สุภาพ หอมจิตร (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, ร.บ.) รวบรวมเรี ยบเรียง
บรรณาธิการ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ออกแบบปก : จิระพัฒน์ ยังโป้ย ภาพประกอบ : สมควร กองศิลา รูปเล่ม/จัดอาร์ต : จิระพัฒน์ ยังโป้ย
ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ
ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢
สังคมมนุษยยุคปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก จนเกินกวาที่จะปรับตัวทัน ทั้งนี้เกิดจากตัวเราเอง สังคม และ สิง่ แวดลอมที่สูญเสียความสมดุลในการอยูรวมกัน ชองวางทาง สั ง คมเกิ ด ขึ้ น มากมาย รวมทั้งปญหาตางๆ ในหลายดาน เชน อาชญากรรม ยาเสพติด โรคระบาด สิ่งแวดลอมเปนพิษ การมี ความคิดเห็นไมตรงกัน กอใหเกิดการแบงฝกแบงฝายรบราฆาฟนกัน ไม มี ที่ สิ้ น สุ ด โรคภั ย ไข เ จ็ บ และมหันตภัยตางๆ คราชีวิตผูคน ไมหยุดไมหยอน สภาวการณเชนนี้หากปลอยไวก็จักเปนอันตรายและกอให เกิดความเสียหายทั้งแกตนเองและประเทศชาติโดยรวม แตก็ถือ วาเปนโชคดีของประเทศไทยทีม่ พี ระพุทธศาสนาเปนหลักยึดเหนีย่ ว จิตใจ หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาทุกขอ สามารถนำมาประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน เพื่อพัฒนาตนใหเปนคนสมบูรณ์แบบได นั่นคือ การเขาถึงเหตุผลโดยใชปญญา ความเพียรพยายาม ทำใหสำเร็จอย่างจริงจัง พึ่งตนเองไดโดยไม่ตองรองขอจากคนอื่น ดังนั้น ควรที่จะชวยกันสรางธรรมะนิวเคลียร์ (DNC) ดวยการ มอบหนังสือธรรมะเปนธรรมทาน อันเปนการสรางปญญานำพาชีวิต ใหงอกงามและรุงเรือง และเปนจุดเริ่มตนในการพัฒนาตนตามหลัก ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา นำพาตนใหพนจากความทุกข์ พบ สันติสุขไดในปจจุบันชาตินี้
¤Ó¹Ó การสวดมนต์ เปนอุบายวิธีฝกจิตใหสงบเยือกเย็น คราวใดที่มี ปญหาหรืออุปสรรคถาโถมเขามาในชีวิต ก็จะไดตั้งรับอยางมีสติ เพราะ พระพุทธมนต์ทุกบทนั้นเปนพุทธพจน์ของพระพุทธเจา จึงมีความขลัง และศักดิ์สิทธิ์อยูในตัว ขอเพียงแตผูสวดสวดภาวนาดวยใจที่ศรัทธา เลื่อมใสในพลังแหงพระพุทธคุณ หนั ง สื อ พุ ท ธฤทธิ์ ชิ น บั ญ ชร และคำสอนสมเด็ จ โต เล ม นี้ ประกอบดวยบทสวดพระคาถาชินบัญชร และคำสอนทานเจาประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เกี่ยวกับวิธีการสวดมนต์ใหมี พลานุภาพ เปนการสรางบุญบารมีดวยตัวเอง ซึ่งบุญบารมีในที่นี้ก็คือ ความดี นั่นเอง เพราะความดีที่เราทำนั้นจะเปนเกราะกันภัยไดดีที่สุด ขอใหพลังแหงการสวดมนต์ตามหนังสือพุทธฤทธิ์ชินบัญชรและ คำสอนสมเด็จโตเลมนี้ นำพาใหทา นมีสขุ ภาพกายแข็งแรง และสุขภาพใจ เขมแข็งตลอดไป ขอบารมีธรรมสมเด็จโตจงคุมครองใหทุกท่านมีแต่ความสุข (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, ร.บ.) รวบรวมและเสริมสารธรรมในนามคณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง โปรดใชเล่มนี้ใหคุมสุดคุม & อ่านแลว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจะ อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน จิตมีสติสัมปชัญญะ รูเท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ปรารถนาใหทุกครอบครัวมีความสุข
ÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ “หมั่นสรางบารมีไว...แลวฟาดินจะช่วย” “ลูกเอย... ก่อนจะเที่ยวไปขอบารมีจากหลวงพ่อองค์ใด เจาจะตองมีทุนของตัวเอง คือ บารมีของตนลงทุนไปก่อน เมื่อบารมีของเจาไม่พอ จึงค่อยขอยืมบารมีของคนอื่นมาช่วย มิฉะนั้นเจาจะเอาตัวไม่รอด เพราะหนี้สินในบุญบารมีที่เที่ยวไปขอยืมเขามาจนลนตัว เมื่อทำบุญกุศลไดบารมีมา ก็ตองเอาไปผ่อนใชหนี้เขาจนหมด ไม่มีอะไรเหลือติดตัว แลวเจาจะไม่มีอะไรไวในภพหนา หมั่นสรางบารมีไวแลวฟาดินจะช่วยเจาเอง จงจำไวนะ... เมื่อยังไม่ถึงเวลา เทพเจาองค์ใดจะคิดช่วยเจาไม่ได ครั้นถึงเวลาทั่วฟาจบดินก็ตานเจาไม่อยู่ จงอย่าไปเร่งเทวดาฟาดิน เมื่อบุญเราไม่เคยสรางไวเลย จะมีใครที่ไหนมาช่วยเจา...” คำวา บารมี มี ค ำแปลหลายนั ย เป น ต น ว า ปฏิ ป ทาเครื่ อ งให ถึ ง ฝ ง , ปฏิ ป ทาเป น เครื่องใหถึงที่สุด, ขอปฏิบัติที่เปนเหตุใหถึงความประเสริฐ, ขอปฏิบัติ เปนไปเพื่อประโยชน์สุขอันยิ่งใหญ หมายถึงคุณความดีที่ไดบำเพ็ญมาอยางยิ่งยวด ในอดีต ใชเรียกความดีในอดีตของพระพุทธเจาครั้งเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตว์ ซึ่ ง ทรงบำเพ็ ญ มาอย า งยิ่ ง ยวดติ ด ต อ กั น มาหลายร อ ยหลายพั น ชาติ บารมี ที่ พระพุทธเจาทรงบำเพ็ญนั้นมี ๑๐ อยาง เรียกวา ทศบารมี คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา
