บ้าน... การออกแบบสถาปัตยกรรมพื้นฐาน พิมพ์ครั้งที่ 8

Page 1


บ้าน...การออกแบบสถาปั ตยกรรมพืนฐาน ้ โดย

ศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิ ตานนท์

ฉบับปรับปรุงใหม่ พิมพ์ครัง้ ที่ 8 พฤษภาคม 2558 ข้ อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่ งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data

เลอสม สถาปิ ตานนท์. บ้ าน...การออกแบบสถาปั ตยกรรมพื ้นฐาน - - พิมพ์ครัง้ ที่ 8. - กรุงเทพฯ: ลายเส้ น, 2558. 144 หน้ า. 1. การสร้ างบ้ าน. 2. การตกแต่งบ้ าน. 3. การตกแต่งภายใน. I. ชื่อเรื่ อง.

728 ISBN : 978-616-7800-49-3

บริษัท ลายเส้ น พับบลิชชิ่ง จากัด ประธานกรรมการ : นิธิ สถาปิ ตานนท์ กรรมการผู้จดั การ : สุลกั ษณ์ วิศวปั ทมวรรณ กรรมการบริ หาร : พิสทุ ธิ์ เลิศดาริ ห์การ / ประภากร วทานยกุล / เกียรติศกั ดิ์ เวทีวฒ ุ าจารย์ จัดพิมพ์ และจัดจาหน่ าย: บริ ษัท ลายเส้ น พับบลิชชิ่ง จากัด 81 สุขมุ วิท 26 คลองตัน คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2259 2096 โทรสาร 0 2661 2017 อีเมล li-zenn@li-zenn.com www.li-zenn.com www.li-zennpub.com Facebook: Li-Zenn Publishing ที่ปรึกษา

นิธิ สถาปิ ตานนท์ มงคล พงศ์อนุตรี ภาพประกอบ นิธิ สถาปิ ตานนท์ ประกิต พนานุรัตน์ ดนยา บุญโสภณ เรี ยบเรี ยง-จัดรูปเล่ม ดนยา บุญโสภณ คาสาคัญ บ้ าน, การออกแบบ, ออกแบบภายใน, ห้ อง, สถาปั ตยกรรมพื ้นฐาน, สภาพแวดล้ อม, คนพิการ, หลักการจัดองค์ประกอบ


คานา มนุษย์ แสวงหาความรู้ที่จะขยายขอบเขตความรู้ความสามารถของตนเองอยู่ เสมอ ในขบวนการของการเรี ยนรู้นนั ้ การเริ่มต้ นที่ดเี ป็ นประตูสาคัญที่จะเปิ ด ไปสูโ่ ลกใหม่ ที่เราจะเข้ าไปแสวงหาพื ้นฐานของความรู้ในสาขาใดสาขาหนึง่ เปรี ยบได้ ดงั ผืนดินอันอุดมที่จะเอื ้อให้ เมล็ดของความรู้ได้ เติบโตขึ ้นอย่างสมบูรณ์ ผู้ที่จะเข้ าถึงความรู้ในการออกแบบสถาปั ตยกรรมได้ นนั ้ จะต้ องมีพื ้นฐานของ ความเข้ าใจในองค์ประกอบเบื ้องต้ นของการออกแบบเสียก่อน กิจกรรมพื ้นฐาน หรื อการอยูอ่ าศัยของมนุษย์ ทาให้ เกิดองค์ประกอบพื ้นฐานของบ้ าน บ้ านอยู่ อาศัยที่เราคุ้นเคยที่สดุ ที่เราสามารถอธิบายได้ วา่ ควรเป็ นอย่างไร ประกอบด้ วย อะไรบ้ าง ที่จะทาให้ ชีวิตเรามีความสุขและเติบโตขึ ้นทังกายและใจ ้ หนังสือเล่มนี ้นอกจากจะกล่าวถึงการใช้ สอยของบ้ าน ยังประกอบด้ วย หลักการ จัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบ ตกแต่งภายในบ้ านอีกด้ วย และได้ ปรับปรุงเนื ้อหาส่วนต่างๆ รวมทังเพิ ้ ่มเติมด้ าน การออกแบบสภาพแวดล้ อมสาหรับทุกคน (Universal Design) เพื่อเป็ นแนวทาง ในการออกแบบสภาพแวดล้ อมภายในบ้ าน ที่เหมาะสมสาหรับคนทุกสภาพ ร่างกาย ให้ เข้ าถึงการใช้ สอยได้ อย่างสะดวกปลอดภัย ความรู้และประสบการณ์ที่แนะไว้ นี ้ เป็ นเพียงแนวทางส่วนหนึง่ ที่จะช่วยนา จินตนาการของเจ้ าของหรื อผู้อยูอ่ าศัย ผสมผสานกับแนวความคิดที่สร้ างสรรค์ ของผู้ออกแบบ ซึง่ จะนาไปสู่ บ้ าน : การออกแบบสถาปั ตยกรรมพื ้นฐานที่ดีตอ่ ไป ในอนาคต ศาสตราจารย์เลอสม สถาปิ ตานนท์ ภาควิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


สารบัญ


บ้ าน

6

บทนา

7

กลุ่มส่ วนใช้ สอย : สาธารณะ - กึ่งสาธารณะ ห้ องรับแขก………… ………..…………………………….. 10 ห้ องอาหาร…………………………………………………. 19 ห้ องเตรียมอาหาร……………………………………….…. 27 กลุ่มส่ วนใช้ สอย : กึ่งส่ วนตัว - ส่ วนตัว ห้ องนั่งเล่ น……………………………………….…………. 34 ห้ องทางาน……………………………………….…………. 41 ห้ องนอน…………………………………………………….. 47 ห้ องนา้ ………………………………………………………. 62 กลุ่มส่ วนใช้ สอย : บริการ ห้ องครัว………………………………….…………….……. 88 ห้ องซักรีด - ลานซักล้ าง……………..…………………… 102 โรงจอดรถ…………………………………….…………….108 การออกแบบสภาพแวดล้ อมสาหรับทุกคน….……….…113 หลักการจัดองค์ ประกอบ 124 ในการออกแบบ เพื่อความงามภายในอาคาร รูปทรง…………………………...…………………….…… 126 รูปร่ าง…………………………...….………………….…… 127 สัญฐาน…………………………...……………………...… 128 ขนาด…………………………...……………………...…… 129 ขนาดส่ วน…………………………...…………………...… 130 สัดส่ วน…………………………...……………………….… 132 ความสมดุล ………………………...……………….…..… 132 กรอบที่ใช้ อ้างอิง………………………..…………….….…134 แกน…………………………...………………….…….…… 135 เอกภาพ…………………………….………………...….…. 136 การเน้ น…………………………...……………….……...… 137 ความเปรียบต่ าง ………………..…………………….…… 137 ความซา้ …………………………...………………………… 139 การแปรเปลี่ยนภายใต้ ความซา้ ...................................... 139 จังหวะ…………………………...…………………...….….. 140 ทัศนียภาพ…………………………...……………..………. 142 มุมมอง…………………………...……………………...…..143 ผิวสัมผัส รูปแบบ สี........................................................ 143 หนังสืออ้ างอิง 144


บ้ าน

การออกแบบสถาปั ตยกรรมพื น้ ฐาน

6


บทนา

บ้ าน...เป็ นสถาปั ตยกรรมพื ้นฐานของสังคมกลุม่ เล็กที่ประกอบไปด้ วย พ่อ-แม่ ลูก และอาจรวมไปถึง ปู่ -ย่า ตา-ยาย บ้ านเป็ นอาคารพักอาศัยของกลุม่ คนที่สนิท สนมกลมเกลียวที่ต้องการอยูร่ ่วมกัน และรับแขกที่จะมาเยี่ยมเยือนเป็ นบางเวลา การออกแบบบ้ าน โดยทัว่ ไปจะรวมการใช้ สอยสาคัญสาหรับครอบครัวเจ้ าของ บ้ านไว้ บนบ้ านใหญ่ เรียงส่วนใช้ สอยตามลาดับ ได้ แก่ กลุม่ พื ้นที่สาธารณะ กึ่ง สาธารณะ กึ่งส่วนตัว และส่วนตัว ส่วนการใช้ สอยที่สาคัญน้ อยกว่าเป็ นกลุม่ ที่ แยกจากกลุม่ ของครอบครัวเจ้ าของบ้ าน ได้ แก่ ส่วนบริการ

