Chiang Mai Art Guide

Page 1



Art Guide Art Guide


CONTENTS

016 กิติก้อง ติลกวัฒโนทัย Kitikong Tilokwattanotai

026 สุรสิทธิ์-ศรีวรรณา เสาว์คง Surasit-Sriwanna Saokong

044 นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล Navin Rawanchaikul

054 ธนกร ไชยจินดา Thanakorn Chaijinda

072 ศุภชัย ศาสตร์สาระ Supachai Satsara

082 วัฒนะ วัฒนาพันธุ์ Wattana Wattanapun

100 สงัด ปุยอ๊อก Sa-ngad Pui-ock

108 พงศ์เดช ไชยคุตร Pongdej Chaiyakut

118 เพชร วิริยะ Phet Wiriya

036 พิชัย นิรันต์ Pichai Nirand

062 ต่อลาภ ลาภเจริญสุข Torlarp Larpjaroensook

090 คามิน เลิศชัยประเสริฐ Kamin Lertchaiprasert

128 วิชิต ไชยวงศ์ Vichit Chaiwong


138 ลิปิกร มาแก้ว Lipikorn Makaew

164 พรชัย ใจมา Pornchai Jaima

146 พีระพงษ์ ดวงแก้ว Peerapong Duangkaew

172 อานันท์ ราชวังอินทร์ Arnan Ratchawang-inn

200 อาวุธ อังคาวุธ Arwut Angkawut

226 จรูญ บุญสวน Charoon Boonsuan

182 ศรีใจ กันทะวัง Srijai Kuntawang

208 อมรเทพ มหามาตร Amornthep Mahamart

234 ประสงค์ ลือเมือง Prasong Luemuang

154 อิงอร หอมสุวรรณ์ Eng-on Homsuwan

192 เกศ ชวนะลิขิกร Kade Javanalikhikara

218 สมภพ แสงพรหม Somphop Saengprom

242 อินสนธิ์ วงค์สาม Inson Wongsam




Zone A • Downtown Chiang Mai / Wat Umong Artist / Studio

A1 Kitikong Tilokwattanotai / C.A.P Studio A2 Surasit-Sriwanna Saokong / Serenity Art Studio A3 Pichai Nirand A4 Navin Rawanchaikul / StudiOK A5 Thanakorn Chaijinda A6 Torlarp Larpjaroensook / Gallery Seescape A7 Supachai Satsara / Rumpueng Loundspeaker Art Space A8 Wattana Wattanapun / Wattana Art Gallery A9 Kamin Lertchaiprasert A10 Sa-ngad Pui-ock / Pui-ock Gallery A11 Pongdej Chaiyakut / Praewa Arts Studio

Gallery / Art Community

A12 Penguin Village A13 CMU Art Center A14 Jojo Kobe Art Gallery A15 Minimal Gallery A16 Sangdee Art Gallery A17 Galerie Panisa A18 NHD Art Gallery A19 Matoom Art Space A20 DC Collection A21 TCDC Chiang Mai A22 Baan Tuek Art Center A23 Suvannabhumi Art Gallery A24 116 Art Gallery A25 Baan Kang Wat A26 Werng Malai Community Mall A27 Pongnoi Community Art Space


A5 LANNA RAMA 9 PARK

A12

Rd

.

11

CHIANG MAI UNIVERSITY

A14

A20

A1 A15 A6

A13 SO I W AT UM ON

G

SUTHEP RD.

A21

A16

118

WAT CHIANG MAN

SU AN DO K HO SP ITA L

6

EW

A3

10

KA

204 1

AY

107

HU

A4

A2

W A DO T P I S HR UT A HE TH AT P

A23 WAT KET KARAM

TON PAYOM MARKET

A22

WAT PHRA SINGH

1141

WAT U-MONG

A17

12 1

A26

A24

A19

A18

A9 A8

SAN KAM PAENG DOI SAKET

A7

A25

AIRPORT

114

1

A27

108

WAT RAM POENG

TAMBON SUTHEP

MUNICIPALITY

PI

NG

RI

VE R

40

32

A10

3029

GD ONG ,

A11 LAMPHUN

SAN

PA

TON

G

MAE HIA MARKET

HAN

WAT PONG NOI


Kitikong Tilokwattanotai


กิติก้อง ติลกวัฒโนทัย

“ผมต้องการให้ผู้คนทั่วไปรับรู้ถึง ความงามและความแตกต่างระหว่างภาพพิมพ์ กับงานศิลปะแนวอื่น”

ท่ามกลางความคลาคล�่ำบนถนนสายฮิปของ คนเชียงใหม่ C.A.P คือสตูดิโอแกลเลอรี่ ที่ กิติก้อง ติลกวัฒโนทัย ศิลปินภาพพิมพ์ ได้ริเริ่มแนวคิด ใช้เป็นสถานที่ผลักดัน เสน่ห์แห่งภาพพิมพ์ที่แทบไม่มีใครรู้จัก จนกลายเป็นสตูดิโอที่รวบรวมผลงานภาพ พิมพ์ชั้นเยี่ยมของศิลปินพันธุ์แท้ไว้มากที่สุด แห่งหนึ่งในประเทศไทย “ในยุคนั้น คนรู้จักภาพพิมพ์ในความหมาย ของโปสเตอร์ ฉลากสินค้า หรือหนังสือ ผมเองก็ไม่รู้เลยว่าสิ่งที่ผมร�่ำเรียนมา มันจะ ท�ำให้ผมสมัครงานอะไรได้บ้างนอกจากการ เป็นอาจารย์และท�ำงานในโรงพิมพ์ แต่ผม มองว่าการท�ำงานภาพพิมพ์มันน่าจะให้อะไร ได้มากกว่านั้น ผมต้องการให้ผู้คนทั่วไปรับรู้ ถึงความงามและความแตกต่างระหว่างภาพ พิมพ์กับงานศิลปะแนวอื่น”

แม้ไม่รู้ว่าหนทางข้างหน้าจะเป็นอย่างไร กิติก้องเริ่มต้นชีวิตการท�ำงานด้วยการเป็น อาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา โดยมีแท่นพิมพ์ภาพพิมพ์ โลหะเป็นเครื่องมือคู่ใจ ให้เขาได้ท�ำให้สิ่งที่ เขารัก “คอนโดฯ ขนาด 24 ตารางเมตร หลัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือสตูดิโอแห่งแรก ที่เป็นทั้งที่นอน ท�ำงาน และใช้ชีวิตร่วมกับ แท่นผลิตงานพิมพ์ที่ผมหลงใหล ผมได้ ทาบทามเหล่าศิลปิน ให้รจู้ กั กับงานด้านนี้ ด้วยการพิมพ์ภาพงานให้เขาโดยไม่คดิ ค่า ใช้จ่าย แลกเปลี่ยนกับการได้รับกรรมสิทธิ์ ในการครอบครองภาพจ�ำนวนครึ่งหนึ่ง” กิติก้องรับพิมพ์งานให้ศิลปินแขนงต่างๆ โดยไม่เกี่ยงว่าจะเป็นงาน painting หรือ

017






NavinRawanchaikul


นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล

“กว่าจะเป็นผลงานออกมาแต่ละชิ้น ...ต้องอาศัยการศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียด”

“กาดหลวง” หรือ “ตลาดวโรรส” อาจจะเป็น ทีร่ จู้ กั ในฐานะย่านเก่าแก่ของเมืองเชียงใหม่ แต่ส�ำหรับ นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล ศิลปินไทย เชือ้ สายอินเดีย ทายาทร้านขายผ้า “โอเค” ที่ตั้งอยู่คู่กับย่านนี้มาหลายสิบปี กาดหลวง ไม่ใช่เพียงแค่ความรู้สึกผูกพัน แต่ยังเป็น แรงบันดาลใจส�ำคัญในการสร้างผลงาน ศิลปะนับร้อยชิ้น รวมไปถึงรางวัลศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ในปี 2553 “ผมเกิดและโตในตึกแถวของย่านนี้ เฝ้าดู และเห็นความเปลี่ยนแปลงของผู้คน ชุมชน มาหลายสิบปี โดยเฉพาะย่านโรงหนัง ศรีนครพิงค์ เป็นที่ที่ผมไปวิ่งเล่นบ่อยๆ เคย ประทับใจกับโปสเตอร์หนังสมัยนั้นที่เป็น มากกว่าภาพปิดประกาศ เพราะสามารถสื่อ ถึงเรื่องราวในหนังได้อย่างชัดเจน” แม้ช่วงเวลาในรั้วมหาวิทยาลัยจะท�ำให้นาวิน

