดำ� หมายถึง “บาป” เมื่อในชีวิตของเราทุกคนนั้นตกอยู่ในสภาพ เช่นนี้ ท่านทั้งหลายเกิดมาแล้วก็ต้องรำ�พึงนึกถึง ชีวิตเช่นนี้ ปริศนาธรรมแห่งชีวิตนี้จะเป็นเครื่อง เตือนใจให้พวกเราว่า สุดท้ายแล้วเราก็ต้องทิ้ง “ธาตุ ๔” คืนให้ กับธรรมชาติ เวลาจะไปก็ไปแต่ “จิต” แต่จะเอา “บุญ” หรือ “บาป” ตามไปนั้น นั่นสุดแท้แต่ว่า พวกเราจะสั่งสมอะไรไว้เป็นทุนในภายหน้า
10
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
เกิดมาทั้งที ทำ�ดี ๓ กรรม
กรรมกิจ ครบ ๓ กรรม
บันดาลสุข
กรรมฐาน
กรรมบถ
ท่านสาธุชนทั้งหลาย การได้เกิดมาเป็นคนนั้น ทำ�อะไรถึงจะดี ก็จะขอสรุปว่า การที่เราได้เกิดมา เป็นคนนั้น ไม่ใช่ดีเฉพาะโลกเดียว มันต้องดี ๒ โลก โลกที่แล้วไม่ต้องไปพูดถึง แต่ว่าโลกนี้และโลกหน้า “สุขในโลกนี้ และ ดีในโลกหน้า” จะทำ�อย่างไร เรื่องนิพพานก็ยังไม่อยากพูดถึง ก็ขอสรุปว่า “เกิดมาทั้งที ทำ �ดี ๓ กรรม เป็นทุนหนุนนำ� ตายแล้วไปสวรรค์” นี่คือ “สุข ในโลกนี้ และ ดีในโลกหน้า” บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
11
“ดี ๓ กรรม” คืออะไร ? ๑. กรรมกิจ ๒. กรรมบถ ๓. กรรมฐาน
“กรรมกิ จ ” ได้ แ ก่ หน้ า ที่ ก ารงานต้ อ งดี
ต้ อ งมี ค วามรู้ รู้ แ ล้ ว เป็ น คื อ ไม่ ใช่ รู้ แ ล้ ว ไม่ เ ป็ น ประเภทความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด เมื่อเราทำ� กรรมกิจในฐานะที่เราเป็นกรรมกร คือ ทำ�หน้าที่ การงาน ก็ต้องทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จ
คนที่ประสบความสำ�เร็จ ในอาชีพการงานนั้น ก็มีเงินมีทองใช้จ่าย ใช้สอยเป็นทุน อย่างนี้ “อยู่ก็ไม่ร้อน นอนก็ไม่ทุกข์” ลูกเมียก็สบาย ลูกผัวก็สบาย ดังนั้น เรื่อง กรรมกิจนี้ ก็หมายถึงว่า “ทำ�แล้วมีเงินมีทองอย่าง สมบูรณ์” ก็มีความสุข
12
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
“กรรมบถ” ข้อนี้เป็นข้อที่พัฒนาตนเองไปสู่
ความเคารพนับถือ ได้แก่ มีศีล กรรมบถไม่ต้องไปพูดถึงอะไรมาก คือพูดถึง “ศีล” อย่างเดียว อย่างไรก็ตาม ไม้มีดอก คนต้อง มีศีล เราจึงเห็นว่าศีลนั้นสำ�คัญ เพราะ... ไม่...ไม่... มันผิดศีล
กินเหล้า กันมั้ย...