7


ห้ อ งรั บ แขก

ห้ องรับแขกเป็ นศูนย์กลางของสังคมในบ้ าน และเป็ นห้ องที่ทกุ คนคิดจะตกแต่งให้ สวยงาม มากที่สดุ เพราะเป็ นห้ องที่ไม่ได้ ใช้ เฉพาะคนในบ้ าน แต่เป็ นที่ต้อนรับแขกที่มาเยือน ห้ องรับแขกจะ สะท้ อนรสนิยม ความสนใจ และสัญลักษณ์ของเจ้ าของบ้ าน ห้ องนี ้อาจจะมีการใช้ พื ้นที่ทากิจกรรม ร่วมกันหลายอย่าง เช่น รับรองแขก พักผ่อน อ่านหนังสือ ทางาน ดูโทรทัศน์ ฟั งวิทยุ และพูดคุยร่วมกัน ระหว่างครอบครัว

10


การออกแบบห้ องรับแขก ต้ องศึกษาว่าเป็ นห้ องที่ใช้ สาหรับสมาชิก ครอบครัวกี่คน ความต้ องการของครอบครัวจะแปรเปลี่ยนไปตามวัยและความ สนใจของสมาชิกในบ้ าน ผู้ออกแบบต้ องค้ นหาว่าคนในบ้ านต้ องการอะไรในห้ อง นี ้บ้ าง การออกแบบควรจะเริ่มต้ นจากการถาม อายุ เพศ และสิง่ ที่สนใจทา ประจาวันของผู้อยูอ่ าศัยในบ้ าน รวมถึงจานวนแขกที่มาเยี่ยมบ่อยๆ ประมาณครัง้ ละกี่คน ของที่ต้องการใช้ และตังโชว์ ้ เส้ นทางติดต่อกับห้ องอื่นโดยรอบ ในบ้ านขนาดใหญ่ห้องรับแขกจะแยกจากห้ องนัง่ เล่นโดยเด็ดขาด ห้ องรับแขกจะใช้ สาหรับรับแขกเพียงอย่างเดียว ส่วนห้ องนัง่ เล่นจะใช้ สาหรับ กิจกรรมที่ไม่เป็ นระเบียบแบบแผน เช่น ดูโทรทัศน์ ฟั งเพลง และพูดคุยกันระหว่าง คนในครอบครัว ส่วนบ้ านขนาดเล็กอาจประหยัดพื ้นที่ โดยใช้ สอยในพื ้นที่ห้อง เดียวกันทังการรั ้ บแขกและนัง่ เล่น

ตาแหน่ ง ห้ องรับแขกควรจะอยูต่ ิดกับโถงทางเข้ าบ้ านด้ านหน้ า เพื่อให้ แขก เข้ าถึงได้ สะดวก และมีทางติดต่อกับห้ องอาหารและเฉลียง ที่ผ้ อู ยูอ่ าศัยสามารถ เปลี่ยนสถานที่และกิจกรรม เช่น ออกไปนัง่ คุยภายนอกห้ องที่เฉลียงได้ ในเวลา เย็น หรื อไปรับประทานอาหารที่ห้องอาหาร การใช้ งานซึง่ รวมไปถึงกิจกรรมอื่น เช่น ส่วนนัง่ เล่น ซึง่ อาจจะรวมกับส่วนรับแขกสาหรับบ้ านขนาดเล็ก ห้ องจึงควร ถ่ายเทอากาศได้ สะดวก ไม่ปิดทึบ มีช่องเปิ ดทางด้ านทิศใต้ เพื่อรับลม และช่อง เปิ ดอย่างน้ อยอีกด้ านหนึง่ เพื่อให้ ลมออกจากห้ อง การเปิ ดช่องเปิ ดสูเ่ ฉลียงควรใช้ ประตูขนาดใหญ่ เพื่อเชื่อมต่อบริเวณภายในบ้ านและภายนอกให้ เป็ นอันหนึง่ อัน เดียวกัน เฉลียงทางทิศใต้ ควรปลูกต้ นไม้ บงั แดดอ้ อมใต้ ที่จะรบกวนบริเวณเฉลียง ในช่วงบ่ายด้ วย

การจัดแผนผัง ก่อนอื่นควรพิจารณาจัดกลุม่ พฤติกรรมของผู้ใช้ ห้องว่า สามารถอยู่ ร่วมกันได้ หรือควรแยกกันแต่ละส่วน เช่น ส่วนรับแขก ส่วนนัง่ เล่นของเด็ก ส่วน พักผ่อนของผู้ใหญ่ ทังสามส่ ้ วนนี ้เกิดจากการแยกกิจกรรมที่ตา่ งกันไม่ให้ รบกวน กันโดยตรง แต่ยงั เชื่อมโยงพื ้นที่ได้ ด้วยสายตา ซึง่ ช่วยให้ พื ้นที่ห้องดูกว้ างขวาง กว่าการแบ่งด้ วยผนังหรื อตู้สงู ซึง่ จะทาให้ ห้องดูอดึ อัด โดยเฉพาะบ้ านที่ไม่มี เครื่ องปรับอากาศ

11


สภาพแวดล้ อมภายในห้ อง

18

พื ้นห้ องในบริเวณเฟอร์ นิเจอร์ ชดุ รับแขก อาจมีการเน้ นด้ วยวัสดุปู พื ้นต่างจากบริเวณโดยรอบ เช่น ปูพรม หรื อเปลี่ยนระดับพื ้น ให้ เห็นเด่นชัด หรื อ แยกกิจกรรมออกเป็ นสัดส่วน หากมีการเปลี่ยนระดับพื ้นในห้ องรับแขก สิง่ ที่เป็ น องค์ประกอบสาคัญ คือ ระดับเพดานของห้ องที่ต้องสูงพอจะยกพื ้นบางส่วนได้ ถ้ าห้ องนี ้ตังอยู ้ ช่ นล่ ั ้ างของอาคารหรื อบนดิน การเปลี่ยนระดับตังแต่ ้ เริ่มสร้ างบ้ าน จะไม่มีปัญหาในเรื่ องโครงสร้ าง ห้ องที่มีเพดานสูงมากพอสามารถออกแบบ ยกระดับพื ้นบางส่วนขึ ้นได้ โดยไม่รบกวนโครงสร้ างอาคารเดิม เช่น ใช้ โครง ประเภทเบา ไม้ หรื อเหล็ก วางบนพื ้นคอนกรี ตเสริมเหล็กเดิม วางแผ่นพื ้นไม้ อดั ชนิดหนาและปูวสั ดุปพู ื ้นที่สวยงามทังห้ ้ อง การเปลีย่ นระดับพื ้นต้ องคานึงถึง ความปลอดภัยของผู้มาเยือน เนื่องจากไม่ค้ นุ เคยเส้ นทางสาคัญของห้ อง ควร เปลี่ยนระดับอย่างค่อยเป็ นค่อยไป และให้ มีแสงส่องบริเวณเปลี่ยนระดับชัดเจน ถ้ าเปลี่ยนระดับหลายขันควรมี ้ ราวจับ วัสดุปพู ื ้น บ้ านที่ใช้ ระบบปรับอากาศสามารถปูพรมทังห้ ้ องได้ แต่ บ้ านที่มีเด็กการทาพื ้นปูพรมเต็มพื ้นที่ห้องไม่คอ่ ยเหมาะสม เพราะจะสกปรกง่าย ทาความสะอาดยาก พื ้นควรปูด้วยไม้ กระเบื ้องเคลือบ หินอ่อน กระเบื ้องยาง เป็ นต้ น และอาจเน้ นบริเวณสาคัญบางบริเวณด้ วยพรมเฉพาะจุด ผนังควรเตรี ยมตาแหน่งติดตังปลั ้ ก๊ ไฟหรื อเต้ ารับ (outlet) สาหรับ การใช้ อปุ กรณ์ไฟฟ้า ทังที ้ ่ใช้ ประจาที่ และใช้ เป็ นบางเวลา เช่น โคมไฟตังพื ้ ้น / ตัง้ โต๊ ะ พัดลม โทรทัศน์ เครื่ องเสียง และเต้ ารับสาหรับสายอากาศในตาแหน่งติดตัง้ โทรทัศน์ รวมถึงสายโทรศัพท์สาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์โทรศัพท์และอินเตอร์ เน็ท ซึง่ บางจุดอาจติดตังซ่ ้ อนอยูก่ บั ตู้หรื อชันติ ้ ดผนัง และการเตรี ยมพื ้นที่ผนัง สาหรับ อุปกรณ์ประกอบที่ติดตังชิ ้ ดผนังหรื อติดกับผนังที่จาเป็ น เช่น เครื่ องปรับอากาศ ซึง่ มีทงแบบตั ั้ งพื ้ ้น แขวนเพดาน หรื อติดผนัง และควรเตรี ยมพื ้นที่เหนือช่องเปิ ด ประตู-หน้ าต่างสาหรับติดราวม่านด้ วย เป็ นต้ น การตกแต่งผิวผนังมักจะทาสีหรื อบุวสั ดุลวดลายสวยงาม เช่น ไม้ กระดาษหรื อไวนิลติดผนัง หากต้ องการให้ รูปบนผนังเป็ นจุดเด่นผนังควรเป็ นสี เรี ยบ ส่วนตกแต่งผนังอีกอย่างหนึง่ ได้ แก่ ผ้ าม่าน ควรมีสีและลวดลายที่สอดคล้ อง กับผ้ าบุเก้ าอี ้และโซฟาเพื่อสร้ างความเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกันให้ กบั ห้ อง การใช้ ผ้ าม่านสีอ่อนไม่มีลวดลายห้ องจะดูสงบ สร้ างความรู้สกึ ของผนังเมื่อปิ ดม่าน