ห่างเหินกับบรรยากาศในวัยเยาว์ แต่มันคือ ช่วงเวลาที่ท�ำให้เขาได้ฝึกปรือฝีมือด้านศิลปะ อย่างแท้จริง การศึกษาต่อด้านจิตรกรรม ณ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท�ำให้เขาเรียนรู้เทคนิคที่จะท�ำให้เป็นช่างที่มี ความสามารถ “หลังเรียนจบผมพยายามตามหาสิ่งที่สังคม ศิลปะในเชียงใหม่ขาดหายไป ทุกวันนี้ศิลปะ ของเมืองคือการเล่าเรือ่ งราวความเป็นล้านนา แต่กลับไม่มใี ครน�ำเรือ่ งราวของเชียงใหม่ หรือคลาสในสังคมทีม่ คี วามเป็นปัจจุบนั มาท�ำ เป็นงานศิลปะ” งานศิลปะในขวดแก้วที่ได้น�ำไปจัดแสดงใน โครงการ Think Earth คือตัวอย่างผลงาน ที่น�ำเสนอเรื่องราวผ่านภาพวาดในขวด โดย ขวดแก้วแต่ละใบสามารถสื่อเรื่องราวผ่าน วัสดุและลักษณะของตัวมันเอง 045


อาคารปูนเปลือยหลังนี้จึงมีความเรียบง่าย ออกแบบให้มีความกว้างและโปร่ง โดยแบ่ง เป็นสามชั้น คือ ส่วนของออฟฟิศ สตูดิโอ ส�ำหรับท�ำงาน และมีแกลเลอรี่จัดแสดง ผลงานอยู่ด้านบน พื้นที่ทุกส่วนเปิดโล่งและ มีแสงธรรมชาติเข้าถึง นอกจากนี้ยังมีส่วน เชื่อมต่อไปยังส่วนพักอาศัยอีกด้วย ทุกวันนี้นาวินมีความสุขกับการผลิตผลงานที่ สามารถสื่อสารไปยังชุมชน ที่ไม่ได้จ�ำกัดอยู่

046

แค่เชียงใหม่ ญี่ปุ่นคือประเทศที่นอกจาก จะเป็นพื้นจัดผลงานอย่างสม�่ำเสมอแล้ว ยังเป็นบ้านหลังที่สอง ที่เขาอาศัยอยู่กับ ภรรยาชาวญี่ปุ่นและลูกสาว แต่ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน นาวินได้เรียนรู้ว่าหัวใจ ในการท�ำงานของเขาคือการตามหาความเป็น อัตลักษณ์ของชุมชน ก่อนแต่งเติมด้วยเสียง ภาพเคลื่อนไหว และจบลงด้วยงานศิลปะ ที่เขาถนัดและคุ้นเคยมาโดยตลอด



Thanakorn Chaijinda


ธนกร ไชยจินดา

“หน้าที่ของจิตรกรสีน้ำ� คือตะล่อมสีให้มันออกมาดูดี มีความสุข และสนุกสนานไปกับมัน”

สายลมเอื่อยๆ ที่โชยผ่านพื้นที่ชานเมือง เชียงใหม่ ได้พัดพาบรรยากาศที่แตกต่างกัน ในแต่ละช่วงเวลา เข้ากระทบโสตประสาท อดีตหนุ่มออฟฟิศแห่งวงการสถาปัตยกรรม ธนกร ไชยจินดา ผู้ที่ผันชีวิตของตนเอง เพื่อให้ได้สัมผัสความหมายของค�ำว่าศิลปะ อย่างลึกซึ้งในฐานะศิลปินสีน�้ำ

กุฏิเป็นกระดาษแผ่นแรกส�ำหรับขีดเขียน ในเวลาว่าง และด้วยจุดเริ่มต้นนี้เองที่ท�ำให้ ธนกรได้มโี อกาสเดินอยูบ่ นเส้นทางการเขียน สีน�้ำอย่างจริงจังกว่า 20 ปี โดยมีความชอบ เป็นสิ่งที่ขับเคลื่อน และได้ขวนขวายหา ความรู้และเทคนิคเพิ่มเติมจากปรมาจารย์ ด้านสีน�้ำหลายส�ำนัก

“การท�ำงานศิลปะมันคือการใช้ความรู้สึก โดยเฉพาะสีน�้ำ แม้มันจะมีความสบาย เรียบง่ายอยู่ในที แต่มันก็มีความท้าทาย เราไม่สามารถไปบังคับกะเกณฑ์ให้มัน ออกมาเหมือนใจคิดได้ 100% เปรียบได้ กับการคาดเดาเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นกับ ธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ หน้าที่ ของจิตรกรสีน�้ำคือ ตะล่อมสีให้มันออกมา ดูดี มีความสุข และสนุกสนานไปกับมัน”

“ในช่วงปลายทีท่ ำ� งานเขียนภาพ perspective และท�ำ model ให้กับโครงการก่อสร้างต่างๆ ผมเริ่มสังเกตได้ว่าเศรษฐกิจใกล้เข้าสู่ยุค ฟองสบู่แตก จึงลองหันกลับมาถามตัวเอง ว่าต้องการอะไร ผมเริ่มเสาะหาสิ่งที่ตรง กับตัวผม นั่นก็คือสีน�้ำ ที่มีความเรียบง่าย ไม่มีพิษไม่มีภัย ซึ่งศาสตราจารย์พิเศษ อารี สุทธิพันธุ์ คืออาจารย์ที่ตรงจริตและช่วยจุด ประกายให้ผมเรียนให้รู้ ดูให้จ�ำ ท�ำให้เป็น แล้วกลับมาหาแนวตัวเองและพัฒนาให้ดี ยิ่งๆ ขึ้น โดยไม่ยึดติดกับสิ่งที่เราท�ำ เพราะ ทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลงได้”

ธนกรเริ่มต้น 10 ปีแรกในชีวิตศิลปะด้วย การบวชเรียนเป็นสามเณร โดยใช้ถุงปูนริม

055




Torlarp Larpjaroensook


ต่อลาภ ลาภเจริญสุข

“มันคือความเป็นภูธรในตัวผม ที่นำ�มาประยุกต์เข้ากับงาน installation ต่างๆ ...แล้วอธิบายใหม่ในแบบที่เรียกว่า Postmodern”

กระเบื้องที่น�ำมาเรียงรายต่อกันบนรั้ว ล้อม รอบพื้นที่ขนาดไม่ใหญ่ไม่เล็ก ดึงดูดทุก สายตาให้มองลอดเข้าไปและต้องหยุดมอง บ้านปูนเปลือยที่ปกคลุมไปด้วยต้นตีนตุ๊กแก เขียวชอุ่มของ ต่อลาภ ลาภเจริญสุข ศิลปิน หนุ่ม เจ้าของแกลเลอรี่ Seescape บนถนน นิมมานเหมินทร์ ผู้ที่ไม่เคยละทิ้งภูมิหลัง ความผูกพันกับวันวาน แต่กลับน�ำมาสอด แทรกในงานแต่ละชิ้นอย่างสร้างสรรค์ “มันคือความเป็นภูธรในตัวผม ที่น�ำมา ประยุกต์เข้ากับงาน installation ต่างๆ ผมเรียนรู้ในสิ่งที่เราเกิดมาอย่างถ่องแท้ แต่มีการปรับเปลี่ยนฟอร์ม พลิกด้วยศิลปะ ในแบบที่เรียนมา แล้วอธิบายใหม่ในแบบที่ เรียกว่า Postmodern” ต่อลาภ เริ่มต้นการเรียนสายศิลปะครั้งแรก ที่วิทยาลัยช่างศิลป์ กรุงเทพฯ ก่อนที่จะมา เรียนต่อด้าน painting ที่คณะวิจิตรศิลป์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทั่งตัดสินใจ เรียกเชียงใหม่ว่าบ้าน หลังจากที่ได้ซึมซับ วิถีชีวิตระหว่างที่อยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย “ผมโชคดีมากที่เจอเพื่อนแบบเดียวกัน เชื่อในศิลปะโดยปราศจากการกดดันทาง ด้านวัตถุ สังคมศิลปะที่เชียงใหม่ active ตลอดเวลา ให้โอกาสได้เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ในช่วง 17 ปีที่ผมอยู่เชียงใหม่ ศิลปะมีการ เติบโต เริ่มขยายไปสู่วงการอื่นๆ ไม่ได้จ�ำกัด อยู่แค่เพียงกลุ่มศิลปิน ไม่ว่าจะเป็นงาน สายแฟชั่นดีไซน์ กราฟิก หรือแม้กระทั่ง การสร้างแบรนด์” ความสุขที่ได้รับจากการใช้ชีวิตร่วมกับ งานศิลปะทุกวัน ผลักดันให้ต่อลาภสร้าง Art Community ที่รู้จักกันดีในนามของ Seescape ย่านถนนนิมมานเหมินทร์ โดยออกแบบให้เป็นทั้งที่พัก สตูดิโอท�ำงาน คาเฟ่ ร้านขายของ และพื้นที่จัดแสดงงาน 063


