มิติ สถาปัตยกรรม ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5

Page 1

ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหา


คำนำ งานสถาปั ตยกรรม เป็ นงานมนุษย์ ที่มีปรากฏเป็ นรู ปลักษณ์ ให้ สัมผัสได้ เป็ นวัฒนธรรม ที่คือธรรมะอันวัฒนะซึง่ มนุษย์ได้ บนั ทึกไว้ ใน โลก เป็ นอารยธรรม ที่คือธรรมะแห่งอารยะที่แสดงออกถึงความเจริ ญรุ่งเรื องแห่ง มนุษยชาติ งานสถาปั ตยกรรมปรากฏขึน้ ด้ วยนา้ มือและนา้ ใจของมนุษย์ สะสม สืบสาน สานสัมพันธ์รูปธรรมต่างๆ ขึ ้นในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ผ่าน กาลเวลามานานแสนนาน งานสถาปั ต ยกรรมเป็ นงานมนุษ ย์ ที่มี ค วาม ซับซ้ อน ได้ แก่ความซับซ้ อนแห่งการกาเนิด แห่งการดารงอยู่ และแห่งความ เป็ น+ไป มีปรากฏเพื่อตอบสนองการดารงอยู่ของชีวิตมนุษย์ที่นบั วันก็จะมี ความซับซ้ อนมากยิ่งขึน้ ทุกวัน สถาปนิกผู้สถำปนำงานสถาปั ตยกรรมจึง ต้ องเป็ นผู้ ที่ มี ค วามรู้ กว้ างขวางและมี ค วามลึ ก ซึ ง้ ในศาสตร์ แห่ ง สถาปั ตยกรรม เป็ นศาสตร์ ที่ ถ่ ำย+ทอด วิทยาการสถาปั ตยกรรมจากคนรุ่น หนึง่ ไปสูค่ นอีกรุ่นหนึง่ หนังสือ มิติสถำปั ตยกรรม เล่มนีว้ างภาพองค์รวมแห่งศาสตร์ ขึ ้น ครอบคลุมปริ มณฑลที่สถาปนิกหรื อผู้ที่กาลังฝึ กฝนที่จะเป็ นสถาปนิก จะต้ องบุกเข้ าไปเบิกดินแดนแห่งความรู้ในมิติอนั หลากหลาย และในแต่ละ มิตินนั ้ เขาเหล่านัน้ จะต้ องเปิ ดความเข้ าใจอย่างลึกซึ ้งไปให้ สดุ ขอบฟ้าแห่ง ศาสตร์ ให้ ได้ ... ให้ ได้ ก่อนที่จะขันอาสาเป็ นผู้สร้ างงานสถาปั ตยกรรม งานซึง่ ไม่เพียงแต่จะยืนขึ ้นเพื่อรับใช้ การใช้ สอยของผู้อาศัยอยูใ่ นอาคาร หากมันยัง ต้ องยื นขึน้ มี ปรากฏเป็ นสติปัญญาของมนุษย์ ... ให้ เห็นว่าผู้สถาปนามัน ขึ ้นมานันมี ้ สติและมีปัญญาเพียงไร รองศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิ ตานนท์ ได้ สะสม สืบสาย สาน ความรู้สถาปั ตยกรรมศาสตร์ ในการสอนผู้ที่จะเป็ นสถาปนิกมากว่ายี่สิบห้ า ปี และได้ ทางานหนังสือมาโดยตลอด หากย้ อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2535 หนังสือเล่มแรก เรื่ อง บ้ ำน...กำรออกแบบสถำปั ตยกรรมพืน้ ฐำน ได้ เริ่ ม เปิ ดตัวขึ ้น และจากนันเล่ ้ มอื่นๆ ก็ตามมาอย่างสม่าเสมอ งานหนังสือของ รองศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิ ตานนท์ ได้ รับการต้ อนรับและเป็ นที่นิยม

2

คำนำ


อย่างกว้ างขวางในวงวิชาการ หลายเล่มไม่เพียงเป็ นตาราสาหรั บนิสิต สถาปั ตยกรรมที่แทบทุกมหาวิทยาลัยที่ มีคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ได้ นาไปใช้ แต่กลับได้ รับความสนใจจากผู้คนนอกวงวิชาการฯ โดยเฉพาะ สาหรั บผู้กาลัง จะสร้ างบ้ า นมักจะซื อ้ หาหนัง สือ บ้ ำน...กำรออกแบบ สถำปั ตยกรรมพืน้ ฐำน ไปอ่าน ทาให้ ต้องพิมพ์หนังสือเล่มนี ้เป็ นครัง้ ที่เก้ า แล้ ว หนังสือ มิตสิ ถำปั ตยกรรม เล่มนี ้จะเป็ นหนังสืออีกเล่มหนึ่งที่จะเป็ น ประโยชน์ ไม่ เ พี ย งกับ ผู้ก าลัง ศึก ษาและฝึ กฝนตนเองอยู่ใ นสาขาวิ ช า สถาปั ตยกรรม แต่จะเป็ นประโยชน์กบั ผู้ที่อยากรู้จกั สถาปนิก กับผู้ที่อยากรู้ ว่าเวลาสถาปนิกทางาน สถาปนิกต้ องมีความรู้กว้ างขวางเพียงไร หนังสือ มิติสถำปั ตยกรรม จะเป็ นหนังสืออีกเล่มหนึ่งในสารั บ ตารับตาราสถาปั ตยกรรมของทีมเขียนหนังสือภาษาไทยให้ กบั วงวิชาการ สถาปั ตยกรรมที่ เริ่ มทางานกันมาเมื่ อสิบหกปี ที่ แล้ ว รองศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิ ตานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิ ต จุล าสัย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สดุ า ปทุมานนท์ (ตาแหน่งทางวิชาการใน ขณะนัน้ ) ได้ เริ่ มนับหนึ่งกันมา จนกระทั่งทุกวันนี จ้ านวนหนังสือในคลัง สารั บของทัง้ สามคนก็ได้ ขยายออกไปเป็ นจานวนมาก และในวันนี ก้ ็ มี อาจารย์เข้ ามาร่วมเป็ นนักเขียนในสารับตารับตารานี ้อีกหลายท่าน มิติสถำปั ตยกรรม เป็ นหนังสือที่เปิ ดขอบฟ้าแห่งสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ ขึน้ อย่างกว้ างขวาง การนาเสนอเนือ้ หามีการกาหนดลาดับต่างๆ ของตัว บทไว้ เป็ นอย่า งดี เป็ นขัน้ เป็ นตอน ผู้อ่านจะได้ รับ ความรู้ ในมิ ติ สถาปั ตยกรรมต่างๆ อย่างละเอียดลออ และสามารถมองเห็นภาพการ ปรากฏขึ ้นของงานสถาปั ตยกรรม...ที่สานขึ ้นจากความซับซ้ อนของกิจกรรม อันหลากหลายของการอยู่อาศัยในอาคาร ตลอดจนความซับซ้ อนในความรู้ ความคิด และจินตนาการ ทีส่ ถาปนิกจะต้ องสังเคราะห์และบูรณาการความรู้ ทังปวงให้ ้ ออกมาเป็ น งำนสถำปั ตยกรรม รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์สดุ า ปทุมานนท์

คำนำ

3


คำปรำรภ การออกแบบสถาปั ตยกรรม เริ่ มจากการศึกษาความเป็ นไปได้ ของ โครงการและสถานที่ตงั ้ การสร้ างสรรค์แนวความคิดในการออกแบบผสม ผสานเทคโนโลยีทางด้ านต่างๆ การทางานสถาปั ตยกรรมตังแต่ ้ เริ่มต้ นจนแล้ ว เสร็ จจึงเป็ นงานที่มี “มิติสถาปั ตยกรรม” ลึกลา้ ทัง้ ในแง่จิตใจ จินตนาการ เพือ่ สร้ างความงดงามและความแข็งแรงให้ กบั อาคาร รวมถึงสิง่ อานวยความ สะดวกในการใช้ สอยต่างๆ ที่มีมาตรฐานของความเป็ นอยู่ที่สั่งสมและ พัฒนากันมายาวนาน จึงเห็นได้ ถงึ ความซับซ้ อนในการดาเนินงานและร่วมกัน ทางานระหว่างสถาปนิก วิศวกร รวมถึงนักออกแบบสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง การศึก ษาทฤษฎีใ นการออกแบบจึงจ าเป็ นส าหรับผู้ม่งุ มัน่ ที่จะศึกษาหา ความรู้ ดังวิชา “เกณฑ์และแนวความคิดในการออกแบบสถาปั ตยกรรม” ซึง่ เป็ นวิชาพืน้ ฐาน ในระดับชัน้ ปี ที่ 2 ของภาควิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อได้ มีการปรับปรุ งหนังสือเล่มนี ้ ผู้เขียนเห็นถึงความสาคัญของ การออกแบบอาคารขนาดกลางที่มีความสูง 4 ชันขึ ้ ้นไป จาเป็ นจะต้ องมีการ สัญจรทางตังที ้ ่มีระบบขับเคลื่อน ได้ แก่ ลิฟต์ จึงได้ เพิ่มเนื ้อหาในบทที่ 10 เนื ้อหาในหนังสือเล่มนี ้มาจากการแปลและเรี ยบเรี ยงหนังสือหลาย เล่ม รวมทัง้ การศึกษารวบรวมและเขียนเพิ่มเติมจากแนวทางการปฏิบัติ วิชาชีพ กฎหมายควบคุมอาคาร ข้ อบัญญัติกรุ งเทพมหานครเรื่ องควบคุม อาคาร ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สดุ า ปทุมานนท์ ที่มอบ คาน า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เสถียร วงศ์สารเสริ ฐ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้ าน วิศวกรรมเครื่ องกล อาจารย์ดนยา บุญโสภณ ช่วยค้ นคว้ าเรี ยบเรี ยงเรื่ อง ลิฟต์ และเป็ นผู้ที่ช่วยให้ หนังสือสาเร็จลุลว่ งลงได้ ขอขอบคุณ คุณเอกฉันท์ เอี่ยมอนัน ต์ วัฒนา คุณนิ ธิพงศ์ ทรั พย์ เ อนกอนันต์ และคุณธรรมธัช อัศวเทพเมธา ที่ช่วยวาดภาพประกอบที่สวยงาม สุด ท้ า ยนี ข้ อขอบคุณ ส านัก พิ ม พ์ ล ายเส้ น ที่ ด าเนิ น การจัด พิ ม พ์ หนังสือ “มิติสถาปั ตยกรรม” ในครั ง้ ที่ 2 ครั ง้ ที่ 3 ครัง้ ที่ 4 และครั ง้ ที่ 5 นี ้ หวังว่าจะเป็ นประโยชน์แก่ผ้ ทู ี่สนใจศึกษาสถาปั ตยกรรมต่อไปในอนาคต ศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิ ตานนท์

4

คำปรำรภ


สำรบัญ คำนำ........................................................................................... 2 คำปรำรภ.................................................................................... 4 บทนำ.......................................................................................... 9 บทที่ 1 ที่มำของสถำปั ตยกรรม................................................... 10 • พลัง 10 • ธรรมชาติ 12 • งานศิลปะคืองานสัญลักษณ์ 12 • ความหมายของสถาปั ตยกรรม 15 • สถาปั ตยกรรมก่อนประวัตศิ าสตร์ 16 • สถาปั ตยกรรมพื ้นถิ่น 17 • สถาปั ตยกรรมอนุสรณ์สถาน 18 • วัฒนธรรรม 19 • สถาปั ตยกรรมและวัฒนธรรม 20 • สถานะทางสังคม 21 • โครงการและที่ตงั ้ 22 • ทิศทางการจัดวางอาคารและเอกลักษณ์ 23 • การเคลือ่ นที่ในงานสถาปั ตยกรรม 24 • ทิวทัศน์ 27 • โครงสร้ าง 27 • เรขาคณิต 31 • ความขัดแย้ งและความกลมกลืน 32 • ความยัง่ ยืนและความกลมกลืน 34 • เรขาคณิตและความกลมกลืน 35 • ความซับซ้ อนและความเรียบง่าย 38 • พลังการเคลื่อนที่ของรูปทรง 40 • การเคลือ่ นที่ของเส้ นสาย 42 • สรุป..................................................................... 45

สำรบัญ

5


บทที่ 2 ทฤษฎีกำรออกแบบสถำปั ตยกรรม................................. 46 • สถาปั ตยกรรมคืออะไร 48 • ทฤษฎีการออกแบบสถาปั ตยกรรม 49 โดยการเปรี ยบเทียบ • อะไรที่สถาปนิกควรจะทา 60 • การออกแบบทาอย่างไร 62 • การวิจารณ์ 66 • ประวัติศาสตร์ 70 • สรุป..................................................................… 73 บทที่ 3 ที่ว่ำงในสถำปั ตยกรรม.................................................... 74 • คาจากัดความขององค์ประกอบที่วา่ ง 74 • ความหนาแน่นของพื ้นที่วา่ ง 76 • การเปิ ดช่องเปิ ด 78 • การวางที่วา่ งเคียงกันและสอดประสาน 78 • แผนผัง รูปตัด และพื ้นที่วา่ ง รูปทรงเรขาคณิต 82 • การกาหนดพื ้นที่วา่ งด้ วยองค์ประกอบตามนอน 83 • การกาหนดพื ้นที่วา่ งด้ วยองค์ประกอบตามตัง้ 88 • ช่องเปิ ดในพื ้นที่วา่ ง 96 • ระดับการปิ ดล้ อม 96 • สรุป.................................................................… 97 บทที่ 4 กำรจัดองค์ ประกอบสถำปั ตยกรรม............................... 98 • ความสัมพันธ์ระหว่างพื ้นที่วา่ ง 98 • การจัดกลุม่ พื ้นที่วา่ ง 103 • หลักการจัดองค์ประกอบสถาปั ตยกรรม 112 • องค์ประกอบทางการสัญจร 135 • ความสัมพันธ์ระหว่างทางและพื ้นที่วา่ ง 142 • สรุป ................................................................... 143 บทที่ 5 กระบวนกำรออกแบบสถำปั ตยกรรม............................ 144 • กระบวนการออกแบบ 145 148 • การปฏิบตั ิวิชาชีพสถาปั ตยกรรม • การบริ การเพิ่มเติม 153 • การบริ การด้ านวิชาชีพ 153 • การจัดระบบขันตอนการก่ ้ อสร้ าง 161 • สรุป...................................................................... 163