ศีล ส่งทำ�ให้ สูง ศีล ปรุงทำ�ให้ สวย ศีล นำ�ทำ�ให้ รวย ศีล ช่วยทำ�ให้ รอด
นี่ก็คือการเกิดมาเป็นคนต้องมีศีล เพราะศีล เป็นบันไดทองของชีวิต ทำ�ให้เราได้รับความเคารพ นับถือ คนไม่มีศีลนั้นใครจะไหว้ การจัดลำ�ดับของคนนัน้ เขาเรียกจัดลำ�ดับตาม ศีล ถ้าไม่มศี ลี เขาก็เรียกว่า “ไอ้” เรียก “อี” แต่มศี ลี เขาก็เรียก “พ่อ” เรียก “แม่” เรียก “คุณ” ดังนั้น กรรมบถเรื่อง “ศีล” เป็นเรื่องสำ�คัญ เป็นขั้นที่สอง
บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
13
และสุดท้าย อีกกรรมคือ
“กรรมฐาน” ได้แก่
“สมถกัมมัฏฐาน” ใจต้องนิ่ง ใจต้องแน่ ใจจะได้ไม่เน่า
และเรื่องของวิปัสสนากัมมัฏฐาน ต้องสว่าง ไม่ใช่มืดบอด เมื่อเรารู้เรื่องกัมมัฏฐานโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง “ไตรลักษณ์” ให้เห็นว่า “อนิจจัง... ไม่เที่ยง” “ทุกขัง... คงสภาพอยู่ไม่ได้” “อนัตตา... ไม่ใช่ของเรา ต้องแตกสลาย หายไปทุกคน” ถ้าท่านทั้งหลายมีครบ ๓ กรรม คือ กรรมกิจ กรรมบถ กรรมฐาน ถือว่าเป็น “กรรมที่สมบูรณ์ แบบ” อยู่ก็สบาย ตายก็ไปสู่สุคติ พระพุทธเจ้า สรรเสริญสำ�หรับบุคคลที่ทำ� ๓ กรรมนี้ จึงขอฝาก ท่านทั้งหลายเอาไว้เป็นข้อคิดข้อปฏิบัติ
14
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
พฤติกรรม พันธุกรรม เวรกรรม
ท่านสาธุชนทุกท่าน ส่วนใหญ่คนก็อยากจะรู้ เรือ่ งกรรมกันทัง้ นัน้ หลายๆ ท่านก็มาบ่นกับอาตมา ว่า “มันเวรกรรมอะไรก็ไม่รู้ มันถึงได้เป็นอย่างนี้” เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความกระจ่ า งอั น เป็ น ประโยชน์ ต่อท่านทั้งหลาย อาตมภาพจะกล่าวให้เข้าใจง่ายๆ ว่า กรรมมี ๓ กระบวนการของมัน คือ ๑. พฤติกรรม ๒. พันธุกรรม ๓. บุญกรรม หรือ เวรกรรม อันได้แก่ กุศลกรรม และอกุศลกรรม นี่คือกระบวนการของกรรม บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
15
ถ้ า ท่ า นทั้ ง หลายไปอ่ า นใน “กรรม ๑๒” ซึ่งเป็นรายละเอียดคงสรุปอะไรไม่ได้มากนัก ในที่นี้ จักนำ�มาสรุปย่อๆ ให้พอเข้าใจง่ายๆ ต่อไป ตามที่เราบอกว่า กรรม คือ การกระทำ� ทั้ง กาย วาจา ใจ นี่ก็คือ พฤติกรรมประจำ�ตัวมนุษย์ พฤติกรรมดี ก็เรียกว่า “ทำ�กรรมดี” พฤติกรรมชั่ว เราเรียกว่า “ทำ�กรรมชั่ว” ส่วนจะสั้นหรือยาวนั้น เป็นอีกเรื่องหนึ่ง นี่เรียกว่า “พฤติกรรม” ไชโย... เราได้ ลูกชาย