ศิลปะร่วมสมัยที่สนับสนุนแนวความคิด ศิลปะเชิงทดลอง เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยน แปลงที่สามารถน�ำไปเชื่อมต่อกับชุมชน เขาเลือกสร้างบ้านพักในท�ำเลที่ไม่ไกลออก ไปนัก ตัวบ้านออกแบบเน้นที่ความโปร่ง ของพื้นที่ภายในโดยปราศจากฝ้าเพดาน เพื่อให้มีอากาศถ่ายเทและเพิ่มพื้นที่ว่าง ภายใต้หลังคาทรงจั่วสไตล์ minimalism “อยากได้บ้านที่ดูแล้วเหมือนเป็น sculpture ใส่ฟังก์ชันเท่าที่จ�ำเป็นส�ำหรับคนสองคน มีแค่ห้องนอนและห้องน�้ำ ใช้ประตูบานเลื่อน และกระจกบานเฟี้ยมส�ำหรับกั้นแบ่งส่วน มีต้นไม้เป็นราวบันไดอยู่ด้านนอก โดยผม

064

ปล่อยให้ต้นตีนตุ๊กแกเลื้อยเข้ามาในบ้าน ท�ำให้เกิดการแชร์พื้นที่ร่วมกัน” บริเวณสตูดิโอด้านนอกสร้างเป็นพื้นที่โล่ง มีหลังคา ส�ำหรับการท�ำงาน ทั้งในแนวร่วม สมัย และ academic อย่างงานแกะสลักไม้ และ painting อีกทั้งยังใช้เป็นที่เก็บผลงาน และวัตถุดิบต่างๆ ส�ำหรับงาน installation แม้ 10 ปีทผี่ า่ นมาจะเต็มไปด้วยอุปสรรค แต่สำ� หรับต่อลาภ ผลงานของเขาไม่ได้เป็น เพียงสิง่ ทีโ่ ชว์ในกล่องทีม่ คี ำ� ตอบแค่ดหี รือ ไม่ดี แต่งานจะต้องเป็นสิง่ ทีพ่ ดู เรือ่ งพลวัต ทีอ่ ยูใ่ นนัน้ ทัง้ ผูค้ น บริบทของพืน้ ที่ และ สถานการณ์ทเี่ กิดขึน้



SUPACHAI Satsara


ศุภชัย ศาสตร์สาระ

“เราเชื่อในกระบวนการทางด้านศิลปะ ว่ามันเป็นกลไก เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์”

ลึกเข้าไปในย่านชุมชนซอยวัดอุโมงค์ ยังมี ชุมชนวัดร�่ำเปิง อีกหนึ่งชุมชนอยู่ใกล้เคียง ซึ่งมีความน่าสนใจไม่แพ้กัน เพราะนอกจาก จะมีคนท้องถิ่นเดิมที่อาศัยอยู่มาก่อนแล้ว ลักษณะเด่นที่ชุมชนแถบนี้มีร่วมกัน คือ เป็นพื้นที่รองรับความต้องการด้านที่พัก อาศัยของนักศึกษาและบุคลากรของสถาบัน การศึกษาในย่าน เป็นผลท�ำให้แม้ว่าเวลา จะผ่านไป ที่นี่จึงยังคงมีนักคิด นักเขียน นักกิจกรรม นักวิชาการ และศิลปินแขนง ต่างๆ ทั้งรุ่นเล็กรุ่นใหญ่ พ�ำนักอาศัยอยู่กัน รุ่นต่อรุ่นเรื่อยมา... ฝั่งตรงข้ามกับวัดร�่ำเปิง หากเราเดินขึ้นเนิน ไปประมาณ 100 เมตรจากปากซอยด้าน หน้า “โครงการบ้านข้างวัด” เราจะพบกับ “ร�่ำเปิงกระบอกเสียงสถาน” (Rumpeung Loudspeaker Art Space) หอศิลป์ศิลปะ ร่วมสมัยที่น่าสนใจแห่งหนึ่งของเชียงใหม่ ที่นี่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภชัย ศาสตร์สาระ

แห่งคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศิลปินเจ้าของสถานที่ ต้องการให้เป็นทีพ่ บปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนทางความคิด เป็นพื้นที่ ของการแสดงออกทางศิลปะ และคาดหวังว่า ศิลปะจะเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ในชุมชน “เราเชื่อว่างานศิลปะยุคใหม่มันต้องเข้าไป มีปฏิสมั พันธ์กบั ชุมชน เช่น เข้าไปสอนเด็กๆ หรือท�ำกิจกรรมให้ชุมชนโดยใช้ศิลปะเป็นตัว เชื่อม เราเชื่อแบบนั้นมากกว่าการท�ำผลงาน ขึ้นมาชิ้นหนึ่งแล้วก็ดูเอง หลายคนสงสัยว่า ท�ำไมไม่ค่อยท�ำงานอาร์ต จริงๆ เราก็ท�ำนะ แต่ท�ำน้อยลง ตอนนี้อาร์ตของเราคือชีวติ เรา ทีเ่ ข้าไปปฏิสมั พันธ์กบั ผูค้ น ไปสร้างกลไก ท�ำให้เกิดกิจกรรม นั่นคือเป้าหมาย” ดูเหมือนว่าศุภชัยจะมีแนวคิดด้านการท�ำงาน ศิลปะแตกต่างไปจากการรับรู้ของผู้คนทั่วไป อยู่สักหน่อย แต่มันก็น่าสนใจอยู่ไม่น้อย เช่นเดียวกับบ้านและหอศิลป์ของเขา... 073


KAMIN Lertchaiprasert


คามิน เลิศชัยประเสริฐ

“การทำ�งานของผม มันคือการใช้ชีวิต มันคือการเฝ้าดูประสบการณ์ตัวเอง ผ่านประสบการณ์ที่มีร่วมกับสังคมอย่างมีเป้าหมาย”

คามิน เลิศชัยประเสริฐ เป็นศิลปินที่ท�ำงาน แนว Conceptual Art มาอย่างยาวนาน มีผลงานเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับ จากวงการศิลปะร่วมสมัยของไทยและต่าง ประเทศ ด้วยเหตุนเี้ ขาจึงมีโอกาสได้ไปใช้ชวี ติ ในหลายๆ พื้นที่ทั่วโลก ทั้งยุโรป อเมริกา และเอเชีย บางช่วงเป็นการไปศึกษาต่อ บ้างไปท่องเที่ยว หรือไม่ก็ไปท�ำงาน ...แต่ ณ ปัจจุบัน คามินได้เลือกเชียงใหม่เป็นฐาน ที่มั่นในการสร้างสรรค์งานศิลปะในแบบ ของเขามากว่า 20 ปีแล้ว เริ่มจากการเป็น อาจารย์ประจ�ำสอนศิลปะที่คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทุกวันนี้ เขารับเป็น อาจารย์พิเศษเพียงบางวาระ และให้เวลากับ การท�ำงานส่วนตัวเป็นหลัก “งานของผมอาจจะแบ่งได้เป็น 3 ช่วงใหญ่ๆ คือช่วงแรก เป็นงานที่ตั้งค�ำถามว่าชีวิต เกิดมาท�ำไม เป็น expressionism เป็นงาน figurative ที่พูดเรื่องประสบการณ์ในชีวิต