6

สำรบัญ


บทที่ 6 กฎหมำยควบคุมอำคำร.............................................. 164 • สาระสาคัญที่เกี่ยวข้ องกับอาคารที่พกั อาศัย 164 • การเว้ นระยะอาคารจากเขตที่ดิน 164 ระยะทางเข้ าและถนนภายใน และ สัดส่วนการเว้ นพื ้นที่วา่ งซึง่ ปราศจากหลังคา หรื อสิ่งปกคลุม • ความสูงอาคาร 168 • ความสูงกาแพง รัว้ ระเบียง ผนังกันตก 169 • ความสูงระหว่างชัน้ / ระหว่างพื ้นถึงเพดาน 170 ภายในอาคาร • ขนาดพื ้นที่ดิน / พื ้นที่ใช้ สอยภายในอาคาร 170 • ระยะของระบบสัญจรภายในอาคาร 173 • ช่องเปิ ดของอาคาร การระบายอากาศ 173 และแสงสว่าง • ห้ องน ้า และระบบสุขาภิบาล 176 • มาตรการเพื่อความปลอดภัยและทางหนีไฟ 177 • วัสดุก่อสร้ างและวัสดุตกแต่งอาคาร 179 • ข้ อกาหนดอื่นๆ 180 • มาตรฐานสิ่งอานวยความสะดวกต่อผู้อยู่อาศัย 183 • สรุป...................................................................... 187 บทที่ 7 โครงกำรกำรออกแบบสถำปั ตยกรรม.............................188 • การจัดทาโครงการสถาปั ตยกรรม 188 • การทางานระหว่างสถาปนิกกับลูกค้ า 189 • การเริ่มโครงการออกแบบ 190 • ชนิดของข้ อมูลในการจัดทาโครงการ 191 • ข้ อมูลในการจัดทาโครงการการออกแบบ 193 • การพัฒนาโครงการ 194 • การค้ นคว้ าโครงการ 196 • ขันตอนการท ้ าโครงการการออกแบบ 199 • การเตรียมโครงการ 200 • สรุป...................................................................... 201

สำรบัญ

7


บทที่ 8 กำรวิเครำะห์ โครงกำรและที่ตงั ้ ...................................... 202 ในกำรออกแบบสถำปั ตยกรรม • มาตรฐานการออกแบบ 202 • การวิเคราะห์โครงการ 203 • การกาหนดพื ้นที่ใช้ สอย 206 • แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 208 พื ้นที่และการสัญจร • การวิเคราะห์พื ้นที่ตงั ้ 208 • การวางแผนผังอาคารสัมพันธ์กบั พื ้นที่ตงั ้ 211 • สรุป..................................................................… 212 บทที่ 9 กำรวำงผังบริเวณที่พกั อำศัย.......................................... 213 • ตาแหน่งของการวางอาคารลงบนพื ้นที่ดิน 213 • ปรัชญาในการออกแบบ 220 • โครงการการออกแบบ 223 • แผนภูมิการใช้ สอย 226 • แผนภูมิการใช้ สอยทัว่ ไป 227 • แผนภูมิการใช้ สอยโดยละเอียด 237 • สรุป...................................................................... 242 บทที่ 10 ระบบกำรสัญจรทำงตัง้ ในอำคำร...ลิฟต์ ....................... 243 • เครื่ องลิฟต์ 244 • ปล่องลิฟต์ 251 • ตัวลิฟต์ 255 • ประตูลิฟต์ 256 • โถงลิฟต์ 259 • ปุ่ มกดลิฟต์ 262 • การจัดกลุม่ ลิฟต์ 263 265 • แกนของอาคาร • ลิฟต์พนักงานดับเพลิง 266 • บันไดหนีไฟ 266 • จานวนและขนาดลิฟต์ 267 • มาตรฐานในการออกแบบระบบลิฟต์ 268 • สรุป...................................................................... 269

บทสรุ ป....................................................................................... 270 บรรณำนุกรม.............................................................................. 272

8

สำรบัญ


บทนำ สถาปั ตยกรรมเกี่ยวข้ องผูกพันกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในโลกนี ้ อย่างต่อเนื่อง งานสถาปั ตยกรรมมีวิวฒ ั นาการและการเปลี่ยนแปลงมาโดย ตลอดหลายยุ ค หลายสมัย ซึ่ ง สั ม พัน ธ์ กั บ พฤติ ก รรมมนุ ษ ย์ ที่ ซับ ซ้ อ น สภาพแวดล้ อมที่แตกต่าง ความเจริ ญก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีในการผลิต วัส ดุแ ละวิ ธี ก ารก่ อ สร้ าง เช่ น การเปลี่ ย นจากการใช้ หิ น อิ ฐ ก่ อ มาเป็ น คอนกรี ตเสริ มเหล็ก กระจก การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่งนี ้เป็ นตัวอย่าง ในการศึกษาพัฒนาการงานสถาปั ตยกรรมที่มีปรากฏให้ คนรุ่ นหลังได้ เรี ยนรู้ มาตลอดเวลาอันยาวนาน การออกแบบสถาปั ต ยกรรม ผู้ออกแบบจะต้ องมีค วามรู้ ในหลาก หลายมิติในเรื่ องที่เกี่ยวข้ อง มีนกั ปราชญ์ นักวิชาการ และนักวิจารณ์ งาน สถาปั ตยกรรม ได้ บนั ทึกพัฒนาการงานสถาปั ตยกรรมไว้ เป็ นลาดับ จัดแบ่ง วิธีคิดเป็ นกลุ่มและนามาเผยแพร่ ให้ คนรุ่ นหลังได้ ศึกษาค้ นคว้ า เป็ นทฤษฏี การออกแบบสถาปั ตยกรรมที่กล่าวถึงแนวความคิดในการออกแบบ งานสถาปั ตยกรรมทีม่ าจากแนวความคิด ปรากฏขึ ้นจากองค์ ประกอบ ในการออกแบบ จุด เส้ น ระนาบ ด้ วยความสัมพันธ์แบบสัมผัส เกี่ยวเนือ่ ง สอด ประสาน ทาให้ เกิดทีว่ า่ งในงานสถาปั ตยกรรม ซึง่ เป็ นส่วนทีม่ นุษย์ครอบครอง และอยูอ่ าศัย ตามลาดับความสาคัญของการใช้ งาน ได้ แก่ ความเป็ นสาธารณะ กึง่ สาธารณะ กึง่ ส่วนตัว ไปจนถึงความเป็ นส่วนตัว ในกระบวนการออกแบบ ขั น้ ตอนส าคัญ ขั น้ ตอนแรกคื อ การที่ สถาปนิกจะต้ องพูด คุยกับ เจ้ าของอาคาร เพื่อนาข้ อมูลมาสร้ างโครงการ ออกแบบ ผสมผสานกับมาตรฐานในการออกแบบต่างๆ โดยเฉพาะข้ อมูล ทางด้ านกฎหมายการควบคุมอาคาร เพื่อความปลอดภัยในการใช้ อาคาร รักษาสุขลักษณะและสภาพแวดล้ อมที่ดี ประกอบกับการคานึงถึงผู้ใช้ อาคาร ในด้ านจิตใจและความรู้สกึ การวิเคราะห์โครงการและที่ตงั ้ เป็ นขันตอนที ้ ่ทาหลังจากได้ โครงการ ออกแบบแล้ ว การวิเคราะห์นี ้จะช่วยให้ ผ้ ูออกแบบเข้ าถึงโครงการได้ ลึกซึ ้ง ละเอียด ตังแต่ ้ ความต้ องการของผู้ใช้ อาคารและสภาพพืน้ ที่ท่ีจะก่อสร้ าง เพื่อนาไปสู่การวางผังบริ เวณและการออกแบบอาคารให้ พื ้นที่ว่างภายใน อาคารสัมพันธ์ ซึ่งกันและกัน รวมทังพื ้ ้นที่ว่างภายในอาคารสัมพันธ์ กับพื ้นที่ ว่างภายนอก งานระบบวิศวกรรมเป็ นองค์ประกอบสาคัญอีกส่วนหนึ่งที่สถาปนิก จะต้ องคานึงถึงและทาความเข้ าใจ โดยเฉพาะระบบลิฟต์ ซึง่ เกี่ยวข้ องกับการ สัญจรทางตังในอาคาร ้ อันจะขาดไปเสียมิได้ ในงานออกแบบสถาปั ตยกรรม บทนำ

9


1

เรียบเรียงจาก Baker, Geoffrey Harold. Design Strategies in Architecture : An Approach to the Analysis of Form. Hong Kong : Van Nostrand Reinhold, ����. (หน้ า �-��)

ท�ีมาของงานสถาปัตยกรรม

Sources of Architecture

ในชีวติ มนุษย์ เราเกี�ยวข้ องกับสิง� ก่อสร้ างทีเ� รียกว่าอาคารบ้ าง หรือสถาปัตยกรรมบ้าง ผ่านมาแล้ วนับไม่ถ้วน ซึง� การปรากฏของงาน สถาปั ตยกรรมล้ วนอาศัยผู้เกี� ยวข้ องจํา นวนมาก ใช้ ระยะเวลาอัน ยาวนานในการก่อสร้ าง ยิง� นับวันการสร้ างสรรค์งานสถาปัตยกรรมจะมี ความซับซ้อนทบทวีคณ ู ขึ �นมากมาย ก่อนทีจ� ะก้ าวเข้าไปสูค่ วามซับซ้อน นั �น สถาปนิกหรื อผู้ท�ีกําลังฝึ กฝนที�จะเป็ นสถาปนิกย่อมต้ องมีความรู้ ถึ งที� มาของงานสถาปั ต ยกรรม นํา งานที� มนุ ษย์ ส ร้ างสรรค์ ขึ น� ใน วัฒนธรรมตามภูมิภาคต่างๆ เป็ นครูสอนบทเรียนบทแรกให้ เราเข้ าใจ ถึงทีม� าของรูปแบบ และเข้ าใจในแนวความคิดต่างๆ ในการสร้ างสรรค์ งานสถาปัตยกรรม

พลัง

Christian Norberg-Schulz (ค.ศ. ����-����) Norwegian architect, architectural historian, theorist

คริ สเตียน นอร์ เบอร์ ก-ชูลส์ (Christian Norberg-Schulz) อธิบายถึงพื �นฐานของการทํางานสถาปั ตยกรรมว่าผู้ออกแบบจะต้ อง เป็ นผู้ที�เข้ าใจถึงความเหมาะสมของที�ตงั � ซึ�งหมายถึงเมื�อออกแบบ อาคารจะต้ องเข้ ากันได้ ดีกบั คุณสมบัติของที�ตงั � และนําความงดงาม ของธรรมชาตินั �นมาสูม่ นุษย์ แต่ละถิน� ทีต� งภู ั � มิทศั น์จะมีลกั ษณะพิเศษ แตกต่างกัน ซึง� งานสถาปั ตยกรรมจะต้องแสดงให้ เห็นถึงความสามารถ ในการสร้ างสรรค์ที�จะตอบสนองสภาพแวดล้ อมนั �นให้ สื�อความหมาย ออกมาอย่างเต็มที� นอร์ เบอร์ ก-ชูลส์ ได้ กล่าวถึงสิง� ที�มนุษย์สร้ างซึง� ผสานกับพลัง ธรรมชาติ เขาอธิบายถึงตําแหน่งทีต� งของเมื ั� องปราก (Praque / Praha) ในประเทศสาธารณรัฐเชค (Czech Republic) ว่าเป็ นพื �นทีร� วมของพลัง ในธรรมชาติ ปรากฏในภาพของ ภูเขา หิมะ และสายนํ �า ปรากเป็ นจุด เชือ� มต่อของเมืองต่างๆ ซึง� มีเส้นทางจาก ยูเครน โปแลนด์ ผ่านไปยัง เยอรมนี ผู้ออกแบบสถาปั ตยกรรมซึง� ตั �งอยูใ่ นเมืองนี �จะจัดการอย่างไร ในการเสริมสร้ างธรรมชาติให้ สมบูรณ์

ที�มาของงานสถาปั ตยกรรม


แผนที�แถบยุโรปกลาง (Central Europe)

กรุงโรม (Rome) ประเทศอิตาลี เป็ นศูนย์กลางของภูมทิ ศั น์ซงึ� ประกอบด้ วยสิ� งสวยงามที� หลากหลายพร้ อมๆ กันดังเช่ นเมื องใน อุดมคติซึ�งผสมผสานธรรมชาติและวัฒนธรรมเข้ าด้ วยกันอย่างกลม กลืน กรุ งโรมมีภูมิประเทศเป็ นภูเขาหลายระดับ บันไดแบบสเปน (Spanish Steps) ทีก� ว้ างใหญ่ ซึง� ออกแบบโดย อเลซซานโดร สเปคคี (Alessandro Specchi) สร้ างสรรค์ขึ �นเพือ� เชือ� มพื �นทีต� า่ งระดับระหว่าง จัตรุ สั สเปน หรือพิอาซซา ดิ สปันญา (Piazza di Spagna) ทีอ� ยู่ ระดับตํ�า และจัตรุ ัสแห่งพระเป็ นเจ้ าทังสามพระองค์ � (พระบิดา พระบุตร พระจิต) หรือพิอาซซา ทรินติ า เด มอนติ (Piazza Trinità dei Monti) ทีอ� ยูร่ ะดับสูง เข้ าด้ วยกันอย่างสอดคล้ องกับบริ เวณที�เป็ นอยู่ตามธรรมชาติดงั � เดิม สร้ างความรู้สกึ เป็ นอันหนึง� อันเดียวกันกับบริเวณนั �น

