สวดมนต์คาถามหาเมตตาใหญ่ แก้ไขเวรกรรม

Page 1


ÊÇ´Á¹µ à¨ÃÔÞàÁµµÒ ᡌ䢻˜ÞËÒªÕÇÔµ ¢¨Ñ´âä á¡Œä¢à¤ÃÒÐË ÃŒÒ µÑ´àÇõѴ¡ÃÃÁ

เรียบเรียง : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุสัตย ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง ภาพประกอบ : ธนรัตน ไทยพานิช รูปเลม/จัดอารต : ทศพร ธรรมกุล


คำนำ ความทุกข เดือดรอน รวมถึงสิ่งเลวรายตางๆ ที่เกิดขึ้นกับชีวิต อาทิ ประสบอุบัติเหตุใหตองสูญเสียอวัยวะ ถูกโกงถูกหักหลังถูกหลอกลวง ปวยเปนโรคราย ลูกไมเชื่อฟง สรางแตความเดือดรอนและอื่นๆ เหลานีล้ วนแตเปนผลกรรมที่เราเคย สรางไวกับคนอื่น และถูกเจากรรมนายเวรตามทวง บางคนอาจมีขอโตแยงวา ตั้งแตเกิดมาจำความไดไมเคยสรางความเดือดรอน ใหกับใคร ทำแตความดีมาตลอด จะมีเจากรรมนายเวรไดอยางไร ในขอนี้ตองไมลืมวา ชีวิตของเราไมไดมีชาตินี้ชาติเดียว ชีวิตของคนคนหนึ่งที่เกิดมาในชาตินี้ ไดผานการ เวียนวายตายเกิดมาแลวนับครั้งไมถวน นับจำนวนมากกวาเม็ดทรายในทะเล และใน แตละชาติก็ไดสรางกรรมตางๆ ไวมากมาย กรรมชั่วที่เราทำก็เหมือนกับสุนัขไลเนื้อ มันจะตามเราไปทุกหนทุกแหงอยาง ไมลดละและไมรูจักเหน็ดเหนื่อย เมื่อไรที่เราออนลา และสบโอกาสมันก็จะเขางับทันที กรรมชั่วที่เราทำ ไดติดตามเรามาจนถึงชาติปจจุบันนี้แลว แตเพราะเราระลึกกรรม ในชาติกอนไมได จึงไดคร่ำครวญโวยวายวา กรรมไมยุติธรรม ดังพุทธภาษิตที่วา “ตราบใดที่กรรมชั่วยังไมใหผล คนชั่วก็เห็นกรรมชั่ววาดี แตเมื่อกรรมชั่วใหผล เขายอมคร่ำครวญร่ำไห” กรรมที่กอไวไมมีใครหนีพน แมแตพระผูมีพระภาคเจากอนเสด็จดับขันธปรินิพพานก็ยังตองทรงพระประชวรดวยโรคปกขันธิกาพาธ (ถายเปนเลือด) ดวย ผลกรรมที่เคยเปนหมอแลวใสยาถายใหคนไขที่เบี้ยวคารักษาจนเสียชีวิต ความอาฆาตแคนระหวางเรากับเจากรรมนายเวร เปนหวงโซเวรกรรมทีผ่ กู มัด จองจำไวในคุกแหงความทุกขทรมาน การสวดมนตแผเมตตาใหกบั เจากรรมนายเวร เพื่อขออภัยกรรม เปนวิธีเดียวที่จะนำตนใหพนจากหวงโซเวรกรรมได จึงขอให ทุกทานสวดมนตบทมหาเมตตาหลวงนี้ทุกวันๆ สวดใหมากเถิด เพื่อลดกรรมราย ขยายกรรมดี ชีวีจะไดมีสุขตลอดไป ดวยความปรารถนาอยากใหพนทุกข

(ป.ธ.๗, พธ.บ.)


เทวดาชวนสวดเมตตาใหญ ๑ คัดยอจากบันทึกคำบอกเลา พระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ิตธมฺโม)

แมชีคนหนึ่งชื่อ แมชีกอนทอง ปานเณร แมชีคนนี้เคยไปอยูมาหลาย สำนัก วันหนึ่งก็มาขออยูที่วัดของอาตมา อาตมาก็บอกวา “โยม วัดนี้ไมมี สำนักชี และก็ไมมีกุฏิชีอยู แตถาโยมไมกลัวผี ก็อยูหองวางบนศาลา มีหองวางอยู หองหนึ่ง” แมชีก็ตกลงอยูบนศาลา อาตมาใหเดินจงกรม และนั่งปฏิบัติภาวนา หนึ่งเดือนผานไป โยมแมชี ก็มาบอกอาตมาวา “หลวงพอ ฉันจะลำบากเสียแลว” อาตมาถามวา “ลำบาก นี่เรื่องอะไร” แมชีบอกวา “เทวดามารบกวน” อาตมาถามวา “เทวดามา รบกวนเรื่องอะไร” แมชีบอกวา “เทวดามาชวนสวดมนต” อาตมาบอกใหถาม เทวดาดูซิวา “เทวดาอยูที่ไหนและมาชวนใหสวดมนตบทอะไร” แมชีก็ถาม เทวดาอีก เทวดาก็บอกแมชีวา มาอยูที่ตนพิกุลขางโบสถ เพราะโดนสาปมาจาก สรวงสวรรค ซึ่งถูกทำโทษเพราะทำผิดประเวณีนางฟา จึงโดนสาปแลวใหมา สถิตที่ตนพิกุลเปนเวลา ๑๐๐ ป จากนั้นก็บอกใหสวดมนตบทเมตตาใหญ อาตมา ถามแมชีวา “มาชวนสวดมนตเวลาไหน” แมชีก็บอกวา “มาชวนสวดมนตเวลา ๒๔.๐๐ น. เทวดาจะมาเฝาพระพุทธเจา” เทวดาก็ยังบอกเคล็ดลับอีกวา ถาหากบานไหน มีเครื่องสักการะ บูชาพระพุทธรูป เปรียบเสมือนเปน ประติมากรรมแทนองคพระพุทธเจาแลว และสวดมนต ไหวพระอยูเปนประจำ เทวดาก็จะมาสถิต เรียกวา “เทพสถิต” แตถาหากบานไหนไมมีเครื่องสักการบูชา ๑ คัดยอจากหนังสือ กฎแหงกรรมและธรรมปฏิบัติ เลม ๑ พ.ศ. ๒๕๓๐ เรื่อง “พิกุลเทพสถิต” โดย ศักดิ์สิทธิ์ พันธุสัตย


