“THE improvised” Phetkasem Artist Studio | อัตลักษณ์ใหม่ที่เป็นไปได้ในความอัปลักษณ์

Page 1


2

Jenchieh Hung and Kulthida Songkittipakdee HAS design and research HAS design and research สตูดิโอออกแบบก่อตั้งขึ้นที่เซี่ยงไฮ้และกรุงเทพฯ โดย HAS (Hung And Songkittipakdee) ส�ำรวจภาษาสถาปัตยกรรมของเอเชียผ่านแนวทาง “design + research” แบบคู่ขนานที่เน้นการอุปมาอุปไมยระหว่างธรรมชาติรอบตัว และธรรมชาติทมี่ นุษย์สร้างขึน้ โดยค้นคว้าและทดลองสถาปัตยกรรมรูปแบบใหม่ผา่ นจาก อนุพันธ์ของเมืองที่พวกเขาให้ชื่อว่า “Improvised Architecture” ซึ่งมีผลงาน ครอบคลุมอาคารทางวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมทางศาสนา งาน installation งานออกแบบ นิทรรศการ และโครงการเชิงทดลองอื่นๆ นอกจากนี้ HAS ยังเป็นภัณฑารักษ์อยู่เบือ้ งหลัง นิทรรศการหลายงานในจีน เขียนบทความเชิงวิพากษ์งานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกหลายบทความ และเป็นบรรณาธิการรับเชิญในกับนิตยสาร สถาปัตยกรรมต่างประเทศหลายฉบับ Jenchieh HUNG (เจอร์รี่) เจอร์รี่ หง เริม่ ท�ำงานในวิชาชีพสถาปนิกทีบ่ ริษทั สถาปนิกญีป่ นุ่ เคนโกะ คุมะ (Kengo Kuma & Associates) เป็นเวลาหลายปีจนได้รับต�ำแหน่งผู้จัดการฝ่ายออกแบบและรับผิดชอบ โครงการ Yangcheng Lake Tourist Transportation Center ที่ซูโจว และ Shipyard 1862 ที่เซี่ยงไฮ้ ปัจจุบันเขาเป็นสถาปนิกหลักของ HAS design and research ผู้ก่อตั้ง Chinese-Thai Research Studio และอาจารย์สอนวิชาออกแบบให้กบั โรงเรียนสถาปัตยกรรม ชัน้ น�ำของจีนทีม่ หาวิทยาลัยถงจี้ (Tongji University) เจอร์รสี่ ำ� เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง จากมหาวิทยาลัยจงหัว (Chung Hua University) และระดับปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติเฉิงกง (National Cheng Kung University) ในไต้หวัน โดยได้รับทุนการศึกษาเต็มจ�ำนวนในหลักสูตรปริญญาโท ที่มหาวิทยาลัยเทคนิคสาธารณรัฐเช็ก (Czech Technical University) เมืองปราก


กุลธิดา ทรงกิตติภักดี (ป้อ) เริม่ ท�ำงานวิชาชีพทีบ่ ริษทั สถาปนิก 49 จ�ำกัด เธอเป็นสถาปนิกเอเชียเพียงคนเดียวในบรรดา ผูส้ มัครกว่าพันคนทั่วโลกที่ได้รับเลือกจาก Renzo Piano Foundation ให้ร่วมท�ำงานกับ สถาปนิกชาวอิตาเลียน เรนโซ่ เปียโน (Renzo Piano) ในสตูดโิ อทีป่ ารีส ซึง่ เธอมีสว่ นร่วม ในการออกแบบโครงการ Columbia University; Manhattanville Campus ที่นิวยอร์ก และส่วนขยายของพิพิธภัณฑ์ศิลปะลอสแอนเจลิส (Los Angeles County Museum of Art Expansion) ก่อนได้ร่วมงานกับ Rocco Design Architects Limited และ NBBJ ออกแบบโครงการขนาดใหญ่ เช่น Global Metropolitan Plaza และ Alibaba Xixi Campus ที่กว่างโจวและหางโจว ตามล�ำดับ ปัจจุบันกุลธิดาเป็นสถาปนิกหลักของ HAS design and research บรรณาธิการรับเชิญนิตยสารสถาปัตยกรรมของไต้หวัน และอาจารย์พิเศษ ในวิชา Southeast Asian Architecture ที่ International Program in Design and Architecture (INDA) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ควบคู่ไปกับการเขียน บทความให้กับนิตยสารด้านการออกแบบในเมืองไทยหลายฉบับ โดยในปี พ.ศ. 2559 เธอได้รบั เชิญจากส�ำนักพิมพ์ลายเส้นให้ตพี มิ พ์เรือ่ งราวและประสบการณ์การท�ำงานต่างแดน ในรูปแบบหนังสือพ็อกเกตบุก๊ ชือ่ “ตึก ตึก โป๊ะ: จังหวะชีวติ สถาปนิก ทุนเปียโน สูแ่ ดนมังกร” กุลธิดาเป็นคนกรุงเทพฯ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ ม) จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโท ด้านการออกแบบผังเมืองที่ L’Ecole National Supérieure d’Architecture de Paris -la-Villette ประเทศฝรั่งเศส และได้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนกับ Aalborg School of Architecture and Design ประเทศเดนมาร์ก เธอใช้ชีวิตและท�ำงานที่ต่างประเทศ มามากกว่า 10 ปี ก่อนกลับมาก่อตั้ง HAS design and research ที่เมืองไทย นอกจากงานในวิชาชีพสถาปนิกแล้ว HAS ได้รบั เชิญให้เป็นหนึง่ ในคณะอนุกรรมการสมาคม สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษให้แก่นสิ ติ นักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์หลายแห่งในประเทศไทย อาทิ สถาบันอาศรมศิลป์, Montfort del Rosario School of Architecture and Design มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, School of Architecture and Design มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมถึงการบรรยายให้กบั มหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ หลายแห่งในจีน อาทิ East China Normal University, Shanghai University, Tongji University, Xian Jiaotong-Liverpool University และ Donghua University พวกเขา ยังได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรบรรยายให้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น American Institute of Architects (AIA Shanghai), Bund Finance Center, Rockbund Art Museum, Shanghai Library, Tencent Talks เป็นต้น ผลงานการออกแบบของ Jenchieh Hung และ กุลธิดา ทรงกิตติภกั ดี ได้รบั รางวัลในระดับ นานาชาติจาก Taiwan Young Talent Architectural Award, China Design Star Award, WA Awards และได้รับการเสนอชื่อจาก ArchDaily Building of the Year Award, German Design Award, iF Concept Design Award ตามล�ำดับ 3


“ถ่ายทำ�ไม” ไม่สวย จะถ่ายไป ทำ�ไม?


