6
CONTENTS
CHAPTER 1 1+1=3
CHAPTER 2 MAXIMIZE
คำำ�นิิยม
8
คำำ�นำำ�
10
แนวคิิดและมุุมมอง
14
บทนำำ�
20 24
มหิิดลสิิทธาคาร
28
ศููนย์์เลิิศพนานุุรัักษ์์
38
กลุ่่�มอาคารสถาบัันไอโอทีี เพื่่� อพัั ฒนาอุุ ตสาหกรรมดิิจิิทััลแห่่งอนาคต สำำ�นัักงานส่่งเสริิมเศรษฐกิิจดิิจิิทััล
48
ศููนย์์การเรีียนรู้้�สรรค์์สาระ
56
คิิงบริิดจ์์ ทาวเวอร์์
64 72
โครงการพัั ฒนาพื้้� นที่่�หมอน 33 เขตพาณิิชย์์สวนหลวง-สามย่่าน
76
เซ็็นทรััล เวสต์์เกต
86
หััวหิิน แมริิออท รีีสอร์์ท และ สปา
92
มหาวิิทยาลััยกรุุ งเทพ วิิทยาเขตรัังสิิต
98
MEP SENSORY INTEGRATION
7
CHAPTER 3 MINIMIZE
106
CHAPTER 4 NON-LIVING
ARTICLES
APPENDIX
สถาบัันวิิทยสิิริิเมธีี และโรงเรีียนกำำ�เนิิดวิิทย์์
110
Palm 360
118
คิิง เพาเวอร์์
128
สัันติิบุุรีี เดอะ เรสซิิเดนเซส
138 148
สิิงห์์ดีีลัักษณ์์ ซีีเนมาติิก เธีียร์์เตอร์์
152
อาคารชีีวานามััย โรงพยาบาลจุุ ฬาลงกรณ์์ สภากาชาดไทย
160
ศููนย์์ปฏิิบััติิการแพร่่ภาพออกอากาศ การกระจายเสีียงวิิทยุุ และการให้้บริิการข้้อมููลข่่าวสารภาครััฐ กรมประชาสััมพัั นธ์์
170
เจ อาร์์ เค ทาวเวอร์์
180
อาคารนวมภููมิินทร์์
190
Smart City
198
Housing
208
ME49 Journey
220
Project Data
222
Selected Works
226
10
คำ�นำ�
ธนา ชาตะวราหะ กรรมการผู้้�จััดการ บริิษััท เอ็็ม แอนด์์ อีี เอ็็นจิิเนีียริ่่�ง 49 จำำ�กััด
ปีี พ.ศ. 2566 เป็็นปีีครบรอบ 40 ปีี ของกลุ่่�มบริิษััทในเครืือ 49 (49GROUP) ซึ่่�ง ตรงกัับการครบรอบ 20 ปีี ของ ME49 พวกเรา 49GROUP จึึงมีีความคิิดที่่�จะทำำ� หนัังสืือเผยแพร่่ความรู้้�ร่่วมกััน โดยมีี คุุณประภากร วทานยกุุล ประธานกรรมการ บริิหาร 49GROUP เป็็นผู้้�ริิเริ่่�มความตั้้�งใจนี้้�ในการรวบรวมผลงานความสำำ�เร็็จที่่�เกิิด ขึ้้�นมาเพื่่� อร่่วมเฉลิิมฉลองในวาระครบรอบ 40 ปีี 49GROUP ซึ่่�งตรงกัับความตั้้�งใจ ของผมและ ME49 ในการเรีียบเรีียงแนวความคิิดการออกแบบในเชิิงวิิศวกรรมงาน ระบบของ ME49 โดยนำำ�เสนอผ่่านคู่่�กัับผลงานที่่�เราได้้ทำำ�มา เพื่่� อแลกเปลี่่�ยนแนวทาง การทำำ�งาน หาคำำ�ตอบและเปิิดบทสนทนาที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับวิิศวกรรมงานระบบสู่่�วงกว้้าง ตั้้�งแต่่วิิศวกรร่่วมวิิชาชีีพ สถาปนิิก ผู้้�ออกแบบ เจ้้าของโครงการ นิิสิิต นัักศึึกษา รวม ถึึงบุุคคลทั่่�วไป ที่่�มีีความสนใจในศาสตร์์และการปฏิิบััติิงานของวิิศวกรงานระบบ เพื่่� อ ให้้ตระหนัักถึึงคุุณค่่าและเกิิดความภาคภููมิิใจในวิิชาชีีพนี้้�ร่่วมกััน
11
MEP SENSORY INTEGRATION
ทั้้�งหมดจึึงเป็็นที่่�มาของหนัังสืือ “MEP Sensory Integration” ที่่�ได้้บรรยายเกี่่�ยวกัับผลงานการออกแบบงานระบบโครงการ ต่่างๆ ในตลอด 20 ปีีที่่�ผ่่านมา ซึ่่�งเรีียบเรีียงโดยวิิศวกรที่่� ออกแบบโครงการนั้้�นๆ โดยตรง ผมจึึงหวัังว่่าการรวบรวม นำำ�เสนอผลงานแนวความคิิดครั้้�งนี้้� นอกจากจะเป็็นประโยชน์์ใน การต่่อยอดพัั ฒนาการทำำ�งานและแนวความคิิดในการออกแบบ วิิศวกรรมงานระบบ อีีกทั้้�งยัังสามารถสร้้างแรงบัันดาลใจ ให้้กัับวิิศวกรรุ่่�นใหม่่ที่่�จะก้้าวเข้้ามาร่่วมเส้้นทางเดิินกัับผมและ ME49 ในการร่่วมสร้้างเส้้นทางนี้้�ให้้สนุุก มีีสีีสัันและพัั ฒนา ให้้ดีียิ่่�งขึ้้�นต่่อๆ ไป ME49 ได้้เริ่่�มต้้นเปิิดทำำ�การในเดืือน ตุุลาคม พ.ศ. 2546 จาก พนัักงานไม่่ถึึง 10 คน ปััจจุุบัันเรามีีพนัักงานเกืือบ 50 ชีีวิิต ทำำ�ให้้ ME49 เป็็นบริิษััทออกแบบวิิศวกรรมงานระบบชั้้�นแนวหน้้า ที่่�เต็็มไปด้้วยความเชี่่�ยวชาญและประสบการณ์์ มีีศัักยภาพ และความพร้้อมในการออกแบบงานระบบอาคาร โดยใช้้ เทคโนโลยีี ที่่� ก้้า วหน้้าเพื่่� อ ออกแบบอาคารให้้ยั่่� ง ยืืนในการ ประหยััดพลัังงานและใช้้พลัังงานทางเลืือก จึึ งทำำ�ให้้ ME49 ได้้เป็็ นส่่ วนร่่วมผลัั ก ดัั นค วามสำำ� เร็็ จ ในโครงการต่่างๆ หลากหลายขนาดและประเภท ตอบโจทย์์ทุุกความต้้องการ ของแต่่ละโครงการภายในงบประมาณและระยะเวลาที่่� กำำ� หนดจนมีี ผ ลงานที่่� มีี ชื่่� อ เสีี ย งเป็็ นที่่� ย อมรัั บ ได้้รัั บ การ เผยแพร่่สู่่�สากลอย่่างต่่อเนื่่�อง
จากก้้าวแรกของ ME49 ที่่�เกิิดขึ้้�นเพื่่� อทำำ�งานร่่วมกัับ A49 และ กลุ่่�มบริิษััทในเครืือ 49 อย่่างใกล้้ชิิด จนสามารถเป็็น one-stop service ให้้กัับเจ้้าของโครงการต่่างๆ ถึึงปััจจุุบัันที่่�ได้้มีีโอกาส ทำำ�งานร่่วมกัับผู้้�ออกแบบรายอื่่�นๆ ตลอดระยะเวลาการทำำ�งาน ที่่�ผ่่านมาและที่่�จะเกิิดขึ้้�นในอนาคต ME49 มีีความตั้้�งใจที่่�จะ สร้้างสรรค์์ผลงานอาคารและสิ่่�งแวดล้้อมที่่�ดีีต่่อผู้้�อยู่่�อาศััย และเป็็นประโยชน์์ต่่อสัังคมอย่่างยั่่�งยืืนต่่อไป ผมและทีีมงาน ME49 ขอขอบคุุณ คุุณนิิธิิ สถาปิิตานนท์์ ผู้้�ก่่อตั้้�ง 49GROUP และคุุณประภากร วทานยกุุล ประธาน กรรมการ 49GROUP รวมถึึงทีีมงาน A49 ที่่�ได้้มอบโอกาสให้้ ME49 มีีบทบาทในการออกแบบงานระบบต่่างๆ ร่่วมกััน และ ขอขอบคุุณเจ้้าของโครงการ ผู้้�ออกแบบสาขาต่่างๆ ผู้้�ควบคุุม งาน และผู้้�รัับเหมาที่่�ช่่วยทำำ�ให้้ผลงานที่่�ออกมาเป็็นที่่�พึึงพอใจ ของทุุกฝ่่าย สุุดท้้ายนี้้�ขอขอบคุุณ สำำ�นัักพิิ มพ์์ลายเส้้น GA49 และผู้้�สนัับสนุุนทุุกท่่านที่่�ช่่วยให้้หนัังสืือเล่่มนี้้�เกิิดขึ้้�น สุุดท้้ายอีีกครั้้�ง ขอขอบคุุณทีีมวิิศวกรนัักเขีียนของ ME49 และคุุ ณพิิ ท ยา วิิ ชิิ ร ะประเสริิ ฐ อดีี ต กรรมการบริิ ษัั ท ของ ME49 ที่่�ร่่วมแรงร่่วมใจกัันผลัักดัันหนัังสืือ MEP Sensory Integration ให้้แล้้วเสร็็จสมบููรณ์์
14 แนวคิดและมุมมอง
Thana Chatavaraha | ธนา ชาตะวราหะ Managing Director | กรรมการผู้้�จััดการ
Bundit Plubnil | บััณฑิิต พลัับนิิล
Deputy Managing Director | รองกรรมการผู้้�จััดการ
จุุ ดเริ่่�ม