ไมสวดมนตไหวพระ ก็เหมือนกับวาไมมี เทวดามาสถิต แลวเทวดาบอกอีกวา บานไหนเอาใจใสสวดมนตไหวพระ จะมีเทวดามารวมสวดมนตดวย บานนั้นจะมี เทวดาไปอยูรักษาคุมครองทั้งครอบครัว และยังบอกอีกวา คนเรามีเทวดาประจำ วันเกิดกันทุกคน ถาเทวดาวันเกิดออกไปเมื่อใด มักจะถึงกับความตาย ถาหาก เทวดาองคตอไปไมรักษา แมชีกอนทองสวดมนตผานไป ๑ ป ก็มีความชำนาญจนสามารถพูดคุย กับเทวดาไดอยางมีความคุนเคย และสามารถรูเหตุการณตางๆ ไดลวงหนา ซึ่งเปน เรื่องนาอัศจรรยยิ่ง ทั้งๆ ที่แมชีกอนทองอานหนังสือไมออกเลย ในกาลตอมาอาตมาก็ไดใหแมชีกอนทองสวดมนตใหฟง อาตมาก็ไมแนใจ จึงไปหาซื้อตำราแถวเสาชิงชา ถามหาบทสวดมนตเมตตาใหญ เขาบอกวาไมมี อาตมาก็เลยไปหาทานพระครูปลัดแหงวัดสุทัศนเทพวราราม ปจจุบันเปนเจาคุณ ไปแลว ทานพระครูปลัดก็ใหยืมหนังสือพุทธาภิเษก ฉบับสมเด็จพระสังฆราช (แพ) คนหาดูก็พบอยูที่บทตอทายมหาพุทธาภิเษกนั่นเอง ตอมาเชาวันหนึ่ง ตนพิกุลเทพสถิตก็โคนลงอยางสนั่นหวั่นไหวโดยไมมี ลมพายุเลย อาตมาก็ไปเปดสมุดบันทึกดูเหตุการณทั้งหมดก็ครบกำหนด ๑๐๐ ป พอดี ที่เทวดาโดนสาปมาจากสวรรค และภายหลังแมชีกอนทองก็มีสำนักชีอยู และแมชียังยืนยันกอนตายวา เปนความจริงยังใชไดที่เทวดาจะไปรวมสวดมนต ตามบานในเวลา ๒๔.๐๐ น. เทวดายังบอกตอไปอีกวา บานไหนมีเครื่องสักการบูชาไมสะอาด ÁÕÍÐäÃËÃ×ÍâÂÁ แลวตั้งโตะหมูบูชาพระ มีคนนอน เกะกะอยู เทวดาไมเขาไปรวมสวดมนต แนนอน บานไหนหมั่นสวดมนต เทวดา จะมารวมสวดมนตทุกคืนและคุมครอง à·Ç´ÒÁҪǹ รักษา ´Ô©Ñ¹ÊÇ´Á¹µ ਌Ҥ‹Ð


สวดคาถามหาเมตตาใหญ หายป วยจากโรคหัวใจรั�ว๑ “อานิสงสแหงความมีศรัทธา ตั้งใจแนวแนในการสวดมนต เจริญกุศล ภาวนา ทำใหหายโรคได ทานทั้งหลายจำไวอยางหนึ่งวา ถาคนเขาถึงธรรม เมื่อใด จะหายจากโรคแนๆ เมื่อวานไดรับจดหมายจากจังหวัดหนองคายฉบับหนึ่ง มาจากโยมกุศล นามแกว ปวยเปนโรคหัวใจรั่ว จะตายอยูแลว ทำพืชไรอยูที่อำเภอศรีเชียงใหม จังหวัดหนองคาย เลี้ยงสัตวไวดวย มีเหยี่ยวกามารบกวน ขโมยก็มาลักของ เขานั่งกรรมฐาน สวดมนต ชวยตัวเองไมตองใหคนอื่นชวย ไมตองใหพระชวย โรคหัวใจนี่ทำอะไรก็เหนื่อย หากคิดอะไรขึ้นมาละก็ตายเลย หรือถาโกรธก็ตายเลย เขาสวดมนตเจริญกุศลภาวนาอยู ๙ เดือน ขณะนี้โรคหายไป ๙๐% แลวยังเหลือ อีก ๑๐% จึงจะเปนปกติ หมอบอกหายไดอยางไร มีแตจะตายเทานั้น การสวดมนตนั้น สวดเพื่ออะไร สวดเพื่อตองการใหมีสติ ชวยตัวเองได คนที่มาที่นี่มีแตมาใหพระชวย ไมชวยตัวเองเลย ไมสนใจปฏิบัติกรรมฐาน มากันเพื่อจะปฏิบัติแลกเหมือนแบบพอคาแมคา ไมไดผลสักราย

µÑé§áµ‹ÊÇ´Á¹µ ÁÒ ÃÙŒÊÖ¡Ç‹ÒµÒ¨Ðá¢ç§áç ¢Öé¹ÁÒ¡¹Ð¨ Р㪋¨ŒÐÂÒ ¹Í¡¨Ò¡ÊØ¢ÀÒ¾´Õ ¨Ôµã¨ÂѧᨋÁãÊÍÕ¡´ŒÇ¹Р๑ คัดยอจากหนังสือ กฎแหงกรรม วิปสสนาสื่อวิญญาณ (ตอนที่ ๘)