มากกว่า ครึ่งปี ของความ พยายาม ในการบันทึก ความไม่สวย

“เพื่อค้นหา อัตลักษณ์ใหม่ ที่เป็นไป ได้ในความ อัปลักษณ์”


10

REVIEWS I In the post-Corona world, new types of architecture, which are different from traditional housing and offices, will be needed. In this project, I can feel the sign of new era. The interesting thing is that it is made by a kind of addition method. Cities that used the method of subtraction in the 20th century are reduced, on the contrary, the architecture of addition is needed for cities from now on. KENGO KUMA Kengo Kuma and Associates Special and Honorary Professor, The University of Tokyo, Japan Remodeling an old townhouse with very modest resources, and through respectful urban integration in a creative and experimental way, where simplicity does not imply neglecting details, it is really an interesting and inspiring approach. ANTOINE CHAAYA Partner and Director, Renzo Piano Building Workshop, France Phetkasem Artist Studio is an enjoyable and also amazing work. The succinct, elegant, and lively modern architectural techniques have a tribute to traditional culture and dialogues to the local constructions, especially with a highly humble and self-controlling attitude, conveying a kind of gentle and polite cultural characteristics. CHING-YUEH ROAN Professor, Department of Art and Design, Yuan Ze University, Taiwan ผมได้อา่ นทีป่ อ้ เขียนถึงงานออกแบบปรับปรุงทาวน์เฮาส์ Phetkasem Artist Studio แล้ว สิง่ ทีผ่ มได้รบั นอกเหนือจากการรับรู้ถึงความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากประสบการณ์ของการท�ำงานกับหนึ่งใน ส�ำนักงานทีด่ ที สี่ ดุ ในโลกผสานกับการใช้ชวี ติ ทีผ่ า่ นมาอย่างโชกโชน ท�ำให้ทงั้ ป้อและเจอร์รมี่ แี นวคิด ที่แตกต่างออกไป เป็นตัวอย่างของงานที่ใช้ความคิด ที่ควรจะเกิดกับสถาปนิกทุกคน ที่ส�ำคัญ ในงานออกแบบนีค้ อื การมีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะใส่รายละเอียดต่างๆ อย่างพิถพี ถิ นั เพือ่ พลิกฟืน้ อาคารเก่า ให้กลับมาใช้งาน ท�ำให้เกิด “ภาวะน่าสบาย” ในทางกายภาพ และทีส่ ำ� คัญเสมอกันคือ “ภาวะน่าสบาย ทางจิตภาพ” สิ่งนี้อาจจะเป็นแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นเมื่อกว่าสามสิบปีที่แล้ว เมื่อผู้นำ� ครอบครัวหนึ่ง ได้ใช้ความรัก คิดอย่างรอบคอบในการเลือกสถานที่ที่จะเริ่มต้นชีวิตครอบครัวที่อบอุ่น กลายเป็น สิ่งดีๆ ที่ตกทอดกันมา ประภากร วทานยกุล PRABHAKORN VADANYAKUL President and Managing Director, Architects 49 Limited (A49), Thailand National Artist of Thailand 2020, Visual Arts (Contemporary Architecture)


With their innovative hybrid multipurpose Bangkokian urban house, HAS have entered, with exemplarity and excellence, in the new trends and lights of sustainable and symbiotic architecture of the XXI century. Their breathing Shôji remembers me the foundational work of our master Lucio Costa in his extraordinary breathable architecture of Parque Guinle, 1943-1948. CHRISTIAN PÉDELAHORE DE LODDIS Professor HDR, L’Ecole National Supérieure d’Architecture de Paris-la-Villette Chair Int PhD Program ED.GP Paris Sorbonne, France หากจะเปรียบสถาปัตยกรรมเป็นดัง่ ภาพยนตร์เรือ่ งหนึง่ วัสดุกอ่ สร้างคงเป็นตัวละครทีถ่ า่ ยทอดเรือ่ งราว และประสบการณ์เพือ่ สร้างอรรถรสให้กบั ผูช้ ม โครงการปรับปรุงอาคาร “Phetkasem Artist Studio“ โดย HAS design and research เป็นตัวอย่างของการคัดสรรตัวละครพื้นๆ ที่ทุกคนมองข้าม แต่ น�ำมาขัดเกลา ปลุกปัน้ จนเป็นตัวละครเอกหลากหลายรูปแบบ สามารถสร้างการรับรู้ ประสบการณ์ จนน�ำไปสู่คุณภาพใหม่ของสถานที่ที่เกือบจะหมดความหมาย หนังสือเล่มนี้เหมาะกับนักเรียน สถาปัตยกรรม เพื่อเรียนรู้กระบวนการออกแบบ กระบวนทัศน์ความคิดสร้างสรรค์ และเรียนรู้ถึง บทบาทหน้าที่ที่สถาปนิกพึงมี ในการสรรสร้างภาพยนตร์สถาปัตยกรรมที่มีคุณภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สรายุทธ ทรัพย์สุข SARAYUT SUPSOOK Assistant Professor, Faculty of Architecture and Assistant to the President for Student Affairs, Chulalongkorn University, Thailand The works and research of Jenchieh Hung and Kulthida Songkittipakdee represent a poetic sensibility of the uniquely Asian aesthetics and at the same time a sobering perspective on the bastardized Asian urbanism. Having met the duo in Shanghai and witnessed their growth and evolution as a new breed of local-global architects with multi-cultural backgrounds and inter-disciplinary practice, I find their recent project--Phetkasem Artist Studio--a most refreshing concept and a delightful creation. Turning on the mostly mundane material of steel rods and tubes into the highly utilitarian and well-crafted walls and facade cladding, the design touches upon some of the most fundamental qualities of good architecture with profound thoughtfulness. As the project title suggests, “improvised” is not a simple matter of convenience or lack of sophistication, but instead a key concept in their on-going architectural investigation and an important philosophy in the long-living Asian tradition. With this beautiful project under their belt, I am convinced that HAS will continue to produce more meaningful works of local insight and global impact. YUYANG LIU Principal Architect, Atelier Liu Yuyang Architects, China 11


12

ผลงาน Phetkasem Artist Studio ปรากฏตัวขึ้น ด้วยอัตลักษณ์ ที่สงบงาม จาก การลงมือทำ� ด้วยใจรัก อันมุ่งมั่น เข้าถึง คุณค่า เป้าหมาย ทัศนคติ วิสัยทัศน์ กระบวนการ ที่งดงาม และ เป็นประโยชน์ เป็นก้าวเล็กๆ แต่สำ�คัญและมั่นคง เป็นเหตุปัจจัยให้ HAS design and research จะเป็นผีเสื้อตัวน้อย ที่กระพือปีกถึงดวงดาว ในอนาคตอันใกล้นี้ ด้วยจิตคารวะ พี่แบน ธีรพล นิยม ศิลปินแห่งชาติ ทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) THEERAPOL NIYOM National Artist of Thailand 2013, Visual Arts (Architecture)