ห้ องอาหาร

ห้ องอาหารควรอยูใ่ กล้ หรื อติดกับห้ องรับแขก ซึง่ อาจจะใช้ เป็ นห้ องนัง่ เล่นด้ วย เพราะ กิจกรรมที่เกิดขึ ้นในห้ องทังสองนี ้ ้เป็ นกิจกรรมที่ตอ่ เนื่อง ปกติในวันหยุดคนเรารับประทานอาหารถึง สามมื ้อ เมื่อรับประทานอาหารแต่ละมื ้อเสร็จแล้ ว สมาชิกในบ้ านจะนัง่ ดูโทรทัศน์หรื อนัง่ คุยกันใน ห้ องนัง่ เล่นที่อยูข่ ้ างเคียง อีกทิศทางหนึง่ ที่จะต้ องติดต่อกับห้ องอาหาร ได้ แก่ เส้ นทางรับและส่งอาหาร จากครัวสูห่ ้ องเตรี ยมอาหาร เพื่อส่งมายังห้ องอาหารอีกทีหนึง่

19


ตาแหน่ ง ในบ้ านขนาดใหญ่ มักจะจัดห้ องอาหารแยกออกจากห้ องรับแขก เนื่องจากหากมีแขกมาในช่วงเวลารับประทานอาหาร สมาชิกในบ้ านจะ รับประทานอาหารได้ โดยไม่รบกวนกัน ส่วนในบ้ านขนาดเล็กอาจจะจัดพื ้นที่ รับประทานอาหารไว้ ในห้ องเดียวกับห้ องรับแขก แต่จดั วางกลุม่ เฟอร์ นิเจอร์ รับประทานอาหารไว้ ด้านใน ซึง่ ต่อเนื่องกับส่วนเตรี ยมอาหารหรื อครัวได้ สะดวก ผู้ออกแบบต้ องวางแผนให้ ผ้ อู ยูอ่ าศัยรับประทานอาหารในสถานที่ที่พอใจ สบาย ทังร่้ างกายและสายตา การตกแต่งห้ องที่ รวมการใช้ สอยต่างประเภทไว้ ในห้ องเดียวกัน เช่น ห้ องอาหารรวมกับห้ องรับแขกนัน้ รูปแบบเฟอร์ นิเจอร์ ตกแต่งผสมผสานกันได้ โดยให้ มีรูปแบบ (style) ใดรูปแบบหนึง่ มีมากกว่าอีกแบบหนึง่ ซึง่ จะเป็ นจุดสนใจ ของห้ อง แต่การใช้ เฟอร์ นิเจอร์ ผสมผสานนี ้จะต้ องพิจารณาถึงเส้ นสายและ สัดส่วนที่กลมกลืนของเฟอร์ นิเจอร์ โดยรวมด้ วย ทางเลือกของการตกแต่งเฟอร์ นิเจอร์ เป็ นรสนิยมส่วนตัว และได้ รับ อิทธิพลจากรูปแบบของบ้ านส่วนรวม ห้ องอาหารที่แยกห้ องนี ้มักจะใช้ เป็ นห้ อง รับรองแขกด้ วย จุดเด่นของห้ องต้ องอยูท่ ี่โต๊ ะอาหาร ส่วนอื่นๆ เป็ นส่วนประกอบ การออกแบบห้ องอาหารที่เริ่มไปพร้ อมกับการออกแบบบ้ าน ผู้ ออกแบบจะต้ องสอบถามผู้อยูอ่ าศัยว่าอาหารประจาวันที่รับประทานเป็ นอาหาร ประเภทใด บางบ้ านนิยมอาหารฝรั่ง บางบ้ านนิยมอาหารไทย หรื ออาหารจีน และ อาหารมื ้อที่ทกุ คนในบ้ านพร้ อมหน้ ากันมากที่สดุ ได้ แก่ อาหารมื ้อเย็น การจัดห้ อง หรื อเลือกโต๊ ะอาหารควรคานึงถึงประเภทของอาหารเย็นมากกว่ามื ้ออื่นๆ

การจัดแผนผัง โต๊ ะอาหารเป็ นจุดศูนย์กลางของห้ องอาหาร เก้ าอี ้จะมีพอเหมาะกับ ขนาดโต๊ ะ หรื อมีเก้ าอี ้สารองตังอยู ้ ร่ อบนอกติดผนังอีกประมาณ 2 ตัว เพื่อใช้ เสริม เมื่อจัดวางโต๊ ะและเก้ าอี ้รับประทานอาหาร ควรเว้ นระยะห่างระหว่างเก้ าอี ้กับผนัง โดยรอบพอให้ ผ้ บู ริการสามารถเดินบริการได้ สะดวก หรื อควรเว้ นพื ้นที่จากขอบ โต๊ ะถึงผนังกว้ างประมาณ 1.20 - 1.50 เมตร

20


21


ห้ องนั่งเล่ น

ในบ้ านขนาดใหญ่ทมี่ หี ้ องรับแขกเป็ นทางการอยูแ่ ล้ ว อาจจะมีห้องนัง่ เล่นแยกออกต่างหาก เพื่อใช้ พกั ผ่อนภายในครอบครัวในลักษณะกึ่งส่วนตัว พ่อ แม่ ลูก หรื อรวม ปู่ ย่า ตา ยาย หากอาศัยอยู่ ในบ้ านเดียวกัน บริเวณห้ องนัง่ เล่นจะใช้ พกั ผ่อน นัง่ ๆ นอนๆ ดูโทรทัศน์ ฟั งเพลง เล่นคอมพิวเตอร์ หรื อ อ่านหนังสือ เพื่อคลายความตึงเครี ยด ฟื น้ ฟูสมองให้ แจ่มใส พร้ อมที่จะสู้งานหนักต่อไป

34


ห้ องนัง่ เล่นควรเป็ นห้ องสบายสาหรับการพักผ่อนพูดคุยของคนใน ครอบครัว บรรยากาศในห้ องจึงมีลกั ษณะเป็ นกันเอง ปราศจากเสียงรบกวน มองเห็นทิวทัศน์ต้นไม้ เขียวชอุม่ สระน ้าใสๆ หรือสระว่ายน ้า อาจจะอยูใ่ กล้ ชดิ ธรรมชาติและได้ รบั ลมธรรมชาติโดยไม่จาเป็ นต้ องเปิ ดเครื่องปรับอากาศ หากอากาศ ไม่ร้อนจนเกินไป บริเวณห้ องนัง่ เล่น อาจจะเป็ นการผสมผสานการใช้ สอยของกลุม่ คน ภายในครอบครัวที่ตา่ งวัยกัน ทังกลุ ้ ม่ สมาชิกสูงวัย ปู่ ย่า ตา ยาย สมาชิกวัยหนุ่ม สาว พ่อและแม่ และ สมาชิกกลุม่ เด็ก

ตาแหน่ ง ห้ องนัง่ เล่นมักจะตังอยู ้ ด่ ้ านใน เป็ นลาดับรองจากห้ องรับแขกที่ต้อง เข้ าถึงง่ายจากส่วนสาธารณะภายนอกอาคาร และมักอยูใ่ นตาแหน่งที่ทิวทัศน์ดี มี เฉลียงสาหรับการนัง่ เล่นภายนอกที่ตอ่ เนื่องกับภายใน หรื ออาจตังอยู ้ บ่ ริเวณติด กับสระว่ายน ้า ห้ องออกกาลังกาย และรับบริการอาหารจากห้ องเตรี ยมอาหารซึง่ อยูไ่ ม่ไกลกันด้ วย