ÍÒ¹ÔÊ§Ê ¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µ ñ ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒà(âµ ¾ÃËÁÃѧÊÕ) คนส ว นมากที่ เข า ใจว า การสวดมนต์ มีประโยชน์นอย และเสียเวลามากหรือฟงไมรู เรื่ อ ง ความจริ ง แล ว การสวดมนต์ มี ป ระโยชน์ มากมาย เพราะการสวดมนต์เปนการกลาวถึง คุณความดีของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาวา พระองค์มีคุณวิเศษเชนไร พระธรรมคำสอนของ พระองค์มคี ณ ุ อยางไร และพระสงฆ์อรหันตอริยเจา มีคุณเชนไร การสวดมนต์ดว ยความตัง้ ใจจนจิตเปนสมาธิ แลวใชสติพจิ ารณา จนเกิดปญญาและความรูค วามเขาใจ ประโยชน์สงู สุดของการสวดมนต์ นั่นคือจะทำใหท่านบรรลุผลจนสำเร็จเปนพระอรหันต์ ที่ อ าตมากล า วเช น นี้ มี ห ลั ก ฐานปรากฏในพระธรรมคำสอน ทีก่ ลาวไววา โอกาสทีจ่ ะบรรลุธรรมเปนพระอรหันต์ มี ๕ โอกาสดวยกัน คือ ๑. เมื่อฟงธรรม ๒. เมื่อแสดงธรรม ๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นก็คือการสวดมนต์ ๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น ๕. เมื่อเจริญวิปสสนาญาณ ๑
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เทศน์ที่บานของเจาพระยาสรรเพชรภักดี มหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔) (คัดจากหนังสือ อมตธรรมสมเด็จโต : บานธรรมะโต)
ÊÇ´Á¹µ ¤×Í¡ÒÃࢌÒཇҾÃоط¸à¨ŒÒ การสวดมนต์ คือการทำจิตใหมีที่พึ่ง เบิกบาน สงบ ผ่องใส
การสวดมนต์ทั้งในตอนเชาและตอนเย็น เปนประเพณีที่ปฏิบัติ มาตั้งแตสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธเจาทรงประกาศพระพุทธศาสนา บรรดาพุทธบริษัททั้งหลายตางพากันมาเขาเฝ้าพระพุทธองค์ โดยแบง เวลาเขาเฝ้าเปน ๒ เวลา นั่นคือ ตอนเชา เขาเฝ้าพระพุทธเจาเพื่อฟงธรรม ตอนเย็น เขาเฝ้าพระพุทธเจาเพื่อฟงธรรม การฟงธรรมเปนการชำระลางจิตใจที่เศราหมองใหหมดไป เพื่อ สำเร็จสูมรรค ผล พระนิพพาน การสวดมนต์นับเปนการดีพรอม ซึ่งประกอบไปดวยองค์ทั้ง ๓ นั่นคือ กาย มีอาการสงบเรียบรอยและสำรวม วาจา เปนการกล่าว ถอยคำสรรเสริญถึงพระคุณอันประเสริฐ ใจ มีความเคารพนบนอบ ต่อคุณพระรัตนตรัย ในพระคุณทั้ง ๓ พรอมทั้งเปนการขอขมาในความ ผิดพลาดหากมี และสักการะเทิดทูนสิ่งที่สูงยิ่ง ซึ่งเราเรียกไดวาเปนการ สรางกุศลซึ่งเปนมงคลอันสูงสุดทีเดียว
»ÃÐ⪹ ¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µ อาตมภาพขอรั บ รองแก ท า นทั้ ง หลายว า ถ า หากบุ ค คลใด ไดสวดมนต์เชาและเย็นไมขาดแลว บุคคลนั้นยอมเขาสูแดนพระอรหันต์ แนนอน การสวดมนต์นี้ควรสวดใหมีเสียงดังพอสมควร ยอมกอใหเกิด ประโยชน์แกจิตตน และประโยชน์แกจิตอื่น ที่ว่าเปนประโยชน์แก่จิตตน คือเสียงในการสวดมนต์จะกลบ เสียงภายนอกไมใหเขามารบกวนจิต ก็จะทำใหเกิดความสงบอยูกับ บทสวดมนต์นั้นๆ ทำใหเกิดสมาธิและปญญาเขามาในจิตใจของผูสวด ที่ว่าเปนประโยชน์แก่จิตอื่น คือผูใดไดยินเสียงสวดจะพลอยให เกิดความรู เกิดปญญา มีจิตสงบลึกซึ้งตามไปดวย ผูสวดก็เกิดกุศล โดยการใหทานทางเสียง เหลาพรหมเทพที่ชอบฟงเสียงการสวดมนต์ มีอยูจำนวนมาก ก็จะมาชุมนุมกันฟง เมื่อ มี เหลาพรหมเทพเขามาลอมรอบตัวของผูสวดอยูเชนนั้น ภั ย อั น ตรายต า งๆ ก็ ไ ม ส ามารถกล้ ำ กรายผู ส วดมนต์ ไ ด ตลอดจน อาณาเขตและบริเวณบานของผูที่สวดมนต์ ยอมมีเกราะแหงพรหมเทพ และเทวดาทั้งหลายคุมครองภัยอันตรายไดอยางดีเยี่ยม ...การสวดมนต์ เปนการระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ เมื่อจิตมีที่พึ่งคือคุณพระรัตนตรัย ความกลัวก็ดี ความสะดุงกลัวก็ดี และความขนพองสยองเกลาก็ดี ภัยอันตรายใดๆ ก็ดี จะไม่มีแก่ผูสวดมนต์นั่นแล... จิตมีที่พึ่งจึงไม่กลัวภัย ตั้งใจทำตามคำสวดจึงรวยทรัพย์ ปญญาฉลาดดี มีเงินทองเหลือกินเหลือใช ไดเพื่อนๆ มากมาย ความเลวรายจางหายไป และไม่เขามาง่ายหรือมาก