พฤติกรรมดี หรือเลวนี้ ไปสู่พันธุกรรม และจะแสดงผลเป็น “กุศลกรรม” “อกุศลกรรม” “เวรกรรม” หรือ “บุญกรรม”
เพื่อความเข้าใจง่ายๆ จึงได้นำ�เอาตัวอย่างที่ มีคนหนึง่ มาบ่นกับอาตมาว่า... “ต้องเสียเงินเสียทอง ลูกมันเกิดมานี่ มันไม่รู้กรรมอะไรของผม เสียเงิน เสียทองไปกับมันเป็นล้านๆ แล้ว” 16
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
“เป็นอะไร ?” อาตมาถาม “เป็นโรคไต” เขาตอบ “เออ..! ความจริงก็ควรเสียเงินนะ” อาตมา แสดงความเห็น “อ้ า ว ทำ � ไมท่ า นพู ด อย่ า งนั้ น ล่ ะ ” เขาพู ด ด้วยความสงสัย ลูกคุณเป็น โรคไตค่ะ
โธ่..! ก็ต้องพูดอย่างนั้น ลูกพ่อ ทำ�ไมลูกของคุณ จึงเป็นโรคไต มันเป็นพันธุกรรม แล้วลูกมันติด พันธุกรรมจากใคร จากคุณนั่นแหละ เพราะสมัยเดิมคุณกินเหล้าและไตคุณก็ไม่ดี
เมื่อไตคุณไม่ดี แล้วคุณไปมีลูก ลูกมันก็รับ พันธุกรรมจากคุณ มันกลายเป็นเวรกรรมต่อมา แล้วเวรกรรมนั้นใครรับ ลูกก็รับ คุณก็รับ เพราะฉะนั้น พฤติกรรมไม่ดีของคุณเองที่เคย กระทำ�ไว้ มันถ่ายไปสูพ่ นั ธุกรรม และจะเป็นเวรกรรม ต่อไป นี่เรียกว่า ฝ่ายไม่ดี บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
17
ถ้าในฝ่ายดีล่ะ ทำ�ไมบางคนลูกออกมาจึงมี สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีปัญญาดี ปราดเปรียว เฉลียวฉลาด ผุดผาดรูปร่างดี เพราะไปดูพฤติกรรม พ่อแม่เขาเถอะ ว่าเขามีพฤติกรรมดี จึงถ่ายทอดมาสู่ พันธุกรรมที่ดี และเป็นบุญกรรมที่ดี อาตมาอธิบาย เก่งมากเลย ลูกพ่อ โตขึ้น จะได้เป็น นักฟุตบอล ทีมชาติ
นีแ่ หละท่านทัง้ หลาย เรือ่ งกรรม ๓ ลักษณะนี้ เอาไปคิดครวญ คำ�นวณ คำ�นึงให้มาก และถ้ า อะไรมั น ไม่ ดี แ ล้ ว แก้ พ ฤติ ก รรม เสียก่อน พฤติกรรมแก้ได้แล้ว มันก็แก้พนั ธุกรรมได้ และจะกลายเป็นกุศลกรรม เป็นในส่วนที่ดี จึงอยากขอฝากเรื่องกรรม ๓ ประการนี้ ต่อ ท่านทั้งหลาย 18
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
ภัยภายนอก-ภัยภายใน
คนเราเกิดมาย่อมหวาดกลัวต่อภัยธรรมชาติ ภัยที่เป็นผลสืบเนื่องจากธรรมชาติมี ๕ ประการ คือ ๑. วาตภัย ภัยเกิดจากลม พัดเอาบ้านเรือน ต้นไม้ น้ำ� สรรพสิ่ง สรรพสัตว์ เดือดร้อน เสียหาย ย่อยยับ สุดแล้วแต่จะมากหรือน้อย ในแต่ละภูมภิ าค แต่ละประเทศ ๒. อุทกภัย ภัยเกิดจากน�้ำ เช่น น�้ำ แข็งละลาย อย่างรวดเร็ว