Alessandro Specchi (ค.ศ.1668 - 1729) Italian architect

บันไดแบบสเปน (Spanish Steps / Scalinata della Trinitเ dei Monti / Scalinata di Spagna) ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ออกแบบโดย อเลซซานโดร สเปคคี (สร้ างในระหว่างปี ค.ศ.����- ��)

ที�มาของงานสถาปั ตยกรรม

11


2

ทฤษฎีการออกแบบสถาปัตยกรรม

Architectural Design Method

การออกแบบอาคารทีผ� า่ นมาในประวัตศิ าสตร์ ทําให้ผ้อู อกแบบ ได้ มโี อกาสพัฒนาแนวคิดในการออกแบบอย่างหลากหลาย เช่น การ พัฒนาระบบพิกดั (Modular Systems) ระบบเรขาคณิต (Geometric Systems) และระบบมาตรฐาน รวมถึงทฤษฎีในการออกแบบทัว� ไป อื� นๆ ซึ�งหลักการออกแบบเหล่านี ม� ีความแตกต่างอย่างกว้ างขวาง ดังจะเห็นได้จากรูปร่างและลักษณะอาคาร หรือสถาปั ตยกรรมต่างๆ สถาปั ตยกรรม คืออะไร การออกแบบสถาปั ตยกรรมที�ดีที�สดุ ควรทําอย่างไร อะไรที� ทําให้ งานสถาปั ตยกรรมประสบความสําเร็ จ ทฤษฎีการออกแบบมีความหมายเกี�ยวข้ องหรือมีประโยชน์ในขั �นตอน การออกแบบและใช้ ได้ กบั อาคารหลายประเภทอย่างไร เมื�อสถาปนิก เผชิญกับทางเลือก เช่น จะออกแบบอาคารทีแ� สดงให้เห็นระบบโครงสร้ าง หรื อจะซ่อนโครงสร้ างไว้ ไม่ให้ เห็นชัดเจน ทฤษฎีทางสถาปั ตยกรรม อาจจะช่วยในการตัดสินใจได้ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ ดูเหมือนจะมีความละเอียด ระมัดระวัง หรือมีความถูกต้ องเทีย� งตรงมากกว่าทฤษฎีทางสถาปั ตยกรรม ทฤษฎี ทางวิทยาศาสตร์ทวั� ไปแสดงถึงกลุม่ ของกฎเกณฑ์ ซึง� มาจากการสังเกต มีหลักฐานปรากฏจริง หรือมาจากรายละเอียดของเหตุการณ์ซงึ� มีเหตุ มีผล รูปการณ์สําคัญอย่างหนึง� ของทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ซงึ� ไม่พบใน สถาปั ตยกรรมคือการพิสจู น์อย่างละเอียดลออ เพือ� การยอมรับระหว่าง นั กวิ ท ยาศาสตร์ ด้ ว ยกั น ทฤษฎีต้องสนับสนุนด้ วยหลักฐานชัดเจน และผลทีไ� ด้รับจากเหตุการณ์นนต้ ั � องอธิบายรายละเอียดได้ การออกแบบสถาปั ตยกรรม คือ การประกอบองค์ประกอบ ต่างๆ ขึ �นเป็ นรูป มากกว่าการวิเคราะห์วจิ ยั ทีน� ําชิ �นส่วนทุกชิ �นไปศึกษา อย่ างละเอี ยดเพื� อหาความถูกต้ องเที� ยงตรง เป็ นการผสมผสาน องค์ ประกอบหลากหลายด้ วยทฤษฎทางสถาปั ตยกรรม ซึ� งจะช่วย แนะนําแนวความคิดในการออกแบบวิธใี หม่ในสถานการณ์ใหม่ เพือ� ให้ ได้ผลลัพธ์ทป�ี ระทับใจ บางสิง� บางอย่างในเรื�องสถาปั ตยกรรม รับรู้ได้ในความรู้สกึ ทาง วิทยาศาสตร์ เช่น เรือ� งราวทีเ� กีย� วข้องกับร่างกายมนุษย์ ว่าทํางานอย่างไร ทฤษฎีการออกแบบสถาปั ตยกรรม


เราสามารถวินจิ ฉัยได้ถงึ ปฏิกริ ิยาทีม� ตี อ่ ความร้ อนความชื �นในห้ อง หรือ เราสามารถคาดการณ์ล่วงหน้ าถึงปั ญหาที� จะเกิดขึน� กับการใช้ ห้อง บรรยายทีม� รี ูปร่างไม่เหมาะสม เป็ นต้น ความรู้ทางด้ านสถาปัตยกรรม เล็กๆ น้อยๆ เหล่านี สามารถอธิ � บายในรูปทฤษฎีของสภาพร่างกายมนุษย์ พฤติกรรมมนุษย์ โครงสร้ าง การรับและสะท้ อนของเสียง การออกแบบ นั น� ไม่ ได้ พิ จารณาจากเพี ย งองค์ ประกอบเดี ยว แต่ มักจะเป็ นการ พิจารณาหลายๆ องค์ประกอบรวมกันขึ �นเป็ นทฤษฎีสถาปัตยกรรม

ทฤษฎีสถาปั ตยกรรม คือ สมมุติฐาน ความหวัง และการ คาดเดาว่าจะเกิดอะไรขึน� เมื�อองค์ประกอบต่างๆ ประกอบเป็ นอาคาร ในวิ ธี ท� ี เหมาะสม สถาปั ตยกรรม คื อ การผสมผสานกิจกรรม ซึ� งเน้ นการ พิ จ ารณาผลกระทบต่ ออนาคตมากกว่ าอธิ บ ายถึ ง เหตุการณ์หนึง� ในอดีต ทฤษฎีสถาปัตยกรรมไม่ใช่ทฤษฎีทล� ี ะเอียดและมี บทพิสูจน์ เช่ นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ เพราะผู้ใช้ อาคารและอาคารมี ความซับซ้อน เกินกว่าจะคาดเดาและหยั�งรู้

ในการออกแบบสถาปั ตยกรรม ไม่มีกฎหรื อเกณฑ์ใดๆ ที�จะ ช่วยคาดการณ์ ถึงความพึงพอใจของผู้ ใช้ อาคารได้ เช่ น โครงการ ทีพ� กั อาศัย พรูอติ ต์-อิโก คอมเพล็กซ์ (The Pruitt-Igoe complex) ในเมือง เซนต์หลุยส์ (St. Louis) ประเทศสหรัฐอเมริ กาออกแบบโดย มิโนรุ ยามาซากิ (Minoru Yamasaki) ซึง� เคยได้ รับรางวัลในการออกแบบ แต่ภายหลังจากการใช้ งานมาเป็ นระยะเวลา �� ปี จึงเกิดปั ญหาจาก ความผิดพลาดในการวางผังและออกแบบ จึงต้องถูกระเบิดทลายลง

Minoru Yamasaki (ค.ศ. ����-��) American architect

โครงการที�พักอาศัย พรูอิตต์ -อิโก คอมเพล็กซ์ (The Pruitt-Igoe complex) ในเมืองเซนต์หลุยส์รัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา ออกแบบโดย มิโนรุ ยามาซากิ สร้ างแล้ วเสร็จในปี ค.ศ. ���� และถูกทลายลงในปี ค.ศ. ����.

ทฤษฎีการออกแบบสถาปั ตยกรรม

47


ห้ างลิเบอร์ ตี � (Liberty Department Store) บนถนนรีเจนท์ ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปิ ดครัง� แรกในชื�อ Liberty & Co. (ค.ศ.����)

สรุป

ทฤษฎี การวิจารณ์ และประวัติศาสตร์ สถาปั ตยกรรม บางที อาจจะไม่สําคัญนักในสังคมดังเดิ � มทีม� นั� คง แต่สงิ� เหล่านี �กลับกลายมามี ความสํา คัญในสังคมที� มาจากการเปลี� ยนแปลงประสบการณ์ ท�ี มี จุดมุ่งหมาย ในการพัฒนาเทคโนโลยี สมัยใหม่ซึ� งไม่พอใจกับอดีต ไม่ว่าจะเป็ นปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติ หรื อจะเป็ นการประกาศ ควบคุมมาตรฐานในระบบสังคม ทฤษฎี การวิจารณ์ และประวัตศิ าสตร์ กลับมีความสัมพันธ์กนั ทังสามสิ � ง� ความสําคัญเกิดขึน� เพราะสังคมที� เปลี�ยนแปลงกดดันแต่ละ คนให้ ตดั สินใจ การตัดสินใจที� เหมาะสมไม่สามารถทําได้ หากปราศ จากการชี �ให้ เห็นจุดมุง่ หมาย ให้ มคี วามเข้าใจกับขั �นตอนการปฏิบตั งิ าน ในสังคม ความชัดเจนได้ ก่อตัวขึ �นไม่เพียงแต่ในสังคมที�เปลี�ยนแปลง แต่ได้ ปรากฏในสังคมที� ปราศจากการพิจารณาถึงจุดมุ่งหมาย และ ประวัติศาสตร์ สภาพแวดล้ อม ตราบใดที�เรายังอยู่ในบ้ านเช่าบริ เวณ รอบนอกเมือง ในความเป็ นพื �นถิ�นสมัยใหม่ รับรู้ถึงการเปลี�ยนแปลง สื� อให้ เห็ นภาพของการไตร่ ตรอง ผลที� ได้ รั บสะท้ อนให้ เห็นแต่จุดที� มาตรฐานเปลี�ยน ดังตัวอย่างของการยอมรับจํานวนอาชญากรรมต่อ จํานวนประชากร หรือปั ญหานํ �าเสียซึง� ท้องถิน� ต้องเปลีย� นแปลง การเปลี�ยนแปลงปรากฏอย่างได้ ผลดีมากกว่าจะเป็ นไปตาม บุญตามกรรม เมือ� มีการตระหนักถึง ทฤษฎี การวิจารณ์ และประวัติ ศาสตร์ ทีผ� า่ นมา จากประวัตศิ าสตร์ในการออกแบบสถาปัตยกรรม องค์ประกอบ สําคัญทีผ� ้อู อกแบบคํานึงถึง ได้ แก่ ทีว� า่ งทีอ� ยูล่ ้อมรอบและสอดแทรกอยู่ ในอาคารและสภาพแวดล้ อมจนเป็ นอันหนึ�งอันเดียวกัน การจัดกลุ่ม ในลักษณะต่างๆ ของที�วา่ งในสถาปัตยกรรม แสดงให้ เห็นภาพชัดเจน ดังในบทต่อไป ทฤษฎีการออกแบบสถาปั ตยกรรม

73


3

ท��วา่ งในงานสถาปัตยกรรม

Space in Architecture

สถาปนิกจินตนาการถึง มีลกั ษณะดังเช่น ช่องว่างระหว่างพื น� ผนัง และเพดาน การสร้ างพืน� ที� ว่างนี เ� พื�อที� จะ ใช้ บรรจุสิ� งของต่างๆ ในการดํารงชีวิตของมนุษย์ เช่น เฟอร์ นิเจอร์ สําหรับชีวติ ประจําวัน นอกจากนันพื � �นทีว� า่ งยังต้อง ทรงรูปอยูด่ ้วยความ แข็งแรงเพียงพอทีจ� ะให้ มนุษย์เคลือ� นไหวอย่างอิสระภายในทีว� า่ งนัน� งานจิตรกรรม ประติมากรรม และดนตรี มีมิติของความว่าง ที� เห็ น และได้ ยิ น ได้ จากภายนอก และซึ ม ซั บ อยู่ ในจิ ต ใจมนุ ษย์ สถาปัตยกรรม คือ งานศิลปะของการจัดพื �นทีว� า่ งซึง� ประกอบด้วยพื �นที� ภายในและภายนอก จากการกําหนดพื น� ที�ด้วยผนังที�มักจะมีสี�ด้าน เสมอ ร่างกายของมนุษย์จะเคลือ� นทีผ� า่ นช่องเปิ ดบนผนัง “เข้ าใน และ ออกนอก”

คําจํากัดความขององค์ประกอบท��ว่าง

ทีว� า่ งในงานสถาปัตยกรรม เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ และกรอบของระนาบที� เป็ นตัวกําหนดขอบเขตของที� ว่าง ขอบเขตนี � อาจจะชัดเจน เปิ ดโล่ง สร้ างความต่อเนือ� งของทีว� า่ งภายนอกและภายใน ขอบเขตอาจจะมีการเว้นช่องว่างอย่างขัดแย้งกับการปิ ดทึบ เช่น ส่วนทึบ อาจจะเกิดจากเสาเพียงสีต� ้น แสดงถึงการห้ อมล้อมทีว� า่ งอย่างเปิ ดเผย ถึงแม้ วา่ ช่องเปิ ดจะใหญ่กว่าส่วนทึบซึง� คือเสาก็ตาม สายตาของผู้ดยู งั ยอมรับถึงการแบ่งแยกพื น� ที� นัน� ความแตกต่างของการกัน� ขอบเขต พื �นทีว� า่ งด้วยเสาสีเ� สา หรือผนังขนานกันสองด้ าน หรือผนังรูปตัวยู (U) จะสังเกตได้ถงึ ความแตกต่างของความรู้สกึ รวมทั �งแรงทีเ� กิดขึ �นเมือ� ได้ อยูใ่ นพื �นทีว� า่ งเหล่านัน� การกําหนดพื �นทีว� า่ งด้วยส่วนมุมของผนังจะทํา ให้ ความเป็ นพื �นทีภ� ายในชัดเจนมากขึ �น สิง� ทีจ� ะชี �ให้ เห็นและรับรู้ความรู้สกึ ของพื �นทีว� า่ ง ได้แก่ ผลจาก การมองทัศนียภาพในมุมทีป� รากฏการบังกัน หรือซ้อนกัน ของวัตถุบาง ส่วน รวมถึงพื �นผิวของระนาบทีแ� ปรเปลีย� นต่างๆกัน ทําให้ เห็นว่าวัตถุ � างวัตถุนั �นจะมีทวี� า่ งแทรกอยู่ หนึง� อยูห่ น้ าอีกวัตถุหนึง� และบางครังระหว่ สิง� สําคัญอีกสิง� หนึง� ทีท� ําให้เห็นความลึกของอาคาร ในสถาปัตย กรรมคลาสสิค ไม่เพียงแต่มมุ มองของทัศนียภาพพื �นทีภ� ายในห้ อง หรือ ท��ว่างในงานสถาปั ตยกรรม