การเรียนการสอนสถาปัตยกรรมในมหาวิทยาลัย มักจะเป็นการสอนทฤษฎีในการออกแบบ ทฤษฎีทางด้านโครงสร้าง การรับแรงของวัสดุประเภทต่างๆ ส่วนวิธกี ารก่อสร้างมักจะเรียนจากกรณีศกึ ษา ที่อาจารย์นำ� มาถ่ายทอดโดยไม่ได้ลงหน้างานก่อสร้างจริง เมื่อนิสิตได้จบการศึกษาออกไปปฏิบัติวิชาชีพ ในระยะแรกจะออกแบบตามค�ำแนะน�ำ ของรุน่ พีใ่ นบริษทั ทีไ่ ด้ทำ� งานมาระยะเวลาหนึง่ จะปลอดภัยกว่า การท�ำงานอาจจะลองผิดลองถูกบ้าง แต่ก็มักจะไม่กล้าทดลองกับบ้านลูกค้า เมือ่ ครัง้ หนึง่ ในชีวติ สถาปนิกมีโอกาสทีจ่ ะปรับปรุงบ้านตัวเอง จะเป็นการสร้างประสบการณ์ ทีด่ ที ไี่ ด้ทดลองออกแบบโดยเลือกใช้วสั ดุตามใจชอบ การพลิกแพลง การประกอบวัสดุใหม่กบั วัสดุอนื่ ๆ เป็นงานที่ท้าทายซึ่งไม่สามารถคาดเดาผลลัพธ์ได้ บางครั้งจะประสบความส�ำเร็จดีเยี่ยม หรือต้อง รื้อทิ้ง แต่ด้วยเหตุที่เป็น “บ้านเรา” ผู้ออกแบบมักจะยอมรับได้ “ป้อ” เป็นศิษย์ทจี่ บจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียนด้วยกัน ตัง้ แต่ปี 1 และอยูใ่ นกลุม่ วิทยานิพนธ์เดียวกันในปีที่ 5 หลังจากเรียนจบเข้าท�ำงานทีบ่ ริษทั สถาปนิก 49 อยู่หลายปี จึงได้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่ต่างประเทศ และแต่งงานกับสถาปนิกชาวไต้หวัน ป้อและสามีกลับมาอยูก่ รุงเทพฯ มีโอกาสออกแบบปรับปรุงทาวน์เฮาส์ของตัวเอง “Phetkasem Artist Studio” ร่วมกัน จึงเป็นสิง่ ทีด่ ที ไี่ ด้ทดลองออกแบบงานนีด้ ว้ ยการน�ำวัสดุทผี่ ลิตในท้องตลาดมา “ปรุงใหม่” ทัง้ สองได้สร้างวัสดุทรี่ ปู ลักษณ์แปลกตาไปจากเดิม ได้เห็นความสามารถในการรับน�ำ้ หนัก ของวัสดุที่ไม่คุ้นเคย ไปจนกระทั่งการคิดออกแบบตกแต่งและติดตั้งอย่างพิเศษจนงานแล้วเสร็จ โดยยังคง “จิตวิญญาณ” ของพื้นที่ไว้ การเรียนรูจ้ ากการท�ำงานจริง ทีท่ ำ� ด้วยความร่วมมือของบริษทั ต่างๆ ตัง้ แต่ผผู้ ลิต ไปจนถึง ผู้ก่อสร้าง ทุกคนให้ความร่วมมือ “ร่วมใจ” กันสร้างผลงานชิ้นเล็กๆ ที่ไม่สามารถตอบโจทย์เหล่านี้ ได้ในชั้นเรียน แต่เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของ “ครู” ผู้เคยสอน ว่าประสบความส�ำเร็จในการสร้าง “ศิษย์” ทีส่ มบูรณ์แล้ว เขาสามารถพัฒนาตนเอง ได้ “ความรูใ้ หม่” จากบทเรียนในชีวิต ศาสตราจารย์กิตติคุณ เลอสม สถาปิตานนท์ LERSOM STHAPITANONDA Professor Emeritus, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, Thailand

13



ภาพแรกที่เห็น ความอัปลักษณ์เหล่านั้น ยังคงอยู่ แต่ตัวตนใหม่ที่ค้นพบ ทำ�ให้เธอพิเศษขึ้นมา ใครผ่านไปมา ต้องเหลียวมอง และหลายคนตั้งใจเดินมาชมเธอ




32

PREFACE Phetkasem Artist Studio, hidden in the residential suburb of Bangkok, is a typical commercial housing in Thailand. This commercial housing typology was mass-produced by developers 30 years ago, and it instantly spread to numerous capital cities in Southeast Asia, resulting in the sense of indifference in cityscapes. Yet, in this village, the residents exhibit a different lifestyle from the typical residential units. They built fences to obtain a larger garage area, added roofs for more storage space, and extended rain sheds to meet the flexibility of the ground-level commercial possibilities. In addition, they used potted plants, which sometimes even obstructed the roads, to satisfy their vision of small gardens. These “improvised” yet harmonious man-made structures, in particular, metal materials such as steel pipes and iron rods, are not only used for their material structure and shape but also used in large amounts in daily illegal construction. In fact, this phenomenon is known as “readily available steel pipes or iron rods in Thailand”. Looking back in history, Thailand was once a major steel producer and once the largest exporter of steel pipes in Southeast Asia. Yet, these materials lost their fundamental properties by being used in advertising signs, balcony windows, rain shelters, etc. For us, the most captivating feature of these steel pipes everywhere in the streets of Thailand is the elegant curvature and the light and hollow shape, which unfortunately have not been effectively adopted so far. This project has collaborated with Pacific Pipe, a well-known Thai steel pipe producer, to use steel pipes as unit bricks to create “steel pipe bricks” with a height and width close to four meters, which produced both the micro-climate effects of sunshade lighting and convection ventilation. The design also employs a half-split steel pipe on both sides of the unit, so that five different diameter pipes are integrated into the same unit, and a variety of mixed-effects are created by rotating and mirroring. In addition, the steel pipe bricks are first technology combined with soil spraying texture in Thailand, creating low energy cost and convective ventilation effects, thereby providing an alternative residential lifestyle in tropical climate. In the entrance space, these unique steel pipe bricks form a quiet semi-open area that brings in little breezes, which combine with the local trees in Thailand, to create a unique arrival experience. With no air conditioning system installed on the first floor, in an enduring tropical climate of nearly 40 degrees Celsius, the design connects the front yard with the backyard through apertures in the brick system, further introduces the alley breezes in Thai street alleys as a new lifestyle closer to nature. The second-floor area intentionally exposes the original column-beam structure, which emphasizes the sense of scale, produced by a vast difference between width and height of the pitched roof, to contrast the atmosphere of the compact first-floor and spacious second-floor. Phetkasem Artist Studio is not only a workspace for artistic creation but also a residence