การจัดแผนผัง ในห้ องนัง่ เล่นที่แยกออกจากห้ องรับแขกอย่างชัดเจนนี ้ ถ้ ามีขนาด ใหญ่พอก็ต้องจัดวาง ส่วนนัง่ เล่นหลัก ส่วนนัง่ เล่นเด็ก และปู่ ย่าตายาย แยกจาก กัน เพื่อไม่ให้ เสียงรบกวนซึง่ กันและกัน ส่วนนัง่ เล่นหลัก มักจะมีโทรทัศน์ โต๊ ะ/ เก้ าอี ้ชุดนัง่ สบาย เก้ าอี ้อาจจะใช้ ได้ ทงนั ั ้ ง่ และนอน มีเก้ าอี ้รองรับขาที่จะยืดขา เสมอเข่าได้ บริเวณนี ้เป็ นบริเวณที่ใช้ ร่วมกัน ส่วนที่นงั่ ทางานผู้ใหญ่ ชุดเฟอร์ นิเจอร์ สาหรับพักผ่อนอ่านหนังสือ ของผู้ใหญ่ และส่วนทาการบ้ านของเด็ก ที่รวมอยูใ่ นห้ องนัง่ เล่นนี ้ จะต้ องจัดมุมให้ ห่างจากมุมดูโทรทัศน์ เพราะให้ มีสมาธิในการคิด อ่าน เขียน ชุดโต๊ ะทางานผู้ใหญ่ มักจะมีการใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และมีต้ เู ก็บหนังสือ ของใช้ สาหรับการทางาน ชุดนัง่ เล่นและทาการบ้ านของเด็กจะมีโต๊ ะและเก้ าอี ้เด็กขนาดเล็กตามอายุ พร้ อม ชันเก็ ้ บหนังสือ หรื อตู้เก็บของเล่นที่จะหยิบใช้ ได้ สะดวก ถ้ าเป็ นบ้ านขนาดใหญ่ อาจจะแยกส่วนทางานออกไปจากบริเวณนัง่ เล่น และหากในบ้ านมีเด็กเล็กควรมี พื ้นที่วา่ งเพียงพอสาหรับเด็กเล่นของเล่นบนพื ้นที่ปลอดภัย ไม่มีเหลี่ยมมุม โต๊ ะ / ตู้ ที่เด็กจะวิ่งชน

35


40


ห้ องทางาน

ห้ องทางาน เป็ นห้ องกึ่งส่วนตัวที่ผ้ อู ยูอ่ าศัยในบ้ านอาจจะใช้ ร่วมกัน เช่น พ่อ-แม่ และลูก โดยต่างคนต่างมีพื ้นที่แยกมุมกัน หรื อจะเป็ นห้ องทางานของพ่อ-แม่ ที่ตงใจท ั ้ างานจริงจังที่บ้าน โดย ปราศจากการรบกวนของลูก ห้ องทางานโดยทัว่ ไปจะเป็ นการทางานแบบนัง่ โต๊ ะเก้ าอี ้ ส่วนการทางาน เฉพาะทางจะต้ องมีการจัดห้ องเป็ นพิเศษตามสาขาการปฏิบตั ิวิชาชีพของเจ้ าของบ้ านนันๆ ้

41


ในบริเวณที่นงั่ ทางานที่ต้องใช้ สายตาอ่านหนังสือ จะต้ องมีความ เข้ มของแสงเพียงพอ คือ มีประมาณความส่องสว่าง 500 – 700 ลักซ์ (LUX) และตาแหน่งโคมไฟไม่สอ่ งด้ านหลังคนนัง่ จะเกิดการบังเงาด้ านหน้ าพื ้นที่โต๊ ะ ทางาน ส่วนบริเวณที่นงั่ พักผ่อนสายตา อาจลดความเข้ มของแสงลง หรื อใช้ หลอดไฟชนิดที่ปรับความสว่างได้ (dimmer) การใช้ แสงสว่างธรรมชาติจากช่องเปิ ดได้ ในเวลากลางวัน จะต้ องมี การป้องกันความจ้ าของแสงแดดจากภายนอกรบกวนสายตา จึงควรจัดทิศทาง ให้ แสงแดดเข้ ามาจากทางด้ านข้ าง โดยเฉพาะด้ านซ้ ายของที่นงั่ ทางาน สาหรับ คนส่วนใหญ่ที่ถนัดขวาเพื่อให้ สบายตา ไม่ควรจัดให้ โต๊ ะทางานหันไปทาง หน้ าต่างด้ านที่มีแสงแดดจ้ า หลอดไฟที่เหมาะกับการอ่าน ควรใช้ หลอดอินแคนเดสเซนต์หรื อ หลอดไส้ (incandescent lamp) และหลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent lamp) ที่สีของแสงใกล้ เคียงแสงธรรมชาติ (daylight) เพื่อให้ มองสีวตั ถุใกล้ เคียงสีจริง และสบายตา และคานึงถึงความเข้ มแสงระหว่างพื ้นที่ทางานกับบริเวณข้ างเคียง รอบพื ้นที่ทางานไม่ควรส่องสว่างน้ อยกว่า 1/3 ของความส่องสว่างที่โต๊ ะทางาน

46


ห้ องนอน

ห้ องนอนเป็ นห้ องที่มีความเป็ นส่วนตัวมากที่สดุ ในบ้ าน และมักจะเป็ นอีกห้ องหนึง่ ที่ถกู ละ ทิ ้งในการตกแต่งให้ สวยงาม เหตุผลมาจากห้ องนอนไม่ใช่ห้องที่คนภายนอกจะเห็นได้ แต่การคิดเช่นนี ้ เป็ นเรื่ องไม่ถกู ต้ อง เพราะห้ องนอนเป็ นที่พกั ผ่อน เจ้ าของห้ องต้ องการนอนหลับบนเตียงอย่างสบาย มีต้ ู เสื ้อผ้ าที่เพียงพอและเป็ นระเบียบสวยงาม อบอุน่ เมื่อเวลาหนาว และเย็นสบายในฤดูร้อน

47


ห้ องนา้

การออกแบบห้ องน ้าในบ้ านพักอาศัยจะต้ องพิจารณาตาแหน่งที่ตงั ้ จานวน ลักษณะการใช้ สอย การจัดวางทิศทางของสุขภัณฑ์ ระบบสุขาภิบาล ระบบระบายอากาศ ตังแต่ ้ เริ่มแรก เพื่อออกแบบ ให้ ลงตัวทังกั ้ บแผนผังและโครงสร้ างบ้ าน สาหรับการใช้ สอยอย่างสะดวก ถูกสุขลักษณะ รวมทังการวาง ้ ตาแหน่งห้ องน ้า ชัน้ 1 ชัน้ 2 และชัน้ 3 ควรวางให้ มีตาแหน่งตรงกันทางตัง้ เพื่อประหยัดระบบ สุขาภิบาล เนื่องจากการซ้ อนชันต ้ าแหน่งเดียวกันจะใช้ ระบบท่อแนวดิง่ ร่วมกันได้

62


ห้ องน ้าอาจจะเป็ นห้ องที่ถกู ละเลยมากที่สดุ ในบ้ าน บ้ านบางหลังจะ จัดห้ องน ้าไว้ ใต้ บนั ได เป็ นเพียงห้ องเล็กๆ แคบๆ ช่องทางระบายอากาศ และแสง สว่างก็อาจไม่เพียงพอ แต่ในวันหนึง่ ๆ ห้ องน ้าให้ บริการแก่สมาชิกในครอบครัว หลายคนคนละหลายครัง้ ดังนันจึ ้ งสมควรออกแบบห้ องน ้าให้ ใช้ งานได้ อย่างมี ประสิทธิภาพและสวยงาม การใช้ ห้องน ้า นอกจากการขับถ่ายของเสีย อาบน ้าชาระร่างกาย ล้ างหน้ า ล้ างมือ แปรงฟั น แล้ ว ยังอาจมีกิจกรรมอื่นประกอบ เช่น อ่านหนังสือ ออกกาลังกาย เป็ นต้ น ในการออกแบบจึงควรศึกษากิจกรรมของผู้ใช้ ให้ ละเอียด ห้ องน ้าแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ ตามการใช้ สอยและประเภทของผู้ใช้ ได้ แก่ ห้ องน ้าส่วนตัว ห้ องน ้าร่วม ห้ องน ้ารับแขก และห้ องส้ วม เป็ นต้ น