ช่องเปิ ดระหว่างระนาบที� ปิ ดล้ อมพื น� ที� ทํา ให้ มองเห็ นการ แยกระนาบออกจากกัน ลดความเป็ นอันหนึ� งอันเดียวและเปลี� ยน เป็ นชิ �นส่วนย่อย ช่องเปิ ดเหล่านี �หากเพิม� จํานวน ขนาด ความรู้สกึ ปิ ด ล้ อมพื น� ที� ว่ างจะจางหาย สายตาเริ� มที� จะเชื� อมโยงกับพื น� ที� ถัดไป และการเน้ นผนังที� ปิ ดล้ อมด้ านใดด้ านหนึ� งจะดึงดูดสายตาดูเป็ น จุดเด่น ทําให้ ความสําคัญของปริมาตรพื �นทีท� ถี� กู ปิ ดล้ อมลดน้ อยลง แสงและทิวทัศน์ เป็ นสิ� งที� ตามมากับช่องเปิ ด การเปิ ดช่อง จะทําเป็ นรูปร่างสีเ� หลีย� มเหมือนการสร้ างกรอบภาพบนผนัง หรือเปิ ด โล่งทั ง� ผนั งให้ เชื� อมต่ อภายในและภายนอกอย่ างเต็ มที� เป็ นระดับ การเปิ ดสูงสุด การปิ ดล้ อมอาจจะทําด้วยกระจกใส ซึง� จะให้ ความรู้สกึ ปลดปล่ อยเป็ นอิสระเช่นเดี ยวกับช่องเปิ ดโล่ง และสร้ างความเป็ น อันหนึง� อันเดียวกันระหว่างพื �นทีภ� ายนอกและภายในอาคารนั �น

ระนาบพืน� ยกสูง-กดตํ�า และการปิ ดล้ อมพืน� ที�ว่างขนาดต่ างๆ ในงานออกแบบโดย บริ ษัท สถาปนิก �� 3

กรอบช่องเปิ ดเป็ นเสมือนกรอบภาพ บนผนังภายยในโบสถ์ วัดโพธาราม จังหวัดมหาสารคาม

3

ibid, p.26-27.

สรุป

งานสถาปั ตยกรรม เป็ นการนําองค์ประกอบ เส้ น ระนาบ มา ห้อมล้อมทีว� า่ งในลักษณะสามมิติ เพือ� เน้ นพื �นทีส� ําหรับการอยูอ่ าศัยของ มนุษย์ เมือ� ทีว� า่ งหลายพื �นทีม� าอยูร่ ่วมกันมีวธิ ีการจัดวางหลายรูปแบบ ได้แก่ การวางทีว� า่ งเคียงกัน สอดประสานกัน เกีย� วเนือ� งกัน ด้ วยระดับ การปิ ดล้ อมที�ว่างที�แตกต่างด้ วยเส้ นและระนาบตามตัง� ในลักษณะ ระนาบเดีย� ว ระนาบขนาน ระนาบรูปตัว “แอล” ”ยู” และ “โอ” ที�มีผ้ ู นิยมนํามาเป็ นตัวอย่างในการออกแบบอาคาร รู ปแบบหลากหลาย เกิดขึ �นตามความต้ องการในการใช้ สอยและจินตนาการ นอกจากนัน� การกําหนดช่องเปิ ดบนแผนผัง ผนัง และส่วนอื�นของอาคาร เป็ นสิ�ง สําคัญในการช่วยเชื� อมโยงพื น� ที� ให้ มีความสัมพันธ์ กัน ทัง� ระหว่าง ภายนอกและภายใน ภายในและภายใน เมื�อมีองค์ประกอบจํานวนมาก “การจัดองค์ประกอบ” ให้ อยู่ ร่วมกันอย่างสวยงามสามารถทําได้ หลายวิธี ทั �งในเรื�องความสัมพันธ์ พื น� ฐานของที� ว่าง และหลักการจัดองค์ ประกอบอื� น ดังเนื อ� หาใน บทต่อไป ที�ว่างในงานสถาปั ตยกรรม

97


เรียบเรียงจาก Ching, FrancisD.K. Architecture : Form, Space and Order.New York : Van Nostrand Reinhold, 1979. (หน้ า ���-���.)

4

การจัดองค์ประกอบสถาปัตยกรรม

Architectural Composition

ความสัมพันธ์ ระหว่างพืนที � �ว่าง

องค์ประกอบ จุด เส้น ระนาบ ประกอบกันขึ �นเป็ นปริมาตรทีม� ี ทีว� า่ งบรรจุอยู่ องค์ประกอบต่างๆ หากอยูร่ ่วมกันตั �งแต่สองชิ �นขึ �นไป จําเป็ นต้ องมีความสัมพันธ์กนั ด้ วยการจัดองค์ประกอบที�ว่าง ในงาน สามมิติ ที�ว่างเป็ นองค์ประกอบสําคัญที�มนุษย์สามารถเข้ าไปใช้ สอย และทํากิจกรรมต่างๆ ได้ การจัดองค์ประกอบทีว� า่ งตามความต้องการ ของมนุษย์นี �เป็ นพื �นฐานของการจัดองค์ประกอบสถาปั ตยกรรม องค์ประกอบสําคัญในงานสถาปั ตยกรรม ได้แก่ ทีว� า่ ง (space) ในการออกแบบสามารถสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างพื �นทีว� า่ ง (Spatial Relationship) ได้หลายวิธี ดังนี � 1. พืน� ที�ว่างสัมผัสกัน การสร้ างพื น� ที� เคียงกัน หรื อสัมผัสกัน (adjacent spaces) เป็ นความสัมพันธ์พื �นฐานระหว่างองค์ประกอบ แต่ละพื �นทีจ� ะมีกรอบ กําหนดรูปร่างและการใช้ สอยชัดเจน ความสัมพันธ์ตอ่ เนือ� งทีเ� กิดจาก การมองและการเชื�อมโยงระหว่างสองพืน� ที� ที�เคียงกันหรื อสัมผัสกัน จะขึ �นอยูก่ บั ผนังทีก� นและเชื ั� อ� มระหว่างสองพื �นทีน� ั �น ถ้ าหากผนังที�กนสองบริ ั� เวณมีชอ่ งเปิ ดขนาดเล็ก พื �นที�ทั �งสอง ยังคงเป็ นตัวของตัวเองชัดเจน ถ้ ามีการใช้ เพียงแนวเสากันพื � �นทีค� วาม เชือ� มโยงในการมองจะดูตอ่ เนือ� ง และหากเป็ นเพียงการเปลีย� นระดับ พื �นระหว่างสองพื �นที� ความเชือ� มโยงจะดูเป็ นอันหนึง� อันเดียว

Lord Burlington (Richard Boyle, Third Earl of Burlington , Fourth Earl of Cork) (ค.ศ.����-����) English architect, patron of the Arts

ตัวอย่างพื �นทีว� า่ งสัมผัสกัน ดังเช่น พื �นทีภ� ายในอาคารชิสวิกเฮาส์ (Chiswick House) ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซึง� ออกแบบโดย ลอร์ด เบอร์ลงิ ตัน (Lord Burlington) ซึง� มีเสากันระหว่ � างพื �นทีว� า่ งทีช� ิด ติดกัน

การจัดองค์ ประกอบสถาปั ตยกรรม


ทางสิน� สุดในพืน� ที�ว่าง เจดีย์พระศรีโพธิญาณ วัดหนองป่ าพง ในอําเภอวาริ นชําราบ จังหวัด อุบลราชธานี ออกแบบโดย บริษัทสถาปนิก �� 11

สรุป

11

Nithi Sthapitanonda. Nithi Sthapitanonda : Leisure Drawings. Bangkok : Corporation 4d Ltd., 1997., p.50-51.

การจัดองค์ประกอบอาคารหรื องานสถาปั ตยกรรมต่างๆ มี องค์ประกอบด้านความงาม ได้แก่ จุด เส้น ระนาบ ทีว� า่ ง ทีน� ํามาออก แบบให้ ตอบสนองต่อแนวความคิด ผสมผสานกับการเลือกใช้ วสั ดุทมี� ี สี ผิวสัมผัส ที� แตกต่ างกัน องค์ ประกอบเหล่านี ม� ีสถาปนิกนํา มา สร้ างงานสามมิติที�ซบั ซ้ อนด้ วยหลักการจัดองค์ประกอบ การสร้ าง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบจํานวนมาก การสร้ างรูปทรงอาจจะ มาจากการจัดกลุม่ พื �นทีว� า่ งในระบบต่างๆ เช่น การจัดระบบศูนย์กลาง ระบบตามยาว ระบบรัศมี ระบบกลุม่ และระบบตาราง เป็ นต้ น ในการจัดองค์ประกอบ ต้ องพิจารณาจัดรู ปทรงหลายรู ปใน แบบต่างๆ เช่น สมดุลเท่ากันทังสองข้ � าง มีเอกภาพ จังหวะ การซํ �า การ แปรเปลี� ยน และอื� นๆ โดยองค์ประกอบทัง� หมดจะต้ องมีสัดส่วนที� สัมพันธ์ ซึ� งกันและกัน ไม่ขัดแย้ งกับสภาพแวดล้ อมอย่ างน่ าตกใจ การจัดองค์ประกอบอาคารที�ดีจะสอดคล้ องกับแนวความคิดซึง� ทําให้ งานออกแบบสามมิตมิ ีความงดงาม ซับซ้อน ผู้ใช้ อาคารทีไ� ม่ค้นุ เคย จะตืน� เต้ นกับงานสร้ างสรรค์ทเี� รียกว่า “งานสถาปัตยกรรม” เสมอ แต่ในการทํางานออกแบบนัน� จําเป็ นต้ องมีวิธีการดําเนินงาน โดยมีกระบวนการออกแบบที�เป็ นขันตอนที � �เกี�ยวข้ องกับสังคม สภาพ แวดล้ อม ซึ�งประกอบด้ วยข้ อกําหนดต่างๆ ในการประกอบวิชาชีพ และขั �นตอนในการก่อสร้ างจนกระทัง� อาคารแล้ วเสร็จ ดังเรื� องราวใน บทต่อไป การจัดองค์ ประกอบสถาปั ตยกรรม

143


5

เรี ยบเรี ยงจาก Wade, John W. Architectural Programming. In James C. Snyder and Anthony J. Catanese (eds.) Introduction to Architecture. New York: McGraw-Hill. 1978.

Frank Lloyd Wright (ค.ศ.1867– 1959) American architect

กระบวนการออกแบบ

Design Process

การออกแบบต้ องมีความรู้ พื ้นฐานกว้ างๆ ทางด้ านศิลปะ วิศวกรรม การจัด การทางด้ านธุร กิ จ ความรู้ ในเรื่ องเหตุและผล และการออกแบบ เบื ้องต้ น การศึกษาการออกแบบเบื ้องต้ นนี ้จะนาไปสู่ลาดับพื ้นฐานของการ ออกแบบ และประสบการณ์ในการแก้ ปัญหา ระยะก่อนและต่อเนื่ องมาถึงหลังสงครามโลกครั ง้ ที่ 2 การศึกษา ทางด้ านการออกแบบจะมาจากรูปแบบการผสมผสานพื ้นฐานการออกแบบที่ เรี ยกว่า “บาวเฮ้ าส์” (Bauhaus) ระบบการสอนจากประเทศเยอรมนี (ค.ศ. 1919 - 1931) ถูกนามาเผยแพร่ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะสถาปนิกที่ มีชื่อเสียง เช่น แฟรงค์ ลอยด์ ไรท์ (Frank Lloyd Wright) ได้ นารู ปแบบและ ทิศทางการศึกษาในระยะแรก มาจาก “บาวเฮ้ าส์” เช่นกัน ความรู้จาก “บาวเฮ้ าส์” ส่วนหนึง่ ได้ พฒ ั นามาจากการเรียนการสอน ใน ระบบ “โบซาร์ ” (Beaux Arts) จากประเทศฝรั่ งเศส ซึ่งระยะแรกเริ่ มในปี ค.ศ.1800 มี ก ารศึก ษาสถาปั ต ยกรรมรู ป แบบคลาสสิ ค (Classic) และ ต่อเนื่องมาจนถึงประเทศสหรัฐอเมริ กาใน ค.ศ.1950 “โบซาร์ ” เน้ นการศึกษาสถาปั ตยกรรมในประวัติศาสตร์ เพื่อเป็ น แนวทางสาหรับรูปแบบในอนาคต มากกว่าการศึกษาหลักความงามที่มาจาก นามธรรมซึง่ เป็ นพื ้นฐานของการออกแบบสถาปั ตยกรรม ขณะที่ “บาวเฮ้ าส์” ศึกษาค้ นคว้ าแก้ ปัญหาลักษณะและรู ปทรงเฉพาะ สะท้ อนถึงอาคารแต่ละ ประเภทในการออกแบบ รวมถึง วัส ดุแ ละวิ ธี ก ารก่ อ สร้ าง ลัก ษณะการ ออกแบบของ “โบซาร์ ” มักจะใช้ วสั ดุหิน ขณะที่ “บาวเฮ้ าส์” มีการออกแบบ ด้ วยวัสดุคอนกรี ต เหล็ก และกระจก การเปลี่ยนแปลงทางด้ านการเรี ยนการสอนสถาปั ตยกรรม เริ่ มที่ ประเทศสหรั ฐอเมริ กาเป็ นแห่งแรก โดยเน้ นด้ านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้ องเพื่อ ตอบสนองความต้ องการทางด้ านการศึกษาที่กว้ างขวางมากขึ ้น ตังแต่ ้ ด้าน ศิลปะ วิทยาศาสตร์ และฝึ กฝนการทางานทาง สถาปั ตยกรรมเช่นเดียวกับ การปฏิบตั ิวิชาชีพ ซึง่ ปั จจุบนั ยังรวมถึงการวางผังเมืองและออกแบบชุมชน การจัดการทางธุรกิจ การจัดการ ก่อสร้ าง การตลาด