โยมกุศลนี่ตั้งใจจริง โรคหายไปเลย เขาขอหนังสือสวดมนตมหาเมตตา ใหญ วันนี้สงไปใหเขาแลว ตองชวยตัวเอง ตองพึ่งตัวเอง ตองสอนตัวเอง หนังสือมหาเมตตาใหญนี้มีมานานแลว ไมมีคนสนใจ เปนบทสวดมนต ของเทวดาที่ตนพิกุลมาสอนแมชีกอนทอง ปานเณร ใหสวดมนตที่ศาลาหลังเกา แมชีอานหนังสือไมออก ตายตอนอายุ ๙๐ กวาป มาอาศัยศาลาอยูที่วัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ เทวดามาชวนสวดมนตตอน ๒๔ นากา... เทวดาบอกวา บานใครมีพระพุทธรูปไมตองไปปลุกเสกหรอก เราหมั่น สวดมนตไหวพระ เทพจะสิงในองคพระ หลวงพอโสธรที่แปดริ้วมีเทวดารักษา ถึง ๑๖ องค จึงไดเงินทองมากมายเปนพันลาน.... โยมกุศลทำไรไวเยอะมีทั้งพืชไรและสัตวเลี้ยง มีสัตวมารบกวน คนก็ เบียดเบียนลักขาวของและมีโรคภัยไขเจ็บ เขาบอกวา ตั้งแตสวดมนต (มหา เมตตาใหญ) เจริญกุศลภาวนาทุกวันตลอดมา โรคหัวใจรั่วผมหายแลว ๙๐% คนเคยเบียดเบียนจะมาทำรายผมกลับมาเปนมิตรหมด สัตวราย ที่เคยมากวนพืชไร ไมมีมากวนเลย เขาบอกอยางนี้ อาตมาก็ขออนุโมทนากับเขา เพราะเขาเปนโรครายและหายไปไดอยาง นาอัศจรรย”

สิ่งมีชีวิตเปนสิ่งที่มีคุณคาอยูในตัวของมันเอง จึงไมควรเบียดเบียนและทำลายคุณคาแหงความเปนอยู ของเขาใหตกไป อันเปนการทำลายคุณคาของกันและกัน เปนบาปกรรมแกผูทำ หลวงปูมั่น ภูริทตฺโต วัดปาสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร


สวดคาถามหาเมตตาใหญ แก ไขป ญหาช�ว�ต เมื่อวันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๓ ผูเขียนไดมีโอกาสฟง รายการ วัฏจักรชีวิต ดำเนินรายการโดย อ.จันทรงาม รัตนพงษ และทีมงาน สังฆทานธรรม ซึ่งออกอากาศทางสถานีวิทยุคลื่นไทธรรม FM 95.25 MHz. ไดเลาถึงประวัติของพระเดชพระคุณ พระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ิตธมฺโม) เกี่ยวกับการสวดคาถามหาเมตตาใหญวา ÊÇ´Á¹µ ¤Ò¶ÒÁËÒàÁµµÒãËÞ‹ áÅŒÇà¢Ò¨Ð¡ÅѺÁÒ¹Ð

à¾ÃÒÐÁÕ¡ÃÃÁ ¨Ö§ÁÕ·Ø¡¢ à¨ÃÔÞàÁµµÒ ºÃÃà·Ò·Ø¡¢ ºÃÃà·Ò¡ÃÃÁ ¨ÃÔ§ËÃ×ͤÃѺËÅǧ¾‹Í ¼Á¨ÐµÑé§ã¨ÊÇ´·Ø¡ÇѹàŤÃѺ

มีชายสูงวัยคนหนึ่งมีความทุกขมาก เนื่องจากลูกชายเขาหายออกจาก บาน และไมมีขาวคราวติดตอมาเลยเปนเวลา ๑๒ ปแลว ไมรูวาเปนตายรายดี อยางไร เขาเคยทำบุญอุทิศไปใหเขา และเคยอธิษฐานจิตวา ถาหากวาลูกไดตาย ไปแลวก็ขอใหมาสงขาวดวย แตก็ไมเห็นมาสงขาวเลย จึงอยากขอใหหลวงพอ ชวย ๗


หลวงพอไดแนะนำวา “ที่ลูกเขาไมมาสงขาวนั้นก็เพราะเขามีชีวิตอยู แตเขามาไมได เพราะกำลังใชหนี้เวรกรรมอยู แตถาอยากใหลูกกลับมา อาตมา ขอใหโยมสวดมนตบทคาถามหาเมตตาใหญทุกคืน คืนละ ๓ จบ ติดตอกัน เกาเดือนอยาใหขาด หลังจากสวดครบเกาเดือนแลวลูกของโยมจะกลับมา ภายใน ๓ วัน” หลวงพอไดอธิบายวา บทแผเมตตาใหญเปนบทสวดที่เทวดาเขาสวด กัน การที่ทานแนะนำใหสวดอยางนี้ เพราะเห็นวา เขาเปนผูที่มีความเพียรสูง สามารถที่จะทำตามที่ทานแนะนำได การสวดมนตที่ยาวและติดตอกันเชนนี้เปน ภาวนามัย คือเปนการทำบุญดวยการเจริญภาวนา ผูที่ทำไดจะเกิดมหาอานิสงส อันยิ่งใหญ อนึ่ง พอแมลูกซึ่งเปนสายเลือดเดียวกันนั้นสามารถทำบุญใหกันได บุญที่พอทำดวยการสวดมนตคาถามหาเมตตาใหญทุกคืน คืนละ ๓ จบ ติดตอกัน ๙ เดือนมิไดขาดนี้ จะสงผลใหลูกชายของเขาพนจากเวรกรรมที่เผชิญอยูได ทราบภายหลังวา ลูกชายของเขาไปทำธุรกิจรวมกับเพื่อนที่ประเทศลาว แตถูกเพื่อนหักหลังใหตองคดีความ ถูกตำรวจที่ประเทศลาวจับ และศาลตัดสิน ใหติดคุกเปนเวลา ๒๐ ป หลวงพอยืนยันวา ถาหากชายคนนั้นไดสวดมนตบท คาถามหาเมตตาใหญนี้ครบตามที่ทานแนะนำ ลูกชายของเขาจะไดรับการผอน โทษและกลับบานมาหาพอของเขาในเร็ววัน ผูที่มีปญหาหนักมองไมเห็นหนทางแกไข จะลองใชวิธีตามที่หลวงพอ ทานแนะนำดูบางก็ดี บางทีปญหาที่ทานเผชิญ อาจพบทางออกไดอยาง ปาฏิหาริย ปาฏิหาริย ปาฏิหาริย สาธุ.