Thana : เดิมเป็นผู้รับเหมางานอาคาร ต้องยอมรับว่าทุกอย่างในอาคารเราต้องทำ�หมดเลย เรียกได้ว่าตั้งแต่ไม้จิ้มฟันยันเรือรบ ทำ�ถึงจุดนึงก็มองว่าถ้าจะเป็นผู้รับเหมาที่มีหน้าที่ การงานที่โตขึ้น จึงหันมาหาประสบการณ์ด้านการควบคุมงานก่อสร้าง ในการเรียน รู้งานด้านเอกสารต้องเขียนเป็นทุกอย่างเพื่อให้เห็นภาพรวมของงานก่อสร้าง แต่ ด้วยการเจอคนมาเรื่อยๆ ทำ�ให้ได้มาทำ�งานออกแบบโดยไม่ได้ตั้งใจ แล้วมองว่าจะ ทำ�ได้ดีต้องมีประสบการณ์ทั้งการเป็นผู้รับเหมา ทั้งด้านการคุมงาน หรือว่าออกแบบ อย่างไรให้คนทำ�งานได้ดี มีคุณภาพและก่อสร้างได้ง่าย ซึ่งก็กลายเป็นพื้นฐานที่เห็น ตั้งแต่แรกว่าต้องมีประสบการณ์ตรงนั้น พอเรามาออกแบบ เราต้องออกแบบว่าทำ� อย่างไรให้ตรงส่วนนั้นเป็นไปได้จริง แล้วพอมาทำ� จากแรกๆ ทำ�โครงการเล็กๆ พอ ทำ�เรื่อยๆ ก็เจอโครงการที่มันใหญ่ขึ้น เราก็เริ่มสนุกกับงานพวกนี้ จนทำ�ให้เปลี่ยน แนวคิดการเป็นผู้รับเหมามาเป็นผู้ออกแบบ เปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกลายเป็นชีวิตของผม และอยู่ในวงการนี้มาโดยตลอด
แนวคิิดและมุุมมอง
Bundit : เส้นทางของผมคือตั้งใจมาเป็นผู้ออกแบบตั้งแต่แรก ก็คือตั้งใจตั้งแต่ตอนเรียนมา เลย พอเราเรียนมาได้แต่วิชาความรู้ ในหนังสือในตำ�รา เราก็อยากที่จะเห็นภาพว่า ความรู้เหล่านั้น มันจะนำ�มาใช้อย่างไร ความรู้เต็มหัวเลยจะเอามาปลดปล่อยอย่างไร ก็เลยเอามาปลดปล่อยกับงานออกแบบ นั่นก็คือการลองเอาความรู้ทางวิชาการมา ใช้ออกแบบ เพื่ออยากเห็นสิ่งที่เราออกแบบว่าออกมาเป็นตึก เป็นอาคาร เป็นบ้าน ออกมาเป็นอย่างไร แล้วพอยิ่งทำ�งานมา ยิ่งได้เจอกับสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง ภูมิสถาปนิก และมัณฑนากรต่างๆ มันก็เริ่มที่จะสนุกเพราะได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ในหลายๆ อาชีพ ก็เหมือนกับการเพิ่มพูนประสบการณ์ การได้เจอคนที่หลากหลาย มากขึ้น ได้มีการพัฒนาตนเองมากขึ้นในสายการออกแบบ แล้วก็ได้เห็นผลงานจริง ว่าตึกที่เราออกแบบงานระบบไฟฟ้า ประปา ปรับอากาศ มันใช้งานได้จริง ซึ่งถ้าผล งานของเรามันออกมาดี เราก็จะรู้สึกภูมิใจ รู้สึกดีใจ รู้สึกว่างานนี้เป็นงานที่มีเกียรติ คือเราทำ�งานให้กับเจ้าของงานหรือผู้ว่าจ้าง เราก็อยากทำ�งานของเราให้มันดีที่สุด ทุกคนให้เกียรติ เจ้าของงานให้เกียรติผู้ออกแบบ เราก็ต้องทำ�ออกมาให้สมกับที่เขา ให้เกียรติให้มากที่สุด แล้วพอเราทำ�งานช่วงก่อสร้าง ก็ต้องไปทำ�งานกับผู้รับเหมา ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ก็ต้องทำ�อย่างไรให้งานออกมาดี สมดังใจที่เราออกแบบไว้ ก็ต้องทำ�งานกับทุกๆ ฝ่ายให้มันดีที่สุด เพื่อให้งานออกมาดี มันก็เป็นความรับผิด ชอบของเราว่า พอเราเห็นผลงานของเราที่เกิดขึ้นมาจริง แล้วมันออกมาสวย และ ใช้งานได้ดีสมความตั้งใจ มันก็จะเป็นความภูมิใจของเราในแต่ละงาน พอเราเริ่มมา เป็นหัวหน้างาน เราก็อยากให้คนรุ่นหลังที่เป็นวิศวกรออกแบบเหมือนกันดำ�เนินรอย ตามว่ารุ่นพี่ๆ เขาคิดมาอย่างไร เราก็อยากที่จะสั่งสอนในรุ่นต่อๆ ไป ว่าพองานออก มาเราก็จะรู้สึกชื่นชม ดีใจ และก็เป็นเกียรติที่ได้ทำ�งานออกแบบนั้นมา ผมก็เลยอยู่ใน สายงานออกแบบมาโดยตลอด
15
16
พื้้� นฐานของงานระบบที่่�ดีี Thana : พื้นฐานของงานระบบที่ดี คือ การประหยัดพลังงาน ความสะดวกสบายในการ ใช้งาน และเป็นไปตามหลักการ ถูกต้องตามกฎหมาย ที่มาตรฐานกำ�หนด ซึ่ง ปัจจุบันเราก็ต้องพยายามสร้างความแตกต่างขึ้นมา บวกกับนวัตกรรมในเรื่อง ของพลังงาน ที่เข้ามาเป็นประโยชน์ให้ทั้งเจ้าของโครงการและผู้ว่าจ้างมากขึ้น กว่าเดิม ซึ่งก็เป็นจุดที่ว่าทำ�ไมต้องเลือก ME49 ในการเป็นผู้ออกแบบ เราไม่ หยุดพัฒนาและสร้างสรรค์งานออกแบบในทุกๆ งาน เราพัฒนาให้ทันต่อโลก มากขึ้นเรื่อยๆ งานก่อสร้างในปัจจุบันนี้ที่มีผลต่องานออกแบบ คืองาน Value Engineering (VE) ซึ่งมีผลมากในบางครั้งที่เรา overspecify ระบุอุปกรณ์ที่เกินความต้องการ พอทำ� VE ก็จะส่งให้ทางผู้รับเหมาหรือที่ปรึกษา จะโดนตีกลับมาว่าอุปกรณ์ ตรงนี้ใหญ่ไป ลดขนาดลงได้มั้ย บางอย่างเยอะเกินไป ซึ่งทำ�ให้รู้ว่าบางครั้ง การออกแบบของเราก็ใหญ่หรือเยอะไปในอุปกรณ์บางอย่าง เราก็ได้บทเรียน กลับมาว่าเราต้องคำ�นึงถึงงบประมาณมากขึ้น บางครั้งสมัยก่อนทำ�ใหญ่ไว้ก่อน หลังๆ มีการดูว่าทำ�ให้เหมาะสมกับการใช้งานจริง
Bundit : งานระบบอาคารสมัยก่อนเหมือนงานที่หยุดนิ่งแล้ว ทุกงานออกแบบมาเหมือน กันหมด มีทุกอย่างเหมือนกัน แต่ในปัจจุบันทุกอย่างเปลี่ยนไป มีระบบ backup ที่ดีขึ้น ตอบโจทย์มากขึ้น ไม่ใช่มีแค่ระบบเปิด-ปิดธรรมดา แต่มีเรื่องของ ความสะดวกสบายและนวัตกรรมมากขึ้น การจะทำ�ให้อาคารมีคุณค่ามากขึ้น ซึ่ง ณ ปัจจุบัน เราออกแบบร่วมกับสถาปนิกและมัณฑนากร มีการพูดคุยร่วมกัน ระหว่างช่วงออกแบบ เพื่อให้งานสถาปัตยกรรม งานโครงสร้าง และ งานระบบ กลมกลืนกัน บางคนอาจจะมองว่าวิศวกรรมงานระบบก็แค่เป็นงานที่ทำ�ให้ น้ำ�ไหล ไฟสว่าง หรือทำ�ให้แอร์เย็น แต่ถึง ณ จุดนี้ คนที่เข้ามาในอาคารอาจจะ มองเห็นว่างานระบบที่อยู่ภายในอาคารมีความสวยงาม การเลือกใช้โคมไฟ การเลือกใช้หัวจ่ายลมปรับอากาศ อุปกรณ์งานระบบต่างๆ ให้ดูกลมกลืน ดูน่าใช้งาน เหมาะสมไปกับอาคาร นอกเหนือจากนั้นเราออกแบบให้เป็นอาคาร อัจฉริยะ ทำ�ให้อาคารฉลาดขึ้น ฉลาดในด้านการใช้งาน ฉลาดในการประหยัด พลังงาน จนถึงฉลาดในด้านความปลอดภัย ในเรื่องของการออกแบบ เราคุยกับสถาปนิกว่าพื้นที่เซอร์วิสงานระบบ เพียง พอแค่ไหน ทุกงานมีการถกเถียงประเด็นนี้เสมอ สถาปนิกต้องการให้พื้นที่ตรง นี้น้อยลงเพื่อนำ�ส่วนนี้ไปใช้ทำ�อย่างอื่น แต่ในแง่ของเรา เราก็อยากขอพื้นที่อีก หน่อยเพื่อให้เซอร์วิสง่าย สุดท้ายเราก็หาจุดที่ลงตัวเจอ ทำ�ให้ในทุกโครงการมี พื้นที่ใช้สอยได้ประโยชน์ครบทุกอย่าง และยังสามารถเซอร์วิสงานระบบได้ง่าย
แนวคิิดและมุุมมอง