ความทุกข์อหรือสิ่งที่เราได้รับจากสภาพ แวดล้อม ส่วนช่วงที่ 2 จะเริม่ เป็น conceptual ขึ้นมาแล้ว เป็นเรื่องของการค้นหา ความหมายของคุณค่าของการมีชีวิตใน สังคม พยายามท�ำความเข้าใจว่าสังคม ประกอบด้วยอะไร ปัญหามันอยู่ตรงไหน ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมคืออะไร แล้วเรา มองมันยังไง แล้วมีผลกับเรายังไง และ ค่อยๆ คลี่คลาย ช่วงที่ 3 จะเป็นช่วงที่สนใจ เรื่องสัจธรรม สนใจเรื่องปรัชญาพุทธ เป็น เรื่องของการ practice พยายามท�ำความ เข้าใจคุณค่าที่มันอยู่เหนือตัวเองหรือสังคม เป็นคุณค่าที่มีอยู่ในธรรมชาติที่เป็นสากล ซึ่งก็คือช่วงปัจจุบันนี้...” คามินอธิบายโดยย่อถึงปรัชญาทางความคิด ที่เป็นแรงผลักดันอยู่ข้างใน ส�ำหรับรูปแบบ ภายนอกนั้น มี พัฒนาการรูปแบบในการ แสดงออกอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ รูปถ่าย ภาพพิมพ์ รูปเขียน ประติมากรรม installation 091


“การท�ำงานของผมจริงๆ มันคือการใช้ ชีวิตมากกว่า ...คือใช้ชีวิตปกติ แต่ใช้ชีวิต อย่างมีเป้าหมายว่าเราจะใช้ชวี ติ กับมันยังไง และเรียนรู้จากสิ่งนั้น มันคือการเฝ้าดู ประสบการณ์ในตัวเอง ผ่านประสบการณ์ ที่มีร่วมกับสังคม เกิดเป็นผลงานออกมา การตระหนักถึงการมีชีวิตอยู่ในแต่ละวัน นี่แหละคือสาระของการท�ำงาน และจริงๆ ผมไม่ได้คิดว่ามันเป็นงานด้วยนะ ผมคิดว่า มันเป็นสิ่งที่ผมอยากที่จะเข้าใจมัน

*The 31st Century Museum of Contemporary Spirit ย้ายที่ทำ�การไปอ.สันป่าตอง กำ�หนดเปิดทำ�การใหม่ 14 กุมภาพันธ์ 2560

094

ถ้าคิดว่าเป็นงานแล้วจะเหนือ่ ย แต่ผมคิดว่า มันเป็นวิถีชีวิตของผม เป็นสิ่งที่ผมอยากท�ำ และมีความสุข” ระหว่างการเยี่ยมเยือนสตูดิโอของเขาท�ำให้ เราตระหนักได้ว่า ศิลปิน...ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ในโลกนี้ ก็สามารถท�ำงานศิลปะได้ เพราะ การท�ำงานศิลปะ คือ การสร้างสรรค์และ การใช้ชีวิต



Phet Wiriya


เพชร วิริยะ

“สายตาของช้างก็ไม่ต่างอะไรจากคน ที่มีการสื่อสารผ่านดวงตา ผมถือว่านี่เป็น พัฒนาการขั้นสูงสุดในการทำ�งาน”

เสียงค้อนกระทบสิ่วประมาณช่วง 8 โมง เช้าที่ส่งเสียงแว่วมาพร้อมกับเพลงไทยเดิม บรรเลงด้วยขิม ในละแวกบ้านบวกค้าง อ�ำเภอสันก�ำแพง เปรียบได้กับสัญญาณ การเริ่มงานในแต่ละวัน ณ “บ้านจ๊างนัก” พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยที่เป็นทั้งแหล่งรวม ช่างไม้ฝีมือดี และช้างไม้แกะสลักกว่าหลาย ร้อยตัว ต่างขนาดและอิริยาบถ เรียงราย แทรกตัวในทุกที่พร้อมต้อนรับผู้มาเยือน สล่าเพชร วิริยะ ศิลปินเชื้อสายยองได้ สั่งสมประสบการณ์ในการแกะสลักมาตั้งแต่ ปี 2515 “ไม่มีสถาบันใดเปิดสอนวิชานี้ ‘การควักไม้’ (แกะสลักไม้) เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ผม ได้รับการถ่ายทอดจากพ่อครู ค�ำอ้าย เดชดวงตา”

แม้ว่าการเริ่มต้นในครั้งนั้นจะช่วยให้สล่า เพชรในวัยละอ่อน ก้าวย่างเข้าสู่แวดวงการ ท�ำงานศิลปะที่เขารักและได้มีวิชาติดตัว เป็นพื้นฐาน แต่ล�ำพังด้วยความรู้ที่มี คงไม่อาจเทียบกับสล่าไม้คนอื่นๆ ที่สามารถ ใช้วิชาการควักไม้เพื่อเลี้ยงชีพได้ “ฝึกอบรมอยู่ประมาณ 3 เดือน ผมก็ออก ไปเรียนเพิ่มเติมตามร้านที่เชียงดาว ก่อน ไปฝึกต่อที่งาวอีก 2 ปี จึงเริ่มท�ำเป็น จนได้ เริ่มงานจริงๆ ที่ล�ำปางอีกหนึ่งปี ก่อนกลับ มาเชียงใหม่ในปี 2519” การกลับมาของเพชร ไม่เพียงแต่เป็นจุด เริ่มต้นของเขากับเพื่อนๆ ที่จะได้มีร้านแกะ ไม้เป็นของตัวเอง แต่ยังมีโอกาสในการเผย แพร่ความรู้ให้กับพี่ๆ น้องๆ และได้เป็นครูที่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมแทนพ่อครูค�ำอ้าย เพื่อสอนวิชาชีพให้กับนักโทษในเรือนจ�ำ 119


นักศึกษารุ่นแล้วรุ่นเล่าแวะเวียนเข้ามา ฝึกงาน หาความรู้เพิ่มเติม และบ้างก็กลับ มาพร้อมความส�ำเร็จที่พวกเขาได้รับ “เด็กที่เคยฝึกงานกับผม มีโอกาสแกะช้าง เข้าประกวดได้รางวัลที่หนึ่ง บางคนก็มุมานะ จนได้เป็นคณบดีด้านศิลปะ ผมดีใจที่เป็น ส่วนหนึ่งในแรงบันดาลใจให้คนรุ่นใหม่สนใจ งานทางด้านนี้ และนั่นก็คือความภูมิใจ ที่ผมมีต่ออาชีพที่ผมเป็น มันไม่มีอะไรยาก อีกต่อไปแล้วส�ำหรับผมในวันนี้ แต่สิ่งหนึ่ง ที่ผมไม่อาจจะสร้างขึ้นมาได้ นั่นก็คือ ‘สล่า แกะช้าง’ เพราะผมไม่คิดว่าจะมีใครที่มี ต้นทุน มีความรักความชอบเท่ากับที่ผมมี”

122



ด้วยแนวคิดนี้ “วิชิต สตูดิโอ” จึงถูกก่อสร้าง ขึ้นภายในที่ดินของครอบครัวเมื่อปี 2550 หลังจากวิชิตวางมือจากธุรกิจ แต่เดิมนั้นภายในบริเวณจะมีเพียงส่วนบ้าน พักอาศัยของเขาและพี่น้อง รวมถึงส่วน โรงงานที่เคยใช้ผลิตงานไม้เมื่อครั้งยังท�ำร้าน กองดี ซึ่งปัจจุบันภายในตัวโรงงานเองได้ถูก ปรับเปลีย่ นมาเป็นแกลเลอรี่ ทีม่ ผี ลงานจาก ศิลปินที่วิชิตเป็นคนคัดเลือกมาจัดแสดงเอา ไว้มากมาย ทั้งงานภาพถ่าย ประติมากรรม และจิตรกรรม ถือเป็นแกลเลอรี่ที่มีชื่อเสียง ด้านความสวยงามและมีขนาดใหญ่มากแห่ง หนึ่งในเชียงใหม่เลยทีเดียว

132





Eng-on Homsuwan


อิงอร หอมสุวรรณ์

“สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือสวนดอกไม้ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ดอกไม้จะอยู่กับเราทุกที่ ”