that combines living, resting, and dining functions. Its form breaks the image of the typical commercial housing, and through common industrial materials in Thailand, it reshapes a new building type that combines geography, climate, and neighborhood. In addition to the architecture itself, the project cooperates with multiple international consultants across the globe, including steel curtain wall consultant Pacific Pipe, aluminum door and window consultant Goldstar Metal, lighting technology Visual Feast, sanitaryware consultant American Standard, landscape consultant FloraScape and signage consultant Shanghai View Studio, etc. The designer believes that this work, although it is a renovation of an old building with structural and size limitations, can be a driving force for an innovative way of change. The project is now more practical for use, with retrospection into the past and prospection into the future. HAS design and research Project name: Phetkasem Artist Studio Building type: Working and living Design company: HAS design and research Team: Jenchieh Hung, Kulthida Songkittipakdee, Zidong Fan, Jiaqi Han Contact email: hasinfom@gmail.com Website: www.hasdesignandresearch.com Social media: www.facebook.com/hasdesignandresearch Steel curtain wall production consultant: Pacific Pipe Co., Ltd. Aluminum production consultant: Goldstar Metal Co., Ltd. Aluminum door and window technology: AB&W Innovation Co., Ltd. Aluminum door and window constructor: Fix and Slide Lighting design: Jenna Tsailin Liu Lighting technology: Visual Feast (VF) Sanitaryware consultant: American Standard Landscape consultant: Ratchaneeya Yangthaisong Landscape constructor: FloraScape Signage design: Qi Zhou Signage consultant: Shanghai View Studio Home living furniture: niiq Construction consultant: Chanin Limapornvanich Project location: Bangkok, Thailand Site area: 110 sq.m. Gross built area: 150 sq.m. Design year: 2019 Completion year: 2021 Photo credit: Ketsiree Wongwan and HAS design and research 33


ทดลอง 44 อย่าถอย ถ้ายังไม่สุด

รำ�ลึก 36 อดีต สร้าง ปัจจุบัน สำ�รวจ 38 ลองมอง สิ่งรอบตัว ที่ชินชา แรงบันดาลใจ ซ่อนอยู่ในนั้น

สอดผสาน 54 ทุกสิ่งอย่าง ล้วนโยง ถึงกัน ค้นพบ 48 ไม่มีทางตัน ถ้าพยายาม


ไหวไหม 60 เครื่องมือ ที่ชี้วัด ได้ดีที่สุด คือตัวเราเอง

ภาพสมบูรณ์ 102 จะมีวันนี้ ได้อย่างไร ถ้ากลัวที่จะ เริ่มต้น ข้ามแดน 84 เมื่อโลก ไร้พรมแดน งานออกแบบ ก็เช่นกัน

พื้นหลัง 94

ทำ�(ไม่)ได้ 70 ปากบอก ว่าไม่ได้ แต่ยัง ไม่ลงมือท�ำ

ล�ำดับ ความส�ำคัญ มาพร้อมกับ การเลือกใช้


36

อดีตสร้างปัจจุบัน

รำ�ลึก ตั้งแต่จ�ำความได้ฉันโตมากับบ้านทาวน์เฮาส์สองชั้นที่มืดทึบกลางบ้าน เนื่องจาก ความลึกของอาคารทีม่ มี ากกว่า 15 เมตร ท�ำให้แสงธรรมชาติสอ่ งมาไม่ถงึ ต้องเปิดไฟ ทุกครั้งเวลาไปหยิบของและขึ้นชั้นสอง บ้านทาวน์เฮาส์เป็นอาคารยอดนิยมของ คนชนชั้นกลางที่อยากจะมีบ้านแต่งบไม่พอซื้อบ้านเดี่ยวในหมู่บ้านสวยหรู พ่อฉัน ก็เช่นกัน พ่อต้องการหนีความวุ่นวายของครอบครัวใหญ่ออกมาใช้ชีวิตครอบครัว ของตัวเอง ที่มีเพียงแค่ พ่อ แม่ และลูกสองคน ย้อนไปเมือ่ 30 ปีกอ่ น สมัยทีพ่ อ่ ยังเป็นแค่พนักงานธนาคาร พ่อเดินจากบางขุนเทียน โรงงานเกลือที่พวกเราอาศัยอยู่ช่วงหนึ่งกับญาติฝ่ายแม่เพื่อตามหาบ้านในฝันให้ ครอบครัว ฉันเคยถามพ่อว่าท�ำไมต้องเดิน พ่อตอบง่ายๆ เพียงแค่พ่อจะได้ส�ำรวจ พื้นที่โดยรอบให้ละเอียดก่อนตัดสินใจซื้อ วันนั้นพ่อเดินประมาณ 20 กิโลเมตรได้ จนมาถึงย่านชานเมืองฝั่งตะวันตกของกรุงเทพฯ ในขณะนั้นพื้นที่สวน ไร่นา ได้ถูก นักพัฒนาที่ดินเปลี่ยนเป็นอาคารพาณิชย์มากมาย โดยรูปแบบที่พบเห็นได้ทั่วไปนั้น คื อ การสร้ า งอาคารตึ ก แถว 4 ชั้ น ริ ม ถนนด้ า นหน้ า หมู ่ บ ้ า นและถั ด เข้ า มา เป็นอาคารทาวน์เฮาส์ 2 ชั้นด้านใน ซึ่งรูปแบบของอาคารพักอาศัยท�ำนองนี้ ได้แพร่กระจายไปตามการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยไม่ได้คำ� นึงถึงภาพลักษณ์ของเมือง พ่อตัดสินใจซื้อบ้านทาวน์เฮาส์ในหมู่บ้าน 1 หลัง ที่มีพื้นที่ 2 ชั้น รวมประมาณ 100 ตารางเมตร แต่พ่อยังต่อเติมหลังคาท�ำที่จอดรถด้านหน้าและห้องครัวด้านหลัง ขณะทีผ่ อู้ ยูอ่ าศัยหลังอืน่ ก็ตอ่ เติมบ้านเช่นกัน ซึง่ ต่างจากลักษณะของทีพ่ กั อาศัยทีถ่ กู ก�ำหนดมาจากเจ้าของโครงการ พวกเขาต่อเติมรัว้ เพือ่ ให้ได้พนื้ ทีโ่ รงรถทีใ่ หญ่ขนึ้ เพิม่ หลังคาเพือ่ ให้มพี นื้ ทีเ่ ก็บของมากขึน้ และท�ำกันสาดขยายไปทีถ่ นนเพือ่ ตอบสนองความ ยืดหยุ่นในการใช้งาน นอกจากนี้ยังมีการตั้งไม้กระถางหน้าบ้านเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัดถึงแม้จะกีดขวางการจราจรบนถนนก็ตาม โครงสร้างทีม่ นุษย์สร้างขึน้ “ชั่วคราว” เหล่านั้นกลับดูกลมกลืนกันได้อย่างน่าประหลาด