»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ ¾ÃФҶҪԹºÑުà พระคาถาชิ น บั ญ ชรนี้ ก ล า วกั น ว า ท า นเจ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) สุดยอดพระมหาเถราจารย์ ๕ แผนดิน แหงกรุงรัตนโกสินทร์ คนพบจากคัมภีร์ใบลานที่ตกทอดมาจากประเทศ ศรีลังกา ตนฉบับเดิมจารึกเปนภาษาสิงหล ทานเจาประคุณสมเด็จฯ พิจารณาเห็นวาเปนคาถาที่มีความศักดิ์สิทธิ์ และทรงพลานุภาพมาก สุดที่จะพรรณนาได จึงนำมาดัดแปลงแกไขเพิ่มเติมเนื้อหาใหสมบูรณ์ ถูกตองตามฉันทลักษณ์ภาษาบาลี และมีความหมายที่ทำใหเกิดสิริมงคล แกผูสวดภาวนาทุกประการ คำว า ชิ น บั ญ ชร แปลว า กรง หรื อ เกราะป อ งกั น ภั ย ของ พระพุทธเจา มาจากคำวา ชิน หมายถึง พระชินสีห์ คือพระพุทธเจา บัญชร แปลวา กรง หรือเกราะ เนื้อหาในบทสวดชินบัญชรนั้น เปนการ อัญเชิญพระพุทธเจา ๒๘ พระองค์ เริ่มตั้งแตพระพุทธเจาพระนามวา ตัณหังกร เปนตน มาสถิตอยูในทุกอณูของรางกาย เพื่อเปนการเสริมพลังพุทธคุณใหยิ่งใหญ กอเกิดคุณานุภาพแกผู สวดภาวนา จึ ง อั ญ เชิ ญ พระอรหันต์สาวกของพระพุทธเจา ๘๐ องค์ ซึ่งเปนผูมีบารมีธรรมยิ่งใหญ ตลอดทั้งอาราธนาพระสูตรอันศักดิ์สิทธิ์ ที่มีอานุภาพในดานตางๆ มาสถิตทุกสวนของรางกาย รวมกันสอดคลอง เปนกำแพงแกวคุมกัน ตั้งแตกระหมอมจอมขวัญลงมา หอมลอมรอบตัว ของผูสวดภาวนาพระคาถา จนกระทั่งหาชองโหวใหอันตรายสอดแทรก มิได
การสวดมนต์หรือบริกรรมมนต์คาถานั้น มีจุดมุงหมายที่สำคัญ ขอหนึ่ง ก็คือเพื่อใหเกิดบุญกุศล มีความสุขสงบแหงจิตใจ และดวย อานุ ภ าพแห ง การสวดมนต์นั้น จะทำใหจิตเบิกบาน อารมณ์แจมใส กอใหเกิดอานุภาพในการปกป้องคุมครองชีวิตใหแคลวคลาดปลอดภัย จากอันตรายทุกอยาง ผูใดไดสวดภาวนาพระคาถาชินบัญชรนี้เปนประจำทุกวัน จะทำ ใหเกิดสิริมงคลสมบูรณ์พูนผล ศัตรูหมูพาลไมกลากล้ำกราย ไปที่ไหน ก็เกิ ด เมตตามหานิยม เกิดลาภผลพูนทวีขึ้น ขจัดภัยจากภูตผีปศาจ ตลอดจนคุณไสยตางๆ ทำน้ำมนต์รดแกวิกลจริต แกสรรพโรคภัยหายสิ้น เปนสิริมงคลแกชีวิต มีคุณานุภาพตามแตจะปรารถนา ดังคำโบราณวา “ฝอยท่วมหลังชาง” จะเดินทางไปที่ไหนๆ สวด ๑๐ จบแลวอธิษฐาน จะสำเร็จดังเจตนาแล ฝกใจใฝทำดี ดวยการสวดมนต์ จะมีสติปญญา แกปญหาได ทุกอย่าง
การไหว พ ระสวดมนต์ คื อ การอั ด ฉี ด พระพุ ท ธคุ ณ พระธรรมคุ ณ พระสังฆคุณ เขาสูจิตใจเพื่อหลอเลี้ยงและเสริมสรางจิตใจใหเกิดคุณธรรม เปนการ ปดโอกาสความชั่วรายตางๆ มิใหออกมาอาละวาด กอใหเกิดผลดีอื่นๆ อีกนานัปการ การสวดพระคาถาชิ น บั ญ ชร เป น การน อ มนำเอาพลั ง แห ง พระพุ ท ธคุ ณ พระธรรมคุ ณ และพระสั ง ฆคุ ณ มาเสริ ม สร า งขวั ญ และกำลั ง ใจในการดำเนิ น ชี วิ ต ดวยความสำนึกและตระหนักรูในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา นำมาปฏิบัติเปน หลักชัยของชีวติ เปนการเสริมเพิม่ พลังใจใหมชี วี ติ ชีวา ไมหวาดหวัน่ พรัน่ พรึงตออุปสรรค ปญหาตางๆ เกิดความเปนสิริมงคล ปราศจากทุกข์ โศก โรคภัย สติปญญาผองใส
¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´ ¾ÃФҶҪԹºÑުà การสวดมนต์จะสำเร็จประโยชน์แกผูสวดภาวนาอยางแทจริง นั้น ตองเตรียมความพรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ คือ อาบน้ำชำระ รางกายใหสะอาด แตงกายใหเรียบรอยเหมาะสมที่จะทำความดี และ ที่ ส ำคั ญ คื อ มี ค วามตั้ ง ใจจริ ง ในการสวดมนต์ เพื่ อ ให เ กิ ด ความสงบ แก จิ ต ใจพร อ มที่จะเผชิญกับสถานการณ์ตางๆ อีกสิ่งหนึ่งที่จะตอง จัดเตรียม คือพานดอกไมหรือพวงมาลัยบูชาพระ แตถาไมสามารถ หาไดก็ไมเปนไร เมื่อตระเตรียมเรียบรอยแลว นำพานดอกไมหรือพวงมาลัย ขึ้ น บูชาพระรัตนตรัย แลวกราบลง ๓ ครั้ง ตั้งจิตระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และดวงวิ ญ ญาณของท า นเจ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ครั้นจิตสงบนิ่งพรอมที่จะสวดแลว ใหเริ่มสวดมนต์ไปตั้งแต บทกราบพระรัตนตรัย ไปตามลำดับจนจบ ขอสำคัญขณะสวดมนต์ใหเปลงเสียงดังพอประมาณ ออกเสียง ชัดเจน มีสติจดจออยูกับบทสวด แลวสวดภาวนาชาๆ ไมตองรีบสวด ใหจบ ขณะสวดก็นึกภาพตามบทสวดไปดวย เชน บทสวดกลาวถึง พระพุ ท ธเจ า ๒๘ พระองค์ ม าสถิ ต อยู ที่ ก ลางกระหม อ มของตน ใหระลึกนึกถึงพระพุทธเจาทั้งหมดมาสถิตที่กลางกระหมอม จะทำใหมี สติปญญาและพลังแหงความคิดเจิดจาสวางไสว รุงเรืองดวยรัศมีแหง พระพุทธคุณ เมื่อทำไดดังนี้ก็จะเกิดผลดีแกตัวเองเปนที่สุด