ความสงบร่มรื่นจากซุ้มประตูด้านหน้า ชักชวนให้เข้าสู่บรรยากาศที่เต็มไปด้วย พรรณไม้นานาพันธุ์ ท่ามกลางความอบอวล ของกลิ่นดอกไม้หลากหลายสี ณ “หอศิลป์ อิงกา” ที่ อิงอร หอมสุวรรณ์ ได้แต่งเติม เข้าไปไว้ในส่วนหนึ่งของชีวิตในบั้นปลาย “ชีวิตเริ่มต้นจากการเป็นพยาบาลที่ศิริราช เพราะเป็นวิชาความรู้ที่ผู้หญิงควรจะเรียน เมื่อหลายสิบปีก่อน งานสีน�้ำเป็นเพียงสิ่ง ที่เราเรียนเพิ่มเติมหลังเลิกงานที่วิทยาลัย ช่างศิลป์ เขาเปิดสอนคอร์สละ 2 เดือน เราก็เรียนมาทั้งหมด 5 ปี ก่อนจะเข้ามา บริหารงานที่บริษัทสถาปนิกของสามี” เพราะเชื่อในสิ่งที่ชีวิตก�ำหนดไว้ การเก็บ เกี่ยวประสบการณ์ที่ผ่านมาคือก�ำไรชีวิต ส�ำหรับผู้หญิงคนหนึ่งที่ควรจะมี

“การมีโอกาสได้เจอผู้ใหญ่หลายๆ ท่าน ถือ เป็นการเปิดโลกท้ศน์ของเราให้กว้างขึ้น มี โอกาสได้เรียนรู้จากผู้รู้อย่าง หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช (อดีตนายกรัฐมนตรี) ที่ ช่วยเติมเต็ม ...เพราะเราไม่ใช่คนอวดเก่ง จึงเรียนรู้ที่จะเก็บความเก่งของคนอื่นไว้กับ ตัวอยู่เสมอ” นอกจากนี้การเดินทางร่วมกับกลุ่มสถาปนิก ไปยังแดนมังกร ประเทศจีน ยังช่วยให้อิงอร ได้มีโอกาสฝึกการเขียนพู่กันในแบบจีนและ วิธีการเรียนรู้ธรรมชาติ โดยเฉพาะเรื่อง ดอกไม้ ซึ่งทั้งหมดได้กลายเป็นเอกลักษณ์ ในผลงานของเธอเกือบทุกชิ้น “การเขียนสีน�้ำในแบบบางเบา ดูไม่กี่ทีก็เบื่อ แล้ว เราเลยหันมาลองในแบบที่มีสีสัน ฉูดฉาด เหลือง ส้ม แสด แดง ไล่ทับกันไป ในแบบที่ยังไม่มีใครท�ำ” 155




Pornchai Jaima


พรชัย ใจมา

“ภาพที่ดึงมาจากความทรงจำ�ของผม ถึงจะไม่ถูกต้องตามสัดส่วน แต่นี่คือรูปแบบที่สื่ออารมณ์ของภาพได้ดี”

บนเส้นทางสันก�ำแพง-ดอยสะเก็ดอันคดเคีย้ ว และยาวนาน ที่น�ำมาสู่พื้นที่ชนบทของเมือง เชียงใหม่ ณ บ้านสันต้นม่วงเหนือ หมู่บ้าน เล็กๆ อันเป็นท�ำเลที่ตั้งของบ้านไม้กึ่งสตูดิโอ ของ พรชัย ใจมา ศิลปินรางวัลศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ประจ�ำปี 2548 ผู้ที่ใช้เวลา เกือบทั้งชีวิตท่ามกลางไอแดด เสียงล�ำธาร และเสียงไก่ขัน “ตอนที่ผมเกิดที่นี่ไม่มีไฟฟ้าใช้ เราอยู่กัน แบบเรียบง่าย เป็นพื้นที่ของครอบครัว ที่พ่อกับแม่เริ่มต้นอาชีพช่างไม้ พ่อรับสอน ชาวบ้านเรื่องการสลักไม้ ลงรักปิดทอง ท�ำ เครื่องเขิน จนชาวบ้านแถวนี้มีอาชีพส�ำรอง นอกจากการท�ำนาท�ำไร่” พ่อของพรชัยไม่ใด้เป็นแค่เพียงครูของชาวบ้าน แต่ยงั เป็นผูจ้ ดุ ประกายความเป็นศิลปินในตัว พรชัยให้รบั รูถ้ งึ ความหมายของศิลปะ

“สมัยก่อนจบประถม 6 แล้วถ้าอยากเรียน ต้องไปบวช ผมเลยไปกินนอนที่วัด พ่อจะ คอยส่งการ์ตูนเล่มละบาทให้ เพราะรู้ว่าผม ชอบวาดรูป ในหนังสือเรียนจะมีแต่รูปที่ ผมวาดทัง้ นัน้ พอจบมัธยม 4 พ่อพาไปเรียน เขียนร่มที่บ่อสร้าง แต่เรียนได้ไม่กี่วันก็รู้ว่า ไม่ใช่ ตัวผมเองอยากเข้าเรียนที่วิทยาลัย เพาะช่าง แต่ที่บ้านไม่สนับสนุนเพราะ สมัยนั้นมีแต่เรื่องนักเรียนยกพวกตีกัน จนสุดท้ายมาสอบเข้าที่คณะศิลปกรรม ที่วิทยาลัยเทคโนฯ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา)” หลังจากเริ่มเรียนได้ 2 ปี พรชัยจึงมาถึงจุด เปลี่ยนที่ส�ำคัญในชีวิต “สมัยนั้นผมไม่รู้ว่าศิลปากรดียังไง แต่พอ คุณเฉลิมชัย (โฆษิตพิพัฒน์) มาบรรยายที่ วิทยาลัย ผลงานของเขาสร้างแรงบันดาลใจ ให้ผมมาก ผมจึงขึน้ รถลงมากรุงเทพฯ ทันที” 165




Kade Javanalikhikara


เกศ ชวนะลิขิกร

“ร่องรอยที่เกิดขึ้นบนผืนผ้าใบ โดยเราไม่ได้ควบคุมมัน เทียบได้กับสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ”

ความหลงใหลในกิ่งก้านสีเขียวที่แผ่ปกคลุม พื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศไทย น�ำพา ให้ รองศาสตราจารย์เกศ ชวนะลิขิกร ศิลปินสีอะคริลิก จากเมืองกรุงมาตั้งรกราก อยู่ท่ามกลางภูเขาที่เรียงรายสลับซับซ้อน โดยมีอากาศเย็นๆ กับแสงแดดอุ่นที่ส่อง ผ่านลงบนทุกตารางนิ้วของที่ดินผืนนี้

ชิ้นที่สะท้อนความเป็นตัวตนผ่านศิลปะแนว นามธรรม ในรูปแบบของอักขระสไตล์ Pop Art โดยมีแรงบันดาลใจจากการได้เห็น ความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่มนุษย์ เป็นผู้ท�ำลาย และความสงบเรียบง่ายที่จาง หายไปพร้อมๆ กับการเข้ามาของเทคโนโลยี ทางการสื่อสาร

“ช่วงแรกของชีวิตเคยตั้งใจจะสอบเข้า สถาปัตย์ฯ แต่ด้วยความชอบงานในแนว ปฏิบัติและไม่ชอบอ่านหนังสือ เลยเบนเข็ม ไปเรียนต่อปริญญาตรีด้านจิตรกรรมที่ Texas ต่อจากนั้นผมตั้งใจไว้ว่าจะมาใช้ชีวิต อยู่ที่เชียงใหม่เมื่อเรียนจบ เพราะเคยมา เที่ยวและรู้สึกชอบความเรียบง่ายของผู้คน และธรรมชาติ”

“งานของผมในช่วงแรก... ดูแล้วคงหา ความหมายไม่เจอ มีแต่ความรู้สึกล้วนๆ แต่ในระยะหลังที่ได้สัมผัสกับพุทธศาสนา โดยบังเอิญที่วัดถ�้ำผาปล่อง ท�ำให้ผมเริ่ม มองเห็นที่มาที่ไปของงาน ร่องรอยที่เกิดขึ้น บนผืนผ้าใบจากการน�ำสีมาเทลงไป ใช้ผ้าถู โดยเราไม่ได้ควบคุมมัน ไม่ได้ตั้งใจ เทียบได้ กับสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เราไม่สามารถ ควบคุมอะไรได้ รวมไปถึงจิตใจของเราที่ แม้แต่ตัวเราก็ควบคุมไม่ได้เช่นกัน”