สภาพบ้านในหมู่บ้านที่ถูกเจ้าของต่อขยายพื้นที่ชั่วคราวขึ้นมา

ฉันยังจ�ำความรู้สึกครั้งแรกที่ย้ายเข้ามาในบ้านได้ พ่อภูมิใจมากกับบ้านที่พ่อหามา ด้วยน�ำ้ พักน�ำ้ แรง และวันนัน้ ท�ำให้ฉนั รูส้ กึ ว่าพวกเรากลายเป็นครอบครัวทีส่ มบูรณ์ บ้านที่ พ่อเลือกอยูไ่ ม่ไกลจากถนนใหญ่ หน้าหมูบ่ า้ นมีปา้ ยรถเมล์ และซอยบ้านเราสามารถเข้าออก ได้สองทางไม่ใช่ซอยตัน พ่อคิดมาอย่างดีวา่ ต่อไปพวกเราสามารถนัง่ รถกลับบ้านและ เดินเข้าบ้านเองได้โดยที่พ่อไม่ต้องห่วง และมันก็เป็นอย่างนั้นจริง เวลาผ่านไปหลายสิบปีความเจริญก้าวเข้ามาในย่าน เรามีห้างสรรพสินค้า ตลาด โรงเรียน โรงพยาบาล รถไฟฟ้า และหมูบ่ า้ นมากมายรายล้อม ฉันท�ำงานเป็นสถาปนิก และไปใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศ มีครอบครัวของตัวเอง คู่สมรสของฉันเป็นชาวต่างชาติ และเป็นสถาปนิกเช่นกัน พวกเราผ่านประสบการณ์การท�ำงานร่วมกับั สถาปนิกชือ่ ดัง ระดับโลกมามากกว่า 10 ปี ก่อนทีจ่ ะก่อตัง้ ส�ำนักงานสถาปนิกของตนเองขึน้ ทีเ่ มืองเซีย่ งไฮ้ ประเทศจีน ครัง้ นีเ้ ราได้กลับมาบ้านทาวน์เฮาส์ของพ่อ แต่เป็นครัง้ ทีต่ า่ งไปจากหลายครัง้ ทีผ่ า่ นมา เพราะเราได้มโี อกาสออกแบบอาคารทาวน์เฮาส์หลังข้างๆ ทีพ่ วกเราให้ชอื่ ว่า “Phetkasem Artist Studio”

37



สถาปัตยกรรมไม่ว่าจะถูกปรุงแต่งอย่างไร จิตวิญญาณของพื้นที่ยังคงอยู่เสมอ


48

ไม่มีทางตัน ถ้ายังพยายาม

ค้นพบ ถึงแม้วา่ เราจะรูส้ กึ สิน้ หวังกับการทดลองทีผ่ า่ นมา แต่มนั กลับท�ำให้ฉกุ คิดถึงอีกทางหนึง่ ที่เป็นไปได้ เราน�ำผลงานที่ออกแบบเข้าไปคุยกับ บริษัท แปซิฟิกไพพ์ จ�ำกัด (มหาชน) (Pacific Pipe) ซึ่งเป็นผู้ผลิตท่อเหล็กที่มีชื่อเสียงของไทย ทางบริษัท ให้ความสนใจกับงานออกแบบชิ้นนี้มาก เพราะผลงานชิ้นนี้จะเปลี่ยนมุมมองของ นักออกแบบกับวัสดุทอ่ เหล็กโดยสิน้ เชิง ทีม่ กั ถูกมองว่าเป็นวัสดุสำ� หรับงานโครงสร้าง หรืองานระบบไม่สามารถน�ำมาออกแบบให้สวยงามได้ พวกเราริเริม่ การใช้ทอ่ เหล็กในลักษณะของการต่อกันเป็นยูนติ เพือ่ สร้างลักษณะใหม่ ของ “อิฐท่อเหล็ก” ทีเ่ มือ่ รวมตัวกันแล้วจะมีความสูงและกว้างเกือบ 4 เมตร โดยใช้ ท่อเหล็กผ่าครึ่งหันด้านในท่อออกให้เห็นความกลวงของท่อแบบที่ไม่มีใครเคยเห็น มาก่อนแม้แต่ทีมงานวิศวกรของบริษัทเอง และการผ่าท่อนั้นท�ำให้เราพบว่าด้านใน ของท่อไม่ได้เรียบอย่างทีค่ ดิ ไว้ จะมีรอยเย็บทีเ่ รียกกันว่าตะเข็บท�ำหน้าทีย่ ดึ ท่อให้ตดิ กัน ซึ่งรอยนี้ทางทีมงานจะเจียเก็บความเรียบร้อยให้ พวกเราน�ำขนาดของส่วนโค้งที่ ออกแบบไว้มาปรับเทียบกับขนาดท่อทีบ่ ริษทั ผลิต โดยการเล่นลวดลายจากขนาดของท่อ 5 ขนาด ที่ต่างกัน น�ำมาประกบกัน 2 ด้าน รวมตัวเป็นอิฐที่สามารถหมุนด้าน กลับด้านได้ ท�ำให้เกิดความหลากหลายกับจังหวะของแพทเทิรน์ ขึน้ มา เราพัฒนาแบบ ร่วมกับวิศวกรผู้เชี่ยวชาญจนมั่นใจได้ว่าอิฐท่อเหล็กสามารถอยู่ได้ด้วยตัวของมันเอง โดยมีเพลทเหล็กด้านล่างเชื่อมถึงกันและใช้สลัก (bolt) ยึดฐานเหล็กกับฐานปูน ถ่ายน�้ำหนักลงไปที่เสาเข็มอีกที การท�ำงานในขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความแม่นย�ำของ เครื่องมือจักรกลในการกะต�ำแหน่งรูยึดของฐานเพลททั้งสองให้พอดีกัน รวมไปถึง ขนาดของอิฐท่อเหล็กหลังประกอบนัน้ จะไม่สามารถผิดพลาดได้เลย ซึง่ จะขอกล่าวถึง รายละเอียดขั้นตอนการติดตั้งในบทต่อไป