สวดมนต จะได ผลหร�อไม อยู ที่ตัวเรา การสวดมนตจะตัดกรรมตัดเวรของเราไดหรือไมนั้น หัวใจอยูที่จิตและ ความมุงมั่นตั้งใจจริงของผูสวดเปนสำคัญ กลาวคือ ๑. ผูสวดตองมีศรัทธา คือความเชื่อมั่นตอคุณของพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ และเชื่อมั่นวาการสวดมนตบทมหาเมตตาหลวงนี้ จะนำไปสูการตัดเวรกรรมไดจริง ๒. ตองมีวิริยะ คือความเพียร มุงมั่นสวดดวยความเต็มใจ ตั้งใจ ไมทำ ดวยความเกียจคราน ๓. ตองมีสติ คือความตื่นตัว รูตัวอยูทุกขณะที่สวด พยายามประคับ ประคองจิตใหอยูกับบทสวดในทุกขณะ ๔. ตองมีสมาธิ คือพยายามรักษาจิตใหจดจออยูกับบทสวดอยางตอเนื่อง ตั้งแตตนจนจบไมเผลอไผลใหเรื่องอื่นเขามาแทรกแซง ๕. ตองใชปญญาพิจารณาไปตามบทสวด ใหรูวาแตละศัพทแตละ เนื้อความนั้นวาดวยเรื่องอะไร สามารถนำมาปฏิบัติใหเกิดประโยชนอยางไร บทสวดเมตตาหลวงนี้พระพุทธเจาตรัสมอบใหแกภิกษุ สำหรับสวด บริกรรม เพื่อเปนอุบายยอมจิตใหคุนชินกับความมีเมตตา จิตที่มีเมตตา จะเปน จิตที่ออนโยน เยือกเย็น ยิ่งเมื่อไดสวดบอยๆ ทุกวันๆ จิตก็ยิ่งออนโยน จิต ออนโยนมากๆ พลังแหงเมตตาก็จะผลักดันกิเลสฝายโทสะที่อยูในใจใหถอยหาง ออกไป ยิ่งเจริญเมตตามาก โทสะยิ่งลดนอย ใจก็ปลอดโปรงมากขึ้น พลังแหงเมตตาเหมือนน้ำที่ฉ่ำเย็น เมื่อเราสงไปสัมผัสกับผูใด เขาก็ จะรูสึกไดถึงความฉ่ำเย็น ซึ่งมีผลทำใหจิตใจของผูนั้นสงบเย็นดวย และหาก วาเราสงจิตที่มีเมตตานี้ใหแกเจากรรมนายเวรแลวไซร เขาจะสัมผัสรับรูถึง ความปรารถนาดี ความสงบเย็น ความเปนมิตรของเรา ซึ่งมีผลทำใหความ อาฆาตแคนในใจของเขาลดนอยลง และพรอมที่จะใหอภัยแกเรา เมื่อเขา ยอมใหอภัย เวรกรรมระหวางเขากับเราก็จะสิ้นสุดลง ๙


เมตตาใหญ มีหลายแบบ หลายช�่อเร�ยก บทสวดมหาเมตตาใหญ เดิมทีเปนบทสวดบริกรรมเพื่อเจริญเมตตา กรรมฐาน (การทำสมาธิดวยการทำจิตใหตั้งมั่นอยูกับการแผเมตตา) บทสวดนี้มี ปรากฏอยูในพระไตรปฎกเลมที่ ๓๑ ชื่อวา เมตตากถา ตอมาไดมีครูบาอาจารย หลายทานเห็นวาเปนบทสวดที่ดี มีคุณประโยชนแกผูสวดหลายประการ จึงได คัดลอกหรือจดจำนำไปทองบนเจริญเมตตากรรมฐาน จนเห็นผลประจักษวาดีจริง จึงไดนำออกเผยแผแกลูกศิษยลูกหา อาจารยบางทานที่มีความรูเกี่ยวกับภาษาบาลี ก็จะแตงเติมเสริมคำ หรือตัดทอนเนือ้ หาบางสวนตามความเห็น จึงทำใหบทสวดเมตตาหลวงของครูบาอาจารยบางทานแตกตางจากเนื้อความในพระไตรปฎกบางเล็กนอย นอกจากนี้ ยังไดตั้งชื่อบทสวดที่ทานดัดแปลงขึ้นมาใหมนี้แตกตางกันออกไป เพื่อแสดง ความเปนเจาของ เปนเหตุใหบทสวดนี้มีชื่อเรียกแตกตางกันไป เชน สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺโส) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พระองคทรงนิพนธบทเมตตานี้ขึ้น เพื่อ ใชในงานพุทธาภิเษก ทานเรียกบทนี้วา เมตตาพรหมวิหาร คาถา หรือ เมตตาพรหมวิหารภาวนาคาถา แปลวา บทสวด วาดวยการเจริญพรหมวิหารธรรม คือ เมตตา มีเนื้อความ ตรงตามพระไตรปฎกเกือบ ๑๐๐% พระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ิตธมฺโม) วัดอัมพวัน จ.สิงหบุรี ซึ่งทานไดมาจากเทวดาสอนแมชี แมชี นำมาบอกหลวงพออีกตอหนึ่ง ซึ่งมีเนื้อความตรงกับของ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺโส) แตทานมักเรียกวา เมตตา ใหญ, มหาเมตตาใหญ หรือ มหาเมตตาครอบจักรวาล หมายถึง บทสวดที่แผเมตตาไปถึงสัตวทุกชีวิตทุกตัวตน ทั่วทั้งจักรวาลไมมีจำกัด ๑๐


หลวงปูมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปูขาว อนาลโย

หลวงปูสิงห สุนฺทโร

พระญาณสิทธาจารย (หลวงปูสิงห สุนฺทโร) วัดเทพพิทักษปุณณาราม จ.นครราชสีมา ทานไดรับการถายทอดมาจากหลวงปูขาว อนาลโย แหงวัด ถ้ำกองเพล จ.หนองบัวลำภู ซึ่งหลวงปูขาวเองไดรับการถายทอดมาจากหลวงปูมั่น ภูริทตฺโต อีกตอหนึ่ง ฉบับนี้จะเรียกวา เมตตาหลวง หรือ มหาเมตตาหลวง คำวา หลวง แปลวา ใหญ บทสวดตามแบบฉบับของหลวงปูมั่นนี้ จะมีความโดดเดนแตกตางจาก พระไตรปฎกคอนขางเยอะ เพราะทานจะตัดคำบริบทตางๆ เชน ถอยคำที่เลาถึง ความเปนมาของพระสูตร วิธีการเจริญเมตตา เหลือไวเฉพาะคำแผเมตตาที่เปน คำบริกรรมเทานั้น และเพิ่มบทสวดแผกรุณา มุทิตา และอุเบกขา เขามาอีก ซึ่ง ผูสวดจะตองสวดทั้งหมด ๕๒๘ จบ๑ คือ สวดแผเมตตา สวดแผกรุณา สวดแผมุทิตา สวดแผอุเบกขา

ใหกับสรรพสัตว ใหกับสรรพสัตว ใหกับสรรพสัตว ใหกับสรรพสัตว

๑๓๒ จบ ๑๓๒ จบ ๑๓๒ จบ ๑๓๒ จบ

รวม ๕๒๘ จบ

ซึ่งผูสวดจะตองใชความพยายามและความอดทนในการสวดอยางมาก ๑ ผูที่สนใจวิธีสวดแผเมตตาหลวงตามแบบฉบับของหลวงปูมั่น มีกลาวไวในหนังสือ “พุทฤทธิ์ พิชิต

เจากรรมนายเวร คาถามหาเมตตาหลวง” เรียบเรียงโดย ศักดิ์สิทธิ์ พันธุสัตย : สำนักพิมพเลี่ยงเชียง

๑๑


ลำดับการสวดคาถามหาเมตตาใหญ ในการสวดคาถามหาเมตตาใหญแตละครั้งนั้น ผูสวดพึงกระทำดวย ความตั้งใจจริง ไมสักแตวาทำ ใหระลึกอยูเสมอวาเราทำเพื่อขออภัยขอโทษ ตอเจากรรมนายเวรที่เราเคยไดลวงเกินเขามา และการที่จะทำใหเขายอม อภัยแกเรานั้น เราตองทำดวยความจริงใจ บริสุทธิ์ใจจริงๆ เขาถึงจะเต็มใจใหอภัย และตัดเวรกรรมไดจริง เมื่อจะเริ่มสวดควรตัดเรื่องกังวลตางๆ ออกไปใหหมด ใหสำรวมกาย วาจาและใจ กราบพระ ๓ ครั้ง ดวยเบญจางคประดิษฐ๑ จากนั้น เริ่มสวดมนตไปตามลำดับ ดังนี้ ๑. บทกราบพระรัตนตรัย ๖. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ ๒. บทนอบนอมพระพุทธเจา ๗. บทแผเมตตาใหตนเอง ๓. บทไตรสรณคมน ๘. บทคาถามหาเมตตาใหญ ๔. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ ๙. บทอุทิศสวนบุญสวนกุศล ๕. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ ๑๐. บทขออโหสิกรรมและอธิษฐานบุญ ขณะสวดมนตควรสวดดวยน้ำเสียงที่ดังพอไดยิน ชัดถอยชัดคำ ควรสวด ดวยจิตใจที่สงบ ไมตองรีบเรงใหจบโดยเร็ว แรกๆ อาจจะสวดผิดบางถูกบาง ก็ ไมเปนไร ไมถือวาเปนบาปติดตัว เพราะเราสวดดวยจิตบริสุทธิ์มิไดมีเจตนาที่จะ แกลงทำเลนอันเปนการลบหลูพระธรรมคำสอน เมื่อไดสวดบอยๆ นานไปก็จะ ชำนาญเอง ปญหาเรื่องการสวดผิดๆ ถูกๆ ก็จะหมดไป การสวดเบื้องตนควรสวด คำแปลดวยเพื่อจะไดเขาใจในเนื้อหาของบทสวด เมื่อเขาใจดีแลวภายหลังจะไม สวดคำแปลก็ได ๑ เบญจางคประดิษฐ หมายถึง การกราบที่ถึงพรอมดวยองค ๕ คือในขณะกราบตองใหอวัยวะ ๕ สวน แตะพื้น คือ เขา ๒ ศอก ๒ (รวมถึงฝามือทั้ง ๒) หนาผาก ๑ การกราบมี ๓ จังหวะ คือ อัญชลี (ประนมมือ) วันทา (ไหว) อภิวาท (กราบลง)