จุุ ดประสงค์์การทำำ�หนัังสืือ Thana : ด้วยความที่เราอยู่ในเครือ 49GROUP จึงอยากทำ�หนังสือที่เกี่ยว เนื่องทั้งงานสถาปัตยกรรม งานโครงสร้าง อีกทั้งงานระบบไปด้วย กัน ประกอบกันทั้งสามส่วนทำ�ให้อาคารมีคุณค่า ด้วยความตั้งใจของ เราที่จะให้บุคคลทั่วไปอ่าน รวมถึงนิสิต นักศึกษา ไม่จ�ำ เป็นต้องเป็นคน ที่มีความรู้เรื่องวิศวกรรมเท่านั้น หนังสือเล่มนี้จึงเรียบเรียงมาให้อ่าน ง่าย ใช้คำ�พูดที่ไม่ได้เป็นหลักการ หรือต้องคิดวิเคราะห์อะไรมากมาย อ่านแล้วเพลิดเพลินได้ความรู้ และน่าติดตาม ซึ่งผู้อ่านจะได้ความรู้ ไปโดยการอ่านได้ง่ายๆ
บนแนวความคิิดของ ME49 Thana : บางคนถามว่างานระบบในอาคารคืออะไร จึงอยากเปรียบเทียบกับธาตุ ทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ� ลม ไฟ เมื่อเทียบกับอาคารหนึ่ง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับอาคาร บุคคลแรกคือสถาปนิก สถาปนิกคือผู้ที่วางมโนภาพ วางรูปแบบอาคาร ฝ่ายที่ตามมาคือวิศวกรโครงสร้าง ต้องนำ�ความคิดรูปแบบที่สถาปนิก วาดไว้มาขึ้นเป็นรูปแบบอาคาร ไม่ว่าจะเป็นงานคอนกรีต งานโครงสร้าง เหล็ก ซึ่งก็เปรียบเหมือนธาตุดิน ในส่วนของธาตุน้ำ�ในอาคาร ไม่ว่าจะ เป็น น้ำ�ใช้ น้ำ�เสีย น้ำ�ดับเพลิง ส่วนของธาตุลม ก็คือ ปรับอากาศและ ระบายอากาศเป็นหลัก และธาตุไฟ ก็คือ ไฟแสงสว่าง ไฟฟ้ากำ�ลัง ระบบ สื่อสาร ระบบทุกอย่างที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ๆ
17
บทนำำ�
20
นัับเป็็นเวลาเกืือบ 20 ปีีแล้้ว ที่่� ME49 ได้้ทํํางานและมีีส่่วนร่่วมในการสร้้างโครงการประเภทต่่างๆ ให้้เสร็็จสมบููรณ์์ ตั้้�งแต่่บ้้านพัั กอาศัั ยจนถึึงงานระบบโครงสร้้างพื้้� นฐานในระดัับผัังเมืือง อีีกทั้้�ง ยัังครอบคลุุมในหลากหลายสาขาวิิชาวิิศวกรรมที่่�แตกต่่างกััน ไม่่ว่่าจะเป็็นระบบไฟฟ้้าและสื่่�อสาร ระบบปรัับอากาศ ระบบประปา รวมถึึงระบบที่่�เกี่่�ยวเนื่่�องกัันกัับระบบต่่างๆ ข้้างต้้น เช่่น ระบบบำำ�บััด น้ำำ�เสีีย ระบบป้้องกัันอััคคีีภััย และระบบอื่่�นๆ อีีกมากมาย เรีียกได้้ว่่า ME49 นั้้�นสามารถให้้บริิการที่่�จะ ให้้คำำ�ตอบอย่่างแน่่วแน่่และครบครัันเกี่่�ยวกัับการออกแบบทางวิิศวกรรมในทุุกด้้านของระบบอาคาร และสิ่่�งแวดล้้อมสร้้างสรรค์์ อย่่างไรก็็ตาม หากเราเชื่่�อมโยงแนวความคิิดระหว่่างโครงการต่่างๆ ผ่่านภาพร่่าง การประชุุม การพูู ดคุุย และถกเถีียงจำำ �นวนนัับไม่่ถ้้วนที่่� ME49 ได้้ทำำ�มา เราจะเริ่่�มเห็็น วิิธีีการทำำ�งานขององค์์กรและหลัักการของเราได้้ชััดเจนมากขึ้้�น แนวคิิดหลัักที่่�เกิิดขึ้้�นในการสนทนา ในช่่วงเวลาที่่�เราพัั ฒนาโครงการที่่� ME49 มัักจะหมุุนรอบแนวคิิดในการสร้้างสภาพแวดล้้อมเชิิง รูู ปธรรมและนามธรรม เพื่่� อเพิ่่� มความสะดวกสบายสููงสุุดให้้แก่่ผู้้�ใช้้อาคาร การสร้้างสรรค์์ธรรมชาติิ ที่่�เรานำำ�เสนอมีีจุุ ดมุ่่�งหมายเพื่่� อให้้มีีสภาพแวดล้้อมที่่�ถููกสร้้างขึ้้�นที่่�ชาญฉลาดและสะดวกสบายสํําหรัับทั้้�ง สิ่่�งมีีชีีวิิตและไม่่มีีชีีวิิต
ในขณะที่่�เรายัังคงขััดเกลากระบวนการออกแบบทางวิิศวกรรม ความคิิด และแนวทางการทำำ�งาน ผลงานของเราสามารถเป็็นตััวสรุุ ปได้้ดีีที่่�สุุดว่่าเป็็นการทำำ�ให้้เกิิดสภาพแวดล้้อมที่่�รวบรวมการรัับรู้้� ทั้้�งหมด หรืือเรีียกอีีกอย่่างหนึ่่�งว่่า "Sensory Integration" ซึ่่�งเป็็นคํําที่่�ประยุุกต์์มาจากแนวคิิดทาง ทฤษฎีีที่่�พััฒนาและอธิิบายครั้้�งแรกในช่่วงปีี พ.ศ. 2510 โดยนัักจิิ ตวิิทยาชาวอเมริิกััน Anna Jean Ayres ซึ่่�งมีีรากฐานมาจากทฤษฎีีของกิิจกรรมบำำ�บััด (Occupational Therapy) โดยการทดสอบ ความสัั มพัั นธ์์ระหว่่างสมอง พฤติิกรรม และสิ่่�งแวดล้้อม ทฤษฎีีนี้้�เป็็นทฤษฎีีที่่�ศึึกษาและวิิเคราะห์์ รูู ปแบบทางการรัับรู้้�ที่่�แตกต่่างกััน ความสามารถในการผสมผสานการรัับรู้้�เข้้าด้้วยกัันและการประมวล ผลทางการรัับรู้้� เราจึึ งเริ่่�มนิิยามและใช้้ความหมายนี้้�ให้้สััมพัั นธ์์กัับการทำำ�งานของเราในการสร้้างสรรค์์ สภาพแวดล้้อมโดยรัับความต้้องการที่่�จะรัับรู้้�และสััมผััสของมนุุษย์์ที่่�มีีอิิทธิิพลต่่อร่่างกายทั้้�งภายนอก และภายใน ในขณะที่่�ผลลััพธ์์ที่่�ได้้ ก็็คืือสภาพแวดล้้อมที่่�มีีถููกควบคุุมตามความต้้องการของมนุุษย์์ ซึ่่�ง หากองค์์ความรู้้�ของสถาปััตยกรรมถืือเป็็นแบบแผนเชิิงพื้้� นที่่�และฟัังก์์ชัันการทํํางาน การทำำ�งานของ วิิศวกรรมงานระบบสามารถรัับรู้้�ได้้ว่่าเป็็นการบููรณาการ และการปรัับความรู้้�สึึก เพื่่� อให้้เกิิดรูู ปร่่าง ในเชิิงสถาปััตยกรรมและฟัังก์์ชัันการใช้้งานของโครงการนั้้�นๆ
เราหวัังว่่าหนัังสืือเล่่มนี้้�จะช่่วยให้้เราอธิิบายพัั ฒนาและขยายความบทสนทนาเกี่่�ยวกัับแนวคิิดทาง วิิศวกรรมที่่�เกี่่�ยวกัับการผสมผสานการรัับรู้้�และสััมผััสของเราเพิ่่� มเติิมผ่่านตััวอย่่างของโครงการ ของเราใน 4 แนวความคิิดที่่�เราพัั ฒนาต่่อมาจาก “Sensory Intergration” ต่่อไปนี้้�: "1 + 1 = 3", "Maximize", "Minimize" และ "Non-Living" แต่่ละบทจะแยกย่่อยและอธิิบายแนวทางของเรา อย่่างละเอีียดด้้วยตััวอย่่างโครงการที่่�ดํําเนิินงานภายใต้้แนวคิิดหลัักของเราเกี่่�ยวกัับ "Sensory Integration" สุุดท้้ายนี้้�โครงการที่่�เราเลืือกมาแสดงในหนัังสืือเล่่มนี้้�เป็็นเศษเสี้้�ยวเล็็กๆ ของสิ่่�งที่่� ME49 ได้้ทํําในช่่วง 20 ปีีที่่�ผ่่านมา การสะสมความรู้้�และประสบการณ์์จะถููกแสดงและบอกเล่่า ในขณะที่่� เรายัังคงศึึกษาและพัั ฒนาแนวทางการออกแบบทางวิิศวกรรม ในเชิิง Sensory Integration ต่่อไป
21
CHAPTER 01
25 โครงการที่่�ถููกเลืือกในบทนี้้�แสดงให้้เห็็นถึึงแนวคิิดที่่�ว่่า "The whole is greater than the sum of its parts." จากการหาทางออกในการออกแบบทางวิิศวกรรมงานระบบของ ME49 โดยพื้้� นฐาน แล้้วระบบวิิศวกรรมที่่�รวมกัันทั้้�งหมดหรืือสมบููรณ์์นั้้�นมีีคุุณค่่าความสํําคััญหรืือคุุณภาพที่่�มากกว่่าแค่่ การนำำ�ประสิิทธิิภาพของส่่วนประกอบแต่่ละส่่วนมารวมกััน พูู ดง่่ายๆ ก็็คืือ ME49 เชื่่�อว่่าผลรวมและ ผลลััพธ์์ของการหาคำำ�ตอบให้้กัับแนวทางการออกแบบทางวิิศวกรรมและการดํําเนิินการอย่่างดีีของชิ้้�น ส่่วนที่่�ทํํางานร่่วมกัันนั้้�นควรให้้ผลลััพธ์์ที่่�เหนืือกว่่าการรวมคุุณสมบััติิเฉพาะของแต่่ละชิ้้�นส่่วนเข้้าด้้วยกััน