144 กระบวนการออกแบบ


6

กฎหมายควบคุมอาคาร

Building Regulations

จากปี พ.ศ. ���� ขณะที�กรุงเทพมหานครมีการประกาศใช้ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือ� ง ควบคุมการก่อสร้ างอาคาร พ.ศ. ���� และประเทศไทยประกาศใช้ พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. ���� ซึง� ในระยะแรกก็ได้ กําหนดให้ ใช้ ตามข้ อบัญญัติท้องถิ�นได้ ในช่วงเวลา ที� ยังไม่ได้ ออกกฎกระทรวงเกี� ยวกับการควบคุมอาคาร ข้ อบัญญัติ กรุงเทพมหานคร เรื�อง ควบคุมการก่อสร้ างอาคาร พ.ศ. ���� จึงเป็ น ต้ นแบบในการควบคุมอาคารในอีกหลายจังหวัด จนกระทัง� มีการประกาศกฎกระทรวงฉบับที� �� พ.ศ. ���� ออก ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ���� ซึ�งมี ราย ละเอียดเกี�ยวกับการควบคุมอาคาร โดยครอบคลุมด้ านการออกแบบ ทางกายภาพอาคาร และในปี พ.ศ. ���� กรุ งเทพมหานคร ยกเลิก ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือ� ง ควบคุมการก่อสร้ างอาคาร พ.ศ. ���� โดยประกาศใช้ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื�อง ควบคุมการก่อสร้ าง อาคาร พ.ศ. ���� ซึง� จัดทําขึ �นใหม่แทนฉบับเดิม เช่นเดียวกัน ทั �งกฎกระทรวงฉบับที� �� พ.ศ. ���� ออกตามความในพระ ราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. ���� และ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื�อง ควบคุมการก่อสร้ างอาคาร พ.ศ. ���� จึงเป็ นข้อกฎหมายหลัก ทีเ� กีย� วกับการควบคุมอาคารทีใ� ช้ ในปั จจุบนั

สาระสําคัญที�เกี�ยวข้องกับอาคารที�พกั อาศัย

1

เปรียบเทียบ รายละเอียด ใน แต่ละหัวข้ อที�มีสาระสําคัญ ตรงกัน แต่ต่างกันบางส่วน ในรายละเอียดข้ อความ ระหว่าง - กฎกระทรวง ฉบับที� �� พ.ศ. ���� และ - ข้ อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื� อง ควบคุมการก่อสร้ าง อาคาร พ.ศ. ����

กฎหมายควบคุมอาคาร

ในส่วนที�เกี�ยวข้ องกับการออกแบบอาคารประเภทที�พกั อาศัย ทีป� รากฎอยูใ่ นกฎหมายข้างต้ น1 มีดงั ต่อไปนี � 1. การเว้ นระยะอาคารจากเขตที�ดนิ ระยะทางเข้ า และ ถนนภายใน และสัดส่วนการเว้นพืนที � �ว่างซึง� ปราศจาก หลังคาหรือสิ�งปกคลุม - การก่อสร้ างหรื อดัดแปลงอาคารหรื อส่วนของอาคาร จะ ต้ องไม่ลํ �าเข้ าไปในที�สาธารณะ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากเจ้ าพนัก งานซึง� มีอาํ นาจหน้ าที�ดแู ลรักษาที�สาธารณะนัน�


- อาคารที่ก่อสร้ างหรื อดัดแปลงใกล้ ถนนสาธารณะ ที่มีความกว้ าง น้ อยกว่า 6 เมตร ให้ ร่นแนวอาคารห่างจากกึง่ กลางถนนสาธารณะ อย่างน้ อย 3 เมตร มิให้ มีส่วนของอาคารล า้ เข้ ามาในแนวร่ นดังกล่าว ยกเว้ นรั ว้ หรื อ กาแพงกันแนวเขตที ้ ส่ งู ไม่เกิน 2 เมตร - อาคารที่สงู เกิน 2 ชัน้ หรื อเกิน 8 เมตร (รวมทังอาคารขนาดใหญ่ ้ ห้ องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ คลังสินค้ า ป้าย หรือสิง่ ทีส่ ร้ างขึ ้นสาหรับติดหรือตังป ้ ้ าย ยกเว้ นอาคารอยูอ่ าศัยสูงไม่เกิน 3 ชัน้ หรื อไม่เกิน 10 เมตร และพืน้ ที่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ที่ก่อสร้ างหรื อ ดัดแปลงใกล้ ถนนสาธารณะ ต้ องมีระยะร่น ดังต่อไปนี ้ • ถ้ าถนนสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างน้ อยกว่า 10 เมตร ให้ ร่นแนว อาคารห่างจากกึง่ กลางถนนสาธารณะอย่างน้ อย 6 เมตร • ถ้ าถนนสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างตังแต่ ้ 10 เมตรขึ ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้ ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะ อย่างน้ อย 1 ใน 10 ของความกว้ างของถนนสาธารณะ • ถ้ าถนนสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างเกิน 20 เมตรขึ ้นไป ให้ ร่นแนว อาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะอย่างน้ อย 2 เมตร (ที่ ม า : กฎกระทรวง ฉบับ ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน พระราชบัญ ญัติ ค วบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 : หมวด 4 ข้ อ 40-41 และ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ.2544 : หมวด 5 ข้อ 50) - อาคารที่กอ่ สร้ างหรื อดัดแปลงใกล้ แหล่งน ้าสาธารณะ เช่น แม่น ้าคู คลอง ลาราง หรือลากระโดง • ถ้ าแหล่งน ้าสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างน้ อยกว่า 10 เมตร ต้ องร่น แนวอาคารให้ ห่างจากเขตแหล่งนา้ สาธารณะนัน้ ไม่น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้า แหล่งน ้าสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างตังแต่ ้ 10 เมตรขึ ้นไป ต้ องร่นแนวอาคารให้ ห่างจากเขตแหล่งน ้าสาธารณะนัน้ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร • สาหรับอาคารที่ก่อสร้ างหรื อดัดแปลง ใกล้ แหล่งนา้ สาธารณะ ขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรื อทะเล ต้ องร่นแนวอาคาร ให้ ห่างจากเขต แหล่งน ้าสาธารณะนันไม่ ้ น้อยกว่า 12 เมตร ทังนี ้ ้เว้ นแต่ สะพาน เขือ่ น รัว้ ท่อระบายน ้า ท่าเรือ ป้าย อูเ่ รื อ คาน เรือ หรือทีว่ า่ งทีใ่ ช้ เป็ นทีจ่ อดรถ ไม่ต้องร่นแนวอาคาร - ให้ อ าคารที่ ส ร้ างข้ า งต้ น มี ส่ว นต่ าสุด ของกัน สาด หรื อ ส่ว นยื่ น สถาปั ตยกรรม สูงจากระดับทางเท้ าไม่น้อยกว่า 3.25 เมตร กฎหมายควบคุมอาคาร

165


เรียบเรียงจาก Wade, John W. Architectural Programming. In James C. Snyder and Anthony J. Catanese (eds.) Introduction to Architecture. New York: McGraw-Hill. 1978.

7

โครงการการออกแบบสถาปั ตยกรรม

Architectural Programming

การจัดทาโครงการการออกแบบสถาปั ตยกรรม เป็ นขันตอนส ้ าคัญ ขันตอนแรกของกระบวนการออกแบบในการปฏิ ้ บัติวิชาชีพของสถาปนิก การบริ ก ารในขัน้ ตอนนี ม้ ักเป็ นการบริ การเพิ่ ม ให้ ลูก ค้ า โดยผสมผสาน แนวคิดของลูกค้ า ผู้ใช้ อาคาร และสถาปนิก การจัดทาโครงการสถาปั ตยกรรม การจัดทาโครงการสถาปั ตยกรรม หมายถึง การทาโครงการ เพื่ อ ใช้ ใ นการออกแบบสถาปั ต ยกรรม ซึ่ง ประกอบด้ ว ยสิ่ ง ต่า งๆ ที่ ต้ อ ง จัดทา แบ่งได้ หลายส่วนโดยเริ่ มตังแต่ ้ 1. ขัน้ การจัดทาโครงการ (programming phase) สถาปนิก เป็ น ผู้ตัดสินใจ และกาหนดระดับความต้ องการของกลุ่มผู้ที่จะใช้ อาคารและ ความต้ องการของลูกค้ า 2. ขั ้น การวางแผนในการด าเนิ น งาน (planning phase) สถาปนิ กวิเคราะห์ ปัญหาทั่วไปของลูกค้ า และน าไปพิจารณาปั ญหาใน รายละเอียดที่เกี่ยวกับมาตรฐานการออกแบบ ซึง่ ทาให้ กาหนดแนวทางการ แก้ ปัญหาและวางแผนการดาเนินงานได้ 3. ขัน้ การออกแบบ (designing phase) สถาปนิกใช้ ข้อมูลจาก สองขันตอนแรกเป็ ้ นแนวทางการพัฒนาโครงการ และวางแนวทางสาหรับ การออกแบบรู ปทรงอาคารและการก่อสร้ างอาคาร สถาปนิกพัฒนาแนว ทางการก่อสร้ างร่ วมกับการทางานออกแบบรายละเอียด กาหนดรายการ ประกอบแบบ และคานวณราคากลาง 4. ขัน้ การก่ อสร้ าง (construction phase) เมื่อเอกสารทังหมด ้ ซึง่ ได้ แก่ แบบรายละเอียด รายการประกอบแบบ รายการกรอก ราคาของผู้ รับจ้ างเหมา และราคากลาง เสร็ จสิ ้น จึงนามาหาผู้รับจ้ างเหมาด้ วยการให้ เสนอราคาเปรี ยบเทียบ เพื่อให้ ได้ ผ้ ูรับจ้ างเหมาที่เสนอราคาต่าสุดเป็ นผู้ ก่อสร้ างอาคาร ในขันตอนการก่ ้ อสร้ างนี ้ สถาปนิกจะตรวจงานก่อสร้ างและ อนุมตั ิการก่อสร้ าง การจัดทาโครงการในเบือ้ งต้ นนัน้ เกี่ ยวข้ องกับการรวบรวม และ จัด ระบบข้ อมูล ซึ่ง ต้ อ งการใช้ ใ นการออกแบบอาคาร บางโครงการเป็ น

188 โครงการการออกแบบสถาปั ตยกรรม


อาคารขนาดเล็กสามารถจัดทําโครงการได้งา่ ย โดยใช้ วธิ ีบนั ทึกเพียงว่า ลูกค้ าให้ ข้อมูลอะไรบ้ างเกี�ยวกับอาคารที�ต้องการ ส่วนบางโครงการ อาคารอาจจะซับซ้ อนหรื อมีขนาดใหญ่ซงึ� ต้ องการเวลาในการค้ นคว้ า และใช้ เทคนิคยุง่ ยาก โครงการการออกแบบสะท้ อนให้ เห็นถึงแนวทางการออกแบบ หรือข้อกําหนดในการออกแบบ ซึง� สถาปนิกจําเป็ นต้องเริ�มทําก่อนการ ออกแบบด้ วยการตัดสินปั ญหาสําคัญที�เกี�ยวข้ องหลายประการอย่าง เป็ นระบบ

การทํางานระหว่างสถาปนิกกับลูกค้า

เมือ� สถาปนิกระบุรายละเอียดของงานออกแบบ จะต้ องอธิบาย กับลูกค้ าถึงความแตกต่างของการทํางานในแต่ละส่วนกับลูกค้ า โดย ในขั �นตอนแรกเรียกว่า ขัน� การเสนอแบบร่ าง (schematic design) ลูกค้ าต้ องเตรี ยมข้ อมูลให้ พร้ อม ถึงความต้ องการด้ านต่างๆ อย่าง ละเอียด ซึง� ความต้ องการทังหมดสถาปนิ � กจะนําไปสร้ างโครงการการ ออกแบบ และพัฒนาข้ อเสนอโครงการ เพื� อให้ ได้ โครงการที� มี ราย ละเอียดชัดเจน มีสว่ นใช้ สอยทีค� รบถ้ วนได้ มาตรฐาน มีการระบุขนาด ห้ องต่างๆ และสิ�งอื�นๆ ตามข้ อกําหนดของกฎหมาย เช่น ความสูง อาคาร จํานวนชันอาคาร � ขนาดของอาคาร รวมถึงการกําหนดพื �นทีใ� ช้ สอยของงานระบบวิศวกรรมที�เกี�ยวข้ องต่างๆ อย่างครบถ้ วน การทํา โครงการจะเกี�ยวข้ องกับการรวบรวมข้ อมูลทั �งจากลูกค้ า จากการค้ น คว้ า และวิจยั โดยมีมาตรฐานการออกแบบและกฎหมายเป็ นตัวกํากับ นอกจากนี ส� ถาปนิกจะต้ องรู้ ว่าลูกค้ าชอบสิ�งใด อะไรบ้ างที� ต้องการ มีจดุ มุง่ หมายและคุณภาพอาคารทีต� ้องการอย่างไร ลูกค้ าจะ บอกได้ วา่ อาคารทีต� ้องการคืออาคารประเภทไหน อาทิ โรงเรียน โบสถ์ หรื อศาลากลาง รวมทัง� อาคารจะมีขนาดโดยประมาณเท่าใด ตังอยู � ่ ที� ไหน กลุ่มผู้ใช้ อาคารคือใคร และมีงบประมาณเท่าใดสําหรับการ ก่อสร้ าง เป็ นต้น ขั �นทีส� องเรียกว่า ขัน� พัฒนาการออกแบบ (design development phase) ระหว่างขัน� ตอนนี ส� ถาปนิกจะทํางานต่อจากข้ อมูลที� ลู ก ค้ าแนะนํา ในขั �น ออกแบบร่ างที� ผ่ า นการยอมรั บ ของลู ก ค้ า สถาปนิกเริ�มทํางานด้ วยการแก้ ปัญหาหลายอย่างเพื�อให้ อาคารมีการ ใช้ สอยทีเ� หมาะสม เมือ� แก้ ปัญหาต่างๆ ได้ แล้ว สถาปนิกจะต้ องพัฒนา รายละเอียดของอาคารทั �งหมด