94

ลำ�ดับความสำ�คัญ มาพร้อมกับการเลือกใช้

พื้นหลัง หลักการในการเลือกสีนั้นพวกเราได้เรียนรู้มาจากประสบการณ์การท�ำงานในบริษัท สถาปนิกญีป่ นุ่ เคนโกะ คุมะ เป็นหลักง่ายๆ ทีน่ กั ออกแบบหลายท่านสามารถน�ำไปใช้ ในการเลือกสีสำ� หรับอาคารได้ เช่นถ้าจะให้วสั ดุดา้ นหน้าเด่น พืน้ หลังต้องเป็นเทาเข้ม โทนเดียวกับเทาของแสงเงาซึ่งเทาโทนนี้นั้นจะกลืนไปกับสีของพื้นหลังอย่างท้องฟ้า และจะเป็นฉากหลังทีส่ วยงามให้กบั พืชพรรณในอาคาร ส่วนโทนขาวทีใ่ ช้ในอาคารนัน้ ต้องเป็นขาวที่ใกล้เคียงกับการตกกระทบของแสง ซึ่งจะช่วยในการกระจายแสงของ อาคารได้อย่างนุม่ นวล แล้วเทาไหนกับขาวไหนจะมีลกั ษณะอย่างทีว่ า่ มา พวกเราได้นำ� แผ่นตัวอย่างสีที่น่าจะเป็นไปได้หลายเฉดมาแปะที่สถานที่จริงเพื่อดูทิศทางแสงและ เงาที่มากระทบกับเฉดนั้นๆ และสรุปกันว่าสีผนังปูนด้านนอกควรจะเป็นสีเทาเข้ม เช่นเดียวกับสีของเงาทีม่ ากระทบกับอาคารเพือ่ ให้อาคารกลายเป็นพืน้ หลังให้กบั ผนัง ท่อเหล็ก ส่วนผนังท่อด้านหน้านัน้ พวกเราได้ทดลองการพ่นพืน้ ผิวทีใ่ ห้ลกั ษณะเหมือนดิน ลงบนชิ้นงานตัวอย่าง ตั้งแต่หยาบไปจนละเอียดเพื่อพิจารณาว่าพื้นผิวแบบไหนที่ เหมาะสมกับสัดส่วนของพื้นที่ผนังท่อทั้งหมด นอกจากนี้เฉดสีของผนังท่อด้านหน้า 3 ผนัง นั้นถูกเลือกให้อยู่ในเฉดที่ใกล้เคียงกับสีดินเพื่อสร้างความรู้สึกในการเข้าถึง ธรรมชาติ สร้างจินตนาการของผนังดินทีเ่ ชือ้ เชิญให้ไม้เลือ้ ยโดยรอบเติบโตไปบนผนัง และสร้างความรูส้ กึ เข้าถึงทีจ่ บั ต้องได้ให้กบั คนผ่านไปมา ในขณะทีส่ ขี องผนังท่อด้านหลัง ซึง่ อยูใ่ นบริบททีแ่ วดล้อมไปด้วยอาคารตึกแถวนัน้ ถูกเลือกให้อยูใ่ นเฉดสีเทาใกล้เคียง กับสีของคอนกรีต ทีต่ งั้ ใจให้เกิดภาพสะท้อนและล้อเลียนไปกับความเป็นป่าคอนกรีต (concrete jungle) ของอาคารตึกแถวที่ถูกสร้างติดกันด้านข้างโครงการและเสียดสี ถึงความต่อเนื่องของบริบทให้เกิดขึ้นในอีกรูปแบบหนึ่งที่ต่างไปจากเดิม



102

จะมีวันนี้ได้อย่างไร ถ้ากลัวที่จะเริ่ม

ภาพสมบูรณ์ การประกอบร่างชิน้ ส่วนในอาคารทัง้ หมดนัน้ ต้องอาศัยความเชีย่ วชาญในการจัดตาราง เวลาเป็นอย่างมาก เมื่องานสถาปัตย์ฯ จบ งานเฟอร์นิเจอร์เข้า ต่อด้วยการติดตั้ง บานกระจกอะลูมิเนียมภายนอกทั้งหมด และปิดท้ายที่ผนังท่อเหล็กซึ่งถูกประกอบ ตามแบบและเก็บงานพ่นสีกันสนิมมาจากโรงงาน เพื่อให้เหลืองานที่ต้องท�ำหน้างาน ให้น้อยที่สุด ฉันยังจ�ำวันที่ผนังรั้วมาติดตั้งได้ พวกเราลุ้นกันทุกวินาที คนที่ได้มาเห็น รั้วของจริงน่าจะทึ่งไม่น้อยว่ารั้วเหล่านี้สามารถติดตั้งในพื้นที่เช่นนี้ได้อย่างไร วิศวกรของบริษัทแปซิฟิกไพพ์ได้เข้ามาดูสถานที่ติดตั้งและค�ำนวณขนาดรถเฮี๊ยบ (รถบรรทุกติดเครน) ที่สามารถขนผนังและใช้เครนยกผนังให้ไปอยู่ตรงต�ำแหน่ง ที่จะติดตั้งได้ โดยทางทีมงานใช้เทคนิคท�ำเหล็กเชื่อมไว้ที่ตัวผนังส�ำหรับเป็นหูหิ้ว ให้กบั เครนเมือ่ ติดตัง้ เสร็จค่อยเจียเหล็กหูหวิ้ นีอ้ อกไป หลังจากประเมินสภาพหน้างาน วิศวกรจึงสรุปให้การติดตัง้ แยกออกเป็น 2 วัน โดยวันทีห่ นึง่ เป็นการติดตัง้ ผนัง 1 แผง ด้านหลังอาคาร ซึ่งเป็นผนังที่มีความกว้างมากที่สุดเพราะผนังชิ้นนี้จะท�ำการปิดรั้ว ด้านหลังทัง้ หมด การติดตัง้ จึงต้องเข้าจากถนนสาธารณะด้านหลังและให้รถเข้ามาจอด ตรงที่โล่งหลังอาคาร ซึ่งเป็นที่ของคุณยายท่านหนึ่งที่อาศัยอยู่ที่นี่มานานและอีกส่วน ด้านข้างเป็นทางกลับรถของตึกแถวตามกฎหมายอาคาร ฉันและแม่เข้าไปพูดคุย กับคุณยายเจ้าของที่อธิบายถึงข้อจ�ำกัดต่างๆ จึงต้องมารบกวนใช้พื้นที่ของท่าน ด้วย ความเมตตาท่านจึงยอมให้รถเข้ามาส่งรั้วได้แต่มีข้อแม้ว่าการติดตั้งผนังครั้งนี้จะต้อง ไม่สง่ ผลกระทบกระเทือนกับต้นกาหลงทีส่ งู ประมาณ 1 เมตร ต้นไม้ทรี่ ะลึกถึงคุณพ่อ ของคุณยายซึ่งตั้งอยู่ในต�ำแหน่งกลางผนังด้านนอกพอดี ข้อจ�ำกัดอีกข้อหนึ่งของการ ติดตัง้ ผนังชิน้ นีค้ อื ตัวบ้านของคุณยายนัน้ เหลือ่ มเข้ามาในพืน้ ทีท่ จี่ ะติดตัง้ ผนังประมาณ หนึ่งในสามของผนัง นั่นหมายความว่ารถเฮี๊ยบจะต้องยกผนังแบบสไลด์เอียงเข้ามา ในพืน้ ทีแ่ ละต้องระวังไม่ให้ชนต้นกาหลงถึงจะท�ำการติดตัง้ ได้ วันนัน้ ฉันจุดธูปขอขมา เจ้าทีเ่ จ้าทาง ขอขมาต้นกาหลง ขอให้การติดตัง้ ผนังแผงแรกนีผ้ า่ นไปด้วยดี กว่าทีมงาน จะหาทางหามุมให้ผนังสอดเข้ามาได้ปาไปเบ็ดเสร็จมากกว่า 3 ชั่วโมง เมื่อผนังสอด เข้าไปได้ต้องมาลุ้นกันอีกว่าเพลทเหล็กของฐานผนังกับเพลทเหล็กที่ปูนนั้นตัวสลัก