๑๒


๑. บทกราบพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) ส๎วากขาโต๑ ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ) คำแปล พระผูมีพระภาคเจา เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวดีแลว, ขาพเจานมัสการพระธรรม. พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว ; ขาพเจานอบนอมพระสงฆ. ๑ อานวา สะหวาก-ขา-โต คำวา สะ ออกเสียงเร็วควบกับพยางคหลัง

๑๓


๒. บทนอบน อมพระพุทธเจ า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. ขอนอบนอม แดพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น ผูหางไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง. บท นะโม ตัสสะ หรือบทนอบนอมพระพุทธเจานี้ เปนบทที่ใชสวดเพื่อแสดง ความเคารพตอพระพุทธเจา เรียกอีกอยางวา บทปุพพภาคนมการ แปลวา บทแสดง ความเคารพกอนทำกิจอยางอื่น หมายความวา จะทำกิจอันใดทางพระพุทธศาสนา จะตองตั้งนะโมกอนทุกครั้ง เชน กอนเจริญพระพุทธมนต สวดมนต รับศีล ถวาย สังฆทาน ตองตั้งนะโมกอน บทแสดงความเคารพนี้ไมใชเคารพตอพระพุทธเจาที่เปน รูปรางกาย แตเปนการแสดงความเคารพตอพระคุณของพระองค เพราะพระพุทธเจา ที่เปนรูปรางกายดับขันธปรินิพพานไปนานแลว แตสิ่งที่ทำใหชาวพุทธยังคงอบอุนใจ เหมือนพระองคยังมีพระชนมชีพอยูก็เพราะไดระลึกถึงความดีของพระองคนี่เอง ดังคำ ที่วา จิตวิญญาณตาย แตความดีไมเคยตาย

๑๔


๓. บทไตรสรณคมน พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ทุติยัมป พุทธัง ทุติยัมป ธัมมัง ทุติยัมป สังฆัง ตะติยัมป พุทธัง ตะติยัมป ธัมมัง ตะติยัมป สังฆัง

สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง

คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ.

ขาพเจาขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆเปนที่พึ่ง แมครั้งที่ ๒ ขาพเจาขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆเปนที่พึ่ง แมครั้งที่ ๓ ขาพเจาขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆเปนที่พึ่ง.

ไตรสรณคมน แปลออกมาไดวา บทขอถึงพระรัตนตรัยเปนที่พึ่ง เดิมทีใช เปนบทแสดงตน หรือปฏิญาณตนเขาเปนชาวพุทธ เชน ผูที่จะเขามาบวชเปนภิกษุ หรือ แสดงตนเปนอุบาสกอุบาสิกา ตองกลาวรับไตรสรณคมนนี้ตอหนาอุปชฌาย หรือตอหนา ผูที่เปนชาวพุทธ ปจจุบันไดนำมาเปนบทกลาวกอนรับศีลบาง เปนบทสวดกอนเจริญ พระพุทธมนตบาง กอนสวดมนตบาง ทั้งนี้เพื่อตอกย้ำเตือนสติใหระลึกอยูเสมอวา เรา เปนชาวพุทธมีพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆเปนที่พึ่งแลว ตองหมั่นละชั่ว ทำดี ชำระจิตใหผองใส ตามครรลองของชาวพุทธที่ดี มิใชชาวพุทธที่หลงทาง

๑๕


๔. บทสรรเสร�ญพระพุทธคุณ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. คำแปล พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น เปนผูไกลจากกิเลส, เปนผูตรัสรูชอบได โดยพระองคเอง, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ๑, เปนผูไปแลวดวยดี, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกไดอยางไมมีใครยิ่งกวา, เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม, เปนผูมีความจำเริญจำแนกธรรม สั่งสอนสัตว ดังนี้. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ เปนบทสวดเพื่อกลาวสรรเสริญคุณงามความดี ที่มีในพระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งจะวาไปแลวคุณของพระองคนั้นมีอเนกอนันต แตเมื่อ กลาวโดยสรุปแลวมี ๙ ประการ มีความเปนพระอรหันตหางไกลจากกิเลสเปนตน คุณ ของพระพุทธเจานี้ถือเปนอมตคุณ คุณที่เปนอมตะ ไมมีวันตาย เพราะแมวาพระองค เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแลวกวา ๒,๕๐๐ ป แตคุณงามความดีของพระองคยังโดดเดน เปนที่เคารพบูชายังไมเสื่อมสลาย (ดูอธิบายพุทธคุณ ๙ เพิ่มเติมไดจากหนังสือเรียน นักธรรมชั้นโท วิชา ธรรมวิภาค ฉบับมาตรฐาน บูรณาการชีวิต โดยสำนักพิมพเลี่ยงเชียง) ๑ วิชชา หมายถึง ความรูที่กำจัดความมืดเสียได มืดคืออะไร ในที่นี้หมายเอาขันธ ๕ คือ รูป เวทนา

สัญญา สังขาร วิญญาณ ตรงกันขามกับ อวิชชา ที่แปลวา ไมรู คือ ไมรูถูกรูผิด จรณะ นั้นมี ๑๕ คือ ๑. ศีลสังวร ๒. อินทรียสังวร ๓. โภชเน มัตตัญุตา ๔. ชาคริยานุโยค ๕. สัทธา ๖. สติ ๗. หิริ ๘. โอตตัปปะ ๙. พาหุสัจจะ ๑๐. อุปกกโม ๑๑. ปญญา กับรูปฌาน ๔ รวมเปน ๑๕