โครงการการออกแบบสถาปั ตยกรรม

189


8

การวิเคราะห์ โครงการและที่ตงั ้ ในการออกแบบสถาปั ตยกรรม

Architectural Program and Site Analysis การออกแบบอาคารมีขนั ้ ตอนที่ต่อเนื่ องจากการทาโครงการการ ออกแบบ เมื่อได้ ข้อมูลความต้ องการใช้ อาคารจากลูกค้ า จะด้ วยวิธีการ สัมภาษณ์ การสอบถาม หรื อการสารวจ ผู้ออกแบบจะต้ องศึกษาวิเคราะห์ โครงการและที่ตงั ้ โดยค้ นคว้ าหามาตรฐานอาคารที่เกี่ยวข้ อง เช่น ขนาด เฟอร์ นิเจอร์ ขนาดเส้ นทางการสัญจรของมนุษย์ และยานพาหนะ ความ กว้ าง ยาว และความสูงของห้ อง เป็ นต้ น

มาตรฐานการออกแบบ

มาตรฐานในด้ านการใช้ ส อยอาคารและที่ ตงั ้ เหล่านี ้ มาจากการ สารวจข้ อมูลทางด้ านต่างๆ จานวนมาก เพื่อนามาประมาณค่ามาตรฐาน ตามข้ อมูลซึง่ มักจะมาจากขนาดร่างกายและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึง่ อาจจะ มีข้อแตกต่างในเรื่องเพศและอายุ ดังจะเห็นได้ จากมาตรฐานต่างๆ ดังนี ้ - มาตรฐานขนาดเฟอร์ นเิ จอร์ การแยกประเภทการใช้ สอย ทาให้ เฟอร์ นิเจอร์ มีลกั ษณะ ต่างกัน เช่น โต๊ ะรับประทานอาหาร มีความสูงและกว้ างยาวมากกว่าโต๊ ะรับแขก เก้ าอี ้ รับประทานอาหาร มีความสูงกว่าเก้ าอี ้รับแขก แต่กว้ างยาวน้ อยกว่า เป็ นต้ น - มาตรฐานทางสัญจร ในการจัดวางเฟอร์ นิเจอร์ บางกลุ่ม ที่มีความต่อเนื่องในการ ใช้ งานจะวางต าแหน่งชิ ดกัน เช่น โซฟารั บแขกกับโต๊ ะข้ างซึ่งใช้ วางโคมไฟ เฟอร์ นิเจอร์ บางกลุ่มจะต้ องมีทางสัญจรเพื่อเข้ าถึง จึงจาเป็ นต้ องกาหนด มาตรฐานทางสัญจร หรือระยะห่างในการวางเฟอร์ นิเจอร์ ให้ คนเดินเข้ าถึงได้ สะดวก - มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยและสุขลักษณะที่ดี มาตรฐานนี ้มักจะมีข้อกาหนดเป็ นกฎหมายหรื อเทศบัญญัติ ที่ ผู้ออกแบบจะต้ องยึดถือและปฏิบตั ิตาม เช่น การเว้ นระยะห่างอย่างน้ อย 2.00 เมตร ระหว่างอาคารชันล่ ้ างถึงแนวรัว้ หากมีการเปิ ดประตูและหน้ าต่าง ทีผ่ นังอาคารด้ านนัน้

202 การวิเคราะห์โครงการและที่ตงั ้ ในการออกแบบสถาปั ตยกรรม


การวิเคราะห์โครงการ 1

1

ผู้ออกแบบจะต้องนําข้อมูลมาทําการวิเคราะห์โครงการ (Program Analysis) อย่างละเอียด ดังนี � จากข้ อมูลกลุม่ ผู้ใช้ อาคารที�เจ้ าของบ้ านระบุถงึ ว่า ผู้อยูอ่ าศัย คือใคร จํานวนและอายุเท่าใด อาชีพอะไร แต่ละคนชอบทํากิจกรรม อะไร มีพฤติกรรมและความสัมพันธ์กนั อย่างไร สิง� เหล่านี �เป็ นข้อมูลที� ต้องสัมภาษณ์ สอบถาม สังเกต อย่างละเอียด และดําเนินการวิเคราะห์ พื �นทีใ� ช้ สอยตามข้ อมูลข้ างต้ นประกอบ

รองศาสตราจารย์ เลอสม สถา ปิ ตานนท์. งานวิจยั “บ้ านพักอาศัย ประเภทบ้ านเดี� ยว ในกรุ งเทพ มหานครและปริมณฑล : รูปแบบ และพั ฒ นาการ ในช่ วงปี พ.ศ. 2525-2545”. คณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย พ.ศ. ����.

พืน� ที�สาธารณะ ในบ้ านพักอาศัย พื �นที�สาธารณะ (public space) หมายถึง พื �นทีท� คี� นภายนอกครอบครัวเข้าเยีย� มเยือนคนทีพ� กั อาศัยภายในบ้านได้ ซึง� ได้แก่ บริเวณห้องรับแขก ห้องนี �จะเป็ นบริเวณทีอ� ยูห่ น้าบ้าน และเป็ น ห้ องแรกที�เข้ าถึงได้ จากถนนที�เข้ าจากประตูรัว� สูต่ วั บ้ าน ในบ้ านขนาดใหญ่ ก่อนเข้ าถึงห้ องรับแขกมักจะมีโถงทางเข้ า ต่อจากประตูหน้ าบ้ าน และเป็ นบริ เวณสัญจรที� นําไปสู่ห้องรับแขก ห้ องนํ �าแขก ห้ องรับประทานอาหาร รวมถึงบันไดขึ �นชันสอง � ส่วนในบ้ านขนาดเล็ก จะไม่มีโถงเพื�อประหยัดพื �นที� แต่จะใช้ ห้ องรับแขกเป็ นเส้นทางสัญจรทีจ� ะนําไปสูห่ ้องอืน� และยังใช้ เป็ นพื �นทีน� งั� เล่น ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือ ของคนภายในบ้าน เนือ� งจากเป็ น กิจกรรมทีใ� ช้ เฟอร์นิเจอร์คล้ ายคลึงกัน โดยเฉพาะการนัง� พูดคุยกันเป็ น หลัก จึงสามารถใช้ เฟอร์ นิเจอร์ ชุดเดียวกันได้ แต่จดั ช่วงเวลาใช้ เมื�อ ไม่มีแขก ซึง� เป็ นการใช้ พื �นที�อย่างคุ้มค่า ห้ องรับแขกนี �ควรมองเห็นทิว ทัศน์ที�สวยงาม พืน� ที�ก�งึ สาธารณะ พื �นทีก� งึ� สาธารณะ (semi-public space) เป็ นพื �นทีท� คี� นในบ้าน ใช้ ประจํา แต่แขกที�มาเยี�ยมเยือนสามารถใช้ งานได้ ตามความจําเป็ น เมื�อได้ รับเชิญจากเจ้ าของบ้ าน และไม่ใช่พื �นที�ที�แขกทุกคนจะผ่านเข้ า ไปได้ทกุ กรณี บริเวณนี � ได้แก่ ห้ องรับประทานอาหาร พื �นทีห� ้ องรับประทานอาหาร อาจจะอยูต่ อ่ เนือ� งกับห้ องรับแขก แต่ต้องติดกับห้ องเตรียมอาหารทีม� ีการใช้ สอยคูก่ นั เพือ� นําอาหารจาก ครัวมาจัดใส่จานชามเตรี ยมออกสูส่ ว่ นรับประทานอาหาร การกําหนด ขนาดและจํานวนเฟอร์ นเิ จอร์ โต๊ะและเก้ าอี �รับประทานอาหารมักจะมา จากจํานวนคนในครอบครัวที�อยู่อาศัยในบ้ าน เช่น มีคนในครอบครัว การวิเคราะห์โครงการและทีต� งในการออกแบบสถาปั ั� ตยกรรม

203


สรุป

ก่อนการออกแบบจําเป็ นต้ องวิเคราะห์โครงการและที�ตงโดย ั� ละเอียด การวิเคราะห์ โครงการเริ� มจากการกําหนดพืน� ที�ใช้ สอยจาก มาตรฐานการออกแบบ และนํามาสู่การกําหนดกลุ่มพืน� ที�ในอาคาร ได้แก่ พื �นทีส� าธารณะ พื �นทีก� งึ� สาธารณะ พื �นทีก� งึ� ส่วนตัว พื �นทีส� ว่ นตัว และพื น� ที� ส่วนบริ การ โดยแยกการใช้ สอยให้ ชัดเจน เชื�อมโยงด้ วย ทางสัญจรให้ ตอ่ เนื�อง ส่วนการวิเคราะห์ทตี� งั � จะต้องพิจารณาสภาพแวดล้ อม ได้ แก่ ทิศทางของพื �นทีด� นิ ถนนด้านหน้ า และอาคารโดยรอบพื �นทีด� นิ ซึง� ต้ อง พิจารณาร่วมกับกฎหมายควบคุมอาคาร เพือ� ดําเนินการจัดวางแผนผัง อาคารให้ สมั พันธ์และสอดคล้ องเหมาะสมกับพื �นทีด� นิ จากผลการวิเคราะห์โครงการและทีต� งนี ั � จะเป็ � นแนวทางให้ การ วางผังบริ เวณไม่ ผิ ดพลาด มี เหตุมี ผลที� ดี และประสบความสํา เร็ จ ดังรายละเอียดทีต� ้ องคํานึงถึงในบทต่อไป

การวิเคราะห์โครงการและทีต� งในการออกแบบสถาปั ั� ตยกรรม


9

การวางผังบริเวณทีพ� กั อาศัย Residential Site Planning ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม เมือ� ได้ ศกึ ษาโครงการและ บริเวณทีต� งอาคารแล้ ั� ว จําเป็ นต้ องนําข้ อมูลมาวิเคราะห์โครงการและ ทีต� งั � ทางด้านสภาพแวดล้อม ภูมอิ ากาศ และภูมปิ ระเทศ อย่างละเอียด เพือ� นํามาพิจารณาในการออกแบบอาคาร ให้สอดคล้ องกับพื �นที� โดยมี หลักเกณฑ์ในการออกแบบวางผังบริเวณทีต� ้องพิจารณาหลายประการ

ตําแหน่ งของการวางอาคารลงบนพืนที � �ดนิ

1. การวางอาคารใกล้ขอบทีด� นิ ทางด้านหน้ า เจ้ าของบ้ าน บางคน ชอบมีพื �นที�ใช้ สอยภายนอกอาคารสําหรับนัง� เล่นไว้ ด้านหลังของบ้ าน เพือ� ความเป็ นส่วนตัวในการใช้ พื �นที� และจัดทางสัญจรรถยนต์ ไว้เพียง ด้ านหน้ าของบ้ านเพื� อลดความยาวของถนน แต่ถ้ าถนนภายนอก พืน� ที�ดินด้ านหน้ ามีการสัญจรพลุกพล่าน เสียงอาจจะรบกวนการใช้ อาคารได้ 2. การวางอาคารกลางพื �นทีด� นิ หากต้องการความสง่างามในการ เข้ าถึงบ้ าน จะวางอาคารโดยเว้ นระยะห่างจากรัว� ด้ านหน้ าบ้ านเพื� อ สร้ างสนาม ซึง� อาจจะช่วยลดมลภาวะเสียงรบกวนจากถนนด้ านหน้ า และเหลือพื �นที�ด้านหลังไว้ เพื�อความเป็ นส่วนตัว 3. การวางอาคารชิดด้ านหลังของพื �นทีด� นิ จะมีระยะเว้ นห่างจาก รัวด้ � านหน้ ามาก ซึง� ต้องการความสง่างาม และทอดระยะเวลาการเข้าถึง อาคาร โดยจะเว้ นพื �นทีเ� ป็ นสนาม หรือเป็ นทางสัญจรรถยนต์ ทีน� ําเข้า สูต่ วั อาคารอย่างสวยงาม พืน� ที�ตงั � อาคารที�พกั อาศัย ในการวางผังอาคารพักอาศัยบนพื �นที�ดิน (Residential Site Planning) จะต้องพิจารณาถึงพื �นทีโ� ดยรอบอาคารส่วนต่างๆ ว่ามีความ ต้องการทีจ� ะใช้ พื �นทีอ� ย่างไร ตังแต่ � พื �นทีห� น้าบ้าน ข้างบ้าน และหลังบ้าน การวางอาคารอาจจะพิจารณาเว้ นที�วา่ งด้ านใดด้ านหนึง�

การวางผังบริเวณที�พกั อาศัย

213


ทิวทัศน์มีลกั ษณะที่แตกต่างกันดังนี ้ - ทิวทัศน์ กว้ างใหญ่

ทิวทัศน์ประเภทนี ้ สวยงามในมุมกว้ าง (panoramic view) และ ดูได้ ในระยะใกล้ และไกลเป็ นวงกว้ าง ใช้ ระยะเวลาในการกวาดสายตานาน เช่น ทิวทัศน์ภเู ขา หุบเขา สนามกอล์ฟ ทะเล ซึง่ มองได้ ทงระดั ั ้ บสายตา และ ระดับสูง เป็ นทิวทัศน์ทไี่ ม่ได้ อยูใ่ นพื ้นทีด่ นิ ทีจ่ ะออกแบบ แต่อยูข่ ้ างเคียง - ทิวทัศน์ ท่ เี ป็ นจุดเน้ น