ฝนตกอย่างหนักไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ� บางทีก็มากับวาตภัย มาแต่ละทีมีแต่ละครั้งก็ได้รับ ความเสียหาย ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ๓. อัคคีภัย ภัยเกิดจากไฟ เช่น ไฟป่า หรือ ความประมาทเลินเล่อของคน เผาผลาญจุดเกิดและ จุดใกล้เคียงให้พินาศย่อยยับ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
19
๔. โจรภัย ภัยจากโจรผู้ร้าย เช่น เมื่อเกิดภัย
ธรรมชาติ ผู้อดอยากหรือโลภมากก็มักฉวยโอกาส ปล้นจี้ เป็นการซ�้ำ เติม เพือ่ แก้ปญ ั หาแก่ตน บนความ เดือดร้อนของผู้อื่น หรือไม่มีภัยไร้ความกดดันก็ปล้น เอาแบบหน้าด้าน ๕. ฉาตกภัย คือ ความอดอยาก ที่เกิดจาก ภัยดั งกล่า วมาแล้ วข้า งต้น ฉาตกภัยนี้มักไม่ค่อ ย ได้ยินศัพท์นี้กันมากนัก แต่เป็นผลพวงมาจากการ เกิดภัยทั้งสี่ข้อข้างต้น หรือเกิดจากความขาดแคลน ทรัพยากรของภูมิภาคหรือประเทศ ภัยทั้ง ๕ นั้น จัดว่าเป็น ภัยภายนอก ที่ต้อง ยอมรับสภาพจาก เกณฑ์ที่ธรรมชาติกระทำ� และ กฎกรรมทีค่ นชัว่ สร้างขึน้ แต่หากย้อนมาดูกจ็ ะรูว้ า่ ภัยทั้ง ๕ แท้จริง เป็นภัยภายใน ตัว ครอบครัว ซึ่งมักจะพบทุกวัน เช่น... ยัยคนนั้น
๑ วาตภัย คือ
เค้าด่าเธอ
จริงรึ !!
ภัยจากลมปากคน ประเภทยุแยง ตะแคงแหย่ หรือพวกปากหอยอวดรู้ ปากปูอวดเบ่ง ปากสุนัขเห่าเก่ง
ควรป้องกันด้วยการระวังหู คือ ทะมะ ข่มใจ ขันติ อดทน 20 พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
ฮือ...ฮือ...ใช่ซิ เราทําอะไรก็ไม่เคย ดีสักอย่าง
๒ อุทกภัย คือ
เป็นคนใจน้อย เจ้าน้ำ�ตา ใครพูดอะไร น้อยใจไว้ก่อน ร้องจนท่วมหน้า ท่วมบ้าน ตัวเองและลูกหลานจมในทะเลน้ำ�ตา แก้ด้วยการ อย่าเรียกร้อง อย่าคาดหวัง อย่า ฝังใจในเรื่องเลวที่ผ่านมา อย่าเอาคำ�นินทาด่าทอ มาเป็นเรื่องยุ่งใจ
๓ อัคคีภัย คือ
มันน่าโมโหนัก
การระงับใจไม่วู่วาม ไม่ปะทุอารมณ์ แต่คนเราส่วนใหญ่ มักโกรธคนที่รักตัว กลัวคนที่เกลียดตน
อัคคีภัย จึงได้เผาไหม้ใจตน และคนที่ตนรัก เสมอ ให้แก้ภัยนี้ด้วย เมตตาต่อกันและกัน บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
21
๔ โจรภัย คือ
การเล่นการพนัน นายแน่ใจนะ การเที่ยวเตร่ ว่าพามาถูกที่ สำ�มะเลเทเมา เข้าบ่อน เข้าบาร์ ติดยาเสพติด ฯลฯ
โจรปล้นเงินคนนอกบ้านมาเข้าบ้าน แต่คนหลง อบายโกงและนำ�ความเสียหายแก่ตนและทรัพย์สิน ในบ้านด้วยการหยิบยืม หรือขนย้ายไปให้เขาเอง แก้ได้ด้วย เลิกแล้วครับ...เลิกแล้วค่ะ เดี๋ยวนี้เลย...! เฮ้อ! ขี้เกียจจริงๆ งานการ ไม่รู้จักทํา