หนึ่่�งในคํําที่่�เราค้้นพบผ่่านหลากหลายโครงการในบทนี้้�คืือ "Synergy" และวิิธีีการที่่�เราจะจัั ดระบบวิิธีี การแก้้ปััญหาที่่�จะเกิิดขึ้้�นก่่อนที่่�สิ่่�งที่่�ครบถ้้วนสมบููรณ์์ ซึ่่�งนำำ�ไปสู่่�การเพิ่่� มประสิิทธิิภาพการทำำ�งานของ อาคารมากกว่่าการรวบรวมองค์์ประกอบแต่่ละส่่วนของอาคาร ในสภาพแวดล้้อมที่่�ถููกสร้้างขึ้้�นนี้้� การ มีีปฏิิสััมพัั นธ์์และความสััมพัั นธ์์ระหว่่างระบบประกอบอาคารที่่�หลากหลายต่่างๆ และสภาพแวดล้้อม ของระบบเหล่่านั้้�นได้้สร้้างเครืือข่่ายการพึ่่� งพากัันละกัันที่่�ซัับซ้้อน สภาพและการทํํางานของอาคารขึ้้�น อยู่่�กัับการทํํางานร่่วมกัันระหว่่างระบบและส่่วนประกอบต่่างๆ แต่่ละระบบมีีบทบาทเฉพาะด้้านที่่�แตก ต่่างกััน และการปฏิิสััมพัั นธ์์ที่่�ผสมผสานกัันนั้้�นมีีส่่วนช่่วยให้้เกิิดประสิิทธิิภาพที่่�มั่่�นคง และเกิิดความ ยืืดหยุ่่�นของอาคารโดยรวม แนวทางการทํํางานร่่วมกัันของเรายัังสามารถทำำ�ให้้เกิิดการผสมผสาน กระบวนการคิิดสร้้างสรรค์์ที่่�แตกต่่างกััน ก่่อให้้เกิิดเประโยชน์์ในการทํํางานร่่วมกัันและผลลััพธ์์ที่่�มีี ประสิิทธิิภาพเพิ่่� มขึ้้�น ซึ่่�งจะสามารถเกิิดขึ้้�นได้้เมื่่�อผสมผสานสาขาวิิชาต่่างๆ และระบบการสร้้างที่่�แตก ต่่างกัันเข้้าด้้วยกััน และมีีปฏิิกิิริิยาต่่อกััน โดยเน้้นย้ำำ�ถึึงความสํําคััญของการทํํางานร่่วมกัันและความ เชื่่�อมโยงระหว่่างกัันเพื่่� อให้้บรรลุุผลลััพธ์์ที่่�มากขึ้้�นและปลดล็็อกความเป็็นไปได้้ใหม่่ๆ ภายในแนวทาง การออกแบบทางวิิศวกรรมงานระบบของ ME49
MEP SENSORY INTEGRATION
แนวคิิดโดยรวมของบทนี้้�คืือการเน้้นความสํําคััญของระบบที่่�ผ่่านการพิิ จารณาและการมีีปฏิิกิิริิยาต่่อ กัันแทนที่่�จะมุ่่�งเน้้นไปที่่�องค์์ประกอบแต่่ละอย่่างเพีียงอย่่างเดีียว บทนี้้�จะให้้ความสำำ�คััญกัับความคิิดที่่� ว่่าการผสมผสานและการรวมกัันของส่่วนประกอบที่่�แตกต่่างกัันสามารถนํําไปสู่่� คุุณสมบััติิที่่�เกิิดขึ้้�นใหม่่ ฟัังก์์ชัันการใช้้งานที่่�เพิ่่� มขึ้้�น และมีีคุุณค่่าโดยรวมที่่�มากขึ้้�นหรืือก็็คืือผลลััพธ์์ของการนำำ�เสนอแนวทาง การออกแบบทางวิิศวกรรมของ ME49
28
1+1=3 (MUTUAL)
มหิดลสิทธาคาร Prince Mahidol Hall
เจ้้าของโครงการ: มหาวิิทยาลััยมหิิดล
ที่่�ตั้้�ง: มหาวิิทยาลััยมหิิดล วิิทยาเขตศาลายา อ.พุุ ทธมณฑล จ.นครปฐม
มหิิดลสิิทธาคารได้้รัับการออกแบบให้้เป็็นโรงละครระดัับสากลขนาด 2,000 ที่่�นั่่�ง ตั้้�งอยู่่�ใน มหาวิิทยาลััยมหิิดล วิิทยาเขตศาลายา พื้้� นที่่�ในห้้องโถงได้้รับ ั การออกแบบมาเพื่่� อให้้ได้้เสีียงที่่�เป็็น ธรรมชาติิที่่�สุุดสำำ�หรัับการแสดงโอเปร่่าหรืือวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตรา และสร้้างขึ้้�นเพื่่� อจััดกิิจกรรม อื่่�นๆ ของมหาวิิทยาลััยอีีกด้้วย องค์์ประกอบโครงสร้้างของเส้้นหลัังคาได้้รัับแรงบัันดาลใจ จากความงามของสรีีระมนุุษย์์ ในเชิิงกายภาพรวมไปถึึงต้้นกำำ�เนิิดของมหาวิิทยาลััยในฐานะ คณะแพทยศาสตร์์ และรููปแบบที่่�มัักพบในสถาปััตยกรรมไทยโบราณ ซึ่่�งสิ่่�งเหล่่านี้้�สะท้้อน อยู่่�ในสััญลัักษณ์์ของมหาวิิทยาลััยมหิิดล การออกแบบหลัังคาที่่�ช่่วยลดเสีียงรบกวนจาก ภายนอกด้้วยการสร้้างให้้มีีเปลืือกหุ้้�ม 2 ชั้้�น โดยชั้้�นในเป็็นเปลืือกหุ้้�มคอนกรีีต ส่่วนช้ัั�นนอก เป็็นเปลืือกหุ้้�มโครงเหล็็กแบบช่่วงยาวช่่วยเพิ่่� มพื้้�นที่่�ภายในให้้สููงสุุดโดยทำำ�ให้้โครงกระดููกของ อาคารมองเห็็นได้้ทั้้�งภายนอกและภายใน องค์์ ป ระกอบทางสถาปััตยกรรมต่่างๆ เช่่น เครื่่�อ งปรัับ อากาศที่่�มีีระดัับ เสีียงต่ำำ�สุุ ด เปลืือกสองชั้้�น ผนัังทึึบ และประตููลดเสีียงก็็มีีความสำำ�คััญเช่่นกัันในการกำำ�หนดคุุณภาพ เสีียงสููงสุุดภายในหอประชุุม ระบบจ่่ายลมเย็็นแบบ displacement ซึ่่�งกระจายลมเย็็น ไปยัังที่่�นั่่�งจากพื้้� นด้้านล่่าง ทำำ�ให้้สามารถทำำ�ความเย็็นในห้้องโถงได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ขณะเดีียวกัันยัังช่่วยลดเสีียงและพลัังงานที่่�สููญเปล่่าในห้้องโถงที่่�กว้้างขวางและสููง ในส่่วน สำำ�หรัับการจััดเตรีียมอุุ ปกรณ์์ของเวทีีเพื่่� อรองรัับการแสดงที่่�แตกต่่างกััน มีีลิิฟต์์สองตััวอยู่่� บนเวทีีหลัักและในหลุุมออร์์เคสตรา (orchestra pit) แนวความคิิดการออกแบบงานระบบในโครงการนี้้� คืือการทำำ�งานร่่วมกัันระหว่่างระบบต่่างๆ ภายในอาคารเพื่่� อให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุดต่่อการใช้้สอย ตััวอย่่างการจ่่ายลมเย็็นในระบบ ปรัับอากาศจากพื้้� นด้้านล่่างเพื่่� อช่่วยลดเสีียงและพลัังงานที่่�สููญเปล่่าจากที่่�กล่่าวมาข้้างต้้น
ปีีที่่�ดำำ�เนิินการ: 2549 - 2557
29
พื้้� นที่่�: 35,000 ตารางเมตร
Prince Mahidol Hall is a 2,000-seats theater situated in the Mahidol University's Salaya campus. The emphasis of ME49 for this project is to minimize noise level air conditioning, the double layer shell, solid wall and sound reducing door, were also important in ensuring the highest sound quality within the auditorium. A displacement air conditioning system, which distributes air to the seats from floor below, was therefore selected to efficiently ventilate the hall while minimizing the sound and wasted energy in such a capacious hall. Altogether, the project demonstrates ME49 engineering design concept of 1+1=3.