กว่า 28 ปีกับการซึมซาบวัฒนธรรมชนบท ในแถบอ�ำเภอแม่แตง เกศถ่ายทอดงานทุก

193


แม้ว่าชีวิตประจ�ำวันคือการสอนหนังสือที่ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แต่ในช่วงสุดสัปดาห์ เกศไม่เคยว่างเว้นจาก การสร้างงานศิลปะเพื่อการถ่ายทอดทุก ความรู้สึก ในมุมโปรดที่เขาสามารถอิ่มเอม ไปกับทิวทัศน์ของแมกไม้ เสียงนกร้อง หรือ เสียงไก่ขัน ณ สตูดิโอเรือนไม้ที่ถูกสร้างขึ้น จากการน�ำประตูหน้าต่างบ้านเก่ามาใช้เป็น ส่วนประกอบโดยไม่มีการฉาบปูน และยก ใต้ถนุ สูงเพือ่ ใช้เป็นทีท่ ำ� งาน มีความโล่งกว้าง ท�ำให้สามารถเปิดรับแสงได้อย่างเต็มที่ “ส่วนที่ผมชอบที่สุดก็คือหลังคาที่เป็นแผ่นไม้ มาเรียงต่อกัน เพราะผมตัง้ ใจทีจ่ ะเก็บเนือ้ ไม้ ที่ผมชอบเอาไว้แบบนี้ นอกจากนั้นการเปิด รับแสงของสตูดโิ อยังช่วยให้ผมค้นพบเทคนิค ทีช่ ว่ ยให้ภาพแห้งเร็ว ไม่ทำ� ให้สใี นภาพทีว่ าดไว้ ไหลจนเสียรูปทรง”

194

ทุกวันนี้เกศมีสตูดิโอ มีบ้านและมีแกลเลอรี่ ส�ำหรับแสดงผลงานอยู่ในชุมชนชนบทที่เขา ชื่นชอบ แม้ว่าในช่วงที่ผ่านมาจะมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในสังคมมากกว่าที่ควร แต่ในอีกหลายๆ มิติ กับชีวิตที่ปราศจาก ความเจริญ ไร้เทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่ และนี่คือเสน่ห์ของเมืองเชียงใหม่ที่เขาอยาก เก็บรักษาไว้ตราบนานเท่านาน



เป็นเขียวเข้มเมื่ออยู่ในจุดที่แสงเข้าไปไม่ถึง ดังนั้นพอได้ภาพมาแล้ว ผมก็เอามาวาดใหม่ หรืออาจใช้ photoshop ตัดบางส่วนของภาพ หรือเติมส่วนอืน่ เข้าไป แล้วพิมพ์ออกมาบน กระดาษเป็นภาพขาวด�ำ ก่อนเอามาระบาย สีทบั เพือ่ เป็นการเพิม่ ความสดใสให้กับภาพ ในระยะหลังผมได้เพิ่มเทคนิคการใช้ฝีแปรง เข้ามา ซึ่งเป็นส่วนที่ส�ำคัญที่ท�ำให้ภาพของ ผมไม่เรียบเนียนไปทั้งรูป” “ผมอาจจะแตกต่างกับศิลปินคนอื่นๆ ตรงที่ ไม่ได้ใช้ความรู้สึกในการกลั่นกรองงานศิลปะ แต่ใช้สมองในการรับรู้ภาพที่มองเห็น แล้ว จัดข้อมูลในรูปภาพใหม่ให้เกิดการรับรู้ได้ เร็วขึ้น ว่าภาพนี้สวยหรือไม่สวยอย่างไร” การเปิดรับและสร้างการเปลี่ยนแปลงนี้ ไม่เพียงแต่เป็นส่วนหนึ่งที่สร้างความแตก ต่างให้งานศิลปะ แต่ยังเป็นส่วนช่วยสร้าง แรงบันดาลใจในการด�ำเนินชีวิตอีกด้วย “ชีวิตหลังเกษียณท�ำให้ผมทุกข์ เกิดความ รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ผมไม่อยากตายแบบ กะทันหันโดยไม่มกี ารเตรียมตัว แต่อยากตาย เพื่ออะไรสักอย่างในแบบที่มีคุณค่า อยากมี ชีวิตช่วงสุดท้ายด้วยการท�ำจิตดวงสุดท้ายให้ ดีทสี่ ดุ ผมจึงตัดสินใจออกจากคอนโด ทีผ่ ม ใช้ชวี ติ อย่างไร้แก่นสารและเต็มไปด้วยกิเลส” 202

สตูดิโอเรือนไม้ทรงล้านนาจึงเป็นจุดเปลี่ยน ครั้งสุดท้ายที่ล้อมกรอบให้อาวุธใช้ชีวิตด้วย ความสงบและเรียบง่าย บ้านที่ปราศจาก รั้วล้อมรอบแห่งนี้ยังกลายเป็นสิ่งเตือนใจ ในการด�ำเนินชีวติ โดยไม่ยดึ ติดกับสิง่ มีคา่ ใดๆ โครงสร้างของเรือนประกอบด้วยไม้เป็นหลัก เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ไม่กักเก็บความชื้น หรือกลิ่นอับเหมือนบ้านปูน และไม่ท�ำให้ เกิดเสียงก้องที่มีผลต่อความเครียด พื้นที่ ภายในได้รับการออกแบบให้แตกต่างกัน โดยแบ่งประเภทการใช้งานและการเข้าถึง ของแสงในแต่ละช่วงเวลา หากเป็นช่วงเวลา พักผ่อนความสลัวของห้องจะช่วยให้มีความ ผ่อนคลายมากขึ้น มุมหนึ่งของบ้านได้รับ การจัดไว้ให้เปิดรับแสงแดดและมองเห็น สภาพแวดล้อมที่รายรอบด้วยต้นไม้ ท�ำ หน้าที่เสมือนเป็นผนังธรรมชาติ ช่วยสร้าง บรรยากาศให้มีความร่มรื่น “การออกมาอยู่ที่นี่ไม่ได้ให้ความสุข แต่มัน คือความสงบที่ท�ำให้ผมได้ใช้เวลากับการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สตูดิโอที่ผมออกแบบ เองหลังนี้คือความภูมิใจในชีวิต ที่ช่วย ประคองให้เราเข้มแข็งและยังท�ำให้เรารู้สึก สบายใจ ....อย่างไม่สิ้นสุด”



คนท�ำเซรามิกด้วย เตาในที่นี้ที่ผมหมายถึง ก็คอื เตาทีม่ นั เป็น sculpture ในตัว มันไม่ใช่ แค่เครื่องมือ เตานี่แหละคือตัวงาน เป็นงาน ประติมากรรมอย่างหนึ่งที่ผลิตตัวลูกออกมา ส่วนการตัดสินใจมาอยู่นอกเมืองนั้น เหตุผล คือ ฟืนหาง่าย ใกล้แหล่งดิน และเวลาที่เรา เผาในพื้นที่โล่งๆ ควันมันก็ไม่เข้าไปรบกวน ผู้อื่น ซึ่งท�ำอย่างนี้ในเมืองไม่ได้ ในเรื่อง ของฟืน ก็สามารถที่จะปลูกต้นไม้ทดแทน ขึ้นมาได้ตลอดในพื้นที่ที่เรามีอยู่ อยาก ท�ำให้มันเป็นกลไกที่ครบวงจร ปลูกไม้ผล เพื่อที่จะเอากิ่งเอาผลมาใช้ช่วยลดต้นทุนใน การผลิตด้วยส่วนหนึ่ง และมันก็ท�ำให้เรา เข้าถึงวิถีของการท�ำงานมากขึ้นอีกด้วย บางครั้งแรงบันดาลใจมันก็ได้มาจาก กระบวนการท�ำงาน ขณะที่เราเตรียมวัสดุ เตรียมพื้นที่ ...ตอนนี้หากเสร็จจากการ สร้างเตาลูกที่ 3 ก็คงจะเริ่มท�ำบ้านดิน โครงสร้างไม้ไผ่ เป็นล�ำดับต่อไป” เมื่อจบการศึกษาจากคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อมรเทพได้ไปเรียน ต่อที่อินเดียและญี่ปุ่นทางด้านภาพพิมพ์