10
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ñ. º·¡ÃÒº¾ÃÐÃѵ¹µÃÑ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผูมีพระภาคเจา เปนพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ สิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง ;
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ)
การไหว พ ระเป น ประเพณี ที่ มี ม าตั้ ง แต ส มั ย พุ ท ธกาล มี เรื่ อ งเล า ว า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจาประทับ ณ ถ้ำอินทสาลคูหา ทาวโกสีห์พรอมกับเทพบริวาร มาเขาเฝ้าถามปญหาจนหมดความสงสัย เกิดปติปราโมทย์ความเลื่อมใสในพระพุทธองค์ทรงลูบแผนดิน ๓ ครั้งพรอมกับเปลงคำวา นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส โดยมิไดกลาวถึงพระสงฆ์ ตอมารัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชนิพนธ์บทกราบ พระรัตนตรัยขึ้นใหม โดยเพิ่มบทธรรมคุณ และสังฆคุณเขามาเพื่อใหสมบูรณ์แบบครบ ทั้ง ๓ รัตนะ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
11
ส๎วากขาโต๑ ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว ;
ธัมมัง นะมัสสามิ.
ขาพเจานมัสการพระธรรม. (กราบ)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว ;
สังฆัง นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระสงฆ์. (กราบ) กราบพระพุทธ ตองรูพระธรรม ฟงคำพระสงฆ์ ชีวิตมั่นคง ปลอดภัย
กิจ สำคัญอันหนึ่งที่ชาวพุทธพึงปฏิบัติจะละเลยมิ ได คื อการสวดมนต์ ไหวพระประจำวัน การสวดมนต์นนั้ อยาเขาใจวาเปนการสวดออนวอนเหมือนศาสนาอืน่ แต เ ป น อุ บ ายทำจิ ต ของเราให ส งบ เยื อ กเย็ น มั่ น คง และเปลื้ อ งทุ ก ข์ อ อกจากใจ ทั้ ง ยั ง เป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ ท ำให เราเข า ถึ ง พระรั ต นตรั ย ได พ ร อ มกั น ๓ ทาง คื อ ๑) ทางกาย ดวยการกราบไหวบชู าสักการะ ๒) ทางวาจา ดวยการสวดสรรเสริญเจริญ พระพุ ท ธคุ ณ ๓) ทางใจ ด ว ยการน อ มเอาคุ ณ พระรั ต นตรั ย มาเป น สรณะไว ใ นใจ ๑
อานวา สะหวาก-ขา-โต
12
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ò. º·¹Íº¹ŒÍÁ¾Ãоط¸à¨ŒÒ (สวด ๓ จบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองค์นั้น, ซึ่งเปนผูไกล จากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง. ของพระพุทธเจา บทนี้เปนบทกลาวแสดงความนอบนอมบูชาพระคุณของ เหมื อ นบทไหว ค รู คำว า นะโม มาจากศั พ ท์ ว า นม แปลว า ความนอบน อ ม มีเรื่องเลาวา เทวดา ๕ องค์ไดเขาเฝ้าพระพุทธเจาแลวเกิดความเลื่อมใส จึงเปลงวาจา คนละวรรค ดังนี้ สาตาคีรายักษ์กลาวคำวา นโม (ความนอบนอม), อสุรินทราหูกลาว คำวา ตสฺส (นั้น), ทาวมหาราชกลาวคำวา ภควโต (พระผูมีพระภาคเจา), ทาวสักกะ กลาวคำวา อรหโต (เปนพระอรหันต์), ทาวมหาพรหมกลาวคำวา สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส (พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ) แปลความว า ขอนอบน อ มแด ส มเด็ จ พระทรงพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ดังนั้น เมื่อกลาวบทนี้จึงเปนการพรรณนาคุณ ของพระพุทธเจาครบทัง้ ๓ ขอ คือ ๑) พระปญญาคุณ ทรงตรัสรูช อบดวยพระองค์เอง ๒) พระวิสุทธิคุณ ทรงเปนผูบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ๓) พระกรุณาคุณ ทรงพระกรุณาสงสารสัตวโลกใหรูแจงเห็นจริง และไดนอมระลึกนึกถึงคุณงามความดี ของพระองค์ แลวเกิดความเอิบอิ่มใจ นอมใจฝกใฝในการทำความดีตลอดไป Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
13
ó. º·äµÃÊó¤Á¹ ñ
ทุติยัมป ทุติยัมป ทุติยัมป ตะติยัมป ตะติยัมป ตะติยัมป
พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง
สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง
คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ, คัจฉามิ.
ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง แมครั้งที่สอง ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง แมครั้งที่สาม ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง. ๑
อานวา ไตร-สะ-ระ-นะ-คม แปลวา การถึงพระรัตนตรัยวาเปนที่พึ่งที่ระลึก, ไตร = สาม, สรณะ = ทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก หมายถึง การยึดเอาพระรัตนตรัยวาเปนสรณะ ที่พึ่งที่ระลึก คือ พระพุทธเจาชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะกำจัดภัยของสัตว์ทั้งหลาย ดวยการใหถึงสิ่งที่เปนประโยชน์ (ความดี) และนำออกจากสิ่งที่ไมเปนประโยชน์ (ความชัว่ ) พระธรรมชือ่ วาเปนทีพ่ งึ่ เพราะชวยรักษาคุม ครองผูป ฏิบตั มิ ใิ หตกไปในที่ ชั่ว นำใหพนจากสังสารวัฏ (การเวียนวายตายเกิด) และพระสงฆ์ชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะเปนผูป ฏิบัติดีปฏิบัติชอบแลวนำมาแนะนำสอนใหผูอื่นรูตามไปดวย
14
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³ñ อิติป โส ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา พระองค์นั้น ; อะระหัง,1 เปนผูไกลจากกิเลส ; สัมมาสัมพุทโธ,2 เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง ; วิชชาจะระณะสัมปนโน,3 เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ๒ ; สุคะโต,4 เปนผูไปแลวดวยดี ; โลกะวิทู,5 เปนผูรูโลกอยางแจมแจง ; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,6 เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกไดอยางไมมีใครยิ่งกวา ;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,7
เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ; พุทโธ,8 เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม๓ ; ภะคะวาติ.9 เปนผูมีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์. ๑ ๒
บทนีเ้ ปนบทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ ๙ ประการ เรียกวา นวหรคุณ (ดูตามเลขอารบิค) วิชชา แปลวา ความรูแ จง มี ๓ คือ ความรูแ จงทีท่ ำใหระลึกชาติได, ความรูแ จงทีท่ ำให รูการเกิดและตายของสัตว์โลกวาเปนไปตามกรรม, ความรูแจงที่ทำใหพระองค์ สิน้ จากอาสวกิเลส จรณะ แปลวา ความประพฤติ หมายถึงขอปฏิบตั ทิ นี่ ำไปสูก ารบรรลุ วิชาความรูแ จงนัน้ ๓ ผูรู หมายถึง ทรงเปนผูรูแจงในธรรมอันเปนเครื่องตรัสรู คืออริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ผูตื่น หมายถึง ทรงเปนผูตื่นจากความหลับดวยอำนาจของกิเลส, ผูเบิกบาน หมายถึง ทรงเปนผูมีความสุขความเบิกบาน ความอิ่มใจในภาวะที่พน จากกิเลสนัน้ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
15
õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³ñ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,1
พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว ; สันทิฏฐิโก,2 เปนสิง่ ทีผ่ ศู กึ ษาและปฏิบตั พิ งึ เห็นไดดว ยตนเอง ; อะกาลิโก,3 เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลไดไมจำกัดกาล ; เอหิปส สิโก,4 เปนสิง่ ทีค่ วรกลาวกะผูอ นื่ วาทานจงมาดูเถิด๒ ; โอปะนะยิโก,5 เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว๓ ; ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูหตี .ิ ๔,6 เปนสิง่ ทีผ่ รู กู ร็ ไู ดเฉพาะตน. คำสั่งสอนของพระพุทธเจายอใหเหลืออยางเดียวคือ “ความไม่ประมาท” หรือ “สติ” สติ คือความระลึกได ความนึกได ความไมเผลอ ไมหลงลืม แบงเปน ๒ อยาง คือ นึกไดก่อนทำ ก่อนพูด ก่อนคิดในกิจการต่างๆ หากคนมีสตินึกได อยางนี้ ยอมทำงานไมผิดพลาด ไมขาดตกบกพรอง ทำงานไดเรียบรอย นึกได ภายหลัง คือนึกถึงงานที่ทำคำที่พูดไวแลวได ไมลืมเลือน ระลึกอยูเสมอเพื่อหาขอ บกพรอง เพื่อหาทางแกไข หรือเพื่อดำรงความดีไว ใชคูกับ สัมปชัญญะ ความรูตัว คือรูตัวเองอยูเสมอขณะที่ทำ ขณะที่พูด ขณะที่เปนอะไรอยู รูตัวไดอยางนี้ยอมทำ ใหไมลืมตัว ไมหลงงมงาย รูจักหนาที่ รูจักรับผิดชอบ ทำงานดวยความมีเหตุผล ไมทำตามอารมณ์ ทำงานไดรวดเร็ว คลองตัวและไมผิดพลาด ๑ บทนีเ้ ปนบทสวดสรรเสริญธรรมคุณ ๖ ประการ (ดูตามเลขอารบิค) ๒ หมายถึง เปนคำสอนทีเ่ ปนความจริง พรอมใหเขามาพิสจู น์และปฏิบตั ดิ ว ยตนเองกอนจึงเชือ่ ๓ หมายถึง พระธรรมทีเ่ ปนสัจธรรมและความดีนนั้ ควรเขาไปศึกษาและนอมนำมาปฏิบตั ิ ๔
อานวา วิน-ยู-ฮี-ติ แปลวา ผูร ู
16
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ñ พระสงฆ์คือ สาวกของพระพุทธเจา ผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ สืบทอดพระพุทธศาสนา ใหอยู่คู่กับคนไทยตลอดกาล
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,1
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว๒;
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,2
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติตรงแลว๓;
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,3 สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกข์แลว๔;
สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,4
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว ;
๑
บทนี้ เปนบทสวดสรรเสริญคุณของพระสงฆ์ ๙ ประการ (ดูตามเลขอารบิค) พระสงฆ์ เปรียบเหมือนดอกไมทมี่ าจากทีต่ า งๆ เมือ่ เราบูชาพระดวยดอกไมกเ็ ทากับวาเราบูชา พระสงฆ์ ๒ หมายถึง ปฏิบตั เิ พือ่ บรรลุมรรค (๔) ผล (๔) และพระนิพพาน ๓ หมายถึง ปฏิบตั ติ ามพระธรรมวินยั ทีพ่ ระพุทธเจาบัญญัตไิ ว และไมปฏิบตั เิ พือ่ หวังลาภ สักการะ ๔ หมายถึง ปฏิบตั เิ พือ่ ใหรแู จงเห็นจริงในสัจธรรมทัง้ ปวงทีท่ ำใหหมดจากทุกข์ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
17
ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้คือ :จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คูแหงบุรุษ ๔ คู๑ นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา ; อาหุเนยโย,5 เปนสงฆ์ควรแกสักการะที่เขานำมาบูชา ; ปาหุเนยโย,6 เปนสงฆ์ควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ ; ทักขิเณยโย,7 เปนผูควรรับทักษิณาทาน๒; อัญชะลิกะระณีโย,8 เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี๓;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.9 เปนเนื้อนาบุญของโลก๔ ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.