๑๖


๕. บทสรรเสร�ญพระธรรมคุณ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ.๑ คำแปล พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวดีแลว, เปนสิ่งที่ผูศึกษา และปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง, เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลไดไมจำกัดกาล, เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวาทานจงมาดูเถิด, เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว, เปน สิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน ดังนี้. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ เปนบทสวดเพื่อสรรเสริญคุณความดีของพระธรรม ๖ ประการ พระธรรมในที่นี้หมายถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจา ในพระรัตนตรัยทั้ง ๓ นั้น มีเพียงพระธรรมเทานั้นที่มีลักษณะเปนนามธรรมคือเปนสิ่งที่ไมมีชีวิต ไมมีตัวตน ทั้งไมสามารถสัมผัสหรือมองเห็นได จึงทำใหบางทานสงสัยวา เหตุใดพระพุทธเจาจึง ทรงสอนใหเราถึงสิ่งที่ไมมีตัวตนเปนที่พึ่ง จะพึ่งไดหรือ พระรัตนตรัย มี ๓ ก็จริง แตเมื่อ วาโดยยอแลวมีเพียงหนึ่งเดียวคือ พระธรรม เพราะพระพุทธเจาเปนพระพุทธเจาได ก็เพราะมารูแจงพระธรรม พระสงฆเปนพระอริยบุคคลไดก็เพราะเรียนรูและปฏิบัติตาม พระธรรม ฉะนั้น พระธรรมจึงเปนหัวใจของพระรัตนตรัยทั้ง ๓ ๑ อานวา วิน-ยู-ฮี-ติ แปลวา ผูรูทั้งหลาย

๑๗


๖. บทสรรเสร�ญพระสังฆคุณ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย๑, ปาหุเนยโย๑, ทักขิเณยโย๑, อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. คำแปล สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด ปฏิบัติดีแลว, ปฏิบัติตรงแลว, ปฏิบัติเพื่อรูธรรมเปนเครื่องออกจากทุกขแลว, ปฏิบัติสมควรแลว, คือคูแหงบุรุษ ๔ คู นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ นั่นแหละสงฆสาวกของ พระผูมีพระภาคเจา เปนผูควรแกสักการะที่เขานำมาบูชา, เปนผูควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ, เปนผูควรรับ ทักษิณาทาน, เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี, เปน เนื้อนาบุญของโลก๒ ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ดังนี้. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ เปนบทสวดเพื่อสรรเสริญคุณความดีของพระสงฆ ๙ ประการ คำวา สงฆ นั้นแบงเปน ๒ ประเภท คือ อริยสงฆ หมายถึง ผูบรรลุธรรม ตั้งแตขั้นโสดาบันขึ้นไป แมไมไดบวชก็ตาม สมมติสงฆ หมายถึง ผูที่ไดอุปสมบทเปน พระภิกษุในพระพุทธศาสนาจำนวนตั้งแต ๔ รูปขึ้นไป ๑ อาหุเนยโย อานวา อา-หุ-ไน-โย, ปาหุเนยโย อานวา ปา-หุ-ไน-โย, ทักขิเณยโย อานวา ทัก-ขิ-ไน-โย ๒ การที่ทานเปรียบพระสงฆเหมือนนาบุญ เพราะทานที่บุคคลถวายแกพระสงฆแลวยอมมีอานิสงสมาก เปรียบเหมือนนาดี ที่ปลูกขาวแลวยอมใหผลผลิตดี

๑๘


¶Ù¡ÍÒ¦Òµ µÑ´ä´Œ´ŒÇÂàÁµµÒ ๗. บทแผ เมตตาให ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ, นิททุกโข โหมิ, อะเวโร โหมิ, อัพ๎ยาปชโฌ๑ โหมิ,

ขอใหขาพเจามีความสุข ; ปราศจากความทุกข ; ปราศจากเวร ; ปราศจากอุปสรรคอันตราย และความเบียดเบียนทั้งปวง ; อะนีโฆ โหมิ, ปราศจากความทุกขกายทุกขใจ ; สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. มีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนอยูเถิด ฯ หมายเหตุ : คำที่ขีดเสนใตสำหรับผูหญิงใหเปลี่ยนเปน สุขิตา, นิททุกขา, อะเวรา, อัพ๎ยาปชฌา, อะนีฆา ตามลำดับ สวนคำแปลเหมือนกัน. ๑ อัพ๎ยาปชโฌ อานวา อับ-พะยา-ปด-โช คำวา พะ ออกเสียงเร็วควบกับพยางคหลัง

๑๙


ต นกำเนิดของคาถามหาเมตตาใหญ คาถามหาเมตตาใหญนี้ เปนบทบันทึกเรื่องราวและบทพระธรรมเทศนา ที่สำคัญตอนหนึ่งของพระพุทธเจา ซึ่งถูกจารึกไวในพระไตรปฎกเลมที่ ๓๑ หนา ๓๔๑ ชื่อ “เมตตากถา” มีเนื้อความโดยยอวา สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา เสด็จประทับ ณ วัดพระเชตวันมหาวิหาร ที่อนาถบิณฑิกเศรษฐีสรางถวาย ครั้งนั้น ไดตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายใหประชุมกันแลวตรัสพระธรรมเทศนาโปรด พระธรรม เทศนาที่ยกขึ้นแสดงในครั้งนั้นมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเจริญเมตตากรรมฐาน โดยใน เบื้องตนทรงแสดงอานิสงสแหงการแผเมตตาวา ผูเจริญเมตตาจะไดรับอานิสงส มากมายถึง ๑๑ ประการ จากนั้นจึงทรงจำแนกการแผเมตตาออกเปน ๓ ประเภท คือ ๑) การแผไปโดยไมเจาะจงผูรับ ๒) การแผไปโดยเจาะจงผูรับ และ ๓) การแผเมตตาไปในทิศทั้ง ๑๐ จากนั้นจึงทรงแสดงคำแผเมตตาแตละประเภทโดยละเอียด และทรง เนนย้ำใหภิกษุจดจำนำไปปฏิบัติอยางตอเนื่อง ความพิเศษของคาถามหาเมตตาใหญ น ี ้ ก็คือ เปนพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจาทรงยกขึ้น แสดงเอง โดยไมมีเหตุใหตองแสดง เชน ไมมีผูคุย หรือสนทนาเกี่ยวกับการแผเมตตา ไมมีผูทูลถาม เปนตน เพราะโดยสวนมากแลวการแสดงธรรมของ พระพุทธองคจะตองมีเหตุการณใหตองแสดง การที่ ทรงยกขึ้นแสดงเองเชนนี้ ยอมเปนพระธรรมเทศนาที่ทรงใหความสำคัญและ เปนประโยชนอยางยิ่ง อนึ่ง บทแผเมตตานี้ เปนบทแผเมตตาที่ยาวที่สุดในบรรดา บทแผเมตตาอื่นๆ จึงไดชื่อวา มหาเมตตาใหญ ๒๐