ส�ำหรับยึดอยู่ในต�ำแหน่งเดียวกันไหม และมันเป็นความพอดีที่ลงล็อกกันได้ อย่างไม่น่าเชื่อ ซึ่งน่าจะเป็นเพราะมาตรฐานของเครื่องจักรและความเชี่ยวชาญ ในการค�ำนวณของทีมงาน พวกเรานับถือสปิรติ ทีมงานทุกคนมากตัง้ แต่คนขับรถเฮีย๊ บ ที่บังคับเครน วิศวกรและช่างทุกคน ฉันคิดว่ามันเป็นภาพประวัติศาสตร์ส�ำหรับ ทุกคนทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับงานนีแ้ ละได้เห็นผลงานทีป่ ลุกปัน้ มาตลอดครึง่ ปี นับตัง้ แต่วนั ทีเ่ ริม่ คุยแบบสามารถติดตัง้ ได้โดยสมบูรณ์ ฉันเห็นรอยยิม้ เห็นความโล่งใจของทุกคน ทีเ่ ต็มไปด้วยความภาคภูมใิ จในผลงาน คงไม่เคยมีใครคิดมาก่อนว่าท่อเหล็กสามารถ ออกแบบได้ หลังการติดตั้งผนังแผงหลังเสร็จ พวกเราอ้อมไปหลังอาคารเพื่อพูดคุย กับคุณยาย คุณยายยิ้มมีความสุขเช่นกัน นับจากวันนั้นผนังผืนนี้กลายเป็นฉากหลัง ทีส่ วยงามให้ตน้ กาหลงได้เปล่งความสวยของมัน ท�ำให้คนทีล่ งจากรถเมล์และเดินผ่าน ไปมาต้องเหลียวหันมามองซะทุกคนไป

103

ภาพแสดงขั้นตอนการติดตั้งผนังท่อแผงแรกที่มีขนาดกว้างที่สุด


Units Plan

Board Thickness=2mm H=190mm

Wall 1Board Thickness=2mm Type A

Wall Elevation

Units Plan

Type A H=190mm Board Thickness=2mm

Units Amount A: 63 Amount Units

Wall Elevation Wall Elevation

Type A

B: 80A: 63 B: 80

C: 67 Units Amount Type B

A: 63 C: 67

Wall B: 80 2 Wall Units Plan2 C: 67

Type B

Wall Elevation

H=190mm Units Plan Board Thickness=2mm H=190mm

Wall Elevation

Wall 2Board Thickness=2mm Type A Units Plan

Type B

Wall Elevation

Type A H=190mm Board Thickness=2mm

Type C Type C

Type A Type C Type B

Units Amount

Type B

A: 63 Amount Units

Wall 2 B: 80A: 63 Wall 2 Units Plan B: 80

Wall Elevation

Type B

C: 67 UnitsH=190mm Amount Units Plan

Wall Elevation

67 Board Thickness=2mm A: 63 C: H=190mm Thickness=2mm B: 80Board Type A

Wall Elevation Wall Elevation

2985 mm 2985 mm

Wall 2

Type C Type CWall Elevation

Units Plan

A: 63

Type C

C: 67Type A H=190mm

B: 80

Wall Elevation

C: 67

2985 mm

Board Thickness=2mm Type A

Units Amount

Type B

A: 0 Amount Units

Type B

B: 71 Wall 3A: 0 Wall 3 Units C:Plan 54B: 71 Units Amount

Wall Elevation

H=190mm 54 A:Units 0 C:Plan Board Thickness=2mm H=190mm

Wall Elevation

B: 71 Wall 3Board Thickness=2mm Type A

UnitsC:Plan 54

Type B

Wall Elevation

Type A H=190mm Board Thickness=2mm

2660 mm 2660 mm 2660 mm

Type C Type C

Type A

Type C

Type B

Units Amount

Type B

A: 0 Amount Units B: 71A: 0 B: 71

Type B

C: 54 Units Amount

A: 0

Type C

B: 71

B: 71

Type C

Type C

1990 mm 1990 mm

A: 0 C: 54

C: 54

C: 54

1990 mm

Wall 3 Wall Units Plan3

Wall Elevation

Wall Elevation

H=190mm Units Plan Board Thickness=2mm H=190mm Board Thickness=2mm Type A

Wall Elevation Units Amount

Wall Elevation

Wall 3

A: 30 Amount Units Wall Elevation

Units Plan

Type A H=190mm Board Thickness=2mm

A: 30 B: 153

B: 153

C: 62 Units Amount

Wall Elevation

Type A

A: 30 C: 62 B: 153

Type B

C: 62

Type B

4370 mm 4370 mm 4370 mm

m

Wall Elevation Type C

3230 mm 3230 mm 3230 mm

m

Type B

Type C Type C

Type C

Units Amount A: 30 Amount Units A: 30 B: 153 B: 153

C: 62 Units Amount A: 30 C: 62

A: 30

B: 153

B: 153 C: 62

C: 62

2786 mm 2786 mm 2786 mm


Type C

Wall 4 (Back) Wall Elevation

Wall Elevation

Units Plan H=190mm Board Thickness=2mm

Units Amount

Type A

A: 41 B: 124 C: 132

3610 mm

Type B

Type C

Units Amount A: 41 B: 124

A: 41

C: 132

B: 124

225

D-D

3981 mm

1700 550

225

1700 550

550

550

550

475

L-BOLT 2-M16 L=500

200 200 200 50

75 475

C: 132

1PC. PILE DIA. 150X6000 (CAP 1.5 T/P) BASE PLATE 12 MM.

PLAN GB-WALL 4

BASE PLATE 12 MM. L-BOLT 2-M16 L=500

DB12@150 mm.# 4-DB12 mm. LEAN CONCRETE 50 THK COMPACT SAND 50 THK

350

NON-SHRINK GROUT 30 MM. THK 1PC. PILE DIA. 150X6000 (CAP 1.5 T/P) Section D-D GB-WALL 4

RC COLUMN

200

200 25

See Detail 1

RC COLUMN

100

150 80

STEEL PLATE 9 MM. THK

600

See Detail 1

STUD BOLT-3/8" FB-50x9 MM. THK

RC COLUMN

600

2600

600

RC COLUMN

GL±0.00 m. GL-0.10 m. (TOB) GL-0.45 m. (BOB) 3782 3850

WALL 44 WALL

GRAVEL BACK FILL BASE PLATE 12 MM. NON-SHRINK GROUT 30 MM. THK DOWEL BAR LEAN CONCRETE 50 THK COMPACT SAND 50 THK 1PC. PILE DIA. 150X6000 (CAP 1.5 T/P)