๑
คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ คือ คูที่ ๑ เรียกวา พระโสดาบัน แปลวา ผูถึงกระแสแหงพระ นิพพาน มี ๓ ประเภท คือ ผูเกิดอีกชาติเดียว, ผูเกิดอีกเพียง ๒-๓ ชาติ, และผูเกิด อีกไมเกิน ๗ ชาติ ก็บรรลุเปนพระอรหันต์ คูที่ ๒ เรียกวา พระสกทาคามี แปลวา ผูกลับมาสูโลกนี้อีกครั้งเดียว คือเกิดอีกชาติเดียวก็บรรลุเปนพระอรหันต์ คูที่ ๓ เรียกวา พระอนาคามี แปลวา ผูไมมาสูโลกนี้อีก คือ ผูเปนพระอนาคามีหลังจาก ตายไปแลวจะไปเกิดในพรหมโลกและบรรลุเปนพระอรหันต์ในที่นั้น คูที่ ๔ เรียกวา พระอรหันต์ (อานวา อะระหัน) แปลวา ผูหางไกลจากกิเลส. (ถาอานวา ออระหัน แปลวา ความเปนพระอรหันต) ๒ แปลวา การใหของทำบุญ หมายถึง เปนผูสมควรรับของที่เขานำมาถวาย ๓ แปลวา การประนมมือ หมายถึง เปนผูสมควรรับการยกมือขึ้นกราบไหวจากผูอื่น ๔ เนื้อนาบุญของโลก หมายถึง เปนแหลงเพาะปลูกและเผยแพรบุญคือความดี ที่ยอดเยี่ยมของโลก
18
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒÇ¹Ò อุกาสะ อุกาสะ ขาพเจาจะเจริญสวดมนต์ภาวนาธรรมบูชาคุณ พระรัตนตรัย เพื่อสรางสมทศบารมีธรรมในจิต มีทาน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิรยิ ะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา เจริญอิทธิบาททัง้ ๔ ด ว ยความพอใจในความเพี ย ร ให ค วามสนใจและความใคร ค รวญ พิจารณา ใหสงั หารนิวรณ์ทงั้ ๕ อันมีกามฉันทะ ความพยาบาท ความงวง ขณะปฏิบัติ ความคิดฟุ้งซาน ความลังเลสงสัย ใหมันมลายหายออกไป มีวิตก วิจารณ์ ปติ สิริรวมสุขเอกัคตาเขามาแทนที่ ใหถึงฌานสมาบัติ จนเดินทางเขาสูม รรคาพระอริยบุคคล ลางธุลกี เิ ลสใหสญ ู ตัดมูลอาสวะ ใหสิ้น หางไกลสังโยชน์ทั้งปวง ลวงถึงพระนิพพานที่ยิ่งใหญ ขาพเจาขออาราธนาบารมีพระพุทธเจา พระธรรมเจา และพระ อริยสงฆ์ทุกพระองค์ มีสมเด็จโตแหงวัดระฆังเปนที่สุด จงมาเปนที่พึ่ง แกขาพระพุทธเจา ทำลายทุกข์กายทุกข์ใจใหเหือดหาย ทำลายมาร ตั ณ หาให พิ น าศ ขอให พ น เคราะห์ ปราศจากทุ ก ข์ โ ศกโรคภั ย และ อันตรายภัยพิบัติทั้งปวง ขอใหขาพเจามีอายุยืนยาว มีโชคลาภ มีความ สุ ข สิ ริ ส วั ส ดิ์ เจริ ญ ต อ ไปทั้ ง ในป จ จุ บั น กาลอนาคต และภพหน า ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เทอญ ฯ บทนี้ เ ป น การตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานในการเริ่ ม ต น ทำความดี คื อ การสวดมนต์ เพื่ อ ให จิ ต นิ่ ง การสวดมนต์ ที่ จ ะสำเร็ จ ประโยชน์ นั้ น ต อ งมี ค วามพร อ มด ว ยกาย วาจา ใจ กลาวคือ กายตองสำรวมเรียบรอยสงบ วาจา ขณะสวดก็สวดใหถูกตอง ทั้งอักขระและทำนอง ใหมีเสียงดังพอประมาณ และใจตองจดจออยูกับบทสวดนั้น อย า คลอนแคลน เมื่ อ ทำได เช น นี้ ชื่ อ ว า เป น การดี พ ร อ ม คุ ณ ความดี ต า งๆ ก็ จ ะ เกิดมีขึ้นอยางแนนอน Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
19
ø. ¾ÃФҶҪԹºÑުà ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒà(âµ ¾ÃËÁÃѧÊÕ) คำอธิษฐานกอนสวดภาวนา
ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปยะตัง สุตะวา. คำแปล : ผูปรารถนาบุตร พึงไดบุตร ผูปรารถนาทรัพย์ พึงได ทรัพย์ บัณฑิตไดฟงมาวา ความเปนที่รักที่ชอบใจของเหลาเทวดาและ มนุษย์มีอยูในกาย (เรา) เพราะเรารูไดดวยกาย. สวดมนต์ตองอธิษฐาน ใหทานตองตั้งใจ คำวา “อธิษฐาน” หมายถึง การตั้งใจมุงผลอยางใดอยางหนึ่ง การตั้งจิตรองขอสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือ การนึกปรารถนาสิ่งที่ตองการจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชน ตั้งจิตอธิษฐานขอพรจากพระ นึกอธิษฐานในใจขอใหเดินทางแคลวคลาด เปนตน การใหทานก็เชนกันตองตั้งใจให ดวยความจริงใจ ไมใชใหอยางเสียไมได การสวดพระคาถาชินบัญชรนั้น