ทิวทัศน์ชนิดนี ้เป็ นจุดสนใจ (concentrated view) ในบริ เวณ ออกแบบ เช่น บริ เวณจัดวางงานประติมากรรม ต้ นไม้ ใหญ่ หรื อดงดอกไม้ ซึง่ เป็ นทิวทัศน์สวยงามที่ต้องการให้ เห็นเด่นชัด ในการจัดภูมิทศั น์จดุ สนใจ ที่เป็ นจุดเน้ นจะเป็ นสิ่งสาคัญในการมองจากมุมต่างๆ - ทิวทัศน์ ท่ บี ังสายตา

ทิ ว ทัศ น์ ที่ ปิ ดบัง ส่ ว นอื่ น ที่ ไ ม่ ต้ อ งการ (blocked view) เช่ น อาคารข้ างเคียง โดยอาจใช้ ต้นไม้ ใบหนาแน่นสูง ผนัง รัว้ หรื ออื่นๆ สรุ ป

ในการวางผังริ เวณอาคารที่พกั อาศัย จะต้ องคานึงถึงบริ เวณ หน้ า บ้ าน บริ เวณหลังบ้ าน และบริ เวณข้ างบ้ าน โดยไม่ละทิ ้งส่วนใดส่วน หนึ่ง ส่วนการวางผังอาคารจะเริ่ มจากการวางแผนพัฒนาพื น้ ที่ ดินและ วาง ตาแหน่งอาคารตามแนวความคิด เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพในการ ใช้ ที่ดิน ได้ อย่างเต็มที่ การออกแบบภูมิทศั น์ ต้ องวางแผนร่ วมกับการออกแบบอาคาร ซึง่ ควรจะมี ก ารประสานการใช้ ส อย สร้ างความเชื่ อ มโยงพื น้ ที่ อ ยู่อ าศัย ภายในและภายนอกอย่ า งสอดคล้ อ งต่ อ เนื่ อ ง โดยเริ่ ม จากการสร้ าง แผนภูมิ ก ารใช้ ส อยที่ ม าจากพื น้ ที่ ป ระเภทต่ า งๆ ที่ ต้ อ งการท าการจัด ระเบี ย บพื น้ ที่ โดยการค านึง ถึง สภาพดิ น เดิ ม สัด ส่ว นการใช้ ที่ดิ น ทาง สัญจร ซึง่ นามากาหนด ตาแหน่งที่ตงั ้ แผนผังอาคาร เพื่อการ ใช้ สอยที่ สนองความต้ องการของผู้อยู่อาศัย จากการออกแบบภายนอกอาคาร จึงนาเข้ าสู่การออกแบบภายใน ที่ เกี่ ยวข้ องกับงานระบบวิศวกรรม ซึ่งเป็ นองค์ ประกอบสาคัญของงาน สถาปั ตยกรรม โดยจะขาดระบบใดระบบหนึง่ ไม่ได้

242 การวางผังบริเวณที่พักอาศัย


10

ระบบการสัญจรทางตัง้ ในอาคาร...ลิฟต์

Vertical Transportation…Elevator

สถาปนิกจาเป็ นต้ องมีความรู้ เบื ้องต้ นในการออกแบบ “แกนตาม ตังของอาคาร” ้ ซึง่ ประกอบด้ วย บริ เวณโถง บันไดหลักและ/หรื อบันไดหนี ไฟ ลิฟต์ ห้ องงานระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ระบบสุขาภิบาล ห้ องน ้า ห้ อง เตรี ยมอาหาร ห้ องขยะ และระบบดับเพลิง เป็ นต้ น บริ เวณแกนอาคารนี ้ จะต้ องเข้ าถึงสะดวกจากทางเข้ าอาคารชัน้ ล่าง (ground entrance) และ ควรมีแสงธรรมชาติสอ่ งบริ เวณโถง ลิฟต์ (lift / elevator) เป็ นระบบการสัญจรทางตัง้ (vertical transportation) โดยใช้ เ ครื่ อ งกลและไฟฟ้ าในการขับ เคลื่ อ นเพื่ อ การขนส่ ง ผู้ออกแบบจาเป็ นต้ องคานวณจานวนลิฟต์ ขนาด และความเร็ ว โดยมี ความสัมพันธ์ กับประเภทอาคาร จานวนผู้ใช้ อาคาร ระยะเวลาในการรอ คอย และระยะเวลาในการขนส่งคนทังอาคารที ้ ่ต้องการ ลิฟต์จะเป็ นระบบ ขนส่ง ทางตัง้ ที่ อ านวยความสะดวกและรวดเร็ ว แก่ ผ้ ูใ ช้ อ าคาร รวมถึ ง ผู้สงู อายุและผู้พิการ ในอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ทวั่ ไป จาเป็ นต้ องมี ระบบลิฟต์โดยสาร รวมทังลิ ้ ฟต์บริ การ และต้ องมีลิฟต์ดบั เพลิงเพื่อความ ปลอดภัยควบคู่กับระบบบันไดหนีไฟ ส่วนลิฟต์ชนิดอื่นๆ และบันไดเลื่อน ใช้ ตามความต้ องการพิเศษในแต่ละอาคาร ประเภทของลิฟต์ภายในอาคาร แบ่งตามลักษณะการใช้ งาน ดังนี ้ • ลิฟต์โดยสาร (passenger lift/elevator) • ลิฟต์บรรทุกเตียงคนไข้ (hospital / bed / stretcher lift/elevator) • ลิฟต์ขนของ (service / freight lift/elevator) • ลิฟต์สง ่ ของ (dumbwaiter) • ลิฟต์ดบ ั เพลิง / ลิฟต์พนักงานดับเพลิง (firefighting / fireman’s lift/elevator) ลิฟต์โดยสาร ยังมี รูปแบบพิเศษอื่นๆ เช่น ลิฟต์ บ้าน (home lift/ elevator) สาหรับใช้ สว่ นตัว ในบ้ านพักอาศัย หรื อในอาคารขนาดเล็ก และ ลิฟต์แก้ วหรื อลิฟต์กระจก (observation/panoramic lift/elevator) ระบบการสัญจรทางตัง้ ในอาคาร...ลิฟต์

243


สถาปนิกและวิศวกรเครื่ องกลร่ วมกันพิจารณาเลือกใช้ ระบบลิฟต์ ที่เหมาะสม จากรายละเอียดเบื ้องต้ น ได้ แก่ ลักษณะและการใช้ งานของ อาคาร ความสูง จานวนชันที ้ ่ลิฟต์จอด จานวนผู้ใช้ และการแบ่งกลุ่มพื ้นที่ อาคาร ในการประมาณการขนาด ความเร็ ว จานวนลิฟต์ เพื่อเลือกชนิด ของเครื่ องลิฟต์ และเตรี ยมพื ้นที่อาคารสาหรับเครื่ องลิฟต์ ปล่องลิฟต์ โถง ลิฟต์ และจัดวางกลุ่มลิฟต์ ส่วนการคานวณโดยละเอียดทาโดยวิศวกร เครื่ องกลและวิศวกรไฟฟ้า เครื่ องลิฟต์ (driving machine) เป็ นระบบขับเคลื่อนตัวลิฟต์ ใช้ กาลังจากมอเตอร์ ไฟฟ้า มีชนิดต่างๆ ตามความเหมาะสมของการใช้ งาน และความสูงอาคาร ได้ แก่ 1. เครื่ องลิฟต์ แรงฉุดจากความฝื ด (traction machine) เครื่ องลิฟต์ที่ประกอบด้ วยเชือกลวด (steel cord ropes) แขวนกับ รอกเพื่อฉุดตัวลิฟต์ขึน้ ลงโดยใช้ ความฝื ด ปลายด้ านหนึ่งดึงห้ องโดยสาร ลิฟต์ (car) อีกด้ านหนึ่งดึงนา้ หนักถ่วง (counterweight) หรื อใช้ สายพาน เหล็กแทนเชือกลวด และมีรูปแบบการจัดระบบเชือก (roping arrangement / roping systems) แบบต่างๆ เครื่ องลิฟต์แรงฉุดจากความฝื ด แบ่งเป็ น 2 ระบบ ได้ แก่ 1.1 เครื่ องลิฟต์ ขับเคลื่อนด้ วยเฟื อง (geared-drive machine) มอเตอร์ ไฟฟ้าส่งกาลังผ่านเฟื องไปหมุนรอกขับเคลื่อน เพื่อปรับความเร็ ว ในการจอดลิฟต์ได้ มีความเร็วปานกลาง ปั จจุบนั ใช้ กนั น้ อยลง 1.2 เครื่ องลิ ฟ ต์ ขั บ เคลื่ อ นโดยตรง (direct-drive machine, gearless machine) มอเตอร์ ไฟฟ้ าส่งกาลังไปหมุนรอกขับเคลื่อนโดยตรง มีประสิทธิ ภาพสูงกว่า ความเร็ วสูงกว่า และเสียงรบกวนน้ อยกว่าแบบ ขับ เคลื่ อ นด้ ว ยเฟื อง ในปั จ จุบัน ใช้ ม อเตอร์ ไ ฟฟ้ าแบบแม่ เ หล็ ก ถาวร (permanent magnetic motor - PM) จึ ง ใช้ กั น แพร่ ห ลายทั ง้ กั บ ลิ ฟ ต์ ความเร็วต่าไปจนถึงความเร็วสูง การติดตัง้ เครื่ องลิฟต์ทงั ้ สองระบบ มีทัง้ แบบที่มีห้องเครื่ อง และ แบบไม่มีห้องเครื่ อง แบบมีห้องเครื่ อง (machine room) โดยทัว่ ไปในอาคารที่มีพื ้นที่ เหนือปล่องลิฟต์เพียงพอ จะมีห้องเครื่ องอยู่เหนือปล่องลิฟต์และมีขนาด ใหญ่กว่าปล่องลิฟต์ ประกอบด้ วยพืน้ ที่ติดตัง้ เครื่ องลิฟต์และตู้ควบคุม ระบบ ส่วนอาคารที่มีพืน้ ที่เหนือปล่องลิฟต์จากัด อาจใช้ ขนิดห้ องเครื่ อง

244 ระบบการสัญจรทางตัง้ ในอาคาร...ลิฟต์


ขนาดเล็กเท่ากับปล่องลิฟต์ โดยติดตังเครื ้ ่ องขนาดเล็ก (compact / small / mini machine room) หรื อจัดระบบเชือกให้ ติดตังเครื ้ ่ องลิฟต์อยู่ชนล่ ั ้ างได้ (basement machine room) แต่มี ค่าใช้ จ่า ยสูง กว่า ใช้ ได้ ทัง้ เครื่ องลิฟ ต์ ขับเคลื่อนด้ วยเฟื อง และเครื่ องลิฟต์ขบั เคลื่อนโดยตรง แบบไม่ มีห้องเครื่ อง (machine-room-less: MRL)ติดตัง้ เครื่ อง ลิฟต์บนคานที่สว่ นบนสุดของปล่องลิฟต์ (override space) หรื อติดตังกั ้ บ ผนังส่วนบนสุดภายในปล่องลิฟต์ และเข้ าถึงเพื่อซ่อมบารุ งโดยช่องเปิ ด ด้ านบนตัวลิฟต์ โดยมีเพียงห้ องสาหรับตู้ควบคุม (control panel / cabinet) อยู่ชนบนสุ ั้ ดที่ลิฟต์จอด (top floor / top landing) ส่วนใหญ่แบบไม่มี ห้ องเครื่ องหรื อห้ องเครื่ องขนาดเล็กจะใช้ เครื่ องลิฟต์ ขับเคลื่อนโดยตรง เพราะมีขนาดเครื่ องเล็กกว่า

เครื่ อ งลิ ฟ ต์ แ รงฉุด จากความฝื ด (traction machine) แบบมีห้องเครื่อง อยูเ่ หนือปล่องลิฟต์

เครื่ อ งลิฟ ต์ แ รงฉุด จากความฝื ด (traction machine) แบบมีห้องเครื่องขนาดเล็ก อยูเ่ หนือปล่องลิฟต์

ระบบการสัญจรทางตัง้ ในอาคาร...ลิฟต์

245


บรรณานุกรม ฐานิศวร์ เจริ ญพงศ์, รองศาสตราจารย์ ดร. สถาปั ตยกรรมคืออะไร : เอกสารประกอบการสอน. กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ.2549. นิธิ สถาปิ ตานนท์ และคณะ. Architectural Elements Series : Surfaces. กรุ งเทพฯ : Li-zenn Publishing ltd., พ.ศ.2550. นิธิ สถาปิ ตานนท์ และคณะ. Architectural Elements Series : Doors & Windows. กรุ งเทพฯ: Li-zenn Publishing ltd., พ.ศ.2550. นิธิ สถาปิ ตานนท์. Nithi Sthapitanonda : Architectural Drawings / Leisure Drawings. กรุ งเทพฯ: Corporation 4d, Ltd., พ.ศ.2540. ประทีป มาลากุล,ม.ล. ประวัตสิ ถาปั ตยกรรมสมัยใหม่.พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พ.ศ.2542. ผุสดี ทิพทัส, ศาสตราจารย์. เกณฑ์ในการออกแบบสถาปั ตยกรรม. พิมพ์ครั ง้ ที่ 3. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พ.ศ.2541. ราชบัณฑิตสถาน. ศัพท์สถาปั ตยกรรม ศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, พ.ศ. 2548. เลอสม สถาปิ ตานนท์ , รองศาสตราจารย์ . งานวิจัย “บ้ า นพัก อาศัย ประเภทบ้ า นเดี่ ย ว ใน กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล: รู ปแบบ และพัฒนาการ ในช่วงปี พ.ศ.2525-2545. คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2549. วสันต์ ธีรานุรักษ์ น.บ.,บช.บ.,พณ.บ., พ.ต.ท. รวมกฎหมายก่อสร้ าง: สัญญาและเทศบัญญัติการ ก่อสร้ าง.ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด, กรุ งเทพฯ : ธีรานุสรณ์, พ.ศ.2532. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานระบบลิฟต์. พิมพ์ปรับปรุงครัง้ ที่ 1, กรุงเทพฯ: ด่านสุธาการพิมพ์, พ.ศ. 2549. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานระบบเครื่ องกลขนส่งในอาคาร. พิมพ์ปรับปรุ งครัง้ ที่ 1, กรุ งเทพฯ: ด่านสุธาการพิมพ์, พ.ศ. 2549. บ.ปูนซีเมนต์ไทย จก. รวมข้ อกาหนดและพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร และการใช้ ที่ดินในเขต กรุ งเทพมหานคร. พิมพ์ ครั ง้ ที่ 7 เนื่ อ งในโอกาสการประชุมใหญ่ ประจาปี 2534 ของ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์, กรุ งเทพฯ: เพื่อนพิมพ์, พ.ศ.2534. ศูนย์ข้อมูลอสังหาริ มทรัพย์ บ.พร็ อพเพอร์ ตี ้ไลนส์ จก., สมาคมการค้ าอสังหาริ มทรัพย์. รวมเล่ม กฎหมาย ชุด ผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์. พิมพ์ครัง้ ที่ 1, กรุงเทพฯ: ยูโรป้า, พ.ศ.2538. Alexander, Christopher. et al., A Pattern Language. Oxford: Oxford University Press, 1975. Al-Kodmany, Kheir. Tall Buildings and Elevators: A Review of Recent Technological Advances. Academic edited by Chimay J. Anumba, https://doi.org/10.3390/ buildings5031070, 2015. Baker, Geoffrey Harold. Design Strategies in Architecture: An Approach to the Analysis of Form. Hong Kong: Van Nostrand Reinhold, 1991. Berger, John. The White Bird. First Edition, London: Chatto &Windus,1985. Booth, Norman K. and Hiss, James E. Residential Landscape Architecture: Design Process for the Private Residence. Englewood Cliff, New Jersey: Prentice Hall, 1991. Charles George Ramsey; Harold Reeve Sleeper; John Ray Hoke. Architectural Graphic Standards. 10th ed., New York: John Wiley & Sons. 2000. Ching, Francis D.K.. Architecture : Form, Space and Order. New York: Van Nostrand Reinhold, 1979. Curtis, William. J.R. Modern Architecture Since 1900. 3rd ed. London: Phaidon Press, 2000. Duerk, Donna P. Architectural Programming: Information Management for Design. New York: Van Nostrand Reinhold, 1993.