หลายๆ โครงการที่่�จะได้้เห็็นในบทนี้้�เกี่่�ยวข้้องกัับการคิิดวิิเคราะห์์อย่่างรอบคอบและการผสมผสานอย่่าง ถี่่�ถ้้วนขององค์์ประกอบหลายๆ อย่่างและข้้อจํํากััดที่่�เกี่่�ยวเนื่่�องกัันกัับองค์์ประกอบนั้้�นๆ เพื่่� อเพิ่่� มประสิิทธิิภาพ การทำำ�งานของอาคารและทำำ�ให้้เป้้าหมายที่่�ตั้้�งไว้้สำำ�เร็็จตามที่่�คาดหวัังไว้้อย่่างดีี แนวคิิดของแต่่ละโครงการ ที่่�จะหยิิบยกขึ้้�นมาพูู ดในบทนี้้�คืือ "Optimization" เราต้้องการแสดงให้้เห็็นถึึงวิิธีีการหาทางออกเกี่่�ยวกัับ วิิศวกรรมงานระบบในหลายๆ ทางของเรา ในการเพิ่่� มประสิิทธิิภาพและประสิิทธิิผลโดยรวมของระบบอาคาร อย่่างเต็็มที่่�
73
กระบวนการออกแบบของเรามัักจะเริ่่ม � ต้้นด้้วยการกํําหนดเป้้าหมายที่่�เฉพาะเจาะจงและสามารถนำำ�มาประเมิิน ผลได้้ให้้กัับโครงการนั้้�นๆ เพื่่� อที่่�จะนำำ�ผลประเมิินไปปรัับปรุุ งกัับโครงการในอนาคต เราเรีียนรู้้�ผ่่านโครงการ ต่่างๆ ในบทนี้้� ว่่าการเพิ่่� มประสิิทธิิภาพของงานระบบอาคารนั้้�นจำำ�เป็็นต้้องมีีการแลกเปลี่่�ยนความสมดุุล ระหว่่างข้้อจำำ�กััดต่่างๆ ซึ่่�งอาจมีีส่่วนได้้และส่่วนเสีียที่่�แตกต่่างกััน เช่่น ต้้นทุุน เวลา งบประมาณ ทรััพยากร บุุคคล หรืือแม้้กระทั่่�งข้้อจำำ�กััดเชิิงเทคนิิคต่่างๆ ดัังนั้้�นเราจะต้้องกํําหนดเกณฑ์์และวััตถุุประสงค์์ต่่างๆ เพื่่� อ เพิ่่� มประสิิทธิิภาพของอาคารตั้้�งแต่่เริ่่�มต้้น จากนั้้�นจึึ งค่่อยปรัับเปลี่่�ยนและพัั ฒนาไปพร้้อมกัับวงจรชีีวิิตของ โครงการในขณะที่่�กํําลัังถููกคิิดพิิจารณาอย่่างถี่่�ถ้้วน
MEP SENSORY INTEGRATION
สรุุ ปได้้ว่่าการเพิ่่� มการออกแบบทางวิิศวกรรมให้้มีีประสิิทธภาพเป็็นกระบวนการที่่�ต่่อเนื่่�องกััน จึึ งต้้องมีี ระบบความคิิดที่่�จะปรัับปรุุ งและปรัับตััวอย่่างไม่่สิ้้�นสุุด การตรวจสอบประสิิทธิิภาพของอาคาร การรวบรวม ข้้อเสนอแนะจากผู้้�ใช้้งาน และการแสวงหาโอกาสในการทำำ�ให้้ดีีขึ้้�นอย่่างแข็็งขััน จะช่่วยให้้วิิศวกรสามารถ ขััดเกลาและเพิ่่� มประสิิทธิิภาพของอาคารไปตามเวลาอย่่างโครงการต่่างๆ ที่่�จะได้้เห็็นในบทนี้้�
82
MAXIMIZE
แนวความคิิดระบบระบายน้ำำ�ฝน
ในระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์ เมื่อฝนตกน้ำ�ฝนจะถูกชะลอ ความเร็วโดยต้นไม้และพืชพรรณในป่า ทำ�ให้มีระยะ เวลาที่น้ำ�ฝนจะซึมลงสู่ผืนดิน น้ำ�ฝนที่เหลือจากการ ซึมดินก็จะไหลรวมเป็นทางน้ำ�เล็กๆ รวมตัวกันเป็น ลำ�คลอง หรือไหลลงสู่แหล่งน้ำ� หนอง บึง แต่หากป่า ไม้ถูกตัดโค่นทำ�ลาย ทำ�ให้น้ำ�ฝนไหลเร็วขึ้น เวลาที่ น้ำ�ฝนจะซึมลงดินน้อยลง ทำ�ให้ปริมาณน้ำ�ที่ไหลลง สู่ลำ�คลองหรือแหล่งน้ำ�มีปริมาณที่มากขึ้น และเมื่อ มีฝนตกในปริมาณมาก น้ำ�ฝนที่ไหลลงสู่แหล่งน้ำ�มี ปริมาณมากจนเกินความสามารถที่แหล่งน้ำ�จะรับได้ จนอาจส่งผลให้เกิดน้ำ�ท่วมขึ้นได้
แนวความคิดในการออกแบบระบบระบายน้ำ� ผู้ออกแบบ ด้านภูมิสถาปัตยกรรมได้นำ�เสนอโดยการลอกเลียน แบบวิถีทางธรรมชาติ โดยจัดทำ�ระบบระบายน้ำ�ให้ น้ำ�ฝนที่ตกลงบนพื้นผิวอาคาร ให้ไหลผ่านพื้นที่สีเขียว ที่กระจายอยู่ในทุกส่วนของอาคาร เพื่อชะลอและลด ปริมาณน้ำ�ฝนที่จะไหลลงสู่ระดับพื้นดิน นอกจากนี้ ยังจัดให้มีพื้นที่รับน้ำ�ท่วม (floodplain) ขนาดใหญ่ ที่ สามารถรับปริมาณน้ำ�ฝน 50 ปีได้โดยไม่ส่งผลกระทบ ต่อพื้นที่โดยรอบโครงการ
diagram แสดงการจำ�ลองระบบนิเวศน์ ร่วมกับระบบระบายน้ำ�ฝน
83
Block 33
diagram แสดงแนวความคิด ของระบบระบายน้ำ�ฝน
พื้นที่สีเขียวที่จะช่วยชะลอและลดปริมาณน้ำ�ฝน ก่อนไหลลงสู่ระดับพื้นดิน
84
MAXIMIZE
แนวความคิิดงานระบบปรัับอากาศ รวมศููนย์์แบบใช้้น้ำำ�เย็็น
-
-
-
เป้าหมายลดการใช้พลังงาน 30-40% ในระบบปรับอากาศจากอาคาร พักอาศัยทั่วไป ใช้ระบบปรับอากาศแบบน้ำ�เย็นประสิทธิภาพพลังงานสูง ส่งจ่ายน้ำ�เย็น ให้ทั้งอาคาร ห้องพักใช้เครื่องปรับอากาศแบบใช้น้ำ�เย็น ไม่มีคอยล์ร้อน (condensing unit) ที่ระเบียงลดจำ�นวนอุปกรณ์และเวลาที่ใช้บำ�รุงรักษา ลดการลงทุนด้านไฟฟ้าจากการรวมศูนย์เครื่องทำ�ความเย็น จากเดิม ที่กระจายเป็น condensing unit ตามห้องพักมาไว้ที่เครื่องทำ�น้ำ�เย็น รวม chiller ที่ห้องเครื่องหลัก ลดขนาดสายไฟฟ้าที่จ่ายไปตามห้องพัก สามารถเชื่อมต่่อกับระบบทำ�ความเย็นแบบรวมศูนย์ (district cooling) CU Smart City's CCHP ในอนาคตได้ หากโครงการก่ อ สร้ า งเสร็ จ ก่อนระบบทำ�ความเย็นรวมศูนย์์ สอดคล้องกับแนวคิด smart energy ซึ่งเป็น 1 ใน 5 แนวคิดหลักของโครงการ CU Smart City ลดการลุงทุนรวม เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ เนื่องจากพื้นที่ A และ พื้นที่ B มี การใช้งานไม่พร้อมกัน พื้นที่ A ใช้งานกลางคืน ในขณะพื้นที่ B ใช้งาน กลางวัน หากสามารถรวมศูนย์น้ำ�เย็นเข้าด้วยกัน ลงทุนขนาดเครื่องทำ� น้ำ�เย็นเฉพาะ เท่าพิกัดของพื้นที่ A (คอนโดมิเนียม) และขายน้ำ�เย็นให้พื้นที่ B ในเวลากลางวัน จะช่วยลดการลงทุนค่าก่อสร้างในภาพรวม และเพิ่ม โอกาสการลงทุนในระบบน้ำ�เย็นได้อย่างคุ้มค่า ภาพแสดงระบบทำ�ความเย็นแบบรวมศูนย์ (district cooling) ที่จะสามารถเชื่อมต่อกับ CU Smart City's CCHP ได้ในอนาคต
85
Block 33
ภาพแสดงระบบทำ�ความเย็นแบบรวมศูนย์ (district cooling)
แนวความคิิดเครื่่�องกำำ�เนิิดความเย็็นใหญ่่กลางเมืือง
อาคารอยู่ ใ นขอบเขตการพั ฒ นา CU Smart City และได้รับรางวัล 1 ใน 5 เมืองอัจฉริยะของ ประเทศไทยและมี แ นวคิ ด การทำ � smart energy อยู่ในผังแม่บทเพื่อประหยัดพลังงานในการใช้งาน ร่ ว มกั น หลายอาคาร ระบบปรั บ อากาศสำ � หรั บ โครงการจึงพิจารณา ใช้ระบบปรับอากาศแบบใช้น้ำ� เย็น โดยซื้อน้ำ�เย็นจากระบบผลิตความเย็นขนาดใหญ่ (district cooling plant)