210

และจิตรกรรมตามสายที่เรียนมา แต่เขาก็ เก็บเกี่ยวหาความรู้นอกห้องเรียนในเรื่อง เซรามิกทีช่ นื่ ชอบควบคูก่ นั ไปด้วย เมือ่ กลับมา จึงตัดสินใจท�ำงานด้านเซรามิกอย่างจริงจัง ภายใต้แนวคิด “เซรามิกกับสิ่งแวดล้อม” สร้างสรรค์งานประติมากรรมเซรามิกร่วม สมัยที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ ใช้เทคนิคการท�ำที่ประยุกต์ต่อยอดมาจาก องค์ความรู้ในอดีต เน้นการใช้วัตถุดิบและ วัสดุที่มีในธรรมชาติมามีส่วนร่วมในชิ้นงาน ผลงานของอมรเทพ จึงมักมีรายละเอียดที่ น่าสนใจ ในขณะเดียวกันก็ตรงไปตรงมา และชัดเจน “ผมไม่ได้ล้อมรั้ว ใครอยากจะมาหาหรือ มาดูงานก็มาได้เลย เพียงแต่ว่าหากไม่ได้ นัดหมายก็อาจจะไม่ได้เจอกัน” เป็นค�ำพูดที่เขาทิ้งเอาไว้ ชวนให้เราอยาก จะกลับไปเยี่ยมเพื่อดูพัฒนาการของห้อง ทดลองนี้อีกครั้งถ้ามีโอกาส แม้เส้นทางไป จะไม่ง่ายนัก แต่ก็คุ้มค่าที่จะได้เห็นและ ซึมซับถึงวิถีของการท�ำงานของศิลปินท่านนี้ เพราะการท�ำเซรามิกของอมรเทพนั้น มัน ไม่ใช่แค่การมานั่งปั้นดินจริงๆ





นอกจากนี้การเรียนรู้พื้นผิว น�้ำหนัก และ ปริมาตรของวัตถุ จากหลักสูตรประติมากรรม เป็นการส่งเสริมให้ศลิ ปินเกิดความเชีย่ วชาญ ด้านหินในทุกมิติ “เราจะเกิดค�ำถามเสมอเมื่อวาดรูปเสร็จ หรือเมื่อเห็นความไม่สมบูรณ์ของภาพ แล้วน�ำมาพัฒนาในรูปถัดไป ท�ำให้เรามี เทคนิคใหม่ๆ เกิดขึ้น” หินที่น�ำมาใช้ในการวาดภาพเป็นการเก็บ สะสมจากสถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นล�ำธาร แหล่งก่อสร้าง หรือของฝากจากแดนไกล ซึ่งมีตั้งแต่ขนาดเล็กจนไปถึงขนาดเท่าก�ำปั้น “หินที่น�ำมาวาดเป็นของจริงทั้งหมด จะเลือก จากรูปทรงและสี เห็นอันไหนชอบก็เก็บเอาไว้ ส่วนไอเดียในการวาดจะคิดทีหลังว่าจะจัดวาง อย่างไร” แม้สมภพจะไม่ใช่จิตรกรที่มีชื่อเสียงจาก รางวัลต่างๆ แต่ผลงานของเขามีโอกาสได้ เข้าไปประดับในสถานทีส่ ำ� คัญๆ ของประเทศ อย่างตลาดหลักทรัพย์ฯ และปรากฏอยูใ่ น ละครฉากต่างๆ จึงท�ำให้ภาพวาดได้รับการ กล่าวถึงในวงกว้าง

220

คุณภาพผลงานของสมภพไม่ใช่เพียงเกิดจาก การฝึกฝนจนช�ำนาญ และการเข้าใจ ธรรมชาติของหินอย่างถ่องแท้ แต่วัสดุใน การวาดภาพโดยเฉพาะผืนผ้าใบก็เป็นสิ่งที่มี ความส�ำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน “ผมเลือกใช้แต่ผ้าลินินเพราะมีความทนทาน เรียบ ไม่มีปม หากใช้วัสดุไม่ดีจะท�ำให้ต้อง มาแก้ไขภายหลัง ศิลปินไม่ควรต้องมาซ่อม รูปวาดในขณะที่มีชีวิตอยู่ นั่นแสดงว่าเรา ท�ำงานออกมาไม่ดีพอ” ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานและความท้าทาย มาถึงจุดอิ่มตัว สมภพมีความตั้งใจในการ วาดภาพหินเพื่อการขายอีกเพียง 200 ภาพ แต่จะยังคงเขียนภาพหินต่อไปเพือ่ เก็บไว้เป็น collection ส่วนตัว และมีโปรเจคอื่นๆ ที่ท�ำ ควบคู่กันไป “การวาดภาพคนเป็นอีกสิ่งที่ผมติดค้างตั้งแต่ สมัยเรียน จึงมีการค้นคว้าด้านกายภาพเพื่อ จะวาดภาพได้อย่างถูกสัดส่วน ผมอยาก ถ่ายทอดความอ่อนหวานของหญิงสาวใน แบบล้านนาให้ออกมาในภาพก่อนตาย ...ไม่ว่าสิ่งใดติดค้างอยู่ในใจ ผมจะต้องท�ำให้ กระจ่าง และเก็บไว้ให้คนรุ่นหลังได้ดูใน แกลเลอรี่แห่งนี้”



“เจตนารมณ์ของอาจารย์ฝรัง่ (ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี) คือต้องการให้นักศึกษาที่ เรียนจบมาแล้วเป็นศิลปิน ใช้เวลากับการ สร้างสรรค์ แต่คนในรุ่นผม ไม่ว่าจะเป็น ถวัลย์ ดัชนี หรือ ไพโรจน์ สโมสร ไม่มีใคร ท�ำอย่างนั้น ผมเองเรียนจบมาก็เข้ารับ ราชการเป็นอาจารย์ เพราะสังคมไทย เรา จะต้องอุปการะพ่อแม่ ส่งน้องเรียนหนังสือ” “เด็กที่ผมสอนไม่ใช่นักเรียนด้านศิลปะ โดยตรง แต่เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการ สอนศิลปะให้กับเด็กๆ ผมไม่ได้เน้นว่าจะ ต้องท�ำให้มีฝีมือ แต่สอนให้มีรสนิยม ดูภาพ เป็น เอาใจใส่เขาเหมือนลูก อย่างที่อาจารย์ ฝรั่งเคยท�ำเมื่อตอนอยู่ศิลปากร” จนถึงวัยเกษียณอายุราชการ จรูญจึงเริ่ม เรียนรู้กับการท�ำงานนอกกรอบ “สมัยก่อนซีเรียสกับการท�ำงานมาก แบ่ง หน้ากระดาษเป็นบล็อกๆ ถ้าวันไหนท�ำงาน

228

ไม่ได้ตามบล็อกที่ก�ำหนดก็ไม่เคยหยุดแม้ จะเริ่มต้นวันใหม่ จนวันหนึ่งก็ถึงจุด เปลี่ยนแปลง เรียกว่าเพราะมีแบบบังคับ คือเราต้องท�ำงานชิ้นที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จ�ำเป็นต้องท�ำ เป็นงานชิ้นใหญ่ ...ท�ำให้เกิด การประคับประคอง เวลาท�ำงานก็เลยมีการ หยุดพักบ้างแล้วค่อยท�ำต่อ ได้เรียนรู้เทคนิค การซ้อนสี มีรอยใหม่ที่เกิดจากทับของ ฝีแปรงบนรอยเก่า เกิดเป็นมิติที่น่าสนใจ” ภาพเขียนส่วนใหญ่ของจรูญในระยะหลังเป็น ภาพแนว realistic ในแบบที่เขาชอบ โดยจะ มีความเป็น abstract แฝงอยู่ “ผมเชื่อว่า abstract มีรูปร่าง ไม่ว่าจะเป็น รูปวิวหรือดอกไม้ อย่างเวลาที่เรากราบพระ เราจะรู้สึกถึงความอบอุ่น สงบ ร่มเย็น ... ปัญหาของงานวาดภาพมักเกิดจากความ เคยชิน ยึดติดกับวิธีการเดิมๆ หากออกจาก กรอบได้เราก็จะมีความสุขกับการวาดภาพ ได้ตลอดชีวิต”