272 บรรณานุกรม


Edward Allen, Joseph Iano. The Architect's Studio Companion: Rules of Thumb for Preliminary Design. 4th ed., New Jersey: John Wiley & Sons, 2007. Fortune Shepler Saling Incorporated. Planning Criteria: Office Projects. https:// www.fs2ec.com/office-buildings, 2019. Frank, Karen A. and Lepori, R. Bianca. Architecture from the Inside Out: From the body, the Senses, the Site and the Community. Milan: Wiley - Academy, 2000. Gast, K.P. Le Corbusier : Paris-Chandigarh. Berlin : Atelier Fischer, 2000. Heidegger, Martin. Poetry, Language, Thought. Translated by Albert Hofstadter, New York: Harper and Row, 1971. Hershberger, R.G. Architectural Programming and Predesign Manager. New York: McGraw-Hill, 1999. Joedike, JÜrgen. Space and Form in Architecture. Stuttgart: Karl Kramer Verlag, 1985. Le Corbusier. Towards a New Architecture. Translated by Frederick Etchells. London: Architectural Press and J. Rodker, 1931. Marti, Manuel, Jr.. Space Operational Analysis: A Systematic Approach to Spatial Analysis and Programming. U.S.A.: PDA Publishers Corporation, 1981. Meiss, Pierre von. Elements of Architecture: From Form to Place. London; New York: Van Nostrand Reinhold, 1990. Norberg-Schulz, Christian. Existence, Space & Architecture. London: Studio Vista, 1971. Panofsky, Erwin. Gothic Architecture and Scholasticism. New York: Meridian Books, 1957. Pedretti, Carlo. Leonardo Da Vinci. U.K.: TAj Books, 2004, Reprinted 2005, 2006. Sausmarez, Maurice de. Basic Design: The Dynamics of Visual Form. London: Studio Vista, 1964. Scully, Vincent. The Earth The Temple and The Gods. New Haven & London, 1962. (revised edition, Yale University,1979.) Thompson, D’Arcy Wentworth. On Growth and Form. Abridged edition edited by John Tylor Bonner, Cambridge : Cambridge University Press, 1961. Venturi, Robert. Complexity and Contradiction in Architecture. New York: Museum of Modern Art, 1966. Wade, John W. Architectural Programming. In James C. Snyder and Anthony J. Catanese (eds.) Introduction to Architecture. New York: McGraw-Hill, 1978. Walter T. Grondzik, Alison G. Kwok, Benjamin Stein, John S. Reynolds. Mechanical and Electrical Equipment for Buildings. 11th ed., USA: John Wiley & Sons, Inc., 2010.

บรรณานุกรมเว็บไซต์

http://d2e.com/ http://en.wikipedia.org/wiki/ http://www.ancientgreece.com/s/History/ http://www.arch.mcgill.ca http://www.archinet.com http://www.architecture.about.com http://www.asa.or.th. ASA Media > Law & Regulations. http://www.bartleby.com http://www.britanica.com http://www.dictionary.reference.com http://www.ga-ada.co.jp/english/ga_original/ http://www.greatbuildings.com http://www.merriam-webster.com https://doi.org/10.3390/buildings5031070 https://elevation.fandom.com/wiki/Elevator_door_types https://www.ada.gov/2010ADAstandards_index.htm https://www.fs2ec.com/office-buildings

บรรณานุกรม

273


ประวัตแิ ละผลงาน

ศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิ ตานนท์

การศึกษา

2517 2514

M. Arch University of Illinois, USA. สถ.บ.เกียรตินิยมอันดับสอง (สถาปั ตยกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การทางานบริหาร

2555-ปั จจุบนั ที่ปรึกษาอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551-2555 รองอธิการบดี ฝ่ ายบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547-2551 คณบดี คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2539-2547 หัวหน้ าภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2535-2539 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การทางานวิชาการ

2560-ปั จจุบนั อาจารย์พิเศษภาควิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง 2557-ปั จจุบนั อาจารย์พิเศษ ภาควิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552-2557 อาจารย์ผ้ มู ีความรู้ความสามารถ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2524-2552 อาจารย์ประจาภาควิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ตาแหน่ งทางวิชาการ

2552-ปั จจุบนั ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ 2532-2552 รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ 2528-2532 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย 2555

2550 2549

2549

2549

2543

เลอสม สถาปิ ตานนท์ . บ้ านพักอาศัยประเภทบ้ านเดี่ ยวในกรุ งเทพมหานครและ ปริ มณฑล : แนวความคิดและรูปแบบสถาปั ตยกรรมระหว่ างปี พ.ศ.2542-2552. ทุน โครงการในแผนพัฒนาวิชาการ (จุฬาฯ 100 ปี ) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เลอสม สถาปิ ตานนท์ จามรี อาระยานิมติ สกุล เสก สวัสดี คมกฤช ชูเกียรติมนั่ . โครงการศึกษาความเหมาะสมของบ้ านพักถาวรช่ วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิ. ทุนวิจยั ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลอสม สถาปิ ตานนท์ ฉัตรชัย วิริยะไกรกุล สยาณี วิโรจน์รัตน์ ยุวดี ศิริ ปิ ติรัตน์ ยศวัฒน. บ้ านพักอาศัยประเภทบ้ านเดี่ยว ในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล : รู ปแบบและ พัฒนา การในช่ วงปี พ.ศ. 2525 – 2545. ทุนวิจยั คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เลอสม สถาปิ ตานนท์ บุญไชย สถิตมัน่ ในธรรม บัณฑิต เอื ้ออาภรณ์ โสตถิพงศ์ พิชยั สวัสดิ์ ศรัณย์ เตชะเสน จามรี อาระยานิมติ สกุลภาวดี ธนวิสทุ ธิ์ กวีไกร ศรีหริ ัญ ตราวิทย์ ศิวะเกื ้อ. การศึกษาเพื่อก าหนด นโยบายการวางผังเฉพาะของการใช้ พืน้ ที่และการก่ อสร้ าง อาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ทุนวิจยั คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลอสม สถาปิ ตานนท์ ฐานิศวร์ เจริ ญพงศ์ ทิพย์สุดา ปทุมานนท์ อังสนา บุณโยภาส เสริ ชย์ โชติพานิช เสก สวัสดี . โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาปรั บปรุ งและการ บริ หารการจัดการพืน้ ที่อาคารสถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ . ทุนวิ จัยสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เลอสม สถาปิ ตานนท์ กวีไกร ศรี หิรัญ เสริ ชย์ โชติพานิช คมกฤช ชูเกี ยรติมั่น. การเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้ พนื ้ ที่อาคารเรียนในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ทุนวิจยั จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฯลฯ

274 ประวัตแิ ละผลงานผู้เขียน


หนังสือ 2560 2558

2558 2561 2555 2549 2549 2547 2540

เลอสม สถาปิ ตานนท์, บรรณาธิการ. บรมราชูปถัมภกานุสร จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครัง้ แรก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 256 หน้ า. (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ในวาระ 100 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26 มีนาคม 2560) เลอสม สถาปิ ตานนท์ , บรรณาธิ การ. บรมราชกุ มารี . กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 148 หน้ า. (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสวันคล้ ายวันพระราชสมภพ และเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา 2 เมษายน 2558) เลอสม สถาปิ ตานนท์. บ้ าน: การออกแบบสถาปั ตยกรรมขัน้ พืน้ ฐาน. พิมพ์ครัง้ ที่ 8 ฉบับ ปรับปรุงใหม่. กรุงเทพมหานคร: ลายเส้น, 79 หน้ า. (พิมพ์ครังที ้ ่ 1 พ.ศ. 2534) เลอสม สถาปิ ตานนท์. มิตสิ ถาปั ตยกรรม. พิมพ์ครังที ้ ่ 4. กรุงเทพมหานคร: ลายเส้ น, 250 หน้ า. (พิมพ์ครังที ้ ่ 1 พ.ศ. 2551) เลอสม สถาปิ ตานนท์. องค์ประกอบ: สถาปั ตยกรรมพืน้ ฐาน. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 146 หน้า. (พิมพ์ครังที ้ ่ 1 พ.ศ. 2543) เลอสม สถาปิ ตานนท์ . การออกแบบคื อ อะไร?: What Is Design? พิ ม พ์ ค รั ง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: 49 กราฟฟิ ค แอนด์ พับบลิเคชัน่ ส์, 111 หน้ า. (พิมพ์ครังที ้ ่ 1 พ.ศ. 2537) นิธิ สถาปิ ตานนท์ เลอสม สถาปิ ตานนท์ และ นิธิศ สถาปิ ตานนท์. บ้ านของเรา บ้ านสถาปนิก: Our House, Architects’ House. กรุงเทพมหานคร: GALLERIA 81, 215 หน้ า. เลอสม สถาปิ ตานนท์ . การออกแบบเบื อ้ งต้ น : Introduction to Design. พิ มพ์ ค รั ง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์, 184 หน้ า. (พิมพ์ครังที ้ ่ 1 พ.ศ. 2540) เลอสม สถาปิ ตานนท์ . เทคนิ ค ในการออกแบบ: Design Technique. พิ ม พ์ ค รั ง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 99 หน้ า. (พิมพ์ครังที ้ ่ 1 พ.ศ. 2539) ฯลฯ

งานบริการทางวิชาการ

2550-2552 สถาปนิกหัวหน้ ากลุม่ โครงการออกแบบก่อสร้ าง อาคารมหาจักรีสิรินธร (ศูนย์เรียนรู้สาขามนุษยศาสตร์ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2541-2542 สถาปนิกหัวหน้ ากลุม่ โครงการออกแบบก่อสร้ าง อาคารจามจุรี 5 (อาคารสานักงาน มหาวิทยาลัย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2536-2538 สถาปนิกหัวหน้ ากลุม่ โครงการออกแบบก่อสร้ าง อาคารวิทยกิตติ์ (อาคาร 20 ชัน้ ในบริเวณพื ้นที่สยามสแควร์ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2535 สถาปนิกหัวหน้ ากลุม่ โครงการออกแบบก่อสร้ าง อาคารอนุสาสน์ ยันตรกรรม (อาคารวิศวกรรม 5) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2534-2535 สถาปนิกร่วมออกแบบ อาคารวิทยนิเวศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฯลฯ

ประวัตแิ ละผลงานผู้เขียน

275


ข้ อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่ งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data เลอสม สถาปิ ตานนท์. มิติสถาปั ตยกรรม.- พิมพ์ครัง้ ที่5.- กรุ งเทพฯ : ลายเส้ น พับบลิชชิ่ง, 2562. 276 หน้ า. 1. สถาปั ตยกรรม. I. ชื่อเรื่ อง 720 ISBN 978-616-459-014-4 พิมพ์ครัง้ ที่ 1 พิมพ์ครัง้ ที่ 2 พิมพ์ครัง้ ที่ 3 พิมพ์ครัง้ ที่ 4 พิมพ์ครัง้ ที่ 5

พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562

จัดพิมพ์ และจัดจาหน่ าย บริ ษัท ลายเส้ น พับบลิชชิ่ง จากัด 112 สุขมุ วิท 26 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 2 259 2096 โทรสาร 66 2 661 2017 Email li-zenn@li-zenn.com www.li-zenn.com เรี ยบเรี ยง-จัดรูปเล่ม ดนยา บุญโสภณ ภาพประกอบ นิธิ สถาปิ ตานนท์ เอกฉันท์ เอี่ยมอนันต์วฒ ั นะ นิธิพงศ์ ทรัพย์เอนกนันต์ ธรรมธัช อัศวเทพเมธา พิสจู น์อกั ษร ดนยา บุญโสภณ พิมพ์ โรงพิมพ์ ภาพพิมพ์ 45 / 12-14, 33 หมู่ 4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตาบลบางขนุน อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 66 2 879 9154-6 โทรสาร 66 2 879 9153 Email contact@parbpim.com

276


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.