ก็เพื่อตองการความศักดิ์สิทธิ์เขมขลังมาเปน พลังใหใจคิดดีคิดชอบ ความจริงนั้นสิ่งศักดิ์ตางๆ ไมจำเปนที่จะตองอยูนอกตัวเรา เสมอไป พระพุ ท ธเจ า ตรั ส ว า ตนแลเป น ที่ พึ่ ง แห ง ตน เราสามารถเสกมนต์ ใ ส ใจ ดวยตัวเอง ดวยความตระหนักรูและนอมนำคุณของพระรัตนตรัยเขามาไวในตน แลว ทำตนใหเปนสิ่งรองรับพระคุณดังกลาว หรือทำตัวใหเปนเหมือนแทนบูชา ดังคำ กลาวในคาถานำของพระคาถาชินบัญชรที่วา อัตถิ กาเย กายะญายะ.. ซึ่งแปลวา มีอยูในกาย รูไดดวยกาย นี้เปนเครื่องแสดงใหเห็นวาความศักดิ์สิทธิ์หรือพลานุภาพ อันยิ่งใหญของพระรัตนตรัยนั้น เราสามารถเสกสรางใหเกิดขึ้นไดจริงๆ
20
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ÀÒǹÒÁ¹µ ¤Ò¶ÒÇ‹Ò อิติป โส ภะคะวา ยะมะราชาโน ทาวเวสสุวัณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ.
บทนีเ้ ปนมนต์คาถาทีแ่ ตงขึน้ มาเพือ่ ใชสวดภาวนาใหจติ สงบนิง่ กอนทีจ่ ะสวด พระคาถาชินบัญชร เพราะตามธรรมชาตินนั้ จิตของคนเรามักจะดิน้ รนกวัดแกวงเหมือน ลิงที่วิ่งซุกซนไปโนนมานี่ตลอดเวลา หากเรายังไมมีความพรอมในจิตใจ การสวด ภาวนาพระคาถาชินบัญชรก็ไมสำเร็จผลได ถึงจะสำเร็จแตก็ยังไมเต็มเม็ดเต็มหนวย เพื่อใหการดำเนินชีวิตในแตละวันราบรื่น ไรอุปสรรคขวากหนาม เบื้องตนตองมีจิตใจ ที่มั่นคงไมหวั่นไหว การที่จะมีใจมั่นคงนั้นตองสรางศรัทธาคือความเชื่อมั่นขึ้นในใจ ใหไดกอ น ดังพุทธภาษิตวา ศรัทธาทีต่ งั้ มัน่ ย่อมสำเร็จประโยชน์ และศรัทธาทีจ่ ะสำเร็จ ประโยชน์อยางแทจริงนั้นตองเปนศรัทธาที่ประกอบดวยปญญา กอนที่จะออกจากบานไปเผชิญกับสิ่งตางๆ ภายนอก หากมีเวลาวางควร เสียสละเวลาสักนิด เพือ่ ทำจิตใจใหมนั่ คงเปนสมาธิ เสริมสรางพลังใจใหแข็งแกรงดวยการ สวดมนต์ อานิสงส์จากการสวดมนต์จะทำใหสมองปลอดโปรงโลงใจ พรอมที่จะเผชิญ กับสิ่งตางๆ อยางมีสติ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
21
๑. ชะยาสะนาคะตา๑ พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสจั จาสะภัง ระสัง เย ปวงิ สุ นะราสะภา. คำแปล : พระพุทธเจาผูองอาจ ในหมูชนประทับนั่ง ณ ชัยอาสน์บัลลังก์๒ ทรงชนะพญามาร ผูพ รัง่ พร อ มด ว ยเสนามารแล ว เสวย อมตรส๓ คืออริยสัจ ๔ ประการ อันทำใหผูรูแจงขามพนจากทุกข์ ทั้งปวงได. ปญหาอุปสรรคตางๆ ทีถ่ าโถมเขามาหาเรานัน้ ถามองกันใหดๆี ก็คอื มารราย ทีจ่ ะเขามาบัน่ ทอนกำลังใจทำใหเราทอแท เพือ่ ไมใหเราทำความดีสำเร็จ แมพระพุทธเจา ก อ นที่ จ ะตรั ส รู พ ระอนุ ต รสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ ก็ ถู ก พญามารและเสนามารเข า มา ขั ด ขวางเพื่ อ มิ ใ ห ต รั ส รู แต พ ระพุ ท ธองค์ ก็ ท รงชนะด ว ยการระลึ ก ถึ ง บารมี ๑๐ ประการ ทำใหนางวสุนธราแมพระธรณีมาเปนพยาน จนพญามารและเสนาตอง พายแพกลับไป คำวา มาร ในทางพุทธศาสนาแปลวา ผูท ำใหตาย, ผูฆ า หมายถึงผูข ดั ขวาง มิ ใ ห มี โ อกาสทำความดี ไ ด โ ดยสะดวก หรื อ ผู ข จั ด คุ ณ งามความดี ใ นบุ ค คลออกไป มี ๕ อย า ง ได แ ก ๑) ขั น ธมาร มารคื อ ร า งกาย ๒) กิ เ ลสมาร มารคื อ กิ เ ลส ๓) อภิสังขารมาร มารคืออกุศลกรรม ๔) เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร ๕) มัจจุมาร มารคือความตาย ๑ บางฉบับเปน ชะยาสะนากะตา แปลไดความเหมือนกัน ๒ หมายถึง ที่ประทับใตตนพระศรีมหาโพธิ์ในวันตรัสรูของพระพุทธเจา ๓
อานวา อะ-มะ-ตะ-รด หมายถึง รสแหงธรรมที่เปนอมตะคืออริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)
22
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนสิ สะรา. คำแปล : พระพุทธเจา ๒๘ พระองค์๑ มีพระพุทธเจาทรงพระนามวาตัณหังกร เปนตนเหลานัน้ ขออัญเชิญพระพุทธเจา ผูเ ปนจอมมุนที กุ พระองค์มาประดิษฐาน ณ กลางกระหมอมของขาพเจา.