INSONWongsam


อินสนธิ์ วงค์สาม

“เขาเลือกออกเดินทางไกลกว่าค่อนโลกด้วย รถสกู๊ตเตอร์ โดยมีเชื้อเพลิงหลักคือความใฝ่ฝัน”

จ�ำได้ไหมว่าตอนอายุ 28 ปี คุณก�ำลัง ท�ำอะไร? ...ส�ำหรับศิลปิน อินสนธิ์ วงค์สาม ในวัย หนุ่ม เลือกออกเดินทางไกลกว่าค่อนโลก ด้วยรถสกู๊ตเตอร์ โดยมีเชื้อเพลิงหลักคือ ความใฝ่ฝันที่อยากจะเดินทางรอบโลก เพื่อสัมผัสวัฒนธรรมอันหลากหลายด้วย ตัวเอง โดยเฉพาะประเทศอิตาลี ดินแดน ต้นต�ำรับของศิลปะตะวันตกและบ้านเกิด ของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี อาจารย์ ผู้มีพระคุณที่เขาเคารพและศรัทธา หลังจากที่อินสนธิ์จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรีจากคณะจิตรกรรมและ ประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร (สาขาประติมากรรม) ได้ประมาณปีกว่า เขาเริ่มออกเดินทางด้วยรถรถสกู๊ตเตอร์ จากเมืองไทยไปยังปีนังในเดือนพฤษภาคม ปี 2505 และโดยสารเรือไปยังเมืองกัลกัตตา

แล้วจึงเริ่มเดินทางทางบก ตามเส้นทางจาก อินเดีย สู่ปากีสถาน อิหร่าน ตุรกี กรีซ และไปถึงจุดหมายปลายทางที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ในเดือนสิงหาคม ปี 2506 ใช้เวลาเดินทางทั้งสิ้น 16 เดือน ...เป็นการเดินทางที่เขาได้รับประสบการณ์ ชีวติ และประสบการณ์ทางศิลปะอย่างเข้มข้น และนั่นเป็นจุดเริ่มต้นของโลกใบใหม่ด้วย เพราะหลังจากบรรลุเป้าหมายที่โรม อินสนธิ์ ได้เดินทางไปทั่วยุโรปและตัดสินใจพ�ำนัก และท�ำงานอยู่ที่ปารีส 3 ปี จนถึงปี 2509 ระหว่างนั้นเขาได้ศึกษาศิลปะเพิ่มเติมและ ได้แสดงงานศิลปะหลายครั้ง ก่อนที่จะมุ่งสู่ นิวยอร์ก มหานครแห่งศิลปะสมัยใหม่ใน ยุคนัน้ ทีน่ นั่ เขาเปิดสตูดโิ อท�ำเครือ่ งประดับ และของตกแต่งบ้าน ได้รับความสนใจและ ประสบความส�ำเร็จจนท�ำให้วงการศิลปะสากล ได้รู้จักศิลปินจากเมืองไทยอย่างเขา รวม เวลาใช้ชีวิตอยู่ที่อเมริกานานเกือบ 8 ปี 243


ดังนั้น ห้องและมุมท�ำงานของเขาจึงแบ่ง กระจายออกไปตามเรือนหลังต่างๆ ตาม ประเภทของงาน ภายในบริเวณทั้งหมดกว่า 20 ไร่นี้ มีทั้งเรือนพักอาศัย เรือนท�ำงาน เรือนแสดงผลงาน และเรือนกิจกรรม มีทั้ง ที่เขาสร้างขึ้นมาใหม่และเรือนไม้โบราณ ทีย่ า้ ยมาจากทีอ่ นื่ ตัง้ อยูร่ ว่ มกันอย่างสวยงาม กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อมโดยรอบและเปี่ยม ด้วยชีวิตชีวา นอกจากนี้ในบริเวณเดียวกัน ยังมีส่วน ของ “หอศิลป์อุทยานธรรมะ” ซึ่งจัดแสดง นิทรรศการถาวรเกี่ยวกับแก่นพระธรรม

246

ค�ำสอนของพุทธศาสนาเรือ่ ง “ปฏิจจสมุปบาท” เป็นผลงานพุทธประติมากรรมร่วมสมัย โดย คุณเวนีเซีย วอล์กกี้ (Venetia Walkey) ประติมากรชาวอังกฤษ ศิลปินหญิงคู่ชีวิต ของอินสนธิ์ และเป็นที่ท�ำการของ “มูลนิธิ อุทยานธรรมะและหอศิลป์” ทีท่ งั้ คูไ่ ด้รว่ มกัน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2544 มีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนกิจกรรมที่เสริมสร้างวัฒนธรรม และสันติภาพ โดยอินสนธิ์มีความต้องการ ให้บ้านของเขาเป็นสถานที่เรียนรู้ส�ำหรับ เยาวชนและทุกคนที่สนใจในธรรมะและ ศิลปะ ...เป็นมรดกที่เขาตั้งใจฝากเอาไว้ให้ คนรุ่นหลัง






CONTACT INFORMATION A1

A2

A3

368/13 Soi 17 Nimmanhaemin Rd., Mueang Chiang Mai District Mon-Sun 10:00 am. - 8:00 pm. T. 087-810-8860 www.chiangmaiartonpaper.com

T. 053-217-656, 081-885-8454 s.saokong@hotmail.com

181/42 Moo 2, Soi Yuyen 2 Gasekaew Village, Huaykaew Rd., Mueang Chiang Mai District T. 089-206-1657

A4

A5

A6

Huen Sinam 3 Soi 9 Thiamporn Villge, Mahachoke Rd., Mueang Chiang Mai District T. 099-519-1535 www.facebook.com/WatercolorbyThanakorn

22/1 Soi 17 Nimmanhaemin Rd., Mueang Chiang Mai District T. 093-831-9394 www.torlarphern.com

Kitikong Tilokwattanotai C.A.P Studio

Navin Rawanchaikul StudiOK 87/109 Moo 7 Sammakorn (Faham) Village, Mueang Chiang Mai District On view by appointment only T. 081-111-9621 www.navinproduction.com www.facebook.com/NavinProduction

A7

Supachai Satsara Rumpueng Loundspeaker Art Space 23/8 Rumpueng Village, Soi Wat Umong, Rumpeung-Pongnoi Rd., Mueang Chiang Mai District T. 053-811-555, 081-681-2767 www.rumpuengartspace.wordpress.com www.facebook.com/rumpueng.artspace

Surasit-Sriwanna Saokong Serenity Art Studio

Thanakorn Chaijinda

A8

Wattana Wattanapun Wattana Art Gallery 100/1 Moo 10, Soi Wat Umong, Mueang Chiang Mai District 9:00 am. - 5:00 pm. (Close on Monday) T. 053-278-747, 089-423-1883 www.wattana-art.com

Pichai Nirand

Torlarp Larpjaroensook Gallery Seescape

A9

Kamin Lertchaiprasert 31st Century Museum of Contemporary Spirit (Station) 100/6 Moo 10, Soi Wat Umong 11, Suthep Rd., Mueang Chiang Mai District T. 053-811-555 www.31century.org *Location change to San Pa Tong District. Reopen on 14 February 2016

A10

A11

41/9 Moo 7, Mueang Chiang Mai District T. 053-805-794, 086-191-3650 www.puiock-gallery.com

44/1 Moo 1, Chonpratan Rd., Mueang Chiang Mai District Soi 18 Pa Daet Village, Mae Hea Junction, 2nd Outer Ring Rd., Mueang Chiang Mai District T. 081-671-7897, 084-719-7190 www.facebook.com/pongdej.chaiyakut

A13

A14

A15

329 Nimmanhaemin Rd., Mueang Chiang Mai District 9:00 am. - 5:00 pm. (Close on Monday and National holiday) T. 053-218-280 www.finearts.cmu.ac.th

Soi 3 Nimmanhaemin Rd., Mueang Chiang Mai District Mon-Sun 10:00 am. - 8:00 pm. T. 084-367-7368 jojokobe.artgallery@gmail.com

24/2 Soi 13 Nimmanhaemin Rd., Mueang Chiang Mai District Mon-Sun 12:00 am. - 12:00 pm. T. 084-169-3283

Sa-ngad Pui-ock Pui-ock Gallery

CMU Art Center

A12

Pongdej Chaiyakut Praewa Arts Studio

Penguin Village

Jojo Kobe Art Gallery

255

Minimal Gallery



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.