๕ ฉาตกภัย คือ
ตัวหัวหน้าครอบครัว มีความเกียจคร้าน ไม่รู้จักทำ�มาหากิน คนในครอบครัว จึงเกิดความอดอยาก
แก้ได้ด้วย ขยัน อดทน ประหยัด ซื่อสัตย์ พัฒนาฝีมือ ภัยภายนอก ประสบเข้าแล้วมีแต่คนสงสาร เกิดแล้วมีคนเห็นใจ เขาช่วยเหลือ ภัยภายใน มีแต่ คนเหม็นเบื่อ และพากันสมนำ�้ หน้า 22 พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
ติด-ตัด-ต้าน
เรื่องของการประพฤติปฏิบัติที่จะทำ�ให้เรา หลีกหนีจากพฤติกรรมในทางไม่ดี ต้องมีกลวิธเี ฉพาะ เหมาะแก่ตวั อาตมภาพจะฝากเป็นข้อคิดสัน้ ๆ ง่ายๆ ในยามนี้สัก ๓ ประการ ดี ให้ติด ชั่ว ให้ตัด วิบัต ิ ให้ตา้ น ท่องๆ ง่ายๆ อย่างนี้ และไปขยายความเอา บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
23
๑. ดี-ทำ�ให้ติด คือ ติดอกติดใจในการทำ�
แต่ความดีในกลุ่มคนดี เพราะเราจะได้เห็นผลดี ตามลำ�ดับ ดังนั้น ถ้าทำ�อะไรดีๆ แล้วให้ติดเอาไว้ เช่น เรี ย นในสถานที่ ดี ก็ ติ ด เรี ย นไว้ อยู่ กั บ เพื่ อ นดี ก็ ติ ด เพื่ อ นดี เข้ า ไว้ ทำ � สาธารณประโยชน์ ดี ก็ ทำ � สาธารณประโยชน์เข้าไว้ สวดมนต์ไหว้พระแล้วดี ก็หมั่นสวดมนต์ไหว้พระเข้าไว้
ดี-ทำ�แล้วติดอกติดใจ ติดตา ติดจิต และก็หมั่นคิดถึง ความดีบ่อยๆ แล้วท่านทั้งหลาย จะไม่ถอยห่างจากความดี
๒. ชัว่ -ให้ตดั ชัว่ นัน้ ต้องตัดทิง้ ทันที อย่าให้
มีค้างคาอยู่ในกมลสันดาน
ค่อยๆ ตัดใจ จากพฤติกรรมที่ชั่ว เพื่อนชั่ว สังคมที่ชั่วตัดไป และอะไรที่ชั่วในตัวเอง อย่าไปทำ�โดยไม่จำ�เป็น 24
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
อย่างปาณาติบาต ถ้าจำ�เป็นทำ�เพื่อให้ลูก มีกิน พระมีฉัน ตัวเองมีใช้ ก็ทำ� แต่ถ้าทำ�เล่นๆ สนุกๆ ดังเช่นพวกทีช่ อบไปส่องป่าล่าสัตว์ ฆ่าเอาเขา เอาหนังมาประดับฝาบ้านนีเ่ ป็นการก่อกรรมทำ�ชัว่ ที่ มีขุมนรกเป็นที่รองรับ อย่างนี้ก็อย่าไปทำ� พระพุ ท ธเจ้ า ของเราได้ ส อนเราว่ า เหตุ ที่ พระองค์ประสบกรรมในชาตินี้ เช่น ถูกพระเทวทัต กลิ้ ง ศิ ล าลงมาทั บ จนสะเก็ ด ศิ ล าที่ ก ลิ้ ง มาตกทั บ พระบาท จนต้องผ่าตัด โดยหมอโกมารภัจนั้น เมื่อ ย้อนรอยถอยอดีตไปแล้ว เพราะเล่นสนุก ทำ�ชั่ว สนุกๆ โดยไม่จำ�เป็นไม่เป็นประโยชน์ นั่นก็คือว่า ในคราอดีตกาลพระองค์ทรงเห็น พระปัจเจกพุทธเจ้าบิณฑบาตแล้ว