600

L-BOLT 2-M16 L=500

Detail 1



พร้อมกับผู้คนนับร้อยที่ร่วมใจสร้างผลงานชิ้นนี้ขึ้นมา


118

REVIEWS II I was fortunate enough to see the chapter on Phetkasem Artist Studio in Bangkok, designed by Jenchieh Hung and team. Learning something in school is one thing, putting it in practice is quite another. As parametric thinking often deviated from standard ways of designing and production, the architect has to re-invent not only their own process, but also that of the client, the contractors, product developers, and so forth. It is clear from the Artist Studio project that Jenchieh Hung has set himself to this challenge, and solved it with a creative and elegant solution. Seeing and applying the inner beauty of steel pipes is one such way of ‘reversed’ thinking that adds unusual value to an otherwise unnoticed material and its aesthetics. Ever since Jenchieh Hung left our school, I could keep track of his professional development thanks to social and professional media like LinkedIn and Facebook. It gives me great pleasure to see such inspirational and creative work, as he continues on his professional path. HENRI ACHTEN Professor, Faculty of Architecture, Czech Technical University in Prague, Czech Republic ส�ำหรับผม ป้อกับเจอร์รี่คล้ายกับฟองอากาศที่ลอยอยู่ในน�้ำที่ลึกมากๆ ฟองอากาศที่ว่าเเม้จะดูเล็ก และบอบบาง แต่อย่าลืมว่ามันสามารถทนกับความดันมหาศาลของมวลน�ำ้ และเมื่อมันลอยขึ้นมา ถึงผิวน�้ำเมื่อไร มันก็พร้อมที่จะระเบิดพลังออกมาให้โลกสะเทือนเมื่อนั้น อรรถพร คบคงสันติ POK ATTAPORN KOBKONGSANTI Founding Principal and Design Director, T R O P : terrains + open space, Thailand This case is one of the best works in the field of architectural design that HAS presents in the pursuit of “design value” by integrating aesthetics, craftsmanship, and engineering. KWANG-TYNG WU Professor, Department of Architecture, National Cheng Kung University, Taiwan The experiment Phetkasem Artist Studio gives us another opportunity to understand HAS’s design philosophy and their dexterous response to material, construction and climate, which is persistent in their other projects, whether big or small. YI WANG Department Chair and Associate Professor, Department of Architecture, Tongji University, China


an extra-ordinary urban vernacular | วัสดุธรรมดาๆ ในทีต่ ง้ั ธรรมดาๆ ถูกน�ำมาผ่านกระบวนการคิด ที่ท้าทาย สนุกสนาน แต่ประณีตเป็นอย่างยิ่ง เกิดเป็นผลลัพธ์ที่ “เหนือ-ธรรมดา” แทรกผสาน ในวิถีชีวิตเมืองที่เอื้อต่อสภาวะการอยู่อาศัยที่เข้าใจธรรมชาติดินฟ้าอากาศและธรรมชาติของการ ด�ำรงชีวิตอย่างงดงามและลงตัว หนังสือเล่มนี้บันทึกกระบวนการอันละเอียดลออ ผ่านภาษาเขียน และภาษาภาพที่ยิงตรงเข้าสู่ใจผู้อ่านอย่างยิ่ง รองศาสตราจารย์ ดร. ม.ล.ปิยลดา ทวีปรังษีพร M.L. PIYALADA THAVEEPRUNGSRIPORN Ph.D. Associate Professor, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, Thailand One of the ways that art enriches life is by giving us new perspectives on everyday realities. Through mechanisms such as selection and spotlighting, distortion and recontextualization, translation and defamiliarization, it illuminates hidden dimensions and shows us previously unseen possibilities. A work of architecture like the Phetkasem Artist Studio does this by reinterpreting the aesthetics, materials, and building methods of its context so that we see the neighborhood’s present and future in new ways. By reconfiguring a typical two-storey infill building, HAS design and research shows us how the art of architecture can reinterpret and transform familiar patterns and practices, and how architects and designers can partner with industry to activate local and global construction expertise. JONATHAN MASSEY Dean and Professor, Taubman College of Architecture and Urban Planning, University of Michigan, United States The townhouse was redesigned as a living device to sift through vibrant street lives and tropical climate. The brilliantly structured layers of space create both local sensations and contemporary inspirations by crafting material, geometry and nature. This remodeled artist studio is a fascinating new interpretation for Asian architecture. HAO-HSIU CHIU Associate Professor, Department of Architecture, Tunghai University, Taiwan By creative reuse of the industrial material as well as the routine housing typology, HAS‘s renovation work reflects our ignorance to the hidden potential in the everyday urbanism. It points out a possible way to rethink our built environment and Asian modernity. XIANGNING LI Dean and Professor, College of Architecture and Urban Planning, Tongji University, China 119


ขอขอบคุณผู้สนับสนุนการพิมพ์ Pacific Pipe ผู้น�ำในอุตสาหกรรมการผลิตและ จ�ำหน่ายท่อเหล็กรายใหญ่ของประเทศไทย สร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์และบริการคุณภาพ ด้วยนวัตกรรมทีท่ นั สมัย รองรับทุกงานโครงสร้าง งานระบบที่หลากหลาย ได้อย่างลงตัว ตอบโจทย์ทกุ ความต้องการของลูกค้า ด้วยประสบการณ์การท�ำงานอย่างมืออาชีพกว่า 50 ปี พร้อมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม www.pacificpipe.co.th Facebook: pacificpipe.pap Line: @pacificpipe Tel: 02-679-9000 ต่อ 1331



“THE improvised” Phetkasem Artist Studio “อัตลักษณ์ใหม่ที่เป็นไปได้ในความอัปลักษณ์” ผู้เขียน กุลธิดา ทรงกิตติภักดี และ Jenchieh Hung พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2564 บริษัท ลายเส้น พับบลิชชิ่ง จ�ำกัด ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กุลธิดา ทรงกิตติภักดี. “The improvised” Phetkasem Artist Studio “อัตลักษณ์ใหม่ที่เป็นไปได้ ในความอัปลักษณ์”.-- กรุงเทพฯ : ลายเส้น, 2564. 144 หน้า. 1. สถาปัตยกรรม -- การออกแบบและผังพื้น. I. Jenchieh Hung ผู้แต่งร่วม II. ชื่อเรื่อง. 728 ISBN 978-616-459-042-7 ที่ปรึกษา นิธิ สถาปิตานนท์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ สุลักษณ์ วิศวปัทมวรรณ บรรณาธิการ Jenchieh Hung และ กุลธิดา ทรงกิตติภักดี ออกแบบปกและรูปเล่ม กุลธิดา ทรงกิตติภักดี พิสูจน์อักษร บุศรา เขมาภิรักษ์

บริษัท ลายเส้น พับบลิชชิ่ง จ�ำกัด 112 สุขุมวิท 26 คลองตัน คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 T. 0 2259 2096 F. 0 2661 2017 E. li-zenn@li-zenn.com www.li-zenn.com Facebook: Li-Zenn Publishing Line: @li-zenn พิมพ์ที่ บริษัท ภาพพิมพ์ จ�ำกัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.