แนวคิด district cooling system คือ ระบบที่ทำ�ความเย็นที่ใช้เครื่องกำ�เนิด ความเย็นใหญ่ในส่วนกลางของเมือง ส่งจ่ายน้ำ�เย็นไปยังอาคารต่างๆ ผ่านทาง ท่อน้ำ�เย็น ซึ่งสามารถลดการใช้พลังงานในการทำ�ความเย็น เนื่องจากการใช้ ระบบนี้จะมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงกว่าการใช้เครื่องทำ�ความเย็นแยกไป แต่ละอาคาร ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นการใช้พลังงานที่มีความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นการลดต้นทุนในการใช้พลังงานด้วยกัน district cooling system มีส่วนประกอบหลักเช่น ห้องเครื่องทำ�น้ำ�เย็นขนาดใหญ่ ระบบท่อน้ำ�เย็นจ่ายไปยังอาคารต่างๆ สถานีแลกเปลี่ยนพลังงานที่อาคารใช้งาน และอาจมีระบบกักเก็บพลังงาน (energy storage system) ตามความเหมาะสม ของแต่ละโครงการ
ความหมายหลัักที่่�ใช้้ในแนวทางการออกแบบ "Minimize" ของเราคืือการทํําให้้วิิธีีการทำำ�งานต่่างๆ เข้้าใจง่่ายขึ้้�น โครงการต่่างๆ ในบทนี้้�เป็็นตััวอย่่างของเราที่่�แสดงถึึงการลดความซัับซ้้อนและความ ยุ่่�งเหยิิงของระบบอาคารเพื่่�อให้้เกิิดประสิิทธิิภาพอย่่างคุ้้�มค่่า คุ้้�มราคา และเพื่่� อให้้ระบบของอาคาร ทำำ�งานได้้อย่่างคล่่องตััว กระบวนการของเราในที่่�นี้้�เกี่่�ยวข้้องกัับการระบุุส่่วนประกอบ กระบวนการ หรืือขั้้�นตอนอย่่างชััดเจน โดยการตััดส่่วนที่่�ไม่่จํําเป็็นออกไป ซึ่่�งส่่วนที่่�ตััดออกนั้้�นไม่่ได้้มีีส่่วนสํําคััญต่่อ ฟัังก์์ชัันการทํํางาน การออกแบบสถาปััตยกรรมหรืือประสิิทธิิภาพของอาคารใดๆ การลดระบบอาคาร และการออกแบบทางวิิศวกรรมนั้้�นจะสร้้างอาคารที่่�มีีความประหยััดและมีีประสิิทธิิภาพในขณะที่่�ยัังคง บรรลุุวััตถุุประสงค์์ที่่�สถาปนิิกและเจ้้าของต้้องการ
107
MEP SENSORY INTEGRATION
วิิธีีการหาคำำ�ตอบในการออกแบบทางวิิศวกรรมของเราที่่�มีีอยู่่�ในโครงการในบทนี้้� จะเน้้นความเรีียบ ง่่ า ยที่่�มุ่่� ง เน้้ น ไปที่่�ห น้้ า ที่่�ที่่�เ ป็็ น ใจความสำำ�คัั ญ อัั น แท้้ จ ริิง และขจัั ด คุุณสมบััติิ ห รืือ ความซัับ ซ้้ อ นที่่�ไ ม่่ จํํ าเป็็นออก ด้้วยการระบุุองค์์ประกอบและฟัังก์์ชัันที่่�จํําเป็็นเพื่่�อให้้อาคารตรงกัับความต้้องการ ME49 และสามารถเพิ่่� มประสิิ ทธิิภาพของการออกแบบควบคู่่�ไปกัับการลดโอกาสในการเกิิดข้้อผิิดพลาด การบํํารุุงรัักษา และค่่าใช้้จ่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับส่่วนประกอบหรืือกระบวนการที่่�ไม่่จํําเป็็น หนึ่่�งในวิิธีีการ ที่่�เราลองใช้้กัับโครงการในบทนี้้�คืือการสํํารวจแนวคิิดของการสร้้างที่่�มีีมาตรฐานและการพัั ฒนาส่่วน ประกอบระบบอาคารแบบแยกส่่วน เราพบว่่าการลดขนาดและลดความซัับซ้้อนของระบบอาคารทํําให้้ การบํํารุุงรัักษาอาคารง่่ายขึ้้�น ซึ่่�งเป็็นการช่่วยลดต้้นทุุนในการดํําเนิินงานของอาคารได้้อย่่างมาก ในอีีกแง่่มุุมที่่�สํําคััญของแนวทางนี้้�คืือเพื่่� อให้้ ME49 ได้้พิิจารณากระบวนการออกแบบทางวิิศวกรรม ของเราใหม่่ ให้้เกิิดลดความซัับซ้้อนของกระบวนการของเราและทํําให้้มีีประสิิทธิิภาพมากที่่�สุุด
126
MINIMIZE
ชั้้�นงานระบบอาคาร เนื่องจากตัวอาคารมีความสูงอยู่ที่ 230-250 เมตร และแยกออกเป็น 3 ส่วน พื้นที่หลักๆ คือ อะพาร์ตเมนต์ โรงแรม และเพนต์เฮาส์ จึงออกแบบให้ชั้นงานระบบ อาคารอยู่ตำ�แหน่งระหว่างพื้นที่ใช้สอยแต่ละส่วน โดยการออกแบบนี้ได้ผ่านการ ศึกษาค้นคว้าอย่างรอบคอบร่วมกับผู้ออกแบบสาขาต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ อย่างเหมาะสมในการจัดวางผังห้องตามความต้องการ โครงสร้างคานถ่ายแรง และการวางตำ�แหน่งที่สอดคล้องกันของอุปกรณ์เมนของงานระบบอาคาร และ ระบบความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจากอัคคีภัย
การจัดเตรียมงานระบบอาคารให้สอดคล้อง กับพื้นที่ใช้สอยของอาคารชั้นต่างๆ
Palm 360
127
138 สันติบร ุ ี เดอะ เรสซิเดนเซส Santiburi The Residences
MINIMIZE
เจ้้าของโครงการ: บริิษััท สิิงห์์ เอสเตท จำำ�กััด (มหาชน)
ที่่�ตั้้�ง: เขตบึึงกุ่่�ม กรุุ งเทพมหานคร
ปีีที่่�ดำำ�เนิินการ: 2559 - 2561
139
พื้้� นที่่�: 4,258 ตารางเมตร
โครงการบ้้านจััดสรร สัันติิบุุรีี เดอะ เรสซิิเดนเซส มีีแนวคิิดในการออกแบบให้้ ตััวบ้้านทุุกหลัังให้้โอบล้้อมไปด้้วยธรรมชาติิสีีเขีียว ตั้้�งแต่่ประตููทางเข้้าโครงการ ได้้มีีการออกแบบแนวระแนงไม้้ซึ่�ง ่ ให้้ความรู้้�สึึกเป็็นธรรมชาติิและเรีียบง่่าย รวม ไปถึึงการอนุุรัก ั ษ์์ต้้นไทรและต้้นจามจุุ รีีที่่มี � ีมาแต่่เดิิมให้้กลายมาเป็็นจุุ ดนำำ�สายตา ก่่อนเข้้าสู่่�ถนนและทางเดิินภายในโครงการ ภายในโครงการปลููกต้้นยางนา ที่่�มีีความเหมาะสมกัับสภาพอากาศ โดยต้้นยางนาสื่่�อถึึงความอุุ ดมสมบููรณ์์ มีีคุุณค่่า และยั่่�งยืืน ยิ่่�งเวลาผ่่านไปต้้นยางนาที่่�เติิบโตก็็จะให้้ร่่มเงาสวยงาม และมีีทััศนีียภาพที่่�ดีี อีีกทั้้�งต้้นยางนาที่่�เลืือกปลููกนี้้�ได้้ถููกออกแบบให้้เป็็น �่ และเป็็นธรรมชาติิ ส่่วนหนึ่่�งของสวนซึ่่�งจะให้้บ้้านแต่่ละหลัังมีีบรรยากาศที่่�ร่่มรื่น ในส่่วนตััวบ้้านนั้้�นมีีการออกแบบให้้อยู่่�สบายตลอดทั้้�งวัันและทุุกฤดููกาล จึึงได้้ออกแบบบ้้านในสไตล์์ Luxury Modern Tropical/Thai Touch ซึ่่�งนำำ�สู่่�แนวคิิดการออกแบบงานระบบให้้ไปในทางเดีียวกัับงานสถาปััตยกรรม โดยไปในทาง Minimize งานระบบอาคารและใช้้ประโยชน์์จากการจััดวาง ออกแบบตััวอาคารให้้มากที่่�สุุด เพื่่� อการช่่วยลด initial construction cost และระยะเวลาการก่่อสร้้าง พร้้อมยัังส่่งผลให้้มีีความสะดวกในการ ใช้้งานและดููแลรัักษา
The design concept of “Santiburi The Residences” housing estate envisages each of the houses nestled in nature. The houses are designed in luxury modern tropical style with a Thai touch and provide year-round comfort. The extended eaves serve to shade the living spaces from the tropical heat and keeps the interior of the house cool throughout the day. Houses are oriented to face the north and south, which provides enough natural light and allows optimal cross ventilation. Following this modern tropical architectural design approach, ME49 responsible for simplifying the building system design along this environmental sensitivities concept such as reusing the hot air from CDU to heat up the water.