นึกคึกคะนอง ไม่อยากให้พระเดินผ่านมาก็ขว้างก้อนหินไปโดนเท้า ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ด้วยการเล่นสนุกเท่านั้น มาชาติสุดท้ายยังตามมาให้ผลต่อพระองค์ ดังนั้น กรรมชั่วให้ตัด สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสสอนว่า “ความชั่วไม่ท�ำ เสียเลยดีกว่า เพราะทำ�แล้วจะให้ ผลร้ายในภายหลัง” บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
25
๓. วิบตั -ิ ให้รว่ มกันต้าน อันความวิบตั จิ าก
ยาเสพติด จากการโกงกิน จากพฤติกรรมทั้งหมด ของคนทัง้ หลายทีจ่ ะก่อความวิบตั ิ ต้องช่วยกันต้าน อ้าว..! เจอ กระเป๋าตังค์
ต้านไม่ให้ภัยเกิดขึ้น ด้วยการช่วยกัน ป้องกันปราบปราม บำ�บัด เพราะถ้าเรา ไม่ช่วยกันขจัดปัดเป่า ความวิบตั นิ น้ั จะต้องมาถึงตัวเรา
เอาไปคืน เจ้าของเถอะ
แม้กระทั่งความวิบัติอันเกิดจากการที่มนุษย์ เรากำ�ลังทำ�ลายธรรมชาติ ด้วยการต้าน ด้วยการ ชีแ้ จงแนะนำ� ออกกฎบัตรกฎหมาย แล้วก็ปราบปราม ทั้ง ๓ ประการนี้ ขอให้เป็นข้อเตือนใจต่อ ส่วนตัว และส่วนรวมว่า ดี ให้ติด ชั่ว ให้ตัด วิบัต ิ ให้ต้าน นีค่ อื หลักการของการดำ�รงชีวติ ทีไ่ ม่มเี วรภัย ให้ต้องมานั่งนอนระแวดระวังอย่างจริงแท้ 26
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
ไปสู่ที่ชอบหรือที่ชั่ว
จิตตัวเราเป็นผู้ ให้คำ�ตอบ
ท่านสาธุชนทั้งหลาย คิดว่าทุกท่านคงจะเคย ได้ยินคำ�ที่มักกล่าวเวลามีคนตายว่า “ไปสู่ที่ชอบ” ทัง้ ทีค่ �ำ นี้ ไม่จ�ำ เป็นต้องใช้กบั คนทีเ่ สียชีวติ แล้ว เท่านั้น แต่เอาไว้กล่าวเตือนใจกันทั้งที่ยังเป็นๆ อยู่นี่ แหละได้ผลดีนัก ไปสู่ที่ชอบคืออะไร ? คือ ไปที่ที่เราชอบใจ และที่ที่เป็นที่ชอบธรรม คือ ชอบในทางศีลธรรม และคุณธรรม บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
27
ในทางตรงกั น ข้ า ม ก็ มี คำ � ว่ า “ไปสู่ ที่ ชั่ ว ” คือ ที่ที่ทำ�ให้เราเป็นคนชั่ว หรือที่ที่เป็นโลกแห่ง ความชั่ว ได้แก่ อบายภูมิ การที่จะไปสู่ “ที่ชอบ” หรือ “ที่ชั่ว” นั้น อยู่ที่จิตของเราเอง จิตที่มีความสำ�คัญใน ๒ โลก คือ มีความสำ�คัญในโลกนี้ จิตเมื่อตื่น จิตเมื่อตาย มีความสำ�คัญในโลกหน้า จิ ต เมื่ อ ตื่ น ทั น ที ที่ เราตื่ น ขึ้ น จากการหลั บ ลืมตาขึ้นมาแล้ว เราต้องทำ�จิตให้ผ่องใส เตรียมจิต เตรียมใจในความผ่องใสไปประกอบหน้าที่การงาน ในทางที่ดีก็จะดีทั้งวัน ดีทั้งเดือน ดีทั้งปี ดีทั้งชาติ