ตาแหน่ ง ห้ องนา้ ส่ วนตัว (private bathroom) ห้ องน ้าส่วนใหญ่จะอยูต่ ิดกับ ห้ องนอน ในห้ องนอนใหญ่มกั จะมีห้องน ้าส่วนตัวที่เข้ าจากห้ องนอนเพียงทาง เดียว มีสขุ ภัณฑ์ครบสาหรับทุกกิจกรรม ทังอ่ ้ างล้ างหน้ า โถส้ วม ส่วนยืนอาบน ้า และอ่างอาบน ้าในบางครัง้ รวมทังพื ้ ้นที่สาหรับกิจกรรมส่วนตัวอื่นตามความ ต้ องการของเจ้ าของห้ อง ห้ องน ้าส่วนตัวในบ้ านบางหลังสาหรับสามีภรรยาอาจ ต้ องการการแยกส่วนห้ องส้ วมออกต่างหากเป็ นห้ องย่อย (water closet / w.c.) สองห้ อง และอาจต้ องการอ่างล้ างหน้ าสองอ่างเพื่อใช้ งานพร้ อมกันได้ ในเวลาเร่ง รี บ บางคนต้ องการห้ องน ้าเปิ ดโล่งต่อเนื่องกับสวนที่มีขอบเขตส่วนตัว และ ต่อเนื่องกับห้ องแต่งตัวขนาดใหญ่ ทังนี ้ ้เป็ นไปตามความต้ องการพิเศษแต่ละราย ห้ องนา้ ร่ วม (shared bathroom) ห้ องน ้าที่ใช้ ร่วมกันหลาย ห้ องนอน การเข้ าถึงห้ องน ้าประเภทนี ้จะเข้ าได้ จากบริเวณโถงหรื อทางเดินซึง่ ผู้ใช้ จากห้ องนอนทุกห้ องเข้ าได้ สะดวก หรือตังอยู ้ ร่ ะหว่างห้ องนอนสองห้ อง โดยมี ประตูสองทางเพื่อเข้ าห้ องน ้าได้ ทังจากห้ ้ องนอนและโถง ทางเดิน หรือจากแต่ละ ห้ องนอนได้ โดยตรงด้ วย โดยมีสขุ ภัณฑ์ครบสาหรับกิจกรรมหลัก ได้ แก่ อ่างล้ าง หน้ า โถส้ วม ส่วนอาบน ้า แต่ไม่ควรมีพื ้นที่สาหรับกิจกรรมส่วนตัวอื่นๆ เพราะต้ อง จากัดเวลาในการใช้ งานของแต่ละคนทีต่ ้ องแบ่งปั นกัน ไม่ให้ นานเกินไป ห้ องนา้ รับแขก (powder room) บ้ านสองชันขึ ้ ้นไปที่มีห้องรับแขก อยูช่ นล่ ั ้ าง อาจต้ องการห้ องน ้าสาหรับแขกหรื อสมาชิกในบ้ านสาหรับช่วงเวลา กลางวันที่อยูช่ นล่ ั ้ าง ห้ องน ้าประเภทนี ้จะมีเพียง อ่างล้ างหน้ า โถส้ วม และโถ

63


66


อ่ างล้ างหน้ า (lavatory / wash basin) อ่างล้ างหน้ ามีหลายรูปแบบ แยกตามวิธีการติดตัง้ ทังชนิ ้ ดแขวน ผนัง และติดตังกั ้ บเคาน์เตอร์ ในรูปแบบต่างๆ หลากหลายขนาดและสัดส่วน ด้ าน ในของตัวอ่างหรื อด้ านติดผนังมักจะเผื่อพื ้นที่สาหรับติดตังก๊ ้ อกน ้า และที่วาง เครื่ องใช้ จาเป็ น เช่น สบู่ และอ่างบางแบบมีเฉพาะตัวอ่างฝั งใต้ เคาน์เตอร์ พื ้นที่ วางสิง่ ของเหล่านี ้จึงอยูบ่ นบริเวณเคาน์เตอร์ หิ ้งติดผนัง หรื อชันวางของ ้ วัสดุทาอ่างล้ างหน้ า นอกจากกระเบื ้องเคลือบแล้ ว ยังมีวสั ดุอื่นๆ อาทิ หินเทียม (หินสังเคราะห์) หินธรรมชาติ เช่น หินอ่อน หินแกรนิต โลหะ เช่น เหล็กกล้ าไร้ สนิม (stainless steel) ทองเหลือง ทองแดง กระจกใสชนิดหนา และ วัสดุหล่อในที่ เช่น คอนกรี ตเสริมเหล็กทาผิวหินขัดหรื อซีเมนต์ขดั มัน อ่างขนาดเล็กมักใช้ ทากิจกรรมหลัก คือ ล้ างมือ ล้ างหน้ า แปรงฟั น ที่ ไม่ต้องก้ มตัวลงมาก อาจไม่ต้องกว้ างยาวมากนัก แต่อา่ งขนาดใหญ่ที่จะใช้ ซกั ผ้ า หรื อสระผมควรมีความกว้ างและความลึกเพียงพอให้ ก้มตัวและศีรษะลงได้ สะดวก

67


ห้ องครั ว

การออกแบบครัว จะต้ องศึกษาลาดับขันตอนของการท ้ าอาหาร เพื่อออกแบบให้ เป็ นไป ตามการใช้ สอย ตังแต่ ้ การนาของที่ไปจ่ายจากตลาดเข้ ามาในครัว เพื่อล้ างและเก็บเข้ าตู้เย็น หลังจาก นันเมื ้ ่อถึงเวลาทาอาหาร จะนาของออกจากตู้เพื่อปรุงอาหาร โดยนาไปหัน่ ล้ างอีกครัง้ หนึง่ จึงส่งต่อไป ยังบริเวณปรุงอาหาร ได้ แก่ บริเวณเตา เมื่อปรุงเสร็จจึงส่งไปยังส่วนเตรี ยมอาหาร และห้ องอาหาร เป็ น ลาดับ

88


การเริ่มต้ นออกแบบครัว จะต้ องรู้วา่ มีอปุ กรณ์อะไรที่ใช้ ในครัวบ้ าง ต้ องการที่ตงหรื ั ้ อที่เก็บมากหรื อไม่ เช่น ตู้เย็น เตาไฟฟ้าหรื อเตาแก๊ ส อ่างล้ างจาน เตาไมโครเวฟ หม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า เครื่ องปั่ น ถังขยะ รูปแบบครัวที่ชอบ ประเภท อาหารที่ทามากที่สดุ ความถี่ในการใช้ ครัว ความต้ องการเก็บอาหารสดและแห้ ง

ตาแหน่ ง การจัดวางห้ องครัวในบ้ านทาได้ สองวิธี คือ การแยกครัวจากบ้ าน ใหญ่ และการรวมครัวอยูใ่ นบ้ านใหญ่ การแยกครัวจากบ้ านใหญ่ โดยให้ ครัวอยูใ่ นส่วนบริการหรื อเรื อนเล็ก มักจะประกอบด้ วย ห้ องนอนลูกจ้ าง ห้ องน ้า-ส้ วมลูกจ้ าง ห้ องซักผ้ าและรี ดผ้ า ห้ องเก็บของ และโรงรถ การแยกส่วนบริการเช่นนี ้ เหมาะสาหรับบ้ านขนาดใหญ่ที่ ไม่ต้องการให้ สว่ นบริการปะปนกับบ้ านหลัก เส้ นทางจากเรื อนเล็กมายังอาคาร ใหญ่นี ้จะต้ องเดินผ่านเส้ นทางบริการ ซึง่ ใช้ การส่งอาหารจากครัวขึ ้นสูห่ ้ องเตรี ยม อาหาร และยังเป็ นเส้ นทางที่ลกู จ้ างเดินไปสูอ่ าคารใหญ่เป็ นประจาอีกด้ วย เส้ นทางนี ้ควรมีหลังคาคลุมเพื่อไม่ให้ เปี ยกฝน และครัวควรอยูใ่ นตาแหน่งที่ใกล้ บ้ านใหญ่มากที่สดุ กว่าส่วนบริการอื่น ส่วนการรวมครัวอยูใ่ นบ้ าน เหมาะสาหรับบ้ านที่มีพื ้นที่จากัด เป็ น บ้ านขนาดเล็ก ทาวน์เฮ้ าส์ หรื อคอนโดมีเนียม ครัวจะมีหน้ าที่เป็ นห้ องเตรี ยม อาหารด้ วย ห้ องนอนลูกจ้ างจะมีเพียงหนึง่ ห้ อง อยูร่ วมกันในบ้ านใหญ่หลังเดียว สะดวกต่อการติดต่อ และช่วยประหยัดค่าก่อสร้ าง การจัดวางส่วนรับประทานอาหารหลักไว้ ในครัว ไม่เหมาะสมกับ ครอบครัวใหญ่ และครอบครัวที่รับประทานอาหารไทย จีน เพราะมีการผัดหรื อ ทาอาหารร้ อนๆ เพื่อเสิร์ฟทันที ภายในห้ องครัวจะมีกลิน่ อาหารฟุ้งกระจาย ไม่นา่ นัง่ ส่วนบางบ้ านที่รับประทานอาหารฝรั่งเป็ นประจาอาจจะมีสว่ นรับประทาน อาหารอยูใ่ นครัวเลย เนื่องจากอาหารฝรั่งมักเป็ นประเภทต้ ม กลิน่ ไม่รุนแรง โต๊ ะอาหารที่ตงประจ ั้ าไว้ ในครัว โดยเฉพาะบ้ านที่แม่บ้านทาอาหาร เอง จะเป็ นบริเวณที่พบปะกันในครอบครัวระหว่างสมาชิกในบ้ าน ส่วนบ้ านที่มี ลูกจ้ างโต๊ ะในครัวมักจะเป็ นที่รับประทานอาหารของลูกจ้ าง ครัวเป็ นบริเวณที่มี กลิน่ อาหารซึง่ เกิดจากการปรุงอาหารประจาวัน ทิศทางของการวางครัวจึงควรอยู่ ปลายลม หรื อบริเวณที่ลมพัดแล้ วกลิน่ จะไม่ไปรบกวนบ้ านใหญ่