จากที่่ไ� ด้้ทบทวนในหลายๆ โครงการที่่ท ุ ของข้้อกํําหนด � าง ME49 ได้้ทำำ�มา เราตระหนัักได้้ว่่าในบางแง่่มุม ต่่างๆ ในแต่่ละโครงการนั้้�นถููกกำำ�หนดให้้เราคิิดหาทางออกในการสร้้างสรรค์์สภาพแวดล้้อมให้้กัับสิ่่�ง ที่่ไ� ม่่มีีชีีวิิต เช่่น ห้้องเครื่่อ � ง ห้้องควบคุุมไฟฟ้้า ห้้องแอร์์ ห้้องกระจายสััญญาณ ฯลฯ เราได้้มีีโอกาสทํํา งานในโครงการที่่�น่่าสนใจและน่่าศึึกษาอย่่างมาก ในปััจจุุ บัันที่่�โลกเต็็มไปด้้วยนวััตกรรมที่่�ล้ำำ�สมััยต่่างๆ มากมาย ทำำ�ให้้เกิิดการคิิดหาทางออกในการออกแบบทางวิิศวกรรมอย่่างจริิงจัังพร้้อมกัับตระหนัักว่่า มนุุษย์์ต้้องสร้้างสรรค์์สภาพแวดล้้อมสำำ�หรัับ สิ่่�งที่่�ไม่่มีีชีีวิิต ไม่่มีีจิิตใจ แต่่สิ่่�งที่่�ไม่่มีีชีีวิิตนั้้�นต้้องการ การออกแบบสถานที่่แ � ละระบบอาคารที่่มีีลั � ักษณะเฉพาะและการติิดตั้้ง � ในบางครั้้�งมััน � ที่่�เฉพาะเจาะจง ซึ่่ง อาจจะมากกว่่าความต้้องการของมนุุษย์์อีีกด้้วยซ้ำำ�
149
MEP SENSORY INTEGRATION
แนวคิิดของหลายๆ โครงการที่่จ � ะกล่่าวในบทนี้้�คืือการแบ่่งการออกแบบเป็็นกลุ่่�มย่่อยๆ ให้้กัับพื้้� นที่่ห � รืือ อุุ ปกรณ์์งานระบบ เพื่่� อให้้อยู่่�ในตำำ�แหน่่งที่่เ� หมาะสมและเป็็นสััดส่่วน มีีพื้้� นที่่เ� พีียงพอต่่อการทำำ�งานอย่่าง สะดวกสบาย มีีประสิิทธิิภาพและประสิิทธิิผล สภาพแวดล้้อมที่่�สร้้างขึ้้�นสํําหรัับเครื่่อ � งใช้้หรืืออุุ ปกรณ์์ที่่� ไม่่มีีชีีวิิตต้้องถููกคิิดค้้นจากสามแนวคิิดก่่อนหน้้านี้้�เพื่่� อให้้รับ ั รู้้�ถึึงลัักษณะเฉพาะทางที่่�เป็็นตััวกำำ�หนดใน การทํํางานและแสดงผลตามที่่�ตั้้�งเป้้าไว้้โดยไม่่ต้้องการอารมณ์์ความรู้้�สึึกต่่างๆ ที่่�คลุุมเครืือของมนุุษย์์ หรืือสิ่่�งมีีชีีวิิตอื่่�นๆ เป็็นตััวกำำ�หนดในโครงการนั้้�นๆ เพราะฉะนั้้�นเราสามารถสัังเกตเห็็นได้้ว่่าสัังคมของ เราก้้าวหน้้าไปสู่่�ยุุคแห่่งการเชื่่อ � มโยงเทคโนโลยีีต่่างๆ เพื่่� อให้้การทำำ�งานมีีศัักยภาพที่่ดีีขึ้้ � น � ความต้้องการ พื้้� นที่่ป � ระเภทนี้้�จึึงเพิ่่� มขึ้้�นอย่่างมาก ผู้้�ออกแบบต้้องสามารถตอบโจทย์์ทั้้ง � ความต้้องการของมนุุษย์์และ คุุณลัักษณะเฉพาะเจาะจงของอุุ ปกรณ์์งานระบบได้้อย่่างลงตััว
164
NON-LIVING
การกรองอากาศ
ขยะกับกลิ่นเป็นของคู่กัน แต่สำ�หรับขยะติดเชื้อและขยะสารพิษจะมีเชื้อโรคและ สารพิษที่ปนเปื้อนกับอากาศ ดังนั้นอากาศจากห้องขยะติดเชื้อจะต้องผ่าน แผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง คือ HEPA (High Efficiency Particulate Air) ที่กรองอนุภาคขนาดเล็ก 0.3 ไมครอน ได้ถึง 99.97% ก่อนจะถูก ปล่อยทิ้งไป ส่วนอากาศจากห้องขยะสารพิษจะต้องผ่านแผงกรองสารพิษ ที่เรียกว่า chemical filter ก่อนจะถูกปล่อยทิ้งไปเช่นกัน
การกรองอากาศผ่าน HEPA FILTER
การกรองอากาศผ่าน CHEMICAL FILTER
Waste Management Building
165
ชะลอการเติิบโตของเชื้้อ � โรค ด้้วยระบบปรัับอากาศ เชื้ อ โรคและแบคที เ รี ย ต่ า งๆ เจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ที่ อุ ณ หภู มิ ทั่ ว ไป การติดแอร์ที่ห้องขยะติดเชื้อเป็นส่วนช่วยชะลอการเพิ่มจำ�นวนของ เชื้อโรค ถึงอย่างไรก็ตามการจัดเก็บขยะติดเชื้ออย่างถูกต้องและ มิดชิดจะป้องกันได้ดีที่สุด
ระบบปรับอากาศในห้องขยะติดเชื้อ
ลดเชื้้อ � โรคสะสมจากการรั่่�วไหล ด้้วยระบบไล่่อากาศ (purge system) ห้องพักขยะติดเชื้อเป็นอีกจุดที่มีโอกาสเกิดการสะสมของเชื้อโรคได้ สูง หากภาชนะบรรจุขยะเกิดความเสียหายจะทำ�ให้เชื้อโรคสามารถ เล็ดลอดออกมาสะสมภายในห้องได้ จึงมีแนวคิดให้มีระบบ purge ติด ตั้งไว้ โดยให้เจ้าหน้าที่เปิดระบบ purge ก่อนเข้าห้องพักขยะติดเชื้อ
ภาพแสดงระบบระบายอากาศฉุกเฉิน purge: อากาศจากห้องขยะติดเชื้อ จะต้องผ่านการกรองก่อนนำ�ไปทิ้งนอกอาคาร โดยมี HEPA filter เป็นแผงกรองอากาศที่ละเอียดที่สุด
194
NON-LIVING
พัั ดลมเพดาน HVLS
พัดลมเพดานแบบ High Volume Low Speed (HVLS) ติดตั้งใน ตำ�แหน่งที่เหมาะสม ใช้งานได้สอดรับกับลักษณะทางกายภาพของ หอประชุม มีการตรวจวัดความเร็วลม และเสียงซึ่งเกิดจากการทำ�งาน ในทุกๆ จุดในหอประชุม ซึ่งสามารถตรวจสอบประเมินคุณภาพการกระจาย และหมุนเวียนของ ลมในหอประชุมได้จากการจัดทำ�แบบจำ�ลองทางคอมพิวเตอร์แสดง ความเร็วทุกจุดในพื้นที่หอประชุม เพื่อประกอบการพิจารณาในเบื้องต้น โดยความเร็วเฉลี่ยบริเวณพื้นที่นั่งราบซึ่งใช้ทำ�กิจกรรมสวดมนต์ประจำ� วันอยู่ที่ประมาณ 150 ฟุต/นาที โดยความเร็วสูงสุดต้องไม่เกิน 200 ฟุต/นาที และต่ำ�สุดไม่น้อยกว่า 100 ฟุต/นาที ที่ความเร็วพัดลมไม่ เกิน 75% ของความเร็วสูงสุด floor plan
Nawamabhumindra Building
195
158
NON-LIVING
ระบบปรัับอากาศสำำ�หรัับโรงละคร การออกแบบระบบปรับอากาศสำ�หรับโรงละคร เนื่องจากการใช้งานโรงละครมีการ แสดงเป็นรอบ ซึ่งก่อนการแสดงในรอบถัดไปจะมีกลุ่มผู้ชมพักคอยอยู่บริเวณโถง พักคอยอย่างหนาแน่น เมื่อจบรอบจะมีการถ่ายเทคนดูกว่าสองพันคนเข้า-ออกจาก โรงละคร ระบบปรับอากาศสำ�หรับสองส่วนนี้จึงต้องคำ�นึงถึงการจัดการกับโหลดความ ร้อนจากผู้ชมจำ�นวนมากเข้ามาในพื้นที่แบบรวดเร็วเป็น shock load และมีการเปิดประตูค้าง เป็นเวลานาน ระบบปรับอากาศในโรงละครโดยเฉพาะส่วนนั่งชมจึงมีแนวคิดลดอุณหภูมิให้ ต่ำ�กว่าปกติที่ 22 องศาเซลเซียส เพื่อรองรับโหลดข้างต้นนี้และค่อยๆ ปรับอุณหภูมิขึ้น
159
Singha D'Luck Cinematic Theatre
พัั ดลมระบายควัันไฟที่่�โถงพัั กคอย
พัั ดลมระบายควัันไฟส่่วนโรงละคร
พัั ดลมเติิมอากาศ/อััดอากาศ ระบบควบคุมควันไฟกรณีเกิดเพลิงไหม้ ช่วยระบายควันไฟไม่ให้บดบัง ทัศนวิสัยของผู้ชมขณะทำ�การอพยพออกจากโรงละคร