ดังนั้น กิจวัตรประจำ�ก็คือ ต้องไหว้พระสวดมนต์ ชำ�ระกายแล้ว ต้องชำ�ระจิต ใช้มนต์ล้างปาก ไม่ใช่ใช้เสียงแช่งด่า หรือเสียงด่าทอมาล้างปาก เพราะเสียงเหล่านั้น ไม่ใช้ล้างปาก แต่ทำ�ให้ เลอะปาก จิตเมื่อตื่น จึงสำ�คัญในโลกนี้ 28 พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
จิตเมื่อตาย มีความสำ�คัญในโลกหน้า ทุกคน จะต้องตาย ตายไปแล้วก็จะต้องมีโลกหน้าเป็นที่ไป จิตเมื่อตายจึงมีความสำ�คัญ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสสอนให้ พวกเราพยากรณ์โลกหน้าเอาไว้ ว่าใครจะไปสูท่ ชี่ อบ หรือที่ชั่ว พระองค์ตรัสไว้วา่ ... จิตเต สังกิลิฏเฐ ทุคคะติ ปาฏิกังขา เมื่อจิตเศร้าหมอง ต้องไปสู่แดนทุคติ
จิตเศร้าหมอง ต้องไปทุคติ นั้น คือ เศร้าหมอง เพราะบาปที่ตนทำ� กรรมที่ตนประพฤตินั่นเอง
โอ๊ย..! เราเคยฆ่าสัตว์ ทําบาปไว้ เยอะ
บาปที่ตนทำ� และกรรมที่ตนประพฤตินี้ เมื่อ เวลาจิตใกล้จะดับ คตินิมิตที่จะไปก็ปรากฏเป็น กรรมมาเกณฑ์ นายเวรตามมาทวงชีวติ คืน เป็นรูป สิงห์สาราสัตว์ เป็นยมทูต เป็นยมบาลและตัวเองก็ เห็นเอง คนอืน่ ไม่เห็น คนอืน่ เห็นอาการทีด่ ิ้นรนหรือ คำ�พูดคำ�จาทีม่ กี ารต่อสูเ้ ท่านัน้ เพราะจิตเหล่านีเ้ ห็น ได้เป็นคตินมิ ติ ว่า จะไปสูน่ รก หรือเป็นสัตว์เดรัจฉาน หรือเป็นเปรต หรือเป็นอสุรกาย บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
29
กรรมชั่วที่ใครกระทำ�แล้วก็ตามที บางครา อาจสามารถหนีพ้นกฎเกณฑ์ของกฎหมายได้ แต่ก็ ไม่อาจหนีกฎเกณฑ์กรรมได้ และนัน่ คือ การกำ�หนด ชีวิตว่า ยศศักดิ์จะใหญ่โตปานใดก็ตาม หากแม้ว่า ทำ�กรรมชั่วไว้แล้ว... จิตเต สังกิลิฏเฐ ทุคคะติ ปาฏิกังขา เมือ่ จิตเศร้าหมอง ต้องไปสูท่ คุ ติอย่างแน่นอน ท่านทัง้ หลายเห็นความสำ�คัญของการกำ�หนด จิตเมื่อตายในโลกหน้าหรือยัง ดังนั้น จึงได้อัญเชิญ พระพุทธพจน์มาเพื่อให้ท่านทั้งหลายเอาไว้กำ�หนด วิถีจิตในโลกหน้า และพยากรณ์คนตายเอาไว้ว่า... จิตเต อะสังกิลิฏเฐ สุคะติ ปาฏิกังขา ถ้าจิตไม่เศร้าหมอง ต้องไปสู่สุคติ มีสวรรค์ เป็นชั้นเริ่มต้น เราเคย
ทำ�ไมคนมีจิตผ่องใส เมื่อตายจึงไปสู่สุคติ ที่ถือว่าเป็นที่ชอบ คนที่ทำ�ความดีไว้ จิตคุ้นเคยกับความดีนั้น ครั้นใกล้เวลาตาย พระมาหา เทวดามารับ 30
พิชิตกรรมตาม พุทธวิธี
สร้างบุญสร้างกุศล ไว้เยอะ