89


ห้ องซักรี ด – ลานซักล้ าง

ห้ องซักรี ด มักจะมีในบ้ านขนาดใหญ่ เพื่อแยกการทางานซักรี ดที่ต้องการความสะอาดเป็ น พิเศษ พื ้นที่จะเตรี ยมสาหรับการวางผ้ าที่จะซักซึง่ นามาจากห้ องน ้าข้ างบน มาจัดแยกผ้ าที่จะซักด้ วย เครื่ อง และผ้ าที่จะซักด้ วยมือ ส่วนที่ซกั เครื่ องจะนาใส่เครื่ องซักผ้ าในห้ อง และเครื่ องอบ หรื อนามาตากที่ ราวผ้ าด้ านนอกอาคารในส่วนบริการต่อไป ส่วนผ้ าที่ซกั มือจะนามาซักในอ่างซักผ้ าในบริเวณลานซัก ล้ างที่กนขอบสู ั้ ง 0.10 เมตร กันน ้าเลอะเทอะไปบริเวณอื่น ซึง่ จะทาให้ พื ้นทางเดินบริเวณอื่นลื่น มี อันตรายต่อผู้ใช้ เส้ นทางนี ้

102


ตาแหน่ ง ห้ องซักรี ดตังอยู ้ ใ่ นกลุม่ ห้ องบริการต่างๆ จะอยูร่ วมในบ้ านใหญ่ หรื อ แยกกลุม่ อยูใ่ นส่วนบริการสาหรับบ้ านขนาดใหญ่ ซึง่ ประกอบด้ วย ห้ องครัว ห้ อง เก็บของ ห้ องซักรี ด ห้ องนอน-ห้ องน ้าลูกจ้ าง และลานซักล้ าง ซึง่ อยูไ่ ม่ไกลจาก ห้ องซักรี ด และห้ องครัว มากนัก

การจัดแผนผัง ห้ องซักรี ด จะประกอบด้ วย พื ้นที่ซกั ผ้ าและแบ่งแยกผ้ าก่อนนาไปซัก ภายในห้ องจะเป็ นพื ้นที่แห้ ง แต่มีท่อน ้าดีและน ้าทิ ้งบริการสาหรับเครื่ องซักผ้ าที่ ควรวางชิดผนังด้ านเดียวกับเครื่ องอบผ้ า ส่วนซักผ้ าในคอนโดมิเนียมอาจมีขนาด เล็กเพียงพื ้นที่วางเครื่ องซักผ้ าและเครื่ องอบผ้ าซ้ อนกันในตาแหน่งเดียวกัน นอกจากนี ้จะต้ องมีพื ้นที่รีดผ้ าซึง่ จะวางโต๊ ะรองรี ดผ้ าขนาดใหญ่หรื อ เล็กตามพื ้นที่ ภายในบ้ านที่มีชนหรื ั ้ อตู้ใส่อปุ กรณ์ซกั รี ด ได้ แก่ ผงซักฟอก หรื อ น ้ายาซักฟอก น ้ายาปรับผ้ านุ่ม น ้ายารี ดผ้ าเรี ยบ เตารี ด

เฟอร์ นิเจอร์ เครื่องซักผ้ า เครื่ องซักผ้ า (washing machine / washer) เป็ น อุปกรณ์ที่ใช้ ไฟฟ้า มีชนิดกึ่งอัตโนมัติ และชนิดอัตโนมัติ เครื่ องซักผ้ าชนิด กึ่งอัตโนมัติ จะแยกเป็ นสองถังสาหรับซักและปั่ นแห้ ง โดยมีฝาและแผงควบคุมอยู่ ด้ านบน ส่วนชนิดอัตโนมัติ จะมีถงั เดียว ทังแบบเปิ ้ ดฝาด้ านบนและแบบเปิ ดฝา ด้ านหน้ า โดยมีแผงควบคุมอยูด่ ้ านบนหรื อด้ านหน้ า และบางแบบอาจมีทงการ ั้ ซัก-ปั่ นหรื ออบแห้ งไว้ ในเครื่ องเดียวกัน (washer-dryer combination) หรื อใช้ เครื่ องซักผ้ ากับเครื่ องอบผ้ าแยกแต่ละเครื่ องโดยวางเคียงกัน หรื อแบบที่วางซ้ อน กันได้ (stackable washers and dryers) ซึง่ จะต้ องใช้ แบบมีแผงควบคุมอยู่ ด้ านหน้ า และเครื่ องซักผ้ าอัตโนมัตทิ ี่มีฝาเปิ ดและแผงควบคุมอยูด่ ้ านหน้ าขนาด กะทัดรัด สามารถติดตังในช่ ้ องเคาน์เตอร์ สงู 0.85 เมตรได้ พอดี (compact washer) และมีความกว้ างประมาณไม่เกิน 0.60 เมตร เครื่ องซักผ้ าที่นิยมใช้ ในบ้ าน ขนาดเล็กความจุถงั ประมาณ 3 – 5 กิโลกรัม และขนาดกลางประมาณ 6-8 กิโลกรัม ส่วนขนาดใหญ่ 9 กิโลกรัมขึ ้นไป (เปรี ยบเทียบน ้าหนัก 5 กิโลกรัม (kg.) เท่ากับประมาณ 11 ปอนด์ (lbs.) ส่วน ขนาดความจุของถังประมาณ 1.6 - 3 คิวบิกฟุต (cu ft))