กลางกระหมอมเปนศูนย์กลางแหงชีวิต เปนสวนที่เปนสุดยอดของรางกาย ถื อ เป น อวั ย วะที่ สู ง ที่ สุ ด อี ก นั ย หนึ่ ง จึ ง เป น ที่ ตั้ ง ของเป้ า หมายสู ง สุ ด แห ง ชี วิ ต ด ว ย คนเราตองมีเป้าหมายและตองไปถึงเป้าหมายทีต่ งั้ ไวใหได ในทางพระพุทธศาสนาสอน ไววา คนที่จะทำอะไรสำเร็จนั้นตองตั้งอยูในคุณธรรมที่เรียกวา อิทธิบาท แปลวา คุณเครือ่ งหรือขอปฏิบตั ทิ นี่ ำไปสูค วามสำเร็จ มี ๔ อยาง คือ ๑) ฉันทะ คือ ความพอใจ รักใครในงานทีท่ ำ ๒) วิรยิ ะ ความเพียร ลงมือทำดวยความหมัน่ ขยันอดทน ๓) จิตตะ ความเอาใจใส ไมทอดทิ้งธุระในกิจการงานที่ทำ ๔) วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณา หาเหตุ แ ละผลในงานที่ ท ำว า ดี ห รื อ ไม อ ย า งไร เมื่ อ ทำได ทั้ ง หมดนี้ ย อ มมี ค วาม สำเร็จเปนเบือ้ งหนา ๑
คือ ๑. พระตัณหังกร ๒. พระเมธังกร ๓. พระสรณังกร ๔. พระทีปง กร ๕. พระโกณฑัญญะ ๖. พระมังคละ ๗. พระสุมนะ ๘. พระเรวตะ ๙. พระโสภิตะ ๑๐. พระอโนมทัสสี ๑๑. พระปทุมะ ๑๒. พระนารทะ ๑๓. พระปทุมตุ ตระ ๑๔. พระสุเมธะ ๑๕. พระสุชาตะ ๑๖. พระปยทัสสี ๑๗. พระอัตถทัสสี ๑๘. พระธัมมทัสสี ๑๙. พระสิทธัตถะ ๒๐. พระติสสะ ๒๑. พระผุสสะ ๒๒. พระวิปสสี ๒๓. พระสิขี ๒๔. พระเวสสภู ๒๕. พระกกุสันธะ ๒๖. พระโกนาคมนะ ๒๗. พระกัสสปะ ๒๘. พระโคตมะ (องค์ปจจุบัน) Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
23
๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. คำแปล : ขออัญเชิญพระพุทธเจา ประดิษฐานบนศีรษะของขาพเจา พระธรรมประดิ ษ ฐานที่ ด วงตา ทั้งสองของขาพเจา พระสงฆ์ผูเปน อากรบอเกิดแหงคุณความดีทั้งปวง อยูที่อกของขาพเจา.
ศีรษะเปนที่บรรจุสมองซีกซายใชขบคิดพิจารณาเหตุและผล สวนสมอง ซีกขวาใชคิดจินตนาการสรางสรรค์สิ่งตางๆ เปนศูนย์กลางแหงการคิด การวางแผน การสรางเป้าหมาย และวิธีการที่จะทำใหบรรลุเป้าหมายนั้น บทนี้เปนการอัญเชิญ พระพุทธเจามาประดิษฐานบนศีรษะเพื่อใหเกิดความคิดแตกฉาน คิดดี มีเป้าหมาย การอัญเชิญพระธรรมประดิษฐานที่ดวงตาทั้งสองขาง ธรรมชาติสรางดวงตา ใหเรามา ๒ ขางนั้นเพื่อจะใหมองดูสิ่งตางๆ ใหไดมาก แบงออกเปน ๒ อยาง คือ ๑) ตานอก หมายถึงดวงตาคือตาเนื้อ ๒) ตาใน หมายถึงความรูและสติปญญา ดวงตา สองประเภทนี้ มี ค วามสำคั ญ มากในการดำเนิ น ชี วิ ต ของแต ล ะคน ตานอกใช ม อง สิ่งตางๆ สวนตาในสำคัญที่สุด เพราะแมจะมีตาเนื้อมองเห็นทุกอยาง แตถาขาดสติ ปญญาแลวไมสามารถดำเนินชีวิตใหดีได แตคนตาบอดหากมีปญญาก็เลี้ยงชีวิตได ไมยากนัก การอัญเชิญพระสงฆ์ประดิษฐานอยูที่อก แสดงถึงความฮึกเหิมกลาหาญ สามารถตอสูกับอุปสรรคปญหาตางๆ ได เมื่อคบเพื่อนฝูงก็ตองมีความเขาอกเขาใจกัน
24
¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