๘. บทคาถามหาเมตตาใหญ เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ คำแปล ขาพเจาไดฟงมาอยางนี้วา ในสมัยหนึ่งพระผูมีพระภาคเจา ประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเปนอารามของทานอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล เมืองสาวัตถี ฯ ณ โอกาสนั้นแล พระผูมีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ฯ พระภิกษุทั้งหลายเหลานั้น ไดตอบรับพระผูมีพระภาคเจา ขาแตพระองคผูเจริญ ฯ พระผูมีพระภาคไดประทานพระดำรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย (ผูเจริญ เมตตาภาวนาเปนประจำ) หวังไดแนนอน (ที่จะไดรับ) อานิสงส ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุตติ๑ ที่ตนสองเสพ (ทำใหชำนาญ) แลวทำใหเจริญขึ้นแลว ทำใหมาก แลวสั่งสม (ดวยวสี ๕ ประการ) ดีแลว ทำใหบังเกิด ขึ้นดวยดีแลว ฯ ๑ แปลวา จิตที่ประกอบดวยเมตตา พนจากความอาฆาตพยาบาทและกิเลสอื่นๆ

๒๑


อานิสงส ของการเจร�ญคาถามหาเมตตาใหญ อานิสงสของการแผเมตตา พระพุทธเจาแสดงไว ๑๑ ประการ คือ ๑. หลับเปนสุข : คือนอนหลับสบาย ไมฟุงซาน พลิกตัวไปมา ๒. ตื่นเปนสุข : คือตื่นมาจิตใจแจมใส ปลอดโปรง ไมเซื่องซึม มึนหัว ๓. ไมฝนราย : คือฝนดี ฝนเห็นแตสิ่งที่เปนมงคล สิ่งที่ดีงาม ๔. เปนที่รักของมนุษย : คือมีมนุษยสัมพันธดี จิตใจเบิกบาน ไมโกรธงาย มีเสนหนาเขาใกล ๕. เปนที่รักของอมนุษย : เปนที่รักของสัตวดิรัจฉาน ภูตผีปศาจ ๖. เทวดายอมคุมครองรักษา : เทวดาชวยเหลือบันดาลใหสมหวัง ในสิ่งที่ตองการ และปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นใหถอยหาง ๗. ไฟ ยาพิษ ศัสตรา ไมอาจทำรายได ๘. เมื่อทำสมาธิ จิตจะสงบเร็ว ๙. ใบหนาผองใส ๑๐. ไมหลงตาย : คือเมื่อถึงเวลาที่จะตองตายก็ตายดวยอาการสงบ มีสติ ไมบนเพอ คร่ำครวญ ดิ้นทุรนทุราย ๑๑. ยังไมบรรลุธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก : ธรรม เบื้องสูงในที่นี้ไดแก โลกุตรธรรม ๙ คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ ผูที่เจริญเมตตาถายังไมบรรลุธรรม ๙ อยางนี้ และสามารถ เจริญเมตตากรรมฐานนี้จนจิตเปนสมาธิเขาถึงฌานขั้นใดขั้นหนึ่ง และเสียชีวิตลงขณะเขาฌานก็จะไปบังเกิดในพรหมโลกทันที โปรดใชเลมนี้ใหคุมสุดคุม & อานแลว -> แบงกันอานหลายทานนะจะ

อานสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกตใชในชีวิตประจำวัน จิตรูเทาทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สงบ เย็น สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน ปรารถนาใหทุกครอบครัวมีความสุข

๒๒


กะตะเม เอกาทะสะ ฯ สุขัง สุปะติ, สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปนัง ปสสะติ, มะนุสสานัง ปโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พ๎รห๎มะโลกูปะโค โหติ ฯ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ คำแปล อานิสงส ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุตติ คืออะไรบาง ? อานิสงส ๑๑ ประการ คือ ๑) นอนหลับเปนสุข ๒) ตื่นเปนสุข ๓) ไมฝนราย ๔) เปนที่รักของมนุษยทั้งหลาย ๕) เปนที่รักของอมนุษยทั้งหลาย ๖) เทวดาทั้งหลายเฝารักษา ๗) ไฟ ยาพิษ ศัสตรา ไมกล้ำกราย (ในตัว) ของเขา ๘) จิตเปนสมาธิเร็ว ๙) ผิวหนาผองใส ๑๐) ไมหลงตาย ๑๑) ยังไมบรรลุคุณธรรม เบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก๑ ฯ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมตตาเจโตวิมุตติที่บุคคลปฏิบัติดีแลว ทำใหมาก แลวทำใหเปนดุจยาน ทำใหเปนที่ตั้ง ตั้งไวเนืองๆ สั่งสมแลว ปรารภเสมอดีแลว พึงหวังได อานิสงส ๑๑ ประการนั้น ฯ ๑ พรหมโลก อยูสูงขึ้นไปจากสวรรคชั้นที่ ๖ เปนชั้นซอนๆ กันขึ้นไป แบงเปน ๒ พวกใหญๆ คือ รูปพรหม ๑๖ ชั้น และอรูปพรหม ๔ ชั้น คำวา พรหม ทานแปลวา เจริญ รุงเรือง หมายความวา เจริญรุงเรืองดวยคุณวิเศษมีฌาน เปนตน

๒๓


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.