103


ขนาดตัวเครื่ องซักผ้ ากึ่งอัตโนมัติ มีสองถัง ฝาเปิ ดด้ านบน กว้ าง ประมาณ 0.90 เมตร ลึกประมาณ 0.45 – 0.70 เมตร สูงประมาณ 0.85 – 0.95 เมตร โดยเพิ่มความสูงแผงควบคุมอีกประมาณ 0.10 เมตร ขนาดตัวเครื่ องซักผ้ าอัตโนมัติ มีถงั เดียว กว้ างประมาณ 0.60 – 0.70 เมตร ลึกประมาณ 0.50 – 0.70 เมตร แบบฝาเปิ ดด้ านหน้ า สูงประมาณ 0.85 เมตร ส่วนแบบฝาเปิ ดด้ านบน สูงประมาณ 1.00 – 1.10 เมตร งานระบบวิศวกรรมที่ต้องเตรี ยมรองรับ ได้ แก่ ระบบไฟฟ้า และ ระบบประปา-สุขาภิบาล ทังระบบท่ ้ อน ้าดี-น ้าทิ ้ง จัดวางตาแหน่งให้ เหมาะสมกับ ระบบท่อและสายไฟฟ้าจากตัวเครื่ อง เครื่องอบผ้ า เครื่ องอบผ้ ามีหลายขนาด ตามปริมาณผ้ าที่ต้องการ อบ และมีทงแบบฝาปิ ั้ ดเปิ ดด้ านบนหรื อด้ านหน้ าของตัวเครื่ อง และแผงควบคุม อยูด่ ้ านบนหรือด้ านหน้ าเช่นกัน มีทงเครื ั ้ ่องที่ใช้ พลังงานไฟฟ้าและแก๊ ส ขนาด เครื่ องอบผ้ าที่ใช้ ในบ้ านโดยทัว่ ไปกว้ างและลึกด้ านละประมาณ 0.60 - 0.70 เมตร สูงประมาณ 0.80 – 1.10 เมตร หากใช้ แบบที่เป็ นคูก่ บั เครื่ องซักผ้ าที่วาง เคียงกัน หรื อซ้ อนกัน ก็จะมีรูปแบบและขนาดเครื่ องเท่ากันหรื อใกล้ เคียงกัน เสื ้อผ้ าบางส่วนคนไทยนิยมตากผ้ ากับแสงแดดธรรมชาติ ซึง่ เป็ นการ ประหยัดพลังงานและช่วยฆ่าเชื ้อโรคบางชนิดได้ อีกด้ วย ยกเว้ นในฤดูฝนที่ แสงแดดไม่เพียงพอ อาจต้ องอาศัยเครื่ องอบผ้ าช่วยทาให้ ผ้าแห้ งเร็วไม่อบั ชื ้น งานระบบวิศวกรรมที่จาเป็ น ได้ แก่ ระบบไฟฟ้า (หรื อระบบท่อแก๊ ส) และระบบระบายอากาศ (ความร้ อนและความชื ้น) การวางเครื่ องจะห่างจากผนัง ประมาณ 0.10 เมตร เพื่อระบายความร้ อนและไอน ้าจากช่องระบายอากาศของ เครื่ อง ในกรณีที่ติดตังในช่ ้ องแคบ เช่น ตู้หรื อเคาน์เตอร์ ควรเจาะช่องหรื อต่อท่อ เพื่อระบายความชื ้นออกสูภ่ ายนอกห้ องด้ วย

104


โต๊ ะรองรีดและเตารีด โต๊ ะรองรี ด (ironing table) มีขนาดเล็กใหญ่ตามปริมาณและลักษณะการใช้ งาน สามารถพับเก็บเข้ าตู้หรืออาจวางเปิ ด ไว้ หากใช้ ประจา และมีพื ้นที่ในห้ องรี ดผ้ าเพียงพอ โต๊ ะรองรี ดจะมีขนาดใหญ่เมื่อ ใช้ เตารี ดขนาดใหญ่ เช่น เตารี ดระบบไอน ้า ที่มีอปุ กรณ์รองรับเตารี ดเป็ นพิเศษ โต๊ ะรองรี ดแบบยืนรี ดโดยทัว่ ไปมีขนาดความกว้ างประมาณ 0.30 - 0.45 เมตร ยาวประมาณ 0.90 - 1.35 เมตร โต๊ ะรองรี ดอาจจะวางข้ างเคาน์เตอร์ เพื่ออาศัยวางผ้ าจากราวตาก ผ้ าและผ้ าที่รีดแล้ ว หรือใช้ โต๊ ะรองรี ดติดตังกั ้ บตัวตู้หรื อลิ ้นชักที่พบั เก็บได้ ใน รูปแบบต่างๆ (drawer mounted folding ironing board) โต๊ ะรองรี ดแบบวางบน โต๊ ะ (tabletop ironing board) และแท่นรองรี ดขนาดเล็กสาหรับรี ดแขนเสื ้อ และ ต้ องเตรี ยมเต้ ารับไฟฟ้าไว้ ใกล้ บริเวณรี ดผ้ าสาหรับเตารีด (iron) ด้ วย

105


โรงจอดรถ

ในบ้ านขนาดเล็กและทาวน์เฮาส์ มักจะมีที่จอดรถอย่างน้ อย 1 คัน ส่วนบ้ านขนาดใหญ่ อาจจะมีโรงจอดรถยาวและจอดได้ ถึง 6 คัน ตามจานวนที่ผ้ อู ยูอ่ าศัยต้ องการ หรื อมีรถเท่าจานวนคนใน ครอบครัวที่ต้องเดินทางกันเองหากมีพื ้นที่ดินเพียงพอ การจอดรถจาเป็ นต้ องมีพื ้นที่ถอยรถ กลับรถ ภายในบริเวณบ้ าน ถ้ าพื ้นที่น้อยอาจต้ องอาศัยพื ้นที่ภายนอกบ้ านสาหรับกลับรถ ซึง่ มักสร้ างความติดขัด ให้ กบั คนภายนอก

ตาแหน่ ง ที่จอดรถควรอยูใ่ กล้ ประตูทางรถยนต์เข้ าบ้ าน เพื่อไม่ให้ มีพื ้นคอนกรี ตอมความร้ อนเป็ น บริเวณกว้ าง ตาแหน่งโรงจอดรถอยูใ่ นส่วนบริการหรือต่อเนื่องกับกลุม่ อาคารบริการซึง่ ใกล้ กบั ห้ องครัว ห้ องลูกจ้ าง และห้ องซักรี ด เพื่อให้ ลกู จ้ างในบ้ านวิง่ ไปเปิ ด-ปิ ดประตูบ้านได้ สะดวก และไม่ไกลจาก บริเวณทางานจนเกินไป รวมถึงระยะการขนของที่ซื ้อมาลงจากรถนาเข้ าสูต่ วั บ้ าน ทังอาหาร ้ ข้ าวของ เครื่ องใช้ ตา่ งๆ ส่วนบริการจะมีห้องเก็บของแห้ งและของใช้ อื่นๆ

108


การจัดแผนผัง บริเวณโรงจอดรถส่วนใหญ่ นอกจากจะต้ องอยูใ่ กล้ ประตูทางเข้ า บ้ านแล้ วยังต้ องมีพื ้นที่กลับรถด้ านหน้ าโรงจอดรถด้ วย บางบ้ านที่มีพื ้นที่ดินมาก อาจจะทาถนนด้ านหน้ าโรงจอดรถ ลักษณะคล้ ายวงเวียนหรื อสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ ถ้ าบ้ านขนาดเล็กมีเพียงพื ้นที่ถอยรถ-กลับรถได้ ในลักษณะมุมฉาก ถนนหรื อทางรถวิ่ง จาเป็ นต้ องมีมมุ เลี ้ยวตามรัศมีวงเลี ้ยวรถอย่าง พอเพียง ไม่ทาให้ รถตกขอบถนนตลอดเวลา ถนนภายในบ้ านกว้ างประมาณ 3.00 – 4.00 เมตร รถจึงจะวิ่งสะดวก โรงจอดรถ มักสร้ างเสาและหลังคาให้ มีระยะความกว้ างและความ ยาวพอเหมาะกับขนาดรถ พื ้นที่จอดรถคันเดียวมีขนาดประมาณ 3.00 x 6.00 เมตร แต่ถ้าจอดรถสองคันขึ ้นไปจะลดพื ้นที่ด้านกว้ างต่อคันลง รวมแล้ วมีขนาดลง เหลือ 5.00 x 6.00 เมตร เนื่องจากใช้ พื ้นที่เปิ ดปิ ดประตูรถในบริเวณซ้ อนทับกัน ระหว่างรถสองคัน หรื อเพิ่มพื ้นที่ทางเดินให้ เพียงพอสาหรับโรงจอดรถที่มีผนังกัน้ โดยรอบ ส่วนพื ้นที่ที่จอดรถสาหรับผู้ที่ต้องใช้ เก้ าอี ้ล้ อเลือ่ น เช่น คนชรา หรื อคน พิการ จะต้ องเว้ นพื ้นที่วา่ งด้ านข้ างรถ หรือระหว่างรถสองคัน เพิ่มขึ ้นอีกอย่างน้ อย 1.00 เมตร จากพื ้นที่จอดรถแต่ละคัน สาหรับการจอดและยกเก้ าอี ้ล้ อเลื่อนขึ ้น-ลง จากรถ และควรมีทางลาดขึ ้นสูอ่ าคาร

109


112


การออกแบบสภาพแวดล้อมสาหรับทุกคน (Universal Design)