ระบบระบายควัันพิิ เศษและควัันจากอััคคีีภััย เมื่อมีการใช้ควันประกอบการแสดง จึงต้องมีระบบระบายควันพิเศษเพื่อ จัดการควันเหล่านี้ให้ทันเวลาระหว่างช่วงการแสดง เช่นเดียวกับระบบ ปรับอากาศบริเวณเวทีต้องสามารถลดแรงลมได้เพื่อไม่ให้กระทบกับควัน นอกจากนั้นยังต้องเตรียมระบบระบายควันไฟเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้เพื่อ ช่วยให้การหนีไฟเป็นไปได้สะดวก ด้วยการออกแบบระบบระบายควันให้ติด ตั้งที่ความสูงระดับโครงหลังคาส่วนหลังเวที และไม่ให้รบกวนเส้นทางหนี ไฟ อีกทั้งยังติดตั้งระบบเติมอัดอากาศที่ระดับต่ำ�ใต้อัฒจันทร์เพื่อเจือจาง ควันไฟและไล่ควันไฟ เสริมให้ระบบระบายควันไฟทำ�งานได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เนื่องจากระยะเวลาก่อสร้างที่จำ�กัด จึงเลือกใช้ระบบจ่ายลมเย็นจากด้านบน ที่ระดับสูงเหนือพื้นที่การแสดงกว่า 20 เมตร ดังนั้นการเลือกชนิดของ หัวจ่ายลมเย็น, การกำ�หนดความหนาของฉนวนระบบท่อลมเย็น, ระบบ ฉนวนหลังคา และการวางตำ�แหน่งหัวจ่ายจึงต้องให้สัมพันธ์และไม่กีดขวาง กับระบบการแสดง
202
ARTICLES
SMART ECONOMY
เมืองที่มุ่งเน้นเพิ่มประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการดำ�เนินธุรกิจ สร้างให้เกิดความเชื่อมโยงและความร่วมมือทางธุรกิจ วางโครงข่าย 5G สัญญาณ Wi-Fi 6* รองรับการใช้งานในรูปแบบออนไลน์ เช่น ระบบ QR Code ในการซื้อ-ขายในพื้นที่, ระบบธนาคารออนไลน์, ระบบแจ้งหนี้ ค่าบริการต่างๆ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Billing) *Wi-Fi 6 คือ มาตรฐาน Wi-Fi ล่าสุด ถูกพัฒนาให้มีความเร็วในการโอน ถ่ายข้อมูลที่สูงกว่า มีความเสถียรกว่าและมีอัตราการบริโภคพลังงานของ อุปกรณ์ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับที่น้อยกว่า ตอบสนองความต้องการ ของอินเทอร์เน็ตที่มากขึ้น
SMART LIVING
เมืองที่มุ่งเน้นให้บริการที่อำ�นวยความสะดวกต่อการดำ�รงชีวิต มีชีวิต
SMART PEOPLE
เมืองที่มุ่งเน้นพัฒนาพลเมืองให้มีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและการดำ�รงชีวิต มี การจัดเตรียมระบบสัญญาณ Wi-Fi ที่ครอบคลุมทั้งโครงการ วังจันทร์วัลเลย์ การเรียนรู้ผ่านห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
ที่ดีของผู้อยู่อาศัย ทั้งทางด้านกายภาพ จิตใจ ความสัมพันธ์ทาง สังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบตรวจสอบป้ายทะเบียนรถ (license plate recognition) เพื่อตรวจสอบผู้ที่เข้า-ออกในพื้นที่ ตรวจสอบ การบุกรุก ระบบกล้องจับความร้อนในเวลากลางคืนในพื้นที่อับแสง เช่น แนวรั้ว เป็นต้น
Smart City
203
บ้านและงานระบบ
Housing 208
209
บ้้านเป็็นสิ่่�งปลููกสร้้างอัันเป็็นหนึ่่�งในปััจจััยสี่่�ที่่�สำำ�คััญของมนุุษย์์ มาทุุกยุุคทุุกสมััย และได้้ถููกพัั ฒนาร่่วมกัับเวลาเสมอมา นอกจาก งานสถาปััตยกรรมที่่�ได้้รัับการออกแบบอย่่างประณีีตและ พิิถีีพิิถัันแล้้วยัังมีีงานระบบทางวิิศวกรรมที่่�ได้้รัับการขััดเกลา ทางความคิิด ประยุุกต์์ใช้้ และต่่อยอดเรื่่�อยมาตามกาลเวลา ในอดีีตสมััยที่่�สภาพแวดล้้อม สภาพอากาศแตกต่่างจากใน ปััจจุุ บััน รวมถึึงเทคโนโลยีีที่่�ใช้้สำำ�หรัับบ้้านยัังอยู่่�ในยุุคบุุกเบิิก พัั ฒนาและยัังไม่่แพร่่หลายไปทุุกครััวเรืือน บ้้านบางหลัังอาจ ต้้องการไฟฟ้้าเพื่่� อส่่องสว่่างเพีียงแค่่นั้้�น ระบบน้ำำ�ประปาเพื่่� อ กัักเก็็บน้ำำ�ในถัังน้ำำ�อาจจะยัังไม่่จำำ�เป็็นมากนัักเพราะสามารถ เก็็บน้ำำ�ฝนไว้้ในตุ่่�มเพื่่� อใช้้งานได้้ และสิ่่�งที่่�จำำ�เป็็นน้้อยที่่�สุุดหรืือ ไม่่จำำ�เป็็นเลยคืือ ระบบปรัับอากาศ ระบายอากาศ ในช่่วงเวลา นั้้�นจััดว่่าเป็็นเทคโนโลยีีที่่�มีีราคาแพงและไม่่จำำ�เป็็นต้้องมีีสำำ�หรัับ บ้้านทั่่�วไป ส่่วนหนึ่่�งเป็็นเพราะว่่ามีีสภาพอากาศที่่�ดีีอยู่่�ได้้สบาย ในสมััยนั้้�น แต่่ ณ ปััจจุุ บัันเป็็นสิ่่�งที่่�จำำ�เป็็นต้้องมีี เมื่่�อเวลาดำำ�เนิินมาสู่่�ปััจจุุ บััน ประเทศไทยเปลี่่�ยนแปลงไปมาก เช่่น วิิถีีชีีวิิต สภาพแวดล้้อม สภาพอากาศ ทำำ�ให้้บ้้านต้้องพึ่่� ง เทคโนโลยีีมากขึ้้�น เพื่่� อสร้้างความสะดวกสบาย เช่่น ระบบปรัับ อากาศระบายอากาศ ระบบไฟฟ้้าเพื่่� อรองรัับอุุ ปกรณ์์ต่่างๆ มากขึ้้�นนอกจากแค่่การส่่องสว่่าง ระบบน้ำำ�ประปาทดแทนการ กัักเก็็บน้ำำ�ฝน ระบบรัักษาความปลอดภััยป้้องกัันผู้้�ไม่่ประสงค์์ดีี และระบบ home automation ที่่�มาพร้้อมกัับเทคโนโลยีี IoT เพื่่� อตอบสนองในเรื่่�องของความสะดวกสบายมากขึ้้�น
ความก้้าวหน้้าทางเทคโนโลยีีได้้สร้้างประโยชน์์วิิถีีชีีวิิตในปััจจุุ บััน ได้้มากแต่่ได้้ส่่งผลเสีียกลัับมาให้้ด้้วยเช่่นกััน เช่่น ปััญหาโลกร้้อน ปััญหาโอโซนของโลกถููกทำำ�ลายปััญหาสภาพอากาศแปรปรวน เป็็นต้้น ดัังนั้้�นเพื่่� อลดปััญหาดัังกล่่าวจึึงเกิิดแนวคิิดความยั่่�งยืืน (sustainability) ขึ้้�นมาและเป็็นแนวคิิดที่่�ได้้รัับการผลัักดัันให้้ เป็็นสิ่่�งที่่�ต้้องคำำ�นึึงถึึงอยู่่�เสมอ ดัังนั้้�นความยั่่�งยืืนจึึงถููกบรรจุุ ลงในกระบวนการออกแบบ ไม่่เพีียงแค่่งานสถาปััตยกรรม เท่่านั้้�นรวมไปถึึงงานระบบด้้วยเช่่นกััน ไม่่ว่่าจะเป็็นเรื่่�องการมีี พลัังงานสะอาด เช่่น โซลาร์์เซลล์์ การป้้องกัันฝุ่่�น PM2.5 การ ใช้้ระบบปรัับอากาศที่่�ประหยััดพลัังงานมีีประสิิทธิภ ิ าพสููง การใช้้ อุุ ปกรณ์์และสุุขภััณฑ์์ประหยััดน้ำำ� ทำำ�ให้้บ้้านสมััยใหม่่มีีรากฐาน ของความยั่่�งยืืนที่่�สามารถส่่งต่่อไปให้้กัับลููกหลานในอนาคต