บ้ านพักอาศัยเป็ นสถาปั ตยกรรมพื ้นฐานในวิถีชีวิตมนุษย์ สถานที่ซงึ่ มีผ้ อู ยูอ่ าศัยอยู่ อย่างถาวรแม้ จะมีเพียงคนเดียวหรื อมากกว่านัน้ และอาจมีผ้ มู าอาศัยอยูด่ ้ วยชัว่ คราวเป็ นบางเวลา การที่คนอยูใ่ นบ้ านเป็ นเวลานาน และมีหลากหลายวัย มีการเจริญเติบโต จนกระทัง่ เจ็บป่ วยในบางครัง้ และแก่ชราลงไปนัน้ ย่อมต้ องการความเป็ นอยูภ่ ายในบ้ านที่สะดวก สบาย และปลอดภัย สาหรับ ทุกคน มีสงิ่ อานวยความสะดวกในการเข้ าถึงสาหรับผู้อยูอ่ าศัยที่มีสมรรถภาพทางกายน้ อยกว่าคน ทัว่ ไป (accessibilities for disabled) โดยทาให้ บ้านสามารถรองรับการใช้ สอยอย่างหลากหลาย ซึง่ จะ ช่วยให้ ทกุ คนในบ้ านอยูอ่ าศัยอย่างมีความสุข ผู้ท่ สี มรรถภาพทางกายไม่ สมบูรณ์ (disabilities) หมายความถึงคนในวัยต่างๆ ที่มี บางส่วนของร่างกายพิการ รวมถึงคนสูงวัยที่ร่างกายเริ่มเสื่อมความสามารถในการทากิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะแรงกายที่ลดน้ อยลงตามธรรมชาติ คุณแม่ตงครรภ์ ั้ เด็กเล็กที่ร่างกายยังอ่อนแอไม่เติบโต เต็มที่ และคนที่ป่วยไข้ ตา่ งๆ หรื อได้ รับบาดเจ็บทางกาย ที่ทาให้ เกิดภาวะทุพพลภาพชัว่ คราวหรื อถาวร ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายไม่สมบูรณ์ชวั่ คราวหรื อถาวรดังกล่าวต้ องการสภาพแวดล้ อมภายในบ้ านที่ ต้ องอานวยความสะดวกเป็ นพิเศษในการเข้ าถึงส่วนใช้ สอยต่างๆ โดยพิจารณาความพิการประเภทที่ ต้ องการอุปกรณ์หรื อสิ่งอานวยความสะดวกอย่างเห็นได้ ชดั ที่สดุ เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบ

113


หลักการจัดองค์ ประกอบ

ในการออกแบบ เพื่อความงามภายในอาคาร

124


รูปทรง รูปร่าง สัญฐาน ขนาด ขนาดส่วน สัดส่วน ความสมดุล กรอบที่ใช้ อ้างอิง แกน เอกภาพ การเน้ น ความเปรี ยบต่าง ความซ ้า การแปรเปลี่ยนภายใต้ ความซ ้า จังหวะ ทัศนียภาพ มุมมอง ผิวสัมผัส รูปแบบ สี

125


เราสามารถสร้ างสรรค์รูปทรงกลม รูปร่างสี่เหลี่ยม รูปร่างที่โค้ งมน นิ่มนวล หรื อรูปที่มีมมุ ซึง่ ค่อนข้ างแข็งกระด้ าง เราใช้ ประโยชน์ของรูปร่าง นาไปสูก่ ารสร้ างรูปทรง การใช้ รูปร่างธรรมชาติและเรขาคณิตเป็ นส่วนที่ทาให้ ห้ องดูเรี ยบง่ายหรื อยุง่ ยาก และนอกจากนันยั ้ งคงมีลาดับการซ ้าของรูปร่างอยู่ ตามส่วนต่างๆ ภายในห้ อง การซ ้ากันนี ้จะช่วยให้ รูปทรงมีความสัมพันธ์กนั รูปร่างนันจะใช้ ้ ซ ้ากันได้ อย่างไม่สิ ้นสุดโดยเปลี่ยนขนาด สี ผิวสัมผัส และ ความสัมพันธ์กบั รูปร่างอื่นในลักษณะที่ตา่ งกัน ซึง่ ทฤษฎีทางด้ านความงาม เรี ยกวิธีนี ้ว่า “การเปลี่ยนแปลงโดยคงเนื ้อหาเดิม” เช่น การใช้ ห้องรูปสี่เหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมนี ้จะปรากฏในที่อื่นได้ จะเป็ นบริเวณกรอบผนัง เฟอร์ นิเจอร์ แต่ สี่เหลี่ยมนี ้จะให้ ความรู้สกึ ที่เปลี่ยนไปเพราะสี ผิวสัมผัส ของวัตถุ หรื อลวดลาย ของวัตถุอื่นที่นามาประกอบ เช่น ผ้ าบุเก้ าอี ้ แต่โดยรวมแล้ วภายในห้ องห้ องหนึง่ ควรมีรูปร่างที่ขดั แย้ งกันบ้ างเพื่อดึงดูดความสนใจ บ้ านเป็ นอาคารที่ทกุ ๆ คนเอาใจใส่มาก โดยเฉพาะบ้ านของตัวเอง ผู้ออกแบบจึงมักจะมีปัญหาในการที่จะทุม่ เททังเวลาและสติ ้ ปัญญาให้ ดีที่สดุ ตามความต้ องการของเจ้ าของ

สัณฐาน (CONFIGURATION) รายละเอียดของรูปทรง จะเห็นได้ จากรูปร่างภายนอกที่แตกต่างกัน ในแต่ละส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ทรวดทรงหรื อสัณฐานของรูปทรง นี ้คือรายละเอียดของความสัมพันธ์ขององค์ประกอบแต่ละส่วนนัน่ เอง ในงานออกแบบตกแต่งภายใน สัณฐาน คือความสัมพันธ์ระหว่าง ส่วนประกอบต่างๆ ในปริมาตรที่ครอบคลุมที่วา่ ง ตัวอาคาร เฟอร์ นิเจอร์ และ ส่วนตกแต่งอื่นทังหมด ้ การจัดตกแต่งภายในเป็ นการสร้ างสรรค์ที่วา่ งในอาคาร ให้ “เต็ม” การใส่สว่ นประกอบต่างๆ ลงในที่หนึง่ ๆ จะประกอบด้ วยสิ่งตกแต่ง ผนัง โต๊ ะ เก้ าอี ้ ฯลฯ ขณะที่สถานที่อื่นซึง่ ต่อเนื่องระหว่างส่วนสาคัญๆ จะว่าง เปล่า เพราะใช้ เป็ นทางอื่นหรื อเส้ นทางสัญจร ทางเดินนันจะสนองประโยชน์ ้ ใช้ สอยที่ไม่ต้องการเฟอร์ นิเจอร์ การตกแต่งภายในอาคาร มีทงง่ ั ้ ายและยุง่ ยาก ส่วนประกอบแต่ละ ส่วนเป็ นส่วนหนึง่ ของสัณฐานทังในทางนอนและทางตั ้ ง้ ทางนอนนันสั ้ ณฐานจะ สัมพันธ์กบั รูปร่างซึง่ เป็ นผลจากการจัดวางองค์ประกอบในแผนผัง สัณฐานทาง

128


ตังรวมถึ ้ งความสูงของส่วนประกอบเดิม ความสัมพันธ์ระหว่างกันและกันของ องค์ประกอบเดิม และองค์ประกอบใหม่ ผลที่เกิดขึ ้นภายหลังการตกแต่งภายใน ส่วนต่างๆ สัมพันธ์กนั อย่างใกล้ ชิด และสัมพันธ์กนั อยูใ่ นสัณฐานเดียวกัน

ขนาด (SIZE) ขนาดส่วน (scale) และสัดส่วน (proportion) สัมพันธ์กบั ขนาด (size) ขนาดส่วนเป็ นการเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของสิ่งหนึง่ กับ สิง่ อื่น สัดส่วนเป็ นการพิจารณาขนาดส่วนหนึง่ ของของชิ ้นหนึง่ กับส่วนอื่นของของ ชิ ้นเดียวกันนัน้

ภาพดอกป็ อปปี ท้ ี่ Georgia O’Keeffe วาด มีขนาดใหญ่โตมากกว่า ที่พบในธรรมชาติหลายเท่า ผู้ดไู ม่เคยคาดคิดว่าจะเห็นดอกป็ อปปี ข้ นาดใหญ่ เช่นนี ้มาก่อน เมื่อเราดูภาพเขียนต่างๆ เรามักจะเปรี ยบเทียบภาพที่เห็นกับภาพ ในความนึกคิดที่จดจาไว้ จากของจริง และเราจะรู้ได้ วา่ ภาพนี ้มีขนาดส่วนใหญ่ เมื่อดูถึงความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติ และใหญ่กว่าที่คาดเมื่อพิจารณาความ สัมพันธ์กบั ผืนผ้ าใบ แต่ดภู าพโดยรวมแล้ วเราจะบอกได้ วา่ ดอกป็ อปปี น้ ี ้มีสดั ส่วน ที่ดี เมื่อดูกลีบดอก เกสร ทุกส่วนสัมพันธ์กนั อย่างสวยงาม

129


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.